Nccit 20113103130800

Page 1

The National Conference on Computing and Information Technology

NCCIT'08

ระบบสนับสนุนการตัดสินใจในการเลือกซื้ออสังหาริมทรัพย กรณีศึกษาที่ดิน จังหวัดอุบลราชธานี Decision Support System for Property Selection A Case Study of The Land in Ubonratchatani

สุวัลยา ศิริศิลป 1 และกาญจนา วิรยิ ะพันธ 2 ภาควิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ tucker_009@hotmail.com 1 , pek@it.kmutnb.ac.th 2

บทคัดยอ

as database management system. This system was tested by five experts and ten system users. According to the experts, it was found that the average score was 4.25 and the standard deviation was 0.54. Meanwhile, according to the users, the average score was 4.39 and the standard deviation was 0.49.Therefore, the developed system was considered good and applicable effectively.

การทําวิจัยมีวัตถุประสงค เพื่อพัฒนาระบบสนับสนุนการ ตัดสินใจในการเลือกซื้ออสังหาริมทรัพย กรณีศึกษาที่ดิน จังหวัดอุบลราชธานี เพื่อชวยใหผูใชสามารถทําการคนหา ที่ดินดวยเงื่อนไขตาง ๆ เชน ประเภทการใชงาน ที่ตั้ง ขนาดที่ดิน และราคา ซึ่งสามารถนําขอมูลที่ไดจากการคนหา มาทําการเปรียบเทียบ เพื่อหาขอมูลที่ดีที่สุด โดยใช ASP.NET ในการพัฒนาระบบและใชฐานขอมูล Microsoft SQL Server 2005 ซึ่งระบบเปนลักษณะของเว็บแอพพลิเคชั่น โดยทําการ ประเมินจากผูเชี่ยวชาญจํานวน 5 คน และผูใชจํานวน 10 คน ซึ่งผลจากการประเมินของผูเชี่ยวชาญมีคาเฉลี่ยเทากับ 4.25 และ คาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 0.54 สวนผลการประเมิน ของผูใชมีคาเฉลี่ยเทากับ 4.39 และคาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เทากับ 0.49 ดังนั้นระบบที่พัฒนาขึ้นอยูในระดับดีและสามารถ นําไปประยุกตใชงานไดอยางมีประสิทธิภาพ

Keyword: Decision Support System, Property Selection, Land

1. บทนํา

ที่ดิน พื้นดิน หรือแผนดินที่มนุษยอาศัย ที่ไมใชพื้นดิน ที่ไดจากการขุดขึ้นมา เนื่องจากไมมีสภาพเปนพื้นแผนดิน ในอดีตกาลจะเขาครอบครองที่ดิน เพื่อปลูกสรางที่อยูอาศัย จะตองทําการบุกรุก ถากถางปา แตในปจจุบันจะทําในลักษณะ การบุกรุกปาแบบในอดีตไมได เพราะไดมีการกําหนดสิทธิ์ และออกโฉนดใหกับเจาของที่ดิน ทําใหที่ดินมีเจาของตาม กฎหมาย ซึ่งการเขาครอบครองที่ดินไดนั้นจะตองมีการซื้อ-ขาย ทําสัญญาระหวางทั้ง 2 ฝาย เพื่อโอนกรรมสิทธิ์จากผูขายไปยัง ผูซื้อ [1] เนื่องจากจังหวัดอุบลราชธานี มีพื้นที่ขนาดใหญ และมี สถานที่สําคัญหลายแหง เชน มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เปนตน ทําใหมีทั้งประชาชนทั่วไปและผูประกอบธุรกิจ ให ความสนใจเลือกซื้อที่ดินเพื่อประกอบธุรกิจ สิ่งปลูกสราง หรือ เพื่อครอบครอง สวนการซื้อที่ดินเพื่อการเกษตรกรรม ไดแก ที่ดินตามอําเภอตาง ๆ เชน อําเภอศรีเมืองใหม อําเภอตระการ พืชผล ใชที่ดินในการทําสวนยางพารา อําเภอน้าํ ยืน ใชที่ดินใน

คําสําคัญ: ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ การเลือกซื้อ อสังหาริมทรัพย ที่ดิน Abstract The purpose of this research was to develop a Decision Support System for Property Selection A Case Study of The Land in Ubonratchatani. The system was to facilitate those searching for land under such condition as using purposes, locations, size of land, and price. The information derived from searching was subject to compare for the best selection. To develop the system, ASP. NET and VBScript were used as programming language and Microsoft SQL Server 2005

79


The National Conference on Computing and Information Technology

NCCIT'08

การทําสวนผลไม เปนตน ดังนั้น จึงมีการประกาศขายที่ดินโดยการติดปายประกาศ ตามจุดขาย หรือตามถนนสายสําคัญ ซึ่งการประกาศขายที่ดิน แบบดังกลาว ทําใหขอมูลการขายไปไมถึงผูซื้อ เพราะปาย ประกาศชํารุดทําใหขอมูลเกิดการสูญหาย ในบางครั้งผูซื้อตอง ติดตอสอบถามขอมูลดวยตนเอง ซึ่งทําใหเสียเวลาคอนขางมาก รวมทั้งไมมีขอมูลใหผูซื้อไดทําการเปรียบเทียบ กอนทําการ ตัดสินใจซื้อ จากปญหาดังกลาว จึงทําใหผูวิจัยเกิดแนวคิดที่จะทําการ พัฒนาระบบขอมูลสารสนเทศของการเลือกซื้อที่ดิน โดยการ นําเทคโนโลยีที่มีการทํางานดวยระบบคอมพิวเตอร มาประยุกต ใชรวมกับกระบวนการตัดสินใจ เกิดเปนระบบสนับสนุนการ ตัดสินใจ (Decision Support System) ที่ชวยเพิ่มประสิทธิภาพ ในการตัดสินใจ ดวยการจัดการกับขอมูลที่ดินที่มีจํานวนมาก และอยูอยางกระจัดกระจายใหมีความเปนระเบียบ และแนะนํา ทางเลือกที่ดีที่สุดที่ใกลเคียงกับความตองการของผูใชซึ่งจะชวย ใหผูใชสามารถวิเคราะห และเปรียบเทียบกอนทําการตัดสินใจ ซึ่งสงผลใหระบบมีความนาเชื่อถือ มีความถูกตองในกระบวน การตัดสินใจ นอกจากนั้นยังทําใหการสื่อสารแลกเปลี่ยนขอมูล สารสนเทศ มีความรวดเร็ว ทันสมัย ขอมูลไมเกิดการสูญหาย และสอดคลองกับความตองการของผูใช [2]

สวนการซื้อที่ดินควรคํานึงถึงสิ่งตาง ๆ เชน ควรตรวจสอบ วาผูขายที่ดินเปนเจาของที่ดินนั้น และที่ดินนั้นตองไมมีภาระ ผูกพัน ราคาที่ดิน ทําเลที่ตั้ง ลักษณะของดินที่เหมาะตอการ นําไปใชประโยชน 2.2 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ

เปนระบบแบบโตตอบที่ใชคอมพิวเตอรโดยอาศัยความรูใน รูปแบบตาง ๆ ซึ่งระบบไดรับการออกแบบใหใชงานงาย และ สะดวก มีความยืดหยุน และสามารถรองรับการเปลี่ยนแปลง ของขอมูลได โดยระบบจะไมทําการตัดสินใจแทนผูใชแตจะ รวบรวมขอมูล และแบบจําลองที่สําคัญ เพื่อสนับสนุนการ ตัดสินใจของผูบริหารในปญหาแบบกึ่งโครงสราง และไมมี โครงสราง โดยระบบจะมีรูปแบบ การกําหนดขั้นตอนการ ตัดสินใจ แกไขปญหาที่เกิดขึ้น อยางมีหลักเกณฑดวยการ กําหนดขั้นตอนตั้งแตแรก จนถึงขั้นตอนสุดทายเพื่อใหได ผลลัพธที่ตองการ และระบบจะเนนการใชขอมูลเปนหลักใน การนํามาชวยตัดสินใจ [3] 2.3 งานวิจัยที่เกี่ยวของ

กฤษณะศักดิ์ [4] ไดเลือกทําการ พัฒนาระบบสนับสนุนการ ตัดสินใจการทองเที่ยวจังหวัดพังงา ผานเครือขายอินเตอรเน็ต โดยใชเทคโนโลยีสารสนเทศเขามาประยุกตใชกับการทองเที่ยว ในลักษณะของเว็บแอพพลิเคชั่น (Web Application) เพื่อชวย สนับสนุนการตัดสินใจในการทองเที่ยวจังหวัดพังงา ที่สามารถ กําหนดเงื่อนไขในการคนหา โดยการกรอกขอมูลตามเงื่อนไข เพื่อชวยตัดสินใจ และนําเสนอทางเลือกสําหรับผูใชไดอยาง เหมาะสม ทวีศักดิ์ [5] ไดทําการ พัฒนาระบบคนหาการใหบริการใน ระบบเครือขายขององคกรโดยใชเทคโนโลยี . N E T ในการ พัฒนา เพื่อใหตัวระบบงานประยุกตตาง ๆ สามารถแลกเปลี่ยน ขอมูลระหวางกันได โดยไมตองคํานึงถึงระบบปฏิบัติการหรือ โปรแกรมที่เรียกใช เทคโนโลยี.NET นี้ไดถูกพัฒนาขึ้นมาบน โครงสรางของอินเทอรเน็ต ทําใหผูที่ใชงานสามารถเชื่อมตอกับ ระบบเครือขายและเขาสูระบบอินเตอรเน็ตได ก็สามารถใช บริการ โดยไมตองคํานึงถึงขอแตกตางทางดานตาง ๆ และการ พัฒนาโปรแกรมตาง ๆ ที่มีการเปลี่ยนแปลงขึ้น จากการที่ตอง ทําการพัฒนาในทุก ๆ สวนของโปรแกรมทั้งหมด

2. วรรณกรรมที่เกี่ยวของ

ระบบสนับสนุนการตัดสินใจในการเลือกซื้อสังหาริ มทรั พย กรณีศึกษาที่ดิน จังหวัดอุบลราชธานี สามารถนําเสนอขอมูลที่ ชวยในการตัดสินใจ กอนการเลือกซื้อที่ดิน ซึ่งมีทฤษฎีที่ เกี่ยวของ ดังนี้ 2.1 ความรูเกี่ยวกับการซื้อ­ขายที่ดิน

การจะเขาครอบครองที่ดินไดนั้น จะตองมีการซื้อ-ขายและ ทําสัญญาของทั้ง 2 ฝาย เพื่อโอนกรรมสิทธิ์จากผูขายไปยังผูซื้อ โดยการขายที่ดิน เปนปจจัยที่สงผลใหเกิดธุรกิจการขายที่ดิน ที่แบงเปน 2 ปจจัย คือ ปจจัยภายใน ไดแก ภาวะหนี้สนิ การแบงมรดก หรือคานิยมในการทํางานที่สบายในตัวเมือง สวนปจจัยภายนอก ไดแก การกวานซื้อที่ดินของนายทุน อิทธิพลดานลบของสื่อสารมวลชน ลัทธิบริโภค การขยายตัว ของเมือง 80


The National Conference on Computing and Information Technology

NCCIT'08

วัชรศักดิ์ [6] ไดทําการพัฒนา ระบบชวยสนับสนุนการ ตัดสินใจเพื่อซื้อยานพาหนะ กรณีศึกษารถยนต โดยการ รวบรวมขอมูลของรถยนตยี่หอ และรุน ตาง ๆ ที่มีรายละเอียด ของอุปกรณตาง ๆ ของรถยนตมีการจัดเก็บที่มีความหลากหลาย การอาศัยวิธีการของคลังขอมูล เพื่อการจัดเก็บใหเหมาะสมกับ การสืบคนที่รวดเร็ว เปนการเพิ่มประสิทธิภาพในการตัดสินใจ ของผูตัดสินใจ พรอมกับใชเทคนิคในการวิเคราะหขอมูล คือ Data Mining โดยเทคนิค Classification ที่มีลักษณะ Dynamic ที่สามารถเปลี่ยนแปลง การแบงหมวดหมูของขอมูลไดใน ภายหลัง และการเปรียบเทียบสมรรถนะของรถยนตแตละยี่หอ หรือแตละรุน ไดใชการประมวลผลเชิงวิเคราะหแบบออนไลน (Online Analytical Processing : OLAP) ที่ชวยในการ วิเคราะหและเปรียบเทียบรถยนตในมุมมองตาง ๆ สกลนันท [7] ไดทําการพัฒนา การคนหาเมนูอาหารไทย เพื่อสุขภาพ โดยวิธีกฎความสัมพันธและแผนผังตนไมเพื่อการ ตัดสินใจ ที่มีการนําเทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ทํางานดวย คอมพิวเตอรมาประยุกตใช กับระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (Decision Support System : DSS) ดวยวิธี กฎความสัมพันธ และแผนผังตนไม ซึ่งขอมูลจะถูกจัดหมวดหมูหาความสัมพันธ และความเหมาะสมตามเงื่อนไข เพื่อใหไดขอมูลที่ถูกตองที่ชวย เพิ่มประสิทธิภาพในการตัดสินใจ และมีความนาเชื่อถือ สุกัญชลิกา [8] ไดทําการพัฒนา ระบบสนับสนุนการตัดสิน ใจในการทองเที่ยว จังหวัดเพชรบุรี โดยใชเทคโนโลยีของ ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (Decision Support System) ซึ่งเปนระบบที่มีหนาที่จัดเตรียมขอมูล เพื่อการวิเคราะหและ นําเสนอขอมูลที่ไดเพื่อใชในการตัดสินใจ ซึ่งจะมีวิธีแกไขที่มี หลากหลายทางเลือกที่นํามาชวย ในการพัฒนาระบบงานโดยใช วิธีการ Clustering ซึ่งวิธีการทํางานดังกลาวจะทําการแบงแยก หรือรวมกลุมขอมูล ถาเปนขอมูลที่มีความคลายคลึงกันหรือ สอดคลองกันก็จะนําไปจัดอยูในหมวดหมูเดียวกัน สวนขอมูล ที่มีความสอดคลองหรือคลายคลึงกันนอยกวา ก็จะถูกจัดอยูใน หมวดหมูอื่น ๆ ซึ่งการทําวิธีนี้ จะสามารถเขาถึงขอมูลขนาด ใหญไดอยางรวดเร็ว ถูกตอง และสามารถนําขอมูลไปทําการ วิเคราะหเพื่อชวยในการสนับสนุนการตัดสินใจตอไป อรรถพล [9] ไดทําการ พัฒนาระบบสนับสนุนการตัดสินใจ ในการออกกําลังกาย โดยใชระบบผานเครือขายคอมพิวเตอร

(Network) และใชเทคโนโลยีของระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (Decision Support System : DSS) ซึ่งวิธีที่จะนําขอมูลมา ชวยในการตัดสินใจคือวิธีการแบบตนไม (Decision Tree) ดวย การจัดหมวดหมู (Classification) การคาดเดา (Prediction) โดย ใชเงื่อนไขที่ชวยในการตัดสินใจ ขอมูลที่ไดตองมีความถูกตอง โดยวิธีการแบงจะใชหลักการของ Entropy และมีการใชขอมูล ตัวอยางเพื่อทดสอบการประเมินประสิทธิภาพของกฎแตละขอ 3. วิธีดําเนินงานวิจัย

ศึกษาและรวบรวมขอมูลของระบบ จากการศึกษา และรวบรวมขอมูลทําใหทราบวาการพัฒนา ระบบ ควรมีการนําขอมูลที่ดินเขาระบบจากผูดูแลระบบและ ผูฝากขาย เนื่องจากขอมูลที่มาจากผูฝากขาย สามารถอธิบาย รายละเอียดของที่ดิน และประเภทที่เหมาะสมตอการนําที่ดิน ไปใชงานไดมากกวาขอมูลที่มาจากผูดูแลระบบ จากขอมูลใน ระบบจะแบงประเภทของการใชงานเปน 3 ประเภท คือ ธุรกิจ เกษตรกรรมและสิ่งปลูกสราง 3.1

การออกแบบระบบ จากการวิเคราะหความตองการของระบบ สามารถแบงการ ทํางานของระบบเปน 3 สวน คือ สวนของผูฝากขาย ผูใ ช ทั่วไป และผูดูแลระบบ โดยสรางแบบจําลองที่อธิบายการ ทํางาน ของกระบวนการตาง ๆ ในระบบ สวนขอมูลนําเขา (Input) และ ขอมูลสงออก (Output) เปน แผนภาพบริบท (Context Diagram) ดังภาพที่ 1 3.2

ภาพที่ 1 Context Diagram ของระบบ

81


The National Conference on Computing and Information Technology

NCCIT'08

การออกแบบ ความสัมพันธของขอมูล (E-R Diagram) ที่ แสดงใหเห็นถึงความสัมพันธของขอมูลสมาชิกกับประเภทของ สมาชิก ขอมูลสมาชิกกับขอมูลที่ดิน และขอมูลที่ดินกับขอมูล ประเภทการใชงาน ขอมูลที่ตั้ง ในฐานขอมูล ดังภาพที่ 2

ตารางที่ 1 เกณฑการใหคะแนนแบบประเมินความพึงพอใจ เกณฑการใหคะแนน 4.51-5.00 3.51-4.50 2.51-3.50 1.51-2.50 1.00-1.50

ความหมาย ระบบที่พฒั นามีความพึงพอใจในระดับดีมาก ระบบที่พฒั นามีความพึงพอใจในระดับดี ระบบที่พฒั นามีความพึงพอใจในระดับพอใช ระบบที่พฒั นามีความพึงพอใจในระดับนอย ระบบที่พฒั นามีความพึงพอใจในระดับนอยมาก

4. ผลการดําเนินงาน

หนาจอหลักที่ผูใชทั้ง 3 ประเภท คือ ผูฝากขาย ผูใชทั่วไป และผูดูแลระบบ ใชโตตอบกับระบบ มีดังนี้ หนาหลักของระบบ แสดงถึงขอมูลทั่วไปของจังหวัด อุบลราชธานี ดังภาพที่ 3 4.1

ภาพที่ 2 E-R Diagram ของระบบ การพัฒนาระบบ จากการศึกษาขอมูลที่ดิน และนํามาทําการวิเคราะหเพื่อ ออกแบบระบบ ทําใหทราบถึงกระบวนการในการทํางานของ ระบบ โดยระบบไดพัฒนาดวยภาษา ASP.NET ใช VBScript เพื่อใหโปรแกรมสามารถทํางานไดตามขั้นตอนและวิธีการที่ได ออกแบบไว สวนการจัดการฐานขอมูลไดพัฒนาดวย Microsoft SQL Server 2005 แสดงผลลัพธผานโปรแกรมเว็บบราวเซอร นอกจากนั้นในการพัฒนาระบบยังไดทําการศึกษาและออกแบบ ในสวนติดตอกับผูใช (Graphic User Interface :GUI) 3.3

ภาพที่ 3 หนาหลักของระบบ 4.2 หนาจอของการสมัครสมาชิก

เปนสวนที่ผูใชเขามา ทําการสมัครสมาชิก เพื่อทําการประกาศขายที่ดิน นอกจากนั้น ยังสามารถทําการแกไขขอมูลได ดังภาพที่ 4

การทดสอบและประเมินระบบ การประเมินความพึงพอใจของกลุมผูใชงาน แบงเปน 4 ดานคือการประเมินความพึงพอใจดานความสามารถทํางานตาม ความตองการของผูใช การประเมินความพึงพอใจดานหนาที่ ของระบบ การประเมินความพึงพอใจดานการใชงานของระบบ และการประเมินความพึงพอใจดานความปลอดภัย โดยกําหนด เกณฑการประเมิน 5 ระดับ ดังตารางที่ 1 ซึ่งการทดสอบความพึงพอใจ ไดแบงกลุมผูใชเปน 2 กลุม คือ ผูเชี่ยวชาญจํานวน 5 คน และผูใชทั่วไปจํานวน 10 คนโดย ใชแบบสอบถามกับกลุมตัวอยาง และหลักทางสถิติมาทําการ วิเคราะห เพื่อหาระดับความพึงพอใจ 3.4

ภาพที่ 4 การสมัครสมาชิก 82


The National Conference on Computing and Information Technology

NCCIT'08

4.3 หนาจอของการประกาศขายที่ดิน ดังภาพที่ 5

4.6 หนาจอของระบบคนหาที่ดิน จะแสดงในสวนของการ

กรอกเงื่อนไขตาง ๆ แลวทําการคนหา จากนั้นระบบจะแสดง รายละเอียดของขอมูลที่ดินที่ใกลเคียงกับเงื่อนไข ดังภาพที่ 8

ภาพที่ 5 การประกาศขายที่ดิน 4.4 หนาจอของการแกไขขอมูลที่ดิน ดังภาพที่ 6

ภาพที่ 8 ระบบคนหาที่ดิน 4.7 หนาจอของการเปรียบเทียบเปนการแสดงผลสรุปของ

การเปรียบเทียบหลังจากทําการคนหา ดังภาพที่ 9

ภาพที่ 6 การแกไขขอมูลที่ดิน 4.5 หนาจอแสดงรายละเอียดขอมูลที่ดิน หลังจากการ

แกไขขอมูลที่ดิน ดังภาพที่ 7

ภาพที่ 9 การเปรียบเทียบราคาที่ดิน 5. สรุปผลและขอเสนอแนะ

เมื่อนําระบบสนับสนุนการตัดสินใจ มาชวยในการพัฒนา ทําใหระบบสามารถคนหาทางเลือกจากขอมูลที่มีอยูจํานวนมาก ภายใตเงื่อนไขของประเภทการใชงาน ที่ตั้ง ราคา และขนาด เพื่อแนะนําทางเลือกที่ดีที่สุด ที่ใกลเคียงกับความตองการของ ผูใช ซึ่งจะชวยใหผูใชสามารถวิเคราะห และเปรียบเทียบกอน ทําการตัดสินใจซื้อ โดยผลการพัฒนาระบบสามารถปฏิบัติงาน ไดผลเปนที่นาพอใจ จากการประเมินของผูเชี่ยวชาญและผูใช ทั่วไป สามารถสรุปผลได ดังนี้

ภาพที่ 7 รายละเอียดขอมูลที่ดิน

83


The National Conference on Computing and Information Technology

NCCIT'08

5.3 ขอเสนอแนะเพิ่มเติม

5.1 สรุปผล

สรุปผลของผูเชี่ยวชาญ ผลการประเมิน ความพึงพอใจของผูเชี่ยวชาญตอระบบจาก ผูเชี่ยวชาญจํานวน 5 คน โดยคาเฉลี่ยของระดับความพึงพอใจ ตอระบบเทากับ 4.25 และคาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานมีคาเทากับ 0.54 ซึ่งหมายความวา เกณฑความพึงพอใจอยูในระดับดี สรุปผลของผูใชทั่วไป ผลการประเมิน ความพึงพอใจของผูใชทั่วไปตอระบบจาก ผูใชทั่วไปจํานวน 10 คน โดยคาเฉลี่ยของระดับความพึงพอใจ ตอระบบเทากับ 4.39 และคาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานมีคาเทากับ 0.49 ซึ่งหมายความวา เกณฑความพึงพอใจอยูในระดับดี

5.3.1 ควรมีการพัฒนาระบบที่สามารถรองรับการจอง ที่ดิน หรือซื้อ-ขายที่ดินได 5.3.2 ควรมีการพัฒนา ระบบที่สามารถรองรับใน อสังหาริมทรัพยประเภทอื่น เชน ตึก อาคารพาณิชย หรือบาน พรอมที่ดิน เปนตน 5.3.3 ควรมีการพัฒนาระบบที่สามารถรองรับในสวน ของนายหนาคาที่ดิน 5.3.4 เพิ่มการเปรียบเทียบในดานอื่น เชน สภาพของ ดิน ใกลแหลงน้ํา ใกลสถานที่สาํ คัญ 6. เอกสารอางอิง

5.2 อภิปรายผล

5.2.1 ดานความสามารถทํางานตามความตองการของ ผูใช (Functional Requirement Test) เมื่อพิจารณา การประเมิน ความพึงพอใจ ดานความสามารถทํางานตามความตองการของ ผูใช เชน ความสามารถในการเพิ่ม ลบและแกไขขอมูล การ สรางปุมเชื่อมโยงแตละหนาของระบบ ความสามารถในการ นําเสนอขอมูลที่เปนทั้งตารางและรูปภาพ ซึ่งผลการประเมิน ความพึงพอใจอยูในระดับดี 5.2.2 ดานหนาที่ของระบบ ( Fun cti o n al Test ) พิจารณาการประเมินความพึงพอใจดานหนาที่ของระบบ เชน ความถูกตองในการจัดเก็บขอมูล ความถูกตองในการแสดงผล ความถูกตองในการเพิ่ม ลบ แกไขขอมูล ซึ่งผลการประเมิน ความพึงพอใจอยูในระดับดี 5.2.3 ดานการใชงานของระบบ (Usability Test) พิจารณาการประเมินความพึงพอใจ ดานการใชงานของระบบ เชน ความเหมาะสม ในการจัดวางสวนตาง ๆ บนจอภาพ ความเหมาะสมในการจัดวางปุมเมนู ความชัดเจนของขอความ ความเหมาะสมของขนาดตัวอักษร รวมไปถึงความเหมาะสม ของสีพื้นหลัง และระบบใชงานงาย ซึ่งผลการประเมินความ พึงพอใจอยูในระดับดี 5.2.4 ดานความปลอดภัย (Security Test) เมื่อ พิจารณาการประเมินความพึงพอใจ ดานความปลอดภัย เชน การกําหนด Username และ Password เพื่อใชตรวจสอบผูเขา ใชระบบ การใหสิทธิในการเพิ่มขอมูล การแกไขขอมูลได เฉพาะสมาชิก ซึ่งผลการประเมินความพึงพอใจอยูในระดับดี

[1]

[2]

[3]

[4]

[5]

[6]

[7]

[8]

[9]

84

พงศธร บุญอารีย. ธุรกิจกับกฎหมาย. กรุงเทพฯ : ดวงกมล (2520), 2544. กิตติ ภักดีวัฒนะกุล. คัมภีรระบบสารสนเทศ. กรุงเทพฯ : เคทีพี คอมพ แอนด คอนซัลท, 2546. กิตติ ภักดีวัฒนะกุล. คัมภีรระบบสนับสนุนการตัดสินใจและระบบ ผูเชี่ยวชาญ. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : เคทีพี คอมพ แอนด คอน ซัลท, 2550. กฤษณะศักดิ์ พวงจันทร. ระบบสนับสนุนการตัดสินใจการ ทองเที่ยวจังหวัดพังงาผานเครือขายอินเตอรเน็ต. กรุงเทพฯ : สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ, 2548. ทวีศกั ดิ์ สุวรรณจริตกุล. การพัฒนาระบบคนหาการใหบริการใน ระบบเครือขายขององคกร. กรุงเทพฯ : สถาบันเทคโนโลยี พระจอมเกลาพระนครเหนือ, 2548. วัชรศักดิ์ ประภาตะนันทน. ระบบชวยสนับสนุนการตัดสินใจเพื่อ ซื้อยานพาหนะ กรณีศึกษารถยนต. กรุงเทพฯ : สถาบัน เทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ, 2548. สกลนันท หุนเจริญ. การคนหาเมนูอาหารไทยเพื่อสุขภาพโดยวิธี กฎความสัมพันธและแผนผังตนไมเพื่อการตัดสินใจ. กรุงเทพฯ : สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ, 2548. สุกัญชลิกา ธรรมวินัยสถิต. ระบบสนับสนุนการตัดสินใจในการ ทองเที่ยวจังหวัดเพชรบุรี. กรุงเทพฯ : สถาบันเทคโนโลยี พระจอมเกลาพระนครเหนือ, 2548. อรรถพล วัฒนไทยสวัสดิ.์ ระบบสนับสนุนการตัดสินใจในการ ออกกําลังกาย. กรุงเทพฯ : สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา พระนครเหนือ, 2548.


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.