วารสารวิชาการ
วิทยาลัยแสงธรรม
Saengtham College Journal
ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม - ธันวาคม 2018/2561
วัตถุประสงค์ 1. เป็นเวทีเผยแพร่ผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการของคณาจารย์ทั้งในและนอก วิทยาลัย ตลอดจนนักวิชาการอิสระ 2. เชื่อมโยงโลกแห่งวิชาการ และเผยแพร่องค์ความรู้ทางปรัชญา ศาสนา เทววิทยา และการศึกษา ให้เกิดประโยชน์แก่ชุมชนและสังคมส่วนรวม 3. ส่งเสริมและกระตุ้นให้เกิดการวิจัย และพัฒนาองค์ความรู้ทางด้านปรัชญา ศาสนา เทววิทยา และการศึกษา เพิ่มมากขึ้น เจ้าของ บาทหลวง ผศ.ดร.ชาติชาย พงษ์ศริ ิ บาทหลวง เดชา อาภรณ์รัตน์ บรรณาธิการ บาทหลวง ผศ.ดร.อภิสิทธิ์ กฤษเจริญ กองบรรณาธิการ รศ.ดร.ไพศาล หวังพานิช รศ.ดร.สมเจตน์ ไวยาการณ์ ผศ.ประเสริฐ วิเศษกิจ ดร.อาทิพย์ สอนสุจิตรา ผศ.ดร.ลัดดาวรรณ์ ประสูตร์แสงจันทร์ อาจารย์พรี พัฒน์ ถวิลรัตน์ อาจารย์สุดหทัย นิยมธรรม นางสาวสุกานดา วงศ์เพ็ญ
ในนามอธิการบดีวิทยาลัยแสงธรรม ในนามเลขาธิการสภาการศึกษาคาทอลิก แห่งประเทศไทย ในนามผู้อ�ำนวยการศูนย์วิจัยค้นคว้าศาสนา และวัฒนธรรม วิทยาลัยแสงธรรม มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล วิทยาลัยเซนต์เทเรซา ฝ่ายการศึกษา อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ มูลนิธิเซนต์คาเบรียล ดร.ทิพอนงค์ กุลเกตุ อาจารย์ศรัญญู พงศ์ประเสริฐสิน นางสาวจิตรา กิจเจริญ
ก�ำหนดเผยแพร่ : ปีละ 2 ฉบับๆ ละ 100 บาท (ฉบับที่ 1 ม.ค.-มิ.ย. ฉบับที่ 2 ก.ค.-ธ.ค.) สถานที่ออกแบบและจัดพิมพ์ : ศูนย์วิจัยค้นคว้าศาสนาและวัฒนธรรม วิทยาลัยแสงธรรม ออกแบบปก/รูปเล่ม : นางสาวสุกานดา วงศ์เพ็ญ พิสูจน์อักษร : อาจารย์สุดหทัย นิยมธรรม
วารสารวิชาการวิทยาลัยแสงธรรม
ได้ผ่านการประเมินคุณภาพวารสาร จากศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (TCI) รอบที่ 3 (ปีพ.ศ.2558-2562)
โดยจัดอยู่ในกลุ่ม 1
เป็นวารสารที่ผ่านการรับรองคุณภาพของ TCI และอยู่ในฐานข้อมูล TCI และจะถูกคัดเลือกเข้าสู่ฐานข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI) ต่อไป
รายนามคณะที่ปรึกษากองบรรณาธิการ
Editorial Advisory Board
ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก 1. บาทหลวง ศ.ดร.วชิระ น�ำ้ เพชร, S.J. 2. ศ.กีรติ บุญเจือ 3. ศ.ดร.เดือน ค�ำดี 4. ศ.ดร.สมภาร พรมทา 5. รศ.ดร.สุมาลี จันทร์ชะลอ 6. รศ.ดร.มณฑา เก่งการพานิช 7. ผศ.ดร.ชาญณรงค์ บุญหนุน 8. ผศ.ดร.วรยุทธ ศรีวรกุล
Sophia University, Japan ราชบัณฑิต คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร คณะปรัชญาและศาสนา มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ
ผู้ทรงคุณวุฒิภายใน 1. มุขนายก ดร.ลือชัย ธาตุวิสัย 3. บาทหลวง ดร.ออกัสติน สุกีโย ปิโตโย, S.J. 5. บาทหลวง ดร.เชิดชัย เลิศจิตรเลขา, M.I. 7. บาทหลวง ดร.สุรชัย ชุ่มศรีพันธ์ุ 9. ผศ.ดร.ลัดดาวรรณ์ ประสูตร์แสงจันทร์
2. บาทหลวง ผศ.ดร.ชาติชาย พงษ์ศริ ิ 4. บาทหลวง ผศ.ดร.ฟรังซิส ไกส์, S.D.B. 6. บาทหลวง ผศ.ดร.ไพยง มนิราช 8. ภคินี ดร.ชวาลา เวชยันต์
ลิขสิทธิ์ ต้นฉบับทีไ่ ด้รบั การตีพมิ พ์ในวารสารวิชาการวิทยาลัยแสงธรรม ถือเป็นกรรมสิทธิข์ องวิทยาลัย แสงธรรม ห้ามน�ำข้อความทัง้ หมดไปตีพมิ พ์ซำ �้ ยกเว้นได้รบั อนุญาตจากวิทยาลัยแสงธรรม ความรับผิดชอบ เนือ้ หาและข้อคิดเห็นใดๆ ทีต่ พี มิ พ์ในวารสารวิชาการวิทยาลัยแสงธรรม ถือเป็นความรับผิดชอบ ของผูเ้ ขียนเท่านัน้
รายนามผู้ทรงคุณวุฒิผู้ประเมินบทความ
(Peer Review) ประจำ�ฉบับ
ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม - ธันวาคม 2018/2561 ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก
1. ศ.กีรติ บุญเจือ 2. รศ.ดร.สุมาลี จันทร์ชะลอ 3. รศ.ดร.ไชยยศ ไพวิทยศิรธิ รรม 4. รศ.ดร.นวลฉวี ประเสริฐสุข 5. ผศ.ดร.ประเสริฐ อินทรักษ์ 6. ผศ.ดร.วรยุทธ ศรีวรกุล 7. ผศ.ดร.ประทีป ฉัตรสุภางค์ 8. ผศ.ดร.กรรณิการ์ นลราชสุวัจน์ 9. ดร.สุภาวดี นัมคณิสรณ์ 10. ดร.จิตรา ดุษฎีเมธา 11. ดร.อุบลวรรณ ส่งเสริม 12. ดร.นงนุช โรจนเลิศ 13. ดร.ทิพอนงค์ กุลเกตุ
1. บาทหลวง ผศ.ดร.อภิสิทธิ์ กฤษเจริญ 2. บาทหลวง ผศ.ดร.วุฒชิ ัย อ่องนาวา 3. บาทหลวง ผศ.วสันต์ พิรุฬห์วงศ์ 4. บาทหลวงเชษฐา ไชยเดช 5. ผศ.ดร.ลัดดาวรรณ์ ประสูตร์แสงจันทร์ 6. ภคินี ดร.ชวาลา เวชยันต์ 7. อาจารย์พรี พัฒน์ ถวิลรัตน์
ผู้ทรงคุณวุฒิภายใน
ราชบัณฑิต คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร คณะปรัชญาและศาสนา มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล คณะจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะปรัชญาและศาสนา มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาลัยนาฏศิลปสุพรรณบุรี คณะมนุษยศาสตร์ วิทยาลัยแสงธรรม คณะมนุษยศาสตร์ วิทยาลัยแสงธรรม คณะศาสนศาสตร์ วิทยาลัยแสงธรรม คณะศาสนศาสตร์ วิทยาลัยแสงธรรม คณะศาสนศาสตร์ วิทยาลัยแสงธรรม คณะศาสนศาสตร์ วิทยาลัยแสงธรรม คณะมนุษยศาสตร์ วิทยาลัยแสงธรรม
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม มีความยินดีรับบทความวิจัย บทความวิชาการ บทวิจารณ์หนังสือ และบทความปริทัศน์ด้านปรัชญา ศาสนา เทววิทยา และการศึกษาคาทอลิก ที่ยังไม่เคยเผยแพร่ในเอกสารใดๆ โดยส่งบทความมาที่ ผู้อ�ำนวยการศูนย์วิจัยค้นคว้าศาสนาและวัฒนธรรม วิทยาลัยแสงธรรม เลขที่ 20 ม.6 ต.ท่าข้าม อ.สามพราน จ.นครปฐม 73110 กองบรรณาธิการวารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม จะส่งบทความให้แก่ผู้ทรงคุณวุฒิทางวิชาการเพื่อ ประเมินคุณภาพบทความว่าเหมาะสมส�ำหรับการตีพิมพ์หรือไม่ หากท่านสนใจกรุณาดูรายละเอียดรูปแบบการ ส่งต้นฉบับได้ท่ี www.saengtham.ac.th/journal
บทบรรณาธิ ก าร Saengtham college Journal วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม - ธันวาคม 2018/2561
ในนามกองบรรณาธิการวารสารวิชาการวิทยาลัยแสงธรรม ขอส่งความสุขและพระพร ของพระเป็นเจ้ามาสู่ผู้อ่านทุกท่าน เนื่องในโอกาสคริสต์มาสและปีใหมที่มาเยือนอีกครั้ง ส่วนเนื้อหาในฉบับด้านปรัชญา ศาสนา เทววิทยาและการศึกษา ประกอบไปด้วย บทความวิจัยจ�ำนวน 11 เรื่อง จากบุคคลภายนอกจ�ำนวน 8 เรื่องได้แก่ “การพัฒนา คุณลักษณะภาวะผูน้ ำ� แบบผูร้ บั ใช้ เพือ่ เสริมสร้างอัตลักษณ์คาทอลิกให้กบั สถาบันการศึกษา ภายใต้บริษัท สมัย ชินะผา จ�ำกัด” โดย ศศิลิยา มณเฑียรวิเชียรฉาย “การพัฒนาจิต สาธารณะของนั ก เรี ย นชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษา ปี ที่ 1 โรงเรี ย นนั ก บุ ญ เปโตร” โดย มลธวั ฒ น์ กิ จ สวั ส ดิ์ “การบริ ห ารศู น ยฺ พั ฒ นาเด็ ก เล็ ก ของเทศบาล” โดย จั น ทิ ม า จั น ทร์ สุ ว รรณ “คุณธรรม ชีวติ การท�ำงานและวัฒนธรรมโรงเรียนคาทอลิก สังกัดสังฆมณฑลจันทบุร”ี โดย พูนพงษ์ คูนา จิตลักษณะและสถานการณ์ทางสังคม ที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมอาสาสมัคร ของนักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ” โดย รัตวัลย์ ศิริเลี้ยง “หลักสูตรเสริมสร้างทักษะการคิดเชิงออกแบบส�ำหรับนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาตอนต้น” โดย ไอยรา เลาะห์มนิ “อนาคตภาพของผูอ้ ำ� นวยการกลุม่ ในส�ำนักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถม ศึกษา” โดย รัตน์มณี รัตนปกรณ์ “อนาคตของโรงเรียนบรมราชินีนาถราชวิทยาลัย” โดย ศิวพร กาจันทร์ จากบุคคลากรภายในจ�ำนวน 3 เรื่องได้แก่ เรื่อง “คุณธรรมความนบนอบ เชือ่ ฟังของพระนางมารีย ์ แบบอย่างชีวติ จิตของพระสงฆ์สงั ฆมณฑล” โดย ชาญชัย ประทุมปี “จริยธรรมที่ส่งเสริมชีวิตตามหลักศีลธรรมคาทอลิก ในโรงพยาบาลเซนต์หลุยส์” โดย วรัญญู นางาม “ปัจจัยที่มีผลต่อการอบรมคุณธรรม เพื่อส่งเสริมกระแสเรียกสามเณร คาทอลิก” โดย อวิรุทธ์ พันธ์ขาว สุดท้ายนี ้ กองบรรณาธิการวารสารวิชาการวิทยาลัยแสงธรรม ขอขอบพระคุณผู้ทรง คุณวุฒทิ กุ ท่าน ทีก่ รุณาให้ความอนุเคราะห์ประเมินบทความต่างๆ เพือ่ ให้วารสารของเรามี คุณภาพ เหมาะสมต่อการเผยแพร่และเป็นแหล่งข้อมูลในการศึกษาค้นคว้าอ้างอิงด้าน ปรัชญา ศาสนา เทววิทยาและการศึกษาคาทอลิกต่อไป
บรรณาธิการ ธันวาคม 2561
การบริหารศูนย์พัฒนาเด็กเล็กของเทศบาล Child Development Center
Administration Under Municipality. จันทิมา จันทร์สุวรรณ * หัวหน้าฝ่ายบริหารการศึกษา เทศบาลเมืองคูคต รศ.ดร. ชุมศักดิ์ อินทร์รักษ์
* อาจารย์ประจ�ำภาควิชาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
Chantima Chansuwan * Subdivision Chief of Education Administration, Khukhot Municipality. Assoc.Prof. Choomsak Intarak,Ed.D.
* Lecture at Education Administration Faculty of Education, SilpaKorn University.
การบริหารศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็กของเทศบาล
บทคัดย่อ
2
การวิ จั ย ครั้ ง นี้ มี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ ศึ ก ษา 1) องค์ ป ระกอบ การบริ ห ารศู น ย์ พั ฒ นาเด็ ก เล็ ก ของเทศบาลโดยวิ ธี เชิ ง ปริ ม าณ 2) องค์ประกอบการบริหารศูนย์พัฒนาเด็กเล็กของเทศบาลตามความ เห็นของผู้ทรงคุณวุฒิและผู้เชี่ยวชาญ และ 3) วิเคราะห์ผลการยืนยัน องค์ประกอบการบริหารศูนย์พัฒนาเด็กเล็กของเทศบาลที่ประมวล จากวิธเี ชิงปริมาณและตามความคิดเห็นของผูท้ รงคุณวุฒแิ ละผูเ้ ชีย่ วชาญ วิธกี ารด�ำเนินการวิจยั ประกอบด้วย 3 ขัน้ ตอน คือ 1) การศึกษาตัวแปร เกี่ยวกับการบริหารศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 2) การวิเคราะห์องค์ประกอบ การบริ ห ารศู น ย์ พั ฒ นาเด็ ก เล็ ก ของเทศบาล และ 3) การน� ำ เสนอ องค์ประกอบ การวิจัยครั้งนี้ใช้วิธีแบบผสมผสาน เครื่องมือที่ใช้ใน การเก็บข้อมูลเชิงปริมาณ ได้แก่ แบบสอบถามความคิดเห็น ผู้ให้ข้อมูล ได้แก่ หัวหน้าศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็ก ครู และผูด้ แู ลเด็ก จากศูนย์พฒ ั นาเด็ก เล็ก 88 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก รวม 264 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ข้อมูล ได้แก่ ความถี ่ ร้อยละ ค่ามัชฌิมเลขคณิต ส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงส�ำรวจ ส�ำหรับการวิเคราะห์องค์ ประกอบการบริหารศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็ก ตามความเห็นของผูท้ รงคุณวุฒิ และผู้เชี่ยวชาญ ใช้เทคนิคการวิจัยเชิงอนาคต เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บ ข้อมูลเชิงคุณภาพ ได้แก่ แบบสัมภาษณ์กงึ่ โครงสร้างและแบบสอบถาม ความคิดเห็น ผู้ให้ข้อมูลได้แก่ ผู้ทรงคุณวุฒิและผู้เชี่ยวชาญ จ�ำนวน 21 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าฐานนิยม ค่ามัธยฐาน และค่าพิสัยระหว่างควอไทล์ ผลการวิจัยพบว่า 1. องค์ประกอบการบริหารศูนย์พัฒนาเด็กเล็กของเทศบาล จากการศึกษาเชิงปริมาณพบว่า มี 5 องค์ประกอบ ดังนี้ 1) การจัด ประสบการณ์ เรี ย นรู ้ 2) การมี ส ่ ว นร่ ว มของผู ้ ป กครองและชุ ม ชน 3) การบริหารงานคุณภาพ 4) การจัดสภาพแวดล้อมและความปลอดภัย และ 5) การวางแผนพัฒนาผู้เรียน
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
จันทิมา จันทร์สุวรรณ และ ชุมศักดิ์ อินทร์รักษ์
2. องค์ประกอบการบริหารศูนย์พัฒนาเด็กเล็กของเทศบาล ตามความเห็นของผู้ทรงคุณวุฒิและผู้เชี่ยวชาญ มี 6 องค์ประกอบ ดังนี้ 1) การจัดประสบการณ์เรียนรู้ 2) การมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง และชุมชน 3) การบริหารงานคุณภาพ 4) การจัดสภาพแวดล้อมและ ความปลอดภัย 5) การบริหารงานบุคคล และ 6)การพัฒนาเครือข่ายครู ผู้ดูแลเด็ก 3. วิเคราะห์ผลการยืนยันองค์ประกอบการบริหารศูนย์พัฒนา เด็กเล็กของเทศบาลที่ประมวลจากวิธีเชิงปริมาณและตามความคิดเห็น ของผู้ทรงคุณวุฒิและผู้เชี่ยวชาญ เมื่อสังเคราะห์ผลจากการวิจัยเชิง ปริมาณและคุณภาพแล้วมี 6 องค์ประกอบ คือ 1) การจัดประสบการณ์ เรียนรู้ 2) การมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุมชน 3) การบริหารงาน คุณภาพ 4) การจัดสภาพแวดล้อมและความปลอดภัย 5) การบริหาร งานบุคคล และ 6) การพัฒนาเครือข่ายครูผู้ดูแลเด็ก ซึ่งผู้ทรงคุณวุฒิ และผู้เชี่ยวชาญเห็นด้วยว่าองค์ประกอบทั้ง 6 องค์ประกอบมีความ เหมาะสมเป็นไปได้ถกู ต้อง ครอบคลุม และสามารถน�ำไปใช้ประโยชน์ได้ ค�ำส�ำคัญ:
การบริหารศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เทศบาล
ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2018/2561
3
การบริหารศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็กของเทศบาล
Abstract
4
The purposes of this research were to determine: 1) the components of child development center under municipality by quantitative techniques, 2) the components of child development center under municipality as perceived by experts and 3) the confirmation of the components of child development center under municipality as analyzed from quantitative techniques and from the opinions of experts. The methodology of this research composed of 3 steps: 1) study the child development center administration variables, 2) analysis the component of child development center administration and 3) proposed the components. This study used mixed methodology research. The instrument for collecting the data was opinionnair whereas which respondents were the head of child development center, teacher and child care assistants from 88 child care development centers, in total 264 respondents. The statistical for analyzing the data were; frequency, percentage, arithmetic mean, standard deviation, and exploratory factor analysis. For analyzing the data which collected from experts by ethnographic future research, the instruments were semi-structured interview from and opinionnaire. The respondents in this step were 21 experts. The statistical used to analyzing the data were mode, median and inter-quartile range.
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
จันทิมา จันทร์สุวรรณ และ ชุมศักดิ์ อินทร์รักษ์
The findings of this research were as the following: 1. The components of child development center under municipality by quantitative techniques composed of 5 components; 1) the learning experiences 2) the participation of parent and the community, 3) the quality administration, 4) the environment and security management, and 5) the learner development plan. 2) the components of child development center under municipality as perceived by experts composed of 6 components; 1) the learning experience, 2) the participation of parent and the community, 3) the quality administration, 4) the environment and security management, 5) the personal administration, and 6) child care teacher development network. 3. The confirmation of the components of child development center under municipality as analyzed from quantitative techniques and from the opinions of experts were found that there were 6 components of child development center under municipality namely; 1) the learning experience, 2) the participation of parent and the community, 3) the quality administration, 4) the environment and security management, 5) the personal administration, and 6) child care teacher development network. The experts confirmed that those 6 components were appropriate, possible, accorage with theoretical framework of study and applicable. Key Word:
Child Development Center Administration Municipality ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2018/2561
5
การบริหารศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็กของเทศบาล
ความเป็นมาและความส�ำคัญของปัญหา การศึกษาเป็นเครื่องมือส�ำคัญในการ ด�ำเนินชีวติ ของบุคคลและสังคมและเป็นปัจจัย ส�ำคัญทีจ่ ะช่วยแก้ปญ ั หาทุกๆ ด้านของชีวติ ใน ท่ามกลางกระแสแห่งความเปลี่ยนแปลงอย่าง รวดเร็ ว ในด้ า นวิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี อั น ส่ ง ผลกระทบต่ อ วิ ถี ชี วิ ต ของทุ ก คนใน สั ง คมโลก และการศึ ก ษายั ง มี ส ่ ว นช่ ว ยให้ มนุ ษ ย์ ทุ ก คนมี คุ ณ ภาพชี วิ ต ที่ ดี มี ค วามสุ ข ปัจจุบันรัฐบาลได้ให้ความส�ำคัญเป็นอย่างยิ่ง ต่อการจัดการศึกษาระดับก่อนประถมศึกษา โดยได้บัญญัติไว้ใน พระราชบัญญัติการศึกษา แห่งชาติ พ.ศ. 2542 และแก้ไขเพิม่ เติม (ฉบับ ที่ 2) พ.ศ. 2545 และ(ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2553 ตามมาตรา 9 ได้กำ� หนดไว้วา่ ให้มกี ารกระจาย อ�ำนาจลงสู่เขตพื้นที่การศึกษา สถานศึกษา และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยระดม ทรัพยากรจากแหล่งต่างๆ มาใช้ในการจัดการ ศึกษาโดยการมีส่วนร่วมของบุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น องค์กร เอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถาน ประกอบการและสถาบันสังคมอืน่ มีสว่ นร่วมใน การจัดการศึกษา และในมาตรา 18 ได้บญ ั ญัติ เกีย่ วกับการจัดคุณภาพไว้วา่ “การจัดการศึกษา ปฐมวัยให้จัดในสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย ได้แก่ ศูนย์เด็กเล็ก ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ศูนย์พัฒนา เด็กก่อนเกณฑ์ของสถาบันศาสนา ศูนย์บริการ
6
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
ช่วยเหลือระยะแรกเริ่มของเด็กพิการและเด็ก ซึ่งมีความต้องการพิเศษหรือสถานพัฒนาเด็ก ปฐมวัยทีเ่ รียกชือ่ อย่างอืน่ ” ทัง้ นีใ้ ห้เป็นไปตาม ที่ ก� ำ หนดในกฎกระทรวง และเมื่ อ ได้ มี ก าร ตราพระราชบัญญัติก�ำหนดแผนและขั้นตอน การกระจายอ�ำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2549 มาตรา 16 มาตรา 17 และมาตรา 18 ก�ำหนดให้เทศบาลเมืองพัทยา องค์การบริหารส่วนต�ำบล องค์การบริหารส่วน จังหวัด และกรุงเทพมหานคร มีอ�ำนาจหน้าที่ ในการจั ด ระบบการบริ ก ารสาธารณะเพื่ อ ประโยชน์ของประชาชนในท้องถิ่นของตนโดย ถือว่าการจัดการศึกษาเป็นส่วนหนึ่งของการ บริการสาธารณะ ผลการบริหารจัดการศึกษาศูนย์พัฒนา เด็กเล็กขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ผ่าน มาในระยะ 10 ปี ระหว่างปี พ.ศ. 2540-2550 จากการวิจยั ของส�ำนักเลขาธิการสภาการศึกษา ได้สรุปสภาพและปัญหาการจัดการศึกษา คือ 1) มาตรฐานผูเ้ รียนยังอยูใ่ นระดับต�ำ่ จะต้องเร่ง พั ฒ นากระบวนการเรี ย นรู ้ เพื่ อ ยกระดั บ มาตรฐานด้านผู้เรียนให้เพิ่มสูงขึ้น 2) องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นหลายแห่งยังไม่มีหน่วย งานที่รับผิดชอบในการจัดการศึกษาโดยตรง ซึ่ ง จะเห็ นได้ จากการที่ อ งค์ ก รปกครองส่ วน ท้องถิ่นบางแห่งจัดตั้งหรือรับโอนโรงเรียนทั้งที่
จันทิมา จันทร์สุวรรณ และ ชุมศักดิ์ อินทร์รักษ์
ยั ง ไม่ มี ก องส่ ว นการศึ ก ษา ขาดระบบการ บริหารจัดการที่ดี ท�ำให้มาตรฐานการบริหาร งานด้ า นการศึ ก ษาค่ อ นข้ า งต�่ ำ 3) องค์ ก ร ปกครองส่วนท้องถิ่นหลายแห่งไม่เปิดโอกาส ให้ประชาชนและภาคีการพัฒนาต่างๆ เข้ามามี ส่วนร่วมในการจัดการศึกษาท�ำให้การจัดการ ศึ ก ษาไม่ ส อดคล้ อ งกั บ ความต้ อ งการของ ประชาชนในท้องถิ่น 4) องค์กรปกครองส่วน ท้ อ งถิ่ น หลายแห่ ง ไม่ ใ ห้ ค วามส� ำ คั ญ ต่ อ การ พัฒนาความรู้ด้านการประกอบอาชีพให้แก่ ประชาชน ท� ำ ให้ ป ระชาชนเป็ น แรงงานที่ ไร้ ฝ ี มื อ ได้ รั บ เงิ น เดื อ นหรื อ ค่ า ตอบแทนต�่ ำ 5) องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นหลายแห่งไม่ ตระหนั ก ถึ ง ความส� ำ คั ญ ของการปลู ก ฝั ง จิตส�ำนึกในเอกลักษณ์และค่านิยมความเป็น ไทยแก่ เ ด็ ก และเยาวชน และประชาชน ท�ำให้กลุ่มคนเหล่านั้นเลียนแบบวัฒนธรรม และค่านิยมตะวันตก 6) องค์กรปกครองส่วน ท้ อ งถิ่ น ส่ ว นใหญ่ ยั ง ไม่ ท ราบบทบาทหน้ า ที่ ในการจั ด การศึ ก ษาตามอ� ำ นาจหน้ า ที่ ข อง ตนเองท� ำ ให้ ท ้ อ งถิ่ น ขาดแหล่ ง การเรี ย นรู ้ ที่ หลากหลาย (ส� ำ นั ก งานเลขาธิ ก ารสภาการ ศึกษา 2550: 70-76) ปั ญ หาที่ เ กิ ด ขึ้ น มี อ ยู ่ ห ลายประการ อั น เนื่ อ งมาจากความแตกต่ า งหลากหลาย ทั้งในด้านโครงสร้าง อาคารสถานที่ และการ บริหารงาน ผู้ดูแลเด็กซึ่งได้รับถ่ายโอนมาจาก
ส่วนราชการต่างๆ ตลอดจนผู้บริหารท้องถิ่น และพนั ก งานส่ ว นท้ อ งถิ่ น ผู ้ ป กครองและ ชุมชนยังขาดความรูค้ วามสนใจ และการมีสว่ น ร่วม อีกทั้งยังไม่ให้ความส�ำคัญในการด�ำเนิน งานศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเท่าที่ควร โดยเฉพาะ ผูบ้ ริหารและพนักงานส่วนท้องถิน่ มีความหลาก หลายของภู มิ ห ลั ง ในด้ า นการศึ ก ษา อาชี พ รายได้ ความเข้าใจในเรือ่ งการจัดการงานท้องถิน่ สภาพปัญหาและแนวทางที่แก้ปัญหาโดยการ ศึกษาการด�ำเนินงานของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ที่ผ่านมา พบว่า ปัญหาและอุปสรรคด้านครูพี่เลี้ยงหรือ ผู ้ ดู แ ลเด็ ก ขาดความรู ้ ค วามเข้ า ใจเรื่ อ งการ จัดการศึกษาปฐมวัย ทั้งด้านหลักสูตร การจัด กิจกรรม การวัดและประเมินพัฒนาการของ เด็ ก อาคารสถานที่ ไ ม่ ไ ด้ ม าตรฐาน ขาดงบ ประมาณ สื่ออุปกรณ์ และเครื่องเล่นสนาม ส� ำ หรั บ เด็ ก ไม่ เ พี ย งพอ ศู น ย์ พั ฒ นาเด็ ก เล็ ก ที่ถ่ายโอนจากกรมศาสนา ซึ่งตั้งอยู่ในบริเวณ วัด องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นไม่สามารถ เข้าไปบริหารจัดการหรือสร้างอาคารหลังใหม่ ให้ได้ นอกจากซ่อมแซมหรือต่อเติมเท่านั้น อาคารศู น ย์ พั ฒ นาเด็ ก เล็ ก ในวั ด จึ ง ไม่ ไ ด้ มาตรฐาน นอกจากนั้ น เป็ น ความเชื่ อ มโยง การท� ำ งานระหว่ า งกองการศึ ก ษาและศู นย์ พัฒนาเด็กเล็ก ในด้านการบริหารจัดการให้ การท�ำงานเกิดประสิทธิภาพ เพื่อตอบสนอง
ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2018/2561
7
การบริหารศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็กของเทศบาล
ความต้ อ งการของประชาชน ทั้ ง นี้ จ� ำ เป็ น ต้องเข้าถึงปัญหาในการปฏิบัติงาน ภาระงาน ให้เกิดความต่อเนือ่ ง อาทิ การรับนโยบายจาก ผู้บริหารมาปฏิบัติ งานการบริหารบุคลากร เป็นต้น เพือ่ ให้เกิดการปรับปรุงการบริหารงาน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กให้มีประสิทธิภาพต่อไป วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาองค์ประกอบการบริหาร ศู น ย์ พั ฒ นาเด็ ก เล็ ก ของเทศบาลโดยวิ ธี เชิ ง ปริมาณ 2. เพื่อศึกษาองค์ประกอบการบริหาร ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กของเทศบาลตามความเห็น ของผู้ทรงคุณวุฒิและผู้เชี่ยวชาญ 3. เพือ่ ทราบผลการยืนยันองค์ประกอบ การบริหารศูนย์พัฒนาเด็กเล็กของเทศบาลที่ ประมวลจากวิธีเชิงปริมาณและความคิดเห็น ของผู้ทรงคุณวุฒิและผู้เชี่ยวชาญ กรอบแนวคิดการวิจัย ประกอบด้ ว ยแนวคิ ด ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ มาตรฐานการศึกษา (ขั้นพัฒนา) ศูนย์พัฒนา เด็กเล็ก มาตรฐานการด�ำเนินงานศูนย์พัฒนา เด็ ก เล็ ก ขององค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น มาตรฐาน ตัวบ่งชี้ และเกณฑ์การพิจารณา เพื่ อ การประเมินคุณ ภาพภายนอกรอบสาม
8
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
ระดั บ การศึ ก ษาปฐมวั ย (2-5 ปี ) คู ่ มื อ มาตรฐานและหลั ก สู ต รการศึ ก ษาปฐมวั ย พุทธศักราช 2546 พระราชบัญญัติการศึกษา แห่ ง ชาติ รวมถึ ง การการสนทนากลุ ่ ม ของ ผู ้ เชี่ ย วชาญและผู ้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ เ กี่ ย วกั บ การ บริหารศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก รายละเอียดตาม แผนภูมิต่อไปนี้ (หน้าที่ 9) ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากรที่ใช้ในการวิจัยด้วยวิธีวิจัย เชิ ง ปริ ม าณ ได้ แ ก่ ศู น ย์ พั ฒ นาเด็ ก เล็ ก ของ เทศบาล กระทรวงมหาดไทย จ�ำนวน 5,167 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ผู้วิจัยได้ท�ำการก�ำหนด ขนาดกลุ่มตัวอย่าง จากการเปิดตารางของ ยามาเน่ (Yamane) ได้ขนาดกลุ่มตัวอย่าง จ�ำนวน 98 หน่วย และเก็บข้อมูลได้ จ�ำนวน 88 ศูนย์ คิดเป็นร้อยละ 89.79 ผู้ให้ข้อมูล ในแต่ ล ะศู น ย์ พั ฒ นาเด็ ก เล็ ก ประกอบด้ ว ย หัวหน้าศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ครู และผู้ดูแลเด็ก รวมผู ้ ใ ห้ ข ้ อ มู ล ทั้ ง สิ้ น จ� ำ นวน 294 คน เก็ บ ข้อมูลได้ 264 คน ส�ำหรับผูใ้ ห้ขอ้ มูลทีใ่ ช้ในการ วิจยั โดยวิธวี จิ ยั เชิงคุณภาพประกอบด้วย ผูท้ รง คุณวุฒิและผู้เชี่ยวชาญ จ�ำนวน 21 คน ได้แก่ กลุ่มผู้บริหารการศึกษา กลุ่มผู้บริหารเทศบาล และกลุ่มนักวิชาการจากหน่วยงานภาครัฐ
จันทิมา จันทร์สุวรรณ และ ชุมศักดิ์ อินทร์รักษ์
- มาตรฐานการศึกษา (ขั้นพัฒนา) ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมาตรฐานการ ด�ำเนินงานศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็กของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น - มาตรฐาน ตัวบ่งชี้ และเกณฑ์การ พิจารณาเพื่อการประเมินคุณภาพ ภายนอกรอบสาม ระดับการศึกษา ปฐมวัย (2-5 ปี)
- งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการบริหาร ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กของเทศบาล
- พระราชบัญญัตกิ ารศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2 ) พ.ศ.2545 และ(ฉบับที ่ 3) พ.ศ.2553 - พระราชบัญญัติก�ำหนดแผนและ ขั้นตอนการกระจายอ�ำนาจให้แก่ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 การบริหารศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ของเทศบาล
- คูม่ อื ศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็กสังกัด อปท. - หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2546 - การจัดประสบการณ์การเรียนรูร้ ะดับ ปฐมวัย - คูม่ อื มาตรฐานศูนย์เด็กเล็กคุณภาพ กระทรวงสาธารณสุข - คูม่ อื มาตรฐานศูนย์เด็กเล็กแห่งชาติ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความ มั่นคงของมนุษย์
แนวคิดการจัดประสบการณ์เรียนรู้ - การสอนแบบวอลดอร์ฟ (Waldorf Education) - การสนทนากลุ่มของผู้เชี่ยวชาญ - การสอนแบบไฮสโคป และผู้ทรงคุณวุฒิเกี่ยวกับการ (High Scope Curriculum) บริหารศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก - การสอนแบบโครงงาน (The Project Approach) - การสอนแบบการสอนภาษา ธรรมชาติ (Whole Language) - การสอนแบบการสอน มอนเตสซอรี ่ (Maria Montessori)
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เครื่ อ งมื อ ที่ ใช้ ใ นการวิ จั ย เชิ ง ปริ ม าณ ได้แก่ ประเด็นการสนทนากลุ่ม แบบสอบถาม ความคิดเห็น ซึ่งมี 2 ตอน คือ ตอนที่ 1 การ สอบถามเกี่ยวกับข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับผู้ตอบ แบบสอบถาม ได้แก่ เพศ อายุ วุฒิการศึกษา ต�ำแหน่งปัจจุบนั โดยก�ำหนดการตอบเป็นแบบ เลือกตอบ (Cheek list) ตอนที ่ 2 แบบสอบถาม
องค์ประกอบการบริหารศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ของเทศบาลเป็ น แบบสอบถามมาตราส่ ว น ประเมิ น ค่ า (rating scale) 5 ระดั บ ของ ลิคเคอร์ท (Likert scale) ส�ำหรับการวิจัย เชิงคุณภาพ ได้แก่ แบบสัมภาษณ์กงึ่ โครงสร้าง และแบบสอบถามความคิดเห็นรอบที่ 2 และ รอบที่ 3
ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2018/2561
9
การบริหารศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็กของเทศบาล
การสร้างและพัฒนาเครื่องมือ ผู้วิจัยได้ สร้างแบบสอบถาม โดยมีขนั้ ตอนการสร้างและ พัฒนาดังนี้ การสร้างและพัฒนาเครือ่ งมือทีใ่ ช้ในการ วิจัยโดยวิจัยเชิงปริมาณ 1. สังเคราะห์หลักการแนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวกับการบริหารศูนย์พัฒนา เด็กเล็กทั้งในและต่างประเทศและจากการ สนทนากลุม่ (Focus group discussion) กับ ผูท้ รงคุณวุฒแิ ละผูเ้ ชีย่ วชาญ โดยการวิเคราะห์ เนื้อหา (Content analysis) เพื่อให้ได้กลุ่ม ตัวแปรการบริหารศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เพื่อน�ำ ไปสร้างข้อค�ำถามของแบบสอบถาม 2. สร้างแบบสอบถาม โดยแบ่งออกเป็น 2 ตอน คือตอนที ่ 1 เป็นแบบสอบถามเกีย่ วกับ สถานภาพทั่ ว ไปของผู ้ ต อบแบบสอบถาม มีลกั ษณะเป็นแบบตรวจสอบรายการ (checklist) ตอนที่ 2 เป็ น แบบสอบถามเกี่ ย วกั บ องค์ประกอบการบริหารศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ของเทศบาล เป็ น ประเมิ น แบบมาตราส่ ว น ประมาณค่า (rating scale) ระดับตามแบบ ของลิเคิร์ท (Rensis Likert,1967) 3. ตรวจสอบคุ ณ ภาพเครื่ อ งมื อ วิ จั ย โดยน� ำ แบบสอบถามเสนอต่ อ ผู ้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ และผู้เชี่ยวชาญ เพื่อตรวจสอบความเที่ยงตรง เชิงเนือ้ หา (content validity) โดยหาค่าดัชนี ความสอดคล้อง (Index of Item-Objective
10
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
Congruence: IOC) แล้วพิจารณาเลือกข้อ ค�ำถามที่มีค่า IOC มากกว่า 0.5 ขึ้นไป 4. ทดลองใช้ เ ครื่ อ งมื อ วิ จั ย โดยน� ำ แบบสอบถามไปทดลองใช้ (try out) กับศูนย์ พั ฒ นาเด็ ก เล็ ก ของเทศบาล ที่ ไ ม่ ใช่ ก ลุ ่ ม ตั ว อย่ า ง จ� ำ นวน 13 ศู น ย์ พั ฒ นาเด็ ก เล็ ก ศูนย์ฯ ละ 3 คน รวมทั้งสิ้น 33 คน แล้วน�ำ ผลที่ ไ ด้ ม าวิ เ คราะห์ เ พื่ อ หาค่ า ความเชื่ อ มั่ น (reliability) ของแบบสอบถามด้วยการค�ำนวณ ค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาตามวิธีของครอนบราค (Cronbach’s alpha coefficients) ผลการ วิ เ คราะห์ ข ้ อ มู ล พบว่ า ค่ า ความเชื่ อ มั่ น ของ แบบสอบถามทั้งฉบับ มีค่าเท่ากับ 0.986 5. น�ำแบบสอบถามฉบับสมบูรณ์ไปเก็บ ข้อมูลจากกลุม่ ตัวอย่าง คือ ศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็ก ของเทศบาล จ�ำนวน 98 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก รวมผู ้ ใ ห้ ข ้ อ มู ล ทั้ ง สิ น 294 คน ได้ รั บ แบบ สอบถามฉบั บ สมบู ร ณ์ ก ลั บ คื น มา 88 ศู น ย์ พั ฒ นาเด็ ก เล็ ก รวมผู ้ ใ ห้ ข ้ อ มู ล ทั้ ง สิ้ น 264 ฉบับ คิดเป็นร้อยละ 89.79 การสร้างและพัฒนาเครือ่ งมือทีใ่ ช้ในการ วิจัยโดยเทคนิคการวิจัยแบบ EDFR 1. สร้างแบบสัมภาษณ์กงึ่ โครงสร้างจาก ข้ อ สรุ ป ที่ ไ ด้ จ ากการสรุ ป ผลการสั ง เคราะห์ ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง และข้อมูลที่ได้ จากการสัมภาษณ์ผทู้ รงคุณวุฒแิ ละผูเ้ ชีย่ วชาญ ในขัน้ ที ่ 1 ส�ำหรับเก็บรวบรวมข้อมูล รอบที ่ 1
จันทิมา จันทร์สุวรรณ และ ชุมศักดิ์ อินทร์รักษ์
2. สร้ า งแบบสอบถาม โดยรวบรวม ข้อมูลที่จากการสัมภาษณ์ความคิดเห็นของ ผู้ทรงคุณวุฒิและผู้เชี่ยวชาญในประเด็นต่างๆ ในรอบที่ 1 มาสร้างเป็นแบบสอบถามแบบ มาตราส่ ว นประมาณค่ า (Rating Scale) 5 ระดั บ ส� ำ หรั บ เก็ บ รวบรวมข้ อ มู ล จาก ผู้เชี่ยวชาญในรอบที่ 2 3. สร้างแบบสอบถาม รอบที่ 3 โดย น�ำค�ำตอบจากแบบสอบถามในรอบที่ 2 แต่ ละข้ อ มาวิ เ คราะห์ ห าค่ า ฐานนิ ย ม (Mode) ค่ามัธยฐาน (Median) และค่าพิสัยระหว่าง ควอไทล์ (Interquartile Range) สรุปผลการวิจัย 1. องค์ประกอบการบริหารศูนย์พัฒนา เด็ ก เล็ ก ของเทศบาล โดยวิ ธี เ ชิ ง ปริ ม าณ ประกอบด้วย 5 องค์ประกอบ ดังนี ้ 1) การจัด ประสบการณ์เรียนรู้ 2) การมีส่วนร่วมของ ผู ้ ป กครองและชุ ม ชน 3) การบริ ห ารงาน คุณภาพ 4) การจัดสภาพแวดล้อมและความ ปลอดภัย และ 5) การวางแผนพัฒนาผู้เรียน 2. องค์ประกอบการบริหารศูนย์พัฒนา เด็กเล็กของเทศบาลตามความเห็นของผู้ทรง คุณวุฒแิ ละผูเ้ ชีย่ วชาญ มี 6 องค์ประกอบ ดังนี้ 1) การจัดประสบการณ์เรียนรู้ 2) การมีส่วน ร่วมของผู้ปกครองและชุมชน 3) การบริหาร งานคุณภาพ 4) การจัดสภาพแวดล้อมและ
ความปลอดภั ย 5) การบริ ห ารงานบุ ค คล และ 6) การพัฒนาเครือข่ายครูผู้ดูแลเด็ก 3. วิเคราะห์ผลการยืนยันองค์ประกอบ การบริหารศูนย์พัฒนาเด็กเล็กของเทศบาลที่ ประมวลจากวิธีเชิงปริมาณและตามความคิด เห็ น ของผู ้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ แ ละผู ้ เชี่ ย วชาญ เมื่ อ สั ง เคราะห์ ผ ลจากการวิ จั ย เชิ ง ปริ ม าณและ คุณภาพแล้วมี 6 องค์ประกอบ คือ 1) การจัด ประสบการณ์เรียนรู้ 2) การมีส่วนร่วมของ ผู ้ ป กครองและชุ ม ชน 3) การบริ ห ารงาน คุณภาพ 4) การจัดสภาพแวดล้อมและความ ปลอดภั ย 5) การบริ ห ารงานบุ ค คล และ 6) การพัฒนาเครือข่ายครูผู้ดูแลเด็ก ซึ่งผู้ทรง คุ ณ วุ ฒิ เ ห็ น ด้ ว ยว่ า องค์ ป ระกอบทั้ ง 6 องค์ ประกอบมีความเหมาะสม เป็นไปได้ ถูกต้อง ครอบคลุม และสามารถน�ำไปใช้ประโยชน์ได้ การอภิปรายผล 1. องค์ประกอบการบริหารศูนย์พัฒนา เด็กเล็กของเทศบาลโดยวิธเี ชิงปริมาณ จากข้อ ค้นพบเกีย่ วกับองค์ประกอบบริหารศูนย์พฒ ั นา เด็กเล็กของเทศบาลมีองค์ประกอบที่ส�ำคัญ 5 องค์ประกอบ คือ การจัดประสบการณ์เรียน รู ้ การมีสว่ นร่วมของผูป้ กครองและชุมชน การ บริหารงานคุณภาพ การจัดสภาพแวดล้อมและ ความปลอดภัยและ การวางแผนพัฒนาผูเ้ รียน ที่ เ ป็ น เช่ น นี้ อ าจเป็ น เพราะการบริ ห ารศู น ย์
ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2018/2561
11
การบริหารศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็กของเทศบาล
พัฒนาเด็กเล็กเป็นการบริหารจัดการการศึกษา ให้เข้ากับเด็กระดับปฐมวัย คือช่วงอายุตั้งแต่ 2-5 ปี เป็นการศึกษาทีจ่ ดั ขึน้ เพือ่ พัฒนาเด็กให้ เกิดทักษะ อารมณ์สังคม ให้พร้อมที่จะรับการ ศึกษาในระดับชัน้ ประถมศึกษาต่อไปท�ำให้องค์ ประกอบที่ได้จะเป็นองค์ประกอบเพื่อการจัด ประสบการณ์ เรี ย นรู ้ เ ป็ น องค์ ป ระกอบแรก ส�ำหรับองค์ประกอบในล�ำดับต่อไปคือ การมี ส่ ว นร่ ว มของผู ้ ป กครองและชุ ม ชน ซึ่ ง เป็ น องค์ประกอบทีถ่ อื ได้วา่ ศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็กของ เทศบาลเป็นหน่วยงานที่ตั้งอยู่ในชุมชน ดังนั้น เพื่อให้หน่วยงานนี้มีคุณภาพยิ่งขึ้นจ�ำเป็นต้อง อาศัยความร่วมมือของผู้ปกครองและชุมชน ในการบริหารจัดการ ส�ำหรับการบริหารงาน คุ ณ ภาพ การจั ด สภาพแวดล้ อ มและความ ปลอดภัย และการวางแผนพัฒนาผูเ้ รียนก็เป็น องค์ประกอบทีส่ ำ� คัญในการบริหารศูนย์พฒ ั นา เด็กเล็กของเทศบาล ทั้งนี้อาจจะเป็นเพราะ การด�ำเนินงานของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กจะต้อง บริหารให้มีคุณภาพ มีการจัดสภาพแวดล้อม ทีค่ รอบคลุม ความปลอดภัยของเด็กเป็นส�ำคัญ ดั ง นั้ น เพื่ อ ให้ ก ารจั ด กิ จ กรรมหรื อ การจั ด ประสบการณ์เรียนรู้ที่มีคุณภาพจ�ำเป็นต้อง อาศัย การจัดสภาพแวดล้อมและการวางแผน พัฒนาผู้เรียนอย่างเป็นระบบ จึงกล่าวได้ว่า ข้อค้นพบเกีย่ วกับองค์ประกอบการบริหารศูนย์ พัฒนาเด็กเล็กของเทศบาลโดยวิธีเชิงปริมาณ
12
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
เป็นองค์ประกอบที่ส�ำคัญต่อการบริหารศูนย์ พัฒนาเด็กเล็กของเทศบาล ซึ่งสอดคล้องกับ หลักการแนวคิดของกรมส่งเสริมการปกครอง ท้องถิน่ ทีไ่ ด้วางแนวทางการบริหารศูนย์พฒ ั นา เด็กเล็กในสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ใน มาตรฐานการศึกษา (ขั้นพื้นฐาน) ศูนย์พัฒนา เด็ ก เล็ ก ขององค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น มาตรฐานที่ 6 ที่ก�ำหนดให้ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก มีการจัดองค์กร โครงสร้าง ระบบการบริหาร และพัฒนาองค์กรอย่างเป็นระบบและครบ วงจร และมาตรฐานที่ 7 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จัดการศึกษาโดยใช้ศนู ย์พฒ ั นาเด็กเล็กเป็นฐาน นอกจากนี้มาตรฐานที่ 9 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก มีการจัดโครงการ/กิจกรรมส่งเสริมคุณภาพ ผู้เรียนอย่างหลากหลาย และมาตรฐานที่ 10 ศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็กมีการจัดสภาพแวดล้อมและ การบริ ก ารที่ ส ่ ง เสริ ม ให้ ผู ้ เรี ย นพั ฒ นาตาม ธรรมชาติและเต็มศักยภาพ และมาตรฐานที่ 11 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีความร่วมมือระหว่าง บ้าน องค์กรทางศาสนา องค์กรภาครัฐและ เอกชน เพื่อพัฒนาวิถีการเรียนรู้ในชุมชน เพื่อ พั ฒ นาการเรี ย นรู ้ ใ นชุ ม ชน นอกจากนี้ ยั ง สอดคล้ อ งกั บหลั ก การจั ด การศึ ก ษาปฐมวัย ตามพระราชบั ญ ญั ติ ก ารศึ ก ษาแห่ ง ชาติ พ.ศ.2542 (2545: 15) มาตรา 18 กล่าวคือ การจั ด การศึ ก ษาปฐมวั ย และการศึ ก ษาขั้ น พืน้ ฐานให้จดั ในสถานศึกษา ดังนี ้ สถานพัฒนา
จันทิมา จันทร์สุวรรณ และ ชุมศักดิ์ อินทร์รักษ์
เด็กปฐมวัย ได้แก่ ศูนย์เด็กเล็ก ศูนย์พัฒนา เด็กเล็กหรือโรงเรียนเพื่อพัฒนาความพร้อม ของเด็กก่อนวัยเรียน และยังสอดคล้องแนวคิด ของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุขที่กล่าว ว่าในการพัฒนาเด็กให้มคี ณ ุ ภาพนัน้ ควรพัฒนา ด้ า นสิ่ ง แวดล้ อ มควบคู ่ กั น ไป เพื่ อ ให้ เ ด็ ก ได้ รับการส่งเสริมสุขภาพและมีพัฒนาการอย่าง เหมาะสม ได้ อ ยู ่ ใ นสิ่ ง แวดล้ อ มที่ ส ะอาด ปลอดภัย และเอือ้ ต่อการเรียนรู ้ ซึง่ ผลการวิจยั ครั้งนี้ยังสอดคล้องกับงานวิจัยของ ศิริวรรณ วณิชวัฒนวรชัย (2552: บทคัดย่อ) ที่พบว่า รูปแบบการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้กับ เด็กปฐมวัยต้องเปิดโอกาสให้ผู้ปกครองมีส่วน ร่วมเพือ่ พัฒนาทักษะให้กบั เด็กปฐมวัย โดยการ มีส่วนร่วมนั้น ควรจะต้องให้ชุมชนมีส่วนร่วม ในการวิเคราะห์ ตัดสิน การปฏิบตั ิ การประเมิน และการจั ด ประสบการณ์ เ รี ย นรู ้ แ ละยั ง สอดคล้ อ งกั บ ผลการวิ จั ย ของ นริ ส านั น ท์ เดชสุ ร ะ (2552: บทคั ด ย่ อ ) ที่ พ บว่ า การ บริ ห ารศู น ย์ พั ฒ นาเด็ ก เล็ ก จะต้ อ งมี ก ารจั ด โครงสร้างการบริหารและการจัดการ มีการ ประสานร่ ว มมื อ กั บ ผู ้ ป กครองและชุ ม ชน ชยานนท์ มนเฑียรจันทร์ (2554: บทคัดย่อ) พบว่า การด�ำเนินงานของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จะต้องมีการบริหารจัดการ การบริหารคุณภาพ ศูนย์ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กโดยการสนับสนุนจาก ชุมชน และยังสอดคล้องกับงานวิจยั ของบุษกร
สุขเสน ที่พบว่ายุทธศาสตร์การพัฒนาระบบ บริหารจัดการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสังกัดองค์กร ปกครองส่วนท้องถิน่ ควรจะมียทุ ธศาสตร์ดา้ น บุ ค ลากร ด้ า นหลั ก สู ต รและการสอน ด้ า น อาคารสถานที ่ สิง่ แวดล้อมและความปลอดภัย ด้านส่งเสริมสุขภาพและ ด้านการมีส่วนร่วม ของผู ้ ป กครองและชุ ม ชน ซึ่ ง งานวิ จั ย ของ อภิรดี นุม่ มีศรี (2556: บทคัดย่อ) ยังพบอีกว่า ในการจัดการศึกษาระดับปฐมวัยจะต้องพัฒนา ห้องเรียน สถานที่ และภูมิทัศน์ให้สวยงาม 2. องค์ประกอบการบริหารศูนย์พัฒนา เด็กเล็กของเทศบาลตามความเห็นของผู้ทรง คุณวุฒแิ ละผูเ้ ชีย่ วชาญ พบว่าองค์ประกอบการ บริหารศูนย์พัฒนาเด็กเล็กของเทศบาลมีองค์ ประกอบที่ส�ำคัญ 6 องค์ประกอบ ตามล�ำดับ ความส�ำคัญ คือ 1) การจัดประสบการณ์เรียนรู้ 2) การมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุมชน 3) การบริหารงานคุณภาพ 4) การจัดสภาพ แวดล้อมและความปลอดภัย 5) การบริหาร งานบุคคล และ 6) การพัฒนาเครือข่ายครู ผู้ดูแลเด็ก ที่เป็นเช่นนี้อาจเป็นเพราะว่าผู้ทรง คุ ณ วุ ฒิ แ ละผู ้ เชี่ ย วชาญ มองเห็ น ว่ า ในการ บริหารศูนย์พัฒนาเด็กเล็กของเทศบาลซึ่งเป็น หน่วยงานที่ตั้งอยู่ในชุมชนและเป็นหน่วยงาน ของรั ฐ ที่ ท� ำ หน้ า ที่ ใ นการให้ ก ารศึ ก ษากั บ เยาวชน ภาระงานในการบริหารศูนย์พัฒนา เด็ ก เล็ ก นอกเหนื อ จาก 5 องค์ ป ระกอบที่ มี
ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2018/2561
13
การบริหารศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็กของเทศบาล
เนื้ อ หาสาระที่ ไ ด้ จ ากการศึ ก ษาเชิ ง ปริ ม าณ ได้ แ ก่ ก ารบริ ห ารงานบุ ค คลและการพั ฒ นา เครือข่ายครูผู้ดูแลเด็ก ก็ยังเป็นบทบาทส�ำคัญ ที่จะท�ำให้การด�ำเนินงานของศูนย์พัฒนาเด็ก เล็กมีคุณภาพยิ่งขึ้น ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัย ของ คะนึง สายแก้ว พบว่าการจัดการศึกษา ระดั บ ปฐมวั ย ที่ มี คุ ณ ภาพตามาตรฐานการ ศึกษาปฐมวัยต้องมีระบบการบริหารจัดการทีม่ ี ประสิทธิภาพและประสิทธิผล เด็กได้เข้าศึกษา ในระดับปฐมวัยทุกคนเด็กปฐมวัยให้มคี ณ ุ ธรรม จริยธรรม และได้รับการเตรียมความพร้อมใน พัฒนาการทุกด้าน ทั้งร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญา สร้างเครือข่าย แหล่ง การเรียนรู้ ให้ผู้ปกครองและผู้เกี่ยวข้องเข้ามา มีส่วนร่วม องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจัดการ ศึกษาระดับปฐมวัยให้มคี ณ ุ ภาพตามมาตรฐาน และ 7) พัฒนาบุคลากร รวมทัง้ สร้างขวัญและ ก�ำลังใจที่ดีในการปฏิบัติงาน 3. ผลการยื น ยั น องค์ ป ระกอบการ บริ ห ารศู น ย์ พั ฒ นาเด็ ก เล็ ก ของเทศบาล ประมวลจากวิธีเชิงปริมาณและตามความคิด เห็ น ของผู ้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ แ ละผู ้ เชี่ ย วชาญ เมื่ อ ท� ำ การสั ง เคราะห์ ข ้ อ ค้ น พบเกี่ ย วกั บ องค์ ประกอบการบริหารศูนย์พัฒนาเด็กเล็กของ เทศบาลทั้ ง ผลจากการวิ จั ย เชิ ง ปริ ม าณและ คุณภาพพบว่ามี 6 องค์ประกอบ คือ 1) การ
14
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
จัดประสบการณ์เรียนรู้ 2) การมีส่วนร่วมของ ผูป้ กครองและชุมชน 3) การจัดสภาพแวดล้อม และความปลอดภัย 4) การบริหารงานคุณภาพ 5) การบริหารงานบุคคล 6) การพัฒนาเครือ ข่ายครูผู้ดูแลเด็ก โดยผู้ทรงคุณวุฒิ จ�ำนวน 5 คน ได้ทำ� การยืนยันองค์ประกอบการบริหาร ศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็กว่ามีความเหมาะสม เป็นไปได้ ถูกต้อง และสามารถน�ำไปใช้ประโยชน์ได้ซึ่ง มี ค วามสอดคล้ อ งกั บ มาตรฐานแนวคิ ด มาตรฐานการศึกษา (ขั้นพื้นฐาน) ศูนย์พัฒนา เด็กเล็กขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กรม ส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น, มาตรฐาน การด�ำเนินงานศูนย์พัฒนาเด็กเล็กขององค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น, มาตรฐาน ตัวบ่งชี้ และ เกณฑ์การพิจารณาเพื่อการประเมินคุณภาพ ภายนอกรอบสาม ระดั บ การศึ ก ษาปฐมวั ย (2-5 ปี) ดังนั้นหากศูนย์พัฒนาเด็กเล็กของ เทศบาลน� ำ องค์ ป ระกอบไปปรั บ ใช้ ใ นการ บริหารย่อมเป็นไปได้ แต่ต้องวางแผนจัดการ บู ร ณาการในแต่ ล ะองค์ ป ระกอบให้ ชั ด เจน เมื่อพิจาณาการด�ำเนินงานวิจัย ตลอดจนผล การวิ จั ย ที่ ไ ด้ อ งค์ ป ระกอบการบริ ห ารศู น ย์ พัฒนาเด็กเล็กของเทศบาลทัง้ 6 องค์ประกอบ สามารถส่งผลให้ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีความ เด่นในทุกๆ องค์ประกอบสามารถท�ำให้ศูนย์ พัฒนาเด็กเล็กที่มีคุณภาพ
จันทิมา จันทร์สุวรรณ และ ชุมศักดิ์ อินทร์รักษ์
ข้อเสนอแนะทั่วไป 1. ควรให้ความส�ำคัญกับองค์ประกอบ ดังนี้ 1) การจัดประสบการณ์เรียนรู้ 2) การมี ส่ ว นร่ ว มของผู ้ ป กครองและชุ ม ชน 3) การ บริหารงานคุณภาพ 4) การจัดสภาพแวดล้อม และความปลอดภัย 5) การบริหารงานบุคคล และ 6) การพั ฒ นาเครื อ ข่ า ยครู ผู ้ ดู แ ลเด็ ก โดยหน่ ว ยงานที่ เ กี่ ย วข้ อ งควรมี ก ารพั ฒ นา ผู้บริหารและครูผู้ดูแลเด็กระดับปฐมวัยของ เทศบาลให้มีความรู้โดยการจัดอบรม พัฒนา ทั้ ง ความรู ้ แ ละเทคนิ ค วิ ธี เ พื่ อ ให้ ผู ้ เ กี่ ย วข้ อ ง สามารถน�ำองค์ความรูท้ คี่ น้ พบ 6 องค์ประกอบ ไปพัฒนาคุณภาพการศึกษาของศูนย์พัฒนา เด็กเล็กของเทศบาลต่อไป 2. จากผลการวิเคราะห์ข้างต้น พบว่า องค์ ป ระกอบที่ 1 มี ค ่ า ร้ อ ยละของความ แปรปรวนสู ง สุ ด คื อ ร้ อ ยละ 15.024 ซึ่ ง เกี่ ย วข้ อ งกั บ การจั ด ประสบการณ์ เรี ย นรู ้ ซึ่ ง ผู ้ บ ริ ห ารในระดั บ นโยบายควรพั ฒ นา ผู้บริหารและครูผู้ดูแลเด็กปฐมวัยของเทศบาล ให้ ส ามารถจั ด กิ จ กรรมการสอนที่ มุ ่ ง พั ฒ นา ผูเ้ รียนรู้ครบทุกด้านโดยเฉพาะการศึกษาอย่าง เป็นธรรมชาติและแบบองค์รวม
3. การพัฒนาบุคลากรของศูนย์พัฒนา เด็กเล็กของเทศบาลควรจัดอย่างสม�่ำเสมอต่อ เนื่องและให้สอดคล้องกับความต้องการของ ผู้เกี่ยวข้อง 4. ในการบริหารงานของศูนย์พัฒนา เด็กเล็กของเทศบาล ควรมีการส่งเสริมให้มี ระบบเครือข่ายเพื่อเสริมสร้างความเข็มแข็งให้ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีความคล่องตัวยิ่งขึ้น ข้อเสนอแนะส�ำหรับการวิจัยครั้งต่อไป 1. ผูร้ บั ผิดชอบเกีย่ วกับการบริหารศูนย์ พัฒนาเด็กเล็กของเทศบาลควรน�ำรายละเอียด ในแต่ ล ะองค์ ป ระกอบของการบริ ห ารศู น ย์ พัฒนาเด็กเล็กไปเป็นตัวชีว้ ดั ในการพัฒนาศูนย์ พัฒนาเด็กเล็ก 2. ควรน�ำองค์ประกอบการบริหารศูนย์ พัฒนาเด็กเล็กของเทศบาลไปเป็นตัวชี้วัดหรือ เกณฑ์ในการพิจารณาคัดเลือกศูนย์พัฒนาเด็ก เล็กดีเด่น 3. ควรศึกษาเกี่ยวกับองค์ประกอบการ บริหารศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็กของเทศบาลทีเ่ หมาะ สมกับศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในบริบทขององค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น
ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2018/2561
15
การบริหารศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็กของเทศบาล
บรรณานุกรม กรมส่ ง เสริ ม การปกครองท้ อ งถิ่ น . (2554). มาตรฐานการศึกษา (ขั้นพื้นฐาน) ศูนย์ พัฒนาเด็กเล็กขององค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่นและแบบกรอกผลการประเมิน มาตรฐานการศึกษา. กรุงเทพมหานคร: ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศ ไทย. คะนึง สายแก้ว. (2549). ข้อเสนอนโยบายการ บริหารจัดการศึกษาปฐมวัยในจังหวัด สุ ริ น ทร์ . วิ ท ยานิ พ นธ์ ป รั ช ญาดุ ษ ฎี บัณฑิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น. นริ ส านั น ท์ เดชสุ ร ะ. (2552). รู ป แบบการ บริ ห ารโรงเรี ย นสาธิ ต ปฐมวั ย ของ มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ . วิ ท ยานิ พ นธ์ ปรั ช ญาดุ ษ ฎี บั ณ ฑิ ต มหาวิ ท ยาลั ย ศิลปากร. พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 และแก้ ไขเพิ่ ม เติ ม (ฉบั บ ที่ 2) พ.ศ. 2545. ราชกิ จ จานุ เ ษกษา กฤษฎี ก า เล่ม 116, ตอนที่ 74 ก (19 สิงหาคม 2545) พระราชบัญญัติก�ำหนดแผนและขั้นตอนการ กระจายอ�ำนาจให้แก่องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิน่ พ.ศ.2542. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 116, ตอนที่ 114 ก (พฤศจิกายน 2545).
16
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
พัชรา พุม่ ชาติ. (2552). การพัฒนารูปแบบการ จัดประสบการณ์การแก้ไขปัญหาอย่าง สร้างสรรค์ส�ำหรับเด็กปฐมวัย. วิทยา นิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบณ ั ฑิต มหาวิทยาลัย ศิลปากร. ศิรวิ รรณ วณิชวัฒนวรชัย. (2552). การพัฒนา รูปแบบการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ แบบผู้ปกครองมีส่วนร่วมเพื่อพัฒนา ทักษทางสังคมส�ำหรับนักเรียนปฐมวัย. วิ ท ยานิ พ นธ์ ปรั ช ญาดุ ษ ฎี บั ณ ฑิ ต มหาวิทยาลัยศิลปากร. ส�ำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวง ศึ ก ษาธิ ก าร. (2550). การวิ จั ย เพื่ อ พัฒนานโยบายส่งเสริมการจัดการศึกษา ขององค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น กรุงเทพฯ: บริษัท พริกหวานกราฟฟิค จ�ำกัด. ส�ำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก เยาวชน ผู ้ ด ้ อ ยโอกาสและผู ้ สู ง อายุ กระทรวงการพั ฒ นาสั ง คมและความ มั่นคงของมนุษย์. (2550). มาตรฐาน ศูนย์เด็กเล็กแห่งชาติ: คู่มือการด�ำเนิน งานตามมาตรฐาน, พิ ม พ์ ค รั้ ง ที่ 2. กรุ ง เทพฯ: (2550). โรงพิ ม พ์ ชุ ม นุ ม สหกรณ์การเกษตรแห่งระเทศไทย.
จันทิมา จันทร์สุวรรณ และ ชุมศักดิ์ อินทร์รักษ์
ส� ำ นั ก งานรั บ รองมาตรฐานและประเมิ น คุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน). คู่มือการประเมินคุณภาพภายนอกรอบ สาม (พ.ศ.2554-2558) ระดั บ การ ศึกษาปฐมวัย (2-5 ปี) ฉบับสถานศึกษา แก้ไขพฤศจิกายน 2554 (ม.ป.ท.,2554)
ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2018/2561
17
การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผู้นำ�แบบผู้รับใช้
เพื่อเสริมสร้างอัตลักษณ์คาทอลิกให้กับ สถาบันการศึกษา ภายใต้บริษัท สมัย ชินะผา จำ�กัด
Development of Servant Leadership
Characteristics Formation Program to Enhance Catholic Identity for Institutes under Samai Chinnapha Co., Ltd. ศศิลิยา มนเทียรวิเชียรฉาย * นักศึกษาปริญญาเอก มหาวิทยาลัยเซนต์จอห์น ดร.ชัยณรงค์ สุวรรณสาร
* อาจารย์ที่ปรึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเซนต์จอห์น
ดร.ธนีนาฎ ณ สุนทร
* อาจารย์ที่ปรึกษาร่วม คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเซนต์จอห์น
Sasiliya Monthienvichienchai * Researcher, Ph.D. Candidate, St. John’s University. Dr.Chainarong Suvarnasara
* Advisor, Faculty of Education, St. John’s University.
Dr.Taneenart Na-soontorn
* Co-advisor, Faculty of Education, St. John’s University.
ศศิลิยา มนเทียรวิเชียรฉาย, ชัยณรงค์ สุวรรณสาร และ ธนีนาฎ ณ สุนทร
บทคัดย่อ
งานวิ จั ย นี้ มี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ พั ฒ นาโปรแกรมการสร้ า ง คุณลักษณะภาวะผู้น�ำแบบผู้รับใช้เพื่อเสริมสร้างอัตลักษณ์คาทอลิก ให้กับสถาบันการศึกษาภายใต้บริษัทสมัย ชินะผา จ�ำกัด และเพื่อ ทดลองและประเมินผลการใช้โปรแกรม ตัวอย่างได้แก่ บุคลากรครู โรงเรียนเซนต์จอห์นจ�ำนวน 20 คน ได้มาจากความสมัครใจ เครื่องมือ ที่ใช้ในการวิจัยคือ 1.) โปรแกรมการสร้างคุณลักษณะภาวะผู้น�ำแบบ ผู้รับใช้ และ 2.) แบบประเมินโปรแกรม วิเคราะห์ด้วยความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า องค์ประกอบคุณลักษณะของภาวะผูน้ ำ� แบบผูร้ บั ใช้ประกอบด้วย 8 คุณลักษณะ คือ วิสัยทัศน์ การสื่อสาร การเพิ่มพลัง ความมุ่งมั่น ความรักอันบริสุทธิ์ ความไม่เห็นแก่ตัว การบริการ และความถ่อมตน โดยพัฒนาเป็น 3 โมดูล ได้แก่ โมดูล Leadership Perspective โมดูล Empowerment และโมดูล Ethics ผลการทดลองพบว่ามีความแตก ต่างในเรื่องความตระหนักและทัศนคติระหว่างก่อนและหลังการพัฒนา อย่างมีนัยส�ำคัญที่ 0.05 และโดยภาพรวมผลการประเมินโปรแกรม มีความเหมาะสมมากที่สุด และผู้เข้าร่วมพัฒนาได้แสดงเจตนารมณ์ การน�ำทั้ง 3 โมดุล 8 คุณลักษณะไปใช้ในชีวิตจริง ค�ำส�ำคัญ:
ภาวะผู้น�ำแบบผู้รับใช้ โปรแกรมการพัฒนาคุณลักษณะ อัตลักษณ์คาทอลิก บริษัทสมัย ชินะผา จ�ำกัด
ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2018/2561
19
การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูน้ �ำ แบบผูร้ บั ใช้เพือ่ เสริมสร้างอัตลักษณ์คาทอลิกให้กบั สถาบันการศึกษา ภายใต้บริษทั สมัย ชินะผา จำ�กัด
The objectives of this research were to develop a servant leadership characteristics formation program that enhances Catholic identity for institutes under the care of Samai Chinnapha Co., Ltd. as well as to implement and evaluate the program. The sample was 20 teachers from St.John’s School who were volunteered to join the program. The participants’ attitude and the effectiveness of the program were evaluated through: (1) Servant leadership characteristics formation program; and (2) Self-awareness assessment; and (3) Program evaluation. The data analysis was done through frequencies, percentage, means, and standard deviation. The results showed that servant leadership characteristics included the following: vision, communication, empowerment, commitment, agape love, altruism, service, and humility which were developed into 3 modules for formation program; namely, leadership perspective module, empowerment module, and ethics module. The implementation result showed that there was a statistically difference in the participants’ attitude before and after implementation at 0.05 and the appropriateness of the program was ranked at the highest level. In addition, the participants showed the intention of using all 3 modules and 8 characteristics in their everyday lives. Keywords: 20
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
Servant leadership characteristics formation program Catholic identity Samai Chinnapha Co., Ltd.
ศศิลิยา มนเทียรวิเชียรฉาย, ชัยณรงค์ สุวรรณสาร และ ธนีนาฎ ณ สุนทร
Background and rationale of the study In a globalized world, changes are taking place rapidly. The fast development of innovation and technology has affected social-political and cultural patterns (Laghi, 1997). This development, in turn, changes human ways of life in terms of their social, cultural, and religious interactions and level of complexity. In other words, rapid development and changes alter not only behavior patterns and structural changes, but also serve to increase the gaps within society; creating challenges such as poverty, hardship, and family stability (Grocholewski, 2007). The ultimate victims of such changes are the children. Therefore, it is important that an education system does not only develop skills and knowledge, but also inserts values and attitudes so that students can effectively and ethically adapt themselves to the changing patterns of society. Accordingly, schools should take the lead in providing an environment that allows them to understand these
changes and equip them with the skills to lead their communities with moral values through their school life and academic subjects. Catholic schools, with their roots in ethical education, can play a key role in providing such an environment for the betterment of society. Samai Chinnapha Co., Ltd. is a private company that runs Catholic educational institutes devoted to the provision of quality education to students under the guidelines of Catholic Education Council of Thailand. It emphasizes the instilling of Catholic values to the lifestyles of not only students but of teachers and staff as well. The company was established in 1967 by Mr. Samai Chinnapha, himself a product of St. Gabriel’s College, a Thai Catholic School. Gradually, Samai Chinnapha Co., Ltd. established a network of schools providing comprehensive education from kindergarten to postgraduate level, as well as vocational courses. Samai Chinnapha Co., Ltd.’s philosophy with regard to its values education has
ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2018/2561
21
การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูน้ �ำ แบบผูร้ บั ใช้เพือ่ เสริมสร้างอัตลักษณ์คาทอลิกให้กบั สถาบันการศึกษา ภายใต้บริษทั สมัย ชินะผา จำ�กัด
three pillars, as devised by Mr.Samai Chinnapha: Sapientia, Scientia, Sanctitas; which are Latin words that mean knowledge, wisdom, and holiness. These pillars led to the motto of Samai Chinnapha Co. Ltd., “Virtus Sola Nobilitat,” a Latin phase which means “Only virtues can make humans noble”. That is what Samai Chinnapha Co., Ltd. aims for. At the same time, it is also the philosophy of the Catholic Education Council of Thailand, which declared in 2008 that Catholic institutions should educate students to mature as a person and to gradually introduce them to be aware of the gift of faith. Therefore, it can be said that school is not only a place where one can nurture intellectual values, but it is also a place where values are actively lived through relationships and interpersonal communication both individually and as a community. Because Samai Chinnapha Co., Ltd. is established as a Catholic institution, it is crucial that the schools under the care of Samai Chinnapha Co., Ltd.
22
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
display Catholic values and its characteristics. Like any other schools\, Catholic schools are a place of integral formation through systematic and critical assimilation of culture, but also with an emphasis on the religious dimension with Jesus Christ as the foundation of its education (Javierre, 1977). The core of the Catholic education system is the integration of values, faith, and culture, which should ultimately lead the students to assimilate faith and love. Hence, Catholic schools are viewed as tools for the Church to promote evangelization; this does not mean that everyone in the school has to become Catholic converts, but the religious dimension is used as a tool to mediate between faith and culture, while helping students to develop their personality and awareness of their faith (Baum, 1988). In addition, Catholic schools are a key part of the Catholic Church’s mission to nurture children to become a whole human-being; where Christian formation is used as a tool to help them
ศศิลิยา มนเทียรวิเชียรฉาย, ชัยณรงค์ สุวรรณสาร และ ธนีนาฎ ณ สุนทร
support children’s personal development to, ultimately, become active in the construction of his or her own community with the following characteristics: courage and perseverance, respect for others, loyalty and love for others, sincerity, tolerance, and goodness in all relationship (Javierre, 1977; Baum, 1988). Therefore, it could be said that Catholic education is different from other forms of education as it aims not only to develop students’ intellectual dimension but also form their character to be the Person of Christ; to be the leaders of their community. To achieve these objectives, it is crucial that the Catholic schools instill Christian values in their personal and students’ lifecontext. These characteristics are the ones that can be found in a leadership style called “Servant Leadership”. According to Punnachat (2009), the servant leadership concept was taught by Christ himself through his preaching and action; as described in Mark 10:45 New American Bible, “For even the son of Man did not come to
be served, but to serve, and to give his life as a ransom for many”. This shows that as a servant leader, one must put others’ interest before one’s own. This becomes one of the core values for Catholic schooling. Moreover, what makes the schools “Catholic” is that they maintain their Catholic vision with Christ as the foundation of the educational venture, giving new meaning to life and help students direct their thoughts and actions according to the Gospel (Catholic Education Council of Thailand, 2008). Therefore, it is crucial that Catholic schools insert their identity back to their education system. What makes Catholic education different from other education systems is that they believe in: …the way of life rooted in Christ, a Gospel-based creed and code, and a Catholic vision that provide inspiration and identity that is shaped over time, and is passed from one generation to the next through devices that capture and stimulate the Catholic imagination
ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2018/2561
23
การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูน้ �ำ แบบผูร้ บั ใช้เพือ่ เสริมสร้างอัตลักษณ์คาทอลิกให้กบั สถาบันการศึกษา ภายใต้บริษทั สมัย ชินะผา จำ�กัด
such as symbols and traditions (Cook, 2001, p.16). This passage reflects the identity of Catholic education in Catholic schools as an educating community for the person and of the persons (Grocholewski, 2007). However, it is not without challenges. Like any other school, Catholic schools are affected by external factors; namely: socialpolitical, economy, cultural, as well as religious factors, which create an array of complexities and challenges for Catholic schools. For instance, with the shift in the economy and the rapid development of technology, the gap between the rich and the poor continues to increase which, ultimately, affects the society’s behavior patterns and structure, especially as Catholic schools are trying to keep up with local government’s policies and financing. Catholic schools are also struggling to keep up with such changes as it affects not only the availability and stability of qualified teachers but it also excludes those who cannot afford to pay as well. (Laghi,
24
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
1997; Grocholewski, 2007). In other words, this situation deprives the Catholic schools from one of its distinguishing features, which is to be the schools for all; even for the underprivileged children who cannot afford to pay for education. This, in turn, creates a tendency for Catholic schools to reduce its education structure to its purely technical and practical aspects rather than to emphasize the maintenance of its own unique identity (Laghi, 1997). Hence, the Catholic Church in Thailand and her schools need to re-evaluate themselves in order to prevent further loss of their special identity in education as Thailand becomes a more multicultural, multiethnic, and multi-religious society. In this kind of society students should be assisted in overcoming their individualism and, in the light of Catholic faith, discover their calling to live responsibly in their community with others. This impact is particularly apparent in the institutions under Samai
ศศิลิยา มนเทียรวิเชียรฉาย, ชัยณรงค์ สุวรรณสาร และ ธนีนาฎ ณ สุนทร
Chinnapha Co., Ltd. However, the following changes in the environment have greatly affected schools under the care of Samai Chinnapha Co., Ltd.: For instance, the impact on the economic led to 1.) a high turnover rate of teachers in order to find better living option as well as current teachers lost motivation; this in turn, 2.) decrease the number of students which effected 3.) the institution’s financial stability; ultimately, 4.) the institution could not afford to look after the religious order on campus causing the absence of the only group who can re-enforce Catholic identity in education. These issues have led to the loss of the institutes’ mission and their Catholic identity. Therefore, in order to re-enforce Catholic identity, it was necessary to embed Catholic identity in the teachers as teachers are an important instrument as they facilitate the students’ learning process and can act as a stabilizing influence, as well as civic leadership (Warner and Esposito, 2009; Lizzio, Dempster,& Neumann,
2011). Therefore, it could be said that once a person takes a role of teacher, he or she also becomes the leader to students as well (Crippen, 2010). Moreover, teachers are lay witnesses to Jesus Christ by creating a Christian atmosphere in the school community; living in faith and secular vocation in the communitarian structure of their schools (Grocholewski, 2007). The teachers need to create a warm and supportive environment for students, so they would feel they can express their thoughts and opinion freely and be tolerant of the different opinions. In other words, teachers serve as mentors who encourage and assist students to develop their leadership capacity as they guide the students to deepen their human knowledge and their faith (Javierre, 1977). Moreover, in the context of Catholic education, teachers are witnesses, as individuals and as a community, who need to impart distinctive characters modeled after Jesus Christ as examples for students (Baum,
ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2018/2561
25
การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูน้ �ำ แบบผูร้ บั ใช้เพือ่ เสริมสร้างอัตลักษณ์คาทอลิกให้กบั สถาบันการศึกษา ภายใต้บริษทั สมัย ชินะผา จำ�กัด
1988). This means that teachers in Catholic schools need to also develop the distinct characteristics that Catholic schools are known for, as mentioned earlier: courage and perseverance, respect for others, loyalty and love for others, sincerity, tolerance, and goodness in all relationship. Concomitantly, those features are part of the characteristics found in servant leadership. Therefore, it can be said that servant leadership plays an important part in enhancing Catholic identity in education as characteristics of servant leadership are inspired by values found in the Gospel. To a certain extent, this style of leadership is part of the formation that form individuals to become the Person of Christ – to become the whole man. Purpose of the Study 1) To develop a servant leadership characteristics formation program that enhances Catholic identity for institutes under Samai Chinnapha Co., Ltd.
26
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
2) To implement and evaluate the servant leadership program Scope of the Study 1) Population: 70 Teachers at St.John’s School, Bangkok, Thailand. The sample population consisted of 20 teachers who volunteered to be a part of this research. Since the formation program emphasizes the attitude and awareness of the teachers towards servant leadership characteristics, it was necessary to select only a small group of teachers for implementation. 2) Content: This research aims at forming servant leadership characteristics; namely, vision, communication, empowerment, commitment, agape love, altruism, service, and humility (Greenleaf, 1991; Collins, 2001; Russell & Stone, 2002; Patterson, 2003; Richardson, 2007; Duby, 2009; Lavery, 2009; Spears, 2010; Mirren, 2013; Allen, 2014) ; which were chosen through the study of cultural background, Catholic education context, and the context of Samai Chinnapha Co., Ltd.
ศศิลิยา มนเทียรวิเชียรฉาย, ชัยณรงค์ สุวรรณสาร และ ธนีนาฎ ณ สุนทร
Research Instruments 1) Servant leadership characteristics formation program: The formation program consists of 3 modules. Module 1: Leadership perspectives consisted of vision and communication; Module 2: Empowerment consisted of empowerment and commitment; Module 3: Ethics consisted of agape love, altruism, service, and humility. Each module was designed using Bloom’s taxonomy in Affective Domain as the formation program focuses on values, appreciation, enthusiasm, motivation, and attitude. Bloom’s taxonomy was used as a guideline in order for the participants to raise awareness, to reflect, to accept and commit to servant leadership characteristics, to synthesize and prioritize their values, and finally to obtain their own value system. At the end of each module, the participants were asked to reflect
on the activities, on themselves, and on their schools; the participants were encouraged to open themselves up to others; expressing their issues, their concerns, their hopes and ideas of how they could contribute to the institutes as servant leaders. 2) Self-awareness assessment form consisted of 3 parts as follows: 2.1. General information: This includes questions on the background of the participants; namely, department, gender, education background, and work experience 2.2. Self-awareness assessment: The participants self-assess their attitude and awareness on servant leadership characteristics before and after they enter the formation program via a rating scale with 5 levels: 5 means highest level of awareness; 4 means high level of awareness, 3 means neutral level of awareness, 2 means low level of awareness; and 1 means lowest level of awareness. Using the interpretation of the scale followed Srisa-ard (2010), as follows:
ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2018/2561
27
การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูน้ �ำ แบบผูร้ บั ใช้เพือ่ เสริมสร้างอัตลักษณ์คาทอลิกให้กบั สถาบันการศึกษา ภายใต้บริษทั สมัย ชินะผา จำ�กัด
Mean between Meaning 4.51 – 5.00 means The participants have highest level of feeling/ opinion 3.51 – 4.50 means The participants have high level of feeling/ opinion 2.51 – 3.50 means The participants have neutral feeling/ opinion 1.51 – 2.50 means The participants have low level of feeling/ opinion 2.3 Participant Action Plan Approach (PAPA): The forms were separated into 2 parts, the first part was for the participants to state their intention to implement certain servant leadership characteristics or all of them in their everyday lives; the second part was for the participants to formulate plans to put the servant leadership characteristics in to action. 3) Program evaluation: The purpose of this form was to evaluate the reaction of participants towards the servant leadership characteristics formation program. The process in constructing the evaluation form is as follows: 1.) Reviewing related concept and theory; 2.) Formulate the evaluation form; 3.) Convey with advisor; and 4.) Calculate Item Objective Congruence by panel of experts. The result for the IOC was 0.60 – 1.00. 28
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
Result 1) General information: The analysis for general information was done through descriptive statistics to find percentage. There were 20 participants who took part in the servant leadership formation program with 80 percent from the school (Primary and Secondary) and 20 percent from the Kindergarten. The majority of the participants were women (60% percent); 95 percent of the participants graduated with Bachelor Degree while 5 percent of the participants graduated with Master Degree. The majority of the participants (65 percent) have been working with the school for more than 11 years while 30 percent of the participants have been working for less than five years while 5 percent of the participants have been working for 5 – 10 years.
ศศิลิยา มนเทียรวิเชียรฉาย, ชัยณรงค์ สุวรรณสาร และ ธนีนาฎ ณ สุนทร
2) Self-assessment: The analysis for self-awareness and attitude assessment was analyzed to find means, standard deviation, and paired samples t-test to determine the difference in their awareness and attitude before and after implementation. The results of paired t-test showed that the participants’ attitude is better after they have completed the formation program. If p-value ≤ 0.05, it shows
strong indication for the hypothesis to be true. However, it p-value ≥ 0.05, it shows strong indication against the hypothesis. Table 5 shows p-value = 0.03; therefore, it can be concluded that the participants experienced statistically significantly better attitude after they have completed the formation program with 95 percent confidence interval for the difference at -0.43.
Paired Differences S.D. t X Pre test – Post test
-.22879
Paired Differences
95% Confidence Interval of the Difference Upper Pair 1 -.02043 Pre Average – Post Average
p Lower
.44520
.09955
-.43715
t
df
Sig. (2-tailed)
-2.298
19
-.033
ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2018/2561
29
การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูน้ �ำ แบบผูร้ บั ใช้เพือ่ เสริมสร้างอัตลักษณ์คาทอลิกให้กบั สถาบันการศึกษา ภายใต้บริษทั สมัย ชินะผา จำ�กัด
3) PAPA: The analysis for the Participants’ Action Plan Approach (PAPA) was done through descriptive statistics to determine frequencies and percentages of each servant leadership characteristics. The table below displays the number of servant leadership characteristics that the participants are willing to implement in their every day lives.
The majority of the participants (70 percent) wanted to implementall of the eight servant leadership characteristics. of the participants, 5 percent wanted to implement four characteristics, 10 percent wanted to implement three characteristics, and 5 percent wished to implement only two characteristics.
Number of characteristics Frequency Percentage 2 1 5 3 2 10 4 1 5 8 16 70 TOTAL 20 100 4) Program evaluation: After the participants completed their servant leadership characteristics formation program, they were asked to fill out the questionnaire survey to determine the suitability of the formation program. The table below shows Means and Standard
30
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
Deviation of each item. The evaluation was done through descriptive statistics to determine means and standard deviation of each item. In addition, there was an open-ended question where the answers of the participants were calculated into frequencies.
ศศิลิยา มนเทียรวิเชียรฉาย, ชัยณรงค์ สุวรรณสาร และ ธนีนาฎ ณ สุนทร
Items Program’s promotion and coordination Program’s objectives Overall content
Means SD 4.10 0.79 4.40 0.50 4.40 0.68
Analysis High High High
The content and activities are in accordance to the modules’ objectives 4.80
0.41
Highest
The appropriateness of the content for each module 4.50 The suitability of learning activity and duration 4.40 The media for each activity is in accordance to the content 4.50 Building attitude with various activities 4.40 Information presented in each module 4.40 Duration of the formation program 4.30 Media and attitude building activities are appropriate 4.55 The overview of the formation is appropriate 4.35 The formation program reaches its objectives 4.55 Overall satisfaction 4.60 TOTAL 4.44
0.61 0.68 0.61 0.60 0.50 0.66 0.60 0.67 0.60 0.60 0.65
Highest High Highest High High High Highest High Highest Highest High
This shows that the suitability of the program is ranked highly suitable with means of 4.44. By examining each item, it is found that all items are ranks at high level except for 6 items: “the content and activities are in accordance to the modules’ objectives”, “the appropriateness of the content for each module”, “the media for each activity is in accordance to the content”,
“media and attitude building activities are appropriate”, “the formation program reaches its objectives”, and “overall satisfaction” which are ranked at the highest level with means of 4.80, 4.50, 4.55, 4.55, and 4.60 respectively. On the other hand, the lowest means are “program promotion and coordination” and “duration of the program formation” at 4.10 and 4.30 respectively.
ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2018/2561
31
การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูน้ �ำ แบบผูร้ บั ใช้เพือ่ เสริมสร้างอัตลักษณ์คาทอลิกให้กบั สถาบันการศึกษา ภายใต้บริษทั สมัย ชินะผา จำ�กัด
Conclusions 1) The servant leadership characteristics formation program was composed of three modules; namely, (1) Leadership perspective module which consisted of vision and communication; (2) Empowerment module which consisted of empowerment and commitment; and lastly, (3) Ethics module which consisted of agape love, altruism, service, and humility. 2) The implementation and evaluation results show that: (1) There was a significant statistically difference between pre and post selfawareness of the participants at 0.05; (2) According to the Participants Action Plan Approach, the participants were willing to implement all of the servant leadership characteristics to their daily lives; (3) It was found that the participants’ opinion on the formation program was in the high level of suitability; especially in the area of media, content, and attitude building activities were ranked in the highest level of suitability.
32
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
In addition, 60% of the participants also suggested for the formation program to be extended to the whole school and other institutes under Samai Chinnapha Co., Ltd. Recommendations from the research 1) This servant leadership characteristics formation program should be used to develop the attitude of all personnel in Samai Chinnapha Co., Ltd. The program is not generic but dynamic, and the modules can be chosen for implementation as needed. However, it is recommended that all three modules should be implemented at the beginning of every school year. 2) The servant leadership characteristics formation program can also be used as part of the termly evaluation. Recommendations for further research It is recommended that there should be a study on the relation between the eight servant leadership characteristics.
ศศิลิยา มนเทียรวิเชียรฉาย, ชัยณรงค์ สุวรรณสาร และ ธนีนาฎ ณ สุนทร
References Allen, J. (2014). Against the Tide: The Radical Leadership of Pope Francis. Liguori, MO: Liguori Publications. Baum, W. (1988). The Religious Dimen sion of Education in a Catholic School: Guideline for Reflection and Renewal: Congregation for Catholic Education. Retrieved from http://www.vatican.va/ roman_curia/congregations/ ccatheduc/documents/rc_con_ ccatheduc_doc_19961015_catho lic-school-re_po.html Catholic Education Council of Thailand (2008). Catholic Education Identity. Bangkok: Assumption University Press. Collins, J. (2001). Good to Great. NSW, Australia: HarperCollins Publishers. Cook, T. (2001). Architects of Catholic Culture: Designing and Building Catholic Culture in Catholic School. Washington DC: The National Catholic Educational Association.
Crippen, C. (2010). Serve, teach, and lead: It’s all about relationships. A Journal of Scholarly Teaching, 5, 27-36. Duby, D. (2009). The Greatest Command ment: The Foundation of Biblical Servant Leadership. Faculty Pub lications and Presentation: Liberty University. Greenleaf, R. (1991). The Servant as Leader. Westfield, USA: The Robert K. Greenleaf Center. Grocholewski, Z. (2007). Congregation for Catholic Education (of Semi naries and Educational Institu tions): Educating Together in Catholic Schools: A Shared Mission Between Consecrated Persons and the Lay Faithful. Retrieved from http://www.vatican.va/ roman_curia/congregations/ccathedu Javierre, A. (1977). The Sacred Congregation for Catholic Education: The Catholic School. Retrieved from http:// www.vatican.va/roman_curia/ congregations/ccatheduc/docu ments/rc_con_ccathe duc_doc _19770319_catholic-school_ en.html
ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2018/2561
33
การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูน้ �ำ แบบผูร้ บั ใช้เพือ่ เสริมสร้างอัตลักษณ์คาทอลิกให้กบั สถาบันการศึกษา ภายใต้บริษทั สมัย ชินะผา จำ�กัด
Laghi, P. (1997). Congregation for Catholic Education (for Seminaries and Educational Institutions): The Catholic School on the Threshold of the Third Millennium. Retrieved from http://www.vatican.ca/ roman_curia/congregations/ ccatheduc/documents/rc_con_ ccatheduc_doc_27041998_ school2000_en.html Lavery, S. (2009). Religious educators: Promoting servant leadership. Religious Education Journal of Australia, 25 (1), 31 – 36. Lizzio, A., Dempster, N.,& Nuemann, R. (2011). Pathways to formal and informal student leadership: The influence of peer and teacher- student relationships and level of school identification on students’ motivations. Leadership in Educa tion, 14(1), 85-102. Mirren, W. (2013). Pope Francis – Lessons from the Man who Rebuilt the Catholic Church: Humility, Love & Forgiveness. [Kindle Version].
34
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
Retrieved from http://www. amazon.com/Pope-Francis-Catholic -Humility-Forgiveness-ebook/dp/ B00GNJTFFI Patterson, K. (2003). Servant Leadership: A Theoretical Model. VA: Regent University. Punnachet, K. (2009). Catholic servant leadership in education: Going beyond the secular paradigm. International Studies in Catholic Education, 1(2), 117-134. Richardson, R. (2007). Exploring Servant Leadership Theory Within the Congregation of the Sisters of the Incarnate Word and Blessed Sacrament, Corpus Christi, Texas. (Doctoral Dissertation). Philosophy in Organizational Leadership, Regent University. Russell, R., & Stone, A. (2002). A review of servant leadership attributes: Developing a practical model. Leadership and Organization Development Journal, 23(3), 145 157.
ศศิลิยา มนเทียรวิเชียรฉาย, ชัยณรงค์ สุวรรณสาร และ ธนีนาฎ ณ สุนทร
Spears, L. (2010). Character and servant leadership: Ten characteristics of effective, caring leaders. The Journal of Virtues & Leadership, 1(1), 25 30. Srisa-ard, B. (2010). Introduction to Research. Bangkok: Sureeyasasin Publishing. Warner, B.,& Esposito, J. (2009). What’s not in the syllabus: Faculty trans formation, role modeling and role conflict in immersion service learning courses. International Journal of Teaching and Learning in Higher Education, 20(3), 510 517.
ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2018/2561
35
การพัฒนาจิตสาธารณะของนักเรียน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนนักบุญเปโตร
The Development of Public Mind of Matthayomsuksa One Students at Saint Peter School.
มลธวัฒน์ กิจสวัสดิ์ * นิสิตสาขาวิชาจิตวิทยาพัฒนาการ หลักสูตรการศึกษามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ดร.ภิญญาพันธ์ เพียซ้าย * อาจารย์ประจ�ำสาขาวิชาจิตวิทยาพัฒนาการ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
ดร.สุพัทธ แสนแจ่มใส
* อาจารย์ประจ�ำสาขาวิชาจิตวิทยา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
Montawat Kitsawat * Student, Department of Developmental Psychology, Education Program, Faculty of Humanities, Srinakharinwirot University.
Pinyapan Piasai, Ph.D.
* Lecturer, Department of Developmental Psychology, Faculty of Humanities, Srinakharinwirot University.
Supat Sanjamsai, Ph.D.
* Lecturer, Department of Psychology, Faculty of Humanities, Srinakharinwirot University.
มลธวัฒน์ กิจสวัสดิ์, ภิญญาพันธ์ เพียซ้าย และ สุพัทธ แสนแจ่มใส
บทคัดย่อ
การวิ จั ย ครั้ ง นี้ เ ป็ น การวิ จั ย เชิ ง ทดลอง (Experimental design) มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยคะแนนจิตสาธารณะของ นักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท ี่ 1 กลุม่ ทดลอง ในระยะก่อนการทดลอง หลัง การทดลอง และระยะติดตามผล และ 2) เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยคะแนน จิตสาธารณะของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท ี่ 1 ระหว่างกลุม่ ทดลองและ กลุ่มควบคุม ในระยะหลังการทดลอง และระยะติดตามผล โดยกลุ่ม ตัวอย่างทีใ่ ช้ในการวิจยั ในครัง้ นี ้ เป็นนักเรียนทีไ่ ด้คะแนนจากแบบวัดจิต สาธารณะน้อยสุด 70 คนแรก เมื่อเทียบกับคะแนนจากแบบวัดจิต สาธารณะของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2561 ของโรงเรียนนักบุญเปโตร จากนัน้ ท�ำการจับคูค่ ะแนนของนักเรียน ที่ใกล้เคียงกัน โดยแต่ละคู่ท�ำการสุ่มอย่างง่ายเพื่อเข้าเป็นกลุ่มทดลอง และกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 35 คน เครื่องมือที่ใช้ประกอบด้วยแบบวัด ตัวแปรจิตสาธารณะ ซึ่งผู้วิจัยสร้างขึ้น จ�ำนวน 45 ข้อ และโปรแกรม พัฒนาจิตสาธารณะ ท�ำการวิเคราะห์ข้อมูลและแปลผลด้วยโปรแกรม ส�ำเร็จรูปทางสถิติ สถิติที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ การวิเคราะห์ข้อมูล พื้นฐานทั่วไปได้แก่ ค่าเฉลี่ย (M) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) การ วิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียวเมือ่ มีการวัดซ�ำ ้ (One-Way ANOVA Repeated) และการวิเคราะห์ความแปรปรวนสองทางเมื่อมีการวัด ซ�้ำ (Two-Way ANOVA Repeated) ผลการวิจัยพบว่า 1) นักเรียน กลุม่ ทดลอง มีคะแนนเฉลีย่ ของจิตสาธารณะ หลังการทดลอง และระยะ ติดตามผล สูงกว่าก่อนการทดลอง อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 และ 2) นักเรียนกลุ่มทดลอง มีคะแนนจิตสาธารณะ หลังการ ทดลอง และระยะติดตามผล สูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยส�ำคัญทาง สถิติที่ระดับ .001
ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2018/2561
37
การพัฒนาจิตสาธารณะของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 1 โรงเรียนนักบุญเปโตร
Abstract
38
This research is an experimental design. The objectives of the research are: 1) to compare the average score of the public mind of Matthayomsuksa One students in experimental group between before and after the experiment and the follow-up period and 2) to compare the information above between an experimental group of sample and the control group of sample. The samples were the 70 students who studied at St.Peter’s School in the first semester of the academic year 2018 and scored the first lowest. Then match the scores of the students’ who got the similar ones. Each group has 35 students and randomly assigned for a trial group and a control group. The instruments used in this study are the Public Mind test 45 items made by the researcher and the Public Mind Development Program. The information is analyzed and interpreted through a statistical program. The statistical value is analyzed into the following: Average(M), Standard Deviation (SD), One-Way ANOVA Repeated, and Two-Way ANOVA Repeated. The result of the experiment are 1) the experimental group have higher average score of public mind after the experiment and the follow up phrase in significant figure of .001 level, and 2) the experimental group has higher public mind score after the experiment and in follow up phrase than the control group in significant figure of .001 level.
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
มลธวัฒน์ กิจสวัสดิ์, ภิญญาพันธ์ เพียซ้าย และ สุพัทธ แสนแจ่มใส
ภูมิหลัง จิตสาธารณะ ถือเป็นสิง่ ทีส่ ำ� คัญอย่างยิง่ ส�ำหรับคนไทยทุกคน ดังจะเห็นได้จากหลักการ ส�ำคัญของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่ง ชาติ ฉ บั บ ที่ 12 (พ.ศ.2560 - 2564) ที่ มี เป้าหมายในการพัฒนาชาติ คือ “คนไทยเป็น มนุ ษ ย์ ที่ ส มบู ร ณ์ เ ป็ น พลเมื อ งที่ มี วิ นั ย มีจิตสาธารณะและท�ำประโยชน์ต่อส่วนรวม” (ส�ำนักนายกรัฐมนตรี, 2559) อีกทั้งในการ พั ฒ นาผู ้ เรี ย นตามหลั ก สู ต รแกนกลางของ กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2551 ได้ก�ำหนดให้ จิตสาธารณะ เป็นคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ที่ผู้เรียนพึงมี (กระทรวงศึกษาธิการ, 2551) ดังนั้นสิ่งที่ส�ำคัญที่จะท�ำให้สังคมเป็นสังคมที่ดี และเป็นสุขนั้น คือการปลูกฝังให้บุคคลด�ำเนิน ชีวิตในสังคม ด้วยการรู้จักสร้างสัมพันธ์กับ ผู ้ อื่ น เต็ ม ใจท� ำ ประโยชน์ เ พื่ อ ส่ ว นรวม และ มีความสามารถทีจ่ ะรับใช้สงั คมอย่างสร้างสรรค์ (สมณกระทรวงการศึกษาคาทอลิก, 2556) ด้วยเหตุนี้ผู้วิจัยจึงเล็งเห็นความส�ำคัญของจิต สาธารณะ ที่ต้องน�ำมาพัฒนาให้เกิดขึ้น โดย เฉพาะอย่างยิ่งการเริ่มต้นปลูกฝังในเด็กและ เยาวชน เพือ่ จะได้เติบโตเป็นผูใ้ หญ่ทมี่ คี ณ ุ ภาพ ของสังคม จากการศึกษาพัฒนาการในช่วงวัยต่างๆ จะพบว่าวัยรุ่นเป็นวัยที่มีการเปลี่ยนแปลงทาง ด้านร่างกายอย่างสมบูรณ์ (ประณต เค้าฉิม,
2549) ด้านอารมณ์ มีอารมณ์ที่เข้มข้นและ มั่นคงซึ่งแตกต่างจากวัยเด็ก และพัฒนาการ ด้านความคิด ถือว่าวัยรุ่นเป็นวัยที่ความคิดมี การพัฒนาถึงขั้นสูงสุดตามแนวคิดของเพียเจต์ และด้านสังคม วัยรุ่นมีการเรียนรู้ระเบียบทาง สั ง คมได้ ดี (ประณต เค้ า ฉิ ม , 2549) จากที่ กล่ า วมาจะเห็ น ว่ า วั ย รุ ่ น เป็ น ช่ ว งวั ย ที่ มี พัฒนาการสมบูรณ์ในทุกด้าน และเป็นวัยที่ เหมาะกั บ การพั ฒ นาจิ ต สาธารณะ ผู ้ วิ จั ย จึงเลือกท�ำการวิจัยเพื่อศึกษาผลการพัฒนา จิตสาธารณะของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท ี่ 1 จากการศึกษางานวิจัยที่ผ่านมาพบว่ามีการใช้ เทคนิควิธกี ารทีห่ ลายหลาย ในการพัฒนาและ ศึกษาจิตสาธารณะนี้อาจแบ่งศึกษาเป็นด้าน ความคิด ความรู้สึก และพฤติกรรมก็ได้ อาทิ เช่ น การพั ฒ นาจิ ต สาธารณะของ อติ ฌ าณ แสงค�ำ (2555) ที่พัฒนาจิตสาธารณะทั้งด้าน ความคิด ความรู้สึกและพฤติกรรม โดยใช้วิธี การทางพุทธศาสนา ส่วนของภาสุดา ภาคาผล (2556) ทีใ่ ช้เทคนิคการเรียนรูแ้ บบโครงงานใน การพั ฒ นาจิ ต สาธารณะด้ า นความคิ ด และ พฤติ ก รรม และโกวิ ท ย์ พงษ์ ภั ก ดี (2553) ที่พัฒนาจิตสาธารณะด้านความคิด โดยใช้วิธี การปรั บ พฤติ ก รรมทางปั ญ ญา เนื่ อ งจาก นั ก เรี ย นชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่ 1 เป็ น วั ย ที่ มี พัฒนาการ ทางด้านอารมณ์ สังคม ความคิด ประกอบกับยังพบงานวิจัยที่สามารถพัฒนา
ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2018/2561
39
การพัฒนาจิตสาธารณะของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 1 โรงเรียนนักบุญเปโตร
จิ ต สาธารณะทั้ ง สามองค์ ป ระกอบน้ อ ยอยู ่ ผู ้ วิ จั ย จึ ง สนใจสร้ า งโปรแกรมพั ฒ นาจิ ต สาธารณะที่สามารถส่งเสริมจิตสาธารณะให้ เกิดกับนักเรียนได้ครบทุกองค์ประกอบตาม พัฒนาการของวัยรุน่ โดยน�ำแนวคิดการพัฒนา จิตพิสยั ของ ของเดวิท อาร์.แครทโวล (Krathwohl, David R. etc., 1973) มาใช้ในการ พัฒนาจิตสาธารณะให้เกิดขึ้นกับนักเรียนตาม พัฒนาการทั้ง 3 ด้าน คือ ด้านอารมณ์ ความ คิด และพฤติกรรม อีกทั้งใช้ทฤษฏีการเรียนรู้ ทางสังคมเชิงพุทธิปัญญา ของแบนดูรา (Bandura, Albert., 1986) ร่วมกับการใช้เทคนิค การเรียนรูเ้ ชิงรุก (Active Learning) การเรียน รู ้ โ ดยใช้ ป ั ญ หาเป็ น ฐาน(Problem-Base Learning) ในกิจกรรมบางครั้ง ซึ่งเป็นการ เรียนรู้ที่เหมาะกับพัฒนาการทางด้านความคิด ความรู้สึก และพฤติกรรมของวัยรุ่น มาใช้เป็น เทคนิคในโปรแกรมพัฒนาจิตสาธารณะนี้ โดยกลุ่มตัวอย่างในการท�ำวิจัยครั้งนี้ เป็นนักเรียนที่อยู่ในโรงเรียนเอกชนคาทอลิก ซึ่งโรงเรียนคาดหวังว่านักเรียนจะมีอัตลักษณ์ ของโรงเรียนนั่นก็คือ รักและรับใช้ ดังนั้นการ พัฒนาจิตสาธารณะของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษา ปีที่ 1 ครั้งนี้ ยังเป็นการหล่อหลอมอัตลักษณ์ การศึกษาคาทอลิก ให้เกิดขึ้นกับนักเรียน อีก ทั้งเป็นการพัฒนาจิตสาธารณะทั้งด้านอารมณ์ สังคม และสติปัญญาอีกด้วย
40
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
ความมุ่งหมายของการวิจัย 1) เพื่ อ เปรี ย บเที ย บค่ า เฉลี่ ย คะแนน จิตสาธารณะของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท ี่ 1 กลุม่ ทดลอง ในระยะก่อนการทดลอง หลังการ ทดลอง และระยะติดตามผล 2) เพื่ อ เปรี ย บเที ย บค่ า เฉลี่ ย คะแนน จิตสาธารณะของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท ี่ 1 ระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม ในระยะ หลังการทดลอง และระยะติดตามผล สมมติฐานในการวิจัย 1. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 กลุ่ม ทดลอง มีคะแนนเฉลี่ยของจิตสาธารณะ หลัง การทดลอง และระยะติดตามผล สูงกว่าก่อน การทดลอง 2. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 กลุ่ม ทดลอง มีคะแนนเฉลี่ยของจิตสาธารณะ หลัง การทดลอง และระยะติดตามผล สูงกว่ากลุ่ม ควบคุม ขอบเขตในการวิจัย ประชากรในการวิจัย ประชากรในการศึ ก ษาครั้ ง นี้ เป็ น นักเรียนที่ได้คะแนนจากแบบวัดจิตสาธารณะ น้ อ ย เมื่ อ เที ย บกั บ คะแนนจากแบบวั ด จิ ต สาธารณะของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที ่ 1 ปีการศึกษา 2561 ของโรงเรียน นักบุญเปโตร สามพราน จ�ำนวนทั้งสิ้น 263 คน
มลธวัฒน์ กิจสวัสดิ์, ภิญญาพันธ์ เพียซ้าย และ สุพัทธ แสนแจ่มใส
กลุ่มตัวอย่างในการวิจัย เป็นนักเรียนที่ได้คะแนนจากแบบวัด จิตสาธารณะน้อยสุด 70 คนแรก และสมัครใจ เข้าร่วมการวิจัย จากนั้นท�ำการจับคู่คะแนน ของนักเรียนที่ใกล้เคียงกัน โดยแต่ละคู่ท�ำการ สุ่มอย่างง่ายเพื่อเข้าเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่ม ควบคุม กลุ่มละ 35 คน ตัวแปรที่ศึกษา 1. ตั ว แปรต้ น เงื่ อ นไขการพั ฒ นา จิตสาธารณะ โดยแบ่งเป็น 1.1 ได้ รั บ โปรแกรมพั ฒ นา จิตสาธารณะ 1.2 ไม่ ไ ด้ รั บ โปรแกรมพั ฒ นา จิตสาธารณะ 2. ตัวแปรตาม คือ จิตสาธารณะ นิยามศัพท์เฉพาะ โปรแกรมพัฒนาจิตสาธารณะ หมายถึง กิจกรรมที่มุ่งพัฒนาจิตสาธารณะของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ตามแนวคิดการพัฒนา จิตพิสัย 5 ขั้น ได้แก่ การรับรู้ การตอบสนอง การเห็นคุณค่า การจัดระบบ และการสร้าง ลักษณะนิสัย ร่วมกับการใช้เทคนิคการเรียนรู้ เชิงรุก (Active Learning) การเรียนรู้โดยใช้ ปัญหาเป็นฐาน (Problem-Based Learning) และเทคนิคการเรียนรูท้ างสังคมเชิงพุทธิปญ ั ญา ในกิจกรรมบางครั้ง จ�ำนวน 12 กิจกรรม
นิยามปฏิบัติการ จิตสาธารณะ คือ การทีน่ กั เรียนมีความ คิด ความรู้สึก และพฤติกรรม เกี่ยวกับการ เอาใจใส่ แ ละเป็ น ธุ ร ะในเรื่ อ งของส่ ว นรวม ท� ำ ตามหน้ า ที่ ข องตนเพื่ อ ส่ ว นรวมอย่ า งดี มีความปรารถนาทีจ่ ะช่วยเหลือสังคมด้วยความ เต็มใจ เคารพสิทธิในการใช้ของส่วนรวม ด้วย การใส่ใจต่อสมบัติของส่วนรวมที่ใช้ประโยชน์ ร่วมกัน อีกทั้งเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ ที่แก้ไข ปัญหาต่างๆ ในสังคม ด้วยความเต็มใจโดยไม่ หวังผลตอบแทน ซึ่งแสดงออกเป็น 4 ด้าน ดังนี้ 1. ด้านการใช้ หมายถึง นักเรียนมี ความคิด ความรู้สึก และพฤติกรรม เกี่ยวกับ การเอาใจใส่ในการใช้สิ่งของส่วนรวม อย่าง ประหยัดและทะนุถนอม รู้จักดูแลรักษาให้อยู่ ในสภาพดี และไม่ทำ� ลายให้เกิดความช�ำรุดเสีย หาย ด้วยความเต็มใจ 2. ด้านการถือเป็นหน้าที่ หมายถึง นักเรียนมีความคิด ความรู้สึก และพฤติกรรม เกีย่ วกับการท�ำหน้าทีเ่ พือ่ ส่วนรวม ด้วยการท�ำ ตามหน้ า ที่ ข องตนอย่ า งดี และเคารพกฎ ระเบียบของการอยู่ร่วมกัน อีกทั้งรู้จักดูแล รั ก ษาสาธารณะสมบั ติ ข องส่ ว นรวมเปรี ย บ เสมือนตนเองเป็นเจ้าของ ด้วยความเต็มใจ 3. ด้ า นการเคารพสิ ท ธิ หมายถึ ง นักเรียนมีความคิด ความรู้สึก และพฤติกรรม
ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2018/2561
41
การพัฒนาจิตสาธารณะของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 1 โรงเรียนนักบุญเปโตร
เกี่ยวกับการเคารพสิทธิในการใช้ของส่วนรวม ที่ใช้ประโยชน์ร่วมกัน โดยการไม่ยึดครองของ ส่ ว นรวมมาเป็ น ของตน และเปิ ด โอกาสให้ บุคคลอืน่ ได้ใช้ของส่วนรวมนัน้ ด้วยความเต็มใจ 4. ด้ า นการปฏิ บั ติ กิ จ กรรมที่ เ ป็ น ประโยชน์ ต ่ อ ส่ ว นรวม หมายถึ ง นั ก เรี ย นมี ความคิด ความรู้สึก และพฤติกรรม เกี่ยวกับ การท�ำความดีเพือ่ ประโยชน์ตอ่ ผูอ้ นื่ และสังคม ส่วนรวม ด้วยก�ำลังกายก�ำลังปัญญา ก�ำลัง ทรัพย์สิน ตามความสามารถของตนเอง ด้วย ความเต็มใจโดยไม่หวังผลตอบแทน โดยวัดจากแบบวัดตัวแปรจิตสาธารณะ ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นเอง มีลักษณะเป็นแบบมาตร ประมาณค่า (Rating scale) 6 ระดับ ได้แก่ จริงที่สุด จริง ค่อนข้างจริง ค่อนข้างไม่จริง ไม่จริง และไม่จริงเลย จ�ำนวน 45 ข้อ โดย นักเรียนที่ได้คะแนนจากแบบวัดมาก แสดงว่า เป็นนักเรียนที่มีจิตสาธารณะสูงกว่านักเรียน ที่ได้คะแนนจากแบบวัดน้อยกว่า กรอบแนวคิดการวิจัย ในการวิจัยเพื่อพัฒนาจิตสาธารณะใน นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนนักบุญ เปโตรสามพราน ผู ้ วิ จั ย ได้ น� ำ กระบวนการ พั ฒ นาจิ ต พิ สั ย ของ เดวิ ท อาร์ . แครทโวล (Krathwohl, David R. etc., 1973) มาเป็น
42
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
แนวคิ ด ในการสร้ า งโปรแกรม ซึ่ ง ประกอบ ไปด้ ว ย 5 ขั้ น ตอน ได้ แ ก่ 1) ขั้ น การรั บ รู ้ (Receiving) เป็นการให้นักเรียนรับรู้สภาพ ปัญหาจริงจากประสบการณ์ที่พวกเขามี เพื่อ น�ำสู่การเลือกปัญหามาแก้ไขจากการรับรู้ของ แต่ละคน 2) ขั้นการตอบสนอง (Responding) ขัน้ นีน้ กั เรียนจะตอบสนองต่อปัญหา ผ่าน ทางการแสดงความคิดเห็น การท�ำกิจกรรม ต่ า งๆ 3) ขั้ น การเห็ น คุ ณ ค่ า (Valuing) นั ก เรี ย นจะสรุ ป ข้ อ คิ ด จากกิ จ กรรมและ ประสบการณ์ต่างๆ ที่ตนเองได้รับ 4) ขั้นการ จั ด ระบบ (Organization) นั ก เรี ย นจะจั ด ลักษณะของการมีจิตสาธารณะตามความคิด ของและตามความสามารถของแต่ละคนตาม องค์ ป ระกอบของจิ ต สาธารณะด้ า นต่ า งๆ 5) การสร้างลักษณะนิสัย (Characterization by a Value or Value Complex) นักเรียนเลือกข้อคิดที่ได้รับไปใช้ในชีวิตประจ�ำ วันตามสถานการณ์ตา่ งๆ ซึง่ บางกิจกรรมได้นำ� ทฤษฏี ก ารเรี ย นรู ้ ท างสั ง คมของแบนดู ร า (Bandura, Albert., 1986) มาใช้ และใช้ รู ป แบบการสอนแบบเรี ย นรู ้ เชิ ง รุ ก (Active Learning) การเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem base learning) มาใช้ ใ นบาง กิ จ กรรมโดยจะได้เป็นกรอบแนวคิดดังภาพ ประกอบที ่ 1
มลธวัฒน์ กิจสวัสดิ์, ภิญญาพันธ์ เพียซ้าย และ สุพัทธ แสนแจ่มใส
เงื่อนไขการพัฒนาจิตสาธารณะ - ได้รับโปรแกรมพัฒนาจิตสาธารณะ - ไม่ได้รับโปรแกรมพัฒนาจิตสาธารณะ
จิตสาธารณะ
ภาพประกอบที่ 1 กรอบแนวคิดการท�ำวิจัย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 1. แบบวัดตัวแปรจิตสาธารณะ จ�ำนวน 45 ข้ อ มี ค ่ า อ� ำ นาจจ� ำ แนกรายข้ อ จากการ ใช้จริงอยู่ระหว่าง .340 ถึง .623 และมีค่า สัมประสิทธิ์ความเชื่อมั่นชนิดความสอดคล้อง ภายในแบบอัลฟ่าทั้งฉบับเท่ากับ .942 2. โปรแกรมพั ฒ นาจิ ต สาธารณะ ที่สามารถพัฒนาจิตสาธารณะ ได้ทั้งความคิด อารมณ์ แ ละพฤติ ก รรม มี ค ่ า ดั ช นี ค วาม สอดคล้อง (IOC) ของโปรแกรมระหว่าง .60 - 1 การด�ำเนินการทดลองและการเก็บรวบรวม ข้อมูล การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลอง (Experimental design) ผู้วิจัยท�ำการวัดผล ก่ อ นการทดลอง เพื่ อ คั ด เลื อ กนั ก เรี ย นที่ มี คะแนนจากแบบวัดตัวแปรจิตสาธารณะน้อย 70 คนแรก เมื่อเทียบกับคะแนนจากแบบวัด ของนั ก เรี ย นชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่ 1 จากนั้ น ท�ำการจับคู่คะแนนของนักเรียนที่ใกล้เคียงกัน โดยแต่ละคูท่ ำ� การสุม่ อย่างง่ายเพือ่ เข้าเป็นกลุม่
ทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 35 คน โดย กลุ ่ ม ทดลองเข้ า ร่ ว มโปรแกรมพั ฒ นาจิ ต สาธารณะและกลุ ่ ม ควบคุ ม ไม่ ไ ด้ เข้ า ร่ ว ม โปรแกรมพัฒนาจิตสาธารณะ เมื่อสิ้นสุดการ ทดลองจึงท�ำการวัดซ�้ำและท�ำการวัดอีกครั้ง หนึง่ หลังสิน้ สุดการทดลอง 2 สัปดาห์ โดยการ ทดลองในครั้ ง นี้ ผู ้ วิ จั ย แบ่ ง เป็ น 3 ขั้ น ตอน ซึ่งมีขั้นตอนดังนี้ 1. ก่อนการทดลอง 1.1 ผูว้ จิ ยั ด�ำเนินการขอใบรับรองการ อนุ มั ติ ก ารท� ำ วิ จั ย และเก็ บ ข้ อ มู ล จากคณะ กรรมการจริ ย ธรรมวิ จั ย ในมนุ ษ ย์ ของ มหาวิ ท ยาลั ย ศรี น คริ น ทรวิ โรฒ เพื่ อ ใช้ เ ป็ น หลั ก ฐานในการด� ำ เนิ น การเก็ บ ข้ อ มู ล และ ทดลองกับกลุม่ ตัวอย่างในการวิจยั คือนักเรียน ชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่ 1 ภาคเรี ย นที่ 1 ปี ก าร ศึกษา 2561 โรงเรียนนักบุญเปโตร (หมายเลข รับรอง: SWUEC/X-100/2561) 1.2 ท�ำหนังสือขออนุญาตในการเก็บ ข้อมูลและทดลองเพื่อใช้ขอความอนุเคราะห์ จากโรงเรียน
ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2018/2561
43
การพัฒนาจิตสาธารณะของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 1 โรงเรียนนักบุญเปโตร
1.3 ผูว้ จิ ยั ท�ำการประชุมนักเรียน เพือ่ ให้ทราบถึงวัตถุประสงค์ของการท�ำวิจัย และ ทดสอบก่ อ นการทดลองโดยใช้ แ บบวั ด จิตสาธารณะที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นเอง 1.4 คั ด เลื อ กนั ก เรี ย นที่ มี ค ะแนน จิตสาธารณะน้อย จ�ำนวน 70 คน สุม่ เข้ากลุม่ ทดลอง และกลุ ่ ม ควบคุ ม กลุ ่ ม ละ 35 คน ด้วยความสมัครใจ 2. ด�ำเนินการทดลอง 2.1 ในการทดลองครั้งนี้ ด�ำเนินการ ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2561 ตั้งแต่ เดือนมิถุนายน – สิงหาคม 2561
2.2 นั ก เรี ย นกลุ ่ ม ทดลองเข้ า ร่ ว ม โปรแกรมพัฒนาจิตสาธารณะ เป็นเวลา 12 สั ป ดาห์ สั ป ดาห์ ล ะ 1 วั น ต่ อ 1 กิ จ กรรม แต่ละกิจกรรมใช้เวลาครั้งละ 50 นาที แต่มี 1 กิจกรรมทีใ่ ช้เวลา 150 นาที ซึง่ เป็นกิจกรรม ที่ท�ำภายนอกโรงเรียน โดยการจัดกิจกรรม แต่ละครั้งผู้วิจัยจัดกิจกรรมตามแนวคิดทฤษฏี ดังตาราง 1 2.3 นักเรียนกลุ่มควบคุม ไม่เข้าร่วม โปรแกรมพัฒนาจิตสาธารณะ โดยเป็นการเข้า ร่วมกิจกรรมอื่นๆ ที่ไม่เกี่ยวข้องกับการพัฒนา จิตสาธารณะ เป็นเวลา 12 สัปดาห์ สัปดาห์ละ 1 วัน วันละ 50 นาที ตางราง 1 การจัดกิจกรรมพัฒนาจิตสาธารณะตามแนวคิดพัฒนาจิตพิสัย
การสร้าง ลักษณะนิสัย
การสร้าง ลักษณะนิสัย การสรุป นัยทั่วไป
การจัดระบบ ค่านิยม
การสร้าง มโนทัศน์
การจัดระบบ
การยอมรับ คุณค่า
การชื่นชอบ คุณค่า
การเห็นคุณค่า การรับรู้คุณค่า
ความพึงพอใจ ในการตอบ สนอง
ความเต็มใจใน การตอบสนอง
การยินยอมใน การตอบสนอง
การตอบสนอง การเลือก ความใส่ใจ
ความเต็มใจ ในการรับรู้
การรู้จัก
การรับรู้
1. รอบๆ ตัวฉัน 2. ปัญหานี้แหละใช่เลย 3. ช่วยกันดูแล 4. ยึดมั่นในหน้าที่ 5. สิทธิของฉันและเธอ 6. หัวใจอาสา 7. สิ่งที่ได้เรียนรู้ 8. คุณค่าที่สอดคล้อง 9. สัญญาใจ 10. ส่งต่อความรัก 11. ภารกิจแห่งรักและรับใช้ 12. สานต่อความดี
44
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
มลธวัฒน์ กิจสวัสดิ์, ภิญญาพันธ์ เพียซ้าย และ สุพัทธ แสนแจ่มใส
3. หลังการทดลอง หลังจากครบ 12 ครั้งแล้ว ผู้วิจัยจะ ท� ำ การวั ด จิ ต สาธารณะซ�้ ำ ในนั ก เรี ย นกลุ ่ ม ทดลองและกลุ่มควบคุม โดยแบ่งเป็น 2 ช่วง ดังนี้ 3.1 หลังสิน้ สุดโปรแกรมทันที (Posttest) 3.2 ระยะติดตามผล วัดหลังจากสิ้น สุดโปรแกรม 2 สัปดาห์ ซึง่ การวัดจิตสาธารณะหลังการทดลอง ทัง้ สองครัง้ นี ้ จะใช้แบบวัดเดียวกันทีใ่ ช้ทดสอบ ก่อนการทดลอง จากนัน้ น�ำคะแนนมาวิเคราะห์ ข้อมูลทางสถิติร่วมกับผู้เชี่ยวชาญ 4. สถิติที่ใช้ 4.1 การวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานทั่วไป ได้แก่ ค่าเฉลีย่ (M) และส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน (SD) 4.2 การวิเคราะห์ความแปรปรวนทาง เดี ย วเมื่ อ มี ก ารวั ด ซ�้ ำ (One-Way ANOVA repeated) 4.3 การวิเคราะห์ความแปรปรวนสอง ทางเมื่ อ มี ก ารวั ด ซ�้ ำ (Two-Way ANOVA Repeated) ผลการวิเคราะห์ข้อมูล ก่ อ นการวิ เ คราะห์ ข ้ อ มู ล ในแต่ ล ะ สมมติฐาน ผูว้ จิ ยั ได้ทำ� การตรวจสอบ ความเท่า เทียมกันของคะแนนจิตสาธารณะ ก่อนการ ทดลอง ระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม โดยใช้ ส ถิ ติ Independent samples
t-test พบว่าคะแนนเฉลี่ยของจิตสาธารณะ ของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท ี่ 1 ในระยะก่อน การทดลองของกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม ไม่แตกต่างกันที่ระดับนัยส�ำคัญทางสถิติ .05 (p=.973) โดยมีค่าเฉลี่ยคะแนนจิตสาธารณะ เท่ากับ 3.798 และ 3.796 และมีค่าเบี่ยงเบน มาตรฐาน เท่ากับ .263 และ .246 ตามล�ำดับ แสดงว่าทัง้ สองกลุม่ มีคะแนนจิตสาธารณะก่อน การทดลอง เท่าเทียมกัน จากนั้ น ผู ้ วิ จั ย จึ ง ท� ำ การวิ เ คราะห์ สมมติฐานในแต่ละข้อดังนี้ 1. การทดสอบสมมติ ฐ านข้ อ ที่ 1 นั ก เรี ย นชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่ 1 กลุ ่ ม ทดลอง มี ค ะแนนเฉลี่ ย ของจิ ต สาธารณะ หลั ง การ ทดลอง และติดตามผล สูงกว่าก่อนการทดลอง ก่อนการวิเคราะห์ ผู้วิจัยได้ตรวจสอบ ตามข้ อ ตกลงเบื้ อ งต้ น แบบ Compound Symmetry โดยใช้สถิติ Mauchly’s Test of Sphericity พบว่า ไม่เป็น Compound Symmetry (Mauchly's W = .798, dƒ=2, p=.024) ซึ่ ง หมายถึ ง ค่ า ความสั ม พั น ธ์ ข อง ตั ว แปรตามแต่ ล ะคู ่ ที่ วั ด ซ�้ ำ (Correlation) และความแปรปรวนของตัวแปรตามในการ วัดซ�้ำแต่ละครั้ง (Variance) ต่างกัน สามารถ ปรับแก้โดยใช้สถิติ Greenhouse-geisser Epsilon, Huynh-feldt Epsilon หรือ Lower-bound Epsilon (บุ ญ เรี ย ง ขจรศิ ล ป์ , 2548) ในที่ น้ี ผู ้ วิ จั ย เลื อ กใช้ ส ถิ ติ Greenhouse-geisser Epsilon ดังตาราง 2
ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2018/2561
45
การพัฒนาจิตสาธารณะของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 1 โรงเรียนนักบุญเปโตร
ตาราง 2 ผลการวิเคราะห์ความแปรปรวนตัวแปรเดียวสองทางแบบวัดซ�ำ้ ของจิตสาธารณะ ของกลุม่ ทดลองและ กลุม่ ควบคุม กับระยะการทดลอง (ก่อนการทดลอง หลังการทดลอง และระยะหลังสิน้ สุดการทดลอง) ด้วยสถิตกิ าร ประเมินแบบ Greenhouse-geisser Epsilon
แหล่งความแปรปรวน ระยะการทดลอง ความคลาดเคลื่อน
SS dƒ MS F p 2.228 1.664 1.339 75.575 .000 1.002 56.570 .081
จากตาราง 2 พบว่า ผลจากการเข้าร่วมโปรแกรมพัฒนาจิตสาธารณะของกลุม่ ทดลอง มีคา่ เฉลี่ยคะแนนจิตสาธารณะจากการวัดทั้ง 3 ครั้ง แตกต่างกันอย่างน้อย 1 คู่ จากนั้นผู้วิจัยจึงได้ท�ำการทดสอบค่าเฉลี่ยรายคู่ เพื่อเปรียบเทียบคะแนนจิตสาธารณะ ในระยะก่อนการทดลอง หลังการทดลอง และหลังสิ้นสุดการทดลอง โดยเลือกใช้ Bonferroni ในการทดสอบ น�ำเสนอได้ดังตาราง 3 ตาราง 3 ผลการทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลีย่ คะแนนจิตสาธารณะในกลุม่ ทดลอง ในระยะก่อนการทดลอง หลังการทดลอง และระยะสิน้ สุดการทดลอง กลุ่มตัวอย่าง กลุ่มทดลอง
ระยะ(I) ก่อนการทดลอง หลังการทดลอง ระยะติดตามผล
ระยะ (J) หลังการทดลอง ระยะติดตามผล ก่อนการทดลอง ระยะติดตามผล ก่อนการทดลอง หลังการทดลอง
Mean Difference Std.Error -.309 .033 -.309 .031 .309 .033 -.001 .022 .309 .031 .001 .022
p .000 .000 .000 1.00 .000 1.00
จากตาราง 3 พบว่า ผลการทดสอบค่าเฉลี่ยคะแนนจิตสาธารณะของกลุ่มทดลองในระยะ หลังการทดลอง และระยะติดตามผล มีค่าเฉลี่ยสูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ ระดับ .001 และในระยะหลังการทดลอง มีค่าเฉลี่ยไม่ต่างกันกับระยะติดตามผล ซึ่งสนับสนุน สมมติฐานการวิจัยข้อที่ 1 คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 กลุ่มทดลอง มีคะแนนเฉลี่ยของจิต สาธารณะ หลังการทดลองและระยะติดตามผล สูงกว่าก่อนการทดลอง
46
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
มลธวัฒน์ กิจสวัสดิ์, ภิญญาพันธ์ เพียซ้าย และ สุพัทธ แสนแจ่มใส
2. การทดสอบสมมติฐานข้อที ่ 2 นักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท ี่ 1 กลุม่ ทดลอง มีคะแนนเฉลีย่ ของจิตสาธารณะ หลังการทดลอง และติดตามผล สูงกว่ากลุ่มควบคุม ในการทดสอบความแปรปรวนสองทางแบบวัดซ�ำ ้ ของคะแนนจิตสาธารณะผูว้ จิ ยั ได้ทดสอบ ความเป็นเอกพันธ์ ของความแปรปรวนของคะแนนจิตสาธารณะ ระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่ม ควบคุม ในช่วงเวลาการทดลองทั้งสามระยะได้แก่ก่อนการทดลอง (Levene's Test= .017, p=.897) หลังการทดลอง (Levene's Test= 3.253, p= .076) และในระยะติดตามผล (Levene's Test= 1.953, p= .167) พบความแปรปรวนไม่แตกต่างกัน ดังนั้นผู้วิจัยจึงท�ำการวิเคราะห์ความ แปรปรวนสองทางแบบวัดซ�้ำคะแนนจิตสาธารณะของกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมในช่วงเวลา 3 ช่วง โดยผู้วิจัยได้ได้ตรวจสอบตามข้อตกลงเบื้องต้น แบบ Compound Symmetry โดยใช้ สถิติ Mauchly’s Test of Sphericity พบว่าไม่เป็น Compound Symmetry (Mauchly's W = .828, dƒ=2, p=.002) ซึง่ หมายถึงค่าความสัมพันธ์ของตัวแปรตามแต่ละคูท่ วี่ ดั ซ�ำ ้ (Correlation) และความแปรปรวนของตัวแปรตามในการวัดซ�้ำแต่ละครั้ง (Variance) ต่างกัน สามารถปรับแก้ โดยใช้สถิต ิ Greenhouse-geisser Epsilon, Huynh-feldt Epsilon หรือ Lower-bound Epsilon (บุญเรียง ขจรศิลป์, 2548) ในทีน่ ผี้ วู้ จิ ยั เลือกใช้สถิต ิ Greenhouse-geisser Epsilon ดังตารางที ่ 4 ตาราง 4 ผลการวิเคราะห์ความแปรปรวนตัวแปรเดียวสองทางแบบวัดซ�ำ้ ของจิตสาธารณะ ของกลุม่ ทดลองและ กลุม่ ควบคุม กับระยะการทดลอง(หลังการทดลองและติดตามผล) แหล่งความแปรปรวน ภายในกลุ่ม ระยะการทดลอง ความคลาดเคลื่อน ระหว่างกลุ่ม การเข้าโปรแกรม ความคลาดเคลื่อน ปฏิสัมพันธ์สองทาง
SS
dƒ
1.706 .328 116.007 .013
.559 1.511
3.860 1 13.171 68
1.927
ระยะการทดลอง × การเข้าโปรแกรม
1.706
MS
F
p
Partial η2
25.177 .000
.270
3.860 .194
19.928 .000
.227
1.129
86.720 .000
.560
ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2018/2561
47
การพัฒนาจิตสาธารณะของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 1 โรงเรียนนักบุญเปโตร
จากตาราง 4 ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูลพบว่ามีปฏิสมั พันธ์แบบสองทางระหว่างระยะเวลาการ ทดลองและการเข้ า ร่ ว มโปรแกรม อย่ า งมี นั ย ส� ำ คั ญ ทางสถิ ติ ที่ ร ะดั บ .001 (F = 86.720, dƒ = 1.706, p = .000) โดยมีขนาดอิทธิพล (Effect size) เท่ากับ .560 ตามล�ำดับ จากปฏิสมั พันธ์ ทีพ่ บข้างต้น ผูว้ จิ ยั จึงได้ทำ� การวิเคราะห์เพิม่ เติม เพือ่ พิจารณาคะแนนจิตสาธารณะ ตามระยะเวลา ของการวัดทีแ่ ตกต่างกัน (ก่อนการทดลอง หลังการทดลอง และติดตามผล) โดยการเขียนค�ำสัง่ เพิม่ เติมใน Syntax ของกลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลอง ดังตาราง 5 ตาราง 5 ผลการวิเคราะห์คะแนนเฉลีย่ ของจิตสาธารณะ จ�ำแนกตามการวัด ได้แก่ ระยะก่อนการทดลอง หลังการทดลอง และติดตามผล ของกลุม่ ทดลองและกลุม่ ควบคุม ระยะการทดลอง ก่อนการทดลอง หลังการทดลอง ระยะติดตามผล
กลุ่ม กลุ่มทดลอง กลุ่มควบคุม กลุ่มทดลอง กลุ่มควบคุม กลุ่มทดลอง กลุ่มควบคุม
M 3.798 3.796 4.106 3.727 4.107 3.674
SD .263 .246 .331 .208 .335 .190
Mean Difference 0.002
p .918
0.379 .000 0.433 .000
จากตาราง 5 ผลการวิเคราะห์ค่าเฉลี่ยรายคู่ พบว่า คะแนนจิตสาธารณะในระยะก่อนการ ทดลอง ของกลุ่มทดลองกับกลุ่มควบคุม ไม่แตกต่างกัน ที่ระดับนัยส�ำคัญทางสถิติ .05 แต่พบว่า ในระยะหลังการทดลองและระยะติดตามผล คะแนนจิตสาธารณะ ในกลุ่มทดลองสูงกว่ากลุ่ม ควบคุม อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 ซึ่งหมายความว่า นักเรียนที่เข้าโปรแกรมพัฒนา จิตสาธารณะ (กลุ่มทดลอง) มีคะแนนจิตสาธารณะสูงกว่านักเรียนที่ไม่ได้เข้าโปรแกรมพัฒนา จิตสาธารณะ (กลุ่มควบคุม) ทั้งในระยะหลังการทดลองและในระยะติดตามผล ซึ่งสนับสนุน สมมติ ฐ านข้ อ ที่ 2 นั่ น ก็ คื อ นั ก เรี ย นชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่ 1 กลุ ่ ม ทดลองมี ค ะแนนเฉลี่ ย ของ จิตสาธารณะ หลังการทดลองและระยะติดตามผลสูงกว่ากลุ่มควบคุม
48
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
มลธวัฒน์ กิจสวัสดิ์, ภิญญาพันธ์ เพียซ้าย และ สุพัทธ แสนแจ่มใส
อภิปรายผลการวิจัย ผูว้ จิ ยั อภิปรายผลการวิจยั อภิปรายตาม สมมติฐานของการวิจัยได้ดังนี้ สมมติ ฐ านข้ อ ที่ 1 นั ก เรี ย นชั้ น มั ธ ยม ศึกษาปีที่ 1 กลุ่มทดลอง มีคะแนนเฉลี่ยของ จิ ต สาธารณะ หลั ง การทดลอง และระยะ ติดตามผล สูงกว่าก่อนการทดลอง ซึง่ จากการ วิจัยพบว่าคะแนนเฉลี่ยของจิตสาธารณะของ กลุ่มทดลอง ทั้งในระยะหลังการทดลอง และ ติ ด ตามผล สูงกว่าก่อนการทดลอง อย่างมี นัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 และสามารถ ให้นักเรียนมีจิตสาธารณะที่คงทนอย่างน้อย 2 สัปดาห์ แสดงให้เห็นว่าโปรแกรมพัฒนา จิตสาธารณะที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นสามารถส่งผล ต่ อ จิ ต สาธารณะของนั ก เรี ย นได้ อ ย่ า งมี ประสิทธิภาพซึ่งโปรแกรมพัฒนาจิตสาธารณะ ประกอบด้ ว ย 12 กิ จ กรรม เป็ น กิ จ กรรม ที่ เ หมาะสมกั บ วั ย ของนั ก เรี ย น สนุ ก สนาน เพลิดเพลิน และแต่ละกิจกรรมก็ส่งเสริมให้ วัยรุน่ มีอารมณ์ทแี่ จ่มใส โดยอารมณ์ทแี่ จ่มใสนี้ ท�ำให้พฤติกรรมของวัยรุ่นเป็นที่ยอมรับของ สังคม (ประณต เค้าฉิม, 2549) ดังทีพ่ ระสันตะปาปาฟรังซิสตรัสว่า การหล่อหลอมอบรมด้าน ศีลธรรมควรเกิดขึน้ พร้อมกับวิธกี ารทีม่ ชี วี ติ ชีวา (สภาประมุ ข บาทหลวงโรมั น คาทอลิ ก แห่ ง ประเทศไทย, 2017) โดยมีรายละเอียดของ โปรแกรมตามแนวคิดการพัฒนาจิตพิสัยดังนี้
1. ในขั้นการรับรู้ ผู้วิจัยเริ่มจากการให้นักเรียนเกิดการ เรียนรู้จากประสบการณ์ต่างๆ โดยตรง ทั้ง ภายในและภายนอกห้องเรียน ซึ่งได้ใช้การ เรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem-Base Learning) มาเป็นเทคนิคพิเศษในการบางครัง้ ทีไ่ ด้ให้นกั เรียนค้นหาสภาพปัญหาทีเ่ กิดขึน้ จริง ในสังคม และในโรงเรียนอาศัยกระบวนการ กลุ่ม จากนั้นให้นักเรียนได้แสดงความคิดเห็น ถึงวิธกี ารแก้ปญ ั หาทีแ่ ต่ละคนเห็นว่าเหมาะสม กับวัยของนักเรียน เพื่อแก้ไขปัญหาตามองค์ ประกอบของจิตสาธารณะด้านต่างๆ และให้ นั ก เรี ย นหาวิ ธี ก ารพั ฒ นาจิ ต สาธารณะตาม ความสามารถและความเหมาะสมของแต่ละคน ดั ง ที่ อรนิ ต ย์ ภู เ ขี ย ว (2560) กล่ า วว่ า จิตสาธารณะต้องเป็นการรับรู้ถึงปัญหาที่เกิด ขึ้ น และมี ส ่ ว นร่ ว มในการหาแนวทางแก้ ไข ซึ่งเป็นไปตามแนวคิด การพัฒนาจิตพิสัยของ เดวิท อาร์. แครทโวล (Krathwohl, David R. etc., 1973) ในขั้นแรก ที่กล่าวว่าการพัฒนา ด้านจิตพิสัยนั้น จะต้องเริ่มจากการรับรู้ คือ ใส่ใจสิ่งแวดล้อมที่มากระตุ้น และพร้อมที่จะ ตอบสนองต่อสิ่งเร้านั้น อีกทั้งแต่ละคนจะมี เป้าหมายของการท�ำจิตสาธารณะในแต่ละ สัปดาห์ ส่งผลให้นักเรียนมีการแสดงออกของ จิตสาธารณะอย่างต่อเนื่อง และในการพบกัน ครั้งต่อไป นักเรียนจะได้น�ำเสนอถึงสิ่งที่แต่ละ
ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2018/2561
49
การพัฒนาจิตสาธารณะของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 1 โรงเรียนนักบุญเปโตร
คนท� ำ มาจากเป้ า หมายเมื่ อ ครั้ ง ที่ แ ล้ ว ซึ่ ง เป็นการแลกเปลี่ยนความคิด ประสบการณ์ และลงมื อปฏิบัติจ ริงท�ำให้เ กิดความเห็นถึง ประโยชน์ จัดระบบคุณค่าของจิตสาธารณะ ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของ นงลักษณ์ เขียน งาม (2552) ที่ไ ด้จัดการเรียนการสอนเพื่อ การพัฒนาการคิดและจิตสาธารณะ ในวิชา แนะแนว ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่ได้เริ่ม จากการส�ำรวจปัญหาต่างๆ ทีเ่ กิดขึน้ ตามสถาน ทีต่ า่ งๆ ในโรงเรียน ผลการวิจยั พบว่า นักเรียน ส่วนใหญ่เล็งเห็นปัญหาต่างๆ ภายในโรงเรียน เช่น ห้องเรียนสกปรก สาเหตุเกิดจากการที่ แต่ละคนขาดจิตสาธารณะ ซึ่งจากผลการวิจัย สามารถอธิบายได้ว่า การให้นักเรียนส�ำรวจ ปัญหาต่างๆ ในโรงเรียน อาศัยประสบการณ์ ของตนเอง ช่ ว ยให้ นั ก เรี ย นสามารถพั ฒ นา จิตสาธารณะได้ดียิ่งขึ้น 2. ในขั้นการตอบสนอง และการเห็น คุณค่า จิตสาธารณะถือเป็นคุณธรรมประการ หนึ่ง อีกทั้งกิจกรรมถือเป็นการอบรมที่มีชีวิต ชีวารูปแบบหนึ่งที่สามารถส่งเสริมให้นักเรียน เข้าใจความหมายของจิตสาธารณะ ในด้าน ต่างๆ อาศัยประสบการณ์การร่วมกิจกรรม และการเปิดโอกาสให้นกั เรียนได้แสดงความคิด อย่างอิสระ กลายเป็นความเข้าใจและตอบ
50
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
สนองต่อสิ่งเร้าที่มากระตุ้น เพื่อให้เห็นคุณค่า และความส�ำคัญของจิตสาธารณะในด้านต่างๆ ได้ดียิ่งขึ้น สอดคล้องกับงานวิจัยของ ปนัดดา ใจจะนะ (2555) ทีศ่ กึ ษาความสัมพันธ์ระหว่าง ความฉลาดทางอารมณ์กับจิตสาธารณะของ นั ก เรี ย นชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาตอนต้ น โดยพบว่ า ความฉลาดทางด้านอารมณ์มคี วามสัมพันธ์ทาง บวกกับจิตสาธารณะอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ ทีร่ ะดับ .01 อีกทัง้ ในกิจกรรมที ่ 6 ได้ใช้เทคนิค การเรี ย นรู ้ ท างสั ง คมเชิ ง พุ ท ธิ ป ั ญ ญา ของ แบนดูร่า (Bandura, Albert., 1986) มาใช้ เป็นเทคนิคในการจัดกิจกรรมเพือ่ ให้นกั เรียนมี ตัวแบบในการท�ำจิตอาสาเพื่อส่วนรวม ซึ่งใน กิจกรรมนีไ้ ด้นำ� เสนอเรือ่ งราวของโครงการก้าว คนละก้าว ที่น�ำโดยพี่ตูน บอดี้แสลม ศิลปินที่ นักเรียนรู้จักเพื่อใช้ตัวแบบกระตุ้นให้นักเรียน ส�ำรวจความสามารถของตนเองอาศัยสิ่งเร้า ที่เป็นตัวแบบของการท�ำจิตอาสา สอดคล้อง กับงานวิจัยของ นุสรี คันธิก (2553) ที่ศึกษา ผลของโปรแกรมการปรับพฤติกรรมทางปัญญา ที่ มี ต่ อ การพั ฒ นาจิ ตสาธารณะของนั ก เรี ย น ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดยผลการวิจัยพบว่า นักเรียนกลุ่มทดลองมีคะแนนจิตสาธารณะ สูงกว่านักเรียนกลุ่มควบคุมอย่างมีนัยส�ำคัญ ทางสถิติที่ระดับ .05 เป็นไปตามแนวคิดการ พั ฒ นาจิ ต พิ สั ย ของ เดวิ ท อาร์ . แครทโวล Krathwohl, David R. etc.,, 1973) ในขั้น
มลธวัฒน์ กิจสวัสดิ์, ภิญญาพันธ์ เพียซ้าย และ สุพัทธ แสนแจ่มใส
ทีส่ อง คือ การตอบสนอง (Responding) เป็น การมีความรูส้ กึ ร่วมมือในการท�ำกิจกรรมต่างๆ ด้วยความสมัครใจ ผ่านทางการกระตุ้นจาก สิง่ เร้า และมีการแสดงความออกผ่านการแสดง ความคิด การน�ำเสนอ การอภิปราย และใน ขั้นที่สาม คือการเห็นคุณค่า (Valuing) เป็น การตอบสนองต่อสิ่งเร้าต่างๆ อย่างสม�่ำเสมอ ซึ่งกิจกรรมแต่ละครั้งนั้นเป็นการส่งเสริมให้ นั ก เรี ย นมองหาความสามารถว่ า นั ก เรี ย น สามารถท�ำสิ่งใดได้บ้างในแต่ละวัน เช่น การ ทิ้งขยะให้ลงถัง การท�ำตามหน้าที่ที่ได้รับมอบ หมายของตนเองอย่างดี เป็นต้น เมื่อนักเรียน ได้ เรี ย นรู ้ ผ ่ า นทางกิ จ กรรม และมี ก ารสรุ ป ข้ อ คิ ด และความรู ้ สึ ก ที่ ไ ด้ รั บ จากการร่ ว ม กิ จ กรรมแต่ ล ะครั้ ง ท� ำ ให้ นั ก เรี ย นทราบถึ ง ความส� ำ คั ญ และเห็ น ประโยชน์ ข องจิ ต สาธารณะได้ดียิ่งขึ้น สอดคล้องกับงานวิจัย ของจิราวรรณ กองทุ่งมน (2557) ที่ศึกษาผล การพัฒนาโปรแกรมเพื่อพัฒนาจิตสาธารณะ ของนักเรียนช่วงชั้นที่ 3 โรงเรียนขยายโอกาส ทางการศึกษา ส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา นครราชสีมา เขต 7 ที่ได้ใช้กิจกรรมที่หลาก หลายเหมาะสมกับวัยของนักเรียนสร้างความ สนุกสนานให้กับนักเรียน มีความกระตือรือร้น ในการท�ำกิจกรรม ผลการวิจัยพบว่า นักเรียน ทีเ่ ข้าร่วมโปรแกรมมีจติ สาธารณะเพิม่ ขึน้ อย่าง มีนยั ส�ำคัญทางสถิตทิ รี่ ะดับ .05 ซึง่ จากผลการ
วิ จั ย สามารถอธิ บ ายได้ ว ่ า กิ จ กรรมที่ ห ลาก หลายและเหมาะสมกับวัยในแต่ละครัง้ สามารถ พัฒนาจิตสาธารณะของนักเรียนได้อย่างดี 3. ในขั้นการจัดระบบ และการเสริม สร้างลักษณะนิสัย หลังสิ้นสุดกิจกรรมแต่ละครั้ง นักเรียน จะสรุปข้อคิดที่ได้เรียนรู้ แบ่งเป็นด้านต่างๆ คือ ด้านความคิด ด้านความรู้สึก และด้าน พฤติกรรม และยังมีการสรุปถึงสิ่งที่จะน�ำไป ประยุ ก ต์ ใช้ ใ นชี วิ ต ประจ� ำ วั น จากการท� ำ กิ จกรรมแต่ ล ะครั้ ง อี ก ด้ วย ท� ำ ให้ นัก เรี ย นมี แนวทางในการปฏิบัติ จิตสาธารณะอย่างเป็น รูปธรรม ซึง่ ช่วยให้เขามีการแสดงออกมาอย่าง เหมาะสม เป็นไปตามความคาดหวังของสังคม (ประณต เค้าฉิม, 2549) อีกทั้งเป็นการจัด ระบบจากคุ ณ ค่ า ที่ นั ก เรี ย นได้ เรี ย นรู ้ ผ ่ า น กิจกรรมแต่ละครั้ง ตามความคิดของแต่ละคน สอดคล้ อ งกั บ ลั ก ษณะความคิ ด ของวั ย รุ ่ น ตามพั ฒ นาการด้ า นการรู ้ คิ ด ของเพี ย เจต์ ทีไ่ ด้ให้พฒ ั นาการด้านความคิดของวัยรุน่ อยูใ่ น ขั้นที่ 4 คือ ขั้นปฏิบัติการคิดด้วยนามธรรม (Formal operational stage) ซึ่งนักเรียน สามารถคิดเชื่อมโยงได้และมีลักษณะการคิด เชิ ง นามธรรม และมี ก ารคิ ด หลายแง่ มุ ม ที่ แตกต่างออกไป ขึ้นอยู่กับประสบการณ์ของ แต่ละคน เป็นไปตามแนวคิดการพัฒนาจิตพิสยั ของ เดวิ ท อาร์ . แครทโวล (Krathwohl,
ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2018/2561
51
การพัฒนาจิตสาธารณะของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 1 โรงเรียนนักบุญเปโตร
David R. etc. etc., 1973) ในขั้นที่สี่ คือ การจัดระบบ (Organization) นักเรียนจะเห็น คุณค่าต่างๆ ที่ผ่านเข้ามาอาศัยประสบการณ์ ที่แตกต่างกัน ซึ่งกิจกรรมส่งเสริมให้นักเรียน มีการจัดระบบคุณค่าที่ตนชื่นชอบ ผ่านทาง การเขียนสรุปข้อคิดหลังกิจกรรมและอาศัย การเชื่ อ มโยงความสามารถของตนเองกั บ จิ ต สาธารณะในด้ า นต่ า งๆ และเป็ น ไปตาม แนวคิ ด การพั ฒ นาจิ ต พิ สั ย ในขั้ น ที่ ห ้ า คื อ การสร้างลักษณะนิสยั (Characterization by a Value or Value Complex) ซึ่งเป็นการ สร้างลักษณะนิสัยที่คงทนให้กับนักเรียน เพื่อ ให้ คุ ณ ค่ า ที่ นั ก เรี ย นจั ด ระบบ และเชื่ อ มโยง ในขั้นที่สี่นั้น ได้แสดงออกมาในชีวิตประจ�ำวัน ตามสถานการณ์ ต ่ า งๆ ในชี วิ ต ประจ� ำ วั น สอดคล้องกับงานวิจัยของ จินตนา สรายุทธ พิทักษ์ (2552) ที่ได้พัฒนารูปแบบการเรียน การสอนตามแนวคิดการพัฒนาด้านจิตพิสัย เพื่อสร้างเสริมสุขภาพนักเรียนหญิงที่อยู่ใน วัยเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ซึง่ ประกอบ ด้วย 8 ขัน้ ตอน ผลการวิจยั พบว่า กลุม่ ทดลอง มีคา่ เฉลีย่ ของคะแนนผลสัมฤทธิท์ างการเรียนรู้ ความตระหนัก จิตส�ำนึก ค่านิยม การตัดสินใจ และการน�ำไปปฏิบัติหลังทดลองสูงกว่าก่อน ทดลองอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 อีกทั้งการน�ำเสนอตัวแบบเพื่อสมมติฐานข้อที่ 2 นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 กลุ่มทดลอง มี ค ะแนนเฉลี่ ย ของจิ ต สาธารณะหลั ง การ 52
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
ทดลอง และระยะติ ด ตามผล สู ง กว่ า กลุ ่ ม ควบคุม จากการวิจยั พบว่านักเรียนกลุม่ ทดลอง มีคะแนนเฉลี่ยของจิตสาธารณะเพิ่มขึ้น หลัง การทดลอง และในระยะติดตามผล สูงกว่า นักเรียนกลุ่มควบคุมอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .001 โดยนักเรียนกลุ่มควบคุมเป็น นักเรียนที่ได้รับการจัดการศึกษาในโรงเรียน ในรู ป แบบเดี ย วกั น กั บ นั ก เรี ย นกลุ ่ ม ทดลอง นั่นหมายความว่านักเรียนทั้งสองกลุ่มได้รับ รูปแบบทางการศึกษาของโรงเรียนทีเ่ หมือนกัน แต่สาเหตุทที่ ำ� ให้นกั เรียนกลุม่ ทดลองมีคะแนน เฉลี่ยของจิตสาธารณะหลังการทดลองและ ติดตามผล สูงกว่ากลุ่มควบคุมนั้น เนื่องจาก นักเรียนกลุ่มควบคุมเข้าร่วมกิจกรรมอื่นที่ไม่มี ส่วนเกีย่ วข้องกับจิตสาธารณะของนักเรียน เช่น การเข้าร่วมกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ที่เน้น ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ การเข้าร่วมกิจกรรม ดนตรี ที่ เ น้ น ความรู ้ แ ละความสามารถด้ า น ดนตรี เป็ น ต้ น สอดคล้ อ งกั บ งานวิ จั ย ของ อติฌาณ แสงค�ำ (2555) ที่ได้ศึกษาผลการ จัดกิจกรรมโดยใช้แนวคิดทางพุทธศาสนาเพื่อ พัฒนาจิตสาธารณะ โดยแบ่งเป็นกลุ่มทดลอง และกลุ่มควบคุม ผลการวิจัยพบว่า นักเรียนที่ เข้าร่วมโปรแกรมมีคะแนนจิตสาธารณะสูงกว่า นักเรียนที่ไม่ได้เข้าร่วมโปรแกรมอย่างมีนัย ส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และงานวิจัยของ โกวิทย์ พงษ์ภักดี (2553) ที่ได้ศึกษาผลของ
มลธวัฒน์ กิจสวัสดิ์, ภิญญาพันธ์ เพียซ้าย และ สุพัทธ แสนแจ่มใส
การใช้โปรแกรมฝึกการคิดแบบโยนิโสมนสิการ เพื่ อ พั ฒ นาจิ ต สาธารณะ โดยแบ่ ง เป็ น กลุ ่ ม ทดลองและกลุ่มควบคุมซึ่งผลการวิจัยพบว่า นั ก เรี ย นที่ เข้ า ร่ ว มโปรแกรมมี ค ะแนนจิ ต สาธารณะสูงกว่านักเรียนกลุ่มควบคุมอย่าง มี นั ย ส� ำ คั ญ ทางสถิ ติ ที่ ร ะดั บ .05 นั่ น แสดง ให้ เ ห็ น ว่ า โปรแกรมพั ฒ นาจิ ต สาธารณะที่ ผูว้ จิ ยั พัฒนาขึน้ สามารถพัฒนาจิตสาธารณะได้ ข้อเสนอแนะในการวิจัย ข้อเสนอแนะในการน�ำผลวิจัยไปใช้ 1. ควรน�ำไปทดลองใช้กับกลุ่มนักเรียน ที่มีคะแนนจิตสาธารณะในระดับอื่นๆ เพื่อส่ง เสริมให้นักเรียนมีจิตสาธารณะเพิ่มขึน้ จากเดิม 2. สามารถน� ำ โปรแกรมพั ฒ นา จิตสาธารณะไปใช้ในการจัดกิจกรรมเพื่อสร้าง เสริมคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียน ได้ ใ นคาบชมรม หรื อ จั ด เป็ น ค่ า ยพั ฒ นา จิตสาธารณะ ซึง่ เป็นกิจกรรมเสริมทักษะให้กบั นักเรียนได้ และในการประเมินผลจิตสาธารณะ ของนักเรียนควรใช้แบบวัดจิตสาธารณะทีผ่ วู้ จิ ยั สร้างขึน้ มาใช้ในการประเมิน เนือ่ งจากแบบวัด จิตสาธารณะที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นมีการวัดในด้าน ความคิ ด ความรู ้ สึ ก และพฤติ ก รรม ซึ่ ง ครอบคลุ ม องค์ ป ระกอบของจิ ต สาธารณะ อีกทัง้ ยังเป็นแบบวัดทีม่ กี ารตรวจสอบคุณภาพ ของเครื่องมือวัดด้วย
3. เมื่ อ เสร็ จ สิ้ น กิ จ กรรมแต่ ล ะครั้ ง ผู้วิจัยควรให้นักเรียนสรุปข้อคิด สิ่งที่รับจาก การร่ ว มกิ จ กรรม และสิ่ ง ที่ ส ามารถน� ำ ไป ประยุกต์ใช้ในชีวิต อีกทั้งให้นักเรียนมีการแบ่ง ปั น ประสบการณ์ แ ละความรู ้ สึ ก ของการมี จิ ต สาธารณะเมื่ อ มี ก ารพบกั น ในครั้ ง ต่ อ ไป เนื่ อ งจากเป็ น การตรวจสอบว่ า นั ก เรี ย นได้ ประโยชน์จากการร่วมกิจกรรมจริง และการ แบ่งปันความรู้สึกจะส่งเสริมให้นักเรียนเกิด ความรู้สึกที่ดีต่อการมีจิตสาธารณะ ข้อเสนอแนะในการวิจัยครั้งต่อไป 1. ควรมีการศึกษาและพัฒนารูปแบบ การจั ด กิ จ กรรมที่ ส ่ ง เสริ ม คุ ณ ลั ก ษณะอั น พึงประสงค์ด้านอื่นๆ เช่น ความซื่อสัตย์สุจริต ความมีวินัย ความพอเพียง เป็นต้น 2. ควรมี ศึ ก ษาและสร้ า งโปรแกรม พัฒนาจิตสาธารณะส�ำหรับนักเรียนระดับชั้น ต่างๆ อีกทั้งมีการติดตามผลจิตสาธารณะของ อย่างต่อเนื่อง เพื่อทดสอบความคงทนของ โปรแกรมว่าสามารถพัฒนาจิตสาธารณะให้ คงทนในระยะยาวเท่าใด
ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2018/2561
53
การพัฒนาจิตสาธารณะของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 1 โรงเรียนนักบุญเปโตร
บรรณานุกรม กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลักสูตรแกน กลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: กระทรวงศึกษาธิการ. โกวิทย์ พงษ์ภกั ดี. (2553). การใช้โปรแกรมฝึก การคิดแบบโยนิโสมนสิการเพื่อพัฒนา จิ ต สาธารณะ ของนั ก เรี ย นชั้ น มั ธ ยม ศึ ก ษาปี ที่ 3. ปริ ญ ญานิ พ นธ์ ศึ ก ษา ศ า ส ต ร ม ห า บั ณ ฑิ ต . ข อ น แ ก ่ น : มหาวิทยาลัยขอนแก่น. จินตนา สรายุทธพิทักษ์. (2557). การพัฒนา รูปแบบการเรียนการสอนตามแนวคิด การพัฒนาด้านจิตพิสัย เพื่อเสริมสร้าง สุขภาพนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาตอนต้น. กรุงเทพฯ: คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. จิราวรรณ กองทุ่งมน. (2553). การพัฒนา โปรแกรมเพื่อพัฒนาจิตสาธารณะของ นั ก เรี ย นช่ ว งชั้ น ที่ 3 โรงเรี ย นขนาย โอกาสทางการศึกษา สังกัดส�ำนักงาน เขตพืน้ ทีก่ ารศึกษานครราชสีมา เขต 7. วิ ท ยานิ พ นธ์ ก ารศึ ก ษามหาบั ณ ฑิ ต . มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. นงลักษณ์ เขียนงาน. (2552). การจัดการเรียน การสอนเพื่ อ พั ฒ นาการติ ด และจิ ต สาธารณะในวิ ช ากิ จ กรรมแนะแนว ของนั ก เรี ย นชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่ 3 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 54
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
ค ณ ะ ศึ ก ษ า ศ า ส ต ร ์ , เชี ย ง ใ ห ม ่ : มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. นุสรี คันธิก. (2553). ผลของโปรแกรมการปรับ พฤติกรรมทางปัญญาที่มีต่อการพัฒนา จิ ต สาธารณะของนั ก เรี ย นชั้ น มั ธ ยม ศึ ก ษาปี ที่ 1 โรงเรี ย นสวนกุ ห ลาบ นนทบุ รี . ปริ ญ ญานิ พ นธ์ ศิ ล ปศาสตร มหาบัณฑิต. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์. ปนั ด ดา ใจจะนะ. (2555). ความสั ม พั น ธ์ ระหว่างความฉลาดทางอารมณ์กับจิต สาธารณะของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ตอนต้น โรงเรียนหนองจอกพิยานุสรณ์ ส� ำ นั ก งานเขตหนองจอง กรุ ง เทพ มหานคร. ปริญญานิพนธ์ ศึกษาศาสตร์ มหาบัณฑิต. กรุงเทพฯ. มหาวิทยาลัย รามค�ำแหง. ประณต เค้ า ฉิ ม . (2549). จิ ต วิ ท ยาวั ย รุ ่ น . กรุ ง เทพฯ: ภาควิ ช าจิ ต วิ ท ยา คณะ มนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทร วิโรฒ. สภาประมุ ข บาทหลวงโรมั น คาทอลิ ก แห่ ง ประเทศไทย. (2560). พระสมณลิขิต เตื อ นใจ ความปิ ติ ยิ น ดี แ ห่ ง ความรั ก (AMORORIS LAETITIA) ของสมเด็จ พระสั น ตะปาปาฟรั ง ซิ ส . กรุ ง เทพฯ: โรงพิมพ์อัสสัมชัญ.
มลธวัฒน์ กิจสวัสดิ์, ภิญญาพันธ์ เพียซ้าย และ สุพัทธ แสนแจ่มใส
สมณกระทรวงเพื่ อ การศึ ก ษาคาทอลิ ก . (2556). โรงเรียนคาทอลิก. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์อัสสัมชัญ. ส� ำ นั ก นายกรั ฐ มนตรี . (2559). แผนพั ฒ นา เศรษฐกิ จ และสั ง คมแห่ ง ชาติ ฉบั บ ที่ สิ บ สอง พ.ศ.๒๕๖๐ – ๒๕๖๔. กรุ ง เทพฯ: ส� ำ นั ก งานคณะกรรมการ พั ฒ นาเศรษฐกิ จ และสั ง คมแห่ ง ชาติ ส�ำนักนายกรัฐมนตรี. อรนิตย์ ภูเขียว. (2560). การพัฒนากิจกรรม เพื่อส่งเสริมสร้างจิตสาธารณะส�ำหรับ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น สั ง กั ด ส� ำ นั ก งานคณะกรรมการการ ศึกษาขั้นพื้นฐาน. ปริญญานิพนธ์ดุษฏี บัณฑิต. พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยราชภัฏ พิบูลสงคราม. อติฌาณ แสงค�ำ. (2555). ผลการจัดกิจกรรม โดยใช้ แ นวคิ ด ทางพุ ท ธศาสนาเพื่ อ พัฒนาจิตสาธารณะของนักเรียนระดับ ชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่ 2 โรงเรี ย นนาค ประสิ ท ธิ์ อ� ำ เภอสามพราน จั ง หวั ด นครปฐม. ปริญญานิพนธ์ศึกษาศาสตร มหาบัณฑิต. นครปฐม: มหาวิทยาลัย ศิลปากร.
Bandura, Albert. (1986). Social learning theory. Englewood Cliffs, NJ: Prentice Hall. Bloom, Benjamin Samuel. (1956). Taxonomy of educaation objectives: the classification of educational goals handbook I. New York: Longman: David Mckey. Krathwohl, David R; Bloom, Benjamin S.; &Masia,Bertram B. (1973). Taxonomy of educaation objec tives: the classification of educa tional goals handbook II: affec tive domain. London: Longman
ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2018/2561
55
คุณภาพชีวิตการทำ�งานและวัฒนธรรมโรงเรียน ที่ส่งผลต่อความผูกพันต่อโรงเรียนของครู และบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนคาทอลิก สังกัดสังฆมณฑลจันทบุรี
The Effect of Quality of Work Life
and School Culture on The Commitment of Teachers and Educational Personnel in Catholic Schools Under The Education Section of Chanthaburi Diocese. บาทหลวงพูนพงษ์ คูนา * บาทหลวงในคริสต์ศาสนจักรโรมันคาทอลิก สังกัดสังฆมณฑลจันทบุรี * ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏร�ำไพพรรณี ดร.ธีรังกูร วรบ�ำรุงกุล * อาจารย์ประจ�ำคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏร�ำไพพรรณี
รองศาสตราจารย์วรญา ภูเสตวงษ์
* อาจารย์พิเศษคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏร�ำไพพรรณี
Rev.Poonpong Kuna * Reverend in Roman Catholic Church, Chanthaburi Diocese. * Master of Educational Administration, Rambhai Barni Rajabhat University. Dr.Theerangkoon Warabamrungkul * Lecturer, Faculty of Education, Rambhai Barni Rajabhat University.
Assoc.Prof. Voraya Phusatwong
* Lecturer, Faculty of Education, Rambhai Barni Rajabhat University.
พูนพงษ์ คูนา, ธีรังกูร วรบ�ำรุงกุล และ วรญา ภูเสตวงษ์
บทคัดย่อ
การวิจยั ครัง้ นีม้ วี ตั ถุประสงค์เพือ่ 1) ศึกษาระดับคุณภาพชีวติ การ ท�ำงาน ระดับวัฒนธรรมโรงเรียน และระดับความผูกพันต่อโรงเรียนของ ครูและบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนคาทอลิกสังกัดสังฆมณฑลจันทบุรี 2) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างคุณภาพชีวิตการท�ำงานกับความผูกพัน ต่อโรงเรียนของครูและบุคลากรทางการศึกษา และความสัมพันธ์ระหว่าง วัฒนธรรมโรงเรียนกับความผูกพันต่อโรงเรียนของครูและบุคลากร โรงเรียนคาทอลิกสังกัดสังฆมณฑลจันทบุรี 3) ศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อ ความผูกพันต่อโรงเรียนของครูและบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียน คาทอลิกสังกัดสังฆมณฑลจันทบุรี กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ ครูและบุคลากรทางการศึกษาในโรงเรียนคาทอลิกสังกัดสังฆมณฑล จันทบุรี ปีการศึกษา 2560 จ�ำนวน 309 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เป็นแบบสอบถาม มาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับจ�ำนวน 113 ข้อ มีค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) 0.66-1.00 มีค่าอ�ำนาจจ�ำแนกรายข้อ 0.21 - 0.81 และมีค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถามทั้งฉบับเท่ากับ 0.97 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ( X ) ค่าเบี่ยงเบน มาตรฐาน (S.D.) ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน (rxy) และ การวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ ผลการวิจัยพบว่า 1) ความคิดเห็นเกี่ยวกับคุณภาพชีวิตการ ท�ำงาน ความคิดเห็นเกีย่ วกับวัฒนธรรมโรงเรียน และความคิดเห็นเกีย่ ว กับความผูกพันต่อโรงเรียนของครูและบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียน คาทอลิกสังกัดสังฆมณฑลจันทบุร ี โดยรวมอยูใ่ นระดับมากทีส่ ดุ ทุกด้าน 2) ความสัมพันธ์ระหว่างคุณภาพชีวิตการท�ำงานกับความผูกพันต่อ โรงเรียนของครูและบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนคาทอลิกสังกัด สังฆมณฑลจันทบุรีมีความสัมพันธ์กันทางบวก ในระดับค่อนข้างสูง อย่ า งมี นั ย ส� ำ คั ญ ทางสถิ ติ ที่ ร ะดั บ .01 และ ความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า ง วัฒนธรรมโรงเรียนกับความผูกพันต่อโรงเรียนของครูและบุคลากร ทางการศึกษาโรงเรียนคาทอลิกสังกัดสังฆมณฑลจันทบุรมี คี วามสัมพันธ์
ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2018/2561
57
คุณภาพชีวติ การทำ�งานและวัฒนธรรมโรงเรียนทีส่ ง่ ผลต่อความผูกพันต่อโรงเรียน ของครูและบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนคาทอลิกสังกัดสังฆมณฑลจันทบุรี
กั น ทางบวก ในระดั บ สู ง อย่ า งมี นั ย ส� ำ คั ญ ทางสถิ ติ ที่ ร ะดั บ .01 3) สมการพยากรณ์ปัจจัยที่ส่งผลต่อความผูกพันต่อโรงเรียนของครู และบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนคาทอลิกสังกัดสังฆมณฑลจันทบุรี เรียงตามล�ำดับความส�ำคัญ ประกอบด้วย ด้านความรู้สึกเป็นส่วนหนึ่ง ของหมู่คณะ (XS4) ความเอื้ออาทร (XS8) ความซื่อสัตย์สุจริต (XS9) และความมั่นคงในการท�ำงานและความก้าวหน้าในวิชาชีพ (XQ3) โดย มี ค ่ า สั ม ประสิ ท ธิ์ ส หสั ม พั น ธ์ พ หุ คู ณ เท่ า กั บ 0.84 สามารถร่ ว มกั น พยากรณ์ความผูกพันต่อโรงเรียนของครูและบุคลากรทางการศึกษา โรงเรี ย นคาทอลิ ก สั ง กั ด สั ง ฆมณฑลจั น ทบุ รี ได้ ร ้ อ ยละ 71 อย่ า งมี นัยส�ำคัญทางสถิตทิ รี่ ะดับ .01 และสามารถสร้างสมการในการพยากรณ์ หรือสมการถดถอยได้ดงั นี ้ สมการพยากรณ์ในรูปคะแนนดิบ ŷ = 0.37 + 0.35XS4 + 0.22XS8 + 0.24XS9 + 0.10XQ3 และสมการพยากรณ์ ในรูปคะแนนมาตรฐาน z = 0.36XS4 + 0.25XS8 + 0.24XS9 + 0.1 2XQ3 ค�ำส�ำคัญ:
58
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
1) คุณภาพชีวิตการท�ำงาน 2) วัฒนธรรมโรงเรียน 3) ความผูกพันต่อโรงเรียน 4) โรงเรียนคาทอลิกสังกัดสังฆมณฑลจันทบุรี
พูนพงษ์ คูนา, ธีรังกูร วรบ�ำรุงกุล และ วรญา ภูเสตวงษ์
Abstract
The purposes of this research were to study 1) the quality of work life, school culture and the commitment of teachers and educational personnel in catholic schools under the education section of Chanthaburi diocese, 2) the relation between quality of work life with the commitment of teachers and educational personnel and the relation between school culture with the commitment of teachers and educational personnel in catholic schools under the education section of Chanthaburi diocese, and 3) the regression equation of quality of work life and school culture affecting the commitment of teachers and educational personnel in catholic schools under the education section of Chanthaburi diocese. The samples consisted of 309 teachers and educational personnel in catholic schools under the education section of Chanthaburi diocese in academic year of 2017. The research instrument was a five – rating scale questionnaire containing 113 items with IOC validity level of 0.66-1.00, the discrimination level of 0.21-0.81. The questionnaire itself showed the reliability level of 0.97. The descriptive statistics were percentage, mean ( X ), standard deviation (S.D.), the Pearson Product Moment Correlation (rxy), and Multiple Regression Analysis The results of the study were as follows: 1) the quality of work life, School culture and the commitment of teachers and educational personnel in catholic schools under the education section of Chanthaburi diocese were at highest levels. 2) The relation between quality of work life and school culture with the commitment of teachers and educational personnel were positively and relatively correlated, ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2018/2561
59
คุณภาพชีวติ การทำ�งานและวัฒนธรรมโรงเรียนทีส่ ง่ ผลต่อความผูกพันต่อโรงเรียน ของครูและบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนคาทอลิกสังกัดสังฆมณฑลจันทบุรี
showing the statistical significance at the .01 level and the relation between school culture with the commitment of teachers and educational personnel in catholic schools under the education section of Chanthaburi diocese were positively and relatively correlated, showing the statistical significance at the .01 level. 3) The regression equation of the quality of work life and school culture affecting the commitment of teachers and educational personnel in catholic schools under the education section of Chanthaburi diocese showed the aspects of acceptance of sense of community (XS4), caring (XS8), integrity (XS9) and the security and professional growth (XQ3) with the multiple correlation co-efficient level of 0.84, The result could show the 71 percent of the prediction power towards the commitment of teachers and educational personnel in catholic schools under the education section of Chanthaburi diocese. There was statistically significant relation at .01 level and the result could create prediction equation of regression equation as follows: raw score prediction equation result of ŷ = 0.37 + 0.35XS4 + 0.22XS8 + 0.24XS9 + 0.10XQ 3 and standard scores prediction equation result of z = 0.36XS4 + 0.25XS8 + 0.24XS9 + 0.12XQ3 Keywords: 60
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
1) The Quality of Work Life 2) School Culture 3) The Commitment of Teachers and Educa tional Personnel 4) Catholic Schools under The Education Sec tion of Chanthaburi Diocese
พูนพงษ์ คูนา, ธีรังกูร วรบ�ำรุงกุล และ วรญา ภูเสตวงษ์
ความเป็นมา ปัจจุบันองค์การต่างๆ ทั้งในประเทศ และต่างประเทศต่างหันมาสนใจเรือ่ งการสร้าง ความผูกพันในการท�ำงานให้เกิดขึน้ กับบุคลากร ของตนเอง เพราะงานวิจัยที่มีอยู่ในปัจจุบัน ยื น ยั น ว่ า องค์ ก ารที่ พ นั ก งานมี ค วามผู ก พั น จะท�ำให้องค์การประสบความส�ำเร็จ (สุพจน์ นาคสวัสดิ์. 2559: 13) และทุกองค์การต่าง ต้องการได้บุคลากรที่มีความรู้ความสามารถ มีประสบการณ์ และทัศนคติที่ดีในงาน เพื่อที่ จะสามารถปฏิบัติงานที่มีคุณภาพและทุ่มเท ให้กับองค์การอย่างเต็มที่ (ณัฎฐพันธ์ เขจร นันทน์. 2551: 108) มีการสรรหาคนเก่งเข้ามา ร่วมงาน พยายามพัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ ความสามารถอย่างต่อเนื่อง หาวิธีสร้างกลไก จู ง ใจให้ บุ ค ลากรมี ค วามผู ก พั น กั บ องค์ ก าร ซึง่ ไม่ได้เกิดขึน้ ทันทีทนั ใดต้องใช้ระยะเวลาหนึง่ จึงจะเกิดความผูกพันขึ้นมา “ความรัก ความผูกพัน” ของคนเราเป็น ปัจจัยหลักที่จะน�ำไปสู่ความส�ำเร็จ บุคลากร ที่มีความรักความผูกพันต่อองค์การที่ท�ำงาน ด้วยจะมีจิตใจมุ่งมั่นที่จะท�ำแต่เรื่องดีๆ ให้กับ องค์การของตน (สุพจน์ นาคสวัสดิ์. 2559: 4) กระบวนการค้นหาข้อมูลเพือ่ น�ำมาจัดการสร้าง และพั ฒ นาระบบทรั พ ยากรบุ ค คลภายใน องค์การ โดยมีเป้าหมายเพือ่ ให้บคุ ลากรมีความ พึงพอใจ มีความสุขในการปฏิบัติงานเป็นเรื่อง
ที่ จ� ำ เป็ น เช่ น มี ก ารวางระบบจู ง ใจด้ ว ย ค่ า ตอบแทนและสวั ส ดิ ก ารที่ อ ยู ่ ใ นระดั บ ที่ เหมาะสม บุคลากรสามารถฝากอนาคตในงาน อาชีพได้ เป็นต้น ถ้าองค์การมีแนวทางการ บริหารความผูกพันไม่เหมาะสมองค์การจะ สูญเสียบุคลากรที่มีความสามารถ (รุ่งโรจน์ อรรถานิทธิ์. 2554: 22,149) บุคลากรทุกคนต้องการพัฒนาตนเอง เพื่ อ ความเป็ น มนุ ษ ย์ ที่ ส มบู ร ณ์ (ณั ฎ ฐพั น ธ์ เขจรนันทน์. 2551: 108) มีคุณภาพชีวิตที่ดี มีความสุข และมีความพึงพอใจ ทั้งมิติด้าน การท�ำงาน มิตดิ า้ นสังคม มิตดิ า้ นส่วนตัว และ มิติด้านเศรษฐกิจ (ส�ำนักงานคณะกรรมการ ข้าราชการพลเรือน. 2550: 27) จึงเป็นประเด็น ส�ำคัญทีอ่ งค์การควรจัดระบบการดูแลคุณภาพ ชีวิตการท�ำงานของบุคลากร หากคาดหวังให้ บุคลากรรู้สึกผูกพันกับองค์การ วัฒนธรรมองค์การเป็นเรื่องหนึ่งที่คน รุ่นใหม่ในปัจจุบันใช้เป็นตัวตัดสินใจที่จะเข้า ร่วมท�ำงานหรือออกจากองค์การไป การสร้าง ระบบจูงใจด้วยค่าตอบแทนอาจไม่เพียงพอ จ�ำเป็นต้องสร้างความสัมพันธ์ระหว่างผู้บังคับ บัญชาและบุคลากร บรรยากาศในการท�ำงาน เป็นต้น (ประเวศน์ มหารัตน์สกุล. 2558: 32) วั ฒ นธรรมองค์ ก ารมี ค วามส� ำ คั ญ เพราะ วั ฒ นธรรมที่ เข้ ม แข็ ง จะมี ผ ลต่ อ การควบคุ ม พฤติ ก รรมได้ ม าก และท� ำ ให้ ส มาชิ ก ของ
ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2018/2561
61
คุณภาพชีวติ การทำ�งานและวัฒนธรรมโรงเรียนทีส่ ง่ ผลต่อความผูกพันต่อโรงเรียน ของครูและบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนคาทอลิกสังกัดสังฆมณฑลจันทบุรี
องค์การมีแรงยึดเหนี่ยวกันสูง มีความจงรัก ภั ก ดี แ ละผู ก พั น ต่ อ องค์ ก ารมาก (จอมพงศ์ มงคลวนิช. 2556: 239) และจากการศึกษา ของ นิติพล ภูตะโชติ (2559: 134) ที่ผ่านมา พบว่ า วั ฒ นธรรมองค์ ก ารมี อิ ท ธิ พ ลต่ อ การ ปฏิบัติงานของบุคลากรในองค์การด้วย ดังนั้น องค์การต่างๆ จึงพยายามสร้างและแสวงหา วัฒนธรรมที่มีความเหมาะสมกับองค์การของ ตน ทั้งนี้เพื่อประสิทธิภาพในการท�ำงานของ องค์การให้เกิดประโยชน์สูงสุด สภาการศึกษาคาทอลิกแห่งประเทศไทย (2556: 221) การบริ ห ารโรงเรี ย นต้ อ ง สอดคล้องกับสภาวการณ์ของโลกในยุคปัจจุบนั ทั้งด้านการเมือง เศรษฐกิจ วัฒนธรรม และ สั ง คมโดยองค์ ร วม โรงเรี ย นคาทอลิ ก สั ง กั ด สังฆมณฑลจันทบุรี มีการด�ำเนินงานด้านการ จัดการศึกษา ซึ่งกิจกรรมการด�ำเนินงานจะ บรรลุตามเป้าประสงค์ที่ได้วางไว้ได้บุคลากร จ� ำ เป็ น ต้ อ งได้ พั ฒ นาเรื่ อ งคุ ณ ภาพชี วิ ต การ ท� ำ งานด้ า นคุ ณ ลั ก ษณะตามอั ต ลั ก ษณ์ ก าร ศึกษาคาทอลิก รวมทั้งเสริมสร้างด้วยวิธีการ ต่างๆ เพือ่ ให้บคุ ลากรมีคณ ุ ภาพชีวติ การท�ำงาน ที่ ดี มี ค วามศรั ท ธา ยอมรั บ เป้ า หมายและ คุณค่าของโรงเรียน เต็มใจที่จะใช้พลังเต็มที่ใน การปฏิ บั ติ ง านให้ กั บ โรงเรี ย น และมี ค วาม ปรารถนาอย่ า งแรงกล้ า ที่ จ ะคงความเป็ น สมาชิ ก ของโรงเรี ย น (Porter and et al. 1974: 603-609) 62
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
จากเหตุผลที่ได้กล่าวมาทั้งหมด ท�ำให้ ผู้วิจัยที่ท�ำหน้าที่เป็นผู้บริหารสถานศึกษาใน โรงเรี ย นคาทอลิ ก สั ง กั ด สั ง ฆมณฑลจั น ทบุ รี มีความสนใจศึกษาคุณภาพชีวติ การท�ำงานและ วัฒนธรรมโรงเรียนที่ส่งผลต่อความผูกพันต่อ โรงเรียนของครูและบุคลากรทางการศึกษา โรงเรี ย นคาทอลิ ก สั ง กั ด สั ง ฆมณฑลจั น ทบุ รี เพื่อน�ำข้อมูลที่ได้จากการศึกษาวิจัยไปใช้เป็น แนวทางในการด� ำ เนิ น การบริ ห ารจั ด การ โรงเรียนของผู้บริหารและผู้ที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้ เกิดความส�ำเร็จในการด�ำเนินงานของโรงเรียน อย่างยัง่ ยืน รวมทัง้ อาจเป็นประโยชน์ตอ่ หน่วย งานอื่ น ๆ ที่ จ ะน� ำ ข้ อ มู ล นี้ ไ ปปรั บ ใช้ บ ริ ห าร จัดการให้เหมาะสมกับบริบทของหน่วยงาน ของตนเอง วัตถุประสงค์ของการวิจัย การวิจยั ในครัง้ นี ้ มีวตั ถุประสงค์ดงั ต่อไป นี้ 1. เพื่ อ ศึ ก ษาระดั บ คุ ณ ภาพชี วิ ต การ ท�ำงาน ระดับวัฒนธรรมโรงเรียน และระดับ ความผูกพันต่อโรงเรียนของครูและบุคลากร ทางการศึ ก ษาโรงเรี ย นคาทอลิ ก สั ง กั ด สังฆมณฑลจันทบุรี 2. เพื่ อ ศึ ก ษาความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า ง คุ ณ ภาพชี วิ ต การท� ำ งานกั บ ความผู ก พั น ต่ อ โรงเรียนของครูและบุคลากรทางการศึกษา และความสัมพันธ์ระหว่างวัฒนธรรมโรงเรียน
พูนพงษ์ คูนา, ธีรังกูร วรบ�ำรุงกุล และ วรญา ภูเสตวงษ์
กับความผูกพันต่อโรงเรียนของครูและบุคลากร โรงเรียนคาทอลิกสังกัดสังฆมณฑลจันทบุรี 3. เพื่ อ ศึ ก ษาปั จ จั ย ที่ ส ่ ง ผลต่ อ ความ ผูกพันต่อโรงเรียนของครูและบุคลากรทางการ ศึ ก ษาโรงเรี ย นคาทอลิ ก สั ง กั ด สั ง ฆมณฑล จันทบุรี สมมติฐานของการวิจัย 1. คุ ณ ภาพชี วิ ต การท� ำ งานและ วัฒนธรรมโรงเรียน มีความสัมพันธ์ทางบวก ต่อความผูกพันของครูและบุคลากรทางการ ศึ ก ษาโรงเรี ย นคาทอลิ ก สั ง กั ด สั ง ฆมณฑล จันทบุรี 2. คุ ณ ภาพชี วิ ต การท� ำ งานและ วัฒนธรรมโรงเรียนส่งผลต่อความผูกพันของครู และบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนคาทอลิก สังกัดสังฆมณฑลจันทบุรี ประโยชน์ที่ได้รับ 1. เพื่อเป็นข้อมูลในการบริหารจัดการ ทรั พ ยากรครู แ ละบุ ค ลากรทางการศึ ก ษา โรงเรี ย นคาทอลิ ก สั ง กั ด สั ง ฆมณฑลจั น ทบุ รี และเพือ่ ให้ผทู้ เี่ กีย่ วข้องได้ทราบถึงคุณภาพชีวติ การท� ำ งาน วั ฒ นธรรมโรงเรี ย น และความ ผูกพันต่อโรงเรียนของครูและบุคลากรทางการ ศึกษา รวมถึงปัจจัยที่ส่งผลต่อความผูกพันต่อ โรงเรียนของครูและบุคลากรทางการศึกษา สามารถน�ำไปใช้ในการพัฒนา และปรับปรุงครู
และบุ ค ลากรทางการศึ ก ษา เพื่ อ ท� ำ ให้ ก าร บริหารจัดการโรงเรียนท�ำได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2. เพื่อเป็นข้อมูลในการพัฒนาครูและ บุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนคาทอลิกสังกัด สังฆมณลจันทบุร ี ให้มคี วามรักและความผูกพัน ต่อโรงเรียนมากขึ้น 3. เพื่อเป็นประโยชน์และแนวทางใน การศึ ก ษาคุ ณ ภาพชี วิ ต การท� ำ งานกั บ วัฒนธรรมโรงเรียนที่ส่งผลต่อความผูกพันต่อ โรงเรียนของครูและบุคลากรทางการศึกษา และสามารถน�ำไปปรับใช้ในการบริหารจัดการ บุคลากรขององค์การอื่นๆ ได้ ขอบเขตของการวิจัย ประชากรและกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการ วิจัย 1. ประชากรที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ครู และบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนคาทอลิก สังกัดสังฆมณฑลจันทบุรี ปีการศึกษา 2560 จ�ำนวน 16 โรงเรียน รวมจ�ำนวนครูทั้งหมด 1,350 คน 2. กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ครู แ ละบุ ค ลากรทางการศึ ก ษาโรงเรี ย น คาทอลิกสังกัดสังฆมณฑลจันทบุร ี ปีการศึกษา 2560 ก� ำ หนดกลุ ่ ม ตั ว อย่ า งโดยใช้ โ ดยการ ค�ำนวณขนาดของกลุ่มตัวอย่างตามสูตรการ ค� ำ นวณหาขนาดตั ว อย่ า งของ ยามาเน่ (Yamane. 1973: 580-581) ที่ระดับความ
ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2018/2561
63
คุณภาพชีวติ การทำ�งานและวัฒนธรรมโรงเรียนทีส่ ง่ ผลต่อความผูกพันต่อโรงเรียน ของครูและบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนคาทอลิกสังกัดสังฆมณฑลจันทบุรี
เชือ่ มัน่ ร้อยละ 95 ได้กลุม่ ตัวอย่างจ�ำนวน 309 คน และใช้ วิ ธี ก ารเลื อ กกลุ ่ ม ตั ว อย่ า งแบบ เป็นชั้นภูมิ (Stratified Sampling) โดยใช้ ระดับชั้นการสอนของครู ต�ำแหน่งและหน้าที่ ของบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนคาทอลิก สังกัดสังฆมณฑลจันทบุรี เป็นเกณฑ์จ�ำแนก ชั้นภูมิ ตัวแปรที่ศึกษา ตัวแปรที่ศึกษาการวิจัยครั้งนี้ ประกอบ ด้วย 1. คุณภาพชีวิตการท�ำงาน 7 ด้าน คือ 1.1 ค่ า ตอบแทนที่ เ หมาะสมและ ยุติธรรม 1.2 สภาพแวดล้ อ มการท� ำ งานที่ ปลอดภัยและส่งเสริมสุขภาพ 1.3 ความมัน่ คงในการท�ำงานและความ ก้าวหน้าในวิชาชีพ 1.4 การพัฒนาทักษะความรู้และและ ความสามารถของบุคคล 1.5 การท�ำงานร่วมกันและมีมนุษยสัมพันธ์ในการท�ำงาน 1.6 ความสมดุลระหว่างชีวติ การท�ำงาน กับชีวิตส่วนตัว 1.7 คุ ณ ลั ก ษณะตามอั ต ลั ก ษณ์ ก าร ศึกษาคาทอลิก
64
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
2. วัฒนธรรมโรงเรียน 10 ด้าน คือ 2.1 ความมุ่งประสงค์ของโรงเรียน 2.2 การมอบอ�ำนาจ 2.3 การตัดสินใจ 2.4 ความรูส้ กึ เป็นส่วนหนึง่ ของหมูค่ ณะ 2.5 ความไว้วางใจ 2.6 ความมีคุณภาพ 2.7 การยอมรับ 2.8 ความเอื้ออาทร 2.9 ความซื่อสัตย์สุจริต 2.10 ความหลากหลายของบุคลากร 3. ความผูกพันต่อองค์การแบ่งออกเป็น 3 ด้าน คือ 3.1 เชือ่ ถือยอมรับเป้าหมายและคุณค่า ของโรงเรียน 3.2 ความเต็มใจในการปฏิบัติงานเพื่อ ท�ำประโยชน์ของโรงเรียน 3.3 ความต้องการที่จะรักษาความเป็น สมาชิกของโรงเรียน กรอบแนวคิดในการวิจัย การวิ จั ย ครั้ ง นี้ เป็ น วิ จั ย เกี่ ย วกั บ การ ศึกษาคุณภาพชีวิตการท�ำงานและวัฒนธรรม โรงเรียนที่ส่งผลต่อความผูกพันต่อโรงเรียน ของครูและบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียน คาทอลิกสังกัดสังฆมณฑลจันทบุร ี โดยก�ำหนด กรอบแนวคิดในการวิจัย ดังภาพประกอบ 1
พูนพงษ์ คูนา, ธีรังกูร วรบ�ำรุงกุล และ วรญา ภูเสตวงษ์
ตัวแปรพยากรณ์
ตัวแปรเกณฑ์
คุณภาพชีวิตการท�ำงาน 1. ค่าตอบแทนที่เหมาะสมและยุติธรรม 2. สภาพแวดล้อมการท�ำงานที่ปลอดภัยและ ส่งเสริมสุขภาพ 3. ความมัน่ คงในการท�ำงานและความก้าวหน้า ในวิชาชีพ 4. การพัฒนาทักษะความรู้และความสามารถ ของบุคคล 5. การท�ำงานร่วมกันและมีมนุษยสัมพันธ์ใน การท�ำงาน 6. ความสมดุลระหว่างชีวิตการท�ำงานกับชีวิต ส่วนตัว 7. คุ ณ ลั ก ษณะตามอั ต ลั ก ษณ์ ก ารศึ ก ษา คาทอลิก วัฒนธรรมโรงเรียน 1. ความมุ่งประสงค์ของโรงเรียน 2. การมอบอ�ำนาจ 3. การตัดสินใจ 4. ความรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งของหมู่คณะ 5. ความไว้วางใจ 6. ความมีคุณภาพ 7. การยอมรับ 8. ความเอื้ออาทร 9. ความซื่อสัตย์สุจริต 10. ความหลากหลายของบุคลากร
ความผูกพันต่อโรงเรียน 1. ความเชื่อถือยอมรับเป้าหมาย และคุณค่าของโรงเรียน 2. ความเต็มใจในการปฏิบัติงาน เพื่อท�ำประโยชน์ของโรงเรียน 3. ความต้องการที่จะรักษา ความเป็นสมาชิกของโรงเรียน
ภาพประกอบ 1 กรอบแนวคิดในการวิจัย ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2018/2561
65
คุณภาพชีวติ การทำ�งานและวัฒนธรรมโรงเรียนทีส่ ง่ ผลต่อความผูกพันต่อโรงเรียน ของครูและบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนคาทอลิกสังกัดสังฆมณฑลจันทบุรี
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ในครั้งนี้ เป็นแบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น เสนอผูท้ รงคุณวุฒจิ ำ� นวน 3 ท่านเพือ่ ขอความ อนุ เ คราะห์ ใ นการตรวจสอบความตรงเชิ ง เนื้อหา (Content Validity) โดยมีค่าความ เชือ่ มัน่ แบบสอบถามทัง้ ฉบับเท่ากับ 0.97 แบ่ง แบบสอบถามออกเป็น 4 ตอน ดังนี้ ตอนที่ 1 เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับ ระดับชัน้ การสอนของครู ต�ำแหน่ง และหน้าที่ ของบุคลากรทางการศึกษา ตอนที่ 2 เป็นแบบสอบถามความคิด เห็นเกี่ยวกับคุณภาพชีวิตการท�ำงานของครู และบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนคาทอลิก สั ง กั ด สั ง ฆมณฑลจั น ทบุ รี จ� ำ นวน 35 ข้ อ โดยมีค่าอ�ำนาจจ�ำแนกตั้งแต่ 0.21-0.72 และ มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.91 ตอนที่ 3 เป็นแบบสอบถามความคิด เห็นเกี่ยวกับวัฒนธรรมโรงเรียนของครูและ บุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนคาทอลิกสังกัด สังฆมณฑลจันทบุรี จ�ำนวน 54 ข้อ โดยมีค่า อ�ำนาจจ�ำแนกตัง้ แต่ 0.35-0.81 และมีคา่ ความ เชื่อมั่นเท่ากับ 0.96 ตอนที่ 4 เป็นแบบสอบถามความคิด เห็นเกีย่ วกับความผูกพันต่อโรงเรียนของครูและ บุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนคาทอลิกสังกัด สังฆมณฑลจันทบุรี จ�ำนวน 24 ข้อ โดยมีค่า อ�ำนาจจ�ำแนกตัง้ แต่ 0.24-0.72 และมีคา่ ความ เชื่อมั่นเท่ากับ 0.91 66
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
การเก็บรวบรวมข้อมูล ผู้วิจัยได้ด�ำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล กับกลุ่มตัวอย่าง ดังนี้ 1. ผู้วิจัยน�ำหนังสือจากมหาวิทยาลัย ราชภัฏร�ำไพพรรณีถึงหน่วยงานต้นสังกัดเพื่อ ขอความอนุเคราะห์ในการเก็บรวบรวมข้อมูล จากโรงเรียนคาทอลิกสังกัดสังฆมณฑลจันทบุรี 2. ผู้วิจัยน�ำแบบสอบถามไปยังสถาน ศึกษาที่เป็นกลุ่มตัวอย่างด้วยตนเอง และนัด หมายเวลาเพื่อรับแบบสอบถามกลับคืน 3. ได้รับแบบสอบถามคืนและมีความ สมบูรณ์ครบ 309 ฉบับ คิดเป็นร้อยละ 100 การวิเคราะห์ข้อมูล 1. น� ำ ข้ อ มู ล ทั้ ง หมดมาจั ด หมวดหมู ่ และบั น ทึ ก คะแนนแต่ ล ะข้ อ ในรู ป แบบรหั ส (Coding Form) 2. วิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับปัจจัยส่วน บุ ค คลของครู แ ละบุ ค ลากรทางการศึ ก ษา โรงเรี ย นคาทอลิ ก สั ง กั ด สั ง ฆมณฑลจั น ทบุ รี คื อ ครู ผู ้ ส อน และบุ ค ลากรทางการศึ ก ษา โดยการหาค่าความถี่และค่าร้อยละ แล้วน�ำ เสนอเป็นตารางประกอบความเรียง 3. วิเคราะห์ขอ้ มูลความคิดเห็นเกีย่ วกับ คุณภาพชีวิตการท�ำงานของครูและบุคลากร ทางการศึ ก ษาโรงเรี ย นคาทอลิ ก สั ง กั ด สั ง ฆมณฑลจั น ทบุ รี โดยการหาค่ า เฉลี่ ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
พูนพงษ์ คูนา, ธีรังกูร วรบ�ำรุงกุล และ วรญา ภูเสตวงษ์
4. วิเคราะห์ขอ้ มูลความคิดเห็นเกีย่ วกับ วัฒนธรรมโรงเรียนของครูและบุคลากรทางการ ศึ ก ษาโรงเรี ย นคาทอลิ ก สั ง กั ด สั ง ฆมณฑล จันทบุรี โดยการหาค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน 5. วิเคราะห์ขอ้ มูลความคิดเห็นเกีย่ วกับ ความผูกพันต่อโรงเรียนของครูและบุคลากร ทางการศึ ก ษาโรงเรี ย นคาทอลิ ก สั ง กั ด สังฆมณฑลจันทบุรี โดยการหาค่าเฉลี่ยและ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 6. การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่าง คุ ณ ภาพชี วิ ต การท� ำ งานกั บ ความผู ก พั น ต่ อ โรงเรียนของครูและบุคลากรทางการศึกษา โรงเรี ย นคาทอลิ ก สั ง กั ด สั ง ฆมณฑลจั น ทบุ รี และวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างวัฒนธรรม โรงเรี ย นกั บ ความผู ก พั น ต่ อ โรงเรี ย นของครู
และบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนคาทอลิก สังกัดสังฆมณฑลจันทบุรี ใช้การวิเคราะห์ค่า สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน (rxy) 7. วิเคราะห์คณ ุ ภาพชีวติ การท�ำงานและ วัฒนธรรมโรงเรียนที่ส่งผลต่อความผูกพันต่อ โรงเรียนของครูและบุคลากรทางการศึกษา โรงเรี ย นคาทอลิ ก สั ง กั ด สั ง ฆมณฑลจั น ทบุ รี โดยใช้การวิเคราะห์สมการถดถอยพหุคณ ู แบบ เป็นขั้นตอน สรุปผลการวิจัย คุณภาพชีวิตการท�ำงานและวัฒนธรรม โรงเรียนที่ส่งผลต่อความผูกพันต่อโรงเรียน ของครูและบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียน คาทอลิกสังกัดสังฆมณฑลจันทบุรี มีผลการ วิเคราะห์ข้อมูลสรุปเป็นประเด็นส�ำคัญ ดังนี้
ตาราง 1 ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ระดับ และอันดับของความคิดเห็นเกี่ยวกับคุณภาพชีวิตการท�ำงาน ของครูและบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนคาทอลิกสังกัดสังฆมณฑลจันทบุรี โดยรวมและรายด้าน ที่ 1 2 3 4 5 6 7
คุณภาพชีวิตการท�ำงานของครู และบุคลากรทางการศึกษา ค่าตอบแทนที่เหมาะสมและยุติธรรม สภาพแวดล้อมการท�ำงานที่ปลอดภัยและส่งเสริมสุขภาพ ความมั่นคงในการท�ำงานและก้าวหน้าในอาชีพ การพัฒนาทักษะ ความรู้ และความสามารถของบุคคล การท�ำงานร่วมกันและมีมนุษยสัมพันธ์ในการท�ำงาน ความสมดุลระหว่างชีวิตการท�ำงานกับชีวิตส่วนตัว คุณลักษณะตามอัตลักษณ์การศึกษาคาทอลิก รวม
คุณภาพชีวิตการท�ำงาน (n = 309) S.D. ระดับ อันดับ X 4.18 0.58 มาก 7 4.58 0.39 มากที่สุด 5 4.63 0.40 มากที่สุด 3 4.64 0.37 มากที่สุด 2 4.60 0.39 มากที่สุด 4 4.26 0.56 มาก 6 4.72 0.34 มากที่สุด 1 4.52 0.32 มากที่สุด
ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2018/2561
67
คุณภาพชีวติ การทำ�งานและวัฒนธรรมโรงเรียนทีส่ ง่ ผลต่อความผูกพันต่อโรงเรียน ของครูและบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนคาทอลิกสังกัดสังฆมณฑลจันทบุรี
จากตารางที่ 1 ผลการวิเคราะห์ความคิดเห็นเกี่ยวกับคุณภาพชีวิตการท�ำงานของครูและ บุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนคาทอลิกสังกัดสังฆมณฑลจันทบุรี โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด เรียงล�ำดับรายด้านจากมากไปน้อย คือ คุณลักษณะตามอัตลักษณ์การศึกษาคาทอลิก การพัฒนา ทักษะ ความรู้ และความสามารถของบุคคล ความมั่นคงในการท�ำงานและก้าวหน้าในอาชีพ การท�ำงานร่วมกันและมีมนุษยสัมพันธ์ในการท�ำงาน สภาพแวดล้อมการท�ำงานที่ปลอดภัยและ ส่งเสริมสุขภาพ ความสมดุลระหว่างชีวิตการท�ำงานกับชีวิตส่วนตัว และค่าตอบแทนที่เหมาะสม และยุติธรรม ตามล�ำดับ ตาราง 2 ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ระดับ และอันดับของความคิดเห็นเกี่ยวกับวัฒนธรรมโรงเรียนของ ครูและบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนคาทอลิกสังกัดสังฆมณฑลจันทบุรี โดยรวมและรายด้าน ที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
วัฒนธรรมโรงเรียนของครู และบุคลากรทางการศึกษา ความมุ่งประสงค์ของโรงเรียน การมอบอ�ำนาจ การตัดสินใจ ความรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งของหมู่คณะ ความไว้วางใจ ความมีคุณภาพ การยอมรับ ความเอื้ออาทร ความซื่อสัตย์สุจริต ความหลากหลายของบุคลากร รวม
วัฒนธรรมโรงเรียน (n = 309) S.D. ระดับ อันดับ X 4.67 0.41 มากที่สุด 3 4.55 0.46 มากที่สุด 9 4.60 0.44 มากที่สุด 6 4.74 0.36 มากที่สุด 2 4.60 0.42 มากที่สุด 6 4.63 0.41 มากที่สุด 5 4.55 0.45 มากที่สุด 9 4.64 0.40 มากที่สุด 4 4.76 0.35 มากที่สุด 1 4.59 0.42 มากที่สุด 8 4.63 0.35 มากที่สุด
จากตาราง 2 ผลการวิเคราะห์ความคิดเห็นเกี่ยวกับวัฒนธรรมโรงเรียนของครูและบุคลากร ทางการศึกษาโรงเรียนคาทอลิกสังกัดสังฆมณฑลจันทบุรี โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด เรียงล�ำดับ รายด้านจากมากไปน้อย คือ ความซื่อสัตย์สุจริต ความรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งของหมู่คณะ ความมุ่ง ประสงค์ของโรงเรียน ความเอือ้ อาทร ความมีคณ ุ ภาพ การตัดสินใจ ความไว้วางใจ ความหลากหลาย ของบุคลากร การมอบอ�ำนาจ และการยอมรับ ตามล�ำดับ 68
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
พูนพงษ์ คูนา, ธีรังกูร วรบ�ำรุงกุล และ วรญา ภูเสตวงษ์
ตาราง 3 ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ระดับ และอันดับของความคิดเห็นเกี่ยวกับความผูกพันต่อโรงเรียน ของครูและบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนคาทอลิกสังกัดสังฆมณฑลจันทบุรี โดยรวมและรายด้าน ที่ 1 2 3
ความผูกพันต่อโรงเรียนของครู และบุคลากรทางการศึกษา ความเชื่อถือยอมรับเป้าหมายและคุณค่าของโรงเรียน ความเต็มใจในการปฏิบัติงานเพื่อท�ำประโยชน์ของโรงเรียน ความต้องการที่จะรักษาความเป็นสมาชิกของโรงเรียน รวม
ความผูกพันต่อโรงเรียน (n = 309) S.D. ระดับ อันดับ X 4.70 0.38 มากที่สุด 2 4.73 0.36 มากที่สุด 1 4.69 0.38 มากที่สุด 3 4.71 0.34 มากที่สุด
จากตาราง 3 ผลการวิเคราะห์ความคิดเห็นเกี่ยวกับความผูกพันต่อโรงเรียนของครูและ บุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนคาทอลิกสังกัดสังฆมณฑลจันทบุรี โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด เรียงล�ำดับรายด้านจากมากไปน้อย คือ ความเต็มใจในการปฏิบตั งิ านเพือ่ ท�ำประโยชน์ของโรงเรียน ความเชือ่ ถือยอมรับเป้าหมายและคุณค่าของโรงเรียน และความต้องการทีจ่ ะรักษาความเป็นสมาชิก ของโรงเรียน ตาราง 4 ค่าสัมประสิทธิส์ หสัมพันธ์แบบเพียร์สนั ระหว่างคุณภาพชีวติ การท�ำงานกับความผูกพันต่อโรงเรียนของ ครูและบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนคาทอลิกสังกัดสังฆมณฑลจันทบุรีโดยแยกเป็นรายด้าน
ตัวแปรที่ศึกษา Y XQ1 XQ2 XQ3 XQ4 XQ5 XQ6 XQ7
Y XQ1 XQ2 XQ3 XQ4 XQ5 XQ6 XQ7 1.000 0.360** 1.000 0.418** 0.422** 1.000 0.509** 0.520** 0.519** 1.000 0.570** 0.359** 0.533** 0.544** 1.000 0.482** 0.343** 0.407** 0.504** 0.638** 1.000 0.637** 0.513** 0.378** 0.534** 0.420** 0.456** 1.000 0.619** 0.305** 0.386** 0.453** 0.479** 0.541** 0.443** 1.000 ** p < .01
จากตาราง 4 ผลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างคุณภาพชีวติ การท�ำงานกับความผูกพัน ต่อโรงเรียนของครูบคุ ลากรทางการศึกษาโรงเรียนคาทอลิกสังกัดสังฆมณฑลจันทบุร ี พบว่า คุณภาพ ชีวติ การท�ำงานของครูและบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนคาทอลิกสังกัดสังฆมณฑลจันทบุร ี มีความ ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2018/2561
69
คุณภาพชีวติ การทำ�งานและวัฒนธรรมโรงเรียนทีส่ ง่ ผลต่อความผูกพันต่อโรงเรียน ของครูและบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนคาทอลิกสังกัดสังฆมณฑลจันทบุรี
สัมพันธ์กนั ทางบวกในระดับค่อนข้างสูงอย่างมีนยั ส�ำคัญทางสถิตทิ รี่ ะดับ .01 2 ด้าน เรียงตามล�ำดับ ความสัมพันธ์จากมากไปน้อย คือ ความสมดุลระหว่างชีวิตการท�ำงานกับชีวิตส่วนตัว มีค่า สั ม ประสิ ท ธิ์ ส หสั ม พั น ธ์ เ ท่ า กั บ 0.637 และคุ ณ ลั ก ษณะตามอั ต ลั ก ษณ์ ก ารศึ ก ษาคาทอลิ ก ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เท่ากับ 0.619 ตาราง 5 ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สันระหว่างวัฒนธรรมโรงเรียนกับความผูกพันต่อโรงเรียนของครู และบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนคาทอลิกสังกัดสังฆมณฑลจันทบุรีโดยแยกเป็นรายด้าน ตัวแปรที่ศึกษา Y XS1 XS2 XS3 XS4 XS5 XS6 XS7 XS8 XS9 XQ10
Y 1.000 0.677** 0.606** 0.580** 0.775** 0.637** 0.654** 0.609** 0.742** 0.741** 0.672**
XS1 1.000 0.777** 0.808** 0.685** 0.747** 0.687** 0.675** 0.697** 0.668** 0.681**
XS2 1.000 0.742** 0.585** 0.723** 0.627** 0.675** 0.652** 0.556** 0.637**
XS3 1.000 0.591** 0.740** 0.664** 0.700** 0.657** 0.623** 0.661**
XS4 1.000 0.684** 0.625** 0.548** 0.697** 0.704** 0.615**
XS5 1.000 0.676** 0.735** 0.736** 0.619** 0.703**
XS6 1.000 0.727** 0.684** 0.660** 0.645**
XS7 1.000 0.796** 0.592** 0.730**
XS8 1.000 0.714** 0.760**
XS9 XS10 1.000 0.672** 1.000
** p < .01
จากตาราง 5 ผลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างวัฒนธรรมโรงเรียนกับความผูกพันต่อ โรงเรียนของครูและบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนคาทอลิกสังกัดสังฆมณฑลจันทบุรี พบว่า วัฒนธรรมโรงเรียนของครูและบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนคาทอลิกสังกัดสังฆมณฑลจันทบุรี มีความสัมพันธ์กนั ทางบวกในระดับ .01 วัฒนธรรมโรงเรียนทีส่ ง่ ผลต่อความผูกพันต่อโรงเรียนทีอ่ ยู่ ในระดับสูง คือ ความรูส้ กึ เป็นส่วนหนึง่ ของหมูค่ ณะ มีคา่ สัมประสิทธิส์ หสัมพันธ์เท่ากับ 0.775 และ มีความสัมพันธ์ในระดับค่อนข้างสูง 6 ด้าน เรียงตามล�ำดับความสัมพันธ์จากมากไปน้อย คือ ความ เอือ้ อาทร มีคา่ สัมประสิทธิส์ หสัมพันธ์เท่ากับ 0.742 ความซือ่ สัตย์สจุ ริต มีคา่ สัมประสิทธิส์ หสัมพันธ์ เท่ากับ 0.741 ความมุง่ ประสงค์ของโรงเรียน มีคา่ สัมประสิทธิส์ หสัมพันธ์เท่ากับ 0.677 ความหลาก หลายของบุคลากร มีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เท่ากับ 0.672 ความมีคุณภาพ มีค่าสัมประสิทธิ์ สหสัมพันธ์เท่ากับ 0.654 ความไว้วางใจ มีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เท่ากับ 0.637
70
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
พูนพงษ์ คูนา, ธีรังกูร วรบ�ำรุงกุล และ วรญา ภูเสตวงษ์
ตาราง 6 แสดงผลการวิเคราะห์การถดถอยพหุคณ ู แบบเป็นขัน้ ตอน (Stepwise Multiple Regression Analysis) ของคุณภาพชีวติ การท�ำงานและวัฒนธรรมโรงเรียนทีส่ ง่ ผลต่อความผูกพันต่อโรงเรียนของครูและบุคลากรทางการ ศึกษาโรงเรียนคาทอลิกสังกัดสังฆมณฑลจันทบุรี โดยแยกเป็นรายด้าน คุณภาพชีวิตการท�ำงานและวัฒนธรรมโรงเรียน b SEb ความรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งของหมู่คณะ (XS4) 0.35 0.04 ความเอื้ออาทร (XS8) 0.22 0.04 ความซื่อสัตย์สุจริต (XS9) 0.24 0.04 ความมั่นคงในการท�ำงานและความก้าวหน้า ในวิชาชีพ (XQ3) 0.10 0.03 R = 0.84 R2 = 0.72 SEest = 0.16 a = 0.37 Adjusted R2 = 0.71 F = 195.69** ** p < .01
ß 0.36 0.25 0.24
t 7.80 5.40 5.16
Sig t. .00** .00** .00**
0.12
3.52
.00**
จากตาราง 6 ผลการวิเคราะห์คุณภาพชีวิตการท�ำงานและวัฒนธรรมโรงเรียนที่ส่งผลต่อ ความผูกพันของครูและบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนคาทอลิกสังกัดสังฆมณฑลจันทบุร ี ด้วยการ สร้างสมการพยากรณ์เพือ่ หาตัวแปรพยากรณ์ทดี่ ที สี่ ดุ พบว่า คุณภาพชีวติ การท�ำงานและวัฒนธรรม โรงเรียน มี 4 ด้าน เรียงตามค่าสัมประสิทธิก์ ารถดถอยของการพยากรณ์ ได้แก่ ความรูส้ กึ เป็นส่วน หนึ่งของหมู่คณะ ความเอื้ออาทร ความซื่อสัตย์สุจริต และความมั่นคงในการท�ำงานและความ ก้าวหน้าในวิชาชีพ โดยมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์พหุคูณเท่ากับ 0.84 หมายถึง ความรู้สึกเป็น ส่วนหนึง่ ของหมูค่ ณะ ความเอือ้ อาทร ความซือ่ สัตย์สจุ ริต และความมัน่ คงในการท�ำงานและความ ก้าวหน้าในวิชาชีพ สามารถร่วมกันพยากรณ์ความผูกพันต่อโรงเรียนของครูและบุคลากรทางการ ศึกษาโรงเรียนคาทอลิกสังกัดสังฆมณฑลจันทบุรีได้ร้อยละ 71 อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 เป็นไปตามสมมติฐานที่ได้ตั้งไว้ คือ คุณภาพชีวิตการท�ำงานและวัฒนธรรมโรงเรียนส่งผลต่อ ความผูกพันต่อโรงเรียนของครูและบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนคาทอลิกสังกัดสังฆมณฑลจันทบุรี และได้สมการในการพยากรณ์หรือสมการถดถอยดังนี้ สมการพยากรณ์ความผูกพันต่อโรงเรียนครูและบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนคาทอลิกสังกัด สังฆมณฑลจันทบุรี ในรูปคะแนนดิบ มีดังนี้ ŷ = a1+b4XS4+b8XS8+b9XS9+b3XQ3 = 0.37+0.35XS4+0.22XS8+0.24XS9+0.10XQ3 สมการพยากรณ์ความผูกพันต่อโรงเรียนครูและบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนคาทอลิกสังกัด สังฆมณฑลจันทบุรี ในรูปคะแนนดิบ มีดังนี้ z = ßXS4+ßXS8+ßXS9+ßXQ3 = 0.36XS4+0.25XS8+0.24XS9+0.12XQ3 ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2018/2561
71
คุณภาพชีวติ การทำ�งานและวัฒนธรรมโรงเรียนทีส่ ง่ ผลต่อความผูกพันต่อโรงเรียน ของครูและบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนคาทอลิกสังกัดสังฆมณฑลจันทบุรี
อภิปรายผล คุณภาพชีวิตการท�ำงานและวัฒนธรรม โรงเรี ย นที่ ส ่ ง ผลต่ อ ความผู ก พั น ของครู แ ละ บุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนคาทอลิกสังกัด สังฆมณฑลจันทบุรี สามารถอภิปรายผลที่เกิด ขึ้นได้ดังนี้ 1. ผลการวิเคราะห์ความคิดเห็นเกี่ยว กับคุณภาพชีวติ การท�ำงานของครูและบุคลากร ทางการศึ ก ษาโรงเรี ย นคาทอลิ ก สั ง กั ด สังฆมณฑลจันทบุรี โดยรวมอยู่ในระดับมาก ที่สุด เรียงล�ำดับรายด้านจากมากไปน้อย คือ คุณลักษณะตามอัตลักษณ์การศึกษาคาทอลิก การพัฒนาทักษะ ความรู้ และความสามารถ ของบุ ค คล ความมั่ น คงในการท� ำ งานและ ก้าวหน้าในอาชีพ การท�ำงานร่วมกันและมี มนุษยสัมพันธ์ในการท�ำงาน สภาพแวดล้อม การท� ำ งานที่ ป ลอดภั ย และส่ ง เสริ ม สุ ข ภาพ ความสมดุลระหว่างชีวิตการท�ำงานกับชีวิต ส่ ว นตั ว และค่ า ตอบแทนที่ เ หมาะสมและ ยุติธรรมตามล�ำดับ ทั้งนี้ความคิดเห็นเกี่ยวกับ คุ ณ ภาพชี วิ ต การท� ำ งานที่ น ่ า สนใจที่ สุ ด 3 อันดับแรก คือ คุณลักษณะตามอัตลักษณ์การ ศึกษาคาทอลิก น่าจะเป็นเพราะว่า โรงเรียน คาทอลิกสังกัดสังฆมณฑลจันทบุร ี มีอตั ลักษณ์ ที่ ชั ด เจนโดยน� ำ จิ ต ตารมณ์ พ ระวรสาร 5 ประการ คือ รัก เมตตา ซื่อสัตย์ รับใช้ พอ เพียง มาก�ำหนดเป็นนโยบายของทุกโรงเรียน
72
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
มุ่งเน้นการเป็นโรงเรียนส่งเสริมคุณธรรม รวม ทั้งมีการอบรมให้ความรู้ถึงอัตลักษณ์โรงเรียน คาทอลิ ก กั บ ครู แ ละบุ ค ลากรทางการศึ ก ษา อย่างสม�ำ่ เสมอ ผ่านทางการสัมนา การประชุม สอดคล้ อ งกั บ สภาการศึ ก ษาคาทอลิ ก แห่ ง ประเทศไทย (2557: 9,35) ที่ ก ล่ า วว่ า ครู จ� ำ เป็ น ต้ อ งได้ รั บ การพั ฒ นาเรื่ อ งคุ ณ ภาพ ชีวิตการท�ำงานด้านคุณลักษณะตามอัตลักษณ์ การศึกษาคาทอลิก เป็นผู้มีความรัก (Love) เมตตา (Compassion) รับใช้ (Service) รัก องค์ความดี รักและเคารพในคุณค่าและศักดิศ์ รี ของตนเองและผู ้ อื่ น เป็ น บุ ค คลเพื่ อ ผู ้ อื่ น เสียสละ มีน�้ำใจ พร้อมแบ่งปันและช่วยเหลือ ผู้อื่น โดยไม่หวังสิ่งตอบแทน รู้จักให้อภัยและ คื น ดี สอดคล้ อ งกั บ รั ท บู ค า (Rutebuka. 2000: 257-289) ได้พบว่าครูในโรงเรียนทีเ่ ป็น โรงเรี ย นคริ ส ต์ พึ ง พอใจกั บ งานและสาเหตุ ที่ เ ลื อ กงานเพราะมี ค วามผู ก พั น กั บ ศาสนา คริสต์ ความผูกพันต่อวิชาชีพครู มีลกั ษณะงาน ที่ ท ้ า ทายมี ค วามสั ม พั น ธ์ ต ่ อ ความผู ก พั น องค์การคริสต์ ส�ำหรับการพัฒนาทักษะ ความรู้ และ ความสามารถของบุคคล น่าจะเป็นเพราะว่า โรงเรี ย นคาทอลิ ก สั ง กั ด สั ง ฆมณฑลจั น ทบุ รี มีการประชุมฝ่ายต่างๆ ทัง้ 6 ฝ่าย ฝ่ายบริหาร จัดการ ฝ่ายหลักสูตรและวิชาการ ฝ่ายบัญชี การเงิน ทรัพย์สนิ ฝ่ายพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
พูนพงษ์ คูนา, ธีรังกูร วรบ�ำรุงกุล และ วรญา ภูเสตวงษ์
ฝ่ายอัตลักษณ์ ประกันคุณภาพ ฝ่ายเทคโนโลยี สารสนเทศ และฝ่ายภาษาต่างประเทศอย่าง สม�่ำเสมอ เป็นการกระตุ้นให้เกิดการพัฒนา ทักษา ความรู ้ ความสามารถ มีใจรักในวิชาชีพ มีอุดมการณ์ จิตวิญญาณความเป็นครู และ สอดคล้องกับเป้าหมายของโรงเรียน สอดคล้อง กับ จอมพงศ์ มงคลวนิช (2556: 116) ทีก่ ล่าว ว่ า ผลดี ที่ ไ ด้ คื อ การปรั บ ปรุ ง ระดั บ ความ ตระหนักรู้ในตนเองของครูเป็นการเพิ่มทักษะ การท�ำงานของแต่ละบุคคลและยกระดับความ รู ้ ความสามารถในการปฏิบตั งิ านให้กา้ วทันต่อ การเปลี่ยนแปลงของเครื่องมืออุปกรณ์ใหม่ๆ ครู ไ ด้ วิ เ คราะห์ ป ั ญ หาและการหาแนวการ ท�ำงานให้ประสบผลส�ำเร็จอย่างมีประสิทธิภาพ และเพิ่มประสิทธิผล ลดความผิดพลาดในการ ท�ำงาน ประหยัดทรัพยากร ประหยัดเวลา ช่วย ประสานความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ท�ำให้เกิด ความเข้าใจ สร้างแนวทางในการท�ำงานร่วมกัน และปรั บ เปลี่ ย นเจตคติ ที่ ดี ต ่ อ กั น เป็ น การ เพิ่มพูนแรงใจของแต่ละบุคคลให้มีความมุ่งมั่น อุ ทิ ศ ตนปฏิ บั ติ ง านอย่ า งเต็ ม ความสามารถ สอดคล้องกับ เฮอร์ซเบอร์ก (Herzsberg) ได้ เสนอผลการทดสอบทีเ่ รียกว่า “An Empirical Test of a New Theory of Human Needs” มนุ ษ ย์ ต ้ อ งการความก้ า วหน้ า และเติ บ โต เป็ น ความต้ อ งการเกี่ ย วกั บ การพั ฒ นาการ เปลี่ ย นแปลงฐานะ สภาพและการเติ บ โต
ก้าวหน้าของผู้ท�ำงาน การพัฒนาเติบโตด้าน ความรู้ความสามารถ ส�ำหรับในองค์การ คือ ความต้องการที่จะได้รับความรับผิดชอบเพิ่ม ขึ้น หรือความต้องการอยากได้ ท�ำกิจกรรม ใหม่ที่มีโอกาสใช้ความรู้ความสามารถใหม่ๆ และได้มีโอกาสเข้าไปสัมผัสกับงานใหม่ๆ อีก หลายๆ ด้านมากขึ้น (Alderfer. 1972: 4756) ส�ำหรับความมั่นคงในการท�ำงานและ ก้าวหน้าในอาชีพ เป็นความมุ่งหวังในความ มั่นคงในงานและการเพิ่มขึ้นของรายได้ น่าจะ เป็ น เพราะว่ า โรงเรี ย นคาทอลิ ก สั ง กั ด สังฆมณฑลจันทบุรี มีเกณฑ์การปรับขึ้นเงิน เดือนที่ก�ำหนดไว้ในคู่มือครูโรงเรียนคาทอลิก สังกัดสังฆมณฑลจันทบุรี มีความชัดเจนและ ยุตธิ รรม สอดคล้องกับแนวคิดของ กรมพัฒนา ฝีมือแรงงาน กระทรวงแรงงาน (2553: 7-8) มี ร ะบบประเมิ น ผลงานและสร้ า งเครื่ อ งมื อ ส�ำหรับวัดผลส�ำเร็จของงาน เพื่อประโยชน์ใน การพิจารณาเลือ่ นขัน้ เลือ่ นเงินเดือนทีม่ คี วาม สอดคล้องกับงาน และสัมพันธ์กับการยังชีพ ซึ่งจะส่งผลให้เกิดความก้าวหน้าและมีความ มั่ น คงในการท� ำ งาน เป็ น ไปตามแนวคิ ด มาสโลว์ (Maslow. 1970: 35-40) กล่าวว่า ความต้องการความปลอดภัยและความมั่นคง หมายถึง มนุษย์มีความต้องการทางด้านความ ปลอดภัยและความมั่นคง เช่น ความมั่นคงใน
ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2018/2561
73
คุณภาพชีวติ การทำ�งานและวัฒนธรรมโรงเรียนทีส่ ง่ ผลต่อความผูกพันต่อโรงเรียน ของครูและบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนคาทอลิกสังกัดสังฆมณฑลจันทบุรี
งานที่ท�ำไม่ถูกปลดออกหรือถูกย้ายงานบ่อยๆ แต่ต้องได้รับการปฏิบัติอย่างยุติธรรมทัดเทียม กัน เวลาเจ็บไข้ก็จะได้รับการเอาใจใส่รักษา พยาบาล เมื่ อ จะออกจากงานก็ ต ้ อ งได้ รั บ บ�ำเหน็จบ�ำนาญเป็นการตอบแทนนอกจากนี้ ยั ง ต้ อ งมี ร ายได้ พ อสมควรแก่ ก ารด� ำ รงชี วิ ต สอดคล้องกับ ลุสเซอร์ (Lusser. 2001: 8687) กล่าวว่า อดัม (Adum) ได้เสนอแนวความ คิดว่าเมื่อสถานการณ์ที่คนงานจะเกิดความพึง พอใจคือความสมดุลหรือความเป็นธรรมที่เกิด ขึ้นเมื่อเขาได้รับรู้ว่า สัดส่วนของ Input กับ Outcomes ที่เขาได้รับเท่าเทียมกับสัดส่วน ของ Input กับ Outcomes ของคนอื่นเมื่อ เปรียบเทียบกัน สอดคล้องกับ ปรีชา วงษา บุตร (2553: 102) ได้ศึกษาเรื่องคุณภาพชีวิต การท� ำ งานกั บ ความผู ก พั น ต่ อ องค์ ก ารของ บุคลากร บริษัท คาร์เปทอินเตอร์แนชั่นแนล ไทยแลนด์ จ�ำกัด (มหาชน) พบว่า องค์การทีม่ ี การจัดสวัสดิการต่างๆ ตามความเหมาะสม ซึง่ สิง่ เหล่านีย้ อ่ มส่งเสริมท�ำให้เกิดคุณภาพชีวติ ในการท�ำงานที่ดี และสอดคล้องกับ สุดารัตน์ ครุฑสึก (2557: 96-98) ได้ศึกษาเรื่องปัจจัย คุณภาพชีวิตในการท�ำงานของบุคลากรความ ผูกพันต่อองค์การและการสื่อสารในองค์การ ส่งผลต่อการเป็นสมาชิกที่ดีต่อองค์การของ บุคลากรเอกชนในเขตกรุงเทพมหานคร พบว่า ความก้าวหน้าและมั่นคงในการท�ำงาน ส่งผล
74
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
ต่อการเป็นสมาชิกที่ดีของบุคลากรเอกชนใน เขตกรุงเทพมหานคร 2. ผลการวิเคราะห์ความคิดเห็นเกี่ยว กั บ วั ฒ นธรรมโรงเรี ย นของครู แ ละบุ ค ลากร ทางการศึ ก ษาโรงเรี ย นคาทอลิ ก สั ง กั ด สังฆมณฑลจันทบุรี โดยรวมอยู่ในระดับมาก ที่สุด เรียงล�ำดับรายด้านจากมากไปน้อย คือ ความซือ่ สัตย์สจุ ริต ความรูส้ กึ เป็นส่วนหนึง่ ของ หมู่คณะ ความมุ่งประสงค์ของโรงเรียน ความ เอือ้ อาทร ความมีคณ ุ ภาพ การตัดสินใจ ความ ไว้วางใจ ความหลากหลายของบุคลากร การ มอบอ�ำนาจ และการยอมรับ ตามล�ำดับ ทั้งนี้ ความคิดเห็นเกี่ยวกับวัฒนธรรมโรงเรียนที่น่า สนใจที่สุด 3 อันดับแรก ความซื่อสัตย์สุจริต น่าจะเป็นเพราะว่า โรงเรียนคาทอลิกได้ให้ ความส�ำคัญกับครู เห็นคุณค่าของการปฏิบัติ ตามจริ ธ รรม โดยการชมเชยและให้ ผ ล ตอบแทน เช่ น รางวั ล ครู ดี มี คุ ณ ภาพ รสจ. สอดคล้องกับ สิทธิชัย นันทนาวิจิตร (2551: 20) ปัจจัยแห่งความส�ำเร็จ คือ จิตส�ำนึก เป็น สิง่ ทีผ่ บู้ ริหารสูงสุดให้ความส�ำคัญเป็นอย่างมาก โดยการสร้างความเชื่อขึ้นมาจากพื้นฐานของ บริษทั จากนัน้ แปรเปลีย่ นให้เป็นค่านิยมตลอด จนมี ก ารน� ำ ไปปฏิ บั ติ ทั่ ว ทั้ ง องค์ ก ารจนเป็ น พฤติกรรม และในทีส่ ดุ เกิดเป็นวัฒนธรรมทีเ่ ข้ม แข็งขององค์การ
พูนพงษ์ คูนา, ธีรังกูร วรบ�ำรุงกุล และ วรญา ภูเสตวงษ์
ส�ำหรับความรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งของหมู่ คณะ น่าจะเป็นเพราะว่า โรงเรียนคาทอลิกให้ ครูและบุคลากรในโรงเรียนมีหน้าทีแ่ ละบทบาท ความรับผิดชอบในฝ่ายต่างๆ ภายในโรงเรียน รวมทัง้ มีหน้าทีร่ บั ผิดชอบในโครงการ งานและ กิจกรรมของทางโรงเรียน เช่น กิจกรรมกีฬาสี กิจกรรมวันคริสต์มาส กิจกรรมวันสถาปนา โรงเรียน เป็นต้น ท�ำให้เกิดความผูกพัน การ รู้จักเสียสละเวลาให้กับงาน และรู้สึกว่าเป็น ส่วนหนึ่งของโรงเรียน เป็นไปตามแนวคิดของ ไวลส์ (Wiles. 1953: 46-47) กล่าวว่า ครูแต่ ละคนต้องการเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มที่ท�ำงาน ด้วย ท�ำให้เกิดความพึงพอใจในงานเกิดขึน้ วิธี สร้างความรูส้ กึ เป็นส่วนหนึง่ ของโรงเรียนท�ำได้ โดย 1) ให้ บุ ค ลากรในโรงเรี ย นมี ค วามรู ้ สึ ก ผูกพันซึง่ กันและกัน และเกีย่ วข้องกันตลอดจน รู้จักเสียสละเวลาให้กับงาน 2) ส่งเสริมความ ก้าวหน้าของสมาชิกครูแต่ละคนในโรงเรียน 3) ร่วมกิจกรรมด้วยกันในวันหยุดสุดสัปดาห์ 4) ให้ครูแต่ละคนมีความรู้สึกว่า เขาเป็นคน ส�ำคัญ ส�ำหรับความมุ่งประสงค์ของโรงเรียน น่าจะเป็นเพราะว่า โรงเรียนคาทอลิกสังกัด สังฆมณฑลจันทบุรี ได้ประชาสัมพันธ์ชี้แจงถึง การเป็นโรงเรียนคุณธรรมตามวิถีคริสต์ โดย แต่ละโรงเรียนได้ด�ำเนินการวางแผนกิจกรรม การพัฒนาคุณธรรมตามวิธีคริสต์ในบริบทของ
ตนเอง รวมทัง้ ก�ำหนดให้แต่ละโรงเรียนติดตาม และการประเมินร่วมกัน สอดคล้องกับ เซอร์ จิโอวานนี่ และสตรารัทท์ (Sergivaanni and Strarratt. 1988: 107) ทีก่ ล่าวว่า เมือ่ ก�ำหนด ความมุ ่ ง ประสงค์ ข องโรงเรี ย นแล้ ว ควร ประชาสัมพันธ์ ชี้แจงให้บุคลากรของโรงเรียน เข้ า ใจ เห็ น คุ ณ ค่ า และความส� ำ คั ญ เกี่ ย วกั บ ความมุง่ ประสงค์ของโรงเรียน เพือ่ เป็นแนวทาง ในการด�ำเนินการและประเมินผลร่วมกัน รวม ทั้งต้องให้การตัดสินใจในกิจการของโรงเรียนมี พื้นฐานอยู่บนความมุ่งประสงค์ของโรงเรียน ด้ ว ย สอดคล้ อ งกั บ จอมพงศ์ มงคลวนิ ช (2556: 177) หลักการและแนวคิดว่าด้วยการ พัฒนาและบริหารองค์การทางการศึกษาตลอด จนบุคลากรทางการศึกษาให้มีมาตรฐาน และ เป็ น แรงขั บ เคลื่ อ นองค์ ก ารทางการศึ ก ษาสู ่ ความส�ำเร็จดังที่วางวัตถุประสงค์ไว้ ในการขับ เคลื่อนองคาพยพในองค์การ ภาวะผู้น�ำของ ผู้บริหาร/ผู้น�ำขององค์การทางการศึกษาและ หน่วยงานภายในถือเป็นปัจจัยที่ส�ำคัญมาก การขั บ เคลื่ อ นองค์ ก ารสู ่ เ ป้ า หมายที่ ว างไว้ สอดคล้องกับ เซอร์จิโอวานนี่ และสตรารัทท์ (Sergiovanni and Straratt.1988: 103) ได้ศกึ ษาวิจยั พบว่า วัฒนธรรมโรงเรียนก่อตัวมา จากประวัตคิ วามเป็นมาของโรงเรียน ความเชือ่ ค่านิยม บรรทัดฐานและมาตรฐานรูปแบบของ พฤติกรรม วัฒนธรรมองค์การและวัฒนธรรม
ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2018/2561
75
คุณภาพชีวติ การทำ�งานและวัฒนธรรมโรงเรียนทีส่ ง่ ผลต่อความผูกพันต่อโรงเรียน ของครูและบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนคาทอลิกสังกัดสังฆมณฑลจันทบุรี
โรงเรียนมีที่มาจากผู้ก่อตั้งองค์การ เป็นการส่ง ต่อทางประวัติศาสตร์ของรูปแบบและความ หมายของโรงเรียนซึ่งจะมีอิทธิพลต่อความเชื่อ ความเชือ่ มีอทิ ธิพลต่อค่านิยม ค่านิยมมีอทิ ธิพล ต่อบรรทัดฐานและมาตรฐาน บรรทัดฐานและ มาตรฐานมีอิทธิพลต่อรูปแบบของพฤติกรรม 3. ผลการวิเคราะห์ความคิดเห็นเกี่ยว กับความผูกพันต่อโรงเรียนของครูและบุคลากร ทางการศึ ก ษาโรงเรี ย นคาทอลิ ก สั ง กั ด สังฆมณฑลจันทบุรี โดยรวมอยู่ในระดับมาก ที่สุด เรียงล�ำดับรายด้านจากมากไปน้อย คือ ความเต็มใจในการปฏิบตั งิ านเพือ่ ท�ำประโยชน์ ของโรงเรียน ความเชื่อถือยอมรับเป้าหมาย และคุณค่าของโรงเรียน และความต้องการทีจ่ ะ รักษาความเป็นสมาชิกของโรงเรียน น่าจะเป็น เพราะว่า โรงเรียนคาทอลิกสังกัดสังฆมณฑล จันทบุรี มีอัตลักษณ์ที่ชัดเจนแตกต่างๆ จาก โรงเรียนรัฐบาลและโรงเรียนเอกชนอืน่ ๆ การที่ ครูเลือกที่จะมาท�ำงานที่โรงเรียนคาทอลิก ครู ต้ อ งเห็ น พ้ อ งถึ ง เป้ า หมายและค่ า นิ ย มของ โรงเรียน ส�ำหรับความเต็มใจในการปฏิบัติงาน เพื่ อ ท� ำ ประโยชน์ ข องโรงเรี ย น เป็ น ไปตาม แนวคิดของ เสตียรส์ (Steers. 1977: 120122) ได้รวบรวมผลการศึกษาของนักวิชาการ ต่างๆ แล้วน�ำมาสรุปผลของความผูกพันต่อ องค์ ก ารที่ มี ต ่ อ พฤติ ก รรมของบุ ค ลากรว่ า บุคลากรที่มีความผูกพันอันแท้จริงต่อจุดมุ่ง
76
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
หมายและคุณค่าขององค์การ จะแสดงระดับ การมีส่วนร่วมในกิจกรรมขององค์การสูงกว่า และการขาดงานโดยความสมัครใจจะมีอัตรา ต�่ำกว่าในกลุ่มของบุคลากรที่มีความผูกพันต่อ องค์การน้อย สอดคล้องกับ ชุติมา เผ่าพหล (2553: 116-117) ได้ศึกษาเรื่องคุณภาพชีวิต การท�ำงานและระดับความผูกพันต่อองค์การ ของบุคลากรธนาคารกรุงเทพ จ�ำกัด มหาชน พบว่า ระดับคุณภาพชีวิตการท�ำงานที่มีความ สัมพันธ์กบั ความผูกพันต่อองค์การของบุคลากร ธนาคารกรุงเทพ จ�ำกัด (มหาชน) พบว่า ความ ความภู มิ ใจในองค์ ก าร มี ผ ลต่ อ ระดั บ ความ สัมพันธ์กับความผูกพันต่อองค์การมากที่สุด ส�ำหรับความเต็มใจในการปฏิบัติงาน เพื่อท�ำประโยชน์ของโรงเรียน สอดคล้องกับ มาสโลว์ (Maslow. 1970: 35-40) ในความ ต้องการทางสังคม หมายถึงความต้องการทีจ่ ะ ให้สังคมยอมรับตนเข้าเป็นสมาชิก ต้องการมี ส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆ เมื่อคนเรารู้สึกว่า สั ง คมยอมรั บ แล้ ว ก็ จ ะเกิ ด ความภาคภู มิ ใจ มีความรับผิดชอบ รักษาส่วนได้ส่วนเสียของ สังคมอย่างเต็มที่ สอดคล้องกับ ลูธันส์ (Luthans. 1995: 130 -131) กล่าวว่า ความรูส้ กึ ของบุคลากรที่มีต่อองค์การ โดยการจ�ำแนก ออกเป็นพฤติกรรมทีแ่ สดงออกมา คือ มีความ ตั้งใจและใช้ความพยายามอย่างถึงที่สุดเพื่อ ประโยชน์ขององค์การ สอดคล้องกับ บูชานัน
พูนพงษ์ คูนา, ธีรังกูร วรบ�ำรุงกุล และ วรญา ภูเสตวงษ์
(Buchanan. 1974: 533-545) ได้ศึกษาเรื่อง ความผูกพันต่อองค์การ พบว่าประสบการณ์ใน การท�ำงานมีความสัมพันธ์กับความผูกพันต่อ องค์การ ได้แก่ เจตคติของบุคคลต่อองค์การ ส�ำหรับความต้องการที่จะรักษาความ เป็นสมาชิกของโรงเรียน สอดคล้องกับอัลเลน และไมเยอร์ Allen and Meyer. 1990: 57) ที่กล่าวว่าความผูกพันต่อองค์การ หมายถึง ความรู้สึกที่บุคลากรมีต่อองค์การโดยเป็นสิ่ง เหนี่ยวรั้งให้คนยังคงอยู่ในองค์การ สอดคล้อง กับจอร์จ และโจนส์ (George and Jones. 2004: 96) ได้กล่าวถึงผลของความผูกพันต่อ องค์ ก ารไว้ ว ่ า เมื่ อ บุ ค คลมี ค วามผู ก พั น ต่ อ องค์การแล้วเขาจะมีความเชื่อมั่นในองค์การ และเมือ่ เขามีความสุขทีไ่ ด้ทำ� งานกับองค์การจะ ท�ำให้เขาไม่มีความคิดที่จะเปลี่ยนแปลงหรือ ย้ายที่ท�ำงาน สอดคล้องกับปรีชา วงษาบุตร (2553: 102) ได้ศึกษาเรื่องคุณภาพชีวิตการ ท�ำงานกับความผูกพันต่อองค์การของบุคลากร บริษัท คาร์เปทอินเตอร์แนชั่นแนล ไทยแลนด์ จ�ำกัด (มหาชน) พบว่า ทัศนคติด้านบวกที่จะ ท� ำ ให้ บุ ค ลากรยอมรั บ ค่ า นิ ย มขององค์ ก าร ส่งผลให้เกิดการทุ่มเทในการท�ำงานให้ดี และ ส่งผลให้เกิดเป็นความจงรักภักดีต่อองค์การ และมี ค วามต้ อ งการด� ำ รงเป็ น สมาชิ ก ของ องค์การต่อไป
4. ผลการวิ เ คราะห์ ค วามสั ม พั น ธ์ ระหว่างคุณภาพชีวติ การท�ำงานกับความผูกพัน ต่อโรงเรียนของครูและบุคลากรทางการศึกษา โรงเรี ย นคาทอลิ ก สั ง กั ด สั ง ฆมณฑลจั น ทบุ รี พบว่ า คุ ณ ภาพชี วิ ต การท� ำ งานของครู แ ละ บุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนคาทอลิกสังกัด สังฆมณฑลจันทบุร ี มีความสัมพันธ์กนั ทางบวก ในระดับค่อนข้างสูงอย่างมีนยั ส�ำคัญทางสถิตทิ ี่ ระดั บ .01 2 ด้ า น เรี ย งตามล� ำ ดั บ ความ สั ม พั น ธ์ จ ากมากไปน้ อ ย คื อ ความสมดุ ล ระหว่างชีวิตการท�ำงานกับชีวิตส่วนตัว และ คุณลักษณะตามอัตลักษณ์การศึกษาคาทอลิก กล่ า วคื อ เมื่ อ ความสมดุ ล ระหว่ า งชี วิ ต การ ท�ำงานส่วนตัวและคุณลักษณะตามอัตลักษณ์ การศึ ก ษาคาทอลิ ก มี ค ่ า เพิ่ ม มากขึ้ น ความ ผูกพันต่อโรงเรียนของครูและบุคลากรทางการ ศึ ก ษาโรงเรี ย นคาทอลิ ก สั ง กั ด สั ง ฆมณฑล จันทบุรีก็จะมากขึ้นด้วย ส�ำหรับความสมดุล ระหว่างชีวิตการท�ำงานกับชีวิตส่วนตัว น่าจะ เป็นเพราะว่า การท�ำงานเป็นส่วนหนึง่ ของชีวติ ไม่ใช่ทงั้ หมดของชีวติ การแบ่งเวลาให้เกิดความ สมดุลระหว่างเวลาทีใ่ ช้ในการท�ำงาน เวลาส่วน ตัว เวลาทีใ่ ห้กบั ครอบครัวและเวลาทีใ่ ช้ในการ ปฏิสัมพันธ์กับสังคมเป็นสิ่งที่จะต้องจัดการให้ เหมาะสม การสร้างความสมดุลระหว่างชีวิต การท�ำงานและชีวติ ส่วนตัว เป็นปัจจัยทีม่ คี วาม ส�ำคัญอย่างยิ่งในการสร้างความพึงพอใจความ
ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2018/2561
77
คุณภาพชีวติ การทำ�งานและวัฒนธรรมโรงเรียนทีส่ ง่ ผลต่อความผูกพันต่อโรงเรียน ของครูและบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนคาทอลิกสังกัดสังฆมณฑลจันทบุรี
จงรั ก ภั ก ดี แ ละผลผลิตในการท�ำงานของครู สอดคล้องกับ ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการ สร้ า งเสริ ม สุ ข ภาพ (สสส.) (2552: 10-11) ที่ ก ล่ า วว่ า ความสุ ข เป็ น สุ ด ยอดแห่ ง ความ ปรารถนาของมนุษย์ ไม่วา่ จะเป็นความสุขจาก ครอบครัว ความสุขจากการท�ำงาน ความสุข จากการพักผ่อน สอดคล้องกับ นิติพล ภูตะ โชติ (2559: 179) กล่าวว่าในการท�ำงานของ ครูจะต้องมีเวลาให้แก่ครอบครัว เพื่อสร้าง ความอบอุ่นและความสุขในครอบครัว รวมทั้ง มีวันหยุดพักผ่อนด้วย ถ้าครูเคร่งเครียดแต่ใน เรื่องการท�ำงานจนไม่มีเวลาให้แก่ครอบครัว จะส่งผลเสียต่อคุณภาพชีวติ ทัง้ ในทีท่ ำ� งานและ ครอบครัวด้วย สอดคล้องกับ ลัดดา ดวงรัตน์ (2552: 156-157) ได้ศกึ ษาเรือ่ งผลกระทบของ วั ฒ นธรรมองค์ ก ารและคุ ณ ภาพชี วิ ต ในการ ท�ำงานที่มีผลต่อความผูกพันในองค์การของ ผู้สอบบัญชีสหกรณ์ในส�ำนักงานตรวจบัญชี สหกรณ์พบว่า คุณภาพชีวติ ในการท�ำงาน ด้าน ความสมดุ ล ในชี วิ ต การงานและครอบครั ว มีความสัมพันธ์และผลกระทบเชิงบวกกับความ ผูกพันในองค์การ และสอดคล้องกับ ปวีณา กรุงพลี (2552: 88-89) ได้ศึกษาเรื่องความ สัมพันธ์ระหว่างคุณภาพชีวิตการท�ำงานกับ ความผูกพันต่อองค์การของเจ้าหน้าที่ส�ำนัก กษาปณ์ พบว่า ความสัมพันธ์ระหว่างคุณภาพ ชีวิตการท�ำงานประกอบด้วย 8 ด้าน ได้แก่
78
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
ค่ า ตอบแทนที่ เ ป็ น ธรรมและเพี ย งพอ สิ่งแวดล้อมที่ถูกลักษณะปลอดภัย การพัฒนา ความรู ้ ค วามสามารถของบุ ค ลากร ความ ก้าวหน้ามัน่ คงในงาน การบูรณาการทางสังคม สิทธิของบุคลากรธรรมนูญในองค์การ ความ สมดุลระหว่างงานกับชีวิตส่วนตัว และความ เกีย่ วข้องและเป็นประโยชน์ตอ่ สังคม กับความ ผูกพันต่อองค์การ ประกอบด้วย 3 ด้าน ได้แก่ ความเชื่อมัน่ และยอมรับเป้าหมายและค่านิยม ขององค์การ ความเต็มใจอย่างแรงกล้าที่จะใช้ ความพยายามอย่างเต็มก�ำลังความสามารถเพือ่ ประโยชน์ขององค์การ และความต้องการทีจ่ ะ คงอยูเ่ ป็นสมาชิกขององค์การ พบว่า โดยภาพ รวมมี ค วามสั ม พั น ธ์ กั น ทุ ก ด้ า น และผลการ วิ เ คราะห์ วั ฒ นธรรมโรงเรี ย นของครู แ ละ บุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนคาทอลิกสังกัด สังฆมณฑลจันทบุร ี มีความสัมพันธ์กนั ทางบวก ทีส่ ง่ ผลต่อความผูกพันต่อโรงเรียนทีอ่ ยูใ่ นระดับ สูง คือ ความรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งของหมู่คณะ และมีความสัมพันธ์ในระดับค่อนข้างสูง 6 ด้าน เรียงตามล�ำดับความสัมพันธ์จากมากไปน้อย คือ ความเอื้ออาทร ความซื่อสัตย์สุจริต ความ มุง่ ประสงค์ของโรงเรียน ความหลากหลายของ บุคลากร ความมีคณ ุ ภาพ ความไว้วางใจ กล่าว คือ เมื่อความรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งของหมู่คณะ เพิ่มมากขึ้น ความผูกพันต่อโรงเรียนของครู และบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนคาทอลิก
พูนพงษ์ คูนา, ธีรังกูร วรบ�ำรุงกุล และ วรญา ภูเสตวงษ์
สั ง กั ด สั ง ฆมณฑลจั น ทบุ รี ก็ จ ะมากขึ้ น ด้ ว ย สอดคล้องกับ บูชานัน (Buchanan. 1974: 553-546) ที่กล่าวว่า ความผูกพันต่อองค์การ เป็นทัศนคติที่ส�ำคัญส�ำหรับองค์การทุกระดับ เพราะเป็นตัวเชือ่ มระหว่างจิตนาการของมนุษย์ กับจุดมุ่งหมายขององค์การ ท�ำให้ผู้ปฏิบัติงาน เกิดความรู้สึกเป็นเจ้าขององค์การ และมีส่วน สร้างความเป็นอยู่ที่ดีขององค์การ สอดคล้อง กับเซอร์จโิ อวานนี ่ และสตรารัทท์ (Sergiovanni and Straratt. 1988: 108) ที่กล่าวว่าความ รูส้ กึ เป็นส่วนหนึง่ ของโรงเรียนว่า ในการด�ำเนิน งานผู้บริหารโรงเรียนควรด�ำเนินงานโดยยึดถือ องค์การหรือโรงเรียนเป็นหลัก โดยให้ความ ช่วยเหลือและพัฒนาบุคลากร พร้อมทัง้ กระตุน้ ให้บคุ ลากรในองค์การเห็นความส�ำคัญของการ เป็นเจ้าของร่วมกันของหน่วยงานให้มากที่สุด สอดคล้องกับ แฮนสัน (Hanson.1991: 6869) ที่กล่าวว่า วัฒนธรรมโรงเรียนเป็นเครื่อง ยึ ด เหนี่ ย วให้ บุคลากรมีความเป็นน�้ำหนึ่งใจ เดียวกันและเป็นเครื่องมือยึดโยงให้กิจการ ต่างๆ ในโรงเรียนด�ำเนินไปได้อย่างต่อเนื่อง สอดคล้องกับ จอร์จ และโจนส์ (George and Jones. 2004: 96) ที่กล่าวว่าความผูกพันต่อ องค์การ หมายถึงความรูส้ กึ ของบุคลากรทีม่ ตี อ่ องค์การโดยที่เขามีความสุขที่ได้เป็นส่วนหนึ่ง ขององค์การและความรูส้ กึ ทีด่ ตี อ่ องค์การ และ ไม่อยากที่จะละทิ้งองค์การไป สอดคล้องกับ
มนชญา ดุลยากร (2553: 112-113) ได้ศกึ ษา เรื่องการศึกษาวัฒนธรรมโรงเรียนที่มีอิทธิพล ต่ อ ความผู ก พั น ของครู ต ่ า งชาติ ใ นโรงเรี ย น นานาชาติ พบว่ า ครู ต ่ า งชาติ ที่ มี ก ารรั บ รู ้ วัฒนธรรมโรงเรียนร่วมกัน จะมีความผูกพันต่อ โรงเรี ย นเชิ ง บวกในระดั บ ปานกลาง และ สอดคล้องกับ พนิดา ค�ำกิ่ง (2558: 102) ได้ ศึ ก ษาเรื่ อ งความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งการรั บ รู ้ วัฒนธรรมองค์การกับความผูกพันต่อองค์การ ของบุคลากรโรงพยาบาลการุญเวช จังหวัด ปทุมธานีและจังหวัดพระนครศรีอยุธยา พบว่า ความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งวั ฒ นธรรมองค์ ก ารมี ความสัมพันธ์กับความผูกพันต่อองค์การ 5. ผลการวิเคราะห์คุณภาพชีวิตการ ท�ำงานและวัฒนธรรมโรงเรียนทีส่ ง่ ผลต่อความ ผูกพันต่อโรงเรียนของครูและบุคลากรทางการ ศึ ก ษาโรงเรี ย นคาทอลิ ก สั ง กั ด สั ง ฆมณฑล จั น ทบุ รี ด้ ว ยสมการพยากรณ์ พ บว่ า มี 4 ปัจจัยร่วมที่ส่งผลต่อความผูกพันของครูและ บุคลากรทางการศึกษาได้เป็นอย่างดี คือ ความ รูส้ กึ เป็นส่วนหนึง่ ของหมูค่ ณะ ความเอือ้ อาทร ความซื่อสัตย์สุจริต และความมั่นคงในการ ท�ำงานและความก้าวหน้าในอาชีพ ส�ำหรับ คุณภาพชีวิตการท�ำงาน สอดคล้องกับ นิติพล ภูตะโชติ (2559: 178) ว่าคุณภาพชีวิตการ ท�ำงานของบุคลากรจะส่งผลต่อคุณภาพชีวติ ใน การท� ำ งานของบุ ค ลากร ซึ่ ง จะส่ ง ผลดี ต ่ อ
ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2018/2561
79
คุณภาพชีวติ การทำ�งานและวัฒนธรรมโรงเรียนทีส่ ง่ ผลต่อความผูกพันต่อโรงเรียน ของครูและบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนคาทอลิกสังกัดสังฆมณฑลจันทบุรี
องค์การในด้านการบริหารจัดการ ลดความ ขั ด แย้ ง การลาออกจากงานของบุ ค ลากร การขาดแคลนบุ ค ลากร และปั ญ หาอื่ น ๆ สอดคล้องกับ ลัดดา ดวงรัตน์ (2552: 156157) ได้ศึกษาเรื่องผลกระทบของวัฒนธรรม องค์การและคุณภาพชีวิตในการท�ำงานที่มีผล ต่ อ ความผู ก พั น ในองค์ ก ารของผู ้ ส อบบั ญ ชี สหกรณ์ในส�ำนักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ พบว่า คุณภาพชีวติ ในการท�ำงาน มีความสัมพันธ์และ ผลกระทบเชิงบวกกับความผูกพันในองค์การ และสอดคล้องกับ ปรีชา วงษาบุตร (2553: 102) ได้ศกึ ษาเรือ่ งคุณภาพชีวติ การท�ำงานกับ ความผูกพันต่อองค์การของบุคลากร บริษัท คาร์เปทอินเตอร์แนชั่นแนล ไทยแลนด์ จ�ำกัด (มหาชน) พบว่า คุณภาพชีวติ ในการท�ำงานทีด่ ี เกิดทัศนคติดา้ นบวกทีจ่ ะท�ำให้บคุ ลากรยอมรับ ค่านิยมขององค์การ ส่งผลให้เกิดการทุ่มเทใน การท�ำงานให้ดี และส่งผลให้เกิดเป็นความ จงรักภักดีตอ่ องค์การและมีความต้องการด�ำรง เป็นสมาชิกขององค์การต่อไป ส� ำ หรั บ วั ฒ นธรรมโรงเรี ย นส่ ง ผลต่ อ ความผูกพันต่อโรงเรียน สอดคล้องกับ แบร์ และคณะ (Beare and et al. 1989: 97-98) ที่ ก ล่ า วว่ า วั ฒ นธรรมที่ แข็ ง แกร่ ง จะเป็ น สิ่ ง ยึ ด โยงให้ ทุ ก หน่ ว ยและบุ ค ลากรทุ ก คนใน โรงเรียนเป็นน�้ำหนึ่งใจเดียวกัน สอดคล้องกับ พิบลู ทีปะปาล (2551: 71) กล่าวว่าวัฒนธรรม
80
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
ขององค์การมีส่วนช่วยท�ำหน้าที่ส�ำคัญ คือ ช่วยสร้างความภักดีของบุคลากร สอดคล้องกับ จอมพงศ์ มงคลวนิช (2556: 239) วัฒนธรรม องค์การมีความส�ำคัญ เพราะวัฒนธรรมที่เข้ม แข็งจะมีผลต่อการควบคุมพฤติกรรมได้มาก และท�ำให้สมาชิกขององค์การมีแรงยึดเหนี่ยว กันสูง มีความจงรักภักดีและผูกพันต่อองค์การ มาก สอดคล้องกับ นิติพล ภูตะโชติ (2559: 142) ที่กล่าวว่าวัฒนธรรมท�ำให้สมาชิกเกิด ความผูกพัน ความภาคภูมิใจ ความจงรักภักดี ต่อองค์การนั้น สอดคล้องกับ ลัดดา ดวงรัตน์ (2552: 156-157) ได้ศกึ ษาเรือ่ งผลกระทบของ วั ฒ นธรรมองค์ ก ารและคุ ณ ภาพชี วิ ต ในการ ท�ำงานที่มีผลต่อความผูกพันในองค์การของ ผู้สอบบัญชีสหกรณ์ในส�ำนักงานตรวจบัญชี สหกรณ์ พบว่ า วั ฒ นธรรมองค์ ก ารมี ค วาม สัมพันธ์และผลกระทบเชิงบวกกับความผูกพัน ในองค์การ ข้อเสนอแนะ จากการศึกษาคุณภาพชีวิตการท�ำงาน และวัฒนธรรมโรงเรียนที่ส่งผลต่อความผูกพัน ของครูและบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียน คาทอลิกสังกัดสังฆมณฑลจันทบุรี ควรน�ำผล การศึกษาไปใช้และศึกษาค้นคว้าวิจัย ดังนี้
พูนพงษ์ คูนา, ธีรังกูร วรบ�ำรุงกุล และ วรญา ภูเสตวงษ์
ข้อเสนอแนะทั่วไป 1. ผู ้ บ ริ ห ารความให้ ค วามส� ำ คั ญ กั บ วัฒนธรรมโรงเรียน ด้านความรูส้ กึ เป็นส่วนหนึง่ ของหมู ่ ค ณะ ด้ ว ยการให้ ค รู แ ละบุ ค ลากร ทางการศึกษามีส่วนร่วมรับผิดชอบโครงการ งานและกิจกรรมต่างๆ ของทางโรงเรียน 2. ผู ้ บ ริ ห ารควรให้ ค วามส� ำ คั ญ กั บ วัฒนธรรมโรงเรียน ด้านความเอื้ออาทร ด้วย การดูแลเอาใจใส่ สร้างความใกล้ชดิ กับครูและ บุคลากรทางการศึกษา จัดสวัสดิการที่เหมาะ สม รวมทั้งมีการสนับสนุนความก้าวหน้าของ ครูและบุคลากรทางการศึกษา 3. ผู ้ บ ริ ห ารควรให้ ค วามส� ำ คั ญ กั บ วัฒนธรรมโรงเรียน ด้านความซื่อสัตย์สุจริต ผู ้ บ ริ ห าร ควรเห็ น คุ ณ ค่ า ของความซื่ อ สั ต ย์ มานะความพยายามของครู แ ละบุ ค ลากร ทางการศึ ก ษาที่ ป ฏิ บั ติ ง านอย่ า งสม�่ ำ เสมอ ให้ ค� ำ ชมเชยและผลตอบแทนตามหลั ก จริยธรรมและตามที่คู่มือครูโรงเรียนคาทอลิก สังกัดสังฆมณฑลจันทบุรีก�ำหนดไว้ 4. ผู ้ บ ริ ห ารควรให้ ค วามส� ำ คั ญ กั บ คุณภาพชีวติ การท�ำงาน ด้านความมัน่ คงในการ ท�ำงานและความก้าวหน้าในวิชาชีพ ด้วยการ มอบหมายงานที่ เ หมาะกั บ ความรู ้ ความ สามารถ และวุฒกิ ารศึกษาของครูและบุคลากร ทางการศึกษา และให้เงินเดือนที่แน่นอนตรง ตามก�ำหนดเวลา
ข้อเสนอแนะเพื่อการวิจัยครั้งต่อไป 1. ควรท�ำวิจัยเชิงคุณภาพคุณภาพชีวิต การท�ำงานและวัฒนธรรมโรงเรียนที่ส่งผลต่อ ความผูกพันของครูและบุคลากรทางการศึกษา ในโรงเรียนคาทอลิก โดยใช้ตัวแปร คือ ความ รูส้ กึ เป็นส่วนหนึง่ ของหมูค่ ณะ ความเอือ้ อาทร ความซื่อสัตย์สุจริต และความมั่นคงในการ ท�ำงานและความก้าวหน้าในอาชีพ 2. ควรท�ำวิจัยแบบผสม เพื่อให้ได้องค์ ความรูใ้ นการสร้างคุณภาพชีวติ การท�ำงานและ วัฒนธรรมโรงเรียน 3. ควรศึกษาปัจจัยเรื่องอื่น เช่น เพศ อายุ ประสบการณ์ในการท�ำงาน เป็นต้น ที่มี ความสั ม พั น ธ์ แ ละส่ ง ผลต่ อ ความผู ก พั น ต่ อ โรงเรียนของครูและบุคลากรทางการศึกษา บรรณานุกรม กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน กระทรวงแรงงาน. (2553). “เส้ น ทางความก้ า วหน้ า ใน อาชี พ ของข้ า ราชการ สายงานนั ก วิ ช า ก า ร พั ฒ น า ฝ ี มื อ ก ร ะ ท ร ว ง ศึ ก ษาธิ ก าร.” ในพระราชบั ญ ญั ติ โรงเรียนเอกชน พ.ศ. 2550 แก้ไขเพิ่ม เติม (ฉบับที่ 2). หน้า 7-8. กรุงเทพฯ: กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน.
ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2018/2561
81
คุณภาพชีวติ การทำ�งานและวัฒนธรรมโรงเรียนทีส่ ง่ ผลต่อความผูกพันต่อโรงเรียน ของครูและบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนคาทอลิกสังกัดสังฆมณฑลจันทบุรี
จอมพงศ์ มงคลวนิ ช . (2556). การบริ ห าร องค์การและบุคลากรทางการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. ชุติมา เผ่าพหล. (2553). คุณภาพชีวิตการ ท� ำ งานและระดั บ ความผู ก พั น ต่ อ องค์การของพนักงานธนาคารกรุงเทพ จ�ำกัด มหาชน. การศึกษาค้นคว้าอิสระ บธ.ม. (บริหารธุรกิจ). กรุงเทพฯ: บัณฑิต วิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. ณัฎฐพันธ์ เขจรนันทน์. (2551). พฤติกรรม องค์การ (Organizational Behaviors). กรุงเทพฯ :ซีเอ็ดยูเคชั่น. นิติพล ภูตะโชติ. (2559). พฤติกรรมองค์การ (Organizational Behavior). พิมพ์ ครั้ ง ที่ 3. กรุ ง เทพฯ: จุ ฬ าลงกรณ์ มหาวิทยาลัย ประเวศน์ มหารัตน์สกุล. (2558). การจัดการ ทรัพยากรมนุษย์: แนวทางใหม่ (Human Resource Management: A New Approach). กรุงเทพฯ: ปัญญาชน. ปรีชา วงษาบุตร. (2553). คุณภาพชีวิตการ ท�ำงานกับความผูกพันต่อองค์การของ พนักงาน บริษทั คาร์เปทอินเตอร์แนชัน่ แนล ไทยแลนด์ จ�ำกัด (มหาชน). การ ศึกษาค้นคว้าอิสระ บธ.ม. (บริหารธุรกิจ). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์. 82
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
ปวีณา กรุงพลี. (2552). ความสัมพันธ์ระหว่าง คุณภาพชีวิตการท�ำงานกับความผูกพัน ต่อองค์กรของเจ้าหน้าที่ส�ำนักกษาปณ์. วิ ท ยานิ พ นธ์ บธ.ม. (บริ ห ารธุ ร กิ จ ). ปทุมธานี: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย ราชภั ฎ วไลยอลงกรณ์ ใ นพระบรม ราชูปถัมภ์. พนิดา ค�ำกิ่ง. (2558). ความสัมพันธ์ระหว่าง การรั บ รู ้ วั ฒ นธรรมองค์ ก ารกั บ ความ ผู ก พั น ต่ อ องค์ ก ารของพนั ก งาน โรงพยาบาลการุณเวช จังหวัดปทุมธานี และจั ง หวั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยา. การ ศึ ก ษาค้ น คว้ า อิ ส ระ บธ.ม. (การ บริ ห ารธุ ร กิ จ ).ปทุ ม ธานี : บั ณ ฑิ ต วิ ท ยาลั ย มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฎ วไลย อลงกรณ์. พิบลู ทีปะปาล (2551). การจัดการเชิงกลยุทธิ์ (Strategic Management). กรุงเทพฯ: อมรการพิมพ์. มนชญา ดุ ล ยากร. (2553). การศึ ก ษา วัฒนธรรมโรงเรียนที่มีอิทธิผลต่อความ ผู ก พั น ของครู ต ่ า งชาติ ใ นโรงเรี ย น นานาชาติ. วิทยานิพนธ์ ศศ.ม. (ภาษา และวัฒนธรรมเพื่อการสื่อสารและการ พั ฒ นา). นครปฐม: บั ณ ฑิ ต วิ ท ยาลั ย มหาวิทยาลัยมหิดล.
พูนพงษ์ คูนา, ธีรังกูร วรบ�ำรุงกุล และ วรญา ภูเสตวงษ์
รุ่งโรจน์ อรรถานิทธิ์. (2554). การสร้างความ ผูกพันของพนักงานในองค์กร (Employee Engagement). กรุงเทพฯ: บ้านหนังสือ โกสินทร์. ลั ด ดา ดวงรั ต น์ . (2552). ผลกระทบของ วัฒนธรรมองค์กรและคุณภาพชีวิตใน การท� ำ งานที่ มี ผ ลต่ อ ความผู ก พั น ใน องค์ ก รของผู ้ ส อบบั ญ ชี ส หกรณ์ ใ น ส�ำนักงานตรวจบัญชีสหกรณ์. วิทยา นิพนธ์ บช.ม. (การบัญชี). มหาสารคาม: บั ณ ฑิ ต วิ ท ย า ลั ย ม ห า วิ ท ย า ลั ย มหาสารคาม. สภาการศึ ก ษาคาทอลิ ก แห่ ง ประเทศไทย. (2556). อัตลักษณ์การศึกษาคาทอลิก (ฉบับปรับปรุง ค.ศ. 2013). กรุงเทพฯ: ส ภ า ก า ร ศึ ก ษ า ค า ท อ ลิ ก แ ห ่ ง ประเทศไทย. _____. (2557). ก้าวไปข้างหน้าด้วยอัตลักษณ์ การศึ ก ษาคาทอลิ ก ปี ค.ศ. 2012 2015. กรุ ง เทพฯ: สภาการศึ ก ษา คาทอลิกแห่งประเทศไทย. ส� ำ นั ก งานกองทุ น สนั บ สนุ น การสร้ า งเสริ ม สุขภาพ. (2552). เมล็ดพันธุ์แห่งความ สุ ข แผนกงานสุ ข ภาวะองค์ ก รภาค เอกชน. นครปฐม: มหาวิทยาลัยมหิดล.
ส�ำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน. (2550). การเสริมสร้างคุณภาพชีวติ และ การท�ำงาน กระแสใหม่ของการบริหาร ทรัพยากรบุคคล. กรุงเทพฯ: แอร์บอร์นพ รินต์. สิทธิชัย นันทนาวิจิตร. (พฤษภาคม–มิถุนายน 2551). “การสร้างวัฒนธรรมองค์การสู่ ความเป็นเลิศ,” วารสาร Productivity World เพื่อการเพิ่มผลผลิต. 13 (74): 20. สุดารัตน์ ครุฑสึก. (2557). ปัจจัยคุณภาพชีวติ ในการท�ำงานของพนักงานความผูกพัน ต่อองค์กรและการสื่อสารในองค์กรส่ง ผลต่อการเป็นสมาชิกที่ดีต่อองค์กรของ พนักงานเอกชนในเขตกรุงเทพมหานคร. ก า ร ศึ ก ษ า ค ้ น ค ว ้ า อิ ส ร ะ บ ธ . ม . (บริ ห ารธุ ร กิ จ ). กรุ ง เทพฯ: บั ณ ฑิ ต วิทยาลัย มหาวิทยาลัยกรุงเทพ. สุพจน์ นาคสวัสดิ์. (2559). การส�ำรวจความ ผูกพันในการท�ำงานของพนักงาน (Em ployee Engagement Survey). กรุงเทพฯ: เอช อาร์ เซ็นเตอร์. Alderfer, C.P. (1972). Existence, Relat edness, and Growth; Human Needs in Organizational Settings. New York: Free Press.
ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2018/2561
83
คุณภาพชีวติ การทำ�งานและวัฒนธรรมโรงเรียนทีส่ ง่ ผลต่อความผูกพันต่อโรงเรียน ของครูและบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนคาทอลิกสังกัดสังฆมณฑลจันทบุรี
Allen, N.J. and Meyer, J.P. (1990). “The Measurement and Antecedents of Affective Continuance and Normative Commitment of the Organizations,” Journal of Occu pational Psychology. 63: 1-18. Beare, H. and et al. (1989). Creating an Excellent School: Some New Management Techniques. London: Rutledge. Buchanan, B. (December 1974). “Building Organizational Commitment: The Socialization of Managers in Work Organization,” Administrative Science Quarterly. 19 (4): 533 546.
84
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
คุณธรรมความนบนอบเชื่อฟังของพระนางมารีย์ แบบอย่างชีวิตจิตพระสงฆ์สังฆมณฑล
Our Lady’s Virtue of Obedience: Model of Diocesan Priest Spirituality.
ชาญชัย ประทุมปี * มหาบัณฑิตสาขาวิชาเทววิทยาจริยธรรม วิทยาลัยแสงธรรม
บาทหลวง ดร.ออกัสติน สุกีโย ปิโตโย * บาทหลวงในคริสต์ศาสนจักรโรมันคาทอลิก สังกัดคณะเยสุอิต * อาจารย์ประจ�ำหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทววิทยาจริยธรรม วิทยาลัยแสงธรรม บาทหลวง ผศ.สมชัย พิทยาพงศ์พร * บาทหลวงในคริสต์ศาสนจักรโรมันคาทอลิก สังกัดสังฆมณฑลจันทบุรี * ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประจ�ำสาขาวิชาเทววิทยาจริยธรรม คณะศาสนศาสตร์ วิทยาลัยแสงธรรม
ผศ.ดร.ลัดดาวรรณ์ ประสูตร์แสงจันทร์
* อาจารย์ประจ�ำหลักสูตรการศึกษาบัณฑิต สาขาวิชาคริสตศาสนศึกษา วิทยาลัยแสงธรรม
Chanchai Prathumpee * Master of Arts Program in Moral Theology, Saengtham College. Rev.Dr.Augstinus Sugiyo Pitoyo, S.J., Ph.D.
* Reverend in Roman Catholic Church, Jesuit. * Lecturer of The Master of Arts Program in Moral Theology, Saengtham College.
Rev.Asst.Somchai Phitthayaphongphond
* Reverend in Roman Catholic Church, Chanthaburi Diocese. * Assistant Professor, Theology Faculty of Religious, Saengtham College.
Asst.Prof.Laddawan Prasutsaengchan, Ph.D.
* Lecturer, Bachelor of Education Program in Christian Studies, Saengtham College.
คุณธรรมความนบนอบเชือ่ ฟังของพระนางมารียแ์ บบอย่างชีวติ จิตพระสงฆ์สงั ฆมณฑล
บทคัดย่อ
86
การวิ จั ย นี้ เ ป็ น งานวิ จั ย เอกสาร มี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ ศึ ก ษา 1) คุณธรรมความนบนอบเชื่อฟังของพระนางมารีย์จากค�ำสอนของ พระศาสนจักร และ 2) แนวทางชีวิตจิตพระสงฆ์สังฆมณฑลตามแบบ อย่างคุณธรรมความนบนอบเชื่อฟังของพระนางมารีย์ ผลการวิจัยพบว่า 1. พระนางมารีย์มีคุณธรรมความนบนอบเชื่อฟังอย่างสมบูรณ์ โดยเฉพาะเหตุการณ์ส�ำคัญจากพระคัมภีร์ที่แสดงถึงความนบนอบเชื่อ ฟังของพระนางมารีย์ ได้แก่ 1) เหตุการณ์เมื่อทูตสวรรค์มาแจ้งข่าวการ ประสูติของพระเยซูเจ้า (ลก.1:26-38) ค�ำตอบรับของพระนางมารีย์กับ ทูตสวรรค์ “ข้าพเจ้าเป็นผูร้ บั ใช้ของพระเจ้า ขอให้เป็นไปกับข้าพเจ้าตาม วาจาของท่านเถิด” เป็นค�ำตอบสุดท้ายอย่างไม่มีเงื่อนไขใดๆ พระนาง มารีย์ตอบรับด้วยใจสุภาพและความนบนอบเชื่อฟังต่อแผนการของ พระเจ้า 2) เหตุการณ์เมื่อพระนางมารีย์เสด็จเยี่ยมนางเอลีซาเบธ (ลก. 1:39-45) พระนางมารีย์ได้แสดงออกถึงความร้อนรน ความสุภาพ ที่พระนางมารีย์ออกเดินทางและอยู่เพื่อรับใช้นางเอลีซาเบธ เป็นท่าที ของการเป็นมารดาที่จะรับใช้ผู้อื่น ตระหนักถึงความต้องการและให้ ความช่ ว ยเหลื อ ผู ้ อื่ น เสมอ ดั ง ที่ พ ระนางมารี ย ์ ไ ด้ ดู แ ลพระเยซู เจ้ า พระบุตรของพระนาง พร้อมกับร่วมงานกับบรรดาอัครสาวก และ 3) เหตุการณ์ที่เชิงไม้กางเขน (ยน.19:25-27) เหตุการณ์วาระสุดท้าย ของพระเยซูเจ้าบนไม้กางเขน เป็นการตอบโจทย์ของค�ำว่า มารดา (สตรี) “Woman” Γύναι (Gunai) พระนางมารีย์จึงเป็นมารดาของพระศาสนจักรและมารดาของ บรรดาอัครสาวก รวมถึงพระสงฆ์ดว้ ยเป็นผูส้ บื ต�ำแหน่งสืบทอดพันธกิจ ของพระเยซูเจ้า ซึ่งพระนางมารีย์เป็นผู้ที่มีประสบการณ์ความรักกับ พระเจ้า ซึง่ ท�ำให้พระประสงค์ของพระเจ้าส�ำเร็จไป ด้วยน�ำ้ ใจอิสระ รูต้ วั และเต็มใจ เน้นความส�ำคัญของภารกิจที่พระเจ้ามอบหมาย พระนาง มารียจ์ งึ เป็นแบบอย่างทีด่ สี ำ� หรับพระสงฆ์ในการปฏิบตั ติ ามพระประสงค์ ของพระเจ้า
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
ชาญชัย ประทุมปี, ออกัสติน สุกีโย ปิโตโย, สมชัย พิทยาพงศ์พร และ ลัดดาวรรณ์ ประสูตร์แสงจันทร์
2. แนวทางชีวติ จิตของพระสงฆ์สงั ฆมณฑล จึงควรแสดงออกด้วย ความรักต่อความนบนอบเชื่อฟัง ร่วมพันธกิจของพระเยซูเจ้า ชีวิตสนิท สัมพันธ์กับพระเจ้า อาศัยพระนางมารีย์เป็นแบบอย่าง ตามวิถีชีวิตจิต แบบองค์รวม เพือ่ การบูรณาการด้านงานอภิบาล ร่วมงานศาสนบริการ กับพระสังฆราช คณะสงฆ์ และประชาสัตบุรษุ ด้วยความนบนอบเชือ่ ฟัง ตามแบบอย่างของพระนางมารีย์ Abstract
The purposes of this research were to find: (1) How Our Lady’s virtue of obedience is described in the Catechism of the Catholic Church. (2) Guideline for Diocesan priest spirituality : Our Lady as the model for the virtue of obedience. The results of the study were: 1. Our Lady exemplifies the virtue of obedience; this is clear from the Bible. 1) The annunciation of the Angel Gabriel. (Lk.1:26-38), Our Lady accepted “Yes, I am a servant of the Lord ; let this happen to me according to your word”. (Lk.1:38) It was an answer without conditions. Our Lady accepted with a sincere heart and obedience to God’s plan. 2) The visitation. (Lk.1:39-45), Our Lady shows herself to have an active and humble heart. She went to Elizabeth’s house to help as a servant. Our Lady undertook to help other people as she takes care of her son and accompanies the apostles. 3) Jesus and his mother at the cross on the Calvary. (Jn.19:25-27) During the last moments of Jesus on the cross. He uses the word “woman” Γύναι (Gunai) which means that Our Lady is the mother of the Church and the
ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2018/2561
87
คุณธรรมความนบนอบเชือ่ ฟังของพระนางมารียแ์ บบอย่างชีวติ จิตพระสงฆ์สงั ฆมณฑล
mother of the apostles. Priests, are the disciples who continue the mission of Jesus. So, Our Lady is the mother of priests. Our Lady is the mother of the Church and mother of the apostles, including all priests who are descendants from Jesus through the apostles. She has experiences with the love of God to accept the will of God with her free will, awareness and willingly. Emphasizing the mission from God, that is to be the model for priests in doing the will of God. 2. Her Love and obedience, serve as guidelines for diocesan priest spirituality. Their priesthood and mission should integrate the spirituality of communion from Our Lady’s virtue of obedience in order to better serve their bishops, fellow priests and the parishioners.
88
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
ชาญชัย ประทุมปี, ออกัสติน สุกีโย ปิโตโย, สมชัย พิทยาพงศ์พร และ ลัดดาวรรณ์ ประสูตร์แสงจันทร์
ความเป็นมาและความส�ำคัญ สมเด็จพระสันตะปาปาฟรังซิส ทรงเป็น ห่วงสถานการณ์ของพระสงฆ์ในปัจจุบนั ในเรือ่ ง ของความนบนอบเชื่ อ ฟั ง ซื่ อ สั ต ย์ ต ่ อ พระ สังฆราชและคณะสงฆ์ผู้ร่วมงาน ที่มีแนวโน้ม มากขึ้ น ที่ จ ะปฏิ เ สธและปฏิ รู ป เรื่ อ งความ นบนอบเชื่อฟังต่อพระสังฆราชของตน พระสงฆ์ สั ง ฆมณฑลเป็ น ศาสนบริ ก ร ของพระศาสนจักรคาทอลิก ได้รับศีลบวชเป็น พระสงฆ์ตามกระบวนการอบรมของสามเณราลัย ได้ตอบรับเสียงเรียกจากพระเจ้าพร้อมกับการ อนุมตั ิ รับรองจากผูท้ เี่ กีย่ วข้องของสามเณราลัย และพระสังฆราชแต่ละสังฆมณฑลให้ได้รบั การ บวชเป็นพระสงฆ์ เมื่อบวชเป็นพระสงฆ์แล้ว จะด�ำเนินงานภายใต้พระสังฆราชของแต่ละ สังฆมลฑล โดยมีกลุ่มคณะสงฆ์เป็นพี่น้องและ ผู้ร่วมงานในการประกาศข่าวดีของพระเจ้า การด� ำ เนิ น ชี วิ ต และการประกาศข่ า วดี ข อง พระสงฆ์จะเกิดผลนั้น ส่วนส�ำคัญที่เป็นองค์ ประกอบ คื อ มี ชี วิ ต จิ ต ที่ มี ค วามลึ ก ซึ้ ง กั บ พระเจ้ า การมี ป ระสบการณ์ ห รื อ สั ม ผั ส กั บ พระเจ้า การมีชีวิตจิตที่ดีต้องมีกระบวนการ และมี ช ่ ว งเวลาที่ ย าวนาน เพื่ อ ได้ รั บ ประสบการณ์นั้น นอกเหนือจากนั้นคือ การ ด�ำเนินชีวิตร่วมกัน การรัก เคารพนบนอบเชื่อ ฟังต่อพระสังฆราชและในระหว่างกลุ่มพี่น้อง พระสงฆ์ด้วยกัน โดยเฉพาะในเรื่องของความ
นบนอบเชื่อฟัง ถึงแม้ว่าพระสงฆ์สังฆมณฑล จะไม่ได้ปฏิญาณตนอย่างเป็นทางการ เรื่อง ความนบนอบเชื่อฟัง ความบริสุทธิ์และความ ยากจน เหมือนพระสงฆ์นักบวช แต่การเป็น ศาสนบริกรและการร่วมท�ำงานกับพระสังฆราช ของตนและคณะพระสงฆ์จะสามารถด�ำเนินไป อย่างมีประสิทธิภาพตามเป้าหมายของการ ท� ำ งานอภิ บ าล ต้ อ งอาศั ย คุ ณ ธรรมความ นบนอบเชื่อฟังเป็นส�ำคัญด้วย ในปั จ จุ บั น จะเห็ น ได้ ว ่ า ปั ญ หาหรื อ ประเด็นเกีย่ วกับคุณธรรมความนบนอบเชือ่ ฟัง ของพระสงฆ์ สั ง ฆมณฑลเริ่ ม ให้ เ ห็ น มากขึ้ น ทั้งการเคารพนบนอบเชื่อฟังต่อพระสังฆราช หรือเพื่อนพี่น้องพระสงฆ์ด้วยกันเอง ซึ่งบาง ครัง้ ได้สง่ ผลกระทบต่อการท�ำงานอภิบาล หรือ ความสัมพันธ์สว่ นตัวระหว่างกันอีกด้วย สาเหตุ ของความลดน้ อ ยลงของคุ ณ ธรรมนบนอบ เชือ่ ฟังทีส่ ำ� คัญเกิดจากตัวของพระสงฆ์เองทีย่ งั ไม่ได้พัฒนาเรื่องคุณธรรมความนบนอบเชื่อฟัง ให้โดนเด่น ซึ่งหากกล่าวถึง การมีคุณธรรม ความนบนอบเชื่อฟังที่โดดเด่นนั้น คริสตชน คาทอลิกทุกคนต่างประจักษ์ได้วา่ บุคคลทีเ่ ป็น แบบอย่างอันดียิ่งในเรื่องของการมีคุณธรรม ความนบนอบเชื่อฟังมากที่สุดก็คือ พระนาง มารีย์นั่นเอง พระนางมารีย์ จึงได้รับสมญา ว่าเป็น “มารดาของพระศาสนจักร” ซึ่งหมาย ความว่า เป็นมารดาของพระสงฆ์ด้วยนั่นเอง
ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2018/2561
89
คุณธรรมความนบนอบเชือ่ ฟังของพระนางมารียแ์ บบอย่างชีวติ จิตพระสงฆ์สงั ฆมณฑล
พระนางมารีย์เป็นหญิงชาวนาซาเร็ธ บิ ด ามารดาชื่ อ ยออากิ ม และอั น นา ได้ ห มั้ น หมายกั บ โยเซฟ พระเจ้ า ทรงเลื อ กพระนาง มารีย์ให้เป็นบุคคลส�ำคัญ และมีบทบาทใน แผนการแห่งความรอดพ้น ท�ำให้แผนการของ พระเจ้าส�ำเร็จไป เป็นผู้ที่พระเจ้าเลือกให้เป็น ผู้ร่วมงานไถ่กู้ของพระเจ้า การบังเกิดของพระ เยซูคริสตเจ้าเป็นแผนการของพระเจ้าทีจ่ ะช่วย มนุษย์ให้ได้รับความรอดพ้น พระนางมารีย์ นบนอบเชื่อฟัง ส่วนการร่วมมือกับแผนการ ช่วยมนุษย์ให้รอดพ้นก็เป็นความสัมพันธ์กับ พระเจ้าโดยยึดแผนการของพระเจ้าเป็นหลัก มากกว่ า การยึ ด ตนเอง ในการตอบรั บ นั้ น พระนางมารีย์อาศัยความนบนอบเชื่อฟังและ ความความสุภาพด้วยการทุม่ เทน้อมรับในเรือ่ ง ที่เกินกว่าจะเข้าใจและเห็นได้ อันได้แก่ การ น้อมรับภาระหน้าที่ของความเป็นมารดาของ พระคริสตเจ้า “นางจะให้กำ� เนิดบุตรชาย ท่าน จงตั้งชื่อบุตรนั้นว่า ‘เยซู’ เพราะเขาจะช่วย ประชากรของเขาให้รอดพ้นจากบาป” (มธ. 1:21) พระนาง มารีย์น้อมรับด้วยความเชื่อ และความนบนอบเชื่อฟัง ที่เต็มไปด้วยความ กล้ า หาญ ความวางใจและ ความเมตตาใน การด� ำ เนิ น ชี วิ ต ตอบรั บ แผนการแห่ ง ความ รอดพ้ น “ข้ า พเจ้ า เป็ น ผู ้ รั บ ใช้ ข องพระเจ้ า ขอให้เป็นไปกับข้าพเจ้าตามวาจาของท่านเถิด” (ลก.1:30) บทบาทและภารกิจของพระนาง
90
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
มารีย์ จึงเริ่มตั้งแต่พระนางมารีย์ร่วมแผนการ กับพระเจ้า การเป็นมารดา เรื่อยมาจนถึงการ ร่วมเดินทางกับพระบุตรในความทุกข์ดว้ ยความ รัก ความสงสาร ความเศร้าจนถึงเหตุการณ์ ที่ยอดเนินเขากัลวารีโอ การไถ่กู้ของพระเจ้า ยังด�ำเนินต่อไปในโลกนี้ ไม่ได้หยุดลงด้วยการ สิ้นพระชนม์ของพระเยซูคริสตเจ้า พระนาง มารีย์ยังท�ำงานร่วมกับพระศาสนจักรและอยู่ เคียงข้างด้วยความรัก พระนางมารีย์จึงเป็น มารดาของมนุษยชาติและได้รับการยกย่องว่า เป็น “มารดาของพระเยซูคริสตเจ้า“ พระนาง มารียจ์ งึ ได้สมญาและประกาศเป็นข้อความเชือ่ ของศาสนาคริ ส ต์ นิ ก ายโรมั น คาทอลิ ก ว่ า “พระนางมารีย ์ เป็นผูป้ ฏิสนธินริ มล” ซึง่ ตัง้ แต่ แรกนั้น พระนางมารีย์ได้ถวายข้อตั้งใจ คือ ถวายตั ว แด่ พ ระเจ้ า ด้ ว ย การด� ำ เนิ น ชี วิ ต พรหมจรรย์ และในปี ค.ศ. 431 สังคายนา เอเฟซั ส ประกาศว่ า พระนางมารี ย ์ “เป็ น มารดาพระเจ้า” (Theotokos) การเป็นมารดา ของพระนางมารียเ์ ต็มไปด้วย “ความรัก” เป็น แนวทางชี วิ ต จิ ต และแก่ น แท้ ข องคริ ส ตชน พระนางมารี ย ์ เ ป็ น รู ป แบบผู ้ น� ำ ช่ ว ยเหลื อ มนุษย์สู่ความรอดพ้นในพระเจ้าและพระนาง มารียจ์ งึ เป็นแบบอย่างของคริสตชน โดยเฉพาะ อย่างยิ่งในเรื่องคุณธรรมความนบนอบเชื่อฟัง ของพระนาง คุ ณ ธรรมต่ า งๆ ของพระนาง มารี ย ์ เ ป็ น แบบอย่ า งของพระศาสนจั ก รใน
ชาญชัย ประทุมปี, ออกัสติน สุกีโย ปิโตโย, สมชัย พิทยาพงศ์พร และ ลัดดาวรรณ์ ประสูตร์แสงจันทร์
คุ ณ งามความดี ป ราศจากมลทิ น อี ก ด้ ว ย พระนางมารีย์เป็นผู้ที่มีความเชื่อ ความไว้วาง ใจและความรัก (Lumen Gentium, 1982: 159) การมี คุ ณ ธรรมความนบนอบเชื่ อ ฟั ง การเป็นผู้น�ำ ช่วยเหลือมนุษย์สู่ความรอดพ้น ในพระเจ้าด้วยความเชื่อ ความไว้วางใจและ ความรักของพระนางมารีย์ ในการประจักษ์ มาทุกครั้งของพระนางมารีย์ พระนางเน้นย�้ำ ถึง “การกลับใจ” “ใช้โทษบาป” และ “จง ภาวนาเพือ่ คนบาปจะได้สำ� นึกผิดและกลับใจ” เน้นย�ำ้ ให้ปฏิบตั กิ จิ การความรักต่อเพือ่ นมนุษย์ เหล่านี้ล้วนท�ำให้คริสตชนมี ความรักเคารพ พระนางมากขึน้ เรือ่ ยๆ จนกลายเป็นศูนย์กลาง แนวทางแห่งชีวิตจิตด้วยการสวดภาวนาถึง พระนางมารี ย ์ บทสดุ ดี พิ ธี ก รรมวิ ง วอนถึ ง พระนางมารีย ์ สวดสายประค�ำ การสมโภชการ ฉลองและระลึกถึงพระนางมารียใ์ นโอกาสต่างๆ เพื่อเทิดเกียรติพระนางด้วยสิ่งต่างๆ เหล่านี้ เพื่อแสดงออกถึงความรักผูกพัน ความศรัทธา ภักดีของคริสตชนต่อพระนางมารีย์ พระนางมารีย ์ ได้ดำ� เนินชีวติ และปฏิบตั ิ ภารกิจงานไถ่กขู้ องพระเจ้า ด้วยความนบนอบ เชื่อฟัง ความเชื่อ ความไว้วางใจ และความรัก จนภารกิจต่างๆ ลุลว่ งเป็นไปตามแผนการของ องค์พระผู้เป็นเจ้า แม้ในบางครั้งพระนางต้อง
ประสบกั บ ความทุ ก ข์ ท รมานเพี ย งใดก็ ต าม เหล่ า นี้ ล ้ ว นเป็ น แบบอย่ า งที่ ดี ยิ่ ง ส� ำ หรั บ พระศาสนจั ก ร ศาสนบริ ก รและคริ ส ตชน โดยเฉพาะในเรื่องของความนบนอบเชื่อฟัง ที่พระสงฆ์สังฆมณฑลควรน�ำมาใช้เป็นหลัก ในการด�ำเนินชีวิตและการท�ำงานอภิบาลให้ ส า ม า ร ถ ด� ำ เ นิ น ชี วิ ต ท ่ า ม ก ล า ง โ ล ก ที่ เปลี่ยนแปลงในด้านความเชื่อและวิทยาการ ต่ า งๆ ประกอบกั บ การด� ำ เนิ น ชี วิ ต ร่ ว มกั บ พระสั ง ฆราชและพระสงฆ์ ใ นสั ง กั ด ของ สังฆมณฑลจะได้เกิดเอกภาพและความเป็น น�้ ำ หนึ่ ง ใจเดี ย วกั น ในการประกาศข่ า วดี น�ำประชากรของพระเจ้ากลับเข้ามาในพระ อาณาจักรของพระเจ้า ผู้วิจัยจึงมีความสนใจ ที่จะศึกษาเรื่องคุณธรรมความนบนอบเชื่อฟัง ของพระนางมารีย์ แบบอย่างชีวิตจิตพระสงฆ์ สังฆมณฑล วัตถุประสงค์ของการศึกษา 1. เพือ่ ศึกษาคุณธรรมความนบนอบเชือ่ ฟั ง ของพระนางมารี ย ์ จ ากค� ำ สอนของพระ ศาสนจักรคาทอลิก 2. เพื่อศึกษาแนวทางชีวิตจิตพระสงฆ์ สั ง ฆมณฑล ตามแบบอย่ า งคุ ณ ธรรมความ นบนอบ เชื่อฟังของพระนางมารีย์
ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2018/2561
91
คุณธรรมความนบนอบเชือ่ ฟังของพระนางมารียแ์ บบอย่างชีวติ จิตพระสงฆ์สงั ฆมณฑล
ขอบเขตของการศึกษา 1 ขอบเขตเนื้อหา 1.1 คุณธรรมความนบนอบเชื่อฟัง 1.1.1 คุณธรรมความนบนอบเชื่อฟัง จากพระคั มภีร ์ และเอกสารพระศาสนจัก ร คาทอลิก 1.2 คุณธรรมความนบนอบเชือ่ ฟังของ พระนางมารีย์ 1.2.1 คุณธรรมความนบนอบเชื่อฟัง ของพระนางมารีย์ตามค�ำสอนของพระศาสนจักรคาทอลิก (น.ลูกา น.ยอห์น) 1.3 คุณธรรมความนบนอบเชือ่ ฟังของ พระสงฆ์สังฆมณฑล 1.4 ชีวิตจิต 1.5 ศึกษาเอกสารและงานวิจยั ทีเ่ กีย่ วข้อง 2 ประเด็นที่ศึกษา คือ คุณธรรมความ นบนอบเชื่อฟังของพระนางมารีย์แบบอย่าง ชีวิตจิตพระสงฆ์สังฆมณฑล นิยามศัพท์เฉพาะ พระนางมารีย์ หมายถึง สตรีผู้หนึ่งที่ พระคัมภีร์กล่าวถึง เป็นผู้ที่พระเจ้าได้เลือกให้ เป็นมารดาของพระเยซูเจ้าที่ลงมาบังเกิดเป็น มนุษย์ เพือ่ ท�ำให้แผนการของพระเจ้าได้สำ� เร็จ ในการไถ่มนุษย์ให้ได้รบั ความรอด เป็นผูท้ ตี่ อบ รั บ และร่ ว มงานไถ่ กู ้ ข องพระเจ้ า ด้ ว ยความ นบนอบเชื่อฟัง น้อมรับภาระหน้าที่ของความ
92
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
เป็นมารดาของพระคริสตเจ้า จึงได้สมญาว่า “พระนางมารีย์ผู้ปฏิสนธินิรมล” ได้รับการ ยกย่องว่าเป็น “มารดาของพระเยซูคริสตเจ้า” และ “เป็นมารดาของพระศาสนจักร” คุ ณ ธรรมความนบนอบเชื่ อ ฟั ง ของ พระนางมารีย์ หมายถึง ความเคารพ เชื่อฟัง ของพระนางมารีย์ที่มีต่อพระเจ้า และน้อม ปฏิบัติภาระหน้าที่ด้วยความเต็มใจและรู้ตัว ด้วยน�้ำใจที่อิสระนับตั้งแต่ตอบรับเป็นมารดา ของพระเยซูเจ้าแก่ทูตสวรรค์ “ข้าพเจ้าเป็น ผู้รับใช้ของพระเจ้าขอให้เป็นไปกับ ข้าพเจ้า ตามวาจาของท่านเถิด” (ลก.1:30) เรื่อยมา จนถึงการร่วมเดินทางกับพระบุตรในความทุกข์ ด้วยความรัก ความสงสาร ความเศร้า จนถึง เหตุการณ์ที่ยอดเนินเขากัลวารีโอ พระนาง มารี ย ์ ท� ำ งานร่ ว มกั บ พระศาสนจั ก รและอยู ่ เคียงข้างด้วยความรัก ชี วิ ต จิ ต หมายถึ ง ชี วิ ต ที่ มี ค วามสนิ ท สัมพันธ์กับพระเจ้า อาศัยการมีประสบการณ์ และ การสัมผัสกับพระเจ้าจากการด�ำเนินชีวิต จากการภาวนา การเรียนรู้จากค�ำสอนพระ ศาสนจักร บรรดานักบุญ มรณสักขี พระสงฆ์สงั ฆมณฑล หมายถึง บาทหลวง นิ ก ายโรมั น คาทอลิ ก ที่ ไ ด้ รั บ การบวชเป็ น พระสงฆ์และเข้าสังกัดเป็นสมาชิกของคณะสงฆ์ ในพระศาสนจักรท้องถิน่ หรือสังฆมณฑล นิกาย โรมันคาทอลิก ประเทศไทย เพื่อรับใช้พระเจ้า
ชาญชัย ประทุมปี, ออกัสติน สุกีโย ปิโตโย, สมชัย พิทยาพงศ์พร และ ลัดดาวรรณ์ ประสูตร์แสงจันทร์
และพระศาสนจักรและมีความนบนอบเชื่อฟัง ต่อพระสังฆราชและเพื่อนพี่น้องสงฆ์ ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. ได้ทราบถึงคุณธรรมความนบนอบ เชื่ อ ฟั ง ของพระนางมารี ย ์ จ ากค� ำ สอนของ พระศาสนจักร 2. ได้ทราบถึง แนวทางการบูรณาการ ชีวิตจิตพระสงฆ์สังฆมณฑลตามแบบอย่างของ คุ ณ ธรรมความนบนอบเชื่ อ ฟั ง ของพระนาง มารีย์ วิธีด�ำเนินการวิจัย การวิ จั ย เรื่ อ งคุ ณ ธรรมความนบนอบ เชื่อฟังของพระนางมารีย์ แบบอย่างชีวิตจิต พระสงฆ์สังฆมณฑล เป็นงานวิจัยเชิงเอกสาร (Document Research) มีขั้นตอนการวิจัย และรายละเอียดต่างๆ ดังนี้ 1.ขั้นตอนการวิจัย ขั้นตอนการวิจัย มี 3 ขั้นตอน ดังนี้ ขัน้ ตอนที ่ 1 การจัดเตรียมโครงร่างการ วิจัย ขั้นตอนที่ 2 การด�ำเนินการวิจัย ขั้นตอนที่ 3 การรายงานผลการวิจัย ขัน้ ตอนที ่ 1 การจัดเตรียมโครงร่างการ วิจยั ขัน้ ตอนนี ้ เป็นขัน้ ตอนการเตรียมโครงร่าง การวิจัยตามระเบียบวิธีวิจัยโดยผู้วิจัย ท�ำการ ศึ ก ษา ที่ ม าและความส� ำ คั ญ ของคุ ณ ธรรม
ความนบนอบเชื่อฟัง คุณธรรมความนบนอบ เชื่อฟังของ พระนางมารีย์ ศึกษา วิเคราะห์ สังเคราะห์ หลักการ แนวคิดต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง จากต� ำ รา หนั ง สื อ เอกสารวิ ช าการ ข้ อ มู ล สารสนเทศ และงานวิจัยต่างๆ เพื่อน�ำมาเป็น กรอบความคิด จัดท�ำโครงร่างการค้นคว้าอิสระ น�ำเสนออาจารย์ที่ปรึกษา ปรับแก้ไขโครงร่าง การค้นคว้าอิสระตามค�ำแนะน�ำของอาจารย์ ทีป่ รึกษา และเสนอขออนุมตั หิ วั ข้อการค้นคว้า อิสระและด�ำเนินการต่อไปตามขัน้ ตอนก�ำหนด ขัน้ ตอนที ่ 2 การด�ำเนินการวิจยั ขัน้ ตอน นี้ เ ป็ น ขั้ น ตอนของ 1) การศึ ก ษาวิ เ คราะห์ เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 2) วิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูลที่ศึกษา และเรียบเรียงอย่าง เป็นระบบ ขั้นตอนที่ 3 การรายงานผลการวิจัย ขั้นตอนนี้ เป็นขั้นตอนการสรุปข้อค้นพบที่ได้ จากการวิจัย อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ โดยจัดท�ำเป็นรายงานการค้นคว้าอิสระฉบับ ร่ า งเสนอต่ อ อาจารย์ ที่ ป รึ ก ษา และคณะ กรรมการ ตรวจสอบการค้นคว้า ตรวจสอบ ความถูกต้อง และปรับปรุงแก้ไขตามที่คณะ กรรมการตรวจสอบการค้นคว้าอิสระ เสนอ แนะให้ เ ป็ น รายงานการค้ น คว้ า อิ ส ระฉบั บ สมบู ร ณ์ เสนอต่ อ ส� ำ นั ก งานบั ณ ฑิ ต ศึ ก ษา วิทยาลัยแสงธรรม เพื่อขออนุมัติจบการศึกษา ตามล�ำดับขั้นตอนที่ก�ำหนด
ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2018/2561
93
คุณธรรมความนบนอบเชือ่ ฟังของพระนางมารียแ์ บบอย่างชีวติ จิตพระสงฆ์สงั ฆมณฑล
สรุปผลการวิจัย 1. พระนางมารี ย ์ มี คุ ณ ธรรมความ นบนอบเชื่ อ ฟั ง อย่ า งสมบู ร ณ์ โดยเฉพาะ เหตุ ก ารณ์ ส� ำ คั ญ หลายเหตุ ก ารณ์ ที่ แ สดง ถึงความนบนอบเชื่อฟังที่มีของพระนาง เช่น 1.1 เหตุการณ์ทูตสวรรค์แจ้งข่าวการ ประสูตขิ องพระเยซูเจ้า (ลก.1:26-38) ค�ำตอบ รับของพระนางมารีย์กับทูตสวรรค์ “ข้าพเจ้า เป็นผูร้ บั ใช้ของพระเจ้า ขอให้เป็นไปกับข้าพเจ้า ตามวาจาของท่านเถิด” เป็นค�ำตอบสุดท้าย อย่างไม่มีเงื่อนไขและไม่มีค�ำถามใดอีก แม้จะ มี ค วามสงสั ย ความกั ง วลตามความคิ ด ของ มนุษย์ พระนางมารีย์เมื่อได้รับการแจ้งและ ค� ำ อธิ บ ายจากทูตสวรรค์จนเข้าใจและหมด ข้อสงสัยแล้ว พระนางก็ตอบรับด้วยใจสุภาพ และความนบนอบเชื่ อ ฟั ง ต่ อ แผนการของ พระเจ้า ฉะนัน้ จากเหตุการณ์นจี้ งึ เป็นเครือ่ งที่ บ่งบอกถึงคุณธรรมความนบนอบเชื่อฟังของ พระนางมารีย์และเป็นต้นแบบที่สมบูรณ์ 1.2 เหตุการณ์ที่พระนางมารีย์เสด็จ เยี่ ย มนางเอลี ซ าเบธ (ลก.1:39-45) เป็ น เหตุ ก ารณ์ ที่ ย กมาเพื่ อ เป็ น เครื่ อ งหมายว่ า พระนางมารีย์ได้แสดงออกถึงความร้อนรน ความสุภาพ ที่พระนางมารีย์ออกเดินทางและ อยู่เพื่อรับใช้นางเอลีซาเบธ เป็นท่าทีของการ เป็นมารดาที่จะรับใช้ผู้อื่น ตระหนักถึงความ ต้องการและให้ความช่วยเหลือผูอ้ นื่ เสมอ ดังที่
94
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
พระนางมารียไ์ ด้ดแู ลพระเยซูเจ้า พระบุตรของ พระนาง พร้อมกับร่วมงานกับบรรดาอัครสาวก พระนางมารีย์ได้มีประสบการณ์ ความรักกับ พระเจ้ า ซึ่ ง ท� ำ ให้ พ ระประสงค์ ข องพระเจ้ า ส�ำเร็จไป ด้วยน�้ำใจอิสระ รู้ตัวและเต็มใจ เน้น ความส�ำคัญของภารกิจที่พระเจ้ามอบหมาย พระนางมารี ย ์ จึ ง เป็ น แบบอย่ า งที่ ดี ส� ำ หรั บ พระสงฆ์ในการปฏิบัติตามน�้ำพระทัยพระเจ้า 1.3 เหตุ ก ารณ์ ที่ เ ชิ ง ไม้ ก างเขน พระวรสารตามค�ำบอกเล่าของนักบุญยอห์น (ยน.19:25-27) นักบุญยอห์นซึ่งเป็นศิษย์ที่ ใกล้ชิดและศิษย์ที่พระเยซูเจ้าทรงรัก แทบเชิง ไม้กางเขนได้ยืนยันว่า เหตุการณ์วาระสุดท้าย ของพระเยซูเจ้าบนไม้กางเขน เป็นการตอบ โจทย์ของค�ำว่า มารดา (สตรี) “Woman” Γύναι (Gunai) พระนางมารีย์จึงเป็นมารดาของพระ ศาสนจั ก รและมารดาของบรรดาอั ค รสาวก ซึง่ พระสงฆ์ คือ ผูส้ บื ต�ำแหน่ง สืบทอด พันธกิจ ของบรรดาอัครสาวก ฉะนั้น พระนางมารีย์ จึงเป็นมารดาส�ำหรับพระสงฆ์ผสู้ บื ทอดพันธกิจ ของพระเยซูเจ้า พระบุตรของพระนาง เรียนรู้ แบบอย่างของพระนางในการร่วมเดินทางกับ พระศาสนจักร เป็นต้น คุณธรรมความนบนอบ เชื่อฟังของพระสงฆ์ และ ความซื่อสัตย์ตาม แบบอย่างของพระนางมารีย ์ มารดาอัครสาวก ฉะนั้น จากการศึกษาค�ำสอนของพระ ศาสนจักร การเทศน์สอนของพระสันตะปาปา
ชาญชัย ประทุมปี, ออกัสติน สุกีโย ปิโตโย, สมชัย พิทยาพงศ์พร และ ลัดดาวรรณ์ ประสูตร์แสงจันทร์
และจากตัวบทพระคัมภีร์ จึงได้แหล่งที่ยืนยัน ถึงความนบนอบเชื่อฟังของพระนางมารีย์ว่า เป็นแบบอย่างส�ำหรับการด�ำเนินชีวิตจิตของ พระสงฆ์สงั ฆมณฑล ในฐานะพระนางมารียเ์ ป็น มารดาของพระศาสนจักร มารดาอัครสาวก ซึ่งหมายถึงมารดาของพระสงฆ์ 2. แนวทางชี วิ ต จิ ต ของพระสงฆ์ สังฆมณฑล จึงควรแสดงออกด้วยความรักต่อ ความนบนอบเชื่อฟัง ร่วมพันธกิจของพระเยซู เจ้ า ชี วิ ต สนิ ท สั ม พั น ธ์ กั บ พระเจ้ า อาศั ย พระนางมารีย์เป็นแบบอย่าง ตามวิถีชีวิตจิต แบบองค์ ร วม เพื่ อ การบู ร ณาการด้ า นงาน อภิบาล ร่วมงานศาสนบริกรกับพระสังฆราช คณะสงฆ์ และประชาสั ต บุ รุ ษ ด้ ว ยความ นบนอบเชื่อฟัง ตามแบบอย่างของพระนาง มารีย์ อภิปรายผล ความนบนอบเชื่อฟัง เป็นการฟัง การ เปิดหู ด้วยความตั้งใจรับพระวาจาและน�ำไป ปฏิบตั ิ คือ พระประสงค์ของพระเจ้าและความ ส�ำคัญของความนบนอบเชื่อฟังของพระนาง มารี ย ์ เพื่ อ เป็ น แบบอย่ า งส� ำ หรั บ พระสงฆ์ สังฆมณฑล ซึ่งเป็นผู้สืบพันธกิจร่วมกับพระ สังฆราชและคณะสงฆ์เพื่อสืบสาน ประกาศ ข่าวดี การเป็นพยาน การเป็นเครื่องมือ และ บันดาลความศักดิ์สิทธิ์ให้กับสัตบุรุษ พระนาง
มารียเ์ ข้าใจและเต็มใจปฏิบตั ิ ตามพระประสงค์ ของพระเจ้า เพื่อแผนการแห่งความรอดพ้นได้ ส�ำเร็จ จึงเป็นเรื่องของจิตใจหรือด้านชีวิตจิต เป็นพืน้ ฐานทีส่ ำ� คัญ พระนางมารียจ์ งึ เป็นแบบ อย่ า งต่ อ การปฏิ บั ติ ต ามพระประสงค์ ข อง พระเจ้า ส�ำหรับพระสงฆ์สังฆมณฑล จึงควร มี ชี วิ ต จิ ต และการภาวนาที่ ดี เพื่ อ สามารถ แสวงหา รู้และเข้าใจพระประสงค์ของพระเจ้า ด้วยน�้ำใจอิสระ ที่มาจากการมีประสบการณ์ ความรั ก กั บ พระเจ้ า อาศั ย ชี วิ ต จิ ต และการ ภาวนา พระนางมารีย์ให้ความส�ำคัญต่อพระ วาจาของพระเจ้ า เป็ น การรั บ ฟั ง และท� ำ ให้ สมบูรณ์ ฉะนั้น พระนางมารีย์ จึงเป็น “สตรี รับใช้พระเจ้า” ซึง่ การเป็นมารดา คือ การเป็น ผู้รับใช้ เหมือนกับพระเยซูเจ้าที่เข้าใจถึงการ เป็นพระบุตร คือ “พระบุตรแห่งการรับใช้” พระนางมารีย์จึงเป็นสตรีที่มีความนบนอบเชื่อ ฟังอย่างสมบูรณ์ (Paredes, 1995: 1-7) ความนบนอบเชื่อฟังเป็นการแสดงออก ถึง “ความรักอย่างไม่มีเงื่อนไข” ของพระสงฆ์ สังฆมณฑลเหมือนพระนางมารีย์ที่ยอมรับฟัง การแจ้งข่าวของทูตสวรรค์ กล้าทีจ่ ะรับการเป็น มารดาของพระเจ้ า ยอมรั บ ท� ำ ตามพระ ประสงค์ของพระเจ้า ความรักของผู้อภิบาล เป็นหนทางและวิธกี าร ท�ำให้พระสงฆ์กา้ วหน้า สู ่ ค วามศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ สร้ า งความเป็ น หนึ่ ง
ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2018/2561
95
คุณธรรมความนบนอบเชือ่ ฟังของพระนางมารียแ์ บบอย่างชีวติ จิตพระสงฆ์สงั ฆมณฑล
เดียวกัน “เพื่อทุกคนเป็นหนึ่งเดียวกัน” (ยน. 17:21) พระสงฆ์ จึ ง ต้ อ งมี ก ารฝึ ก คุ ณ ธรรม ความนบนอบเชื่อฟัง เพราะศีลบวชไม่ได้ท�ำให้ พระสงฆ์ เ ปลี่ ย นไปทั น ที วิ ธี ก ารที่ จ ะสร้ า ง คุณธรรมความนบนอบเชื่อฟัง สร้างความเชื่อ และสร้ า งความสั ม พั น ธ์ กั บ พระเจ้ า ความ ก้าวหน้าของพระสงฆ์ คือ ความนบนอบเชือ่ ฟัง ถ่อมตน เพื่อรับใช้ผู้อื่น ท่ามกลางประชากรของพระเจ้า (พระ ศาสนจักร) พระนางมารีย์ คือ ต้นแบบของ คริสตชนทุกคนในการอ่อนน้อม ยอมรับพระ ประสงค์ของพระเจ้า คือ องค์พระเยซู ฉันใด ฉั น นั้ น บรรดาพระสงฆ์ สั ง ฆมณฑล (พระ ศาสนจักรท้องถิน่ ) ย่อมสมควรเลียนแบบความ อ่อนน้อมเชือ่ ฟังของ พระนางมารียใ์ นชีวติ ของ ตนและโดยธรรมชาติของพระสงฆ์สังฆมณฑล ค�ำมั่นสัญญาส�ำคัญที่สุด คือ การวางมือในมือ สังฆราชและสัญญาจะนบนอบเชื่อฟัง ย่อม สะท้อนให้เห็นถึงความจ�ำเป็นทีพ่ ระสงฆ์สมควร เลียนแบบความอ่อนน้อมอย่างครบครันของ พระนางมารี ย์ต่อพระประสงค์ของพระเจ้า ดั ง นั้ น ในประเพณี ข องพระศาสนจั ก ร จึ ง ยอมรั บ ว่ า พระนางมารี ย ์ เ ป็ น มารดาของ พระสงฆ์ แบบอย่างของนักบุญในยุคสมัยของ เรา นักบุญ ยอห์น ปอล ที ่ 2 พระสันตะปาปา ให้ความส�ำคัญอย่างยิ่งต่อบทบาทและแบบ อย่ า งของพระนางมารี ย ์ ด ้ ว ยคติ พ จน์ ข อง
96
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
พระองค์ว่า TOTUS TUUS ซึ่งหมายความว่า “ทุกสิ่งเป็นของพระนาง” พระสงฆ์ สั ง ฆมณฑลจึ ง ควรมี ชี วิ ต จิ ต ในรูปแบบเดียวกับพระนางมารีย์ โดยเฉพาะ ด้ ว ยการแสดงออกด้ ว ยความรั ก ต่ อ ความ นบนอบเชื่อฟัง ร่วมพันธกิจของพระเยซูเจ้า ชีวิตสนิทสัมพันธ์กับพระเจ้า อาศัยพระนาง มารีย์เป็นแบบอย่าง ตามวิถีชีวิตจิตแบบองค์ รวมเพื่อการบูรณาการ ด้านงานอภิบาล ร่วม งานศาสนบริกรกับพระสังฆราช คณะสงฆ์ และ ประชาสัตบุรุษด้วยความนบนอบเชื่อฟัง ตาม แบบอย่างของพระนางมารีย์ “ผู้ทรงเป็นภาพ ลักษณ์ในเรื่องความเชื่อ ความไว้วางใจ และ การสนิทเป็นหนึ่งเดียวอย่างสมบูรณ์กับพระ คริสตเจ้า” (LG.63) เพื่อที่พระสงฆ์จะได้เป็น “ผูร้ บั ใช้” ทีส่ มบูรณ์ โดยอาศัยพระหรรษทาน สู ง สุ ด ที่ พ ระเจ้ า ประทาน มี วิ ถี ชี วิ ต ที่ ป ฏิ บั ติ พั น ธกิ จ ธรรมทู ต ด้ ว ยจิ ต ตารมณ์ ก ารรั บ ใช้ บริการ ท�ำงานอภิบาลและประกาศข่าวดี ด้วย ใจรักและนบนอบเชือ่ ฟัง มีความร้อนรนในการ สวดภาวนา ใกล้ชิดสนิทกับพระเจ้า เดินไปใน ทางเป็นพระประสงค์ของพระองค์ เจริญชีวิต เป็นหมู่คณะและเป็นน�้ำหนึ่งใจเดียวกัน “บุตร แห่งมนุษย์ไม่ได้มาเพือ่ ผูอ้ นื่ รับใช้ แต่มาเพือ่ รับ ใช้ ผู ้ อื่ น และมอบชี วิ ต ของตนเป็ น สิ น ไถ่ เ พื่ อ มนุ ษ ย์ ” (อฟ.5:25-29) และตามที่ ส ภา สังคายนาวาติกันครั้งที่ 2 ได้กล่าวว่า พระเยซู
ชาญชัย ประทุมปี, ออกัสติน สุกีโย ปิโตโย, สมชัย พิทยาพงศ์พร และ ลัดดาวรรณ์ ประสูตร์แสงจันทร์
เจ้าพระอาจารย์ผู้เป็นแบบอย่างแห่งความดี บริบูรณ์ ได้ตรัสกับศิษย์แต่ละคนว่าจะอยู่ใน ฐานะใด ให้เจริญชีวิตศักดิ์สิทธิ์ตามที่พระองค์ ทรงสอนและพระองค์ ไ ด้ บ รรลุ ถึ ง แล้ ว ก็ คื อ “ท่านจงเป็นคนดีบริบูรณ์ ดังที่พระบิดาเจ้า สวรรค์ ข องท่ า นทรงความดี บ ริ บู ร ณ์ เ ถิ ด ” (มธ.5:48) และบุ ญ ราศี เปาโล ที่ 6 พระ สันตะปาปา ได้กล่าวไว้ว่า “การปฏิบัติตาม น�้ำพระทัยพระเจ้า หมายถึง การไม่ยอมมอง ดู อ ดี ต แต่ ท� ำ หน้ า ที่ ต ามพระประสงค์ ข อง พระเจ้ า ที่ แ สดงออกโดยสถานการณ์ที่เรียก ร้องให้ทำ� ในปัจจุบนั ให้กระท�ำด้วยความเต็มใจ อย่างเรียบง่าย สุภาพท�ำด้วยความตั้งใจ ท�ำ อย่างรวดเร็ว อย่างดีสมบูรณ์และท�ำด้วยความ ยินดี แม้มันจะเรียกร้องให้ท�ำเกินก�ำลังหรือ เสีย่ งชีวติ ฉันจะท�ำอย่างดีในชัว่ โมงสุดท้ายของ ชีวิต” พระสงฆ์จึงต้องเป็นแบบอย่างที่ดีของ คริสตชนในเรื่องความรักความนบนอบเชื่อฟัง เฉกเช่นเดียวกับพระนางมารีย ์ กล่าวคือ ต้องมี ความรักต่อพระเจ้าอย่างเต็มเปี่ยมและเจริญ ชี วิ ต สอดคล้ อ งกั บ น�้ ำ พระทั ย ของพระเจ้ า เสมอ “ข้าพเจ้าเป็นผู้รับใช้ของพระเจ้า ขอให้ เป็นไปกับข้าพเจ้าตามวาจาของท่านเถิด” (ลก. 1:38) พระสงฆ์ตอ้ งเจริญชีวติ จิตภายในของตน และด้วยความส�ำนึกในบทบาทการอภิบาลและ การประกาศข่าวดี โดยถือเป็นพันธกิจส�ำคัญ ของชีวิตสงฆ์ ที่จะเจริญชีวิตตามข่าวดีแห่ง
ความรั ก ก่ อ น “พระจิ ต เจ้ า ซึ่ ง พระเจ้ า ได้ ประทานให้เราทรงหลั่งความรักของพระเจ้า ลงในดวงใจของเรา” (รม.5:5) แล้วจึงแบ่งปัน ประสบการณ์ ข องข่ า วดี แ ก่ ผู ้ อื่ น ใน พระ ศาสนจั ก รท้ อ งถิ่ น โดยพร้ อ มที่ จ ะท� ำ งานใน ที่ต่างๆ ซึ่งพระศาสนจักรเรียกร้องให้ไป โดย เฉพาะเมือ่ มีพระศาสนจักรอืน่ ต้องการ ผลของ พระจิตเจ้า คือ “ความรัก ความชื่นชม ความ สงบ ความอดทน ความเมตตา ความใจดี ความซื่ อ สั ต ย์ ความอ่ อ นโยน และการรู ้ จัก ควบคุมตัวเอง” (กท.5:22) การพัฒนาวีถีชีวิต จิตของพระสงฆ์ จึงเป็นการพัฒนาชีวิตทั้งครบ ภายนอกและภายในทั้ ง จิ ต ส� ำ นึ ก สามารถ ตัดสินใจกระท�ำสิง่ ต่างๆ ตามการดลใจของพระ จิตเจ้าหรือตามแสงสว่างและคุณค่าของพระ วรสารตามแบบพระคริสตเจ้า พระสงฆ์ต้อง ท�ำงานอภิบาลด้วยจิตวิญญาณแบบธรรมทูต พระสงฆ์ควรยึดถือพระแม่มารีย์ผู้เปี่ยมด้วย ความรักแท้ เป็นผู้รับใช้พระเจ้า ยินดีท�ำตาม พระประสงค์ของพระเจ้าเสมอ เจริญชีวิตตาม พระวาจา พระนางมารียอ์ ยูก่ บั บรรดาศิษย์ของ พระเยซูเจ้าเมื่อพระจิตเจ้าเสด็จลงมาเพื่อให้ พลังและน�ำบรรดาศิษย์ในการสืบสานงานของ พระคริ ส ต์ ใ นโลก “เรามาเพื่ อ จุ ด ไฟในโลก เราปรารถนาอย่างยิ่งที่จะให้โลกนี้ลุกเป็นไฟ” (ลก.12:49)
ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2018/2561
97
คุณธรรมความนบนอบเชือ่ ฟังของพระนางมารียแ์ บบอย่างชีวติ จิตพระสงฆ์สงั ฆมณฑล
ข้อเสนอแนะ ข้อเสนอแนะในการน�ำผลการวิจัยไปใช้ 1. สังฆมณฑลควรมีการส่งเสริมพัฒนา ให้พระสงฆ์มีคุณธรรมความนบนอบเชื่อฟัง มีมโนธรรม มีชีวิตจิตที่ลึกซึ้งมากยิ่งขึ้น โดย อาศัยวิธกี ารหรือกิจกรรมต่างๆ ทีอ่ าจมีรปู แบบ ที่แตกต่างไปจากเดิมตามความเหมาะสม เช่น การเข้าเงียบแบบพิเศษ การใช้ชวี ติ หมูค่ ณะกับ พระสงฆ์ต่างสังฆมณฑลหรือต่างชาติ 2. พระสงฆ์ควรตระหนักและให้ความ ส�ำคัญกับคุณธรรมความนบนอบเชือ่ ฟังและน�ำ มาใช้เป็นหลักในการด�ำเนินชีวิตสงฆ์ของตน การเสริมสร้างชีวิตจิตของตน การด�ำเนินชีวิต เป็นหมู่คณะและการท�ำงานอภิบาล 3. พระสงฆ์ควรดูแลอภิบาลให้คริสตชน ได้ มีก ารพั ฒ นาในเรื่องการมีคุณ ธรรมความ นบนอบเชือ่ ฟังมากยิง่ ขึน้ โดยให้ความนบนอบ เชือ่ ฟังซึง่ กันและกันของคูแ่ ต่งงาน การนบนอบ เชื่อฟังต่อผู้สูงวัยกว่า เพื่อช่วยป้องกันหรือลด ปัญหาของครอบครัวและสังคมที่ก�ำลังเผชิญ อยู่ในปัจจุบัน ที่ดูเหมือนจะมีความรัก ความ เคารพ นบนอบเชื่อฟังซึ่งกันและกันน้อยลง ทุกที ข้อเสนอแนะในการศึกษาวิจยั ครัง้ ต่อไป 1. ควรมีการศึกษาคุณธรรมด้านอืน่ ของ พระนางมารีย์ที่มีหลายคุณธรรม เช่น ความ เชื่อ ความสุภาพถ่อมตน ความบริสุทธิ์ ความ อดทน การอุทิศตน ฯลฯ ที่จะสามารถน�ำมา 98
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
เป็นประโยชน์ตอ่ การเสริมสร้างคุณธรรมให้แก่ พระสงฆ์ นั ก บวช และคริ ส ตชน รวมไปถึ ง การน�ำไปใช้ในงานอภิบาลให้เกิดประโยชน์ สูงสุด 2. ควรมี ก ารศึ ก ษารู ป แบบการจั ด กิ จ กรรมการอบรมเพื่ อ เสริ ม สร้ า งคุ ณ ธรรม ความนบนอบเชื่อฟังตามแบบฉบับพระนาง มารียใ์ ห้แก่เด็ก เยาวชน สามเณร และผูฝ้ กึ หัด เพราะเป็นกลุ่มเป้าหมายส�ำคัญและเป็นกลุ่ม เป้าหมายแรกที่ควรเสริมสร้าง บรรณานุกรม เกรียงศักดิ์ โกวิทวาณิช, มุขนายก และคณะ. (2550). พระนางมารียห์ นทางสูพ่ ระเยซู คริ ส ตเจ้ า . นครปฐม: วิ ท ยาลั ย แสง ธรรม. คณะกรรมการคาทอลิ ก เพื่ อ คริ ส ตศาสนธรรมแผนกพระคั ม ภี ร ์ . (2557). พระคัมภีรท์ อลิก ฉบับสมบูรณ์. มปท. คณะกรรมการคาทอลิ ก เพื่ อ พระคั ม ภี ร ์ . (2549). พระคัมภีรภ์ าคพันธสัญญาใหม่. พิมพ์ครั้งที่ 2, มปท. คณะกรรมการที่ ป รึ ก ษาด้ า นกฎหมายพระ ศาสนจักร. (2543). ประมวลกฎหมาย พระศาสนจักร บรรพที่ 2: ประชากร ของพระเจ้ า . กรุ ง เทพฯ: โรงพิ ม พ์ อัสสัมชัญ.
ชาญชัย ประทุมปี, ออกัสติน สุกีโย ปิโตโย, สมชัย พิทยาพงศ์พร และ ลัดดาวรรณ์ ประสูตร์แสงจันทร์
เปาโล ที่ 6, พระสันตะปาปา. (2526). พระ สมณสาส์นว่าด้วยการนับถือพระนาง มารี ย ์ (Marialis Cultus). แปลโดย ปอล ซาเวียร์. พิมพ์ครัง้ ที ่ 2. กรุงเทพฯ: แม่พระยุคใหม่. แผนกคริ ส ตศาสนธรรม อั ค รสั ง ฆมณฑล กรุ ง เทพ. (2006). ค� ำ สอนพระ ศาสนจั ก รคาทอลิ ก ภาค 1 การ ประกาศยืนยันความเชือ่ . พิมพ์ครัง้ ที ่ 4. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์อัสสัมชัญ. แผนกคริ ส ตศาสนธรรม อั ค รสั ง ฆมณฑล กรุ ง เทพ. (2007). ค� ำ สอนพระ ศาสนจักรคาทอลิก ภาค 2 การเฉลิม ฉลองธรรมล�้ ำ ลึ ก ของพระคริ ส ตเจ้ า . พิ ม พ์ ค รั้ ง ที่ 4. กรุ ง เทพฯ: โรงพิ ม พ์ อัสสัมชัญ. ฟรังซิส, พระสันตะปาปา. (2015). พระสมณ สาส์นขอเสริญเสริญองค์พระผู้เป็นเจ้า (Laudato Si’). แปลโดย เซอร์ ม ารี หลุ ย ส์ พรกฤกษ์ ง าม. กรุ ง เทพฯ: โรงพิมพ์อัสสัมชัญ. ยอห์น ปอลที่ 2, พระสันตะปาปา. (2006). ค�ำสอนพระศาสนจักรคาทอลิก. แปล โดย ประคิ ณ ชุ ม สาย ณ อยุ ธ ยา. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์อัสสัมชัญ.
___. (1996). พระสมณกฤษฎีกาว่าด้วยการ ปฏิบัติงานและชีวิตพระสงฆ์ (Presby terorum Ordinis). เอกสารแห่งสภา สั ง คายนาวาติ กั น ครั้ ง ที่ 2. แปลโดย บาทหลวงนรินทร์ ศิริวิริยานันท์. ___. (1965). พระสมณกฤษฎีกาว่าด้วยการ เผยแผ่ ธ รรมของฆราวาส (Apostoli cam Actuositatem). เอกสารแห่งสภา สังคายนาวาติกันครั้งที่ 2. ___. (2540). พระสมณสาส์นพระผู้ไถ่มนุษย์ (Redemptor Hominis). พิ ม พ์ โ ดย ศูนย์คำ� สอนกรุงเทพมหานคร. พิมพ์ครัง้ ที่ 2. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์อัสสัมชัญ. ___. (2550). พระสมณสาส์นพระวรสารแห่ง ชีวติ (Evangelium Vitae). กรุงเทพฯ: ศูนย์วรรณกรรมซาเลเซียน. ___. (2531). พระสมณสาส์นมารดาพระผู้ไถ่ (Redemtoris Mater). แปลโดย ประคิณ ชุมสาย ณ อยุธยา. พิมพ์ครัง้ ที่ 2. กรุ ง เทพฯ: การพิ ม พ์ ค าทอลิ ก ประเทศไทย ศู น ย์ ฝ ึ ก อบรมงานอภิ บ าล “บ้ า นผู ้ ห ว่ า น”. (1996). พระนางมารี อ า. นครปฐม: บ้านผู้หว่าน.
ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2018/2561
99
คุณธรรมความนบนอบเชือ่ ฟังของพระนางมารียแ์ บบอย่างชีวติ จิตพระสงฆ์สงั ฆมณฑล
สภาสั ง คายนาวาติ กั น ครั้ ง ที่ 2. (2502). ธรรมนูญด้านพระธรรมกล่าวถึงพระ ศาสนจั ก ร (Lumen Gentium). นครปฐม: บ้านผู้หว่าน. สมชั ย พิ ท ยาพงศ์ พ ร, บาทหลวง. (2551). พั ฒ น า ก า ร วิ ถี ชี วิ ต จิ ต ค ริ ส ต ช น . นครปฐม: ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนางาน วิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม. ___. (2550). วิถีชีวิตจิตพระสงฆ์สังฆมณฑล. นครปฐม: วิทยาลัยแสงธรรม. หน่วยงานสามเณราลัย สภาพระสังฆราชแห่ง ประเทศไทย. (1990). คู่มืออภิบาลส�ำหรับ พระสงฆ์สังฆมณฑลในพระศาสนจักร ที่ขึ้นต่อกระทรวงเผยแพร่พระวรสาร สู่ปวงชน. พิมพ์ครั้งที่ 2. มปท. Aschenbrenner, George A. S.J. (2002). The Challenge of Diocesan Priestly Spirituality. Chicago: Loyola Press Chicago. Beasley-Murray, George R. (1987). World Biblical Commentary. Waco, TX: Word Books.
100 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
Ellis, Peter F. (1984). The Genius of John: A Composition – Critical Commentary on The Forth Gospel. Collegeville, MN: The Liturgical Press. Nolland, John. (1989). World Biblical Commentary. Waco, TX: Word Books. Paredes, Jose Cristo Rey Garcia. (1995). Obedience for the Kingdom. Second Printing. Quezon City: ICLA Publi cations and Claretain Publica tions. Tanzella-Nitti, Giuseppe. On the Dia conal and Priestly Promise of Obedience to the Bishop. (Online). Available from http:// www.pnac.org/assets/content/ diaconate_ordination/2015 TanzellaNittiObediencePNAC. pdf. Accessed March 25, 2015.
จริยธรรมที่ส่งเสริมชีวิตตามหลักศีลธรรมคาทอลิก ในโรงพยาบาลเซนต์หลุยส์
Ethic of Life According to Catholic Morality in Saint Loius Hospital.
วรัญญู นางาม * มหาบัณฑิตสาขาวิชาเทววิทยาจริยธรรม วิทยาลัยแสงธรรม
บาทหลวง ดร.สุรชัย ชุ่มศรีพันธุ์ * บาทหลวงในคริสต์ศาสนจักรโรมันคาทอลิก สังกัดอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ * อาจารย์ด้านประวัติศาสตร์คริสตจักรโรมันคาทอลิก วิทยาลัยแสงธรรม บาทหลวง ผศ.ดร.อภิสิทธิ์ กฤษเจริญ * บาทหลวงในคริสต์ศาสนจักรโรมันคาทอลิก สังกัดสังฆมณฑลราชบุรี * รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
ผศ.ดร.ลัดดาวรรณ์ ประสูตร์แสงจันทร์
* อาจารย์ประจ�ำหลักสูตรการศึกษาบัณฑิต สาขาวิชาคริสตศาสนศึกษา วิทยาลัยแสงธรรม
Warunyu Nangam * Master of Arts Program in Moral Theology, Saengtham College. Rev.Surachai Chumsriphun, Ph.D.
* Reverend in Roman Catholic Church, Archdiocese of Bangkok. * Professor of History, Roman Catholic Church, Saengtham College.
Rev.Asst.Apisit Kritcharoen, Ph.D.
* Reverend in Roman Catholic Church, Ratchaburi Diocese.
* Vice President for Academic Affairs of Saengtham College.
Asst.Prof.Laddawan Prasutsaengchan, Ph.D.
* Lecturer, Bachelor of Education Program in Christian Studies, Saengtham College.
จริยธรรมทีส่ ง่ เสริมชีวติ ตามหลักศีลธรรมคาทอลิกในโรงพยาบาลเซนต์หลุยส์
บทคัดย่อ
การวิจัยเรื่อง จริยธรรมที่ส่งเสริมชีวิตตามหลักศีลธรรมคาทอลิก ในโรงพยาบาลเซนต์หลุยส์มวี ตั ถุประสงค์ 1) เพือ่ ศึกษาจริยธรรมในการ ปฏิบตั งิ านของบุคลากรทางการเเพทย์ โรงพยาบาลเซนต์หลุยส์ 2) เพือ่ ศึกษาจริยธรรมที่ส่งเสริมชีวิตตามหลักศีลธรรมคาทอลิกในโรงพยาบาล เซนต์หลุยส์ เป็นการวิจัยแบบผสม โดยใช้กลุ่มตัวอย่าง คือ บุคลากร ทางการแพทย์ โรงพยาบาลเซนต์หลุยส์ จ�ำนวน 205 คน และผู้ทรง คุณวุฒิ 6 คน ท�ำการวิเคราะห์ผลการวิจัย โดยใช้สถิติเชิงพรรณนา สถิติที่ใช้ คือ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ (Percentage) ค่ามัชฌิมเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัย 1. จริ ย ธรรมในการปฏิ บั ติ ง านของบุ ค ลากรทางการแพทย์ โรงพยาบาลเซนต์หลุยส์ บุคลากรทางการแพทย์โรงพยาบาลเซนต์หลุยส์ มีการปฏิบตั งิ าน ที่สะท้อนถึงความมีศีลธรรมคาทอลิก อยู่ระดับมากที่สุด ( X = 4.52, S.D. = 0.44) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่าการได้ปฏิบัติหน้าที่ได้ อย่างถูกต้อง มีความซือ่ สัตย์ มีจริยธรรมและจรรยาบรรณต่อผูร้ บั บริการ มีคา่ มัชฌิมเลขคณิตสูงทีส่ ดุ ( X = 4.62, S.D. = 0.53 อยูใ่ นระดับมาก ทีส่ ดุ ) รองลงมา คือ การเคารพและยอมรับสิทธิของผูป้ ว่ ยทีจ่ ะตัดสินใจ เลือกวิธีการรักษาที่ไม่ขัดต่อหลักศีลธรรม รวมไปถึงการตัดสินใจของ ญาติในกรณีทผี่ ปู้ ว่ ยสูญเสียการตัดสินใจเลือก ( X = 4.60, S.D. = 0.53 อยู่ในระดับมากที่สุด) บุคลากรทางการแพทย์ของโรงพยาบาลเซนต์หลุยส์ มีความคิด เห็นที่สอดคล้องกันในเรื่องของคุณค่าและศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ที่ ทุกคนมีและไม่อาจละเมิดได้ และการตายอย่างสมศักดิ์ศรีของผู้ป่วยก็ คือความตายที่มาถึงโดยธรรมชาติ แต่กลุ่มผู้ให้ข้อมูลมีความคิดเห็นที่ แตกต่างกันในเรือ่ งของการท�ำการุณยฆาต ทัง้ กลุม่ ทีเ่ ห็นด้วยและไม่เห็น ด้วยในจ�ำนวนที่ใกล้เคียงกันในแต่ละกลุ่ม รวมถึงการทราบเกี่ยวกับ ค�ำสอนของพระศาสนจักรคาทอลิกในเรื่องของการุณยฆาตด้วย
102 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
วรัญญู นางาม, สุรชัย ชุ่มศรีพันธุ์, อภิสิทธิ์ กฤษเจริญ และ ลัดดาวรรณ์ ประสูติแสงจันทร์
2. จริ ย ธรรมที่ ส ่ ง เสริ ม ชี วิ ต ตามหลั ก ศี ล ธรรมคาทอลิ ก ใน โรงพยาบาลเซนต์หลุยส์ จริยธรรมทีส่ ง่ เสริมชีวติ ตามหลักศีลธรรมคาทอลิกในโรงพยาบาล เซนต์หลุยส์ ประกอบด้วยจริยธรรมทัง้ ต่อ 1) ตนเอง และ 2) ผูป้ ว่ ยและ ญาติ ด้วยความเคารพในคุณค่าและศักดิศ์ รีความเป็นมนุษย์ ให้สามารถ บรรลุถงึ ชีวติ ทีส่ มบูรณ์ (ชีวติ นิรนั ดร) ในพระเจ้า โดยอาศัยความรูส้ ำ� นึก เสรีภาพ และความสัมพันธ์กับผู้อื่น ค�ำส�ำคัญ: Abstract
คุณค่าศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ การุณยฆาต โรงพยาบาลเซนต์หลุยส์
There were two objectives of the research titled Ethic of Life according to Catholic Morality in Saint Louis Hospital: 1) To study the moral value of healthcare service personnel in Saint Louis Hospital. 2) To study the life ethic of Catholic morality in Saint Louis Hospital by using mixed methodology. Methodology: 205 samples of healthcare service personnel collected and 6 advisory committees in Saint Louis Hospital were provided, whose data were analyzed and described in the few ways, including frequency, percentage, athematic mean, standard deviation and data analysis. The findings were as follows: 1. The moral value of healthcare service personnel in Saint Louis Hospital.
ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2018/2561 103
จริยธรรมทีส่ ง่ เสริมชีวติ ตามหลักศีลธรรมคาทอลิกในโรงพยาบาลเซนต์หลุยส์
Healthcare service personnel has practices that reflect to morality of the Catholic. ( X = 4.52, S.D.= 0.44) By considering each point, the study shows that healthcare service personnel was precise in practice, honest to patience and has the highest arithmetic mean. ( X = 4.62, S.D.= 0.53) A little lower mean in shown by the respect and the accept once of the rights of patience when they need to decide their treatment methods without violation the rules of ethics, which includes the opinions from patient’s relatives, in case the patienct loses their conscious. ( X = 4.60, S.D.= 0.53) Healthcare service personnel have a consistent opinion in value and human dignity of life without infringement. Moreover, a natural death is the most honorable was that they desire. However, some of them disagree on euthanasia which has a nearest gap between people who agree and who disagree, though they acknowledging the magisterium of the Church. 2. The life ethic according to Catholic morality in Saint Louis Hospital. There was life ethic: 1) to oneself and 2) o the patient and relatives by respecting the value and human dignity to achieve the eternal life in God, with the consciousness of freedom and relationship with others. Key Word: 104 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
Human dignity Euthanasia Saint Louis Hospital
วรัญญู นางาม, สุรชัย ชุ่มศรีพันธุ์, อภิสิทธิ์ กฤษเจริญ และ ลัดดาวรรณ์ ประสูติแสงจันทร์
ที่มาและความส�ำคัญ “พระเจ้ า ทรงสร้ า งมนุ ษ ย์ ต ามภาพ ลักษณ์ของพระองค์” (ปฐก.1:27) ดังนัน้ มนุษย์ แต่ละคนจึงมีศักดิ์ศรีในฐานะเป็น “บุคคล” มนุษย์ไม่ได้เป็นเพียงสิ่งของ แต่เป็นบุคคล ที่ ศั ก ดิ์ สิ ท ธ์ เพราะก� ำ เนิ ด มาจากพระเจ้ า ผูศ้ กั ดิส์ ทิ ธิ ์ พระเจ้าประทานอิสรภาพให้มนุษย์ สามารถรู้จักและควบคุมตนเอง (ค�ำสอนพระ ศาสนจักรคาทอลิก ข้อ 357) อย่างไรก็ตาม ในสังคมโลกปัจจุบัน กลับให้ความส�ำคัญและ คุณค่าเเก่วัฒนธรรมวัตถุนิยมและบริโภคนิยม มากขึ้น ท�ำให้ชีวิตมนุษย์ไม่ใช่ในมุมมองการ เป็นของขวัญจากพระเจ้า เเต่เป็นเพียงการมอง ในเเง่สิ่งของเท่านั้น (บรรจง สันติสุขนิรันดร์, 2550) ชีวติ มนุษย์กลับถูกละเมิดสิทธิมากยิง่ ขึน้ โดยไม่เห็นคุณค่าและศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ จนกลายเป็นกระเเสของสังคม ท�ำให้ชีวิตของ เด็กที่ก�ำลังจะเกิดมาถูกละเมิดและยุติลงด้วย การุณยฆาต ท�ำหมัน ท�ำเเท้ง เพียงเพราะเรา ตัดสินชีวิตหนึ่งเป็นเพียงวัตถุนิยมที่มีคุณค่า หรือไม่มคี ณ ุ ค่าเท่านัน้ ซึง่ ในสภาพระสังคายนา วาติกันที่ 2 ได้กล่าวประมามอย่างรุนเเรงต่อ อาชญากรรมต่างๆ และการท�ำลายล้างชีวิต มนุษย์ไว้ในตอนหนึ่งว่า “สิ่งใดก็ตามที่ท�ำลาย ชีวิต เช่น การฆ่าคนทุกชนิด การท�ำลายเผ่า พันธุ ์ การท�ำเเท้ง การท�ำการุณยฆาต การจงใจ ท�ำร้ายตนเอง การพยายามบังคับใจผู้อื่น หรือ
สิ่งใดก็ตามที่สบประมาทศักดิ์ศรีของมนุษย์” (Evangelium Vitae, 3) ซึง่ การกระท�ำทัง้ หมด นี้เป็นสิ่งที่พระศาสนจักรคาทอลิกไม่สามารถ ยอมรับได้ และถือเป็นการหมิ่นประมาทพระ เกียรติศักดิ์ของพระเจ้า องค์พระผู้สร้างอย่าง ร้ายเเรง ส� ำ หรั บ ปั ญ หาหนึ่ ง ที่ พ ระศาสนจั ก ร คาทอลิกได้เน้นย�้ำถึงความถูกต้องเสมอคือ การุณยฆาต กล่าวคือ การควบคุมความตายหรือ น�ำความตายอย่างสงบมาให้ชีวิตของตนหรือ ชีวติ ของผูอ้ นื่ ก่อนเวลาอันควร ซึง่ เมือ่ พิจารณา ดูเเล้วก็จะพบว่าเป็นการกระท�ำทีไ่ ร้เหตุผลและ ไร้มนุษยธรรม พระศาสนจักรไม่เห็นด้วยอย่าง ยิง่ กับการกระท�ำนี ้ ซึง่ พระศาสนจักรส่งเสริมให้ เขาต่อสูจ้ นถึงวาระสุดท้ายในชีวติ เพือ่ เขาจะได้ เป็นผู้มีความเชื่อ ร่วมส่วนในพระมหาทรมาน ของพระคริ ส ตเจ้ า โดยรู ้ ตั ว เต็ ม ที่ ไ ด้ อ ย่ า งดี (Evangelium Vitae, 65) และในทางศีลธรรม เราต้องดูแลรักษาตนเองและยอมให้ตัวเองได้ รับการดูแลจนถึงทีส่ ดุ ด้วยเช่นกัน การุณยฆาต เป็ น บาดเเผลที่ ส ่ ง ผลกระทบต่ อ สั ง คมและ วัฒนธรรมของมนุษย์ ซึ่งแพทย์และพยาบาล ที่ท�ำก็มีส่วนรับผิดชอบด้วยเช่นกัน เพราะน�ำ ทักษะที่ต้องใช้เพื่อส่งเสริมชีวิตมาใช้ก่อให้เกิด ความตาย (Evangelium Vitae, 59) โดยซึ่ง ตามค�ำสอนพระศาสนจักรมองว่า ชีวติ หนึง่ ชีวติ เกิดขึน้ มาเมือ่ “ตัง้ เเต่ไข่ได้รบั การปฏิสนธิ ชีวติ
ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2018/2561 105
จริยธรรมทีส่ ง่ เสริมชีวติ ตามหลักศีลธรรมคาทอลิกในโรงพยาบาลเซนต์หลุยส์
ก็เริ่มขึ้นเเล้ว เป็นชีวิตของมนุษย์ใหม่อีกคน หนึ่ ง ที่ มี ก ารเจริ ญ เติ บ โตเป็ น ของตนเอง” (Evangelium Vitae, 60) พระศาสนจักรคาทอลิกเเห่งประเทศไทย มีโรงพยาบาลคาทอลิกหลายเเห่งในประเทศ และหนึ่งในนั้นคือ โรงพยาบาลเซนต์หลุยส์ จัดตัง้ ขึน้ มาเพือ่ ช่วยเหลือ แนะน�ำ ปกป้องและ ส่งเสริม (Pro-life) คุณค่าและศักดิ์ศรีความ เป็นมนุษย์ในสังคมไทย ซึ่งเป็นอีกสนามงาน หนึ่งในการประกาศข่าวดีของพระเจ้า ช่วย เหลือและฟื้นฟูคุณค่าศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ ผ่านทางหลักค�ำสอนศีลธรรมคาทอลิก ดังนั้น หากพิจารณาตามวัตถุประสงค์ในการสร้าง โรงพยาบาลทั้งเเพทย์ พยาบาลและบุคลากร ทางการเเพทย์ทกุ คนในโรงพยาบาลเซนต์หลุยส์ มีกระเเสเรียกพิเศษในการช่วยเหลือ ปกป้อง และส่ง เสริ มคุณ ค่าศัก ดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ ให้กบั ผูม้ าใช้บริการทุกคน อีกทัง้ ถ่ายทอดหลัก ศีลธรรมคาทอลิกอย่างเป็นรูปธรรมผ่านการ ท�ำงานด้วย เเต่หากมองจากสถานการณ์ปัจจุบัน ปัญหาการุณยฆาตเป็นปัญหาทีซ่ บั ซ้อนทีก่ อ่ ให้ เกิดความเข้าใจผิดพลาดต่างๆ อีกทั้งความ ก้าวหน้าด้านเทคโนโลยีด้านการรักษาก็ท�ำให้ มนุ ษ ย์ ส ามารถบิ ด เบื อ นธรรมชาติ ข องชี วิ ต จึงท�ำให้เกิดความไม่เเน่ใจในเรื่องรากฐานเเท้ จริงของความรู้และคุณธรรมของมนุษย์ ท�ำให้
106 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
หลักศีลธรรมไม่ชัดเจน และไม่สามารถเข้าใจ ถึงความหมายที่เเท้จริงของความเป็นมนุษย์ ซึ่งท�ำให้เเต่ละคนประสบกับปัญหาชีวิตตาม ล�ำพัง โดยมีสภาพของความยากจนข้นเเค้น ความวิตกกังวลหรือความท้อเเท้ผดิ หวัง ปัญหา ศี ล ธรรมในสั ง คมเหล่ า นี้ ไ ด้ ท� ำ ให้ ค วามรั บ ผิดชอบในตัวมนุษย์ลดลง และท�ำให้มวี ฒ ั นธรรม หนึ่งเกิดขึ้นมาซึ่งไม่ยอมรับความสมานฉันท์ ของมนุษย์ นัน่ คือ “วัฒนธรรมเเห่งความตาย” (Evangelium Vitae, 12 ) ดังนั้น เเพทย์ พยาบาลและบุ ค ลากรทางการเเพทย์ ต้ อ ง เผชิญกับการท้าทายถึงปัญหาศีลธรรมต่างๆ ในยุคปัจจุบนั ต้องตัดสินใจระหว่างสิง่ ทีถ่ กู ต้อง กับสิง่ ทีถ่ กู ใจ สิง่ ทีถ่ กู กับสิง่ ทีผ่ ดิ โดยมีเรือ่ งเงิน ทอง อ�ำนาจ เกียรติยศ เข้ามาท�ำให้ศีลธรรม ต้องถูกบิดเบือนไป หากเเพทย์ พยาบาลและ บุ ค ลากรทางการเเพทย์ ข องโรงพยาบาล เซนต์ ห ลุ ย ส์ ไ ม่ มี ห ลั ก ศี ล ธรรมคาทอลิ ก ใน การท�ำงานช่วยเหลือคนอื่นเเล้ว วัตถุประสงค์ ของการจัดตัง้ โรงพยาบาลนีก้ ค็ งเปล่าประโยชน์ ดังนั้น หากมีการศึกษาเรื่องจริยธรรม ที่ส่งเสริมชีวิตตามหลักศีลธรรมคาทอลิกใน โรงพยาบาลเซนต์หลุยส์จะช่วยท�ำให้เเพทย์ พยาบาลและบุคลากรทางการเเพทย์ ตระหนัก ถึงคุณค่าและศักดิศ์ รีความเป็นมนุษย์มากยิง่ ขึน้ ท�ำให้รักษาผู้รับบริการด้วยจรรยาบรรณของ ตนให้การรักษาที่ถูกต้อง ไม่ตามกระเเสของ
วรัญญู นางาม, สุรชัย ชุ่มศรีพันธุ์, อภิสิทธิ์ กฤษเจริญ และ ลัดดาวรรณ์ ประสูติแสงจันทร์
สังคมโลก และไม่ผิดหลักศีลธรรมคาทอลิก ไม่ฉกฉวยโอกาสสร้างผลประโยชน์ให้กบั ตนเอง รวมถึงการช่วยท�ำให้ทุกคนที่มารับบริการเห็น คุณค่าของชีวติ มากขึน้ รูจ้ กั เตรียมพร้อมในการ ใช้ชีวิตและสร้างรากฐานวัฒนธรรมเเห่งชีวิต ขึ้นมาจากความรักของพระเจ้า ผู้วิจัยจึงมีความสนใจที่จะศึกษาเรื่อง จริ ย ธรรมที่ ส ่ ง เสริ ม ชี วิ ต ตามหลั ก ศี ล ธรรม คาทอลิกในโรงพยาบาลเซนต์หลุยส์ วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพือ่ ศึกษาจริยธรรมในการปฏิบตั งิ าน ของบุ ค ลากรทางการเเพทย์ โรงพยาบาล เซนต์หลุยส์ 2. เพื่อศึกษาจริยธรรมที่ส่งเสริมชีวิต ตามหลั ก ศี ล ธรรมคาทอลิ ก ในโรงพยาบาล เซนต์หลุยส์ ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. ได้ทราบถึงจริยธรรมในการปฏิบัติ งานของบุคลากรทางการเเพทย์โรงพยาบาล เซนต์หลุยส์ 2. ทราบเเนวทางจริยธรรมที่ส่งเสริม ชีวิตตามหลักศีลธรรมคาทอลิกในโรงพยาบาล เซนต์หลุยส์
ขอบเขตการวิจัย ศึกษาจริยธรรมของบุคลากรทางการ แพทย์ โรงพยาบาลเซนต์หลุยส์ ในเรื่องคุณค่า และศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ และจริยธรรมที่ ส่ ง เสริ ม ชี วิ ต ตามหลั ก ศี ล ธรรมคาทอลิ ก โรงพยาบาลเซนต์หลุยส์ นิยามศัพท์เฉพาะ ศี ล ธรรมคาทอลิ ก หมายถึ ง หลั ก ศีลธรรมทีอ่ ยูบ่ นพืน้ ฐานของศาสนาคาทอลิกที่ มีความเชื่อในพระเจ้าเข้ามาเกี่ยวข้อง โรงพยาบาลเซนต์ ห ลุ ย ส์ หมายถึ ง โรงพยาบาลเเห่งเเรกของพระศาสนจักรไทย ตั้งอยู่ที่ 27 ถนนสาทรใต้ แขวงยานนาวา เขต สาทร กรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นโรงพยาบาล ทีไ่ ด้รบั การรับรองมาตรฐานจากภาครัฐ ให้การ รั ก ษาพยาบาลด้ ว ยความสามารถตามหลั ก วิ ช าการอั น ทั น สมั ย และด้ ว ยความส� ำ นึ ก อันเปี่ยมด้วยจริยธรรมตามหลักมนุษยธรรม คุ ณ ค่ า และศั ก ดิ์ ศ รี ค วามเป็ น มนุ ษ ย์ หมายถึง มนุษย์ที่มีศักดิ์ศรีในฐานะเป็นสิ่งที่ พระเจ้าทรงสร้างให้เป็นภาพลักษณ์ มีศกั ยภาพ สามารถบรรลุถึงชีวิตที่สมบูรณ์ (ชีวิตนิรันดร) ในพระเจ้าโดยอาศัยความรูส้ ำ� นึก เสรีภาพและ ความสัมพันธ์กับผู้อื่น การุณยฆาต หมายถึง การกระท�ำหรือ การละเว้นไม่กระท�ำ เพื่อเจตนาท�ำให้ผู้ป่วยที่
ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2018/2561 107
จริยธรรมทีส่ ง่ เสริมชีวติ ตามหลักศีลธรรมคาทอลิกในโรงพยาบาลเซนต์หลุยส์
ไม่มีทางรักษาให้หาย ไร้หนทางเยียวยา หรือ ผู ้ ป ่ ว ยระยะสุ ด ท้ า ย ถึ ง แก่ ค วามตายก่ อ นที่ ความตายตามธรรมชาติมาถึง โดยใช้วิธีการ ที่ ไ ม่ รุ น แรง หรื อ วิ ธี ก ารที่ ท� ำ ให้ ต ายอย่ า ง สะดวก หรือ การงดเว้น การช่วยเหลือหรือ รักษาผูป้ ว่ ย จุดประสงค์เพือ่ ขจัดความเจ็บปวด หรือทุกข์ทรมานของผู้ป่วยนั้น ให้หมดสิ้นไป เช่ น การปลดสายออกซิ เจน การปิ ด เครื่ อ ง ช่วยหายใจ การฉีดสารพิษ หรือการให้มอร์ฟนี เกินขนาด ฯลฯ โดยไม่ได้รอให้ความตายตาม ธรรมชาติมาถึง จริ ย ธรรมที่ ส ่ ง เสริ ม ชี วิ ต หมายถึ ง หลักศีลธรรมที่ช่วยให้มนุษย์ด�ำเนินชีวิตอย่าง มีศักดิ์ศรี มีศักยภาพสามารถบรรลุถึงชีวิตที่ สมบู ร ณ์ ใ นพระเจ้ า โดยอาศั ย ความรู ้ ส� ำ นึ ก เสรีภาพและความสัมพันธ์กับผู้อื่น ในงานวิจัย นี ้ จริยธรรมทีส่ ง่ เสริมชีวติ คือ การดูแลอภิบาล ผูป้ ว่ ย ทัง้ ด้านร่างกายและจิตใจอย่างเต็มความ สามารถ ไม่ท�ำการุณยฆาตต่อผู้ป่วย เพื่อให้ ผู ้ ป ่ ว ยได้ สิ้ น ใจอย่ า งสงบเมื่ อ ความตายตาม ธรรมชาติมาถึง ซึง่ เป็นส่วนหนึง่ ในการส่งเสริม ชีวิตมนุษย์ ประชากร กลุ่มตัวอย่าง และกลุ่มผู้ให้ข้อมูล ประชากรที่ใช้ในการศึกษาจริยธรรมใน การปฏิ บั ติ ง านของบุ ค ลากรทางการแพทย์ โรงพยาบาลเซนต์หลุยส์ คือ บุคลากรทางการ
108 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
แพทย์ โรงพยาบาลเซนหลุยส์ จ�ำนวน 439 คน กลุ ่ ม ตั ว อย่ า ง คื อ บุ ค ลากรทางการ แพทย์ โรงพยาบาลเซนหลุยส์ จ�ำนวน 205 คน ได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบแบ่งประเภท (Stratified random sampling) แต่ละกลุ่มตาม สัดส่วน ผู้วิจัยก�ำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่าง จากการใช้ตารางเครจซีแ่ ละมอร์แกน (Krejcie and Morgan, 1970: 608 – 609) กลุ่มผู้ให้ข้อมูลในการศึกษาจริยธรรมที่ ส่ ง เสริ ม ชี วิ ต ตามหลั ก ศี ล ธรรมคาทอลิ ก ใน โรงพยาบาลเซนต์ ห ลุ ย ส์ คื อ ผู ้ บ ริ ห ารและ บุคลากรทางการแพทย์โรงพยาบาลเซนต์หลุยส์ จ�ำนวน 6 คน ประกอบด้วย ผู้บริหาร 1 คน แพทย์ 1 คน พยาบาล 1 คน เภสัชกร 1 คน นักเทคนิคการแพทย์ 1 คน และ นักกายภาพ บ�ำบัด 1 คน ได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 1. แบบสั ม ภาษณ์ แ บบกึ่ ง โครงสร้ า ง (Semi-structured Interview) จ�ำนวน 1 ฉบับ เพื่อใช้สัมภาษณ์ผู้บริหารโรงพยาบาล เซนต์ หลุย ส์เ กี่ย วกั บความคาดหวั งและการ ส่งเสริมศีลธรรมของบุคลากรทางการแพทย์ใน โรงพยาบาลเซนต์หลุยส์ ก่อนการเก็บข้อมูล จากกลุ่มตัวอย่าง 2. แบบสอบถามจ�ำนวน 1 ฉบับ เพือ่ ใช้ ในการศึกษาจริยธรรมในการปฏิบัติงานของ
วรัญญู นางาม, สุรชัย ชุ่มศรีพันธุ์, อภิสิทธิ์ กฤษเจริญ และ ลัดดาวรรณ์ ประสูติแสงจันทร์
บุคลากรทางการแพทย์โรงพยาบาลเซนต์หลุยส์ ซึ่ ง แบบสอบถามมี ค ่ า ความตรงเชิ ง เนื้ อ หา อยู่ระหว่าง 0.66-1.00) และค่าความเชื่อมั่น = .885 3. แบบสั ม ภาษณ์ แ บบกึ่ ง โครงสร้ า ง (Semi-structured Interview) จ�ำนวน 1 ฉบั บ เพื่ อ ใช้ ศึ ก ษาเเนวทางส่ ง เสริ ม หลั ก ศีลธรรมคาทอลิกในโรงพยาบาลเซนต์หลุยส์ การวิเคราะห์ข้อมูลและสถิติที่ใช้ 1. การวิเคราะห์ขอ้ มูล มีขนั้ ตอนในการ ด�ำเนินการดังนี้ 1.1 สอบทานความครบถ้วนสมบูรณ์ ของข้อมูลที่เก็บรวบรวม 1.2 น�ำข้อมูลที่รวบรวมมาวิเคราะห์ สังเคราะห์ และเรียบเรียงอย่างเป็นระบบ 2. สถิติที่ใช้ 2.1 การวิเคราะห์ข้อมูลส่วนตัวของ กลุ่มตัวอย่าง ใช้ค่าความถี่ (frequencies) ค่าร้อยละ (percentage: %) 2.2 การวิ เ คราะห์ ข ้ อ มู ล คุ ณ ธรรม จริ ย ธรรมของกลุ ่ ม ตั ว อย่ า ง ที่ ไ ด้ จ าก แบบสอบถาม ใช้ ค ่ า มั ช ฌิ ม าเลขคณิ ต (Arithmetic mean: X ) และส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน (Standard Deviation: S.D.) 2.3 การวิ เ คราะห์ ข ้ อ มู ล จากการ สั ม ภาษณ์ ก ลุ ่ ม ผู ้ ใ ห้ ข ้ อ มู ล ใช้ ก ารวิ เ คราะห์
สังเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis and Content Synthesis) ผลการวิจัย 1. จริ ย ธรรมในการปฏิ บั ติ ง านของ บุคลากรทางการแพทย์โรงพยาบาลเซนต์หลุยส์ บุ ค ลากรทางการแพทย์ โรงพยาบาล เซนต์ ห ลุ ย ส์ มี ก ารปฏิ บั ติ ง านที่ ส ะท้ อ นถึ ง ความมีศีลธรรมคาทอลิก อยู่ระดับมากที่สุด ( X = 4.52, S.D. = 0.44) เมื่อพิจารณาเป็น รายข้อ พบว่า การได้ปฏิบัติหน้าที่ได้อย่าง ถู ก ต้ อ ง มี ค วามซื่ อ สั ต ย์ มี จ ริ ย ธรรมและ จรรยาบรรณต่ อ ผู ้ รั บ บริ ก าร มี ค ่ า มั ช ฌิ ม เลขคณิตสูงที่สุด ( X = 4.62, S.D. = 0.53 อยู่ในระดับมากที่สุด) รองลงมา คือ เคารพ และยอมรับสิทธิของผู้ป่วย ที่จะตัดสินใจเลือก วิธกี ารรักษาทีไ่ ม่ขดั ต่อหลักศีลธรรม รวมไปถึง การตัดสินใจของญาติในกรณีที่ผู้ป่วยสูญเสีย การตัดสินใจเลือก ( X = 4.60, S.D. = 0.53 อยู่ในระดับมากที่สุด) บุคลากรทางการแพทย์ของโรงพยาบาล เซนต์ ห ลุ ย ส์ มี ค วามคิ ด เห็ น ที่ ส อดคล้ อ งกั น ในเรื่องของคุณค่าและศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ ที่ทุกคนมีและไม่อาจละเมิดได้ และการตาย อย่างสมศักดิ์ศรีของผู้ป่วยก็คือความตายที่มา ถึงโดยธรรมชาติ แต่กลุ่มผู้ให้ข้อมูลมีความคิด เห็นทีแ่ ตกต่างกันในเรือ่ งของการท�ำการุณยฆาต
ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2018/2561 109
จริยธรรมทีส่ ง่ เสริมชีวติ ตามหลักศีลธรรมคาทอลิกในโรงพยาบาลเซนต์หลุยส์
ทั้งกลุ่มที่เห็นด้วยและไม่เห็นด้วยในจ�ำนวนที่ ใกล้เคียงกันในแต่ละกลุ่ม รวมถึงการทราบ เกีย่ วกับค�ำสอนของพระศาสนจักรคาทอลิกใน เรื่องของการุณยฆาตด้วย 2. จริ ย ธรรมที่ ส ่ ง เสริ ม ชี วิ ต ตามหลั ก ศีลธรรมคาทอลิก ในโรงพยาบาลเซนต์หลุยส์ แนวทางการปฏิบตั อิ ย่างมีจริยธรรมทีจ่ ะ ช่วยส่งเสริมชีวติ ให้ดำ� เนินไปตามหลักศีลธรรม คาทอลิ ก ด้ ว ยการปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ อ ย่ า งมี จริยธรรมทัง้ ต่อ 1) ตนเอง และ 2) ผูป้ ว่ ยและ ญาติ ด้วยความเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรี ความเป็นมนุษย์ ให้สามารถบรรลุถึงชีวิตที่ สมบูรณ์ (ชีวิตนิรันดร) ในพระเจ้า โดยอาศัย ความรู้ส�ำนึก เสรีภาพ และความสัมพันธ์กับ ผู้อื่น 2.1 จริยธรรมที่มีต่อตัวผู้ปฏิบัติงานเอง โดยการตั้งใจปฏิบัติหน้าที่อย่างถูกต้อง ซื่อสัตย์ สุจริต ยุติธรรม และมีจรรยาบรรณ ตามมาตรฐานวิชาชีพ ด้วยจิตส�ำนึกความรับ ผิดชอบ ดูแลรักษาผู้ป่วยอย่างเท่าเทียมกัน ไม่ค�ำนึงถึงฐานะ เพศ วัย เชื้อชาติหรือศาสนา ด้วยความเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรี ความ เป็นมนุษย์ 2.2 จริยธรรมที่มีต่อผู้ป่วยและญาติ โดยการตั้งใจปฏิบัติหน้าที่ด้วยความรัก ความเคารพให้คุณค่าและศักดิ์ศรี ความเป็น มนุษย์ ของผู้ป่วยและบุคคลรอบข้าง ได้แก่
110 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
2.2.1 การให้ บ ริ ก าร และดู แ ลรั ก ษา ผู ้ ป ่ ว ยอย่ า งเต็ ม ก� ำ ลั ง ความสามารถ รักษาเยียวยา โดยค�ำนึงถึงประโยชน์ ของผู้ป่วยสูงสุด 2.2.2 การให้บริการ ให้การรักษาผูป้ ว่ ย อย่างสมเหตุสมผล ไม่เร่งหรือท�ำสิ่งอื่น ใดให้ผู้ป่วยตายก่อนที่ความตายตาม ธรรมชาติมาถึง 2.2.3 การเคารพและยอมรับสิทธิของ ผูป้ ว่ ย ทีจ่ ะตัดสินใจเลือกวิธกี ารรักษาที่ ไม่ขัดต่อหลักศีลธรรม รวมไปถึงการ ตัดสินใจของญาติในกรณีทผี่ ปู้ ว่ ยสูญเสีย การตัดสินใจเลือก 2.2.4 การให้เกียรติ และ การรักษา ความลับของผูป้ ว่ ยยกเว้นจะได้รบั ความ ยินยอม จากผูป้ ว่ ยหรือการปฏิบตั หิ น้าที่ ตามกฎหมาย 2.2.5 การให้การรักษาผูป้ ว่ ย โดยค�ำนึง ถึ ง ความต้ อ งการทางด้ า นจิ ต ใจและ สังคม ของผู้ป่วยด้วย ให้ผู้ป่วยมีสภาพ จิตใจที่ดีขึ้น 2.2.6 พยายามช่ ว ยเหลื อ ผู ้ ป ่ ว ย ให้ ยอมรับและเข้าใจคุณค่าและความหมาย ของ ความทุกข์ทรมานทีต่ นเองเผชิญอยู่ เพือ่ สามารถเผชิญกับความเจ็บป่วยทุกข์ ทรมานได้ดีขึ้น
วรัญญู นางาม, สุรชัย ชุ่มศรีพันธุ์, อภิสิทธิ์ กฤษเจริญ และ ลัดดาวรรณ์ ประสูติแสงจันทร์
2.2.7 การบอกความจริงที่จ�ำเป็นและ ครบถ้วนให้ผปู้ ว่ ยทราบ เพือ่ มีสทิ ธิทจี่ ะ ตัดสินใจเลือกวิธีการรักษาและรับการ บริการ 2.2.8 การอยูเ่ คียงข้าง ช่วยเหลือ ผูป้ ว่ ย ด้วยความรัก จนวาระสุดท้ายของชีวิต ของผู้ป่วย อภิปรายผล 1. จริ ย ธรรมในการปฏิ บั ติ ง านของ บุคลากรทางการแพทย์โรงพยาบาลเซนต์หลุยส์ บุคลากรทางการแพทย์ของโรงพยาบาล เซนต์หลุยส์ มีทศั นคติและความเข้าใจถึงคุณค่า ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ โดยเข้าใจว่ามนุษย์ ทุกคนเป็นภาพลักษณ์ของพระเจ้า มีศักดิ์ศรี เท่าเทียมกันและไม่สามารถละเมิดชีวิตกันได้ อาจเป็นเพราะบุคลากรทางการแพทย์ท�ำงาน อยู ่ ใ นองค์ ก รของศาสนาคริ ส ต์ นิ ก าย โรมั น คาทอลิ ก จึ ง ได้ รั บ การอบรมสั ม มนา เชิ ง คุ ณ ธรรม ท� ำ ให้ มี ค วามเข้ า ใจค� ำ สอน ทางการของพระศาสนจักร ที่เป็นเช่นนี้ อาจ เป็ น เพราะโรงพยาบาลเซนต์ ห ลุ ย ส์ มุ ่ ง เน้ น ให้บุคลากรทางการแพทย์เห็นถึงคุณค่าและ ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์เป็นเรื่องส�ำคัญอันดับ ต้ น ๆ ซึ่ ง ได้ ก� ำหนดเป็นค่านิยมหลัก (Core Value) ประการที่ 3 ของโรงพยาบาลเซนต์ หลุยส์ที่เน้นเรื่อง ศักดิ์ศรีของมนุษย์ โดยให้
ความส�ำคัญกับทุกคนที่เข้ามารับบริการซึ่งมี ศักดิ์ศรีเท่าเทียมกัน ซึ่งไม่ใช่การวัดกันด้วย ฐานะการเงิน หน้าที่ทางสังคม ต�ำแหน่งหรือ เกียรติยศ แต่เกิดขึ้นเพราะเราเป็นภาพลักษณ์ ของพระเจ้าเหมือนกัน และในหนังสือค�ำสอน พระศาสนจักรคาทอลิก ข้อ 357 ก็กล่าวไว้ เช่นกันว่า มนุษย์ไม่ได้เป็นเพียงสิ่งของเท่านั้น แต่เป็นบุคคลที่ศักดิ์สิทธิ์ เพราะก�ำเนิดมาจาก พระเจ้ า ผู ้ ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ พระเจ้ า ทรงประทาน อิสรภาพให้มนุษย์สามารถรู้จักและควบคุม ตนเอง ผู ้ วิ จั ย เห็ น ว่ า มนุ ษ ย์ ทุ ก คนมี คุ ณ ค่ า ศักดิ์ศรีเท่าเทียมกัน ต้องให้ผู้อื่นรวมทั้งตัวเอง ด้วย เพราะ “พระเจ้าทรงสร้างมนุษย์มาตาม ภาพลักษณ์ของพระองค์” (ปฐก.1:27) ในเรือ่ งของการุณยฆาตพบว่า บุคลากร ทางการแพทย์โรงพยาบาลเซนต์หลุยส์ มีความ รูค้ วามเข้าใจในเรือ่ งการุณยฆาต แต่อาจมีความ เข้าใจในเชิงลึกมากน้อยต่างกัน ที่เป็นเช่นนี้ เพราะว่า แต่ละคนมีต�ำแหน่งหน้าที่และการ นั บ ถื อ ศาสนาที่ แ ตกต่ า งกั น โดยการนั บ ถื อ ศาสนาเป็นปัจจัยทีส่ ำ� คัญในการเข้าใจและการ มีแนวความคิดในเรื่องการุณยฆาตที่แตกต่าง กันไปบ้าง และบุคลากรบางต�ำแหน่งที่ไม่ได้ มีหน้าที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับเรื่องการุณยฆาต ก็ ส ่ ง ผลต่ อ ความรู ้ ค วามเข้ า ใจในเรื่ อ งของ การุณยฆาตเช่นเดียวกัน
ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2018/2561 111
จริยธรรมทีส่ ง่ เสริมชีวติ ตามหลักศีลธรรมคาทอลิกในโรงพยาบาลเซนต์หลุยส์
บุคลากรทางการแพทย์ส่วนใหญ่ไม่เห็น ด้วยกับการุณยฆาต อาจเป็นหลักจริยธรรม ทัว่ ไปของบุคลากรทางการแพทย์ คือ ต้องช่วย ชีวิตผู้ป่วยอย่างสุดความสามารถ จึงพยายาม ท�ำทุกวิถีทางเพื่อช่วยชีวิตผู้ป่วยนั้นๆ ให้อยู่ รอดปลอดภัยมากที่สุด ซึ่งสอดคล้องกับหลัก จริยธรรมทัว่ ไปของบุคลากรทางการแพทย์ของ โรงพยาบาลเซนต์หลุยส์ในประการที่ 1 คือ หลักประโยชน์สงู สุดของผูป้ ว่ ย ผูป้ ว่ ย (Beneficence) คือ สิ่งที่เป็นประโยชน์ก่อให้เกิดผล ดี ผู ้ ป ระกอบวิ ช าชี พ พึ ง กระท� ำ ในสิ่ ง ที่ เ ป็ น ประโยชน์ สูง สุดต่อผู้ป่วย จะต้องจริงใจต่อ ผูป้ ว่ ย ด�ำเนินการเพือ่ ประโยชน์ของผูป้ ว่ ยไม่วา่ จะเป็นกรณีใดๆ และสอดคล้องกับหลักค�ำสอน พระศาสนจักร Roman Catechism ฉบับ ค.ศ. 1566 ในข้อ 2277 กล่าวไว้วา่ ไม่วา่ จะมี เจตนาและใช้วิธีการใดๆ การุณยฆาตโดยตรง คือการท�ำให้คนพิการ ผู้ป่วย หรือผู้ที่ก�ำลัง สิ้ น ใจเสี ย ชี วิ ต การกระท� ำ เช่ น นี้ ต ามหลั ก ศีลธรรมไม่อาจยอมรับได้ เพราะฉะนั้น การ กระท� ำ หรื อ การละเว้ น ซึ่ ง ในตั ว เองหรื อ โดย เจตนา ก่อให้เกิดการสูญเสียชีวิต เพื่อท�ำให้ การทนทุกข์ทรมานสิ้นสุดลง ถือเป็นการฆ่า คนในข้อฉกรรจ์ ขัดเเย้งกับศักดิ์ศรีของมนุษย์ และไม่เคารพพระเจ้าผู้ทรงชีวิต พระผู้สร้าง ของเขา ความหลงผิดในการตัดสินกล่าวอ้างว่า ท�ำไปเพราะหวังดี ไม่อาจเปลีย่ นธรรมชาติของ
112 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
ฆาตกรรมนี้ ซึ่ ง ต้ อ งถู ก ประณามและห้ า ม กระท�ำเสมอไป และในพระสมณสาสน์ของพระ ศาสนจักรเรื่อง Evangelium Vitae มองเรื่อง การุณยฆาตว่าเป็นการกระท�ำหรือการละเว้นที่ จะกระท�ำ โดยตัวมันเองและโดยเจตนาแล้ว เป็นสาเหตุก่อให้เกิดการตายของบุคคล โดย มีจุดมุ่งหมายเพื่อขจัดความทุกข์ทรมานให้สิ้น ซึ่ ง การท� ำ การุ ณ ยฆาตเป็ น การผิ ด หนั ก ต่ อ บทบัญญัตขิ องพระเจ้า เพราะการกระท�ำเช่นนี้ เป็นการฆ่าชีวติ มนุษย์ตามอ�ำเภอใจของตนและ เป็ น สิ่ ง ที่ รั บ ไม่ ไ ด้ ท างศี ล ธรรม อี ก ทั้ ง ยั ง “เป็นการไม่ถูกต้องที่ท�ำให้ผู้ป่วยสิ้นใจโดย ปราศจากความรู้ตัวเต็มใจของเขาเอง” (Declaration on Euthanasia ข้อ 6) บุคลากรทางการแพทย์ของโรงพยาบาล เซนต์หลุยส์ได้ปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างถูกต้อง มีความซื่อสัตย์ มีจริยธรรมและจรรยาบรรณ ต่อผู้รับบริการ รวมถึงการดูแลรักษาผู้ป่วย อย่ า งเต็ ม ก� ำ ลั ง ความสามารถ โดยค� ำ นึ ง ถึ ง ประโยชน์ ข องผู ้ ป ่ ว ยสู ง สุ ด อาจเป็ น เพราะ โครงสร้างของการบริหาร นโยบายของคณะ กรรมการที่ได้ก�ำหนดเป้าหมายและทิศทาง อย่างชัดเจนในการด�ำเนินงาน ท�ำให้บุคลากร ทางการแพทย์ ทุ ก คนเข้ า ใจถึ ง หน้ า ที่ แ ละ เป้ า หมายของงานที่ ต นได้ รั บ มอบหมาย ซึ่ ง สอดคล้ อ งกั บ ปรั ช ญาของโรงพยาบาล เซนต์หลุยส์ทวี่ า่ “เมตตากรุณาอยูท่ ใี่ ด พระเจ้า
วรัญญู นางาม, สุรชัย ชุ่มศรีพันธุ์, อภิสิทธิ์ กฤษเจริญ และ ลัดดาวรรณ์ ประสูติแสงจันทร์
สถิตที่นั้น” โรงพยาบาลเซนต์หลุยส์จึงต้องให้ ความส�ำคัญต่อจิตวิญญาณทั้งเพื่อประโยชน์ ทางการรั ก ษาและประโยชน์ ท างความเชื่ อ เพราะความรั ก และความเมตตากรุ ณ าเป็ น ยาวิ เ ศษที่ จ ะท� ำ ให้ ชี วิ ต มนุ ษ ย์ ดี ขึ้ น ในขณะ เดียวกันนโยบายของโรงพยาบาลเซนต์หลุยส์ ยังให้ความส�ำคัญถึงความสุขของบุคลากรด้วย โดยค่ า นิ ย มประการที่ 2 ของโรงพยาบาล เซนต์หลุยส์ได้เน้นถึงความสุขของบุคลากร ได้กล่าวไว้ว่า ทุกคนที่ท�ำงานอยู่ในบ้านหลังนี้ ต้องการความรัก ความอบอุ่น มีที่พ่ึงได้ยาม เดือดร้อน พวกเขาจะต้องได้รับความยุติธรรม และนอกจากนั้นยังสมควรได้รับความรักความ เมตตากรุณามากกว่าความยุตธิ รรมด้วย จึงจะ สามารถน�ำความสุขที่แท้จริงมาได้ นั่นคือการ จัดการเรือ่ งเงินเดือนหรือรายได้ทยี่ ตุ ธิ รรม การ จั ด สวั ส ดิ ก ารที่ เ หมาะสม การมอบน�้ ำ ใจใน โอกาสต่างๆ นอกจากนั้นบุคลากรทุกคนยัง สามารถพบแห่งบรรเทาใจ ความเข้าใจ และ ความรู้สึกอบอุ่นได้จากบ้านหลังนี้ด้วย ผูว้ จิ ยั เห็นว่า บุคลากรทางการแพทย์ใน โรงพยาบาลเซนต์หลุยส์มใิ ช่ใส่ใจเฉพาะเนือ้ งาน ของตนที่ รั บ ผิ ด ชอบเท่ า นั้ น แต่ บุ ค ลากร ทางการแพทย์ได้แสดงออกถึงความรักและ ความเมตตาต่อเพื่อนมนุษย์ ต่อคนรอบข้าง ต่อเพื่อนร่วมงาน และต่อรับบริการ อาจเป็น เพราะได้รับการอบรมสัมมนาและฟื้นฟูจิตใจ
เป็ น ประจ� ำ ทุ ก ปี ท� ำ ให้ ทุ ก ท่ า นได้ ซึ ม ซั บ คุณธรรมต่างๆ ที่โรงพยาบาลได้มอบให้ผ่าน ทางกิ จกรรมนี้ และแสดงออกผ่ า นทางการ ท� ำ งาน การพบปะ การพู ด คุ ย ต่ อ ผู ้ ม ารั บ บริการ ซึง่ ท�ำให้ผทู้ มี่ ารับบริการรูส้ กึ ประทับใจ ในความรักและความเมตตาที่มีอยู่ในตัวของ บุคลากรทางการแพทย์โรงพยาบาลเซนต์หลุยส์ 2. จริ ย ธรรมที่ ส ่ ง เสริ ม ชี วิ ต ตามหลั ก ศีลธรรมคาทอลิกในโรงพยาบาลเซนต์หลุยส์ 2.1 จริยธรรมที่มีต่อตัวผู้ปฏิบัติงานเอง บุคลากรตั้งใจปฏิบัติหน้าที่อย่างมีจริยธรรม มี จ รรยาบรรณวิ ช าชี พ ด้ ว ยจิ ต ส� ำ นึ ก ความ รับผิดชอบ เคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีความ เป็นมนุษย์ น�ำหลักธรรมค�ำสอนทีต่ นเองนับถือ และศาสนาอื่นมาเป็นหลักในการปฏิบัติงาน ทั้ ง นี้ เ ป็ น เพราะโรงพยาบาลเซนต์ ห ลุ ย ส์ ไ ด้ ให้ ค วามส� ำ คั ญ โครงสร้ า งการบริ ห ารและ ตัวบุคคลที่ท�ำงานอย่างเท่าเทียมกัน โดยคณะ กรรมการบริ ห ารมี ก ารวางแผน ประกาศ เป้าหมายทิศทางที่ชัดเจนให้กับบุคลกรทุกคน รับทราบ และมีการจัดกิจกรรม สัมมนา และ การเข้าอบรมฟื้นฟูจิตใจ ซึ่งท�ำให้บุคลากรได้มี เวลาพักผ่อนทางด้านจิตใจ คิดไตร่ตรองถึงชีวติ ของตน โดยทุกกิจกรรมของโรงพยาบาลได้ พยายามสอดแทรกศีลธรรมคาทอลิกลงหยั่ง รากลึกลงในจิตใจของบุคลากรทุกคน โดยเน้น เรื่ อ งความรั ก และความเมตตา ซึ่ ง ศี ล ธรรม
ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2018/2561 113
จริยธรรมทีส่ ง่ เสริมชีวติ ตามหลักศีลธรรมคาทอลิกในโรงพยาบาลเซนต์หลุยส์
ต่ า งๆ เหล่ า นี้ ถู ก หล่ อ หลอมผ่ า นทางการ ท�ำงานในแต่ละวัน บุคลากรทุกคนพยายาม เรียนรูท้ จี่ ะมีความรักและความเมตตาเพือ่ ทีจ่ ะ สามารถน�ำไปแบ่งปันให้กบั ผูค้ นรอบข้างต่อไป ซึ่ ง สอดคล้ อ งกั บ พั น ธกิ จ ของโรงพยาบาล เซนต์หลุยส์ที่ระบุว่า จงประกาศความรักและ ความเมตตากรุณาในการเยียวยารักษาทั้งทาง กายและทางจิตวิญญาณ เพราะความรักและ ความเมตตาเป็นยาวิเศษที่จะท�ำให้ชีวิตมนุษย์ ดีขึ้น และยังสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ในการ จัดตัง้ โรงพยาบาล ทีร่ ะบุไว้วา่ ต้องให้การรักษา พยาบาล บริการและช่วยเหลือผู้เจ็บไข้ทั่วไป โดยไม่คำ� นึงถึงฐานะ เพศ วัย เชือ้ ชาติ ศาสนา ด้วยความสามารถตามหลักวิชาการที่ทันสมัย และด้วยความส�ำนึกที่เปี่ยมไปด้วยจริยธรรม ตามหลักมนุษยธรรม 2.2 จริ ย ธรรมที่ มี ต ่ อ ผู ้ ป ่ ว ยและญาติ บุคลากรตั้งใจปฏิบัติหน้าที่ด้วยความรัก ความ เคารพให้คุณค่าและศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ ของผู้ป่วยและบุคคลรอบข้าง ทั้งนี้เป็นเพราะ บุคลากรทางการแพทย์มีความเข้าใจอย่างดี ในเรื่ อ งค่ า นิ ย มหลั ก (Core Value) ของ โรงพยาบาลเซนต์หลุยส์ ซึ่งเน้นการให้ความ ส�ำคัญกับผู้ป่วยมาเป็นอันดับแรก โดยแพทย์ มีความส�ำคัญกับผูป้ ว่ ย พยาบาลมีความส�ำคัญ กับแพทย์ บุคลากรทุกแผนกล้วนมีความส�ำคัญ
114 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
ต่อการให้บริการซึง่ กันและกัน ไม่สามารถขาด แผนกใดแผนกหนึ่ ง ในการท� ำ งานได้ ซึ่ ง สอดคล้องกับการประชุมพระสังฆราชคาทอลิก ของประเทศอังกฤษและเวลส์ที่ระบุว่า แพทย์ พยาบาลและบุคลากรทางการแพทย์ต้องอุทิศ ตนเองในการช่วยเหลือผู้คน ด้านการรักษา พยาบาล พวกเขามีความรักผิดชอบที่พิเศษ ส�ำหรับชีวิตของผู้ป่วย ต้องพยายาม ใช้พลัง ความสามารถและดุจพินิจทั้งมวลดูแลผู้ป่วย ให้รอดพ้นจากโรคภัยไข้เจ็บ และสอดคล้องกับ หลักจริยธรรมทัว่ ไปของบุคลากรทางการแพทย์ ที่ระบุว่า ผู้ประกอบวิชาชีพต้องพึงกระท�ำใน สิง่ ทีเ่ ป็นประโยชน์สงู สุดต่อผูป้ ว่ ย ยอมรับสิทธิ ผู้ป่วยที่จะตัดสินใจเกี่ยวกับตนเองในการเลือก วิธีการรักษาต่างๆ ต้องไม่ใช้อ�ำนาจหน้าที่ใน การแสวงหาผลประโยชน์สว่ นตน แต่ตอ้ งค�ำนึง ถึงประโยชน์สงู สุดของผูป้ ว่ ย ให้การดูแลรักษา ผูป้ ว่ ยทัง้ ด้านร่างกายและจิตใจ ให้ผปู้ ว่ ยด�ำเนิน ชีวิตอย่างมีคุณค่าและศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ โดยเฉพาะในเรื่ อ งของการุ ณ ยฆาต ที่ ตั ว บุคลากรทางการแพทย์เองทีต่ อ้ งมีความรูค้ วาม เข้าใจอย่างชัดเจน รวมไปถึงหลักค�ำสอนทาง ศาสนา ที่เกี่ยวข้อง เป็นต้น ค�ำสอนของพระ ศาสนจักรคาทอลิก ทีห่ า้ มมิให้มกี ารท�ำการุณยฆาต และถือว่าการท�ำการุณยฆาตนัน้ เป็นการ ฆ่ า คน ผิ ด หนั ก ต่ อ บทบั ญ ญั ติ ข องพระเจ้ า
วรัญญู นางาม, สุรชัย ชุ่มศรีพันธุ์, อภิสิทธิ์ กฤษเจริญ และ ลัดดาวรรณ์ ประสูติแสงจันทร์
ประการที ่ 5 ตามทีเ่ อกสารของพระศาสนจักร คาทอลิก Evangelium Vitae ข้อที่ 65 ได้ กล่าวไว้วา่ การท�ำการุณยฆาตเป็นการผิดหนัก ต่อบทบัญญัติของพระเจ้า เพราะการกระท�ำ เช่ น นี้ เ ป็ น การฆ่ า ชี วิ ต มนุ ษ ย์ ต ามอ� ำ เภอใจ ของตนและเป็ น สิ่ ง ที่ รั บ ไม่ ไ ด้ ท างศี ล ธรรม กฎธรรมชาติ แ ละพระวาจาของพระเจ้ า ที่ มี เขียนไว้ โดยการปฏิเสธไม่ยอมรักตนเอง และ การละทิ้งกฎข้อบังคับในเรื่องความยุติธรรม และความรักที่จะต้องปฏิบัติต่อเพื่อนมนุษย์ อีกทัง้ ยังเป็นการปฏิเสธไม่ยอมรับอ�ำนาจสูงสุด ของพระเจ้าเหนือชีวิตและความตาย และยัง สอดคล้องกับค�ำประกาศของพระศาสนจักร เรื่ อ งการุ ณ ยฆาตที่ ก ล่ า วไว้ ว ่ า เป็ น การไม่ ถู ก ต้ อ งที่ ท� ำ ให้ ผู ้ ป ่ ว ยสิ้ น ใจโดยปราศจาก ความรู้ตัวเต็มใจของเขาเอง (Declaration on Euthanasia ข้อ 6) ซึ่งพวกเราทุกคนต้อง ใส่ใจในเรื่องความรัก ความเมตตาในผู้ป่วย มากกว่า ทีจ่ ะใส่ใจความสามารถในการท�ำงาน ต้องอยู่เคียงข้างเขาด้วยความรัก ต้องรับใช้ เพือ่ นพีน่ อ้ งเหมือนกับทีร่ บั ใช้พระเจ้า “ท่านท�ำ สิ่งใดต่อพี่น้องผู้ต�่ำต้อยที่สุดของเราคนหนึ่ง ท่านก็ท�ำสิ่งนั้นต่อเราด้วย” (มธ.25:40) และ ด้วยความรัก ความเข้าใจนี้ก็สามารถท�ำให้ แพทย์และญาติพี่น้องใกล้ชิดกับผู้ป่วยมากขึ้น และผู้ป่วยเองก็จะมีความอบอุ่นใจมากยิ่งขึ้น
ข้อเสนอแนะ ข้อเสนอแนะส�ำหรับการน�ำผลวิจยั ไปใช้ 1. บุคลากรของโรงพยาบาล ควรมีการ ปฏิบตั หิ น้าทีอ่ ย่างมีจริยธรรมทัง้ ต่อ 1) ตนเอง และ 2) ผู้ป่วยและญาติ ด้วยความเคารพใน คุณค่าและศักดิศ์ รีความเป็นมนุษย์ ให้สามารถ บรรลุ ถึ ง ชี วิ ต ที่ ส มบู ร ณ์ (ชี วิ ต นิ รั น ดร) ใน พระเจ้า โดยอาศัยความรู้ส�ำนึก เสรีภาพ และ ความสัมพันธ์กับผู้อื่น 2. คณะกรรมการบริหารโรงพยาบาล เซนต์หลุยส์ ควรพิจารณาทบทวนพัฒนาพันธกิจ วิสัยทัศน์และค่านิยมหลักของโรงพยาบาล อยู่เสมอ เพื่อใช้เป็นเป้าหมายและทิศทางใน การด�ำเนินงาน โดยด�ำเนินการให้สอดคล้องกับ หลักศีลธรรมคาทอลิก คือการเยียวยาทั้งทาง กายและทางจิตวิญญาณ และสภาพสังคมใน โลกปัจจุบนั โดยเฉพาะในเรือ่ งของการุณยฆาต ที่ในสังคมยังมีทัศนคติที่หลากหลายแตกต่าง กันไป 3. โรงพยาบาลเซนต์หลุยส์ ควรจัดให้มี การพบปะระหว่างคณะกรรมการบริหารกับ บุคลากรทางการแพทย์ เป็นการเฉพาะมากขึน้ เพื่อทราบและเข้าใจถึงพันธกิจ วิสัยทัศน์และ ค่ า นิ ย มหลั ก ของโรงพยาบาลเซนต์ ห ลุ ย ส์ จะท� ำ ให้ ก ารปฏิ บั ติ ง านเกิ ด ผลอย่ า งมี ประสิทธิภาพ โดยเฉพาะการปฏิบัติงานดูแล ผู้ป่วยโดยไม่ท�ำการุณยฆาต
ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2018/2561 115
จริยธรรมทีส่ ง่ เสริมชีวติ ตามหลักศีลธรรมคาทอลิกในโรงพยาบาลเซนต์หลุยส์
4.โรงพยาบาลเซนต์ ห ลุ ย ส์ ค วรจั ด กิจกรรมต่างๆให้บุคลากร เพื่อให้เกิดความ รู้ความเข้าใจและเพิ่มพูนศีลธรรมที่ส่งเสริม ชีวิตในเรื่องการุณยฆาต โดยมองเห็นถึงคุณค่า ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ ได้ไตร่ตรองชีวิตและ ค้นหาแรงบันดาลใจในการท�ำงาน โดยผ่านทาง กิจกรรมต่างๆและทางสื่อประชาสัมพันธ์ เช่น 4.1) กิจกรรมทางศาสนา: ผู้ที่นับถือ ศาสนาคริสต์ ให้มีการเข้าเงียบ และผู้ที่นับถือ ศาสนาพุทธให้ฟังพระเทศน์ รวมไปถึงการมี กิจกรรมกลุ่มร่วมกันทั้งผู้ที่นับถือศาสนาคริสต์ และศาสนาอื่นๆ โดยมุ่งเน้นเนื้อหาในเรื่อง คุณค่าศักดิศ์ รีความเป็นมนุษย์ และจริยธรรมที่ ส่งเสริมชีวิต โดยเฉพาะเรื่องของการุณยฆาต 4.2) กิจกรรมอืน่ ๆ: การอบรมสัมมนา และพักผ่อนร่วมกันของบุคลากรทางการแพทย์ โดยน�ำเรื่องจริยธรรมที่ส่งเสริมชีวิตเข้าไปสอด แทรกในเนื้อหาของการสัมมนา ถือเป็นการ สร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างกัน และส่ง เสริมคุณธรรมต่างๆ ในการท�ำงาน 4.3) โรงพยาบาลเซนต์หลุยส์ควรมี บอร์ ด หรื อ แผ่ น พั บ ให้ ค วามรู ้ เ กี่ ย วกั บ เรื่ อ ง การุณยฆาต และศีลธรรมที่ส่งเสริมชีวิต 5. บุคลากรทางการแพทย์ควรมีการ เพิ่มพูนศีลธรรมจริยธรรมในตนเอง โดยยึด หลัก และให้ความส�ำคัญในเรื่อง Spiritual Care กับผู้ที่มารับการรักษาทุกคน
116 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
ข้อเสนอแนะส�ำหรับการท�ำวิจัยครั้งต่อไป 1. ควรศึ ก ษาประเด็ นการยื้ อ ชี วิต กั บ คุณค่าศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ของผู้ป่วย 2. ควรศึ ก ษาวิ จั ย เรื่ อ ง แนวทางการ เพิ่มพูนศีลธรรมจริยธรรม บรรณานุกรม คณะกรรมการคาทอลิ ก เพื่ อ พระคั ม ภี ร ์ . (2549). พระคัมภีรภ์ าคพันธสัญญาเดิม ปัญจบรรพ. กรุงเทพฯ: คณะกรรมการ คาทอลิกเพื่อพระคัมภีร์. บรรจง สันติสุขนิรันดร์, บาทหลวง. (2550). พระวรสารเเห่ ง ชี วิ ต Evangelium Vitae. กรุ ง เทพฯ: ศู น ย์ ว รรณกรรม ซาเลเซียน. ราชการุ ญ 90 ปี โรงพยาบาลเซนต์ ห ลุ ย ส์ กรุงเทพฯ: สารมวลชน. ราชการุ ญ 84 ปี โรงพยาบาลเซนต์ ห ลุ ย ส์ กรุงเทพฯ: กรุงเทพฯ. Best, John W. (1997). Research in Education. 2nd. ed. New Jersey: Prentice Hall Inc. Cronbach, Lee J. (1984). Essentials of psychological Testing. 4 th ed. New York: Harper & Row Publishers. John Paul, Pope. (1995). Evangelium Vitae. Washington: United States Catholic Conference.
จิตลักษณะและสถานการณ์ทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับ พฤติกรรมอาสาสมัครของนักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
Psychological Traits and Social Situation
Related to Volunteer Behaviors of Rajabhat University Students in the North Eastern Region. รัตวัลย์ ศิริเลี้ยง * นักศึกษาหลักสูตรการศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาจิตวิทยาการแนะแนวและการปรึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
ผศ.วัลภา สบายยิ่ง
* ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
รศ.โกศล มีคุณ
* รองศาสตราจารย์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
รศ.ดุษฎี โยเหลา
* รองศาสตราจารย์ สถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
Rattawan Siriliang * School of Educational Studies, Faculty of Education,SukhothaiThammathirat Open University. Asst.Prof.Wunlapa Sabaiying * Assistant Professor, School of Educational Studies, SukhothaiThammathirat Open University.
Assoc.Prof.Kosol Meekul
* Associate Professor, School of Educational Studies, SukhothaiThammathirat Open University.
Assoc.Prof.Dusadee Yolao
* Associate Professor, The Behavioral Science Research Institute, Srinakharinwirot University.
จิตลักษณะและสถานการณ์ทางสังคมทีเ่ กีย่ วข้องกับพฤติกรรมอาสาสมัครของนักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อพัฒนาโมเดลความสัมพันธ์ เชิ ง สาเหตุ ข องสถานการณ์ ท างสั ง คมจิ ต ลั ก ษณะ จิ ต ลั ก ษณะตาม สถานการณ์กบั พฤติกรรมอาสาสมัครของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏ ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (2) เพื่อพัฒนาโมเดลความสัมพันธ์เชิง สาเหตุ ข องสถานการณ์ ท างสั ง คม จิ ต ลั ก ษณะ จิ ต ลั ก ษณะตาม สถานการณ์กับพฤติกรรมอาสาสมัครด้านพฤติกรรมบ�ำเพ็ญประโยชน์ ของนักศึกษาและ (3) เพื่อพัฒนาโมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของ สถานการณ์ ท างสั ง คมจิ ต ลั ก ษณะ จิ ต ลั ก ษณะตามสถานการณ์ กั บ พฤติกรรมอาสาสมัครด้านพฤติกรรมเสียสละของนักศึกษา กลุม่ ตัวอย่าง 902 คน ได้มาโดยการสุม่ แบบหลายขัน้ ตอน (Multi-stage Sampling) เครื่องมือการวิจัยเป็นแบบสอบถาม 13 ชุด วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหา ค่าร้อยละ ค่าเฉลีย่ ค่าเบีย่ งเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิส์ หสัมพันธ์ของ เพียร์สัน และการตรวจสอบความตรงของโมเดลกับข้อมูลเชิงประจักษ์ ด้วยโมเดลสมการโครงสร้าง ผลการวิ จั ย พบว่ า (1) โมเดลความสั ม พั น ธ์ เชิ ง สาเหตุ ข อง สถานการณ์ทางสังคม จิตลักษณะ จิตลักษณะตามสถานการณ์กับ พฤติกรรมอาสาสมัครของนักศึกษา พบว่า มีความสอดคล้องกับข้อมูล เชิงประจักษ์ คือ ค่า χ2= 40.15, df = 41, p = 0.51, GFI = 0.99, AGFI = 0.98, RMSEA = 0.00, CN = 1455.56 (2) โมเดลความ สัมพันธ์เชิงสาเหตุของสถานการณ์ทางสังคม จิตลักษณะ จิตลักษณะตาม สถานการณ์กับพฤติกรรมอาสาสมัครด้านพฤติกรรมบ�ำเพ็ญประโยชน์ ของนั ก ศึ ก ษา พบว่ า มี ค วามสอดคล้ อ งกั บ ข้ อ มู ล เชิ ง ประจั ก ษ์ คื อ χ2= 32.11,df = 35, p = 0.61, GFI = 0.99, AGFI = 0.98, RMSEA = 0.00, CN = 1621.62 และ (3) โมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุ ของสถานการณ์ทางสังคม จิตลักษณะ จิตลักษณะตามสถานการณ์ กับพฤติกรรมอาสาสมัครด้านพฤติกรรมเสียสละของนักศึกษา พบว่า มีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ คือ χ2 = 25.42, df = 33, p = 0.82, GFI = 1.00, AGFI = 0.99, RMSEA = 0.00, CN = 1941.19
118 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
รัตวัลย์ ศิริเลี้ยง, วัลภา สบายยิ่ง, โกศล มีคุณ และ ดุษฎี โยเหลา
ค�ำส�ำคัญ: Abstract
จิตลักษณะ สถานการณ์ทางสังคม พฤติกรรมอาสาสมัคร นักศึกษามหาวิทยาลัย
The objectives of this research were (1) to develop the model of the causal correlations of social situations, psychological characteristics, psychological situational characteristics related to the volunteers behaviors of Rajabhat universities’ students., (2) to develop the model of the causal correlations of social situations, psychological characteristics, psychological situational characteristics related to the students’ volunteer behaviors at the aspect of the rousés behavior and (3) to develop the model of the causal correlations of social situations, psychological characteristics, psychological situational characteristics related to the volunteer behaviors at the aspect of the self-sacrificing. The research sample were 902 of 11 Northeastem Rajabhat university students derived by multistage sampling technique. The research instruments were totally 13 sets of questionnaires. The content validity was 0.76-0.86. Data were analyzed with percentage, mean, standard deviation and the correlation coefficient of Pearson. The validity of the model and the empirical data was approved with Structural Equation Modeling. The results were as follows: (1) The model of the causal correlations of social situations, psychological
ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2018/2561 119
จิตลักษณะและสถานการณ์ทางสังคมทีเ่ กีย่ วข้องกับพฤติกรรมอาสาสมัครของนักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
characteristics, psychological situational characteristics related to the volunteers behaviors of Rajabhat universities’ students in the Northeast fitted the empirical data was χ2= 40.15, df = 41, p = 0.51, GFI = 0.99, AGFI = 0.98, RMSEA = 0.00, CN = 1455.56. (2) The model of the causal correlations of social situations, psychological characteristics, psychological situational characteristics related to the volunteer behaviors at the aspect of the rousés behavior fitted the empirical data was χ2= 32.11,df = 35,p = 0.61, GFI = 0.99, AGFI = 0.98, RMSEA = 0.00, CN = 1621.62 and, (3) The model of the causal correlations of social situations, psychological characteristics, psychological situational characteristics related to the volunteer behaviors at the aspect of the self-sacrificing fitted the empirical data was χ2= 25.42, df = 33, p =0.82, GFI = 1.00, AGFI = 0.99, RMSEA = 0.00, CN = 1941.19. Keywords:
120 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
Psychological Traits Social Situation Volunteer Behaviors Universities’ students
รัตวัลย์ ศิริเลี้ยง, วัลภา สบายยิ่ง, โกศล มีคุณ และ ดุษฎี โยเหลา
ความเป็นมาและความส�ำคัญของปัญหา การด�ำเนินชีวิตของมนุษย์จ�ำเป็นต้องมี การพึ่ ง พาอาศัยซึ่งกันและกัน เพราะแต่ละ บุคคลไม่สามารถอยู่ได้โดยล�ำพัง การมีส่วน ร่วมในการรับผิดชอบต่อสังคมโดยรวม ท�ำให้ สั ง คมสามารถพั ฒ นาไปได้ ด ้ ว ยดี การสร้ า ง จิตส�ำนึกเพื่อส่วนรวมจึงกลายเป็นสิ่งที่มีความ ต้ อ งการเพิ่ ม มากขึ้ น เนื่ อ งจากสั ง คมมี ก าร แข่งขันกันสูง ส่งผลท�ำให้บคุ คลมุง่ แต่ประโยชน์ ส่วนตน (เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์, 2546) ดังจะเห็นได้จากปัจจุบนั สังคมไทยก�ำลังประสบ ปัญหาวิกฤตค่านิยมที่เป็นผลกระทบจากการ หลั่งไหลของวัฒนธรรมต่างชาติเข้าสู่ประเทศ โดยขาดการคัดกรองและเลือกรับวัฒนธรรม ที่ดีงาม ท�ำให้คุณธรรมจริยธรรมของคนไทย ลดลง โดยเฉพาะอย่างยิ่งเยาวชน (นันทรัตน์ ปริ วั ติ ธ รรม, 2553) นอกจากนี้ ยั ง พบว่ า เยาวชนมี ก ารเลี ย นแบบและแสดงออกใน ทิศทางทีไ่ ม่เหมาะสม ซึง่ พฤติกรรมทีส่ งั คมไทย คาดหวัง เช่น การจุนเจือ การช่วยเหลือ การ เผื่อแผ่ การแบ่งปันประโยชน์เพื่อผู้อื่น การมี จิตใจที่เสียสละสร้างสรรค์งานเพื่อส่วนรวม พบว่า มีการแสดงออกน้อย (โกวิทย์ พวงงาม, 2550) เพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าว รัฐบาลจึงได้ ก�ำหนดเรื่องเหล่านี้ให้เป็นนโยบายด้านหนึ่งใน การพัฒนาประชากรให้มีคุณภาพ ในระดับ ประเทศได้มีนโยบาย พระราชบัญญัติหรือมติ
ต่างๆ ที่ได้ให้ความส�ำคัญและสนับสนุนเพื่อ ปลูกฝังให้เยาวชนมีพฤติกรรมอาสาสมัคร อาทิ การปฏิรูปการศึกษาเพื่อเสริมสร้างจริยธรรม จิตวิญญาณและศีลธรรมมีมากขึ้น เน้นการ ปฏิบัติ เช่น การท�ำกิจกรรมเพื่อคนอื่น ความ มานะบากบัน่ ในสิง่ ทีถ่ กู ต้องดีงาม ลดความเห็น แก่ตวั (คณะกรรมการปฎิรปู , 2554) และศูนย์ คุ ณ ธรรม (2550) ได้ ศึ ก ษาเรื่ อ งสถานภาพ คุณธรรมด้านจิตอาสา โดยรวบรวมข้อมูลจาก ประชาชนที่มีอายุ 15 ปีขึ้นไป จ�ำนวน 8,000 คน ในเขตกรุงเทพมหานคร และในภูมิภาค ต่างๆ 18 จังหวัด ทั่วประเทศ พบว่า กลุ่ม ตัวอย่างที่มีอายุต�่ำกว่า 20 ปี มีคุณธรรมด้าน จิตอาสาในระดับต�่ำสุดเมื่อเทียบกับกลุ่มอื่นๆ โดยร้อยละ 75.1 ของกลุ่มตัวอย่างนี้มีความ เห็นว่าการช่วยเหลือผู้อื่นไม่ใช่หน้าที่ของตน หรือ สุวิมล ว่องวานิช และนงลักษณ์ วิรัชชัย (2543) ได้ศึกษาเรื่องปัจจัยและกระบวนการ ที่เอื้อต่อการพัฒนาคุณธรรมระดับบุคคล เพื่อ มุ ่ ง ความส� ำ เร็ จ ของส่ ว นรวมของนั ก ศึ ก ษา มหาวิ ท ยาลั ย : การศึ ก ษาเชิ ง ปริ ม าณและ คุ ณ ภาพ พบว่ า ส� ำ หรั บ เยาวชนในระดั บ มหาวิทยาลัยควรมุ่งส่งเสริมคุณธรรมเกี่ยวกับ ความรับผิดชอบ การมีวินัย ความสามารถใน การพึ่งตนเองและการมีความตั้งใจที่จะกระท�ำ ที่ ถื อ ว่ า เป็ น พฤติ ก รรมที่ ส ะท้ อ นความเป็ น พลเมืองดีของสังคม ดังนั้น ผู้วิจัยจึงสนใจท�ำ
ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2018/2561 121
จิตลักษณะและสถานการณ์ทางสังคมทีเ่ กีย่ วข้องกับพฤติกรรมอาสาสมัครของนักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
วิจยั ทีศ่ กึ ษาถึงจิตลักษณะและสถานการณ์ทาง สังคมที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมอาสาสมัครของ นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏในภาคตะวันออก เฉียงเหนือ วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อพัฒนาโมเดลความสัมพันธ์เชิง สาเหตุของสถานการณ์ทางสังคม จิตลักษณะ จิตลักษณะตามสถานการณ์กบั พฤติกรรมอาสา สมัครของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏในภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ 2. เพื่อพัฒนาโมเดลความสัมพันธ์เชิง สาเหตุของสถานการณ์ทางสังคม จิตลักษณะ จิตลักษณะตามสถานการณ์กบั พฤติกรรมอาสา สมั ค รด้ า นพฤติ ก รรมบ� ำ เพ็ ญ ประโยชน์ ข อง นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏในภาคตะวันออก เฉียงเหนือ 3. เพื่อพัฒนาโมเดลความสัมพันธ์เชิง สาเหตุของสถานการณ์ทางสังคม จิตลักษณะ จิตลักษณะตามสถานการณ์กบั พฤติกรรมอาสา สมั ค รด้ า นพฤติ ก รรมเสี ย สละของนั ก ศึ ก ษา มหาวิทยาลัยราชภัฏในภาคตะวันออกเฉียง เหนือ สมมติฐานการวิจัย 1. พฤติกรรมอาสาสมัครของนักศึกษา ประกอบด้ ว ย พฤติ ก รรมอาสาสมั ค รด้ า น
122 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
พฤติกรรมบ�ำเพ็ญประโยชน์ และพฤติกรรม อาสาสมัครด้านพฤติกรรมเสียสละ อธิบายได้ ตามโมเดลซึ่ ง ได้ รั บ อิ ท ธิ พ ลทางตรงจากจิ ต ลักษณะตามสถานการณ์ ประกอบด้วย เจตคติ ต่อพฤติกรรมอาสาสมัคร และได้รับอิทธิพล ทางอ้อมจากสถานการณ์ทางสังคมโดยส่งผ่าน จิตลักษณะ และจิตลักษณะตามสถานการณ์ ประกอบด้วย เจตคติต่อพฤติกรรมอาสาสมัคร และได้รับอิทธิพลทางอ้อมจากจิตลักษณะโดย ส่งผ่านจิตลักษณะตามสถานการณ์ ประกอบ ด้วย เจตคติต่อพฤติกรรมอาสาสมัคร 2. พฤติกรรมอาสาสมัครด้านพฤติกรรม บ�ำเพ็ญประโยชน์ของนักศึกษา อธิบายได้ตาม โมเดลซึ่งได้รับอิทธิพลทางตรงจากจิตลักษณะ ตามสถานการณ์ ประกอบด้ ว ย เจตคติ ต ่ อ พฤติกรรมอาสาสมัคร และได้รับอิทธิพลทาง อ้อมจากสถานการณ์ทางสังคม โดยส่งผ่านจิต ลั ก ษณะ และจิ ต ลั ก ษณะตามสถานการณ์ ประกอบด้วย เจตคติต่อพฤติกรรมอาสาสมัคร และได้รบั อิทธิพลทางอ้อมจากจิตลักษณะ โดย ส่งผ่านจิตลักษณะตามสถานการณ์ ประกอบ ด้วย เจตคติต่อพฤติกรรมอาสาสมัคร 3. พฤติกรรมอาสาสมัครด้านพฤติกรรม เสียสละของนักศึกษา อธิบายได้ตามโมเดล ซึ่งได้รับอิทธิพลทางตรงจากจิตลักษณะตาม สถานการณ์ ประกอบด้ ว ย เจตคติ ต ่ อ พฤติกรรมอาสาสมัคร และได้รับอิทธิพลทาง
รัตวัลย์ ศิริเลี้ยง, วัลภา สบายยิ่ง, โกศล มีคุณ และ ดุษฎี โยเหลา
อ้อมจากสถานการณ์ทางสังคม โดยส่งผ่าน จิตลักษณะและจิตลักษณะตามสถานการณ์ ประกอบด้วย เจตคติต่อพฤติกรรมอาสาสมัคร และได้รับอิทธิพลทางอ้อมจากจิตลักษณะโดย ส่งผ่านจิตลักษณะตามสถานการณ์ ประกอบ ด้วย เจตคติต่อพฤติกรรมอาสาสมัคร แนวคิดและทฤษฏีที่ใช้ในการวิจัย 1. ทฤษฏีปฏิสัมพันธ์นิยม (Interactionism Model) ของแมคนัสสันและแอดเล่อร์ (Magnson & Endler, 1977) โดยได้สรุปว่า พฤติกรรมอาสาสมัครเกิดจากสาเหตุที่ส�ำคัญ 4 ประเภท คือ 1) สาเหตุดา้ นสถานการณ์ทสี่ ง่ ผลต่อพฤติกรรมอาสาสมัคร เป็นสาเหตุที่อยู่ ภายนอกตัวบุคคลที่ส่งผลต่อพฤติกรรมของ บุ ค คล 2) สาเหตุ ท างจิ ต ลั ก ษณะเดิ ม เป็ น สาเหตุทางจิตใจที่ติดตัวมาตั้งแต่ดั้งเดิม ซึ่งส่ง ผลต่ อ พฤติ ก รรมอาสาสมั ค รของนั ก ศึ ก ษา ได้แก่ ความเอือ้ เฟือ้ เผือ่ แผ่ แรงจูงใจใฝ่สมั ฤทธิ์ ความเชื่ออ�ำนาจในตน เหตุผลเชิงจริยธรรม เอกลั ก ษณ์ ใ นบทบาทอาสาสมั ค ร การรั บ รู ้ เกียรติภูมิของมหาวิทยาลัย 3) สาเหตุที่เกิด จากปฏิสัมพันธ์ระหว่างจิตลักษณะเดิมร่วม กับสถานการณ์ ซึง่ เป็นอิทธิพลร่วมกันระหว่าง จิ ต ลั ก ษณะเดิ ม ของบุ ค คลกั บ สถานการณ์ ที่
บุ คคลก� ำ ลั ง เผชิ ญ และ 4) จิ ตลั กษณะตาม สถานการณ์ เป็นลักษณะจิตใจของบุคคลที่ กระท� ำ ที่ เ ป็ น ผลของปฏิ สั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า ง สถานการณ์ปัจจุบันของบุคคลกับจิตลักษณะ เดิม ท�ำให้จิตลักษณะนั้นเกิดการเปลี่ยนแปลง ไปตามสถานการณ์ที่บุคคลเผชิญ คือ เจตคติ ต่อพฤติกรรมอาสาสมัคร 2. ทฤษฎีต้นไม้จริยธรรม จะขยายส่วน ทีเ่ ป็นจิตลักษณะในทฤษฏีปฏิสมั พันธ์นยิ ม อาจ กล่ า วได้ ว ่ า การมี พ ฤติ ก รรมอาสาสมั ค รนั้ น เกี่ยวข้องกับการมีจิตลักษณะที่ส่งเสริมให้เกิด พฤติกรรมอาสาสมัคร ความสัมพันธ์ในเชิงเหตุ และผล ระหว่ า งจิ ต ลั ก ษณะและพฤติ ก รรม ต่างๆ ทีป่ รารถนา คือ พฤติกรรมการเป็นคนดี และคนเก่ง ซึ่งทฤษฏีต้นไม้จริยธรรม ถูกน�ำ เสนอโดยดวงเดือน พันธุมนาวิน (2544) ได้ สรุปความสัมพันธ์ในเชิงสาเหตุและผลระหว่าง จิตลักษณะกับพฤติกรรมต่างๆ ที่น่าปรารถนา ของคนดีและคนเก่ง ในงานวิจัยครั้งนี้ได้น�ำ ตัวแปรจิตลักษณะตามทฤษฎีต้นไม้จริยธรรม มาร่วมด้วย คือ แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ ความเชื่อ อ�ำนาจในตน เหตุผลเชิงจริยธรรม ทัศนคติหรือ เจตคติต่อพฤติกรรมอาสาสมัคร โดยสรุปเป็น กรอบแนวคิดในการวิจัย ดังนี้
ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2018/2561 123
จิตลักษณะและสถานการณ์ทางสังคมทีเ่ กีย่ วข้องกับพฤติกรรมอาสาสมัครของนักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ สถานการณ์ทางสังคม 1. การสนับสนุนทางสังคม 2. การคาดหวังทางสังคม 3. การมีแบบอย่างในการอาสา 4. การท�ำกิจกรรมอาสาในอดีต จิตลักษณะ 1. ความอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ 2. แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ 3. ความเชื่ออ�ำนาจในตน 4. เหตุผลเชิงจริยธรรม 5. เอกลักษณ์ในบทบาทอาสาสมัคร 6. การรับรู้เกียรติภูมิของมหาวิทยาลัย
จิตลักษณะตามสถานการณ์ เจตคติต่อพฤติกรรมอาสาสมัคร
นิยามศัพท์เฉพาะ 1. จิตลักษณะ หมายถึง การทีน่ กั ศึกษา มีความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ต่อผู้อื่น มุ่งมั่นและมี ความปรารถนา มีความเพียรพยายามทีก่ ระท�ำ พฤติกรรมอาสาสมัคร พฤติกรรมอาสาสมัคร ด้ า นพฤติ ก รรมบ� ำ เพ็ ญ ประโยชน์ และ พฤติกรรมอาสาสมัครด้านพฤติกรรมเสียสละ ให้ประสบผลส�ำเร็จโดยไม่ย่อท้อต่ออุปสรรค เพื่อให้บรรลุเป้าหมายที่ก�ำหนดไว้ มีความเชื่อ หรือรับรู้เหตุการณ์หรือสิ่งต่างๆ ที่เกิดขึ้นกับ ตนเองว่ า เป็ น ผลจากการกระท� ำ หรื อ ความ สามารถและประสบการณ์ของตนเอง ตัดสินใจ ที่จะกระท�ำหรือเลือกที่จะไม่กระท�ำพฤติกรรม
124 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
1. พฤติกรรมอาสาสมัคร 2. พฤติกรรมอาสาสมัคร ด้านพฤติกรรมบ�ำเพ็ญประโยชน์ 3. พฤติกรรมอาสาสมัคร ด้านพฤติกรรมเสียสละ
แผนภูมิที่ 1 กรอบแนวคิดในการวิจัย
ที่ไม่เกิดประโยชน์ต่อตนเองและผู้อื่น มีความ เข้าใจตนเอง รับรู้การกระท�ำของตนเองและ ผู้อื่นเมื่อเข้าร่วมหรือกระท�ำพฤติกรรมอาสา สมัคร พฤติกรรมอาสาสมัครด้านพฤติกรรม บ�ำเพ็ญประโยชน์ และพฤติกรรมอาสาสมัคร ด้านพฤติกรรมเสียสละเมื่ออยู่ในมหาวิทยาลัย 2. สถานการณ์ ท างสั ง คม หมายถึ ง สภาพปั จ จุ บั น ของนั ก ศึ ก ษาที่ ไ ด้ รั บ การ สนับสนุนและการได้เห็นแบบอย่างจากบิดา มารดา ญาติพี่น้อง อาจารย์ เพื่อน เกี่ยวกับ กระท�ำพฤติกรรมอาสาสมัคร พฤติกรรมอาสา สมัครด้านพฤติกรรมบ�ำเพ็ญประโยชน์ และ
รัตวัลย์ ศิริเลี้ยง, วัลภา สบายยิ่ง, โกศล มีคุณ และ ดุษฎี โยเหลา
พฤติกรรมอาสาสมัครด้านพฤติกรรมเสียสละ ที่ผ่านมาได้เคยเข้าร่วมหรือกระท�ำพฤติกรรม ดังกล่าวมาแล้วในอดีต จนท�ำให้สงั คมคาดหวัง ให้ นั ก ศึ ก ษาแสดงบทบาทในการกระท� ำ พฤติกรรมอาสาสมัคร พฤติกรรมอาสาสมัคร ด้ า นพฤติ ก รรมบ� ำ เพ็ ญ ประโยชน์ และ พฤติกรรมอาสาสมัครด้านพฤติกรรมเสียสละ 3. จิตลักษณะตามสถานการณ์ หมายถึง เจตคติต่อพฤติกรรมอาสาสมัคร ประกอบด้วย ความรู้เชิงประเมิน ความรู้สึกชอบและความ พร้อมที่จะกระท�ำพฤติกรรมอาสาสมัคร 4. พฤติ ก รรมอาสาสมั ค ร หมายถึ ง การกระท�ำของนักศึกษาที่เป็นประโยชน์เพื่อ ส่วนรวมและสังคม ซึง่ เป็นการกระท�ำทีต่ อ้ งเสีย สละแรงกาย เวลา หรือทุนทรัพย์ ด้วยความ สมัครใจโดยมิได้หวังผลตอบแทน ประกอบด้วย พฤติกรรมอาสาสมัครด้านพฤติกรรมบ�ำเพ็ญ ประโยชน์ และพฤติ ก รรมอาสาสมั ค รด้ า น พฤติกรรมเสียสละ วิธีด�ำเนินการวิจัย การวิ จั ย ครั้ ง นี้ เ ป็ น การวิ จั ย เชิ ง สหสั ม พั น ธ์ เ พื่ อ พั ฒ นาโมเดลความสั ม พั น ธ์ เชิ ง สาเหตุของพฤติกรรมอาสาสมัคร พฤติกรรม อาสาสมัครด้านพฤติกรรมบ�ำเพ็ญประโยชน์ และพฤติกรรมอาสาสมัครด้านพฤติกรรมเสีย สละของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏในภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ
1. ประชากร คื อ นั ก ศึ ก ษาระดั บ ปริญญาตรี ภาคปกติ ของมหาวิทยาลัยราชภัฏ ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จ�ำนวน 11 แห่ง ได้แก่มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย มหาวิทยาลัย ราชภัฏชัยภูมิ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม มหาวิทยาลัย ราชภั ฏ นครราชสี ม า มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ สกลนคร มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ บุ รี รั ม ย์ มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ สุ ริ น ทร์ มหาวิ ท ยาลั ย มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี มหาวิทยาลัย ราชภัฏศรีสะเกษ มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด จ�ำนวน 11,200 คน 2. กลุ่มตัวอย่าง ก�ำหนดกลุ่มตัวอย่าง โดยใช้ 20 เท่าของตัวแปรสังเกตได้ 15 ตัวแปร ได้จ�ำนวน 300 คน แบ่งกลุ่มย่อย 3 กลุ่ม คือ กลุ ่ ม มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ อี ส านเหนื อ กลุ ่ ม มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ อี ส านใต้ และกลุ ่ ม มหาวิทยาลัยราชภัฏจัดตั้งใหม่ กลุ่มละ 300 คน จึงได้กลุ่มตัวอย่างทั้งสิ้น 900 คน และ สุม่ แบบหลายขัน้ ตอน (Multi-stage Sampling) โดยสุ่มคณะ มหาวิทยาลัยละ 1 คณะ ได้แก่ คณะวิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี คณะ ครุศาสตร์คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ คณะเทคโนโลยี อุ ต สาหกรรม และคณะ ศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ จากนั้นสุ่มสาขา วิชาและห้องเรียน ชั้นปีที่ 3-4 ที่สังกัดคณะ นั้นๆ ชั้นปีละ 41 คน
ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2018/2561 125
จิตลักษณะและสถานการณ์ทางสังคมทีเ่ กีย่ วข้องกับพฤติกรรมอาสาสมัครของนักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
3. เครื่ อ งมื อ ที่ ใ ช้ ใ นการวิ จั ย คื อ แบบสอบถาม จ�ำนวน 13 ชุด จ�ำแนกเป็น 3.1 แบบสอบถามที่ ส ร้ า ง ได้ แ ก่ 1) แบบสอบถามเกี่ยวกับข้อมูลทั่วไป ทางชี ว สั ง คมและภู มิ ห ลั ง 2) แบบ สอบถามความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ 3) แบบ สอบถามการสนั บ สนุ น ทางสั ง คม 4) แบบสอบถามการมีแบบอย่างในการ อาสา 5) แบบสอบถามการท�ำกิจกรรม อาสาในอดีต 6) แบบสอบถามเจตคติ ต่อพฤติกรรมอาสาสมัคร 7) แบบสอบ ถามพฤติกรรมอาสาสมัคร 3.2 แบบสอบถามที่ปรับปรุงจากผู้อื่น ได้ แ ก่ 1) แบบสอบถามแรงจู ง ใจ ใฝ่สัมฤทธิ์ 2) แบบสอบถามความเชื่อ อ�ำนาจในตน 3) แบบสอบถามเหตุผล
เชิ ง จริ ย ธรรม 4) แบบสอบถาม เอกลั ก ษณ์ ใ นบทบาทอาสาสมั ค ร 5) แบบสอบถามการรับรูเ้ กียรติภมู ขิ อง มหาวิทยาลัย 6) แบบสอบถามการคาด หวังทางสังคม 4. การเก็บรวบรวมข้อมูล เก็บรวบรวม ข้อมูลด้วยตนเอง ระหว่างเดือนพฤศจิกายนธันวาคม 2558 5. การหาคุณภาพเครือ่ งมือ ผูว้ จิ ยั ได้นำ� แบบสอบถามที่ ผู ้ วิ จั ย สร้ า งขึ้ น ไปทดลองใช้ ซึ่ ง เป็ น กลุ ่ ม ตั ว อย่ า งที่ มี ลั ก ษณะคล้ า ยกลุ ่ ม ตัวอย่างจริง คือ กลุ่มตัวอย่างที่เป็นนักศึกษา ชัน้ ปีท ี่ 3-4 จ�ำนวน 100 คน โดยเก็บข้อมูลใน ภาคการศึ ก ษาที่ 2/2557 รายละเอี ย ดดั ง ตารางที่ 1
ตารางที่ 1 ผลการหาคุณภาพของเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย แบบสอบถาม จ�ำนวนข้อ พิสัยค่า t-ratio พิสัยค่า r ความเชื่อมั่น 1. การสนับสนุนทางสังคม 10 4.88-6.90 0.44-0.69 2. การมีแบบอย่างในการอาสา 10 5.27-9.64 0.59-0.82 3. การท�ำกิจกรรมอาสาในอดีต 10 4.97-10.81 0.48-0.70 4. ความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ 10 5.20-6.82 0.58-0.70 5. เจตคติต่อพฤติกรรมอาสาสมัคร 10 5.20-6.82 0.58-0.70 6. พฤติกรรมอาสาสมัคร 10 5.09-8.43 0.53-0.72
126 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
.79 .86 .79 .76 .83 .76
รัตวัลย์ ศิริเลี้ยง, วัลภา สบายยิ่ง, โกศล มีคุณ และ ดุษฎี โยเหลา
6. การวิเคราะห์ข้อมูล การวิเคราะห์ ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรสถานการณ์ทาง สังคม จิตลักษณะ จิตลักษณะตามสถานการณ์ ประกอบด้วยเจตคติต่อพฤติกรรมอาสาสมัคร และพฤติ ก รรมอาสาสมั ค ร ประกอบด้ ว ย พฤติกรรมอาสาสมัครด้านพฤติกรรมบ�ำเพ็ญ ประโยชน์ และพฤติ ก รรมอาสาสมั ค รด้ า น พฤติกรรมเสียสละของนักศึกษามหาวิทยาลัย ราชภัฏในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 6.1 การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น เพื่อ อธิบายลักษณะทางชีวสังคมและตัวแปร ที่ ใ ช้ ใ นการวิ จั ย โดยใช้ โ ปรแกรม คอมพิ ว เตอร์ ส� ำ เร็ จ รู ป ในการหาค่ า สถิติพื้นฐาน ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าความเบ้ ค่าความโด่งของตัวแปรสังเกตได้ ทีใ่ ช้ใน การอธิบายโมเดลที่ท�ำให้ทราบลักษณะ การแจกแจงของตั ว แปร และหาค่ า ความสั ม พั น ธ์ ร ายตั ว แปรเพื่ อ ทราบ ความสัมพันธ์เบื้องต้น 6.2 การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อหาค�ำตอบ การวิ จั ย ตามวั ต ถุ ป ระสงค์ โดยใช้ โปรแกรม LISREL Version 8.30 เพื่อ วิ เ คราะห์ อิ ท ธิ พ ลของตั ว แปรตาม สมมติฐานที่วางไว้
6.2.1 การตรวจสอบความตรงเชิ ง โครงสร้าง (construct validity) ใช้ใน การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน เพื่อตรวจสอบว่าเมทริกซ์สัมประสิทธิ์ สหสัมพันธ์แตกต่างจากศูนย์ ค่าสถิติที่ ใช้ทดสอบสมมติฐาน คือ Bartlett,s Test of Sphericity และค่ า ดั ช นี ไกเซอร์ เมเยอร์-ออลคิน (Kaiser-meyer-olkin measure of sampling adequacy = KMO) ค่า KMO ควรมี ค่าใกล้ 1 ถ้ามีค่าน้อยแสดงว่าความ สัมพันธ์ระหว่างตัวแปรมีนอ้ ย ไม่เหมาะ สมทีจ่ ะวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน (นงลั ก ษณ์ วิ รั ช ชั ย , 2542) เมื่ อ ได้ เมทริกซ์สมั ประสิทธิส์ หสัมพันธ์ระหว่าง ตั ว แปร แล้ ว จึ ง วิ เ คราะห์ โ ปรแกรม ลิสเรลต่อไป 6.2.2 การวิ เ คราะห์ ค วามสั ม พั น ธ์ ระหว่างตัวแปรสังเกตได้ในโมเดลเชิง สาเหตุของพฤติกรรมอาสาสมัครของ นั ก ศึ ก ษาด้ ว ยการหาค่ า สั ม ประสิ ท ธิ์ สหสั ม พั น ธ์ แ บบเพี ย ร์ สั น โดยใช้ โปรแกรม LISREL Version 8.30 ใน การก�ำหนดค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์
ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2018/2561 127
จิตลักษณะและสถานการณ์ทางสังคมทีเ่ กีย่ วข้องกับพฤติกรรมอาสาสมัครของนักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
สรุปผลการวิจัย 1. โมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของ สถานการณ์ทางสังคม จิตลักษณะ จิตลักษณะ ตามสถานการณ์ ประกอบด้ ว ย เจตคติ ต ่ อ พฤติ ก รรมอาสาสมั ค ร กั บ พฤติ ก รรมอาสา สมัครของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏในภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ ผลการทดสอบโมเดล ความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของพฤติกรรมอาสา สมัครตามสมมติฐานข้อที่ 1 ซึ่งเป็นโมเดลที่ สอดคล้ อ งกั บ ข้ อ มู ล เชิ ง ประจั ก ษ์ โดยเส้ น อิทธิพลมีนัยส�ำคัญทางสถิติทุกตัวแปร รวมทั้ง ค่าการทดสอบความกลมกลืนอยู่ในเกณฑ์ที่ ยอมรั บ ได้ ทุ ก ค่ า กล่ า วคื อ ค่ า ไค-สแควร์ = 40.15, df = 41, p = 0.51, GFI = 0.99, AGFI= 0.98, RMSEA = 0.00, CN =1455.56 รายละเอียดดังแผนภูมิที่ 2 และตารางที่ 2
6.3 การวิเคราะห์ตรวจสอบความตรง ของโมเดล เพื่ อ ตรวจสอบความ สอดคล้ อ งของโมเดลกั บ ข้ อ มู ล เชิ ง ประจั ก ษ์ รวมทั้ ง การค� ำ นวณขนาด อิทธิพลรวม อิทธิพลทางตรง อิทธิพล ท า ง อ ้ อ ม ข อ ง จิ ต ลั ก ษ ณ ะ แ ล ะ สถานการณ์ทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับ พฤติกรรมอาสาสมัคร พฤติกรรมอาสา สมัครด้านพฤติกรรมบ�ำเพ็ญประโยชน์ แ ล ะ พ ฤ ติ ก ร ร ม อ า ส า ส มั ค ร ด ้ า น พฤติกรรมเสียสละของนักศึกษา โดยใช้ โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำ� เร็จรูป ค่าสถิติ ทีใ่ ช้ คือ ค่าไค-สแควร์ ค่าดัชนีวดั ระดับ ความกลมกลืน ค่าดัชนีวัดระดับความ กลมกลืนที่ปรับแล้ว และค่าดัชนีราก ก�ำลังสองเฉลี่ยของส่วนที่เหลือ
ตารางที่ 2 ผลการวิเคราะห์อิทธิพลทางตรง อิทธิพลทางอ้อม และอิทธิพลรวมของตัวแปรเชิงสาเหตุที่เกี่ยวข้อง กับตัวแปรผล และค่าสัมประสิทธิสหสัมพันธ์เชิงพหุยกก�ำลังสองของตัวแปรพฤติกรรมอาสาสมัคร ตัวแปรผล จิตลักษณะ
ตัวแปรเหตุ
เจตคติต่อพฤติกรรม อาสาสมัคร
DE
IE
0.93 (17.72)
-
จิตลักษณะ
-
-
-
0.25 (2.08)
-
เจตคติต่อพฤติกรรมอาสาสมัคร
-
-
-
-
-
สถานการณ์ทางสังคม
SMC
0.87
*p < .05, ในวงเล็บคือค่า t 128 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
TE
DE
IE
TE
0.93 0.61 0.24 0.85 (17.72) (4.62) (2.10) (18.86)
0.73
พฤติกรรมอาสาสมัคร DE
IE
TE
-
0.81 0.81 (23.61) (23.61)
0.25 (2.08)
-
0.24 (2.00)
0.24 (2.00)
-
0.96 (20.44)
-
0.96 (20.47)
0.81
รัตวัลย์ ศิริเลี้ยง, วัลภา สบายยิ่ง, โกศล มีคุณ และ ดุษฎี โยเหลา
แผนภูมิที่ 2 โมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของสถานการณ์ทางสังคม จิตลักษณะ จิตลักษณะตามสถานการณ์ ประกอบด้วย เจตคติตอ่ พฤติกรรมอาสาสมัคร กับพฤติกรรมอาสาสมัครของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏในภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ
สถานการณ์ทางสังคมมีอทิ ธิพลทางตรง ต่อจิตลักษณะ มีค่าอิทธิพลเท่ากับ 0.93 มี อิทธิพลทางตรงต่อเจตคติต่อพฤติกรรมอาสา สมัคร มีคา่ อิทธิพลเท่ากับ 0.61 มีอทิ ธิพลทาง อ้อมต่อเจตคติต่อพฤติกรรมอาสาสมัคร โดย ส่งผ่านจิตลักษณะ มีค่าอิทธิพลเท่ากับ 0.24 และมีอทิ ธิพลทางอ้อมต่อพฤติกรรมอาสาสมัคร เท่ า กั บ 0.81 โดยส่ ง ผ่ า นสองเส้ น ทาง คื อ 1) ส่งผ่านจิตลักษณะ และเจตคติตอ่ พฤติกรรม อาสาสมัคร มีค่าอิทธิพลเท่ากับ 0.22 และ 2) ส่งผ่านเจตคติตอ่ พฤติกรรมอาสาสมัคร มีคา่ อิทธิพลเท่ากับ 0.59 จิตลักษณะมีอทิ ธิพลทาง
ตรงต่อเจตคติต่อพฤติกรรมอาสาสมัคร มีค่า อิทธิพลเท่ากับ 0.25 และมีอิทธิพลทางอ้อม ต่อพฤติกรรมอาสาสมัคร โดยส่งผ่านเจตคติ ต่อพฤติกรรมอาสาสมัคร มีค่าอิทธิพลเท่ากับ 0.24 และ3) เจตคติต่อพฤติกรรมอาสาสมัคร มี อิ ท ธิ พ ลทางตรงต่ อ พฤติ ก รรมอาสาสมั ค ร มีค่าอิทธิพลเท่ากับ 0.96 ส�ำหรับค่าสัมประสิทธิส์ หสัมพันธ์เชิงพหุ ยกก�ำลังสอง (Squared Multiple Correlation: SMC) พบว่า จิตลักษณะ มีค่าเท่ากับ 0.87 แสดงว่าร้อยละ 87 ของความแปรปรวนของ จิตลักษณะ สามารถอธิบายได้ดว้ ยสถานการณ์
ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2018/2561 129
จิตลักษณะและสถานการณ์ทางสังคมทีเ่ กีย่ วข้องกับพฤติกรรมอาสาสมัครของนักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ทางสั ง คม เจตคติต่อพฤติก รรมอาสาสมัคร มีค่าเท่ากับ 0.73 แสดงว่าร้อยละ 73 ของ ความแปรปรวนของเจตคติต่อพฤติกรรมอาสา สมัคร สามารถอธิบายได้ด้วยสถานการณ์ทาง สั ง คมและจิ ตลัก ษณะ และพฤติก รรมอาสา สมัคร มีค่าเท่ากับ 0.81 แสดงว่าร้อยละ 81 ของความแปรปรวนของพฤติกรรมอาสาสมัคร สามารถอธิบายได้ด้วยโมเดลนี้ 2. โมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของ สถานการณ์ทางสังคม จิตลักษณะ จิตลักษณะ ตามสถานการณ์ ประกอบด้ ว ย เจตคติ ต ่ อ พฤติ ก รรมอาสาสมั ค ร กั บ พฤติ ก รรมอาสา สมั ค รด้ า นพฤติ ก รรมบ� ำ เพ็ ญ ประโยชน์ ข อง
นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏในภาคตะวันออก เฉียงเหนือ ผลการทดสอบโมเดลความสัมพันธ์ เชิ ง สาเหตุ ข องพฤติ ก รรมอาสาสมั ค รด้ า น พฤติกรรมบ�ำเพ็ญประโยชน์ ตามสมมติฐาน ข้อที่ 2 ซึ่งเป็นโมเดลที่สอดคล้องกับข้อมูล เชิงประจักษ์ โดยเส้นอิทธิพลมีนัยส�ำคัญทาง สถิติทุกตัวแปร รวมทั้งค่าการทดสอบความ กลมกลืนอยู่ในเกณฑ์ที่ยอมรับได้ทุกค่า กล่าว คือ ค่าไค-สแควร์ = 32.11, df = 35, p = .61, GFI = 0.99, AGFI = 0.98, RMSEA = 0.00, CN = 1621.62 รายละเอียดดังแผนภูมิที่ 3 และตารางที่ 3
ตารางที่ 3 ผลการวิเคราะห์อิทธิพลทางตรง อิทธิพลทางอ้อม และอิทธิพลรวมของตัวแปรเชิงสาเหตุที่เกี่ยวข้อง กับตัวแปรผล และค่าสัมประสิทธิส์ หสัมพันธ์เชิงพหุยกก�ำลังสองของตัวแปรพฤติกรรมอาสาสมัครด้านพฤติกรรม บ�ำเพ็ญประโยชน์ ตัวแปรผล จิตลักษณะ
ตัวแปรเหตุ
เจตคติต่อพฤติกรรม อาสาสมัคร
DE
IE
0.77 (16.38)
-
จิตลักษณะ
-
-
-
0.25 (3.40)
-
เจตคติต่อพฤติกรรมอาสาสมัคร
-
-
-
-
-
สถานการณ์ทางสังคม
SMC
0.60
*p < .05, ในวงเล็บคือค่า t 130 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
TE
DE
IE
TE
0.77 0.67 0.19 0.86 (16.38) (9.28) (3.54) (21.16)
0.76
พฤติกรรมอาสาสมัคร ด้านพฤติกรรมบ�ำเพ็ญ ประโยชน์ DE
IE
TE
-
1.16 1.16 (17.05) (17.05)
0.25 (3.40)
-
0.33 (3.43)
0.33 (3.43)
-
1.35 (18.65)
-
0.96 (20.47)
0.65
รัตวัลย์ ศิริเลี้ยง, วัลภา สบายยิ่ง, โกศล มีคุณ และ ดุษฎี โยเหลา
แผนภูมิที่ 3 โมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของสถานการณ์ทางสังคม จิตลักษณะ จิตลักษณะตามสถานการณ์ ประกอบด้วย เจตคติต่อพฤติกรรมอาสาสมัคร กับพฤติกรรมอาสาสมัครด้านพฤติกรรมบ�ำเพ็ญประโยชน์ของ นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
สถานการณ์ทางสังคมมีอทิ ธิพลทางตรง ต่ อ จิ ต ลั ก ษณะ มี ค ่ า อิ ท ธิ พ ลเท่ า กั บ 0.77 มีอทิ ธิพลทางตรงต่อเจตคติตอ่ พฤติกรรมอาสา สมัคร มีคา่ อิทธิพลเท่ากับ 0.67 มีอทิ ธิพลทาง อ้อมต่อเจตคติตอ่ พฤติกรรมอาสาสมัคร โดยส่ง ผ่านจิตลักษณะ มีคา่ อิทธิพลเท่ากับ 0.19 และ มีอทิ ธิพลทางอ้อมต่อพฤติกรรมอาสาสมัครด้าน พฤติกรรมบ�ำเพ็ญประโยชน์ เท่ากับ 1.16 โดย ส่งผ่านสองเส้นทาง คือ 1) ส่งผ่านจิตลักษณะ และเจตคติ ต ่ อ พฤติ ก รรมอาสาสมั ค ร มี ค ่ า อิทธิพลเท่ากับ 0.26 และ 2) ส่งผ่านเจตคติ ต่อพฤติกรรมอาสาสมัคร มีค่าอิทธิพลเท่ากับ
0.90 จิตลักษณะมีอิทธิพลทางตรงต่อเจตคติ ต่อพฤติกรรมอาสาสมัคร มีค่าอิทธิพลเท่ากับ 0.25 และมีอทิ ธิพลทางอ้อมต่อพฤติกรรมอาสา สมัครด้านพฤติกรรมบ�ำเพ็ญประโยชน์ โดยส่ง ผ่ า นเจตคติ ต ่ อ พฤติ ก รรมอาสาสมั ค ร มี ค ่ า อิ ท ธิ พ ลเท่ า กั บ 0.33 และ3) เจตคติ ต ่ อ พฤติ ก รรมอาสาสมั ค รมี อิ ท ธิ พ ลทางตรงต่ อ พฤติกรรมอาสาสมัครด้านพฤติกรรมบ�ำเพ็ญ ประโยชน์ มีค่าอิทธิพลเท่ากับ 1.35 ส�ำหรับค่าสัมประสิทธิส์ หสัมพันธ์เชิงพหุ ยกก�ำลังสอง (Squared Multiple Correlation: SMC) พบว่า จิตลักษณะ มีค่าเท่ากับ 0.60
ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2018/2561 131
จิตลักษณะและสถานการณ์ทางสังคมทีเ่ กีย่ วข้องกับพฤติกรรมอาสาสมัครของนักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
แสดงว่าร้อยละ 60 ของความแปรปรวนของ จิตลักษณะ สามารถอธิบายได้ดว้ ยสถานการณ์ ทางสั ง คม เจตคติต่อพฤติก รรมอาสาสมัคร มีค่าเท่ากับ 0.76 แสดงว่าร้อยละ 76 ของ ความแปรปรวนของเจตคติต่อพฤติกรรมอาสา สมัคร สามารถอธิบายได้ด้วยสถานการณ์ทาง สั ง คมและจิ ตลัก ษณะ และพฤติก รรมอาสา สมัครด้านพฤติกรรมบ�ำเพ็ญประโยชน์ มีค่า เท่ากับ 0.65 แสดงว่าร้อยละ 65 ของความ แปรปรวนของพฤติ ก รรมอาสาสมั ค รด้ า น พฤติกรรมบ�ำเพ็ญประโยชน์ สามารถอธิบายได้ ด้วยโมเดลนี้ 3. โมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของ สถานการณ์ทางสังคม จิตลักษณะ จิตลักษณะ ตามสถานการณ์ ประกอบด้ ว ย เจตคติ ต ่ อ
พฤติ ก รรมอาสาสมั ค ร กั บ พฤติ ก รรมอาสา สมั ค รด้ า นพฤติ ก รรมเสี ย สละของนั ก ศึ ก ษา มหาวิทยาลัยราชภัฏในภาคตะวันออกเฉียง เหนือ ผลการทดสอบโมเดลความสัมพันธ์เชิง สาเหตุ ข องพฤติ ก รรมอาสาสมั ค รด้ า น พฤติ ก รรมเสี ย สละ ตามสมมติ ฐ านข้ อ ที่ 3 ซึง่ เป็นโมเดลทีส่ อดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยเส้นอิทธิพลมีนัยส�ำคัญทางสถิติทุกตัวแปร รวมทั้ ง ค่ า การทดสอบความกลมกลื น อยู ่ ใ น เกณฑ์ทยี่ อมรับได้ทกุ ค่า กล่าวคือ ค่าไค-สแควร์ = 25.42, df = 33, p = 0.82, GFI = 1.00, AGFI = 0.99, RMSEA = 0.00, CN = 1941.19 รายละเอี ย ดดั ง แผนภู มิ ที่ 4 และตารางที่ 4
ตารางที่ 4 ผลการวิเคราะห์อิทธิพลทางตรง อิทธิพลทางอ้อม และอิทธิพลรวมของตัวแปรเชิงสาเหตุที่เกี่ยวข้อง กับตัวแปรผล และค่าสัมประสิทธิส์ หสัมพันธ์เชิงพหุยกก�ำลังสองของตัวแปรพฤติกรรมอาสาสมัครด้านพฤติกรรม เสียสละ ตัวแปรผล จิตลักษณะ
ตัวแปรเหตุ
เจตคติต่อพฤติกรรม อาสาสมัคร
DE
IE
0.78 (16.46)
-
จิตลักษณะ
-
-
-
0.24 (3.27)
-
เจตคติต่อพฤติกรรมอาสาสมัคร
-
-
-
-
-
สถานการณ์ทางสังคม
SMC
0.60
*p < .05, ในวงเล็บคือค่า t 132 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
TE
DE
IE
TE
0.78 0.67 0.19 0.86 (16.46) (9.34) (3.41) (21.18)
0.76
พฤติกรรมอาสาสมัคร ด้านพฤติกรรมเสียสละ DE
IE
TE
-
1.02 1.02 (13.91) (13.91)
0.24 (3.27)
-
0.28 (3.32)
0.28 (3.32)
-
1.19 (15.17)
-
1.19 (15.17)
0.65
รัตวัลย์ ศิริเลี้ยง, วัลภา สบายยิ่ง, โกศล มีคุณ และ ดุษฎี โยเหลา
แผนภูมิที่ 4 โมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของสถานการณ์ทางสังคม จิตลักษณะ จิตลักษณะตามสถานการณ์ ประกอบด้วย เจตคติต่อพฤติกรรมอาสาสมัคร กับพฤติกรรมอาสาสมัครด้านพฤติกรรมเสียสละของนักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
สถานการณ์ทางสังคมมีอทิ ธิพลทางตรง ต่ อ จิ ต ลั ก ษณะ มี ค ่ า อิ ท ธิ พ ลเท่ า กั บ 0.78 มีอทิ ธิพลทางตรงต่อเจตคติตอ่ พฤติกรรมอาสา สมัคร มีคา่ อิทธิพลเท่ากับ 0.67 มีอทิ ธิพลทาง อ้อมต่อเจตคติตอ่ พฤติกรรมอาสาสมัคร โดยส่ง ผ่านจิตลักษณะ มีคา่ อิทธิพลเท่ากับ 0.19 และ มีอทิ ธิพลทางอ้อมต่อพฤติกรรมอาสาสมัครด้าน พฤติกรรมเสียสละ มีค่าอิทธิพลเท่ากับ 1.02 โดยส่ ง ผ่ า นสองเส้ น ทาง คื อ 1) ส่ ง ผ่ า นจิ ต ลักษณะและเจตคติต่อพฤติกรรมอาสาสมัคร มี ค ่ า อิ ท ธิ พ ลเท่ า กั บ 0.22 และ 2) ส่ ง ผ่ า น เจตคติต่อพฤติกรรมอาสาสมัคร มีค่าอิทธิพล
เท่ากับ 0.80 จิตลักษณะมีอิทธิพลทางตรงต่อ เจตคติต่อพฤติกรรมอาสาสมัคร มีค่าอิทธิพล เท่ า กั บ 0.24 และมี อิ ท ธิ พ ลทางอ้ อ มต่ อ พฤติกรรมอาสาสมัครด้านพฤติกรรมเสียสละ โดยส่งผ่านเจตคติต่อพฤติกรรมอาสาสมัคร มี ค ่ า อิ ท ธิ พ ลเท่ า กั บ 0.28 และเจตคติ ต ่ อ พฤติ ก รรมอาสาสมั ค รมี อิ ท ธิ พ ลทางตรงต่ อ พฤติกรรมอาสาสมัครด้านพฤติกรรมเสียสละ โดยมีค่าอิทธิพลเท่ากับ 1.19 ส�ำหรับค่าสัมประสิทธิส์ หสัมพันธ์เชิงพหุ ยกก�ำลังสอง (Squared Multiple Correlation: SMC) พบว่า จิต ลักษณะมีค่า เท่ ากับ 0.60
ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2018/2561 133
จิตลักษณะและสถานการณ์ทางสังคมทีเ่ กีย่ วข้องกับพฤติกรรมอาสาสมัครของนักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
แสดงว่าร้อยละ 60 ของความแปรปรวนของ จิตลักษณะ สามารถอธิบายได้ดว้ ยสถานการณ์ ทางสั ง คม เจตคติต่อพฤติก รรมอาสาสมัคร มีคา่ เท่ากับ 0.76 แสดงว่าร้อยละ76 ของความ แปรปรวนของเจตคติตอ่ พฤติกรรมอาสาสมัคร สามารถอธิบายได้ด้วยสถานการณ์ทางสังคม และจิตลักษณะ และพฤติกรรมอาสาสมัครด้าน พฤติกรรมเสียสละ มีค่าเท่ากับ 0.60 แสดงว่า ร้อยละ 60 ของความแปรปรวนของพฤติกรรม อาสาสมัครด้านพฤติกรรมเสียสละ สามารถ อธิบายได้ด้วยโมเดลนี้ การอภิปรายผล ผลทีไ่ ด้จากการวิจยั พบว่า โมเดลความ สัมพันธ์เชิงสาเหตุของสถานการณ์ทางสังคม จิตลักษณะ จิตลักษณะตามสถานการณ์ กับ พฤติกรรมอาสาสมัคร, พฤติกรรมอาสาสมัคร ด้ า นพฤติ ก รรมบ� ำ เพ็ ญ ประโยชน์ และ พฤติกรรมอาสาสมัครด้านพฤติกรรมเสียสละ ของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏในภาคตะวัน ออกเฉียงเหนือ ทัง้ สามโมเดลมีความสอดคล้อง กั บ ข้ อ มู ล เชิ ง ประจั ก ษ์ โดยเส้ น อิ ท ธิ พ ลมี นัยส�ำคัญทางสถิติทุกตัวแปร รวมทั้งค่าการ ทดสอบความกลมกลืนอยูใ่ นเกณฑ์ทยี่ อมรับได้ ทุ ก ค่ า สอดคล้ อ งกั บ รายงานการวิ จั ย ของ นั ก วิ ช าการหลายท่ า น เช่ น ณั ฐ ณิ ช ากร ศรีบริบูรณ์ (2550) พบว่า โมเดลเชิงสาเหตุ
134 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
ของจิ ต อาสาของนั ก เรี ย นมั ธ ยมศึ ก ษาตอน ปลายในโรงเรียนสังกัดส�ำนักงานคณะกรรมการ การศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐานที่ พั ฒ นาขึ้ น มี ค วาม สอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ และอนุ เจริญ วงศ์ ร ะยั บ (2552) พบว่ า โมเดลมี ค วาม กลมกลืนใกล้เคียงกับข้อมูลเชิงประจักษ์ใน ระดับดี และเมื่อพิจารณาความสัมพันธ์ของ สถานการณ์ทางสังคม จิตลักษณะ จิตลักษณะ ตามสถานการณ์ ประกอบด้ ว ย เจตคติ ต ่ อ พฤติกรรมอาสาสมัคร มีอิทธิพลทางตรงกับ พฤติกรรมอาสาสมัคร พฤติกรรมอาสาสมัคร ด้ า นพฤติ ก รรมบ� ำ เพ็ ญ ประโยชน์ และ พฤติกรรมอาสาสมัครด้านพฤติกรรมเสียสละ สอดคล้องกับณัฐณิชากร ศรีบริบูรณ์ (2550) พบว่ า เจตคติ ต ่ อ จิ ต อาสามี ค วามส� ำ คั ญ ต่ อ จิตอาสาของนักเรียนระดับชัน้ มัธยมศึกษาตอน ปลายในโรงเรียนสังกัดส�ำนักงานคณะกรรมการ การศึ ก ษาในโรงเรี ย นสั ง กั ด ส� ำ นั ก งานคณะ กรรมการการศึกษาขัน้ พืน้ ฐานมากทีส่ ดุ อย่างมี นัยส�ำคัญทางสถิติที่ .01 ข้อเสนอแนะ ข้อเสนอแนะในการน�ำไปใช้ 1. มหาวิทยาลัยราชภัฏในภาคตะวัน ออกเฉี ย งเหนื อ โดยหน่ ว ยงานที่ ท� ำ หน้ า ที่ จัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาพฤติกรรมอาสาสมัคร ของนักศึกษานั้น ควรส่งเสริม สนับสนุนให้
รัตวัลย์ ศิริเลี้ยง, วัลภา สบายยิ่ง, โกศล มีคุณ และ ดุษฎี โยเหลา
นักศึกษาเข้าร่วมหรือกระท�ำพฤติกรรมอาสา สมัคร เพือ่ ให้นกั ศึกษาได้เห็นแบบอย่างในการ อาสาจากการจัดกิจกรรมอาสาสมัครทัง้ ภายใน และนอกมหาวิทยาลัย ส่งเสริมให้นกั ศึกษาเกิด ความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ต่อผู้อื่นโดยสอดแทรก ในรายวิชาต่างๆ หรือจัดเป็นกิจกรรมต่างหาก และให้ นั ก ศึ ก ษาได้ เ ข้ า ร่ ว มหรื อ กระท� ำ พฤติกรรมเพื่อส่วนรวมเป็นประจ�ำ จนท�ำให้ นักศึกษามีบทบาทการอาสาสมัครในตนเอง อันจะน�ำไปสูค่ วามพร้อมทีจ่ ะกระท�ำพฤติกรรม อาสาสมัคร และกระท�ำพฤติกรรมอาสาสมัคร ต่อไป 2. มหาวิทยาลัยราชภัฏในภาคตะวัน ออกเฉี ย งเหนื อ โดยหน่ ว ยงานที่ ท� ำ หน้ า ที่ จัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาพฤติกรรมอาสาสมัคร ด้านพฤติกรรมบ�ำเพ็ญประโยชน์ของนักศึกษา นัน้ ควรส่งเสริม สนับสนุนให้นกั ศึกษาเข้าร่วม หรื อ กระท� ำ พฤติ ก รรมอาสาสมั ค รด้ า น พฤติ ก รรมบ� ำ เพ็ ญ ประโยชน์ โดยเฉพาะถ้ า นักศึกษาเคยท�ำกิจกรรมอาสาสมัครมาแล้ว ตั้งแต่ในระดับชั้นมัธยมศึกษา จะเป็นการปลูก ฝังการกระท�ำเพื่อส่วนร่วมเพิ่มเติมจากเดิม โดยเน้นกิจกรรมที่ก่อให้เกิดความเอื้อเฟื้อต่อ ผู ้ อื่ น เมื่ อ นั ก ศึ ก ษาเข้ า ร่ ว มหรื อ กระท� ำ พฤติกรรมดังกล่าวเป็นประจ�ำ จะน�ำไปสูค่ วาม ชอบที่ จ ะกระท�ำพฤติก รรมอาสาสมัครด้าน พฤติ ก รรมบ� ำ เพ็ ญ ประโยชน์ และกระท� ำ พฤติกรรมดังกล่าวได้อย่างต่อเนื่อง
3. มหาวิทยาลัยราชภัฏในภาคตะวัน ออกเฉี ย งเหนื อ โดยหน่ ว ยงานที่ ท� ำ หน้ า ที่ จัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาพฤติกรรมอาสาสมัคร ด้ า นพฤติ ก รรมเสี ย สละของนั ก ศึ ก ษานั้ น ควรส่งเสริม สนับสนุนให้นกั ศึกษาเข้าร่วมหรือ กระท�ำพฤติกรรมอาสาสมัครด้านพฤติกรรม เสียสละ และถ้านักศึกษาเคยท�ำกิจกรรมอาสา สมั ค รมาแล้ ว ตั้ ง แต่ ใ นระดั บ ชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษา จะเป็นการปลูกฝังการกระท�ำเพื่อส่วนรวมได้ อย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง กิจกรรมที่ ส่งเสริมความเอื้อเฟื่อเผื่อแผ่ต่อผู้อื่น ซึ่งเป็น กิ จ กรรมที่ จั ด ขึ้ น ทั้ ง ภายในและภายนอก มหาวิทยาลัย จะส่งผลต่อนักศึกษาโดยท�ำให้ นักศึกษามีความชอบที่จะกระท�ำพฤติกรรม ดังกล่าว และเมื่อนักศึกษาเข้าร่วมหรือกระท�ำ กิ จ กรรมเพื่ อ ส่ ว นรวมเป็ น ประจ� ำ จนท� ำ ให้ บทบาทการอาสาสมัครด้านพฤติกรรมเสียสละ กลายเป็นตัวตนของนักศึกษา และน�ำไปสูค่ วาม ชอบที่ จะกระท� ำ พฤติ ก รรมอาสาสมั ค รด้ า น พฤติกรรมเสียสละต่อไป ข้อเสนอแนะในการวิจัยครั้งต่อไป 1. การศึ ก ษาครั้ ง นี้ พบว่ า ตั ว แปรที่ ใช้อธิบายพฤติกรรมอาสาสมัคร เมื่อพิจารณา ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เชิงพหุยกก�ำลังสอง (Squared Multiple Correlation: SMC) สามารถอธิบายความแปรปรวนของพฤติกรรม
ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2018/2561 135
จิตลักษณะและสถานการณ์ทางสังคมทีเ่ กีย่ วข้องกับพฤติกรรมอาสาสมัครของนักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
อาสาสมัครได้รอ้ ยละ 81 แต่เมือ่ แยกวิเคราะห์ ตั ว แปรตาม ตั ว แปรที่ ใช้ อ ธิ บ ายพฤติ ก รรม อาสาสมัครด้านพฤติกรรมบ�ำเพ็ญประโยชน์ สามารถอธิบายความแปรปรวนของพฤติกรรม อาสาสมัครด้านพฤติกรรมบ�ำเพ็ญประโยชน์ได้ ร้อยละ 65 และตัวแปรที่ใช้อธิบายพฤติกรรม อาสาสมัครด้านพฤติกรรมเสียสละ สามารถ อธิบายความแปรปรวนของพฤติกรรมอาสา สมัครด้านพฤติกรรมเสียสละได้ร้อยละ 60 ซึ่ ง ค่ า ที่ แ สดงไม่ แ ตกต่ า งกั น มากนั ก ถ้ า น� ำ โมเดลที่ อ ธิ บ ายพฤติ ก รรมอาสาสมั ค รมาใช้ โดยไม่จำ� เป็นต้องแยกวิเคราะห์ตวั แปรตามเพิม่ ขึ้นได้ หรืออาจจะศึกษาตัวแปรอื่นๆ เพิ่มเติม ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ พฤติ ก รรมอาสาสมั ค รด้ า น พฤติกรรมเสียสละ 2. ผลการศึกษาครั้งนี้เป็นจุดเริ่มต้นใน การพัฒนาโมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของ สถานการณ์ทางสังคม จิตลักษณะ จิตลักษณะ ตามสถานการณ์ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ พฤติ ก รรม อาสาสมั ค ร พฤติ ก รรมอาสาสมั ค รด้ า น พฤติกรรมบ�ำเพ็ญประโยชน์ และพฤติกรรม อาสาสมั ค รด้ า นพฤติ ก รรมเสี ย สละของ นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏในภาคตะวันออก เฉียงเหนือ โดยได้ใช้ทฤษฏีปฏิสมั พันธ์นยิ มและ ตัวแปรในทฤษฏีต้นไม้จริยธรรม ซึ่งแตกต่าง จากรายงานการวิจัยของอนุ วงศ์เจริญระยับ (2552) ทีไ่ ด้ใช้แนวคิดหน้าทีใ่ นการอธิบายการ
136 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
เป็นอาสาสมัครอย่างยั่งยืนในนักศึกษาระดับ ปริ ญ ญาตรี โดยผู ้ วิ จั ย ได้ น� ำ ตั ว แปรบางตั ว ได้แก่ การรับรูค้ วามคาดหวังทางสังคม การรับ รู้เกียรติภูมิขององค์การในการวิจัยนี้มาปรับใช้ ให้เหมาะสม การวิจยั ครัง้ ต่อไปควรมีการศึกษา พฤติ ก รรมอาสาสมั ค รในกลุ ่ ม อื่ น ๆ ที่ สั ง คม ต้ อ งการ ได้ แ ก่ อาสาสมั ค รดู แ ลผู ้ สู ง อายุ ในชุ ม ชน อาสาสมั ค รดู แ ลผู ้ ป ่ ว ยโรคต่ า งๆ อาทิ โรคเบาหวาน โรคเอดส์ อาสาสมัครใน โรงพยาบาล เป็นต้น 3. ผลการศึกษาครัง้ นี ้ พบว่า ตัวแปรจิต ลั ก ษณะบางตั ว ตามทฤษฏี ต ้ น ไม้ จ ริ ย ธรรม ได้ แ ก่ ความเชื่ อ อ� ำ นาจในตน มี ค ่ า น�้ ำ หนั ก องค์ ป ระกอบไม่ ม ากนั ก คื อ มี ค ่ า น�้ ำ หนั ก องค์ประกอบเท่ากับ 0.17 ทั้ง 3 โมเดล คือ 1) โมเดลความสั ม พั น ธ์ เ ชิ ง สาเหตุ ข อง สถานการณ์ทางสังคม จิตลักษณะ จิตลักษณะ ตามสถานการณ์กับพฤติกรรมอาสาสมัครของ นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏในภาคตะวันออก เฉียงเหนือ 2) โมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุ ของสถานการณ์ ท างสั ง คม จิ ต ลั ก ษณะ จิตลักษณะตามสถานการณ์กบั พฤติกรรมอาสา สมั ค รด้ า นพฤติ ก รรมบ� ำ เพ็ ญ ประโยชน์ ข อง นั ก ศึ ก ษา และ3) โมเดลความสั ม พั น ธ์ เชิ ง สาเหตุของสถานการณ์ทางสังคม จิตลักษณะ จิตลักษณะตามสถานการณ์กบั พฤติกรรมอาสา สมั ค รด้ า นพฤติ ก รรมเสี ย สละของนั ก ศึ ก ษา
รัตวัลย์ ศิริเลี้ยง, วัลภา สบายยิ่ง, โกศล มีคุณ และ ดุษฎี โยเหลา
ดังนั้น ถ้าจะน�ำโมเดลที่พัฒนาขึ้นนี้ไปใช้การ วิจัยในรูปแบบอื่นๆ อาจพิจารณาตัดตัวแปร จิตลักษณะนี้ออกได้ 4. ผลการศึกษาในครั้งนี้อาจน�ำความรู้ ทีไ่ ด้จากการวิจยั ไปเป็นแนวทางการท�ำวิจยั เพือ่ สร้างต้นแบบการพัฒนาพฤติกรรมอาสาสมัคร เช่น สร้างต้นแบบพัฒนาจิตลักษณะ ได้แก่ ต้ น แบบการพั ฒ นาการรั บ รู ้ เ กี ย รติ ภู มิ ข อง มหาวิทยาลัยกับเหตุผลเชิงจริยธรรม เพราะ ตัวแปรจิตลักษณะนีม้ คี วามสัมพันธ์กนั สูง หรือ ต้นแบบการพัฒนานักศึกษาให้มคี วามสามารถ ในการท� ำ กิ จ กรรมอาสาสมั ค ร และตั ว แปร จิตลักษณะอื่นๆ จากการพิจารณาค่าน�้ำหนัก องค์ประกอบของเอกลักษณ์ในบทบาทอาสา สมัคร ที่มีค่าน�้ำหนักองค์ประกอบสูงสุด คือ รู้สึกว่าตนเองเป็นมีความสามารถ (0.95) และ ตัวแปรอื่นที่ไม่สามารถพัฒนาได้ด้วยการฝึก คื อ ตั ว แปรสถานการณ์ ท างสั ง คม มาเป็ น ตัวแปรเชิงเหตุสมทบในการวิจัยเชิงทดลอง นั้นๆ กิตติกรรมประกาศ ดุ ษ ฎี นิ พ นธ์ เ รื่ อ งจิ ต ลั ก ษณะและ สถานการณ์ทางสังคมทีเ่ กีย่ วข้องกับพฤติกรรม อาสาสมัคของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏ ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือส�ำเร็จลุลว่ งได้ดว้ ย ความเมตตาและกรุณาจากผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.วั ล ภา สบายยิ่ ง อาจารย์ ที่ ป รึ ก ษาหลั ก
จึ ง ขอกราบขอบพระคุ ณ อาจารย์ รวมทั้ ง รองศาสตราจารย์ ดร. โกศล มีคุณ และรอง ศาสตราจารย์ ดร. ดุษฏี โยเหลา ทีป่ รึกษาร่วม ทีท่ า่ นได้เสียสละเวลาอันมีคา่ ในการตรวจสอบ ความถูกต้องในการท�ำดุษฎีนพิ นธ์ครัง้ นีอ้ ย่างดี และช่วยเพิ่มเติมให้ผลงานนี้มีความสมบูรณ์ ยิ่งขึ้น บรรณานุกรม เกรียงศักดิ ์ เจริญวงศ์ศกั ดิ.์ (2546). ภาพอนาคต และคุ ณ ลั ก ษณะของคนไทยที่ พึ ง ประสงค์. กรุงเทพฯ: ส�ำนักงานคณะ กรรมการการศึกษาแห่งชาติ. โกวิทย์ พวงงาม. (2550). การพัฒนาสังคมไทย วั น นี้ กั บ คุ ณ ธรรมที่ ห ายไป. วารสาร สยามรัฐสัปดาห์วิจารณ์ 54(4), 29. คณะกรรมการปฏิ รู ป , ส� ำ นั ก งาน. (2554). แนวทางการปฏิ รู ป ประเทศไทย ข้ อ เสนอต่ อ พรรคการเมื อ งและผู ้ มี สิทธิเลือกตั้ง. กรุงเทพฯ: บริษัท ที คิว พี จ�ำกัด. ณัฐณิชากร ศรีบริบูรณ์. (2550). การพัฒนา โมเดลเชิ ง สาเหตุ ข องจิ ต อาสาของ นั ก เรี ย นมั ธ ยมศึ ก ษาตอนปลายใน โรงเรียนสังกัดส�ำนักงานคณะกรรมการ การศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน. วิ ท ยานิ พ นธ์ ปริ ญ ญามหาบั ณ ฑิ ต , จุ ฬ าลงกรณ์ มหาวิทยาลัย.
ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2018/2561 137
จิตลักษณะและสถานการณ์ทางสังคมทีเ่ กีย่ วข้องกับพฤติกรรมอาสาสมัครของนักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ดวงเดือน พันธุมนาวิน. (2544). ทฤษฏีต้นไม้ จริยธรรม: การวิจัยและพัฒนาบุคคล. กรุ ง เทพฯ:โครงการส่ ง เสริ ม เอกสาร วิชาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหาร ศาสตร์. นงลั ก ษณ์ วิ รั ช ชั ย . (2542) .โมเดลลิ ส เรล: สถิตวิ เิ คราะห์สำ� หรับการวิจยั . ครัง้ ที ่ 3. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. นันทรัตน์ ปริวตั ธิ รรม. (2553). ปัจจัยทีส่ ง่ ผลต่อ พฤติกรรมจิตอาสาของเด็กและเยาวชน ที่รับทุนการศึกษา ส�ำนักงานทรัพย์สิน ส่ ว นพระมหากษั ต ริ ย ์ . วิ ท ยานิ พ นธ์ ปริ ญ ญามหาบั ณ ฑิ ต , มหาวิ ท ยาลั ย ธรรมศาสตร์. ประเมินผลและเผยแพร่การพัฒนา, ส�ำนักงาน. (2549). แนวคิดและการพัฒนาตัวชี้วัด ด้านคุณธรรม. วารสารเศรษฐกิจและ สังคม.16(10), 62-70. ศูนย์คุณธรรม. (2550). คุณธรรม. วารสาร คุณธรรม. 2 (สิงหาคม) กรุงเทพฯ: ศูนย์ คุณธรรม.
138 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
สุ วิ ม ล ว่ อ งวานิ ช และนงลั ก ษณ์ วิ รั ช ชั ย . (2543). ปัจจัยและกระบวนการที่เอื้อ ต่ อ การพั ฒ นาคุ ณ ธรรมระดั บ บุ ค คล เพื่ อ มุ ่ ง ความส� ำ เร็ จ ของส่ ว นรวมของ นักศึกษามหาวิทยาลัย: การศึกษาเชิง ปริมาณและคุณภาพ. รายงานการวิจยั . กรุงเทพฯ:จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. อนุ เจริญวงศ์ระยับ. (2552). การรับรู้สภาพ แวดล้อมภายในสถานศึกษาและลักษณะ ส่วนบุคคลที่เอื้อต่อการเป็นอาสาสมัคร อย่างยัง่ ยืนในนักศึกษาในระดับปริญญาตรี. วิทยาศาสตรดุษฏีบณ ั ฑิต มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ. Magnusson, D.; & Endler, N.S. (1977). Personality at the Crossroad: Current Issues in Intersectional Psychology. New Jersey: Lawrence Erlbaum Associated publishers, 87(2): 50-53.
ปัจจัยที่มีผลต่อการอบรมคุณธรรมเพื่อส่งเสริม
กระแสเรียกสามเณรคาทอลิก กรณีศึกษา: สามเณราลัยนักบุญยอแซฟ สามพราน นครปฐม
Factors that Affect Virtue Formation to
Promote Priestly Vocation of The Catholic Seminarians. Case Study: Saint Joseph Seminary, Samphran, Nakhon Pathom. อวิรุทธ์ พันธ์ขาว * มหาบัณฑิตสาขาวิชาเทววิทยาจริยธรรม วิทยาลัยแสงธรรม บาทหลวง ดร.พิเชฐ แสงเทียน, เอส.เจ.
* บาทหลวงในคริสต์ศาสนจักรโรมันคาทอลิก สังกัดคณะเยสุอิต * อาจารย์ประจ�ำหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทววิทยาจริยธรรม วิทยาลัยแสงธรรม
ผศ.ดร.ลัดดาวรรณ์ ประสูตร์แสงจันทร์
* อาจารย์ประจ�ำหลักสูตรการศึกษาบัณฑิต สาขาวิชาคริสตศาสนศึกษา วิทยาลัยแสงธรรม
Awirut Punkhow * Master of Arts Program in Moral Theology, Saengtham College. Rev.Pichet Saengthien, S.J., Ph.D.
* Reverend in Roman Catholic Church, Jesuit. * Lecturer of The Master of Arts Program in moral Theology, Saengtham College. Asst.Prof.Laddawan Prasutsaengchan, Ph.D.
* Lecturer, Bachelor of Education Program in Christian Studies, Saengtham College.
ปัจจัยทีม่ ผี ลต่อการอบรมคุณธรรมเพือ่ ส่งเสริมกระแสเรียกสามเณรคาทอลิก กรณีศกึ ษา: สามเณราลัยนักบุญยอแซฟ สามพราน นครปฐม
บทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษา 1) ปัจจัยที่มีผลต่อการอบรม คุณธรรมเพื่อส่งเสริมกระแสเรียกสามเณรคาทอลิก และ 2) แนวทาง การอบรมคุณธรรมเพื่อส่งเสริมกระแสเรียกสามเณรคาทอลิก กลุ่ม ผู้ให้ข้อมูลมี 3 กลุ่ม คือ 1) ผู้ปกครองที่ส่งบุตรเข้ารับการอบรมใน สามเณราลัยเขตละ 1 ครอบครัว จ�ำนวน 6 คน 2) บาทหลวงผู้ให้การ อบรมในสามเณราลัยนักบุญยอแซฟ จ�ำนวน 2 คน และ 3) สามเณร ทีเ่ ข้ารับการอบรมในสามเณราลัยนักบุญยอแซฟ ชัน้ ปีละ 1 คน จ�ำนวน 7 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา คือ แบบสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง จ�ำนวน 3 ฉบับ สถิตทิ ใี่ ช้ในการวิเคราะห์ขอ้ มูล ได้แก่ ค่าความถี ่ ค่าร้อย ละ และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า 1. ปัจจัยด้านสังคม สื่อและเทคโนโยโลยี และเศรษฐกิจ มีผล กระทบต่อการอบรมคุณธรรมเพื่อส่งเสริมกระแสเรียกเยาวชนที่เข้ารับ การอบรมเพื่อเป็นบาทหลวงคาทอลิก ดังนี้ 1.1 ปัจจัยด้านสังคม มีผลกระทบเชิงบวกต่อการอบรมคุณธรรม ทางเทววิทยา คุณธรรมหลัก และคุณธรรมพื้นฐานในขณะเดียวกันก็มี ผลกระทบเชิงลบต่อการอบรมคุณธรรมหลัก และคุณธรรมพื้นฐาน 1.2 ปัจจัยด้านสื่อและเทคโนโลยี มีผลกระทบเชิงบวกและ เชิงลบต่อการอบรมคุณธรรมทางเทววิทยา คุณธรรมหลัก และคุณธรรม พื้นฐาน 1.3 ปัจจัยด้านเศรษฐกิจ มีผลกระทบเชิงบวกและเชิงลบต่อการ อบรมคุณธรรมหลักและคุณธรรมพืน้ ฐาน แต่ไม่มผี ลกระทบต่อการอบรม คุณธรรมทางเทววิทยา ทั้ ง นี้ ส ามเณรได้ รั บ การอบรมปลู ก ฝั ง คุ ณ ธรรมทางเทววิ ท ยา คุณธรรมหลัก และคุณธรรมพื้นฐาน และสามารถน�ำคุณธรรมนั้นมาใช้ เป็นหลักในการด�ำเนินชีวติ ประจ�ำวันได้ โดยเฉพาะในเรือ่ งของคุณธรรม ความเชื่อ ความรอบคอบ และความรู้ประมาณการมากที่สุด ส่วนน้อย ที่สุดคือ คุณธรรมความยากจน และความบริสุทธิ์
140 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
อวิรุทธ์ พันธ์ขาว, พิเชฐ แสงเทียน และ ลัดดาวรรณ์ ประสูตร์แสงจันทร์
2. แนวทางการอบรมคุณธรรมเพื่อส่งเสริมกระแสเรียกสามเณร คาทอลิก 2.1 ด้านสังคม สามเณราลัยและวัด ควรร่วมมือกันในการ สรรหาสามเณรทีม่ กี ระแสเรียกและตัง้ ใจทีจ่ ะเข้ารับการศึกษาอบรมอย่าง แท้จริง เมือ่ สามเณรเข้ามารับการศึกษาอบรมทีส่ ามเณราลัยแล้ว บุคคล ที่เกี่ยวข้องทั้งผู้ให้การอบรมและผู้ปกครอง บาทหลวงที่วัด ต้องช่วย แนะน�ำสามเณรให้มคี วามตระหนักและเห็นความส�ำคัญของกระแสเรียก โดยสอนให้มีความเชื่อ ศรัทธาในพระเจ้า และให้เข้าใจถึงชีวิตของ บาทหลวง ให้มีส่วนร่วมและสร้างประสบการณ์ชีวิตภายนอกสามเณรา ลัยเช่นการฝึกชีวิตธรรมทูต การออกไปเยี่ยมสัตบุรุษ ให้มีเวลาส�ำหรับ ไตร่ตรองชีวิตมากขึ้น และบาทหลวงผู้ปกครองควรแนะน�ำส่งเสริมให้ สามเณรมี เวลาส� ำ หรั บ การเงี ย บสงบอยู ่ ต ่ อ หน้ า ศี ล มหาสนิ ท และ พระคัมภีร์ 2.2 ด้านสื่อเทคโนโลยี บุคคลที่เกี่ยวข้อง ทั้งผู้ให้การอบรม ผู้ปกครอง ครู ควรมีการอบรมดูแลให้สามเณรรู้เท่าทันสื่อเทคโนโลยี น�ำมาใช้ได้อย่างเหมาะสม ไม่ตกเป็นทาสของสื่อเทคโนโลยีในปัจจุบัน เช่น เฟสบุก๊ ไลน์ เกมส์ออนไลน์ น�ำสือ่ มาใช้ให้เกิดประโยชน์ โดยเฉพาะ ทางด้านความเชื่อ เรื่องการศึกษาพระคัมภีร์ การแสวงหาความรู้จาก สื่อสังคม บาทหลวง ผู้ให้การอบรมควรเป็นแบบอย่างในเรื่องของการ ใช้สื่อเทคโนโลยีด้วยความพอเพียงและถือความยากจน และผู้ปกครอง ต้องให้ความร่วมมือกับการอบรมของทางสามเณราลัย คอยดูแลให้ใช้ สื่อได้อย่างเหมาะสมอยู่ในสายตาของผู้ปกครองเสมอ 2.3 ด้านเศรษฐกิจ ผูใ้ ห้การอบรมควร “ เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา” ผูใ้ ห้การอบรมและผูป้ กครองควรจัดกิจกรรมทีเ่ สริมสร้างให้เกิดคุณธรรม ความรัก เมตตา แบ่งปัน แก่ผู้อื่น ทั้งในด้านการท�ำงาน สิ่งของ เครื่อง ใช้ การดูแลรักษาข้าวของเครื่องใช้ต่างๆ ปลูกฝังในเรื่องของ การ ประหยัด อดออม กินอยู่แบบพอเพียงอย่างต่อเนื่อง
ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2018/2561 141
ปัจจัยทีม่ ผี ลต่อการอบรมคุณธรรมเพือ่ ส่งเสริมกระแสเรียกสามเณรคาทอลิก กรณีศกึ ษา: สามเณราลัยนักบุญยอแซฟ สามพราน นครปฐม
2.4 ในเรื่องคุณธรรมความยากจน บุคคลรอบข้าง โดยเฉพาะ บาทหลวง ควรเป็นแบบอย่างที่ดีในการถือคุณธรรมความยากจน ไม่ใช้ สิ่งของเครื่องใช้ที่หรูหรา ราคาแพง และพ่อแม่ผู้ปกครองต้องเคารพใน กฎระเบียบของสามเณราลัย เกีย่ วกับการให้สามเณรเก็บเงินไว้กบั ตัวเอง หรือการให้เงิน ข้าวของเครื่องใช้มากเกินความจ�ำเป็น 2.5 ในเรื่องคุณธรรมความบริสุทธิ์ บุคคลรอบข้าง ทั้งพ่อแม่ ผูป้ กครอง ผูใ้ ห้การอบรม และครูควรให้ความรูค้ วามเข้าใจทีถ่ กู ต้องเกีย่ ว กับคุณธรรมความบริสุทธิ์เหตุผลและความส�ำคัญของการถือความ บริสุทธิ์ ค�ำส�ำคัญ:
142 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
การอบรม คุณธรรม สังคม สื่อเทคโนโลยี เศรษฐกิจ กระแสเรียก สามเณรคาทอลิก
อวิรุทธ์ พันธ์ขาว, พิเชฐ แสงเทียน และ ลัดดาวรรณ์ ประสูตร์แสงจันทร์
Abstract
The purposes of this research were to study: (1) factors affecting virtue formation as a means of promoting Catholic priestly vocation and (2) To suggest guidelines for virtue formation to promote Catholic priestly vocation. The respondents were classified into three groups. The first group consists of a parent of seminarians formators from each of the six deaneries of Bangkok Archdiocese; the second group consists of two Catholic priests serving as formators of the minor seminary; and the third group consists of seven minor seminarians from each class. The data were collected by using semi-structured interviews. The results were as follows: 1. Social factors, such as media, technology and economy affect virtue formation and promotion of Catholic priestly vocation as follows: 1.1 Social factors positively affect the theological virtues, cardinal virtues and the religious virtues. However, social factors can affect negatively the development of the cardinal virtues and religious virtues. 1.2 Media and technological factors positively and negatively affect the development of theological virtues, cardinal virtues and religious virtues. 1.3 Economic factors positively affect the cardinal virtues and religious virtues but it does not affect the theological virtues.
ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2018/2561 143
ปัจจัยทีม่ ผี ลต่อการอบรมคุณธรรมเพือ่ ส่งเสริมกระแสเรียกสามเณรคาทอลิก กรณีศกึ ษา: สามเณราลัยนักบุญยอแซฟ สามพราน นครปฐม
According to some minor seminarians they have cultivated the theological, cardinal and religious virtues. They can bring these virtues to their daily lives especially faith, prudence and temperance whereas the least relevant were poverty and chastity. 2. Some guidelines for virtue formation to promote Catholic priestly vocation. 2.1 Social aspect: the seminary and the parish church have to cooperate with each other in order to find a seminarian who has truly the real intention to enter the seminary and become a priest. Priest formators, parents and parish priests have to advise and inform seminarians to have an awareness of the value and significance of vocation by teaching them to have more faith and reverence for God. They should help them understand the life of a priest and assist them to have an experience outside the seminary, for example, training for the life of a missionary and visiting people. Priests and parents should encourage them to spend more time with the Eucharist and The Word of God. 2.2 Media and Technological aspect: priest formators, parents , teachers and people who have associated with seminarians should teach them to have more understanding about media and technology. They should instruct them to use carefully, advantage and responsibility, focusing on religion aspect, education and knowledge. Priest formators should be good examples in this aspect through
144 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
อวิรุทธ์ พันธ์ขาว, พิเชฐ แสงเทียน และ ลัดดาวรรณ์ ประสูตร์แสงจันทร์
living in the world with sufficiency and poverty at the same time. Parents have to cooperate with the seminary’s formation and look after them to use media and technology properly. 2.3 Economic aspect : priest formators should understand, reach out and develop them.In addition, priest formators and parents should create some activities in order to uphold minor seminarians lives on the virtues of love, mercy and generosity. They should advise seminarians to recognize how to take care of things and appliances of the seminary.Furthermore , they should cultivate them continually on simplicity and sufficiency. 2.4 The virtue of poverty, people who are deeply involved with seminarians especially priests have to be a good example for them in order to practice the virtue of poverty. Priest must not use luxury things and high cost and parents have to respect and follow the rule of the minor seminary about giving some money and a lot of things to their sons in order to use it whenever they want. 2.5 The virtue of chastity, people who are deeply involved with seminarians especially parents, formators and teachers should let seminarians have more understanding about the virtue of chastity and help them to know how this virtue is very important for their lives. Keywords:
Religious Formation Virtues, Society, Media, Technology
ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2018/2561 145
ปัจจัยทีม่ ผี ลต่อการอบรมคุณธรรมเพือ่ ส่งเสริมกระแสเรียกสามเณรคาทอลิก กรณีศกึ ษา: สามเณราลัยนักบุญยอแซฟ สามพราน นครปฐม
ที่มาและความส�ำคัญของปัญหา กระแสเรี ย กการเป็ น บาทหลวง เป็ น กระแสเรียกที่ส�ำคัญอย่างมาก ที่พระเยซูเจ้า ทรงเรียกบุคคลต่าง ๆ เป็นพิเศษ เพราะเป็น ทางเลือกชีวิตของคริสตชนที่ยินดีเจริญรอย ตามพระเยซูเจ้าที่จะประกาศข่าวดี ซึ่งก็คือ ความรักของพระเจ้าในโลกนี้ และด�ำเนินชีวิต เป็นแบบอย่างด้วยความรักและเมตตาต่อเพือ่ น พีน่ อ้ งรอบข้างตน บุคคลทีจ่ ะเป็นบาทหลวงได้ นั้น ต้องได้รับการศึกษาอบรมเฉพาะทางเป็น พิเศษ เป็นระยะเวลานานพอสมควร ซึ่งใน ประเทศไทยส่วนใหญ่สามเณรหรือผู้ที่ต้องการ เป็นบาทหลวง จะได้รับการศึกษาอบรมตั้งแต่ ยั ง เป็ น เด็ ก เยาวชน ทั้ ง การอบรมจากทาง ครอบครัว วัด โรงเรียน และที่สามเณราลัย หรือที่คริสตชนทั่วไปมักเรียกว่า “บ้านเณร”1 สามเณราลัยเล็กเป็นสถาบันที่ให้การฝึกอบรม เยาวชนชายที่จบการศึกษาระดับชั้นประถม ศึกษาปีท ี่ 6 ขึน้ ไป ทีม่ คี ณ ุ สมบัตเิ หมาะสมและ มีแนวโน้มอยากเป็นบาทหลวงในอนาคต คือมี คุณสมบัติเหมาะสมทั้งฝ่ายกายและฝ่ายจิต มีความประพฤติด ี มีความเชือ่ ศรัทธา สนใจต่อ
กระแสเรียกเป็นบาทหลวง โดยส่วนมากจะได้ รับการอบรมเสริมสร้างคุณธรรมตั้งแต่ยังเป็น เด็ ก “บิ ด ามารดาต้ อ งเป็ น บุ ค คลคนแรกที่ ประกาศความเชื่อให้แก่ลูกๆ ของตน ด้วยการ ด�ำเนินชีวติ เป็นแบบอย่างทัง้ ทางด้านวาจาและ กิจการ บิดามารดาจ�ำต้องสนับสนุนกระแส เรียกเฉพาะของลูกแต่ละคน โดยเฉพาะอย่าง ยิ่ ง ต้ อ งเอาใจใส่ เ ป็ น พิ เ ศษต่ อ กระแสเรี ย ก นักบวช” (คริสต์ศาสนจักร ข้อ 11) บาทหลวงซิกมูนด์ แลส์เช็นสกี้ (กลุ่ม ซีนาปีส 2015: 57) ได้กล่าวว่า “จุดเริ่มต้น ของบาทหลวงที่ดี คือ การอบรมสามเณรให้ดี เป็นการเตรียมสามเณรให้ดเี พือ่ พระศาสนจักร” แต่ด้วยสภาพการณ์ในโลกปัจจุบัน ท่ามกลาง กระแสโลกาภิวัตน์ สังคมไร้พรมแดน การให้ ความส�ำคัญต่อประโยชน์ของสื่อเทคโนโลยี วัตถุ มากกว่าคุณค่าทางจิตใจ สภาพสังคมที่ ผู ้ ค นต้ อ งการสิ่ ง ตอบสนองส� ำ หรั บ ตนเอง มากกว่าส่วนรวม จนเกิดเป็นวัฒนธรรมขยะ วั ฒ นธรรมการทิ้ ง ขว้ า ง สภาพเศรษฐกิ จ ที่ ยุ่งเหยิง สภาพแวดล้อมที่เสื่อมโทรมลง ฯลฯ สิง่ ต่างๆ เหล่านีล้ ว้ นส่งผลถึงทุกคน โดยเฉพาะ
สามเณราลัยหรือบ้านเณรในประเทศไทย มี 3 ระดับ คือ 1) บ้านเณรเล็ก มีประจ�ำแต่ละเขตการปกครอง เช่น ของอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ คือ สามเณราลัยนักบุญยอแซฟ ตัง้ อยูท่ อี่ ำ� เภอสามพราน จังหวัดนครปฐม 2) บ้าน เณรกลางมีแห่งเดียวในประเทศ คือ สามเณราลัยพระวิสุทธิวงศ์ ตั้งอยู่ที่อ�ำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา และ 3) บ้านเณรใหญ่มีแห่งเดียวในประเทศ คือ สามเณราลัยแสงธรรม ตั้งอยู่ที่อ�ำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม 1
146 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
อวิรุทธ์ พันธ์ขาว, พิเชฐ แสงเทียน และ ลัดดาวรรณ์ ประสูตร์แสงจันทร์
ต่ อ เด็ ก และเยาวชน ดั ง ที่ พ ระสั น ตะปาปา ฟรั ง ซิ ส ทรงเป็ น ห่ ว งและได้ ก ล่ า วไว้ ใ น พระสมณสาส์น “ขอสรรเสริญองค์พระผูเ้ ป็นเจ้า” ( Encyclical Laudato Si') ในปี 2015 ว่า “เราต้องการให้โลกเป็นอย่างไร เพื่อมอบแก่ ผู้ที่มาภายหลังเรา แก่ลูกหลาน ที่บัดนี้ก�ำลัง เติบโตขึ้น” สังคม การใช้สื่อเทคโนโลยี และ เศรษฐกิจ ดังกล่าวข้างต้น ล้วนท�ำให้จิตใจที่ มนุษย์ควรจะมอบคืนแด่พระเจ้า ต้องถูกดึงดูด จากเป้าหมายนี้ทีละเล็กทีละน้อย มนุษย์กับ พระเจ้าจะค่อยๆ มีระยะห่างต่อกันและกันมาก ยิ่งขึ้น กระแสเรียกแห่งการเป็นบาทหลวงนั้น อยู่ท่ามกลางกระแสโลกเสมอ แต่สิ่งที่ส�ำคัญ มากกว่านัน้ คือ กระแสเรียกต้องไม่เป็นกระแส โลก ต้องไม่หลงไปตามกระแสค่านิยมต่างๆ ของโลก การที่ เ ยาวชนชายถู ก เรี ย กให้ ม ามี กระแสเรี ย กพิเ ศษแห่งการเป็นบาทหลวงนี้ ก็ไม่ใช่เรื่องง่ายที่จะปฏิบัติตามหรือตอบสนอง ต่อเสียงเรียกที่พระได้มอบให้ บรรดาเยาวชน ชายทัง้ หลายจะต้องพบกับสภาพสังคมปัจจุบนั เศรษฐกิ จ และวั ฒ นธรรมที่ แ ตกต่ า งจาก วั ฒ นธรรมแห่ ง ชี วิ ต และความรั ก ของพระ คริสตเจ้า ซึ่งจะส่งผลโดยตรงทั้งต่อตัวบุคคล และส่วนรวมอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ จึงเป็นสิ่ง ที่ท้าทายส�ำหรับตัวเยาวชนชายเอง และบ้าน เณรหรือสามเณราลัยในการอบรมสามเณรด้วย
ปั จ จุ บั น สามเณราลั ย นั ก บุ ญ ยอแซฟ สามพราน ให้เยาวชนชายที่เป็นสามเณรได้รับ การเตรียมตัวเองอย่างเข้มข้น และฝึกฝนอบรม อย่างต่อเนื่องต่อไป แต่ก็ยังพบว่า มีปัจจัย ที่เป็นข้อจ�ำกัดหรือปัญหาในการอบรมเสริม สร้างมโนธรรม คุณธรรมจริยธรรม พอสมควร จากการสัมภาษณ์ บาทหลวง วีรยุทธ เกียรติ สกุลชัย ผู้ให้การอบรมและดูแลสามเณรของ สามเณราลัยนักบุญยอแซฟ กล่าวว่า “สามเณร ยุคปัจจุบนั มีสภาพความพร้อมมากกว่าในอดีต ในเรื่องข้าวของเครื่องใช้ อุปกรณ์อ�ำนวยความ สะดวก เครื่องใช้ไม้สอยที่มีจ�ำนวนพอเพียงต่อ ความต้องการ ท�ำให้มปี จั จัยทีม่ คี วามพร้อมต่อ การพัฒนาอบรมส่งเสริมศักยภาพมากขึ้นกว่า ในอดีต แต่ดูเหมือนว่า ความตระหนัก ความ สนใจหรือการเห็นคุณค่าอาจจะน้อยลงกว่าใน อดี ต คงเป็ น เพราะมี ป ั จ จั ย หลายอย่ า งที่ ดึ ง ความสนใจของสามเณรไป ไม่วา่ จะเป็นเรือ่ งสือ่ เทคโนโลยี โซเชี ย ลมี เ ดี ย (Social Media) ต่ า งๆ ซึ่ ง แม้ ส ามเณราลั ย ไม่ ไ ด้ อ นุ ญ าตให้ สามเณรมี อุ ป กรณ์ เ หล่ า นี้ เ ป็ น ส่ ว นตั ว แต่ ก็ พบว่ามีสามเณรที่ไปขวนขวายที่จะหาทางมี หาทางใช้จนได้และด้วยสิ่งเร้าต่างๆ เหล่านี้ ก็เป็นปัจจัยที่ท�ำให้สามเณรท�ำผิดในเรื่องอื่นๆ ตามมา ซึ่ ง ส่ ง ผลต่ อ ชี วิ ต เณรของพวกเขา ปัญหาส�ำหรับสามเณรในปัจจุบนั คือ สามเณร
ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2018/2561 147
ปัจจัยทีม่ ผี ลต่อการอบรมคุณธรรมเพือ่ ส่งเสริมกระแสเรียกสามเณรคาทอลิก กรณีศกึ ษา: สามเณราลัยนักบุญยอแซฟ สามพราน นครปฐม
อาจยังไม่ตระหนักถึงความส�ำคัญของการมา อยู่ที่บ้านเณร บางคนอาจจะคิดว่าการมาอยู่ บ้านเณรเหมือนกับการมาอยู่หอพักซึ่งอาจจะ ท�ำให้ความตัง้ ใจน้อยลง อีกสิง่ หนึง่ ทีพ่ บได้ คือ สมาธิของสามเณรในปัจจุบันอาจจะน้อยลง ซึ่งเป็นธรรมชาติของเด็กยุคนี้ การจดจ่อหรือ ความตั้ ง ใจที่ จ ะท� ำ อะไรจริ ง จั ง หรื อ ท� ำ อะไร ทีเ่ ป็นชิน้ เป็นอันอาจจะน้อยลงกว่าในอดีต และ จากการสัมภาษณ์ บาทหลวงเทวฤทธิ ์ สุขเกษม ผู ้ ใ ห้ ก ารอบรมและดู แ ลสามเณรของสามเณราลัยนักบุญยอแซฟ กล่าวว่า มีปจั จัยต่างๆ ที่ส่งผลกระทบต่อการอบรมหรือพฤติกรรม ของสามเณร เช่ น เพื่ อ น สั ง คมรอบตั ว สื่ อ
เทคโนโลยี ต ่ า งๆ ตั ว อย่ า งพฤติ ก รรมที่ เ ป็ น ปั ญ หาของสามเณรในปั จ จุ บั น คื อ การไม่ ซื่อสัตย์ มีการลักขโมย การออกไปข้างนอก โดยไม่ ข ออนุ ญ าต (ออกไปเล่ น เกมส์ คอมพิ ว เตอร์ ) การลอกการบ้ า น การลอก ข้อสอบ การใช้ค�ำพูดที่ไม่สุภาพ การทะเลาะ วิวาทต่อกัน ฯลฯ เหล่านี้ล้วนส่งผลกระทบ ต่อการดูแลอบรมและต่อจ�ำนวนของสามเณร ด้วย ทัง้ สามเณรทีถ่ กู ให้ออกเนือ่ งจากประพฤติ ปฏิบัติตนผิดกฎระเบียบร้ายแรง หรือที่สมัคร ใจลาออกเอง จ�ำนวนของสามเณรที่เข้าออก ในช่วงปีการศึกษา 2554 – 2558 ปรากฏ ดังตารางที่ 1
ตารางที ่ 1 จ�ำนวนสามเณร สามเณราลัยนักบุญยอแซฟ ทีเ่ ข้าใหม่และออกจากการเป็นสามเณร ช่วงปีการศึกษา 2554 – 2558 ปีการศึกษา
ม.1
ม.2
ม.3
ม.4
ม.5
ม.6
มาสเตอร์ ปี1
มาสเตอร์ ปี2
รวม
2554 เข้าใหม่
13
4
-
16
-
-
1
-
34
-
2
4
14
4
10
6
-
40
11
-
-
15
-
-
4
-
30
1
2
5
4
-
8
2
-
22
11
5
-
10
-
-
1
-
27
1
2
5
2
2
8
2
-
22
10
3
1
16
-
-
-
-
30
1
4
6
3
7
6
2
3
32
24
4
2
15
-
-
-
-
45
5
3
2
6
2
6
4
-
28
ออก 2555 เข้าใหม่ ออก 2556 เข้าใหม่ ออก 2557 เข้าใหม่ ออก 2558 เข้าใหม่ ออก
ที่มา: เอกสารรวบรวมสถิติสามเณราลัยนักบุญยอแซฟ สามพราน จังหวัดนครปฐม 148 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
อวิรุทธ์ พันธ์ขาว, พิเชฐ แสงเทียน และ ลัดดาวรรณ์ ประสูตร์แสงจันทร์
จากตารางที่ 1 พบว่า มีสามเณรที่ออก จากการเป็นสามเณรอย่างต่อเนื่องในแต่ละ ปีการศึกษา เมื่อพิจารณาจากสภาพสามเณร ในปัจจุบันจะพบว่า สามเณรสมัยปัจจุบันมี ความแตกต่างจากสามเณรในสมัยอดีต สภาพ สังคม เศรษฐกิจ เทคโนโลยี หรือแม้แต่กระทัง่ วั ฒ นธรรมมี ผ ลต่ อ การอบรมสามเณรอย่ า ง หลีกเลี่ยงไม่ได้ ดังนั้น หากมีการศึกษาให้แน่ ชัดจริงๆ ว่า มีปจั จัยส�ำคัญใดบ้างทีม่ ผี ลกระทบ ต่อการอบรมคุณธรรมเพือ่ ส่งเสริมกระแสเรียก สามเณรคาทอลิก ซึง่ ถือว่าเป็นสิง่ จ�ำเป็นเพราะ กระแสเรียกในปัจจุบันก็ก�ำลังลดลงอย่างมาก ซึ่งหากสามเณราลัยนักบุญยอแซฟ สามพราน หรือพระศาสนจักรสามารถทราบถึงปัจจัยที่มี ผลต่อการอบรมคุณธรรมเพื่อส่งเสริมกระแส เรี ย กเยาวชนที่ เข้ า รั บ การอบรมเพื่ อ เป็ น บาทหลวงคาทอลิกได้อย่างชัดเจนแล้ว ก็ย่อม สามารถน�ำมาใช้เป็นข้อมูลในการให้การศึกษา อบรมคุณธรรมเพื่อส่งเสริมกระแสเรียกให้แก่ พวกเขาได้ดยี งิ่ ขึน้ เพือ่ หล่อหลอมให้พวกเขาได้ เติบโต มองเห็นและมุ่งสู่เป้าหมายของตนได้ อย่างมั่นคง เป็นบาทหลวงผู้อภิบาลที่ดีของ พระศาสนจักรตามกระแสเรียกของพระเจ้าที่ พวกเขาได้รับ
วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการอบรม คุ ณ ธรรมเพื่ อ ส่ ง เสริ ม กระแสเรี ย กสามเณร คาทอลิก 2. เพื่ อ ศึ ก ษาแนวทางการอบรม คุ ณ ธรรมเพื่ อ ส่ ง เสริ ม กระแสเรี ย กสามเณร คาทอลิก ขอบเขตของการวิจัย เป็นการศึกษาปัจจัยทางด้านสังคม การ ใช้สื่อเทคโนโลยี และเศรษฐกิจ ที่มีผลต่อการ อบรมคุ ณ ธรรมเพื่ อ ส่ ง เสริ ม กระแสเรี ย ก สามเณรคาทอลิก กรอบแนวคิ ด ของการวิ จัย 1) ศึ ก ษา เนือ้ หาคุณธรรมทางเทววิทยา คุณธรรมพืน้ ฐาน และคุณธรรมหลัก 2) ศึกษาแนวทางการอบรม คุณธรรมตามค�ำสอนพระศาสนจักรคาทอลิก เพื่อส่งเสริมกระแสเรียกสามเณรคาทอลิก ขอบเขตด้านผู้ให้ข้อมูล กลุ่มผู้ให้ข้อมูล มี 3 กลุ่ม คือ 1) ครอบครัวคริสตชนในแต่ละ เขตการปกครองวัด ที่ส่งบุตรเข้ารับการอบรม เป็ น สามเณร สามเณราลั ย นั ก บุ ญ ยอแซฟ จ�ำนวน 6 เขต เขตละ 1 ครอบครัว รวม 6 ครอบครัว ได้มาโดยการสุ่มอย่างง่ายในแต่ละ เขต 2) สามเณร ในสามเณราลัยนักบุญยอแซฟ จ�ำนวนชั้นปีละ 1 คน ได้มาโดยการสุ่มอย่าง ง่ายในแต่ละชัน้ ปี จ�ำนวน 7 คน 3) บาทหลวง ผู้ให้การอบรมในสามเณราลัยนักบุญยอแซฟ จ�ำนวน 2 คน
ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2018/2561 149
ปัจจัยทีม่ ผี ลต่อการอบรมคุณธรรมเพือ่ ส่งเสริมกระแสเรียกสามเณรคาทอลิก กรณีศกึ ษา: สามเณราลัยนักบุญยอแซฟ สามพราน นครปฐม
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ได้ทราบถึงปัจจัยที่ก่อให้เกิดผลดีหรือ ผลเสี ย ต่ อ การอบรมคุ ณ ธรรมเพื่ อ ส่ ง เสริ ม กระแสเรียกสามเณรคาทอลิก และแนวทางใน การอบรมคุณธรรมเพื่อส่งเสริมกระแสเรียก สามเณรคาทอลิก เพื่อน�ำไปใช้ในการวางแผน พัฒนาการอบรมคุณธรรมเพื่อส่งเสริมกระแส เรียกให้แก่สามเณรคาทอลิก นิยามศัพท์เฉพาะ การอบรมคุณธรรม (virtue formation) หมายถึง การให้ความรู้ ค�ำแนะน�ำและฝึกฝน ตั ด สิ น ใจเลื อ กด� ำ เนิ น ชี วิ ต เพื่ อ ให้ เ ป็ น คนดี ตามคุ ณ ธรรมทางเทววิ ท ยา คุ ณ ธรรมหลั ก 4 ประการ และคุณธรรมพื้นฐานในกระแส เรี ย กการเป็ น บาทหลวง รวมถึ ง การอบรม คุณธรรมตามค�ำสอนพระศาสนจักรคาทอลิก ตามพระกฤษฏีกาเรื่อง The Gift of Priestly Vocation และคู่มือสามเณรเล็ก (เรียบเรียง จากธรรมนูญว่าด้วยเรื่องการอบรมสามเณร ค.ศ. 2000) - คุณธรรมทางเทววิทยา (theological virtues) ได้แก่ ความเชื่อ ความหวัง และ ความรัก - คุณธรรมหลัก ( cardinal virtues) 4 ประการ ได้ แ ก่ ความรอบคอบ ความ ยุติธรรม ความกล้าหาญ และความประมาณ การ 150 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
- คุณธรรมพืน้ ฐาน (religious virtues) ในการอบรมกระแสเรียกการเป็นบาทหลวง ได้แก่ ความยากจน ความบริสุทธิ์ และความ นอบน้อมเชื่อฟัง กระแสเรี ย ก (Vocation) หมายถึ ง ทางเลือกของคริสตชนในกิจการและการงาน ที่ ถู ก เรี ย กโดยพระเจ้ า ทั้ ง ฆราวาส และ บาทหลวง หรือนักบวช ในงานวิจัยนี้ กระแส เรี ย กหมายถึ ง ทางเลื อ กชี วิ ต ของเยาวชน คาทอลิกที่ยินดีเข้ารับการศึกษาอบรมเพื่อการ เป็นบาทหลวงในคริสตศาสนา ตามการเรียก ของพระเจ้า สามเณรคาทอลิ ก หมายถึ ง เยาวชน ที่เข้ารับการอบรมเพื่อเป็นบาทหลวงคาทอลิก ณ สามเณราลัยนักบุญยอแซฟ อ.สามพราน จ.นครปฐม ปัจจัยที่มีผลต่อการอบรมคุณธรรมเพื่อ ส่งเสริมกระแสเรียกสามเณรคาทอลิก หมายถึง สิ่งที่เกี่ยวข้องหรือสิ่งที่ก่อให้เกิดผลดีหรือผล เสียต่อสามเณรคาทอลิกในการฝึกฝนตนเองได้ อย่างที่ควรจะเป็น ได้แก่ ปัจจัยด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม ด้านการใช้สื่อและเทคโนโลยี วิธีด�ำเนินการวิจัย การวิจยั เรือ่ ง ปัจจัยทีม่ ผี ลต่อการอบรม คุ ณ ธรรมเพื่ อ ส่ ง เสริ ม กระแสเรี ย กสามเณร คาทอลิกนี ้ เป็นการวิจยั เชิงคุณภาพ (Qualita-
อวิรุทธ์ พันธ์ขาว, พิเชฐ แสงเทียน และ ลัดดาวรรณ์ ประสูตร์แสงจันทร์
tive Research ) มีขนั้ ตอนการวิจยั 3 ขัน้ ตอน คือ 1) การจัดเตรียมโครงร่างการวิจัย 2) การ ด�ำเนินการวิจัย โดย 2.1) การศึกษาวิเคราะห์ เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องเพื่อน�ำไปใช้ ในการสร้ า งเครื่ อ งมื อ 2.2) การสร้ า งและ พัฒนาเครื่องมือ ปรับปรุงคุณภาพเครื่องมือ 2.3) การน�ำเครือ่ งมือทีพ่ ฒ ั นาแล้วไปเก็บข้อมูล 2.4) การน� ำ ข้ อ มู ล ที่ ไ ด้ ม าตรวจสอบความ ถูกต้องวิเคราะห์ข้อมูล แปลผล และสรุปผล การศึกษา และ 3) การรายงานผลการวิจัย ผลการวิจัย 1. ปัจจัยด้านสังคม สื่อและเทคโนโยโลยี และ เศรษฐกิจ มีผลกระทบต่อการอบรมคุณธรรม เพือ่ ส่งเสริมกระแสเรียกสามเณรคาทอลิก ดังนี้ 1.1 ปั จ จั ย ด้ า นสั ง คม มี ผ ลกระทบ เชิงบวกต่อการอบรมคุณธรรมทางเทววิทยา คุณธรรมหลัก และคุณธรรมพื้นฐานในขณะ เดี ย วกั น ก็ มี ผ ลกระทบเชิ ง ลบต่ อ การอบรม คุณธรรมหลัก และคุณธรรมพื้นฐาน 1.2 ปัจจัยด้านสื่อและเทคโนโลยี มีผล กระทบเชิ ง บวกและเชิ ง ลบต่ อ การอบรม คุณธรรมทางเทววิทยา คุณธรรมหลัก และ คุณธรรมพื้นฐาน 1.3 ปัจจัยด้านเศรษฐกิจ มีผลกระทบ เชิงบวกและเชิงลบต่อการอบรมคุณธรรมหลัก และคุณธรรมพืน้ ฐาน แต่ไม่มผี ลกระทบต่อการ อบรมคุณธรรมทางเทววิทยา
ทั้ ง นี้ ส ามเณรได้ รั บ การบอรมปลู ก ฝั ง คุณธรรมทางเทววิทยา คุณธรรมหลัก และ คุ ณ ธรรมพื้ น ฐาน และสามารถน� ำ คุ ณ ธรรม เหล่านัน้ มาใช้เป็นหลักในการด�ำเนินชีวติ ประจ�ำ วันได้ โดยเฉพาะในเรือ่ งของคุณธรรมความเชือ่ ความรอบคอบ และความรู้ประมาณการมาก ที่สุด ส่วนน้อยที่สุดคือ คุณธรรมความยากจน และความบริสุทธิ์ ส�ำหรับคุณธรรมความยากจน สามเณร ให้ขอ้ สังเกตว่า บางทีบาทหลวงสอนให้ยากจน แต่บาทหลวงก็ไม่ได้เป็นแบบอย่างทีด่ ใี นเรือ่ งนี้ ใช้ของหรู ของราคาแพง สามเณรบางคนอยาก มีเสื้อผ้าสวยๆ มากเกินไปท�ำให้คนอื่นอยากมี แบบนั้นด้วย จึงเก็บเงินไว้กับตัว ไม่ยอมฝาก เงิ น ที่ ไ ด้ จ ากผู ้ ป กครอง บาทหลวงผู ้ ใ ห้ ก าร อบรมเองก็กล่าวว่า บางทีสามเณรเองก็ไม่ได้ เ ป ิ ด ใ จ ที่จะยอมรับ การอบรม พ่อแม่ผู้ปกครองเอง ก็ยอมรับว่า เวลามาเยี่ยมลูกที่บ้านเณรหรือ ได้พบเจอลูกของตนเองในงานฉลองวัด ก็มกี าร แอบให้ เ งิ น เพื่ อ เก็ บ ไว้ ใช้ จ ่ า ยหรื อ เลี้ ย งขนม เพื่อนๆ คุณธรรมความบริสุทธิ์ สามเณรมีข้อ สังเกตว่า สามเณรหลายคนไม่เข้าใจถึงความ หมายของความบริ สุ ท ธิ์ รู ้ เ พี ย งแค่ ว ่ า ความ บริสุทธิ์ คือ การไม่เล่นถูกเนื้อต้องตัวกัน การ ไม่ ห มกมุ ่ น กั บ อารมณ์ ท างเพศเท่ า นั้ น และ สามเณรหลายคนไม่สามารถอธิบายได้วา่ ความ
ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2018/2561 151
ปัจจัยทีม่ ผี ลต่อการอบรมคุณธรรมเพือ่ ส่งเสริมกระแสเรียกสามเณรคาทอลิก กรณีศกึ ษา: สามเณราลัยนักบุญยอแซฟ สามพราน นครปฐม
บริสุทธิ์คืออะไร สามเณรบางคนกล่าวว่าอยู่ สามเณราลัยมาหลายปี แต่ก็ยังไม่รู้เลยจริงๆ ว่าความบริสุทธิ์คืออะไร ท�ำไมต้องถือความ บริสุทธิ์ด้วย 2. แนวทางการอบรมคุณธรรมเพื่อส่งเสริม กระแสเรียกสามเณรคาทอลิก 2.1 ด้ า นสั ง คม สามเณราลั ย และวั ด ควรร่วมมือกันในการสรรหาสามเณรทีม่ กี ระแส เรียกและตัง้ ใจทีจ่ ะเข้ารับการศึกษาอบรมอย่าง แท้จริง เมื่อสามเณรเข้ามารับการศึกษาอบรม ที่ ส ามเณราลั ย แล้ ว บุ ค คลที่ เ กี่ ย วข้ อ งทั้ ง ผู้ให้การอบรมและผู้ปกครอง บาทหลวงที่วัด ต้องช่วยแนะน�ำสามเณรให้มีความตระหนัก และเห็นความส�ำคัญของกระแสเรียก โดยสอน ให้มีความเชื่อ ศรัทธาในพระเจ้า และให้เข้าใจ ถึงชีวิตของบาทหลวง ให้มีส่วนร่วมและสร้าง ประสบการณ์ ชี วิ ต ภายนอกบ้ า นเณร เช่ น การฝึกชีวิตธรรมทูต การออกไปเยี่ยมสัตบุรุษ ให้มีเวลาส�ำหรับไตร่ตรองชีวิตมากขึ้น และ บาทหลวงผู้ปกครองควรแนะน�ำส่งเสริมให้ สามเณรมีเวลาส�ำหรับการเงียบสงบอยูต่ อ่ หน้า ศีลมหาสนิทและพระคัมภีร์ 2.2 ด้านสือ่ เทคโนโลยี บุคคลทีเ่ กีย่ วข้อง ทั้งผู้ให้การอบรม ผู้ปกครอง ครู ควรมีการ อบรมดูแลให้สามเณรรู้เท่าทันสื่อเทคโนโลยี น�ำมาใช้ได้อย่างเหมาะสม ไม่ตกเป็นทาสของ สื่อเทคโนโลยีในปัจจุบัน เช่น เฟสบุ๊ก ไลน์ เกมส์ออนไลน์ น�ำสื่อมาใช้ให้เกิดประโยชน์ 152 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
โดยเฉพาะทางด้านความเชื่อ เรื่องการศึกษา พระคัมภีร์ การแสวงหาความรู้จากสื่อสังคม บาทหลวง ผู้ให้การอบรมควรเป็นแบบอย่าง ในเรื่ อ งของการใช้ สื่ อ เทคโนโลยี ด ้ ว ยความ พอเพียงและถือความยากจน และผู้ปกครอง ต้ อ งให้ ค วามร่ ว มมื อ กั บ การอบรมของทาง สามเณราลัย คอยดูแลให้ใช้สื่อได้อย่างเหมาะ สมอยู่ในสายตาของผู้ปกครองเสมอ 2.3 ด้านเศรษฐกิจ ผู้ให้การอบรมควร “เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา” ผู้ให้การอบรมและ ผู้ปกครองควรจัดกิจกรรมที่เสริมสร้างให้เกิด คุณธรรมความรัก เมตตา แบ่งปัน แก่ผู้อื่น ทั้งในด้านการท�ำงาน สิ่งของ เครื่องใช้ การ ดูแลรักษาข้าวของเครื่องใช้ต่างๆ ปลูกฝังใน เรื่องของการประหยัด อดออม กินอยู่แบบ พอเพียงอย่างต่อเนื่อง 2.4 ในเรื่ อ งคุ ณ ธรรมความยากจน บุคคลรอบข้างโดยเฉพาะบาทหลวง ควรเป็น แบบอย่างที่ดีในการถือคุณธรรมความยากจน ไม่ใช้สิ่งของเครื่องใช้ที่หรูหรา ราคาแพง และ พ่อแม่ผู้ปกครองต้องเคารพในกฎระเบียบของ บ้านเณร เกีย่ วกับการให้สามเณรเก็บเงินไว้กบั ตัวเอง หรือการให้เงิน ข้าวของเครื่องใช้มาก เกินความจ�ำเป็น 2.5 ในเรื่ อ งคุ ณ ธรรมความบริ สุ ท ธิ์ บุคคลรอบข้างทั้งพ่อแม่ผู้ปกครอง ผู้ให้การ อบรม และครู ควรให้ ค วามรู ้ ค วามเข้ า ใจที่ ถูกต้องเกี่ยวกับคุณธรรมความบริสุทธิ์ เหตุผล และความส�ำคัญของการถือความบริสุทธิ์
อวิรุทธ์ พันธ์ขาว, พิเชฐ แสงเทียน และ ลัดดาวรรณ์ ประสูตร์แสงจันทร์
อภิปรายผล 1. ปัจจัยด้านสังคม สื่อและเทคโนโลยี และเศรษฐกิ จ มี ผ ลกระทบต่ อ การอบรม คุ ณ ธรรมเพื่ อ ส่ ง เสริ ม กระแสเรี ย กสามเณร คาทอลิก จากการศึกษาพบว่า ปัจจัยด้านสังคม สื่อเทคโนโลยี และเศรษฐกิจ มีผลกระบทต่อ การอบรมคุณธรรมเพื่อส่งเสริมกระแสเรียก สามเณรคาทอลิก โดยพบว่า ปัจจัยด้านสังคม มีผลกระทบเชิงบวกต่อการอบรมคุณธรรมทาง เทววิทยา คุณธรรมหลัก และคุณธรรมพืน้ ฐาน ในขณะเดียวกันก็มีผลกระทบเชิงลบต่อการ อบรมคุณธรรมหลัก และคุณธรรมพื้นฐานที่ เป็นเช่นนีเ้ พราะ ปัจจัยทางด้านสังคม ไม่วา่ จะ เป็นพ่อ แม่ บาทหลวง ครู เพื่อน ต่างมีส่วน เกีย่ วข้องโดยตรงกับชีวติ ของสามเณร ทุกคนมี ส่วนช่วยให้เกิดการพัฒนาในทางที่ดี เช่น การ ปลูกฝังให้สามเณรมีความเชื่อ ความศรัทธาใน พระเจ้าตัง้ แต่ยงั เป็นเด็ก การพาและชักชวนให้ สามเณรไปร่ ว มพิ ธี บู ช าขอบพระคุ ณ อย่ า ง สม�่ำเสมอ นอกจากนั้น ยังมีส่วนในการพัฒนา และช่วยให้สามเณรมีวุฒิภาวะและความเป็น ผู้ใหญ่เพิ่มมากขึ้น จากการสั่งสอนและปฏิบัติ ให้ เห็ น เป็ น ตั วอย่าง แต่ในขณะเดียวกันก็มี บางส่วนทีอ่ าจจะท�ำให้เกิดผลกระทบเชิงลบได้ เช่ น การเป็ น ตั ว อย่ า งที่ ไ ม่ ดี ข องผู ้ ป กครอง บาทหลวง หรื อ เพื่ อ นสามเณรด้ ว ยกั น เอง
การชักชวนกันไปท�ำเรื่องที่ผิดกฎระเบียบของ สามเณราลัย หรือแม้แต่การไม่ได้รบั ค�ำแนะน�ำ ที่ดีและถูกต้องเหมาะสมจากผู้ให้การอบรม และผู้ปกครองของสามเณรเอง งานอภิบาล กระแสเรี ย กต้ อ งเป็ น หน้ า ที่ ข องทุ ก คน ทั้ ง บรรดาพระสั ง ฆราช บาทหลวง นั ก บวช และฆราวาส โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง ครอบครั ว ชุมชนวัดและสถานศึกษาคาทอลิก บิดามารดา ต้องตระหนักถึงบทบาทในการอบรมกระแส เรี ย กเบื้ อ งต้ น ให้ กั บ ลู ก หลานในครอบครั ว พร้อมจะสนับสนุนและเสียสละด้วยความยินดี ให้ลูกๆ ของตนได้ตอบสนองกระแสเรียกเพื่อ เป็นผู้อภิบาลในอนาคต ปั จ จั ย ด้ า นสื่ อ และเทคโนโลยี มี ผ ล กระทบเชิ ง บวกและเชิ ง ลบต่ อ การอบรม คุณธรรมทาง เทววิทยา คุณธรรมหลัก และ คุ ณ ธรรมพื้ น ฐานเพราะในโลกยุ ค ปั จ จุ บั น สือ่ และเทคโนโลยีเป็นเรือ่ งทีจ่ ำ� เป็นส�ำหรับชีวติ ของมนุษย์อย่างมาก สื่อและเทคโนโลยีต่างๆ ในตัวของมันเองเป็นเรือ่ งทีด่ ี เช่น สือ่ การศึกษา เล่าเรียน สือ่ ส�ำหรับการฝึกทักษะการท�ำงานใน ด้านต่างๆ เช่น Photoshop ฯลฯ แต่ในขณะ เดียวกันสื่อและเทคโนโลยีต่างๆ ก็มีผลเสีย ต่อผูใ้ ช้เช่นเดียวกัน เช่น สือ่ ลามก สือ่ ทีม่ คี วาม รุนแรง ฯลฯ ดังนัน้ สิง่ ทีส่ ำ� คัญในเวลาทีต่ อ้ งใช้ สื่อและเทคโนโยลีเหล่านี้ คือ การรู้จักยับยั้ง ชั่งใจตนเอง การรู้จักแยกแยะได้ว่า อะไรที่
ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2018/2561 153
ปัจจัยทีม่ ผี ลต่อการอบรมคุณธรรมเพือ่ ส่งเสริมกระแสเรียกสามเณรคาทอลิก กรณีศกึ ษา: สามเณราลัยนักบุญยอแซฟ สามพราน นครปฐม
เป็นสื่อที่ควรดู และอะไรที่เป็นสื่อที่ไม่ควรดู สิ่ ง ส� ำ คั ญ ที่ สุ ด คื อ การรู ้ จั ก ที่ จ ะใช้ อ ย่ า ง รอบคอบมากยิ่งขึ้น ปั จ จั ย ด้ า นเศรษฐกิ จ มี ผ ลกระทบ เชิงบวกและเชิงลบต่อการอบรมคุณธรรมหลัก และคุณธรรมพืน้ ฐาน แต่ไม่มผี ลกระทบต่อการ อบรมคุณธรรมทางเทววิทยา อาจเป็นเพราะ สามเณรส่วนใหญ่มาจากครอบครัวที่มีฐานะ ยากจนหรื อ ปานกลาง คุ ณ พ่ อ คุ ณ แม่ ข อง บรรดาสามเณรก็จะสอนให้สามเณรมีความ เข้ า ใจและตระหนั ก ถึ ง สภาพของครอบครั ว สภาพของการเงิ น ในครอบครั ว ของตนเอง และจะเน้ น ย�้ ำ เสมอว่ า สามเณรต้ อ งรู ้ จั ก อดออม ต้องรู้จักประหยัด ใช้จ่ายเท่าที่จ�ำเป็น ต้องใช้ และไม่ใช้จ่ายอย่างฟุ่มเฟือย ไม่ใช้ของ อย่างทิ้งๆ ขว้างๆ ในขณะเดียวกัน ถ้าฐานะ ทางบ้านของสามเณรมีความร�ำ่ รวยก็สง่ ผลเสีย ต่อตัวสามเณรเช่นกัน เพราะเวลาที่ผู้ปกครอง มาเยี่ยมที่สามเณราลัย หรือเวลาที่สามเณร ได้ออกไปร่วมฉลองวัดต่างๆ ผูป้ กครองก็จะซือ้ ขนมเป็นจ�ำนวนมาก และหลายครั้งก็ให้เงิน แก่สามเณรเก็บไว้กับตัวเพื่อน�ำไปซื้อขนมหรือ ซื้อของที่อยากจะได้ อยากจะใช้ส่วนตัว ซึ่งสิ่ง นี้เป็นสิ่งที่ไม่ถูกต้องต่อสามเณรที่เข้ารับการ อบรมในสามเณราลัยนักบุญยอแซฟ เพราะ เป็นการส่งเสริมให้สามเณรท�ำผิดกฎระเบียบ วิ นั ย และเป็ น การสอนให้ ส ามเณรไม่ รู ้ จั ก
154 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
มี ค วามอดทนและความยั บ ยั้ ง ชั่ ง ใจตนเอง นอกจากนี้ ปัจจัยทางด้านเศรษฐกิจไม่มีผล ต่อการอบรมคุณธรรมทางเทววิทยา เพราะว่า เรือ่ งของคุณธรรมทางเทววิทยา เป็นเรือ่ งเกีย่ ว กับความเชือ่ ในพระเจ้า ทีแ่ ต่ละบุคคลต้องสร้าง ความสัมพันธ์ที่ดีกับพระองค์ ไม่ได้เป็นเรื่อง ของการมี ท รั พ ย์ สิ น มากหรื อ น้ อ ยเท่ า ไหร่ เป็ น เรื่ อ งของจิ ต ใจที่ มี ป ระสบการณ์ ภ ายใน กับพระเจ้าเป็นการส่วนตัว ดังนั้น จึงไม่มีผล ในเชิงลบต่อเรื่องของความเชื่อ 2. แนวทางการอบรมคุ ณ ธรรมเพื่ อ ส่ ง เสริ ม กระแสเรี ย กสามเณรคาทอลิ ก ด้ า น สังคม สามเณราลั ย และวั ด ควรร่ ว มมื อ กั น ในการสรรหาสามเณรที่ มี ก ระแสเรี ย กและ ตั้งใจที่จะเข้ารับการศึกษาอบรมอย่างแท้จริง เมื่ อ สามเณรเข้ า มารั บ การศึ ก ษาอบรมที่ สามเณราลัยแล้ว บุคคลที่เกี่ยวข้องทั้งผู้ให้ การอบรมและผู้ปกครอง บาทหลวงที่วัด ต้อง ช่วยแนะน�ำสามเณรให้มีความตระหนักและ เห็นความส�ำคัญของกระแสเรียกในการเป็น สามเณร ส่ ง เสริ ม กระแสเรี ย กของสามเณร โดยสอนให้ มี ค วามเชื่ อ ศรั ท ธาในพระเจ้ า และแนะน�ำเขาให้เข้าใจถึงชีวิตของบาทหลวง ให้เขามีส่วนร่วมในหน้าที่หรือมีบทบาทต่างๆ ในวั ด หรื อ ชุ ม ชน ให้ ส ามเณรได้ ส ร้ า ง ประสบการณ์ ชี วิ ต ภายนอกบ้ า นเณร เช่ น
อวิรุทธ์ พันธ์ขาว, พิเชฐ แสงเทียน และ ลัดดาวรรณ์ ประสูตร์แสงจันทร์
การฝึกชีวิตธรรมทูต การออกไปเยี่ยมสัตบุรุษ ในขณะเดียวกันต้องจัดตารางเวลาให้สามเณร ได้ มี เ วลาส� ำ หรั บ ไตร่ ต รองชี วิ ต มากขึ้ น ลดกิจกรรมอืน่ ๆ ลงบ้าง ทัง้ นีเ้ พราะการร่วมมือ กันระหว่างบาทหลวงเจ้าอาวาส บาทหลวง ผู ้ ใ ห้ ก ารอบรม และผู ้ ป กครองจะช่ ว ยให้ สามเณรได้เข้าใจอย่างแท้จริงถึงความส�ำคัญ และความหมายของกระแสเรียกทีต่ นเองได้รบั ด้านสื่อเทคโนโลยี บุ ค คลที่ เ กี่ ย วข้ อ งทั้ ง ผู ้ ใ ห้ ก ารอบรม ผูป้ กครอง ครู ควรมีการอบรมดูแลให้สามเณร รู้เท่าทันสื่อเทคโนโลยี น�ำมาใช้ได้อย่างเหมาะ สม รวมถึงระยะเวลาในการใช้ ไม่ตกเป็นทาส ของสือ่ เทคโนโลยีในปัจจุบนั เช่น เฟสบุก๊ ไลน์ เกมส์ออนไลน์ น�ำสื่อมาใช้ให้เกิดประโยชน์ โดยเฉพาะทางด้านความเชื่อ เรื่องการศึกษา พระคัมภีร์ การแสวงหาความรู้จากสื่อสังคม ทัง้ นีเ้ พราะกระแสเรียกการเป็นบาทหลวงไม่ใช่ เรื่องส่วนตัวของคนใดคนหนึ่ง แต่เป็นผลมา จากความสัมพันธ์แห่งความรักระหว่างพระเจ้า ซึ่งเป็นผู้เรียก และมนุษย์ผู้ซึ่งเป็นผู้ตอบรับ เสี ย งเรี ย กของพระเจ้ า นั้ น สิ่ ง ที่ ส� ำ คั ญ คื อ บุคคลที่เกี่ยวข้องกับสามเณรต้องให้ค�ำแนะน�ำ ที่ ดี และช่ ว ยสั่ ง สอนเพื่ อ ให้ ส ามเณรใช้ สื่ อ และเทคโนโลยีตา่ งๆ ได้อย่างเหมาะสม ถูกต้อง ตามกาลเทศะ และไม่ ก ่ อ ความเดื อ ดร้ อ น ให้กับตนเองและบุคคลรอบข้าง และบุคคล
ที่เกี่ยวข้องต้องสนับสนุนให้สามเณรได้ใช้สิ่ง ต่างๆ เหล่านี้อย่างเกิดประโยชน์สูงสุดเพื่อ พั ฒ นากระแสเรี ย กและส่ ง เสริ ม ให้ ส ามเณร เป็นบุคคลที่มีคุณภาพพร้อมทุกด้าน ด้านเศรษฐกิจ ผู ้ ใ ห้ ก ารอบรมควรให้ ก ารอบรมตาม ค�ำของในหลวง รัชกาลที่ 9 “เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา” เพื่อจะได้เข้าใจว่าสามเณรแต่ละคน เป็นอย่างไร มีปัญหาอะไร มีสภาพครอบครัว เป็ น อย่ า งไร จะได้ เข้ า ถึ ง ตั ว ตนจริ ง ๆ ของ สามเณร และผูใ้ ห้การอบรมและผูป้ กครองควร ส่งเสริมให้มีกิจกรรมที่ส่งเสริมหรือสร้างให้ เกิดคุณธรรมความรัก เมตตา แบ่งปัน แก่ผอู้ นื่ ทั้งในด้านการท�ำงาน สิ่งของ เครื่องใช้ ฯลฯ การดูแลรักษาข้าวของเครื่องใช้ต่างๆ ปลูกฝัง ในเรื่องของการประหยัด อดออม กินอยู่แบบ พอเพียงอย่างต่อเนื่อง ทั้งนี้เพราะการส่งเสริม ให้สามเณรมีใจที่ยากจน การรู้จักใช้ทรัพย์สิน ตามก�ำลังและสภาพครอบครัวของตน รวมไป ถึงการมองดูมนุษย์ทั้งครบในการขาดความรัก ขาดก�ำลังใจ ขาดหลักยึดเหนี่ยวในชีวิตก็ถือ เป็นความยากจนด้วย การแสดงความรักแบบ ผู ้ อ ภิ บ าล คื อ การท� ำ ตนเองให้ เ หมื อ นกั บ พระคริสตเจ้า สามเณรควรได้รบั การปลูกฝังใน เรื่ อ งนี้ เพราะจะได้ เข้ า ใจสภาพชี วิ ต ของ คนยากจน ความปรารถนา ความต้องการจาก คนยากจน และผู ้ ป กครอง ผู ้ ใ ห้ ก ารอบรม
ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2018/2561 155
ปัจจัยทีม่ ผี ลต่อการอบรมคุณธรรมเพือ่ ส่งเสริมกระแสเรียกสามเณรคาทอลิก กรณีศกึ ษา: สามเณราลัยนักบุญยอแซฟ สามพราน นครปฐม
และวัดควรมีส่วนในการช่วยให้สามเณรเกิด ความรูส้ กึ รักในความยากจน รักความพอเพียง รักความเรียบง่าย และรักชีวิตที่สมถะ เพราะ โดยทางศีลบวชนั้น บาทหลวงได้รับการเชื้อ เชิ ญ ให้ ถื อ ความยากจนด้ ว ยความสมั ค รใจ อาศัยความยากจนบาทหลวงจะเป็นเหมือน พระคริสตเจ้ามากยิง่ ขึน้ และย่อมสามารถอุทศิ ตนต่อหน้าที่การงานของตนได้มากยิ่งขึ้น ข้อเสนอแนะในการศึกษาวิจัยครั้งต่อไป 1. ควรมีการศึกษา ปัจจัยทีม่ ผี ลต่อการ ตัดสินใจเปลี่ยนกระแสเรียกของเยาวชนที่เข้า รับการอบรมเพื่อเป็นบาทหลวงคาทอลิก เพื่อ ให้ได้ข้อมูลเชิงลึกส�ำหรับเป็นแนวทางในการ ส่งเสริมกระแสเรียกแก่เยาวชนต่อไป 2. ควรมีการศึกษา คุณสมบัติเฉพาะ ของบาทหลวงผู้ให้การอบรมส�ำหรับเยาวชน ที่เข้ารับการอบรมเพื่อเป็นบาทหลวงคาทอลิก โดยศึ ก ษาเชิ ง คุ ณ ภาพในบริ บ ทของสามเณราลั ย เล็ ก สามเณราลั ย พระวิ สุ ท ธิ ว งศ์ (สามเณราลัยกลาง) และสามเณราลัยแสงธรรม เพื่อให้ได้ข้อมูลเชิงลึกส�ำหรับเป็นแนวทางใน การคัดเลือกบาทหลวงผู้ให้การอบรมส�ำหรับ เยาวชนหรื อ การพั ฒ นาบาทหลวงผู ้ ใ ห้ ก าร อบรมให้มีคุณสมบัติเฉพาะต่อไป
156 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
บรรณานุกรม กลุ ่ ม ซี น าปี ส . (2015). ตามรอยมิ ส ชั น นารี “คุณพ่อซิกมูนด์ แลส์เช็นสกี”้ สงฆ์เพือ่ คนอื่น. ซีนาปีส. ____. (2003). ค�ำสอนพระศาสนจักรคาทอลิก (Catechism of the Catholic Church). ภาค 3 ชีวติ ในพระคริสตเจ้า. พิมพ์ครัง้ ที่ 4. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์อัสสัมชัญ. ประวัติ ญวนเหนือ. (2545). กระแสเรียกและ บทบาทของคริสตชนในพระศาสนจักร, สารนิพนธ์ หลักสูตรปรัชญาและศาสนา. นครปฐม: คณะมนุษย์ศาสตร์ วิทยาลัย แสงธรรม. ไพยง มนิราช, บาทหลวง. (2550). คุณธรรม ในสถานศึกษา. ราชบุรี: ธรรมรักษ์การ พิมพ์. ไพโรจน์ หน่อชัชวาล. สงฆ์แห่งศาสนบริกรตาม แบบอย่ า งพระคริ ส ตเจ้ า . นครปฐม: วิทยาลัยแสงธรรม ฟรั ง ซิ ส , สมเด็ จ พระสั น ตะปาปา. (2015). พระสมณสาสน์ เรื่อง ขอสรรเสริญองค์ พระผูเ้ ป็นเจ้า (Laudato Si’). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์อัสสัมชัญ. ศู น ย์ วิ จั ย ค้ น คว้ า ศาสนาและวั ฒ นธรรม สภาการศึกษาคาทอลิก (ประเทศไทย). (2552). “การส่ ง เสริ ม คุ ณ ธรรม จริ ย ธรรมในโรงเรี ย นคาทอลิ ก ”. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์อัสสัมชัญ.
อวิรุทธ์ พันธ์ขาว, พิเชฐ แสงเทียน และ ลัดดาวรรณ์ ประสูตร์แสงจันทร์
สภาพระสังฆราชคาทอลิกแห่งประเทศไทย. (2017). กฤษฎี ก าสมั ช ชาใหญ่ ข อง พระศาสนจักรคาทอลิกในประเทศไทย คริสตศักราช 2015. กรุงเทพฯ. หน่วยงานสามเณราลัย สภาพระสังฆราชแห่ง ประเทศไทย. (1990). คู ่ มื อ อภิ บ าล ส�ำหรับบาทหลวง สังฆมณฑลในพระ ศาสนจักรที่ขึ้นสังกัดต่อกระทรวงแพร่ พระวรสารสู่ปวงชน. กรุงเทพฯ. Johann Baptist Metz. (1986). Followers of Christ. New York: Paulist Press. John Paul II, Pope. (1992). Pastores Dabo Vobis. Washington, D.C.: Braun-Brumfield, Inc. Kohlberg Lawrence. (1964). Moral Stage and Moralization: the Cognitive Development and Behavior. New York: Rinehart and Winston. Molaney, Francis J., S.D.B. (1980). A Life of Promise: Poverty, Chastity, Obedience. London: Darton Longman and Todd.
Francis ,Pope. (2016). The Gift of the Priestly Vocation. L’Osservatore Romano, Vatican City. พระครู ส มุ ห ์ ศ รั ณ ย์ ปญญาวชิ โ ร (ท� ำ นุ ) . (2556). “การส่งเสริมคุณธรรมนักเรียน ร ะ ดั บ ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า โร ง เรี ย น วั ด เปาโรหิตย์ เขตลางพลัด กรุงเทพฯ.” Available from http://www.mcu. ac.th/user-files/file/thesis/Educa tional-Administration/56-2-11-022. pdf. Accessed August 20, 2016. พระมหาอาจริยพงษ์ ค�ำตั๋น. (2554). “การ ปฏิบัติตนด้านคุณธรรม จริยธรรมและ ค่ า นิ ย มที่ พึ ง ประสงค์ ข องนั ก เรี ย น โรงเรี ย นมั ธ ยมศึ ก ษาในเขตจั ง หวั ด นครปฐม.” Available from http:// www.mcu.ac.th/userfiles/file/ thesis/Educational-Administra tion/56-2-11-022.pdf. Accessed August 20, 2016.
ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2018/2561 157
หลักสูตรเสริมสร้างทักษะการคิดเชิงออกแบบ สำ�หรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น
Curriculum to Enhance Design
Thinking Skills for Secondary Students.
ไอยรา เลาะห์มิน * ผู้ช่วยผู้อ�ำนวยการฝ่ายบริหารทั่วไป โรงเรียนเซนต์เทเรซา หนองจอก กรุงเทพมหานคร ศรัญญู พงศ์ประเสริฐสิน
* อาจารย์ประจ�ำหลักสูตรการศึกษาบัณฑิต สาขาวิชาคริสตศาสนศึกษา วิทยาลัยแสงธรรม ศศิธร คล้อยแสงอาทิตย์ * หัวหน้าฝ่ายวิชาการ โรงเรียนซางตาครู้สคอนแวนท์ นภาศิริ ฤกษนันทน์ * สถาบันวิจัยพัฒนา และสาธิตการศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
Aiyara Lohmin *Assistant Executive Director of General Administrative, Saint Theresa School. Saranyu Pongprasertsin
* Lecturer, Bachelor of Education Program in Christian Studies, Saengtham College. Sasitorn Kloysangatit
* Academic Head, Santa Cruz Convent School.
Napasiri Rueksanan
* Lecturer, Educational Research Development and Demonstration Institute Srinakharinwirot.
ไอยรา เลาะห์มิน, ศรัญญู พงศ์ประเสริฐสิน, ศศิธร คล้อยแสงอาทิตย์, และ นภาศิริ ฤกษนันทน์
บทคัดย่อ
การวิ จั ย ครั้ ง นี้ มี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ พั ฒ นาหลั ก สู ต รและศึ ก ษา ประสิทธิผลของหลักสูตรเสริมสร้างทักษะการคิดเชิงออกแบบ ส�ำหรับ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ด�ำเนินการ 4 ระยะ ดังนี้ ระยะที่ 1 การศึกษาข้อมูลพื้นฐาน ระยะที่ 2 การยกร่างหลักสูตร การตรวจสอบ คุณภาพเบื้องต้น และทดลองน�ำร่อง ระยะที่ 3 การทดลองใช้หลักสูตร กับกลุ่มตัวอย่าง และระยะที่ 4 การประเมินประสิทธิผลของหลักสูตร กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียน จ�ำนวน 43 คน ในโรงเรียนเซนต์เทเรซา หนองจอก กรุงเทพมหานคร โดยเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้เก็บ รวบรวมข้อมูล ประกอบด้วย 1) ใบความรู้และใบงานเสริมสร้างทักษะ การคิดเชิงออกแบบ 2) ใบงานถอดบทเรียน 3) แบบสังเกตพฤติกรรม การคิดเชิงออกแบบ (Design Thinking) ค่าความเชื่อมั่น .765 ผลการวิจัยพบว่า หลักสูตรเสริมสร้างทักษะการคิดเชิงออกแบบ ส�ำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ประกอบด้วย 1) แนวคิดหลัก การ 2) วัตถุประสงค์ 3) โครงสร้างเนื้อหาและเวลา 4) สาระการจัด กิจกรรมการเรียนรู้ 5) แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 6) สื่อ/อุปกรณ์ และแหล่งเรียนรู้ 7) การวัดและประเมินผล ขั้นตอนในการปฏิบัติ กิจกรรมมี 6 ขัน้ ตอน ได้แก่ ขัน้ ที ่ 1 การท�ำความเข้าใจปัญหา (Empathy) ขั้นที่ 2 การสังเคราะห์ข้อมูล (Define) ขั้นที่ 3ระดมความคิดและ มุ ม มองใหม่ ๆ (Ideate) ขั้ น ที่ 4 การสร้ า งต้ น แบบ (Prototype) ขั้นที่ 5 การทดสอบ (Test) และขั้นที่ 6 การสะท้อนประสบการณ์ที่ เกิดขึ้น (Knowing) ผลการตรวจสอบ ประสิทธิผลของหลักสูตร พบว่า หลั ก สู ต รเสริ ม สร้ า งทั ก ษะการคิ ด เชิ ง ออกแบบ ส� ำ หรั บ นั ก เรี ย น ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น มีประสิทธิผลตามเกณฑ์ที่ก�ำหนด สรุปได้ว่า ทักษะการคิดเชิงออกแบบของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ที่ผ่านการเรียนหลักสูตรเสริมสร้างทักษะการคิดเชิงออกแบบ โดยรวม อยู่ในระดับ ดีมาก ( X = 88.11, S.D. 1.40) และผ่านเกณฑ์ในระดับ ดีขึ้นไป ( X = 3.52) มีประสิทธิผลตามสมมติฐานที่ตั้งไว้อย่างมีนัย ส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ค�ำส�ำคัญ: 1) การคิดเชิงออกแบบ 2) การพัฒนาหลักสูตร ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2018/2561 159
หลักสูตรเสริมสร้างทักษะการคิดเชิงออกแบบ สำ�หรับนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาตอนต้น
Abstract
The objectives of this research were to developed and study the effectiveness of Design Thinking Curriculum for Lower Secondary organized in four phases: 1) Fundamental information analysis 2) Drafting the curriculum, Preliminary quality assessment and Pilot experimentation 3) Experimenting the curriculum in a sample group of participants 4) Evaluation of the curriculum effectiveness. The sample group used in this research was a number of forty-three students from Saint Theresa Nong-Chok School by selective sampling technique. The research tools used to collect information included 1) Paper of the knowledge information and Paper of assignments in Design Thinking 2) Paper of Lesson Learned assignments 3) Design Thinking Behavior Observation Form, Reliability level was 0.765. The research found that Design Thinking Curriculum for Lower Secondary consists of 1) Principle of concepts 2) Objectives 3) Course structure of learning content and schedule 4) Summary of learning activities 5) Concept of learning activities 6) Media, tools and learning resources 7) Evaluation and assessment. The six stages of performing the activities, are as the following: 1. Understanding the problem (Empathize) 2. Synthesizing the problem (Define) 3. Brainstorming the ideas and new attitudes (Ideate) 4. Building a prototype (Prototype) 5. Simulation (Test) 6. Reflecting from experiences (Knowing). The results of studying the effectiveness of Design Thinking Curriculum for Lower Secondary explained that the curriculum was
160 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
ไอยรา เลาะห์มิน, ศรัญญู พงศ์ประเสริฐสิน, ศศิธร คล้อยแสงอาทิตย์, และ นภาศิริ ฤกษนันทน์
effective based on the criteria. In conclusion, Design Thinking Skills of Lower Secondary students passed the study of Design Thinking curriculum. The overall students were ranged in very good level ( X = 88.11, S.D. 1.40) and passed the criteria in good level and above ( X = 3.52) while being effective based on the hypothesis statistically significant at level 0.05. Keyword:
1) Design Thinking 2) Curriculum Development
ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2018/2561 161
หลักสูตรเสริมสร้างทักษะการคิดเชิงออกแบบ สำ�หรับนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาตอนต้น
ความส�ำคัญของปัญหา การพั ฒ นาประเทศให้ มี ค วามเจริ ญ ก้าวหน้าและยืนหยัดอยู่ในกระแสโลกาภิวัตน์ ได้อย่างมั่นคงและอย่างเป็นสุขนั้น จ�ำเป็นต้อง พัฒนาประชาชนให้มคี ณ ุ ภาพ โดยเริม่ ต้นตัง้ แต่ เยาว์วยั ซึง่ ปัจจัยส�ำคัญประการหนึง่ ทีท่ ำ� ให้คน มีคุณภาพ คือ การมีความสามารถในการคิด เพราะความสามารถในการคิดจะเป็นพื้นฐาน ในการด� ำ รงชี วิ ต ได้ อ ย่ า งมี คุ ณ ภาพทุ ก ด้ า น ทั้งทางร่างกาย สังคม อารมณ์ และสติปัญญา ด้วยความส�ำคัญดังกล่าว ระบบการศึกษาของ ประเทศไทยภายหลังการปฏิรปู การศึกษาจึงได้ เริ่มให้ความส�ำคัญของการศึกษา เพื่อพัฒนา ความคิดโดยได้กำ� หนดไว้ในพระราชบัญญัตกิ าร ศึ ก ษาแห่ ง ชาติ พุ ท ธศั ก ราช 2542 และใน หลั ก สู ต รแกนกลางการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) โดยให้สถานศึกษาจัดกระบวนการเรียนรู้โดย ฝึ ก ทั ก ษะกระบวนการคิ ด การจั ด การการ ประยุกต์ความรูม้ าใช้เพือ่ ป้องกันและแก้ปญ ั หา และจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากการ ปฏิ บั ติ คิ ด เป็ น และท� ำ เป็ น (ประพั น ธ์ ศิ ริ สุเสารัจ, 2552: 1) บทความของ กลิ่น สระทองเนียม (2556) มองว่าการจัดการศึกษาที่ ผ่านมา ผลที่เกิดขึ้นยังอยู่ในระดับต�่ำ จากผล การประเมินของส�ำนักงานรับรองมาตรฐาน และประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) ด้าน
162 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
กระบวนการคิดวิเคราะห์ของเด็กอยู่แค่ระดับ พอใช้เป็นส่วนใหญ่ เมือ่ เปรียบเทียบกับประเทศ อื่นๆ เพราะจากการประเมินของ PISA ด้าน ความรู้และทักษะทางวิทยาศาสตร์ปรากฏว่า เด็ ก ไทยได้ ค ะแนนต�่ ำ กว่ า ค่ า เฉลี่ ย จึ ง เป็ น สาเหตุของคุณภาพการศึกษาและคุณภาพชีวติ เด็ ก ไทยจึ ง ตกต�่ ำ ลงไปเรื่ อ ยๆ ซึ่ ง สอดคล้ อ ง กับงานวิจัยของ โกวิท วงศ์สุวรวัฒน์ (2556) ก็เป็นอีกคนออกมาวิพากษ์ปัญหานี้ โดยได้ พิ จ ารณาจากรายงานความสามารถในการ แข่งขันของประเทศต่างๆ ทัว่ โลก พ.ศ. 25552556 (The Global Competitiveness Report 2012-2013) ได้จัดอันดับคุณภาพ การศึ ก ษาของประเทศไทยในกลุ ่ ม อาเซี ย น อยู ่ ใ นกลุ ่ ม สุ ด ท้ า ยอั น ดั บ ที่ 8 เป็ น กลุ ่ ม ที่ มี คะแนนต�่ำที่สุด และมองว่าการศึกษาไทยอาจ ต้องยอมให้เด็กคิดเอง ท�ำเองบ้างและกระตุ้น ความอยากรู้ อยากเรียนรวมทั้งสอนให้อ่าน หนังสือเป็นด้วยไม่ใช่แต่ใช้พาวเวอร์พอยท์ (PowerPoint) และอ่านจากต�ำราให้เด็กจดไป ท่องจ�ำเท่านั้น จากทีก่ ล่าวมาข้างต้นคือความจริงทีเ่ ป็น ปัญหาของการศึกษาไทยในปัจจุบัน ซึ่งทาง ผู ้ วิ จั ย เห็ น ด้ ว ยอย่ า งยิ่ ง กั บ ปั ญ หาดั ง กล่ า ว การศึกษาไทยในปัจจุบันเป็นเช่นนั้น คือให้ ผู้เรียนเรียนโดยรับความรู้ เนื้อหา สูตรต่างๆ น�ำไปพักไว้ในเพียงเพื่อรอวันสอบ แต่หลังจาก
ไอยรา เลาะห์มิน, ศรัญญู พงศ์ประเสริฐสิน, ศศิธร คล้อยแสงอาทิตย์, และ นภาศิริ ฤกษนันทน์
นั้นความรู้ก็หายไป ไม่มีการตกผลึกทางความ คิด ไม่มีการสร้างสรรค์และจินตนาการ ดังนั้น แนวโน้มในการจัดการเรียนรู้ในอนาคต ต้อง เน้นกระบวนการทีใ่ ห้นกั เรียนเป็นผูน้ ำ� การเรียน รู้ด้วยตนเอง ได้ตัดสินใจและแสดงออกตาม ความคิดของตนเอง โดยใช้การส�ำรวจและการ ทดลองอย่างอิสระตามประสบการณ์ที่มีความ หมายผ่านการใช้จินตนาการ ซึ่งลักษณะการ เรียนรู้แต่ละบุคคลสามารถบูรณาการกับการ เรียนรู้ในลักษณะหรือศาสตร์อื่นๆ ได้หลาก หลาย ปั จ จุ บั น Design Thinking หรื อ กระบวนการคิดเชิงออกแบบ เป็นกระบวนการ คิดที่ใช้การท�ำความเข้าใจในปัญหาอย่างลึกซึ้ง จากกลุ ่ ม เป้ า หมาย และน� ำ เอาความคิ ด สร้างสรรค์หรือการระดมความคิดหาแนวทาง แก้ ไข เพื่ อ สร้ า งและพั ฒ นาให้ ไ ด้ แ นวทาง หรือนวัตกรรมที่ตอบโจทย์กลุ่มเป้าหมายและ สถานการณ์นนั้ ๆ บนพืน้ ฐานของข้อมูลและข้อ เท็จจริง (DEX Space. 2016, ส�ำนักบริหาร และพัฒนาองค์ความรู้. 2554, UK Design Council. 2016, d.school. 2016) แต่ อย่างไรก็ตาม Design Thinking ยังไม่ได้ถูก น�ำมาใช้ในการจัดการเรียนการสอนในระดับ การศึกษาขั้นพื้นฐานมากนัก แต่ถูกน�ำมาใช้ใน องค์กรชั้นน�ำของโลกมากมาย มีทั้งขนาดใหญ่ และขนาดเล็ก อาทิ Google Apple Phillips
P&G และ Airbnbเป็นต้น โดยองค์กรต่างๆ เหล่านี้ ได้น�ำ Design Thinking มาใช้เป็น เครื่องมือหลัก เพื่อสร้างนวัตกรรมต่างๆ ไม่ว่า จะเป็น Product and Service Operational Process Business Strategy และรวมไปถึง Business Mode เป็นต้น ดังนั้นผู้วิจัยจึงได้ น�ำกระบวนการ Design Thinking เพือ่ พัฒนา ทักษะการคิดเชิงออกแบบ มาพัฒนาผู้เรียนใน ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ซึ่งเป็นไปตาม หลั ก สู ต รแกนกลางการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) กล่ า วว่ า นั ก เรี ย นในระดั บ การศึ ก ษาระดั บ มัธยมศึกษาตอนต้น (ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3) เป็ น ช่ ว งสุ ด ท้ า ยของการศึ ก ษาภาคบั ง คั บ มุง่ เน้นให้ผเู้ รียนได้สำ� รวจความถนัด และความ สนใจของตนเอง ส่งเสริมการพัฒนาบุคลิกภาพ ส่ ว นตน มี ทั ก ษะในการคิ ด วิ จ ารณญาณ คิ ด สร้ า งสรรค์ และคิ ด แก้ ป ั ญ หา มี ทั ก ษะ ในการด�ำเนินชีวิต มีทักษะการใช้เทคโนโลยี เพื่อเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ มีความรับผิด ชอบต่ อ สั ง คม มี ค วามสมดุ ล ทั้ ง ด้ า นความรู ้ ความคิ ด ความดี ง าม และมี ค วามภู มิ ใจใน ความเป็นไทย ตลอดจนใช้เป็นพื้นฐาน ในการ ประกอบอาชีพ หรือการศึกษาต่อ หลักสูตรเสริมสร้างทักษะการคิดเชิง ออกแบบ จะเป็นมวลประสบการณ์ที่ฝึกให้ นักเรียนเกิดการคิดเชิงออกและเป็นขั้นเป็น
ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2018/2561 163
หลักสูตรเสริมสร้างทักษะการคิดเชิงออกแบบ สำ�หรับนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาตอนต้น
ตอน โดยใช้ ทั ก ษะการคิ ด เชิ ง ออกแบบ 6 ขั้ น ตอน ของบุ ค คลที่ แ สดงออกในลั ก ษณะ ของความสามารถในการคิ ด โดยไม่ มี ก รอบ หลายทิศทาง มีความสามารถในการเชื่อมโยง มีความคิดสร้างสรรค์ อันจะน�ำไปสู่การคิดแก้ ปัญหาที่แปลกใหม่หรือประดิษฐ์คิดค้นสิ่งที่ แปลกใหม่ ซึ่งประกอบด้วย 1) การท�ำความ เข้าใจปัญหา (Empathy) การท�ำความเข้าใจ ปั ญ หาอย่ า งลึ ก ซึ้ ง เสมื อ นหนึ่ ง เป็ น เจ้ า ของ ปั ญ หาเอง โดยนั ก เรี ย นสั ง เกต สั ม ภาษณ์ หรือสอบถามข้อมูล 2) การสังเคราะห์ข้อมูล (Define) การระบุตัวปัญหาที่แท้จริง สาเหตุ ปัจจัยสนับสนุนทีท่ ำ� ให้เกิดปัญหา โดยนักเรียน เข้ากลุม่ เพือ่ ร่วมกันคิดวิเคราะห์ปญ ั หาทีเ่ กิดขึน้ 3) ระดมความคิดและมุมมองใหม่ๆ (Ideate) การแสวงหาแนวคิด วิธีการ เทคนิค การแก้ ปัญหาที่เป็นไปได้ โดยนักเรียนเข้ากลุ่มระดม ความคิดใหม่ ๆ หลากหลาย เพื่อน�ำความคิด มาตอบปัญหาที่เกิดขึ้น 4) การสร้างต้นแบบ (Prototype) การออกแบบนวัตกรรมส�ำหรับ การแก้ ป ั ญ หาตามแนวคิ ด วิ ธี ก ารที่ ก� ำ หนด โดยนักเรียนเข้ากลุ่มสร้างแบบจ�ำลองโดยการ วาดภาพ หรือ สร้างแบบจ�ำลอง เพื่อทดสอบ และหาข้อผิดพลาด 5) การทดสอบ (Test) การน� ำ นวั ต กรรมไปทดลองใช้ แ ก้ ป ั ญ หาใน สถานการณ์จริง โดยนักเรียนน�ำเอาแบบจ�ำลอง ทีส่ ร้างขึน้ ไปทดสอบกับผูใ้ ช้ เพือ่ น�ำผลตอบรับ
164 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
และข้ อ เสนอแนะมาพั ฒ นาแบบจ� ำ ลอง 6) การสะท้อนประสบการณ์ทเี่ กิดขึน้ (Knowing) การสรุปผลการใช้นวัตกรรมบนพื้นฐาน ข้อมูล ข้อเท็จจริง โดยนักเรียนรวมกลุม่ พูดคุย เพื่ อ สรุ ปผลที่ ไ ด้ รั บและนั ก เรี ย นสามารถน� ำ ความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ�ำวัน (d.school. 2016, UK Design Council. 2016, Burnette. 2005) ซึ่งจากปัญหา และ ความส� ำ คั ญ ดั ง กล่ า วผู ้ วิ จั ย จึ ง ได้ ด� ำ เนิ น การ พัฒนาหลักสูตรเสริมสร้างทักษะการคิดเชิง ออกแบบ ส�ำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอน ต้นในการวิจัยครั้งนี้ วัตถุประสงค์การวิจัย 1. เพือ่ พัฒนาหลักสูตรเสริมสร้างทักษะ การคิ ด เชิ ง ออกแบบ ส� ำ หรั บ นั ก เรี ย นชั้ น มัธยมศึกษาตอนต้น 2. เพื่อศึกษาประสิทธิผลของหลักสูตร เสริมสร้างทักษะการคิดเชิงออกแบบ ส�ำหรับ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ขอบเขตงานวิจัย 1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่างในการ วิจัยครั้งนี้เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โ ร ง เ รี ย น เ ซ น ต ์ เ ท เ ร ซ า ห น อ ง จ อ ก กรุ ง เทพมหานคร จ� ำ นวน 165 คน เลื อ ก กลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจงจ�ำนวน 43 คน
ไอยรา เลาะห์มิน, ศรัญญู พงศ์ประเสริฐสิน, ศศิธร คล้อยแสงอาทิตย์, และ นภาศิริ ฤกษนันทน์
กรอบแนวคิดของการวิจัย การพัฒนาหลักสูตรเสริมทักษะการคิด เชิงออกแบบ ส�ำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ตอนต้น มีกรอบแนวคิดการวิจัยดังนี้
วิธีด�ำเนินการการวิจัย การพัฒนาหลักสูตรเสริมสร้างทักษะการ คิ ด เชิ ง ออกแบบ ส� ำ หรั บ นั ก เรี ย นชั้ น มั ธ ยม ศึกษาตอนต้น ผู้วิจัยด�ำเนินการวิจัย 4 ระยะ ได้ แ ก่ ระยะที่ 1 การศึ ก ษาข้ อ มู ล พื้ น ฐาน ระยะที่ 2 การร่างหลักสูตร การตรวจสอบ คุณภาพเบื้องต้น และทดลองน�ำร่อง ระยะที่ 3 การทดลองใช้ ห ลั ก สู ต รกั บกลุ ่ ม ตั วอย่ า ง และระยะที่ 4 การประเมินประสิทธิผลของ หลักสูตร ดังต่อไปนี้ ระยะที่ 1 การศึกษาข้อมูลพื้นฐาน การศึ ก ษาข้ อ มู ล พื้ น ฐานในระยะที่ 1 เป็นการศึกษาข้อมูลทีส่ ำ� คัญจ�ำเป็นส�ำหรับการ พัฒนาหลักสูตรเสริมสร้างทักษะการคิดเชิง ออกแบบ ส�ำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอน ต้ น เพื่ อ น� ำ ผลการศึ ก ษามาเป็ น ฐานข้ อ มู ล ส�ำหรับการยกร่างหลักสูตรเสริมสร้างทักษะ การคิ ด เชิ ง ออกแบบ ส� ำ หรั บ นั ก เรี ย นชั้ น มัธยมศึกษาตอนต้น โดยสังเคราะห์เอกสาร
ตัวแปรต้น
ตัวแปรตาม
2. ตัวแปรที่ในการวิจัย มีดังนี้ 2.1 ตัวแปรต้น ได้แก่ การเรียนโดยใช้ หลักสูตรเสริมสร้างทักษะการคิดเชิงออกแบบ ส�ำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น 2.2 ตั ว แปรตาม ได้ แ ก่ ระดั บ ของ ทั ก ษะความคิ ด เชิ ง ออกแบบ ประกอบด้ ว ย 1) การท� ำ ความเข้ า ใจปั ญ หา (Empathy) 2) การสังเคราะห์ข้อมูล (Define) 3) ระดม ความคิดและมุมมองใหม่ๆ (Ideate) 4) การ สร้างต้นแบบ (Prototype) 5) การทดสอบ (Test) 6) การสะท้อนประสบการณ์ที่เกิดขึ้น (Knowing) 3. ระยะเวลาด�ำเนินการวิจัย ระหว่าง เดือนพฤศจิกายน – เมษายน 2561
คุณภาพชีวิตการท�ำงาน การเรียนโดยใช้หลักสูตรเสริมสร้างทักษะการคิด เชิงออกแบบ ของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาตอนต้น
ทักษะการคิดเชิงออกแบบ 1. การท�ำความเข้าใจปัญหา (Empathy) 2. การสังเคราะห์ข้อมูล (Define) 3. ระดมความคิดและมุมมองใหม่ๆ (Ideate) 4. การสร้างต้นแบบ (Prototype) 5. การทดสอบ (Test) 6. การสะท้อนประสบการณ์ทเี่ กิดขึน้ (Knowing)
ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2018/2561 165
หลักสูตรเสริมสร้างทักษะการคิดเชิงออกแบบ สำ�หรับนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาตอนต้น
และงานวิ จั ย ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การการคิ ด เชิ ง ออกแบบ เช่น หลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) พระราชบัญญัตกิ ารศึกษาแห่งชาติ พุ ท ธศั ก ราช 2542 หลั ก สู ต รสถานศึ ก ษา นโยบายของกระทรวงศึกษาธิการและแนวคิด ที่เกี่ยวข้อง ระยะที่ 2 การยกร่ า งหลั ก สู ต ร การ ตรวจสอบคุณภาพเบือ้ งต้น และทดลองน�ำร่อง ภายหลังการศึกษาข้อมูลพื้นฐานแล้ว ผูว้ จิ ยั ได้ดำ� เนินการยกร่างหลักสูตรซึง่ ประกอบ ด้ ว ย 1) แนวคิ ด หลั ก การ 2) วั ต ถุ ป ระสงค์ 3) โครงสร้างเนื้อหาและเวลา 4) สาระการ จัดกิจกรรมการเรียนรู ้ 5) แนวการจัดกิจกรรม การเรียนรู้ 6) สื่อ/อุปกรณ์ และแหล่งเรียนรู้ 7) การวัดและประเมินผล จากนั้นด�ำเนินการ ตรวจสอบคุณภาพเบื้องต้นของหลักสูตรเสริม สร้ า งทั ก ษะการคิ ด เชิ ง ออกแบบ ส� ำ หรั บ นั ก เรี ย นชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาตอนต้ น ด้ า นความ สอดคล้อง ความเหมาะสม และความเป็นไปได้ โดยผู้เชี่ยวชาญ จ�ำนวน 3 คน ประกอบด้วย ผู้เชี่ยวชาญด้านหลักสูตร 1 คน ผู้เชี่ยวชาญ ด้ า นการวั ด และประเมิ น ผล 1 คน และผู ้ เชี่ยวชาญด้านการออกแบบนวัตกรรม 1 คน และด�ำเนินการทดลองใช้หลักสูตรน�ำกับผูเ้ รียน ที่ไม่ใช่กลุ่มตัวอย่าง จ�ำนวน 24 คน ซึ่งเป็น
166 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
ผู้เรียนที่อยู่ในโรงเรียนซางตาครู้สคอนแวนท์ จั ง หวั ด กรุ ง เทพมหานคร เป็ น ระยะเวลา 6 ชั่วโมง แล้วน�ำผลการวิเคราะห์มาพิจารณา ปรับปรุงแก้ไขหลักสูตรให้มคี ณ ุ ภาพ และพร้อม ส�ำหรับน�ำทดลองใช้หลักสูตรกับผู้เรียนที่เป็น กลุ่มตัวอย่างต่อไป ระยะที่ 3 การทดลองใช้หลักสูตรกับ กลุ่มตัวอย่าง ผู้วิจัยได้ด�ำเนินทดลองใช้หลักสูตรเสริม สร้ า งทั ก ษะการคิ ด เชิ ง ออกแบบ ส� ำ หรั บ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ตั้งแต่วันที่ 4 เมษายน พ.ศ. 2561 ถึงวันที่ 5 เมษายน พ.ศ. 2561 โดยมีการเก็บรวบรวมข้อมูล ความ รูค้ วามเข้าใจเกีย่ วกับทักษะการคิดเชิงออกแบบ หลั ง ด� ำ เนิ น การใช้ ห ลั ก สู ต รในวั น ที่ 4 และ 5 เมษายน พ.ศ. 2561 ระยะที่ 4 การประเมินประสิทธิผลของ หลักสูตร การประเมินประสิทธิผลของหลักสูตร เสริมสร้างทักษะการคิดเชิงออกแบบ ส�ำหรับ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ตามเกณฑ์ ประสิทธิภาพและประสิทธิผลของหลักสูตร คือ ค่าเฉลีย่ ของคะแนนความรูค้ วามเข้าใจเกีย่ วกับ ทักษะการคิดเชิงออกแบบของผู้เรียนทุกคน หลังการใช้หลักสูตรผ่านเกณฑ์ที่ก�ำหนด อย่าง มีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
ไอยรา เลาะห์มิน, ศรัญญู พงศ์ประเสริฐสิน, ศศิธร คล้อยแสงอาทิตย์, และ นภาศิริ ฤกษนันทน์
สรุปและอภิปรายผล สรุปผล 1. หลั ก สู ต รเสริ ม สร้ า งทั ก ษะการคิ ด เชิงออกแบบ ส�ำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ตอนต้น ประกอบด้วย 1) แนวคิดหลักการ 2) วัตถุประสงค์ 3) โครงสร้างเนือ้ หาและเวลา 4) สาระการจัดกิจกรรมการเรียนรู ้ 5) ขัน้ ตอน ในการปฏิ บั ติ กิ จ กรรมมี 6 ขั้ น ตอน ได้ แ ก่ ขัน้ ที ่ 1 การท�ำความเข้าใจปัญหา (Empathy) ขั้นที่ 2 การสังเคราะห์ข้อมูล (Define) ขั้นที่ 3ระดมความคิดและมุมมองใหม่ๆ (Ideate) ขั้นที่ 4 การสร้างต้นแบบ (Prototype) ขั้นที่ 5 การทดสอบ (Test) และขั้ น ที่ 6 การ
สะท้อนประสบการณ์ที่เกิดขึ้น (Knowing) ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 6) สื่อ/อุปกรณ์ และแหล่งเรียนรู้ 7) การวัดและประเมินผล 2. สรุ ป ผลจากการด� ำ เนิ น การวิ จั ย หลักสูตรเสริมสร้างทักษะการคิดเชิงออกแบบ ของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาตอนต้น ดังต่อไปนี้ ค่ า เฉลี่ ย ของความรู ้ ค วามเข้ า ใจของ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นที่ผ่าน หลักสูตรเสริมสร้างทักษะการคิดเชิงออกแบบ ภาพรวมอยูใ่ นระดับมาก ( X = 88.11, S.D = 1.40) ผ่านเกณฑ์ที่ก�ำหนดในระดับดีขึ้นไป อย่างมีนยั ส�ำคัญทางสถิตทิ รี่ ะดับ .05 ดังตาราง ต่อไปนี้
ตาราง 1 ตารางแสดงผลการประเมินประสิทธิผลของหลักสูตรเสริมสร้างทักษะการคิดเชิงออกแบบ ส�ำหรับ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ทักษะการคิดเชิงออกแบบ คะแนน X รายข้อ
เทียบค่าเฉลี่ย จากคะแนน เต็ม 100
S.D.
1. การท�ำความเข้าใจปัญหา 3 2. การสังเคราะห์ข้อมูล 3 3. ระดมความคิดและมุมมองใหม่ 3 4. การสร้างต้นแบบ 3 5. การทดสอบ 3 6. การสะท้อนประสบการณ์ที่เกิดขึ้น 3 โดยรวม 18
86.05 89.92 92.25 88.37 89.92 82.17 88.11
0.50 3.44 0.46 3.60 0.43 3.69 0.48 3.53 0.46 3.60 0.50 3.29 3.52
2.58 2.70 2.77 2.65 2.70 2.47 16
1.40
ผลการ ระดับ ประเมิน 4 ความสามารถ ระดับ ดีมาก
ดีมาก ดีมาก ดีมาก ดีมาก ดีมาก ดีมาก
n = 43 จากตารางที ่ 1 สรุปได้วา่ ทักษะการคิดเชิงออกแบบของนักเรียนระดับชัน้ มัธยมศึกษาตอนต้นทีผ่ า่ นการ เรียนหลักสูตรเสริมสร้างทักษะการคิดเชิงออกแบบ โดยรวมอยูใ่ นระดับ ดีมาก ( X = 88.11, S.D. 1.40) และ ผ่านเกณฑ์ในระดับดีขึ้นไป ( X = 3.52) มีประสิทธิผลตามสมมติฐานที่ตั้งไว้อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2018/2561 167
หลักสูตรเสริมสร้างทักษะการคิดเชิงออกแบบ สำ�หรับนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาตอนต้น
อภิปรายผล จากการวิเคราะห์ขอ้ มูล พบว่า ค่าเฉลีย่ ของคะแนนความรูค้ วามเข้าใจทักษะการคิดเชิง ออกแบบของผูเ้ รียนทุกคน หลังการใช้หลักสูตร ผ่านเกณฑ์ที่ก�ำหนดในระดับดีขึ้น อย่างมีนัย ส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เนื่องมาจากผู้วิจัย ได้ด�ำเนินการจัดท�ำหลักสูตร ประกอบด้วย กระบวนการคิดเชิงออกแบบทีใ่ ห้นกั เรียนเข้าใจ ปัญหา ระบุปัญหาที่แท้จริง โดยกระบวนการ กลุ่ม มีการระดมความคิด แสวงหาแนวคิด วิธีการใหม่ๆ นักเรียนสร้างแบบจ�ำลองได้โดย การวาดภาพ และน� ำ แบบจ� ำ ลองไปสร้ า ง ชิ้ น งาน และทดสอบเพื่ อ ปรั บ ปรุ ง แก้ ไขได้ ซึ่งสอดคล้องกับ พันธ์ยุทธ น้อยพินิจ (2559) ได้น�ำเสนอผลการจัดการเรียนรู้ด้วยกระบวน การคิ ด เชิ ง ออกแบบ เรื่ อ งภาคตั ด กรวย ที่ส่งเสริมความสามารถในการแก้ปัญหาอย่าง สร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ซึ่งพบว่านักเรียนที่เรียนด้วยกระบวนการคิด เชิงออกแบบส่วนใหญ่มีความสามารถ ในการ แก้ปญ ั หาอย่างสร้างสรรค์อยูใ่ นระดับดี ร้อยละ 83.33 สอดคล้องกับ วาทินี บรรจง (2556) ได้น�ำเสนอผลของการจัดประสบการณ์ศิลปะ โดยบูรณาการแนวคิดเชิงออกแบบทีม่ ตี อ่ ความ คิ ด สร้ า งสรรค์ ข องเด็ ก อนุ บ าล พบว่ า หลั ง ทดลอง กลุม่ ทดลองมีคา่ เฉลีย่ คะแนนความคิด สร้างสรรค์สงู กว่ากลุม่ ควบคุมอย่างมีนยั ส�ำคัญ
168 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
ทางสถิ ติ ที่ .01 สอดคล้ อ งกั บ ถอดวิ ธี คิ ด เชิงออกแบบ ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ประยุกต์จากโมเดล วิธคี ดิ เชิงออกแบบ (Design Thinking) เผยแพร่ โดย d.school, มหาวิ ท ยาลั ย สแตนฟอร์ ด ดังนี้ EMPATHIZE เข้าใจปัญหา เข้าถึงผู้คน และพื้นที่ “เดือดร้อนเรื่องอะไร” สิ่งที่มักจะ ตรัสถามเวลาเสด็จฯ เยีย่ มราษฎร แสดงให้เห็น อย่างชัดเจนถึงการให้ความสําคัญกับคนใน พื้นที่เป็นอันดับแรก ควบคู่กับการศึกษาและ ท�ำความเข้าใจสภาพสังคม และภูมศิ าสตร์ของ แต่ละพืน้ ที ่ สะท้อนให้เห็น วิธคี ดิ แบบนักสังคม และมานุษยวิทยา DEFINE ระบุความต้องการ ความเข้าใจปัญหาอย่างถ่องแท้ จะต้องท�ำงาน ร่วมกับความสามารถในการมองความสัมพันธ์ โดยรวม เพื่อน�ำไปสู่การระบุความต้องการที่ แท้จริง ในขั้นตอนนี้ ทรงแสดงให้เห็นถึงวิธี คิ ด แบบ นั ก วิ เ คราะห์ แ ละวิ ธี คิ ด เชิ ง ระบบ IDEATE หาแนวทางแก้ ป ั ญ หา เมื่ อ ระบุ โจทย์ได้อย่างแม่นย�ำ การคิดหาทางเลือกจึง สามารถท�ำได้ ด้วยวิธีคิดแบบนักวิทยาศาสตร์ และ ผู้สร้างนวัตกรรมที่ไม่ปิดกั้นความเป็นไป ได้ โดยมี ตัวช่วยส�ำคัญคือความรู้ในด้านต่างๆ และการศึกษา ค้นคว้าเพิ่มเติม ดังที่ทรงแสดง ให้ประจักษ์แล้วว่า หากมีปัจจัยที่เอื้ออ�ำนวย กับความรู้และความ มุ่งมั่นเพียงพอ มนุษย์ ก็ ดั ด แปรสภาพอากาศให้ ฝ นตกลงมาได้
ไอยรา เลาะห์มิน, ศรัญญู พงศ์ประเสริฐสิน, ศศิธร คล้อยแสงอาทิตย์, และ นภาศิริ ฤกษนันทน์
PROTOTYPE พั ฒ นาต้ น แบบ หนึ่ ง ในองค์ ประกอบส� ำ คั ญ ของกระบวนการออกแบบ คือการพัฒนา “ต้นแบบ” สําหรับเปลีย่ นความ คิดให้เป็นรูปเป็นร่าง ทั้งเพื่อทดสอบความคิด ตั้ ง ต้ น และเพื่ อ น� ำ ไปทดสอบการใช้ ง านจริ ง ในขั้นตอนนี้ต้องอาศัยทั้งการค้นคว้าทางด้าน เทคนิ ค และความคิ ด แบบไม่ ย อมแพ้ หรื อ อาจกล่ า วได้ ว ่ า เป็ น วิ ธี คิ ด แบบนั ก ประดิ ษ ฐ์ โดยเราจะเห็ น ว่ า หลั ก ส� ำ คั ญ ของโครงการ พัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ คือ ความ เรียบง่ายและสมเหตุผล อันหมายถึงโอกาส ในการน�ำต้นแบบไปประยุกต์ใช้ในพื้นที่ต่างๆ ได้อย่างไม่รู้จบนั่นเอง TEST ทดสอบ เมื่อได้ ต้นแบบแล้ว สิ่งส�ำคัญในการน�ำไปใช้จริงก็คือ วิธีคิดแบบนักท�ำ นั่นหมายถึงการประยุกต์ใช้ ให้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมที่เป็นจริงใน พื้ น ที่ ด ้ ว ย ความยื ด หยุ ่ น และหวั ง ผลในทาง ปฏิบัติ บวกกับการน�ำความรู้ใหม่มาปรับปรุง ต้นแบบอย่างต่อเนื่อง เพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ ที่แท้จริง นั่นคือการพัฒนาคุณภาพชีวิตและ ความเป็นอยู่ของผู้คนให้พึ่งพาตนเองได้อย่าง ยั่งยืน
ข้อเสนอแนะ 1. ควรมีการพัฒนารูปแบบการเรียน การสอนโดยใช้หลักสูตรเสริมสร้างทักษะการ คิ ด เชิ ง ออกแบบ ส� ำ หรั บ นั ก เรี ย นระดั บ ชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาตอนปลายเพื่ อ เป็ น การต่ อ ยอด และพัฒนาอย่างต่อเนื่อง 2. ควรมี ก ารท� ำ วิ จั ย เพื่ อ ศึ ก ษาความ สัมพันธ์ระหว่างทักษะการคิดเชิงออกแบบกับ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน บรรณานุกรม ก ลิ่ น ส ร ะ ท อ ง เ นี ย ม . ( 2 5 5 6 ) . บ ้ า น นั ก วิ ท ยาศาสตร์ น ้ อ ย ปู ร ากฐานเด็ ก ไทยสู่อนาคต, เดลินิวส์. สืบค้นเมื่อ 20 พฤษภาคม 2561, จาก http://www. dailynews.co.th/Content.do? contentId=50718 โกวิท วงศ์สวุ รวัฒน์. (2556). ไม่นา่ แปลกใจเลย ที่คุณภาพการศึกษาของไทย อยู่อันดับ รั้ ง ท้ า ยของกลุ ่ ม อาเซี ย น, มติ ช น ออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 25 พฤษภาคม 2561, จาก http://www. matichon.co.th/news_detail.php? newsid=1378896116&grpid=01&c atid&subcatid
ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2018/2561 169
หลักสูตรเสริมสร้างทักษะการคิดเชิงออกแบบ สำ�หรับนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาตอนต้น
ประพันธ์ศิริ สุเสารัจ. (2556). การพัฒนาการ คิด. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ห้างหุ้นส่วน จ�ำกัด 9119 เทคนิคพริ้นติ้ง. พันธพงศ์ ตัง้ ธีระสุนนั ท์. (2552). การออกแบบ เชิงนวัตกรรมสู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์. วิ ท ยานิ พ นธ์ ค รุ ศ าสตรดุ ษ ฎี บั ณ ฑิ ต , ภ า ค วิ ช า เ ท ค โ น โ ล ยี แ ล ะ สื่ อ ส า ร การศึ ก ษา. กรุ ง เทพฯ: จุ ฬ าลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. พั น ธ์ ยุ ท ธ์ น้ อ ยพิ นิ จ และคณะ. (2559). ผลการจัดการเรียนรู้ด้วยระบบการคิด เชิ ง ออกแบบ เรื่ อ ง ภาคตั ด กรวยที่ ส่งเสริมความสามารถในการแก้ปัญหา อย่ า งสร้ า งสรรค์ ข องนั ก เรี ย นชั้ น มัธยมศึกษาชั้นปีที่ 4. รายงานสืบเนื่อง การประชุมสัมมนาวิชาการ (Proceeding) เครือข่ายบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัย ราชภัฏภาคเหนือ ครั้งที่ 17. วาทิน ี บรรจง. (2556). ผลของการจัดประสบ การณ์ศิลปะโดยบูรณาการแนวคิดเชิง ออกแบบทีม่ ตี อ่ ความคิดสร้างสรรค์ของ เด็ ก อนุ บ าล. วิ ท ยานิ พ นธ์ ค รุ ศ าสตร มหาบั ณ ฑิ ต ภาควิ ช าหลั ก สู ต รและ การสอน. กรุ ง เทพฯ: จุ ฬ าลงกรณ์ มหาวิทยาลัย.
170 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
Burnette, C. (2005). I design-seven ways of design thinking: A Teaching resource. [online]. Accessed 13 Mar. 2016. Available at: http;// www.idesign thinking.com d.school. (2016). Welcome to the Virtual Crash Course in Design Thinking. [online]. Accessed 13 Mar. 2016. Available at: http://dschool.stanford.edu/dgift/ DEX Space. (2016). DESIGN THINKING คื อ อะไร (OVERVIEW). [Online]. Accessed 13 Mar. 2016. Available from https://medium.com/base the-business-play-house/design thinking-คืออะไร-overview-dc8c8e 7547db Henriksen, Danah (2017). Creating STEAM with Design Thinking: Beyond STEM and Arts Integration, The STEAM Journal: Vol. 3: Iss. 1, Article 11. DOI: 10.5642/steam. 20170301.11 Available at: http:// scholarship.claremont.edu/steam /vol3/iss1/11
ไอยรา เลาะห์มิน, ศรัญญู พงศ์ประเสริฐสิน, ศศิธร คล้อยแสงอาทิตย์, และ นภาศิริ ฤกษนันทน์
Kala S. Retna. (2015). Thinking about “design thinking”: a study of teacher experiences, Asia Pacific Journal of Education, 36:sup1, 5-19, DOI: 10.1080/02188791.201 5.1005049 UK Design Council. (2016). What Why and How Design Thinking. [online]. Accessed 13 Mar. 2016. Available at: Source: http://www.behav iouraldesignlab.org/work/ approach/
ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2018/2561 171
อนาคตของโรงเรียนบรมราชินีนาถราชวิทยาลัย The Further of Queen College. ศิวพร กาจันทร์ * นักศึกษาปริญญาเอก สาขาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ผศ.ดร.มัทนา วังถนอมศักดิ์
* ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประจ�ำภาควิชาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
Siwaphorn Kachan * Student at Education Administration, Faculty of Education, Silpakorn University. Asst.Prof. Mattana Wangthanomsak, Ph.D.
* Asst.Prof. of the Department of Education Administration, Faculty of Education, Silpakorn University.
ศิวพร กาจันทร์ และ มัทนา วังถนอมศักดิ์
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ประวัติ ความเป็นมา และสภาพปัจจุบันของโรงเรียนบรมราชินีนาถราชวิทยาลัย 2) อนาคต ของโรงเรียนบรมราชินนี าถราชวิทยาลัย วิธกี ารด�ำเนินการวิจยั ประกอบ ด้วย 3 ขั้นตอน คือ 1) ศึกษาตัวแปรเกี่ยวกับการบริหารการศึกษาของ โรงเรียนบรมราชินีนาถราชวิทยาลัย 2) วิเคราะห์ตัวแปรที่เกี่ยวข้องกับ อนาคตของโรงเรียนบรมราชินีนาถราชวิทยาลัยตามความคิดเห็นของ ผูเ้ ชีย่ วชาญ 3) รายงานผลการวิจยั ผูว้ จิ ยั ใช้เทคนิควิธวี จิ ยั EDFR (Ethnographic Delphi Futures Research) และใช้โรงเรียนบรมราชินนี าถ ราชวิทยาลัยเป็นหน่วยวิเคราะห์ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล คือ แบบสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง และแบบสอบถาม ผู้ให้ข้อมูลได้แก่ ผู้เชี่ยวชาญ จ�ำนวน 19 คน สถิติที่ใช้ คือ ค่าฐานนิยม ค่ามัธยฐาน ค่าพิสัยระหว่างควอไทล์ และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า 1. โรงเรี ย นบรมราชิ นี น าถราชวิ ท ยาลั ย เป็ น โรงเรี ย นที่ มี วัตถุประสงค์พิเศษ เป็นโรงเรียนในกลุ่มเฉลิมพระเกียรติ และเป็น โรงเรี ย นที่ มี ลั ก ษณะประจ� ำ แบบสหศึ ก ษา เดิ ม ชื่ อ โรงเรี ย นเตรี ย ม อุดมศึกษา ราชบุร ี ใช้สญ ั ลักษณ์ประจ�ำโรงเรียน คือ พระเกีย้ ว ต่อมาได้ รับพระราชทานชื่อโรงเรียนว่า “โรงเรียนบรมราชินีนาถราชวิทยาลัย” และได้รับพระราชทานตราสัญลักษณ์เฉลิมพระชนมพรรษาครบ 60 พรรษา ให้เป็นสัญลักษณ์ประจ�ำโรงเรียนจากสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ และโรงเรียนเริ่มเป็นที่รู้จักมากขึ้นจากการที่สมเด็จ พระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ เสด็จพระราชด�ำเนินทรงเปิด อาคารเฉลิมพระเกียรติและวางศิลาฤกษ์อาคารหอประชุมโรงเรียน โดยในช่วงแรกโรงเรียนยังขาดอัตราก�ำลังจึงได้รับความอนุเคราะห์ครู อาจารย์จากโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษามาช่วยสอน และเป็นพี่เลี้ยงให้ บุคลากรของโรงเรียนทางด้านวิชาการ ท�ำให้ในช่วงแรกโรงเรียนมีความ เข้มแข็งทางด้านวิชาการมาก ในปัจจุบันมีการพัฒนาของโรงเรียนคู่แข่ง
ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2018/2561 173
อนาคตของโรงเรียนบรมราชินนี าถราชวิทยาลัย
มากขึ้น ท�ำให้โรงเรียนต้องเร่งพัฒนาในทุกด้านเพื่อเตรียมรับความ เปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้น 2. ผู้เชี่ยวชาญมีความเห็นสอดคล้องกันว่า ตัวแปรที่เกี่ยวข้อง กั บ อนาคตของโรงเรี ย นบรมราชิ นี น าถราชวิ ท ยาลั ย มี ทั้ ง หมด 7 องค์ประกอบที่มีความสอดคล้องกัน ได้แก่ 1) บริบทของโรงเรียนด้าน กายภาพ 2) บริบทด้านอื่นๆ ของโรงเรียน 3) หน่วยงานต้นสังกัด 4) โรงเรียน/สถานศึกษา 5) ผูบ้ ริหาร 6) ครูและบุคลากรทางการศึกษา และ 7) แนวทางการบริหารจัดการในอนาคต โดยมีค่ามัธยฐานตั้งแต่ 3.5 ขึ้นไป มีค่าความสอดคล้อง (ค่าพิสัยระหว่างควอไทล์) อยู่ในช่วง 0.25 -1.0 และค่าความแตกต่างระหว่างมัธยฐานกับฐานนิยม อยูใ่ นช่วง 0 – 0.50 ค�ำส�ำคัญ:
174 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
อนาคต โรงเรียนบรมราชินีนาถราชวิทยาลัย
ศิวพร กาจันทร์ และ มัทนา วังถนอมศักดิ์
Abstract
The Objectives of this research were to determine 1) the history and the current status of The Queen College 2) the future of The Queen College. The methods and procedures of this thesis were 1) studied factors that can relate to the administration of The Queen College 2) analysis factors that can relate to the Future of The Queen college by referring from the opinion of the experts and 3) reported research by using EDFR techniques (Ethnographic Delphi Futures Research). This research used The Queen College to be the research object. The instrumentation used to collect data were semi-structure interview and questionnaire. Interviewers were 19 person experts. The statistics that used in this research were Mode, Median, Interquartile range and content analysis. It was found that 1. The Queen College was built for a specific purpose that was to celebrate to H.M. The Queen Sirikit. This school is type of coeducation which carries on boarding school at the same time. At first, it was named as Triam Udom Suksa Ratchaburi School and used “Prakiaw” school brand which resembled the highest tier of the Royal Crown to be school brand. For celebrated 60 years anniversaries of the Queen Sirikrit, it was changed the name as The Queen College and was also changed new school brand. The school was famous after The Queen Sirikrit herself participated in School Grand Opening and Foundation Stone Laying Ceremony. Formerly, the school was lack
ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2018/2561 175
อนาคตของโรงเรียนบรมราชินนี าถราชวิทยาลัย
of manpower. Then, it got assistance from Triam Udom Suksa School’s teachers. They came to help teaching and were mentors of school staff in academic side; therefore the school became very strong in academic. At the present, due to the development of other competitor schools, the school has to be urged and prepared in every side in order to deal with alteration that is going to occur. 2. According to the opinion and accordance of expert, the factors that can conform the future of The Queen College were total 7 factors, feature 1) The physical context of school 2) another contexts of school 3) original affiliation 4) school/academy 5) administrator 6) teacher and educational personal 7) the model of administration and management in the future. These factors had median 3.5 up. It was related with the expert’s opinion, interquatile rang were between 0.25-1.0, and range of moade - median = 0 - 0.50. Keyword:
176 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
The Future Queen College
ศิวพร กาจันทร์ และ มัทนา วังถนอมศักดิ์
ความเป็นมาและความส�ำคัญของปัญหา การศึ ก ษาเริ่มเข้ามามีบทบาทในการ พัฒนาประเทศไทยตั้งแต่สมัยก่อนกรุงสุโขทัย เรื่ อยมา ซึ่ง การเปลี่ยนแปลงทางการศึก ษา ที่ เ ด่ น ชั ด เกิ ด ขึ้ น ในรั ช สมั ย พระบาทสมเด็ จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 แห่ง พระบรมราชจั ก รี ว งศ์ นอกจากนี้ ส มเด็ จ พระราชินีแห่งราชวงศ์จักรีอีกหลายพระองค์ ทรงเห็นความส�ำคัญของการศึกษาเช่นเดียวกัน จะเห็นได้ว่าตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน สถาบัน กษัตริย์มีบทบาทส�ำคัญทางด้านการจัดการ ศึกษา เพือ่ เป็นการส�ำนึกในพระมหากรุณาธิคณ ุ จึงมีการจัดตั้งโรงเรียนเพื่อเทิดพระเกียรติและ เฉลิมพระเกียรติพระมหากษัตริย์และสมเด็จ พระราชิ นี ขึ้ น หลายแห่ ง โดยส่ ว นใหญ่ เ ป็ น โรงเรียนที่ได้รับพระมหากรุณาธิคุณและถูกก่อ ตั้งหรือด�ำเนินการเพื่อวัตถุประสงค์พิเศษหรือ ที่เรียกว่า “โรงเรียนที่มีวัตถุประสงค์พิเศษ” โรงเรี ย นเหล่ านี้แต่ละแห่งจะมีลัก ษณะการ จั ด การเรี ย นที่ โ ดดเด่ น แตกต่ า งกั น ไป และ โรงเรียนต้องได้รับการพัฒนาอย่างเต็มที่ เพื่อ ให้ ส มพระเกี ย รติ แ ละเกิ ด ประโยชน์ สู ง สุ ด ต่อนักเรียน ตามวัตถุประสงค์ในการก่อตั้งที่ ชัดเจน การบริหารโรงเรียนเหล่านีผ้ บู้ ริหารต้อง ใช้ความรู้ ความสามารถอย่างเต็มที่เพื่อก่อให้ เกิดผลส�ำเร็จของการบริหารในด้านต่างๆ เป็น
ที่ ป ระจั ก ษ์ แ ละเพื่ อ สมพระเกี ย รติ ข องพระ มหากษัตริย์ พระราชินี และพระบรมวงศานุวงศ์ทุกพระองค์ ปัญหาของการวิจัย ตั้ ง แต่ แรกเริ่ ม ของการก่ อ ตั้ ง โรงเรี ย น จนถึ ง ปั จ จุ บั น โรงเรี ย นบรมราชิ นี น าถราช วิ ท ยาลั ย มี แ ต่ ตัวป้ อ นหรื อ นั ก เรี ย นที่ ม าจาก จังหวัดอืน่ ๆ โดยเฉพาะทางภาคใต้ของประเทศ เป็นส่วนมาก แต่มีนักเรียนในจังหวัดราชบุรี และนั ก เรี ย นที่ อ าศั ย อยู ่ ใ นละแวกที่ ตั้ ง ของ โรงเรียนเข้าศึกษาในโรงเรียนแห่งนี้น้อยมาก ซึง่ ไม่เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของการก่อตัง้ ของ โรงเรียนที่ต้องการเปิดโอกาสให้นักเรียนใน ชุมชนได้มีโอกาสเรียนต่อในระดับมัธยมศึกษา เพิ่ ม มากขึ้ น จ� ำ นวนนั ก เรี ย นไม่ เ ป็ น ไปตาม แผนการรับนักเรียน บุคลากรมีการย้ายบ่อย ครัง้ ท�ำให้การพัฒนาโรงเรียนเป็นไปไม่ตอ่ เนือ่ ง และไม่ เ ป็ น ที่ ป ระจั ก ษ์ เ ท่ า ที่ ค วร อี ก ทั้ ง ครู จะต้องปฏิบัติหน้าที่อย่างเต็มก�ำลังสามารถใน การจัดการเรียนการสอน ปฏิบตั งิ านพิเศษตาม ที่ได้รับมอบหมายตามโครงสร้างการบริหาร โรงเรียน และยังต้องปฏิบัติหน้าที่ล่วงเวลาใน การเป็นเวรประจ�ำวันเพื่อดูแลนักเรียนตลอด 24 ชั่วโมง เพื่อความปลอดภัยของนักเรียน จึงส่งผลต่อสุขภาพของครูและมีเวลาในการ
ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2018/2561 177
อนาคตของโรงเรียนบรมราชินนี าถราชวิทยาลัย
ดู แ ลครอบครั ว ของตนเองน้ อ ย การศึ ก ษา อนาคตของโรงเรียนบรมราชินนี าถราชวิทยาลัย จึงเป็นสิ่งจ�ำเป็นและมีความส�ำคัญ เพราะจะ เกิ ด ข้ อ ค้ น พบเกี่ ย วกั บ อนาคตของโรงเรี ย น อันจะน�ำไปสู่แนวทางปฏิบัติเพื่อให้เกิดผลที่ เหมาะสมกับโรงเรียนและโรงเรียนอื่นๆ ที่มี ลักษณะเช่นเดียวกันในอนาคตได้ รวมไปถึง อาจใช้ เ ป็ น ข้ อ มู ล เบื้ อ งต้ น ในการพิ จ ารณา ทบทวนวิสยั ทัศน์ ก�ำหนดรูปแบบ และทิศทาง ในการพัฒนาโรงเรียนที่มีวัตถุประสงค์พิเศษ และกลุ ่ ม โรงเรี ย นเฉลิ ม พระเกี ย รติ ใ น ประเทศไทย การวิ จั ย ครั้ ง นี้ จึ ง เป็ น การน� ำ เสนอเครือ่ งมือทีจ่ ะบอกทิศทางการด�ำเนินงาน หรื อ การบริ ห ารโรงเรี ย นในอนาคต เพื่ อ ให้ การบริ ห ารงานของโรงเรี ย นเกิ ด ประโยชน์ สู ง สุ ด และมี ค วามพร้ อ มในการรองรั บ การ เปลี่ยนแปลงต่างๆ ที่จะเกิดขึ้นในอนาคตได้
วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาประวัติ ความเป็นมาและ สภาพปัจจุบันของโรงเรียนบรมราชินีนาถราช วิทยาลัย 2. เพื่อศึกษาอนาคตของโรงเรียนบรม ราชินีนาถราชวิทยาลัย กรอบแนวคิดของการวิจัย ผูว้ จิ ยั ก�ำหนดกรอบแนวคิดการวิจยั จาก เอกสารและงานวิ จั ย ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ แนวคิ ด ทฤษฎี การจัดการศึกษา การบริหารการศึกษา ที่เกี่ยวกับอนาคต เอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ข้อเสนอแนะของผู้เชี่ยวชาญเกี่ยวกับอนาคต การจัดการศึกษาของโรงเรียนบรมราชินีนาถ ราชวิ ท ยาลั ย ในอนาคตจาก การสั ม ภาษณ์ ผูเ้ ชีย่ วชาญ ซึง่ สามารถน�ำมาเขียนเป็นแผนภูมิ ได้ดังนี้
ข้อเสนอแนะของผู้เชี่ยวชาญเกี่ยวกับอนาคตของโรงเรียน การจัดการศึกษาของ โรงเรียนบรมราชินีนาถ ราชวิทยาลัยในอนาคต จากการสัมภาษณ์ ผู้เชี่ยวชาญ
อนาคตของโรงเรียน บรมราชินีนาถราชวิทยาลัย
เอกสารงานวิจัย ที่เกี่ยวข้อง
แนวคิดทฤษฎี การจัดการศึกษาในศตวรรษ ที่ 21/การบริหารการศึกษา โรงเรียนประจ�ำ
178 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
แผนภาพที่ 1 กรอบแนวคิดในการวิจยั
ศิวพร กาจันทร์ และ มัทนา วังถนอมศักดิ์
นิยามศัพท์เฉพาะ โรงเรียนบรมราชินีนาถราชวิทยาลัย หมายถึ ง โรงเรี ย นที่ มี วั ต ถุ ป ระสงค์ พิ เ ศษ ประเภทสหศึกษาแบบประจ�ำ สังกัดส�ำนักงาน เขตพืน้ ทีก่ ารศึกษามัธยมศึกษา เขต 8 (จังหวัด ราชบุรี) ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ผู ้ เ ชี่ ย วชาญ หมายถึ ง บุ ค คลที่ มี ประสบการณ์หรือปฏิบัติหน้าที่ทางด้านการ บริหารและจัดการศึกษาหรือผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง กับโรงเรียนบรมราชินีนาถราชวิทยาลัยที่ได้ ให้ ค วามคิ ด เห็ น ข้ อ เสนอแนะเกี่ ย วกั บ การ บริ ห าร การจั ด การศึ ก ษาของโรงเรี ย นบรม ราชินีนาถราชวิทยาลัย ประวัต ิ ความเป็นมาและสภาพปัจจุบนั หมายถึง ข้อมูล เรื่องราวที่เกิดขึ้นในด้านที่ เกี่ ย วข้ อ งกั บ การจั ด การศึ ก ษาของโรงเรี ย น บรมราชิ นี น าถราชวิ ท ยาลั ย ในอดี ต และ ปัจจุบันที่ได้จากการศึกษาเอกสารและจาก การสัมภาษณ์ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับโรงเรียน อนาคตโรงเรี ย นบรมราชิ นี น าถราช วิทยาลัย หมายถึง ผลการด�ำเนินงานอันเกิด จากการบริหารจัดการศึกษาของโรงเรียนบรม ราชิ นี น าถราชวิ ท ยาลั ย ที่ ไ ด้ ม าจากการ สัมภาษณ์ผเู้ ชีย่ วชาญ ผูม้ สี ว่ นเกีย่ วข้อง แนวคิด ทฤษฎี และระเบียบวิธที เี่ กีย่ วข้องกับการศึกษา อนาคต ทั้งในแง่การศึกษาแนวโน้ม และทาง เลือกต่างๆ ที่มีความเป็นไปได้ในอนาคต
การด�ำเนินการวิจัย การด�ำเนินการวิจัย มี 3 ขั้นตอน ดังนี้ 1. ศึ ก ษาตั ว แปรเกี่ ย วกั บ การบริ ห าร โรงเรียนบรมราชินนี าถราชวิทยาลัย โดยศึกษา เอกสาร วรรณกรรม ทฤษฎี งานวิจยั เกีย่ วข้อง เอกสาร และสั ม ภาษณ์ ผู ้ เ กี่ ย วข้ อ งเกี่ ย วกั บ ประวั ติ ความเป็ น มา สภาพปั จ จุ บั น การ บริหารและการด�ำเนินงานของโรงเรียนบรม ราชินีนาถราชวิทยาลัย 2. การวิเคราะห์ตัวแปรที่เกี่ยวข้องกับ อนาคตของโรงเรียนบรมราชินนี าถราชวิทยาลัย ตามความคิดเห็นของผูเ้ ชีย่ วชาญ โดยใช้เทคนิค การวิจัยแบบ EDFR (Ethnographic Delphi Futures Research) (จุมพล พูลภัทรชีวิน, 2548: 19-31) ใช้ แ บบสั ม ภาษณ์ แ บบกึ่ ง โครงสร้างไปสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญแล้วน�ำผล มาพั ฒ นาเป็ น แบบสอบถามมาตราส่ ว น ประมาณค่า (rating scale) น�ำข้อมูลที่ได้มา วิเคราะห์ ด้วยสถิตพิ นื้ ฐาน เพือ่ ท�ำการจ�ำแนก ข้ อ มู ล หาฉั น ทามติ (Consensus) ของ ผู้เชี่ยวชาญ แล้วน�ำแบบสอบถามมาตราส่วน ประมาณค่ า จากรอบที่ 2 ไปเก็ บ รวบรวม ข้อมูลจากผู้เชี่ยวชาญชุดเดิมในรอบที่ 3 เพื่อ หาฉันทามติของผู้เชี่ยวชาญและน�ำข้อมูลที่ได้ มาวิเคราะห์และแปรผลการวิจัย 3. ผู้วิจัยน�ำผลการวิจัย ข้อค้นพบ และ ข้อเสนอแนะมาจัดท�ำรายงานการวิจัย
ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2018/2561 179
อนาคตของโรงเรียนบรมราชินนี าถราชวิทยาลัย
แผนแบบการวิจัย ผู ้ วิ จั ย โดยใช้ เ ทคนิ ค วิ ธี วิ จั ย EDFR (Ethnographic Delphi Futures Research) มีการศึกษากลุ่มตัวอย่างเดียว เป็นการศึกษา เหตุ ก ารณ์ ย ้ อ นอดี ต (The One – Shot, Retrospective Case Study) ประชากร คือ กลุ่มผู้เชี่ยวชาญที่ใช้ในการวิจัยโดย เทคนิควิธีวิจัยแบบ EDFR ซึ่งได้มาจากการ เลือกแบบเจาะจง (Purposive sampling) และใช้ Snowball Sampling Technique ได้ผู้เชี่ยวชาญทั้งสิ้น 7 กลุ่ม ได้แก่ 1) กลุ่ม ผู ้ บ ริ ห ารการศึ ก ษาระดั บ นโยบาย 2) กลุ ่ ม ผู ้ บ ริ ห ารโรงเรี ย น 3) กลุ ่ ม ครู แ ละบุ ค ลากร ทางการศึกษา 4) กลุ่มคณะกรรมการสถาน ศึกษา 5) กลุ่มศิษย์เก่า 6) กลุ่มผู้มีอุปการคุณ และ 7) กลุม่ ผูท้ มี่ สี ว่ นเกีย่ วข้องหรือผูม้ สี ว่ นได้ ส่ ว นเสี ย (Stakeholder) กั บ โรงเรี ย นบรม ราชินีนาถราชวิทยาลัย รวมทั้งสิ้น 19 คน ตัวแปรที่ศึกษา คือ ตัวแปรที่เกี่ยวข้องกับการบริหาร การศึ ก ษาของโรงเรี ย นบรมราชิ นี น าถราช วิทยาลัยในอนาคต ซึ่งได้จากการสรุปผลการ วิ เ คราะห์ เ อกสารและความคิ ด เห็ น ของ ผู้เชี่ยวชาญ
180 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ผูว้ จิ ยั ใช้แบบสัมภาษณ์แบบกึง่ โครงสร้าง (Semi-structured-interview) ในรอบที่ 1 และใช้แบบสอบถาม มาตราส่วนประมาณค่า (rating scale) ในรอบที่ 2 และรอบที่ 3 การสร้างและพัฒนาเครื่องมือ 1 . ส ร ้ า งแ บบสั ม ภา ษ ณ ์ แ บบกึ่ ง โครงสร้าง จากการสรุปผลการศึกษาเอกสาร วิเคราะห์ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องและ ข้อมูลทีไ่ ด้จากการสัมภาษณ์ผทู้ มี่ สี ว่ นเกีย่ วข้อง กับโรงรียนบรมราชินนี าถราชวิทยาลัย ส�ำหรับ เก็ บ รวบรวมข้ อ มู ล รอบที่ 1 โดยน� ำ ไปใช้ สัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญ จ�ำนวน 19 คน 2. สร้ า งแบบสอบถามมาตราส่ ว น ประมาณค่า (rating scale) รอบที่ 2 โดย รวบรวมข้อมูลทีไ่ ด้จาก การสัมภาษณ์ความคิด เห็นของผู้เชี่ยวชาญในประเด็นต่างๆ จากการ สัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญในรอบที่ 1 3. สร้ า งแบบสอบถามมาตราส่ ว น ประมาณค่า (rating scale) รอบที่ 3 โดยน�ำ ค�ำตอบจากแบบสอบถามในรอบที ่ 2 แต่ละข้อ มาวิเคราะห์หาฐานนิยม (Mode) ค่ามัธยฐาน (Median) และค่ า พิ สั ย ระหว่ า งควอไทล์ (Interquartile Range) แล้วน�ำมาสร้างแบบ สอบถามใหม่ โ ดยใช้ ข ้ อ ความเดี ย วกั บ แบบสอบถามในรอบที่ 2 โดยเพิ่มต�ำแหน่ง
ศิวพร กาจันทร์ และ มัทนา วังถนอมศักดิ์
ค่ า มั ธ ยฐาน ค่ า พิ สั ย ระหว่ า งควอไทล์ แ ละ ต� ำ แหน่ ง ค� ำ ตอบของผู ้ เชี่ ย วชาญท่ า นนั้ น ๆ พร้ อ มทั้ ง ระบุ เ หตุ ผ ลส่ ว นท้ า ยของแต่ ล ะ ข้อความ ซึ่งพิจารณาร่วมกับค่าฐานนิยม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล สถิ ติ ที่ ใช้ ป ระกอบด้ ว ย ค่ า ฐานนิ ย ม (Mode) ค่ า มั ธ ยฐาน (Median) ค่ า พิ สั ย ระหว่างควอไทล์ (Interquartile Range) และ การวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) โดยมีเกณฑ์การสรุปผลวิเคราะห์ข้อมูล โดย น�ำค�ำตอบในรอบสุดท้ายของการวิจัยที่กลุ่ม ผู้เชี่ยวชาญมีความคิดเห็นในระดับมาก และ มากที่สุด (ค่ามัธยฐาน 3.50 ขึ้นไป) และมี ความสอดคล้องกัน (ค่าพิสัยระหว่างควอไทล์ เท่ากับหรือน้อยกว่า 1.50, ค่าความแตกต่าง ระหว่างมัธยฐานกับฐานนิยมไม่เกิน 1.0) มาน�ำ เสนอเป็นผลการวิจัย สรุปผลการวิจัย 1. ประวั ติ ความเป็ น มาและสภาพ ปั จ จุ บั น ของโรงเรี ย นบรมราชิ นี น าถราช วิทยาลัย โรงเรียนบรมราชินนี าถราชวิทยาลัยเป็น โรงเรียนวัตถุประสงค์พิเศษ เป็นโรงเรียนใน กลุ ่ ม เฉลิ ม พระเกี ย รติ และเป็ น โรงเรี ย นที่ มี ลักษณะประจ�ำแบบสหศึกษา เดิมชื่อโรงเรียน
เตรียมอุดมศึกษา ราชบุรี ใช้สัญลักษณ์ประจ�ำ โรงเรียน คือ พระเกีย้ ว (กระทรวงศึกษาธิการ: 2535) ซึง่ บุคลากรทีเ่ กีย่ วข้องกับโรงเรียน เรียก ว่า พระเกี้ยวน้อย หมายถึงการเป็นโรงเรียน สาขาของโรงเรี ย นเตรี ย มอุ ด มศึ ก ษาและ เป็นการให้เกียรติโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาใน ฐานะเป็ น โรงเรี ย นพี่ เ ลี้ ย ง ต่ อ มาได้ รั บ พระราชทานชือ่ โรงเรียนจากสมเด็จพระนางเจ้า สิริกิติ์พระบรมราชินีนาถว่า “โรงเรียนบรม ราชินนี าถราชวิทยาลัย”และได้รบั พระราชทาน ตราสัญลักษณ์ เฉลิมพระชนมพรรษาครบ 5 รอบให้เป็นสัญลักษณ์ประจ�ำโรงเรียน หลังจาก ที่โรงเรียนได้รับพระราชทานชื่อโรงเรียนแล้ว ใช้ชื่อโรงเรียนว่า “โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ราชบุร ี (โรงเรียนบรมราชินนี าถราชวิทยาลัย)” เป็นระยะเวลาหนึ่ง ซึ่งเป็นการใช้ชื่อโรงเรียน เตรียมอุดมศึกษาน�ำหน้าแล้วก�ำกับโรงเรียน บรมราชินีนาถราชวิทยาลัยในวงเล็บทุกครั้ง ท� ำ ให้ บุ ค คลทั่ ว ไปทราบว่ า โรงเรี ย นที่ มี ชื่ อ นี้ คื อ โรงเรี ย นเดี ย วกั น ซึ่ ง ชื่ อ โรงเรี ย นที่ ใช้ ใ น ลักษณะดังกล่าวมีผลต่อการตัดสินใจในการ เลือกเข้ามาศึกษาต่อ และพระองค์เคยเสด็จ พระราชด�ำเนินทรงเปิดอาคารเฉลิมพระเกียรติ และวางศิลาฤกษ์อาคารหอประชุมโรงเรียน โดยในช่วงแรกโรงเรียนยังขาดอัตราก�ำลังจึงได้ รับความอนุเคราะห์ครู อาจารย์จากโรงเรียน เตรียมอุดมศึกษามาช่วยสอนและเป็นพีเ่ ลีย้ งให้
ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2018/2561 181
อนาคตของโรงเรียนบรมราชินนี าถราชวิทยาลัย
บุคลากรของโรงเรียนทางด้านวิชาการ ท�ำให้ใน ช่ ว งแรกโรงเรี ย นมี ค วามเข้ ม แข็ ง ทางด้ า น วิชาการมาก เมื่อโรงเรียนถูกโอนย้ายไปสังกัด ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โรงเรียนใช้ประกาศการรับสมัครนักเรียนของ ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และมีพนื้ ทีบ่ ริการทัว่ ประเทศ ซึง่ ต่างจากเดิมที่ ใช้ ป ระกาศการรั บ สมั ค รนั ก เรี ย นร่ ว มกั บ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา แต่จ�ำนวนนักเรียน ที่ เข้ า มาศึ ก ษาไม่ เ ป็ น ไปตามแผนการรั บ นั ก เรี ย น อาจเป็ น เพราะสภาพสั ง คมที่ เปลีย่ นแปลงไป มีการพัฒนาของโรงเรียนคูแ่ ข่ง มากขึ้น ถึงแม้ว่าปัจจุบันโรงเรียนเปิดรับสมัคร นั ก เรี ย น 2 ประเภท คื อ ประเภทรั บ ตรง (โควตา) คื อ นั ก เรี ย นที่ มี ผ ลการเรี ย นดี ต าม เกณฑ์ที่ก�ำหนด โดยการคัดเลือกผ่านจังหวัด และประเภทสอบคัดเลือกส�ำหรับนักเรียนที่มี ผลการเรียนดีตามเกณฑ์ที่ก�ำหนดและมีความ สมัครใจในการศึกษาต่อที่โรงเรียน แต่พบว่า นั ก เรี ย นที่ มี ผ ลการเรี ย นดี เข้ า ศึ ก ษาต่ อ ที่ โรงเรียนน้อยมาก ซึ่งส่งผลให้โรงเรียนต้องเร่ง พัฒนาคุณภาพของนักเรียน 2. อนาคตของโรงเรียนบรมราชินีนาถ ราชวิ ท ยาลั ย จากการวิ เ คราะห์ ด ้ ว ยเทคนิ ค วิธีวิจัย EDFR จากการสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญจ�ำนวน 19 คน พบว่า องค์ประกอบที่เกี่ยวข้องกับ
182 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
อนาคตของโรงเรียนบรมราชินนี าถราชวิทยาลัย ตามความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญที่อยู่ในระดับ มากและมากทีส่ ดุ โดยพิจารณาจาก ค่ามัธยฐาน ที่มีค่า 3.50 ขึ้นไป และความสอดคล้องของ ความคิ ด เห็ น ของผู ้ เชี่ ย วชาญ คื อ มี ค ่ า พิ สั ย ระหว่าง ควอไทล์เท่ากับหรือน้อยกว่า 1.50 และค่ า ความแตกต่ า งระหว่ า งมั ธ ยฐานกั บ ฐานนิยมไม่เกิน 1.0 มี 7 องค์ประกอบ ดังนี้ 1) บริบทของโรงเรียนด้านกายภาพ ประกอบ ด้วย 8 ตัวแปร มีคา่ Q.R. อยูใ่ นช่วง 0.25 -1.0 และมีคา่ Mo. – Md. = 0 2) บริบทด้านอืน่ ๆ ของโรงเรียน ประกอบด้วย 8 ตัวแปร มีค่า Q.R. = 1.0 และมีคา่ Mo. – Md. อยูร่ ะหว่าง 0 -0.50 3) หน่วยงานต้นสังกัด ประกอบด้วย 8 ตัวแปร Q.R. อยูใ่ นช่วง 0.25 -1.0 และมีคา่ Mo. – Md. = 0 4) โรงเรียน/สถานศึกษา ประกอบด้วย 20 ตัวแปร มีค่า Q.R. อยู่ใน ช่ ว ง 0- 1.0 และมี ค ่ า Mo. – Md.= 0 5) ผูบ้ ริหาร ประกอบด้วย 19 ตัวแปร มีคา่ Q.R. อยู่ในช่วง 0- 1.0 และมีค่า Mo. – Md. = 0 6) ครูและบุคลากรทางการศึกษา ประกอบ ด้วย 11 ตัวแปร มีค่า Q.R. อยู่ในช่วง 0- 1.0 และมีค่า Mo. – Md. = 0 และ 7) แนวทาง การบริหารจัดการในอนาคต ประกอบด้วย 32 ตัวแปร มีค่า Q.R. อยู่ในช่วง 0- 1.0 และ มีค่า Mo. – Md. = 0
ศิวพร กาจันทร์ และ มัทนา วังถนอมศักดิ์
อภิปรายผล เนื่ อ งจาก โรงเรี ย นถู ก ก่ อ ตั้ ง ด้ ว ย วัตถุประสงค์พิเศษ เนื่องในวโรกาสที่สมเด็จ พระนางเจ้าสิรกิ ติ พิ์ ระบรมราชินนี าถทรงเจริญ พระชนมพรรษาครบ 5 รอบ และจัดอยูใ่ นกลุม่ โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้า สิริกิติ์ฯ ทั้งด้วยชื่อโรงเรียนและวัตถุประสงค์ ของการก่อตั้งจึงท�ำให้โรงเรียนมีคุณลักษณะ โดดเด่นแตกต่างจากโรงเรียนทั่วไป รวมไปถึง การเป็ น โรงเรี ย นที่ มี ลั ก ษณะประจ� ำ แบบ สหศึกษา เพราะส่วนใหญ่แล้วโรงเรียนประจ�ำ ในประเทศไทยมักจะเป็นโรงเรียนแบบชายล้วน หรือหญิงล้วน เกิดความท้าทายความสามารถ ในการบริ ห ารงานของผู ้ บ ริ ห ารที่ จ ะต้ อ งใช้ ศาสตร์และศิลป์ในการบริหารเป็นอย่างมาก ถึงแม้ว่าโรงเรียนบรมราชินีนาถราชวิทยาลัย เป็นโรงเรียนขนาดเล็กที่ถูกก่อตั้งได้ไม่นาน แต่ ไ ด้ รั บ การสนพระราชหฤทั ย จากสมเด็ จ พระนางเจ้ า สิ ริ กิ ติ์ พ ระบรมราชิ นี น าถทรง พระราชทานนามโรงเรียนว่า “โรงเรียนบรม ราชินีนาถราชวิทยาลัย” อันมีความหมายว่า โรงเรียนของพระราชินี ด้วยพระองค์ทรงมอง การณ์ไกลว่าโรงเรียนแห่งนี้จะได้รับการดูแล ก�ำกับติดตาม จากหน่วยงานทีม่ คี วามเกีย่ วข้อง และจะเป็นโรงเรียนของพระราชินีทุกพระองค์ ของประเทศไทย เป็นการสร้างความรู้สึกให้ บุ ค ลากรของโรงเรี ย นมี ค วามภาคภู มิ ใจใน
สถาบั น ของตนเอง เห็ น คุ ณ ค่ า ขององค์ ก ร เกิดความผูกพันและภักดีต่อองค์กรท�ำให้เกิด ความเต็ ม ใจและทุ ่ ม เทในการปฏิ บั ติ ง าน สอดคล้ อ งกั บ งานวิ จั ย ของธนาทร เจี ย รกุ ล (2557: 144) ทีก่ ล่าวว่า แบรนด์ของมหาวิทยาลัย หรือแบรนด์ของสถานศึกษาสิ่งเหล่านี้เป็นผล มาจากการตอบสนองทางด้านจิตใจ เมื่อได้ยิน หรื อ เห็ น ชื่ อ สั ญ ลั ก ษณ์ ข องสถานศึ ก ษานั้ น โรงเรียนมีตราสัญลักษณ์โรงเรียน 2 ตรา คือ พระเกี้ยว และตราสัญลักษณ์เฉลิมพระชนม พรรษาครบ 5 รอบ ซึง่ มีความโดดเด่นแตกต่าง จากโรงเรียนอืน่ ๆ โดยในปัจจุบนั ใช้ตราสัญลักษณ์ เฉลิ ม พระชนมพรรษาครบ 5 รอบเป็ น ตรา สัญลักษณ์ทางการ ซึ่งเป็นการสร้างจุดสนใจ สร้างแบรนด์ให้กับโรงเรียนอีกทางหนึ่ง และมี ความสั ม พั น ธ์ กั บ ชื่ อ เสี ย งของโรงเรี ย น สอดคล้องกับงานวิจัยของ Chapleo (2005: 126-135) ที่ได้ท�ำการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ ของสถาบันอุดมศึกษาที่ประสบความส�ำเร็จใน การมีแบรนด์ของสถาบันว่า องค์ประกอบด้าน ความสัมพันธ์ระหว่างแบรนด์กับชื่อเสียงที่ดี ของสถาบัน (relationship between Brand and reputation) มีความสัมพันธ์กนั ประกอบ กับในปี พ.ศ. 2540 สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถเสด็จพระราชด�ำเนินทรง เปิดอาคารเฉลิมพระเกียรติและวางศิลาฤกษ์ อาคารหอประชุมโรงเรียนบรมราชินีนาถราช
ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2018/2561 183
อนาคตของโรงเรียนบรมราชินนี าถราชวิทยาลัย
วิทยาลัย ท�ำให้โรงเรียนเริ่มเป็นที่รู้จักมากขึ้น ในช่วงแรกของการก่อตัง้ โรงเรียน ได้มกี ารเขียน หรือแสดงชื่อในลักษณะใช้ชื่อโรงเรียนเตรียม อุ ด มศึ ก ษาน� ำ หน้ า แล้ ว ก� ำ กั บ โรงเรี ย นบรม ราชินนี าถราชวิทยาลัยในวงเล็บ เป็นการสร้าง กลยุทธ์ในการประชาสัมพันธ์ว่า โรงเรียนแห่ง นี้ คื อ โรงเรี ย นสาขาของเตรี ย มอุ ด มศึ ก ษา ตัง้ อยูท่ จี่ งั หวัดราชบุร ี ชือ่ “เตรียมอุดมศึกษา” จะบ่งบอกถึงศักยภาพทางด้านวิชาการของ ผู้เรียน ท�ำให้สร้างแรงจูงใจในการเข้ามาศึกษา ท�ำให้ผปู้ กครอง นักเรียนมีทางเลือกมากขึน้ ใน การศึกษาในโรงเรียนทีม่ มี าตรฐานด้านวิชาการ เช่นเดียวกับโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาที่ตั้งใน กรุงเทพมหานคร เพราะในอดีตผูป้ กครองส่วน ใหญ่ให้ความส�ำคัญกับโรงเรียนขนาดใหญ่ที่ มีชื่อเสียงเป็นอันดับต้นๆ ของประเทศในการ ส่งบุตรหลานเข้าศึกษา สอดคล้องกับงานวิจัย ของศศิธร แก้วรักษา (2552: 115) ทีไ่ ด้ศกึ ษา การบริหารงานประชาสัมพันธ์ สถานศึกษา ระดับมัธยมศึกษา สังกัดส�ำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานครเขต 1 พบว่า ในด้านการก�ำหนดนโยบายการประชาสัมพันธ์ ผูบ้ ริหารทราบดีวา่ การประชาสัมพันธ์ เป็นกลไกส�ำคัญต่อการบริหารงานโรงเรียน เพราะการบริหารงานประชาสัมพันธ์เป็นส่วน หนึ่ ง ของการบริ ห ารโรงเรี ย นให้ ป ระสบผล ส�ำเร็จและทีส่ ำ� คัญจะช่วยเสริมสร้างการพัฒนา
184 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
งานบริหารโรงเรียนให้มคี วามสัมพันธ์กบั ชุมชน ในช่วงแรกโรงเรียนยังขาดอัตราก�ำลัง ผูบ้ ริหาร ในขณะนั้นจึงแก้ปัญหาโดยให้ครู อาจารย์จาก โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษามาช่วยสอน และเป็น พีเ่ ลีย้ งให้บคุ ลากรของโรงเรียนทางด้านวิชาการ เป็นการสร้างเครือข่ายให้กับโรงเรียน ท�ำให้ใน ช่วงแรกของการก่อตั้งโรงเรียนมีความเข้มแข็ง ทางด้านวิชาการมาก สอดคล้องกับงานวิจัย ของ Marriott and Goyder (2009) ที่เสนอ ให้มกี ารท�ำข้อตกลงส�ำคัญร่วมกันระหว่างเครือ ข่าย เพื่อให้มีความเข้าใจกันตรงกันในเรื่อง ความรับผิดชอบ การก�ำหนดโครงสร้างและ การบริ ห ารงานแบบเครื อ ข่ า ย นั บ ได้ ว ่ า ผู้บริหารของโรงเรียนได้แสดงความสามารถ ทางการบริหารในการแก้ปญ ั หาได้อย่างดีเยีย่ ม มีวสิ ยั ทัศน์และมองการณ์ไกลในการพัฒนาและ สร้างชื่อเสียงให้กับโรงเรียนในขณะนั้น ในระยะหนึ่งนักเรียนที่เข้ามาศึกษาไม่ เป็นไปตามแผนการรับนักเรียน ทั้งนี้อาจมา สาเหตุมาจากหลายๆ ด้าน เช่น เกิดข้อจ�ำกัด ของหอพั ก ในการรองรั บ นั ก เรี ย น หรื อ การ ประสานความสั ม พั น ธ์ กั บ โรงเรี ย นเตรี ย ม อุดมศึกษา ซึ่งเป็นโรงเรียนพี่เลี้ยงในอดีตไม่ ต่อเนือ่ ง หรือนโยบายบริหารเปลีย่ นแปลงตาม ตั ว ผู ้ บ ริ ห าร หรื อ การคมนาคมที่ ส ะดวกขึ้ น พ่อแม่ผปู้ กครองทีม่ รี ายได้มคี า่ นิยมทีจ่ ะส่งบุตร หลานไปเรียนในเมืองเพราะมีการคมนาคม
ศิวพร กาจันทร์ และ มัทนา วังถนอมศักดิ์
ทีเ่ ข้าถึงโรงเรียนได้สะดวกกว่า หรือการพัฒนา ของโรงเรี ย นคู ่ แข่ ง ที่ ใ นปั จ จุ บั น มี อั ต ราการ แข่ ง ขั น สู ง มากและมี ก ารประชาสั ม พั น ธ์ ที่ ดี รวมถึงอัตราการเกิดทีล่ ดลง ซึง่ เป็นผลของการ คุมก�ำเนิดทางการแพทย์ และการเติบโตแบบ ครอบครั ว เดี่ ย วในภาวะเศรษฐกิ จ ที่ เร่ ง รั ด ส่งผลกระทบต่อรายได้ของผู้ปกครอง เป็นต้น ในอนาคตโรงเรียนบรมราชินีนาถราช วิทยาลัยต้องเป็นโรงเรียนประจ�ำแบบสหศึกษา ที่ มี ร ะบบสาธารณู ป โภค ไว้ ร องรั บ ความ ต้องการของบุคลากรทุกคนในโรงเรียนอย่าง ครบครัน มีระบบบริหารจัดการห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้ การจัดอาหารเลี้ยงนักเรียนและ บุ ค ลากรที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ มี ร ะบบบริ ห าร จัดการหอพักที่มีประสิทธิภาพเอื้อต่อการอยู่ อาศัยและการเรียนรู ้ มีสถานที ่ อุปกรณ์กฬี าไว้ บริการ และมีระบบ ICT ที่ทันสมัย นักเรียน สามารถเข้าถึงข้อมูล ความรู้และการสื่อสาร กับครูผู้สอนโดยใช้สัญญาณอินเตอร์เน็ตผ่าน โทรศัพท์ Smartphone ได้ทกุ ทีท่ กุ เวลา ทัง้ นี้ เนือ่ งจากในปัจจุบนั เป็นยุคของโลกไร้พรมแดน เป็นโลกของการสือ่ สารและมีการเปลีย่ นแปลง เกิดขึ้นตลอดเวลา ท�ำให้โรงเรียนต้องมีระบบ บริ ห ารจั ด การต่ า งๆ ในโรงเรี ย นอย่ า งมี ประสิ ท ธิ ภ าพและเอื้ อ ต่ อ การด� ำ รงชี วิ ต ของบุคลากรทุกคนในโรงเรียน เป็นองค์กรแห่ง การเรียนรู้สอดคล้องกับแนวคิดของ Reece
(2004) ว่าปัจจัยที่ส่งผลต่อการเป็นองค์การ แห่งการเรียนรูข้ องมหาวิทยาลัยในออสเตรเลีย ได้แก่ ภาวะผูน้ ำ � วิสยั ทัศน์ วัฒนธรรมองค์การ การบริหารทรัพยากรบุคคล บทบาทในสังคม การเข้าถึงข้อมูลความรู้ แหล่งข้อมูลความรู้ นวัตกรรมและความคิดสร้างสรรค์ การสื่อสาร และเทคโนโลยีสารสนเทศและการเข้าถึงได้ ทั่ ว โลก อี ก ทั้ ง ควรมี ร ถรั บ ส่ ง นั ก เรี ย นที่ มี ภู มิ ล� ำ เนาที่ ห ่ า งไกลจากโรงเรี ย น รวมถึ ง นั ก เรี ย นที่ มี ภู มิ ล� ำ เนาในเขตจั ง หวั ด ราชบุ รี ไว้ บ ริ ก ารในสั ป ดาห์ ก ลั บ บ้ า น รวมไปถึ ง สิ่ ง อ� ำ นวยความสะดวกต่ า งๆ ที่ ส อดคล้ อ งกั บ ความต้องการและความสนใจของบุคลากรบน พืน้ ฐานความเหมาะสมกับการใช้ชวี ติ ประจ�ำวัน มีอีกประเด็นหนึ่งที่ผู้เชี่ยวชาญมีความ เห็นสอดคล้องกันและมีความเห็นต้องการให้ เกิ ด อยู ่ ใ นระดั บ มากคื อ การมี อิ ส ระในการ บริหารตนเองของโรงเรียนอย่างเต็มรูปแบบ โดยมีระบบการบริหารและการจัดการที่มีแนว โน้มลดความเป็นระบบราชการลง มีอิสระใน การพัฒนาระบบบริหารและการจัดการที่เป็น ของตนเอง มีความคล่องตัว มีเสรีภาพทาง วิ ช าการ ซึ่ ง ผู ้ เชี่ ย วชาญได้ ใ ห้ ข ้ อ คิ ด เห็ น ว่ า โรงเรียนบรมราชินีนาถราชวิทยาลัยน่าจะมี ความพร้อมเพื่อออกนอกระบบคล้ายกับการ บริหารการจัดการศึกษาของโรงเรียนมหิดล วิทยานุสรณ์ และต้องมีการประเมินผลการ
ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2018/2561 185
อนาคตของโรงเรียนบรมราชินนี าถราชวิทยาลัย
ด�ำเนินงานของโรงเรียนให้มีความสอดคล้อง กับแผนปฏิบัติการ พันธกิจ วัตถุประสงค์การ ก่ อ ตั้ ง โรงเรี ย น สอดคล้ อ งกั บ งานวิ จั ย ของ บรรจบ วงศ์โกมลเชษฐ์ (2550: 280) พบว่า การประเมินด้านบริบทของโรงเรียนมีความ สอดคล้องกับแผนปฏิบัติการและยุทธศาสตร์ ของชาติ พันธกิจของโรงเรียน อุดมการณ์ใน การพัฒนานักเรียน และยังมีความสอดคล้อง กับวัตถุประสงค์การจัดตั้งโรงเรียน ในอนาคต จะมีโรงเรียนที่มีลักษณะเช่นนี้เพิ่มจ�ำนวนขึ้น เนื่องจากโรงเรียนมีความพร้อมในทุกด้านเพิ่ม มากขึ้น มีความสามารถระดมทรัพยากรจาก แหล่งอืน่ ๆ นอกเหนือจากทีร่ ฐั ให้การสนับสนุน เช่ น เดี ย วกั บ สถาบั น การศึ ก ษาในระดั บ อุดมศึกษา แม้วา่ โรงเรียนจะออกนอกระบบไป แล้วแต่รัฐก็ยังคงสนับสนุนในด้านงบประมาณ แผ่นดิน ให้อยู่บางส่วนอย่างเพียงพอที่จ�ำเป็น ต่อการประกันคุณภาพการศึกษาไว้ได้เท่านั้น ในขณะที่ผู้บริหารสามารถบริหารจัดการเงิน รายได้ของสถาบันได้อย่างมีประสิทธิภาพและ ประสิทธิผล ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความสามารถและ คุ ณ ธรรมของผู ้ บ ริ ห าร เพราะถ้ า โรงเรี ย นมี ผูบ้ ริหารทีน่ อกจากจะมีความสามารถสูงแล้วยัง มีธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการโรงเรียนก็ จะมีความเจริญรุ่งเรืองก้าวหน้า
186 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
ข้อเสนอแนะเพื่อน�ำผลการวิจัยไปใช้ 1. ผู ้ บ ริ ห าร ครู แ ละบุ ค ลากรภายใน โรงเรียน รวมไปถึงผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ผู้มีส่วน ได้ส่วนเสีย ควรน�ำผลการวิจัยที่ได้ไปประยุกต์ และจั ด ท� ำ แนวปฏิ บั ติ ห รื อ นโยบายในการ พัฒนาโรงเรียนร่วมกัน เพื่อส่งเสริมเอกลักษณ์ ให้โดดเด่น สร้างภาพลักษณ์ของโรงเรียนจน เป็นที่นิยมของสังคม 2. ควรเร่ ง พั ฒ นานั ก เรี ย นทางด้ า น วิ ช าการให้ มี ค วามโดดเด่ น ควบคู ่ ไ ปกั บ การ พัฒนาด้านทักษะชีวิต โดยต้องเริ่มจากการ ก�ำหนดนโยบาย เป้าหมาย การพัฒนาครูและ บุคลากรทางการศึกษา เพื่อน�ำไปสู่การพัฒนา ด้านวิชาการและทักษะชีวิตของนักเรียนที่มี ความเข้มแข็งอย่างยั่งยืน 3. โรงเรียนบรมราชินีนาถราชวิทยาลัย ควรน�ำข้อค้นพบที่ได้ไปประยุกต์ปรับใช้ในการ วางแผนพัฒนาหรือวางแผนเพือ่ การบริหารของ โรงเรี ย นร่ ว มกั บ แผนเดิ ม ของโรงเรี ย นโดย พิจารณาถึงความสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ ในการก่ อ ตั้ ง โรงเรี ย น สภาพ บริ บ ทของ โรงเรียน สภาพสังคม การเมืองและเศรษฐกิจ ซึง่ จะท�ำให้โรงเรียนมีแผนการพัฒนาทีส่ มบูรณ์ มากขึ้นอันจะน�ำไปสู่ภาพอนาคตที่พึงประสงค์ ของโรงเรียนและสามารถเตรียมความพร้อม เพื่อให้การบริหารโรงเรียนบรรลุเป้าหมายตาม
ศิวพร กาจันทร์ และ มัทนา วังถนอมศักดิ์
ที่ก�ำหนดไว้ ส�ำหรับโรงเรียนอื่นๆ ที่มีลักษณะ เช่ น เดี ย วกั บ โรงเรี ย นบรมราชิ นี น าถราช วิทยาลัยสามารถน�ำวิธีการที่เป็นระเบียบวิธี วิจัยไปประยุกต์ใช้หรือน�ำผลการวิจัยไปศึกษา เพิ่มเติมให้มีความสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ ในการก่ อ ตั้ ง โรงเรี ย น สภาพ บริ บ ทของ โรงเรี ย นตนเอง ซึ่ ง อาจท� ำ ให้ โรงเรี ย นนั้ น ๆ สามารถมองเห็ น ภาพอนาคตที่ พึ ง ประสงค์ ของตนและมีวิธีการบริหารจนบรรลุเป้าหมาย ที่ตั้งไว้ในอนาคต ข้อเสนอแนะเพื่อการวิจัยครั้งต่อไป 1. ควรศึกษาแนวปฏิบัติเพื่อให้เกิดผล ที่เหมาะสมกับอนาคตของโรงเรียน 2. ควรมีการศึกษาระบบการบริหารงาน หอพักในโรงเรียนประจ�ำ 3. ควรมีการศึกษาทิศทาง แนวทางการ บริหารในอนาคตของโรงเรียนที่มีวัตถุประสงค์ พิ เ ศษหรื อ กลุ ่ ม โรงเรี ย นเฉลิ ม พระเกี ย รติ ฯ เนื่องจากแต่ละโรงเรียนมีความโดดเด่นต่างกัน 4. ควรมีการศึกษาอนาคตของโรงเรียน ประจ�ำในกรณีมอี สิ ระในการบริหารตนเองของ โรงเรียนอย่างเต็มรูปแบบ (ออกนอกระบบ) โดยมี ร ะบบการบริ ห ารและการจั ด การที่ มี แนวโน้มลดความเป็นระบบราชการ
บรรณานุกรม กระทรวงศึ ก ษาธิ ก าร. (2505). “ส� ำ เนา ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องตั้ง โรงเรี ย นรั ฐ บาล, วั น ที่ 4 มิ ถุ น ายน 2535”. จุมพล พูลภัทรชีวิน. “การปฏิบัติการวิจัยด้วย EDFR.”, วารสารบริ ห ารการศึ ก ษา. มหาวิทยาลัย ขอนแก่น. 1, 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2548): 19-31. ธนาทร เจียรกุล. (2557). “การพัฒนาตัวบ่งชี้ ความส�ำเร็จในการบริหารแบรนด์ของ มหาวิ ท ยาลั ย ไทย” (วิ ท ยานิ พ นธ์ ปริ ญ ญาปรั ช ญาดุ ษ ฎี บั ณ ฑิ ต สาขา วิชาการบริหารการศึกษา คณะศึกษา ศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร). นครปฐม: มหาวิทยาลัยศิลปากร. บรรจบ วงศ์โกมลเชษฐ์. (2550). “การประเมิน ผลการด�ำเนินงานของโรงเรียนมหิดล วิ ท ยานุ ส รณ์ ” (วิ ท ยานิ พ นธ์ ป ริ ญ ญา ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการ บริ ห ารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิ ล ปากร). นครปฐม: มหาวิทยาลัยศิลปากร.
ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2018/2561 187
อนาคตของโรงเรียนบรมราชินนี าถราชวิทยาลัย
ปาริชาติ กมลยะบุตร. (2557). “ปัจจัยและ รู ป แบบการบริ ห ารงานศิ ษ ย์ เ ก่ า ของ โรงเรี ย นมั ธ ยมศึ ก ษา” (วิ ท ยานิ พ นธ์ ปริ ญ ญาปรั ช ญาดุ ษ ฎี บั ณ ฑิ ต สาขา วิชาการบริหารการศึกษา คณะศึกษา ศาสตร์มหาวิทยาลัยศิลปากร). นครปฐม: มหาวิทยาลัยศิลปากร. พิณสุดา สิริธรังศรี. (2552). รายงานการวิจัย เรื่ อ งภาพการศึ ก ษาไทยในอนาคต 10-20 ปี (กรุงเทพฯ: ส�ำนักนโยบาย และแผนการศึกษา ส�ำนักงานเลขาธิการ สภาการศึกษา. ศศิธร แก้วรักษา. (2552). “การบริหารงาน ประชาสั ม พั น ธ์ สถานศึ ก ษาระดั บ มัธยมศึกษา สังกัดส�ำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1”, (ปริญญานิพนธ์ปริญญาการ ศึกษามหาบัณฑิต สาขาการบริหารการ ศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทร วิโรฒ. British council, State boarding school in United Kingdom. (Online). Accessed February 5, 2016. Available from http://www.boarding.org.uk/ Cambridge Education Group, Directors’ Briefing:The future of the boarding school in a changing global 188 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
economy, (Online). Accessed January 25, 2016. Available from http://www.cambridge education group.com Chapleo, Chris. (2005) “Do Universi ties Have (2005) “Successful” Brands?.” Internaional Journal of Education Advancement 6, 1: 126-135. James W. Wickenden. Creating the Future: New Challenges for Boarding Schools. (Online). Available from http:// 50.28.56 .57/ ~wickende/ cms/wp-content http Accessed December 7,2015, Marriott N. and Goyder H., (2009). “Manual (2009). for monitoring and evaluating (2009). education partnerships”. Partner ships for Education. World Eco nomic Forum. Reece, P. D.. (2004). Universities as Learning Organizations: How can Australian Universities become Learning Organization?. Unpub lished Doctoral’s Dissertation, Murdoch University.
อนาคตภาพของผู้อำ�นวยการกลุ่มในสำ�นักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
Further of Head Division in The Primary Educational Service Area Office.
รัตน์มณี รัตนปกรณ์ * รองผู้อ�ำนวยการ ส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 2 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ประเสริฐ อินทร์รักษ์
* อาจารย์ประจ�ำภาควิชาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
Ratmanee Rattanapakorn * Deputy director of Suphanburi Primary Educational Service Area Office 2 Asst.Prof.Prasert Intarak, Ed.D.
* Lecture at Education Administration Faculty of Education, Silpakorn University.
อนาคตภาพของผูอ้ �ำ นวยการกลุม่ ในสำ�นักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษา
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทราบ 1) องค์ประกอบอนาคต ภาพของผูอ้ ำ� นวยการกลุม่ ในส�ำนักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษา 2) องค์ประกอบอนาคตภาพตามความเห็นร่วมของผู้อ�ำนวยการกลุ่ม ในส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาและผู้เชี่ยวชาญ วิธีการ ด�ำเนินการวิจัยมี 3 ขั้นตอนคือ 1) ศึกษาตัวแปรเกี่ยวกับอนาคตภาพ ของผู้อ�ำนวยการกลุ่มในส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา 2) วิเคราะห์องค์ประกอบอนาคตภาพของผูอ้ ำ� นวยการกลุม่ ในส�ำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาและ 3) สรุปผลการวิจัย การวิเคราะห์ องค์ประกอบ ใช้วิธีการวิจัยเชิงปริมาณ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถาม กลุ่มตัวอย่างคือ ส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึ ก ษา จ� ำ นวน 125 เขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษา ผู ้ ใ ห้ ข ้ อ มู ล ได้ แ ก่ ผู้อ�ำนวยการกลุ่มส่งเสริมการจัดการศึกษา ผู้อ�ำนวยการกลุ่มบริหาร งานการเงินและสินทรัพย์ ผู้อ�ำนวยการกลุ่มบริหารงานบุคคลและ ผู้อ�ำนวยการกลุ่มอ�ำนวยการ ส�ำนักงานเขตพื้นที่ละ 4 คน รวมผู้ให้ ข้อมูลทั้งสิ้น 500 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่ามัชฌิมเลขคณิต ส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์องค์ ประกอบเชิงส�ำรวจ การวิเคราะห์องค์ประกอบอนาคตภาพตามความ เห็นร่วมของผู้อ�ำนวยการกลุ่มในส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถม ศึกษาและผู้เชี่ยวชาญ ใช้เทคนิคการวิจัยแบบ EDFR เครื่องมือที่ใช้ใน การเก็บข้อมูลได้แก่ แบบสัมภาษณ์แบบกึง่ โครงสร้างและแบบสอบถาม ผูใ้ ห้ขอ้ มูลคือผูเ้ ชีย่ วชาญจ�ำนวน 21 คน สถิตทิ ใี่ ช้ในการวิเคราะห์ขอ้ มูล คือค่ามัธยฐาน ค่าฐานนิยมและค่าพิสัยระหว่างควอไทล์ ผลการวิจัยพบว่า 1. องค์ประกอบอนาคตภาพของผู้อ�ำนวยการกลุ่มในส�ำนักงาน เขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษามี 7 องค์ประกอบ คือ 1) อนาคตภาพ ด้านการก�ำหนดต�ำแหน่ง 2) อนาคตภาพด้านค่าตอบแทนและการบ�ำรุง รักษาบุคลากร 3) อนาคตภาพด้านการวางแผนวิชาชีพ 4) อนาคตภาพ
190 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
รัตน์มณี รัตนปกรณ์ และ ประเสริฐ อินทร์รักษ์
ด้านสภาพแวดล้อมภายนอกหน่วยงาน 5) อนาคตภาพด้านประสิทธิภาพ ของการปฏิบัติงาน 6) อนาคตภาพด้านคุณภาพชีวิตที่ดีในหน่วยงาน และ 7) อนาคตภาพด้านความรู้ความสามารถ 2. องค์ประกอบอนาคตภาพตามความเห็นร่วมของผู้อ�ำนวยการ กลุ่มในส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาและผู้เชี่ยวชาญมี 7 องค์ประกอบ มีความคิดเห็นที่สอดคล้องกันและอยู่ในระดับเดียวกัน ได้ แ ก่ อนาคตภาพด้ า นการก� ำ หนดต� ำ แหน่ ง อนาคตภาพด้ า น ค่ า ตอบแทนและการบ� ำ รุ ง รั ก ษาบุ ค ลากร อนาคตภาพด้ า นสภาพ แวดล้อมภายนอกหน่วยงาน อนาคตภาพด้านประสิทธิภาพของการ ปฏิบัติงาน อนาคตภาพด้านคุณภาพชีวิตที่ดีในหน่วยงาน อนาคตภาพ ด้านความรู้ความสามารถและอนาคตภาพด้านการวางแผนวิชาชีพ มีความคิดเห็นที่สอดคล้องกัน ค�ำส�ำคัญ: - อนาคตภาพ - ผูอ้ ำ� นวยการกลุม่ ในส�ำนักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษา
ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2018/2561 191
อนาคตภาพของผูอ้ �ำ นวยการกลุม่ ในสำ�นักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษา
Abstract
The purposes of this research were to determine: 1) further’s components of head division in the primary educational service area office, 2) further’s components according to the consensus of head division in the primary educational service area office and the experts. The research methodology consisted of 3 steps as follows: 1) analyze variables in further of head division in the primary educational service area office, 2) analyzed further’s components of head division in the primary educational service area office and 3) conclude the finding from quantitative and qualitative research. The research instruments for collecting the data was a questionnaire. The samples of this research consisted of 125 primary educational service area offices. There were four respondents from each primary educational service area office; head division of promotion of educational provision, head division of financial and asset administration, head division of personnel administration and head division of executive services. The statistics for data analysis were frequency, percentage, arithmetic mean, standard deviation, exploratory factor analysis. For the data from Ethnographic Delphi research, median, mode and interquartile range were used. The research findings were as follows: 1. Further’s components of head division in the primary educational service area office consisted 7 components: 1) further issue placement, 2) further issue compen-
192 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
รัตน์มณี รัตนปกรณ์ และ ประเสริฐ อินทร์รักษ์
sation and personnel maintenance, 3) further issue career planning, 4) further issue external environment agency, 5) further issue performance efficiency, 6) further issue quality of life in agency and 7) further issue knowledge and capability. 2. Further’s components according to the consensus of head division in the primary educational service area office and the experts, they had a concerns and congruence on these 7 components: further issue placement, further issue compensation and personnel maintenance, further issue external environment agency, further issue performance efficiency , further issue quality of life in agency, further issue knowledge and further career path planning. Keyword: - Further - Head Division in The Primary Educational Service Area Office
ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2018/2561 193
อนาคตภาพของผูอ้ �ำ นวยการกลุม่ ในสำ�นักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษา
ความเป็นมาและความส�ำคัญของปัญหา การปฏิ รู ป การศึ ก ษาตามพระราช บัญญัตกิ ารศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 เป็นการ ปรับเปลี่ยนครั้งส�ำคัญทางการศึกษา ที่ส่งผล ต่อการบริหารและการจัดการศึกษาทั้งระบบ นอกจากนี้ยังส่งผลต่อวิถีและคุณภาพชีวิตของ คนไทยในองค์รวม ซึ่งเป็นการปรับเปลี่ยนทั้ง แนวคิด โครงสร้างและกระบวนการในการ จัดการศึกษาของไทย โดยยึดเงื่อนไขอันเป็น หลั ก การส� ำ คัญของการปฏิรูปการศึก ษาคือ การกระจายอ�ำนาจ การมีส่วนร่วมและความ รับผิดชอบตรวจสอบได้ ซึ่งมีสาระส�ำคัญแบ่ง ออกเป็ น 9 หมวด 78 มาตรา โดยเฉพาะ หมวด 5 ที่ว่าด้วยการบริหารและการจัดการ ศึกษาของรัฐ ให้กระทรวงศึกษาธิการ กระจาย อ�ำนาจการบริหารและการจัดการศึกษาทัง้ ด้าน วิชาการ งบประมาณ การบริหารงานบุคคล และการบริหารทัว่ ไป ไปยังเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษา (มาตรา39) ในแต่ ล ะเขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษา ให้ มี ค ณะกรรมการและส� ำ นั ก งานเขตพื้ น ที่ การศึกษา (มาตรา38) ซึง่ เป็นองค์กรทีก่ ำ� หนด ขึน้ ใหม่ มีอำ� นาจหน้าทีใ่ นการก�ำกับดูแล จัดตัง้ ยุบ รวม หรือเลิกสถานศึกษาขั้นพื้นฐานใน เขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษา ประสาน ส่ ง เสริ ม และ สนั บ สนุ น การศึ ก ษาเอกชน ประสานและ ส่งเสริมองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ให้สามารถ จั ด การศึ ก ษาได้ ส อดคล้ อ งกั บ นโยบายและ
194 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
มาตรฐานการศึกษา ส่งเสริมและสนับสนุนการ จัดการศึกษาของบุคคล ครอบครัว องค์กร ชุมชน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบัน ศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันสังคม อื่นที่จัดการศึกษาในรูปแบบที่หลากหลายใน เขตพื้นที่การศึกษา พระราชบัญญัตริ ะเบียบบริหารราชการ กระทรวงศึกษาธิการ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2553 ก�ำหนดให้มีเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา และเขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษามั ธ ยมศึ ก ษา และ เปลี่ยนชื่อส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาเป็น ส� ำ นั ก งานเขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษาประถมศึ ก ษา (สพป.) จ�ำนวน 183 เขต และส�ำนักงานเขต พื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา (สพม.) จ�ำนวน 42 เขต ส� ำ หรั บ ส่ ว นราชการในส� ำ นั ก งาน เขตพื้นที่การศึกษามีดังนี้ 1) กลุ่มอ�ำนวยการ 2) กลุ่มบริหารงานบุคคล 3) กลุ่มนโยบาย และแผน 4) กลุ่มส่งเสริมการจัดการศึกษา 5) กลุม่ นิเทศติดตามฯ 6) กลุม่ บริหารงานการ เงินและสินทรัพย์ 7) กลุ่มส่งเสริมสถานศึกษา เอกชน ส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ซึ่งเป็น หน่วยงานที่ท�ำหน้าที่บริหารจัดการศึกษาใน เขตพืน้ ทีก่ ารศึกษา เป็นองค์กรรูปแบบใหม่ของ การจัดการศึกษา และเป็นองค์กรทีน่ ำ� นโยบาย ไปสูก่ ารปฏิบตั ิ เพือ่ ให้การศึกษาเกิดการพัฒนา ทั้ ง เชิ ง คุ ณ ภาพและปริ ม าณ ตรงตามความ
รัตน์มณี รัตนปกรณ์ และ ประเสริฐ อินทร์รักษ์
ต้องการและทันท่วงที ทัง้ นีส้ �ำนักงานเขตพืน้ ที่ การศึกษายังต้องท�ำหน้าทีก่ ำ� กับ ดูแล ประสาน ส่งเสริม สนับสนุนให้สถานศึกษาและหน่วย งานทางการศึกษา สามารถปฏิบัติหน้าที่ตาม นโยบายกฎเกณฑ์มาตรฐานและเป้าหมายที่ ก�ำหนดไว้อย่างมีประสิทธิภาพ ดังนัน้ ส�ำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษาจึงควรเป็นองค์กรแห่งการ เรี ย นรู ้ มี วิ สั ย ทั ศ น์ ใ นการด� ำ เนิ น งาน ริ เริ่ ม สร้างสรรค์บริหารงานโดยยึดหลักการมีส่วน ร่วมของประชาชน มุ่งที่ผลสัมฤทธิ์ของผลงาน และทีส่ ำ� คัญจะต้องรับผิดชอบต่อผลการด�ำเนิน งาน เมื่อรัฐได้มอบอ�ำนาจและความอิสระใน การบริหารและจัดการศึกษา ทั้งนี้จะต้องเร่ง พัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาขั้น พื้นฐานให้ดีขึ้น และอยู่ในระดับมาตรฐานที่ ใกล้เคียงกัน ตลอดจนเร่งให้เด็กที่อยู่ในเขต พื้นที่การศึกษาทุกคนได้เข้ารับการศึกษาภาค บังคับและการศึกษาขั้นพื้นฐาน 12 ปี ให้ได้ มากที่สุด ปัญหาของการวิจัย พระราชบั ญ ญั ติ ร ะเบี ย บข้ า ราชการ ครู แ ละบุ ค ลากรทางการศึ ก ษา พ.ศ. 2547 พระราชบัญญัติเงินเดือน เงินวิทยฐานะ และ เงินประจ�ำต�ำแหน่งข้าราชการครูและบุคลากร ทางการศึกษา พ.ศ.2547 และพระราชบัญญัติ เงินเดือนและเงินประจ�ำต�ำแหน่ง (ฉบับที่ 4)
พ.ศ. 2547 ทีเ่ ป็นกฎหมายเกีย่ วกับการบริหาร งานบุคคลส�ำหรับข้าราชการครูและบุคลากร ทางการศึกษา มีผลใช้บงั คับตัง้ แต่ 24 ธันวาคม พ.ศ. 2547 เป็นผลให้ระบบบริหารงานบุคคล ของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา เปลี่ยนแปลงไป ปัจจุบันพบว่าผู้อ�ำนวยการ กลุ่มในส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถม ศึ ก ษาซึ่ ง เป็ น ข้ า ราชการครู แ ละบุ ค ลากร ทางการศึกษา ต�ำแหน่งบุคลากรทางการศึกษา อื่ น ตามมาตรา 38 ค (2) ไม่ มี ใ บอนุ ญ าต ประกอบวิชาชีพ ไม่มีวิทยฐานะและไม่ได้รับ เงินวิทยฐานะและใช้ระบบต�ำแหน่งและบัญชี เงิ น เดื อ นตามหลั ก เกณฑ์ ร ะเบี ย บของ ข้าราชการพลเรือน ซึ่งแตกต่างจากผู้อ�ำนวย การกลุ่มนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการ จัดการศึกษาที่เป็นบุคลากรทางการศึกษาอื่น ตามมาตรา 38 ค (1) นอกจากนี้ ใ นระบบค่ า ตอบแทนและ ระบบสวัสดิการต่างๆของข้าราชการ ผูกติดกับ ระบบจ�ำแนกต�ำแหน่ง ค่าตอบแทนภาครัฐ ต�ำ่ กว่าอัตราจ้างงานในภาคเอกชนทีร่ บั ผิดชอบ งานในระดับเดียวกัน การจ่ายค่า ตอบแทน ยั ง ไม่ สั ม พั น ธ์ กั บ ผลการปฏิ บั ติ ง านและไม่ สอดคล้ อ งกั บ ค่ า งานของต� ำ แหน่ ง สภาพ ดั ง กล่ า วท� ำ ให้ ไ ม่ จู ง ใจให้ ผู ้ มี ค วามรู ้ ค วาม สามารถทีเ่ ป็นคนดี คนเก่ง อยูใ่ นระบบราชการ ท� ำ ให้ มี ก ลุ ่ ม บุ ค ลากรทางการศึ ก ษา ได้ จั ด
ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2018/2561 195
อนาคตภาพของผูอ้ �ำ นวยการกลุม่ ในสำ�นักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษา
สมัชชาบุคลากรทางการศึกษา เพื่อรวมพลัง บุคลากรทางการศึกษา 38 ค (2) สู่การขับ เคลื่ อ นคุ ณ ภาพการศึ ก ษา เรี ย กร้ อ งให้ กระทรวงศึกษาธิการ(ศธ.) เปิดเส้นทางการ เติบโตในสายงานให้บุคลากรทางการศึกษา การเรียกร้องให้มีการแก้ไข พ.ร.บ.ระเบียบ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา และ พ.ร.บ.เงินเดือนและเงินประจ�ำต�ำแหน่ง เพือ่ ให้ บุคลากรทางการศึกษาอื่น ตามมาตรา 38 ค (2) มีสทิ ธิเ์ ท่าเทียมกับบุคลากรทาง การศึกษา อื่นตามมาตรา 38 ค (1) ซึ่งผู้อ�ำนวยการกลุ่ม เป็นบุคคลที่ส�ำคัญที่จะช่วยให้ส�ำนักงานเขต พืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาด�ำเนินกิจกรรมให้ ประสบผลส�ำเร็จบรรลุเป้าหมายของการจัดการ ศึกษาของชาติ จากความเป็นมาและความส�ำคัญของ ปัญหาดังกล่าว ท�ำให้ผู้วิจัยสนใจที่จะศึกษา เกี่ ย วกั บ อนาคตภาพของผู ้ อ� ำ นวยการกลุ ่ ม ในส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา เพื่ อ ประโยชน์ ส� ำ หรั บ ผู ้ ที่ ต ้ อ งการประกอบ วิชาชีพบุคลากรทางการศึกษาอื่นได้รับทราบ แนวทางการเข้าสู่ต�ำแหน่งของผู้อ�ำนวยการ กลุ่มในส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถม ศึกษา ซึ่งเป็นบุคลากรทางการศึกษาอื่นตาม มาตรา 38 ค (2) อีกทั้งเป็นการแสวงหาเส้น ทางความก้าวหน้าในวิชาชีพทีผ่ อู้ ำ� นวยการกลุม่ สามารถก้าวไปสู่ต�ำแหน่งที่สูงขึ้นในสายงาน
196 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
บริ ห ารในอนาคต เพื่ อ เป็ น แนวทางให้ ผู้ประกอบวิชาชีพบุคลากรทางการศึกษาอื่น ได้วางแผนในการประกอบวิชาชีพของตนเอง ให้ก้าวไปสู่ต�ำแหน่งอันเป็นเป้าหมายสูงสุดใน การประกอบวิชาชีพของตนเองต่อไป วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อทราบองค์ประกอบอนาคตภาพ ของผูอ้ ำ� นวยการกลุม่ ในส�ำนักงานเขตพืน้ ทีก่ าร ศึกษาประถมศึกษา 2. เพื่อทราบองค์ประกอบอนาคตภาพ ของผูอ้ ำ� นวยการกลุม่ ในส�ำนักงานเขตพืน้ ทีก่ าร ศึ ก ษาประถมศึ ก ษาตามความเห็ น ร่ ว มของ ผู้อ�ำนวยการกลุ่มในส�ำนักงานเขตพื้นที่การ ศึกษาประถมศึกษาและผู้เชี่ยวชาญ สมมติฐานการวิจัย 1. องค์ ป ระกอบอนาคตภาพของ ผู้อ�ำนวยการกลุ่มในส�ำนักงานเขตพื้นที่การ ศึกษาประถมศึกษาเป็นพหุองค์ประกอบ 2. องค์ ป ระกอบอนาคตภาพของ ผู้อ�ำนวยการกลุ่มในส�ำนักงานเขตพื้นที่การ ศึ ก ษาประถมศึ ก ษาตามความเห็ น ร่ ว มของ ผู้อ�ำนวยการกลุ่มในส�ำนักงานเขตพื้นที่การ ศึ ก ษาประถมศึ ก ษาและผู ้ เชี่ ย วชาญมี ค วาม สอดคล้องสัมพันธ์กัน
รัตน์มณี รัตนปกรณ์ และ ประเสริฐ อินทร์รักษ์
กรอบแนวคิดการวิจัย กรอบแนวคิดการวิจยั เรือ่ ง อนาคตภาพ ของผู้อ�ำนวยการกลุ่มในส�ำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษา ประกอบด้วยแนวคิด และทฤษฎีการก�ำหนดเส้นทางในสายอาชีพ
แนวคิดและทฤษฎีการก�ำหนด เส้นทางในสายอาชีพ • ทฤษฎีการเรียนรู้ทางสังคมเพื่อการตัดสินใจ เลือกอาชีพ • ทฤษฎีการปรับตัวเข้ากับงาน • ทฤษฎีการพัฒนาการทางจิตสังคม • คริสมาส ศุภทนต์ และคณะ • ดนัย เทียนพุฒ • Walker ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการบริหารทรัพยากร มนุษย์และความก้าวหน้าในสายอาชีพ • คริสมาส ศุภทนต์ และคณะ • Mondy and Noe
แนวคิดจากกฎ ระเบียบ กฎหมาย ที่เกี่ยวข้องกับ อนาคตภาพของผู้อ�ำนวยการกลุ่มในส�ำนักงานเขต พื้นที่การศึกษาประถมศึกษา • พ.ร.บ. สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2546 • พ.ร.บ. ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546 • พ.ร.บ. ระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2547 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2551 และ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2553 • พระราชบัญญัติเงินเดือน เงินวิทยฐานะ และเงินประจ�ำ ต�ำแหน่งข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2547 • พระราชบัญญัติเงินเดือนและเงินประจ�ำต�ำแหน่ง (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2547 • พ.ร.บ. ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551
รูปแบบและขั้นตอนในการจัดท�ำเส้นทางใน สายอาชีพ กฎระเบียบ กฎหมายทีเ่ กีย่ วข้องกับ อนาคตภาพผู้อ�ำนวยการกลุ่มในส�ำนักงานเขต พื้นที่การศึกษาประถมศึกษา และองค์ความรู้ ด้านอื่นๆ แสดงรายละเอียดตามแผนภูมิ
รูปแบบและขั้นตอนในการจัดท�ำ เส้นทางในสายอาชีพ • คริสมาส ศุภทนต์ และคณะ • จรวยพร ธรณิทร์ • ส�ำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน • เพ็ญวดี ไมยวงษ • Mathis and Jackson
มาตรฐานการก�ำหนดต�ำแหน่ง
อนาคตภาพของผู้อ�ำนวยการกลุ่มในส�ำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
แนวคิดจากการสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญ
แนวคิดในการวางแผนในด้านอาชีพ • วิชัย โถสุวรรณจินดา • Anthony and Nicholson • Super and Hall • Schein • D.S. Beach • John L. Holland • ดีสเลอร์ และฮัท องค์ความรู้ด้านอื่นๆ แนวคิดจากผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
แผนภูมิแสดงกรอบแนวคิดการวิจัย
ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2018/2561 197
อนาคตภาพของผูอ้ �ำ นวยการกลุม่ ในสำ�นักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษา
นิยามศัพท์เฉพาะ 1. อนาคตภาพ หมายถึง การสร้างเรือ่ ง ราวหรื อ ค� ำ อธิ บ ายของความเป็ น ไปได้ ใ น อนาคต จากความเป็นจริงในปัจจุบันหรือจาก การคาดการณ์ แ นวโน้ ม ที่ น ่ า จะเกิ ด ขึ้ น ใน อนาคต การเขียนอนาคตภาพอาจได้มาจาก การเปลี่ยนแปลงของนวัตกรรมหรือจินตภาพ (Imagine) ของบุคคลต่อเรื่องราวที่จะเกิดขึ้น ในอนาคต 2. ผู ้ อ� ำ นวยก าร ก ลุ ่ ม หมายถึ ง ข้ า ราชการครู แ ละบุ ค ลากรทางการศึ ก ษา ต�ำแหน่ง บุคลากรทางการศึกษาอืน่ ตามมาตรา 38 ค(2) 3. ส�ำนักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถม ศึกษา หมายถึง หน่วยงานภายใต้การก�ำกับ ดูแลของส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐานก่อตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติระเบียบ บริ ห ารราชการกระทรวงศึ ก ษาธิ ก าร พ.ศ. 2546 การด�ำเนินการวิจัย มี 3 ขั้นตอน ดังนี้ ขัน้ ตอนที ่ 1 การวิเคราะห์องค์ประกอบ อนาคตภาพของผูอ้ ำ� นวยการกลุม่ ในส�ำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ขัน้ ตอนที ่ 2 การวิเคราะห์องค์ประกอบ อนาคตภาพของผูอ้ ำ� นวยการกลุม่ ในส�ำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตามความคิด
198 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
เห็นของผูเ้ ชีย่ วชาญโดยใช้เทคนิคการวิจยั แบบ EDFR ขั้นตอนที่ 3 การรายงานผลการวิจัย แผนแบบการวิจัย การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนา และใช้เทคนิคการวิจยั อนาคต EDFR (Ethnographic Delphi Futures Research) ประชากร ส� ำ นั ก งานเขตพื้ นที่ ก ารศึ ก ษาประถม ศึกษา จ�ำนวน 183 แห่ง เป็นหน่วยวิเคราะห์ (unit of analysis) กลุ่มตัวอย่าง กลุ่มตัวอย่าง คือ ส�ำนักงานเขตพื้นที่ การศึ ก ษาประถมศึ ก ษา จ� ำ นวน 125 แห่ ง ตามตารางของเครจซี่และมอร์แกน (Krejcie and Morgan, 1970: 608 – 609) ได้มาโดย ใช้เทคนิคการเลือกกลุม่ ตัวอย่างตามโอกาสทาง สถิติ (probability sampling) แบบหลายขั้น ตอนโดยเริ่ ม เลื อ กแบบแบ่ ง กลุ ่ ม (area or cluster sampling) ตามภู มิ ภ าค จ� ำ นวน 4 ภูมภิ าค โดยพิจารณาว่า ส�ำนักงานเขตพืน้ ที่ การศึกษาประถมศึกษาแต่ละแห่งในภูมิภาค เดียวกัน มีความเป็นเอกพันธ์สงู (homogeneity)
รัตน์มณี รัตนปกรณ์ และ ประเสริฐ อินทร์รักษ์
ผู้ให้ข้อมูล ส� ำ นั ก งานเขตพื้นที่ก ารศึก ษาประถม ศึกษาละ 4 คน คือ ผู้อ�ำนวยการกลุ่มอ�ำนวย การ ผู ้ อ� ำ นวยการกลุ ่ ม บริ ห ารงานบุ ค คล ผู ้ อ� ำ นวยการกลุ ่ ม บริ ห ารงานการเงิ น และ สินทรัพย์ และผู้อ�ำนวยการกลุ่มส่งเสริมการ จัดการศึกษา รวมทั้งสิ้น 500 คน ตัวแปรที่ศึกษา 1. ตัวแปรพื้นฐานที่เกี่ยวกับสถานภาพ ส่ ว นตั ว ของผู ้ ใ ห้ ข ้ อ มู ล ได้ แ ก่ เพศ อายุ ต�ำแหน่ง ระยะเวลาการด�ำรงต�ำแหน่งปัจจุบัน อายุราชการ คุณวุฒิทางการศึกษาสูงสุด 2. ตั ว แปรที่ ศึ ก ษา คื อ ตั ว แปรที่ เกี่ ย วข้ อ งกั บ องค์ ป ระกอบอนาคตภาพของ ผู้อ�ำนวยการกลุ่มในส�ำนักงานเขตพื้นที่การ ศึกษาประถมศึกษา ซึ่งได้จากการสรุปผลการ วิเคราะห์แนวคิดทฤษฎี เอกสาร ต�ำรา และ ความเห็นของผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย แบบสอบถาม (questionnaire) องค์ ประกอบอนาคตภาพของผู้อ�ำนวยการกลุ่มใน ส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
การสร้างและพัฒนาเครื่องมือ ผูว้ จิ ยั ได้สร้างแบบสอบถาม (questionnaire) โดยมีขนั้ ตอนการสร้างและพัฒนา ดังนี้ 1 วิเคราะห์ สังเคราะห์ตัวแปรอนาคต ภาพของผู้อ�ำนวยการกลุ่มในส�ำนักงานเขต พื้นที่การศึกษาประถมศึกษาที่ได้ประมวลจาก เครือ่ งมือการวิจยั ในข้อที ่ 1 ทัง้ หมด เพือ่ น�ำมา เป็นกรอบในการสร้างแบบสอบถาม (questionnaire) ชนิ ด มาตราส่ ว นประมาณค่ า 5 ระดับของลิเคิร์ท(Likert’s rating scale) ภายใต้ ก ารแนะน� ำ และให้ ค� ำ ปรึ ก ษาของ อาจารย์ที่ปรึกษา 2. น� ำ แบบสอบถามที่ ส ร้ า งขึ้ น ไปให้ ผูเ้ ชีย่ วชาญ จ�ำนวน 5 คน พิจารณาตรวจสอบ ความตรงเชิ ง เนื้ อ หา (content validity) แล้วน�ำไปหาค่าดัชนีความสอดคล้องรายข้อ โดยการวิเคราะห์ค่า IOC (Index of ItemObjective Congruence) แล้วพิจารณาเลือก ข้ อ ค� ำ ถามที่ มี ค ่ า IOC มากกว่ า 0.6 ขึ้ น ไป และน�ำมาปรับปรุงแก้ไขแบบสอบถาม ตาม เกณฑ์การพิจารณาที่ก�ำหนดไว้ ได้ข้อค�ำถาม 130 ข้อ 3. น� ำ แบบสอบถามที่ ไ ด้ ป รั บ ปรุ ง ตามข้อเสนอแนะไปทดลองใช้ (try out) กับ ส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาที่ ไม่ใช่กลุม่ ตัวอย่าง แต่มคี ณ ุ ลักษณะเหมือนกลุม่ ตัวอย่างทุกประการ จ�ำนวน 8 ส�ำนักงานเขต
ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2018/2561 199
อนาคตภาพของผูอ้ �ำ นวยการกลุม่ ในสำ�นักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษา
พื้นที่การศึกษาประถมศึกษา โดยให้ผู้อ�ำนวย การกลุ ่ ม ในส� ำ นั ก งานเขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษา ประถมศึกษา เป็นผู้ตอบแบบสอบถาม รวม ผู้ให้ข้อมูล จ�ำนวน 32 คน 4. หาค่ า ความเชื่ อ มั่ น (reliability) ของแบบสอบถามโดยรวบรวมแบบสอบถาม ทีไ่ ด้รบั กลับคืนมาทัง้ หมด น�ำมาหาค่าความเชือ่ มั่น โดยใช้ค่าสัมประสิทธ์แอลฟาตามวิธีของ ครอนบาค (Cronbach’s alpha coefficients) ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูลพบว่าค่าความเทีย่ งของ แบบสอบถามทั้งฉบับ มีค่าเท่ากับ .9792 5. ปรั บ ปรุ ง เป็ น แบบสอบถามฉบั บ สมบู ร ณ์ น� ำ ไปใช้ ส อบถามกลุ ่ ม ตั ว อย่ า ง ส� ำ นั ก งานเขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษาประถมศึ ก ษา สังกัดส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน 125 เขตพื้นที่การศึกษาๆ ละ 4 ฉบับ รวม 500 ฉบับ ได้รับแบบสอบถามกลับคืน จ�ำนวน 120 เขตพื้นที่การศึกษา จ�ำนวน 480 ฉบับ คิดเป็นร้อยละ 96.00 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล สถิติที่ใช้ประกอบด้วย แบบสอบถาม ใช้ค่าความถี่ (Frequencies) และค่าร้อยละ (Percentage) ค่ามัชฌิมเลขคณิต (Arithmetic mean) และส่ ว นเบี่ ย งเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) การวิเคราะห์องค์ ประกอบเชิงส�ำรวจ (exploratory factor
200 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
analysis) การวิ เ คราะห์ เ นื้ อ หา (content analysis) มั ธ ยฐาน (Mode) และค่ า พิ สั ย ระหว่างควอไทล์ (interquartile range) ผลการวิจัย การวิ จั ย ครั้ ง นี้ ได้ ข ้ อ ค้ น พบ 2 ส่ ว น รายละเอียดดังนี้ 1. องค์ ป ระกอบอนาคตภาพของ ผู้อ�ำนวยการกลุ่มในส�ำนักงานเขตพื้นที่การ ศึกษาประถมศึกษา องค์ประกอบอนาคตภาพของผู้อ�ำนวย การกลุ ่ ม ในส� ำ นั ก งานเขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษา ประถมศึกษาประกอบด้วย 7 องค์ประกอบ คือ 1) อนาคตภาพด้านการก�ำหนดต�ำแหน่ง 2) อนาคตภาพด้ า นค่ า ตอบแทนและบ� ำ รุ ง รั ก ษาบุ ค ลากร 3) อนาคตภาพด้ า นการ วางแผนวิชาชีพ 4) อนาคตภาพด้านสภาพ แวดล้อมภายนอกหน่วยงาน 5) อนาคตภาพ ด้ า นประสิ ท ธิ ภ าพของการปฏิ บั ติ ง าน 6) อนาคตภาพด้านคุณภาพชีวิตที่ดีในหน่วยงาน 7) อนาคตภาพด้ า นความรู ้ ค วามสามารถ ดังนั้น องค์ประกอบการนิเทศการศึกษาโดย กรรมการสถานศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน จึ ง เป็ น พหุ อ งค์ ป ระกอบตามสมมติ ฐ านการวิ จั ย ซึ่งแต่ละองค์ประกอบมีตัวแปรดังนี้
รัตน์มณี รัตนปกรณ์ และ ประเสริฐ อินทร์รักษ์
1.1 อนาคตภาพด้ า นการก� ำ หนด ต� ำ แหน่ ง ประกอบด้ ว ย 1) ก� ำ หนด ต�ำแหน่งผู้อ�ำนวยการกลุ่ม ตามมาตรา 38 ค (2) เป็นต�ำแหน่งที่มีวิทยฐานะ 2) ก.ค.ศ. แก้ ไ ขหลั ก เกณฑ์ แ ละ คุณสมบัตเิ ฉพาะส�ำหรับผูด้ ำ� รงต�ำแหน่ง ผู ้ อ� ำ นวยการส� ำ นั ก งานเขตพื้ น ที่ ก าร ศึ ก ษาใหม่ ใ ห้ ผู ้ อ� ำ นวยการกลุ ่ ม ตาม มาตรา 38 ค (2) สามารถด� ำ รง ต� ำ แหน่ ง ดั ง กล่ า วได้ เช่ น เดี ย วกั บ ผู ้ อ� ำ นวยการสถานศึ ก ษา เป็ น การ ลดความเหลื่อมล�้ำ 3) ก.ค.ศ.ก�ำหนด ต�ำแหน่งให้ต�ำแหน่งผู้อ�ำนวยการกลุ่ม ตามมาตรา 38 ค (2) มีหน้าทีส่ นับสนุน การศึกษา 4) ก.ค.ศ.ก�ำหนดต�ำแหน่ง และมาตรฐานต�ำแหน่งใหม่ให้ผู้อ�ำนวย การกลุ ่ ม ตามมาตรา 38 ค (2) ให้ มี ความแตกต่างจากมาตรฐานต�ำแหน่ง ข้าราชการพลเรือน 5) ก.ค.ศ.ก�ำหนด ภารกิจงานเฉพาะของผูอ้ ำ� นวยการกลุม่ โดยไม่มีหน้าที่เกี่ยวข้องกับภารกิจของ ข้าราชการพลเรือน 6) ก.ค.ศ.ก�ำหนด หลักเกณฑ์การเข้าสู่ต�ำแหน่งผู้อ�ำนวย การกลุ ่ ม ที่ ชั ด เจนเพื่ อ ป้ อ งกั น ระบบ อุ ป ถั ม ภ์ 7) ก.ค.ศ.ออกกฎ ก.ค.ศ. ก�ำหนดต�ำแหน่งและมาตรฐานต�ำแหน่ง
ของผู ้ อ� ำ นวยการกลุ ่ ม และบุ ค ลากร ทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค (2) 8) ก.ค.ศ.ออกกฎ ก.ค.ศ.ก� ำ หนด มาตรฐานวิ ท ยฐานะส� ำ หรั บผู ้ อ�ำ นวย การกลุม่ ตามมาตรา 38 ค(2) 9) หน่วย งานต้ น สั ง กั ด มี ก ารก� ำ หนดตั ว ชี้ วั ด พฤติกรรมของแต่ละต�ำแหน่งงานในเขต พืน้ ทีก่ ารศึกษา 10) หน่วยงานต้นสังกัด มี ก ารก� ำ หนดผลสั ม ฤทธิ์ ห ลั ก ของ ต�ำแหน่งผูอ้ ำ� นวยการกลุม่ และต�ำแหน่ง อื่นในเขตพื้นที่การศึกษา 11) ก.ค.ศ. ก�ำหนดให้ต�ำแหน่งผู้อ�ำนวยการกลุ่ม ตามมาตรา 38 ค (2) เป็ น ต�ำแหน่ง เฉพาะเช่ น เดี ย วกั บ ศึ ก ษานิ เ ทศก์ 12) หน่วยงานต้นสังกัดมีการประเมิน ค่างานของแต่ละต�ำแหน่งในเขตพื้นที่ฯ 13) หน่วยงานต้นสังกัดมีการก�ำหนด ตัวชีว้ ดั ความส�ำเร็จในการก้าวสูต่ ำ� แหน่ง งานในแต่ละต�ำแหน่งในเขตพื้นที่การ ศึกษา 14) ก.ค.ศ. แก้ไขหลักเกณฑ์และ วิธีการให้ผู้อ�ำนวยการกลุ่มตามมาตรา 38 ค (2) มีมาตรฐานวิชาชีพถึงระดับ เชีย่ วชาญพิเศษ 15) หน่วยงานต้นสังกัด มี ก ารก� ำ หนดหลั ก สู ต รการพั ฒ นา ผู้อ�ำนวยการกลุ่มในเขตพื้นที่การศึกษา อย่างเป็นระบบและต่อเนือ่ งใน 2 ระดับ
ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2018/2561 201
อนาคตภาพของผูอ้ �ำ นวยการกลุม่ ในสำ�นักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษา
ทั้งนักบริหารระดับกลาง (นบก.) และ นักบริหารระดับสูง (นบส.) 16) หน่วย งานต้นสังกัดมีการก�ำหนดหลักเกณฑ์ และวิธกี ารบริหารทรัพยากรบุคคลอย่าง อิสระคล่องตัวในการเลื่อนวิทยฐานะ การโอน การย้าย ในระดับเขตพืน้ ทีก่ าร ศึกษา 1.2 อนาคตภาพด้ า นค่ า ตอบแทน และบ�ำรุงรักษาบุคลากร ประกอบด้วย 1) ก.ค.ศ. เสนอแก้ไข พ.ร.บ.เงินเดือน เงินประจ�ำต�ำแหน่งและวิทยฐานะให้ ผู้อ�ำนวยที่เป็นบุคลากรทางการศึกษา อื่นตามมาตรา 38 ค (2) เป็นต�ำแหน่ง มี วิ ท ยฐานะ 2) คุ รุ ส ภา ออกกฎ กระทรวงให้ ผู ้ อ� ำ นวยการกลุ ่ ม ตาม มาตรา 38 ค (2) เป็นวิชาชีพควบคุม และให้ มี ใ บอนุ ญ าตประกอบวิ ช าชี พ บริหารการศึกษา 3) ก.ค.ศ.เสนอแก้ไข พ.ร.บ.เงินเดือนควบคู่ พ.ร.บ.ระเบียบ ข้ า ราชการครู แ ละบุ ค ลากรทางการ ศึ ก ษา ให้ บุ ค ลากรทางการศึ ก ษาอื่ น ตามมาตรา 38 ค (2) ใช้บญ ั ชีเงินเดือน ครู ฯ 4) หน่ ว ยงานต้ น สั ง กั ด มี ก าร สรรหาผู ้ อ� ำ นวยการกลุ ่ ม โดยยึ ด หลั ก ความเสมอภาค คุณธรรม จริยธรรม และประโยชน์เขตพื้นที่การศึกษาเป็น หลั ก 5) ผู ้ อ� ำ นวยการกลุ ่ ม ได้ รั บ การ 202 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
สนับสนุนและส่งเสริมจากผูบ้ งั คับบัญชา ในการปฏิบัติงาน 6) มีหน่วยงานต้น สั ง กั ด มี ก ารวางแผนอนาคต ให้ แ ก่ บุคลากรทางการศึกษาอื่น ตามมาตรา 38 ค (2) ตั้ ง แต่ แ รกเข้ า ไปจนถึ ง นักบริหารระดับสูง (นบส.) 7) หน่วย งานต้ น สั ง กั ด มี ค วามชั ด เจนในการ ก� ำ หนดบทบาทและหน้ า ที่ ค วามรั บ ผิดชอบในการปฏิบัติงานของผู้อ�ำนวย ก า ร ก ลุ ่ ม ใ น เข ต พื้ น ที่ ก า ร ศึ ก ษ า 8) หน่วยงานต้นสังกัดมีความชัดเจน ในการเลื่อนระดับและเลื่อนต�ำแหน่ง 9) หน่วยงานต้นสังกัดให้ความส�ำคัญ ต่ อ การพั ฒ นาศั ก ยภาพของผู ้ อ� ำ นวย การกลุ่มและความก้าวหน้าทางวิชาชีพ 10) หน่วยงานต้นสังกัดมีระบบในการ จั ด สรรรางวั ล และค่ า ตอบแทนที่ มี ความยุติธรรม โปร่งใส และเป็นธรรม 11) หน่วยงานต้นสังกัดมีมาตรการจูงใจ ให้คนเก่ง (Talent) (บุคลากรที่มีความ สามารถพิเศษมีผลงานดีเด่น) ให้อยู่ใน ระบบราชการต่อไป 12) หน่วยงานต้น สังกัดมีระบบการคัดเลือกคนเก่ง (Talent) มาเป็นผู้อ�ำนวยการกลุ่มในส�ำนัก งานเขตพืน้ ทีการศึกษาทีช่ ดั เจน โปร่งใส และเป็นธรรม 13) หน่วยงานต้นสังกัด มีการน�ำระบบสมรรถนะมาใช้ในการ
รัตน์มณี รัตนปกรณ์ และ ประเสริฐ อินทร์รักษ์
ก� ำ หนดภาระงานและก� ำ หนดความ สามารถรายต�ำแหน่ง 1.3 อนาคตภาพด้ า นการวางแผน วิ ช าชี พ ประกอบด้ ว ย 1) บุ ค ลากร ทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค (2) ส�ำรวจและประเมินความต้องการของ ตนเอง 2) ผู ้ อ� ำ นวยการกลุ ่ ม มี ก าร วางแผนความก้ า วหน้ า ทางวิ ช าชี พ โดยวิเคราะห์ข้อมูลจากหลักเกณฑ์และ วิธีการที่ ก.ค.ศ.ก�ำหนด 3) ผู้อ�ำนวย การกลุ ่ ม ศึ ก ษาเกี่ ย วกั บ การเปลี่ ย น แปลงความเคลื่อนไหวเกี่ยวกับวิชาชีพ ของตนเอง 4) หน่วยงานต้นสังกัดมีการ ก�ำหนดหลักเกณฑ์ในการเติบโตสายงาน บุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค (2) 5) หน่วยงานต้นสังกัดมีการ สร้ า งความมั่ น คงในวิ ช าชี พ บุ ค ลากร ทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค (2) 6) หน่ ว ยงานต้ น สั ง กั ด มี ก ารก� ำ หนด ข้ อ มู ล และมี ก ารวางแผนงานวิ ช าชี พ ส�ำหรับผู้อ�ำนวยการกลุ่มในส�ำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษา 7) มีการก�ำหนด หลักสูตรพัฒนาบุคลากรทางการศึกษา อื่น ตามมาตรา 38 ค (2) ส�ำหรับการ เข้าสูต่ ำ� แหน่ง ให้สามารถปฏิบตั ภิ ารกิจ ได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ 8) หน่วยงาน ต้นสังกัดมีการจัดโครงสร้างต�ำแหน่ง
ภายในส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาที่ ชัดเจน 1.4 อนาคตภาพด้านสภาพแวดล้อม ภายนอกหน่ ว ยงาน ประกอบด้ ว ย 1) นโยบายของหน่วยงานต้นสังกัดที่ ส่ ง ผลกระทบต่ อ ความก้ า วหน้ า และ อนาคตภาพของผู ้ อ� ำ นวยการกลุ ่ ม ในส� ำ นั ก งานเขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษา 2) นโยบายของรัฐบาลที่มีผลกระทบ ต่อความก้าวหน้าและอนาคตภาพของ ผู้อ�ำนวยการกลุ่มในส�ำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษา 3) ด้านการเมือง เศรษฐกิจ ส่ ง ผลกระทบต่ อ ความก้ า วหน้ า และ อนาคตภาพของผู ้ อ� ำ นวยการกลุ ่ ม ในส� ำ นั ก งานเขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษา 4) ระเบียบและกฎหมายทีส่ ง่ ผลกระทบ ต่ อ ความก้ า วหน้ า ความมั่ น คง และ อนาคตภาพของผู้อ�ำนวยการกลุ่มใน ส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา 5) องค์ คณะบุคคลผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับความ ก้าวหน้าและอนาคตภาพของผู้อ�ำนวย การกลุ่ม เช่น คณะกรรมการคุรุสภา ก.ค.ศ. และ อ.ก.ค.ศ.เขตพื้ น ที่ ก าร ศึกษา 6) สมาคมวิชาชีพ หรือชมรม วิชาชีพที่มีผลกระทบต่อความก้าวหน้า และอนาคตภาพของผู ้ อ� ำ นวยการ กลุ ่ ม ในส� ำ นั ก งานเขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษา
ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2018/2561 203
อนาคตภาพของผูอ้ �ำ นวยการกลุม่ ในสำ�นักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษา
7) ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีทสี่ ง่ ผล ต่อความก้าวหน้าและอนาคตภาพของ ผู้อ�ำนวยการกลุ่มในส�ำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษา 1.5 อนาคตภาพด้านประสิทธิภาพของ การปฏิบตั งิ าน ประกอบด้วย 1) หน่วย งานต้นสังกัดประเมินผลการปฏิบตั งิ าน ของผู้อ�ำนวยการกลุ่ม โดยยึดหลักการ ปฏิบัติราชการได้อย่างมีประสิทธิภาพ และเกิ ด ประสิ ท ธิ ผ ล มี ผ ลงานเป็ น ประจั ก ษ์ 2) หน่ ว ยงานต้ น สั ง กั ด พิจารณาเลือ่ นขัน้ เงินเดือนและบ�ำเหน็จ ความชอบ ผู ้ อ� ำ นวยการกลุ ่ ม ในเขต พื้นที่การศึกษายึดหลักคุณธรรม เที่ยง ธรรมโปร่งใส และผลงานเป็นหลัก 3) หน่วยงานต้นสังกัด ยกย่องเชิดชูเกียรติ ผู ้ อ� ำ นวยการกลุ ่ ม ที่ มี ค วามคิ ด ริ เริ่ ม สร้ า งสรรค์ แ ละมี ผ ลงานดี เ ด่ น เป็ น ประจักษ์ 4) หน่วยงานต้นสังกัดพัฒนา ศักยภาพของผู้อ�ำนวยการกลุ่ม ก่อน แต่ ง ตั้ ง ให้ ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง เพื่ อ ให้ ก าร ปฏิบัติหน้าที่ราชการเกิดประสิทธิภาพ ประสิ ท ธิ ผ ล และความก้ า วหน้ า แก่ ราชการ 5) หน่วยงานต้นสังกัดมีการ ก�ำหนดตัวชีว้ ดั ความส�ำเร็จในการปฏิบตั ิ ของผูอ้ ำ� นวยการกลุม่ 6) หน่วยงานต้น สังกัดส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้อ�ำนวยการ
204 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
กลุ่ม ให้ไปศึกษาดูงาน ฝึกอบรมต่าง ประเทศ หรือปฏิบตั งิ านวิจยั และพัฒนา 7) หน่วยงานต้นสังกัด พัฒนาศักยภาพ ของผูอ้ ำ� นวยการกลุม่ ให้มคี วามสามารถ ในการจัดท�ำและพัฒนาด้านวิชาการ เพือ่ เป็นแนวทางให้บคุ ลากรและผูส้ นใจ ทั่วไป 1.6 อนาคตภาพด้านคุณภาพชีวิตที่ดี ในหน่วยงาน ประกอบด้วย 1) หน่วย งานต้นสังกัดเสริมสร้างบรรยากาศที่ดี ในการท�ำงาน 2) หน่วยงานต้นสังกัด จัดหาเครื่องมือใช้ในการท�ำงานอย่าง เพียงพอ 3) ผูอ้ ำ� นวยการกลุม่ ได้รบั การ ดูแลอย่างยุติธรรม บนพื้นฐานของการ ปฏิ บั ติ ต ามหลั ก เกณฑ์ ที่ ถู ก ต้ อ งและ มีคุณธรรม 4) หน่วยงานต้นสังกัดจัด ระบบในการพัฒนาผูอ้ ำ� นวยการกลุม่ ใน ส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาที่ชัดเจน เป็นรูปธรรม 5) หน่วยงานต้นสังกัดเปิด โอกาสให้ผอู้ ำ� นวยการกลุม่ มีสว่ นร่วมใน การเสนอแนวคิ ด ที่ เ ป็ นประโยชน์ ต ่ อ องค์กรหรือหน่วยงาน 6) ผู้อ�ำนวยการ กลุ ่ ม ได้ รั บ สวั ส ดิ ก ารที่ เ หมาะสมและ เพียงพอต่อการด�ำรงชีวติ จากหน่วยงาน ต้นสังกัด 1.7 อนาคตภาพด้ า นความรู ้ ค วาม สามารถ ประกอบด้ ว ย 1) ผู ้ อ� ำ นวย
รัตน์มณี รัตนปกรณ์ และ ประเสริฐ อินทร์รักษ์
การกลุ ่ ม ต้ อ งมี ค วามเป็ น ผู ้ น� ำ ทาง วิ ช าการ 2) ผู ้ อ� ำ นวยการกลุ ่ ม ต้ อ งมี ความรู้ ความสามารถด้านการบริหาร การศึกษา 3) ผู้อ�ำนวยการกลุ่มต้องมี ความรู ้ ความสามารถเกี่ ย วกั บ การ ส่งเสริมคุณภาพการศึกษา 4) ผู้อ�ำนวย การกลุ ่ ม ต้ อ งมี ค วามรู ้ ค วามสามารถ เกี่ ย วกั บ นวั ต กรรมและเทคโนโลยี สารสนเทศทางการศึกษา 5) ผู้อ�ำนวย การกลุ่มมีความรู้ความสามารถในด้าน การวางแนวทางแก้ ไขปั ญ หาขั ด ข้ อ ง ในการปฏิบัติงาน เพื่อให้งานบรรลุเป้า หมายอย่างมีประสิทธิภาพ 2. องค์ ป ระกอบอนาคตภาพตาม ความเห็ น ร่ ว มของผู ้ อ� ำ นวยการกลุ ่ ม ใน ส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา และผู้เชี่ยวชาญ ผลการวิเคราะห์องค์ประกอบอนาคต ภาพของผู้อ�ำนวยการกลุ่มในส�ำนักงานเขต พื้นที่การศึกษาประถมศึกษา โดยใช้วิธีวิจัยเชิง ปริ ม าณและการวิ เ คราะห์ อ นาคตภาพของ ผู้อ�ำนวยการกลุ่มในส�ำนักงานเขตพื้นที่การ ศึ ก ษาประถมศึ ก ษาตามความคิ ด เห็ น ของ ผู ้ เ ชี่ ย วชาญ โดยใช้ เ ทคนิ ค การวิ จั ย แบบ EDFR สรุปประมวลเป็นองค์ประกอบอนาคตภาพของผู้อ�ำนวยการกลุ่มในส�ำนักงานเขต พืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาตามความเห็นร่วม
ของผูอ้ ำ� นวยการกลุม่ ในส�ำนักงานเขตพืน้ ทีก่ าร ศึกษาประถมศึกษาและผู้เชี่ยวชาญมี 7 องค์ ประกอบ ได้ แ ก่ ด้ า นการก� ำ หนดต� ำ แหน่ ง ด้านค่าตอบแทนและการบ�ำรุงรักษาบุคลากร อนาคตภาพด้านการวางแผนวิชาชีพ อนาคต ภาพด้านสภาพแวดล้อมภายนอกหน่วยงาน อนาคตภาพด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติ งาน อนาคตภาพด้านคุณภาพชีวติ ทีด่ ใี นหน่วย งาน อนาคตภาพด้านความรู้ความสามารถ ดังนั้นองค์ประกอบอนาคตภาพของผู้อ�ำนวย การกลุ ่ ม ในส� ำ นั ก งานเขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษา ประถมศึกษาตามความเห็นร่วมของผู้อ�ำนวย การกลุ ่ ม ในส� ำ นั ก งานเขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษา ประถมศึกษาและผูเ้ ชีย่ วชาญมีความสอดคล้อง สัมพันธ์กัน ตามสมมติฐานการวิจัย สรุปผลการวิจัย 1. องค์ ป ระกอบอนาคตภาพของ ผู้อ�ำนวยการกลุ่มในส�ำนักงานเขตพื้นที่การ ศึ ก ษาประถมศึ ก ษามี 7 องค์ ป ระกอบคื อ 1) อนาคตภาพด้ า นการก� ำ หนดต� ำ แหน่ ง 2) อนาคตภาพด้านค่าตอบแทนและการบ�ำรุง รั ก ษาบุ ค ลากร 3) อนาคตภาพด้ า นการ วางแผนวิชาชีพ 4) อนาคตภาพด้านสภาพ แวดล้อมภายนอกหน่วยงาน 5) อนาคตภาพ ด้ า นประสิ ท ธิ ภ าพของการปฏิ บั ติ ง าน 6) อนาคตภาพด้านคุณภาพชีวิตที่ดีในหน่วย
ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2018/2561 205
อนาคตภาพของผูอ้ �ำ นวยการกลุม่ ในสำ�นักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษา
งาน และ 7) อนาคตภาพด้านความรู้ความ สามารถ 2. องค์ประกอบอนาคตภาพตามความ เห็นร่วมของผู้อ�ำนวยการกลุ่มในส�ำนักงานเขต พื้นที่การศึกษาประถมศึกษาและผู้เชี่ยวชาญ มี 7 องค์ประกอบ มีความคิดเห็นที่สอดคล้อง กันและอยูใ่ นระดับเดียวกัน ได้แก่ อนาคตภาพ ด้านการก�ำหนดต�ำแหน่ง อนาคตภาพด้าน ค่ า ตอบแทนและการบ� ำ รุ ง รั ก ษาบุ ค ลากร อนาคตภาพด้านสภาพแวดล้อมภายนอกหน่วย งาน อนาคตภาพด้านประสิทธิภาพของการ ปฏิ บั ติ ง าน อนาคตภาพด้ า นคุ ณ ภาพชี วิ ต ทีด่ ใี นหน่วยงาน อนาคตภาพด้านความรูค้ วาม สามารถและอนาคตภาพด้ า นการวางแผน วิชาชีพ มีความคิดเห็นที่สอดคล้องกัน อภิปรายผล 1. ผลที่ได้จากการวิจัยพบว่า อนาคต ภาพของผู้อ�ำนวยการกลุ่มในสังกัดส�ำนักงาน เขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษา ประกอบด้ ว ย 7 องค์ ประกอบ ที่ มี ค วามสั ม พั น ธ์ กั น และมี ค วาม สอดคล้องกับกรอบแนวคิด ทฤษฎีของการวิจยั ทั้งนี้เพราะผู้อ�ำนวยการกลุ่มในส�ำนักงานเขต พื้ น ที่ ก ารศึ ก ษาประถมศึ ก ษา ในส่ ว นของ บุคลากรทางการศึกษาอื่น ตามมาตรา 38 ค (2) เป็ น ผู ้ ที่ มี บ ทบาทหน้ า ที่ ส นั บ สนุ น การ ด�ำเนินงาน ของส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
206 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
ประถมศึกษาและผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานเขต พื้นที่การศึกษาประถมศึกษาดังนี้ 1) จัดท�ำ นโยบาย แผนพัฒนาและมาตรฐานการศึกษา ของส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาให้สอดคล้อง กับนโยบายมาตรฐานการศึกษา แผนการศึกษา แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2) วิเคราะห์ การจัดตั้งงบประมาณเงินอุดหนุนทั่วไปของ สถานศึ ก ษาและหน่ ว ยงานในเขตพื้ น ที่ ก าร ศึ ก ษา 3) ประสานงานส่ ง เสริ ม และพั ฒ นา หลักสูตรร่วมกับสถานศึกษาในเขตพื้นที่การ ศึกษา 4) ก�ำกับดูแลติดตามและประเมินผล สถานศึกษาขั้นพื้นฐานในเขตพื้นที่การศึกษา 5) ศึกษาวิเคราะห์วิจัย และรวบรวมข้อมูล สารสนเทศด้านการศึกษาในเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษา 6) ประสานงานระดมทรัพยากรด้านต่างๆ รวม ทั้งทรัพยากรบุคคล เพื่อส่งเสริมสนับสนุนการ จัดการศึกษา และพัฒนาการศึกษาในเขตพืน้ ที่ การศึกษา 7) จัดระบบประกันคุณภาพการ ศึกษาและประเมินผลสถานศึกษา ในเขตพืน้ ที่ การศึกษา 8) ประสานส่งเสริม สนับสนุนการ จัดการศึกษาของสถานศึกษาเอกชน องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น รวมทั้งบุคคล องค์กร ชุมชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถาน ประกอบการและสถาบันอื่นที่จัดการศึกษาใน รูป แบบที่หลากหลายในเขตพื้นที่การศึกษา 9) ด�ำเนินการประสานส่งเสริม สนับสนุนการ วิ จั ย และพั ฒ นาการศึ ก ษาในเขตพื้ น ที่ ก าร
รัตน์มณี รัตนปกรณ์ และ ประเสริฐ อินทร์รักษ์
ศึกษา 10) ประสานส่งเสริมการด�ำเนินงานของ คณะอนุกรรมการและคณะ ท�ำงานด้านการ ศึกษา 11) ประสานงานปฏิบัติราชการทั่วไป กั บ องค์ ก รหรื อ หน่ ว ยงานต่ า งๆ ทั้ ง ภาครั ฐ ภาคเอกชน และองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ใน ฐานะส�ำนักงานผู้แทนกระทรวงศึกษาธิการใน เขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษา 12) ปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ อื่ น ที่ เกี่ยวข้องกับกิจการภายในเขตพื้นที่การศึกษา ที่มิได้ระบุให้เป็นหน้าที่ของหน่วยงานใดโดย เฉพาะ หรื อ ปฏิ บั ติ ง านอื่ น ตามที่ ไ ด้ รั บ มอบ หมาย 13) เสริมสร้างความเข้มแข็งให้สถาน ศึ ก ษาและ 14) การประสานนโยบายการ พัฒนาประเทศแบบบูรณาการกับหน่วยงาน และองค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น ทั้ ง มิ ติ ระเบียบวาระประเทศ (Agenda based) มิติ เชิงพันธกิจ (Functiona based) และมิติเชิง พืน้ ที ่ (Area based) ดังนัน้ ผูอ้ ำ� นวยการกลุม่ ในส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา จึ ง เป็ น ผู ้ มี บ ทบาทส� ำ คั ญ ต่ อ การขั บ เคลื่ อ น ภารกิจขององค์กร และภารกิจในการยกระดับ มาตรฐานการศึกษาไทยให้สงู ขึน้ ตามเป้าหมาย ที่ก�ำหนดต่อไปในอนาคต ดังนั้น การศึกษา เกี่ยวกับอนาคตภาพของผู้อ�ำนวยการกลุ่มใน ส� ำ นั ก งานเขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษาประถมศึ ก ษา เพื่อเป็นแนวทางให้บุคลากรทางการศึกษาได้ วางแผนในการประกอบอาชีพของตนเองให้มี ความมั่ น คง มี ค วามก้ า วหน้ า ทางวิ ช าชี พ
สามารถปฏิบตั ภิ ารกิจได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ เป็นพลังขับเคลือ่ นคุณภาพมาตรฐานการศึกษา เศรษฐกิจ สังคม และการเมืองไปสู่สัมฤทธิ์ผล คนไทยได้ เรี ย นรู ้ ต ลอดชี วิ ต อย่ า งมี คุ ณ ภาพ พร้อมเป็นพลเมืองอาเซียนและพลโลก สังคม ไทยก้าวสู่การพัฒนาที่มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน ต่อไปในอนาคต ซึ่งองค์ประกอบอนาคตภาพ ของผูอ้ ำ� นวยการกลุม่ ในส�ำนักงานเขตพืน้ ทีก่ าร ศึกษาประถมศึกษาทัง้ 7 องค์ประกอบ มีความ สอดคล้องกับ เพ็ญวดี ไมยวงษ์ ที่ได้ก�ำหนด แนวทางในการจัดท�ำเส้นทางในสายอาชีพของ ส่วนราชการไว้ 3 ขั้นตอน คือ 1) การเลือก ต� ำ แหน่ ง เป้ า หมาย (Critical Position) 2) การก�ำหนดต�ำแหน่งในเส้นทางก้าวหน้า (Ladder Position) 3) การคั ด เลื อ กตั ว บุคคลเพื่อเข้าสู่เส้นทางสายก้าวหน้าในอาชีพ สอดคล้องกับวลัยพร ศิรภิ ริ มย์ ทีพ่ บว่า ปัจจัย ที่ ส ่ ง ผลทางบวกต่ อ ความส� ำ เร็ จ ในวิ ช าชี พ ผู ้ บ ริ ห ารสถานศึ ก ษาสตรี ใ นสถานศึ ก ษา มีจ�ำนวน 4 ปัจจัยคือ ด้านจิตสังคม ภูมิหลัง การสนับสนุนจากองค์กร และสภาพแวดล้อม ภายนอกองค์กร สอดคล้องแนวคิดของวิชัย โถสุ ว รรณจิ น ดาที่ ว ่ า ความส� ำ เร็ จ ของบุ ค คล จะเป็ น ไปตามวิ ช าชี พ หรื อ ไม่ นั้ น ขึ้ น อยู ่ กั บ 1) พืน้ ฐานของตัวบุคคลนัน้ 2) สภาพเศรษฐกิจ สอดคล้องกับแนวคิดของแอนโทนีแ่ ละนิโคลสัน ที่ว่า กระบวนการวางแผนวิชาชีพ ประกอบ
ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2018/2561 207
อนาคตภาพของผูอ้ �ำ นวยการกลุม่ ในสำ�นักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษา
ด้วย 7 ขัน้ ตอน คือ 1) การส�ำรวจและประเมิน ตนเอง 2) การพิจารณาเป้าหมายของวิชาชีพ 3) การพิ จ ารณาความต้ อ งการในวิ ช าชี พ 4) การพิ จ ารณาเป้ า หมายของวิ ช าชี พ อื่ น 5) ความจ�ำเป็นในการฝึกอบรมและการศึกษา 6) การพิ จ ารณาเกี่ ย วกั บ งานเฉพาะด้ า น และงานทีป่ รารถนา 7) การคัดเลือกงาน สอด คล้องกับคริสมาส ศุภทนต์และคณะที่กล่าวว่า การพัฒนาเส้นทางวิชาชีพระดับหน่วยงานหรือ องค์ ก ร เมื่ อ บุ ค คลได้ เ ส้ น ทางวิ ช าชี พ ที่ ต น ต้องการแล้ว ต้องมีกระบวนการปรับเปลี่ยน อย่างต่อเนือ่ ง โดยน�ำไปเชือ่ มโยงกับโครงสร้าง ระบบบริหารงานบุคคลหลัก เช่น โครงสร้าง ต�ำแหน่ง โครงสร้างเงินเดือน และระบบการ ประเมินผล และการเชื่อมโยงเข้ากับเครื่องมือ เสริมสร้างแรงจูงใจในระดับบุคคล เช่น ระบบ พี่ เ ลี้ ย งและการสอนงานหรื อ ระบบการให้ รางวัล ก็จะเป็นการบริหารให้ผู้คนนั้นเลือก พัฒนาตนเองตามเส้นทางวิชาชีพที่ก�ำหนดขึ้น โดยทั่วไปในแวดวงการบริหารงานบุคคลแล้ว การท�ำ Career path มักจะกล่าวถึง การวาง แผนอนาคตให้ แ ก่ บุ ค ลากรใหม่ ไ ปจนถึ ง ผู้บริหารระดับกลาง เพราะกลุ่มบุคคลในรุ่นนี้ แสวงหาความท้าทายในการท�ำงาน มักจะใฝ่หา ประสบการณ์และความก้าวหน้าอย่างต่อเนื่อง 2. องค์ประกอบอนาคตภาพตามความ เห็นร่วมของผู้อ�ำนวยการกลุ่มในส�ำนักงานเขต
208 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
พื้นที่การศึกษาประถมศึกษาและผู้เชี่ยวชาญ พบว่ า มี 7 องค์ ป ระกอบ ระดั บ ความเห็ น สอดคล้องกัน คือ อนาคตภาพด้านการก�ำหนด ต�ำแหน่ง อนาคตภาพด้านค่าตอบแทนและ การบ� ำ รุ ง รั ก ษาบุ ค ลากร อนาคตภาพด้ า น สภาพแวดล้อมภาพนอกหน่วยงาน อนาคต ภาพด้ า นประสิ ท ธิ ภ าพของการปฏิ บั ติ ง าน อนาคตภาพด้านคุณภาพชีวิตที่ดีในหน่วยงาน อนาคตภาพด้านความรู้ความสามารถ ยกเว้น อนาคตภาพด้านการวางแผนวิชาชีพที่มีระดับ ความคิดเห็นทีแ่ ตกต่างกัน โดยกลุม่ ผูเ้ ชีย่ วชาญ มี ร ะดั บ ความเห็ น อยู ่ ใ นระดั บ มากที่ สุ ด ทุ ก รายการนั้ น อาจเป็ น เพราะว่ า กลุ ่ ม ผู ้ เชี่ ย วชาญเป็ น ผู ้ บ ริ ห ารการศึ ก ษาระดั บ นโยบาย เป็นนักวิชาการที่ท�ำการสอนด้าน บริหารการศึกษาเป็นระยะเวลายาวนาน ท�ำให้ มี มุ ม มอง ต่ อ อนาคตภาพด้ า นการวางแผน วิชาชีพเป็นองค์ประกอบส�ำคัญสูงสุด ซึ่งเป็น กระบวนการทีจ่ ะช่วยให้บคุ ลากรทางการศึกษา โดยอย่างยิ่ง ผู้อ�ำนวยการกลุ่มตามมาตรา 38 (2) สามารถก้ า วไปสู ่ ต� ำ แหน่ ง ที่ ต ้ อ งการใน อนาคตได้ จะส่ ง ผลให้ ผู ้ อ� ำ นวยการกลุ ่ ม ทั่วประเทศมีขวัญก�ำลังใจในการปฏิบัติงาน มีความมั่นคงในการประกอบวิชาชีพ สามารถ ท� ำ งานได้ อ ย่ า งเต็ ม ศั ก ยภาพ ส่ ว นในกลุ ่ ม ผู้อ�ำนวยการกลุ่มในส�ำนักงานเขตพื้นที่การ ศึ ก ษาประถมศึ ก ษา เป็ น เพี ย งผู ้ ป ฏิ บั ติ ต าม
รัตน์มณี รัตนปกรณ์ และ ประเสริฐ อินทร์รักษ์
นโยบาย หลักเกณฑ์ และวิธีการที่ผู้บริหาร ระดับนโยบายเป็นผู้ก�ำหนด ท�ำได้เพียงศึกษา ข้อมูล หลักเกณฑ์ วิธีการและวางแผนความ ก้ า วหน้ า ทางวิ ช าชี พ ส� ำ หรั บ ตนเองเท่ า นั้ น จึงส่งผลให้เกิดมุมมองต่ออนาคตภาพด้านการ วางแผนวิชาชีพ แตกต่างกันกับกลุม่ ผูเ้ ชีย่ วชาญ ทั้งนี้ บุคคลโดยทั่วไปจะรับรู้ สนใจและมอง เห็ น รายละเอี ย ดเฉพาะส่ ว นที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ ตนเองหรือส่วนทีต่ นเองสนใจเสียเป็นส่วนมาก ดังที่ พิภพ วชังเงิน กล่าวว่าบุคคลจะเข้าใจ สนใจ รับรู้ มองเห็นสิ่งต่างๆ ที่แตกต่างกัน ทั้งนี้ เกิดจากสิ่งที่บุคคลพบหรือเกี่ยวข้องด้วย สิง่ ทีต่ นเองสนใจ สัมผัสอยูม่ ผี ลต่อความคิดเห็น ความเข้าใจของแต่ละบุคคล สอดคล้องกับพิมล จรรย์ นามวัฒน์ ที่กล่าวว่า คนจะเลือกรับรู้ใน สิ่งที่ตนเองสนใจอย่างเดียว มองเห็นในส่วน งานของตนเองจะไม่ไปสนใจ ไม่ไปพิจารณา งานของผู้อื่นหรือหน่วยงานอื่น ข้อเสนอแนะเพื่อน�ำผลวิจัยไปใช้ ผู้วิจัยมีข้อเสนอแนะส�ำหรับหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง ควรน�ำข้อค้นพบจากอนาคตภาพ ของผู้อ�ำนวยการกลุ่มในสังกัดส�ำนักงานเขต พืน้ ทีก่ ารศึกษาไปประยุกต์ใช้ในเชิงนโยบายกับ หน่วยงานในบริบทต่างๆ ดังนี้ อนาคตด้านการก�ำหนดต�ำแหน่ง มีข้อ เสนอแนะ ดังนี้
1. กระทรวงศึ ก ษาธิ ก ารควรแก้ ไข พระราชบั ญ ญั ติ ร ะเบี ย บข้ า ราชการครู แ ละ บุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2547 ในมาตรา 31 มาตรา 38 และมาตรา 39 ให้ผู้อ�ำนวย การกลุ ่ ม ส่ ว นที่ เ ป็ น บุ ค ลากรทางการศึ ก ษา อืน่ ตามมาตรา 38 ค (2) มีวทิ ยฐานะ เช่นเดียว กับบุคลากรทางการศึกษาอืน่ ตามมาตรา 38 ค (1) ศึกษานิเทศก์ 2. คุ รุ ส ภา ควรออกกฎกระทรวงให้ บุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค (2) เป็นวิชาชีพควบคุมหรือวิชาชีพเฉพาะของ คุ รุ ส ภาตามพระราชบั ญ ญั ติ ส ภาครู แ ละ บุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2546 อนาคตด้านค่าตอบแทนและบ�ำรุงรักษา บุคลากร มีข้อเสนอแนะ ดังนี้ 1. กระทรวงศึกษาธิการ โดย ก.ค.ศ. และส� ำ นั ก งานคณะกรรมการการศึ ก ษาขั้ น พื้นฐาน ต้องก�ำหนดบทบาทของผู้อ�ำนวยการ กลุ่มในระดับเขตพื้นที่การศึกษาให้ชัดเจน 2. ก.ค.ศ.เสนอขอแก้ไข พ.ร.บ.เงินเดือน ให้บคุ ลากรทางการศึกษาอืน่ ตามมาตรา 38 ค (2) ใช้บัญชีเงินเดือนของข้าราชการครูฯ อนาคตภาพด้านการวางแผนวิชาชีพ มีข้อเสนอแนะดังนี้ 1. ผู้อ�ำนวยการกลุ่มในส�ำนักงานเขต พื้นที่การศึกษาประถมศึกษา น�ำผลการวิจัย ครัง้ นีไ้ ปใช้ประโยชน์ในการวางแผนและพัฒนา
ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2018/2561 209
อนาคตภาพของผูอ้ �ำ นวยการกลุม่ ในสำ�นักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษา
ความมั่นคง ความก้าวหน้าทางวิชาชีพของ ผู้อ�ำนวยกลุ่มในส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาต่อไป 2. ผู้อ�ำนวยกลุ่มในส�ำนักงานเขตพื้นที่ การศึ ก ษาประถมศึ ก ษาในส่ ว นบุ ค ลากร ทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค (2) ควร น� ำ ข้ อ มู ล และรายละเอี ย ดของแต่ ล ะองค์ ประกอบของอนาคตภาพของผูอ้ ำ� นวยการกลุม่ ในส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ไปใช้เป็นข้อมูลในการวิเคราะห์โอกาสและ อุปสรรคทีจ่ ะส่งผลต่ออนาคตภาพของผูอ้ ำ� นวย การกลุ่มในส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา เพื่อ จะได้ปรับปรุงและพัฒนาตนเอง เพื่อการขับ เคลื่อนในการสร้างความมั่นคงในอาชีพและมี ความก้าวหน้าในวิชาชีพต่อไป อนาคตภาพด้านสภาพแวดล้อมภายนอกงาน มีข้อเสนอแนะ ดังนี้ 1. กระทรวงศึ ก ษาธิ ก ารโดย ก.ค.ศ. ควรแก้ ไขระเบี ย บและกฏหมายในส่ ว นที่ เกี่ยวข้องเพื่อความก้าวหน้า ความมั่นคงใน วิชาชีพบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค (2) เพื่อสร้างขวัญและก�ำลังใจในการ ปฏิบัติงาน 2. กระทรวงศึกษาธิการ โดย ก.ค.ศ. เสนอแก้ ไข พระราชบั ญ ญั ติ เ งิ น เดื อ น เงิ น วิทยฐานะ และเงินประจ�ำต�ำแหน่งข้าราชการ
210 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
ครู แ ละบุ ค ลากรทางการศึ ก ษา พ.ศ.2547 มาตรา 3 และมาตรา 4 ควบคู ่ ก ารแก้ ไข พระราชบัญญัติสภาครูและบุคลากรทางการ ศึกษา พ.ศ.2546 ให้บุคลากรทางการศึกษา อื่นตามมาตรา 38 ค (2) ให้ใช้บัญชีเงินเดือน ครูฯ อนาคตภาพด้านประสิทธิภาพของการปฏิบตั ิ งาน มีข้อเสนอแนะดังนี้ 1. หน่วยงานต้นสังกัด ควรประเมินผล การปฏิบัติงานของผู้อ�ำนวยการกลุ่มโดยยึด หลักการปฏิบตั ริ าชการได้อย่างมีประสิทธิภาพ และเกิ ด ประสิ ท ธิ ผ ล มี ผ ลงานดี เ ด่ น เป็ น ที่ ประจักษ์ 2. การเลื่อนขั้นเงินเดือนและบ�ำเหน็จ ความชอบผู ้ อ� ำ นวยการกลุ ่ ม ต้ อ งยึ ด หลั ก คุณธรรม โปร่งใส และผลงานเป็นหลัก อนาคตภาพด้านคุณภาพชีวิตที่ดีในหน่วย งาน มีข้อเสนอแนะดังนี้ 1. หน่ ว ยงานต้ น สั ง กั ด ในส่ ว นของ ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จั ด ระบบการพั ฒ นาผู ้ อ� ำ นวยการกลุ ่ ม ใน ส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาอย่างเป็นระบบ ชั ด เจนเป็ น รู ป ธรรม เพื่ อ เพิ่ ม ทั ก ษะความ สามารถของผู้อ�ำนวยการกลุ่มให้ปฏิบัติงานได้ อย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและมี ส มรรถนะตาม มาตรฐานของผู้อ�ำนวยการกลุ่ม
รัตน์มณี รัตนปกรณ์ และ ประเสริฐ อินทร์รักษ์
2. หน่วยงานต้นสังกัดในระดับเขตพืน้ ที่ การศึกษาควรมีการเสริมสร้างบรรยากาศทีด่ ใี น การท�ำงาน อนาคตภาพด้านความรู ้ ความสามารถ มีขอ้ เสนอแนะดังนี้ 1. หน่ ว ยงานต้ น สั ง กั ด ทั้ ง ในระดั บ ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และเขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษา ควรมี ก ารพั ฒ นา ศักยภาพผูอ้ ำ� นวยการกลุม่ ในส่วนของบุคลากร ทางการศึกษาอืน่ ตามมาตรา 38 ค (2) ให้เป็น ผู้น�ำทางวิชาการที่มีความสามารถ 2. หน่วยงานต้นสังกัดทั้งในส่วนของ ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาควรส่งเสริมและพัฒนา ให้ผอู้ ำ� นวยการกลุม่ ตามมาตรา 38 ค (2) ให้มี ความรู ้ ความสามารถด้ า นการบริ ห ารการ ศึ ก ษาทั้ ง ในหลั ก สู ต รระยะสั้ น และหลั ก สู ต ร ประกาศนียบัตรบัณฑิต (ป.บัณฑิต) ข้อเสนอแนะเพื่อการวิจัยครั้งต่อไป 1. ควรมีการศึกษาเกีย่ วกับอนาคตภาพ ของผู้อ�ำนวยการกลุ่มในสังกัดส�ำนักงานเขต พื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา และในสังกัดอื่น 2. ควรมีการสังเคราะห์งานวิจยั เกีย่ วกับ อนาคตภาพของผูอ้ ำ� นวยการกลุม่ ในส�ำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา เพื่อน�ำไปใช้ ในการวางแผนและพัฒนาความก้าวหน้าทาง
วิชาชีพของผู้อ�ำนวยการกลุ่มในส่วนบุคลากร ทางการศึ ก ษาอื่ นตามมาตรา 38 ค (2) ใน ส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาต่อ ไป 3. ควรมีการศึกษาเปรียบเทียบ อนาคต ภาพของผู้อ�ำนวยการกลุ่มในส�ำนักงานเขต พื้นที่การศึกษาประถมศึกษาและมัธยมศึกษา และในสังกัดอื่น 4. ควรมี ก ารศึ ก ษาวิ จั ย เกี่ ย วกั บ องค์ ประกอบอนาคตภาพของผู้อ�ำนวยการกลุ่มใน ส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาใน แต่ ล ะองค์ ป ระกอบและในภาพรวมทั้ ง เชิ ง ปริมาณและเชิงคุณภาพ เพื่อให้ได้ข้อค้นพบ ใหม่ ๆ ที่ จ ะน� ำ ไปใช้ ใ นการพั ฒ นาบุ ค ลากร ทางการศึกษาอืน่ ตามมาตรา 38 ค (2) ในภาพ รวมของส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐาน และกระทรวงศึกษาธิการ รายการอ้างอิง กระทรวงศึ ก ษาธิ ก าร. (2553). “ประกาศ กระทรวงศึกษาธิการ เรื่องการก�ำหนด และแก้ ไขเปลี่ ย นแปลงเขตพื้ น ที่ ก าร ศึ ก ษาเป็ น เขตพื้นที่การศึกษาประถม ศึกษา,” ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 127, ตอนพิเศษ 98 ง (18 สิงหาคม 2553): 28.
ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2018/2561 211
อนาคตภาพของผูอ้ �ำ นวยการกลุม่ ในสำ�นักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษา
กระทรวงศึ ก ษาธิ ก าร. (2542). “พระราช บัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่ 2 ) พ.ศ. 2545,” ราชกิจจานุเบกษา เล่มที ่ 116, ตอนที่ 74ก (19 สิงหาคม 2542): 19. กระทรวงศึกษาธิการ. กระทรวงศึกษาธิการ. (2542). พระราชบัญญัติ ระเบี ย บบริ ห ารราชการกระทรวง ศึ ก ษาธิ ก าร พ.ศ. 2546 และกฎ กระทรวงแบ่งส่วนราชการ. กรุงเทพฯ: โรงพิ ม พ์ อ งค์ ก ารรั บ ส่ ง สิ น ค้ า และ พัสดุภัณฑ์(ร.ส.พ.) กระทรวงศึกษาธิการ, (2547). พระราชบัญญัติ เงินเดือนและเงินประจ�ำต�ำแหน่ง (ฉบับ ที่ 4) พ.ศ. 2547, กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ คุรุสภาลาดพร้าว คริสมาส ศุภทนต์ และคนอื่นๆ. (2553). การ บริหารเส้นทางสายอาชีพ: กุญแจความ ก้าวหน้าฉบับองค์กร. นนทบุร:ี โรงพิมพ์ มติชนปากเกร็ด. จรวยพร ธรณินทร์. (2552). 12 ไม้เด็ด สูตร ส�ำเร็จข้าราชการ. กรุงเทพฯ: อินสปายร์, ดนัย เทียนพุฒ. 2540. การวางแผนอาชีพและ แผนสืบทอดต�ำแหน่ง. กรุงเทพฯ: ศูนย์ หนังสือแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
212 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
เพ็ญวดี ไมยวงษ์. ความก้าวหน้าในสายอาชีพ. เข้าถึงเมื่อ 12 ตุลาคม 2556. เข้าถึงได้ จาก http://elib.coj.go.th/ebook/ data/ojoc/v.1/doc/071.ppt. “พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551.” ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 125, ตอนที่ 22 ก (25 มกราคม 2551): 19. วิชัย โถสุวรรณจินดา. (2551). การบริหาร ทรั พ ยากรมนุ ษ ย์ . พิ ม พ์ ค รั้ ง ที่ 4. กรุงเทพฯ: โฟรเพซ. ส� ำ นั ก งาน ก.ค.ศ. กระทรวงศึ ก ษาธิ ก าร. (2547). พระราชบั ญ ญั ติ เ งิ น เดื อ น เงินวิทยฐานะและเงินประจ�ำต�ำแหน่ง ข้ า ราชการครู แ ละบุ ค ลากรทางการ ศึกษา พ.ศ.2547. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ คุรุสภาลาดพร้าว. ส� ำ นั ก งาน ก.ค.ศ. กระทรวงศึ ก ษาธิ ก าร. (2547). พระราชบั ญ ญั ติ ร ะเบี ย บ ข้ า ราชการครู แ ละบุ ค ลากรทางการ ศึกษา พ.ศ.2547. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ คุรุสภาลาดพร้าว. ส�ำนักงานคณะกรรมการข้าราชการครูและ บุ ค ลากรทางการศึ ก ษา. (2556). มาตรฐานต� ำ แหน่ ง และมาตรฐาน วิ ท ยฐานะของข้ า ราชการครู แ ละ บุคลากรทางการศึกษา. ม.ป.ท.
รัตน์มณี รัตนปกรณ์ และ ประเสริฐ อินทร์รักษ์
ส�ำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน ส�ำนักวิจัยและพัฒนาระบบงานบุคคล. “HR Success Stories in Public Sector แบบอย่างปฏิบัติการบริหาร คน.” เข้าถึงเมื่อ 12 ตุลาคม 2556. เข้าถึงได้จาก http://www.ocsc.go. th/ocsccms/upload//hrcham51-5 career path.pdf. ส� ำ นั ก งานเลขาธิ ก ารคุ รุ ส ภา กระทรวง ศึกษาธิการ. (2546). พระราชบัญญัติ สภาครู แ ละบุ ค ลากรทางการศึ ก ษา พ.ศ.2546. (2546). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ คุรุสภาลาดพร้าว. Anthony, William P., and Edward A. Nicholson. (1977). Manage ment of Human Resources: A Systems Approach to Person nel Management. Columbus Ohio: Grid. D.E. super and D.T. Hall. “Career Development: Exploration and Planning,” Annual Review of Psychology, 29 (February 1978) : 333 – 372. D.S. Beach. (1985). Personnel: The Management of People at work. 5th ed. New York: Macmillan.
Edgar H. Schein. “The Role of the Founder in Creating Organiza tional Dynamics.” Journal of Organizational Dynamics. no.2 (1983): 13. Gary Dessler and Tan Chwee Huat. (2550). การจัดการทรัพยากรมนุษย์. แปลโดยจุ ฑ ามาศ ทวี ไ พบู ล ย์ และ สุวรรธนา เทพจิ. กรุงเทพฯ: เพียร์สัน เอ็ดดูเคชั่น อินโดไชน่า. J. W. Walker. (1992). Human Resource Strategy. (1992). Maid enhead: McGraw – Hill. John L. Holland. (1985). Making vocational (1985). choices: a theory of vocational (1985). per sonalities and work environ ments. 2nd ed. New Jersey: Pren tice–Hall. Mathis, R.L., and J.H. Jackson. (1985). Personnel: Human resource man agement.4 th ed. St.Paul: Wes. Mondy, Wyne R., and Robert M. Noe. (1996). Human Resouece Management. 6th ed.New Jersey: Prentice-Hall.
ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2018/2561 213
อนาคตภาพของผูอ้ �ำ นวยการกลุม่ ในสำ�นักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษา
Robert V. Krejcie and Daryle W.Morgan. “Determining Sampling Size for Research Activities.” Journal for Education and Psychological Measurement 30, 30 (November 1970): 608.
214 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
วารสารวิชาการ
วิทยาลัยแสงธรรม
Saengtham College Journal
ใบสมัครสมาชิก วารสารวิชาการวิทยาลัยแสงธรรม สมาชิกในนาม............................................................................................................................ ที่อยู่ (สำ�หรับจัดส่งวารสารวิชาการ) เลขที่.................................ถนน......................................... แขวง/ตำ�บล......................................เขต/อำ�เภอ......................................................................... จังหวัด..............................................................รหัสไปรษณีย์.................................................... โทรศัพท์........................................................................โทรสาร............................................... มีความประสงค์สมัครเป็นสมาชิก วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม 1 ปี (2 ฉบับ) อัตราค่าสมาชิก 200 บาท วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม 2 ปี (4 ฉบับ) อัตราค่าสมาชิก 400 บาท วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม 3 ปี (6 ฉบับ) อัตราค่าสมาชิก 500 บาท ชำ�ระเงินโดยวิธี โอนเงินเข้าบัญชีออมทรัพย์ ธนาคารกรุงไทย สาขาสามพราน ชื่อบัญชี “วารสารวิชาการวิทยาลัยแสงธรรม” เลขที่บัญชี 734-0-27562-2 (พร้อมส่งเอกสารการโอนมาที่ โทรสาร 02-429-0819) ที่อยู่ที่ต้องการให้ออกใบเสร็จรับเงิน ตามที่อยู่ที่จัดส่ง ที่อยู่ใหม่ในนาม........................................................................................................... เลขที่.........................ถนน..............................................แขวง/ตำ�บล........................... เขต/อำ�เภอ.............................จังหวัด................................รหัสไปรษณีย์......................
.............................................(ลงนามผู้สมัคร) วันที่................................................
ส่งใบสมัครมาที่ : ศูนย์วิจัยค้นคว้าศาสนาและวัฒนธรรม วิทยาลัยแสงธรรม 20 หมู่ 6 ต.ท่าข้าม อ.สามพราน จ.นครปฐม 73110 หรือที่โทรสาร 02-429-0819
รูปแบบและเงื่อนไขการส่งต้นฉบับบทความ
www.saengtham.ac.th/journal
1. เป็ น บทความวิ ช าการ บทวิ จ ารณ์ ห นั ง สื อ และบทความปริ ทั ศ น์ ด้ า นปรั ช ญา ศาสนา เทววิ ท ยา และการศึกษาคาทอลิก ที่ยังไม่เคยเผยแพร่ในเอกสารใดๆ 2. การพิ ม พ์ ผ ลงานทางวิ ช าการควรจั ด พิ ม พ์ ด ้ ว ย Microsoft Word for Windows หรื อ ซอฟท์ แวร์ อื่ น ที่ ใ กล้ เ คี ย งกั น พิ ม พ์ บ นกระดาษขนาด A4 หน้ า เดี ย ว ประมาณ 28 บรรทั ด ต่ อ 1 หน้ า TH SarabunPSK ขนาดของตัวอักษรเท่ากับ 16 และใส่เลขหน้าตั้งแต่ต้นจนจบบทความ 3. ต้องมีชื่อเรื่องบทความทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 4. ให้ข้อมูลเกี่ยวกับผู้เขียนบทความทุกคน ได้แก่ ชื่อ-นามสกุลของผู้เขียน หน่วยงานที่สังกัด ต�ำแหน่ง ทางวิ ช าการ (ถ้ า มี ) E-mail หรื อ โทรศั พ ท์ หากเป็ น วิ ท ยานิ พ นธ์ ต้ อ งมี ชื่ อ และสั ง กั ด ของอาจารย์ ที่ปรึกษาด้วย ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 5. ทุ ก บทความจะต้ อ งมี บ ทคั ด ย่ อ ภาษาไทย และ Abstract จะต้ อ งพิ ม พ์ ค� ำ ส� ำ คั ญ ในบทคั ด ย่ อ ภาษาไทย และพิมพ์ Keywords ใน Abstract ของบทความด้วย 6. บทความวิจัยความยาวไม่เกิน 12 หน้า บทความวิชาการความยาวไม่เกิน 8 หน้า (รวมบรรณานุกรม แล้ว) 7. เชิงอรรถอ้างอิง (ถ้ามี) 8. บรรณานุกรมตามมาตรฐาน APA แยกผลงานภาษาไทยและภาษาอังกฤษ (เรียงตามล�ำดับตัวอักษร) 9. บทความวิ จัยควรมีหัว ข้อดังนี้ ชื่อเรื่องบทความวิ จั ย (ภาษาไทยและภาษาอั ง กฤษ) ชื่ อ ผู ้ เขี ย นพร้ อ ม ข้ อ มู ล ส่ ว นตั ว ของทุ ก คน (รายละเอี ย ดตามข้ อ 4) บทคั ด ย่ อ ภาษาไทย และ Abstract ความส� ำ คั ญ ของเนื้ อ หา วั ต ถุ ป ระสงค์ สมมติ ฐ านของการวิ จั ย ประโยชน์ ที่ ไ ด้ รั บ ขอบเขตการวิ จั ย นิ ย ามศั พ ท์ (ถ้ามี) วิธีการด�ำเนินการ ผลการวิจัย ข้อเสนอแนะ และบรรณานุกรรม/References 10. ค่ า ใช้ จ ่ า ยในการตรวจประเมิ น จ� ำ นวน 2,400 บาท โดยโอนเงิ น เข้ า บั ญ ชี อ อมทรั พ ย์ ธนาคาร กรุงไทย สาขาสามพราน ชื่อบัญชี “วารสารวิชาการวิทยาลัยแสงธรรม” เลขที่บัญชี 734-0-27562-2 (พร้ อ มส่ ง เอกสารการโอนมาที่ Fax. 02-429-0819) หรื อ ที่ E-mail: rcrc.saengtham2016@ gmail.com) ทั้งนี้ค่าใช้จ่ายดังกล่าวผู้ส่งบทความเป็นผู้รับผิดชอบ และจะไม่ได้รับคืนในทุกกรณี 11. กองบรรณาธิ ก ารน� ำ บทความที่ ท ่ า นส่ ง มาเสนอต่ อ ผู ้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ เ พื่ อ ประเมิ น คุ ณ ภาพความ เหมาะสมของบทความก่อนการตีพิมพ์ ในกรณีที่ผลการประเมินระบุให้ต้องปรับปรุงหรือแก้ไข ผู้เขียน จะต้ อ งด� ำ เนิน การให้แ ล้ว เสร็จภายในระยะเวลา 15 วั น นั บจากวั น ที่ ไ ด้ รั บผลการประเมิ น บทความ หากท่ า นต้ อ งการสอบถามกรุ ณ าติ ด ต่ อ กั บ กองบรรณาธิ ก ารวารสารวิ ช าการ โทร. 02-429-0100 โทรสาร 02-429-0819 หรือ E-mail: rcrc.saengtham2016@gmail.com
ขั้นตอนการจัดทำ�
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม Saengtham College Journal
เริ่มต้น ประกาศรับบทความต้นฉบับ รับบทความต้นฉบับ แก้ไข กองบก. ตรวจรูปแบบทั่วไป
ไม่ผ่าน
แจ้งผู้เขียน
ผ่าน ส่งผู้ทรงคุณวุฒิ ข
ก้ไ อ้ งแ
ผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาบทความ ผ่าน กองบรรณาธิการแจ้งยืนยัน การรับบทความ จัดพิมพ์เผยแพร่ จบ
ไม่ผ่าน
แจ้งผู้เขียน
ไม่ต
แก้ไ
ข
แจ้งผู้เขียน แก้ไข
จบ