ห น้ า | 1
Chapter 1
ประวัติวดั ปราสาท
ภาพที่ 1 วิหารวัดปราสาท วัดปราสาทเมืองเชียงใหม่เป็ นวัดที่เก่าแก่ที่มีการก่อสร้างในกาแพงเมืองเชียงใหม่แต่หลักฐานนั้น ไม่ปรากฏอย่างชัดเจน ว่าแรกเริ่ มสร้างขึ้นเมื่อใดแต่เชื่อกันว่าน่าจะถูกสร้างขึ้นครั้งแรกในช่วงพุทธศตวรรษ ที่ 20 ถึง 21 และได้ปรากฏหลักฐานชัดเจนว่าได้รับการบูรณะครั้งใหญ่โดยพระยาหลวงสามลล้าน เมื่อพ.ศ. 2366 ตามข้อความศิลาจารึ กวัดแห่ งนี้มีชื่อปรากฏในศิลาจารึ กสมัยโบราณคือศิลาจารึ กการสร้าง วัดตโปธาราม (วัดร่ าเปิ ง) โดยพระนางอตปาเทวี พระอัครมเหสี พระยอดเชียงรายกษัตริ ยเ์ ชียงใหม่ จ.ศ. 854 (พ.ศ.2035) ได้อาราธนานิมนต์ ไปร่ วมสังฆกรรมสวดแสดงธรรมที่ได้สร้างวัดเมื่อปี 2035 ซึ่ งได้กล่าว รายนามของพระภิกษุสงฆ์ที่ได้ส่งอาราธนาเพื่อประกอบพิธีซ่ ึ งมีรายนามของพระภิกษุจากวัดปราสาทด้วย จากข้อความจารึ กด้านที่หนึ่งบรรทัดที่ 13 - 16 ดังข้อความ "... พระมหาสวามีญาณโพธิ วัดป่ าแดง พระมหาเถระสุ รศรี วดั มหาโพธิ พระมหาธรรมเสนาบดี มาหาเถร สัทธรรมฐิรปราสาท และพระมหาเถรญาณสาคร อารามิสาระทั้ง 5 รู ป เป็ นพระประธาน" ดังนั้นจึงสันนิษฐานได้วา่ วัดนี้น่าจะมีมาก่อนพ.ศ. 2035 และน่าจะมีการให้ความสาคัญอย่าง ต่อเนื่องมาโดยตลอด แม้บางคราวที่เชียงใหม่ตอ้ งตกอยูใ่ นอานาจการปกครองของพม่าก็ยงั ได้รับการ
ห น้ า | 2
ทะนุบารุ ง ซ่อมแซมเรื่ อยมาดังปรากฏที่มีจารึ กใต้ฐานพระพุทธรู ปสาริ ดปางมารวิชยั ที่ประดิษฐานในวิหาร ว่ามีการสร้างเมื่อจุลศักราช 952 (พ.ศ. 2133) วัดปราสาทแห่งนี้โดยเฉพาะวิหารน่าจะมีการสร้างในสมัยของพญาธรรมลังกา(พ.ศ. 2384) โดยมี พระยาหลวงสามล้าน(หนานขัติยะ) เป็ นประธานในการสร้างวิหาร เจดีย ์ อุโบสถ ซุม้ ปราสาท ปี พ.ศ. 2366 โดยมีการบันทึกไว้อย่างเป็ นลายลักษณ์อกั ษรในบันทึกพระยาหลวงสามล้านดังข้อความ "... วัดปราสาทข้ าก็สร้ างพระวิหาร ทานปราสาทโขง พระเจ้ าก้ นตูวิหารก็ได้ ทานแล้ ว..." ซึ่ ง สัมพันธ์ กับการจารึ กที่เขียนไว้ ที่ฝาผนังด้ านทิศใต้ อ่านได้ ว่า จุลศักราช 1185 ตัวปี ฉลูนากับโภชที่ไกร ไทย ภาษาว่ าปี ก่ าเม็ด อันน่ าจะเป็ นการเขียนแสดงให้ เห็นถึงวัสดุในการสร้ างวิหารวัดปราสาทในบันทึกพระยา หลวงสามล้ าน คือ "ข้ าจาบ่ ได้ เล่ าและอันข้ าได้ สร้ างพระวิหารวัดปราสาทหลังหนึ่งอันข้ าได้ คิดไม้ หื้อเป็ น เครื่ องและเสาหื ้อครู บาเจ้ ามหิ นวัดอุโบสถ แคว้ นหวาย หื ้อแป๋ งวิหารแล้ ว ทานแล้ ว .." ปราสาทตามความหมายคือที่ประทับอยูข่ องเจ้านายหรื อขุนนางที่มีค่ายป้ อมปราการ ดูเหมือนว่า เป็ นวัดของเจ้านายชั้นผูใ้ หญ่สร้างอยูใ่ นกาแพงเมืองจึงได้รับการบูรณปฏิสังขรณ์ทานุ บารุ งจากข้าราชการ เจ้านายในการต่อมาทุกยุคทุกสมัย แม้บางคราว ที่เชียงใหม่ตอ้ งตกอยูใ่ นอานาจการปกครองของพม่า ก็ยงั ได้รับการทานุบารุ งซ่อมแซมดังปรากฏในคาจารึ กใต้พระพุทธรู ปและบันทึกพระยาหลวงสามล้านเป็ น หลักฐานอยู่ ชื่อของวัดปราสาทคงสื บเนื่ องมาจากลักษณะทางสถาปั ตยกรรมคือมีโขงปราสาท และเข้าใจว่า น่าจะเป็ นที่มาของชื่อวัดปราสาทแห่งนี้ ซึ่ งลักษณะของวิหารเช่นนี้ยงั คงมีปรากฏอยูใ่ นเมืองเชียงใหม่อีกคือ วิหารวัดป่ าแดงหลวงและวิหารลายคาวัดพระสิ งห์วรมหาวิหาร
ประวัติการบูรณะ ปี พ.ศ. 2469 มีการบูรณะครั้งใหญ่ พระวิหาร เจดีย ์ อุโบสถ ซุ ม้ ปราสาท ปี พ.ศ. 2469 มีการบูรณะซุ ้มปราสาทหลังวิหารโดยครู บาเจ้าศรี วชิ ยั เป็ นประธาน ปี พ.ศ. 2520 ท่านพระครู ชินวงศ์ศานุวตั ร์ เจ้าอาวาสวัดปราสาทเป็ นประธานบูรณะ ซ่อมแซมทุนทรัพย์ 550,000 บาท ปี พ.ศ. 2528 นายชัยยา พูนศิริวงศ์ เป็ นประธานนาผ้าป่ ามาทอดเพื่อใช้ทุนทรัพย์ในการบูรณะ 550,000 บาท ปี พ.ศ. 2548 (ปัจจุบนั ) การบูรณะหน้าบันวิหาร ลวดลายคาประดับวิหาร โดยกลุ่มอนุรักษ์จิตรกรรมติดที่ สานักโบราณคดีกรมศิลปากรกระทรวงวัฒนธรรม
ห น้ า | 3
ตาแหน่ งและทีต่ ้ัง วัดประสาทตั้งอยูถ่ นนอินทวโรรส ตาบลศรี ภูมิอาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ อยูใ่ นเขตกาแพงเมือง ตั้งอยูท่ างทิศตะวันออกเฉี ยงเหนือของประตูสวนดอก ทิศเหนื อ ติดกับวัดพระสิ งห์วรมหาวิหาร โดยมีถนนอินทวโรรสเป็ นตัวแบ่งเขต ทิศตะวันออก ติดกับอาณาเขตวัดผาบ่อง ทิศตะวันตกและทิศเหนือ ติดกับที่ดินของประชาชน
ภาพที่ 2 แสดงเส้นทางไปวัดปราสาท
ห น้ า | 4
Chapter 2
รู ปแบบทางสถาปัตยกรรมของวิหารวัดปราสาท วิหารวัดปราสาทเป็ นวิหารพื้นเมืองล้านนาที่ยงั คงแบบแผนทางสถาปั ตยกรรมและศิลปกรรมแบบ ล้านนาไว้ เป็ นหนึ่งในห้าแห่ งของวิหารทรงปราสาทที่เป็ นวิหารล้านนา มีลกั ษณะพิเศษ คือมีการสร้าง มณฑปปราสาทเชื่อต่อท้ายวิหาร
ลักษณะทัว่ ไปของวิหารล้ านนา ลักษณะของวิหารพื้นเมืองล้านนาที่อายุอยูร่ ะหว่างพุทธศตวรรษที่20-24 มีรูปแบบอยู่ 2รู ปแบบคือ วิหารแบบเปิ ด ,วิหารไม่มีป๋างเอก หรื อวิหารโถง คือ วิหารที่ไม่มีผนังจากพื้นวิหารจะมีผนังอยูเ่ พียง3 ด้าน เป็ นผนังลอยที่สร้างจากหัวเสาของเสาข้างลงมาเพียงครึ่ งเสา หรื อที่เรี ยกว่าแป้ นน้ าย้อย และวิหารแบบปิ ด หรื อวิหารมีป๋างเอก เนวิหารที่มีผนังทึบ มีการสร้างโดยทัว่ ไป มีการสร้างผนังจากฐานวิหารจรดโครงหลังคา ผนังของวิหารแบบนี้มีการใช้วสั ดุอยู่ 2ชนิด คือไม้และปูน วิหารแบบนี้มีลกั ษณะความแตกต่างกัน คือ 1.วิหารทรงโรง เป็ นวิหารที่ไม่มีการยกเก็จ เป็ นรู ปแบบที่ได้รับอิทธิ พลจากภาคกลาง ผังเป็ น สี่ เหลี่ยมผืนผ้า 2.วิหารทรงปราสาท เป็ นวิหารที่มีการสร้างมณฑปปราสาทเชื่อมต่อท้ายวิหารเพื่อใช้ประดิษฐาน พระประธาน การทาผังพื้นของวิหารล้านนาจะมีการทาในลักษณะการยกเก็จ ออกมาจากพระประธาน โดยเรี ยก เป็ น "ซด" วิหารล้านนาส่ วนมาก จะยกเก็จออกทางด้านหน้า พระประธาน 2ซด ซึ่ งการยกเก็จนี้จะมี ความสัมพันธ์กบั การลดหลัน่ ของขนาดละการลดชั้นขอหลังคา หากมีการแบ่งซดหน้าพระประธาน 2ซด หลังซดการซ้อนชั้นของหลังคาจะแบ่งไปตามการยกเก็จนัน่ เอง โครงสร้างของหลังคา ได้แก่ โครงจัว่ หลังคา ถือว่าเป็ นสิ่ งจาเป็ นอย่างยิง่ ต่อการก่อรู ปวิหาร โครงสร้างของส่ วนหลังคาทางล้านนามี ชื่อเฉพาะที่เรี ยกว่า "ขื่อม้าต่างไหม" มีที่มาจากการบรรทุกผ้าไหม ของพ่อค้าบนเส้นทางสายไหม ลักษณะโครงสร้างของขื่อม้าต่างไหม มีความคล้ายคลึงกับโครงสร้างการรับ น้ าหนักของวิหารล้านนา ที่มีการถ่ายน้ าหนักของโครงหลังคามาสู่ เสา และคานด้านใน ส่ วนของโครงสร้าง หลังคาได้แบ่งออกเป็ นหลายส่ วนและหลายตัวตามลักษณะของการลดชั้นหลังคา เรี ยกว่าซด สามารถดึง ส่ วนประกอบของโครงสร้างหลังคา ได้ดงั นี้ 1.ขื่อหลวง ขื่อรับน้ าหนักมีหน้าที่คล้ายคาน อยูด่ า้ นล่างสุ ดของโครงสร้าง 2.ขื่อยี่ ขื่อตัวที่ 2 อยูเ่ หนือขื่อหลวง 3.ขื่อม้าสาม ขื่อตัวที่ 3อยูเ่ หนื อขื่อยี่ .แปอ้าย เป็ นไม้ที่ทาหน้าที่รับกลอนพาด 5. เสาสะโก๋ นเสาขนาดเล็กใช้ค้ ายันระหว่างขื่อ
ห น้ า | 5
ภาพที่ 3 โครงสร้างม้าต่างไหมวิหารวัดปราสาท ส่ วนที่เชื่อมต่อจากโครงสร้างหลังคา คือ เสาวิหาร ทาหน้าที่รองรับน้ าหนัก จากหลังคา เสาของ วิหารล้านนา มีอยู่ 3 รู ปแบบคือ เสากลม ทาเป็ นเสาหลวงอยูต่ รงกลางวิหารตั้งเป็ นแถวคู่ จากหน้าวิหารถึง พระประธาน แบบรองลงมา คือ เสาสี่ เหลี่ยม มักสร้างเป็ นเสาข้าง อยูท่ างด้านข้างวิหารติดกับผนังวิหาร จานวนของเสาเท่ากับเสาหลวง แบบสุ ดท้ายคือ เสาแปดเหลี่ยม มักจะพบเสาชนิดนี้อยูห่ น้าวิหารและมีเพียง 1 คู่ เท่านั้น รับน้ าหนักจากหน้าบันและมีการตกแต่งอย่างสวยงาม องค์ประกอบสุ ดท้าย ที่ทาหน้าที่ต่อจากเสาวิหาร คือ ส่ วนฐานวิหาร ฐานวิหารโดยทัว่ ไปแล้วมีท้ งั ฐานแบบเรี ยบหรื อฐานเขียง และฐานบัวหรื อฐานปั ทม์ และผังพื้นของวิหาร จะมีการยกเก็จ ลดหลัน่ กัน ซึ่ ง การยกเก็จนี้จะมีความสัมพันธ์กบั ส่ วนของหลังคาด้วย ในเรื่ องของการลดชั้นของหลังคา
แบบแผนทางสถาปัตยกรรมของวัดปราสาท วิหารวัดปราสาทเป็ นวิหารที่คงแบบแผนของวิหารล้านนาจัดอยูใ่ นกลุ่มของวิหารปิ ด หรื อวิหาร แบบมีป๋างเอก คือเป็ นวิหารที่มีการก่อรู ปผนังทึบตั้งแต่ฐานวิหารจรดกับโครงสร้างส่ วนหลังคา โครงของ วิหารเครื่ องไม้ เสาวิหารทั้งหมดเป็ นไม้ โดยมีเสาแปดเหลี่ยมอยูด่ า้ นหน้าวิหาร เสาไม้กลมตั้งเป็ นคู่ๆ ตรง กลางจนถึงพระประธาน และด้านข้างเป็ นเสาสี่ เหลี่ยม เสาทั้งหมดทาหน้าที่รับน้ าหนักจากคานและรับ น้ าหนักจากส่ วนของโครงสร้างหลังคา เรี ยกระบบนี้วา่ "ขื่อม้าต่างไหม"ห้องสุ ดท้ายของวิหารมีการสร้าง มณฑปปราสาทเชื่อมต่อกับตัววิหาร การสร้างมณฑปปราสาทนี้วตั ถุประสงค์คือประดิษฐานพระประธานใน วิหาร วิหารในลักษณะนี้ถูกเรี ยกว่า "วิหารทรงปราสาท" ซึ่ งเป็ นรู ปแบบวิหารที่มีการสร้างตั้งแต่กลางพุทธ ศตวรรษที่ 24เป็ นต้นมา
ห น้ า | 6
องค์ ประกอบทางโครงสร้ างของวิหารวัดปราสาท 1.ส่ วนฐาน ฐานของวิหารวัดปราสาทเป็ นการก่ออิฐถือปูน มีความสู งจากพื้นประมาณ 1.25 เมตร มีการยกเก็จ ในช่วงแรกในลักษณะคล้ายฐานเขียง เหนือจากฐานเป็ นบัวคว่า ขึ้นมาอีกเป็ นลักษณะของบังลูกแก้วอกไก่ ขนาดใหญ่ จะอยูต่ รงช่วงห้องวิหารที่ 1 เท่านั้น ส่ วนห้องวิหารที่ 2-6 ทาในลักษณะฐานหน้ากระดานรับกับ บัวคว่าเท่านั้น ตรงกลางวิหารในช่วงห้องวิหารที่3 และ5 ทางทิศเหนื อของวิหารทาเป็ นบันไดทางเข้า ส่ วน ทางทิศใต้ช่วงห้องวิหารที่ 3 จะมีเพียงบันไดเดียว การยกเก็จของวิหารวัดปราสาทมีลกั ษณะเป็ น หน้าสอง หลังหนึ่ง
ภาพที่ 4 ลักษณะฐานวิหารห้องที่ 2-5
ภาพที่ 5 ลักษณะฐานวิหารห้องที่ 1
2. ส่ วนตัววิหาร ผนังวิหารเป็ นผนังที่มีการปิ ดทึบทั้งหมด ตั้งแต่ช่วงห้องที่ 2 จนถึง วิหารห้องที่ 6 ซึ่งห้องสุ ดท้ายจะ มีส่วนเชื่อมกับมณฑปปราสาท ห้องแรกและห้องสุ ดท้าย จะเป็ นลักษณะก่ออิฐถือปูนแบบปิ ดทึบตั้งแต่ฐาน วิหารจรดส่ วนโครงสร้างหลังคามีการฉาบปูนขาวทับด้านหน้าวิหารช่วงห้องวิหารที่ 2 พบว่า ผนังปูนทึบ เหล่านั้นได้ไปบดบังลายปูนปั้ นในส่ วนของเสาแปดเหลี่ยม จึงอาจสันนิษฐานได้วา่ วิหารหลังนี้อาจจะเคย เป็ นวิหารโถงมาก่อน ซึ่ งแสดงให้เห็นว่าด้านหน้าวิหารอาจะเปิ ดโล่งมาแต่เดิม ไม่มีประตู แต่ต่อมาได้มีการ ก่ออิฐถือปูนทับไป ทาให้ไปบดบังลวดลายปูนปั้ นประดับเสาแปดเหลี่ยมและยังมีการสร้างประตูเปิ ดปิ ดหน้า วิหาร แต่จะกระทาการเปลี่ยนแปลงเมื่อใดนั้น ไม่มีหลักฐานปรากฏแน่ชดั ผนังปูนด้านท้ายวิหารห้องที่ 6 มี การก่ออิฐถือปูนทับหมดเช่นกัน ตั้งแต่ฐานวิหารจรดโครงสร้างหลังคาฉาบทับด้วยปูนขาว ด้านในวิหารมี การประดับตกแต่งด้วยลวดลายลงรักปิ ดทองทั้ง3ด้าน คือด้านทิศเหนือ ทิศใต้ และทิศตะวันตก ผนังทางด้าน ทิศตะวันตกนั้นมีการเจาะช่องประตูตรงกลางเพื่อเป็ นส่ วนเชื่อมของวิหารกับมรฑปปราสาท ด้านหน้าประตู มีการสร้างซุ ม้ โขงหน้าพระประธาน และด้านล่างซ้ายและขวาของซุ ม้ โขง มีการก่อฐานชุกชีติดกับผนังด้าน ทิศตะวันตกเพื่อเป็ นแท่นวางพระพุทธรู ปต่างๆ
ห น้ า | 7
ภาพที่ 6 ฝาผนังวิหารวัด ส่ วนล่างก่ออิฐถือปูน ส่ วนบนเป็ นผนังไม้ ผนังในส่ วนกลางของวิหาร ได้แก่หอ้ งที่ 3,4,และ 5 มีการก่ออิฐถือปูนสู งขั้นมาจากฐานวิหาร ประมาณ 1 เมตร ฉาบด้วยปูนขาวเช่นกัน เหนื อขึ้นมาทาเป็ นฝาผนังไม้เข้าเดือย หรื อเรี ยกว่า"ฝาต้าผ้า" มี ลักษณะคล้ายฝาปะกนของเรื อนไทยภาคกลาง โดยใช้ลูกตั้ง ลูกนอน และไม้ตาผ้าขนาดใหญ่ ซึ่ งเป็ นลักษณะ ของการทาฝาผนังลักษณะหนึ่งของล้านนา มีการเจาะช่องบานหน้าต่าง ทั้งหมด 8บาน โดยแบ่งเป็ นฝาทางทิศเหนื อ 4บาน ทางทิศใต้ 4บาน บานหน้าต่างมีการทาเป็ นแป้ นซี่ ลูกกรง และบานพับประตูจะเปิ ดเข้าออกทางด้านใน ห้องวิหารห้องที่ 2-6 ฝาผนังจะคัน่ ด้วยเสาสี่ เหลี่ยมเรี ยกว่า เสาข้าง และทางด้านทิศเหนื อห้องวิหารที่ 3 และ5 มีการทาประตู ทางด้านข้างวิหารอีก 2 ประตู ส่ วนทางด้านทิศใต้มีการทาประตูเพียงประตูเดียว คือ ห้องที่ 3
ภาพที่ 7 ประตูดา้ นข้างวิหารทิศเหนือ ห้องที่ 5
ภาพที่ 8 ประตูดา้ นข้างวิหารทิศใต้ ห้องที่ 3
ห น้ า | 8
2.1 องค์ปราสาท องค์ปราสาทนี้มีลกั ษณะเป็ นมณฑป แบ่งออกเป็ น 4ทิศ วัตถุประสงค์คือ ใช้เป็ นที่ ประดิษฐานพระประธาน โดยด้านหน้านั้นเชื่ อต่อกับท้ายวิหาร โดยมีซุม้ ประตูโขงอยูด่ า้ นหน้า ลักษณะของ องค์ปราสาทนี้ แบ่งออกเป็ น 3ส่ วน คือ 2.1.1 ส่ วนฐาน ทาเป็ นลักษณะของฐานเขียง ทั้งหมด 5ชั้น เหนื อขึ้นไปเป็ นฐานบัว ใน ลักษณะของบัวคว่ามีการย่อมุมของฐาน 2.1.2 ส่ วนเรื อนธาตุ เป็ นส่ วนที่ต่อจากส่ วนฐานมีลกั ษณะเป็ นเรื อนธาตุทรง สี่ เหลี่ยม จัตุรัส และมีการทาซุม้ จระนาออกมาจากเรื อนธาตุ3ด้าน คือ ด้านทิศเหนือ ทิศใต้ และทิศตะวันตก เนื่องจากทางทิศตะวันออกเป็ นส่ วนเชื่อมกับห้องวิหารห้องสุ ดท้าย ประตูทางเข้าคือ ซุม้ ประตูโขงประดับ ลายคา อยูท่ างด้านในวิหารห้องสุ ดท้าย ซุ ม้ จระนา ทั้ง3ด้าน หันหน้าออก3ทิศ มีลกั ษณะเป็ นซุม้ โค้งปลาย แหลม มีร่องเปิ ดทางด้านหน้า ซุ ม้ ภายในประดิษฐานพระพุทธรู ป ที่มีพุทธลักษณะคล้ายกับองค์พระ ประธานภายในเรื อนธาตุ พระพุทธรู ปทั้ง3องค์ประทับอยูเ่ หนือดอกบัว หันพักตร์ ออกไป 3ทิศ เป็ น พระพุทธรู ปปางมารวิชยั ส่ วนยอดของบริ เวณเรื อนธาตุ ทาเป็ นหลังคาลาดลดลงมา สัน หลังคาแต่ละมุมมีพญานาคประดับ ภาพพระพุทธรู ปปางมารวิชยั ประดิษฐานในซุม้ จระนา ด้านทิศเหนือ และทิศใต้ ของมณฑปปราสาท ภาพลักษณะทางกายภาพของมณฑปปราสาท แสดงถึงส่ วนฐาน ส่ วนเรื อนธาตุ และส่ วนยอด 2.1.3 ส่ วนยอดปราสาท มีลกั ษณะการทายอดลดหลัน่ กันคล้ายฐานปั ทม์ ซ้อนชั้น จานวน 5ชั้น เหนือขั้นไปเป็ นปลียอดและต่อด้วยฉัตรทอง5ชั้น จากนั้นมีการทายอดปราสาทนี้อีก 4 ยอด อยูใ่ น4ทิศ มีลกั ษณะคล้ายกันกับยอดกลาง รวมทั้งสิ้ นเป็ น 5ยอด อัน หมายถึงความเชื่อเรื่ อง พระพุทธเจ้า 5 พระองค์ ยอดปราสาททั้ง5แต่ละชั้นจะมีการทาซุ ม้ บันแถลงขนาดเล็กติดอยูด่ ว้ ยทุกด้าน
ภาพที่ 9 มณฑปปราสาท
ภาพที่10 ยอดมณฑปปราสาท
ห น้ า | 9
2.2 เสาวิหาร เสาวิหารทั้งหมดสร้างขึ้นด้วยไม่ท้ งั หมด 22ต้น ได้มีการแบ่งเป็ น 3 แบบ ตามลักษณะการใช้งาน คือ 2.2.1 เสาแปดเหลี่ยม ตาแหน่งจะอยูห่ น้าวิหาร มี เพียง1คู่เท่านั้น มีการประดับลวดลายปูนปั้ นตกแต่งอย่างสวยงาม ทั้งเสา
ภาพที่ 11 เสาแปดเหลี่ยม 2.2.2 เสากลม ตาแหน่งจะ อยูถ่ ดั จากเสาแปดเหลี่ยมหน้าวิหารเรื่ อยไป จนถึงหน้าพระประธาน มีท้ งั หมด5คู่ ทา หน้าที่เป็ นเสาหลวง มีการประดับตกแต่งลาย คาบนพื้นรักสี แดงอย่างสวยงาม
ภาพที่ 12 เสากลม หรื อเสาหลวง 2.2.3 เสาสี่ เหลี่ยม ตาแหน่งของเสาคู่น้ ี อยู่ ทางด้านข้างของวิหารติดกับผนังทั้ง2ด้าน ทาหน้าเป็ นตัว แบ่งกั้นห้องวิหาร มีจานวน5คู่ ตกแต่งด้วยลายคาบนพื้นรัก แดงเช่นเดียวกับเสาหลวง
ภาพที่ 13 เสาสี่ เหลี่ยมหรื อเสาข้าง
ห น้ า | 10
2.3 ประตู-หน้าต่าง ประตูของวิหารมี ทั้งหมด 4 ประตู แบ่งเป็ นด้านหน้าวิหาร ทิศตะวันออกลักษณะเป็ นบาน ติดกับ เสาแปดเหลี่ยมหน้าบันไดนาค มีอยู่ 2 บาน ส่ วนประตูเล็กมีท้ งั หมด 3บาน อยู่ บริ เวณทิศเหนือและทิศใต้ของผนังวิหาร โดยประตูจะอยูต่ าแหน่งที่มีการยกเก็จ ออกมาตรงห้องวิหารที่ 3 และห้องวิหาร ภาพที่ 14 ประตูหน้าต่าง ที่5 สาหรับทิศใต้น้ นั จะมีเพียงห้องวิหารที่ 3 วิหาร เท่านั้นที่มี 1 บาน ประตูทุกบานไม่มีการประดับตกแต่งหน้าต่างทั้งหมด 8บาน แบ่งเป็ นทิศเหนื อ 4บาน และ ทิศใต้ 4บาน ตาแหน่งอยูบ่ ริ เวณตรงกลางของฝาตาผ้า มีลกั ษณะการใช้ไม้ทาเป็ นซี่ กรง และไม่มีการประดับ ตกแต่งเช่นเดียวกับประตู 2.4 บันไดนาค ตาแหน่งของบันไดนาคอยูบ่ ริ เวณด้านหน้าวิหาร ทางด้านทิศตะวันออก เป็ นลักษณะ ขั้นบันไดก่ออิฐถือปูน จานวน7ขั้น สองข้างมีประติมากรรมนาคชูคอ อ้าปาก มีหงอนยาว ลาตัวพาดไปตาม ราวบันได จรดเสาแปดเหลี่ยมทั้งคู่ หางของพญานาคมีการม้วนขึ้นไปเป็ นวงซ้อนกัน 3ชั้น มีการประดับ ตกแต่งด้วยลวดลายปูนปั้ นอย่างสวยงาม
ภาพที่ 15 บันไดนาควิหารวัดปราสาท
ห น้ า | 11
3.ส่ วนหลังคา โครงสร้างหลังคาวิหารวัดปราสาททั้งหมดเป็ นโครงสร้างของวิหารเครื่ องไม้ ตามแบบแผนของ วิหารล้านนา รัยกว่า "ขื่อม้าต่างไหม" อันประกอบไปด้วยขื่อหลวง ทาหน้าที่คล้ายคานอยูด่ า้ นล่าง เหนือขึ้น ไปเป็ นขื่อยี่ และขื่อม้าสามและสู งสุ ดคืออกไก่ ขื่อทั้งหมดถูกค้ าด้วยเสาสะโก๋ น และไม้ที่นามาพาดเป็ นทาง ยาว คือ แปถูกจัดวางตามสัดส่ วนมีการลดหลัน่ ของชั้นหลังคา ไปตามการยกเก็จของฐานวิหาร แบ่งออกเป็ น 5 ซด แต่ละซดมีอยู่ 3ตับ คือตับบน และตับล่าง หน้าบันวิหารมีการประดับตกแต่งด้วยลายปูนปั้ นตามช่อง ลูกฟัก ส่ วนหน้าบันด้านหลังไม่มีการตกแต่ง เป็ นกรอบลูกฟักเรี ยบๆ
ภาพที่ 16 โครงสร้างหลังคาเครื่ องไม้ มุงด้วยกระเบื้องดินขอ
ภาพที่ 17 หน้าจัว่ ด้านในวิหารวัดปราสาท และแผงพระพิมพ์ขนาดเล็กบนขื่อ
ห น้ า | 12
Chapter 3
งานศิลปกรรมประดับวิหารวัดปราสาท งานศิลปกรรมที่ปรากฏอยูใ่ นวิหารวัดปราสาทมีอยูห่ ลายประเภท สามารถจาแนกลักษณะทาง ศิลปกรรมได้ตามประเภทของวัสดุที่ถูกใช้งาน และเทคนิคการประดับตกแต่ง อันได้แก่
1.งานแกะสลักไม้ ปรากฏอยูใ่ นส่ วนของหลังคา อันได้แก่ ช่อฟ้า และ ป้ านลม ลักษณะของช่อฟ้าเป็ นไม้แกะสลักรู ป ปากนกปลายงอน มีจานวนทั้งหมด 5 ชิ้น และป้ านลมเป็ นแบบไม้แผ่นปิ ดตรงหัวแป มีนมนาค ซึ่ งมีลกั ษณะ คล้ายกับใบระกา ที่มีหวั กลับลงด้านล่าง หางช่อฟ้าเป็ นรู ปพญานาคมีร่องรอยประดับกระจก ทั้งช่อฟ้าและ ป้ านลมนี้สร้างขึ้นมาใหม่
ภาพที่ 18 ช่อฟ้า และป้ านลมวิหารวัดปราสาท อีกประเภทหนึ่งอยูใ่ นส่ วนประดับของตัววิหารด้านข้างทางทิศเหนื อและทิศใต้ ได้แก่ นาคทัณฑ์ จะ ติดอยูก่ บั เสาวิหารด้านข้างจานวนทั้งสิ้ น 7 คู่ หรื อ 14 ตัว โดยทาด้วยเทคนิคการแกะสลักแบบเหมือนกันทั้ง ด้านหน้าและด้านหลังและเรี ยงกันเป็ นคู่ ซ้าย-ขวา เหมือนกัน แต่การประดับตกแต่งลวดลายจะแตกต่างกัน ในแต่ละคู่
ห น้ า | 13
ภาพที่ 19 คันทวยคู่ที่ 1 กินรี ร่ายรา ประดับลายพรรณพฤกษา
ภาพที่ 21 คันทวยคู่ที่ 3 นาคเกี้ยว
ภาพที่ 20 คันทวยคู่ที่ 2 หนุมานยืนแบก ประดับลายกนก
ภาพที่ 22 คันทวยคู่ที่ 4 ครุ ฑยุดนาค
ห น้ า | 14
ภาพที่ 23 คันทวยคู่ที่ 5 พญานาคขด ประดับลายดอกพุม่ ข้าวบิณฑ์
ภาพที่ 24 คันทวยคู่ที่ 6 พญานาคขด ประดับลายดอกสัปปะรด
ภาพที่ 25 คันทวยคู่ที่ 7 หนุนมานนัง่ แบก ประดับลายกนก
ภาพที 26 แผงแลสลักไม้
ห น้ า | 15
2.งานปูนปั้น ปรากฏอยูใ่ นส่ วนของหลังคา ผนังวิหารและบันไดนาค ลักษณะของตัวนาคนั้น จะเป็ นลาตัวยาว ทอดไปตามบันไดทางขึ้นวิหารลักษณะส่ วนหัวปากอ้ามีปลายหงอน ส่ วนหางพันกันซ้อนชั้นเป็ น 3 ชั้น ส่ วน ของหลังคาได้แก่หน้าบัน แบ่งออกเป็ น 3 ส่ วน คือ ส่ วนกลาง หรื อเรี ยกว่า หน้าแหนบและด้านข้าง 2 ข้าง เรี ยกว่า หน้าบันปี กนกหรื อแหนบปี กนกประดับด้วยลวดลายปูนปั้ นประดับกระจก ลักษณะทางโครงสร้างของหน้าบันหรื อหน้าแหนบส่ วนกลางเป็ นลักษณะของสามเหลี่ยมหน้าจัว่ ต่อด้วยโครงสร้างรู ปสี่ เหลี่ยมผืนผ้าและด้านล่างสุ ดเป็ นส่ วนของโก่งคิว้ ด้านหน้าจะเจาะเป็ นช่องลูกฟักมีเสา สะโก๋ นคัน่ ส่ วนด้านริ มหน้าจัว่ ประดับด้วยลายบ่าง หรื อ บ่างข้าง ลักษณะลวดลายที่พบบนเสาสะโก๋ น ได้แก่ ลวดลายดอกไม้ประดิษฐ์ประดับลายจุดไข่ปลาแนวหน้ากระดาน เป็ นลายเงื่อน ที่สานกันเป็ นตาข่าย แถว หน้ากระดาน ด้านล่างสุ ด เป็ นลายประจายาม จานวน 3 ดอก ประดับด้วยลายกนกก้านขด ดอกคอหน้า แหนบเป็ นช่อลูกฟัก ขอบด้านข้างประดับเป็ น ลายพุม่ ข้าวบิณฑ์เรี ยงกันเป็ นหน้ากระดานทั้ง 4 ด้านรอบ กรอบ ภายในลูกฟักเป็ น ลายพันธุ์พฤกษาดอกไม้ประดิษฐ์ 5 กลีบ ตรงกลางประดับด้วยกระจกเงา บ่างข้างมี ลักษณะโครงสร้าง รู ปสามเหลี่ยมมุมฉากนอกขอบประดับลายปูนปั้ นดอกไม้ 4 กลีบ ภายในกรอบ ประกอบด้วยกรอบ 2 ชั้นประดับลายเครื อเถา และลายดอกพุม่ ข้าวบิณฑ์ มีกา้ นและใบจานวน 3 ใบ
ภาพที่ 27 ลักษณะลวดลายปูนปั้ นประดับหน้าบันส่ วนกลาง ถัดลงมาด้านล่างในส่ วนของคอกีดแบ่งเป็ นแถวทั้งหมด 5 แถว แถวบนสุ ด มีกรอบ 1 แถว ภายใน กรอบประดับลายกระจัง ในกรอบแบ่งเป็ นช่องลูกฟัก จานวน 3 ช่อง แต่ละช่องประดับลายดอกไม้ (ดอก ทานตะวัน) 8 กลีบ นอกกรอบลูกฟักประดับลายพันธุ์พฤกษา เครื อเถาก้านขดแถวที่ 2 เป็ นลายดอกประจา ยามหน้ากระดานประดับลายเครื อเถาก้านขด แถวที่ 3 เป็ นงานสลักไม้เจาะเป็ นช่องลูกฟักสลักไม้ ลายสิ งห์
ห น้ า | 16
ประดับลายพันธุ์พฤกษาใบไม้ ลูกฟักมีท้ งั หมด 3 ช่อง แถวที่ 4 ปรากฏเป็ นลายบัวหงาย แบ่งออกเป็ น 2 ฟาก ลักษณะของกลีบบัวเป็ นเป็ นบัวหงายกว้างออกเป็ นปากพนัก แถวที่ 5 เป็ นแถวหน้ากระดานลูกฟักประดับ ลายก้านขด ในกรอบลูกฟักประดับลายก้านขด ในส่ วนของดูกงูประดับลายรักร้อยและเม็ดไข่ปลา
ภาพที่ 28 หน้าบันปี กนกทิศใต้
ภาพที่ 29 หน้าบันปี กนกทิศเหนือ
โครงสร้างรู ปสามเหลี่ยมมุมฉาก นอกขอบประดับลายปูนปั้ น ดอกไม้ 4 กลีบ ภายในกรอบ ประกอบด้วยกรอบ2ชั้น ประดับลายเครื อเถาและลายดอกพุม่ ข้าวบิณฑ์มีกา้ นและใบจานวน3ใบ กรอบลูก ฟักประดับลายปูนปั้ นลายเม็ดไข่ปลาและลายบัวตรงแปมี ลายหนุมานสลักไม้แบกเสาสะโก๋ น มีลกั ษณะเป็ น ลายประจายามก้านแย่งอยูร่ ิ มชิดติดกับเสาแปดเหลี่ยม ถัดลงมาแบ่งออกเป็ น3แถว แถวที่ 1เป็ นงานสลักไม้ รู ปสิ งห์อยูภ่ ายในกรอบลูกฟักนอกกรอบรู ปปั กประดับด้วยลวดลายประจายาม แถวที่ 2 เป็ นลายบัวหงาย ลักษณะกลีบบัวเป็ นบัวหงายกว้างออกเป็ นปากพนัง แถวล่างสุ ดอยูเ่ หนื อโก่งคิ้วปรากฏเป็ นลายจีนชื่อ "อวั้นจื้อจิ่น"
ภาพที่ 30 อวั้นจื้อจิ่น ลวดลายมงคลของจีนบนหน้าบันปี กนกทั้งสองข้าง
ห น้ า | 17
โก่งคิ้วมีลกั ษณะโครงสร้างแบบโค้ง ในส่ วนของหน้าแหนบมีอยู่ 2 โค้ง ในส่ วนของแหนบปี กนกมี อยู่ 1 โค้ง ลักษณะลายคล้ายกันคือ ก้านขดประดับใบไม้ ในส่ วนของแปที่เป็ นเครื่ องประกอบหลังคาปรากฏ เป็ นงานปูนปั้ นประดับอยูเ่ ป็ นลายที่แตกต่างกัน ได้แก่ ลายก้านขด ลายดอกพุดตาน ลายประจายามก้านแย่ง ลายเถาเลื้อยคละกันไปเรี ยงเป็ นกระดาน
ภาพที่ 31 แสดงลวดลายปูนปั้ นประดับโก่งคิ้วส่ วนกลาง
ภาพที่ 32 แสดงลวดลายประดับโก่งคิ้วปี กนก
ห น้ า | 18
เสาหน้าวิหารที่ปรากฏเป็ นลายปูนปั้ นประดับ มีอยู่ 2 คู่ คู่กลางตาแหน่ง บริ เวณเสาหลวงลักษณะ เป็ นเสาแปดเหลี่ยมประดับลายปูนปั้ นเป็ นช่องแว่น ภายในกรอบช่องแว่นประดับลายดอกไม้ 8 กลีบ ช่อง แว่นแต่ละชั้นสับหว่างด้วยลายประจายาม ตรงกลางเกสรประดับด้วยกระจกจืน บริ เวณเสาข้างติดกับนาค ทัณฑ์ ปรากฏลายปูนปั้ นประดับอยูเ่ ป็ นลายราชวัติลกั ษณะลายเป็ นลายดอกประจายาม 4 กลีบ เส้นร้อย ระหว่างดอก เป็ นรู ปตาข่ายคล้ายกับลายก้านแย่ง หัวเสาประดับปูนปั้ นลายบัวหัวเสา มีลกั ษณะเป็ นลายบัว ชั้นเดียวช้อนกลีบ มีท้ งั หมด 5 กลีบ ตั้งอยูบ่ นฐานบัวอกไก่ ประกอบด้วยลายดอกไม้ 8 กลีบ ตกแต่งด้วย ใบไม้เรี ยงกันเป็ นหน้ากระดาน
ภาพที่ 33 ลวดลายปูนปั้ นประดับแปแบบต่างๆ
ภาพที่ 34 เสาแปดเหลี่ยม แสดงลวดลายปูนปั้ นประดับบัวหัวเสา ลายท้องเสาและลายเชิงเสา
ห น้ า | 19
ภาพที่ 35 เสาสี่ เหลี่ยม แสดงลวดลายปูนปั้ นประดับบัวหัวเสา ลายท้องเสา และลายเชิงเสา ด้านในวิหารมีลกั ษณะพิเศษอยูท่ ี่มีการสร้างประตูโขงทางด้านท้ายวิหารติดกับฐานชุกชี ที่มีการ แบ่ง ออกเป็ น 2 ส่ วน โดยเว้นช่องตรงกลางเพื่อเป็ นทางเดินเข้าไปข้างในห้องปราสาทด้านหลังได้ โดยมีซุม้ ประตู โขงอยูด่ า้ นหน้าสร้างเป็ นซุ ม้ โค้ง 2 ชั้น ซุ ม้ โค้งด้านล่าง ทาในลักษณะคล้ายกระบังยอดแหลมปลายซุม้ โค้ง ชั้นล่างเป็ นลายปูนปั้ น รู ปหงส์ยนื หันหน้ามองเข้าไปภายในกรอบซุ ม้ ในตัวกรอบโค้งมีการนาฝาชามเบญจ รงค์มาตกแต่งเป็ นใจกลางดอกไม้โดยปั้ นปูนเป็ นกลีบดอกไม้ลอ้ มรอบจานวนทั้งสิ้ น 3 ฝา ซุ ม้ โค้งชั้นบนทา เป็ นตัวมกร 2 ตัว ที่ยกหางขึ้นเกี่ยวกระหวัดกั้นขึ้นไปเป็ นยอดซุ ม้ ปากของมกรทั้งสองคายนาคลักษณะเป็ น นาค 5 เศียรทั้ง 2 ข้าง และในส่ วนของช่องว่าง ที่หางมกรเกี่ยวกันนั้นจะตกแต่งด้วยฝาชามเบญจรงค์นาคที่ ถูกมกรกลืนกรอบภายในซุ ม้ โขงกระจกจืนที่ตดั เป็ นรู ปวงกลมและปั้ นปูนเป็ นกลีบโดยรอบลักษณะคล้าย ดอกไม้ หรื อเป็ นสัญลักษณ์แทนดวงอาทิตย์ การปั้ นปูนเป็ นรู ปตัวมอมคลานไล่กนั 6 ตัว เหนือซุม้ กรอบและ ล่างตัวมกรปรากฏเป็ นรู ปสิ งห์ 7 ตัว อยูโ่ ดยรอบและใต้กรอบซุ ม้ มีกรอบปูนปั้ นเป็ นรู ปสัตว์ คือสิ งห์ อยู่ ภายในกรอบช่องกระจก 7 กรอบ
ภาพที่ 36 ซุม้ ประตูโขงหน้าพระประธาน
ห น้ า | 20
ส่ วนของตัวเรื อนธาตุของฐานซุ ม้ ประตูโขง แบ่งออกเป็ นย่อมุม 2 มุม ประดับตกแต่งลวดลายปูนปั้ น ในส่ วนของเสาขอมส่ วนบนคล้ายฐานบัวอกไก่ประดับลวดลายรักร้อยและลายเม็ดไข่ปลาประดับบนหน้า กระดาน บริ เวณหัวเสาของซุ ้มประตูโขง มีลกั ษณะโครงสร้างย่อมุม 2 มุม ตกแต่งลายปูนปั้ นที่ส่วนบัวเชิง และบัวเชิงฐาน ประดับด้วยลายพันธุ์พฤกษาใบไม้ ส่ วนตรงกลางเสาเป็ นลายประจายามอกลักษณะเป็ น สามเหลี่ยมมุมฉากประดับลายเส้น 3 ช่อง ประดับลายจุดไข่ปลา ส่ วนของตัวเรื อนธาตุเป็ นฐานของซุ ม้ โขง แบ่งเป็ นย่อมุม 2 มุม ประดับตกแต่ลวดลายปูนปั้ นตรง ส่ วนของบัวเชิงลายประจายามอก ด้วยลายพันธุ์พฤกษา ลายประจายาม และลายเม็ดไข่ปลา อีกทั้งตัวเรื อน ธาตุดา้ นข้างผนัง ด้านทิศเหนื อและทิศใต้ปรากฏเป็ นงานลงรักปิ ดทองภาพอดีตพุทธและลายพุม่ ข้าวบิณฑ์ ก้านแย่ง ในส่ วนของฐานซุ ม้ โขงไม่ปรากฏเนื่ องจากตัวซุ ม้ โขงได้เชื่ อมต่อกับฐานชุกชี หน้าพระประธาน ในช่วงท้องวิหาร จะมีการสร้างผนังเป็ นปูนเพื่อปิ ดด้านหลังของวิหารทั้งหมดที่วิหารแห่ งนี้มีการประดับ ผนังนี้ดว้ ยการนาพระพิมพ์ขนาดเล็กมาเรี ยงติดกับผนังเป็ นจานวนมากโดยตั้งอยูเ่ หนือกรอบซุ ม้ โขง ประตู จนจรดหน้าแหนบด้านหลังที่เห็นไม้ท้ งั นี้การสร้างแผงพระพิมพ์น้ นั เป็ นการแสดงถึงเรื่ องจานวน พระพุทธเจ้า ที่มาตรัสรู ้น้ นั มีมากมายเหลือคณานับในวิหารแห่งนี้มีการสร้างแผงพระพิมพ์ใน 2 ลักษณะคือ การนาแผงไฟขนาดในรู ปของกรอบซุ ม้ แล้วบรรจุพระพิมพ์ไว้ในกรอบไม้น้ ี อีกรู ปแบบหนึ่ง คือ การสร้าง แผงพระพิมพ์ติดกับผนังวิหารไว้เลยปรากฏอยูเ่ หนือกรอบซุ ม้ โขง
ภาพที่ 37 แผงพระพิมพ์ขนาดเล็ก ติดอยูเ่ หนื อกรอบซุ ม้ โขง
ห น้ า | 21
ภาพที่ 38 พระพุทธรู ปปางมารวิชยั ประดิษฐานที่ฐานชุกชีดา้ นหน้าซุม้ ประตูโขง
ภาพที่ 39 พระเจ้าหมื่นทองพระพุทธรู ปปางมารวิชยั ประดิษฐานอยูใ่ นมณฑปปราสาทหันพระพักตร์ ออก ทางด้านทิศตะวันออก
ห น้ า | 22
3.งานลงรักปิ ดทอง ปรากฏอยูใ่ นส่ วนของเสาภายในวิหาร งานลงรักปิ ดทองนี้สามารถได้ท้ งั ในส่ วนของพื้นที่ที่เป็ นไม้ และเป็ นปูน จะมีลกั ษณะที่อิสระอย่างมากในการสร้าสรรค์ลวดลาย ไม่วา่ จะละเอียดอย่างไรก็ตามการใช้ ลวดลายประดับตกแต่งด้วยเทคนิคนี้จึงมีการนาลวดลายต่างๆมาใช้อย่างมากมายในส่ วนของเสาจะเป็ นลาย พันธุ์พฤกษา กรวยเชิง ลายลูกฟักก้ามปู ขณะเดียวกันก็ปรากฏลายเทพพนม มกร ราหู และยักษ์ เสาวิหารวัด ปราสาท แบ่งเป็ น เสาหลวง จานวน 5 คู่ เสาข้าง จานวน 5 คู่
ภาพที่ 40 ลายเชิงเสาหลวง
1.เสาหลวง เป็ นเสาที่ใช้ในวิหารทั้งหมด ลักษณะทรงกลม มีท้ งั หมด 5 คู่ พบลวดลายคาประดับอยูท่ ี่เสา 5 คู่ ทาพื้นด้วยสี แดง ลวดลายที่ประดับจะมีอยู่ 3 ส่ วน คือ ลายเชิงเสา ลายท้องเสา และ ลายหัวเสารายละเอียดของลวดลาย ได้แก่ ลายเชิงเสาของเสาหลวง จะเริ่ มประดับลวดลายคาในระดับสู งจากพื้นวิหารขึ้นมาประมาณ 2 เมตร โดยลายเชิงเสาจะประกอบด้วยแถวลายจานวน 4 แถว ที่เรี ยง ซ้อนขึ้นไปตามลาดับ ลวดลายแถวล่างสุ ดจะเป็ นลายกระหนกรู ป กรวยเชิง เหนือขึ้นไปจะเป็ นลายหน้ากระดานประจายามก้ามปู ถัด จากแถวที่สองจะเป็ นลายประจายามลูกฟักซึ่ งภายในช่องลูกฟักจะมี ลายดอกสี่ กลีบประกอบลายกระหนกอยูภ่ ายในและแถวบนสุ ดจะ เป็ นลายหน้ากระดานประจายามก้ามปู
คู่ที่ 1 ลายท้องเสาของเสาหลวงคู่แรกอยูเ่ หนื อจากลายเชิงเสา ปรากฏเป็ นลายยักษ์ถือกระบองเหาะก้านแย่ง จะมีลกั ษณะเป็ นแถวลาย กระหนกหน้ากระดานที่ต้ งั ทแยงมุมตัดกันเป็ นรู ปสี่ เหลี่ยมขนมเปี ยกปูน และมีภาพยักษ์ถือกระบองอยูใ่ นกรอบสี่ เหลี่ยมขนมเปี ยกปูนเสาทางด้าน ทิศใต้ภาพยักษ์ จะเหาะหันหน้าไปทางขวามือส่ วนเสามทางทิศเหนื อ ภาพยักษ์จะเหาะหันหน้าไปทางซ้ายมือ
ภาพที่ 41 เสาหลวงคู่ที่ 1ลายยักษ์ถือกระบองก้านแย่ง
ห น้ า | 23
คู่ที่ 2 ลายท้องเสามีลวดลายประดับเหนือจากลายเชิง เสาปรากฏเป็ นลายหนุมานเหาะก้านแย่ง ประดับลายกระหนก ซึ่ งมีลกั ษณะเป็ นแถวลายหน้ากระดานด้านขดใบไม้ต้ งั ทแยงมุม ตัดกันเป็ นรู ปสี่ เหลี่ยมขนมเปี ยกปูนมีลายรู ปหนุมานอยูใ่ น กรอบสี่ เหลี่ยมขนมเปี ยกปูนเสาทางด้านทิศใต้ ภาพหนุมานจะ เหาะหันไปทางขวามือ ส่ วยเสาทางทิศเหนือภาพหนุมานจะหัน หน้าไปซ้ายมือ
ภาพที่ 42 เสาหลวงคู่ที่ 2 ลายหนุมานเหาะก้านแย่ง
คู่ที่ 3 ลายท้องเสาปรากฏเป็ นลายเทวดาก้านแย่งจะมี ลักษณะเป็ นลวดลายกระหนกหน้ากระดานที่ต้ งั ทแยงมุมตัด กันเป็ นรู ปสี่ เหลี่ยมขนมเปี ยกปูนและมีเทวดาพนมมืออยูใ่ นท่า เหาะอยูใ่ นกรอบรู ปสี่ เหลี่ยมขนมเปี ยกปูน ภาพเทวดาจะหัน หน้าไปทางซ้ายมือและทางขวามือสลับกันไปในแต่ละชั้น
ภาพที่ 43 เสาหลวงคู่ที่ 3 ลายเทวดาก้านแย่ง คู่ที่ 4 ลายท้องเสามีลวดลายประดับเหนือจากลายเชิง เสาปรากฏเป็ นลายหน้ากาลก้านแย่ง เป็ นแถวลายกระหนกหน้า กระดานก้านขดที่ต้ งั ทแยงมุมตัดกันเป็ นรู ปสี่ เหลี่ยมขนมเปี ยก ปูนมีลายหน้ากาล ตั้งอยูใ่ นกรอบรู ปสี่ เหลี่ยมขนมเปี ยกปูน
ภาพที่ 44 เสาหลวงคู่ที่ 4 ลายหน้ากาลก้านแย่ง
ห น้ า | 24
คู่ที่ 5 ลายท้องเสาคู่สุดท้ายของเสาหลวงที่ต้ งั อยู่ บริ เวณซุ ม้ ประตูโขงหน้าพระประธาน มีลกั ษณะพิเศษกว่าเสา หลวงคู่อื่นๆคือ ลวดลายที่ประดับอยูใ่ นบริ เวณท้องเสาจะมีอยู่ 2 ลายที่ปรากฏ คือลายหน้ากาลก้านแย่ง และลายพุม่ ข้าวบิณฑ์ ก้านแย่ง เป็ นแถวลายกระหนกหน้ากระดานก้านขดที่ต้ งั ทแยง มุมตัดกันเป็ นรู ปสี่ เหลี่ยมขนมเปี ยกปูนลายกระหนกหน้ากาล ตั้งอยูใ่ นกรอบรู ปสี่ เหลี่ยมขนมเปี ยกปูนสลับกับลายพุม่ ข้าว บิณฑ์กา้ นแย่งไปเรื่ อยๆจนหมดลายท้องเสา ลายหน้ากาลของ ลายท้องเสาคู่ที่ 5 นี้จะมีลกั ษณะโครงสร้างที่คล้ายคลึงกันกับ ลายหน้ากาลของลายท้องเสาคู่ที่ 4 แต่แตกต่างกันที่ลกั ษณะ ของลวดลายเล็กน้อย ภาพที่ 45 เสาหลวงคู่ที่ 5 ลายหน้ากาล พุม่ ข้าวบิณฑ์กา้ นแย่ง เสาข้างเป็ นเสาที่ใช้ในวิหารทั้งหมดตาแหน่งของเสาข้างนี้อยูด่ า้ นข้างติดกับผนังทั้งทิศเหนื อและทิศ ใต้ จะเป็ นเสารับน้ าหนักทางด้านข้างๆ จะใช้เป็ นตัวแบ่งห้องวิหารและรับน้ าหนักที่มาจากคันทวย ลักษณะ เป็ นเสาสี่ เหลี่ยมมีท้ งั หมด 5 คู่พบลวดลายคาประดับทั้งหมด 5 คู่ ทาพื้นด้วยสี แดงลวดลายคาประดับจะมีอยู่ 3 ส่ วน คือ ลายเชิงเสา ลายท้องเสา ลายหัวเสา แสดงรายละเอียดดังนั้นรายละเอียดของลวดลายคาประดับคือ ลายเชิงเสาของเสาด้านข้างจะอยูใ่ นระดับเดียวกันกับเสาหลวงคือจะ สู งจากพื้นวิหารขึ้นมาประมาณ 2 เมตร โดยลายเชิงเสาจะประกอบด้วยแถวลายจานวน 4 แถว เรี ยงซ้อนกันขึ้นไป ตามลาดับแถวล่างสุ ดจะ เป็ นรายกระหนกรู ปรู ปกรวยเชิง แถวที่ 2จะเป็ นแถวลายประจายามกล้ามปู ถัดจากนั้นจะเป็ นแถวลายประจา ยามลูกฟักซึ่ งภายในลูกฟัก มีรูปหงส์อยูภ่ ายใน ลักษณะหงส์จะหันหน้าไปทางซ้ายมือ และแถวบนสุ ดจะเป็ น แถวลายหน้ากระดานประจายามกล้ามปู
ห น้ า | 25
ภาพที่ 46 ลายเชิงเสาของเสาข้างคู่ที่หนึ่ง ถึงคู่ที่ 4 ปรากฏเป็ นลายหงส์อยูใ่ นกรอบลูกฟัก
ภาพที่ 47 ลายเชิงเสาของเสาข้างคู่ที่ 5 ปรากฏเป็ นลาย สิ งห์อยูใ่ นกรอบลูกฟัก
ลายเชิงเสาอีกประเภทหนึ่ง ได้แก่ ลายเชิงเสาของเสาข้างคู่ที่ 5 มีลกั ษณะที่แตกต่างจากลายเชิงเสาทั้ง สี่ คือ แถวลายจานวน 4 แถว เรี ยวซ้อนกันขึ้นไปตามลาดับ แถวล่างสุ ดเป็ นรู ปลายกระหนกกรวยเชิง แถวที่ 2 เป็ นลายประจายามก้ามปูถดั จากนั้นเป็ นลายประจายามลูกฟัก ภายในลูกฟักปรากฏลายสิ งห์อยูใ่ นลักษณะ สิ งห์จะหันหน้าทางซ้ายมือและแถวบนเป็ นลายประจายามก้ามปู
ห น้ า | 26
คู่ที่ 1 ลายท้องเสาของเสาข้างอยูเ่ หนื อจากลายเชิงเสา ปรากฏเป็ นลายหงส์กา้ นแย่งซึ่ งมีลกั ษณะเป็ น แถวลายหน้ากระดานก้านขดใบไม้ที่ต้ งั ทแยงมุมตัดกันเป็ น รู ปสี่ เหลี่ยมขนมเปี ยกปูนและมีรูปหงสิ อยูใ่ น กรอบสี่ เหลี่ยมขนมเปี ยกปูน คู่ที่ 2 ลายท้องเสาปรากฏเป็ นลายเทวดาก้านแย่ง มีลกั ษณะเป็ นลายกระหนกหน้ากระดานที่ต้ งั ทแยง มุมดัดกันเป็ นรู ปสี่ เหลี่ยมขนมเปี ยกปูนและมีลายเทวดาอยูใ่ นกรอบสี่ เหลี่ยมขนมเปี ยกปูน คู่ที่ 3 ลายท้องเสาข้างคู่ที่สาม อยูเ่ หนื อจากลายเชิงเสาปรากฏเป็ นลายเทพพนมก้านแย่งลักษณะเป็ น เทพพนม หันหน้าตรงลายก้านแย่ง มีลกั ษณะเป็ นลายหน้ากระดานลวดลายกระหนกตั้งทแยงมุมตัดกันเป็ น รู ปสี่ เหลียมขนมเปี ยกปูนและมีลายเทพพนมอยูใ่ นกรอบรู ปสี่ เหลี่ยมขนมเปี ยกปูน คู่ที่ 4 ลายท้องเสาของเสาข้างคู่ที่สี่ปรากฏเป็ นลายหน้ากาล ก้านแย่งเป็ นแถวลายหน้ากระดานด้าน ที่ต้ งั ทแยงมุมตัดกันเป็ นรู ปสี่ เหลี่ยมขนมเปี ยกปูนและมีลายหน้ากาลอยูใ่ นกรอบสี่ เหลี่ยมขนมเปี ยกปูน คู่ที่ 5 ลายท้องเสาข้างคู่สุดท้ายปรากฏเป็ นลายพุม่ ข้าวบิณฑ์กา้ นแย่ง เป็ นแถวหน้ากระดานลายสิ งห์ ที่ต้ งั ทแยงมุมตัดกันเป็ นรู ปสี่ เหลี่ยมขนมเปี ยกปูนและมีลายพุม่ ข้าวบิณฑ์อยูภ่ ายในกรอบสี่ เหลี่ยมรู ปขนม เปี ยกปูน ลายหัวเสาอยูด่ า้ นบนของลายท้องเสาปรากฏเป็ นแถวลาย จานวน 5 แถว แถวล่างสุ ดเป็ นลาย กระหนกกรวยเชิงแถวที่สองและสามเป็ นลายกระหนกหน้ากระดานถัดมาเป็ นลายบัวหัวเสาและสุ ดท้ายเป็ น ลายประจายามก้ามปู
ภาพที่ 48 เสาข้างคู่ที่1 ลายหงส์กา้ นแย่ง
ภาพที่ 49 เสาข้างคู่ที่2 ลายเทวดาก้านแย่ง
ห น้ า | 27
ภาพที่ 50 เสาข้างคู่ที่ 3 ลายเทพพนมก้านแย่ง
ภาพที่ 52 เสาข้างคู่ที่ 5 ลายพุม่ ข้าวบิณฑ์กา้ นแย่ง
ภาพที่ 51 เสาข้างคู่ที่ 4 ลายหน้ากาลก้านแย้ง
ภาพที่ 53 ลายกลีบบัวหน้ากระดานบริ เวณใต้ทอ้ งขื่อ
ห น้ า | 28
นอกจากลายคาจะปรากฏอยูท่ ี่เสาวิหารวัดปราสาทแล้วยังปรากฏอยูท่ ี่บริ เวณใต้ทอ้ งขื่อจะปรากฏ เป็ นลายกลีบบัวแต่เหลือไม่มากนักลักษณะเป็ นกลีบบัวหงายที่มีไส้เป็ นดอกไม้และแทรกด้วยดอกไม้สี่กลีบ พร้อมกับก้านดอกไม้ตอนล่างเรี ยงเป็ นหน้ากระดานไปและด้านล่างสุ ดแนวขนานกับพื้นเป็ นภาพประจายาม สี่ กลีบประดับอยูเ่ รี ยงกันเป็ นหน้ากระดาน ซุ ม้ โขงหน้าพระประธานก็ปรากฏเป็ นงานลงรักปิ ดทองด้วยเช่นกัน บริ เวณเสาสองข้างภายในกรอบ ซุ ม้ โขงได้มีลวดลายประดับอยูแ่ บ่งออกเป็ น 2 ส่ วนคือ ท้องเสาและหัวเสารายละเอียดของหัวเสา ประกอบด้วยลายแถวจานวนสามแถว แถวบนสุ ดปรากฏเป็ นลายบัวหงายสลับลายกรวยเชิง แถวกลางเป็ น ลายประจายามหน้ากระดาน และแถวล่างเป็ นลายบัวหงายส่ วนท้องเสาเป็ นลายพุม่ ข้าวบิณฑ์กา้ นแย่งเป็ น ประจายาม หน้ากระดานตัดกันเป็ นรู ปสี่ เหลี่ยมขนมเปี ยกปูน แล้วมีลายพุม่ ข้าวบิณฑ์อยูใ่ นกรอบสี่ เหลี่ยม ขนมเปี ยกปูน อีกบริ เวณหนึ่งคือบริ เวณกรอบซุม้ โค้งทางด้านซ้ายมือและขวามือของซุม้ โขงปรากฏเป็ น ภาพ ลายอดีตพุทธ อยูเ่ ป็ นแถวเรี ยงสลับกันขึ้นไป 5 แถว แถวละ 3 องค์ เป็ นลายอดีตพุทธปางมารวิชยั แผ่รัศมี ประทับนัง่ บนฐานบัวลูกฟักสลับกับลายบาตรพระ ที่ต้ งั อยูบ่ นแท่นภาพ อดีตพุทธที่ซุม้ โขงนี้ ทิศใต้ได้ทรุ ด โทรมลงไปมากแต่ทางทิศเหนือยังปรากฏร่ องรอยให้เห็นอยูด่ า้ นบนของลายอดีตพุทธ ได้มีลายแถวจานวน2 แถว แถวล่างเป็ นลายกระหนกกรวยเชิงแถวบนเป็ นลายประจายามก้ามปูปรากฏให้เห็น ฝาผนังภายในวิหารวัดปราสาทมีการประดับตกแต่งด้วยลวดลายลงรักปิ ดทองในห้องสุ ดท้ายของ วิหารทั้ง 3 ด้าน โดยยกเว้นทางด้านทิศตะวันออก ฝาผนังด้านทิศตะวันตกจะเป็ นซุ ม้ ประตูโขงตั้งแต่ระดับพื้นแนวฐานชุกชีแบบเดิมจึงถูกแบ่งเป็ น สองส่ วน อยูท่ างด้านซ้ายและด้านขวาของตัวซุ ม้ โดยเปิ ดช่องทางเดินตรงกลาง สาหรับไปยังภายในมณฑป ท้ายวิหารได้ สาหรับลวดลายคาประดับที่ผงั ด้านทิศตะวันตกจะเป็ นภาพอดีตพุทธเรี ยงซ้ ากันอยูด่ า้ นละ 3 แถว แถวละ 10 องค์ ลวดลายเป็ นภาพอดีตพุทธประทับนัง่ ปางมารวิชยั มีรัศมีประทับนัง่ อยูบ่ นฐานบัวลูก ภาพลายแต่ละองค์จะมีลายบาตรตั้งอยูบ่ นแท่นวางสับหว่างอยูผ่ นังทั้งสามด้านที่มีลายคาประดับจะมีพ้นื เป็ น สี แดง ส่ วนเหนื อภาพอดีตพุทธประทับนัง่ ยังมีภาพอดีตพุทธประทับยืนอยูซ่ ่ ึ งปั จจุบนั ภาพเลือนลางพื้นเป็ นสี ดาจนแทบจะมองไม่เห็น
ภาพที่ 54 ลายอดีตพุทธติดผนังปูนทางด้านทิศตะวันตก
ห น้ า | 29
ฝาผนังด้านทิศเหนื อ มีการทาเรื่ องราวพุทธประวัติในลักษณะเหตุการณ์ยอ่ ยๆวางต่อเนื่ องกันทั้งผนัง เป็ นเรื่ องราวภาพเจ้าชายสิ ทธัตถะเสด็จออกผนวชตอนปลงพระเกศาตอนนางสุ ชาดาถวายข้าวมธุปายาส ตอนลอยถาด ตอนมารวิชยั มีพระแม่ธรณี บีบมวยผม ตอนตรัสรู ้ เป็ นภาพพระพุทธเจ้าประทับบนบัลลังก์ และการแสดงเทศนาแก่เทวดาและผูค้ น เรื่ องราวดาเนินจากฝาผนังด้านล่างทางทิศตะวันออกวนขึ้นไปสู่ ด้านบนตามเข็มนาฬิกา ฝาผนังด้านทิศใต้มีการทาเรื่ องราวตอนพระพุทธเจ้าเสด็จโปรดพุทธมารดาโดยทาเป็ นสวรรค์ช้ นั ดาวดึงส์มีภาพเจดียจ์ ุฬามณี เป็ นหลัก ตอนแสดงเทศนาของพระตามปราสาทต่างๆ และตอนปริ นิพพานเป็ น ภาพพระพุทธเจ้าประทับไสยาสน์ใต้ตน้ รังคู่
ภาพที่ 55 ภาพพุทธประวัติ ฝาผนังทางด้านทิศเหนือ
ภาพที่ 56 ภาพพุทธประวัติ ฝาผนังทางด้านทิศใต้
ห น้ า | 30
4.งานประดับกระจก ปรากฏอยูใ่ นส่ วนของแท่นแก้ว หรื อ ฐานชุกชีของเดิมก่อนบูรณะซ่อมแซมปั จจุบนั ฐานชุกชีถูก บูรณซ่อมแซมปั จจุบนั ฐานชุ กชีของเดิมก่อนบูรณะซ่อมแซมจนไม่เหลือร่ องรอยของงานประดับอยูเ่ ลย งานประดับกระจกในส่ วนของหลังคาที่หลงเหลืออยู่ ได้แก่ ช่อฟ้า ป้ านลม และหน้าบันกระจกที่ใช้ในส่ วน ของช่อฟ้าและป้ านลมจะเป็ นกระจกเงา โดยจะตัดไปตามลาตัวของช่อฟ้าและในส่ วนยอดที่ทาเป็ นรู ปจะงอย ปากครุ ฑ ส่ วนป้ านลมจะพบเฉพาะหลังคาตับแรกเท่านั้น ได้แก่ ส่ วนที่เป็ นเกร็ ดของตัวนาคและหางหงส์ ซึ่ ง ทาเป็ นรู ปหัวพญานาคและตัดเป็ นขอบของลาตัวโดยตัดเป็ นรู ปสี่ เหลี่ยมผืนผ้าเล็กๆ เรี ยงติดกันส่ วนหลังคา ตับอื่นๆจะพบว่ามีการประดับกระจกเฉพาะหางหงส์รูปหัวพญานาคเท่านั้น ส่ วนของลาตัวพบว่ามีแต่ขอบ เข้าใจว่าเกล็ดนั้นอาจจะหลุดร่ วงไปตากาลเวลา สี ที่พบในกระจกที่ใช้ประดับ ได้แก่ สี ขาวและสี น้ าเงิน ในส่ วนของหน้าบันงานประดับกระจกได้ถูกนามาใช้ร่วมกับงานปูนปั้ นโดยจะติดประดับในช่อง ของลูกฟักบนหน้าบันมีการตัดเป็ นรู ปสี่ เหลี่ยมผืนผ้า สี่ เหลี่ยมจัตุรัสหลายขนาดและวงกลมในส่ วนที่เป็ น ดอกไม้ โก่งคิว้ พบว่ามีการประดับกระจกตรงบริ เวณขอบด้านล่างและเสาแปดเหลี่ยมพบงานประดับกระจก ที่มีบวั เสาและบริ เวณท้องเสาที่เป็ นลายปูนปั้ นเป็ นรู ปดอกไม้โดยมีกระจกเป็ นรู ปวงกลมติดตรงใจกลาง ดอกไม้เป็ นเกสร
ภาพที่ 57 งานประดับกระจกบนหน้าบันและหัวเสา
ห น้ า | 31
Chapter 4
ลวดลายทางศิลปกรรมวิหารวัดปราสาท ลวดลายทางศิลปกรรมที่ปรากฏอยูใ่ นวิหารวัดปราสาท สามารถแบ่งออกเป็ น 2 หัวข้อคือ 1.เทคนิคการสร้างงานศิลปกรรม 2.ลวดลายที่ใช้ประดับตกแต่งงานศิลปกรรม เทคนิคทางศิลปกรรม ประดับวิหารวัดปราสาท แบ่งออกได้เป็ น 4 ประเภท ตามประเภทของวัสดุ ที่ ถูกใช้งานประดับตกแต่งได้แก่ 1.งานสลักไม้ 2.งานปูนปั้ น 3.งานลงรักปิ ดทอง มีรายละเอียดดังนี้
1.งานสลักไม้ ปรากฏอยูใ่ นส่ วนของช่อฟ้า ป้านลม หางหงส์และนาคทัณฑ์จากลวดลายที่พบทาให้สามารถทราบ ถึงลักษณะของงานสลักในประเภทหนึ่งว่างานสลักไม้น้ นั มักจะเป็ นการสลักลวดลายที่สามารถมองเห็นได้ ชัดเจนมิใช่ลวดลายที่ประกอบซ้ าๆกันเป็ นลายหน้ากระดานหรื อแถวและมักปรากฏเป็ นลายสัตว์ เช่นในส่ วน ของนาคทัณฑ์เป็ นกินรี วานร นาค เช่นเดียวกับส่ วนของช่อฟ้าและหางหงส์จะสลักเป็ นรู ปนาคหรื อลวงอีก ทั้งลายพันธุ์พฤกษา เช่นลายดอกสัปปะรด เป็ นต้น
ภาพที่ 58 ภาพลายเส้นแผงแลสลักไม้วหิ ารวัดปราสาท
ห น้ า | 32
ภาพที่ 59 ภาพลายเส้นนาคทัณฑ์แบบต่างๆของวิหารวัดปราสาท ลวดลายที่ปรากฏอยูใ่ นงานสลักไม้ 1.กลุ่มพันธุ์พฤกษา ได้แก่ ลายดอกไม้ ดอกสับปะรด ลายก้านขดพบในนาคทัณฑ์ 2.กลุ่มลายสัตว์ ได้แก่ นาค กินรี วานร กิเลน ครุ ฑ สิ งห์ พบในส่ วนของ ช่อฟ้า ป้ านลม หน้าบัน และนาคทัณฑ์
ห น้ า | 33
2.งานปูนปั้น ปรากฏอยูใ่ นส่ วนของหน้าบัน บันไดนาคหน้าวิหาร ซุม้ ประตูโขง หน้าพระประธานลักษณะของ ลายปูนปั้ นนั้นจะให้ความละเอียดกับลวดลายได้มากสามารถประดับเป็ นลวดลายในส่ วนที่มีเนื้ อที่จากัดได้ เป็ นอย่างดี ลวดลายที่ปรากฏจึงมักเป็ นลายพันธุ์พฤกษา ดอกไม้ ใบไม้ ในส่ วนของพญานาคคู่หน้าวิหาร หลังจากการบูรณะ ปี พ.ศ. 2548 สามารถเห็นลวดลายที่ปรากฏอยูท่ ี่หน้าบัน จะพบลวดลายพันธุ์พฤกษา ลาย ประแจจีน และลายเชือกถัก แสดงอิทธิ พลจีนด้วยซุ ม้ ประตูโขงหน้าพระประธานก็เช่นกันปรากฏลวดลาย แบบดั้งเดิมผสมผสานกับลวดลายที่เป็ นอิทธิ พลจีน คือ มีการใช้ลวดลายพันธุ์พฤกษา ลายสัตว์ต่างๆ เช่น หงส์ นาค มกรคายนาค สิ งห์ ขณะเดียวกันยังมีการใช้ลายมอมอีกด้วยทาให้ทราบถึงการอยูร่ ่ วมกันของ ลวดลายแบบเก่าและแบบใหม่ที่ใช้รวมกัน
ภาพที่ 60 ภาพลายเส้นแสดงองค์ประกอบหน้าบันวิหารวัดปราสาท
ห น้ า | 34
ภาพที่ 61 บันไดนาคปูนปั้ นหน้าวิหารวัดปราสาท
ภาพที่ 62 ภาพลายเส้นแสดงลวดลายปูนปั้ นของเสาแปดเหลี่ยมและซุ ม้ ประตูโขง ลวดลายที่ปรากฏอยูใ่ นงานปูนปั้ น 1.กลุ่มลายพันธุ์พฤกษา ได้แก่ ลายเครื อเถา ลายก้นขด ดอกไม้ ใบไม้ ดอกทานตะวัน 2.กลุ่มลายสัตว์ ได้แก่ นาค มกรคาบนาค วานร หงส์ สิ งห์ กิเลน 3.กลุ่มลายจีน ได้แก่ ลายประแจจีน ลายราชวัต ลายอวั้นจื่อจิ่น 4.กลุ่มลายแผง ได้แก่ ลายราชวัต 5.ลายกลีบบัว 6.ลายประจายามอก 7.ลายหน้ากระดาน
ห น้ า | 35
ภาพที่ 63 ลวดลายปูนปั้ นประดับบนซุ ม้ โขงวิหารวัดปราสาท
ภาพที่ 64 ภาพลายเส้นแสดงลวดลายปูนปั้ นประดับบนซุ ้มโขงวิหารวัดปราสาท
ห น้ า | 36
3.งานลงรักปิ ดทอง ปรากฏอยูใ่ นส่ วนของเสาภายในวิหาร ได้แก่ เสาหลวง เสาข้างใต้ทอ้ งขื่อและภายในกรอบของซุ ม้ ประตูโขง และ ผนังท้ายวิหารทางทิศเหนือทิศใต้และ ทิศตะวันตก งานลงรักปิ ดทองนี้ สามารถทาได้ท้ งั ใน ส่ วนของพื้นที่ที่เป็ นไม้และปูนจะมีลกั ษณะที่เป็ นอิสระเป็ นอย่างมากในการสร้างสรรค์ลวดลายไม่วา่ จะ ละเอียดอย่างไรก็ตามการใช้ลวดลาย ประดับตกแต่งนี้จึงนาลวดลายต่างๆมาใช้อย่างมากมาย ในส่ วนของเสา จะเป็ นลายพันธุ์พฤกษา กรวยเชิง ประจายามลูกฟักและประจายามก้ามปู ขณะเดียวกันก็ปรากฏลายเทพพนม เทวดา ยักษ์ วานร หน้ากาล พุม่ ข้าวบิณฑ์ สิ งห์ หงส์ อีกทั้งผนังห้องสุ ดท้ายยังปรากฏงานลงรกปิ ดทองสอง ข้าง หน้าพระประธานเป็ นภาพเล่าเรื่ องพุทธประวัติอดีตพุทธอีกด้วย
คู่ที่ 1 ลายยักษ์ถือกระบองก้านแย่ง
คู่ที่ 2 ลายหนุมานเหาะก้านแย่ง
คูท่ ี่ 3 ลายเทวดาก้านแย่ง
คู่ที่ 4 ลายหน้ากาลก้านแย่ง
คู่ที่ 5 ลายหน้ากาลพุม่ ข้าวบิณฑ์กา้ นแย่ง ภาพที่ 65 ภาพลายเส้นแสดงลายคาประดับเสาหลวงแบบต่างๆ
ห น้ า | 37
ภาพที่ 66 ลายเชิงเสาของเสาข้างแบบที่ 1 ลายหงส์อยูใ่ นกรอบลูกฟัก และลายเชิงเสาของเสาข้างแบบที่ 2 ลายสิ งห์อยูใ่ นกรอบลูกฟัก
ภาพที่ 67 ลวดลายบัวหน้ากระดานบริ เวณใต้ทอ้ งขื่อ
ห น้ า | 38
คู่ที่ 1 ลายหงส์กา้ นแย่ง
คู่ที่ 3 ลายเทพพนมก้านแย่ง
คู่ที่ 2 ลายเทวดาก้านแย่ง
คู่ที่ 4 ลายหน้ากาลก้านแย่ง
คู่ที่ 5 ลายพุม่ ข้าวบิณฑ์กา้ นแย่ง ภาพที่ 68 ภาพลายเส้นแสดงลวดลายประดับท้องเสาของเสาข้างแบบต่างๆ
ห น้ า | 39
ภาพที่ 69 กลุ่มลายอดีตพุทธ ภาพลายคาเล่าเรื่ องราวพุทธประวัติ ภาพลายคาที่เป็ นภาพเล่าเรื่ องนี้มีลกั ษณะเป็ นการแบ่งเรื่ องต่างๆโดยไม่มีการใช้เส้นแบ่ง ไม่ใช้สีแบ่ง แต่เป็ นการลงเป็ นส่ วนๆในเนื้อที่วา่ งและลาดับเรื่ องไม่ต่อเนื่ องเท่าใดนัก จุดสนใจของภาพในแต่ละตอน สามารถที่จะมองแยกออกเป็ นส่ วนๆได้โดยดูจากทิศทางของตัวบุคคลที่หนั เข้าไปสู่ จุดหนึ่ง ทาให้เกิดการ มองภาพเป็ นหนึ่งตอน
ภาพที่ 70 ภาพลายคาแสดงพุทธประวัติ ผนังด้านทิศเหนือ
ห น้ า | 40
ภาพที่ 71 ลายคาประดับขอบซุม้ ประตูโขง ลวดลายทีป่ รากฏในลายลงรักปิ ดทอง กลุ่มลายสัตว์ ได้แก่ ลายหงส์ ลายสิ งห์ กลุ่มลายหน้ากระดาน กลุ่มลายในศิลปะแบบรัตนโกสิ นทร์ ได้แก่ ลายหน้ากาล ลายพุม่ ข้าวบิณฑ์ ลายเทพพนม ลายกรวยเชิง ลายประจายาม กลุ่มลายภาพจากท้องเรื่ องรามเกียรติ์ ได้แก่ ลายหนุมาน ลายยักษ์ กลุ่มลายอดีตพุทธ กลุ่มลายคา แสดงสั ญลักษณ์ สื่ อความหมาย ภาพพระพุทธเจ้าปางไสยาสน์ ความหมาย พุทธประวัติตอนปริ นิพพาน ภาพอดีตพุทธ ความหมาย แสดงถึงอดีตพุทธเจ้า 500 ชาติ ภาพพระพุทธเจ้าประทับบนดอกบัว ความหมาย พระพุทธเจ้าตอนประสู ติ ภาพพระพุทธเจ้าภายในเจดีย ์ ความหมาย แสดงความเชื่ อว่าเจดียเ์ ป็ นตัวแทนของพระพุทธเจ้า ภาพหญิงสาวถวายข้าว ความหมาย พุทธประวัติตอนนางสุ ชาดาถวายข้าวมธุปายาส ภาพพระแม่ธรณี บิดมวยผม ความหมาย พุทธประวัติตอนมารผจญ
ห น้ า | 41
การจาแนกลวดลายตามเทคนิ คต่างๆ ของศิลปกรรม สามารถจาแนกลวดลายออกเป็ นกลุ่มๆคือ 1.กลุ่มลายสัตว์ จะเห็นได้วา่ ลายสัตว์ที่ปรากฏอยูใ่ นงานศิลปกรรมจะเป็ นสัตว์หิมพานต์ ไม่พบสัตว์ตามธรรมชาติ ซึ่งลวดลายที่พบ สามารถแยกออกได้เป็ น 1.1 สัตว์ทวิบาท หมายถึง สัตว์ที่มี 2 เท้า นกต่างๆ ปั กษี รวมถึงครึ่ งนกครึ่ งคนมีลกั ษณะเป็ นสัตว์ 2 เท้ามีปีกได้แก่ - ลายกินรี - ลายครุ ฑ - ลายหงส์ - ลายวานร 1.2 สัตว์จตุบาท หมายถึง สัตว์ 4 เท้า หรื อสัตว์ผสมที่มี 4 เท้า ได้แก่ - ลายราชสี ห์ - ลายตัวมอม 1.3 ลายมัจฉา หมายถึง สัตว์ที่อาศัยอยูใ่ นน้ า มีเกล็ด มีหาง ได้แก่นาค กลุ่มลายสัตว์ที่ปรากฏอยูใ่ นงานศิลปกรรมปรับวิหารวัดปราสาทแห่งนี้ส่วนใหญ่เป็ นสัตว์หิมพานต์ ซึ่ งมิได้มีอยูจ่ ริ งตามธรรมชาติแต่เกิดจาก จินตนาการของมนุษย์โดยมักจะนามาประกอบกับลวดลายพันธุ์ พฤกษาดังที่ปรากฏอยูท่ ี่นาคทัณฑ์ และเสาโก๋ นบริ เวณแหนบปี กนกหรื อพบอยูท่ ี่กรอบลูกฟักดังปรากฏใน หน้าแหนบและแหนบปี กนก ปรากฏเป็ นราชสี ห์อยูใ่ นลักษณะการนาสัตว์เข้าบรรจุในกรอบลูกฟัก ดังเช่นที่ หน้าบันวิหารวัดปราสาทแห่ งนี้ พบตามสถาปั ตยกรรมที่ก่อสร้างขึ้นตั้งแต่รัชกาลพระเจ้าแสนภู ปลายพุทธ ศตวรรษที่ 20 มาจนถึงรัชกาลของพระเมืองแก้วในปลายพุทธศตวรรษที่ 22
ภาพที่ 72 ภาพลายเส้นสิ งห์ในกรอบลูกฟัก ประดับเชิงเสาข้าง
ห น้ า | 42
2.กลุ่มลายพันธุ์พฤกษา จะเห็นได้วา่ กลุ่มลายพันธุ์พฤกษานั้นพบมากที่ส่วนของหน้าบันวิหาร นาคทัณฑ์ ซุ ม้ ประตูโขง แต่ จะพบที่ส่วนของหน้าบันมากที่สุด โดยแนวคิดนี้ นามาจากการสร้างสรรค์จากธรรมชาติ ผสมผสานกับ จินตนาการนามาสร้างลวดลาย ประดับงานศิลปกรรม ลวดลายพันธุ์พฤกษา ที่ปรากฏอยูท่ ี่วหิ ารวัดปราสาท ได้แก่ 2.1 ลวดลายเครื อเถา - ลายเครื อเถาก้านขด - ลายเครื อเถาผสม 2.2 ลวดลายดอกไม้-ใบไม้ - ลายดอกพุดตาน – ใบพุดตาน - ลายดอกทานตะวัน ลักษณะของลายเครื อเถาที่ปรากฏอยูต่ ามขื่อ แป คอกีด นาคทัณฑ์และโก่งคิ้วจะมีลกั ษณะคล้ายกับ เถาวัลย์ของพืชม้วนกันเป็ นวงกลมโดยจะมีใบไม้แตกแซมระหว่างเครื อออกมาจากก้านเครื อเถา ทิ้งระยะพอ งามบางครั้งจะมีการเพิม่ ดอกไม้ระหว่างใบไม้เพื่อให้เกิดองค์ประกอบที่สวยงาม การสร้างลายเครื อเถาจะ สร้างตามกรอบลายที่กาหนดไว้ ลวดลายที่นิยมใช้ที่หน้าบันจะมีโครงสร้างแบบสามเหลี่ยมโดยจะออกแบบ ลายให้เต็มพื้นที่ที่ได้กาหนดเอาไว้ ลักษณะโครงสร้างของลายก้านขด คือ ก้านที่โค้งขึ้นลงสลับกันในแนวระนาบตามหน้ากระดานบน พื้นที่วา่ ง ตามรู ปแบบการวางโครงสร้างช่องว่างระหว่างก้านประดับด้วยลายม้วนของกนก ใบไม้ และ ดอกไม้ รู ปแบบ และวิวฒั นาการของลายก้านขดนี้ได้รับอิทธิ พลมาจากอินเดียและจีน อิทธิ พลศิลปะที่แผ่ ขยายเข้าครอบคลุม บางครั้งมีการผสมผสานจนเป็ นแบบที่แตกต่างไปจากต้นแบบ เช่น ลายประเภทก้านขด ของล้านนา ในสมัยเชียงแสนมีลกั ษณะเป็ นช่องว่างก้านบรรจุลวดลายหัวขมวดของหัวกนก กอปรกับใบไม้ ดอกไม้ มีลกั ษณะละม้ายคล้ายคลึง กันกับลายก้านขดประเภทเดียวกันของศิลปะแบบพม่าสมัยพุกาม อย่างไรก็ตามวิวฒั นาการของลายก้านขดก็พฒั นาสื บเนื่องเรื่ อยมา ในศิลปะเชียงใหม่พุทธศตวรรษที่ 21 ดังตัวอย่างลายก้านขดที่ประดับเจดียว์ ดั ปราสาท และลายก้านขดประดับเศียรนาคราวบันไดวัดเจ็ดยอด ประเภทของลายก้านขดนั้นมีการพัฒนาเป็ นแบบเดิมแต่มีโครงสร้างภายในนั้นได้เปลี่ยนแปลงไปตาม พัฒนาการของลายกนก การสื บทอดของลายประเภทก้านขดในเมืองชียงใหม่ราวพุทธศักราช 2355 ที่ อุโบสถวัดพระสิ งห์ จะเห็นว่าโครงสร้างนั้นได้ใช้โครงสร้างเดิมที่มีลกั ษณะเดียวกัน แต่จะแตกต่างกัน ใน เรื่ องของรายละเอียดและกรรมวิธีในการตกแต่งให้ประณี ตกว่าสมัยก่อนจนมาถึงราวศตวรรษที่ 25 เนื่องจาก พื้นฐานของลายก้านขดเป็ นลายหัวม้วนมากกว่าการสร้างใบไม้และดอกไม้ จึงทาให้ลายปูนปั้ นลายก้านขด ส่ วนใหญ่นิยมใช้รูปแบบโครงสร้างเดิม ดังเช่นหน้าแหนบของวิหารวัดปราสาทที่ใช้โครงสร้างแบบเดิมแต่ เน้นในส่ วนของรายละเอียด และความประณี ตในการปั้ นปูนประดับ
ห น้ า | 43
ภาพที่ 73 ลายก้านขดประดับข้างแป 3.กลุ่มลายที่ได้รับแบบแผนจากรัตนโกสิ นทร์ รัตนโกสิ นทร์ ตอนต้นในช่วงของพุทธศตวรรษที่ 24 เป็ นช่วงที่อิทธิ พลแบบรัตนโกสิ นทร์ เข้าสู่ ล้านนามากขึ้น เมืองเชียงใหม่อยูใ่ นยุคเปลี่ยนแปลงฟื้ นฟูบา้ นเมืองและศิลปะด้วย จึงเกิดลวดลายที่พบตาม นาคทัณฑ์มีการใช้ตวั หนุมานซึ่ งเป็ นตัวละครตามท้องเรื่ องรามเกียรติ์และประดับลวดลายพุม่ ข้าวบิณฑ์ ลวดลายคาประดับเสาภายในวิหารก็แสดงถึงอิทธิ พลรัตนโกสิ นทร์ ตอนต้นอย่างชัดเจน ได้แก่ ลายยักษ์ ลาย หนุมาน ลายหน้ากาล ลายพุม่ ข้าวบิณฑ์ ลายกรวยเชิง ตลอดจนการนาไปใช้ เช่น ลายหน้ากระดาน ประจา ยามก้ามปู ลายประจายามลูกฟักในส่ วนของหน้าบันจะพบลายรักร้อย ลายประจายามลูกฟัก ลายประจายาม ก้ามปูและประจายามก้านแย่ง แสดงให้เห็นถึงการมีอิทธิ พลของศิลปะแบบรัตนโกสิ นทร์ ที่มีต่อล้านนา
ภาพที่ 74 ภาพลายเส้น ลายหน้ากาลและลายพุม่ ข้าวบิณฑ์ กลุ่มลวดลายที่ได้รับอิทธิ พลจากรัตนโกสิ นทร์
ห น้ า | 44
Chapter 5
รู ปแบบและอิทธิพลทางศิลปะในวิหารวัดปราสาท เชียงใหม่เป็ นจังหวัดที่เป็ นศูนย์กลางของอาณาจักรล้านนาตั้งแต่ครั้งอดีตดังจะเห็นได้จากการ สร้างสรรค์ผลงานทางพุทธศาสนา ที่ปรากฏสื บเนื่องต่อมาจากตานานและประวัติศาสตร์ เมืองเชียงใหม่ ได้ แสดงให้ทราบว่า มีการนับถือพุทธศาสนาตั้งแต่ครั้งสมัยพญามังราย และเมืองเชียงใหม่มีความเจริ ญถึงขั้น สู งสุ ดซึ่งเป็ นยุคของพระเจ้าติโลกราชซึ่งถือได้วา่ เป็ นยุคทองของล้านนา ได้ปรากฏได้มีการสร้างศาสน สถานหลายแห่งต่อมาเมื่อบ้านเมืองเกิดเหตุการณ์ผนั แปรเชียงใหม่ถูกพม่าปกครอง โดยเป็ นเมืองขึ้นของ พม่าเป็ นเวลานานกว่า 200 ปี จึงสามารถกอบกูเ้ อกราชความเป็ นอิสรภาพคืนจากพม่าได้ในสมัยกรุ ง รัตนโกสิ นทร์ โดยมีเจ้าผูค้ รองนครคนแรกคือ เจ้ากาวิละ เหตุการณ์ ทางประวัติศาสตร์ ช่วงนี้เต็มไปด้วยความ แปรผันทางการเมือง เชียงใหม่ได้เป็ นเมืองประเทศราชของอาณาจักรสยามละต่อมาได้ถูกผนวกเข้าเป็ นส่ วน หนึ่งของอาณาจักรไทยสื บมาจนถึงวันนี้ เงื่อนไขทางประวัติศาสตร์ เหล่านี้เองที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลง รู ปแบบงานศิลปะและสถาปัตยกรรมของเมืองเชียงใหม่รวมถึงวิหารวัดปราสาทด้วยเช่นกัน
แบบแผนทางสถาปัตยกรรมของวิหารวัดปราสาท วัดปราสาทเมืองเชียงใหม่น้ นั ไม่ปรากฏหลักฐานชัดเจนนัก แต่เชื่อว่าน่าจะถูกสร้างขึ้นครั้งแรก ในช่วงประมาณ พุทธศตวรรษที่ 20-21 และได้ปรากฏหลักฐานชัดเจนว่าได้รับการบูรณะครั้งใหญ่โดยพญา หลวงสามล้านเมื่อปี พ.ศ. 2366 โดยเฉพาะในส่ วนของวิหารนัน่ จะมีทรวดทรงพิเศษกว่าวิหารไม้ก่ออิฐถือ ปูนโดยมีส่วนท้ายของวิหารเชื่อมต่อกับมณฑปปราสาทเรี ยกกันโดยทัว่ ไปว่าวิหารทรงปราสาท และเข้าใจ กันว่าน่าจะเป็ นที่มาของชื่ อวัดปราสาทแห่งนี้ วิหารทรงปราสาทเชื่อกันว่ามีมาตั้งแต่ศตวรรษที่ 21 บูรณะ ครั้งใหญ่แต่ยงั รักษาแบบแผนดั้งเดิมไว้ยซู่ ่ ึ งรู ปแบบของวิหารเช่นนี้ยงั ปรากฏอยูใ่ นเมืองเชียงใหม่เช่นกัน ได้แก่ วิหารวัดป่ าแดงหลวง และวิหารลายคา วัดพระสิ งห์ วิหารวัดปราสาทหรื อวิหารทรงปราสาทนั้นมีรูปแบบหรื อแบบแผนสถาปั ตยกรรมล้านนาดั้งเดิมอยู่ ดังจะเห็นได้จาก การสร้างหารไว้หน้าสถูปเจดีย ์ ตัววิหารเรี ยงหลังคาลดชั้นฝั่งของตัวอาคารจะมีการยกเก็จ เป็ นช่วงๆ สอดคล้องกับการลดชั้นหลังคามีทางเข้าด้านข้างอาคารเช่น ตัวอาคารเป็ นพัฒนาการที่มาจาก ลักษณะของวิหารโถง แต่มีการก่อสร้างครึ่ งอิฐครึ่ งไม้ภายในอาคารมีเสากลมเรี ยงกันสองแถว เพื่อรับเครื่ อง ชั้นหลังคาเป็ นโครงสร้างรับน้ าหนักที่เรี ยกว่า ม้าต่างไหม อันเป็ นตัวระบบที่มีชื่อหลวงพาด ระหว่างเสารับ น้ าหนักของขื่อยี่ ขื่อม้าสาม และน้ าหนักของแป ระบบโครงสร้างขื่อม้าต่างไหมนี้มีปรากฏในวิหารล้านนา แบบดั้งเดิม เช่น วิหารปงยางคก วิหารน้ าแต้ม และมีการใช้เรื่ อยมาจนถึงสมัยล้านนายุคหลังที่มีอิทธิ พลของ กรุ งเทพเข้ามาจึงทาให้แบบแผนของตัววิหารเปลี่ยนแปลงไปในที่สุด
ห น้ า | 45
ปราสาทในส่ วนท้ายของวิหารนั้นถูกสร้างให้เชื่ อมต่อกันเป็ นส่ วนหนึ่งของวิหาร ในส่ วนที่เป็ น ปราสาทนั้นมีลกั ษณะเป็ นเจดียท์ รงปราสาท ซึ่ งเจดียท์ รงปราสาทนี้ได้มีการค้นพบรู ปแบบการสร้างมานาน แล้ว โดยมีหลักฐานสุ ดเป็ นเจดียเ์ ชียงยืน วัดพระธาตุหริ ภุญชัยจังหวัดลาพูน โดยเฉพาะที่เป็ นส่ วนของเรื อน ธาตุสี่เหลี่ยมมีมุขยืน่ ออกมาจากด้านทั้งสี่ ของเรื อนธาตุ ทาเป็ นซุ ม้ จระนาประดิษฐานพระพุทธรู ปนั้นมี ลักษณะคล้ายกับอนันทเจดียใ์ นเมืองพุกามในประเทศพม่า อันแสดงถึงความเกี่ยวข้องกับศิลปกรรม โครงสร้าง เช่นเดียวกันนี้ยงั พบเจดียอ์ งค์เล็กในวัดอุโมงค์เมืองเชียงใหม่อีกด้วย ปราสาทที่ส่วนต่อท้ายวิหาร ของวัดปราสาทนี้ยอดปราสาทมีท้ งั หมด 5 ยอดคล้ายกับเจดียว์ ดั ปราสาทเมืองเชียงแสน ซึ่ งความนิยม ดังกล่าวนี้ได้มีการปรับเปลี่ยนไปเป็ นกระพุม่ ยอดเดี่ยว ในราวพุทธศตวรรษที่ 21 ดังเช่น พระเจดียห์ ลวงเมือง เชียงใหม่ ส่ วนยอดทาเป็ นลดชั้นสื บเนื่องมาจากการย่อเก็จที่รองรับซุ ม้ จระนา ทาให้มีพ้ืนที่ของซุ ม้ จระนา มากจึงไม่สามารถทาชั้นลงมาอยูต่ ามมุมโดยเลียนแบบจากยอดองค์กลางทาให้เกิดความลงตัวขึ้น
ภาพที่ 75 ภาพลายเส้นแสดงภายในวิหารวัดปราสาท
ห น้ า | 46
ภาพที่ 76 รู ปแบบและผังของวิหารวัดปราสาท
ห น้ า | 47
หน้ าบันวิหาร หน้าบันวิหารวัดปราสาทเป็ นหน้าบันที่ออกแบบให้สอดคล้องกับโครงสร้างม้าต่างไหมแสดงให้ เห็นถึงการรับน้ าหนักของขื่อแปและกรอบลูกฝักจะทาโดยไม้แยกชิ้นกันมาประกอบเป็ นโครงสร้าง ที่ทาใน ลักษณะของขื่อรับน้ าหนักที่มีเสา ตั้งรับซ้อนกัน 3 ชั้นเหนือเสาวิหารและใช้แผ่นไม้ปิด ระหว่างช่องว่างเสา และมีโก่งคิ้วเป็ นส่ วนถ่ายน้ าหนักแรงกดอีกครั้งหนึ่ง ลักษณะการใช้โครงสร้างม้าต่างไหมเป็ นที่นิยมใช้มาตั้งแต่สมัยโบราณจนถึงระยะเวลาการเป็ น ประเทศราชของกรุ งเทพ ที่ในระยะแรกเรี ยกกันว่าเป็ นระยะช่วงก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครองเป็ น ระบบเทศาภิบาล (พ.ศ. 2342-2350) โดยในยุคนี้รูปแบบหน้าบันวิหารจะใช้โครงสร้างม้าต่างไหมเป็ น โครงสร้างหลักในการสร้างวิหาร และวิหารวัดปราสาทก็จดั อยูใ่ นช่วงเวลานี้เช่นกัน การประดับตกแต่งลวดลายที่หน้าบันโดยใช้เทคนิคปูนปั้ นเป็ นหลัก เนื่ องด้วยมีความสะดวกโดยที่ ช่างไม้ที่ทาตัวโครงสร้างของอาคารเสร็ จเรี ยบร้อยแล้วจึงจะทาปูนปั้ นประดับด้วยลวดลายที่มีขนาดเล็กและ มีมิติและที่สาคัญต้องไม่ทาลายโครงสร้างเดิมที่มีอยู่ เช่นการประดับตกแต่งลายปูนปั้ นภายในกรอบลูกฝัก โดยให้ลายละเอียดของลวดลายน้อยหรื อใช้กระจกสี ที่มีความกว้างเหมาะสมประดับและแสดงมิติที่มีความ นูน และการสะท้อนแสง ลวดลายนั้นจะเป็ น ที่ขื่อรับน้ าหนักแต่ละชั้นเพราะเป็ นส่ วนประกอบที่ยนื่ ออกมา ให้เกิดมิติและแสงเงาที่ตกกระทบ ลวดลายที่นิยมใช้มากที่สุดคือ ลวดลายพันธุ์พฤกษา ลักษณะของลวดลาย จะมีพ้นื ที่เป็ นตัวกาหนดดั้งนี้ คือ โครงสร้างแบบหน้ากระดานโครสร้างกรอบลูกฝัก และโครงสร้าง สามเหลี่ยม โดยการประดับตกแต่งลวดลายวิหารนี้จะใช้โครงสร้างดังกล่าวนี้ เป็ นหลักและนิยมที่จะตกแต่ง ลวดลายจนเต็มพื้นที่ท้ งั หมดลักษณะเช่นเดียวกันกับที่พบในวิหารลายคาวัดพระสิ งห์ และวัดบุปผาราม
ภาพที่ 77 องค์ประกอบหน้าบันวิหารวัดปราสาท
ห น้ า | 48
ซุ้มประตูในส่ วนท้ ายของวิหาร ประตูโขงท้ายวิหารวัดปราสาทนี้จะเป็ นซุ ม้ ทางเข้าที่เชื่อมระหว่างวิหารกับมณฑปปราสาท มี ลักษณะรู ปแบบเหมือนกับซุ ม้ ประตูโขง ซุ ม้ โขงพระเจ้าหรื อซุ ม้ ประตูวหิ ารในหลายๆแห่ง ตัวซุ ม้ จะเป็ นสอง ชั้นโดยชั้นในสุ ดจะเป็ นรู ปมกรคลายนาค 5 เศียรและชั้นนอกจะเป็ นหงส์ รู ปแบบของซุ ม้ นี้จะเป็ นรู ปแบบ ทัว่ ไปในอาคารเช่น มณฑปปราสาทวัดพระสิ งห์ วัดปงยางคก และวัดพระธาตุลาปางหลวง เป็ นต้น จะเห็น ได้วา่ รู ปแบบของซุ ม้ โขงนั้นไม่ค่อยมีการพัฒนาการเปลี่ยนแปลงไปมากนักดังนั้นในการกาหนดจึงมักใช้ ลวดลายที่ประดับตกแต่งเสมอ ซุ ม้ โขงที่ยงั คงเหลือส่ วนใหญ่ จะเป็ นซุ ม้ โขงที่ถูกสร้างขึ้นราวศตวรรษที่ 21 -22 เช่นประตูโขงของ วัดมหาโพธารามเชียงใหม่ หรื อซุ ม้ จระนาที่เจดียป์ ่ าสักเมืองเชียงแสนในราวต้นศตวรรษที่ 19 ซุม้ จระนา เจดียห์ ลวงเชียงใหม่เป็ นต้น รู ปแบบซุ ม้ จระนาที่พบในระยะนี้อยูเ่ สมอคือตัวซุม้ มีลกั ษณะเป็ นทรงโค้งปลาย กรอบรู ปเป็ นรู ปแบบตัวเหงาด้านหน้ามีหงส์ซุม้ ชั้นที่สองมีมกรคลายนาค 5 เศียรภายในกรอบซุ ม้ นี้มีลวดลาย ประดับ และมีการเกี่ยวกระหวัดของหางนาคขึ้นไป เช่น ซุ ม้ ประตูโขงของวัดพระธาตุลาปางหลวง และซุม้ ปราสาทองค์เล็กที่วดั พระสิ งห์ตลอดจนที่พบที่วหิ ารวัดปราสาทแห่งนี้ จะเห็นได้วา่ แต่ละแห่งจะมีรูปแบบที่ คล้ายกัน ที่ได้กล่าวมานี้ แต่วิหารวัดปราสาทแห่งนี้จะมีลวดลายบางอย่างที่เพิ่มข้นมาที่แสดงถึงอิทธิพลจีน คือตัวมอม หมายถึงสุ นขั ปั กกิ่งของจีน ผสมเข้ากับสิ งห์น้ นั เอง และยังมีการนาเครื่ องถ้วยเบญจรงค์เข้ามา ประดับร่ วมด้วย แสดงถึงการรับอิทธิ พลและการติดต่อกับรัตนโกสิ นทร์
ภาพที่ 78 การประดับตกแต่งซุ ม้ โขงวิหารวัดปราสาท
ห น้ า | 49
ลวดลายประดับตกแต่ ง วิหารวัดปราสาทประกอบไปด้วยลวดลายพันธุ์พฤกษาเป็ นจานวนมากเนื่องจากได้รับอิทธิพลคติ ความเชื่อ ความนิยมแบบล้านนาดั้งเดิม ลวดลายพันธุ์พฤกษาที่ใช้ยงั มีความเป็ นอิสระอยู่ แต่จะเริ่ มเป็ นแบบ แผนเล็กน้อย เนื่ องจากวิหารวัดปราสาทถูกสร้างขึ้นช่วงระหว่างรอยต่อระหว่างวัฒนธรรมสายเก่าและ วัฒนธรรมสายใหม่ซ่ ึ งกากลังเข้ามาแต่ยงั ไม่รุนรงเท่าใดนัก จะสังเกตได้วา่ ถ้าเป็ นลวดลายภายหลังต่อจากนี้ ไป มักจะนิยมใช้เป็ นลวดลายปี นักษัตรและลวดลายประดิษฐ์แบบกรุ งเทพ ที่วิหารวัดปราสาทแห่งนี้จะ ปรากฏลวดลายของสัตว์และเทวดา ในส่ วนที่เป็ นสัตว์มกั เป็ นสัตว์ป่าหิ มพานต์ ตามความนิยมในสมัย โบราณเช่น นาค หงส์ สิ งห์ และมอม ที่เริ่ มจะถูกนามาใช้นอกจากนี้ยงั ปรากฏลวดลายจีนเช่น ลายอวั้นจือจิ่น ลายประแจจีน ละลายเชือกถัก มีการสันนิษฐานกันว่าลวดลายเหล่านี้ได้รับอิทธิ พลมาจากลวดลายของเครื่ อง ถ้วยของจีนในสมัยหยวนและหมิง ซึ่งจะตรงกับเวลาที่สุโขทัยได้ติดต่อค้าขายกับจีนนั้นเอง ในส่ วนของเวลาของลวดลายเทพ ยักษ์ เทวดา และวานร จะพบในส่ วนต่างๆคือ เสาวิหาร นาคทัณฑ์ ซุม้ ประตูโ้ ขงท้ายวิหารตลอดจนในส่ วนของหน้าบัน เช่น แป นอกจากนี้ยงั ปรากฏลายหน้ากาล พุม่ ข้าวบิณฑ์ เทพพนม คาดว่าน่าจะเป็ นสัญลักษณ์ของความเป็ นมงคล ลวดลายเทวดานี้จะเป็ นลวดลายที่เริ่ มนามาจาก สมัยดั้งเมที่นิยมลวดลายพันธุ์พฤกษา แหลังจากนั้นในส่ วนกลางปลายพุทธศตวรรษที่ 24 เป็ นต้นมาจะนิยม ใช้ลวดลายที่เป็ นนักษัตรและลวดลายจากกกรุ งเทพ ได้เข้ามาจากรู ปแบบลวดลายที่ปรากฏนี้ ได้แสดงให้เห็น ว่าวิหารวัดปราสาทเป็ นแบบแผนของงานศิลปกรรมในส่ วนของหัวเลี้ยวหัวต่อของยุคเก่าที่ กาลังจะเปลี่ยน ไปสู่ ยคุ ใหม่ที่ได้รับอิทธิ พลจากศิลปะรัตนโกสิ นทร์ จากลักษณะลวดลายทางศิลปกรรมของวิหารวัดปราสาท สามารถแบ่งออกได้เป็ น 4 ประเภทของ วัสดุที่ถูกใช้งานประดับตกแต่งดังนี้ 1. งานสลักไม้ 2. งานปูนปั้ น 3. งานลงรักปิ ดทอง 4. งานประดับกระจก ซึ่งมีลายละเอียดของงานศิลปกรรมแต่ละประเภทดังนี้
ห น้ า | 50
1. งานสลักไม้ งานสลักไม้ของวิหารวัดปราสาทนั้น พบได้ในส่ วนที่เป็ นนาคทัณฑ์ ช่อฟ้า และห่างหงส์ จาก ลวดลายที่พบสามารถแบ่งออกได้เป็ น 2 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มที่ได้รับรู ปแบบอิทธิ พลแบบล้านนาดั้งเดิมคือ ลาย นาค ลายนาคเกี้ยวที่มีส่วนคล้ายกับนาคทัณฑ์ ที่วหิ ารน้ าแต้ววัดพระธาตุลาปางหลวง ซึ่ งจัดอยูใ่ นช่วงพุทธ ศตวรรษที่ 22 ขณะเดียวกันกลุ่มที่ 2 ได้แก่ ลายเทพ กินนร กินรี ครุ ฑยุดนาค เป็ นลวดลายที่ถูกนามาใช้จาก รู ปแบบศิลปกรรมแบบดั้งเดิม ซึ่ งแสดงอิทธิ พลของรู ปแบบศิลปกรรมแบบรัตนโกสิ นทร์ ในสมัยต่อมา ลวดลายทั้งหมดที่พบทาให้ทราบถึงลักษณะงานสลักไม้วา่ เป็ นการสลัก ลวดลายที่สามารถมองเห็นได้ชดั เจน ใช้ลวดลายที่ประกอบซ้ ากันเป็ นลวดลายกระดานหรื อลายแถวักจะทาให้ละเอียดมากขึ้น แต่เป็ นลวดลายที่มี ความชัดเจนดังที่ได้กล่าวมาแล้ว
2. งานปูนปั้น งานปูนปั้ นของวิหารวัดปราสาทจะพบอยูใ่ นส่ วนของหน้าบันวิหาร ซุ ม้ ประตูโขงและนาคลักษณะ ของงานปูนปั้ นนั้นจะให้ความละเอียดของลวดลายได้มาก สามารถประดับตกแต่งเป็ นลวดลายในส่ วนที่มี เนื้อที่ ที่จากัดได้เป็ นอย่างดี ลวดลายที่ปรากฏได้แก่ ลายก้านขดเนื่ องจากพื้นที่ของโครงสร้างมีจากัดจึงใช้ ลักษณะของลวดลายนี้ได้เป็ นอย่างดี เพราะลวดลายนี้มีพ้นื ฐานของโครงสร้างลายเป็ นลายหัวม้วนของลาย กนกมากกว่าลายดอกไม้ ใบไม้ จึงทาให้ลายปูนปั้ นส่ วนใหญ่นิยมใช้โครงสร้างของหัวขมวดรู ปกนกอยูบ่ น ลายก้านขดประเภทนี้ พบบนหน้าบันวิหารปราสาทและสื บเนื่ องไปยังวิหารวัดสาเภา และวัดบุปผารามใน กลุ่มลายลายแผงหรื อลายราชวิติคือลายเดี่ยวๆ ที่สามารถนามาจัดวางต่อเนื่องกันในทุกทิศทาง จนเป็ นแผง บนพื้นที่ขนาดต่างๆกันโดยลวดลายมีลกั ษณะคล้ายกับลวดลายดอกประจายามบางตาแหน่งเป็ นรู ปกลีบ ดอกไม้โดยช่วงรอยต่อระหว่างกลีกดอกจะมีกา้ นเชื่อมต่อกับดอกอื่นที่อยูโ่ ดยรอบ ซึ่ งมีลกั ษณะคล้ายกับลาย ก้านแย่งและที่จุดตัดกันของแนวเส้นทึบปิ ดทับด้วยลายเล็กๆ ลายประเภทนี้หอไตรวัดดวงดีเป็ นลวดลาย ประดับเสา และบานประตู อีกอีกประเภทหนึ่งเรี ยกลายแผงกุดนั่ เป็ นลายที่มีดอกล้อมรอบด้วยกรอบวงกลมศิลปะงานปูนปั้ น ลายนี้ ในพุทธศตวรรษที่ 21 ลักษณะของดอกจะอยูใ่ นกรอบแปดเหลี่ยมพบที่ลายปูนปั้ นประดับวัดปราสาท และราว พ.ศ.2355 พบที่ลายประดับอุโบสถวัดพระสิ งห์แต่ลายที่ประดับเสาแปดเหลี่ยมวิหารวัดปราสาท กรอบได้เปลี่ยนเป็ นกรอบบ่วงโค้งหยักๆเล็กๆที่พบทั้งสี่ ภายในปรับด้วยดอกกลมในช่องว่างระหว่างวงโค้ง ของกลอบประดับด้วยลายสี่ กลีบที่น่าจะเป็ นลวดลายที่สืบทอดมาจากลายประดับเสาอุโบสถวัดพระสิ งห์แต่ มีการประดับกระจกจืนขนาดใหญ่ที่เกสรดอก กลุ่มลายจีนที่พบในวิหารวัดปราสาทปรากฏอยูท่ ี่หน้าบันปี กนกทั้งสองข้างเรี ยกว่า ลายอวั้นจื้อจิ่น ซึ่งเป็ นลายสิ ริมงคลของจีนลักษณะลายที่เรี ยงกันเป็ นหน้ากระดาน1แถวบนโก่งคิ้วของทั้งสองข้างของหน้า บันปี กนก ลวดลายจีนนี้ถูกนามาใช้เพียงเล็กน้อยเท่านั้น
ห น้ า | 51
แบบแถวเลื้อยแนวทแยง
แบบช่องตารางแนวทแยง
แบบช่องตารางแนวทแยง ภาพที่ 79 ภาพลายเส้นแสดงลายราชวัติ หรื อลายแผงกลุ่มที่ 1 แบบต่างๆ จากหลักฐานลวดลายจีนที่เก่าแก่ที่สุดน่าจะเป็ นลายประดับฐานชุกชีวหิ ารวัดหนองจลิน พ.ศ. 2060 ลักษณะ ลายคล้ายกับอักษรหุ ย เป็ นลายสิ ริมงคลของจีนที่แปลว่า ความต่อเนื่องไม่มีวนั จบ อีกประเภทนึ่งที่มีลกั ษณะ คล้ายตัว T วางสลับด้านกันพบที่วหิ ารวัดปราสาทนี้ยงั พบลวดลาย ลักษณะนี้ที่ลายประดับผนังด้านข้างของ วิหารวัดป่ าแดงพุทธศตวรรษที่ 24
ภาพที่ 80 กลุ่มลายราชวัติหรื อลายแผงกลุ่มที่ 2 ลายแผงกุดนั่
ห น้ า | 52
ที่ซุม้ ประตูโขงท้ายวิหารก็เช่นกัน จะปรากฏลวดลายแบบดั้งเดิม ผสมผสานกับลวดลายที่เป็ น อิทธิ พลของจีน คือมีการใช้ลวดลายพันธุ์พฤกษา หงส์ และมกรคลายนาคขณะเดียวกันยังมีการใช้ลวดลายตัว มอมอีกด้วย ทาให้ทราบถึงการอยูร่ ่ วมกันของลวดลายทั้งแบบเก่าและแบบใหม่ที่ผสมผสานกันอยู่
ภาพที่ 81 ภาพลายเส้นกรอบคดโค้งแบบเงื่อนแบบที่ 1 อิทธิพลจากศิลปะจีน
ภาพที่ 82 ภาพลายเส้นกรอบคดโค้งแบบเงื่อนที่ 2
ภาพที่ 83 ลายเส้น อวั้นจื่อจิน ลวดลายอิทธิ พลจากศิลปะจีน
ห น้ า | 53
3. งานลงรักปิ ดทอง งานลงรักษ์ปิดทองของวิหารวัดปราสาท ปรากฏอยูใ่ นช่วงของเสาภายในวิหารแบ่งออกเป็ นเสา หลวง 5 คู่ข่างละ 5 และผนังปูนด้านสุ ดท้ายทางทิศใต้ และทิศเหนือของซุม้ ประตูโขงหน้าพระประธาน งาน ลงรักปิ ดทองนี้สามารถทาได้ในส่ วนของพื้นที่เป็ นไม้และพื้นปูน จะมีความอิสระอย่างมากในการ สร้างสรรค์ลวดลายไม่วา่ จะละเอียดอย่างไรก็ตาม การใช้ลวดลายประดับตกแต่งด้วยเทคนิคนี้จึงมีการนา ลวดลายต่างๆมาใช้อย่างมากมาย ในส่ วนของเสาและแบ่งเป็ นลายเชิงของเสาที่วหิ าร วัดปราสาทนี้จะพบว่า ลายเชิงเสาของเสาหลวงจะมีความเปลี่ยนแปลงไปจากรู ปแบบศิลปะแบบล้านนาในช่วงก่อนพุทธศตวรรษที่ 24 อย่างสิ้ นเชิง ลักษณะของลายเชิงเสา ดังกล่าวจะเป็ นแบบแผนในศิลปะในสมัยรัตนโกสิ นทร์ อย่างชัดเจน และปรากฏเป็ นลายกรวยเชิง ลายหน้ากระดานประจายามและหน้ากระดานกรอบลูกฟัก ส่ วนลายท้องเสานั้น แถบจะกล่าวได้ท้ งั หมดเลยว่าเป็ นลวดลายที่ได้รับอิทธิ พลมาจากรัตนโกสิ นทร์ ราวครึ่ งหลัง ของพุทธ ศตวรรษที่ 24 ซึ่ งเป็ นช่วงที่อิทธิ พลของลวดลายแบบรัตนโกสิ นทร์ ได้เริ่ มปรากฏเข้ามา เกี่ยวข้องในงาน ประดับของล้านนาจึงได้ปรากฏลวดลายแบบรัตนโกสิ นทร์ หลายๆอย่างประกอบอยูใ่ นลายก้านแยก ประดับ ท้องเสา ได้แก่ ลายเทพพนม ลายเทวดา ลายหน้ากาล ลายพุม่ ข้าวบิณฑ์ ลายยักษ์ และลายหนุมาน ซึ่งเป็ นตัว ละครของวรรณคดีทอ้ งเรื่ องรามเกียรติ์
ภาพที่ 84 ภาพลายเส้นลายยักษ์ และหนุมาน ตัวละครจากเรื่ องรามเกียรติ์ กลุ่มลวดลายอดีตพุทธที่ปรากฏอยูท่ ี่พนังปูนด้านทิศตะวันตก ปรากฏพระพุทธเจ้าประทับนัง่ บน แท่นแก้ว ปางมารวิชยั มีรัศมีพระเศียร เรี ยงกันหน้ากระดานแต่ละองค์ค้ นั ด้วยลายบาตรวางอยูบ่ นแกนไม้ แบบแผนการทาลวดลายอดีตพุทธเป็ นลวดลายคาประดับอาคารทางศาสนา ของล้านนามาตั้งแต่ ช่วงพุทธ ศตวรรษที่ 21 ดังปรากฏที่กรอบลูกฟักหน้าบัน และแผงคอสอง ภายในวิหารพระพุทธวัดพระธาตุลาปาง หลวงปรากฏเป็ นพุทธเจ้าปางมารวิชยั มีหลายรู ปแบบ และมีการใช้สืบเนื่ องจนศิลปะแบบรัตนโกสิ นทร์ได เข้ามา แต่ลวดลายที่วหิ ารวัดปราสาทยังปรากฏรู ปแบบของอดีตพุทธแบบล้านนาดั้งเดิม รวมไปถึงลวดลาย อดีตพุทธที่แผงคอสอง วิหารคะตึกเชียงมัน่ จังหวัดลาปาง ที่มีอายุราวพุทธศตวรรษที่ 24 เช่นกันแต่ยงั คงเอก ลักษณะลวดลายอดีตพุทธแบบล้านนา
ห น้ า | 54
กลุ่มลวดลายสัตว์งานลงรักปิ ดทองของวิหารวัดปราสาท ยังปรากฏอยูบ่ ริ เวณลายเชิงเสาของเสาข้าง ภายในกรอบลูกฟัก ได้แก่ สิ งห์และหงส์ ลายท้องเสาของเสาข้างได้แก่ รู ปหงส์กา้ นแยกลวดลายสิ งห์ โดยเฉพาะสิ งห์จะมีลกั ษณะ ลวดลายของสิ งห์ในลักษณะของศิลปะแบบรัตนโกสิ นทร์ กล่าวคือที่ลาตัวขา และหงอนบนหัวจะมีลกั ษณะคล้ายกนกเปลว ปากของสิ งห์ค่องข้างแหลมส่ วนหงส์ที่ปรากฏนั้นมีศิลปะที่ เป็ นแบบแผนของรัตนโกสิ นทร์ อยูด่ ว้ ยและยังได้พบหงส์แบบจีน ประกอบอยูใ่ นงานลายคา พุทธประวัติที่ ประดับอยูบ่ นผนังปูนด้านข้างของห้องท้ายวิหารทั้งสองข้างภาพหงส์ที่ปรากฏอาจไม่ใช้อิทธิ พลแบบจีนที่ สื บเนื่องมาจากศิลปะแบบล้านนาตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 21 แต่เป็ นศิลปะจีนรุ่ นหลังที่เข้ามาพร้อมกับรู ปแบบ ศิลปะแบบรัตนโกสิ นทร์ ในราวครึ่ งหลังพุทธศตวรรษที่ 24
ภาพที่ 85 กลุ่มลายสัตว์ในงานลายคาประดับเสาวิหาร
ภาพที่ 86 กลุ่มลายบุคคลและเทวดาในงานลายคาประดับเสา
ห น้ า | 55
กลุ่มลวดลายบุคคล และเทวดาได้มีการสื บเนื่ องมาจากตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 21 ที่วหิ ารพระพุทธ ปรากฏเป็ นเทวดา พนมพร้อมช่อดอกไม้นงั่ คุกเขาที่บริ เวณแผงคอสอง พุทธศตวรรษที่ 22 ปรากฏลายเทวดา ชันเขาพนมมือพร้อมดอกไม้ที่พนังปูนที่วหิ ารน้ าแต้มวัดพระธาตุลาปางหลวง ศิลปะดังกล่าวสื บทอดมา จนถึงพุทธศตวรรษที่ 23 ยังคงรักษาแบบแผนเดิมต่อมาพุทธศตวรรษ 24 ที่วหิ ารวัดปราสาทกลุ่มบุคคลและ เทวดา ทีปรากฏอยูภ่ ายในลายคาพุทธประวัติที่ผนังปูน ห้องสุ ดท้ายนั้นได้มีรูปแบบศิลปะแบบรัตนโกสิ นทร์ อย่างชัดเจน และในช่วงเวลาเดียวกันได้ปรากฏภาพบุคคล เทวดา ที่มีศิลปะแบบรัตนโกสิ นทร์ ที่เทวดาชุมนุม ประกอบต้นศรี มหาโพธิ์ ที่วหิ ารคะตึกเชียงมัน่ จังหวัดลาปางพุทธศตวรรษที่ 24
4. งานประดับกระจก ปรากฏอยูใ่ นส่ วนของหน้าบันและในส่ วนของการประดับตกแต่งรวมกรบเทคนิคอื่นๆ วัสดุกระจก นี้ เชื่อว่าริ เริ่ มการใช้จากจีนมาก่อน และต่อได้ส่งอิทธิ พลเข้ามามีบทบาทในการตกแต่งสถาปั ตยกรรมไทย จากการที่วหิ ารวัดปราสาทมีการนาเทคนิคนี้มาใช้ ได้แสดงให้เห็นถึงความนิยมแบบจีนเข้ามา การใช้เทคนิค นี้มีขอ้ จากัดในด้านรู ปแบบ และรู ปทรงพอสมควร เนื่ องจากการตัดกระจกทาให้ไม่เกิดความอิสระของเส้น สายได้เหมือนกับเทคนิคอื่นๆ จึงมักนาไปประกอบใช้กบั เทคนิคอื่น เช่นในส่ วนของหางหงส์ เป็ นการใช้ เทคนิคการเข้าลูกฟัก ส่ วนอื่นก็มีเช่น ช่อฟ้า หน้าบัน ใช้เทคนิคประดับกระจกนี้ ร่ วมกับลวดลายปูนปั้ น และ การลงรักปิ ดทอง
ภาพที่ 87 งานประดับกระจกหน้าบันวิหารวัดปราสาท
ภาพที่ 88 งานประดับกระจกบนซุม้ โขงวิหารวัดปราสาท
ห น้ า | 56
สรุ ป การศึกษาในส่ วนต่างๆ ของส่ วนต่างของวิหารวัดปราสาทที่ได้กล่าวมาแล้ว ทาให้สามารถกาหนด อายุของ งานศิลปกรรมประดับตกแต่งวิหารวัดปราสาทได้วา่ ควรอยูใ่ นช่วงพุทธศตวรรษที่ 24 -25 (พ.ศ. 2350-2424) ซึ่งในปี พ.ศ. 2366 ที่วหิ ารแห่งนี้ได้สร้างขึ้นเป็ นช่วงที่ลา้ นนาเป็ นประเทศราชของสยาม และ เมืองเชียงใหม่ยงั อยูใ่ นช่วงที่กาลังฟื้ นฟูบา้ นเมือง หลังจากทิ้งร้างไปเป็ นเวลานาน ซึ่ งวิหารแห่งนี้ถูกสร้างขึ้น ในช่วงเวลานี้ จึงมีการยกทัพไปกวาดต้อนผูค้ นจากเมืองต่างๆแถบลุ่มแม่น้ าสาละวิน และแม่น้ าโขงทางตอน เหนื อมาเป็ นพลเมือง เนื่ องจากเชียงใหม่ยงั ขาดแคลนกาลังไพร่ พลอที่ช่วยฟื้ นฟูบูรณะบ้านเมือง จึงเป็ นที่ เรี ยกขานเชียงใหม่ในช่วงนี้วา่ “เก็บผักใส่ ซา้ เก็บข้าใส่ เมือง” ของนักวิชาการ จากการฟื้ นฟูบา้ นเมืองของ เชียงใหม่สมันนั้นยังเป็ นการฟื้ นฟูงานศิลปกรรมด้วยเนื่ องจากขาดช่างฝี มือในการบูรณะปฏิสังขรณ์ สร้างวัด วาอารามจึงมีการเชื่ อกันว่าอาจมีการจ้างช่างฝี มือจากสยามเข้ามาช่วยเหลือ ในการก่อสร้างจึงทาให้งาน ศิลปกรรมที่เกิดขึ้นในเมืองเชี ยงใหม่ในสมัยนั้น โดยอย่างยิง่ วิหารวัดปราสาทยังคงใช้แบบแผนเดิมแบบ ล้านนาในการก่อสร้างและแบบแผนใหม่ของทางสยามในการตกแต่งวัดปราสาทแงนี้ จึงปรากฏ เป็ นศิลปะ แบบล้านนาสยาม และจีนซึ่ งวิหารในยุคหลังๆ ได้มีการพัฒนามาจน แทบไม่คงรู ปแบบเดิมของวิหารล้านนา วิหารวัดปราสาทจึงตกอยูใ่ นช่วงรอยต่อทางวัฒนธรรมแบบเก่าและแบบใหม่จึงเรี ยกได้วา่ วิหารวัดปราสาท เป็ นรอยต่อทางยุคสมัยของล้านนา