2_03_13

Page 1

พระราชสมภพ

สมเด็จพระเทพรัตนราชสุ ดา สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันเสาร์ที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2498 (ตรงกับวันขึ้น 10 ค่า เดือน 5 ปี มะแม สัปตศก) ณ พระที่นงั่ อัมพรสถาน พระราชวังดุสิต เป็ นสมเด็จพระเจ้าลูกเธอพระองค์ที่ 3 ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ภูมิพลอดุลย เดช และสมเด็จพระนางเจ้าสิ ริกิต์ ิ พระบรมราชินีนาถ โดยศาสตราจารย์ นายแพทย์หม่อมหลวง เกษตร สนิทวงศ์ เป็ นผูถ้ วายพระประสู ติกาล และได้รับการถวายพระนามจากสมเด็จพระสังฆราช เจ้า กรมหลวงวชิรญาณวงศ์ ว่า สมเด็จพระเจ้ าลูกเธอ เจ้ าฟ้าสิ รินธรเทพรัตนสุ ดา กิติวฒ ั นาดุล โสภาคย์ พร้อมทั้งประทานคาแปลว่า นางแก้ว อันหมายถึง หญิงผูป้ ระเสริ ฐ และมีพระนามที่ขา้ ราช บริ พาร เรี ยกทัว่ ไปว่า ทูลกระหม่ อมน้ อย


พระนาม "สิ รินธร" นั้น นามาจากสร้อยพระนามของสมเด็จพระราชปิ ตุจฉา เจ้าฟ้ าวไลย อลงกรณ์ กรมหลวงเพชรบุรีราชสิ รินธร ซึ่งเป็ นพระราชปิ ตุจฉา (ป้ า) ในพระบาทสมเด็จพระ เจ้าอยูห่ วั ภูมิพลอดุลยเดช สาหรับสร้อยพระนาม "กิติวฒ ั นาดุลโสภาคย์ " ประกอบขึ้นจากพระนามาภิไธยของสมเด็จ พระบรมราชบุพการี 3 พระองค์ ได้แก่ "กิติ" มาจากพระนามาภิไธยของ "สมเด็จพระนางเจ้าสิ ริกิต์ ิ พระบรมราชินีนาถ" สมเด็จพระราชชนนี (แม่) ส่ วน "วัฒนา" มาจากพระนามาภิไธยของ "สมเด็จ พระศรี สวริ นทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า" (สมเด็จพระนางเจ้าสว่างวัฒนา พระบรม ราชเทวี) สมเด็จพระปัยยิกา (ย่าทวด) และ "อดุล" มาจากพระนามาภิไธยของ "สมเด็จพระมหิตลาธิ เบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก" สมเด็จพระอัยกา (ปู่ )


การศึกษา เมื่อปี พ.ศ. 2501 พระองค์ทรงเริ่ มเข้ารับการศึกษาระดับอนุบาลที่โรงเรี ยนจิตรลดา ซึ่งตั้งอยู่ ภายในพระตาหนักจิตรลดารโหฐาน พระราชวังดุสิต และทรงศึกษาต่อในโรงเรี ยนจิตรลดาจนถึง ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย และ ในปี พ.ศ. 2515 ก็ทรงสอบไล่จบชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ใน แผนกศิลปะ ด้วยคะแนนสู งสุ ดของประเทศ หลังจากนั้น พระองค์ทรงสอบเข้าศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษา ณ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยสามารถทาคะแนนสอบเอนทรานซ์เป็ นอันดับ 4 ของประเทศ[9] ซึ่งถือ เป็ นสมเด็จเจ้าฟ้ าพระองค์แรกที่ทรงเข้าศึกษาต่อระดับอุดมศึกษาในประเทศ[10] จนกระทัง่ ปี พ.ศ. 2520 พระองค์ทรงสาเร็จการศึกษาได้รับปริ ญญาอักษรศาสตรบัณฑิต สาขาประวัติศาสตร์ เกียรติ นิยมอันดับหนึ่ง เหรี ยญทอง ด้วยคะแนนเฉลี่ย 3.98 พระองค์ทรงเข้าศึกษาต่อในระดับปริ ญญาโท ด้านจารึ กภาษาตะวันออก (ภาษาสันสกฤต และภาษาเขมร) ณ คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากรและสาขาภาษาบาลีและสันสกฤต จาก ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในระหว่างนั้น มีพระราชกิจ มากจนทาให้ไม่สามารถทาวิทยานิพนธ์ในระดับปริ ญญาโทได้พร้อมกันทั้ง 2 มหาวิทยาลัย พระองค์ จึงตัดสิ นพระทัยเลือกทาวิทยานิพนธ์เพื่อให้สาเร็จการศึกษาที่คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร ก่อน โดยทรงทาวิทยานิพนธ์หวั ข้อเรื่ อง “จารึ กพบที่ปราสาทพนมรุ ้ง” ทรงสาเร็จการศึกษาได้รับ


ปริ ญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต และเข้ารับพระราชทานปริ ญญาบัตรเมื่อวันที่ 11 ตุลาคม พ.ศ. 2522 หลังจากนั้น พระองค์ทรงทาวิทยานิพนธ์หวั ข้อเรื่ อง “ทศบารมีในพุทธศาสนาเถรวาท” ทรงสาเร็จ การศึกษาได้รับปริ ญญาอักษรศาสตรมหาบัณฑิต จากคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และได้เข้ารับพระราชทานปริ ญญาบัตรเมื่อวันที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2524[11] พระองค์ทรงเข้าศึกษาต่อในระดับปริ ญญาเอก ณ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรี นคริ นท รวิโรฒ โดยพระองค์ผา่ นการสอบคัดเลือกอย่างยอดเยีย่ มด้วยคะแนนเป็ นอันดับหนึ่งในบรรดาผูเ้ ข้า สอบทั้งหมด และทรงเป็ นนิสิตปริ ญญาการศึกษาดุษฎีบณ ั ฑิต สาขาพัฒนศึกษาศาสตร์ รุ่ นที่ 4 พระองค์ทรงทาวิทยานิพนธ์ในหัวข้อเรื่ อง “การพัฒนานวัตกรรมเสริ มทักษะการเรี ยนการสอน ภาษาไทยสาหรับนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย” เนื่องจากพระองค์ทรงตระหนักว่าสภาพการ เรี ยนการสอนภาษาไทยนั้นมีปัญหา เพราะนักเรี ยนไม่ค่อยสนใจเรี ยนภาษาไทย มีความรู ้ ความสามารถ ทักษะในการเข้าใจและใช้ภาษาไม่เพียงพอ พระองค์จึงทรงนาเสนอวิธีการสอน ภาษาไทยในลักษณะนวัตกรรมเสริ มทักษะการเรี ยนการสอน เพื่อส่ งเสริ มความสนใจในการเรี ยน ภาษาไทยของนักเรี ยนและเป็ นสื่ อที่จะช่วยให้ครู สอนภาษาไทยได้ง่ายขึ้น พระองค์ทรงสอบผ่าน วิทยานิพนธ์อย่างยอดเยีย่ ม สภามหาวิทยาลัยอนุมตั ิให้ทรงสาเร็จการศึกษาในระดับปริ ญญาเอก เมื่อ วันที่ 17 ตุลาคม พ.ศ. 2529 การสถาปนาพระอิสริยศักดิ์ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ภูมิพลอดุลยเดช มีพระราชดาริ วา่ สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้ าสิ ริ นธรเทพรัตนสุ ดา กิติวฒั นาดุลโสภาคย์ ทรงได้รับความสาเร็จในการศึกษาอย่างงดงาม และทรงได้ บาเพ็ญพระองค์ให้เป็ นประโยชน์แก่ชาติบา้ นเมืองเป็ นอเนกปริ ยาย โดยเสด็จพระราชดาเนินไปทรง เยีย่ มเยียนราษฎรในภูมิภาคต่าง ๆ อยูเ่ สมอ ในด้านการพัฒนาบ้านเมือง เสด็จพระราชดาเนินไปทรง ศึกษาและช่วยเหลือกิจการโครงการตามพระราชดาริ ทุกโครงการ พร้อมทรงรับพระบรมราโชบาย มาทรงดาเนินการสนองพระเดชพระคุณในด้านต่าง ๆ นับเป็ นการดูแลสอดส่ องพระราชกรณี ยกิจ ส่ วนหนึ่งต่างพระเนตรพระกรรณ ในด้านการพระศาสนา มีพระหฤทัยมัน่ คงในพระรัตนตรัยและ


สนพระหฤทัยศึกษาหาความรู ้ดา้ นพระพุทธศาสนาและศาสนาอื่นอย่างแตกฉาน ในส่ วนราชการใน พระองค์น้ นั ก็ได้สนองพระเดชพระคุณในพระราชภารกิจที่ทรงมอบหมายให้สาเร็จลุล่วงไปด้วยดี สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ พระองค์น้ ี กอปรด้วยพระจรรยามารยาท เพียบพร้อมด้วยคุณสมบัติ แห่งขัตติยราชกุมารี ทุกประการ เป็ นที่รักใคร่ นบั ถือ ยกย่องสรรเสริ ญพระเกียรติคุณกันอยูโ่ ดยทัว่ จึง ทรงพระกรุ ณาโปรดเกล้าฯ สถาปนาพระอิสริ ยยศและพระอิสริ ยศักดิ์ให้สูงขึ้น ให้ทรงรับพระราช บัญชาและสัปตปฎลเศวตฉัตร (เศวตฉัตร 7 ชั้น) พร้อมทั้ง เฉลิมพระนามตามที่จารึ กในพระ สุ พรรณบัฏว่า สมเด็จพระเทพรัตนราชสุ ดา เจ้ าฟ้ามหาจักรีสิรินธร รัฐสี มาคุณากรปิ ยชาติ สยาม บรมราชกุมารี เมื่อวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2520 ในการสถาปนาพระอิสริ ยยศสาหรับพระบรมวงศานุวงศ์ฝ่ายใน ตั้งแต่เริ่ มตั้งกรุ ง รัตนโกสิ นทร์จนถึงปัจจุบนั การสถาปนาพระยศ "สมเด็จพระ" นั้น ส่ วนใหญ่จะเป็ นการสถาปนา พระยศของสมเด็จพระบรมราชชนนี พระพันปี หลวง สมเด็จพระบรมอัยยิกาเธอ พระวิมาดาเธอ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ ในรัชกาลต่าง ๆ แต่การสถาปนาในครั้งนี้ถือเป็ นครั้งแรกที่มีการสถาปนา สมเด็จพระเจ้าลูกเธอเจ้าฟ้ า ขึ้นเป็ น "สมเด็จพระ" จึงเป็ นพระเกียรติยศที่สูงยิง่ พระอัจฉริยภาพ ด้ านภาษา พระองค์ทรงมีความรู ้ทางด้านภาษาบาลี ภาษาสันสกฤต และภาษาเขมร ทรงสามารถรับสั่ง เป็ นภาษาอังกฤษ ภาษาฝรั่งเศส และภาษาจีน และทรงกาลังศึกษา ภาษาเยอรมัน และภาษาลาตินอีก ด้วย[9] ขณะที่ทรงพระเยาว์น้ นั สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ทรงสอนภาษาไทยแก่พระ ราชโอรสและพระราชธิดา โดยทรงอ่านวรรณคดีเรื่ องต่าง ๆ พระราชทาน และทรงให้พระองค์ทรง คัดบทกลอนต่าง ๆ หลายตอน ทาให้พระองค์โปรดวิชาภาษาไทยตั้งแต่น้ นั มา นอกจากนี้ ยังทรงสน พระทัยในภาษาอังกฤษและภาษาบาลีดว้ ย เมื่อพระองค์ทรงเข้าเรี ยนที่โรงเรี ยนจิตรลดานั้น ทรงได้รับการถ่ายทอดความรู ้ทางด้านภาษา ทั้งภาษาไทย ภาษาบาลี ภาษาเขมร ภาษาอังกฤษ และภาษาฝรั่งเศส โดยภาษาไทยนั้น พระองค์ทรง


เชี่ยวชาญทั้งด้านหลักภาษา วรรณคดี และศิลปะไทย เมื่อทรงจบชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น พระองค์ พอรู ้แน่วา่ อย่างไรก็คงไม่ได้เรี ยนแผนกวิทยาศาสตร์ จึงพยายามหัดเรี ยนภาษาบาลี อ่านเขียนอักษร ขอม เนื่องจากในสมัยนั้น ผูท้ ี่จะเรี ยนภาษาไทยให้กว้างขวาง ลึกซึ้ง จะต้องเรี ยนทั้งภาษาบาลี สันสกฤต และเขมร[14] ซึ่งภาษาบาลีน้ นั เป็ นภาษาที่พระองค์สนพระทัยตั้งแต่ทรงพระเยาว์ แต่ได้เริ่ ม เรี ยนอย่างจริ งจังในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จนสามารถจาการแจกวิภตั ติเบื้องต้นที่สาคัญได้ และเข้าพระทัยโครงสร้างและลักษณะทัว่ ไปของภาษาบาลีได้ นอกจากนี้ ยังทรงเลือกเรี ยนภาษา ฝรั่งเศสแทนการเรี ยนเปี ยโน เนื่องจากมีพระราชประสงค์ที่จะอ่านหนังสื อภาษาฝรั่งเศสที่มีอยูใ่ นตู ้ หนังสื อมากกว่าการซ้อมเปี ยโน เมื่อทรงเข้าศึกษา ณ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยนั้น พระองค์ทรงเลือกเรี ยน สาขาประวัติศาสตร์เป็ นวิชาเอก และวิชาภาษาไทย ภาษาบาลี และภาษาสันสกฤตเป็ นวิชาโท ทาให้ ทรงศึกษาวิชาภาษาไทยในระดับชั้นสู งและละเอียดลึกซึ้งยิง่ ขึ้นทั้งด้านภาษาและวรรณคดี ส่ วน ภาษาบาลีและสันสกฤตนั้น ทรงศึกษาทั้งวิธีการแบบดั้งเดิมของไทย คือ แบบที่เรี ยนกันในพระ อารามต่าง ๆ และแบบภาษาศาสตร์ซ่ ึงเป็ นวิธีการตะวันตก ตั้งแต่ไวยากรณ์ข้ นั พื้นฐานไปจนถึงขั้น สู ง และเรี ยนตามวิธีการอินเดียโบราณเป็ นพิเศษในระดับปริ ญญาโท ซึ่งรัฐบาลอินเดียได้ส่ง ศาสตราจารย์ ดร. สัตยพรต ศาสตรี มาถวายพระอักษรภาษาสันสกฤต โดยวิทยานิพนธ์ในระดับ ปริ ญญาโทของพระองค์ เรื่ อง ทศบารมีในพุทธศาสนาเถรวาท นั้น ยังได้รับการยกย่องจากมหามกุฏ ราชวิทยาลัยว่า เป็ นวิทยานิพนธ์ที่แสดงถึงพระปรี ชาสามารถ ในภาษาบาลีพทุ ธวจนะเป็ นพิเศษ[16] พระปรี ชาสามารถทางด้านภาษาของพระองค์น้ นั เป็ นที่ประจักษ์ จึงได้รับการทูลเกล้าถวาย ปริ ญญาดุษฎีบณ ั ฑิตกิตติมศักดิ์ทางด้านภาษาจากมหาวิทยาลัยต่าง ๆ ทั้งในและต่างประเทศ เช่น มหาวิทยาลัยรามคาแหง มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยมาลายา ประเทศมาเลเซีย มหาวิทยาลัย บักกิงแฮม สหราชอาณาจักร เป็ นต้น ด้ านดนตรี พระองค์ทรงเป็ นผูเ้ ชี่ยวชาญด้านดนตรี ไทยผูห้ นึ่ง โดยทรงเครื่ องดนตรี ไทยได้ทุกชนิด แต่ที่ โปรดทรงอยูป่ ระจา คือ ระนาด ซอ และฆ้องวง โดยเฉพาะระนาดเอก[18] พระองค์ทรงเริ่ มหัดดนตรี


ไทย ในขณะที่ทรงศึกษาอยูช่ ้ นั มัธยมศึกษาปี ที่ 2 โรงเรี ยนจิตรลดา โดยทรงเลือกหัดซอด้วงเป็ น เครื่ องดนตรี ชิ้นแรก[19] และได้ทรงดนตรี ไทยในงานปิ ดภาคเรี ยนของโรงเรี ยน รวมทั้ง งานวันคืนสู่ เหย้าร่ วมกับวงดนตรี จิตรลดาของโรงเรี ยนจิตรลดาด้วย หลังจากที่ทรงเข้าศึกษาในระดับอุดมศึกษา ณ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พระองค์ทรงเข้าร่ วมชมรมดนตรี ไทยของสโมรสร นิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและคณะอักษรศาสตร์ โดยทรงเล่นซอด้วงเป็ นหลัก[19] และทรงเริ่ ม หัดเล่นเครื่ องดนตรี ไทยชิ้นอื่น ๆ ด้วย ในขณะที่ทรงพระเยาว์ เครื่ องดนตรี ที่ทรงสนพระทัยนั้น ได้แก่ ระนาดเอกและซอสามสาย[20] ซึ่งพระองค์ทรงเริ่ มเรี ยนระนาดเอกอย่างจริ งจังเมื่อปี พ.ศ. 2528 หลังจากการเสด็จทรงดนตรี ไทย ณ บ้านปลายเนิน ซึ่งเป็ นวังของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ าจิตรเจริ ญ กรมพระยานริ ศรานุวดั ติ วงศ์ โดยมี สิ ริชยั ชาญ พักจารู ญ เป็ นพระอาจารย์[21] พระองค์ทรงเริ่ มเรี ยนตั้งแต่การจับไม้ระนาด การตีระนาดแบบต่าง ๆ และท่าที่ประทับขณะทรงระนาด และทรงเริ่ มเรี ยนการตีระนาดตามแบบ แผนโบราณ กล่าวคือ เริ่ มต้นด้วยเพลงต้นเพลงฉิ่งสามชั้น แล้วจึงทรงต่อเพลงอื่น ๆ ตามมา ทรงทา การบ้านด้วยการไล่ระนาดทุกเช้า หลังจากบรรทมตื่นภายในห้องพระบรรทม จนกระทัง่ พ.ศ. 2529 พระองค์จึงทรงบรรเลงระนาดเอกร่ วมกับครู อาวุโสของวงการดนตรี ไทยหลายท่านต่อหน้า สาธารณชนเป็ นครั้งแรก ในงานดนตรี ไทยอุดมศึกษา ครั้งที่ 17 ณ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยเพลง ที่ทรงบรรเลง คือ เพลงนกขมิน้ (เถา) นอกจากดนตรี ไทยแล้ว พระองค์ยงั ทรงดนตรี สากลด้วย โดยทรงเริ่ มเรี ยนเปี ยโนตั้งแต่ พระชนมายุ 10 พรรษา แต่ได้ทรงเลิกเรี ยนหลังจากนั้น 2 ปี และทรงฝึ กเครื่ องดนตรี สากล ประเภท เครื่ องเป่ า จากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั จนสามารถทรงทรัมเปตนาวงดุริยางค์ในงานคอนเสิ ร์ต สายใจไทย และทรงระนาดฝรั่งนาวงดุริยางค์ในงานกาชาดคอนเสิ ร์ต[19] ด้ านพระราชนิพนธ์ พระองค์โปรดการอ่านหนังสื อและการเขียนมาตั้งแต่ทรงพระเยาว์ รวมกับพระปรี ชา สามารถทางด้านภาษาทั้งภาษาไทยและต่างประเทศ ร้อยแก้วและร้อยกรอง ดังนั้น จึงทรง พระราชนิพนธ์หนังสื อประเภทต่าง ๆ ออกมามากกว่า 100 เล่ม ซึ่งมีหลายหลากประเภททั้ง


สารคดีท่องเที่ยวเมื่อเสด็จพระราชดาเนินเยือนต่างประเทศ เช่น เกล็ดหิมะในสายหมอก ทัศนะจากอินเดีย มนต์รักทะเลใต้ ประเภทวิชาการและประวัติศาสตร์ เช่น บันทึกเรื่ องการ ปกครองของไทยสมัยอยุธยาและต้นรัตนโกสิ นทร์ กษัตริ ยานุสรณ์ หนังสื อสาหรับเยาวชน เช่น แก้วจอมแก่น แก้วจอมซน หนังสื อที่เกี่ยวข้องกับพระบรมวงศานุวงศ์ไทย เช่น สมเด็จแม่ กับการศึกษา สมเด็จพระศรี นคริ นทราบรมราชชนนีกบั พระราชกรณี ยกิจพระราชจริ ยาวัตร ด้านการศึกษา ประเภทพระราชนิพนธ์แปล เช่น หยกใสร่ ายคา ความคิดคานึง เก็จแก้ว ประกายกวี และหนังสื อทัว่ ไป เช่น นิทานเรื่ องเกาะ (เรื่ องนี้ไม่มีคติ) เรื่ องของคนแขนหัก เป็ น ต้น และมีลกั ษณะการเขียนที่คล้ายคลึงกับพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า เจ้าอยูห่ วั กล่าวคือ ในพระราชนิพนธ์เรื่ องต่าง ๆ นอกจากจะแสดงพระอารมณ์ขนั แล้ว ยังทรง แสดงการวิพากษ์ วิจารณ์ในแง่ต่าง ๆ เป็ นการแสดงพระมติส่วนพระองค์[23] นอกจากพระนาม "สิ รินธร" แล้ว พระองค์ยงั ทรงใช้นามปากกาในการพระราชนิพนธ์ หนังสื ออีก 4 พระนาม ได้แก่ "ก้อนหินก้ อนกรวด" เป็ นพระนามแฝงที่ทรงหมายถึง พระองค์และพระสหาย สามารถ แยกได้เป็ น ก้อนหิน หมายถึง พระองค์เอง ส่ วนก้อนกรวด หมายถึง กุณฑิกา ไกรฤกษ์ พระองค์มีรับสั่งถึงพระนามแฝงนี้วา่ “เราตัวโตเลยใช้ ว่า ก้ อนหิ น หวานตัวเล็ก เลยใช้ ว่า ก้ อน กรวด รวมกันจึงเป็ น ก้ อนหิ น-ก้ อนกรวด” นามปากกานี้ ทรงใช้ครั้งเดียวตอนประพันธ์ บทความ "เรื่ องจากเมืองอิสราเอล" เมื่อปี พ.ศ. 2520 "แว่ นแก้ว" เป็ นชื่อที่พระองค์ทรงตั้งขึ้นเอง ซึ่งพระองค์มีรับสั่งถึงพระนามแฝงนี้วา่ "ชื่ อแว่ นแก้ ว นีต้ ั้งเอง เพราะตอนเด็ก ๆ ชื่ อลูกแก้ ว ตัวเองอยากชื่ อแก้ ว ทาไมถึงเปลี่ยนไปไม่ ร้ ู เหมือนกัน แล้ วก็ชอบเพลงน้ อยใจยา นางเอกชื่ อ แว่ นแก้ ว" พระนามแฝง แว่นแก้วนี้ พระองค์ เริ่ มใช้เมื่อปี พ.ศ. 2521 เมื่อทรงพระราชนิพนธ์และทรงแปลเรื่ องสาหรับเด็ก ได้แก่ แก้วจอม ซน แก้วจอมแก่น และขบวนการนกกางเขน


"หนูน้อย" พระองค์มีรับสั่งถึงพระนามแฝงนี้วา่ "เรามีชื่อเล่ นที่เรี ยกกันในครอบครั วว่ า น้ อย เลยใช้ นามแฝงว่ า หนูน้อย" โดยพระองค์ทรงใช้เพียงครั้งเดียวในบทความเรื่ อง “ป๋ องที่ รัก” ตีพิมพ์ในหนังสื อ 25 ปี จิตรลดา เมื่อปี พ.ศ. 2523 และ "บันดาล" พระองค์มีรับสั่งถึงพระนามแฝงนี้วา่ "ใช้ ว่า บันดาลเพราะคานีผ้ ดุ ขึน้ มา ในสมอง เลยใช้ เป็ นนามแฝง ไม่ มีเหตุผลอะไรในการใช้ ชื่อนีเ้ ลย" ซึ่งพระองค์ทรงใช้ในงาน แปลภาษาอังกฤษเป็ นภาษาไทยที่ทรงทาให้สานักเลขาธิการคณะกรรมการแห่งชาติ ว่าด้วย การศึกษา วิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ กระทรวงศึกษาธิการ เมื่อปี พ.ศ. 2526 นอกจากนี้ ยังทรงพระราชนิพนธ์เพลงเป็ นจานวนมาก โดยบทเพลงที่ดงั และนามาขับ ร้องบ่อยครั้ง ได้แก่ เพลง ส้มตา รวมทั้ง ยังทรงประพันธ์คาร้องในบทเพลงพระราชนิพนธ์ใน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ภูมิพลอดุลยเดช ได้แก่ เพลง รัก และ เพลง เมนูไข่


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.