Maritime บริษัท ช. ทวี ดอลลาเซียน จากัด (มหาชน) กับธุรกรรม ทางทะเล ในปี พ.ศ.2549 บริษัทฯ ได้ตดิ ต่อกับ บริษัท BAE Systems จากัด เพื่อจับมือในการทางานด้านการป้องกัน ภายในประเทศ ในปี พ.ศ.2551 โครงการขนาดใหญ่ โครงการแรกที่ร่วมกัน ระหว่ า งบริ ษั ท BAE Systems จ ากั ด บริ ษั ท อู่ ก รุ ง เทพ จ ากั ด แ ละ CTVDOLL ได้ ร่ ว ม กั น ยื่ น ข้ อ เส น อให้ กั บ กองทั พ เรื อ ไทย ในการสร้ า งเรื อ ตรวจการณ์ ไ กลฝั่ ง ใน ประเทศ โดยยึ ด แบบ Amazon Class OPV ของบริ ษั ท BAE Systems จากัด ซึ่งเป็นแบบเดียวกับเรือที่ส่งมอบให้กับ ประเทศบลาซิล เพื่อใช้ในกองเรือประเทศบลาซิล ภายหลั งจากการตกลงช่ ว งเวลาในการสร้ า งเรื อ บริษั ท อู่ กรุงเทพ จากัดก็ได้ ตกลงทาสัญญาและลงนามในวันที่ 30 มิถุนายน 2552
โดยบริษัทฯ ได้เข้ามามีบทบาทสาคัญในโครงการเรือตรวจการณ์ไกล ฝั่ง ดังนี้
โครงการเรือตรวจการณ์ไกลฝั่ง ได้สร้างเรือ ณ อู่ราชนาวี มหิดล อดุลยเดช ซึ่งตั้งอยู่ใน อาเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี ถือเป็นเรือลาแรกที่อยู่ภายใต้การสร้างโดยกองทัพเรือไทยที่ มีความยาว 90 เมตรพร้อมด้วยระบบการป้องกันแบบรวม การณ์ (จากบริ ษั ท THALES) และเครื่ อ งกระสุ น หลาย รายการ (ปื น ขนาด 76 มม.จาก OTO Melara และปื น ขนาด 30 มม. จาก MSI Defence)
การบริหารจัดการด้านการเงิน ระบบการบริหารจัดการด้านการเงินทั้งหมด ถูกบริหาร โดยบริษัทฯ ไม่ว่าจะเป็น การทาข้อตกลงกับธนาคารต่างๆ เพื่อให้ได้เงื่อนไขที่ดีทสี่ ุดในการทาตราสารเครดิต และการ ป้องกันความเสี่ยงในอัตราการแลกเปลี่ยนล่วงหน้า การ วางแผนต้นทุนของโครงการ ค่าใช้จ่ายในการบริหารงานจัดซื้อ วัสดุ การจัดหาอุปกรณ์และงานบริการต่างๆเพื่อสนับสนุนการ สร้างเรือของกองทัพเรือไทย ซึ่งมีมูลค่าทั้งสิ้น 1,700 ล้านบาท
การบริหารด้านการจัดหาวัสดุ อุปกรณ์ บริษัทมีส่วนสาคัญในการรับผิดชอบ การจัดหาวัสดุ อุปกรณ์ การทาชิ้นงาน และการจัดหาแรงงานให้กับโครงการ เรือตรวจการณ์ไกลฝั่ง ซึ่งมีการออกใบสั่งซื้อรวมทั้งสิ้นกว่า 1,500 ฉบับตลอดระยะเวลาของโครงการเรือ ตรวจการณ์ไกลฝั่ง เทคโนโลยี ที่ ใ ช้ ไ ด้ รั บ การถ่ า ยทอดจาก บริ ษั ท BAE Systems จ ากั ด พ ร้ อ ม ด้ ว ยการสนั บ สนุ น วิ ศ วกร ผู้เชี่ยวชาญจาก บริษัท BAE Systems จากัด
ทั้งจากผู้ขายภายในประเทศ และผู้ขายต่างประเทศ นอกจากนี้ยังมีสัญญาซื้อขาย กว่า 30 ฉบับที่ได้จัดทาขึ้นกับ ทั้งบริษัทภายในประเทศ และ บริษัทจากต่างประเทศ.
Financial Management
Procurement Management
Engineering
Areas of Expertise
Risk Management
Logistics Management
Procurement
A r e a s o f E x p e r t i s e
การบริหารด้านการคลังสินค้า อีกหนึ่งด้านสาคัญของโครงการเรือตรวจการณ์ไกลฝั่ง คือการบริหารจัดการคลังสินค้า ทีท่ างบริษัทฯ เป็นผู้ดาเนินการ ไม่ว่าจะเป็นพิธีการศุลกากรต่างๆ การขอยกเว้นอาการนาเข้า สินค้า การขนส่ง และการควบคุมคลังวัสดุและอุปกรณ์ เพื่อ นาไปสู่การตรวจรับโดยกองทัพเรือไทย การบริหารความเสี่ยงโครงการ ความเสี่ยงจากกิจกรรมต่างๆ ที่ไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้ ซึ่ ง เป็ น สิ่ ง ที่ ค ณะกรรมการของบริ ษั ท อู่ ก รุ งเทพ จ ากั ด ไม่ สามารถลงนามกับทางกองทัพเรือไทยได้ แต่ด้วยประสบการณ์ของเรา เราได้ สนับสนุนส่งเสริม บริษัท อู่กรุงเทพ จากัด ให้ทราบถึงการบริหารจัดการความ เสี่ยงต่างๆ และบริษัทฯ ได้ประกันความเสี่ยงด้านการเงินลงใน สัญ ญา ซึ่งถือ เป็น อีก หนึ่งด้ านสาคั ญ ของโครงการเรือตรวจ การณ์ไกลฝั่ง การถ่ายทอดความรู้ด้านการออกแบบและวิศวกรรม เรือ ตรวจการณ์ ไกลฝั่ งของไทย เป็ น เรื อ ที่ ได้ รับ การ ดัดแปลงจากเรือตรวจการณ์ ไกลฝั่งของบริษัท BAE Systems จากัด อันได้แก่ - การเปลี่ยนระบบไฟฟ้าจาก 400VAC เป็น 380VAC - การปรับปรุงพื้นที่พักอาศัย - เพิ่มเติมระบบช่วยปฏิบัติการณ์ต่างๆ - การปรับเปลี่ยนฐานสาหรับปืนใหญ่ . - การติดตั้งระบบ crane - แบบในการสร้างเรือ - การให้การสนับสนุนด้านเทคนิคและการฝึกอบรม - และอื่นๆ บริษัทฯ ได้ก้าวเข้ามาเป็นผู้เล่นรายใหม่ในธุร กรรมการเดินทาง ทางทะเล (เรื อ หลวงกระบี่ ) และได้ รั บ ประสบการณ์ อั น ทรงคุณค่าจากโครงการเรือตรวจการณ์ไกลฝั่ง และทีมวิศวกรรม ของบริษัทฯ ได้เรียนรู้ ในความท้าทายของความเสี่ยงต่างๆ ที่ เกิดขึ้นในโครงการเรือตรวจการณ์ไกลฝั่ง
โครงการเรื อ ตรวจการณ์ ไ กลฝั่ ง ได้ ถู ก สร้ า งภายใต้ ก าร ควบคุ ม ของกองทั พ เรือ ไทย เพื่ อ ให้ ส ามารถใช้ บ ริ การได้ ภายในเดื อ นสิ ง หาคม 2556 และถื อ เป็ น ครั้ ง แรกที่ กองทัพเรือไทยได้สร้างเรือความยาว 90 เมตร
ทันทีที่ได้ส่งมอบเรือตรวจการณ์ไกลฝั่ง นามเรือ หลวงกระบี่ กองทัพเรือไทยได้ล่องเรือไปยังประเทศ ออสเตรเลีย เพื่อร่วมงาน International Fleet Review 2013 ณ นครซิดนีย์ เพื่อเฉลิมฉลองงานฉลองร้อยปี กองทัพเรือออสเตรเลีย เรือหลวงกระบี่ได้ออกจากฐานทัพเรือสัตหีบในวันที่ 1 สิงหาคม 2556 พร้อมพลประจาเรือและนักเรียนนายร้อย จานวน 178 นาย และเดินทางกลับประเทศไทยในวันที่ 14 พฤศจิกายน 2556 โดยสวัสดิภ์ าพ รวมระยะทางกว่า 13,000 ไมล์ทะเล
โครงการเรือตรวจการณ์ไกลฝั่ง เป็นความท้าทาย เนื่องจาก ถือเป็นครั้งแรกที่กองทัพเรือไทย ได้ร่วมออกแบบเรือตรวจ การณ์ไกลฝั่งจากต่างประเทศ (บริษัท BAE Systems) ตัวอย่างความท้าทายได้แก่ - การทาความเข้าใจในการถ่ายเทข้อมูลด้านเทคโนโลยี จาก บริษัท BAE Systems - เรี ย น รู้ ใ น การใช้ โป รแกรม TRIBON M3 ซึ่ ง เป็ น เครื่อ งมื อ ช่ว ยในการออกแบบอย่า งสมบู รณ์ แบบ ซึ่ งเป็ น โปรแกรมของบริ ษั ท BAE Systems ที่ มี ค วามคล้ า ยกั บ โปรแกรม CAD) - การปรับเปลี่ยนแก้ไขแบบเฉพาะโดยกองทัพเรือไทย เช่ น การเปลี่ ย นแปลงระบบไฟฟ้ า จาก 440VAC เป็ น 380VAC และระบบการป้องกันแบบรวมการณ์ ซึ่งแตกต่าง จากแบบ Amazon ที่ถูกใช้มา) - การติดต่อสื่อสารระหว่างกองทัพเรือไทยและผูจ้ าหน่าย ระบบการป้องกัน - เกิดการจัดทาระบบการจัดหาสาหรับกองเรือ นอกจากโครงการเรือตรวจการณ์ไกลฝั่ง ทางบริษัท ยังได้มีกิจกรรมเกี่ยวกับธุรกรรมชายฝั่งด้วย ในปี 2556 เรา ได้เป็นผู้จัดหาแรงงานฝีมือให้กับ ENSAFE ACCOM PTE ใน การตกแต่งพื้นที่พักอาศัยสาหรับแท่นขุดเจาะจากบริษัท Transocean’s Jack-Up Rig “Compact Driller”
ด้วยประสบการณ์อันยาวนานในธุรกรรมทางทะเล เรา จะยังคงดาเนินการในด้านดังกล่าวต่อไป และเรายังคงมองหา ความท้าทายใหม่ๆ ที่จะเกิดขึ้นกับโครงการใหม่อื่นๆ เรายินดีต้อนรับ บริษั ทต่างชาติ ที่กาลังมองหาหุ้ นส่วน สาหรับธุรกรรมทางทะเลในประเทศไทย
แม้ว่าสานักงานใหญ่ของเราจะอยูท่ ี่จังหวัดขอนแก่น แต่เราได้ดาเนินการโครงการต่างๆ ที่อยู่ไกลจากสานักงาน ใหญ่ได้ และเรายังมีความสัมพันธ์อันดีกับอู่เรือต่างๆ และ ผู้รับเหมาในธุรกิจทางทะเล และยังสามารถจัดหาช่างเชื่อมที่ ได้มาตรฐานและแรงงานฝีมือในงานทางทะเล
บริษัท ช. ทวี ดอลลาเชียน จากัด (มหาชน)
::
265 หมู่ 4 เมืองเก่า, อ.เมือง, จ.ขอนแก่น 40000
::
www.ctvdoll.co.th