thai doll

Page 1




สารบัญ ตุ๊กตาชาววัง

ตุ๊กตาชาววัง บ้านบางเสด็จ

๑๕ การออกแบบ ตุ๊กตาชาววัง

๑ ตุ๊กตาชาววัง มาจากไหน?

๑๑

การทำ� ตุ๊กตาชาววัง

๑๙ อุปกรณ์การทำ� ตุ๊กตาชาววัง


๓๑ ๒๓

วิธีการทำ� ตุ๊กตาชาววัง

การประกอบเข้าชุด ในรู ปแบบต่าง ๆ

๔๗

บรรณานุกรม

๒๗ การใช้ สี

๓๓

ตุ๊กตาชาววัง กับวัฒนธรรม


ก่อนจะเริม่ บันทึก...


ตุ๊ก ตาเป็ นของเล่ น ที่ เ ด็ ก ชอบเล่ น มา ตังแต่ ้ ไหนแต่ไร ไม่วา่ จะเป็ นตุ๊กตารูปคน หรือรูป สัตว์ ตามประวัตคิ วามเป็ นมาของตุ๊กตา เดิมที เดียวคงจะไม่ได้ ประดิษฐ์ ขึ ้นส�ำหรับให้ เด็กเล่น แต่ม่งุ หมายจะใช้ ในพิธีกรรมต่าง ๆ หรื อบรรจุ ในสถานที่ที่ศกั ดิ์สทิ ธิ์ตามความเชื่อ แต่ต่อมามีการท�ำให้ เด็กเล่นจึงเกิดมี ตุ๊กตาขึ ้น ตุ๊กตาสมัยก่อนมักท�ำง่าย ๆ รูปแบบ ไม่ซบั ซ้ อน โดยใช้ วสั ดุใกล้ ตวั เช่น ดิน ผ้ า ไม้ รัง ไหม ฯลฯ นอกจากจะปั น้ ตุ๊กตาเป็ นรูปคนแล้ ว ยังมีต๊ กุ ตาปั น้ เป็ นรู ปสัตว์ต่าง ๆ ที่เห็นในชีวิต ประจ�ำวันด้ วย

ตุ๊กตาที่มีคณ ุ ค่าทางศิลปวัฒนธรรม ซึง่ จะไม่ได้ น�ำไว้ ใช้ เล่น แต่จะวางไว้ ให้ เด็กชมและจับต้ อง ได้ อย่างระมัดระวัง และให้ เด็ก ๆ ได้ ซมึ ซับเรื่ อง ราวต่าง ๆ ผ่านตุ๊กตาชาววังนี ้ ไม่วา่ จะในอดีตหรื อปั จจุบนั ก็ตาม

ตุ๊กตาชาววังก็เช่นเดียวกัน ตุ๊กตาปั น้ ดินเผาในอิริยาบถต่าง ๆ ถูก ท�ำขึ ้นมาในรู ปแบบง่าย ๆ และวัสดุก็เป็ นสิ่งที่ อยูใ่ กล้ ตวั แต่คณ ุ ค่าของตุ๊กตานันไม่ ้ ได้ มีแค่ไว้ ให้ เด็กเล่น หรื อเอาไว้ ตงประดั ั้ บ ตุ๊กตาชาววังเป็ นหนึง่ ในตุ๊กตาฝี มือหรื อ




๑ บันทึกที่

ตุ๊กตาชาววัง มาจากไหน?

10


สงสัย กั น ไหมว่ า พวก เรามาจากที่ไหน? แน่นอนว่าตุ๊กตาชาววัง ก็ต้องมาจากในวัง ชื่อของตุ๊กตาชนิดนี ้บ่ง บอกว่าเป็ นตุ๊กตาที่ท�ำกันในวัง เป็ นตุ๊กตาที่ ท�ำเล่นกันเฉพาะ เจ้ า นายในพระบรมมหาราช วังสมัย พระบาทสมเด็จพระ จุลจอมเกล้ าเจ้ าอยูห่ วั ประวั ติ แ ละกระแส หนึ่ ง เล่ า ว่ า เจ้ าจอมมารดา ม.ร.ว.ย้ อย ดิศรางกูร ได้ ปัน้ ตุ๊ กตาชาววั ง ถวายพระราช ธิ ดา คือพระเจ้ าบรมวงศ์ เธอ พระองค์ เ จ้ า อรพิ น เพ็ ญ ภาค เมื่ อ เจ้ านายองค์ น้ อยทอด พระเนตรตุ๊กตาก็ทรงโปรด เจ้ า จอมมารดาย้ อ ยจึง ปั น้ ขายที่ ต�ำหนักของท่านเอง โดยมีศลิ ปิ นผู้ปัน้ ตุ๊กตา ชาววังคนสุดท้ ายคือ นางแฉ่ง สาครวาสี สกุลเดิม สุวรรณโน ผู้ที่เรี ยนรู้การปั น้ ตุ๊กตาจากเจ้ า จอมมารดาย้ อย และได้ นำ� ออก มาปั น้ จ�ำหน่ายครั ง้ แรกที่งาน วัดภูเขาทอง

1


2


ตุ๊กตาชาววัง ในอดีต

3


๒ บันทึกที่

ตุ๊กตาชาววัง บ้านบางเสด็จ

4


กว่ า จะกลายมาเป็ นตุ๊ กชาววั ง อย่างพวกเรานี ้ก็ไม่ใช่เรื่ องง่าย ตุ๊ กตาชาววั ง ที่ บ้ านบางเสด็ จ เป็ นโครงการที่สมเด็จพระนางเจ้ าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพนั ปี หลวง ทรงมีพระราชด�ำริ ให้ จดั ตังขึ ้ ้นเมื่อปี พ.ศ.2519 เพื่อเป็ นอาชีพเสริ มเพิ่มพูนราย ได้ ให้ แก่ราษฎร เนื่องจากจังหวัดอ่างทอง เป็ นจังหวัดที่ประสบ ปั ญหาน� ้ำท่วมในช่วงหน้ าฝนมาเป็ นระยะเวลายาวนาน ท�ำให้ ประชาชนมีความเดือดร้ อนเป็ นอย่างมาก แต่เดิม พื ้นทีใ่ นแถบนี ้มีอาชีพท�ำอิฐและเหลาไม้ ก้านธูป เมือ่ ยาม ทีฝ่ นตกน� ้ำท่วมไม่สามารถเผาอิฐหรือตากธูปได้ ท�ำให้ ได้ รับความเดือดร้ อนในเรื่ องการท�ำมาหากินช่วงหน้ าฝน โดยได้ ค�ำนึงถึงทรัพยากรธรรมชาติที่พร้ อมอยู่ แล้ ว คือ ดินเหนียวที่ใช้ ท�ำอิฐ ประกอบกับทรงระลึกถึง ตุ๊กตาไทยที่เรี ยกว่าตุ๊กตาชาววังนันหาดู ้ ได้ ยากเกือบจะสูญสิ ้นไปหมด แล้ ว หากจะฟื น้ ฟูขึ ้นก็นา่ จะช่วยสืบสานศิลปหัตถกรรมไทยแบบโบราณ ของไทยได้ อีกอย่างหนึง่ ตุ๊กตาชาววังบ้ านบางเสด็จจึงได้ ชื่อว่าเป็ นศิลปหัตถกรรมไทยที่ ส�ำคัญของจังหวัดอ่างทอง และอยูใ่ นค�ำขวัญประจ�ำจังหวัดอ่างทองทีว่ า่ ‘พระสมเด็จเกษไชโย หลวงพ่อโตองค์ใหญ่ วีรไทยใจกล้ า ตุ๊กตา ชาววัง โด่งดังจักสาน ถิ่นฐานท�ำกลอง เมืองสองพระนอน’ อาจกล่าวได้ ว่าที่นี่เป็ นแห่งเดียวและอาจเป็ นแห่งสุดท้ ายของประเทศที่มี การท�ำตุ๊กตาชาววังก็วา่ ได้

5


ศูนย์ต๊กุ ตาชาววัง บ้านบางเสด็จ

6


7


8


9


๓ บันทึกที่

การท�ำ ตุ๊กตาชาววัง 10


วิธีการท�ำตุ๊กตาชาววังในอดีตกับที่บ้านบางเสด็จ ไม่ตา่ งกันมากนัก ในปั จจุบนั ตุ๊กตาชาววังได้ ปรับเปลี่ยนและพัฒนา ไปตามยุคสมัย ทังขนาด ้ การใช้ สี และการน�ำเสนอในรูป แบบต่าง ๆ แต่สิ่งที่ยงั คงเดิมก็คือตุ๊กตาปั น้ ดินเผาที่น�ำเสนอ เรื่ องราวผ่านตุ๊กตา

11


12


13


บันทึกที่

14

การออกแบบ ตุ๊กตาชาววัง


‘ตุ๊ก ตา ชาววั ง ต้ องวาง อยู่ใ นท่ ว งท่ า ที่ ส วยงาม เรี ยบร้ อย อกต้ องแอ่น ก้ นต้ อง กลม รู ป ร่ า งสะโอดสะอง คอ ระหง ทรงผมตัด หรื อเกล้ ามวย ท่ า ทางฝ่ ายหญิ ง อ่ อ นช้ อย ฝ่ ายชายสง่าและขึงขัง ส่วน เด็กนันรื ้ ่ นเริ งน่าเอ็นดู’ ตุ๊ กตาชาววั ง จะถู ก จั ด ในอยู่ ใ น ท่าทางต่าง ๆ กันตามเพศและอายุ และมักจะ เป็ นอิริยาบถที่เกิ ดขึน้ ในชี วิตประจ�ำวัน ดูเป็ น ธรรมชาติ ตุ๊กตาชาววังมี 3 ขนาด คือ ขนาดเล็ก ขนาดกลาง และขนาดใหญ่ ขนาดเล็ ก ซึ่ ง สูง ประมาณ 2-3 เซนติเมตร ขนาดกลางสูงประมาณ 6 เซนติเมตร และขนาดใหญ่จะสูงประมาณ 10 เซนติเมตร ปัน้ ให้ ต๊ กุ ตาอยู่ในอิริยาบถที่แตกต่างกันไป ทังนั ้ ง่ ยืน หรือจะนอน นอกจากตุ๊กตาเดีย่ วแล้ ว ยังมีต๊ กุ ตาที่จดั เข้ าชุดน�ำเสนอในรูปแบบต่าง ๆ นอกจากนันยั ้ งมีการออกแบบตุ๊กตาชาววังที่ร่วมสมัย เช่น มวยไทย ฤาษี ดดั ตน การลงสี จะใช้ สีตามความนิยมของชาววัง โดยเฉพาะ อย่างยิง่ เสื ้อผ้ าของผู้ใหญ่ ผู้หญิงจะต้ องนุง่ ห่มสีตดั กันตามวัน 15


16


ตุ๊กตาชาววัง

ต้องวางอยู่ในท่วงท่าที่ สวยงามเรียบร้อย

อกต้องแอ่น ก้นต้องกลม

รู ปร่างสะโอดสะอง คอระหง ทรงผมตัด หรือเกล้ามวย

ท่าทางฝ่ายหญิงอ่อนช้ อย ฝ่ายชายสง่าและขึงขัง

ส่ วนเด็กนั้นรื่นเริงน่าเอ็นดู

17


บันทึกที่

อุปกรณ์การท�ำ ตุ๊กตาชาววัง 18


อุป กรณ์ ส� ำ คัญ ที่ ข าดไม่ ไ ด้ ใ น การปั น้ ตุ๊กตาชาววังคือ ดินเหนียว น�ำดินเหนียวมากรองให้ ละเอียด ด้ วยผ้ าขาวบางเพื่อไม่ให้ มีเศษหินและ ดินก้ อนใหญ่ หมักดินทิ ้งไว้ หนึง่ วันนวด ดินให้ เป็ นก้ อน เพื่อให้ เนือ้ ดินเป็ นเนือ้ เดียวกัน เวลาปั น้ จะได้ ไม่มีชอ่ งว่าง ลด การแตกหักง่าย

แม่ พิ ม พ์ ปู น ปลาสเตอร์ ส� ำ ห รั บ พิ ม พ์ หั ว ตุ๊ ก ต า ชาววัง

19

กระดาษหนังสือพิมพ์ไว้ ใช้ รองตอนปั น้


สีน� ้ำมันหรื อสีอะคริ ลคิ

20


พู่กันขนาดต่าง ๆ ส�ำหรั บ ทาสีต๊ กุ ตาชาววัง

มีดปลายแหลม ส�ำหรับใช้ ติดส่วนตัวและหัวของตุ๊กตา ชาววังเข้ ากันและตัดแต่งให้ สวยงาม

21


๖ บันทึกที่

วิธีการท�ำ ตุ๊กตาชาววัง

22


เริ่ ม จากการปั น้ ส่ ว นหัว โดยใช้ แม่ พิ ม พ์ เ ตรี ยมพิ ม พ์ ส่ ว นหั ว และน� ำ ดิ น เหนี ย วปั น้ เป็ นก้ อ น เล็ก ๆ กดใส่ในแม่พิมพ์ที่ท�ำจาก ปู น ปลาสเตอร์ แกะออกจาก พิมพ์ ตกแต่งส่วนหัวให้ สวยงาม สมดุลด้ วยมีดปลายแหลม

ปั น้ ล�ำตัว ส่วนแขน และส่วน ขา ให้ มีความเรี ยวและความ สวยงาม ปั น้ ส่ ว นล� ำ ตัว และ ขาโดยการคลึงดินให้ เป็ นเส้ น ตรงกลางใหญ่และปลายสอง ข้ างเล็กเรี ยวให้ มีความยาวพอ ประมาณ

23

จากนันจั ้ บพับครึ่งให้ ติดกัน คลึงดินส่วนที่เป็ นตัวให้ ติด เป็ นเนื ้อเดียวกัน จะได้ เป็ น ส่วนล�ำตัวของตุ๊กตา


ใช้ ปลายนิ ้วชี ้กดดัดให้ เป็ นส่วนก้ น ส่วน เอว และส่วนอกของตุ๊กตา น�ำดินมาคลึง ให้ เป็ นเส้ นเล็ก ๆ ปลายทังสองข้ ้ างเรี ยว เพื่อใช้ เป็ นส่วนแขนของตุ๊กตา แล้ วใช้ ปลายนิว้ กดดินส่วนแขนให้ ติดกับส่วน ล�ำตัว น� ำ ส่ ว น หั ว ตุ๊ ก ต า ม า ประกอบเข้ ากับส่วนล�ำตัว ขา แขน จัด ท่ า ทางให้ ไ ด้ ตามที่ออกแบบเอาไว้ จาก นันผึ ้ ง่ ไว้ ให้ แห้ งสนิทแล้ วจึง น�ำไปเผา

24


การเผาตุ๊กตาในปั จจุบนั นันมี ้ 2 แบบ แบบที่ 1 เป็ นแบบดัง่ เดิม คื อ การใช้ เ ตาอัง้ โล่กับ หม้ อ ดิ น หรื อกะละมังเคลือบ และแบบที่ 2 คือการใช้ เตาเผาที่ใช้ แก๊ ส แบบที่ 1 ติดไฟในเตาโดยใช้ ถ่านเป็ นเชือ้ เพลิง น�ำภาชนะ เช่น หม้ อดิน หรื อกะละมัง เคลื อ บที่ บ รรจุต๊ ุก ตาวางลงบนเตาปิ ดฝา ภาชนะแล้ วใช้ ถา่ นสุกวางบนฝาภาชนะรอบ ๆ เพือ่ ให้ ความร้ อนกระจายทัว่ ถึงโดยจะค่อย ๆ เพื่อความร้ อนตุ๊กตาจะค่อย ๆ กลายเป็ นสี อิฐ จากนันก็ ้ ปล่อยให้ ไฟมอดไปเอง

แบบที่ 2 เตรี ยมเตาเผาและเคลียร์ พืน้ ที่เตาให้ สะอาดน� ำตัวตุ๊กตาที่ ปั น้ และผึ่งไว้ จนแห้ งดีไปจัดเรี ยง ในเตาเผา โดยเผาในอุ ณ หภู มิ ประมาณ 800-900 องศาเซลเซียส จนตุ๊กตากลายเป็ นสีอิฐ

น�ำตุ๊กตาที่เผาแล้ วมาทาสีรองพื ้น ซึง่ เป็ นสีขาว ทิ ้งไว้ จนแห้ ง ตกแต่ง สีสนั ตามลักษณะของตุ๊กตา โดย ใช้ พกู่ นั จุม่ น� ้ำผสมให้ เจือจาง ทา 2 ครัง้ และตังทิ ้ ้งไว้ ให้ แห้ ง 25


๗ การใช้ สี

บันทึกที่

26


ในการท�ำตุ๊กตาชาววังจะเลือกใช้ สีที่ตดั กัน และมีความฉูดฉาด โดยจะใช้ สีที่ตดั กันตามวัน เช่น จะต้ องนุง่ ห่มสีตดั กันตามวัน วันอาทิตย์ นุง่ แดงห่ม เขียว หรือจะกลับกันก็ได้ วันจันทร์ นุง่ ม่วงหรือน� ้ำเงิน ห่มเหลือง วันอังคาร นุง่ ชมพูหม่ น� ้ำเงิน หรื อกลับกัน วันพุธ นุง่ น� ้ำเงินห่มสไบเขียว วันพฤหัสบดี นุง่ น� ้ำเงิน ห่มแสด หรื อกลับกัน วันศุกร์ นุง่ น� ้ำเงินห่มชมพูหรื อ บานเย็นคล้ ายวันอังคาร และวันเสาร์ ห่มสีมว่ งนุง่ สี เหล็ก หรื อเทาแก่ แต่ในปั จจุบนั ได้ มกี ารใช้ สที หี่ ลากหลายมาก ขึ ้น และไม่ได้ เป็ นแบบแผนเหมือนในอดีต แต่ยงั เน้ น ใช้ สีที่ตดั กันเช่นเดิม อละมีการใช้ สีพาสเทลเพื่อให้ ชิ ้นงานดูสบายตา มีความน่ารัก

27


คู่สีตุ๊กตาชาววัง ตามวัน

วันอาทิตย์

วันพฤหัสบดี

วันพุธ 28


วันจันทร์

วันอังคาร

วันเสาร์

วันศุกร์ 29


๘ การประกอบเข้าชุด ในรู ปแบบต่าง ๆ

บันทึกที่

30


ในการประกอบเข้ าชุด ตุ๊กตาชาววังทีถ่ กู ปั น้ ให้ อยูใ่ น อิริยาบถต่าง ๆ จะถูกน�ำไปประกอบเข้ าชุดให้ สอดคล้ องกับ กับวัฒนธรรมไทย ทังในเรื ้ ่องของประเพณี เช่น การเวียนเทียน แห่เทียน พรรษา บวชนาค การแต่งงาน การละเล่น เช่น การละเล่นของเด็กไทยโบราณ เดิน กะลา มอญซ่อนผ้ า ม้ าก้ านกล้ วย มวยไทย วิถีชีวิต เช่น การค้ าขาย การประกอบอาชีพต่าง ๆ ของคนไทย

31


๙ ตุ๊กตาชาววัง กับ วัฒนธรรม

บันทึกที่

32


วัฒนธรรมเป็ นสิ่งที่บง่ บอกถึงวิถีการด�ำเนิน ชีวิตของสังคมนัน้ ๆ ได้ เป็ นอย่างดี นับตังแต่ ้ วิธีกิน วิธีอยู่ วิธีแต่งกาย วิธีท�ำงาน วิธีพกั ผ่อน วิธีแสดง อารมณ์ วิธีสื่อความ วิธีจราจรและขนส่ง วิธีอยูร่ ่วม กันเป็ นหมูค่ ณะ วิธีแสดงความสุขทางใจ และหลัก เกณฑ์การด�ำเนินชีวิต โดยแนวทางการแสดงถึงวิถี ชีวิตนันอาจจมาจากเอกชน ้ หรื อคณะบุคคลท�ำเป็ น ตัวแบบ แล้ วต่อมาคนส่วนใหญ่กป็ ฏิบตั สิ บื ต่อกันมา วัฒนธรรมย่อมเปลี่ยนแปลงไปตามเงื่อนไข และกาลเวลา เมื่อมีการประดิษฐ์ หรื อค้ นพบสิง่ ใหม่ วิธีใหม่ที่ใช้ แก้ ปัญหาและตอบสนองความต้ องการ ของสังคมได้ ดีกว่า ซึ่งอาจท�ำให้ สมาชิกของสังคม เกิดความนิยม และในทีส่ ดุ อาจเลิกใช้ วฒ ั นธรรมเดิม ดังนัน้ การรักษาหรือธ�ำรงไว้ ซงึ่ วัฒนธรรมเดิม จึงต้ อง มีการปรับปรุงเปลีย่ นแปลงหรื อพัฒนาวัฒนธรรมให้ เหมาะสมมีประสิทธิภาพ ตามยุคสมัย

33


การท�ำเกษตรกรรม และปศุสตั ว์ ชาวนา คืออาชีพทางเกษตรกรรม ในประเทศไทยมักมี ความหมายถึงอาชีพปลูกข้ าวเป็ นหลัก ชาวนาในประเทศไทย นับว่าเป็ นคนกลุม่ ใหญ่ที่สดุ เพราะข้ าวเป็ นอาหาร หลักของ คนไทย อาชีพท�ำนาเป็ นอาชีพดังเดิ ้ มของคนไทย ที่สืบทอด มายัง

34


และเลี ้ยงปศุสตั ว์หรื อสัตว์อื่น ๆ เสริ ม เช่น ปลาและ เป็ ด เป็ นต้ น โดยปกติปลาจะอาศัยอยูต่ ามธรรมชาติในนา ข้ าว ดังนัน้ ต้ นกล้ าและปลาจะเติบโตไปพร้ อม ๆ กันใน ประเทศไทยส่วนใหญ่จะปลูกข้ าวกันทังประเทศ ้ และปลูก กันมากในภาคกลางซึง่ จนถึงกับบางครัง้ ค�ำเรี ยกภาคกลาง ว่า “อูข่ ้ าวอูน่ � ้ำ” ของเอเซีย

35


36


การค้ าขาย การค้ าขายอยูค่ กู่ บั คนไทยมาช้ านาน ในอดีต แม่น� ้ำล�ำคลองเป็ นเส้ นทางคมนาคมที่สำ� คัญ ผู้คน มักตังบ้ ้ านเรือนและท�ำสวนท�ำไร่ริมน� ้ำ จึงถูกล�ำเลียง โดยเรื อไปยังผู้ซื ้อ เกิดเป็ นตลาดขึ ้น

37


วงปี่ พาทย์ เป็ นวงดนตรีทปี่ ระกอบ ด้ ว ยเครื่ อ งตี เป็ นหลัก โดยมี เครื่ อ งเป่ าคื อ ขลุ่ย หรื อ ปี่ ร่ ว ม อยู่ด้วย ใช้ ส�ำหรั บเป็ นเครื่ อง ประโคมในพิธีกรรมต่าง ๆ รวม ทังการแสดงโขน ้ ละคร ฟ้อนร� ำ และมี การผสมวงตามโอกาส ที่ใช้ ท�ำให้ จ�ำนวนของเครื่ อง ดนตรี มีน้อยมากแตกต่างกัน ไป

วงเครื่ องสาย เป็ นวงดนตรี ที่ใช้ เครื่ อง ดนตรี ที่มีสายประเภท เครื่ อง ดีดและเครื่ องสีเป็ นหลัก และ มีเครื่ องเป่ า และเครื่ องตีร่วม บรรเลงอยู่ด้ ว ย ส่ว นใหญ่ ใ ช้ บรรเลงในงานมงคล ไม่นิยมใช้ บรรเลงในงานอวมงคล

38

วงมโหรี เ ป็ น ว ง ด น ต รี ที่ ใ ช้ ส� ำ หรั บ ขั บ กล่ อ ม นิ ย มใช้ บรรเลงในงานมงคล โดย เฉพาะงานมงคลสมรส แต่ โบราณใช้ บ รรเลงกล่อ มพระ บรรทม ส�ำหรับพระมหากษัตริย์ เครื่ องดนตรี ที่ใช้ บรรเลงในวงนี ้ ประกอบด้ วยเครื่ องดนตรี ในวง ปี่ พาทย์และวงเครื่ องสาย หาก แต่เครื่ องดนตรี ในวงปี่ พาทย์ที่ น�ำเข้ ามา ผสมในมโหรี นี ้ได้ ลด ขนาดให้ เล็กลง เพื่อให้ มีเสียง พอเหมาะกับเครื่ องดนตรี ในวง เครื่ องสาย และใช้ ซอสามสาย เข้ ามาร่วมบรรเลงด้ วย


39


เป่ ากบ

เสื อข้ามห้วย

เดินกะลา

กระโดดเชื อก

40

หมากเก็บ


ตีลูกล้อ

ม้าก้านกล้วย ขีม้่ าส่ งเมือง การละเล่นพื ้นบ้ าน การละเล่นพื ้นบ้ านเป็ นกิจกรรมนันทนาการประเภทเกม ที่สามารถ ส่งเสริมและพัฒนา อารมณ์สขุ สนุกสนาน การละเล่นพื ้นบ้ านของไทย เป็ น กิจกรรมที่ยอมรับร่วมกันในสังคมว่าเป็ นภูมปิ ั ญญาท้ องถิ่น มีการถ่ายทอด จากคนรุ่ นหนึ่งไปยังคนอีกรุ่ นหนึ่ง การละเล่นพื ้นบ้ านเป็ นกิจกรรมที่เน้ น ความสนุกสนานไม่เน้ นการแพ้ ชนะ จึงมีคณ ุ ค่าและมีส่วนส�ำคัญในการ หล่อหลอมพฤติกรรมโดยเฉพาะกับเด็กเล็กซึง่ เป็ นที่รวม ทังเป็ ้ นการเชื่อม โยงประสบการณ์ทางสังคมให้ กบั เด็ก 41


งูกินหาง

รำ�กระทบไม้

โพงพาง

42


รีรีข้าวสาร

กระโดดเชื อก

43

ปิ ดตาตีหม้อ


มวยไทย มวยไทยเริ่ มขึ ้นในสมัยไม่ปรากฏ และไม่มี หนังสือเล่มใดเขียนไว้ วา่ จะเกิดขึ ้นในสมัยใด แต่ เท่าที่ได้ ปรากฏนัน้ มวยไทย ได้ เกิดขึ ้นมานานแล้ ว มวยไทยนันมี ้ มาพร้ อมกับคนไทย เป็ นมรดกทาง วัฒนธรรมของชาติไทยมาช้ านาน ยากทีช่ าติอนื่ จะ ลอกเลียนแบบได้ มีลีลาการเคลื่อนไหวที่สวยงาม แฝงไว้ ด้วยความแข็งแกร่ งดุดนั สามารถฝึ กเพื่อ ป้องกันตนเอง เพื่อความแข็งแรงของร่างกาย

44


บวชนาค ท�ำขวัญนาค มีความเชือ่ กันว่าขวัญของพ่อนาคจะไปเทีย่ ว ที่ไกล ๆ จึงจ�ำเป็ นต้ องท�ำพิธีเรี ยกขวัญให้ มาอยูก่ บั เนื ้อกับตัวของพ่อนาค เป็ นประเพณีที่ท�ำติดต่อกัน มาตังแต่ ้ สมัยโบราณผู้ประกอบพิธีคือ หมอท�ำขวัญ ผู้ร่วมพิธีคือ พ่อนาค บิดา มารดา ญาติ และเพื่อน ของพ่อนาค

แต่งงานแบบไทย พิธีการแต่งงานตามธรรมเนียม ไทย การแต่งงานเกิดขึน้ หลังจากที่ฝ่าย ชายและหญิงเกิดความรักใคร่ ชอบพอกัน ในเวลาอันสมควร เมื่อทังสองฝ่ ้ ายตกลง ปลงใจที่จะใช้ ชีวิตคู่ร่วมกัน ฝ่ ายชายจะ บอกกับ พ่ อ แม่ ให้ ท ราบเพื่ อ ให้ จัด การ ผู้ใหญ่มาทาบทามสู่ขอฝ่ ายหญิงจากพ่อ แม่ของฝ่ ายหญิง ผู้ที่ได้ มอบหมายที่มาสู่ขอตาม ธรรมเนี ย มประเพณี ไ ทยเรี ย กว่า “เฒ่า แก่” ซึง่ ส่วนใหญ่จะเป็ นผู้ใหญ่ที่มีฐานะดี มีผ้ ใู ห้ การเคารพนับถือ และที่ร้ ู จกั พ่อแม่ หรื อผู้ปกครองของทังสองฝ่ ้ ายเป็ นอย่างดี รวมทังรู้ ้ จกั อุปนิสยั ใจคอของฝ่ ายชายเป็ น อย่างดี เพราะตัวเฒ่าแก่จะเป็ นผู้รับรอง ในตัวฝ่ ายชาย 45


บรรณานุกรม

46


ขอขอบคุณ

คุ ณ รุ จี วิ จิ ต ร า นุ รั ก ษ์

ประธานศูนย์ตุ๊กตาชาววัง บ้านบางเสด็จ

สมาชิ กศูนย์ตุ๊กตาชาววังบ้านบางเสด็จ คุณสมศรี ภู่พันธ์

ข้อมูลจาก

คุณสุ กัญญา ศรด้วง

สารานุกรรมไทยส�ำหรับเยาวชน เรื่อง ตุ๊กตาไทย

คุณกลอยใจ หาศิ ริ

คุณบุญนะ บุญประเทือง

ส�ำนักศิ ลปะและวัฒนธรรม เรื่อง การละเล่นพื้นบ้าน

คุณพรลัดดา ภู่พันธ์

คุณอัญชลี น่วมด้วง

คุณพิรญาณ น่วมด้วง คุณสมบัติ กัลปวิทย์

อาจารย์ท่ีปรึกษา

คุณจินตนา โกศลสิ ทธิ์ คุณพัชรี โชติช่วง

อาจารย์วัยวัฒน์ สายทุ้ม

คุณพจนา ควรเนตร คุณไพโรจน์ ชูจันทร์

47





Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.