1
2
จากผูเ้ ขียน ในประมาณปี พศ. 2545 พีช่ ายผูเ้ ขียนคุณประวิทย์ พันธุว์ โิ รจน์ซง่ึ ขณะ นัน้ ดำ�รงค์ต�ำ แหน่งผูอ้ �ำ นวยการเขคสัมพันธวงค์ได้เขียนหนังสือขึน้ มาเล่มหนึง่ โดยใช้ช่อื ว่า.“เสน่ห์เมืองจิ๋ว”.โดยเนื้อหาส่วนใหญ่นำ�เสนอถึงสถานที่สำ�คัญๆ ต่างๆและวิถีชีวิตของประชากรในเขคสัมพันธวงค์ซ่งึ ส่วนใหญ่เป็นชาวไทยเชื้อ สายจีนอาศัยอยู่มาช้านานโดยทำ�หน้าที่ประชาสัมพันธ์เพื่อกิจการงานท่อง เทีย่ วตามนโยบายการส่งเสริมการฟืน้ ฟูพฒ ั นาแหล่งถิน่ ทีอ่ ยูข่ องชุมชนชาวไทย เชื้อสายจีนที่อาศัยอยู่หนาแน่นนี้ให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และ วัฒนธรรมของชาวไทยเชื้อสายจีนของกรุงเทพมหานครตามนโยบายส่งเสริม การท่องเทีย่ วของรัฐบาลในสมัยนัน้ หนังสือเล่มนีท้ �ำ ให้ผเู้ ขียนเริม่ มีความรูร้ ว่ ม กับสิง่ ทีเ่ ป็นไปในทีแ่ ห่งนี้ ความทรงจำ�ความผูกพันธ์ในเยาว์วยั ประมาณห้าหก สิบปีทแ่ี ล้วเริม่ กลับมาปรากฎ ต่อมาหลังจากคุณประวิทย์ปลดเกษียรแล้วก็กลับ มาช่วยงานท้องถิน่ ในเขตสัมพันธวงค์และเขตป้อมปราบฯ ง่ึ เป็นย่านชุมชนชาว จีน อีกครัง้ ในฐานะทีป่ รีกษาและสนับสนุนกิจกรรมงานพัฒนาท้องถิน่ ของคณะ ผูบ้ ริหาร ( งานอาสาสมัคร ) ในโอกาสนีค้ ณ ุ ประวิทย์ได้เขียนหนังสือเกีย่ วข้องกับ การประชาสัมพันธ์ท้องถิ่นนี้อีกเล่มหนึ่งโดยหนังสือเล่มนี้นอกจากจะนำ�เสนอ เรือ่ งราวเชิงลึกทางกายภาพของสถานทีส่ �ำ คัญ ลักษณะของวัฒนธรรมท้อง ถิน่ แล้ว ยังมีเรือ่ งราวทางประวัตศิ าสตร์ของชุมชนอีกด้วยซึง่ จากหนังสือเล่ม นี้ผ้เู ขียนได้มีโอกาสทำ�หน้าที่เป็นที่ปรึกษาทางด้านประวัติศาสตร์จึงทำ�ให้เริ่ม เข้าไปศึกษาค้นคว้าประวัตศิ าสตร์ของชาวไทยเชือ้ สายจีนอย่างจริงจัง บวกรวม กับประสบการณ์ ความรูส้ กึ จากการได้ยนิ ได้ฟงั ได้ประสพมาเองของผูเ้ ขียน เอง มีขอ้ สงสัยหลายๆข้อทีผ่ เู้ ขียนอยากจะหาคำ�ตอบให้ได้ เช่น การกำ�เนิดและ การพัฒนาการชองชาวไทยเชือ้ สายจีนจากอดีตเป็นอย่างไร เอกลักษณ์และ ทักษะอันโดดเด่นทางการค้าของชาวไทยเชือ้ สายจีน ความเกีย่ วข้องและความ สัมพันธ์งชาวไทยเชือ้ สายจีนกับผูป้ กครองผูบ้ ริหารแผ่นดินของไทย อะไรคือ ความคิดอ่าน ทัศนคติชาวไทยเชือ้ สายจีนต่อสังคม ฯลฯ ทัง้ หมดนีล้ ว้ นเป็นสิง่ ที่ สร้างแรงบันดาลใจให้ผเู้ ขียนกระตือรือร้นสนใจในการเขียนหนังสือเล่มนีท้ ง้ั สิน้ ...
....
ซ
3
.เนือ่ งจากผูเ้ ขียนยอมรับว่าตนเองด้อยประสบการณ์และทักษะในเชิงภาษาศาสตร์ และการประพันธ์ ดังนัน้ ในการนำ�เสนอเนือ้ หาหนังสือนีผ้ เู้ ขียนจึงต้องใช้วธิ กี ารการ ทำ�งานวิจยั และทักษะแนวความคิดพืน้ ฐานทางวิทยาศาสตร์เป็นเครือ่ งมือหลัก เช่น การตั้งสมมติฐานเพื่อใช้เป็นการสร้างกลไกในการศึกษาค้นคว้าตั้งคำ�ถามหาคำ� ตอบของเรือ่ งราว แนวคิดทางวิทยาศาสดร์ในการเรียบเรียง ประมวลและการลำ�ดับ เหตุการณ์ตา่ งๆว่าเกิดอะไรขึน้ เกิดชึน้ เมือ่ ไร เกิดขีน้ อย่างไร เกิดขึน้ ทีไ่ หน เกิดขึน้ แล้ว มีผลกระทบต่อใครหรือใครเป็นผูส้ ง่ ผลกระทบนัน้ ทำ�ไมจึงก่อให้เกิดเหตุการณ์นน้ั ๆขึน้ เพือ่ ใช้เป็นตรรกในการวิเคราะห์วนิ จิ ฉัยช้อมูลต่างๆไม่วา่ ข้อมูลทีเ่ ป็นหลักฐานชัดแจ้ง เช่นการบันทึกทางประวัตศิ าสตร์ รายงานงานวิจยั ฯ ตัวบทกฎหมาย ฯลฯ หรือข้อมูลที่ กึง่ สังเคราะห์และข้อมูลสังเคราะห์เช่นพงศาวดาร,จดหมายเหตู เรือ่ งเล่าขานจากผูม้ ี ประสบการณ์เป็นต้น ในการนำ�เสนอเรือ่ งราวทีเ่ กีย่ วข้องกับบริบททางด้านสังคมและ เศรษฐกิจของชาวจีน..(.บุตรหลาน.)..ในระบอบการเมืองการปกครองไทย ในบรรพ ทีห่ นึง่ และบรรพทีส่ อง เพือ่ ให้ผอู้ า่ นเห็นภาพได้ชดั เจนมากทีส่ ดุ ผูเ้ ขียนจึงต้องใช้กล ยุทธนำ�เสนอคิอ วิธเี สนอเรียงการลำ�ดับเหตุการณ์แบบกลานุกรม (.Timeline.)..เพือ่ ให้ผอู้ า่ นเห็นภาพของการเปลีย่ นแปลงและการวิวฒ ั นาการได้งา่ ยขึน้ นอกจากนีเ้ พือ่ ให้ได้มติ มิ มุ มองเชิงซ้อนของการอพยพเข้ามาของชาวจีนและได้พฒ ั นาการเติบโตทัง้ ในด้านปริมาณและคุณภาพนั้นได้รับหรือส่งผลกระทบต่อการเมืองการปกครองและ เศรษฐกิจของไทยอย่างไร ผูเ้ ชียนจึงพยายามซ้อนภาพเหตุการณ์ทง้ั สองมิตเิ พือ่ ให้ เกิดภาพมิตสิ มั พันธขึน้ ในบรรพทสามผูเ้ ขียนอยากจะนำ�เสนอถึเรือ่ ของจิตวิญญานข องประชาคมชาวจีน.(.บุตรหลาน.).ในประเทศไทยเพราะจิตวิญญานเป็นรากเหง้าของ ความคิด ทัศนคติ เจตนารมย์สกู่ ารปฎิบตั ิ การวิเคราะห์ดา้ นจิตวิญญานเป็นเรือ่ ง ของนามธรรมที่จับต้องลำ�บากจำ�เป็นต้องกระบวนการวิเคราะห์เชิงเปรียบเทียบมา ช่วย ผูเ้ ขียนเคยอ่านบทธรรมของท่านพุทธทาสฯบทหนึง่ ว่า “คนจัดดอกไม้ ดอกไม้ จัดคน” ซึง่ หมายความว่าคนเป็นผูค้ ดิ ผูก้ ระทำ� ก่อให้เกิดอุบตั กิ ารณ์หรือสรรพสิง่ ใน ทางตรงกันข้ามอุบัติการณ์หรือสรรพสิ่งที่เกิดจากใครคนนั้นย่อมจะเป็นการสะท้อน ถึง ทัศนคติ เจตนารมย์ตลอดจนจิตวิญญานชองเขาเหล่านัน้ จากแนวคิดนีผ้ เู้ ขียน จึงใช้ปรากฎการณ์ สาธารณกุศลวัตถุ ระเบียบประเพณีทป่ี รากฎ โดยอาศัยโอวาท ธรรมของขงจือ้ ทีช่ าวจึนเชือ่ ถือศรัทธาทำ�หน้าเสมือนหนึง่ กระจกสะท้อนให้เห็นถึงจิต วิญญานของประชาคม
4
อย่างไรก็ดผี เู้ ขียนไม่ตอ้ งการให้หนังสือเล่มนีเ้ ป็นหนังสือ วิ ชาการ หวั งแต่ เ พี ย งให้หนังสือเล่ม นี้เ ป็นเพียงสาระคดีเชิง วิเคราะห์เท่านัน้ ดังนัน้ ผูเ้ ขียนจึงพยายามตัดทอนขัดเกลาส่วนที่ เป็นระเบียบขั้นตอนเพื่อให้เนื้อหาหนังสือให้ความรู้สึกไหลลื่นต่อ เนือ่ งแม้วา่ อาจทำ�ให้เข้ายากขึน้ ก็ตาม ผูเ้ ขียนคาดหวังให้ผอู้ า่ น ได้อา่ นหนังสือทีไ่ ด้สาระความรู้ สามารถมองเห็นถึงประวัตศิ าสตร์ วิถีการดำ�เนินชีวิตเรื่องราวต่างๆ+ที่แม้กระทั่งชาวจีนส่วนไหญ่ยัง ไม่เคยรู้ รูจ้ กั มุมมองและทัศนคติอกี ด้านหนึง่ ของสังคมชาวจีน ในประเทศไทย ขณะเดียวกันท่านยังได้มโี อกาสได้เรียนรูเ้ รือ่ ง ราวของระบบการเมืองการเมืองการปกครองและเศรษฐกิจของ ประเทศไทยอีกด้วย สำ�หรับผูอ้ า่ นทีม่ ที กั ษะมีประสบการณ็มคี วาม รูใ้ นเนือ้ หาอยูแ่ ล้ว ผูเ้ ขียนอยากถือโอกาสนีเ้ สนอรูปแบบการนำ� เสนอและมุมมองการวิเคราะห์ท่แี ตกต่างเพื่อให้ท่านได้พิจารณา สำ�หรับผู้อ่านที่มีเชื้อสายจีนผู้เขียนอยากได้เห็นถึงตัวตนที่แท้จรืง รู้ซ้งึ ถึงความยากลำ�บากและการต่อสู้เพื่อการดำ�รงค์ชีวิตในสังคม ใหม่ ทัศนคติและจิตวิญญานของบรรพบุรษุ เพือ่ ให้อนุชนรูซ้ ง้ึ ถึงที่ มาและทีไ่ ปแห่งตน นอกจากนึย้ งั เป็นการสร้างความภูมใิ จของ เชือ้ ชาติบรรพชนสุอ่ นุชนรุน่ หลัง ++++
++สุดท้ายนี้ผู้เขียนขอขอบพระคุณครูบาอาจารย์ผู้ประสาท
วิชาทุกๆท่าน ขอขอบพระคุณแหล่งที่มาของข้อมูลและเรื่องราว ที่ใช้อ้างอิงทุกแหล่ง ที่สำ�คัญคือหนังสือสือเล่มนี้มิอาจสำ�เร็จ ลุ ล่ ว งได้ ถ้ า ปราศจากคุ ณ ประวิ ท ย์ +พั น ธุ์ วิ โ รจน์ ผู้ ซึ่ ง ช่ ว ยเป็ น บรรณาธิการจัดพิมพ์ให้ผู้เขียนจึงขอขอบคุณไว้+ณ+ที่นี้ด้วย
5
6
7
บรรพนำ� นอกจากชนชาติไทยทีอาศัยอยู่ในบริเวณส่วนกลางของประเทศแล้วราซอาณา จักรไทยประกอบด้วยชาวไทยเชื้อสายต่างๆอาศัยอยู่ร่วมกัน เช่น ชาวไทยเชื้อสายล้าน นาที่อาศัยอยู่ทางภาคเหนือ ชาวไทยเชื้อสายลาวหรือเขมรที่อาศัยทางภาคอีสานหรือ ภาคตะวันออก ชาวไทยเชื้อสายมลายูที่อาศัยทางภาคใต้เป็นต้น ชาวไทยเชื้อสายต่างๆ เหล่านี้อาจจะมาจากการเป็นพลเมืองของประเทศราชของราชอาณาจักรสยามหรือ การย้ายถิ่นฐานประเทศเพื่อนบ้านซึ่งทั้งหมดได้อาศัยอยู่ในราชอาจักร์สยามเป็นเวลา หลายร้อยปี เกิดการผสมกลมกลืนกับชาวไทยภาคกลางทั้งในวัฒนธรรมและวิถีชีวืต ส่วนใหญ่ชาวไทยเชื้อสายต่างๆส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธเหมือนกันยกเว้นชาวไทย เชื้อสายมลายูที่อาศัยทางภาคใต้ที่นับถือศาสนามุสลิมเป็นหลัก แต่ที่สำ�คัญที่สุดชาว ไทยเชื้อสายต่างๆเหล่านี้ล้วนอยู่ภายใต้กฎหมายของราชสำ�นักไทยสมัยรัตนโกสินทร์ หรืออยุธยาทั้งสิ้นดังนั้นความเป็นพลเมืองชาวไทยเชื้อสายต่างๆเหล่านี้กับชาวไทย อื่นๆจึงไม่มีความแปลกแยกกัน แต่สำ�หรับชาวไทยเชื้อสายจีนมีบริบทที่แตกต่างโดย สิ้นเชิง มีจุดกำ�เนิดจากชาวจีนอพยพจนกลายมาเป็นชนกลุ่มน้อยชาวจีนในสยามสมัย ต้นรัตนโกสินทร์ ต่อมากระแสการหลั่งไหลเข้ามายังสยามอย่างมโหฬารหลังการเจริญ เติบโตทางเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่..5..และในรัชกาลต่อๆมาของกรุงรัตนโกสินทร์จน ทำ�ให้ชาวจีนในประเทศไทยมีสัดส่วนอันเป็นนัยสำ�คัญกับพลเมืองของประเทศ ชาวจีน ได้นำ�พาเอาวัฒนธรรม วิทยาการ วิถีการดำ�เนินชีวิต ความเชื่อ ที่แตกต่างจากประเทศ จีนเข้ามาและผสมผสานเข้ากับสังตมไทยอย่างกลมกลืน เมิ่อกระแสการอพยพของชาว จีนสิ้นสุดลงในสมัยรัฐบาลจอมพล..ป.พิบูลย์สงคราม ชาวจีนโพ้นทะเลมีจำ�นวนคงที่ และลดจำ�นวนลงเมื่อตายจากไป จนที่สุดเหลือไว้แต่ชาวไทยเชื้อสายจีนเป็นส่วนใหญ่ ในเวลาต่อมาเท่านั้น เพื่อการนำ�เสนอวิวัฒนาการของสังคม วิถีชิวิต และอื่นๆให้ชัดเจน ยิ่งขึ้น ผู้เขียนจึงขอใช้พื้นที่บริเวณย่านคนจีนที่เรียกว่าจุลนครเป็นพื้นที่ศึกษานำ�เสนอ ซึ่งพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ทรงโปรดเกล้าให้ชาวจีนซึ่งมีถิ่นฐานใน บริเวณท่าเตียน และพื้นที่ใกล้เคียงให้ย้ายมายังพื้นที่พระราชทานนอกกำ�แพงพระนคร ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ โดยทรงโปรดฯให้ชุมชนชาวจีนเหล่านี้ย้ายไปอยู่แถวคลอง สามเพ็งหรือคลองสำ�เพ็งซึ่งต่อมากลายเป็นตลาดที่อยู่ริมแม่เจ้าพระยาและย้ายเข้าสู่ บนบกเป็นตลาดบนบกขนาดใหญ่ อีกทั้งเป็นตลาดที่เป็นช่องทางในการค้าขายสินค้า
8
เยาวราช
คลองผดุงเกษม สมัย ร.6
แยกสี่พระยา ไปตลาดน้อย 1912
9
ทั้งการนำ�เข้าและส่งออกนอกอาณาจักร ชุมชนคนจีนขยายตัวจากการอพยพเข้ามา จากประเทศจีน บริเวณนี้จึงกลายเป็นแหล่งอาศัยและทำ�มาหากินของประชาคมที่ส่วน ใหญ่เป็นชาวจีนทั้งที่อาศัยอยู่เดิมและชาวจีนที่อพยพเข้ามา ภายหลังที่ราชอาณาจักรสยามได้ทำ�สนธิสัญญาเบาร์ริ่งกับจักวรรดิ์อังกฤษ สยามเปิดประเทศสู่ระบบการค้าตามแบบสากล มีการก่อสร้างสาธารณูปโภค.เช่น.การ ขุดคลองผดุงกรุงเกษมและการทำ�ถนนเจริญกรุงในสมัยรัชกาลที่ 4 และการสร้างถนน อย่างมากมายเข้ามาในบริเวณนี้เพราะเป็นแหล่งเศรษฐกิจศูนย์กลางการค้าภายใน และภายนอกประเทศ ในสมัยรัชกาลที่ 5 ขณะเดียวกันก็มีการอพยพของชาวจีนเข้า มาอย่างมาก อันเนื่องจากการขยายตัวทางเศรษฐกิจของประเทศสยามในขณะนั้น บริเวณนี้จึงขยายตัวรองรับในการเปลี่ยนแปลงตามไปด้วย จนในที่สุดกลายเป็นเมือง ขนาดย่อมๆในนครหลวงกรุงรัตนโกสินทร์
ณ ทีแ่ ห่งนีม้ กี ารขยายตัวเรือ่ ยมาจนถึงจุดอิม่ ตัวประมาณก่อนการเปลีย่ นแปลง การปกครองแผ่นดินในปี พ.ศ. 2475 เนือ่ งจากในบริเวณนีม้ คี วามหนาแน่นสูง แม้นว่า ผูค้ นในจุลนครฯ ยังมีความมัน่ คัง่ เมือ่ เทียบกับส่วนอืน่ ๆของประเทศ แต่ภาวะเศรษฐกิจ ตกต่�ำ ทัว่ โลกและประเทศไทย ทำ�ให้การค้าในจุลนครฯก็มแี นวโน้มลดลงประกอบกับ การค้าก็เริม่ กระจายสูส่ ว่ นอืน่ ๆของประเทศมากขึน้ ผูม้ ฐี านะในบริเวณนีบ้ างส่วนก็ อพยพย้ายออกไปโดยเฉพาะอย่างยิ่งการอยู่อาศัยดังนั้นทำ�ให้เราสามารถกำ�หนด ขอบเขต ( Frontier ) อาณาเขตเชิงนามธรรมเพือ่ แสดงอัตลักษณ์ของถิน่ ประชากรทีอ่ ยู่ อาศัย การทำ�มาหากิน การดำ�รงชีพ ตลอดจนพลวัตของสังคม ชาติพนั ธุ์ วัฒนธรรม เป็นเวลาช้านาน ภายใต้สภาพแวดล้อมอันไม่แตกแยกและสามารถผสมกลมกลืนเข้า กับการเมืองการปกครองระบบเศรษฐกิจ..วัฒนธรรมและโครงสร้างของการดำ�เนิน ชีพในประเทศไทยทัง้ ปวง ปัจจัยอัตลักษณ์ทก่ี อ่ ให้เกิดแนวกัน้ ..(.Barrier.)..กำ�หนด ขอบเขตพอสังเขปตามข้อบ่งชี้.(.Criterions.)..ของเมืองคือประชากรซึ่งส่วนใหญ่ร้อย ละ.80.–.90.เป็นชาวไทยเชือ้ สายจีน ดำ�รงชีพอยูใ่ นวัฒนธรรมทีผ่ สมผสานระหว่าง วั ฒ นธรรมจี น จากบรรพบุ รุษ กั บ วั ฒ นธรรมของประเทศไทยและพุ ท ธศาสนาหรื อ วัฒนธรรมตะวันตกได้อย่างกลมกลืน เป็นบริเวณทีช่ าวจีนอพยพอยูห่ นาแน่นทีส่ ดุ เป็น ถิน่ ทำ�มาหากินและอาศัยของชาวจีนนานถึงสองศตวรรษ การคงอยูข่ องวัฒนธรรม จีนจึงฝังรากลึกจนถึงปัจจุบนั ขณะเดียวกันการศึกษาจากภายนอกการหลั่งไหลของ
10
อารยะธรรมตะวันตก การคบหาสมาคมปฏิสัมพันธ์กับคนไทยก็ทำ�ให้กลายมา เป็นวัฒนธรรมผสมผสานซึ่งจากข้อบ่งชี้เหล่านี้แสดงให้เห็นว่า ความหนาแน่น ของอัตลักษณ์ด้านประชากรนี้จะเป็นข้อกำ�หนดขอบเขตโดยมีศูนย์กลางของ ความหนาแน่นประชากรที่เป็นเอกลักษณ์จะอยู่บริเวณสำ�เพ็ง เยาวราชซึ่งเป็น บริเวณพื้นที่เขตสัมพันธวงศ์ ปัจจุบันและแผ่ขยายออกไปด้านถนนเจริญกรุง แนวคลองผดุงกรุงเกษม ไมตรีจิตร ถนนเสือป่า พลับลาไชย วรจักร บำ�รุงเมือง (.เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย ) จนถึงแนวเขตที่เป็นเกาะรัตนโกสินทร์ซ่งึ เป็นถิ่นที่ชาว ไทยอาศัยอยูม่ ากกว่า ทำ�ให้เกือบกลายเป็นแนวกัน้ ธรรมชาติ ( Barrier ) ทางทิศ เหนือและทิศตะวันออก ส่วนทางทิศตะวันตกติดกับแขวงวังบูรพาแขวงพระบรม มหาราชวังและแม่น้ำ�เจ้าพระยาที่เป็นแนวกั้นธรรมชาติ ทางทิศตะวันออกและ ทางทิศใต้เป็นแนวเขตบริเวณสี่พระยาเพราะว่าเป็นบริเวณที่ชาวตะวันตกเข้ามา อาศัยอยู่หลังสนธิสัญญาเบาว์ริ่ง ที่ดินแต่เดิมอยู่นอกเขต 200 เส้น (..8..กิโลเมตร..) จากพระราชวังและพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่สวน ที่นา เช่นทุ่งพญาไท ( จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัยปัจจุบัน..) ดังนั้นเราจึงพอสรุปได้พื้นที่ตามเงื่อนไขของความหนา แน่นของประชากรเชื้อสายจีนและวัฒนธรรมเป็นวัฒนธรรมจีนผสมผสานในการ ดำ�รงชีพนั้น จึงหมายถึง พื้นที่บริเวณเขตสัมพันธวงศ์ทั้งหมดและเขตป้อมปราบ บางส่วนซึ่งพอกำ�หนดอาณาเขตดังนี้ ทิศเหนือจรดถนนหลวง ถนนวรจักร ทิศ ใต้จรดแม่น้ำ�เจ้าพระยา ทิศตะวันออกจรดสี่พระยา ทิศตะวันตกจรดคลองโอ่ง อ่าง แขวงวังบูรพา แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนครบริเวณนีเ้ ป็นพืน้ ที่ มีความหนาแน่นของประชากรสูงสุดของประเทศไทยหรือของโลกก็ว่าได้ คือมี ประชากรเกินกว่า 30,000 คนต่อตารางกิโลเมตร ( ในการสำ�รวจปี พ.ศ. 2542 เขต สัมพันธวงศ์ มีความหนาแน่นของประชากร 26,855 คน ต่อตารางกิโลเมตร, เขต ป้อมปราบศัตรูพา่ ยมีความหนาแน่นของประชากร 41,000 คนต่อตารางกิโลเมตร ) เทียบกับเขตชัน้ ในจุลนครและมหานครทีม่ คี วามหนาแน่นของประชากรสูงเช่น กรุง ปักกิง่ (..ความหนาแน่นของประชากรคือ 26,856 คนต่อตารางกิโลเมตร.. ) โตเกียว ( 13,652 คนต่อตารางกิโลเมตร ) และเม็กซิโก ( 13,925 คนต่อตารางกิโลเมตร ) พืน้ ที่ ตามเงือ่ นไขข้างต้นมีขนาดพืน้ ทีป่ ระมาณ 3 ตารางกิโลเมตรคือประชากรประมาณ 90,000 คนหรือมีความหนาแน่นของประชากรประมาณ 30,000 คนต่อตาราง กิโลเมตร นอกจากนีก้ ารสำ�รวจประชากรแฝงซึง่ หมายถึงประชากรทีเ่ ข้ามาจับจ่าย .... ....
....
.
11
ซือ้ ของ ท่องเทีย่ วด้วยจะมีประมาณนับแสนคน สำ�หรับครัวเรือนของ ประชากรในพืน้ ทีน่ ม้ี ขี นาดเฉลีย่ ประมาณครัวเรือนละ 3 – 5 คน สมาชิก ครัวเรือนมีการศึกษาเฉลีย่ ค่อนข้างดี ( เกินครึง่ สูงกว่าอาชีวศึกษา ) ส่วน ใหญ่มอี าชีพค้าขายและเป็นเจ้าของกิจการ การค้านัน้ พบว่าร้อยละ 36.8 เป็นร้านขายของชำ�และของเบ็ดเตล็ด ร้านอาหาร ร้อยละ 13.7 การผลิต โลหะเป็นของใช้รอ้ ยละ 8.1 การสะสมวัสดุเหลือใช้รอ้ ยละ 6.6 ธุรกิจการค้า ทัง้ หมดนีน้ อกจากเป็นการให้บริการตอบสนองเฉพาะชุมชน ยังเป็นการ ให้บริการแก่ผเู้ ข้ามาจากส่วนอืน่ ในกรุงเทพฯหรือภูมภิ าคด้วย ( ธุรกิจการ ค้าปลีก-ค้าส่ง ) และนักท่องเทีย่ ว เช่น ร้านอาหาร โรงแรมเป็นต้น ปกติบริเวณทีช่ าวจีนโพ้นทะเลอพยพเข้ามาตัง้ ถิน่ ฐานในนครใด นครหนึง่ เรามักเรียกบริเวณนัน้ ว่า “เมืองชาวจีน ( Chinatown )” เช่น บริเวณที่ชาวจีนหรือผู้สืบเชื้อสายจีนอาศัยอยู่หนาแน่นในนครลอสแอง เจลลีส สหรัฐอเมริกาว่า “เมืองชาวจีนแห่งนครลอสแองเจลลีส สหรัฐอเมริกา “Chinatown of Los Angeles USA.” เป็นต้น แต่ชาวจีนเองจะเรียกบริเวณ ดังกล่าวว่าถนนชาวจีนคือถังเหรินเจียหรือหัวเหรินเจียแห่งเมืองนั้นๆ เมืองชาวจีน ( Chinatown ) ในเมืองต่างๆส่วนใหญ่จะเป็นชุมชนชาวจีน ที่อาศัยอยู่ในเมืองและประเทศที่มีกฎหมาย วัฒนธรรมหลัก การศึกษา ศาสนา ฯลฯ ที่มีบรรทัดฐาน มีการบังคบใช้ มีวิถีการดำ�เนินชีวิตที่ ชัดเจนและเข้มแข็ง ดังนั้นวัฒนธรรมหลัก ศาสนา วิถีการดำ�เนินของ ชีวิตและวัฒนธรรมชาวจีนหรือผู้สืบเชื้อสายจีนอาศัยอยู่ก็จะมักจะถูก กลืนเข้าไปกับวิถีของดินแดนหลักในช่วงไม่เกินสองชั่วอายุ ส่วนที่เหลือ อยู่นั้นมักจะเป็นเพียงเชิงสัญลักษณ์เช่น ร้านอาหารจีน ป้ายโฆษณา ภาษาจีน เทศกาลเล็กๆน้อยๆ ฯลฯ เท่านั้น ตรงกันข้ามกันในประเทศที่ เคยเป็นอาณานิคมของชาวตะวันตกและมีชาวจีนอพยพเข้ามาจำ�นวน มากจนกระทั่งกลายเป็นพลเมืองหลัก เช่น.ประเทศสิงคโปร์..เกาะปีนัง ของประเทศมาเลเซีย เมืองเหล่านี้จะมีวัฒนธรรมและวิถีการดำ�เนินของ ชีวิตเช่นเดียวชาวจีนทั่วไปในประเทศจีน ....
....
....
...
....
....
....
12
ในประเทศไทยชุมชนชาวจีนทีอ่ าศัยอยูไ่ นกรุงรัตนโกสินทร์ เป็นเรือ่ งราวของชาว จีนอพยพเดินทางเข้ามาเมืองไทย พกพาเอาวัฒนธรรมและวิถกี ารดำ�เนินชีวติ ตามแบบ ชาวจีนตอนใต้ตดิ ตัวมาด้วย ขณะเดียวกันราชอาณาจักรสยามสมัยกรุงรัตนโกสินทร์เอง ก็มวี ฒ ั นธรรมการเมืองการปกครองทีม่ เี อกลักษณ์อนั โดดเด่นสง่างามเป็นอิสระ โดยไม่ เคยอยูใ่ ต้อาณัตขิ องชาติใด ตลอดสองศตวรรษของการผสมผสานวัฒนธรรมและวิถกี าร ดำ�เนินชีวิตจากประเทศจีนกับวัฒนธรรมการเมืองการปกครองแห่งราชอาณาจักรสยาม ทำ�ให้เกิดประชาสังคมของชาวจีนอพยพ ขาวจีนทีอ่ าศัยอยูใ่ นประเทศไทย จนในทีส่ ดุ กลายเป็นชาวไทยเชือ้ จีนทีม่ อี ตั ลักษณ์แตกต่างจากลักษณะเมืองชาวจีน ( Chinatown ) ในเมืองต่างๆทั่วไปบริเวณที่แห่งนี้เป็นจุดกำ�เนิดของสังคมและวัฒนธรรมชาวจีนอพยพ ในสยามแล้วจึงแผ่ขยายไปสู่ส่วนอื่นของประเทศประชาสังคมมีขนาดค่อนข้างใหญ่มีอัต ลักษณ์ของชุมชนและวิถชี วี ติ ทีช่ ดั เจน ดังนัน้ เพือ่ ให้แสดงได้ถงึ ในข้อแตกต่างในอัตลักษณ์ เหล่านีแ้ ละเป็นการสะท้อนให้เห็นถึงภาพอัตลักษณ์ทแ่ี ท้จริงของประชาคมสังคมจึงขอใช้ เรียกเมืองชาวจีน(Chinatown)ในกรุงรัตนโกสินทร์แห่งนีใ้ หม่วา่ “จุลนครชาวไทยเชือ้ สาย จีนแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ The Little Town of Chinese Inheritors of Bangkok หรือ จุลนครถิ่นชาวสยามพันธุ์มังกรในกรุงรัตนโกสินทร์” เรียกสั้นๆว่าจุลนครฯ ( The Little Town ) และปรากฏการณ์ของประชาคมในจุลนครฯ เรียกว่าจุลนครวิถี ( The Story of The Little Town ) โดยจะนำ�เสนอการแจกแจงและวิเคราะห์อัตลักษณ์ของประชา สังคมสามด้านคือแบ่งเป็นสามบรรพดังนี้
บรรพหนึ่ง แสดงถึงอัตลักษณ์ทางด้านสังคมและวัฒนธรรมโดยจะกล่าวถึงภาพจาก
ปรากฏการณ์สมาส ( Synchonize Incident ) โดยแสดงมุมมองของปฏิสัมพันธ์ของผู้ ปกครองไทยกับผู้อพยพชาวจีนที่เข้ามาตั้งถิ่นฐานในประเทศ เพื่อสะท้อนให้เห็นการ วิวัฒนาการในด้านสังคมและวัฒนธรรมของประชาคมชาวจีนอพยพในจุลนครฯและ สยามประเทศ การเปลี่ยนแปลงเชิงภูมิศาสตร์และเชิงกายภาพเหตุปัจจัยด้านการเมือง กฎหมาย และการเปลี่ยนแปลงภายในประเทศจีนเอง ทัศนคติที่มีต่อเรื่องเชื้อชาติของ ประชาคมชาวไทยเชื้อสายจีน เป็นต้น ....
....
มิติปัจจัยแรกทีจะกล่าวถึงคือ การอพยพของชาวจีนสู่กรุงรัตนโกสินทร์ ก่อ ให้เกิดอัตลักษณ์ของประชาคมชาวจีนอพยพในกรุงรัตนโกสินทร์สู่การวิวัฒนาการของ สังคมและวัฒนธรรมโดยมีสาระสำ�คัญที่จะกล่าวถึงดังต่อไปนี้ การอพยพของชาวจีน
13
เข้าสู่กรุงสยามโดยแบ่งตามภาษาพูด กระแสของการอพยพเข้าสู่สยามของชาวจีน สมัยกรุงรัตนโกสินทร์ ( พ.ศ.2325-2490 ) บทสรุปกระแสการอพยพของประชากรจีน ที่เดินทางเข้ามาประเทศไทย ประชาสังคม วัฒนธรรม วิถีชีวิตในจุลนครฯ และการ จำ�แนกตามภาษาพูดของชาวจีน มิติปัจจัยที่สองคือ การเมืองการปกครอง ประเพณีวัฒนธรรมชองประเทศไทย ที่ มี ผ ลต่ อ การเปลี่ ย นแปลงสั ง คมวั ฒ นธรรม...ตลอดจนการเปลี่ ย นแปลงทั ศ นคติ ด้านชาติพันธุ์ และปัจจัยอื่นๆจากสภาพแวดล้อมภายนอก เช่น สนธิสัญญาเบาว์ริ่ง สงครามโลก การเมืองภายในและภายนอกประเทศไทยฯลฯโดยสาระสำ�คัญที่จะกล่าว ถึงดังต่อไปนี้ . เหตุผลที่พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชทรงโปรดเกล้าให้ ชาวจีนย้ายมายังฝั่งตะวันออกของแม่น้ำ�เจ้าพระยานอกกำ�แพงพระนครทางด้านตะวัน ออกเฉียงใต้ระหว่างคลองวัดสามปลื้มกับคลองวัดสำ�เพ็ง การเมืองการปกครองสมัย รัตนโกสินทร์และสังคมจีนโดยแบ่งห้วงเวลาคือการเมืองการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ ตอนต้น ( สมัยรัชกาลที่ 1 – รัชกาลที่ 3 ) กับสังคมชาวจีน.การปฏิรปู การเมืองการปกครอง ในสมัยรัชกาลที่ 4 – รัชกาลที่ 7 ผลกระทบด้านสังคมภายหลังสนธิสญ ั ญา เบาว์รง่ิ สังคมจีนหลังการเปลีย่ นแปลงการปกครอง.พ.ศ.2475 และการเปลีย่ นแปลงทางสังคม จีนในประเทศไทยก่อนสงครามโลกครัง้ ทีส่ อง ( ประมาณปีพ.ศ..2484.–.2488.) รวมถึง ทัศนคติชาวไทยเชือ้ สายชาวจีนในจุลนครฯ
บรรพสอง อัตลักษณ์ทางด้านการค้าและเศรษฐกิจของชาวจีนในสยาม คือลักษณะ
และภาวะทางเศรษฐกิจของไทยในสมัยรัตนโกสินทร์และการค้าของคนจีน และความ โดดเด่นของชาวจีนในทางการค้าในสมัยต้นกรุงรัตนโกสินทร์ การปรับตัวและการสร้าง สรรโอกาสทางการค้าภายใต้สภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจที่แปรเปลี่ยนของสังคมของ ประเทศ อันได้แก่ สัญญาทางพระราชไมตรี และการค้าระหว่างจักรวรรดิองั กฤษและ ราชอาณาจักรสยาม ( Treaty of Friendship and Commerce between British Empire and The Kingdom of Siam ) หรือเรียกสัน้ ๆว่า สนธิสญ ั ญาเบาว์รง่ิ พ.ศ. 2398 การอภิ วัฒน์ทางด้านเศรษฐกิจในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ 5 ( พ.ศ. 2411 – 2453 ) การปรับปรุงเศรษฐกิจในสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยูห่ วั รัชกาล
14
ที่ 6 ( พ.ศ. 2453 – 2468 ) การปรับเปลี่ยนเศรษฐกิจในสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้า เจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 7 วิวัฒนาการที่สำ�คัญของการประกอบธุรกิจชาวจีนในช่วงปฏิรูป เศรษฐกิจ การค้าในสมัยรุ่งเรืองทางเศรษฐกิจของกรุงรัตนโกสินทร์ ระบบเศรษฐกิจ ของประเทศไทยในช่วงหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบบสมบูรณาญาสิทธิ ราชมาเป็นระบอบประชาธิปไตยไปจนถึงก่อนที่มีแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่ง ชาติฉบับที่ 1 ( พ.ศ. 2475 – 2504 ) การปรับตัวของชนชาวจีนเพื่อสู้กับผลกระทบของ นโยบายเศรษฐกิจประเทศไทยภายใต้แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติการ .... .... ..
....
.... ....
.... ....
.... ....
..
.... ....
....
ลักษณะการวิวัฒนาการทางด้านค้าขายในจุลนครฯนครหลวงแห่งประชากร ชาวจีนศูนย์กลางการค้าของประเทศไทย โดยพิจารณาตั้งแต่ธุรกิจการค้าปฐมภูมิซึ่ง เป็นธุรกิจหลักซึ่งมีผลสะท้อนถึงเศรษฐกิจของประเทศและสามารถส่งผลต่อไปยังการ ค้าที่ต่อเนื่องที่เกี่ยวข้องในลำ�ดับถัดไปอันได้แก่ ธุรกิจส่งออกผลิตผลทางการเกษตร ( ข้าว ), การเดินเรือ สถาบันการเงิน การธนาคาร เป็นต้น การค้าทุติยภูมิซึ่งหมายถึง การค้าที่มาจากการนำ�เข้าสินค้าจากต่างประเทศแล้วนำ�มาให้บริการด้านการค้าส่งและ ค้าปลีก โดยเฉพาะอย่างยิ่งเป็นแหล่งการค้าลักษณะเป็นศูนย์กลางทางธุรกิจเฉพาะ กลุ่ม การนำ�เข้ามาของสินค้าเหล่านี้นอกจากเป็นสินค้าขายปลีกที่เป็นเอกลักษณ์แล้ว ยังเป็นสินค้าหรือวัตถุดิบเพื่อขายไปยังลูกค้าที่ส่วนอื่นของประเทศ ( ขายส่ง ) สินค้า ทุติยภูมิยังหมายถึงการเป็นศูนย์กลางการค้าที่ค้าขายสินค้าบางอย่าง..เช่น เครื่องเทศ รังนก เป็นต้น ที่นำ�มาจากท้องถิ่นแล้ว จำ�หน่ายทั้งขายปลีกและขายส่ง ให้กับลูกค้าทั้ง ภายในและภายนอกประเทศ ธุรกิจตติยภูมิในจุลนครฯเป็นธุรกิจที่ตั้งขึ้นมาภายหลัง หรือพร้อมกับจากธุรกิจปฐมภูมิและทุติยภูมิเกิดขึ้นมาเพื่อรองรับสังคมประชาคมชาวจุ ลนครฯ เองเป็นหลัก เนื่องจากจุลนครเป็นประชาคมที่มีความหนาแน่นและมีคุณภาพ ทางเศรษฐกิจ มีรสนิยม ค่านิยม ในการอุปโภคบริโภคที่เป็นเอกลักษณ์ ธุรกิจการค้า ตติยภูมิยังหมายถึงร้านค้าต่างๆที่ค้าขายสินค้าหรือบริการเมื่อประชาคมในท้องถิ่นเป็น หลัก แม้ว่าภายหลังอาจมีผู้บริโภคจากส่วนอื่นมาใช้บริการด้วยก็ตาม เช่น ร้านค้า เสื้อผ้า ร้านทำ�เครื่องหนัง ภัตราคาร ร้านอาหาร โรงมหรสพ เป็นต้น ..
...
.... ..
..
.. ....
15
บรรพสาม อัตลักษณ์ทางด้านจิตวิญญาณของประชาคมจุลนครฯ จากโอวาท
ธรรม 4 ประการของขงจื้อเป็นหลักปฏิบัติที่ชาวจีนยึดถือเป็นหลักปฏิบัติจนกลาย เป็นวิถีชีวิตและจิตวิญญาณในที่สุดซึ่งปรากฏเป็นรูปธรรมดังนี้ โอวาทธรรมข้อที่ 1 จิตวิญญาณในด้านภักดีธรรม ค่านิยมความเชื่อของชาวจีน ตามตำ�นานและประวัติศาสตร์ ความสัมพันธ์และความจงรักภักดีของประชาคม จุลนครฯกับราชวงศ์จักรี
โอวาทธรรมข้อที่ 2 จิตวิญญาณในด้านกตัญญุตาธรรม ประชาคมจุลนครฯกับ ประเพณีและเทศกาลที่แสดงความกตัญญูและสถาบันครอบครัว โอวาทธรรมข้อที่-3-จิตวิญญาณในด้านกุศลธรรม จิตสำ�นึกของการมีเมตตา และเป็นสาธารณกุศล โดยการยกตัวอย่างองค์กรที่ปรากฎและเป็นที่ยอมรับของ ประชาชนโดยทั่วใป เช่น มูลนิธิและศาลเจ้าปอเต็กตึ๊ง โรงพยาบาลเทียนฟ้ามูลนิธิ โรงพยาบาลกว๋องสิวและศาลเจ้า นำ�มากล่าวอ้าง โอวาทธรรมข้อที่-4-จิตวิญญาณในด้านอุดมการณ์เพื่อการวิวัฒน์สังคม เพื่อ แสดงถึงบทบาทของประชาคมแห่งจุลนครฯกับการเปลี่ยนแปลงพัฒนาสังคม โดยการยกตัวอย่าง เช่น การช่วยเหลือการปฏิวตั ใิ นประเทศจีนของดร.ซุนยัดเซ็น การก่อตั้งสมาคมเพื่อกิจการสาธารณะและวัตถุประสงค์ต่างๆของสังคมแห่ง ประชาคม นำ�มากล่าว อ้างแสดงให้เห็น ในความเชื่อในสังคมตะวันตกโดยเฉพาะอย่างยิ่งชาวคริสเตียนเชื่อว่ามนุษย์ ประกอบด้วยส่วนสำ�คัญสามส่วนคือ ส่วนของร่างกายองคาพยพ ( Body ) ส่วนของ ความนึกคิดและจิตใจ ( Mind ) และส่วนของวิญญานคือเรื่องตวามเชื่อและศรัทธา ( Soul and Spirit ) จากหลักการนี้ผู้เขียนจึงได้นำ�มาใช้เป็นกลยุทธในการแสดง ตั ว ตนของประชาสั ง คมชาวจี น ในไทยโดยบรรพหนึ่ ง แสดงถึ ง อั ต ลั ก ษณ์ ข องการ วิวัฒนาการทางสังคมและวัฒนธรรม อัตลักษณที่แสดงถึงความโดดเด่นในวิถีแห่ง วานิชธุรกิจ อัตลักษณ์ของจิตวิญญานซึ่งอัตลักษณ์ทั้งสามนี้คือไตรลักษณ์แห่งชาว จีนในประเทศไทยและชาวไทยเชื้อสายจีนผู้ซึ่งเป็นบุตรหลาน ....
.... ....
...
...
...
.... ....
....
.... ....
.... ....
....
16
17
บรรพหนึ่ง
อัตลักษณ์แห่งประชากร สังคม และวัฒนธรรม แต่เดิมมาบริเวณที่ปัจจุบันเรียกว่าจุลนครฯ นี้ สมัยก่อนรัตนโกสินทร์ ( สมัย กรุงศรีอยุธยาและสมัยกรุงธนบุรีซึ่ง ) พื้นที่ส่วนใหญ่มีลักษณะเป็นสวนและบางส่วน ยังเป็นพื้นที่รกร้างมีชาวไทยอาศัยอยู่เป็นชุมชนหย่อมๆเห็นได้จากวัดในบริเวณนี้ ส่วนใหญ่ที่สร้างมาตั้งแต่สมัยที่กรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานีเพราะเหตุว่าวัดเหล่านี้ นอกจากเป็นที่ประกอบกิจศาสนาของพุทธศาสนิกชนและเป็นที่ให้การศึกษาทั้งทาง ปริยัติหรือสำ�หรับไพร่หรือทาสที่จะเลื่อนสถานะทางสังคมยังมาบวชเรียนในวัด แต่ วัดต่างๆ.เช่นวัดสวนปลื้ม วัดปทุมคงคง วัดสามจีนฯลฯ ในสมัยนั้นเป็นวัดเล็กๆชุมชน ที่มาปฏิสัมพันธ์กันก็มีขนาดเล็กบางวัดกลายเป็นวัดร้างไปก็มี ยิ่งเมื่อเกิดสงครามกับ พม่าคราวเสียกรุงครั้งที่ 2 นั้น คาดว่ามีประชากรเหลืออยู่ไม่มากเหตุเพราะว่าชาวไทย ไม่นิยมทำ�มาค้าขายแม้แต่การทำ�เกษตรกรรมอื่นๆที่ไม่ใช่การทำ�นา พระบาทสมเด็จ พระพุ ท ธยอดฟ้ า จุ ฬ าโลกมหาราชจึ ง ทรงโปรดเกล้ า ให้ ช าวจี น ที่ ตั้ ง หลั ก แหล่ ง อยู่ บริเวณที่จะก่อสร้างพระราชวังบริเวณท่าเตียนรวมทั้งชาวจีนที่ตั้งหลักแหล่งอยู่ทาง ตะวันตกของแม่น้ำ�เจ้าพระยาในสมัยราชธานีของพระเจ้ากรุงธนบุรีย้ายมายังฝั่งตะวัน ออกของแม่น้ำ�เจ้าพระยานอกกำ�แพงพระนครทางด้านตะวันออกเฉียงใต้ระหว่าง คลองวัดสามปลื้มกับคลองวัดสำ�เพ็งทำ�ให้ประชากรในบริเวณนั้นมีส่วนใหญ่จึงเป็น ชาวจีนที่อาศัยอยู่ในสยาม อาชีพส่วนใหญ่จะมีอาชีพค้าขายบางคนเข้ารับราชการ ในราชสำ�นักฯ เป็นข้าราชบริพาร เช่น พระยาโชฎึกราชเศรษฐี ทำ�หน้าที่เชื่อมโยง ชุมชนชาวจีนในด้านการปกครอง และการค้ากับราชสำ�นักฯ ประเทศสยามเมื่อสงครามกับพม่าสงบลง..การจัดเก็บภาษีและการค้าขาย ร่วมกับชุมชนชาวจีน....ทำ�ให้เศรษฐกิจในสยามประเทศเจริญรุ่งเรืองขึ้นมามากจึง กลายเป็นที่ดึงดูดชาวจีนอพยพมากับสำ�เภาค้าขายหรือสำ�เภาขนส่งผู้คนโดยตรงเป็น จำ�นวนมากทำ�ให้จุลนครฯ..แห่งนี้เริ่มมีประชากรเพิ่มขึ้นโดยการอพยพจากประเทศ จีนแต่ก็ยังไม่หนาแน่นนัก ราชสำ�นักสยามนอกจากไม่ขัดขวางแล้ว ยังเอื้ออำ�นวยต่อ การอพยพของชาวจีนด้วย เช่น การเก็บค่าปี้ หรือค่าผูกขัอมือชาวจีนเข้าเมือง ซึ่งมี สิทธิประโยชน์ดีกว่าการเป็นไพร่ (.พลเมืองชาวสยามนอกจากจะต้องชำ�ระเงินค่าส่วย
18
ค่าอากรต่างๆแล้วยังต้องถูกเกณฑ์เข้าเป็นทหารเมื่อยามศึกสงครามหรือการการถูก เกณฑ์มาเป็นแรงงานก่อสร้างเมื่อราชการต้องการเป็นต้น.).พ่อค้าชาวจีนยังมีการร่วม ลงทุนค้าขายกับราชสำ�นักฯ.นอกจากนี้ยังมีการให้สิทธิประโยชน์ทางการค้าและด้าน ภาษีแก่ชาวจีน ประกอบประเทศจีนเองเกิดทุพภิกขภัยและเกิดสงครามภายในทำ�ให้ ประชากรชาวจีนเกิดกระแสการหลั่งไหลเข้าสู่สยามผ่านทางจุลนครฯ.แห่งนี้อย่าง คึกคักในช่วงต้นรัตนโกสินทร์ หลังสนธิสัญญาเบาว์ริ่งใน ปี พ.ศ. 2398 ทำ�ให้เกิดภาวะการปกครองที่เรียกว่า สิทธิสภาพทางอาณาเขตของชาวตะวันตก ทำ�ให้ส่งผลกระทบต่อการปกครองชนชาว จีนของราชการสยามเป็นอย่างมากขณะเดียวกันสยามเองก็มีการเปลี่ยนแปลงขนาน ใหญ่ที่เรียกว่าการอภิวัฒนาของสยามหรือที่ชาวตะวันตกเรียกว่าสยามยุคใหม่ การ พัฒนาสาธารณูปโภคต่างๆเช่นการขุดคลอง,..การทำ�ถนน,การเดินเรือกลไฟระหว่าง ประเทศ ฯลฯ มีการปฏิรูปการเมืองการปกครอง การปฏิรูปทางเศรษฐกิจของประเทศ การปฏิวัติอุตสาหกรรมและการล่าอาณานิคมของชาวตะวันตก ทำ�ให้ชาวจีนหลั่ง ไหลเข้ามาอย่างมากมายพร้อมทั้งขยายออกไปสู่ส่วนต่างๆของพระนครและหัวเมือง ใหญ่ เศรษฐกิจและวัฒนธรรมของชุมชนชาวจีนรุ่งเรืองสุดขีดในสยามโดยมีจุลนครฯ ที่กลายเป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจและวัฒนธรรมชาวจีนแห่งกรุงรัตนโกสินทร์และ ราชอาณาจักรสยาม พ.ศ. 2470 เกิดภาวะเศรษฐกิจตกต่ำ�ทั่วโลกและในสภาพประเทศ จุลนครฯ เองก็หนีไม่พ้นวิบากกรรมนี้ธุรกิจต้องปรับตัวให้สอดคล้องกับภาวะเศรษฐกิจ หลัง การเปลี่ ย นแปลงการปกครองจากระบอบสมบู ร ณาญาสิ ท ธิ ร าชมาเป็ น ระบอบ ประชาธิปไตยใน ปีพ.ศ. 2475 เกิดกระแสชาตินิยมจากรัฐบาล ส่งผลกระทบต่อวิถี ความเป็นอยู่และวัฒนธรรมของประชาคมจุลนครฯ ทำ�ให้เกิดการปรับตัวของประชากร ชาวจีนและชาวไทยเชื้อสายจีน ในการเป็นประชาชนชาวไทยเต็มรูปแบบ หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 รัฐบาลจีนของพรรคคอมมิวนิสต์ปกครองประเทศ จีนได้สำ�เร็จ......กระแสต่อต้านคอมมิวนิสต์จากนโยบายของประเทศสหรัฐอเมริกา รัฐบาลไทยเองก็จำ�เป็นต้องพึ่งพาความช่วยเหลือจากประเทศสหรัฐอเมริกา ทำ�ให้ไทย ต้องร่วมขบวนการต่อต้านคอมมิวนิสต์ด้วยดังนั้นความสัมพันธ์ของรัฐบาลไทยกับ
19
รัฐบาลจีน.(.ประชาชนสองประเทศ.).ต้องหยุดชะงักลงชั่วขณะ การอพยพจากประเทศ จีนกลายเป็นสิ่งต้องห้ามทำ�ให้ชาวจีนอพยพสิ้นสุดลงเหลือเพียงชาวจีนที่อาศัยในเมือง ไทย ชาวไทยเชื้อสายจีน (.ทายาทรุ่นที่ 4.) ลูกหลานชาวไทยเชื้อสายจีน (.รุ่นที่ 3 ขึ้น ไป.).วัฒนธรรมจีนมีการผสมผสานจากวัฒนธรรมไทยมากขึ้น โดยวัฒนธรรมจีนจะ มีความเข้มข้นคงอยู่ในศูนย์กลางจุลนครฯ แล้วค่อยๆลดลงทั่วกรุงเทพฯ เนื่องจากมีการ ย้ายเข้าออกของประชากรจุลนครฯ และประชากรไทย ( เช่นเดียวกับชุมชนชาวจีนในหัว เมืองต่างๆทั่วประเทศ ) หลังการฟื้นสัมพันธ์กับสาธารณประชาชนจีนในปี พ.ศ. 2518 ทำ�ให้กระแสความนิยมจีนของชุมชนก็กลับมาพัฒนาดีขึ้น ไม่ว่าด้านการศึกษาภาษา จีน การแลกเปลี่ยนการท่องเที่ยว การแลกเปลี่ยนทางด้านการค้าก็อยู่ในที่ดีขึ้นตาม ลำ�ดับจนถึงปัจจุบัน
20
ปัจจัยสำ�คัญที่มีผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงสังคมและวัฒนธรรมของประชาคม ใน จุลนครฯ โดยสังเขปดังนี้ ปัจจัยเชิงภูมิศาสตร์และเชิงกายภาพของจุลนครฯ ลักษณะภูมิประเทศที่มี ชัยภูมิที่เหมาะสมในการเป็นเมืองท่าขนาดเล็กของแม่น้ำ�เจ้าพระยา เป็นประตูที่เปิด เข้าสู่กรุงสยามไม่ว่าสินค้า และการอพยพของคน ขณะเดียวกันก็เป็นช่องทางที่ส่ง ออกสินค้าสู่โพ้นทะเล แต่เนื่องจากแม่น้ำ�เจ้าพระยามีร่องน้ำ�ไม่ลึก ทำ�ให้จุลนครไม่ สามารถรับเรือขนาดใหญ่ที่มีระวางน้ำ�หนักมากๆได้ซึ่งถือเป็นขีดจำ�กัดทางการค้าของ จุลนครฯ อย่างไรก็ดีจุลนครก็ยังเป็นเมืองท่าหลักในการค้าขายระหว่างประเทศ โดย ใช้วิธีการขนถ่ายจากเรือลำ�เลียงขนาดเล็กในการรับส่งสินค้าหรือผู้โดยสารระหว่างจุ ลนครฯกับท่าเรือปากอ่าวไทย เป็นเช่นนี้จนกระทั่งรัฐบาลไทยได้ขุดลอกสันดอนแม่น้ำ� เจ้าพระยาและก่อสร้างท่าเรือคลองเตยที่เป็นท่าเรือมาตรฐานขึ้นจึงทำ�ให้การเป็นเมือง ท่าของจุลนครฯลดบทบาทไป จุลนครฯเป็นช่องทางที่รับผู้อพยพให้เข้ามาอาศัยอยู่และ การแวะพักเพื่อกระจายสู่ส่วนอื่นของพระนครและหัวเมืองต่างๆทั่วราชอาณาจักรตาม หนาแน่นของจุลนครฯ ขยายตัวลำ�บากเนื่องจากถึงจุดอิ่มตัวมานานแล้ว ( ประมาณ 30,000 – 40,000 คน/ตารางกิโลเมตร )ซึ่งมีความหนาแน่นมากกว่าใจกลางเมือต่างๆ เช่น ปักกิ่ง, โตเกียว, นิวยอร์ก เป็นต้น ) การย้ายเข้าออกของคนไทยเองหรือชาวต่าง ชาติที่ไม่ใช่ชาวจีนค่อนข้างมีอยู่อย่างจำ�กัด ดังนั้นวัฒนธรรมจีนจึงยังคงสืบทอดอยู่ อย่างค่อนข้างมั่นคงเมื่อเทียบกับส่วนอื่นๆของประเทศ แต่ภายหลังการเปลี่ยนแปลง การปกครองและการขยายตัวของเศรษฐกิจของประเทศและของโลกทำ�ให้มีปัจจัย เหตุผลต่างๆที่เกิดขึ้นใหม่ เช่น การขยายธุรกิจทำ�ให้ต้องการพื้นที่มากขึ้น การศึกษา ที่สูงขึ้น การขยายตัวของครอบครัว การเปลี่ยนแปลง ทัศนคติในการดำ�รงชีวิตฯลฯ จึง ทำ�ให้มีการย้ายออกจากจุลนครฯมากขึ้น ปัจจัยด้านเศรษฐกิจสยามหลังสงครามกับพม่าแล้วมีความเจริญรุ่งเรืองทาง เศรษฐกิจอย่างมาก โดยเฉพาะราชสำ�นักฯ มีระบบร่วมทำ�การค้าต่างประเทศกับ พ่อค้าชาวจีนที่เรียกว่าการค้าขายสำ�เภา ขณะเดียวกันต้องบริหารจัดการระบบการจัด เก็บรายได้ไม่ว่าจะเป็นอากรหรือภาษีต่างๆที่ทางราชการไทยยังไม่คุ้นเคยจึงมีความ ต้องการบุคลากรที่เชี่ยวชาญชำ�นาญการในค้าขายระหว่างประเทศ ผู้ที่มีทักษะใน การจัดการด้านบัญชีภาษีอากร พ่อค้าวาณิชย์ทั่วไป นอกจากนี้สยามยังต้องการผู้มี
21
ทักษะในด้านการก่อสร้างจำ�นวนมากที่เข้ามาช่วยในด้านก่อสร้างปฏิสังขรณ์ แรงงาน เกษตรกรรมอื่นๆที่ไม่ใช่การทำ�นา สยามต้องการแรงงานกุลีจำ�นวนมากในการปฏิรูป เศรษฐกิจและการก่อสร้างสาธารณูปโภคขนาดใหญ่ เช่น การสร้างถนน, ขุดคลอง, ทำ� ทางรถไฟ ฯลฯ ึ่งคนไทยขาดทักษะและไม่นิยมทำ�กัน ทำ�ให้เป็นการดึงดูดชาวจีนอพยพ เข้ามาขายแรงงานและการเข้ามาทำ�ธุรกิจการค้าของชาวจีน รวมทั้งเกิดปัจจัยสำ�คัญ เกื้อหนุนคือการมีเส้นทางการเดินเรือยิ่งอำ�นวยให้เกิดการหลั่งไหลเข้าสู่จุลนครฯ และ ประเทศสยามมากขึ้นมาก ซ
ปัจจัยด้านกฎหมาย การเมือง การปกครอง ตลอดจนนโยบายต่างๆของพระ มหากษัตริย์ล้วนเอื้ออำ�นวยต่อการอพยพเข้ามาของชนชาวจีนจนแทบเรียกได้ว่าไม่มี ข้อจำ�กัด แม้ว่าภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 รัฐบาลมีนโย บายป้องกันไม่ให้ชาวจีนมีบทบาทในการปกครองและเศรษฐกิจมากเกินไป ตลอด จนนโยบายต่อต้านคอมมิวนิสต์จีน ทำ�ให้ชาวจีนที่อาศัยอยู่ในประเทศไทยต้องปรับ เปลี่ยนทัศนคติของสถานะพลเมืองในแผ่นดินไทยไปบ้าง แต่ก็สามารถดำ�รงตนเป็น ชาวไทยเชื้อสายจีนได้อย่างมีคุณค่าและเป็นเอกลักษณ์ สนธิสัญญาเบาว์ริ่ง นอกจากมีผลต่อการทำ�การค้าของชาวจีนในสยามแล้ว ยัง มีผลกระทบต่อสังคมชาวจีนในสยามอยู่ ๒ ด้าน คือ สภาพสิทธิสภาพนอกอาณาเขต และการอนุญาตให้นำ�เข้าฝิ่นเสรีเข้ามาในราชอาณาจักรสยาม ปัจจัยอันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงภายในประเทศจีนเอง เช่นการเกิดทุพภิกขภัย การเกิดสงครามกลางเมืองในประเทศ การกีดกันกระแสการอพยพของชาวจีนจากชาติ ตะวันตกเป็นต้น ปัจจัยจากทัศนคติที่มีต่อเรื่องของเชื้อชาติของประชาคม ความเชื่อมั่นว่าประเทศ สยามคือดินแดนแห่งความหวังของอนาคต และเป็นบ้านอีกแห่งของชาวจีนอพยพ ความผูกพันธ์ของบุตรหลานชาวจีนกับประเทศจีนในปัจจุบันลดน้อยลงเนื่องจาก ปัญหาการเมืองระหว่างประเทศ ประกอบกับชาวไทยเชื้อสายจีนยึดถือประเทศไทยเป็น แผ่นดินมาตุภูมิเป็นคนสัญชาติไทยอย่างสมบูรณ์เฉกเช่นประชาชนชาวไทยทั่วไปโดย ไม่แปลกแยก
22
การอพยพของชาวจีนเข้าสู่กรุงสยาม ชาวจีนมีการค้ากับนานยาง..(..เอเชียตะวันออกเฉียงใต้..) โดยเรือสำ�เภาก่อน มาช้านาน ภายหลังสมัยต้นรัตนโกสินทร์จึงได้มีการเดินเรือกำ�ปั่นจากทางชายฝั่ง ทะเลทางตอนใต้ของจีนคือ มณฑลฟู่เจี้ยน และกวางตุ้ง เนื่องจากทั้ง 2 มณฑลมี เมืองท่าขนาดใหญ่ที่สามารถเป็นท่าเรือเดินทางสู่โพ้นทะเลได้ง่าย ทั้งสองมณฑลจะ ประกอบไปด้วยชุมชนที่พูดภาษาจีนที่แตกต่างกัน 4 ภาษา คือ กวางตุ้ง, แต้จิ๋ว, แคะ และฮกเกี้ยน นอกจากนีช้ าวจีนอพยพมาสยามยังมีชาวจีนไหหลำ�จากเกาะ ( มณฑล ) ไห่หนาน ( ไหหลำ� ) อีกด้วยซึ่งชาวจีนพวกนี้ส่วนหนึ่งข้ามมาทำ�งานในเมืองใหญ่เช่น กวางโจว ( เมืองหลวงมณฑลกวางตุ้ง ), ฮกจิว ( เมืองหลวงมณฑลฟู่เจี้ยน ), ฯลฯ กับ พวกที่อยู่ในเกาะไหหลำ� ชาวจีนไหหลำ�เป็นพวกนักเดินทางนักผจญภัยการที่ชาวจีน อพยพมาสยามเพราะมีความคล้ายคลึงของดินฟ้าอากาศและวัฒนธรรม การปรับ ตัวเพื่อให้เข้ากับชุมชนชาวสยามนั้นก็เป็นเรื่องไม่ยากเมื่อผสมผสานที่ดินแดนแห่งนี้มี ข้าวปลาอาหารอุดมสมบูรณ์ จึงเหมาะอย่างยิ่งที่จะมาตั้งรกราก หลังเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ 2 ในปี พ.ศ.2310....ประชากรสยามส่วนหนึ่งถูก กวาดต้อนไปเป็นเชลยของพม่า ในขณะนั้นพลเมืองสยามมีอยู่ไม่เกิน 4,5000,000 คน ในสมัยรัชกาลที่ 3 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์การทำ�สงครามกับพม่ายุติลงอย่างถาวร เนื่องจากการเข้ายึดครองของอังกฤษขณะเดียวกันกัมพูชาและลาวก็ถูกฝรั่งเศสเข้ายึด ครอง ดังนั้นหลังรัชกาลที่3ก็ไม่มีศึกสงครามกับประเทศเพื่อนบ้านโดยสิ้นเชิง ขณะนั้นประเทศจีนเข้าสู่กลียุคสภาวะประชากรล้นประเทศ....ชาวต่างชาติ... (.ชาติตะวันตกและญี่ป่นุ .).ต่างเข้าทำ�สงครามยึดครองดินแดนและทรัพยากรของจีนจน เกิดการจลาจลขึน้ ภายในประเทศ พลเมืองอยูใ่ นภาวะขาดแคลน กระแสการอพยพเข้า มาสยามจึงหลัง่ ไหลเกิดขึน้ เพราะเหตุวา่ กรุงเทพฯเป็นเมืองท่าใหญ่ทใ่ี กล้ทส่ี ดุ ถัดจาก ไซ่งอ่ นซึง่ ขณะนัน้ ก็อยูใ่ นการยึดครองของฝรัง่ เศส ประชากรไซ่งอ่ นเองก็คอ่ นข้างหนา แน่นอยูแ่ ล้ว อีกทัง้ คนญวนก็ไม่คอ่ ยต้อนรับคนจีนสักเท่าไหร่ กรุงเทพฯจึงเป็นเป้าหมาย อพยพทีด่ ที ส่ี ดุ ในช่วง ปี พ.ศ. 2382 – 2401 กวางตุง้ เอ้หมึง (. เมืองท่าหลักของมณฑลฟู่ เจีย้ นหรือฮกเกีย้ น ) และเมืองท่าชายฝัง่ ถูกรุกรานจากกองทัพอังกฤษ ทำ�ให้ระเบียบสังคม ยุง่ เหยิง จีนพ่ายแพ้สงครามทำ�ให้ตอ้ งเปิดเมืองท่าเมืองกว้างตุง้ และเอ้หมึงในปี พ.ศ.2385
23
และเปิดเมืองซัวเถา ( เมึองท่าหลักของเมืองเฉาโจวหรือแต้จว๋ิ ในมณฑลกวางตุง้ .) ในปี พ.ศ. 2401 ในจีนเองเกิดกบฏไต้ผงิ ใน พ.ศ. 2381 – 2408 กบฏได้บกุ เข้าไปในเขตอพยพมณฑลฟู่ เจีย้ นและกวางตุง้ ทำ�ให้เร่งให้เกิดการอพยพมากขึน้ ประกอบกับในเมืองเฉาโจว (.แต้จว๋ิ .) เกิดทุพภิกขภัยและโรคภัยไข้เจ็บยิง่ เร่งกระแสอพยพให้เพิม่ มากขึน้ เข้าไปอีก ส่วนพวก กบฏเองหลังพ่ายแพ้จ�ำ นวนนับพันก็พากันลีภ้ ยั ไปต่างประเทศรวมทัง้ ประเทศไทยด้วย
เมืองซัวเถา
หลังสนธิสัญญาเบาว์ริ่งในปีพ.ศ.2398ราชอาณาจักรสยามมีความสงบสุขและ เจริญก้าวหน้าทางเศรษฐกิจ ราชอาณาจักรสยามมีการลงทุนในด้านเศรษฐกิจและ สาธารณูปโภคจนสามารถทัดเทียมอารยประเทศ การปฏิวัติอุตสาหกรรมในประเทศ ตามแบบตะวันตกทำ�ให้เพิ่มความต้องการแรงงานจำ�นวนมาก การค้าขายขยายตัวเป็น ทวีคูณ ชาวจีนอพยพเข้ามาทำ�หน้าที่เป็นพ่อค้าขายปลีก เป็นพ่อค้าคนกลาง ช่างฝีมือ และงานช่างอื่นๆตลอดจนการเข้ามาทำ�กิจการเกษตร (ที่ยกเว้นจากการทำ�นา) การ ปศุสัตว์ซึ่งงานต่างๆเหล่านี้คนไทยไม่นิยมที่จะทำ�หรือไม่สามารถทำ�ได้เนื่องจากขาด ทักษะ จึงกลายเป็นโอกาสอันดีของชาวจีนอพยพ
24
ในปี พ.ศ. 2408 เรือกลไฟเริ่มกิจการในการนำ�ผู้โดยสารไปมาระหว่างจีนตอน ใต้และสยาม ขณะเดียวกันรัฐบาลจีนเอง.(.ราชวงศ์ชิง.)..ก็ได้เพิกถอนกฎเกณฑ์เกี่ยวกับ การอพยพออกไปโดยไม่มีข้อห้าม เหตุเพราะต้องการรายได้จากการส่งเงินกลับบ้าน ของชาวจีนโพ้นทะเล ในปี พ.ศ..2393..สยามมีอยู่พลเมืองอยู่ประมาณ+4,500,000+คน จนประชากรกลายมาเป็นจำ�นวนมากกว่า 9,500,000 คน ในปีพ.ศ..2483 ใช้ระยะ เวลา 90 ปีประมาณว่าสามในสี่ของประชากรที่เพิ่มขึ้นประมาณ 3,000,000 คนเป็น ชาวจีนอพยพและลูกหลานเชื้อสายจีน ในช่วงประเทศไทยเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ..2475..ประเทศไทยเองก็ยังอยู่ในสภาวะเศรษฐกิจตกต่ำ�เช่นเดียวกับทุกแห่งทั่วโลก ประเทศทุกประเทศเกิดลัทธิชาตินิยม นโยบายของรัฐเกือบทุกรัฐบาลทั่วโลกรวมทั้ง ประเทศไทยมีนโยบายปกป้องประชากรในเชื้อชาติตนเอง รัฐบาลมีนโยบายอย่าง แจ้งชัดในการปกป้องผลประโยชน์ของคนไทยโดยพยายามกีดกันคนต่างด้าวซึ่งส่วน ใหญ่หมายถึงคนจีนซึ่งเป็นผู้ควบคุมเศรษฐกิจส่วนใหญ่ของประเทศไทย ดังนั้นการ อพยพของชาวจีนสู่แผ่นดินใหญ่ในช่วงนี้จึงไม่คึกคักดังเช่นเคยเป็นมาในสมัยที่สยาม ปกครองแบบสมบูรณาญาสิทธิราช ในสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 ไทยเข้าร่วมกับ ประเทศอักษะซึ่งในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิกมีประเทศญี่ปุ่นเป็นแกนนำ� รัฐบาลไทยสมัย นั้นร่วมมือกับญี่ปุ่นประกาศสงครามกับกลุ่มชาติพันธมิตรซึ่งมีประเทศสหรัฐอเมริกา อังกฤษและประเทศจีนซึ่งขณะนั้นปกครองโดยรัฐบาลจีนคณะชาติของจอมพลเจียง ไคเช็ค ดังนั้นทำ�ให้การอพยพจากประเทศจีนเข้าสู่ไทยแทบจะไม่มีเกิดขึ้น จนกระทั่ง สงครามโลกสงบลง ประเทศฝ่ายสัมพันธมิตรเป็นผู้ชนะสงครามซึ่งรวมทั้งประเทศจีน ด้วย การอพยพจากประเทศจีนสู่ประเทศไทยก็กลับมาคึกคักขึ้นอีกครั้ง เนื่องจากหลัง สงครามโลกประเทศจีนซึ่งส่วนใหญ่ถูกยึดครองโดยญี่ปุ่นในสมัยสงครามโลกเสียหาย อย่างหนักซ้ำ�ยังเกิดทุพภิกขภัยในทางตอนใต้ของจีนซึ่งก่อให้เกิดกระแสการอพยพเข้า สู่ประเทศไทย ความหวังว่าสามารถเข้ามาหางานหรือทำ�การค้าในประเทศไทย ขณะ เดียวกันในประเทศจีนก็เกิดสงครามภายในระหว่างพรรคก๊กมินตั๋ง ของจอมพลเจียงไค เช็คกับพรรคคอมมิวนิสต์ที่นำ�โดยเหมาเจ๋อตุง สุดท้ายกองทัพแดงของเหมาเจ๋อตุงชนะ สามารถปกครองประเทศจีนโดยสถาปนารัฐบาลสาธารณรัฐประชาชนจีนที่มหานคร ปักกิ่ง พรรคก๊กมินตั๋งของจอมพลเจียงไคเช็คต้องหนีไปตั้งรัฐบาลสาธารณรัฐจีนที่เกาะ ไต้หวัน ในขณะนั้นรัฐบาลไทยมีต้องนโยบายที่สอดคล้องกับประเทศสหรัฐในการต่อ ต้านคอมมิวนิสต์เช่นการเข้าร่วมสงครามกับสหประชาชาติในสงครามกับกองทัพจีน +
+
..
....
....
....
+
+
25
คอมมิวนิสต์และเกาหลีเหนือในคาบสมุทรเกาหลี,.การเข้าร่วมเป็นพันธมิตรกับรัฐบาล สหรัฐในสงครามเวียดนาม ที่สำ�คัญที่สุดคือไทยได้มีพระราชบัญญัติป้องกันและการ กระทำ�การเป็นคอมมิวนิสต์ขึ้น การเดินทางเข้าออกระหว่างประเทศไทยและประเทศ จีนพื้นแผ่นดินใหญ่เป็นการกระทำ�ที่ผิดกฎหมายทำ�ให้การอพยพจากประเทศจีนสู่ราช อาณาจักรไทยสิ้นสุดลงโดยปริยาย ชาวจีนอพยพแบ่งตามภาษาพูด ชาวจีนที่อพยพเข้าสู่เมืองไทยเกือบทั้งหมด มาจาก 2 มณฑลทางชายฝั่งทะเลทางใต้ของจีนอันได้แก่ มณฑลกวางตุ้ง กับมณฑลฟู่ เจี้ยนและที่มาจากเกาะไหหลำ� ในมณฑลกวางตุ้งมีเมืองหลวงคือกวางโจวโดยมีภาษา หลักที่ใช้กันคือภาษากวางตุ้งซึ่งเป็นภาษาพูดที่ใหญ่ที่สุดในจีนตอนใต้ นอกจากเป็น ภาษาหลักที่ใช้กันในมณฑลกวางตุ้งเกือบทั้งหมดแล้ว ยังเป็นภาษาจีนพื้นฐานของผู้ อาศัยในเกาะฮ่องกงและมาเก๊ามีประชากรที่ใช้ภาษากวางตุ้งมากกว่า 25 ล้านคนเป็น รองแค่ภาษาจีนกลาง. ( แมนดาริน ). ที่เป็นภาษาราชการเท่านั้น ในมณฑลกวางตุง้ บริเวณปากแม่น�ำ้ ฮัน่ ซึง่ อยูบ่ ริเวณตะวันออกเฉียงเหนืออยูต่ ดิ กับ ตอนใต้มณฑลฟูเ่ จีย้ นซึง่ ประชากรส่วนใหญ่คอื ประชากรตอนใต้ของมณฑลฟูเ่ จีย้ น ทำ�ให้ ชาวจีนในบริเวณนั้นภาษาพูดจึงคล้ายคลึงกับภาษาฮกเกี้ยน.(.ของพลเมืองในมณฑล ฟูเ่ จีย้ นมากกว่าภาษากวางตุง้ ภาษานีแ้ ต่เดิมเรียกว่า ฟูเ่ หล่า..( ฮกเหลา,.ฮกโหล ) ต่อ เนือ่ งจากประชากรทีพ่ ดู ภาษานีจ้ ะอาศัยอยูใ่ นเมืองเฉาโจว.( .แต้จว๋ิ .)..ส่วนใหญ่ท�ำ ให้เรียก ภาษาทีใ่ ช้นว้ี า่ ภาษาแต้จว๋ิ ฮกเกี้ยน เป็นภาษาพูดหลักในมณฑลฟูเจี้ยน เมืองหลวงของมณฑลคือ ฟู่โจว ภาษาจีนแคะเป็นภาษาพูดของชาวฮากกาซึ่งเป็นชาวฮั่นที่อพยพลงมาจากทางเหนือ จนมาตั้งถิ่นฐานทางตะวันตกเฉียงเหนือของเมืองเฉาโจว ในมณฑลกวางตุ้งที่เรียกว่า เจียอึ้งโจว ต่อมาได้ขยายอาณาเขตเข้าไปในส่วนปลายตะวันตกเฉียงใต้ของมณฑลฟู่ เจี้ยน แล้วแผ่ลงใต้ไปทั่วในมณฑลกวางตุ้ง แผ่ขยายไปทางทิศตะวันตกเช่น กวางสี, หูหนาน, เสฉวน ในส่วนตะวันออกชาวจีนยังแพร่ขยายถึงเกาะไต้หวัน เกาะไหหลำ� โดยจะแทรกอยู่กับชุมชนพื้นเมืองอย่างกลมกลืน ส่วนใหญ่แต่เดิมจะอาศัยอยู่บริเวณ ที่ราบสูง คำ�ว่า “แคะ“ในภาษาจีนแปลว่าแขกหรืออาคันตุกะซึ่งแสดงถึงการยอมรับการ เข้ามาของชาวจีนแคะของพลเมืองท้องถิ่นเดิม
26
พวกไหหลำ�คือพวกอาศัยอยู่ตามที่ราบและบริเวณชายฝั่งทะเลของเกาะไหหลำ� ส่วนใหญ่ของผู้อพยพจีนไหหลำ�บนแผ่นดินใหญ่มักมาจากมณฑลฟู่เจี้ยนในตอนใต้ มากกว่าที่มาจากมณฑลกวางตุ้งที่อยู่ใกล้กว่า ชาวไหหลำ�บนเกาะจะอาศัยอยู่บริเวณ ที่ราบชายฝั่งทางตะวันออกเฉียงเหนือของเกาะเป็นส่วนใหญ่ แต่เดิมเมืองท่าเรือสำ�เภา เมืองจีนทางตอนใต้ที่ใช้ในการค้าขายและอพยพได้แก่ ชาวกวางตุ้งใช้เมืองกวางโจว และเจียงเหลิน เป็นหลัก รองลงมาได้แก่เมืองมาเก๊า เชียงชาน พวกแต้จิ๋ว ใช้เมืองท่า เฉาโจว เฉิงไห่ จังหลิน พวกฮกเกี้ยน ใช้เมืองท่าจาง โจว เอ้หมิง และฉวนโจว ชาวไหหลำ�ในเกาะไหหลำ� ได้แก่ เมืองฟู่เฉียน ไหโข่ว
27
ต่อมาในสมัยรัชกาลที.่ .4 เรือไฟสำ�เภาเริม่ เสือ่ มความนิยมลง การขนส่งทาง เรือส่วนใหญ่เปลีย่ นมาใช้เรือกำ�ปัน่ ( เป็นเรือใบ 2–3 เสามีใบซึง่ ความยาวตามแบบยุโรป ) ทำ�ให้เมืองท่าเรือสำ�เภาเสือ่ มลงอย่างชัดเจน หลังสนธิสญ ั ญานานกิง พ.ศ. 2385 เอ้หมึง กลายเป็นเมืองท่าหลักของชาวฮกเกีย้ น พวกกวางตุง้ ก็หนั มาใช้ทา่ เรือฮ่องกงเป็นท่าเรือ หลักแทนทีก่ วางโจวและแต้จว๋ิ ก็ใช้ซวั เถาเป็นท่าเรือหลักแทนทีเ่ ฉาโจวซึง่ ท่าเรือหลักเหล่า นีพ้ ฒ ั นาขึน้ มาเป็นท่าเรือน้�ำ ลึกติดมหาสมุทรรองรับการเข้ามาของเรือกลไฟ ในสยาม เองก็เริม่ กิจการเดินเรือโดยเรือกลไฟลำ�แรกสร้างเสร็จใน พ.ศ. 2398 .และเพิม่ เป็น 23 ลำ� ในอีกห้าปีตอ่ มา ( นอกเหนือจากกำ�ปัน่ 16 ลำ� ) ในเวลานัน้ มีตารางเดินเรือประจำ�ระหว่าง ฮ่องกงกับเมืองท่าสำ�คัญทางใต้ทง้ั 3 แห่ง คือ กวางตุง้ ซัวเถา และเอ้หมึง และสามารถ เดินทางฮ่องกงไปยังสิงคโปร์และปีนงั หลังจากนัน้ ก็มสี ายเดินเรือระหว่างสิงคโปร์กบั กรุงเทพฯทำ�ให้การอพยพของชาวจีนมายังกรุงสยามโดยเรือกลไฟเริม่ กันขึน้ จนกระทัง่ ในปี พ.ศ. 2416 มีการเดินเรือกลไฟระหว่างกรุงเทพฯ - ฮ่องกงเริ่มขึ้น ในปี พ.ศ.2419 มี การเดินเรือจากไหโข่วในปี พ.ศ. 2425 บริษัทอังกฤษชื่อ บริษัท Bangkok Passenger Streamer Company เริม่ เดินเรือจากซัวเถาตรงมาถึงกรุงเทพฯและกลับซัวเถาผ่านฮ่องกง ทำ�ให้มคี นจีนอพยพเข้ามากรุงเทพฯปีละหมืน่ ๆคน อีกทัง้ ทำ�ให้ชาวแต้จว๋ิ โดดเด่นในเชิง ปริมาณผูอ้ พยพและกลายเป็นประชากรชาวจีนอพยพส่วนใหญ่ในกรุงเทพฯ ในปี.พ.ศ. 2429 มีบริการสายตรงไปยังไหโข่วทำ�ให้คนไหหลำ�อพยพเข้ามายังสยามมากขึน้ โดยมี สถิตวิ า่ ผูอ้ พยพชาวจีนมายังสยามนัน้ ..
...
...
.. ..
...
..
....
.
..
....
....
....
....
พ.ศ. 2417–2424 มีอตั ราผูอ้ พยพชาวจีนไหหลำ�มาสยามเพิม่ ขึน้ ประมาณร้อยละ 15 พ.ศ. 2425 –2345 ผูอ้ พยพชาวจีนไหหลำ�มาสยามเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 20
พ.ศ. 2436 –2448 มีผอู้ พยพชาวจีนไหหลำ�มาสยามเพิม่ ขึน้ ประมาณร้อยละ 33 พ.ศ. 2449 –2460 ผูอ้ พยพชาวจีนไหหลำ�มาสยามเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 50
สำ�หรับชาวกวางตุง้ แต่เดิมชอบทีจ่ ะเดินทางอพยพไปยังคิวบา เปรู สหรัฐอเมริกา หมูเ่ กาะฮาวาย ออสเตรเลีย และประเทศทีอ่ ยูไ่ กลออกไปประสบปัญหาด้านกฎเกณฑ์และ ข้อห้ามทีเ่ คร่งครัดของประเทศเหล่านัน้ อย่างมากในปี พ.ศ. 2425 ทำ�ให้ชาวกว้างตุง้ พากัน อพยพหลัง่ ไหลเข้ามายังเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ รวมทัง้ สยามมากขึน้ โดยเดินทางจาก ท่าเรือเมืองฮ่องกงและมาเก๊า แต่เดิมชาวฮกเกีย้ นก็ไม่นยิ มอพยพเข้ามากรุงเทพฯหรือภาค
28
กลางของสยามเพราะไม่มสี ายการเดินเรือตรงจากเอ้หมึง.–.กรุงเทพฯ..เหตุมกี ระแส การอพยพของชาวฮกเกีย้ นทีด่ ขี น้ึ เมือ่ มีเส้นทางเดินเรือกลไฟสายตรงจากเอ้หมึง.– .กรุงเทพฯ แต่เนือ่ งจากในกรุงเทพฯชาวฮกเกีย้ นมีญาติมติ รน้อย ทำ�ให้สดุ ท้าย การอพยพของชาวจีนฮกเกีย้ นก็กลับลดน้อยถอยลง ชาวฮกเกีย้ นจึงกลับไปนิยม ที่จะเดินทางไปยังภาคใต้ของสยามรวมทั้งการอพยพผ่านช่องแคบมะละกาผ่าน สิงคโปร์มาทางเมืองชายฝั่งตะวันตกของมลายูและไทยตามกระแสการทำ�เหมือง แร่ดบี กุ เช่น ปีนงั ตรัง ภูเก็ต ระนอง และเมืองสำ�คัญอืน่ ๆไม่นบั ชาวจีนทีอ่ พยพ มาจากสิงคโปร์และมาลายู การอพยพของเมืองจีนโดยเรือสำ�เภานัน้ ผูโ้ ดยสาร ที่อพยพต้องเสียค่าโดยสารจากเอ้หมึงถึงกรุงเทพฯมีมูลค่าประมาณ..8..เหรียญ (.สเปน.)..ถ้าไม่มีเงินชำ�ระค่าโดยสารอาจจะต้องทำ�ระบบตั๋วเงินเชื่อแล้วกัปตันเรือ จะเรียกเงินคืนเมื่อมาถึงสยามกับญาติมิตรหรือนายจ้างจะจ่ายเงินให้ก่อนแล้วผู้ อพยพจะต้องทำ�งานจนกว่าจะจ่ายหนีส้ นิ หมด ทุกหัวเมืองของเฉาโจว ( แต้จิ๋ว ) และเอี้ยอึ้งโจว ( แคะ ) จะมีนายหน้าใน การอพยพที่เรียกว่า “เค่อโถว”..(.หัวหน้าอาคันตุกะ.)..ทำ�หน้าที่ไปตามหมู่บ้าน ใกล้เคียงเพื่อหาผู้โดยสารทุกปี เมื่อตกลงก็จะทำ�สัญญาจ้างโดยผู้อพยพจะ คอยอยู่ในหมู่บ้านจนกว่านายหน้าจะแจ้งให้ทราบว่าจะออกเดินทางเมื่อไหร่ เมื่อนายหน้ารวบรวมผู้อพยพได้ 30 – 40 คนก็แจ้งให้ตัวแทนในซัวเถาทราบ ค่า โดยสารมากรุงเทพฯประมาณ 6.50 เหรียญถ้าผู้อพยพไม่มีเงินนายหน้าและผู้ จัดการ..( เจ้าของเรือ )..จะจ่ายให้ก่อน เมื่อถึงกรุงเทพฯแล้วพวกเขาจะเก็บเงิน ค่าโดยสารเรือได้จากญาติหรือนายจ้างตามที่ตกลงไว้ก่อน การเดินทางโดย เรือสำ�เภาหรือเรือกำ�ปั่นนั้นจะต้องเดินทางเฉพาะในฤดูลมมรสุมตะวันตกเฉียง เหนือเท่านั้น.(.เดือนตุลาคมถึงเดือนเมษายน.).การเดินทางโดยเรือกำ�ปั่นสมัยต้น รัตนโกสินทร์ สะดวกยิ่งขึ้นเทียบกับเรือสำ�เภาจีน ใช้เวลาเดินทางเฉลี่ยสิบห้า ถึงยี่สิบห้าวันในการเดินทางมากรุงเทพฯ ( ถ้าเป็นเรือสำ�เภาเดินทางจากซัวเถา มากรุงเทพฯจะกินเวลาหนึ่งเดือนเป็นอย่างต่ำ� ) การเดินทางไม่ว่าโดยเรือสำ�เภา เรือกำ�ปั่น เรือกลไฟ จะประสบความลำ�บากอย่างมาก ไม่ว่าความแปรปรวนของ ลมฟ้าอากาศ ปริมาณและคุณภาพของอาหารการกิน หรือสุขอนามัยที่เลวร้าย แต่ผู้โดยสารไม่มีสิทธิบ่นได้ ...
..
...
...
...
.. ..
...
29
เมื่อสยามประเทศขยายตัวทางเศรษฐกิจอย่างมากในสมัยรัชกาลที่..5 ความ ต้องการแรงงานจากเมืองจีนอย่างมาก ทำ�ให้เกิดบริษัทและตัวแทนอพยพเพิ่มมาก ขึ้นเป็นจำ�นวนมาก เมืองซัวเถาจะมีตัวแทนใหม่ๆเกิดขึ้นมากมายซึ่งแต่ละบริษัทจะ มี.“เค่อโถว”.ต่างมีสัญญาติดต่อกับตัวแทนย่อยหลายแห่งที่เรียกว่า.“กุลีฮอง”..ตัวแทน ใหญ่จะดูแล.“ฮอง”.ของตนให้อยู่ในขอบข่ายกฎหมาย. “ฮอง”ใหญ่ๆจะมีบ้านพัก สำ�หรับผู้อพยพทำ�หน้าที่ติดต่อข่าวสารด้านความต้องการและจำ�นวนคนอพยพเป็น ระยะๆเจ้าของ.“ฮอง”.ยังทำ�หน้าที่สั่งตั๋วเรือกลไฟจากบริษัทใหญ่ของตนและส่งตัว แทนออกไปหาผู้อพยพโดย.“ฮอง”.จะได้ผลตอบแทนจากค่าคอมมิชชั่นตามจำ�นวนผู้ อพยพ จากการสำ�รวจพบว่า อัตราการอพยพเข้าสยามนัน้ ขึน้ อยูก่ บั การเจริญรุง่ เรือง ทางด้านเศรษฐกิจทัง้ ในจีนและในสยาม เห็นได้ชดั ว่าภาวะเศรษฐกิจไทยเจริญรุง่ เรือง มากในสมัยรัชกาลที่ 4 และรัชกาลที่ 5 นัน้ มีความต้องการแรงงานสูง ขณะเดียวกัน ประเทศจีนดินฟ้าอากาศไม่คอ่ ยปกติ พืน้ ทีท่ ใ่ี ช้ท�ำ เกษตรกรรมเริม่ ขาดแคลนเนือ่ งจาก การเพิม่ ของประชากรทำ�ให้การหลัง่ ไหลเข้าสูส่ ยาม ในการอพยพของชาวจีนเพือ่ มาใช้แรงงานในสยามประเทศมีกลไกปฏิบัติดังนี้คือเจ้าของงานไม่ว่าจะเป็นงานใน อุตสาหกรรมก่อสร้าง ( ก่อสร้างอาคาร ทำ�ถนน ทางรถไฟเป็นต้น ) อุตสาหกรรมเกษตร ( อ้อย,.โรงสีขา้ ว,.โรงเลือ่ ย.ฯลฯ ) รวมถึงกิจการต่อเนือ่ งทีจ่ ะต้องใช้แรงงานซึง่ ขณะนัน้ คน ไทยท้องถิน่ ยังขาดทักษะในการทำ�งานหรือไม่ชอบทำ�งานประเภทนี้ หรือมีปญ ั หาทาง ด้านการสือ่ สารระหว่างการทำ�งานจึงทำ�ให้เจ้าของงานต้องการหาแรงงานจากชาวจีน อพยพจำ�นวนมาก โดยเจ้าของงานจะแจ้งยอดจำ�นวนความต้องการให้บริษทั ตัวแทน ในประเทศไทย บริษทั ตัวแทนในภาษาจีนเรียกว่า “กงสี”.( อาจเป็นทีม่ าของการปกครอง เกือ้ หนุนชาวจีนอพยพทีเ่ รียกว่าระบบ“กงสี” ) บริษทั ตัวแทนในไทยจะแจ้งไปยังบริษทั ที่ ซัวเถา บริษทั ก็จะส่งข้อมูลคำ�สัง่ ไปให้บริษทั เดินเรือและตัวแทนย่อยทีเ่ รียก.“ฮอง”.หรือ.“กุ ลีฮอง” จากนัน้ .“ฮอง”.ก็จะสัง่ นายหน้าทีเ่ รียกว่า.“เค่อโถว” เพือ่ ชักชวนผูค้ นเข้ามาใน การอพยพแล้วจัดส่งต่อให้กบั บริษทั (กงสี)ในกรุงเทพฯ จากนัน้ จึงส่งต่อแรงงานให้เจ้าของ งาน ส่วนใหญ่คา่ โดยสารบริษทั ทีซ่ วั เถาจะจ่ายให้กอ่ นแล้วจึงมาเก็บกับเจ้าของงานที่ กรุงเทพฯ เจ้าของงานก็จะไปหักจากค่าแรงของผูอ้ พยพอีกทีหนึง่ ทุกทุกขัน้ ตอนจะมีการ หักค่านายหน้า ค่าดำ�เนินการ สุดท้ายแล้วภาระทัง้ หมดตกอยูก่ บั ผูอ้ พยพทัง้ สิน้ +
+
30
จากการสำ�รวจของหนังสือChina Year Book พบว่าในปี 2460 ประชากรจีนมี อยู่ในประเทศไทยประมาณ 1,500,000 คน ( ประชากรไทยทั้งหมดประมาณ9,500,000 คน ) และในปี พ.ศ. 2490 ประชากรจีนและลูกหลานเชื้อสายจีนจะอยู่ที่ประมาณ 4,504,000 คน ในขณะที่ประชากรไทยอยู่ที่ 18,000,000 คน คือมีประชากรจีน(และ เชื้อสายจีน)อยู่ประมาณร้อยละ 25 ของประชากรไทยรวมทั้งประเทศ โดยอาศัยอยู่ใน กรุงเทพและปริมณฑลประมาณร้อยละสี่สิบหรือประมาณ 2,000,000 คนซึ่งส่วนใหญ่ เป็นชาวจีนที่พูดภาษาแต้จิ่ว โดยประชากรชาวจีนเพียงร้อยละสองของชาวจีนใน กรุงเทพและปริมณฑล ( ประมาณ 40,000 คน )เท่านั้นที่สามารถอาศัยอยู่ในศูนย์กลาง ของกรุงเทพฯ ที่เป็นจุลนครฯในปัจจุบันนี้ตามข้อจำ�กัดของพื้นที่ ประชากรชาวจีน อพยพจากท่าเรือเมืองซัวเถาเข้ากรุงเทพฯประมาณ 1,500,000 คน ในเวลาสามสิบปี เดินทางเข้าประเทศสยาม ( เฉลี่ยปีละ 50,000 คน ) ผ่านท่าเรือแห่งจุลนครฯ.แห่งนี้ ไปสู่ส่วนต่างๆของกรุงเทพฯและปริมณฑล แต่ส่วนใหญ่จะเป็นการกระจายตัวสู่หัว เมืองภูมิภาคแทบทุกจังหวัดในภาคกลาง หัวเมืองใหญ่ๆทางภาคเหนือเช่นปากน้�ำ โพ พิษณุโลก เชียงใหม่เป็นต้น ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือเช่น นครราชสีมา ขอนแก่น อุดร เป็นต้นยกเว้นทางภาคใต้ประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวฮกเกีย้ นทีเ่ ดินทางจากเอ้หมึง และชาวกวางตุง้ บางส่วนทีเ่ ดินทางมาจากฮ่องกง เพือ่ ทำ�งานค้าขายเหมืองแร่ดบี กุ + +
+
+
++
+
+
+
+
+
31
จากบันทึกของบันทึกราเควซ กล่าวไว้ใน พ.ศ..2446 ว่า “เมือ่ ปักหลักมัน่ คง ในกรุงเทพฯ.เป็นแห่งแรกแล้ว ชาวเฉาโจว..(.แต้จว๋ิ .).ได้ขยายตัวออกไปทีละเล็กทีละน้อย ตามสภาพแวดล้อม โดยเลือกอยูแ่ ถบสีแ่ ยกถนนและลำ�คลองตามความพอใจ มาจน กระทัง่ ไม่นานนีพ้ วกเหล่านีย้ งั ไปไม่ไกลเกินกว่ารัศมี 100 กิโลเมตรจากกรุงเทพฯ” ตัง้ แต่.พ.ศ. 2440 จุลนครฯ นครหลวงชาวจีน ( แต้จว๋ิ , แคะบางส่วน) เริม่ มีความ หนาแน่นมากขึน้ การเคลือ่ นย้ายจึงเกิดขึน้ พร้อมๆกับเส้นทางรถไฟทีเ่ สร็จเรียบร้อย ไปจนถึงแก่งคอยและเมื่อมีทางรถไฟต่อขึ้นไปทางเหนือทำ�ให้พวกแต้จ๋ิวและพวกแคะ ก็กระจายตัวอยูก่ นั ตามหัวเมืองใหญ่ๆในต่างจังหวัดของสยาม รถไฟสายตะวันออก เฉียงเหนือสร้างเสร็จถึงโคราชในปี.พ.ศ. 2451 ส่วนสายเลียบแม่นำ้�ผ่านไปทางเหนือ ปากน้�ำ โพ ถึงอุตรดิตถ์เมือ่ พ.ศ. 2451 ก่อนสงคราม รถไฟสายนีส้ ร้างเสร็จถึงเด่นชัย และมีสายย่อยแยกไปยังสวรรคโลก รถไฟสายเหนือสร้างเสร็จผ่านบริเวณถิน่ ฐาน ของพวกไหหลำ� ในปี พ.ศ. 2460 ความจริงคนไหหลำ�มาสร้างรกรากทางเหนือก่อน เนือ่ งจากคนงานทำ�ทางรถไฟของชาวจีนส่วนมากเป็นพวกแต้จว๋ิ แคะ และกวางตุง้ ส่วนพวกไหหลำ�ไม่คอ่ ยนิยมเป็นกรรมกร จึงปลีกตัวออกมาตัง้ หลักปักฐานตามหัว เมืองก่อนทางรถไฟเสร็จ แต่ขอ้ คิดของผูเ้ ขียนเองเห็นว่าประการแรกชาวไหหลำ�ไม่มี พันธะผูกพันเรือ่ งการชำ�ระค่าเดินทางกับบริษทั ผูแ้ ทนเหมือนชาวแต้จว๋ิ ชาวไหหลำ�เอง ไม่เก่งทางช่างฝีมอื เหมือนกับชาวจีนกวางตุง้ ขณะเดียวกันก็ไม่มคี วามสามารถพิเศษ ในการระเบิดหินเหมือนชาวจีนแคะ ชาวไหหลำ�ไม่มฝี มี อื แรงงานทีโ่ ดดเด่นและไม่ตอ้ ง ติดพันธะจากค่าเดินทาง จึงสามารถปลีกตัวออกจากก่อสร้างทางรถไฟได้กอ่ นชาวจีน พวกอืน่ ๆ เมือ่ มองเห็นช่องทางในการทำ�การค้าในภูธรนัน้ ๆประการทีส่ องในชนชาว จีนด้วยกันชาวไหหลำ�เป็นคนกลุ่มน้อยแตกต่างกับชาวจีนกลุ่มอื่นทางด้านภาษาพูด และวัฒนธรรม ชาวไหหลำ�มีวถิ ชี วี ติ ความเป็นอยูใ่ กล้เคียงกับชาวไทยท้องถิน่ มากกว่า กลุม่ อืน่ จึงง่ายต่อการปรับตัวเข้ากับคนไทยได้งา่ ยกว่า ประการทีส่ ามชาวไหหลำ�เป็น ชาวจีนทีร่ กั การเดินทางชอบผจญภัย จึงมีความกล้าทีจ่ ะลองผจญภัยในสิง่ แวดล้อมใหม่ๆ จากเหตุผลเหล่านี้นอกจากตัวเมืองตามแนวทางรถไฟแม้กระทั่งเมืองเล็กๆซึ่งในอดีตที่ แทบจะไม่มชี าวจีนภาษาอืน่ เข้าไปตัง้ รกรากก็ปรากฏว่าชาวจีนไหหลำ�จะเข้าไปก่อนสืบ เนือ่ งจากปรากฏการณ์ พฤติกรรมนีท้ �ำ ให้ชาวจีนไหหลำ�โดดเด่นในการทำ�ป่าไม้ โรงเลือ่ ย และกิจการทีเ่ กีย่ วข้องกับการทำ�ผลิตภัณฑ์จากไม้ เพราะต้องเข้าไปเริม่ กิจการในป่า ...
+
...
...
...
+
32
กระแสของการอพยพเข้าสู่สยามของชาวจีนสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ (พ.ศ.2325-2490). ในสมัยกรุงธนบุรี ( พ.ศ. 2310 – 2325 ) อันสืบเนื่องกษัตริย์ไทยเป็นชาวจีน แต้จิ๋วที่อพยพเข้ามาในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย และสามารถกู้ชาติแผ่นดินจาก การยึดครองของพม่า สถาปนาการปกครองราชธานีกรุงธนบุรีประกอบกับการกอบ กู้แผ่นดินสยามนี้ พระเจ้ากรุงธนบุรีอาศัยความร่วมมืออย่างมากจากชุมชนชาวจีน ในสยาม ดังนั้น เมื่อตั้งราชธานีแล้วพระองค์จึงมีพระราชประสงค์ในการส่งเสริมการ อพยพเข้าสู่สยามของชาวจีน เมื่อสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชขึ้นครอง ราชย์ต่อมาในปี พ.ศ...2325 ก็ทรงย้ายราชธานีมายังกรุงเทพมหานครทางฝั่งตะวัน ออก บ้านเมืองจำ�เป็นอย่างยิ่งในความต้องการชาวจีนเข้ามาเพื่อช่วยเหลือในด้าน การค้าขายและงานเศรษฐกิจ รวมทั้งแรงงานผู้เชี่ยวชาญในด้านบูรณปฏิสังขรณ์ กรุงเทพฯ เป็นจำ�นวนมาก ...
ในต้นราชวงศ์จักรี นักเดินเรือและพ่อค้าชาวจีนหลั่งไหลเข้ามา นอกจาก นี้พระบรมวงศานุวงศ์ (..เช่นพระเจษฎาบดินทร์ เป็นต้น..)..และข้าราชบริพารชาวไทย ร่วมมือ ร่วมลงทุนกับชาวจีน ทำ�การค้าเสียเอง โดยมีกองเรือสำ�เภาพาณิชย์ทำ�การ ค้าระหว่างกรุงเพทฯ กับเมืองเฉาโจว..(..แต้จิ๋ว..)..นอกเหนือจากที่คนจีนที่เข้ามาทำ� หน้าที่เป็นข้าราชการบริหารงานด้านภาษี หรือตัวแทนจัดเก็บภาษีตามกฎหมาย ในช่วงต้นรัตนโกสินทร์ ชาวไทยนิยมทำ�การเกษตรแขนงเดียว คือการทำ� นาเป็นหลัก ส่วนเกษตรแขนงอื่นๆไม่มีความชำ�นาญ พืช ผัก ส่วนใหญ่ก็เป็นไปเป็น ธรรมชาติ ตรงกันข้ามกับชาวแต้จิ๋วเป็นผู้เชี่ยวชาญด้านการเกษตรไม่ว่าการทำ�สวน ปลูกผัก ผลไม้ การทำ�ไร่อ้อย การประมง เลี้ยงสัตว์ ชาวแต้จิ๋วจึงเห็นโอกาสอันดีจะ เดินทางเข้ามาทำ�มาหากินในสยาม.(.ผู้เขียนในสมัยเด็กก็ยังได้มีโอกาสเห็นการทำ� สวนผัก ผลไม้ของคนจีนตามจุดต่างๆของใจกลางกรุงเทพฯ สมัยนั้น แม้กระทั่งลำ�ไย ลิ้นจี่ ทำ�ได้เฉพาะในแถวตรอกจันท์ ยานนาวา เท่านั้นก่อนที่จะนำ�ไปปลูกทางภาค เหนือ เป็นต้น.)
33
ภายใต้การกดดันของชาติตะวันตกต่อจีน ก่อให้เกิดการยึดครองเกาะฮ่องกง ของอังกฤษในปี.พ.ศ..2385 เนื่องจากฮ่องกงสามารถพัฒนาเป็นท่าเรือน้ำ�ลึกขนาด ใหญ่เหมาะสมกว่าเมืองกวางโจวเมืองท่าเดิมมีความสะดวกในการเดินทางสู่โพ้นทะเล โดยเฉพาะอย่างยิ่งภาคพื้นแปซิฟิก ชาวกวางตุ้ง จำ�นวนมากจึงอพยพผ่านฮ่องกงไป ยังซีกโลกตะวันตกเช่น ชาวฝั่งตะวันออกของสหรัฐอเมริกาและฮาวาย พ.ศ. 2385 – 2401 เอ้หมึง ( มณฑลฟูเจี๋ยน ) และกวางโจว ( มณฑลกวางตุ้ง ) เปิดเป็น เมืองท่าตามสนธิสัญญา ทำ�ให้ชาวจีนสองมณฑลทางชายฝั่งทะเลภาคใต้ของจีนทั้ง 5 ภาษาพูดคือ กวางตุ้ง ฮกเกี้ยน ไหหลำ� แคะ และแต้จิ๋ว มีช่องทางที่จะเดินทางสู่ โพ้นทะเลได้(แต่ไม่ไกลเท่ากับเดินทางจากฮ่องกง เนื่องจากเป็นเมืองท่าขนาดเล็กกว่า ไม่สามารถรองรับเรือขนาดใหญ่ที่สามารถเดินทางไกลๆได้ มีการเดินเรือภายในจาก เฉาโจว ( แต้จิ๋ว ), ไหโข่ว,ไหหลำ� มายังเมืองท่าใหญ่ทั้งสองและมายังท่าเรือน้ำ�ลึกที่ ฮ่องกง อย่างไรก็ดีชาวจีนทั้ง 5 ภาษาพูดนี้นิยมเดินทางไปยังดินแดนอาณานิคมยุโรป ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ( นานยาง ) มากกว่าซึ่งอาจเป็นเพราะคุ้นเคยกว่าและยังมี ญาติมิตรที่เดินทางมาก่อนคอยอุปการะ อีกเหตุผลหนึ่งคือเนื่องจากชาวจีนในเมือง ท่าสองเมืองนี้ประสบการณ์ในการปฏิสัมพันธ์กับชาวตะวันตกที่เข้ามาทำ�ค้าขายมา ก่อนอยู่แล้ว ส่วนประเทศสยามยังไม่เป็นที่คุ้นเคยนัก ที่สำ�คัญคือ ดินแดนอาณานิคม เหล่านั้นก็ใช้กฎหมายฉบับเดียวกันเช่นเดียวกับระบบกฎหมายในเมืองท่าตามสนธิ สัญญาหรือดินแดนในเขตปกครองของชาวตะวันตกซึ่งต่างกับสยามที่ยังใช้กฎหมาย การปกครองของไทย ( ก่อนทีจ่ ะมีสทิ ธิสภานอกอาณาเขตตามสนธิสญ ั ญาเบาว์รง่ิ พ.ศ. 2398 ) พ.ศ. 2401 ได้มีการเปิดเส้นทางเดินเรือระหว่างซัวเถากับกรุงเทพ จึงเปิดโอกาสให้ชาว จีนแต้จิ๋วในเมืองเฉาโจว และชาวแคะ มีความสะดวกที่จะเดินทางมาสู่สยาม สยามมีกิจกรรมทางการค้าและบรรณาการไปที่เมืองจีนบ่อย จนภายหลัง รัชกาลที่ 4 จึงเลิกประเพณีจิ้มก้อง ( ส่งบรรณาการ ) ไปเมืองจีน ทำ�ให้ชาวกวางตุ้งที่เดิน ทางมาสยามลดน้อยลง
34
ในกรณีชาวไหหลำ� นอกจากมีเส้นทางอพยพทางเดินเรือกลไฟ จากเมืองท่า ไหโข่วเข้ามากรุงเทพฯ ตามปกติแล้ว ก่อนหน้านี้ พ.ศ. 2343 – 2418 ชาวไหหลำ�สามารถ แล่นเรือสำ�เภาโดยเดินทางเลาะมาตามชายฝั่งทะเล จากอ่าวตังเกี๋ยเลียบชายฝั่งทะเล ของเวียดนาม แล้วเข้าสู่อ่าวไทยมายังกรุงเทพฯ ได้ หรือบางครั้งก็อาจจะปักหลักฐาน ทำ�มาหากินในเมืองท่าชายฝั่งรอบอ่าวไทยเสียเลย ซัวเถานอกจากเป็นประตูของชาวแต้จิ๋วมาสู่กรุงเทพฯแล้วชาวจีนแคะก็ใช้ เมืองท่าซัวเถาเป็นท่าเรือหลักในการเดินทางมาสู่กรุงเทพฯ ดังนั้น ชาวจีนในกรุงเทพฯ ชาวจีนแคะซึ่งมีประชากรรองจากชาวแต้จิ๋วคละปนมาด้วยประมาณร้อยละ 20 ของ ชาวแต้จิ๋ว พ.ศ. 2413 เมืองท่าเอ้หมึงของมณฑลฟู่เจี้ยน ( ฮกเกี้ยน ) มีสายการเดินเรือตรงไปยัง สิงคโปร์และมนิลาของฟิลิปปินส์ จากสิงคโปร์สามารถเดินทางต่อไปยังเมืองฝั่งตะวัน ตกของแหลมมลายู เช่น มะละกา อิโป เซลังงอ ปีนัง รวมถึง ตรัง ภูเก็ต ระนองของ สยาม ทำ�ให้สิงคโปร์และเมืองทางฝั่งทะเลตะวันตกของแหลมมลายูและไทยจะมีชาว จีนฮกเกี้ยนจำ�นวนมาก พ.ศ. 2418 – 2419 เมืองท่า 3 แห่ง ได้แก่ เมืองเอ้หมึง ( ฮกเกี้ยน ), ซัวเถา ( แต้จิ๋ว ) และ ไห่ไขว่ (ไหหลำ� ) เจริญขึ้นมาก การเดินเรือเปลี่ยนจากเรือใบ ( เรือกำ�ปั่น ) เป็นเรือกลไฟ ชาวจีนแต้จิ๋ว และชาวไหหลำ�เดินทางเข้ากรุงเทพฯ มากขึ้นตรงกันข้ามชาวจีนฮกเกี้ยน จะเดินทางไปยังภาคใต้ของสยามเป็นส่วนใหญ่ เหตุผลที่สำ�คัญที่สุดของสถานที่จะ อพยพไปนั่นคือไปที่ที่มีครอบครัว ญาติมิตร คนคุ้นเคยรู้จัก พูดภาษาเดียวกัน มี ถิ่นฐานอยู่มาก่อน พ.ศ. 2425 มีตารางเดินเรือประจำ�เดินทางโดยตรงระหว่างกรุงเทพฯ กับเมืองซัวเถา ทำ�ให้ผู้อพยพชาวจีนแต้จิ๋วและจีนแคะเดินทางมากรุงเทพฯ สะดวกมากยิ่งขึ้น พ.ศ. 2429 มีสายการเดินเรือประจำ�ระหว่างเมืองไหโข่ว ( ไหหลำ� ) - กรุงเทพฯ ทำ�ให้ คนไหหลำ�เดินทางเข้ากรุงเทพฯ มากขึ้นจากการบันทึกของกรมศุลกากร ( ทำ�หน้าที่ เป็นเจ้าพนักงานด้านภาษีและการเข้าเมืองของคนต่างด้าว ) ก่อนที่มีสายการเดินเรือที่ เดินเรือระหว่างกรุงเทพฯซัวเถากับการเดินเรือระหว่างกรุงเทพฯ กับไหโข่ว
35
พ.ศ. 2425 – 2435 ผู้อพยพเดินทางมาจาก 2 เมืองท่านี้ทั้งสิ้นประมาณ 100,000 คน ( เฉลีย่ ปีละประมาณ 10,000 คน ) แต่หลังจากมีการเปิดเส้นทางการเดินเรือสายตรงของ เมืองทั้งสอง(ตามสถิติของกรมศุลกากรที่ทำ�หน้าตรวจคนเข้าเมืองในสมัยนั้น)ใน ปี พ.ศ.2440 – 2460 ( 20 ปี ) มีการเดินทางเข้ากรุงเทพฯ จาก 2 เมืองท่านี้ประมาณ 1,000,000 คน ( เฉลี่ยปีละ 50,000 คน ) หรือเพิ่มขึ้น 5 เท่าตัว ขณะเดียวกันในปี พ.ศ. 2425 ประเทศต่างๆในโพ้นทะเล เช่น สหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย เริ่มมีกฎเกณฑ์และข้อห้ามเข้มงวดมากขึ้น ทำ�ให้ชาวกวางตุ้งที่เคยอพยพ ไปสู่ประเทศเหล่านั้น ก็หันมาอพยพสู่ราชอาณาจักรสยามมากขึ้น ประกอบด้วยว่า ขณะนั้นสยามมีการพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจและการก่อสร้างสาธารณูปโภคมากขึ้น ชาวกวางตุ้งนั้นมีทักษะและฝีมือในเทคโนโลยีสมัยใหม่ อันเนื่องจากชาวกวางตุ้งคุ้น เคยและมีประสบการณ์ในการทำ�งานกับชาวตะวันตกตามเมืองต่างๆในเมืองในอาณัติ ที่ชาวตะวันตกยึดครอง โดยเฉพาะฮ่องกงที่มีชาวกวางตุ้งอาศัยอยู่มากและเป็นเมือง ที่ชาวตะวันตกอาศัยอยู่มากเพราะเป็นเมืองที่ชาวอังกฤษครอบครองและใช้เป็นเมือง ท่าน้ำ�ลึก ดังนั้นเมืองโพ้นทะเลแถบอเมริกาถูกปิดกั้นก็ทำ�ให้กระแสอพยพของชาว กวางตุ้งสู่กรุงเทพฯก็เกิดมากขึ้น พ.ศ. 2432 รัฐบาลจีนในราชวงศ์แมนจูมีการผ่อนปรนข้อห้ามและกรุงเทพฯที่ในการ อพยพของชนชาวจีนมากขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งเรื่องกฎเกณฑ์ในระบบตั๋วเงินเชื่อ ในซัวเถา ระบบตั๋วเงินเชื่อซึ่งเป็นระบบสำ�คัญสำ�หรับชาวจีนอพยพที่ต้องการเดินทาง มาขายแรงงานในสยาม แต่ไม่มีค่าโดยสารเรือสามารถเดินทางได้โดยใช้ระบบตั๋ว เงินเชื่อผ่านบริษัทตัวแทนบริษัทเดินเรือและผู้ว่าจ้างในสยาม ( ชำ�ระค่าโดยสารตามตั๋ว เงินเชื่อกับค่านายหน้าและหักคืนจากค่าจ้างและค่าแรงภายหลัง ) พ.ศ. 2434 ในกรุงเทพฯ มีการคุกคามจากการล่าอาณานิคมของอังกฤษและฝรั่งเศส ทำ�ให้ภาวะธุรกิจการค้าในกรุงเทพฯตกต่ำ�เนื่องจากความไม่มั่นใจในสภาวะการเมือง การปกครองของราชวงค์สยาม บริษัทชาวจีนจำ�นวนมากต้องประสบภาวะล้มละลาย ทำ�ให้ความต้องการด้านแรงงานลดลง การอพยพของชาวจีนจึงลดลงไปด้วย พ.ศ. 2435 รัชกาลที่ 5 ทรงดำ�ริสร้างทางรถไฟจากกรุงเทพฯ ไปยังเมืองอยุธยา ทำ�ให้ ภาวะความต้องการแรงงานชาวจีนสูงขึน้
36
พ.ศ. 2436 – 2437 เกิดทุพภิกขภัยทำ�ให้การเพาะปลูกในเมืองเฉาโจวล้มเหลว ชาว แต้จว๋ิ จึงดิน้ รนอพยพเข้าสูร่ าชอาณาจักรสยามเริม่ ขึน้ +
พ.ศ. 2437..ที่เกาะฮ่องกงเกิดกาฬโรคระบาดทำ�ให้ผู้คนที่อพยพผ่านเกาะฮ่องกง หวาดหวั่นไม่กล้าเดินทางโดยผ่านเมืองท่าเกาะฮ่องกงมายังเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ประกอบประเทศปลายทางก็ไม่ยนิ ดีตอ้ นรับ พลเมืองจีนอพยพซึง่ ส่วนใหญ่เป็นชาว กวางตุง้ ไม่สามารถเดินทางไปยังสิงคโปร์ ชาวกวางตุง้ ทีจ่ �ำ เป็นต้องอพยพก็เปลีย่ นมา ขึน้ ท่าทีก่ รุงเทพฯแทน ทำ�ให้ชาวกวางตุง้ มีเพิม่ มากขึน้ ในช่วงนี้ +
พ.ศ. 2440....สมัยรัชกาลที่..5..มีการปฏิรูปทางเศรษฐกิจครั้งใหญ่โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การก่อสร้างสาธารณูปโภคและการคมนาคม มีการขุดคลอง ( ง่ึ ส่วนใหญ่เพือ่ ใช้ในการ ชลประทาน ) จำ�นวนมาก มีการตัดถนนสายใหม่มากมายทัง้ ในกรุงเทพฯ และภูมภิ าค ทางรถไฟให้มกี ารขยายทัง้ สายเหนือ, สายตะวันออกเฉียงเหนือ, สายตะวันออกและสาย ใต้ ความต้องการแรงงานโดยเฉพาะชาวจีนทีม่ แี รงงานทีม่ คี ณ ุ ภาพเกิดขึน้ อย่างมาก จนต้องหาแรงงานในประเทศจีนโดยวิธีการชักจูงใจผ่านระบบตัวแทนแรงงานเข้าหา แรงงานในหมูบ่ า้ นต่างในเมืองเฉาโจว +
ซ
พ.ศ. 2442 เกิดโรคระบาดกาฬโรคทีซ่ วั เถาและไหโข่ว ทำ�ให้ผอู้ พยพชาวแต้จว๋ิ , จีนแคะ และไหหลำ�เข้าสยามลดลง พ.ศ. 2444 กาฬโรคทีเ่ มืองซัวเถาและไหโข่วสิน้ สุดลง ทำ�ให้การอพยพจากทัง้ สองเมือง เข้ามายังกรุงเทพฯกลับมาเพิม่ มากขึน้ พ.ศ. 2451 ..เมืองเฉาโจวการทำ�นาและการเก็บเกีย่ วได้ผลดี ชาวจีนในเมืองเฉาโจวมี ฐานะความเป็นอยูท่ ด่ี ขี น้ึ ประกอบกับครอบครัวทีอ่ ยูเ่ มืองจีนได้รบั เงินส่งกลับจากคนใน ครอบครัวทีไ่ ด้มาทำ�งานในก่อนหน้านี้ ทำ�ให้ในช่วงนีก้ ารอพยพซึง่ ชะลอตัวลงอย่าง มาก +
พ.ศ. 2453..รัฐบาลจีนในราชวงศ์ชิงยกเลิกกฎหมายที่เกี่ยวกับการอพยพเพื่อสนับสนุน ให้ชาวจีนอพยพไปโพ้นทะเลมากขึน้ เพือ่ ให้มเี งินส่งกลับประเทศมากขึน้ +
37
เกิดการจลาจลรบพุ่งกันระหว่างขุนศึกในเมืองเฉาโจว และในเกาะไหหลำ� ในปี พ.ศ. 2453 - 2459 ในประเทศจีนช่วงปลายของการปกครองในราชวงศ์แมนจู มีความอ่อนแอมากจนแทบจะไม่มีความสามารถในการปกครองควบคุมความสงบ เรียบร้อยของบ้านเมืองได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในมณฑลที่อยู่ห่างไกลจากเมืองหลวง ปักกิ่ง ดังนั้นการปกครองในมณฑลหรือเมืองต่างๆจะมีการปกครองโดยขุนศึกที่มีกอง กำ�ลังตนเอง กฎหมายก็ออกตามแต่ความต้องการและผลประโยชน์ของตนเองเท่านั้น ดำ�รงตนเสมือนหนึ่งเป็นรัฐอิสระ เมืองต่างๆที่อยู่ในเขตปกครองของประเทศตะวันตก และญี่ปุ่นสภาพความเป็นอยู่และสังคมยังดีกว่าเพราะมีการปกครองจากประเทศแม่ที่ มีวินัยและระเบียบที่ดี ส่วนเมืองที่ปกครองโดยขุนศึกก็จะมีการรบพุ่งแย่งชิงอำ�นาจ และผลประโยชน์กันอยู่เสมอๆทำ�ให้ชาวจีนทั้งแต้จิ๋ว แคะและไหหลำ� หนีภัยสงคราม อพยพเข้าเมืองสยามมากขึ้น พ.ศ. 2463 นอกจากความไม่สงบจากสงครามรบพุง่ ของขุนศึกในภาคใต้ของจีน การ ผลิตพืชพันธุธ์ ญ ั ญาหารก็ได้ผลไม่ดี ชาวจีนทางใต้มคี วามเดือดร้อนอย่างยิง่ ทำ�ให้ ประชากรอพยพยิง่ มากขึน้ พ.ศ. 2468 – 2470 ภายหลังการเปลีย่ นแปลงการปกครองจากสมบูรณาญาสิทธิราชย์ ของราชวงศ์ แ มนจู ม าเป็ น สาธารณรั ฐ จี น แล้ ว ก็ ยั ง มี ก ารปฏิ วั ติ จ ากพรรคที่ นิ ย ม คอมมิวนิสต์ เฉาโจวเองก็เป็นสมรภูมขิ องการปฏิวตั โิ ดยตรง เจียงไคเช็คแม้วา่ สามารถ จัดตัง้ รัฐบาลประชาธิปไตยของพรรคก๊กมินตัง๋ สำ�เร็จ ความสงบก็ไม่สามารถเกิดขึน้ ได้ ในปี พ.ศ. 2470 รัฐบาลพรรคก๊กมินตัง๋ ก็ตอ้ งทำ�ศึกกับกองทัพของพรรคคอมมิวนิสต์จนี ในช่วงนีช้ าวจีนก็หนีเข้ามาสยามจำ�นวนมากอีกระลอกหนึง่ พ.ศ. 2473 – 2476 เกิดภาวะเศรษฐกิจตกต่�ำ ทัว่ โลกโดยเฉพาะอย่างยิง่ ประเทศไทยซึง่ ไม่เคยมีมาตรการป้องกันไว้กอ่ น ทำ�ให้ได้รบั ผลกระทบรุนแรงอย่างมากประกอบกับ มีการออกระเบียบว่าด้วยคนเข้าเมืองในปี พ.ศ. 2473 ชาวจีนจึงลดการอพยพลงจนมี ตัวเลขคนเข้าเมืองติดลบ เนือ่ งจากมีชาวจีนจำ�นวนมากอพยพกลับ พ.ศ. 2481 – 2482 เมืองต่างๆตอนใต้ของจีนรวมทัง้ เมืองซัวเถาถูกญีป่ นุ่ รุกรานและเข้า ครอบครอง การอพยพมาไทยมีปญ ั หาเนือ่ งจากการเดินเรือต้องหยุดชะงักจากสงคราม
38
39
พ.ศ. 2483 เกิดสงครามระหว่างจีนกับญี่ปุ่นเป็นทางการ ( ไม่มีการประกาศ ) กระแสอพยพ หนีภัยสงครามกลับมา ชาวจีนเริ่มอพยพกลับมาประเทศไทยโดยเฉพาะอย่างยิ่งพวกที่มี ฐานะร่ำ�รวยเป็นพวกที่อพยพออกมาก่อน พ.ศ. 2484 เกิดสงครามในภาคพื้นแปซิฟิกญี่ปุ่น ( ร่วมกับฝ่ายอักษะ อิตาลี เยอรมัน ) เป็น แกนนำ�ประกาศสงครามกับประเทศพันธมิตรตะวันตกและจีน ยกทัพเข้ายึดครอบครอง ประเทศจีน เคลื่อนทัพลงใต้บุกยึดดินแดนประเทศต่างๆในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียง ใต้ซึ่งเป็นอาณานิคมของอังกฤษและฝรั่งเศสรวมทั้งฟิลิปปินส์ของสหรัฐอเมริกาส่วน ประเทศไทยก็ประเทศเป็นพันธมิตรกับญี่ปุ่น ในระหว่างสงครามโลก ปี พ.ศ. 2485 – 2488 ประเทศไทยเนื่องจากเป็นพันธมิตร กับญี่ปุ่นได้รับผลกระทบน้อยที่สุดในภูมิภาคจากการรุกรานของกองทัพญี่ปุ่น ยกเว้น ตอนปลายสงครามโลกที่ได้รับการทิ้งระเบิดจากเครื่องบินพันธมิตรบ้าง ดังนั้นชาว จีนที่อาศัยอยู่มาลายูและสิงคโปร์หลบหนีการรุกรานของญี่ปุ่น เข้ามายังภาคใต้ของ ประเทศไทยซึ่งบางส่วนก็ตั้งรกรากในแผ่นดินไทยเสียเลย พ.ศ. 2489 – 2490 เนื่องจากการอพยพถูกอัดอั้นในช่วงสงครามโลกปลายปี ขณะ เดียวกันชาวจีนถือว่าตนเป็นประเทศผู้ชนะสงครามเป็นชาติมหาอำ�นาจที่ร่วมก่อตั้ง และเป็นสมาชิกความมั่นคงถาวรของสหประชาชาติประกอบกับมีข่าวลือว่ารัฐบาลไทย กำ�ลังจะเพิ่มค่าธรรมเนียมของการเข้าเมืองของชาวต่างด้าว ทำ�ให้ชาวจีนหลั่งไหลเข้าสู่ ประเทศไทยอย่างมาก จนมีการเรียกชาวจีนพวกนี้พวกซิงตึ๊ง ( จีนมาใหม่ )หลังสงคราม พ.ศ...2493..รัฐบาลให้ออกพระราชบัญญัติคนเข้าเมืองโดยกำ�หนดให้ชาวจีนมีสิทธิเสมอ ดังเช่นคนต่างด้าวชาติอื่นๆโดยกำ�หนดโควตาคนเข้าเมืองชาติละไม่เกิน 200 คนต่อปี ค่า ธรรมเนียมจำ�นวนเงิน 1,000 บาท พิธีกรรมในการดำ�เนินการเป็นไปตามกฎเกณฑ์ เช่น การเข้าเมืองของชนชาติอื่นๆทำ�ให้กระแสการหลั่งไหลการอพยพสู่ประเทศไทยสิ้นสุดลง หลังจากนั้นรัฐบาลไทยต่อมามีนโยบายต่อต้านคอมมิวนิสต์ ห้ามการเดินทางเข้าออกสู่ ประเทศที่มีการปกครองในระบบสังคมนิยมคอมมิวนิสต์ ทำ�ให้ประวัติศาสตร์การอพยพ เข้าสู่ประเทศไทยกว่าสองศตวรรษปิดฉากลง
40
บทสรุปกระแสการอพยพของประชากรจีนทีเ่ ดินทางเข้ามาประเทศไทย ปี พ.ศ. 2460 มีการสำ�รวจสำ�มะโนครัวครั้งแรกในสยามเป็นตัวเลขที่สำ�รวจ ได้ดังนี้ ประการกรสยามรวมทุกชาติพันธุ์มีอยู่ทั้งสิ้น 8,232,000 คน มีชาวจีนที่เกิดใน ประเทศจีนทั้งสิ้น 906,000 คน คิดเป็นร้อยละ 14 ของพลเมืองทั้งหมด สามารถจำ�แนก เป็นชาวจีนอพยพที่เกิดในประเทศจีนจำ�นวน 349,000 คน ( ร้อยละ 4 ของพลเมืองรวม )กับ ชาวจีนที่เกิดในสยามมีขนบธรรมเนียมประเพณีพูดภาษาจีนใดภาษาหนึ่งเป็นหลักเป็น จำ�นวน 557,000 คน ( คิดเป็นร้อยละ 10 ของประชากรสยามทั้งหมด ) ปี พ.ศ. 2498 ในสมัยรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม มีการสำ�รวจประชากร ประเทศไทยครั้งใหญ่ซึ่งในภาวะนั้นถือว่าการอพยพของชาวจีนที่เข้ามาตั้งรกรากใน ประเทศไทยถือว่ายุติกฎหมายพระราชบัญญัติสัญชาติ ปี พ.ศ. 2496 ว่าต้องโอนบัญญัติ บุคคลสัญชาติไทยได้ประกาศใช้แล้ว จากการสำ�รวจปรากฏว่ามีชาวจีนที่มีเชื้อชาติจีน สัญชาติจีนทั้งสิ้น 696,000 คน คิดเป็นร้อยละ 3.5 ของประชากรประเทศไทย ( ึ่งขณะนั้น ประชากรโดยจาการสำ�รวจได้ทั้งสิ้น 20,480,000 คน ) ส่วนชาวจีนที่มีเชื้อชาติจีน แต่ ใช้สัญชาติไทยมีจำ�นวนทั้งสิ้น 1,619,000 คน คิดเป็นชาวจีนทั้งสัญชาติไทยและเกิดใน ประเทศจีน (ไม่รวมชาวจีนรุ่นที่ 3 ขึ้นไป ที่เป็นชาวจีนที่มีทั้งเชื้อชาติและสัญชาติไทย โดยที่มีจำ�นวนมากยังมีขนบธรรมเนียมประเพณีจีน สามารถใช้ภาษาจีนควบคู่กับภาษา ไทยให้แคล่วคล่องซึ่งทั้งหมดถือเป็นประชากรไทยอย่างสมบูรณ์อีกจำ�นวนมาก) เป็น จำ�นวนประชากรทั้งสิ้น 2,315,000 คน หรือคิดเป็นร้อยละ 11.5 ของประชากรประเทศไทย ซ
ปัจจุบนั เนือ่ งจากไม่มกี ารอพยพย้ายถิน่ จากประเทศจีนเข้าสูป่ ระเทศไทย ประชากร จีนทีเ่ กิดในประเทศจีนอาศัยอยูใ่ นประเทศไทยมีจ�ำ นวนน้อยมาก ภาวะทีอ่ าศัยอยูใ่ น ประเทศไทยก่อนปี.พ.ศ..2493 ( 65.ปี ) ดังนัน้ ผูอ้ พยพเหล่านีจ้ ะต้องมีอายุ 80 ปีขน้ึ ไปทัง้ หมด จึ งอนุ ม านได้ ว่า ประชาชนเชื้อ ชาติแ ละสัญ ชาติจีนจะมีจำ�นวนน้อยมากเมื่อเทียบกับ ประชากรในประเทศ 67 ล้านคน ส่วนชาวไทยเชือ้ ชาติจนี ทีม่ สี ญ ั ชาติไทยหรือลูกหลานชาว จีนอพยพรุน่ ที2่ มีจ�ำ นวนไม่เกิน 2 ล้านคนซึง่ ส่วนใหญ่อาศัยอยูใ่ นกรุงเทพฯและปริมณฑล ตลอดจนหัวเมืองใหญ่คาดว่าจะอยูใ่ นกรุงเทพฯ ประมาณหนืง่ ล้านคน ประมาณร้อยละ 5 หรือประมาณ 50,000 - 60,000 คน อาศัยอยู่ในจุลนครฯซึ่งเป็นศูนย์กลางกำ�เนิดชาว จีนอพยพ ( ตามศักยภาพของพื้นที่ ) ส่วนที่เหลือก็กระจายและผสมผสานไปกับชาวไทย
41
ท้องถิ่นโดยไม่มีการแปลกแยก ในที่สุดก็กลายเป็นประชากรชาวไทยเชื้อสายจีนอย่าง สมบูรณ์
ประชาสังคม วัฒนธรรม วิถชี วี ติ ในจุลนครฯ และการจำ�แนกตามภาษาพูด
42
ตามพระราโชบายของพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ชาวจีน มีถิ่นฐานอาศัยอยู่ในบริเวณฝั่งตะวันตกของแม่น้ำ�เจ้าพระยาบริเวณกรุงธนบุรี ใน สมัยพระเจ้าตากสินมหาราชกับชาวจีนที่เดินอาศัยอยู่ในบริเวณที่จะก่อสร้างพระบรม มหาราชวัง ตลอดจนตลาดท่าเตียน ได้อพยพเข้ามาอาศัยอยู่ในบริเวณจุลนครฯ ปัจจุบัน ชาวจีนเหล่านี้จะมีอาชีพค้าขายอยู่แต่เดิม เมื่อย้ายมาที่ใหม่ก็กำ�เนิดอาชีพ ค้าขายเป็นหลัก นอกจานี้เนื่องจากเป็นตลาดรับซื้อพันธุ์ธัญญาหารจากชาวบ้านเพื่อ ขายต่อให้กับข้าราชบริพารจนกระทั่งราชสำ�นักหรือแม้แต่การค้าขายเชิงแลกเปลี่ยน สินค้า นอกจากนี้ชาวจีนหาเลี้ยงชีพโดยการทำ�กสิกร เช่น.ปลูกผัก ผลไม้ (.ซึ่งชาว ไทยไม่ได้ปลูกผัก,.ผลไม้ต่างๆ.เพราะชาวสยามทำ�เกษตรด้านการทำ�นาเป็นหลัก พืช ผักอื่นๆ.ส่วนใหญ่เป็นพืชที่ขึ้นเองตามธรรมชาติไม่มีการปลูกจริงจังไม่เหมือนกับชาว จีน ดูได้จากอาหารในสมัยก่อน.) การเลี้ยงสัตว์.เช่น.หมู เป็ด ไก่ เป็นต้น ชาวจีน ในจุลนครฯ สมัยนี้จะอาศัยอยู่ในบริเวณตามพระราชดำ�ริของพระพุทธยอดฟ้าจุฬา โลก รัชกาลที่ 1 คือบริเวณระหว่างคลองวัดสามปลื้มกับคลองสำ�เพ็ง ต่อมาเศรษฐกิจ สยามเจริญขึ้นตั้งแต่สมัยรัชกาลที่.4.เนื่องจากไม่มีศึกสงครามที่จะต้องทำ�กับปะเทศ เพื่อนบ้านมีการก่อสร้างและบูรณปฏิสังขรณ์วัดวาอาราม ชาวจีนจึงเริ่มอพยพเข้า สยามเพื่อทำ�งานก่อสร้างโดยเดินทางเข้าสยามด้วยเรือสำ�เภาจากเมืองต่างๆทางใต้ ของประเทศจีนโดยจะมาแวะพักในจุลนครฯนี้ บางส่วนก็อาศัยอยู่เสียเลย บางคนก็ เห็นช่องทางทำ�มาหากินตั้งหลักแหล่งเสียเลย ในด้านการค้าขายความต้องการสินค้า จากจีน เช่น ผ้าแพร ถ้วยชาม เป็นต้น อีกทัง้ ต่างประเทศต้องการสินค้าท้องถิน่ จาก สยาม เช่น น้�ำ ตาล ข้าว เครือ่ งเทศ ฯลฯ จำ�นวนมาก จุลนครฯ.แห่งนีม้ คี วามคึกคักจาก ชาวจีนทัง้ ทีอ่ ยูเ่ ดิม ชาวจีนทีอ่ พยพเข้ามาจากประเทศจีนจนถึงสมัยรัชกาลที.่ 3.บริเวณ จุลนครฯ เป็นเมืองท่าศูนย์กลางการค้าของภูมิภาค ชาวจีนที่อพยพเข้ามานอกจากเข้า มาทำ�การค้าโดยตรงแล้ว บางส่วนก็เป็นผลสืบเนื่อง.เช่น แรงงาน, ลูกจ้าง และธุรกิจ ต่อเนื่อง ภายหลั ง จากที่พ ระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 4 ได้ทำ� สัญญาเบาว์ริ่งกับอังกฤษ ทำ�ให้สยามเปิดประเทศสู่โลกภายนอก.(.โดยเฉพาะอย่าง ยิ่งเมืองต่างๆของจีนตามสนธิสัญญาๆที่จีนทำ�กับชาติตะวันตก เมืองที่อยู่ในอาณัติ และอาณานิคม เช่น สิงคโปร์ ฮ่องกง มาเก๊า เป็นต้น ) การปฏิรูปทางเศรษฐกิจและ + +
43
การปกครองในสมัยรัชกาลที่.5 การก่อสร้างสาธารณูปโภคเช่น การทำ�ถนน ขุด คลอง ทำ�ทางรถไฟ การเจริญก้าวหน้าอย่างมากทางเทคโนโลยีตามหลังการปฏิวัติ อุตสาหกรรมของยุโรป การขยายตลาดการค้าทั้งในสยามและตลาดโลก การเดินทาง ระหว่างประเทศสะดวกปลอดภัยยิ่งขึ้น ล้วนเป็นเหตุผลทำ�ให้การอพยพเข้าสู่สยาม มากขึ้น ชาวจีนอพยพส่วนใหญ่จะเดินทางเข้ามาผ่านจุลนครฯ ในจุลนครฯจึงต้อง ทำ�หน้าที่เป็นจุดแวะพักของชาวจีนอพยพก่อนที่จะกระจายสู่ภูมิภาคและหัวเมือง นอกจากหน้าที่หลักคือ เป็นที่ทำ�การธุรกิจ คลังสินค้า ที่พักอาศัย ร้านค้า สถานที่ ให้บริการสำ�หรับชุมชน ตลอดจนแหล่งบันเทิงที่จะสันทานาการ ฯลฯ ประชาชนส่วน ใหญ่เป็นชาวจีนที่มาตั้งรกรากทั้งที่อยู่มานานและผู้มาใหม่รวมทั้งลูกหลาน สังคมเป็น ลักษณะคล้ายกับหัวเมืองใหญ่ในเมืองจีน เช่น ซัวเถา กวางโจว ฮ่องกง หรือเซี่ยงไฮ้ ( แต่ยังมีความเป็นตะวันตกน้อยกว่าเพราะจุลนครฯ นี้ชาวตะวันตกอาศัยและค้าขาย ไม่มากนัก ) วัฒนธรรมยังเป็นวัฒนธรรมจีน มีการผสมผสานกับพุทธศาสนาของใหม่ บ้างเล็กน้อย ประชากรในจุลนครฯ เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ศูนย์กลางเป็นเอกลักษณ์ ของชุมชนชาวจีนในด้านสังคมและวัฒนธรรมได้ขยายออกไปโดยด้านเหนือจรดแนว คลองโอ่งอ่างหรือคลองรอบเมืองซึ่งติดกับวังบูรพา ด้านใต้ติดกับย่านบางรักสี่พระยา ซึ่งเป็นแหล่งกิจการค้าที่มีส่วนผสมกับชาวตะวันตก โบสถ์ คริสต์ศาสนา โรงเรียน โรง พยาบาลของมิชชั่นนารีและสถานทูตของชาติตะวันตก ที่อยู่อาศัยของข้าราชบริพาร ระดับสูง เช่น สมเด็จเจ้าพระยาสุรยิ วงศ์, เจ้าพระยาสุรศักดิม์ นตรี เป็นต้น ทางตะวันตก คือ แม่น�ำ้ เจ้าพระยา ทางตะวันออกขยายตัวไปจนแนวเกาะรัตนโกสินทร์ หลังการเปลี่ยนแปลงการปกครองปี.พ.ศ..2475.ประเทศไทยยังอยู่ในช่วง เศรษฐกิจตกต่ำ� การอพยพเข้ามาในประเทศไทยจึงไม่คกึ คักดัง่ แต่กอ่ น ชาวจีนบาง ส่วนเดินทางกลับประเทศ รัฐบาลไทยดำ�เนินการทางเศรษฐกิจ ( ก่อนและระหว่าง สงครามโลกครั้งที่ 2 ) ก็พยายามกีดกันชาวจีนเพราะเห็นว่าชาวจีนกุมอำ�นาจทาง เศรษฐกิจมากเกินไป กระแสตะวันตกและญีป่ นุ่ เข้ามาประเทศไทยมากขึน้ เนือ่ งจาก ประเทศจีนนั้นมีการเปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นระบบประชาธิปไตยตามแบบตะวัน ตกและสงครามกลางเมืองของกลุ่มฝ่ายที่มีอุดมการณ์ท่ีแตกต่างในด้านการเมือง ในประเทศจีน ทำ�ให้สงั คมจีนในจุลนครฯมีแนวคิดทีแ่ บ่งแยกแตกต่างกันแต่กไ็ ม่มี ความรุนแรง แม้ว่าธุรกิจขนาดใหญ่ในจุลนครฯจะลดบทบาทลงอันเนื่องจากการมี ศูนย์กลางทางการค้าใหม่อื่นที่ทันสมัยและเหมาะสมกับสภาวะทางธุรกิจกว่า การ + +
+ + +
44
สร้างท่าเรือคลองเตย ทำ�ให้การขนส่งสินค้าทางเรือต้องใช้ท่าเรือคลองเตยไม่ต้อง ผ่านท่าเรือในใจกลางเมือง แต่ความเชื่อมั่นทางศักยภาพในด้านความเป็นศูนย์กลาง การค้าปลีก ค้าส่งของประเทศไทยยังคงอยู่ ปัจจุบันประชากรในจุลนครฯจึงเป็น ประชากรที่ทำ�การด้านการค้าปลีกค้าส่ง ร้านค้าส่วนใหญ่จะเป็นทั้งที่ค้าขายและที่พัก อาศัย ลูกจ้าง พนักงาน ร้านค้า ครอบครัว ธุรกิจที่ต่อเนื่องกับธุรกิจหลักเช่น ช่างตัด เสื้อ ช่างหนัง โรงพิมพ์ เป็นต้น ร้านค้าด้านบริการ เช่น ร้านอาหาร และภัตตาคาร เป็นต้น กิจการด้านแหล่งบันเทิงและสันทนการ ฯลฯ ึ่งการค้าเหล่านี้นอกจากให้บริการ ชุมชนชาวจุลนครฯเอง อันเนื่องจากความเป็นเอกลักษณ์ของท้องถิ่นจึงให้บริการแก่ ประชากรจากที่อื่นทั่วประเทศด้วย หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ชาวจีนอพยพเข้ามาใน จุลนครฯ.จำ�นวนมาก ส่วนมากอาศัยอยู่กับญาติในจุลนครฯ.อยู่แล้วประกอบอาชีพ เป็นลูกจ้าง ลูกมือ ตามแต่คนรู้จักจัดการให้ จนเมื่อคุ้นเคยกับเมืองไทยแล้วจึงขยับ ขยายออกจากจุลนครฯ..ไปยังส่วนอื่นของกรุงเทพฯและหัวเมืองจนกระทั่ง.พ.ศ.2493 รัฐบาลให้ออกกฎหมายพระบัญญัติคนเข้าเมืองที่ทำ�ให้การอพยพของชาวจีนสิ้นสุดลง ซ
ในปัจจุบันจุลนครฯตามลักษณะความหนาแน่นของชุมชนชาวจีนอันเป็น เอกลักษณ์แต่เดิมมาคือ.บริเวณเขตสัมพันธวงศ์ทง้ั หมด เขตป้อมปราบศัตรูพา่ ย บาง ส่วน พืน้ ทีอ่ าศัยทัง้ หมดประมาณ 3 ตารางกิโลเมตร (.ตามรายงานประชากรของเขต สัมพันธวงศ์และป้อมปราบฯ.)..ซึ่งพบว่าเป็นแหล่งที่มีประชากรหนาแน่นที่สุดของโลก โดยพบว่าใจกลางกรุงปักกิง่ ส่วนทีม่ คี วามหนาแน่นทีส่ ดุ คือ 25,000 คน ต่อตาราง กิโลเมตร โตเกียวส่วนทีม่ คี วามหนาแน่นทีส่ ดุ คือ 20,000 คนต่อตารางกิโลเมตร.) เป็นต้น จุลนครฯผูอ้ ยูอ่ าศัยส่วนใหญ่ประมาณร้อยละ 80 เป็นชาวไทยเชือ้ สายจีนและบุตรหลาน มี การดำ�รงชีวติ บนพืน้ ฐานของขนบประเพณีจนี ผสมผสานประเพณีไทยและพุทธศาสนา สามารถสือ่ สารทัง้ ภาษาไทยและภาษาจีนควบคูไ่ ป โดยความเข้มข้นของวัฒนธรรม จีน จะเข้มข้นมากที่สุดบริเวณศูนย์กลางของจุลนครฯ.คือย่านสำ�เพ็ง และบริเวณถนน เยาราช แล้วจะลดความเข้มข้นลงไปเมื่อห่างจากศูนย์กลางออกไป ชาวจีนส่วนใหญ่ ที่อาศัยอยู่ในจุลนครฯ นี้เป็นชาวจีนแต้จิ๋ว (ประมาณร้อยละ 70 ของชาวจีน) ชาวจีน แต้จิ๋วทำ�อาชีพเกือบทุกอย่างตั้งแต่ค้าขายทั้งขายปลีกขายส่ง ร้านอาหารฯลฯ ชาวจีน แต้จิ๋วจะอยู่ทั่วไปในจุลนครฯนี้ ชาวจีนแคะเนื่องจากเดินทางจากเมืองจีนผ่านเมือง ซัวเถาเหมือนกัน จึงเดินทางเข้ามาในประเทศไทยควบคู่ไปกับชาวจีนแต้จิ๋ว ชาวจีน
45
แคะนอกจากทำ�การค้าขายแบบชาวแต้จิ๋วแล้ว ยังเชี่ยวชาญในธุรกิจโรงพิมพ์ การทำ� เครื่องหนัง การทำ�เต้าหู้ เป็นพิเศษด้วย ชาวจีนไหหลำ�นอกจากการทำ�การค้าทั่วไป ชาวไหหลำ�เชี่ยวชาญพิเศษในเรื่องการให้บริการโรงแรม ร้านอาหารแบบตะวันตก ที่ โดดเด่นที่สุดคือธุรกิจค้าไม้และผลิตภัณฑ์จากไม้ ดังนั้นชาวจีนไหหลำ�นอกจากอาศัย รวมอยู่กับชาวจีนแต้จิ๋วแล้ว ยังจะอาศัยอยู่หนาแน่นบริเวณทางใต้ที่มีชาวตะวันตก อาศัยอยู่ ( ใกล้สีลม บางรัก ) บริเวณเสียบคลองมหานาค คลองผดุงกรุงเกษม ( นางเลิง้ ) เพราะเป็นแหล่งมีการขนส่งไม้จากทางเหนือล่องลงกรุงเทพฯ ผ่านแม่น�ำ้ เจ้าพระยา เข้า มาในคลองทั้งสองนี้..(.ในสมัยเด็กผู้เขียนเรียนหนังสือในชั้นประถมที่เป็นโรงเรียนของ สมาคมชาวไหหลำ� ในบริเวณถนนหลานหลวงป้อมปราบฯ นางเลิง้ จะมีชาวจีนไหหลำ� จำ�นวนมากกว่าชาวจีนแต้จว๋ิ เสียอีก ) ชาวจีนกวางตุง้ นัน้ โดยพืน้ ฐานนัน้ เปรียบเสมือนชาวเมือง .พวกจีนภาษา อืน่ ๆเป็นสถานทีอ่ ยูช่ นบทส่วนใหญ่ท�ำ การเกษตร ชาวจีนกวางตุง้ จึงมีการศึกษาและ ความรู้ท่ีดีกว่าชาวจีนภาษาอื่นๆประกอบกับมีความคุ้นเคยเรียนรู้วิชาการเทคโนโลยี สมัยใหม่จากชาวตะวันตกไม่วา่ จะเป็นเมืองกวางตุง้ หรือฮ่องกงก็ตาม เมือ่ เข้ามาอยูใ่ น สยามโดยเฉพาะยิ่งเข้ามาในจุลนครฯนี้ชาวจีนกวางตุ้งจะทำ�การค้าลักษณะแนวทางที่ เป็นการติดต่อปฏิสัมพันธ์กับชาวตะวันตก..อาหารก็จะเป็นภัตตาคารที่เป็นอาหารจีนที่ เป็นขนานแท้ของชาวจีนภาคใต้ ชาวกวางตุง้ เองเป็นผูท้ เ่ี ชีย่ วชาญเรือ่ งเครือ่ งจักรกล ช่างเครือ่ งยนต์ ช่างทำ�เฟอร์นเิ จอร์ ฯลฯ ดังนัน้ ชาวกวางตุง้ นอกจากจะอาศัยอยูท่ ว่ั ไป ในส่วนกลางแล้วยังนิยมที่จะอาศัยอยู่บริเวณทางด้านใต้ของจุลนครฯที่มีชาวตะวัน ตกอาศัยอยูม่ ากทีส่ ดุ เพราะสามารถทำ�ธุรกิจกับชาวตะวันตกได้ดี ชาวกวางตุง้ ยังเป็น ชาวจีนทีน่ บั ถือศาสนาคริสต์มากทีส่ ดุ ซึง่ บริเวณสีลม บางรัก.ฯลฯ จะมีโบสถ์ไว้ส�ำ หรับ ทำ�ศาสนกิจของพวกเขาด้วย ชาวจีนฮกเกีย้ นก็มลี กั ษณะคล้ายชาวจีนกวางตุ้งคือมี ลักษณะผู้ที่อาศัยในเมืองเพราะเมืองหลวงมณฑลฟู่เจี้ยนเมืองฮกจิวก็มีชาวตะวันตก อาศัยอยู่มากเช่นกันแม้นว่าจะไม่เท่ากับกวางโจวหรือฮ่องกงมาเก๊าก็ตาม แต่ชาวจีน ฮกเกี้ยนมีจำ�นวนอาศัยอยู่ในจุลนครฯน้อยที่สุดรวมทั้งในกรุงเทพฯและหัวเมืองต่างๆ ในภาคต่างๆยกเว้นทางใต้ ชาวฮกเกี้ยนในกรุงเทพฯ จึงปนเปไปอยู่กับชาวแต้จิ๋วซึ่งมี ลักษณะการดำ�รงชีพและภาษาพูดซึ่งใกล้เคียงกันอีกทั้งอาหารการกิน วัฒนธรรมท้อง ถิ่นก็คล้ายๆกับชาวจีนแต้จิ๋วจึงปรับตัวเข้ากันได้ดี ปัจจุบันลักษณะขนบธรรมเนียม
46
วัฒนธรรมของประชากรในจุลนครนี้ที่ชัดเจนและสามารถบ่งชี้อัตลักษณ์ได้ง่ายนั้น หมายถึ ง บริ เ วณเขตสั ม พั น ธวงศ์ ทั้ ง หมดและบางส่ ว นของเขตป้ อ มปราบศั ต รู พ่ า ย (.ยกเว้นเกาะรัตนโกสินทร์.).ลักษณะของประชาคมและวัฒนธรรมในจุลนครฯนี้จะมี วัฒนธรรมจีนทีค่ อ่ นข้างเข้มแข็ง แต่กม็ กี ารผสมผสานของพุทธศาสนาและวัฒนธรรม ตะวันตกเข้ามาบ้างซึง่ ถือว่าเป็นเอกลักษณ์ของการผสมผสานวัฒนธรรมทีส่ วยงาม มีการ บูรณการทัง้ ในด้านประเพณี ภาษา ความเป็นอยู่ อาหารการกิน อย่างลงตัวอย่างยิง่ เหตุผลที่พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชทรงโปรดเกล้าให้ ชาวจีนที่ตั้งหลักแหล่งอยู่ ณ ที่บริเวณจะก่อสร้างพระราชวัง บริเวณท่าเตียน และชาว จีนที่ตั้งหลักแหล่งอยู่ทางตะวันตกของแม่น้ำ�เจ้าพระยาในสมัยราชธานีของพระเจ้า กรุงธนบุรี ย้ายมายังฝั่งตะวันออกของแม่น้ำ�เจ้าพระยา นอกกำ�แพงพระนครทางด้าน ตะวันออกเฉียงใต้ ระหว่างคลองวัดสามปลื้มกับคลองวัดสำ�เพ็ง พออนุมานได้ดังนี้ การใช้ พื้ น ที่ เ พื่ อ ก่ อ สร้ า งพระราชวั ง พระบาทสมเด็ จ พระพุ ท ธยอดฟ้ า จุ ฬ าโลก มหาราชเมื่ อ ได้ ท รงราชาภิ เ ษกเป็ น ปฐมกษั ต ริ ย์ แ ห่ ง ราชวงศ์ จั ก รี . ..สถาปนากรุ ง รัตนโกสินทร์เป็นนครหลวง พระองค์ทรงมีพระราชประสงค์ที่จะทรงใช้ที่ดินบริเวณใกล้ กับท่าเตียนเพื่อจะก่อสร้างพระราชวัง พระราชสถาน วัดวาอาราม ท่าน้ำ�เพื่อใช้กิจการ ทางราชพิธี ดั่งเช่น นครหลวงในสมัยกรุงศรีอยุธยา ในอดีต ++
เหตุผลด้านความมัน่ คง คือบริเวณตลาดท่าเตียนและฝัง่ ตรงข้ามของแม่น�ำ้ เจ้าพระยา ของชาวจีนในสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกซึ่งตั้งอยู่ประชิดกำ�แพงพระ ราชสถาน ชุมชนชาวจีนก็ขยายตัวอย่างรวดเร็ว กลุม่ ชาวจีนแม้วา่ มีสว่ นในการปกป้อง ราชอาณาจักรร่วมกับชาวไทยยามศึกสงครามก็ตาม แต่การทีม่ ชี มุ ชนต่างด้าวอยูใ่ กล้ ราชสถานมากเกินไปก็อาจรูส้ กึ ไม่เป็นการปลอดภัยได้ อีกประการหนึง่ ท่าน้�ำ ท่าเตียน ทีใ่ ช้คา้ ขายนัน้ ตัง้ อยูใ่ กล้กบั ท่าน้�ำ ทีใ่ ช้ในราชพิธแี ละการเสด็จทางชลมาร์ค ตลอดจน ท่าเรือทีใ่ ช้ในราชการทหารเกินไป ทำ�ให้อาจเป็นการไม่สมควรได้ แต่ถา้ ได้มกี ารย้าย ออกไปยังบริเวณทีก่ อ่ กำ�เนิดจุลนครฯนัน้ นอกจากจะอยูห่ า่ งเขตราชสถานออกไปแล้ว บริเวณจากคลองสามปลืม้ ไปยังกำ�แพงเมืองนัน้ จะมีบา้ นของเจ้าพระยาอภัยราชา.(.ปิน่ ... สิงหเสนี.)..แม่ทัพใหญ่ในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกตั้งอยู่ซ่ึงเสมือนหนึ่ง เป็นกันชนป้องกันได้กอ่ นถึงพระราชสถาน ถ้าชาวจีนในจุลนครฯก่อความไม่สงบ
47
เหตุผลทางด้านสิ่งแวดล้อมและภูมิทัศน์ของพระราชสถาน การที่มีตลาดชาวจีน อยู่ใกล้พระราชสถานแม้ว่าจะสะดวกสบายในการสนับสนุนด้านอุปโภคบริโภคแก่ ราชสำ�นักก็ตาม สิ่งที่จะต้องเกิดขึ้นอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ก็คือ มลภาวะทางเสียง มลภาวะทางขยะมูลฝอย มลภาวะทางสุขนามัย ตลอดจนอาจเกิดอุบัติภัยจากเพลิง ไหม้ในชุมชน เป็นต้นซึ่งจะมีผลกระทบต่อภูมิทัศน์และสภาพความเป็นอยู่ของผู้อาศัย อยู่ในพระราชสถาน การเดินทางและการขนส่งสินค้าของจุลนครฯ แม้นว่าจะย้ายห่างจากพระบรม มหาราชวังออกมา แต่การเดินทางการขนส่งสินค้าก็ยังมีความสะดวกเนื่องจาก สามารถการสัญจรทางน้ำ�โดยใช้แม่น้ำ�เจ้าพระยาและคลองต่างได้อย่างดี +++
พื้นที่การสร้างชุมชนที่เป็นจุลนครฯเป็นพื้นที่ที่ชัยภูมิเหมาะสมนั้น ในสมัย พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกเป็นพื้นที่บริเวณที่เรียกได้ว่าชานพระนคร เห็นได้จากวัดวาอารามหลายแห่งเคยทำ�หน้าที่เป็นป่าช้าเก็บศพหรือเป็นลานประหาร เช่นเดียวกับวัดในชานพระนครในสมัยกรุงศรีอยุธยา ผู้คนแต่เดิมในบริเวณนี้อยู่กันไม่ หนาแน่นเพราะว่าพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นแอ่งน้ำ�ลุ่มๆดอนๆมีคลองเล็กๆไหลผ่านไม่เหมาะ แก่การทำ�นาซึ่งเป็นอาชีพหลักของผู้คนสมัยนั้น ดังนั้นการที่พระองค์ทรงให้ชาวจีน อพยพเข้ามาอยู่ในจุลนครฯ นี้จะมีผลกระทบต่อผู้อยู่อาศัยที่ทำ�มาหากินอยู่เดิมไม่มาก ชาวจีนอพยพเองก็พอใจเพราะพื้นที่บริเวณนี้เป็นชัยภูมิที่เหมาะแก่ทำ�อาชีพหลักของ ตนคือการทำ�การค้า การสัญจรขนส่งสินค้าเพราะมีแนวริมแม่น้ำ�เจ้าพระยาและมี ลำ�คลองอยู่หลายสาย
48
การเมืองการปกครอง สมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้นกับสังคมชาวจีน การเมืองการปกครองของประเทศเป็นปัจจัยที่สำ�คัญมากต่อระบบการอพยพ ของชนชาวจี น ที่จ ะเข้ า มาในประเทศนั้น มี ค วามสำ � คั ญ ยิ่ง ต่ อ ระบบของสั ง คมและ วัฒนธรรมของชาวจีนอพยพ เพราะการปกครองของประเทศทีอ่ พยพเข้าไปนัน้ จะเป็น กลไกผลักดันให้สังคมเดินไปในทิศทางใดมีผลอย่างยิ่งทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ ของวั ฒ นธรรมของชนชาวจี น เช่ น ชาวจี น ที่อ พยพเข้ า ไปในประเทศตะวั น ตกหรื อ อารยประเทศ กฎหมายระเบียบการปกครอง พลเมืองมีกฎกติกาทีค่ อ่ นข้างชัดเจน มี มาตรการทีเ่ ป็นมาตรฐานเดียวคือลักษณะความเป็นพลเมืองของประเทศนัน้ และในทีส่ ดุ ก็กลายเป็นพลเมืองของชาตินน้ั มีเพียงสัญลักษณ์แสดงชนชาติเพียงเล็กน้อย ในทาง ตรงกันข้ามชาวจีนทีอ่ พยพเข้ามายังประเทศทีเ่ ป็นอาณานิคมหรือเขตปกครองของชาว ตะวันตก เช่น ฮ่องกง มลายู สิงคโปร์ หรือไซ่งอ่ น ประเทศเจ้าของอาณานิคมไม่มคี วาม ประสงค์ทจ่ี ะจัดระเบียบด้านเชือ้ ชาติ เพียงแต่ตอ้ งการให้ประเทศหรือเมืองเหล่านัน้ สามารถสร้างธุรกิจทีเ่ อือ้ ต่อประเทศแม่เท่านัน้ นอกจากนีก้ ป็ กครองภายใต้กฎหมาย เฉกเช่นเดียวกับประเทศเจ้าของอาณานิคมทีป่ กครองอาณาประเทศราษฎร ชาวจีนใน ประเทศเหล่านี้จึงคงสภาพของการเป็นประชาชนจีนภายใต้อาณัติของชาวตะวันตก โดยเฉพาะจะไม่ตอ้ งปรับเปลีย่ นแปลง มีความซับซ้อนมากกว่าประเทศสอง แต่ในสังคมชาวจีนอพยพในสยามนัน้ ลักษณะทีก่ ล่าวมานัน้ คือสยามเป็นประเทศทีเ่ ป็นเอกราชมีการปกครองทีเ่ ป็นเอกลักษณ์ แม้ว่าสยามประเทศจะต้อนรับชาวจีนที่อาศัยอยู่เดิมและที่อพยพเข้ามาใหม่น้ันเป็น อย่างดี แต่ประเทศสยามมีการปกครองแผ่นดินทีม่ กี ฎหมายระเบียบการปกครองหรือ ใช้บริหารประเทศทีเ่ ป็นเอกราช และประชากรสามารถอยูเ่ ย็นเป็นสุข เป็นทีย่ อมรับของ คณาประชาราษฎร์ซง่ึ รวมทัง้ ชาวจีนในแผ่นดินด้วย ดังนัน้ ปัจจัยด้านการปกครองของ สยามในสมัยรัตนโกสินทร์จงึ จำ�เป็นอย่างยิง่ ทีจ่ ะต้องนำ�กล่าวถึงด้วย
การเมืองการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น ( สมัยรัชกาลที่ 1 – รัชกาลที่ 3 ) เมื่อพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก สถาปนากรุงเทพมหานคร ขึ้น เป็นนครหลวงเรียบร้อย พระองค์ทรงใช้ระเบียบการปกครองประเทศตามอย่างระบบ การปกครองที่มีมาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยาซึ่งใช้กันมาตั้งแต่สมัยสมเด็จพระบรม ไตรโลกนาถ เป็นการปกครองที่เรียกว่าจตุสดมภ์ คือ พระมหากษัตริย์ทรงมีพระราช อำ�นาจสูงสุด และเด็ดขาดในการวินิจฉัยการปกครอง โดยมีเสนาบดี 2 ฝ่าย เป็นผู้ ช่วยพระองค์ คือ สมุหกลาโหม(ตราประจำ�ตำ�แหน่งคือตรา คชสีห์) ทำ�หน้าที่ดูแลหัว เมืองฝ่ายใต้ กับสมุหนายก (ตราประจำ�ตำ�แหน่ง คือ ราชสีห์ ทำ�หน้าที่ดูแลหัวเมือง ทางเหนือและอีสาน ถัดจากเสนาบดี สมุหพระกลาโหม และสมุหนายกแล้ว ก็คือ 4 ฝ่ายเสาหลักในการปกครอง เรียกว่า จตุสดมภ์ คือ • เวียง (ตราประจำ�ตำ�แหน่งคือ สิงห์) เป็นเจ้ากรมเมืองมีหน้าที่ดูแลกิจการพระนคร • วัง (ตราประจำ�ตำ�แหน่งเทพยาดาทรงนนทิการ(โค) มีหน้าที่ดูแลกิจการภายใน พระบรมมหาราชวัง และทำ�หน้าที่ชำ�ระความคดี • คลัง (ท่า) (ตราประจำ�ตำ�แหน่งคือ บัวแก้ว) ทำ�หน้าที่ดูแลการเงินการคลังของ ประเทศ งานที่เกี่ยวข้องกับต่างประเทศ งานด้านบัญชี นอกจากนี้ยังมีหน้าที่ดูแล หัวเมืองฝั่งทะเลด้านตะวันออกอีกด้วย • นา (ตราประจำ�ตำ�แหน่ง คือ พระพิรุณทรงนาค) มีหน้าที่ดูแลนาหลวง ภาษีข้าว และการพิจารณาความที่เกี่ยวข้องกับที่นา
49
50
ส่วนการปกครองหัวเมือง แบ่งเป็น • หัวเมืองชั้นใน ได้แก่ เมืองลูกหลวง และเมืองหน้าด่าน หัวเมืองบริวารของเมือง หลวง หัวเมืองชั้นในไม่มีเจ้าเมืองมีแต่ผู้รั้ง (ตำ�แหน่ง) พระมหากษัตริย์ปกครอง เอง • หัวเมืองชั้นนอก คือ เมืองที่อยู่นอกหัวเมืองชั้นในและประเทศราช หัวเมืองชั้น นอก แบ่งเป็น หัวเมืองชั้นเอกซึ่งได้แก่ พิษณุโลก นครราชสีมา นครศรีธรรมราช ถลาง และสงขลา พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งเมืองเอง หัวเมืองจัดเป็น หัวเมือง ชั้นโท, ตรี และจัตวา ให้เสนาบดีฯ แต่งตั้งเอง เจ้าเมืองที่ปกครองเมืองมีสิทธิ อำ�นาจเด็ดขาดตามที่นโยบายที่กำ�หนดจากเมืองหลวง นอกจากนี้ยังมีการ ปกครองประเทศราช เช่น ล้านนา ลาว เขมร มลายู (ปัตตานี ไทรบุรี กลันตัน ตรัง กานู) ผู้ปกครองมีหน้าที่ส่งเครื่องบรรณาการ ต้นไม้เงิน ต้นไม้ทองแก่ราชสำ�นัก เท่านั้น แต่ประเทศราชเหล่านี้จะต้องส่งการช่วยเหลือทั้งกำ�ลังและเสบียงเมื่อเกิด ศึกสงครามและการร้องขอไปจากเมืองหลวง ต่ อ มาในรั ช กาลที่ 1 มี ก ารปรั บ ปรุ ง แก้ ไ ขประมวลกฎหมายใหม่ เ รี ย กว่ า กฎหมายตราสามดวงซึ่งเป็นการเลื่อนพระยาพระคลัง.(.พระบัวแก้ว.).ขึ้นมาอยู่ใน ระดับเดียวกับ.สมุหนายก.(.ราชสีห์.).และสมุหกลาโหม.(.คชสีห์.).ทั้ง.3.ตำ�แหน่งจึงเป็น ที่มาของแก้ว 3 ดวง คือ ราชสีห์ คชสีห์ และบัวแก้ว..แบ่งอำ�นาจดูแลหัวเมืองตามที่ แบ่งไว้เดิม + ++
สังคมสยามในสมัยต้นรัตนโกสินทร์ตอนต้นนัน้ ตามสายบังคับบัญชาจะ แบ่งเป็น พระมหากษัตริย์ พระบรมวงศานุวงศ์ ขุนนางข้าราชบริพารในระดับต่างๆ( สมเด็จเจ้าพระยา, เจ้าพระยา, พระยา, จมืน่ , พระ, หลวง, ขุน, ฯลฯ ) ทัง้ หมดจะปกครอง คล้ายกับระบบศักดินา คือทุกระดับชั้นจะมีที่นาและไพร่หรือประชาชนที่เป็นแรงงาน และเป็นกำ�ลังป้องกันประเทศ กับไพร่ของกษัตริย์เรียกไพร่หลวง ไพร่ของข้าราชการ เรียก ไพร่สม ถ้าไพร่ไม่ต้องการมาใช้แรงงานก็สามารถชำ�ระเป็นเงินแทนเรียกไพร่ ส่วย เช่นที่เราเคยได้ยินว่าพระยานาหมื่น พระยาจะได้พระราชทานที่นาเพื่อเป็น แหล่งหารายได้ เป็นต้น (กษัตริย์เองนอกจากมีรายได้จากภาษี อากร ส่วย ต่างๆแล้ว ยังมีรายได้จากนาหลวง และเงินจากส่วยของไพร่หลวงที่จ่ายแทนค่าแรงอีกทางหนึ่ง
51
ในสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก.ได้มีชาวจีนเข้ามาช่วยงาน โดยเฉพาะอย่างยิ่งเรื่องการค้าขาย ในสมัยรัชกาลที่1 มีสำ�เภาค้าขายกับจีน 2 ลำ�คือ เรือหูสง และเรือทรงพระราชสาส์น นายเริกชายจีนเข้ามาช่วยดำ�เนินการซึ่งภายหลัง ทรงพระกรุณาชุบเลี้ยงเลื่อนบรรดาศักดิ์ขึ้นไปตามลำ�ดับ จนกระทั่งเป็นพระยาไกร โกษา ( เริก หรือฤกษ์ แซ่หลิน ต้นสกุลไกรฤกษ์ ) ตำ�แหน่งส่ง 1 ใน 4 ตำ�แหน่งของ เสนาบดีจตุสดมภ์ในพระราชวังบวร ( จตุสดมภ์ในพระราชวังบวร คือ พระยามณเฑียร บาล พระยากลาโหม พระยานายอากร และพระยาไกรโกษา ) ต่อมาพระยาไกรโกษ ามีบุตรรับราชการคือ พระยาโชดึกเศรษฐี ( ทองจีน ) พระยาโชฎึกเศรษฐี ส่วนบุตรีได้ ถวายตัวในสมัยรัชกาลที่ 2 ภายหลังเป็นเจ้าจอมอิ่ม ที่มีฉายาว่า “อิ่มย่าหรัน” นอกจากนี้มีเรื่องราวชาวจีนที่บันทึกไว้ในพงศาวดารอีกท่านหนึ่งคือเจ้า สัวเนีย้ ว ( น้องชายเจ้าสัวเริก ) เป็นชาวจีนทีเ่ ข้ามาทำ�การค้าขายในพระนคร จนร่�ำ รวย เป็นเศรษฐกิจโดยมีบ้านเรือนริมคลองที่แยกจากแม่นำ�้ เจ้าพระยาที่จะไปไหลลงสู่คลอง ผดุงกรุงเกษม ท่านเป็นเศรษฐีใจบุญปกติจะตัง้ กระทะใหญ่หงุ ข้าวเลีย้ งพวกกลาสีลกู เรือ และกุลขี นของ ทำ�ให้ทา่ นมีฉายาว่า “เจ้าสัวเตากระทะ” คลองสายนีเ้ รียกว่า “คลองโรง กระทะ” ภายหลังเจ้าสัวเนีย้ วได้รบั บรรดาศักดิเ์ ป็น “พระอินทรอากร” ต่อมาบุตรีทา่ น อายุ 9 ขวบเดินทางจากประเทศจีนเข้ามาในสยาม ท่านจึงนำ�ไปถวายเข้ารับราชการ เป็นละครรุน่ เล็กในวังหลวงซึง่ ท่านได้หดั รำ�ละครจนมีความเชีย่ วชาญ โดยสามารถเล่น เป็นตัวนางกาญจนาในเรือ่ ง “อิเหนา” จนมีสมญานามว่า “อำ�ภากาญจนา” ปรากฏ อยูใ่ นทำ�เนียบครูโขนละครมาถึงปัจจุบนั ต่อมาเจ้าสัวเนีย้ วได้ถวายบุตรีเข้ามาเป็นบาท จริกาในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย.รัชกาลที่ 2 และเป็นทีโ่ ปรดปรานของ พระองค์อย่างมาก เจ้าจอมมารดาอำ�ภาประสูตโิ อรส ธิดา 6 พระองค์ คือ พระองค์เจ้า ชายกปิตถา ( พระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมหมืน่ ภูบาลบริรกั ษ์ ) พระองค์เจ้าชายปราโมช ( พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมขุนวรจักรธราพุทธภาพ ) พระองค์เจ้าชายเกยูร (.พระเจ้า บรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเกยูร .) พระองค์เจ้าหญิงกัณฐา ( พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์ เจ้ากัณฐา.)..พระองค์เจ้าหญิงกัลป์ยานี..(..พระเจ้าบรมวงศ์เธอพระองค์เจ้ากัลยาณี...) พระองค์เจ้าหญิงกนิษฐน้อยนารี ( พระเจ้าบรมวงศ์เธอพระองค์เจ้ากนิษฐน้อยนารี ) เจ้า จอมอำ�ภานอกจากเคร่งครัด เจ้าระเบียบในวิถีวัฒนธรรมราชวังแล้ว ท่านยังมิได้ลืม ในภาษาจีน นอกจากที่ท่านพูดคุยภาษาจีนกับญาติพี่น้องที่เข้าไปพบปะแล้ว ท่าน +
52
ยังได้สอนภาษาจีนให้เจ้านาย สตรีในวังอีกด้วย ราชสำ�นักฯมีความใกล้ชิดกับชาวจีน อพยพเสมือนหนึ่งเป็นพระญาติเสมือนครอบครัวซึ่งจะเห็นได้ว่าราชตระกูลหรือราชนิกูล หลายตระกูลมีเชื้อสายมาจากชาวจีนให้ปรากฏถึงปัจจุบัน นอกจากนี้พระมหากษัตริย์ยังได้แต่งตั้งให้ชาวจีนรับราชการทำ�หน้าที่บริหาร งาน จัดการงานเมืองโดยเฉพาะอย่างยิ่งทางการค้าและเศรษฐกิจ ไม่ว่าการค้าขายกับ จีนโดยสำ�เภาหลวง การเก็บภาษี ส่วนอากรเพื่อเป็นรายได้ในการทำ�นุบำ�รุงประเทศ รวมทั้งการประมูลสิทธิประโยชน์ในการเป็นตัวแทนจัดเก็บภาษีอากร ทั้งการค้าขาย การพนันต่างๆที่เรียกว่านายอากรบ่อนเบี้ย ชาวจีนที่เป็นข้าราชการในราชสำ�นักหรือ ขายอาหารจะมีหน้าที่อีกประการหนึ่งคือการดูแลควบคุมชาวจีนที่อาศัยอยู่ในประเทศ สยามนี้ จากทีก่ ล่าวมาข้างต้นประชาชนทีไ่ ม่ได้รบั ราชการทุกคนก็มศี กั ดิเ์ ป็นไพร่ ( ตัง้ แต่ คนไทย มอญ เขมร ลาว และญวน ) ทุกคนมีหน้าที่ 3 ประการหลัก คือ เป็นทหารใน การป้องกันประเทศยามศึกสงคราม เป็นแรงงานในงานพระมหากษัตริย์ พระบรมวงศา นุวงศ์ ข้าราชบริพาร ข้าราชการมหาศักดินา ประการสุดท้าย กรณีทไ่ี ม่ประสงค์มาใช้ แรงงานก็ตอ้ งชำ�ระส่วยในอัตราหนึง่ บาทสองสลึงทุก 3 ปี ( ปีละสองสลึง ) แต่ชาวจีนที่ เข้ามาในราชอาณาจักร ทางการถือว่าเป็น “คนต่างชาติ” ไม่ได้ถกู ควบคุมโดยระบบไพร่ ( ง่ึ ต้องสักข้อมือขึน้ ทะเบียน ) ไม่ตอ้ งทำ�หน้าทีใ่ นการออกศึกสงคราม ชาวจีนทีไ่ ปๆมาๆ เรียกว่า “จีนลูกค้า” หรือ “จีนจร” ชาวจีนทีต่ ง้ั หลักแหล่งถาวรเรียกว่า “จีนคงเมือง” หรือ “จีนตัง้ บ้านเรือนอยู”่ ( การทีร่ าชการไม่จดั ชาวจีนอยูใ่ นระบบไพร่เพราะรัฐต้องอาศัยทักษะใน ด้านแรงงานและความชำ�นาญพิเศษของชาวจีนในด้านต่างๆ) ส่วนการจำ�แนกประชากรชาว จีนจากชาวไทย ( เนือ่ งจากมีการสักข้อมือไพร่ ) และเป็นการหารายได้เข้าหลวงเช่นเดียว กับการได้สว่ ยจากไพร่ ทางราชการจึงใช้วธิ กี ารผูกข้อมือด้วยด้าย และปิดผนึกด้วยครัง่ สำ�หรับชาวจีนที่เรียกว่าการผูกปี้ซ่งึ ตามหลักฐานเริ่มขึ้นในสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธ เลิศหล้านภาลัย รัชกาลที2่ โดยกำ�หนดให้ชาวจีนต้องมารายงานตัวต่อทางการผูกปีท้ ่ี ข้อมือ 3 ปี ต่อครัง้ สำ�หรับชาวจีนทีม่ อี ายุ 17 ปีขน้ึ ไป ( ถ้าพิสจู น์อายุไม่ได้ให้ก�ำ หนดเป็น ส่วนสูงวัดจากเท้าถึงไหล่ เกินกว่า 50 นิว้ ขึน้ ไป ) อัตราติดผูกปีเ้ ก็บคนละ 2 บาทและค่า ธรรมเนียมอีก 1 สลึง ( เฉลีย่ ปีละสามสลึง ) ถ้าไม่มเี งินจ่ายต้องทำ�งานโยธาให้แก่ทางการ คนละ 1 เดือน ภายหลังมีการปรับปรุงวิธีการโดยใช้สักที่ข้อมือเพื่อแสดงเครื่องหมายของ ซ
53
คนต่างด้าว ค่าผูกปี้จึงเปลี่ยนมาเรียกว่า “ส่วยชาวจีน” โดยกำ�หนดอัตราใหม่ให้เท่ากับ ส่วยจากไพร่คนไหน คือ เรียกว่าเก็บคราวละหนึ่งบาทสองสลึงในเวลาสามปี ( ปีละสอง สลึง ) การควบคุ ม คนจี น นั้ น ชาวจี น ถื อ ว่ า เป็ น คนต่ า งชาติ ต ามกฎหมายของ “จตุสดมภ์”.หรือ.“กฎหมายตราสามดวง”.ผู้ปกครองบริหารคนจีนนั้นต้องขึ้นอยู่กับ เจ้ า พระยาพระคลั ง .(.ตำ � แหน่ ง เจ้ า พระยาพระคลั ง มี ม าตั้ ง แต่ ส มั ย อยุ ธ ยาแล้ ว .).โดย จะแต่งตั้งชาวจีนที่มีชื่อเสียงเป็นที่เคารพนับถือของชาวจีนโดยแต่งตั้งให้มีตำ�แหน่ง “หลวงโชฏึกเศรษฐี”.ทำ�หน้าที่เป็นเจ้ากรมท่าซ้ายมีหน้าที่รับผิดชอบการค้าระหว่าง ไทยกับจีน รวมทั้งการควบคุมดูแลชาวจีนในสังคมไทยให้อยู่อย่างสงบเรียบร้อยซึ่ง ตำ�แหน่ง.“หลวงโชฏึกเศรษฐี”.นี้ถือเป็นขุนนางในราชสำ�นักฯมีศักดินา 1,400 ไร่ ในสมัย รัตนโกสินทร์ได้พระราชทานราชทินนามใหม่เป็นพระยาโชฎึกเศรษฐี เนื่องจากเริ่มมี ชาวจีนเข้ามามากขึ้นขณะเดียวกันสังคมจีนเองก็จะอาศัยการฝึกฝนอบรมโดยผู้ที่อพยพ เข้ามาก่อนรู้ถึงธรรมเนียมประเพณีวิถีการใช้ชีวิตตลอด มีความมั่นคงของธุรกิจฐานะ หน้าที่จะเป็นผู้ดูแลอนุเคราะห์หรือสั่งสอน มีระบบช่วยเหลือชาวจีนอพยพที่มีความ เกี่ยวข้อง ครั้นในสมัยอยู่ในประเทศจีน เช่น คนแซ่เดียวกัน คนหมู่บ้านเดียวกัน หรือ ใกล้เคียงเป็นต้น โดยถือว่าเป็นบุคคลร่วมบรรพบุรุษเดียวกันที่ภาษาจีนเรียกว่า “กงสี” ( ไม่ใช่ระบบกงสีในสมัยรัชกาลที่ 5 ที่ผู้คนเข้าใจว่าเป็นระบบเดียวกัน แต่ความจริงและ กงสีในที่นี้แผงมาจากคำ�ว่า “กงซี” ที่แปลว่า “บริษัท” ระบบกงซี อันหมายถึงการควบคุม บริหารชาวจีนที่อพยพเข้ามาเพื่อขายแรงงานในไทย แล้วบริษัทตัวแทนการจัดหา แรงงานนี้จะชำ�ระค่าเดินทางให้บริษัทเดินเรือก่อน แล้วจึงมาเก็บกับเจ้าของงานจ้าง เจ้าของงานก็จะไปหักจากค่าจ้างค่าแรงอีกทีหนึ่งตามพันธะสัญญา ) ระบบกงสี ( คำ�ว่า กงสีภาษาจีนแปลว่าร่วมบรรพบุรุษเดียวกัน ) ในสมัยต้นรัตนโกสินทร์จึงมักเป็นการช่วย เหลือหรืออนุเคราะห์แก่ผู้อพยพใหม่ ด้วยการให้ที่พักพิงเมื่อแรกเดินทาง การประกอบ อาชีพหรือหางานทำ� การป้องกันภัย การปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมใหม่ เป็นต้นซึ่ง เหตุนี้ทำ�ให้สิ่งสำ�คัญที่ชาวหัวเมืองชั้นในเพราะมักจะเดินทางมายังจุดหมายปลายทาง ที่เหมือนกัน เช่น คนแต้จิ๋วมากรุงเทพฯ คนฮกเกี้ยนไปมลายู สิงคโปร์ เป็นต้น +++
54
การปฏิรูปการเมืองการปกครองในสมัยรัชกาลที่ 4 – รัชกาลที่ 7 ในห้วงเวลาสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 เป็นยุคที่ ตะวันตกภายหลังปฏิวัติอุตสาหกรรม พบว่าการล่าอาณานิคมขยายตัวเข้ามาสู่เอเชีย ประเทศจีนกองทัพพ่ายแพ้ต่อการรุกรานของชาติตะวันตก ต้องสูญเสียเมืองสำ�คัญให้ ตกอยู่ในอาณัติโดยเฉพาะชายฝั่งตะวันออกเกือบทั้งหมด ประเทศรอบๆข้างก็ตกเป็น เมืองขึ้นไปหมด นอกจากแสนยานุภาพของกองทัพแล้ว อารยะธรรมและเทคโนโลยี ของตะวันตกก็หลั่งไหลเข้าสู่ภูมิภาคอย่างรวดเร็ว กระแสการเปลี่ยนแปลงจากภาวะ แวดล้อมนี้ทำ�ให้ประเทศไทยจึงต้องพยายามปรับตัวที่ตามให้ทันสถานการณ์อย่าง ทันกาล กระแสเข้าครอบงำ�ประเทศสยามต่อเนื่องถึงแผ่นดินในรัชกาลต่อมา กษัตริย์ ทุกพระองค์ทรงต้องดำ�เนินนโยบายปฏิรูปโดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้านเศรษฐกิจ ด้าน การปกครอง กฎหมายประเทศอย่างมากมายและรวดเร็ว เพื่อให้สอดคล้องกับแรง กดดันที่หลั่งไหลเข้ามา รวมทั้งการพัฒนาการและการรักษาสถานะของประเทศให้ มั่นคง จากการปฏิรูปสังคมและเศรษฐกิจของประเทศดังกล่าว ชาวจีนที่อาศัยในสยาม จำ�เป็นอย่างยิ่งจะต้องได้รับผลกระทบทั้งในทางบวกและทางลบ ตลอดจนการปรับให้ สมดุลกับการเปลี่ยนแปลงในการปฏิรูปดังกล่าว
ผลกระทบด้านสังคมภายหลังสนธิสัญญาเบาว์ริ่ง ในปี พ.ศ. 2398 สมัยรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าอยูห่ วั รัชกาลที่ 4 ประเทศไทยได้ทำ�หนังสือสัญญาทางพระราชไมตรีกับประเทศอังกฤษที่เราเรียกกัน ติดปากว่า สนธิสญ ั ญาเบาว์รง่ิ ( ชือ่ เดิมของสนธิสญ ั ญาว่า สนธิสญ ั ญาแห่งความเป็น มิตรภาพและการค้าระหว่างจักรวรรดิองั กฤษและราชอาณาจักรสยาม ( Treaty of Friendship and Commerce between British Empire and The Kingdom of Siam ) ใน สาระสำ�คัญของสนธิสญ ั ญาฉบับนีท้ แ่ี สดงผลกระทบต่อสังคมไทยจีนมีอยู่ 2 เรือ่ งใหญ่ๆ คือ เรือ่ งของสิทธิสภาพนอกอาณาเขตแก่ประชากรต่างด้าว (ซึง่ อังกฤษถือว่าเป็นคนใน บังคับของอังกฤษ เพราะชาวจีนทีอ่ ยูท่ างใต้เช่น กวางตุง้ ฮกเกีย้ น เมืองท่าเอ้หมิง) ชาว แต้จว๋ิ และจีนแคะจากซัวเถา หรือชาวไหหลำ� จากไห่โข่ว อาศัยอยูใ่ นเขตปกครองของ อังกฤษ จะอยูภ่ ายใต้อ�ำ นาจควบคุมของกงศุลอังกฤษ อีกเรือ่ งหนึง่ คือ การอนุญาตให้ ค้าขายฝิน่ ในสยามได้ซง่ึ แต่เดิมมาเป็นสิง่ ต้องห้ามและผิดกฎหมายไทย
55
การให้สิทธิสภาพนอกอาณาเขตแก่ประชากรต่างด้าวตามสนธิสัญญาเบาว์ริ่งมี ผลกระทบอย่างสูงต่อการปกครองของรัฐบาลไทยต่อชาวจีนในจุลนครฯ แต่เดิมมา สังคมชาวจีนในสยามถูกปกครองโดยตรงจากพระมหากษัตริย์โดยผ่านเจ้าพระยาพระ คลัง และเจ้ากรมท่าซ้าย คือ พระยาโชฏึกเศรษฐีซึ่งเป็นคนจีนที่รับราชการในราชสำ�นัก สยามซึ่งลักษณะการปกครองของชาวจีนในสยามเสมือนหนึ่งคนจีนปกครองกันเอง เมื่อคนจีนเข้ามามากประกอบตำ�แหน่งพระยาโชฏึกเศรษฐีค่อยๆหมดอำ�นาจลง หลัง สนธิสัญญาเบาว์ริ่งการปกครองชุมชนท้องถิ่นเกิดช่องว่างขึ้น จึงเป็นการประจวบ เหมาะที่สนธิสัญญาเบาว์ริ่งอนุญาติให้ชาวจีนในสยามขึ้นศาลกงสุลอังกฤษได้ ชาว จีนที่อาศัยในสยามแทบจะไม่ต้องอยู่ในกฎหมายไทย ทำ�ให้การปกครองลักษณะนี้ ก่อให้เกิดช่องว่างในการปกครองของสังคม ขณะที่สังคมชาวจีนยังไม่มีการจัดระเบียบ และการบังคับใช้กฎหมายอย่างเป็นธรรม จึงเป็นเหตุให้เกิดกลุ่มอนาธิปไตยในชุมชน เข้ามามีบทบาทในสังคมเป็นอย่างมากและสร้างปัญหาแก่สังคมชาวจีนในไทยโดย เฉพาะอย่างยิ่งในจุลนครฯ สาระสำ�คัญอีกเรื่องหนึ่งของสนธิสัญญาเบาว์ริ่งคือ การบังคับให้สยาม สามารถค้าขายฝิ่นได้โดยถูกกฎหมาย แต่เดิมมากรุงสยามมีกฎหมายห้ามค้าและสูบ ฝิ่น สมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 3 มีการกวาดล้างฝิ่นครั้งใหญ่ พร้อมทั้งพิมพ์หมายประกาศห้ามสูบฝิ่นเป็นใบปลิวจำ�นวน 9,000 ฉบับออกแจกจ่าย แก่ราษฎรให้รับรู้ถึงบทลงโทษ แต่เมื่อ พ.ศ. 2383 อังกฤษรบชนะจีนในสงครามฝิ่น ทำ�ให้จีนต้องยอมทำ�สนธิสัญญานานกิงซึ่งมีสาระสำ�คัญคือให้จีนชำ�ระค่าปฏิมากรรม สงครามและสินไหมเป็นเงิน 21 ล้านหยวน ยกเกาะฮ่องกง เช่น เมืองท่าทางภาคใต้เช่น กวางตุ้ง เอ้หมึง ฟู่โจว (ฮกเกี้ยน) เซี่ยงไฮ้ เป็นต้น ให้มีสิทธิสภาพนอกอาณาเขตใน เขตปกครองเหล่านี้ และให้สามารถค้าขายฝิ่นได้อย่างเสรีซึ่งทั้งหมดเป็นสาระสำ�คัญที่ เซอร์ จอห์นเบาว์ริ่งนำ�มาอ้างอิงในการทำ�สัญญากับไทย อย่างไรก็ดีเนื่องจากความ รัฐบาลสยามต่อต้านการสูบฝิ่นมาตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 1 เป็นต้นมา ทำ�ให้ค่านิยมใน การสูบฝิ่นของชาวไทยจะกลายเป็นสิ่งที่น่ารังเกียจของสังคมไทยไป ประกอบกับฝิ่น เป็นของที่มีราคาแพง ชาวไทยส่วนใหญ่ยังมีฐานะยากจนไม่มีเงินพอที่จะหามาเสพย์ ได้โดยง่าย ดังนั้น ทำ�ให้คนไทยแทบจะไม่มีคนที่เสพย์ฝิ่นเลย ตรงกันข้ามกับชาวจีน ที่ร่ำ�รวยโดยเฉพาะบุตรหลานพวกคหบดีผู้มั่งคั่ง พวกเขาบางคนติดฝิ่นตั้งแต่สมัยที่อยู่
56
เมืองจีน หรือเมือ่ มาเมืองไทยหากสามารถหาฝิน่ สูบไม่ได้กเ็ ลิกได้แต่หากสามารถหาฝิน่ สูบได้กก็ ลับมาติดใหม่ เพราะพวกเขาเหล่านัน้ มีปญ ั ญาซึง่ หาฝิน่ สูบได้ เนือ่ งจากฐานะ ทางครอบครัวดี สังคมชาวจีนจึงมีผตู้ ดิ ฝิน่ อยูแ่ ม้จะมีจ�ำ นวนไม่มากเทียบกับเมืองต่างๆ ในประเทศจีน แต่กส็ ามารถทำ�ให้สงั คมจีนในเมืองไทยอ่อนแอลงไปอย่างมาก
การปรับปรุงการปกครองในสมัยรัชกาลที่ 4 สืบเนื่องจากกระแสการล่าอาณานิคมของตะวันตกที่แพร่อิทธิพลเข้ามาใน ภูมภิ าคนี้ พระมหากษัตริยท์ กุ พระองค์ตง้ั แต่รชั กาลที่ 4 เป็นต้นมา จึงต้องพยายาม ดำ�เนินนโยบายเพือ่ ให้สยามรอดพ้นจากการเป็นประเทศราช ไม่วา่ จะใช้วธิ กี ารผ่อน หนักผ่อนเบา เช่น การทำ�สนธิสญ ั ญาทีอ่ าจต้องเสียเปรียบบ้าง หรือจนกระทัง่ ทีต่ อ้ ง เสียดินแดนบางส่วนเพือ่ แลกกับเอกราช อีกปัจจัยหนึง่ ทีพ่ ระมหากษัตริยจ์ ะต้องทำ�อย่าง เร่งด่วนคือ การปฏิรปู บ้านเมืองให้ทนั สมัย สอดคล้องกับวิทยาการทีเ่ ป็นทีย่ อมรับใน ประเทศตะวันตกทีถ่ อื ว่าเป็นแนวทางอารยะและเป็นทีย่ อมรับได้ ขณะเดียวกันแนวทาง ทีป่ ฏิรปู นีย้ งั ทำ�ให้ประเทศชาติเจริญก้าวหน้าทัง้ หมด เศรษฐกิจและสังคม นอกจากนี้ ยังช่วยจัดระเบียงของสังคมให้สามารถอยู่ร่วมกันอย่างสงบเรียบร้อยภายใต้การเพิ่ม ขึน้ ของประชากรทัง้ ทีเ่ ป็นคนไทยและชาวจีนอย่างรวดเร็ว ตลอดจนสภาพแวดล้อมที่ เปลีย่ นแปลงรอบด้านหลังประเทศถาโถมเข้ามารอบด้าน การปรับปรุงการปกครองในสมัยรัชกาลที่ 4 คือ มีการออกประกาศต่างทีเ่ รียก ว่า “ประกาศรัชกาลที่ 4” เพือ่ ใช้สอ่ื สารระเบียบแบบแผนในการปฏิบตั ขิ องผูค้ นในสังคม อย่างถูกต้อง ตราพระราชกำ�หนด และออกประกาศข้อบังคับ ถือเป็นกฎหมายรวมกัน ทัง้ สิน้ ประมาณ 500 ฉบับ ตัง้ โรงพิมพ์ “โรงอักษรพิมพ์การ” ในพระบรมมหาราชวัง เพื่อพิมพ์กฎหมายและประกาศต่างๆเป็นหนังสือแถลงข่าวของทางราชการที่เรียกว่า “ราชกิจจานุเบกษา” ให้ประชาชนสามารถถวายฎีการ้องทุกข์ และโปรดให้ช�ำ ระความ ให้เสร็จโดยเร็ว ทำ�ให้ราษฎรได้รบั ความยุตธิ รรมมากขึน้ กว่าแต่กอ่ น ทรงประกาศให้ พระบรมวงศานุวงศ์ และข้าราชการทำ�การเลือกตัง้ ตำ�แหน่ง พระบรมราชครูปโุ รหิตา จารย์ และตำ�แหน่งพระมหาราชกรมหิธรจากเดิมทีใ่ ช้ระบบแต่งตัง้ จากพระราชอำ�นาจ ของพระองค์เอง. มีการปรับปรุงระบบศาล มีการยกเลิกการพิจารณาคดีแบบจารีต นครบาล .มีการ เริม่ การจัดกองทหารแบบตะวันตก
57
58
การปรับปรุงการปกครองในสมัยรัชกาลที่ 5 ต่ อ มาในสมั ย รั ช กาลที่. .5..พระองค์ มีค วามประสงค์ ท่ีจ ะเรี ย กคื น พระราช อำ�นาจจากข้าราชการผูก้ มุ อำ�นาจบริหารประเทศอยูใ่ นขณะนัน้ และเพือ่ ป้องกันการ คุกคามจากชาติตะวันตก โดยการสร้างความเชือ่ มัน่ แก่ชาติตะวันตกว่าสยามประเทศมี กฎหมายและระเบียบการปกครองทีเ่ ป็นทีย่ อมรับเฉกเช่นอารยประเทศทัว่ ไป นอกจาก นี้ยังมีพระราชประสงค์ในการปัญหาจากความอยุติธรรมจากสนธิสัญญาทีว่าด้วย ระบบสิทธิสภาพนอกอาณาเขต จากเหตุผลดังกล่าวนึจ้ งึ นำ�มาซึง่ การปรับปรุงระเบียบ บริหารประเทศดังนี้ จัดตั้งสภาที่ปรึกษาราชการแผ่นดิน..(.Council..of..State..)..ซึ่งประกอบด้วย ข้าราชการชัน้ พระยา 12 คน ทีไ่ ด้การแต่งตัง้ จากพระมหากษัตริย์ มีหน้าทีถ่ วายคำ� ปรึกษาราชการทัว่ ไป การพิจารณาร่างกฎหมาย ฯลฯ จัดตัง้ องคมนตรีสภาซึง่ เป็นสภาทีป่ รึกษาส่วนพระองค์ ( Privacy Council ) โดย มีสมาชิกจากวงศานุวงศ์และข้าราชการ 49 คน ทำ�หน้าทีถ่ วายคำ�ปรึกษาข้อราชการ และเสนอความคิดเห็นต่างๆ( ปัจจุบนั คือ ตำ�แหน่งองคมนตรี ) การปฏิรปู การปกครองส่วนกลาง มีการแต่งตัง้ เสนาบดี 12 กระทรวง คือ • • • • • •
กระทรวงมหาดไทย ดูแลหัวเมืองทางเหนือ กระทรวงกลาโหม ดูแลหัวเมืองทางใต้ กระทรวงต่างประเทศ ดูแลกิจการทีเ่ กีย่ วข้องกับต่างประเทศ กระทรวงวัง ดูแลกิจการราชสำ�นัก ราชพิธี การพิจารณาความแทนพระมหากษัตริย์ กระทรวงเมือง ดูแลความปลอดภัยในเมืองหลวง, คุก และตำ�รวจ กระทรวงเกษตราธิการ ดูแลด้านเพาะปลูก ป่าไม้ เหมืองแร่ ค้าขาย ขุดคลอง การ ออกโฉนดทีด่ นิ • กระทรวงพระคลังมหาสมบัติ ดูแลด้านภาษีอากร รายรับรายจ่ายแผ่นดิน รักษา สมบัตแิ ผ่นดิน • กระทรวงยุทธนาธิการ มีหน้าทีด่ แู ลทหารบก และทหารเรือ • กระทรวงยุตธิ รรม ทำ�หน้าทีพ่ พิ ากษาคดี
59
• กระทรวงบูรณาธิการ ดูแลพระราชลัญจกร พระราชกำ�หนดกฎหมาย หนังสือ ราชการเกีย่ วกับกษัตริย์ ( ภายหลังกระทรวงยุทธนาธิการและกระทรวงบูรณาธิการ รวมกันเป็นกระทรวงกลาโหม ) • กระทรวงธรรมการ ดูแลด้านศาสนา การศึกษา การพยาบาล และพิพธิ ภัณฑ์ • กระทรวงโยธาธิการ ดูแลด้านการก่อสร้างต่างๆการไปรษณียโ์ ทรเลข การรถไฟ การปฏิรปู การปกครองภูมภิ าค คือ ยกเลิกหัวเมือง เอก โท ตรี จัตวา และหัว เมืองประเทศราชเป็นมณฑล ผูป้ กครองคือข้าหลวงเทศาภิบาล เมืองปกครองโดยผูว้ า่ ราชการอำ�เภอโดยนายอำ�เภอ ตำ�บลโดยกำ�นัน หมูบ่ า้ นโดยผูใ้ หญ่บา้ น การปฏิรปู การปกครองท้องถิน่ มีการออกพระราชบัญญัตปิ กครองท้องทีใ่ น ร.ศ. 116 (.พ.ศ..2441.) เลือกตัง้ ผูใ้ หญ่บา้ น (.ครัง้ แรกทีบ่ างปะอิน.) มีการจัดตัง้ สุขาภิบาล (.ทีท่ า่ ฉลอม.) จัดเก็บรายได้จากภาษีโรงเรือน การปฏิรปู กฎหมายและการศาลไทย มีการตัง้ กระทรวงยุตธิ รรมในปี พ.ศ. 2434 ยกเลิกกฎหมายตราสามดวง จัดตัง้ โรงเรียนสอนกฎหมาย โดยมีพระเจ้าบรม วงศ์เธอกรมหลวงราชบุรดี เิ รกฤทธิ์ (.พระองค์เจ้ารพีพฒ ั นศักดิ.์ ) เป็นเสนาบดีซง่ึ ได้รบั การยกย่องว่าเป็นบิดาแห่งกฎหมายไทย มีการตัง้ คณะกรรมการตรวจชำ�ระและร่าง กฎหมายลักษณะอาญาในปี พ.ศ. 2451 มีการประกาศใช้กฎหมายหลายฉบับ เช่น พระ ราชบัญญัตปิ กครองท้องถิน่ ร.ศ. 116 พระราชบัญญัตกิ รรมสิทธิผ์ แู้ ต่งหนังสือ รศ.120 กฎหมายว่าด้วยการเลิกทาส พ.ศ. 2448 เป็นต้น มีการปฏิรปู ทางกฎหมาย มีการจัด ระบบศาลใหม่ให้มกี ารจัดระบบศาลใหม่ ให้มศี าลยุตธิ รรมอยู่ 2 แผนก คือ ศาลสถิต ยุตธิ รรม กรุงเทพฯ อันได้แก่ ศาลฎีกา ศาลอุทธรณ์ ศาลพระราชอาญา ศาลแพ่ง ศาล ต่างประเทศ กับศาลหัวเมืองอันได้แก่ ศาลมณฑล ศาลเมือง ศาลแขวง ในสมัยรัชกาลที่ 6 ได้มกี ารจ้างนักกฎหมายต่างประเทศ เช่น ญีป่ นุ่ ชาวยุโรปหลายชาติ มาช่วยปรับปรุง กฎหมาย มีการปรับปรุงระเบียบการศาลโดยแบ่งงานกระทรวงยุตธิ รรมเป็น 2 ฝ่าย คือ ฝ่ายธุรการ กับฝ่ายตุลาการซึง่ สามารถทำ�หน้าทีพ่ จิ ารณาคดีความได้อย่างอิสระ มีการ ใช้ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์เป็นครัง้ แรก มีการจัดตัง้ สภานิตศิ กึ ษา ทำ�หน้าที่ จัดระเบียบและร่างหลักสูตรการศึกษาของโรงเรียนกฎหมาย
60
61
ผลของการปฏิรปู การเมืองการปกครองและกฎหมาย ในสมัยรัชกาลที่ 5 – 6 กับสังคมชาวจีนในสยาม หลังการปฏิรปู ทำ�ให้ระเบียบการเมือง การปกครอง มีแบบแผนบริหาร และ การบังคับใช้กฎหมายภายในราชอาณาจักรมีความเป็นอันหนึง่ อันเดียว มีการแบ่ง แยกหน้าทีค่ วามรับผิดชอบ มีการบริหารทัง้ ส่วนกลาง ส่วนภูมภิ าค ส่วนท้องถิน่ มี การดำ�เนินการได้อย่างเป็นเอกภาพโดยมีศูนย์กลางการปกครองรวมอยู่ท่ีกรุงเทพฯ การปกครองอืน่ เป็นแนวทางทีเ่ ป็นระบบทำ�ให้ราชอาณาจักรสยามเจริญรุง่ เรือง โดยมี ความก้าวหน้าสูก่ ารเป็นอารยประเทศ การทีร่ ฐั บาลไทยทีก่ รุงเทพฯ สามารถขยายอำ�นาจเข้าควบคุมพืน้ ทีภ่ ายใน ราชอาณาจักร การบังคับใช้กฎหมายทำ�ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทำ�ให้เกิดเอกภาพของ การเมือง และความอยูเ่ ย็นเป็นสุขของอาณาประชาราษฎร์ สิง่ เหล่านีจ้ ะกลายเป็นปัจจัย สำ�คัญในการหยุดยัง้ การคุมคามจากมหาอำ�นาจ รวมทัง้ ทำ�ให้ชาติตะวันตกเชือ่ ได้วา่ ราชอาณาจักรสยามมีการปกครองทีท่ ดั เทียมให้กบั อารยประเทศ อย่างไรก็ดี การปฏิรปู การปกครองครัง้ นีท้ �ำ ให้เกิดผูส้ ญ ู เสียผลประโยชน์บา้ ง ทำ�ให้เกิดการยอมปลุกปัน่ กันก่อกบฏต่อรัฐบาลทีก่ รุงเทพฯ เช่น กบฏผีบญ ุ ภาคอีสาน รศ. 121 กบฏเงีย้ วทีเ่ มืองแพร่ รศ.121 กบฏแขกเจ็ด หัวเมือง รศ.121 แต่ทง้ั หมดรัฐบาล สามารถควบคุมสถานการณ์ได้ สิทธิสภาพนอกอาณาเขตเป็นหอกข้างแคร่ทท่ี �ำ ให้การบังคับใช้กฎหมายทีไ่ ด้ ปฏิรปู แล้วไม่สามารถเกิดประสิทธิภาพได้อย่างเต็มที่ โดยเฉพาะกับชาวจีนทีอ่ าศัยอยู่ ในสยาม โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในนครหลวง หรือชาวจีนในจุลนครฯ นี้ ในสมัยพระบาท สมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ 5 รัฐบาลสยามให้ด�ำ เนินวิเทโศบายให้ความ ยุตธิ รรมแก่คนจีนเป็นพิเศษ เพือ่ ดึงคนจีนให้มาอยูใ่ นการปกครองดูแลของรัฐบาลสยาม ไม่ตอ้ งพึง่ อำ�นาจของฝรัง่ ต่างชาติ โดยการตัง้ ศาลสำ�หรับชำ�ระความคนจีน ดังปรากฏ ในประกาศพระบรมราชโองการทีล่ งพิมพ์ในหนังสือราชกิจจานุเบกษา ปีจอ นพศก จุลศักราช 1236 ( พ.ศ. 2417 ) ในประกาศพระราชโองการมีสาระสำ�คัญว่า “ถ้าจีนต่อจีน มีคดีเกีย่ วข้องต่อกัน ให้ไปฟ้องร้องทีพ่ ระยาโชฎึกราชเศรษฐี เจ้ากรมท่าซ้าย ( ในขณะ นัน้ ผูด้ �ำ รงตำ�แหน่งมีชอ่ื ว่าจีนจ๋อง ) กับหลวงพิพิธภัณฑ์ ผู้ช่วยกรมท่าซ้าย ( ในขณะ
62
นั้นผู้ดำ�รงตำ�แหน่งนี้มีชื่อว่ามะลิ ) โดยให้พระยาโชฏึกราชเศรษฐีเป็นผู้แต่งตั้งจีนที่ รู้ธรรมเนียมจีนและมีความยุติธรรมเป็นตะละการจำ�นวนหนึ่ง เพื่อชำ�ระคดี ตัดสิน ตามธรรมเนียมจีนให้แล้วต่อกัน ส่วนหัวเมืองทีม่ คี นจีนตัง้ หลักแหล่งทำ�มาหากินอยู่ เป็นจำ�นวนมากก็ให้ตง้ั “กรรมการจีน” ขึน้ ดูแลปกครองคนจีน และว่ากล่าวตักเตือนคน จีนด้วยกัน และถ้ากรรมการจีนคนใดได้รบั แต่งตัง้ เป็น “ปลัดฝ่ายจีน” ปลัดนีก้ ม็ อี �ำ นาจ ชำ�ระความทีค่ นจีนมีเรือ่ งพิพาทกัน แต่ถา้ กรมการจีนคนใดได้รบั แต่งตัง้ เป็น “กงสุล จีนในบังคับสยาม” ก็ให้มอี �ำ นาจชำ�ระความเพียงแค่ชน้ั เปรียบเทียบ“ปรับไหม”(คือสัง่ ให้คคู่ ดีฝา่ ยหนึง่ ชดใช้คา่ ทำ�ขวัญให้แก่อกี ฝ่ายหนึง่ ) หรือ “ปรับเป็นพินยั ” (คือปรับเอา เงินเข้าหลวง) การดำ�เนินวิเทโศบายดังกล่าวนี้ (จริงๆแล้วเป็นกรรมวิธที ใ่ี ช้บงั คับอยู่ ในสมัยต้นรัตนโกสินทร์นน่ั เอง) ก็สามารถดึงคนจีนเอาไว้ให้อยูใ่ นบังคับบัญชาของ รัฐบาลสยามได้บา้ ง แต่เนือ่ งจากกฎเกณฑ์ในการบังคับใช้กฎหมายเป็นเรือ่ งยากเพราะ กฎหมายไม่สมบูรณ์ ทำ�ให้เกิดระบบอิทธิพลท้องถิน่ เกิดขึน้ การใช้กฎหมายแห่งราช อาณาจักรต่อชาวจีนในสยามมาเสร็จสมบูรณ์เมื่อพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้า อยูห่ วั รัชกาลที่ 6 เข้าร่วมกับพันธมิตรประกาศสงครามกับฝ่ายเยอรมัน และออสเตรีย ฮังการี ในสงครามโลกครัง้ ที่ 1 เมือ่ สงครามสงบโดยพันธมิตรเป็นผูม้ ชี ยั พระองค์จงึ ถือโอกาสแก้ไขกฎหมายสิทธิสภาพนอกอาณาเขต และระบบศาลกงสุลทีใ่ ช้กบั ชาวจีน ในสยามโดยให้ชาวจีนที่อาศัยอยู่ในราชอาณาจักรมาใช้กฎหมายของราชอาณาจักร สยามอย่างเต็มรูปแบบ จะเห็นได้วา่ ตลอดเวลาเกือบ 150 ปี ( พ.ศ. 2325 – พ.ศ. 2475 ) คือ ตัง้ แต่ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช รัชกาลที1่ ให้กอ่ ตัง้ กรุงเทพมหานคร ขึน้ เป็นราชธานีแห่งสยาม จนกระทัง่ ถึงการทีพ่ ระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยูห่ วั รัชกาลทรงสามารถเรียกคืนอำ�นาจสิทธิทางการศาล เพือ่ บังคับใช้กฎหมายของแผ่น ดินสยามจากการทีเ่ ราต้องเสียสิทธิสภาพนอกอาณาเขตจากชาวต่างชาติ ชาวจีนโดย เฉพาะอย่างยิง่ ชาวจีนทีอ่ าศัยอยูใ่ นจุลนครฯ นีม้ กี ารปกครองความเป็นอยูเ่ สมือนพวก เขาได้อาศัยอยูใ่ นประเทศจีนเอง เพราะกฎหมายการปกครองเอือ้ อำ�นวยเป็นอย่างยิง่ คนจีนอยูก่ นั โดยลักษณะกึง่ ปกครองกันเอง คนไทยท้องถิน่ ทีอ่ าศัยอยูด่ ว้ ยหรืออาศัย ในนครหลวงฯ ก็มคี วามเป็นมิตร เสมือนหนึง่ ว่าอยูใ่ นครอบครัวเดียวกัน ประชาคนใน จุลนครฯ มีความเป็นอยูใ่ นขนบธรรมเนียมจีนดัง่ เช่นทีค่ รัง้ เมือ่ อยูใ่ นประเทศ ชาวจีน
63
อพยพที่เข้ามาส่วนใหญ่เดินพวกเข้ามาสยามประเทศมักเป็นชายชาวจีนเดินทางเข้า มาเพียงคนเดียว หญิงจีนไม่คอ่ ยให้อพยพตามสามี ส่วนใหญ่จะต้องเป็นผูท้ เ่ี ลีย้ งลูก หลานอยูท่ บ่ี า้ นในประเทศจีน ฝ่ายชายจะมาทำ�งานหาเงินเพือ่ ส่งกลับบ้าน หรือบาง ครัง้ ก็เดินทางกลับไปประเทศจีนแล้วกลับมาใหม่ บางคนได้เดินทางไป-กลับประเทศจีน และประเทศไทยหลายครัง้ เมือ่ การเดินทางด้วยเรือกลไฟสะดวกขึน้ ส่วนชาวจีนอพยพ ทีท่ �ำ การค้า ถ้าสถานะธุรกิจยังไม่มน่ั คงจะไม่คอ่ ยได้กลับ แต่ถา้ ร่�ำ รวยแล้วจึงได้กลับ เป็นการเยี่ยมญาติครอบครัวที่เมืองจีนเป็นครั้งคราว(ตัวอย่างผู้เขียนมีปู่ทวดได้เข้า มาทำ�งานประเทศสยามในสมัยรัชกาลที่ 5 แต่ได้เดินทางไปกลับจนประเทศไทยกับ จีน 2 ครั้ง กลับมาครั้งแรกไปพาปู่ซึ่งเจริญวัยเป็นหนุ่มเดินทางเข้ามาด้วย ส่วนการ กลับไปครั้งที่ 2 ก็ไม่กลับประเทศไทยอีกจนเสียชีวิตที่ประเทศจีน ส่วนปู่เดินทางมา ประเทศไทยโดยทิ้งครอบครัวไว้ที่เมืองจีน ภายหลังบิดาเติบโตเป็นหนุ่มจึงเดินทาง ตามมาประเทศไทยด้วย ซึ่งลักษณะการเดินทางและอพยพของชาวจีนมายังสยาม ลักษณะนี้เป็นที่พบเห็นทั่วไปของชาวจีนโดยเฉพาะอย่างยิ่งในจุลนครฯ ) ปัญหาเนือ่ งจากหญิงจีนไม่คอ่ ยได้ตามสามีเข้ามาในประเทศไทย ชายชาว จีนจึงแต่งงานใหม่กบั หญิงชาวจีนทีเ่ กิดในประเทศไทยหรือแต่งงานกับหญิงไทย โดย เฉพาะอย่างยิง่ ชาวจีนทีม่ ฐี านะดี ด้วยเหตุนว้ี ฒ ั นธรรมไทยโดยเฉพาะความเชือ่ ทาง ศาสนาพุทธเข้ามามีอิทธิพลหรือยอมรับเข้ามาผสมผสานวัฒนธรรมจีนพื้นฐานมาก ขึน้ ยกตัวอย่างชาวจีนเชือ่ ว่า วัดกัลยาณมิตร คือวัดซำ�เป๋าตง ( ไตรรัตน์ ) สัมพันธ์กบั จิน้ เหอขุนนางนักเดินเรือสมัยราชวงศ์หมิง การยอมรับพิธเี ผาศพแทนการนำ�ไปฝัง และสร้างฮวงซุย้ ใหญ่โต ( ยกเว้นคนจีนทีม่ ฐี านะร่�ำ รวย การสร้างฮวงซุย้ เป็นหน้าตา ทางสังคมของครอบครัวและยังส่งผลต่อสถานะทางอนาคตของบุตรหลายที่ยังมีชีวิต อยู่ ) แต่ในจุลนครนีเ้ ป็นส่วนทีว่ ฒ ั นธรรมจีนแทบจะไม่มกี ารกระทบ การเปลีย่ นแปลงมี น้อยมาก จนกระทัง่ หลังการเปลีย่ นแปลงการปกครองแผ่นดินในปี พ.ศ. 2475 เพราะ รัฐบาลมีนโยบายและออกกฎหมายจำ�นวนมากทีม่ ผี ลต่อวัฒนธรรม เศรษฐกิจ สังคม ของชาวจีน มุมมองและทัศนคติของรัฐบาลต่อชาวจีน การสิน้ สุดกระแสการอพยพ การเปลี่ยนแปลงระบบการปกครองรัฐบาลในประเทศจีนหรือความยึดมั่นในด้านความ ผูกพันต่อชาติพนั ธุผ์ สู้ บื ทอดทีแ่ ตกต่างออกไป
64
ในสังคมชาวจีนบุคคลทีห่ น้ามีตามากทีส่ ดุ คือ พ่อค้า เจ้าของการค้าผูกขาด (หรือตัวแทนเก็บภาษีทเ่ี รียกนายอากรในสมัยต้นรัตนโกสินทร์) จะเป็นผูท้ ม่ี ง่ั คัง่ ทีส่ ดุ มีสว่ นได้เสียกับภาวะเศรษฐกิจของไทยทัง้ ประเทศรองลงมาคือ พวกเจ้าของโรงสี เจ้าของโรงเลือ่ ย พวกนายหน้าหรือคอมปะโด ถัดมาเป็นพวกช่างฝีมอื คนขายของ พวกงานช่าง เสมียน ส่วนพวกสุดท้ายคือ พวกพ่อค้าหาบเร่ คนงานทางเกษตร ช่าง ตัดผม นักแสดง คนลากรถ(ทีไ่ ม่ทนุ รอน) กรรมกรโรงสี โรงเลือ่ ย ท่าเรือ ฯลฯ ชาวจีนจะ เป็นผูท้ ฝ่ี กั ใฝ่พยายามทีจ่ ะเลือ่ นฐานะทางสังคม ทำ�ให้การเปลีย่ นแปลงฐานะมีอตั ราสูง เช่น พวกหาบเร่จะพัฒนาเป็นเถ้าแก่ พวกช่างกลจะเปิดกิจการโรงกลึง กรรมกรพัฒนา เป็นนายงาน เป็นต้นทำ�ให้สงั คมเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจได้อย่างรวดเร็ว
สังคมจีนหลังการเปลีย่ นแปลงการปกครองพ.ศ.2475 พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ 7ทรงมีพระดำ�รัสในงานเสด็จ เปิดโรงเรียนจิง้ เตอะ พ.ศ. 2471 ไว้วา่ ข้าราชการไทยชัน้ สูงในอดีตและปัจจุบนั ล้านมี เชือ้ สายจีน แสดงว่าคนจีนทีถ่ อื กำ�เนิดในประเทศไทยมีแนวโน้มสูงทีจ่ ะปรับตัวเข้าเป็น ประชากรในประเทศอย่างสมบูรณ์ ภายหลังการเปลีย่ นแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 ใหม่ๆผูร้ ว่ มก่อการปฏิวตั มิ หี ลายท่านก็เป็นผูม้ เี ชือ้ สายจีน เช่น หลวงประดิษฐ มนูธรรม ( ปรีดี พนมยงค์ ) เป็นบุตรชายชาวจีนแต้จว๋ิ ชือ่ เฉินเจียโหว พระยาพหลพล พยุหเสนานายกรัฐมนตรีคนที่ 2 ก็มบี ดิ าเป็นคนจีน เช่นเดียวกันกับหลวงวิจติ รวาทการ ซึง่ ได้ชอ่ื ว่าผูน้ �ำ ทางวัฒนธรรม ท่านมีวตั ถุประสงค์ในการวางนโยบาย “ประเทศไทย เป็นของคนไทย” แต่ชาวจีนทีเ่ กิดในประเทศจีนและทางกลับชาตินยิ มกลับเห็นว่าเป็น นโยบายทีเ่ ป็นปฏิปกั ษ์ตอ่ “คนสายเลือดเดียวกัน” ความคิดเหล่านีอ้ าจเป็นเพราะว่า ชาวจีนทีอ่ าศัยอยูใ่ นประเทศไทยมีความรูส้ กึ ว่า พวกเขาเป็นคนจีนตลอดเวลาทีอ่ ยูใ่ น ประเทศไทย เกือบจะไม่ตอ้ งรับผิดชอบต่อกฎเกณฑ์ของแผ่นดินไทย บางครัง้ ดูเหมือน ว่าพวกเขาจะได้รับการโอบอุ้มอุปถัมภ์จากระบบกษัตริย์ในระบอบสมบูรณญาสิทธิราช ด้วยซ้�ำ ไป เมือ่ มีเปลีย่ นแปลงการปกครองเป็นระบบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ เป็นประมุข พวกเขาซึง่ มีความรูส้ กึ ทีข่ ดั แย้งขึน้ แต่กไ็ ม่มปี ฏิกริ ยิ าโต้ตอบแต่อย่างใด ต่อ มาในสมัยจอมพล.ป.พิบูลสงครามขึ้นเป็นนายกรัฐมนตรีซ่ึงได้ออกนโยบายนิยมไทย และนโยบายปกปักษ์ต่อชาวจีนตามเหตุผลทางด้านการเมืองภายในประเทศและเพื่อ เป็นการส่งเสริมให้คนจีนกลายเป็นไทยโดยเฉพาะอย่างยิ่งการใช้มาตรการการศึกษา
65
ซึง่ ก็ได้ผลอย่างมาก กับการทำ�ให้คนจีนค่อยๆคลายมือจากการคุมเศรษฐกิจของชาติ เพราะขณะนัน้ เศรษฐกิจสำ�คัญๆของประเทศไทย ล้วนอยูใ่ นมือของชาวจีนทัง้ สิน้ ซึง่ นัน่ หมายถึง ความมัน่ คงทางการเมือง และเศรษฐกิจของรัฐบาลเองด้วย การเปลีย่ นแปลงทางสังคมจีนในประเทศไทยก่อนสงครามโลกครัง้ ที่ 2 ( ช่วงใน ปี พ.ศ. 2475 – พ.ศ. 2484 ) นโยบายชาตินยิ มและปฏิปกั ษ์ตอ่ ชาวจีนของรัฐบาลไทย การอพยพเข้ามาชาวจีนจำ�นวนมากเข้าสูป่ ระเทศไทย รวมทัง้ ผูห้ ญิงด้วย อาจ เป็นเพราะชาวจีนมีฐานะมีขน้ึ การเดินทางก็ไม่ล�ำ บากดัง่ แต่กอ่ นซึง่ ทำ�ให้การสมรส ระหว่างคนจีนกับคนไทยลดลง โรงเรียนทีใ่ ห้การเรียนการสอนภาษาจีนได้เพิม่ ขึน้ อย่างรวดเร็ว เนือ่ งจากชาว จีนแต่เดิมไม่สนใจให้บตุ รหลานได้เรียนหนังสือ แต่ภายหลังฐานะทางเศรษฐกิจดีขน้ึ จึงส่งเสริมทางด้านการศึกษามากขึน้ ขณะเดียวลูกหลานเมือ่ เรียนจบชัน้ ประถมส่วน ใหญ่โรงเรียนจีนสอนแต่ชน้ั ประถมศึกษา โรงเรียนมัธยมศึกษามีอยูจ่ �ำ นวนน้อย และ ชาวจีนเองก็ไม่มน่ั ใจในคุณภาพ จึงได้สง่ บุตรหลายเรียนต่อชัน้ สูงขึน้ ในประเทศจีนหรือ ส่งลูกไปเรียนมัธยมของพวกคาธอลิคหรือคริสเตียนแทน ภายหลังทีป่ ระเทศจีนได้เกิดการปฏิวตั แิ ละสามารถล้มล้างรัฐบาลของราชวงศ์ แมนจูลงได้ ทำ�ให้สามารถตัง้ รัฐบาลสาธารณรัฐจีนขึน้ ชาวจีนโพ้นทะเลต่างตืน่ เต้นไป กับกระแสประชาธิปไตยซึง่ เป็นแรงกระตุน้ ให้ชาวจีนในประเทศไทยเกิดกระแสชาตินยิ ม ขึน้ ชาวจีนเลิกโกนผมไว้เปียอย่างชาวจีนในราชวงศ์แมนจู หันมาแต่งกายตามแบบ ตะวันตก แม้ ว่ า ประเทศไทยได้ เ ปลี่ ย นแปลงการปกครองเป็ น ประชาธิ ป ไตยในปี พ.ศ. 2475 การให้บริการทางด้านสาธารณสุขยังไม่มปี ระสิทธิภาพเพียงพอ ชาวจีนใน กรุงเทพฯ จึงตัง้ โรงพยาบาลเทียนฟ้าให้การรักษาตามแบบตะวันตกเพือ่ ช่วยเหลือชาว จีนโดยเฉพาะอย่างยิง่ ผูย้ ากไร้โดยไม่แบ่งแยกภาษา นอกจากนีม้ กี ารก่อตัง้ โรงพยาบาล กว๋องสิวของชาวกวางตุง้ มีการก่อตัง้ สมาคมทีเ่ ป็นสาธารณกุศลต่างๆเช่น มูลนิธปิ อเต็ก ตึง้ สมาคมพุทธศาสนา จุงหวา หลุงหวา และอีเ้ หอ สมาคมกลุม่ ภาษาต่างๆไม่วา่ เป็นก วางตุง้ ( กว๋องสิว ) ฮากกา ( จีนแคะ ) เป็นต้น
66
การก่อตัง้ หอการค้าจีน นอกจากทำ�หน้าทีห่ ลักในการเป็นศูนย์กลางประสาน งานด้านธุรกิจของเหล่าพ่อค้าชาวจีนด้วยกันเองแล้ว ยังดำ�เนินการด้านบรรเทาทุกข์ พวกลีภ้ ยั สงครามจากเซีย่ งไฮ้ จัดการแสดงผลิตภัณฑ์ของจีนทีก่ รุงเทพฯ ไกล่เกลีย่ การ นัดหยุดงาน ประสานงานกับรัฐบาลในเรือ่ งผูอ้ พยพชาวจีนซึง่ ภายหลังหอการค้าจีนก็ เปลีย่ นสถานะเป็นหอการค้าไทยในเวลาต่อมา ช่ ว งก่ อ นสงครามโลกครั้ง ที่. 2.รั ฐ บาลไทยสมั ย นั้น คื อ รั ฐ บาลโดยจอมพล ป.พิบลู สงครามเป็นนายกรัฐมนตรี รัฐบาลไทยมีนโยบายนิยมไทย โดยมีเป้าหมายหลัก ในการริดรอนและบั่นทอนสถานะความเป็นผู้นำ�ทางเศรษฐกิจของพ่อค้าชาวจีนและ ขณะเดียวในภาวะสงครามโลก รัฐบาลไทยโดยนายกรัฐมนตรีจอมพล ป.พิบลู สงคราม ได้เข้าร่วมเป็นพันธมิตรกับญีป่ นุ่ ประกาศสงครามกับฝ่ายสัมพันธมิตรสหรัฐอเมริกา อังกฤษ.ฯลฯ นอกจากนีจ้ อมพล.ป.พิบลู สงครามยังมีนโยบายในการทีจ่ ะทำ�ให้คนจีน ที่อาศัยอยู่ในประเทศไทยกลายเป็นพลเมืองไทยอย่างสมบูรณ์ซ่งึ ในห้วงเวลานี้พอสรุป เหตุการณ์ส�ำ คัญได้ดงั นี้ พ.ศ. 2481 รัฐบาลไทย ( จอมพล ป.พิบลู สงคราม นายกรัฐมนตรี ) ตัง้ บริษทั ข้าวไทย จำ�กัด.(.โดยรัฐบาลถือหุ้น.51%.).เข้าซื้อกิจการโรงสีของคนจีนหลายแห่งในกรุงเทพ บริษทั ฯ มีสทิ ธิพเิ ศษคือ ค่าขนส่งแบบรถไฟในการขนส่งข้าวจะได้ราคาถูกกว่า เพือ่ การแย่งชิงตลาดข้าวจากพ่อค้าข้าวของคนจีน นอกจากนีย้ งั ตัง้ สหกรณ์คา้ ข้าว เพือ่ ยึด ครองตลาดค้าข้าว พ.ศ. 2480 – 2481 ชาวจีนตัง้ สมาคมลับในประเทศไทย โดยมีวตั ถุประสงค์หลักในการ ต่อต้านญีป่ นุ่ เนือ่ งจากญีป่ นุ่ ได้ท�ำ การรุกรานประเทศจีน เข้ายึดครองและทำ�ทารุณ กรรมต่อชาวจีน ตามกระแสนิยมของชาวจีนในประเทศและโพ้นทะเล พ.ศ. 2482 รัฐบาลได้ออกพระราชบัญญัตติ า่ งๆในโครงการนิยมไทยมีวตั ถุประสงค์ เพือ่ ยึดคืนอาชีพต่างๆทีท่ �ำ โดยคนจีนกลับมาสูข่ องคนไทยคืนเช่น • พระราชบัญญัตสิ มั ปทานการทำ�รังนก โดยยึดคืนจากบริษทั ของคนจีน • อนุญาตให้หาบเร่ เฉพาะทีเ่ ป็นคนไทยเท่านัน้ ทีเ่ ข้าขายในบริเวณกระทรวงฯ และ ทีท่ �ำ การของรัฐ
67
• พระราชบัญญัติ เกลือ โดยการควบคุมผลผลิตและการเพิม่ ภาษี • พระราชบัญญัติ ยาสูบ เสียภาษี และการควบคุมภาวะอุตสาหกรรมยาสูบ • พระราชบัญญัตคิ วบคุมการฆ่าสัตว์เพือ่ การบริโภค • ป ระมวลรัษฎากรภาษีปา้ ย โดยกำ�หนดภาษีส�ำ หรับอักษรจีน จะแพงกว่าภาษีทจ่ี ดั เก็บจากป้ายทีม่ อี กั ษรไทยถึง 10 เท่าตัว • การออกใบอนุญาตขับรถแท็กซี่ โดยผูข้ ออนุญาตนัน้ ต้องเป็นคนไทยเท่านัน้ • พระราชบัญญัตกิ ารเดินเรือในน่านน้�ำ ไทย กำ�หนดไว้วา่ จะต้องมีคนไทยเข้าถือหุน้ กิจการอย่างน้อยร้อยละ 70 • ห้ามออกใบอนุญาตการทำ�ประมงแก่คนต่างด้าว • พระราชบัญญัตนิ �ำ้ มันเชือ้ เพลิง ควบคุมการนำ�เข้า การจำ�หน่ายและการกลัน่ รัฐบาล • ได้สร้างโรงกลัน่ น้�ำ มันแล้วเสร็จ บริษทั ชาวตะวันตก 2 แห่งต้องถอนตัว คนงาน ส่วนใหญ่ เป็นคนจีนถูกปลดจากงาน • พระราชบัญญัตโิ รงงานอุตสาหกรรม โดยกำ�หนดว่าโรงงานอุตสาหกรรมจะต้อง ถือหุน้ โดยบุคคลสัญชาติไทยอย่างน้อยร้อยละ 75 จอมพล.ป..พิบูลสงครามเรียกร้องให้คนไทย ผู้รักชาติกินอาหารที่ผลิตจาก โรงงานของคนไทยสรวมเสื้อผ้าจากผ้าไทย ให้คนไทยช่วยเหลือซึ่งกันและกันในการที่ จะเข้าสู่วงการค้าและอุตสาหกรรม อย่างไรก็ดีกฎหมายนิยมไทยก็ไม่ได้กระทบต่อชาวจีนที่เกิดในประเทศไทย เพราะถือว่าเป็นคนสัญชาติไทย แต่ในสังคมชาวจีนที่มีความคิดเชื้อชาตินิยมเห็นว่า การกระทำ�ของรัฐบาลเป็นการกลั่นแกล้งไม่เป็นธรรม ชาวจีนถูกลิดรอนสิทธิประกอบ กับชาวจีนจำ�นวนมากต้องตกงานตามกฎหมายนิยมไทย ทำ�ให้มีการก่อตั้งสมาคมลับ ที่กระทำ�การผิดกฎหมายเกิดขึ้น เช่นการลักลอบค้าของเถื่อน แก็งค์อั้งยี่(ที่อาศัยความ รักชาติเป็นข้ออ้าง) การลักพาตัวเพื่อเรียกค่าไถ่ การเปิดซ่องโสเภณี การกระทำ�ความ รุนแรงต่อผู้มีกิจกรรมทางธุรกิจกับญี่ปุ่น หรือเป็นธุรกิจของชาวญี่ปุ่น
68
อนึง่ ในพ.ศ. 2482 รัฐบาลกวดขันโรงเรียนทีส่ อนภาษาจีนและ หนังสือพิมพ์จนี โดยบังคับให้โรงเรียนจีน นักเรียนเรียนภาษาอืน่ ได้สปั ดาห์ ละ 2 ชัว่ โมง วิชาอืน่ ๆให้สอนเป็นภาษาไทย ทำ�ให้โรงเรียนจีนต้องปิดตัวไป ครัง้ เดียว 25 แห่ง มีประมวลรัษฎากรยกเลิกการเก็บภาษีรายหัว แต่จะต้อง จ่ายค่าธรรมเนียม 400 บาทแทน นอกจากทีม่ มี าตรการกดดันโรงเรียนจีน แล้ว หนังสือพิมพ์จนี สมาคมชาวจีน ธนาคารของชาวจีนก็ถกู คุกคามอย่าง หนัก หนังสือพิมพ์จนี เกือบทุกฉบับถูกปิด เหลือเพียงหนังสือพิมพ์จงุ หัวเป้า เท่านัน้ ..
พ.ศ. 2482 อี่กว่างเหยิน ประธานหอการค้าจีน ผู้มีความคิดเห็นต่อต้าน ญี่ปุ่น ถูกลอบสังหารและถูกใส่ร้ายว่าเขาเป็นหัวหน้าสมาคมลับ พ.ศ. 2482 ประธานาธิบดีเจียงไคเช็คได้ส่งโทรเลขจากนครจุงกิงร้องขอให้ รัฐบาลไทยคุ้มครองชีวิตและทรัพย์สินของชาวจีนในประเทศไทย และการ อนุญาตให้ชาวจีนประกอบอาชีพโดยไม่มีการรบกวน ( ในขณะที่ประเทศจีน ประสพปัญหาอยู่ ) จอมพล ป.พิบูลสงครามนายกรัฐมนตรีตอบกลับโดยฉับ พลันว่า รัฐบาลไทยให้ความเสมอภาคในการคุ้มครองอย่างดี แก่ทรัพย์สิน และการประกอบาอาชีพแก่ชาวต่างชาติทุกคน พ.ศ. 2483 โรงพยาบาลเทียนฟ้าที่หน้าทำ�การฝึกพยาบาล เพื่อส่งไปช่วย เหลือกองทัพของจีนในการต่อสู้กับกองทัพญี่ปุ่น ประธานโรงพยาบาล เทียนฟ้าถูกรัฐบาลเรียกตัวเข้าสอบสวน และเนรเทศออกจากประเทศไทย จอมพล ป.พิบูสงคราม นายกรัฐมนตรี ประกาศเขตหวงห้ามสำ�หรับ ชาวต่างด้าว ( ทั้งที่ห้ามไม่ให้เข้าและออก )ซึ่งได้แก่ ลพบุรี ปราจีนบุรี สัตหีบ อำ�เภอเมืองโคราช อุบลราชธานี และอำ�เภอวารินชำ�ราบ สินค้าของคนจีน ต้องขายให้หมดแก่คนไทยในราคาถูก ชาวจีนจำ�นวนมากอพยพเข้ามาใน กรุงเทพฯ การกระทำ�ของรัฐบาลที่แสดงความเป็นปรปักษ์ต่อชาวจีนใน พ.ศ. 2481 – พ.ศ. 2487 นี้ ทำ�ให้เกิดความขัดแย้งรุนแรงระหว่างชาวไทยและชาว จีนในเรื่องเชื้อชาติ
69
โรงเรียนเผยอิง
มูลนิธปิ อเต็กตึง้
70
สังคมจีนในประเทศไทยช่วงสงครามโลกครัง้ ที่ 2 ( ปี พ.ศ. 2484 – 2488 ) ....
วันที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2484 เริ่มการยึดครองของญี่ปุ่นในไทย ญี่ปุ่นกรีธา ทัพเข้าไทย รัฐบาลไทยเข้าร่วมเป็นพันธมิตรกับญี่ปุ่น มีการจับกุมชาวจีนที่ติดต่อ กับรัฐบาลจีนซึ่งถือเป็นคู่สงคราม ชาวจีนเองแบ่งเป็น2พวกคือ พวกที่เข้ากับฝ่าย ญี่ปุ่นเรียกว่า “พวกร่วมวงไพบูลย์” กับฝ่ายที่ต่อต้านญี่ปุ่นเข้ากับรัฐบาลจีนที่จุงกิง เรียกว่า “ฝ่ายเจียงไคเช็ค” • พ.ศ. 2485 ชาวจีนจำ�นวนมากถูกจับกุม เนรเทศออกจากแผ่นดินไทย ผูน้ �ำ ทาง สังคมเช่น ประธานหอการค้า ประธานมูลนิธิ ฯลฯ ถูกคำ�สัง่ ให้ถอดถอนจาก ตำ�แหน่ง การเบิกถอนเงินจากธนาคารของชาวจีนถูกคำ�สัง่ ให้ควบคุม ทำ�ให้ สมาคมจีนตกอยูใ่ นภาวะทีข่ าดสภาพคล่องทางเงินทุนหมุนเวียน พวกญีป่ นุ่ สัง่ ปิดหนังสือพิมพ์ จงหยวนเป้า ทีเ่ หลือฉบับเดียวในขณะนัน้ พวกญีป่ นุ่ เกณฑ์ชาว จีนเพือ่ เข้าไปทำ�ทางรถไฟร่วมกับเชลยศึก รัฐบาลไทยออกพระราชบัญญัตสิ งวน อาชีพคนไทย 27 ประเภท เช่น เครือ่ งเงิน เครือ่ งถม ทำ�ร่ม ดอกไม้เพลิง เป็นต้น • พ.ศ. 2486 ชาวจีนจำ�นวนมากยืน่ ขอแปลงสัญชาติ ( จากปกติปลี ะ 170 คน จนกลายเป็น 6,086 คน ) แสดงถึงสภาวะไม่มน่ั คงของชาวจีนทีอ่ าศัยอยูใ่ น ประเทศไทยมากขึน้ รัฐบาลออกพระราชบัญญัตหิ า้ มชาวจีนถือกรรมสิทธิท์ ด่ี นิ ( ซือ้ หรือเช่า ) • พ.ศ. 2487 ความกดดันคนจีนจากรัฐบาลไทยลดลงเมือ่ จอมพลป.พิบลู สงคราม พ้นจากตำ�แหน่งนายกรัฐมนตรี ขบวนการเสรีไทยเข้ามามีอ�ำ นาจในการบริหาร ประเทศ ขบวนการเสรีไทยมีการติดต่อกับรัฐบาลจีนทีจ่ งุ กิง • พ.ศ. 2488 ญีป่ นุ่ ประกาศยอมแพ้สงคราม ชาวจีนและขบวนการเสรีไทย ประกาศ ความเป็นผูม้ ชี ยั ในสงคราม ชาวจีนทีถ่ กู กดดันตลอดสงครามโลกได้เดินขบวน ฉลองชัยชนะบนถนนเยาวราช และมีการก่อจลาจลเกิดขึน้ บนถนนแต่สดุ ท้ายก็ สงบลง
71
สังคมจีนในประเทศไทยหลังสงครามโลกครัง้ ที่ 2 พ.ศ. 2489 ชาติมหาอำ�นาจผูช้ นะสงครามกำ�หนดในสนธิสญ ั ญาอนุญาตให้ตา่ งชาติ ( รวมถึงจีน ) สามารถเปิดโรงเรียนเพือ่ การศึกษาของตัวเอง ทำ�ให้โรงเรียนจีนกลับมา เปิดใหม่จ�ำ นวนมาก รัฐบาลจีนทีน่ านกิง มีการให้ทนุ นักศึกษาไทยเพือ่ เข้าเรียนใน มหาวิทยาลัยในประเทศจีน พ.ศ. 2490 ชาวจีนหลัง่ ไหลอพยพเข้ามาในประเทศไทยอย่างมากมาย อันเนือ่ งมาจาก ความอดอยากในประเทศจีนหลังสงคราม ความไม่สงบในประเทศจีนเนือ่ งจากสงคราม ปฏิวตั ขิ องรัฐบาลจีนเจียงไคเช็คกับพรรคคอมมิวนิสต์ ตลอดจนหญิงจีนและครอบครัว เดินทางหาญาติในแผ่นดินไทย พ.ศ. 2490 รัฐบาลไทย ดำ�เนินนโยบายควบคุมการเข้าเมืองอย่างผ่อนปรนและยุตธิ รรม จนในทีส่ ดุ รัฐบาลไทยต้องออกกฎหมายกำ�หนดอนุญาตให้คนจีนอพยพเข้าประเทศได้ ปีละไม่เกิน 10,000 คน วันที่ 8 พ.ย. 90 จอมพล ป.พิบลู สงครามทำ�การปฏิวตั กิ ลับเข้า บริหารประเทศใหม่อกี ครัง้ จอมพล ป.เองแสดงท่าทีท่ จ่ี ะออกกฎหมายในการควบคุม ชาวต่างชาติ ทำ�ให้ชาวจีนเกิดภาวะทีห่ วาดผวาอีกครัง้ พ.ศ. 2492 ( วันที่ 1 ตุลาคม ) กองทัพและของพรรคคอมมิวนิสต์จนี เข้ายึดครองปักกิง่ และประเทศจีนทัง้ หมดได้เป็นทางการ รัฐบาลจีนพรรคก๊กมินตัง้ ของจอมพลเจียงไคเช็ค ต้องลีภ้ ยั ไปตัง้ รัฐบาลผลัดถิน่ ทีเ่ กาะไต้หวัน พ.ศ. 2493 รัฐบาลมีนโยบายออกกฎหมายบังคับให้พลเมืองไทยรวมทัง้ ชาวจีนในราช อาณาจักรไทยแต่งกายอย่างชาวตะวันตก รัฐบาลไทยขณะนัน้ ก็มนี โยบายต่อต้าน คอมมิวนิสต์ พ.ศ. 2494 ประเทศจีนภายใต้การปกครองของพรรคคอมมิวนิสต์ มีการปฏิรปู ทีด่ นิ มีการ ทำ�ร้ายชาวจีนผูถ้ อื ทีด่ นิ เดิมซึง่ ชาวจีนเหล่านีส้ ว่ นใหญ่มญ ี าติเป็นชาวจีนโพ้นทะเล รวมทัง้ ชาว จีนทีอ่ าศัยอยูใ่ นประเทศไทย ดังนัน้ ทำ�ให้ชาวจีนในประเทศไทยเสือ่ มความนิยมลงต่อรัฐบาล จีนคอมมิวนิสต์อย่างมาก ภาวะความชาตินยิ มในเชือ้ ชาติของชาวจีนถดถอยลง อันเป็นเหตุ สำ�คัญในการผลักดันในความสำ�นึกเรือ่ งเชือ้ ชาติขาวจีนรุน่ ก่อนๆมาลดน้อยลงไป
72
พ.ศ. 2495 ชาวจีนโดยเฉพาะอย่างยิง่ ในจุลนครฯ เกิดการแบ่งแยกแตกกันเป็น 2 ฝ่าย ไม่วา่ ประชาคม – สมาคมต่างๆหนังสือพิมพ์ โรงเรียนแบ่งออกเป็นฝ่ายจีนคณะชาติ และฝ่ายทีน่ ยิ มรัฐบาลจีนของพรรคคอมมิวนิสต์ทป่ี กั กิง่ อธิบดีกรมตำ�รวจผูท้ รงอิทธิพล ของรัฐบาลสมัยนัน้ คือ พลตำ�รวจเอก เผ่า ศรียานนท์ ออกมาตรการเข้มงวดต่อชาวจีน มากขึน้ เช่น ออกกฎหมายเพิม่ ค่าธรรมเนียมคนเข้าเมืองจาก 200 บาท เป็น 400 บาท ทำ�ให้ชาวจีนส่วนมากเกิดปฏิกริ ยิ าอย่างรุนแรงมีการเดินขบวนต่อต้าน พ.ศ. 2495 พลตำ�รวจเอก เผ่า ศรียานนท์ อธิบดีกรมตำ�รวจ เสนอพระราชบัญญัตติ อ่ ต้านการกระทำ�การอันเป็นคอมมิวนิสต์และได้เห็นชอบจากสภานิตบิ ญ ั ญัติ โดยมีสาระ สำ�คัญ การกำ�หนดโทษสูงถึง 5–10 ปี มีการปิดหนังสือพิมพ์ทฝ่ี กั ใฝ่คอมมิวนิสต์ เช่น เทียนหมินเป้า หนานเฉินเป้า ชาวจีนจำ�นวนมากถูกตัดสินโทษตามพระราชบัญญัติ โดยไม่มกี ารไต่สวนหรือพิจารณา แล้วถูกให้เนรเทศออกไปจากแผ่นดินไทย สำ�หรับ ชาวจีนทีท่ �ำ งานในประเทศไทยกับการจะส่งเงินออกนอกประเทศ เพือ่ ให้ญาติทอ่ี ยู่ ประเทศจีนกระทำ�ได้ล�ำ บากยิง่ ขึน้ ชาวจีนทีน่ ยิ มฝ่ายก๊กมินตัง๋ ก็รว่ มรณรงค์ตอ่ ต้าน คอมมิวนิสต์ดว้ ย รัฐบาลจอมพล ป.พิบลู สงคราม ออกกฎหมายต่างๆทีม่ กี ารปฏิปกั ษ์ตอ่ ชาวจีน มากขึน้ ( พ.ศ. 2495 – พ.ศ. 2497 ) ในปี พ.ศ. 2495 รัฐบาลได้ออกกฎหมายพระราช บัญญัตทิ ด่ี นิ โดยระบุวา่ ในบริเวณทีด่ นิ ใกล้สถานีรถไฟ และถนนตัดใหม่เป็นทีส่ งวนไว้ สำ�หรับคนไทย และขับไล่ชาวต่างชาติ ( ชาวจีน ) ทัง้ หมดทีอ่ าศัยอยูใ่ นบริเวณนัน้ ออก ไป กระทรวงคมนาคมและการรถไฟแห่งประเทศไทยร่วมกันร่างโครงการทีจ่ ะไม่ให้มี การต่ออายุการเช่าทีด่ นิ เพือ่ ทำ�ยุง้ ข้าวทีม่ ชี าวต่างด้าวเป็นเจ้าของ และพยายามบังคับ พ่อค้าต่างด้าวให้ออกจากทีด่ นิ ของการรถไฟ เพือ่ ป้องกันไม่ให้คนไทยทีเ่ ช่าทีด่ นิ ของ รถไฟนำ�ไปให้ชาวต่างด้าวเช่าช่วงอีกต่อหนึ่งซึ่งมาตรการนี้ส่งผลให้ธุรกิจค้าข้าวต้อง หยุดชะงัก เพราะคนไทยเองก็ไม่มคี วามสามารถเข้าดำ�เนินการได้ ประกอบกับการ ประท้วงอย่างเป็นทางการจากสถานทูตของจีน ในทีส่ ดุ ชาวจีนเพียงแค่ถกู บังคับให้ เอาป้ายภาษาจีนออกจากบริเวณดังกล่าวเท่านัน้ รัฐบาลกำ�หนดว่าคนไทยเท่านัน้ ที่ สามารถเช่าทีด่ นิ ของทรัพย์สนิ ส่วนพระมหากษัตริยไ์ ด้ รวมถึงคนไทยทีม่ บี ดิ าเป็นคน ต่างด้าวและใช้นามสกุลต่างด้าว ( เช่นใช้แซ่ ) มิให้มสี ทิ ธิในทีด่ นิ ไม่วา่ รูปแบบใด ..
..
..
..
73
พ.ศ. 2495 ได้ออกกฎหมาย เรือ่ งการแปลงสัญชาติโดยเพิม่ ข้อกำ�หนดลงไปว่า ผูจ้ ะขอ แปลงสัญชาติเป็นสัญชาติไทยนัน้ ให้เพิม่ จากทีเ่ คยกำ�หนดไว้วา่ อาศัยอยูแ่ ล้วจากระยะ 5 ปี เพิม่ เป็นระยะเวลา 10 ปี โดยไม่มกี ารขาดช่วงตอน และต้องมีความรูภ้ าษาไทยตาม ทีร่ ะบุไว้ในบทบัญญัตขิ องคณะรัฐมนตรี พ.ศ. 2496 รัฐบาลได้ออกพระราชบัญญัตสิ ญ ั ชาติไทย มีสาระสำ�คัญว่า“บุคคลทีเ่ กิดใน ประเทศไทย ถ้าไม่มบี ดิ าหรือมารดาทีเ่ ป็นคนไทย ไม่ถอื ว่าเป็นบุคคลสัญชาติไทยได้” รัฐบาลออกกฎหมายว่าด้วยระเบียบการประปาเทศบาลกรุงเทพมหานครให้ คนไทยได้สทิ ธิตอ่ ท่อเพือ่ ใช้น�ำ้ ประปาก่อน ห้ามใช้เครือ่ งขยายเสียง หรือทำ�การโฆษณาเป็นภาษาต่างประเทศ ( โดยเกรง ว่าเป็นการก่อให้เกิดการโฆษณาชวนเชือ่ ของพวกนิยมคอมมิวนิสต์ ) ห้ามคนจีนอาศัย อยูใ่ นพืน้ ทีบ่ ริเวณทีม่ กั เกิดเพลิงไหม้ ห้ามการแสดงงิว้ ในทีส่ าธารณะ พ.ศ. 2498 พระองค์เจ้าวรรณไวทยากร ได้มกี ารพบปะกับนายกรัฐมนตรี โจวอินไหล ของจีนทีบ่ นั ดุง ประเทศอินโดนีเซีย ทำ�ให้รฐั บาลไทยเข้าใจถึงบทบาททางด้านต่าง ประเทศของสาธารณรัฐประชาชนจีนทีป่ กั กิง่ ได้ดยี ง่ิ ขึน้ จอมพล ป.พิบลู สงครามก็มนี โย บายทีผ่ อ่ นคลายต่อชาวจีนในประเทศไทยมากขึน้ พ.ศ. 2499 รัฐบาลได้ออกพระราชบัญญัตสิ ญ ั ชาติไทย ฉบับแก้ไข พ.ศ. 2496 โดย กำ�หนดให้บคุ คลทีเ่ กิดในประเทศไทยมีสญ ั ชาติไทย โดยอัตโนมัติ ( ไม่วา่ บิดา มารดา จะเป็นคนต่างด้าวก็ตาม ) บุคคลมีสญ ั ชาติไทยโดยกำ�เนิดมีสทิ ธิและหน้าทีข่ องพลเมือง ทางกฎหมายไทยทุกประการ ไม่วา่ การมีหน้าทีก่ ารเข้าเรียนตามการศึกษาภาคบังคับ การรับราชการทหารของชายไทย การเลือกตัง้ หรือการสมัครรับเลือกตัง้ สำ�หรับชาว จีน ( รวมทัง้ ชาวต่างประเทศอืน่ ๆ ) ทีเ่ ป็นบุคคลต่างด้าว รัฐบาลก็ลดค่าธรรมเนียมคน ต่างด้าวเหลือ 1,000 บาท กฎหมายทีเ่ นรเทศออกจากแผ่นดินไทยสามารถอุทธรณ์ได้ ..
..
พ.ศ. 2502 รัฐบาลจอมพล ป.พิบลู สงคราม ถูกโค่นล้มจากการปฏิวตั ขิ องจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ รัฐบาลไทยเพิม่ ความร่วมมือกับสหรัฐอเมริกาในการต่อต้านคอมมิวนิสต์โดย เฉพาะจีนและโซเวียตรัสเซีย พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยทีไ่ ด้รบั การสนับสนุน จากสาธารณรัฐประชาชนจีนทำ�การสูร้ บกับกองทัพของรัฐบาลไทย จีนคณะชาติท่ี
74
ไต้หวันเป็นรัฐบาลจีนเดียวทีถ่ กู ต้องตามกฎหมาย แต่ อย่ า งไรก็ ดี ช าวจี น และบุ ต รหลานชาวจี น เริ่ ม ปรั บ ตั ว กลมกลืนเข้ากับประชาชนชาวไทยได้เป็นอย่างดีข้ึนแล้ว จากบุตรหลานชาวจีนค่อยๆกลายมาเป็นชาวไทยเชื้อสาย จีน เข้าร่วมกับรัฐบาลไทยในการดำ�เนินชีวติ และร่วมพัฒนา ประเทศตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติทุก ฉบับด้วยดีเสมอมา ชาวจีนในจุลนครฯ ก็เฉกเช่นชาวจีนทัว่ ประเทศเพียงแต่วา่ จุลนครฯ เป็นแหล่งทีม่ าของชุมชนชาว จีนอยูอ่ าศัยมาร่วมสองศตวรรษ แม้วา่ จะมีการเปลีย่ นแปลง เชิงสิง่ แวดล้อม ด้านกฎหมายและการกลืนตัวของชาติพนั ธุ์ แต่โครงสร้างของวัฒนธรรม สังคม ประเพณี ตลอดค่านิยม ต่างของชนชาวจีนทางใต้โดยเฉพาะอย่างยิ่งชาวแต้จ๋ิวยัง ปรากฏอยูอ่ ย่างชัดเจนเสมอมา กรกฎาคม พ.ศ. 2518 ม,ร,ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช นายกรัฐมนตรีคนที่ 18 เดินทางไปประเทศจีน เพือ่ สถาปนา ความสัมพันธ์ทางการทูตอย่างเป็นทางการ นับจากนัน้ มา ความสัมพันธ์ระหว่างไทยและประเทศจีนก็ดำ�เนินต่อมา อย่างแน่นเฟ้น ความเจริญก้าวหน้าทัง้ สงคมและเศรษฐกิจ ในเวลาต่อมาของประเทศสาธารณประชาชนจีน ทำ�ให้จนี กลายเป็นมหาอำ�นาจอันดับต้นๆของโลก ในปี พ.ศ. 2553 ประเทศไทยและจีนมีมลู ค่า ทางการค้าสูงเป็นอันดับ 2 ( รองจากญีป่ นุ่ ) มีมลู ค่าทางการ ค้าถึง 58,000 ล้าน เหรียญสหรัฐ จีนได้เป็นผูช้ ว่ ยเหลือด้าน เศรษฐกิจและการศึกษาแก่ไทยฐานะมหามิตร ดังนัน้ ทำ�ให้ เริม่ มีการสนใจศึกษาภาษาจีนขึน้ มาใหม่ ศักดิศ์ รีและการ ยอมรับของคนจีนหรือคนไทยเชือ้ สายจีน ก็เป็นทีย่ อมรับ มากขึน้ ในสายตาประชาคมชาวไทย
75
ทัศนคติชาวไทยเชื้อสายจีนในจุลนคร ชาวจีนที่อาศัยอยู่ในประเทศไทยไม่ว่าเป็นผู้อพยพเข้ามา หรือแม้กระทั่ง ผู้ที่เกิดในประเทศเป็นพลเมืองในประเทศไทย ลูกหลานยังคงใช้แซ่สืบทอดตาม ธรรมเนียมจีน การศึกษาก็ยังนิยมส่งไปเรียนในโรงเรียนที่สอนภาษาจีนเป็นหลัก ประเพณีต่างๆก็ยังมีความเป็นประเพณีจีนอย่างเคร่งครัด ภายหลังนโยบายชาตินิยม ไทย และนโยบายปฏิปักษ์ต่อชนชาวจีนทำ�ให้ชาวจีนที่อาศัยอยู่ในประเทศไทยต้อง ปฏิรูปอนาคตของบุตรหลานรวมทั้งตนเองใหม่ ประกอบกับเมื่อรัฐบาลจีนคอมมิวนิสต์ ปกครองแผ่นดินใหญ่ รัฐบาลจีนคณะชาติเองที่ไต้หวันเองก็ยังไม่ค่อยแข็งแรง การ อพยพของชาวจีนก็สิ้นสุดลง รัฐบาลใหม่ก็มีนโยบายต่อต้านคอมมิวนิสต์อย่างจริงจัง ศักดิ์ศรีของการเป็นชาวจีนถูกริดรอนรอบด้าน ดังนั้นชาวจีนที่อาศัยอยู่ในเมืองไทย จึงต้องหาทางปรับตัว ปรับทัศนคติใหม่โดยกำ�หนดอนาคตของบุตรหลานที่จะต้อง เติบโตขึ้น เพื่อที่จะเป็นพลเมืองไทยอยู่ภายใต้กฎหมายและสิ่งแวดล้อมเช่นเดียวกับ ประชาชนชาวไทยต่อไป ในกรณีผเู้ ขียนเองบรรพบุรษุ รุน่ ปูท่ วดได้เดินทางเข้ามาในแผ่นดินไทยในสมัย รัชกาลที่ 5 โดยมีครอบครัวอยูท่ ป่ี ระเทศจีน ภายหลังปูก่ เ็ ดินทางเข้ามาในประเทศไทย โดยทิง้ ครอบครัวไว้ทป่ี ระเทศจีนเช่นกัน ตลอดเวลาทัง้ สองใช้ชวี ติ ในจุลนครฯอย่างคนจีน ไม่วา่ ความเป็นอยูห่ รือวัฒนธรรมขนบธรรมเนียมประเพณี ไม่มคี วามแตกต่างจากในสิง่ แวดล้อมดัง่ เช่นอาศัยอยูใ่ นประเทศจีน ส่วนบิดาได้เดินทางเข้ามาประเทศไทยในช่วง หลังการเปลีย่ นแปลงการปกครองแล้ว ในสมัยนัน้ ชาวจีนทีเ่ ข้ามาในประเทศไทยต้อง ดำ�เนินชีวติ ภายใต้กฎหมายทางรัฐบาลไทยอย่างเคร่งครัด วัฒนธรรมบางอย่างก็ตอ้ ง ปรับตัวให้เข้ากับการเป็นพลเมืองในประเทศไทย ประกอบกับบิดาเป็นผูท้ ม่ี กี ารศึกษา มาบ้าง มีความเข้าใจและพยายามทีจ่ ะปรับตัวให้เข้ากับสังคมและกฎหมายของแผ่นดิน ไทย เช่น การเรียนรูภ้ าษาไทย ทัง้ การอ่าน เขียน การพูดโดยสมัครเรียนทีก่ ระทรวง ศึกษาธิการจนจบชัน้ ประโยคประถมศึกษา การเตรียมตัววางแผนอนาคต และการศึกษา ของบุตร ( คือรุน่ ของผูเ้ ขียน ) ให้สอดคล้องกับเปลีย่ นแปลงทางสังคมในประเทศไทยเช่น เมือ่ ลูกๆเริม่ การศึกษาชัน้ ประถมจากโรงเรียนภาษาจีน เพือ่ ให้มคี วามรูด้ า้ นภาษาจีน ติดตัวไว้บา้ ง หลังจากนัน้ ก็ให้ลกู ๆเรียนต่อในชัน้ มัธยมในโรงเรียนของรัฐ และจนกระทัง่ จบอุดมศึกษาในมหาวิทยาลัยทุกคน ดังนัน้ ลูกๆทุกคนมีพน้ื ฐานของภาษาจีน รูจ้ กั
76
ขนบธรรมเนียม วัฒนธรรมจีน และพร้อมที่สามารถก้าวไปข้างหน้าในสังคมไทยได้ อย่างราบรื่นและมั่นคง นอกจากนี้บิดายังดำ�เนินการตั้งนามสกุลไทย และตั้งชื่อภาษา ไทยให้ลูกๆทุกคนแทนชื่อและนามสกุล (แซ่)จีนตามกำ�เนิด เพื่อให้มีความสะดวกใน การเข้าศึกษา การติดต่อราชการ หรือการทำ�นิติกรรมทางกฎหมายต่างๆซึ่งในสมัย นั้นจำ�เป็นอย่างยิ่ง แม้ว่าครอบครัวจะดำ�เนินชีวิตตามแบบจารีตประเพณีจีนอย่างเข้ม งวดดั่งเช่นชาวจีนต่างๆที่อาศัยอยู่ในประเทศไทยในสมัยนั้น แต่ถ้าประเพณีอะไรที่ไม่ สอดคล้องกับสถานการณ์หรือภาวะเศรษฐกิจ ท่านก็ให้ยกเว้นได้ ท่านยังสนับสนุน ในการรับเอาวัฒนธรรมประเพณีไทยหรือศาสนาพุทธมาใช้ร่วมด้วย แม้กระทั่งวาระ สุดท้ายท่านยังสั่งเสียให้บุตรหลานดำ�เนินการงานศพตามพิธีกรรมทางศาสนาพุทธ แทนการนำ�ศพไปฝังในฮวงซุ้ยตามจารีตนิยมของชาวจีนทั่วไป ผู้ เ ขี ย นถื อ ได้ ว่ า เป็ น บุ ต รหลานของชาวจี น อพยพที่ ต้ อ งปรั บ ตั ว เพื่ อ ที่ เ ป็ น ประชากรไทยที่มีเชื้อสายจีน แม้นว่าจะได้ร่ำ�เรียนหนังสือในโรงเรียนของรัฐ เรียน มหาวิทยาลัยของรัฐ ( ึ่งไม่ได้อยู่ห่างจากจุลนครฯมากนัก ) ผู้เขียนก็มีการซึมซับ ขนบธรรมเนียม วัฒนธรรมจีนได้อย่างไม่ว่าโดย วิถีปฏิบัติ นิทาน นิยาย วรรณกรรม ประวัติศาสตร์จีน ตลอดจนภาษา ผู้เขียนนอกจากที่ได้เรียนรู้จากสังคม จากบิดาที่ เป็นนักหนังสือพิมพ์จีนได้ช่วยสอนสั่งให้หรือจากการเล่าสู่ให้ฟัง ซ
ประมาณปี พ.ศ. 2500 สื่อสำ�คัญอันหนึ่ง ทำ�ให้เรียนรู้เรื่องราวต่างๆเกี่บวกั บวัฒนธรรมจีน ได้อย่างดีคือ วิทยุส่งเรียงตามสาย(คล้ายๆกับเคเบิลทีวีสมัยนี้ แต่ออก รายการทางเสียง)มีเพียง 2 ช่อง คือ ช่องภาษาไทย และช่องภาษาจีนแต้จิ๋ว ให้กับ สมาชิก เนื้อหาโดยเฉพาะภาษาจีน (แต้จิ๋ว) จะออกอากาศมีสาระเช่น การเล่านิทาน เพลง การเล่าเรื่องนิยาย หรือวรรณกรรมจีน เช่น ซิยิ่นกุ๊ย ขุนศึกตระกูลหยาง ความ รักในหอแดง สามก๊ก ห้องสิน ฯลฯ วิธีการเล่าเรื่องจะเหมือนกับการอ่านฉันทลักษณ์ซึ่ง เรียกว่า“กัวแฉะ” (แปลว่า การร้องลำ�นำ�เล่าเรื่อง) ผู้เขียนฟังทุกวันจนจำ�ได้ ตลอดเวลา เกือบสิบปีในวัยเด็กที่จำ�ความได้ สมัยเด็กๆมารดามักพาไปดูงิ้วที่โรงงิ้วบนถนนเยา ราช แม้ว่าในวัยเด็กผู้เขียนอาจไม่ค่อยเข้าใจถึงเรื่องราวหรือลีลาสักเท่าใด แต่เมื่อภาย หลังได้ศึกษาเรียนรู้เรื่องราวมากขึ้นก็สามารถที่ให้เห็นถึงจิตวิญญาณของวัฒนธรรม จีนเหล่านี้ได้บ้าง นอกจากนี้ผู้เขียนได้เรียนรู้วัฒนธรรมและภาษาจากโรงเรียนในชั้น ประถม แม้ว่าใช้เวลาเรียนไม่กี่ปี อีกทั้งรัฐบาลก็ควบคุมอย่างเข้มงวด(ตามนโยบาย
77
ปราบปรามคอมมิวนิสต์ของรัฐบาลไทย การใช้ภาษาจีนโดยเฉพาะอย่างยิ่งภาษา จีนกลางก็ไม่มีการใช้การติดต่อสื่อสารในการทำ�งานหรือการดำ�เนินชีวิต ทำ�ให้ทักษะ ด้านภาษาจีนจางหายไปมาก แต่อย่างใดก็ดีสิ่งเหล่านี้ก็ยังเป็นพื้นฐานเมื่อกลับมา ศึกษาเพิ่มเติม ในชัน้ ประถมผูเ้ ขียนเรียนโรงเรียนจีนชือ่ สว่างวิทยา (ชีก่ วงกงเซีย๊ ะ)ซึง่ เป็นโรงเรียนของสมาคมชาวไหหลำ�ทีน่ ยิ มคอมมิวนิสต ( ถ้าเป็นโรงเรียนจีนของสมาคม ไหหลำ�ทีน่ ยิ มจีนคณะชาติคอื โรงเรียนยกหมิน่ ) ภาษาจีนที่สอนแบ่งเป็น 3 หมวดใหญ่ คือ กัวะอวี่ เรียนเรื่อง การใช้ภาษาจีนและวรรณคดีจีน ฉางเซอะ เรียนเรื่องภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ จริยาศึกษา ฯลฯ เฉอะตุ๊ และเจ่าหวน เรียนเกี่ยวกับการเรียงความ การ เขียนจดหมาย ฯลฯ ผู้เขียนรู้สึกว่านักเรียนประถมสมัยนั้นต้องเรียนหนักมาก เนื้อหา ค่อนข้างมากเกินวัย แต่จริงๆแล้วมันเป็นหลักสูตรมาตรฐานของโรงเรียนจีนชั้นประถม ต้นบนพื้นฐานเดียวกันไม่ว่าในมลายูหรือสิงคโปร์ ตอนผู้เขียนเรียนชั้นประถมที่ 4 พ.ศ. 2502 รัฐบาลจอมพลสฤษฎิ์ ธนะรัชต์ปฏิวัติออกกฎหมายกวาดล้างคอมมิวนิสต์ หนังสือจีนที่เขียนด้วยอักษรย่อ ตามแบบสาธารณประชาชนจีนห้ามใช้ไม่ว่าจะตีพิมพ์ หรือแม้กระทั่งการคัดเขียน ทำ�ให้การเรียนภาษาจีนของลูกหลานชาวจีนเข้าสู่วิกฤติ ในรุ่นต่อๆมาการเรียนการสอนภาษาจีนเหลืออยู่น้อยมากในประเทศไทย ในปีต่อมาพ.ศ. 2503 เริ่มใช้แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับ ที่ 1 ได้มีการขยายการศึกษาระดับประถมศึกษาเป็น 7 ปี คือขยายการศึกษาระบบ ประถมศึกษาจากประถมศึกษาปีที่ 4 เป็นประถมศึกษา 7 โรงเรียนที่สอนภาษาจีนไม่ อนุญาตให้เปิดการเรียนการสอนออกไปตามหลักสูตรประถมศึกษาใหม่(ประถมศึกษา ปีที่7)โดยให้สิ้นสุดแค่ประถมศึกษาปีท 4 เท่านั้น นักเรียนที่จบการศึกษาประถมศึกษา ปีที่4ต้องไปต่อยังโรงเรียนประถมศึกษาของรัฐที่ตั้งขึ้นใหม่ซึ่งเปิดสอนตั้งแต่ประถม ศึกษาปีที่ 5 ถึงประถมศึกษาปีที่ 7 เรียกโรงเรียนที่สอนในหลักสูตรนี้ว่า “โรงเรียน ประชาบาล” ึ่งพึ่งจะก่อตั้งขึ้นครั้งแรกตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่1ว่าด้วยการขยายการศึกษาภาคบังคับระดับประถมศึกษาไปถึงประถมศึกษา 7 โรงเรียนจะสอนภาษาต่างประเทศอย่างเดียวคือ ภาษาอังกฤษ ดังนั้นที่สอนภาษาต่าง ประเทศที่เป็นภาษาอังกฤษก็ไม่ประสพปัญหา ผู้เขียนก็ต้องเข้าโรงเรียนเรียนต่อใน โรงเรียนประชาบาลจนจบชั้นประถมศึกษาตอนปลาย ( ประถมปีที่ 7 ) เพื่อไปศึกษาชั้น มัธยมศึกษาต่อไป ในโรงเรียนประชาบาลที่ผู้เขียนเรียนนั้นตั้งอยู่ในวัดพลับพลาไชย หรือวัดคอก วัดในสมัยนั้น.(.ที่อยู่ในจุลนครฯ.).เป็นวัดที่ค่อนข้างยากจนพระเณรก็ ซ
78
จำ�พรรษาน้อย ชาวจีนไม่ค่อยมีส่วนร่วมกับพุทธศาสนากุฏิศาลา..โบสถ์ วิหารอยู่ในสภาพค่อนข้างทรุดโทรม ภายหลังทัศนคติของชาวจีนต่อความ เชื่อทางพุทธศาสนาเปลี่ยนแปลงไปมาก ชาวจีนเข้ามาอุปถัมภ์และดำ�เนิน ประกอบศาสนกิจในวัดพุทธศาสนามากขึ้น ปัจจุบันวัดต่างในจุลนครฯ กลายเป็นวัดที่มีฐานะการเงินที่ดี. .มีศาสนาสถาน..สิ่งปลูกสร้างสวยงาม ใหญ่โตอลังการ จากโรงเรียนประชาบาลที่สอนเด็กในการศึกษาภาคบังคับ โรงเรียนในจุลนครฯจะแบ่งเป็นบุตรหลานที่เป็นเชื้อสายไทยอยู่ประมาณร้อย ละ 10 ส่วนใหญ่เป็นบุตรหลานของเจ้าหน้าที่หรือพนักงานของรัฐ ผู้ประกอบ อาชีพที่บังคับให้เฉพาะคนไทย..เช่น คนขับแท็กซี่ คนขับรถราง ฯลฯ คนพวก นี้ส่วนใหญ่เกือบทั้งหมดเรียนจบแล้วจะย้ายออกจากจุลนครฯ ส่วนพวกเชื้อ สายจีนที่พ่อแม่ไม่มีกิจการค้าในจุลนครฯ.ร้อยละ.20 ศึกษาต่อสูงขึ้นไปจน จบมหาวิทยาลัยเกือบทั้งหมดมีฐานะการงานและสังคมอยู่ในระดับสูงและ เกือบทั้งหมดย้ายถิ่นฐานออกจากจุลนครฯ ประชากรเชื้อสายจีนที่พ่อแม่ มีกิจการค้าในจุลนครฯ และไม่เรียนต่อมัธยมมีประมาณร้อยละ 50 พวกนี้ ร้อยละ 10 ที่อาศัยและทำ�งานต่อในจุลนคร (.ร้อยละ 5 ของประชากร.) ส่วน ที่เหลือร้อยละ 20 เป็นบุตรหลานของเจ้าของธุรกิจในจุลนครฯ มีเพียงหนึ่ง ในสี่ที่ยังอาศัยอยู่และทำ�ธุรกิจการค้าในจุลนคร ดังนั้นโดยสรุปมีเพียง ประมาณไม่เกินร้อยละห้าเท่านั้นที่ยังคงอาศัยและประกอบอาชีพอยู่ในจุ ลนครฯ.แห่งนี้สำ�หรับชาวไทยเชื้อสายจีนในรุ่นเดียวกับผู้เขียน ตัวเลขนี้ จะปรากฏในลักษณะนี้ถดถอยเรื่อยๆเนื่องจากข้อจำ�กัดของสถานที่ประกอบ การค้าและที่พักอาศัยของจุลนครฯ..และค่านิยมของประชาคมในรุ่นต่อๆมา นิยมที่จะศึกษาต่อจนจบอุดมศึกษาแม้กระทั่งจบการศึกษาจากต่างประเทศ ทำ�ให้ประชากรจุลนครฯส่วนใหญ่จะย้ายออกจากพื้นที่ แม้กระทั่งพ่อแม่มี กิจการอยู่ก็ตาม เนื่องจากการขยายตัวอย่างรวดเร็วของเศรษฐกิจและการ คมนาคมกรุงเทพฯและต่างจังหวัดอันเป็นมูลเหตุให้เกิดการย้ายออกจากสถิติ ประชากรของเขตสัมพันธวงศ์ และป้อมปราบศัตรูพ่าย ปรากฏว่า ประชากร มีอัตราเพิ่มติดลบเกือบทุกปี +
79
วัฒนธรรม ประเพณีชาวจีนในจุลนครฯปัจจุบันชาวจีนรุ่นที่ 2 ขึ้นไป ซึ่งมีอยู่ประมาณร้อยละ 50 ยังมีการถือปฏิบัติตามจารีตประเพณีวัฒนธรรม จีนที่ผสมผสานกับวัฒนธรรมไทยและตะวันตกอย่างกลมกลืน นอกจากนี้ชาว ไทยเชื้อสายจีนรุ่นที่ 3 แม้ว่ามีกระแสตะวันตกและวิทยาการสมัยใหม่เข้ามา มาก ความแข็งแกร่งอันยาวนานของโครงสร้างของวัฒนธรรมจีนโพ้นทะเล ทำ�ให้ประเพณีวัฒนธรรมจีนไม่เสื่อมคลายจากดินแดนจุลนครฯหัวเมืองที่มีบุตร หลานชาวจีนอาศัยอยู่มากตลอดไป แม้ว่าจะมีกระแสวัฒนธรรมจากภายนอก เทคโนโลยีสมัยใหม่ ค่านิยมที่มีผลต่อทัศนคติของประชาคมเปลี่ยนไปซึ่งมี ผลกระทบต่อวิถีชีวิตของประชาคนชาวจุลนครฯ แห่งนี้ก็ตาม +
80
81
บรรพสอง พลวัตรแห่งกระแสสู่วาณิชย์มหภาค ตั้งแต่ชุมชนชาวจีนได้ย้ายจากท่าเตียนและแถวบริเวณก่อสร้างพระบรมราชวัง ในสมัยรัชกาลพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก มาตั้งถิ่นฐาน ณ บริเวณ คลองสำ�เพ็ง และคลองจักรวรรดิ ทำ�ให้ก่อเกิดตลาดของชุมชนเกิดขึ้น ตลาดในระยะ เริ่มแรกจะเป็นสถานะของตลาดที่เกิดขึ้นเพื่อการอุปโภคบริโภคของชุมชนเอง เช่น การ ค้าขายข้าวสาร หรือตรอกข้าวสาร การค้าขายเนื้อสุกร หรือตรอกโรงหมู เป็นต้น มีการ ค้าขายเกษตร เช่น การปลูกผัก ในเขตบริเวณรอบๆเช่น โรงถั่วงอก หรือตรอกถั่วงอก ในบริเวณแถววัดคณิกาผล ตรงข้ามกับโรงพักพลับพลาไชย หรือสวนกุ่ยไช่ย ( กุยไช่ย ฮึ้ง ) คือบริเวณสามแยกที่ไปยังวงเวียน 22 กรกฎา เป็นต้น นอกจากนี้สินค้าพืชผลจาก ต่างจังหวัดก็ขนส่งมาขายโดยอาศัยแม่น้ำ�เจ้าพระยาและลำ�คลองต่างๆที่เข้ามาสู่บริเวณ นี้ไม่ว่าจะเป็นพืชไร่ พวกมัน ข้าวโพด ถั่วต่างๆข้าวสาร สินค้าจากของป่า เช่น พวก ครั่ง,รังนก ฯลฯ จะเรียกได้ว่าสินค้าอุปโภคบริโภคที่เกินจากที่บริโภคหรืออุปโภคเกือบ ทั้งหมดที่หาได้จากภูมิภาคต่างๆก็หลั่งไหลเข้ามาในตลาดแห่งนี้เพราะเป็นตลาดขายส่ง แห่งเดียวที่มีอยู่ในประเทศ ทำ�ให้ตลาดขยายตัวจากการขายของริมแม่น้ำ�ลำ�คลอง เกิด ร้านรวงริมคลองและมีโกดังคลังเก็บสินค้าเกิดขึ้น ไม่ว่าบนบกใกล้แม่น้ำ� หรือโกดังริม ฝั่งแม่น้ำ�เจ้าพระยา สินค้าเหล่านี้เมื่อเข้ามาเป็นจำ�นวนมากเกินกว่าจะขายออกไปเพื่อ การอุปโภคบริโภคภายในประเทศก็ก่อให้เกิดการส่งออกไปสู่ต่างประเทศซึ่งส่วนใหญ่ เป็นประเทศจีนซึ่งต้องการสินค้าเหล่านี้อย่างมาก ขณะเดียวกันเรือสำ�เภานอกจากพา ผู้อพยพชาวจีนเข้ามาสยามแล้วก็ยังนำ�สินค้ามาจำ�หน่าย สินค้านำ�เข้าที่สำ�คัญก็ได้แก่ พวกผ้าไหมแพรพรรณ พวกเครื่องเคลือบดินเผา วัสดุก่อสร้าง อัญมณีต่างๆฯลฯซึ่งลูกค้า
ประชากรจีนในกรุงเทพฯ ยุคต้นกรุงรัตนโกสินทร์ มากับสำ�เภาจีนที่ขึ้นล่องไปมาระหว่างสยามกับเมืองตอนใต้ของจีน (บน) วาดโดย ดร.จอร์ช ฟินเลย์สัน (George Finlayson)
82
ที่จะซื้อหาสินค้าเหล่านี้ที่สำ�คัญที่สุดคือ ราชสำ�นักฯ ข้าราชบริพาร เจ้าสัวเศรษฐี หรือผู้ ประกอบการค้าร่ำ�รวย ชาวบ้านทั่วไปไม่มีโอกาสได้สัมผัสกับสินค้าเหล่านี้ได้ ทำ�ให้เกิด ร้านรวงสินค้าในย่านนี้เกิดขึ้นมาก เมื่อเรือสำ�เภาสินค้าได้ขายสินค้าหมดแล้ว ก็จะซื้อ สินค้าเกษตรไม่ว่าจะเป็นข้าว อ้อย เครื่องเทศ ของป่าต่างๆฯลฯ เพื่อกลับไปขายในเมือง จีน ทำ�ให้บริเวณนี้กลายเป็นศูนย์กลางของธุรกิจนำ�เข้าและส่งออกของประเทศ ชาวจีน นอกจากทำ�หน้าที่เป็นพ่อค้าที่ทำ�การค้าขายตัวกลางในการนำ�เข้าและส่งออกสินค้า จากประเทศจีนแล้ว ชาวจีนบางคนยังทำ�หน้าที่เป็นข้าราชการเพื่อการให้คำ�ปรึกษา และดำ�เนินการทางการค้าขายระหว่างประเทศกับราชสำ�นักฯ และยังให้การปรึกษาใน การบริหารงานจัดการด้านภาษี และงานจัดเก็บรายได้ของแผ่นดิน บางครั้งก็เป็นการ ทำ�หน้าที่รับช่วงดูแลจัดการบริหารงานจัดเก็บภาษีรายได้ และจัดแบ่งผลประโยชน์ที่ได้ กันกับรัฐเช่น บทบาทของนายอากร การเปิดบ่อน โรงหวย เป็นต้น ทำ�ให้ชาวจีนเหล่า นี้มีความมั่งคั่ง ร่ำ�รวยอย่างมากซึ่งบางครั้งเจ้าสัวยังรวยยิ่งกว่าองค์พระมหากษัตริย์เอง เสียอีก ยกตัวอย่าง พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย รัชกาลที่ 2 ทรงพระราช นิพนธ์กาพย์ถึงเจ้าจอมมารดาอำ�ภาบุตรสาวของ “พระอินทรอากร”ซึ่งเป็นเจ้าสัวนาย อากร ว่า
สายหยุดพุดจีบจีน ทั้งวังเขาชังนัก
เจ้ามีสินพี่มีศักดิ์ แต่พี่รักเจ้าคนเดียว
แสดงให้เห็นว่าแม้กษัตริย์เองก็รู้ว่าพระองค์เองยังร่ำ�รวยน้อยกว่านายอากร เสียอีก นอกจากนี้ในรัชสมัยสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 3 ( แด่ครั้งดำ�รงพระ ยศเป็นพระเจษฎาบดินทร..)..ให้ร่วมมือกับชาวจีนทำ�การค้าสำ�เภาจนเป็นทำ�ให้ราช สำ�นักฯมีความมั่งคั่งยิ่งขึ้น การค้าขายของชาวจีนเจริญรุ่งเรืองขึ้นเป็นลำ�ดับแม้นมี การปรับเปลี่ยนระบบจัดเก็บภาษีในสมัยสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่.4..อัน สืบเนื่องมาจากกระแสการล่าอาณานิคมและแสวงหาผลประโยชน์ของชาวตะวันตก หลั่งไหลเข้าสู่ภูมิภาค สยามเองก็ถูกผลกระทบเข้าไปด้วยที่เห็นได้ชัดคือการถูกบีบ ให้ต้องทำ�สนธิสัญญาเบาว์ริ่งเพื่อเปิดการค้าเสรีกับอังกฤษและการให้เอกสิทธิด้าน การปกครองแก่ชาวอังกฤษที่เรียกสิทธิสภาพนอกอาณาเขตซึ่งต่อมาก็มีสนธิสัญญา ลักษณะเดียวกันเกิดขึ้นกับชาติตะวันตกอื่นๆ.เพื่อปกป้องสิทธิประโยชน์ทางการค้าและ การเมืองของประเทศเหล่านั้น
83
หลังสนธิสัญญาเบาว์ริ่ง สยามมีการปฏิรูปทางด้านสังคมและเศรษฐกิจอย่าง มากมายเพื่ อ ให้ ร อดพ้ น จากกระแสการล่ า เมื อ งขึ้ น ของชาติ ต ะวั น ตกในภู มิ ภ าค เศรษฐกิจไทยเจริญก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว กรุงเทพฯ และจุลนครฯ กลายเป็นศูนย์กลาง ทางธุรกิจของประเทศและภูมิภาค แม้นว่าหลังสนธิสัญญาเบาว์ริ่งการค้าระหว่าง ประเทศเกิดความเป็นธรรมและเสรี ชาวจีนไม่ได้เปรียบในด้านสิทธิประโยชน์ทาง ภาษี หรือการผูกขาดด้านอื่นๆแล้วก็ตาม ชาวตะวันตกก็ยังไม่สามารถเข้าแข่งขันใน ด้านการค้ากับชาวจีนที่มีรากฐานที่แข็งแกร่งกว่าในประเทศสยาม การผลิตหรือการ แปรรูปสินค้าเกษตรที่เพิ่มขึ้นเนื่องจากความเจริญก้าวหน้าของเทคโนโลยีของชาติ ตะวันตก จุลนครฯ.มีขนาดพื้นที่ไม่เพียงพอที่จะใช้เป็นแหล่งผลิตของอุตสาหกรรมที่ เกิดขึ้น แต่นักธุรกิจจากจุลนครฯ.ก็ใช้วิธีการแพร่อิทธิพลการลงทุนสู่ภูมิภาคโดยการ ตั้งโรงงานผลิตและคลังสินค้าในต่างจังหวัด.เช่น..โรงสีข้าว โรงเลื่อย โรงงานน้ำ�ตาล.. ฯลฯ..เป็นแหล่งผลิต ส่วนพ่อค้าในจุลนครฯ.เองก็เป็นผู้มีบทบาทบริหารด้านการ ตลาดระหว่างประเทศ การบริหารด้านการเงิน การลงทุน การบริหารด้านการขนส่ง และระบบคลังสินค้า ตลอดจนบริหารจัดการด้านแรงงานสนับสนุน.(.ทัง้ ด้านการผลิต และการขนส่ง.)ดังนั้นจุลนครฯ.เป็นศูนย์กลางที่ควบคุมระบบเศรษฐกิจหลักของประเทศ โดยตลอดมา ในยุคสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้ารัชกาลที่..5..นี้ประเทศมีการ ปฏิรูปก่อสร้างขนาดใหญ่ ในด้านต่างๆเช่น ทำ�ถนน ทางรถไฟ การโทรคมนาคม ฯลฯ จุลนครฯ ยังทำ�หน้าที่นำ�เข้าแรงงานทั้งที่ชำ�นาญการและแรงงานไร้ฝีมือเข้ามาเป็น
84
จำ�นวนมาก เพื่อสนองต่อการขยายตัวทางเศรษฐกิจแล้วจัดส่งไปยังภูมิภาคต่างๆที่ ต้องการแรงงานซึ่งทำ�ให้คนจีนจากประเทศจีนแผ่ขยายสู่ส่วนอื่นของประเทศอย่าง รวดเร็ว ดังนั้นยิ่งทำ�ให้ตลาดการค้าภายในจากจุลนครฯ แพร่ไปสู่หัวเมืองภูมิภาค อย่างกว้างขวางยิ่งขึ้น ตั้งแต่สมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าอยู่หัวรัชกาลที่ 5 เปลี่ยนแปลงระบบการจัดเก็บรายได้โดยการปรับเปลี่ยนเป็นระบบการจัดเก็บรายได้ จากภาษีอากรแล้ว ต้องเข้าสู่พระคลังมหาสมบัติ ( หอพิพัฒน์รัษฎากร ) แทนที่ใช้จ่าย โดยองค์พระมหากษัตริย์อย่างเดียว เพราะว่าประเทศจะต้องเงินจำ�นวนมหาศาลใน การลงทุนและปฏิรูปประเทศซึ่งแตกต่างกับรัชกาลก่อนๆในการค้าขายสินค้านำ�เข้า ลูกค้าหลักในการซื้อสินค้านำ�เข้าจากต่างประเทศไม่ใช่แต่เจ้านายพระบรมวงศ์นุวงศ์ หรือข้าราชบริพารเท่านั้น ประชาชนทั่วไปก็เริ่มมีอำ�นาจซื้อก็เริ่มเข้ามาจับจ่ายข้าวของ ในตลาดจุลนครฯแห่งนี้ แม้กระทั่งผู้คนจากต่างจังหวัดก็เข้ามาซื้อสินค้าในจุลนครฯกัน ทำ�ให้เกิดระบบการค้าส่งค้าปลีกหรือศูนย์กลางการค้าของประเทศขึ้นมา เมื่อการค้า เฟื่องฟู เศรษฐกิจของจุลนครฯ มั่งคั่งเทียบได้กับฮ่องกง หรือสิงคโปร์ ทำ�ให้เกิดธุรกิจ ต่อเนื่องโดยเฉพาะกระแสค่านิยมชาวตะวันตกที่หลั่งไหลเข้ามา ทำ�ให้เกิดธุรกิจหรือ แหล่งบันเทิงที่ผสมผสานระหว่างจีนกับตะวันตก มีโรงงิ้ว โรงบ่อน โรงภาพยนตร์ หรือ สรรพสินค้า บาร์ ภัตตาคาร ฯลฯ คล้ายๆกับเมืองเซี่ยงไฮ้ในสมัยนั้นเกิดขึ้น ทำ�ให้จุ ลนครฯ กลายเป็นนครแห่งแสงสีของกรุงเทพฯ ไปโดยปริยาย
85
หลังการเปลี่ยนแปลงการปกครองของไทยในปี พ.ศ. 2475 โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ยุคสมัยจอมพล ป.พิบูลสงคราม มีอำ�นาจปกครองประเทศก็พยายามที่จะดึงเศรษฐกิจ จากมือคนจีน ธุรกิจการค้าในจุลนครฯจึงจำ�เป็นที่อยู่ในระยะปรับตัวเพื่อความอยู่รอด ประกอบกับตลาดของประเทศไทยทั้งภายในและภายนอกประเทศมีการกระจายตัวไป ยังจุดอื่นๆของกรุงเทพฯและภูมิภาค แต่อย่างไรก็ดีในพื้นฐานของธุรกิจทั่วไปก็ยังต้อง พึ่งพาความแข็งแกร่งและความชำ�นาญการของพ่อค้าในจุลนครฯอยู่ดี
86
สำ�นักงานทำ�ธุรกรรมการเงินของชาวจีนสมัยก่อน
ชาวแต้จิ๋วอพยพลงเรือสำ�เภาหัวแดงจากท่าเรือจางหลินแล้วก็จะมาขึ้นเรือที่กรุงเทพฯ ที่ท่าน้ำ�ใกล้สำ�เพ็งฯ
87
ลักษณะและภาวะทางเศรษฐกิจของไทยในสมัยรัตนโกสินทร์ และการค้าของคนจีน ภายหลังที่ไทยสามารถเอาชนะพม่าได้อย่างเด็ดขาดในสงครามท่าดินแดงในปี พ.ศ. 2329 ประเทศสยามกลายเป็นที่ดึงดูดชาวต่างประเทศโดยเฉพาะอย่างยิ่งชาติจีน มีความสนใจและเดินทางเข้ามาทำ�การค้าด้วย ในสมัยนั้นสยามใช้เงินพดด้วงเป็นหลัก ซึ่งค่อนข้างเป็นปัญหาเกี่ยวกับการแลกเปลี่ยนประเมินค่าของเงิน และการซื้อขายสินค้า การค้าทั้งหมดจึงตกอยู่ในมือของชาวจีนซึ่งสามารถกำ�หนดมาตรฐานที่เป็นที่พอใจของ คู่ค้า
รายได้ของราชสำ�นักฯ ที่ได้จากการค้าขายกับต่างประเทศนั้น ตัง้ แต่ สมัยพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก รัชกาลที่ 1 ถึงพระบาทสมเด็จพระนัง่ เกล้าอยูห่ วั รัชกาลที่ 3 ชาวจีนนอกจากเป็นคูค่ า้ กับราชสำ�นักฯ.แล้ว จึงเป็นหุน้ ส่วนในการทำ�การค้าและการจัด เก็บรายได้เข้าประเทศ รายได้จากการค้าระหว่างประเทศ ในสมัยต้นรัตนโกสินทร์มอี ยู่ 5 ประเภท คือ รายได้ประเภทที่..1.+รายได้จากการค้าสำ�เภาหลวง..พระคลังสินค้าเป็นหน่วยงานที่ ขึน้ ตรงกับพระยาพระคลัง ( พระยาโกษาธิบดี ) หนึง่ ในจตุสดมภ์หรือกฎหมายแก้วสาม ดวง มีหน้าทีต่ ดิ ต่อค้าขายกับต่างประเทศ โดยการแต่งเรือสำ�เภาหลวงบรรทุกสิง่ ของที่ เป็นส่วย เช่น ดีบกุ พริกไทย ครัง่ ขีผ้ ง้ึ ไม้หอม ฯลฯ ขณะเดียวกันก็จดั ซือ้ สินค้าจากต่าง ประเทศทีต่ อ้ งการใช้ในประเทศ เช่น ผ้าแพรพรรณ ถ้วยชามกระเบือ้ ง มาจำ�หน่ายหรือ นำ�มาใช้ในราชสำ�นักฯ และนำ�มาใช้ในการบูรณะก่อสร้างวัดวาอารามต่างๆ รายได้ประเภทที.่ .2. .การนำ�กำ�ไรจากการค้าขายสินค้าผูกขาด พระคลังสินค้านอกจาก มีหน้าทีค่ วบคุมดูแลในการทำ�การค้ากับต่างประเทศแล้ว ยังมีหน้าทีผ่ กู ขาดการค้าขาย สินค้าราคาแพง เช่น รังนก ฝาง ดีบกุ งาช้าง พริกไทย เนือ้ ไม้ ตะกัว่ พลวง สินค้าเหล่า นีเ้ ป็นสินค้าผูกขาด ประชาชนทัว่ ไปจะค้ามิได้ ต้องขายผ่านพระคลังสินค้า และพระคลัง สินค้าจึงจะขายให้กับชาวต่างชาติอีกทีหนึ่ง..(..พระคลังสินค้าทำ�หน้าที่เป็นคนกลาง..) เรียกว่า “สินค้าต้องห้าม” รายได้ประเภทที่. .3.+ภาษีปากเรือเป็นค่าธรรมเนียมเก็บจากเรือสินค้าของชาวต่าง ประเทศ ( โดยเกิดจากส่วนกว้างทีส่ ดุ ของเรือ .) ทีม่ าจากจอดค้าขายทีท่ า่ เรือ
88
รายได้ประเภทที่+4. ภาษีสินค้าขาเข้า สินค้าที่นำ�มาจากต่างประเทศเช่น ผ้าฝ้าย ผ้า แพรจีน เครื่องแก้ว เครื่องลายคราม ฯลฯ จะต้องเสียภาษีสินค้าขาเข้า โดยอัตราค่าภาษี เก็บยืดหยุ่นตามความเหมาะสม เช่น เรือของประเทศที่มีความสัมพันธ์ไมตรีที่ดี เข้ามา ค้าขายเป็นประจำ�จะได้สิทธิพิเศษ ในสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย รัชกาลที่ 2 เรือสำ�เภาจากประเทศจีนเก็บในอัตราร้อยละสี่ แต่ถ้าเป็นเรือของชาติตะวัน ตกจะเก็บภาษีร้อยละแปด เป็นต้น รายได้ประเภทที่+5. ภาษีสินค้าขาออก จะมีอัตราเก็บที่แตกต่างกันตามชนิดของ สินค้า เช่น รังนก และเขากวางอ่อน เก็บร้อยละยี่สิบ งาช้างเก็บร้อยละสิบสลึง เกลือ เก็บเกวียนละสี่บาท หนังวัว หนังควาย กระดูกช้าง เก็บหาบละ 1 บาท เป็นต้น
สำ�หรับรายได้ของราชสำ�นักฯ ที่จัดเก็บภายในประเทศนั้น แบ่งออกเป็น 4 ประเภทคือ จังกอบ ภาษีสินค้าผ่านด่านทั้งหมด และทางน้ำ�โดยการเก็บตามสัดส่วนใน อัตราสิบหยิบหนึ่ง หรือเก็บเงินตามขนาดของยานพาหนะขนส่ง (ซึ่งส่วนใหญ่คือ เรือ จึงคล้ายกับภาษีปากเรือ ) อากร เป็นเงินที่เก็บจากผลประโยชน์ที่ราษฎรได้จากการประกอบอาชีพต่างๆ ที่ไม่ใช่การค้าขายโดยตรง เช่น การทำ�นา ทำ�สวน ฯลฯ หรือเป็นเงินที่พ่อค้าจ่ายให้แก่ รัฐในการเพื่อให้ได้รับสัมปทานในการประกอบการต่างๆเช่น การเก็บของป่า การต้ม สุรา โดยจัดเก็บในอัตราหนึ่งในสิบ ส่วย เป็นเงินหรือสิ่งของที่ไพร่หลวง ชำ�ระแทนการเข้าเวรรับราชการ ( ส่วยถ้า ไพร่ขาดเวร 3 เดือน เสียค่าปรับเป็นเงินเดือน 6 บาท ) ส่วยเปรียบเสมือนภาษีรายได้ บุคคลธรรมดาในปัจจุบัน เงินส่วยเป็นรายได้หลักของราชสำ�นักฯ ตั้งแต่ครั้นสมัยกรุง ศรีอยุธยาแล้ว ฤชา เป็นค่าธรรมเนียมที่เก็บในกิจการที่ราชการจัดทำ�ให้เช่น การออกโฉนด ที่ดิน นอกจากนี้ยังรวมถึงค่าปรับสินไหมที่ผู้แพ้ความต้องชำ�ระให้แก่ผู้ชนะความ โดย รัฐจะเก็บไว้ครึ่งหนึ่ง เรียกว่า “เงินพินัยหลวง” ในสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศ หล้านภาลัย รัชกาลที่ 2 วิธีการในการจัดเก็บภาษีโดยเฉพาะพืชผลทางเกษตร โดย
89
รัฐจัดส่งพนักงานทำ�การสำ�รวจเรือกสวนว่าทำ�ผลประโยชน์อย่างไร แล้วทำ� หนังสือจัดแบ่งตามชนิดผลไม้ เรียกว่า “การเดินสวน” ถ้าเป็นหนังสือในการ สำ�รวจที่นาเรียกว่า “การเดินนา” ภาษีที่ได้จากการทำ�นาเรียกว่า หางข้าว นอกจากนี้ รัฐยังมีรายได้ที่ได้จากชาวจีนอพยพเข้ามาประเทศ ได้รับ การยกเว้นการเป็นไพร่ของพลเมืองของประเทศ อัตราค่าส่วยนี้ต้องจ่ายหนึ่ง บาทสองสลึงในระยะเวลาสามปี เมื่อชำ�ระเงินแล้วจะได้รับใบฎีกาพร้อมทั้งผูก ข้อมือด้วยไหมสีแดงประทับตราครั่งประจำ�เมืองซึ่งเรียกว่า เงินค่าผูกปี้ข้อมือ จีน สมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าอยู่หัวรัชกาลที่ 5 ได้ออกเป็นพระราช บัญญัติผูกปี้ข้อมือจีน ในปี พ.ศ. 2443 และพระราชบัญญัตินี้ก็ถูกยกเลิกไปในปี พ.ศ. 2451 ทำ�ให้การเก็บค่าผูกปี้จบสิ้นลง ในสมัยสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 3 ได้มีการจัดเก็บภาษี เพิ่มหลายชนิด เช่น ภาษีพริกไทย ภาษีน้ำ�ตาล เป็นต้น ในสมัยนี้เกิดระบบการ เก็บภาษีแบบใหม่ เรียกว่า “ระบบเจ้าภาษีนายอากร” หมายถึง รัฐเป็นผู้เปิด ประมูลการเก็บภาษี ผู้ชนะคือ ผู้ที่เสนอผลประโยชน์สูงสุดแก่รัฐ มีอำ�นาจไป ดำ�เนินการจัดเก็บภาษีแทนรัฐอีกต่อหนึ่ง ผู้ที่ประมูลได้เรียกว่า “เจ้าภาษีนาย อากร” ส่วนมากเป็นชาวจีนผู้มีฐานะดีทางเศรษฐกิจจากการลงทุนค้าขายเป็น ผู้ประมูลได้ เราจะเห็นได้ว่าในช่วงต้นรัตนโกสินทร์ ชาวจีนนอกจากทำ�หน้าที่เป็น พ่อค้าไม่ว่าค้าขายทั้งภายในและภายนอกประเทศแล้ว ชาวจีนยังทำ�หน้าที่เป็น ข้าราชการที่ทำ�งานในด้านการค้าขายระหว่างประเทศ ทำ�หน้าที่เป็นที่ปรึกษา ด้านการจัดเก็บรายได้ ชาวจีนทำ�หน้าที่เป็นผู้ร่วมทุนกับราชสำ�นักฯ ในการค้า ระหว่างประเทศ ท้ายสุดชาวจีนยังทำ�หน้าที่เป็นผู้รับเหมาในการเป็นตัวแทน จัดเก็บรายได้อีกด้วย ดังนั้น ทำ�ให้ชาวต่างประเทศชาติตะวันตกมองว่า ชาว จีนครองความได้เปรียบแบบปิดกั้นโอกาสในการทำ�การค้าของชาวตะวันตกใน ดินแดนสยามนี้ จึงเป็นมูลเหตุสำ�คัญที่ทำ�ให้เกิดสนธิสัญญาเบาว์ริ่ง ระหว่าง อังกฤษและไทยขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวขึ้น และ ทำ�ให้เกิดการปฏิรูปทางด้านสังคมและเศรษฐกิจในรัชสมัยต่อมา
90
ลักษณะเศรษฐกิจในสมัยพระบาทสมเด็จ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่. .4..เป็นต้นมา เศรษฐกิจเริ่มเข้าสู่ภาวะในการเริ่มต้นการอภิวัฒน์ เศรษฐกิจเข้าสู่ระบบสากล พระองคทรงรู้ซึ้งถึง ภาวะกดดันจากการล่าอาณานิคมของชาวตะวัน ตกที่ถาโถมเข้าสู่ภูมิภาคนี้และแพร่ขยายอิทธิพล สู่ดินแดนสยามแล้ว พระองค์เริ่มดำ�เนินนโยบาย ทางการค้ า อย่ า งละมุ น ละม่ อ มโดยการลดภาษี สินค้าขาเข้าเพื่อให้ชาวตะวันตกสามารถส่งสินค้า เข้ามาขายได้มากขึ้น อนุญาตให้ส่งข้าวออกได้ เนื่องจากข้าวเป็นสินค้าที่ต้องการอย่างมากใน ดินแดนอาณานิคม และเขตปกครองของตะวันตก เช่น จีน สิงคโปร์ เป็นต้น แต่ชาวตะวันตกยังไม่พึง พอ จนกระทั่งอังกฤษเป็นชาติแรกแสดงปฏิกิริยา อย่างชัดเจนที่จะกดดันสยามให้คล้อยตามความ ประสงค์ของชาติอังกฤษ โดยส่งเซอร์ จอห์น เบา ว์ริ่ง บีบบังคับให้ไทยจำ�เป็นต้องทำ�สนธิสัญญาที่ เรียกว่าหนังสือสัญญาทางพระราชไมตรี และการ ค้าระหว่างจักรวรรดิอังกฤษและราชอาณาจักร สยาม ( Treaty of Friendship and Commerce between British Empire and The Kingdom of Siam ) หรือเรียกสั้นๆว่า สนธิสัญญาเบาว์ริ่ง พ.ศ. 2398 ภายหลังสนธิสัญญาเบาวร์ริ่ง เศรษฐกิจ ทำ�ให้ประเทศสยามก้าวพ้นจากเศรษฐกิจที่เรียก ว่า เศรษฐกิจแบบยังชีพไปสู่เศรษฐกิจแบบเงินตรา ต่างประเทศ ทำ�ให้การค้าขยายตัวอย่างมาก โดย การใช้เงินตราเป็นตัวกลางในการแลกเปลี่ยน
91
สนธิสัญญาเบาว์ริ่ง ปี พ.ศ. 2398 มีสาระสำ�คัญดังนี้คือ คนในบังคับอังกฤษจะอยู่ภายใต้อำ�นาจควบคุมของกงสุลอังกฤษ มีการจัด ตั้งศาลกงสุล เพื่อพิจารณาความของคนในบังคับของอังกฤษโดยไม่มีร้องขึ้นศาลไทย เพราะว่าชาติอังกฤษไม่เชื่อมั่นในระบบของศาลไทยในการพิจารณาความและตัดสิน ความ ดังนั้นเท่ากับว่าสยามต้องมอบอำ�นาจการปกครองของคนในบังคับอังกฤษ ให้กับอังกฤษปกครองซึ่งเรียกว่าสิทธิสภาพนอกอาณาเขตซึ่งสยามต้องใช้เวลาและ ทรัพยากรจำ�นวนมากในการถอดถอนสิทธิสภาพนอกอาณาเขต ตั้งแต่รัชสมัยสมเด็จ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 4 ถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 เพื่อให้สยามได้เอกราชทางศาลกลับคืนมาอย่างสมบูรณ์ คนในบังคับของอังกฤษได้รับสิทธิในการค้าขายอย่างเสรีในเมืองท่าทุกแห่ง ของสยามและสามารถพำ�นักอาศัยในกรุงเทพฯ.เป็นการถาวรได้นอกอาณาเขต..200 เส้น ( ประมาณ 8 กิโลเมตร ) แต่ไม่เกินกำ�ลังเรือแจวเดินทางในยี่สิบสี่ชั่วโมงจากกำ�แพง พระนคร คนในบังคับอังกฤษสามารถซื้อหรือเช่าอสังหาริมทรัพย์ในบริเวณดังกล่าวได้ คนในบังคับอังกฤษยังได้รับอนุญาตให้เดินทางอย่างเสรีในสยามโดยมีหนังสือที่ได้รับ จากกงสุล จะเห็นได้ว่าคนชาติตะวันตกจึงนิยมตั้งถิ่นฐานในบริเวณที่เป็นเขตบางรัก ปัจจุบันยิ่งเมื่อได้ตัดถนนเจริญกรุงในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 แล้วจะมีชาวตะวันตกเข้ามาตั้งสำ�นักงาน ร้านค้า สถานกงสุล สถานทูต ขึ้น เป็นจำ�นวนมาก เนื่องจากเป็นพื้นที่ห่างจากเขตที่กำ�หนดในสนธิสัญญาฯ คือ 800เส้น โดยประมาณ ยกเลิกค่าธรรมเนียมปากเรือ และกำ�หนดอัตราภาษี เป็นมาตรฐานคือ ภาษี ขาเข้าให้เก็บไม่เกินร้อยละสาม ( ยกเว้นสินค้าฝิ่นไม่ต้องเสียภาษีขาเข้าแต่ต้องขายให้ เจ้าภาษี ) เงินทองและข้าวของของพ่อค้าไม่ต้องเสียภาษี เนื่องจากอังกฤษเห็นว่าภาษี ที่เรียกเก็บก่อนหน้านั้นไม่เป็นธรรม พ่อค้าชาวจีนเป็นผู้ครอบครองความได้เปรียบ ทำ�ให้ชาวอังกฤษไม่สามารถแข่งขันในการค้าขายในสยามได้ ส่วนภาษีการค้าภายใน ประเทศและเพื่อการส่งออกนั้น ทางอังกฤษให้ขอให้สยามต้องเลือกระหว่างการเก็บ ภาษีชั้นใน เช่น จังกอบ ภาษีป่า ภาษีปากเรือ กับการเก็บภาษีส่งออก อย่างใดอย่าง หนึ่งอย่างเดียวเพราะอังกฤษเห็นว่าเป็นภาษีที่เรียกเก็บนั้นเป็นการเรียกเก็บซ้ำ�ซ้อน + +
92
ทำ�ให้พ่อค้าต้องซื้อสินค้าราคาแพงขึ้นซึ่งสุดท้ายแล้วสยามจึงต้องเลือกเก็บเพียงสินค้า ส่งออกอย่างเดียว ภาษีชั้นในจึงถูกยกเลิกไป พ่อค้าอังกฤษจำ�ต้องได้รับอนุญาตให้ซื้อขายกับเอกชนสยามได้โดยด้วยเสรี โดยไม่มีผู้ใดขัดขวางซึ่งอังกฤษต้องการกระจายสินค้าเข้าสู่สยาม แต่อังกฤษเองก็ไม่ สามารถดำ�เนินการดั่งที่ประสงค์ แม้นว่าสามารถค้าขายได้อย่างเสรี เพราะธุรกิจค้า ปลีกต่างๆล้วนตกอยู่ในมือพ่อค้าคนจีนทั้งหมดแล้ว รัฐบาลสยามสงวนสิทธิใ์ นการห้ามส่งออกข้าว เกลือและปลา เมือ่ ยามประเทศ สยามอยูใ่ นช่วงทีท่ พุ ภิกขภัยจำ�เป็นต้องใช้สนิ ค้าอุปโภคเหล่านัน้
93
บทบาทเปลี่ยนแปลงระบบการค้าและเศรษฐกิจ หลังสนธิสัญญาเบาว์ริ่ง เป็นการเปลี่ยนแปลงระบบการค้าของไทยโดยไทยต้องยกเลิกวิธีการค้าแบบ ผูกขาดของพระคลังสินค้าให้มีการค้าอย่างเสรี ราษฎรสามารถซื้อขายสินค้าอย่าง อิสระ ทำ�ให้ตลาดการค้าขายของประเทศสยามเองเติบโตขึ้นหลายเท่าดังภายใน ระยะเวลานั้น มีการเปลี่ยนแปลงระบบเศรษฐกิจ โดยเฉพาะการผลิต หลังจากที่มี การขยายตัวของเศรษฐกิจ ระบบเศรษฐกิจสยามเปลี่ยนจากระบบเลี้ยงตัวเอง มาเป็น ระบบเศรษฐกิจเพื่อการค้า ข้าว กลายเป็นสินค้าส่งออกที่สำ�คัญที่สุดของไทย เรือต่าง ประเทศบรรทุกข้าวและสินค้าอืน่ ๆไปขายต่อยังประเทศจีน ฮ่องกง และสิงคโปร์จ�ำ นวน มาก ทำ�ให้ราชอาณาจักรสยามมีเงินตราต่างประเทศไหลเข้าพระคลังมหาสมบัตเิ ป็น จำ�นวนมาก ความต้องการข้าวจากสยามจำ�นวนมากทำ�ให้ราคาข้าวสูงขึน้ จากเกวียน ละ 3 – 5 บาทในสมัยพระบาทสมเด็จพระนัง่ เกล้าเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ 3 มาเป็นเกวียน ละ 16 – 20 บาท ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั การเปลีย่ นแปลงด้าน ภาษีอากร แม้ท�ำ ให้สยามมีรายได้ลดน้อยลงในระยะสัน้ ๆต่อมาการยกเลิกการค้าแบบ ผูกขาดทำ�ให้การค้าขายเจริญเติบโตขึน้ มามาก สุดท้ายการจัดเก็บภาษีของรัฐก็เพิม่ มามากกว่าเก่าเป็นทวีคณ ู นอกจากนีย้ งั ทำ�ให้สยามมีระบบเป็นรูปแบบสากลมากขึน้ สำ�หรับการค้าขายกับต่างประเทศ การค้าระหว่างประเทศก็เพิม่ ขึน้ อย่างมาก เพราะ เป็นทีย่ อมรับของประเทศคูค่ า้ ต่างชาติอน่ื ขึน้ ราษฎรได้รับผลพวงจากระบบเศรษฐกิจ ที่ขยายตัวทำ�ให้มีเงินมาก ทำ�ให้สามารถมีเงินมาไถ่ลูก ไถ่เมียได้ ( ในระบบไพร่และ ศักดินาไทยเดิม )ซึ่งอันเป็นเหตุผลหนึ่งที่ทำ�ให้พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่ หัวรัชกาลที่ 5 สามารถดำ�เนินการเลิกทาสได้โดยไม่เสียเลือดเนื้อ เพราะจำ�นวนทาส ลดน้อยลงมากแล้วก่อนมีพระราชบัญญํติเลิกทาส นอกจากนี้ทำ�ให้เกิดระบบการเก็บ ภาษีพลเมืองที่ปรับเปลี่ยนจากอากรค่าส่วยไพร่ เงินผูกปี้คนจีนให้กลายเป็นระบบ ภาษีรายได้ของประชาชนตามหลักสากล เปลี่ยนแปลงระบบจากเกณฑ์แรงงานจาก ไพร่มาเป็นการจ่ายค่าจ้างแรงงานซึ่งไม่ว่าจะเป็นแรงงานคนไทยเอง คนจีน คนญวน
94
เขมร พม่า ก็อยู่ในมาตรฐานเดียวกันทำ�ให้แก้ปัญหาแรงงานขาดแคลน, แรงงานไร้ คุณภาพได้ง่ายขึ้นเพราะมีระบบที่มีมาตรฐานซึ่งนอกจากนี้จะส่งผลดีต่อเศรษฐกิจแล้ว ยังเป็นบรรทัดฐานของสังคมที่ดีด้วย มีการพัฒนาประเทศเพื่อรองรับการขยายตัว ทางเศรษฐกิจในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 4 มีการขุดคลอง ผดุงกรุงเกษม เพื่อรองรับการขยายตัวในการจราจรทางน้ำ� การตัดถนนเจริญกรุงเพื่อ เชื่อมระหว่างพระบรมมหาราชวังกับถิ่นที่อยู่อาศัยอาศัยของชาวตะวันตกโดยผ่าน ตลาดคนจีนในจุลนครฯซึ่งทำ�ให้การติดต่อสื่อสารระหว่างกลุ่มประชาคมสะดวกมาก ยิ่งขึ้น นอกจากทำ�ให้ตลาดการค้าขยายตัว ยังก่อให้เกิดการแพร่ขยายทางวัฒธรรม แลเทคโนโลยีอีกด้วย
คลองผดุงกรุงเกษม
ถนนเจริญกรุง
95
เกิดการปฏิรูปเงินตราครั้งใหญ่ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เพื่อให้เป็นไปตามระบบสากล สามารถกำ�หนดระบบมาตรฐานในการแลกเปลี่ยนเงิน ตราระหว่างสยามกับต่างประเทศซึ่งเป็นประโยชน์อย่างยิ่งยวดต่อการค้าขายกับต่าง ชาติ ปัจจัยจากการขยายตัวทางเศรษฐกิจ ชาวต่างชาติสามารถเช่าหรือถือครอง ที่ดินได้ มีการคมนาคมที่สะดวกขึ้น ทำ�ให้เกิดบริษัทและร้านค้าชาวตะวันตกเกิดขึ้น นอกจากนี้ ชาวตะวันตกเริ่มเข้าตั้งโรงงานเช่น โรงสีข้าว โรงงานน้ำ�ตาล อู่ต่อเรือ โรง เลื่อย ทำ�ให้ฝรั่งเรียกว่า สยามประเทศในสมัยนี้ว่า “สยามยุคใหม่” ค่าจ้างของคน งานในภาคเอกชนมีอัตราสูงขึ้น ( เทียบกับประเทศในภูมิภาค ) ทำ�ให้มีการอพยพเข้า มาขายแรงงาน มาประกอบอาชีพ มาค้าขาย ฯลฯ โดยเฉพาะอย่างยิ่งจากประเทศ จีน นอกจากนี้ยังทำ�ให้ราชการจำ�เป็นต้องปรับค่าเบี้ยหวัดประจำ�ปีของข้าราชการให้ เพิ่มขึ้นตามเอกชนด้วย ทำ�ให้อำ�นาจการจับจ่ายใช้สอยในสยามเพิ่มมากขึ้น ชาว ต่างชาติเข้ามาทำ�การขุดและทำ�เหมืองแร่ที่ระนองแทนภูเก็ต โดยใช้วิธีการสมัยใหม่ ทำ�ให้เศรษฐกิจเจริญขึ้นด้วย พ่อค้าชาวจีนเองในระยะแรกของการใช้สนธิสัญญาเบาว์ริ่ง อาจมีผลกระทบ จากการที่ถูกยกเลิกระบบอุปถัมภ์จากพระมหากษัตริย์ ต้องใช้มาตรฐานทางภาษีเช่น เดียวกับชาวต่างชาติอื่นๆ( ึ่งเคยได้เปรียบชาติอื่นมาก่อน ) ไม่มีการได้ผลประโยชน์จาก ระบบจัดเก็บภาษีอากร แต่ก็ไม่นานพ่อค้าชาวจีนก็ปรับตัวได้โดยเร็วในขณะเดียวกัน การขยายตัวทางการค้าและเศรษฐกิจชาวจีนซึ่งมีรากฐานแข็งแกร่งในสยามอยู่แล้ว ก็ ได้รับอนิสงฆ์มากที่สุดในการทำ�พาณิชย์กรรมในยุคเศรษฐกิจรุ่งเรือง การค้าขายและ เศรษฐกิจในสยามของคนจีนก็เจริญขึ้นมาโดยเฉพาะอย่างยิ่งในศูนย์กลางทางธุรกิจ ของประเทศและของชาวจีนในจุลนครฯ แห่งนี้ ซ
96
การอภิวัฒน์ทางด้านเศรษฐกิจ ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ( พ.ศ. 2411 – 2453 ) ในสมัยตอนปลายรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ 4 พระองค์ทรงเริม่ รับเอาวิทยาการสมัยใหม่จากตะวันตกเข้ามาสูป่ ระเทศสยาม ทำ�ให้ ชาวสยามโดยเฉพาะอย่างยิง่ วงศานุวงศ์และข้าราชการชัน้ สูงสามารถเข้าถึงเทคโนโลยี สมัยใหม่ของชาวตะวันตก นอกจากนีพ้ ระองค์ยงั ทรงปูพน้ื ฐานสำ�หรับการปฏิรปู ประเทศทัง้ ในด้านการปกครองและเศรษฐกิจการคลัง เพือ่ ให้กา้ วทันอารยประเทศ และ หลุดพ้นจากแรงกดดันในการล่าอาณานิคมของชาวตะวันตกอีกด้วย เมือ่ พระองค์เสด็จ สวรรคตพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้เสด็จขึ้นครองราชย์สืบสันติวงศ์ ต่อมา พระองค์ทรงทำ�การสืบสานพระเจตนารมณ์ของพระบิดา ทำ�การปฏิรปู ประเทศ ทัง้ การปกครองและทางเศรษฐกิจ ทำ�ให้สยามประเทศเจริญรุดหน้าเทียบเคียงได้กบั อารยประเทศทัง้ หลาย เมือ่ พระองค์ทรงทำ�การปฏิรปู ทางด้านเศรษฐกิจดังนี้ ปฏิรูปด้านการคลัง เนื่องจากเศรษฐกิจสยามมีการขยายตัวมาก ระบบการ เงินการคลังจำ�เป็นจะต้องปรับเปลี่ยนให้สอดคล้องกับสภาวะเศรษฐกิจที่ขยายตัว เป็นอย่างมาก ปริมาณเงินทองทั้งที่เป็นรายรับและทั้งที่เป็นรายจ่ายเพิ่มขึ้นมหาศาล จำ�เป็นจะต้องมีขบวนการที่ทันสมัยและเหมาะสมกับสถานการณ์ พระองค์จึงทรงจัด ตั้งหอรัษฎากรพิพัฒน์ขึ้น เพื่อทำ�หน้าที่รับผิดชอบรวบรวมเงินภาษีอากร เพื่อนำ�ส่ง พระคลังมหาสมบัติ มีการทำ�บัญชีรวบรวมผลประโยชน์ ตรวจตราการจัดเก็บภาษี อากรของหน่วยราชการต่างๆให้เรียบร้อย รับผิดชอบการจ่ายเงินเดือนในอัตราที่ แน่นอนให้กับข้าราชการทั้งพลเรือนและทหารเฉพาะในส่วนกลาง ( แทนการจ่ายเงิน ค่าเบี้ยหวัด และเป็นรายปี ) มี ก ารปฏิ รู ป ระบบเงิ น ตรา เพื่ อ ให้ ค่ า ของเงิ น ตราสยามสามารถใช้ เ ป็ น มาตรฐานสากลในการแลกเปลี่ยนเงินตราระหว่างประเทศต่างๆที่เข้ามาทำ�การค้ากับ ประเทศไทย ทำ�ให้การค้าระหว่างประเทศขยายตัวมากยิ่งขึ้น เนื่องจากนานาชาติ เชื่อมั่นในระบบเงินตราของไทย โดยมีประเด็นสำ�คัญดังนี้คือ กำ�หนดค่าเงินตราของ สยามให้มีหน่วยเป็นบาท และสตางค์ คือ อัตรา1 บาท เท่ากับ 100 สตางค์ ( เดิมค่า +++
97
ของเงินมีหน่วยเป็นชั่ง, ตำ�ลึง,บาท, สลึง,เฟือง,ไพ,เบี้ยเป็นต้น)เพื่อให้สะดวกในการใช้ จ่ายและการคิดคำ�นวณตามหลักมาตรฐานสากล มีการจัดพิมพ์ธนบัตรที่ได้มาตรฐาน ทางการเงินอย่างสากลออกมาเพื่อใช้เป็นเงินตราชำ�ระหนี้ตามกฎหมาย มีการกำ�หนด มาตรฐานเปรียบเทียบตามหลักสากลที่ใช้ในขณะนั้น และเป็นที่ยอมรับของนานาชาติ คือ เปรียบเงินสกุลบาทตามมาตรฐานทองคำ�ซึ่งในขณะนั้นมีการกำ�หนดมาตรฐาน ค่าของเงินบาทคือ เงินสกุลสยาม13บาท จะค่าเท่ากับเงินสกุลอังกฤษ1ปอนด์ซึ่งจาก มาตรฐานนี้สามารถนำ�ไปเทียบเคียงกับเงินตราสกุลอื่นๆที่ได้ทำ�การค้าขายกับประเทศ สยามได้ มีการจัดตั้งธนาคารไทยขึ้น+แต่เดิมที่สยามมีการจัดตั้งธนาคารโดยชาว ยุโรป คือ ธนาคารฮ่องกง และเซี่ยงไฮ้ ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2431 และธนาคารชาร์เตอร์ที่ เป็นของผู้ถือหุ้นชาวอินเดีย ออสเตรเลีย และจีน ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2431 เช่นกัน พระบาท สมเด็จพระจุลจอมเกล้าฯ ทรงดำ�ริว่าขณะนี้ประเทศสยามเองมีธุรกรรมการค้าที่ขยาย ตัวขึ้นมาก จึงจำ�เป็นจะต้องมีธนาคารของชาวสยามที่ให้บริการในการดำ�เนินธุรกรรม ทางการเงิน เพื่อการค้ากิจกรรมแลกเปลี่ยนสกุลเงินตราต่างประเทศ และกิจกรรมการ เงินบุคคลอื่นๆที่เป็นของชาวสยามเอง จึงทำ�ให้มีการจัดตั้งธนาคารไทยแห่งแรกชื่อว่า บุคคลัภย์(Book Club) ต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็น แบงค์สยามกัลป์มาจล(Siam Commercial Bank)ซึ่งเป็นธนาคารไทยพาณิชย์ในปัจจุบัน มีการทำ�งบประมาณแผ่นดินในปี พ.ศ. 2439 ขึ้นเป็นครั้งแรก พระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงตระหนักถึงวินัยทางการเงินของประเทศที่ต้องพึงระวัง ในภาวะที่เศรษฐกิจขยายตัวมาก ผลกระทบจากสถานการณ์ต่างประเทศเข้ามา การ จับจ่ายใช้สอยของราชการจะไม่มีแบบแผนกำ�หนดที่ชัดเจนดั่งเช่นแต่ก่อนมา อาจ นำ�พาให้ประเทศชาติประสพภัยพิบัติได้ พระองค์จึงทรงโปรดเกล้าให้มีการทำ�บัญชี เพื่อวางแผนเตรียมการเพื่อการใช้จ่าย และการจัดหารายได้ของรัฐ โดยกำ�หนดการ ให้เป็นมาตรฐาน นอกจากนี้ยังใช้เป็นเครื่องมือเพื่อเป็นเครื่องมือในการตรวจสอบการ ใช้จ่ายในปีที่ผ่านๆมา และเป็นเครื่องมือใช้ในการวางแผนในการกำ�หนดนโยบายทั้ง การลงทุนและการใช้จ่ายของรัฐในอนาคต ฯลฯ ดังนั้น พระองค์จึงโปรดให้มีการทำ� งบประมาณแผ่นดินขึ้นเป็นครั้งแรกในปี พ.ศ. 2439 ซึ่งก็เป็นการแสดงให้เห็นถึงความ มีวินัยและวิสัยทัศน์ในการบริหารราชการแผ่นดินของพระองค์ นอกจากนี้พระองค์
98
ทรงให้แยกเงินส่วนพระองค์ออกจากเงินส่วนของแผ่นดินอย่างเด็ดขาด โดยเงินส่วน พระองค์นั้นให้พระคลังข้างที่เป็นผู้ดูแลพระราชทรัพย์ของส่วนพระองค์ การปรับปรุง พัฒนาการทางด้านเกษตรและการชลประทาน พระองค์ทรง ตระหนักถึงว่า สยามแม้นจะมีการพัฒนาก้าวหน้าทางสังคมและเศรษฐกิจไปอย่าง มากก็ตาม ความมั่งคั่งของประชากรในประเทศซึ่งส่วนใหญ่เป็นเกษตรกรเป็นหัวใจ หนึ่งที่จะต้องดูแล พระองค์ทรงโปรดให้มีการขุดคลองโดยเป้าหมายหลักคือใช้ในการ ชลประทาน เช่น คลองเปรมประชากร คลองทวีวัฒนา คลองประเวศบุรีรมย์ เป็นต้น มี การสร้างประตูเพื่อระบายน้ำ�ในการชลประทาน นอกจากนี้ยังมีการโปรดให้จัดตั้งกรม ป่าไม้ เพื่อดูแลป่าไม้ในประเทศด้วย การพั ฒ นาด้ า นคมนาคมและการสื่ อ สาร ในสมั ย พระบาทสมเด็ จ พระ จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ที่ยิ่งใหญ่ในการสร้างความ เจริญสู่ประเทศ นอกจากนี้การคมนาคม ติดต่อสื่อสาร ยังเป็นส่วนสำ�คัญในการนำ� ความเจริญสู่ภูมิภาค ทำ�ให้เกิดหัวเมืองสำ�คัญๆเกิดขึ้นทั่วประเทศ ทำ�ให้สามารถ นำ�สินค้าพืชผลจากภูมิภาคเข้ามาในนครหลวงฯ แล้วส่งออกไปยังต่างประเทศได้ ประชาชนมีรายได้เพิ่มขึ้น ประเทศมั่งคั่งขึ้น สำ�หรับในเมืองหลวงมีถนนหนทางเกิด ขึ้นอย่างมากเช่น ถนนเยาวราช ถนนราชดำ�เนิน เป็นต้น การคมนาคมในเมืองหลวงมี รถยนต์ รถราง รถม้า รถลาก เกิดขึ้น
+++
การสร้างทางรถไฟ นอกจากนำ�ความเจริญสู่ภูมิภาคดังที่กล่าวข้างต้นแล้ว ยังเป็นช่องทางสำ�คัญหนึ่งที่นำ�ชาวจีนอพยพจากเมืองหลวงกระจายตัวสู่หัวเมืองต่างๆ ทั่วประเทศอีกด้วย นอกจากการก่อกำ�เนิดระบบคมนาคมขนส่งแล้ว พระองค์ทรงจัด ตั้งกรมไปรษณีย์โทรเลขขึ้นในปี พ.ศ. 2426 ทำ�ให้ประชาชนสื่อสารกันได้สะดวกมาก ขึ้น และยังใช้เป็นเครื่องมือที่ใช้สื่อสารระหว่างประเทศที่สำ�คัญไม่ว่าจะเป็นธุรกิจการ ค้า หรือวัตถุประสงค์อื่นก็ตาม
99
การปรับปรุงเศรษฐกิจ ในสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 ( พ.ศ. 2453 – 2468 ) มีการสนับสนุนการลงทุนธุรกิจอุตสาหกรรม เช่น ก่อตั้งโรงงานปูนซิเมนต์ไทย โรงไฟฟ้าสามเสน ส่งเสริมด้านเกษตร เช่น การขุดคลอง คูคลองเพื่อ การชลประทาน เช่น คลองรังสิต จัดตั้งสหกรณ์การเกษตร สถานีทดลองพันธุ์ข้าว ฯลฯ จัดตั้งธนาคารออมสิน เพื่อส่งเสริมการออมของ ประชาชน เปลี่ยนแปลงระบบมาตรชั่ง ตวง วัด เป็นระบบ เมตริก ที่เป็นระบบสากลและสะดวกไม่ว่าใช้ในการค้า และ วัตถุประสงค์อื่นๆ มีการก่อสร้างทางรถไฟต่อจากเดิม คือรถไฟสาย เหนือ สามารถไปถึงเชียงใหม่ สายตะวันออกเฉียงเหนือไป ถึงอุบล ขอนแก่น สายตะวันออกไปถึงอรัญประเทศ สายใต้ ไปถึงปาดังเบซาร์ ( ของประเทศมาลายู ) พัฒนาด้านวิทยุ, โทรสาร ในการสื่อสาร สร้างสนามบินดอนเมือง มีการจัด ตั้งกรมอากาศยาน จั ด ตั้ ง กรมพาณิ ช ย์ + ทำ � หน้ า ที่ ท างด้ า นสถิ ติ พยากรณ์ เพื่อส่งให้พระคลังมหาสมบัติ ยกเลิกกิจกรรมที่เป็นการมอมเมาประชาชน เช่น หวย ก.ข. การพนันบ่อนเบี้ย เป็นต้น
100
ร 6 สมัยเป็นมกุฎราชกุมาร ทรงเปิดทางรถไฟสายท่าจีน ที่สถานีรถไฟคลองสาน เมื่อวันที่ ๔ มกราคม ๒๔๔๗
101
การปรับเปลีย่ นเศรษฐกิจ ในสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ 7 ในขณะนั้นสยามเกิดภาวะเศรษฐกิจตกต่ำ� ( เช่นเดียวกันทั่วโลก ) จึงต้องมีการ วางระเบียบการใช้จ่ายในพระราชสำ�นัก ตัดทอนรายจ่ายฝ่ายราชการ,ลดจำ�นวน ข้าราชการ
วิวัฒนาการที่สำ�คัญของการประกอบธุรกิจชาวจีนในช่วงปฏิรูปเศรษฐกิจ พ.ศ. 2383 การเดินเรือค้าสำ�เภาเริ่มเข้าสู่จุดเสื่อมและล่มสลายเมื่อเกิดการค้า เสรี แต่การค้าในการส่งออกและนำ�เข้าของชาวจีนกลับขยายตัวเพิ่มขึ้น ชาวตะวันตก เริ่มเข้ามาแข่งขันในการค้าสินค้าส่งออกและนำ�เข้าแข่งกับชาวจีนมากขึ้น เกิดระบบ กัมประโดซึ่งเป็นหัวหน้าตัวแทนของบริษัทชาวตะวันตกของชาวจีนขึ้น เกิดโรงสีข้าว ที่ใช้เครื่องจักรซึ่งแต่เดิมเป็นของชาวตะวันตกผู้นำ�เทคโนโลยีเข้ามา แต่ภายหลังส่วน ใหญ่กลับตกอยู่ในการครอบครองโดยชาวจีน เกิดโรงเลื่อยไม้ที่ใช้เครื่องจักร ระยะแรก ส่วนใหญ่เป็นของชาวตะวันตก ภายหลังก็ตกอยู่ในมือของคนจีนเช่นกัน ชาวจีนยึด ครองอาชีพการค้าปลีกได้อย่างเหนียวแน่นเนื่องจากรากฐานและความมีสายสัมพันธ์ ที่เหนียวแน่นกับประชากรชาวไทยท้องถิ่น นอกจากนี้ ชาวจีนยังสามารถยึดครองการ ทำ�หน้าที่พ่อค้าคนกลางในภูมิภาค ทำ�ให้การค้าระหว่างประเทศก็ตกอยู่ในมือชาวจีน ส่วนใหญ่ การที่ชาวจีนได้เข้าสู่วงการธุรกิจธนาคารสมัยใหม่ ( พ.ศ. 2343 – 2393 ) ด้วยนั้น ทำ�ให้ชาวจีนสามารถครอบคลุมธุรกิจเดินเรือและการขนส่งสินค้า นอกจากนี้ ชาวจีนยังทำ�หน้าที่ดูแลผลประโยชน์ทางการค้าให้พระมหากษัตริย์อีกส่วนหนึ่งด้วย เศรษฐกิจในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 และ รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ชาวจีนยึดครองอาชีพใน ทางการค้าขาย อุตสาหกรรม การทำ�เหมืองแร่ รวมทั้งแรงงานที่ได้รายได้อย่างมั่นคง ทำ�ให้ชาวจีนส่วนใหญ่ ที่อาศัยแหล่งชุมชนชาวจีน(เช่น จุลนครฯ)เป็นส่วนที่ฐานะทาง เศรษฐกิจดีกว่าส่วนอื่นๆของประเทศ
102
103
แต่ในสายตาของชาวตะวันตกมองว่าชาวจีนมีความได้เปรียบกล่าวชาวตะวัน ตกในการทำ�การค้าดังนี้คือ การเสียภาษีสำ�เภาและภาษีสินค้าในอัตราที่ต่ำ�กว่า ชาว จีนคุ้นเคยกับตลาดไทยและมีระบบราชการไทยเกื้อหนุน การค้าปลีกอยู่ในมือชาว จีน พ่อค้าจีนที่นำ�เข้าและส่งออกสินค้าจึงครองความได้เปรียบกว่าพ่อค้านำ�เข้าและส่ง ออกสินค้าของชาวตะวันตก ชาวจีนสามารถทำ�การค้าโดยไม่ต้องใช้ทุนมาก เพราะ พระมหากษัตริย์ไทยทรงอุปถัมภ์ในด้านเงินทุน ชาวจีนสามารถเดินทางและครอบ ครองที่ดินในสยามได้อย่างเสรี ด้วยเหตุนี้ชาวตะวันตกนำ�โดยจักรวรรดิอังกฤษจึงบีบบังคับให้สยามทำ�สนธิ สัญญาเบาว์ริ่ง ระหว่างจักรวรรดิอังกฤษกับราชอาณาจักรสยามขึ้นในปี พ.ศ. 2398 หลังสนธิสัญญาเบาว์ริ่งสำ�เภาจีนก็ลดบทบาท เรือบรรทุกเคนและสินค้าจาก ตะวันตกทำ�โดยอังกฤษเข้ามาแทนที่ โดยหมายมั่นปั้นมือว่าจะเข้ามาแย่งชิงตลาดการ ค้าในประเทศสยามจากมือของพ่อค้าชาวจีน แต่ชาวตะวันตกยังไม่เข้าใจเหตุผลสำ�คัญ จริงๆที่พ่อค้าชาวจีนครอบครองตลาดสยามไว้ได้ เพราะว่าชาวจีนมีประวัติยาวนานใน บทบาทความสัมพันธ์ของชนชาวไทยและชาวจีน ชาวไทยไม่เคยมีความคิดว่าชาวจีน เป็นชาวต่างชาติ เพราะแม้กระทั่งอดีตกษัตริย์เองก็มีเชื้อสายเป็นคนจีนไม่เหมือนกับ ชาวต่างชาติ เช่น ชาวตะวันตกที่คนไทยเรียกว่าฝรั่งหรือชาวอินเดีย มลายู ชวา ที่คน ไทยเรียกว่า แขก เป็นต้น ดังนั้น ชาวจีนก็เสมือนคนไทยที่ทำ�หน้าที่ในการเป็นพ่อค้า และเป็นที่ไว้วางใจมาโดยตลอด อีกเหตุผลหนึ่งคือ ชาวจีนนั้นมีจำ�นวนมากที่แต่งงาน สืบชาติพันธุ์จนสังคมไทยกับสังคมจีนไม่มีความแปลกแยกกัน ชาวจีนส่วนใหญ่ก็ สามารถสื่อสารภาษากับคนไทย ทำ�ให้การทำ�ธุรกิจการค้าไม่เป็นอุปสรรคเฉกเช่นชาว ตะวันตก หลังสนธิสัญญาเบาว์ริ่งการค้าระหว่างประเทศของชาวจีนในสยามก็ยังครอง ส่วนแบ่งสูงสุดคือ ประมาณร้อยละหกสิบสอง ผลประโยชน์ส่วนใหญ่ยังอยู่ในรูปแบบ การผูกขาดของคนจีนทั้งหมดเพราะพ่อค้าชาวจีนคุ้นเคยกับการตลาด และการติดต่อ กับพ่อค้าขายปลีก และพ่อค้าขายส่งที่เป็นคนจีน พ่อค้าขายปลีกก็คุ้นเคยกับลูกค้าชาว สยาม ชาวตะวันตกพูดไม่ได้ทั้งภาษาจีนและภาษาไทย ไม่มีข้อมูลข่าวสารในตลาด ไทย ดังนั้น ชาวตะวันตกไม่มีทางเลือกถ้าจะค้าขายในสยามเขาจำ�เป็นที่ต้องหาผู้ร่วม งานทางค้าหรือผู้ร่วมงานเชิงกลยุทธ์ ส่วนใหญ่ก็ยอมให้ชาวจีนเป็นตัวแทนจำ�หน่ายที่ เรียก เอเย่นต์ ( Agent ) ที่สำ�คัญคือเกิดระบบตัวแทนชนิดหนึ่งที่เรียกว่า “กัมปะโด” ซึ่ง
104
เป็นตัวแทนที่ทำ�หน้าที่แนะนำ�ลักษณะคุณภาพของสินค้า มีการประกันการขายโดย การวางมัดจำ�ค่าสินค้า ติดต่อกับพ่อค้าขายส่งขายปลีก แจกจ่ายสินค้า รับผิดชอบใน การเก็บเงิน บางครั้งรวมไปถึงการติดต่อกับราชการ รายได้ส่วนใหญ่ของกัมปะโดมา จากค่านายหน้าขายและค่าจ้างอีกเล็กน้อย กัมปะโดเป็นพื้นฐานของการค้าชาวจีน ระหว่างประเทศที่สำ�คัญของชาวตะวันตกในภูมิภาคนี้ ระบบเศรษฐกิจของประเทศไทย ในช่วงหลังการเปลีย่ นแปลงการปกครอง จากระบบสมบูรณาญาสิทธิราชมาเป็นระบอบประชาธิปไตยไปจนถึงก่อนที่มีแผน พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 1 ( พ.ศ. 2475 – 2504 ) รวมถึงช่วงเวลาของ เศรษฐกิจในสมัยทีป่ ระเทศไทยตกอยูภ่ าวะสงครามโลกครัง้ ที่ 2 และช่วงภาวะเศรษฐกิจ ตกต่�ำ กับผลกระทบและการปรับตัวของพ่อค้าชาวจีนในวิกฤติการธุรกิจทีเ่ กิดขึน้ มีการ ออกนโยบายนิยมไทยเพื่อสร้างชาติฟ้ืนฟูระบบเศรษฐกิจใหม่โดยรัฐบาลของจอมพล ป.พิบลู สงคราม นายกรัฐมนตรีซง่ึ มีสาระสำ�คัญดังนี้ กระตุน้ ให้ประชาชนช่วยตัวเองในทางเศรษฐกิจ ทัง้ ในรูปแบบเชิงสัญลักษณ์ หรือเลีย้ งปากเลีย้ งท้อง เช่น การปลูกพืชสวนครัว การเลีย้ งสัตว์ การทำ�อุตสาหกรรม ในครัวเรือน ออกคำ�ขวัญโฆษณา “ไทยทำ�ไทยใช้ไทยเจริญ” เพือ่ กระตุน้ ให้คนไทย เกิดความตืน่ ตัวในชาตินยิ ม ให้ใช้สนิ ค้าไทย ช่วยลดการนำ�เข้า ลดการขาดดุลการค้า ระหว่างประเทศของไทย ตลอดจนลดการขาดดุลบัญชีเดินสะพัดซึง่ เป็นปัญหาทางการ เงินหลักของรัฐบาลไทยอยูใ่ นขณะนัน้ เริม่ ใช้นโยบายจัดตัง้ รัฐวิสาหกิจ ตัง้ โรงงานอุตสาหกรรม โดยมีวตั ถุประสงค์ เพือ่ ลดการครอบงำ�ทางเศรษฐกิจไทยของชนชาวจีนในประเทศ เช่น การตัง้ บริษทั ค้า ข้าวไทย จำ�กัด เพือ่ แย่งชิงตลาดการค้าข้าวจากชาวจีน นอกจานัน้ สินค้าหลายตัวที่ เป็นยุทธปัจจัย เช่น น้�ำ มัน อาหารสำ�เร็จรูป เครือ่ งหนัง แบตเตอรีร่ ถยนต์ ฯลฯ รัฐบาล จำ�เป็นต้องผลิตและเก็บรักษาสินค้าเหล่านี้ไว้เป็นปัจจัยในภาวะสงครามหรือภาวะ ขาดแคลนทีท่ �ำ ให้เศรษฐกิจไทยต้องหยุดชะงัก มีการสงวนอาชีพบางอย่างสำ�หรับคน ไทยเท่านัน้ เช่น การขับรถรับจ้างสาธารณะ ช่างตัดผม การทำ�นา ฯลฯ ตลอดจนสงวน เขตพืน้ ทีเ่ ช่น บริเวณของทีท่ �ำ การราชการ อนุญาตให้แต่คนไทยเท่านัน้ ทีเ่ ข้าไปค้าขาย ของหาบเร่แผงลอย เป็นต้น และก่อตัง้ กระทรวงอุตสาหกรรม มีการออกพระราชบัญญัติ
105
คุม้ ครองอุตสาหกรรมในประเทศ เพือ่ ให้อตุ สาหกรรมไทยสามารถผลิตแข่งขันกับสินค้า ต่างชาติ เศรษฐกิจไทยระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2 ซึ่งในสมัยนั้นรัฐบาลไทยโดย จอมพล ป.พิบูลสงคราม นายกรัฐมนตรี ได้ประกาศตัวเป็นพันธมิตรกับประเทศ ญี่ปุ่นและฝ่ายประเทศอักษะ ประกาศสงครามกับฝ่ายประเทศพันธมิตรเช่น อังกฤษ อเมริกา จีน เป็นต้น ประเทศประสพปัญหาทางเศรษฐกิจอย่างหนักเนื่องจากการ ค้าขายระหว่างประเทศหยุดชะงัก เหตุผลจากที่สินค้าไม่สามารถขนส่งได้ทำ�ให้สินค้า นำ�เข้าที่จำ�เป็น เช่น ยารักษาโรค น้ำ�มันเชื้อเพลิง เป็นต้นขาดแคลนและสินค้าไทยเอง ก็ไม่สามารถส่งไปขายยังต่างประเทศได้ ทำ�ให้ขาดเงินทุนหมุนเวียนหรือสภาพคล่อง อย่างเลวร้าย นอกจากนี้ญี่ปุ่นยังบังคับให้ประเทศไทยลดค่าเงินบาทให้มีค่าเท่ากับ หนึ่งบาทต่อหนึ่งเยน เพื่อให้ไทยต้องขายสินค้าแก่ญี่ปุ่นในราคาถูก จนกระทั่งเมื่อสิ้น สุดสงครามโลกครั้งที่ 2 ประเทศไทยประสพปัญหาทางเศรษฐกิจอย่างหนัก รัฐบาล ไทยจึงจำ�เป็นต้องออกนโยบายกระตุ้นเศรษฐกิจโดยอาศัยเงินกู้จากธนาคารโลก โดย การก่อสร้างโครงการ 2 โครงการขนาดใหญ่ คือ โครงการชลประทานเจ้าพระยาใหญ่ ซึ่งวางแผนมาแล้วตั้งแต่ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 แต่ยังไม่ได้ทำ�เนื่องจากเป็นโครงการที่ใช้เงินสูง และโครงการสร้างเขื่อนภูมิพล เพื่อ ผลิตไฟฟ้าใช้ในพื้นที่ภาคเหนือ และภาคกลาง 36 จังหวัด นอกจากนี้ยังสามารถใช้ ในการชลประทานสำ�หรับพื้นที่ภาคเหนือตอนล่างและพื้นที่ภาคกลางได้ + +
106
107
การปรับตัวของชนชาวจีนเพื่อสู้กับผลกระทบของ นโยบายทางการเมืองและภาวะเศรษฐกิจที่เปลี่ยนแปลงไป การเปรับตัวด้านกายภาพและชาติพนั ธุ์ เป็นทีร่ กู้ นั อยูว่ า่ นโยบายของรัฐบาลที่ ออกมานัน้ เหตุผลสำ�คัญทีส่ ดุ คือ เหตุผลทางด้านการเมือง การสร้างภาพของความเป็น ชาตินยิ มขึน้ มานัน้ เป็นเพียงกลยุทธ์ทางการเมือง.(.นิยมใช้กนั อยูใ่ นประเทศกำ�ลังพัฒนา หรือด้อยพัฒนาทั่วไป.)..อีกเหตุผลหนึ่งคือรัฐบาลประสบปัญหาในการแก้ไขวิกฤตทาง เศรษฐกิจของประเทศมาโดยตลอดเกือบทุกรัฐบาล รัฐบาลจึงต้องการโยนความผิดที่ ว่าวิกฤติทางเศรษฐกิจของประเทศที่เกิดขึ้นนั้นเกิดจากการครอบงำ�ทางการเศรษฐกิจ ของคนจีน ทำ�ให้รฐั บาลยากทีจ่ ะแก้ปญ ั หาได้ ทำ�ให้รฐั บาลต้องออกกฎหมายทีป่ กป้อง ผลประโยชน์ของคนไทย ดังนัน้ การแก้ปญ ั หาของคนจีน จึงแก้ปญ ั หาทีช่ าติพนั ธุค์ อื เปลี่ยนแปลงตนเองจากการเป็นคนจีนมาเป็นพลเมืองไทยโดยการแปลงสัญชาติเป็น สัญชาติไทย บุตร หลานเกิดในประเทศไทยตามพระราชบัญญัตฉิ บับแก้ไขปี พ.ศ. 2498 ทีว่ า่ ด้วยเรือ่ งการได้มาซึง่ สัญชาติไทยมีสาระสำ�คัญคือ บุคคลทีเ่ กิดในประเทศไทยไม่วา่ บิดา มารดา จะมีสญ ั ชาติใดก็ให้ถอื ว่าเป็นบุคคลในสัญชาติไทย มีสทิ ธิและหน้าทีเ่ ท่ากับ บุคคลทีม่ บี ดิ าและหรือมารดาเป็นคนไทยทุกประการ ชาวจีนจึงให้ลกู หลานใช้สญ ั ชาติ ไทย ทำ�ให้สามารถทำ�การค้าในประเทศไทยตามสิทธิแห่งประชาชนชาวไทยซึง่ รัฐบาล ไม่สามารถนำ�ไปกล่าวอ้างในการกีดกั้นด้านชาติพันธุ์ได้โดยแตกต่างกับสมัยก่อน ชาวจีนในประเทศไทยมักให้ลูกหลานที่เกิดในประเทศไทยเดินทางไปประเทศจีนแล้ว เดินทางกลับเข้ามาอาศัยอยูใ่ นประเทศไทยแต่ใช้สทิ ธิของสัญชาติจนี ตลอดมาชาว จีนในสมัยนีน้ อกจากทีใ่ ห้ลกู หลานถือสิทธิสญ ั ชาติไทยแล้วยังมีการเปลีย่ นชือ่ นามสกุล แบบชาวไทยทัว่ ไปทำ�ให้หมดปัญหาด้านการค้าและการดำ�รงชีพในประเทศไทย .. ขณะ เดียวกันเป็นที่รู้กันว่าจุลนครฯซึ่งเป็นศูนย์กลางทางธุรกิจของประเทศของชาวจีนมา ตลอดนัน้ ถึงจุดอิม่ ตัวซึง่ ยากทีจ่ ะขยับขยายทัง้ สถานทีใ่ นการทำ�การค้าหรือพักอยูอ่ าศัย พ่อค้าชาวจีนก็พยายามที่ให้การค้าแยกศูนย์ไปสู่ส่วนอื่นของกรุงเทพฯและหัวเมือง ขณะเดียวกันนั้นกรุงเทพฯเองก็มีการขยายตัวเกิดศูนย์กลางทางการค้าใหม่ๆขึ้นอัน เนือ่ งจากการเกิดของท่าเรือคลองเตยและท่าเรือยานนาวา.เช่น.ย่านบางรัก สีลมเป็นต้น โดยมีพ่อค้านักธุรกิจจากจุลนครฯขยายไปลงทุนตั้งฐานธุรกิจในศูนย์การค้าแหล่งใหม่ เหล่านีซ้ ง่ึ สะดวกและต้นทุนถูกกว่า การย้ายฐานการค้าออกไปนีท้ �ำ ให้จลุ นครฯไม่ได้ เป็นทีจ่ ะเพ่งเส็งทางด้านชาติพนั ธุใ์ นทางการค้าอีกต่อไป
108
การเปลี่ ย นแปลงด้ า นวิ ธี ก ารและกลยุ ท ธ์ น อกจากพ่ อ ค้ า ชาวจี น ได้ เปลี่ยนแปลงด้านสัญชาติและกายภาพแล้ว ชาวจีนไม่ได้มองว่ารัฐเป็นศัตรูทางการ ค้า พ่อค้าชาวจีนมองเห็นว่าสิ่งที่รัฐบาลทำ�นั้นแท้ที่จริงหวังผลเพียงความนิยมของ ประชาชนส่วนใหญ่ของประเทศ เพื่อจะได้รับการเลือกตั้งเข้าในสมัยหน้า พ่อค้าชาว จีนจึงดำ�เนินนโยบายในการเป็นพันธมิตรเชิงกลยุทธ์ทางการค้ากับรัฐซึ่งทำ�ให้เกิดการ ผูกขาดในธุรกิจในหลายธุรกิจ บางธุรกิจที่เคยมีการแข่งขันก็ผูกขาดมากยิ่งขึ้นในขณะ ที่รัฐบาลก็สามารถเอาตัวรอดจากวิกฤตทางการเมืองได้ ( ง่ึ เนือ้ แท้ปญ ั หาทางเศรษฐกิจยัง ไม่ได้แก้ไข ) เช่น ธุรกิจการค้าขายข้าว และสินค้าโภคภัณฑ์อื่นๆเป็นต้น เนื่องจากบริษัท ที่รัฐจัดตั้งขึ้นมาแม้มีสิทธิประโยชน์พิเศษ เช่น ค่าขนส่งถูกกว่า ภาษีที่เสียก็มีอัตราต่ำ� กว่าเป็นต้น แต่ก็จำ�เป็นที่จะต้องใช้พ่อค้าชาวจีนเข้ามาจัดการ ดำ�เนินการบริหารแทน เพราะว่าพ่อค้าชาวจีนมีสายสัมพันธ์กับลูกค้าต่างประเทศที่ดีกว่าข้าราชการ เชี่ยวชาญ การตลาดและการเงินระหว่างประเทศ รู้จักและเข้าถึงระบบค้าขายสินค้าโภคภัณฑ์ล่วง หน้า ฯลฯ แต่พ่อค้าชาวจีนก็ยกความดีความชอบโดยการให้รัฐที่ได้ชื่อว่าเป็นตัวแทน การค้าลักษณะการค้ารัฐกับเอกชนต่างชาติ หรือการค้ารัฐต่อรัฐ แต่ที่จริงแล้วการค้า ส่วนใหญ่ก็ยังอยู่ในมือของพ่อค้าชาวจีน ( พ่อค้าชาวไทยเชื้อสายจีน ) ส่วนกิจการอื่นๆ เช่น อุตสาหกรรมการผลิตสินค้า พ่อค้าชาวจีนอาศัยทักษะความสามารถทำ�ให้ผลผลิต อุตสาหกรรมมีประสิทธิภาพดีกว่าอุตสาหกรรมของรัฐ ในที่สุดอุตสาหกรรมเหล่า นั้นของรัฐก็ต้องถูกแปรรูป ( ขาย ) ไปเกือบหมด เช่น โรงงานแบตเตอรี่ โรงงานอาหาร สำ�เร็จรูป ที่ไม่มีพ่อค้าชาวจีนทำ�อยู่ ยกเว้นบางอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ก็ต้องแปรรูป เข้าระบบทุน เช่น บริษัท การปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย จำ�กัด ( ที่เปลี่ยนจากบริษัท น้ำ�มันสามทหาร ) เป็นต้น ซ
109
เศรษฐกิจประเทศไทยภายใต้แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ จอมพลสฤษดิ์..ธนะรัชต์..นายกรัฐมนตรีได้วางแผนในการพัฒนาเศรษฐกิจ ประเทศอย่ า งมี ร ะบบ......โดยมีก ารจัดทำ�แผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 1 ในปี พ.ศ...2504 ได้มีการก่อสร้างเพื่อพัฒนาในด้านโครงสร้างพื้นฐานและ สาธารณูปโภค เช่น มีการก่อสร้างทางหลวงขึ้นจำ�นวนมาก การพัฒนาระบบไฟฟ้า การชลประทาน การสื่อสารและโทรคมนาคม มีการส่งเสริมการผลิตพืชไร่เพื่อการส่ง ออก เช่น มันสำ�ปะหลัง อ้อย ปอ ฯลฯ สนับสนุนให้มีการใช้เครื่องมือทางการเกษตร และแรงงานคนและสัตว์ เพื่อเพิ่มผลผลิตมีการก่อให้เกิดอุตสาหกรรมใหม่ๆเช่น สิ่งทอ ผลไม้กระป๋อง เครื่องใช้ไฟฟ้า สำ�หรับการลงทุนในรัฐวิสาหกิจก็ลดลง ( ให้เอกชนเป็น ผู้ดำ�เนินการยกเว้นธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับความมั่นคงเช่น ไฟฟ้าและสินค้าที่เป็นยุทธ ปัจจัยต่างๆเป็นต้น ) แผนพัฒนาเศรษฐกิจ ดำ�เนินการมาถึงสิ้นสุดฉบับที่ 3 คือ 15 ปี มีการประเมินว่าเศรษฐกิจขยายตัวได้ดี แต่ความเจริญยังกระจุกตัวอยู่เฉพาะส่วนกลาง ชาวชนบทมีการอพยพเคลื่อนย้ายหลั่งไหลเข้ามาทำ�งานในเมืองกันมาก แผนพัฒนา เศรษฐกิจสังคมแห่งชาติฉบับที่ 4 – 5 จึงเน้นที่จะกระจายรายได้สู่ชนบท อุตสาหกรรม ขนาดใหญ่ และโครงการขนาดใหญ่ๆก็กระจายตัวสู่ภูมิภาค นอกจากทำ�ให้เกิดการ กระจายรายได้สู่ชนบทแล้ว ยังทำ�ให้มูลค่าการส่งออกของไทยเพิ่มขึ้น 15 เท่าตัว สินค้า ใหม่ๆที่ทำ�รายได้สูงให้แก่ประเทศได้แก่ สิ่งทอ อัญมณี แผงวงจรไฟฟ้า การประมง ไก่ และสำ�คัญที่สุดคือ รายได้จากท่องเที่ยว ในปี พ.ศ. 2524 สมัยนายกรัฐมนตรีพลเอก เปรม ติณสุลานนท์ มีการขุดพบก๊าซธรรมชาติในอ่าวไทย ทำ�ให้เกิดโครงการพัฒนา ชายฝั่งทะเลตะวันออก ( Eastern Seaboard ) ต่อมาในสมัยนายกรัฐมนตรี พลเอกชาติ ชาย ชุณหะวัน ได้มีการจัดตั้งโครงการพัฒนาชายฝั่งทะเลภาคใต้ ( Southern Seaboard ) ในสมัยพลเอกชวลิต ยงใจยุทธ เป็นนายกรัฐมนตรี พ.ศ. 2540 ประเทศไทย เกิดวิกฤตเศรษฐกิจที่เรียก การแตกตัวของเศรษฐกิจฟองสบู่ อันเนื่องจากการขยาย ตัวเศรษฐกิจของประเทศที่เกิดขึ้นในช่วงที่ผ่านๆมา เกิดขึ้นอย่างรวดเร็วโดยไม่มีพื้น ฐานที่แท้จริงรองรับ ดุลบัญชีเดินสะพัดขาดดุลอย่างต่อเนื่อง ทำ�ให้ค่าเงินบาทขาด ความเชื่อถือ จึงเกิดการโจมตีค่าเงินบาทจากภายนอกประเทศ ทำ�ให้ค่าเงินบาทตกลง อย่างรวดเร็ว ขณะนั้นรัฐบาลแทนที่จะปล่อยให้ค่าเงินบาทลอยตัวอย่างเสรี กลับใช้
110
111
มาตรการเข้าพยุงเพื่อให้ค่าเงินบาทมีสูงกว่าที่เป็นจริง สุดท้ายเงินคงคลังที่มีอยู่ถึง 4 หมื่นล้านดอลล่าห์ เหลืออยู่เพียง 800 ล้านดอลล่าห์ การลงทุนธุรกิจต่างประเทศ หยุดชะงัก โรงงานธุรกิจปิดกิจการ ประชาชนตกงาน เงินเฟ้อพุ่งสูง รัฐบาลจึงต้อง เปลี่ยนนโยบายจะให้ค่าเงินบาทลอยตัวและต้องขอความช่วยเหลือจากกองทุนการเงิน ระหว่างประเทศ ( IMF ) เข้ามาจัดการทางการเงินเพื่อไม่ให้ประเทศต้องล้มละลาย จึง เรียกเศรษฐกิจไทยยุคนี้ว่า เศรษฐกิจยุค IMF ในยุ ค สมั ย นี้ ถึ ง ปั จ จุ บั น ธุ ร กิ จ ของประเทศไทยก้ า วไปสู่ ร ะบบธุ ร กิ จ ที่ มี ผ ล โดยตรงต่อเศรษฐกิจมหภาคซึ่งมักเรียกกันว่าธุรกิจระหว่างประเทศที่เกี่ยวข้องทั่วโลก ( Globalization Business ) ผลกระทบทางเศรษฐกิจการค้าจะเป็นลักษณะต่อเนื่องกัน ไม่ว่าการขยายตัวหรือการหดตัว พ่อค้าไม่ว่าเป็นชาวไทยหรือชาวไทยเชื้อสายจีนก็ เข้าสู่การแข่งขันในตลาดโลก ธุรกิจขนาดใหญ่แม้ว่าก่อตั้งและก่อกำ�เนิดจากชาวจีน หรือชาวไทยเชื้อสายจีนก็กลายเป็นธุรกิจของคนไทยและเข้าสู่ตลาดทุน หรือการเข้า ซื้อขายในตลาดหลักทรัพย์ ระบบการเงินก็ระบบธุรกิจการค้า การตลาด ก็เข้าสู่แบบ อย่างชาวตะวันตกเนื่องจากบุตรหลานชาวจีนก็เข้ารับการศึกษาในระบบตะวันตก และ กระแสธุรกิจโลก อย่างไรก็ดีชาวจีนหรือชาวไทยเชื้อสายจีนได้ปรับเปลี่ยนในด้านพื้นฐาน ทางการค้า ทำ�ให้ส่วนใหญ่ก็ยังครองความเป็นเจ้าของกิจการธุรกิจขนาดกลางและ ขนาดเล็ก หรือที่เราเรียกว่า ธุรกิจ SME และธุรกิจ SME เหล่านี้ก็ยังคงเป็นพื้นฐานที่ สำ�คัญของธุรกิจในประเทศไม่ว่าจะเป็นไปในทางด้านการผลิต หรือการตลาด และ ยังคงมีความสำ�คัญต่อระบบเศรษฐกิจไทยโดยรวม นอกจากนี้นโยบายส่งเสริมการ ท่องเที่ยวของรัฐบาล ทำ�ให้ธุรกิจในด้านการท่องเที่ยว ไม่ว่าธุรกิจที่เกี่ยวข้องโดยตรง เช่น โรงแรม การขนส่ง ฯลฯ หรือธุรกิจต่อเนื่องเช่น ธุรกิจอัญญมณี ผ้าไหม ร้าน อาหาร ฯลฯ ก็ขยายตัวขึ้นมาซึ่งธุรกิจเหล่านี้เกือบทั้งหมดดำ�เนินการโดยชาวต่างชาติ โดยมีชาวจีน ( ภายหลังกลายเป็นชาวไทยเชื้อสายจีน ) เป็นหลัก ดังนั้นแม้ว่าชาวไทย เชื้อสายจีนจะมีบทบาทในระบบเศรษฐกิจใหม่โดยตรงน้อยลง แต่ในเนื้อแท้แล้วธุรกิจ ของชาวไทยเชื้อสายจีนในระบบเศรษฐกิจที่เป็นอยู่ในปัจจุบันเปรียบเสมือนฟันเฟือง ของเครื่องจักรในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจโดยให้เจริญก้าวหน้าทัดเทียมและสามารถ แข่งขันได้ในตลาดภูมิภาคและตลาดโลก ที่สำ�คัญตัวหนึ่ง นอกจากนี้การค้าของชาว
112
จีนนั้นก็ยังคงความเป็นเอกลักษณ์ มีภาพลักษณ์ที่โดดเด่นไม่ว่าด้านคุณภาพ ความ น่าเชื่อถือ เป็นที่ยอมรับของตลาดในเมืองไทยและต่างประเทศ จนทำ�ให้เกิดการค้า ที่เป็นเอกลักษณ์เกิดขึ้นโดยเฉพาะอย่างยิ่งในถิ่นของชาวไทยเชื้อสายจีนในจุลนครฯ เช่น การค้าทองคำ�ในถนนเยาวราช การค้าผ้าในตลาดสำ�เพ็ง การค้าอะไหล่รถยนต์ ในย่านวรจักร การค้าเครื่องดนตรีในย่านเวิ้งนครเกษม เป็นต้น
113
114
การค้าขายในจุลนครฯนครหลวงแห่งประชากรชาวจีน ศูนย์กลางการค้าของประเทศไทย ตั้งแต่อดีตกาลการค้าขายในจุลนครฯ ซึ่งเจริญและพัฒนาจนกลายเป็น อัตตลักษณ์ของนครน้อยแห่งนี้ จากในยุคต้นสมัยรัตนโกสินทร์ เรือสำ�เภาแล่นค้าขาย ระหว่างจีนตอนใต้กับเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เป็นไปอย่างคึกคัก การค้าขายกับต่าง ประเทศของกรุงเทพฯ ส่วนใหญ่อยู่บริเวณท่าเรือในจุลนครฯมีทั้งหมดประมาณถึง ร้อยละ 85 ของการค้าทั้งหมด ในแต่ละปีมีเรือสินค้าเข้ามาค้าขายยังกรุงเทพฯ เป็น จำ�นวนมาก จนโกดังหรือคลังเก็บสินค้าฝั่งพระนคร บริเวณท่าเรือทรงวาด หรือท่า ราชวงศ์ไม่สามารถรองรับได้ ทำ�ให้ต้องสร้างโกดังขึ้นใหม่ทางฝั่งธนบุรี บริเวณ ปากคลองสานที่เรียก ฮวยจุง้ ล้ง ( แปลว่าท่าเรือ- เรือกลไฟ ) ขึน้ มาเป็นคลังรองรับใน ภายหลังทีม่ กี ารขนส่งโดยใช้เรือกลไฟ แล้วจึงขนถ่ายมายังกงสีลง้ ( ท่าเรือราชวงศ์ ) ท่าเรือทรงวาด ท่าเรือสำ�เพ็งอีกทีหนึง่ ในฤดูที่เป็นฤดูสำ�เภาจะมีสำ�เภาไหหลำ� สำ�เภา แต้จิ๋ว และสำ�เภาฮกเกี้ยน เรือสำ�เภาจะมีถึง 50 – 60 ลำ�เข้ามาจอดลอยเรืออยู่กลาง แม่น้ำ�เจ้าพระยา บริเวณหน้าท่าเรือสำ�เพ็ง ราชวงศ์ เรือสำ�เภาเหล่านั้นนำ�สินค้าส่วน ใหญ่มาจากฮ่องกง ซัวเถา ( จากประเทศจีน ) และสิงคโปร์มาขายให้กับพ่อค้าจีนใน สยาม ในขณะเดียวกันก็รับซื้อสินค้าที่ต้องการเช่น เปลือกไม้ กำ�ยาน หมาก กะปิ กระดูกสัตว์ กระวาน ฝ้าย งาช้าง พริกไทยดำ� ข้าว รองเท้าสาน ฯลฯซึ่งสินค้าเหล่านี้ ส่วนหนึ่งเป็นสินค้าที่พ่อค้าจีนในสยามซื้อไว้จากคนไทยตามภูมิภาค ส่วนหนึ่งสินค้า เหล่านี้เป็นส่วยจากไพร่หลวงทำ�ส่งราชสำ�นัก พระมหากษัตริย์ทรงให้พระคลังข้างที่ โดยพ่อค้าชาวจีนมาขายให้แก่สำ�เภาพ่อค้าจากต่างชาติ ขณะเดียวกันผลิตภัณฑ์ที่ พ่อค้าชาวจีนในสยามรับซื้อเข้ามาจากสำ�เภาต่างชาติคือของไหว้เจ้าและใช้ในการ ประกอบพิธี เครื่องเคลือบจีน ภาพชนะที่ทำ�ด้วยทองแดง ทองเหลือง เสื้อผ้าแบบจีน เครื่องปั้นดินเผา ผักอาหารแห้ง ดอง เครื่องแก้ว เครื่องโลหะ ( เครื่องมือ เครื่องครัว ตะเกียง ) ผ้าฝ้าย ผ้าไหม ของเล่น ร่ม ฯลฯ สินค้าส่งออกจากที่พบส่วนใหญ่เป็นสินค้าเกษตร และของป่า สินค้าส่งออก เหล่านี้ นอกจากเพื่อใช้บริโภคในประเทศจีนหรือตลาดตะวันออกเฉียงใต้เท่านั้น สำ�เภาจีนเหล่านี้ยังส่งต่อไปของประเทศโพ้นทะเลอื่นๆอีกต่อหนึ่งทำ�ให้ความต้องการ
115
สินค้าเหล่านี้จำ�นวนมาก ในทางกลับกันสินค้าที่จะนำ�มาขายก็มีการซื้อก็มีผู้ซื้อค่อน ข้างจำ�กัด ดังนั้นเพื่อไม่ให้เสียเที่ยวในการเดินเรือมาจากประเทศจีน เรือสำ�เภาจะได้ ไม่ว่าง ประเทศทางสยามเองก็ต้องการแรงงานไม่ว่าแรงงานที่มีมักจะเชี่ยวชาญพิเศษ เช่นช่างฝีมือก่อสร้าง ช่างเครือ่ งหนัง นักบัญชี ฯลฯ..หรือแรงงานกุล.ี .( เนือ่ งจากคนไทยไม่ นิยมทำ� นิยมทำ�นามากกว่า.. ) เพื่อใช้ในการปฏิสังขรณ์ บูรณะวัดวาอาราม การขุดคลอง การก่อสร้างอาคารต่างๆจึงทำ�ให้เกิดกระแสการอพยพชาวจีนมาสู่กรุงสยามจาก การนำ�คนจีนลงเรือสำ�เภาเข้ามาสู่ราชอาณาจักรสยาม และทำ�ให้ตลาดการค้าขายใน จุลนครฯ และกระแสการอพยพสู่สยามของชาวจีนขยายตัวขึ้นตามมามาก นอกจาก นี้ชาวจีนเองได้เปรียบชาติอื่นรวมทั้งคนไทยเองในการค้าระหว่างประเทศ คือความ เชี่ยวชาญในด้านวิทยาการค้าขายจากเมืองจีน ไม่ว่าทางด้านการตลาด ทางด้านการ จัดการทางด้านภาษี และอัตราแลกเปลี่ยนรวมทั้งการเงืนเงินคลัง เป็นต้น เจ้าสัวหรือพ่อค้าที่ประสพความสำ�เร็จ..เช่น..เจ้ากรมท่าซ้ายฯ..พระยาโชฎึก เศรษฐีเจ้าสัวโต ( พระยาราชสุภาวดี ) จางวางพระคลังสินค้าซึ่งเจ้าสัวเหล่านี้ นอกจาก ทำ�การค้าเรือสำ�เภาจนร่ำ�รวยแล้ว ท่านเหล่านั้นยังทำ�หน้าที่ทั้งเป็นที่ปรึกษาทางด้าน การค้าให้แก่พระมหากษัตริย์ หรือเจ้าพระยาพระคลัง ชาวจีนนอกจากทำ�หน้าที่รับ ราชการในตำ�แหน่งต่างๆในราชการของราชสำ�นักแล้ว ยังทำ�หน้าที่ประมูลสิทธิต่างๆ ในการจัดเก็บภาษีอากร สิทธิในการเปิดบ่อนการพนัน ที่เรียกกันว่า นายอากรบ่อน เบี้ยซึ่งนับเป็นผู้ทรงอำ�นาจที่แท้จริงในด้านธุรกิจในสมัยนั้น หลั ง สนธิ สั ญ ญาเบาว์ ริ่ ง ในสมั ย พระบาทสมเด็ จ พระจอมเกล้ า เจ้ า อยู่ หั ว รัชกาลที่..4..ชาวจีนไม่สามารถได้สิทธิประโยชน์ทางภาษีทั้งอัตราภาษีและวิธีการจัด เก็บ รัฐบาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่..5..ปรับปรุงระบบ การเงิน การคลัง รวมทั้งการกำ�หนดอัตราแลกเปลี่ยนเงินบาทที่แน่นอน การปฏิรูป ทางด้านสังคมและเศรษฐกิจอย่างมากมาย ทำ�ให้สยามเจริญก้าวหน้าอย่างมากมาย การค้าในประเทศสยามก็มีการแข่งขันกันโดยยุติธรรม แต่พ่อค้าชาวจีนเป็นชาติเดียว ที่ได้รับผลประโยชน์จากการค้าที่ขยายตัวอย่างมากมายนี้เป็นส่วนใหญ่ เนื่องจาก ประสบการณ์พื้นฐานและความเข้าใจในตลาดทั้งในประเทศ และนอกประเทศอย่าง ดีกว่าชาติไหน ชาวตะวันตกเองเคยคิดว่าจะใช้สนธิสัญญาเบาว์ริ่งเป็นช่องทางเปิด ประตูการค้าเข้าสู่ราชอาณาจักรสยามได้ แต่ผลสุดท้ายก็ไม่สามารถแข่งขันได้กับ
116
พ่อค้าชาวจีน ธุรกิจการค้าของตะวันตกเองก็ต้องอาศัยชาวจีนเป็นตัวแทนทางธุรกิจที่ เรียกว่า กัมปะโด เนื่องจากชาวจีนสามารถเข้าถึงลูกค้าได้ดีกว่า
ธุรกิจการค้าปฐมภูมิ การค้าของชาวจีนในจุลนครฯ..ยุคปฏิรูปทางสังคมเศรษฐกิจ
สมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 5 ก่อให้เกิดธุรกิจปฐมภูมิหรือ ธุรกิจขนาดใหญ่อันเป็นกิจการค้าที่เกิดขึ้นในจุลนครฯยุคปฏิรูปซึ่งเป็นธุรกิจหลักซึ่ง มีผลสะท้อนถึงเศรษฐกิจของประเทศและสามารถส่งผลต่อไปยังการค้าที่ต่อเนื่องที่ เกีย่ วข้องในลำ�ดับถัดไปอันได้แก่ ธุรกิจส่งออกผลิตผลทางการเกษตร ( ข้าว ), การเดิน เรือ สถาบันการเงิน การธนาคาร เป็นต้น
การค้าข้าว ข้าวไทยเป็นสินค้าที่สำ�คัญที่สุด เป็นที่ต้องการอย่างสูงของประเทศจีน
และตลาดโลก ซัวเถาเป็นเมืองมีการนำ�เข้าข้าวไทยมากที่สุด ( ประมาณร้อยละ 85-90 ของปริมาณข้าวทีส่ ง่ ออกไปประเทศจีน ) จำ�แนกเป็นเครือข่ายการค้าข้าวที่สำ�คัญใน สยาม โดยแต่เดิมบริเวณที่เรียกว่าตรอกข้าวสาร จะเป็นแหล่งค้าข้าวแหล่งใหญ่ ต่อ มาเมื่อจุลนครฯช่วงบริเวณสำ�เพ็งไม่สามารถมีโกดังในการรองรับในการเก็บข้าวที่จะ ส่งออกเพียงพอ เนื่องจากตลาดค้าข้าวขยายตัวขึ้นมาก ขณะเดียวกันโกดังสำ�เพ็งยัง ต้องรองรับสินค้านำ�เข้า – ส่งออกชนิดอื่นๆอีกมาก ในพ.ศ. 2468 จึงมีการขยับขยาย ไปยังบริเวณถนนทรงวาด โดยมีการจดทะเบียนสมาคมพ่อค้านำ�เข้าส่งออก “ฮ่องกงสิงคโปร์-ซัวเถา” พร้อมทั้งมีการปรับปรุงขยายโกดังรองรับ องค์กรนี้เป็นการปรับปรุง จากสมาคมพ่อค้าไทยซัวเถา ที่ทำ�การสมาคมยังมีสำ�นักงานตัวแทนของบริษัทเดินเรือ จองระวางเรือด้วย ( ดำ�เนินการในปีพ.ศ. 2471 ) สมาคมนี้ควบคู่ไปกับสมาคมโรงสีเป็น สถาบันการค้าของชาวจีนหลัก..2..แห่งเท่านั้น +
บริษัทฯค้าข้าวและพืชไร่ตกอยู่ในมือของกลุ่มทุนสำ�คัญๆเช่น หวั่งหลี เจี๋ยไต๋ ฮวยชวนก็ล้วนมีที่ตั้งอยู่บริเวณท่าน้ำ�สำ�เพ็ง ทรงวาด และราชวงศ์ โดยบริษัทเหล่านี้ ยังมีอาคารที่ทำ�การหรือที่พักอาศัยดั้งเดิมตั้งอยู่ถึงปัจจุบัน โรงสีข้าวแต่เดิมหลังสนธิสัญญาเบาว์ริ่งในปี พ.ศ. 2398 ก็มีชาวตะวันตกผู้ ซึ่งมีความรู้ทางด้านเทคโนโลยีด้านเครื่องจักรกล เข้ามาประเทศสยามเพื่อดำ�เนินการ ตั้งโรงสีโดยใช้เครื่องจักรสีข้าวแทนการนวดข้าวแบบโบราณ เนื่องจากสมัยนั้นข้าว
117
ไทยเป็นที่ต้องการสูงในตลาดโลก ชาวตะวันตกเล็งเห็นว่าจะได้ผลประโยชน์สูงคุ้มค่า กับการลงทุน เหตุเพราะว่าคู่แข่งการค้าสำ�คัญคือพ่อค้าชาวจีนเจ้าของตลาดยังไม่ สามารถทำ�ได้ ต่อมาชาวจีนเจ้าของโรงสีต้องจ้างวิศวกรชาวตะวันตกมาช่วยติดตั้งและ ซ่อมแซมดูแลเครื่องจักรเพื่อแข่งกับโรงสีของชาวตะวันตกและขณะเดียวกันก็ส่งชาวจีน กวางตุ้งที่มีความรู้ด้านจักรกลมาเป็นผู้ช่วยวิศวกร ในที่สุดวิศวกรชาวจีนกวางตุ้งก็ สามารถซ่อมแซมดูแลเครื่องสีข้าวแทนที่วิศวกรชาวตะวันตกได้ประมาณปี พ.ศ. 2450 ชาวจีนกวางตุ้งก็สามารถประดิษฐ์เครื่องสีข้าวขึ้นใช้เองได้ ต่อมาชาวจีนก็ได้คิดค้น ระบบการสีข้าวเพื่อให้ได้ข้าวที่มีเมล็ดขาวสะอาดน่ารับประทานมากขึ้นในปี พ.ศ. 2453 ..เริ่มมีการใช้ไฟฟ้าในอุตสาหกรรม การสีข้าวจึงใข้เครื่องจักรที่ใช้ไฟฟ้าแทนการใช้ น้ำ�มันในการสีข้าว ในปี พ.ศ. 2455 ชาวจีนได้ยึดครองธุรกิจโรงสีโดยสมบูรณ์ จากการที่ชาวจีนได้ครอบครองอาณาจักรโรงสีเรียบร้อยแล้ว ทำ�ให้ชาวจีน สามารถยึดครองธุรกิจค้าข้าวทั้งวงจร อันได้แก่ ระบบการซื้อขายข้าวเปลือก ( การเป็น พ่อค้าคนกลางรับซื้อข้าวเปลือกจากชาวนา ) การสีข้าว ( โรงสีข้าว ) การส่งข้าวออกเป็น สินค้าสู่ตลาดต่างประเทศคือ สิงคโปร์ ฮ่องกง จีนตอนใต้ หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งว่า ณ จุลนครฯแห่งนี้เป็นศูนย์กลางค้าข้าวของประเทศสยามของเอเชียตะวันตกเฉียงใต้แม้ กระทั่งตลาดโลก การค้าข้าวในห้วงเวลานี้อยู่ในกำ�มือพ่อค้าแต้จิ๋วในจุลนครฯ เป็น ส่วนใหญ่ โรงสีข้าวที่มีข้าวจัดเก็บมารวมกันไว้ในโกดังตามริมฝั่งแม่น้ำ�เจ้าพระยาทั้ง สองฝั่ง ฝั่งกรุงเทพฯต้องขยายโกดังจากโกดังบริเวณบางกระบือไปจนถึงย่านตลาด น้อยและบางคอแหลม ฝั่งธนบรีนั้นจะกระจุกตัวอยู่บริเวณท่าเรือกลไฟ หรือ “ฮวย จุ้งล้ง” ที่อยู่ตรงข้ามกับบริเวณทรงวาดไปจนถึงปากน้ำ�สมุทรปราการ โดยพ่อค้า เหล่านี้จะส่งคนไปตั้งสาขาของบริษัทที่ซัวเถา ฮ่องกง สิงคโปร์ และเวียดนาม โรงสีข้าว พ่อค้าข้าวในจุลนครฯ ลงทุนหรือเป็นพันธมิตรการค้ากับพ่อค้าชาวจีนในภูมิภาค เพื่อ ซื้อข้าวในการส่งออก บริษัทส่งออกข้าวเช่น ฮวยชวน กลุ่มหวั่งหลี เป็นต้นทั้งหมดล้วน ตั้งสาขาอยู่ในเมืองซัวเถาเป็นบริษัทในเครือหรือร่วมทุนบริษัทค้าข้าวในท้องถิ่นซัวเถา ตั้งเป็นบริษัทในเครือลักษณะเป็นตัวแทนจำ�หน่าย ดังนั้น พ่อค้าข้าวในจุลนครฯ จึง สามารถครอบครองเครือข่ายธุรกิจ ตั้งแต่การซื้อข้าวเปลือก การสีข้าว การส่งออกข้าว ไปสู่ตลาดต่างประเทศโดยสมบูรณ์
118
119
ธุรกิจการเดินเรือ
ธุรกิจการเดินเรือแม้นไม่มียอดตัวเลขโดยตรงทางเศรษฐกิจ เท่ากับการค้าขายสินค้าโภคภัณฑ์ก็ตาม แต่ธุรกิจการเดินเรือเป็นธุรกิจที่ส่งผลก ระทบต่อจุลนครฯและเศรษฐกิจของสยามประเทศอย่างมาก การเดินเรือนอกจาก ก่อให้เกิดกระแสการค้าระหว่างประเทศเพราะว่าเป็นการขนส่งที่มีต้นทุนการขนส่ง ที่ราคาถูกที่สุด..(..เทียบกับการขนส่งทางบก..เช่น..รถไฟ..เป็นต้น..)..สามารถเข้าให้ ถึงส่วนต่างๆระหว่างประเทศอย่างสะดวก การเดินเรือยังเป็นปัจจัยก่อให้เกิด กระแสการอพยพของชาวจีนเข้ามายังสยามได้อย่างสะดวกทำ�ให้เกิดการขยายตัว ด้านการค้าอย่างมากในชุมชนไม่ว่าในจุลนครฯ..และหัวเมืองส่วนต่างๆของประเทศ สามารถส่งผลต่อสังคมชาวจีนในไทยและเกิดการแปรเปลี่ยนในด้านเศรษฐกิจของ ประเทศเป็นอย่างมาก
ประมาณปี.พ.ศ.2404..หรือปลายรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า เจ้าอยูห่ วั หรือหลังสนธิสญ ั ญาเบาว์รง่ิ ( พ.ศ. 2398 ) ใหม่ๆการเดินเรือระหว่างจีนและ สยามเปลีย่ นมาใช้เรือกลไฟตามความก้าวหน้าทางวิทยาการทีม่ กี ารคิดค้นเครือ่ งจักร ไอน้�ำ ในยุคเริม่ ต้นธุรกิจการเดินระหว่างจีนกับสยามเป็นธุรกิจทีด่ �ำ เนินการโดยบริษทั เดินเรือของดัทซ์ อังกฤษ และนอร์เวย์ คือบริษทั บอร์เนียว บริษทั เบอร์มา่ บอมเบย์ ฯลฯ บริษัทเหล่านี้ขนส่งสินค้าเพื่อค้าขายระหว่างสยามกับซัวเถาและเครือข่ายอื่นๆพ่อค้า รายใหญ่..เช่น..หวั่งหลีต้องพึ่งพาธุรกิจส่งข้าวโดยเรือกลไฟต่างชาติยกเว้นเรือกลไฟ ซึง่ เป็นเรือ่ งสินค้าลำ�แรกของไทยทีม่ ชี อ่ื ว่า “เจ้าพระยา” เป็นของพระยาภาษีมหาสมบัติ บริบรู ณ์ ทีซ่ อ้ื มาจากพ่อค้าอังกฤษเป็นเงิน .85,000 เหรียญ มีระวางบรรทุก 500 ตัน เริม่ ออกเดินทางครัง้ แรกเมือ่ วันที่ 16 มีนาคม พ.ศ. 2404 นอกจากนีก้ ม็ เี รือ “ไวคอนเก” ของพระยาศุภผล เรือ “คอเรีย” ของพระยาสุรยิ วงศ์ไวยวัฒน์ เป็นต้น เท่านัน้ ต่อมาชาวจีนก็ก่อตั้งบริษัทเดินเรือกลไฟ เพื่อใช้ในกิจการของตนเองและใช้ ขนส่ง ชาวจีนที่จะอพยพเข้ามาในสยามเช่น บริษัทเดินเรือฮั่วเซียม บริษัทเดินเรือ หวั่งหลี บริษัทเดินเรือโหงวฮก บริษัทเดินเรือหวั่งหลีเองก็มีบริษัทย่อยอีก 2 บริษัท คือบริษัทเดินเรือจงเซียมและบริษัทเดินเรือโป หลิง ชาวจีนในสยามได้รับอนุญาต จากราชการให้สามารถเดินทะเลในธุรกิจระหว่างประเทศ และการเดินเรือภายใน ประเทศด้วย ทำ�ให้ชาวจีนที่ทำ�ธุรกิจการค้าในการใช้เรือขนส่งสินค้าชนิดต่างๆล่อง ลอยแม่น้ำ� ลำ�คลอง ลึกเข้าไปต่างจังหวัดเพื่อค้าขายไม่ว่าการนำ�สินค้าไปจำ�หน่าย
120
หรือส่งสินค้าจากการสั่งซื้อจากห้างร้านที่เข้าจากต่างประเทศซึ่งการเดินเรือภายใน ประเทศทำ � ให้ พ่ อ ค้ า ชาวจี น หลายส่ ว นอพยพเข้ า ไปตั้ ง รกรากในภู มิ ภ าคเพราะ เห็นช่องทางโอกาสในการทำ�การค้าและทำ�ให้การค้าขายแพร่ขยายไปสู่หัวเมือง เศรษฐกิจภูมิภาคเจริญขึ้นมาก เนื่องจากเมี่อการค้าขายเจริญสินค้าผลิตภัณฑ์ใน ท้องถิ่นสามารถออกสู่ตลาดในกรุงเทพฯหรือสู่ต่างประเทศได้นอกจากการส่งวัตถุดิบ เท่านั้น ทำ�ให้สามารถครอบครองตลาดการค้าในประเทศอีกช่องทางหนึ่งด้วย ในการลงทุนในกิจการเดินเรือพาณิชย์ของคนจีนก็เป็นยุทธวิธีสำ�คัญอย่าง หนึ่ ง ในการพยายามที่ จ ะเข้ า ไปควบคุ ม ตลาดและการพั ฒ นาการตลาดระหว่ า ง ประเทศซึ่งแต่เดิมเป็นช่องทางเดียวในวงจรธุรกิจที่คนจีนเสียเปรียบชาวตะวันตกซึ่ง พ่อค้าชาวตะวันตกมองเห็นเช่นกัน เนื่องจากธุรกิจในการเดินเรือพาณิชย์ซึ่งเป็น ปัจจัยสำ�คัญในการขนส่งข้าวไปยังตลาดต่างประเทศตกอยู่ในมือพ่อค้าชาวตะวัน ตก กรณีพ่อค้าจีนต้องเช่าเรือขนส่งข้าวของบริษัทฯตะวันตกทำ�ให้พ่อค้าชาวจีน รู้สึกว่าอึดอัดใจในความไม่สะดวกและภาระค่าใช้จ่าย ดังนั้นพ่อค้าชาวจีนจึงคิดที่จะ ทำ�ธุรกิจการเดินเรือขนส่งเสียเอง จึงมีการจัดตั้งบริษัทเดินเรือสินค้าในปี พ.ศ. 2451 ขณะเดียวกันก็จัดตั้งธนาคารจีนสยามในปี พ.ศ. 2453 ขึ้นมารองรับด้านเงินทุนของ การดำ�เนินธุรกิจการเดินเรือ อย่างไรก็ตามธุรกิจการเดินเรือต้องใช้การลงทุนสูงมาก และไม่สามารถต่อ เรือกลไฟได้ในสยามเหมือนกับเรือสำ�เภา แต่พ่อค้าชาวจีนก็ยังมีความเหนียวแน่นใน ธุรกิจนี้ กลุ่มทุนที่สำ�คัญที่ระดมกันก็มีพระอนุรัตน์ราชนิยม ( ยี่กอฮง ) เป็นตัวตั้งตัวตี กับหลวงโสภณ เพชรรัตน์ ได้มีการจัดตั้งบริษัทเรือเมล์จีนสยามทุนขึ้นในปีพ.ศ. 2451 การจัดตั้งบริษัทเดินเรือของชาวจีนโดยแท้จริง นอกจากการมุ่งหวังทางธุรกิจแล้ว ยังเป็นเพราะจิตสำ�นักของพ่อค้าชาวจีนในความเป็นชาตินิยม ที่ต้องการสร้างความ แข็งแกร่งและสามารถสู้กับชาติตะวันตกได้ การจัดตั้งบริษัทเดินเรือนี้นับเป็นความ ร่วมมือระหว่างพ่อค้าและคหบดีชาวจีนทั้งในสยามและที่ซัวเถา เพื่อให้สามารถ แข่งขันกับบริษัทตะวันตกซึ่งขณะนั้นคือ บริษัทของเยอรมันนี้ชื่อบริษัทเยอรมันพอ เดนท์เซอร์ลอยด์ที่ขณะนั้นผูกขาดการเดินเรือระหว่างกรุงเพทฯ - ซัวเถา บริษัทเรือ เมล์จีนสยามทุนใช้วิธีการเชิญชวนพ่อค้าจีนหันมาเช่าเรือของบริษัท เพื่อขนส่งสินค้า แทนการใช้เรือของบริษัทตะวันตกซึ่งมียุทธวิธีจูงใจโดยการโน้มน้าวใจพ่อค้าจีนให้
121
คำ�นึงถึงอุดมการณ์ชาตินยิ ม และกลยุทธ์ในตัดราคาค่าขนส่ง และค่าโดยสารให้ต�ำ่ กว่าบริษทั เดินเรือตะวันตกซึง่ ทำ�ให้บริษทั ชาติตะวันตกรูส้ กึ ไม่พอใจอย่างมาก บริษทั เยอรมันจึงใช้กลยุทธ์ลดราคาอัตราค่าขนส่งและค่าโดยสารเข้าสู่กับบริษัทเรือเมล์จีน สยามซึง่ ทำ�ให้พอ่ ค้าและผูอ้ พยพชาวจีน หันกลับไปใช้บริการของบริษทั เยอรมันแทน เป็นเหตุให้บริษัทเรือเมล์จีนสยามต้องประสบปัญหาการขาดทุนอย่างหนักและต้องปิด กิจการไปเนือ่ งจากล้มละลายของบริษทั หลังจากนัน้ ก็มกี ารจัดตัง้ บริษทั นาวาสยาม เดินเรือในปี พ.ศ. 2452 โดยเจ้าสัวตันง่วนฮวด แต่สดุ ท้ายก็ประสบสภาวะขาดทุนและ ล้มละลายทำ�ให้บริษทั ปิดตัวในทีส่ ดุ ในเวลาต่อมาก็มบี ริษทั คนไทยทีใ่ ช้ชอ่ื ว่า..บริษทั เรือไฟไทยทุน และบริษทั พาณิชย์นาวีสยามทุน แต่กไ็ ม่ประสบความสำ�เร็จเช่นกัน
ธุรกิจการเงินการธนาคาร....ขณะที่ธุรกิจการค้าในประเทศและระหว่างประเทศ
ขยายตัวมากขึน้ ความจำ�เป็นทีจ่ ะต้องมีสถาบันทีม่ าทำ�หน้าทีจ่ ดั การทางการเงิน การ บริหารจัดสรร ช่วยเหลือค้�ำ ชู จัดระเบียบ เป็นแหล่งการเงินสำ�หรับธุรกิจค้าขาย ดัง นัน้ จึงมีการจัดตัง้ ธนาคารทัง้ ทีเ่ ป็นชาวต่างชาติตะวันตก ชาวจีน แม้กระทัง่ ชาวไทย ขึน้ ธนาคารโดยเฉพาะอย่างยิง่ ทีเ่ ป็นของคนจีนดำ�เนินการอืน่ ๆ..เช่น..การแลกเปลีย่ น เงินตราระหว่างเงินบาทกับเงินตราสกุลต่างประเทศทีเ่ ป็นคูค่ า้ การออกตราสารเพือ่ การเป็นหลักทรัพย์ค�ำ้ ประกัน เงินออมและสินเชือ่ ส่วนบุคคล ทีส่ �ำ คัญทีส่ ดุ คือการโอน เงินตราของชาวจีนที่มาทำ�งานในสยามแล้วต้องการโอนเงินไปยังญาติท่ีอยู่เมืองจีน เป็นต้น ในบริเวณพื้นที่ราชวงศ์..สำ�เพ็งเป็นแหล่งที่มีความสำ�คัญต่อประวัติศาสตร์ การเงินของไทย ทัง้ นีเ้ นือ่ งจากชาวจีนโพ้นทะเลส่วนใหญ่มคี วามผูกพันหรือมีพนั ธะ (.ชาวจีนอพยพมาสยามนั้นส่วนใหญ่มักจะทิ้งครอบครัว..เมีย..หรือลูกไว้ท่ีเมืองจีน.) ต่อบ้านเกิดเมืองนอน ดังนัน้ การทีจ่ ะต้องส่งเงินเพือ่ เลีย้ งดูครอบครัวในประเทศไทย ระบบการส่งเงินจากเมืองไทยไปสูบ่ คุ คลทางเมืองจีนเราเรียก..“โพยก๊วน” เกิดขึน้ ระบบ.“โพยก๊ ว น”.นอกจากเป็นระบบการส่งเงินกลับไปให้ญาติทางเมืองจีนแล้ว เอกสารนำ�ส่งและตอบรับซึง่ เป็นจดหมายยืนยัน รวมทัง้ การส่งสารเพือ่ บอกเล่าสาร ทุกข์สุกดิบระหว่างกันก็ถือเป็นผลพลอยได้ในการสื่อสารปฏิสัมพันธ์ท่สี ำ�คัญของคนที่ อยูใ่ นเมืองไทย และเมืองจีนอันหนึง่ ในสมัยนัน้
122
ในสมัยนั้นระบบธนาคารพาณิชย์และระบบบริการทางไปรษณีย์ระหว่าง ประเทศยังไม่กา้ วหน้า การดำ�เนินการและกลวิธที เ่ี ริม่ มาจากบรรดาชาวจีนทีเ่ ข้ามา ในสยาม เมือ่ จะเดินทางกลับก็จะมีชาวจีนทีย่ งั ทำ�งานหรือการค้าในสยามอยู่ ฝาก เงินและจดหมายกลับไปให้ญาติ แรกเริม่ เดิมทีกม็ าจากการฝากคนสนิททีร่ จู้ กั กันหรือ คนในหมูบ่ า้ นเดียวกันก่อน เมือ่ ญาติทางเมืองจีนได้รบั เงินและจดหมายจากเมืองไทย แล้ว ก็จะตอบจดหมายฝากกลับมากับผูถ้ อื เงินให้ผสู้ ง่ เสมือนหนึง่ ใบรับเงิน ในประเทศ จีนเองในกรณีญาติทางผู้รับไม่สามารถเขียนจดหมายได้จะมีการไหว้วานผู้อ่ืนช่วย เขียนจดหมายตอบให้ถา้ ไม่มคี นช่วยเขียนก็ตอ้ งจ้างให้คนช่วยเขียนให้ท�ำ ให้เกิดอาชีพ รับจ้างตอบจดหมายในประเทศจีนขึน้ ต่อมาเมือ่ มีการส่งเงินจากสยามมากขึน้ เพือ่ น ฝูงญาติมติ ร ทีจ่ ะไปกลับประเทศจีนและทำ�หน้าทีน่ �ำ ส่งเงินและเอกสารมีไม่เพียงพอจึง ต้องไปฝากกับคนทีท่ �ำ หน้าทีน่ �ำ สินค้าหรือสิง่ ของ คนเดินทางไปมาระหว่างเมืองท่า ต่างๆเป็นประจำ�ทำ�หน้าทีเ่ ป็นสือ่ กลางโดยคิดค่าบริการตามสมควรต่อมาเมือ่ มีชาวจีน โพ้นทะเลต้องการส่ง “โพย” (.“โพย”โดยทัว่ ไปหมายถึงเอกสารสารหรือใบสัง่ เพือ่ การ หำ�กับให้การดำ�เนินการธุรกรรมใดธุรกรรมหนึง่ เช่น โพยหวยหมายถึงเอกสารเพือ่ การ แทงหวยเป็นต้นซึ่ง..“โพย”..ในที่น้ีหมายถึงโพยหรือใบสั่งเพื่อใช้ในการดำ�เนินการส่ง เงินให้ญาติท่ีเมืองจีน.)..ธุรกรรมโพยก๊วนที่อาศัยการดำ�เนินการของคนรู้จักกันขยาย ตัวมาขึน้ จนกระทัง่ ไม่สามารถใช้แค่คนทีม่ คี วามรูจ้ กั คุน้ เคยกันมาทำ�ธุรกรรมได้แล้วจึง เกิดระบบตัวแทนที่มีอาชีพกระทำ�กิจกรรมดังกล่าวโดยตรงทำ�หน้าที่รวบรวมเงินและ จดหมายจากผู้ต้องการส่งให้ญาติท่ีเมืองจีนโดยอาจรวบรวมเป็นห่อผ้าพัสดุส่งไปให้ ญาติกไ็ ด้ซง่ึ คิดค่าบริการตามน้�ำ หนัก นายหน้าก็จะการแทนไปรษณียร์ ะหว่างประเทศ แล้วเดินทางไปส่งเงินฝากพร้อมจดหมายหรือพัสดุอ่ืนไปยังจุดหมายในประเทศจีน และนำ�จดหมายตอบรับกลับมาให้กบั ผูส้ ง่ ในสยามได้ ต่อมาตัวแทนการรับส่งโพย จึงวิวฒ ั นาการเป็น “โพยก๊วน” ( สำ�นักงานทีด่ �ำ เนินการตามใบสัง่ โพย ) เพือ่ ทำ�หน้าที่ รับส่งโพยเป็นอาชีพ มีการจ้างเสมียนไว้ชว่ ยในการเขียนจดหมายให้บริการผูส้ ง่ ด้วย ในกรณีผสู้ ง่ ไม่สามารถเขียนจดหมายเองได้ กิจการโพยก๊วนจึงมีความสำ�คัญต่อชาว จีนโพ้นทะเลอย่างมาก ธุรกิจโพยก๊วนดำ�เนินมายาวนาน ( แม้กระทัง่ ในสมัยผูเ้ ขียนยัง เด็กอยูก่ ไ็ ด้เห็นบิดาทีใ่ ช้บริการโพยก๊วนเถือ่ นเพือ่ ส่งเงินไปให้ญาติทเ่ี มืองจีน เพราะใน สมัยนัน้ การติดต่อกับประเทศจีนเป็นสิง่ ผิดกฎหมายอีกทัง้ ปัญหาทางการเมืองระหว่าง ประเทศก็ท�ำ ให้ธนาคารในประเทศไม่สามารถเข้าถึงระบบการโอนเงินดังกล่าวได้ ) ...
...
123
124
กลุ่มพ่อค้าคหบดีชาวจีนที่มีกิจการค้าระหว่างประเทศมักจะทำ�กิจการโพยก๊วน ควบคู่ไปด้วย เนื่องจากประการแรกความเป็นผู้ที่ได้รับการเชื่อถือในกลุ่มจีนมาจาก ภูมิลำ�เนาเดียวกัน ประการที่สองพ่อค้าจีนขายสินค้าไปยังซัวเถาแทนที่จะต้องส่งเงิน ค่าสินค้ามายังพ่อค้าชาวจีนในประเทศไทยก็ให้โอนเงินค่าสินค้าไปยังสาขาตัวแทน ของพ่อค้าชาวจีนที่ตั้งไว้และนำ�เงินเหล่านี้ไปส่งไปให้ญาติปลายทางตามโพยที่สั่ง ที่กรุงเทพฯ..เมื่อญาติทางเมืองจีนได้เงินเรียบร้อยก็ตอบกลับใบรับเป็นจดหมายตอบ เหมือนเดิม ส่วนจดหมายที่ผู้ส่งเงินก็ได้ใช้ส่งในระบบไปรษณีย์ระหว่างประเทศ หรือใช้วิธีการฝากจดหมายไปกับเรือเมล์ระหว่างประเทศ ส่วนเงินค่าสินค้าในไทย ก็คือเงินที่รับจากผู้ฝากเงินเพื่อส่งโพยเหล่านี้โดยมีจำ�นวนเงินเท่ากับค่าสินค้าที่จะ ได้รับจากผู้ซื้อสินค้า ข้อดีจากการส่งเงินระบบนี้คือ พ่อค้าไม่ต้องนำ�เงินเดินทางไป กับเรือ ทำ�ให้มีความปลอดภัยยิ่งขึ้น ขณะเดียวกันพ่อค้าได้เงินมาใช้ดำ�เนินธุรกิจ ก่อนไม่ต้องรอเงินโอนค่าสินค้าจากซัวเถาซึ่งระบบนี้ในธุรกิจการเงินที่ให้ปลายทาง ของคู่ค้าจ่ายเงินค่าสินค้า ( บริการ ) ให้บุคคลที่มาที่อยู่ปลายทางแทนการโอนเงิน มาสู่ต้นทาง (.ผู้ขายหรือผู้ให้บริการ.)..ซึ่งเราเรียกใช้การเงินในการโอนเงินตราต่าง ประเทศแบบนี้ว่า “วิธีการเงินแบบ”โพยก๊วน ซึ่งจาก “วิธีการเงินแบบ “โพยก๊วน” ทำ�ให้พ่อค้าจีนในสยามเล็งเห็นผลเลิศว่ากิจการนี้ให้ผลตอบแทนในระดับสูง เมื่อ กิจการธนาคารเข้ามาในประเทศสยามกลุ่มพ่อค้าคหบดีชาวจีนเหล่านี้จึงรีบสนอง ตอบรับกิจการธนาคารอย่างรวดเร็วเพราะผลประโยชน์ที่สามารถนำ�เงินที่ได้อีก ส่วนหนึ่งคือเงินฝากเข้ามาใช้กิจกรรมการค้าทำ�กำ�ไรได้อีกทอดหนึ่ง นอกจากเงินที่ เข้ามาจากเงินฝากส่งโพยก๊วน บางครั้งการธนาคารทำ�ให้การค้าขยายตัวทวีคูณ เพราะว่าระบบการเงินแบบ “โพยก๊วน” สามารถสร้างวงเงินเครดิตและสามารถนำ� วงเงินนี้สร้างตราสารแลกเปลี่ยนทางการเงิน (.Bill of Exchange หรือ B/E )และกลาย เป็นวงเงินในการทำ�ธุรกรรมทางการค้าแทนเงินสดโดยจะเพิ่มความน่าเชื่อถือของผู้ ออกตราสาร แต่ในขณะเดียวกันก็ทำ�ให้ความเสี่ยงเพิ่มขึ้นมากเพราะทำ�ให้เกิดฟอง สบู่ ถ้าเป็นการใช้เงินผิดวัตถุประสงค์หรือมีการลงทุนที่ไม่ระวังและโลภมากเพราะ เงินทุนหมุนเวียนแบบนี้แทบไม่มีต้นทุน ประกอบกับในขณะนั้นไม่มีกฎหมายควบคุม ระบบธนาคาร เมื่อเศรษฐกิจโลกตกต่ำ�..สินค้าขายไม่ออก..คนตกงานเกิดภาวะเงินฝืด ธุรกิจธนาคารหลายแห่งก็ประสพภาวะล้มละลายไป ในช่วง.พ.ศ..2454..พระบาท สมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จขึ้นครองราชย์นโยบายการปกครองชาวจีน
125
ในสยามเปลี่ยนแปลงไปมีการเข้มงวดมากขึ้น ขณะเดียวกันก็เกิดความวุ่นวายใน ประเทศจีน เนื่องจากการปฏิวัติประเทศจีนจากระบบฮ่องเต้มาเป็นระบบสาธารณรัฐ ทำ�ให้ส่งผลกระทบต่อพฤติกรรมของชาวจีนในสยาม การส่งเงินกลับประเทศด้วยวิธี โพยก๊วนเป็นเรื่องที่ไทยให้ความสนใจเพราะมีผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจไทยอย่าง มาก พระองค์ทรงมีรบั สัง่ ให้เจ้าพระยายมราชเสนาบดีกระทรวงนครบาล ทำ�การ สืบสวนดูเรื่องโพยก๊วนที่รับฝากหนังสือและเงินส่งไปยังเมืองจีนแยกประเภททั้งภาษา ปริมาณเงินส่งออกในแต่ละและบัญชีรายชือ่ ร้านโพยก๊วนพร้อมทีต่ ง้ั ในกรุงเทพฯซึง่ จาก การสืบสวนของพระยาอินทราธิบดีสหี ราชรองเมืองได้ความว่าจำ�นวนร้านโพยก๊วนใน กรุงเทพฯ ขณะนัน้ มีอยูร่ วม 58 ยีห่ อ้ ทีส่ �ำ คัญได้แก่ ร้านโพยก๊วนเซ่งชุน่ หลี ของแต้ไต้ ฉิน ( เตชะกำ�พุช ) หัวหน้าคนจีนแต้จว๋ิ ซึง่ เป็นเจ้าของกิจกรรมอืน่ ๆ..คือ โรงรับจำ�นำ� โรง หวย โรงบ่อน เป็นผูถ้ อื หุน้ ใหญ่ในบริษทั นาวาจีนสยามหรือเรือเมล์จนี สยามทุน ภาย หลังได้เปลี่ยนกิจการโพยก๊วนที่เจริญเติบโตมาเป็นธนาคารชื่อธนาคารซุนฮกเซงซึ่ง เป็นธนาคารชาวจีนสมบูรณ์แบบทำ�กิจการซือ้ ขายตัว๋ และแลกเปลีย่ นเงิน รับฝากและ ให้กยู้ มื เงิน กิจการขยายมีสาขาอยูท่ ง้ั ในสิงคโปร์ ฮ่องกงและซัวเถา ร้านโพยก๊วนของ จีนฮงหรือยีก่ อฮงชือ่ ร้านแต้เคียหัว ยีก่ อฮงเป็นชาวจีนแต้จว๋ิ ประกอบกิจการเป็นเจ้า ภาษีนายอากร โรงบ่อน โรงหวย และเป็นผูถ้ อื หุน้ ใหญ่ในบริษทั นาวาจีนสยามหรือเรือ เมล์จนี สยาม มาเฮงสุน หรือเบ๊เฮงสุน จีนกันกวางตี.่ .ซึง่ ถือหุน้ ในธนาคารยูเ่ สงเฮงหรือ ธนาคารจีนสยาม ) ฮุนกิมฮวดของชาวจีนไหหลำ� จะเห็นว่าโพยก๊วนหลายๆแห่งเกี่ยวข้องกับผู้มีอิทธิพลหรือกิจการเดินเรือ เพราะว่าโพยก๊วนเหล่านี้ทำ�สัญญาผูกขาดผู้โดยสารเรือกับบริษัทเดินเรือ การจัดหา แรงงานจีนไม่ว่าในกิจการก่อสร้าง กุลีโรงสี โรงเลื่อยซึ่งจะต้องทำ�หน้าที่ในการชำ�ระ ค่าโดยสารไปก่อนและค่อยรับการชำ�ระคืนจากนายจ้าง ดังนั้นลักษณะคุณสมบัติ ของเจ้าของกิจการโพยก๊วนสมัยนั้นคือต้องเป็นผู้ที่ให้รับการยอมรับในหมู่คนจีน ภาษาเดียวกัน และเจ้าของเหล่านี้มักจะต้องประกอบอาชีพอื่นๆควบคู่ไปด้วยที่สำ�คัญ คือเจ้าของกิจกรรมค้าข้าวที่จะต้องใช้เงินทุนมากและผลประโยชน์อื่นๆของการเงิน ดังที่กล่าวมาข้างต้น ขณะเดียวกันเจ้าของกิจการโพยก๊วนหากไม่ใช่พ่อค้าที่ทำ� ธุรกิจค้าข้าวระหว่างประเทศ ก็ต้องมีอิทธิพลในการควบคุมการเดินเรือไปมาระหว่าง ประเทศจีน และประเทศไทยด้วย
126
หลังจากปี พ.ศ. 2501 เกิดปัญหาทางการเมืองทัง้ ในจีนและประเทศไทย ประเทศ จีนมีการปฏิวัติวัฒนธรรมมีการทำ�ร้ายชาวจีนที่ถูกเรียกว่าพวกนายทุนเจ้าของที่ดินซึ่ง ส่วนใหญ่คอื ญาติของชาวจีนทีม่ าทำ�งานค้าขายในประเทศไทย ขณะเดียวกันรัฐบาล ไทยก็มีนโยบายต่อต้านคอมมิวนิสต์ห้ามการเดินทางติดต่อกับประเทศสังคมนิยมต่างๆ รวมทัง้ สาธารณรัฐประชาชนจีน ทำ�ให้จ�ำ นวนเงินส่งออกกลับประเทศของชาวจีนใน ประเทศไทยได้ลดลงอย่างมาก โพยก๊วนเป็นกิจกรรมทีต่ อ้ งทำ�กันอย่างลับๆเพราะเป็น เรื่องที่ผิดกฎหมายขณะเดียวกันญาติผู้ใหญ่ในเมืองจีนที่มีอายุมากก็ล้มหายตากจาก ไป จนกระทัง่ เมือ่ มีการเปลีย่ นแปลงนโยบายความสัมพันธ์ไทยจีนในหลังปี..พ.ศ. 2518.. ชาวจีนในไทยจึงได้มโี อกาสเดินทางกลับไปเยีย่ มเยือนญาติมติ รทีป่ ระเทศจีนได้อกี ครัง้ .. ในวันที่ 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2524 เนือ่ งจากโพยก๊วนมีการโอนผ่านเงินตราระหว่าง ประเทศน้อยมาก กระทรวงการคลังจึงได้ประกาศยกเลิกการต่ออนุญาตให้แก่ตวั แทน โพยก๊วนทำ�ให้ระบบโพยก๊วนก็สน้ิ สุดไปผูป้ ระสงค์จะส่งเงินไปเลีย้ งดูครอบครัวก็สามารถ โอนผ่านระบบธนาคารได้ ระบบโพยก๊ ว นในจุ ล นครฯนี้ ถื อ เป็ น จุ ด กำ � เนิ ด ของธุ ร กิ จ ธนาคารใน ประเทศไทย การขยายตัวทางการค้าโดยเฉพาะอย่างยิ่งการส่งออกข้าว ก่อให้เกิด ความต้องการทางด้านเงินทุนหมุนเวียนและระบบสินเชื่อธุรกิจอย่างมาก ในระยะ แรกพ่ อ ค้ า จี น ใช้ ร ะบบกู้ยืม กันเองหรือ การระดมทุนด้วยการเล่นแชร์ซึ่งไม่ส ามารถ แก้ไขปัญหาทั้งในเชิงปริมาณและมาตรฐานทางการเงินได้ดังนั้นการจัดตั้งธนาคาร เป็นเรื่องจำ�เป็นสำ�หรับธุรกิจที่ทันสมัย.(.ในขณะนั้น.) การจัดตั้งธนาคารพาณิชย์ของ พ่อค้าเกิดขึ้นในระยะแรกก็ล้มลุกคลุกคลานเนื่องจากมีทุนรอนขนาดเล็กเกินไปในการ ดำ�เนินกิจการ ที่สำ�คัญผู้บริหารขาดความรู้เรื่องการบริหารจัดการงานธนาคารไม่มี ประสบการณ์ในการดำ�เนินงานทำ�ให้ปิดกิจการไป.เช่น.ธนาคารยู่เสงเฮงก่อตั้งปี พ.ศ. 2450..สิ้นสุดในปี..พ.ศ.2458 แบงค์มณฑลก่อตั้งปีพ.ศ. 2450 อยู่ได้ไม่นานก็ล้ม บางกอก ซิตี้แบงค์ก่อตั้ง พ.ศ. 2452 ล้มลงในปี พ.ศ. 2453 แบงค์จีนสยาม ก่อตั้ง พ.ศ.2453 ล้ม ลงในปี พ.ศ.2456 ขณะนั้นพ่อค้าจีนยังไม่นิยมใช้บริการของธนาคารของชาวยุโรปและ แบงค์สยามกัลป์มาจล ( บริหารโดยชาวยุโรป ) เนื่องจากดอกเบี้ยและอัตราแลกเปลี่ยน เงินมีต้นทุนสูง นอกจากนี้ยังมีระบบเอกสารที่เข้มงวดต่อมาจึงมีธนาคารที่เป็นของ ชาวจีนเกิดขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อการโอนเงินกลับประเทศขึ้นของชาวจีนอพยพไป
127
ให้ญาติและครอบครัวที่ประเทศจีน..(..บางครั้งเป็นการโอนเงินเพื่อช่วยในการบูรณะ ประเทศของจีนรวมทั้งการสนับสนุนกลุ่มการเมืองต่างๆในจีนด้วย ) และธนาคารของ ชาวจีนที่ทำ�การดำ�เนินกิจการเพื่อการอำ�นวยความสะดวกให้แก่พ่อค้าในธุรกิจนำ� เข้าส่งออกสินค้านั้นจะแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท คือ ประเภทแรก เป็นธนาคารของ ชาวจีนโพ้นทะเล เป็นธนาคารขนาดใหญ่ มีการบริหารจัดการนโยบายธุรกิจอย่าง เป็นมาตรฐานสากล ดำ�เนินกิจการในการรับฝากเงินให้กู้ยืม..การจ่ายเงินล่วงหน้า การซื้อขายตั๋วเงิน การทำ�ธุรกิจแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ ( กิจกรรมเช่นเดียวกับ ธนาคารพาณิชย์สมัยใหม่ ) อันได้แก่ ธนาคารซีไฮตง ( Sze Hai Tong Bank ) ธนาคาร กวางตุง้ ( Bank of Canton ) ธนาคารโอเวอร์ซไี ชนีส ( The Oversea Chinese Bank ) เป็นต้น ธนาคารชาวจีนอีกประเภทหนึ่ง คือ ธนาคารที่จัดตั้งภายในชุมชนการค้าในประเทศ เช่นในจุลนครฯนั้นเป็นธนาคารขนาดเล็กซึ่งจะทำ�ธุรกิจร้านโพยก๊วนหรือธุรกิจอื่นๆ ควบคู่ไปด้วย ธนาคารเหล่านี้ทำ�หน้าที่รับฝากเงินด้วย ( แต่ส่วนใหญ่ยังไม่ค่อยเชื่อ ถือกันจึงไม่ค่อยมีคนมาฝากเหลือเพียงทำ�หน้าที่แลกเปลี่ยนเงินอย่างเดียว ) จากการ ที่ธนาคารจีนสยามล้มตัวลงในปี..พ.ศ.2456 ทำ�ให้รัฐบาลไม่อนุญาตให้มีการจัดตั้ง ธนาคารจีนในประเทศขึ้นมาอีกแต่พ่อค้าจีนก็ยังคงมีธนาคารเล็กๆลักษณะแบบห้าง เงินที่ดำ�เนินธุรกิจในชุมชนชาวจีนในจุลนครฯโดยไม่มีการจดทะเบียน รัฐบาลแม้จะ รู้เรื่องการดำ�เนินธุรกิจของธนาคารเหล่านี้ก็ไม่เข้าไปจัดการเพราะธนาคารเหล่านี้ ยังไม่สร้างปัญหาให้กับเศรษฐกิจดังที่ผ่านมา ธนาคารเหล่านี้ได้แก่บริษัทแบงค์ฮั่วเซี ยงงึงจึงซึ่งตั้งในปี .พ.ศ. 2451 บริษัท สคณะธนาคาร ตั้งในปี..พ.ศ. 2451 ธนาคารเป็งชุน ของนายตันฮงหงี ห้างเงินซื่อหมิงยิกเงินจองซึ่งตั้งอยู่ถนนราชวงศ์ ธนาคารซุนฮก เซ้งของหลวงศักรินทรภักดีหรือแต้ไต้เห่า..(..เตชะกำ�พุธ..)..ธนาคารทั้งหมดก็เลิกกิจการ ไปตามกาลเวลา ที่ยังคงเหลืออยู่ถึงปัจจุบันคือธนาคารพั่วก๊กงิ่งฮั้งหรือธนาคาร กรุงเทพฯจำ�กัด ( มหาชน ) ในปัจจุบัน เกิดขึ้นในสำ�เพ็งในช่วงเวลานั้น ก่อตั้งโดยนาย ตั้งเพี๊ยกชิ้ง ( นายชิน โสภณพานิช ) โดยร่วมมือกับข้าราชการ, พ่อค้าจีนทรงอิทธิพล ในขณะนั้น 9 ตระกูล ที่ทำ�ธุรกิจหลายประเภทตั้งแต่การนำ�เข้าวัสดุก่อสร้าง การค้า ทองคำ� การค้าสุรา โรงน้ำ�แข็ง และโรงภาพยนตร์ซึ่งทั้งหมดเป็นกิจกรรมธุรกรรม ขนาดใหญ่ทันสมัยที่มีผลต่อเศรษฐกิจของประเทศไทยขณะนั้น ทำ�ให้ธนาคารนี้ เจริญเติบโต มั่นคง ก้าวหน้า สถานะแตกต่างกับธนาคารขนาดเล็กอื่นๆในจุลนครฯ ธนาคารกรุงเทพฯ มีการตั้งสาขาแห่งแรกที่ฮ่องกง ในปี พ.ศ. 2500 แล้วขยาย
128
เครือข่ายไปยังเมืองต่างๆทั่วโลกจนทำ�ให้ธนาคารกรุงเทพฯกลายเป็นธนาคาร พาณิชย์ที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทยในปัจจุบัน
การค้าทุติยภูมิ
หมายถึง การค้าที่มาจากการนำ�เข้าสินค้าจากต่างประเทศ แล้วนำ�มาให้บริการด้านการค้าส่งและค้าปลีก โดยเฉพาะอย่างยิ่งเป็นแหล่งการ ค้าลักษณะเป็นศูนย์กลางทางธุรกิจเฉพาะกลุ่ม การนำ�เข้ามาของสินค้าเหล่านี้ นอกจากเป็นสินค้าขายปลีกที่เป็นเอกลักษณ์แล้ว ยังเป็นสินค้าหรือวัตถุดิบเพื่อ ขายไปยังลูกค้าที่ส่วนอื่นของประเทศ..(.ขายส่ง.)..สินค้าทุติยภูมิยังหมายถึงการ เป็นศูนย์กลางการค้าที่ค้าขายสินค้าบางอย่าง..เช่น เครื่องเทศ รังนก เป็นต้น ที่ นำ�มาจากท้องถิ่นแล้วจำ�หน่ายทั้งขายปลีกและขายส่งให้กับลูกค้าทั้งภายใน และภายนอกประเทศ การค้าทุติยภูมิเป็นการค้ามาจากค้าพื้นฐานในสมัยต้น รัตนโกสินทร์ที่นำ�เข้าสินค้าจากประเทศจีน เมื่อมาขายให้ราชสำ�นักฯ และข้าราช บริพาร เช่น ผ้าแพร ถ้วยชาม เครื่องแก้ว เป็นต้น และการค้าเหล่านี้ได้พัฒนาการ แปรเปลี่ยนต่อๆตามยุคสมัย การค้าทุติยภูมิในจุลนครฯ ที่จริงแล้วคือ อัตลักษณ์ที่ แสดงถึงลักษณะของการค้าของชุมชนอย่างแท้จริง ธุรกิจทุติยภูมิธุรกิจเปลี่ยนไป เป็นธุรกิจขนาดใหญ่ของประเทศ เพียงแต่ธุรกิจเหล่านี้ยังใช้จุลนครฯ เป็นแหล่ง ค้าขายปลีก แต่ส่วนใหญ่มีโรงงานผลิตสินค้าเอง ( แทนการนำ�เข้าในอดีต ) บาง ธุรกิจมีการไปตั้งสาขายังส่วนอื่นของประเทศ บางธุรกิจก็ต้องล้มหายตายจาก เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงของยุคสมัย อย่างใดก็ดีธุรกิจทุติยภูมิเป็นลักษณะ ค้าของจุลนครฯ..ที่ดึงดูดให้ผู้คนเดินทางจากทุกสารทิศเข้ามาทำ�กิจกรรมการค้า อย่างคึกคัก ทำ�ให้ธุรกิจจุลนครฯ แห่งนี้เป็นที่เอกลักษณ์ที่โดดเด่นในการค้าตั้งแต่ อดีตจนถึงทุกวันนี้ เห็นได้จากตัวอย่างนิราศสำ�เพ็งตอนหนึ่งว่า (..นิราศสำ�เพ็ง ไทยนายบุศย์ สมัยต้นรัชกาลที่ 6 )
ฉันเดินตรงสำ�เพ็งเร่งลีลาศ ทั้งเสื้อผ้าเหลือหลายออกก่ายกอง หีบญี่ปุ่นกุญแจและหีบเหล็ก เครื่องกาแฟที่เลี่ยมเทียมละมัง
ชมตลาดเรียงรายที่ขายของ เครื่องกระป๋องปลาส้มขนมปัง ทั้งใหญ่เล็กต้นเถากระเป๋าหนัง ของฝรั่งเหลือจำ�นำ�มาทำ�กลอนฯ
129
แต่เดิมมาตั้งแต่สมัยต้นกรุงรัตนโกสินทร์ การค้าปลีกจาก ต่างประเทศจะมีการซื้อขายบนเรือสำ�เภาจีนที่เข้าเทียบท่าบริเวณสำ� เพ็ง เรือจอดกับยาวเสมือนตลาดลอยน้ำ� ต่อมาเนื่องจากการค้าขาย ต้องการที่เก็บสินค้าจึงทำ�ให้การค้าขายต้องขยับขยายขึ้นมาบนบก ใน ขณะนั้นมีถนนแคบๆ..( ตรอก ) ที่อยู่นอกกำ�แพงเมืองเพียงสายเดียว ผ่าน บริเวณสำ�เพ็ง ในสมัยพระบาทสมเด็จพระนัง่ เกล้าเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ 3 มีการก่อสร้างเป็นตึกชั้นเดียวตลอดตรอกนี้ทั้งหมด ดังนั้นบริเวณนี้จึง กลายเป็นตลาดแห่งแรกในประเทศสยามที่ไม่ใช่ตลาดลอยน้ำ�ซึ่งสมัย นั้นมีสมญานาม “ย่านการค้ามโหฬาร”..ของสำ�เพ็ง ต่อมาเมื่อมีการ ตัดถนนเจริญกรุง ในปี พ.ศ. 2407 เชือ่ มกำ�แพงเมืองกับกงสุลต่างประเทศ ( เขตบางรักปัจจุบนั ) โดยตัดผ่านย่านการค้าของชาวจีน ( จุลนครฯ ) ทำ�ให้ การติดต่อเชื่อมโยงระหว่างราชสำ�นักฯกับตลาดชาวจีนและชาวตะวัน ตกได้สะดวกยิ่งขึ้นของประชาคมทั้ง 3 ส่วนนี้ ไม่ว่าด้านวัฒนธรรม การ ค้าและวิทยาการสมัยใหม่ สำ�หรับริมถนนเจริญกรุงก็มีการสร้างตึกแถว ร้านรวงซึ่งสร้างเองโดยชาวจีนหรือชาวตะวันตกหรือพระบรมวงศานุ วงศ์และข้าราชบริพารที่เป็นเจ้าของที่ดินสร้างเป็นตึกแถวให้พ่อค้าชาว ต่างชาติเช่า เก็บค่าเช่าเป็นรายได้ ต่อมาเมื่อสมัยพระบาทสมเด็จพระ จุลจอมเกล้าฯเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 5 และพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้า เจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 6 ได้มีการตัดถนนมากมายที่ผ่านจุลนครฯ เช่น ถนน เยาวราช ถนนราชวงศ์ ถนนจักรวรรดิ เป็นต้น ทำ�ให้การค้าโดยเฉพาะ การค้าแบบค้าปลีก ค้าส่ง ( ทุติยภูมิ ) ขยายตัวขึ้นจนเป็นที่ยอมรับกันทั่ว ประเทศว่า ถ้าจะหาซื้อสินค้าจากต่างประเทศหรือสินค้าพิเศษต้องมาที่ จุลนครฯ เท่านั้น ปี พ.ศ. 2453 ในรัชสมัยรัชกาลที่ 6 สินค้านำ�เข้าจาก ต่างประเทศที่มาภายในจุลนครฯ..นี้ไม่ใช่มีเพียงแต่สินค้าจากประเทศ จีนเท่านั้น หลังการปฏิวัติการเปลี่ยนแปลงการปกครองก็ยังเกิดความ วุ่นวายในประเทศจีนทำ�ให้การผลิตตกต่ำ� สินค้าจากยุโรปและญี่ปุ่นเข้า มาในประเทศสยามมากขึ้นจนในที่สุดก็ยึดครองตลาดต่างประเทศจาก จีนเกือบหมด ยกเว้นสินค้าจำ�เพาะบางชนิดเช่นอาหาร,ผลไม้,สิ่งของให้ ในการไหว้เจ้าหรือเครื่องถ้วยชาม เท่านั้น
130
จนกระทั่งหลังจากการฟื้นฟูสัมพันธ์สภาพไทย จีน ในปี พ.ศ. 2518 ขณะ นั้นประเทศจีนมีการขยายตัวเศรษฐกิจที่รวดเร็ว สินค้าจีนซึ่งมีราคาถูกก็ทะลักเข้าสู่ ประเทศไทย โดยมีศูนย์กลางในจุลนครฯแห่งนี้ โดยเฉพาะสำ�เพ็ง คลองถม สะพาน เหล็กมีแหล่งค้าสินค้าจีนเกิดขึ้นมากมาย ไม่ว่าเป็นอาหาร ผลไม้ เวชภัณฑ์ เครื่องใช้ ไฟฟ้า อีเลกโทรนิก เป็นต้น เราจะกล่าวถึงการค้าทุติยภูมิบางอย่างที่น่าสนใจเท่านั้น เช่น การค้าขายผ้าในย่านซอยวาณิชย์ 1 แต่เดิมสืบเนื่องจากการที่พ่อค้าสำ�เพ็งนำ�เข้า แพร ผ้า จากประเทศจีน ในต้นรัตนโกสินทร์มาจำ�หน่าย ต่อมามีชาวอินเดียนำ�เข้าผ้า จากอินเดียซึ่งคุณภาพและราคาที่เทียบเคียง พ่อค้าผ้าชาวจีนจึงต้องเปลี่ยนยุทธวิธี นำ�เข้าผ้าจากตะวันตกหรือญี่ปุ่นแทนเพราะเป็นสินค้าที่คุณภาพเหมาะกับการตัด เย็บเสื้อผ้าแบบตะวันตก เมื่อกิจการดีมากขึ้น ก็ตั้งโรงงานเพื่อผลิตผ้า ( โรงงานทอผ้า โรงงานสิ่งทอ โรงงานตัดเย็บฯลฯ ) ขึ้นมาเอง การค้าขายผลิตภัณฑ์เครื่องเทศ การส่งออกพริกไทยและเครื่องเทศ มีมา ตั้งแต่การค้าสมัยต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ต่อมาการส่งออกเครื่องเทศลดน้อยลง ขณะ เดียวกันการบริโภคภายในประเทศเพิ่มขึ้นมาก ร้านง่วนสูนซึ่งดำ�เนินการจำ�หน่าย ผลิตภัณฑ์พริกไทยใช้ชื่อว่า พริกไทยตรามือ ออกขายจนเป็นที่นิยมกันทั่วประเทศ และ ยังส่งออกไปสู่ต่างประเทศในรูปผลิตภัณฑ์บรรจุเสร็จของเครื่องเทศในนาม บริษัทง่วน สูน นอกจากนี้ยังมีบริษัท หยั่นหว่าหยุ่น เติบโตจากร้านผลิตซีอิ๊วเล็กๆจนกลายเป็น บริษัทขนาดยักษ์ใหญ่ที่มีกิจการอยู่ทั่วโลก การค้าขายรังนก....รังนกเป็นผลิตภัณฑ์ที่ได้จากน้ำ�ลายของนกนางแอ่นทำ� รังส่วนใหญ่ทำ�รังอยู่บริเวณเกาะภายใต้ของไทย ชาวจีนนิยมบริโภครังนกไม่ว่าใช้ เป็นอาหารหรือทำ�ยา สมัยต้นรัตนโกสินทร์ต้องค้าขายผ่านพ่อค้าคนกลางคือเจ้า ภาษีนายอากรรังนกเท่านั้น หลังเปิดตลาดเสรีก็มีการเปิดร้านขายรังนกอยู่บนถนน เยาวราช เป็นที่รู้จักของลูกค้าชาวต่างประเทศ เช่น ชาวจีน ฮ่องกง สิงคโปร์ ฯลฯ คือ “บริษัท รังนกแหลมทอง” โดยบริษัทเป็นของตระกูล มหาดำ�รงกุล และตระกูล กาญจน พาสน์ เมื่อทั้ง 2 ตระกูล เคยทำ�กิจการรับสับประทานหมู่เกาะในพัทลุง ปัจจุบันบริษัทฯ ไม่ได้เป็นผู้รับสับประทานแล้วเพียงแต่รับซื้อต่อ และบรรจุส่งขายไปต่างประเทศ
131
ธุรกิจร้านขายเมล็ดพันธุ์พืช ในปี พ.ศ. 2464 นายเจี่ยเอ็กชอ ได้เปิดร้าน “เจียไต้จึง” อยู่ใกล้วัดเกาะ ( วัดสัมพันธวงศ์ ) ได้นำ�เข้าเมล็ดพันธุ์พืชจากประเทศจีน ( เดิมคนไทยไม่ปลูกพืชผัก เช่น คะน้า กวางตุ้ง ผักกาด ฯลฯ รับประทาน ผักที่ใช้ใน การทำ�อาหารส่วนใหญ่ก็เป็นพืชที่ขึ้นเอง หรือพืชผักริมรั้ว เช่น ตำ�ลึง ฟักแฟง กระ เพรา โหระพา ฯลฯ )ซึ่งกิจการของ “เจี่ยไต้จึง” เจริญขึ้นมามากก็ขยายกิจการในด้าน ต่างๆของสินค้าโภคภัณฑ์ทางการเกษตรครบวงจรจนกลายมาเป็นกลุ่มบริษัท “เจริญ โภคภัณฑ์” ในปัจจุบันนี้ ธุรกิจกับสินค้าอุปโภคบริโภค ในสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่ หัว สินค้าอุปโภค บริโภค เช่น นม น้ำ�ตาล น้ำ�มัน แป้ง หมี่ ฯลฯ ล้วนนำ�เข้ามาจาก ต่างประเทศโดยผ่านบริษัทชาวตะวันตกหรือญี่ปุ่น เช่น บอร์เนียว แองโกลไทย มิตชุย ซึ่งนำ�เข้ามาจากสิงคโปร์ และฮ่องกงอีกทีหนึ่ง พ่อค้าต้องไปสั่งต่อมาอีกทีเพื่อจะไป ขายปลีก เช่น ร้านเฮี๊ยบเซ่งเซียง ซึ่งตั้งอยู่ในย่านเยาวราชของนายลี้เฮงเทียม เริ่มแรกก็ สั่งสินค้าจากบริษัทต่างประเทศมาขาย ภายหลังเห็นว่าสินค้าไทยขายดีก็จัดการติดต่อ ขอเป็นผู้แทนจำ�หน่ายเสียเอง สุดท้ายนาย ลี้ เฮงเทียม หรือนายเทียม โชควัฒนา ได้ ทำ�ให้ เฮี๊ยบเซ่งเซียงซึ่งต่อมา กลายเป็นกลุ่มบริษัทฯ สหพัฒนพิบูลย์ จำ�กัด ( มหาชน ) ที่ ผลิตและจัดจำ�หน่ายสินค้าอุปโภค บริโภคที่ใหญ่ที่สุดของประเทศไทย ศูนย์กลางอะไหล่รถยนต์และจักรยานยนต์ ในย่านวรจักรนี้แต่เดิมในสมัย ประมาณในปี พ.ศ. 2450 ย่านวรจักรถือว่าเป็นชานเมืองของจุลนครฯเป็นแหล่งพัก ของคนลากรถ ( ในสมัยผู้เขียนเด็ก ยังปรากฏอาคารที่เรียกว่าฉิวเชียล้ง หรือโรงเก็บ รถลากให้เห็นในย่านวรจักรอยู่หลายแห่ง ) ต่อมารถลากได้เลิกไปก็เกิดจักรยานสามล้อ ถีบขึ้นมาแทน ดังนั้น ย่านวรจักรจึงมีร้านค้าที่ให้บริการขายซ่อมรถและอะไหล่ รถ จักรยานสามล้อขึ้นมา เมื่อความนิยมของรถจักรยานเพิ่มขึ้นทั่วประเทศร้านต่างๆก็ เปลี่ยนมาเป็นร้านขายจักรยานและอุปกรณ์ ต่อมารถยนต์เข้ามานิยมหลังสงครามโลก ครั้งที่ 2 มีรถยนต์ที่ใช้ไม่กี่ยี่ห้อส่วนใหญ่เป็นรถจากประเทศยุโรป เช่น มอริส ออสติน เบนซ์ ในบริเวณวรจักรก็เริ่มมีร้านค้าอะไหล่รถยนต์ปรากฏขึ้น ประมาณปี พ.ศ. 2505 มีการนำ�เข้ารถยนต์จากญี่ปุ่น ยี่ห้อโตโยต้าขึ้นครั้งแรก โดยห้างวรจักรยนต์ รถยนต์ ก็เริ่มมีบทบาทการจราจรขนส่งในกรุงเทพฯ เมื่อรถจักรยานเสื่อมความนิยมลงรถ จักรยานยนต์และรถยนต์เข้ามาแทนที่ ร้านขายจักรยานเหล่านั้นเปลี่ยนบทบาทมา
132
ขายอะไหล่รถจักรยานยนต์และรถยนต์แทน ทำ�ให้ยา่ นวรจักรเต็มไปด้วยร้านขาย อะไหล่รถจักรยานยนต์และรถยนต์ ในทีส่ ดุ ก็กลายมาเป็นศูนย์กลางอะไหล่รถยนต์ใน ประเทศทีใ่ หญ่ทส่ี ดุ ของประเทศ มีจ�ำ หน่ายอะไหล่เกือบทุกยีห่ อ้ ศูนย์กลางการค้าขายทองคำ�ย่านเยาวราช ทองคำ�เป็นสินค้าโภคภัณฑ์ท่ี พ่อค้าชาวจีนในจุลนครฯคุน้ เคยอย่างดี มีการใช้ทองคำ�เป็นมาตรฐานเงินตราค้าขาย เมือ่ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ 5 กำ�หนดค่าเงินบาทขึน้ กับ มูลค่าของทองคำ�ดังเช่นเงินตราสากลในสมัยนัน้ เมือ่ ตลาดโภคภัณฑ์ทองคำ�เกิดขึน้ ใน ฮ่องกง พ่อค้าชาวจีนก็เข้าร่วมซือ้ ขายโภคภัณฑ์ทองคำ� พร้อมทัง้ เกิดการนำ�เข้าทองคำ� บริสทุ ธิเ์ ข้ามา ช่างฝีมอื ทีท่ �ำ รูปพรรณทองคำ�จากประเทศจีนก็มกี ารเดินทางมาสยาม มากขึน้ เมือ่ ชาวจีนอพยพหนีภยั การเมืองและเศรษฐกิจจากเมืองจีน ทำ�ให้ธรุ กิจร้านค้า รูปพรรณทองคำ�จึงเกิดขึน้ และขยายตัวอย่างมัน่ คง สินค้าทองคำ�รูปพรรณของไทยเป็นตลาดทองรูปพรรณที่ใหญ่ท่สี ุดแห่งหนึ่ง ในโลก โดยเฉพาะอย่างยิง่ สำ�หรับทองคำ�รูปพรรณ 23 K ( ทองคำ�บริสทุ ธิ์ 100% มี 24K ) เป็นสินค้ารูปพรรณชนิดเดียวและทีเ่ ดียวในโลกทีส่ ามารถขายคืนได้ตามราคาค่าทองคำ� มาตรฐานตลาด เมือ่ เทียบกับเครือ่ งประดับรูปพรรณทองคำ�ทัว่ ไปในส่วนอืน่ ของโลกซึง่ มักใช้ทองคำ� 18K เมือ่ เวลาขายคืนและซ่อมแซมก็ใช่สามารถกำ�หนดเป็นมาตรฐานได้ แต่เดิมมาช่างทีท่ �ำ รูปพรรณทองคำ�ล้วนมาจากเมืองจีน รูปแบบทีส่ วยงามเป็นไปตาม รสนิยมของชาวจีนทัว่ โลก ทำ�ให้เยาวราชกลายเป็นศูนย์กลางทองคำ�รูปพรรณทีส่ ว่ น ใหญ่ทท่ี �ำ ด้วยมือ ทีใ่ หญ่ทส่ี ดุ ของโลกแห่งหนึง่ ร้านขายทองคำ�ทีเ่ ก่าแก่ทส่ี ดุ จะเป็นห้าง ทองตัง้ โต๊ะกังซึง่ ก่อตัง้ มีตง้ั แต่ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั ก่อตัง้ โดยนายโต๊ะกัง..แซ่ต้ัง..มีสัญลักษณ์เป็นตราค้างคาว..(..เครื่องหมายแห่งความสุขของ คนจีน )..ได้รบั พระราชทานเครือ่ งหมายตราครุฑ และประกาศบัตรอันเกียรติประวัตจิ าก พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที.่ .6 ปัจจุบนั ร้านขายทองคำ�ในเยาวราช นอกจากเป็นแหล่งจำ�หน่ายทองคำ�รูปพรรณทีใ่ หญ่ทส่ี ดุ ในประเทศไทยแล้ว ปัจจุบนั ยังเป็นแหล่งทำ�ธุรกิจค้าขายโภคภัณฑ์ทองคำ� ซือ้ ขายทองคำ�ทองล่วงหน้าในตลาดค้า ทองคำ�ทัว่ โลกซึง่ มีผลต่อเศรษฐกิจประเทศนับแสนล้านต่อปี ร้านค้าทองคำ�ในเยาวราชที่ สำ�คัญอืน่ ๆเช่น ห้าง ฮัว่ เซ่งเฮง ห้างทอง เล่งหงส์ ห้างทองจินฮัว่ เฮง ห้างทองเซ่งเฮงหลี ห้างทองตัง้ จินเฮง ห้างทองแม่ทองใบเป็นต้น
133
ตลาดสินค้าทุติยภูมิในจุลนครฯนี้นอกจากทำ�การค้าในธุรกิจสำ�คัญดังกล่าว มานี้ยังมีธุรกิจทุติยภูมิที่เป็นเอกลักษณ์ของจุลนครฯอื่นๆเช่น ธุรกิจสินค้านวัตกรรมใน ย่านคลองถม ธุรกิจเครื่องใช้ไฟฟ้าบริเวณสี่แยกวัดตึกซึ่งเป็นตัวแทนเครื่องใช้ไฟฟ้าที่ ใหญ่ที่สุดของประเทศในอดีต ธุรกิจขายหนังสือในขายเครือ่ งปัม๊ น้�ำ ขายเครือ่ งดนตรี การค้าวัตถุโบราณในย่านเวิง้ นครเกษม ร้านจำ�หน่ายยาแผนโบราณ สมุนไพรทัง้ สด และแห้ง ย่านค้าเหล็ก เครือ่ งจักรและอุปกรณ์อะไหล่ ประปา และเครือ่ งมือต่างๆใน ย่านเซียงกง เป็นต้น
134
ธุรกิจตติยภูมิ
ในจุลนครฯเป็นธุรกิจที่ตั้งขึ้นมาภายหลังหรือพร้อมกับจากธุรกิจ ปฐมภูมิและทุติยภูมิ เกิดขึ้นมาเพื่อรองรับสังคมประชาคมชาวจุลนครฯเองเป็นหลัก เนื่องจากจุลนครฯ เป็นประชาคมที่มีความหนาแน่น และมีคุณภาพทางเศรษฐกิจ มี รสนิยม ค่านิยม ในการอุปโภคบริโภคที่เป็นเอกลักษณ์ ธุรกิจการค้าตติยภูมิยังหมาย ถึง ร้านค้าต่างๆที่ค้าขายสินค้าหรือบริการเมื่อประชาคมในท้องถิ่นเป็นหลัก แม้ว่า ภายหลังอาจมีผู้บริโภคจากส่วนอื่นมาใช้บริการด้วยก็ตาม เช่น ร้านค้าเสื้อผ้า ร้าน ทำ�เครื่องหนัง ภัตราคาร ร้านอาหาร โรงมหรสพ เป็นต้น การค้าแบบตติยภูมิใน จุลนครฯ บางส่วนเกิดขึ้นมาพร้อมๆกับการก่อกำ�เนิดของสังคมประชาคมจุลนครฯ หลายๆร้านเติบโตกลายเป็นร้านค้าค้าส่งโดยมีฐานการผลิตกลายเป็นธุรกิจทุติยภูมิ ไปและยังเป็นช่องทางการส่งออกหรือการค้าส่งขนาดใหญ่ หลายๆร้านก็ล้มหาย ตายจากไปตามกาลเวลาและยุคสมัย อีกส่วนหนึ่งคือธุรกิจประเภทที่เกิดขึ้นในยุค หลังโดยมีอายุกิจการไม่เกิน 100 ปี ส่วนใหญ่เกิดขึ้นหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 ด้วยซ้ำ� เช่น ธุรกิจบันเทิงและสันทนาการ ภัตตาคาร ร้านอาหาร เป็นต้น เพราะว่าในยุคสมัยนี้ธุรกิจใหญ่ๆก็ลดการขยายตัวการค้าในจุลนครฯหรือขยายการ ค้าไปยังส่วนอื่นของกรุงเทพฯ กฎเกณฑ์ นโยบายของรัฐก็พยายามลดการกระจุกของ ธุรกิจขนาดใหญ่ของจุลนครฯลง ในจุลนครฯเองก็ยังเป็นแหล่งที่มีการประชาคม หนาแน่ น และจั ด เป็ น บริ เ วณที่ มี ผู้ มั่ ง คั่ ง ทางเศรษฐกิ จ ที่ สุ ด ของประเทศสมั ย นั้ น กระแสตะวันตกก็หลั่งไหลเข้ามา วิวัฒนาการของเมืองในจุลนครฯจึงมาลักษณะเดียว กับเมืองใหญ่ในประเทศอื่น เช่น เซี่ยงไฮ้ ฮ่องกง สิงคโปร์ ( ส่วนหนึ่งก็มาตามกระ แสไหลเวียนของธุรกิจระหว่างประเทศ ) ทำ�ให้จุลนครฯกลายเป็นแหล่งธุรกิจที่ศิวิไลย์ ที่สุดในประเทศ มีแสงสียามค่ำ�คืน ห้างสรรพสินค้าและสถานบันเทิง ในสมัยที่ผู้เขียนยังเด็กๆ..( ประมาณ พ.ศ. 2500 ) บรรยากาศเหล่านี้ยังได้ สัมผัสได้พบเห็นอยู่ซึ่งจนถึงปัจจุบันบางอย่างก็ยังอยู่..บางอย่างก็ล้มเลิกกิจการไป หรือเปลี่ยนไปทำ�กิจการอื่นตามกระแสของกาลเวลา ตลาดเก่าหรือเหล่าตั๊กลั๊ก เกิดขึ้นสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้า นภาลัยรัชกาลที่ 2 พระศรีทรงยศหรือเจ้าสัวเนียม คหบดีเชื้อสายจีนผู้มั่นคั่งได้ทำ�การ พัฒนาตลาดในตรอกแห่งหนึ่งในย่านสำ�เพ็ง ตลาดเจ้าสัวเนียมมีการค้าขายสินค้าทุก ประเภทอย่างคึกคักต่อมามีตลาดอื่นๆที่สร้างขึ้นมาจึงเรียกตลาดเจ้าสัวเนียมนี้สั้นๆว่า
135
“ตลาดเก่า”จนถึงปัจจุบันนี้ ตลาดเก่าเป็นตลาดที่ขายของสดไม่ว่าหมู เป็ด ไก่ อาหาร ทะเลที่มีคุณภาพสูงราคาค่อนข้างแพง ขายสิ่งของนำ�เข้า อาหารแห้งของดองทั้งผัก ผลไม้จากประเทศจีนที่หาไม่ได้จากแหล่งอื่น ผลิตภัณฑ์เครื่องเทศและเครื่องปรุงรส และอาหารแปรรูปหลายชนิดเช่น ปลาแห้ง กระเพาะปลา จากเมืองจีน แม้ในปัจจุบัน ว่าสินค้าบางชนิดหาไม่ได้ในตลาดทั่วไปให้แต่ไปหาได้ในตลาดเก่าเท่านั้น
136
ตลาดใหม่ หรือ ตลาดเล่งบ้วยเอี้ย อยู่ในซอยอิสรานุภาพซึ่งเป็นซอยที่เชื่อม ต่อระหว่างถนนเยาวราชกับถนนเจริญกรุง มีการจำ�หน่ายอาหารสด อาหารแห้ง คล้ายกับตลาดเก่า แต่ที่โดดเด่นถือเป็นที่จำ�หน่ายของเซ่นไหว้เจ้าของคนจีนซึ่งแต่ เดิมนำ�เข้ามาจากเมืองจีนโดยตรง เป็นที่ยอมรับของชาวจีนในประเทศทั่วไปว่า จะซื้อ ของเซ่นไหว้ตามประเพณีที่ถูกต้องไม่ว่าเซ่นไหว้เจ้า พิธีมงคล เป็นต้น ต้องมาที่ตลาด เล่งบ้วยเอี้ยเท่านั้น ตลาดคลองถม แต่เดิมมาบริเวณที่เป็นคลองที่แยกจากแม่น้ำ�เจ้าพระยาภาย หลังมีการถมคลองเพื่อสร้างถนนที่เรียกว่า ถนนมหาจักร จึงเรียกบริเวณนี้ว่าคลอง ถม ตลาดคลองถมเป็นศูนย์กลางสินค้าสมัยใหม่ทุกชนิด ทั้งที่นำ�เข้าจากต่างประเทศ ไม่ว่าจีน ญี่ปุ่น โดยเฉพาะอย่างยิ่งสินค้าอีเลกโทรนิคทั้งของจริงและสินค้าลอกเลียน โดยจำ�หน่ายในราคาถูกเมื่อเทียบกับตลาดอื่นๆจนเป็นที่รู้จักกันทั่วประเทศ การค้าตติยภูมิในจุลนครฯที่โดดเด่น เช่น ร้านขายเครื่องแก้ว กาละมัง หมวก สาน โคมญี่ปุ่น คนโท ขวดโหล ตะเกียง นาฬิกา ในย่านสำ�เพ็ง ร้านขายยาจีน ยา ไทย ในบริเวณสำ�เพ็ง จักรวรรดิ เช่น ร้านขายยาสมุนไพรไทยเจ้ากรมเป๋อ ร้าน ขายยาจีนแผนโบราณ ไต้อันตึ้ง ร้านเซ็นทรัล เจมส์ จำ�หน่ายพลอยอัด เพชรรัสเซีย ร้านตั้งจิ้นย้ง มีอาชีพจำ�หน่ายเครื่องใช้ในพิธีแต่งงานตามประเพณีจีนตั้งแต่หมอน ที่นอน ชุดเจ้าสาวแบบจีน เครื่องในวันพิธี ฯลฯ ร้านขายยาขมบริเวณสยามแยก หมอที่มีมีชื่อเสียง คือ ร้านคุ้นกี่น้ำ�เต้าทอง บริษัทห้างแผ่นเสียงค่าเธ่ย์ ร้านขายแผ่น เสียงที่เก่าแก่ที่สุด บริษัท ยูกี่ เทรดดิ้ง จำ�กัดขายเครื่องไฟฟ้า ร้านเซี่ยงไฮ้ทันตภัณฑ์ จำ�หน่ายอุปกรณ์ทันตกรรม บริษัท ยุ่ยเสียง จำ�หน่ายเครื่องเขียนแบบครบวงจร ร้าน นาฬิกาเหรียญทอง จำ�หน่ายอะไหล่และเครื่องมือในการซ่อมนาฬิกา ที่อยู่บริเวณสี่ แยก SAB ( สี่แยกถนนจักรวรรดิตัดกับถนนเจริญกรุง ) ร้านเลี่ยงกวงพานิชขายตะเกียง เจ้าพายุขายและรับซ่อมตะเกียงลาน เตาน้�ำ มันก๊าด บนถนนแปลงนามร้านกว้างเจียบ เซีย นำ�เข้าและขายเครือ่ งดนตรีจนี ทุกชนิดจากเมืองจีน โรงพิมพ์บนุ บุง๊ และบุนเม้งใน บริเวณตรอกเต๊าร้านแสงเทียนธรรมวิทย์ขายสังฆภัณฑ์ ธูปเทียนทุกชนิด โรงเกลือจิบ ฮัว่ เฮงบริเวณคลองโอ่งอ่างขายเฉพาะเกลือทะเล ทำ�ให้บริเวณนีถ้ กู เรียกว่า ย่านโรง เกลือคลองโอ่งอ่าง บริเวณเซียงกงมีรา้ นขายผลิตภัณฑ์สมอเรือทุกประเภท, โซ่เรือ และ
137
ทำ�งานเหล็กทุกประเภทชือ่ ร้านกชพรซึง่ เปิดกิจการมาร่วม 100 ปี ธุรกิจการค้าขายผล ไม้ทง้ั ในประเทศและนำ�เข้าจากต่างประเทศแหล่งใหญ่ ห้างสรรพสินค้าหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ธุรกิจนำ�เข้าสินค้าจากต่างประเทศ เช่น สินค้ายุโรป สหรัฐอเมริกา และญี่ปุ่น ก็เริ่มเข้ามาจำ�หน่ายในตลาดประเทศไทย มากขึ้น จุลนครฯก็ยังเป็นศูนย์กลางทางค้าส่ง ค้าปลีกของประเทศอยู่ การจำ�หน่าย สินค้าตามช่องทางผ่านร้านค้าเดิมๆก็มีการแข่งขันกันสูง ประกอบได้เห็นแบบอย่าง ระบบการขายของจากต่างประเทศ ทำ�ให้มีผู้ลงทุนเปิดร้านขายของประเภทที่มีสินค้า อุปโภคหลากหลายชนิด เช่น เครื่องแก้ว เสื้อผ้าสำ�เร็จรูป เครื่องใช้ไฟฟ้า เครื่อง เขียน กระติกน้ำ�ร้อน-เย็น เป็นต้น ร้านเหล่านี้ถูกเรียกว่า “เอี้ยฮั้ง” ที่แปลว่า ห้าง แบบชาวตะวันตกหรือห้างสรรพสินค้านั่นเอง ห้างสรรพสินค้าจะประดับไฟสว่างไสว ตกแต่งร้านเป็นระเบียบเรียบร้อย สวยงาม มีพนักงายขายแต่งตัวดีคอยให้บริการ ใน ประเทศไทยก็มีเริ่มขึ้นเฉพาะบนถนนเยาวราชเท่านั้น ห้างสรรพสินค้าในขณะนั้นมี ห้างใต้ฟ้า ห้างศรีฟ้าและห้างแมวดำ�ที่ตั้งอยู่บริเวณสี่แยกเยาวราชตัดกับถนนราชวงศ์ และห้างแปซิฟิกอยู่บริเวณปลายถนนเยาวราช นอกจากนี้ยังมีห้างแบบยุโรปอีกห้าง หนึ่งที่ชื่อว่าตงเอียงเอี้ยฮั้งขายสินค้านำ�เข้าจากยุโรป ผลิตภัณฑ์ส่วนใหญ่เป็นพวก ไหมพรม พร้อมอุปกรณ์ถักไหมพรม อุปกรณ์ประเภทเสื้อผ้า กระดุม เป็นต้น ตงเอียง เอี้ยฮั้ง..ตั้งอยู่บนถนนเยาวราชใกล้สี่แยกราชวงศ์ซึ่งต่อมาห้างนี้ขยายสาขาไปยังที่ ต่างๆโดยประกอบกิจการห้างสรรพสินค้าไปทั่วประเทศโดยใช้ชื่อว่า..ห้างเซ็นทรัล.. (ตงเอียง ภาษา.จีนแปลว่าตรงกลางหรือศูนย์กลางตรงกับคำ�ว่าเซ็นทรัล Central ใน ภาษาอังกฤษ )..ซึ่งภายหลังกลายมาเป็นศูนย์การค้าที่ใหญ่ระดับภูมิภาคเอเชีย ใน ขณะที่ห้างสรรพสินค้าถนนเยาวราชทั้งหมดก็ถูกปิดกิจการหรือเปลี่ยนแปลงไปทำ� ธุรกิจแบบอื่น เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงของเศรษฐกิจและยุคสมัย แหล่งรวมความบันเทิงเริงรมย์ในจุลนครฯดังที่กล่าวมาแล้วจึงเป็นแหล่ง ธุรกิจและเป็นแหล่งที่ประชาคมมีฐานะดีหรือมีการเงินหมุนเวียนดี สิ่งที่ตามมานั้น นอกจากความต้องการด้านอุปโภคและบริโภคที่จำ�เป็นแล้ว ความบันเทิง เริงรมย์ก็ เป็นสิ่งที่เติบโตควบคู่กันมาเพื่อสนองตอบความต้องการของประชาคม แหล่งบันเทิง สิ่งแรกที่เกิดขึ้นในสมัยรัตนโกสินทร์คือ มีการสนองตอบความต้องการทางเพศ
138
เนือ่ งจากชาวจีนอพยพส่วนใหญ่เข้ามาทำ�งานตัง้ แต่วยั หนุม่ ฉกรรจ์โดยทิง้ ครอบครัวไว้ ทีเ่ มืองจีน สิง่ เริงรมย์ในสำ�เพ็งสมัยต้นกรุงรัตนโกสินทร์คอื ซ่องโสเภณี จนมีค�ำ แสลง เรียกหญิงค้าประเวณีวา่ “นางสำ�เพ็ง” ชายทีช่ อบเทีย่ วหญิงโสเภณีวา่ “เจ้าชูส้ �ำ เพ็ง” โดย โสเภณีจะอยูป่ ระจำ�ในสถานทีเ่ รียกว่า “โรงหญิงคนชัว่ ” หรือ “สำ�นักคณิกา” ทีเ่ รียกกัน ตามภาษาชาวบ้านว่า “ซ่อง” โรงโสเภณีเหล่านีจ้ ะจดทะเบียนกับราชการขึน้ ในปี พ.ศ. 2452 ซ่องโสเภณีทจ่ี ดทะเบียนทีต่ ง้ั ในสำ�เพ็งมากถึง 40 แห่ง สำ�เพ็งยังเป็นแหล่งที่ “บ่อนเบีย้ ” ตัง้ ขึน้ ในต้นรัตนโกสินทร์เพราะบ่อนเบีย้ เป็นแหล่งการพนันเกิดขึน้ ในประเทศจีน จึงได้น�ำ โรงบ่อนเบีย้ เข้ามาด้วย โรงบ่อน เบีย้ ขยายจากสำ�เพ็งออกไปทัว่ เขตต่างๆในจุลนครฯ เช่น บ่อมสะพานหัน บ่อนกงสี ลัง บ่อนหมาเก็งอ๋าว บ่อนตลาดข้าวสาร บ่อนเส่งบ้วยเอีย้ เป็นต้น ในปี พ.ศ. 2430 รัฐได้ควบคุมจำ�นวนกิจการบ่อนเบี้ยด้วยการลดจำ�นวนบ่อนเบี้ยจากเดิมที่กระจายทั่ว กรุงเทพฯ จากจำ�นวน 413 แห่ง ให้เหลือเพียง 16 แห่ง พร้อมกันนัน้ ได้มกี ารออกพระ ราชบัญญัตอิ ากรการพนันและข้อบังคับสำ�หรับนายอากรบ่อนเบีย้ รศ. 111 (พ.ศ. 2435) ซึง่ สามารถจำ�กัดปริมาณของบ่อนฯ และไม่ให้มกี ารขยายตัวจำ�นวนบ่อนมากเกินกว่า ทีร่ ฐั กำ�หนดไว้ แต่รฐั เองก็รวู้ า่ ถ้าบีบบังคับมากไปจะเป็นผลเสียคือจะมีการลักลอบเล่น กันเองซึง่ พิจารณาทำ�เลทีต่ ง้ั ของบ่อนฯ ให้เหลือเพียง 16 แห่ง โดยในจุลนครฯ เหลือ เพียง 5 แห่ง ได้แก่ บ่อนสะพานหัน บ่อนสำ�เพ็ง บ่อนตลาดข้าวสาร บ่อนเล่งบ้วยเอีย๋ และบ่อนตลาดน้อย บ่อนนอกจากเป็นแหล่งการพนันแล้ว ยังเป็นศูนย์กลางในการเกิดกิจการ ทีส่ มั พันธ์กนั เช่น ร้านเขียนหวย ร้านขายเหล้า ร้ายขายฝิน่ โรงโสเภณี และโรงรับ จำ�นำ�ซึ่งธุรกิจสัมพันธ์กับโรงบ่อนเหล่านี้ก็ขยายตัวอย่างอิสระโดยอาจไม่สัมพันธ์กับ การเจริญหรือทรุดตัวของโรงบ่อนฯ เองก็ได้ แต่ทม่ี คี วามสัมพันธ์มากทีส่ ดุ คือ โรงรับ จำ�นำ� เพราะโรงรับจำ�นำ�เป็นแหล่งเงินทีส่ �ำ คัญทีส่ ดุ ของผูเ้ ล่นการพนัน ยิง่ เมือ่ มีพระ ราชบัญญัตกิ ารพนัน รศ. 111 ทำ�ให้บอ่ นเบีย้ ไม่สามารถให้สนิ เชือ่ ในลักษณะการให้การ กูย้ มื แก่ผเู้ ล่นการพนันได้ โรงรับจำ�นำ�จึงก้าวขึน้ มามีบทบาทในการให้บริการทางการ เงินแก่ผเู้ ล่นพนันแทน ดังนัน้ บ่อนเบีย้ กับโรงรับจำ�นำ�จึงอยูใ่ นสภาพเอือ้ อำ�นวยซึง่ กัน และกัน
139
งิ้ว เป็นมหรสพนาฏกรรมที่นิยมกันมาก มักแสดงในบ่อนเบี้ยในอดีต ได้แก่ งิ้นลั่นถัน งิ้วตุ้งโข่ง และงิ้วแป๊ะยี่ โดยงิ้วตุ่งโขว่ และงิ้วลั่นถันจะใช้ผู้แสดงเป็นชาย หนุ่ม ในขณะที่งิ้วแป๊ะยี่จะใช้เด็กผู้ชายเล่น งิ้นลั่นถันและงิ้วแป๊ะยี่จะนำ�เสนอเรื่องราว ในวรรณกรรมจีนผ่านการร้องเป็นทำ�นองเพลงไปตามดนตรีที่บรรเลงในขณะที่งิ้วตุ้ง โข่งจะนำ�เสนอด้วยบทพูดตัดสลับกับการร่ายรำ�โดยมีดนตรีประกอบเรื่องราวของการ แสดงงิ้วทั้งสามนี้มีความแตกต่างกัน แม้ส่วนใหญ่งิ้วทั้งสามประเภทจะนำ�วรรณกรรม หรือพงศาวดารจีนมาเป็นเนื้อเรื่อง งิ้วลั่นถันและงิ้วแป๊ะยี่ในการแสดงจะเป็นตอนๆ และจบภายในวันเดียว มักนิยมเล่นเรื่องในวรรณกรรมสามก๊กและเสียดก๊กซึ่งสามารถ นำ�เนื้อหามาเล่นเป็นตอนๆได้จบภายในวันเดียว เช่น ขงเบ้งดูดาว หรือจูล่งช่วยอา เต๋า ในสามก๊ก หรือหน้าดำ�ถวายปลาในวรรณกรรมเลียดก๊ก โดยใช้ภาษาที่ใช้แสดง งิ้วนั้นงิ้วลั่นถันมักใช้ภาษาจีนกลาง งิ้วแปะยี่ใช้ภาษาแต้จิ๋วในการแสดง งิ้วตุ้งโข่ง ใช้ภาษาถิ่นของคนกวางตุ้งและไหหลำ�เพื่อมาแสดง เรื่องราวที่บ่อนเล่นเกี่ยวกับการ แสดงอิทธิฤทธิ์ปฏิหารย์ ได้แก่เสี่ยงสุ่ยถังหรือห้องสิน เป็นต้น งิ้วในบ่อนเบี้ยมีความ นิยมกันอย่างสูง จนกระทั่งสมัยพระบาทสมเด็จมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๖ ได้ ทรงโปรดให้เลิกหวย และบ่อนเบี้ยอย่างเด็ดขาดในปี พ.ศ. 2459 ทำ�ให้งิ้วโรงบ่อนฯ ก็ กระเทือนไปด้วย นอกเหนือจากงิ้วโรงบ่อนแล้ว ก็มีโรงงิ้วที่มีวัตถุประสงค์ในการแสดงมหรสพ งิ้วโดยเฉพาะเกิดขึ้นครั้งแรกในรัชสมัยพระบทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาล ที่ ๔ พ.ศ. 2402 มีการเก็บภาษีโขนละครขึ้น โดยงิ้วมีอัตราภาษีอยู่ที่ 4 บาทต่อการ เล่น 1 วัน คณะงิ้วเองก็ได้รับการเกื้อหนุนจากชาวจีนที่มีฐานในจุลนครฯ ทำ�ให้งิ้วมี การเฟื่องฟูอย่างมาก ต่อมาในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาล ที่ ๕ เป็นยุคที่งิ้วเจริญอย่างยิ่ง ทำ�ให้มีคณะงิ้วจากประเทศจีนเดินทางเข้ามาแสดงใน ประเทศสยาม โดยเฉพาะอย่างยิ่งหลังการเสด็จสวรรคตของพระนางซูสีไทเฮา และ จักรพรรดิ์กวงสู เนื่องจากประเทศประกาศงดแสดงงิ้วทั่วประเทศ 200 วัน เพื่อไว้ทุกข์ ทำ�ให้งิ้วจากเมืองจีนหลั่งไหลเข้ามาในสยามประเทศมากขึ้น ทำ�ให้เกิดโรงงิ้วเพิ่ม มากขึ้นซึ่งงิ้วที่แสดงตามโรงงิ้วมีอยู่หลาย ประเภทเช่นงิ้วไซ่ชิ้ง หรือ งิ้วลั่นถัน เป็นงิ้ว พื้นฐานรุ่นแรกต่อมาพัฒนากลายเป็นงิ้วงั่วกัง ผู้แสดงเป็นผู้ชายล้วน งิ้วงั่วกัง บางที ก็เรียกงิ้วตุ๊กแช่ (เสียงกลองรับกับเสียงฉาบ) งิ้วเล่าเจี๊ยยี่ ใช้กลองใหญ่แทนกลองเล็ก
140
โดยร้องเป็นภาษาจีนกลางชาวบ้านนิยมเรียกว่า “งิ้วตุ้งแต” ( เสียงกลองใหญ่กับ เสียงม้าฬ่อ ) งิ้วจากเมืองไฮฮง ผู้แสดงเป็นชายล้วน มีการเป่าปี่ใหญ่ งิ้วกวางตุ้ง และงิ้วไหหลำ� งิ้วแปะยี่ ( งิ้วแต้จิ๋ว ) หรืองิ้วเด็ก นักแสดงเป็นเด็กชาย หลังการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองจากกษัตริย์ในราชวงศ์ชิงมาเป็น ระบบสาธารณรัฐ โรงงิว้ เริม่ ซบเซาเนือ่ งจากเริม่ มีความบันเทิงอืน่ ๆเข้ามาในสยาม เช่น ละครฝรัง่ การเต้นรำ� และภาพยนตร์จากตะวันตก ต่อมาในสมัยพระบาทสมเด็จพระ ปกเกล้าเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ 7 กระแสตะวันตกซึง่ เข้ามารุนแรงมากจนมีการเปลีย่ นแปลง การปกครองเป็นระบบประชาธิปไตยตามตะวันตก การแสดงงิว้ ยิง่ เสือ่ มโทรมลงลด ความนิยมลง ในรัชสมัยสงครามโลกครัง้ ที่ 2 มหรสพต่างๆถูกละเลยโดยสิน้ เชิง จน เมือ่ สงครามโลกครัง้ ที่ 2 สิน้ สุดลงในปี พ.ศ. 2488 งิว้ ในประเทศไทยกลับมารุง่ เรืองอีก ครัง้ เพราะในประเทศจีนก็เกิดสงครามระหว่างฝ่ายของพรรคคอมมิวนิสต์ และพรรค ก๊กมินตัง้ ของเจียงไคเช็ค ทำ�ให้คนจีนรวมทัง้ คณะงิว้ อพยพเข้าสูป่ ระเทศไทยอีกครัง้ ในสมัยนัน้ มีโรงงิว้ อยู่ 5 โรง ทีไ่ ด้รบั ความนิยมอย่างสูงคือ คณะตงเจ๊ก อีไ่ ล้ เหล่าป้อ บ๊วยเจีย่ ตงเจีย่ สุง ( ผูเ้ ขียนเองยังเคยตามมารดาไปดูงว้ิ ตามโรงงิว้ เหล่านีบ้ อ่ ยครัง้ ) โรง งิว้ บนถนนเยาวราชมีอยู่ 5 โรง คือ โรงงิว้ อีไ่ ล้เฮียง ( ต่อมากลายเป็นโรงแรมไวท์ออคิด ในปัจจุบนั ) โรงงิว้ บ๊วยเจีย่ โรงงิว้ ซิงฮัว้ โรงงิว้ ไชฮ้อ โรงงิว้ ชิงฮิง่ จึง จนกระทัง่ ปี พ.ศ. 2505 โรงงิว้ ก็เสือ่ มความนิยมลง และในปี พ.ศ. 2509 โรงงิว้ ต่างๆบนถนนเยาวราชก็
141
เลิกกิจการลง โรงงิว้ ก็เปลีย่ นไปทำ�ธุรกิจประเภทอืน่ เมือ่ โรงงิว้ หมดไปแหล่งบันเทิงใน จุลนครฯ อย่างใหม่คอื โรงภาพยนตร์ มีหลายโรงทีเ่ ปลีย่ นมาจากโรงงิว้ ทีเ่ ลิกกิจการ ไป จนได้ชอ่ื ว่าบริเวณจุลนครฯนีเ้ ป็นแหล่งทีม่ โี รงภาพยนตร์มากทีส่ ดุ ในประเทศ โรง ภาพยนตร์มขี น้ึ ชือ่ ได้แก่ โรงภาพยนตร์เทียนกัวเทียี น โรงภาพยนตร์เจริญราษฎร์ โรง ภาพยนตร์บรอดเวย์ โรงภาพยนตร์เท็กซัส โรงภาพยนตร์นวิ แหลมทอง ฯลฯ ส่วนใหญ่ จะฉายภาพยนตร์ทส่ี ร้างจากฮ่องกงซึง่ เป็นทีน่ ยิ มอย่างมาก สามารถทดแทนความเริง รมย์จากลูกค้าโรงงิว้ ได้อย่างดี แต่เมือ่ ความเจริญเข้ามา โลกเปลีย่ นแปลงไป คนรุน่ เก่าๆก็ลม้ หายตากจาก โรงภาพยนตร์ในจุลนครฯ ก็คอ่ ยๆล้มหายตายจากไปตามกาล เวลา ภัตตาคารและร้านอาหารในจุลนครฯจุลนครฯภัตตาคารและร้านอาหารเป็น เอกลักษณ์อนั โดดเด่นเป็นทีย่ อมรับของทุกคน ดังปรากฏอยูใ่ นบทนิยายร่วมสมัย เช่น หัสนิยาย พล นิกร กิมหงวน หรือ “ปริศนา” ทีแ่ สดงถึงความเลือ่ งลือ และรสนิยมอัน เป็นทีย่ อมรับ เหตุผลสำ�คัญทีท่ �ำ ให้ภตั ตาคารและร้านอาหารในย่านนีโ้ ดดเด่นกว่าที่ อืน่ โดยมีปจั จัยหนุนนำ�ดังนี้ • ประการแรก ตลาดเก่าเป็นแหล่งรวมอาหารแห้ง เครื่องเทศ เครื่องปรุงรสจาก ประเทศจีน วัตถุดิบอาหารสดใหม่มีคุณภาพสูงจึงทำ�ให้ภัตตาคาร ร้านอาหาร ในจุลนครฯมีวัตถุดิบในการปรุงอาหารเลิศรสได้อย่างสม่ำ�เสมอ • ประการที่สอง จุลนครฯ เป็นแหล่งที่ประชาคมที่มั่งคั่ง ร่ำ�รวยทางเศรษฐกิจเป็น ผู้บริโภคชั้นดีของธุรกิจอาหาร นอกจากนี้ผู้มีอันจะกินจากบริเวณที่อื่น(มีความ สะดวกในการเดินทางมายัง จุลนครฯและยอมรับในรสชาดอาหาร ก็นิยมมาใช้ บริการในภัตตาคารและร้านอาหารในจุลนครฯ นี้ • ประการทีส่ าม หลังสงครามโลกครัง้ ที่ 2 สงบลง ชาวจีนอพยพเข้ามาประเทศไทย มาก ขณะเดียวกันในประเทศจีนก็มสี งครามกลางเมือง เศรษฐกิจตกต่�ำ ทำ�ให้พอ่ ครัวชาวจีน หรือเจ้าของร้านอาหารชาวจีนโดยเฉพาะจากเมืองกวางโจวจุลนครฯ ( กวางตุง้ ) ฮ่องกง เซีย่ งไฮ้ ซัวเถา ฯลฯ อพยพเข้ามาประกอบอาชีพในจุลนครฯ จำ�นวนมาก ทำ�ให้ภตั ตาคาร ร้านอาหารในจุลนครฯ เกิดขึน้ มากมาย อาหารทีห่ ลาก หลายประเภทเกิดขึน้ เช่น ไก่ผดั พริกแบบเสฉวน อาหารเซีย่ งไฮ้ ( เจียงชู, เจ้อเจียง ) มี
142
ปลาบูน่ ง่ึ ไก่ขอทาน หูฉลามน้�ำ แดง โดยเฉพาะอย่างยิง่ อาหารกวางตุง้ มีขนมจีบ ซาลาเปา เป็ดย่าง เป็นทีน่ ยิ มกันมากทัว่ ไป ทำ�ให้จลุ นครฯ กลายเป็นศูนย์กลางแห่ง อาหารการกินหลากหลายรสชาติของชาวจีนนานาภาษานอกจากอาหารแต้จว๋ิ ทีม่ ี อยูแ่ ต่เดิมมา • ประการที่สี่ พ่อค้าชาวจีนนิยมใช้ภัตตาคารเป็นที่สังสรรค์ ปรึกษาธุรกิจการค้า เลี้ยงต้อนรับแขกเหรื่อ ญาติมิตร ทำ�ให้กิจการภัตตาคารเจริญมากยิ่งขึ้นตามค่า นิยม • ประการที่ห้า คือในจุลนครฯ กลายเป็นย่านแสงสีศิวิไวย์ของประเทศ มีแหล่ง บันเทิงไม่ว่าจะเป็นบ่อนการพนัน ซ่องโสเภณี โรงงิ้ว โรงภาพยนตร์ซึ่งธุรกิจที่จะ ควบคู่มาด้วยคือ เรื่องของอาหารการกิน ดังนั้น อาหารการกินแบบร้านค้าย่อย หรือแผงค้า ก็เกิดขึ้นอย่างมากมายตามมาด้วย แต่เมื่อกิจการแหล่งบันเทิงเลิกล้ม กันไป ร้านอาหารเหล่านี้ส่วนใหญ่ก็ยังอยู่ต่อไป • ประการที่หก ในยุคสมัยจอมพล ป.พิบูลสงคราม เป็นนายกรัฐมนตรีได้มี นโยบาย ส่งเสริมให้คนไทยทำ�ก๋วยเตี๋ยวกินกัน โดยเส้นก๋วยเตี๋ยวไม่ว่าจะไว้บริโภคหรือ ไว้ขาย พ่อค้าชาวจีนโดยเฉพาะอย่างยิ่งในจุลนครฯ ก็นำ�นโยบายนี้มาประยุกต์ ผสมผสานกับร้านขายบะหมี่แบบชาวจีน ทำ�ให้เกิดมีร้านค้าขายก๋วยเตี๋ยวเกิดขึ้น อย่างมากมายในจุลนครฯ เป็นที่นิยมบริโภคของชาวไทยและชาวต่างประเทศ ทั่วไป ภั ต ตาคารที่โ ด่ ง ดั ง มากในยุ ค อดี ต ที่ใ ช้ เ ป็ น ที่รับ รองแขกต่ า งประเทศเช่ น ภัตตาคารห้อยเทียนเหลา บนถนนเสือป่า ภัตตาคารเยาวยืน่ ภัตตาคารก๊กจี่ ( ก๊อกไจ ) บนถนนเยาวราช, ภัตตาคารไล้กบ่ี นถนนเจริญกรุง เป็นต้นซึง่ ปัจจุบนั ได้เลิกกิจการไป แล้ว เนือ่ งจากการโรยราไปตามกาลเวลา และไม่มกี ารปรับปรุงกิจการแต่ทส่ี �ำ คัญทีส่ ดุ คือ ในยุคทีร่ ถยนต์เป็นพาหนะจำ�เป็นของคนกรุงเทพฯ ภัตตาคารเหล่านีไ้ ม่สามารถหา ทีจ่ อดรถรองรับได้ จึงต้องยอมรับสภาพ ปัจจุบนั มีแค่รา้ นอาหารทีม่ รี ปู แบบภัตตาคาร ขนาดเล็ก มีอาหารครบถ้วนตามภัตตาคารใหญ่คอื ร้านยิม้ ยิม้ ร้านตัง้ ใจอยู่ ร้านนิวกวง เม้ง บทถนนเยาวพานิช ร้านเฉลิมบุรี บนถนนทรงสวัสดิ์ ร้านแต้ปอ้ ฮวด บนถนนผดุง ด้าว เป็นต้น
143
144
ร้านอาหารทีข่ น้ึ ชือ่ เป็นทีย่ อมรับของชาวไทยและชาวต่างประเทศ มากคือ ร้าน ขายอาหารจานเดียว ( ชามเดียว ) และก๋วยเตีย๋ วซึง่ เป็นอาหารประเภทเส้นทีท่ �ำ จากแป้ง ข้าวจ้าว ทำ�เป็นเส้นในลักษณะเส้นเล็ก เส้นใหญ่ เกีย๋ มอี๋ เส้นหมี(่ เส้นทีท่ �ำ จากแป้ง ข้าวจ้าวแทบเรียกได้ว่ามีเฉพาะในเอเซียตะวันออกเฉียงใต้เท่านั้นเพราะเป็นบริเวณ ปลูกข้าวแหล่งใหญ่ของโลก ไนไทยจะมีกว๋ ยเตีย๋ ว เวียดนามมี เฝอ มาเลเซีย มีลกั ซา เป็นต้น ก๋วยเตีย๋ วในไทยยังควบรวมเส้นบะหมี่ ( หมีท่ ส่ี เี หลืองทำ�จากแป้งสาลีและไข่ )ของคนจีนแต่เดิม แล้วใส่หมู หรือเนือ้ สัตว์อน่ื ใส่ลกู ชิน้ ปลาและสิง่ ปรุงแต่งรสต่างๆ ทำ�ให้มบี ะหมีแ่ ละก๋วยเตีย๋ วมีให้เลือกหลายอย่าง แต่จะสังเกตว่าในร้านกวางตุง้ จะไม่มี เส้นอืน่ ใด นอกจากเส้นบะหมีท่ ท่ี �ำ จากแป้งสาลีตามแบบฉบับของชาวจีนทีแ่ ท้เท่านัน้ ไม่มเี ส้นอืน่ ทีแ่ ตกต่างออกมา อาหารจานเดียวไม่วา่ เป็นข้าว ข้าวต้ม โจ๊กหรือก๋วยเตีย๋ ว ชนิดต่างๆทีโ่ ด่งดังในปัจจุบนั เช่น ร้านข้าวต้มกระเพาะหมู หรือเป็ด ตัง้ หลีฮวด ปาก ซอยแปลงนาม เว้งเลือดหมูและก้วยจับ๋ น้�ำ ใสของร้านเว้งเลือดหมู ร้านฮัว่ เซ่งฮง บะหมี่ เกีย๊ ว ร้านก๋วยเตีย๋ วคัว่ ไก่ ตรอกอิสรานุภาพ เกีย๋ วหมีน่ ายฮ๋ง ร้านก๋วยเตีย๋ วเป็ดตุน๋ ร้าน เฮงยอดผัก ร้านหมูสะเต๊ะซองกี่ ร้านแกงกะหรี่ ถนนพาดสาย ร้านก๋วยเตีย๋ วลูกชิน้ ปลา นาย ชัง ทรงวาด ร้านผัดไทย คิคยู า ร้านก๋วยเตีย๋ วลูกชิน้ ปลา จึงกิม้ ฮัว่ เตียง เยือ้ งโรง หนังแคปปิตอล เจริญกรุง เป็นต้น นอกจากนี้ยังมีร้านขายลอดช่องที่เรียกว่า ลอดช่องสิงคโปร์, ร้านขนมเปี๊ยะ แต้เล่าจิ้นเส็ง, ร้านกาแฟเอี๊ยะแซ, ร้านกาแฟเอ๊กเต็งผู้กี่, ร้านขายน้ำ�อัลมอนต์ ฯลฯ
ปัจจัยที่ทำ�ให้ชาวจีน (ผูท้ ก่ี �ำ เนิดในเมืองไทยและอพยพมาเข้ามาอาศัยอยูใ่ นประเทศ
สยาม ) มีความโดดเด่นและเป็นผูน้ �ำ ในด้านเศรษฐกิจและการค้าในประเทศไทย คือ
ในด้านทัศนคติต่อการดำ�รงชีพด้วยการทำ�การค้าขาย ชาวจีนมีค่านิยมว่าการ เป็นพ่อค้าเป็นอาชีพที่มีเกียรติสามารถสร้างความมั่งคั่งให้กับตนเองและครอบครัว การมีทรัพย์สมบัติก็จะนำ�พาซึ่งยศศักดิ์ในภายหลัง ถ้าให้สะท้อนแนวคิดของคนจีน ที่ว่า “สมบัติต่อสมบัติ สมบัติต่อยศ สมบัติต่อเกียรติ” ทำ�ให้คนจีนส่วนใหญ่จึงยึดถือ การมั่งมีในทรัพย์สมบัติเป็นสรณะและการทำ�การค้าก็เป็นปัจจัยที่จะเดินทางเข้าสู่เป้า หมายได้ดีที่สุด ตรงกันข้ามกับคนไทยเนื่องจากแผ่นดินที่อาศัยอยู่อุดมสมบูรณ์ คน โหยหาในด้านวัตถุมีน้อย มีความเชื่อว่าความสุขของคนเกิดจากความพอใจในสิ่งที่
145
ตนมีอยู่ การค้าขายซึ่งบางครั้งดูเหมือนจะต้องใช้เล่ห์เพทุบาย และเป็นการลดเกียรติ ลดศักดิ์ศรี ค่านิยมในการทำ�การค้าขายของคนไทยจึงดูเหมือนน่าเหยียดหยาม สู้ กับการเป็นข้าราชการเป็นเจ้าคนนายคน มีเกียรติมีศักดิ์ศรี สังคมยกย่อง ทำ�ให้การ ค้าขายไม่ว่าเล็กหรือใหญ่แค่ไหนตกอยู่ในมือของชาวจีนแทบทั้งสิ้น การค้าขายจึง กลายเป็นสัญลักษณ์ของคนจีนหรือคนเชื้อสายจีนไปเลย แม้ว่าภายหลังคนไทยเอง เริ่มเปลี่ยนทัศนคติไปบ้างแล้วก็ยังเทียบไม่ได้กับชาวจีน นอกจากนี้แต่เดิมมาพวก ตะวันตกมองข้ามตลาดสยาม แต่ภายหลังเมื่อเห็นว่าประเทศไทยอุดมสมบูรณ์เป็น ตลาดที่ดีก็สายเกินไป เนื่องจากรากฐานของพ่อค้าชาวจีนในสยามมั่นคงมากแล้ว พฤติกรรมและทักษะของคนจีนที่ได้เปรียบในการทำ�การค้า คนจีนที่อพยพเข้า มาในดินแดนสยาม นอกจากผู้ที่ขายแรงงานแล้ว ยังมีพวกที่ชำ�นาญการเช่น นักบัญชี พ่อค้า ช่างฝีมือต่างๆไม่ว่างานโลหะ งานช่างเหล็ก ฯลฯซึ่งสามารถนำ�ทักษะเหล่า นั้นเข้ามาช่วยในการทำ�การค้าขายในตลาดใหม่ การบริหารจัดการ การสร้างสรรค์ โอกาสทางธุรกิจ จึงเกิดขึ้นได้ง่ายและประสบความสำ�เร็จได้อย่างรวดเร็ว ชาวไทย นิยมทำ�นาปลูกข้าว ส่วนการเกษตรกรรมอื่นๆไม่ว่าเป็นปลูกผัก ทำ�ไร่ ทำ�สวน ตกอยู่ ในมือคนจีนหมด การทำ�อุตสาหกรรมแต่เดิมจะแข่งกับชาวตะวันตกแต่ภายหลังก็ตก อยู่ในมือคนจีนเกือบทั้งหมด เนื่องจากชาวจีนยึดครองตลาดอยู่ ชาวจีนทำ�งานทุก อย่างเพราะว่าคุณภาพชีวิตดีกว่าสมัยก่อนอพยพมาจากประเทศจีน ดังนั้น พฤติกรรม ของชาวจีนไม่ว่า ความขยันหมั่นเพียร อดทน ทักษะ ประสบการณ์ เทคโนโลยีที่ได้ จากชาวตะวันตกที่ยึดครองจีนอยู่แล้วหรือวิทยาการพื้นฐานของชาวจีนเองก่อนที่จะ อพยพมา อันส่งผลให้ธุรกิจการค้าของชาวจีนที่มาอาศัยอยู่ในเมืองไทยโดดเด่นขึ้น มา ( ขณะที่คู่แข่งก็ไม่มีมาก ) นอกจากพฤติกรรมและทักษะของชาวจีนส่งผลให้ธุรกิจการค้าก้าวหน้าแล้วยังมีบท คำ�สอนเป็นการพัฒนาแนวคิดและกลยุทธ์ในการทำ�การค้าของชาวจีนเองเช่น ของถูก มักไม่มีค่า ของมีค่ามักไม่ถูก พ่อค้านับพัน เศรษฐีไม่มีถึงสิบ ลงทุนไข่ฟองเดียวอย่า หวังได้ไก่อ้วน ( คือให้มีความกล้าที่จะลงทุน ไม่ลงทุนเงินก้อนน้อยอย่าหวังเงินก้อน ใหญ่ ) สินค้าดีอย่าขายคนเลว หน้าตายิ้มแย้มไม่เป็น ก็อย่าทำ�การค้าทำ�การค้าต้องมี อัธยาศัยไมตรี อย่าห้อยหัวแพะแต่ขายเนื้อหมา ( อย่าทำ�การค้าแบบหลอกลวงผู้ซื้อ ) มีวันทอดแห ก็ต้องมีวัดตากแห ( ทำ�งานต้องมีวันพัก, ซ่อมแซม ) ถ้าไม่ไว้วางใจใครก็
146
อย่าจ้างเขา ถ้าจ้างเขาแล้วก็ตอ้ งไว้วางใจเขา มีความเชือ่ มัน่ ในทีมงาน การทำ�การ ค้าต้องดีดลูกคิดเป็น ต้องเรียนรูท้ กั ษะทางการค้า การค้าแต่ละประเภทมีขอ้ ดีทแ่ี ตก ต่างกัน ต้องเข้าใจถึงผลิตภัณฑ) อย่าปล่อยเหยีย่ วถ้ายังไม่เห็นกระต่าย (ทำ�การค้าต้อง รูซ้ ง้ึ ถึงจังหวะจะโคน ) ฟ้าเหลืองจะมีพายุคนเหลืองจะมีโรคภัย ( รูจ้ กั การตรวจสอบและ ควบคุม ) นอกจากนี้ยังสอนลูกหลานให้ตระหนักถึงความขยันขันแข็ง ความประหยัด อดออมซึ่งเป็นพื้นฐานปัจจัยของการดำ�รงค์ชีพและการทำ�การค้า เช่น ความสุขเป็นผล ของต้นบากบั่น ปากจอบหัวเสียมสร้างทองคำ� พึ่งคนอื่นหรือจะสู้พึ่งตนเองได้ อย่า ทำ�ตนเป็นคนสามวันจับปลา สองวันตากแห (.ทำ�ๆหยุดๆ.) คนเกียจคร้านทำ�งานไม่ เสร็จ ม้าเกียจคร้านเดินทางไม่ถึงสักที นั่งกินอย่างเดียวแม้นมีเท่าภูเขาก็ยังหมด ยืน กินอย่างเดียวพื้นพสุธาก็กลายเป็นแอ่งลึก แม้อยู่ใกล้น้ำ�ก็ต้องใช้น้ำ�อย่างประหยัดแม้ อยู่ใกล้เขาก็ใช่ว่าจะเผาผลาญฟืนอย่างสุรุ่ยสุร่าย ข้าวต้มข้าวสวยแต่ละชามกว่าจะได้ นั้นไม่ง่าย เส้นไหมเส้นด้ายเพียงครึ่งเส้นก็ต้องจำ�ใส่ใจเสมอว่าต้องรักษาไว้
147
148
ทักษะทางการค้า ชนชาวจีนมีสญ ั ชาติญาณความเป็นพ่อค้าเป็นพืน้ ฐาน เป็นคนเข้าใจ
ขัน้ ตอนการตลาดและการบริหารจัดการธุรกิจการค้า สิง่ สำ�คัญทีส่ ดุ คือ ชาวจีนรูจ้ กั และ เข้าใจเสมอมาว่า ในการทำ�การค้าขายนัน้ ใครเป็นบุคคล กลุม่ บุคคล ทีพ่ วกเขาจะเข้า ทำ�ธุรกิจด้วย ในระยะเริม่ ต้นกรุงรัตนโกสินทร์ การค้าขายทีส่ �ำ คัญ ลูกค้าทีม่ รี ายได้ใน การซือ้ หาบริโภคสินค้า ทีส่ �ำ คัญคือ หมายถึงผูม้ รี ายได้ในสมัยนัน้ ผูม้ รี ายได้ส�ำ คัญทีส่ ดุ คือ กษัตริยใ์ นราชวงศ์จกั รี คือ เป็นผูม้ จี ดั เก็บภาษี อากรหรือส่วยต่างๆถัดต่อมาคือ วงศา นุวงศ์ ข้าราชบริพารในราชสำ�นักฯ ทีไ่ ด้รบั พระราชทานทรัพย์สนิ เงินทองจากองค์พระ มหากษัตริย์ เพือ่ การใช้จา่ ย ต่อจากนัน้ ก็คอื เหล่าขุนนาง ข้าราชการซึง่ ลดหลัน่ กันมาตาม ศักดินาชัน้ ยศซึง่ ข้าราการเหล่านัน้ ก็จะมีรายได้จากส่วยของข้าไพร่ในการครอบครอง เบีย้ หวัดทีไ่ ด้รบั พระราชทานลงมาให้ ดังนัน้ กลุม่ บุคคลเหล่านีเ้ ท่านัน้ ทีค่ อื ลูกค้าเป้าหมายของ พ่อค้าชาวจีน ไพร่ฟา้ ประชาชนส่วนใหญ่ยงั มีฐานะยากจนไม่อยูใ่ นฐานะทีจ่ ะซือ้ สินค้าได้ นอกจากการซือ้ ขายแลกเปลีย่ นกับผลผลิตทางการเกษตรเช่น ข้าว ผลไม้ เป็นต้น เมือ่ หลังการปฏิรูปประเทศในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่...5ี่... เศรษฐกิจของประเทศเจริญเติบโตแบบก้าวกระโดด ระบบการเงินการคลัง การจัดเก็บราย ได้และการใช้จา่ ยของประเทศก็เริม่ เปลีย่ นแปลงสูร่ ะบบสากลมากขึน้ ชาวจีนอพยพเอง ก็อาศัยทักษะความรู้ที่เรียนรู้มาจากชาวต่างชาติที่เข้ามายึดครองและทำ�การค้าใน ประเทศจีนโดยเฉพาะเมืองการค้าใหญ่ๆทางภาคใต้ของจีน.เช่น..ฮ่องกง..กวางตุ้ง.. เอ้หมึง..เฉาโจวี่.(.แต้จิ๋วี่.) เป็นต้น ทำ�ให้ชาวจีนเหล่านีใ้ ช้ความรูค้ วามสามารถทักษะจาก ชาติตะวันตก ผนวกเข้ากับรากฐานและความเชีย่ วชาญของตลาดในประเทศไทย ทำ�ให้ พ่อค้าชาวจีนเข้าถึงผูบ้ ริโภคไม่วา่ ในลูกค้ากลุม่ เดิม และลูกค้าทีเ่ กิดขึน้ ใหม่เช่น ข้าราช การใหม่ๆผูป้ ระกอบการวิสาหกิจต่างๆเป็นต้น ตลาดขยายตัวไม่เฉพาะเพียงในนครหลวง เท่านัน้ ยังขยายตัวสูห่ วั เมืองต่างๆซึง่ เศรษฐกิจเจริญมากขึน้ ข้าราชการหรือประชาชน ร่�ำ รวยขึน้ นอกจากนีก้ จ็ ะมีชาวจีนทีท่ �ำ หน้าทีเ่ ป็นพ่อค้าคนกลางนำ�สินค้าอุปโภคบริโภค โดยเฉพาะอย่างยิง่ สินค้าผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร เช่น ข้าว, ไม้ เป็นต้น ส่งออกไปยังต่าง ประเทศ การนำ�เข้าสินค้าจากต่างประเทศทีไ่ ม่ได้จ�ำ กัดแต่จากประเทศจีนเท่านัน้ เช่น จาก ยุโรป อเมริกาหรือญีป่ นุ่ ส่งไปขายยังตลาดหัวเมือง หลังการเปลีย่ นแปลงการปกครองใน ปี พ.ศ. 2475 อันเนือ่ งมาจากเปลีย่ นแปลงระบบการจัดสรรงบประมาณและกฎหมายต่างๆ พ่อค้าชาวจีนก็ปรับตัวโดยทำ�ตัวเป็นตัวแทนและเป็นคูค่ า้ กับรัฐ ยิง่ ทำ�ให้ชาวจีนเหล่านี้ ได้ผลประโยชน์มากมายกว่าก่อน จนกระทัง่ ประเทศไทยเปิดเสรีทางการค้ากับตลาดโลก
149
แล้ว ชาวจีน ( ชาวไทยเชือ้ สายจีน ) ก็ยงั ฉกฉวยโอกาสขยายกิจการ ขยายการลงทุน เพือ่ สินค้าทัง้ เชิงปริมาณและคุณภาพสูผ่ อู้ ปุ โภคทัง้ ภายในและสูต่ า่ งประเทศในทุกมิติ
ในด้านการผลิต ชาวจีนนอกจากได้เปรียบในด้านการตลาดโดยตรงแล้ว ในด้านการ
ผลิตชาวจีนมีความสามารถและใฝ่ทจ่ี ะเรียนรูใ้ ห้ทนั กับเทคโนโลยีในตัวการผลิต เช่น การ เข้าสูอ่ ตุ สาหกรรมการสีขา้ วด้วยเครือ่ งจักร (.โรงสี.) โรงเลือ่ ย โรงน้�ำ ตาล เป็นต้น โดยการ ค่อยๆปรับตัวเรียนรูเ้ ทคโนโลยีจนสามารถใช้ชา่ งฝีมอื เหมือนกับและทดแทนชาวยุโรปได้ ทำ�ให้สามารถควบคุมสินค้าในเชิงปริมาณ ราคา และต้นทุนได้ ทำ�ให้ชาวจีนสามารถ ยึดครองตลาดต่างประเทศ เช่น จีน มลายู สิงคโปร์ โดยเฉพาะอย่างยิง่ เมืองซัวเถา ดัง นัน้ การค้าข้าวชาวจีนสามารถควบคุมได้ครบวงจรตัง้ แต่วตั ถุดบิ สินค้าแปรรูป ตลอดจน สินค้าสำ�เร็จรูปเป็นต้น
ชาวจีนเป็นผูช้ �ำ นาญการและบุกเบิกระบบภาษีในการค้าของประเทศไทย คำ�ว่า
“ภาษี” เริม่ ใช้ในสมัยพระบาทสมเด็จพระนัง่ เกล้าเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ 3 มาจากคำ� “บูซ้ ”ี ใน ภาษีจนี หมายถึง ผลประโยชน์ทแ่ี ผ่นดินทีเ่ ก็บจากระบบ “เจ้าภาษีนายอากร” หรือเรียก ว่าเป็นอากรซึง่ เกิดขึน้ ใหม่ในสมัยรัชกาลที่ 3 ในสมัยนัน้ รายได้ของราชการ รายได้หลักมา จากเงินได้จากส่วย ดังนัน้ สงครามทีเ่ กิดขึน้ จึงพยายามกวาดต้อนผูค้ นเข้ามาเป็นพลเมือง แล้วเก็บส่วย แต่ภายหลังสมัยพระบาทสมเด็จพระนัง่ เกล้าเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ 3 สามารถ หารายได้เพิม่ จากการค้าสำ�เภา และรายได้จากภาษีเข้ามาบำ�รุงประเทศไทยซึง่ ทัง้ หมดนี้ ส่วนใหญ่หลักการจัดเก็บภาษีนม้ี กั เกิดจากคำ�แนะนำ�และการจัดการของข้าราชการและ พ่อค้าชาวจีนในสมัยนัน้ ทำ�ให้พอ่ ค้าชาวจีนได้ผลประโยชน์มาก เมือ่ หลังสนธิสญ ั ญา เบาว์รง่ิ ระบบภาษีในประเทศสยามปรับเปลีย่ นเป็นชนิดเดียวกันกับต่างชาติทม่ี าค้าขายใน สยามประเทศอืน่ ๆพ่อค้าชาวจีนในสมัยนัน้ ก็ไม่ได้รบั ผลกระทบ.เนือ่ งจากมีการเตรียมพืน้ ฐานอย่างดีไว้รองรับอยูแ่ ล้ว เมือ่ ฐานเศรษฐกิจขยายตัวขึน้ มากพ่อค้าชาวจีนก็สามารถ ทำ�กำ�ไรได้เพิม่ แม้วา่ จะต้องเสียภาษีในอัตราเดียวกัน หลังการเปลีย่ นแปลงการปกครอง มีประมวลรัษฎากรแบ่งหมวดหมูภ่ าษีตา่ งๆพ่อค้าชาวจีนส่วนใหญ่มคี วามเข้าใจด้านภาษี อย่างดี สามารถจัดการด้านภาษีในธุรกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพ พ่อค้าชาวจีนยังเป็นผูท้ ่ี ได้ชอ่ื ว่าเป็นนักบริหารและจัดการงานด้านภาษีทด่ี ที ส่ี ดุ
150
ทักษะการบริหารการเงิน ชาวจีนเป็นผูไ้ ด้เปรียบและมีทกั ษะทีด่ ใี นการบริหารเงินตราและ
การเงินในสมัยต้นรัตนโกสินทร์ พ่อค้าชาวจีนครองความได้เปรียบด้านการค้าโดยเฉพาะ อย่างยิง่ กับชาวต่างชาติ เพราะว่าพ่อค้าชาวจีนทำ�หน้าทีเ่ ป็นคนกลางการแลกเปลีย่ นเงิน การค้าขายระหว่างพระคลังมหาสมบัตกิ บั พ่อค้าชาวต่างชาติ เงินสยามสมัยนัน้ เป็นเงิน พดด้วง ในขณะทีต่ า่ งชาติใช้เงินเหรียญทัง้ เงินจีน อังกฤษ ในการซือ้ ขายสินค้า พ่อค้าชาว จีนจึงสามารถหากำ�ไรในการกำ�หนดอัตราแลกเปลีย่ น และการกำ�หนดราคาสินค้าทัง้ นำ� เข้าและส่งออก ดังนัน้ ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ 4 และ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ 5 จึงต้องปฏิรปู ระบบแลกเปลีย่ นเงิน ตราให้เป็นไปมาตราสากล อย่างไรก็ดชี าวจีนหลังจากนัน้ ก็สามารถนำ�การค้าได้ดี แต่กไ็ ด้ คิดวิธกี ารในการสร้างความได้เปรียบเชิงการเงิน โดยอาศัยชาติพนั ธุเ์ ป็นวิธกี ารโพยก๊วนซึง่ ทำ�ให้เกิดวิธกี ารโอนเงินต่างประเทศ (จีน) โดยผ่านกรรมวิธกี ารค้าขายระหว่างประเทศ (จีน) และการตัง้ ธนาคารเพือ่ การสนับสนุนกิจการค้าขายระหว่างประเทศของพ่อค้าชาวจีนเอง
ชาวจีนผูกขาดในระบบการขนส่งสินค้าทางเรือ ( ภายในประเทศ ) ทำ�ให้สนิ ค้าจาก
ภูมิภาคไม่ว่าเป็นสินค้าเกษตรหรือสินค้าหัตถกรรมอุตสาหกรรมที่จะส่งออกและสินค้าที่ ต่างๆจะไปขายในภูมภิ าคอยูใ่ นมือคนจีนส่วนใหญ่ ทำ�ให้ชาวจีนยึดครองการค้าปลีกค้า ส่งของประเทศส่วนใหญ่
ระบบกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้องกับการค้า ชาวจีนมีคติทว่ี า่ “บ้านมีกฎของบ้าน เมืองมี
กฎหมายของเมือง ห้ามฝ่าฝืน” แต่ชาวจีนรูจ้ กั ทีใ่ ช้ประโยชน์จากกฎหมายในวาระนัน้ ๆใน สมัยต้นรัตนโกสินทร์ พ่อค้าชาวจีนอยูอ่ ย่างมีความสุข กับพระราชสำ�นักฯและพลเมืองซึง่ ให้เกียรติโดยถือว่าชาวจีนเป็นส่วนหนึง่ ของพลเมือง เป็นครอบครัว กฎหมายเอือ้ อำ�นวยต่อ การค้าและการดำ�รงชีพของชาวจีนอย่างมาก ต่อมาหลังสนธิสญ ั ญาเบาว์รง่ิ กฎหมายเริม่ เป็นระบบมาตรฐานสากลมากขึน้ ชาวจีนจึงใช้จดุ ของความเป็นคนจีนในบังคับของอังกฤษ ใช้สทิ ธิของสิทธิสภาพนอกอาณาเขตคือเมือ่ มีคดีความก็ขน้ึ ศาลกงสุลอังกฤษ ต่อมาหลังการ เปลีย่ นแปลงการปกครองมีกฎหมายจำ�กัดสิทธิคนต่างด้าว ชาวจีนก็อาศัยสิทธิของการเป็น สัญชาติไทยดำ�เนินการในฐานะพลเมืองชาวไทย จุลนครฯ เป็นนครน้อยแห่งวาณิชย์กรรม ของชุมประชาคมชาวจีน และบุตรหลานชาวไทยเชือ้ สายจีนมากกว่าสองศตวรรษ กระแส แห่งการเปลีย่ นแปลงเกิดขึน้ มากมาย แต่ประชาคมจุลนครฯสามารถปรับตัวเข้ากับกระแส แห่งการเปลีย่ นแปลงทีเ่ กิดขึน้ นีไ้ ด้อย่างกลมกลืนและไม่ขดั แย้ง
151
แต่อย่างใดก็ดจี ลุ นครฯเองก็มจี ดุ อ่อนจุดด้อยและข้อจำ�กัดทางธุรกิจปรากฏให้ เห็น ผูเ้ ขียนเองจะยกปรัชญาของอักษรจีนตัวหนึง่ มาอธิบายคือ คำ�ว่า 富 “ฟู”่ ( “ปู”่ แต้จว๋ิ ) แปลว่าความมัน่ คัง่ ร่�ำ รวย ตามอักษรจีนคำ�ว่า “ฟู”่ นีป้ ระกอบด้วยอักษรย่อย 3 คำ�มาประกอบกันคือ คำ�แรกคือ 家 “เจีย” ( แก ) แปลว่า บ้าน หรือเมืองซึง่ รวมทัง้ สาธารณูปโภคทีป่ ระกอบกัน คำ�ทีส่ อง คือ 口 “โข่ว” แปลว่า เข้า หมายความถึงสมาชิก ของบ้านหรือประชากรของเมือง ส่วนที่ ๓ คือ 田 “เถียน” ( ชัง้ ) แปลว่า นา หรือหมาย ถึงแหล่งรายได้ของครอบครัวหรือประชาคม ดังนัน้ คำ�ว่า “ฟู”่ หรือความมัน่ คัง่ คือความ สมดุลแห่งองค์ประกอบทัง้ สามทัง้ ในเชิงปริมาณและคุณภพ อันแรกคือความมัง่ คัง่ จาก ปัจจัยของทีอ่ ยูอ่ าศัย ( เจีย ) ต้องดูทอ่ี ยูอ่ าศัยคับแคบแออัดเกินไปหรือไม่ สาธารณูปโภค และสิง่ อำ�นวยความสะดวก มีคณ ุ ภาพหรือมีเพียงพอหรือไม่ มีสภาพแวดล้อมทีด่ พี อหรือ ไม่เป็นต้น อันทีส่ องคือความมัง่ คัง่ จากปัจจัยของสมาชิก หรือประชากรทีอ่ ยูอ่ าศัยอยู่ ( โข่ว ) ต้องดูวา่ มีศกั ยภาพ คุณภาพและปริมาณของสมาชิกของครอบครัวหรือประชากร ชุมชนว่ามีมากน้อยเพียงใด และอันสุดท้ายความมัง่ คัง่ จากปัจจัยของศักยภาพในการก่อ รายได้และทุนทรัพย์ทม่ี อี ยูข่ องบ้านและเมือง แหล่งทำ�มาหากินหารายได้ของครอบครัว หรือของชุนชน ( เถียน ) ในจุลนครฯ แรกเริม่ เดิมทีทอ่ี ยูใ่ นทำ�เลทีต่ ง้ั และขนาดทีเ่ หมาะสม มีประชาคมทีม่ คี ณ ุ ภาพสูงและมีปริมาณทีพ่ อเหมาะ มีสภาพแวดล้อมทีด่ ปี ระกอบกัน ที่ สำ�คัญทีส่ ดุ เป็นแหล่งทีม่ รี ายได้จากพาณิชย์กรรมสูงสุดของประเทศ ทำ�ให้จลุ นครฯจึงเป็น ถิน่ ทีเ่ รียกได้วา่ เป็นเมืองน้อยทีม่ คี วามมัง่ คัง่ ตามเกณฑ์ของชาวจีนอย่างครบถ้วน ต่อมา การค้าขยายตัวขึน้ มามาก ขนาดของสถานทีแ่ ละสาธารณูปโภคทีจ่ ะรองรับก็ไม่เพียงพอ แม่น�ำ้ เจ้าพระยาทีเ่ คยเป็นทีส่ ญ ั จรทางการค้าก็ไม่อาจรองรับเรือเดินทะเลเข้ามาเทียบท่า ไม่มคี ลังสินค้าขนาดทีเ่ พียงพอรองรับ แม้วา่ จะมีการขยายท่าเรือกรุงเทพฯทีค่ ลองเตยโดย
152
การขุดสันดอนแม่น้ำ�เจ้าพระยาเพื่อรองรับเรือสินค้าขนาดใหญ่ แต่ก็ไม่เอื้อกับ ความเป็นศูนย์การค้าระหว่างประเทศของจุลนครฯ ขณะที่จุลนครฯ ประชากร เพิ่มขึ้นโดยที่พื้นที่รองรับที่ไม่เพิ่ม ความแออัดของสมาชิกจึงมีมากขึ้น จากการ สำ�รวจประชากรปี พ.ศ. 2540 ในจุลนครฯ มีประชากรที่มีความหนาแน่นประมาณ 30,000 คนต่อตารางกิโลเมตร ไม่รวมคนที่เข้ามาดำ�เนินธุรกิจหรือทำ�มาเพื่อการ ท่องเที่ยวถึงวันละ 50,000 – 100,000 คน ทำ�ให้สาธารณูปโภคเช่น ถนน ที่จอด รถ อาหาร ที่พัก ฯลฯ ไม่สอดคล้องกับจำ�นวนประชากร ด้านคุณภาพประชากร แต่เดิมมาจุลนครฯ มีอัตลักษณ์ที่เป็นแหล่งชุมชนชาวจีน แต่ภายหลังนโยบาย ที่เป็นประปักษ์กับชาวจีนสมัยจอมพล ป.พิบูลสงครามและจอมพลสฤษดิ์ ธนะ รัตต์ ทำ�ให้บุตรหลานละเลยการเรียนรู้ภาษีจีน ทัศนคติการดำ�เนินชีวิตแบบ คนจีนเปลี่ยนไป เมื่อประเทศจีนมีการขยายตัวทางเศรษฐกิจอย่างรวดเร็ว การ ฟื้นฟูความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับประเทศจีน ทำ�ให้การค้าระหว่าง ประเทศของไทยกับประเทศจีนสูงขึ้นจนกลายมาเป็นประเทศคู่ค้าอันดับสองของ ไทย คือมีการค้าระหว่างกันเกือบหกหมื่นล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา แต่พ่อค้า ในจุลนครฯกลับไม่สามารถฉกฉวยโอกาสในการทำ�การค้าดังกล่าวได้เต็มที่ ถ้า คุณภาพประชากรทั้งด้านภาษาสื่อสารและทัศนคติกับประเทศจีนเป็นดังเช่น อดีต ก็จะทำ�ให้ชาวจุลนครฯ สามารถสร้างสรรค์โอกาสทางการค้าได้ดียิ่งขึ้น ใน ด้านแหล่งหารายได้ปัญหาจากเหตุผลของสาธารณูปโภคและการโดดเด่นด้าน คุณภาพที่เป็นอัตลักษณ์ไม่ชัดเจนดังเดิม เมื่อปัจจัยความมั่งคั่งทั้ง 3 ส่วนไม่มี เอกลักษณ์โดดเด่น ทำ�ให้ค่าของความมั่งคั่งก็ด้อยลงไปด้วย ปัจจุบันเราวัดราย ได้ต่อหัวของประชากรจุลนครฯ เทียบกับส่วนอื่นๆของประเทศ จะพบว่าจุลนครฯ มีรายได้ประชากรยังอยู่อันดับสองของประเทศเท่านั้น แต่จลุ นครฯ เองก็มศี กั ยภาพพร้อมทีจ่ ะพัฒนาตนเองในด้านการค้าแข่งขัน กับส่วนอืน่ โดยเฉพาะอย่างยิง่ การมีแหล่งท่องเทีย่ วเชิงวิถชี วี ติ และประวัตศิ าสตร์ท่ี ทรงคุณค่า มีประชากรทีย่ งั มีคณ ุ ภาพทีจ่ ะพัฒนาได้ จึงสร้างความหวังว่า จุลนครฯ จะกลับมาเป็นเมืองน้อยทีม่ ง่ั คัง่ ร่�ำ รวย ทัง้ เงิน ทอง ศิลปะ วิถชี วี ติ ทีท่ รงคุณค่า ซึง่ เป็นอัตลักษณ์ทโ่ี ดดเด่นตลอดไป
153
154
บรรพสาม
จิตวิญญาณแห่งประชาคม ในสมัยผู้เขียนยังเด็กมีตำ�ราเรียนภาษาจีนซึ่งครูใช้สอนไว้วิชาฉางเซอะ หรือ วิชาจริยศึกษา โดยมีเรื่องเล่าว่า มีแพะสองตัวสีดำ�แลสีขาว เดินสวนกันข้ามสะพาน ไม้แคบๆข้ามคลอง เมื่อถูกเวลาเดินสวนกันแพะตัวหนึ่งก็หยุดเพื่อหลีกทางให้แพะอีก ตัวค่อยๆเดินข้ามไปก่อน แล้วแพะตัวหนึ่งหยุดรอก็ค่อยเดินต่อไป แพะทั้งสองตัวก็ สามารถเดินข้ามคลองได้อย่างปลอดภัย วันหนึ่งมีหมาสองตัวเดินสวนทางกันมาบน สะพานไม้เหมือนกัน แต่ถึงเวลาจะต้องสวนกันกลางสะพานต่างฝ่ายต่างไม่ยอมหยุด หรือหลีกให้แก่กัน จึงเกิดการต่อสู้กัดกันบนสะพาน ในที่สุดหมาทั้งสองตัวก็ตกลงไป ในคลอง ครูได้อธิบายว่า ถ้าในสังคมต่างฝ่ายต่างยึดฐิติหรือผลประโยชน์ตนเองเป็น หลัก โดยไม่มีการเอื้ออาทรกัน ผลสุดท้ายก็ต้องเสียหายไปด้วยกันเหมือนกับหมาทั้ง สองตัว แทนที่จะได้ข้ามคลองไปสู่ที่หมายได้ กลับต้องตกน้ำ�ตกท่าไป แต่มีคำ�ถาม ของเด็กๆที่ถามครูไปว่า ทำ�ไมฉันถึงต้องเป็นแพะ ฉันอยากเป็นหมาและให้เธอเป็น แพะหลีกทางให้ฉัน เมื่อฉันจะข้ามคลองเธอก็ต้องหลีกให้ฉันไปก่อนซิ เพราะว่าฉัน มีอำ�นาจเหนือกว่าหรือฉันมีธุระสำ�คัญกว่า ครูจึงตอบว่า ถ้าทุกคนอยากเป็นแต่หมา ไม่อยากเป็นแพะ เพราะไม่ยอมเสียประโยชน์บางส่วนแก่กัน สังคมก็จำ�เป็นจะต้องมี
155
กฎเกณฑ์ขึ้นเป็นข้อกำ�หนดว่าใครจะต้องทำ�หรือไม่ทำ�สิ่งใดหรือเมื่อใดซึ่งเหมือนกับ ข้อกฎหมายของบ้านเมืองที่ใช้ปกครองบังคับใช้เพื่อให้สังคมสามารถอยู่ร่วมกันอย่าง สงบ แต่ในเรื่องกฎเกณฑ์ของสังคม ครูยังเล่าให้ฟังถึงประวัติศาสตร์จีนตอนหนึ่งที่ เกี่ยวข้องกับกฎหมายให้ฟังว่า ประมาณ2พันกว่าปีก่อนนั้น ประเทศจีนที่เรียกว่า จง หงวน ถูกแบ่งออกเป็นแคว้นต่างๆ7 แคว้น คือ แคว้นหาน แคว้นจ้าว แคว้นเว่ย แคว้น ฉี แคว้นฉู่ แคว้นเยี่ยน และแคว้นฉิน แต่ละแคว้นจะมีจุดเด่นในตัวเอง เช่น แคว้นจ้าว เป็นศูนย์กลางทางการค้า แคว้นฉู่มีทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์ เป็นต้นซึ่งก็ ยกเว้นแคว้นฉินซึ่งเป็นแคว้นใหญ่ทางทิศตะวันตกของจงหงวน เศรษฐกิจการเมือง การปกครอง และวัฒนธรรมของรัฐฉินล้วนล้าหลังกว่าแคว้นอื่น ไม่มีจุดเด่นที่จะ แข่งขันกับแคว้นอื่นได้ ยกเว้นความเป็นนักรบที่แข็งแรงที่ทำ�ให้อยู่รอดได้ จนกระทั่ง แคว้นฉินได้ฉินเซี่ยงกงขึ้นเป็นอ๋องแห่งแคว้นฉิน อ๋องฉินเซี่ยงกงได้เรียก mซิงหยาง เข้ามาช่วยบริหารราชการ ซิงหยางได้เสนอวิธีการปกครองโดยการปฏิรูปกฎหมาย ให้เข้มงวด ขณะเดียวกันก็ให้บำ�เหน็จความดีความชอบแก่ผู้ที่ทำ�คุณประโยชน์หรือ ปฏิบัติตามคำ�สั่งกฎหมายอย่างเคร่งครัด ถ้ากฎหมายมีความศักดิสิทธิ์ การปกครอง ไพร่ฟ้าหรือพัฒนาบ้านเมืองก็ทำ�ได้ง่าย ชิงหยางได้ออกอุบายเพื่อให้พลเมืองฉินเห็น ว่ากฎหมายของบ้านเมืองมีการบังคับใช้ได้อย่างแท้จริง โดยเขานำ�ท่อนไม้ไปวางไว้ หน้าประตูเมืองพร้อมเปิดประกาศว่า ใครผู้ใดยกท่อนไม้นี้ออกจะได้รางวัลสิบตำ�ลึง
156
ผู้คนเดินผ่านไปมาซึ่งเคยชินกับระบบเดิมๆโดยคิดว่าเป็นการล้อเล่นจึงไม่มีใครสนใจ จนกระทั่งมีชายผู้หนึ่งเชื่อมั่นในประกาศได้เดินมายกท่อนไม้นี้ออก ซิงหยางจึงจ่ายเงิน รางวัลให้ตามที่ประกาศไว้ทำ�ให้ประชาชนเริ่มรู้สึกเชื่อมั่นในกฎหมายมากขึ้น ในยุค ต่อๆมา แคว้นฉินดำ�เนินนโยบายให้คุณให้โทษบังคับกฎหมายอย่างเคร่งครัด ทำ�ให้ แคว้นฉินมีจุดเด่นในเรื่องการบังคับใช้กฎหมาย ทำ�ให้แคว้นก็เจริญรุ่งเรืองอย่างมั่นคงมี ความแข็งแกร่งสูงสุดกว่าทุกแคว้น ในที่สุดแคว้นฉินก็สามารถพิชิตแคว้นต่างๆรวบรวม จีนให้เป็นหนึ่งเดียวในสมัยฉินซีฮ่องเต้ ดังนั้นการควบคุมประชาชนที่ได้ผลและนิยมกัน โดยทั่วไปคือ การออกกฎหมายและการบังคับใช้กฎหมายเป็นหลัก แต่อย่างไรก็ดี ความ เข้มงวดของกฎหมายของแคว้นฉินเป็นที่รู้จักกันอย่างดีว่าทุกคนล้วนต้องปฏิบัติตาม และไม่สามารถขัดขืนได้ จนกระทั่งถึงเมื่อช่วงหลังที่ฉินซีฮ่องเต้สวรรคตโอรสชึ้นครอง ราชย์ มีชาวนาเก้าร้อยคนถูกเกณฑ์ไปเป็นทหารโดยมีทหารหลวงสองนายจากเมืองชื่อ เฉินเซิ่งและอู่ก่วงเป็นผู้คุม ครั้นมาถึงหมู่บ้านต้าเจ๋อพวกเขาต้องติดฝนไม่สามารถเดิน ทางได้เป็นเวลาหลายวัน การพังทลายของทางก็ทำ�ให้การเดินทางไม่สะดวกซึ่งพวก เขารู้ว่าไม่สามารถนำ�ทัพไปถึงที่หมายได้ตามกำ�หนดเวลาอย่างแน่นอน แต่กฎหมาย ราชวงศ์ฉินกำ�หนดไว้อย่างเข้มงวดว่า “หากกองทหารเดินทางถึงที่หมายช้ากว่ากำ�หนด จะถูกประหารชีวิตทันที” เมื่อกองทหารมองเห็นว่าพวกเขาไม่สามารถเดินทางได้ทันอยู่ แล้วถ้ากลับไปก็จะต้องถูกประหารอย่างแน่นอนทำ�ให้เฉินเซิ่งและอู่ก่วงจึงต้องฝืนคำ� สั่งตั้งตัวเป็นกบฏ แม้ว่าการทำ�กบฏครั้งนี้ไม่สำ�เร็จนายทหารทั้งสองต้องเสียชีวิตแต่ก็ จุดประกายให้มีการต่อต้านราชวงศ์ฉินเกิดการลุกฮือต่อต้านราชวงศ์ฉินทั่วทุกสารทิศ อย่างรวดเร็ว สามปีหลังจากนั้นราชวงศ์ฉินที่มีอายุเพียง 15 ปีก็ล่มสลาย แสดงให้เห็น ว่ากฎหมายหรือกฎระเบียบแม้นว่าเป็นบรรทัดฐานของหลักปฏิบัติของสังคมก็ตามแต่ กฎหมายที่เข้มงวดเกินไปก็ไม่สามารถทำ�ให้สังคมสงบสุขได้เสมอไป หลังราชวงศ์ฉิน เป็นต้นมากษัตริย์ราชวงศ์ต่อมาไม่ว่าเป็นชาวฮั่นหรือไม่ ( ชาวมองโกลในราชวงศ์หยวน และชาวแมนจูในราชวงศ์ชิง ) ไม่กล้าใช้กฎหมายที่เข้มงวดเกินไป มาตรการทางสังคมใน ทางกฎหมายจึงมักใช้มาตรการบนหลักคุณธรรม 4 ประการของขงจื้อเป็นบรรทัดฐาน คือ ภักดีธรรม ( ตง ) คุณธรรมที่ภักดีต่อแผ่นดินต่อองค์กษัตริย์และราชวงศ์ เพราะจะ ทำ�ให้แผ่นดินร่มเย็นเป็นสุข กตัญญูยุตาธรรม ( เห่า ) การรู้คุณบิดา มารดา ครอบครัว การเลี้ยงดูบุตรหลานให้เป็นคนดีของสังคม ฯลฯ หลักธรรมนี้ทำ�ให้สถาบันครอบครัวอยู่ กันด้วยความสุข การุญธรรม ( ยิ้ง ) การช่วยเหลือสังคม ความรู้หน้าที่ ภาระทางสังคม
157
ความเอื้ออาทรทำ�ให้สังคมสวยงาม ชุมชนน่าอยู่ สัตยาธรรม ( หงี ) อุดมการณ์ต่อ สังคม อุดมการณ์ต่อชาติพันธุ์ ญาติมิตร ฯลฯ เป็นหลักธรรมที่ทำ�ให้สังคมและประชาคม มีความเจริญมั่นคง เพราะนอกจากทำ�ให้สังคมสงบ ครอบครัวเป็นสุข ยังทำ�ให้แผ่นดิน ร่มเย็นด้วยซึ่งสังคม ในจุลนครฯ สมัยแรกเริม่ ประชาคนอยูก่ นั ด้วยความมีน�ำ้ ใจ อะลุม้ อล่วย เอือ้ เฟือ้ ช่วยเหลือเกือ้ กูลซึง่ กันและกัน สังคมจึงอยูก่ นั ด้วยความสุขสงบ ในเวลาต่อมาบ้านเมือง ขยายตัวมากขึน้ ประชากรมากขึน้ การแข่งขันในด้านการค้า ( ด้านอืน่ ๆด้วย ) มากขึน้ ความมีน�ำ้ ใจก็คอ่ ยๆเปลีย่ นไป ความเกือ้ กูลกันก็นอ้ ยลง ต่างคนต่างเอาแต่ผลประโยชน์ ตนเองเป็นหลักมากขึ้นทำ�ให้สังคมเริ่มมีระบบอนาธิปไตยขึ้นมาความสงบเรียบร้อยที่ อยู่ในสังคมนั้นไม่ได้เกิดจากกฎหมายที่เข้มงวดเพราะตลอดเวลาโดยเฉพาะอย่างยิ่ง พระมหากษัตริยท์ รงปกครองจุลนครฯ ด้วยกฎระเบียบทีผ่ อ่ นปรน แต่สงั คมจุลนครฯ สามารถดำ�รงคอยู่ได้อย่างมั่นคงเพราะมีหลักการในการยึดถือของสังคมของประชาคม สิ่งหนึ่งที่สำ�คัญในการยึดเหนี่ยวสังคมจุลนครฯก็คือหลักคุณธรรมของสังคมอันที่เป็นที่ ยอมรับของสังคมจีน หลักคุณธรรมนีค้ อื หลักคุณธรรม 4 ประการ ของขงจือ้ ขงจื้อมีชื่อว่า “ชิว” สมญานามว่า “จิงหนี” เป็นผู้ก่อตั้งลัทธิขงจื้อขึ้นอีกทั้งยัง ได้รับการยกย่องว่าเป็นปรัชญาเมธีอีกด้วย ขงจื้อเสนอแนวทางปกครองแบบเน้น คุณธรรมเมตตาธรรม เน้นการปลูกฝังเรื่องศีลธรรมแก่ผู้คน สมัยฮ่องเต้ฮั่นอู่ตี้ ( พ.ศ. 387 – 456 ) กษัตริย์ราชวงศ์ฮั่น ในสมัยพระองค์ อาณาจักรจีนเจริญรุ่งเรืองมาก พระองค์ทรงเลื่อมใสศรัทธาในลัทธิขงจื้อเป็นอย่าง มาก ทรงยึดเอาหลักแนวความคิดของลัทธิขงจื้อมาใช้ในระบอบการปกครอง พลเมือง ทุกแว่นแคว้นอยู่เย็นเป็นสุข หลักในแนวความคิดของขงจื้อถูกนำ�มาใช้เป็นรากฐาน สำ�คัญในการปกครองยาวนานเป็นเวลาถึง 2,000 ปี ขงจื้อยังเป็นนักวิชาการทางการ ศึกษาที่ยิ่งใหญ่อีกบุคคลหนึ่ง ท่านมีความคิดว่าทุกๆคน ควรได้รับการศึกษาเท่าเทียม กัน ไม่ได้มีการแบ่งแยกประเภทของหลักการสอนซึ่งท่านสอนตามสภาพความสามารถ ของผู้เป็นลูกศิษย์ ท่านสอนลูกศิษย์ให้รู้จักคิดไม่ใช่แค่ท่องจำ�หลังจากขงจื้อเสียชีวิต ลงลูกศิษย์ก็ได้นำ�คำ�สอนของท่านเรียบเรียงเป็นหนังสือเล่มหนึ่งชื่อ“หลุนอวี่”ซึ่งใช้ เป็นคัมภีร์ของสำ�นักขงจื้อ หลักการปกครองของลัทธิขงจื้อมีการบันทึกเป็นคัมภีร์ผู้
158
ปกครองเสนาบดีเกือบทุกคนต้องผ่านการสอบที่เรียกว่า สอบจอหงวน ผู้ที่สอบได้ คะแนนในลำ�ดับที่สูงเท่านั้นที่จะได้รับตำ�แหน่งทางราชการไปปกครองตามเมืองต่างๆ ข้อสอบที่ใช้สอบนั้นส่วนใหญ่เป็นการวัดความรู้จากหลักธรรมตามคัมภีร์ของขงจื้อ ดัง นั้นคัมภีร์ของขงจื้อจึงเปรียบเสมือนตำ�ราเรียนมาตรฐานของประชาชนชาวจีนซึ่งชาว จีนที่เข้าศึกษาในโรงเรียนจึงต้องศึกษาแนวคิดของขงจื้อเป็นสำ�คัญ เมื่อเติบใหญ่เป็น พลเมืองของประเทศชาติก็จะยึดถือคัมภีร์ของขงจื้อเป็นวิถีการดำ�เนินชีวิต แต่ถ้าเป็น ข้าราชการก็ต้องยึดถือคัมภีร์ของขงจื้อเป็นหลักการในการปกครอง ในราชวงศ์ต่อๆมา ผู้ปกครองที่ทรงความยุติธรรมที่มีชื่อเสียง เช่น เปาบุ้นจีน ในราชวงศ์ซ้อง หรือไฮ้สุยใน ราชวงศ์หมิง หลักปกครองง่ายๆที่ทำ�ให้คงความยุติธรรมได้ก็คือถ้าผู้ไดไม่มีคุณธรรม 4 ประการ เช่น ไม่จงรักภักดีต่อแผ่นดิน เป็นคนอกตัญญู ทรยศต่อญาติมิตรเพื่อนฝูง ล้วนเป็นคนผิดอันดับแรก ดังนั้นชาวจีนตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบันตั้งแต่เกิดจนถึงตายล้วน ถูกปลูกฝังวิธีการหลักปกครองของขงจื้ออยู่ในสายเลือด นอกจากนี้ขงจื้อคือเทพเจ้า แห่งบรมครูทางการศึกษาทุกคนต้องยึดหลักคำ�สอนของขงจื้อเป็นบรรทัดฐานในการ เรียนรู้และดำ�เนินชีวิตอยู่แล้ว ปัจจุบันในประเทศจีนเด็กที่จะเข้าโรงเรียนอันแรกพ่อแม่ จะต้องหาไปไหว้ศาลเจ้าขงจื้อเพื่อขอพรให้ลูกเรียนเก่งๆความเชื่อนี้แม้กระทั่งเกาหลี หรือญี่ปุ่นยังมีความเชื่อในขงจื้อ เวลาจะสอบเข้ามหาวิทยาลัยยังมีเด็กหลายคนไป กราบไหว้รูปปั้นขงจื้อแสดงให้เห็นว่าหลักคำ�สอนเรื่องคุณธรรมนั้นซึมซับอยู่ในสาย เลือดของชาวจีนทุกคน โดยเมื่อชาวจีนอพยพมาประเทศไทยคุณธรรมขงจื้อก็กลาย เป็นจิตวิญญาณที่อยู่ในประชาคมแห่งจุลนครฯนี้ นอกจากนี้คุณธรรมตามโอวาทของ ขงจื้อเมื่อได้ผสมผสานหลักธรรมะในพุทธศาสนาก็ทำ�ให้จิตวิญญาณแห่งชาติพันธุ์ เข้มแข็งยิ่งขึ้น ผู้เขียนจึงขอให้หลักคุณธรรมตามโอวาทของขงจื้อและหลักธรรมใน พุทธศาสนาบางข้อที่สัมพันธ์ในการอธิบายถึงจิตวิญาณของประชาคมในจุลนครฯ ที่ สะท้อนผ่านผ่านวิถีปฏิบัติ เทศกาล ความเชื่อ ประเพณี ผลงานต่างๆที่ปรากฏให้เห็น เป็นรูปธรรม
159
คุณธรรมตามโอวาทธรรมของขงจื้อ คุณธรรมตามโอวาทธรรมทีห่ นึง่
忠
การมีความซื่อสัตย์ภักดีต่อแผ่นดินหรือความมีภักดีธรรม ขงจื้อกล่าวไว้ว่าขงจื้อ“วิญญูชนควรเกรงกลัวและเคารพยกย่อง 3 สิ่ง คือ ประกาศิตแห่งสวรรค์ องค์ราชันย์ที่ทรงศักดิ์และทรงธรรม ผู้มีอำ�นาจ ข้าราชบริพารที่ ซื่อสัตย์สุจริตและภักดี บุคคลอารยะ บุคคลที่เป็นคนดี มีศีลธรรม การซื่อสัตย์จงรักภักดีต่อแผ่นดินต่อชาติพระมหากษัตริย์ของชาวไทยเชื้อสาย จีนในจุลนครฯได้ถูกปลูกฝังให้สำ�นึกถึงหน้าที่และทัศนคติที่จงรักภักดีต่อชาติ พระมหา กษัตริย์ ไม่ว่าจากการอบรมสั่งสอนจากบิดา มารดา จากโรงเรียนสถานศึกษา จาก วรรณกรรมที่ได้ฟังได้ยินจากการแสดงโรงงิ้ว ภาพยนตร์ นิทานเรื่องเล่าจากวิทยุ ( ส่ง เสียงตามสาย ) ทำ�ให้เข้าใจถึงหลักคิดที่ว่า บุตรหลานที่ไม่เชื่อฟังคำ�สั่งสอนของผู้ใหญ่ ก็จะทำ�ให้บ้านไม่มีสุข คนในชาติไม่มีความสามัคคี ไม่มีการภักดีซื่อสัตย์แผ่นดินก็จะ ทุกข์ร้อน แผ่นดินไม่ร่มเย็น บ้านจะมีสุขได้ฉันใด
160
เรือ่ งทีค่ นจีนมักเล่ากันต่อๆมาจนกลายเป็น สัญลักษณ์ท่ีแสดงถึงความจงรักภักดีซ่ือสัตย์ต่อแผ่น ดินได้แก่ เรือ่ งของขุนพลงักฮุย หรือ เย่เฟย ( ภาษี จีนกลาง ) พ.ศ. 1646 – 1685 ทีป่ รากฏในวรรณกรรม จี น เรื่อ งซวยงั ก ที่แ ปลในสมั ย ต้ น รั ต นโกสิ น ทร์ เ รี ย ก ว่า งักฮุยหรือทีไ่ ด้รบั พระราชทานนามอูม่ หู่ วัง เย่เฟย อ๋อง ( จอมทัพผูก้ ล้าทีน่ า่ บูชางักฮุย ) งักฮุยมีชวี ติ ใน ปลายสมัยราชวงศ์ซง่ เหนือและต้นราชวงศ์ซง่ ใต้ งักฮุ ยกำ�เนิดในราชวงศ์ซง่ สมัยฮ่องเต้ ฉงหนิง ทีอ่ �ำ เภอหัว ยิน เมืองเซียงโจว ( ปัจจุบนั อยูใ่ นมณฑลเหอหนาน ) ในตำ�นานเล่ากันว่า งักฮุยเป็นนกวายุภกั ษ์ ( ครุฑ ) คุม้ ภัยของพระศากยมุณพี ระพุทธเจ้า แต่วนั หนึง่ เกิด ไปทำ�ร้ายค้างคาวตัวเมียตัวหนึ่งที่กระทำ�พฤติกรรม อันไม่สมควรต่อหน้าพระพักตร์ของพระพุทธองค์ จน ค้างคาวนัน้ ถึงแก่ความตาย พระพุทธองค์จงึ ทรง ลงโทษ เนือ่ งจากนกวายุภกั ษ์ไปทำ�ร้ายชีวติ ผูอ้ น่ื โดย ให้ไปกำ�เนิดในโลกมนุษย์เพื่อชดใช้กรรมที่ตนเองก่อ ไว้ ส่วนค้างคาวตัวเมียทีถ่ กู นกวายุภกั ษ์ฆา่ ตาย มี ความแค้นอาฆาตติดตัวโดยไปเกิดเป็นหญิงในสกุล หวังซึ่งต่อมากลายเป็นภรรยาของฉินขุ่ยขุนนางกังฉิน ได้รว่ มมือกันวางแผนดำ�เนินการให้รา้ ย ..ทำ�ร้ายจน งักฮุยต้องถูกประหาร นกวายุภกั ษ์ไปเกิดในท้องสะใภ้ ตระกูลงัก เมือ่ ใกล้คลอดนางก็ฝนั มีนกวายุภกั ษ์บนิ ลงมาจากฟากฟ้า เพือ่ นางคลอดบุตรชายออกมาจึง ตัง้ ชือ่ บุตรชายว่า.ฮุย.(.เฟย แปลว่า.บิน.) งักฮุยเติบโต เป็นเด็กว่านอนสอนง่ายเชื่อฟังคำ�สั่งสอนของมารดา เสมอ มารดาได้สอนสัง่ เสมอให้งกั ฮุย เมือ่ เติบใหญ่ขน้ึ มาต้องตอบแทนมาตุภมู ิ จงรักภักดีตอ่ แผ่นดิน ดังนัน้ เมือ่ งักฮุยจะจากบ้านไปออกศึกนัน้ นางจะสักข้อความ
161
เตือนใจว่า “จิ่งตงป่อก๊ก“ ซี่งแปลว่า จงรักภักดีต่อชาติตอบแทนคุณแผ่นดินซึ่งเมื่ออายุ สิบเก้าปี งักฮุยเข้ารับราชการเป็นทหาร เนื่องจากเป็นผู้ที่มีฝีมือสูงส่งในการศึก รบครั้ง ใดก็สามารถรบชนะข้าศึก โดยเป็นทหารไม่นานก็สามารถเลื่อนตำ�แหน่งขึ้นเป็นแม่ทัพ แม่ทัพงักฮุยนอกจากเชี่ยวชาญการศึกจนเป็นที่หวั่นเกรงของศัตรู ยังสั่งทหารในการ บังคับบัญชาห้ามไม่ให้ทำ�ความเดือดร้อนแก่ชาวบ้านชาวเมือง จนชาวเมืองต่างยกย่อง เคารพรักใคร่ในตัวแม่ทัพงักฮุย และทหารในการบังคับบัญชาที่ได้รับสมมาว่า งักแกะ ถุน หรือ เย่เจียจริน (กองทัพตระกูลงัก) จนทหารกิม งักฮุยและกองทัพของเขารบชนะทัพศัตรูคอื ทหารฝ่ายกิมก๊ก ประหวัน่ พรัน่ พรึงต่อกองทัพงักฮุย จนถึงกับรำ�พึงว่าให้ไปโยกคลอนภูเขาดีกว่าไปปะทะ ทัพงักฮุย ดังนัน้ กษัตริยก์ มิ จึงออกอุบายส่งเงินไปติดสินบนขุนนางกังฉินฉินขุย่ ซึง่ ฉินขุย่ เองนอกจากความโลภในอามิสสินจ้างแล้วยังได้รบั การยุยงจากนางหวังสีภรรยาอีกทาง หนึง่ โดยส่วนตัวแล้วเขาก็ยงั อิจฉาในความสำ�เร็จของงักฮุย ฉินขุย่ จึงได้ออกอุบาย กล่าวใส่รา้ ยงักฮุยให้ฮอ่ งเต้วา่ งักฮุยกำ�ลังเสริมสร้างอิทธิพลและกำ�ลังเพือ่ ก่อการกบฏ ฮ่องเต้หลงเชือ่ ในคำ�ให้รา้ ยของฉินขุย่ ส่งป้ายคำ�สัง่ เป็นป้ายทองอาญาสิทธิใ์ ห้งกั ฮุยถอน กำ�ลังกลับเมืองหลวงทัง้ ๆทีก่ �ำ ลังได้เปรียบในการศึกอยูข่ ณะนัน้ ในทีส่ ดุ งักฮุยถูกคำ�สัง่ ให้ประหารพร้อมกับบุตรชายคนโตและแม่ทพั คูใ่ จ ความตายของแม่ทพั งักฮุยทำ�ให้ ประชาชนโกรธแค้น รุมกันสาปแช่งฉินขุย่ และเมียและยกย่องงักฮุยให้เป็นเทพเจ้าแห่ง ความจงรักภักดี เป็นทีก่ ราบไหว้ของผูค้ นจนถึงปัจจุบนั ไม่วา่ เป็นชาวจีนในประเทศจีน เอง หรือชาวจีนโพ้นทะเลโดยเฉพาะอย่างยิง่ ในประเทศไทย
162
มีเทศกาลหนึ่งของชาวจีนที่เป็นการรำ�ลึกถึงบุคคลที่มีความจงรักภักดีคือ เทศกาลไหว้ขนมจ้างในวันขึน้ 5 ค่�ำ เดือน 5 ( ตามปฏิทนิ จันทรคติของจีน ) เพือ่ รำ�ลึกถึง วีรชนผูจ้ งรักภักดีซอ่ื สัตย์ตอ่ แผ่นดิน ชือ่ ว่าชวีหยวนกวีผรู้ กั ชาติในยุคจ้านกัว๋ ( ประมาณ พ.ศ. 24 ขณะนัน้ ประเทศจีนแบ่งเป็น 7 แคว้น คือ ฉิน ฉู,่ จิน้ , ซ่ง, ฉี, วุย่ , เหยีย่ น ) โดยมีเรือ่ ง เล่าว่า ชวีหยวนเป็นขุนนางในแคว้นฉู่ เป็นผูท้ ม่ี คี วามจงรักภักดีตอ่ แผ่นดินมาก ในราช สำ�นักมีขนุ นางจือ่ หวันทีป่ ระจบสอพออิจฉาใส่รา้ ย ชวีหยวน จนฉูอ่ อ่ งหลงเชือ่ สัง่ ลงโทษ ชวีหยวนโดยเนรเทศออกนอกเมืองหลวงในทีส่ ดุ ในปี พ.ศ. 265 กองทัพฉินตีเมืองอิง๋ ราชธานีของแคว้นฉูแ่ ตกทำ�ให้แคว้นฉูล่ ม่ สลาย เมือ่ ชวีหยวนได้ทราบข่าวก็รสู้ กึ เสียใจ เป็นอย่างมาก ชวีหยวนสัง่ ให้บตุ รสาวนำ�ชุดใหม่มาสวมใส่แล้วเดินทางไปยังริมแม่น�ำ้ ในทีส่ ดุ ก็กดั ลิน้ กระโดดลงแม่น�ำ้ ฆ่าตัวตาย ชาวบ้านได้ขา่ วจึงลงเรือช่วยกันตามหาร่าง ของท่านชวีหยวน แต่หาอย่างไรก็หาไม่พบ ชาวบ้านจึงคิดวิธกี ารให้ทกุ ๆบ้านนำ�ใบไม้ ไผ่มาห่อข้าวและโยนลงแม่นำ้�เพื่อให้เป็นอาหารของปูปลาและจะได้ไม่ไปแทะกินร่าง ของชวีหยวน ภายหลังจึงทำ�ให้เกิดประเพณีท�ำ ข้าวห่อบะจ่างด้วยใบไผ่ไว้กนิ กันในวันที่ 5 ค่�ำ เดือน 5ซึง่ เป็นวันที่ ชวีหยวนกระโดดลงแม่น�ำ้ เพือ่ ฆ่าตัวตายสังเวยการล่มสลายของ แคว้นฉูท่ ต่ี นภักดี ส่วนขบวนเรือทีต่ ามหาชวีหยวานนัน้ ภายหลังเปลีย่ นเป็นการแข่งขัน เรือมังกรจวบจนทุกวันนี้ ปัจจุบนั ในจุลนครฯปัจจุบนั ยังไว้ซง่ึ ประเพณีไหว้ขนมจ้างอย่าง เดียวเพือ่ แสดงจิตสำ�นึก ยกย่อง นับถือว่าเป็นผูม้ คี วามจงรักภักดีตอ่ แผ่นดินยิง่ ชีวติ ,
163
อย่างไรก็ดีประเทศจีนมีประวัติยาวนานนับหลายพันปีมีการเปลี่ยนแปลง มากมาย การที่ประชาชนจะเคารพบูชาภักดีต่อแผ่นดินใด ราชวงศ์ใดกษัตริย์องค์ไหน นั้น ชาวจีนมีหลักยึดอยู่อย่างหนึ่งว่า ผู้ปกครองในราชวงศ์นั้นๆต้องมีคุณสมบัติอัน ชอบธรรม อย่างเช่นเมื่อชาวแมนจูยึดครองประเทศจีนก่อตั้งราชวงศ์ชิง(พ.ศ.2187) ขึ้น มา ในครั้งแรกชาวจีนซึ่งส่วนใหญ่เป็นชาวฮั่นไม่ยอมรับราชวงศ์ชิงของแมนจูจึงมี การก่อกบฏเกิดขึ้นโดยทั่วไป ภายหลังกษัตริย์ราชวงศ์ชิงในยุคต้นๆพิสูจน์โดยการ ปกครองแผ่นดินอย่างเป็นธรรมสร้างสันติสุขให้อาณาประชาราษฎร์ ในที่สุดการต่อ ต้านจากชาวจีนฮั่นก็ลดลง และจนกระทั่งยอมรับการปกครองจากกษัตริย์ราชวงศ์ชิง ต่อมาในยุคปลายราชวงศ์ชิงถูกการรุกรานจากชาติตะวันตก ทำ�ให้ราชวงศ์อ่อนแอชาว บ้านเดือดร้อนเกิดข้าวยากหมากแพงทำ�ให้ชาวจีนก็เสื่อมศรัทธาในระบบกษัตริย์ลง ใน ช่วงปลายราชวงศ์ชิงซึ่งตรงกันกับสมัยรัตนโกสินทร์ ชาวจีนเริ่มอพยพเข้าในสยามมาก ขึ้น ขณะเดียวกันพวกเขาก็พกพาเอาจิตวิญญาณที่ยังเคารพองค์พระมหากษัตริย์และ ราชวงศ์มาด้วย แต่เนื่องจากความเชื่อมโยงและใกล้ชิดกับกษัตริย์ราชวงศ์ชิงมีน้อยลง เรื่อยๆความชอบธรรมของกษัตริย์จีนก็ไม่มีให้ปรากฏ ชาวจีนในสยามที่เริ่มผูกพันกับ แผ่นดินสยามมากขึ้น กษัตริย์ที่ชาวจีนศรัทธาและให้การบูชาเคารพจึงเปลี่ยนมายัง กษัตริย์ในราชวงศ์ไทยแทน สิ่งที่สำ�คัญที่สุดคือ กษัตริย์ไทยนอกจากให้การเกื้อกูล อุปถัมภ์แก่ชาวจีนอย่างมากแล้ว กษัตริย์ทุกพระองค์ทรงมีพระบารมีปรากฏที่ทำ�ให้ ชาวจีนเคารพบูชาทุกพระองค์จะทรงใช้ซึ่งธรรมที่ชาวจีนในสยามและบุตรหลานได้ ซึมซับจากศาสนาพุทธเพิ่มเติม คือหลักธรรม ทศบารมีธรรม คือการมีความดีที่บำ�เพ็ญ อย่างวิเศษสิบประการอันได้แก่ กษัตริย์พระทรงเป็นผู้ให้คือมีทานบารมี กษัตริย์พระ ทรงเป็นผู้อยู่ในศีลและทำ�แต่สิ่งที่ชอบ กษัตริย์ทุกพระองค์ทรงออกผนวชคือเนกขัมมะ ทรงเป็นผู้เรียนรู้แล้ว กษัตริย์ทุกพระองค์ทรงเป็นผู้มีปัญญา ทุกพระองค์ทรงมีวิริยะคือ มีความเพียร กษัตริย์ทุกพระองค์ทรงมีขันติอดทน กษัตริย์ทุกพระองค์ทรงไว้ซึ่งสัจธรรม กษัตริย์ทุกพระองค์มีอธิษฐานธรรมคือการมีราชวินิจฉัยที่เด็ดเดี่ยวยามประเทศชาติมี ปัญหาเกิดขึ้นโดยยึดถือประโยชน์ของแผ่นดินเป็นที่ตั้ง กษัตริย์ทุกพระองค์ มีเมตตา ธรรมซึ่งปรากฏให้เห็นถึงเสมอในกษัตริย์ทุกพระองค์และสุดท้ายทุกพระองค์ทรงมี อุเบกขาคือ มีใจสงบ มีใจเที่ยงธรรม ดังนั้นกษัตริย์ทุกพระองค์ในราชวงศ์จึงเป็นผู้ที่ ชาวจีนและบุตรหลานเคารพนับถือบูชาเสมอมา
164
ความสัมพันธ์ของประชาคมชาวจุลนครกับพระราชจักรี วิถีแห่งทศพิธราชธรรมและความจงรักภักดี จุลนครฯแหล่งประชาคมชาวจีนเสมือนหนึ่งตัวแทนของสังคมชาวจีน อพยพที่เข้ามาตั้งรกรากในประเทศสยาม ชาวจีนเหล่านี้รวมทั้งบุตรหลานที่สืบต่อกัน มา โดยมีประวัติยาวนานกว่า 230 ปี ได้บ่มเพาะวิถีชีวิตและจิตวิญญาณความรู้สึก อันเป็นความจงรักภักดีต่อราชวงศ์จักรีดังที่ปรากฏ เหตุผลอีกประการหนึ่งที่ทำ�ให้จิต วิญญาณในความภักดีมีความเด่นชัดยิ่งขึ้นคือ การที่กษัตริย์ทุกพระองค์กับประชาคม ชาวจีนในจุลนครฯ นอกจากเป็นผู้ปกครองกับไพร่ฟ้า กษัตริย์ทรงเอื้ออาทรให้กับผู้ หนีร้อนมาพึ่งพระบรมโพธิสมภารแล้วยังมีพระเมตตาอื่นๆให้ปรากฏแต่สมัยพระบาท สมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก รัชกาลที่ 1 จนกระทั่งรัชสมัยปัจจุบันนี้อันเป็นที่ซาบซึ้ง ในพระกรุณาธิคุณแก่ชาวประชาคมในจุลนครฯแห่งนี้ ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก รัชกาลที่1แห่งกรุง รัตนโกสินทร์ คนจีนในเวลานั้นแม้นยังมีไม่มากนักแต่ก็ร่วมมือกับพระองค์ทรงในการ ก่อตั้งพระนคร นอกจากนี้ยังทำ�หน้าที่ช่วยปกป้องราชอาณาจักรแผ่นดินสยามเพราะ ชาวจีนมีความเชื่อว่ากษัตริย์แห่งราชอาณาจักเป็นพระผู้มีเชื้อสายจากชาวจีนด้วย กันตั่งแต่ครั้นสมัยสมเด็จพระเจ้าตากสิน นอกจากชาวจีนจากแผ่นดินจีนก็ยังได้ร่วม มือกับชาวจีนโพ้นทะเลแห่งกรุงสยามสร้างเมืองกรุงเทพฯราชธานีด้วย ดังนั้นในสมัย พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก รัชกาลที่ 1 ทรงมีพระบรมราชานุญาติให้ชาว จีนสามารถอาศัยอยู่ได้ภายใน 200 เส้น ( ประมาณ 8 กิโลเมตรหรือ 4 ไมล์ ) แตกต่าง จากชาวต่างชาติอ่ืนๆขณะเดียวกันในราชสำ�นักราชประเพณีก็รับเอาวัฒนธรรมจีนเข้า เกี่ยวข้อง ไม่ว่าด้านประเพณีหรือศิลปะวรรณกรรมด้วยอย่างเช่น พระองค์ทรงสนใจใน วรรณกรรมของจีนมาก ในสมัยพระองค์มีการแปลวรรณกรรมจีนหลายเรื่อง ที่สำ�คัญ ที่สุดคือเรื่องสามก๊กเป็นฉบับภาษาไทยขึ้นโดยเจ้าพระยาพระคลังหนซึ่งปรากฏให้เห็น จนถึงปัจจุบัน ขณะเดียวกันข้าราชการผู้ใหญ่ที่เป็นชาวจีนและพ่อค้าชาวจีนมีส่วน ร่วมในการสนับสนุนการบริหารรัฐกิจทั้งในแง่การค้าขายและการปกครอง ดังนั้นใน สมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกนี้ พระองค์เสมือนพระผู้ก่อกำ�เนิดแผ่น ดินจุลนครฯนี้
165
ในรั ช สมั ย พระองค์ ท รงมี ก ารจั ด ระเบี ย บ โครงสร้างสังคมและชนชั้นมีการสถาปนาเจ้าและ ขุนนางโดยเฉพาะอย่างยิ่งจากผู้ร่วมสายโลหิตและ เครือญาติ ด้วยความสัมพันธ์เช่นนี้ ยิง่ ทำ�ให้พระ ราชวงศ์จักรีกับคนจีนในสยามมีความสนิทชิดเชื้อ กันมากยิง่ ขึน้ ในสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้า จุฬาโลกรัชกาลที1่ แห่งราชวงศ์จกั รี นีช้ าวจีนทีอ่ าศัย อยู่ใ นสยามซึ่ง ส่ ว นใหญ่ อ าศั ย อยู่ใ นจุ ล นครฯนั้น นอกจากการได้ รับ พระเมตตาให้ ก ารดู แ ลอย่ า งดี ในฐานะผูซ้ ง่ึ เข้ามาพึง่ พระโพธิสมภารแล้ว ชาวจีน นอกจากทำ�หน้าส่วนใหญ่เป็นพ่อค้า ช่วยพัฒนา เศรษฐกิ จ ให้ กั บ กรุ ง สยามให้ เ จริ ญ ก้ า วหน้ า แล้ ว ยั ง ได้ ร่ว มกั บ ราชการฯในการก่ อ สร้ า งและบู ร ณะ กรุงเทพมหานคร ด้านการศึกก็รว่ มกับไพร่ฟา้ ชาว ไทยในการป้องกันประเทศ มีการช่วยบริหารจัดโดย เฉพาะอย่างยิ่งในการค้าของราชสำ�นักฯและด้าน ภาษีอากร ชาวจีนในสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธ ยอดฟ้าจุฬาโลกนี้มีความสัมพันธ์กับราชสำ�นักจะ เป็นทัง้ พลเมือง ข้าราชบริพาร ผูร้ ว่ มกิจการค้า เป็น อาคันตุกะ ผสมกันไป พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย รัชกาลที่ 2 พระองค์เองทรงมีการสืบเชื้อสายจีน อยู่แล้วตั้งแต่สมัยพระบิดา พระองค์ยังทรงทรง อภิเษกสมรสกับเจ้าฟ้าหญิงบุญรอด พระธิดาใน สมเด็ จ พระเจ้ า พี่ น างเธอเจ้ า ฟ้ า กรมพระศรี สุ ด า รักษ์พระเจ้าพี่นางเธอในรัชกาลที่ 1 ( พระมารดา พระองค์เดียวกับรัชกาลที่ 1 )ซึ่งทรงมีพระภัสดาเป็น
166
เศรษฐีจีน เจ้าฟ้าหญิงบุญรอดนี้ต่อมาก็คือพระราชมารดาในรัชกาลที่ 4 และพระบาท สมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว ทำ�ให้พระองค์ทรงสนิมสนมกับคนจีนทั้งจากสายท่าน ตาและพ่อตานอกจากนี้ยังพระองค์ทรงรับธิดาของเจ้าสัวจีนเข้าเป็นสนมหลายพระองค์ เช่น ธิดาเจ้าสัวจีนเนี้ยวหรือเจ้าสัวเตากระทะชื่อ “อำ�ภา”ซึ่งได้ติดตามบิดาเข้ามาสยาม ตั้งแต่อายุ 9 ขวบ และพระองค์ทรงพระราชทานบรรดาศักดิ์เจ้าสัว “จีนเนี้ยว” เป็นพระ อินทรอากร รับราชการสังกัดกรมท่าซ้ายทำ�หน้าช่วยราชการทางด้านการค้าและการ ปกครองชาวจีนในสยาม พระสนมอำ�ภาภายหลังทรงได้รับการสถาปนาเป็นเจ้าจอม มารดา ”อำ�ภา” ซึ่งมีพระโอรสองค์หนึ่งคือกรมขุนวรจักรธรานุภาพต้นราชสกุลปราโมช เจ้าสัวจีนเนี้ยวหรือพระอินทรอากรนี้มีพี่ชายคนหนึ่งคือเจ้าสัวจีนเริก ( หรือฤกษ์ ) ภาย หลังได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็นพระยาไกรโกษา (ต้นตระกูลไกรฤกษ์ )ซึ่งทั้งสอง เดินทางมาจากเมืองจีนพร้อมกันและเจ้าสัวจีน เริก มีบ้านอยู่หน้าวัดสามปลื้ม ( ปัจจุบัน คือตรอกพระยาที่ตั้งตามราชทินนามของท่าน ) ท่านได้ถวายตัวธิดาของท่านเป็นสนม ในรัชกาลที่ 2 และส่งบุตรชายชื่อทองจีนเข้ารับราชการจนได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์ เป็นพระยาโชฎึกราชเศรษฐีในเวลาต่อมา เจ้าสัวจีนและผู้เกี่ยวข้องเกี่ยวกับเรื่องนี้อาจมีมากกว่าที่การถวายคำ�ปรึกษา แต่ จากข้อมูลที่พิจารณาแล้ว บุคคลเหล่านี้ยังเป็นคู่ค้า และจะเห็นว่ามีบทบาทช่วยกิจกรรม การค้าของราชสำ�นักโดยเฉพาะอย่างยิ่งการค้าน้ำ�ตาลทรายสินค้าออกสำ�คัญสมัยนั้น มีมูลค่าค้าขายส่งออกมากที่สุดมากกว่าข้าวเสียอีก โดยจากรายงานของเบอร์นี่(นักการ ทูตชาวอังกฤษ)กล่าวไว้ว่าราชอาณาจักรสยามได้ทำ�การค้าน้ำ� ตาลทรายเป็นสินค้า ออกมีมูลค่า 370,242 รูปี มากกว่าข้าวและข้าวเปลือกซึ่งมีมูลค่าส่งออกซึ่งมีมูลค่าเพียง 166,185 รูปี พระยาโชฎึกราชเศรษฐี ตำ�แหน่งนี้รับผิดชอบกำ�กับดูแลเรื่องการค้าและการ ต่างประเทศฝ่ายจีนหรือกรมท่าซ้าย ในสมัยนั้นมีพระยาโชฎึกราชเศรษฐี อยู่ 2ท่าน ตาม ลำ�ดับคือ พระยาโชฎึกราชเศรษฐี (ทองจีน)และต่อมาคือ พระยาโชฎึกราชเศรษฐี (บุญ มา) ทั้งสองท่านนี้มีชื่อว่าเป็นเจ้าสัวค้าสำ�เภารายใหญ่ รวมทั้งเรือพาณิชย์ของฝรั่งด้วย นอกจากนี้พระยาโชฎึกราชเศรษฐี ตำ�แหน่งนี้ยังมีหน้าที่รับผิดชอบกำ�กับดูแลปกครอง คนจีนในพระนครฯให้อยู่กันอย่างสงบเรียบร้อย พระยาอินทรอากรผู้นี้ได้รับพระราชทานเลื่อนบรรดาศักดิ์จากพระอินทรอากร (เจ้าสัวเตากระทะ) เป็นที่ทรงใช้สอยและไว้วางพระราชหฤทัยในเรื่องการตั้งภาษีอากร
167
พระยาอินทรอากรได้ชักนำ�ญาติแซ่เดียวกัน ผู้ซึ่งเดินทางร่วมสำ�เภาลำ�เดียวกันมาจาก เมืองจีน เข้าเฝ้าถวายตัวให้ใช้ในราชการ จึงได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์ให้เป็นขุน พัฒนอากร(บรรพบุรุษของตระกูลพหลโยธิน) ได้ทรงใช้สอยในเรื่องระบบเจ้าภาษีนาย อากรที่ตั้งใหม่ โดยเฉพาะคือภาษีอากรที่เกี่ยวกับอ้อยและน้ำ�ตาลทรายนั้นซึ่งประกอบ ด้วยภาษีย่อยอื่นๆที่เกี่ยวข้องมีอากรสัมพัตสร ภาษีฟืน.( คิดตามเตาที่ใช้กับขนาดกระทะ ) ภาษีน้ำ�อ้อย และภาษีน้ำ�ตาลทราย..เป็นต้น นอกจากนี้ในสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธ เลิศหล้านภาลัยรัชกาลที่ 2 นี้มีเจ้าสัวจีนเข้ามารับราชการช่วยดูแลบริหารกิจบ้านเมือง หลายท่าน.เช่น.เจ้าสัวเนียมหรือพระศรีทรงยศและเครือญาติที่เกี่ยวข้อง ชื่อเสียงของ เจ้าสัวเนียมที่ปรากฏคือเป็นเจ้าของตลาดใหญ่ใจกลางสำ�เพ็ง.คือตลาดเก่าเยาวราชใน ปัจจุบัน เป็นเจ้าหนี้รายใหญ่ของคนในชุมชนจีนโดยเฉพาะอย่างยิ่งหนี้ที่เกิดจากการ ขอยืมเงินค่าผูกบี้จีน คุมกุลี แรงงานจีน เจ้าสัวเนียมมีอิทธิพลเป็น 1 ใน 3 ของกงสีที่มี อิทธิพลในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น ธิดาคนหนึ่งของเจ้าสัวเนียมได้แต่งงานกับพระ ยาอิศรานุภาพ ( เอี่ยม บุนนาค ) บุตรชายของสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาพิชัยญาต ( ทัด ) ึ่งเอกสารเบอร์นี่รายงานว่าเป็น 1 ใน 3 ของข้าราชการคนสำ�คัญในการดำ�เนินธุรกิจการ ค้าน้ำ�ตาลทรายในรัชกาลที่ 3 และจากรายงานวิจัยที่เคยศึกษามาก่อนแล้ว พบว่าขุนนาง ในตระกูลบุนนาคนี้เป็นผู้มีอิทธิพลในวงการค้าน้ำ�ตาลทราย สินค้าที่ทำ�รายได้ให้สูงสุด ในเวลานั้นเป็นพระอัจฉริยภาพของรัชกาลที่ 3 ในเรื่องการค้าน้ำ�ตาลทรายส่งออกและ เป็นอุตสาหกรรมแปรรูปส่งออกกรณีแรกของไทยซึ่งประสบความสำ�เร็จก่อนการส่งออก ข้าวและดีบุก ในสมัยต่อมารายได้ส่วนหนึ่งจากการค้าน้ำ�ตาลทรายทรงนำ�มาสร้างและ บูรณปฏิสังขรณ์วัดวาอาราม วัดในชุมชนจีนที่ทรงบูรณะปฏิสังขรณ์ก็มีวัดสำ�เพ็งและวัด สามปลื้ม ทรงนำ�ศิลปะแนวพระราชนิยม คือ ศิลปะไทยที่ได้รับอิทธิพลการผสมผสานกับ ศิลปะจีนมาใช้ในการสร้างสรรค์วัดในรัชกาลอีกหลายแห่ง ซ
....สมัยพระบาทสมเด็จพระเลิศหล้านภาลัยรัชกาลที่. 2.พระองค็ทรงมีนโยบาย ยกย่องข้าราชการบริพารเชือ้ สายจีนดัง่ ญาติมติ รในราชวงศ์ ด้วยพระมหากรุณาธิคณ ุ ของพระองค์ทำ�ให้ชาวจีนถวายชีวิตจิตใจในการช่วยทำ�นุบำ�รุงราชอาณาจักรปฏิสังขรณ์ พระนคร จัดหารายได้เข้าสูร่ าชการจนทำ�ให้ชาวจีนเหล่านัน้ กลายเป็นทรัพยากรมนุษย์ท่ี สำ�คัญแก่ประเทศทัง้ ในราชวงศ์ปจั จุบนั และราชวงศ์ตอ่ ๆมา พระบาทสมเด็จพระนัง่ เกล้าเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ 3 เมือ่ ครัง้ ยังดำ�รงพระอิสริยยศ
168
เป็นพระเจ้าลูกยาเธอกรมหมืน่ เจษฎาบดินทร์ มีหน้าทีด่ แู ลการค้าและสัมปทานของ หลวง รวมทัง้ ระดมผลิตผลทางการเกษตรทีเ่ ป็นสินค้าผูกขาด อันได้แก่ พริกไทย และลูก กระวาน เป็นต้น จากหัวเมืองชายฝัง่ ทะเลตะวันออก ท่านทรงเชีย่ วชาญทางด้านการค้า และพระองค์ทา่ นก็มโี อกาสได้ปรึกษาหารือและใช้ราชการเศรษฐีจนี เหล่านีท้ บ่ี า้ งก็มคี วาม สัมพันธ์ในลักษณะเครือญาติช่วยให้เกิดความสมานฉันท์มากยิ่งขึ้นระหว่างพระราชวงศ์ กับชาวจีนอพยพในสยาม โอกาสของการสั่งสมทรัพยากรบุคคลโดยเฉพาะอย่างยิ่งพระญาติเชื้อสาย จีนในสมัยรัชกาลที่.2.เป็นฐานความมั่นคงของการดำ�เนินนโยบายทางการค้าในสมัย พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 3 ทำ�ให้มีทุนพอใช้จ่ายในการปฏิรูปบ้าน เมืองในสมัยต่อมา ด้วยบริบททางการเมือง เศรษฐกิจ และการต่างประเทศในสมัยรัชกาลที่ 3 สยามถูกชาติตะวันตกกดดันให้ยกเลิกระบบผูกขาด โดยเฉพาะอย่างยิ่งระบบพระคลัง สินค้าซึ่งเป็นแหล่งรายได้หลักของแผ่นดิน ทำ�ให้รัชกาลที่ 3 ทรงดำ�เนินวิเทโศบายด้าน เศรษฐกิจและการคลังโดยยึดเอาเรื่องการค้าเป็นที่ตั้ง และทรงเลือกสรรความไว้วางใจ ให้กับชาวจีนเพื่อช่วยดำ�เนินกิจการนี้ ซึ่งในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 3 พระองค์ทรง ปฏิบัติต่อชาวจีนเป็นดั่งข้าราชบริพารที่สนิทที่ทรงรับฟังความคิด ข้อเสนอแนะ ในการ ปฏิบัติราชกิจโดยเฉพาะด้านการค้าและทรงดำ�เนินพระองค์ทรงเป็นคู่ค้าขายกับพ่อค้า ชาวจีนโดยไม่ถือพระองค์ว่าเป็นผู้มียศศักดิ์อำ�นาจ ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 4 สภาพความเป็น อยู่ในชุมชนจีนมีทั้งจีนเก่าจีนใหม่ซึ่งอพยพเข้ามาจนตั้งรกรากมีลูกมีหลานสืบตระกูล เป็นรุ่น.1 และรุ่น.2 บ้างแล้วซึ่งคาดว่ามีชาวจีนอยู่ในสยามราวสามถึงสี่แสนคน ผลด้าน บวกที่สังคมไทยได้รับนั้น ได้รับจากทุกระดับชั้นของคนจีนอพยพคือความก้าวหน้า ทางเศรษฐกิจ แต่ทว่าผลด้านลบที่ชัดเจนแล้วว่าเป็นปัญหาด้านสังคมคือ เรื่องการ ควบคุมปกครองคนจีนที่ไม่เพียงแต่มีจำ�นวนมากขึ้น โดยที่ไทยยังไม่มีนโยบายส่งเสริม ให้เป็นอาณาประชาราษฎร์ของตนอย่างชัดเจน คนจีนอยู่กันอย่างแบ่งแยกเป็นก๊กเป็น เหล่า ตั้งสมาคมลับอั้งยี่ แย่งชิงอิทธิพลและผลประโยชน์ระหว่างกันก่อความไม่สงบ
169
จนต้องใช้กำ�ลังปราบปรามกันอย่างรุนแรง สถานการณ์ เ ช่ น นี้ นั บ ว่ า สร้ า งปั ญ หามาก พออยู่แล้ว แต่ปัญหาที่รุนแรงยิ่งไปกว่า นั้นคือ สถานการณ์ที่คนจีนเข้าใจว่าตน เป็นคนอิสระ เป็นคนนอกระบบของสังคม หลัก เข้าอาศัยอิทธิพลชาติตะวันตกอยู่ใต้ ร่มธงเป็นคนในบังคับของเขา กฎหมาย ไม่ ส ามารถบั ง คั บ ปกครองคนเหล่ า นี้ ไ ด้ ตามผลจากการทำ � สนธิ สั ญ ญาเบาร์ ริ่ ง และสนธิ สั ญ ญาลั ก ษณะเดี ย วกั น กั บ ชาติ ตะวั น ตกอื่ น ๆพื้ น ฐานที่ สำ � คั ญ อย่ า งหนึ่ ง ของความเข้าใจนั้น คือ ความสัมพันธ์ ทางการค้ า แบบบรรณาการที่ พ ระมหา กษัตริย์ไทยทุกพระองค์ต้อง“จิ้มก้อง” ต่อ จั ก รพรรดิ จี น เสมื อ นหนึ่ ง เป็ น หน้ า ที่ ข อง ประเทศเมืองขึ้นจะต้องปฏิบัติอย่างเคร่งครัด เพื่ อ ให้ เ กิ ด ความชั ด เจนในการดำ � เนิ น วิเทโศบายทั้งด้านการต่างประเทศและการ ปกครองภายใน รัชกาลที่ 4 จึงมีพระบรม ราชโองการให้ประกาศเลิกจิ้มก้องจีน และ นอกจากนี้ยังทรงฉลองพระองค์ชุดฮ่องเต้ แบบจีนเป็นการแสดงพระบรมเดชานุภาพ ว่ า ศั ก ดิ์ ศ รี แ ละฐานะพระมหากษั ต ริ ย์ ไ ทย เสมอด้วยจักรพรรดิจีน นับเป็นการปูพื้น ฐานการดำ�เนินรัฐประศาสโนบายปกครอง จี น ในสยามให้ ชั ด เจนและเตรี ย มพร้ อ มที่ จะรับเป็นอาณาประชาราษฎร์เข้ากับระบบ สังคมไทยต่อไป ในสมัยพระบาทสมเด็จ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 4 พระองค์
170
พยายามปฏิรูปการปกครองชาวจีนในโพธิสัมภาร เพื่อให้สามารถดำ�รงชีพอย่างเป็นระเบียบในดิน แดนราชอาณาจักรสยาม และสามารถเข้าได้กับ การเปลี่ยนแปลงด้านรัฐกิจในราชอาณาจักรสยาม ในขณะเดียวกันเพื่อสู้กับระบบอนาธิปไตย หรือ คณาธิปไตยของชาวจีนบางกลุ่มที่สร้างความไม่ สงบสุขแก่บ้านเมืองพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า เจ้าอยู่หัวทรงจัดตั้งกองตำ�รวจขึ้นในพระนครตาม แบบอย่างของตำ�รวจนครบาลของอังกฤษขึ้นเพื่อ รักษาความสงบเรียบร้อยของบ้านเมือง ดังนั้นใน รั ช สมั ย พระบาทสมเด็ จ พระจอมเกล้ า เจ้ า อยู่ หั ว พระองค์ทรงต้องทำ�หน้าจัดการดูแลสังคมชาวจีน ในสยามให้สงบเรียบร้อยภายใต้ข้อจำ�กัดต่างๆรอบ ด้านอย่างด้วยพระปรีชาสามารถเป็นอย่างสูง ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า เจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ 5 ได้มกี ารดำ�เนินนโยบายการ ปกครองชาวจีนได้เจริญรอยตามพระบรมราโชบาย ในรัชกาลท 4 คือ ทำ�นุบ�ำ รุงชาวจีนให้มคี วามรูส้ กึ ว่า ได้รบั การอุปถัมภ์เป็นอย่างดีจากรัฐบาล แต่การที่ ชาวจีนในสยามมีจ�ำ นวนเพิม่ ขึน้ มาก ชาวจีนเหล่า นั้นมาจากหลากหลายสถานะหลากหลายพื้นฐาน ความคิดและทัศนคติทำ�ให้เริ่มมีความเคลื่อนไหว ทางการเมือง เช่น การเรียกร้องสิทธิตา่ งๆตลอดจน การแสดงอำ�นาจและบทบาทต่อต้านรัฐไทย รัชกาล ที่ 5 แม้จะทรงดำ�เนินรัฐประศาสโนบายปกครองชาว จีนตามการปูพน้ื ฐานมาตัง้ แต่สมัยรัชกาลที่ 4 ก็ยงั ได้ดำ�เนินการให้เกิดความผูกพันกันด้วยใจให้มาก ขึน้ ระหว่างคนสองกลุม่ ชาติพนั ธุ์
171
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงเป็นพระมหากษัตริย์พระองค์ แรกที่ใช้วิธีประสานสามัคคีระหว่างคนไทยกับคนจีนด้วยการเสด็จฯ ไปในชุมชนจีน ที่สำ�เพ็ง การเสด็จพระราชดำ�เนินครั้งนั้น เป็นการเสด็จโดยขบวนพยุหยาตราน้อย ทางสถลมารค เริ่มจากสะพานหันไปยังวัดปทุมคงคา ( วัดสำ�เพ็ง ) เพื่อทอดผ้าพระกฐิน พ่อค้าประชาชนชาวสำ�เพ็งตกแต่งแข่งขันประดับประดาหน้าร้าน สถานที่ต่างๆและตั้ง โต๊ะหมู่บูชาอย่างประเพณีจีน แม้เมื่อเสด็จฯ กลับจากประพาสยุโรปครั้งแรก เมื่อปี พ.ศ. 2440 ชาวสำ�เพ็งก็แต่งซุ้มรับเสด็จตั้งแต่สะพานเหนือไปจากการประสานความสัมพันธ์ ในลักษณะเครือญาติโดยทรงรับธิดาของเจ้าสัวยิ้ม ( พระยาพิสณฑ์สมบัติบริบูรณ์ต้น ตระกูลพิศลบุตร ) เป็นพระสนมและในที่สุดได้เป็นเจ้าจอมมารดาของพระเจ้าลูกยาเธอ พระองค์เจ้ากิติยากร (พระบรมวงศ์เธอกรมพระจันทบุรีนฤนาถ) รวมทั้งเรื่องทรงทำ� พิธีกงเต็กพระราชทานในงานพระศพพระนางเจ้าสุนันทากุมารีรัตน์ซึ่งมีนัยของเรื่อง คือการส่งเสริมและเผยแพร่ความเชื่อและพิธีกรรมจากแนวความคิดของขงจื้อซึ่งมีหลัก คำ�สอนที่สนับสนุนการปกครองระบอบกษัตริยและเรื่องที่สำ�คัญอีกเรื่องคือของการ สร้างวัดเล่งเน่ยยี่ เมื่อชุมชนชาวจีนในจุลนครฯบนถนนเจริญกรุง ได้พระราชทานเชื่อ ไทยให้ว่า “วัดมังกรกมลาวาส” นับสำ�คัญของเรื่องอยู่ที่ว่าวัดนี้เป็นวัดศูนย์กลางการ ปกครองของคณะสงฆ์จีนนิกายซึ่งเป็นนิกายหนึ่งในสองนิกาย ( อีกนิกายหนึ่งคืออันนัม นิกาย ) ทางลัทธิมหายาน เท่ากับรัฐไทยได้อนุญาตให้ธำ�รงอยู่ได้คู่กับเถรวาทอันเป็น เอกลักษณ์สำ�คัญยิ่งของไทย วัดมังกรกมลาวาสเป็นวัดจีนขนาดใหญ่ และเป็นศูนย์รวม จิตใจที่สำ�คัญที่สุดแห่งหนึ่งของคนจีนคนไทยเชื้อสายจีน และคนไทย นอกจากนี้ สิ่งที่น่าสนใจอีกเรื่องหนึ่งในสมัยนี้คือ การเผยแพร่อุดมการณ์ของ ดร.ซุนยัดเซ็น ได้ปลุกสำ�นึกความเป็นจีนในบรรดาจีนโพ้นทะเลทั่วเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงใช้นโยบายที่ไม่ขัดขวางกระแส การปฏิ วั ติ แ ต่ พ ระองค์ก็ท รงไม่อ นุญ าตให้มีก ารกระทำ�การใดๆที่มิบังควรต่อความ สัมพันธ์ระหว่างประเทศ ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 5 ชาวจีนแม้ว่าอยู่ในกฎหมายของสยามในฐานะบุคคลในพระบรมโพธิสัมภาร ขณะ เดียวกันชาวจีนเองก็ยังใช้สิทธิของประชาชนใต้อาณัติการปกครองของอังกฤษ ขึ้นศาล กงสุลอังกฤษแทนการขึ้นศาลไทย ทำ�ให้พระองค์ต้องใช้ราชโนบายปกครองอย่างละมุน ละม่อมและเด็ดขาดในการปกครองชุมชนชาวจีนให้มีความสงบเรียบร้อย
172
ในสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 6 ได้ทรงพระราช นิพนธ์บทความลงหนังสือพิมพ์เรื่อง “ยิวแห่งบูรพาทิศ” โดยทรงเปรียบเปรยกับชาวจีน อีกด้วย อาจพิจารณาได้ว่าอย่างน้อยที่สุดผู้ปกครองสมัยนี้ได้สร้างความชัดเจนในเรื่อง สัญชาติของบุคคลต่อชาวจีนในสยามโดยทั่วไปทั้งหมด มิใช่เป็นการเหลื่อมล้ำ�หรือเลือก ปฏิบัติ หากจะมองอีกแง่มุมหนึ่งของการพระราชทานบรรดาศักดิ์และแต่งตั้งเป็นขุนนาง ในบุคคลใดบุคคลหนึ่งอย่างธรรมเนียมประเพณีที่ปฏิบัติกันมา ภายหลังสงครามโลกครั้ง ที่หนึ่งสงบลง ไทยในฐานะผู้ชนะสงครามร่วมกับพันธมิตรได้ทำ�การแก้ไขสนธิสัญญา เรื่องสิทธิสภาพนอกอาณาเขตสำ�เร็จลง ทำ�ให้รัฐบาลสามารถออกกฎหมายบังคับใช้ สำ�หรับพลเมืองทุกคนเท่าเทียมกัน รัฐไทยได้ดำ�เนินนโยบายชาตินิยมตอบโต้ชาวจีน และ ใช้วิธีที่เราเรียกว่า “การปลดปล่อยออกจากสัญลักษณ์และเอกลักษณ์เดิม” เห็นได้จาก การออกพระราชบัญญัติสัญชาติ พ.ศ.2456 เพื่อบังคับการแปลงสัญชาติเป็นคนไทยตาม ดินแดนที่เกิด ออกพระราชบัญญัติโรงเรียนราษฎร์.พ.ศ..2461 เพื่อควบคุมโรงเรียนจีนและ เพิ่มหลักสูตรการเรียนรู้ภาษาไทยและหน้าที่พลเมือง แม้นว่าพระองค์ทรงมีความกังขา ในนโยบายของชาวจีนที่มีต่อรัฐบาล พระองค์ยังทรงห่วงใยในสภาพแวดล้อมและสุขนา มัยของชาวจุลนคร เนื่องจากเมืองเป็นแหล่งที่มีชุมชนหนาแน่นมาก เรียกว่าใช้พระองค์ หากปฏิรูปการอยู่ใต้อาณัติของชาวจีนต่อสยามโดยการเลิกสิทธิสภาพนอกอาณาเขต ได้สำ�เร็จ ทำ�ให้การบังคับใช้กฎหมายของราชอาณาจักรกระทำ�ได้อย่างสมบูรณ์สำ�หรับ พลเมืองที่อาศัยอยู่ในราชอาณาจักร ทำ�ให้สามารถแก้ปัญหาของกลุ่มอนาธิปไตยของ ชาวจีน.(.อั้งยี่.)ได้ รวมทั้งการจัดระเบียบของสังคมชาวจีนในสยามให้ดียิ่งขึ้น พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลท.7.ได้ตระหนักว่าโรงเรียนจีน เป็นความพยายามก่อตั้งของบรรดาผู้นำ�จีนสยาม เป็นแหล่งปลุกสำ�นึกความเป็นจีน ให้บรรดาชาวจีนโพ้นทะเลทั้งหลายอย่างสำ�คัญที่สุดเพราะความสำ�คัญเช่นนี้พระบาท สมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 7 จึงได้เสด็จเยี่ยมโรงเรียนจีนรวม 4 แห่ง ในปี พ.ศ..2470 คือ โรงเรียนยกหมิน โรงเรียนเหม่งตั๊ก โรงเรียนป้วยเอง ( เผยอิง ) และโรง เรียนจิ้นเต็ก ( จีนเตอะ )
173
เรื่องสำ�คัญคือได้พระราชทานพระบรมราโชวาทในการเสด็จฯ เยี่ยมโรงเรียนจีน ครั้งนั้นโดยทรงย้ำ�ว่า “ไทยกับจีนเป็นพี่น้องกัน” และ“สอนให้นักเรียนรักประเทศจีนอัน เป็นบ้านเกิดเมืองมารดาอย่างไรก็สอนให้รักเมืองไทยอันเป็นที่ตั้งเคหสถาน ได้รับความ คุ้มครองร่มเย็นเป็นอย่างดีจากรัฐบาลสยาม มีสิทธิทุกอย่างเหมือนคนไทย ได้ความ สุขสบายมั่งคั่งในประเทศ หากมีศัตรูภายนอกหรือภายในก็ดี ท่านคงมีน้ำ�ใจช่วยปราบ ปรามกำ�จัดเสียให้หมดสิ้น...” “ข้าพเจ้าขอขอบใจท่านทั้งหลายเป็นอันมากในการที่ได้จัดการรับรองข้าพเจ้า เป็นอย่างดี โดยมีไมตรีจิตต์อันแท้จริง การที่ข้าพเจ้าได้มาเยี่ยมโรงเรียนจีนต่างๆใน คราวนี้ ก็เพื่อจะแสดงไมตรีจิตต์ของข้าพเจ้าต่อพวกจีนที่ได้มาอาศัยอยู่ในประเทศสยาม และเพื่อแสดงน้ำ�ใจหวังดีต่อโรงเรียนของท่านทั้งปวง การที่พวกพ่อค้าจีนได้คิดจัดตั้งโรงเรียนขึ้นนั้น ก็โดยเหตุที่ความประสงค์อยาก จะให้บุตรหลานได้เล่าเรียนวิชาต่างๆในภาษาจีนอันเป็นภาษาของตน เพื่อจะได้เป็นการ สะดวกสำ�หรับที่จะประกอบอาชีพทำ�การค้าขายต่อไป และเพื่อประโยชน์อื่นๆด้วย นอกจากการสอนภาษาจีน ท่านยังได้จัดการสอนภาษาไทยและเรื่องที่เกี่ยวกับเมืองไทย ด้วย เพราะฉะนั้น จึงเห็นได้ว่าโรงเรียนจีนนั้นมีประโยชน์มาก เพราะนอกจากที่จะให้ วิชาแก่เด็กจีนให้สามารถทำ�มาหาเลี้ยงชีพให้สะดวกยิ่งขึ้น ยังจะทำ�ให้เด็กจีนรู้จักเมือง ไทยดี และเมื่ออ่านหนังสือไทยออกและเขียนได้ ย่อมจะทำ�ให้ไทยและจีนสนับสนุนกลม เกลียวกันยิ่งขึ้นอีก อันที่จริงไทยกับจีนนั้น ต้องนับว่าเป็นชาติที่เป็นพี่น้องกันโดยแท้ นอกจากนั้น เลือดไทยกับจีนได้ผสมกันเป็นอันหนึ่งอันเดียวจนต้องนับว่าแยกไม่ออก ข้าราชการชั้น
174
สูงๆที่เคยรับราชการหรือรับราชการอยู่ในเวลานี้ ที่เป็นเชื้อจีนก็มีอยู่เป็นอันมาก พวก จีนที่ได้รับมามีเคหสถานตั้งครอบครัวอยู่ในเมืองไทย จนกลายเป็นไทยไปก็มีอยู่เป็นอัน มาก แม้ตัวข้าพเจ้าเองก็มีเลือดจีนปนอยู่ด้วย โดยเหตุผลเหล่านี้ไทยและจีนจึงได้อยู่ด้วย กันได้อย่างสนิทสนามกลมเกลียวมาช้านาน ข้าพเจ้าไม่มีความประสงค์อะไรยิ่งไปกว่า ที่จะขอให้ความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับจีนให้เป็นไปโดยสนิทสนมเหมือนอย่างที่แล้วมา นี้ ให้คงอยู่เช่นนี้ตลอดไป ข้าพเจ้าหวังว่าท่านทั้งหลายคงจะมีความเห็นพ้องกับข้าพเจ้า และจะตั้งใจสั่งสอนบุตรหลานให้มีความรู้สึกเช่นนี้ ในโรงเรียนของท่านท่านย่อมสั่งสอน ให้นักเรียนรักประเทศจีนอันเป็นบ้านเกิดเมืองมารดร ข้อนี้ย่อมเป็นของธรรมดาและของ ควร แต่นอกจากที่จะสอนให้รักประเทศจีน ข้าพเจ้ายังหวังว่าท่านจะสอนให้รักเมือง ไทยด้วย เพราะท่านทั้งหลายได้มาตั้งเคหสถานอาศัยอยู่ในประเทศสยาม ได้รับความ คุ้มครองร่มเย็นเป็นอย่างดีจากรัฐบาลสยาม มีสิทธิทุกอย่างเหมือนคนไทย ได้รับความ สุขสบายมั่งคั่งสมบูรณ์ในประเทศสยาม เพราะฉะนั้นความมั่นคงของรัฐบาลสยามและ ประเทศสยามย่อมเป็นสิ่งที่ท่านประสงค์ รัฐบาลสยามหรือประเทศสยามต้องประสบภัย เป็นอันตรายได้ อย่างใดก็ดี ท่านทั้งหลายก็จะต้องได้รับความทุกข์ด้วยเหมือนกับคน ไทย เพราะฉะนั้นข้าพเจ้าหวังว่าท่านคงจะเกลียดชังข้าศึกทั้งปวงของรัฐบาลสยาม จะ เป็นข้าศึกภายนอกหรือภายในก็ดี ท่านคงมีน้ำ�ใจช่วยปราบปรามกำ�จัดเสียให้หมดสิ้น ถ้าหากประเทศสยามจะต้องประสบภัยเมื่อใด ข้าพเจ้าหวังว่าคงจะได้รับความช่วยเหลือ จากพวกจีนด้วย ถ้าท่านพยายามอบรมเด็กจีนให้มีน้ำ�ใจอย่างเช่นที่ว่ามานี้ ไทยและจีนก็จะ อยู่ด้วยกันอย่างสนิทสนม ยังประโยชน์ให้เกิดแก่กันทั้งสองฝ่าย และจะนำ�ความสุขมา สู่ทั้งไทยและจีนอันเป็นชาติพี่น้องกัน ให้มีน้ำ�ใจมั่นคงเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันไปชั่ว กัลปาวสาน ในที่สุดนี้ข้าพเจ้าขอให้พรแก่บรรดาพ่อค้าคหบดีจีนทั้งปวง และคณะอาจารย์ ของโรงเรียนที่ได้มาประชุมอยู่พร้อมกัน ณ ที่นี้ และนักเรียนทั้งปวง ขอจงมีความสุข สบายปราศจากโรคภัยทั้งหลาย ให้มีกำ�ลังเข้มแข็งและปัญญาว่องไว จะกระทำ�สิ่งใดของ เป็นผลสำ�เร็จทุกเมื่อเทอญ ( คัดจากสำ�นักจดหมายเหตุแห่งชาติ, น. 2/298 กล่อง 54 เรื่องรวมใจความพระราชดำ�รัสของพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวในการเสด็จพระราชดำ�เนินเยี่ยมโรงเรียนจีน เมื่อเดือนมีนาคม พ.ศ. 2470 )
175
จากการเสด็จเยี่ยมโรงเรียนจีน หัวใจสำ�คัญของชุมชนและการสำ�นึกความเป็น จีน และการพระราชทานพระบรมราโชวาทยืนยันพระบรมราโชบายเรื่องจีนเหมือนอย่าง พระบรมเชษฐาธิราช ( รัชกาลที่ 6 ) สิ่งที่ค้างอยู่ในพระราชหฤทัยเสมอคือคำ�ว่าที่ว่า “ทำ� อย่างไรที่ทำ�ให้ชนชาวจีนและชนชาวสยามสามารถอยู่ร่วมกันอย่างสมัคสมานดุจเช่นวัน วานในอดีต” ทรงให้ความสำ�คัญต่อเรื่องคนจีนในประเทศ สถานะปัญหานี้ใหญ่ขึ้นใน ความคิดที่ทรงพยายามจะสร้างรัฐชาติ สัญชาติของคนและสิทธิหน้าที่ของคน เป็นองค์ ประกอบที่สำ�คัญอย่างหนึ่งในการสร้างรัฐชาติ
http://www.hakkathailand.com พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 7 เสด็จเยี่ยมโรงเรียนจิ้นเต๋อ
พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 7 ทรงมีราชโนบายซึ่งพระราชทานความคิดว่า ชาวไทยและจีนคือพี่น้องกัน
176
สมัยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล สถานการณ์การเมืองต่าง ประเทศนับตั้งแต่สงครามจีน – ญี่ปุ่น ( 2482 – 2484 ) ต่อด้วยสงครามโลกครั้งที่ 2.ซึ่ง ญี่ปุ่นเข้าข้างฝ่ายพันธมิตรโจมตีฝ่ายสัมพันธมิตรซึ่งมีประเทศจีนรวมอยู่ด้วย จีนได้เพิ่ม บทบาทของตนเป็น 1 ใน 5 ประเทศมหาอำ�นาจหลังได้รับชัยชนะจากสงคราม มีผลต่อ สำ�นึกและความรู้นึกของคนจีนในเมืองไทยให้เกิดความตื่นตัวทางชาตินิยมและรักชาติ อย่างรุนแรง ประกอบกับพรรคการเมืองจีน 2 พรรคใหญ่ คือ พรรคก๊กมินตั๋ง และพรรค คอมมิวนิสต์จีนมาเปิดสาขาในเมืองไทย ยิ่งก่อให้เกิดความเคลื่อนไหวทางการเมือง อย่างรุนแรงภายในประเทศ มีการต่อต้านญี่ปุ่นและลอบฆ่าผู้นำ�ชุมชนจีนอิทธิพลและ การใช้อำ�นาจของชาวจีนสยาม มองในแง่ลบแล้วก่อให้เกิดความไม่สงบในสังคมไทย เป็นพระมหากรุณาธิคุณยิ่งที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล มี พระราชประสงค์แน่วแน่ที่จะเสด็จฯ เยี่ยมคนจีน โดยเลือกเอาชุมชนที่สำ�เพ็ง ดังนั้น ก่อนที่จะมีหมายเสด็จฯกลับไปทรงศึกษาต่อเพียง 10 วัน ( แต่ได้เสด็จสวรรคตเสียก่อน ตั้งแต่วันที่ 9 มิถุนายนนั้น ) ได้เสด็จฯ เยี่ยมชาวจีนที่สำ�เพ็งและส่วนอื่นๆของจุลนครฯ พร้อมพระอนุชา ( พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวองค์ปัจจุบัน ) ในวันที่ 3 มิถุนายน 2489 ผู้นำ�ชุมชนจีนได้นำ�พสกนิกรในชุมชนสำ�เพ็งเข้าเฝ้าฯ แสดงความจงรักภักดีอย่าง ใกล้ชิดตลอดระยะทางเสด็จฯ ดังกำ�หนดการที่นำ�มาแสดงไว้ในที่นี้ ผู้นำ�ชุมชนร่วม ด้วยตัวแทนคณะผู้จัดการรับเสด็จฯ ประกอบด้วยสมาคมพาณิชย์จีนและหกสมาคมอัน ได้แก่ สมาคมกลุ่มภาษา(แต้จิ๋ว ไหหลำ� ฮกเกี้ยน กวางตุ้ง แคะ และเจียงเจียะ)พร้อม ด้วยองค์กรจีนต่างๆพ่อค้า คหบดี และประชาชนชาวไทยเชื้อสายจีน ได้กราบบังคมทูล รายงานซึ่งได้นำ�มาแสดง ณ ที่นี้ด้วยเช่นกัน เมื่อเสด็จฯจากสำ�เพ็งไปยังโรงพยาบาลเทียนฟ้ามูลนิธิ และต่อไปยังสมาคม พาณิชย์จีน นายโกศล ฮุนตระกูล ประธานกรรมการจัดการรับเสด็จฯ กราบบังคับทูล รายงานดังนี้
177
ขอเดชะ ใต้ฝา่ ละอองธุลพี ระบาท
ในการที่ใ ต้ ฝ่า ละอองธุ ลีพ ระบาททรงพระราชทานพระราชวโรกาสเสด็ จ พระราชดำ�เนินประพาสสำ�เพ็ง เยาวราช และย่านการค้าของชาวจีน และเสด็จเยีย่ มสมาคม พาณิชย์จนี แห่งประเทศไทย โรงพยาบาลเทียนฟ้า มูลนิธปิ อ่ เต็กตึง้ และโรงพยาบาลหัวเฉียว ในวันนี้ เป็นพระมหากรุณาธิคณ ุ ล้นเกล้าฯ มวลข้าพระพุทธเจ้า สมาคมพาณิชย์จนี หกสมาคม จีน และบรรดาองค์การจีนพ่อค้า คหบดีประชาชนชาวจีนทัง้ หลายรูส้ กึ ซาบซึง้ เป็นทีย่ ง่ิ ในโอกาสอันประเสริฐนี้ ข้าพระพุทธเจ้าจึงขอพระราชทานพระราชวโรกาสกราบ บังคมทูลด้วยเรือ่ งกิจการและหน้าทีข่ องสมาคมพาณิชย์จนี หกสมาคมจีน และบรรดา องค์การจีนต่างๆทีก่ ล่าวนามข้างต้นนัน้ พอเป็นสังเขป กล่าวคือ สมาคมพาณิชย์จนี นีไ้ ด้กอ่ ตัง้ มาแล้วเป็นเวลาประมาณสามสิบปีเศษ ในสมัยก่อน เมือ่ ประเทศไทยและประเทศจีนยังมิได้มี ทางพระราชไมตรีตอ่ กันเป็นทางการ สมาคมนีถ้ งึ แม้จะเป็นสมาคมพ่อค้า ก็ได้พยายามปฏิบตั ิ หน้าทีส่ ง่ เสริมไมตรีและประสานประโยชน์อนั ดีระหว่างชาวไทยและชาวจีนอยูเ่ สมอ เป็นต้น ว่าในยามสงครามทีเ่ พิง่ ผ่านไปนี้ สมาคมก็ได้รบั ปฏิบตั ภิ าระบางประการทีร่ ฐั บาลได้มอบ ให้ และระหว่างทีก่ รุงเทพพระมหานครประสบภัยทางอากาศ สมาคมพาณิชย์จนี ก็ได้จดั ตัง้ หน่วยบรรเทาทุกข์ผปู้ ระสบภัยทางอากาศขึน้ กับได้สร้างสถานทีอ่ พยพหลบภัยทางอากาศ สำ�หรับชาวพระนครแลธนบุรขี น้ึ ทีต่ �ำ บางบัวทอง สำ�หรับหกสมาคมจีนนัน้ เป็นสมาคมชาว จีนภาษาต่างๆตัง้ ขึน้ เพือ่ ประสานสามัคคีระหว่างชาวจีนด้วยกันและชาวไทย และปฏิบตั ิ หน้าทีร่ ว่ มมือโดยใกล้ชดิ กับสมาคมพาณิชย์จนี สำ�หรับโรงพยาบาลเทียนฟ้ามูลนิธิ พระบาท สมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั สมเด็จพระมหาอัยยิกาเจ้า ทรงเสด็จพระราชดำ�เนินเปิด เป็นปฐมฤกษ์เมือ่ สีส่ บิ ปีเศษมาแล้ว โรงพยาบาลนีเ้ ป็นสถานพยาบาลสำ�หรับคนอนาถา ทัว่ ไปโดยอาศัยทุนอุดหนุนเรีย่ ไรจากบรรดาพ่อค้าคหบดีชาวจีนในประเทศ ส่วนมูลนิธปิ อ่ เต็กตึง้ นัน้ เป็นองค์การสาธารณูปการซึง่ พ่อค้าคหบดีชาวจีนตัง้ ขึน้ เพือ่ ปฏิบตั งิ านสงเคราะห์ ประชาชน เช่น รับจัดการสุสานกิจของคนอนาถาจากโรงพยาบาลต่างๆทัง้ ของไทยและของ จีน ทัง้ ทีเ่ ป็นของทางราชการและของเอกชนโดยไม่คดิ มูลค่าเป็นงานประจำ� และยังช่วยการ กุศลสาธารณประโยชน์เป็นครัง้ คราว เช่น ในฤดูรอ้ น มูลนิธนิ ก้ี อ็ อกทำ�การแจกน้�ำ ประปา แก่ชาวจังหวัดพระนครและธนบุรที ก่ี นั ดารน้�ำ บริสทุ ธิโ์ ดยไม่คดิ มูลค่า เป็นการกุศลสำ�หรับโรง พยาบาลหัวเฉียวนัน้ มูลนิธปิ อ่ เต็กตึง้ ได้ตง้ั ขึน้ เพือ่ ช่วยเหลือสตรีอนาถาทัง้ ไทยและจีนในทาง สูตกิ รรมและทารกสงเคราะห์ เป็นการกุศลเช่นเดียวกัน
178
หน้าทีแ่ ละงานทัง้ หลายทีข่ า้ พระพุทธเจ้าได้กราบบังคมทูลมานี้ หากประมาณแล้ว ก็นบั ว่าเป็นเพียงความพยายามอันเล็กน้อยทีส่ มาคมพาณิชย์จนี หกสมาคมจีน และองค์การ จีนต่างๆได้จดั สนองพระมหากรุณาธิคณ ุ อันใหญ่หลวงแห่งใต้ฝา่ ละอองธุลพี ระบาท และ ประเทศไทยซึ่งมวลข้าพระพุทธเจ้าและประชาชนชาวจีนทั้งหลายได้มาพำ�นักพึ่งพระบรม โพธิสมภารด้วยความร่มเย็นเป็นสุข โดยเฉพาะในการจัดงานรับเสด็จพระราชดำ�เนินประพาส และเสด็จเยีย่ มเสวยพระกระยาหารกลางวัน ณ สมาคมพาณิชย์จนี ในวันนี้ ข้าพระพุทธเจ้า ใน นามของสมาคมพาณิชย์จนี รูส้ กึ ว่าเป็นพระมหากรุณาธิคณ ุ ล้นเกล้าฯ และถึงแม้จะได้พยายาม อย่างสุดความสามารถแล้ว ก็ยงั จัดถวายหาสมพระเกียรติยศไม่ เนือ่ งด้วยสมาคมพาณิชย์จนี นี้ ระหว่างสงคราม ได้ถกู ญีป่ นุ่ ยึดเป็นทีท่ �ำ การทหาร สถานทีจ่ งึ ยังทรุดโทรมอยู่ ข้าพระพุทธเจ้า จึงขอกราบบังคมทูลขอรับพระราชทานอภัยในนามของสมาคมพาณิชย์จนี ด้วย อนึง่ เพือ่ เป็นทีร่ ะลึกในพระมหากรุณาธิคณ ุ แห่งใต้ฝา่ ละอองธุลพี ระบาท ทรงเสด็จ พระราชดำ�เนินเยีย่ มสมาคมในวันนี้ ข้าพระพุทธเจ้าในนามของสมาคมพาณิชย์จนี และหก สมาคมจีนของพระราชทานพระบรมราชานุญาตทูลเกล้าฯ ถวายของทีร่ ะลึกแด่ใต้ฝา่ ละอองธุลี พระบาทในโอกาสนีด้ ว้ ยขอเดชะฯ (.การรับเสด็จพระราชดำ�เนินในครัง้ นีป้ ระกอบด้วยสมาคมพาณิชย์จนี และหกสมาคม จีนซึง่ ได้แก่สมาคมกลุม่ ภาษาประกอบด้วย แต้จว๋ิ ไหหลำ� ฮกเกีย้ น กวางตุง้ แคะ และเจียงเจียะ ร่วมกับบรรดาองค์กรจีนต่างๆพ่อค้า คหบดี และประชาชน. ) การเสด็จพระราชดำ�เนินเยือนสำ�เพ็งในยามวิกฤต และคุกรุน่ ไปด้วยบรรยากาศของ ความบาดหมางระหว่างกลุม่ บุคคลต่างๆอันมีผลสะท้อนมาถึงการบัน่ ทอนสายสัมพันธ์อนั ดี ระหว่างคนไทยและคนไทยเชือ่ สายจีนทีม่ มี าตลอดระยะเวลาอันยาวนานนัน้ ทำ�ให้เกิดความ รูส้ กึ เหมือนได้รบั พระราชทานน้�ำ ทิพย์ชโลมใจ ชาวไทยเชือ้ สายจีนท่านหนึง่ ซึง่ มีต�ำ แหน่งเป็น กรรมการและเลขานุการสมาคมพาณิชย์จนี ในเวลานัน้ ได้ให้สมั ภาษณ์แสดงความรูส้ กึ ออกมา ตัง้ แต่มกี ารเตรียมการว่า ตลอดระยะทางเสด็จสำ�เพ็ง ทรงพระราชดำ�เนินด้วยพระบาทตัง้ แต่ทางเข้าบริเวณ สะพานหันไปจนสุดสำ�เพ็งบริเวณหน้าวัดสัมพันธวงศ์ ( วัดเกาะ ) ชาวไทยเชือ้ สายจีนในสำ�เพ็ง ได้แสดงความจงรักภักดีและชืน่ ชมพระบารมีโดยใกล้ชดิ ปากทางเข้าสำ�เพ็งมีการจัดสร้างซุม้ ประตูรปู มังกรดอกไม้สดกรุน่ กลิน่ หอมทัว่ บริเวณ
179
พระองค์ทรงเป็นที่พึ่งทางใจของคนไทยเชื้อสายจีนในสถานการณ์ครั้งนั้น และ เรียกความรู้สึกสมานฉันท์ระหว่างพี่น้องไทย-จีนให้กลับคืนมา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั อานันทมหิดล รัชกาลท 8 ซืง่ เป็นพระมหากษัตริย์ ไทยทีอ่ ยูภ่ ายใต้กฎหมายตามระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตย แต่พระองค์กท็ รง เป็นทีร่ กั ใคร่ เคารพบูชา ของชาวจีนในประเทศไทยอย่างยิง่ พระองค์หนึง่ สมัยพระบาทสมเด็จภูมิพลอดุลยเดชพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 9 ประตูของความ สัมพันธ์เปิดขึ้นเมื่อนายกรัฐมนตรี ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช เดินทางไปเยือนประเทศจีน เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม 2518 วันนั้นจึงเป็นวันที่มีความหมายต่อประชาชนทั้งสองประเทศ ตลอดจนสถานการณ์ในภูมิภาคเอเชีย สถานการณ์ทางการเมืองต่างประเทศที่จะมีผลกระทบต่อคนไทยเชื้อสายจีน เป็นไปในทางคลี่คลาย มีแต่จะเป็นไปในทางเจริญความสัมพันธ์อันดีกันต่อไป ความ ชาวไทยเชื้อสายจีนมี ชัดเจนและการยอมรับในเรื่องสัญชาติไม่เป็นปัญหาอีกต่อไป โอกาสได้พิสูจน์ถึงความจงรักภักดีที่มีต่อพระบรมราชจักรีวงศ์ตลอดมาในรัชสมัยนี้กรุง รัตนโกสินทร์จะมีอายุครบรอบการสถาปนามา 200 ปี ในพ.ศ. 2525 การฉลองพระนคร ครบรอบ 100 ปี เคยกระทำ�กันมาแล้วตั้งแต่ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า เจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 5 ดังนั้นในคราวนี้คนไทยเชื้อสายจีนจึงได้คิดจัดงานร่วมเฉลิมฉลอง กรุงอีกครั้งในวันเสาร์ที่ 20 มีนาคม 2525 และกราบบังคมทูลเชิญสมเด็จพระเทพรัตน ราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีเสด็จพระราชดำ�เนินเยือนจุลนครฯอย่างเป็นทางการซึ่ง ในครั้งนี้ ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯเปิดศูนย์พฒ ั นาเยาวชน ณ วัดจักรวรรดิราชาวาส นอกจากนัน้ ยังทรงพระกรุณารับเชิญเสด็จฯทอดพระเนตรอุปรากรจีน ในวันที่ 23 มีนาคม 2525 เป็นกรณีพเิ ศษ
180
181
182
พระมหากรุณาธิคณ ุ ในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ต่อพสก นิกรไทยเชือ้ สายจีนนับจะทวีมากขึน้ มีขอ้ มูลทีร่ วบรวมได้ถงึ ปัจจุบนั ดังนี้ แผ่นดินร่มเกล้าชาวจุลนครฯในโครงการพระบรมโพธิสมภารร่มเย็นได้แสดง ความจงรักภักดี ด้วยการจัดพิธีสักการะพระบุรพมหากษัตริยาธิราชเจ้า ในวันอาทิตย์ที่ 11 เมษายน 2525 อีกด้วย ในการนี้ได้กราบบังคับทูลเชิญ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมงกุฏราชกุมาร เสด็จฯ เป็นองค์ประธานในพิธีซึ่งจัดขึ้นที่ย่านเยาวราช ลักษณะของงานคือ จัดริ้วขบวนแบ่งออกเป็น 2 ภาค ภาคที่ 1 ถวายสักการะ เป็นพิธีการแบบจีนโบราณของคณะกรรมการโครงการ “พระบรมโพธิสมภารร่มเย็น เป็นสุข” ภาคที่ 2 ถวายสักการะของชนชาวไทยทั่วไป โดยขบวนพลังประชาชน จุดประสงค์ของการจัดงานนี้เพื่อ “ชาวไทยชาวจีนทั้งหลายจะได้แสดงความ กตัญญูรู้คุณของพระมหากษัตริย์ที่ปกครองไพร่ฟ้าข้าแผ่นดินให้ความร่มเย็นเป็นสุขสืบ มานับตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 1 จนปัจจุบัน” จากการรวมพลังแสดงความจงรักภักดีครั้งนี้ ตัวแทนคนไทยเชื้อสายจีนคนหนึ่ง จากกรรมการสมาคม มูลนิธิ ตระกูล รวม 202 องค์กร ได้กล่าวย้ำ�ว่า “สิ่งหนึ่งที่จะไม่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างแน่นอน เห็นจะเป็นความกตัญญูของ ชาวไทยจีนที่มีต่อราชวงศ์จักรี เพราะพระบรมโพธิสมภารนั้นร่มเย็นเป็นสุขยิ่งนักแล” พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวในรัชกาลปัจจุบันและราชวงศ์ทรงเป็นพระผู้เอื้อ อาทรพระราชทานความเมตตา กรุณาแก่ประชาคมชาวจุลนครอย่างหาที่เปรียบไม่ได้ พระองค์และราชวงศ์ทรงเป็นมิ่งขวัญที่ชาวจีนเทอดทูลไว้เหนือเกล้า เฉกเช่นชาวอาณา ประชาราษฎร์ทั่วประเทศ
183
คุณธรรมตามโอวาทธรรมทีส่ อง
กตัญญุตาธรรมและวิถแี ห่งสถาบันครอบครัว
孝
ในสังคมจนตั้งแต่อดีตนับพันปี มโนธรรมจรรยาที่พร่ำ�สอนกันมาจากรุ่น สู่รุ่นคือ เรื่องของการกตัญญู ความกตัญญูนอกจากคุณธรรมที่ชาวจีนต้องยึดถือเท่านั้น การอกตัญญูถือเป็นความผิดตามกฎหมาย และมีบทลงโทษเฉกเช่นการก่อการกบฏต่อ แผ่นดิน แม้นในเวลาต่อๆมาไม่มีการบัญญัติในกฎหมายอย่างชัดแจ้ง แต่ผู้อกตัญญูจะ เป็นผู้ที่ได้รับการรังเกียจ เหยียดหยามติฉินนินทาในหมู่สังคม ในคำ�สอนของขงจื้อกล่าว ไว้ว่า “ที่ว่าการกตัญญูกตเวทีนั้นมิใช่เพียงกับเลี้ยงดูบิดามารดาอย่างเดียว เพราะว่า ถ้ากระทำ�ดั่งนี้ก็จะไม่มีความแตกต่างในการเลี้ยงดูสัตว์เช่น ม้าหรือสุนัข ดังนั้น การ กตัญญูมีแท้จริงจักต้องกระทำ�อย่างมีจิตใจเคารพนับถือบิดามารดาด้วยเป็นสำ�คัญ” “การกตัญญูต่อบิดามารดา เคารพเชื่อฟังพี่ๆหรือผู้อาวุโสคือพื้นฐานแห่งความรักใคร่ เมตตา” คนจีนมีวาทะที่สอนเสมอว่า “อยู่ในเมืองต้องเชื่อฟังกฎหมาย อยู่ในบ้านก็ต้อง ปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ของบ้าน เราจึงจะอยู่เย็นเป็นสุข” ดังนั้น ความกตัญญูและกฎเกณฑ์ ที่จะต้องปฏิบัติในครอบครัว นอกจากจริยธรรมที่สมาชิกในครอบครัวจะต้องปฏิบัติแล้ว ยังถือเป็นหน้าที่ที่ทุกคนมิอาจหรือเลี่ยงได้ ี่
สิ่งสำ�คัญที่จะสร้างความกลมเกลียวต่อกันในครอบครัวชาวจีนคือ ความสุภาพ อ่อนโยน ลูกหลานจะต้องนอบน้อมเชื่อฟังผู้ใหญ่ ลูกชายและลูกสาวจะต้องเชื่อฟังคำ� สั่งสองของบิดามารดา ถ้าครอบครัวมีความกลมเกลียวและมีความอ่อนน้อมต่อกันแล้ว ไม่ว่าจะอยู่ในบ้านหรือนอกบ้านก็ล้วนแต่มีความสุขได้ทั้งสิ้น ดังคำ�จีนที่ว่า “ครอบครัว พร้อมหน้า ชาติแผ่นดินร่มเย็น “คือความสุขของที่แท้จริงของสังคม ครอบครัวของชาวจีน หลักโดยทั่วไปผู้เป็นพ่อจะเป็นหัวหน้าครอบครัว ถ้าปู่ ยังมีชีวิตอยู่ปู่ก็จะเป็นหัวหน้าครอบครัว แต่ถ้าปู่และพ่อต่างเสียชีวิตแม่หรือย่าจึงจะเป็น หัวหน้าครอบครัวแทนวัฒนธรรมภายในครอบครัวของชาวจีน กฎระเบียบและมารยาท ภายในบ้านเป็นเรื่องสำ�คัญ ยิ่งในสมัยโบราณคนจีนจะให้ความสำ�คัญกับวัฒนธรรม ภายในครอบครัวมาก เนื่องมาจากครอบครัวขนาดใหญ่ถึงแม้ว่าจะเป็นครอบครัวที่มี อำ�นาจมากเพียงใดแต่ถ้าหากวัฒนธรรมภายในครอบครัวไม่ดีหรือไม่มีระบบแล้ว ก็จะ นำ�มาซึ่งเสียงวิพากษ์วิจารณ์จากสังคม นำ�ความเสื่อมเสียมาสู่วงศ์ตระกูล ดังนั้น เพื่อ
184
เป็นการรักษาและดำ�รงไว้ซึ่งวัฒนธรรมอันดีงามภายในครอบครัว คนสมัยโบราณจึงได้ กำ�หนดกฎระเบียบภายในบ้านขึ้นมา บางครั้งในกรณีครอบครัวใหญ่มากๆจะมีการเขียน เป็นข้อบัญญัติเพื่อใช้อบรมสั่งสอนคนในครอบครัว กฎระเบียบภายในบ้านสร้างขึ้นมา เพื่อให้สมาชิกปฏิบัติคาม หากมีใครฝ่าฝืนจะถูกหัวหน้าครอบครัวตักเตือนหรือลงโทษ แต่ถ้าตักเตือนหรือลงโทษแล้วยังไม่มีการแก้ไขปรับปรุงตัว เขาก็จะถูกขับไล่ออกจากบ้าน และจะไม่ได้มีการต้อนรับจากสมาชิกในครอบครัว รวมทั้งสังคมคนรู้จักอีกด้วย ในการสั่งสอนอบรมลูกหลานนับเป็นสิ่งสำ�คัญที่สุดที่จะทำ�ให้วงศ์ตระกูลยั่งยืน มีเกียรติ มีชื่อเสียง จึงเป็นแนวความคิดที่ชาวจีนยึดถือมาถึงปัจจุบัน คำ�สอนที่นิยมในหมู่ ชาวจีนที่ใช้อบรมลูกหลานตาม “หลักคำ�สอนแห่งการครองเรือนของ จูจื่อ (นักปราชญ์ สมัยราชวงค์ชิงผู้ศึกษาเรียบเรียงหลักคำ�สอนของขงจื้อ) “มีใจความว่า” ไม่ว่าเรื่องใดๆ จะต้องมีการตระเตรียมก่อนล่วงหน้า ไม่ใช่รอหิวน้ำ�จึงค่อยรีบไปขุดบ่อ ไม่ว่าเรื่องใดๆ จะต้องมิเว้นว่างเผื่อทางหนีทีไล่ เมื่อเห็นว่าดีขึ้นแล้วก็รู้จักยุติอย่างโลภมากเกินไป สิ่ง ใดที่เรามีบุญคุณต่อคนอื่น อย่าได้นำ�เก็บไปคิด แต่ถ้าใครมีบุญคุณต่อเรา ก็อย่าลืมที่จะ ตอบแทนบุญคุณ “การเลี้ยงดูบุตรหลานของคนจีนที่สืบทอดกันมานั้น เป็นการอบรม เลี้ยงดูให้เป็นคนมีคุณธรรม คนจีนถือว่าถ้าอบรมสั่งสอนลูกไม่ดี ถือว่าเป็นความผิดของ ผู้เป็นบิดามารดา สิ่งที่ผู้ที่เป็นบิดามารดาทั้งกลัวทั้งเกลียดที่จะได้ยินมากที่สุด คือ การที่ ลูกของตนถูกด่าว่าเป็นลูกที่พ่อแม่ไม่สั่งสอน ธรรมเนียมภายในบ้านที่สืบต่อๆกันมาจะมุ่งเน้นให้ความสำ�คัญกับการเคารพ เชื่อฟังผู้ใหญ่ สมาชิกทุกคนในบ้านจะต้องให้ความสำ�คัญกับกฎข้อนี้เป็นอย่างมากเช่น ลูกๆจะต้องมีความกตัญญูรู้คุณ และให้ความเคารพพ่อแม่ไม่ว่าจะเป็นเรื่องเล็กหรือเรื่อง ใหญ่ จะต้องผ่านพ่อแม่เสียก่อน ห้ามจัดการเรื่องราวใดๆโดยไม่ได้บอกกล่าว ในตอน เช้าจะต้องทักทายสวัสดีตอนเช้ากับพ่อแม่ ในตอนเย็นกลับมาทักทายพ่อแม่ ในตอนเย็น ก่อนที่พ่อแม่เข้านอนต้องคอยเฝ้าปรนนิบัติด้วย ตอนกินข้าวก็ต้องรอให้พ่อแม่กินให้เสร็จ ก่อนตัวเราถึงจะได้กิน ธรรมเนียมในบ้านอีกอย่างหนึ่งคือ พ่อแม่จะเข้มงวดกับลูกๆแต่ เป็นด้วยความเอ็นดู แต่โดยเฉพาะผู้เป็นพ่อมักไม่แสดงออก แม้นว่าจะรักเอ็นดูลูกเพียงใด เพราะผู้เป็นพ่อต้องรักษาภาพลักษณ์ที่เข้มงวดเอาไว้เสมอ แต่แม่นั้นมักจะมีภาพลักษณ์ที่ อ่อนโยนกว่า ความสัมพันธ์ของพี่(ชาย)กับน้อง(ชาย) พี่(ชาย)ต้องปกป้องดูแลสั่งสอนน้อง (ชาย) น้อง(ชาย)เองก็จะต้องรักและเคารพพี่ชายให้เสมือนพ่อยามพ่อไม่อยู่
185
จากอดีตถึงปัจจุบันตามคำ�สอนของขงจื้อซึ่งกล่าวไว้ว่า ความกตัญญูต่อบิดา มารดาและการเคารพต่อพี่และผู้อาวุโส เป็นหลักพื้นฐานของความเป็นคน ถ้าคนเรา มีหลัก 2 ประการนี้แล้ว มิใช่เพียงที่บ้านจะสงบสุข ในสังคมก็จะสงบสุขด้วย เรื่อง วุ่นวายต่างๆก็จะไม่เกิดขึ้น การให้ความสำ�คัญในสถานะชายหญิงในครอบครัวเพศชายจะได้รับความ สำ�คัญมากกว่าเพศหญิงนั้นถือว่าเป็นวัฒนธรรมที่สืบทอดกันมาช้านานของชาวจีน นอกจากการเป็นเจ้าของบ้านและการเป็นสะใภ้แล้ว ตามปกติทั่วไปแล้วผู้หญิงในบ้านจะ ไม่มีสถานะอื่นอะไรอีกเลย จะเห็นได้จากสุภาษิตจีนที่กล่าวไว้ว่า “ยามอยู่บ้านตนให้ เชื่อฟังบิดามารดา ยามเมื่อแต่งงานไปแล้วให้เชื่อฟังสามี แต่ถ้าสามีเสียชีวิตก่อนก็ให้เชื่อ ฟังลูกชาย” คนจี น จะให้ ค วามสำ � คั ญ ต่ อ วงศ์ ต ระกู ล ฝ่ า ยพ่ อ เป็ น อย่ า งมากสมาชิ ก ใน ครอบครัวจะถือว่าตนเองก็เป็นส่วนสำ�คัญส่วนหนึ่งของวงศ์ตระกูล เกียรติยศ ชื่อเสียงของ ครอบครัวถือเป็นเกียรติของตนเองด้วยเช่นกัน แต่ถ้าวงศ์ตระกูลต้องมีเรื่องอับอายขึ้นมา ก็ถือว่าเป็นเรื่องอับอายของตนด้วย การสร้างชื่อเสียงและเกียรติยศให้กับวงศ์ตระกูลถือ เป็นความฝันอันทรงเกียรติที่สุดของชาวจีนทุกคน หัวหน้าครอบครัวเป็นผู้มีอำ�นาจเด็ด ขาดในเรื่องต่างๆภายในบ้าน เมื่อหัวหน้าครอบครัวต้องการจัดการและตัดสินใจเรื่องใดๆ แล้ว สมาชิกในครอบครัวมีหน้าที่ที่จะต้องปฏิบัติตามคำ�สั่งนั้น ในสมัยก่อนครอบครัวจีนมักจะมีคนหลายรุน่ อาศัยอยูร่ ว่ มกัน บางครอบครัว ใหญ่อาจมีถงึ สีห่ า้ รุน่ และถึงเก้ารุน่ ก็เคยมี เช่น ทวด ปู่ ( อาจมีพน่ี อ้ งด้วย ) ย่า บิดา ( อาจ มีพน่ี อ้ งด้วย ) ลูกๆ( ลูกพีล่ กู น้องด้วย ) หลานๆเหลนๆเป็นต้นเพราะอาจจะไม่มกี ารแยก ครอบครัวออกไป ภายในครอบครัวใหญ่นย้ี งั ได้แบ่งออกเป็นบ้านเล็กๆแยกออกมาอาศัย อยูใ่ นบริเวณทีใ่ กล้เคียงกัน ในสมัยโบราณบ้านลักษณะนีอ้ ยูใ่ นบริเวณเดียวกัน บางครัง้ ทุกๆบ้านเหล่านีพ้ อ่ บ้านจะต้องหารายได้เข้ามาจุนเจือบ้านย่อยๆของตนเหล่านัน้ ขณะ เดียวกันก็ตอ้ งหารายได้ชว่ ยเหลือครอบครัวทีเ่ ป็นส่วนกลางคือปูห่ รือทวด ย่าเป็นต้น กรณี ครอบครัวมีฐานะดีมสี มบัตมิ ากเช่นทีน่ า สมาชิกทุกคนเมือ่ ถึงวัยทำ�งานก็จะทำ�นาปลูก พืชบนทีด่ นิ ของครอบครัวหรือเก็บรายได้จากการเช่าทีน่ า ทีส่ วน ผลประโยชน์ทง้ั หมด จะนำ�เข้าสู่ครอบครัวและหัวหน้าครอบครัวก็จะจัดสรรผลประโยชน์ไปสู่บ้านย่อยๆเพื่อใช้
186
จ่ายตามแต่เห็นสมควร วิถีปฏิบัติดังนี้ก็มาประยุกต์ใช้กับครอบครัวที่มีกิจการค้าขายที่มี ขนาดใหญ่ สมาชิกครอบครัวไม่ว่ามีครอบครัวของตัวเองหรือไม่ ( โดยเฉพาะลูกๆที่เป็น ผู้ชาย ) จะต้องทำ�งานให้กับธุรกิจของครอบครัว แล้วลูกๆก็จะได้ค่าส่วนแบ่งจากหัวหน้า ครอบครัว คือหัวหน้าครอบครัวจะทำ�หน้าที่เป็นประธานบริษัทฯ ลูกๆหลานๆก็จะเป็น พนักงานของบริษัท จะได้ผลตอบแทนเป็นเงินเดือนและโบนัสตอนตรุษจีน ค่าใช้จ่าย ต่างๆเช่นค่าเล่าเรียนของบุตรหลานก็ให้เบิกได้จากบริษัท เป็นต้น จึงเป็นที่มาของระบบ ธุรกิจครอบครัวคือครอบครัวเสมือนหนึ่งบริษัท ( กงสี ) สมาชิกในครอบครัวก็จะทำ�งานให้ กงสี ค่าใช้จ่ายก็เบิกจากกงสี รายได้ส่วนแบ่งจากกงสีเป็นทุนรอนในอนาคตจึงทำ�ให้ เรียกธุรกิจแบบกนี้ว่า “ธุรกิจกงสี”ซึ่งจะพบเห็นส่วนใหญ่ในธุรกิจขนาดใหญ่ของชาวจีน ทั่วไป จากวิถีชีวิตหลักปฏิบัติความเชื่อและศรัทธาในการดำ�เนินชีวิตของชาวจีนใน เรื่องของวัฒนธรรมครอบครัวและการยึดถือการปฏิบัติตนในความเป็นคนต่อหลักธรรม แห่งกตัญญูมาอย่างเคร่งครัด และเป็นเวลายาวนานนับพันปี สิ่งเหล่านี้ฝังแน่นอยู่ใน ตัวตนของชาวจีนทุกคน ทั้งที่อาศัยอยู่ในประเทศจีน หรือชาวจีนโพ้นทะเล ชาวจีนและ บุตรหลานในจุลนครฯ แม้จะได้รับอิทธิพลจากปัจจัยภายนอกอื่นๆเช่น สภาพเศรษฐกิจ ที่เปลี่ยนไป สภาพครอบครัวที่มีขนาดเล็กลง ลักษณะการดำ�รงชีวิตในสังคม วัฒนธรรม ตะวันตกเป็นต้น สิ่งที่คงอยู่ในจิตวิญญาณของวัฒนธรรมครอบครัวและความกตัญญูยัง ฝังแน่นในประชาคมนี้เสมอมา จากจิตวิญญาณนี้สามารถถ่ายทอดให้เห็นเป็นวิถีปฏิบัติ ไม่ว่าประเพณี หรือเทศกาลที่เกี่ยวข้องการแสดงความกตัญญู และวัฒนธรรมครอบครัว ดังจะกล่าวต่อไปนี้
ประเพณีแต่งงาน การมีคู่ครองของชาวจีนนั้น ตั้งแต่โบราณกาลถือว่าเป็นหน้าที่
ของบิดา มารดา หรือปู่ ย่า หรือพี่ชายพี่สะใภ้(ในกรณีบิดา มารดาไม่สามารถทำ�หน้าที่ ได้) โดยผู้ใหญ่เป็นผู้ตัดสินใจโดยเด็ดขาด ผู้เป็นลูกไม่มีสิทธิที่จะโต้แย้ง แม้นว่าจะไม่เห็น ด้วยก็ตาม โดยขงจื้อกล่าวในคำ�สอนไว้ว่า “แม้นว่าบิดามารดามีข้อบกพร่อง ก็ควร บอกกล่าวด้วยความสุภาพอ่อนโยนนอบน้อม ถ้าหากว่าท่านยังไม่ยอมที่จะรับฟังแล้ว แม้จะต้องกล้ำ�กลืนฝืนทนก็ต้องน้อมรับ จงอย่าได้ขุ่นข้องใจ” ส่วนใหญ่บุตรหลานไม่ ค่อยโต้แย้งเพราะทุกคนเห็นว่าบรรพบุรุษก็ดำ�เนินการสร้างครอบครัวใหม่ตามวิธีการนี้ และส่วนใหญ่ก็มีความสุขดี สมัยก่อนหญิงชายต่างก็ไม่ค่อยมีโอกาสที่จะได้พบปะคบหา
187
กัน การติดต่อสื่อสารกันก็ยังน้อย ผู้ชายมุ่งมั่นศึกษาและประกอบการงาน ผู้หญิงอยู่ ดูแลบ้านเรือน ประเพณีเช่นนี้ดำ�เนินมาให้เห็นในสังคมจุลนครฯในอดีตอันใกล้ แต่เมื่อ สังคมเปลี่ยนไป หญิงชายมีการศึกษาสูงขึ้น การปฏิสัมพันธ์สื่อสารมากขึ้น ค่านิยมและ วัฒนธรรมตะวันตกเข้ามามีอิทธิพล การพึ่งพาทางเศรษฐกิจจากครอบครัวน้อยลง ทำ�ให้ ความเคร่งครัดในประเพณีจัดหาคู่แบบเดิมจะน้อยลงมาก อิสระในการหาคู่มีมากขึ้น แต่ในจุลนครฯเองก็ยังมีจิตวิญญาณของประเพณีคงอยู่ซึ่งส่วนใหญ่ปรากฏให้เห็นเป็น ลักษณะประเพณีปฏิบัติเชิงสัญลักษณ์ ดังนั้น ผู้เขียนจึงผนวกเสนอขั้นตอนประเพณีการ แต่งงานให้เห็นดังนี้ คำ�พูดของแม่สื่อกับคำ�สั่งของพ่อแม่ ในสมัยโบราณจุดเริ่มต้นของงานแต่งงาน ตามปกติแล้ว เกิดขึ้นโดยทางฝ่ายหญิงหรือฝ่ายชายจะร้องขอให้แม่สื่อช่วยไปยังบ้าน ของอีกฝ่าย เพื่อเจรจาขอหมั้นหรือขอแต่งงาน หลังจากนั้นจึงนำ�ดวงชะตาของทั้งสอง คนมาดูเทียบกันว่าจะเป็นคู่กันได้ไหม หลังจากนั้น การตัดสินใจสุดท้ายก็ขึ้นอยู่กับพ่อ แม่ว่าจะตกลงปลงใจกับตระกูลนี้ไหม การแต่งงานล้วนขึ้นอยู่กับคำ�พูดของแม่สื่อ คำ�สั่ง ของพ่อแม่ ลูกสาวลูกชายนั้นไม่มีสิทธิ์ตัดสินใจในงานแต่งของตนเองเลย เพราะว่าชาวจีนเชื่อว่า ลูกผู้ชายมีหน้าที่ศึกษาเล่าเรียน และประกอบอาชีพเพื่อ ความก้าวหน้าและชื่อเสียงของครอบครัวเป็นหลัก ส่วนลูกผู้หญิงนั้นต้องรักนวลสงวน ตัวอยู่เป็นแม่ศรีเรือนเท่านั้น บิดามารดาจึงต้องพึ่งพาแม่สื่อในการทำ�หน้าที่สรรหาผู้ที่ เหมาะสมมาเป็นคู่ครองบุตรธิดา ถ้าหญิงชายคู่ใดแต่งงานโดยไม่ทำ�ตามคำ�อนุญาตจาก พ่อแม่และไม่มีแม่สื่อชักนำ� ถือว่าเป็นการกระทำ�ที่ผิดประเพณีก็จะเป็นที่ครหานินทา ของชาวบ้านทั่วไป แม้นว่าภายหลังค่านิยมสังคมเปลี่ยนแปลงไป การพบรักกันเองเป็น ที่ยอมรับโดยทั่วไป บางครั้งบิดามารดาก็ยังหาแม่สื่อมาทำ�หน้าที่ในด้านพิธีกรรมเชิง สัญลักษณ์ เพื่อให้ความรู้สึกว่าได้ปฏิบัติตามประเพณีแบบอย่างโบราณครบถ้วนแล้ว สมัยผู้เขียนยังเด็ก ( ประมาณห้าสิบกว่าปีที่ผ่านมา ) ยังได้เห็นผู้ประกอบอาชีพเป็นแม่สื่อ อยู่จำ�นวนมาก ส่วนใหญ่เป็นหญิงอาวุโสที่พูดจาโน้มน้าวคนเก่ง รู้จักคนมาก ทำ�หน้าที่ จัดหาคู่ให้บิดามารดาที่ต้องการหาคู่ครองให้บุตรธิดาโดยมีรูปถ่ายและประวัติให้เลือก รวมทั้งให้ชายหนุ่มหญิงสาวได้มีโอกาสพบปะรู้จักกันก่อนตัดสินใจ เมื่อบิดามารดา ทั้งสองฝ่ายตกลงกันได้แล้ว แม่สื่อก็จะทำ�หน้าที่เป็นที่ปรึกษาด้านพิธีกรรมในประเพณี การแต่งงานจนจบขั้นตอน รวมทั้งการหน้าที่แม่สื่อเชิงสัญลักษณ์ในกรณีหญิงสาวรู้จัก
188
ชอบพอกันเองซึ่งก็เมื่อมีอยู่ในขณะนั้น ปัจจุบันในสังคมชาวจีนในจุลนคร ผู้ที่ทำ�หน้าที่ แม่สื่อนั้นส่วนใหญ่เป็นญาติผู้ใหญ่ที่ทำ�หน้าที่แทน ไม่ได้เคร่งครัดนักเป็นเพียงการแสดง ถึงสัญลักษณ์ของจิตวิญญาณในการแต่งงานของชาวจีนเท่านั้น การมอบของหมั้น หลังจากที่แม่สื่อเจรจาขอหมั้นสำ�เร็จ ฝ่ายชายจะต้องนำ� สินสอดทองหมั้นไปให้ฝ่ายหญิง เพื่อยืนยันการแต่งงาน หลังจากที่มอบของหมั้นแล้ว จะ ไม่มีการคืนของหมั้นโดยเด็ดขาด ในปัจจุบันญาติผู้ใหญ่ฝ่ายผู้ชายจะไปสู่ขอกับผู้ใหญ่ ฝ่ายหญิงอย่างเป็นทางการและปรึกษาหารือกันในเรื่องพิธีการแต่งงาน สินเดิม คือ สิ่งของที่ฝ่ายหญิงนำ�ติดตัวไปด้วยเมื่อแต่งเข้าบ้านฝ่ายชายในสมัย โบราณความอุดมสมบูรณ์ในสินเดิมของฝ่ายหญิงที่นำ�ติดตัวไปบ้านฝ่ายชายนั้น มีผลยิ่ง ต่อสถานะและอนาคตของฝ่ายหญิงในบ้านของฝ่ายชายภายหลังจากที่ได้แต่งเข้าไปแล้ว นั่นเอง 3 แม่สื่อและสิ่งของพยาน 6 สิ่ง ตามประเพณีการแต่งงานนั้น มีขั้นตอนของการ แต่งงานเป็นเงื่อนไขซึ่งจะต้องครบทั้ง “3 แม่สื่อและสิ่งของพยาน 6 สิ่ง” เสียก่อน การ หมั้นหมายจึงจะครบถ้วนตามขั้นตอน อันได้แก่ เครื่องตวง ไม้บรรทัด เครื่องชั่ง กรรไกร กระจก และลูกคิด ปัจจุบันการส่งของหมั้น ฝ่ายชายส่งของหมั้นไปยังบ้านฝ่ายหญิง สิ่งของนั้นจะ เป็นซองอั่งเปา เทียน ผ้าทอง ขนมเปี๊ยะ ขนมเค้ก ขนมหวาน (ลูกกวาด) ขาหมู ไก่ ผลไม้ เหล้า เป็นต้น ตามปกติฝ่ายหญิงจะแบ่งบางส่วนคืนให้ฝ่ายชาย ส่งเกีย้ ว ( รถ ) ไปยังบ้านเจ้าสาว ในสมัยโบราณเจ้าสาวจะถูกหามบนเกีย้ วทีป่ ระดับ ประดาอย่างสวยงามไปยังบ้านฝ่ายชาย ระหว่างทางทีไ่ ปบ้านฝ่ายชายจะมีเสียงดนตรี มโหรีไม่วา่ กลองหรือแตรต่างส่งเสียงดังอย่างครึกครืน้ หลังจากเข้าบ้านเจ้าบ่าวแล้ว ทัง้ สองต้องทำ�พิธี 3 เคารพ จึงจะถือว่าพิธแี ต่งงานนัน้ สมบูรณ์ 3 เคารพนีค้ อื เคารพฟ้าดิน เคารพพ่อแม่ เคารพซึง่ กันและกัน ปัจจุบนั เป็นการส่งบัตรเชิญ ( เทียบ ) ฝ่ายหญิงอาจจะ นำ�ขนมเปีย๊ ะ ( หรือขนมเค้ก ) ทีไ่ ด้มาส่งไปพร้อมกับบัตรเชิญร่วมงานให้กบั เพือ่ นสนิท การมัดมวยผม วันก่อนพิธจี ริง ทัง้ ฝ่ายชายฝ่ายหญิงต่างต้องทำ�พิธมี ดั มวยผม หรือพิธีตัดแต่งผมในบ้านของตนเองซึ่งจะให้คนที่มีลูกมีหลานเยอะๆและคู่ครองที่ยังมีชีวิต อยูม่ าหวีผมให้
189
การรับตัว เจ้าบ่าวจะเดินทางไปบ้านเจ้าสาวพร้อมกับเพื่อนเจ้าบ่าวโดยน้อง ชายของเจ้าสาวหรือเด็กผู้ชายที่เป็นญาติกันจะช่วยเปิดประตูรถให้เจ้าบ่าว การกั้นประตูเงินประตูทอง พี่น้องผู้หญิงของฝ่ายหญิง โดยญาติผู้หญิงของเจ้า สาวจะประจำ�ที่ประตูบ้าน เพื่อขออั่งเปาซองโตจากฝ่ายเจ้าบ่าว หรือไม่ก็หาคำ�ถามยากๆ มาทดสอบเจ้าบ่าว เป็นการละเล่นเพื่อหยอกเย้าเจ้าบ่าว พิธียกน้ำ�ชาแบบโบราณ หลังจากผ่านพิธี 3 เคารพแล้ว เจ้าสาวต้องทำ�พิธียก น้ำ�ชาให้ผู้อาวุโสฝ่ายชาย (เช่นพ่อแม่ ญาติผู้ใหญ่) เมื่อผู้อาวุโสฝ่ายชายดื่มน้ำ�ชาเสร็จ นั่นก็หมายถึง ฝ่ายชายยอมรับฝ่ายหญิงเข้าเป็นสมาชิกในตระกูล ปัจจุบันการยกน้ำ�ชา : หลังจากที่เจ้าบ่าวไปรับเจ้าสาวมาแล้ว ทั้งเจ้าสาวและ เจ้าบ่าวจะแสดงความเคารพผู้อาวุโสของฝ่ายชายโดยการยกน้ำ�ชา (การยกน้ำ�ชาให้แก่ พ่อแม่ของเจ้าสาวสามารถทำ�ได้ในตอนที่เจ้าบ่าวไปรับตัวเจ้าสาวก่อนงานเลี้ยงตอนเย็น ก็ได้) หลังเสร็จจากพิธี ฝ่ายชายจะจัดงานเลี้ยงแต่งงาน โดยเชิญญาติของฝ่ายหญิง และฝ่ายชายมาร่วมดื่มเหล้ามงคล ผู้ที่ถูกเชิญมาร่วมงานจะส่งซองอั่งเปาเป็นการแสดง คำ�อวยพรแก่เจ้าบ่าวเจ้าสาว การกลับบ้านเจ้าสาว หลังจากที่แต่งงานได้สามวัน เจ็ดวัน หรือเก้าวัน ทั้ง สามีและภรรยาจะต้องกลับบ้านเจ้าสาวเพื่อเคารพผู้อาวุโสและญาติๆของฝ่ายหญิง เรียก วันนี้ว่า “หุยเหมิน” ( ตึ๋งฉู่ ; แต้จิ๋ว ) ประดับซวงสี่หรือตัวอักษรสิริมงคลคู่ ( ซังฮี้ ) เมื่อมีการจัดการแต่งงานมักนิยม ติดกระดาษแดงที่เขียนอักษรสิริมงคลคู่ หรือซวงสี่ไว้ที่บ้านหน้าต่าง อีกทั้งยังปักอักษรสิริ มงคลคู่หรือซวงสี่ที่ว่านี้ด้วยด้ายแดงลงบนหมอนและผ้าห่มของคู่บ่าวสาวอีกด้วย แจกไข่มงคลและขนมเปี๊ยะมงคล งานมงคลสมรสของบางพื้นที่ พิธีในงานแต่ง จะมีการแบ่งแจกไข่มงคลหรือขนมเปี๊ยะมงคลให้ผู้อื่นด้วย
190
การกำ�เนิดบุตร ชาวจีนเชื่อว่าจะเป็นคนอกตัญญู ถ้าไม่มีลูกหลานสืบสกุล คน จีนมีคติพจน์ที่ว่า “อกตัญญูในเรื่องไร้ลูกหลานสืบสกุล เป็นเรื่องใหญ่ที่สุด” การมีลูกมี หลานถือเป็นภาระหน้าที่ตามหลักศีลธรรมจรรยาของชาวจีน การมีลูกมีหลานเต็มบ้านมี ลูกหลานถือเป็นนิมิตหมายอันดีแก่บ้าน เพราะเป็นการนำ�มาซึ่งความโชคดีแก่ตระกูล การพักฟื้นในหนึ่งเดือนแรก ช่วงการพักเก็บตัวหนึ่งเดือนหลังจากที่คลอดเด็ก แล้วหญิงชาวจีนจะพักฟื้นบำ�รุงร่างกายแบบเป็นการเฉพาะไม่เหมือนใคร โดยมีช่วงระยะ เวลาพักฟื้นหนึ่งเดือน ในเวลานั้นมีสิ่งพึงระวัง 4 อย่างด้วยกัน 1) รักษาความอบอุ่นของ ร่างกาย 2) ระวังเกิดลมในท้อง 3) บำ�รุงร่างกาย 4) ระวังแสลงของประเภทของเย็น ใน ช่วงหนึ่งเดือนพักฟื้นนี้เป็นเดือนที่สำ�คัญและต้องระวังกันเป็นพิเศษ เพราะเชื่อกันว่าอาจ ส่งผลกระทบต่อการคลอดบุตรในอนาคตได้ งานเลี้ยงฉลองทารกมีอายุครบหนึ่งเดือน เมื่อทารกมีอายุครบหนึ่งเดือนเต็ม บางครอบครัวจะเชิญญาติสนิทและเพื่อนฝูงมาร่วมงานเลี้ยงฉลอง เจ้าภาพจะจัดเตรียม ไข้ต้มที่ย้อมสีแดงเอาไว้มอบให้แก่ผู้ที่มาร่วมงานเลี้ยงฉลอง จำ�นวนของไข่นั้นอาจแจก ตามปีที่เด็กทารกถือกำ�เนิด หากเป็นเด็กผู้ชายจะแจกเป็นจำ�นวนคี่ หากเป็นเด็กหญิงจะ แจกไข่เป็นจำ�นวนคู่ เมื่อญาติสนิทและเพื่อนฝูงรับไข่ที่แจกแล้วก็จะอวยพรกลับไปตาม ปกติแล้วจะให้ซองอั่งเปาแสดงการอวยพรด้วย แต่ก็อาจมอบของขวัญอย่างอื่นแทนซอ งอั่งเป่าก็ได้ เช่น อาหารสำ�หรับเด็ก ของใช้สำ�หรับเด็ก เครื่องประดับต่างๆ
งานวันเกิดผู้ใหญ่ ( แซยิด ) โอวาทขงจือ้ กล่าวไว้วา่ “วันเกิดของบิดามารดา ต้องจดจำ�ให้แม่นยำ� เพือ่ เตือนสติเสมอว่า หนึง่ คือการปลืม้ ใจทีท่ า่ นอายุยนื ยาวเพิม่ ขึน้ อีก หนึง่ ปี อีกมิตหิ นึง่ ก็เป็นการเตือนสติให้เราห่วงใยท่าน ว่าท่านกำ�ลังชราลงไปอีกหนึง่ ปี” ตามความเชื่อโบราณที่สืบทอดกันมานาน ชาวจีนเชื่อกันว่าจะต้องเป็นผู้อาวุโส อายุ 60 ปีขึ้นไปเท่านั้น ถึงมีคุณสมบัติเหมาะแก่การจัดงานฉลองวันเกิดเหตุมาจากว่า สมัยก่อนนั้นชาวจีนใช้ปฎิทินเทียนกานตี้จือในการบันทึกวันเวลา เมื่อนำ�ทั้งสองอย่างนี้ มารวมกันแล้ว จะได้ทั้งหมดเป็น 60 กลุ่มหรือ 60 ปีใน 15 รอบ ดังนั้น เมื่อมีอายุ 60 ปีก็ หมายความว่า ท่านได้มีชีวิตมาแล้วหนึ่งรอบเต็มๆด้วยเหตุนี้ ผู้อาวุโสที่มีอายุครบ 60 ปี จึงไม่เหมือนกับบุคคลธรรมดาทั่วไป พวกลูกหลานจะปฏิบัติตัวและให้ความเคารพนับถือ
191
ต่อท่านเสมือนผู้ที่สำ�คัญที่สุดในครอบครัว ทุกๆปีในวันเกิดครบรอบ 60 ปีของท่านนี้ จะ มีบรรดาลูกๆหลานๆมากราบไหว้อวยพรท่านในงานฉลองวันเกิดนี้ ฉลองวันเกิดเพื่อบรรจบเลข 9 ในการเฉลิมฉลองอวยพรวันเกิดนั้น ชาวจีนจะ ให้ความสำ�คัญกับเลข 9 และเลข 10 เป็นอย่างมาก เลข 9 เป็นเลขที่มีจำ�นวนมากที่สุดเมื่อ นับจาก 1 ถึง 9 จึงมีความหมายว่า “ดีที่สุด สูงที่สุด” เพราะฉะนั้น เมื่อผู้ใดมีอายุบรรจบ ที่เลข 9 อย่างเช่น 69, 79 เมื่อนั้นจะมีการฉลองงานวันเกิดชุดใหญ่ และท่านอาวุโสที่ มีอายุถึง 80 ปียิ่งถือว่าเป็นปีที่วิเศษที่สุด ต้องจัดงานฉลองอย่างใหญ่โตเป็นพิเศษ สิ่ง มงคล 2 สิ่งที่ขาดไม่ได้ในการอวยพรแซยิดคือ เหล้าอายุยืน “จิ่ว” เป็นเสียงอ่านคำ� ว่า “เหล้า”ซึ่งไปพ้องเสียงกับคำ�ที่มีความหมายว่า “ยืนยาว” พอดี ดังนั้น เหล้าของขวัญ ที่มอบให้ในวันเกิด จึงแสดงความหมายว่า “ปรารถนาให้มีอายุยืน” หมี่อายุยืน ความ หมายยาวเหยียดของเส้นหมี่ สื่อถึง “อายุที่ยืนยาว” ดังนั้น เวลาสาวเส้นหมี่ชนิดนี้ ชาว จีนจึงมีข้อห้ามว่า ไม่ให้ตัดความยาวของเส้นหมี่นี้โดยเด็ดขาด เพื่อเป็นเคล็ดว่า ทาน แล้วจะได้มีอายุยืนยาว (คนไทยรู้จักเส้นหมี่นี้ในชื่อ “หมี่ซั่ว”)
192
ประเพณีงานศพ พิธีการทั่วไปแล้ว เมื่อพ่อแม่หรือผู้อาวุโสเสียชีวิต บรรดาลูกหลาน
จะพยายามกันอย่างที่สุดที่จะจัดพิธีศพให้ผู้ล่วงลับไปอย่างสมเกียรติ ดังเช่นคำ�สอนใน ลัทธิขงจื้อที่ว่า “จงแสดงความกตัญญูต่อบิดามารดายามที่ท่านยังมีชีวิต และจงแสดง ความเศร้าอาลัยต่อท่านยามท่านสิ้นชีพ” ปกติแล้วการเฝ้าศพ (ศพที่บรรจุในโลง) จะ ทำ�ตั้งแต่ 3 วันถึง 7 วันตามประเพณีเก่าแก่ จำ�นวนวันเฝ้าศพจะต้องเป็นจำ�นวนคี่ ถ้า เป็นจำ�นวนคู่ส่วนมากจะใช้เป็นจำ�นวนที่จัดงานมงคล ร่วมงานศพและเซ่นไหว้ไว้อาลัย วันช่วงพิธีงานศพ ศพจะถูกบรรจุในโลงที่วาง ในห้องโถงบรรจุศพเพื่อให้ญาติสนิทและมิตรสหายเซ่นไหว้แสดงไว้อาลัย คนที่มาร่วม งานศพเพื่อเซ่นไหว้และไว้อาลัยผู้ตาย มักจะนำ�พวงหรีดกับคำ�ไว้อาลัยหรือผ้าทองมา มอบให้แก่เจ้าของงานเพื่อแสดงความเสียใจ เจ้าของงานศพก็จะมอบด้ายแดงหนึ่งมัด หรือมอบซองสีแดงซึ่งบรรจุเหรียญเงินเป็นการตอบแทนผู้ร่วมงานและยังเป็นเครื่องราง นำ�โชคให้ผู้ร่วมงานเดินทางปลอดภัยอีกด้วย ผู้ร่วมงานต้องสวมเสื้อผ้าสีเรียบๆห้ามใส่ เสื้อผ้าสีฉูดฉาดเพื่อเป็นการแสดงความเคารพต่อผู้ที่ล่วงลับไป การเผากระดาษเงินกระดาษทอง คนจีนเชื่อว่าคนตายไปแล้วจะไปอยู่ยังโลกอีก โลกหนึ่งหรือที่เรียกว่า ยมโลกหรือเมืองผีนั่นเอง ดังนั้นจึงต้องเผากระดาษเงินกระดาษ ทองให้แก่ผู้ตาย เพื่อให้ผู้ตายเอาไว้ใช้ในยมโลกจะไม่ได้ไปอยู่แบบผีที่อดๆอยากๆทั้งนี้ นอกจากเงินกงเต๊กแล้ว ครอบครัวร่ำ�รวยบางครอบครัวยังเผารถกระดาษ บ้านกระดาษ โทรทัศน์กระดาษ คนรับใช้กระดาษ เป็นต้น ให้แก่ผู้ตายด้วย
พิธีฝังศพ เมื่อพิธีเฝ้าศพสิ้นสุดลงจะถูกขบวนแห่ศพแห่โลงศพไปยังหลุมฝังศพ หรือเมรุเผาศพ ขบวนแห่ศพทั่วไปแล้วจะนำ�ขบวนโดยวงมโหรี ตามตำ�นานเล่าว่าที่ ต้องมีกองมโหรีก็เพื่อขับไล่ภูตผีปีศาจที่หลบซ่อนอยู่บริเวณใกล้ๆออกให้ห่างจากขบวน แห่ แถวแรกตรงด้านหน้าโลงศพเป็นตำ�แหน่งของลูกชายและลูกสาวของผู้เสียชีวิต ส่วน ญาติๆหรือเพื่อนจะเดินอยู่ด้านหลังของขบวนแห่ เสื้อไว้ทุกข์ เมื่อคนในครอบครัวเสียชีวิตลงสมาชิกในบ้านจะสวมชุดไว้ทุกข์ เพื่อ แสดงการไว้อาลัยแก่ผู้ตาย เสื้อไว้ทุกข์มีหลากหลายสีตามความสัมพันธ์ของผู้ตายกับผู้ สวมใส่เช่น ลูกชาย ลูกสาว ลูกสะใภ้สวมใส่ชุดสีขาวและสีดำ� หลานสาวสวมชุดสีน้ำ�เงิน เป็นต้น นอกจากจะสวมชุดไว้ทุกข์แล้ว ยังมีการสวมปลอกแขนไว้ทุกข์ด้วยเพื่อเป็นการ
193
แสดงว่าบุคคลผู้นั้นกำ�ลังอยู่ในช่วงไว้ทุกข์ ถ้าผู้ตายเป็นผู้ชายจะสวมปลอกแขนที่ข้าง ซ้าย แต่ถ้าผู้ตายเป็นผู้หญิงจะสวมปลอกแขนไว้ทุกข์ทางด้านขวา การสวมปลอกแขน ไว้ทุกข์นั้นจะทำ�ประมาณ 49 วันหรือ 100 วันในช่วงที่มีการไว้ทุกข์อยู่นั้นห้ามสวมใส่ เสื้อผ้าสีฉูดฉาดให้สวมใส่เฉพาะสีเรียบๆเท่านั้น
194
เทศกาลของชนชาติจีนที่สะท้อนจิตวิญญาณแห่งกตัญญุตาธรรม และวิถีครอบครัว คนจี น จะให้ ค วามสำ � คั ญ กั บ ความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งกั น ในสั ง คมและความ สัมพันธ์ชิดใกล้ระหว่างกัน เทศกาลจึงเป็นสิ่งหนึ่งในการส่งเสริมการไปมาหาสู่ ระหว่างกัน เทศกาลทำ�ให้ความสัมพันธ์ระหว่างคนรัก และคนในครอบครัวมีความ แน่นแฟ้นกันยิ่งขึ้น ดังนั้นคนจีนจึงให้ความสำ�คัญกับเทศกาลเป็นอย่างมากดัง ประโยคที่ว่า “ทุกครั้งเมื่อใกล้จะถึงเทศกาลใดๆลูกหลานที่อยู่ห่างไกลสิ่งแรกที่พวก เขาตระหนักถึงก็คือคนที่รักในครอบครัว” นอกจากจะเป็นการส่งเสริมให้ครอบครัวมีความแน่นเฟ้นแล้ว เทศกาลที่ สืบทอดกันมาของชนชาติจีนนี้ยังมีส่วนเชื่อมโยงกันกับกิจกรรมเซ่นไหว้บรรพบุรุษ ด้วยเสมอ ไม่ว่าจะเป็นงานเทศกาลส่งท้ายปีเก่าต้อนรับปีใหม่ที่ตอนกลางคืนจะต้อง มีการเซ่นไหว้บรรพบุรุษก่อนและงานเทศกาลเชงเม้งก็จะต้องมีการทำ�ความสะอาด สุสานของบรรพบุรุษนั้น จากกิจกรรมการเซ่นไหว้บรรพบุรุษนี่เองจึงทำ�ให้คนจีนได้ นำ�เอาบรรพบุรุษของตนมาเป็นหลักเชื่อมความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันในครอบครัว เทศกาลจึงเป็นสิ่งที่เน้นย้ำ�ถึงพลังอันเกาะเกี่ยวความเป็นชนชาติจีนของชาวจีนทุกๆ คนด้วย เทศกาลต่างๆของชนชาติจีนนั้นเต็มไปด้วยวัฒนธรรมที่พิเศษและจิต วิญญาณของเชื้อชาติ ถ้าเรามีความเข้าใจในเทศกาลต่างๆของคนจีนแล้วละก็ เราก็จะ ยิ่งเข้าลึกถึงวัฒนธรรมของชนชาติจีนด้วยเช่นกัน
เทศกาลตรุษจีน เทศกาลตรุษจีนตรงกับเดือน 1 ( ตามปฏิทินจันทรคติ ) เทศกาลเริ่มตั้งแต่ วันแรกของเดือนจนถึงวันที่ 15 ของเดือน รวมเป็น 15 วัน งานเทศกาลตรุษจีนเป็น เทศกาลที่สำ�คัญที่สุดของชาวจีนนับตั้งแต่ยุคสมัยเกษตรกรรม ซึ่งตอนนั้นชาวบ้าน ต่างกันยุ่งวุ่นวายกับการทำ�นาทำ�ไร่ นอกจากงานศพหรืองานมงคลรื่นเริงต่างๆแล้ว นั้น กลุ่มญาติสนิทมิตรสหายต่างมีโอกาสน้อยมากที่จะมานั่งล้อมโต๊ะกินข้าวด้วยกัน ดังนั้น ชาวบ้านจึงถือโอกาสช่วงปีใหม่นี้เชิญญาติสนิทมิตรสหายมากินข้าวร่วมกันที่ บ้าน เป็นการส่งท้ายปีด้วยกัน พอเวลาผ่านไปนานเข้า ก็ทำ�ให้กลายมาเป็นประเพณี
195
การร่วมฉลองเทศกาลส่งท้ายปีเก่าต้อนรับปีใหม่ และอันเนื่องมาจากในสมัยก่อนนั้น เป็นยุคสมัยแห่งเกษตรกรรมชาวบ้านต่างยากจนข้นแค้นจึงทำ�ให้มีนิสัยการประหยัด อดออม ดังนั้นจึงมีแต่เทศกาลตรุษจีนเท่านั้นจึงจะมีอาหารชุดใหญ่ไว้กินกัน เพราะ ฉะนั้น เทศกาลตรุษจีนจึงเป็นเทศกาลที่เต็มไปด้วยบรรยากาศแห่งความสนุกสนาน รื่นเริง การทำ�ความสะอาดครั้งใหญ่ ก่อนที่จะถึงเทศกาลตรุษจีนนั้น ทุกครอบครัว ต่างพากันทำ�ความสะอาดครั้งใหญ่ไม่ว่าจะนอกหรือในบ้านต่างก็สะอาดหมดจดเป็น ระเบียบเรียบร้อยเพื่อที่จะต้อนรับปีใหม่ที่กำ�ลังจะมา พอถึงเทศกาลส่งท้ายปีพวก ไม้กวาดจะต้องนำ�ไปเก็บให้มิดชิด ว่ากันว่า เพื่อป้องกันไม่ให้เงินทองถูกปัดกวาดออก ไปนั่นเอง อาหารรวมญาติในวันส่งท้ายปีเก่า ก่อนวันตรุษจีนหนึง่ วันจะเรียกว่า “วัน ส่งท้ายปีเก่า” ซึ่งคนในครอบครัวก็จะมารวมตัวกันร่วมฉลองกินข้าวอาหารรวมญาติ หรืออาหารส่งท้ายปีเก่าอย่างพร้อมหน้าพร้อมตากัน คนจีนจะใส่ใจในความคิดและ ความรักของคนในครอบครัวมาก ดังนัน้ อาจจะพูดได้วา่ การร่วมทานข้าวเป็นงานรวม ญาติ “อาหารส่งท้ายปีเก่า” เป็นมือ้ อาหารทีส่ �ำ คัญทีส่ ดุ ไม่วา่ จะแต่งงานออกเรือนหรือ อาศัยอยูต่ า่ งถิน่ เพือ่ มาร่วมท่านอาหารส่งท้ายปีเก่ากับครอบครัวและเครือญาติ ....
การอยู่ตลอดทั้งคืนสุดท้ายของปีเก่า ชาวจีนจะมีธรรมเนียมอยู่ตลอดทั้งคืน ของวันส่งท้ายปีเก่า พวกเขาจะอยู่โยงกันทั้งคืนของปีเก่าจนถึงฟ้าสว่างในวันปีใหม่ เพื่อเป็นการต้อนรับปีใหม่ที่จะถึง ธรรมเนียมนี้เรียกว่า “โส่วซุ่ย” ซองอั่งเปา ในคืนวันส่งท้ายปีเก่าผู้อาวุโสให้ซองอั่งเปาแต่เด็กๆโดยจะวางไว้ ใต้หมอนของเด็กๆและจะรอจนเช้าวันใหม่ในวันปีใหม่ถึงจะเปิดซองได้ ตามประเพณี แล้วซองอั่งเปานั้นคนที่แต่งงานแล้วจะต้องมอบให้กับคนที่ยังไม่แต่งงาน ซองอั่งเปา นั้นไม่ได้มีความหมายอยู่ที่จำ�นวนเงินที่อยู่ในซอง แต่ความหมายอยู่ที่ตัวซองอั่งเปา การให้ซอง อั่งเปานั้นเปรียบเสมือนเป็นการอวยพรมอบความสุขและโชคลาภเป็นสิริ มงคลให้แก่ผู้รับ
196
การเชิดมังกรและเชิดสิงโต ตามตำ�นานเล่ากันว่า เทพมังกรเป็นผู้ควบคุม ดูแลฝน ดังนั้น การเชิดมังกรในเทศกาลปีใหม่นี้ เป็นการขอให้ฝนตกอุดมสมบูรณ์ ตลอดทั้งปี ส่วนการเชิดสิงโตเป็นการเชิดเพื่อขับไล่สิ่งชั่วร้ายซึ่งความหมายแสดงถึง การเกิดสิริมงคลกับตัวปราศจากสิ่งอัปมงคลทั้งหลาย การอวยพรวันขึ้นปีใหม่ วันแรกของปีนั้นทุกคนก็จะสวมใส่ชุดใหม่กันและ ออกไปอวยพรวันขึ้นปีใหม่กับญาติและเพื่อนฝูง คนในบ้านจะเตรียมขนมหวาน อาหาร เครื่องดื่มต่างๆเพื่อต้อนรับแขกที่มาเยี่ยมคารวะและอวยพรในวันขึ้นปีใหม่นี้ ด้วย ส่วนลูกสาวคนไหนที่แต่งออกไปจะกลับมาบ้านเพื่อนเยี่ยมคารวะและอวยพรปี ใหม่ในวันที่ 2 ของปี การให้ผลส้ม ทางตอนใต้ของจีนหรือรู้จักกันในนามเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในวันปีใหม่คนในพื้นที่นี้จะนำ�ผลส้มประมาณ 2 ลูกหรือ 4 ลูกไปมอบให้กับญาติๆ และเพื่อนฝูงพร้อมกับการอวยพรวันขึ้นปีใหม่ผลส้มในภาษาจีนกลางนั้นออกเสียง คล้ายคำ�ว่าทองในภาษาจีน ดังนั้นการมอบผลส้มก็เหมือนกับการมอบทองให้กัน นั่นเอง เมื่อแขกจะกลับ เจ้าบ้านก็จะมอบผลส้มให้กับแขกด้วยเช่นกัน จำ�นวนผลส้มจะ เท่ากับจำ�นวนผลส้มที่แขกมอบให้ การอวยพรเป็นหมู่คณะ ณ ปัจจุบันเมื่อถึงเทศกาลตรุษจีนหรือปีใหม่(ตาม ปฏิทินจันทรคติ) บริษัทต่างๆหรือสมาคมต่างๆก็จะจัดกิจกรรมอวยพรในวันขึ้นปีใหม่ ด้วยเช่นกัน วันที่ 7 ของปีใหม่ ตามตำ�นานจีนเล่าว่าในวันที่ 7 ของปีใหม่ เทพหนี่วาได้ ปั้นมนุษย์ขึ้นมาเป็นจำ�นวนมากเพราะเหตุนี้จึงเรียกวันนี้ว่า “วันมนุษย์”
197
เทศกาลเชงเม้ง ความตั้งใจในการจัดพิธีเซ่นไหว้บรรพบุรุษเล่ากันว่าคำ�ว่า “เทศกาลเชงเม้ง” เริ่มต้นขึ้นในสมัยราชวงศ์ฮั่น ความเป็นมาของชื่อที่ว่า “เชงเม้ง” นั้นมาจากสภาพ อากาศในเดือน 3 จะสดใสปลอดโปร่ง ดังนั้นจึงตั้งชื่อเทศกาลว่าเซงเม้ง จีนกลางออก เสียงว่า “ชิงหมิง”ซึ่งหมายถึง “สดใสสะอาด” จนกระทั่ง สมัยราชวงศ์ถังถึงได้เปลี่ยน มาเป็นเทศกาลสำ�คัญของปี ในตอนแรกผู้คนเพียงแค่ทำ� “ประเพณีเทศกาลหานสือ หรือประเพณีเทศกาลอาหารเย็น” เท่านั้น และมีการเพิ่มพิธีการทำ�ความสะอาดสุสาน ในสมัยราชวงศ์ถัง ...
แต่เนื่องจากว่าประเพณีอาหารเย็นนั้นห้ามมีการจุดไฟใดๆทั้งสิ้น ดังนั้น จักรพรรดิจึงได้มีพิธีกรรม“พระราชทานไฟในวันชิงหมิง ( เชงเม้ง )” ขึ้น พิธีนี้จะมีขึ้นใน สมัยที่มีการเปลี่ยนองค์ประชุมของราชสำ�นัก โดยองครักษ์ประจำ�พระองค์จะนำ�ก้าน ไม้ “ อวี่หลิ่ว” ที่ติดไฟไว้แล้วมาให้จักรพรรดิ แล้วพระองค์จะพระราชทานให้กับกลุ่ม ขุนนางเรียกเหตุการณ์นี้ว่าการรับ “ไฟไหม่” ถึงแม้ว่าก้านไฟที่กลุ่มขุนนางถือนั้นจะดับ ก่อนที่จะถึงบ้านแต่เหล่าขุนนางก็จะใช้ก้านอวี่หลิ่วเสียบไว้ที่หน้าประตูบ้านแทน พอ ถึงสมัยราชวงศ์ซ่งได้เปลี่ยนจากก้านไม้อวี่หลิ่วเป็นเทียนเล่มใหญ่ ดังนั้น การติดไฟใน เทศกาลเชงเม้งจึงเรียกว่า “ไฟใหม่” .... .
....
การทำ�ความสะอาดสุสาน การทำ�ความสะอาดสุสานให้บรรพบุรุษนั้นลูก หลานจะทำ�ความสะอาดโดยรอบบริเวณสุสานและนำ�ก้อนหินวางทับบนกระดาษห้า สีบนหลุมฝังศพเพื่อแสดงว่าได้มีลูกหลานมาทำ�การเซ่นไหว้บูชาแล้ว ลักษณะการ ทำ�ความสะอาดสุสาน ถางหญ้าบนสุสานและนำ�หญ้ามาปลูกซ่อมแซมตรงส่วนที่โล้น ไม่มีหญ้า นำ�ดินมาถมเพิ่มตรงหลุมฝังศพและนำ�กิ่งหลิวมาเสียบไว้บนหลุม ในสมัย ก่อนถ้าหากลูกหลานทำ�ความสะอาดสุสานเสร็จแล้ว ก็จะนำ�กระดาษห้าสีมาวางบน หลุมฝังศพ เพื่อแสดงว่ามีลูกหลานมาเซ่นไหว้แล้ว สุสานนี้ไม่ใช่สุสานไร้ญาติ ลูก หลานจะนำ�อาหารเหล้าผลไม้มาเซ่นไหว้บรรพบุรุษเผากระดาษกงเต๊กพร้อมนั่งค้อม คำ�นับ
198
โดยมี เ รื่ อ งราวจากคำ � ตำ � นานที่ ว่ า หลิ ว ปั ง ปฐมกษั ต ริ ย์ ร าชวงศ์ ฮั่ น เมื่ อ ปราบดาภิเษกเป็นฮ่องเต้ “ฮั่นเกาจู่“แล้วนั้น หลังจากนั้นได้เสด็จกลับบ้านเกิด พระองค์ทรงเศร้าโศกถึงผู้บังเกิดกล้าที่มิอาจร่วมเสวยสุขกับพระองค์ อีกทั้งแม้กระทั่ง หลุมศพของทั้งสองยังหาไม่พบอีกด้วย ขุนนางจึงแนะนำ�พระองค์ให้เขียนข้อความ มงคลบนแผ่นกระดาษ แล้วโปรยขึ้นฟ้าพร้อมกับอธิษฐานต่อฟ้าดิน ปรากฏว่าแผ่น กระดาษเหล่านี้ปลิวไปยังที่ซึ่งฝังศพของพ่อแม่พระองค์ ดังนั้นในสมัยต่อๆมาลูกหลาน จึงมักโปรยกระดาษสีหลากสีบนหลุมศพบรรพชนเพื่อแสดงความเคารพบรรพชนผู้ล่วง ลับ ....
............
199
เทศกาลจงหยวน, เทศกาลสาร์ทจีน ทุกๆวันที่ 15 ของเดือน 1 เดือน 7 และเดือน 10 (ตามปฏิทินจันทรคติ) หาก กล่าวถึงทั้ง 3 วันนี้ด้วยกันแล้วจะเรียกว่า “ซานหยวน” เทศกาลจงหยวน เรียกอีก อย่างหนึ่งว่า“เทศกาลภูตผีปีศาจ” ตามประเพณีเชื่อว่าตั้งแต่วันที่1ถึงวันที่ 31เดือน 7จะเป็นวันที่ประตูนรกเปิดให้ผีที่หิวโหยออกมาบนโลกมนุษย์ ด้วยเหตุนี้ในเดือน7จึง มีกิจกรรมเกี่ยวกับการสักการบูชาต่างๆมากมายโดยทั่วไปเรียกว่า.“ผู่ตู้”.ซึ่งหมายถึง การโปรดผีไร้ญาติของผีเร่ร่อน หลังจากที่ศาสนาพุทธได้เผยแพร่เข้ามายังประเทศจีนแล้ว เทศกาลนี้ก็เริ่มมี พิธีกรรมที่เกี่ยวกับศาสนาพุทธมากขึ้น และได้เกิดเป็น “เทศกาลอวี่หลานเผินเจี๋ย” คำ� ว่า“อวี๋หลาน” แปลทับศัพท์มาจากภาษาสันสกฤตซึ่งหมายถึง “การแขวนแบบกลับหัว กลับหาง” แต่คำ�ว่า“เผิน” หมายถึง ภาชนะที่ใช้ใส่สิ่งของที่ทำ�ถวาย ตามตำ�นาน เล่าว่าจุดกำ�เนิดของเทศกาลนี้มาจากเหตุการณ์ที่มู่เจียนเหลียน (พระโมคคัลลานะ) สานุศิษย์ของพระพุทธเจ้าช่วยมารดาของเขาในนรกภูมิ ด้วยเหตุน้ีเทศกาลจงหยวนจึงเป็นเทศกาลที่สำ�คัญที่ใช้แสดงถึงความกตัญญู ต่ อ บิ ด าและมารดาผู้ ล่ ว งลั บ ซึ่ ง ถ้ า ในเทศกาลเชงเม้ ง ลู ก หลานที่ อ ยู่ ใ นต่ า งแดนไม่ สามารถกลับมาทำ�ความสะอาดสุสานเพื่อแสดงถึงความกตัญญูต่อบรรพบุรุษได้ พวก เขาก็จะใช้เทศกาลนี้แสดงความกตัญญูกตเวทีต่อบิดามารดาหรือบรรพบุรุษแทน เทพนิยาย “มูเ่ จียนเหลียน ( โมกคัลลานะ ) ช่วยมารดาของตน” หลังจากที่ มารดาของ “มูเ่ จียนเหลียน” เสียชีวติ นางได้ถกู ลงโทษให้ไปอยูใ่ นเมืองนรก อาหาร ของเธอทีม่ คี นส่งมาให้ถกู ภูตผีปศี าจตัวอืน่ แย่งไปกินหมด หลังจากที่ “มูเ่ จียนเหลียน” ฝึกฝนจนบรรลุถงึ ขัน้ ทีส่ ามารถมองเห็นมารดาตนเองทีอ่ ยูใ่ นนรกได้ “มูเ่ จียนเหลียน” จึงพยายามส่งอาหารให้มารดา แต่พออาหารเหล่านัน้ ถึงมือมารดาอาหารเหล่านัน้ ก็ สลายกลายเป็นเถ้าธุลี พระพุทธเจ้าจึงทรงบอกกับ “มูเ่ จียนเหลียน” ว่าในช่วงวันขึน้ 15 ค่�ำ เดือน 7 ให้เขานำ�อาหารไปบริจาคให้แก่ภตู ผีปศี าจทัง้ หลาย เพือ่ ภูตผีปศี าจเหล่านัน้ จะได้ไม่มาแย่งเอาอาหารของมารดาของเขาแล้วจึงค่อยทำ�บุญส่งให้มารดา จึงทำ�ให้ เกิดประเพณี “จงหงวน” นีข้ น้ึ
200
คุณธรรมตามโอวาทธรรมทีส่ าม
คือ ยิ้ง (หยิน) เมตตาธรรม กุศลธรรม
仁
ขงจื้ อ กล่ า วไว้ ว่ า “อั น วิ ญ ญู ช นเป็ น ผู้ ซึ่ ง บำ � เพ็ ญ ประโยชน์ เ พื่ อ ส่ ว นรวม นั้น ย่อมไม่เป็นผู้รักตัวกลัวตาย และไม่กระทำ�ผิดต่อศีลธรรมและเมตตาธรรม มี แต่ความมีกุศลจิตที่จะเป็นผู้ให้อุทิศตนเมื่อศีลธรรมและเมตตาธรรมเท่านั้น” ใน หลักปกครองของชาวจีนตั้งแต่โบราณ กฎหมายไม่ได้มีการลงโทษผู้ไม่มีจิตสาธารณ กุศล แต่การที่บุคคลใดกระทำ�อันได้ที่มีพฤติกรรมเพื่อลาภยศอย่างเห็นแก่ตัว ตรงข้าม กับผู้มีจิตกุศลนั้น มักจะมีแนวโน้มที่จะเป็นทุรชนคนทรามโลภโมโทสันหรือถ้าเป็น ข้าราชการก็มักจะเป็นคิดคดทรยศต่อคุณธรรมฉ้อราษฎร์บังหลวง ในสังคมชาวจีนในจุลนครมักจะมีการช่วยเหลือซึ่งกันและกัน โดยเฉพาะ อย่างยิ่งในคนใกล้ชิดที่มาจากหมู่บ้าน จังหวัด หรือภาษาพูดเช่นเดียวกัน นอกจาก นี้การปกครองของคนจีนในสมัยต้นรัตนโกสินทร์ ทางราชการมักจะไม่เข้ายุ่งเกี่ยว มากนัก การปกครองจึงให้ชาวจีนปกครองกันเอง ผู้มีอำ�นาจของชุมชนมักเป็นผู้มี ฐานะที่ร่ำ�รวย แต่ถ้าจะให้คนบารมีไว้ก็จำ�เป็นต้องแสดงตนเป็นผู้ที่บำ�เพ็ญประโยชน์ ให้แก่สาธารณด้วย ( นอกจากุศลจิตตามทุนเดิมอยู่แล้ว ) ในยุคแรกๆก็เป็นสมาคมทำ� หน้าที่ช่วยเหลือหรือค่าทำ�ศพนั้นให้แก่สมาชิกยากจนซึ่งสมาคมสงเคราะห์เหล่านี้ตั้ง ขึ้นบนพื้นฐานของตำ�บลหรืออำ�เภอในประเทศจีนเพราะสมาชิกจะรับเฉพาะถิ่นอาศัย องค์กรสงเคราะห์อีกแบบหนึ่งคือ สมาคมทางพุทธศาสนา ( มหายาน ) โดยรับบริจาค จากสมาชิกผู้มั่งคั่งและค่าบำ�รุงสมาชิกรายเดือน มีหน้าที่ช่วยเหลือค่าทำ�ศพและจัด พิธีการทำ�ศพแก่สมาชิก ต่อมาภายหลังบุตรหลานเปลี่ยนไปใช้วัดทางพุทธศาสนาทำ� พิธีแทนเนื่องจากสะดวกและมีพื้นที่ใหญ่กว่าในการรับแขก
201
ปัญหาใหญ่อีกเรื่องหนึ่งของชุมชนคือการได้รับการรักษาพยาบาลยามที่เกิด เจ็บป่วย โดยเฉพาะชาวจีนผู้มีฐานะยากจนและขาดแคลนญาติที่คอยดูแลซึ่งสมัยก่อน การให้บริการสาธาณสุขของรัฐก็ยังไม่มีหรือมีก็ไม่เพียงพอ ผู้นำ�ชุมชมและเศรษฐีชาว จีนผู้มีจิตกุศลจึงได้ร่วมกันก่อตั้งและบริหารจัดการสาธารณกุศลสถานที่ให้บริการ ด้านการรักษาพยาบาลแก่คนที่ด้อยโอกาสเหล่านี้อย่างเสียสละ เหมือนดั่งการขุด บ่อน้ำ�ให้กลางทะเลทรายแก่ผู้ยากไร้ การจัดตั้งสาธารณกุศลสถานไม่ว่าจะเป็นมูลนิธิหรือสมาคมใดๆก็ตาม จะ ต้องมีการจัดสร้างศาลเจ้าควบคู่กันไปด้วย เพราะว่าศาลเจ้าเป็นที่ซึ่งเป็นศูนย์กลางที่ แสดงถึงจิตวิญญานแห่งกุศลธรรม เจ้า หรือเทพเจ้า เป็นตัวแทนที่ให้ผู้มีจิตศรัทธา ได้ เคารพกราบไหว้บูชาเพื่อเป็น ศิริมงคล มีความสุข ความแจริญต่อตนเองและครอบครัว และเป็นการแสดงถึงจิตสำ�นึกในการทำ�บุญทำ�กุศลตามแรงบัลดาลใจของเทพเจ้าใน ศาลเจ้าเหล่านั้น
202
สาธารณกุศลที่เป็นถาวรสถานที่ดำ�เนินกิจกรรมอย่างเจริญก้าวหน้าจนเป็นที่ ยอมรับและปรากฏให้เห็นจนถึงปัจจุบัน ที่สำ�คัญเช่น ศาลเจ้าไต้ฮงกงและมูลนิธิป่อ เต็กตึ้ง โรงพยาบาลเทียนฟ้ามูลนิธิ โรงพยาบาลกว๋องสิวมูลนิธิและศาลเจ้า ซี่ งเป็นตัวอย่างอันดีในการแสดงถึงจิตวิญญานของการมีกุศลธรรมของประชาคมจุ ลนครฯตามหลักธรรมขงจื้อ โดยมีรายละเอียดดังนี้ มูลนิธิปอเต็กตึ้งและศาลเจ้าไต้ฮงกง ชาวจีนที่เดินทางเข้ามาทำ�งาน ทำ�การค้าขายในจุลนครฯนั้น บางคนก็ประสพ ความสำ�เร็จร่ำ�รวยเป็นเศรษฐี มีครอบครัวที่อบอุ่นสุขสมบูรณ์ แต่ก็มีอีกจำ�นวนมากก็ ยังยากจน ลำ�บาก ไร้ญาติขาดมิตร ยิ่งเมื่อเจอปัญหาทุกขพิกภัย หรือภาวะเศรษฐกิจ มีปัญหาก็ยิ่งลำ�บากยิ่งขึ้น คนเหล่านี้เมื่อต้องเสียชีวิตลง ก็ต้องกลายเป็นศพอนาถาไร้ ญาติเป็นที่อเนจอนาถแก่ผู้พบเห็นอย่างยิ่ง ชาวจีนเองมีความเชื่อว่าการช่วยเหลือการ เก็บศพผู้ไร้ญาตินั้นเป็นการบำ�เพ็ญกุศลธรรมอันสูงสุด ผนวกกับการจุดประกายที่ก่อ ให้เกิดความศรัทธาในการเสียสละของหลวงปู่(โจ้วซือ) “ไต้ฮงกง” ที่ชาวจีนแต้จิ๋ว (ชาวจีนส่วนใหญ่ในประเทศไทย)เคารพนับถือ ทำ�ให้ชาวจีนผู้มีฐานะและมีจิตวิญญา นอันเป็นกุศลรวมกันก่อตั้ง มูลนิธิฮั่วเคี้ยวปอเต็กเซี่ยงตึ้ง(มูลนิธิกุศลธรรมแห่งชาวจีน โพ้นทะเล) หรือมูลนิธิปอเต็กตึ้งและศาลเจ้าไต้ฮงกงขึ้นมา มูลนิธปิ อ่ เต็กตึง้ มีชอ่ื เต็มว่า “มูลนิธฮิ ว่ั เคีย้ วป่อเต็กเซียงตึง้ ” โดยคำ�ว่าซีย่ งตึง้ คือ สมาคมกุศลธรรมมีกจิ กรรมด้านการเก็บศพไร้ญาติหรือญาติยากไร้จะให้โลงศพฟรี นำ� ศพไปฝังยังสุสาน นอกจากนีย้ งั ให้ความช่วยเหลือผูป้ ระสบอุบตั ภิ ยั ต่างๆสมาคมแบบนี้ มีอยูท่ ว่ั ไปในประเทศจีน โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในเมืองแต้จว๋ิ โดยเรียกสมาคมเหล่านีว้ า่ “เซีย่ งตีง๊ ” ในประเทศไทยตามหัวเมืองใหญ่ๆโดยเฉพาะอย่ายิง่ หัวเมืองทีม่ ชี มุ ชนชาวจีน อาศัยอยูห่ นาแน่นก็มกี ารตัง้ “เซีย่ งตึง๊ ” อยูท่ ว่ั ไปเพือ่ เป็นสาธารณกุศลสถานดำ�เนินกิจ ดังกล่าวข้างต้น ฮัว่ เคีย้ วป่อเต็กเซียงตึง้ ก็จดั ตัง้ ขึน้ ในลักษณะเดียวกันนี้ พ.ศ. 2453 ผูม้ จี ติ ศรัทธาซึง่ เป็นพ่อค้าจีนจำ�นวนหนึง่ เช่นจีนตันลิบบ๊วย (หวัง่ หลี ) จีนฮอง ( ยีกอฮง ) เป็นต้นเห็นความสำ�คัญของกิจกรรมการกุศลแห่งนีจ้ งึ ร่วมกันเรีย่ ไรจัดตัง้ คณะเก็บศพไม่มญ ี าติสาธารณประโยชน์ ใช้ชอ่ื ว่า “คณะเก็บศพไต้ฮงกง” โดย
203
ทางคณะฯ จะจ้างพนักงานนำ�โลงกับเครือ่ งนุง่ ห่มสำ�หรับศพไปหามศพมาจัดการฝังไว้ และได้สร้างสถานทีบ่ ชู าไต้ฮงโจ้วซือเป็นทีถ่ าวร ณ เลขที่ 414 ถนนพลับพลาไชย ข้าง วัดคณิกาผล โดยขนานนามว่า “ปอเต็กตึง้ ” การเก็บศพในขณะนัน้ มีการสวดคัมภีร์ และ ตีฆอ้ งทองเหลืองก่อนการบรรจุศพตามประเพณีทางศาสนา พ.ศ. 2480 จึงจดทะเบียน ทีถ่ กู ต้องตามกฎหมายไทยเป็นมูลนิธใิ ช้ชอ่ื ว่า “มูลนิธฮิ ว่ั เคีย้ วป่อเต็กเซีย่ งตึง้ ” หรือเรียก ชือ่ ย่อว่า “ป่อเต็กตึง้ ” จนทุกวันนี้ ไต้ฮงกง เป็นพระในบวรพุทธศาสนาในสมัยราชวงศ์ซ่งปฏิบัติและเผยแพร่ ธรรมะเป็นเวลายาวนานในมณฑลฮกเกี้ยน เมื่อธุดงค์มาถึงอำ�เภอเตี้ยเอี้ย เมืองแต้จิ๋ว มณฑลกวางตุ้ง ท่านเจริญอายุถึง 81 ปีแล้ว ผู้คนอดอยากเกิดโรคระบาดล้มตาย จำ�นวนมาก ไต้ฮงกงจัดการเก็บศพเหล่านี้ไปฝังโดยไม่รังเกียจ ตั้งศาลาทานรักษา โรค จัดหาอาหารสิ่งของให้ผู้ยากไร้เดือดร้อน ชักชวนบ้านบ้านและสานุศิษย์ให้ ประกอบกิจการกุศลกันอย่างกว้างขวาง ทำ�ให้ชาวจีนทางตะวันออกเฉียงใต้เลื่อมใส ศรัทธาและสืบทอดกุศลเจตนาของท่าน หลังจากไต้ฮงกงมรณภาพในปัจจุบันมีกุศล สถานสนองพระคุณในประเทศจีน 347 แห่ง และในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 40 แห่ง ไต้ฮงกงจึงเสมีอนเทพแห่งกุศลธรรมที่เป็นเคารพบูชาของชาวจีน โดยเฉพาะ อย่างชาวจีนแต้จิ๋วทั้งที่ประเทศจีนและโพ้นทะเล กลุ่มพ่ อ ค้ า ที่ร่ว มกันจัดตั้งคณะเก็บศพไต้ฮงกงนี้มีพ้ืนฐานมาจากชาวจีน รุ่นที่ต้องก่อร่างสร้างตัวจากชั้นแรงงานเป็นส่วนใหญ่จึงเข้าใจความต้องการพื้นฐาน ได้ดี สภาพสังคมจีนในสยามของยุคนัน้ มีการตืน่ ตัวพัฒนาองค์กรเพือ่ ช่วยเหลือและ สัมพันธ์ชุมชนไปในแนวนอนมากยิ่งขึ้นทั้งในด้านชีวิตความเป็นอยู่และการประกอบ อาชีพ กิจการกุศลของคณะเก็บศพไต้ฮงกงทีต่ ง้ั ขึน้ ในตอนปลายสมัยรัชกาลที่ 5 ดำ�เนินไปได้อย่างดีในระยะ 3 ปีแรกเก็บศพไปฝังทีส่ สุ านสาธารณะในซอยวัดดอนราว ปีละสองพันศพ รายได้เพือ่ เป็นค่าใช้จา่ ยได้การเรีย่ ไรจากพ่อค้าในจุลนครฯ แต่ใน พ.ศ. 2455ประสบภาวะเงินทีเ่ รีย่ ไรได้ไม่เพียงพอค่าใช้จา่ ย ในขณะนัน้ ผลผลิตข้าวของ ประเทศไม่ดนี กั ฝนไม่ตกต้องตามฤดูกาลหลายปีตดิ ต่อกัน การค้าขายทัว่ ไปฝืดเคือง ไม่คล่องดังเดิมจนเกิดวิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจ คณะไต้ฮงกงจึงกราบบังคับทูลพระ กรุณาขอรับพระราชทานพระบรมราชูปถัมภ์โดยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่ หัวก็ทรงพระราชทานรับไว้และช่วยเหลือให้มลู นิธฯิ สามารถดำ�เนินการได้ในยามวิกฤติ
204
ศาลเจ้าป่อเต็กตึ้งเป็นอนุสรณ์สถานเพื่อรำ�ลึกถึงพระคุณท่านไต้ฮงกง มีคำ� จารึกเหนือพระประธานไต้ฮงว่า “บ้วงแกแซฮูก” หมายความว่าพระพุทธคุณปกแผ่มา ช่วยเหลือคนทั้งเมือง ส่วนเหนือประตูทางเข้าจารึกไว้ว่า “ฮุกกวงโพวเจี่ย” มีความ หมายว่า แสงประทีปแห่งองค์พระพุทธเจ้าส่องทั่วหล้า...” ศาลเจ้านอกจากเป็นศูนย์ รวมทางพิธีกรรม ยังเป็นศูนย์รวมทางสังคมและวัฒนธรรมของชาวจีนในสยามและ เป็นแหล่งสำ�นึกร่วมทางจิตใจ ศาลเจ้ามีกิจกรรมตอบสนองต่อปัจจัยที่ส่งผลกระทบ ต่อวิถีชีวิตของชาวจุลนครฯและลูกหลานชาวจีนทั่วประเทศ กิจกรรมของศาลเจ้าที่ จัดขึ้นในเทศกาลต่างๆของจีน เช่น ตรุษจีน ผู้คนพากันมากราบไหว้ขอพรไต้ฮงกงเพื่อ เป็นสิริมงคลของชีวิต ในเวลานั้นนอกเหนือจากช่วงเทศกาลแล้ว ศาลเจ้าป่อเต็กตึ้ง ไม่มีกิจกรรมอื่นมากนัก เงินที่มีผู้บริจาคก็ใช้ไปในการเก็บศพไร้ญาติตามเจตนารมณ์ ดั้งเดิมอย่างต่อเนื่อง แต่รายรับไม่ค่อยพอเพียงกับรายจ่าย พ่อค้าชั้นนำ�ชาวจีนจึง ร่วมกันหาวิธีการปรับปรุง และนี่คือจุดเริ่มต้นจุดหนึ่งแห่งการปฏิรูปคณะเก็บศพไต้ฮ งกงสู่มูลนิธิป่อเต็กตึ้งใน ปัจจุบันมูลนิธิปอเต็กตึ้งเป็นองค์กรสาธารณกุศลเพื่อสาธารณชนในลำ�ดับ ชั้นแนวหน้า ช่วยเหลือคนได้ปีละหลายแสนคน นับตั้งแต่มูลนิธิป่อเต็งตึ้งเริ่มดำ�เนิน งานในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจนถึงปัจจุบันมีอายุ ยาวนานกว่า 100 ปี โดยยังคงไว้ซึ่งวัตถุประสงค์ 6 ประการของมูลนิธิ ได้แก่ การช่วย เหลือผู้ประสบอัคคีภัย อุทกภัย วาตภัย และภัยอื่นๆโดยทั่วไป การจัดตั้งโรงพยาบาล ใช้ชื่อว่า “มูลนิธิฮั่วเคี้ยวป่อเต็กเซี่ยงตึ้ง” แผนกโรงพยาบาล คือโรงพยาบาลหัวเฉียว หรือโรงพยาบาลคุณานุสรณ์ รักษาพยาบาลผู้อนาถาเจ็บป่วยโดย ไม่คิดมูลค่า หรือ คิดในราคาถูก การจัดตั้งโรงเรียนและสถานศึกษา เช่นมหาวิทยาลัยหัวเฉียว การ ช่วยเหลือและจัดการศพทั่วไปและจัดตั้งสุสานเพื่อการนี้ด้วย การส่งเสริมและบำ�รุง กิจกรรมด้านศาสนา วรรณกรรม ศิลปะ วิทยาศาสตร์และการ. บำ�เพ็ญกุศลโดยทั่วไป ตามมติคณะกรรมการ ....
....
การปฏิบัติงานของมูลนิธิแบ่งได้เป็น 3 สายงานใหญ่ ได้แก่ สำ�นักงานกลาง ณ ที่ทำ�การมูลนิธิปัจจุบัน โรงพยาบาลหัวเฉียวที่ถนนบำ�รุงเมืองเชิงสะพานกษัตริย์ ศึกและมหาวิทยาลัยหัวเฉียงเฉลิมพระเกียรติฯที่สร้างขึ้นใหม่บนถนนบางนา – ตราด
205
โรงพยาบาลเทียนฟ้ามูลนิธิ ตั้งอยู่บริเวณใกล้กับวงเวียนโอเดียนเดิมหรือซุ้มประตูเฉลิมพระเกียรต 72 พรรษาในปัจจุบนั หันหน้าเข้าหาถนนเยาวราชด้านซ้ายมือ ตรงใกล้ๆหัวมุมถนน เป็นสถานพยาบาลในรูปมูลนิธอิ ยูฝ่ ง่ั ตรงข้ามเยือ้ งๆวัดไตรมิตรวิทยาราม ซุม้ ประตูโรง พยาบาลจะเห็นโดดเด่นเพราะมีลกั ษณะเหมือนศาลเจ้าจีน ตรงซุม้ ประตูดา้ นหน้าคือ ชือ่ โรงพยาบาล ด้านในของป้ายจะมีตวั หนังสือ 4 ตัวซึง่ แปลได้ความว่า “เราจะดูแล ทุกข์สขุ ของท่าน” และเมือ่ ผ่านซุม้ ประตูจะเห็นรูปปัน้ เจ้าแม่กวนอิม พระอวโลกิเตศวร โพธิสตั ว์ทม่ี ชี อ่ื เสียงทีช่ าวเยาวราชและคนต่างถิน่ นิยมมาสักการะ ลักษณะการก่อสร้าง เป็นศาลาเหมือนศาลเจ้าตามแบบสถาปัตยกรรมจีน หลังคาจะมีมงั กรเล่นลูกไฟ มีหงส์ อยูร่ องลงมา เสาสองข้างทีเ่ รียกซุม้ ประตูจะมีลายดอกบัวทัง้ 2 ข้างแสดงถึงแหล่งธรรมะ ภายในจะเห็นองค์เจ้าแม่กวนอิมตัง้ โดดเด่นเป็นสง่า ซ้ายมือของศาลาจะเป็นอาคาร 2 ชัน้ เป็นสถานทีร่ กั ษาแพทย์แผนจีน อาคารถัดมาเป็นห้องยาซึง่ ต้มเสร็จพร้อมทีจ่ ะแจก จ่ายให้กบั คนไข้ อาคารต่อไปเป็นอาคาร 5 ชัน้ เพิง่ ก่อสร้างเสร็จเมือ่ ปี 2542 ใช้เป็นที่ ต้มยาและทีเ่ ก็บยาสมุนไพรจีน ด้านขวามือจะเห็นทีป่ ระดิษฐานเจ้า “แปะกงแปะม่า” ซึง่ เป็นเจ้าทีค่ มุ้ ครองชุมชนทีช่ าวจีนไว้ให้สกั การะ ถัดเข้าไปเป็นอาคารสำ�หรับรับบริจาค +
...
....
206
เงินซื้อโลงศพให้กับผู้ป่วยที่เสียชีวิตแลรับบริจาคค่ายาซึ่งจะมีผู้แวะเวียนเข้าไปทำ�บุญ สม่ำ�เสมอ ผู้มีจิตศรัทธาสามารถบริจาคได้ตามกำ�ลังทรัพย์ หรือถ้าต้องการบริจาค ซื้อโลงศพเป็นโลงๆละ 500 บาท ในการนี้ผู้บริจาคจะได้รับใบอนุโมทนาและนำ�ไป อธิษฐานต่อหน้าเจ้าแม่กวนอิมจากนั้นจะหย่อนใบดังกล่าวลงและเผาในกระถางที่อยู่ ข้างแปะกงแปะม่า ถือเป็นการอุทิศส่วนกุศลให้กับผู้ที่เราต้องการ ถัดไปจะเป็นอาคาร สำ�นักงานและห้องประชุมด้านหลังที่ประดิษฐานองค์เจ้าแม่ ห่างไปเล็กน้อยจะเป็น อาคารตึก 7 ชั้นที่เป็นแผนกแพทย์แผนปัจจุบัน โรงพยาบาลเทียนฟ้ามูลนิธิ หรือที่ชาวจีนทั่วไปรู้จักกันในนาม “เทียนฮั้วอุย อี่” ชึ่งหมายถึง โรงพยาบาลที่คุ้มครองคนจีนที่อยู่ใต้ฟ้า สร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2446 ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยพ่อค้าชาวจีน 6 นายซึ่งต่าง ภาษากัน ( ชาวจีนในประเทศไทยส่วนใหญ่มี 5 กลุ่มภาษา ) ได้แก่ แต้จิ๋ว กวางตุ้ง แคะ ไหหลำ� และฮกเกี้ยน) ได้แก่ นายโง้วเหมียวง้วน ( จีนล่ำ�ซำ� ) เป็นชาวจีนแคะ นายเล่ากี ปิ้ง ( พระยาภักดีภัทรากร )จีนแต้จิ๋ว นายกอฮุยเจี้ยะ ( หลวงภักดีภูวนาถ )ชาวจีนแต้จิ๋ว นายเหล่าซงเมี่ยง ( พระเจริญราชธน)จีนฮกเกี้ยน นายเฮ้งเฮ่งจิวจีนกวางตุ้ง และนาย เตียเกี้ยงซำ�(พระโสภณเพชรรัตน์)จีนแต้จิ๋ว ได้พร้อมใจกันอุทิศเงินจำ�นวนหนึ่งและ ได้ชวนพ่อค้าชาวจีน ประชาชนทั่วทั้งประเทศร่วมกันสมทบทุนเพื่อการกุศลสร้างโรง พยาบาลเทียนฟ้ามูลนิธิ ได้รับบริจาคเงินจำ�นวน 144,283 บาท ( หนึ่งแสนสี่หมื่นสี่ พันสองร้อยแปดสิบสามบาทถ้วน ) และได้ดำ�เนินการจัดซื้อที่ดินซึ่งปัจจุบันคือ ที่ตั้ง ทำ�การโรงพยาบาลเทียนฟ้ามูลนิธิ มีเนื้อที่ทั้งหมด 2 ไร่ 2 งาน 49 ตารางวา ด้วยเงิน 52,000 บาท การระดมทุนตั้งมูลนิธิครั้งนี้เนื่องจากเล็งเห็นว่า ชาวจีนโพ้นทะเลที่เข้ามา พึ่งพระบรมโพธิสมภารส่วนใหญ่เป็นคนไม่มีญาติ มาในลักษณะเสื่อผืนหมอนใบ เมื่อ เกิดการเจ็บป่วยไม่มีที่พักพิงและคนดุแล การไปรักษาที่สถานพยาบาลก็ไม่สามารถ สื่อสารภาษาไทยได้ ส่วนใหญ่ไม่มีใบต่างด้าวทำ�ให้เป็นอุปสรรคในการรับการรักษา จากโรงพยาบาลรัฐบาล ความจริงสมัยนั้นโรงพยาบาลและการสาธารณสุขของรัฐยัง ไม่เจริญด้วย การให้บริการรักษาก็ไม่ดีพอ คนจีนเองก็ไม่นิยมการรักษาของแพทย์ แบบตะวันตกที่เริ่มเข้ามาในเมืองไทย โรงพยาบาลเทียนฟ้ามีนโยบายที่ให้การดูแล ช่วยเหลือและสงเคราะห์คนจีนที่เจ็บป่วยโดยไม่มีการแบ่งแยกกลุ่มภาษาซึ่งมีทั้งจีน
207
แคะ แต้จิ๋ว กวางตุ้ง ไหหลำ� และฮกเกี้ยน(สมัยนั้นแต่ชาวจีนแต่ละภาษาพูดไม่ค่อยมี ปฏิสัมพันธ์กันเองเนื่องจากปัญหาด้านการสื่อสาร ต่างคนต่างมีกิจกรรมช่วยเหลือ กันเองในแต่ละกลุ่มภาษาทำ�ให้ไม่สามารถขยายขอบข่ายการช่วยให้ทั่วถึง ดังนั้นโรง พยาบาลเทียนฟ้าเปรียบดังเช่นสถานสงเคราะห์ซึ่งถือเป็นสวัสดิการสังคมที่ชาวจีน ร่วมกันดูแลชุมชนจีนด้วยกัน เป็นการหลอมรวมคนจีนในต่างแดนที่ต่างภาษากันให้ เป็นหนึ่งเดียว การดำ�เนินการก่อสร้างโรงพยาบาลใช้เวลาถึง 2 ปี จึงสำ�เร็จเป็นทีเ่ รียบร้อย ในปี พ.ศ. 2448 เหล่าผูเ้ ป็นหัวหน้าการจัดการก่อสร้างโรงพยาบาลจึงได้ท�ำ หนังสือ กราบบังคับทูลเชิญพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั เสด็จพระราชดำ�เนิน เปิดโรงพยาบาลในวันที่ 19 กันยายน รัตนโกสินทร์ศก 124 ( พ.ศ. 2448 ) การเสด็จ พระราชดำ�เนินในครัง้ นัน้ ได้มกี ารบันทึกไว้วา่ “พระองค์เสด็จพระราชดำ�เนินโดยขบวน รถม้า แต่ในพระบรมมหาราชวัง ออกประตูวเิ ศษไชยศรี โดยถนนหน้าพระลาน ถนน สนามไชย เลีย้ วลงถนนเจริญกรุง ข้ามสะพานภาณุพนั ธุ์ ตรงไปถนนเยาวราช ประทับ รถพระทีน่ ง่ั หน้าโรงพยาบาล” ( โรงพยาบาลเทียนฟ้ามูลนิธคิ รบรอบ 90 ปี 2537 : 19 ) ใน การเสด็จพระราชดำ�เนินเปิดเทียนฮัว้ อุยอี่ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ 5 ยังได้พระราชทานเงินจำ�นวน 8,000 บาท ( 100 ชัง่ )ซึง่ เป็นเงินทีเ่ หลือจาก เงินงบประมาณในการต้อนรับแขกเมืองในปีน้ันให้มูลนิธิเพื่อเป็นทุนในการดำ�เนิน กิจการ ดังกระแสพระราชดำ�รัสตอบพวกจีนในการเปิดโรงพยาบาล ตอนหนึง่ ว่า “...เมื่อพวกจีนเข้ามามากขึ้นเพียงใด เราก็ยิ่งเป็นที่พอใจการซึ่งบกพร่องอยู่ ท่านทั้งหลายได้คิดเยียวยาในบัดนี้ คือพวกจีนเข้ามาแต่ตัวเมื่อเจ็บป่วย ลำ�บากจะได้ มาอาศัยโรงพยาบาลนี้ อันตั้งรักษาโดยวิธีจีนที่เคยรักษากันซึ่งถ้าหากว่าเราจะตั้งขึ้น บ้านก็ยังจะไม่สะดวกดังเช่นท่านทั้งหมดได้จัดทำ�ขึ้นนี้ อันจะได้ปฏิบัติรักษาตามวิธี ที่เคยประพฤติรักษากันมาในหมู่จีนทั้งหลาย เพราะฉะนั้นเราจึงมีความยินดีว่าท่าน ทั้งหลายได้ช่วยน่าที่อย่างหนึ่งซึ่งเรามีความปรารถนาแลตั้งใจที่จะบำ�รุงพวกจีนทั้ง หลายให้มีความสะดวกและสุขสำ�ราญอยู่เสมอเป็นนิจ...” ( โรงพยาบาลเทียนฟ้ามูลนิธิ ครบรอบ 90 ปี, 2537 : 28 – 29 )
208
นอกจากนี้ยังพระราชทานตู้พระไตรปิฎกมีพระปรมาภิไธยย่อ จปร. พร้อม ตราพระเกี้ยว อีก 2 ใบแก่มูลนิธิ โรงพยาบาลเทียนฮั้วอุยอี่เปิดทำ�การครั้งแรก ในวันที่ 19 กันยายน 2448 โดยมีเรือนไม้ 2 ชั้น 2 หลังสำ�หรับคนไข้หญิงและชายแยกอาคารกัน และเป็นที่พัก ของหมอด้วย หมอจีนที่ให้การรักษาผู้ป่วยก็มาจากคณะกรรมการสายภาษาต่างๆรับ ผิดชอบในการหาหมอมารักษาผู้ป่วย เพื่อให้ครอบคลุมคนจีนทุกกลุ่มภาษาพูดในการ ตรวจโรค ถ้าเป็นจีนแคะก็จะได้รับการตรวจจากหมอจีนแคะ จีนแต้จิ๋วก็มีหมอแต้จิ๋ว ให้การรักษาเพื่อสะดวกแก่การสื่อสารและถือเป็นจิตวิทยาสำ�หรับคนไข้ นอกจาก บำ�บัดโรคทางกายยังเป็นการบำ�บัดทางใจประกอบกันไปด้วย คนไข้เสมือนได้มา พบปะคุยกับคนบ้านเดียวกันเป็นคนคุ้นเคยรู้จักกันซึ่งคนจีนส่วนใหญ่มักเคารพและ นับถือกัน ในปัจจุบันไม่ได้มีการแบ่งห้องตรวจแบบเก่า เนื่องจากหมอจีนหายากขึ้น หมอในยุคปัจจุบันก็สืบทอดการรักษามาจากรุ่นพ่อแม่ การให้การบริการแบบแพทย์ จีนแผนโบราณได้เปิดดำ�เนินการมาช้านานต่อเนื่องมาจนถึงปัจจุบัน แม้ว่าในบาง ช่วงการแพทย์แผนจีนอาจเสื่อมความนิยมไปบ้างตามกระแสของระบบการแพทย์ สมัยใหม่แบบตะวันตก แต่ในยุคปัจจุบันซึ่งการแพทย์ทางเลือกกำ�ลังเป็นที่ได้รับการ ยอมรับทำ�ให้การแพทย์แผนจีนกลับเป็นที่ได้รับการนิยมอีกครั้ง โรงพยาบาลเทียนฟ้ามูลนิธเิ ป็นสถานพยาบาลให้การดูแลรักษาผูเ้ จ็บป่วยชาว จีนที่มาอาศัยในประเทศไทยโดยเฉพาะชาวจีนที่ไร้ญาติบริเวณจุลนครฯถือเป็นการ ริเริม่ สวัสดิการด้านสุขภาพของชุมชนจีนซึง่ ไม่คดิ ค่ารักษาพยาบาลใดๆทัง้ สิน้ ชาวจีน ทีอ่ พยพมาอยูบ่ ริเวณจุลนครฯมักเป็นชาวจีนพวกใช้แรงงานมาเมืองไทยลักษณะเสือ่ ผืน หมอนใบอาศัยอยู่รวมกันตามโกดังหรือเช่าบ้านอยู่ร่วมกันในยามเจ็บป่วยไม่สบายถ้า ไม่มีครอบครัวก็ไม่มีคนดูแลจึงเป็นหน้าที่ของโรงพยาบาลแห่งนี้ในการรักษาพยาบาล และรับผูป้ ว่ ยมาดูแลเป็นคนไข้ในโรงพยาบาลถ้าเจ็บหนักหรือไม่มคี นดูแล เมือ่ หายป่วย ก็กลับสูส่ งั คมเดิม กรณีผปู้ ว่ ยทีป่ ว่ ยหนักหรืออยูโ่ รงพยาบาลจนเสียชีวติ ไม่มญ ี าติมา รับก็จะต้องรับการช่วยเหลือจากมูลนิธกิ ศุ ลธรรม..(..เซีย่ งตึง๊ ..)..ต่างๆต่อไป ภายหลังเปิดโรงพยาบาลได้ 1 ปี คือในปี พ.ศ. 2449 มีการจัดตัง้ คณะกรรมการ บริหารสมัยที่ 1ซึง่ มีคณะกรรมการ 12 นาย อยูใ่ นตำ�แหน่งสมัยละ 1 ปี โดยในช่วงแรก
209
ประธานกรรมการต้องหมุนเวียนกันระหว่างคนจีนภาษาต่างๆ...(.เป็นวิธีการเพื่อแสดง ว่าโรงพยาบาลมิได้เป็นของหรือเพือ่ บริการชาวจีนภาษาใดภาษาจำ�เพาะเท่านัน้ ) อาทิ เช่น ถ้าปีนจ้ี นี ไหหลำ�เป็นประธานปีถดั ไปต้องเป็นจีนภาษาอืน่ ทีไ่ ม่ใช่ไหหลำ� จนถึง คณะกรรมการสมัยที่ 26 ปี พ.ศ. 2474 มีหลวงสุทธิสโุ รปกรณ์ ( หลงจูบ๊ กั ) เป็นประธาน โรงพยาบาลเทียนฟ้าฮั้วอุยอี่ได้ทำ�การขอจดทะเบียนเป็นมูลนิธิได้หมายเลขทะเบียน เป็นลำ�ดับที1่ ของประเทศไทย ศาลาว่าการนครบาลเมือ่ วันที1่ 7พฤศจิกายน 2474 โดย มีจุดมุ่งหมายเพื่อการสาธารณกุศลรับคนไข้อนาถาไว้รักษาพยาบาลโดยไม่เรียกค่า รักษาหรือค่าธรรมเนียมๆใด แจกจ่ายให้เป็นทาน เว้นแต่ไม่อนาถาก็จะเรียกค่ายา หรือค่าที่อยู่ตามสมควรซึ่งไม่เป็นการหมายค้ากำ�ไรและให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัย ต่างๆ( ข้อบังคับโรงพยาบาลเทียนฮั้วอุยอี่ 1 มิถุนายน 2474 ) ต่อมาในปี พ.ศ. 2486 – 2487 คณะกรรมการชุดที่ 38 ได้ทำ�การแก้ไขให้คณะกรรมการดำ�รงตำ�แหน่งสมัยละ 2 ปี ในปี พ.ศ. 2494 – 2497 ในสมัยของคณะกรรมการมูลนิธิชุดที่ 42 – 43 ึ่งมีนายฮ่อ นฝ่า ลิ่วเฉลิมวงศ์เป็นประธานกรรมการได้ก่อสร้างตึกด้านหน้าติดถนนเยาวราช เพื่อ ให้มีการบริการแบบแผนปัจจุบันและเห็นว่าชื่อโรงพยาบาลเทียนฮั้วอุยอี่เป็นชื่อภาษา จีนเพื่อให้สะดวกต่อการกล่าวถึง จึงได้ขอทำ�การเปลี่ยนชื่อจากโรงพยาบาลเทียนฮั้ว อุยอี่เป็นโรงพยาบาลเทียนฟ้ามูลนิธิ เมื่อวันที่ 3 มีนาคม 2498 เปิดให้บริการแผนก แพทย์ปัจจุบันโดยคิดค่ารักษาราคาถูก ในช่วงคณะกรรมการชุดที่ 45ซึ่งมีนาย จุลินทร์ ล่ำ�ซำ�เป็นประธานกรรมการ ได้มีการทำ�ทางเชื่อมต่อกับอาคารแพทย์แผนจีน เดิม ให้การรักษาโรคทั่วไปและบริการทำ�คลอดซึ่งได้รับความนิยมมาก แต่มาในภาย หลังได้ยุบแผนกนี้ไปเนื่องจากมีผู้มาคลอดแล้วทิ้งเด็กไว้ที่โรงพยาบาลและบุคลากรไม่ เพียงพอสำ�หรับการรักษาแผนปัจจุบัน ถ้าใครไม่มีเงินก็ให้บริการรักษาฟรีเช่นเดียวกับ แพทย์แผนจีน ในปีต่อมาได้เปิดบริการห้องเอ็กซเรย์ ห้องแล็บ ห้องทำ�ฟัน ในภายหลัง เนื่องจากกฎกระทรวงสาธารณสุขได้มีการกำ�หนดว่าสถานพยาบาลแผนปัจจุบันและ แผนจีนไม่สามารถอยู่ในอาคารเดียวกัน จึงได้มีการขยายโรงพยาบาลโดยการทำ�การ ก่อสร้างอีก 7 ชั้นด้านหลังเก๋งที่ประดิษฐานองค์เจ้าแม่กวนอินเพื่อเป็นสถานพยาบาล แผนปัจจุบัน ซ
... ในปี.พ.ศ..2502 – 2503 คณะกรรมการมูลนืธิได้อัญเชิญสมเด็จพระอวโลกิเต ศวรโพธิสัตว ( เจ้าแม่กวนอิม )..ซึ่งเป็นไม้แก่นจันทน์แกะสลักจากไม้เนื้อหอมประเทศ
210
จีนปางประทานพร..(..ซึ่งตามศาสนาพุทธนิกายมหายานที่คนจีนส่วนใหญ่นับถือจะ เชื่อกันมาประดิษฐาน.ณ.โรงพยาบาลเทียนฟ้ามูลนิธิและได้มีการปิดทององค์ท่าน สันนิษฐานว่าอยู่ในสมัยราชวงศ์ถัง เศียรเป็นรูปพระอมิตาพุทธเจ้า มือชี้หมายถึงการ แผ่เมตตา 3 ภพ คือ สวรรค์ โลกมนุษย์และใต้พิภพ เครื่องทรงแบบอินเดีย สถาน ที่ประดิษฐานเจ้าแม่เป็นศาลาซึ่งมีลักษณะคล้ายศาลเจ้าจีนถือเป็นสถาปัตยกรรมสมัย ใหม่ผสมผสานจีนแต้จิ๋วแสดงรูปแบบสตรีเพศโดยเฉพาะคือมีหงส์อันเป็นตัวแทนของ สตรีเพศ ดอกโบตั๋นราชินีแห่งดอกไม้และค้างคาวสัตว์สัญลักษณ์ที่บ่งบอกถึงความ เจริญรุ่งเรืองของชนชาวจีน ลักษณะเป็นห้องโถงใหญ่ตั้งอยู่บริเวณใจกลางเป็นที่ เคารพสักการะแก่นักท่องเที่ยวและคนที่สัญจรผ่านไปมาเป็นสิ่งยึดเหนี่ยวจิตใจของ คนในจุลนครฯ ผู้มาสักการะรับรู้ได้ในความเมตตากรุณาของท่านที่มีต่อคนที่ต้องการ ที่พึ่งทางใจ ความศรัทธาในองค์เจ้าแม่กวนอิมกลายเป็นจุดดึงดูดให้คนทั่วไปแวะ เวียนมาเคารพสักการะและบริจาคเงิน.ณ.อาคารข้างๆหรือไม่ก็หย่อนเงินบริจาคลงใน ตู้สีแดงที่อยู่ภายใต้ศาลาถือเป็นรายได้ที่สำ�คัญของโรงพยาบาลในการนำ�ไปใช้ในการ ดูแลรักษาผู้ป่วยและสาธารณกุศลอื่นๆนอกเหนือจากการบริจาคของคณะกรรมการ โรงพยาบาล นอกจากการดูแลผู้ป่วยที่มาขอรับบริการเปรียบประดุจญาติพี่น้องแล้ว บุคลากรในโรงพยาบาลก็ได้รับการดูแลเอาใจใส่เช่นเดียวกันโดยในปี.พ.ศ..2512– 2513 สมัยคณะกรรมการชุดที่.51..ซึ่งมีนายสนิท วีรวรรณ เป็นประธานกรรมการได้ มีมติก่อสร้างตึก4ชั้นเพื่อเป็นหอพักพยาบาลอยู่ด้านหลังอาคาร.7.ชั้นโดยการเช่า ที่ทรัพย์สินสำ�หรับเป็นสวัสดิการให้แก่เจ้าหน้าที่ ถือเป็นการสร้างขวัญและกำ�ลัง ใจส่วนหนึ่งให้แก่ผู้ปฏิบัติงานที่ทุ่มเทกำ�ลังกาย กำ�ลังใจทำ�งาน บุคลากรของโรง พยาบาลส่วนใหญ่มาทำ�งานด้วยความรู้สึกว่าทำ�ด้วยใจ เพื่อการสาธารณกุศล และเสมือนเป็นการทำ�บุญอันยิ่งใหญ่ในการได้ช่วยเหลือเพื่อนมนุษย์รวมทั้งมีความ ศรัทธาในองค์เจ้าแม่กวนอิม “ทำ�ด้วยใจรักและศรัทธา เป็นการอาสาสมัครเพื่องาน สาธารณกุศล
211
ในเดือนกันยายน 2544 ได้มีการซ่อมแซมที่ประดิษฐานองค์เจ้าแม่กวนอิม และสร้างศาลาสำ�หรับเป็นที่ตั้งกระถางธูปไหว้เจ้าแม่กวนอิมที่ชาวจีนเรียกว่าไป่ เต็งด้านหน้าพร้อมทั้งสร้างซุ้มประตูใหญ่ด้านหน้าที่สวยเด่นเป็นสง่าดังเช่นปัจจุบัน เนื่องจากมีผู้มีจิตศรัทธาบริจาคเงินเพื่อการซ่อมแซมโดยเฉพาะ ครั้งถึงวันตรุษจีน ( 2 กุมภาพันธุ์ 2546 ) สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีได้เสด็จมา นมัสการพระโพธิสัตว์ และในวันตรุษจีน ปี 2547 มูลนิธิครบรอบ 100 ปี สมเด็จ พระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถพร้อมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ ได้ทรงพระกรุณา เสด็จมาทรงประกอบพิธีเปิดป้ายซุ้มประตู
212
ปัจจุบันโรงพยาบาลยังยึดมั่นในการดำ�เนินงานเพื่อสาธารณะกุศลเช่นเดิม ขณะเดียวกันยังจัดให้มีหน่วยแพทย์เคลื่อนที่ของโรงพยาบาลร่วมกับสโมสรไลออนส์ กรุงเทพไซน่าทาวน์ สมาคมมิตรภาพไทย – จีน ทำ�การตรวจคนไข้ และรักษาพยาบาล ฟรีในท้องถิ่นชุมชนผู้ยากไร้ ผู้ป่วยส่วนใหญ่มักเป็นผู้สูงอายุ ผู้ยากจนไร้ญาติขาดมิตร เนื่องจากการรับผู้ป่วยไม่มีเงื่อนไข รวมถึงรายที่โรงพยาบาลรัฐ และเอกชนไม่รับ ทุก ครั้งที่มีผู้เดินเข้ามาในโรงพยาบาล แพทย์ พยาบาล ตลอดจนเจ้าหน้าที่ทุกคนจะ ให้การต้อนรับเสมือนผู้ป่วยเป็นญาติคนหนึ่งโดยไม่คำ�นึงถึงเชื้อชาติ ศาสนา และยาก ดีมีจนอย่างไร ถ้าพบว่าผู้ป่วยมีอาการหนักก็จะส่งต่อไปยังโรงพยาบาลเลิศสินรักษา ต่อ หากผู้ป่วยรายใดเสียชีวิตโดยไม่มีญาติดูแลจัดการศพทางโรงพยาบาลจะร่วมกับ มูลนิธิอื่นจัดการให้โดยใช้โลงศพที่ได้จากการบริจาคโรงพยาบาลแห่งนี้ การรักษาแพทย์แผนปัจจุบันแม้จะได้รับความนิยมน้อยลงเนื่องจากการใม่ สามารถจ้างแพทย์ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะโรคได้ทำ�ให้มีการยุบแผนกต่างๆลง เช่น แผนก ศัลยกรรม แผนกหัวใจ ประกอบกับเครื่องไม้เครื่องมือไม่ทันสมัย แต่ปัจจุบันได้ ปรับปรุงโครงสร้างอาคารเพื่อรองรับการบริการให้การรักษาที่เฉพาะทางมากขึ้น ได้แก่ ผ่าตัดโรคทางตา ต้อกระจก ถ้าคนไข้มีเงินก็เก็บค่ารักษาแต่ไม่แพง สำ�หรับ คนไข้ก็มีเข้ามา เรื่อยๆการรักษาตามแพทย์แผนปัจจุบันหรือแผนโบราณขึ้นอยู่กับ ความสมัครใจของคนไข้และบางครั้งคนไข้ก็ทำ�การรักษาทั้งสองอย่างในคราวเดียวกัน ซึ่งเป็นที่น่าประหลาดใจที่พบว่ามีชาวต่างประเทศจำ�นวนไม่น้อยบินตรงมาขอรับการ รักษาโดยวิธีฝังเข็มจากแพทย์แผนปัจจุบันที่จบการรักษาการฝังเข็มจากประเทศจีน ที่มาประจำ�อยู่ ณ โรงพยาบาลเทียนฟ้ามูลนิธิ โรคที่มามีทั้งปวดศีรษะ ปวดกล้าม เนื้อ อัมพฤกษ์ โดยการบอกต่อๆมาจากคนที่เคยมารักษาแล้วอาการดีขึ้น การก่อตัง้ และการดำ�เนินการให้บริการทางสาธารณสุขรักษาคนโดยไม่ มุ่งหวังผลกำ�ไรลักษณะดั่งโรงพยาบาลเทียนฟ้ามูลนิธิน้นั จะต้องใช้เงินลงทุนและค่าใช้ จ่ายจำ�นวนมาก ถ้าไม่มกี ารสนับสนุนจากภาครัฐหรือหน่วยงานใดๆอาศัยจิตศรัทธา จากผูบ้ ริจาคและจากกรรมมูลนิธเิ ท่านัน้ เป็นเรือ่ งยากลำ�บากมากๆ แต่โรงพยาบาล เทียนฟ้ามูลนิธิยังสามารถดำ�เนินภาระกิจอย่างมีประสิทธิภาพมากว่าศตวรรษนั้นโดย ยึดมัน่ ในหลักการเดิมอย่างมัน่ คงนัน้ ถือได้วา่ ประชาคมโรงพยาบาลเทียนฟ้ามูลนิธิ อันได้แก่ ผูใ้ ห้ก�ำ เนิดก่อตัง้ ผูบ้ ริหารและเจ้าหน้าทีท่ กุ ท่าน ผูบ้ ริจาค ตลอดผูเ้ กีย่ วข้อง
213
กับโรงพยาบาลเทียนฟ้ามูลนิธทิ กุ ท่าน ล้วนเป็นผูซ้ ง่ี จิตวิญญาณสูงส่งในการเป็นผูเ้ สีย สละและเมตตาธรรม สมเป็นศิษยานุศษิ ย์ของเจ้าแม่กวนอิม เทพแห่งความเมตตาและ ช่วยเหลือผูย้ ากไร้ ทีต่ ง้ั สักการะไว้ ณ โรงพยาบาลเทียนฟ้ามูลนิธแห่งนี้ โรงพยาบาล เทียนฟ้ามูลนิธนิ อกจากจะเป็นสาธารณกุศลสถานเพือ่ ช่วยเหลือผูย้ ากไร้แล้ว ผูก้ อ่ ตัง้ ยัง มีวตั ถุประสงค์ในการทีจ่ ะสร้างความรูส้ กึ สมัครสมานชองชาวจีนภาษาพูดต่างๆเพือ่ เพิม่ ความมัน่ คงของสังคมของประชาคมชาวจุลนครฯ สร้างความสมัครสมานในการพัฒนา ท้องและชุมชนท้องถิน่ อีกด้วย
214
โรงพยาบาลกว๋องสิวมูลนิธิและศาลเจ้ากวางตุ้ง สมาคมกว๋องสิว เป็นสมาคมชาวจีนที่ใช้ภาษากวางตุ้งสร้างก่อตั้งขึ้นพร้อม กับการก่อสร้างศาลจ้าตามพุทธศาสนานิกายมหายานผสมกับลัทธิบูชาเทพเจ้าดั้งเดิม แบบจีนเพื่อเป็นศูนย์รวมทางจิตใจของชาวกวางตุ้งไนสยาม จากหลักฐานบนแผ่น หินจารึกซึ่งติดอยู่บนกำ�แพงรอบศาลเจ้าทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ระบุว่าศาลเจ้า แห่งนี้สร้างขึ้นในปี พ.ศ. 2423 ตรงกับสมัยรัชกาลที่ 5 โดยชาวจีนกลุ่มหนึ่งซึ่งอพยพ มาจากมณฑลกวางตุ้ง (..ภาษาจีนกวางตุ้งเรียกว่ากว่างเจ้าหรือกว๋องสิว..) เข้ามารวม ตัวกันจัดตั้งสมาคมอย่างไม่เป็นทางการขึ้น ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2420 สมาคมกว๋องสิวตามภาษาจีนที่ออกเสียงตามสำ�เนียงกวางตุ้งว่า “กว๋องสิว ปิดโส่ย” แปลว่า “ศาลากว๋องสิว” หรือ “บ้านพักของชาวกว้างตุ้ง” ซึ่งในสมัยนั้นการ ตั้งสมาคมของชาวจีนในสยามส่วนใหญ่ของชาวจีน (.แต้จิ๋ว.) ใช้คำ�ว่าสมาคมตาม ความหมายภาษาจีนว่า ”กงหวย” หรือ ”ห่วยก๊วน” ( ถ้าเป็นสำ�เนียงกวางตุ้งว่าก่ง หุ้ยหรือหุ้ยก่วน ) แต่สมาคมกว๋องสิวมาใช้คำ�ว่า “ปิดโส่ย” ที่แปลว่า “บ้านพักหรือ คฤหาสน์แทนเพราะว่าในสมัยนั้นสมาคมที่ตั้งอยู่ส่วนใหญ่เป็นของชาวจีน (.แต้จิ๋ว.) การรวมตัวเป็นสมาคมของชาวจีนเหล่านี้มักเป็นการรวมตัวของกลุ่มอาชีพ..เช่น..กลุ่ม คนลากรถ กลุ่มกรรมกรหรือกลุ่มของที่มาภูมิภาคท้องถิ่นเดิมในเมืองจีน การรวมกลุ่ม สมาคมมีเหตุผลเพื่อรักษาผลประโยชน์และช่วยเหลือกันเองของสมาชิก การดำ�เนิน การของสมาคมเหล่านี้บางครั้งก็มีบทบาทลักษณะส้องสุมกันเป็นอั้งยี่มีการใช้กำ�ลังกัน ทำ�ให้เป็นคำ�ว่า.“กงหวย”.จึงค่อนข้างมีภาพพจน์ที่เป็นเชิงลบดังนั้นสมาคมกว๋องสิวที่ ตั้งใหม่จึงมาใช้คำ�ว่าว่า.“กว๋องสิวปิดโส่ย”.แทน ชาวจีนกวางตุ้งที่เข้ามาอาศัยอยู่ใน ประเทศไทยทำ�มาค้าขายและมีอาชีพก่อสร้าง โรงกลึง ซักรีด ช่างไม้ ช่างปูนเป็นส่วน ใหญ่ ต่อมาลูกหลานชาวจีนกวางตุ้งได้ติดตามพ่อแม่เข้ามาอยู่ที่ประเทศไทยมากขึ้น จึงได้มีการรวบรวมเงินไปเพื่อมาซื้อที่ดินในถนนเจริญกรุงแล้วจัดตั้งเป็นสมาคมการ กุศลที่มีคณะกรรมการเป็นชาวจีนตั้งชื่อว่า “กว๋องสิวปิดโส่ย” ความหมายคือ “สถาน ที่พักผ่อนหย่อนใจ” พบปะสังสรรค์ช่วยเหลือกันของชาวจีนกวางตุ้ง และได้ใช้ศาล เจ้าเป็นศูนย์กลางทางจิตใจ ในปี พ.ศ.2423สมาคมกว๋องสิวได้รวบรวมเงินบริจาค เพื่อก่อสร้างศาลเจ้ากวางตุ้ง บุคคลผู้ริเริ่มงานสำ�คัญในการรวบรวมคนจีนกวางตุ้ง ในประเทศไทยให้เป็นหมู่เหล่าจนสามารถก่อตั้งเป็นสมาคมคือนายหว่องจนเค๊ง จาก ...
....
....
...
...
....
....
...
.... ....
..
....
....
.... ...
..
...
....
...
....
....
.
215
มณฑลกวางตุ้งผู้เดินทางมาเมืองไทยเพื่อรับช่วงกิจการค้าชื่อ “ไหว่ก๋องถ่อง” ตั้งอยู่ที่ ตรอกข้าวสาร ถนนสำ�เพ็ง จำ�หน่ายเครื่องยาจีนและนำ�เข้าแพรไหมจากมณฑลซูโจว นายหว่องจนเค๊งเป็นผู้ซึ่งชมชอบงานสังคมและงานการกุศลทั้งปวง มีจิตใจเมตตา จึง ได้ปรึกษากับผู้ท่ีมีความคิดเช่นเดียวกันจัดสร้างเป็นสมาคมขึ้นระหว่างการก่อสร้าง สมาคมและศาลเจ้าพร้อมกันขึ้นนี้หว่องจนเค๊งได้ดูแลการก่อสร้างและเดินทางไปซื้อ วัสดุในการก่อสร้างจากเมืองจีนด้วยตนเองและนำ�วัสดุมาประกอบที่เมืองไทย อาทิ อิฐ ไม้ ทองเหลือง เสาหิน บันไดหิน สิงโตหิน มังกรดิน เผาประดับกระเบื้องเคลือบ กระเบื้องมุงหลังคา.ได้แก่ สลักเสาไม้ ป้าย คำ�โคลงกลอง และระฆัง เป็นต้น ....
ศาลเจ้ากวางตุ้งสร้างขึ้นตามแบบสถาปัตยกรรมประเพณีโบราณของจีนทุก ประการโดยสร้างเป็นรูปแบบบ้านชาวจีนโบราณเรียกว่า “เชยหับหยวน” มีรูปบ้าน 3 ด้าน ตรงกลางเป็นที่โล่งแจ้งไว้ใช้ทำ�กิจกรรมอเนกประสงค์ ป้ายหน้าศาลเจ้าได้จารึก ไว้ว่า.“เกงถ่องหรือเกงก๊งถ่อง”หรือ.“กงจิงถัง” ( ภาษาจีนกลาง ).ความหมายคือหอ เคารพ หรือ “ห้องที่ควรแก่การเคารพ” ด้านหลังจะเขียนไว้ว่า “หลินหยี่ซ๊องจี๋” หมาย ถึง.“มิตรภาพสัมพันธ์ชนบททางประเทศจีน”.ภายในห้องโถงประดิษฐานรูปเคารพ เทพเจ้าซึ่งอัญเชิญมาจากเมืองจีน ชาวจีนมีความเชื่อว่าเทพเจ้าเหล่านี้เป็นผู้บันดาล โชคลาภ ความมั่งคั่งและความสมบูรณ์พูนสุขให้แก่ตนเอง, ครอบครัว.และบรรพบุรุษ เทพเจ้าแต่ละองค์จึงเป็นที่เคารพและศรัทธาของชาวจีนได้แก่ ”เทพเจ้ากวนอู”ซึ่งเป็น เทพเจ้าด้านความซื่อสัตย์ มีความจงรักภักดีกล้าหาญ “เทพเจ้านักปราชญ์ขงจื้อ” เป็น เทพเจ้าแห่งการศึกษาสอนให้คนกตัญญูและเคารพบรรพบุรุษ คำ�สอนของขงจื้อเป็น บ่อเกิดแห่งวัฒนธรรมและจิตวิญญานของชาวจีน ชาวกวางตุ้งมักจะนำ�บุตรหลาน มากราบไหว้ขอพรเมื่อเริ่มแรกเข้าโรงเรียนเสมอ.“เทพเจ้าหมั่นแซ้ง”.เป็นเทพประทาน พรเกี่ยวกับยศถาบรรดาศักดิ์ซึ่งเป็นที่สักการบูชาของชาวจีนกวางตุ้งและชาวจีนทั่วไป “เทพเจ้าโลวปั้น” เป็นปรมาจารย์แห่งการก่อสร้างซึ่งเป็นอาชีพที่ชาวกวางตุ้งมีความ เชี่ยวชาญ งานด้านสถาปัตยกรรมที่มีชื่อเสียง ทุกปีชาวกวางตุ้งจะมีการจัดไหว้ เคารพบูชา.“พระสังกัจจายน์”.เป็นพระที่เป็นสัญลักษณ์ของความมั่งมีศรีสุขเป็นพระที่ ประทานพรให้ชาวจีนกวางตุ้งและบุคคลทั่วไปอย่างแพร่หลาย “พระโพธิสัตว์กวนอิม” เป็นพระโพธิสัตว์แห่งความเมตตากรุณาตามความเชื่อแห่งพุทธศาสนานิกายมหายาน .... ..
...
....
216
หน้ า ประตู ศ าลเจ้ า มี ก ารเขี ย นภาพบนฝาผนั ง และศิ ล ปะปู น ปั้ น กระเบื้ อ ง เคลือบเผาบนหลังคาศาลเจ้าเป็นหินแกะสลักลวดลายมังกรกิเลนและไม้แกะสลักเป็น รูป “แปดเซียน” โดยจิตรกรจีนโบราณอย่างสวยงาม ทางเข้าศาลเจ้าชั้นในจะเป็น บานประตูใหญ่ 6 บาน สูงประมาณ 6 เมตร เขียนหนังสือจีนคำ�ว่า “ฝู่” แปลว่า “โชค ดีร่ำ�รวย” บนประตูที่ขอบมีค้างคาวสี่ทิศ ถือเคล็ดลับว่า “บุญวาสนามาถึงแล้ว” เมื่อ ย่างกรายผ่านประตูแห่งโชคลาภที่เขียนอักษรจีนออกเสียงว่า “ฮก” รูปค้างคาวสี่ทิศ ดังกล่าวและก้าวข้ามประตูโชคลาภมาสู่พื้นคอนกรีต มีสัญลักษณ์เหรียญเงินซึ่งหมาย ถึงพื้นที่งอกเงยด้วยเงินตรา ในบริเวณนี้เป็นโถงโล่งส่วนกลางแจ้งสำ�หรับจัดกิจกรรม อเนกประสงค์อาทิ จัดการแสดงเชิดสิงโต การสวดพระพุทธมนต์ในเทศกาลสำ�คัญทาง พระพุทธศาสนา เป็นต้น ถัดออกมาที่ประตูด้านนอกติดลานจอดรถ ข้างบนมีหนังสือ จีน 4 คำ� ติดด้วยทองคำ�เปลว เขียนว่า “กว๋องสิวปิดโส่ย” แปลว่า สถานที่พักผ่อน หย่อนใจของชาวกวางตุ้ง ด้านข้างจะบันทึกเวลาก่อสร้าง “ก๊วงโสย ปีที่ 6” หมายถึง “สมัยราชวงศ์ชิงพระเจ้าแผ่นดินก๊วงโส่ย ปีที่ 6” ซ้ายและขวา 2 ข้างจะเป็นกลอนคู่ เขียนด้วยเปลวทองมีความหมายว่า “มาจากต้นน้ำ�จูไห่ของมณฑลกวางเจา แล้วแยก ออกตามเทือกเขาทั้ง 7 เทือกเป็นหมู่เหล่า” ติดตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2425 ฤดูใบไม้ผลิ โดย พ่อค้าชาวจีนมอบให้เป็นของขวัญ โดยในส่วนหลังคาของศาลเจ้าออกแบบตามแบบ ฉบับหลังคาที่สามัญชนใช้ มีชื่อเรียกว่า “อึ้งซันติ่ง” ..
...
โรงพยาบาลกว๋องสิวเป็นโรงพยาบาลขนาดเล็กจำ�นวน 60 เตียง ประกอบด้วย อาคารจำ�นวน 2 หลัง คืออาคาร1เป็นตึกใหม่อยูด่ า้ นหน้าติดกับถนนเจริญกรุง มีทง้ั หมด 4 ชัน้ โดยชัน้ ล่าง เป็นห้องตรวจคนไข้ภายนอก และห้องทำ�งานของแพทย์พยาบาลห้อง จ่ายยาและการเงิน ชัน้ ที่ 2 เป็นห้องพักคนไข้หญิง เป็นห้องรวมพัดลมจำ�นวน 8 เตียง และห้องปรับอากาศจำ�นวน 2 ห้อง ห้องธรรมดาพัดลม 3 ห้อง และเป็นเตียงผูป้ ว่ ยสามัญ จำ�นวน 6 เตียง ชัน้ ที่ 3 เป็นห้องพักคนไข้ชาย มีจ�ำ นวน 12 เตียง ชัน้ ท 4 เป็นหอพักของ พยาบาล ส่วนอาคาร 2 เป็นตึกเก่าพืน้ ไม้ 3 ชัน้ เป็นตึกหลังแรกเริม่ ก่อตัง้ โรงพยาบาลอยู่ ด้านหลังตึกเก๋งจีนติดกับศาลเจ้ากวางตุง้ ชัน้ สองและสามใช้เป็นห้องพักคนไข้ภายใน จำ�นวน 25 เตียง ปัจจุบนั โรงพยาบาลกว๋องสิวมีบคุ ลากรทัง้ หมดจำ�นวน 83 คน ประกอบ ด้วย แพทย์ประจำ� แพทย์นอกเวลา เภสัชกร พยาบาลวิชาชีพ เจ้าหน้าทีส่ �ำ นักงาน ผูช้ ว่ ย พยาบาล พนักงานผูช้ ว่ ยพยาบาล เจ้าหน้าทีร่ กั ษาความปลอดภัย และเจ้าหน้าทีค่ นงาน
217
โรงพยาบาลกว๋องสิวมูลนิธเิ ป็นโรงพยาบาลของชาวจีนเชือ้ สายกวางตุง้ ทีม่ ี ความเก่าแก่ทส่ี ดุ แห่งหนึง่ ตามบันทึกบรรพบุรษุ ของชาวกวางตุง้ ทีม่ จี ติ เมตตา เช่น นาย แหล่งเส่าซ้าน นายจ๊งเส่าซ้าน นายตำ�หน่�ำ นายหว่องเข่าปิว๊ ได้รว่ มกันก่อตัง้ “สถาน อนามัยกว๋องสิว” เมือ่ ปี พ.ศ. 2446 โดยให้การรักษาทัง้ แผนปัจจุบนั และแผนจีนหรือที่ เรียกว่า “หมอแมะ” ต่อมาในปี พ.ศ. 2475 รัฐบาลได้ออกกฎข้อบังคับให้โรงพยาบาล ต้องมีแพทย์แผนปัจจุบนั ประจำ�อยู่ ดังนัน้ สมัยนายมา บุลกุลเป็นนายกสมาคมกว๋องสิว จึงได้ไปยืน่ คำ�ร้องทีก่ ระทรวงสาธารณสุข ขอจดทะเบียนเปลีย่ นสถานีอนามัยเป็น“โรง พยาบาลกว๋องสิวมูลนิธ”ิ โดยยังให้การรักษาแผนจีนร่วมกับแผนปัจจุบนั ในปี พ.ศ. 2475 ส่วนวิธกี ารรักษาของการแพทย์แผนจีนโบราณหรือ TCM ( Traditional Chinese Medical ) เป็นระบบบำ�บัดรักษาความเจ็บป่วย ผูบ้ �ำ บัดด้วยวิธกี ารแพทย์สาขาจีน มีทง้ั ชาวจีนทีอ่ พยพมา และแพทย์ชาวต่างชาติทเ่ี ดินทางไปศึกษาวิชาการแพทย์แผนจีนมา จากประเทศจีนโดยตรง ขัน้ ตอนการตรวจรักษาเป็นดังนี้ การตรวจร่างกายเพือ่ วินจิ ฉัย โรค จะต้องกระทำ�โดยการซักประวัตผิ ปู้ ว่ ย การสังเกตวิเคราะห์สว่ นต่างๆของร่างกาย การสัมผัส และการจับจังหวะชีพจร ( แมะ )ซึง่ ทัง้ หมดต้องอาศัยความละเอียดลออและ ความชำ�นาญพิเศษ ส่วนการรักษาจะประกอบด้วย การเลือกอาหาร การนวด การฝัง เข็ม การดืม่ ชาสมุนไพรต่างๆรวมทัง้ ยาจากสัตว์ดว้ ย ปัจจุบนั กำ�ลังได้รบั ความสนใจ จากนักวิจยั ในวิทยาการแผนใหม่ จากเอกสารประวัติความเป็นมาของโรงพยาบาลกว๋องสิวได้บันทึกเหตุการณ์ ไว้ดังนี้ ปี พ.ศ.2488 สมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 ยุติลงมีชาวจีนที่ถูกกองทัพญี่ปุ่น ควบคุมตัวในประเทศไทยเข้ามาขอความช่วยเหลือจากสมาคมกว๋องสิว ทางสมาคมฯ ก็ได้จัดตั้งทีมงานให้การช่วยเหลือพี่น้องชาวจีนในประเทศไทย” ขึ้นมาให้การดูแล และรักษาโรคภัยไข้เจ็บต่างๆสมัยนั้นมีชาวจีนที่ถูกควบคุมตัวได้รับการรักษาพยาบาล รวมประมาณสองพันคน
218
ปี พ.ศ. 2489 – 2490 มีชาวจีนอพยพรุ่นใหม่เข้ามายังประเทศไทยอีก คน จีนกลุ่มนี้ส่วนหนึ่งจะเป็นโรคอหิวาตกโรคและโรคตาแดง โรงพยาบาลกว๋องสิวได้ช่วย รักษาให้หายจากโรคเป็นจำ�นวนหลายพันคน ปี พ.ศ. 2498 สมัยที่นายหว่องชวิ้นหยี่เป็นนายกสมาคมกว๋องสิน ได้จัดตั้ง แผนกสูติกรรม ปี พ.ศ. 2521 ทางโรงพยาบาลได้จัดตั้งแผนกฝึกอบรมนางพยาบาลหลักสูตร 3 ปี สอนทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ ปี พ.ศ. 2529 เนื่องจากมีค่าใช้จ่ายสูงมาก ในการดำ�เนินงานของโรง พยาบาล ทำ�ให้ทางโรงพยาบาลขาดทุนมาตลอดจึงได้มีการจัดตั้ง “กองทุนมูลนิธิโรง พยาบาล”สิว (เป็นการระดมเงินทุนจากการบริจาคของสมาชิก) เพื่อแก้ปัญหานี้ ปี พ.ศ. 2536 ได้มีการปรับปรุงและซ่อมแซมตึกหลังชั้น 2 และชั้น 3ซึ่งเดิมเป็น สถานเลี้ยงเด็กและหอพักพยาบาล เป็นตึกคนไข้ผู้สูงอายุจำ�นวน 60 เตียง ช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2ซึ่งเป็นช่วงที่โรงพยาบาลกว๋องสิวเจริญมาก ได้ มีการปรับปรุงสถานพยาบาลให้ทันสมัยโดยทำ�การย้ายสถานพยาบาลโบราณจีนไป อยู่ฝั่งตรงข้ามด้านถนนมิตรภาพ ตรงกับตึกสูติกรรม ในสมัยนั้น ส่วนตึกใหญ่ 3 ชั้น ข้างหน้าสมาคม และตึกเก่า ได้เปลี่ยนแปลงภายในทั้งหมด ทำ�เป็นที่รับคนไข้หญิง อยู่ชั้นสอง และคนไข้ชายอยู่ชั้นสาม ส่วนหนึ่งทำ�เป็นห้องผ่าตัด สมัยนั้นยังไม่มีโรง พยาบาลเอกชนตั้งขึ้นเลย นอกจากโรงพยาบาลเอกชนของฝรั่งมิชชันนารี เช่น โรง พยาบาลเซนต์หลุยส์ โรงพยาบาลกรุงเทพคริสเตียน เนิร์สซิงโฮม ถนนคอนแวนต์ โรง พยาบาลมิชชั่น และโรงพยาบาลหัวเฉียว ของกลุ่มชาวจีนโพ้นทะเล คนไข้มักไปรักษา กันตามโรงพยาบาลรัฐบาลกันเป็นส่วนใหญ่ ห้องคนไข้พิเศษของโรงพยาบาลรัฐมี จำ�นวนจำ�กัด ดังนั้นแพทย์ในสมัยนั้นที่ทำ�งานในโรงพยาบาลหรือแพทย์ทำ�งานส่วน ตัวก็ต้องกระจายคนไข้มาอยู่ตามโรงพยาบาลเอกชนเช่น โรงพยาบาลกว๋องสิว แพทย์ และพยาบาลจึงมีงานทำ�กันมาก บางคืนแพทย์ต้องมานอนค้างที่โรงพยาบาลเพื่อรอดู คนไข้รอคลอดว่าจะต้องผ่าออกหรือไม่
219
ปี พ.ศ. 2514 – 2529 “เป็นช่วงที่ตกต่ำ�ของโรงพยาบาลกว๋องสิวดั่งเสมือน คนไข้ อ าการหนั ก เพราะโรงพยาบาลไม่เ ป็นที่นิย มของประชาชนหรืออาจจะเป็น เพราะโรงพยาบาลเอกชนได้ตั้งขึ้นมามากมายก็เป็นได้ ดังนั้นในปี พ.ศ. 2530โรง พยาบาลไม่สามารถบริการในแบบเดิมได้อีกต่อไป เพราะขาดแพทย์และพยาบาลจึง ได้เปลี่ยนนโยบายของโรงพยาบาลให้มีแผนกรับเลี้ยงเด็กแรกเกิดจนถึงประมาณ 2 ขวบ มีทั้งเด็กฝากเช้าเย็นกลับ และตลอด 24 ชั่วโมง เลิกแผนกสูตินารีเวชกรรม และ ศัลยกรรมทั้งหมด จึงทำ�ให้กิจการดีขึ้นมาจนโรงพยาบาลกว๋องสิวกลับมาเป็นที่นิยม ของประชาชนทั่วไปอีกครั้ง ได้มีการตกแต่งห้องตรวจผู้ป่วยนอก ให้มีห้องทำ�งาน แพทย์ พยาบาล มีเครื่องปรับอากาศ ด้วยความอนุเคราะห์ของมูลนิธิกว๋องสิว (เป็น เงินบริจาคของสมาชิก) และต่อมาอีก 1 ปี ได้เปลี่ยนแปลงทาสีจัดห้องใหม่ทั้งชั้นสอง และชั้นสามให้เป็นห้องพักของคนไข้ จากการเปลี่ยนแปลงขนาดใหญ่ของโรงพยาบาล ภายใต้การบริหารที่รัดกุม และมีระเบียบของผู้อำ�นวยการและผู้จัดการคนใหม่ ทำ�ให้ ความนิยมของประชาชนกลับมาอย่างมาก ปัจจุบันโรงพยาบาลกว๋องสิวจัดตั้งเป็นมูลนิธิมีวัตถุประสงค์เพื่อรับคนไข้ ภายในโดยไม่มีการแบ่งชนชั้นวรรณะ หรือชาย หญิง ผู้สูงอายุ คนไข้ทุกคนได้รับ การดูแลเอาใจใส่อย่างดีและเท่าเทียมกัน จัดเป็นโรงพยาบาลขนาดเล็กแบ่งการรักษา เป็นแผนโบราณและแผนปัจจุบันแผนโบราณมีทั้งการรักษาแบบจีนโบราณ (หมอแมะ) และการรักษาโดยวิธีการฝังเข็ม โดยมีหม้อฝังเข็มจากประเทศจีนทำ�การรักษา ในวัน อังคาร พฤหัส และเสาร์ ระหว่างเวลา 9.00 – 15.00 น. ส่วนแผนปัจจุบันแบ่งเป็น 2 แผนก คือ แผนกคนไข้ภายนอกและแผนกคนไข้ภายในซึ่งคนไข้ส่วนใหญ่จะเป็นผู้ป่วย สูงอายุที่ช่วยเหลือตัวเองไม่ได้ เนื่องจากโรงพยาบาลเก็บค่าใช้จ่ายไม่แพง จึงเป็นที่ ชื่นชมของผู้คนทั่วไป โรงพยาบาลดำ�เนินอยู่ได้จนถึงปัจจุบันนี้ก็โดยอาศัยเงินจากกองทุนของ โรงพยาบาลที่ ไ ด้ รั บ บริ จ าคจากคณะกรรมการและผู้ มี จิ ต เมตตาทั่ ว ไปสนั บ สนุ น เท่านั้น ( คล้ายๆกับโรงพยาบาลเทียนฟ้ามูลนิธิ )ไม่มีรายได้อื่นหรือจากรัฐเข้ามาสนับ สนุน ดังนั้น ผู้เกี่ยวข้อง ผู้ก่อตั้งผู้บริหาร เจ้าหน้าที่ ผู้บริจาคสำ�หรับโรงพยาบาล “กว๋องสิว”ทุกท่านล้วนสมควรได้รับการยกย่อว่าเป็นผู้มีจิตวิญญาณ แห่งกุศลธรรม และเมตตาธรรมที่แท้จริง
220
คุณธรรมตามโอวาทธรรมทีส่ ่ี
義
คุณธรรมแห่งจิตสำ�นึกเพือ่ อุดมการณ์ชมุ ชนและสังคม สัตยาธรรม คือ คำ�ว่า หง ( อี้ ) คำ�ว่า.“หงี”.เป็นคุณธรรมที่มีความหมายค่อนข้างกว้าง...คุณธรรมนี้อาจ มีความหมายว่า สัตยธรรม มโนธรรม ความมีอุดมการณ์ต่อการพัฒนาสังคมและ ชุมชนเป็นต้น คล้ายคลึงกับ สัปปุรัสธรรม (.ธรรมของคนดีในศาสนาพุทธ.) แต่ในที่ นี้เราต้องการแสดงถึงคุณธรรมของหงีในทัศนะของจิตวิญญาณต่อสังคมซึ่งหมาย ถึง อุดมการณ์แห่งชาติพันธุ์ ตลอดจนการอภิวัฒน์แห่งสังคมชุมชน คำ�ว่า หงี นี้ถ้า จะดูให้ดีจะเห็นว่าประกอบด้วยอักษรที่แปลว่า ความถูกต้อง ความมีศีลธรรม จรรยา อยู่ข้างบนของอักษรที่แปลว่าตัวเองซึ่งเมื่อรวมกันแล้วคำ�หงีมีความหมายเช่น อักษร ปรัชญาว่า การกระทำ�ที่ถูกต้องตามทำ�นองคลองธรรมที่อยู่เหนือผลประโยชน์แห่งตน คุณธรรมนี้จะก่อให้เกิดจิตวิญญาณที่เสียสละเพื่อส่วนรวม
ขงจื้อกล่าวไว้ว่า ทุกวันนี้มีสิ่งสามประการที่ต้องตระหนักเสมอคือ ประการที่หนึ่ง ตนนั้นได้พยายามทำ�งานให้คนอื่นอย่างเต็มที่หรือยัง ประการที่สอง ตนนั้นได้ปฏิบัติต่อมิตรสหายโดยจริงใจ หรือไม่ ประการที่สาม ตนนั้นได้ทบทวนบทเรียนที่อาจารย์สอนสั่งแล้วหรือเปล่า “ตัวข้าเองปรารถนาที่จะได้เห็นซึ่งความสงบสุขแห่งผู้ชราภาพ ความไว้ เนื้อเชื่อใจในมิตรภาพของหมู่มิตร เด็กน้อยผู้เยาว์ได้รับการดูแลใส่ใจ” “ชนใดห่างเหินจากคุณธรรม ย่อมมิอาจถือได้ว่าเป็นวิญญูชน วิญญูชน จักไม่เว้นว่างจากคุณธรรม ไม่ว่าในสถานการณ์ใดๆ” “ยามประสบพบผู้ทรงคุณธรรม ขอจงจำ�ต้องเรียนรู้จากตัวเขา พบทุรชน ไร้ธรรมทั้งขลาดเขลา ดูตัวเรามีข้อเสียดั่งเขาหรือไม่” ทั้งหมดนี้ก็คือคุณธรรมคำ�ว่า หงี
221
222
บทบาทประชาคมชาวจุลนครฯกับอุดมการณ์ปฏิวัติของดร.ซุนยัดเซ็น หลังจากประเทศจีนปราชัยในสงครามกับญี่ปุ่นในปี พ.ศ. 2438 ทำ�ให้เกิด แรงกระตุ้นในด้านชาตินิยมอย่างรุนแรงในประเทศจีน แล้วแพร่ขยายลงมาสู่เอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ สยามโดยเฉพาะอย่างยิ่งในจุลนครฯ แต่ขณะเดียวกันก็ยังมีพรรค ปฏิรูปที่จงรักภักดีต่อราชบัลลังก์ต่อต้านอยู่ เมื่อมีการเผยแพร่แนวคิดการปฏิวัติเข้ามา ในภูมิภาค ก็ได้ส่งผลสะท้อนถึงสังคมชาวจีนโพ้นทะเลด้านอุดมการณ์ ศูนย์กลาง การปฏิวัติในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้คือ สิงคโปร์ซึ่งที่ได้มีหนังสือพิมพ์ที่สนับสนุน อุดมการณ์พิมพ์เผยแพร่ก่อนหน้าที่.ดร.ชุนยัดเซ็นจะเดินทางไปเยี่ยมเยียนที่นั่นใน เดือนมิถุนายน พ.ศ. 2448 สิงคโปร์เป็นแหล่งสนับสนุนทางด้านการเงินแหล่งใหญ่ เพราะพลเมืองส่วนใหญ่เป็นชาวจีน พลเมืองส่วนใหญ่มีฐานะเศรษฐกิจและการศึกษา ค่อนข้างดี ทำ�ให้เข้าใจอุดมการณ์ในการปฏิวัติได้ดี การเดินทางไปสู่ส่วนต่างๆของ โลกของดร.ซุนยัดเซ็น มักจะได้รับการสนับสนุนจากชาวจีนโพ้นทะเลของประเทศ เหล่านั้น แต่อย่างไรก็ดีอังกฤษที่เป็นเจ้าของอาณานิคมก็กระอักกระอ่วนเนื่องจาก มีผลประโยชน์ในประเทศจีนกับราชวงศ์ชิงอยู่มหาศาลตรงกันข้ามกับฝรั่งเศสที่มี อิทธิพลในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เช่นกัน แต่ไม่ค่อยต้องเกรงใจราชสำ�นักจีนนัก
223
ฝรั่งเศสเองได้ชื่อว่าเป็นผู้นำ�การปฏิวัติ ระยะหลังๆซุนยัดเซ็นจึงมักไปพักอาศัยอยู่ที่ ไซ่ง่อนบ่อยครั้งและภายใต้การชักจูงของเจ้าหน้าที่ฝรั่งเศสในอินโดจีนเวียดนามได้ พาให้ดร.ชุนยัดเซ็นเดินทางเข้ามาในประเทศสยามซึ่งขณะนั้นผู้มีอุดมการณ์ปฏิวัติ ในสยามที่ทุกคนยอมรับนับถือคือ เซียวโฝเฉิง ( เซียวฮุดเส็ง ) หลังจากที่ราชวงศ์หมิง ถูกโค่นลงบรรพบุรุษของเซียวโฝเฉิงได้ร่วมกับพรรคพวกที่ต่อต้านราชวงศ์ชิงทำ�การ รบพุ่งกษัตริย์แมนจู แต่กระทำ�ก่อการไม่สำ�เร็จในที่สุดพวกบรรพบุรุษส่วนใหญ่ของ เขาก็หนีไปอยู่ที่เกาะไต้หวัน ส่วนครอบครัวของเซียวโฝเฉิงหนีมาอยู่ที่มะละกาใน มาลายูซึ่งอีก 200 ปีต่อมาส่วนหนึ่งของครอบครัวเขารวมทั้งเซียวโฝเฉิงก็ได้อพยพมา อยู่ที่กรุงเทพฯ เซียวโฝเฉิงได้มามีชื่อเสียงโด่งดังที่กรุงเทพฯ ในฐานะนักธุรกิจและ ทนายความ และเมื่อเพื่อนฝูงของเขาที่มะละกาชักจูงให้เข้าร่วมในขบวนการปฏิวัติซึ่ง เขาก็ได้ทุ่มเทอิทธิพลและความสามารถของเขาทั้งหมดรับใช้ขบวนการอย่างเต็มที่ ในฤดูหนาวปี พ.ศ. 2448 เซียวโฝเฉิง และผูต้ ดิ ตามอีก 2 – 3 คน ได้ตดิ ต่อกับ หนังสือพิมพ์ทส่ี นับสนุนขบวนการปฏิวตั ซิ ง่ึ ออกในฮ่องกง ชือ่ “จุงกว๋อยีเ่ ป้า” เพือ่ ให้ ช่วยเขาจัดตัง้ กระบอกเสียงของขบวนการฯ ทีก่ รุงเทพฯ โดยร่วมมือกับเสีย่ งส่งซือ่ และ เฉินจิงหวา..ได้ต้งั หนังสือพิมพ์ช่อื ..เหมย-หนาน..ยึเป้า.(.เหมย-หนาน.หรือแต้จ๋วิ ว่า.หมี่ น้�ำ แปลว่าแม่น�ำ้ เจ้าพระยา.).เป็นหนังสือพิมพ์รายวัน โดยมีเฉินจิงหวาเป็นบรรณาธิการ ใหญ่ เขาเป็นคนกวางตุง้ ชาวเชียงซาน..(.อำ�เภอเดียวกับบ้านเกิดของชุนยัดเซน.) เขาเคย เป็นนายอำ�เภอทีม่ ณฑลกวางสีมาก่อนก่อนทีจ่ ะหนีมาอยูใ่ นประเทศสยาม เนือ่ งจาก ขาดแคลนทุนรอนสนับสนุนทำ�ให้ในไม่ชา้ หนังสือพิมพ์ฉบับนีก้ ต็ อ้ งปิดตัวลงภายหลังได้ รับการปรับปรุงกิจการใหม่โดยเปลีย่ นตัวอักษรใหม่โดยมีความหมายคงเดิม หลังจาก นั้นไม่นานก็มีชาวกวางตุ้งผู้หนึ่งซึ่งเป็นผู้สนับสนุนฝ่ายกษัตริย์ช่อื .คังอวี่หลุยได้เดินทาง มายังสยามและได้รบั การสนับสนุนจากครึง่ หนึง่ ของคณะกรรมการของเหมยหนานยึเป้า มีการออกหนังสือพิมพ์อกี ฉบับหนึง่ ขึน้ มาแทนชือ่ .อีหนานยึเป้า.ซึง่ สนับสนุนราชบัลลังก์ แมนจู แต่เซียวโฝเฉิงกับเฉินจิงหวาไม่ยอ่ ท้อ ในปีพ.ศ.2450 ทัง้ สองก็ชว่ ยกันออกหนังสือ ฉบับใหม่ซ่งึ กลายเป็นหนังสือพิมพ์ฉบับหนึ่งที่ได้รับความสำ�เร็จมากที่สุดในสมัยนั้นที่มี การออกหนังสือพิมพ์ในกรุงเทพฯ หนังสือพิมพ์ซง่ึ ออกเป็นสองฉบับสองภาษาคือ ฉบับ หนึง่ เป็นภาษาจีนชือ่ หัวเสียนยึเป้า แปลว่าหนังสือพิมพ์รายวันชาวจีนในแดนสยาม และ อีกฉบับหนึง่ เป็นภาษาไทยชือ่ ..จินโน-สยามจารศัพท์โดยมี...เฉินจิงหวา, เซียวโฝเฉิงและ
224
บุตรสาวเป็นบรรณาธิการ หนังสือพิมพ์รายวันฉบับภาษาไทยนัน้ ได้รบั การกล่าวขาน ว่าเป็นหนังสือพิมพ์ทป่ี ราศจากอคติและเป็นอิสระเป็นอย่างมากแต่ในฉบับภาษาจีนนัน้ สะท้อนถึงอุดมการณ์เรือ่ งปฏิวตั อิ อกอย่างรุนแรงและเด่นชัด ดร.ชุนยัดเซ็น มีนามเดิมว่า..ซุนเหวิน..เกิดเมื่อวันที่..12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2409 ที่หมู่บ้าน ซุ่ยเฮิง อำ�เภอเซียงซาน มณฑลกวางตุ้ง ประเทศจีน เมื่อตอนอายุ 12 ขวบ ได้ไปอยู่กับพี่ชายที่ฮาวาย สหรัฐอเมริกา ได้รับการศึกษาจากโรงเรียนสอน ศาสนาคริสต์ที่นั่น ทำ�ให้เขาได้สัญชาติเป็นคนอเมริกาด้วย ภายหลังชุนเหวินกลับมา อยู่ฮ่องกง โดยเข้าเรียนหนังสือต่อที่ฮ่องกง เขาได้เข้ารีตเป็นคริสต์ศาสนิกชนและได้ เปลี่ยนชื่อเป็น อี้เซียน หรือ ยัดเซน ตามภาษากวางตุ้ง ตั้งแต่นั้นก็ใช้ชื่อเป็นซุนยัดเซ็น ในเวลาต่อมา ภายหลังซุนยัดเซ็นเดินทางกลับกวางโจวและเข้าเรียนโรงเรียนแพทย์ ที่นั่น ต่อมาก็ย้ายมาอยู่ฮ่องกงเรียนต่อจนจบแพทย์ศาสตร์ในระหว่างเคลื่อนไหว ปฏิวัติ ดร.ซุนยัดเซ็นได้เดินทางกลับฮาวายรวบรวมชาวจีนโพ้นทะเลจัดตั้งสมาคม ที่มีชื่อว่า.ซินจงหุ้ย.( สมาคมจีนใหม่ ).โดยมีการประชุมครั้งแรกวันที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2437 จัดขึ้นที่ฮอนโนลูลู มีผู้เข้าประชุมถึง 120 คน ในปี พ.ศ.2439 ดร.ซุนยัด เซ็นพยายามที่ก่อการปฏิวัติที่กวางโจวแต่ปรากฏว่าถูกกวาดล้าง ทำ�ให้ดร.ซุนฮัดเซ็น กลับมาพิจารณาหายุทธวิธีปฏิวัติใหม่คือ เขาต้องสร้างและเผยแพร่ความคิดให้ชาวจีน เข้าใจถึงอุดมการณ์แห่งการปฏิวัติให้มากที่สุดและต้องหาแหล่งเงินทุนเพื่อสนับสนุน การปฏิวัติ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการหาเงินทุนการปฏิวัติจากชาวจีนโพ้นทะเล เช่น ชุมชนชาวจีนในเมืองต่างๆของสหรัฐอเมริกาและในยุโรป ที่สำ�คัญที่สุดคือในญี่ปุ่น และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ( นานยาง ) ในสยามใหม่ๆยังค่อนข้างมีการสนับสนุน น้อย เนื่องจากชาวจีนในสยามส่วนใหญ่ยังไม่ค่อยเข้าใจในเหตุผลของอุดมการณ์ ปฏิวัติสักเท่าใด ทำ�ให้ดร.ซุนยัดเซ็นจำ�เป็นต้องเดินทางมาชี้แจงและปาฐกถาบ่อย ครั้งในกรุงเทพฯเพื่อทำ�ความเข้าใจกับพ่อค้าผู้ทรงอิทธิพล ตลอดจนชาวจีนทั่วไปใน กรุงเทพฯให้เข้าใจ รวมทั้งการเข้าพบกับผู้แทนของรัฐบาลสยามเพื่อทำ�ความเข้าใจ ในแนวทางการปฏิวัติของชาวจีน ในที่สุดก็สามารถสร้างความเข้าใจและทำ�ให้การ สนับสนุนการปฏิวัติดำ�เนินไปด้วยดีในเวลาต่อๆมา
225
ขบวนการปฏิวัติของซุนยัดเซ็นได้เริ่มเคลื่อนไหวจากการที่ซุนยัดเซ็นได้ก่อ ตั้งสมาคมชิงจุหุยหรือสมาคมบูรณะจีนขึ้นที่ฮาวาย สหรัฐอเมริกา ปี พ.ศ. 2437 ใน การก่อตั้งสมาคมนี้ซุนยัดเซ็นได้รับการสนับสนุนจากพวกสมาคมลับชาวจีนที่นับถือ ศาสนาคริสต์และชาวจีนโพ้นทะเลที่ทำ�การสมาคมชิงจุงหุยในปี พ.ศ. 2437 โดยมี สาขาขยายออกไปตามที่ต่างๆโดย สมาชิกของสมาคมต้องปฏิญาณตนว่า“ต้องขับ แมนจู กอบกู้การปกครองของชาวจีน สถาปนาสาธารณรัฐขึ้น” หลังจากที่ก่อตั้ง สมาคมฯ.ซุนยัดเซ็นได้ดำ�เนินการปฏิวัตินอกราชอาณาจักหลายท้องที่และขอความ สนับสนุนจากชาวจีนโพ้นทะเลในหลายประเทศในช่วงนั้น เพื่อให้ได้รับการสนับสนุน จากชาวจีนโพ้นทะเลในประเทศไทยซุนยัดเซ็นได้เข้าร่วมกับกลุ่มสมาคมลับหรือพวก อั้งยี่กลุ่มต่างๆในประเทศไทยที่มีแนวความคิดต่อต้านราชสำ�นักแมนจู ดังนั้นในช่วง ปี.พ.ศ.2946.–.2453.ซุนยัดเซ็นจึงได้เดินทางมาประเทศไทยหลายครั้งเพื่อปราศรัย โฆษณาแนวความคิดในการปฏิวัติจัดตั้งกำ�ลังปฏิวัติระดมกำ�ลังคนและกำ�ลังทรัพย์เพื่อ การปฏิวัติด้วยตนเองในประเทศไทยถึง..4 ครั้ง..(..เป็นอย่างน้อย..)..ด้วยกัน พ.ศ.2450 ดร.ซุนยัดเซ็นส่งหวังจินเต่ย มายังสยามเพื่อให้คำ�แนะนำ�ผู้ร่วม อุดมการณ์ในกรุงเทพฯ คือ นายเซียวโฝเฉิง นายสวี่จินเสียน และนายเฉินจิ่งหวา เพื่อ จัดตั้งสาขาของถงเหมินหุ้ย (.พันธมิตรแห่งการปฏิวัติจีน ) ตามแนวทางของสาขาแรก ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ( นานยาง ) ึ่งก่อตั้งขึ้นมาแห่งแรกในสิงคโปร์ โดยชื่อว่าหัว หุ้ยสั่ว (.สมาคมชาวจีน.) ในวันทำ�พิธีเปิดสมาคมนั้น ดร.ซุนยัดเซ็นได้เดินทางเป็นการ พิเศษจากประเทศเวียดนามมาเป็นประธานพิธี ภายหลังที่ก่อตั้งสมาคมแล้วบุคคลจาก สมาคมลับกลุ่มเม่งสุนและกลุ่มซุ่นเอ็งมาสมัครเข้าร่วมเป็นสมาชิกจำ�นวนร่วม 200 คน ทำ�ให้จุดประกายการอุทิศของชาวจีนในกรุงเทพฯ ในการผลักดันกระแสปฏิวัติโค่นล้ม ราชวงศ์แมนจู ซ
ซุนยัดเซ็นได้จัดตั้งพรรคการเมืองปฏิวัติขึ้นโดยมีชื่อว่า.“จงกว๋อเก้อมิ่งถง..เหมิงฮุ่ย”.(.สมาคมพันธมิตรเพือ่ การปฏิวตั จิ นี .).หรือถงเหมิงฮุย่ .(.สมาคมพันธมิตรจีน ) ที่ โตเกียวประเทศญี่ป่นุ โดยมีลัทธิไตรราษฎร์หรือ.“ชานหมินจู๋อ้”ี .เป็นหลักการสำ�คัญของ พรรค ได้แก่ชาตินยิ ม ระบอบประชาธิปไตย สวัสดิการสังคมหรือความเป็นธรรมของ สังคม ในการเคลือ่ นไหวทางการเมืองทีม่ กี ลุม่ การเมืองต่างๆเกิดขึน้ นัน้ กลุ่มการเมือง ทั้งของฝ่ายปฏิรูป ฝ่ายปฏิวัติรวมถึงฝ่ายของรัฐบาลราชวงศ์ซิง ได้ให้ความสนใจกับ
226
ชาวจีนโพ้นทะเลซึ่งรวมถึงชาวจีนในประเทศไทยเพื่อมุ่งหวังให้ชาวจีนโพ้นทะเล เป็นแหล่งสนับสนุนทางเศรษฐกิจและการเมือง ทำ�ให้ชาวจีนในเมืองไทยที่เดิมมี การแบ่งกลุ่มและรวมตัวกันอยู่แต่เฉพาะกลุ่มที่พูดภาษาเดียวกันซึ่งมี5กลุ่มสำ�คัญ ได้แก่ กวางตุ้ง ฮกเกี้ยน แต้จิ๋ว แคะ และไหหลำ� โดยมีจีนแต้จิ๋วเป็นกลุ่มใหญ่ที่สุด เปลี่ยนแปลงไปเมื่อมีความเคลื่อนไหวทางการเมือง ทำ�ให้ความสัมพันธ์ของชาว จีนในเมืองไทยเริ่มข้ามเส้นแบ่งของกลุ่มภาษาพูดมาสู่ผู้ที่มีแนวคิดทางการเมือง ในแนวเดียวกันและได้แบ่งเป็นฝ่ายเช่นเดียวกับการเมืองของจีนคือ ฝ่ายสนับสนุน ขบวนการปฏิรูป ฝ่ายสนับสนุนขบวนการปฏิวัติและฝ่ายสนับสนุนรัฐบาลราชวงศ์ชิง แต่เนื่องจากมีจำ�นวนที่ใกล้เคียงกันของฝ่ายปฏิรูปและฝ่ายสนับสนุนรัฐบาลราชวงศ์ ชิงที่จะยังรักษาขนบธรรมเนียมประเพณีของจีนรวมไปถึงการปกครองระบอบรา ชาธิปไตยไว้ ทั้งสองฝ่ายจึงแข่งขันกันเพื่อหาเสียงสนับสนุนจากชาวจีนโพ้นทะเลใน การปฏิรูปและการต่อต้านฝ่ายปฏิวัติอย่างาข้มข้น วันที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ..2451 ดร.ซุนยัดเซ็นและนายหูยั่งเหมินได้เดินทางจากสิงคโปร์มายังกรุงเทพฯเพื่อแสวง การสนับสนุนจากชาวจีนในสยาม ขณะนั้นดร.ซุนยัดเซ็นได้รับการยอมรับทั้งใน ประเทศและโพ้นทะเลให้เป็น.“บิดาแห่งประชาธิปไตยจีน”.ขณะเดียวกันก็ได้ปลูกฝัง ลัทธิชาตินิยมแก่ชาวจีนโพ้นทะเลโดยการก่อตั้งสมาคมตงเหมินหุ้ย(สมาคมชาวจีน..) พร้อมทั้งกระตุ้นให้ชาวจีนเกิดจิตสำ�นึกในความยิ่งใหญ่ของชนชาวจีน แต่วันรุ่งขึ้น หลังจากดร.ซุนยัดเซ็นได้มาถึงกรุงเทพฯ รัฐบาลของราชอาณาจักรสยามเองก็ได้ รับคำ�เตือนจากสภาพทูตอังกฤษให้แจ้งดร.ซุนยัดเซ็นให้เดินทางออกจากแผ่นดิน สยามภายใน 1 สัปดาห์ สุดท้ายดร.ซุนยัดเซ็นก็เดินทางออกจากสยามหลังจากที่มา ถึง10วัน การเดินทางมาของดร.ซุนยัดเซ็นครั้งนี้ นอกจากเป็นการปลุกกระแสปฏิวัติ ให้กับชาวจีนโพ้นทะเลในสยามแล้วก็ยังเป็นระดมทุนในการทำ�งานตามอุดมการณ์ ในการส่งเงินเพื่อบริจาคขบวนการปฏิวัตินั้น ชาวจีนโพ้นทะเลจะส่งเงิน ผ่านทาง.“โพยก๊วน”.เป็นวิธีการส่งเงินไปพร้อมกับจดหมายบอกข่าวคราว จาก บันทึกทางการเงินของชาวจีนโพ้นทะเลที่ส่งไปอุดหนุนช่วยกลุ่มการเมืองของดร.ซุน ยัดเซ็นปรากฏว่าชาวจีนในไทยส่งเงินไปจำ�นวนไม่น้อย ในช่วงเดือนพฤษภาคม.พ.ศ. 2450 ถึงเดือนเมษายน พ.ศ. 2451 ได้รับเงินบริจาคจากชาวจีนโพ้นทะเลถึง 200,000 หยวน.โดยมาจากกลุ่มประเทศในอินโดจีนและไทย 60,000 หยวน ในเหตุการณ์ลุก
227
ขึ้นต่อสู้ครั้งสุดท้ายก่อนการลุกขึ้นสู้ครั้งใหญ่ที่เมืองจู่วางในบริเวณที่เรียกว่าอู่ชาง ใกล้กับเมืองอู่ฮั่นเมืองหลวงมณฑลหูเป่ยในวันที่..10..ตุลาคม 2454 (.วันทีท่ �ำ การปฏิ วัติซินไฮ่สำ�เร็จและถือเป็นวันชาติสาธารณรัฐจีน.).เงินที่ได้รับจากชาวจีนโพ้นทะเล ทั้งหมด 187,636 หยวน และยังมีอีกหลายครั้งทั้งที่มีบันทึกตัวเลขและไม่มีการบันทึก โพยก๊วนที่ใช้โอนเงินไปช่วยเหลือในการปฏิวัติจากกรุงเทพฯนั้นจะโอนไป ยังมือของนายหูฮั่นเหมินในกวางตุ้ง รวมทั้งการตั้งธนาคารชื่อธนาคารจีน – ไทยขึ้น โดยมีความเกี่ยวข้องกับความมุ่งหมายในการปฏิวัติจีน มีเข้าลงทุนส่วนใหญ่เป็นพวก เจ้าของโรงสี และพ่อค้าข้าว แต่หลังจากการปฏิวัติโค่นล้มราชวงศ์แมนจูสำ�เร็จ ยวน ซีไข่ยึดครองอำ�นาจแทนส่งผลให้ดร.ซุนยัดเซ็นต้องไปอยู่ที่ญี่ปุ่นในปี พ.ศ. 2456 ทำ�ให้ ความเชื่อมั่นและศรัทธาในการดำ�เนินการทางธนาคารไทยจีนลดลงอย่างมาก ใน ที่สุดธนาคารก็ล้มละลาย ดร.ซุนยัดเซ็นได้ปราศรัยปลุกเร้าบรรดาสมาคมชาวจีนโพ้นทะเลแห่งสยาม ให้รว่ มกันเข้าเป็นกลุม่ ผูร้ กั ชาติ ในบรรดาบุคคลทีไ่ ด้เข้ามาฟังสุนทรพจน์มพี อ่ ค้าทรง อิทธิพลผูห้ นึง่ คือ นายแต้ตย่ี ง่ มาร่วมฟังด้วย แต่เดิมทีน่ ายแต้ตย่ี ง่ เป็นชาวเมืองแต้จว๋ิ มีแนวความคิดทีเ่ รียกว่าแนว “พิทกั ษ์ราช” คือเป็นฝ่ายทีส่ นับสนุนการปกครองประเทศ จีนของราชวงศ์แมนจูตามแนวคิดของนายคังหยิว่ เหวย แต่เมือ่ นายแต้ตย่ี ง่ ได้ฟงั คำ�ชี่ แจงของดร.ซุนยัดเซ็นแล้วได้รับความรู้ความเข้าใจในอุดมการณ์เห็นด้วยกับการปฏิวัติ ประเทศและสังคมตามหลักการลัทธิไตรราษฎร์ของดร.ซุนยัดเซ็น ในวันรุง่ ขึน้ เขาก็จดั งานเลี้ยงต้อนรับซุนยัดเซ็นด้วยความกระตื้อรือร้นโดยนายแต้ต่ยี ่งได้แสดงความจริงใจ ต่อดร.ซุนยัดเซ็นว่าเขาจะให้การสนับสนุนด้านการเงินเพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการปฏิวัติ อย่างเต็มที่ซ่ึงหลังจากนั้นนายแต้ต่ีย่งได้สนับสนุนด้านการเงินดร.ซุนยัดเซ็นในการ ดำ�เนินแนวทางปฏิวตั อิ ย่างต่อเนือ่ งจนถึง..พ.ศ...2454..การปฏิวตั โิ ค่นล้มราชวงศ์แมนจู ทีเ่ รียกว่า “การปฏิวตั ซิ นิ ไฮ่” ได้ปะทุขน้ึ กวางตุง้ ประกาศตัวเป็นมณฑลอิสระ นายแต้ต่ี ย่งได้มอบเงิน 100,000 หยวนของเขาจากหุน้ ในบริษทั เดินเรือสินค้าจีนสยาม ไปมอบให้ แก่รฐั บาลทหารมณฑลกวางตุง้ เพือ่ แสดงความยินดี จนกระทัง่ ในปี พ.ศ. 2455 ประเทศ จีนสถาปนาการปกครองแบบสาธารณรัฐ นายแต้ตี่ย่งก็ให้นายแต้ฮวดใช้ นำ�งาช้าง หนึ่งคู่ไปมอบให้ดร.ซุนยัดเซ็นที่เมืองนานกิงเพื่อแสดงความยินดีในโอกาสที่ดร.ซุน
228
ยัดเซ็นเข้าดำ�รงตำ�แหน่งประธานาธิบดี ( ชั่วคราว ) ของสาธารณรัฐจีน นอกจากนี้ยัง ได้มอบเงิน 50,000 หยวน เพื่อเป็นเครื่องแสดงให้เห็นจิตใจของชาวจีนโพ้นทะเลที่ มีความรักและความปรารถนาดีที่ต้องการเห็นความก้าวหน้าของบ้านเกิดเมืองนอน ดร.ซุนยัดเซ็นได้ชมเชยถึงความเสียสละของชาวจีนโพ้นทะเลและสมาคมต่างๆใน สยามที่มีต่อการปฏิวัติชาวจีนซึ่งดร.ซุนยัดเซ็นเคยกล่าวว่า “ชาวจีนโพ้นทะเล คือ มารดาของการปฏิวัติ” รั ฐ บาลสยามกั บ การดำ � เนิ น กิ จ กรรมอุ ด มการณ์ ป ฏิ วั ติ จี น ของดร.ซุ น ยั ด เซ็น ในประเทศสยาม ในการดำ�เนินกิจกรรมเพื่อก่อการปฏิวัติจีนของดร.ซุนยัด เซ็น มีปฏิบัติการตามเมืองต่างๆนอกราชอาณาจักรจีนนั้น ชาติมหาอำ�นาจส่วนใหญ่ สนับสนุน เพราะเห็นว่าแนวทางประชาธิปไตยเป็นแนวทางที่ชาติมหาอำ�นาจต้องการ ให้ชาติต่างๆยึดเป็นแนวปกครองประเทศ และมองว่าถ้าประเทศจีนเป็นประชาธิปไตย แล้ว การค้าการอุปโภคบริโภคก็จะรุ่งเรือง ทำ�ให้การค้าระหว่างประเทศเจริญมากขึ้น อย่างไรก็ดีมุมมองของชาติมหาอำ�นาจที่จะต้องระวังต่างกัน อังกฤษเป็นชาติที่มีผล ประโยชน์กับราชวงศ์แมนจูมากที่สุดไม่ว่าการค้าขาย เขตปกครองในอำ�นาจบนแผ่น ดินจีน ประกอบจักรวรรดิอังกฤษยังมีสถาบันกษัตริย์อยู่ การที่ดร.ซุนยัดเซ็นไปดำ�เนิน กิจกรรมปฏิวัติในดินแดนที่เป็นเขตปกครองพิเศษเช่นฮ่องกงหรือเมืองอาณานิคมเช่น สิงคโปร์ มลายู อังกฤษก็ต้องสงวนท่าทีไว้ ส่วนฝรั่งเศสและญี่ปุ่นหนุนหลังการปฏิวัติ ของดร.ซุนยัดเซ็นอย่างเต็มที่ไม่ว่าด้านที่พัก การจัดตั้งสมาคมและขบวนการเพื่อ การปลุกระดมหรือดำ�เนินกิจกรรมปฏิวัติ ส่วนในราชอาณาจักรสยามนั้น เราจำ�เป็น จะต้องเฝ้าดูอย่างใกล้ชิด ไม่แสดงท่าทีที่ต่อต้านสนับสนุนซึ่งอาจมีผลเสียต่อความ สัมพันธ์ระหว่างประเทศทั้งในขณะนั้นหรือในเวลาต่อมารวมทั้งความรู้สึกของชาวจีน ในประเทศเอง โดยจะเห็นได้จากข้อความของจดหมายเหตุบันทึกหรือบทความจาก หนังสือพิมพ์ขณะนั้น เพื่อแสดงถึงแนวทางของรัฐบาลสยามต่อการดำ�เนินการของ ดร.ซุนยัดเซ็นพอสังเขปดังนี้ วันที่ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2446 ดร.ซุนยัดเซ็นได้เดินทางจากฮานอย ประเทศ เวียดนาม มาพักอยู่ในโรงแรมเดอลาเฟีย ( Hotel De LA PAIX ) ย่านบางรัก กรุงเทพฯ หลวงสรรพกิจปรีชาในฐานะเจ้าพนักงานกระทรวงนครบาลได้เดินทางเข้าไปพบกับ ดร.ซุนยัดเซ็น เพื่อสืบดูถึงพฤติกรรมทำ�ให้ได้ความมาว่า ดร.ซุนยัดเซ็นเดินทางเข้ามา
229
จากเมืองฮานอยโดยการแนะนำ�ของมองซิเออร์ฮารดูวิน ( M. Hardoin ) ให้รู้จักกับพ่อค้า จีนในกรุงเทพฯซึ่งทราบชื่อคือ จีนล่ำ�ซำ� จีนยี่กอฮง จีนอากรเตง ( หลวงอุดรพานิช ) ดร.ซุนยัดเซ็นโดยส่วนตัวสนิทสนมกับชาวฝรั่งเศสที่ฮานอยหลายคนเช่น มองซิเออร์โบ ( M.Beare ) มองซิเออร์ดูแมร์ ( M.Domer ) ในการสนทนาดร.ซุนยัดเซ็นได้เล่าถึงเรื่อง ราวต่างๆที่ตัวเขารอดพ้นจากอันตรายที่ได้รับการไล่ล่าของราชวงศ์แมนจู พร้อมทั้ง แสดงว่าท่านเองรู้สึกปลอดภัยอย่างมากเมื่ออยู่ในกรุงเทพฯ ดร.ซุนยัดเซ็นบอกว่าเขา มีหมายกำ�หนดที่จะเดินทางโดยเรือที่ชื่อ “แม่โขง” ไปยังไซ่ง่อนแล้วหลังจากนั้นก็จะ เดินทางต่อไปยังประเทศญี่ปุ่น ดร.ซุนยัดเซ็นยังเล่าให้ฟังต่อว่าที่อินโดจีนของฝรั่งเศส มีการเก็บภาษีกับคนจีนที่แพงมาก ชาวจีนจึงไม่ค่อยมีความสุขไม่เหมือนกับคนจีนใน สยาม ในการเข้ามากรุงเทพฯ ครั้งนี้ของดร.ซุนยัดเซ็นนั้น เขาใช้ชื่อในนามคนญี่ปุ่นคือ ชื่อ “ตากาโน” ในวันที่ 8 มิถุนายน พ.ศ. 2446 หลวงสรรพกิจปรีชาได้รับจดหมายจาก ดร.ซุนยัดเซ็นมีใจความว่า ตัวท่านกำ�ลังรอเรือที่จะไปไซ่ง่อน จะคงค้างอยู่ในกรุงเทพฯ ต่ออีกประมาณ 10 – 18 วัน ในโอกาสนี้ถ้าคุณหลวงฯ มีเวลาว่างก็ขอเชิญเข้ามาพูดคุย กันโดยเฉพาะเรื่องราวต่างๆที่เกี่ยวข้องกับเอเชีย
ภาพจากโรงเรียนเผยอิง
230
วันที่..11..มิถุนายน..พ.ศ...2446..พระเจ้าน้องยาเธอกรมหลวงนเรศวรฤทธิ์ เสนาบดีกระทรวงนครบาลได้กราบบังคมทูลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่ หัวว่า ดร.ซุนยัดเซ็นได้พบกับหลวงอุดรกัณฑ์พานิช 2 ครั้งโดยได้ชี้แจงให้รัฐบาลสยาม ทราบว่าพวกเขาเป็นชาวจีนที่กตัญญูต่อชาติมีความคิดที่จะเปลี่ยนแปลงการปกครอง จากกษัตริย์ของราชวงศ์แมนจู .การที่เข้ามาเมืองไทยมีความประสงค์เพื่อมาขอความ เกื้อหนุนจากชาวจีนผู้มีทรัพย์เพื่อใช้เป็นทุนรอนในการจัดซื้ออาวุธยุทโธปกรณ์โดย มีชาติฝรั่งเศสช่วยอุดหนุนจัดส่งไปให้ผู้ปฏิวัติที่มณฑลกวางสีแล้วจึงขยายการปฏิวัติ ให้กว้างขวางในประเทศจีนต่อไปโดยการเรี่ยไรครั้งนี้ยังไม่สัมฤทธิ์ผลเนื่องจากนาย ห้างจีนส่วนใหญ่ยังไม่มีความเชื่อใจในดร.ซุนยัดเซ็นประกอบกับยังมองไม่เห็นใน อุดมการณ์นี้ วันที่ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2446 พระยาภักดีรัชภาคย์ ถวายรายงานต่อพระเจ้า น้องยาเธอกรมหลวงนเรศวรฤทธิ์ เสนาบดีกระทรวงนครบาล ความว่า ท่านได้พบกับ ดร.ซุนยัดเซ็นที่โฮเต็ล เดอลาเป โดยสรุปได้ว่า ขณะนี้ที่เมืองจีนมีผู้ก่อการปฏิวัติพร้อม แล้วทุกแห่งหน เรื่องเงินทุนปัจจุบันหาได้จากชาวจีนที่อาศัยอยู่ในประเทศส่วนใหญ่ เนื่องจากพวกเขาเข้าใจซึ้งถึงอุดมการณ์ปฏิวัติดี นอกจากนี้ทางอังกฤษ อเมริกา ญี่ปุ่น และฝรั่งเศสก็ยังอุดหนุนอย่างลับๆเพราะเชื่อว่าถ้าเมืองจีนมีการเปลี่ยนแปลงจะทำ�ให้ การค้าขายในเมืองจีนเจริญขึ้นมาก ดร.ซุนยัดเซ็นยังแจ้งให้ทราบว่าจะมีพวกญี่ปุ่นมา ออกหนังสือพิมพ์จีนในกรุงเทพฯกับพวกญี่ปุ่นออกหนังสือพิมพ์ได้แล้วญี่ปุ่นก็จะได้ ความรู้สึกที่ดีของพวกจีน ประมาณปี พ.ศ. 2448 พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครั้นยังดำ�รง พระอิสริยายศเป็นสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช)ได้ทรงประทานสัมภาษณ์แก่ดร.ซุนยัด เซ็น ในครั้งนั้นดร.ซุนยัดเซ็นได้เดินทางถึงกรุงเทพฯได้ทูลขอพระบรมราชานุญาตเข้า เฝ้าพระพุทธเจ้าหลวงรัชกาลที่ 5 ึ่งพระองค์ก็ทรงทราบดีว่าการปฏิวัติตามแบบดร.ซุน ยัดเซ็นนั้น ถ้าสำ�เร็จจะทำ�ให้ประเทศจีนรุ่งเรืองขึ้นทันที แต่ก็จะทรงสนับสนุนโดย เปิดเผยก็มิอาจทำ�ได้ พระองค์จึงทรงมอบหน้าที่การประทานสัมภาษณ์ให้แก่สมเด็จ พระบรมโอรสาธิราชมงกุฎราชกุมาร เมื่อได้รับพระราชทานบัญชามาเช่นนี้สมเด็จพระ บรมฯ จึงประทานมอบหมายให้นายวรการบัญชาเป็นผู้จัดการการพบปะ การเข้าเฝ้า ซ
231
สมเด็จพระบรมฯ..ของดร.ซุนยัดเซ็นครั้งนี้จะต้องจัด ในสถานที่เหมาะสมและเวลาที่สมควร เพื่อมิให้ข่าว ระบือไปทั่วโลกว่าราชอาณาจักรสยามสนับสนุนการ ปฏิวัติของดร.ซุนยัดเซ็น อีกทั้งสยามก็ยังดำ�รงเป็นรา ชาธิปไตยอยู่ นายวรการบัญชานั้นเป็นผู้ทรงอิทธิพล ทางการเมืองมีชาวจีนเคารพนับถือมาก ในที่สุด เพื่อความปลอดภัยนายวรกายบัญชาจึงตัดสินใจให้ ดร.ซุนยัดเซ็นเข้าเฝ้าสมเด็จพระบรมฯ..ณ...บ้านของ นายวรการบัญชาที่บริเวณถนนเยาวราชเวลาเข้าเฝ้า กำ�หนดไว้คือยามค่ำ�เวลา 19.00 น. ดร.ซุนยัดเซ็นมา ถึงบ้านนายวรการบัญชาตามเวลา สมเด็จพระบรมฯ. ทรงเสด็จเป็นการส่วนพระองค์ตามกำ�หนด นายว รการบัญชาได้จัดห้องรับแขกของตนเป็นห้องถวาย ตัวและเข้าเฝ้าของดร.ซุนยัดเซ็น โดยไม่ให้คนอืน่ เข้า ร่วมด้วย นายวรการบัญชาทำ�หน้าทีเ่ ป็นมหาดเล็ก ถวายเครือ่ งดืม่ และพระกระยาหาร อาหารว่างเท่านัน้ ในการสัมภาษณ์รเู้ พียงว่า ดร.ซุนยัดเซ็นพูดภาษา อังกฤษได้ดีมากดีเสียยิ่งกว่าคนอเมริกาส่วนมากด้วย ซ้�ำ สมเด็จพระบรมฯ..ก็ทรงถนัดทีจ่ ะรับสัง่ ภาษาอังกฤษ
232
ด้วย นายวรการบัญชาถวายอยูง่ านอย่างใกล้ชดิ การสนทนายืดยาวไปถึง 4 นาฬิกาของ วันรุง่ ขึน้ ในเนือ้ หาการสนทนาไม่มกี ารเปิดเผย มีเพียงแต่สมเด็จพระบรมฯ ทรงรับสัง่ ให้ นายวรการบัญชาให้ความสะดวกแก่ดร.ซุนยัดเซ็นในการพบปะชาวจีนในสยาม แต่ให้ถกู ต้องตามกฎหมายของแผ่นดินด้วยหลังจากเข้าเฝ้านายวรการบัญชาได้ถามดร.ซุนยัดเซ็น ว่าจะต้องการพบใครบ้าง โดยท่านจะเป็นธุระจัดการให้ อีกทัง้ ยังให้การแนะนำ�ว่าในการ พบปะแต่ละครัง้ ไม่ควรเกินครัง้ ละ 5 คน นายวรการบัญชารับอาสาทีจ่ ะจัดการให้ถกู ต้อง ตามทำ�นองครองธรรมและตามกฎหมายแห่งราชาอาณาจักรคือห้ามมิให้มกี ารประชุมเพือ่ ทำ�การก่อกบฏ วันที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2451 เจ้าพระยายมราชได้ถวายรายงานเรือ่ งการปราศรัย ของดร.ซุนยัดเซ็นที่บริเวณบ้านของจีนวองฮั้งเจาซึ่งเป็นคอมปะโด(ตัวแทนผู้ดูแล)ของ ธนาคารฮ่องกงเเซีย่ งไฮ้แบงค์ในบริเวณสำ�เพ็งต่อพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ 5 การเดินทางเข้ามาเพื่อประกอบภาระกิจของดร.ซุนยัดเซ็นเข้ามาในสยามโดย เฉพาะอย่างยิ่งในจุลนครฯแสดงถึงความยึดมั่นเชื่อมั่นของขาวประชาคมให้มีศรัทธาต่อ อุดมการณ์แห่งชาติพนั ธุ์ สมั ย ก่ อ นจุ ล นครฯเป็ น แหล่ ง รวมชาวจี น โพ้ น ทะเลที่ ม าจากต่ า งกลุ่ ม ต่ า ง ภาษาเป็นชุมชนที่มีชาวจีนจำ�นวนมากที่สุดในประเทศไทย แต่เดิมชาวจีนเหล่านี้จะ คบหาสมาคมกันแต่ในกลุ่มภาษาเดียวกัน แต่เมื่อมีการเคลื่อนไหวเพื่อการปฏิวัติล้ม ล้างราชวงศ์ชิงของซุนยัตเซ็นใน.พ.ศ. 2446 ชาวจีนทั้งหลายก็เริ่มมีการคบค้ากันมาก ขึ้น เนื่องมาจากมีอุดมการณ์ในความรักชาติและมีความเป็นชาตินิยมตลอดจนใน ช่วงนั้นมีบุคคลสำ�คัญหลายท่านที่ให้ความสนับสนุนดร.ซุนยัดเซ็นในการปฏิวัติรวม ทั้งในด้านทุนทรัพย์ ทำ�ให้ชาวจีนโพ้นทะเลทั้งหลายมีความสามัคคีและมีอุดมการณ์ ร่วมกันดังเช่นที่ยี่กอฮงหัวหน้าองค์กรหงเหมินเทียนตี้ฮุ่ยได้เจรจาให้สมาคมลับของ จีนสองกลุ่มคือกลุ่มฉวินอิงและหมิงชุนที่มีความขัดแย้งกันให้ร่วมมือสามัคคีกันจน เป็นผลสำ�เร็จซึ่งเป็นสิ่งที่สะท้อนให้เห็นภาพของการรวมตัวและสามัคคีกันของชาวจีน โพ้นทะเลในประเทศไทยรวมถึงแนวทางในการสร้างวัฒนธรรม ความเป็นชาตินิยมให้ กับคนจีนโพ้นทะเลที่ไม่ได้อยู่บนผืนแผ่นดินจีน การสร้างความเข้มแข็งภายในชุมชน ชาวจีนในจุลนครฯนี้เป็นสาเหุตประการหนึ่งที่ทำ�ให้เกิดความเป็นจีนชาตินิยมขึ้น
233
เหตุการณ์สำ�คัญที่ทำ�ให้ชาวจีนโพ้นทะเลรู้สึกรักชาติและห่วงใยในแผ่นดิน เกิดและพร้อมที่จะช่วยเหลือดร.ซุนยัดเซ็นนั่นคือเหตุการณ์การกล่าวปราศรัยที่ชุมชน สำ�เพ็งที่ ผู้ที่ได้ฟังคำ�ปราศรัยของซุนยัตเซ็นบางคนถึงกับตัดผมเปียทิ้งซึ่งหมายถึงการ ตัดสัมพันธ์กับราชวงศ์แมนจูและบริจาคทรัพย์เพื่อช่วยขบวนการปฏวัติในทันที การ ปราศรัยของซุนยัตเซ็นสะท้อนให้เห็นภาพของความสนใจทางการเมืองของคนใน ชุมชนชาวจุลนครฯว่าถึงแม้จะอยู่ห่างไกลแผ่นดินเกิดแต่ก็มีความรักและพร้อมที่จะ ช่วยเหลือแผ่นดินเกิด การที่ชาวจีนในชุมชนสามารถรับข่าวสารจากหนังสือพิมพ์ ได้สะท้อนให้เห็นว่าชาวจีนในชุมชนจุลนครฯในสมัยนั้นส่วนหนึ่งที่มีการศึกษาดีมี วัฒนธรรมของชนชาติจีนของตนที่เข้มแข็งคือรักพวกพ้องรักแผ่นดินมาตุภูมิมีจิต วิญญานของอุดมการณ์แห่งชาติพันธุ์
234
องค์กรเพื่อกิจกรรมวิวัฒนพัฒนาสังคมและประชาคมจุลนครฯ แต่เริ่มเดิมทีชาวจีนแต่ละกลุ่ม แต่ละพวกในจุลนครจะรวมตัวเป็นหมู่คณะ ในการช่วยเหลือกับปกครองดูแลกัน บางครั้งก็เป็นการรักษาผลประโยชน์ของส่วน ตัวหรือของแต่กลุ่มซึ่งแต่ละกลุ่มส่วนใหญ่เป็นมักจะเป็นคนที่มาจากหมู่บ้านเดียวกัน คนพูดภาษาเดียวกันหรือประกอบอาชีพชนิดเดียวกัน การรวมกลุ่มของคนเหล่านี้ เราเรียกรวมๆกันว่า ระบบกงสี.(.ระบบร่วมเครือญาติ.).กลุ่มเหล่านี้เมื่อรวมตัวเป็นกลุ่ม ใหญ่มีอิทธิพลมากขึ้น จึงกลายมาเป็นสมาคมลับ.(.สมาคมนอกกฎหมาย.).ซึ่งบางครั้ง สมาคมเหล่านี้เนื่องจากมีคนเป็นสมาชิกมากทำ�ให้เกิดการกระทำ�ที่ไม่ถูกต้องตาม กฎหมายขึ้นบ่อยครั้ง ในรัฐบาลตั้งให้เป็นพวกสมาคมลับอั้งยี่เป็นภาพพจน์ที่ไม่ดีใน สายตาผู้ปกครองบ้านเมืองแต่โดยเนื้อแท้สมาคมเหล่านี้วัตถุประสงค์เริ่มแรกก่อตั้งเพื่อ ดูแลให้ความช่วยเหลือรักษาผลประโยชน์ของสมาชิกเป็นหลัก แต่ ส มาคมลั บ เหล่ า นี้ เ สื่ อ มอย่ า งรวดเร็ ว หลั ง พ.ศ. 2453 อั น เนื่ อ งมาจาก เหตุผลหลายประการได้แก่การที่รัฐค่อยๆเลิกระบบนายอากรธุรกิจผูกขาดซึ่งเป็นหลัก เศรษฐกิจของสมาคมบางแห่งไป รัฐเองเข้าควบคุมการเล่นพนันและการสูบฝิ่น ในแง่ ของสมคมลับทางการเมืองหลังจากรัฐบาลจีนของราชวงศ์แมนจูถูกโค่นล้ม.ดร.ซุนยัต เซ็นสร้างความเป็นชาตินิยมในอุดมการณ์เดียวกันทำ�ให้สมาคมลับทางการเมืองเหล่า นี้ค่อยๆลดบทบาทไป เมื่อพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่.6..ขึ้น ครองราชย์มีการปรับปรุงตำ�รวจและทหารให้ทันสมัย พระองค์เข้าใจถึงพฤติกรรม และบทบาทอิทธิพลของสมาคมลับเหล่านี้ดีทรงใช้พระปรีชาสามารถคลี่คลายลด บทบาทของสมาคมลั บ ลง.เช่ น .กรณี ข องแต้ จี่ ย่ ง .ซึ่ ง เป็ น หั ว หน้ า ที่ สำ � คั ญ ที่ สุ ด ของ สมาคม.“คณะฟ้าสาม”.(.ซาที,ซันเทียน.).ฐานะเขามั่นคงยิ่งขึ้นเมื่อได้ขึ้นทะเบียนไว้ที่ กงศุลฝรั่งเศสทำ�ให้เขาเป็นทั้งนายอากรบ่อนเบี้ยและนายโรงหวย .ในหลวงรัชกาล ที่.6.ทรงแก้ปัญหาโดยการพระราชทานคฤหาส์นให้และพระราชทานบรรดาศักดิ์ เป็น.“พระ” สรวมบทบาทใหม่ในฐานะเศรษฐีคนไทยที่มีบรรดาศักดิ์จนปลดชรา ...
...
...
เมื่อสมาคมลับหลายสมาคมยุติบทบาทไป บางสมาคมก็ปรับปรุงตัวเป็น สมาคมสงเคราะห์ที่ถูกต้องตามกฎหมายเพื่อรวมเข้ากับสมาคมของกลุ่มภาษาต่างๆ ที่มีอยู่แล้ว สมาคมเหล่านี้นอกจากจัดตั้งในจุลนครส่วนใหญ่แล้วยังมีการจัดตั้งตาม
235
หัวเมืองต่างๆในภูมิภาคอีกด้วย สมาคมกลุ่มภาษาถูกตั้งขึ้นเพื่อสนองความจำ�เป็น หลายประการ เช่น การประกอบอาชีพของสมาชิกช่วยผู้ที่อพยพมาใหม่จากถิ่นบ้าน เกิดเดียวกันในการทำ�งานให้ทำ�และตั้งหลักฐานสร้างและบำ�รุงรักษาศาลเจ้าที่เป็น ที่เคารพ สร้างสุสานฝังศพ จัดหาสถานที่และจัดหางานเทศกาลสำ�หรับงานชุมชน เป็นต้น สมาคมของคนจีนกวางตุ้งก่อตั้งในปี พ.ศ. 2420 สมาคมไหหลำ�ก่อตั้งปี พ.ศ. 2443 สมาคมฮกเกี้ยน ก่อตั้งปี พ.ศ. 2446 สมาคมฮากกา (.จีนแคะ.) ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2452 ในขณะสมาคมของคนแต้จิ๋วซึ่งเป็นกลุ่มภาษาที่มีจำ�นวนคนอยู่มากที่สุดและมี ฐานะที่มีอำ�นาจมากที่สุดกลับมองไม่เห็นความจำ�เป็นที่จะต้องตั้งสมาคมของพวกตน จนกระทั่ง 20 ปี ให้หลังคือ หลังสงครามโลกครั้งที่ 1 ยุติลง จึงได้จัดตั้งสมาคมเป็นของ ตนเองขึ้นมาสมาคมภาษาโดยคำ�ศัพท์เรียกว่า ห่วยก้วง, ฮุ่ยกวน แต่ภาษากวางตุ้ง ใช้คำ�ว่า “เปี๊ยะสุ” แปลว่าที่พัก ส่วนไหหลำ�ใช้คำ�ว่า กังสั่ว แปลว่าประชุมสาธารณะ เพราะว่ากลัวจะถูกเพ็งเล็งจากทางรัฐ แต่ละสมาคมกลุ่มภาษาจะมีบทบาทสำ�คัญอีกอันหนึ่งคือ การศึกษาโรงเรียน ชินหมินเป็นโรงเรียนที่ประชาคมชาวจีนสนับสนุนโรงเรียนแรก ในเบื้องต้นโรงเรียนได้ รับการอุปการะจากคนจีนทั้ง 5 ภาษา โดยใช้ภาษาแต้จิ๋วเพียงภาษาเดียวในการสอน ดังนั้นเป็นดึงดูดทั้งนักเรียนและครูที่เป็นคนแต้จิ๋วเสียเป็นส่วนใหญ่ทำ�ให้ไม่สามารถ สนองความต้องการของคนกลุ่มภาษาอื่นได้ ด้วยเหตุนี้แต่ละกลุ่มภาษาจึงจัดตั้ง โรงเรียนของตนเองและสอนด้วยภาษาของตนเอง สมาคมจีนแคะตั้งโรงเรียนจินเต๋อ ในปี พ.ศ.2456 สมาคมจีนกวางตุ้งตั้งโรงเรียนหมิงเต๋อในปี พ.ศ.2459 สมาคมจีน ฮกเกีย้ นตัง้ โรงเรียนเป่ยหยวน ในปี พ.ศ. 2459 และโรงเรียนของพวกไหหลำ�ชือ่ อวิห้ มิง (.ยกหมิน่ .).ก่อตัง้ ในปี พ.ศ. 2464 การเจริญเติบโตของสมาคมกลุ่มภาษาแม้นว่ามีการแบ่งพรรคพวกกันทาง ภาษาบ้าง แต่ก็ยังน้อยกว่าการแตกแยกกันในสมัยสมาคมยุคเฟื่องฟูซึ่งภายหลังก็ได้ เห็นการจัดตั้งสมาคมที่ข้ามเส้นแบ่งกลุ่มภาษาและครอบคลุมประชากรทั้งหมดของ จุลนครทั้งหมด ที่สำ�คัญที่สุดก็คือ การตั้งโรงพยาบาลเทียนฟ้าและหอการค้าจีน โรง พยาบาลเทียนฟ้าโดยเงินทุนกับร้องขอจากพวกพ่อค้าขึ้นทำ�ในจุลนครฯ ดำ�เนิน กิจการโดยเป็นเงินบริจาคเป็นรายเดือนจากสมาชิกซึ่งส่วนใหญ่เป็นห้างร้าน.บริษัท ของคนจีนที่สำ�คัญมีหลักเกณฑ์ทั้งการบริหารหรือการให้บริการไม่มีการให้น้ำ�หนัก
236
เป็นพิเศษแก่กลุ่มภาษาใดภาษาหนึ่ง ประธานกรรมการหมุนเวียนไประหว่าง กลุ่มภาษาทั้งห้ากลุ่ม หอการค้าจีนได้ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ.2451 หอการค้าได้ก่อตั้งที่เอ้หมิงและ ซัวเถา เพื่อช่วยทางการท้องถิ่นในการจัดระเบียบการอพยพของชาวจีนและ เพื่อส่งเสริมการค้าของคนจีนแข่งขันกับพวกตะวันตก ขณะที่ในสยามพวกนัก ธุรกิจชาวยุโรปได้ตั้งหอการค้ากรุงเทพฯ ขึ้นในปี พ.ศ. 2441 โดยจำ�กัดเฉพาะแต่ บริษัทของชาวตะวันตกเท่านั้นที่เป็นสมาชิกได้ การแข่งขันจากวิสาหกิจของ ชาวตะวันตกที่เติบใหญ่ขึ้นทุกที ไม่ว่าในกิจการเดินเรือการนำ�เข้าและส่งออก สินค้า การตั้งโรงสี โรงเลื่อย การธนาคาร ดังนั้นพ่อค้าคนจีนประกอบอาชีพ ประเภทเดียวกันจึงจำ�เป็นที่จะต้อง ขจัดข้อแตกต่างระหว่างกันและร่วมกัน ก่อตั้งหอการค้าขึ้นมาบ้างเพื่อผลประโยชน์ร่วมกัน มีบริษัทห้างร้านต่างๆเป็น สมาชิก โดยมีเจ้าของหรือผู้จัดการเป็นตัวแทนในระยะแรก เจ้าหน้าที่บริหาร มีประธาน,รองประธานและคณะกรรมการบริหาร 10 คนและสภาที่ปรึกษา 40 คนแต่หลังจากตั้งสาธารณรัฐจีนแล้วก็ตัดให้เหลือเพียงคณะกรรมการ 30 คน มีประธานและรองประธานอย่างละ 1 คน มีอายุการทำ�หน้าที่คราวละ 2 ปี ธรรมนูญไม่ได้มีข้อจำ�กัดหรือแบ่งสันปันส่วนตำ�แหน่งกรรมการระหว่างกลุ่ม ภาษาต่างๆแต่เป็นที่เข้าใจกันเองว่าอัตราส่วนโดยประมาณของสมาชิกที่เป็น คนในกลุ่ม ในปีแรกๆตัวประธานจะเป็นคนแต้จิ๋วทั้งหมด และการประชุมก็ใช้ ภาษาแต้จิ๋ว ภายในเวลาไม่กี่ปีหลังจากมีการก่อตั้งหอการค้านี้ ก็ได้มีอำ�นาจและ หน้าที่กว้างขวางมากกว่าหอการค้ากรุงเทพฯ ของชาวยุโรปเสียอีก หอการค้า กลายเป็นองค์กรที่สำ�คัญที่สุดของคนจีนในกรุงเทพฯ โดยได้เป็น “องค์กร” ที่เป็นตัวแทนของชุมชนชาวจีนทั้งปวง ประธานองค์กรนี้ได้กล่าวถวาย พระพรในนามชุมชนชาวจีนทั้งหมดในวันราชาภิเษกของพระบาทสมเด็จ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ในปี พ.ศ.2454 ในฐานะที่เป็นองค์กรที่ก่อตั้งขึ้นโดย มีระเบียบถูกต้องตามกฎหมาย หอการค้าจึงรับแต่บริษัท, ห้างร้านที่ถูกต้อง ตามกฎหมายและมีชื่อเสียงเป็นที่เชื่อถือ เมื่อชื่อเสียงหอการค้านี้โด่งดังยิ่งขึ้น ในประชาคมชาวจีน เจ้าหน้าที่ของหอการค้าจึงได้กลายเป็นผู้นำ�ของชุมชน
237
ชาวจีนที่ทุกคนยอมรับ พื้นฐานทางเศรษฐกิจของผู้นำ�รุ่นใหม่นี้แตกต่างไป จากพวกรุ่นเก่า ผลประโยชน์ของพวกนี้อยู่ที่การดำ�เนินงานอย่างรวดเร็วใน กิจการเช่น โรงสี ธนาคารและประกันภัย การเดินเรือกลไฟ การส่งออกและนำ� เข้าสินค้า ผู้นำ�รุ่นเยาว์มีทัศนคติและความมุ่งมั่นที่ดีในการช่วยประสานช่อง ว่างแบ่งแยกคนกลุ่มภาษาต่างๆออกจากกัน เช่น หวู่จว่อหนาน คนจีนแคะที่ เป็นเจ้าของโรงเลื่อยจำ�นวนมาก หวินจู๋กิง คนไหหลำ�ที่ทำ�ธุรกิจในการนำ�เข้า ส่งออกสินค้าและการเดินเรือและหลูเตี๋ยฉวน คนแต้จิ๋วเจ้าสัวในกิจการโรงสี ข้าว ทั้งสามคนสนิทสนมกันตั้งแต่วัยเยาว์และได้ร่วมกันทำ�งานอย่างใกล้ชิด ในองค์กร เช่น โรงพยาบาลเทียนฟ้าและหอการค้าจีน เพื่อผลประโยชน์ของ ชุมชนชาวจีนทั้งหมด ในระยะเวลาหลายสิบปีหลังจากการตั้งหอการค้า ได้มีการตั้งสมาคม ธุรกิจของชาวจีนขึ้นอีกหลายสมาคมโดยผู้นำ�รุ่นใหม่ เช่น สมาคมธุรกิจ ประกันภัยในปี พ.ศ. 2460 สมาคมพ่อค้าข้าว ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2462เป็นเวลา ช่วงปลายสงครามโลกครั้งที่1สังคมชาวจีนในกรุงเทพฯ ( จุลนครฯ ) กลายเป็น ประชาคมที่มีเอกลักษณ์ มีหนังสือพิมพ์ของตนเองสำ�หรับคนทุกกลุ่มภาษา อ่าน มีการแสดงความจงรักภักดีต่ออุดมการณ์ชาตินิยมเหมือนกัน มีสถาบัน ที่ให้การสงเคราะห์แก่สมาชิกโดยคนทั้งห้ากลุ่มภาษาได้ร่วมมือกันดำ�เนินการ อย่างได้ผลและยิ่งไปกว่านั้นประชาคมนี้มีหัวหน้าที่มีชื่อเสียงเป็นที่เชื่อถือใน รูปของเจ้าหน้าที่ของหอการค้าซึ่งสามารถเจรจาแทนคนจีนทั้งหมดได้ การจัดตั้งองค์กรสมาคมของแต่ละกลุ่มภาษาของชาวจีนนอกจาการ ดำ�เนินกิจกรรมเพื่อช่วยเหลือผู้ยากไร้แล้ว สมาคมฯเหล่านั้นยังดำ�เนินการ พัฒนาสังคมเช่นการก่อตั้งโรงเรียน เพื่อให้ประชาคมชาวจุลนครฯเติบโตไป ข้างหน้าอย่างมีคุณภาพซึ่งนับเป็นการแสดงถึงจิตวิญญาณแห่งการสร้าง สังคมอันทรงคุณค่าของประชาคมที่แท้จริง แนวคิดในการก่อตั้งหอการค้าจีน นี้นอกจากจะก่อตั้งเพื่อผลประโยชน์โดยตรงของพ่อค้าจีนเองก็ตาม แต่การ รวมตัวกันในลักษณะร่วมมือกันอย่างมีจิตวิญญานแห่งสามัคคีธรรมนี้ทำ�ให้ การดำ�เนินงานสามารถบรรลุผลสำ�เร็จตามจุดมุ่งหมายเป็นอย่างดี
238
จิตวิญญานคือรากเหง้าแห่งความเชื่อ ทัศนคติ วิถีปฏิบัติในการดำ�เนินชีวิต ที่ฝังแน่นอยู่ในบุคคลหรือกลุ่มบุคคลนั้นๆซึ่งบางครั้งอยู่เหนือเกินกว่าที่จะอธิบายด้วย เหตุผลและตรรกให้เข้าใจ อันเป็นผลมาจากศาสนาที่นับถือ คำ�สอน หรือหลักปรัชญา ที่ก่อให้เกิกความเชื่อความศรัทธาจากรุ่นสู่รุ่นสั่งสมกันมา เช่นจิตวิญญานในการ ทำ�ความดีของคนไทยจากการนับถือในศาสนาพุทธที่เชื่อในเรื่องของกรรม เรื่องของ นรกสวรรค์ในความเชื่อตามศาสนาพราหมณ์เป็นต้น สำ�หรับชาวเอเซียตะวันออกเช่น ประเทศจีน เกาหลีและญี่ปุ่น ส่วยใหญ่ล้วนยึดถือคำ�สอนของขงจื้อเป็นหลักในการพำ� เนินชีวิตทั้งสิ้น สำ�หรับชาวจีนแล้วคำ�สอนของขงจื้อเป็นทั้งศาสนาและหลักปรัชญาที่ ชาวจีนเคารพนับถือและศรัทธา เป็นแบบแผนในการศ๊กษาของชนในชาตื เป็นแนวทาง แห่งการดำ�เนืนชีวิตของทุหคนใม่ว่าผู้ปกครองหรือราษฎร เนื่องจากคำ�สอนของขงจื้อ ใช้เป็นหลักการอันชอบธรรมและเป็นเป็นบรรทัดฐานของกฏหมายที่ใช้จักระเบียบ สังคมและการปกครองประเทศมานานนับสหัสวรรษ ดังนั้นจึงเป็นธรรมดาที่ทำ�ให้ตำ� สอนของขงจื้อกลายเป็นส่วนหนึ่งจิตวิญญานชองชนชาวจึนใม่ว่าจะมีการแปรเปลี่ยน กาลเวลาสภาพแวดล้อมหรือถิ่นอาศัยก็ตามซึ่งในคำ�สอนอันเป็นโอวาทธรรมสี่ประการ ที่เกี่ยวข้องกับสังคมมาสะท้อนถึงจิตวิญญานและใช้เป็นวิถีแห่งการดำ�เนินชีวิตชอง ประชาคมชาวจีนในประเทศไทยดังที่ปรากฎให้เห็นจากที่ได้กล่าวไว้ช้างต้นนึ้เป็นพิเศษ แก่กลุ่มภาษาใดภาษาหนึ่ง ประธานกรรมการหมุนเวียนไประหว่างกลุ่มภาษาทั้งห้า กลุ่ม หอการค้าจีนได้ก่อตั้งเมื่อปี.พ.ศ.2451.หอการค้าได้ก่อตั้งที่เอ้หมิงและซัวเถา เพื่อช่วยทางการท้องถิ่นในการจัดระเบียบการอพยพของชาวจีนและเพื่อส่งเสริมการ ค้าของคนจีนแข่งขันกับพวกตะวันตก ขณะที่ในสยามพวกนักธุรกิจชาวยุโรปได้ตั้ง หอการค้ากรุงเทพฯ.ขึ้นในปี.พ.ศ..2441.โดยจำ�กัดเฉพาะแต่บริษัทของชาวตะวันตก เท่านั้นที่เป็นสมาชิกได้ การแข่งขันจากวิสาหกิจของชาวตะวันตกที่เติบใหญ่ขึ้นทุกที ไม่ว่าในกิจการเดินเรือการนำ�เข้าและส่งออกสินค้า การตั้งโรงสี โรงเลื่อย การธนาคาร ดังนั้นพ่อค้าคนจีนประกอบอาชีพประเภทเดียวกันจึงจำ�เป็นที่จะต้อง ขจัดข้อแตกต่าง ระหว่างกันและร่วมกันก่อตั้งหอการค้าขึ้นมาบ้างเพื่อผลประโยชน์ร่วมกันมีบริษัทห้าง ร้านต่างๆเป็นสมาชิกโดยมีเจ้าของหรือผู้จัดการเป็นตัวแทนในระยะแรก เจ้าหน้าที่ บริหารมีประธาน,รองประธานและคณะกรรมการบริหาร 10 คนและสภาที่ปรึกษา 40 คน แต่หลังจากตั้งสาธารณรัฐจีนแล้วก็ตัดให้เหลือเพียงคณะกรรมการ 30 คน มีประธาน
239
และรองประธานอย่างละ 1 คน มีอายุการทำ�หน้าที่คราวละ 2 ปี ธรรมนูญไม่ได้มีข้อ จำ�กัดหรือแบ่งสันปันส่วนตำ�แหน่งกรรมการระหว่างกลุ่มภาษาต่างๆแต่เป็นที่เข้าใจ กันเองว่าอัตราส่วนโดยประมาณของสมาชิกที่เป็นคนในกลุ่ม ในปีแรกๆตัวประธาน จะเป็นคนแต้จิ๋วทั้งหมด และการประชุมก็ใช้ภาษาแต้จิ๋ว ภายในเวลาไม่กี่ปีหลังจากมีการก่อตั้งหอการค้านี้ ก็ได้มีอำ�นาจและหน้าที่ กว้างขวางมากกว่าหอการค้ากรุงเทพฯ ของชาวยุโรปเสียอีก หอการค้ากลายเป็น องค์กรที่สำ�คัญที่สุดของคนจีนในกรุงเทพฯ.โดยได้เป็น.“องค์กร”.ที่เป็นตัวแทนของ ชุมชนชาวจีนทั้งปวง ประธานองค์กรนี้ได้กล่าวถวายพระพรในนามชุมชนชาวจีน ทั้งหมดในวันราชาภิเษกของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ในปี.พ.ศ.2454 ในฐานะที่เป็นองค์กรที่ก่อตั้งขึ้นโดยมีระเบียบถูกต้องตามกฎหมาย หอการค้าจึง รับแต่บริษัท, ห้างร้านที่ถูกต้องตามกฎหมายและมีชื่อเสียงเป็นที่เชื่อถือ เมื่อชื่อเสียง หอการค้านี้โด่งดังยิ่งขึ้นในประชาคมชาวจีน เจ้าหน้าที่ของหอการค้าจึงได้กลายเป็น ผู้นำ�ของชุมชนชาวจีนที่ทุกคนยอมรับ พื้นฐานทางเศรษฐกิจของผู้นำ�รุ่นใหม่นี้แตก ต่างไปจากพวกรุ่นเก่า ผลประโยชน์ของพวกนี้อยู่ที่การดำ�เนินงานอย่างรวดเร็วใน กิจการเช่น โรงสี ธนาคารและประกันภัย การเดินเรือกลไฟ การส่งออกและนำ�เข้า สินค้า ผู้นำ�รุ่นเยาว์มีทัศนคติและความมุ่งมั่นที่ดีในการช่วยประสานช่องว่างแบ่งแยก คนกลุ่มภาษาต่างๆออกจากกัน เช่น หวู่จว่อหนาน คนจีนแคะที่เป็นเจ้าของโรงเลื่อย จำ�นวนมาก หวินจู๋กิง คนไหหลำ�ที่ทำ�ธุรกิจในการนำ�เข้าส่งออกสินค้าและการเดิน เรือและหลูเตี๋ยฉวน คนแต้จิ๋วเจ้าสัวในกิจการโรงสีข้าว ทั้งสามคนสนิทสนมกันตั้งแต่ วัยเยาว์และได้ร่วมกันทำ�งานอย่างใกล้ชิดในองค์กร เช่น โรงพยาบาลเทียนฟ้าและ หอการค้าจีน เพื่อผลประโยชน์ของชุมชนชาวจีนทั้งหมด ในระยะเวลาหลายสิบปีหลังจากการตั้งหอการค้า ได้มีการตั้งสมาคมธุรกิจ ของชาวจีนขึ้นอีกหลายสมาคมโดยผู้นำ�รุ่นใหม่.เช่น.สมาคมธุรกิจประกันภัยในปี พ.ศ..2460.สมาคมพ่อค้าข้าวก่อตั้งในปี.พ.ศ..2462.เป็นเวลาช่วงปลายสงครามโลก ครั้งที่.1.สังคมชาวจีนในกรุงเทพฯ..(.จุลนครฯ.)..กลายเป็นประชาคมที่มีเอกลักษณ์ มี หนังสือพิมพ์ของตนเองสำ�หรับคนทุกกลุ่มภาษาอ่าน มีการแสดงความจงรักภักดีต่อ อุดมการณ์ชาตินิยมเหมือนกัน มีสถาบันที่ให้การสงเคราะห์แก่สมาชิกโดยคนทั้งห้า กลุ่มภาษาได้ร่วมมือกันดำ�เนินการอย่างได้ผลและยิ่งไปกว่านั้นประชาคมนี้มีหัวหน้า
240
ที่มีชื่อเสียงเป็นที่เชื่อถือในรูปของเจ้าหน้าที่ของหอการค้าซึ่งสามารถเจรจาแทนคนจีน ทั้งหมดได้ การจัดตั้งองค์กรสมาคมของแต่ละกลุ่มภาษาของชาวจีนนอกจาการดำ�เนินกิจกรรม เพื่อช่วยเหลือผู้ยากไร้แล้ว สมาคมฯเหล่านั้นยังดำ�เนินการพัฒนาสังคมเช่นการก่อตั้ง โรงเรียน เพื่อให้ประชาคมชาวจุลนครฯเติบโตไปข้างหน้าอย่างมีคุณภาพซึ่งนับเป็นการ แสดงถึงจิตวิญญาณแห่งการสร้างสังคมอันทรงคุณค่าของประชาคมที่แท้จริง แนวคิด ในการก่อตั้งหอการค้าจีนนี้นอกจากจะก่อตั้งเพื่อผลประโยชน์โดยตรงของพ่อค้าจีน เองก็ตาม แต่การรวมตัวกันในลักษณะร่วมมือกันอย่างมีจิตวิญญานแห่งสามัคคีธรรมนี้ ทำ�ให้การดำ�เนินงานสามารถบรรลุผลสำ�เร็จตามจุดมุ่งหมายเป็นอย่างดี
241
242
บรรพปัจฉิม
บทสรุปของไตรลักษณ์แห่งชาติพันธุ์ ชาวจีนในประเทศไทยรวมทั้งชาวไทยเชื้อสายจีนมีลักษณะและคุณสมบัติอัน เป็นเอกลักษณ์ที่แตกต่างกับชาวไทยหรือชาวไทยเชื้ออื่นๆอย่างเด่นชัด แม้ว่าทั้งหมด ไม่มีความแปลกแยกในด้านของความสำ�นึกของความเป็นพลเมืองสัญชาตืไทย มี ความภูมิใจ ตวามรักชาติไทยเช่นเดียวกันหรือแม้กระทั่งการแต่งงานกับชาวไทยเชื้อ สายอื่นๆก็ตาม เนื่องจากเอกลักษณ์ของเชื้อชาติจีนนี้มีประวัติที่สั่งสมมาช้านาน เพื่อ ให้เห็นภาพของการสำ�แดงเอกลักษณ์ของชนชาติจีนในไทยทั้งสามด้านได้ชัดเจน ยิ่งชึ้นนั้น ผู้เขียนจึงขอเสนอกลยุทธในการวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์ของศาสตราจารย์ ฟิลิป คอทเลอร์ ( Philip Kotler )ซึ่งศาสตราจารย คอทเลอร์เป็นศาสตราจารย์ทางด้าน การตลาดที่มีชื่อเสียงชาวสหรัฐอเมริกาได้กล่าวไว้ว่า ผลิตภัณฑ์ทุกตัวจะประกอบ สามภาคส่วนคือส่วนแรกที่เป็นแก่นกลาง ( Core ) คือส่วนที่เป็นรูปธรรม (Tangible ) สามารถจับต้องได้ ส่วนที่สองส่วนเปลือกชั้นใน ( Inner Shell ) คือส่วนที่เป็นกึ่ง นามธรรม ( Semi-Tangible ) กึ่งจับต้องได้กึ่งรู้สึกได้ ส่วนที่สามส่วนเปลือกนอก ( Outer Shell ) คือส่วนที่เป็นนามธรรม ( Tangible ) แม้ไม่สามารถจับต้องได้ก็ตามแต่ เป็นส่วนหนึ่งที่สำ�คัญมีมูลค่าของผลิตภัณฑ์โดยยกตัวอย่างของผลิตภัณฑ์ยาสีฟัน ส่วนแรกส่วนเแก่นกลาง ( Core Product ) ที่เป็นรูปธรรมคือส่วนที่เป็นตัวเนื้อยาสีฟัน ซึ่งเป็นเนื้อผลิตภัณฑ์หลัก ส่วนที่สองส่วนเปลือกชั้นใน ( inner shell ) คือส่วนที่เป็น กึ่งนามธรรมได้แก่บรรจุภัณฑ์ซึ่งเป็นเส่วนของผลิตภัณฑ์รอง ส่วนที่สามส่วนเปลือก นอก ( Outer Shell ) คือส่วนที่เป็นนามธรรมในที่นึ้คือค่านิยม ( Brand Image ) ของ ผลิตภัณฑ์ ดังนั้นจะเห็นว่าผลิตภัณฑ์จะต้องประกอบองค์ประกอบทั้งสามส่วนดัง กล่าวนี้จึงจะแสดงภาพที่สมบูรณ์เพื่อสามารถใช้ในการประเมินอัตลักษณ์และมูลค่า ได้ ในกรณีการบ่งบอกตัวตนและคุณค่าของบุคคลหรือสังคมหนึ่งสังคมใดก็ตาม ผู้ เขียนจึงขอใช้หลักการวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์ของศาสตราจารย์คอทเลอร์มาเป็นเครื่อง มือในการแสดงให้เห็นตัวตนและคุณลักษณะของชนชาติชาวจีนในสยามอันเป็นอัต ลักษณ์สามด้านคือ อัตลักษณ์ทางสังคมและวัฒนธรรม อัตลักษณ์ทางวานิชย์ธุรกิจ และอัตลักษณ์ทางด้านจิตวิญญานประชาคม อัตลักษณ์ทั้งสามด้านจึงการแสดงให้ เห็นถีงตัวตนแห่งชาติพันธุ์ได้อย่างดี ...
243
ชาวจีนเริม่ นิยมอพยพเข้าสูป่ ระเทศไทยในปลายสมัยกรุงศรีอยุธยา โดยเริม่ ต้นจากการเป็นพ่อค้าเดินเรือสำ�เภาค้าขาย ต่อมาก็น�ำ คนจากเมืองจีนเพือ่ ทำ�งานต่างๆ ทีใ่ ช้วทิ ยาการสูงกว่าเช่นงานด้านก่อสร้างอาคาร งานด้านจัดการงานค้าขายเป็นต้น นอกจากนี้ช ายฉกรรณ์ ช าวจี น บางส่ ว นยั ง สมั ค รใจทำ � หน้ า ที่เ ป็ น ทหารรั ก ษาราช อาณาจักรด้วย โดยเฉพาะอย่างยิง่ หลังเสียกรุงศรีอยุธยาครัง้ ทีส่ องในปี พศ. 2310 ชาว จีนจำ�นวนมากอยู่ในกองกำ�ลังกู้ชาติของพระเจ้าตากสินมหาราชซึ่งชาวจีนถือว่าเป็น พระมหากษัตริยท์ ม่ี เี ชือ้ สายเป็นคนจีนเช่นกัน ต่อมารัชกาลในสมัยพระบาทสมเด็จพุทธ ยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชชาวจีนจำ�นวนมากอพยพเข้ามามากขึ้นเนื่องจากกรุงเทพมี การก่อสร้างราชธานี มีการสร้างปราสาทราชวัง ตำ�หนักอาคาร วัดวาอาราม มากมาย ต้องอาศัยช่างจากเมืองจีนทีม่ ที กั ษะมากกว่า การค้าขายระหว่างประเทศขยายตัว มากขึน้ ความต้องการทักษะและวิทยาการจากคนจีนจำ�นวนมาก ฯลฯ ชาวจีนทีอ่ ยูใ่ น กรุงรัตนโกสินทร์ส่วนใหญ่อยู่บริเวณที่เป็นท่าเตียนแต่อันเนื่องจากเหตุผลทางด้าน ทัศนียภาพและความมัน่ คงเพราะอยูใ่ กล้กบั พระราชฐานเกินไป ดังนัน้ ในสมัยพุทธยอด ฟ้าจุฬาโลกมหาราชจึงโปรดกล้าให้ชุมชนชาวจีนย้ายไปยังบริเวณสำ�เพ็งจนกลายเป็น ย่านทีเ่ ป็นเมีองหลวงแห่งชุมชนชาวจีนหรือจุลนครฯของชาวไทยเชือ้ สายจีนในปัจจุบนั ..
244
การปกครองสมัยต้นกรุงรัตนโกสินทร์เป็นการปกครองแบบศักดินา ( คล้าย กับระบบศักดินา Feudalism ของยุโรปสมัยกลาง ) สืบต่อจากการปกครองในสมัยกรุง ศรีอยุธยาคือพระมหากษัตริย์คือศูนย์รวมอำ�นาจการปกครองของราชอาณาจักร ถัด ลงมาคือเสนาบดีสำ�คัญทั้งสี่ที่เรียกว่า “จตุสดมภ์” ซึ่งประกอบด้วยเวียง วัง คลัง นา นอกจากทำ�หน้าที่ประจำ�แล้วยังแบ่งหน้าที่คูแลหัวเมืองและประเทศราช มีข้าราชการ ขั้นยศลำ�ดับขั้นลงมาคือสมเด็จเจ้าพระยา เจ้าพระยา พระยา พระ จมื่น หลวง ฯลฯ ข้าราชการเหล่านี้จะได้รับพระราชทานที่นาเพื่อเป็นที่ดินหารายได้และพลเมืองใน การปกครองที่ใช้งานแรงงานและทำ�หน้าทหารยามศึกสงครามที่รียกว่า“ไพร่”โดยมี ปริมาณจำ�นวนตามลำ�ดับขั้นยศ ต่อมาพระบาทสมเด็จพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ได้ปรับเปลี่ยนกฎหมายจากกฎหมายจตุสดมภ์มาเป็นกฎหมายตราสามดวงโดยเปลี่ยน เสนาบดีสำ�คัญให้เหลือสามคนคือ สมุหกลาโหม สมุหนายก และบัวแก้วแบ่งหน้าที่ คูแลหัวเมืองและประเทศราชแทน โดยข้าราชการถัดลงมาก็ยังคงเหมือนเดิม บัวแก้ว หรือเจ้าพระยาพระคลังมีหน้าที่ดูแลกิจการด้านต่างประเทศและการค้าขาย ส่วนใน ด้านการปกครองดูแลคนจีนนั้นพระมหากษัตริย์ทรงปกครองโดยผ่านทางเจ้าพระยา พระคลัง โดยเจ้าพระยาพระคลังจะแต่งตั้งเจ้ากรมท่าซ้ายซึ่งเป็นชาวจีนทีมีฐานะดีและ เป็นที่เคารพนับถือในหมู่คนจีนด้วยกันมีตำ�แหน่งพระยาโชฎึกเศรษฐีทำ�หน้าที่ปกครอง แทน ดังนั้นสังคมชาวจึน สมัยนั้นจึงเสมือนหนึ่งปกครองกันเอง สัมพันธภาพของชาว จีนกับราชสำ�นักและข้าราชมริพารก็อยู่ร่วมกันอย่างสงบสุข มีการแต่งงานระหว่าง ชาวจีนกันบุตรหลานของข้าราชบริพาร....เชื้อพระวงค์....แม้กระทั่งการถวายตัวรับใช้ เบื้องพระยุคลบาทของกุลธิดาชาวจีน ชาวจึนทั่วไปเมื่อเข้ามาประเทศไทยจะต้องเสีย ค่าธรรมเนียมเรียกว่าค่าผูกปี๊หรือค่าผูกข้อมือเหมือนกับค่าส่วยของไพร่กรณีใช้แทน ค่าแรงงาน พระมหากษัตริย์ เชื้อพระวงค์ ข้าราชบริพาร ล้วนรับเอาศิลปวัฒนธรรมเข้า มาเช่นวรรณกรรม ประเพณี อาหารการกิน การก่อสร้างวัดวาอาราม เป็นต้น ...
...
สมัยต้นกรุงรัตนโกสินทร์พลเมืองไทยหรือไพร่ชาวไทยส่วนใหญ่มีอาชีพ หลักคือการทำ�นา มีการทำ�ไร่บ้างในภายหลังเช่นการทำ�ไร่อ้อยเมื่อมีความต้องการ จากต่างประเทศ ทำ�ไร่ประเภทอื่นๆบ้าง มีการทำ�สวนผักผลไม้บ้างเล็กน้อย การเก็บ ของป่าหรือรังนกบ้าง การค้าขายก็อยู่ในวงจำ�กัดเนื่องจากขาดพ่อค้าคนกลาง การ คมนาคมติดต่อ การถนอมเก็บรักษาผลิตภัณฑ์เป็นต้น สมัยต้นกรุงรัตนโกสินทร์
245
รัชกาลที่ 1 และรัชกาลที่ 2 ตอนต้นประเทศไทยยังต้องพะวงกับศึกสงครามกับประเทศ เพื่อนบ้านและยังต้องใช้ค่าใช้จ่ายในการบูรณะราชธานีทำ�ให้ระบบเศรษฐกิจกรุง รัตนโกสินทร์ไม่รุ่งเรืองนัก แต่เดิมราชสำ�นักและข้าราชบริพารมีรายได้จากค่าเช่าที่ นาและค่าส่วยจากไพร่เป็นหลักซึ่งบางครั้งก็ไม่ค่อยพอ ดังนั้นราชสำ�นักจึงต้องหาวิธี การเพื่อหารายได้อี่นๆมาใช้เช่นการจัดเก็บค่าธรรมเนียมและภาษีประเภทต่างๆการ ค้าขายผูกขาดบางประเภท การค้าขายระหว่างประเทศ เป็นต้น..ซึ่งทั้งหมดนี้ราช สำ�นักต้องพึ่งพาชาวจีนซึ่งมีความรู้ทักษะประสพการณ์ในวิทยาการด้านการจัดการ วาณิชย์ธุรกิจเข้ามาช่วยเหลือชาวจีนเหล่านี้ที่เรียกกันว่าเจ้าสัว นอกจากทำ�หน้าที่ เป็นพ่อค้าค้าขายระหว่างประเทศยังทำ�หน้าเป็นที่ปรึกษาหรือทำ�หน้าที่ตัวแทนด้าน การค้าระหว่างประเทศในกิจการของรัฐเป็นที่ปรึกษาวางแผนนโยบายด้านการค้า เป็นผู้ผู้รับเหมาจัดเก็บแทนด้านค่าธรรมเนียมภาษีของรัฐตลอดจนเป็นข้าราชการ ปฏิบัติหน้าในกิจการอื่นๆของรัฐเป็นต้น ขณะเดียวกันชาวจีนก็เองก็เริ่มอพยพจาก บ้านเกิดสู่โพ้นทะเลเพื่อแสวงหาโอกาสชีวิตที่ดีกว่าในต่างแดน ในกรุงรัตนโกสินทร์ กำ�ลังบูรณะเมืองจึงต้องการช่างก่อสร้างรวมทั้งแรงงานโดยเฉพาะอย่างยิ่งงานปูน เพราะช่างคนไทยถนัดแต่งานก่อสร้างด้วยไม้เป็นส่วนใหญ่ วิทยาการก่อสร้างอาคาร ขนาดใหญ่ เช่น..พระราชวัง ตำ�หนัก อุโบสถ วัดวาอาราม ยังต้องอาศัยช่างชาวจีน ที่มีทักษะประสพการณ์และได้วิทยาการก่อสร้างสมัยใหม่ซึ่งได้รับการถ่ายทอดจาก ชาวยุโรปอีกทีหนึ่งมาเป็นผู้ก่อสร้าง การทำ�หน้าที่พ่อค้าคนกลางค้าปลีกค้าส่ง การ ทำ�การเกษตรแขนงอื่นๆที่ไม่ใช่การทำ�นา ฯลฯ ล้วนเป็นโอกาสให้ชาวจีนอพยพเข้าสู่ กรุงรัตนโกสินทร์มากขึ้น ในสมัยรัชกาลที่ 3 การสงครามกับประเทศเพื่อนบ้านยุติ ลงพระองค์ทรงร่วมกับชาวจีนค้าขายกับชาวต่างชาติ ทำ�ให้ราชสำ�นักมีรายได้เข้าสู่ ท้องพระคลังอย่างมากมาย มีการก่อสร้างวัดวาอารามโดยอิงกับศิลปจีนหลายแห่ง วรรณกรรมจีนแปลเป็นภาษาไทยหลายเรื่อง ยุคนี้จึงถือได้ว่าชาวจีนนอกจากเป็น ชาวต่างถิ่นที่เข้ามาพึ่งพระโพธิสมภารยังเป็นข้าราชบริพาร..เป็นหุ้นส่วนทางธุรกิจ เป็นอาคันตุกะของพระองค์อีกด้วย ...
...
246
ชาวจีนทีอ่ พยพเข้ามาเมืองไทยส่วนใหญ่เป็นชาวจีนทีอ่ าศัยอยูใ่ นจังหวัดเฉาโจว หรือแต้จื๋ว มณฑลกวางตุ้งซึ่งจะพูดภาษาจีนแต้จิ๋ว นอกจากนี้จะมีชาวจีนภาษาพูด อื่นๆคละเคล้าปะปนอยู่ได้แก่ชาวจีนที่อาศัยอยู่ในจังหวัดอื่นๆของ มณฑลกวางตุ้งซึ่งจะ พูดภาษาจีนกวางตุ้ง ชาวจีนกวางตุ้งเป็นชาวจีนที่มีความสามารถมีทักษะทางด้านช่าง และวิทยาการสมัยใหม่เพราะอาศัยอยู่ในเมืองท่าขนาดใหญ่ที่ติดต่อกับชาวตะวันตก เช่นเมืองกวางโจว, เกาะฮ่องกงเป็นต้นแต่ชาวจีนกวางตุ้งนิยมเดินทางไปทำ�งานในดิน แดนตะวันตกมากกว่าเพราะชาวจีนกวางตุ้งมีศักยภาพสูงสามารถหาเงินได้มากกว่า ชาวจีนที่อาศัยอยู่มณฑลฟู่เจี้ยนซึ่งจะพูดภาษาจีนฮกเกี้ยนส่วนใหญ่อยู่ทางภาคใต้ ของไทยเนึ่องจากชาวจีนฮกเกี้ยนส่วนใหญ่นิยมเดินทางไปมลายู สิงคโปร์มากกว่าชาว จีนแคะหรือฮากกาจะอาศัยปนอยู่กับชาวจีนอื่นๆในมณฑลกวางตุ้งหรือฟู่เจี้ยนซึ่งจะ พูดภาษาจีนแคะหรือฮากกา ชาวจีนแคะมีทักษะคล้ายๆกับคนแต้จิ๋วจึงอาศัยปนๆอยู่ ไปกับคนแต้จิ๋ว สุดท้ายคือชาวจีนที่อาศัยอยู่ในเกาะไห่หนานซึ่งจะพูดภาษาจีนไหหลำ� ชาวจีนไหหลำ�เป็นชาวจีนที่มีนิสัยรักการผจญภัยเข้ากับคนไทยท้องถิ่นได้ดีทำ�ให้ชาว จีนไหหลำ�สามารถแทรกซึมเข้าไปตามภูมิภาคทั่วประเทศไทยก่อนชาวจีนภาษาพูด อื่นๆ ...
...
... หลังการทำ�ข้อตกลงในสนธิสัญญาเบาริ่งระหว่างราชอาณาจักรไทยกับอังกฤษ ในปี พ.ศ. 2398 โดยอังกฤษฯหวังให้พ่อค้าชาวอังกฤษฯสามารถขยายอิทธิพลทาง ด้านการค้า ( รวมทั้งอิทธิพลทางด้านการเมืองและอิทธิพลทางด้านอื่นๆ ) เข้ามาสู่ดิน แดนสยามได้ สาระสำ�คัญๆในสนธิสัญญาเบาริ่งคือการชาวอังกฤษและคนในอาณัติ ของอังกฤษไม่ต้องอยู่ใต้กฎหมายและศาลไทยเรียกว่าระบบสิทธิสภาพนอกอาณาเขต ชาวอังกฤษสามารถพักอาศัยและสามารถที่จะเดินทางทั่วทุกแห่งในราชอาณาจักร สามารถครอบครองที่ดินนอกเขต 200 เส้นหรือ 8 กิโลเมตรจากราชฐาน ได้มีการ ยกเลิกระบบสินค้าผูกขาดและภาษีอากรที่ไม่เป็นธรรมเพื่อให้ชาวอังกฤษสามารถ แข่งขันด้านการค้ากับชาติอื่นได้อย่างเสรีและอนุญาติให้ค้าขายฝิ่นได้ เป็นต้น หลัง จากนั้นชาติตะวันตกอื่นๆก็ทำ�สนธิสัญญาในลักษณะคล้ายกันกับราชอาณาจักรสยาม ตามมา สนธิสัญญาเบาริ่งก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างมากมายไม่ว่าการเมือง การปกครองสังคมและเศรษฐกิจของราชอาณาจักรสยามรวมทั้งประชาสังคมชาวจีน ในประเทศด้วยเพือ่ ให้สามารถรองรับการขยายอิทธิพลการล่าเมืองขึน้ ของชาติตะวันตกและ ...
...
...
... ..
...
...
...
... ...
...
247
การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและเศรษฐกิจราชการไทยตั้งแต่รัชสมัยรัชกาลที่ 5 ลงมา ตามแบบอย่างมาตรฐานสากลโดยมีการปฎิรูปการปกครองอย่างมากมาย เช่น การ ปฎิรูปทางด้านการบริหารเพื่อให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทยโดย การแบ่งแยกจัดระเบียบความรับผิดชอบตามลักษณะงานคือแบ่งเป็นกระทรวงทบวง กรมเพื่อใช้ดูแลกิจการงานต่างๆที่เพิ่มขึ้นตามสังคมที่วิวัฒนาการไป ประชาชนของ ประเทศที่เดิมเรียกว่าไพร่หรือคนที่เป็นทาสก็ถูกยกเลิกไป ทุกคนที่ทำ�งานจะได้เบี้ย หวัดเงินเดือนตามลักษณะงานหรือความสมัครใจทั้งสองฝ่าย ในสนธิสัญญาเบาริ่ง ระบบสิทธิสภาพนอกอาณาเขตซึ่งเป็นหอกข้างแคร่สำ�หรับขบวนการยุติธรรมของ ไทย กฎหมายต่างๆของไทยไม่สามารถบังคับใช้ได้เต็มที่โดยเฉพาะอย่างยิ่งชาวจีน ในกรุงรัตนโกสินทร์ซึ่งใช้สิทธิของพลเมืองในอาณัติของชาติตะวันตก รัชกาลที่.5.และ รัชกาลที่..6..จึงต้องจ้างผู้เชี่ยวชาญจากต่างประเทศมาช่วยปรับปรุงแก้ไขระบบศาลและ กฎหมายให้เป็นที่ยอมรับของนานาประเทศซึ่งระบบสิทธิสภาพนอกอาณาเขตกว่าจะ แก้ไขได้สำ�เร็จต้องรอจนหลังสงครามโลกครั้งที่หนึ่งสิ้นสุดลงจึงสามารถทำ�ให้พลเมือง ทุกคนอยู่ภายใต้กฎหมายเดียวกันได้ การปฏิรูปทางเศรษฐกิจซึ่งแต่เดิมในระบบ ศักดินาตามกฎหมายตราสามดวงโดยในสมัยต้นรัตนโกสินทร์ระบบเศรษฐกิจไทยยัง มีขนาคเล็กรายจ่ายของประเทศก็มีไม่มากนัก แต่เมื่อราชอาณาจักรสยามเจริญเป็น อารยประเทศแล้วระบบเศรษฐกิจไทยยังมีขนาคใหญ่ขึ้นมาก ประเทศต้องจ่ายเงินค่า จ่ายของบุคคลากรไม่ว่าเป็นค่าเบี้ยหวัดเงินเดือนของข้าราชการค่าจ้างแรงงานเพราะ ไม่มีไพร่ไม่มีส่วยต่างๆที่สำ�คัญรัฐบาลไทยต้องมีการลงทุนในด้านสาธารณูปโภคต่างๆ เช่นการขุดคลอง สร้างถนน รถไฟ การไปรษณีย์โทรเลข การส่งเสริมด้านเกษตรฯลฯ รัฐบาลจึงต้องปรับปรุงระเบียบปฏิบัติต่างๆในด้านภาษี อัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา การ จัดระเบียบทางการค้าระหว่างประเทศและศุลการกร ฯลฯ โดยการจัดตั้งพระคลังมหา สมบัติ มีการกำ�หนดอัตราค่าเงินบาทและการแลกเปลี่ยนกับเงินตราตามระบบสากล มี การตั้งธนาคารเป็นต้น ผลพวงจากการขยายตัวทางเศรษฐกิจอย่างมโหฬารในสยาม ชาวจีนในไทยเป็นผู้ได้รับอานิสงค์จากการนี้มากที่สุด เนื่องจากชาวจีนมีทักษะและ มีประสพการณ์ทางการค้าในสยามมาก่อน แม้แต่ชาวตะวันตกยังต้องจ้างชาวจีนมา เป็นตัวแทนที่เรียกว่ากัมปะโดในการค้าขายในประเทศใทย ในธุรกิจสำ�คัญคือสินค้า เกษตรกรรมเช่นข้าว น้ำ�ตาล ฯลฯ ชาวจีนครองความได้เปรียบครบวงจรตั้งแต่การจัดหา วัตถุดิบ การแปรรูป การขนส่งทั้งภายในประเทศและระหว่างประเทศ การผูกขาดตลาด ... ...
...
...
...
248
ในต่างประเทศ ความได้เปรียบในระบบการเงินในธุรกิจ นอกจากนี้การค้าปลีกค้าส่ง สินค้าจากต่างประเทศไปสู่ภูมิภาค หรือการนำ�สินค้าท้องถิ่นนำ�มาขายในหัวเมืองหรือ ต่างประเทศชาวจีนก็ครองส่วนแบ่งเสียส่วนมากไว้ การขยายตัวทางเศรษฐกิจในสยาม ประเทศทำ�ให้เกิดการหลั่งไหลของชาวจีนอพยพเข้าสู่ประเทศไทยอย่างมาก เนื่องจาก ความต้องการแรงงานโดยตรงเช่นการสร้างทางรถไฟ การก่อสร้างอาคาร การผลิต ในอตุสาหกรรมการผลิตหรือแปรรูปสินค้าเกษตรเป็นต้น แรงงานเพื่อธุรกิจทางอ้อม เช่นทำ�การค้าทุติยภูมิหรือตติยภูมิไม่ว่างานเกษตรกรรมหัตถกรรม พนักงานค้าขาย ปลีก งานบริการต่างๆฯลฯ แรงงานจากแต้จิ๋วจะมีขบวนการจัดหาโดยบริษัทจัดหา คนงานที่เรียกว่า.“กงซี”.แต่ละกงซีจะมีเอเย่นที่เรียก“ฮอง”.หรือ.“กุลีฮอง”งซึ่งจะส่ง พนักงานหรือเอเย่นท้องถิ่นที่เรียก “เคอะโถ่ว” ( หัวหน้าอาคันตุกะ ) ไปชักชวนชายฉกร รณ์ที่จะไปทำ�งานที่เมืองไทย ค่าใช้จ่ายในการเดินทางเช่นค่าโดยสารเรือบริษัทกงซี จะจ่ายแทนให้บริษัทเดินเรือก่อน เมื่อแรงงานมาถึงเมืองไทยเข้าไปทำ�งานแล้วเจ้าของ งานที่ว่าจ้างจะจ่ายเงินค่าเรือและค่าดำ�เนินการแก่บริษัทจัดหาคนงาน และเจ้าของ งานที่ว่าจ้างจะหักเงินเหล่านั้นจากค่าเงินเดือนค่าจ้างอีกที แรงงานจะต้องถูกหักเงิน เดือนจนกว่าหนี้ค่าใช้จ่ายเดินทางจะหมด เมื่อหนี้สินหมดพวกเขาจึงมีโอกาสส่งเงิน ไปให้ญาติที่เมืองจีน การส่งเงินกลับบ้านจะส่งเงินพร้อมฝากจดหมายแจ้งสาระทุกข์ สุกดิบให้กับญาติที่เมืองจีน วิธีการส่งเงินนี้เรียกว่า “โพยก๊วน” แรกๆก็ใช้วิธีฝากคน รู้จักที่จะเดินทางกลับไปเยี่ยมบ้าน ต่อมาชาวจีนใช้บริการมากขึ้นจึงทำ�ให้มีการพัฒนา ขึ้นเป็นบริษัทโพยก๊วนซึ่งทำ�หน้าที่นี้โดยตรง บริษัทโพยก๊วนนี้มีพัฒนาการจนกลายมา เป็นส่วนหนึ่งของกิจการการเงินการธนาคาร เป็นเงินทุนหมุนเวียนในธุรกิจต่างๆของ คนจีนเช่นธุรกิจค้าข้าว ธุรกิจเดินเรือเป็นต้น ภายหลังการส่งเงินกลับมีจำ�นวนลดน้อย ลงมาก ระบบการธนาคารเข้ามายึดครองดำ�เนินการโอนเงินระหว่างประเทศทำ�ให้ บริษัทโพยก๊วนค่อยๆหายไปจากประเทศไทยในที่สุด ในปี พศ. 2475 ประเทศไทยเปลีย่ นแปลงการปกครองจากระบบสมบูรณาญา สิทธิราชมาเป็นระบอบประชาธิปไตยอันมีหระมหากษัตริยเ์ ป็นประมุขประเทศไทยประสพ ปัญหาหลายด้าน โดยเฉพาะอย่างยิง่ ด้านเศรษฐกิจอันเนือ่ งจากภาวะเศรษฐกิจตกต่�ำ ทัว่ โลกรวมทัง้ เกิดสงครามโลกครัง้ ทีส่ อง พศ. 2484 - 2488 อย่างไรก็ดชี าวจีนยังเป็นผูโ้ ดด เด่นในด้านการค้าและการผลิตสินค้าของประเทศไทยไม่วา่ จะอยูใ่ นสถานการณ์ใดก็ตาม
249
จอมพล ป.พิบูลย์สงครามนายกรัฐมนตรีกล่าวหาว่าคนจีนเป็นผู้ครอบงำ�เศรษฐกิจและ เอาเปรียบคนไทย จึงได้ออกกฎหมายและออกมาตรการต่างๆมากดดันธุรกิจของคนจีน ตลอดจนมีการตั้งวิสาหกิจเพื่อทำ�การค้าการผลิตแข่งขันกับธุรกิจของคนจีน แต่ยังไม่ ค่อยประสพผลมากนัก หลังสงครามโลกสิ้นสุดลงเมื่อจอมพลป.พิบูลย์สงครามได้กลับ เข้ามาเป็นนายกรัฐมนตรีอีกครั้งได้เปลี่ยนกลยุทธการเมืองใหม่โดยวิธีเปลี่ยนแปลง ในการลดจำ�นวนชาวจีนและธุรกิจคนจีนแทน โดยประการแรกออกพระราชบัญญัติ คนเข้าเมืองปี พศ, 2493 กำ�หนดชาวจีนเข้าประเทศไทยเป็นไปตามระเบียบของชาว ต่างด้าวเหมือนชาติอื่นๆกำ�หนดไว้ไม่เกินปีละ 200 คนซึ่งเป็นเหตุให้กระแสการอพยพ เข้าประเทศไทยของคนจีนสิ้นสุดลง ประการที่สองออกพระราชบัญญัติสนับสนุนให้ คนจีนที่มีธุรกิจอยู่โอนสัญชาติมาเป็นสัญชาติไทย ทำ�ให้ธุรกิจเหล่านั้นกลายเป็นธุรกิจ ของคนสัญชาติไทยโดยปริยาย ประการที่สามออกพระราชบัญญัติสัญชาติไทย พศ. 2498 ( ฉบับแก้ไข พศ,2496 ) กำ�หนดไว้ว่าผู้ที่กำ�เนิดในประเทศไทยให้ได้มีสัญชาติไทย ไม่ว่าบิดามารดามีสัญชาติไทยหรือไม่ก็ตามพระราชบัญญัติเหล่านี้ทำ�ให้ชาวจีนอพยพ ใหม่สิ้นสุดลง ชาวจีนต่างด้าวก็ค่อยๆล้มหายตายจากใปเหลือไว้แต่เพียงบุตรหลาน ของชาวจีนในประเทศไทยหรือที่เราเรียกขานว่าชาวไทยเชื้อสายจีนเท่านั้น
250
ในปี พศ. 2502 จอมพลสฤษดิ์ ธนรัชต์นายกรัฐมนตรีมีนโยบายนิยมสหรัฐอเมริกา และต่อต้านคอมมิวนิสต์อย่างรุนแรงซึ่งขณะนั้นประเทศจีนแผ่นดินใหญ่ปกครองโดย รัฐบาลคอมมิวนิสต์ ชาวจีนหรือชาวไทยเชื้อสายจีนใม่สามารถเดินทางไปมาระหว่าง ประเทศจีนแลประเทศไทยเป็นเรื่องผิดกฎหมายหรือการติดต่อกับญาติที่เมืองจีนยาก ลำ�บากมาก โรงรียนสอนภาษาจีนก็ล้มหายตายจากไปเนื่องจากรัฐบาลไทยตวบ คุมเข้มโดยเกรงว่าจะเผยแพร่อุดมการณ์คอมมีวนิสต์ วัฒนธรรมจีนถูกทดแทนโดย วัฒนธรรมตะวันตกทำ�ให้บุตรหลานของชาวจีนในประเทศไทยหรือชาวไทยเชื้อสาย จีนประสพปัญหาทั้งในการเรียนรู้การรับรู้วัฒนธรรมและทักษะภาษาจีน แม้กระทั่ง สิ น ค้ า จี น ซึ่ ง ประสพปั ญ หาด้ า นการผลิ ต และการขนส่ ง ทำ � ให้ ถู ก ทดแทนโดยสิ น ค้ า จากตะวันตกและญี่ปุ่นแทน ในที่สุดบุตรหลานของชาวจีนชาวไทยเชื้อสายจีนก็ผสม กลมกลืนกับสังคมไทยโดยมีการเติบโตและดำ�เนินชีวิตเฉกเช่นชาวไทยอื่นๆในประเทศ ในปีพศ. 2518 มรว.คึกฤทธิ์ ปราโมช..นายกรัฐมนตรีได้ฟื้นฟูความสัมพันธไมตรีกับ รัฐบาลสาธารณรัฐประชาชนจีนทำ�ให้การหลั่งไหลของวัฒนธรรมและการรค้าระหว่าง ไทยจีนค่อยๆกลับมารุ่งเรืองอีกครั้ง ปัจจุบันในด้านการค้าจีนกลายมาเป็นคู่ค้าอันดับ สองของไทย ประเทศไทยก็เริ่มกลับมาฟื้นฟูการเรียนการสอนภาษาจีนอีกครั้งมีการ แลกเปลี่ยนวัฒนธรรมไทยจีนในประชาชนเกือบทุกระดับโดยเฉพาะอย่างยิ่งการท่อง เที่ยวชาวจีนถือเป็นนักท่องเที่ยวอันดับหนึ่งที่เข้ามาท่องเที่ยวในประเทศไทยทำ�ให้มี การนำ�รายเข้ามาระบบเศรษฐกิจไทยอย่างมากมาย การเปลี่ยนแปลงวิวัฒน์พัฒนาของประชาสังคมและวิถีแห่งวาณิชย์ธุรกิจ ของชนชาวจีนที่เข้าสู่และอาศัยเจริญเติบโตในดินแดนสยามดังที่กล่าวมาข้างต้นนั้น นับเป็นเอกลักษณ์สองประการอันโดดเด่นที่แสดงถีงอัตลักษณ์ตัวตนของขนชาวจีนใน ประเทศไทยตลอดจนชาวไทยเชื้อสายจีนอย่างเด่นชัด
251
เอกลักษณ์อีกประการหนี่งที่แสดงถีงอัตลักษณ์ที่จำ�เป็นอย่างยิ่งที่จะต้องกล่าว ถึงซึ่งเปรียบเสมือนสัญลักษณ์ของชาติพันธุ์น่ันคือเอกลักษณ์ในด้านจิตวิญญานแห่ง ประชาคม จิตวิญญานแห่งประชาคมของขนชาวจีนในประเทศไทยตลอดจนชาวไทยเชื้อ สายจี น นั้ น ส่ ว นใหญ่เ กิด ชึ้นมาจากความเชื่อ ความศรัทธาจารีตประเพณีหลักการ คุณธรรมวิธีการจัดระเบียบสังคมที่ได้สืบทอดต่อๆกันมานานนับสหัสวรรษของคำ�สั่ง สอนหรือหลักปรัชญาแห่งการดำ�เนินชีวิตของปัจเจกตนครอบครัวสังคมและบ้านเมือง ตามคำ�สอนของขงจื้อ ดังนั้นจากสิ่งที่เห็นเป็นรูปธรรมที่ปรากฎให้เห็น ใม่ว่าผลงาน ที่ได้สร้างสรรไว้ อุบัติการณ์ที่เกิดขึ้น เทศกาลประเพณีต่างๆที่ยึดถือปฏิบัติมาเป็นสิ่ง อ้างอิง ผู้เขียนโดยอาศัยคำ�สอนชองขงจื้อพื้นฐานที่ชาวจีนทั่วไปเข้าใจและยึดถือปฏิบัติ เป็นกิจวัตรที่เรียกว่า..“โอวาทธรรมสี่” คือ ภักดีธรรม กตัญญุตาธรรม เมตตาธรรม และสัตยธรรมมาเป็นกระจกสะท้อนเพื่อให้เห็นภาพของจิตวิญญานแห่งประชาคมซึ่ง เป็นนามธรรม โอวาทธรรมทีห่ นึง่ ภักดีธรรม ในสมัยขงจือ้ คือราวประมาณสีร่ อ้ ยปีกอ่ นคริสตกาลเรียก ยุคสมัยนัน้ ว่ายุคชุนชิว แผ่นดินประเทศจีแบ่งเป็นแคว้นต่างๆปกครองกันเองบางแคว้นก็ รุง่ เรืองบางแคว้นก็ยากจน ขงจือ้ ได้พาลูกศิษท่องไปและใช้ชวี ติ ตามแว่นแคว้นต่างๆเป็น เวลาหลายสิบปี ภายหลังขงจือ้ ได้รวบรวมประสพการณ์ทไ่ี ด้เขียนเป็นหนังสือปรัชญา ด้านสังคมจริยธรรมและการเมืองกล่าวถึงความสัมพันธ์ของผูป้ กครองกับราษฎร ใน แคว้นทีผ่ ปู้ กครองปกครองไพร่ฟา้ ด้วยความเมตตายุตธิ รรมดูแลประราษฎร์ดจุ บุตรหลาน ราษฎรจงรักภักดีซอ่ื สัตย์ตอ่ แผ่นดินแคว้นนัน้ จะอยูเ่ ย็นเป็นสุขเจริญมัง่ คัง่ ในยุคต่อๆ มาภักดีธรรมถือเป็นกฎหมายสูงสุดของประเทศใครละเมิศมีความผิดฉกรรจ์ สำ�หรับใน สังคมไทยแห่งกรุงรัตนโกสินทร์กษัตริย์ทุกพระองค์ล้วนปกครองอาณาราษฎร์โดยยึด หลักแห่งทศพิธราชธรรม ชาวจีนในพระบรมโพธิสมั ภารล้วนมีความจงรักดีตอ่ องค์พระ มหากษัตริยท์ กุ พระองค์จวบจนถึงปัจจุบนั นีด้ ง่ั ทีป่ รากฎ
252
โอวาทธรรมทีส่ องกตัญญุตาธรรม ขงจือ้ กล่าวว่าปัจเจกชนทีด่ สี ร้างตรอบครัวทีด่ ี สังคมทีด่ บี า้ นเมืองทีด่ ี ชาวจีนยึดถือความกตัญญูตอ่ บุพการีเป็นหน้าที่ และเป็นสรณะ อันยิง่ ใหญ่ใครจะละเว้นการปฏิบตั ไิ ม่ได้ ในสมัยโบราณการอกตัญญูถอื เป็นเป็นสิง่ ผิดกฎหมายรองจากการเป็นกบฎต่อแผ่นดิน แม้วา่ ต่อมาคนอกตัญญูถอื เป็นเป็นสิง่ ผิดในด้านศีลธรรมจรรยานั้นแต่ก็กลายเป็นสิ่งที่น่ารังเกียจเดียดฉันท์ของสังคมอย่าง รุนแรง กตัญญุตาธรรมของชาวจีนในแผ่นดินสยามสะท้อนจิตวิญญาน ออกมาในรูป แบบต่างๆได้แก่รูปแบบของสถาบันครอบครัวและหน้าที่ปฏิบัติของสมาชิกในครอบครัว เทศกาลต่างๆที่เกี่ยวข้องกับสถาบันครอบครัวหรือความเชื่อต่างๆในแสดงความกตัญญู ต่อบุพการี เช่น..เทศกาลตรุษจีน สาร์ทจีน เช็งเม้ง ฯลฯ พิธกี รรมทีเ่ กีย่ วข้องกับสถาบัน ครอบครัวหรือความเชือ่ ต่างๆในแสดงความกตัญญูตอ่ บุพการีเช่นพิธกี รรมแซยิด งาน แต่งงาน การฉลองทารกเกิดใหม่ในครอบครัว งานศพ ฯลฯ เป็นต้น โอวาทธรรมทีส่ ามเมตตาธรรม แม้นว่าจะไม่มกี ฎหมายบังคับรองจากการเป็นกบฎ ต่อแผ่นดิน แต่ในด้านศีลธรรมจรรยาผูท้ ม่ี ฐี านะร่�ำ รวยควรจะมีหน้าทีอ่ นุเคราะห์ผยู้ ากไร้ หรือด้อยโอกาสในสังคม สังคมจีงจะสวยงามน่าอยูน่ า่ อาศัย ขงจือ้ กล่าวไว้วา่ คนทีม่ ี ความเมตตากรุณาเอือ้ อาทรย่อมไม่ใช่ผคู้ ดิ ประพฤติสง่ิ เลวร้าย เมตตาธรรมของชาวจีน ในแผ่นดินสยามสะท้อนจิตวิญญานออกมาในรูปแบบสถานหรือองค์กรสาธารณกุศล ต่างๆทีม่ อี ยูม่ ากมายในหัวเมืองทีม่ ชี าวจีนหรือชาวไทยเชือ้ สายจีนอาศัยอยู่ แต่ในบรรพ ที่สามเราจะยกตัวอย่างผลงานแห่งเมตตาธรรมเป็นองค์กรสาธารณกุศลที่มีเจตนาคติ สะท้อนจิตวิญญานที่ชัดเจนและมีเกียวติภูมิแห่งความดีท่ีเป็นที่รู้จักศรัทธาของบุคคล ด้วยทัว่ กัน..3..แห่งคือมูลนิธปิ อเต็กตึง๊ ฯ มูลนิธโิ รงพยาบาลเทียนฟ้าและมูลนิธกิ ว่องสิว โอวาทธรรมทีส่ ส่ี ตั ยธรรม สัตยธรรมเป็นโอวาทธรรมทีก่ ล่าวถึงคำ�สอนด้านจริยธรรม สังคมของขงจือ้ ว่าด้วยความสัตย์ซอ่ื ความยึดถือในสัจจะ การช่วยเหลือโดยไม่หวังผล ของความสัมพันธ์ระหว่างพีก่ บั น้อง สามีกบั ภรรยาผูบ้ งั คับบัญชากับผูใ้ ต้บงั คับบัญชา เพือ่ นกับเพือ่ น การกระทำ�อันเสียสละเพือ่ อุดมการณ์เป็นต้น ผูซ้ ง่ึ มักถูกกล่าวขวัญและ ยกย่องว่าเป็นเทพเจ้าแห่งสัตยธรรมคือกวนอูแห่งหนังสือพงศาวดารสามก๊กเพราะกวนอู มีลักษณะอุปนิสสัยตามท้องเรื่องที่ชัดเจนมากในคามความซื่อสัตย์ต่อพี่น้องเพื่อนฝูงผู้มี พระคุณผูใ้ ต้บงั คับบัญชาสามารถสละได้แม้ชวี ติ นอกจากนีก้ วนอูยงั เป็นผูม้ อี ดุ มการณ์ ต่อสูก้ บั ความอยุตธิ รรมและทรราช ในสังคมชาวจีนในประเทศไทยการเข้าร่วมกับการ
253
ต่อสูเ้ พือ่ ขบวนการปฏิวตั ขิ องดร.ซุนยัดเซ็น ถือใด้วา่ เป็นตัวอย่างหนึง่ ในจิตวิญญาน จากโอวาทธรรมสัตยธรรม ประชาสังคมยึดมัน่ เสียสละความสุขส่วนตนเพือ่ อุดมการณ์ แห่งการปฏิรปู ชาติภมู สิ คู่ วามเจริญก้าวหน้า เนื่องจากขณะนั้นประเทศจีนที่ปกครอง โดยราชวงค์ชิงมีความอ่อนแอไม่มีสมรรถภาพ ประชาชนยากจน เกียรติภูมิของชาติ ถูกย่ำ�ยีจากนานาประเทศ การปฏิรูปและปกป้องเกียรติภูมิชาติถือเป็นหน้าที่ทุกคนใน ชาติไม่เว้นแม้กระทั่งชาวจีนโพ้นทะเล อีกตัวอย่างหนึ่งคือการร่วมมือร่วมใจของชาว จีนทุกภาษาพูด โดยมองข้ามปัญหาพรรคพวกร่วมภาษาพูดร่วมแรงร่วมใจก่อตั้งและ บริหารหอการค้าจีน ในการทำ�หน้าที่พิทักษ์รักษาสิทธิประโยชน์แห่งชนชาวจีนใน สยามในด้านการค้าและกิจกรรมต่างๆในการช่วยเหลือชาวจีนที่ประสพปัญหาภัยพิบัติ จนสามารถมีบทบาทเหนือกว่าหอการค้าของชาติตะวันตกที่มีทุนทรัพย์และอิทธิพลที่ เหนือกว่าได้อันเนื่องจากจิตวิญญานแห่งสัตยธรรมแห่งประชาสังคมนี้