Once a Port a time Kornwipa Auccanit
LET’S TALK ABOUT
Hello, my name is Kornwipa Auccanit, and my nickname is Best. I’m 22 years old and graduate from Archaeology Faculty, Anthropology major and English minor at Silpakorn University with 3.31 GPA. I have experiences in writing and interviewing directly through doing qualitative research in the assignment and individual study. This is why I’m confident that I can learn in this skill faster and work as best as I can.
Contact me at 085-1637993 or e-mail: kornwipa.best@gmail.com Sincerely, Kornwipa
KORNWIPA
085-1637993 Kornwipa.best@gmail.com 617 Jaransanitwong 57 Rd. Bangplat District, Bangkok 10700
AUCCANIT
PERSONAL DETAILs Date of Birth: 15.01.1993 Age: 22 Nationality: Thai SKILLs Thai
95%
EDUCATION 2011-2014 Silpakorn University, Bangkok Bachelor of Art (B.A.) in Archaeology Faculty Major in Anthropology and minor in English // GPA 3.31 2008-2011 Mattayom Wat Makutkasat, Bangkok Science-Math Major // GPA 3.61 EXPERIENCEs 2012
English
60%
2013
2013 Microsoft office 80% 2013
2014
Design the posters and souvenirs in the seminar “When the flood is familiar” (เมื่อน้ำ ปริ่มๆชักจะชินเสียแล้ว) @ Silpakorn University. Photograph and Create the seminars name “Have Sense Have Rhythms” @ Dialogue coffee and Gallery. Learn about culture of Islam’s food in field work of Anthropology major at Amphoe Mae Sot, Tak Direct the Ethnographic film “Mon Son Pa” (มอญ ซ่อน ผ้ำ) about the important fabric of Mon at Sangkla buri, Kanchanaburi “Individual study” about the process to educate in perception of art to the Thai people at the Bangkok Art Culture Center (BACC)
ของที่ระลึก 1 เมื่อน้ำปริม่ ๆชักจะชินเสียแล้ว ท้ำยปีแห่ง พ.ศ. 2551 ประเทศไทยต้องเผชิญกับสภำะน้ำท่วมครังใหญ่ในรอบหลำยสิบปี มีผู้คนไม่น้อยที่ต้อง เดือดร้อน สูญเสียทรัพย์สิน ไปจนถึงที่อยู่อำศัย แม้แต่กับเมืองหลวง “กรุงเทพมหำนคร” ก็ยังไม่สำมำรถต้ำนทำนภัย พิบัติเหล่ำนันได้ แต่ท่ำมกลำงสถำนกำรณ์ที่ตึงเครียด ที่ท้ำให้ผู้คนมำกมำยเกิดควำมทุกข์ ควำมขัดแย้ง ควำมเดือด เนื อร้อนใจต่ ำงๆนำนำ ได้ มี คนกลุ่ม เล็ก ๆเริ่มที่ จ ะศึก ษำและให้ ควำมรู้แ ก่ค นในประเทศถึ งต้ นตอของปั ญ หำและ ทำงแก้ไขน้ำท่วมผ่ำนสื่อต่ำงๆ โดยออกแบบให้เป็นสื่อที่เข้ำใจง่ำยในทุกๆวัย นอกจำกนียังเกิดกระแสกำรประยุกต์น้ำ POSTERs & SOUVENIR MADE BY KORNWIPA A.
ของเหลือใช้ในบ้ำนมำผลิตเป็นอุปกรณ์เพื่อช่วยเหลือตัวเองและคนรอบข้ำง เช่น กำรสร้ำงเรือหรือเสือชูชีพจำกขวด พลำสติก และกำรประดิษฐ์ส้วมจำกวัสดุธรรมชำติ เพื่อให้เกิดกำรย่อยสลำยและเก็บสิ่งปฏิกูลได้ง่ำยขึน เป็นต้น ควำม
1
เมื่อน้ำปริ่มๆชักจะชินเสียแล้ว กำรจัดกิจกรรมเสวนำในครังนัน เป็นส่วนหนึ่งของกำรสำนต่อในด้ำนกำรเจำะลึกไปถึงที่มำของปัญหำจำกผู้เชี่ยวชำญ ทำงวิ ช ำกำร โดยได้ พู ด คุ ย กั น ตั งแต่ ด้ ำ นจั ด วำงผั ง เมื อ งของไทยและกำรสร้ ำ งเขื่ อ น ท้ ำ ให้ วิ ถี ชี วิ ต ของคนไทย เปลี่ยนแปลงไปมำก เดิมภำคกลำงเป็นภำคที่จะเกิดน้ำท่วมเป็นประจ้ำทุกๆปี ฉะนันบ้ำนในอดีตจึงมีใต้ถุนสูงเพื่อให้น้ำ ไหลผ่ำนสะดวก เป็นเหมือนสัญญำณของฤดูกำลใหม่ ผู้คนก็จะได้รำงวัลจำกน้ำ เพรำะสำมำรถจับปลำที่ไหลมำพร้อม กับน้ำได้ แต่เมื่อเกิดระบบชลประทำนแบบเขื่อน ท้ำให้น้ำไม่ท่วมหมือนแต่ก่อน บ้ำนจึงถูกปรับให้มีพืนที่ใช้สอยชัน ล่ำงแบบตะวันตก วิถีชีวิตและควำมเคยชินของคนภำคกลำงจึงเปลี่ยนแปลงไปในที่สุด ฉะนันเรื่องของ “น้ำท่วม” ไม่ใช่เรื่องไกลตัว ไม่ใช่เรื่องใหม่ ไม่ใช่เรื่องน่ำวิตกกังวล แต่กำรเกิดน้ำท่วมเป็นเรื่องที่ คุ้นเคยมำตังแต่อีต เพียงแค่เรำ เรียนรู้ที่จะปรับตัวให้คุ้นชินและเข้ำใจในกฏธรรมชำติ น้ำท่วมก็จะกลำยเป็นเรื่องง่ำยๆส้ำหรับเรำทุกคน
HAVE
SENSE
HAVE
RHYTHMs @Dialogue coffee and Gallery
ในคลำสเรียนวิชำ Anthropology of Music ของ เด็กเอกมำนุษยวิทยำ เริ่มแรกทุกคนต่ำงคิดว่ำเรำ มำเรียนเพรำะมันดูง่ำยและ “เพรำะทุกคนชอบ เสียงเพลง” ใครจะไปคิดว่ำ สิ่งที่ได้เรียนจริงๆนัน มันช่ำง หลำกหลำย และ ลึกซึง มำกกว่ำที่คิดไว้เยอะ มำก ท้ำให้เรำได้เรียนรู้ว่ำนัยยะของเพลงแต่ละสมัย มัน มีที่มำที่ไป มีควำมสอดคล้อง หรือสอดแทรกไป อย่ำงไรกับสังคมบ้ำง โดยคะแนนหลักของวิชำนีคือกำรจับกลุ่มจัดงำน เสวนำเล็กๆขึนมำ เพื่อแสดงถึงกำรกลั่นกรองจำก สิ่งที่ได้เรียนมำทังเทอม ซึ่งหัวข้อที่กลุ่มเรำได้เลือก คือ Voice of Rhythms โดยจำกกำรตีควำมใหม่ และขยำยควำมให้เข้ำใจง่ำยมำกขึน จึงได้น้ำเสนอ ออกมำในเรื่อง “ผัสสะ” (Sense) ว่ำ ควำมรู้สึกที่ เกิดจำกกำรสัมผัสกับจังหวะนัน เป็นไปด้วยกัน ภำยใต้ร่ำงกำยของมุนษย์ได้อย่ำงไรบ้ำง อ่ำนแล้วอำจจะงงๆกับหัวข้อ แต่เรำก้ำลังศึกษำถึง รำยละเอียดในชีวิตประจ้ำวันเล็กๆน้อยๆของคน ที่ ด้ำเนินสอดรับไปกับสิ่งแวดล้อมที่เข้ำมำกระทบเรำ คล้ำยกับเป็นจังหวะที่ถูกกระทบกันกลำยเป็น ท่วงท้ำนองที่หลำกหลำย
NAME “HAVE SENSES HAVE RHYTHMS” BY KORNWIPA A.
ISLAM’S
FOOD CULTURE จำกกำรลงพื นที่ ศึ ก ษำชุ ม ชนอิ ส ลำมในอ้ ำเภอแม่ ส อด จั งหวัด ตำก ท้ ำให้ ทรำบว่ำชุ มชนอิสลำมได้ มีทังคนไทยและคนพม่ำที่นั บ ถือศำสนำเดียวกั น และหลังจำกได้ศึกษำถึงวิถีชีวิตของคนอิสลำมที่นี่เพิ่มเติม พบว่ำ “อำหำร” ที่ มี ค วำมหลำกหลำย และเป็ น เอกลั ก ษณ์ ส้ ำ คั ญ อย่ ำ งหนึ่ ง นั น มี ค วำม สอดคล้องกับวิถีชีวิตของคนที่นี่อยู่มำกเลยทีเดียว “วัฒนธรรมกำรกินชำและสภำกำแฟ กับของหวำนจำกพม่ำอย่ำง ฮำละวำล เส่งเผ่และซัวยี ล้วนท้ำให้เกิดกำรรวมกลุ่มของคนในชุมชน ทังนีนอกจำกจะ เป็นกำรรวมกลุ่มแล้วยังสำมำรถพัฒนำชุมชนได้ด้วย เพรำะไม่ใช่แค่เฉพำะ คนมุสลิม แต่ยงั มีเจ้ำหน้ำที่จำกภำครัฐมำรวมกลุ่มด้วย จึงสำมำรถใช้พืนที่นัน เป็นทีพ่ ูดคุยแลกเปลี่ยนข่ำวสำรเพื่อแก้ปัญหำของชุมชน”
IF ISN’T ARTIST DO IT ISN’T ART TOO ? เพรำะเป็นศิลปิน จึงเป็นศิลปะ ?
จำกกำรที่รัฐพยำยำมสร้ำงพืนที่ทำงศิลปะ เพื่อให้คนในสังคมเกิดกำรรับรู้และควำมเข้ำใจในนิยำมควำมหมำยของ ศิลปะเป็นไปในทิศทำงเดียวกันกับหอศิลป์ แต่กระบวนกำรดังกล่ำวก็ยำกที่จะเข้ำถึงผู้คนส่วนใหญ่ในสังคม เนื่องจำก ลักษณะเนือหำของงำนศิลปะภำยในหอศิลป์ยังผูกอยู่กับวงกำรศิลปะตะวันตก จึงท้ำให้ควำมหมำยของศิลปะยังคงถูก จ้ำกัดอยู่ในพืนที่เฉพำะเท่ำนัน ดังที่ผู้เข้ำชมส่วนใหญ่ยังคงเป็นเพียงคนเฉพำะกลุ่ม ที่มีควำมเข้ำใจ เข้ำถึง และคุ้นเคย กับศิลปะ (ART) จำกกำรศึกษำในระบบ (ACADEMIC SCHOOL) อยู่ก่อนแล้ว อีกทังกำรจัดกิจกรรมศิลปะที่สอดคล้อง กับควำมเป็นอยู่และวัฒนธรรม ก็ได้กำรตอบรับดีกว่ำงำนศิลปะที่อำศัยควำมรู้ควำมเข้ำใจเฉพำะในกำร ฉะนันจำก เป้ ำหมำยของหอศิ ลป์ ที่ก้ำลังจะเชื่ อมศิ ลปะสู่ผู้ คนนั น จะสำมำรถเชื่ อมช่ องว่ำงของควำมไม่ เข้ ำถึ งศิ ล ปะรูป แบบ ตะวันตกได้จริงหรือไม่? INDIVIDUAL STUDY BY KORNWIPA A.
MON SON PHA มอญ ซ่อน ผ้ำ AN ETHNOGRAPHIC FILM ภาพยนตร์เชิงชาติพันธุ์
เรำคงคุ้ น เคยกั บ ค้ ำ ว่ ำ “มอญ ซ่ อ นผ้ ำ ” จำก กำรละเล่น พื นบ้ ำนอย่ ำงหนึ่ งแล้ว แต่ เรื่อ งรำวนี มี มำกกว่ ำ นั น เพรำะตำมควำมเชื่ อ ของชำวมอญ “ผ้ำ” ที่ต้องซ่อน คือ ห่อผ้ำผี ที่เคยถูกห้ำมใช้ ห้ำม เอำออกมำให้คนนอกตระกลูกเห็น เพรำะเป็นของผี บรรพยุรุษ หรือผีบรรพชน ปู่ย่ำตำยำย ฉะนันกำร แต่งกำยของมอญในอดีตจะไม่พบผ้ำสีแดง ซึ่งเป็นสี ของผี บ รรพบุ รุ ษ อยู่ เลย แต่ ในปั จ จุ บั น กำรต่ อ สู้ เพื่ อ ให้ มี ที่ ยื น ในสั งคม จำกกำรถู ก กลื น กลำยทำง วั ฒ นธรรมรอบข้ ำ งนั น ท้ ำ ให้ พ วกเขำเลื อ กที่ จ ะ ยอมรับ ในกำรเปลี่ยนแปลงมำใช้ สีแดงในกำรแต่ ง กำย ทังที่ขัดแย้งกับธรรมเนียมเดิม
กำรแต่ ง กำยด้ ว ยผ้ ำ นุ่ ง /โสร่ ง สี แ ดง เป็ น สิ่ ง ที่ เพิ่ ง ประดิ ษ ฐ์ ขึ นมำเพี ย ง 40 กว่ ำ ปี โดยนำยแพทย์ ปัญญำ อองโมล และเพื่อนๆ จำกกำรค้นหำลำยผ้ำ รุ่นเก่ำ รวมทังในห่อผ้ำผีบรรพบุรุษ และชำวมอญที่ อำศัยอยู่ตำมชำยแดนไทยและพม่ำต่ำงสวมใส่ชุ ด ประจ้ ำ ชำติ ในประเพณี แ ละพิ ธี ก รรมที่ ส้ ำคั ญ จน กลำยเป็นเอกลักษณ์อย่ำงหนึ่งของมอญ แม้จะไม่มี เขตดิ น แดนอธิ ป ไตยที่ ชั ด เจน แต่ โ ดดเด่ น ได้ ท่ำมกลำงสังคมที่มีควำมหลำกหลำยทำงวัฒนธรรม
RESEARCH AND DIRECTED BY KORNWIPA A.