oa

Page 1

วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นพรัตน์วชิระ รายการตัวบ่งชี้ เป้าหมาย ค่าน้​้าหนัก และหลักฐาน การประกันคุณภาพภายในสถาบันพระบรมราชชนก ประจ้าปีการศึกษา 2555 ค่าน้​้าหนัก ตัวบ่งชี้ รายการ เป้า หลักฐาน งานที่รับผิดชอบ หมาย สกอ สมศ วพ องค์ประกอบที่ 1 ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์ และแผนด้าเนินการ 1.1 กระบวนการพัฒนาแผน (สกอ. 1.1) 6 ข้อ 1 1 1.1-1-1 บันทึกการประชุมคณะกรรมการบริหารวิทยาลัย ครั้งที่ กลุ่มงาน เกณฑ์มาตรฐาน 8 ข้อดังนี้ 3/2553 เดือนสิงหาคม 2553 วาระที่ 4.4 การติดตามผลการดาเนินงานตามตัว ยุทธศาสตร์และ 1. มีการจัดทาแผนกลยุทธ์ที่สอดคล้องกับนโยบายของสภาสถาบัน โดย บ่งชี้ของแผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ 2553 รอบ 12 เดือน (1 ตุลาคม พัฒนาคุณภาพ การมีส่วนร่วมของบุคลากรในสถาบัน และได้ รับความเห็นชอบจากสภา 2552-30 กันยายน 2553) สถาบัน โดยเป็นแผนที่เชื่อมโยงกับปรัชญาหรือปณิธานและพระราชบัญญัติ 1.1-1-2 กรอบแนวคิดในการพัฒนาองค์กร สถาบัน ตลอดจนสอดคล้องกับจุดเน้นของกลุ่มสถาบัน กรอบแผน 1.1-1-3 แผนยุทธศาสตร์ พ.ศ.2552-2556 อุดมศึกษาระยะยาว 15 ปี ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2551 – 2565) และแผนพัฒนา 1.1-1-4 เอกสารโครงการ และสรุปโครงการจัดทาแผนยุทธศาสตร์ การศึกษาระดับอุดมศึกษา ฉบับที่ 10 (พ.ศ.2551 – 2554) และแผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ 2554 เพื่อจัดทาแผนยุทธศาสตร์ 2. มีการถ่ายทอดแผนกลยุทธ์ระดับสถาบันไปสู่ทุกหน่วยงานภายใน วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นพรัตน์วชิระ (พ.ศ. 2554-2558) โดยการมีส่วน 3. มีกระบวนการแปลงแผนกลยุทธ์ เป็นแผนปฏิบัติการประจาปี ครบ 4 ร่วมของอาจารย์ เจ้าหน้าที่สายสนับสนุนของวิทยาลัย และตัวแทนแหล่งฝึก พันธกิจ คือ ด้านการเรียนการสอน การวิจัย การบริการทางวิชาการ และ 1.1-1-5 แผนยุทธศาสตร์ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นพรัตน์ การทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรม วชิระ (พ.ศ. 2554-2558) 4. มีตัวบ่งชี้ของแผนกลยุทธ์แผนปฏิบัตกิ ารประจาปี และค่าเป้าหมาย 1.1-1-6 นโยบายการบริหารวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นพรัตน์ ของแต่ละตัวบงชี้ เพื่อวัดความสาเร็จของการดาเนินงานตามแผนกลยุทธ์ วชิระ และตารางวิเคราะห์แผนยุทธศาสตร์ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี และแผนปฏิบัติการประจาปี นพรัตน์วชิระ ประจาปีงบประมาณ 2554-2558 5. มีการดาเนินงานตามแผนปฏิบัติการประจาปีครบ 4 พันธกิจ 1.1-1-7 ปรัชญาหรือปณิธานของวิทยาลัย และตารางวิเคราะห์แผน 6. มีการติดตามผลการดาเนินงานตามตัวบ่งชี้ของแผนปฏิบัตกิ ารประจาปี ยุทธศาสตร์ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นพรัตน์วชิระ ประจาปีงบประมาณ อย่างน้อยปี ละ 2 ครั้ง และรายงานผลต่อผู้บริหารเพื่อพิจารณา 2554-2558 7. มีการประเมินผลการดาเนินงานตามตัวบ่งชี้ของแผนกลยุทธ์ อย่างน้อย 1.1-1-8 พระราชกฤษฎีกาการจัดตั้งวิทยาลัยฯ และตารางวิเคราะห์ ปี ละ 1 ครั้ง และรายงานผลต่อผู้บริหารและสภาสถาบันเพื่อพิจารณา แผนยุทธศาสตร์ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นพรัตน์วชิระ ประจาปี 8. มีการนาผลการพิจารณา ข้อคิดเห็น และข้อเสนอแนะของสภาสถาบัน งบประมาณ 2554-2558 ไปปรับปรุงแผนกลยุทธ์และแผนปฏิบัตกิ ารประจาปี 1.1-1-9 อัตลักษณ์ของวิทยาลัย และตารางวิเคราะห์แผนยุทธศาสตร์ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นพรัตน์วชิระ ประจาปีงบประมาณ 2554-2558 1.1-1-10 จุดเน้นของการเป็นสถาบันอุดมศึกษา กลุ่ม ค 2 สถาบัน เฉพาะทางที่เน้นระดับปริญญาตรีเน้นการผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ ความสามารถ ทักษะและสมรรถนะในการประกอบอาชีพระดับสูง รวมทั้ง มีบทบาทในการ เป้า ค่าน้​้าหนัก งานที่รับผิดชอบ ตัวบ่งชี้ รายการ หลักฐาน หมาย สกอ สมศ วพ พัฒนาการบริการสุขภาพ และตารางวิเคราะห์แผนยุทธศาสตร์ วิทยาลัยพยาบาล บรมราชชนนี นพรัตน์วชิระ ประจาปีงบประมาณ 2554-2558 1.1-1-11 ยุทธศาสตร์ สบช. ประจาปีงบประมาณ 2554 และตาราง

ผู้รับผิดชอบ อ.สุรี อ.สิริลักษณ์ ซื่อสัตย์ คุณสสิกัณย์

ผู้รับผิดชอบ

1


วิเคราะห์แผนยุทธศาสตร์ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นพรัตน์วชิระ ประจาปี งบประมาณ 2554-2558 1.1-1-12 กรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ปีฉบับที่ 2 (พ.ศ.2551– 2565) และตารางวิเคราะห์แผนยุทธศาสตร์ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นพรัตน์วชิระ ประจาปีงบประมาณ 2554-2558 1.1-1-13 แผนพัฒนาการศึกษาระดับอุดมศึกษาฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2551–2554) และตารางวิเคราะห์แผนยุทธศาสตร์ วิทยาลัยพยาบาลบรมราช ชนนี นพรัตน์วชิระ ประจาปีงบประมาณ 2554-2558 1.1-1-14 บันทึกการประชุมคณะกรรมการบริหารวิทยาลัย ครั้งที่ 3/2553 เดือนมีนาคม 2554 วาระที่ 4.2 การพิจารณา ให้ความเห็นชอบ และ อนุมัติแผนยุทธศาสตร์ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นพรัตน์วชิระ (พ.ศ. 2554-2558) 1.1-2-1 สรุปโครงการจัดทาแผนยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติการ ประจาปีงบประมาณ 2554 1.1-3-1 สรุปโครงการจัดทาแผนยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติการ ประจาปีงบประมาณ 2554 1.1-3-2 การถ่ายทอดยุทธศาสตร์สู่โครงการด้านการเรียนการสอน ด้านการวิจัย ด้านการบริการทางวิชาการ และด้านการทานุบารุงศิลปะและ วัฒนธรรม ในแผนปฏิบัติการของแต่ละกลุ่มงาน ตามที่ปรากฏในแผนปฏิบัติการ ประจาปีงบประมาณ 2554 1.1-4-1 ตัวบ่งชี้ของแผนยุทธศาสตร์ และค่าเป้าหมายของแต่ละตัว บ่งชี้ เพื่อวัดความสาเร็จของการดาเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์ ประจาปี งบประมาณ 2554-2558 1.1-4-2 แผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ 2554 1.1-5-1 รวมค่าใช้จ่ายในการดาเนินงาน ปีงบประมาณ 2554 เพื่อ แสดงการดาเนินงานตามแผนปฏิบัติการประจาปี 2554 ครบ 4 พันธกิจ คือ ด้าน การเรียนการสอน การวิจัย การบริการทางวิชาการ และการทานุบารุงศิลปะและ ตัวบ่งชี้

รายการ

เป้า หมาย

ค่าน้​้าหนัก สกอ สมศ วพ

หลักฐาน

งานที่รับผิดชอบ

ผู้รับผิดชอบ

วัฒนธรรม 1.1-6-1 แผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ 2554 1.1-6-2 บันทึกการประชุมคณะกรรมการบริหาร ครั้งที่ 4/2554 ตุลาคม 2554 วาระที่ 4.2 เรื่องการติดตามผลการดาเนินงานตามแผนปฏิบัติ การ ประจาปี และรายงานผลต่อผู้บริหารเพื่อพิจารณา 1.1-8-1 แผนยุทธศาสตร์ ประจาปีงบประมาณ 2554-2558 ฉบับ ปรับปรุงเดือนธันวาคม 2554 แสดงวิสัยทัศน์ เป้าประสงค์ ตัวชี้วัดกลยุทธ์ตาม

2


หน้าที่ 25 1.1-8-2 บันทึกการประชุมคณะกรรมการบริหารวิทยาลัย ครั้งที่ 3/2553 เดือนมีนาคม 2554 วาระที่ 4.2 การพิจารณาติดตามการดาเนินงาน ตามแผนยุทธศาสตร์ ฉบับมีนาคม 2554 และข้อคิดเห็น ข้อเสนอแนะ 1.1-8-3 แผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ 2554 ฉบับปรับปรุง เดือนมิถุนายน 2554 เพื่อปรับโครงการ/กิจกรรมในแผน ให้เป็นไปตามที่ปฏิบัติ จริงในช่วงตุลาคม 2553-มิถุนายน 2554 (1.1-8-2.1) 1.1-8-4 บันทึกการประชุมคณะกรรมการบริหารวิทยาลัย ครั้งที่ 3/2553 ครั้งที่ 3/2553 เดือนมีนาคม 2554 วาระที่ 4.2 การพิจารณาติดตาม การดาเนินงานตามแผนปฏิบัติการประจางบประมาณ 2554 ฉบับมีนาคม 2554 และข้อคิดเห็น ข้อเสนอแนะ

ตัวบ่งชี้

รายการ

1.1.1

ผลการบริหารสถาบันให้เกิดอัตลักษณ์ (สมศ. 16.1) เกณฑ์มาตรฐาน 5 ข้อ 1. มีการกาหนดกลยุทธ์การปฏิบัติงานทีส่ อดคล้องกับอัตลักษณ์ของ สถานศึกษาระดับอุดมศึกษาโดยได้รับการเห็นชอบจากสภาสถาบัน 2. มีการสร้างระบบการมีส่วนร่วมของผู้เรียนและบุคลากรในการปฏิบัติ ตามกลยุทธ์ที่กาหนดอย่างครบถ้วนสมบูรณ์ 3. ผลการประเมินของผู้เรียนและบุคลากรเกี่ยวกับการปฏิบัติงานของ สถานศึกษาที่สอดคล้องกับอัตลักษณ์ไม่ต่ากว่า 3.51 จากคะแนนเต็ม 5 4. ผลการดาเนินงานก่อให้เกิดผลกระทบที่เป็นประโยชน์และ/หรือสร้าง คุณค่าต่อสังคม 5. ผู้เรียน/บุคลากร/สถานศึกษา ได้รับการยกย่องในระดับชาติและ/ หรือนานาชาติในประเด็นเกี่ยวกับอัตลักษณ์

เป้า หมาย 5 ข้อ

สกอ

ค่าน้​้าหนัก สมศ วพ 5 5

หลักฐาน 1.1.1-1-1 กลยุทธ์ที่ 1.1 สร้างและพัฒนานักศึกษาให้มีคุณภาพ และอัตลักษณ์ที่พึงประสงค์ คงไว้ซึ่งวัฒนธรรมไทย หน้า 25 ในเล่มแผน ยุทธศาสตร์ ประจาปีงบประมาณ 2554-25558 1.1.1-1-2 บันทึกการประชุมคณะกรรมการบริหาร วิทยาลัย พยาบาลบรมราชชนนีนพรัตน์วชิระ ครั้งที่ 10/2553 วันที่ 3 เดือน มีนาคม 2554 1.1.1-1-3 โครงการ 1.1.1 เรื่อง เสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม บุคลากรและนิสิตเนื่องในวันสถาปนาวิทยาลัยฯ หน้า 8 ในเล่มแผนปฏิบัติการ ประจาปีงบประมาณ 2554 1.1.1-1-4 โครงการ 1.1.8 เรื่อง อบรมธรรมะพัฒนาจิตนิสิต พยาบาล ดังหน้า 14 ในเล่มแผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ 2554 1.1.1-1-5 บันทึกการประชุมคณะกรรมการบริหาร วิทยาลัย พยาบาลบรมราชชนนีนพรัตน์วชิระ ครั้งที่ 10/2553 วันที่ 3 เดือน มีนาคม 2554

งานที่รับผิดชอบ งานพัฒนานิสิต และทานุบารุง ศิลปวัฒนธรรม บัณฑิตศึกษา

ผู้รับผิดชอบ ดร.สุชีวา อ.กรพินธุ์ อ.เกตุนรินทร์ อ.แคทรียา คุณขนิษฐา ป.โท ดร.สุนันทา ดร.กนกวรรณ ดร.อัญชลีพร คุณชวนพิศ

3


1.1.1-1-6 โครงการ วันเด็กแห่งชาติ 2555 ในหน้า 15 ตามเล่ม แผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ 2555 1.1.1-1-7 บันทึกการประชุมคณะกรรมการบริหาร วิทยาลัย พยาบาลบรมราชชนนีนพรัตน์วชิระ ครั้งที่ 10/2553 วันที่ 3 เดือน มีนาคม 2554 1.1.1-1-8 โครงการ จิตอาสาบรรเทาภัยน้าท่วม ในหน้า 9 เล่มแผน ปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ 2555 บันทึกการประชุมคณะกรรมการบริหาร วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีนพรัตน์ วชิระ ครั้งที่ 4 / 2554 เดือน พฤศจิกายน 2554 1.1.1-2-1 บันทึกการประชุมคณาจารย์และบุคลากร วิทยาลัย พยาบาลบรมราชชนนีนพรัตน์วชิระ ครั้งที่10 / 2553 วันที่ 3 มีนาคม 2554 ที่ เกี่ยวกับการสร้างระบบการมีส่วนร่วมของผู้เรียนและบุคลากรในการปฏิบัติตาม กลยุทธ์ที่กาหนดอย่างครบถ้วนสมบูรณ์ 1.1.1-2-2 โครงการ อบรมธรรมะพัฒนาจิตนิสิตพยาบาล 1.1.1-2-3 โครงการ วันเด็กแห่งชาติ2555 1.1.1-2-4 โครงการ จิตอาสาบรรเทาภัย น้าท่วม ตัวบ่งชี้

รายการ

เป้า หมาย

สกอ

ค่าน้​้าหนัก สมศ วพ

หลักฐาน

งานที่รับผิดชอบ

ผู้รับผิดชอบ

4


1.1.1-3-1 สรุปผลการประเมินความเห็นของผู้เรียนและบุคลากร เกี่ยวกับการปฏิบัติงานของสถานศึกษาที่สอดคล้องกับอัตลักษณ์ 1.1.1-3-2 สรุปผลการประเมินความเห็นของผู้เรียน 1.1.1-3-3 สรุปผลการประเมินความเห็นของบุคลากร 1.1.1-4-1 Certificate of Prince Mahidol Award 1.1.1-4-2 ภาพกิจกรรมของนิสิตในการเข้าร่วมเป็นจิตอาสา ศูนย์พักพิง ชั่วคราวและบรรจุถุงยังชีพมูลนิธิอาสาเพื่อนพึ่ง (ภาฯ) ยามยาก สภากาชาดไทย โดยมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 1.1.1-4-3 ผลงานวิจัย เรื่อง การเตรียมความพร้อมนิสิตพยาบาล วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีนพรัตน์วชิระต่อการก้าวเข้าสู่ประชาคมอาเซียน 1.1.1-4-4 ผลงานนวัตกรรม PILLOW OF LOVE (หมอนสัมพันธ์ รัก) 1.1.1-4-5 สรุ ป ผลการด าเนิ น โครงการปั น น้ าใจจากวิ ท ยาลั ย พยาบาลบรมราชชนนี นพรัตน์วชิระ สู่ผู้ประสบภัยน้าท่วม 1.1.1-4-6 ภาพกิจกรรมเล่านิทานเพื่อสุขภาพสาหรับเด็ก ในงานวัน เด็กแห่งชาติ ณ พื้นที่ควบคุมในพระองค์ 904 1.1.1-5-1 เกียรติบัตรแสดงการเข้าร่วมเป็นอาสาสมัครศูนย์พักพิง ชั่วคราวและบรรจุถุงยังชีพมูลนิธิอาสาเพื่อนพึ่ง (ภาฯ) ยามยาก สภากาชาดไทย เพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยน้าท่วม โดยมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 1.1.1-5-2 เกียรติบัตรแสดงการได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับหนึ่ง ในการประกวด งานวิจัยก้าวไกล นวัตกรรมไทยก้าวหน้า มุ่งพัฒนาการศึกษา นาหน้าสู่สากล จากผลงานวิจัย เรื่อง การเตรียมความพร้อมนิสิตพยาบาล วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีนพรัตน์วชิระต่อการก้าวเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ของนักศึกษาชั้นปีที่ 3 (รุ่น 111) 1.1.1-5-3 เกียรติบัตรแสดงการได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับสอง ในการประกวด งานวิจัยก้าวไกล นวัตกรรมไทยก้าวหน้า มุ่งพัฒนาการศึกษา นาหน้าสู่สากล จากผลงานนวัตกรรม Pillow of Love (หมอนสัมพันธ์รัก) ของ นักนิสิตชั้นปีที่ 3 (รุ่น 111) 1.1.1-5-4 Certificate of Recognition จาก Prince Mahidol Award Conference 2012

ตัวบ่งชี้

รายการ

เป้า หมาย

สกอ

ค่าน้​้าหนัก สมศ วพ

หลักฐาน

งานที่รับผิดชอบ

ผู้รับผิดชอบ

1.1.1-5-5 เกียรติบัตรชมเชยการช่วยนิคมอุตสาหกรรมบางชัน ดูแล แบ่งเบาความทุกข์ยาก และให้บริการสุขภาพ ทั้งด้านร่างกาย และจิตใจ แก่

5


ประชาชนในชุมชนโดยรอบนิคมอุตสาหกรรมบางชัน และช่วยเจ้าหน้าที่ ทหาร ที่มาช่วยประชาชนที่ประสบภัย 1.1.2

ผลการพัฒนาบัณฑิตตามอัตลักษณ์ (สมศ.16.2) วิธีการคานวณ ผลรวมของค่ า คะแนนที่ ไ ด้ จ ากการประเมิ น บั ณ ฑิ ต ที่ มี คุ ณ ลั ก ษณะ ตามอัตลักษณ์ / จานวนบัณฑิตที่ได้รับการประเมินทั้งหมด

ตัวบ่งชี้

รายการ

1.1.3

ผลการพัฒนาตามจุดเน้นและจุดเด่นทีส่ ่งผลสะท้อนเป็นเอกลักษณ์ ของสถาบัน (สมศ. 17) ประเด็นการพิจารณา 1. มีการกาหนดกลยุทธ์การปฏิบัติงานทีส่ อดคล้องกับจุดเน้น จุดเด่น หรือความเชี่ยวชาญเฉพาะของสถาบันโดยได้รับการเห็นชอบจากสภา

≥3.51

เป้า หมาย 5 ข้อ

16.2-1 รายงานการวิจยั เรื่อง การประเมินคุณลักษณะตามอัต ลักษณ์ของสถาบันจากผู้ใช้บัณฑิต วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นพรัตน์วชิระ

ค่าน้​้าหนัก สกอ สมศ วพ 5 5

หลักฐาน 1.1.3-1-1

กลยุทธ์ที่ 1 สร้างและพัฒนานักศึกษาให้มีอัตลักษณ์ที่พึง ประสงค์เป็นบุคลากรทางการพยาบาลที่มีคุณภาพ และกลยุทธ์ที่ 5 พัฒนาระบบ ริการวิชาการแก่ชุมชนอย่างเป็นระบบและครบวงจร โดยเน้นการมีส่วนร่วมของ ทุกภาคส่วน และเสริมสร้างเครือข่ายวิชาการด้วยเทคโนโลยีที่ทันสมัย ในหน้าที่ 43 และ49 ของแผนยุทธศาสตร์ฯ ประจาปีงบประมาณ 2554-2558

งานพัฒนานิสิต และทานุบารุง ศิลปวัฒนธรรม บัณฑิตศึกษา

งานที่รับผิดชอบ งานพัฒนานิสิต และทานุบารุง ศิลปวัฒนธรรม บัณฑิตศึกษา

ดร.สุชีวา อ.กรพินธุ์ อ.เกตุนรินทร์ อ.แคทรียา คุณขนิษฐา ป.โท ดร.สุนันทา ดร.กนกวรรณ ดร.อัญชลีพร คุณชวนพิศ

ผู้รับผิดชอบ ดร.สุชีวา อ.กรพินธุ์ อ.เกตุนรินทร์ อ.แคทรียา คุณขนิษฐา

6


สถาบัน 2. มีการสร้างระบบการมีส่วนรวมของผู้เรียนและบุคลากรในการปฏิบัติ ตามกลยุทธ์ที่กาหนดอย่างครบถ้วนสมบูรณ์ 3. ผลการประเมินความพึงพอใจของบุคลากรที่เกี่ยวกับการดาเนินการ ตามจุดเน้น และจุดเด่นหรือความเชี่ยวชาญของสถานศึกษา ไม่ต่ากว่า 3.51 จากคะแนนเต็ม 5 4. ผลการดาเนินงานบรรลุตามจุดเน้น จุดเด่น หรือความเชี่ยวชาญเฉพาะ ของสถานศึกษาและเกิดผลกระทบที่เกิดประโยชน์และสร้างคุณค่าต่อ สังคม 5. ผู้เรียน/บุคลากร/คณะ/สถานศึกษามีเอกลักษณ์ตามจุดเน้น จุดเด่น หรือความเชี่ยวชาญเฉพาะทีก่ าหนดได้รับการยอมรับในระดับชาติและ/ หรือนานาชาติ

ตัวบ่งชี้

รายการ

1.1.3-1-2 บันทึกการประชุมคณะกรรมการบริหาร วิทยาลัย พยาบาลบรมราชชนนีนพรัตน์วชิระ ครั้งที่ 3/2553 เดือนมีนาคม 2554 วาระที่ 4.2 การพิจารณา ให้ความเห็นชอบ และอนุมัติแผนยุทธศาสตร์วิทยาลัยพยาบาล บรมราชชนนี นพรัตน์วชิระ พ.ศ. 2554-2558 1.1.3-1-3 โครงการสร้างเสริมพฤติกรรมการป้องกันอันตรายจาก สารเคมีกาจัดศัตรูพืชของเกษตรกร และโครงการบริการวิชาการ สร้างเสริม สุขภาพผู้สูงอายุในชุมชน ที่บรรจุในแผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ 2555 1.1.3-1-4 บันทึกการประชุมคณะกรรมการบริหาร วิทยาลัย พยาบาลบรมราชชนนีนพรัตน์วชิระ ครั้งที่ 6/2554เดือนธันวาคม 2554 วาระที่ 4.2 เรื่องการปรับแผนยุทธศาสตร์วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นพรัตน์วชิระ พ.ศ. 2554-2558 ฉบับปรับปรุงเดือน ธันวาคม 2554 1.1.3-2-1 บันทึกการประชุมคณะกรรมการบริหาร วิทยาลัย พยาบาลบรมราชชนนีนพรัตน์วชิระ ครั้งที่ 6/2554เดือนธันวาคม 2554 วาระที่ 4.2 เรื่องการปรับแผนยุทธศาสตร์วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นพรัตน์วชิระ พ.ศ. 2554-2558 ฉบับปรับปรุงเดือน ธันวาคม 2554 ที่เกี่ยวกับการสร้าง ระบบการมีส่วนร่วมของผู้เรียนและบุคลากรในการปฏิบัติตามกลยุทธ์ที่กาหนด อย่างครบถ้วนสมบูรณ์ 1.1.3-2-2 บันทึกการประชุมคณาจารย์และบุคลากร วิทยาลัย พยาบาลบรมราชชนนีนพรัตน์วชิระ ครั้งที่7/2554เดือนธันวาคม 2554 เรื่องการ ถ่ายทอดกลยุทธ์และตัวชี้วัดตามแผนยุทธศาสตร์วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นพรัตน์วชิระ พ.ศ. 2554-2558 ฉบับปรับปรุงเดือน ธันวาคม 2554 ที่เกี่ยวกับ การสร้างระบบการมีส่วนร่วมของผู้เรียนและบุคลากรในการปฏิบัติตามกลยุทธ์ที่ กาหนดอย่างครบถ้วนสมบูรณ์ 1.1.3-2-3 สรุปโครงการสร้างเสริมพฤติกรรมการป้องกันอันตราย จากสารเคมีกาจัดศัตรูพืชของเกษตรกร เป้า หมาย

ค่าน้​้าหนัก สกอ สมศ วพ

หลักฐาน 1.1.3-2-4

ป.โท ดร.สุนันทา ดร.กนกวรรณ ดร.อัญชลีพร คุณชวนพิศ

งานที่รับผิดชอบ

ผู้รับผิดชอบ

สรุปโครงการบริการวิชาการ สร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุใน

ชุมชน 1.1.3-3-1 สรุปผลการประเมินความพึงพอใจของบุคลากรที่เกี่ยวกับ การดาเนินการตามจุดเน้น และจุดเด่น หรือความเชี่ยวชาญเฉพาะของ สถานศึกษา 1.1.3-4-1 รายงานสรุปข้อมูลบัณฑิตเกี่ยวกับการได้งานทา การได้ งานตรงสาขา 1.1.3-4-2 คู่มือการจัดการเรียนการสอนวิชาการพยาบาลครอบครัว และชุมชน2 ได้ฝึกประสบการณ์การบริการวิชาการ ในโครงการสร้างเสริม พฤติกรรมการป้องกันอันตรายจากสารเคมีกาจัดศัตรูพืชของเกษตรกร

7


1.1.3-4-3

โครงการและสรุปผลการจัดทาผลงานวิจัย เรื่อง การ ป้องกันอันตรายจากสารเคมีกาจัดศัตรูพชื ของเกษตรกร โดยใช้พืชสมุนไพรรางจืด ในการล้างสารพิษและดูแลสุขภาพ 1.1.3-4-4 คู่มือการจัดการเรียนการสอนให้นกั ศึกษานักศึกษา พยาบาลศาสตรบัณฑิต ชั้นปี2 (รุ่น112) ในรายวิชาปฏิบัติการสร้างเสริมและ ป้องกันโรคทุกช่วงวัย และการฝึกประสบการณ์จริงในโครงการบริการวิชาการ สร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุในชุมชน 1.1.3-4-5 ผลงานวิจัย เรื่อง การนาภูมิปัญญาไทยไปใช้ในการ ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในชุมชนนาไปใช้ประโยชน์กบั ประชาชนในชุมชน เขตมีนบุรี พระนครศรีอยุธยา ฉะเชิงเทรา 1.1.3-4-6 โครงการและสรุปผลการดาเนินงานพัฒนาพยาบาล วิชาชีพ ในหน่วยบริการสังกัดกระทรวงสาธารณสุขใน จ.ปทุมธานี จ.ปราจีนบุรี ในโครงการพัฒนาศักยภาพด้านการสอนสาหรับอาจารย์และพยาบาลพี่เลี้ยงใน แหล่งฝึก (preceptor) 1.1.3-5-1 ประกาศเกียรติคุณจากกระทรวงสาธารณสุข แสดงการ ยอมรับว่าเป็นสถานศึกษาที่ผลิตและพัฒนาบุคลากรด้านสุขภาพ 1.1.3-5-2 หนังสือ / โล่รางวัลคะแนนสอบสูงสุดรายวิชาผู้สูงอายุ จาก สบช สานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

ตัวบ่งชี้

รายการ

เป้า หมาย

ค่าน้​้าหนัก สกอ สมศ วพ

หลักฐาน

งานที่รับผิดชอบ

ผู้รับผิดชอบ

1.1.3-5-3

เกียรติบัตร รางวัลชมเชย สปสช. จากผลงานจิตอาสา สร้างเสริมสุขภาพของนักศึกษา (ฟ้อนเจิง) 1.1.3-5-4 เกียรติบัตร รางวัลรองชนะเลิศอันดับสอง ในการประกวด งานวิจัยก้าวไกล นวัตกรรมไทยก้าวหน้า มุ่งพัฒนาการศึกษานาหน้าสู่สากล จาก ผลงานนวัตกรรม PILLOW OF LOVE (หมอนสัมพันธ์รัก) ของนักศึกษาชั้นปีที่ 3 (รุ่น 111)

8


ตัวบ่งชี้

รายการ

องค์ประกอบที่ 2 การผลิตบัณฑิต 2.1 ระบบและกลไกการพัฒนาและบริหารหลักสูตร (สกอ. 2.1) เกณฑ์มาตรฐานทั่วไป 1. มีระบบและกลไกการเปิดหลักสูตรใหม่และปรับปรุงหลักสูตรตาม แนวทางปฏิบัติที่กาหนด โดยคณะกรรมการการอุดมศึกษา และ ดาเนินการตามระบบทีก่ าหนด 2. มีระบบและกลไกการปิดหลักสูตรตามแนวทางปฏิบัติที่กาหนดโดย คณะกรรมการการอุดมศึกษา และดาเนินการตามระบบทีก่ าหนด 3. ทุกหลักสูตรมีการดาเนินงานให้ เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร ระดับอุดมศึกษา และกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (การดาเนินงานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ หมายถึง ต้องมีการประเมินผลตาม “ตัวบ่งชี้ผลการดาเนินงานตาม ประกาศมาตรฐานคุณวุฒิสาขาหรือสาขาวิชา เพื่อการประกันคุณภาพ หลักสูตรและการเรียนการสอน”กรณีที่หลักสูตรใดยังไม่มีประกาศ มาตรฐานคุณวุฒิสาขาหรือสาขาวิชา ให้ประเมินตามตัวบงชี้กลางที่ กาหนดในภาคผนวก ก) สาหรับหลักสูตรสาขาวิชาชีพต้องได้รับการ รับรองหลักสูตรจากสภาหรือองค์กรวิชาชีพที่เกี่ยวข้องด้วย (หมายเหตุ: สาหรับหลักสูตรเก่าหรือหลักสูตรปรับปรุงที่ยังไม่ได้ ดาเนินการตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติก่อนปี

เป้า หมาย 4 ข้อ

ค่าน้​้าหนัก สกอ 1

สมศ

หลักฐาน

งานที่รับผิดชอบ

ผู้รับผิดชอบ

ระบบและกลไกในการดาเนินการเปิด ปรับปรุงหลักสูตร -การสารวจคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ตามความ ต้องการของผู้ใช้บัณฑิตตามกรอบมาตรฐานวุฒิระดับอุดมศึกษา -ปัจจัยที่มีผลต่อการเรียนการสอนของนักศึกษาพยาบาลและปัญหาทีพ่ บจากการ ใช้หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2551 2.1-1-2.2 รายชื่อผู้ทรงคุณวุฒิจากสภาการพยาบาลและจากองค์กร จากนอก 2.1-1-2.3 -รายงานการประชุมคณาจารย์ในการเสนอหลักสูตรเพื่อให้ ทุกคนมีส่วนร่วมในการอภิปรายและปรับแก้-รายงานการประชุมวิชาการในการนา ร่างหลักสูตรที่ปรับแก้ไขเสนอต่อกรรมการวิชาการของวิทยาลัยเพื่อกลั่นกรอง 2.1-1-3.1 ผลการสารวจความต้องการการศึกษาต่อปริญญาโท สาขา พยาบาลศาสตร์ในประเทศไทยปี 2553 2.1-1-3.2 คาสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการบริหารหลักสูตรพยาบาลศาสต รมหาบัณฑิต 2.1-1-3.3 การบรรจุหลักสูตรพยาบาลศาสตร์มหาบัณฑิต (หลักสูตร นานาชาติ) ไว้ในแผนพัฒนาการศึกษาระดับอุดมศึกษาของมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ (2550-2554) 2.1-1-3.4 ร่างหลักสูตรพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตนาเสนอ

งานบริหาร หลักสูตรและการ เรียนการสอน บัณฑิตศึกษา

ดร.พีระนันทิ์ อ.ปวีณา อ.สุรัตนา อ.สิริลักษณ์ ศรี อ.ประไพจิตร คุณสุมาลี ป.โท ดร.สุนันทา ดร.กนกวรรณ ดร.อัญชลีพร คุณชวนพิศ

วพ 1

2.1-1-1 2.1-1-2.1

9


การศึกษา 2555 ให้ยึดตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 25548) KPI เหล่านี้จะปรากฏในหลักสูตรทุกหลักสูตรที่เป็นไปตามกรอบ มาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2552 4. มีคณะกรรมการรับผิดชอบควบคุมกากับให้มีการดาเนินการได้ ครบถ้วนทั้งข้อ 1 ข้อ 2 และ ข้อ 3 ข้างต้นตลอดเวลาที่จัดการศึกษา และ มีการประเมินหลักสูตรทุกหลักสูตรอย่างน้อยตามกรอบเวลาที่กาหนดใน เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรฯ กรณีหลักสูตรที่ดาเนินงานตามกรอบ มาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ จะต้องควบคุมกากับให้การ ดาเนินงานตามตัวบ่งชี้ในข้อ 3 ผ่านเกณฑ์การประเมิน 5 ข้อแรกและ ตัวบ่งชี้

รายการ อย่างน้อยร้อยละ 80 ของตัวบ่งชี้ที่กาหนดในแต่ละปี ทุกหลักสูตร 5. มีคณะกรรมการรับผิดชอบควบคุมกากับให้มีการดาเนินการได้ ครบถ้วนทั้งข้อ 1 ข้อ2 และ ข้อ 3 ข้างต้นตลอดเวลาที่จัดการศึกษา และมีการพัฒนาหลักสูตรทุกหลักสูตรตามผลการประเมินในข้อ 4 กรณี หลักสูตรที่ดาเนินงานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา แห่งชาติ จะต้องควบคุมกากับให้การดาเนินงานตามตัวบ่งชี้ในข้อ 3 ผ่าน เกณฑ์การประเมินครบ ทุกตัวบ่งชี้และทุกหลักสูตร เกณฑ์มาตรฐานเพิ่มเติมเฉพาะกลุ่ม 6. มีความร่วมมือในการพัฒนาและบริหารหลักสูตรระหว่างสถาบันกับ ภาครัฐหรือภาคเอกชนที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพของหลักสูตร มากกว่า ร้อย ละ 30 ของจานวนหลักสูตรวิชาชีพทั้งหมดทุกระดับการศึกษา (เฉพาะ กลุ่ม ค1 และ ค2) หมายเหตุ 1. การนับหลักสูตรปริญญาโทแผน ก และ ปริญญาเอก ให้นับหลักสูตร ที่มีนักศึกษาลงทะเบียนเรียนในรอบปีการศึกษาที่ทาการประเมิน สาหรับการนับหลักสูตรทั้งหมดให้นับหลักสูตรที่ได้รับอนุมัติเปิดสอนทุก ระดับปริญญา โดยนับรวมหลักสูตรที่งดรับนักศึกษา แต่ไม่นับรวม หลักสูตรที่สภาสถาบันอนุมัติให้ปิดดาเนินการแล้ว 2. การนับจานวนนักศึกษาให้นับตามจานวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่า (FTES) ในปีการศึกษานั้น ๆ และนับทั้งนักศึกษาภาคปกติและภาค พิเศษ ทั้งในที่ตั้งและนอกที่ตั้ง 3. คณะกรรมการรับผิดชอบ หมายถึง คณะกรรมการที่รับผิดชอบในการ เสนอหลักสูตรใหม่หรือเสนอปรับปรุงหลักสูตร หรือเสนอปิดหลักสูตร และคณะกรรมการที่รับผิดชอบบริหารหลักสูตรให้เป็นไปตาม รายละเอียดหลักสูตรที่สภามหาวิทยาลัยอนุมัติ ซึ่งอาจเป็นชุดเดียวกัน

คณะกรรมการการศึกษาของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 2.1-2-1 ระบบและกลไกการปิดหลักสูตร 2.1-3-2.1 คาสั่งแต่งตั้งกรรมการพัฒนาหลักสูตรตามกรอบมาตรฐาน คุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ 2.1-3-2.2 หนังสือนาส่งการปรับเปลี่ยนอาจารย์ประจาหลักสูตรให้ เป็นปัจจุบัน 2.1-3-2.3 มคอ. 3 4 และ มคอ. 5 6 ของทุกรายวิชา 2.1-3-3 หลักสูตรพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตที่ผา่ นจากสภา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์การเห็นชอบ เป้า หมาย

ค่าน้​้าหนัก สกอ สมศ วพ

หลักฐาน

งานที่รับผิดชอบ

ผู้รับผิดชอบ

2.1-3-4.1

คาสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาหลักสูตรตามกรอบ มาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (หลักสูตรปริญญาโท) 2.1-3-4.2 โครงการจัดทาและวิพากษ์ มคอ 3 หลักสูตรพยาบาลศา สตรมหาบัณฑิต 2.1-4-1.1 คาสั่งแต่งตั้งกรรมการพัฒนาหลักสูตรตามกรอบ มาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ 2.1-4-1.2 โครงการการจัดการเรียนการสอน เพื่อพัฒนาผลลัพท์การ เรียนรู้ 6 ด้านตามกรอบมาตรฐาน ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ 2.1-4-1.3 วิจัย เรื่อง ปัจจัยที่มีผลต่อการเรียนการสอนของนักศึกษา พยาบาลและปัญหาที่พบจากการใช้หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต หลักสูตร ปรับปรุง พ.ศ. 2551 2.1-4-2.1 คาสั่งแต่งตั้งกรรมการบริหารหลักสูตรพยาบาลศาสตรม หาบัณฑิต 2.1-4-2.2 ปฏิทินการศึกษานิสิตพยาบาลหลักสูตร พยาบาลศาสต รมหาบัณฑิต 2.1-5-1.1 คาสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการวิชาการ 2.1-5-1.2 ตารางสรุปการนาผลการวิจยั เรื่อง ปัจจัยที่มีผลต่อการ เรียนการสอนของนักศึกษาพยาบาลและปัญหาทีพ่ บจากการใช้หลักสูตร พยาบาลศาสตรบัณฑิต หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2551 ไปใช้ 2.1-5-2.1 คาสั่งแต่งตั้งกรรมการบริหารหลักสูตรพยาบาลศาสตรม หาบัณฑิต 2.1-5-2.2 ตัวบ่งชี้ผลการดาเนินงาน (Key Performance Indicators) เพื่อการประกันคุณภาพหลักสูตรและการเรียนการสอน” ที่กาหนด ไว้ 12 ตัวบ่งชี้ สาหรับชั้นปีที่ 1 2.1-6-1 คาสั่งแต่งตั้งกรรมการวิชาการ

10


ทั้งหมดหรือต่างชุดก็ได้

ตัวบ่งชี้

2.1-6-2

ข้อตกลงประวัติศาสตร์และมี MOU ระหว่างวิทยาลัยฯ กับ โรงพยาบาลนพรัตน์ราชธานี 2.1-6-3 MOU ระหว่างวิทยาลัยฯ กับ Sekolah Tiggi Ilmu Kesehatan Bali (STIKES Bali) 2.1-6-4 บันทึกข้อตกลงความร่วมมือ และมีการดาเนินงานตาม รายการ

เป้า หมาย

ค่าน้​้าหนัก สกอ สมศ วพ

หลักฐาน

งานที่รับผิดชอบ

ผู้รับผิดชอบ

ข้อตกลงร่วมกับนิคมอุตสาหกรรมบางชัน 2.1-6-5 บันทึกข้อตกลงความร่วมมือ และมีการดาเนินงานตาม ข้อตกลงร่วมกับรพ.สต.เทพมงคล จ.พระนครศรีอยุธยา

11


ตัวบ่งชี้

รายการ

2.1.1

คุณภาพการจัดการเรียนการสอนตามมิติสภาการพยาบาล (สบช) เกณฑ์การประเมิน 1. อัตราส่วนอาจารย์ประจาต่อนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่า ไม่เกิน 1:6 (นิยาม นักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่าให้คดิ เฉพาะในรายวิชาที่สอนโดย อาจารย์ประจาอย่างน้อย 3 ใน 4 ของอาจารย์ทั้งหมดหรือคิดตามชั่วโมง จริงที่อาจารย์ประจาสอน) 2. อัตราส่วนอาจารย์พยาบาลหรือพยาบาลผู้สอนภาคปฏิบัติต่อ นักศึกษาในการสอนแต่ละรายวิชาของภาพปฏิบัติทางการพยาบาลไม่ เกิน 1:8 3. สัดส่วนอาจารย์ประจาต่ออาจารย์พิเศษภาคปฏิบัติ ไม่เกิน 3:1 ในแต่ ละรายวิชา 4. มีแผนการจัดการเรียนการสอนแต่ละชั้นปีตลอดหลักสูตรทุก หลักสูตรที่ได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริหารวิทยาลัยภายใน เดือนมกราคมของทุกปี 5. อาจารย์พยาบาลมีคุณสมบัติเป็นไปตามเกณฑ์ที่สภาการพยาบาล กาหนด 6. อาจารย์พยาบาลมีภาระงานสอนเฉลี่ยต่อปีการศึกษาไม่เกิน 10 หน่วยชัว่ โมงต่อสัปดาห์ 7. ผู้บริหารระดับรองคณะวิชาหรือเทียบเท่า/หัวหน้าภาควิชาหรือ เทียบเท่า มีภาระงานสอนเฉลี่ยต่อปีการศึกษาไม่เกิน 6 หน่วยชัว่ โมงต่อ สัปดาห์ 8. พยาบาลผู้สอนภาคปฏิบัติหรืออาจารย์พิเศษสอนภาคปฏิบัติมี คุณสมบัติเป็นไปตามเกณฑ์ที่สภาการพยาบาลกาหนด 9. มีแผนการจัดการศึกษาประจาปีการศึกษาที่ได้รับความเห็นชอบจาก คณะกรรมการบริหารวิทยาลัยภายในเดือนมกราคมของทุกปี 10. แผนการจัดการศึกษาประจาปีการศึกษาของรายวิชาปฏิบัติ มี Block Rotation ที่ระบุชื่อแหล่งฝึกจานวนนักศึกษา ชื่อนักศึกษา และ ชื่ออาจารย์พยาบาลที่สอนภาคปฏิบัติประจาในแต่ละหอผู้ป่วยหรือ ชุมชนในปีการศึกษานั้น ที่ได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริหาร วิทยาลัยภายในเดือนมกราคมของทุกปี รายการ

ตัวบ่งชี้

เป้า หมาย

เป้า

ค่าน้​้าหนัก สกอ สมศ วพ

ค่าน้​้าหนัก

หลักฐาน

หลักฐาน

งานที่รับผิดชอบ

ผู้รับผิดชอบ

งานบริหาร หลักสูตรและการ เรียนการสอน บัณฑิตศึกษา

ดร.พีระนันทิ์ อ.ปวีณา อ.สุรัตนา อ.สิริลักษณ์ ศรี คุณสุมาลี ป.โท ดร.สุนันทา ดร.กนกวรรณ ดร.อัญชลีพร คุณชวนพิศ

งานที่รับผิดชอบ

ผู้รับผิดชอบ

12


2.2

2.2.1

ตัวบ่งชี้ 2.4

11. มีแหล่งฝึกปฏิบัติทางการพยาบาลครบทุกสาขา โดยแหล่งฝึกปฏิบัติ มีระบบประกัน/ควบคุมคุณภาพทางการพยาบาล รวมทั้งมีระบบรักษา ความปลอดภัยทาหรับนักศึกษาที่ฝึกปฏิบัติงาน อาจารย์ประจ้าที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก (สกอ. 2.2) 1. การคานวณค่าร้อยละของอาจารย์ประจาที่มีวุฒิปริญญาเอก ร้อยละของอาจารย์ประจาที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก = ร้อยละของอาจารย์ประจา ที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก x 100 / จานวนอาจารย์ประจาทั้งหมด 2. แปลงค่าร้อยละที่คานวณได้ในข้อ 1 เทียบกับคะแนนเต็ม 5 คะแนนที่ได้ = (ร้อยละของอาจารย์ประจาที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก *5) /ร้อยละที่ให้คะแนนเต็ม 5 การพัฒนาคณาจารย์ (สมศ. 14) วิธีการค้านวณ ผลรวมถ่วงน้าหนักของอาจารย์ประจา / อาจารย์ประจาทั้งหมด

รายการ ระบบการพัฒนาคณาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุน(สกอ.2.4) เกณฑ์มาตรฐาน 1. มีแผนการบริหารและการพัฒนาคณาจารย์ทั้งด้านวิชาการ เทคนิค การสอนและการวัดผลและมีแผนการบริหารและพัฒนาบุคลากรสาย

หมาย

สกอ

ร้อยละ 5

1

2 คะแนน

เป้า หมาย 7 ข้อ

สมศ

5

วพ

1

2.2-1

รายชื่ออาจารย์ประจาปีการศึกษา 2552 ปีการศึกษา 2553 และปีการศึกษา 2554 จาแนกตามคุณวุฒิการศึกษา

งานบริหารพัฒนา ทรัพยากรบุคคล และสวัสดิการ

อ.นันทิยา อ.นิภัทรา คุณพิสมัย

5

2.2.1-1 บัญชีจานวนและรายชื่ออาจารย์ประจา จาแนกตามคุณวุฒิ และ

งานบริหารพัฒนา ทรัพยากรบุคคล และสวัสดิการ

อ.นันทิยา อ.นิภัทรา คุณพิสมัย

ตาแหน่งทางวิชาชีพประจาปีการศึกษา 2552 (1 มิ.ย. 2552 -31 พ.ค. 2553) ปี การศึกษา 2553 (1 มิ.ย. 2553 -31 พ.ค. 2554) และปีการศึกษา 2554 (1 มิ.ย. 2554 -31 พ.ค. 2555)

สกอ 1

ค่าน้​้าหนัก สมศ วพ 1

หลักฐาน 2.4-1-1

แผนพัฒนาบุคลากร วพบ.นพรัตน์วชิระ ประจาปี งบประมาณ 2554 ที่สอดคล้องกับผลการสารวจความต้องการพัฒนาตนเอง 2.4-1-2 แผนพัฒนาบุคลากร วพบ.นพรัตน์วชิระ ประจาปี งบประมาณ 2555 ที่ครอบคลุมการพัฒนาคณาจารย์ด้านวิชาการ เทคนิคการ

งานที่รับผิดชอบ งานบริหารพัฒนา ทรัพยากรบุคคล และสวัสดิการ

ผู้รับผิดชอบ อ.นันทิยา อ.นิภัทรา คุณพิสมัย

13


สอน และการวัดผล และการพัฒนาบุคลากรสายสนับสนุน โดยวิเคราะห์ความ สอดคล้องกับข้อมูลการปฏิบัติงานตามตัวชี้วัดความสาเร็จของงาน 1)ปริมาณ 2) คุณภาพ 3) ทันเวลา 4)ความคุ้มค่า 5)ความพึงพอใจ รวมทั้ง ผลจากการสารวจ ความต้องการพัฒนาตนเอง 2.4-2-1 โครงการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนและการ ประเมินผลเพื่อพัฒนาผลการเรียนรู้ 6 ด้าน 2.4-2-2 โครงการอบรมพัฒนาสมรรถนะอาจารย์ด้านการเรียนการ สอน และการวัดประเมินผล 2.4-2-3 โครงการพัฒนาศักยภาพด้านการสอนสาหรับอาจารย์ และพยาบาลพี่เลี้ยงในแหล่งฝึก 2.4-2-4 แผนพัฒนาและแผนปฏิบัติงานอาจารย์ใหม่ตามระบบที่ สภาการพยาบาลกาหนด 2.4-2-5 บั นทึ ก การขอนุมัติ ไปอบรมและสรุป ผลการเรีย นรู้ข อง บุคลากรสายสนับสนุนให้เป็ นไปตามแผนที่กาหนด เข้ารับการอบรม ทั้งภายใน และภายนอกวิทยาลัย ตามสายงานที่รับผิดชอบและตามความสนใจ เช่น พัฒนา เจ้าหน้าที่การเงินและบัญชี การพัสดุ อาคารสถานที่ งานสารบรรณ ฐานข้อมูล และสารสนเทศ 2.4-2-6 ประกาศการรับสมัคร รับโอนย้าย เพื่อบริหารให้จานวน อาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุนให้เป็นไปตามแผนที่กาหนด 2.4-3-1 รายชื่ออาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุนที่ได้รับการทา ประกันภัย 2.4-3-2 ระเบียบการใช้เงินสวัสดิการในการเยี่ยมไข้เมื่อบุคลากร

สนับสนุนที่มีการวิเคราะห์ขอ้ มูลเชิงประจักษ์ 2. มีการบริหารและการพัฒนาคณาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุนให้ เป็นไปตามแผนที่กาหนด 3. มีสวัสดิการเสริมสร้างสุขภาพที่ดี และสร้างขวัญและกาลังใจให้ คณาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุนสามารถทางานได้อย่างมี ประสิทธิภาพ 4. มีระบบการติดตามให้คณาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุนนาความรู้ และทักษะที่ได้จากการพัฒนามาใช้ ในการจัดการเรียนการสอนและการ วัดผลการเรียนรู้ของนักศึกษา ตลอดจนการปฏิบัติงานที่เกีย่ วข้อง 5. มีการให้ความรู้ด้านจรรยาบรรณอาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุน และดูแลควบคุมให้คณาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุนถือปฏิบัติ 6. มีการประเมินผลความสาเร็จของแผนการบริหารและการพัฒนา คณาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุน 7. มีการนาผลการประเมินไปปรับปรุงแผนหรือปรับปรุงการบริหารและ การพัฒนาคณาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุน

ตัวบ่งชี้

รายการ

เป้า หมาย

ค่าน้​้าหนัก สกอ สมศ วพ

หลักฐาน

งานที่รับผิดชอบ

ผู้รับผิดชอบ

และครอบครัวเจ็บป่วย และเกณฑ์กาหนดอัตราการให้ของขวัญกรณีที่เกษียณ ย้าย หรือลาออก 2.4-3-3 บันทึกการขออนุมัติเบิกเงินสวัสดิการในการเลี้ยงแสดง ความยินดี หรือ ให้รางวัล ให้ของขวัญในวาระพิเศษ เช่น รับตาแหน่งใหม่ 2.4-3-4 รายชื่ออาจารย์ที่พักอยู่หอพักวิทยาลัยฯ 2.4-3-5 กิจกรรมโครงการจิตอาสาใฝ่หาบุญปลูกต้นไม้วันพืชมงคล ถวายแด่พ่อหลวง เพื่อสร้างเสริมความสุขในการปฏิบัติงาน 2.4-3-6 ภาพบอร์ด แสดงวันเกิดของบุคลากร ในแต่ละเดือน เพื่อให้บุคลากรท่านอื่นๆ ทราบและร่วมกันส่งคาอวยพรไปยังเจ้าของวันเกิด

14


2.4-3-7

แบบเสนอชื่อขอรับรางวัลการคัดเลือกข้าราชการและ ลูกจ้างที่ปฏิบัติงานดีเด่น เพื่อส่งรายชื่อไปยังสานักปลัดกระทรวงสาธารณสุข โดย มีการแต่งตั้งคณะกรรมการคัดเลือก 2.4-3-8 สรุปการประเมินผลความพึงพอใจของอาจารย์และ บุคลากรสายสนับสนุนเกี่ยวกับสวัสดิการ ส่งเสริมสุขภาพและสร้างขวัญและ กาลังใจ อ2.4-4-1 ระบบการติดตามให้นาความรู้และทักษะที่ได้จากการ พัฒนา มาใช้ในการจัดการเรียนการสอนและการวัดผลการเรียนรู้ของ นักศึกษา ตลอดจนปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้อง 2.4-4-2 รายงานการนาความรู้และทักษะที่ได้จากการพัฒนามาใช้ ในการจัดการเรียนการสอนและการวัดผลการเรียนรู้ของนักศึกษา ตลอดจน ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้อง เช่น การรายงานตนเอง ตามแบบรายงานสรุปผลการเข้า ร่วมประชุมวิชาการ 2.4-5-1 คู่มือจรรยาบรรณวิชาชีพสาหรับอาจารย์วิทยาลัยพยาบาล บรมราชชนนี นพรัตน์วชิระ

ตัวบ่งชี้

รายการ

เป้า หมาย

ค่าน้​้าหนัก สกอ สมศ วพ

หลักฐาน

งานที่รับผิดชอบ

ผู้รับผิดชอบ

2.4-5-2

คาสั่งแต่งตั้งผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงานหลักเป็น คณะกรรมการพัฒนาระบบคุณธรรมและจริยธรรม วิทยาลัยพยาบาลบรมราช ชนนี นพรัตน์วชิระ พร้อมกาหนดบทบาทหน้าที่ให้ส่งเสริมการถือปฏิบัติคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณ 2.4-5-3 สรุปผลการจัดทากิจกรรมย่อยในโครงการ พัฒนา คุณธรรมและจริยธรรมอาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุนวิทยาลัยพยาบาลบรม ราชชนนี นพรัตน์วชิระ เช่น กิจกรรมการสืบสานความเป็นเอกลักษณ์ไทย การ ร่วมรณรงค์สื่อ จาขึ้นใจ ข้าราชการไทย การทาดีติดดาว รักษ์นพรัตน์วชิระ 2.4-5-4 ภาพถ่ายการติดประกาศจรรยาบรรณครูวิทยาลัยในสังกัด กระทรวงสาธารณสุข ให้คณาจารย์รับทราบ เช่น ที่บอร์ดประชาสัมพันธ์ และ ใน ห้องพักอาจารย์ 2.4-5-5 รายการประเมิน ในแบบประเมินสมรรถนะรายบุคคล (ซึ่ง เป็นส่วนหนึ่งของการประเมินผลการปฏิบัติราชการ/การปฏิบัติงานของบุคลากร) ที่

15


ส่งเสริมการถือปฏิบัติคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณ โดยผนวกไว้ 2.4-6-1 เกณฑ์ 12 ตัวชี้วัดความสาเร็จของแผนการบริหารและ พัฒนาคณาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุน ตามที่แสดงในผลการดาเนินงานข้อ 6.2 โดยกาหนดเกณฑ์การบรรลุเป้าหมายความสาเร็จ ไว้อย่างน้อยร้อยละ 80 ของตัวชี้วัด 2.4-6-2 รายชื่ออาจารย์ประจาทุกคนได้รับการพัฒนาในด้าน วิชาการและวิชาชีพ ไม่น้อยกว่า 15 ชั่วโมง /ปีการศึกษา 2.4-6-3 รายชื่อบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอน ได้รับการ พัฒนาตรงตามงานที่รับผิดชอบทุกคน ไม่น้อยกว่า 10 ชั่วโมง / ปีการศึกษา 2.4-6-4 สรุปรายงานการประเมินอาจารย์ใหม่ที่ได้รับการพัฒนา ตามระบบที่สภาการพยาบาลกาหนด 2.4-6-5 รายชื่ออาจารย์พยาบาลที่มีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ การพยาบาลชั้นหนึ่ง/การพยาบาลและการผดุงครรภ์ชั้นหนึ่ง ตัวบ่งชี้

รายการ

เป้า หมาย

ค่าน้​้าหนัก สกอ สมศ วพ

หลักฐาน

งานที่รับผิดชอบ

ผู้รับผิดชอบ

2.4-6-6

ผลการดาเนินงาน มีจานวนอาจารย์ประจาทั้งหมด (ที่ ปฏิบัติงานจริงและลาศึกษาต่อ) เพิ่มขึ้น (เปรียบเทียบปีการศึกษา 2554 กับ 2553) 6 คน 2.4-6-7 ผลการดาเนินงาน มีจานวนอาจารย์ประจาทั้งหมด (ที่ ปฏิบัติงานจริงและลาศึกษาต่อ) วุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่าเพิ่มขึ้น (เปรียบเทียบปีการศึกษา 2554 กับ 2553) อย่างน้อย 5.5 คน 2.4-6-8

ผลการประเมินความพึงพอใจในการให้บริการของ บุคลากรสายสนับสนุน (เช่น ผู้ใช้บริการงานพัสดุ ผู้ใช้บริการงานจัดทาสาเนา เอกสาร) มีคะแนนอย่างน้อย 3.51 จากคะแนนเต็ม 5 2.4-6-9 รายงานการติดตามคณาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุน นาความรู้และทักษะที่ได้จากการพัฒนา มาใช้ในการจัดการเรียนการสอนและการวัดผลการเรียนรู้ของนั กศึกษา ตลอดจน ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้อง 2.4-6-10 รายงานผลการประเมินความพึงพอใจของอาจารย์และ บุคลากรสายสนับสนุนเกี่ยวกับสวัสดิการ ส่งเสริมสุขภาพและสร้างขวัญและ กาลังใจ ในภาพรวม (เฉลี่ยทุกข้อ) มีคะแนนอย่างน้อย 3.51 จากคะแนนเต็ม 5 2.4-6-11 ผลการประเมินความพึงพอใจของอาจารย์และบุคลากร

16


สายสนับสนุนเกี่ยวกับสวัสดิการ ส่งเสริมสุขภาพและสร้างขวัญและกาลังใจ ในข้อ คาถามที่ 10 “มีบรรยากาศการทางานที่เสริมสร้างความผูกพันระหว่างบุคลากร ในองค์กร” มีคะแนนอย่างน้อย 3.51 จากคะแนนเต็ม 5 2.4-6-12 ผลการประเมินความพึงพอใจของอาจารย์และบุคลากร สายสนับสนุนเกี่ยวกับสวัสดิการ ส่งเสริมสุขภาพและสร้างขวัญและกาลังใจ ในข้อ คาถามที่ 13 “ได้รับการยอมรับและสนับสนุนจากผู้บังคับบัญชาและเพื่อน ร่วมงานในการทางาน” มีคะแนนอย่างน้อย 3.51 จากคะแนนเต็ม 5 ตัวบ่งชี้

รายการ

เป้า หมาย

สกอ

ค่าน้​้าหนัก สมศ วพ

หลักฐาน

งานที่รับผิดชอบ

ผู้รับผิดชอบ

2.4-6-13

ผลการประเมินความพึงพอใจของอาจารย์และบุคลากร สายสนับสนุนเกี่ยวกับสวัสดิการ ส่งเสริมสุขภาพและสร้างขวัญและกาลังใจ ในข้อ คาถามที่ 15 “ได้รับการสนับสนุนจากผู้บังคับบัญชาให้มีความก้าวหน้าในงาน” มี คะแนนอย่างน้อย 3.51 จากคะแนนเต็ม 5 2.4-7-1 รายงานการประชุมกรรมการบริหารวิทยาลัยฯครั้งที่ 12/2554 ลงวันที่ 8 พฤษภาคม 2555 2.4-7-2 รายงานการประชุมวิทยาลัยฯครั้งที่ 12/2554 ลงวันที่ 17 พฤษภาคม 2555 2.4-7-3 ขั้นตอนปฏิบัติงานที่เห็นปัจจัยนาเข้า กระบวนการ ผลลัพธ์ และข้อมูลป้อนกลับ สาหรับการติดตาม 2.4-7-4 รายงานการประชุมวิทยาลัยฯ ครั้งที่ 12/2554 ลงวันที่ 17 พฤษภาคม 2555

17


ตัวบ่งชี้

รายการ

2.5

ห้องสมุด อุปกรณ์การศึกษา และสภาพแวดล้อมการเรียนรู้(สกอ.2.5) เกณฑ์มาตรฐาน 1. มีการจัดการหรือจัดบริการเพื่อให้นักศึกษามีเครื่องคอมพิวเตอร์ใช้ใน อัตราไม่สูงกว่า 8 FTES ต่อเครื่อง 2. มีบริการห้องสมุดและแหล่งเรียนรู้อื่นๆ ผ่านระบบเครือข่าย คอมพิวเตอร์และมีการฝึกอบรมการใช้งานแก่นักศึกษาทุกปีการศึกษา 3. มีบริการด้านกายภาพที่เหมาะสมต่อการจัดการเรียนการสอนและการ พัฒนานักศึกษาอย่างน้อยในด้านห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ อุปกรณ์ การศึกษา และจุดเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต 4. มีบริการสิ่งอานวยความสะดวกที่จาเป็นอื่นๆ อย่างน้อยในด้านงาน ทะเบียนนักศึกษาผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ การบริการอนามัย และการรักษาพยาบาล การจัดการหรือจัดบริการด้านอาหารและสนาม กีฬา 5. มีระบบสาธารณูปโภคและรักษาความปลอดภัยของอาคารตลอดจน บริเวณโดยรอบ อย่างน้อยในเรื่องประปา ไฟฟ้า ระบบกาจัดของเสีย การจัดการขยะ รวมทั้งมีระบบและอุปกรณ์ป้องกันอัคคีภัยในบริเวณ อาคารต่าง ๆ โดยเป็นไปตามกฎหมายทีเ่ กี่ยวข้อง 6. มีผลการประเมินคุณภาพของบริการในข้อ 2 – 5 ทุกข้อไม่ต่ากว่า 3.51 จากคะแนนเต็ม 5 7. มีการนาผลการประเมินคุณภาพในข้อ 6 มาใช้ เป็นข้อมูลในการ พัฒนาการจัดบริการด้านกายภาพที่สนองความต้องการของผู้รับบริการ

ตัวบ่งชี้

รายการ

เป้า หมาย 7 ข้อ

เป้า

สกอ 1

ค่าน้​้าหนัก สมศ วพ 1

ค่าน้​้าหนัก

หลักฐาน 2.5-1-1 2.5-1-2.1

ตารางสรุปค่า FTES ของปีการศึกษา 2554 ทะเบียนครุภัณฑ์ แสดงการให้บริการห้องคอมพิวเตอร์ตั้ง โต๊ะจานวน 25 เครื่อง ณ อาคารเรียน ชัน้ 5 2.5-1-2.2 ทะเบียนรายชือ่ นิสิตที่นา Notebook มาลงทะเบียนการ ใช้ WiFi กับวิทยาลัย 2.5-2-2.1.1 ตัวอย่างตารางเวรห้องสมุดแสดงการให้บริการห้องสมุด เพ็ญพรรณ ณ อาคารเรียน ชั้น 2 เปิดให้บริการทุกวัน จันทร์ – ศุกร์ ในเวลา 08:30-19:00 2.5-2-2.1.2 โครงการและภาพถ่ายการจัดตั้งและการให้บริการ ห้องสมุดเล็ก ณ อาคารหอพัก ชั้น 4 2.5-2-2.1.3 ตัวอย่างบัตรนิสิตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ของนิสิต พยาบาลที่สามารถนาไปใช้บริการห้องสมุด 2.5-2-2.1.4 หลักฐานแสดงการใช้ห้องสมุดของโรงพยาบาลนพรัต นราชธานี โดยนิสิตพยาบาลของวิทยาลัย 2.5-2-2.2.1 ใช้หลักฐานเดียวกับ 2.5-1-2.1 ทะเบียนครุภัณฑ์แสดง การให้บริการห้องคอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะจานวน 25 เครื่อง ณ อาคารเรียน ชั้น 5 2.5-2-2.2.2 ทะเบียนรายชือ่ นิสิตที่นา Notebook มาลงทะเบียนการ ใช้ WiFi กับวิทยาลัย และแผนผังจุดเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตที่ให้บริการทั้งที่อาคาร เรียนและอาคารหอพักนิสิต 2.5-2-2.3.1 สรุปผลการจัดการอบรมการใช้งานห้องสมุดรวมทั้งการ สืบค้น ให้นิสิตหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต รุ่น 113 นักศึกษาหลักสูตร พยาบาลศาสตรบัณฑิต สาหรับเจ้าพนักงานสาธารณสุขชุมชน รุ่นที่ 6 และ นักศึกษาหลักสูตรพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต นานาชาติ รุ่นที่ 1 2.5-2-2.3.2 สรุปผลการจัดอบรมการใช้งานห้องคอมพิวเตอร์ ให้นิสิตที่ เข้าใหม่ 2.5-3-1 บันทึกการใช้หอ้ งเรียนจานวน 7 ห้อง ในอาคารเรียน สูง 8 ชั้น แสดงให้เห็นการจัดเป็นห้องเรียนประจาของนิสิตแต่ละชั้นปี 2.5-3-2.1 ผัง ภาพถ่าย ระเบียบการใช้ และบันทึกการใช้ ห้องปฏิบัติการพยาบาล ณ อาคารหอพัก ชั้น 2 (ห้อง 217) ที่เปิดให้นิสิตสามารถ ใช้งานได้ตลอดเวลา หลักฐาน

งานที่รับผิดชอบ งานห้องสมุด ห้องปฏิบัติการ พยาบาลและกาย วิภาค

งานที่รับผิดชอบ

ผู้รับผิดชอบ ดร.พีระนันทิ์ อ.อัจฉรา อ.ธิดาวรรณ อ.ทิวาวัน อ.นิตยา อ.พิภพ คุณพุทธรักษ์ คุณศิริพรรณ คุณวรรณภา คุณสิริพร คุณถาวร ป.โท ดร.สุนันทา ดร.กนกวรรณ ดร.อัญชลีพร คุณชวนพิศ

ผู้รับผิดชอบ

18


หมาย

สกอ

สมศ

วพ 2.5-3-2.2

ผัง ภาพถ่าย ระเบียบการใช้ และบันทึกการใช้ ห้องปฏิบัติการกายวิภาค ณ อาคารเรียน ชั้น 5 (ห้อง 507-508) ที่นิสิตสามารถ ขอใช้งานโดยการจองล่วงหน้ากับอาจารย์ผู้ดูแลห้อง 2.5-3-2.3 ภาพถ่าย ระเบียบการใช้ และตารางเรียน ที่แสดงให้เห็น ว่า นิสิตของวิทยาลัยมีการใช้ห้องปฏิบัตกิ ารของคณะวิทยาศาสตร์ คณะ มนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 2.5-3-3.1 ผัง ภาพถ่าย และทะเบียนครุภัณฑ์ ที่แสดงว่า ห้องเรียน ทุกห้องประกอบด้วยอุปกรณ์การเรียนการสอนที่ทันสมัยและใช้งานง่าย ได้แก่ เครื่องฉายภาพสามมิติ (Visualiser) โทรทัศน์สี และเครื่องเสียง (ไมโครโฟนและ ลาโพง) ซึ่งให้บริการดูแลระบบโดยงานเทคโนโลยีการศึกษา 2.5-3-3.2 หลักฐานแสดงการให้บริการยืม-คืน โสตทัศนูปกรณ์ 2.5-3-3.3 หลักฐานแสดงการให้บริการยืม-คืน สื่อการเรียนรู้ เช่น VCD CD-ROM ชุดฝึกภาษา ฯ 2.5-3-3.4 หลักฐานแสดงการให้บริการยืม-คืน MODEL ที่เกี่ยวข้อง กับกายวิภาค 2.5-3-4.1 ผังแสดงการให้บริการจุดเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต แบบสาย เคเบิ้ล (LAN) จานวน 31 จุด เช่น ที่ห้องสมุด ห้องทะเบียนและประเมินผล ห้องเรียน และผังแสดงการให้บริการจุดเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต แบบไร้สาย (Wireless) จานวน 15 จุด ณ อาคารหอพักนิสิต และอาคารเรียน 2.5-3-4.2 ใช้หลักฐานเดียวกับ 7.3-4-2.4 หนังสือสัญญาการขยาย สัญญาเช่าสัญญาณจาก 4 MB เป็น 10 MB เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการรับ สัญญาณ 2.5-4-1 หลักฐานแสดงการลงทะเบียนเรียนกับหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ ในชั้นปีการศึกษาที่ 1 2.5-4-2 หลักฐานแสดงการที่นิสิตและบุคลากรของวิทยาลัย ใช้ บริการตรวจสุขภาพหรือการรักษาพยาบาลใดๆ ของโรงพยาบาลนพรัตนราชธานี 2.5-4-3 Health Report แสดงผลที่โรงพยาบาลกล้วยน้าไท (เอกชน) ตรวจสุขภาพประจาปี ให้กับนิสิตทุกชั้นปี (ชั้นปีที่ 1 – 4) จานวน 178 คน ในวันเสาร์ที่ 10 มีนาคม 2555 โดยนิสิตชั้นปีที่ 1 รับการตรวจไวรัสตับอักเสบ บี และชั้นปีอื่นๆ รับการตรวจสุขภาพทัว่ ไป ตัวบ่งชี้

รายการ

เป้า หมาย

สกอ

ค่าน้​้าหนัก สมศ วพ

หลักฐาน

งานที่รับผิดชอบ

ผู้รับผิดชอบ

2.5-4-4

หลักฐานแสดงการจัดให้มีบริการประกันอุบัติเหตุประจาปี (200 บาทต่อคน) ให้กับนิสิตทุกชั้นปี 2.5-4-5.1 ภาพถ่ายแสดงว่านิสิตและบุคลากรของวิทยาลัยฯ เข้าถึง บริการร้านอาหาร โรงยิม และสนามขนาดเล็กวิ่งออกกาลังกาย ของโรงพยาบาล

19


นพรัตนราชธานี 2.5-4-5.2 ภาพถ่ายแสดงการบริการร้านสะดวกซื้อขนาดเล็ก ที่ อาคารหอพักชั้น 1 จาหน่ายอาหารและของใช้ต่างๆ เวลา 7.00 – 20.00 น. 2.5-4-5.3 ภาพถ่ายแสดงการบริการห้องออกกาลังกาย พร้อม อุปกรณ์ ที่ชั้น 4 อาคารหอพัก 2.5-5-1.1 ภาพถ่ายแสดงการมีระบบสาธารณูปโภคและรักษาความ ปลอดภัยของอาคาร ตลอดจนบริเวณโดยรอบ อย่างน้อยในเรื่องประปา ไฟฟ้า ระบบกาจัดของเสีย การจัดการขยะ รวมทั้ง มีระบบและอุปกรณ์ป้องกันอัคคีภยั ในบริเวณอาคารต่างๆ โดยเป็นไปตามกฎหมายที่เกี่ยวข้อง เช่น ความกว้างของ ทางหนีไฟ อุปกรณ์ดับเพลิง 2.5-5-1.2 ภาพถ่ายแสดงการใช้ระบบกาจัดขยะและบาบัดน้าเสีย ร่วมกับโรงพยาบาลนพรัตนราชธานี 2.5-5-2 โครงการและแผนการดาเนินงาน ด้านการดูแลอาคาร สถานที่ ระบบสาธารณูปโภค และระบบรักษาความปลอดภัย 2.5-5-3 สัญญาจ้างบริษัทรับทาความสะอาด ดูแลความสะอาด ของอาคารทั้ง 2 หลัง 2.5-6-1 สรุปผลการประเมินคุณภาพของบริการ จาแนกตาม - บริการห้องสมุด และแหล่งเรียนรู้อื่นๆ ผ่านระบบ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ และมีการฝึกอบรมการใช้งานแก่นักศึกษาทุกปีการศึกษา - บริการด้านกายภาพที่เหมาะสมต่อการจัดการเรียนการ สอนและการพัฒนานักศึกษาอย่างน้อยในด้านห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ อุปกรณ์ การศึกษา และจุดเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต - บริการสิ่งอานวยความสะดวกที่จาเป็นอื่นๆ อย่างน้อย ในด้านงานทะเบียนนักศึกษาผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ การบริการอนามัย และการรักษาพยาบาล การจัดการหรือจัดบริการด้านอาหารและสนามกีฬา - มีระบบสาธารณูปโภคและรักษาความปลอดภัยของ ตัวบ่งชี้

รายการ

เป้า หมาย

สกอ

ค่าน้​้าหนัก สมศ วพ

หลักฐาน

งานที่รับผิดชอบ

ผู้รับผิดชอบ

อาคารตลอดจนบริเวณโดยรอบ อย่างน้อยในเรื่องประปา ไฟฟ้า ระบบกาจัดของ เสีย การจัดการขยะ รวมทั้งมีระบบและอุปกรณ์ป้องกันอัคคีภยั ในบริเวณอาคาร ต่างๆ โดยเป็นไปตามกฎหมายที่เกีย่ วข้อง 2.5-7-1.1 ผลการประเมินการให้บริการห้องสมุดทีแ่ สดงให้เห็นว่า ห้องสมุดมีเพียงการยืม-คืนผ่านระบบบาร์โค้ด ยังไม่มีระบบการสืบค้นหนังสือและ ตาราเรียนผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2.5-7-1.2 หลักฐานการนาผลการประเมินมาใช้ปรับปรุงการ ดาเนินงานของห้องสมุด โดยดาเนินการจัดหา ติดตั้ง และลงบันทึกฐานข้อมูล หนังสือและตาราเรียนที่มีในห้องสมุด ด้วยโปรแกรมห้องสมุดอัตโนมัติ (Ulib)

20


2.5-7-1.3

หลักฐานการนาผลการประเมินมาใช้ปรับปรุงให้ ผู้ใช้บริการสามารถสืบค้นเอกสารและตาราได้ทางอินเทอร์เน็ต ผ่านเครื่อง คอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะที่มีในห้องสมุดจานวน 5 เครื่อง 2.5-7-1.4 ภาพถ่ายแสดงการนาคอมพิวเตอร์ notebook มา เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตในห้องสมุด เพื่อการศึกษาและสืบค้น และจัดหาฐานข้อมูล CINAHL เพื่อสืบค้นเอกสารทางการพยาบาล 2.5-7-2.1 ใช้หลักฐานเดียวกับ 7.3-4-2.1 ผลการประเมินความพึง พอใจของผู้ใช้ระบบสารสนเทศ ที่สะท้อนให้เห็นว่า ระบบอินเตอร์เน็ทของ วิทยาลัยมีความล่าช้าและล่มบ่อย รวมทั้ง มีระบบอินเตอร์เนท ไม่ทั่วถึงทุกจุดใน วิทยาลัย 2.5-7-2.2 ใช้หลักฐานเดียวกับ 7.3-4-2.2 รายงานสรุปปัญหาการใช้ งาน Network ภายในวิทยาลัย ตามที่เชิญผู้เชี่ยวชาญมาวิเคราะห์ระบบ 2.5-7-2.3 ใช้หลักฐานเดียวกับ 7.3-4-2.3 แผนผังการจัดทาและ ขยายระบบอินเตอร์เน็ทไร้สาย (WiFi) ประจาปีการศึกษา 2554-2555

ตัวบ่งชี้

รายการ

2.6

ระบบและกลไกการจัดการเรียนการสอน (สกอ. 2.6) เกณฑ์มาตรฐาน 1. มีระบบและกลไกการประกันคุณภาพการจัดการเรียนการสอนที่ เน้น ผู้ เรียนเป็นสาคัญทุกหลักสูตร 2. ทุกรายวิชาของทุกหลักสูตร มีรายละเอียดของรายวิชาและของ ประสบการณ์ภาคสนาม (ถ้ามี) ก่อนการเปิดสอนในแต่ละภาคการศึกษา ตามที่กาหนดในกรอบมาตรฐานคุณวุฒริ ะดับอุดมศึกษาแห่งชาติ 3. ทุกหลักสูตรมีรายวิชาที่ส่งเสริมทักษะการเรียนรู้ด้วยตนเอง และการ ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากการปฏิบัติทั้งในและนอกห้องเรียนหรือจากการทา วิจัย 4. มีการให้ผู้มีประสบการณ์ทางวิชาการหรือวิชาชีพจากหน่วยงานหรือ ชุมชนภายนอกเขามามีส่วนร่วมในกระบวนการเรียนการสอนทุก หลักสูตร 5. มีการจัดการเรียนรู้ที่พัฒนาจากการวิจัยหรือจากกระบวนการจัดการ

เป้า หมาย 5 ข้อ

สกอ 1

ค่าน้​้าหนัก สมศ วพ 1

หลักฐาน 2.6-1-1

งานที่รับผิดชอบ

Flow chart ระบบและกลไกการประกันคุณภาพการ งานบริหาร จัดการเรียนการสอนที่เน้นนิสิตเป็นสาคัญ หลักสูตรและการ 2.6-2-1 มคอ 3 4 5 และ 6 เรียนการสอน 2.6-3-1 มคอ 3 รายวิชาตกรรมการพยาบาล 2.6-4-1 หนังสือเชิญอาจารย์พิเศษ 2.6-4-2 ผลการประเมินการจัดการเรียนการสอนของแหล่งฝึก 2.6-5-1 รายวิชาการพยาบาลบุคคลที่มีปัญหาทางจิต ที่มี พัฒนาการจัดการเรียนรู้ ตามผลการจัดการ ความรู้ เพื่อเตรียมนิสิตสอบขึ้น ทะเบียนรับใบประกอบวิชาชีพ 2.6-5-2 รายวิชาการพยาบาลบุคคลที่มีปัญหาสุขภาพ 2 มีการ ปรับการเรียนการสอน และการวัดประเมินผล ตามผลงานวิจยั เรื่องปัจจัยที่มีผล ต่อการเรียนการสอนของนักศึกษาพยาบาลและปัญหาที่พบจากการใช้ หลักสูตร พยาบาลศาสตรบัณฑิต หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2551 2.6-6-1 ผลการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อคุณภาพ

ผู้รับผิดชอบ ดร.พีระนันทิ์ อ.ปวีณา อ.สุรัตนา อ.สิริลักษณ์ ศรี อ.ประไพจิตร หัวหน้าภาควิชาทุก ภาควิชา ป.โท ดร.สุนันทา ดร.กนกวรรณ ดร.อัญชลีพร คุณชวนพิศ

21


ความรู้ เพื่อพัฒนาการเรียนการสอน 6. มีการประเมินความพึงพอใจของผูเ้ รียนที่มีต่อคุณภาพการจัดการ เรียนการสอนและสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ทุกรายวิชา ทุกภาคการศึกษา โดยผลการประเมินความพึงพอใจแต่ละรายวิชาต้องไม่ต่ากว่า 3.51 จาก คะแนนเต็ม 5 7. มีการพัฒนาหรือปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน กลยุทธ์การสอน หรือการประเมินผลการเรียนรู้ ทุกรายวิชา ตามผลการประเมินรายวิชา

ตัวบ่งชี้

รายการ

2.6.1

ประสิทธิผลของการจัดการเรียนการสอน (สบช.) เกณฑ์มาตรฐาน 1. ทุกรายวิชามีการพัฒนารายวิชา ตามผลการประเมินภาพรวมของ รายวิชาโดยนักศึกษาและ/หรือแหล่งฝึกหรือตามที่แสดงไว้ใน มคอ. 5 หรือ 6 หรือตามผลการประเมินอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่นผลการสารวจ ความเห็นผู้ใช้บัณฑิต ฯ 2. ทุกรายวิชาชีพ มีแผนการสอนในทุกหน่วยการเรียนทางวิชาชีพ(ทั้ง ภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ) 3. ทุกรายวิชาชีพ มีแผนการสอนทุกหน่วยการเรียนที่มีความสอดคล้อง (ALIGN) ระหว่าง วัตถุประสงค์กิจกรรมการสอน การวัดและประเมินผล 4. ทุกรายวิชามีผังการออกข้อสอบ (Test Blueprint) 5. มีการอธิบาย Course syllabus หรือ มคอ. 3 หรือ มคอ. 4 และ Test Blueprint ในชั่วโมงแรกของการเรียนการสอน 6. ทุกรายวิชาชีพมีการวิพากษ์ข้อสอบ และมีการพิจารณาความ เหมาะสมของข้อสอบในทุกรายวิชา 7. ทุกรายวิชามีการวิเคราะห์ขอ้ สอบ โดยมีการวิเคราะห์ความเที่ยงตรง ความยากง่าย และค่าอานาจจาแนกของข้อสอบทั้งรายข้อคาถามและ รายตัวเลือก 8. มีการบูรณาการการเรียนการสอนรายวิชากับการวิจยั หรือการบริการ

การจัดการเรียนการสอนและสิ่ง สนับสนุนการเรียนรู้ทุกรายวิชา 2.6-7-1 แฟ้มรายวิชาที่สอนโดยอาจารย์ประจา ที่มีการพัฒนาการ จัดการเรียนการสอน การวัด ประเมินผล ตามผลการประเมินภาพรวมของ รายวิชาโดยนักศึกษาและ/หรือแหล่งฝึก

เป้า หมาย 7 ข้อ

สกอ

ค่าน้​้าหนัก สมศ วพ

หลักฐาน 2.6.1-1-1

งานที่รับผิดชอบ

สรุปการจัดการเรียนการสอนระดับรายวิชา อิงตาม งานบริหาร เกณฑ์มาตรฐาน สบช2.6.1 ประสิทธิผลการจัดการเรียนการสอน วิทยาลัย หลักสูตรและการ พยาบาลบรมราชชนนี นพรัตน์วชิระ ปีการศึกษา 2554 พร้อมแฟ้มรายวิชาที่ เรียนการสอน สอนโดยอาจารย์ประจา 69 รายวิชา ที่มีการพัฒนารายวิชา ตามผลการประเมิน ภาพรวมของรายวิชาโดยนักศึกษาและ/หรือแหล่งฝึก 2.6.1-1-2 สรุปการจัดการเรียนการสอนระดับรายวิชา อิงตาม เกณฑ์มาตรฐาน สบช2.6.1 ประสิทธิผลการจัดการเรียนการสอน วิทยาลัย พยาบาลบรมราชชนนี นพรัตน์วชิระ ปีการศึกษา 2554 พร้อมแฟ้มรายวิชา ปฏิบัติการพยาบาลมารดาทารกและผดุงครรภ์2 ที่มีการพัฒนารายวิชาตามที่ แสดงไว้ใน มคอ.6 2.6.1-1-3.1 แฟ้มรายวิชาการพยาบาลบุคคลที่มีปัญหาทางจิต ที่มี การพัฒนารายวิชาตามผลการจัดการความรู้เพื่อเตรียมนิสิตสอบขึ้นทะเบียนรับ ใบประกอบวิชาชีพ 2.6.1-1-3.2 แฟ้มรายวิชาการพยาบาลบุคคลที่มีปัญหาสุขภาพ 2 ที่ ปรับตาม ผลงานวิจยั เรื่อง ปัจจัยที่มีผลต่อการเรียนการสอนของนักศึกษา พยาบาลและปัญหาที่พบจากการใช้หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต หลักสูตร ปรับปรุง พ.ศ. 2551 2.6.1-2-1 สรุปการจัดการเรียนการสอนระดับรายวิชา อิงตาม เกณฑ์มาตรฐาน สบช2.6.1 ประสิทธิผลการจัดการเรียนการสอน วิทยาลัย

ผู้รับผิดชอบ ดร.พีระนันทิ์ อ.ปวีณา อ.สุรัตนา อ.สิริลักษณ์ ศรี อ.ประไพจิตร หัวหน้าภาควิชาทุก ภาควิชา ป.โท ดร.สุนันทา ดร.กนกวรรณ ดร.อัญชลีพร คุณชวนพิศ

22


วิชาการหรือการทานุบารุงศิลปะวัฒนธรรมหรือการจัดการความรู้หรือ การพัฒนานักศึกษา อย่างน้อยร้อยละ 10 ของรายวิชาชีพ (ในกรณีที่มี การบูรณาการในรายวิชาอื่นๆให้นับรวมทั้งตัวตั้งและตัวหาร) 9. ทุกรายวิชามีการทวนสอบการดาเนินงานการสอน และมีการ ประเมินผลการจัดการเรียนการสอนทุกรายวิชาในภาพรวม

ตัวบ่งชี้

รายการ

พยาบาลบรมราชชนนี นพรัตน์วชิระ ปีการศึกษา 2554 พร้อมแฟ้มรายวิชาชีพ 57 รายวิชา ทีม่ ีแผนการสอนทุกหน่วยการเรียน 2.6.1-2-1 แฟ้มรายวิชา หลักการและเทคนิคการพยาบาล ที่มี แผนการสอนในทุกหน่วยการเรียน 2.6.1-3-1 สรุปการจัดการเรียนการสอนระดับรายวิชา อิงตาม เกณฑ์มาตรฐาน สบช 2.6.1 ประสิทธิผลการจัดการเรียนการสอน วิทยาลัย พยาบาลบรมราชชนนี นพรัตน์วชิระ ปีการศึกษา 2554 พร้อมแฟ้มรายวิชาชีพ 57 รายวิชา ที่มีแผนการสอนทุกหน่วยการเรียนที่มีความสอดคล้อง (ALIGN) ระหว่าง วัตถุประสงค์กิจกรรมการสอน การวัดและประเมินผล 2.6.1-4-1 สรุปการจัดการเรียนการสอนระดับรายวิชา อิงตาม เกณฑ์มาตรฐาน สบช2.6.1 ประสิทธิผลการจัดการเรียนการสอน วิทยาลัย เป้า หมาย

สกอ

ค่าน้​้าหนัก สมศ วพ

หลักฐาน

งานที่รับผิดชอบ

ผู้รับผิดชอบ

พยาบาลบรมราชชนนี นพรัตน์วชิระ ปีการศึกษา 2554 พร้อมแฟ้มรายวิชาที่ สอนโดยอาจารย์ประจา 69 รายวิชา ที่มีผังการออกข้อสอบ (Test Blueprint) 2.6.1-5-1 สรุปการจัดการเรียนการสอนระดับรายวิชา อิงตาม เกณฑ์มาตรฐาน สบช2.6.1 ประสิทธิผลการจัดการเรียนการสอน วิทยาลัย พยาบาลบรมราชชนนี นพรัตน์วชิระ ปีการศึกษา 2554 พร้อมแฟ้มรายวิชาที่ สอนโดยอาจารย์ประจา 69 รายวิชา ที่มีหลักฐานแสดงการอธิบาย course syllabus หรือ มคอ. 3 หรือ มคอ. 4 และ Test Blueprint ในชั่วโมงแรกของ การเรียนการสอน 2.6.1-5-2 แฟ้มรายวิชา วิจยั ทางการพยาบาล ที่มหี ลักฐานแสดง การปฐมนิเทศรายวิชา อธิบาย มคอ.3 และ Test Blueprint ในชั่วโมงแรกของ การเรียนการสอน (2.6.1-5-2) 2.6.1-5-3 แฟ้มรายวิชาปฏิบัติมารดาทารกและการผดุงครรภ์ 2 ที่มี หลักฐานแสดงการปฐมนิเทศรายวิชา อธิบาย มคอ.4 และ Test Blueprint ใน ชั่วโมงแรกของการเรียนการสอน 2.6.1-6-1 สรุปการจัดการเรียนการสอนระดับรายวิชา อิงตาม เกณฑ์มาตรฐาน สบช2.6.1 ประสิทธิผลการจัดการเรียนการสอน วิทยาลัย พยาบาลบรมราชชนนี นพรัตน์วชิระ ปีการศึกษา 2554 พร้อมแฟ้มรายวิชาชีพ 57 รายวิชา ที่มีหลักฐานการวิพากษ์ขอ้ สอบ และมีการพิจารณาความเหมาะสม ของข้อสอบในทุกรายวิชา 2.6.1-7-1 สรุปการจัดการเรียนการสอนระดับรายวิชา อิงตาม เกณฑ์มาตรฐาน สบช 2.6.1 ประสิทธิผลการจัดการเรียนการสอน วิทยาลัย พยาบาลบรมราชชนนี นพรัตน์วชิระ ปีการศึกษา 2554 พร้อมแฟ้มรายวิชาที่ สอนโดยอาจารย์ประจา 69 รายวิชา ที่มีหลักฐานแสดงการวิเคราะห์ข้อสอบ โดยมีการวิเคราะห์ความเที่ยงตรง ความยากง่าย และค่าอานาจจาแนกของ

23


ข้อสอบทั้งรายข้อคาถามและรายตัวเลือก 2.6.1-7-2 แฟ้มรายวิชาปฏิบัติมารดาทารกและการผดุงครรภ์ 2 ที่มี หลักฐานแสดงการวิเคราะห์ข้อสอบ โดยมีการวิเคราะห์ความเทีย่ งตรง ความ ยากง่าย และค่าอานาจจาแนกของข้อสอบทั้งรายข้อคาถามและรายตัวเลือก 2.6.1-8-1 สรุปการจัดการเรียนการสอนระดับรายวิชา อิงตาม เกณฑ์มาตรฐาน สบช2.6.1 ประสิทธิผลการจัดการเรียนการสอน วิทยาลัย ตัวบ่งชี้

รายการ

เป้า หมาย

สกอ

ค่าน้​้าหนัก สมศ วพ

หลักฐาน

งานที่รับผิดชอบ

ผู้รับผิดชอบ

พยาบาลบรมราชชนนี นพรัตน์วชิระ ปีการศึกษา 2554 พร้อมแฟ้มรายวิชาชีพ 7 รายวิชา ที่มีการบูรณาการการเรียนการสอนรายวิชากับการวิจัยหรือการ บริการวิชาการหรือการทานุบารุงศิลปวัฒนธรรมหรือการจัดการความรู้หรือการ พัฒนานักศึกษา 2.6.1-8-2 แฟ้มรายวิชาปฏิบัติการพยาบาลบุคคลที่มีปัญหาสุขภาพ 1 ที่มีหลักฐานการบูรณาการกับโครงการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุห่างไกล สมอง 2.6.1-8-3 แฟ้มรายวิชาปฏิบัติการพยาบาลบุคคลที่มีปัญหาสุขภาพ 2 ที่มีหลักฐานการบูรณาการกับโครงการโลกนิทานเคลื่อนที่ส่งเสริมพัฒนาการ ลูกรัก 2.6.1-8-4 แฟ้มรายวิชาปฏิบัติครอบครัวและชุมชน2 ที่มีหลักฐาน การบูรณาการกับโครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยสิ่งแวดล้อมและอาชีวอนามัย ในชุมชนรอบนิคมอุตสาหกรรมภายใต้โครงการ SHEE CLUB ตามแผนปฏิบัติ การแสดงความรับผิดชอบต่อสังคม (CSR) ด้านสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัย 2.6.1-8-5 แฟ้มรายวิชาเลือกบาบัดทางเลือก ที่มีหลักฐานการบูร ณาการกับโครงการบริการวิชาการช่วยผู้ประสบภัยน้าท่วมเพื่อลดปัญหากลิ่น เหม็นอับเท้า โดยใช้ภูมิปัญญาไทย 2.6.1-9-1 สรุปการจัดการเรียนการสอนระดับรายวิชา อิงตาม เกณฑ์มาตรฐาน สบช2.6.1 ประสิทธิผลการจัดการเรียนการสอน วิทยาลัย พยาบาลบรมราชชนนี นพรัตน์วชิระ ปีการศึกษา 2554 พร้อมแฟ้มรายวิชาที่ สอนโดยอาจารย์ประจา 69 รายวิชา ที่มีหลักฐานแสดง 1.การทวนสอบการ ดาเนินงานการสอน และ 2.การประเมินผลการจัดการเรียนการสอนทุกรายวิชา ในภาพรวม

24


ตัวบ่งชี้

รายการ

2.7

ระบบและกลไกการพัฒนาสัมฤทธิผลการเรียนตามคุณลักษณะของ บัณฑิต (สกอ. 2.7) เกณฑ์มาตรฐานทัว่ ไป 1. มีการสารวจคุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค์ตามความต้องการ ของผู้ใช้บัณฑิตอย่างน้อยสาหรับทุกหลักสูตรระดับปริญญาตรี ทุกรอบ ระยะเวลาตามแผนกาหนดการศึกษาของหลักสูตร เอกสารที่ใช้ประกอบการประเมินเกณฑ์ฯ ข้อนี้ คือ เอกสารการสารวจ คุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ตามความต้องการของผู้ใช้บัณฑิตตาม รอบการปรับปรุงหลักสูตรนั้น ๆ ในทุกรอบตามแผนในแต่ละหลักสูตร เช่น หลักสูตรปรับปรุงปี 2553 เมื่อมีการประเมินคุณภาพในรอบปี 2554-2555 เอกสารยังคงเป็นเอกสารการสารวจฯเพื่อการปรับปรุง หลักสูตรเมื่อรอบปีปรับปรุง 2553 จนกว่าจะมีการปรับปรุงหลักสูตรนั้น ๆ ในรอบถัดไป 2. มีการนาผลจากข้อ 1 มาใช้ในการปรับปรุงหลักสูตร การจัดการเรียน การสอน การวัดผลการศึกษาและสัมฤทธิผลทางการเรียนที่ส่งเสริม ทักษะอาชีพและคุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค์ตามความต้องการ ของผู้ใช้บัณฑิต 3. มีการส่งเสริมสนับสนุนทรัพยากรทั้งด้านบุคลากร เทคโนโลยี สารสนเทศ และงบประมาณที่เอื้อต่อการพัฒนาคุณลักษณะของบัณฑิต 4. มีระบบและกลไกการส่งเสริมให้นักศึกษาระดับปริญญาตรีและ บัณฑิตศึกษาเข้าร่วมกิจกรรมการประชุมวิชาการหรือนาเสนอผลงานทาง วิชาการในที่ประชุมระหว่างสถาบัน หรือที่ประชุมระดับชาติหรือ นานาชาติ 5. มีกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรมให้แก่นักศึกษาระดับปริญญา ตรีและบัณฑิตศึกษาที่จัดโดยสถาบัน

ตัวบ่งชี้

รายการ

เป้า หมาย 3 ข้อ

เป้า หมาย

ค่าน้​้าหนัก สกอ สมศ วพ 1 1

สกอ

หลักฐาน

งานที่รับผิดชอบ

2.7-1-1

รายงานผลการวิจัย เรื่อง คุณลักษณะของบัณฑิตที่พึง งานบริหาร ประสงค์ของบัณฑิตหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต ตามความต้องการของผู้ใช้ หลักสูตรและการ บัณฑิต :วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นพรัตน์วชิระ เรียนการสอน 2.7-1-2 AGREEMENT ON ACADEMIC EXCHANGE BETWEEN PRABOROMARAJCHANOK INSTITUTE (PBRI) BANGKOK , THAILAND AND THE ASSOCIATION OF INDONESIAN NURSING EDUCATION CENTERS (AINEC) , INDONESIA 2.7-2-1 รายงานผลการวิจัย หน้าที่ 32-34 ตารางที่ 4 ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนนคุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค์ ตามความต้องการของผู้บังคับบัญชา เพื่อร่วมงาน และผู้รับบริการ 2.7-2-2 Curriculum Mappingใน มคอ.2 ที่จัดทาให้สอดคล้อง กับ รายงานผลการวิจัย หน้าที่ 32-34 ตารางที่ 4 2.7-2-3 มคอ.3 หรือ 4 รายวิชาทางการพยาบาล ในปีการศึกษา 2554ที่ปรับให้สอดคล้องกับ รายงานผลการวิจัย หน้าที่ 32-34 ตารางที่ 4 2.7-2-4 รายงานผลการวิจัย หน้า 34 ข้อคาถาม 6.1 มีความ ชานาญในด้านทักษะการพยาบาล 2.7-2-5 สรุปผลการจัดทาโครงการ “การอบรมพัฒนาสมรรถนะ อาจารย์ด้านการเรียนการสอน และการวัดประเมินผล ณ ประเทศเกาหลี” เพื่อ ปรับการจัดการเรียนการสอน และการวัดประเมินผลของอาจารย์ เพื่อให้ บัณฑิตมีความรู้ ทักษะในการปฏิบัติงาน เพื่อแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสมกับ สภาพปัญหาทางสุขภาพ 2.7-2-6 รายงานผลการวิจัย หน้า 37 ข้อเสนอแนะข้อ 5 บัณฑิต สามารถทางานวิจัยที่เกี่ยวกับพื้นที่และสามารถนาไปใช้แก้ปัญหาต่างๆได้ 2.7-2-7 ผลงานนักศึกษา จากการปรับการจัดการเรียนการสอน การวัดผลการศึกษาและสัมฤทธิผลทางการเรียนที่ส่งเสริมให้นักศึกษาจัดทา ผลงานวิจัย/นวัตกรรม ที่สามารถนาไปใช้แก้ปัญหาต่างๆ ในสถานการณ์การ ปฏิบัติงานจริง เช่น การจัดทานวัตกรรม “Pillow of Love (หมอนสัมพันธ์รัก)”

ค่าน้​้าหนัก สมศ วพ

หลักฐาน

งานที่รับผิดชอบ

ผู้รับผิดชอบ ดร.พีระนันทิ์ อ.ปวีณา อ.สุรัตนา อ.สิริลักษณ์ ศรี อ.ประไพจิตร หัวหน้าภาควิชาทุก ภาควิชา ป.โท ดร.สุนันทา ดร.กนกวรรณ ดร.อัญชลีพร คุณชวนพิศ

ผู้รับผิดชอบ

2.7-2-8

รายงานผลการวิจัย หน้า 37 ข้อเสนอแนะข้อ 6 ควรเพิ่ม ทักษะด้านการเป็นวิทยากรในการให้ความรู้แก่ผู้รับบริการอย่างมั่นใจและ

25


เชื่อมั่น 2.7-2-9 การจัดนิทรรศการและการบริการวิชาการ วิชา ภูมิ ปัญญาไทยเพื่อปรับการจัดการเรียนการสอน การวัดผลการศึกษาและ สัมฤทธิผลทางการเรียนที่ส่งเสริมให้นักศึกษานาผลงานวิจัย/นวัตกรรม ที่ สามารถนาไปใช้แก้ปัญหาต่างๆ ในสถานการณ์การปฏิบัติงานจริง มาฝึกใช้ ให้บริการวิชาการ 2.7-2-10 รายงานผลการวิจัย หน้าที่ 38 ตารางที่ 6 ค่าเฉลี่ยและ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของคุณลักษณะการให้บริการด้วยหัวใจความเป็นมนุษย์ ฯ 2.7-2-11 สรุปผลการจัดทาโครงการ “พัฒนาสมรรถนะการนา หลักการดูแลด้วยหัวใจความเป็นมนุษย์ สู่การเรียนการสอนแบบบูรณาการ วิชาการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันการเจ็บป่วย” เพื่อให้อาจารย์จัดการเรียน การสอน โดยควรคานึงและตระหนักในการพัฒนานิสิตให้มีคุณลักษณะการ ให้บริการด้วยหัวใจความเป็นมนุษย์ 2.7-2-12 รายงานผลการวิจัย หน้าที่ 42 ข้อเสนอแนะ 3.ควร บูรณาการความรู้ทางด้านภาษาอังกฤษและสอดแทรกเข้าไปในการจัดการเรียน การสอนทุกรายวิชา 2.7-2-13 ภาพถ่าย และหลักฐานการปรับการจัดการเรียนการสอน NURSING SEMINAR ที่ให้นักศึกษาปริญญาตรี เข้าร่วม SEMINAR กับนักศึกษา ปริญญาโท โดยใช้ภาษาอังกฤษ 2.7-3-1 ตัวอย่างหนังสือเชิญสอน โดยเชิญผู้เชี่ยวชาญจาก วิทยาลัยแพทย์ศาสตรพระมงกุฎเกล้า สอนในรายวิชาพื้นฐานวิชาชีพได้แก่วิชา จุลชีวและปรสิตวิทยา วิชากายวิภาคและสรีรวิทยา2 วิชาพยาธิวิทยา วิชา ชีวเคมี และวิชาเภสัชวิทยา 2.7-3-2 ตัวอย่างหนังสือเชิญสอน ในรายวิชาทางการพยาบาล ภาคปฏิบัติ ที่ได้เชิญพยาบาลพี่เลี้ยงที่มีประสบการณ์มาเป็นผู้นิเทศในแหล่งฝึก โดยเฉพาะในหน่วยงานที่ต้องใช้ความรู้เฉพาะทาง เช่น ห้องคลอด แผนกผู้ป่วย วิกฤต ตัวบ่งชี้

รายการ

เป้า หมาย

ค่าน้​้าหนัก สกอ สมศ วพ

หลักฐาน

งานที่รับผิดชอบ

ผู้รับผิดชอบ

2.7-3-3

ผังโครงสร้างองค์กร แสดงให้เห็นการมีหน่วยงาน ให้บริการด้านคอมพิวเตอร์ ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ฯ 2.7-3-4 หลักฐานการจัดซื้อฐานข้อมูลออนไลน์ CINAHL PLUS WITH FULLTEXT 2.7-3-5 ตารางสรุปค่าใช้จ่ายในการดาเนินงาน ปีงบประมาณ 25554 แสดงให้เห็นการใช้จ่ายเงิน สนับสนุนจัดทาโครงการพัฒนาสมรรถนะ อาจารย์ เพื่อปรับการจัดการเรียนการสอน และการวัดประเมินผลของอาจารย์

26


ให้มุ่งเน้นการสร้างบัณฑิตที่มีความรู้ ทักษะในการปฏิบัติงาน เพื่อแก้ไขปัญหาได้ อย่างเหมาะสมกับสภาพปัญหาทางสุขภาพ รวมทั้ง สนับสนุนให้นักศึกษาจัดทา และนาผลงานวิจัย/นวัตกรรม ที่สามารถนาไปใช้แก้ปัญหาต่างๆ ในสถานการณ์ การปฏิบัติงานจริง ไปเผยแพร่ 2.7-4-1 ขั้นตอนการดาเนินงาน ที่สรุปเป็น Flow Chart การ ส่งเสริมให้นักศึกษาระดับปริญญาตรีและบัณฑิตศึกษาเข้าร่วมกิจกรรมการ ประชุมวิชาการหรือนาเสนอผลงานทางวิชาการในที่ประชุมระหว่างสถาบัน หรือที่ประชุมระดับชาติหรือนานาชาติ 2.7-4-2 ระบบและกลไกการส่งเสริมให้นิสิตเข้าร่วมประชุม วิชาการ/นาเสนอผลงานทางวิชาการ 2.7-4-3 คาสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการพิจารณาผลงานวิชาการ งาน สร้างสรรค์ของนิสิต 2.7-4-4 หลักฐานการส่งเสริมให้นักศึกษาจัดทาผลงานวิจัย/ นวัตกรรม ที่สามารถนาไปใช้แก้ปัญหาต่างๆ ในสถานการณ์การปฏิบัติงานจริง เช่น ล้อเลื่อนสุขภาพ ฯ 2.7-4-5 หลักฐานการจัดให้มีการนาเสนอผลงานวิจัยทางการ พยาบาล และนวัตกรรมทางการพยาบาล 2.7-4-6 หลักฐานการส่งเสริมให้นักศึกษาระดับปริญญาตรีและ บัณฑิตศึกษา เข้าร่วมกิจกรรมการประชุมวิชาการหรือนาเสนอผลงานทาง วิชาการในที่ประชุมระหว่างสถาบัน หรือที่ประชุมระดับชาติหรือนานาชาติ 2.7-5-1 ชุดหลักฐาน แสดงการจัดโครงการและกิจกรรมพัฒนา นิสิตเพื่อเสริมสร้างคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ด้านคุณธรรมจริยธรรม ให้แก่นักศึกษาระดับปริญญาตรีที่จัดโดยวิทยาลัย ได้แก่ โครงการสู่ร่มราชพฤกษ์ ตัวบ่งชี้

รายการ

เป้า หมาย

ค่าน้​้าหนัก สกอ สมศ วพ

หลักฐาน

งานที่รับผิดชอบ

ผู้รับผิดชอบ

และมอบลูกเป็นศิษย์ โครงการนพรัตน์วชิระไหว้ครู พิธีประดับหมวก เข็มชั้นปี และประทีปปณิธาน และโครงการพิธีสาเร็จการศึกษา“คืนบัณฑิตสู่แผ่นดิน” โครงการนพรัตน์วชิระสืบสานสงกรานต์ไทย 2.7-5-2 ผลสารวจคุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค์ตามความ ต้องการของผู้ใช้บัณฑิต ในรายงานผลการวิจัยฯ หน้า 37 ข้อเสนอแนะข้อ 3 และ 4 2.7-5-3 โครงการ “ปันน้าใจ จากวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นพรัตน์วชิระ ถึงผู้ประสบภัยน้าท่วม” เพื่อปลูกฝังให้นิสิตมีจิตสานึกที่ดีต่อส่วนรวม คิดดี ทาดี ส่งเสริมให้นิสิตมี คุณลักษณะ และอัตลักษณ์ที่พึงประสงค์ 2.7.1

บัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานท้าหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี

ร้อยละ

5

5

2.7.1-1

รายชื่อผู้สาเร็จการศึกษา ปีการศึกษา 2551 - 2553

งานวัดและ

ดร.พีระนันทิ์

27


(สมศ. 1) วิธีการคานวณ จานวนบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทาหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี x100) / จานวนบัณฑิตที่ตอบแบบสารวจทั้งหมด หมายเหตุ ไม่นับรวมบัณฑิตที่มีงานทาก่อนเข้าศึกษาหรือมีกิจการของ ตนเองที่มีรายได้ประจาอยูแ่ ล้ว หรือได้รับทุนการศึกษาตั้งแต่แรกเข้าที่มี ข้อสัญญาผูกพันให้กลับไปปฏิบัติงานชดใช้ทุนเมื่อสาเร็จการศึกษาแล้ว และผู้ที่ศึกษาต่อในระดับบัณฑิตศึกษา ผู้อุปสมบท และผู้ได้รับเกณฑ์ ทหาร (หักออกทั้งตัวตั้งและตัวหาร)

ตัวบ่งชี้ 2.7.2

2.7.3

100

เป้า หมาย คุณภาพของบัณฑิตปริญญาตรีโทและเอก ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ≥3.51 อุดมศึกษาแห่งชาติ (สมศ. 2) วิธีการคานวณ ผลรวมของค่าคะแนนที่ได้จากการประเมินบัณฑิต / จานวนบัณฑิตที่ได้รับการประเมินทั้งหมด เกณฑ์การให้คะแนน ใช้ค่าเฉลี่ยของคะแนนการประเมินบัณฑิต (คะแนนเต็ม 5) รายการ

ผลงานของผู้ส้าเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทที่ได้ รับการตีพิมพ์หรือ เผยแพร่ (สมศ. 3) วิธีการคานวณ (ผลรวมถ่วงน้าหนักของผลงานที่ตีพิมพ์หรือเผยแพร่ ของผู้สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท X 100) / จานวนผู้สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาโททั้งหมด เกณฑ์การให้คะแนน

2.7.1-2 แบบสอบถามผู้สาเร็จการศึกษา ปีการศึกษา 2551 – 2553 2.7.1-3 สรุปข้อมูลบัณฑิตปริญญาตรีได้งานทา/ประกอบอาชีพ อิสระ และศึกษาต่อปี การศึกษา 2551 - 2553

สกอ

ค่าน้​้าหนัก สมศ วพ 5 5

5

5

หลักฐาน 2.7.2-1

รายชื่อผู้สาเร็จการศึกษา หลักสูตรพยาบาลศาสตร บัณฑิต รุ่น 109, จพช รุ่น 4 2.7.2-2 แบบประเมินคุณภาพบัณฑิตปริญญาตรี ตามกรอบ มาตรฐานคุณวุฒิอุดมศึกษาแห่งชาติ และพฤติกรรมการให้การดูแลด้วยหัวใจความ เป็นมนุษย์ของผู้สาเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยพยาบาลบรมราชนนี นพรัตน์วชิระ ปี การศึกษา 2553 2.7.2-3 สรุปผลการประเมินคุณภาพบัณฑิตในด้านต่างๆตาม กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (TQF) 1. จานวนและรายชื่อบทความวิจัยจากวิทยานิพนธ์ สารนิพนธ์ ของ

ประเมินผล การศึกษา

งานที่รับผิดชอบ บริหารหลักสูตร และการจัดการ เรียนการสอน กลุ่มงาน บัณฑิตศึกษา

กลุ่มงาน ผู้สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทที่ได้รบั การตีพิมพ์ในระดับชาติหรือนานาชาติ บัณฑิตศึกษา รายปีตามปีปฏิทินที่ตรงกับปีการศึกษา พร้อมชื่อเจ้าของบทความ ชือ่ วิทยานิพนธ์หรือสารนิพนธ์ ปีที่ตีพิมพ์ ชื่อวารสารหรือรายงานสืบเนื่องจากการ ประชุม วิชาการที่ตีพิมพ์ ค่าน้าหนักของบทความวิจัย แต่ละชิ้น 2. จานวนและรายชื่อผลงานสร้างสรรค์จากศิลปนิพนธ์ของผู้สาเร็จการศึกษา

อ.เตือนใจ

ผู้รับผิดชอบ ดร.พีระนันทิ์ อ.ปวีณา อ.สุรัตนา อ.สิริลักษณ์ ศรี คุณสมาลี ป.โท ดร.สุนันทา ดร.กนกวรรณ ดร.อัญชลีพร คุณชวนพิศ ดร.สุนันทา ดร.กนกวรรณ ดร.อัญชลีพร คุณชวนพิศ

28


ใช้บัญญัติไตรยางศ์เทียบกาหนดร้อยละ 50 เท่ากับ 5 คะแนน ทุกกลุ่ม สาขาวิชา

ตัวบ่งชี้

รายการ

2.7.4

ร้อยละของบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่สอบใบประกอบวิชาชีพหรือ ข้อสอบมาตรฐานผ่านในครั้งแรก (สบช.) สูตรการคานวณผลการดาเนินงาน (ผลรวมของจานวนผู้สาเร็จการศึกษาทีส่ อบผ่านใบประกอบวิชาชีพ/ ข้อสอบมาตรฐานในครั้งแรกของการสอบ 3 ปีย้อนหลัง X 100) / ผลรวมของจานวนผู้สาเร็จการศึกษาที่เข้าสอบเป็นครั้งแรกทั้งหมด 3 ปี ย้อนหลัง เกณฑ์การให้คะแนน ใช้บัญญัติไตรยางศ์เทียบ โดยกาหนดให้ร้อยละ 75 เท่ากับคะแนนเต็ม 5

ระดับปริญญาโทที่ได้รับการเผยแพร่ในระดับชาติหรือระดับนานาชาติพร้อมชื่อ เจ้าของผลงาน ปีที่เผยแพร่ ชื่อหน่วยงานหรือองค์กร พร้อมทั้งจังหวัด ประเทศ ที่เผยแพร่รูปแบบของการเผยแพร่พร้อมหลักฐาน ค่าน้าหนักของการ เผยแพร่ผลงานแต่ละชิ้น 3. จานวนและรายชื่อผู้สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาโททั้งหมด

เป้า หมาย 50 %

สกอ

ค่าน้​้าหนัก สมศ วพ

หลักฐาน

งานที่รับผิดชอบ

ผู้รับผิดชอบ

 2.7.4-1 จ านวนและรายชื่ อ ผู้ ส าเร็ จ การศึ ก ษา หลั ก สู ต ร งานเตรียมสอบ/ขึ้น ดร.พีระนันทิ์ อ.ประไพจิตร พยาบาลศาสตรบัณฑิต รุ่น 108 และ รุ่น 109 ปีการศึกษา 2552 และ ทะเบียน อ.เตือนใจ 2553 จานวนและรายชื่อผู้สาเร็จ การศึกษา หลักสูตรพยาบาลศาสตร บัณ ฑิต ส าหรับ เจ้ าพนัก งานสาธารณสุ ขชุ มชน รุ่น 3 และ รุ่ น 4 ปี การศึกษา 2552 และ 2553  2.7.4-2 หนังสือรับรองจากสภาการพยาบาลเกี่ยวกับจานวน และรายชื่ อ ผู้ ส าเร็ จ การศึ ก ษาที่ ส อบผ่ า นใบอนุ ญ าตประกอบวิ ช าชี พ ภายใน 1 ปี หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต รุ่น 108 และ รุ่น 109 ปี จ านวนและรายชื่ อ ผู้ ส าเร็ จ การศึ ก ษาที่ ส อบผ่ า นใบอนุ ญ าตประกอบ วิชาชีพ ภายใน 1 ปี หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต สาหรับเจ้าพนักงาน สาธารณสุขชุมชน รุ่น 3 และ รุ่น 4 ปีการศึกษา และ 25530  2.7.4-3 ผลการประเมินความพึงพอใจและข้อเสนอแนะ เพื่อ การปรับปรุงของนิสิต รุ่น 109 ต่อโครงการทบทวนความรู้เพื่อสอบขึ้น ทะเบียนใบประกอบวิชาชีพ ปีการศึกษา 2553  2.7.4-4 สารวจความต้องการของนักศึกษาเกี่ยวกับกิจกรรม การทบทวนความรู้ทั้ง 8 รายวิชา ที่ต้องสอบขอขึ้นทะเบียนใบประกอบวิชาชีพ ของรุ่น 110

29


ตัวบ่งชี้

รายการ

2.8

ระดับความส้าเร็จของการเสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรมที่จดั ให้กบั นักศึกษา (สกอ. 2.8) เกณฑ์มาตรฐาน 1. มีการกาหนดพฤติกรรมด้านคุณธรรมจริยธรรมสาหรับนักศึกษาที่ ต้องการส่งเสริมไว้ เป็นลายลักษณ์อักษร 2. มีการถ่ายทอดหรือเผยแพร่พฤติกรรมด้านคุณธรรมจริยธรรมสาหรับ นักศึกษาที่ต้องการส่งเสริมตามข้อ 1 ไปยังผู้บริหาร คณาจารย์ นักศึกษา และผู้ เกี่ยวข้องทราบอย่างทั่วถึงทั้งสถาบัน 3. มีโครงการหรือกิจกรรมส่งเสริมการพัฒนาพฤติกรรมด้านคุณธรรม จริยธรรมที่กาหนดในข้อ 1 โดยระบุตัวบ่งชี้และเป้าหมายวัดความสาเร็จ ที่ชัดเจน 4. มีการประเมินผลโครงการหรือกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมของ นักศึกษาตามตัวบ่งชี้และเป้าหมายที่กาหนดในข้อ 3 โดยมีผลการ ประเมินบรรลุเป้าหมายอย่างน้อยร้อยละ 90 ของตัวบ่งชี้ 5. มีนักศึกษาหรือกิจกรรมที่เกี่ยวกับนักศึกษาได้ รับการยกย่องชมเชย ประกาศเกียรติคุณด้านคุณธรรมจริยธรรม โดยหน่วยงานหรือองค์กร ระดับชาติ

เป้า หมาย 3 ข้อ

สกอ 1

ค่าน้​้าหนัก สมศ วพ 1

หลักฐาน 2.8-1-1 ประกาศวิทยาลัย เรื่องการกาหนดพฤติกรรมด้านคุณธรรม จริยธรรมสาหรับนักศึกษาที่ต้องการส่งเสริม 2.8-1-2 ภาพถ่ายบอร์ดประชาสัมพันธ์ เผยแพร่พฤติกรรมด้าน คุณธรรมจริยธรรมสาหรับนักศึกษา 2.8-1-3 หน้าเว็บไซด์ (www.bcnnv.ac.th) ที่แสดงการกาหนด พฤติกรรมด้านคุณธรรมจริยธรรมสาหรับนักศึกษาที่ต้องการส่งเสริม 2.8-2-1 หน้าเว็บไซด์ (www.bcnnv.ac.th) ที่แสดงการกาหนด พฤติกรรมด้านคุณธรรมจริยธรรมสาหรับนักศึกษาที่ต้องการส่งเสริม 2.8-2-2 ภาพถ่ายบอร์ดประชาสัมพันธ์ เผยแพร่พฤติกรรมด้าน คุณธรรมจริยธรรมสาหรับบุคลากร 2.8-3-1 โครงการ เสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรม ซึ่งระบุตัวบ่งชี้และ เป้าหมายที่ใช้วัดความสาเร็จของโครงการ 2.8-4-1 สรุปผลการดาเนินโครงการ เสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรม ตามตัวบ่งชี้และเป้าหมายที่ใช้วัดความสาเร็จของโครงการ ที่พบว่า มีผลการ ประเมินบรรลุเป้าหมาย ร้อยละ 100 ของตัวบ่งชี้ 2.8-5-1 เกียรติบัตรรางวัลชมเชย ของสานักงานหลักประกันสุขภาพ แห่งชาติ ในการประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง สู่ความเป็นเลิศทางวิชาการของ นิสิตนักศึกษา: เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้และนาเสนอผลงาน ที่มอบให้ผลงานจิต อาสาสร้างเสริมสุขภาพของนักศึกษา ทีป่ ระยุกต์ใช้ท่าราฟ้อนเจิงมาใช้ในการ ออกกาลังกาย 2.8-5-2 เกียรติบัตรรางวัลรองชนะเลิศการประกวดมารยาทไทย เนื่อง ในพิธีไหว้ครู ประจาปี การศึกษา 2554 โดยนักศึกษาชั้นปีที่ 1 (รุ่น 113) ณ

งานที่รับผิดชอบ งานพัฒนานิสิต และทานุบารุง ศิลปวัฒนธรรม

ผู้รับผิดชอบ ดร.สุชีวา อ.กรพินธุ์ อ.เกตุนรินทร์ อ.แคทรียา คุณขนิษฐา ป.โท ดร.สุนันทา ดร.กนกวรรณ ดร.อัญชลีพร คุณชวนพิศ

30


มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 2.8-5-3 CERTIFICATE OF APPRECIATION certifies STUDENT EXCHANGE OF BCN NOPARAT VAJIRA 2011 for appreciation of Art and Culture Exchange between Thailand and Indonesia

ตัวบ่งชี้

รายการ

เป้า หมาย

องค์ประกอบที่ 3 กิจกรรมการพัฒนานักศึกษา 3.1 ระบบและกลไกการให้ค้าปรึกษาและบริการด้านข้อมูลข่าวสาร(สกอ. 6 ข้อ 3.1) เกณฑ์มาตรฐาน 1. มีการจัดบริการให้คาปรึกษาทางวิชาการและแนะแนวการใช้ชีวิตแก่ นักศึกษา 2. มีการจัดบริการข้อมูลข่าวสารที่เป็นประโยชน์ต่อนักศึกษา 3. มีการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาประสบการณ์ทางวิชาการและวิชาชีพแก่ นักศึกษา 4. มีการจัดบริการข้อมูลข่าวสารที่เป็นประโยชน์ต่อศิษย์เก่า 5. มีการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาความรู้และประสบการณ์ให้ศิษย์เก่า 6. มีผลการประเมินคุณภาพของการให้บริการในข้อ 1 – 3 ทุกข้อไม่ ต่ากว่า 3.51 จากคะแนนเต็ม 5 7. มีการนาผลการประเมินคุณภาพของการให้บริการมาใช้ เป็นข้อมูลใน การพัฒนาการจัดบริการที่สนองความต้องการของนักศึกษา

ค่าน้​้าหนัก สกอ 1

สมศ

หลักฐาน

วพ 1

3.1-1-1

งานที่รับผิดชอบ

คาสั่งแต่งตั้งอาจารย์ที่ปรึกษา และคู่มืออาจารย์ที่ กลุ่มงานกิจการ ปรึกษา นิสติ 3.1-1-2 ความคิดเห็นของนิสิต ประโยชน์ของอาจารย์ประจาชั้น ต่อการให้คาปรึกษาทางวิชาการและแนะแนวการใช้ชีวิตแก่นิสิต 3.1-1-3 ความคิดเห็นของนิสิต ประโยชน์ของอาจารย์ประจา หอพัก (Green Teacher) ต่อการให้คาปรึกษาทางวิชาการและแนะแนวการใช้ ชีวิตแก่นิสิต 3.1-1-4 ความคิดเห็นของนิสิต ประโยชน์ของ Online Teacher ต่อการให้คาปรึกษาทางวิชาการและแนะแนวการใช้ชีวิตแก่นิสิต 3.1-1-5 ความคิดเห็นของนิสิต ประโยชน์ของ Hotline Teacher ต่อการให้คาปรึกษาทางวิชาการและแนะแนวการใช้ชีวิตแก่นิสิต 3.1-2-1 ภาพถ่ายบอร์ดประชาสัมพันธ์บริเวณชั้น 1-5 อาคาร เรียน 2 และบริเวณ ชั้น 1 อาคารหอพัก http://wwwbcnnv.ac.th face book 3.1-2-2 หน้า Web site http://wwwbcnnv.ac.th Web page Face book ของวิทยาลัย 3.1-2-3 ความคิดเห็นของนิสิต ประโยชน์ของอาจารย์ประจาชั้น อาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์ ประจาหอพัก (Green Teacher) เจ้าหน้าที่ประจา แต่ละงานต่อการให้คาปรึกษา ทางวิชาการ และแนะแนวการใช้ชีวิตแก่นิสิต 3.1-3-1 ความคิดเห็นของนิสิต ประโยชน์ของการประเมินทักษะ ทางการพยาบาล 8 ทักษะ 3.1-3-2 ผลการประเมินโครงการส่งเสริมศักยภาพนิสิตในการสอบ ขึ้นทะเบียนประกอบวิชาชีพ 3.1-3-3 ผลการประเมินโครงการ การจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนา ประสบการณ์ทางวิชาการและวิชาชีพแก่นิสิต โดยพัฒนาจิตเมตตาสู่วิชาชีพ

ผู้รับผิดชอบ ดร.สุชีวา อ.กรพินธุ์ อ.เกตุนรินทร์ อ.อาทิตยา อ.รัศมิ์ลภัส อ.รุ่งนภา อ.นิตยา อ.ศศิธร คุณขนิษฐา ป.โท ดร.สุนันทา ดร.กนกวรรณ ดร.อัญชลีพร คุณชวนพิศ

31


พยาบาล 3.1-3-4 3.1-4-1 ตัวบ่งชี้

รายการ

เป้า หมาย

สกอ

ค่าน้​้าหนัก สมศ วพ

ผลการประเมินโครงการ การปัจฉิมนิเทศ Web page Face book ของสมาคมศิษย์เก่าฯ หลักฐาน

งานที่รับผิดชอบ

ผู้รับผิดชอบ

3.1-4-2

ความคิดเห็นของศิษย์เก่าฯ ประโยชน์ของ คณะกรรมการสมาคมศิษย์เก่า ฯ ประธานรุ่น การสื่อสารทางโทรศัพท์ต่อการ จัดบริการ แก่ศิษย์เก่าฯ 3.1-5-1 กาหนดการประชุมอบรม และลายเซ็นของศิษย์เก่าฯที่ เข้ารับการพัฒนาในหลักสูตรการอบรมผู้อานวยการ รพสต.และ ครูพี่เลี้ยง 3.1-5-2 กาหนดการประชุมวิชาการ และลายเซ็นของศิษย์เก่าฯ ที่เข้ ารับฟังการบรรยายทาง วิชาการ เช่น เรื่อ ง การเตรียมตัว วิชาชีพ : สู่ ประชาคมอาเซียน 2015 3.1-6-1 สรุปผลการประเมินคุณภาพของการให้บริการคาปรึกษา ทางวิชาการและแนะแนวการใช้ชีวิตแก่นิสิต 3.1-6-2 สรุปผลการประเมินคุณภาพของการจัดบริการข้อมูล ข่าวสารที่เป็นประโยชน์ต่อนิสิต 3.1-6-3 สรุปผลการประเมินคุณภาพของการให้บริการการจัด กิจกรรมเพื่อพัฒนาประสบการณ์ทางวิชาการและวิชาชีพแก่นิสิต 3.1-7-1 ภาพการจัดกิจกรรมการปฐมนิเทศและแนะแนวการใช้ ชีวิตแก่นิสิตใหม่ ในวันมอบลูกเป็นศิษย์ ภาพถ่ายห้องให้คาปรึกษา 3.1-7-2 คาสั่งแต่งตั้งผู้ดูแล เวปไซด์ของวิทยาลัย 3.1-7-3 รายงานการประชุมของคณะกรรมการวิชาการ เกี่ยวกับ การจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาประสบการณ์ทางวิชาการและวิชาชีพแก่นิสิต

ตัวบ่งชี้

รายการ

เป้า หมาย

ค่าน้​้าหนัก สกอ สมศ วพ

หลักฐาน

งานที่รับผิดชอบ

ผู้รับผิดชอบ

32


3.2

ระบบและกลไกการส่งเสริมกิจกรรมนักศึกษา (สกอ. 3.2) เกณฑ์มาตรฐาน 1. สถาบันจัดทาแผนการจัดกิจกรรมพัฒนานักศึกษาที่ส่งเสริมผลการ เรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติทกุ ด้าน (ต้อง มีวัตถุประสงค์ของแผนการจัดกิจกรรมที่ส่งผลให้เกิด Learning outcome ตาม TQF อัตลักษณ์ และเอกลักษณ์) 2. มีกิจกรรมให้ความรู้และทักษะการประกันคุณภาพการศึกษาแก่ นักศึกษา 3. มีการส่งเสริมให้นักศึกษานาความรู้ ด้านการประกันคุณภาพไปใช้ ใน การจัดกิจกรรมที่ดาเนินการโดยนักศึกษาอย่างน้อย 5 ประเภทสาหรับ ระดับปริญญาตรี และอย่างน้อย 2 ประเภทสาหรับระดับบัณฑิตศึกษา จากกิจกรรมต่อไปนี้ - กิจกรรมวิชาการที่ส่งเสริมคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ - กิจกรรมกีฬาหรือการส่งเสริมสุขภาพ - กิจกรรมบาเพ็ญประโยชน์หรือรักษาสิ่งแวดล้อม - กิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรมและจริยธรรม - กิจกรรมส่งเสริมศิลปะและวัฒนธรรม 4. มีการสนับสนุนให้นักศึกษาสร้างเครือข่ายพัฒนาคุณภาพภายใน สถาบันและระหว่างสถาบัน และมีกิจกรรมร่วมกัน 5. มีการประเมินความสาเร็จตามวัตถุประสงค์ของแผนการจัดกิจกรรม พัฒนานักศึกษา (เป็นการประเมินความสาเร็จตามวัตถุประสงค์ของ แผนการจัดกิจกรรมไม่ใช่ประเมินผลการจัดกิจกรรมหรือโครงการ) 6. มีการนาผลการประเมินไปปรับปรุงแผนหรือปรับปรุงการจัดกิจกรรม เพื่อพัฒนานักศึกษา

ตัวบ่งชี้

รายการ

5 ข้อ

เป้า หมาย

1

1

3.2-1-1 แผนการจัดกิจกรรมพัฒนานิสติ ที่ส่งเสริมผลการเรียนรู้ (Learning outcome) 3.2-1-2 ตัวชี้วัดความสาเร็จวัตถุประสงค์ของแผนการจัดกิจกรรม พัฒนานักศึกษา 3.2-2-1 โครงการให้ความรู้และทักษะการประกันคุณภาพการศึกษา แก่นิสิต 3.2-2-2 โครงการสั ม มนานิ สิ ต และได้ ความรู้ ด้ า นประกั น คุณ ภาพ การศึกษาภายในวิทยาลัยฯ 3.2-3-1 ปฏิทินกิจกรรมนิสิต ปีการศึกษา 2554 3.2-3-2 โครงการงานวันเกษตรแห่งชาติ ปีการศึกษา 2554 3.2-3-3 ออกกาลังกายเพื่อส่งเสริมสุขภาพ/ฟ้อนเจิงเพื่อสุขภาพ 3.2-3-4 โครงการจิตอาสาช่วยเหลือผู้ประสบภัยน้าท่วม 3.2-3-5 โครงการเสริมสร้างศักยภาพทางดนตรีไทย 3.2-3-6 โครงการอบรมธรรมะพัฒนาจิตนิสิตพยาบาล 3.2-3-7 โครงการ Helping Hands: Flood Relief Activities Project 3.2-3-8 โครงการ Sport Day 3.2-4-1 โครงการออกกาลังกายฟ้อนเจิงเพื่อสุขภาพ ซึ่งได้รับรางวัล ชมเชยระดับชาติ 3.2-4-2 โครงการประกันคุณภาพเครือข่ายภาคกลาง 1 3.2-4-3 โครงการพัฒนาศักยภาพผูน้ านักศึกษาวิทยาลัยเครือข่ายภาค กลาง 1(3.2-4-3) 3.2-5-1 สรุปผลการดาเนินงาน โครงการจิตอาสาช่วยเหลือ ผู้ด้อยโอกาส 3.2-5-2 สรุปผลการดาเนินงานความสาเร็จโครงการตามวัตถุประสงค์ ของแผนตามตัวชี้วดั ที่ 1

ค่าน้​้าหนัก สกอ สมศ วพ

หลักฐาน

งานพัฒนานิสิต และทานุบารุง ศิลปวัฒนธรรม

งานที่รับผิดชอบ

ดร.สุชีวา อ.กรพินธุ์ อ.เกตุนรินทร์ อ.แคทรียา คุณขนิษฐา ป.โท ดร.สุนันทา ดร.กนกวรรณ ดร.อัญชลีพร คุณชวนพิศ

ผู้รับผิดชอบ

3.2-5-3

สรุปผลการประเมินความสาเร็จโครงการตาม วัตถุประสงค์ของแผนตามตัวชีว้ ัดที่ 2 3.2-5-4 สรุปผลการประเมินความสาเร็จโครงการตาม วัตถุประสงค์ของแผนตามตัวชีว้ ัดที่ 3 3.2-5-5 สรุปผลการประเมินความสาเร็จโครงการตาม วัตถุประสงค์ของแผนตามตัวชีว้ ัดที่ 4

33


3.2-5-6

สรุปผลการประเมินความสาเร็จโครงการตาม วัตถุประสงค์ของแผนตามตัวชีว้ ัดที่ 5 3.2-5-7 สรุปผลการประเมินความสาเร็จโครงการตาม วัตถุประสงค์ของแผนตามตัวชีว้ ัดที่ 6 3.2-5-8 สรุปผลการประเมินความสาเร็จโครงการตาม วัตถุประสงค์ของแผนตามตัวชีว้ ัดที่ 7 3.2-5-9 สรุปผลการประเมินความสาเร็จโครงการตาม วัตถุประสงค์ของแผนตามตัวชีว้ ัดที่ 8 3.2-5-10 สรุปผลการประเมินความสาเร็จโครงการตาม วัตถุประสงค์ของแผนตามตัวชีว้ ัดที่ 9 3.2-5-11 สรุปผลการประเมินความสาเร็จโครงการตาม วัตถุประสงค์ของแผนตามตัวชีว้ ัดที่ 10 3.2-6-1 ผลการประเมินโครงการ ออกกาลังกายเพื่อส่งเสริม สุขภาพ/ฟ้อนเจิงเพื่อสุขภาพ 3.2-6-2 รายการประชุมคณะกรรมการบริหารวิทยาลัย ครั้งที่ 7/2555 เรื่อง กาหนด SUBDOMAIN ที่เลือกมาใช้ MAP กับ STUDENT DEVELOPMENT 2555 เพื่อนาไปใช้จัดทา STUDENT DEVELOPMENT MAPPING สาหรับปีการศึกษา 2555 ให้กับนิสิตหลักสูตรพยาบาลศาสาตร บัณฑิต ตัวบ่งชี้

รายการ

องค์ประกอบที่ 4 การวิจยั 4.1 ระบบและกลไกการพัฒนางานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ (สกอ. 4.1) เกณฑ์มาตรฐานทั่วไป 1. มีระบบและกลไกบริหารงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ เพื่อให้บรรลุ เป้าหมายตามแผนด้านการวิจัยของสถาบัน และดาเนินการตามระบบที่ กาหนด 2. มีการบูรณาการกระบวนการวิจัยหรืองานสร้างสรรค์กับการจัดการ เรียนการสอน 3. มีการพัฒนาศักยภาพด้านการวิจัยหรืองานสร้างสรรค์และให้ความรู้ ด้านจรรยาบรรณการวิจัยแก่อาจารย์ประจาและนักวิจัย 4. มีการจัดสรรงบประมาณของสถาบัน เพื่อเป็นทุนวิจัยหรืองาน

เป้า หมาย 5 ข้อ

ค่าน้​้าหนัก สกอ 1

สมศ

หลักฐาน

วพ 1

4.1-1-1

งานที่รับผิดชอบ

ขั้นตอนการบริหารงาน: ด้านการผลิต เผยแพร่ งานวิจัย งานวิจัย ตาราและ ตารา และนวั ต กรรม ในคู่ มือ ปฏิ บั ติ งานด้ า นวิจั ย ต ารา และนวัต กรรม ที่ การจัดการความรู้ เผยแพร่ให้อาจารย์ 4.1-1-2 นโยบายด้านวิจัย ในคู่มือปฏิบัติงานด้านวิจัย ตารา และ นวัตกรรม 4.1-1-3 ผังโครงสร้างการบริหารองค์กรที่มีฝ่ายและงาน รับผิดชอบการสนับสนุนการผลิตผลงานวิจัย 4.1-1-4 คาสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการวิจัย ตารา และนวัตกรรม โดยมีการกาหนดบทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการดังกล่าว

ผู้รับผิดชอบ ดร.เบญจมาศ อ.สุกิจ คุณชมพูนุท

34


4.1-1-5 4.1-1-6

การจัดสรรงบประมาณสนับสนุนการจัดทาผลงานวิจัย แผนงานวิจัยจากยุทธศาสตร์ของสภาวิจัยแห่งชาติและ สถาบันพระบรมราชชนก 4.1-1-7 การประชาสัมพันธ์แผนงานวิจัย ตารา และนวัตกรรม และแหล่งทุนสนับสนุนวิจัย ตารา และนวัตกรรม 4.1-1-8 นาเสนอโครงร่างงานวิจัย ตารา และนวัตกรรม เพื่อ พิจารณาขอรับทุนสนับสนุน 4.1-1-9 การดาเนินงานขั้นตอนการบริหารงาน: ด้านการผลิต เผยแพร่ งานวิจัย ตารา และนวัตกรรม 4.1-2-1 นโยบายด้ า นวิ จั ย แสดงการส่ ง เสริ ม ให้ ท าวิ จั ย เพื่ อ พัฒนาการจัดการเรียนการสอน 4.1-2-2 โครงการวิจัยเรื่องการจัดการเรียนการสอนเพื่อส่งเสริม การนาภูมิปัญญาไทยไปใช้ในการดูแลสุขภาพผู้รับบริการของนิสิตวิทยาลัย พยาบาลบรมราชชนนี นพรัตน์วชิระ 4.1-2-3 โครงการวิจัยเรื่องการศึกษาคุณภาพการนอนหลับของ พนักงานในสถานประกอบการ

สร้างสรรค์ 5. มีการสนับสนุนพันธกิจด้านการวิจยั หรืองานสร้างสรรค์ตามอัตลักษณ์ ของสถาบันอย่างน้อยในประเด็นต่อไปนี้ - ห้องปฏิบัติการวิจัยฯ หรือหน่วยวิจยั ฯ หรือศูนย์เครื่องมือ หรือศูนย์ ให้คาปรึกษาและสนับสนุนการวิจยั ฯ - ห้องสมุดหรือแหล่งค้นคว้าข้อมูลสนับสนุนการวิจยั ฯ - สิ่งอานวยความสะดวกหรือการรักษาความปลอดภัยในการวิจยั ฯ เช่น ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ระบบรักษาความปลอดภัยใน ห้องปฏิบัติการวิจยั - กิจกรรมวิชาการที่ส่งเสริมงานวิจัยฯ เช่น การจัดประชุมวิชาการ การ จัดแสดงงานสร้างสรรค์ การจัดให้มีศาสตราจารย์อาคันตุกะหรือ ศาสตราจารย์รับเชิญ (visiting professor) 6. มีการติดตามและประเมินผลการสนับสนุนในข้อ 4 และข้อ 5 อย่าง ครบถ้วนทุกประเด็น 7. มีการนาผลการประเมินไปปรับปรุงการสนับสนุนพันธกิจด้านการวิจยั หรืองานสร้างสรรค์ของสถาบัน เกณฑ์มาตรฐานเพิ่มเติมเฉพาะกลุ่ม ตัวบ่งชี้

รายการ 8. มีระบบและกลไกเพือ่ สร้างงานวิจยั หรืองานสร้างสรรค์บนพื้นฐานภูมิ ปัญญาท้องถิ่น หรือจากสภาพปัญหาของสังคม เพื่อตอบสนองความ ต้องการของท้องถิ่นและสังคม และดาเนินการตามระบบทีก่ าหนด (เฉพาะกลุ่ม ข และ ค 2)

เป้า หมาย

สกอ

ค่าน้​้าหนัก สมศ วพ

หลักฐาน

งานที่รับผิดชอบ

ผู้รับผิดชอบ

4.1-2-4

โครงการวิจัยเรื่องผลการใช้รางจืดในการลดระดับโคลีน เอสเตอเรสในเกษตรกร กรณีศึกษาจังหวัดฉะเชิงเทรา 4.1-2-5 โครงการวิจัยเรื่องการศึกษาภาวะสุขภาพและพฤติกรรม การป้องกันอุบัติเหตุจากการทางานของพนักงานสายผลิตในสถานประกอบการ ภาคอุตสาหกรรม 4.1-3-1 คู่มือจริยธรรมการทาวิจัยในมนุษย์ สาหรับอาจารย์ใน วิทยาลัยฯเพื่อใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติ 4.1-3-2 โครงการพัฒนาวิทยาลัยด้านการวิจัย การจัดการความรู้ ด้านวิจัย และบริการวิชาการ 4.1-4-1 ตารางแสดงรายชื่อโครงการวิจัย ที่ได้รับการสนับสนุนใน ปีการศึกษา 2554 จานวน 11 เรื่อง 4.1-5-1 มีหน่วยวิจัยและศูนย์การเรียนรู้ทางการวิจัย เพื่อให้ คาปรึกษาและสนับสนุนการวิจัยทาวิจัยในด้านต่างๆ 4.1-5-2 มีห้องสมุดหรือแหล่งค้นคว้าข้อมูลสนับสนุนการวิจัยฯ 4.1-5-3 มีสิ่งอานวยความสะดวกในการวิจัย เช่น ระบบ

35


เทคโนโลยีในการสืบค้นงานวิจัย ฐานข้อมูล งานวิจัย และฐานข้อมูล Thailis 4.1-5-4 โครงการเผยแพร่ผลงานวิจัย นวัตกรรม งานวิชาการ สาธารณชน และการนาไปใช้ประโยชน์ 4.1-6-1 การติดตามและประเมินผลการสนับสนุนการจัดสรร งบประมาณของวิทยาลัย 4.1-6-2 การติดตามและประเมินผลการสนับสนุนหน่วยวิจัยและ ศูนย์การเรียนรู้ทางการวิจัย เพื่อให้คาปรึกษาและสนับสนุนการวิจัยทาวิจัยใน ด้านต่างๆ 4.1-6-3 การติดตามและประเมินผลการสนับสนุนให้มีห้องสมุด หรือแหล่งค้นคว้าข้อมูลสนับสนุนการวิจัยฯ ตัวบ่งชี้

รายการ

เป้า หมาย

ค่าน้​้าหนัก สกอ สมศ วพ

หลักฐาน

งานที่รับผิดชอบ

ผู้รับผิดชอบ

4.1-6-4

การติดตามและประเมินผลการสนับสนุนให้มีสิ่งอานวย ความสะดวกในการวิจัย เช่น ระบบเทคโนโลยีในการสืบค้นงานวิจัย ฐานข้อมูล งานวิจัย และฐานข้อมูล Thailis 4.1-6-5 การติดตามและประเมินผลการสนับสนุนให้มีกิจกรรม วิชาการที่ส่งเสริมงานวิจัย เช่น โครงการเผยแพร่ผลงานวิจัย นวัตกรรม งาน วิชาการสาธารณชน และการนาไปใช้ประโยชน์ 4.1-7-1 การนาผลการประเมินเรื่องสิ่งอานวยความสะดวกต่างๆ สาหรับการสืบค้นข้อมูลเช่นห้องสมุด และด้านอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องเสนอต่อที่ ประชุมกรรมการบริหารเพื่อนาไปพัฒนาปรับปรุงตามรายงานการประชุม กรรมการบริหารวิทยาลัย ครั้งที่ 4 / 2554 วันที่ 6 ตุลาคม 2554 4.1-8-1 ขั้นตอนการส่งเสริมให้มีการสารวจสภาพปัญหา กาหนด วัตถุประสงค์การวิจัย กลุ่มเป้าหมายการวิจัย บนพื้นฐานภูมิปัญญาท้องถิ่น หรือ จากสภาพปัญหาของชุมชนเพื่อตอบสนองความต้องการของท้องถิ่นและชุมชน โดยผนวกไปในขั้นตอนการบริหารงาน: ด้านการผลิต เผยแพร่ งานวิจัย ตารา และนวัตกรรม และแสดงไว้ในคู่มือปฏิบัติงานด้านวิจัย ตารา และนวัตกรรม 4.1-8-2 นโยบายด้านวิจัย แสดงส่วนที่สะท้อนการกาหนดกลไก เพื่อสร้างงานวิจัยบนพื้นฐานภูมิปัญญาท้องถิ่น หรือจากสภาพปัญหาของชุมชน เพื่อตอบสนองความต้องการของท้องถิ่นและชุมชน 4.1-8-3 คาสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการวิจัย ตารา และนวัตกรรม โดยมีการกาหนดบทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการดังกล่าว แสดงส่วนที่สะท้อน

36


การกาหนดกลไกเพื่อสร้างงานวิจัยบนพื้นฐานภูมิปัญญาท้องถิ่น หรือจากสภาพ ปัญหาของชุมชนเพื่อตอบสนองความต้องการของท้องถิ่นและชุมชน 4.1-8-4 การจัดสรรงบประมาณสนับสนุนการจัดทาผลงานวิจัย บนพื้นฐานภูมิปัญญาท้องถิ่น หรือจากสภาพปัญหาของชุมชนเพื่อตอบสนอง ความต้องการของท้องถิ่นและชุมชน 4.1-8-5 การดาเนินการตามขั้นตอนการส่งเสริมให้มีการกาหนด ตัวบ่งชี้

4.2

รายการ

เป้า หมาย

ระบบและกลไกการจัดการความรู้จากงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ 3 ข้อ (สกอ. 4.2) เกณฑ์มาตรฐานทั่วไป : 1. มีระบบและกลไกสนับสนุนการเผยแพร่ผลงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ ในการประชุมวิชาการหรือการตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติหรือนานาชาติ และมีการเผยแพร่ผลงานวิจยั หรืองานสร้างสรรค์ในการประชุมวิชาการ หรือการตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติหรือนานาชาติ 2. มีระบบและกลไกการรวบรวม คัดสรร วิเคราะห์และสังเคราะห์ ความรู้จากงานวิจยั หรืองานสร้างสรรค์ เพื่อให้ เป็นองค์ความรู้ที่คนทั่วไป เข้าใจได้ และดาเนินการตามระบบที่กาหนด 3. มีการประชาสัมพันธ์และเผยแพร่องค์ความรู้จากงานวิจัยหรืองาน สร้างสรรค์ที่ได้จากข้อ 2 สู่สาธารณชนและผู้ เกี่ยวข้อง 4. มีการนาผลงานงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ไปใช้ ให้ เกิดประโยชน์ และมีการรับรองการใช้ประโยชน์จริงจากหน่วยงานภายนอกหรือชุมชน 5. มีระบบและกลไกเพื่อช่วยในการคุ้มครองสิทธิของงานวิจัยหรืองาน สร้างสรรค์ที่นาไปใช้ประโยชน์ และดาเนินการตามระบบทีก่ าหนด

สกอ

1

ค่าน้​้าหนัก สมศ วพ

1

หลักฐาน

งานที่รับผิดชอบ

วัตถุประสงค์การวิจัย กลุ่มเป้าหมายการวิจัย บนพื้นฐานภูมิปัญญาท้องถิ่น หรือ จากสภาพปัญหาของชุมชนเพื่อตอบสนองความต้องการของท้องถิ่นและชุมชน ในส่วนการเสนอโครงร่างงานวิจัย ตารา และนวัตกรรม เพื่อพิจารณาขอรับทุน สนับสนุนสร้างงานวิจัยบนพื้นฐานภูมิปัญญาท้องถิ่น หรือจากสภาพปัญหาของ ชุมชนเพื่อตอบสนองความต้องการของท้องถิ่นและชุมชน 4.2-1-1 ระบบสนับสนุนการเผยแพร่ผลงานวิจัยหรืองาน งานวิจัย ตาราและ สร้า งสรรค์ ในการประชุ มวิช าการหรือ การตีพิ มพ์ ในวารสารระดับ ชาติ ห รื อ การจัดการความรู้ นานาชาติ หน้าที่ 7 ในคู่มือปฏิบัติงานวิจัย ตารา และนวัตกรรม 4.2-1-2 นโยบายด้านวิจัย ที่สะท้อนให้เห็นการสนับสนุนการ เผยแพร่ผลงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ในการประชุมวิชาการหรือการตีพิมพ์ใน วารสารระดับชาติหรือนานาชาติ 4.2-1-3 คาสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการการบริหารการจัดการความรู้ และวิเคราะห์กลั่นกรองผลงานวิจัย ที่สะท้อนให้เห็นการสนับสนุนการเผยแพร่ ผลงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ในการประชุมวิชาการหรือการตีพิมพ์ในวารสาร ระดับชาติหรือนานาชาติ 4.2-1-4 โครงการสนับสนุนการสนับสนุนการเผยแพร่ผลงานวิจัย หรืองานสร้างสรรค์ในการประชุมวิชาการหรือการตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติ หรือนานาชาติ ในปีงบประมาณ 2554 4.2-1-5 โครงการสนับสนุนการสนับสนุนการเผยแพร่ผลงานวิจัย หรืองานสร้างสรรค์ในการประชุมวิชาการหรือการตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติ หรือนานาชาติ ปีงบประมาณ 2555 4.2-1-6 กลไกสนับสนุนการเผยแพร่ผลงานวิจัยหรืองาน สร้างสรรค์ในการประชุมวิชาการหรือการตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติหรือ นานาชาติ ตามที่แสดงในหน้าที่ 16 18 29 ในเล่มคู่มือปฏิบัติงานวิจัย ตารา

ผู้รับผิดชอบ

ดร.เบญจมาศ อ.สุกิจ คุณชมพูนุท

37


และนวัตกรรม ซึ่งครอบคลุม ก.ระเบียบการลาทาวิจัย/ตารา/นวัตกรรม/ผลงาน วิชาการ ข.แบบเสนอโครงร่างวิจัยเพื่อขอรับทุนอุดหนุนการวิจัยภายในสถาบัน ตัวบ่งชี้

รายการ

เป้า หมาย

ค่าน้​้าหนัก สกอ สมศ วพ

หลักฐาน

งานที่รับผิดชอบ

ผู้รับผิดชอบ

ปีการศึกษา 2554 ค.การกาหนดเกณฑ์การปฏิบัติงานปี 2554 โดยการ ประเมินผลงานวิจัยเป็นส่วนหนึ่งของภาระงานอาจารย์ 4.2-1-7 หลักฐานการเผยแพร่ผลงานวิจัยเรื่อง ความยั่งยืนของ โปรแกรมการฝึกพูดกับตัวเองทางบวกต่อภาวะซึมเศร้าในนักศึกษาพยาบาล วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ตรัง ในวารสารการพยาบาลกระทรวง สาธารณสุข กรกฎาคม–ธันวาคม 2554 4.2-1-8 หลักฐานการเผยแพร่ผลงานวิจัยเรื่อง ผลการเพิ่ม สมรรถนะแห่งตนต่อพฤติกรรมการบริโภคการออกกาลังกายและค่าดัชนีมวล กายของผู้สูงอายุ ในวารสารการพยาบาลกระทรวงสาธารณสุข กันยายน– ธันวาคม 2554 4.2-1-9 หลักฐานการเผยแพร่ผลงานวิจัยเรื่อง คุณลักษณะ บัณฑิตที่พึงประสงค์ของบัณฑิตหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิตตามความ ต้องการของผู้ใช้บัณฑิต : วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นพรัตน์วชิระ ในการ ประชุมวิชาการระดับชาติ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย 16 ธันวาคม 2554 4.2-1-10 หลักฐานการเผยแพร่ผลงานวิจัยเรื่อง Attitude towards Evidence-based Learning (EBL) of Nursing students ในการ ประชุมวิชาการระดับชาติ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย 16 ธันวาคม 2554 4.2-1-11 หลักฐานการเผยแพร่ผลงานวิจัยเรื่อง Living with early-stage dementia of older persons : a qualitative case study ใน Thailand Dementia 2011 and the 14th Asia-Pacific Regional Conference of the Alzheimer’s Disease International 11-13 มกราคม 2555 4.2-2-1 ระบบการรวบรวม คัดสรร วิเคราะห์และสังเคราะห์ ความรู้จากงานวิจัยฯ เพื่อการใช้ประโยชน์ ในคู่มือปฏิบัติงานวิจัย ตารา และ ตัวบ่งชี้

รายการ

เป้า หมาย

สกอ

ค่าน้​้าหนัก สมศ วพ

หลักฐาน

งานที่รับผิดชอบ

ผู้รับผิดชอบ

นวัตกรรม

38


4.2-2-2

ขั้นตอนการบริหารงาน: ด้านการจัดการความรู้จาก งานวิจัยและงานสร้างสรรค์ ในคู่มือปฏิบัติงานวิจัย ตารา และนวัตกรรม 4.2-2-3 ขั้นตอนการทางานการจัดการความรู้ ในคู่มือการจัดการ ความรู้ ปีการศึกษา 2554 4.2-2-4 คาสั่งแต่งตั้ง คณะกรรมการการบริหารการจัดการ ความรู้และวิเคราะห์กลั่นกรองผลงานวิจัย 4.2-2-5 โครงการสนับสนุนการรวบรวม คัดสรร วิเคราะห์และ สังเคราะห์ความรู้จากงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ เพื่อให้เป็นองค์ความรู้ที่คน ทั่วไปเข้าใจได้ 4.2-2-6 สรุปผลการดาเนินโครงการสนับสนุนการรวบรวม คัด สรร วิเคราะห์และสังเคราะห์ความรู้จากงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ เพื่อให้เป็น องค์ความรู้ที่คนทั่วไปเข้าใจได้ 4.2-2-7 คู่มือ การส่งเสริมสุขภาพและการพัฒนาคุณภาพการ นอนหลับแก่พนักงานในสถานประกอบเพื่อความปลอดภัยในการทางาน ที่ได้ จากการคัดสรร วิเคราะห์ และสังเคราะห์ความรู้จากงานวิจัย เรื่อง การศึกษา คุณภาพการนอนหลับของพนักงานในสถานประกอบการนิคมอุตสาหกรรมบาง ชัน 4.2-2-8 เอกสารวิชาการ เรื่อง บริโภคอาหารอย่างไร ให้ ปลอดภัย กินอย่างไร ให้ห่างไกลโรค ที่ได้จากการคัดสรร วิเคราะห์ และ สังเคราะห์ความรู้จากงานวิจัย เรื่อง ความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมการบริโภค อาหารเพื่อสุขภาพของประชาชนชุมชนเคหะบางชัน เขตมีนบุรี กรุงเทพมหานคร 4.2-3-1 ร่องรอยหลักฐานการนาคู่มือ การส่งเสริมสุขภาพและ การพัฒนาคุณภาพการนอนหลับแก่พนักงานในสถานประกอบเพื่อความ ปลอดภัยในการทางาน ไปให้สานักงานนิคมอุตสาหกรรมบางชัน ได้นาไปแจก ตัวบ่งชี้

รายการ

เป้า หมาย

สกอ

ค่าน้​้าหนัก สมศ วพ

หลักฐาน

งานที่รับผิดชอบ

ผู้รับผิดชอบ

ให้สถานประกอบการ เพื่อใช้ในการสร้างเสริมสุขภาพพนักงาน นอกจากนั้น เผยแพร่ที่มุมเรียนรู้ด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย สิ่งแวดล้อม และพลังงาน ในสานักงานนิคมอุตสาหกรรมบางชัน รวมทั้ง มีการบรรจุข้อมูล ข่าวสาร เกี่ยวกับการสร้างเสริมสุขภาพ เผยแพร่ไว้ในวารสารนิคมอุตสาหกรรมเพื่อ ชุมชน 4.2-3-2 ร่องรอยหลักฐานการนาเอกสารวิชาการ เรื่อง บริโภค

39


หารอย่างไร ให้ปลอดภัย กินอย่างไร ให้ห่างไกลโรค เผยแพร่ให้อาสาสมัคร สาธารณสุข ใช้ในการดูแลผู้สูงอายุ การดูแลผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาสในชุมชน โดยรอบนิคมอุตสาหกรรมบางชัน อีกทั้ง เผยแพร่ที่มุมเรียนรู้ฯ ในสานักงาน นิคมอุตสาหกรรมบางชัน และบรรจุเผยแพร่ไว้ในวารสารนิคมอุตสาหกรรมเพื่อ ชุมชน ตามที่กล่าวในข้อ 3.1 4.2-3-3 ร่องรอยหลักฐานการนาเอกสารการจัดการความรู้ เรื่อง การดูแลผู้สูงอายุและความรู้สาหรับผู้ดูแล ไปประชาสัมพันธ์และเผยแพร่ไปยัง ชุมชน และชมรมผู้สูงอายุของศูนย์ 43 4.2-4-1 หลักฐานรับรองการใช้ประโยชน์จริงของผลงานงานวิจัย เรื่องการจัดการเรียนการสอนเพื่อส่งเสริมการนาภูมปิ ัญญาไทยไปใช้ในการดูแล สุขภาพผู้รับบริการของนิสิตวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นพรัตน์วชิระ โดย ดร.กนกวรรณ ศิลปกรรมพิเศษ และ ดร.กานดา ตัณฑพันธ์ และ ดร. กนกวรรณ เวทศิลป์ นาไปใช้ประโยชน์ที่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลบางพระ จังหวัด ฉะเชิงเทราและ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล เทพมงคล จังหวัดอยุธยา 4.2-4-2 หลักฐานรับรองการใช้ประโยชน์จริงของผลงานงานวิจัย เรื่อง การศึกษาคุณภาพการนอนหลับของพนักงานในสถานประกอบการโดย อ.พิมพ์พัฒน์ จันทร์เทียนและ นายสุนทร สุวรรณมณี นาไปใช้ประโยชน์ในการ อบรมที่ สถานประกอบการมิตซูบิชิ

ตัวบ่งชี้

รายการ

เป้า หมาย

สกอ

ค่าน้​้าหนัก สมศ วพ

หลักฐาน

งานที่รับผิดชอบ

ผู้รับผิดชอบ

4.2-4-3

หลักฐานรับรองการใช้ประโยชน์จริงของผลงานงานวิ จัเรื่อง ผลการใช้รางจืดในการลดระดับโคลีนเอสเตอเรสในเกษตรกร กรณีศึกษา จังหวัดฉะเชิงเทรา โดย อ.สุรัตนา ทศนุต นาไปใช้ประโยชน์ในการดูแลสุขภาพ เกษตรกร ในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลบางพระ จังหวัดฉะเชิงเทรา 4.2-4-4 หลักฐานรับรองการใช้ประโยชน์จริงของผลงานงานวิจัย เรื่อง ผลวิจัยเรื่องการศึกษาภาวะสุขภาพและพฤติกรรมการป้องกันอุบัติเหตุ จากการทางานของพนักงานสายผลิตในสถานประกอบการภาคอุตสาหกรรม โดย อ.พิมพ์พัฒน์ จันทร์เทียน และคณะ นาไปใช้ประโยชน์ในการอบรมที่ สถานประกอบการมิตซูบิชิ

40


4.2-4-5

ผลการใช้โปรแกรมการสร้างเสริมสุขภาพ และพฤติกรรม การป้องกันโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ในญาติสายตรง นาไปใช้ประโยชน์ที่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลบางพระ จังหวัดฉะเชิงเทรา โดย อ.สุรัตนา ทศนุต และ อ. สิริลักษณ์ ศรีเสวต นาไปใช้ประโยชน์ในการถ่ายทอดความรู้ให้ ประชาชน ส่งเสริมสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดี 4.2-5-1 ระบบสนับสนุนการจดสิทธิบัตร การซื้อขายทรัพย์สิน ทางปัญญา ตลอดจนการคุ้มครองสิทธิของงานวิจัย ในคู่มือปฏิบัติงานวิจัย ตารา และนวัตกรรม 4.2-5-2 คาสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการคุ้มครองสิทธิของงานวิจัย หรืองานสร้างสรรค์ที่นาไปใช้ประโยชน์ 4.2-5-3 หลักฐานการดาเนินงานของคณะกรรมการคุ้มครองสิทธิ ของงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่นาไปใช้ประโยชน์ ตามหน้าที่ในคาสั่งแต่งตั้ง

ตัวบ่งชี้

รายการ

4.2.1

งานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่ได้รบั การตีพิมพ์หรือเผยแพร่ (สมศ. 5) วิธีการคานวณ ผลรวมถ่วงน้าหนักของงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ ที่ตีพิมพ์หรือเผยแพร่ x 100 / อาจารย์ประจาและนักวิจัยประจา ทั้งหมด เกณฑ์การให้คะแนน ใช้บัญญัติไตรยางศ์เทียบ โดยกาหนดร้อยละเท่ากับ 5 คะแนน จาแนก ตามกลุ่มสาขาวิชา ดังนี้ วิทยาศาสตร์สุขภาพ 20

เป้า หมาย 1 คะแนน

สกอ

ค่าน้​้าหนัก สมศ วพ 5 5

หลักฐาน 4.2.1-1 4.2.1-2 4.2.1-3 4.2.1-4

งานที่รับผิดชอบ

รายชื่อผลงานวิจัยของอาจารย์ที่เผยแพร่ในปี 2552 งานวิจัย ตาราและ การจัดการความรู้ รายชื่อผลงานวิจัยของอาจารย์ที่เผยแพร่ในปี 2553 รายชื่อผลงานวิจัยของอาจารย์ที่เผยแพร่ในปี 2554 วารสารและ Proceeding ผลงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์

ผู้รับผิดชอบ ดร.เบญจมาศ อ.สุกิจ คุณชมพูนุท

ในปี 2552 4.2.1-5 วารสารและ Proceeding ผลงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์ ในปี 2553 4.2.1-6 วารสารและ Proceeding ผลงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์ ในปี 2554 4.2.1-7 จานวนอาจารย์ประจาทั้งหมดในแต่ละปีการศึกษา โดย นับรวมอาจารย์ประจาทั้งที่ปฏิบัติงานจริงและลาศึกษาต่อ

41


4.2.2

งานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่น้าไปใช้ประโยชน์(สมศ.6) วิธีการคานวณ ผลรวมของจานวนงานวิจยั หรืองานสร้างสรรค์ที่นาไปใช้ประโยชน์ x 100 / จานวนอาจารย์ประจาและนักวิจยั ประจาทั้งหมด เกณฑ์การให้คะแนน ใช้บัญญัติไตรยางศ์เทียบ โดยกาหนดร้อยละ 20 เท่ากับ 5 คะแนน ทุก กลุ่มสาขาวิชา

ตัวบ่งชี้

รายการ

4.2.3

ผลงานวิชาการที่ได้รับการรับรองคุณภาพ (สมศ. 7) เกณฑ์การประเมิน กาหนดระดับคุณภาพผลงานวิชาการ ดังนี้ ค่าน้าหนัก ระดับคุณภาพผลงานวิชาการ 0.25 - บทความวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติ 0.50 - บทความวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ 0.75 - ตาราหรือหนังสือที่มกี ารตรวจอ่านโดยผู้ทรงคุณวุฒิ 1.00 - ตาราหรือหนังสือที่ใช้ ในการขอผลงานทางวิชาการและผ่าน การพิจารณาตามเกณฑ์การขอตาแหน่งทางวิชาการแล้ว หรือตาราหรือ หนังสือที่มีคุณภาพสูงมีผู้ทรงคุณวุฒิตรวจอ่านตามเกณฑ์การขอตาแหน่ง ทางวิชาการ วิธีการคานวณ ผลรวมถ่วงน้าหนักของผลงานวิชาการทีไ่ ด้รับรองคุณภาพ x 100 / อาจารย์ประจาและนักวิจยั ประจาทั้งหมด 3 ปียอ้ นหลัง เกณฑ์การให้คะแนน ใช้บัญญัติไตรยางศ์เทียบ โดยกาหนดร้อยละ 10 เท่ากับ 5 คะแนน ทุก กลุ่มสาขาวิชา

3 คะแนน

5

5

4.2.2-1

รายชื่องานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่นาไปใช้ประโยชน์

ของอาจารย์ประจา 4.2.2-2 จานวนอาจารย์ประจาทั้งหมดในปีการศึกษา 2554 โดย นับรวมอาจารย์และที่ลาศึกษาต่อ 4.2.2-3 หนังสือรับรองการนาผลงานวิจยั หรืองานสร้างสรรค์ไป ใช้ประโยชน์จากหน่วยงานที่เอา ผลงานวิจัยไปใช้และความพึงพอใจของ ผูใ้ ช้บริการ 4.2.2-4 ภาพกิจกรรมที่นาผลงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ไปใช้ ประโยชน์ 4.2.2-5 นโยบายการนาผลงานวิจยั ไปใช้ประโยชน์

เป้า หมาย 1 คะแนน

สกอ

ค่าน้​้าหนัก สมศ วพ 5 5

หลักฐาน

งานวิจัย ตาราและ การจัดการความรู้

งานที่รับผิดชอบ

งานวิจัย ตาราและ  4.2.2-1 บทความวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสาร การจัดการความรู้ ระดับชาติ ปี พ.ศ. 2553 และ 2554  4.2.2-2 จานวนอาจารย์ประจาทั้งหมดในปีการศึกษา 2554 โดยนับรวมอาจารย์ที่ลาศึกษาต่อ  4.2.2-3 เว็ปไซด์ www.bcnnv.ac.th แนวทางปฏิบัติการ ของแหล่งตีพิมพ์

ดร.เบญจมาศ อ.สุกิจ คุณชมพูนุท

ผู้รับผิดชอบ ดร.เบญจมาศ อ.สุกิจ คุณชมพูนุท

42


ตัวบ่งชี้

รายการ

4.3

เงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ต่อจ้านวนอาจารย์ประจ้าและ นักวิจัย (สกอ. 4.3) เกณฑ์การประเมิน : โดยการแปลงจานวนเงินต่อจานวนอาจารย์ประจา และนักวิจัยประจาเป็นคะแนนระหว่าง 0 – 5 1.1 กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ จานวนเงินสนับสนุนงานวิจยั หรืองานสร้างสรรค์จากภายในและภายนอก สถาบันที่กาหนดให้เป็นคะแนนเต็ม 5 เท่ากับ 60,000 บาทขึ้นไปต่อคน 1.2 กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ จานวนเงินสนับสนุนงานวิจยั หรืองานสร้างสรรค์จากภายในและภายนอก สถาบันที่กาหนดให้ เป็นคะแนนเต็ม 5 เท่ากับ 50,000 บาทขึ้นไปต่อคน 1.3 กลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ จานวนเงินสนับสนุนงานวิจยั หรืองานสร้างสรรค์จากภายในและภายนอก สถาบันที่กาหนดให้เป็นคะแนนเต็ม 5 เท่ากับ 25,000 บาทขึ้นไปต่อคน สูตรคานวณ 1. คานวณจานวนเงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์จากภายใน และภายนอกสถาบันต่อจานวนอาจารย์ประจาและนักวิจัยประจา จานวนเงินสนับสนุนงานวิจยั ฯ = จานวนเงินสนับสนุนงานวิจัยฯจาก ภายในและภายนอก / จานวนอาจารย์ประจาและนักวิจัย 2. แปลงจานวนเงินค่าที่คานวณได้ในข้อ 1 เทียบกับคะแนนเต็ม 5 คะแนนที่ได้= จานวนเงินสนับสนุนงานวิจัยฯจากภายในและภายนอก X 5 / จานวนเงินสนับสนุนงานวิจัยฯทีก่ าหนดให้เป็นคะแนนเต็ม 5

เป้า หมาย 3 คะแนน

สกอ 1

ค่าน้​้าหนัก สมศ วพ 1

หลักฐาน 4.3-1 โครงร่างวิจัยที่ได้รับทุน 4.3-2 เห็นองนิสิตพยาบาลต่อการจัดตั้งศูนย์การเรียนรู้มีชีวิตของวิทยาลัย

พยาบาลบรมราชชนนี นพรัตน์วชิระ 4.3-3 โครงการการศึกษาผลการบริโภคข้าวนึ่งกล้องเริ่มงอกกับข้าวมอลต์ ที่มีต่อภาวะสุขภาพผู้สูงอายุของสานักงาน 4.3-4 ผลการนาความรู้ไปใช้เพื่อส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ของนิสิต พยาบาลศาสตร์ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นพรัตน์วชิระ 4.3-5 การศึกษาภาวะสุขภาพและพฤติกรรมการป้องกันอุบัติเหตุจากการ ทางานของพนักงานสายผลิตในสถานประกอบการภาคอุตสาหกรรม 4.3-6 คุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์องบัณฑิตหลักสูตรพยาบาลศาสตร บัณฑิต ตามความต้องการผู้ใช้บัณฑิต: วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นพรัตน์ วชิระ 4-3-7 ความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพของ ประชาชนในชุมชนเคหะบางชัน มีนบุรี กรุงเทพมหานคร 4.3-8 การศึ ก ษาผลการใช้ รางจื ด ในการลดระดั บ โคลี น แอสเตอรอลใน เกษตรกร 4.3-9 การจัดการเรียนการสอนเพื่อส่งเสริมการนาภูมิปัญญาไทยไปใช้ใน การดูแลสุขภาพผู้รับบริการองนิสิต วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นพรัตน์ วชิระ 4.3-10 การประเมินผลการเรียนการสอนวิชาปฏิบัติการพยาบาลครอบครัว และชุมชน วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนี นพรัตน์วชิระ

งานที่รับผิดชอบ งานวิจัย ตาราและ การจัดการความรู้

ผู้รับผิดชอบ ดร.เบญจมาศ อ.สุกิจ คุณชมพูนุท

43


4.3-11 ปัจจัยที่มีผลต่อการเรียนการสอนของนิสิตพยาบาล หลักสูตร พยาบาลศาสตร์บัณฑิต (หลักสูตรเทียบโอน เจ้าพนักงานสาธารณสุขชุมชน ปี พ.ศ2549 วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นพรัตน์วิชระ 4.3-12 ผลของการให้ความรู้และปรับพฤติกรรมการดูแลตนเองเพื่อชะลอ ภาวะสมองเสื่อม ของสมาชิกและผู้สูงอายุ ศูนย์บริการสาธารณสุข 43 มีนบุรี 4.3-13 การปรับเปลี่ยนพฤติ กรรมการบริโภคพฤติกรรมการออกกาลั ง กายของผู้สูงอายุ โดยใช้ฐานคัดการส่งเสริมสมรรถนะแห่งต ตัวบ่งชี้

รายการ

เป้า หมาย

ค่าน้​้าหนัก สกอ สมศ วพ

หลักฐาน

งานที่รับผิดชอบ

ผู้รับผิดชอบ

4.3-14 ความคิดเห็นองนิสิตพยาบาลต่อการจัดตั้งศูนย์การเรียนรู้มีชีวิต

ของวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นพรัตน์วชิระ 4.3-15 โครงการการศึกษาผลการบริโภคข้าวนึ่งกล้ องเริ่มงอกกับข้าวมอลต์ ที่มีต่อภาวะสุขภาพผู้สูงอายุของสานักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร 4.3-16 จานวนอาจารย์ประจาและนักวิจัยประจาปฏิบัติงานจริง

44


ตัวบ่งชี้

รายการ

องค์ประกอบที่ 5 การบริการทางวิชาการแก่สังคม 5.1 ระบบและกลไกการบริการทางวิชาการแก่สังคม (สกอ. 5.1) เกณฑ์มาตรฐาน : 1. มีระบบและกลไกการบริการทางวิชาการแก่สังคม และดาเนินการตาม ระบบที่กาหนด 2. มีการบูรณาการงานบริการทางวิชาการแก่สังคมกับการเรียนการสอน 3. มีการบูรณาการงานบริการทางวิชาการแก่สังคมกับการวิจยั 4. มีการประเมินผลความสาเร็จของการบูรณาการงานบริการทาง วิชาการแก่สังคมกับการเรียนการสอนและการวิจัย 5. มีการนาผลการประเมินไปปรับปรุงการบูรณาการงานบริการทาง วิชาการแก่สังคมกับการเรียนการสอนและการวิจัย หมายเหตุ เกณฑ์มาตรฐานข้อที่ 4 ต้องมีการประเมินความสาเร็จของการบูรณาการ ตามเกณฑ์ข้อ 2 และ ข้อ 3

เป้า หมาย 5 ข้อ

สกอ 1

ค่าน้​้าหนัก สมศ วพ 1

หลักฐาน

งานที่รับผิดชอบ

การกาหนดจุดเน้นของการบริการวิชาการ จากเล่ม แผนปฏิบัติการ ประจาปีงบประมาณ 2555 ฉบับปรับปรุง มกราคม 2555 5.1-1-2 ระบบการบริการวิชาการแก่สังคม แสดงในหน้า 5 คู่มือ งานบริการวิชาการแก่สังคม ปีการศึกษา 2554 5.1-1-3 คาสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการบริการวิชาการ 5.1-1-4 โครงการ/กิจกรรมบริการวิชาการแก่สังคม ตามที่แสดง ในแผนปฏิบัติการ ประจาปีงบประมาณ 2555 5.1-1-5 โครงการ/กิจกรรมบริการวิชาการแก่สังคม ตามที่แสดง ในแผนปฏิบัติการ ประจาปีงบประมาณ 2555 ฉบับปรับปรุง มกราคม 2555 5.1-1-6 บันทึกข้อตกลงความร่วมมือกับ รพ.สต.เทพมงคล จ. พระนครศรีอยุธยา 5.1-1-7 บันทึกข้อตกลงความร่วมมือกับ นิคมอุตสาหกรรมบาง ชัน 5.1-1-8 กลไกการบริการทางวิชาการแก่สังคม เช่น นโยบายใน การให้บริการวิชาการ การจัดโครงสร้างองค์กรของวิทยาลัยให้มีหน่วยงาน รับผิดชอบ แผนกากับการบริหารงานการบริการวิชาการแก่สังคม การ ดาเนินการและเสนอรายงานผลการดาเนินโครงการบริการวิชาการ แผนผังการ เสนอและติดตามโครงการ แบบฟอร์มการเขียนโครงการบริการวิชาการ แบบฟอร์มรายงานผลการดาเนินโครงการ ตามที่แสดงในหน้า 1 3 4 7 8 และ 10 ในคู่มืองานบริการวิชาการแก่สังคม ปีการศึกษา 2554 5.1-1-9 สรุปการดาเนินงานโครงการบริการวิชาการแก่สังคม ประจาปีการศึกษา 2554 5.1-1-10 ตัวอย่างโครงการ ที่มีการเสนอโครงการ ตามแบบฟอร์ม การเขียนโครงการบริการวิชาการ 5.1-1-11 ตัวอย่างโครงการ ที่มีการติดตามโครงการ ตามแผน กากับการบริหารงานการบริการวิชาการแก่สังคม

งานบริการวิชาการ และ Excellent Center

5.1-1-1

ผู้รับผิดชอบ อ.นิตติยา อ.สิรินันท์ ดร.อัญชลีพร

45


5.1-1-12

ตัวบ่งชี้

รายการ

เป้า หมาย

ค่าน้​้าหนัก สกอ สมศ วพ

ตัวอย่างโครงการ ที่มีการสรุปผลการดาเนินโครงการ

หลักฐาน

งานที่รับผิดชอบ

ผู้รับผิดชอบ

ไทย ส่วนที่สะท้อนให้เห็นการบูรณาการกับโครงการการนารูปแบบผลการวิจัย มี ตามแบบฟอร์มรายงานผลการดาเนินโครงการ 5.1-1-13 บันทึกการประชุมคณะกรรมการบริการวิชาการ ที่ สะท้อนให้เห็นการดาเนินงานตามอานาจหน้าที่ ที่ระบุในคาสั่งแต่งตั้ง 5.1-1-14 ตัวอย่างโครงการ ที่มีการดาเนินงาน ตามบันทึกข้อตกลง ความร่วมมือกับ รพ.สต.เทพมงคล จ.พระนครศรีอยุธยา 5.1-1-15 ตัวอย่างโครงการ ที่มีการดาเนินงาน ตามบันทึกข้อตกลง ความร่วมมือกับ นิคมอุตสาหกรรมบางชัน 5.1-2-1 โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุห่างไกลสมองเสื่อม ส่วนที่สะท้อนให้เห็นการบูรณาการกับรายวิชา ปฏิบัติการพยาบาลบุคคลที่มี ปัญหาสุขภาพ 1 (ผู้ใหญ่) และมคอ 4 รายวิชาปฏิบัติการพยาบาลบุคคลที่มี ปัญหาสุขภาพ 1 (ผู้ใหญ่) ส่วนที่สะท้อนให้เห็นการบูรณาการกับโครงการ ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุห่างไกลสมองเสื่อม 5.1-2-2 โครงการฟื้นฟูสภาพในผู้ที่มีความผิดปกติเกี่ยวกับกระดูก และกล้ามเนื้อ ส่วนที่สะท้อนให้เห็นการบูรณาการกับรายวิชา ปฏิบัติการ พยาบาลบุคคลที่มีปัญหาสุขภาพ 1 (ผู้ใหญ่) และมคอ 4 รายวิชาปฏิบัติการ พยาบาลบุคคลที่มีปัญหาสุขภาพ 1 (ผู้ใหญ่) ส่วนที่สะท้อนให้เห็นการบูรณาการ กับโครงการฟื้นฟูสภาพในผู้ที่มีความผิดปกติเกี่ยวกับกระดูกและกล้ามเนื้อ 5.1-2-3 โครงการสร้างเสริมสุขภาพกายและใจ ห่วงใยผู้สูงอายุ ส่วนที่สะท้อนให้เห็นการบูรณาการกับรายวิชา ปฏิบัติการพยาบาลบุคคลที่มี ปัญหาสุขภาพ 1 (ผู้สูงอายุ) และมคอ 4 รายวิชา ปฏิบัติการพยาบาลบุคคลที่มี ปัญหาสุขภาพ 1 (ผู้สูงอายุ) ส่วนที่สะท้อนให้เห็นการบูรณาการกับโครงการ สร้างเสริมสุขภาพกายและใจ ห่วงใยผู้สูงอายุ 5.1-2-4 โครงการโลกนิทานเคลื่อนที่ส่งเสริมพัฒนาการลูกรัก ส่วนที่สะท้อนให้เห็นการบูรณาการกับรายวิชา ปฏิบัติการพยาบาลบุคคลที่มี ปัญหาสุขภาพ 1 (เด็ก) และมคอ 4 รายวิชา ปฏิบัติการพยาบาลบุคคลที่มี ปัญหาสุขภาพ 1 (เด็ก) ส่วนที่สะท้อนให้เห็นการบูรณาการกับโครงการโลก นิทานเคลื่อนที่ส่งเสริมพัฒนาการลูกรัก ตัวบ่งชี้

รายการ

เป้า หมาย

สกอ

ค่าน้​้าหนัก สมศ วพ

หลักฐาน

งานที่รับผิดชอบ

ผู้รับผิดชอบ

46


5.1-2-5

โครงการการนารูปแบบผลการวิจัยการปรับเปลี่ยน พฤติกรรมการบริโภคและการออกกาลังกายโดยใช้ทฤษฎีการเพิ่มสมรรถนะแห่ง ตน(Self-efficacy)ในผู้สูงอายุที่ศูนย์บริการสาธารณสุข 43 ส่วนที่สะท้อนให้ เห็นการบูรณาการกับรายวิชา ภูมิปัญญาไทย และมคอ 3 รายวิชา ภูมิปัญญา การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคและการออกกาลังกายโดยใช้ทฤษฎีการ เพิ่มสมรรถนะแห่งตน(Self-efficacy) ในผู้สูงอายุที่ศูนย์บริการสาธารณสุข 43 5.1-2-6 โครงการส่งเสริมนันทนาการในผู้สูงอายุที่พักอาศัยใน สถานบริการผู้สูงอายุ ส่วนที่สะท้อนให้เห็นการบูรณาการกับรายวิชา ปฏิบัติการ พยาบาลบุคคลที่มีปัญหาสุขภาพ 1 (ผู้สูงอายุ) และมคอ 4 รายวิชาปฏิบัติการ พยาบาลบุคคลที่มีปัญหาสุขภาพ 1 (ผู้สูงอายุ) ส่วนที่สะท้อนให้เห็นการบูรณา การกับโครงการส่งเสริมนันทนาการในผู้สูงอายุที่พักอาศัยในสถานบริการ ผู้สูงอายุ 5.1-2-7 โครงการส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาคุณภาพการนอน หลับแก่พนักงานในสถานประกอบการ ส่วนที่สะท้อนให้เห็นการบูรณาการกับ รายวิชา การพยาบาลครอบครัวและชุมชน 1 และมคอ 3 รายวิชาการพยาบาล ครอบครัวและชุมชน 1 ส่วนที่สะท้อนให้เห็นการบูรณาการกับโครงการส่งเสริม สุขภาพและพัฒนาคุณภาพการนอนหลับแก่พนักงานในสถานประกอบการ 5.1-2-8 โครงการบริการวิชาการช่วยผู้ประสบภัยน้าท่วมเพื่อลด ปัญหากลิ่นเหม็นอับเท้า โดยใช้ภูมิปัญญาไทย ส่วนที่สะท้อนให้เห็นการบูรณา การกับรายวิชา ภูมิปัญญาไทย และมคอ 3 รายวิชาภูมิปัญญาไทย ส่วนที่ สะท้อนให้เห็นการบูรณาการกับโครงการบริการวิชาการช่วยผู้ประสบภัยน้าท่วม เพื่อลดปัญหากลิ่นเหม็นอับเท้า โดยใช้ภูมิปัญญาไทย 5.1-2-9 โครงการส่งเสริมสุขภาพด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมและอา ชีวอนามัยในชุมชนรอบนิคมอุตสาหกรรมภายใต้โครงการ SHEE CLUB ตาม แผนปฏิบัติการการแสดงความรับผิดชอบต่อสังคม (CSR) ด้านสิ่งแวดล้อมและ ความปลอดภัยมคอ 3 รายวิชาการพยาบาลครอบครัวและชุมชน 1 ส่วนที่ สะท้อนให้เห็นการบูรณาการกับโครงการส่งเสริมสุขภาพด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม และอาชีวอนามัยในชุมชนรอบนิคมอุตสาหกรรม 5.1-3-1 โครงการสร้างเสริมพฤติกรรมป้องกันอันตรายจาก สารเคมีกาจัดศัตรูพืชของเกษตรกร ส่วนที่สะท้อนให้เห็นการบูรณาการกับ ตัวบ่งชี้

รายการ

เป้า หมาย

ค่าน้​้าหนัก สกอ สมศ วพ

หลักฐาน

งานที่รับผิดชอบ

ผู้รับผิดชอบ

โครงการวิจัย เรื่องการศึกษาผลการใช้รางจืดในการลดระดับโคลีนเอสเตอเรสใน เกษตร และโครงการวิจัย เรื่องการศึกษาผลการใช้รางจืดในการลดระดับโคลีน เอสเตอเรสในเกษตร ส่วนที่สะท้อนให้เห็นการบูรณาการกับ โครงการสร้างเสริม พฤติกรรมป้องกันอันตรายจากสารเคมีกาจัดศัตรูพืชของเกษตรกร 5.1-4-1 สรุปผลการจัดทา Focus group เกี่ยวกับ After Action

47


Review ร่วมกับอาจารย์ นิสิต และผู้เข้าร่วมโครงการ หลังจากที่มีการจัดโครง เพื่อประเมินผลความสาเร็จของการบูรณาการงานบริการทางวิชาการแก่สังคม กับการเรียนการสอน เพื่อให้เป็นแนวทางในการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียน การสอนหรืองานวิจัยต่อไป 5.1-4-2 การกาหนด 9 ตัวชี้วัดความสาเร็จของการบริการทาง วิชาการแก่สังคม ที่บูรณาการกับการเรียนการสอนและการวิจัย โดยกาหนด เกณฑ์การบรรลุเป้าหมาย เท่ากับอย่างน้อยร้อยละ 80 ของตัวชี้วัด จากเล่ม แผนปฏิบัติการ ประจาปีงบประมาณ ๒๕๕๕ ฉบับปรับปรุง มกราคม ๒๕๕๕ 5.1-4-3 สรุปการประเมินผลความสาเร็จของการบูรณาการงาน บริการทางวิชาการแก่สังคมกับการเรียนการสอนและการวิจัย ตามตัวชี้วัด ความสาเร็จที่ 1 ผู้รับบริการ ของแต่ละโครงการบริการวิชาการ มีค่าเฉลี่ยของ ความพึงพอใจของผู้รับบริการโดยรวม อย่างน้อย 3.51 จากคะแนนเต็ม 5 5.1-4-4 สรุปการประเมินผลความสาเร็จของการบูรณาการงาน บริการทางวิชาการแก่สังคมกับการเรียนการสอนและการวิจัย ตามตัวชี้วัด ความสาเร็จที่ 2 ผู้รับบริการ ของแต่ละโครงการบริการวิชาการ มีความเห็นใน ประเด็น ประโยชน์ที่ได้รับจากโครงการ อย่างน้อย 3.51 จากคะแนนเต็ม 5 5.1-4-5 สรุปการประเมินผลความสาเร็จของการบูรณาการงาน บริการทางวิชาการแก่สังคมกับการเรียนการสอนและการวิจัย ตามตัวชี้วัด ความสาเร็จที่ 3 ผู้รับบริการ ของแต่ละโครงการบริการวิชาการ มีความเห็นใน ประเด็น ความรู้ที่ได้รับจากโครงการ อย่างน้อย 3.51 จากคะแนนเต็ม 5 5.1-4-6 สรุปการประเมินผลความสาเร็จของการบูรณาการงาน บริการทางวิชาการแก่สังคมกับการเรียนการสอนและการวิจัย ตามตัวชี้วัด ความสาเร็จที่ 4 ผู้รับบริการ ของแต่ละโครงการบริการวิชาการ มีความเห็นใน ประเด็น สามารถนาไปปฏิบัติได้จริง อย่างน้อย 3.51 จากคะแนนเต็ม 5 5.1-4-7 สรุปการประเมินผลความสาเร็จของการบูรณาการงาน ตัวบ่งชี้

รายการ

เป้า หมาย

ค่าน้​้าหนัก สกอ สมศ วพ

หลักฐาน

งานที่รับผิดชอบ

ผู้รับผิดชอบ

บริการทางวิชาการแก่สังคมกับการเรียนการสอนและการวิจัย ตามตัวชี้วัด ความสาเร็จที่ 5 มีอย่างน้อย 3 โครงการบริการทางวิชาการแก่สังคม ที่บูรณา การกับการเรียนการสอน 5.1-4-8 สรุปการประเมินผลความสาเร็จของการบูรณาการงาน บริการทางวิชาการแก่สังคมกับการเรียนการสอนและการวิจัย ตามตัวชี้วัด ความสาเร็จที่ 6 มีอย่างน้อย 1 โครงการบริการทางวิชาการแก่สังคม ที่บูรณา การกับการวิจัย 5.1-4-9 สรุปการประเมินผลความสาเร็จของการบูรณาการงาน บริการทางวิชาการแก่สังคมกับการเรียนการสอนและการวิจัย ตามตัวชี้วัด ความสาเร็จที่ 7 มีผลการดาเนินงาน จากโครงการบริการทางวิชาการแก่สังคม

48


ที่บูรณาการกับการเรียนการสอน และ/หรือ การวิจัย ที่ช่วยให้เกิดผลงานตาม จุดเน้นของการบริการวิชาการ ที่กล่าวในข้อ 1.1 คือ ก) การชี้นา ป้องกัน หรือ แก้ปัญหาของสังคม ในประเด็นภายนอกสถาบัน และ/หรือ ข) ประเด็นสาหรับ การชี้นา ป้องกัน หรือแก้ปัญหาของสังคม ในประเด็นภายในสถาบัน และ/หรือ ค) การดาเนินงานส่งเสริมผลการเรียนรู้และเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน หรือองค์กรภายนอก 5.1-4-10 ผลการทา Focus group เกี่ยวกับ After Action Review แก่อาจารย์ นิสิต และผู้เข้าร่วมโครงการ หลังจากที่มีการจัดโครงการ แสดงการประเมินผลความสาเร็จของการบูรณาการงานบริการทางวิชาการแก่ สังคมกับการเรียนการสอนและการวิจัย ตามตัวชี้วัดความสาเร็จที่ 8 นิสิตที่ร่วม ดาเนินงานในโครงการบริการทางวิชาการแก่สังคม ที่บูรณาการกับการเรียนการ สอน มีความเห็นว่า ตนเองได้เรียนรู้ ได้ช่วยให้เห็น ได้เข้าใจ สภาพจริงของการ ปฏิบัติงาน 5.1-4-11 ผลการทา Focus group เกี่ยวกับ After Action Review แก่อาจารย์ นิสิต และผู้เข้าร่วมโครงการ หลังจากที่มีการจัดโครงการ แสดงการประเมินผลความสาเร็จของการบูรณาการงานบริการทางวิชาการแก่ สังคมกับการเรียนการสอนและการวิจัย ตามตัวชี้วัดความสาเร็จที่ 9 นิสิตที่ร่วม ดาเนินงานในโครงการบริการทางวิชาการแก่สังคม ที่บูรณาการกับการเรียนการ สอน มีความเห็นว่า ตนเองได้รับองค์ความรู้ใหม่จากกิจกรรม ตัวบ่งชี้

รายการ

เป้า หมาย

ค่าน้​้าหนัก สกอ สมศ วพ

หลักฐาน

งานที่รับผิดชอบ

ผู้รับผิดชอบ

5.1-5-1

รายงานการประชุมเรื่องการนาเสนอผลการทา Focus group เกี่ยวกับ After Action Review เพื่อเป็นแนวทางในการปรับปรุงการบูร ณาการงานบริการทางวิชาการแก่สังคมกับการเรียนการสอนและการวิจัยในปี ถัดไป 5.1-5-2 แบบประเมินความพึงพอใจของผู้รับบริการวิชาการ (ที่ นิสิตเป็นผู้ประเมิน) สาหรับปีการศึกษา 2555 ทีเ่ พิ่มข้อคาถาม 5.2.1 “การร่วมดาเนินงานบริการทางวิชาการ ที่บูรณาการกับการเรียนการ สอน ส่งเสริมให้ตนเองได้พัฒนาผลการเรียนรู้ (Sub-Domain) ที่กาหนดไว้ใน วัตถุประสงค์ของหัวข้อ ที่บูรณาการ” 5.2.2 “การร่วมดาเนินงานบริการทางวิชาการ ที่บูรณาการกับการเรียนการ สอน ส่งเสริมให้ตนเองได้รับประโยชน์ในการเสริมสร้างอัตลักษณ์ ในส่วนความ จิตอาสา (Service Mind)” 5.2.3 “การร่วมดาเนินงานบริการทางวิชาการ ที่บูรณาการกับการเรียนการ สอน ส่งเสริมให้ตนเองได้รับประโยชน์ในการเสริมสร้างอัตลักษณ์ ในส่วนการคิด วิเคราะห์ (Analytical Thinking)”

49


5.2.4 “การร่วมดาเนินงานบริการทางวิชาการ ที่บูรณาการกับการเรียนการ สอน ส่งเสริมให้ตนเองได้รับประโยชน์ในการเสริมสร้างอัตลักษณ์ ในส่วนการมี ส่วนร่วม (Participation)” 5.1-5-3 ร่าง การกาหนด 10 ตัวชี้วัดความสาเร็จของการบริการ ทางวิชาการแก่สังคม ที่บูรณาการกับการ

เรียนการสอนและการวิจัย โดยกาหนดเกณฑ์การบรรลุเป้าหมาย เท่ากับอย่างน้อยร้อยละ 80 ของตัวชี้วัด ที่งานบริการวิชาการ เตรียมเสนอบรรจุไว้ในจากเล่มแผนปฏิบัติการ ประจาปีงบประมาณ 2556 ฉบับตุลาคม 2555 ที่เพิ่มตัวชี้วัดความสาเร็จ “มีผลการ ดาเนินงาน จากโครงการบริการทางวิชาการแก่สังคม ที่บูรณาการ กับการวิจัย ที่ช่วยให้เกิดผลงานวิจัยที่นาไปใช้ประโยชน์ ตามเกณฑ์ สมศ6 ตัวบ่งชี้

รายการ

5.1.1

ผลการน้าความรู้และประสบการณ์จากการให้บริการวิชาการมาใช้ใน การพัฒนาการเรียนการสอนหรือการวิจัย (สมศ. 8) วิธีการคานวณ จานวนโครงการ/กิจกรรมบริการวิชาการ ที่นามาใช้ในการพัฒนาการ เรียนการสอนและการวิจัย x 100 / จานวนโครงการ/กิจกรรมบริการ วิชาการทั้งหมด ข้อมูลที่ต้องการ 1.หลักฐาน เอกสาร ข้อมูลที่แสดงว่าอาจารย์ประจาได้รวบรวม จัดระบบ และมีการประมวลความรู้และประสบการณ์จากการให้บริการวิชาการมา ใช้ประโยชน์ในการเรียนการสอนและการวิจัยโดยอาจไม่ต่อยอดพัฒนา เป็นหนังสือ ตารา หรืองานวิจยั ขยายผลนาไปสู่การปรับปรุงรายวิชาใหม่ หรือนาไปสู่การเปิดรายวิชาใหม่ 2. โครงการบริการวิชาการที่นับในตัวตั้งจะต้องมีผลการบูรณาการเสร็จ สิ้นในปีที่ประเมิน และโครงการวิชาการที่เป็นตัวหารเป็นโครงการบริการ วิชาการที่ดาเนินการในปีที่ประเมิน โครงการหนึ่งๆ จะบูรณาการเฉพาะ การเรียนการสอนหรือเฉพาะกับงานวิจยั หรือจะบูรณาการกับทั้งการ เรียนการสอนและการวิจัยก็ได้ 3. การบริการวิชาการ เป็นการให้บริการแก่บุคคลหรือหน่วยงาน ภายนอกสถาบัน ทั้งการประเมินในระดับคระและระดับสถาบัน

เป้า หมาย 3 คะแนน

สกอ

ค่าน้​้าหนัก สมศ วพ 5 5

หลักฐาน 5.1.1-1

แผนปฏิบัติการโครงการบริการวิชาการปีการศึกษา 2554 5.1.1-2 ตารางสรุปจานวนและร้อยละของโครงการบริการ วิชาการที่ใช้กับการเรียนการสอน การวิจัย ปีการศึกษา 2554 5.1.1-3 โครงการบริการวิชาการและแผนการสอนที่มีการบูรณา การร่วมกับโครงการบริการวิชาการและ/หรืองานวิจยั

งานที่รับผิดชอบ งานบริการวิชาการ และ Excellent Center

ผู้รับผิดชอบ อ.นิตติยา อ.สิรินันท์ ดร.อัญชลีพร

50


ตัวบ่งชี้

รายการ

5.2

กระบวนการบริการทางวิชาการให้ เกิดประโยชน์ต่อสังคม (สกอ. 5.2) เกณฑ์มาตรฐาน 1. มีการสารวจความต้องการของชุมชน หรือภาครัฐ หรือภาคเอกชน หรือหน่วยงานวิชาชีพเพื่อประกอบการกาหนดทิศทางและการจัดทา แผนการบริการทางวิชาการตามจุดเน้นของสถาบัน 2. มีความร่วมมือด้านบริการทางวิชาการเพื่อการเรียนรู้ และเสริมสร้าง ความเข้มแข็งของชุมชน หรือภาคเอกชน หรือภาครัฐ หรือหน่วยงาน วิชาชีพ 3. มีการประเมินประโยชน์หรือผลกระทบของการให้บริการทางวิชาการ ต่อสังคม 4. มีการนาผลการประเมินในข้อ 3 ไปพัฒนาระบบและกลไก หรือ กิจกรรมการให้บริการทางวิชาการ 5. มีการพัฒนาความรู้ที่ได้จากการให้บริการทางวิชาการและถ่ายทอด ความรู้สู่บุคลากรภายในสถาบันและเผยแพร่สู่สาธารณชน

เป้า หมาย 4 ข้อ

ค่าน้​้าหนัก สกอ สมศ วพ 1 1

หลักฐาน 5.2-1-1

งานที่รับผิดชอบ

ผลการสารวจความต้องการของชุมชน หมู่ 2 และ 3 รพ. งานบริการวิชาการ สต.เทพมงคล จ.พระนครศรีอยุธยา ในปีการศึกษา 2553 และ Excellent 5.2-1-2 ผลการสารวจความต้องการของชุมชน หมู่ 2 และ 3 Center (รอบที่ 2) และขยายการสารวจในหมู่ 5 และ 6 รพ.สต.เทพมงคล จ. พระนครศรีอยุธยา ซึ่งสารวจจากประชาชน และผู้นาชุมชน จานวน 840 คน 5.2-1-3 สรุปผลการทาประชาพิจารณ์ร่วมกับชุมชน ที่พบว่า โรคเบาหวานเป็นปัญหาที่สาคัญ และควรได้รับการแก้ไขมากที่สุด 5.2-1-4 ทิศทางการจัดทางานบริการวิชาการตามจุดเน้นของ วิทยาลัย ว่าด้วยการชี้นา ป้องกัน หรือแก้ปัญหาของสังคม ประเด็นภายนอก สถาบัน ที่กาหนดเป็น “การเรียนรู้และเสริมสร้างความเข็มแข็งของชุมชนในการ ส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง เพื่อป้องกันโรคเรื้อรังในชุมชน” จากเล่ม แผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ 2555 ฉบับปรับปรุง มกราคม 2555 5.2-1-5 โครงการ โปรแกรมสร้างสุข พฤติกรรมสร้างได้ ป้องกัน โรคเบาหวานชนิดที่ 2 ในญาติสายตรง ประจาปีการศึกษา 2554 จากเล่ม แผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ 2555 ฉบับปรับปรุง มกราคม 2555 5.2-1-6 บันทึกการประชุมกรรมการชุมชนเขตคันนายาว 5.2-1-7 สรุปผลการสารวจความต้องการในการรับบริการสุขภาพ ของพนักงานและบริษัทมิตซูบิชิ อิเล็คทริค ออโตเมชัน (ประเทศไทย) และ ชุมชนรามอินทรานิรมิต รอบนิคมอุตสาหกรรมบางชัน 5.2-1-8 ทิศทางการจัดทางานบริการวิชาการตามจุดเน้นของ วิทยาลัย ว่าด้วยการดาเนินงานส่งเสริมผลการเรียนรู้และเสริมสร้างความ เข้มแข็งของชุมชนหรือองค์กรภายนอก ที่มุ่งเน้นการมีส่วนร่วมของชุมชน โดยรอบนิคมอุตสาหกรรมบางชัน ประชาชนที่ทางานในโรงงานในพื้นที่นิคม อุตสาหกรรมบางชัน และสานักงานนิคมอุตสาหกรรมบางชัน จากเล่ม แผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ 2555 ฉบับปรับปรุง มกราคม 2555

ผู้รับผิดชอบ อ.นิตติยา อ.สิรินันท์ ดร.อัญชลีพร

51


5.2-1-9

โครงการ “การส่งเสริมสุขภาพด้านอนามัยในชุมชนรอบ นิคมอุตสาหกรรมภายใต้โครงการ SHEE CLUB ตามแผนปฏิบัติการการแสดง ความรับผิดชอบต่อสังคม (CSR) ด้านสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัย ประจาปี งบประมาณ 2555” และโครงการ ส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาคุณภาพการนอน หลับแก่พนักงานในสถานประกอบการ จากเล่มแผนปฏิบัติการประจาปี ตัวบ่งชี้

รายการ

เป้า หมาย

ค่าน้​้าหนัก สกอ สมศ วพ

หลักฐาน

งานที่รับผิดชอบ

ผู้รับผิดชอบ

งบประมาณ 2555 ฉบับปรับปรุง มกราคม 2555 5.2-2-1 บันทึกข้อตกลงความร่วมมือกับ รพ.สต.เทพมงคล จ. พระนครศรีอยุธยา 5.2-2-2 แผนปฏิบัติการประจาปี รพ.สต.เทพมงคล จ. พระนครศรีอยุธยา และสรุปผลการจัดทาโครงการ โปรแกรมสร้างสุข พฤติกรรมสร้างได้ ป้องกันโรคเบาหวานชนิดที่2 ในญาติ สายตรง ประจาปีการศึกษา 2554 ที่ได้ร่วมเรียนรู้กับ รพ.สต.เทพมงคล กรรมการตาบล กานัน ผู้ใหญ่บ้าน ครู อสม. ประสานงาน ดาเนินงานร่วมกับ ญาติสายตรง ในการดูแลผู้ป่วยเบาหวาน ชนิดที่ 2 อย่างต่อเนื่อง เพื่อป้องกัน ภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วย 5.2-2-3 สรุปการติดตามโครงการโดยการทาสนทนากลุ่ม (Focus group) และการถอดบทเรียน ส่วนที่สะท้อนให้เห็นว่า ญาติสายตรง ผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 มีความรู้มากขึ้นในการปฏิบัติตัวเพื่อป้องกัน โรคเบาหวานชนิดที่ 2 โดยรับรู้ระดับความเสี่ยงต่อเบาหวานของตนเองและปรับ พฤติกรรมได้ถูกต้อง 5.2-2-4 สรุปการติดตามโครงการโดยการทาสนทนากลุ่ม (Focus group) และการถอดบทเรียน ส่วนที่สะท้อนให้เห็นว่า ญาติสายตรง ผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 และประชาชนทั่วไป ได้รับคาแนะนาเกี่ยวกับการ ปฏิบัติตนที่ถูกต้องเพื่อป้องกันโรคเรื้อรัง จากนักศึกษาและอาจารย์ ที่ได้สรุป แนวทางในการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคเรื้อรังในชุมชนและจัดทาเป็น คู่มือการดูแลสุขภาพเพื่อป้องกันโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ในญาติสายตรง เผยแพร่ ไว้ที่ รพสต. 5.2-2-5 บันทึกข้อตกลงความร่วมมือกับ นิคมอุตสาหกรรมบาง ชัน 5.2-2-6 สรุปผลการจัดทาโครงการ “การส่งเสริมสุขภาพด้าน อนามัยในชุมชนรอบนิคมอุตสาหกรรมภายใต้โครงการ SHEE CLUB ตาม แผนปฏิบัติการการแสดงความรับผิดชอบต่อสังคม (CSR) ด้านสิ่งแวดล้อมและ ความปลอดภัย ประจาปีงบประมาณ 2555” โดยมีการประชุมร่วมกันกับ ประธานชุมชน และคณะกรรมการเครือข่ายของสานักงานนิคมอุตสาหกรรม เพื่อร่วมกันจัดทาโครงการ

52


ตัวบ่งชี้

รายการ

เป้า หมาย

ค่าน้​้าหนัก สกอ สมศ วพ

หลักฐาน

งานที่รับผิดชอบ

ผู้รับผิดชอบ

5.2-2-7

สรุปผลการจัดทาโครงการ “ส่งเสริมสุขภาพและพัฒนา คุณภาพการนอนหลับแก่พนักงานในสถานประกอบการ” โดยการมีส่วนร่วม ของผู้แทนชุมชน ได้แก่ ประธานชุมชน ครู อสส และดาเนินงานร่วมกับ สานักงานนิคมอุตสาหกรรม 5.2-2-8 บันทึกการประชุม คณะกรรมการที่เป็นผู้แทนชุมชน เพื่อร่วมเรียนรู้ผลการดาเนินงาน นาข้อมูลจากการดาเนินงานมาปรับปรุง แก้ไข ให้ความรู้เกี่ยวกับการสร้างเสริมสุขภาพคนในชุมชน ภาพถ่ายการจัดบอร์ดนิทรรศการให้ความรู้ ณ มุมเรียนรู้ด้านความปลอดภัย อา ชีวอนามัย สิ่งแวดล้อม และพลังงาน ในสานักงานนิคมอุตสาหกรรมบางชัน 5.2-3-1 สรุปการติดตามโครงการโดยการทาสนทนากลุ่ม (Focus group) และการถอดบทเรียน ส่วนที่สะท้อนให้เห็นว่า ญาติสายตรง ผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 มีความรู้มากขึ้นในการปฏิบัติตัวเพื่อป้องกัน โรคเบาหวานชนิดที่ 2 โดยรับรู้ระดับความเสี่ยงต่อเบาหวานของตนเองและปรับ พฤติกรรมได้ถูกต้อง 5.2-3-2 สรุปการติดตามโครงการโดยการทาสนทนากลุ่ม (Focus group) และการถอดบทเรียน ส่วนที่สะท้อนให้เห็นว่า ญาติสายตรง ผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 และประชาชนทั่วไป ได้รับคาแนะนาเกี่ยวกับการ ปฏิบัติตนที่ถูกต้องเพื่อป้องกันโรคเรื้อรัง จากนักศึกษาและอาจารย์ ที่ได้สรุป แนวทางในการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคเรื้อรังในชุมชนและจัดทาเป็น คู่มือการดูแลสุขภาพเพื่อป้องกันโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ในญาติสายตรง เผยแพร่ ไว้ที่ รพสต. 5.2-3-3 สรุปการติดตามโครงการโดยการทาสนทนากลุ่ม (Focus group) และการถอดบทเรียน ส่วนที่สะท้อนให้เห็นว่า อสม. มีความรู้ เกี่ยวกับการปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันเบาหวานชนิดที่ 2 มากขึ้น และสามารถนาไป ปรับใช้กับตนเองและถ่ายทอดไปยังผู้อื่นได้ ด้านองค์กรในชุมชน 5.2-3-4 สรุปการติดตามโครงการโดยการทาสนทนากลุ่ม (Focus group) และการถอดบทเรียน ส่วนที่สะท้อนให้เห็นว่า รพสต. อบต. เข้าใจและตระหนักในความสาคัญในการดูแลสุขภาพของประชาชนในกลุ่มเสี่ยง ต่อโรคเรื้องรังเพื่อลดอัตราอุบัติการณ์ และค่าใช้จ่ายในการรักษา โดย อบต. ให้ เงินสนับสนุนการจัดทาแผนพัฒนา 3 ปี 2555-2557 ตามยุทธศาสตร์ที่ 2 การ ตัวบ่งชี้

รายการ

เป้า หมาย

ค่าน้​้าหนัก สกอ สมศ วพ

หลักฐาน

งานที่รับผิดชอบ

ผู้รับผิดชอบ

พัฒนาด้านการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิต ของ อบต. 5.2-3-5 สรุปการติดตามโครงการโดยการทาสนทนากลุ่ม (Focus group) และการถอดบทเรียน ส่วนที่สะท้อนให้เห็นผลกระทบที่เกิด

53


ประโยชน์และสร้างคุณค่าต่อชุมชนและสังคม โดยการลดความเสี่ยงในการเป็น ผู้ป่วยโรคเรื้อรังของญาติสายตรงผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 และประชาชนทั่วไป เพราะมีความรู้ ความเข้าใจ สามารถปฏิบัติตัว รับรู้ระดับความเสี่ยง และปรับ พฤติกรรมให้ถูกต้องต่อการป้องกันโรคเบาหวานชนิดที่ 2 5.2-3-6 สรุปการติดตามโครงการโดยการทาสนทนากลุ่ม (Focus group) และการถอดบทเรียน ส่วนที่สะท้อนให้ เห็นผลกระทบที่เกิดประโยชน์และสร้างคุณค่าต่อชุมชนและสังคม โดย รพสต อสม อบต เทพมงคล ร่วมกับวิทยาลัยในการเรียนรู้ และตกผลึกแนวทางการ ดูแลญาติสายตรงผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 และประชาชนทั่วไป เป็นคู่มือการ ดูแลตนเองเพื่อป้องกันโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ในญาติสายตรง แจกให้กับ ประชาชนในชุมชน เพื่อให้ประชาชนในชุมชนมีพฤติกรรมที่ถูกต้องในป้องกัน โรคเบาหวาน ตลอดจนลดค่าใช้จ่ายในการรักษาในอนาคต 5.2-3-7 หลักฐานแสดง การจัดให้มีมุมเรียนรู้ด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย สิ่งแวดล้อม และพลังงาน เพื่อเป็นแหล่งเรียนการสร้างเสริม สุขภาพของผู้แทนชุมชนโดยรอบนิคมอุตสาหกรรมบางชัน และประชาชนที่ ทางานในโรงงานในพื้นที่นิคมอุตสาหกรรมบางชัน 5.2-3-8 หลักฐานแสดง การจัดให้มีโครงการเกี่ยวกับการให้ ความรู้และเสริมสร้างความเข้มแข็งของคนในชุมชน ในเรื่องการสร้างเสริม สุขภาพ บรรจุไว้ในแผนปฏิบัติการประจาปี 2555 ของ สานักงานนิคม อุตสาหกรรมบางชัน เพื่อพัฒนาการจัดโครงการดังกล่าวในชุมชนอื่นๆ รอบนิคม อุตสาหกรรมบางชัน อย่างต่อเนื่องทุกปี 5.2-3-9 หลักฐานแสดง การบรรจุข้อมูล ข่าวสาร เกี่ยวกับการ สร้างเสริมสุขภาพ เผยแพร่ไว้ในวารสารนิคมอุตสาหกรรมเพื่อชุมชน 5.2-3-10 หลักฐานแสดง การร่วมกันดาเนินงานเครือข่ายความ ร่วมมือด้านการแสดงความรับผิดชอบต่อสังคม (CSR) โดยสานักงานนิคม อุตสาหกรรมบางชัน ผู้แทนสถานประกอบการ ผู้นาชุมชนรอบนิคม อุตสาหกรรม หน่วยงานราชการ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และวิทยาลัย เพื่อ ตัวบ่งชี้

รายการ

เป้า หมาย

ค่าน้​้าหนัก สกอ สมศ วพ

หลักฐาน

งานที่รับผิดชอบ

ผู้รับผิดชอบ

นามาใช้เป็นการพัฒนาตนเองในด้านการสร้างเสริมสุขภาพของคนในชุมชน อย่างต่อเนื่องมาตั้งแต่ปีการศึกษา 2553 5.2-3-11 หลักฐานแสดง การระดมความเห็นเพื่อจัดทาแผน ยกระดับนิคมอุตสาหกรรมบางชันสู่เมืองอุตสาหกรรมสู่เมืองเศรษฐนิเวศ (ECO Industrial Development) เพื่อใช้เป็นส่วนหนึ่งในการพัฒนาตนเองในด้าน การสร้างเสริมสุขภาพของคนในชุมชน ขาดหลักฐานที่สะท้อนให้เห็นการสร้าง เสริมสุขภาพ 5.2-3-12 หลักฐานแสดง การผนวกกิจกรรมออกบูธตรวจสุขภาพ

54


ให้แก่ประชาชนในชุมชน พนักงานในสถานประกอบการ ไว้ในโครงการของทาง สานักงานฯ เช่น โครงการ ส่งเสริมอาชีพ และสนับสนุนสินค้า/ผลิตภัณฑ์ชุมชน 5.2-4-1 รายงานการประชุมคณะกรรมการบริการวิชาการครั้งที่ 3/2554 วันที่ 19 มกราคม 2555 5.2-4-2 สรุปการติดตามโครงการโดยการทาสนทนากลุ่ม (Focus group) และการถอดบทเรียน ส่วนที่สะท้อนให้เห็นผลกระทบที่เกิด ประโยชน์และสร้างคุณค่าต่อชุมชนและสังคม โดยญาติสายตรงผู้ป่วยเบาหวาน ชนิดที่ 2 และประชาชนทั่วไป ได้รับการส่งเสริมและป้องกันสุขภาพ เพื่อลด ความเสี่ยงในการเป็นผู้ป่วยโรคเรื้อรัง เพราะ รพสต.เทพมงคลได้รับการ สนับสนุนการจัดทาโครงการดูแลสุขภาพประชาชน ตามแผนพัฒนา 3 ปี 25552557 ยุทธศาสตร์ที่ 2 การพัฒนาด้านการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิต ของ อบต. 5.2-4-3 สรุปการถอดแบบสัมภาษณ์ ที่แสดงให้เห็นว่า การจัดทา เอกสารวิชาการ เรื่อง บริโภคหารอย่างไร ให้ปลอดภัย กินอย่างไร ให้ห่างไกล โรค และคู่มือการส่งเสริมสุขภาพด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม และอาชีวอนามัย ใน ชุมชนรอบนิคมอุตสาหกรรมบางชัน ช่วยสนับสนุนการดาเนินงานของ อาสาสมัครสาธารณสุข ซึ่งเห็นความสาคัญ มีจิตสานึก มีความเข้มแข็งในการ ดูแลผู้สูงอายุ การดูแลผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาสในชุมชน 5.2-5-1 คู่มือการสร้างสุข พฤติกรรมสร้างได้ ป้องกันภัยจาก เบาหวานชนิดที่ 2 ญาติสายตรง 5.2-5-2 รายงานการประชุมอาจารย์ ตัวบ่งชี้

รายการ

เป้า หมาย

สกอ

ค่าน้​้าหนัก สมศ วพ

หลักฐาน

งานที่รับผิดชอบ

ผู้รับผิดชอบ

5.2-5-3

การเผยแพร่ให้เจ้าหน้าที่ รพ.สต.เทพมงคล จ. พระนครศรีอยุธยา เพื่อนาไปใช้ดูแลผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ในญาติสายตรง 5.2-5-4 1.เอกสารวิชาการ เรื่อง บริโภคหารอย่างไร ให้ปลอดภัย กินอย่างไร ให้ห่างไกลโรค และ 2.คู่มือการส่งเสริมสุขภาพด้านอนามัย สิ่งแวดล้อม และอาชีวอนามัย ในชุมชนรอบนิคมอุตสาหกรรม บางชัน 5.2-5-5 รายงานการประชุมอาจารย์ 5.2-5-6 การเผยแพร่ให้อาสาสมัครสาธารณสุข ใช้ในการดูแล ผู้สูงอายุ การดูแลผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาสในชุมชน 5.2.1

ผลการเรียนรู้ และเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนหรือองค์กร ภายนอก (สมศ. 9) ประเด็นการพิจารณา 1. มีการดาเนินงานตามวงจรคุณภาพ (PDCA) โดยการมีสว่ นร่วมของ

4 ข้อ

5

5

5.2.1-1-1 5.2.1-1-2

หลักฐานแสดง ผลการสารวจความต้องการของชุมชน หลักฐานแสดง การนาผลการสารวจมาวางแผนและ ประชุมความคิดเห็นและสนับสนุนงบประมาณภายใต้โครงการ SHEE CLUB ตามแผนปฏิบัติ การแสดงความรับผิดชอบต่อสังคม (CSR) ด้านสิ่งแวดล้อม

งานบริการวิชาการ และ Excellent Center

อ.นิตติยา อ.สิรินันท์ ดร.อัญชลีพร อ.อัจฉรา

55


ชุมชนหรือองค์กร 2. บรรลุเป้าหมายตามแผนไม่ต่ากว่าร้อยละ 80 3. ชุมชนหรือองค์กรมีผู้นาหรือสมาชิกที่มีการเรียนรู้และดาเนินกิจกรรม อย่างต่อเนื่อง 4. ชุมชนหรือองค์กรสร้างกลไกที่มีการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่องและ ยั่งยืน โดยคงอัตลักษณ์และวัฒนธรรมของชุมชนหรือองค์กร 5. มีผลกระทบที่เกิดประโยชน์สร้างคุณค่าต่อสังคม หรือชุมชน/องค์กร มีความเข้มแข็ง

ตัวบ่งชี้

รายการ

และความปลอดภัย ปีงบประมาณ 2555 5.2.1-1-3 ระบบการบริการวิชาการในคู่มือการบริการวิชาการแก่ สังคม 5.2.1-1-4 คาสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการบริการวิชาการแก่สังคม รับผิดชอบในการดาเนินงานบริการวิชาการตามระบบทีก่ าหนด 5.2.1-1-5 หลักฐานแสดงการนาผลสารวจความต้องการในการ บริการวิชาการมาจัดทาโครงการบริการวิชาการโดยบูรณาการกับการจัดการ เรียนการสอนในรายวิชาปฏิบัติพยาบาลอนามัยครอบครัวและชุมชน 1 5.2.1-1-6 โครงการส่งเสริมสุขภาพด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมและอา ชีวอนามัย 5.2.1-1-7 หลักฐานแสดง การดาเนินงานตามแผนที่กาหนดไว้ ที่ ชุมชนรามอินทรานิรมิตเขตบางชัน ซึ่งเป็นชุมชนที่อยู่รอบนิคมอุตสาหกรรม โดยมีการประชุมร่วมกันกับประธานชุมชน และคณะกรรมการเครือข่ายของ สานักงานนิคม 5.2.1-1-8 หลักฐานคู่มือการส่งเสริมสุขภาพด้านสิ่งแวดล้อมและอา ชีวอนามัย และมีการประเมินผลการดาเนินโครงการ เป้า หมาย

ค่าน้​้าหนัก สกอ สมศ วพ

หลักฐาน

งานที่รับผิดชอบ

ผู้รับผิดชอบ

5.2.1-1-9

หลักฐานแสดงการประเมินผลหลังจากให้บริการวิชาการ เพื่อเสนอแนวการปรับปรุงแก้ไขและนาไปปรับปรุงการบริการวิชาการต่ อไป 5.2.1-2-1 หลักฐานการประเมินการบรรลุเป้าหมายตามแผน ของ การส่งเสริมผลการเรียนรู้และเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนหรือองค์ก ร ภายนอก ตามตัวชี้วัดที่ 1 ประชาชน พนักงานสถานประกอบการ มีความพึง พอใจในภาพรวมของการจัดโครงการ อย่างน้อย 3.51 จากคะแนนเต็ม 5 5.2.1-2-2 หลักฐานการประเมินการบรรลุเป้าหมายตามแผน ของ การส่งเสริมผลการเรียนรู้และเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนหรือองค์กร ภายนอก ตามตัวชี้วัดที่ 2 ประชาชน พนักงานสถานประกอบการ มีความเห็น ในประเด็น ประโยชน์ที่ได้รับจากโครงการ อย่างน้อย 3.51 จากคะแนนเต็ม 5 5.2.1-2-3 หลักฐานการประเมินการบรรลุเป้าหมายตามแผน ของ การส่งเสริมผลการเรียนรู้และเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนหรือองค์กร ภายนอก ตามตัวชี้วัดที่ 3 ประชาชน พนักงานสถานประกอบการ มีความเห็น ในประเด็น ความรู้ที่ได้รับจากโครงการ อย่างน้อย 3.51 จากคะแนนเต็ม 5 5.2.1-2-4 หลักฐานการประเมินการบรรลุเป้าหมายตามแผน ของการ ส่งเสริมผลการเรียนรู้และเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนหรือองค์กรภายนอก ตามตัวชี้วัดที่ 4 ประชาชน พนักงานสถานประกอบการ มีความเห็นในประเด็น

56


สามารถนาไปปฏิบัติได้จริง อย่างน้อย 3.51 จากคะแนนเต็ม 5 5.2.1-2-5 หลักฐานการประเมินการบรรลุเป้าหมายตามแผน ของ การส่งเสริมผลการเรียนรู้และเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนหรือองค์กร ภายนอก ตามตัวชี้วัดที่ 5 มีการบูรณาการ การส่งเสริมผลการเรียนรู้และ เสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนหรือองค์กรภายนอก กับการเรียนการสอน อย่างน้อย 1 รายวิชา 5.2.1-2-6 มีการจัดทา เอกสารวิชาการ และ/หรือ คู่มือ อย่างน้อย 2 เล่ม เพื่อใช้ในการส่งเสริมผลการเรียนรู้และเสริมสร้างความเข้มแข็งของ ชุมชนหรือองค์กรภายนอก 5.2.1-3-1 หลักฐานการจัดทาโครงการ รณรงค์/ส่งเสริม และให้ ความรู้ด้านสุขภาพอนามัย และโภชนาการแก่พนักงานและชุมชนโดยรอบนิคม อุตสาหกรรมบางชัน ในปีการศึกษา 2553 5.2.1-3-2 หลักฐานโครงการส่งเสริมสุขภาพด้านอาชีวอนามัยเพื่อ ตัวบ่งชี้

รายการ

เป้า หมาย

สกอ

ค่าน้​้าหนัก สมศ วพ

หลักฐาน

งานที่รับผิดชอบ

ผู้รับผิดชอบ

ความปลอดภัยในการทางานแก่พนักงานในสถานประกอบการ ในปีการศึกษา 2553 5.2.1-3-3 หลักฐานแสดงการดาเนินงานให้ความรู้และเสริมสร้าง ความเข้มแข็งของคนในชุมชน ในเรื่องการสร้างเสริมสุขภาพ โดยจัดทา โครงการส่งเสริมสุขภาพด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมและอาชีวอนามัย ในชุมชนรอบ นิคมอุตสาหกรรมบางชัน ต่อเนื่องมาในปีการศึกษา 2554 5.2.1-3-4 หลักฐานแสดงการดาเนินงานให้ความรู้และเสริมสร้าง สุขภาพการนอนหลับแก่พนักงานในสถานประกอบการนิคมอุตสาหกรรมบางชัน ต่อเนื่องมาในปีการศึกษา 2554 5.2.1-3-5 บันทึกการประชุม คณะกรรมการที่เป็นผู้แทนชุมชน เพื่อร่วมเรียนรู้ผลการดาเนินงาน นาข้อมูลจากการดาเนินงานมาปรับปรุง แก้ไข ให้ความรู้เกี่ยวกับการสร้างเสริมสุขภาพคนในชุมชน 5.2.1-3-6 ภาพถ่ายการจัดบอร์ดนิทรรศการให้ความรู้ ณ มุมเรียนรู้ ด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย สิ่งแวดล้อม ในสานักงานนิคมอุตสาหกรรม บางชัน 5.2.1-3-7 แผนปฏิบัติการประจาปี ของ สานักงานนิคม อุตสาหกรรมบางชัน 5.2.1-4-1 หลักฐานแสดง การจัดให้มีมุมเรียนรู้ด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย สิ่งแวดล้อม และพลังงาน เพื่อเป็นแหล่งเรียนการสร้างเสริม สุขภาพของผู้แทนชุมชนโดยรอบนิคมอุตสาหกรรมบางชัน และประชาชนที่ ทางานในโรงงานในพื้นที่นิคมอุตสาหกรรมบางชัน 5.2.1-4-2 แผนปฏิบัติการประจาปี 2555 ของ สานักงานนิคม

57


อุตสาหกรรมบางชัน เพื่อพัฒนาการจัดโครงการดังกล่าวในชุมชนอื่นๆ รอบนิคม อุตสาหกรรมบางชัน อย่างต่อเนื่องทุกปี 5.2.1-4-3 หลักฐานแสดง การบรรจุข้อมูล ข่าวสาร เกี่ยวกับการ สร้างเสริมสุขภาพ เผยแพร่ไว้ในวารสารนิคมอุตสาหกรรมเพื่อชุมชน 5.2.1-4-4 หลักฐานแสดง การร่วมกันดาเนินงานเครือข่ายความ ร่วมมือด้านการแสดงความรับผิดชอบต่อสังคม (CSR) โดยสานักงานนิคม อุตสาหกรรมบางชัน ผู้แทนสถานประกอบการ ผู้นาชุมชนรอบนิคม อุตสาหกรรม หน่วยงานราชการ และหน่วยงานที่เกีย่ วข้อง และวิทยาลัย เพือ่ ตัวบ่งชี้

รายการ

เป้า หมาย

สกอ

ค่าน้​้าหนัก สมศ วพ

หลักฐาน

งานที่รับผิดชอบ

ผู้รับผิดชอบ

นามาใช้เป็นการพัฒนาตนเองในด้านการสร้างเสริมสุขภาพของคนในชุมชน อย่างต่อเนื่องมาตั้งแต่ปีการศึกษา 2553 5.2.1-4-5 หลักฐานแสดงการระดมความเห็นเพื่อจัดทาแผน ยกระดับนิคมอุตสาหกรรมบางชันสู่เมืองอุตสาหกรรมสู่เมืองเศรษฐนิเวศ (ECO Industrial Development) เพื่อใช้เป็นส่วนหนึ่งในการพัฒนาตนเองในด้าน การสร้างเสริมสุขภาพของคนในชุมชน 5.2.1-4-6 หลักฐานแสดง การผนวกกิจกรรมออกบูธตรวจสุขภาพ ให้แก่ประชาชนในชุมชน พนักงานในสถานประกอบการ ไว้ในโครงการของทาง สานักงานฯ เช่น โครงการ ส่งเสริมอาชีพ และสนับสนุนสินค้า/ผลิตภัณฑ์ชุมชน 5.2.1-4-7 หลักฐานแสดง การสนับสนุนให้วิทยาลัยจัดทา 1. เอกสารวิชาการ เรือง บริโภคหารอย่างไร ให้ปลอดภัย กินอย่างไร ให้ห่างไกล โรค 2.คู่มือการส่งเสริมสุขภาพด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม และอาชีวอนามัย ในชุมชนรอบนิคมอุตสาหกรรมบางชัน 5.2.1-4-8 สรุปการถอดแบบสัมภาษณ์ ที่แสดงให้เห็นว่า ประชาชน ในชุมชน ที่นับถือศาสนาอิสลาม สามารถนาความรู้ที่ได้ไปปฏิบัติ โดยไม่ขัดกับ ความเชื่อ คาสอนทางศาสนา 5.2.1-4-9 สรุปการถอดแบบสัมภาษณ์ ที่แสดงให้เห็นว่า ประธาน ชุมชนที่มีความตั้งใจสูง มีความเข้มแข็งในเรื่องการสร้างเสริมสุขภาพ การพัฒนา ชุมชน ได้นาเอกสารทางวิชาการไปเผยแพร่ให้สมาชิกในชุมชน รวมทั้ง นาไป เผยแพร่ผ่านการกระจายเสียงตามสายที่ชุมชนได้ดาเนินการมาต่อเนื่อง ขาด สรุปการถอดแบบสัมภาษณ์ 5.2.1-4-10 สรุปการถอดแบบสัมภาษณ์ ที่แสดงให้เห็นว่า การจัดทา เอกสารวิชาการ เรื่อง บริโภคหารอย่างไร ให้ปลอดภัย กินอย่างไร ให้ห่างไกล โรค และคู่มือการส่งเสริมสุขภาพด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม และอาชีวอนามัย ใน ชุมชนรอบนิคมอุตสาหกรรมบางชัน ช่วยสนับสนุนการดาเนินงานของ อาสาสมัครสาธารณสุข ซึ่งเห็นความสาคัญ มีจิตสานึก มีความเข้มแข็งในการ ดูแลผู้สูงอายุ การดูแลผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาสในชุมชน ขาดสรุปการถอดแบบ

58


สัมภาษณ์ 5.2.1-4-11 สรุปการถอดแบบสัมภาษณ์ ที่แสดงให้เห็นว่า ชุมชนราม อินทรานิรมิตร ได้พัฒนาความรู้ ประสบการณ์การดาเนินงานที่เกี่ยวกับการดูแล ตัวบ่งชี้

รายการ

เป้า หมาย

สกอ

ค่าน้​้าหนัก สมศ วพ

หลักฐาน

งานที่รับผิดชอบ

ผู้รับผิดชอบ

สุขภาพและสิ่งแวดล้อมในชุมชน ส่งผลให้เกิดการเรียนรู้ที่สามารถนาไปใช้เสริม การเป็นแหล่งศึกษาดูงาน ของ กทม 5.2.1-4-12 สรุปการถอดแบบสัมภาษณ์ ที่แสดงให้เห็นว่า การ ดาเนินงานสร้างเสริมสุขภาพ ได้คงรักษาความสัมพันธ์ที่ดี และการช่วยเหลือ เกื้อกูลกันระหว่างคนในชุมชนกับนิคมอุตสาหกรรมบางชัน สานักงานเขตมีนบุรี นักการเมืองท้องถิ่น และนักการเมืองระดับชาติ ขาดสรุปการถอดแบบ สัมภาษณ์ 5.2.1-5-1 สรุปโครงการที่แสดงให้เห็นว่า ประชาชน มีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพ 5.2.1-5-2 สรุปโครงการที่แสดงให้เห็นว่า ประชาชน มีทัศนคติที่ดี ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ถูกต้องเพื่อสุขภาพที่ดี 5.2.1-5-3 สรุปโครงการที่แสดงให้เห็นว่า ประชาชนในชุมชน มี ความรู้มากขึ้นในการปฏิบัติตัว และปรับพฤติกรรมได้ถูกต้อง และสามารถนาไป ปรับใช้กับตนเอง และถ่ายทอดไปยังผู้อื่นได้ 5.2.1-5-4 สรุปผลการสัมภาษณ์ที่แสดงให้เห็นว่า ชุมชนมีการ ถ่ายทอดผ่านเสียงตามสายในชุมชน เพื่อให้คนในชุมชนมีความเข้าใจและ ตระหนักในความสาคัญในการดูแลสุขภาพของประชาชน 5.2.1-5-5 สรุปผลการวิจัยที่แสดงให้เห็นว่า พนักงานในสถาน ประกอบการ มีความรู้ ความเข้าใจด้านอาชีว อนามัยที่ถูกต้องในการสร้างเสริม สุขภาพ 5.2.1-5-6 สรุปผลการสัมภาษณ์ที่แสดงให้เห็นว่า พนักงานในสถาน ประกอบการ มีคุณภาพการนอนหลับที่ดีขึ้น 5.2.1-5-7 สรุปผลการสัมภาษณ์ที่แสดงให้เห็นว่า พนักงานในสถาน ประกอบการ มีทัศนคติที่ดีในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ถูกต้องเกี่ยวกับ สุขภาพและการทางานที่ปลอดภัย 5.2.1-5-8 สรุปผลการสัมภาษณ์ที่แสดงให้เห็นว่า การดาเนินงาน ช่วยให้นิคมอุตสาหกรรมบางชัน สามารถคงรักษาความสัมพันธ์ที่ดี และการ ช่วยเหลือเกื้อกูลกันระหว่างคนในชุมชนกับนิคม

ตัวบ่งชี้

รายการ

เป้า

ค่าน้​้าหนัก

หลักฐาน

งานที่รับผิดชอบ

ผู้รับผิดชอบ

59


5.2.2

หมาย ผลการชี้ น้ า ป้ อ งกั น หรื อ แก้ ปั ญ หาสั ง คมในประเด็ น ภายใน 3 ข้อ

สกอ

สมศ

วพ 5.2.2-1-1

สถาบัน (สมศ.18.1) ประเด็นพิจารณา 1. มีการดาเนินงานตามวงจรคุณภาพ (PDCA) 2. บรรลุเป้าหมายตามแผนไม่ต่ากว่าร้อยละ 80 3. มีประโยชน์และสร้างคุณค่าต่อคนในสถาบัน 4. มีผลกระทบที่เกิดประโยชน์และสร้างคุณค่าต่อสถาบัน 5. ได้รับยกย่องระดับชาติและ/หรือนานาชาติ

ตัวบ่งชี้

รายการ

เป้า หมาย

ค่าน้​้าหนัก สกอ สมศ วพ

หลักฐานการวางแผนดาเนินงานปลูกฝังค่านิยมการสร้างเสริมงานพั สุขภาพ ฒนานิสิต และท 1. ยุทธศาสตร์ที่ 4 เสริมสร้างสังคมอุดมปัญญาสุขภาวะ ในหน้า 25 เล่มแผนยุทธศาสตร์ านุบารุง ศิลปวัฒนธรรม ประจาปีงบประมาณ 2554-2558 2. บันทึกการประชุมคณะกรรมการบริหาร วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีนพรัตน์วชิระ ครั้งที่ เดือนสิงหาคม2554วาระที่ 4 เรื่อง การจัดทาแผนโครงการ/กิจการ งานพัฒนาอัตลักษณ์และ ทานุบารุง ศิลปวัฒนธรรม 3. โครงการกีฬาสัมพันธ์ กิจกรรมส่งเสริมการปลูกฝังค่านิยมการสร้างเสริมสุขภาพ ในเล่ม แผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ 2554 4. โครงการ ออกกาลังกายเพื่อส่งเสริมสุขภาพ/ฟ้อนเจิงเพื่อสุขภาพ ส่งเสริมการปลูกฝัง ค่านิยมการสร้างเสริมสุขภาพ ในเล่มแผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ 2555 5. นโยบายที่เกี่ยวข้องกับการปลูกฝังค่านิยมการสร้างเสริมสุขภาพ 6. กระบวนการทางาน ที่เกี่ยวข้องกับการปลูกฝังค่านิยมการสร้างเสริมสุขภาพ 5.2.2-1-2 โครงการสายสัมพันธ์ลอ้ มใจ อุ่นไอ อ้อมกอดนพรัตน์วชิระ 5.2.2-1-3.1 ผลการประเมินผล การปลูกฝังค่านิยมการสร้างเสริมสุขภาพ ในระดับ โครงการ 5.2.2-1-3.2 ตารางสรุปโครงการ/กิจกรรม การปลูกฝังค่านิยมการสร้างเสริมสุขภาพ ประจาปี2554 5.2.2-1-4 หลักฐานการนาผลการประเมิน ไปปรับการปลูกฝังค่านิยมการสร้าง เสริมสุขภาพ การนาผลการประเมิน ความสาเร็จของการปลูกฝังค่านิยมการสร้าง เสริมสุขภาพ โดยถอดบทเรียนจากกลุ่มเสวนไปใช้ออกแบบโครงการสายสัมพันธ์ส่งเสริม สุขภาพ โดยนาความรู้เรื่องการนวด คอ บ่า ไหล่ ใช้ในการนวดผ่อนคลายให้กบั พี่และเพื่อนใน วิทยาลัย เพื่อรักษาการเห็นความสาคัญคุณค่าของภูมิปัญญาไทย 5.2.2-2-1 ผลการประเมิน ตามตัวชีว้ ัดที่ 1 5.2.2-2-2 ผลการประเมินตามตัวชีว้ ัดที่ 2 5.2.2-2-3 ผลการประเมินตามตัวชีว้ ัดที่ 3 งานที่รับผิดชอบ หลักฐาน 5.2.2-2-4 5.2.2-2-5 5.2.2-2-6 5.2.2-3-1 5.2.2-3-2

ดร.สุชีวา อ.กรพินธุ์ อ.เกตุนรินทร์ อ.แคทรียา คุณขนิษฐา

ผู้รับผิดชอบ

ผลการประเมินตามตัวชีว้ ัดที่ 4 ผลการประเมินตามตัวชีว้ ัดที่ 5 ผลการประเมินตามตัวชีว้ ัดที่ 6 สรุปผลโครงการสายสัมพันธ์ล้อมใจ อุ่นไอ อ้อมกอดนพรัตน์วชิระ สรุปผลกิจกรรมรณรงค์ชี้พิษภัย บุหรี่และเหล้า

60


5.2.2-3-3 5.2.2-3-4 5.2.2-3-5 5.2.2-4-1

สรุปผลโครงการออกกาลังกายเพือ่ สุขภาพ/ฟ้อนเจิงเพื่อสุขภาพ สรุปผลโครงการกีฬาสัมพันธ์ กิจกรรม ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ศูนย์บริการสาธารณสุข 43 มีนบุรี หลักฐาน/ชิ้นงาน ที่สะท้อนให้เห็นว่า การดาเนินงานปลูกฝังค่านิยม การสร้างเสริมสุขภาพ ช่วยให้เกิดการพัฒนาการเรียนการสอน ในรายวิชาการสร้างเสริม สุขภาพและการป้องกันการเจ็บป่วย มาใช้ประโยชน์ 5.2.2-4-2 หลักฐาน/ชิ้นงาน ที่สะท้อนให้เห็นว่า การดาเนินงาน ปลูกฝังค่านิยมการสร้างเสริมสุขภาพ ช่วยให้เกิดการพัฒนาอัตลักษณ์ของนักศึกษา ในส่วน ความมีจิตอาสา (Service Mind) การคิดวิเคราะห์ (Analytical Thinking) การมีส่วนร่วม (Participation) 5.2.2-4-3 หลักฐาน/ชิ้นงาน ที่สะท้อนให้เห็นว่า การดาเนินงาน ปลูกฝังค่านิยมการสร้างเสริมสุขภาพ ช่วยให้เกิดผลงานวิจัย เรื่อง ผลการนารูปแบบการสอน ตามแนวคิดเศรษฐกิจสร้างสรรค์ไปส่งเสริมการนาภูมิปญ ั ญาไทยไปใช้ในการดูแลสุขภาพ ผู้รับบริการของนิสิตพยาบาล วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นพรัตน์วชิระ 5.2.2-4-4 หลักฐาน/ชิ้นงาน ที่สะท้อนให้เห็นว่า การดาเนินงาน ปลูกฝังค่านิยมการสร้างเสริมสุขภาพ ช่วยให้เกิดผลงานกิจกรรม ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ มีน บุรี 5.2.2-4-5 หลักฐาน/ชิ้นงาน ที่สะท้อนให้เห็นว่า การดาเนินงาน ปลูกฝังค่านิยมการสร้างเสริมสุขภาพ ช่วยให้เกิดการพัฒนาผลงานทานุบารุงศิลปะและ วัฒนธรรม โดยได้รับการยกย่องจาก สปสช. ตัวบ่งชี้

รายการ

เป้า หมาย

ค่าน้​้าหนัก สกอ สมศ วพ

หลักฐาน

งานที่รับผิดชอบ

ผู้รับผิดชอบ

5.2.2-5-1

เกียรติบัตรชมเชยผลงานจิตอาสาสร้างเสริมสุขภาพของ นักศึกษา ที่ได้รับรางวัลชมเชย ของสานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ 5.2.2-5-2 หนังสือขอบคุณและชมเชยจากกรมอนามัย ที่นิสิตมีจิต อาสาช่วยการจัดกิจกรรมเล่านิทานเพื่อสุขภาพสาหรับเด็ก ในงานวันเด็กแห่งชาติ ณ พื้นที่ ควบคุมในพระองค์ 904 5.2.2-5-3 หนังสือแสดงการสนับสนุนการดาเนินงานจากสานักงานกองทุน สนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพแห่งชาติ (สสส.) 5.2.3

ผลการชี้ น้า ป้อ งกัน หรือ แก้ปัญหาสังคมในประเด็น ภายนอก สถาบัน (สมศ.18.2)

3 ข้อ

5.2.3-1-1

บันทึกข้อตกลงร่วมมือทางวิชาการเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และเสริมสร้างความเข็มแข็งของชุมชนในการดูแลสุขภาพผู้ป่วยโรคเรือ้ รัง โดย วพบ.

งานบริการวิชาการ และ Excellent

อ.นิตติยา อ.สิรินันท์

61


นพรัตน์วชิระ ร่วมกับ อบต. และ รพสต. เทพมงคล อ.บางซ้าย จ.พระนครศรีอยุธยา 5.2.3-1-2 แผนงานบริการวิชาการของวิทยาลัย ในปีการศึกษา 2554 5.2.3-1-3 โครงการโปรแกรมสร้ า งสุ ข พฤติ ก รรมสร้ า งได้ ป้ อ งกั น โรคเบาหวานชนิดที่ 2 ในญาติสายตรง 5.2.3-1-4 หลักฐานแสดงการดาเนินการตามแผน การประเมินผลและ นาผลไปปรับปรุงในการดาเนินการในโครงการระยะต่อไป 5.2.3-2-1 สรุปการดาเนินโครงการโปรแกรมสร้างสุข พฤติกรรม สร้างได้ ป้องกันโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ในญาติสาย ส่วนที่แสดงการบรรลุ เป้าหมายตามแผน โดยการประเมินตามตัวบ่งชี้ความสาเร็จของโครงการ 5.2.3-3-1 สรุปการติดตามโครงการโดยการทาสนทนากลุ่ม (Focus group) และการถอดบทเรียน ส่วนที่สะท้อนให้เห็นว่าญาติสายตรง ผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 มีความรู้มากขึ้นในการปฏิบัติตัวเพื่อป้องกัน โรคเบาหวานชนิดที่ 2 โดยรับรู้ระดับความเสี่ยงต่อเบาหวานของตนเองและปรับ พฤติกรรมได้ถูกต้อง 5.2.3-3-2 สรุปการติดตามโครงการโดยการทาสนทนากลุ่ม (Focus group) และการถอดบทเรียน ส่วนที่สะท้อนให้เห็นว่าญาติสายตรง ผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 และประชาชนทั่วไป ได้รับคาแนะนาเกี่ยวกับการ ปฏิบัติตนที่ถูกต้องเพื่อป้องกันโรคเรื้อรัง จากนักศึกษาและอาจารย์ ที่ได้สรุป แนวทางในการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคเรื้อรังในชุมชนและจัดทาเป็น

ประเด็นพิจารณา 1. มีการดาเนินงานตามวงจรคุณภาพ (PDCA) 2. บรรลุเป้าหมายตามแผนไม่ต่ากว่าร้อยละ 80 3. มีประโยชน์และสร้างคุณค่าต่อคนในชุมชน 4. มีผลกระทบที่เกิดประโยชน์และสร้างคุณค่าต่อชุมชนและสังคม 5. ได้รับยกย่องระดับชาติและ/หรือนานาชาติ

ตัวบ่งชี้

รายการ

เป้า หมาย

ค่าน้​้าหนัก สกอ สมศ วพ

หลักฐาน

Center

งานที่รับผิดชอบ

ดร.อัญชลีพร อ.สุรัตนา

ผู้รับผิดชอบ

คู่มือการดูแลสุขภาพเพื่อป้องกันโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ในญาติสายตรง เผยแพร่ ไว้ที่ รพสต. 5.2.3-3-3 สรุปการติดตามโครงการโดยการทาสนทนากลุ่ม (Focus group) และการถอดบทเรียน ส่วนที่สะท้อนให้เห็นว่า อสม. มีความรู้ เกี่ยวกับการปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันเบาหวานชนิดที่ 2 มากขึ้น 5.2.3-3-4 สรุปการติดตามโครงการโดยการทาสนทนากลุ่ม (Focus group) และการถอดบทเรียน ส่วนที่สะท้อนให้เห็นว่ารพสต. อบต. เข้าใจและตระหนักในความสาคัญในการดูแลสุขภาพของประชาชนในกลุ่มเสี่ยง ต่อโรคเรื้องรังเพื่อลดอัตราอุบัติการณ์ และค่าใช้จ่ายในการรักษา โดย อบต. ให้ เงินสนับสนุนการจัดทาแผนพัฒนา 3 ปี 2555-2557 ตามยุทธศาสตร์ที่ 2 การ พัฒนาด้านการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิต ของ อบต. 5.2.3-4-1 สรุปการติดตามโครงการโดยการทาสนทนากลุ่ม (Focus group) และการถอดบทเรียน ส่วนที่สะท้อนให้เห็นผลกระทบที่เกิด ประโยชน์และสร้างคุณค่าต่อชุมชนและสังคมโดยการลดความเสี่ยงในการเป็น ผู้ป่วยโรคเรื้อรังของญาติสายตรงผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 และประชาชนทั่วไป เพราะมีความรู้ ความเข้าใจ สามารถปฏิบัติตัว รับรู้ระดับความเสี่ยง และปรับ

62


พฤติกรรมให้ถูกต้องต่อการป้องกันโรคเบาหวานชนิดที่ 2 5.2.3-4-2 สรุปการติดตามโครงการโดยการทาสนทนากลุ่ม (Focus group) และการถอดบทเรียน ส่วนที่สะท้อนให้เห็นผลกระทบที่เกิด ประโยชน์และสร้างคุณค่าต่อชุมชนและสังคมโดยญาติสายตรงผู้ป่วยเบาหวาน ชนิดที่ 2 และประชาชนทั่วไป ได้รับการส่งเสริมและป้องกันสุขภาพ เพื่อลด ความเสี่ยงในการเป็นผู้ป่วยโรคเรื้อรัง เพราะ รพสต.เทพมงคลได้รับการ สนับสนุนการจัดทาโครงการดูแลสุขภาพประชาชน ตามแผนพัฒนา 3 ปี 25552557 ยุทธศาสตร์ที่ 2 การพัฒนาด้านการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิต ของ อบต. 5.2.3-4-3 สรุปการติดตามโครงการโดยการทาสนทนากลุ่ม (Focus group) และการถอดบทเรียน ส่วนที่สะท้อนให้เห็นผลกระทบที่เกิด

ตัวบ่งชี้

รายการ

เป้า หมาย

สกอ

ค่าน้​้าหนัก สมศ วพ

หลักฐาน

งานที่รับผิดชอบ

ผู้รับผิดชอบ

ประโยชน์และสร้างคุณค่าต่อชุมชนและสังคมโดยรพสต อสม อบต เทพมงคล ร่วมกับวิทยาลัยในการเรียนรู้ และตกผลึกแนวทางการดูแลญาติสายตรงผู้ป่วย เบาหวานชนิดที่ 2 และประชาชนทั่วไป เป็นคู่มือการดูแลตนเองเพื่อป้องกัน โรคเบาหวานชนิดที่ 2 ในญาติสายตรง แจกให้กับประชาชนในชุมชน เพื่อให้ ประชาชนในชุมชนมีพฤติกรรมที่ถูกต้องในป้องกันโรคเบาหวาน ตลอดจนลด ค่าใช้จ่ายในการรักษาในอนาคต 5.2.3-4-4 หลักฐานที่สะท้อนให้เห็นการดาเนินงานที่คงรักษาจุด แข็งที่ชุมชนมีมาอย่างต่อเนื่อง ในประเด็น ประชาชนเป็นผู้ที่สนใจ ใฝ่เรียนรู้ เสียสละและรู้สึกถึงความเป็นหน้าที่ในการให้ความร่วมมือในการเสนอความเห็น ร่วมดาเนินงาน ร่วมติดตามผลงาน และร่วมปรับปรุงแก้ไข 5.2.3-4-5 ร่องรอยหลักฐานที่สะท้อนให้เห็นการดาเนินงานที่คง รักษาจุดแข็งที่ชุมชนมีมาอย่างต่อเนื่อง ในประเด็น การใช้ประโยชน์จากความ หลากหลายของอาหารและผักพื้นบ้าน เช่น ผักบุ้ง กวางตุ้ง กะเฉด ผักสวนครัว ที่อยู่ในชุมชน โดยจัดสัดส่วนอาหารให้สมดุลกับพลังงานที่ใช้ในชีวิตประจาวัน 5.2.3-4-6 หลักฐานที่สะท้อนให้เห็นการดาเนินงานที่คงรักษาจุด แข็งที่ชุมชนมีมาอย่างต่อเนื่อง ในประเด็น ประชาชนในชุมชนยังคงการมี พฤติกรรมสุขภาพที่ดี เช่น มีชมรมผู้สูงอายุที่รวมกลุ่มกันออกกาลังกาย 5.2.3-4-7 ร่องรอยหลักฐานที่สะท้อนให้เห็นการดาเนินงานที่คง รักษาจุดแข็งที่ชุมชนมีมาอย่างต่อเนื่อง ในประเด็น ประชาชนยังคงการรวมตัว เป็นกลุ่มที่เป็นประโยชน์ต่อชุมชน เช่น กลุ่มนวดแผนโบราณ กลุ่มแม่บ้าน เกษตรกร

63


5.2.3-4-8 หลักฐานที่สะท้อนให้เห็นการดาเนินงานที่คงรักษาจุด แข็งที่ชุมชนมีมาอย่างต่อเนื่อง ในประเด็น แหล่งประโยชน์ของชุมชน ได้แก่ วัด โรงเรียน ยังคงให้การสนับสนุนอย่างต่อเนื่อง ในทุกๆ เรื่อง 5.2.3-4-9 หลักฐานที่สะท้อนให้เห็นการดาเนินงานที่คงรักษาจุด แข็งที่ชุมชนมีมาอย่างต่อเนื่อง ในประเด็น เครือข่ายการดูแลสุขภาพยังคงรักษา ความเข้มแข็ง ความใกล้ชิด และการทางานโดยการประสานงานที่ดีต่อกัน ทั้ง รพสต อสม อบตกานัน ผู้ใหญ่บ้าน 5.2.3-4-10 หลักฐานที่สะท้อนให้เห็นการดาเนินงานที่คงรักษาจุด แข็งที่ชุมชนมีมาอย่างต่อเนื่อง ในประเด็น การรักษาการเห็นความสาคัญของ อบต ในการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุและการป้องกันโรคเรื้อรัง

ตัวบ่งชี้

รายการ

องค์ประกอบที่ 6 การท้านุบ้ารุงศิลปะและวัฒนธรรม 6.1 ระบบและกลไกการท้านุบ้ารุงศิลปะและวัฒนธรรม (สกอ. 6.1) เกณฑ์มาตรฐาน : 1. มีระบบและกลไกการทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรม และดาเนินการ ตามระบบที่กาหนด 2. มีการบูรณาการงานด้านทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรมกับการ จัดการเรียนการสอนและกิจกรรมนักศึกษา 3. มีการเผยแพร่กจิ กรรมหรือการบริการด้านทานุบารุงศิลปะและ วัฒนธรรมต่อสาธารณชน 4. มีการประเมินผลความสาเร็จของการบูรณาการงานด้านทานุบารุง ศิลปะและวัฒนธรรมกับการจัดการเรียนการสอนและกิจกรรมนักศึกษา 5. มีการนาผลการประเมินไปปรับปรุงการบูรณาการงานด้านทานุบารุง ศิลปะและวัฒนธรรมกับการจัดการเรียนการสอนและกิจกรรมนักศึกษา 6. มีการกาหนดหรือสร้างมาตรฐานคุณภาพด้านศิลปะและวัฒนธรรม และมีผลงานเป็นที่ยอมรับในระดับชาติ

เป้า หมาย 3 ข้อ

ค่าน้​้าหนัก สกอ สมศ วพ 1

1

หลักฐาน 6.1-1-1.1 หลักฐานแสดงการวางแผนดาเนินงานพันธกิจการทานุบารุง ศิลปะและวัฒนธรรม 1. การให้บุคลากรมีสว่ นร่วมกาหนด กลยุทธ์ที่ 1.1 สร้างและพัฒนานักศึกษาให้มี คุณภาพและอัตลักษณ์ที่พึงประสงค์ คงไว้ซงึ่ วัฒนธรรมไทย ในหน้า 25 เล่มแผน ยุทธศาสตร์ ประจาปีงบประมาณ 2554-2558 2. บันทึกการประชุมคณะกรรมการบริหาร วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีนพรัตน์ วชิระ ครั้งที่ 3/2554 วันที่ 4 สิงหาคม 2554 เรื่อง พิจารณาจัดทาแผนโครงการกิจการ นิสิต พัฒนาอัตลักษณ์นิสิตและงานทานุบารุงศิลปวัฒนธรรม 3. กระบวนการทางานตามที่แสดงในคู่มือคุณภาพการทานุบารุงศิลปและ วัฒนธรรม 4. ข้อเสนอแนะจากที่ประชุมคณะกรรมการทานุบารุงศิลปวัฒนธรรมและกิจการนิสิต ครั้งที่ 3/2554 วันที่ 28 เมษายน 2554 เรื่อง การปรับปรุงแผนงานโครงการทานุ บารุงศิลปวัฒนธรรมและกิจการนิสิต ในปีการศึกษา 2554 5. นโยบายการทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรมเป็นลายลักษณ์อกั ษร 6.1-1-1.2 หลักฐานแสดงการดาเนินงานระบบที่กาหนด 1. คาสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรม 2. คู่มือคุณภาพการทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรม 3. โครงการส่งเสริมประเพณีศิลปะและวัฒนธรรม 6.1-1-1.3.1 ผลการประเมิน การดาเนินงาน ในระดับโครงการ 6.1-1-1.3.2 ผลการประเมิน การดาเนินงาน ในระดับแผนงาน ที่ สะท้อนการประเมินผลตาม 6 ตัวชี้วัด 6.1-1-1.4 หลักฐานแสดงกลไกขับเคลื่อนการดาเนินงาน 1. การจัดสรรทรัพยากร การจัดองคการ หน่วยงาน หรือกลุ่มบุคคลเป็นผู้

งานที่รับผิดชอบ กลุ่มงานกิจการ นิสิต

ผู้รับผิดชอบ ดร.สุชีวา อ.กรพินธุ์ อ.เกตุนรินทร์ อ.อาทิตยา คุณขนิษฐา

64


ดาเนินงาน

ตัวบ่งชี้

รายการ

เป้า หมาย

สกอ

ค่าน้​้าหนัก สมศ วพ

หลักฐาน

งานที่รับผิดชอบ

ผู้รับผิดชอบ

2. โครงการ/กิจกรรมศิลปะและวัฒนธรรม ในแผนปฏิบัติการประจาปี งบประมาณ 2554 3. โครงการ/กิจกรรมศิลปะและวัฒนธรรม ในแผนปฏิบัติการประจาปี งบประมาณ 2555 4. นโยบายของงานทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรม 5. คาสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการงานทานุบารุงศิลปวัฒนธรรม 6.1-2-1 หลักฐานแสดงการบูรณาการงานด้านทานุบารุงศิลปะ และวัฒนธรรมกับการจัดการเรียนการสอนและกิจกรรมนิสิต 1. โครงการ และสรุปโครงการส่งเสริมเอกลักษณ์ไทย 2. มคอ3 และ มคอ5 สาหรับการจัดการเรียนการสอนในรายวิชา ล.1006 ภูมิปัญญา ไทยกับการดูแลสุขภาพ 3. โครงการ และสรุปโครงการสายสัมพันธ์ส่งเสริมสุขภาพ ที่นาความรู้เรื่องการ นวด คอ บ่า ไหล่ ใช้ในการนวดผ่อนคลายให้กบั พี่และเพือ่ นในวิทยาลัย 6.1-3-1 หลักฐานแสดงการเผยแพร่กิจกรรมหรือการบริการด้าน ทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรมต่อสาธารณชน 1. การนาดนตรีไทยไปแสดงในวันเด็กแห่งชาติ พื้นที่ควบคุมในพระองค์ 904 ประจาปี 2555 2. http://www.bcnnv.ac.th 2. การประยุกต์ใช้ท่าราฟ้อนเจิงมาใช้ในการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ 3. STUDENT Art and Culture Exchange between Thailand and Indonesia 6.1-4 รายงานสรุปผลการดาเนินงานวิชาภูมปิ ญ ั ญาไทยกับการ ดูแลสุขภาพและโครงการสายสัมพันธ์ส่งเสริมสุขภาพ 6.1-4-1 ผลการประเมินผลการบรรลุเป้าหมาย ตามตัวชี้วัดที่ 1 6.1-4-2 ผลการประเมินผลการบรรลุเป้าหมาย ตามตัวชี้วัดที่ 2 6.1-4-3 ผลการประเมินผลการบรรลุเป้าหมาย ตามตัวชี้วัดที่ 3 6.1-4-4 ผลการประเมินผลการบรรลุเป้าหมาย ตามตัวชี้วัดที่ 4

65


ตัวบ่งชี้

รายการ

เป้า หมาย

ค่าน้​้าหนัก สกอ สมศ วพ

หลักฐาน

งานที่รับผิดชอบ

6.1-4-5 6.1-4-6 6.1-5-1

6.1.1

ตัวบ่งชี้

การส่งเสริมและสนับสนุนด้านศิลปะและวัฒนธรรม (สมศ. 10) ประเด็นการพิจารณา 1. มีการดาเนินงานตามวงจรคุณภาพ (PDCA) 2. บรรลุเป้าหมายตามแผนประจาปีไม่ต่ากว่าร้อยละ 80 3. มีการดาเนินงานสม่าเสมออย่างต่อเนื่อง 4. เกิดประโยชน์และสร้างคุณค่าต่อชุมชนภายใน/ภายนอก 5. ได้รับการยกย่องระดับชาติ และ/หรือนานาชาติ

รายการ

3 ข้อ

เป้า หมาย

5

5

ค่าน้​้าหนัก สกอ สมศ วพ

ผลการประเมินผลการบรรลุเป้าหมาย ตามตัวชี้วัดที่ 5 ผลการประเมินผลการบรรลุเป้าหมาย ตามตัวชี้วัดที่ 6 รายงานการประชุมคณะกรรมการทานุบารุง ศิลปวัฒนธรรม.ครั้งที่ 3/2554 วันที่ 28 เมษายน 2554 เรื่อง การปรับปรุง แผนงานโครงการทานุบารุงศิลปวัฒนธรรมและกิจการนิสิต ในปีการศึกษา 2554 6.1-5-2 โครงการออกกาลังกายเพื่อส่งเสริมสุขภาพ/ฟ้อนเจิง สุขภาพ 6.1.1-1-1 แผนการส่งเสริมและสนับสนุนด้านศิลปะและวัฒนธรรม งานพัฒนานิสิต และทานุบารุง 1. กลยุทธ์ที่ 1.1 สร้างและพัฒนานักศึกษาให้มีคุณภาพและอัตลักษณ์ที่พึง ศิลปวัฒนธรรม ประสงค์ คงไว้ซึ่งวัฒนธรรมไทย ในหน้า 25 เล่มแผนยุทธศาสตร์ ประจาปี งบประมาณ 2554-2558 2. บันทึกการประชุมคณะกรรมการบริหาร วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นพรัตน์วชิระ ครั้งที่ 3/2554 วันที่ 4 สิงหาคม 2554 เรื่อง พิจารณาจัดทา แผนโครงการกิจการนิสิต พัฒนาอัตลักษณ์นิสิตและงานทานุบารุง ศิลปะวัฒนธรรม 3. โครงการส่งเสริมประเพณีและศิลปะและวัฒนธรรม ในเล่มแผนปฏิบัติการ ประจาปีงบประมาณ 2554 4. โครงการเอกลักษณ์ไทย ในเล่มแผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ 2555 5. นโยบายของงานทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรม 6. คาสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการงานทานุบารุงศิลปวัฒนธรรม 7. กระบวนการทางาน ตามที่แสดงในคู่มือคุณภาพการทานุบารุงศิลปะและ วัฒนธรรม หน้าที่ 3 8. ข้อเสนอแนะจากที่ประชุมคณะกรรมการทานุบารุงศิลปวัฒนธรรมและกิจการ นิสิต ครั้งที่ 3/2554 วันที่ 28 เมษายน 2554 เรื่อง การปรับปรุงแผนงาน โครงการทานุบารุงศิลปวัฒนธรรมและกิจการนิสิต ในปีการศึกษา 2554 งานที่รับผิดชอบ หลักฐาน

ผู้รับผิดชอบ

6.1.1-1-2 6.1.1-1-3.1 6.1.1-1-3.2

ดร.สุชีวา อ.กรพินธุ์ อ.เกตุนรินทร์ อ.แคทรียา คุณขนิษฐา

ผู้รับผิดชอบ

คู่มือคุณภาพการทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรม ผลการประเมินระดับโครงการ ผลการประเมินระดับแผนงาน

66


6.1.1-1-4 6.1.1-2-1 6.1.1-2-2 6.1.1-2-3 6.1.1-2-4 6.1.1.2-5 6.1.1-3-1

ผลการประเมินโครงการสายสัมพันธ์ส่งเสริมสุขภาพ ผลการประเมินบรรลุเป้าหมาย ตามตัวชี้วัดที่ 1 ผลการประเมินบรรลุเป้าหมาย ตามตัวชี้วัดที่ 2 ผลการประเมินบรรลุเป้าหมาย ตามตัวชี้วัดที่ 3 ผลการประเมินบรรลุเป้าหมาย ตามตัวชี้วัดที่ 4 ผลการประเมินบรรลุเป้าหมาย ตามตัวชี้วัดที่ 5 โครงการส่งเสริมประเพณีและศิลปวัฒนธรรม เช่น นพรัตน์วชิระการไหว้ครู เกษตรศาสตร์ไหว้ครู ไหว้ครูชีวกโกมารภัจ 6.1.1-3-2 ภาพถ่ายกิจกรรมเสริมสร้างให้นิสิต และบุคลากรพัฒนา วิถีชีวิต และจิตใจที่ดี จาก เวบไซด์ www.bcnnv.ac.th 6.1.1-3-3 ภาพถ่ายการกิจกรรมให้นิสิตและบุคลากรมีจิตอาสา เป็นแบบอย่างที่น่าศรัทธา และเป็นที่ยอมรับของชุมชน สังคม เช่น การอาสา ช่วยจัดกิจกรรม ในงานวันเด็กแห่งชาติ ณ พื้นที่ควบคุมในพระองค์ ๙๐๔ การ อาสาสมัครร่วมปลูกต้นไม้ ณ ลานธรรม โรงพยาบาลนพรัตนราชธานี ในวันพืช มงคล จาก เวบไซด์ www.bcnnv.ac.th 6.1.1-3-4 หนังสือขอบคุณ จาก ศูนย์บริการสาธารณสุข 43 มีนบุรี ในการส่งเสริมสุขภาพประยุกต์ใช้ท่าราฟ้อนเจิง และเอกสารรับรองการใช้ ประโยชน์ของผลงานวิจัยการส่งเสริมป้องกันอันตรายจากสารเคมีกาจัดศัตรูพืช โดยใช้รางจืดในกลุ่มของเกษตรกร ฯ 6.1.1-4-1 ภาพถ่ายกิจกรรมการพัฒนานิสิตชั้นปี 2-4 (รุ่น 112110) และการก่อให้เกิดการอาสาช่วยจัดกิจกรรมเล่านิทานเพื่อสุขภาพสาหรับ เด็ก และการแสดงดนตรีไทย ในงานวันเด็กแห่งชาติ ณ พื้นที่ควบคุมในพระองค์ ๙๐๔ และการสืบสาน ทานุบารุงศิลปวัฒนธรรมไทย เวบไซด์วิทยาลัย ตัวบ่งชี้

รายการ

เป้า หมาย

ค่าน้​้าหนัก สกอ สมศ วพ

หลักฐาน

งานที่รับผิดชอบ

ผู้รับผิดชอบ

www.bcnnv.ac.th และหนังสือขอบคุณจากกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข 6.1.1-4-2 ภาพถ่ายกิจกรรมการเสริมสร้างให้นิสิตประยุกต์ใช้ท่ารา ฟ้อนเจิงมาใช้ในการออกกาลังกาย สามารถนามาใช้ส่งเสริมสุขภาพภายใน วิทยาลัย เวบไซด์ www.bcnnv.ac.th และหนังสือขอบคุณจากศูนย์ สาธารณสุข43 มีนบุรี 6.1.1-4-3 รางวัลจากการประกวดการส่งเสริมให้นักศึกษาพัฒนา วิถีชีวิต และจิตใจที่ดีงาม เช่น มารยาทไทย ศิลปะและการแสดง ฯ 6.1.1-4-4 หอประวัติศาสตร์การศึกษาการผดุงครรภ์ครรภ์แห่งแรก

67


ของประเทศไทย อาคาร 2 ชั้น 7 เวบไซด์ของวิทยาลัย ww.bcnnv.ac.th 6.1.1-4-5 หอพระพุทธชินสีห์ และพระรูปสมเด็จย่า 6.1.1-4-6 โครงการส่งเสริมสุขภาพประชาชนโดยใช้ภูมิปัญญาไทย (บริการนวดแผนไทย) 6.1.1-5-1 เกียรติบัตรรางวัลชมเชย ของสานักงานหลักประกัน สุขภาพแห่งชาติ ในการประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง สู่ความเป็นเลิศทาง วิชาการของนิสิตนักศึกษา : เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้และนาเสนอผลงาน ที่มอบ ให้ผลงานจิตอาสาสร้างเสริมสุขภาพของนักศึกษา ที่ประยุกต์ใช้ท่าราฟ้อนเจิงมา ใช้ในการออกกาลังกาย 6.1.1-5-2 เกียรติบัตรรางวัลรองชนะเลิศการประกวดมารยาทไทย เนื่องในพิธีไหว้ครู ประจาปีการศึกษา 2554 โดยนักศึกษาชั้นปีที่ 1 (รุ่น 113) ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 6.1.1-5-3 เกียรติบัตรรางวัลรองชนะเลิศอันดับ1 จากการประกวด ขบวนอันเชิญพาน โดยนักศึกษาชั้นปีที่ 1-2 (รุ่น 113-112) ณ หาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ 6.1.1-5-4 เกียรติบัตรรางวัลรองชนะเลิศอันดับ2 จากการประกวด พานประเภทสวยงาม โดยนักศึกษาชั้นปีที่ 1 (รุ่น 113) ณ หาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ ตัวบ่งชี้

รายการ

เป้า หมาย

สกอ

ค่าน้​้าหนัก สมศ วพ

หลักฐาน

งานที่รับผิดชอบ

ผู้รับผิดชอบ

6.1.1-5-5

CERTIFICATE OF APPRECIATION certifies STUDENT EXCHANGE OF BCN NOPARAT VAJIRA 2011 for appreciation of Art and Culture Exchange between Thailand and Indonesia 6.1.2

การพัฒนาสุนทรียภาพในมิติทางศิลปะและวัฒนธรรม (สมศ. 11) ประเด็นการพิจารณา 1. การมีส่วนร่วมของบุคลากรในสถาบันที่ก่อให้เกิดวัฒนธรรมที่ดี 2. สิ่งแวดล้อมและความปลอดภัยของอาคารสถานที่ สะอาด ถูกสุข ลักษณ์และตกแต่งอย่างมีความสุนทรีย์ 3. ปรับแต่งและรักษาภูมิทัศน์ให้สวยงาม สอดคล้องกับธรรมชาติ และ เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 4. การจัดให้มีพื้นที่และกิจกรรมทางวัฒนธรรมที่เอื้อและส่งเสริมให้ นักศึกษาและบุคลากรมีส่วนร่วมอย่างสม่าเสมอ

3 ข้อ

5

5

6.1.2-1-1

ภาพถ่ายการส่งเสริมให้นิสิต และบุคลากร ร่วมสืบสาน การส่งเสริมประเพณีและศิลปวัฒนธรรม ในเวบไซด์วิทยาลัย www.bcnnv.ac.th สโมสรนิสิต เราคือ.....นพรัตน์วชิระ 6.1.2-1-2 ภาพถ่ายการส่งเสริมให้นิสิต และบุคลากร ร่วมสืบสาน การพัฒนาวิถีชีวิต และจิตใจที่ดีงาม ในเวบไซด์วิทยาลัย www.bcnnv.ac.th สโมสรนิสิต เราคือ.....นพรัตน์วชิระ 6.1.2-1-3 ภาพถ่ายการส่งเสริมให้นิสิต และบุคลากร ร่วมสืบสาน การมีจิตอาสา เป็นแบบอย่างที่น่าศรัทธา และเป็นทีย่ อมรับของชุมชน สังคม

งานพัฒนานิสิต และทานุบารุง ศิลปวัฒนธรรม

ดร.สุชีวา อ.กรพินธุ์ อ.เกตุนรินทร์ อ.แคทรียา คุณขนิษฐา

68


ในเวบไซด์วิทยาลัย www.bcnnv.ac.th 6.1.2-1-4 ภาพถ่ายการส่งเสริมให้นิสิต และบุคลากร ร่วมสืบสาน การเห็นถึงความสาคัญ คุณค่าของวัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย รวมทั้ง นามา ประยุกต์ใช้ให้เป็นประโยชน์ต่อชุมชนภายนอก ในเวบไซด์วิทยาลัย www.bcnnv.ac.th และหนังสือขอบคุณจากศูนย์บริการสาธารณสุข 43 มีนบุรี 6.1.2-2-1 ภาพถ่ายการดูแลรักษาความสะอาดอาคาร สถานที่ จัดแต่งระเบียงทางเดิน ผนังทางขึ้นอาคารเรียน 1 ตกแต่งห้องในอาคารด้วย ต้นไม้ ดอกไม้ และบริการให้มีเจลทาความสะอาดมือ ในเวบไซด์วิทยาลัย www.bcnnv.ac.th สโมสรนิสิต เราคือ.....นพรัตน์วชิระ 6.1.2-2-2 ภาพถ่ายการจัดให้บริการโรงอาหาร และห้องออกกาลัง กาย ร่วมกับโรงพยาบาลนพรัตน ราชธานี ซึ่งอยู่ในรั้วเดียวกัน รวมทั้ง การจัดให้ มีเครื่องและอุปกรณ์ออกกาลังกายในร่ม ณ อาคารหอพัก และการส่งเสริม

5. ระดับความพึงพอใจของบุคลากรและนักศึกษา ไม่ต่ากว่า 3.51 จาก คะแนนเต็ม 5

ตัวบ่งชี้

รายการ

เป้า หมาย

สกอ

ค่าน้​้าหนัก สมศ วพ

หลักฐาน

งานที่รับผิดชอบ

ผู้รับผิดชอบ

นักศึกษามีแผนการออกกาลังเพื่อสุขภาพอย่างสม่าเสมอ ในเวบไซด์วิทยาลัย www.bcnnv.ac.th สโมสรนิสิต เราคือ.....นพรัตน์วชิระ 6.1.2-2-3 เอกสารการจัดซื้อจัดจ้างยามรักษาความปลอดภัย อุปกรณ์ป้องกันอัคคีภัย กล้องวงจรปิด ระบบคีย์การ์ดเข้าออกอาคารหอพัก 6.1.2-2-4 ภาพถ่ายการตกแต่งอย่างมีความสุนทรีย์ โดยมุ่ง ก่อให้เกิดวัฒนธรรมที่ดี จากการมีส่วนร่วมของนิสติ และบุคลากร ในเวบไซด์ วิทยาลัย www.bcnnv.ac.th สโมสรนิสิต เราคือ.....นพรัตน์วชิระ 6.1.2-3-1 ภาพถ่ายการแต่งภูมทิ ัศน์บริเวณโดยรอบวิทยาลัย ในเวบไซด์วิทยาลัย www.bcnnv.ac.th สโมสรนิสิต เราคือ.....นพรัตน์วชิระ 6.1.2-3-2 ภาพถ่ายการทาน้าหมักชีวภาพ 6.1.2-3-3 ภาพถ่ายการจัดให้มีระบบการกาจัดของเสีย การกาจัด ขยะ รวมทั้ง มีการรณรงค์คัดแยกขยะ 6.1.2-4-1 ประกาศการใช้พนื้ ทีทางวัฒนธรรม และภาพถ่ายการใช้ ลาน นพรัตน์วชิระรมณีย์ ในเวบไซด์วิทยาลัย www.bcnnv.ac.th สโมสรนิสิต เราคือ....นพรัตน์วชิระ 6.1.2-4-2 ภาพถ่ายหอประวัติศาสตร์การพยาบาลและผดุงครรภ์ ในเวบไซด์วิทยาลัย www.bcnnv.ac.th 6.1.2-4-3 ภาพถ่ายหอพระพุทธชินสีห์ และพระรูปสมเด็จย่า

69


ในเวบไซด์ของวิทยาลัย www.bcnnv.ac.th สโมสรนิสติ เราคือ.....นพรัตน์ วชิระ 6.1.2-4-4 ห้องบริการนวดแผนไทย ในเวบไซด์ วิทยาลัย www.bcnnv.ac.th สโมสรนิสิต เราคือ.....นพรัตน์วชิระ 6.1.2-4-5 ภาพถ่ายห้องดนตรีไทย ในเวบไซด์วิทยาลัย www.bcnnv.ac.th สโมสรนิสิต เราคือ.....นพรัตน์วชิระ 6.1.2-4-6 ภาพถ่ายห้องประชุมราชพฤกษ์ ในเวบไซด์วทิ ยาลัย www.bcnnv.ac.th สโมสรนิสิต เราคือ.....นพรัตน์วชิระ 6.1.2-5-1 สรุปผลการประเมินระดับความพึงพอใจของบุคลากร และนิสติ ที่เกี่ยวกับประเด็น 1-4

ตัวบ่งชี้

รายการ

เป้า หมาย

องค์ประกอบที่ 7 การบริหารและการจัดการ 7.1 ภาวะผู้น้าของสภาสถาบันและผู้บริหารทุกระดับของสถาบัน 5 ข้อ (สกอ. 7.1) เกณฑ์มาตรฐาน : 1. สภาสถาบันปฏิบัติหน้าที่ตามที่กฎหมายกาหนดครบถ้วนและมีการ ประเมินตนเองตามหลักเกณฑ์ที่กาหนดล่วงหน้า 2. ผู้บริหารมีวิสยั ทัศน์ กาหนดทิศทางการดาเนินงาน และสามารถ ถ่ายทอดไปยังบุคลากรทุกระดับ มีความสามารถในการวางแผนกลยุทธ์ มีการนาข้อมูลสารสนเทศเป็นฐานในการปฏิบัติงานและพัฒนาสถาบัน 3. ผู้บริหารมีการกากับ ติดตามและประเมินผลการดาเนินงานตามที่ มอบหมาย รวมทั้งสามารถสื่อสารแผนและผลการดาเนินงานของสถาบัน ไปยังบุคลากรในสถาบัน 4. ผู้บริหารสนับสนุนให้บุคลากรในสถาบันมีส่วนร่วมในการบริหาร จัดการ ให้อานาจในการตัดสินใจแก่บุคลากรตามความเหมาะสม 5. ผู้บริหารถ่ายทอดความรู้ และส่งเสริมพัฒนาผู้ ร่วมงาน เพื่อให้ สามารถทางานบรรลุวัตถุประสงค์ของสถาบันเต็มตามศักยภาพ 6. ผู้บริหารบริหารงานด้วยหลักธรรมาภิบาล โดยคานึงถึงประโยชน์ ของสถาบันและผู้มีสว่ นได้ส่วนเสีย 7. สภาสถาบันประเมินผลการบริหารงานของสถาบันและผู้บริหารนาผล การประเมินไปปรับปรุงการบริหารงานอย่างเป็นรูปธรรม

ค่าน้​้าหนัก สกอ 1

สมศ

วพ 1

หลักฐาน

งานที่รับผิดชอบ

7.1-1-1 คาสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการบริหารวิทยาลัย กลุ่มงาน 7.1-1-2 ระเบี ย บสถาบั น พระบรมราชชนก ว่ า ด้ ว ยการจั ด อานวยการ การศึกษาของสถานศึกษาในสังกัด พ.ศ. 2552 (ฉบับปรับปรุง) 7.1-1-3 พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 7.1-1-4 รายงานการประชุมคณะกรรมการบริหารวิทยาลัย เรื่อง การปฏิบั ติ งานตามระเบี ย บสถาบั นพระบรมราชชนก และพระราชบั ญ ญั ติ ระเบียบข้าราชการพลเรือน 7.1-1-5 แบบประเมินตนเองของคณะกรรมการบริหารวิทยาลัย 7.1-1-6 ผลการประเมิ น ตนเองของคณะกรรมการบริ ห าร วิทยาลัย 7.1-2-1 แผนยุ ท ธศาสตร์ วิ ท ยาลั ย พยาบาลบรมราชชนนี นพรัตน์วชิระ พ.ศ. 2554-2558 7.1-2-2 รายงานการประชุมคณะกรรมการบริหารวิทยาลัย เรื่อง ทบทวนแผนยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติการของวิทยาลัย พ.ศ. 25542558 7.1-2-3 แผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ 2554 7.1-2-4 รายงานการประชุ ม วิท ยาลั ย เรื่ อ ง แผนยุ ท ธศาสตร์ วิสัยทัศน์ ปรัชญา พันธกิจ ของวิทยาลัย และการมอบหมายการรับผิดชอบ ตัวชี้วัด 7.1-2-5 ฐานข้อมูลสารสนเทศ (http://www.bcnnv.ac.th/) 7.1-3-1 แผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ 2554 (7.1-2-3) 7.1-3-2 รายงานการประชุมคณะกรรมการบริหารวิทยาลัย เรื่อง การติดตามผลการดาเนินงานของแผนปฏิบัติการ ประจาปีงบประมาณ 2554

ผู้รับผิดชอบ อ.ทิวาวัน คุณวินิจ คุณชตาทิพย์

70


7.1-3-3.1 รายงานการประชุมคณะกรรมการบริหารวิทยาลัย เรื่อง การรายงานผลการดาเนินงานของแผนปฏิบัติการ ประจาปีงบประมาณ 2554 7.1-4-1 คาสั่งแต่งตั้งผู้รักษาการในตาแหน่งผู้อานวยการวิทยาลัย 7.1-4-2 โครงสร้างการบริหารงานวิทยาลัยฯ ตัวบ่งชี้

รายการ

เป้า หมาย

ค่าน้​้าหนัก สกอ สมศ วพ

หลักฐาน

งานที่รับผิดชอบ

ผู้รับผิดชอบ

7.1-4-3 คาสั่งแต่งตั้งผู้รับผิดชอบงานกลุ่มงานอานวยการ 7.1-5-1 รายงานการประชุมคณะกรรมการบริหารวิทยาลัยเรื่อง ศูนย์ความเป็นเลิศ 7.1-5-2 แผนพัฒนาบุคลากร ปีงบประมาณ 2554 7.1-5-3 รายงานผลการพัฒนาบุ คลากรปี งบประมาณ และปี การศึกษา 2554 7.1-6-1 เอกสารเรื่องหลักธรรมาภิบาล 7.1.6-2 แผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ 2554 (7.1-2-3) 7.1-6-3 รายงานการประชุมคณะกรรมการบริหารวิทยาลัย เรื่อง การติดตามผลการดาเนินงานของแผนปฏิบัติการ ประจาปีงบประมาณ 2554 (7.1-3-2) 7.1-6-4 ฐานข้อมูลสารสนเทศ (http://www.bcnnv.ac.th/) 7.1-6-5 โครงการส ารวจความต้ อ งการของชุ ม ชนเพื่ อ จั ด ท า แผนการบริการวิชาการ 7.1-6-6 รายงานการประเมินตนเอง ประจาปีงบประมาณ และปี การศึกษา 2554 7.1-6-7 ฐานข้อมูลสารสนเทศ (http://www.bcnnv.ac.th/) 7.1-6-8 หนังสือราชการ เรื่อง ขอแจ้งกาหนดการเข้าปฏิบัติงาน ตรวจสอบภายใน ประจาปี งบประมาณ พ.ศ. 2554 7.1-6-9 โครงการการเตรียมความพร้อมของวิชาชีพสู่ประชาคม อาเซียน 7.1-6-10 คาสั่งแต่งตั้งข้าราชการให้ดารงตาแหน่งรองผู้อานวยการ รักษาการแทนผู้อานวยการ 7.1-6-11 ค าสั่ ง แต่ ง ตั้ ง คณะกรรมการงานด้ า นท านุ บ ารุ ง ศิลปวัฒนธรรมและกลุ่มกิจการนิสิต 7.1-6-12 ระเบี ย บสถาบั น พระบรมราชชนก ว่ า ด้ ว ยการจั ด การศึกษาของสถานศึกษาในสังกัดพ.ศ. 2552 (ฉบับปรับปรุง) (7.1-1-2) 7.1-6-13 หลักเกณฑ์การให้ทุนงานวิจัย 7.1-6-14 รายงานการประชุมคณะกรรมการบริหารวิทยาลัย เรื่อง พิจารณาผู้ที่ได้รับผลกระทบจากภาวะอุทกภัย

71


ตัวบ่งชี้

รายการ

เป้า หมาย

ค่าน้​้าหนัก สกอ สมศ วพ

หลักฐาน 7.1-6-15

7.1.1

ตัวบ่งชี้ 7.2

การปฏิบัตติ ามบทบาทหน้าที่ของผู้บริหารสถาบัน (สมศ. 13) เกณฑ์การให้คะแนน ใช้ค่าคะแนนการประเมินผลผู้บริหารโดยคณะกรรมการที่สภาสถาบัน แต่งตั้ง (คะแนนเต็ม 5)

รายการ การพัฒนาสถาบันสู่สถาบันเรียนรู้ (สกอ. 7.2) เกณฑ์มาตรฐาน 1. มีการกาหนดประเด็นความรูแ้ ละเป้าหมายของการจัดการความรู้ที่

≥3.51

5

5

เป้า หมาย 5 ข้อ

ค่าน้​้าหนัก สกอ สมศ วพ 1 1

งานที่รับผิดชอบ

รายงานการประชุมอาจารย์ เรื่อง การเลือกรองผู้อานวยการ

ฝ่ายวิชาการ 7.1-6-16 รายงานการประชุมอาจารย์ เรื่อง การเชิญอาจารย์มา ช่วยงานอานวยการ) 7.1-7-1 คาสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการวิทยาลัยพยาบาลบรมราช ชนนี นพรัตน์วชิระ 7.1-7-2 รายงานการประชุ ม คณะกรรมการวิ ท ยาลั ย เรื่ อ ง ภารกิจของวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นพรัตน์วชิระ 7.1-7-3 รายงานการประชุ ม คณะกรรมการวิ ท ยาลั ย เรื่ อ ง การ ประเมินผลการบริหารงาน ของวิทยาลัยและผู้บริหาร 7.1-7-4 แบบประเมินการบริหารงานของวิทยาลัยและผู้บริหาร 7.1-7-5 ผ ล ก า ร ป ร ะ เ มิ น ก า ร บ ริ ห า ร ง า น ข อ ง ค ณ ะ กรรมการบริหารและผู้บริหารวิทยาลัยจากคณะกรรมการวิทยาลัย 7.1-7-6 รายงานการประชุมคณะกรรมการบริหารวิทยาลัย ปีการศึกษา 2554 เรื่อง การนาผลการประเมินการบริหารงานของวิทยาลัยและผู้บริหารไป ใช้เพื่อพัฒนา 7.1.1-1 ผลการประเมินการปฏิบัติตามบทบาทหน้าที่ผู้บริหาร กลุ่มงาน สถาบัน ปีการศึกษา 2553 ผลการประเมินการปฏิบัติตามบทบาทหน้าที่ อานวยการ ผู้บริหารสถาบัน ปีการศึกษา 2554

หลักฐาน 7.2-1-1

ผู้รับผิดชอบ

ตัวชี้วัด 1.1.3 ร้อยละของบัณฑิตที่สอลผ่านการขึ้น ทะเบียนเป็นผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล ของสภาการพยาบาล ได้ใน 1 ปี ของกลยุทธ์ที่ 1.1สร้างและพัฒนานักศึกษาให้มีคุณภาพ และอัตลักษณ์ที่พึง

งานที่รับผิดชอบ งานวิจัย ตาราและ การจัดการความรู้

อ.ทิวาวัน คุณวินิจ

ผู้รับผิดชอบ ดร.เบญจมาศ อ.สุกิจ คุณชมพูนุท

72


สอดคล้องกับแผนกลยุทธ์ของสถาบันอย่างน้อยครอบคลุมพันธกิจด้าน การผลิตบัณฑิตและด้านการวิจยั 2. กาหนดบุคลากรกลุ่มเป้าหมายที่จะพัฒนาความรู้และทักษะด้านการ ผลิตบัณฑิตและด้านการวิจัยอย่างชัดเจนตามประเด็นความรู้ที่กาหนดใน ข้อ 1 3. มีการแบ่งปันและแลกเปลีย่ นเรียนรู้ จากความรู้ ทักษะของผู้มี ประสบการณ์ตรง (tacit knowledge) เพื่อค้นหาแนวปฏิบัติที่ดีตาม ประเด็นความรู้ที่กาหนดในข้อ 1 และเผยแพร่ไปสู่บุคลากร กลุ่มเป้าหมายที่กาหนด 4. มีการรวบรวมความรู้ตามประเด็นความรู้ที่กาหนดในข้อ 1 ทั้งที่มี อยู่ในตัวบุคคลและแหล่งเรียนรู้อื่นๆ ทีเ่ ป็นแนวปฏิบัติที่ดีมาพัฒนาและ จัดเก็บอย่างเป็นระบบโดยเผยแพร่ออกมาเป็นลายลักษณ์อักษร (explicit knowledge) 5. มีการนาความรู้ที่ได้จากการจัดการความรู้ ในปีการศึกษาปัจจุบัน หรือปีการศึกษาที่ผ่านมาที่เป็นลายลักษณ์อักษร (explicit knowledge) และจากความรู้ ทักษะของผู้มีประสบการณ์ตรง (tacit knowledge) ที่เป็นแนวปฏิบัติทดี่ ีมาปรับใช้ในการปฏิบัติงานจริง

ตัวบ่งชี้

รายการ

ประสงค์คงไว้ซึ่งวัฒนธรรมไทย ในแผนยุทธศาสตร์ ประจาปีงบประมาณ 2554 -2558 หน้า 25 7.2-1-2 หลักฐานแสดงการกาหนดประเด็นความรู้ เรื่อง การ เตรียมความพร้อมของนิสิตเพื่อสอบขึ้นทะเบียนผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล ของสภาการพยาบาล โดยเป้าหมายคือ มีขั้นตอนในการเตรียมความพร้อมนิสิต เพื่อสอบขึ้นทะเบียนผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล ของสภาการพยาบาล 7.2-1-3 ตัวชี้วัด 3.1.1 จานวนงานวิจัย องค์ความรู้ นวตกรรมที่ นาไปใช้ประโยชน์เพื่อการพัฒนาการจัดการศึกษาด้านพยาบาลศาสตร์ และ ระบบสุขภาพของประเทศ ของกลยุทธ์ที่ 3.1 สนับสนุนการผลิตผลงานวิจัย องค์ความรู้ นวตกรรม ทางด้านสุขภาพในแผนยุทธศาสตร์ ประจาปีงบประมาณ 2554 -2558 หน้า 25 7.2-1-4 หลักฐานแสดงการกาหนดความรู้เรื่องการกาหนด ประเด็นความรู้ เรื่อง การดูแลสุขภาพตนเอง คู่มือการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ไป ใช้กับชมรมผู้สูงอายุศูนย์บริการสาธารณสุขที่ 43 มีนบุรี กรุงเทพมหานคร 7.2-1-5 หลักฐานแสดงการกาหนดประเด็นความรู้เรื่อง การดูแล สุขภาพตนเองสาหรับการดูแลผู้สูงอายุและผู้ดูแล โดยเป้าหมายคือ มีคู่มือการ ดูแลสุขภาพตนเองสาหรับการดูแลผู้สูงอายุและผู้ดูแล เผยแพร่ให้กับชมรม ผู้สูงอายุ และศูนย์บริการสาธารณสุขที่ 43 เขตมีนบุรี กรุงเทพมหานคร 7.2-2-1 หลักฐานแสดงการกาหนดบุคลากรกลุ่มเป้าหมาย สาหรับประเด็นความรู้เรื่อง การเตรียมความพร้อมนักศึกษาเพื่อสอบขึ้น ทะเบียนผู้ประกอบวิชาชีพฯ ของสภาการพยาบาล บุคลากรกลุ่มเป้าหมายที่จะ พัฒนาความรู้และทักษะ อาจารย์ผู้รับผิดชอบ 8 วิชาที่สภาการพยาบาลจัดสอบ 7.2-2-2 หลักฐานแสดงการกาหนดบุคลากรกลุ่มเป้าหมาย สาหรับประเด็นความรู้เรื่อง การดูแลสุขภาพตนเองสาหรับการดูแลผู้สูงอายุและ ผู้ดูแล บุคลากรกลุ่มเป้าหมายที่จะพัฒนาความรู้และทักษะ ประกอบด้วย คณาจารย์ของวิทยาลัยฯ เป้า หมาย

ค่าน้​้าหนัก สกอ สมศ วพ

หลักฐาน

งานที่รับผิดชอบ

ผู้รับผิดชอบ

7.2-3-1

แนวปฏิบัติจากความรู้ ทักษะของอาจารย์ที่มี ประสบการณ์ตรง (Tacit knowledge) เกี่ยวกับการเตรียมความพร้อม นักศึกษาเพื่อสอบขึ้นทะเบียนผู้ประกอบวิชาชีพฯ รวมทั้ง จากการสรุปองค์ ความรู้กับผู้อานวยการ คณาจารย์ ศิษย์เก่า ผู้เชี่ยวชาญด้านการทาสมาธิ อาจารย์ที่ปรึกษาประจากลุ่มย่อย นิสิตหลักสูตรพยาบาลศาสตร์ รุ่น 109 และ นิสิตหลักสูตรพยาบาลศาสตร์ สาหรับเจ้าพนักงานสาธารณสุขชุมชน รุ่น 4 7.2-3-2 บันทึกการประชุมคณะกรรมการวิชาการ วาระที่ ….

73


เรื่อง … แนวปฏิบัติที่ดี เพื่อนาไปใช้พัฒนานักศึกษาเพื่อเตรียมความพร้อมใน การสอบขึ้นทะเบียนผู้ประกอบวิชาชีพฯ 7.2-3-3 บันทึกการประชุมประจาเดือน กรกฎาคม 2554 เรื่อง การเผยแพร่แนวปฏิบัติที่ดี ไปสู่บุคลากรกลุ่มเป้าหมาย และอาจารย์ทุกคน 7.2-3-4 หลักฐานแสดงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับคณาจารย์ วพ. พระจอมเกล้า เพชรบุรี เกี่ยวกับแนวปฏิบัติ ในการเตรียมความพร้อมนักศึกษา เพื่อสอบขึ้นทะเบียนผู้ประกอบวิชาชีพฯ 7.2-3-5 ร่าง คู่มือการดูแลสุขภาพตนเองสาหรับการดูแลผู้สูงอายุ และผู้ดูแล จากความรู้ ทักษะของผู้ที่มีประสบการณ์ตรง (Tacit knowledge) เช่น ผู้อานวยการวิทยาลัย ผู้สูงอายุ และพยาบาลวิชาชีพผู้รับผิดชอบดูแลชมรม ผู้สูงอายุ ศูนย์บริการสาธารณสุขที่ 43 เขตมีนบุรี กรุงเทพมหานคร 7.2-3-6 บันทึกการประชุมคณะกรรมการการจัดการความรู้ ครั้ง 2 /2554 เรื่องการนาร่างคู่มือการดูแลสุขภาพตนเองสาหรับการดูแลผู้สูงอายุ และผู้ดูแล ไปแบ่งปันและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และร่วมตกลงเป็น คู่มือการดูแล สุขภาพตนเองสาหรับการดูแลผู้สูงอายุและผู้ดูแล 7.2-3-7 หลักฐานแสดงการเผยแพร่คู่มือการดูแลสุขภาพตนเอง สาหรับการดูแลผู้สูงอายุและผู้ดูแล ไปสู่บุคลากรกลุ่มเป้าหมาย อาจารย์ทุกคนที่ สนใจ นักศึกษาที่เกี่ยวข้อง ชมรมผู้สูงอายุ และศูนย์บริการสาธารณสุขที่ 43 เขตมีนบุรี กรุงเทพมหานคร 7.2-4-1 แนวปฏิบัติที่ดีเกี่ยวกับ การเตรียมความพร้อมนักศึกษา เพื่อสอบขึ้นทะเบียนผู้ประกอบวิชาชีพฯ วพบ.นพรัตน์วชิระ ตัวบ่งชี้

รายการ

เป้า หมาย

สกอ

ค่าน้​้าหนัก สมศ วพ

หลักฐาน

งานที่รับผิดชอบ

ผู้รับผิดชอบ

7.2-4-2

หลักฐานแสดงการเผยแพร่ผ่านเว็บไซต์ของวิทยาลัยฯ ให้แก่บุคลากรของวิทยาลัย 7.2-4-3 หลักฐานแสดงการเผยแพร่ให้คณาจารย์ วพ.พระจอม เกล้า เพชรบุรี ที่มาร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 7.2-4-4 คู่มือการดูแลสุขภาพตนเองสาหรับการดูแลตนเอง สาหรับผู้สูงอายุ 7.2-4-5 หลักฐานแสดงการเผยแพร่ผ่านเว็บไซต์ของวิทยาลัยฯ ให้แก่บุคลากรของวิทยาลัยประชาชนที่สนใจ 7.2-4-6 หลักฐานแสดงการเผยแพร่ให้กับชมรมผู้สูงอายุ และ ศูนย์บริการสาธารณสุขที่ 43 เขตมีนบุรี กรุงเทพมหานคร 7.2-5-1 โครงการเตรียมความพร้อมเพื่อสอบขึ้นทะเบียนผู้

74


ประกอบวิชาชีพฯ ของสภาการพยาบาล ปีการศึกษา 2554 7.2-5-2 สรุปองค์ความรู้ที่ได้จากการจัดการความรู้จากนิสิตมีการ นาความรู้ที่ได้จากรู้การเข้าร่วมโครงการเตรียมความพร้อมเพื่อสอบขึ้นทะเบียน ผู้ประกอบวิชาชีพฯ ของสภาการพยาบาล ปีการศึกษา 2554 7.2-5-3 หนังสือเชิญและประมวลภาพการจัดกิจกรรม แลกเปลี่ยนเรียนรู้ 7.2-5-4 คู่มือการดูแลสุขภาพตนเองสาหรับการดูแลผู้สูงอายุและ ผู้ดูแล ไปใช้ในการดาเนินงานของชมรมผู้สูงอายุ และศูนย์บริการสาธารณสุขที่ 43 เขตมีนบุรี กรุงเทพมหานคร

ตัวบ่งชี้

รายการ

7.3

ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารและการตัดสินใจ (สกอ. 7.3) เกณฑ์มาตรฐาน : 1. มีแผนระบบสารสนเทศ (Information System Plan) 2. มีระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารและการตัดสินใจตามพันธกิจของ สถาบัน โดยอย่างน้อยต้องครอบคลุมการจัดการเรียนการสอน การวิจยั การบริหารจัดการ และการเงิน และสามารถนาไปใช้ในการดาเนินงาน ประกันคุณภาพ 3. มีการประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้ระบบสารสนเทศ 4. มีการนาผลการประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้ระบบสารสนเทศมา ปรับปรุงระบบสารสนเทศ 5. มีการส่งข้อมูลผ่านระบบเครือข่ายของหน่วยงานภายนอกที่เกีย่ วข้อง ตามที่กาหนด

เป้า หมาย 5 ข้อ

ค่าน้​้าหนัก สกอ สมศ วพ 1 1

หลักฐาน 7-3-1-1

งานที่รับผิดชอบ

คาสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการระบบสารสนเทศ ประจาปี งานฐานข้อมูลและ การศึกษา 2554-2555 สารสนเทศ 7.3-1-2 แผนยุทธศาสตร์เทคโนโลยีสารสนเทศ ประจาปี 25542558 (ฉบับปรับปรุง) 7.3-1-3 สรุปความสอดคล้องกับเป้าประสงค์ ระยะ 5 ปี ในกรอบ แผนกลยุทธ์ของวิทยาลัย 7.3-1-4 สรุปผลการจัดทาโครงการพัฒนาระบบเทคโนโลยี สารสนเทศสาหรับโครงการผลิตบัณฑิตนานาชาติ 7.3-1-5 สรุปผลการจัดทาโครงการบริหารจัดการข้อมูลครุภัณฑ์ และค่าเสื่อมราคาประจาปีตามระบบ GFMIS 7.3-1-6 สรุปผลการจัดทาโครงการพัฒนาระบบเทคโนโลยี สารสนเทศและฐานข้อมูลของวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นพรัตน์วชิระ 7.3-1-7 คู่มือการทางานระบบสารสนเทศ ประจาปีการศึกษา 2554-2555 7.3-2-1 Print-out แสดงการมีระบบสารสนเทศ การจัดการเรียน การสอน ในเรื่องการจัดการเรียนการสอนโดยใช้ E-learning

ผู้รับผิดชอบ ดร.สุชีวา คุณนพวรรณ คุณถาวร คุณพุทธรักษ์

75


7.3-2-2

Print-out แสดงการมีระบบสารสนเทศ การจัดการเรียน การสอน ในเรื่อง การลงทะเบียนและการประเมินผลการเรียน 7.3-2-3 Print-out แสดงการมีระบบสารสนเทศ การจัดการเรียน การสอน ในเรื่องทะเบียนนิสิต 7.3-2-4 Print-out แสดงการมีระบบสารสนเทศ การจัดการเรียน การสอน ในเรื่องการจัดทาแผนการเรียนการสอน 7.3-2-5 Print-out แสดงการมีระบบสารสนเทศ การวิจัย เกี่ยวกับการจัดเก็บบันทึกข้อมูลการวิจัยของอาจารย์ในแต่ละปีการศึกษา 7.3-2-6 Print-out แสดงการมีระบบสารสนเทศ การวิจัย เกี่ยวกับการเผยแพร่ผลงานวิจัยของอาจารย์ 7.3-2-7 Print-out แสดงการมีระบบสารสนเทศ การบริหาร จัดการ และการเงิน ในเรื่อง การจัดทาข้อมูลค่าใช้จ่ายในด้านต่างๆของวิทยาลัย 7.3-2-8 Print-out แสดงการมีระบบสารสนเทศ การบริหาร จัดการ ในเรื่อง การจัดทาทะเบียนครุภัณฑ์ (7.3-2-3.2) ตัวบ่งชี้

รายการ

เป้า หมาย

สกอ

ค่าน้​้าหนัก สมศ วพ

หลักฐาน

งานที่รับผิดชอบ

ผู้รับผิดชอบ

7.3-2-9

Print-out แสดงการมีระบบสารสนเทศ ที่สามารถ นาไปใช้ในการดาเนินการประกันคุณภาพ เรื่องเก็บบันทึกข้อมูลผลการ ดาเนินการประกันคุณภาพการศึกษา (7.3-2-4) 7.3-3-1 ผลการประเมิ น ความพึ ง พอใจระบบสารสนเทศปี การศึกษา 2554 7.3-4-1 บันทึกการผลการประเมินระบบสารสนเทศต่อผู้บริหาร ของวิทยาลัย 7.3-4-2 ผลการประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้ระบบสารสนเทศ ที่สะท้อนให้เห็นว่า ระบบอินเตอร์เน็ทของวิทยาลัยมีความล่าช้าและล่มบ่อย รวมทั้ง มีระบบอินเตอร์เนท ไม่ทั่วถึงทุกจุดในวิทยาลัย 7.3-4-3 รายงานสรุปปัญหาการใช้งาน Network ภายในวิทยาลัย ตามที่เชิญผู้เชี่ยวชาญมาวิเคราะห์ระบบ 7.3-4-4 แผนผังการจัดทาและขยายระบบอินเตอร์เน็ทไร้สาย (WiFi) ประจาปีการศึกษา 2554-2555 7.3-4-5 การขยายสัญญาเช่าสัญญาณจาก 4 MB เป็น 10 MB เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการรับสัญญาณ 7.3-4-6 บันทึกรายการการจัดหาอุปกรณ์ที่ทันสมัยสาหรับการ พัฒนาระบบสารสนเทศ 7.3-5-1 Print-out แสดงการส่งข้อมูลการประเมินผลการเรียน การสอนของแต่ละรายวิชา ผ่านระบบเครือข่ายของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ภายในเวลาที่กาหนด http://

76


7.3-5-2

Print-out แสดงการส่งข้อมูลการเงินเรื่องการขอเบิกเงิน คงคลัง ผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ในการบริหารการเงินการคลังภาครัฐ GFMIS ของกระทรวงการคลัง 7.3-5-3 Print-out แสดงการรายงานการใช้จ่ายเงินค่า สาธารณูปโภค ส่งให้ สบช. 7.3-5-4 Print-out แสดงการส่งหนังสือราชการ ผ่านระบบสาร บรรณอิเลคทรอนิคส์ ให้กับสถาบันพระบรมราชชนก 7.3-5-5 Print-out แสดงการส่งข้อมูลพื้นฐาน (Common Data Set) และรายงานการประเมินตนเอง ผ่านระบบ CHE QA online ของ สกอ ตัวบ่งชี้

รายการ

7.4

ระบบบริหารความเสีย่ ง (สกอ. 7.4) เกณฑ์มาตรฐาน : 1. มีการแต่งตั้งคณะกรรมการหรือคณะทางานบริหารความเสี่ยง โดยมี ผู้บริหารระดับสูงและตัวแทนที่รับผิดชอบพันธกิจหลักของสถาบันร่วม เป็นคณะกรรมการหรือคณะทางาน 2. มีการวิเคราะห์และระบุความเสี่ยง และปัจจัยที่ก่อให้ เกิดความเสี่ยง อย่างน้อย 3 ด้าน ตามบริบทของสถาบัน จากตัวอย่างต่อไปนี้ - ความเสี่ยงด้านทรัพยากร (การเงิน งบประมาณ ระบบเทคโนโลยี สารสนเทศ อาคารสถานที่) - ความเสี่ยงด้านยุทธศาสตร์ หรือกลยุทธ์ของสถาบัน - ความเสี่ยงด้านนโยบาย กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ - ความเสี่ยงด้านการปฏิบัติงาน เช่น ความเสี่ยงของกระบวนการ บริหารหลักสูตร การบริหารงานวิจยั ระบบงาน ระบบประกันคุณภาพ - ความเสี่ยงด้านบุคลากรและความเสี่ยงด้านธรรมาภิบาล โดยเฉพาะ จรรยาบรรณของอาจารย์และบุคลากร - ความเสี่ยงจากเหตุการณ์ภายนอก 3. มีการประเมินโอกาสและผลกระทบของความเสี่ยงและจัดลาดับ ความเสี่ยงที่ได้จากการวิเคราะห์ในข้อ 2 4. มีการจัดทาแผนบริหารความเสีย่ งที่มีระดับความเสี่ยงสูง และ ดาเนินการตามแผน 5. มีการติดตาม และประเมินผลการดาเนินงานตามแผน และรายงาน ต่อสภาสถาบันเพื่อพิจารณาอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง 6. มีการนาผลการประเมิน และข้อเสนอแนะจากสภาสถาบันไปใช้ในการ ปรับแผนหรือวิเคราะห์ความเสี่ยงในรอบปีถัดไป

เป้า หมาย 4 ข้อ

ค่าน้​้าหนัก สกอ สมศ วพ 1 1

หลักฐาน

งานที่รับผิดชอบ

7.4-1-1 คาสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการหรือคณะทางานบริหารความ กลุ่มงาน เสี่ยงปี 2554 อานวยการ 7.4 2-1 รายงานการประชุมคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงครั้งที่ 1/2554 7.4 2-2 สรุปผลการวิเคราะห์ความเสี่ยงปี 2554 7.4-3-1 รายงานการประชุมคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงครั้ง ที่ 2/2554 7.4-3-2 ตารางแสดงการจัดลาดับความเสี่ยง ในรายงานการประชุม คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงครั้งที่ 2/2554 7.4-4-1 แผนปฏิบัติการบริหารความเสี่ยง ปี 2554 7.4-4-2 โครงการบริหารความเสี่ยง ปี 2554 7.4-4-3 คู่มือบริหารความเสี่ยง 7.4-5-1 รายงานการประชุมคณะกรรมการบริหารครั้งที่ 4/2554 เรื่อง การติดตาม และประเมินผลการดาเนินงานบริหารความเสี่ยงปี 2554 7.4-6-1 สรุปผลการวิเคราะห์ความเสี่ยงปี 2555 และแผนบริหาร ความเสี่ยง ในรอบปีถัดไป

ผู้รับผิดชอบ อ.ทิวาวัน ดร.พีระนันทิ์ ดร.สุชีวา ดร.เบญจมาศ ดร.สุนันทา ดร.สุรี คุณวันวิสา

77


ตัวบ่งชี้

รายการ

เป้า หมาย

องค์ประกอบที่ 8 การเงินและงบประมาณ 8.1 ระบบและกลไกการเงินและงบประมาณ (สกอ. 8.1) 6 ข้อ เกณฑ์มาตรฐาน : 1. มีแผนกลยุทธ์ทางการเงินที่สอดคล้องกับแผนกลยุทธ์ของสถาบัน 2. มีแนวทางจัดหาทรัพยากรทางด้านการเงิน หลักเกณฑ์การจัดสรร และการวางแผนการใช้ เงินอย่างมีประสิทธิภาพ โปร่งใส ตรวจสอบได้ 3. มีงบประมาณประจาปีที่สอดคล้องกับแผนปฏิบัตกิ ารในแต่ละพันธกิจ และการพัฒนาสถาบันและบุคลากร 4. มีการจัดทารายงานทางการเงินอย่างเป็นระบบ และรายงานต่อสภา สถาบันอย่างน้อยปี ละ 2 ครั้ง 5. มีการนาข้อมูลทางการเงินไปใช้ในการวิเคราะห์ค่าใช้จ่าย และ วิเคราะห์สถานะทางการเงินและความมัน่ คงของสถาบันอย่างต่อเนื่อง 6. มีหน่วยงานตรวจสอบภายในและภายนอก ทาหน้าที่ตรวจ ติดตาม การใช้ เงินให้ เป็นไปตามระเบียบและกฎเกณฑ์ที่สถาบันกาหนด 7. ผู้บริหารระดับสูงมีการติดตามผลการใช้ เงินให้ เป็นไปตามเป้าหมาย และนาข้อมูลจากรายงานทางการเงินไปใช้ในการวางแผนและการ ตัดสินใจ

ค่าน้​้าหนัก สกอ 1

สมศ

วพ 1

หลักฐาน 8.1-1-1 แผนกลยุทธ์ทางการเงิน ปีงบประมาณ 2554-2558 8.1-1-2 แผนยุทธศาสตร์ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นพรัตน์ วชิระ ปีงบประมาณ 2554 –2558 8.1-1-3 สรุปการจัดโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ “การจัดทาแผน ยุทธศาสตร์” ระหว่างวันที่ 26 -28 กุมภาพันธ์ 2554 สะท้อนให้เห็นการระดม สมองจากบุคลากรของวิทยาลัยฯ ตั้งแต่ระดับผู้บริหารจนถึงระดับผู้ปฏิบัติ 8.1-1-4 แผนกลยุทธ์ทางการเงินประจาปีงบประมาณ 2554 8.1-2-1 แนวทางจัดหาทรัพยากรทางด้านการเงิน ในหน้าที่ 3 เล่ม แผนกลยุทธ์ทางการเงิน ปีงบประมาณ 2554 - 2558 8.1-2-2 บันทึกการประชุมคณะกรรมการบริหารวิทยาลัย ครั้งที่ 4/2553 วันที่ 3 กันยายน 2553 วาระที่ แสดงการพิจารณาหลักเกณฑ์การ จัดสรรเงิน 8.1-2-3 หลักเกณฑ์การจัดสรรเงิน หน้าที่ 6 - 8 เล่มแผนกลยุทธ์ทาง การเงิน ปีงบประมาณ 2554 - 2558 8.1-2-4 ประมาณการรายได้ ที่จะได้รับจากเงินงบประมาณ และเงิน นอกงบประมาณ หน้า 5 เล่มแผนกลยุทธ์ทางการเงิน ปีงบประมาณ 2554 8.1-2-5 การจัดสรรเงิน ตามหลักเกณฑ์ที่กาหนด ซึ่งจัดสรรจาแนก ตามพันธกิจ และกลุ่มงานอิงตามแผนภูมิโครงสร้างองค์กรของวิทยาลัย หน้า 10 เล่มแผนกลยุทธ์ทางการเงิน ปีงบประมาณ 2554 8.1-2-6 หลักเกณฑ์ในการจัดสรรเงิน ที่คานึงถึงหลักการคานวณ ต้นทุนผลผลิต โดยแบ่งค่าใช้จ่ายออกเป็น 2 ส่วน คือ ค่าใช้จ่ายทางตรง และ ค่าใช้จ่ายทางอ้อม หน้า 7 เล่มแผนกลยุทธ์ทางการเงิน ประจาปีงบประมาณ 2554 8.1-2-7 คาสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบการใช้งบประมาณให้ เป็นไปตามแผนงาน/โครงการ และงบประมาณที่ได้จัดสรรไว้ 8.1-2-8 บันทึกการประชุมคณะกรรมการบริหารวิทยาลัยฯ ครั้งที่ 10/2553 วันที่ 3 มีนาคม 2554 วาระที่ แสดงการรายงานการใช้จ่ายเงิน งบประมาณประจาปีงบประมาณ 2554 ไตรมาสที่ 1 และไตรมาสที่ 2 8.1-2-9 บันทึกการประชุมคณะกรรมการบริหารวิทยาลัยฯ ครั้งที่

งานที่รับผิดชอบ งานการเงินและ บัญชี

ผู้รับผิดชอบ อ.ทิวาวัน อ.สิริลักษณ์ ซื่อ คุณสมพงษ์ คุณสุทธิดา คุณวินิจ

78


ตัวบ่งชี้

รายการ

เป้า หมาย

ค่าน้​้าหนัก สกอ สมศ วพ

หลักฐาน

งานที่รับผิดชอบ

ผู้รับผิดชอบ

10/2553 วันที่ 3 มีนาคม 2554 วาระที่ แสดงการรายงานการใช้จ่ายเงิน งบประมาณประจาปีงบประมาณ 2554 ไตรมาสที่ 1 และไตรมาสที่ 2 และ บันทึกการประชุมคณะกรรมการบริหารวิทยาลัยฯ ครั้งที่ 3/2554 วันที่ 4 สิงหาคม 2554 วาระที่ แสดงการรายงานการใช้จ่ายเงินงบประมาณประจาปี งบประมาณ 2554 ไตรมาสที่ 3 และไตรมาสที่ 4 8.1-2-10 การจัดหาพัสดุประจาปี อิงตามผลสารวจความต้องการ ความจาเป็นในการปฏิบัติงานตามภารกิจของแต่ละกลุ่มงาน และวัสดุคงเหลือ ในแต่ละไตรมาส 8.1-2-11 ระบบการควบคุมการเบิกจ่ายพัสดุตามขั้นตอนที่วิทยาลัยฯ กาหนด 8.1-2-12 คาสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบพัสดุประจาปี 8.1-2-13 สาเนาหนังสือที่ สธ.0203.0932/1091 เรื่องขอส่งรายงาน การควบคุมภายใน ปี 2554 8.1-3-1 หลักฐานแสดงการจัดสรรงบประมาณประจาปี ให้กลุ่ม วิชาการ จานวนเงิน 7,980,000.00 บาท หน้า 10 เล่มแผนกลยุทธ์ทางการเงิน ปีงบประมาณ 2554 8.1-3-2 หลักฐานแสดงการจัดสรรงบประมาณประจาปี ให้กลุ่ม อานวยการ จานวนเงิน 11,400,000.00 บาท หน้า 10 เล่มแผนกลยุทธ์ทาง การเงิน ปีงบประมาณ 2554 8.1-3-3 การจัดสรรงบประมาณประจาปี เพื่อการพัฒนาสถาบันและ บุคลากร 8.1-4-1 บันทึกการประชุมคณะกรรมการบริหารวิทยาลัยฯ ครั้งที่ 10/2553 วันที่ 3 มีนาคม 2554 วาระที่ แสดงการรายงานการใช้จ่ายเงิน งบประมาณประจาปีงบประมาณ 2554 ไตรมาสที่ 1 และไตรมาสที่ 2 8.1-4-2 บันทึกการประชุมคณะกรรมการบริหารวิทยาลัยฯ ครั้งที่ 3/2554 วันที่ 4 สิงหาคม 2554 วาระที่ แสดงการรายงานการใช้จ่ายเงิน งบประมาณประจาปีงบประมาณ 2554 ไตรมาสที่ 3 และไตรมาสที่ 4 8.1-4-3 หลักฐานแสดงการจัดทา งบทดลองประจาเดือนในระบบ GFMIS ส่งให้สานักงานตรวจเงินแผ่นดิน ตัวบ่งชี้

รายการ

เป้า หมาย

สกอ

ค่าน้​้าหนัก สมศ วพ

หลักฐาน

งานที่รับผิดชอบ

ผู้รับผิดชอบ

8.1-4-4

หลักฐานแสดงการจัดทา งบทดลองประจาเดือนในระบบ เกณฑ์คงค้าง เป็นรายไตรมาสส่งให้สานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข 8.1-4-5 หลักฐานแสดงการจัดทา รายงานการใช้จ่ายเงินประจาเดือน

79


แยกตามหมวดเงิน ส่งให้สถาบันพระบรมราชชนก 8.1-4-6 หลักฐานแสดงการจัดทา รายงานทางการเงินประจาปี งบประมาณ 2554 ส่งให้สถาบันพระบรมราชชนก สานักงานปลัดกระทรวง สาธารณสุข กรมบัญชีกลาง และสานักงานตรวจเงินแผ่นดิน 8.1-5-1 หลักฐานแสดง การวิเคราะห์การเบิกจ่ายงบประมาณ ประจาปี เพื่อตรวจสอบการใช้เงิน เทียบกับเงินที่ได้รับจัดสรร ซึ่งทาให้ทราบ สถานะเงินคงเหลือ 8.1-5-2 หลักฐานแสดง การวิเคราะห์ค่าใช้จา่ ยทัง้ หมดต่อจานวน นักศึกษาเต็มเวลา (FTES) ประจาปีงบประมาณ 2554 8.1-5-3 หลักฐานแสดง การวิเคราะห์สินทรัพย์ถาวรต่อจานวน นักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่า (FTES) ประจาปีงบประมาณ 2554 8.1-5-4 หลักฐานแสดง การวิเคราะห์สินทรัพย์ถาวรต่อจานวน นักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่า (FTES) ประจาปีการศึกษา 2554 8.1-5-5 หลักฐานแสดง การรายงานการใช้เงินประจาปีงบประมาณ 2554 ที่อาจารย์ใช้ในการพัฒนา อบรม ศึกษาดูงาน สัมมนา ประชุมวิชาการ ทั้ง ในและต่างประเทศ 8.1-5-6 หลักฐานแสดง การรายงานการใช้เงินประจาปีงบประมาณ 2554 ที่บุคลากรสายสนับสนุนใช้ในการพัฒนา อบรม ศึกษาดูงาน สัมมนา ประชุมวิชาการ ทั้งในและต่างประเทศ 8.1-5-7 หลักฐานแสดง การวิเคราะห์ค่าใช้จา่ ยทัง้ หมดที่ใช้ในการ พัฒนาห้องสมุด คอมพิวเตอร์ และสารสนเทศ ต่อจานวนนักศึกษาเต็มเวลา เทียบเท่า ประจาปีการศึกษา 2554 8.1-5-8 หลักฐานแสดง การวิเคราะห์เงินเหลือจ่ายสุทธิต่อ งบดาเนินการประจาปีงบประมาณ 2554 8.1-5-9 บันทึกการประชุมคณะกรรมการบริหารวิทยาลัยฯ ครั้งที่ 3/2554 วันที่ 4 สิงหาคม 2554 วาระที่ แสดงการรายงานสถานะทางการเงิน ทั้งเงินงบประมาณ และเงินนอกงบประมาณ ตามที่กล่าวในข้อ 5.1-5.8 ตัวบ่งชี้

รายการ

เป้า หมาย

ค่าน้​้าหนัก สกอ สมศ วพ

หลักฐาน

งานที่รับผิดชอบ

ผู้รับผิดชอบ

8.1-6-1

คาสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการเก็บรักษาเงินและตรวจนับเงินสด คงเหลือประจาวัน และผู้รับผิดชอบด้านการเงินของวิทยาลัยฯ พร้อมตัวอย่าง หลักฐานการปฏิบัติงาน ตรวจ ติดตามการใช้เงินให้เป็นไปตามระเบียบ และ กฎเกณฑ์ 8.1-6-2 คาสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบหลักฐานการบันทึก บัญชีประจาวัน พร้อมตัวอย่างหลักฐานการปฏิบัติงาน ตรวจ ติดตามการใช้เงิน ให้เป็นไปตามระเบียบและ กฎเกณฑ์ 8.1-6-3 คาสั่งแต่งตั้งผู้ปฏิบัติงานและผู้อนุมัติในระบบการบริหาร

80


การเงินการคลังภาครัฐด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (GFMIS) พร้อมตัวอย่าง หลักฐานการปฏิบัติงาน ตรวจ ติดตามการใช้เงินให้เป็นไปตามระเบียบและ กฎเกณฑ์ 8.1-6-4 หลักฐานแสดงการตรวจ ติดตามการใช้เงินให้เป็นไปตาม ระเบียบและกฎเกณฑ์ จากหน่วยงานตรวจสอบภายในของสานักงาน ปลัดกระทรวงสาธารณสุข 8.1-6-5 หลักฐานแสดงการตรวจ ติดตามการใช้เงินให้เป็นไปตาม ระเบียบและกฎเกณฑ์ จากสานักงานตรวจเงินแผ่นดิน 8.1-7-1 รายงานผลการใช้เงินในระบบ GFMIS ประจาปีงบประมาณ 2554 8.1-7-2 สาเนารายงานการประชุมติดตามรายงานสถานะทางการเงิน รายงานการ ประชุมคณะกรรมการบริหารวิทยาลัยฯ ครั้งที่ 10/2553 วันที่ 3 มีนาคม 2554 8.1-7-3 สาเนารายงานการประชุมติดตามรายงานสถานะทางการเงิน รายงานการ ประชุมคณะกรรมการบริหารวิทยาลัยฯ ครั้งที่ 3/2554 วันที่ 4 สิงหาคม 2554 8.1-7-4 งบทดลองประจาปีงบประมาณ 2554 ในระบบ อิเล็กทรอนิกส์ GFMIS

ตัวบ่งชี้

รายการ

องค์ประกอบที่ 9 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ 9.1 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน (สกอ. 9.1) เกณฑ์มาตรฐานทั่วไป : 1. มีระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายในที่เหมาะสม และสอดคล้องกับพันธกิจและพัฒนาการของสถาบัน ตั้งแต่ระดับ ภาควิชาหรือหน่วยงานเทียบเท่า และดาเนินการตามระบบทีก่ าหนด 2. มีการกาหนดนโยบายและให้ความสาคัญเรื่องการประกันคุณภาพ การศึกษาภายใน โดยคณะกรรมการระดับนโยบายและผูบ้ ริหารสูงสุด ของสถาบัน 3. มีการกาหนดตัวบ่งชี้เพิ่มเติมตามอัตลักษณ์ของสถาบัน 4. มีการดาเนินงานด้านการประกันคุณภาพการศึกษาภายในที่ครบถ้วน ประกอบด้วย 1) การควบคุม ติดตามการดาเนินงาน และประเมิน คุณภาพ 2) การจัดทารายงานประจาปีที่เป็นรายงานประเมินคุณภาพ

เป้า หมาย 6 ข้อ

ค่าน้​้าหนัก สกอ สมศ วพ 1

1

หลักฐาน

งานที่รับผิดชอบ

9.1-1-1 ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ครอบคลุม กลุ่มงาน ทั้ง 3 ประเด็น คือ การควบคุมคุณภาพ การตรวจสอบคุณภาพ และการ ยุทธศาสตร์และ ประเมินคุณภาพ พัฒนาคุณภาพ 9.1-1-2 คาสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษา 9.1-1-3 คู่มือประกันคุณภาพการศึกษา 9.1-1-4 โครงการพัฒนาความรู้ ความเข้าใจ กลไกและระบบการ ประกันคุณภาพ ประจาปีงบประมาณ 2555 9.1-1-5 รายชื่ อ อาจารย์ เ ข้ า ร่ ว มสั ม มนาวิ ช าการ “เส้ น ทางสู่ ความสาเร็จในการพัฒนาคุณค่างานประจา”วันที่ 23 – 24 มกราคม 2555 ณ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี กรุงเทพ 9.1-1.6 รายชื่อ อาจารย์แ ละเจ้ า หน้า ที่เข้ า ร่ว มประชุมสัมมนา แลกเปลี่ยนเรียนรู้ เรื่อง “ประสบการณ์ของผู้ประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน

ผู้รับผิดชอบ ดร.สุรี อ.สิริลักษณ์ คุณสสิกัณย์

81


เสนอต่อสภาสถาบันและสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาตาม กาหนดเวลา โดยเป็นรายงานที่มีขอ้ มูลครบถ้วนตามที่สานักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษากาหนดใน CHE QA Online และ 3) การนาผลการประเมินคุณภาพไปทาแผนการพัฒนาคุณภาพ การศึกษาของสถาบัน 5. มีการนาผลการประกันคุณภาพการศึกษาภายในมาปรับปรุงการ ทางาน และส่งผลให้มีการพัฒนาผลการดาเนินงานตามตัวบ่งชี้ของแผน กลยุทธ์ทกุ ตัวบ่งชี้ การประเมินตามเกณฑ์ฯ ข้อนี้ ต้องไปพิจารณาการพัฒนาผลการ ดาเนินงานตามตัวบ่งชี้ของแผนกลยุทธ์ทุกตัวบ่งชี้ ตามร่องรอยหลักฐาน ที่สอดคล้องกับเกณฑ์การประเมินตัวบ่งชี้ที่ 1.1 ในเกณฑ์มาตรฐานข้อ 7 คือมีการประเมินผลการดาเนินงานตามตัวบ่งชี้ของแผนกลยุทธ์ อย่าง น้อยปีละ 1 ครั้ง และรายงานผลต่อผูบ้ ริหารและสภาสถาบันเพือ่ พิจารณา จึงจะได้คะแนน 6. มีระบบสารสนเทศที่ให้ข้อมูลสนับสนุนการประกันคุณภาพการศึกษา ภายในครบทั้ง 9 องค์ประกอบคุณภาพ 7. มีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการประกันคุณภาพการศึกษา ตัวบ่งชี้

รายการ โดยเฉพาะนักศึกษาผู้ใช้บัณฑิต และผู้ใช้บริการตามพันธกิจของสถาบัน 8. มีเครือข่ายการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ดา้ นการประกันคุณภาพการศึกษา ระหว่างสถาบัน และมีกจิ กรรมร่วมกัน 9. มีแนวปฏิบัติที่ดีหรืองานวิจยั ด้านการประกันคุณภาพการศึกษาที่ หน่วยงานพัฒนาขึ้น และเผยแพร่ให้หน่วยงานอื่นสามารถนาไปใช้ ประโยชน์

ประจาปีการศึกษา 2553 และการดาเนินงานการใช้ระบบฐานข้อมูลการประกัน คุณภาพการศึกษาระดับอุดมศึกษา ระยะที่ 3 ของสถาบันอุดมศึกษา” วันที่ 9 – 10 กุมภาพันธ์ 2555 ณ โรงแรมแอมบาสซาเดอร์ กรุงเทพฯ 9.1-1-7 ผลการดาเนินงานการประกันคุณภาพภายใน 9.1-2-1 นโยบายการประกันคุณภาพการศึกษาวิทยาลัยพยาบาล บรมราชชนนี นพรัตน์วชิระ 9.1-2-2 รายงานการประชุ ม คณะกรรมการประกั น คุ ณ ภาพ การศึกษา ครั้งที่ 1/2554 เรื่อง การกาหนดนโยบายและให้ความสาคัญเรื่องการ ประกันคุณภาพการศึกษาภายใน 9.1-3-1 ตัวบ่งชี้ที่ 1.1.1 ผลการบริหารสถาบันให้เกิดอัตลักษณ์ 9.1-3-2 ตัวบ่งชี้ที่ 1.1.2 ผลการพัฒนาบัณฑิตให้เกิดอัตลักษณ์ 9.1-3-3 ตามตั ว บ่ ง ชี้ ที่ 1.1.3 ผลการพั ฒ นาตามจุ ด เน้ น และ จุดเด่นที่ส่งผลสะท้อนเป็นเอกลักษณ์ของสถาบัน 9.1-4-1 รายงานการประเมินไขว้ระหว่างกลุ่มงาน 9.1-4-2 รายงานการประเมินตนเองประจาปีการศึกษา 2554 9.1-4-3 ฐานข้อมูล CHE QA Online 9.1-4-4 แผนพัฒนาคุณภาพ (Improvement Plan) ประจาปี เป้า หมาย

ค่าน้​้าหนัก สกอ สมศ วพ

หลักฐาน

งานที่รับผิดชอบ

ผู้รับผิดชอบ

การศึกษา 2554 9.1-5-1 แผนพัฒนาคุณภาพ (Improvement Plan) ประจาปี การศึกษา 2554 9.1-5-2 ผลการดาเนินงานตามตัวบ่งชี้ของแผนกลยุทธ์ ประจาปี งบประมาณ 2554 เทียบกับ ผลการดาเนินงานตามตัวบ่งชี้ของแผนกลยุทธ์ ประจาปีงบประมาณ 2553 (ที่เป็นตัวบ่งชี้เดียวกัน) 9.1-6-1 ฐานข้ อ มูลสารสนเทศ การประกันคุณภาพการศึก ษา ภายในครบทั้ง 9 องค์ประกอบ 9.1-6-2 ฐานข้อมูลระบบ CHE QA Online 9.1-7-1 คาสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษา ปี การศึกษา 2554 9.1-7-2 รายงานการประชุ ม คณะกรรมการประกั น คุ ณ ภาพ การศึกษา เพื่อร่วมพิจารณาเกี่ยวกับการประกันคุณภาพการศึกษาของวิทยาลัย 9.1-8-1 การลงนามสัญญากับวิทยาลัยเครือข่ายภาคกลาง 1 9.1-8-2 การลงนามสัญญากับมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และ มหาวิทยาลัยศรีปทุม 9.1-9-1 โครงการวิจัย เรื่อง ความรู้และการรับรู้ของนิสิตและ บุคลากรต่อการประกันคุณภาพการศึกษาของวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี

82


9.1.1

ผลประเมินการประกันคุณภาพภายในรับรองโดยต้นสังกัด (สมศ. 15) วิธีการคานวณ ใช้ค่าคะแนนผลการประเมินการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน โดย ต้นสังกัด

≥3.51

5

5

นพรัตน์วชิระ 9.1-9-2 หลักฐานการเผยแพร่ผลงานวิจัย เรื่อง ความรู้และการ รับรู้ของนิสิตและบุคลากรต่อการประกันคุณภาพการศึกษาของวิทยาลัย พยาบาลบรมราชชนนี นพรัตน์วชิระ 9.1.1-1 รายงานผลการประเมินการประกันคุณภาพการศึกษา ภายใน ประจาปีการศึกษา 2553 รายงานผลการประเมินการประกันคุณภาพ การศึกษาภายใน ประจาปีการศึกษา 2554

กลุ่มงาน ยุทธศาสตร์และ พัฒนาคุณภาพ

ดร.สุรี คุณสสิกัณย์

83


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.