รายงานภูมนิ ามภูเก็ต รายวิชา 2504630 พืชพรรณในงานภูมสิ ถาปั ตยกรรม Plants in Landscape Architecture
เสนอ รศ.จามรี อาระยานิมิตสกุล
จัดทำโดย นางสาวยุพเรศ สิทธิพงษ์ เลขประจาตัวนิสิต 5873360025
รายงานฉบับนี ้เป็ นส่วนหนึง่ ของรายวิชาประวัติศาสตร์ ภมู ิสถาปั ตยกรรมและการวางผัง ภาควิชาภูมิสถาปั ตยกรรม คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ภาคการศึกษาที่ 2 ปี การศึกษา 2558
CONTENT
นิยามภูมินาม (DEFINITION OF PLACE NAMES) ภูมินามของชื่อจังหวัด “ภูเก็ต” (PLACE NAMES OF PHUKET) ภูมินามในจังหวัดภูเก็ต (PLACE NAMES IN PHUKET) อ้ างอิง
PAGE 1 2 4 27
PLACE NAMES ภูมินามวิทยา (Toponymy) คือการศึกษาชื่อสถานที่ หรื อ ภูมินาม ที่เกี่ยวกับที่มา, ความหมาย, การ ใช้ และ การจัดกลุม่ ชื่อ (Typology) ภูมินาม หมายถึง นามบ้ านนามเมือง นามสถานที่ตา่ งๆ ที่อยูใ่ นท้ องถิ่นแต่ละแห่ง ซึง่ ภูมินาม เหล่านันอาจจะมี ้ ที่มาจากต้ นเหตุแตกต่างกันไป เช่น มาจากนิทานนิยายประจาถิ่น ความเชื่อสิ่งศักดิส์ ิทธิ์ ความสอดคล้ องทางภูมิศาสตร์ บุคคลสาคัญ เหตุการณ์ในประวัตศิ าสตร์ ลักษณะกายภาพในท้ องถิ่น ตลอดจนพืชพรรณต่างๆ ที่อยูใ่ นท้ องถิ่น
PLACE NAMES OF PHUKET เกาะภูเก็ตนันเดิ ้ มชื่อ ”Junkcylon” จากหลักฐาน บันทึกของนักเดินเรื อของชาวต่างชาติ ซึง่ สามารถ วิเคราะห์ภมู ินามได้ จากการศึกษาสภาพภูมิศาสตร์ และ ชาติพนั ธุ์หลักในพื ้นที่ มีความน่าจะเป็ นที่ว่าจะมาจาก ภาษามลายู ซึง่ เป็ นประชากรดังเดิ ้ มของภูมิภาคนี ้ จาก การทาการติดต่อค้ าขายสาเภาในอดีตผ่านทางแหลม มลายู จากพจนานุกรมไทย-มลายู Ujung, Hujung แปลว่าแหลมหรื อส่วนที่ยื่นออกไปในทะเล และคาว่า Selang แปลว่า ช่องระหว่าง รวมกันแล้ วแปลว่าแหลมที่มี ช่องอยูร่ ะหว่าง ซึง่ ในสมัยโบราณเกาะภูเก็ต และจังหวัด พังงาประมาณหลายร้ อยปี ก่อนเคยมีบนั ทึกของนักเดินเรื อ ว่าเป็ นส่วนที่ติดกันมาก่อนโดยมีสนั ทรายเป็ นตัวเชื่อม เวลาน ้าลง ทาให้ เกิดกลายเป็ นแหลมกึ่งเกาะทาให้ ชาว มลายูในตอนนันเรี ้ ยกที่นี่วา่ Ujung Selang ชาวต่างชาติที่ ข้ ามาสารวจติดต่อที่นี่ก็ได้ ชื่อนี ้ไปจากชาวพื ้นเมือง และ ต่อมาเมื่อเกิดการกัดเซาะทางธรรมชาติมากขึ ้นจากกึ่ง เกาะกึ่งแหลมก็กลายเป็ นเกาะโดยสมบูรณ์ จึงเรี ยกถูก เรี ยกใหม่วา่ Pulao Selang ที่แปลว่า เกาะ ไม่ใช่แหลม แล้ ว
เกาะภูเก็ต (ที่มา: https://maps.google.com)
2504630 PLANTS IN LANDSCAPE ARCHITECTURE | 1
แต่เดิมชื่อของภูเก็ตในเอกสารสยามทังสมั ้ ยกรุงศรี อยุธยาและสมัยรัตนโกสินทร์ เรี ยกว่าเกาะ ”ถลาง“ ส่วนหลักฐานทางต่างประเทศเรี ยกว่า Junkcylon ในอดีตเมือง ถลาง เป็ นเมืองสาคัญทางชายฝั่ งตะวันตก เป็ นเมืองที่เหมาะสาหรับแวะพักจอดเรื อ และเป็ นแหล่งการค้ าตามเส้ นทางการค้ าทางเรื อในสมัยโบราณ โดยเฉพาะแร่ ดีบกุ ได้ มีการจัดตังสถานี ้ การค้ ากับชาวตะวันตกมาตังแต่ ้ สมัยอยุธยา มีตาบลทุง่ คา หรื อ พื ้นที่บริเวณเทศบาลนครภูเก็ตในปั จจุบนั เป็ นศูนย์กลางการค้ าดีบกุ ของภูเก็ต เดิมตัวเมือง “ภูเก็ต” ตังอยู ้ ท่ ี่ตาบลกระทู้บริเวณ “บ้ านเก็ตโฮ่” มาจากภาษามลายู ว่า “บูกิ๊ต ปา โฮะ” (Bukit Pauh) แปลว่า ภูเขามะม่วง ในภาษามลายูกลางหรื อ Buket ในภาษามลายูสตูลหรื อมลายูเกดดาห์ (บูกิ๊ต = ภูเขา, ปาโฮะ = ต้ นมะม่วง) แต่ชาวจีนภูเก็ตออกเสียงว่า “เกียดโห” หรื อ “เกียะโห” ซึง่ มีลกั ษณะ ภูมิประเทศเป็ นภูเขาบริเวณกลางเกาะทางด้ านทิศตะวันตก และมีต้นมะม่วงขึ ้นอยูม่ าก จากลักษณะที่เป็ น ภูเขาเป็ นลักษณะเด่นชัดนี ้เองจึงถูกเรี ยกว่า ภูเก็ต (ประสิทธิ ชิณการณ์ ให้ ข้อมูลเมื่อ 8 กันยายน 2546)
บริ เวณบ้ านเก็ตโฮ่ (ที่มา: https://maps.google.com)
ต้ นมะม่วง (ที่มา: http://www.biogang.net/plant_view.php?uid=48617&id=181879)
2504630 PLANTS IN LANDSCAPE ARCHITECTURE | 2
ประมาณปี พ.ศ.2437, พระยาทิพย์โกษา(โต) ภูเก็ตเจริญขึ ้นยกขึ ้นเป็ น “มณฑลภูเก็ต” และในปี พ.ศ. 2452 ได้ ย้ายที่วา่ การมณฑลจากที่ทาการเมืองเดิมนี ้ไปสร้ างใหม่ในที่บ้านพระยาภูเก็ต(ลาดวน) ที่ “บ้ านทุง่ คา” เมืองภูเก็ตใหม่จงึ ย้ ายไปตังอยู ้ บ่ ริเวณที่เป็ นอาเภอเมืองภูเก็ตปั จจุบนั ซึง่ ชื่อ ทุง่ คา นันแปลความหมาย ้ มาจากภาษามลายูวา่ “อุยงลาลัง” (Uyong Lalang) (อุยง = แหลมริมทะเล, ลาลัง = หญ้ าคา) เมื่อรวม ความแล้ วหมายถึงแหลมหญ้ าคา ตามลักษณะพื ้นที่เดิมที่มีหญ้ าคาขึ ้นอยูท่ วั่ ไป
บ้ านบางเหนียว (บริ เวณเมืองทุง่ คา) (ที่มา: ภูเก็ต 2516 แผนที่ทางทหาร จัดทาโดยกรมแผนที่ทหาร เลขระวาง 4624 I ลาดับชุด L7017 พิมพ์ครัง้ ที่ 1-RTSD (Royal Thai Survey Department ) จังหวัดภูเก็ต)
หญ้ าคา ชื่อวิทยาศาสตร์ Imperata cylindrica (L.) P.Beauv (ที่มา: http://xn--o3cepkej9b3gpeg.net/tag/%E0%B8%AB%E0%B8%8D %E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%84%E0%B8%B2)
2504630 PLANTS IN LANDSCAPE ARCHITECTURE | 3
PLACE NAMES IN PHUKET บ้ านหัวควน อาเภอกะทู้ ทิศตะวันออกและใต้ เป็ นควนเขากมลา เส้ นทางที่เดินทางมายังหมูบ่ ้ านเป็ นที่เชื่อมโยงระหว่างบ้ าน บางคูกบั บ้ านหัวควน จะต้ องขึ ้นเนินสูงมีลกั ษณะเป็ นควนชันมาก ้ จึงเรี ยกว่า บ้ านหัวควน มีต้นยางใหญ่ อยูต่ รงหัวควน จึงเรี ยกว่า ควนต้ นยาง บ้ านกะทู้ อาเภอกะทู้ “กะทู้” มาจากคามลายูวา่ “กัว ลา บา ตู” หรื อ “กราบา ตู” (Guala Batu) ซึง่ “กัวลา” หรื อ “กรา” แปลว่า ปากน ้า ส่วนคาว่า “บา ตู” แปลว่า ก้ อนหิน เมื่อรวมความจึงหมายถึงปากน ้าที่มีก้อนหินดูเด่นมาแต่ ไกล คาว่า “กัว ลา บา ตู” ชาวบ้ านมักออก เสียงรวบให้ สนจึ ั ้ งกลายเป็ น “กรา ตู” ต่อมาเป็ น กะทู และ กะทู้ ตามลาดับ บ้ านไม้ เรี ยบ อาเภอกะทู้ ทิศเหนือติดควนเขา ใต้ ติดถนนวิชิตสงคราม ทิศตะวันออกติดป่ า ควนเขา ทิศตะวันตกติดเขาหว้ า (พระธาตุภหู ว้ า) ภูมิประเทศในอดีตเป็ น ป่ า แหล่งน ้า ควนเขา ทุง่ นา เหมืองแร่เก่า บ้ านไม้ เรี ยบบริเวณนี ้มี ช้ างอาศัยอยูเ่ ป็ นจานวนมากเพราะมีป่าไม้ อดุ มสมบูรณ์ เป็ นแหล่งน ้ามีน ้าไหลผ่านอยู่เสมอ ประชาชนจึง ตัดไม้ เรี ยบมาต่อๆกันเป็ นพื ้นทางเดิน ชื่อบ้ านนี ้จึงหมายถึงการเอาไม้ มาวางบนพื ้นเรี ยงต่อกัน และหมายถึง ชื่อพืชชนิดหนึง่ กลุม่ เดียวต้ นไทร ใบคล้ ายใบโพ ชาวบ้ านเรี ยกว่า “โพเลียบ” (เกตุนภา มุกดาสกุลภิบาล 2543:72)
บ้ านไม้ เรี ยบ (ที่มา: https://maps.google.com)
2504630 PLANTS IN LANDSCAPE ARCHITECTURE | 4
ไกร ชื่อวิทยาศาสตร์ Ficus subpisocarpa Gagnep. ชื่อท้ องถิ่นอื่น ๆ ว่า ฮ่าง (ลาปาง), โพไทร (นครราชสีมา), เลียบ ไกร (กรุงเทพฯ), ไทรเลียบ (ประจวบคีรีขนั ธ์) เป็ นต้ น (ที่มา: http://frynn.com/%E0%B9%84%E0%B8%81%E0%B8%A3) บ้ านกะตะ อาเภอเมือง คาว่า “กะตะ” มาจากคามลายูวา่ “กัว ลา ตะ” (Guald Tal) หมายถึง ปากน ้าที่มีต้นตาล(Tal) บ้ าง ก็วา่ “ตะ” มาจาก “ตะนี” หรื อ “ตานี”(Tani) ซึง่ เป็ นคามลายูหมายถึงทานาหรื อทาไร่ ซึง่ น่าจะเป็ น ความหมายร่วมกันโดยมีคาหลังเป็ นอิทธิพลหลัก จากการที่ภมู ิประเทศในอดีตเป็ นทุง่ นาทานาเป็ นอาชีพ หลัก เป็ นทุง่ หญ้ า ป่ า ภูเขา บ้ านโคกโหนด หมู่ 2 ตาบลกะรน อาเภอเมือง ทิศเหนือติดทุง่ นา(บริเวณบ้ านกะตะ) ทิศใต้ ติดขอบเนินเขา ระหว่างกะตะน้ อยกับกะตะใหญ่ ทิศ ตะวันออกติดควนหลาน ้า ทิศตะวันตกจดทะเล ภูมิประเทศในอดีตเป็ นต้ นตาล ทุง่ นา ทุง่ หญ้ า ชื่อว่า โคก โหนด ลักษณะเป็ นเนิน เรี ยกโคก บริเวณบ้ านมีต้นตาลโตนดเป็ นจานวนมาก
บ้ านโคกโหนด (ที่มา: https://maps.google.com)
บ้ านโคกโตนด หมู่ 6 ตาบลเชิงทะเล อาเภอถลาง ทิศเหนือติดกับบ้ านดอน ทิศใต้ จดทะเลอันดามัน ทิศตะวันออกติดหมูบ่ ้ านในทอน ทิศตะวันตกติด กับหมูบ่ ้ านป่ ามีสภาพหมูบ่ ้ านเป็ นเนินดิน และเนินเขาสูงทังหมู ้ บ่ ้ านหรื อที่เรี ยกว่า โคก บริเวณรอบหมู่บ้าน
2504630 PLANTS IN LANDSCAPE ARCHITECTURE | 5
เป็ นที่ราบลุม่ ที่น ้าท่วมตลอดปี ภายในหมู่บ้านมีต้นโตนดขึ ้นอยูท่ วั่ ทังหมู ้ ่บ้าน จนเป็ นที่เรี ยกของคนทัว่ ไป ว่า บ้ านโคกโตนด สมัยก่อนบ้ านเรื อนมีไม่มากนัก กระจัดกระจายเป็ นหย่อมๆ อุดมสมบูรณ์ไปด้ วยป่ าไม้ นานาชนิด (เกตุนภา มุกดาสกุลภิบาล 2543:45)
บ้ านโคกโตนด (ที่มา: https://maps.google.com)
ตาล ชื่อวิทยาศาสตร์ Borasas flabellifer L. (ที่มา: http://www.dhammajak.net/board/viewtopic.php?t=13668)
บ้ านป่ าสัก ตาบลเชิงทะเล อาเภอถลาง บ้ านป่ าสักอุดมสมบูรณ์ไปด้ วยป่ าไม้ ซึง่ เกิดขึ ้นโดยธรรมชาติ โดยเฉพาะต้ นสัก จะพบเห็นอยู่ ทัว่ ไปทัว่ หมู่บ้าน สมัยนันบ้ ้ านเรื อนของชาวบ้ านนิยมปลูกสร้ างแบบยกพื ้นสูงจากพื ้นดินเป็ นบ้ านทรงไทย โบราณ เนื่องจากมีสตั ว์ป่าอาศัยอยูม่ าก โดยเฉพาะช่วงเวลากลางคืน จะมีเสือออกมาหากินกันมาก มี ลักษณะภูมิประเทศเป็ นที่ราบลุม่ มีลาคลองไหลผ่าน บางส่วนติดทะเล มีอากาศร้ อนชื ้น ฝนตกตลอดทังปี ้ ชื่อบ้ านนี ้หมายถึงป่ าที่มีต้นสักหิน(เลียบ ชนะศึก ให้ ข้อมูลเมื่อ 24 ธันวาคม 2546)
2504630 PLANTS IN LANDSCAPE ARCHITECTURE | 6
บ้ านป่ าสัก (ที่มา: https://maps.google.com)
สัก ชื่อวิทยาศาสตร์ Tectona grandis Linn.f. (ที่มา: http://aranya1997.blogspot.com/2014/08/blog-post_23.html)
บ้ านในพรุ ตาบลกะรน อาเภอเมือง บ้ านในพรุ "พรุ" เป็ นที่ที่มีน ้าขัง น ้าตื ้น บริเวณนันมี ้ บ้านอยูใ่ กล้ กบั พรุ เรี ยกบ้ านในพรุ ภูมิประเทศ ในอดีต เป็ นแหล่งน ้า ป่ า ทุง่ หญ้ า ชื่อบ้ านนี ้หมายถึงบึงน ้าชายฝั่ งทะเล(เกตุนภา มุกดาสกุลภิบาล 2543) บ้ านสะปา ตาบลเกาะแก้ ว อาเภอเมือง ทิศใต้ ติดชุมชนป่ ามะพร้ าว ทิศตะวันออกติดอ่าวสะปา ทิศตะวันตกติดชุมชนป่ ามะพร้ าว ภูมิ ประเทศเป็ นทะเล ชาวบ้ านส่วนใหญ่ประกอบการประมง คนกลุ่มแรก คือชาวไทย ชาวเลโอรังลาโอด และ จีน ภาษาที่ใช้ พดู เป็ นภาษาไทยถิ่นใต้ ภาษาโอรังลาโอด(ภาษายาวี) ชื่อบ้ าน สะปา มาจาก สลาปา แปลว่า ฝั่ งน ้า คาสะปา เป็ นภาษาทมิฬ แปลว่าฝั่ งน ้า สมัยอาณาจักรตามพรลิงค์ พ.ศ.1568 กองทัพทมิฬโจฬะ จากแคว้ นตันโจ อินเดียตอนใต้ ได้ ยาตรา ข้ ามมหาสมุทรอินเดียมาสูแ่ หลมตะโกลา-ตะกัว่ ถลางค์ ยกพลขึ ้นบกที่ฝั่งตะวันตกของเกาะแล้ วก็ออก สารวจพื ้นที่จากฝั่ งตะวันตกของเกาะออกสูฝ่ ั่ งตะวันออกโดยอาศัยสายน ้าน้ อยใหญ่ที่ไหลผ่านพื ้นที่ราบลุม่ อย่างมากมายในครัง้ นัน้ จากการสารวจดังกล่าว ทาให้ ทมิฬโจฬะพบว่า ทางฟากตะวันออกของเกาะแถบนี ้
2504630 PLANTS IN LANDSCAPE ARCHITECTURE | 7
ยังมีพื ้นที่อนั อุดมสมบูรณ์เหมาะแก่การเพาะปลูก และมีอา่ วจอดเรื อที่ดีอีกหลายแห่ง โดยเฉพาะอ่าวแห่ง หนึง่ ธรรมชาติอานวยยิ่งนัก เพราะมีเกาะเล็ก ๆ คอยกาบังมรสุมตะวันออก (คือ เกาะมะพร้ าว และเกาะรัง น้ อย-ใหญ่ ในปั จจุบนั ) จึงยึดครองพื ้นที่ดงั กล่าวนี ้ไว้ ประกอบกิจกรรมกองทัพ และให้ ชื่อสถานที่แห่งนี ้ว่า "สลาปา" ศาสตราจารย์สธุ ิวงศ์ พงศ์ไพบูลย์ (2538) อธิบายคา "สลาปา" ไว้ ใน หนังสือ "หลักภาษาไทย " ว่า "ดังปรากฏจากคาอธิบายของสมเด็จกรมพระยาดารงราชานุภาพ ซึง่ ทรงไว้ ในหนังสือเรื่ อง ประดิษฐาน พระสงฆ์สยามวงศ์ ในลังกาทวีป ตอนกล่าวถึงจดหมายเหตุเรื่ องสมณทูตในลังกาทวีป หน้ า 340 ว่า "ออก จากบ้ านกันตาระวะดี เวลา ๓ ยาม ถึง สลาปา เวลาเช้ า" แสดงว่า ชื่อ "สลาปา" มีอยูใ่ นดินแดนทมิฬมา ก่อนแล้ ว ทมิฬโจฬะจึงได้ นามาใช้ ที่นี่และเมื่อคานี ้มาถึงเมืองไทย ก็คอ่ ย ๆ เปลี่ยนจาก สลาปา เป็ น สะปา ได้ ไม่ยาก บ้ านควนดินแดง ชาวภูเก็ตเรี ยกเนินเขาว่า ควน ละบริเวณแห่งนี ้มีดนิ แดง ทังเนิ ้ นเขาจึงเรี ยกว่า บ้ านควนดินแดง หมายถึงเนินเขาที่มีดนิ สีแดง ทิศเหนือติดบ้ านสะปา ทิศใต้ ติดบ้ านบางชีเหล้ า ทิศตะวันออกติดเนินเขา ทิศ ตะวันตกติดเขานางพันธุรัตน์ ภูมิประเทศในอดีตเป็ นป่ า เนินเขา มีดนิ ที่เป็ นลักษณะสีน ้าตาลเหลือง หรื อ เกิดจากการย่อยสลายของหินแกรนิต ทาให้ เกิดดินสี เหลืองครอบคลุมพื ้นดินของเทือกเขานี ้ และเป็ นที่มาของฮิวมัสสีน ้าตาลที่อยูผ่ ิวหน้ าดิน ดินในบริเวณนี ้จึงมี ลักษณะร่วนซุย บ้ านบางคู ตาบลเกาะแก้ ว อาเภอเมือง ด้ านตะวันตกเป็ นภูเขา มีการทาเหมืองแร่ แล้ วไหลลงสูท่ ี่ราบขาวปนจึงขุดคู ขาวมาจนถึงทิศ ตะวันออกลงสูท่ ะเล ส่วนคาว่า “บาง” เองก็หมายถึงทางน ้าเล็กๆ ที่แยกจากลาคลองในคามลายู จึงเรี ยกว่า บ้ านบางคู บ้ านเกาะมะพร้ าว เกาะมะพร้ าวในอดีตมีมะพร้ าวเป็ นจานวนมาก ทิศเหนือ ทิศใต้ ทิศตะวันออก และทิศตะวันตกจด ทะเลอันดามัน ภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็ นทะเล สวนยางและสวนมะพร้ าว ชื่อบ้ านนี ้หมายถึง เกาะที่มี มะพร้ าว
2504630 PLANTS IN LANDSCAPE ARCHITECTURE | 8
บ้ านเกาะมะพร้ าว (ที่มา: https://maps.google.com)
มะพร้ าว ชื่อวิทยาศาสตร์ Cocos nucifera L. (ที่มา: https://th.wikipedia.org/wiki)
บ้ านฉลอง ในตาบลฉลอง อาเภอเมือง ชื่อบ้ านมาจากคามลายูวา่ กระลาแล กราลาแลง กราลาลาง หดลงเป็ นกะลาง แล้ วเป็ น ฉลอง คา เดิมหมายถึง อ่าวหญ้ าคา (สุนยั ราชภัณฑารักษ์ 2527:194) คามลายูว่า “กัวลาลัง” หรื อ “กราลาลัง” (Gra Lalang) (กรา = ปากน ้า, ลาลัง = หญ้ าคา) เมื่อรวมความแล้ วหมายถึง อ่าวหญ้ าคา ตามลักษณะพื ้นที่ ตังอยู ้ ่ตดิ ทะเลละในพื ้นที่เดิมที่มีหญ้ าคาขึ ้นอยูท่ วั่ ไป
บ้ านฉลอง (ที่มา: https://maps.google.com)
บ้ านนาใหญ่ ตาบลฉลอง อาเภอเมือง เนื่องจากพื ้นที่สว่ นใหญ่เป็ นที่นา ภูมิประเทศเป็ นที่ราบทุ่งนาขนาดใหญ่
2504630 PLANTS IN LANDSCAPE ARCHITECTURE | 9
บ้ านนากก ตาบลฉลอง อาเภอเมือง เป็ นที่นาที่มีต้นกกเป็ นจานวนมาก ทิศเหนือติดเขานาคเกิด ทิศใต้ ตดิ บ้ านนาใหญ่ ทิศตะวันออกจด โรงไฟฟ้า ทิศตะวันตกติดขุมเหมืองร้ าง ภูมิประเทศในอดีตเป็ นพื ้นที่นาและสวน ชื่อบ้ านนี ้หมายถึงทุง่ นาที่มี ต้ นกก(เกตุนภา มุกดาสกุลภิบาล 2543)
บ้ านนากก (ที่มา: https://maps.google.com)
กก ชื่อวิทยาศาสตร์ Cyperus involucratus Roxb. (ที่มา: http://www.biogang.net/plant_view.php?uid=57015&id=204443)
บ้ านโคกทราย ตาบลฉลอง บริเวณหมูบ่ ้ าน ทิศเหนือจดบ้ านกลาง ทิศใต้ จดวงเวียนห้ าแยก ทิศตะวันออกติดเจ้ าฟ้านอก ทิศ ตะวันตกติดยอดเสน่ห์ ภูมิประเทศในอดีตเป็ นหนองน ้า เหมืองแร่และป่ าไม้ ชื่อบ้ านนี ้หมายถึงบริเวณเนินที่ มีทราย(เกตุนภา มุกดาสกุลภิบาล 2543:18) บ้ านดอน ตาบลเทพกระษัตรี อาเภอถลาง เดิมลักษณะของหมูบ่ ้ านเป็ นที่ดอน มีต้นไม้ มากและน ้าล้ อมรอบ ซึง่ เป็ นหมู่บ้านเก่าแก่ที่ตงมา ั้ ๒๐๐ กว่าปี เป็ นที่ตงของบ้ ั้ านพระยาถลางจอมเฒ่า ลุงของท้ าวเทพกระษัตรี ท้าวศรี สนุ ทร ภูมิประเทศเป็ น ทุง่ นาและแม่น ้า 2504630 PLANTS IN LANDSCAPE ARCHITECTURE | 10
บ้ านหมากปรก ตาบลไม้ ขาว อาเภอถลาง คนแก่นิยมกินหมากกับพลูและปูนแดง ชาวบ้ านเรี ยกบ้ านหมากปรก มีต้นหมากขึ ้นดก ทิศเหนือจด คลองหมากปรก ทิศใต้ จดบ้ านเมืองใหม่ ทิศตะวันออกจดป่ าโกงกาง ทิศตะวันตกติดบ้ านทุง่ คา ภูมิประเทศ ในอดีตเป็ นป่ าโกงกางและสวนยางสวนยาง ปั จจุบนั เป็ นป่ าไม้ เบญจพรรณ ชื่อบ้ านนี ้หมายถึงที่ซงึ่ มีต้น หมากขึ ้นทัว่ ไป (เลียบ ชนะศึก ให้ ข้อมูลเมื่อ 24 ธันวาคม 2546 24 ธันวาคม 2546)
บ้ านหมากปรก (ที่มา: https://maps.google.com)
หมาก ชื่อวิทยาศาสตร์ Areca catechu L. (ที่มา: http://frynn.com/%E0%B8%AB%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B8%81/)
บ้ านคอเอน ตาบลไม้ ขาว อาเภอถลาง อดีตมีต้นค้ อ และต้ นค้ อเอน จึงเรี ยกบ้ านนี ้ว่า บ้ านค้ อเอน หรื อเป็ นชื่อของพันธุ์ ไม้ ยืนต้ นชนิดหนึง่ คือต้ นค้ อมีลกั ษณะเอน ทิศเหนือจดทะเลอันดามัน ทิศใต้ ติดบ้ านหมากปรก ทิศตะวันออกอ่าวโต๊ ะขุน ทิศ ตะวันตกติดอ่าวด่านหยิด ป่ า สวนยาง ภูมิประเทศในอดีต เป็ นป่ า ทะเล ป่ ายาง ชื่อบ้ านนี ้หมายถึงต้ นค้ อ ขนาดใหญ่เอนใกล้ ล้ม(เลียบ ชนะศึก ให้ ข้อมูลเมื่อ 24 ธันวาคม 2546 24 ธันวาคม 2546)
2504630 PLANTS IN LANDSCAPE ARCHITECTURE | 11
บ้ านคอเอน (ที่มา: https://maps.google.com)
ค้ อ ชื่อวิทยาศาสตร์ Livistona speciosa (ที่มา: https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%84%E0%B9%89%E0%B8%AD) ค้ อ เป็ นปาล์มต้ นเดี่ยว ชอบขึ ้นอยูบ่ นภูเขา ขนาดของลาต้ นประมาณ 30 เซนติเมตร สูงได้ ถึง 25 เมตร ใบเป็ นรูปพัด จักเว้ า ลึกไม่ถึงครึ่งตัวใบ จีบเวียนรอบใบสวยงาม ใบอ่อนสีเขียวเข้ มเป็ นมัน ดอกช่อดอกออกระหว่างกาบใบ ช่อยาว 1.50 เมตร ผลกลมรี ขนาด 2 เซนติเมตร ผลแก่สเี ขียวคล ้า
บ้ านสวนมะพร้ าว ตาบลไม้ ขาว อาเภอถลาง สวนพร้ าว สวนฝรั่ง มีชาวต่างชาติเป็ นฝรั่งคือนายสก๊ อต เข้ ามาตังรกรากแล้ ้ วแต่งงานกับสาวไทย แล้ ว ชาวบ้ านส่วนใหญ่ประกอบทาสวนมะพร้ าว จึงได้ ชื่อหมูบ่ ้ านว่าสวนฝรั่ง ต่อมาปลูกมะพร้ าวเพิ่มขึ ้น นา ผลผลิตในการทาอุตสาหกรรมผลิตสบู่ น ้ามันมะพร้ าว และได้ เปลี่ยนชื่อเป็ นบ้ านสวนมะพร้ าว
บ้ านสวนมะพร้ าว (ที่มา: https://maps.google.com)
2504630 PLANTS IN LANDSCAPE ARCHITECTURE | 12
บ้ านไม้ ขาว ตาบลไม้ ขาว อาเภอถลาง บ้ านไม้ ขาว ซึง่ ผู้เฒ่าผู้แก่ได้ เล่าไว้ วา่ ที่กลางหมู่บ้าน (บริ เวณทุง่ นาปั จจุบนั ) มีต้นไม้ ใหญ่สีขาวอยู่ ๒ ต้ นคูก่ นั ไม้ สว่ นมากเป็ นไม้ เสม็ดมีต้นสีขาว ทิศเหนือติดบ้ านสวนมะพร้ าว ทิศใต้ จดท่าอากาศยานภูเก็ต (สนามบิน) ทิศตะวันออกติดบ้ านหมากปรก ทิศตะวันตกจดทะเล ภูมิประเทศในอดีตเป็ นป่ าดงดิบ และ สวนมะพร้ าว ชื่อบ้ านนี ้หมายถึงไม้ ต้นสีขาว คือต้ นเสม็ดเปลือกขาว(เลียบ ชนะศึก ให้ ข้อมูลเมื่อ 24 ธันวาคม 2546 24 ธันวาคม 2546)
บ้ านไม้ ขาว (ทีม่ า: https://maps.google.com)
เสม็ดขาว ชื่อวิทยาศาสตร์ Melaleuca cajuputi (ที่มา: http://www.manager.co.th/Travel)
บ้ านโคกยาง ตาบลราไวย์ อาเภอเมือง โคกยาง ซึง่ มีต้นยางมาก (โคก-สูง) ทิศเหนือจดบ้ านไสยวน ทิศใต้ จดบ้ านหัวพรุ ทิศตะวันออกจด บ้ านหลังวัด ทิศตะวันตกติดถนน ภูมิประเทศในอดีตเป็ นสวนยางและที่นา
2504630 PLANTS IN LANDSCAPE ARCHITECTURE | 13
บ้ านโคกยาง (ที่มา: https://maps.google.com)
ยาง ชื่อวิทยาศาสตร์ Hevea brasiliensis Muell-Arg. (ที่มา: http://www.biogang.net/plant_view.php?uid=24282&id=129569)
บ้ านในหาน ตาบลราไวย์ อาเภอเมือง ชาวบ้ านกลุม่ แรกที่อพยพมาจาก อาเภอทับปุด จังหวัดพังงา เรี ยกชื่อหมู่บ้านเป็ นทางการตามชื่อ ของหนองน ้าและชื่อสานักสงฆ์วา่ "บ้ านในหาน" เพราะเป็ นที่มีน ้า " ทิศเหนือจดบ้ านไสยวน ทิศใต้ ติดภูเขา แดง ทิศตะวันออกจดบ้ านหัวพรุ ทิศตะวันตกจดทะเลอันดามัน ภูมิประเทศในอดีตเป็ นสวนมะพร้ าวและ ป่ า ชื่อบ้ านนี ้หมายถึงบ้ านอยูใ่ กล้ บงึ หนองน ้า บ้ านหัวพรุ ตาบลราไวย์ อาเภอเมือง หัวพรุ อดีต ภูมิประเทศในอดีตเป็ นเกาะทุง่ นาล้ อมรอบมีพรุมากหลาย เลยเรี ยกว่า บ้ านหัวพรุ ) ชื่อ บ้ านนี ้หมายถึงส่วนต้ นของบึงน ้าใกล้ ชายทะเล
2504630 PLANTS IN LANDSCAPE ARCHITECTURE | 14
บ้ านอ่าวมะขาม ตาบลวิชิต อาเภอเมือง อ่าวขาม ซึง่ บริเวณอ่าวมีต้นมะขามมาก ภูมิประเทศในอดีตเป็ น ที่นา ติดทะเลอันดามัน
บ้ านอ่าวมะขาม (ที่มา: https://maps.google.com)
มะขาม ชื่อวิทยาศาสตร์ Tamarindus indica L. (ที่มา: http://daramuseum.blogspot.com/2012/11/blog-post_787.html)
บ้ านเชิงทะเล ตาบลศรี สนุ ทร อาเภอถลาง บ้ านตีนเล ซึง่ ลักษณะของหมูบ่ ้ านอยูต่ ิดกับทะเล บ้ านตีนเล เป็ นเชิงทะเล ทิศเหนือติดบ้ านป่ าสัก ทิศใต้ ติดภูเขา ทิศตะวันออกติดบ้ านม่าหนิก ทิศตะวันตกติดบ้ านบางเทา ภูมิประเทศในอดีตเป็ นป่ า บ้ านส้ มเฟื อง ตาบลศรี สนุ ทร อาเภอถลาง ส้ มเฟื อง มีต้นมะเฟื องมาก เป็ นที่ลมุ่ ๆ ดอนๆ ทิศเหนือจดหาดบางเทา ทิศใต้ จดหาดสุรินทร์ ทิศ ตะวันออกติดบ้ านบางเทา ทิศตะวันตกจดทะเล ภูมิประเทศในอดีตเป็ นป่ าชายเลน ชื่อบ้ านหมายถึงบ้ านที่ มีส้มมะเฟื อง 2504630 PLANTS IN LANDSCAPE ARCHITECTURE | 15
บ้ านส้ มเฟื อง (ที่มา: https://maps.google.com)
มะเฟื อง ชื่อวิทยาศาสตร์ Averrhoa carambola L. (ที่มา: http://www.phargarden.com/main.php?action=viewpage&pid=94)
บ้ านนาใน ตาบลป่ าตอง อาเภอกะทู้ เมื่อก่อนเป็ นนา อยูล่ กึ เข้ าไปใน จึงเรี ยกว่าบ้ านนาใน ทิศเหนือจดบ้ านไสน ้าเย็น ทิศใต้ และทิศ ตะวันออกติดภูเขา ทิศตะวันตกจดทะเลอันดามัน ภูมิประเทศในอดีตเป็ นนา ทุง่ หญ้ า ลาคลอง ป่ าโกงกาง บ้ านนาใน ตาบลเกาะแก้ ว อาเภอเมือง เมื่อก่อนเป็ นที่นากว้ าง มีบ้านคนอาศัยอยูบ่ ริเวณด้ านในลึกเข้ าไปจึง เรี ยกว่า บ้ านนาใน ทิศเหนือ ติดคลองน ้าวูวู จดเขตอาเภอถลาง ทิศใต้ จดบ้ านเกาะแก้ ว หมู่ ๔ ทิศตะวันออกจด ถนนเทพกระษัตรี ทิศ ตะวันตกจดเขาเจาะตา ภูมิประเทศเป็ นแหล่งน ้า บ้ านนาใน ตาบลเทพกระษัตรี อาเภอเมือง บ้ านนาใน จากบ้ านเคียนเป็ นที่ราบแปลงใหญ่ มีการบุกเบิกการทานา เป็ นที่นาไกลเข้ าไปอยูใ่ กล้ เขาพระแทว
2504630 PLANTS IN LANDSCAPE ARCHITECTURE | 16
บ้ านบางหวาน ตาบลกมลา อาเภอกะทู้ ชื่อเดิมและชื่อถิ่นมีบางหวาน ซึง่ มีต้นผักหวาน อยู่บริ เวณนี ้เป็ นจานวนมาก ที่ตงทางทิ ั้ ศเหนือติด ภูเขา ทิศใต้ ตดิ เขาป่ าตอง ทิศตะวันออกจดเทือกเขากมลาและทิศตะวันตกติดที่นาร้ าง ภูมิประเทศในอดีต เป็ นป่ ารกร้ าง สวนยาง และสวนทุเรี ยน
บ้ านบางหวาน (ที่มา: https://maps.google.com)
ผักหวาน ชื่อวิทยาศาสตร์ Sauropus androgynus (L.) Merr. (ที่มา: http://www.phargarden.com/main.php?action=viewpage&pid=77)
บ้ านนานอก ตาบลกมลา อาเภอกะทู้ ชื่อ นานอก เนื่องจากเป็ นที่นาที่อยูไ่ กลสุด ไกลจากนาของคนอื่น ๆ ที่ตงทิ ั ้ ศเหนือติดเขาสะฮาม ทิศใต้ ติดป่ าและบ้ านนอกเล ทิศตะวันออกติดโคกเคียนและทิศตะวันตกติดกุโปบ้ านกมลา ภูมิประเทศใน อดีตเป็ นป่ า ที่นา ภูเขาและทะเล ชื่อบ้ านนี ้หมายถึงทุง่ นาที่อยู่ด้านนอก บ้ านโคกเคียน ตาบลกมลา อาเภอกะทู้ เนื่องจากมีต้นตะเคียนมากตรงบริเวณโคกปั จจุบนั ไม่มีใครรู้จกั โคกเคียนแล้ ว ส่วนคนละแวกบ้ าน จะเรี ยกรวมเป็ นบ้ านนา ชื่อบ้ านนี ้หมายถึงเนินที่มีต้นตะเคียน
2504630 PLANTS IN LANDSCAPE ARCHITECTURE | 17
บริ เวณบ้ านโคกเคียน (ที่มา: https://maps.google.com)
ตะเคียน ชื่อวิทยาศาสตร์ Hopea odorata Roxb. (ที่มา: http://frynn.com)
บ้ านนาบอน ตาบลฉลอง อาเภอเมือง นาบอน เรี ยกมาตังแต่ ้ สมัยดังเดิ ้ มมาแล้ ว ซึง่ เมื่อก่อนบริเวณนี ้เป็ นที่นา และที่นาแห่งนี ้ก็มีต้นบอน ขึ ้นเป็ นจานวนมากมองไปทางไหนก็เห็นแต่บอนจึงเรี ยกว่า นาบอน ตังทางทิ ้ ศเหนือติดถนนวิชิต ทิศใต้ ติด บ้ านป่ าหล่าย ทิศตะวันออกติดป่ าโกงกางและทิศตะวันตกติดบ้ านตีนเขา ภูมิประเทศในอดีตเป็ นสวน มะพร้ าว ที่นาและป่ าเสม็ด ชื่อบ้ านนี ้หมายถึงบริ เวณนาที่มีบอน(เกตุนภา มุกดาสกุลภิบาล 2543:16)
2504630 PLANTS IN LANDSCAPE ARCHITECTURE | 18
บ้ านนาบอน (ที่มา: https://maps.google.com)
บอน ชื่อวิทยาศาสตร์ Colocasia esculenta (L.) Schott (ที่มา: http://frynn.com/%E0%B8%9A%E0%B8%AD%E0%B8%99)
บ้ านตะเคียน อาเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต บ้ านเคียน ซึง่ เป็ นไม้ ชนิดหนึ่ง ที่อยูข่ ้ างคลองนอกจากไม้ ทองหลางแล้ วยังมีไม้ ตะเคียนเป็ นจานวน มากที่นาไปทาเรื อ ที่ตงทางทิ ั้ ศเหนือติดวัดม่วงโกมารภัจจ์ ทิศใต้ ติดทุง่ นา ทิศตะวันออกติดถนนบางเหรี ยง และทิศใต้ ติดถนนจอมเฒ่า ภูมิประเทศในอดีตเป็ นคลอง ทุง่ นา
บ้ านโคกเคียน (ที่มา: https://maps.google.com)
2504630 PLANTS IN LANDSCAPE ARCHITECTURE | 19
บ้ านพรุจาปา ตาบลเทพกระษัตรี อาเภอถลาง บ้ านพรุจาปา เนื่องจากลักษณะภูมิประเทศเป็ นพรุ บริเวณนี ้เคยมีต้นจาปาเป็ นจานวนมากจึง เรี ยกว่า พรุจาปา ที่ตงทิ ั ้ ศเหนือติดเขากล้ วย ทิศใต้ ตดิ บ้ านดอน ทิศตะวันออก ทิศตะวันตกติดสวนยาง
จาปา ชื่อวิทยาศาสตร์ Michelia champaca L. (ที่มา: http://www.nanagarden.com/tag/%E0%B8%88%E0%B8%B3%E0%B8%9B%E0%B8%B2)
บ้ านแหลมทราย ตาบลเทพกระษัตรี อาเภอถลาง เนื่องจากลักษณะของภูมิประเทศเป็ นแหลมยื่นออกไปจากเกาะ เรี ยกว่า แหลมทราย ที่ตงทางทิ ั้ ศ เหนือจดทะเล ทิศใต้ ติดบ้ านท่ามะพร้ าว ทิศตะวันออกและตกจดทะเล ภูมิประเทศในอดีตเป็ นป่ า สวนยาง ควน แหล่งน ้า ภูเขาและทะเล ชื่อบ้ านนี ้หมายถึงแหลมที่มีทราย บ้ านท่ามะพร้ าว ตาบลเทพกระษัตรี อาเภอถลาง ท่าพร้ าว เป็ นท่าเรื อที่มีมะพร้ าวอยูบ่ ริเวณนันมาก ้ ที่ตงทางทิ ั้ ศเหนือติดคลองท่าพร้ าว ทิศใต้ ตดิ ถนนแหลมทรายเมืองใหม่ ทิศตะวันออกติดบ้ านแหลมทรายและทิศตะวันตกติดป่ ายาง ภูมิประเทศในอดีต เป็ นป่ าโกงกาง
บ้ านท่ามะพร้ าว (ที่มา: https://maps.google.com)
2504630 PLANTS IN LANDSCAPE ARCHITECTURE | 20
บ้ านผักฉีด ตาบลป่ าคลอก อาเภอถลาง บ้ านผักเฉด ในอดีตคนในหมูบ่ ้ านประกอบการทาสวนยาง หมดฤดูทานาก็จะมีผกั กระเฉดคนส่วน ใหญ่จงึ นิยมปลูกผักกระเฉด แต่มสุ ลิมส่วนใหญ่เรี ยก ผักฉีด ทางทิศเหนือติดป่ าคลอก ทิศใต้ ติดบ้ านบางลา ทิศตะวันออกจดชายทะเลบ้ านบางทรายและบ้ านยามู ทิศตะวันตกติดเขาเหมียงและเทือกเขาพระแทว ภูมิ ประเทศในอดีตเป็ นทุง่ นา สวนยาง
บ้ านผักฉีด (ที่มา: https://maps.google.com)
กระเฉด ชื่อวิทยาศาสตร์ Neptumia oleracea Lour. FL. (ที่มา: http://www.samunpri.com)
บ้ านพารา ตาบลป่ าคลอก อาเภอถลาง ที่ตงทางทิ ั้ ศเหนือติดท่ามะพร้ าว ทิศใต้ ติดบ้ านบางโรง ทิศตะวันออกติดป่ าชายเดนและทิศ ตะวันตกจดเขาพระแทว ชื่อบ้ านนี ้หมายถึงบาลา แปลว่า อ่าวลึก ตามคามลายู(สุนยั ราชภัณฑารักษ์ 2527) บ้ านเกาะนาคา ตาบลป่ าคลอก อาเภอถลาง นาคา เดิมมีความแห้ งแล้ ง มีหญ้ าคาปกคลุมอยูท่ วั่ ไปทุกบริเวณ จึงเรี ยกเกาะหญ้ าคาและเพี ้ยนมา เป็ นเกาะนาคา ที่ตงทางทิ ั้ ศเหนือ ทิศใต้ ทิศตะวันออกและทิศตะวันตกจดทะเลอันดามัน เป็ นกลุม่ ชาติพนั ธุ์ มุสลิม ชื่อบ้ านนี ้หมายถึงเกาะที่มีหญ้ าคา
2504630 PLANTS IN LANDSCAPE ARCHITECTURE | 21
บ้ านเกาะนาคาเล็ก ตาบลป่ าคลอก อาเภอถลาง นาคา หรื อ หญ้ าคาเดิมมีความแห้ งแล้ ง มีหญ้ าคาปกคลุมอยูท่ วั่ ไปทุกบริเวณ จึงเรี ยกเกาะหญ้ าคา และเป็ นเกาะนาคาเล็ก เพราะมีขนาดเล็กกว่าเกาะนาคาใหญ่ ใหญ่ ที่ตงทางทิ ั้ ศเหนือ ทิศใต้ ทิศตะวันออก และทิศตะวันตกจดทะเลอันดามัน ชื่อบ้ านนี ้หมายถึงเกาะที่มีหญ้ าคา
บ้ านเกาะนาคา และบ้ านเกาะนาคาเล็ก (ที่มา: https://maps.google.com)
บ้ านอ่าวปอ ตาบลป่ าคลอก อาเภอถลาง อ่าวปอ เพราะข้ างริมทะเลมีต้นปออยูเ่ ป็ นจานวนมาก ตังทางทิ ้ ศเหนือและทิศใต้ จดภูเขา ทิศ ตะวันออกจดทะเล และทิศตะวันตกจดภูเขาและสวนยาง ภูมิประเทศในอดีตเป็ นป่ า ที่นา
บ้ านอ่าวปอ (ที่มา: https://maps.google.com)
ปอทะเล ชื่อวิทยาศาสตร์ Hibiscus tilliaceus L. (ที่มา: http://frynn.com)
2504630 PLANTS IN LANDSCAPE ARCHITECTURE | 22
บ้ านยามู ตาบลป่ าคลอก อาเภอถลาง ที่ตงทางทิ ั้ ศเหนือติดสวนยาง, บ้ านป่ าคลอก ทิศใต้ จดทะเล ทิศตะวันออกติดสวนยางและทะเล ทิศ ตะวันตกติดบ้ านผักฉีด ภูมิประเทศในอดีต ป่ า สวนยาง แหล่งน ้า ยามูวนั เป็ นภาษามลายู หมายถึงชมพู่ ฝรั่งชนิดหนึง่ ที่ชาวภูเก็ตเรี ยกยาหมู
บ้ านยามู (ที่มา: https://maps.google.com)
ฝรั่ง ชื่อวิทยาศาสตร์ Psidium guajava Linn. (ที่มา: http://www.xn--22c0cpkaok4bya8ih1l7b.com) บ้ านบางกา ตาบลป่ าคลอก อาเภอถลาง อดีตบริเวณนี ้เป็ นป่ าพังกา เรี ยกสัน้ ๆ ว่า บ้ านบางกา คาว่า “บาง” หมายถึงทางน ้าเล็กๆ ที่แยก จากลาคลองเป็ นคามลายู ที่ตงทางทิ ั้ ศเหนือติดถนนท่าเรื อ ทิศใต้ จดป่ า ทิศตะวันออกจดทะเล และทิศ ตะวันตกติดบ้ านท่าเรื อ ภูมิประเทศในอดีตเป็ น ป่ าพังกา หรื อป่ าชายเลน
2504630 PLANTS IN LANDSCAPE ARCHITECTURE | 23
บ้ านบ่อไทร ตาบลไม้ ขาว อาเภอถลาง ภูมิประเทศในอดีตเป็ นป่ าและที่ราบ ชื่อบ้ านนี ้หมายถึงหมูบ่ ้ านที่มีทงต้ ั ้ นไทรและบ่อน ้า บ้ านทุง่ คาพะเนียงแตก ตาบลรัษฎา อาเภอเมือง เมื่อก่อนที่ร่อนแร่ เรี ยกว่า เลียง แล้ วมันแตก เปลี่ยนเสียงไปเป็ นพะเนียงแตก มีทงุ่ หญ้ าคา เขานาง พันธุ์มีหญ้ าคามาจนถึงบริเวณนี่เรี ยกว่า ทุง่ คา แล้ วเรี ยกรวมเป็ น ทุง่ คาพะเนียงแตก อาณาเขตทิศเหนือจด ขุมเมืองเก่า ทิศใต้ ตดิ ถนนสามกอง ทิศตะวันออกจดขุมเหมือง (แหล่งน ้า) และทิศตะวันตกติดถนนโรงเรี ยน ทุง่ คา ภูมิประเทศในอดีตเป็ นหญ้ าคา เหมืองเก่า ป่ า แหล่งน ้า ชื่อบ้ านนี ้หมายถึงทุ่งหญ้ าที่มีหญ้ าคา(เกตุ นภา มุกดาสกุลภิบาล 2543) บ้ านแหลมชัน่ ตาบลวิชิต อาเภอเมือง แหลมชัน่ อาณาเขตทิศใต้ ติดถนนขวาง ทิศตะวันออกติดถนนเจ้ าฟ้าใน ทิศตะวันตกติดถนนเจ้ าฟ้า นอก ภูมิประเทศในอดีต เป็ นที่นา สวนยาง ป่ า เหมืองแร่เก่า ชื่อ แหลมชัน่ เพี ้ยนมาจาก โป้ช่านและ หมายถึงนามีหล่ม เป็ นคาจีน บ้ านตีนเขา ตาบลวิชิต อาเภอเมือง ชื่อบ้ านหมายถึง บริเวณเชิงเขา(เกตุนภา มุกดาสกุลภิบาล 2543:31) บ้ านในยาง ตาบลสาคู อาเภอถลาง บ้ านในยันต์ ในยัง ซึง่ ในอดีตเป็ นบ้ านในยัง แต่เรี ยกเพี ้ยนเป็ นในยาง อีกนัยหนึง่ เนื่องจากมีต้น ยางจานวนมากเป็ นป่ ายาง คนไปอาศัยอยูใ่ นป่ ายางจึงได้ เรี ยกว่าในยาง อาณาเขตทิศเหนือจดสนามบิน ทิศใต้ ติดบ้ านม่าเหล่า ทิศตะวันออกติดป่ า ทิศตะวันตกจดทะเล ภูมิประเทศในอดีตเป็ น ป่ าไม้ ชื่อบ้ านนี ้ หมายถึงบ้ านที่อยูใ่ นดงต้ นยาง(เลียบ ชนะศึก ให้ ข้อมูลเมื่อ 24 ธันวาคม 2546) บ้ านตรอกม่วง ตาบลสาคู อาเภอถลาง อาณาเขตทิศเหนือจดภูเขาและทะเล ทิศใต้ จดภูเขาเมือง (ในทอนเรี ยกหลักเมือง) ทิศตะวันออก ติดที่นาร้ าง ทิศตะวันตกติดควนเขาลวก ภูมิประเทศในอดีตเป็ นป่ าทุเรี ยน ต้ นมะม่วง ภูเขา ป่ า ที่นา แหล่ง ป่ า ชื่อบ้ านนี ้หมายถึงช่องแคบที่มีต้นมะม่วง(เลียบ ชนะศึก ให้ ข้อมูลเมื่อ 24 ธันวาคม 2546)
2504630 PLANTS IN LANDSCAPE ARCHITECTURE | 24
บ้ านสาคู ตาบลสาคู อาเภอถลาง เมื่อก่อนมีต้นสาคูจานวนมาก อาณาเขตทางทิศเหนือติดตรอกม่วง ทิศใต้ ติดภูเขาเมือง ทิศ ตะวันออกติดพรุจาปา ทิศตะวันตกติดภูเขาบ้ านสาคู ภูมิประเทศในอดีตเป็ น ที่นา ภูเขา แหล่งน ้า ป่ าสาคู ชื่อบ้ านนี ้หมายถึงสระที่มีโคหรื อมีต้นสาคูขึ ้นอยู(่ เลียบ ชนะศึก ให้ ข้อมูลเมื่อ 24 ธันวาคม 2546) บ้ านโคกขาม อาเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต เมื่อก่อนมีต้นมะขามใหญ่เป็ นจานวนมาก อาณาเขตทิศเหนือติดภูเขา ทิศใต้ ติดบ้ านชายวัด ทิศ ตะวันออกติดบ้ านชายวัด ทิศตะวันตกติดบ้ านเพชร ภูมิประเทศในอดีตเป็ นนา ภูเขา แหล่งน ้า ป่ ามะขาม บ้ านหนองหาน ตาบลกะรน อาเภอเมือง บ้ านในหาน เป็ นแหล่งน ้า หนองน ้าขนาดใหญ่ ที่คนใช้ สอยกันในละแวกนัน้ ชื่อบ้ านนี ้หมายถึงบึง หนองน ้า(เลียบ ชนะศึก ให้ ข้อมูลเมื่อ 24 ธันวาคม 2546) บ้ านควน ตาบลเทพกระษัตรี อาเภอเมือง อาณาเขตทางทิศเหนือติดบ้ านนาใน ทิศใต้ ติดบ้ านแหนน ทิศตะวันออกติดเขาพระแทว ทิศ ตะวันตกติดบ้ านแหนน ภูมิประเทศในอดีตเนิน ป่ า ชื่อบ้ านนี ้หมายถึงเนินเชิงเขา(เลียบ ชนะศึก ให้ ข้อมูล เมื่อ 24 ธันวาคม 2546) บ้ านแหลมไม้ ไผ่ ตาบลรัษฎา อาเภอเมือง แหลมไม้ ไผ่ ตรงบริเวณแหลมไม้ ไผ่ ไม่มีผ้ คู นอาศัยอยู่ จะอาศัยอยู่ที่บริเวณอ่าว อาณาเขตทางทิศ เหนือติดเส้ นทางเลียบภูเขา ทิศใต้ ติดสวนยาง ทิศตะวันออกจดทะเล ทิศตะวันตกติดภูเขาเกาะสิเหร่ ภูมิ ประเทศในอดีตแหลมป่ า ภูเขา อ่าว ชื่อบ้ านนี ้หมายถึงแหลมที่มีไผ่ขึ ้นอยูท่ วั่ ไป บ้ านนาในสุด ตาบลป่ าตอง อาเภอกะทู้ เป็ นที่นาที่ลึกเข้ าไปและเป็ นที่นาผืนสุดท้ ายที่ไม่สามารถขยายได้ อีก เพราะติดกับภูเขาอาณาเขต ทางทิศเหนือติดเขาบางทอง ทิศใต้ จดทะเล ทิศตะวันออกติดภูเขา ทิศตะวันตกติดหมู่ 3 บ้ านไสน ้าเย็น ภูมิ ประเทศเป็ นป่ า ภูเขา ที่นาและที่พกั อาศัย ชื่อบ้ านนี ้หมายถึงทุง่ นาที่อยูด่ ้ านในมากกว่าที่อื่น(เลียบ ชนะศึก ให้ ข้อมูลเมื่อ 24 ธันวาคม 2546) บ้ านบางงัว่ ชื่อบ้ านหมายถึงมะงัว่ ชาวภูเก็ตเรี ยกลูกงัว่ (เกตุนภา มุกดาสกุลภิบาล 2543:21) 2504630 PLANTS IN LANDSCAPE ARCHITECTURE | 25
บ้ านจุ้ยตุย่ ชื่อบ้ านหมายถึง บริเวณที่มีน ้าสองสายมาสมทบกัน(เกตุนภา มุกดาสกุลภิบาล 2543:23) บ้ านเกาะสิเหร่ ชื่อบ้ านหมายถึงเกาะพลู จาก สิเหร่ เป็ นคามลายู (sirih ) มีลกั ษณะเกาะที่พบต้ นพลูขึ ้นอยูท่ วั่ ไป (สุนยั ราชภัณฑารักษ์ 2527: และเกตุนภา มุกดาสกุลภิบาล 2543:25)
บ้ านเกาะสิเหร่ (ที่มา: https://maps.google.com)
พลู ชื่อวิทยาศาสต์ Piper betle (ที่มา: https://th.wikipedia.org/wiki)
2504630 PLANTS IN LANDSCAPE ARCHITECTURE | 26
อ้ างอิง http://klaengcommunity.lnwshop.com/article/%E0%B8%A0%E0%B8%B9%E0%B8%A1 %E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8% 97%E0%B8%A2%E0%B8%B2-toponymy http://two-gen.com/board/index.php?topic=5187.0 Montone Puket (Siam) Malay Peninsula By Rev. JHON CARRINGTON, B.A., M.A. http://www.siamese-heritage.org/jsspdf/1904/JSS_003_1c_Carrington_MontonePuket.pdf Historical retrospect of Junkceylon island by Colonel G. E. Gerini http://www.siameseheritage.org/jsspdf/1904/JSS_002_2b_Gerini_HistoricalRetrospectOfJunkCeylonIslandPartI.pdf http://www.phuketdata.net/main/index.php?option=com_content&task=view&id=68&Ite mid=5