ศาสตราจารย์ ดร.บวรศักดิ์ อุวรรณโณ ราชบัณฑิต เลขาธิการสถาบันพระปกเกล้า 08/09/54
1
จริยธรรม (morality / ethics) คือความประพฤติที่ดีงาม อันประกอบด้วย
ศีลธรรม - การอันพึงเว้น เพราะเป็นโทษ คุณธรรม - การอันพึงทา เพราะเป็นประโยชน์
08/09/54
2
กฎเกณฑ์ที่กาหนดสิ่งที่ควรทาและควรเว้นในสังคม ศาสนา การพึงเว้น การพึงทา
จริยธรรม
จารีตประเพณี การพึงเว้น การพึงทา
มนุษย์กับสังคม
กฎเกณฑ์ในการปฏิบัติหน้าที่ การพึงเว้น การพึงทา 08/09/54
3
ศีลธรรม - การอันพึงเว้น คุณธรรม - การอันพึงทา
จริยธรรม
( ทางศาสนา , ประเพณี , อาชีพ)
(morality) (เครื่องวัดความถูก / ผิด ดี / เลว)
จริยศาสตร์ (ethics) 08/09/54
4
จริยธรรม ทางศาสนาพุทธ เบญจศีล - เว้นจากการฆ่า - เว้นการลักทรัพย์ - เว้นการประพฤติผิดในกาม - เว้นการพูดเท็จ - เว้นการเสพเครื่องมึนเมา
08/09/54
เบญจธรรม - เมตตากรุณา - สัมมาอาชีวะ / ทาน - กามสังกร - สัจจะ - สติสัมปชัญญะ
5
จริยธรรมอันเกิดจากประเพณี : ผู้ใหญ่ ผู้น้อย ศีลธรรม - ผู้ใหญ่ไม่รังแกผู้น้อย - ผูน้ อ้ ยไม่ลว่ งละเมิด ผู้ใหญ่
08/09/54
คุณธรรม - ผู้ใหญ่เมตตา - ผู้น้อยคอย ก้มประนมกร ฯลฯ
6
จริยธรรมอันเกิดจากการปฏิบัติหน้าที่ ศีลธรรม ห้ามเลือกปฏิบัติ
08/09/54
คุณธรรม ต้องบริการประชาชน
7
ในการกระท าหรื อ ไม่ ก ระท าในชี วิ ตประจ าวั น เราจะต้องเลือกพฤติกรรม การเลือกพฤติกรรม ก็คือ การวิเคราะห์ใคร่ครวญถึงความเชื่อทาง ศีลธรรม และคุณธรรมของเรา (Ethics is the conscious reflection on own moral beliefs – Hinman 2003)
08/09/54
8
การมี จ ริ ย ธรรม ก็ คื อ ความสามารถที่ จ ะ เลื อ กสิ่ ง ที่ ถู ก (คุ ณ ธรรม) แล้ ว กระท าไป และ หลีกเลี่ยงสิ่งที่ผิด (ศีลธรรม)
08/09/54
9
บทบาทของจริยธรรมทั่วไป 1. วัด ดี – ชั่ว ถูก-ผิด 2. สร้างประโยชน์ตน – ประโยชน์ท่าน เลี่ยงโทษตน – โทษท่าน 3. สร้างความสงบเรียบร้อยให้สังคม
08/09/54
10
บทบาทของจริยธรรมในการปฏิบัติหน้าที่ 1. สร้างสานึกลึกซึ้งในตาแหน่งหน้าที่ว่า แยกออกจากเรื่องส่วนตัว และจะทา การที่ขัดกันระหว่างตาแหน่งหน้าที่ กับส่วนตัวมิได้ (conflict of interest)
08/09/54
11
บทบาทของจริยธรรมในการปฏิบัติหน้าที่ 2. ป้องกันผลร้ายที่จะเกิดขึ้นแก่ตนเองและผู้มี ส่วนได้เสีย - ป้องกันทุจริต - ป้องกันการละเมิดกฎหมาย
08/09/54
12
บทบาทของจริยธรรมในการปฏิบัติหน้าที่ 3. ทาให้ผู้มีส่วนได้เสียทุกส่วนได้ประโยชน์ที่ควรได้ เพราะการตัดสินใจไม่บิดเบี้ยวด้วยพฤติกรรมผิด ๆ และเกิดความเชื่อมั่น / เชื่อใจ (trust and confidence)
08/09/54
13
บทบาทของจริยธรรมในการปฏิบัติหน้าที่ 4. ทาให้องค์กรและทุกฝ่ายมีบรรยากาศที่ดี สร้างสรรค์ผลิตภาพเพิ่มขึ้น มุ่งไปสู่อนาคต ด้วยกันไห้ดีขึ้น
08/09/54
14
บทบาทของจริยธรรมในการปฏิบัติหน้าที่
5. เป็นแบบอย่างที่ดีให้ผู้อื่นเจริญรอยตาม
08/09/54
15
ปัญหา 1. จริยธรรมทางศาสนา ประเพณี การปฏิบัติหน้าที่อาจเสริม / ขัดกัน
-ถ้าเสริมกัน
-ถ้าขัดกัน
08/09/54
จริยธรรมก็มั่นคง เช่น ห้ามเอาของผู้อื่นที่ ไม่ได้ให้ ก็ต้องจัดลาดับความสาคัญ (prioritize) และต้องเลือก
16
ประเพณี / ศาสนา - ทาน (คุณธรรม) - กตัญญูและปฏิบัติตอบแทน ผู้มีพระคุณ
08/09/54
การปฏิบัติหน้าที่ - ห้ามรับ - การห้ามเลือกปฏิบัติ
17
2. สภาพบังคับ (Sanction) ของจริยธรรมแต่ละประเภท ลักษณะร่วม : ดี/เลวถูก/ผิด ลักษณะต่าง : จริยธรรมศาสนา กรรม, สวรรค์ / นรก จริยธรรมตามประเพณี การที่สังคมยอมรับ / ไม่ยอมรับ จริยธรรมวิชาชีพ การให้ / ไม่ให้ประกอบอาชีพ จริยธรรมข้าราชการ วินัย
08/09/54
18
กฎหมายกับจริยธรรม กฎหมาย มีสภาพบังคับแน่นอน คือผลร้ายที่เป็นระบบจากรัฐ กฎหมาย สอดคล้องกับ จริยธรรม ของกฎหมาย/ กฎหมาย ขัด/ต้องการปรับปรุง จริยธรรม การใช้บังคับ
08/09/54
ความชอบธรรม ประสิทธิภาพ ปัญหาใน
19
กฎหมายกับจริยธรรมในการปฏิบัติหน้าที่ เน้นกฎหมาย สหรัฐอเมริกา แคนาดา ไทย (ปัจจุบัน)
นิวซีแลนด์/ ออสเตรเลีย ไทย (ในอดีต)
การกาหนดข้อห้าม/ ข้อปฏิบัติ 08/09/54
อังกฤษ
เน้นจริยธรรม
20
3. การปลูกฝังจริยธรรม - ตั้งแต่เยาว์วัย - เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงเพราะการเลือก / รับ - สังคมทั้งสังคมต้องยึดถือด้วย กรณีรัฐบาล Atlee : Mr. John Belcher / Mr. Stanley รัฐบาล Macmillan : Mr. John Profumo
08/09/54
21
4. วัฒนธรรมอุปถัมภ์กับจริยธรรมสมัยใหม่ วัฒนธรรมอุปถัมภ์ -ไม่เสมอภาค - ความเกรงใจ / หน้าที่ - ข้อยกเว้นการใช้กฎหมาย
08/09/54
จริยธรรมใหม่ - เสมอภาค / ไม่เลือกปฏิบัติ - สิทธิ เสรีภาพ ความเป็นส่วนตัว เคารพกฎหมาย
22
ประมวลจริยธรรม และจรรยาข้าราชการพลเรือน รัฐธรรมนูญ หมวด 13 “จริยธรรมของผู้ดารงตาแหน่งทางการเมือง และเจ้าหน้าที่ของรัฐ” มาตรา 279, 280 1. ให้ข้าราชการและเจ้าหน้าที่ของรัฐทุกประเภทมีประมวลจริยธรรม 2. ประมวลจริยธรรมต้องมีกลไก ระบบการบังคับใช้อย่างมี ประสิทธิภาพ 3. การฝ่าฝืนเป็นความผิดวินัย และเป็นเหตุถูกถอดถอน ตามมาตรา 270 4. ให้นาจริยธรรมไปใช้ในการสรรหา กลั่นกรอง แต่งตัง้ โยกย้าย เลื่อน ตาแหน่ง และเงินเดือน 5. ให้ผู้ตรวจการแผ่นดินมีอานาจกากับ / ปปช. มีอานาจถอดถอน, ดาเนินการ 08/09/54
23
พรบ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 หมวด 5 การรักษาจรรยาข้าราชการ มาตรา 78, 79
08/09/54
24
การยกร่างเป็นไปตามผลการศึกษาเพื่อยกร่าง กฎหมายว่าด้วยจริยธรรม มีการศึกษา ประมวลจริยธรรมองค์การระหว่างประเทศ เช่น OECD, APEC, UN และอนุสัญญาต่างๆ มีการศึกษา ประมวลจริยธรรมและกฎหมายจากสหราช อาณาจักร ออสเตรเลีย คานาคา สหรัฐอเมริกา ฮ่องกง
08/09/54
25
ตัวอย่าง Core Value ของ OECD ความเป็นกลาง (Impartiality) ความชอบด้วยกฎหมาย (Legality) การยึดมั่นในความถูกต้อง สุจริต เที่ยงธรรม (Integrity) ความโปร่งใส (Transparency) ความเสมอภาค (Equality) ความรับผิดชอบ (Responsibility) ความถูกต้องชอบธรรม (Justice)
08/09/54
24 ประเทศ 22 ประเทศ 18 ประเทศ 14 ประเทศ 11 ประเทศ 11 ประเทศ 10 ประเทศ
26
ค่านิยมหลักของมาตรฐานจริยธรรม 9 ประการของ ผู้ตรวจการแผ่นดิน
+
ผลการศึกษาประมวลจริยธรรมระหว่างประเทศ / ต่างประเทศ
ประมวลจริยธรรมข้าราชการพลเรือน
08/09/54
27
หลักการสาคัญของประมวลจริยธรรม 1. การแยกจริยธรรมออกจากจรรยาข้าราชการ
ประมวลจริยธรรม จรรยา
08/09/54
- ใช้ร่วมกัน / ฝ่าฝืนผิดวินัย - ต่างหน่วย ต่างกาหนด / ไม่ผิดวินัย แต่อาจตักเตือน ด้วยวาจา หนังสือ ใช้ประกอบการแต่งตั้ง และสั่งให้รับการพัฒนา
28
การฝ่าฝืนจริยธรรม (ข้อ 19) ผู้บังคับบัญชาอาจสั่ง : - ลงโทษทางวินัย - ว่ากล่าวตักเตือน - ทาทัณฑ์บนเป็นหนังสือ - สั่งให้ได้รับการพัฒนาตามที่เห็นสมควร
08/09/54
29
2. นาคานิยามหลัก มาขยายเป็นรายละเอียดให้ปฏิบัติได้จริง และไม่จากัดอยู่เฉพาะ เท่าที่บัญญัติไว้ - สังเกต คาว่า “ อย่างน้อย ต้องวางตนดังนี้” - ประมวลการตีความ และวินิจฉัยปัญหา โดย กพ. (ข้อ 13 (10) )
08/09/54
30
3. การใช้การตีความต้องยึดเจตนารมณ์เป็นหลัก ไม่ใช่ตวั อักษร (ดูข้อ 22 วรรคสอง) - ไม่เลี่ยงประมวล (ข้อ 3 (1) ) - ให้วนิ ิจฉัยข้อขัดแย้งระหว่างประมวล ศีลธรรม ศาสนา ประเพณี (ข้อ 12 (1))
08/09/54
31
4. มีกลไก ที่ทาให้ประมวลจริยธรรมมีประสิทธิภาพจริง
-
08/09/54
ผู้ตรวจการแผ่นดิน ( ข้อ 13 (7)) กพ. (ข้อ 13 ) คณะกรรมการจริยธรรม (ข้อ15) หัวหน้าส่วนราชการ (ข้อ16 ) กลุ่มงานคุ้มครองจริยธรรม (ข้อ17)
32
5. มีกลไก ที่ครอบคลุม ครบถ้วน - การส่งเสริม เผยแพร่ - การคุม้ ครอง (ข้อ 13 (2) (3) , ข้อ 15 (5) , ข้อ 16 (2)) - การยกย่อง ข้อ 13 (5)
08/09/54
33
การส่งเสริมจริยธรรมข้าราชการให้หัวหน้าส่วน ราชการ คณะกรรมการจริยธรรม และ ก.พ. ส่งเสริมจริยธรรมข้าราชการ (ข้อ 20) (1) ในการบรรจุแต่งตั้ง เลื่อนเงินเดือน ย้ายหรือโอน ข้าราชการ ให้ใช้พฤติกรรมทางจริยธรรมของผู้นั้น พิจารณาควบคู่กับความรู้ความสามารถ (2) ปลูกฝังจริยธรรมให้ข้าราชการใหม่ จัดให้ ข้าราชการลงลายมือชื่อรับทราบประมวลจริยธรรม จัดให้มี สมุดบันทึกประวัติในส่วนที่เกี่ยวกับจริยธรรมของ ข้าราชการแต่ละคน รวมทั้งจัดให้มีกิจกรรมส่งเสริม จริยธรรมผู้บริหารและข้าราชการอย่างสม่าเสมอ 08/09/54
34
(3) ประเมินกรปฏิบัติตามประมวลจริยธรรมของ ข้าราชการ (4) คุ้มครองข้าราชการผู้ปฏิบัติตามประมวล จริยธรรมนี้อย่างเพียงพอ (5) ยกย่องข้าราชการและส่วนราชการที่ถือปฏิบัติ ตามประมวลจริยธรรมนี้โดยเคร่งครัด (6) ตอบข้อสงสัยหรือคาถามเกี่ยวกับการปฏิบัติตาม ประมวลจริยธรรม (7) จัดให้มีการศึกษาค่านิยมที่เป็นอุปสรรคต่อการ ปฏิบัติตามประมวลจริยธรรม และดาเนินการแก้ไข ปรับเปลี่ยนค่านิยม นั้น 08/09/54
35
(8) เผยแพร่ให้ประชาชน คู่สมรส ญาติ พี่น้อง พรรค พวกเพื่อนฝูงของข้าราชการ ตลอดจนประชาชนผู้มาติดต่อ ราชการทราบ ประมวลจริยธรรมข้าราชการ เพื่อไม่ทาการ อันเป็นการส่งเสริมหรือก่อให้เกิดการฝ่าฝืนจริยธรรม (9) จัดให้มีการประเมินผลการปฏิบัติตามประมวล จริยธรรม
08/09/54
36
เมื่อมีปัญหาการปฏิบัติตามประมวลจริยธรรมในเรื่องใด (ข้อ 21)
ข้ า ราชการอาจเสนอเรื่ อ งให้ หั ว หน้ า กลุ่ ม งาน คุ้มครองจริยธรรมนาเสนอเพื่อขอคาวินิจฉัยหรืออนุญาต จากคณะกรรมการจริยธรรม ในกรณีที่เป็นเรื่องสาคัญหรือมีผลกระทบในวงกว้าง หลายส่วนราชการ และยังไม่มีคาวินิจฉัยของ ก.พ. หรือ ผู้ตรวจการแผ่นดิน คณะกรรมการจริยธรรมอาจส่งเรื่อง ให้ ก.พ. วินิจฉัย 08/09/54
37
ในกรณีที่ ก.พ. เห็นว่าเรื่องดังกล่าวเป็นเรื่องสาคัญ อันควรแก่การขอคาแนะนาจากผู้ตรวจการแผ่นดินก็ให้ กระทาได้ ข้ า ร า ช ก า ร ที่ ป ฏิ บั ติ ต า ม ค า วิ นิ จ ฉั ย ข อ ง คณะกรรมการจริยธรรม ก.พ. หรือผู้ตรวจการแผ่นดินไม่ ต้องรับผิดทางวินัย
08/09/54
38
ในกรณีที่จาเป็นต้องดาเนินการเรื่องใดโดยด่วน (ข้อ 22) หากปล่ อ ยให้ เ นิ่ น ช้ า จะกระทบต่ อ ประโยชน์ ส่วนรวมหรือประโยชน์ของทางราชการ และไม่อาจเรียก ประชุมคณะกรรมการจริยธรรมได้ทัน ข้าราชการอาจขอ คาแนะน าจากหัว หน้ากลุ่มงานคุ้มครองจริย ธรรมของ ส่วนราชการที่ตนสังกัด หัวหน้ากลุ่มงานคุ้มครองจริยธรรมมีหน้าที่ต้องให้ คาแนะนาตามสมควรตามคาวินิจฉัยของคณะกรรมการ จริยธรรม ก.พ. หรือผู้ตรวจการแผ่นดิน 08/09/54
39
หากไม่มีค าวินิจฉัยในเรื่องที่เป็นปัญหามาก่อน หั ว หน้ า กลุ่ ม งานคุ้ ม ครองจริ ย ธรรมอาจให้ ค าแนะน า โดยยึดประโยชน์สูงสุดของส่วนราชการเป็นสาคัญ ทั้ ง ต้ อ งมุ่ ง สร้ า งความส านึ ก และเที่ ย งธรรมใน หน้ า ที่ ผ ดุ ง เกี ย รติ แ ละศั ก ดิ์ ศ รี ข องข้ า ราชการที่ ส ร้ า ง ความไว้วางใจและเชื่อมั่นของปวงชน และการดารงตน เป็ น แบบอย่ า งที่ ดี ง ามให้ ส่ ง เรื่ อ งให้ ค ณะกรรมการ จริยธรรมและ ก.พ. ทราบ
08/09/54
40
ข้าราชการที่ป ฏิบัติตามคาแนะน าของหัว หน้ า ก ลุ่ ม ง า น คุ้ ม ค ร อ ง จ ริ ย ธ ร ร ม ต า ม แ น ว ท า ง ที่ คณะกรรมการจริยธรรม ก.พ. หรือผู้ตรวจการแผ่นดิน เคยวินิจฉัยไว้แล้วโดยสุจริตไม่ต้องรับผิดทางวินัย
08/09/54
41
รายละเอียดของจริยธรรมข้าราชการ 1. ข้าราชการต้องยึดมั่นในจริยธรรมและยืนหยัดกระทาใน สิ่งที่ถูกต้องและเป็นธรรม (ข้อ3) (1)ปฏิบัติตามประมวลจริยธรรมอย่างตรงไปตรงมา และ ไม่กระทาการหลีกเลี่ยงประมวลจริยธรรมนี้ (2)เมื่อรู้หรือพบการฝ่าฝืน ต้องรายงานต่อหัวหน้าส่วน ราชการ หรือคณะกรรมการจริยธรรมโดยพลัน 08/09/54
42
(3)ต้องรายงานการดารงตาแหน่งในนิติบุคคล ซึ่งมิใช่ ส่ ว นราชการ ฯ ในกรณี ที่ อ าจขั ด แย้ ง กั บ การปฏิ บั ติ หน้าที่ หรืออาจทาให้การปฏิบัติหน้าที่เสียหาย (4)ร่วมประชุมแล้วพบว่า มีการฝ่าฝืนประมวลจริยธรรม หรือมีการเสนอเรื่องผ่านตน ต้องคัดค้านการกระทา ดังกล่าว และบันทึกไว้ในรายงานการประชุม
08/09/54
43
2. ข้าราชการต้องมีจิตสานึกที่ดี และรับผิดชอบต่อหน้าที่ เสียสละ ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความรวดเร็ว โปร่งใส สามารถ ตรวจสอบได้ (ข้อ 4) (1) อุ ทิ ศ ตนให้ กั บ การปฏิ บั ติ ง านในหน้ า ที่ ด้ ว ยความ รอบคอบระมัดระวัง เต็มกาลังความสามารถ (2)ไม่ก่อให้เกิดความเสียหายต่อตาแหน่งหน้าที่ของตน หรื อ ข้ า ราชการอื่ น ไม่ ก้ า วก่ า ยหรื อ แทรกแซงการ ปฏิบัติหน้าที่ของข้าราชการอื่นโดยมิชอบ 08/09/54
44
(3) ใช้ดุลพินิจและตัดสินใจ ด้วยความรู้ความสามารถ เยี่ยงที่ปฏิบัติในวิชาชีพ ตรงไปตรงมา ปราศจากอคติ ตามข้อมูลพยานหลักฐานและความเหมาะสม (4) เมื่อเกิดความผิดพลาดขึ้น ต้องรีบแก้ไขให้ถูกต้อง และแจ้งให้หัวหน้าส่วนราชการทราบโดยพลัน
08/09/54
45
(5) ไม่ขัดขวางการตรวจสอบของหน่วยงานที่ มีหน้ าที่ ตรวจสอบตามกฎหมายหรื อ ประชาชน ให้ ค วาม ร่วมมือ (6) ไม่ สั่ ง การด้ ว ยวาจาในเรื่ อ งที่ อ าจก่ อ ให้ เ กิ ด ความ เสียหายแก่ราชการ ใ น ก ร ณี สั่ ง ก า ร ด้ ว ย ว า จ า ดั ง ก ล่ า ว ใ ห้ ผู้ใต้บังคับบัญชาบันทึกเรื่องเป็นลายลักษณ์อักษรตาม คาสั่ง เพื่อให้ผู้สั่งพิจารณาสั่งการต่อไป
08/09/54
46
3. ข้าราชการต้องแยกเรื่องส่วนตัวออกจากตาแหน่งหน้าที่ และยึดถือประโยชน์ส่วนรวมของประเทศชาติเหนือกว่า ประโยชน์ส่วนตน (5) (1) ไม่นาความสัมพันธ์ส่วนตัวที่ตนมีต่อบุคคลอื่นมา ประกอบการใช้ดุลพินิจให้เป็นคุณหรือโทษต่อบุคคล อื่น (2) ไม่ใช้เวลาราชการ เงิน ทรัพย์สิน บุคลากร บริการ หรือสิ่งอานวยความสะดวกของทางราชการไปเป็น ประโยชน์ส่วนตัวของตนหรือผู้อื่น 08/09/54
47
(3) ไม่กระทาการใด หรือดารงตาแหน่ง หรือปฏิบัติการ ใดในฐานะส่วนตัว ก่อให้เกิดความเคลือบแคลงหรือ สงสัยว่าจะขัดกับประโยชน์ส่วนรวมที่อยู่ในความ รับผิดชอบของหน้าที่ (4) ในการปฏิบัติหน้าที่ที่รับผิดชอบในหน่วยงานโดยตรง หรือหน้าที่อื่น ต้องยึดถือประโยชน์ของทางราชการ เป็นหลัก
08/09/54
48
4. ข้าราชการต้องละเว้นจากการแสวงหาประโยชน์ที่มิชอบ โดยอาศัยตาแหน่งหน้าที่ และไม่กระทาการอันเป็นการ ขัดกันระหว่างประโยชน์ส่วนตนและประโยชน์ส่วนรวม (ข้อ 6) (1) ไม่เรียก รับ หรือยอมจะรับ หรือยอมให้บุคคลอื่น เรียก รับ หรือยอมรับ ซึ่งของขวัญแทนตนหรือญาติของ ตน ไม่ว่าก่อนหรือหลังดารงตาแหน่งหรือปฏิบัติหน้าที่ ไม่ว่าจะเกี่ยวข้องหรือไม่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติหน้าที่ หรือไม่ก็ต าม เว้ นแต่เป็นการให้โดยธรรมจรรยา หรือ เป็นการให้ตามประเพณีหรือให้แก่บุคคลทั่วไป 08/09/54
49
(2) ไม่ใช้ตาแหน่ง หรือกระทาการที่เป็นคุณ หรือเป็นโทษแก่บุคคลใด เพราะมีอคติ (3) ไม่เสนอ หรืออนุมัติโครงการ การดาเนินการ หรือการกระทานิติกรรมหรือ สัญญา ซึ่งตนเองหรือบุคคลอื่นจะได้ประโยชน์ อันมิควรได้ โดยชอบด้วยกฎหมายหรือ ประมวลจริยธรรมนี้
08/09/54
50
5. ข้ า ราชการต้ อ งเคารพและปฏิ บั ติ ต ามรั ฐ ธรรมนู ญ และ กฎหมายอย่างตรงไปตรงมา (ข้อ7) (1) ไม่ละเมิดรัฐธรรมนูญ กฎหมาย กฎ ข้อบังคับ หรือ มติคณะรัฐมนตรีที่ชอบด้วยกฎหมาย (2) ในกรณีที่เห็นว่าคาสั่งผู้บังคับบัญชา หรือ การดาเนินการใดที่ตนมีส่วนเกี่ยวข้องไม่ชอบ ต้องทักท้วงเป็นลายลักษณ์อักษรไว้ (3) ถ้าเห็นว่ามติคณะรัฐมนตรีไม่ชอบด้วยกฎหมาย ต้องทาเรื่องเสนอหัวหน้าส่วนราชการพิจารณาและ ส่งเรื่องให้สานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีดาเนินการ ให้ได้ข้อยุติตามกฎหมาย 08/09/54
51
(4) ไม่หลีกเลี่ยงกฎหมาย ใช้หรือแนะนาให้ใช้ช่องว่าง ของกฎหมายที่อยู่ในความรับผิดชอบของตน เพื่อประโยชน์ของตนเองหรือผู้อื่น และต้องเร่งแก้ไข ช่องว่างดังกล่าวโดยเร็ว (5) ไม่ยอมให้บุคคลอื่นอาศัยชื่อตนเอง หรือ ครอบครองทรัพย์สิน สิทธิหรือประโยชน์อื่นใดแทน บุคคลอื่นอันเป็นการเลี่ยงกฎหมาย หรือใช้ชื่อ บุคคลอื่นถือครองสิ่งดังกล่าวแทนตน หรือ ปกปิดทรัพย์สินของตน 08/09/54
52
(6) เมื่อทราบว่ามีการละเมิดหรือไม่ปฏิบัติตาม กฎหมายในส่วนราชการของตน หัวหน้าส่วนราชการ ต้องดาเนินการที่จาเป็น เพื่อให้เกิดการเคารพกฎหมาย ขึ้นโดยเร็ว (7) เมื่อได้รับคาร้องหรือคาแนะนาจากผู้ตรวจการ แผ่นดินหรือหน่วยงานอื่นว่ากฎหมาย กฎ หรือข้อบังคับ ที่อยู่ในความรับผิดชอบของส่วนราชการของตน สร้าง ภาระเกินสมควรแก่ประชาชน หรือสร้างความไม่เป็น ธรรมให้เกิดขึ้นต้องดาเนินการทบทวนกฎหมาย กฎ หรือข้อบังคับดังกล่าวโดยเร็ว 08/09/54
53
6. ข้ า ราชการต้ อ งปฏิ บั ติ ห น้า ที่ ด้ ว ยความเที่ ย งธรรมเป็ น กลาง ทางการเมือง ให้บริการแก่ประชาชน โดยมีอัธยาศัยที่ดี และไม่ เลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรม (ข้อ8) (1) ปฏิบัติหน้าที่ให้ลุล่วง โดยไม่หลีกเลี่ยง ละเลย หรือ ละเว้น การใช้อานาจเกินกว่าที่มีอยู่ตามกฎหมาย (2) ปฏิบัติหน้าที่หรือดาเนินการอื่น โดยคานึงถึงศักดิ์ศรี ความเป็นมนุษย์ และสิทธิเสรีภาพของบุคคล ไม่กระทา การให้กระทาการให้กระทบสิทธิเสรีภาพขอบบุคคล หรือก่อภาระหรือหน้าที่ให้บุคคลโดยไม่มีอานาจ ตามกฎหมาย 08/09/54
54
(3) ให้บริการและอานวยความสะดวกแก่ประชาชน โดย มีอัธยาศัยที่ดี ปราศจากอคติ และไม่เลือกปฏิบัติต่อ บุคคลผู้มาติดต่อโดยไม่เป็นธรรม (4) ละเว้นการให้สัมภาษณ์ การอภิปราย การแสดง ปาฐกถา การบรรยาย หรือการวิพากษ์วิจารณ์ อันกระทบต่อความเป็นกลางทางการเมือง เว้นแต่ เป็นการแสดงความเห็นทางวิชาการตามหลักวิชา 08/09/54
55
(5) ไม่เอื้อประโยชน์เป็นพิเศษแก่ญาติพี่น้อง พรรคพวก เพื่อนฝูงหรือผู้มีพระคุณ และต้องปฏิบัติ หน้าที่ด้วยความเที่ยงธรรมไม่เห็นแก่หน้าผู้ใด (6) ไม่ลอกหรือนาผลงานของผู้อื่นมาใช้เป็นของตนเอง โดยมิได้ระบุแหล่งที่มา
08/09/54
56
7. ข้ า ราชการต้ อ งปฏิ บั ติ ต ามกฎหมายว่ า ด้ ว ยข้ อ มู ล ข่าวสารของทางราชการอย่างเคร่งครัดและรวดเร็วไม่ถ่วง เวลาให้ เ นิ่ น ช้ า และใช้ ข้ อ มู ล ข่ า วสารที่ ไ ด้ ม าจากการ ด าเนิ น งานเพื่ อ การในหน้ า ที่ แ ละให้ ข้ อ มู ล ข่ า วสารแก่ ประชาชนอย่ า งครบถ้ ว น ถู ก ต้ อ ง ทั น การณ์ และไม่ บิดเบือนข้อเท็จจริง (ข้อ9) (1) ไม่ใ ช้ ข้อ มู ลที่ ไ ด้ม าจากการดาเนิ น งานไปเพื่ อ การอื่นอันไม่ใช่การปฏิบัติหน้าที่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเพื่อ เอื้อประโยชน์แก่ตนเองหรือบุคคลอื่น 08/09/54
57
(2) ชี้แจง แสดงเหตุผลที่แท้จริงอย่างครบถ้วนใน กรณีที่กระทาการอันกระทบต่อสิทธิและเสรีภาพบุคคล อื่นไม่อนุญาต หรือไม่อนุมัติตามคาขอของบุคคล หรือ เ มื่ อ บุ ค ค ล ร้ อ ง ข อ ต า ม ก ฎ ห ม า ย เ ว้ น แ ต่ ก า ร อั น คณะกรรมการวิธีปฏิบัติราชการทางปกครองได้กาหนด ยกเว้นไว้ 08/09/54
58
8. ข้าราชการต้องมุ่งผลสัมฤทธิ์ของงาน รักษาคุณภาพและ มาตรฐานแห่งวิชาชีพโดยเคร่งครัด (ข้อ10) (1) ปฏิบัติงานโดยมุ่งประสิทธิภาพและประสิทธิผล ของงานให้เกิดผลดีที่สุดจนเต็มกาลังความสามารถ (2) ใช้งบประมาณ ทรัพย์สิน สิทธิและประโยชน์ที่ ทางราชการจั ด ให้ ด้ ว ยความประหยั ด คุ้ ม ค่ า ไม่ ฟุ่มเฟือย (3) ใช้ความรู้ความสามารถ ความระมัดระวังใน การปฏิบัติหน้าที่ตามคุณภาพและมาตรฐานวิชาชีพ โดยเคร่งครัด 08/09/54
59
9. ข้าราชการต้องยึดมั่นในการปกครองระบบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (ข้อ11) (1) ไม่แสดงการต่อต้านการปกครองระบบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข หรือสนับสนุนให้นาการปกครองในระบอบอื่นที่ไม่มี พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขมาใช้ในประเทศไทย (2) จงรักภักดีต่อพระมหากษัตริย์ และไม่ละเมิด องค์พระมหากษัตริย์ พระราชินี และพระรัชทายาท ไม่ว่าทางกายหรือทางวาจา 08/09/54
60
10. ข้า ราชการต้ องเป็ น แบบอย่า งที่ ดี ในการด ารงจนรั ก ษา ชื่อเสียงและภาพลักษณ์ของราชการโดยรวม (ข้อ12) (1) ไม่ละเมิดหลักสาคัญทางศีลธรรม ศาสนา และประเพณี (2) หัวหน้าส่วนราชการและผู้บังคับบัญชาทุกระดับชั้น ต้องปกครองผู้อยู่ใต้บังคับบัญชาด้วยความเที่ยงธรรม โดยไม่เห็นแก่ความสัมพันธ์หรือบุญคุณส่วนตัวและ ควบคุมให้ผู้อยู่ใต้บังคับบัญชาปฏิบัติ ตามประมวลจริยธรรมโดยเคร่งครัด
08/09/54
61
(3) หัวหน้าส่วนราชการและผู้บังคับบัญชาทุกระดับ ต้องสนับสนุน ส่งเสริมและยกย่องผู้อยู่ใต้บังคับบัญชา ที่มีความซื่อสัตย์ มีผลงานดีเด่น มีความรู้ ความสามารถและขยันขันแข็ง ไม่เลือกที่รักมักที่ชัง และยึดมั่นในระบบคุณธรรม (4) ไม่กระทาการใดอันอาจนาความเสื่อมเสีย และไม่ไว้วางใจให้เกิดแก่ส่วนราชการหรือ ราชการโดยรวม 08/09/54
62
ปัญหา -
08/09/54
จรรยาจะจัดทาเพียงใด ? ความเชื่อมโยงของประมวลจริยธรรม จรรยา วินัย การสร้างความตื่นตัวในราชการ / ทั้งสังคม การปรับเปลี่ยนวัฒนธรรม / ค่านิยม ผู้ดารงตาแหน่งระดับสูง และความเป็นแบบอย่าง
63
08/09/54
64