manual-km-2054

Page 1

การดูแลสุ ขภาพผ้ ูสูงอายุ

งานการจัดการความรู้ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นพรัตน์ วชิระ สถาบันพระบรมราชชนก กระทรวงสาธารณสุ ข


การดูแลสุขภาพ

ผู้สูงอายุ

คู่มือ การดูแลสุ ขภาพผู้สูงอายุ


การดูแลสุ ขภาพผ้ ูสูงอายุ บรรณาธิการ : ดร.กนกวรรณ ศิลปกรรมพิเศษ ทีป่ รึกษางานจัดการความรู้ ผู้อาํ นวยการวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นพรัตน์ วชิระ : ดร.พิมพ์ พฒ ั น์ จันทร์ เทียน หัวหน้ ากลุ่มวิจัยและบริการวิชาการ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นพรัตน์ วชิระ ทองพิลา :อาจารย์ สุกจิ หัวหน้ างานการจัดการความรู้ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นพรัตน์ วชิระ

พิมพ์ครั้งที่ 1: 300 เล่ ม พ.ศ.2554 พิมพ์ที่

:

จัดพิมพ์และเผยแพร่ โดย : งานการจัดการความรู้ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นพรัตน์ วชิระ คู่มือ การดูแลสุ ขภาพผู้สูงอายุ


ผูเ้ รี ยบเรี ยง ดร.กนกวรรณ ศิลปกรรมพิเศษ ทีป่ รึกษางานจัดการความรู้ ผู้อาํ นวยการวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นพรัตน์ วชิระ ดร.พิมพ์ พฒ ั น์ จันทร์ เทียน หัวหน้ ากลุ่มวิจัยและบริการวิชาการ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นพรัตน์ วชิระ ดร.พีระนันทิ์ จีระยิง่ มงคล หัวหน้ ากลุ่มวิชาการ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นพรัตน์ วชิระ อาจารย์ สุกจิ ทองพิลา หัวหน้ างานการจัดการความรู้ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นพรัตน์ วชิระ

คู่มือ การดูแลสุ ขภาพผู้สูงอายุ


คํานํา พระราชกฤษฎี ก าว่ า ด้ว ย หลัก เกณฑ์ แ ละวิ ธี ก ารบริ หารกิ จ การ บ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2549 มาตรา 11 ส่ วนราชการมีหน้าที่พฒั นาความรู้ใน ส่ วนราชการ เพื่อให้มีลกั ษณะเป็ นองค์กรแห่ งการส่ งเสริ มและพัฒนา ความรู้ความสามารถ สร้างวิสัยทัศน์และปรับเปลี่ยนทัศนคติของข้าราชการ ในสังกัด เป็ นบุคลากรที่มีประสิ ทธิภาพ มีการเรี ยนรู้ร่วมกัน วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นพรัตน์วชิระ สังกัดสถาบันพระบรม ราชชนก กระทรวงสาธารณสุ ข สถาบันสมทบ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มีหน้าที่ในการผลิตและพัฒนากําลังคนสาขาพยาบาลศาสตร์ เพื่อตอบสนอง ความต้อ งการของประเทศ เห็ น ความสํา คัญ ของการจัด การความรู ้ เ พื่ อ นํามาใช้เป็ นเครื่ องมือสนับสนุนการพัฒนาสมรรถนะของบุคลากรและการ เพิ่มประสิ ทธิ ภาพของการปฏิบตั ิงานมาอย่างต่อเนื่ อง โดยจัดทําคู่มือการ ดูแลสุ ขภาพในผูส้ ู งอายุซ่ ึ งได้รวบรวม เนื้ อหาจากการสังเคราะห์งานวิจยั ของวิทยาลัย ฯเกี่ยวกับ การเปลี่ยนแปลงทางสรี รวิทยา ปํ ญหาสุ ขภาพในวัย สู งอายุ การออกกําลังกาย และโภชนาการ ซึ่ งคณะผูจ้ ดั ทําหวังเป็ นอย่างยิง่ ว่าจะเป็ นประโยชน์สาํ หรับผูส้ ู งอายุ ผูด้ ูแล และประชาชนที่สนใจ สุ ดท้ายนี้ ขอขอบคุณ ดร.กนกวรรณ ศิ ลปกรรมพิเศษผูอ้ าํ นวยการ วิทยาลัยฯ ที่ได้ให้การสนับสนุ นเสมอมา คณาจารย์ทุกท่าน บุคลากรทุก ฝ่ ายของที่ ได้ช่วยกันดําเนิ นการจัดทําคู่มือเล่มนี้ ดว้ ยความอุตสาหะวิริยะ จนกระทัง่ เป็ นคู่มือที่สมบูรณ์ คณะกรรมการการจัดการความรู้ ธันวาคม 2554 คู่มือ การดูแลสุ ขภาพผู้สูงอายุ


สารบัญ

สารบัญ

หน้า

ความหมาย และการเปลีย่ นแปลงในวัยสู งอายุ คนในครอบครัวควรปฏิบัติต่อผู้สูงอายุอย่ างไร คนในสั งคมหรือชุ มชนควรปฏิบัติต่อผู้สูงอายุอย่ างไร โภชนาการสํ าหรับผู้สูงอายุ การใช้ ยาในผู้สูงอายุ การออกกําลังกายสํ าหรับผู้สูงอายุ เคล็ดลับกิน-อยู่ อย่ างไรให้ อายุยนื ปํ ญหาสุ ขภาพที่พบบ่ อยในผู้สูงอายุ เอกสารอ้ างอิง

คู่มือ การดูแลสุ ขภาพผู้สูงอายุ


ความหมาย การปลีย่ นแปลง ในวัยสูงอายุ

คู่มือ การดูแลสุ ขภาพผู้สูงอายุ


จากการพัฒนาสังคมและเทคโนโลยีในปั จจุบนั ส่ งผลให้ประชากรมี อายุยนื ยาวมากขึ้น ทําให้สัดส่ วนของผูส้ ู งอายุในสังคมไทยเพิ่มมากขึ้น การ ส่ งเสริ มความรู ้ ความเข้าใจในการดูแลสุ ขภาพ นับว่ามีความจําเป็ นอย่างยิง่ ต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผูส้ ู งอายุ เนื่องจากวัยสู งอายุเป็ นวัยที่ร่างกาย มีความเสื่ อมอย่างชัดเจน และการที่จะชะลอความเสื่ อมของร่ างกายผูส้ ู งอายุ นั้น มีปัจจัยที่สําคัญมาจากการใส่ ใจจากครอบครัว ชุมชน และสังคม โดยรวม ร่ างกายจะมี ก ารเปลี่ ย นแปลงไปในทางที่ เ สื่ อ มลง ตั้ง แต่ อ ายุ ประมาณ 40 ปี เป็ นต้นไป ในทางการแพทย์ให้คาํ นิยามของ ผู้สูงอายุคือ ผู้มี อายุต้งั แต่ 60 ปี ขึน้ ไป ผูส้ ู งอายุ จะมีการเปลี่ยนแปลงสภาพร่ างกาย ขึ้นอยู่ กับสุ ขภาพและการใช้ชีวิตในวัยที่ ผ่านมา ร่ วมกับผูส้ ู งอายุบางคนมี โรค ประจําตัว ซึ่ งทําให้สมรรถภาพของร่ างกายเสื่ อมถอยลงไป จุดประสงค์ ที่ สํ าคัญที่สุดในการดูแลผู้สูงอายุคือ เพื่อให้ท่านทั้งหลายได้สามารถใช้ชีวิต แต่ละวันอย่างมีความสุ ข มีอิสระที่จะดําเนิ นชี วิตอย่างมีคุณภาพตามที่ตน ต้องการ ถึงแม้สภาพร่ างกายจะเสื่ อมถอยไป และมีโรคเรื้ อรังต่าง ๆ อยู่ก็ ตาม

คู่มือ การดูแลสุ ขภาพผู้สูงอายุ


การเปลีย่ นแปลงทางร่ างกาย จิตใจและสั งคมของผู้สูงอายุ สภาพร่ างกาย จิตใจ ตลอดจนการดํารงอยูใ่ นสังคมของผูส้ ู งอายุ จะมี การเปลี่ ย นแปลงไป เนื่ อ งจากมี ค วามเสื่ อ มลงตามอายุที่ ม ากขึ้ น การ เปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นเมื่อเข้าสู่ วยั สู งอายุ มีดงั นี้ ผิวหนัง บาง แห้ง เหี่ ยว ย่น มักมีอาการคัน มีจ้ าํ เลือด เซลล์สร้างสี ผวิ ทํางานลดลง สี ผวิ จางลงแต่อาจมีจุดด่างขาว สี ดาํ หรื อสี น้ าํ ตาล มากขึ้น เกิด เป็ นการตกกระ ต่ อมเหงื่อลดน้ อยลง การขับเหงื่ อน้อยลง ทําให้ทนต่อการ เปลี่ยนแปลง ของอุณหภูมิของอากาศไม่ได้ดี เกิดความรู ้สึกหนาว ร้อน ไม่ คงที่ ผมและขน ร่ วง เปลี่ยนเป็ นสี ขาว หรื อหงอก ทําให้ผมบาง หัวล้าน ขนตามร่ างกายร่ วงหลุดง่าย ที่เห็นชัดคือ ขนรักแร้ ทั้งนี้ เนื่องจากต่อมรู ขมุ ขนทํางานน้อย ตา สายตาจะเปลี่ยนเป็ นสายตายาว เลนซ์หรื อกระจกตาขุ่น เกิดต้อ กระจกกล้ามเนื้อลูกตาเสื่ อม การปรับสายตาช้า ความไวในการมองภาพ ลดลง ทําให้ปวด เวียนศีรษะได้ง่าย มีน้ าํ ตาลดลง ทําให้ตาแห้ง ระคาย เคืองต่อเยือ่ บุตาได้ง่าย

คู่มือ การดูแลสุ ขภาพผู้สูงอายุ


ห◌ู ประสาทรับเสี ยงเสื่ อมไปเกิดหูตึง แต่จะได้ยนิ เสี ยงตํ่าๆ ได้ชดั กว่าเสี ยงพูดธรรมดา หรื อในระดับเสี ยงสูง จมูก ประสาทรับกลิ่นบกพร่ องไป ทําให้การรับรู ้กลิ่นลดน้อยลง ลิน้ รู้รสน้อยลง รับรสหวานสู ญเสี ยก่อนรับรสอื่นๆ ฟัน ผุ หักแตกง่าย เคลือบฟันบางลง เหงือกหุม้ คอฟันร่ นลงไป ต่ อมนํา้ ลาย ขับนํ้าลายออกน้อย ทําให้ปากแห้ง การเคลื่อนไหวของกระเพาะอาหารลดลง นํ้าย่อย กรดเกลือใน กระเพาะอาหาลดน้อ ยลง อาหารอยู่ใ นกระเพาะอาหารนานขึ้ น ทํา ให้ ท้องอืดง่าย เบื่ออาหารด้วยภาวะขาดอาหาร และโลหิ ตจางได้ ตับและตับอ่ อน หน้าที่การทํางานเสื่ อมไป อาจเกิดโรคเบาหวานการ เคลื่อน ไหวของลําไส้เล็ก และลําไส้ใหญ่ลดลง ทําให้การขับถ่ายอุจจาระ ไม่ปกติ ท้องผูกเสมอ กระดูก ปริ มาณแคลเซี ยมลดน้อยลง ทําให้กระดูกบาง เปราะ พรุ น หักง่าย มีอาการปวดเจ็บกระดูกบ่อย

คู่มือ การดูแลสุ ขภาพผู้สูงอายุ


ข้ อเสื่ อม นํ้าไขข้อลดลง เกิดเจ็บ ปวด ข้อยึดติด เคลื่อนไหว ลําบาก พบน้อยคือ ข้อเข่า ข้อสะโพก กล้ ามเนือ้ เหี่ ยว เล็กลง อ่อนกําลังลง ทําให้ทาํ งานออกแรงมากไม่ได้ เพลีย ล้าเร็ ว และทรงตัวไม่ดี ปอด ความยืดหยุน่ ของเนื้อปอดลดลงเป็ นเหตุให้การขยายและ ยุบตัวไม่ดี ทําให้เหนื่อยง่าย หัวใจ แรงบีบตัวน้อยลง ทําให้การหดตัวลดลงปริ มาณเลือดออกจาก หัวใจลดลงด้วย อัตราการเต้นของหัวใจลดลง และกล้ามเนื้อหัวใจไวต่อสิ่ ง เร้าลดลง ทําให้เหนื่อยง่าย หลอดเลือด ผนังของหลอดเลือดมีลกั ษณะหนา และแข็งขึ้น เพราะมี ไขมันมาเกาะ เป็ นสาเหตุของความดันโลหิ ตสู ง การขับถ่ ายปัสสาวะ ไต เสื่ อม ขับของเสี ยได้นอ้ ยลง แต่ขบั นํ้า ออกมามาก จึงถ่ายปั สสาวะมาก กล้ามเนื้อ หูรูด ที่ควบคุมการถ่าย ปั สสาวะหย่อนไป ทําให้กลั้นปั สสาวะไม่ได้ดี ระบบประสาทและสมอง เสื่ อมไปตามธรรมชาติ ทําให้ความ รู้สึกช้าความจําถดถอย ความจําเรื่ องราวในอดีตดี ความจําปั จจุบนั ไม่ดีการ ทรงตัวไม่ดีการเคลื่อนไหวช้า คู่มือ การดูแลสุ ขภาพผู้สูงอายุ


ต่ อมไร้ ท่อ การหลัง่ ฮอร์ โมนจึงลดลง ทําให้เบื่ออาหาร นํ้าหนักลด อ่อนเพลีย ตับอ่อน ผลิตอินซูลินลดลง ทําให้ระดับนํ้าตาลในร่ างกายสู ง จึง พบโรคเบาหวานได้มากขึ้นเมื่อเข้าสู่วยั สู งอายุ ระบบภูมิคุ้มกัน ระบบภูมิคุม้ กันของร่ างกายทั้งระบบ ทํางานลดลง ผูส้ ูงอายุจึงเกิดการติดเชื้อได้ง่าย

ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ท า ง จิ ต ใ จ ปั ญหาที่พบบ่อยได้แก่ความซึ มเศร้า ความวิตกกังวล และความรู้สึก สิ้ น หวัง ครอบครั ว และผู้ดู แ ลผู้สู ง อายุ จ ํา เป็ นต้อ งเข้า ใจและหาทาง ช่วยเหลือ ซึ่ งปั ญหานี้ มกั ได้รับการละเลยมาก โดยที่คนส่ วนใหญ่มกั คิดว่า เป็ นเพราะผูส้ ู งอายุไม่เข้มแข็ง ฟุ้ งซ่ านไปเองหรื อเรี ยกร้องความสนใจ ซึ่ ง ในความเป็ นจริ ง แล้ว อาการเหล่ านี้ เป็ นภาวะเจ็บ ป่ วยอย่างหนึ่ ง แต่ เป็ น อาการเจ็บป่ วยทางจิตใจซึ่ งต้องการการดูแลและช่วยเหลือด้วยความเข้าใจ และหากจําเป็ นอาจต้องพึ่งการรักษาด้วยการใช้ยาหรื อการบําบัดเฉพาะ

คู่มือ การดูแลสุ ขภาพผู้สูงอายุ


ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ท า ง สั ง ค ม ผูส้ ู งอายุมีกิจกรรมหรื อมีส่วนร่ วมทางสังคมลดลง มี กิจกรรม น้อ ยลงนี้ ทํา ให้ผูส้ ู ง อายุมี ค วามรู ้ สึ ก ในคุ ณค่ า ของตนเองลดลง ขาดการ เรี ยนรู ้และแลกเปลี่ยนจากสังคม การรับรู ้ขอ้ มูลข่าวสารลดลง และนําไปสู่ การแยกห่ างจากสังคมอย่างสิ้ นเชิ ง ปั ญหาด้านสังคมและจิ ตใจมักมี ความ เกี่ ยวเนื่ องสัมพันธ์กนั เสมอ การส่ งเสริ มด้านนี้ ควรเริ่ มตั้งแต่ในครอบครัว โดยการให้โอกาสผูส้ ู งอายุได้มีส่วนร่ วมในการคิดและตัดสิ นใจเกี่ ยวกับ ความเป็ นไปในบ้า นและหากเป็ นไปได้ค วรสนับ สนุ น และให้ โ อกาส ผูส้ ู ง อายุไ ด้ร่ ว มกิ จ กรรมทางสั ง คมตามความชอบและความสนใจของ ผูส้ ูงอายุ

คนในครอบครัว ควรปฏิบัติต่อผู้สูงอายุอย่ างไร 1. ช่ วยดูแลเรื่ องอาหารการกินของผู้สูงอายุ ทําได้โดย ควร จัดทําอาหารที่ยอ่ ยง่าย และมีคุณค่าทางโภชนาการ เช่นไข่ขาว นมพร่ องมัน เนย เนื้อปลา ควรให้กินผัก และผลไม้ให้มาก ๆ ดื่มนํ้าให้มาก ๆ 2. จัดที่อยู่อาศัยให้ เหมาะสมกับสภาพร่ างกายของผู้สูงอายุ เช่น จัดห้องนอนให้อยูช่ ้ นั ล่างของบ้านเพื่อป้ องกันอุบตั ิเหตุจากการขึ้นลงบันได จัดทําราวให้จบั ตามฝาผนัง เพื่อจะได้เกาะพยุงตัว โดยเฉพาะในห้องนํ้า ห้องส้วม ห้องครัว เพื่อป้ องกันการลื่ นหกล้ม ควรจัดให้ทุกห้อง มีอากาศ ถ่ายเทสะดวก สบาย ปลอดโปร่ ง

คู่มือ การดูแลสุ ขภาพผู้สูงอายุ


3.ควรจัดหาสิ่ งอํานวยความสะดวกต่ าง ๆ ให้ กบั ผู้สูงอายุ เช่นแว่นตา สําหรับผูส้ ูงอายุที่สายตายาว ฟันปลอมทดแทนฟันเก่าที่หกั หลุดไป มีไม้เท้า ให้พยุงเวลาเดิน มีเก้าอี้รถเข็นสําห

คนในสั งคมหรือชุมชนควรปฏิบัติต่อผู้สูงอายุ ดังนีค้ อื 1. ควรให้ เกียรติ ให้ การยกย่ อง ผู้สูงอายุในชุ มชน โดยการเชิญท่าน เป็ นที่ ปรึ กษา หรื อเป็ นกรรมการในคณะกรรมการต่าง ๆ ที่ ชุมชนจัดตั้ง ขึ้นมา เพื่อให้ได้รับคําแนะนํา ได้รับข้อคิดเห็นอันจะเป็ นประโยชน์ เพราะ ท่านมีประสบการณ์มาก และมีสติปัญญาที่ลึกซึ้ ง อีกทั้งท่านยังมีเวลาที่จะ อุทิศให้กบั งานอย่างเต็มที่ และหากท่านเป็ นผูม้ ีฐานะดี ท่านก็อาจจะเป็ น ผูส้ นับสนุนด้านการเงินที่ดีของชุมชนด้วย

คู่มือ การดูแลสุ ขภาพผู้สูงอายุ


2. ช่ วยกันจัดให้ มีกจิ กรรมสํ าหรับผู้สูงอายุ เช่น จัดตั้งชมรมผูส้ ู งอายุ เพื่อให้ผสู ้ ู งอายุมีโอกาสพบปะสังสรรค์ ทํากิจกรรมร่ วมกัน เช่น การออก กําลังกาย การเล่นดนตรี การทําบุญกุศล การแวะไปเยี่ยมเยียนผูส้ ู งอายุใน ชุมชน การทํากิจกรรมในโอกาสพิเศษ เช่น วันสงกรานต์ ควรจัดให้มีพิธีรด นํ้าดําหัวแก่ ผูส้ ู งอายุในชุ มชน วันพ่อแห่ งชาติ วันแม่แห่ งชาติ เพื่อแสดง ความรัก ความเคารพต่อผูส้ ูงอายุ 3. คนในสั งคม ควรมีนํ้าใจ และให้ ความช่ วยเหลือแก่ ผ้ ูสูงอายุ เช่น ช่วยเหลือในการพาขึ้นรถ หรื อลงเรื อ ก่อนผูโ้ ดยสารคนอื่น ๆ ลุกให้ที่นงั่ แก่ ผูส้ ู งอายุ ช่ วยให้ผสู้ ู งอายุได้ขา้ มถนนโดยปลอดภัย เมื่อผูส้ ู งอายุไปขอรั บ บริ การ ณ ที่ใดก็ตาม ควรพิจารณาให้บริ การแก่ผสู้ ู งอายุก่อน

คู่มือ การดูแลสุ ขภาพผู้สูงอายุ


โภชนาการ ในวัยสูงอายุ

คู่มือ การดูแลสุ ขภาพผู้สูงอายุ


โภชนการในผู้สูงอายุ ผูส้ ู งอายุมีความต้องการปริ มาณอาหาร ลดลงจากวัยหนุ่มสาว แต่จาํ เป็ นต้องได้รับ สารอาหารอย่างเพียงพอ เพื่อซ่อมแซมส่ วนที่ สึ กหรอและสร้างความต้านทานโรค ผูท้ ี่มี ภาวะทางโภชนาการดีมีสุขภาพแข็งแรง การ เปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ภายในร่ างกายจะเป็ นไป อย่างช้า ๆ ทําให้ไม่ค่อยแก่ ในทางตรงกันข้าม ผูท้ ี่มีภาวะโภชนาการไม่ดี เจ็บป่ วยดื่มสุ รา มี นํ้าหนักมากหรื อน้อยเกินไป ร่ างกายจะเสื่ อมโทรมเร็ วทําให้แก่เร็ ว ผูว้ ยั สู งอายุควรได้รับ อาหารหลัก 5 หมู่ให้ครบถ้วน ตามความต้องการของ ร่ างกายทั้งด้านปริ มาณและลักษณะของอาหาร กองโภชนาการ กรม อนามัย กระทรวงสาธารณสุ ข ได้แนะนําให้ลดพลังงานลงโดยเฉลี่ย 100 กิโลแคลอรี ต่อทุกอายุ 10 ปี ที่เพิ่มขึ้น ผู้ที่มีอายุ 60 ปี ควรได้ รับพลังงาน ประมาณ 2,200 กิโลแคลอรี ต่อวันและไม่ ควรได้ รับพลังงานตํ่ากว่ า 1,200 กิโลแคลอรี ต่อวัน เพราะจะทําให้ร่างกาย ได้รับสารอาหารวิตามิน และเกลือ แร่ บางชนิ ดไม่เพียงพอ แก่ความต้องการของร่ างกายได้ สําหรับผูส้ ู งอายุที่มี การออกกําลังเป็ นประจํา จําเป็ นต้องได้รับ พลังงานสู งกว่าผูส้ ู งอายุทวั่ ไป หรื อผูส้ ู งอายุ ที่น้ าํ หนักตัวมากกว่า ปกติ หรื อเกิ นมาตรฐาน ควรได้รับ พลังงานลดลง เพื่อลดนํ้าหนักตัวลง ให้อยู่ในเกณฑ์ มาตรฐาน

คู่มือ การดูแลสุ ขภาพผู้สูงอายุ


ตารางที่ 1 ปริ มาณอาหารสําหรับผูส้ ู งอายุที่ใน 1 วัน

คู่มือ การดูแลสุ ขภาพผู้สูงอายุ


ตารางที่ 2 ปริ มาณอาหารสําหรับผูส้ ู งอายุที่ใน 1 วัน ตัวอย่ างรายการอาหารของผู้สูงอายุ วัน

มือ้ เข้ า

มือ้ กลางวัน

มือ้ เย็น

จันทร์

โจ๊กไก่ ขนมจีนซาวนํ้า ข้าวต้มนํ้าน้อยนํ้าพริ กกะปิ ผักต้ม ปลาทู แกงส้ม กล้วยทับ นมสดพร่ องมันเนย 250ซี .ซี . วุน้ สังขยา

อังคาร

ข้าวต้มปลา นมถัว่ เหลือง 250 ซี.ซี.

ก๋ วยเตี๋ยวนํ้า ข้าวต้มนํ้าน้อย ต้มมะระหมู เส้นลวกเปื่ อย ผัดฝักทองหมู

กาแฟ ไข่ทอด 1 ฟอง ปาท่องโก๋

มักกะโรนีผดั ข้าวต้มนํ้าน้อย แกงจืดเต้าหูข้ า้ ว ผัดถัว่ งอก ไก่แกงจืด มะละกอ

พุธ

ข้าวต้มนํ้าน้อย พฤหัสบดี หมูหยอง ผัดผักกาดขาว

ราดหน้า ปลไส้กรอก กล้วยหอม

ข้าวต้มนํ้าน้อย ต้มจับฉ่ าย ปลาดุกย่าง สังขยาฟักทอง

ศุกร์

โจ๊กหมู นมถัว่ เหลือง

ขนมจีนนํ้าพริ ก ข้าวต้มนํ้าน้อย แกงจืดผักตําลึง ผักสดครบ หลนเต้าเจี้ยวพริ ก หยวก ส้มเขียวหวาน ผักต้ม ผักสด

เสาร์

ข้าวต้ม ไข่ทอดฟู 1 ฟอง เนื้อหมูทอดนิ่ มๆ กล้วยนํ้าว้า

ผัดไทย ผักแนม แคนตาลูป

อาทิตย์

ข้าวต้มหมู สุ กียากี้ นมสดพร่ องมันเนย 250 ซี.ซี. สัปปะรด

ข้าวต้มหมู เต้าหูพ้ ะโล้ ผัดมะเขือยาว ข้าวต้ม ต้มยํากุง้ เห็ดฟาง ผัดผักบุง้

คู่มือ การดูแลสุ ขภาพผู้สูงอายุ


การใช้ ยา ในวัยสูงอายุ

คู่มือ การดูแลสุ ขภาพผู้สูงอายุ


ยาในผูส้ ู งอายุ

การใช้

ผู้สูงอาย◌ุ จัดได้ว่าเป็ นผูท้ ี่มีความเสี่ ยง หรื อมีโอกาสที่จะได้รับ อันตรายจากการใช้ยา จากประสิ ทธิ ภาพการทํางานของอวัยวะต่างๆใน ร่ างกายเสื่ อมลง ดังนั้นการใช้ยา จึงต้องเพิ่มความระมัดระวังเป็ นพิเศษ ข้ อควรปฏิบัติในการใช้ ยาของผู้สูงอายุ 1.แจ้งให้แพทย์ทราบเกี่ยวกับยาที่ใช้อยู่ หรื อนํายาที่รับประทานอยู่ ประจําไปด้วย เพื่อประกอบการพิจารณาการจ่ายยาของแพทย์ 2.แจ้งให้แพทย์ทราบเกี่ยวกับอาการผิดปกติที่เกิดขึ้น อาจเป็ นอาการ ที่เกิดจากยาที่ใช้อยู่ เช่น อาการหูตึง ได้ยนิ เสี ยงไม่ชดั เจน เป็ นต้น 3.ถ้ามีปัญหาเกี่ยวกับการกลืนยาควรแจ้งให้แพทย์ทราบ เพื่อแพทย์จะ ได้เลือกชนิดยาที่เหมาะสม เช่น ให้ยานํ้าแทนยาเม็ด เป็ นต้น 4.สอบถามแพทย์เกี่ยวกับข้อบ่งชี้และผลข้างเคียงของยาแต่ละชนิด ให้ชดั เจน เช่น จะหยุดยานี้ได้เมื่อใด 5.สอบถามแพทย์หรื อเภสัชกรเกี่ยวกับอาหารที่รับประทานว่า มีผล ต่อการใช้ยาหรื อไม่ อย่างไร 6.อ่านฉลากยา และปฏิบตั ิตามคําแนะนํา ทุกขั้นตอน ก่อนการใช้ยาทุกครั้ง 7.รับประทานยาตามที่แพทย์หรื อเภสัชกร แนะนําอย่างเคร่ งครัด

คู่มือ การดูแลสุ ขภาพผู้สูงอายุ


การออกกําลังกาย

ในวัยสูงอายุ

คู่มือ การดูแลสุ ขภาพผู้สูงอายุ


ออกกําลังกายสําหรับผู้สูงอายุ

การ

การออกําลังกายเป็ น สิ่ งที่มีประโยชน์สาํ หรับทุกเพศทุกวัย โดยเฉพาะ ผูส้ ู งอายุ ซึ่ งมีการเปลี่ยนแปลงทางกายจากความเสื่ อม ยิง่ ต้องออกกําลังกาย เพื่อป้ องกันการเสื่ อมสภาพ และพิการของอวัยวะต่างๆ เช่น กล้ามเนื้ อและ ข้อต่อต่างๆ หัวใจและปอด เป็ นต้น การออกกําลังกายยังช่วยให้ร่างาย คล่องตัว ไม่หกล้มง่าย ไม่อว้ นเกินไป ยิง่ ไปกว่านั้น การออกกําลังกายยัง ช่วยลดความเครี ยด และสมรรถภาพทางเพศดีข้ ึนอีกด้วย

ประโยชน์ ของการออกกําลังกายในผู้สูงอายุ 1.ช่วยลดการเสี่ ยงจากการตายก่อนวัยอันสมควร 2.ลดอัตราเสี่ ยงต่อการเสี ยชีวิตด้วยโรคหัวใจ 3.ลดปั จจัยเสี่ ยงที่ทาํ ให้เกิดโรงมะเร็ ง 4.ช่วยให้ระบบไหลเวียนเลือด ปอด หัวใจทํางานดีข้ ึน 5.ช่วยป้ องกันโรคหัวใจ ความดันโลหิ ตสูง 5.ช่วยป้ องกันโรคกระดูกผุ ทําให้กระดูกแข็งแรงไม่หกั ง่าย 6.ทําให้การทรงตัวดีข้ ึน รู ปร่ างดีข้ ึน และเดินได้คล่องแคล่ว ไม่หกล้ม

คู่มือ การดูแลสุ ขภาพผู้สูงอายุ


หลักการออกกําลังกายสําหรับผู้สูงอายุ 1. ควรออกกําลังกายในที่ที่มีอากาศถ่ายเทสะดวก 2. หลีกเลี่ยงกีฬาที่มีการกระโดด, วิง่ หรื อบิดตัวทันทีทนั ใด 3. หลีกเลี่ยงการยกนํ้าหนัก หรื อก้มๆเงยๆ หรื อแอ่นหลังมากๆ 4. อย่าหักโหมมากจนทําให้เกิดความเจ็บปวด ตามกล้ามเนื้อหรื อข้อ 5.ควรใส่ เสื้ อผ้าที่รัดกุมไม่รุ่มร่ าม สามารถระบายความร้อนได้ดี ไม่ทิ้ง ชายผ้าที่จะก่อให้เกิดอันตรายได้ 6.ไ ม่ ค ว ร อ อ ก กํ า ลั ง ก า ย ห ลั ง อ า ห า ร มื้ อ ห ลั ก ทั น ที 7. เลือกการออกกําลังกายที่ชอบ มีความสะดวก และง่ายต่อการทํา ต่อเนื่องสมํ่าเสมอหรื อ ออกกําลังกายเป็ นกลุ่ม 8.ควรอบอุ่ น ร่ า งกายทุ ก ครั้ งก่ อ นออกกํา ลัง กาย ด้ว ยการยื ด เหยี ย ด กล้ามเนื้ อ และหลังจากออกกําลังกายควรมีการผ่อนคลายด้วยการเดิน หรื อ สะบัดแขนขาเบาๆ 9. ถ้ามีโรคประจําตัวบางอย่าง เช่น เบาหวาน ความดันโลหิ ตสู ง โรคข้อ เสื่ อม โรคหัวใจ เป็ นต้น ปรึ กษาแพทย์ก่อนออกกําลังกาย

คู่มือ การดูแลสุ ขภาพผู้สูงอายุ


วิ ธี ก า ร อ อ ก กํ า ลั ง ก า ย ใ ห้ เ ห ม า ะ ส ม กั บ วั ย ผูส้ ู งอายุควรปรึ กษาแพทย์ก่อนออกกําลังกาย ควรเริ่ มจากเบาก่อน และเพิ่มเป็ นปานกลาง คือ ให้รู้สึกเหนื่ อย และมีชีพจรขณะออกกําลัง เพิ่มขึ้นจากขณะพัก 15-20 ครั้ง / นาที หรื อชีพจรขณะออกกําลังกาย = 5070 % ของชีพจรสูงสุ ด (ชีพจรสู งสุ ด = 220 – อายุ)

ผ้ ูสูงอายุควรหลีกเลีย่ งการออกกําลังกาย

ภาวะที่

1. อาการเจ็บแน่นหน้าอก ที่ยงั ควบคุมไม่ได้ 2. มีความดันโลหิ ตสูงขณะออกกําลังกาย 3. การเต้นของหัวใจไม่สมํ่าเสมอ 4. อาการเวียนศีรษะ 5. สภาวะแวดล้อม และภูมิอาการไม่เหมาะสม 6. หลังรับประทานอาหารมื้อหลัก

มากเกินไป

อาการแสดงบ่ งถึงการออกกําลังกายที่ 1. 2. 3. 4. 5.

เจ็บหรื อแน่นหน้าอก มึนงง เวียนศีรษะ คลื่นไส้อาเจียน ปวดน่อง หน้าซี ด หรื อแดงคลํ้า หายใจลําบากหรื อหายใจเร็ ว เกิน 10 นาทีหลังหยุดพัก

คู่มือ การดูแลสุ ขภาพผู้สูงอายุ


การบริ ห ารร่ างกาย ในท่ ายื น สํ าหรั บ ผู้ สู ง อายุ 1.เหยียดน่ อง มือสองข้างจับขอบโต๊ะ หรื อพนักเก้าอี้ ก้าวเท้าซ้ายถอยไปข้างหลัง 1 ก้าวยาว เข่าซ้ายเหยียดตรงปลายเท้าตรงไป ข้า ง หน้า ค่ อ ยๆ โน้ม ตัว ไปข้างหน้า งอเข่ า ขวาให้ส้นเท้าซ้ายติ ดพื้นตลอดเวลาขาขวา: ค้างไว้ 30 วินาที ทําซํ้า 4 ครั้ง ขาซ้าย:ค้างไว้ 30 วินาที 2.เขย่ งปลายเท้ าสลับยืนบนส้ น ยืนตัว ตรง แยกเท้าสองข้าง มื อข้างหนึ่ งจับพนัก เก้าอี้ ยืนเขย่งปลายเท้าหยุดค้างไว้เล็กน้อย แล้วลงกลับที่เดิ ม จากนั้นยกปลายเท้าขึ้นยืน บนส้นหยุดค้างแล้วกลับที่เดิมทําสลับ10 ครั้ง

3.เหวีย่ งขาออกข้ างยืนตรงจับพนักเก้าอี้ ยกขาซ้ายออกไปด้านข้าง ปลายเท้าชี้ ไป ข้างหน้า เข่าเหยียด เอวตั้งตรงไม่เอียง ขา ขวา: ทําซํ้า 10 ครั้ง ขาซ้าย: ทําซํ้า 10 ครั้ง คู่มือ การดูแลสุ ขภาพผู้สูงอายุ


4.ย่ อเข่ า ยืนจับพนักเก้าอี้ งอ(ย่อ) เข่า ทั้งสองข้างลงในท่าสบาย ให้หลังและศีรษะ ตั้งตรง โดยอยูห่ ลังปลายเท้า เหยียดเข่ายืน ขึ้นสู่ ท่าเริ่ มต้น ทําซํ้า 10 ครั้ง

5.งอและเหยียดสะโพก ยืนจับพนักเก้าอี้ งอเข่าซ้ายยกขึ้นมาให้ใกล้หน้าอก พยายามอย่า ให้ ล ํา ตัว งอ หย่ อ นขาซ้ า ยลงแล้ว เหวี่ ย งไป ด้า นหลัง ให้ เ ข่ า เหยี ย ดตรง ดึ ง ขากลับ สู่ ท่ า เริ่ มต้น ขวา: ทําซํ้า 10 ครั้ง ซ้าย: ทําซํ้า 10 ครั้ง

6.โ ย ก ลํ า ตั ว ยื น แ ย ก เ ท้ า ก ว้ า ง พอประมาณ โยกหรื อเอียงลําตัวไปด้านขวา แล้วกลับมาด้านซ้าย สลับไปมา พยายามยืนให้ ตรงที่สุดเท่าที่เป็ นไปได้ ทําซํ้า 10 ครั้ง

คู่มือ การดูแลสุ ขภาพผู้สูงอายุ


เคล็ดลับ

ชีวติ ยืนนาน

การกินอยู่ให้ มี

1.ส่ งเสริ มวิถีชีวติ อันเป็ นวัฒนธรรมไทยพึ่งตนเองเป็ นหลัก 2.ส่ งเสริ มวิถีชีวิตแบบสังคมในชนบท ส่ งเสริ มการเกษตรธรรมชาติ คนในเมืองควรเพราะปลูกพืชผักไว้กินเอง เพื่อประหยัดและปลอดภัย 3.กินอย่างไทย ปรุ งอาหารกินเองในบ้าน เลิกการกิ นอาหารฝรั่งและ อาหารจีนเพราะมีปริ มาณไขมันและโปรตีนสู งเกินไป 4.กิ นข้าวกล้องหรื อข้า วซ้อมมื อไม่ กินนํ้าตาลฟอกขาว ไม่ กินขนม หวาน ไม่ดื่มนํ้าอัดลม 5.ลดการกิ น ไขมัน จากสั ต ว์ นํ้า มัน สั ต ว์ นํ้า มัน มะพร้ า ว กะทิ และ นํ้ามันปาล์มควรใช้แต่น้ าํ มันพืช 6.ไม่ควรกินเนื้ อสัตว์มากเกินความจําเป็ น ผูใ้ หญ่ให้กินไม่เกินวันละ 100 กรัม เด็กวัยเจริ ญเติบโต ให้กินไม่เกินวันละ 200 กรัม 7.กินผักสด ผลไม้สดให้มากเพราะเป็ นแหล่งที่มาของวิตามินเกลือแร่ 8.ไม่กินอาหารขยะ เช่น บะหมี่ซอง ไม่ดื่มที่มีแอลกอฮอล์ คู่มือ การดูแลสุ ขภาพผู้สูงอายุ


9.ดื่มนมถัว่ เหลือง สําหรับผูท้ ี่ปรารถนาจะมีอายุยนื ยาว 10.ออกกําลังกายเสมอครั้งละไม่นอ้ ยกว่า30นาทีอย่างน้อยวันเว้นวัน 11.รู้จกั คลายเครี ยด ฝึ กทําสมาธิ ขัดเกลาความคิดและจิตวิญญาณ ให้ รู้จกั พอ รู้จกั ให้ มีเมตตากรุ ณา 12.เรี ยนรู ้วิธีรักษาสุ ขภาพด้วยตนเองใช้วิธีการต่างๆของวิถีสุขภาพ แบบองค์รวมอย่างมีเหตุผลใช้ยาเท่าที่จาํ เป็ นปรับเปลี่ยนอาหารการกินและ พฤติกรรมเพื่อการฟื้ นคืนสุ ขภาพโดยเร็ ว

คู่มือ การดูแลสุ ขภาพผู้สูงอายุ


โรคทีพ่ บบ่ อย ในผ้ ูสูงอายุ

คู่มือ การดูแลสุ ขภาพผู้สูงอายุ


โรคทีพ่ บบ่อยในผู้สูงอายุ เมื่อเข้าสู่ วยั สู งอายุจะเกิดความเสื่ อมขึ้นในทุกๆด้าน ซึ่ งจะส่ งผลให้ ผูส้ ู งอายุเกิ ดการเจ็บป่ วยด้วยโรคเรื้ อรั งๆต่างๆตามมา เช่ น โรคความดัน โลหิ ต สู ง โรคอ้ว น เป็ นต้น หากผูส้ ู ง อายุมี ค วามเข้า ใจเบื้ อ งต้น เกี่ ย วกับ สาเหตุและอาการของโรค เรี ยนรู้เกี่ยวกับอาหารที่ควรรับประทาน ควรงด หรื อควรหลีกเลี่ยง เพื่อที่จะได้สามารถปฏิบตั ิตวั ได้อย่างถูกต้องและ เหมาะสมกับโรค ซึ่ งจะช่วยให้อาการของโรคไม่รุนแรงมากกว่าเดิมหรื อไม่ เกิดอาการแทรกซ้อนต่าง ๆ ตามมา 1โ

ค ข้ อ เ ข่ า เ สื่ อ ม โรคข้อเข่าเสื่ อม ส่ วนใหญ่เกิดกับข้อใหญ่ๆเช่นข้อสะโพก ข้อเข่า และข้อกระดูกสันหลัง ซึ่ งเป็ นการเสื่ อมตาม อายุขยั และพบในผูส้ ู งอายุหญิง เนื่ องจากการ นัง่ คุกเข่าพับเพียบ ขัดสมาธิ นานๆทําให้การ หมุนเวียนของเลือดไปเลี้ยงเข่าไม่ได้ดี และหาก ไม่ค่อยออกกําลังาย หรื อทํางานหนัก ไม่มีการ พักหรื อนํ้าหนักเพิ่มขึ้น จะทําให้เข่าต้องแบก นํ้าหนักส่ ว นเกิ น และกล้า มเนื้ อ หย่อ นสมรรถ ภาพจึงทําให้เป็ นโรคเข่าเสื่ อมได้

คู่มือ การดูแลสุ ขภาพผู้สูงอายุ


อาการ จะมีอาการเริ่ มแรกคือ รู้สึกเจ็บปวดตั้งแต่ปวดแบบเมื่อย ๆ เป็ น ๆ หาย ๆ ปวดแบบเฉี ยบพลันและรุ นแรง เข่าบวมหลังจากได้รับบาดเจ็บ เข่า อ่อนหรื อเข่าสะดุดติดไม่สามารถเหยียดหรื องอเข่าได้ทนั ที ในบางช่วงเวลา จะรู ้สึกเข่าฝื ดยึดติด

การป้ องกัน โดยการไม่ให้มีน้ าํ หนักมากเกินไป บริ หารกล้ามเนื้อรอบ ๆ ข้อ นั้นให้แข็งแรง ลดการใช้งานข้อนั้นในท่าที่ผิดจากธรรมชาติ เช่น การนัง่ ยอง ๆ การนัง่ ขัดสมาธิ นานเกินไป การขึ้นลงบันไดบ่อย ๆ เป็ นต้น เมื่อมี อาการปวดควรรี บปรึ กษาแพทย์

โรคความดันโลหิตสู ง โ ร ค ค ว า ม ดั น โ ล หิ ต สู ง (Hypertension)เ ป็ น ภ า ว ะ ที่ ค ว า ม ดั น โลหิ ต อยู่ในระดับที่สูงกว่า140 /90 มม. ปรอทอยู่เป็ นเวลานาน การที่ความดันโลหิ ต สู งอยูเ่ ป็ นเวลานาน เพิ่มความเสี่ ยงต่อการเกิด คู่มือ การดูแลสุ ขภาพผู้สูงอายุ


โรคต่างๆ เช่น โรคหลอดเลือดในสมองตีบ โรคหัวใจ โรคไตวาย เส้นเลือด แดงใหญ่โป่ งพอง อัมพาต ฯลฯ โรคความดันโลหิ ตสู ง เป็ นโรคที่พบได้บ่อยในปั จจุบนั คนส่ วนใหญ่ ที่ มีความดันโลหิ ตสู งมัก จะไม่ รู้ตวั ว่าเป็ น ทําให้คนส่ วนใหญ่ ไม่ ได้ให้ ความสนใจ ส่ งผลให้เกิ ดภาวะแทรกซ้อนอาจจะทําให้ผลการรั กษาไม่ ดี เท่าที่ควรทําให้เกิดภาวะแทรกซ้อนต่างๆตามมาโดยเฉพาะในผูส้ ู งอายุ การ ควบคุมความดันโลหิ ตให้ปกติอย่างสมํ่าเสมอ สามารถลดโอกาสเกิดโรคอัม พฤกษ์ อัมพาต หรื อโรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดได้ สาเหตุของความดันโลหิตสู ง อาจแบ่ งได้ เป็ น 2 กลุ่มใหญ่ 1. พวกที่หาสาเหตุได้ เช่น จากโรคไตอักเสบ เส้นเลือดแดงตีบ พิษ แห่งครรภ์ เป็ นต้น 2. พวกที่หาสาเหตุไม่พบ ผูป้ ่ วยความดันโลหิ ตสู งส่ วนมากมักจะ เป็ นชนิดนี้

การ

อา

ระยะเริ่ มแรกจะไม่ปรากฏอาการทางร่ างกาย เมื่อเข้าสู่ ระยะปาน กลางจะมีอาการเป็ น ๆ หาย ๆ อาจมีอาการผิดปกติ เช่น หัวใจเต้น แรง ตื่นเต้น นอนไม่หลับ ปวดศีรษะ ซึ่ งถ้าผูส้ ู งอายุมีอาการผิดปกติควร รี บไปตรวจสุ ขภาพทันที เพื่อจะได้รับการรักษาก่อนที่จะลุกลามและหากมี อาการปวดศีรษะบริ เวณท้ายทอยในตอนเช้า คลื่นไส้อาเจียน เวียน ศีรษะ ตามัว อ่อนเพลียและใจสั่น แสดงว่ามีอาการระยะรุ นแรง โรคความ คู่มือ การดูแลสุ ขภาพผู้สูงอายุ


ดันโลหิ ตสู งเป็ นประเภทอันตรายเงียบ หากปล่อยเป็ นเวลานาน ๆ จะมี ผลเสี ยต่ออวัยวะต่างๆ ของร่ างกาย ได้แก่ หลอดเลือดแดงโป่ งพอง อุด ตัน หัวใจทํางานหนัก ไตเสื่ อม สายตาเสี ยหรื อตาบอดได้ การป้ องกั น โดยการควบคุ ม นํ้ าหนั ก ตั ว ให้ อ ยู่ ใ นระดั บ ที่ เหมาะสม งดสู บบุหรี่ และดื่มสุ รา งดอาหารรสเค็มจัด ออกกําลังกาย สมํ่าเสมอ นอนหลับและพักผ่อนให้เพียงพอ ทําจิตใจให้สบายและตรวจ สุ ขภาพเป็ นประจําทุก 6 – 12 เดือน หรื อเมื่อมีอาการดังกล่าวข้างต้น หาก มีอาการปวดศีรษะ หน้ามืด เหนื่ อยง่าย ต้องรี บไปพบแพทย์ และหากเป็ น โรคความดันโลหิ ตสู งต้องปฏิบตั ิตามที่แพทย์สั่งอย่างเคร่ งครัด

อ า ห า ร สํ า ห รั บ โ ร ค ค ว า ม ดั น โ ล หิ ต สู ง หลักในการกินอาหารของคนเป็ นโรคนี้ ก็คือ กินไม่ให้อว้ นและ หลีกเลี่ยงอาหารที่มีรสเค็ม (อาหารจํากัดโซเดียม)

อาหารทีไ่ ม่ ควรกิน ได้แก่ อาหารที่มีโซเดียมสู ง คือ อาหารที่มีรสเค็ม หรื อผสม เครื่ องปรุ งที่ มีโซเดี ยม เช่ น ผงชู รส ผงฟู สารกัน บูด เกลือ นํ้าปลา ธัญพืชหรื อผลไม้ตากแห้งที่ใส่ โซเดียม นมเปรี้ ยว และ อาหารที่ผา่ นการถนอมอาหาร เช่น กุนเชียง ไส้กรอก เบคอน หมู แฮม ไข่เค็ม อาหารกึ่งสําเร็ จรู ป เช่น บะหมี่ก่ ึงสําเร็ จรู ป

คู่มือ การดูแลสุ ขภาพผู้สูงอายุ


หวาน

โรคเบา

โรคที่ เ กิ ด จากความผิ ด ปกติ เ กี่ ย วกั บ การเผาผลาญนํ้าตาลของ สารอาหารในร่ างกาย ซึ่ งมีลกั ษณะที่สาํ คัญ คือมีระดับนํ้าตาลในเลือดสู ง

สาเหตุ เนื่ องจากการขาดฮอร์ โมนอินซูลิน อินซูลินลดลงจากภาวะดื้อต่ออินซูลิน

และ/หรื อประสิ ทธิ ภาพของ

อาการ ในตอนกลางคืนจะปั สสาวะบ่อยครั้ง และมีปริ มาณมากกว่า ปกติ กระหายนํ้า ดื่มนํ้าบ่อยครั้งและจํานวนมาก หิ วบ่อย กินจุแต่น้ าํ หนัก ลด อ่อนเพลีย เป็ นแผลหรื อฝี ง่ายและหายยาก คันตามตัว ผิวหนังและ บริ เวณอวัยวะสื บพันธุ์ ตาพร่ ามัว มือชา เท้าชา หมดสมรรถภาพทาง เพศ ในบางคนอาการดังกล่าวอาจไม่ปรากฏแต่จะทราบเมื่อเกิดโรคแทรก ซ้อน ผูส้ ูงอายุจึงควรตรวจร่ างกายเพื่อตรวจวินิจฉัยหานํ้าตาลในเลือด หรื อ ถ้าหากตรวจหานํ้าตาลในปั สสาวะและได้ค่า 1+ ขึ้นไป ควรตรวจเลือดซํ้า คู่มือ การดูแลสุ ขภาพผู้สูงอายุ


การปฏิบัติตัว ผูเ้ ป็ นโรคเบาหวานโดยโภชนาการด้วยการรับประทานอาหารให้ ครบ 3 มื้อ ในปริ มาณที่ใกล้เคียงกันและตรงเวลา พบแพทย์และปฏิบตั ิตาม คําแนะนําของแพทย์อย่างสมํ่าเสมอ ออกกําลังกายที่เหมาะสม ลดความ วิตกกังวล ความเครี ยด รวมทั้งรักษาความสะอาดของร่ างกาย

อาหารสําหรับผู้ป่วยเบาหวาน อาหารสําหรับผูป้ ่ วยเบาหวานที่ควรรับประทาน ได้แก่ นํ้าซุ บ ใส เนื้อปลา กุง้ หอย และเนื้อสัตว์ไม่ติดมัน ข้าวที่ไม่ขดั สี มาก ข้าว กล้อง (ควรกินปริ มาณจํากัด) ผักทุกชนิ ด เช่น ผักกาดขาว ผักกาดหอม ผักกวางตุง้ ถัว่ งอก ผักคะน้า ฯลฯ ผลไม้เช่น ชมพู่ ส้มเขียวหวาน มะละกอ สุ ก เงาะ ฯลฯ และไขมันจากพืช

อาหารที่ไม่ควรกิน ได้แก่ แครอท เผือก มัน ขนมหวาน เนย เนื้อสัตว์ เครื่ องใน สัตว์ อาหารที่ปรุ งด้วยไขมันจากสัตว์ หรื อกะทิ งดเครื่ องดื่มที่มีรสหวาน จัดและแอลกอฮอล์ เครื่ องดื่มอาหารกระป๋ องที่ มีน้ าํ ตาลแฝงอยู่ เช่น นํ้ามะเขือเทศ หรื อซอส มะเขือเทศ นํ้าผักผลไม้กระป๋ องหรื อขวด เช่ น ลิ้ น จี่ ก ระป๋ อง ที่ แ ช่ ใ น นํ้าผึ้ง นํ้าเชื่อม เป็ นต้น คู่มือ การดูแลสุ ขภาพผู้สูงอายุ


หัวใจ

โรคหลอดเลือด

โรคหัวใจขาดเลือดเป็ นภาวะที่เลือดไม่ไป เลี้ยงหัวใจเพราะมีไขมันเกาะตามผนังเลือด จึงไปเลี้ยงหัวใจไม่สะดวก เกิ ดการตีบ ตัน ทําให้เกิ ดการตายของกล้ามเนื้ อ หัวใจ โรคดังกล่าวเกิดจากปั จจัยเสี่ ยงหลาย อย่าง ได้แก่ ภาวะโคเลสเตอรอลในเลือดและภาวะไตรกลีเซอไรด์ในเลือด สู งกว่าปกติ การสู บบุหรี่ โรคอ้วน โรคเบาหวาน ขาดการออกกําลังกาย อย่างสมํ่าเสมอ มีความเครี ยดง่ายและบ่อยครั้ง ซึ่ งปั จจัยเสี่ ยงดังกล่าว สามารถเปลี่ยนแปลงได้ ส่ วนปั จจัยเสี่ ยงที่ไม่ สามารถเปลี่ยนแปลงได้ คือ การเกิดโรค เ นื่ อ ง จ า ก ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ข อ ง อายุ กรรมพันธุ์

อาการ ผูท้ ี่เป็ นโรคหัวใจขาดเลือด จะมีอาการเจ็บหน้าอกเหมือนถูกกดทับ หรื อเหมือนถูกบีบรัด หรื อมีอาการเจ็บร้าวไปที่คอหรื อแขนซึ่ งจะเป็ นมาก เวลาออกกําลังและทุเลาลงเวลาพัก อาการมักจะหายไปใน 10-15 นาที ใน กรณี ที่มีอาการเจ็บหน้าอกรุ นแรงจะมีเหงื่อออกมาก วิงเวียน คลื่นไส้ มือเท้า เย็นและเขียว หรื อมีอาการหมดสติ เมื่อพักแล้วยังมีอาการไม่ดีข้ ึนต้องรี บ คู่มือ การดูแลสุ ขภาพผู้สูงอายุ


ไปโรงพยาบาลทันที

อาหารสําหรับโรคหลอดเลือดหัวใจ ได้แก่ เนื้อปลา เนื้อสัตว์ไม่ติดมัน นมพร่ องมันเนยข้าวซ้อม มือ ผักและผลไม้สดต่าง ๆ ไขมันจากพืช เช่น นํ้ามันถัว่ เหลือง อาหารที่มี รสอ่อน ไม่เค็ม อาหารทีไ่ ม่ ควรกิน ได้แก่ อาหารที่มีน้ าํ มันมาก ผักและผลไม้ดองเค็ม ไขมันจาก สัตว์ เช่น นํ้ามันหมู เนื้ อสัตว์ที่ติดมันมาก ขนมหวานจัด อาหารที่มีกะทิ เป็ นส่ วนประกอบ อาหารรสเค็มจัด เครื่ องดื่มที่มีแอลกอฮอล์และกาแฟ

โ ร ค ก ร ะ ดู ก พ รุ น โรคกระดูกพรุ นหรื อโรคกระดูก บ า ง เ ป็ น โ ร ค ที่ พ บ ไ ด้ ใ น ผู้ สู ง อ า ยุ ทุ ก คน เพราะการกร่ อนของเนื้ อกระดูกที่เกิด จากการทํางานของฮอร์ โมนลดลง พบใน ผูห้ ญิงมากกว่าผูช้ าย กระดูกทรุ ดยุบ หลัง ค่อม กระดูกหักง่าย

คู่มือ การดูแลสุ ขภาพผู้สูงอายุ


สาเหตุ เกิ ด จากการกิ น อาหารที่ มี แคลเซี ยมไม่เพียงพอ กรรมพันธุ์ การ ใ ช้ ย า บ า ง อ ย่ า ง ใ น ก า ร รั ก ษ า โรค เช่ น ยารักษาโรคไขข้อ อักเสบ โรคหัวใจ โรคความดัน โลหิ ตสู ง เป็ นต้น ผูท้ ี่เสี่ ยงต่อการเป็ น โรคกระดูกพรุ น ได้แก่ คนที่มีผิว ขาว ผอมบาง การไม่ออกกําลัง กาย สู บบุหรี่ ดื่มสุ รา กาแฟและเครื่ องดื่มที่มีความชื้นจะทําให้กระดูก เสื่ อมได้ง่าย

การป้ องกัน โดยการออกกําลังกายกลางแจ้ง ตอนที่มีแดดอ่อน ๆ เป็ น ประจํา รับประทานอาหารที่มีแคลเซี ยมและวิตามินสู ง เช่น ปลา กระป๋ อง นมพร่ องมันเนย ผักและผลไม้ งดการดื่มสุ ราและสู บบุหรี่ ไม่ ควรซื้ อยารับประทานเอง หากมีอาการเจ็บป่ วยให้รีบทํากายภาพบําบัดหรื อ เคลื่อนไหวส่ วนต่าง ๆ ของร่ างกายให้เร็ วที่สุด

อ า ห า ร สํ า ห รั บ โ ร ค ก ร ะ ดู ก พ รุ น คู่มือ การดูแลสุ ขภาพผู้สูงอายุ


ได้แก่ อาหารที่มีแคลเซี ยม ได้แก่ นมและผลิตภัณฑ์จากนม ปลาเล็กปลา น้อย ผักใบเขียว และถัว่ ต่าง ๆ อาหารที่มีวิตามิน ดี ได้แก่ นม เนย นํ้ามันตับปลา ตับ ไข่ แดง ปลาทะเลที่มีไขมันสู ง เช่น ปลาทูน่า ปลา ซาดีน อาหารที่มีแมกนีเซี ยม ได้แก่ ถัว่ ผักและผลไม้ เปลือกแข็ง ธัญพืชที่ไม่ได้ขดั สี ผักใบเขียว ปลา เนื้อสัตว์ นมและกล้วย

ท้ องผูก

โรค

โรคท้องผูก เกิดจากลําไส้ไม่มีการเคลื่อนไหวเพียงพอ ทําให้ การถ่ายอุจจาระไม่เป็ นปกติ ถ้าถ่ายอุจจาระน้อยกว่า 3 ครั้ง/อาทิตย์ ถือว่า ท้องผูก ซึ่ งอาจเกิดจากการดื่มนํ้าน้อย ทานอาหารที่ไม่มีเส้นใย โรคหรื อยา บ า ง ช นิ ด ข า ด ก า ร อ อ ก กํ า ลั ง ก า ย มี ค ว า ม เ ค รี ย ด ผูส้ ู งอายุ ที่ มีอาการท้องผูกต้องดื่ มนํ้าให้ เพียงพออย่างน้อยวันละ 6 - 8 แก้ว และ ออกกําลังกายอย่างสมํ่าเสมอ จะช่วยให้ ลําไส้มีการเคลื่อนไหวดีข้ ึน ทําให้การ ขับถ่ายสมํ่าเสมอและท้องไม่ผกู

คู่มือ การดูแลสุ ขภาพผู้สูงอายุ


อาหารที่ควรกิน ได้แก่ อาหารที่มี “เส้นใย” ได้แก่ เมล็ดธัญพืชที่ขดั สี นอ้ ย ผลไม้ ทุกชนิด เช่น สับปะรด ส้มโอ ฝรั่ง มะม่วงดิบ องุ่น มะละกอ สาลี่ แอป เปิ้ ล โดยเฉพาะผลไม้ที่ กิ น ทั้ง เปลื อ ก ผัก ทุ ก ชนิ ด ที่ มี เ ส้ น ใย เช่น ถัว่ ฝักยาว กะหลํ่าปลี ผักกาดหอม แตงกวา มะเขือเทศ สด หน่อไม้ฝรั่ง ผักกวางตุง้ ผักคะน้า

อาหารทีไ่ ม่ควรกิน ไ ด้ แ ก่ เ นื้ อ สั ต ว์ ติ ด มั น แ ล ะ ข น ม ห ว า น ต่ า ง ๆ เช่น ทองหยิบ ทองหยอด ฝอยทอง สังขยา เป็ นต้น

คู่มือ การดูแลสุ ขภาพผู้สูงอายุ


อ้ างอิง

เอกสาร

เกษม ตันติผลาชีวะ และกุลยา ตันติผลาชีวะ. (2548). การรั กษาพยาบาล ผู้สูงอายุ. กรุ งเทพมหานคร:อรุ ณการพิมพ์. จรัสวรรณ เทียนประภาส และพัฃรี ตันศิริ (2536). การพยาบาลผู้สูงอายุ. พิมพ์ครั้งที่ 3 กรุ งเทพมหานคร: โรงพิมพ์รุ่งเรื องธรรม. บรรลุ ศิริพานิ ช. (2548) .การเปลี่ยนแปลงของร่ างกายเมื่อเข้ าสู่ วัยสู งอายุ . ในสถาบัน เวชศาสตร์ ผูส้ ู ง อายุ. คู่ มื อ การดํา เนิ น การจั ด ตั้ ง และ ดําเนิ นการคลิ นิกผู้สูงอายุ.พิมพ์ครั้งที่ 2.กรุ งเทพมหานคร:ชุ มชน สหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย. ประนอม โอทกานน์. (2537)ความต้ องการการพยาบาลของผู้สูงอายุใน ชมรมและสถานสงเคราะห์ ผ้ ูสูงอายุ. รายงานวิจยั คณะพยาบาล ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. วิมล ศรี สุข. (2539). ความก้ าวหน้ าทางเภสั ชวิทยาของยาและอาหารเสริ ม สําหรั บผู้สูงอายุ. (มปท.). ศิ ริพนั ธ์ สาสัตย์.(2551).การพยาบาลผู้สูงอายุปัญหาที่ พบบ่ อยและแนว ทางการดูแล.พิมพ์ครั้งที่ 2.กรุ งเทพมหานคร:สํานักพิมพ์แห่ ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ศั ก ดิ์ เ ว ช แ พ ศ ย์ . ( 2538) .ส รี ร วิ ท ย า ข อ ง ผู้ สู ง อ า ยุ . พิ ม พ์ ค รั้ ง ที่ 2. กรุ งเทพมหานคร : ศุภวนิชการพิมพ์. สุ ทธิชยั จิตะพันธ์กุล. (2542).หลักสําคัญของเวชศาสตร์ ผ้ สู ู งอายุ.พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุ งเทพมหานคร : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คู่มือ การดูแลสุ ขภาพผู้สูงอายุ


สํานักส่ งเสริ มสุ ขภาพ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุ ข. (2544).คู่มือการ ส่ งเสริ มสุ ขภาพที่ พึงประสงค์ ในผู้สูงอายุ สําหรั บบุคลากร สาธารณสุข. นนทบุรี : ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่ งประเทศไทย จํากัด. สมจิต หนุเจริ ญกุล. (2539).การพยาบาลทางอายุรศาสตร์ เล่ ม 1.พิมพ์ครั้งที่ 12. กรุ งเทพมหานคร : วี.เจ. พริ้ นติ้ง. วิภาวรรณ ลีลาสําราญ.(2547). การออกกกําลังกายเพื่ อสุ ขภาพ. กรุ งเทพมหานคร: ชานเมืองการพิมพ์. สมชาย ลี่ทองอิน.(2543). คู่มือส่ งเสริ มการออกกําลังกายสําหรั บเจ้ าหน้ าที่ สาธารณสุ ข. สํานักส่ งเสริ มสุ ขภาพ กรมอนามัย กระทรวง สาธารณสุ ข. สถาบันเวชศาสตร์ผสู ้ ู งอายุ.(2545). การออกกําลังกายทั่วไปและเฉพาะโรค ผู้สูงอายุ. กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุ ข. Robert RA.(2003). Exercise physiology for fitness, performance, and health 2nd edition. Boston : Mc Graw Hill. U.S. Department of Health and Human services.(1996).Center for Desese Ctrol andPrevention. Physical activity and health : a report of the surgeon. Atianta : DHHS publication.

คู่มือ การดูแลสุ ขภาพผู้สูงอายุ


บันทึก ............................................................................................................ ............................................................................................................ ............................................................................................................ ............................................................................................................ ............................................................................................................ ............................................................................................................ ............................................................................................................ ............................................................................................................ ............................................................................................................ ............................................................................................................ ............................................................................................................ ............................................................................................................ ............................................................................................................ ............................................................................................................ ............................................................................................................ ............................................................................................................ ............................................................................................................ ............................................................................................................ ............................................................................................................ ............................................................................................................ คู่มือ การดูแลสุ ขภาพผู้สูงอายุ


บันทึก ............................................................................................................ ............................................................................................................ ............................................................................................................ ............................................................................................................ ............................................................................................................ ............................................................................................................ ............................................................................................................ ............................................................................................................ ............................................................................................................ ............................................................................................................ ............................................................................................................ ............................................................................................................ ............................................................................................................ ............................................................................................................ ............................................................................................................ ............................................................................................................ ............................................................................................................ ............................................................................................................ ............................................................................................................ ............................................................................................................ คู่มือ การดูแลสุ ขภาพผู้สูงอายุ


บันทึก ............................................................................................................ ............................................................................................................ ............................................................................................................ ............................................................................................................ ............................................................................................................ ............................................................................................................ ............................................................................................................ ............................................................................................................ ............................................................................................................ ............................................................................................................ ............................................................................................................ ............................................................................................................ ............................................................................................................ ............................................................................................................ ............................................................................................................ ............................................................................................................ ............................................................................................................ ............................................................................................................ ............................................................................................................ ........................................................................................................... คู่มือ การดูแลสุ ขภาพผู้สูงอายุ


คู่มือ การดูแลสุ ขภาพผู้สูงอายุ


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.