Disaster management guide

Page 1


02 02 คู่มือการจัดการภัยพิ บัติโดยชุมชน

คู่มือกำรจัดกำรภัยพิ บัติโดยชุมชน บรรณาธิการ

ปรีดา คงแป้น ธิดารัตน์ รัดไว้ ไมตรี จงไกรจักร์

กองบรรณาธิการ

จ�านงค์ พิชยา มณฑา อ�านาจ โชคดี ปนัทดา จิรวรรณ

จัดท�าโดย

มูลนิธิชุมชนไท (Chumchonthai Foundation) 11 ซ.กรุงเทพกรีฑา 1 ถ.กรุงเทพกรีฑา แขวงหัวหมาก เขตบางกะปิ กรุงเทพฯ 10240

จิตรนิรัตน์ แก้วขาว อัจฉริยกุล จันทร์ช่วง สมพรหม ทัศศิริ ชูช�านาญ

สนับสนุนโดย

ส�านักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)


03 03 คู่มือการจัดการภัยพิ บัติโดยชุมชน

ค�ำน�ำ แม้ภัยพิบัติจะเกิดขึ้นมากมายในประเทศไทย ตั้งแต่ปี 2505 ที่แหลมตะลุมพุก จั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราช พายุ เ กย์ ที่ จั ง หวั ด ชุ ม พร โคลนถล่ ม ที่ ก ะทู น จั ง หวั ด นครศรีธรรมราช หรือน�้ำท่วมใหญ่อีกหลายครั้ง ในประเทศไทย แต่เราก็ไม่เคยมี บทเรียนการจัดการภัยพิบตั ใิ ดๆ ทีจ่ ะสามารถเป็นแนวทางให้ชมุ ชนเตรียมพร้อมรับมือ ภัยพิบัติ ให้เกิดรูปธรรมได้เลย สึนามิ 26 ธันวาคม 2547 เป็นภัยพิบัติอีกครั้ง ที่ประเทศไทย เสียหายอย่างหนัก ทั้งชีวิต ทรัพย์สิน ของประชาชน และเศรษฐกิจของประเทศ การจัดการภัยพิบัติ โดยชุมชนก่อเกิดขึน้ ท่ามกลางภาวะวิกฤติ ทีบ่ า้ นน�ำ้ เค็ม จังหวัดพังงา ซึง่ ยกระดับจาก ผู้ประสบภัยสึนามิ เป็นผู้ช่วยเหลือผู้ประสบภัย จนก่อเกิดเป็นเครือข่ายผู้ประสบภัย สึนามิในพื้นที่ อันดามัน เครือข่ายผูป้ ระสบภัยสึนามิ จากชุมชนทีส่ ญ ู เสียรวมตัวกันในการบริหารจัดการภัย โดยผู้ประสบภัยเอง และต่อมายกระดับเป็นชุมชนเตรียมพร้อมรับมือภัยพิบัติสึนามิ เป็นบทเรียนส�ำคัญทีม่ นี กั วิชาการหลายคนพัฒนาเป็นทฤษฎีกอ่ นเกิดภัย ขณะเกิดภัย และหลังเกิดภัย บทเรียนการจัดการภัยพิบัติสึนามิ อย่างเดียวคงไม่เพียงพอที่จะถอดเป็นคู่มือ การเตรียมพร้อมรับมือภัยพิบัติในประเทศไทย จึงเชื่อมโยงกับการจัดการภัยใน ประเทศไทย พิบตั ติ า่ งๆ ทัว่ โลก ซึง่ จะเทียบเคียงเฉพาะทีเ่ ครือข่ายไปเกีย่ วข้อง ลงมือ ท�ำ และแลกเปลีย่ นเรียนรูร้ ว่ มกันในหลากหลายรูปแบบ เช่น พายุแคทรีนาทีน่ วิ ออลีน สหรัฐอเมริกา สึนามิประเทศญีป่ นุ่ อินเดีย ศรีลงั กา อินโดนีเซีย พายุนากีส ในเมียนมา และอื่นๆ อีกกว่า 40 ประเทศ


04 04 คู่มือการจัดการภัยพิ บัติโดยชุมชน

หนังสือเล่มนี้จึงเป็น “คู่มือ การเตรียมพร้อมรับมือภัยพิบัติชุมชน” ที่เกิดจาก ประสบการณ์ของผูป้ ระสบภัยทีผ่ า่ นการสรุปบทเรียน ครัง้ แล้วครัง้ เล่า เพือ่ เป็นแนวทาง ให้ชมุ ชนอ่าน เข้าใจง่ายๆ และเป็นแนวทางสูก่ ารปฏิบตั ไิ ด้จริง ซึง่ อาจไม่ใช่ทงั้ หมดของ สูตรส�ำเร็จ อย่างน้อยที่สุดทางผู้จัดท�ำก็ถอดจากการปฏิบัติการจริงในพื้นที่มาแล้วทุก ภัยพิบัติ อยากให้ผู้อ่านปรับใช้ให้เหมาะกับบริบทของชุมชนตนเอง

นายไมตรี จงไกรจักร์ มูลนิธิชุมชนไท มีนาคม 2560


05 05 คู่มือการจัดการภัยพิ บัติโดยชุมชน

ค�ำน�ำ ภัยพิบตั มิ แี นวโน้มเกิดมากขึน้ ทัว่ โลก ความถีแ่ ละรุนแรงเกิดมากขึน้ จ�ำนวนผูไ้ ด้รบั ผลกระทบก็มากขึน้ ในประเทศไทย เหตุภยั พิบตั ติ า่ งๆ เกิดมากขึน้ และทวีความรุนแรง ขึ้นเรื่อยๆ ทั้งเหตุภัยพิบัติสึนามิ ดินโคลนถล่ม ไฟไหม้ป่า น�้ำท่วมจากเหตุฝนตกมาก น�้ำล้นเขื่อน น�้ำป่าไหลหลาก พายุพัดถล่มบ้านเรือน รวมทั้งภัยพิบัติจากเหตุความ รุนแรงทางการเมืองและสังคม เป็นต้น ซึ่งสร้างความเสียหายให้กับชีวิตและทรัพย์สิน อย่างประเมินค่ามิได้ ภัยพิบัติจึงมิใช่เรื่องไกลตัวส�ำหรับคนไทยอีกต่อไป ชุมชนเป็นด่านแรก ที่จะได้รับผลกระทบจากภัยพิบัติ ในขณะที่การจัดการที่มา จากศูนย์กลาง ไม่สามารถตอบสนองต่อความต้องการของชุมชนได้ทั้งหมด ดังนั้น การจัดการความเสี่ยงโดยชุมชนเอง จึงเป็นทางเลือกหลักในการจัดการภัยพิบัติ การ สนับสนุนให้ชุมชนผู้ประสบภัย ลุกขึ้นมารวมกลุ่มแก้ปัญหาด้วยตนเองตั้งแต่ต้นจะน�ำ ไปสู่การพัฒนาอย่างต่อเนื่องของชุมชนและเครือข่ายได้อย่างยั่งยืน การจัดท�ำคูม่ อื การจัดการภัยพิบตั โิ ดยชุมชนฉบับนี้ เป็นการรวบรวมประสบการณ์ จากชุมชนเครือข่ายผูป้ ระสบภัยทีเ่ ข้าร่วมโครงการขับเคลือ่ นเครือข่ายชุมชนสูข่ อ้ เสนอ นโยบายจัดการภัยพิบัติ และพื้นที่ประสบภัยอื่นๆ ในประเทศไทย มีเป้าหมายเพื่อ เตรียมความพร้อมให้กบั ชุมชนและหน่วยงานภาคีทเี่ กีย่ วข้องกับภัยพิบตั ไิ ด้มกี ารสร้าง การป้องกันและลดความเสี่ยงภัยพิบัติ ลดความสูญเสียจากภัยพิบัติที่เกิดขึ้น คูม่ อื ฉบับนี้ ประกอบด้วยกระบวนการเตรียมชุมชนเพือ่ เตรียมพร้อมรับมือภัยพิบตั ิ ตั้งแต่ก่อนเกิดภัย ช่วงวิกฤติ และหลังภัยพิบัติ พร้อมทั้งยกตัวอย่างในแต่ละเรื่องจาก บทเรียนชุมชนประสบภัยต่างๆ ไว้เป็นแนวทาง ซึง่ หวังว่าเมือ่ ชุมชนอยูใ่ นภาวะประสบ ภัย ชุมชนสามารถจัดการกับภัยพิบัติได้ด้วยตัวชุมชนเอง ธิดารัตน์ รัดไว้ บรรณาธิการ มีนาคม 2560


06 06 คู่มือการจัดการภัยพิ บัติโดยชุมชน


07 07 คู่มือการจัดการภัยพิ บัติโดยชุมชน

สำรบัญ 1. ท�าไมต้องท�าแผนการจัดการภัยพิบัติโดยชุมชน

09

2. กระบวนการเตรียมชุมชนเพื่อเตรียมพร้อมรับมือภัยพิบัติ 2.1 เตรียมพร้อมก่อนเกิดภัย 2.2 ช่วงวิกฤติขณะเกิดเหตุ 2.3 ช่วงฟื้นฟูหลังภัยพิบัติ

11 11 18 23

3. การท�าผังวงจรชีวิตชุมชนรับมือภัยพิบัติ

24

4. การจัดท�าแผนที่ความเสี่ยง-ผังชุมชน

27

5. การจัดระบบสนับสนุนชุมชน

29

6. ตัวอย่าง : คู่มือการเตรียมรับมือภัยพิบัติต�าบลท่าหิน

31

7. ตัวอย่าง : คู่มือรับมือน�้าท่วม ชุมชนบ้านปากคลอง บางโพธิ์เหนือ ต�าบลบางโพธิ์เหนือ อ�าเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี

39

8. คู่มือการอบรมวิทยุสื่อสาร เพื่อพัฒนาและยกระดับศักยภาพ ในการเตรียมความพร้อมรับมือภัยพิบัติ

50


08 08 คู่มือการจัดการภัยพิ บัติโดยชุมชน


09 09 คู่มือการจัดการภัยพิ บัติโดยชุมชน

1

ท�ำไมต้องท�ำแผนการจัดการภัยพิ บัติโดยชุมชน

บทเรียนส�ำคัญจากเหตุการณ์ภัยพิบัติ ทั้งภัยพิบัติสึนามิ และภัยน�้ำท่วม คือผู้ที่ ประสบภัยจะรอรับบริการอย่างเดียวไม่ได้เพราะมีผเู้ ดือดร้อนจ�ำนวนมากและในบรรดา ผูเ้ ดือดร้อนมีระดับทีแ่ ตกต่างกัน มีทงั้ ผูท้ ชี่ ว่ ยตนเองไม่ได้ ผูท้ ชี่ ว่ ยตนเองได้ซงึ่ พร้อมที่ จะช่วยคนอื่นได้ด้วย ชุมชนจึงเป็นด่านแรก ที่จะได้รับผลกระทบ ในขณะที่การจัดการ ภัยพิบตั ทิ มี่ าจากศูนย์กลาง ไม่สามารถตอบสนองต่อการแก้ปญ ั หาและความต้องการ ของชุมชนได้ทั้งหมด รวมทั้งอาจละเลยศักยภาพทรัพยากรและภูมิปัญญาที่มีอยู่ใน ชุมชน ดังนั้น การจัดการความเสี่ยงโดยชุมชนเอง จึงเป็นทางเลือกหลักในการเติม ช่องว่าง ดังกล่าว หลักการทีส่ ำ� คัญ คือ การบรรเทาทุกข์และสนับสนุนกระบวนการฟืน้ ฟูวถิ ชี วี ติ โดย ชุมชนผูป้ ระสบภัยเป็นแกนหลักด้วยการสนับสนุนให้ชมุ ชนผูป้ ระสบภัย “ตัง้ ทีม” ลุกขึน้ มารวมกลุ่มแก้ปัญหาด้วยตนเองตั้งแต่ต้น และสนับสนุนให้เครือข่ายชุมชนหรือผู้ที่มี จิตสาธารณะอื่นๆ ได้เข้าไปหนุนช่วยอย่างเป็นระบบ ซึ่งจะน�ำไปสู่การพัฒนาอย่าง ต่อเนื่องของชุมชนและเครือข่ายได้ อย่างยั่งยืน ดังนั้น การเปลี่ยนภัยพิบัติเป็น “กระบวนการพัฒนา” ที่เน้นการมีส่วนร่วมของ คน ชุมชน เครือข่ายและภาคีความร่วมมือ ควรเป็นยุทธศาสตร์ส�ำคัญของทุกหน่วย งานที่เกี่ยวข้อง ซึ่งจะท�ำให้การฟื้นฟูทุกด้านเกิดขึ้นอย่างรวดเร็วและมีพัฒนาการต่อ เนื่อง ไปสู่การมีแผนรับมือภัยพิบัติ การจัดการทรัพยากรน�้ำและทรัพยากรธรรมชาติ ร่วมกันอย่างยั่งยืน ซึ่งการฟื้นฟูภัยพิบัติโดยชุมชนควรด�ำเนินการควบคู่ไปกับการ บรรเทาความเดือดร้อนเบื้องต้น ผลการทบทวนประสบการณ์ชุมชนและเครือข่าย ในการเตรียมความพร้อมใน จัดการภัยพิบตั ทิ ผี่ า่ นมา ทัง้ ในและต่างประเทศ เช่น กรณีเหตุการณ์ สึนามิ บ้านน�ำ้ เค็ม จ.พังงา กรณีเหตุการณ์แผ่นดินไหว จังหวัดเชียงราย กรณีเหตุการณ์ดินโคลนถล่ม จังหวัดกระบี่ กรณีน�้ำกัดเซาะชายฝั่งอ่าวไทย ฯลฯ


10 10 คู่มือการจัดการภัยพิ บัติโดยชุมชน

• แผนการการจัดการภัยพิบัติ ควรมีสามระยะคือ ระยะเตรียมรับมือก่อนเกิด ภัย ระยะเผชิญหน้า และระยะฟื้นฟูชุมชน • การเตรียมรับมือ : เตรียมสถานที่อพยพ เตรียมวิธีการอพยพ เตรียม อาหารส�ำหรับคนและสัตว์ เตรียมเรือแพ /รถ เตรียมระบบเตือนภัย ฯลฯ • ระยะเผชิญหน้า : ระบบการผลิตหรือจัดท�ำอาหาร การจัดการศูนย์พักพิง การจัดการระบบความปลอดภัยทรัพย์สินและชุมชน การจัดการเครื่อง อุปโภคบริโภค การจัดการสุขาภิบาลน�้ำเสีย สุขภาพอนามัย การประสาน การช่วยเหลือกับภายนอกฯลฯ • ระยะฟืน้ ฟู : การซ่อมแซมบ้าน ฟืน้ ระบบเกษตร จัดหาเมล็ดพันธุ์ ปรับปรุง ระบบสาธารณูปโภค พัฒนาอาชีพฯลฯ การท�ำคู่มือชุมชนส�ำหรับจัดการภัยพิบัติ สามารถท�ำได้ทั้งหนังสือ หรือแผ่นป้าย ติดไว้ในสถานที่ส�ำคัญในชุมชน เผยแพร่ให้สมาชิกเข้าถึงข้อมูลที่รวบรวมมาได้โดยทั่ว กัน เป็นแผนส�ำรองที่สามารถท�ำให้ทุกคนประสบภัยโดยสวัสดิภาพได้ รายละเอียดที่ จะปรากฏต่อไปเป็นแนวทางทีถ่ อดจากประสบการณ์การฟืน้ ฟูชมุ ชนในพืน้ ทีป่ ระสบภัย ต่างๆ ทั่วประเทศ ในการให้ชุมชนได้เริ่มต้นท�ำคู่มือการจัดการภัยพิบัติโดยชุมชนของ ชุมชนและเพื่อชุมชนตนเอง กระบวนการเตรียมชุมชนเพื่อเตรียมพร้อมรับมือภัยพิบัติ การเตรียมรับมือ

ระยะเผชิญหน้า

ระยะฟื้นฟู

1. ค้นหาอาสาสมัคร 2. ท�ำข้อมูลชุมชน 3. พัฒนาอาสาสมัคร 4. ประสานหน่วยงาน/ภาคี 5. ท�ำแผนพัฒนาต่อเนื่อง

1.จุดนัดหมาย (ศูนย์พักพิง) 2. โรงครัว 3. การกู้ภัย 4. การจัดท�ำข้อมูล 5. การเดินทาง 6. การจัดการของบริจาค 7. การจัดระบบชุมชน

1. วิเคราะห์ข้อมูล 2. ท�ำแผนฟื้นฟู 3. จัดระบบองค์กร 4. การซ่อมแซมบ้าน 5. การฟื้นฟูอาชีพ


11 11 คู่มือการจัดการภัยพิ บัติโดยชุมชน

2

กระบวนกำรเตรียมชุมชนเพื่ อเตรียมพร้อม รับมือภัยพิ บัติ

2.1 เตรียมพร้อมก่อนเกิดภัย

การเตรียมความพร้อมป้องกันภัยพิบัติ หมายถึง การเตรียมการเพื่อลดความสูญ เสียชีวติ หรือให้เกิดการสูญเสียน้อยทีส่ ดุ มิได้หมายความถึงการห้ามหรือป้องกันไม่ให้ ภัยพิบัติเกิดขึ้น เพียงแต่นี้คือการเตรียมพร้อมเพื่อที่จะอยู่กับพื้นที่เสี่ยงในการเกิดภัย อย่างมีเหตุมผี ลและหากเกิดภัยขึน้ เราสามารถบริหารจัดการคน พืน้ ทีแ่ ละทรัพยากรที่ มีให้เกิดประโยชน์สูงสุด มีขั้นตอนดังนี้ 1) ค้นหาอาสาสมัคร หมายถึง การเริม่ ต้นต้องสร้างความเข้าใจให้กบั คนในชุมชน ระดับหนึง่ เพือ่ สร้างกระบวนการเริม่ ต้นด้วยกัน และหาอาสา เมือ่ ได้อาสาสมัครจึงเกิด กระบวนการพัฒนาอาสาสมัคร 2) ข้อมูลชุมชน หมายถึง ข้อมูลทุกอย่างที่มีประโยชน์ต่อการวิเคราะห์ภัยพิบัติ ความเสี่ยงเกิดภัย จุดปลอดภัย ปัญหา อุปสรรค เช่น จ�านวนประชากร ผู้สูงอายุ ผู้พิการ เด็ก หญิงตั้งครรภ์ ถนน สิ่งปลูกสร้าง รถ ถังแก๊ส วิธีการให้ได้มาซึ่งข้อมูลอาจ ประชุมกลุ่มย่อย หรือลงพื้นที่จัด เก็บแบบส�ารวจ และต้องท�าแผนที่ ชุมชน เช่น ถนน สะพาน จุดเสีย่ งภัย จุดปลอดภัย


12 12 12 12 การจัดดการภั การภัยยพิพิบบัตัติโดยชุ ิโดยชุมมชน ชน คูคู่ม่มือือการจั


13 13 คู่มือการจัดการภัยพิ บัติโดยชุมชน

ตัวอย่าง : แนวค�ำถามที่จะมีในแบบส�ำรวจกรณีน�้ำท่วม (1) ข้อมูลพื้นฐานของผู้ที่ถูกส�ำรวจ (2) รายละเอียดสมาชิกในครัวเรือน โดยใส่ข้อมูลเฉพาะคนที่อาศัยอยู่จริง (3) ข้อมูลหัวหน้าครอบครัวหลัก (4) ข้อมูลเกี่ยวกับรายรับ รายจ่าย มีหนี้สินหรือไม่ มีหนี้ในระบบ หรือนอกระบบ โดยมีองค์กรที่สามารถให้ความรู้เกี่ยวกับการจัดการหนี้สินได้ (5) ลักษณะของตัวบ้าน (6) ความรู้ ความสามารถพิเศษของคนในแต่ละครัวเรือน (7) ความกังวลเรื่องน�้ำท่วม (8) มีปัญหาอะไรบ้างเมื่อเกิดภัยพิบัติ (9) ใครเป็นคนตัดสินใจเมื่อเกิดภัยพิบัติ (10) เมื่อมีปัญหาปรึกษาใคร มีใครมาช่วยเหลือบ้าง (11) ความคิดเห็นเกี่ยวกับน�้ำท่วมในครั้งต่อไป จะเกิดขึ้นหรือไม่ (12) มีแผนรับมือเกี่ยวกับน�้ำท่วมหรือไม่ (13) ในยามเกิดภัยพิบัติ ท่านพร้อมที่จะช่วยเหลือผู้อื่นหรือไม่ (14) ในชุมชนมีการช่วยเหลือกันหรือไม่ ช่วยเหลือกลุ่มคนเปราะบางหรือไม่ (15) สภาพปัญหาของผู้หญิงเกี่ยวกับน�้ำท่วมที่ผ่านมามีอะไรบ้าง (16) ท่านมีบทบาทในการช่วยเหลือน�้ำท่วมหรือไม่ (17) ชุมชนมีการท�ำแผนรับมือภัยพิบัติหรือไม่ (18) ต้องท�ำอะไรบ้างในขณะที่น�้ำท่วม (19) ท่านต้องการให้มีระบบเตือนภัยหรือไม่ ให้มีการแจ้งล่วงหน้ากี่ชั่วโมง (20) หน่วยงานในการดูแลของรัฐไหนบ้างเข้ามาช่วยเหลือ (21) ข้อเสนอแนะอื่นๆ (22) ชื่อผู้ให้ข้อมูลและชื่อผู้ส�ำรวจข้อมูล


14 14 คู่มือการจัดการภัยพิ บัติโดยชุมชน

3) การรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อท�ำแผน หมายถึง หลังจากได้ข้อมูล แล้วอาสาสมัครทั้งหมดต้องมาน�ำเสนอแลกเปลี่ยนกันในรูปแบบแผนที่ท�ำมือและ ข้อมูลรวมสรุป เพื่อเกิดการเรียนรู้ร่วมกัน โอกาสเสี่ยงในการเกิดภัยพิบัติ ช่วงเวลา การเกิดภัย จนเกิดปฏิทินภัยพิบัติทางธรรมชาติ โดยการวิเคราะห์ข้อมูลอย่างมีเหตุ มีผล เช่น สาเหตุเกิดภัยจากภายในจุดปลอดภัยเหมาะสมหรือไม่ เรื่องประชากรกับ เส้นทางอพยพเหมาะหรือไม่อย่างไร หากค้นหาสาเหตุต่างๆ ได้แล้ว ก�ำหนดร่างแผน เตรียมป้องกันภัยด้วยกัน โจทย์ท้าทาย คือ จากข้อมูลทั้งหมดเราจะท�ำอย่างไรบ้างให้ คนในชุมชนเราปลอดภัย อาจมีค�ำถามมากมายให้ทีมงานหาค�ำตอบ เช่น ทีมงานจะ มีการประสานกันได้รวดเร็วที่สุดท�ำอย่างไร การแจ้งเตือนอย่างไรให้ทั่วถึง การอพยพ อย่างไร ใครตัดสินใจอพยพ อพยพไปที่ไหนหากมีคนตกค้างจะเอาอะไรไปช่วย หาก มีคนเจ็บจะท�ำอย่างไร 4) การพัฒนา อาสาสมัคร หมายถึง เมื่อเกิดแผนเตรียมพร้อมป้องกันภัยแล้ว อาสาสมัครอาจมีหน้าที่หรือบทบาทเกิดขึ้นมากมาย เช่น การจัดการจราจร การ อพยพหลบภัย การวิเคราะห์ภัย การแจ้งเตือนภัย การเฝ้าระวัง การกู้ชีพ ฯลฯ หาก มีสิ่งหนึ่งสิ่งใดเกิดจากภายในแล้วจ�ำเป็นที่ต้องพัฒนาอาสาสมัครเหล่านั้นให้มีความรู้ ความช�ำนาญ และสามารถปฏิบัติตามแผนเตรียมพร้อมป้องกันภัยได้ 5) การสร้างภาคีความร่วมมือ หมายถึง เมื่อเกิดแผนเตรียมความพร้อมภาย ใต้ชุมชนอาจเป็นฉบับร่างและพัฒนาแผนร่วมกันกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น ปภ.จังหวัด อบต. ผู้ใหญ่ ก�ำนัน อ�ำเภอ และองค์กรภาคเอกชนที่มีประสบการณ์ เพื่อ ให้เกิดแผนทีม่ คี ณ ุ ภาพ และเริม่ ต้นความร่วมมือด้วยกันเพราะภาคีภาครัฐมีองค์ความ รู้ และงบประมาณในการสนับสนุน ตัวอย่าง : การสร้างกลไกความร่วมมือระหว่าง ท้องถิ่น ภาคเอกชน และชุมชน กรณีชมุ ชนบ้านน�ำ้ เค็ม คือ สิง่ ทีต่ อ้ งซ้อมให้เห็นปัญหาและเข้าใจวิธที จี่ ะร่วมมือกันเพือ่ รับเหตุที่ก่อนจะเกิดขึ้นจริง มีการซ้อมแผนบนโต๊ะ (TTX : Table Top Exercise) เพื่อ ท�ำความเข้าใจและล�ำดับความร่วมมือจากทุกหน่วย ก่อนซ้อมแผนในชุมชน ได้แบ่ง ฝ่ายต่างๆ ออกเป็น


15 15 คู่มือการจัดการภัยพิ บัติโดยชุมชน

(1) ฝ่ายเฝ้าระวัง มีหน้าทีส่ งั เกตความผิดปกติของธรรมชาติ เช่น น�ำ้ ทะเล ติดตาม ข่าว หากมีการเตือนให้อพยพ ต้องไปสังเกตน�ำ้ ทะเลว่าแห้งผิดปกติหรือไม่เพือ่ ที่จะได้แจ้งให้ทีมอพยพ (กรณีสึนามิ) (2) ฝ่ายรักษาความสงบ จะมีการลาดตระเวนดูแล ปกป้องทรัพย์สิน ดูแลความ เรียบร้อยของทุกคน ทั้งในสถานการณ์ปกติและเมื่อเกิดเหตุที่ต้องอพยพชาว บ้านออกจากพื้นที่ (3) ฝ่ายจราจร มีหน้าทีอ่ ำ� นวยความสะดวกในการจราจรขณะอพยพผูค้ นออกจาก พื้นที่ โดยประจ�ำตามจุดต่างๆ ไม่ให้รถวิ่งสวนทาง จัดระบบให้คนเดินเท้าชิด ขวา ส่วนทางซ้ายรถวิ่ง จนกว่าทีมเฝ้าระวังจะสั่งถอนก�ำลัง (4) ฝ่ายกู้ภัย มีหน้าที่ช่วยเหลือร่วมกับทีมรักษาความสงบตรวจดูบ้านเรือนทุกๆ ครัวเรือน ตรวจดูผคู้ นทีต่ กค้าง หรือผูด้ อ้ ยโอกาสทีไ่ ม่สามารถช่วยเหลือตัวเอง ได้ น�ำไปส่งยังจุดปลอดภัย จากนั้นจึงร่วมกับทีมรักษาความสงบ ลาดตระเวน ดูแลทรัพย์สินไม่ให้สูญหายจากผู้ฉวยโอกาส (5) ฝ่ายพยาบาล มีหน้าที่รักษาพยาบาลเบื้องต้นแก่ผู้ที่ได้รับบาดเจ็บก่อนน�ำส่ง โรงพยาบาล (6) ฝ่ายสื่อสาร ท�ำหน้าที่ใช้วิทยุสื่อสารแจ้งฝ่ายปฏิบัติการ ประสานอาสาสมัคร ในชุมชนแต่ละจุดสั่งชาวบ้านอพยพเมื่อสัญญาณเตือนภัยดังขึ้น (7) ฝ่ายอ�ำนวยการ มีหน้าทีป่ ระเมินภาพรวมสถานการณ์รว่ มกับชาวบ้านและทีม อาสาทีเ่ ป็นแรงงานข้ามชาติ ร่วมกันตัดสินใจเริม่ หรือสิน้ สุดการอพยพ หรือถ้า คลืน่ สูงกว่าทีเ่ คยเกิดเหตุในอดีตจะต้องมีการอพยพไปยังทีส่ งู กว่า ก็จะประสาน ไปยัง อบต. หรือโรงเรียนตะกั่วป่าเสนานุกูลซึ่งเป็นจุดอพยพต่อไป โครงสร้างการบัญชาการที่ควรจะเป็นคือ หน่วยงานทั้งภาครัฐและภาค เอกชนที่มีฐานที่มั่นอยู่นอกชุมชน ควรจะท�ำหน้าที่สนับสนุน เป็นจุดเชื่อมต่อ (node) ให้ชุมชน ไม่ใช่ทั้งหมดลงไปยังหน้างานในชุมชน กล่าวคือ ในการซ้อมการรับมือคลื่น สึนามิทชี่ มุ ชนบ้านน�ำ้ เค็ม แต่ละหน่วยควรประจ�ำฐานทีม่ นั่ ของตน เพือ่ ประสานส่งต่อ กับหน่วยงานประจ�ำท้องถิน่ หรือประจ�ำจังหวัด เช่น หน่วยแพทย์ฉกุ เฉินและกูช้ พี กูภ้ ยั ท�ำหน้าทีส่ ง่ ผูป้ ว่ ย ผูป้ ระสบภัยและเครือ่ งมือจ�ำเป็นส�ำหรับการกูส้ ถานการณ์หลังจาก ที่คลื่นลูกใหญ่ผ่านเข้ามา


16 16 คู่มือการจัดการภัยพิ บัติโดยชุมชน

ในการออกแบบแผนการรับมือกับภัยพิบตั ขิ องแต่ละชุมชน ภาครัฐควรจะประเมิน ศักยภาพของชุมชน แล้วปรับรูปแบบของการด�ำเนินงานให้สอดคล้องกับตัวชี้วัดของ แต่ละหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรม ซึ่งถ้าเป็นชุมชนที่เปราะบางก็ต้องน�ำก�ำลัง เข้าไปสนับสนุนในพื้นที่อย่างเต็มที่ ถ้าเป็นชุมชนที่เข้มแข็งก็ควรจะยอมรับศักยภาพ ที่ชุมชนมีแล้ว ออกแบบการด�ำเนินงานที่สอดคล้องกับภูมินิเวศน์ของชุมชนด้วย ทีส่ ำ� คัญความคิดของคนไทยทีผ่ า่ นมา ยังมองเห็นการเตือนภัยและซ้อมรับภัยแบบ ก�ำไรและขาดทุน คือ ถ้าซ้อมแล้วไม่เกิดภัย คือ ขาดทุน ชุดความคิดนีค้ วรจะถูกเปลีย่ น ไปทั้งหมดเป็นเฝ้าระวังแล้วไม่เกิด ถือว่าเป็นก�ำไร ไม่มีการซ้อมใดที่ขาดทุน 6) การน�ำแผนกลับสู่การประชาพิจารณ์แผนในชุมชน และการรณรงค์สร้าง ความตระหนักให้กับสมาชิกในชุมชน หมายถึง แผนที่ผ่านกระบวนการกลั่นกลอง ของคณะท�ำงานและภาคีความร่วมมือ แล้วน�ำกลับไปให้ชมุ ชนประชาพิจารณ์แผนครัง้ สุดท้าย ซึง่ จะท�ำให้เกิดการเรียนรูใ้ นกระบวนการขับเคลือ่ นแผน และแผนทีม่ คี ณ ุ ภาพ เพราะหากชุมชนไม่เห็นความส�ำคัญของแผนแล้วจะไม่สามารถขับเคลื่อนแผนได้เลย เมื่อแผนสมบูรณ์แล้วต้องรณรงค์สร้างความตระหนักอยู่เป็นประจ�ำในทุกโอกาส เช่น ตามกิจกรรมชุมชน ทัง้ งานประเพณี งานบุญ งานกุศล ในทุกโอกาสโดยประชาสัมพันธ์ ของทีมอาสาสมัครและผู้ที่เกี่ยวข้อง 7) การน�ำเสนอแผนให้กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องหรือที่สนับสนุนกิจกรรม เตรียมความพร้อม เช่น อบต. เทศบาล ปภ. จังหวัด องค์กรภาคเอกชน นโยบาย รัฐบาล หมายถึง เมือ่ แผนสมบูรณ์แล้วในแผนจะบอกขัน้ ตอนในการขับเคลือ่ นทัง้ หมด และความจ�ำเป็นต้องมีเครื่องมืออุปกรณ์สนับสนุนให้แผนขับเคลื่อนได้ เช่น การแจ้ง เตือนภัย อาจต้องมีหอกระจายข่าวประจ�ำหมู่บ้าน วิทยุสื่อสารส�ำหรับอาสาสมัคร ไซเรนมือหมุนส�ำหรับแจ้งเตือนภัย เป็นต้น 8) การติดตามผล การบันทึกผลทีด่ ี ปรับปรุงแผน หมายถึง การด�ำเนินการตาม แผน มีการติดตามประเมินผล และต้องบันทึกผลทั้งปัญหาอุปสรรค์ ผลดี ที่เกิดขึ้นทั้ง ทางตรงและทางอ้อม เพื่อน�ำผลกลับมาวิเคราะห์หลังการซ้อมแผน การท�ำกิจกรรม ตามแผนและปรับปรุงแผนให้มีคุณภาพขึ้น


17 17 คู่มือการจัดการภัยพิ บัติโดยชุมชน

9) การพัฒนาต่อเนื่อง หมายถึง การขยายผลค้นหาแกนน�ำรุ่นใหม่ การศึกษาดู งานเพื่อการพัฒนาศักยภาพ ฝึกทบทวน สิ่งส�ำคัญ คือ ให้อาสาสมัครมีจิตสาธารณะ โดยการท�ำกิจกรรมอาสา ทัง้ ในชุมชนและภายนอก เช่น การออกไปช่วยเหลือผูป้ ระสบ ภัยภายนอกพื้นที่ หากมีอาสาสมัครสนใจจะไปช่วยต้องหาวิธีให้ได้ไปเพื่อสร้างจิต สาธารณะ และยังขยายเครือข่ายแลกเปลี่ยนเรียนรู้ไปสู่พื้นที่อื่นๆ ต่อไป อาสาเตรียมพร้อมป้องกันบรรเทาภัยภาคประชาชน โมเดลเคลือข่ายคูสว่าง 2555


18 18 คู่มือการจัดการภัยพิ บัติโดยชุมชน

2.2 ช่วงวิกฤติขณะเกิดเหตุ

หมายถึง หลังจากเหตุการณ์ภัยพิบัติเกิดมีระยะเวลา ไม่เกิน 7 วัน หากมีแผนอยู่

ในแผนควรมีหลักส�ำคัญ ดังนี้ 1) จุดนัดหมาย หมายถึง จุดปลอดภัยที่เกิดจากกระบวนการท�ำแผนเตรียมความ พร้อมด้วยกันในชุมชนและก�ำหนดจุดปลอดภัยไว้ อาจมีมากกว่าหนึ่งจุด แต่ทุกคนใน ชุมชนรู้กันว่าใครไป ณ จุดปลอดภัยใด และคนในบ้านเองต้องเข้าใจตรงกันว่าไม่ต้อง ตามหากัน แต่จะเจอกัน ณ จุดปลอดภัยของชุมชน เมื่อมาถึงจุดปลอดภัย แต่ละฝ่าย ด�ำเนินการตามหน้าที่ ที่ก�ำหนดด้วยกันในแผน เช่น ฝ่ายลงทะเบียนความเดือดร้อน จ�ำนวนสมาชิกในศูนย์พักพิง ความต้องการเร่งด่วน ฝ่ายรักษาความปลอดภัย ฝ่าย อพยพค้นหา ฝ่ายโรงครัวต้องเตรียมการ ซึ่งอาจแบ่งกลุ่มกันดูแล ศูนย์พักพิง : ส�ำหรับการเลือกสถานที่ส�ำหรับจัดตั้งศูนย์พักพิงต้องเลือกสถานที่ ปลอดภัย เข้าถึงได้งา่ ย มีพนื้ ทีแ่ ละอาคารเหมาะกับการรองรับผูป้ ระสบภัย ศูนย์พกั พิง ควรจะไม่ไกลจากชุมชน อาคารทีต่ งั้ แม้นำ�้ ท่วมชัน้ ล่างก็ตอ้ งยังพักอาศัยอยูไ่ ด้ โดยการ จัดระบบรองรับทั้ง น�้ำ ไฟ การสื่อสาร และการเดินทางที่เหมาะสม

การตัง้ ศูนย์พกั พิงขนาดใหญ่ ต้องไม่รบั ผูป้ ระสบภัยจนเกินก�ำลังการบริการ ผูบ้ ริหาร จะต้องมีขอ้ มูลความเสีย่ งของพืน้ ทีต่ งั้ ศูนย์วา่ มีความเสีย่ งทีจ่ ะประสบภัยในระดับไหน เช่น น�้ำจะท่วมหรือไม่ สูงแค่ไหน รับมือได้หรือไม่ ศูนย์พักพิงที่ดีต้องมีหลัก คือ (1) การดูแลเรื่องความปลอดภัยเป็นไปได้ง่าย (2) การจัดการเรื่องสวัสดิการ อาหาร สุขาภิบาลและความเป็นอยู่มีความ สะดวก (3) การรักษาพยาบาลและการควบคุมป้องกันโรคเป็นไปได้อย่างทัว่ ถึง จัดระบบ ให้กลุ่มเปราะบาง เช่น ผู้คนป่วยและผู้พิการเคลื่อนไหวได้สะดวก (4) การมีกิจกรรมร่วมกันท�ำให้มีสุขภาพจิตดีกว่าการแยกอยู่ตามล�ำพัง (5) การติดต่อขอการสนับสนุนจากภายนอกเป็นไปได้งา่ ยกว่าการแยกย้ายอยู่ กันอย่างกระจัดกระจาย


19 19 คู่มือการจัดการภัยพิ บัติโดยชุมชน

2) โรงครัว หมายถึง อาหารเป็นเรื่องแรกที่ต้องมีการเตรียมและดูแลผู้อพยพที่มา อาศัยอยู่ด้วยกัน ณ ศูนย์พักพิง หรือจุดปลอดภัยจะต้องเป็นพื้นที่เก็บอุปกรณ์เครื่อง ครัวด้วย สิ่งที่จ�ำเป็นในช่วงเกิดเหตุต้องย้ายมาไว้ที่เดียวกัน ทีมครัว แม่ครัวภัยพิบตั ิ นอกจากสามารถค�ำนวณปริมาณอาหาร ให้เพียงพอและ วิธกี ารปรุงแล้ว ต้องเรียนรูห้ ลายอย่างไปพร้อมกัน เช่น วิธหี อ่ ข้าวไม่ให้บดู ต้องแยกข้าว และกับข้าวออกจากกัน การห่อต้องใส่ถงุ มัดยางไม่ให้อากาศเข้า หลีกเลีย่ งการใช้กล่อง โฟมหรือกระดาษมัน เพราะเกิดการกระแทกระหว่างขนส่งแตกง่าย เปลืองพื้นที่ และ อาจปนเปื้อนระหว่างขนส่งได้ ต้องเลือกประเภทอาหารที่สอดคล้องกับศาสนา และ สามารถกินได้สะดวก ฯลฯ 3) กู้ภัย หมายถึง ทีมอาสาที่มีหน้าที่ช่วยเหลือกู้ภัย ต้องออกปฏิบัติการทันทีเพื่อ ช่วยเหลือสนับสนุนบุคคลที่ยังตกค้างในพื้นที่ เช่น เด็ก คนชรา ผู้ป่วย และ / หรือผู้ ที่ก�ำหนดในแผนไว้ว่าไม่อพยพเพื่อเฝ้าระวังตรวจตราในพื้นที่ ทีมกู้ภัยต้องสนับสนุน เรื่อง อาหาร และอื่นๆ ตามความจ�ำเป็น 4) ข้อมูล หมายถึง ต้องมีทีมส�ำรวจข้อมูลสมาชิก / ลงทะเบียน (อาจเป็น อสม. ก็ได้) ว่าครบหรือไม่ครบหรือมีใครตกค้างบ้าง รวมถึงข้อมูลความเสียหายที่เกิดขึ้น ทั้งหมด เพื่อประสานความช่วยเหลือไปยัง ภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน รวมถึงเป็นฐานข้อมูลที่จะดูแลผู้เดือดร้อนในพื้นที่อย่างทั่วถึงและเท่าเทียม 5) การเดินทาง จะเห็นว่าในช่วง 1-2 วันแรก ทีเ่ ป็นระยะวิกฤติ เส้นทางสัญจรเดิม ถูกตัดขาด เส้นทางถูกเปลี่ยนแปลง ควรมีการจัดระบบใหม่ของการขนส่ง ให้มีขนส่ง มวลชนส�ำรอง มีการตั้งจุดประสานงานรวบรวมอาสาสมัครด้านการเดินทาง จัดแบ่ง บทบาทภารกิจทีมต่าง เช่น ทีมเรือ ประสานการกู้ภัย รับส่งคน รับส่งของ ในพื้นที่ที่ รถหรือขนส่งมวลชนส�ำรองเข้าถึงไม่ได้


20 20 คู่มือการจัดการภัยพิ บัติโดยชุมชน

สิ่งที่ต้องเตรียมรับมือในวิกฤติด้านการเดินทางในระยะแรก

มีจุดประสานงาน รวบรวม Contact อาสา และผู้ปฎิบัติงานทั้งที่มาใหม่และทีมเดิม

ขนส่งมวลชนต้องมีส�ารอง เช่น น�้าท่วม จนรถธรรมดาวิ่งไม่ได้ ก็ต้องจัดหารถที่มี สมรรถนะมากกว่ามาวิ่งแทน

ภารกิจทีมเรือ ต้องจัดตั้งจุดประสานงาน ย่อยในแต่ละเส้นทางที่รับข้อมูลจากจุด ประสานงานกลาง


21 21 คู่มือการจัดการภัยพิ บัติโดยชุมชน

6) การจัดการของบริจาค เมื่อประสบภัยต้องเกิดภาวะขาดแคลนของกินของใช้ เพราะความเสียหายที่เกิดและการตัดขาดของการจราจร ที่เคยขนส่งสิ่งต่างๆ มายัง ชุมชน สิ่งที่อาสาและชุมชนในพื้นที่ประสบภัยต้องเริ่มจัดการตัวเองเป็นอันดับแรก คือ การปรับตัวให้เข้ากับสถานการณ์ เริ่มแรกแกนน�ำต้องประเมินว่าภัยพิบัติที่ได้รับนั้น จ�ำเป็นต้องตั้งศูนย์รับของบริจาค หรือจัดการครัวกลางของชุมชนหรือไม่ ถ้าจ�ำเป็นก็ ระดมคนและสิ่งของที่มี บทเรียน การบริจาคของส�ำหรับเหตุการณ์นำ�้ ท่วม 3 วันแรก สิง่ ทีผ่ ปู้ ระสบภัยต้องการ ก็คือ อาหารที่ปรุงแล้วพร้อมรับประทาน (ข้าวห่อ) เพราะไม่มีไฟฟ้า หรือไม่อยู่ใน สถานะที่จะหุงหาอาหารได้ตามวิถีปรกติ ในช่วง 7 วัน เมื่อสถานการณ์เริ่มทรงตัว ควรจัดถุงยังชีพให้เพียงพอส�ำหรับครัว เรือนทีม่ สี มาชิกจ�ำนวน 3-5 คน จะใช้บริโภคได้ตลอด 1 สัปดาห์ คือข้าวสาร 5 กิโลกรัม อาหารแห้ง ของใช้ และเวชภัณฑ์ ฯลฯ ถุงยังชีพ แบ่งเป็น 2 ประเภทได้ง่ายๆ คือ (1) ถุงยังชีพ ที่จัดไว้ก่อนประสบภัย แต่ละครัวเรือนเตรียมได้เองในระยะเตรียม พร้อมป้องกันภัย ไม่ว่าจะเป็นที่ผู้ประสบภัยจัดเอง หรืออาสาสมัครจัดให้เอา ไว้ยังชีพหลังจากเผชิญวิกฤติ หรือจะเป็นถุงยังชีพที่ภาครัฐเตรียมไว้ให้ก่อนที่ จะเผชิญภัย ถุงยังชีพเหล่านี้มักจะจัดเตรียมตามการส�ำรวจความต้องการแล้ว (2) ถุงยังชีพ ที่จัดหลังประสบภัย ซึ่งมาจากอาสาภัยพิบัติ หรือขบวนรถบริจาค หลังประสบภัย มักเป็นที่มาของความขัดแย้งระหว่างชาวบ้านในชุมชนหาก ของบริจาคไม่เท่ากัน และขาดการจัดการของบริจาคตามความต้องการที่แท้ จริงระหว่างผู้ให้กับผู้รับ


22 22 คู่มือการจัดการภัยพิ บัติโดยชุมชน

สิง่ ของบริจาค ถ้าผูป้ ระสบภัยไม่ได้อยูใ่ นพืน้ ทีห่ า่ งไกลมากนัก ถุงยังชีพทีไ่ ด้รบั แต่ละ บ้านมักจะเพียงพอ แต่ขณะเดียวกันอาจขาดแคลนบางอย่าง เช่น ผ่านไป 5-7 วัน น�้ำดื่มในถุงยังชีพหมด หรือผ่านไป 5-7 วัน ต้องการอาหารสดแทนอาหารแห้ง ดังนั้น ในการส่งของบริจาคไปรอบที่ 2 หรือหลังจากวันที่ 5-7 วัน ควรตรวจสอบ ว่าชุมชนที่ประสบภัยขาดแคลนหรือต้องการอะไร เช่น ขาดน�้ำดื่มก็ส่งไปเฉพาะน�้ำดื่ม อย่างเดียว ในท�ำนองเดียวกัน เรื่องความต้องการเพียงบางอย่าง เช่น ผ้าอนามัย นม เด็ก ผักสด ก็ส่งไปเฉพาะรายการที่พื้นที่ต้องการเท่านั้น 7) การจัดระบบของชุมชน ควรตั้งจุดประสานงานรับของบริจาคไว้ที่จุดประสาน งาน ซึ่งมักจะเป็นจุดเดียวกับท่ารถ ท่าเรือส�ำรอง หรือปากทางเข้าชุมชน เพื่อสะดวก ต่อการรับและการกระจาย วิธีบริหาร / กระจายของบริจาคที่ชุมชนต่างๆ ใช้กันทั่วไป ก็คือ (1) แจ้งให้สมาชิกในชุมชนมาช่วยกัน (2) รับของที่ได้มารวบรวมของทั้งหมดไว้ที่ส่วนกลาง (3) ท�ำทะเบียนผู้ให้ของบริจาคแสดงความโปร่งใส (4) จัดชุดเฉลี่ยจ�ำนวนของไว้ให้เพียงพอกับจ�ำนวนของครัวเรือน (5) เมื่อของได้ครบตามจ�ำนวน จึงประกาศให้สมาชิกมารับของ (6) ถ้าของในชุมชนมีมากเกินพอ ก็ไปแจกข้างนอกต่อ แต่ถ้าได้ยังไม่ครบ ก็ใช้ วิธีแจกเท่าที่มี การบริจาคของให้ชุมชน สามารถจัดการกับของที่จะให้กับชุมชนสองวิธี คือ ส่ง ของแต่ละอย่างที่ระดมได้มาให้ชุมชนจัดการหรือจัดเป็นชุดส�ำหรับแต่ละครัวเรือน ทัง้ หมดเป็นเพียงหลักส�ำคัญและอาจมีมากหรือน้อยกว่าแล้วแต่ภยั พิบตั แิ ละ/หรือ สภาพชุมชน การเตรียมการในช่วงนี้ให้พร้อมชุมชนต้องค้นหาเครื่องมือ อุปกรณ์ใน การสนับสนุนให้เกิดความสะดวกและเตรียมการให้พร้อมอยู่ตลอดเวลา เช่น เรือกู้ภัย เครื่องมือกู้ภัย อุปกรณ์ท�ำครัว วิทยุสื่อสาร อื่นๆ ตามแต่ความจ�ำเป็น


23 23 คู่มือการจัดการภัยพิ บัติโดยชุมชน

2.3 ช่วงการฟื้นฟูหลังภัยพิบัติ

1) วิเคราะห์ข้อมูล หมายถึง เมื่อได้ข้อมูลจากการส�ำรวจความเสียหายแล้วน�ำ ข้อมูลทีไ่ ด้มาประมวลให้ได้ประเด็นส�ำคัญๆ เช่น ผูเ้ สียหายจ�ำนวนกีค่ รอบครัว มีอะไร เสียหายบ้าง ถนน สะพานหรืออืน่ ๆ ทีเ่ สียหายทัง้ หมด เพือ่ น�ำข้อมูลมาจัดล�ำดับความ ส�ำคัญทีต่ อ้ งฟืน้ ฟูแก้ปญ ั หาก่อน และข้อมูลภาพรวมต้องติดในทีเ่ ปิดเผย และน�ำข้อมูล เสนอต่อหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง เพือ่ ให้เกิดการช่วยเหลือตรงกับความเสียหายทีเ่ กิดขึน้ ไม่ซ�้ำซ้อน และป้องกันการทุจริตได้ 2) จั ด ท� ำ แผนการฟื ้ น ฟู ชุ ม ชน หมายถึ ง แผนที่ เ กิ ด ขึ้ น จากภายในอย่ า งมี ประสิทธิภาพ เพื่อเสนอต่อหน่วยงานองค์กรที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและเอกชน และ เริ่มการฟื้นฟูโดยเริ่มจากภายในชุมชนก่อน หากพบปัญหาที่เกิดขึ้นภายหลังภัยพิบัติ ชุมชนต้องเป็นหลักในการแก้ปัญหา 3) จัดองค์กรชุมชน หมายถึง จัดตั้งคณะท�ำงานที่มีศักยภาพและอาสาจาก สมาชิกในชุมชน จากประสบการณ์คณะกรรมการที่มาจากท้องที่ ท้องถิ่น เป็นหลักจะ ไม่สามารถขับเคลื่อนได้เป็นเอกภาพ เพราะมีปัจจัยภายนอกมาก�ำหนด ซึ่งเหนือการ ควบคุม ส�ำคัญคือผู้ประสบภัยต้องเป็นหลักให้ได้ ท้องที่ท้องถิ่น เป็นที่ปรึกษา จัดตั้ง กลุ่มออมทรัพย์ องค์กรการเงิน ใช้ทุนในชุมชนก่อน 4) การสร้างบ้าน หมายถึง บ้านชัว่ คราว และบ้านถาวร ซึง่ ต้องสร้างบ้านชัว่ คราว ก่อนเป็นเรือ่ งแรกหากภัยพิบตั ใิ หญ่เสียหายมากมีบา้ นพังทัง้ หลัง เพราะจะเป็นกลไกใน การเสริมความเข้มแข็งองค์กรชุมชนได้โดยใช้กจิ กรรม และประชุมให้เป็นกิจจะลักษณะ บ้านถาวร รัฐไม่ควรสนับสนุนผ่านกระบวนการของรัฐแต่ให้กระบวนการชุมชนบริหาร จัดการเองทั้งแรงงานและงบประมาณเพื่อลดการรอคอย และรอรับการช่วยเหลือจน เกิดเป็นประเพณี การสร้างบ้านต้องสร้างบ้านตามใจผูอ้ ยู่ แบบบ้านต้องออกแบบเอง


24 24 คู่มือการจัดการภัยพิ บัติโดยชุมชน


25 25 คู่มือการจัดการภัยพิ บัติโดยชุมชน

3

การท�ำผังวงจรชีวิตชุมชนรับมือภัยพิ บัติ

ในการเตรียมความพร้อมรับมือภัยพิบัตินั้น ชุมชนจะต้องคิดไปพร้อมๆ กันในทุก

อ่ ง ทัง้ เรือ่ งการเตียมความพร้อมรับมือภัยพิบตั ิ การซ่อมแซมบ้าน การเริม่ ต้นชีวติ ใหม่ เรื

และในครั้งต่อไป การท�ำปฏิทิน 12 เดือน โดยระบุว่าใน 1 รอบปี สภาพสิ่งแวดล้อม และภูมิอากาศได้ส่งผลกระทบชุมชนเราอย่างไร เพื่อน�ำบทเรียนที่ได้ไปออกแบบการ ปรับตัว ในการลดผลกระทบที่เกิดกับการด�ำรงชีวิตและการประกอบอาชีพให้มีความ เสียหายน้อยกว่าที่ผ่านมา การท�ำปฏิทนิ ภัยพิบตั ขิ องชุมชนนัน้ เริม่ ได้งา่ ยๆ ด้วยการระดมความเห็นจากกลุม่ สมาชิกในชุมชนแล้วสอบถามข้อมูลในแต่ละเดือนใน 3 ประเด็น คือ 1) สภาพภูมิอากาศในแต่ละเดือนเป็นอย่างไร ฝน หรือ พายุ จะเข้าในช่วงไหน 2) ผลกระทบที่เกิดขึ้นกับทรัพยากร หรืออาชีพเป็นอย่างไร 3) แนวทางการแก้ไขหรือปรับตัวส่วนใหญ่ท�ำอย่างไร

ตัวอย่าง : ปฏิทนิ ภัยพิบตั ขิ องชุมชนในลุม่ น�ำ้ มูน จังหวัดอุบลราชธานี ได้กอ่ ให้เกิด ข้อมูลและการด�ำเนินงานที่ต่อเนื่องกันที่จะอยู่ร่วมกับปัญหาน�้ำท่วม เตรียมรับมือได้ โดยไม่ต้องหนี มีรายละเอียด ดังนี้ ช่วงที่ 1 : ช่วงที่น�้ำท่วม (เดือนกันยายน - พฤศจิกายน) : ใช้เวลาประมาณ 3 เดือน แต่ละพืน้ ทีจ่ ะแตกต่างกันไปตามสภาพดินฟ้าอากาศ ซึ่งปัจจุบันแปรปรวนตลอดเวลา ชุมชนต้องมีการติดตามเป็นระยะ ช่วงที่ 2 : ช่วงที่น�้ำลด (เดือนธันวาคม - กุมภาพันธ์) : ซึ่งเป็นช่วงที่ต้องเริ่มต้น ชีวิตใหม่ ต้องท�ำหลายอย่างไปพร้อมกัน เช่น ซ่อมแซมบ้าน การประกอบอาชีพ ช่วย กันรวมรวบปัญหาการแก้ไข และการติดตามข้อมูลข่าวสารต่างๆ เช่น การช่วยเหลือ เยียวยาตามกฎหมาย เตรียมการรับมือภัยพิบัติ หาวิธีการที่สามารถอยู่กับน�้ำได้ เช่น ยกปลั๊กไฟให้อยู่ที่สูง การจัดตั้งกลุ่มอาสาชุมชน การดูแลคนชรา ดูแลเด็ก ฯลฯ


26 26 คู่มือการจัดการภัยพิ บัติโดยชุมชน

การฟื้นฟูซ่อมแซม • กลุ่มอาสาพัฒนาชุมชน น�ำความศรัมธาสร้างกลุ่มจิตอาสา ชวนเพื่อนมาร่วมกัน • รวบรวมปัญหา ข้อมูลเสนอโครงการเร่งด่วน ชวนเพื่อนท�ำ เช่น การถูกศูนย์พักพิงไม่ให้ชาวบ้านใช้พื้นที่แล้ว • ติดตามข่าวคราวเพื่อนที่ศูนย์อพยพ • ทีมติดตาม พ.ร.บ. คุ้มครอง และประกาศต่างๆ ของรัฐบาล ที่จะช่วยเหลือเยียวยาผู้ประสบภัย

ส.ค. การจัดระบบองค์กร • แบ่งหน้าที่ • การเดินทาง • ตรวจสอบครอบครัว • เช็คอุปกรณ์ เช็คความปลอดภัย • เช็คหน่วยประสานงาน • เช็คโกดังอาหาร

ช่ว

ก.พ.

ี่ 3

ตรวจสอบ เตรียมพร้อม ซักซ้อม • เพือ่ ชุมชนตัวเอง และช่วยพืน้ ที่ มี.ค. อื่ น / สร้ า งเครื อ ข่ า ยทุ ก มิ ติ (ชุมชน บริษัท ราชการ) เม.ย. • ประสานพื้นที่ใกล้เคียงที่อยู่ใน นิเวศน์เดียวกัน • ผลิตอุปกรณ์ เช่น เรือ แพ • สัตว์เลี้ยง • เตรียมสถานที่สูง • ติดตามข้อมูลระดับน�้ำ

ชว่ ง ท

ช่วงที่ 1

น�้ำท่วมรับมือแบบเราเอาอยู่ • ใช้ระบบครวบครัวของเรา • ใช้กองทุนที่เตรียมไว้ • หารายได้พิเศษ เช่น จากการขายขยะ ได้เงินเข้ากองทุน ธ.ค. พ.ย. ม.ค. • ตั้งทีมเกาะติด ทีมดูแลระดับน�้ำ ช่วงที่ 2 ของรัฐบาล ต.ค. • ฟื้นประเพณีน�้ำหลาก เราสามารถรับมือภัยพิบัติได้ ปฏิทิน 12 เดือน ทุกสถานการณ์ วิถีชุมชนพึ่งตนเอง ก.ย. อยู่กับธรรมชาติ งที่

ก.ค.

4 มิ.ย.

พ.ค.

ช่วงที่ 3 : ช่วงที่สามารถฟื้นฟูตัวเองได้แล้ว (เดือนมีนาคม - มิถุนายน) สร้าง เครือข่าย โดยการชวนเพื่อนชุมชนอื่นมาท�ำกิจกรรมร่วมกัน การหาสิ่งประดิษฐ์ต่างๆ เช่น เรือ แพ ในช่วงนีต้ อ้ งช่วยกันคิดการท�ำแผนรับมือภัยพิบตั ขิ องชุมชน เช่น การสร้าง คลังอาหารของหมูบ่ า้ น การท�ำผังชุมชน การหาจุดรวมคน จุดปลอดภัยในหมูบ่ า้ น ท�ำ แผนทีแ่ ละเส้นทาง การส�ำรวจเก็บข้อมูลภายในชุมชน รวมถึงการท�ำแผนการอพยพทัง้ ในพื้นที่หมู่บ้านและภายนอกบริเวณหมู่บ้าน และพื้นที่ที่สามารถย้ายสัตว์เลี้ยงได้


27 27 คู่มือการจัดการภัยพิ บัติโดยชุมชน

ช่วงที่ 4 : ช่วงทีต่ อ้ งเตรียมตัวซักซ้อมแผนการรับมือภัยพิบตั ิ (เดือนกรกฎาคม - สิงหาคม) ควรให้รวู้ า่ บ้านไหนมีคนเปราะบาง เช่น คนชรา เด็ก รูจ้ กั แผนทีใ่ นการเดิน ทางของหมู่บ้าน ประเมินว่าอาหารที่มีอยู่ได้กี่วัน และการติดต่อสื่อสารกับภายนอก ต้องรู้ว่าเมื่อเกิดเหตุจะติดต่อกับหน่วยงานไหน เช่น เพื่อบอกความต้องการที่จะขอ ความช่วยเหลือได้ ในขณะเดียวกันชุมชนต้องจัดท�ำข้อมูลภาพรวมให้ชัดเจน แล้วน�ำ เสนอข้อมูลและแผนของชุมชนไปเสนอต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

4

การจัดท�ำแผนที่ความเสี่ยง-ผังชุมชน

การท�ำผังชุมชนส�ำหรับภัยพิบัติ เป็นแผนที่ที่มาจากการจัดท�ำร่วมกันของคนใน ชุมชน ควรมีการน�ำข้อมูลกลุ่มเสี่ยงภัย ข้อมูลระดับน�้ำสูงสุดที่เคยท่วม ข้อมูลกลุ่ม เปราะบางในชุมชน มาบันทึกลงไปในผังชุมชน โดยก�ำหนดสัญลักษณ์ทตี่ า่ งกันใช้แสดง จุดเสีย่ ง จุดปลอดภัย จุดประสานงานให้ความช่วยเหลือ และบ้านของคนทีต่ อ้ งเข้าไป ให้ความช่วยเหลือตามล�ำดับ วิธีท�ำผังชุมชน ควรจะเริ่มจาก 1) รวบรวมสมาชิกตัวแทนชุมชน มาช่วยกันท�ำผังชุมชน 2) วาดผัง ตามความคิดความเข้าใจที่ตรงกันของสมาชิก ออกมาช่วยกันเติมราย ละเอียดพืน้ ทีก่ ายภาพในโซนของตนเอง เช่น ถนนสายหลัก ถนนสายรอง เส้น ทางน�้ำ บ้าน วัด โรงงาน โรงเรียน บ้านแกนน�ำ สถานที่ส�ำคัญของชุมชน 3) เติมข้อมูลบ้านทีเ่ ป็นกลุม่ เปราะบาง หลังจากทีผ่ งั พืน้ ทีท่ างกายภาพเริม่ เป็นรูป เป็นร่างแล้ว ให้สมาชิกช่วยกันระบุบา้ นของตนเอง บ้านทีม่ คี นท้อง เด็กคนชรา คนพิการ ทีไ่ ด้ขอ้ มูลจากการส�ำรวจเติมลงไปในผังทีว่ าดออกมา เพือ่ เข้าไปช่วย ขนย้าย ยกของในบ้านได้ตามล�ำดับ 4) เติมข้อมูลโซนที่ประสบภัย ล�ำดับตามความเสียหายจากเหตุการณ์ที่ผ่านมา เพื่อเชื่อมโยงให้เห็นการทับซ้อนกันระหว่างกลุ่มเปราะบางที่อยู่ในพื้นที่เสี่ยง ภัย ระยะทางใกล้ไกล และเส้นทางที่สะดวกต่อการเดินทางไปยังจุดปลอดภัย ส�ำหรับเป็นจุดนัดพบ จุดรวมพล ศูนย์ประสานงาน


แผนที่การท�ำข้อมูลของชุมชน ที่สามารถบอกจุดต่างๆ ส�ำคัญในชุมชน เช่น จุดความเสี่ยง จุดหนีภัย เพื่อให้ชุมชนสามารถ เตรียมความพร้อมกับภัยพิบัติที่จะเกิดขึ้นในชุมชนได้

28 28

คู่มือการจัดการภัยพิ บัติโดยชุมชน


29 29 คู่มือการจัดการภัยพิ บัติโดยชุมชน

5

การจัดระบบสนับสนุนชุมชน

เมื่อภัยพิบัติมีขนาดใหญ่เกินกว่าที่ชุมชนจะรับมือด้วยตนเองได้อย่างเดียว มีการ ระดมความร่วมมือจากหลายภาคส่วนเข้ามาร่วม ดังนั้น การจัดระบบสนับสนุนชุมชน จึงมีความจ�ำเป็นส�ำคัญ ในทีน่ ี้ จะยกตัวอย่างการจัดระบบศูนย์ภยั พิบตั ทิ ภี่ าคประชาชน ร่วมกับหลายหน่วยงานที่สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส ไว้เป็นแนวทาง ตัวอย่าง : การจัดระบบศูนย์ภัยพิบัติที่ภาคประชาชนร่วมกันที่ ThaiPBS มี โครงสร้างการสื่อสารและการท�ำงานที่ต่อเนื่องกันจาก 5 ฝ่ายหลัก คือ ส่งข้อมูล สื่อสารสู่ภายนอก

ฝ่ายนโยบาย และวิชาการ

ฝ่ายทรัพยากร

ฝ่ายชุมชน

ฝ่ายข้อมูล ศูนย์พักพิง

ฝ่ายสื่อ

ติดตาม สถานการณ์น�้ำ และเสนอ แนวทางการ รับมือ

ประสานความ ต้องการจาก ชุมชนและศูนย์ พักพิง ระดมทรัพยากร มาสนับสนุน

ประสานชุมชน ในเคลือข่าย สนับสนุนการ อพยพ หรือการ จัดการตนเอง

รวบรวม / อัพเดท การตั้ง ศูนย์พักพิงและ จ�ำนวนรองรับ

ย่อยข้อมูล สถานการณ์น�้ำ และการเตรียม รับมือส่งต่อให้ สื่อมวลชน และ Social Media

แจ้งเตือน / สนับสนุน

สนุบสนุนข้อมูลศูนย์อพยพ

แม่บ้าน (Support ทุกฝ่าย)

ผังแสดงการสื่อสารและโยงการท�ำงานภายในศูนย์


30 30 คู่มือการจัดการภัยพิ บัติโดยชุมชน

ฝ่ายนโยบายและวิชาการ : ติดตามสถานการณ์น�้าโดยใช้ข้อมูลจากนักวิชาการ ทุกสาขา เสนอทางเลือกในการแก้ปัญหาและตัดสินใจรับมือ แก่ชุมชนและฝ่ายสื่อน�า ในทิศทางเดียวกัน ฝ่ายทรัพยากร : ประสานความต้องการจากชุมชนและศูนย์พักพิง ไปสู่ชุมชนที่ พร้อมสนับสนุน หรือระดมทรัพยากรจากภาคธุรกิจ ลงพื้นที่ไปพร้อมกัน โดยมีหลัก คือจะส่งของตามความต้องการที่จ�าเป็นจริงให้กับศูนย์ของชุมชน เช่น เมื่อผ่าน 3 วัน แรกไปแล้ว ของบางอย่างจากถุงยังชีพ เช่น น�้าดื่ม นมผง หรือ ข้าวสาร เริ่มหมด ก็ จัดส่งไปให้เพิ่มเติมเฉพาะอย่างตามความจ�าเป็น ฝ่ายชุมชน : ประสานชุมชนในเครือข่าย สนับสนุนการอพยพและความช่วยเหลือ ด้านทรัพยากรเพื่อให้เกิดการจัดการตนเอง ฝ่ายข้อมูลศูนย์พกั พิง : สนับสนุนข้อมูลการอพยพ โดยลงไปประสานแต่ละจังหวัด ทีม่ เี ครือข่ายรวบรวมรายชือ่ ศูนย์พกั พิงทีต่ งั้ ขึน้ พร้อมกับติดตามอัพเดทจ�านวนรองรับ ว่ามีผเู้ ข้าพักจ�านวนเท่าไร และรองรับได้อกี เท่าไร เพือ่ เป็นฐานข้อมูลส่งให้องค์กรหรือ ชุมชนในพื้นที่ประสบภัยได้แจ้งให้สมาชิกในชุมชน ตัดสินใจที่จะย้ายเข้าไปอยู่ ฝ่ายสื่อ : ส่งต่อข้อมูลการท�างาน และประเด็ น ให้ ที ม นั ก ข่ า ว และ สื่ อ ต่ า งๆ โดยการย่ อ ยข้ อ มู ล ได้แก่ วิชาการ สถานการณ์น�้า และการเตรียมรับมือ การช่วย เหลื อ กั น จากชุ ม ชนที่ แ ห้ ง ไป ชุมชนที่เปียกให้เป็นต้นแบบที่ จุ ด ประกายการสนั บ สนุ น กั น ระหว่างชุมชน

หมายเหตุ : ข้อมูลจากศิรินันต์ สุวรรณโมลี


31 31 คู่มือการจัดการภัยพิ บัติโดยชุมชน

ตัวอย่าง คู่มือกำรเตรียมรับมือภัยพิ บัติ ต�ำบลท่ำหิน 1.

ความเป็นมาและวัตถุประสงค์ 1) เพื่อป้องกันและลดความเสียหายต่อชีวิตและทรัพย์สินของชุมชนที่เกิดจาก ภัยพิบัติ 2) เพือ่ ให้การช่วยเหลือผูป้ ระสบภัยเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและสามารถฟืน้ ฟู พื้นที่ประสบภัยกลับสู่สภาวะปกติโดยเร็ว 3) เพือ่ ก�าหนดหน้าที ่ ความรับผิดชอบของหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องและองค์กรเครือ ข่าย ทุกภาคส่วนในการป้องกันและบรรเทาสถานการณ์ฉกุ เฉินของภัยพิบตั ิ ให้ ชัดเจน บูรณาการ และมีประสิทธิภาพ 2. การเตรียมพร้อมก่อนน�้าท่วม การเตรียมพร้อมเป็นสิง่ ส�าคัญยิง่ ไม่ควรประมาทว่าจะไม่เกิดน�า้ ท่วมโดยเฉพาะใน พื้นที่ที่มีประวัติน�้าท่วมมา ก่อนหรือพื้นที่เสี่ยงควรเตรียมพร้อม ดังนี้ 1) ติดตามข่าวและสถานการณ์น�้าท่วมอย่างสม�่าเสมอ 2) เตรียมน�า้ สะอาด อาหารกระปอง ยาทีจ่ า� เป็นต่างๆ เช่น ยา ลดไข้ ยาหยอดตา ยาใส่แผล ผงน�า้ ตาลเกลือแร่ ยาประจ�าตัวส�าหรับผูท้ มี่ โี รคประจ�าตัว อุปกรณ์ที่ จ�าเป็น เช่น อุปกรณ์การสื่อสารพร้อมแบตเตอรี่ส�ารอง อุปกรณ์ชูชีพ ไฟฉาย พร้อมถ่านไฟฉาย เทียนไข ไม้ขีดไฟ ถุง ขยะ หรือถุงพลาสติกให้เพียงพอ ให้ สามารถช่วยตนเองได้ 5-7 วัน 3) ศึกษาแผนปฏิบตั ใิ นกรณีฉกุ เฉินของชุมชน สัญญาณต่างๆ การติดต่อการเตือน ภัยเส้นทางการอพยพ และ สถานที่ตั้ง ที่พักฉุกเฉินหรือศูนย์อพยพ 4) เตรียมช่องทางติดต่อกับหน่วยงานในท้องถิน่ ชุมชน ส�าหรับความต้องการช่วย เหลือกรณีพเิ ศษ เช่น เด็ก เล็ก หญิงตัง้ ครรภ์ ผูป้ ว่ ยโรคเรือ้ รัง ผูพ้ กิ าร หญิงหม้าย 5) หากมีสัตว์เลี้ยงให้เตรียมสิ่งของจ�าเป็นส�าหรับการดูแลสัตว์ เช่น อาหารสัตว์


32 32 คู่มือการจัดการภัยพิ บัติโดยชุมชน

3. การเตรียมรับมือภัยพิบัติต�ำบลท่าหินของครัวเรือน ส�ำหรับ 7 วัน 1) ข้าวสาร 2) ตะเกียง ไฟฉาย เทียน น�้ำมันก๊าด ไฟแช็ค 3) วิทยุทรานซิสเตอร์ 4) อาหารแห้ง 5) เสื้อชูชีพ 6) เอกสารส�ำคัญใส่ถุงพลาสติก 7) เตาถ่าน/ถ่าน/ไม้ฟืน/ แก๊ส 8) ยารักษาโรค 9) เตรียมตัดสวิทช์ไฟ 10) จุดปลอดภัย 11) หม้อแบตเตอรี่ 12) นกหวีด 4. สิ่งจ�ำเป็นที่จะต้องมีที่จุดปลอดภัย น�้ำดื่ม ห้องน�้ำ โรงครัว อาหาร เครื่องครัว อุปกรณ์ และ ยาสามัญประจ�ำบ้าน 5. ทีมอ�ำนวยการ ชื่อ-นามสกุล

เบอร์โทร

1. นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบล 2. ก�ำนันต�ำบลท่าหิน 3. ปลัด อบต.ท่าหิน 4. คณะท�ำงานหมู่ที่ 5 5. คณะท�ำงานหมู่ที่ 7 6. คณะท�ำงานหมู่ที่ 7 7. คณะท�ำงานหมู่ที่ 9 8. คณะท�ำงานหมู่ที่ 9 9. คณะท�ำงานหมู่ที่ 3 10. คณะท�ำงานกลุ่มเยาวชน 11. คณะท�ำงานกลุ่มเยาวชน 12. คณะท�ำงานกลุ่มเยาวชน 13. ผู้ประสานงานกลาง 14. ผู้ประสานงานกลาง

xxxxxxxxxxx xxxxxxxxxxx xxxxxxxxxxx xxxxxxxxxxx xxxxxxxxxxx xxxxxxxxxxx xxxxxxxxxxx xxxxxxxxxxx xxxxxxxxxxx xxxxxxxxxxx xxxxxxxxxxx xxxxxxxxxxx xxxxxxxxxxx xxxxxxxxxxx

หมายเหตุ


33 33 คู่มือการจัดการภัยพิ บัติโดยชุมชน

ภาระกิจ บทบาทหน้าที่ 1. ประมวลข้อมูลในเรือ่ งสถานการณ์ภยั พิบตั ทิ งั้ จากอินเตอร์เน็ต วิทยุ รวมทัง้ ความรู้ ในท้องถิน่ เพือ่ แจ้งฝ่ายประชาสัมพันธ์ให้แจ้งเตือนต่อสมาชิก เช่น เก็บของขึน้ ทีส่ งู หรืออพยพ 2. จัดท�าคู่มือแจก ที่ประกอบด้วยเบอร์โทรศัพท์ของฝ่ายต่างๆ เช่น อุตุนิยมวิทยา แผนที่อพยพ 3. ทีมอ�านวยความสะดวก ศึกษาเส้นทางที่ใกล้ที่สุด ท�าแผนที่วัดระยะทาง อบรม กฎจราจร 4. ศูนย์อ�านวยการบริหารจัดการ ของบริจาค การช่วยเหลือ เตรียมข้อมูลขึ้นป้าย อย่างละเอียด วิเคราะห์ข้อมูลรายวัน 5. ทีมรักษาความสงบในชุมชน ดูแลทรัพย์สินระหว่างเกิดภัย 6. ทีมรักษาพยาบาล อบรมการปฐมพยาลบาลเบื้องต้น อสม. และโรงพยาบาล สทิงพระ 7. หน่วยประสานงานกับหน่วยงาน เอกชนข้างนอก ต้องมีการส่งต่อข้อมูล การสร้าง เกลอเพื่อช่วยเหลือกัน 8. ทีมประชาสัมพันธ์มวี ทิ ยุสอื่ สารเครือ่ งแดงจ�านวน 10 เครือ่ ง ใช้สญ ั าณตามทีต่ กลง แต่ละหมูบ่ า้ น หอกระจายข่าว ตีเกราะ ไซเรนมือหมุน ปากต่อปาก พลุ เคาะสังกะสี ฝาบ้าน เสียงปืน แตรรถ อื่นๆ เพื่อสื่อสารให้คนอพยพ


34 34 คู่มือการจัดการภัยพิ บัติโดยชุมชน

6. ทีมอาสาสมัครในระดับต�ำบล (มาจากทุกหมู่บ้าน) ชื่อ-นามสกุล

1. อาสาสมัครหมู่ที่ 1 2. อาสาสมัครหมู่ที่ 2 3. อาสาสมัครหมู่ที่ 3 4. อาสาสมัครหมู่ที่ 4 5. อาสาสมัครหมู่ที่ 5 6. อาสาสมัครหมู่ที่ 6 7. อาสาสมัครหมู่ที่ 7 8. อาสาสมัครหมู่ที่ 8 9. อาสาสมัครหมู่ที่ 9

เบอร์โทร

หมายเหตุ

xxxxxxxxxxx xxxxxxxxxxx xxxxxxxxxxx xxxxxxxxxxx xxxxxxxxxxx xxxxxxxxxxx xxxxxxxxxxx xxxxxxxxxxx xxxxxxxxxxx

ภาระกิจ บทบาทหน้าที่ : 1. แจ้งข่าวไปยังเพือ่ นบ้าน 2. ประชุมเพือ่ นบ้าน ตกลง ในสัญลักษณ์การเตือน 3. อื่นๆ ตามที่ตกลงกัน 7. ทีมอาสาเฝ้าระวังและช่วยเหลือประชาชนหมู่ที่ 1 ชื่อ-นามสกุล

เบอร์โทร

หมายเหตุ

1. อาสาเฝ้าระวังและช่วยเหลือฯ คนที่ 1 2. อาสาเฝ้าระวังและช่วยเหลือฯ คนที่ 2 3. อาสาเฝ้าระวังและช่วยเหลือฯ คนที่ 3 4. อาสาเฝ้าระวังและช่วยเหลือฯ คนที่ 4 5. อาสาเฝ้าระวังและช่วยเหลือฯ คนที่ 5 6. อาสาเฝ้าระวังและช่วยเหลือฯ คนที่ 6 7. อาสาเฝ้าระวังและช่วยเหลือฯ คนที่ 7 8. อาสาเฝ้าระวังและช่วยเหลือฯ คนที่ 8 9. อาสาเฝ้าระวังและช่วยเหลือฯ คนที่ 9 10. อาสาเฝ้าระวังและช่วยเหลือฯ คนที่ 10

xxxxxxxxxxx xxxxxxxxxxx xxxxxxxxxxx xxxxxxxxxxx xxxxxxxxxxx xxxxxxxxxxx xxxxxxxxxxx xxxxxxxxxxx xxxxxxxxxxx xxxxxxxxxxx

เลขที่ 35/4 เลขที่ 6 เลขที่ 51/2 เลขที่ 6 เลขที่ 51 เลขที่ 19/4 เลขที่ 41/2 เลขที่ 64/1 เลขที่ 24/4 เลขที่ 30


35 35 คู่มือการจัดการภัยพิ บัติโดยชุมชน

จุดที่ปลอดภัย : เมื่อเกิดภัยพิบัติให้อพยพประชาชนไปอยู่จุดนัดหมาย ดังนี้ วัดท่าหิน โรงเรียนและศาลาประจ�ำหมู่บ้าน : สัญญาณการเตือนภัย : แตรรถยนต์ หมายเหตุ : ทุกหมู่บ้านมีทีมอาสาเฝ้าระวังและช่วยเหลือประชาชน เฉลี่ยหมูบ้านละ 10 คน ต�ำบล ท่าหิน มี 10 หมู่บ้าน จึงมีอาสาภัยพิบัติอย่างน้อย 100 คน

8. เบอร์โทรศัพท์ที่เกี่ยวข้อง หน่วยงาน

เบอร์โทร

1. อ�ำเภอสทิงพระ 074-458307 2. เกษตรสทิงพระ 074-397062 3. ไฟฟ้าสทิงพระ 074-397400 4. เรด้าร์ตรวจอากาศสทิงพระ 074-397040 5. ศูนย์อุตุนิยมวิทยาภาคใต้ตะวันออก 074-311760, 074-251884, 074-227226 6. โรงพยาบาลสทิงพระ 074-397112, 074-397038, 074-397109 7. โรงพยาบาลสงขลา 074-338100 8. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบลท่าหิน 086-4813104 9. โรงพยาบาลหาดใหญ่ 074-273100 10. โรงพยาบาลสงขลานครินรทร์ 074-455000 11. โรงพยาบาลค่ายเสนาณรงค์ 074-211521, 074-211523 12. สถานีต�ำรวจสทิงพระ 074-397032 13. ป้องกันและบรรเทาสาธารณะภัยจังหวัดสงขลา 074-316380 14. โรงเรียนวัดท่าหิน 074-590564 15. ท�ำงานกับนาซา xxxxxxxx 16. อุบัติเหตุฉุกเฉิน ต่อ 1669 17. ศูนย์ประสานงานกลางรัฐบาล 1111 18. ท�ำเนียบรัฐบาล/รัฐบาลไทย แจ้งความเดือนร้อน/ขอความช่วยเหลือ 1111 ส่งข้อความ SMS ที่ 4567891 หรือ โทรศัพท์ 02-288-400 ต่อ 4549, 4597, 4545 19. วุฒิสภา ศูนย์ประชาสัมพันธ์วุฒิสภา 02-244-1777 ถึง 8 สายด่วนวุฒิสภา 1102 20. รัฐสภา/โครงการสภาร่วมใจช่วยภัยน�้ำท่วม 02-244-1863-5


36 36 คู่มือการจัดการภัยพิ บัติโดยชุมชน

หน่วยงาน 21. กองบัญชาการกองทัพไทย 22. สภากาชาดไทย 23. กรุงเทพมหานคร 24. การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค 25. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 26. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 27. มหาวิทยาลัยรามค�ำแหง 28. มูลนิธิกลุ่มแสงเทียน 29. มูลนิธิ 1500 ไมล์ 30. มูลนิธิซิเมนต์ไทย 31. มูลนิธิศุภนิมิตแห่งประเทศไทย 32. มูลนิธิกระจกเงา 33. บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา จ�ำกัด 34. บริษัท ไปรษณีย์ไทย จ�ำกัด 35. มูลนิธิราชประชานุเคราะห์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ 36. มูลนิธิอาสาเพื่อนพึ่ง (ภา) ยามยาก สภากาชาดไทย 37. มูลนิธิสยามกัมมาจล ธนาคารไทยพาณิชย์

สื่อ 1. สถานีโทรทัศน์ทีวีไทย 2. สถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย(NBT) 3. ช่อง 7 (7 สี ช่วยชาวบ้าน) 4. บริษัท อสมท. จ�ำกัด (มหาชน)

เบอร์โทร 02-572-1500 02-251-7853 ถึง 6 ต่อ 1603 หรือ 1102 วันหยุดราชการ ต่อ 1302, 02-251-7614-5 02-354-6858 / ฝ่ายบรรเทาสาธารณภัย 02-271-2162 02-590-9554, 02-590-9559, 02-950-9557 02-218-7045 ต่อ 301-304 086-570-3693, 086-943-4988 และ 089-723-5235 02-310-8065 02-465-6165 คุณกนกวรรณ 080-551-4388 / คุณนัท 089-489-9116 02-586-5506 02-381-8863 ถึง 5 087-274-9769 หรือ 02-941-4194-5 ต่อ 102 02-635-1111 Call Center 1545 02-281-1902, 02-282-9596 02-256-4442 02-777-7777

เบอร์ติดต่อ 02-791-1385-7 หรือ 02-791-1113 ตลอด 24 ชั่วโมง 02-276-4242 02-610-0789 02-245-0700 ถึง 4


37 37 คู่มือการจัดการภัยพิ บัติโดยชุมชน

สื่อ 5. กรมประชาสัมพันธ์ 6. บริษัท เนชั่น มัลติมีเดีย กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน) 7. สถานีวิทยุ สวท. สงขลา 8. ทีวีช่อง 7 9. หนังสือพิมพ์ทางไทย 10. สถานีวิทยุร่วมด้วยช่วยกัน 11. สถานีวิทยุ มอ.FM 88.00 MHz 12. สถานีวิทยุ สวท.FM 90.50 MHz 13. สถานีโทรทัศน์ช่อง 3 14. สถานีโทรทัศน์ช่อง 7 15. สถานีโทรทัศน์ช่อง 9 16. สถานีโทรทัศน์ TV ไทย (074-282282) 17. ส�ำนักข่าวเนชั่น 18. หนังสือพิมพ์ไทยรัฐ 19. หนังสือพิมพ์เดลินิวส์ 20. โฟกัสสงขลา 21. ส�ำนักข่าวไทย/มติชน

อินเตอร์เน็ตที่เกี่ยวข้อง • BPWACH.NET • www.songkhla.tmd.go.th • www.tmd.go.th • www.hatyaicityclimate.org • เรด้าร์สทิงพระ

เบอร์ติดต่อ 02-276-4242 02-338-3333 และ 02-338-3000 กด 3 074-333220,074-333221 074-239989 089-7341319 074-559338-9 074-558888, 074-558777 074-236547, 074-234120 081-9593744 074-239989, 081-2768844 (หัวหน้าศูนย์) 081-1743872 (บก.ข่าว), 081-5402781 (ธิดารัตน์) 081-2779293 (ยาว), 081-7988483 (สนธยา) 074-210978 081-6985867 081-0999165 (คุณธวัช) 086-7499588 086-4809469


38 38 คู่มือการจัดการภัยพิ บัติโดยชุมชน


39 39 คู่มือการจัดการภัยพิ บัติโดยชุมชน

ตัวอย่าง คู่มือรับมือน�้ำท่วม ชุมชนบ้านปากคลอง บางโพธิ์เหนือ ต�ำบลบางโพธิ์เหนือ อ�ำเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี


40 40 คู่มือการจัดการภัยพิ บัติโดยชุมชน

คู่มือรับมือน�้ำท่วม ชุมชนบ้านปากคลองบางโพธิเ์ หนือ คูม่ อื รับมือน�ำ้ ท่วมชุมชนบ้านปากคลองบางโพธิเ์ หนือรับมือน�ำ้ ท่วม : อุทกภัยทีเ่ กิด ขึ้นในรอบหลายปีที่ผ่านมา ได้สร้างความเสียหายแก่ชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน และหน่วยงานในพื้นที่น�้ำท่วม โดยทางรัฐและหน่วยงานที่มีหน้าที่ความรับผิดชอบ ต้องการท�ำการป้องกันและฟื้นฟู ระบบสาธารณูปโภคที่ส�ำคัญก่อน อาจไม่สามารถ ให้ความช่วยเหลือแก่ประชาชนได้อย่างทันที ดังนั้น ประชาชนจึงควรมีความพร้อม ในการเตรียมรับสถานการณ์น�้ำท่วมเพื่อป้องกัน และบรรเทาภัยที่จะเกิดขึ้นได้ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อป้องกันและบรรเทาผลกระทบต่อชีวิตและทรัพย์สินของครอบครัวและ ชุมชนที่เกิดจากภัย 2. เพื่อให้การด�ำเนินการช่วยเหลือยามเกิดภัยเป็นไปด้วยประสิทธิภาพ และ สามารถฟื้นฟูหลังประสบภัยได้เร็ว 3. เพื่อก�ำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบของครอบครัว อาสาสมัครชุมชน แกนน�ำ เครือข่าย และองค์กรที่มีส่วนเกี่ยวข้องทุกภาคส่วน กลุ่มเป้าหมาย สมาชิกชาวชุมชนบ้านปากคลองบางโพธิเ์ หนือ หมูท่ ี่ 2 ต�ำบลบางโพธิเ์ หนือ อ�ำเภอ สามโคก จังหวัดปทุมธานี และประชาชนทั่วไป แนวทางการเตรียมพร้อม ระดับครัวเรือน ที่

สิ่งที่ต้องเตรียม ครัวเรือน ก่อนเกิดภัย

1

ตรวจสอบข้อมูลเรื่องน�้ำท่วม เส้นทางส�ำหรับการอพยพ เฝ้าระวังการเตือนภัย สัญญาณเตือนภัย ของชุมชน จัดเตรียมเอกสารส�ำคัญ เช่น ทะเบียนบ้าน โฉนดที่ดิน บัตร เตรียมอุปกรณ์สื่อสาร โทรศัพท์ วิทยุสมัครเล่น และบันทึกหมายเลขโทรศัพท์ส�ำหรับเหตุฉุกเฉิน ส�ำรองแบตเตอรี่โทรศัพท์ ไฟฉายพร้อมถ่าน เตรียมถุงยังชีพบรรจุของใช้ที่จ�ำเป็นพร้อมเสบียงอาหาร และยาประจ�ำตัว เงินส�ำรองค่าใช้จ่าย อย่างน้อย 15 วัน น�ำยานพาหนะไปเก็บไว้ในพื้นที่ที่น�้ำไม่ท่วม เก็บของมีค่าไว้ในที่ปลอดภัย และบันทึกรายการทรัพย์สินหรือถ่ายรูปไว้เป็นหลักฐาน ปรับปรุงบ้าน ยกบ้านพ้นน�้ำ ยกของขึ้นที่สูงเตรียมวัสดุอุดปิดป้องกันบ้านเรือน เช่น กระสอบทราย แผ่นพลาสติก ไม้แผ่น ตะปู กาวซิลิโคน

2 3 4 5 6 7


41 41 คู่มือการจัดการภัยพิ บัติโดยชุมชน

ที่

สิ่งที่ต้องท�ำ ครัวเรือน ระหว่างเกิดภัย

1 2 3 4 5

ให้ประสานอาสาสมัครประจ�ำซอยรายงานข้อมูลและความจ�ำเป็นของครอบครัว หลีกเลี่ยงการลุยน�้ำเชี่ยว หากจ�ำเป็นต้องสัมผัสน�้ำให้ล้างทันที ระวังตนเอง และครอบครัวให้ปลอดภัยจากการตกน�้ำ ไฟฟ้าช็อต และสัตว์มีพิษ รักษาทรัพย์สิน ใช้อย่างประหยัด เช่น โทรศัพท์ ไฟฉาย เทียนไข ยาประจ�ำตัว กรณีบ้านที่ต้องอพยพไปศูนย์พักพิงชุมชนให้เตรียมข้าวของเครื่องใช้ที่จ�ำเป็น ยาประจ�ำตัวไปด้วย

ที่

ข้อควรระวัง หลังเกิดภัย

1 2

พูดคุยกับครอบครัว กับเพื่อนบ้าน ผ่อนคลายความเครียด พักผ่อนและกินอาหารที่เป็นประโยชน์ เดินตรวจตรารอบๆ บ้าน และเซ็คสายไฟฟ้า สายถังแก็ส ทรัพย์สิน ความเสียหายของโครงสร้าง ตัวบ้าน ระเบียง หลังคาติดต่อบริษัทประกันภัยซ่อมแซม จัดล�ำดับสิ่งที่จ�ำเป็นต้องท�ำตามล�ำดับก่อนหลังและค่อยๆ ท�ำ

3

แนวทางการรับมือ ระดับ ชุมชน : เตรียมทีมปฏิบัติการระหว่างเกิดภัย

1. การแจ้งเตือนภัย

ธงเหลือง : ประกาศแจ้งหอกระจายข่าว ประสานกลุ่มคุ้มบ้าน ขยายบอกสมาชิก ในระดับการเตือน เตรียมข้าวของ ยกของขึ้นที่สูง เตรียมเรือ 2-5 วัน ธงแดง : หอกระจายข่าว แกนน�ำประสานกลุ่มคุ้มบ้าน บ้านชั้นเดียวเตรียมตัว อพยพ

2. ศูนย์ปลอดภัย 7-15 วัน

• อาสาสมัครประจ�ำศูนย์ ทีมบัญชาการ ประชาสัมพันธ์ ทีมกู้ชีพกู้ภัย พยาบาล และทีมแม่ครัว • ห้องน�้ำ เครื่องนอน อุปกรณ์แสงสว่าง • เตรียมอุปกรณ์เครื่องครัว เตาแก๊ส เตาถ่าน • ข้าวสารอาหารแห้ง แท็งก์น�้ำดื่ม ถุงด�ำ • ยาสามัญประจ�ำบ้าน เครื่องมือพยาบาลเบื้องต้น • เรือส่วนกลางติดเครื่อง 2 ล�ำ • เตรียมจัดระบบความช่วยเหลือ ลงทะเบียนผู้เข้าศูนย์ จัดกลุ่ม แบ่งหน้าที่


42 42 คู่มือการจัดการภัยพิ บัติโดยชุมชน

3. การช่วยเหลือกลุ่มเปราะบาง

• ผูพ้ กิ าร และผูส้ งู อายุทชี่ ว่ ยตัวเองไม่ได้เตรียมยาอุปกรณ์ทจี่ ำ� เป็นย้ายไปยังศูนย์ อพยพจุดปลอดภัยก่อนน�้ำมา 6-8 ชั่วโมง • หญิงใกล้คลอด ย้ายตัวเองไปพักบ้านญาติใกล้โรงพยาบาล • กลุ่มเด็กเล็กควรเตรียมอาหาร น�้ำ นม และยาที่จ�ำเป็นอย่างน้อย 10 วัน • แผนที่แสดงที่ตั้งกลุ่มเปราะบาง เช่น บ้านผู้สูงอายุ บ้านผู้พิการ บ้านเด็กอ่อน บ้านหญิงตั้งครรภ์ บ้านหญิงหม้าย บ้านผู้ป่วย บ้านอาสาสมัคร และแกนน�ำ ศูนย์ประสานงานชุมชนรวมทั้งแสดงที่ตั้งชุมชน และการสัญจร


43 43 คู่มือการจัดการภัยพิ บัติโดยชุมชน

4. เบอร์โทรศัพท์เพื่อการประสานงานขอความช่วยเหลือ

• เตรียมการประสานงาน การช่วยเหลือเพื่อนพี่น้อง องค์กรหน่วยงาน การสื่อ ข่าว ทีมงานปฏิบัติการระหว่างเกิดภัย ชื่อ-นามสกุล

ความรับผิดชอบ

เบอร์โทรศัพท์

ประธานสั่งการ รองประธาน ประสานงาน รองประธาน ประสานงาน

xxxxxxxxxxxx xxxxxxxxxxxx xxxxxxxxxxxx

แจ้งข่าวสาร / พยาบาล แจ้งข่าวสาร / การเงิน แจ้งข่าวสาร / พยาบาล แจ้งข่าวสาร

xxxxxxxxxxxx xxxxxxxxxxxx xxxxxxxxxxxx xxxxxxxxxxxx

ขับเรือ / พยาบาล ขับเรือ / พยาบาล ขับเรือ / พยาบาล

xxxxxxxxxxxx xxxxxxxxxxxx xxxxxxxxxxxx

ท�ำครัว หัวหน้าแม่ครัว ท�ำครัว ท�ำครัว

xxxxxxxxxxxx xxxxxxxxxxxx xxxxxxxxxxxx xxxxxxxxxxxx

1. ทีมบัญชาการ Xxx xxxxxx Xxx xxxxxx Xxx xxxxxx

2. ประชาสัมพันธ์ ข้อมูล Xxx xxxxxx Xxx xxxxxx Xxx xxxxxx Xxx xxxxxx

3. ทีมกู้ชีพ กู้ภัย. พยาบาล Xxx xxxxxx Xxx xxxxxx Xxx xxxxxx

4. ทีมแม่ครัว Xxx xxxxxx Xxx xxxxxx Xxx xxxxxx Xxx xxxxxx


44 44 คู่มือการจัดการภัยพิ บัติโดยชุมชน

อาสาสมัครชุมชน ช่วยปฏิบัติการ ระหว่างเกิดภัย ชื่อ-นามสกุล

Xxx xxxxxx Xxx xxxxxx Xxx xxxxxx Xxx xxxxxx Xxx xxxxxx Xxx xxxxxx Xxx xxxxxx Xxx xxxxxx Xxx xxxxxx Xxx xxxxxx Xxx xxxxxx Xxx xxxxxx Xxx xxxxxx Xxx xxxxxx Xxx xxxxxx Xxx xxxxxx Xxx xxxxxx Xxx xxxxxx

ความสามารถ

เบอร์โทรศัพท์ E-mail วิทยุสื่อสาร

ขับเรือ กู้ภัย ประสานงานแม่ครัว ช่วยแม่ครัว ช่วยแม่ครัว ช่วยแม่ครัว ช่วยแม่ครัว ช่วยแม่ครัว ช่วยแม่ครัว ช่วยแม่ครัว ช่วยแม่ครัว ขับเรือ กู้ภัย อสม.พยาบาล อสม.พยาบาล อสม.พยาบาล ขับเรือ กู้ภัย ขับเรือ กู้ภัย ขับเรือ กู้ภัย ขับเรือ กู้ภัย

xxxxxxxxxxxx xxxxxxxxxxxx xxxxxxxxxxxx xxxxxxxxxxxx xxxxxxxxxxxx xxxxxxxxxxxx xxxxxxxxxxxx xxxxxxxxxxxx xxxxxxxxxxxx xxxxxxxxxxxx xxxxxxxxxxxx xxxxxxxxxxxx xxxxxxxxxxxx xxxxxxxxxxxx xxxxxxxxxxxx xxxxxxxxxxxx xxxxxxxxxxxx xxxxxxxxxxxx


45 45 คู่มือการจัดการภัยพิ บัติโดยชุมชน

ทีมงานสนับสนุนการปฏิบัติการระหว่างเกิดภัย องค์กร / หน่วยงาน อบต.บางโพธิ์เหนือ ปภ.จังหวัดปทุมธานี รพ.ปทุมธานี ศูนย์สุขภาพต�ำบลกระแชง สภอ.ปทุมธานี ไฟฟ้าปทุมธานี ประปาปทุมธานี กาชาดจังหวัดปทุมธานี สถานีอุตุนิยมวิทยาปทุมธานี สถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย จังหวัดปทุมธานี สถิติจังหวัดปทุมธานี ประชาสัมพันธ์จังหวัดปทุมธานี ส�ำนักงานประกันภัยจังหวัดปทุมธานี ชุมสายโทรศัพท์ปทุมธานี ชลประทานปทุมธานี สถานีประมงน�้ำจืด ปศุสัตว์จังหวัดปทุมธานี ประมงจังหวัดปทุมธานี เกษตรจังหวัดปทุมธานี พัฒนาสังคมและสวัสดิการจังหวัดปทุมธานี อ�ำเภอสามโคก นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดปทุมธานี จังหวัดปทุมธานี

เบอร์โทรศัพท์ / E-mail 0-2979-1291 0-25672573 ต่อ 402 0-25815632-3 ต่อ 200

การสนับสนุน

0-25673338, 0-25816706 0-25816491 0-25678997 0-25815550 0-25290939 0-29027016, 0-29027043

ประสานช่วย กู้ชีพ กู้ภัย พยาบาล สุขภาพ ความปลอดภัย ไฟฟ้า ประปา ช่วยเหลือ ข่าวสาร รับส่งข่าวสาร

0-25816772, 0-25817156 0-25812121 0-25674792, 0-25670352 0-25817376, 0-25817378 0-25239126, 0-25236885 0-25691940, 01-9108440 0-25013175 0-25816373 0-25817968 0-25816043, 0-25813514 0-25931686, 01-9228662 0-25933504 0-25816665, 0-25815658

ข้อมูล สื่อสาร ช่วยเหลือ ติดต่อสื่อสาร เรื่องน�้ำ ประมง สัตว์ อาชีพ อาชีพ คน ประสานช่วย ประสานช่วย ประสานช่วย


46 46 คู่มือการจัดการภัยพิ บัติโดยชุมชน

เครือข่าย การสนับสนุนปฎิบัติการ ระหว่างเกิดภัย เครือข่าย เครือข่ายสิ่งแวดล้อมปทุมธานี เครือข่ายผู้ประสบภัยสึนามิ เครือข่ายสามชุกตลาดร้อยปี เครือข่ายรักษ์อ่าวไทย เครือข่ายชุมชนศรัทธา เครือข่ายชนเผ่าภาคเหนือ เครือข่ายไทยพลัดถิ่น เครือข่ายสิทธิคนจนภูเก็ต สื่อมวลชน สถานีโทรทัศน์ Thai PBS ช่อง 3 ช่อง 5 ช่อง 7 ช่อง 9 ช่อง 11 TNN มติชน มูลนิธิ เอสซีจี มูลนิธิโลกสีเขียว ปตท มูลนิธิชุมชนไท มูลนิธิเพื่อนหญิง มูลนิธิรักษ์ไทย

ผู้ประสานงาน เบอร์โทรศัพท์ / E-mail Aaaa xxxxxxxxxx Bbbbbb xxxxxxxxx Cccccc xxxxxxxxxx Ddddd xxxxxxxxxx Eeeee xxxxxxxxxx คุณ J xxxxxxxxxx คณ E xxxxxxxxxx คุณ F xxxxxxxxxx xxxxxxxxxx Xxxxxxxxxx Xxxxxxxxxx Xxxxxxxxxx Xxxxxxxxxx Xxxxxxxxxx Xxxxxxxxxx Xxxxxxxxxx Xxxxxxxxxx Xxxxxxxxxx Xxxxxxxxxx Xxxxxxxxxx Xxxxxxxxxx xxxxxxxxxx

การสนับสนุน ประสานงาน เรือส่วนกลาง ทีมกู้ภัย น�้ำดื่ม อาหารแห้ง เรือส่วนกลาง ทีมกู้ภัย ครัวกลาง อาหาแห้ง ข้าวสาร แม่ครัว อาหาร สื่อสาร ข่าว สื่อสาร ข่าว สื่อสาร ข่าว สื่อสาร ข่าว สื่อสาร ข่าว สื่อสาร ข่าว สื่อสาร ข่าว สื่อสาร ข่าว ของบริจาค ของบริจาค ของบริจาค ของบริจาค ของบริจาค


47 47 คู่มือการจัดการภัยพิ บัติโดยชุมชน

หลักเกณฑ์ตามกฎหมายในการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติฉุกเฉิน พ.ศ. 2551 ข้อ 5.1 ด้านการช่วยเหลือผู้ประสบภัยในพื้นที่ประกาศภัยพิบัติ ที่

รายการ

เงื่อนไข

จ�ำนวนเงิน (บาท)

1

ค่าอาหารจัดเลี้ยงและถุงยังชีพ

เท่าที่จ่ายจริง ค่าอาหารมื้อละ ไม่เกิน 30 บาท/วัน/คน ถุงยังชีพไม่เกิน 500/ครอบครัว

2

ค่าเครื่องครัวและอุปกรณ์ประกอบอาหาร

เท่าที่จ่ายจริง ครอบครัวละไม่เกิน 3,500 บาท

3

ค่าน�้ำอุปโภคและใช้สอย

เท่าที่จ่ายจริง ตามความจ�ำเป็น

4

ค่าวัสดุซ่อมแซมที่อยู่อาศัยประจ�ำซึ่งผู้ประสบภัยเป็น เท่าที่จ่ายจริง หลังละไม่เกิน เจ้าของที่ได้รับความเสียหายบางส่วน 20,000 บาท

5

ค่าวัสดุก่อสร้างที่อยู่อาศัยประจ�ำซึ่งผู้ประสบภัยเป็น เจ้าของที่ได้รับความเสียหายทั้งหลัง

6

ค่าวัสดุซ่อมแซม ยุ้งข้าว / โรงเรือน / คอกสัตว์ที่ได้รับ เท่าที่จ่ายจริง ครอบครัวละไม่เกิน ความเสียหายบางส่วน 3,000 บาท

7

ค่าวัสดุสร้าง ยุ้งข้าว / โรงเรือน / คอกสัตว์ ที่ได้รับ ความเสียหายทั้งหลัง

เท่าที่จ่ายจริง ครอบครัวละไม่เกิน 8,000 บาท

8

อุปกรณ์แสงสว่างที่อยู่อาศัย

เท่าที่จ่ายจริง ครอบครัวละไม่เกิน 200

9

ค่าเช่าที่พักไม่เกิน 7 วัน

เท่าที่จ่ายจริง คนละไม่เกิน 100 บาท/วัน

เท่าที่จ่ายจริง หลังละไม่เกิน 30,000 บ่ท

10 ค่าเช่าบ้านกรณีบ้านเช่าของผู้อื่นและบ้านเช่าเสียหาย เท่าที่จ่ายจริง ครอบครัวละไม่เกิน ทั้งหลังหรือบางส่วน 1,500 บาท / เดือน ไม่เกิน 2 เดือน


48 48 คู่มือการจัดการภัยพิ บัติโดยชุมชน

ที่

รายการ

11 ดัดแปลงสถานที่เป็นที่พักชั่วคราว

เงื่อนไข

จ�ำนวนเงิน (บาท)

เท่าที่จ่ายจริง ครอบครัวละไม่เกิน 2,000 บาท

ค่าสร้างที่พักชั่วคราว

เท่าที่จ่ายจริง ครอบครัวละไม่เกิน 4,000 บาท

ค่าผ้าใบ / ค่าพลาสติก / วัสดุอื่น ๆ ส�ำหรับบังแดด กันฝน และป้องกันอุทกภัย

เท่าที่จ่ายจริง ครอบครัวละไม่เกิน 800 บาท

12 ค่าใช้จ่ายในการจัดสาธารณูปโภคในที่พักชั่วคราว • ค่าไฟฟ้า อุปกรณ์แสงสว่าง • ค่าน�้ำอุปโภคและใช้สอย • จัดสร้างห้องน�้ำ 1 ที่ / 1คน • จัดสร้างห้องส้วม 1 ที่ / 1คน • จัดสร้างโรงครัว / ที่รับประทานอาหาร • จัดสร้างที่รับรอง ท�ำลาย หรือก�ำจัดขยะ

เท่าที่จ่ายจริง

13 ค่าเครื่องนุ่งห่มคนละ 2 ชุด ค่าเครื่องแบบนักเรียนนักศึกษาคนละ 2 ชุด

เท่าที่จ่ายจริง ไม่เกิน 1,000 บาท เท่าที่จ่ายจริง ไม่เกิน 1,000 บาท

14 ค่าเครื่องนอน

เท่าที่จ่ายจริง

15 ค่าเครื่องมือประกอบอาชีพและหรือเงินทุนประกอบ อาชีพ

เท่าที่จ่ายจริง คนละไม่เกิน 500 บาท ครอบครัวละไม่เกิน 10,000 บาท

16 ค่าช่วยเหลือผู้บาดเจ็บ กรณีบาดเจ็บสาหัส

รักษาตัวสถาน พยาบาล 3 วัน ขึ้นไป รักษาตัวเกิน 30 วันขึ้นไป

ตามความจ�ำเป็น ตามความจ�ำเป็น ไม่เกิน 5,000 บาท / 1 ที่ ไม่เกิน 5,000 บาท / 1 ที่ ตามความจ�ำเป็น ตามความจ�ำเป็น

เงินช่วยเหลือเบื้องต้น 3,000 บาท เงินยังชีพคนละ 2,000 บาท / เดือน จนกว่าจะ ออกจากสถานพยาบาล


49 49 คู่มือการจัดการภัยพิ บัติโดยชุมชน

สรุปเกณฑ์ปฏิบตั ปิ ลีกย่อยเกีย่ วกับการให้ความช่วยเหลือเกษตรกรผูป้ ระสบภัย กรณีฉุกเฉิน 2552 ด้านพืช ด้านประมง ด้านปศุสัตว์ (มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 1 ธันวาคม 2551 เป็นต้นไป) ที่

รายการ

1

ด้านพืช 1.1 กรณีพืชเสียหาย • ข้าว • พืชไร่ • พืชสวนและอื่นๆ 1.2 กรณีพืชสวนและไม้ยืนต้นได้รับผลกระทบจาก ภัยพิบัติท�ำให้ชะงักในการเจริญเติบโตแต่ไม่ ตายและยังอยู่ในสภาพฟื้นฟูในสภาพเดิมได้

เงื่อนไข

จ�ำนวนเงิน

606 / ไร่ 837 / ไร่ 912 / ไร่ 287 / ไร่

2 ด้านประมง • ปลาทุกชนิดในบ่อดิน / นาข้าว • กุ้ง ปู และหอย • สัตว์น�้ำที่เลี้ยงในกระชัง / บ่อซิเมนต์ และอื่นๆ ปลาสวยงาม กบ ตะพาบน�้ำ เป็นต้น

เฉพาะพื้นที่เลี้ยง รายละไม่เกิน 5 ไร่ รายละไม่เกิน 5 ไร่ รายละไม่เกิน 80 ตร.ม.

3,406 / ไร่ 9,098 / ไร่ 2,579 ตร.ม.

3 ด้านปศุสัตว์ • โค กระบือ • สุกร • แพะ แกะ • เป็ด • ไก่พื้นเมือง หรือลูกผสมพื้นเมือง • ไก่พันธ์ไข่ เนื้อ • ห่าน • นกกระทา • นกกระจอกเทศ

ไม่เกิน 2 ตัว ไม่เกิน 10 ตัว ไม่เกิน 10 ตัว ไม่เกิน 1,000 ตัว ไม่เกิน 300 ตัว ไม่เกิน 1,000 ตัว ไม่เกิน 300 ตัว ไม่เกิน 1,000 ตัว ไม่เกิน 10 ตัว

3,600-15,800 / ตัว 1,200 / 2,500 / ตัว 1,400 / ตัว 15 / 40 / ตัว 20 / 40 / ตัว 15 / 35 / 40 ตัว 50 / ตัว 5 / 10 / ตัว 2,000 / ตัว


50 50 คู่มือการจัดการภัยพิ บัติโดยชุมชน

คู่มือการอบรมวิทยุสื่อสาร เพื่ อพั ฒนาและยกระดับศักยภาพในการ เตรียมความพร้อมรับมือภัยพิ บัติ วิทยุสมัครเล่น (Amateur radio) คือ การติดต่อสื่อสารด้วยการส่งข่าวสารผ่าน คลื่นวิทยุ โดยมีรูปแบบการติดต่อสื่อสารเป็นไปตามข้อก�ำหนด และผู้ที่มีสิทธิติดต่อ สื่อสาร บนช่องสัญญาณ ต้องผ่านการทดสอบ จากหน่วยงานที่ก�ำกับดูแล สมาคมวิทยุอาสาสมัคร (Voluntary Radio Association หรือ VRA) จดทะเบียน เมื่อ 3 พฤศจิกายน 2556 เพื่อเป็นศูนย์รวมนักวิทยุอาสาสมัคร ช่วยเหลือสังคมและ สาธารณประโยชน์ แลกเปลีย่ นความรูด้ า้ นวิทยุคมนาคม สหภาพโทรคมนาคมระหว่าง ประเทศ ก�ำหนดให้ประเทศไทย ใช้สัญญาณเรียกขานที่ขึ้นต้นด้วย “เอช เอส (HS)” และ “อีทู (E2)”


51 51 คู่มือการจัดการภัยพิ บัติโดยชุมชน

การสอบเป็นนักวิทยุสมัครเล่น แบ่งเป็นสามขั้น คือ พนักงานวิทยุสมัครเล่น ขั้นต้น พนักงานวิทยุสมัครเล่นขั้นกลาง และพนักงานวิทยุสมัครเล่นขั้นสูง ส�ำหรับนักวิทยุสมัครเล่นขั้นสูง ยังไม่เคยเปิดสอบ ส�ำหรับประชาชนทั่วไป แต่มี การถวายแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอดุลยเดชมหาราช ตารางที่ 4.1 สิทธิการใช้ย่านความถี่และก�ำลังส่งของพนักงานวิทยุสมัครเล่น ระดับพนักงาน วิทยุสมัครเล่น

ย่านความถี่ (MHz)

ก�ำลังส่งสูงสุดวัตต์ (Watt : W)

ขั้นต้น

144.000 ถึง 146.000

10

144.000 ถึง 146.000

10

7.000 ถึง 7.100

200

ขั้นกลาง

วิทยุสมัครเล่น (Amateur radio)


52 52 คู่มือการจัดการภัยพิ บัติโดยชุมชน

รูปแบบการติดต่อสือ่ สารของวิทยุสมัครเล่น แต่ละแบบนัน้ มีความนิยมต่างกัน คือ • การติดต่อสื่อสารด้วยระบบโทรพิมพ์ (Radio Tele-typewriter : RTTY) เครือ่ งโทรพิมพ์ทมี่ ลี กั ษณะ เหมือนเครือ่ งพิมพ์ดดี ธรรมดาแต่มคี วามพิเศษ คือ มีการเจาะปรุกระดาษพิมพ์เป็นรูเล็กๆ แทนอักษรข้อความที่ส่ง จากนั้นจึงน�ำ ไปเข้าเครื่องส่งโทรพิมพ์ ที่มีกลไกลแปลงรอยปรุ • การติดต่อสื่อสารด้วยระบบแพ็คเก็ตเรดิโอ (Packet Radio) รูปแบบการ สื่อสารที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการรับส่งข้อมูลผ่านโมเดม (Modulator-Demodulator : Modem) แปลงข้อมูลจากคอมพิวเตอร์เป็นสัญญาณเสียงออกไปทาง เครื่องส่งวิทยุ (Transmitter) สัญญาณเรียกขาน (Call Sign) รูปแบบเป็นรหัสที่ใช้ในการติดต่อสื่อสาร ตามข้อ บังคับสหภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศ (International Telecommunication Union : ITU) มีประโยชน์ในการระบุต�ำแหน่ง เขตพื้นที่ เขตประเทศและประเภทกิจการของ สถานี มีรายละเอียดของรูปแบบดังนี้ รูปแบบเก่า HSn XXX รูปแบบใหม่ E2 n XXX HS หรือ E2 หมายถึง ระบุเป็นประเทศไทย n หมายถึง ตัวเลข 1 ถึง 9 แทนกลุ่มสัญญาณเรียกขานตามเขตพื้นที่คณะกรรมการ กิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กทช.) ก�ำหนดไว้ X พยัญชนะหนึ่งตัว A ถึง Z ใช้ส�ำหรับบุคคลส�ำคัญสูงสุดของประเทศ XX ชุดพยัญชนะสองตัว AA ถึง ZZ ยกเว้น AA ถึง AZ ใช้ส�ำหรับกรณีพิเศษ เช่น สถานีทวนสัญญาณ สถานีวทิ ยุ ชมรมหรือสมาคมสถานีชวั่ คราวเฉพาะกิจ เช่น HS3AS HS1AB HS0AC เป็นต้น XXX ชุดพยัญชนะสามตัวประกอบด้วย AAA ถึง ZZZ ยกเว้น DDD QAA ถึง QZZ SOS และ TTT ใช้ส�ำหรับสถานีวิทยุสมัครเล่นโดยทั่วไป เช่นHS3PMT เป็นต้น


53 53 คู่มือการจัดการภัยพิ บัติโดยชุมชน

Laos

Cambodia

HS1 HS2 HS3 HS4 HS5 HS6 HS7 HS8 HS9


54 54 คู่มือการจัดการภัยพิ บัติโดยชุมชน

ประเทศไทยมีการแบ่งกลุม่ สัญญาณเรียกขานตามพืน้ ทีเ่ ป็น 9 เขตในปี พ.ศ. 2840 พื้นที่

สัญญาณ สัญญาณ เรียกขาน แบ่งเขต

จังหวัด

เขต 1

HS1

E22DKH กรุงเทพมหานคร ชัยนาท นนทบุรี ปทุมธานี พระนครศรีอยุธยา ลพบุรี สมุทรปราการ สระบุรี สิงห์บุรี อ่างทอง

เขต 2

HS2

E27BHI

เขต 3

HS3

HS3RBO ชัยภูมิ นครราชสีมา บุรีรัมย์ ยโสธร ศรีสะเกษ สุรินทร์ อุบลราชธานี อ�ำนาจเจริญ

เขต 4

HS4

HS4RKC กาฬสินธุ์ ขอนแก่น นครพนม มุกดาหาร มหาสารคาม ร้อยเอ็ด เลย สกลนคร หนองคาย อุดรธานี หนองบัวล�ำภู

เขต 5

HS5

HS5YUI

เขต 6

HS6

HS6UXZ ก�ำแพงเพชร ตาก นครสวรรค์ พิจิตร พิษณุโลก เพชรบูรณ์ สุโขทัย อุทัยธานี

เขต 7

HS7

E27SK

กาญจนบุรี นครปฐม ประจวบคีรีขันธ์ ราชบุรี เพชรบุรี สมุทรสาคร สมุทรสงคราม สุพรรณบุรี

เขต 8

HS8

HS8XEI

กระบี่ ชุมพร นครศรีธรรมราช พังงา ภูเก็ต ระนอง สุราษฎร์ธานี

เขต 9

HS9

HS9SEM ตรัง นราธิวาส ปัตตานี พัทลุง ยะลา สงขลา สตูล

จันทบุรี ฉะเชิงเทรา ชลบุรี ตราด นครนายก ปราจีนบุรี ระยอง สระแก้ว

เชียงราย เชียงใหม่ น่าน พะเยา แพร่ แม่ฮ่องสอน ล�ำปาง ล�ำพูน อุตรดิตถ์

ย่านความถี่วิทยุสมัครเล่นในประเทศไทย แบ่งเป็นสองส่วน คือ • ความถีว่ ทิ ยุสำ� หรับการติดต่อสือ่ สารในกิจการวิทยุสมัครเล่น (Amateur Service) • ความถี่วิทยุส�ำหรับการติดต่อสื่อสารในกิจการวิทยุสมัครเล่นผ่านดาวเทียม (Amateur Satellite Service) มีรายละเอียด ดังนี้


55 55 คู่มือการจัดการภัยพิ บัติโดยชุมชน

ความถี่วิทยุส�ำหรับการติดต่อสื่อสารในกิจการวิทยุ สมัครเล่น (Amateur Service) ก) ความถี่วิทยุย่านความถี่กลาง (Medium Frequency : MF) หรือ (High Frequency : HF) สถานีวิทยุสมัครเล่นขั้นกลางใช้ก�ำลังส่งได้ไม่เกิน 200 วัตต์ สถานี วิทยุสมัครเล่นขัน้ สูงใช้สอื่ สารประเภทเสียงหรือประเภทอืน่ ย่านความถีเ่ ริม่ ตัง้ แต่ 1.800 ถึง 29.700 เมกกะเฮิรตซ์ (Mega Hertz : MHz) ข) ความถี่วิทยุ 144.0000 ถึง 144.0625 MHz ก�ำหนดให้ใช้ส�ำหรับการติดต่อ สื่อสารโดยการสะท้อนคลื่นวิทยุจากผิวพื้นดวงจันทร์ (Earth-Moon-Earth : EME) ค) ความถีว่ ทิ ยุ 144.0750 ถึง 145.0125 MHz และ 145.1250 ถึง 145.4875 MHz ใช้การติดต่อสื่อสารประเภทเสียงแบบสื่อสารทางเดียวหรือซิมเพลกซ์ (Simplex) โดย มีหมายเลขก�ำกับช่องสัญญาณประจ�ำแต่ละความถี่ ตั้งแต่ช่องที่ 1 ความถี่ 144.0750 MHz ถึงช่องที่ 106 ความถี่ 145.4875 MHz โดยแต่ละช่องห่างกัน 0.0125 MHz ยกเว้น ในช่องที่ 67 ช่องที่ 75 และช่วงช่องที่ 97 ถึง 106 มีกำ� หนดการใช้งานรายละเอียด ดังนี้ • ช่องที่ 67 ความถี่ 144.9000 MHz ส�ำหรับการติดต่อสื่อสารประเภทเสียง ส�ำหรับเรียกขานและแจ้งเหตุทั่วไป (General Notice and Calling) • ช่องที่ 75 ความถี่ 145.0000 MHz การติดต่อสื่อสารประเภทเสียงส�ำหรับ เรียกขานและแจ้งเหตุฉุกเฉิน (Emergency, Distress, and Calling) • ช่องที่ 97 ความถี่ 145.3750 MHz ถึง 106 ความถี่ 145.4875MHz การ ติดต่อสื่อสารประเภทเสียงหรือกิจกรรมพิเศษ ง) ความถี่วิทยุ 145.0250 ถึง 145.1125 MHz และ 145.6250 ถึง 145.7125 MHz ใช้สำ� หรับการติดต่อสือ่ สารประเภทเสียงแบบกึง่ สองทางพร้อมกันหรือเซมิดเู พลกซ์ (Semiduplex) ผ่านสถานีทวนสัญญาณ (Repeater) โดยมีหมายเลขก�ำกับช่องสัญญาณ และความถี่วิทยุของแต่ละสถานี


56 56 คู่มือการจัดการภัยพิ บัติโดยชุมชน

ความถี่วิทยุส�ำหรับการติดต่อสื่อสารในกิจการวิทยุ สมัครเล่นผ่านดาวเทียม (Amateur Satellite Service) แบ่งออกเป็นสองย่านความถี่คือความถี่วิทยุ 145.8000 MHz ถึง 146.0000 MHz สามารถใช้ตดิ ต่อสือ่ สารจากสถานีวทิ ยุสมัครเล่นไปยังดาวเทียมเป็นได้ทง้ั ด้านส่ง (Uplink) และด้านรับ (Downlink) ส่วนในย่านความถี่ 435.0000MHz ถึง 438.0000 MHz ใช้ได้เฉพาะเป็นด้านรับ การติดต่อสื่อสารของวิทยุสมัครเล่น เป็นข่ายสื่อสารที่กว้างขวางไปถึงทั่ว โลก การเรียกขานจึงต้องปฏิบัติตามกฎระเบียบ เพื่อให้การสื่อสารเป็นไปอย่างมี ประสิทธิภาพ การรายงานสัญญาณด้วยระบบอาร์เอสที (RST System) เพือ่ การติดต่อสือ่ สาร ทีม่ คี ณ ุ ภาพต้องมีการตรวจสอบระดับคุณภาพและความแรงของสัญญาณแล้วรายงาน ผลของสัญญาณด้วยระบบที่เรียกว่า RST System 1) ความชัดเจนการรับฟังข้อความ (Readability) มี 5 ระดับ 2) ความแรงของสัญญาณ (Signal strength) ที่รับได้มี 9 ระดับ 3) ความแจ่มใสของเสียงสัญญาณวิทยุ (Tone) มี 9 ระดับ ในส่วนของความแจ่มใสของเสียงสัญญาณ จะตัดออกเนือ่ งจากระบบวิทยุโทรศัพท์ ไม่มีระบบวิทยุโทรเลข จึงเรียกเป็นระบบอาร์เอส แทนส�ำหรับการรายงานจะรายงาน เป็นรหัส เช่น ในระบบอาร์เอส 58 แสดงถึงการรับฟังข้อความได้ดีเยี่ยมระดับความ แรงสัญญานอยู่ในระดับดี


57 57 คู่มือการจัดการภัยพิ บัติโดยชุมชน

ตารางที่ 5.1 รหัสระบบอาร์เอสที (RST System)[5] ความชัดเจนการ รับฟังข้อความ

ความแรงของ สัญญาณที่รับได้

ความแจ่มใส ของเสียงสัญญาณ

1. รับไม่ได้เลย

1. อ่อนมากจนรับ แทบไม่ได้

1. เสียงพร่ามาก มีความถี่ต�่ำผสมมาด้วย

2. ไม่ค่อยดี

2. อ่อนมาก

2. เสียงพร่ามาก

3. พอใช้

3. อ่อน

3. เสียงพร่าเหมือนใช้แรงดันไฟที่ไม่มีการกรอง

4. ดี

4. พอใช้ได้

4. เสียงพร่าและยังกระเพื่อมอยู่

5. ดีเยี่ยม

5. ดีพอใช้

5. เสียงยังกระเพื่อมอยู่มาก

6. ดีมาก

6. เสียงยังกระเพื่อมอยู่เล็กน้อย

7. แรงปานกลาง

7. เกือบดีกระเพื่อมอยู่บ้าง

8. แรงดี

8. เกือบดีแล้ว

9. แรงดีมาก

9. ดีมากไม่มีต�ำหนิ

รหัสคิว (Q code) รูปแบบรหัสพยัญชนะอังกฤษสามตัว ใช้แทนประโยคในการ ติดต่อสื่อสารด้วยรหัสมอร์ส เพื่อช่วยลดเวลาการรับส่งข้อความจากประโยคยาวๆ เป็นรหัสสั้น และลดปัญหาด้านภาษาที่ใช้ติดต่อระหว่างประเทศที่มีหลายภาษา ตาราง ตัวอย่างและความหมายรหัสคิว (Q code) รหัสคิว

ค�ำถาม

ค�ำตอบ

QRA สถานีของท่านชื่ออะไร

สถานีของข้าพเจ้าชื่อ ....

QRB ท่านอยู่ห่างจากสถานีข้าพเจ้าเท่าใด ข้าพเจ้าอยู่ห่างจากสถานีของท่าน ประมาณ .... QRD ท่านจะไปที่ไหนและมาจากไหน

ข้าพเจ้าจะไปที่ .... ข้าพเจ้ามาจาก ....


58 58 คู่มือการจัดการภัยพิ บัติโดยชุมชน

ตาราง ตัวอย่างและความหมายรหัสคิว (Q code) รหัสคิว

ค�ำถาม

ค�ำตอบ

QRK ท่านรับฟังข้อความได้ชัดเจน ไหม

ข้าพเจ้ารับฟังได้ QRK 1- -5 (ไม่ชัด ....ชัดเจนมาก)

QRM ท่านมีเสียงรบกวนแทรก

ข้าพเจ้าถูกเสียงรบกวนแทรก

QRM ท่านมีคลื่นไฟฟ้ารบกวน

ข้าพเจ้าถูกคลื่น ไฟฟ้ารบกวน

QRO ท่านเพิ่มก�ำลังส่งได้หรือไม่

ข้าพเจ้าจะเพิ่มก�ำลังส่ง

QRP การลดก�ำลังส่งเป็นการติดต่อรับส่งสัญญาณด้วยก�ำลังต�่ำโดยรหัสมอร์ส ใช้ก�ำลังส่งไม่เกิน 5 วัตต์ และการสื่อสารด้วยเสียงใช้ก�ำลังส่งไม่เกิน 10 วัตต์ QRT ท่านจะหยุดการส่งหรือ

ข้าพเจ้าจะหยุดการส่ง

QRU ท่านมีข้อความใดอีกหรือไม่

ข้าพเจ้าไม่มีข้อความใดอีก

QRX ท่านจะเรียกกลับมาอีกเมื่อใด

ข้าพเจ้าจะเรียกกลับเวลา ….. น.

QRZ ท่านใดเรียกมา

…. ชื่อสถานี .... ก�ำลังเรียกท่าน

QSL ท่านจะยืนยันผลการรับหรือไม่

ข้าพเจ้าจะยืนยันผลการรับให้

QSO ท่านติดต่อกับ …. ชื่อสถานี .... หรือ ข้าพเจ้าติดต่อกับ .… ชื่อสถานี .... QSY ท่านจะเปลี่ยนไปความถี่ออื่นหรือ

ข้าพเจ้าจะเปลี่ยนความถี่

QTH ที่ตั้งของสถานีท่านอยู่ที่ใด

ที่ตั้งของสถานีข้าพเจ้าท่านอยู่ที่

QTR ขณะนี้เวลาเท่าใด

ขณะนี้เวลา ….


59 59 คู่มือการจัดการภัยพิ บัติโดยชุมชน

ค�ำย่อ (Abbreviations) เป็นค�ำที่ใช้ในการส่งรหัสมอร์ส เพื่อให้การติดต่อสื่อสาร เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ แต่ปจั จุบนั นีน้ ยิ มน�ำมาใช้ในการส่งเสียงพูดด้วยตัวอย่าง เช่น ตารางที่ 5.3 ค�ำย่อที่ใช้ในการส่งรหัสมอร์ส ค�ำย่อ

ความหมาย

BREAK CLEAR DX LL (Lima Lima) MAYDAY NEGATIVE OVER ROGER STANDBY XYL YL 73 88

ขอแทรกการติดต่อ เลิกใช้ความถี่ / เลิกส่ง การติดต่อวิทยุระยะไกล ติดต่อด้วยโทรศัพท์ (Land Line) แจ้งเหตุฉุกเฉิน ไม่ถูกต้อง เปลี่ยน (เชิญท่านส่งได้) รับทราบ เตรียมพร้อม ภรรยา หญิงสาว ด้วยความนับถือ (Best Rregards) ด้วยความรัก (Love and Kisses)

หลักปฏิบัติในการติดต่อสื่อสาร ใช้ภาษาสุภาพ มีความกระชับชัดเจน ซึ่งการ เรียกขาน แบ่งเป็น 3 กรณี คือ 1) การเรียกขานเพื่อการติดต่อแบบปกติ 2) การเรียก ขานเพื่อแจ้งเหตุทั่วไป 3) การเรียกขานเพื่อแจ้งเหตุฉุกเฉิน • การเรียกขานเพือ่ การติดต่อแบบปกติ มี 2 แบบ คือ 1) การเรียกแบบเจาะจง สถานีและ 2) แบบไม่เจาะจงสถานี โดยมีรายละเอียดดังนี้


60 60 คู่มือการจัดการภัยพิ บัติโดยชุมชน

1) แบบเจาะจงสถานี มีการติดต่อโดยขาน สัญญาณของผู้ถูกเรียก ตามด้วย สัญญาณของผูเ้ รียกโดยการขานสัญญาณเรียกใช้การออกเสียงแบบ แบบสัทอักษรเพือ่ ป้องกันการสับสนของเสียง เมื่อมีการตอบรับจึงเปลี่ยนไปใช้ย่านความถี่ที่ก�ำหนดไว้ “สัญญาณเรียกขานของผู้ถูกเรียก”

จาก

“สัญญาณเรียกขานของผู้เรียก”

2) แบบไม่เจาะจงสถานี เป็นการเรียกขานที่ผู้เรียกไม่เจาะจงผู้รับมีรูปแบบการ เรียกเป็นพูด เมื่อมีการตอบรับจึงเปลี่ยนไปใช้ย่านความถี่ที่ก�ำหนดไว้ “CQ” ไม่เกินสามครั้ง

จาก

สัญญาณเรียกขานของผู้เรียก

• การเรียกขานเพือ่ แจ้งเหตุทวั่ ไป ใช้รปู แบบการเรียกขานเช่นเดียวกับการเรียก ขานเพือ่ การติดต่อแบบปกติแต่ใช้ความถีท่ ี่ 144.9000 MHz สามารถเรียกติดต่อ สื่อสารกับสถานีใดๆ • การเรียกขานเพื่อแจ้งเหตุฉุกเฉิน ใช้รูปแบบการติดต่อนี้เพื่อการแจ้งเหตุ ฉุกเฉินที่เป็นอันตรายต่อชีวิตและทรัพย์สินเพื่อขอความช่วยเหลือจากสถานี ใดๆ “Mayday” สามครั้ง

สัญญาณเรียกขานของผู้แจ้ง

การจดบันทึกและการยืนยันการติดต่อ เมื่อนักวิทยุสมัครเล่นได้ท�ำการติดต่อกันเรียบร้อยแล้ว ก็จะต้องมีการจดข้อมูลลง ในสมุดบันทึกการติดต่อสือ่ สาร (Log Book) ทัง้ นีเ้ ป็นไปตามกฎระเบียบทีบ่ งั คับไว้ โดย มีหัวข้อส�ำคัญดังต่อไปนี้ 1. ชื่อสถานีที่ติดต่อ 2. ชื่อบุคคลที่ติดต่อ 3. วัน เดือน ปี เวลา ที่ติดต่อ 4. ความถี่ที่ติดต่อ 5. คุณภาพของการติดต่อ (RST) 6. รูปแบบของการติดต่อสื่อสาร 7. อุปกรณ์เครื่องรับส่งที่ใช้ติดต่อ


61 61 คู่มือการจัดการภัยพิ บัติโดยชุมชน

ในการติดต่อสื่อสารแต่ละครั้ง มักจะขอให้ QSL ด้วย คือให้ส่งบัตรยืนยันซึ่งกัน และกัน ซึ่งสามารถใช้เป็นหลักฐานอ้างอิงต่างๆ เช่น ใช้ในการนับคะแนนการแข่งขัน การรับรางวัลหรือการเก็บสะสม เป็นต้น สัทอักษร Phonetic Alphabet และการอ่านออกเสียง ตัวอักษร

ค�ำอ่าน

การออกเสียง

การออกเสียงภาษาไทย

A B C D E F G H I J K L M N O P Q R S

Alfa Bravo Charlie Delta Echo Foxtrot Golf Hotel India Juliett Kilo Lima Mike November Oscar Papa Quebec Romeo Sierra

AL FAH BRAH VOE CHAR LEE DELL TAH ECK OH FOKS TROT GOLF HO TELL IN DEE AH JEW LEE ETT KEY LOH LEE MAH MIKE NO VEM BER OSS CAH PAH PAH KEH BECK ROW ME OH SEE AIR RAH

อัล ฟ่า บรา โว่ ชา ลี เดล ต้า เอ็ก โค่ ฟ็อก ทรอท กอล์ฟ โฮ เทล อิน เดีย จูเลียต กิ โล ลิ ม่า ไมค์ โน เวม เบอร์ ออส การ์ ปา ป้า เค เบค โร มิ โอ ซี เอีย ร่า


62 62 คู่มือการจัดการภัยพิ บัติโดยชุมชน

ตัวอักษร

ค�าอ่าน

การออกเสียง

การออกเสียงภาษาไทย

T U V W X Y Z

Tango Uniform Victor Whiskey X-ray Yankee Zulu

TANG GO YOU NEE FORM VIK TAH WISS KEY ECKS RAY YANG KEY ZOO LOO

แทง โก้ ยู นิ ฟอร์ม วิก ต้า วิส กี้ เอ็กสเรย์ แยง กี้ ซู ลู

0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 อ่านออกเสียงเจ้าของภาษา

Zero One Two Three Four Five Six Seven Eight Nine

ซีโร วัน ทู ทรี โฟเวอร์ ไฟว์ ซิกซ์ เซเว่น เอท นายเนอร์ คลิก

http://hs7wmu.wordpress.com/2010/10/02/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0 %B8%A3%E0%B8%AD%E0%B8%AD%E0%B8%81%E0%B9%80%E0%B8% AA%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%87-phonetic-alphabet-a-z/


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.