The symposium for policy driven to coastal erosion 31aug2016 ebook

Page 1

โครงการจัดประชุมเสริมพลังวิชาการเพื่อการ ขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ เรื่อง “การจัดการกัดเซาะชายฝั่ งโดยเครือข่ ายชุมชนท้ องถิ่น”

ภาพโดย : นายอภิศักดิ์ ทัศนี

วันที่ 31 สิงหาคม 2559 ณ ห้ องประชุม ชัน้ 6 สานักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่ งชาติ ดาเนินการโดย คณะทางานเครือข่ ายรักษ์ อ่าวไทยตอนบน( อ่ าวตัว ก)


2

สารบัญ  โครงการและกาหนดการ  ประธานกล่าวเปิ ด

หน้ า 3 8

 นำเสนอผลกำรศึกษำ ชุมชนกับกำรจัดกำรปัญหำกำรกัดเซำะชำยฝั่ งพื ้นที่อำ่ วไทยตอนใน (อ่ำว ก ไก่) 9  เสวนำ เสริมพลังวิชำกำร กำรจัดกำรปั ญหำกัดเซำะชำยฝั่ง

15

 ระดมความคิดเห็นเพื่อเป็ นข้ อเสนอทำงวิชำกำรและแผนปฏิบตั ิกำร

42

กำรจัดกำรปัญหำกัดเซำะชำยฝั่ง และกลไกกำรจัดกำรปัญหำกำรกัดเซำะชำยฝั่ งแบบมีสว่ นร่วม  กลไกการจัดการปั ญหาการกัดเซาะชายฝั่ งแบบมีสว่ นร่วม

48

 สรุปข้ อเสนอ กลไก สูน่ โยบำยสำธำรณะแบบมีสว่ นร่วม

50

 ประธานกล่าวปิ ดการประชุม

52

 ประมวลภาพการประชุม

53

 ประมวลสื่อ Social media ของการประชุม

54


3 โครงการจัดประชุมเสริมพลังวิชาการเพื่อการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ เรื่อง “การจัดการกัดเซาะชายฝั่ งโดยเครือข่ ายชุมชนท้ องถิ่น” หลักการและเหตุผล พื ้นที่ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ ง มีเนือ้ ที่กว่า 350,000 ตารางกิโลเมตร ใน 23 จังหวัด พบว่าทรัพยากรทาง ทะเลและสัตว์น ้าลดปริมาณลงอันเนื่องมาจากการใช้ เครื่ องมือประมงไม่เหมาะสม ไม่มีพืน้ ที่ค้ มุ ครองระบบนิเวศน์ทาง ทะเล เกิดปั ญหาการกัดเซาะชายฝั่ งรุนแรงมากว่า 5 เมตรต่อปี ใน 17 จังหวัด โดยเฉพาะพื ้นที่อา่ วไทยตอนบนมีอตั ราการ กัดเซาะมากกว่า 25 เมตรต่อปี ประเทศไทยสูญเสียพืน้ ที่การกัดเซาะ 2ตารางกิโลเมตรต่อปี หรื อประมาณ 6,000 ล้ าน บาท *นับเป็ นภัยพิบตั ิเงียบที่เกิดขึ ้นตลอดเวลาในพื ้นที่ชมุ ชนชายฝั่ ง แต่ยงั ไม่มีกาหนดในกฎหมายภัยพิบัติ เช่นเดียวกับ เรื่องแผ่นดินไหว โคลนถล่ม น ้าท่วมและสึนามิ ทาให้ ปัญหาการกัดเซาะชายฝั่ งยังไม่มีระบบและมาตรการป้องกัน เตรี ยม ความพร้ อม และการชดเชยความเสียหาย นอกจากนันการพั ้ ฒนาโครงการต่าง ๆ ของรัฐ ที่มงุ่ เน้ นด้ านอุตสาหกรรม ท่าเรือน ้าลึก การถมทะเล ก่อให้ เกิด ปั ญหาระบบนิเวศน์ชายฝั่ งทางทะเล มลภาวะ ส่งผลกระทบให้ ชมุ ชนสูญเสียอาชีพ รายได้ โดยไม่ได้ มีส่วนร่วมในการ ก าหนดนโยบายแต่อ ย่ า งใด ดัง นัน้ เมื่ อ เครื อข่า ยชุม ชนท้ องถิ่ น มี ฐ านทางวิ ช าการเริ่ ม เข้ มแข็ง ขึน้ จึง น่ า จะน า “กระบวนการนโยบายสาธารณะแบบมีสว่ นร่วม” เข้ ามาใช้ ในพื ้นที่ตอ่ ไป ที่ผา่ นมาการอนุรักษ์ ฟืน้ ฟู ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ ง มีการดาเนินการมาอย่างต่อเนื่องของหน่วยงาน องค์กรที่เกี่ยวข้ อง โดยมีความพยายามสร้ างการมีสว่ นร่วมของชุมชน ตลอดระยะเวลาที่ผา่ นมา การป้องกันการกัดเซาะชายฝั่ ง มีหลายหน่วยงานที่เข้ ามารับผิดชอบ เช่น กรมเจ้ าท่า กรมทรัพยากรทางทะเล และชายฝั่ ง และหลายรัฐบาล แต่การแก้ ไขปั ญหายังไม่ประสบผลสาเร็จทัง้ นีย้ ังขาดการส่งเสริ มกระบวนการมีส่วน ร่วมของชุมชนในพืน้ ที่ เป็ นสาคัญ การแก้ ปัญหาจึงกลับสร้ างปั ญหาให้ ชมุ ชนเพิ่มขึ ้นอีก ดังนันที ้ ่ผา่ นมาชุมชนชายฝั่ ง หลายชุมชนจึงรวมกลุม่ กันทาการป้องกันการกัดเซาะชายฝั่ ง ในหลากหลายรูปแบบที่เป็ นภูมิปัญญาของชุมชน เช่น การปลูกป่ า การทาแนวหินที่มีรูพรุน การทาแนวรัว้ ไม้ ไผ่ชะลอคลื่น การปลูกป่ าเทียม จากที่มีการค้ นคิดรูปแบบต่างๆ ในการป้องกันการกัดเซาะชายฝั่ งชุมชนพบว่าการใช้ โครงสร้ างอ่อนในการแก้ ปัญหาได้ ผลมากกว่าและยังส่งผลให้ ระบบนิเวศชายฝั่ งกลับคืนมาทังสั ้ ตว์น ้าวัยอ่อน ป่ าชายเลน ตะกอนเลนชายฝั่ งรวมถึงสัตว์นา้ บางชนิดที่หายไปแล้ ว กว่า 10 ปี เช่น หอยพิมพ์ ก็กาลังคืนกลับมา ที่บ้านแหลมฟ้าผ่าจังหวัดสมุทรปราการ เป็ นต้ น หากมีการถอดบทเรี ยน


4 กรณีศึกษาแล้ ว การนาเครื่ องมือ เช่น ธรรมนูญ สมัชชาและ CHIA มาเสริ มความเข้ มแข็งของชุมชนท้ องถิ่นในการ แก้ ไขปั ญหาจะมีความยัง่ ยืนขึ ้น อย่างไรก็ตามผลที่เกิดจากการป้องกันการกัดเซาะชายฝั่ ง ของชุมชนพบว่าพืน้ ที่ที่มีการป้องกันการกัดเซาะ โดยชุมชน และหน่วยงานราชการในหลายพื ้นที่เกิดเป็ น “พื ้นที่งอก” ทาให้ มีประเด็นปั ญหาคือการอ้ างสิทธิ์ในที่ดินเดิม และเข้ าไปท าประโยชน์ ที่ ดิ น ตลอดจนการออกเอกสารสิท ธิ์ ถื อครองเพิ่ ม เติม ทัง้ ๆที่ บ ริ เ วณดังกล่าวเป็ นพื น้ ที่ สาธารณะชายเลน ที่ผา่ นมาที่หน้ าทะเลไม่ได้ รับการดูแลป้องกัน จนเกิดการกัดเซาะในพืน้ ที่ และพืน้ ที่ใกล้ เคียง และ เมื่อชุมชนรวมตัวทาการป้องกันกัดเซาะได้ ผล กลับมีการเข้ ามาอ้ างสิทธิ์ ครอบครอง จึงส่งผลให้ การป้องกันการกัด เซาะไม่สามารถแก้ ปัญหาได้ อย่างเป็ นจริง จากการศึกษาเบือ้ งต้ นพบว่ าพื ้นที่อา่ วไทยตอนบน (อ่าวกอ ก) เป็ นพืน้ ที่มีลกั ษณะเป็ นปากนา้ มีลกั ษณะ ภูมินิเวศน์หาดเลนซึ่งมีทรัพยากรธรรมชาติอดุ มสมบูรณ์ ทังกุ ้ ้ ง หอย ปู ปลา รวมทังเป็ ้ นที่หากินของฝูงโลมาและวาฬ กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ ง ยืนยันว่าความสมบูรณ์ของทรัพยากรชายฝั่ งเป็ นพืน้ ที่หาดเลนที่มีความสมบูรณ์ เป็ นอันดับ 7 ของโลก จึงมีความสาคัญในฐานะเป็ นพืน้ ที่ความมัน่ คงทางอาหารของประเทศไทย และการส่งสินค้ า ทางทะเลจาหน่ายทังในกรุ ้ งเทพมหานครและทัว่ ทุกภูมิภาค พื ้นที่และชุมชนชายฝั่ งที่ศกึ ษาถูกรุกรานจากการพัฒนารอบด้ านรวมถึงจากธรรมชาติด้วย ปั ญหาการกัดเซาะ ชายฝั่ งที่เกิดขึ ้น เช่น ปั ญหาจากสภาวะโลกร้ อน ปั ญหาการขยายตัวของเมืองและภาคอุตสาหกรรม การปล่อยทิ ้งที่ดิน ให้ รกร้ างแล้ วปล่อยให้ น ้ากัดเซาะโดยไม่มีการป้องกัน ตลอดจน ภาครัฐไม่มีนโยบายที่ชดั เจนในการป้องกันปั ญหา มี การแก้ ปัญหาแบบต่างคนต่างทา ส่งผลให้ เกิ ดผลกระทบของชุมชนและพืน้ ที่การกัดเซาะชายฝั่ งเพิ่มมากขึ ้นอย่าง ต่อเนื่อง ประการสาคัญของการบริหารจัดการพื ้นที่คือยังไม่มีหน่วยงานหลักดูแลพื ้นที่ ส่งผลให้ การจัดการที่ผา่ นมาไม่ มีระบบ ส่งผลกระทบต่อชุมชนตลอดระยะเวลาที่ผา่ นมา ข้ อเสนอแนะจากการศึกษาและเวทีความคิดเห็น ทังในพื ้ ้นที่ชมุ ชน เวทีจงั หวัดและกลุม่ เครือข่ายได้ เสนอแนว ทางการแก้ ปัญหาการกัดเซาะไว้ อย่างน่าสนใจ ประกอบด้ วย 1. ให้ มีสนับสนุนการศึกษาข้ อมูลการกัดเซาะชายฝั่ งชุมชน บริเวณอ่าวตัว ก ในทุกชุมชน 2. ประสานงานความร่วมมือ จัดทาข้ อเสนอระดับนโยบายและการสนับสนุนให้ มีการดาเนินการในพืน้ ที่เพื่อ การแก้ ปัญหาการกัดเซาะชายฝั่ ง อย่างต่อเนื่อง 3. ให้ มีเ วที ความร่ วมมือองค์ กรหน่วยงาน ที่ เกี่ ยวข้ อง การจัดการปั ญ หาการกัดเซาะชายฝั่ ง รับฟั งความ คิดเห็นชุมชน และหาแนวทางทางานร่วมกัน


5 โดยนอกจากมีข้อเสนอแนะเฉพาะเครือข่ายอ่าวตัว ก แล้ ว ยังต้ องการแลกเปลี่ยนและฟั งความเห็นจากพืน้ ที่ อื่น ๆ ซึ่งอาจจะมีปัญ หาและแนวทางแก้ ไข รวมทัง้ ข้ อเสนอแนะที่ก ว้ างขวางมากขึน้ ทัง้ นี เ้ พื่ อน าไปสู่การกาหนด ข้ อเสนอเชิงนโยบายการจัดการปั ญหาการกัดเซาะชายฝั่ งอย่างเป็ นระบบ เพื่อเป็ นการขับเคลื่อนตามข้ อสรุปและแนวทางดังกล่าว คณะทางาน เครื อข่ายรักษ์ อ่าวไทยตอนใน (อ่าวตัว ก)ร่วมกับ ทีมงานวิจยั ของมูลนิธิชมุ ชนไทเครือข่ายนักวิชาการ และหน่วยงานภาคีฯ ที่เกี่ยวข้ องกับการศึกษา ส่งเสริ ม พัฒนาพืน้ ที่ชุมชนชายฝั่ งทัง้ 23จังหวัด และการหาแนวทาง รูปธรรม การป้องกันการกัดเซาะชายฝั่ งที่หลากหลาย รวมทัง้ น าเสนอข้ อมูล รู ป ธรรม ที่ ชัด เจนและกว้ างขวาง จึง เห็น ควรร่ วมกัน จัด เวที เสริ ม พลั ง วิชาการเพื่ อการ ขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเรื่อง “การจัดการกัดเซาะชายฝั่ งโดยเครือข่ ายชุมชนท้ องถิ่น” วัตถุประสงค์ 1. เพื่อแลกเปลี่ยนเติมเต็มข้ อมูลทางวิชาการเรื่ อง การป้องกันการกัดเซาะชายฝั่ ง ระหว่างนักวิชาการจาก สถาบันและบทเรียนกรณีศกึ ษาของชุมชน ให้ เป็ นองค์ความรู้ที่เหมาะสม 2. เพื่อจัดทาข้ อเสนอทางด้ านวิชาการและแผนปฏิบตั ิการการกัดเซาะชายฝั่ งอย่างมีสว่ นร่วม 3. เพื่อพัฒนากลไกความร่วมมือ สูก่ ารป้องกันการกัดเซาะชายฝั่ ง ยัง่ ยืน 4. เพื่อวางระบบในการนา กระบวนการนโยบายสาธารณะแบบมีส่วนร่วมและเครื่ องมือ เช่น ธรรมนูญพืน้ ที่ สมัชชาพื ้นที่/เฉพาะประเด็น CHIA เข้ ามาใช้ เสริมพลังในเครือข่ายชุมชนท้ องถิ่นต่อไป กลุ่มเป้าหมาย รวม50 คนจาก 1.นักวิชาการจากสถาบันต่างๆ ที่ศกึ ษาวิจยั เกี่ยวกับการกัดเซาะชายฝั่ ง

จานวน 10 คน

2.คณะทางานเครือข่ายชุมชนด้ านการอนุรักษ์ ทางทะเลและชายฝั่ ง

จานวน 10 คน

3.องค์กร หน่วยงานที่เกี่ยวข้ องกับการจัดการปั ญหากัดเซาะ/ภัยพิบตั ิ

จานวน 10 คน

กรมทรัพยากรทางทะเลชายฝั่ ง ปภ.ทสจ. กรมที่ดิน เจ้ าท่า 4.ภาคีความร่วมมือ เช่น สสส./สพปส./มชท./พอช./สช./สสท.

จานวน 10 คน

5.คณะทางานด้ านวิชาการและข้ อเสนอเชิงนโยบาย

จานวน 10 คน


6 วิธีดาเนินการ 1. คณะท างานฯจัด ประชุมรวบรวมการถอดบทเรี ยนกรณี ศึกษาและคัดเลือก เตรี ย มความพร้ อมในการ นาเสนอ รวมทังเชิ ้ ญชวนตัวแทนเครือข่ายชุมชนท้ องถิ่นเข้ าร่วมประชุม 2. คณะทางานฯประสานสถานบันการศึกษาและเชิญชวนนักวิชาการ เตรียมความพร้ อมในการนาเสนอ 3. จัดเวทีนาเสนอและสังเคราะห์องค์ความรู้ด้านวิชาการเรื่อง “การป้องกันการกัดเซาะชายฝั่ ง” 4. ร่วมกันจัดทาข้ อเสนอทางวิชาการและแผนปฏิบตั ิการ การป้องกันการกัดเซาะชายฝั่ ง อย่างมีสว่ นร่วม 5. สร้ างกลไกความร่วมมือในการขับเคลื่อน 6. ค้ นหาแนวทางการใช้ “กระบวนการและเครื่ องมือทางด้ านนโยบายสาธารณะแบบมีส่วนร่วม” เพื่อเสริ ม ความเข้ มแข็งแก่เครือข่ายชุมชนท้ องถิ่นในการแก้ ปัญหาอย่างยัง่ ยืน วัน/เวลา/สถานที่ วันที่ 31 สิงหาคม 2559 ณ ห้ องประชุมชัน้ 6 สานักงานสุขภาพแห่ งชาติ อ.เมือง จ.นนทบุรี ผลที่คาดว่ าจะได้ รับ 1. ได้ องค์ความรู้ทางวิชาการและทักษะประสบการณ์ที่เหมาะสมของการป้องกันการกัดเซาะชายฝั่ ง 2. เกิดข้ อเสนอทางวิชาการและแผนปฏิบตั ิการต่อการจัดการปั ญหากัดเซาะชายฝั่ งที่มีความเป็ นไปได้ 3. มีกลไกร่วมในการติดตามเฝ้าระวัง และแก้ ปัญหาการกัดเซาะชายฝั่ งอ่าวไทยตอนไน (อ่าวตัว ก) อย่าง ยัง่ ยืนต่อไป ผู้รับผิดชอบโครงการ: คณะทางานขับเคลื่อนนโยบาย เครือข่ายรักษ์ อา่ วไทยตอนใน (อ่าวกอไก่) ประสำนงำน นำงสำวปนัทดำ ทัศศิริ โทร 0818487063 e-mail; nui_1968@hotmail.com


7 กาหนดการ สัมมนาวิชาการ พลังวิชาการเพื่อการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ เรื่อง “การจัดการกัดเซาะชายฝั่ งโดยเครือข่ ายชุมชนท้องถิ่น” วันพุธที่ 31 สิงหาคม 2559 ณ ห้ องประชุม ชัน้ 6 อาคารสานักงานสุขภาพแห่งชาติ (สช.) 09.00 – 09.30 น. 09.30 – 10.00 น. 10.00 – 10.30 น. 10.30 – 12.00 น.

12.00 – 13.00 น. 13.00 – 14.30 น.

15.00 – 15.30 น.

ลงทะเบียน พิธีเปิ ด โดย นายสุรจิต ชิรเวทย์ นาเสนอผลการศึกษา ชุมชนกับการจัดการปั ญหาการกัดเซาะชายฝั่ งพืน้ ที่อ่าวไทยตอนใน (อ่ าว ก ไก่ ) โดย คณะทางานถอดบทเรียน การเสวนา เสริ มพลังวิชาการ การจัดการปั ญหากัดเซาะชายฝั่ ง โดย 1. รศ.ดร.สมบูรณ์ พรพิเนตพงศ์ นักสมุทรศาสตร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ 2. อ.ศักดิ์อนันต์ ปลาทอง นักวิชาการด้ านวิทยาศาสตร์ ทางทะเล มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 3. นายอภิศักดิ์ ทัศนี อำสำสมัครสงขลำฟอรั่มและที่ปรึกษำกลุม่ Beach for life 4. นายวิษณุ เข่ งสมุทร กรณีศกึ ษาพื ้นที่ป้องกันการกัดเซาะชายฝั่ ง บ้ านขุนสมุทรจีน เครือข่ายรักษ์ อ่าวไทยตอนบน ดาเนินรายการโดย คุณพิชยา แก้ วขาว นักพัฒนาอาวุโส ฯ รั บประทานอาหารกลางวัน ระดมความคิดเห็น ในประเด็น 1.ข้ อเสนอทางวิชาการและแผนปฏิบตั ิการ การจัดการปั ญหากัดเซาะชายฝั่ ง 2.รูปแบบ กลไกการจัดการปั ญหาการกัดเซาะชายฝั่ งแบบมีสว่ นร่ วม ดาเนินรายการโดย คุณพิชยา แก้ วขาว นักพัฒนาอาวุโส ฯ สรุ ปข้ อเสนอ กลไก สู่นโยบายสาธารณะแบบมีส่วนร่ วม โดย อ.ศรินพร พุ่มมณี และ อ.มณีรัตน์ มิตรประสาท


8 ประธานกล่ าวเปิ ด

นำยสุรจิ ต ชิรเวทย์ อดี ตสมาชิก วุฒิสภาจังหวัดสมุทรสงคราม ประธานในการเปิ ดการประชุมในวันนีไ้ ด้ กล่าวว่า ปั ญหาการกัดเซาะชายฝั่ งเป็ นปั ญหาที่มีมานานแล้ ว แล้ วการศึกษาสาเหตุเพื่อหาแนวทางแก้ ไขปั ญหาและ การหารูปแบบต่าง ๆ เพื่อแก้ ไขปั ญหาการกัดเซาะได้ ทามาหลายรูปแบบแล้ ว แต่ยังเป็ นลักษณะต่างคนต่างทาของ หน่วยงานต่าง ๆ จึงยังเกิดปั ญหาอยู่อย่างต่อเนื่อง หาดทรายหลายแห่งเสียหาย ทาให้ เสียโอกาสการสร้ างรายได้ จาก การท่องเที่ยว ประเด็นปั ญหาหนึ่งที่ เกิดขึน้ คือข้ อขัดแย้ งระหว่างผู้ที่ถือโฉนดครอบครองกับ ผู้ที่ใช้ ประโยชน์ในพืน้ ที่ซึ่ง ปั จจุบนั ได้ กลายเป็ นทะเลแล้ ว แต่ปัจจุบนั ก็ยงั ไม่มีการยกเลิกโฉนดในส่วนนัน้ ซึ่งแนวทางการแก้ ปัญหานีจ้ ะต้ องใช้ หลักของกฎหมายเพื่อให้ ก รมที่ดิ น ยกเลิกโฉนดที่ดินที่ กลายเป็ นทะเลแล้ ว และการทางานการบูรณาการร่ วมกัน สามารถใช้ มติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 17 สิงหาคม 2559 โดยให้ มีการสารวจชายฝั่ งที่มีการกัดเซาะ โดยให้ ใช้ หลักทาง วิชาการในการกาหนดพื ้นที่ตามระดับความเสี่ยงและความเสียหายและจัดลาดับความเร่งด่วนในการแก้ ปัญหา การแก้ ปัญหาการกัดเซาะชายฝั่ ง ได้ มีนัก วิชาการหลายท่านที่ศึกษาและหาวิธีในการแก้ ปัญหา แต่เรายัง ต้ องมีฝ่ายกฎหมายเข้ ามาร่วมด้ วย เพื่อให้ ข้อมูลความรู้เพิ่มเติมกับเครื อข่ายได้ เกิดความเข้ าใจในข้ อกฎหมาย เช่น การทา HIA ในโครงการของรัฐหรื อเอกชนที่จะเกิดขึ ้น เป็ นต้ น และวันนีข้ อให้ การประชุมได้ ประสบความสาเร็จทุก ประการ ขอเปิ ดประชุมครับ


9 นาเสนอผลการศึกษา ชุมชนกับการจัดการปั ญหาการ กัดเซาะชายฝั่ งพืน้ ที่อ่าวไทยตอนบน (อ่ าว ก ไก่ )

จำกกำรศึกษำชุมชนกับกำรจัดกำรปั ญหำกำรกัดเซำะชำยฝั่ งพื ้นที่อำ่ วไทยตอนบน โดยภูมินิเวศน์ ของพืน้ ที่ เป็ นหำดโคลนที่มีควำมอุดมสมบูรณ์ มีก้ งุ หอย ปู ปลำ เป็ นแหล่งหำกินของโลมำ และวำฬ จึงเป็ นพืน้ ที่ควำมมัง่ คง ทำงด้ ำนอำหำร แห่งหนึ่งของประเทศไทย โดยกำรศึกษำครัง้ นี ้ เพื่อ  จัดเวทีรับฟั งควำมคิดเห็นและข้ อเสนอแนะ “กำรจัดกำรผลกระทบและกำรป้องกันกำรกัดเซำะชำย ชำยฝั่ งในอ่ำวไทยตอนในอย่ำงยัง่ ยืน”  ถอดบทเรี ย นทบทวนกำรท ำงำนที่ ผ่ำนมำทัง้ ปั ญ หำ อุป สรรคและผลกำรท ำงำนที่ เ กิ ดขึน้ ของ เครือข่ำย  ยกระดับข้ อมูลเรื่องผลกระทบและกำรป้องกันกำรกัดเซำะชำยฝั่ งให้ เป็ นองค์ควำมรู้ที่สำมำรถนำไป เป็ นข้ อมูลและแบบอย่ำงในกำรดำเนินกำรของพื ้นที่อื่น  จัดทำยุทธศำสตร์กำรจัดกำรและพัฒนำอ่ำวไทยตอนในอย่ำงมีสว่ นร่วมของ เครื อข่ำยฯ หน่วยงำน และภำคีอื่นที่เกี่ยวข้ องให้ มีทิศทำงกำรทำงำนร่วมกัน


10 การดาเนินงานในการศึกษา  ศึกษำในพื ้นที่ชมุ ชนชำยฝั่ ง 6 จังหวัด 18 ชุมชน เครือข่ำยฯ คือ o จังหวัดฉะเชิงเทรำ 3 พื ้นที่ o สมุทรปรำกำร 3 พื ้นที่ o กรุงเทพมหำนคร 3 พื ้นที่ o สมุทรสำคร 3 พื ้นที่ o สมุทรสงครำม 3 พื ้นที่ และ o จังหวัดเพชรบุรี 3 พื ้นที่  ศึกษำถึงสถำนกำรณ์ ผลกระทบจำกปั ญหำกำรกัดเซำะชำยฝั่ ง และกำรป้องกัน ปั ญหำที่เกิดขึ ้นของชุมชน ท้ องถิ่น และหน่วยงำนที่รับผิดชอบ  โดยกำรมีสว่ นร่วม ของชุมชน เครือข่ำย ฯ กำรแลกเปลี่ยนข้ อมูลในกำรจัดกำรปั ญหำกัดเซำะชำยฝั่ ง  รวบรวมข้ อเสนอจำกพื น้ ที่ ในกำรกำรจัดกำรกัดเซำะ อ่ำวไทยตอนบน เพื่ อให้ ได้ บ ทเรี ยนของชุมชน และ เครือข่ำย ในกำรจัดกำรปั ญหำกำรกัดเซำะชำยฝั่ ง ได้ รูปแบบกำรจัดกำร กำรกัดเซำะ และได้ ข้อเสนอกำร จัดกำรปั ญหำกัดเซำะชำยฝั่ งในอ่ำวไทยตอนในอย่ำงมีสว่ นร่วม ข้ อมูลพืน้ ที่ชุมชนที่ ศึก ษำ จ ำนวน 18 ชุมชน พบว่ำ มีสมำชิก ที่ได้ รับผลกระทบของกำรกัดเซำะจ ำนวน 4,126หลังคำเรือน 14,996 คน ระยะเวลำ 10 ปี ที่ผ่ำนมำ มูลค่ำรวม 618,900,000 บำท และยังได้ สญ ู เสียพืน้ ที่ ของ ชุมชนจำนวน 7,025 ไร่ (ร้ อยละ 53.74)

การแก้ ปัญหาของหน่ วยงานภาครัฐในการป้องกันการกัดเซาะชายฝั่ ง ที่ผำ่ นมำหน่วยงำนภำครัฐที่เกี่ยวข้ องได้ ทำกำรแก้ ไขปั ญหำกำรกัดเซำะชำยฝั่ งในรูปแบบต่ำง ๆ แต่กลับ ส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศน์ ทำลำยชำยฝั่ งเพิ่มมำกขึ ้น เช่น 1. กำรทำไส้ กรอกทรำยที่จงั หวัดฉะเชิงเทรำ สมุทรปรำกำร และสมุทรสำคร ซึ่งปั จจุบันไส้ กรอกทรำยแตก ไปแล้ ว ได้ สง่ ผลกระทบต่อพื ้นที่ชำยฝั่ งและระบบนิเวศน์ของสัตว์น ้ำในกำรเพำะพันธุ์ 2. เขื่อนหิ นขนำดใหญ่ (เบรกวอเตอร์ ) ที่ จังหวัดเพชรบุรี ทำให้ เ สีย ภูมิทัศน์ ของชำยหำด มีผ้ ูลงเล่นน ำ้ บริเวณวงเดือนเสียชีวิต


11 ภาพ รูปแบบการสร้ างวัตถุเพื่อป้องกันการกัดเซาะชายฝั่ งของภาครัฐ

ไส้ กรอกทราย

ไส้ กรอกทรายแตก

เขื่อนหินขนาดใหญ่


12 จำกกำรศึก ษำพบว่ำ ชุม ชนได้ มี รู ป แบบในกำรแก้ ไขปั ญ หำ โดยใช้ ภูมิ ปั ญ ญำและองค์ ค วำมรู้ จำก ประสบกำรณ์ในกำรอยู่อำศัยในพื ้นที่ และสำมำรถแก้ ไขปั ญหำได้ อย่ำงถูกวิธี คือ ทำให้ มีตะกอนดินเพิ่มขึ ้น และชุมชน สำมำรถปลูกป่ ำชำยเลนได้ เพิ่มขึ ้น ลดปั ญหำกำรกัดเซำะชำยฝั่ งได้ จริง โดยมีรูปแบบต่ำง ๆ คือ กำรสร้ ำงแนวรัว้ ไม้ ไผ่ ชะลอคลื่น , กำรสร้ ำงป่ ำชำยเลนเทียม , กำรทำแนวซองไม้ ไผ่ใส่หินลดแรงกำรกัดเซำะชำยฝั่ ง เป็ นต้ น ภาพ รูปแบบการสร้ างวัตถุเพื่อป้องกันการกัดเซาะชายฝั่ งของชาวบ้ าน

ภาพแนวรัว้ ไม้ ไผ่ ชะลอคลื่น

ภาพปลูกป่ าชายเลนเทียม


13 จำกกำรศึกษำที่ผำ่ นมำได้ พบว่ำ กำรศึกษำวิจยั ในภำควิชำกำร ได้ นำควำมรู้ของชุมชนไปประยุกต์ใช้ ในกำร หำรูปแบบกำรป้องกันกำรกัด เซำะชำยฝั่ ง อย่ำงกรณีเช่น เขื่อนสลำยกำลังคลื่น ที่บ้ำนขุนสมุทรจีน โดยกำรศึกษำ ข้ อมูลในครัง้ นี ้ ได้ ลงพื ้นที่พบปะพูดคุยจนได้ ข้อเสนอกำรแก้ ไขปั ญหำจำกพื ้นที่ตำ่ ง ๆ


14 ข้ อเสนอของชาวบ้ านต่ อการแก้ ไขปั ญหาการกัดเซาะชายฝั่ ง 1. เรื่ องผลกระทบกำรแก้ ปัญ หำกำรกัดเซำะชำยฝั่ งที่เ กิดขึน้ กับ กำรทุจริ ตในโครงกำรฯ ที่ไม่ได้ มำตรฐำน กำรศึกษำรูปแบบ ที่ชดั เจนเรื่องแบบ มำตรฐำน เช่น (ไม้ ไผ่ตง ตรงโคน ) ( ไม่ใช่ตรงปลำย) 2. กำรมีสว่ นร่วมของชำวบ้ ำนที่ผำ่ นมำเป็ นกำรทำ ( ประชำพิจำรณ์สร้ ำงภำพ) ที่ไม่ถูกต้ อง ถูกคน ไม่ได้ รับ ฟั งผู้ที่ได้ รับผลกระทบโดยตรง ( ตัวจริง) ทำให้ มีควำมผิดพลำดในกำรตัดสินใจ จึงเสนอ...ให้ มีกำรมีส่วน ร่วมในทุกกระบวนกำร 3. ควรหยุด ให้ กำรสนับสนุนกำรศึกษำโครงกำรฯกำรกัดเซำะชำยฝั่ ง และนำรูปธรรม ที่ชำวบ้ ำนดำเนินกำร แล้ ว มำทำอย่ำงต่อเนื่อง 4. หำกมีควำมจำเป็ นในกำรศึกษำ...เพื่อทำโครงกำรฯ ใหม่ในกำรแก้ ไขกำรกัดเซำะในพืน้ ที่ ควรดำเนินกำร ร่วมกับชำวบ้ ำน 5. เสนอให้ นำกำรศึกษำ ที่ชำวบ้ ำนยอมรับได้ นำไปทำแผนยุทธศำสตร์ 6. เหตุผลที่เครือข่ำยฯ พื ้นที่อำ่ วกอ ปฏิเสธไส้ กรอกทรำย คือไส้ กรอกทรำยแตกทำให้ ระบบนิเวศน์เสียหำย 7. กรณีที่ดินสูญหำยกลำยเป็ นทะเล (เจ้ ำของเดิมยังอ้ ำงสิทธิ ) และที่ดินงอกชำยฝั่ ง ที่เกิดจำกชุมชนร่วมกัน ป้องกัน ควรดำเนินกำรให้ เป็ นที่เป็ นสำธำรณะและชุมชนใช้ ร่วมกัน 8. รัฐควรใช้ งบเพื่อกำรศึกษำวิจยั โดยเป็ นกำรวิจยั เชิงปฏิบตั ิกำรร่วมกับชุมชน 9. กระบวนกำรทำกิจ กรรมโครงกำรฯ เพื่ อแก้ ปั ญหำ ควรทำแผนตกลงร่วมกันกับชุมชน ระบุระยะเวลำ รำยละเอียดกิจกรรม และภำรกิจที่ชมุ ชนต้ องทำเพื่อให้ เกิดกำรมีสว่ นร่วมอย่ำงจริงจัง 10. ปั ญหำกำรกัดเซำะชำยฝั่ ง ควรบรรจุเป็ นภัยพิบัติอย่ำงหนึ่ง ที่ชุมชนควรได้ รับกำรดูแล ได้ รับกำรเยียวยำ เหมือนกับเหตุภยั พิบตั ิอื่น ๆ 11. ให้ มีหน่วยงำนเจ้ ำภำพหลักในกำรดำเนินกำรแก้ ไขปั ญหำกำรกัดเซำะชำยฝั่ ง


15 เสวนา เสริมพลังวิชาการ การจัดการปั ญหากัดเซาะชายฝั่ ง วิทยากร 1. รศ.ดร.สมบูรณ์ พรพิเนตพงศ์ 2. อ.ศักดิอ์ นันต์ ปลาทอง 3. ศ. ดร.ธนวัฒน์ จารุพงษ์ สกุล 4. นายวิษณุ เข่งสมุทร

นักสมุทรศาสตร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ นักวิชาการด้ านวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ประธานสถาบันสิ่งแวดล้ อมไทย กรณีศกึ ษาพื ้นที่ป้องกันการกัดเซาะชายฝั่ ง บ้ านขุนสมุทรจีน เครือข่าย รักษ์ อา่ วไทยตอนบน

โดย นางพิชยา แก้ วขาว เป็ นผู้ดาเนินรายการ

นางพิชยา แก้ วขาว ผู้ดาเนินรายการเสวนาเสริ มพลังวิชำกำร กำรจัดกำรปั ญหำกัดเซำะชำยฝั่ ง ได้ เล่าว่า การดาเนินงานของมูลนิธิชมุ ชนไท ได้ ทางานเรื่องการกัดเซาะชายฝั่ งภายใต้ การดาเนินงานการขับเคลื่อนของชุมชน สู่ ข้ อเสนอนโยบายการจัดการภัยพิบตั ิ ซึ่งวันนี ้จะได้ มาพูดคุยกันว่าจะมีข้อเสนอสูน่ โยบายอะไรบ้ าง


16 รศ.ดร.สมบูรณ์ พรพิเนตพงศ์ นักสมุทรศาสตร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่

การแก้ ปัญหาการกัดเซาะชายฝั่ งนันเราต้ ้ องเอาประเด็นกรณีที่ง่าย แต่ถ้าเอาประเด็นที่ยาก ๆ มาถกกันจะ ทาให้ แก้ ปัญหายาก โดยการบรรยาย จะเริ่มจากการแสดงให้ เห็นภาพความเสียหายของบ้ านเรื อนที่ถูกนา้ ทะเลกัดเซาะ ดังรูป ข้ างล่าง

อ.เทพา

อ.เทพา จ.สงขลา 2547

บ.บ่ออิฐ

บ.บ่ ออิฐ อ.เมือง 2545


17 ตารางการพังทลายของชายหาดภาคใต้ อ่าวไทยตอนล่ าง ปี 2554 จังหวัด

รวม

ความยาว (ก.ม.)

ถูกกัดเซาะ (ก.ม.)

สิ่งก่ อสร้ าง

หน่ วยงาน

นครศรีฯ

245

127 (52%)

- กาแพงชายฝั่ ง - เขื่อนกันคลื่น - คันดักทราย - เขื่อนกันทรายฯ

- กรมเจ้ าท่า - กรมชลประทาน - กรมโยธาธิการ - กรมทางหลวง

สงขลา

158

55 (35%)

- เขื่อนกันคลื่น - คันดักทราย - เขื่อนกันทรายฯ

- กรมขนส่งทางน ้าฯ -เทศบาลนครสงขลา

ปั ตตานี

139

62 (45%)

- คันดักทราย - กาแพงชายฝั่ ง

- กรมเจ้ าท่า

นราธิวาส

58

44 (76%)

- กาแพงชายฝั่ ง - คันดักทราย - เขื่อนกันคลื่น

- กรมเจ้ าท่า - กรมชลประทาน

600

288.2 (48%)

ข้ อมูล : กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ ง (ทช.) 2554

ในความหมายของหาดทรายในเชิงวิทยาศาสตร์เรียกว่ารอยต่อระหว่างของเหลวและของแข็ง ของเหลวคือ น ้าทะเล ของแข็งคือแผ่นดิน หาดทรายมีคณ ุ สมบัติพิเศษที่ไม่แข็งและไม่เหลว สามารถเคลื่อนที่ได้ ตามแรงคลื่นของ น ้าทะเล แต่ถ้าหากมีของโครงสร้ างแข็งมาขวางกันแรงคลื ้ ่นของน ้าทะเลจะทาให้ เกิดความเสียหายทันที กรณีตวั อย่าง บ้ านหน้ าศาล อาเภอหัวไทร จังหวัดนครศรี ธรรมราช จากภาพแผนที่ ทางอากาศจะเห็นว่า ชายทะเลเป็ นแนวยาวจากอาเภอหัวไทรไปจนถึงแหลมตะลุมพุก อาเภอปากพนัง ซึ่งในปี 2537 ชายหาดบ้ านหน้ าศาล มีหาดทรายขาวตลอดทัง้ แนว เป็ นแหล่งชุมชนมุสลิมที่ อยู่อาศัย อย่างมีความสุข มีประเพณีสร้ างมัสยิดจาลองริ ม ชายหาด แต่ใน พ.ศ.2547 มีโครงการสร้ างเขื่อนบ้ านแพรกเมือง หลังจากสร้ างเขื่อนเสร็จ ทาให้ หาดทรายเริ่ มลด


18 น้ อยลงทันทีในปี เดียวกัน หลังจากนัน้ อบต.ในพืน้ ที่ได้ นาหินมาถมบริ เวณด้ านบนชายหาด และ พ.ศ.2548-2549 ชายหาดถูกเปลี่ยนเป็ นกาแพง ไม่มีชายหาด วิถีชมุ ชนที่มีอยู่เดิมที่มีความสุข ก่อนสร้ างเขื่อนใน พ.ศ.2547 ถูกสลาย ไป และในตัง้ แต่ พ.ศ.2549 ถึงปั จ จุบัน พืน้ ที่ ชายหาดบ้ านหน้ าศาลถูกท าลายเสียหายเป็ นอย่างมาก หา ดทรายที่ สวยงามถูกทาลายหายไป บ้ านเรื อนของชาวบ้ านได้ รับความเสีย หายจากแรงคลื่นที่ซัดเข้ าไปในบ้ านทาให้ สิ่งของ เสียหาย เช่น เครื่องใช้ ไฟฟ้า ผนังบ้ าน เป็ นต้ น เนื่องจากไม่มีชายหาดแล้ ว ซึ่งปั ญหานี ้เกิดจากการสร้ างเขื่อนในปี พ.ศ. 2547 และในปี พ.ศ.2558 ยังมีการพยายามแก้ ไขปั ญหาโดยการสร้ างเขื่อนอีกหลายรูปแบบ แสดงว่าความเสียหายที่ จะเกิดขึ ้นยังเกิดขึ ้นอีกต่อไป

บ้ านหน้ าศาล อ.หัวไทร วิถีชีวิตก่ อนปี 2547


19


20

กรณีตวั อย่าง หำดชลำทัศน์ อ.เมืองสงขลำ แหล่งท่องเที่ยว ใจกลำงชุมชนเมือง เป็ นสถานที่ท่องเที่ยวขนาด ใหญ่ มีหาดทรายกว้ างยาวสวยงามตลอดแนวทะเล แต่ในปี พ.ศ.2544 ได้ สร้ างบ่อสูบนา้ เสีย บริ เวณหมู่บ้านประมง ชุมชนเก้ าเส้ ง หลังจากนันในปี ้ พ.ศ.2545 หาดทรายสวยงามถูกทาลายเสียหายทันทีทาให้ ถูกกัดเซาะมาจนถึงถนน หลังจากนันเทศบาลได้ ้ สร้ างเขื่อนหินเพิ่มขึ ้นอีก 3 จุดใกล้ ๆ กัน ในปี พ.ศ.2545 ปรากฏว่าตังแต่ ้ ปี พ.ศ.2545 – 2548 ชายหาดบริเวณนันถู ้ กทาลาย เป็ นทะเลที่ไม่มีชายหาด และเทศบาลได้ ถมหินต่อมาตลอดแนวชายหาดเรื่ อย ๆ ทาให้ แนวชายหาดไม่มีหาดทรายให้ นกั ท่องเที่ยวได้ เข้ ามาพักผ่อนอีกต่อไป


21


22 ภาพก่อสร้างเขื่อนกันคลืน่ หาดชลาทัศน์ บ้านเก้าเส้ง เดือนพฤศจิ กายน 2545 ภาพนี้ บริ เวณนี้จะไม่มีชายหาดแล้ว เนื่องจากเกิ ดความเสียหายจากการสร้างบ่อสูบน้าเสีย พ.ศ.2544

ชายหาดหายไปเกื อบตลอดทัง้ แนวที่มีการถมหิ น ไม่มีชายหาดให้นกั ท่องเทีย่ วลงเล่นน้าอีกแล้ว


23 จากทะเลที่มีหาดทรายสวยงาม เป็ นแหล่งท่องเที่ยวขนาดใหญ่ที่สาคัญ ต้ องพังทลายไปอย่างรวดเร็ว

ระยะทางประมาณ 4 กิโลเมตร

ใช้ งบประมาณกว่ า 500 ล้ านบาท เพื่ อ แก้ ปั ญหา แต่ ก ลั บ ท า ใ ห้ เ กิ ด ค ว า ม เสียหายรุนแรงขึ ้น


24 อาจารย์ ศักดิ์อนันต์ ปลาทอง นักวิชาการด้ านวิทยาศาสตร์ ทางทะเล มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

อาจารย์ศกั ดิ์อนันต์ ปลาทอง ได้ กล่าวเกี่ยวกับเรื่ องการศึกษาการกัดเซาะชายฝั่ งกรมทรัพยำกรทำงทะเล และชำยฝั่ ง เพื่อดูวำ่ เกิดจำกสำเหตุใด สถำนกำรณ์รุนแรงขนำดไหน โดยจำกกำรศึกษำพบว่ำ กำรกัดเซำะชำยฝั่ งมี สำเหตุที่สำคัญมำจำกกิจกรรมของมนุษย์ ทัง้ นีผ้ ลกำรศึกษำต่ำงๆ ล้ วนระบุตรงกันว่ำ กิจกรรมหรื อโครงสร้ ำงที่เป็ น จุดเริ่มต้ นของปั ญหำกำรกัดเซำะชำยฝั่ ง ได้ แก่ เขื่อนกันทรำยปำกร่ ้ องน ้ำ (jetty) รอดักทรำย (groin) กำแพงกันคลื่นริม ฝั่ งทะเล (sea wall) และโครงสร้ ำงต่ำงๆ ที่ใช้ ป้องกันกำรกัดเซำะชำยฝั่ ง ซึ่งสำเหตุทำงธรรมชำติเป็ นกำรเปลี่ยนแปลง ตำมปกติตำมฤดูกำล และกำรเปลี่ยนแปลงทำงธรรมชำติเ ป็ นกระบวนกำรที่ กลับคืนมำได้ หำกไม่ถูกรบกวนจำก กิจกรรมของมนุษย์


25 กรณีตวั อย่างโครงการสร้ างสร้ างเขื่อนกันร่ ้ องน ้าดักทราย ที่บริ เวณท่าเรือน ้าลึก จังหวัดสงขลา ทาให้ ตะกอน จากปากทะเลสาบถูกพัดหายออกไปจากทะเล ซึ่งตามธรรมชาติตะกอนเหล่านีจ้ ะถูกพัดสะสมไปที่ด้านบนบริ เวณ ชายหาดฝั่ งสิงหนคร

กรณี การสร้ างเขื่อนกัน้ ปากร่ องนา้ ที่ ป ำกคลองตันหยงเปำว์ จังหวัด ปั ตตานี ทาให้ ช ายหาดถูกกัดเซาะ แผ่นดินหายไป ในจุดที่ 1 คือเขื่อนกันปากร่ ้ องน ้า และจุดที่ 2 คือ พื ้นที่ชายหาดที่ถกู กัดเซาะหายไป


26

1 2

กรณีที่ น าทับ จังหวัด นครศรี ธรรมราช สร้ างเขื่อนกันคลื่นนอกฝั่ ง ท าให้ ช ายหาดถูก กัดเซาะเป็ นรู ปโค้ ง ต่อจากนันได้ ้ สร้ างกาแพงกันคลื่นเพิ่มเติม โดยปั จจุบนั ในทะเลจะถูกสร้ างในลักษณะนี ้ทังหมดตั ้ งแต่ ้ อาเภอหัวไทร ไป ตลอดทังหาด ้ แต่กาแพงที่สร้ างไว้ ถกู น ้าทะเลกัดเซาะจนพังเสียหายไปแล้ วเมื่อต้ นปี 2559 เมื่อไหร่ก็ตามที่มีโครงสร้ างหินดักคลื่นไว้ จะส่งผลต่อคลื่น โดยคลื่นจะเปลี่ยนแปลงคุณสมบัติ หมายความ ว่า เมื่อคลื่นมากระทบกับโครงสร้ างแข็ง ณ จุดไหน จุด ๆ นัน้ ก็จะกลายเป็ นจุดกาเนิดคลื่นใหม่ทันทีและจะเปลี่ยน ทิศทางของคลื่น ทาให้ บริเวณนันจะถู ้ กคลื่นกัดเซาะทันทีภายใน 1 เดือน และทาให้ เสียหายต่อเนื่องไปเรื่อย ๆ


27 ผลกระทบที่ถกู คลื่นกัดเซาะบริเวณที่สร้ างโครงสร้ างแข็ง

ภาพตัวอย่ างการทาให้ คลื่นกัดเซาะชายฝั่ ง ที่เกิดจากการสร้ างโครงสร้ างแข็งไปดักคลื่นไว้


28 ภาพเปรียบเทียบ 1 > 2 > 3 ที่ถกู กัดเซาะเข้ ามาเรื่อย ๆ จากแนวเขื่อนหินที่เป็ นตัวดักคลื่นน ้าทะเล แนวเขื่อนหิน

แนวเขื่อนหิน

แนวเขื่อนหิน

จากภาพแสดงให้ เห็นว่า พื ้นที่ที่มีโครงสร้ างแข็งดักคลื่นไว้ จะทาให้ ด้านข้ าง ๆ ถูกกัดเซาะเป็ นรูปเว้ าเข้ าไป และตรงที่เป็ นโครงสร้ างแข็งจะทาให้ เกิดแรงคลื่นที่แรงที่สดุ และสูงที่สดุ เช่น การสร้ างกาแพงคอนกรี ตในทะเล สร้ าง เขื่อนหิน วางกระสอบทราย ท่าเรือเล็ก ๆ เป็ นต้ น กรณีที่คลองวาฬ ซึ่งก่อนมีการโครงการ ได้ จาลองภาพของโครงการทาให้ ประชาชนชอบและอยากได้ และ แทบทุกครัง้ ที่มีโครงกำรก่อสร้ ำงเขื่อนกันคลื่น ทำงเดินริมทะเล สิ่งที่ชำวบ้ ำนมักได้ เห็น คือ ภำพกรำฟิ กสวยหรู ดูดีที่ชี ้ ชวนให้ ชำวบ้ ำนเพ้ อฝั นว่ำเรำจะมีชำยฝั่ งที่สวยงำม มีกำแพงคอนกรี ต มีบนั ไดเดินลงมำยังหำดทรำยที่สวยงำม แต่ควำมจริ ง หลังจำกทำโครงกำรเสร็จไปแล้ ว คือ เหลือแต่ กองหินระเกะระกะ ที่วำงไว้ เป็ นฐำนรำกเพื่อกันกำแพงพัง ขณะที่ทรำย หำยไปเพรำะถูกคลื่นที่ปะทะกำแพงสะท้ อนกลับพำทรำยออกไป


29 และที่อ่าวน้ อยก็กาลังจะเกิดโครงการภาพสวยหรูเ หมือนที่คลองวาฬ และอนาคตจะอ่าวน้ อยก็ตกอยู่ใ น สภาพเดียวกับคลองวาฬอย่างแน่นอน ภาพความฝั นที่อา่ วน้ อยนี ้ เป็ นภาพในลักษณะเดียวกัน กับสมัยที่ทาโครงการลักษณะนี ้ที่คลองวาฬ ภาพความจริ งที่ คลองวาฬในปั จจุ บั น ชายหาด กลายเป็ นโขดหิน เล่นนา้ ไม่ได้ ไม่มีสภาพเป็ นชายหาด ทะเลที่สวยงามเหมือนก่อน ภาพชายหาดที่อ่าวน้ อยที่มีความกว้ างและสวยงาม แต่ กาลังจะถูกโครงการก่อสร้ างในลักษณะเดียวกันที่คลอง วาฬ และอนาคตของอ่าวน้ อย จะกลายเป็ นปั จจุบันของ คลองวาฬหรื อไม่ ซึ่งแนวโน้ มอนาคตก็ไม่ต่างจะต่างกัน กับที่คลองวาฬ กราฟแสดง การกัดเซาะฝั่ งอ่ าวไทย ที่มีความสัมพันธ์ กับสาเหตุต่าง ๆ


30 ข้ อเสนอ เทคนิคการจัดการปั ญหาการกัดเซาะชายฝั่ ง

สิ่งก่ อสร้ าง กิจกรรม และโครงการเพื่อใช้ ประโยชน์ พืน้ ที่ทางทะเลและชายฝั่ ง ที่อาจส่ งผลกระทบ ต่ อชายฝั่ งที่ควรมีการควบคุมเป็ นพิเศษ เช่น กำรถมทะเล กำรทำเหมืองแร่ในทะเล ท่ำเทียบเรื อ เขื่อนกัน้ ปำก ร่องน ้ำ กำรสร้ ำงถนนเลียบชำยฝั่ งทะเล ซึ่งโครงการเหล่านี ้จะต้ องทา EIA ก่อน และที่ผ่านมาโครงการเหล่านีไ้ ม่ค่อย ได้ เกิดขึ ้นเพื่อมีความยากในการทาโครงการที่ต้องผ่าน EIA ส่วนโครงการที่ไม่ต้องทา EIA แต่ต้องขอกรมเจ้ าท่านัน้ เป็ นโครงการที่ท าได้ ง่าย มีผลกระทบน้ อย แต่บางโครงการก็สร้ างผลกระทบรุ นแรงได้ เช่น สร้ าง อำคำร รัว้ และ สิ่งก่อสร้ ำงริมทะเล (ที่ตงอยู ั ้ ่บนสันทรำย) กำรใช้ น ้ำบำดำลในพื ้นที่ริมทะเล กำรทำนำกุ้งริมทะเล กำรท่อดูดน ้ำทะเล และท่ออื่น ๆ กำรขุดทรำยชำยทะเล กำรขุดลอกร่องน ้ำ กิจกรรมที่สง่ ผลต่อกำรสูญเสียทรำยที่ลงมำเติมชำยฝั่ ง เช่น กำรสร้ ำงเขื่อน ประตูระบำยน ้ำ และ สิ่งล่วงล ้ำลำน ้ำอื่นๆ ที่อนุญำตตำมกฎหมำยว่ำด้ วยกำรเดินเรือ


31 การจัดการปั ญหาการกัดเซาะชายฝั่ งที่ส่งผลต่ อชายฝั่ ง การจัดการปั ญหาการกัดเซาะชายฝั่ ง มีรูปแบบต่าง ๆ เช่น การติดตามและเฝ้าระวัง โดยไม่ต้องดาเนินการ ป้องกันและแก้ ไข การกันเขตถอยร่นและฟื น้ ฟูสงั คมพืชชายหาดเพื่อเป็ นแนวกันชน การรื อ้ ถอนสิ่งปลูกสร้ างที่เป็ น สาเหตุของการกัดเซาะชายฝั่ ง การสร้ างเสถียรภาพทางชายฝั่ งโดยมาตรการแบบอ่อน เช่น การเสริ มทรายชายหาด กำรปลูกป่ ำชำยเลนและป่ ำชำยหำดเป็ นแนวกันลมตำมธรรมชำติ กำรปั กไม้ ไผ่ชะลอคลื่น เป็ นต้ น


32 นายอภิศักดิ์ ทัศนี อาสาสมัครสงขลาฟอรั่มและที่ปรึกษากลุ่ม Beach for life

ชำยหำดต่ำงๆทัว่ โลกล้ วนมีกำรเปลี่ยนแปลงไปตำมกระบวนกำรทำงธรรมชำติ ชำยหำดมีทรำยเป็ นอำหำร บำงปี อ้ วน บำงปี ผอม ในช่วงมรสุมคลื่นลมแรง ทรำยบนหำดจะถูกหอบออกสูท่ ะเลไปกองเป็ นสันดอนทรำยใต้ นำ้ แต่ ในช่วงคลื่นลมสงบ คลื่นจะพัดพำทรำยจำกสันดอนทรำยเข้ ำหำชำยฝั่ งอย่ำงช้ ำ ๆ จัดเรี ยงตัวเป็ นหำดทรำยที่งดงำม ด้ วยเหตุนีห้ ำดทรำยจึงปรับสมดุลตำมฤดูกำลหมุนเวียนอย่ำงนีไ้ ปเรื่ อย ๆ ตรำบเท่ำที่เรำไม่เข้ ำไปทำอะไรกับหำด ทรำย และทะเล


33 จากภาพจะเห็นว่าทะเลและหาดทรายย่อมรักษาตนเอง โดยในรูปที่ 1 ช่วงที่มีมรสุมเข้ ามาก ๆ จะทาให้ คลื่น ซัดชายหาดสูงขึ ้น และเมื่อพ้ นช่วงมรสุมแล้ ว ชายหาดก็กลับมาเหมือนเดิม และเป็ นอย่างนี ้หมุนเวียนไปเรื่อย ๆ แต่ถ้า มีการก่อสร้ างใด ๆ กันคลื่นที่ชายหาดก็จะทาให้ ชายหาดเสียหาดตลอดทังแนวได้ ้ โครงสร้ างที่ทาให้ ชายหาดพังเสียหายมีอยู่ 3 แบบ คือ เขื่อนกันทราย เขื่อนกันคลื่น และกาแพงกันคลื่น ซึ่ง ทัง้ 3 รูปแบบนี ้จะทาให้ บริเวณด้ านข้ างถูกกัดเซาะอย่างรวดเร็ว และทาให้ ตรงจุดโครงสร้ างถูกทาลาย หลังจากนั น้ ทา ให้ ชายหาดที่เคยสวยงามก็จะไม่มีลกั ษณะเป็ นชายหาดอีก และในปั จจุบันนีช้ ายหาดต่าง ๆ ของทะเลภาคใต้ จะมี โครงสร้ างแข็งทางวิศวกรรมจานวนมากที่จะทาให้ ชายหาดพังทลายเป็ นลูกโซ่และอาจจะสูญเสียพืน้ ที่หาดทรายของ ไทยทังหมด ้ กรณีชายหาดสมิหลา จังหวัดสงขลา เป็ นหาดที่ต่อเนื่ องกันกับหาดเก้ าเส้ ง หาดชลาทัศน์ หาดสมิหลา และหาดแหลมสนอ่อน ซึ่งมีค วามยาวรวมประมาณ 7.8 กิโลเมตร โดยหาดสมิห ลาเป็ นชายหาดหนึ่งที่เป็ นแหล่ง ท่องเที่ยว เป็ นที่พกั ผ่อนของคนสงขลา และเป็ นพื ้นที่ที่สร้ างความสุขให้ กบั คนในเมืองสงขลา แต่ในช่วงระยะเวลา 15 ปี ที่ผา่ นมา ตลอดชายหาดได้ พงั ทลายไป จากที่มีโครงสร้ างเกิดขึ ้นหลายอย่าง โดยเริ่ มแรกตังแต่ ้ สร้ างบ่อดักนา้ เสีย สร้ างเขื่อนดักทราย สร้ างกาแพงกันคลื่น วางแนวกระสอบทราย ตามลาดับ เพื่อแก้ ปัญหาแต่กลับทาให้ เกิดปั ญหา เพิ่มขึ ้นทาให้ พื ้นที่ชายหาดพังเสียหายไปมากกว่า 2 กิโลเมตร หลังจากที่ชายหาดพังทลาย จึงได้ ร่วมกันจัดกิจกรรมให้ กบั คนสงขลาเพื่อสร้ างความรู้ความเข้ าใจถึงสาเหตุ ที่ทาให้ ชายหาดพังเสียหาย โดยเริ่มจากกลุม่ ผู้ใหญ่ กลุม่ สงขลาฟอรั่ม เกิดเป็ นกลุม่ เครือข่าย SOS แล้ วก็กลุม่ เยาวชน ซึ่งกลุม่ เยาวชนได้ รวมตัวกันเป็ นกลุ่มพลเมืองเยาวชน 11 สถาบัน เพื่อติดตามความเปลี่ยนแปลงของชายหาด และหา ข้ อเสนอต่าง ๆ ต่อหน่วยงานราชการที่จะมีโครงการที่จะมาสร้ างในพื ้นที่ชายหาด และกิจกรรมการรับฟั งความคิดเห็น ของเยาวชนในจังหวัดสงขลาประมาณ 20,000 กว่าคน เพื่อนามายกร่างเป็ นกติกาเยาวชนสงขลาที่จะร่ว มกันดูแล ชายหาดสมิหลาแล้ วทา MOU กับเทศบาลนครสงขลาเพื่อให้ มีการรับรองธรรมนูญและยุติการสร้ างโครงสร้ างแข็ง ตลอดแนวชายหาด และยังร่วมกันทากิจกรรมอีกหลายอย่าง เช่น การคัดค้ านสิ่งปลูกสร้ างบนหาดทราย การติดตาม นโยบายของรัฐต่าง ๆ ที่จะเข้ ามาบนพื ้นที่ชายหาด

เม.ย.58

ก.พ.59

เม.ย.59


34 ผลกำรติดตำมสภำพหำดสมิหลำตังแต่ ้ เม.ย. 58 เป็ นต้ นมำ พบว่ำ เมื่อเข้ ำสู่ฤดูมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ ในช่วงประมำณเดือนพฤศจิกำยน 2558 ถึง กุมภำพันธ์ 2559 ต่อมำมีควำมกดอำกำศสูงกำลังแรงจำกประเทศจีนแผ่ ลงมำที่ประเทศไทย ส่งผลให้ ทะเลภำคใต้ ฝั่งอ่ำวไทยระดับนำ้ ยกตัวสูงขึ ้นและมีคลื่นสูง ซึ่งเหตุกำรณ์นีเ้ กิดขึ ้นสอง ช่วงเวลำ 25-26 ม.ค. 59 และ 7-8 ก.พ. 59 ทำให้ หำดมีกำรกัดเซำะ ในตำแหน่ง B1 และ B2 และเมื่อช่วงผ่ำนพ้ นช่วง มรสุมไปชำยหำดกลับเข้ ำสูส่ ภำพปกติมีกำรเปลี่ยนแปลงไม่แตกต่ำงไปจำกเดิม ชำยหำดบริเวณ B1 และ B2 ซึ่งเป็ นชำยหำดที่ไม่มีโครงสร้ ำงแข็งอยู่บนพืน้ ที่ชำยหำด มีกำรเปลี่ยนแปลง ตำมธรรมชำติ กัดเซำะในช่วงมรสุมและฟื น้ ฟูสภำพดังเดิม และในช่วงคลื่นสมสงบ เหตุกำรณ์มรสุมกำลังแรงกว่ำปกติ ในช่วง 25-26 มกรำคม และ 7-8 กุมภำพันธ์ 2559 มิได้ ทำให้ ชำยหำดกัดเซำะไม่มำกกว่ำช่ว งมรสุมปกติ และถึงแม้ จะมีมรสุมกำลังแรงหำดทรำยก็มีกำรปรับตัว ฟื น้ ฟูตนเองตำมธรรมชำติ ปั ญหำที่ได้ เกิดขึ ้นอีกโดยกำรแก้ ปัญหำของจังหวัด โดยได้ ทำโครงกำรป้องกันกำรกัดเซำะชำยฝั่ งหำดสมิ หลำ-ชลำทัศน์ ได้ ดำเนินกำรถมทรำยบริเวณริมหำดชลำทัศน์ ระยะทำงประมำณ 600 เมตร (ตังแต่ ้ บริ เวณปลำยรอ ดักทรำย ถึง หน้ ำสนำมยิงปื น) โดยดูดทรำยในทะเล ร่วมกับกำรนำทรำยมำจำกแหลมสนอ่อน และสร้ ำงแท่งคอนกรีต เป็ นแนวตังฝั ้ ่ งตังฉำกกั ้ บชำยหำดวำงเป็ นแนวยำวประมำณ 1 กิโลเมตร โดยอ้ ำงว่ำเป็ นโครงกำรป้องกันภัยพิบัติ เป็ น สถำนกำรณ์ฉกุ เฉิน ต่อมำในเดือนตุลำคม 2558 เริ่มมีโครงกำรป้องกันกำรกัดเซำะชำยฝั่ งหำดสมิหลำ-ชลำทัศน์ ทำให้ ชำยหำด มีควำมกว้ ำงเพิ่มขึ ้น ประมำณ 32 เมตร 50 เมตร และ 20 เมตร ตำมลำดับ เนื่องจำกมีกำรถมทรำยหน้ ำหำด แต่ใน เดือนพฤศจิกำยน 2558 ซึ่งเข้ ำสู่ช่วงมรสุม และมีมรสุมกำลังแรง 2 ช่วง คือ 25-26 ม.ค 59 และ 7-8 ก.พ 59 ทำให้ ตำแหน่งชายหาดที่ถมทรายมีกำรกัดเซำะ 12 - 54 เมตร หำดทรำยที่ถกู ถมทรำยไว้ นนกลั ั ้ บเข้ ำสู่สภำพเดิมก่อนมีกำร เดิมทรำย อันเป็ นอิทธิพลจำกรอดักทรำย


35 กำรติดตำมสภำพหำดสมิหลำทัง้ ระบบ สำมำรถสรุป ผลได้ ว่ำ กำรแก้ ไขปั ญ หำกำรกัดเซำะชำยฝั่ ง ด้ วย วิธีกำรถมทรำยในตำแหน่งทิศเหนือรอดักทรำย ซึ่งเป็ นตำแหน่งที่มีกำรกัดเซำะชำยฝั่ งรุนแรงที่สดุ ไม่สำมำรถแก้ ไข ปั ญหำกำรกัดเซำะชำยฝั่ งได้ เนื่องจำกอิทธิพลของรอดักทรำยที่ขดั ขวำงกำรเคลื่อนตัวของตะกอนทรำย และประกอบ กับกำรดำเนินงำนที่ ไม่ถูกหลักวิชำกำร กำรถมทรำยครัง้ นี ้ จึงไม่มีประสิทธิภำพ และได้ ร่วมกันต่อสู้ในการคัดค้ าน จนถึงขันไม่ ้ ให้ มีการวางแท่งคอนกรีตและหยุดการถมทราย ข้ อเสนอแนะ  ยุติกำรแทรกแซงกลไกธรรมชำติของหำดทรำย ด้ วยโครงสร้ ำงแข็งทุกรูปแบบ หำกจะมีกำรดำเนินกำรจริ งๆ ควรปรึกษำหำรืออย่ำงพินิจไตรตรอง  กำหนดแนวถอยร่อน และกำรใช้ ประโยชน์พื ้นที่ชำยหำด  กำรเสริมสร้ ำงควำมรู้ควำมเข้ ำใจแก่ประชำชน และสร้ ำงกระบวนกำรมีสว่ นร่วมในกำรบริหำรจัดกำรชำยหำด  สร้ ำงอำสำสมัครเฝ้ำระวังติดตำม ตรวจสอบสภำพชำยหำดอย่ำงต่อเนื่อง  กำหนดมำตรกำรฟื น้ ฟูดแู ลชำยหำดที่เกิดจำกกำรมีสว่ นร่วมของประชำชนอย่ำงแท้ จริ ง และเป็ นไปตำมหลัก วิชำกำร  ใช้ พรบ.ทช, ปี 2558 ในช่วงสุดท้ าย นายอภิศกั ดิ์ ทัศนี ตัวแทนจากอำสำสมัครสงขลำฟอรั่มและที่ปรึกษำกลุ่ม Beach for life ได้ ให้ ข้อคิดว่า “ ไม่วำ่ จะฟื น้ ฟูหำดด้ วยวิธีกำรหรือมำตรกำรใด ๆ ต้ องเคำรพในกฎของทะเลและหำดทรำย และมำตรกำร นันประชำชนในพื ้ ้นที่ต้องมีสว่ นร่วมในกำรตัดสินใจทุกขันตอน ้ และ คลื่นไม่เคยหยุดทำหน้ ำที่นำทรำยชำยฝั่ งไปหล่อ เลี ้ยงหำดทรำยให้ สมบูรณ์กำรรบกวนสมดุลพลวัตนี ้ล้ วนเป็ นกำรฝื นกฎธรรมชำติแห่งหำดทรำย “


36 นายวิษณุ เข่ งสมุทร กรณีศกึ ษาพืน้ ที่ป้องกันการกัดเซาะชายฝั่ ง บ้ านขุนสมุทรจีน เครือข่ ายรักษ์ อ่าวไทยตอนบน

บ้ านขุนสมุทรจีน เป็ นชุมชนที่อยู่ติดชายฝั่ งทะเล จังหวัดสมุทรปราการ เป็ นพืน้ ที่ที่ถูกนา้ ทะเลกัดเซาะมาก ที่สดุ พืน้ ที่ หนึ่ง และเมื่อ 5 ปี ที่ผ่านมา ได้ มีนักวิชาการต่าง ๆ เข้ าไปศึกษาเรี ยนรู้ ทาวิจัย มาก แต่กการแก้ ปัญหายัง เป็ นไปอย่างช้ า ๆ ชุมชนจึงได้ ลกุ ขึ ้นมาเพื่อแก้ ไขปั ญหากันเอง โดยใช้ ภมู ิปัญหา องค์ความรู้ของชาวบ้ าน และได้ รวมตัวกันเอง ภายในชุมชน พัฒนาจนกลายเป็ นกลุ่มตาบล กลุ่มจังหวัด และกลุ่มเครื อข่ายรักษ์ อ่าวไทยตอนบน 6 จังหวัด เพื่ อ ทางานร่วมกัน ตามลาดับ พื ้นที่บ้านขุนสมุทรจีน เป็ นพื ้นที่ที่มีภมู ิศาสตร์ แตกต่างจากทะเลทั่วไปที่มีชายหาดเป็ นแนวป้องกันการกัด เซาะ และในพื ้นที่ขนุ สมุทรจีนเป็ นหาดเลน จะมีป่าชายเลนเป็ นแนวป้องกันการกัดเซาะ วิธีการป้องกันการกัดเซาะก็ จะต้ องแตกต่างกันด้ วย โดยเริ่ มแรกได้ ร่วมกันใช้ ไม้ ไผ่ปักเป็ นแนวรัว้ เพื่อลดแรงกระทบของคลื่น แต่วิธีนีไ้ ม่สามารถ ป้องกันการกัดเซาะจากคลื่นรุนแรงขนาดใหญ่ได้ ต่อมาได้ พฒ ั นาการป้องกันโดยการปลูกป่ าชายเลน การสร้ างเขื่อน ไม้ ไผ่ ทาให้ ลดการกัดเซาะได้ ต่อมาได้ มีหน่วยงานเข้ ามาช่วยสนับ สนุน และเป็ นกิ จ กรรมแรกที่คนในชุมชนแก้ ปั ญ หาร่วมกัน กับ คน ภายนอก เช่น การปลูกป่ าชายเลนที่เริ่มต้ นจากคนในชุมชนร่วมกัน ต่อมามีสถาบันการศึกษา ห้ างร้ านต่าง ๆ มาช่วย


37 สนับสนุนและมาร่วมปลูกป่ าชายเลนกับคนในชุมชน ซึ่งบริเวณการปลูกป่ าชายเลนจากที่เคยปลูกบริเวณที่ถกู น ้าทะเล กัดเซาะ ได้ พัฒนามาปลูกแนวป่ าชายเลนยื่นลงไปในทะเลเพื่อให้ เกิดแผ่ นดินขึ ้น เพื่อให้ ได้ พืน้ ที่ชายฝั่ งกลับคืนมา ปั จจุบนั ได้ พื ้นที่คืนมาหลายสิบไร่ เฉพาะพื ้นที่ถกู กัดเซาะ

ต่ อมามีหน่ วยงาน ห้ างร้ าน สถาบันการศึกษา ได้ มาร่ วมกันปลูกป่ าชายเลนเพิ่มขึน้


38


39

เขื่อนไม้ ไผ่ ชะลอคลื่น และเขื่อนซองไม้ ไผ่ ใส่ หนิ


40 เขื่อนไม้ ไผ่ ส่วนใหญ่จะทาในพื ้นที่ที่มีคลื่นอ่อน ไม่รุนแรงมาก ปั จจุบนั จะสร้ างในพื ้นที่บางขุนเทียน สุมทรสง คราม สมุทรสาคร สมุทรปราการ และเพชรบุรีบางส่วน เขื่อนเสาคอนกรีต เขื่อนเสาไฟฟ้า เขื่อนเสาเข็ม ที่ไม่ได้ ใช้ งานแล้ ว นามาทาเป็ นแนวป้องกันที่บ้านขุนสมุทร จีน และที่นิยมมากในพื ้นที่ที่มีการกัดเซาะรุนแรง คือ เขื่อนหินทิ ้งแบบเรียง ไม่ต้องฉาบปูน มีที่บางปู คลองด่าน ส่วน ในพื ้นที่แหลมฟ้าผ่ามีคอ่ นข้ างน้ อยเนื่องจากท้ องถิ่นมีงบประมาณน้ อย การสร้ างเขื่อนไม่ไผ่แบบเป็ นซองใส่หิน เป็ นแนวคิดแบบผสมผสานระหว่างเขื่อนไม้ ไผ่กับเขื่อนหิน โดยเดิม เขื่อนไม้ ไผ่ไม่สามารถกันคลื่นได้ 100% ทาให้ มีแรงคลื่นไปกระทบกับแนวชายฝั่ งแล้ วทาให้ กัดเซาะ ทาให้ ต้นไม้ ล้ม ตายจานวนมาก จึงได้ ร่วมกันคิดค้ นหาวิธีสร้ างเขื่อนที่มีประสิทธิภาพมากขึ ้นจากความรู้ที่มีอยู่ ซึ่งเป็ นจังหวะที่ทาง บริษัทมิตซูบิชิ ประเทศญี่ ปนุ่ มาในพื ้นที่และได้ ให้ ชาวบ้ านทาโครงการเสนอของบสนับสนุน จึงได้ เสนอโครงการสร้ าง เขื่อนแบบซองใส่หิน งบประมาณ 1 ล้ านบาท ทางบริษัทมิตซูบิชิได้ อนุมตั ิสนับสนุนงบประมาณให้ โดยรูปแบบจะใช้ ไม้ ไผ่ขนาดเล็กไม่สงู มากทาเป็ นแนวโดยเว้ นช่องว่างประมาณ 1 – 1.5 เมตร เพื่อใส่หิน โดยวัตถุประสงค์หลักของการ สร้ างเขื่อนนี ้เพื่อดักตะกอน มากกว่าการกัดคลื่น เนื่องจากทาในระดับไม่สงู มาก มีคลื่นบางส่วนสามารถข้ ามเขื่อนไป ได้ ซึ่งช่วงที่สร้ างเขื่อนเป็ นช่วงมรสุม และมีข้อดีที่เป็ นช่วงที่มีคลื่นพัดพาตะกอนดินเข้ าสูช่ ายฝั่ งมากกว่าช่วงอื่น ๆ ผลที่ เ กิ ด ขึ ้นในช่วงระหว่างก่อสร้ างเขื่อนประมาณ 3 เดือน ท าให้ มีตะกอนเพิ่ มขึน้ ที่เ ขื่อนมากขึน้ และ หลังจากสร้ างเขื่อนเสร็จแล้ ว 1 ปี มีตะกอนเพิ่มขึ ้นสูงกว่า 1 เมตรจากพื ้นทะเล ชาวบ้ านจึงได้ ร่วมกันปลูกป่ าชายเลน เพิ่มขึ ้นในบริเวณนัน้

ป่ าชายเลนที่ชาวบ้ านช่ วยกันปลูกบริ เวณหลังเขื่อน ที่มีตะกอนดินเพิ่มสูงขึน้ หลังจากสร้ างเขื่อน 1 ปี ปั จจุบันชาวบ้ านได้ สร้ างแนวเขื่อนนี ไ้ ปอีกจุดหนึ่ง เพื่อสร้ างตะกอนดินในการปลูกป่ าชายเลนเพิ่มเติม รวมระยะเวลา 300 กว่ าเมตร แต่ ความยาวของพืน้ ที่บริ เวณนี ป้ ระมาณ 1,000 เมตร จึงได้ เขียนโครงการเสนอไปยังหน่ วยงานต่ าง ๆ บริ ษัทเอกชนต่ าง ๆ เพื่อที่จะทาให้ ได้ เต็มพืน้ ที่


41 รูปแบบเขื่อนต่ าง ๆ ที่ใช้ ในพืน้ ที่หาดโคลนบริเวณอ่าวตัวกอ

ข้ อเสนอ ให้ หน่วยงานที่เกี่ยวข้ องบูรณาการร่วมกันในการแก้ ไขปัญหาทังวิ ้ ธีการที่มพี ฒ ั นาการใหม่ ๆ หรืองบประมาณ โดยนา ข้ อดีแต่ละอย่างของหลาย ๆ หน่วยงานมาร่วมกันและช่วยกันแก้ ปัญหาให้ สมั ฤทธิ์ผล คือปั ญหาการกัดเซาะชายฝั่ ง ปั ญหาเดียว นางพิชยา แก้ วขาว ผู้ดาเนินรายการ ได้ สรุปถึงข้ อเสนอของวิทยากรทัง้ 4 ท่านว่า ข้ อเสนอจะเป็ นในแบบ คล้ าย ๆ กัน แต่ปัญหาคือยังไม่มีหน่วยงานไหนน าไปปรับใช้ ซึ่งเป็ นประเด็นในวันนี ท้ ี่เราทุกคนจะมาร่วมกันหา ข้ อเสนอ ว่าทาอย่างไรให้ ความรู้และประสบการณ์เหล่านี ้ถูกนาไปใช้ จริง ทาอย่างไรให้ หน่วยงานรัฐที่เ กี่ยวข้ องได้ เข้ า มาร่วมเรียนรู้ในพื ้นที่แล้ วก็เปลี่ยนวิธีการในการแก้ ปัญหาการกัดเซาะ


42 ระดมความคิดเห็นเพื่อเป็ นข้ อเสนอทางวิชาการและแผนปฏิบัตกิ าร การจัดการปั ญหากัดเซาะชายฝั่ ง และกลไกการจัดการปั ญหา การกัดเซาะชายฝั่ งแบบมีส่วนร่ วม นำงพิชยำ แก้ วขำว ผู้ดำเนินรำยกำรได้ สรุปเปิ ดประเด็นก่อนกำรระดมควำมเห็นว่ำ ทุกอย่ำงเป็ นธรรมชำติที่ สร้ ำงมำอย่ ำงที่เรำเห็นกันและเป็ นอย่ ำงนี ม้ ำนำนแล้ ว แต่ท ำไมที่ห น่วยงำนรำชกำรไม่สำมำรถที่จ ะออกแบบกำร แก้ ปัญหำไปตำมควำมจริงได้ หรือมีข้อจำกัดอะไรที่ไม่สำมำรถทำตำมงำนวิ ชำกำรที่ได้ ศึกษำไว้ ในขณะนัน้ เพรำะเรำ เห็นว่ำแผนของโครงกำรที่เกี่ยวกับกำรทำผนังหินกันคลื่นยังมีอย่ำงต่อเนื่อง กำรเปิ ดประเด็นนี ้เพื่อที่จะมำร่วมกันแลกเปลี่ยนว่ำเรำจะมีแนวทำงกันอย่ำงไรที่ทกุ ภำคส่วนในประเทศไทย เดินไปสูก่ ำรแก้ ไขปั ญหำได้ ถกู ทำงด้ วยพลังของคนทังชำติ ้ คือ พลังประชำชน/ชุมชน พลังข้ ำรำชกำร พลังวิชำกำร โดย ใช้ องค์ควำมรู้ที่มีอยู่มำกมำยในกำรแก้ ปัญหำ


กระบวนการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ข้ อเสนอทางวิชาการและแผนปฏิบัติการ การจัดการปั ญหากัดเซาะชายฝั่ ง

43

ข้ อเสนอ – ข้ อคิดเห็น

เหตุผล – สถานการณ์

1. ต้ องมีกำรนำควำมรู้เหล่ำนี ้ไป ให้ กบั ชำวบ้ ำนได้เข้ ำใจถึง ธรรมชำติและกำรแก้ ปัญหำที่ ไม่ถกู ต้ องจะสร้ ำงควำม เสียหำยรุนแรงได้ ในอนำคต 2. เพื่ อ ให้ เกิ ด กำรแก้ ปั ญหำที่ ยั่งยื น ทุกภำคส่วนจะต้ องมี พูดคุย ร่ วมกัน ทัง้ หมด โดย ก ร ม ท ช . มี แ ผ น ก ำ ร ดำเนินงำนในพื ้นที่อ่ำวตัวกอ ในปี 2561 – 2562 และ ด ำ เ นิ น ง ำ น ต ำ ม แ ผ น ใ ห้ สอดคล้ อง มำตรำ 21 ของ กรม ทช. 3. ให้ มีงำนวิจยั เรื่องกำรกัดเซำะ ชำยฝั่ ง เพื่อสังเครำะห์ให้ เห็น ผลกำรแก้ ปัญหำกำรกัดเซำะ ทั ง้ ปั จจุ บั น และอนำคตให้

กรณีของหำดชลำทัศน์ โดยเริ่มจำกที่มหี มูบ่ ้ ำนประมงชื่อหมูบ่ ้ ำนเก้ ำเส้ งอยู่ริมเขำ ต่อมำเทศบำลมำสร้ ำงบ่อสูบน ้ำเสียบริเวณชุมชน หลังจำกนันท ้ ำให้ ชำยหำดเกิดควำมเสียหำยเกิดขึ ้น เทศบำลจึงแก้ ปัญหำโดยกำรสร้ ำงเขื่อนหิน แต่กลับทำให้ เกิดปัญหำเพิ่มขึ ้น แต่ ชำวบ้ ำนกลับสนับสนุนให้ สร้ ำงโดยกำรรู้เท่ำไม่ถึงกำรณ์วำ่ จะเกิดปั ญหำขึ ้น เนื่องจำกชุมชนเก้ ำเส้ งเป็ นชุมชนแล็ก ๆ ที่มีประชำกรเพิ่มมำก ขึ ้นเรื่อย ๆ มีควำมต้ องกำรที่อยู่อำศัยเพิ่มขึ ้น จึงกลำยเป็ นช่องทำงให้ นกั กำรเมืองเข้ ำมำหำเสียง ทำให้ ปัญหำของหำดชลำทัศน์เกิดปั ญ หำ จำกควำมต้ องกำรที่อยู่อำศัยของชำวบ้ ำนและควำมต้ องกำรได้ คะแนนเสียงของนักกำรเมือง ที่ปัจจุบนั นี ้ก็ยงั ไม่สำมำรถแก้ ปัญหำได้ กรม ทช.ได้ เข้ ำมำมีสว่ นในกำรแก้ ปัญหำชำยฝั่ งนัน้ เนื่องจำกมีมติคณะรัฐมนตรี (ครม.) พ.ศ.2550 ให้ เป็ นหน่วยงำนหลักในกำรประสำน เรื่องสิ่งแวดล้ อมชำยฝั่ ง และได้ ทำแผนศึกษำชำยฝั่ งรอบอ่ำวไทยและกำหนดพื ้นที่เร่งด่วน แต่ในแผนจะเป็ นกำรแก้ ปัญหำที่ปลำยเหตุ ทังหมด ้ โดยที่มีหน่วยงำนที่เกี่ยวข้ องในกำรรับผิดชอบอยูป่ ระมำณ 3 หน่วยงำน แต่ยงั ไม่ได้ บรู ณำกำรร่วมกัน ทำง ทช.จึงได้ตงั ้ คณะทำงำนบูรณำกำรงบประมำรร่วมกันขึ ้นเพื่อลดควำมซ ้ำซ้ อนของงบประมำณ และได้ ดำเนินกำรมำตังแต่ ้ พ.ศ.2554 – 2559 โดยได้ วำงแนวทำงกำรแก้ ปัญหำเป็ นระบบหำดเพื่อให้ ครบวงจร โดยจะไม่แก้ ปัญหำเฉพำะที่ เช่น อ่ำวไทย อ่ำวตัว กอ.ก็ถือว่ำเป็ น 1 อ่ำว โดย ศึกษำข้ อมูลด้ ำนกำยภำพของพื ้นที่ , สำเหตุกำรเกิดปัญหำ และโครงกำรของหน่วยงำนที่แก้ ปัญหำ ซึง่ ส่วนใหญ่จะเป็ นโครงสร้ ำงแข็ง

มีกลไกระดับชำติ มี 31 คน โดยมีนำยกรัฐมนตรี เป็ นประธำน และรัฐมนตรีกระทรวงทรัพยำกรฯ เป็ นรองประธำน และกลไกระดับจังหวัด 24 จังหวัด โดยผู้วำ่ รำชกำรจังหวัดเป็ นประธำนและมีหน่วยงำนต่ำง ๆ ที่เกี่ยวข้ องในพืน้ ที่เป็ นกรรมกำร กำรดำเนินงำนโดยจะส่งข้ อมูล ทังหมดมำที ้ ่กลไกระดับชำติเพื่อที่จะเสนอต่อระดับ ครม. เพื่อกำหนดกลับมำเป็ นนโยบำยได้ โดยแต่ละจังหวัดจะทำแผนนโยบำยของ จังหวัด ในกำรแก้ ปัญหำกำรกัดเซำะที่ถกู ต้ องร่วมกัน


44 ข้ อเสนอ – ข้ อคิดเห็น ชัดเจน 4. ให้ มี ก ำรศึ ก ษำหรื อระงั บ โ ค ร ง ก ำ ร ก่ อ ส ร้ ำ ง ที่ ใ ช้ โครงสร้ ำงแข็ง เพื่ อ กั น คลื่ น โดยใช้ มำตรำ 21 ของกรม ทช. คื อ ให้ รั ฐ มนตรี อ อก กฎกระทรวงโดยผ่ำ นควำม เห็น ชอบของคณะกรรมกำร ระดับชำติ 5. ให้ มีกำรศึกษำวิจัย กำรปลูก ต้ นโกงกำงให้ เป็ นป่ ำชำยเลน ที่ยังประสบปั ญหำถูกเพรี ย ง ทะเลดูด กิ น น ำ้ เลี ย้ งของต้ น โกงกำง 6. เรื่ องโฉนดที่ ต กนำ้ ไปแล้ วว่ำ จะท ำอย่ ำ งไรให้ พื น้ ที่ นั น้ ก ล ำ ย เ ป็ น ที่ ส ำ ธ ำ ร ณ ะ

เหตุผล – สถานการณ์ โครงกำรก่อสร้ ำงโดยใช้ โครงสร้ ำงแข็งเพื่อกันคลื่นนัน้ ในปัจจุบนั ยังมีกำรดำเนินงำนอยู่ ซึ่งจำกกำรศึกษำของนักวิชำกำรได้ แสดงให้ เห็น แล้ วว่ำกำรใช้ โครงสร้ ำงแข็งกันคลื่นจะทำให้ ชำยหำดด้ ำนข้ ำงจะถูกกัดเซำะเสียหำยมำกขึ ้น

กรณีคณะกรรมกำรจังหวัดสมุทรสำคร มี 8 คน ส่วนใหญ่จะประชุมเรื่องกำรกัดเซำะชำยฝั่ ง ได้ มีข้อมูลมำแลกเปลี่ยนกันเพื่อหำแนว ทำงแก้ ไข เช่น กำรปั กไม้ ไผ่ ที่ทำให้ เห็นผลไปในทำงที่ดีขึ ้น แต่ในบำงพื ้นที่มีบริบทที่แตกต่ำงกัน กำรแก้ ปัญหำกำรกัดเซำะจะมีรูปแบบ แตกต่ำงกัน เช่น กำรปั กไม้ ไผ่ กำรถมหินทิ ้ง เป็ นต้ น เพื่อจะได้ ปลูกป่ ำชำยเลนให้ เป็ นแนวป้องกันคลื่นตำมธรรมชำติอย่ำงถำวรต่อไป เช่น พื ้นที่ที่ปักเขื่อนไม้ ไผ่ เมื่อมีตะกอนดินเกิดขึ ้นก็จะมำร่วมกันปลูกป่ ำชำยเลนทันที มีหลำยพื ้นที่ที่สร้ ำงแนวกันคลืน่ ตำมภูมิปัญหำของชำวบ้ ำน แล้ วทำให้ เกิดตะกอนดินขึ ้น ชำวบ้ ำนจึงได้ปลูกป่ ำชำยเลนเพื่อให้ เป็ นพื ้นที่ สำธำรณะ เป็ นที่เพำะพันธุ์สตั ว์น ้ำ และเป็ นแนวกันคลื่นตำมธรรมชำติตอ่ ไป แต่มีเอกชนที่มำอ้ ำงสิทธิ์ในพื ้นที่ที่ตกน ้ำไปแล้ ว บำงส่วน กลำยเป็ นทะเลแล้ ว บำงส่วนกลำยเป็ นทะเลแล้ วแต่เกิดตะกอนดินขึ ้นใหม่ แล้ วทำให้ มคี ดีควำมเกิดขึ ้น หรือบำงพื ้นที่มีประกำศให้ ใช้ พื ้นที่


45 ข้ อเสนอ – ข้ อคิดเห็น เนื่ องจำกไม่ มี ส ภำพเป็ น แผ่ น ดิ น แล้ ว เช่ น ยกเลิ ก โฉนดในส่วนที่ตกน ้ำ 7. ใ ห้ ค ณ ะ ก ร ร ม ก ำ ร แ ต่ ล ะ จังหวัดมีเ ลขำเอง เพรำะแต่ ละพื ้นที่มีสถำนกำรณ์ปัญหำ ไม่เ หมื อ นกัน ควำมรู้ ควำม เข้ ำใจต่อสถำนกำรณ์ต่ำงกัน และช่ ว ยลดปั ญหำควำม ผิ ด พลำดในกำรท ำงำนได้ เช่ น กำ รบ รร จุ ว ำร ะก ำ ร ประชุมแต่ละครัง้ 8. ให้ มีกำรทำบันทึกกำรประชุม ทุ ก ค รั ้ ง แ ล ะ ใ ห้ มี คณะกรรมกำรหรื อตัวแทนที่ สำมำรถตั ด สิ น ใจในกำร ประชุมได้

เหตุผล – สถานการณ์ ทัง้ ๆ ที่ได้ กลำยเป็ นทะเลไปแล้ ว

กรณีคณะกรรมกำรจังหวัดสมุทรสำคร มีปัญหำในกำรประชุมไม่สำมำรถที่จะเสนอวำระกำรประชุมเข้ ำที่ประชุมได้ เนื่องจำกขีดจำกัดกำร ทำงำนของเจ้ ำหน้ ำที่ ทช. เนื่องจำก เลขำในที่ประชุมของคณะกรรมกำรระดับจังหวัดทุกจังหวัด มีเลขำคนเดียวกัน จึงทำให้ กำรทำงำนไม่ ทันต่อสถำนกำรณ์

กรณีคณะกรรมกำรจังหวัดสมุทรปรำกำร ได้ ประชุมร่วมกัน 2 ครัง้ ส่วนใหญ่หน่วยงำนจะส่งตัวแทนมำ ทำให้ ไม่สำมำรถให้ ควำมชัดเจนใน กำรแก้ ปัญหำได้ เมื่อมีกำรนำเสนอข้ อมูลจำกพื ้นที่ และไม่มีบนั ทึกกำรประชุม ตัวแทนจำก ทช.ได้ให้ ข้อมูลเพิ่มเติมว่ำ กำรประชุมแต่ละครัง้ จะต้ องมีวำระกำรประชุม และเลขำส่วนใหญ่จะเป็ นเจ้ ำหน้ ำที่ระดับเขตพื ้นที่ ของกรม ทช. ซึ่งจะเป็ นผู้สรุปกำรประชุม หำกมีประเด็นไหนที่ยงั ต้ องคุยต่อเนื่อง ก็สำมำรถให้ ผ้ รู ับผิดชอบเรื่องนัน้ ๆ มำรำยงำนต่อในกำร


46 ข้ อเสนอ – ข้ อคิดเห็น

เหตุผล – สถานการณ์ ประชุมครัง้ ต่อไปได้ และตำมกฎหมำยของคณะกรรมกำรระดับจังหวัด คือ 1.ต้ องทำรำยงำนสถำนกำรณ์ประจำปี ทุกปี 2.ต้ องมีนโยบำย และแผนของจังหวัดและต้ องปรับปรุงทุก ๆ 3 ปี และหำกในพื ้นที่มปี ั ญหำอะไรก็สำมำรถรำยงำนข้ อมูลสถำนกำรณ์ของพื ้นที่ใน คณะกรรมกำรระดับจังหวัดได้ ผู้ทรงคุณวุฒิคณะกรรมกำรจังหวัดสมุทรปรำกำร ได้ เสนอว่ำ ขณะนีก้ ลุ่มเครื อข่ำยชำวบ้ ำนได้ รวบรวมข้ อมูลทุกพืน้ ที่ที่ถูกกัดเซำะของ จังหวัดสมุทรปรำกำร แล้ วนำมำคุยกันในเครื อข่ำยว่ำจะดำเนินงำนแก้ ปัญหำอะไรต่อไป จึงอยำกให้ มีผ้ ทู ี่สำมำรถตัดสิน ใจได้ เข้ ำร่วม ประชุมและมีกำรบันทึกกำรประชุม

ให้ กรม ทช.ช่ว ยกระตุ้น ให้ มีก ำร กรณีคณะกรรมกำรกรุงเทพฯ ได้ ประชุมร่วมกัน 1 ครัง้ ส่วนใหญ่หน่วยงำนจะส่งตัวแทนมำ ทำให้ ไม่สำมำรถให้ ควำมชัดเจนในกำร ประชุมอย่ำงต่อเนื่อง แก้ ปัญหำได้เมื่อมีกำรนำเสนอข้ อมูลจำกพื ้นที่ และในที่ประชุมได้ ให้ ฝ่ำยชำวบ้ ำนรวบรวมสถำนกำรณ์เพื่อมำนำเสนอในกำรประชุมครัง้ ต่อไป แต่ยงั ไม่มีกำรประชุมอีกเลยนำนแล้ ว 9. ไม่สร้ ำงโครงสร้ ำงแข็งและ นำงพิชยำ แก้ วขำว ได้ ตงประเด็ ั้ นเพิ่มเติมว่ำ ในกำรสร้ ำงโครงสร้ ำงแข็งเพื่อกันคลื่นนัน้ ถึงแม้จะลดผลกระทบที่จดุ นันได้ ้ แต่ก็จะไปกระทบ กำรรือ้ โครงสร้ ำงแข็งออก กับจุดอื่น ๆ ฉะนันถ้ ้ ำเรำจะไม่ทำอะไรเลยในกำรป้องกันคลื่นที่ชำยหำด ที่กำรศึกษำของนักวิชำกำรที่มีควำมเชี่ยวชำญได้ มีแนวคิดว่ำ กำร เพื่อลดปั ญหำกำรกัดเซำะ ไม่สร้ ำงโครงสร้ ำงแข็งและกำรรือ้ โครงสร้ ำงแข็งออก จะทำให้ ลดปัญหำกำรกัดเซำะได้ แล้ วให้ ธรรมชำติสร้ ำงชำยหำดกลับมำใหม่ จะ แล้ วให้ ธรรมชำติสร้ ำง สำมำรถทำได้ หรือไม่ ชำยหำดกลับมำใหม่ ผู้แทนจำกกรมเจ้ ำท่ำ เสนอว่ำ งำนที่กรมเจ้ ำท่ำทำจะทำตำมจำกข้ อมูลที่ได้ มีกำรศึกษำ เช่น กำรใช้ หินเป็ นโครงสร้ ำงกันคลืน่ เพรำะเป็ น วัสดุที่หำง่ำยในพื ้นที่ แล้ วยังช่วยลดงบประมำณ ซ่อมแซมง่ำย เป็ นต้ น


47 ข้ อเสนอ – ข้ อคิดเห็น

เหตุผล – สถานการณ์

10. ให้ มีกำรศึกษำผลกระทบที่ เกิดจำกโครงกำรของรัฐ และ มีหลำยฝ่ ำยมำแสดงควำม คิดเห็นร่วมกันก่อนจะ ดำเนินงำนโครงกำร 11. ให้ มีมำตรกำรอย่ำงจริ งจังใน กำรใช้ พืน้ ที่สำธำรณะ หรื อมี กำรบังคับใช้ กฎหมำยจริ งจัง เช่น ถ้ ำผู้ใ ดกระท ำกำรใด ๆ ต่ อ พื ้ น ที่ ส ำ ธ ำ ร ณ ะ ไ ม่ สำมำรถกระท ำได้ หรื อหำก กระท ำแล้ ว ท ำให้ เกิ ด ควำม เ สี ย ห ำ ย แ ก่ ผู้ อื่ น ต้ อ ง มี ควำมผิด และรั บ ผิ ด ชอบต่อ ควำมเสียหำยที่เกิดขึ ้น 12. มีหน่วยงำนเฉพำะที่ ดำเนินกำรเรื่องเรื่องภัยพิบตั ิ

กรณีที่กรมเจ้ ำท่ำได้ ไปสร้ ำงเขื่อนหินขนำดใหญ่ในพื ้นที่ตำบลพันท้ ำยนรสิงห์ ซึ่งชำวบ้ ำนมีควำมกังวลว่ำ ถ้ ำทำอย่ำงนีจ้ ะทำให้ พืน้ ที่ ของ ชำวบ้ ำนถูกกัดเซำะเพิ่มขึ ้น ในพื ้นที่ตำบลพันท้ ำยนรสิงห์ ตำบลโคกขำม และบำงขุนเทียน ผู้แทนจำกกรมเจ้ ำท่ำ เสนอว่ำ จะต้ องมีกำรศึกษำเพิ่มเติม แล้ วจะนำข้ อมูลที่ได้ ในวันนี ้นำเข้ ำประชุมเรื่องนี ้ที่กรมด้ วย

กำรแก้ ปัญหำกำรกัดเซำะในปั จจุบนั พื ้นที่หำดโคลน ป่ ำชำยเลน ส่วนใหญ่จะแก้ ปัญหำได้ เพิ่มมำกขึ ้น แต่ฝั่งอันดำมันที่เป็ นหำดทรำย และ มีปัญหำกำรกัดเซำะชำยฝั่ งเพิ่มมำกขึ ้น หำกมีกำรแก้ ไขปั ญหำกำรกัดเซำะโดยใช้ โครงสร้ ำงแข็งจะทำให้ ชำยหำดเสียหำยรุนแรงมำกกว่ำ ชำยหำดฝั่ งอ่ำวไทย เนื่องจำกทะเลอันดำมันมีคลื่นลมแรงมำกกว่ำ มีกระแสนำ้ ที่แรงกว่ำ โดยเฉพำะชำยหำดที่โรงแรม รี สอร์ ท ยึดเป็ น เจ้ ำของแล้ วทำเขื่อนกันคลื่น แล้ วจะส่งผลกระทบต่อชำยหำดอื่น ๆ โดยที่ถ้ำไม่มีมำตรกำรในกำรแก้ ปัญหำกำรใช้ พืน้ ที่สำธำรณะอย่ำง จริงจัง ผู้เ ข้ ำร่ วมประชุมให้ ข้อมูลเพิ่ มเติมว่ำ ต้ องดูข้อกฎหมำยหลัก ในรัฐ ธรรมนูญ ซึ่งได้ เ ขีย นเรื่ องนี ไ้ ว้ เช่น “กำลใดที่ อำจมีผลกระทบต่อ สิ่งแวดล้ อมและคุณภำพชีวิตของชุมชนต้ องทำ EIA” ถึงแม้ หน่วยงำนต่ำง ๆ จะกำหนดประเภทโครงกำรหรือจะเขียนกฎหมำยขึ ้นมำ ก็ถือ ว่ำเป็ นเพียงกฎเกณฑ์ขนต ั ้ ่ำเท่ำนัน้ ซึ่งเรำสำมำรถใช้ กฎเกณฑ์หลักในรัฐธรรมนูญได้ เลย โดยไม่ต้องดูกฎหมำยย่อยของกระทรวงต่ำง ๆ กลไกกำรแก้ ไขปั ญหำกำรกัดเซำะชำยฝั่ ง หรือภัยพิบัติ มีกลไกระดับจังหวัดและระดับชำติแล้ ว แต่มีช่องว่ำงที่กว้ ำงมำกในกำรเชื่อมโยง ข้ อมูล แต่สำมำรถมีหน่วยงำนกลำงเป็ นหน่วยงำนเฉพำะเกิดขึ ้นได้ หรือไม่ เพื่อเป็ นจุดเชื่อมต่อข้ อมูลได้ และเป็ นหน่วยงำนที่มผี ้ เู ชี่ยวชำญที่


48 ข้ อเสนอ – ข้ อคิดเห็น ที่สำมำรถเชื่อมต่อกับ กรรมกำรระดับจังหวัดและ กรรมกำรระดับชำติได้ 13. ไม่มีกำรก่อสร้ ำงใด ๆ ใน พื ้นที่ชำยหำด โดยเฉพำะกำร ก่อสร้ ำงโครงสร้ ำงแข็ง 14. ขยำยฐำนควำมรู้เรื่องภัย พิบตั ิกำรกัดเซำะชำยฝั่ งให้ เพิ่มมำกขึ ้นและสร้ ำง ฐำนควำมรู้ให้ กบั ชุมชน 15. ผลักดันให้ เกิดวำระแห่งชำติ 16. เกิดกลไกกำรทำงำนร่วมกัน ทุกภำคส่วนโดยมีฐำนองค์ ควำมรู้ที่ดำเนินกำรร่วมกันได้

เหตุผล – สถานการณ์ มีควำมรู้ควำมเข้ ำใจถึงภัยพิบตั ิได้

ตอนนี ้ดูเหมือนว่ำกำรมีสว่ นร่วมของสังคม องค์กร หน่วยงำนต่ำง ๆ เดินไปได้ ดี แต่หัวใจสำคัญคือเหตุของปั ญหำต้ องตรงกัน เพรำะถ้ ำ ควำมจริ งถูกตีควำมผิดเพีย้ นไป กำรมีส่วนร่ วมก็ผิดเพีย้ นไปด้ วย ฉะนัน้ เรำต้ องตกผลึกของต้ นเหตุที่ก่อให้ เกิดปั ญหำให้ ได้ โดยเฉพำะ ปั ญหำคนรุกหำด เช่น กำรก่อสร้ ำงทุกชนิดเป็ นพิษต่อหำด ฉะนัน้ เรำต้ องเข้ ำใจถึงธรรมชำติ เข้ ำใจถึงระบบสุริยะจักรวำลที่มีผลต่อกำร เปลี่ยนแปลงสภำพภูมิอำกำศและภูมิประเทศในแต่ละช่วงเวลำ (ตำมข้ อเสนอของอำจำรย์ปรีดำ คงแป้น)


กลไกการจัดการปั ญหาการกัดเซาะชายฝั่ งแบบมีส่วนร่ วม

48

โดย นำงปรีดำ คงแป้น กล่ำวว่ำ ประเด็นปั ญหำภัยพิบัติ โดยที่ผ่ำนมำได้ มีควำมพยำยำมในกำรปรับปรุง กฎหมำยของกรมป้องกันและบรรเทำสำธำรณภัย (ปภ.) แต่เรื่องกำรกัดเซำะชำยฝั่ งยังมีถือเป็ นภัยพิบตั ิในตัวกฎหมำย ของ ปภ. โดยถ้ ำย้ อนไปเมื่อตอนมีคณะกรรมกำรสมัชชำปฏิรูปประเทศ โดย ดร.ณรงค์ชัย อัครเศรณี ที่เป็ นที่ปรึกษำ ของสำนักงำนคณะกรรมกำรพัฒนำกำรเศรษฐกิจและสังคมแห่งชำติ หรือ สภำพัฒน์ฯ โดยสภำพัฒน์ฯได้ บอกว่ำกำร กัดเซำะชำยฝั่ งเป็ นวิกฤติ ของชำติที่ ยังไม่มีทำงออก โดย ดร.ณรงค์ชัย อัครเศรณี ได้ เสนอในที่ประชุมสมัชชำ ที่ มี อำจำรย์ประเวศ วะสี เป็ นประธำน ว่ำกำรกัดเซำะชำยฝั่ งไม่ได้ เพียงแค่ส่งผลกระทบต่อวิถีชีวิตของชำวบ้ ำน แต่ยัง ส่งผลกระทบต่อกำรท่องเที่ยวและถือว่ำเป็ นวิกฤติชำติด้วย โดยสภำพัฒน์ฯมีควำมกังวลเรื่องนี ้ เพรำะว่ำกำรท่องเที่ยว เป็ นเรื่องที่สำมำรถนำเงินเข้ ำประเทศกว่ำ 1 แสนล้ ำนบำทต่อปี โดยเรื่องนี ้ผ่ำนมำหลำยปี แล้ วยังไม่มีควำมคืบหน้ ำ จึง เป็ นประเด็นที่ต้องช่วยกันขับเคลื่อน และกำรกัดเซำะนีช้ ำวบ้ ำนจะเป็ นด่ำนแรกที่ได้ รับผลกระทบ ซึ่งเหมือนกับภัย พิบตั ิอื่น ๆ ทุกอย่ำงที่ชำวบ้ ำนเป็ นด่ำนแรกที่ได้ รับผลกระทบเช่นกัน ฉะนัน้ กระบวนกำรขับเคลื่อนนี ้เรำจะทำอย่ำงไร ถึงจะเป็ นเรื่องที่ยำก แต่เรื่องนี ้เป็ นเรื่องที่ เรำจะต้ องผลักดัน ให้ เป็ นวำระแห่งชำติให้ ได้ เพื่อที่หำทำงออกมีรูปแบบในกระบวนกำรขับเคลื่อนอย่ำงแท้ จริ ง โดยมีควำมเชื่อว่ำทุก หน่วยงำนมีควำมพยำยำมในกำรแก้ ปัญหำแต่ยังมีข้อจำกัด ฉะนัน้ จึงคิดว่ำเรำต้ องขับเคลื่อนเรื่ องนีท้ งั ้ ชำวบ้ ำน ทัง้ ภำคีควำมร่วมมือ รวมทังหน่ ้ วยงำนภำครัฐ ภำครำชกำร เช่น กรมทรัพยำกรธรรมชำติทำงทะเลและชำยฝั่ ง กรมเจ้ ำท่ำ กรมป้องกันและบรรเทำสำธำรณภัย และหน่วยงำนท้ องถิ่นที่เกี่ยวข้ อง เป็ นต้ น ต้ องเคลื่อนเพื่อให้ เกิดควำมร่วมมือ ร่วมกันทังหมด ้


50 เรื่องกำรกัดเซำะชำยฝั่ ง เรื่องนี ้เรำต้ องช่วยกันคิดทังฝั ้ ่ งอ่ำวไทย ฝั่ งอันดำมัน โดยผลักดันให้ เรื่องกำรกัดเซำะ ชำยฝั่ งเป็ นวำระแห่งชำติ โดยก่อนที่หน่วยงำนรัฐหรือสภำพัฒน์ฯ จะทำเรื่องนี ้ ชำวบ้ ำนต้ องมีกำรขับเคลื่อนก่อน โดย ตังเป็ ้ นกลุม่ “เครือข่ำยประชำชนปกป้องชำยฝั่ ง” และสำมำรถนำข้ อมูลที่ฝ่ำยวิชำกำรและผู้เชี่ยวชำญด้ ำนชำยฝั่ งได้ ศึกษำมำเป็ นข้ อมูลองค์ควำมรู้ให้ กบั เรำได้ เช่น กำรกัดเซำะชำยฝั่ งไม่ได้ เป็ นผลกระทบจำกโลกร้ อน แต่เป็ นผลกระทบ จำกมนุษย์ หรืออำจจะเป็ นผลกระทบจำกแผนพัฒนำประเทศ ประเด็นที่สำคัญคือ กำรขับเคลื่อนของเครือข่ำยร่วมกัน เรำต้ องเข้ ำใจถึงธรรมชำติ เข้ ำใจว่ำอะไรคือต้ นเหตุ ของกำรเกิดผลกระทบ เข้ ำใจว่ำถ้ ำเรำแก้ ปัญหำที่ที่หนึ่งก็จะมีผลกระทบต่ออีกที่ที่หนึ่ง หรือที่เรียกว่ำ “เรำต้ องเห็น หมำกทังกระดำน” ้ เป็ นต้น ฉะนัน้ ถ้ ำเรำทุกคนได้ เห็นหมำกทังกระดำน ้ หรือเห็นว่ำกำรป้องกันที่ผำ่ นมำจะทำให้ เกิดผลกระทบต่อที่อนื่ ๆ ทังหมด ้ ก็จะไม่มีใครที่คิดจะปกป้องเฉพำะพื ้นที่ของตนเอง ฉะนัน้ วันนี ้เรำได้ องค์ควำมรู้ หลำยอย่ำงจำกนักวิชำกำร จำกทุกคนที่แสดงควำมคิดเห็นในวันนี ้ แต่เรำต้ องนำควำมรู้เหล่ำนี ้ไปเผยแพร่ตอ่ ผู้อื่นด้วย โดยเฉพำะชำวบ้ ำนในพืน้ ที่ตำ่ ง ๆ เพรำะชำวบ้ ำนเท่ำนันจะเป็ ้ นกลไกในกำรเชื่อมโยงและผลักดันให้ หน่วยงำน เกี่ยวข้ องเข้ ำมำมีสว่ นร่วมกับชำวบ้ ำนในกำรหำทำงแก้ ปัญหำ โดยเฉพำะเรำต้ องผลักดันทังระดั ้ บล่ำง ระดับบนให้ ขับเคลื่อน โดยเฉพำะ ระดับบนสุดหรือวำระแห่งชำติที่จะต้ องให้ เกิดขึ ้นเพื่อแก้ วิกฤติชำติ โดยชำวบ้ ำนถ้ ำรวมตัวกัน เผยแพร่ข้อมูลองค์ควำมรู้ตำ่ ง ๆ ได้ มำก ได้ เร็ว ก็สำมำรถเกิดขึ ้นได้ เช่น มูลนิธิชมุ ชน เคยร่วมกับชำวบ้ ำนคนไทยพลัด ถิ่นที่เป็ นคนชำยขอบที่ยงั ไม่มีสญ ั ชำติ ไม่มีสทิ ธิใด ๆ แต่คนไทยพลัดถิ่นยังสำมำรถขับเคลื่อนร่วมกัน รวมตัวกัน จนได้ กฎหมำยสัญชำติ เป็ นต้ น


51 สรุ ปข้ อเสนอ กลไกสู่นโยบายสาธารณะแบบมีส่วนร่ วม ป ร ะ ม ว ล ส รุ ป ข้ อ เ ส น อ ก ล ไ ก สู่ น โ ย บ า ย ส า ธ า ร ณ ะ แ บ บ มี ส่ ว น ร่ ว ม โ ด ย นั ก วิ ช า ก า ร 2 ท่ า น คื อ อาจารย์ศรินพร พุ่มมณี กับ อาจารย์มณีรัตน์ มิตรปราสาท

ข้ อสรุปทางวิชาการ o สาเหตุของปั ญหาการกัดเซาะชายฝั่ งในเชิงประจักษ์ คือเรื่องของโครงสร้ างแข็ง ได้ แก่ เขื่อนกัน้ ทรายปากร่องนา้ รอดักทราย กาแพงกันคลื่นริมฝั่ งทะเล และโครงสร้ างต่าง ๆ เป็ นต้ น o สาเหตุเชิงลึกของปั ญหาการกัดเซาะชายฝั่ งคือ เรื่องของข้ อมูลที่ถกู บิดเบือน ระบบความสัมพันธุ์ ค่านิยม/ความ เชื่อ ผลประโยชน์ และท้ ายสุดคือปั ญหาเชิงโครงสร้ าง เช่นกฎหมาย อานาจหน้ าที่ บุคลากร งบประมาณ รวมถึงนโยบายการพัฒนาประเทศ ซึ่งเป็ นเสมือนปั ญหาใต้ น ้าที่ต้องให้ ความสาคัญ o ข้ อเสนอทางวิชาการในการแก้ ไขปั ญหาคือ การสร้ างแนวถอยร่น และการรือ้ ถอนโครงสร้ างแข็ง แต่ล้มเหลว o ตัวอย่างการแก้ ไขปั ญหาการกัดเซาะชายฝั่ ง โดยชุมชนได้ แก่ • คลองโคน คือการกาหนดเส้ นชายฝั่ งที่ชดั เจน ปลูกป่ าชายเลนตลอดแนวไม้ ไผ่ สร้ างองค์ความรู้ และ กระบวนการทางานแบบมีสว่ นร่วม • หาดชลาทัศน์ จ.สงขลา สร้ างการมีสว่ นร่วมจากคนเมืองคัดค้ านการถมทราย, สร้ างระบบการติดตาม ชายหาด (วัดหาด) พบว่าชายหาดที่ถกู กัดเซาะจากมรสุมปี 59 เมื่อปล่อย ทิง้ ไว้ 1 เดือนชายหาดกลับ เข้ าสู่สภาวะปกติ /มีก ารฟื ้นฟูต ัวเอง, มีก ารสืบค้ น กฎหมายเกี่ย วกับ ชายหาด พบว่าชุมชนมีสิท ธิการ จัดการตนเองได้ • บ้ านขุนสมุทรจีน ชุมชนเรี ยนรู้แนวทางแก้ ปัญหาผ่านการปฏิบตั ิการ จากเขื่อนไม้ ไผ่ การปลูกป่ าชายเลน เขื่อนเสาคอนกรีต เขื่อนหินทิ ้ง เขื่อนเสาคอนกรีต เป็ นต้ น


52  ข้ อจากัดในการทางานแก้ ไขปั ญหาการกัดเซาะชายฝั่ งที่สาคัญ คือ • การขาดการบูรณาการของหน่วยงานต่าง ๆ • การซ้ อนทับของอานาจระหว่างหน่วยงานเช่น ทช. กรมเจ้ าท่า กรมโยธา เป็ นต้ น การใช้ พ.ร.บ.ของ ทช. ต้ องระวัง • เรื่องชายฝั่ งที่สมุทรสาคร แนวกันคลื่นที่ถาวรของเราคือป่ าชายเลน ปั ญหาคือพันธุ์ไม้ ที่ เหมาะสมกับ พื ้นที่ ปั ญหาโฉนดน ้า ปั ญหาปลาโลมาติดเขื่อนไม้ ไผ่ เป็ นต้ น กรณีของคณะกรรมการระดับจังหวัด มี การประชุมและการบันทึกการประชุมอย่างต่อเนื่อง • ที่ ส มุท รปราการ ผู้ท รงคุณ วุฒิที่ เ ข้ า ร่ ว มประชุมส่ว นใหญ่ เ ป็ นตัว แทน ท าให้ ไม่ส ามารถตัด สิน ใจ ดาเนินการใด ๆ ได้ สรุปข้ อเสนอ กลไกสู่นโยบายสาธารณะแบบมีส่วนร่ วม ก. ข้ อเสนอเชิงนโยบาย 1. หลีกเลี่ยงกำรแก้ ไขปั ญหำกำรกัดเซำะชำยฝั่ งด้ วยโครงสร้ ำงที่สง่ ผลกระทบต่อพื ้นที่ข้ำงเคียง 2. กำหนดให้ ปัญหำเรื่องกำรกัดเซำะชำยฝั่ งเป็ นนโยบำยสำธำรณะเฉพำะ นโยบำยหนึ่ง 3. ควรมีนโยบำยที่เกื ้อหนุนกำรแก้ ปัญหำกำรกัดเซำะชำยฝั่ งโดยชุมชนเป็ นแกนหลักอย่ำงต่อเนื่องและเป็ นระบบ เช่น กำรศึกษำวิจยั กำรสนับสนุนเครื่องมือต่ำง ๆ เป็ นต้ น 4. ควรมีนโยบำยในกำรจัดกำรปั ญหำเรื่องกำรใช้ ประโยชน์จำกชำยฝั่ งที่ชดั เจนเช่น โฉนดน ้ำที่เกิดขึ ้นจำกกำรกัด เซำะชำยฝั่ ง , กำรใช้ พื ้นที่ชำยหำด, ที่ดินงอกใหม่ เป็ นต้ น 5. ควรจัดทำแผนแม่บทในกำรจัดกำรปั ญหำกำรกัดเซำะชำยฝั่ ง ที่สอดคล้ องกับระบบนิเวศน์ชำยฝั่ งและท้ อง ทะเลแต่ละแห่งที่ชดั เจน

ข. รูปแบบ กลไกการจัดการปั ญหาการกัดเซาะชายฝั่ งแบบมีส่วนร่ วม 1. กำหนดให้ มีคณะกรรมกำรกำรแก้ ไขปั ญหำฯ ระดับชำติ และระดับจังหวัด โดยให้ ชมุ ชนมีสว่ นร่วม และให้ ทช. ทำหน้ ำที่เป็ นกองเลขำฯ 2. หนุนเสริมให้ เกิดเครือข่ำยกำรแก้ ปัญหำตำมแผนแม่บท เพื่อเอื ้อต่อกำรแก้ ไขปั ญหำอย่ำงบูรณำกำรร่วมกัน 3. สร้ ำงกลไกสื่อสำรกับสังคมร่วมกัน


53 ค. แผนปฏิบัตกิ ารการจัดการปั ญหากัดเซาะชายฝั่ ง 1. ศึกษำทบทวนควำมรู้ที่เกี่ยวข้ องกับปั ญหำกำรกัดเซำะกำรฝั่ ง 2. ศึกษำ/วิจยั ตัวบทกฎหมำยที่เกี่ยวข้ องกับกำรกัดเซำะชำยฝั่ ง ทังในระดั ้ บชำติและระดับท้ องถิ่น 3. ให้ พื ้นที่อำ่ วไทยรูปตัว ก เป็ นพื ้นที่นำร่องของกำรแก้ ไขปั ญหำ 4. ผลักดันให้ สนช. ทำกำรศึกษำปั ญหำกำรกัดเซำะชำยฝั่ ง 5. ศึกษำ/สำรวจที่ดินที่ถกู กัดเซำะและพื ้นที่งอกใหม่ โดยให้ จงั หวัดเสนอต่อคณะกรรมกำรที่ ดินแห่งชำติ ตำม นโยบำย ONE MAP 6. ในเขตอันดำมัน ให้ มีกำรจัดทำแนวเขตกำรใช้ ประโยชน์พื ้นที่ชำยหำด และมีกำรบังคับใช้ กฎหมำยที่ชดั เจน นางพิชยา แก้ วขาว ได้ สรุปการประชุมว่า ข้ อเสนอที่นกั วิชาการได้ เสนอมานัน้ เราจะเคลื่อนไปด้ วยกันเพื่อให้ เกิดการปฏิบัติต่อจากนี ไ้ ป แล้ วการสร้ างเครื อข่ายให้ แข็งแรงมากขึน้ ซึ่งคาว่าเครื อข่ายไม่ได้ เ ฉพาะชุมชนในพืน้ ที่ เท่านัน้ แต่รวมทังภาคส่ ้ วนราชการและภาคส่วนอื่น ๆ ในการมาขับเคลื่อนด้ วยกันเพื่อยกระดับให้ เป็ นวาระแห่งชาติที่ เป็ นเป้าหมายสูงสุดในการขับเคลื่อนการแก้ ปัญหาการกัดเซาะชายฝั่ ง มูลนิธิชมุ ชนไท จะเป็ นหน่วยการประสานการขับเคลื่อน แล้ วก็กลไกของ ทช.ก็ได้ ประสานกับกลไกระดับ จังหวัดเพื่อที่จะขับเคลื่อนไปในทิศทางเดียวกันด้ วย

ประธานกล่ าวปิ ดการประชุม นายสุรจิต ชิรเวทย์ ประธานในเปิ ดประชุมในวันนี ้ ได้ เป็ นผู้กล่าวปิ ดการประชุม ว่า สิ่งที่ได้ สรุปร่วมกันในวันนี ้ ก็จะได้ นาไปขับเคลื่อนต่อ และหากเราใช้ กลไก ของ ทช.ร่วมด้ วย แล้ วถ้ าในแต่ละกลุม่ พื ้นที่ได้ รวมตัวกันทังฝั ้ ่ งอ่าวไทย และอัน ดามัน มารวมเป็ นเครือข่ายกันและทัง้ 2 ฝั่ งมีตวั แทนมารวมกันเป็ นเครือข่าย ใหญ่เพื่อได้ ขบั เคลื่อนร่วมกัน และทุกคนก็เห็นด้ วยกับข้ อเสนอที่ได้ในวันนี ้ ปั ญหาที่เกิดขึ ้นก็เป็ นปั ญหาที่เหมือน ๆ กัน ฉะนันการรวมตั ้ วกันจะได้ เป็ นพลัง ในการขับเคลื่อนต่อไป หวังว่าทุกคนที่ได้ มาร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้กนั ในวันนี ้ ทาให้ ได้ ข้อมูลดีดีเพิ่มขึ ้น และสุดท้ ายนี ้ขอขอบคุณทุก ท่านที่ได้ มาร่วมกัน และขอบคุณมูลนิธิชมุ ชนไท และ สานักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.) ที่ทาให้ เกิดการ ประชุมแลกเปลี่ยนความรู้กนั และพวกเราก็จะได้ ขบั เคลื่อนกันต่อไป เพราะปั ญหานี ้เป็ นปัญหาที่ใหญ่มาก เป็ นปัญหา ที่กระทบต่อทรัพยากรการท่องเที่ยวที่ประเมินค่าไม่ได้


54 ประมวลภาพการประชุม


55 ประมวลภาพการประชุม

ประมวลสื่อ Social media ของการประชุม https://www.facebook.com/permalink.php?story_f https://chumchonthai.or.th/node/366 bid=1098310026911856&id=100001986071117


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.