วารสารวิชาการวิทยาลัยแสงธรรม ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน 2563

Page 1


วารสารวิชาการ

วิทยาลัยแสงธรรม

Saengtham College Journal

ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2020/2563

วัตถุประสงค์ 1. เป็นเวทีเผยแพร่ผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการของคณาจารย์ทั้งในและนอกวิทยาลัย  ตลอดจนนักวิชาการอิสระ 2. เชื่อมโยงโลกแห่งวิชาการ และเผยแพร่องค์ความรู้ทางปรัชญา ศาสนา เทววิทยา และการ ศึกษา ให้เกิดประโยชน์แก่ชุมชนและสังคมส่วนรวม 3. ส่งเสริมและกระตุ้นให้เกิดการวิจัย และพัฒนาองค์ความรู้ทางด้านปรัชญา ศาสนา เทววิทยา และการศึกษาเพิ่มมากขึ้น เจ้าของ บาทหลวง ผศ.ดร.ชาติชาย พงษ์ศิริ บาทหลวง เดชา อาภรณ์รัตน์ บรรณาธิการ บาทหลวง ผศ.ดร.อภิสิทธิ์  กฤษเจริญ กองบรรณาธิการ รศ.ดร.ไพศาล หวังพานิช รศ.ดร.สมเจตน์  ไวยาการณ์ ผศ.ประเสริฐ วิเศษกิจ ดร.อาทิพย์  สอนสุจิตรา ผศ.ดร.ลัดดาวรรณ์  ประสูตร์แสงจันทร์ อาจารย์  พีรพัฒน์  ถวิลรัตน์ อาจารย์  ศรัญญู  พงศ์ประเสริฐสิน นางสาว สุกานดา วงศ์เพ็ญ

ในนามอธิการบดีวิทยาลัยแสงธรรม ในนามเลขาธิการสภาการศึกษาคาทอลิกแห่ง ประเทศไทย ในนามผูอ้ ำ� นวยการศูนย์วจิ ยั ค้นคว้าศาสนาและ วัฒนธรรม วิทยาลัยแสงธรรม มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล วิทยาลัยนานาชาติเซนต์เทเรซา ฝ่ายการศึกษา อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ มูลนิธิเซนต์คาเบรียล ดร.ทิพอนงค์  กุลเกตุ อาจารย์  สุดหทัย นิยมธรรม นางสาว จิตรา กิจเจริญ

ก�ำหนดเผยแพร่ : ปีละ 2 ฉบับๆ ละ 100 บาท (ฉบับที่  1 ม.ค.-มิ.ย. ฉบับที่  2 ก.ค.-ธ.ค.) สถานที่ออกแบบและจัดพิมพ์ : ศูนย์วิจัยค้นคว้าศาสนาและวัฒนธรรม วิทยาลัยแสงธรรม ปก/รูปเล่ม : นางสาว  สุกานดา วงศ์เพ็ญ พิสูจน์อักษร : อาจารย์  สุดหทัย นิยมธรรม

วารสารวิชาการวิทยาลัยแสงธรรม

ได้ผ่านการประเมินคุณภาพวารสาร จากศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (TCI) รอบที่  4 (ปีพ.ศ.2563-2567)

โดยจัดอยู่ในกลุ่ม 2

เป็นวารสารที่ผ่านการรับรองคุณภาพของ TCI และอยู่ในฐานข้อมูล TCI


รายนามคณะที่ปรึกษากองบรรณาธิการ Editorial Advisory Board

ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก 1. บาทหลวง ศ.ดร.วชิระ น�้ำเพชร, S.J. 2. ศ.กีรติ  บุญเจือ 3. ศ.ดร.เดือน ค�ำดี 4. ศ.ดร.สมภาร พรมทา 5. รศ.ดร.สุมาลี  จันทร์ชะลอ 6. รศ.ดร.มณฑา เก่งการพานิช 7. ผศ.ดร.ชาญณรงค์  บุญหนุน 8. ผศ.ดร.วรยุทธ ศรีวรกุล

Sophia University, Japan ราชบัณฑิต คณะมนุษยศาสตร์  มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะครุ ศ าสตร์ อุ ต สาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี คณะสาธารณสุขศาสตร์  มหาวิทยาลัยมหิดล คณะอักษรศาสตร์  มหาวิทยาลัยศิลปากร คณะปรัชญาและศาสนา มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ

ผู้ทรงคุณวุฒิภายใน 1. มุขนายก ดร.ลือชัย ธาตุวิสัย 2. บาทหลวง ผศ.ดร.ชาติชาย พงษ์ศิริ 3. บาทหลวง ดร.ออกัสติน สุกโี ย ปิโตโย, S.J. 4. บาทหลวง ผศ.ดร.ฟรังซิส ไกส์, S.D.B. 5. บาทหลวง ดร.เชิดชัย เลิศจิตรเลขา, M.I. 6. บาทหลวง ผศ.ดร.ไพยง มนิราช 7. บาทหลวง ดร.สุรชัย ชุ่มศรีพันธ์ุ 8. ภคินี  ดร.ชวาลา เวชยันต์ 9. ผศ.ดร.ลัดดาวรรณ์  ประสูตร์แสงจันทร์

ลิขสิทธิ์ ต้นฉบับทีไ่ ด้รบั การตีพมิ พ์ในวารสารวิชาการวิทยาลัยแสงธรรม ถือเป็นกรรมสิทธิข์ องวิทยาลัยแสงธรรม ห้ามน�ำข้อความทัง้ หมดไปตีพมิ พ์ซำ�้  ยกเว้นได้รบั อนุญาตจากวิทยาลัยแสงธรรม ความรับผิดชอบ เนือ้ หาและข้อคิดเห็นใดๆ ทีต่ พี มิ พ์ในวารสารวิชาการวิทยาลัยแสงธรรม ถือเป็นความรับผิดชอบของ ผูเ้ ขียนเท่านัน้


รายนามผู้ทรงคุณวุฒิผู้ประเมินบทความ (Peer Review) ประจำ�ฉบับ

ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2020/2563 ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก 1. ศ.กีรติ  บุญเจือ 2. รศ.ดร.ประเสริฐ อินทรักษ์   3. รศ.ดร.ไชยยศ ไพวิทยศิริธรรม 4. รศ.ดร.ประกอบ คุณารักษ์ 5. รศ.ดร.มารุต พัฒผล 6. รศ.ดร.ประชุม รอดประเสริฐ 7. รศ.ดร.สมจิต จันทร์ฉาย 8. ผศ.ดร.ประทีป ฉัตรสุภางค์ 9. ผศ.ดร.วรยุทธ ศรีวรกุล 10. ผศ.ดร.นุชนรา รัตนศิระประภา 11. ผศ.ดร.ดนุลดา จามจุรี 12. ดร.สุภาวดี  นัมคณิสรณ์ 13. ดร.จิตรา ดุษฎีเมธา 14. ดร.หทัยทิพย์  สิขัณฑกสมิต 15. ดร.ทิพอนงค์  กุลเกตุ 16. ดร.จารุวรรณ สกุลคู 17. บาทหลวง ดร.อิทธิพล ศรีรัตนะ 18. บาทหลวง ดร.ฉลองรัฐ สังขรัตน์ 19. บาทหลวง ศวง วิจิตรวงศ์

ราชบัณฑิต คณะศึกษาศาสตร์  มหาวิทยาลัยศิลปากร คณะศึกษาศาสตร์  มหาวิทยาลัยศิลปากร คณะศึกษาศาสตร์  มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ คณะศึกษาศาสตร์  มหาวิทยาลัยบูรพา คณะครุศาสตร์  มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์  มหาวิทยาลัยมหิดล คณะปรัชญาและศาสนา มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ คณะศึกษาศาสตร์  มหาวิทยาลัยศิลปากร บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ คณะปรัชญาและศาสนา มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ คณะครุศาสตร์  มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ วิทยาลัยนาฏศิลปสุพรรณบุรี คณะศิลปศาสตร์  มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ผู้อ�ำนวยการโรงเรียนคาเบรียลอุปถัมภ์ ผู้อ�ำนวยการโรงเรียนแม่พระฟาติมา ผู้อ�ำนวยการโรงเรียนกุหลาบวิทยา

ผู้ทรงคุณวุฒิภายใน 1. บาทหลวง ผศ.ดร.ชาติชาย พงษ์ศิริ 2. บาทหลวง ผศ.วสันต์  พิรุฬห์วงศ์ 3. บาทหลวง ผศ.ดร.วุฒิชัย อ่องนาวา 4. บาทหลวง ดร.นันทพล สุขส�ำราญ 5. ภคินี  ดร.ชวาลา เวชยันต์ 6. อาจารย์  ศรัญญู  พงศ์ประเสริฐสิน

คณะมนุษยศาสตร์  วิทยาลัยแสงธรรม คณะศาสนศาสตร์  วิทยาลัยแสงธรรม คณะมนุษยศาสตร์  วิทยาลัยแสงธรรม คณะศาสนศาสตร์  วิทยาลัยแสงธรรม คณะศาสนศาสตร์  วิทยาลัยแสงธรรม คณะศาสนศาสตร์  วิทยาลัยแสงธรรม

วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม มีความยินดีรบั บทความวิจยั  บทความวิชาการ บทวิจารณ์หนังสือและบทความปริทศั น์ ด้ า นปรั ช ญา ศาสนา เทววิ ท ยา และการศึ ก ษาคาทอลิ ก  ที่ ยั ง ไม่ เ คยเผยแพร่ ใ นเอกสารใดๆ โดยส่ ง บทความมาที่ ผู้อ�ำนวยการศูนย์วิจัยค้นคว้าศาสนาและวัฒนธรรม วิทยาลัยแสงธรรม เลขที่  20 ม.6 ต.ท่าข้าม อ.สามพราน จ.นครปฐม 73110 กองบรรณาธิการวารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม จะส่งบทความให้แก่ผู้ทรงคุณวุฒิทางวิชาการเพื่อประเมินคุณภาพ บทความว่าเหมาะสมส�ำหรับการตีพมิ พ์หรือไม่  หากท่านสนใจกรุณาดูรายละเอียดรูปแบบการส่งต้นฉบับได้ท ี่ www.saengtham. ac.th/journal


บทบรรณาธิ ก าร Saengtham college Journal วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2020/2563

วารสารวิชาการวิทยาลัยแสงธรรมฉบับนี้  ขอน�ำเสนอบทความด้านปรัชญา ศาสนา เทววิทยา และการ ศึกษา ซึ่งประกอบไปด้วย  บทความวิชาการจ�ำนวน 2 เรื่อง ได้แก่  บทความเรื่อง คุณลักษณะของผู้น�ำสถานศึกษาที่อิงศาสนาใน สถานศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน โดย ศศิธร คล้อยแสงอาทิตย์และคณะ และเรือ่ ง วิวฒ ั นาการพระพุทธศาสนาในประเทศ เนปาล โดย พระปลัดวัชรพงษ์  วชิรปญฺโญ บทความวิจัยจากบุคคลภายนอกจ�ำนวน 7 เรื่องได้แก่  งานวิจัยเรื่อง การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมภาวะผู้น�ำการเปลี่ยนแปลง ส�ำหรับผู้น�ำนักเรียนกลุ่มโรงเรียนเฉลิมพระเกียรติ นวมินทราชูทศิ  โดย กนิษฐ์นนั ท์ พรหมปฏิมา เรือ่ ง การรับรูค้ วามสามารถของตนเอง ความต้องการภายใน ความ สนใจ และเป้าหมายการสอนทีส่ มั พันธ์กบั พฤติกรรมการสอนของครูโดย ปราณี ใจบุญ เรือ่ ง ความสัมพันธ์ระหว่าง ภาวะผู้น�ำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษากับการบริหารงานวิชาการสถานศึกษา สังกัดส�ำนักงานเขต พื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี  เขต 1 โดยอุมาพร นันทวิสุทธิ์  เรื่อง ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้น�ำทาง วิชาการของผู้บริหารกับประสิทธิผลของสถานศึกษาในสังกัดสังฆมณฑลราชบุรี  โดย อภิชญา พูลโภคผล เรื่อง  คุณภาพชีวิตการท�ำงานและวัฒนธรรมโรงเรียน ที่ส่งผลต่อความผูกพันต่อโรงเรียนของครูและบุคลากรทางการ ศึกษาโรงเรียนคาทอลิกสังกัดสังฆมณฑลจันทบุร ี โดย บาทหลวงพูนพงษ์  คูนา เรือ่ ง คุณลักษณะของนักศึกษาใน สถาบันอุดมศึกษาคาทอลิกในประเทศไทยตามอัตลักษณ์การศึกษาคาทอลิก โดย ดร.อัชฌา ชืน่ บุญและคณะเรือ่ ง ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรูเ้ ชิงผลิตภาพทีม่ ตี อ่ ความสามารถในการสร้างผลงานของนักเรียนในระดับการศึกษา ขัน้ พืน้ ฐาน โดย ผศ.ดร.สุวรรณา จุย้ ทอง บทความวิจยั จากภายในจ�ำนวน 3 เรือ่ งได้แก่การวิจยั ประเมินหลักสูตร ศาสนศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาเทววิทยา คณะศาสนศาสตร์  (หลักสูตรปรับปรุง 2556) วิทยาลัยแสงธรรม โดย บาทหลวง ดร.นันทพล สุขส�ำราญและคณะ เรื่อง การส่งเสริมความเชื่อแก่บุตรตามแนวทางของพระสมณลิขิต เตือนใจความปีตยิ นิ ดีแห่งความรัก(Amoris Laetitia) กรณีศกึ ษา: วัดราชินแี ห่งสันติภาพสังฆมณฑลนครสวรรค์ โดย สมพร ฤทัยหวนพนา เรื่อง บทบาทหน้าที่ของสภาอภิบาลที่มีต่อปัญหาจริยธรรมของวัด แขวงศรีราชา สังฆมณฑลจันทบุร ี โดย วรวุฒ ิ มาหา เรือ่ ง On Feuerbach’s Idea of Religious Projection as a Way of Approaching Religious Inculturation among the Karen of South East Asia. โดย Rev.Werasak Yongsripanithan  กองบรรณาธิการ วารสารวิชาการวิทยาลัยแสงธรรม ขอขอบพระคุณผูท้ รงคุณวุฒทิ กุ ท่านทีก่ รุณาให้ความ อนุเคราะห์ประเมินบทความต่างๆ ท�ำให้วารสารของเราเป็นเวทีเผยแพร่ผลงานทีไ่ ด้คณ ุ ภาพ และหวังว่าบทความ ต่างๆ ภายในเล่มนี้จะก่อเกิดประโยชน์ส�ำหรับผู้อ่านทุกท่าน บรรณาธิการ มิถุนายน 2563


วิวัฒนาการพระพุทธศาสนาในประเทศเนปาล Evolution of Buddhism in Nepal. พระปลัดวัชรพงษ์ วชิรปญฺโญ

* พุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา   มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตพะเยา

Phrapalad Watcharapong Doungmuang

* Doctor of Philosophy Program in Buddhist Studies,   Mahachulalongkornrajavidyalaya University Phayao campus

ข้อมูลบทความ

* รับบทความ  18 มิถุนายน 2561 * แจ้งแก้ไข    6 สิงหาคม 2561 * ตอบรับบทความ  10 สิงหาคม 2561


วิวฒ ั นาการพระพุทธศาสนาในประเทศเนปาล

บทคัดย่อ

บทความนี้มุ่งที่จะน�ำเสนอวิวัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศ เนปาล เนือ่ งด้วยประเทศเนปาลมีเหตุการณ์ทางประวัตศิ าสตร์ทางพุทธ ศาสนาที่น่าสนใจนับตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน โดยในยุคแรกเริ่มการเข้า มาของพุทธศาสนาในประเทศเนปาล จากการสังคายนาครั้งที่  3 ส่งผล ให้นิกายมหายานได้แพร่เข้ามายังเนปาล พุทธศาสนาเจริญรุ่งเรืองเรื่อย มาจนถึงยุคลิจฉวี ในปีค.ศ.100 พุทธแบบเถรวาทและมหายานได้รบั การ อุปถัมภ์จากกษัตริย์เนปาลเป็นอย่างดีเรื่อยมาจนถึงกลางศตวรรษที่  13 เกิดการหลอมรวมวัฒนธรรมและเกิดเป็นการพัฒนาพุทธศาสนาแนวใหม่ กลายเป็นทีร่ วมตัวของลัทธิตนั ตรยานหรือวัชรยาน ขณะเดียวกันเมือ่ เข้า สู่ปลายศตวรรษที่  13 เกิดเหตุการณ์การปฏิวัติสังคมเนปาลขึ้น ถึงช่วง ปี  ค.ศ.1846 พุทธศาสนาในเนปาลยังคงได้รับผลกระทบอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้พุทธศาสนาในช่วงเวลานั้นโดนจ�ำกัดบทบาท และพระสงฆ์ เนปาลจ�ำนวนมากต้องลี้ภัยอยู่ต่างประเทศ ต่อมาเมื่อกลุ่มเผด็จการ รานาได้หมดอ�ำนาจลง ในปี  ค.ศ.1951 เป็นต้นมา เนปาลได้น�ำระบบ กษัตริยก์ ลับมาใช้อกี ครัง้  ส่งผลให้ประชาชนได้รบั อิสรภาพในการนับถือ พุทธศาสนา ท�ำให้พุทธศาสนาได้รับการฟื้นฟูขึ้นใหม่  ทั้งพุทธศาสนา มหายานและเถรวาท ซึง่ ถือเป็นยุคทีพ่ ทุ ธศาสนาจะได้กลับมารุง่ เรืองอีก ครั้งในเนปาล ค�ำส�ำคัญ:

2

วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

วิวัฒนาการ พุทธศาสนา ประเทศเนปาล


วัชรพงษ์ วชิรปญฺโญ

Abstract

This article aims to present the evolution of Buddhism in Nepal. Nepal has a fascinating history of Buddhism from the past to the present. As a result of the 3rd Council of Buddhism in Nepal from the 3rd edition of the Buddhism, the Mahayana Buddhism came to Nepal. Buddhism was flourishing until the Latchavi era. In the early  100's,  Theravada  and  Mahayana  were  wellreceived by the Nepalese Kings until the middle of the 13th century. The new Buddhism resulted from the fusion of Tantraism or Vajrayana. At until the end of the 13th century, occurred the events of the Nepal social revolution, until the year 1846, bringing Buddhism in Nepal to decline. As a result, Buddhism was limited and many Nepalese priests had to seek refuge in foreign countries. Later, when the Rana Dynasty came to power in 1951, the people gained freedom to follow Buddhism, either Mahayana and Theravada, and Buddhism flourish again in Nepal. Keywords:

Evolution Buddhism Nepal

ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2020/2563

3


วิวฒ ั นาการพระพุทธศาสนาในประเทศเนปาล

บทน�ำ ประเทศเนปาลเป็ น ประเทศในแถบ เอเชี ย ใต้   มี ชื่ อ เป็ น ทางการว่ า   สหพั น ธ์ สาธารณรัฐประชาธิปไตยเนปาล (Federal Democratic Republic of Nepal) ตั้งอยู่ ในเทื อ กเขาหิ ม าลั ย มี พ รมแดนติ ด กั บ ทิ เ บต และอินเดีย มีเมืองหลวงชื่อ กาฐมาณฑุ  และ เป็ น เมื อ งที่ ใ หญ่ ที่ สุ ด ของประเทศ เนปาลมี ประชากรประมาณ 29.89 ล้ า นคน (พ.ศ. 2560) จัดเป็นอันดับที ่ 41 ของโลก อัตราการ ขยายตั ว ของประชากร 1.768% เนปาล ประกอบด้ ว ยชนหลายเชื้ อ ชาติ   ได้ แ ก่ มองโกลอยด์ จ ากทิ เ บต และอิ น โด-อารยั น จากทางตอนเหนือของอินเดีย เป็น อินโดเนปาลี  52% ไมกิลิ  11% โภชปุริ  8% ถารู 3.6% กลุ ่ ม ทิ เ บต-พม่ า  เช่ น  ตามั ง  3.5% เนวารี  3% มอการ์  1.4% กุรุง 1.2% และ ลิมูบู  0.2% ประชากรส่วนใหญ่ของเนปาล ส่วนใหญ่นับถือศาสนาฮินดู  80.6% รองลงมา คื อ   นั บ ถื อ พุ ท ธ  10.7%  และอิ ส ลาม  4.2% (Department of Trade Negotiations, 2017)  เนปาลถือเป็นประเทศที่มีวิวัฒนาการ ทางพุทธศาสนามายาวนาน โดยในอดีตเนปาล ถือเป็นส่วนหนึ่งของดินแดนชมพูทวีป จึงคุ้น เคยกับพระพุทธศาสนาตั้งแต่สมัยพุทธกาล ทั้งนี้เพราะกรุงกบิลพัสดุ์อันเป็นถานที่ประสูติ

4

วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

ของพระโพธิสัตว์  ในอดีตอยู่ในรัฐอุตตระของ อินเดีย แต่ปัจจุบันอยู่ในเขตเนปาล ขณะที่ อังกฤษปกครองอินเดีย ได้แบ่งกรุงกบิลพัสดุ์ ให้ เ ป็ น ส่ ว นของเนปาล ในสมั ย พุ ท ธกาล พระพุ ท ธองค์ เ คยเสด็ จ ไปโปรดพระญาติ ที่ กรุงกบิลพัสดุ์นอกจากนี้หลังพุทธปรินิพพาน แล้ ว พระอานนท์ ไ ด้ เ ผยแผ่ พ ระพุ ท ธศาสนา ในบริ เวณนี้   ชาวเนปาลส่ ว นหนึ่ ง จึ ง นั บ ถื อ พระพุทธศาสนามาตั้งแต่สมัยพุทธกาล ต่อมา ในสมัยพระเจ้าอโศกมหาราช พระองค์ทรง พระราชทานพระราชธิดา พระนามว่าจารุมตี แก่ ขุ น นางใหญ่ ช าวเนปาล พระเจ้ า อโศก มหาราชและเจ้ า หญิ ง จารุ ม ตี ท รงสร้ า งวั ด และเจดีย์หลายแห่งในเนปาล ซึ่งยังคงปรากฏ อยู่ที่กรุงกาฐมาณฑุในปัจจุบัน (Pomgsuwa, P., 2011) ดังนั้นพระพุทธศาสนาในยุคแรก จึงเป็นนิกายเถรวาท ต่อมาเกิดปัญหาทางการ เมืองในเนปาล ส่งผลให้พทุ ธศาสนาเสือ่ มสูญไป เนปาลกลายเป็นศูนย์กลางของมหายานนิกาย ตั น ตระ ซึ่ ง ใช้ ค าถาอาคมและพิ ธี ก รรมทาง ไสยศาสตร์  นอกจากนี้ยังมีพุทธปรัชญาส�ำนัก ใหญ่ๆ เกิดขึ้นอีก 4 นิกาย คือ สวาภาวิภะ ไอศวริกะ การมิกะ และยาตริกะ ซึ่งแต่ละ นิกายยังแยกย่อยออกไปอีก นิกายต่างๆ เหล่า นี้ แ สดงให้ เ ห็ น ถึ ง การผสมผสานเข้ า ด้ ว ยกั น ของความคิดทางปรัชญาหลายๆ อย่าง และ เมื่อเข้าสู่ยุคสมัยที่ชาวมุสลิมเข้ารุกรานแคว้น


วัชรพงษ์ วชิรปญฺโญ

พิหารและเบงกอลของอินเดีย พระภิกษุจาก อินเดียจ�ำนวนมากต้องหลบหนีภัยเข้าไปอาศัย ในเนปาล และได้น�ำคัมภีร์พระพุทธศาสนา เข้าไปด้วย ซึ่งมีการเก็บรักษาไว้เป็นอย่างดี จนถึงทุกวันนี ้ แต่เมือ่ มหาวิทยาลัยนาลันทาใน อินเดียถูกท�ำลาย ส่งผลให้พระพุทธศาสนาใน เนปาลพลอยเสือ่ มลงด้วย และความตกต�ำ่ ทาง พุทธศาสนาด�ำเนินมาอย่างต่อเนื่อง จนถึงช่วง ปี  ค.ศ.1951 (พุทธศักราชที่  2494) เนปาลได้ น�ำระบบกษัตริยม์ าใช้อกี ครัง้  กษัตริยต์ รีภวู นั ได้ ทรงให้อิสรเสรีภาพแก่ประชาชนในการนับถือ พุทธศาสนา ท�ำให้พุทธศาสนาได้รับการฟื้นฟู ขึ้นใหม่  ทั้งพุทธศาสนามหายานและเถรวาท รวมถึงมีความพยายามในการฟืน้ ฟูพทุ ธศาสนา เถรวาทเริ่มขึ้นใหม่อีกครั้ง  การฟื้นฟูพุทธศาสนาในเนปาลอย่าง จริงจังอีกครั้ง ถือเป็นนิมิตรหมายแห่งสร้าง สั ม พั น ธภาพที่ ดี กั บ ประเทศเพื่ อ นบ้ า น โดย เฉพาะประเทศไทย ถือเป็นประเทศทีม่ บี ทบาท อย่างสูงในการร่วมการฟื้นฟูพุทธศาสนาใน เนปาล อาทิเช่น การให้ทุนสนับสนุนแก่พระ ภิกษุสามเณรและแม่ชี  จากประเทศเนปาลให้ ศึกษาต่อที่ประเทศไทย การจัดส่งพระปฏิมา พระไตรปิฏก การส่งพระธรรมทูตไทยไปช่วย ท�ำการเผยแพร่พระพุทธศาสนา การจัดสร้าง วัดไทยลุมพินีที่ประเทศเนปาล เพื่อเผยแพร่ ภาพลั ก ษณ์ ด ้ า นพุ ท ธศาสนา การด� ำ เนิ น

โครงการพลิ ก ฟื ้ นคื นพระพุ ท ธศาสนาขึ้ นใน ประเทศเนปาล เป็นต้น การด�ำเนินการฟื้นฟู พุทธศาสนาในเนปาลดังกล่าวเบือ้ งต้น ถือได้วา่ เป็นความส�ำเร็จประการหนึ่งของการทูตเชิง วัฒนธรรมไทยในการเชิดชูพระพุทธศาสนาเป็น สะพานเชื่อมความสัมพันธ์ระหว่างประชาชน ไทยกับประชาชนเนปาลได้เป็นอย่างดี  อีกทั้ง ยังเป็นอีกหนึ่งกุศโลบายที่แยบยลในการสืบ อายุพระพุทธศาสนาในเนปาลทีก่ อ่ ให้เกิดความ ยั่งยืนและต่อเนื่องต่อไป  วิวฒ ั นาการพระพุทธศาสนาในประเทศเนปาล ยุคแรกเริ่มการเข้ามาของพุทธศาสนา ในประเทศเนปาล (การสังคายนาครัง้ ที ่ 3 ใน ปีพุทธศักราชที่  217) พระพุทธศาสนาได้ถือ ก�ำเนิดขึน้ ในโลกและพัฒนามายาวนานกว่าสอง พันห้าร้อยปี  และเคยเจริญรุ่งเรืองถึงขีดสุด ในประเทศอินเดียหรือดินแดนชมพูทวีปของ สมั ย อดี ต  ตลอดระยะเวลา 45 พรรษาที่ พระพุทธเจ้ายังทรงพระชนม์อยู่  หลังจากที่ พระพุ ท ธองค์ เ สด็ จ ดั บ ขั น ธ์ แ ล้ ว  ได้ มี ก าร สั ง คายนากล่ า วคื อ  การรวบรวมและช� ำ ระ สะสางพระธรรมวิ นั ย ขึ้ น หลายครั้ ง  การ สั ง คายนาครั้ ง ที่ ส� ำ คั ญ ที่ มี ผ ลต่ อ ความเจริ ญ รุ่งเรืองของพระพุทธศาสนามากที่สุดมีด้วยกัน 5 ครั้ ง  โดยจั ด ขึ้ น ที่ ป ระเทศอิ น เดี ย  3 ครั้ ง และที่ประเทศศรีลังกา 2 ครั้ง (Rita,1993)

ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2020/2563

5


วิวฒ ั นาการพระพุทธศาสนาในประเทศเนปาล

การสังคายนาที่ส่งผลให้พระพุทธศาสนาได้ แพร่หลายสู่ต่างประเทศเป็นครั้งแรกคือ การ สังคายนาครัง้ ที ่ 3 ซึง่ เกิดขึน้ ในปีพทุ ธศักราชที่ 217 คณะสงฆ์ ไ ด้ ท� ำ การสั ง คายนาครั้ ง ที่   3 ภายใต้พระบรมราชูปถัมภ์ของพระเจ้าอโศก มหาราช (Charles,1975) โดยมีคณะสงฆ์ซึ่ง ล้วนแต่เป็นพระอรหันต์เข้าร่วมจ�ำนวน 1,000 องค์  ประธานการท�ำสังคายนาคือ ท่านพระ โมคคัลลีบตุ รติสสเถระ จัดท�ำขึน้  ณ วัดอโศกา ราม เมืองปาฏลีบตุ ร (ปัจจุบนั คือเมืองปัฏณะ) ใช้เวลา 9 เดือนจึงแล้วเสร็จ (P.V. Bapat, 1956) สาเหตุที่ต้องสังคายนาก็เนื่องจากว่า ในสมัยนั้นพระพุทธศาสนาเจริญรุ่งเรืองมาก เพราะได้รับการถวายพระอุปถัมภ์จากพระเจ้า อโศกมหาราช ท�ำให้ลาภสักการะอุดมสมบูรณ์ ในขณะที่ศาสนาอื่นๆ กลับซบเซา ประชาชน เสื่อมศรัทธา ลาภสักการะร่อยหรอ เลี้ยงชีวิต ด้วยความยากล�ำบาก ท�ำให้นักบวชในศาสนา อื่นๆ เป็นจ�ำนวนมากหันมาปลอมปนบวชเป็น พระภิกษุชาวพุทธเพื่ออาศัยเลี้ยงชีพ โดยไม่มี ความรูเ้ รือ่ งหลักธรรมวินยั ของพระพุทธศาสนา เลย อาศัยรูปแบบการนุ่งห่มของพระภิกษุชาว พุทธแต่ยังมีวิถีชีวิตเหมือนศาสนาเดิมของตน เป็นเหตุให้เกิดความวุ่นวายสับสนในวงการ คณะสงฆ์เป็นอย่างมาก เกิดการทะเลาะวิวาท เรื่องพระธรรมวินัยระหว่างพระสงฆ์ที่แท้จริง

6

วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

กับพระสงฆ์ทปี่ ลอมบวช ส่งผลให้ชาวบ้านเกิด ความสั บสน สงสั ย  ติ ฉิ นนิ นทาเป็ นวงกว้ า ง คณะสงฆ์จึงต้องขอความร่วมมือจากทางการ เพือ่ ท�ำสังคายนาเพือ่ ช�ำระสะสางพระธรรมวินยั ให้ถูกต้อง ขจัดความมัวหมองของพระพุทธ ศาสนา อานิสงส์ของการท�ำสังคายนาครั้งที่ 3 นี ้ มีหลายประการ เป็นต้นว่า การลงโทษคน ปลอมบวช การเผยแผ่ความรู้ความเข้าใจที่ ถูกต้องเรื่องพระธรรมวินัยให้กับพุทธบริษัท และทีส่ ำ� คัญทีส่ ดุ ก็คอื  ได้มกี ารส่งพระสมณทูต จ�ำนวน 9 สายไปประกาศพระพุทธศาสนานอก เขตประเทศอินเดียเป็นครั้งแรก (Heinrich, 1990) ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นให้พระพุทธศาสนา ได้แพร่หลายเป็นที่รู้จักมากขึ้นในอินเดีย และ ได้ แ พร่ ห ลายกว้ า งไกลไปยั ง ประเทศต่ า งๆ ทัง้  2 นิกาย กล่าวคือ นิกายหินยานแพร่หลาย ไปยั ง เอเชี ย ใต้ แ ละเอเชี ย ตะวั น ออกเฉี ย งใต้ เช่น ประเทศศรีลังกา ประเทศพม่า ประเทศ ไทย ประเทศกัมพูชา และประเทศลาว ต่อมา ได้รับการขนานนามว่าพระพุทธศาสนาสาย ทักษิณ ส่วนนิกายมหายานได้แพร่หลายไปยัง เอเชียตอนเหนือและตะวันออก เช่น ประเทศ จีน ประเทศทิเบต ประเทศเนปาล ประเทศ เวียดนาม ประเทศญี่ปุ่น และประเทศเกาหลี เป็นต้น (Vaseerapunyo, Phramaha D., 2011)


วัชรพงษ์ วชิรปญฺโญ

ยุครุ่งเรืองของพุทธศาสนาในประเทศ เนปาล (ยุคลิจฉวี ในปี ค.ศ.100 จนถึงกลาง ศตวรรษที่  13) ต่อมาในยุคลิจฉวี  ค.ศ.100 (พุทธศักราชที่  643) เป็นยุคที่ลัทธิมหายาน เจริ ญ รุ ่ ง เรื อ งและแยกออกจากพุ ท ธศาสนา ดั้ ง เดิ ม คื อ เถรวาท ในยุ ค นี้ ค วามคิ ด ตามคติ มหายานได้แพร่หลายไปยังชนพื้นเมืองอย่าง มาก แต่อย่างไรก็ดี  ทั้งพุทธแบบเถรวาทและ มหายานก็ได้รบั การอุปถัมภ์จากกษัตริยเ์ นปาล หลักฐานส�ำคัญชิ้นหนึ่งที่แสดงให้เห็นในเรื่องนี้ ได้แก่ บันทึกของหลวงจีนหยวนฉาง กล่าวไว้วา่ (W.P. Wirayuththo, P., 2005) “พุทธศาสนิกชนกับชนที่นับถือศาสนา และลัทธิอื่น มีความกลมกลืนสามัคคี กันวัดวาอารามของชาวพุทธอยู่เคียง ข้างศาสนาสถานอืน่ ๆ ด้วยความราบรืน่ มีพระภิกษุฝ่ายหินยานและมหายานอยู่ ประมาณสองพั น รู ป  พระราชาคื อ กษัตริยล์ จิ ฉวี จากหลักฐานดังกล่าวเห็น ได้ ว ่ า พระพุ ท ธศาสนาได้ ตั้ ง มั่ น อยู ่ ใ น เนปาลแล้ว และยังมีพุทธศาสนาฝ่าย มหายาน มั น ตรยาน และนิ ก ายคุ ย หยาน (นิกายลับ) พุทธศาสนาแนวใหม่ จึ ง ได้ อุบัติขึ้นภายใต้ชื่อว่ามันตรยาน หรือตันตรยาน ค�ำสอนของพระพุทธ ศาสนาแนวนี้ เ กิ ด จากการปฏิ รู ป พระ

สั ท ธรรมขั้ น ใหม่ แ ละมี ก ารน� ำ ศาสนา อืน่ ๆ มาผสมเกิดเป็นลัทธิทถี่ อื คติเคารพ พระสวยัมภูวนาถพุทธเจ้า นับถือพระ อธิพุทธเจ้าหรือพระพุทธเจ้าที่ทรงเกิด ขึน้ เองในโลก และเป็นองค์ปฐมของโลก มี ส ภาวะเป็ น อมตะและไม่ มี เ บื้ อ งต้ น เบื้องปลาย” ในช่วงของความรุ่งเรืองของมหายาน ในเนปาลในยุคนี้  ศาสนาพุทธมหายานแบบ เนปาลได้แพร่หลายไปยังทิเบต โดยการส่งเจ้า หญิงเนปาลไปอภิเษกกับกษัตริย์ทิเบตท�ำให้ ศาสนาพุทธได้แพร่หลายเข้าไปในทิเบตด้วย พุ ท ธศาสนาที่ เจริ ญ รุ ่ ง เรื อ งในเนปาล ยุคลิจฉวีในเขตหุบเขากาฐมาณฑุน้ัน ชนเผ่าที่ อาศัยในพื้นที่คือ เนวาร์  (Newar) เป็นชนเผ่า ดัง้ เดิมทีส่ บื สายเลือดกันมาอย่างต่อเนือ่ งตัง้ แต่ สมัยพุทธกาล เนปาลเป็นประเทศที่เปิดกว้าง ทางศาสนาและมีศาสนาต่างๆได้เข้ามาสถิตอยู่ ในประเทศนีม้ าช้านานแล้ว ตัง้ แต่ฮนิ ดูและลัทธิ อื่นๆ พุทธศาสนาก็เข้ามาเป็นเวลานานแล้ว แต่เนื่องจากความหลากหลายทางชาติพันธ์ุ วรรณา แต่ละเผ่าก็ยอมรับนับถือในศาสนาแตก ต่างกัน เผ่าเนวาร์บางสกุลได้ยอมรับนับถือคติ พุ ท ธศาสนาแบบเถรวาทเข้ า มาและก่ อ นที่ จะเปลี่ยนมานับถือแบบมหายานและวัชรยาน ในเวลาต่อมา สิ่งที่เป็นเอกลักษณ์ส�ำคัญของ พระพุ ท ธศาสนาแบบเนวาร์ คื อ  การเน้ น

ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2020/2563

7


วิวฒ ั นาการพระพุทธศาสนาในประเทศเนปาล

พิธีกรรม และการไม่มีพระสงฆ์หรือนักบวช จ� ำ พรรษาหรื อ ปฏิ บั ติ กิ จ สงฆ์ ใ นวั ด ของชาว เนวาร์  ระบบสงฆ์ได้ขาดหายไปตั้งแต่ศตวรรษ ที่  13 (พุทธศักราชที่  1843) ท�ำให้สิ่งที่หลง เหลือในพุทธศาสนาแบบเนวาร์คือพิธีกรรม เท่านั้น แต่ไม่ได้มีการส่งผ่านค�ำสอนหรือผ่าน นั ก บวช แต่ เ ผ่ า เนวาร์ อ ้ า งว่ า เผ่ า ของตนมี นักบวชซึ่งก็คือการที่ปุถุชนส่งลูกหลานเข้าไป ดูแลวัดและถือศีลนุง่ ขาวห่มขาวเป็นระยะเวลา สองเดือนในวัด โดยไม่สามารถกลับบ้านได้ใน ช่วงนั้น ประเพณีนี้สืบทอดมาจนปัจจุบัน ชาว เนวาร์ที่เป็นสายสกุลศากยะจะส่งลูกหลานไป ดูแลวัดพุทธที่ตนเองนับถือและคนในเผ่าจะ ต้ อ งส่ ง ลู ก หลานผลั ด เวี ย นกั น มาดู แ ลตลอด พุทธแบบเนวาร์ได้มจี ดุ เริม่ ต้นมาจากพระคัมภีร์ หนึ่ ง ที่ ชื่ อ ว่ า สวยั ม ภู ปุ ร าณ ซึ่ ง กล่ า วถึ ง การ ก�ำเนิดของพระพุทธเจ้าและพระอธิพุทธเจ้า ชาวเนวาร์นั้นเป็นชนเผ่าที่ชอบท�ำการค้าขาย มาแต่อดีต เมื่อพุทธศาสนาเข้ามาเผ่านี้ก็ได้ ท� ำ นุ บ� ำ รุ ง พระศาสนาตามความเชื่อของตน ได้มีการสร้างวัดและพระเจดีย์ต่างๆ ขึ้นมาก มาย รวมถึงเกิดงานศิลปะที่เป็นเอกลักษณ์ เฉพาะของชาวเนวาร์   รวมถึ ง ในช่ ว งคริ ส ต์ ศตวรรษที่  13 (พุทธศักราชที่  1843) นี้พบว่า พุทธศาสนาในอินเดียเริ่มเสื่อมลงอย่างมาก ประกอบกั บ การเข้ า มาของศาสนาอิ ส ลาม พุทธศาสนิกชนพระภิกษุสงฆ์และฆราวาสจาก

8

วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

อินเดียได้ลี้ภัยเข้ามายังเนปาล ซึ่งมีนักปราชญ์ ราชบัณฑิตที่ส�ำคัญจากมหาวิทยาลัยส�ำคัญ ของอินเดียได้แก่  นาลันทาเดินทางเข้ามาใน เนปาลเป็นจ�ำนวนมากและได้น�ำพระคัมภีร์ พระสูตรที่ส�ำคัญต่างๆ ตามความเชื่อและคติ มาด้วย ท�ำให้เนปาลเป็นสถานที่ที่มีพระคัมภีร์ ทางพุทธศาสนาเยอะมากในขณะนั้น และชาว เนวาร์เองก็มีความเชื่อว่าการได้คัดลอกพระ คัมภีร์ทางพุทธศาสนาเป็นบุญมาก ดังนั้นจึง เกิดมีธรรมเนียมการช�ำระคัมภีร์และคัดลอกไว้ ตามวัดวาอารามต่างๆ (W.P. Wirayuththo, P., 2005) เมื่ อ พุ ท ธศาสนาในเนปาลเข้ า สู ่ ก ลาง ศตวรรษที่  13 (พุทธศักราชที่  1843) เนปาล ได้มีอิทธิพลของความเชื่อและวัตรปฏิบัติแบบ ลัทธิตนั ตรยานหรือวัชรยานมากขึน้  ซึง่ ในขณะ นั้นลัทธินี้ได้เจริญอย่างมากในอินเดียประกอบ กับอิทธิพลของฮินดูในเนปาล ท�ำให้เกิดการ หลอมรวมวัฒนธรรมและเกิดเป็นการพัฒนา พุทธศาสนาแนวใหม่กลายเป็นที่รวมของลัทธิ ตันตรยานหรือวัชรยาน นอกจากพุทธศาสนา เนปาลยังเป็นศูนย์กลางของลัทธิไวศไณวะหรือ ลัทธิทนี่ บั ถือพระวิษณุเป็นใหญ่ หลักฐานส�ำคัญ ประการหนึง่  ได้แก่ การแกะสลักรูปปัน้ นารายณ์ บรรทุมสินธุท์  ี่ Buddhanilkantha เป็นรูปเทพ ฮินดูแต่บนพระเศียรมีพระพุทธเจ้าอยู่  ซึ่งเป็น เอกลักษณ์การกลมกลืนทางศาสนาที่หาดูได้


วัชรพงษ์ วชิรปญฺโญ

ยากและมีเฉพาะในเนปาลเท่านัน้  นอกจากนัน้ ยังมีลัทธิที่นับถือพระศิวะเป็นใหญ่หรือไศวะ หลักฐานประการหนึ่งคือ การที่เนปาลมีวัด ส�ำคัญที่สุดของลัทธิไศวะตั้งอยู่ได้แก่วัดปศุปติ นารถ ซึ่งนักบุญจากอินเดียหรือของฮินดูจะ ต้องมาท�ำการสักการะ แม้จะมีความหลาก หลายทางศาสนาแต่ที่ผ่านมาก็ไม่ได้มีปรากฏ ว่ามีความรุนแรงทางศาสนาหรือความขัดแย้ง ระหว่างกัน โดยเฉพาะในระดับประชาชน วัชร ยานหรือตันตรยานได้เติบโตอย่างต่อเนื่องใน เนปาล และเนปาลได้กลายเป็นสถานศึกษาที่ ส�ำคัญของลัทธิน ี้ เกิดนักปราชญ์เนปาลจ�ำนวน มากที่มีความสามารถในการตีความตามคติ วัชรยาน และเนปาลในช่วงนีไ้ ด้กลายเป็นแหล่ง ศึกษาพระพุทธศาสนาจากทิเบต เพราะนัก ปราชญ์ชาวเนวาร์  มีความสามารถในการสอน เรื่ อ งต่ า งๆ อาทิ   พระสู ต ร ศาสตรา ตรรก ศาสตร์  ตันตระ และเป็นยุคที่มีการแปลพระ คัมภีร์มากที่สุด มีการแปลจากภาษาสันสกฤต เป็นภาษาทิเบตและเนวาร์ (W.P. Wirayuththo, P., 2005) ยุคเสื่อมของพุทธศาสนาในประเทศ เนปาล (การปฏิวัติสังคมเนปาล ในปี  ค.ศ. 1382) ภายหลั ง จากคริ ส ต์ ศ ตวรรษที่   13 (พุทธศักราชที่  1843) เกิดเหตุการณ์พลิกผัน ทางประวั ติ ศ าสตร์ พุ ท ธศาสนาในเนปาล

กษั ต ริ ย ์ ช ยสถิ ติ มั ล ละ แห่ ง ราชวงศ์ มั ล ละ ซึ่ ง ได้ อ� ำ นาจทางการเมื อ งในปี   ค.ศ.1382 (พุทธศักราชที่  1925) ได้ท�ำการปฏิวัติสังคม เนปาล โดยบังคับให้มีการแบ่งชั้นวรรณะใน สังคม บังคับให้พระภิกษุในพุทธศาสนาต้องสึก ออกไปเป็นจ�ำนวนมาก และได้ร่างกฎระเบียบ ที่จะบังคับประชาชนโดยลอกแบบพระธรรม ศาสตร์ของฮินดูและให้ชื่อว่า “เนปาลราษฎร ศาสตร์” การกีดกันทางศาสนาและบังคับใช้ กฎเกณฑ์ที่เข้มงวดท�ำให้พุทธศาสนาในช่วง เวลานั้นโดนจ�ำกัดบทบาทและนับได้ว่าเป็น ยุคมืดของพุทธศาสนากอปรกับวัชรยานหรือ ตันตรยานของเนปาลเองก็มีจุดอ่อน คือการ ขาดแบบแผนประเพณีสืบทอด ส่วนใหญ่คน จะยึดติดที่พิธีกรรมมากกว่าเนื้อหาสาระของ พระธรรม ท�ำให้ขาดผู้รู้ที่จะสามารถอธิบาย ความในพุทธปรัชญาได้อย่างลึกซึ้ง นอกจาก นั้ น ระบบสั ง ฆในเนปาลเองอิ ง อยู ่ กั บ ระบบ วรรณะและชุมชน มีการแบ่งแยกการปฏิบัติ ต่ อ คนบางกลุ ่ ม ได้ แ ก่   พวกตระกู ล ศากยะ และได้มีการวางระบบรหัสลับขึ้นท�ำให้พุทธ แบบชาวเนวาร์ต้องประสบปัญหาเป็นอย่าง มาก จวบจนถึงช่วงปี  ค.ศ.1846 (พุทธศักราช ที่   2389) พุ ท ธศาสนาในเนปาลยั ง คงได้ รั บ ผลกระทบอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง นายกรั ฐ มนตรี จั ง บาหาดู ร ์   เผด็ จ การรานาได้ สั่ ง ท� ำ ลายวั ด วา อารามทางพุทธศาสนาเป็นจ�ำนวนมากและ

ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2020/2563

9


วิวฒ ั นาการพระพุทธศาสนาในประเทศเนปาล

ท�ำลายคัมภีร์ทางพุทธศาสนาด้วย รวมถึงใน ยุคต่อๆ มาที่ตระกูลรานายังปกครองประเทศ เนปาลศาสนาพุทธในเนปาลได้รับผลกระทบ อย่างมากในช่วงนี้เนื่องจากมีการกีดกันทาง ศาสนาและห้ามออกบวชรวมถึงท�ำกิจกรรม ใดๆ ที่ เกี่ ย วกับพุท ธศาสนา ส่งผลพระสงฆ์ เนปาลจ� ำ นวนมากต้ อ งลี้ ภั ย การเมื อ งไปอยู ่ ประเทศใกล้ เ คี ย ง และนั บ ได้ ว ่ า เป็ น ช่ ว งที่ พระพุทธศาสนาในเนปาลตกต�่ำมากที่สุดยุค หนึ่ง (Hongsa, S., 2007) ยุคฟืน้ ฟูพทุ ธศาสนาในประเทศเนปาล (ตั้งแต่เผด็จการรานาได้หมดอ�ำนาจลง ในปี  ค.ศ.1951 เป็นต้นมา) ความตกต�่ำทางพุทธ ศาสนาด�ำเนินมาอย่างต่อเนื่อง จนถึงช่วงปี ค.ศ.1951 (พุ ท ธศั ก ราชที่   2494) เมื่ อ ยุ ค เผด็จการรานาได้หมดอ�ำนาจลง และระบบ กษัตริย์ของเนปาลได้น�ำมาใช้อีกครั้ง กษัตริย์ ตรีภูวันได้ทรงให้อิสรเสรีภาพแก่ประชาชนใน การนับถือพุทธศาสนา ท�ำให้พทุ ธศาสนาได้รบั การฟื้นฟูขึ้นใหม่  ทั้งพุทธศาสนามหายานและ เถรวาท รวมถึงมีความพยายามในการฟื้นฟู พุทธศาสนาเถรวาทเริม่ ขึน้ ใหม่อกี ครัง้  เมือ่ ท่าน อมฤตานันทะมหานายกมหาเถระได้น�ำคณะ สมณทูตจากประเทศศรีลังกาเข้าพบรัฐบาล เนปาลเพือ่ ขออนุญาตให้พระภิกษุสามเณรชาว เนปาลที่ถูกเนรเทศได้กลับมาตุภูมิ  รวมถึงชาว

10

วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

พุทธเนปาลได้รวมพลังสามัคคีจัดตั้งสมาคม ชื่อว่า “ธรรโมทัยสภา” ภายใต้การสนับสนุน ของสมาคมมหาโพธ์ิของศรีลังกา ต่อมามีพระ สงฆ์จากศรีลังกานามว่า พระนารทมหาเถระ และพระอมฤตานันทมหาเถระ ได้รับพระบรม ราชานุ ญ าตจากกษั ต ริ ย ์ เ นปาลให้ เ ผยแผ่ พระพุ ท ธศาสนาในเนปาลได้   และยั ง ทรง ประกาศให้วันวิสาขบูชาเป็นวันหยุดราชการ ของชาวพุทธ (Bhikkhu, 1952) ต่อมาท่าน ปัญญานันทเถระสังฆนายก เชื้อสายศากยะได้ เดินทางเข้าประเทศไทยพร้อมกับกุลบุตรชาว เนปาลหลายคน หลังจากบรรพชาอุปสมบท แล้ว ได้พ�ำนักในประเทศไทย ศึกษาพระธรรม วิ นั ย ที่ วั ด สระเกศ วั ด บวรนิ เ วศวิ ห าร วั ด มหาธาตุ  และวัดปากน�ำ้  เป็นต้น เมือ่ พูดภาษา ไทยได้บ้างแล้วได้เข้าศึกษาต่อที่มหาวิทยาลัย สงฆ์ทงั้  2 แห่งในประเทศไทย แล้วกลับเนปาล พร้ อ มกั บ พั น ธกิ จ ของการเผยแผ่ พ ระพุ ท ธ ศาสนาในประเทศเนปาล ตลอดจนมีพระภิกษุ สามเณร และแม่ชีจากประเทศเนปาล ได้รับ ทุนจากรัฐบาลไทย ให้ศึกษาต่อที่ประเทศไทย ผ่านทางกรมการศาสนา และองค์การพุทธ ศาสนิ ก สั ม พั น ธ์ แ ห่ ง โลก ตั้ ง แต่   พ.ศ.2515 เป็นต้นมา ท�ำให้ศาสนาแบบเถรวาทได้รับการ ฟืน้ ฟูมาอย่างเป็นรูปธรรมมากยิง่ ขึน้ ในประเทศ เนปาล (Pomgsuwa, P., 2011)


วัชรพงษ์ วชิรปญฺโญ

ประเทศไทยถือเป็นประเทศทีม่ บี ทบาท ส�ำคัญในการฟื้นฟูพุทธศาสนาแบบเถรวาทใน เนปาลอย่างมาก ทัง้ โดยการสนับสนุนทางตรง และทางอ้อม เพื่อด�ำเนินการการฟื้นฟูพุทธ ศาสนาทางตรง ประเทศไทยได้ส่งพระปฏิมา พระไตรปิ ฏ ก ส่ ง พระธรรมทู ต ไทยไปช่ ว ย ท�ำการเผยแพร่พระพุทธศาสนา จัดสร้างวัด ไทยลุมพินีที่ประเทศเนปาล เพื่อเผยแพร่ภาพ ลักษณ์ด้านพุทธศาสนาเป็นต้น วัดในประเทศ ไทยได้ ด�ำ เนิ นการอุปภัมภ์แก่พ ระภิก ษุและ สามเณรชาวเนปาลได้เข้าไปศึกษาพระปริยัติ ธรรมในประเทศไทย และยั ง มี ค นไทยเป็ น จ� ำ นวนมากที่ ไ ด้ แ สดงจิ ต ศรั ท ธาช่ ว ยสร้ า ง อุ โ บสถ ศาลาและบริ จ าคทุ น ทรั พ ย์ ใ นการ ด�ำเนินงานของวัดพุทธเถรวาทเนปาล นอกจาก นั้นสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาปรินายก ได้ทรงด�ำเนินการรับเป็น องค์อปุ ถัมภ์การก่อสร้างอุโบสถ และพระเจดีย์ แบบไทยในกรุงกาฐมาณฑุ  ที่วัดสิริกิติวิหาร เป็นต้น ส่วนทางอ้อม ได้แก่  การทีไ่ ทยได้สร้าง ความสัมพันธ์อันดีระดับประชาชนเนื่องจากมี ปฏิสัมพันธ์ระหว่างกันและได้แสดงมิตรไมตรี จิตในการเข้ามาช่วยเหลือและอุปัฏฐากพระ ศาสนาในเนปาลเป็นการส่งเสริมความสัมพันธ์ ของประเทศไปได้อีกทางหนึ่งโดยใช้พระพุทธ ศาสนาเป็นสะพานเชือ่ มความสัมพันธ์ นอกจาก นั้นไทยก็ได้มีบทบาทในฐานะให้ก�ำลังใจและ

เป็นที่พึงในยามจ�ำเป็นให้แก่พระภิกษุสามเณร เนปาล โดยเฉพาะในเรื่ อ งการบริ จ าคอั ฏ ฐ บริขารของพระสงฆ์ในเนปาลล้วนเอามาจาก ไทยทั้งสิ้น (GrawohPaat, T., 2007) โครงการพลิกฟื้นคืนพระพุทธศาสนา ขึน้ ในประเทศเนปาล วัดมุนวิ หิ าร เมืองภักตปูร์ กรุงกาฐมาณฑุ  ด�ำเนินการมาตั้งแต่  ปี  พ.ศ. 2514 ผู้ก่อตั้งโครงการนี้คือ สมเด็จพระญาณ สั ง วร สมเด็ จ พระสั ง ฆราช สกลมหาสั ง ฆ ปริณายก เสด็จไปดูการพระศาสนาและการ ศึกษาในประเทศเนปาลและอินเดีย ปากีสถาน ตะวันออก (บังคลาเทศ) ท�ำให้เกิดงานฟื้นฟู พระพุทธศาสนาในเนปาล ในขั้นแรกได้ให้ทุน ภิกษุ สามเณรเนปาลมาศึกษาพระพุทธศาสนา ในไทย ที่วัดบวรนิเวศฯ ต่อมาในปี  พ.ศ.2541 ผู้ก่อตั้งโครงการนี้คือ สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก ด�ำเนินการครั้งแรกนั้นได้ประทานพระพุทธรูป ขนาดหน้ า ตั ก กว้ า ง 164 เซนติ เ มตร เพื่ อ ประดิษฐาน ณ วัดมุนวิ หิ าร เมืองภักตปูร ์ กรุง กาฐมาณฑุ  ประเทศเนปาล ซึ่งขณะนั้นทางวัด มีสภาพทรุดโทรมมาก คณะกรรมการวัด และ ผู้มีจิตศรัทธาจึงได้ร่วมกันจัดสร้างอุโบสถขึ้น ใหม่  พร้อมทั้งบูรณปฏิสังขรณ์บริเวณวัด โดย ใช้เงินทุนจากการทอดกฐิน ทอดผ้าป่า และเงิน บริจาค ตัง้ แต่ พ.ศ.2545 เป็นต้นมา จนกระทัง่ อุโบสถแล้วเสร็จเมื่อ พ.ศ.2550 สามารถใช้

ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2020/2563

11


วิวฒ ั นาการพระพุทธศาสนาในประเทศเนปาล

เป็นที่ปฏิบัติธรรม และประกอบศาสนกิจของ พระภิกษุสามเณรและศรัทธาชาวบ้านได้เป็น อย่ า งดี   และปั จ จุ บั น ทางวั ด ยั ง คงสานต่ อ โครงการพลิ ก ฟื้นคืนพระพุท ธศาสนาขึ้นใน ประเทศเนปาล อันเป็นแผ่นดินถิ่นประสูติของ สมเด็ จ พระสั ม มาสั ม พุ ท ธเจ้ า  โดยการจั ด บรรพชาสามเณรเป็นจ�ำนวนมาก แล้วคัดเลือก ส่ ง มาศึ ก ษาพระปริยัติธรรมในประเทศไทย ตั้ ง แต่ ร ะดั บ นั ก ธรรมจนถึ ง ระดั บ อุ ด มศึ ก ษา ในมหาวิทยาสงฆ์  ทั้ง 2 แห่ง คือ มหาจุฬาลง กรณราชวิทยาลัย และมหามกุฏราชวิทยาลัย ซึ่งมีสาขาของมหาวิทยาลัยอยู่ทั้งในกรุงเทพ มหานครและต่างจังหวัด เมื่อส�ำเร็จการศึกษา แล้ว จะได้เดินทางกลับสู่ประเทศเนปาล เพื่อ ช่ ว ยฟื ้ น ฟู พ ระพุ ท ธศาสนาต่ อ ไป (Online, 2018) ในยุคปัจจุบัน มีพระชาวเนปาลส�ำเร็จ การศึกษาจากมหาวิทยาลัยสงฆ์ของไทยแล้ว กลับสู่เนปาลเพิ่มมากขึ้นตามล�ำดับ มีการแยก ประจ�ำอยู่เมืองส�ำคัญๆ หลายแห่ง จึงมีส่วน ช่วยให้การปกครองคณะสงฆ์เนปาลมีรูปแบบ ที่เป็นระบบมากขึ้น มีการก่อตั้งกรรมการเถร สมาคมคล้ายคณะสงฆ์ไทย โดยแบ่งต�ำแหน่ง ทางการปกครองออกเป็น สังฆนายก ซึ่งเป็น ต� ำ แหน่ ง สู ง สุ ด  มี ต� ำ แหน่ ง รองสั ง ฆนายก 2

12

วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

ต�ำแหน่ง และมีต�ำแหน่งเลขาธิการเถรสมาคม ส่ ว นกรรมการเถรสมาคมมี   11 รู ป  และ ปัจจุบันนี้มีวัดพุทธจากประเทศต่างๆ ตั้งราย ล้ อ มสวนลุ ม พิ นี   จ� ำ นวน 6 วั ด  คื อ  วั ด ไทย ลุ ม พี นี   จากประเทศไทย วั ด จี น  วั ด ญี่ ปุ ่ น วัดเกาหลี  วัดเวียดนาม และวัดทิเบต (Vaseerapunyo, Phramaha D., 2011) นอก จากนี้พระชาวเนปาลที่ส�ำเร็จการศึกษาจาก มหาวิทยาลัยสงฆ์ของไทยยังถือเป็นการสร้าง ความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างไทยกับเนปาล เนื่อง จากพระสงฆ์และสามเณรเนปาล เมื่อกลับมา เนปาลก็จะเป็นก�ำลังในการพัฒนาประเทศ ไม่ทางใดก็ทางหนึ่ง และจากความรู้สึกที่ดีที่มี ต่อประเทศไทยก็จะส่งผลในการช่วยสร้างภาพ ลักษณ์ที่ดีของประเทศไทยให้กับชาวเนปาล ด้วย รวมถึงปัจจุบนั พุทธศาสนาในประเทศไทย นับได้ว่ามีส่วนในการเป็นพี่เลี้ยงให้กับพุทธ ศาสนาในเนปาล เนื่องจากไทยมีระบบการ ศึกษาพระธรรมที่เป็นระบบและมีระบบสงฆ์ ที่เข้มแข็ง ซึ่งถือได้ว่าเป็นความส�ำเร็จประการ หนึ่งของการทูตเชิงวัฒนธรรมไทยในการเชิดชู พระพุทธศาสนาเป็นสะพานเชือ่ มความสัมพันธ์ ของประชาชนไทยและประชาชนเนปาลได้เป็น อย่างดี อีกทัง้ ยังเป็นอีกหนึง่ กุศโลบายทีแ่ ยบยล ในการสืบอายุพระพุทธศาสนาในเนปาลด้วย


วัชรพงษ์ วชิรปญฺโญ

บทสรุป ประเทศเนปาลเป็นประเทศที่มีวิวัฒนา การพุทธศาสนาที่น่าสนใจ และเกิดเหตุการณ์ พลิ ก ผั น บ่ อ ยครั้ ง กั บ พุ ท ธศาสนาในเนปาล นับตั้งแต่ยุคแรกที่พุทธศาสนาได้เข้ามารุ่งเรือง ในเนปาล เกิดจากการสังคายนาครัง้ ที ่ 3 ได้รบั การอุปถัมภ์จากกษัตริย์เนปาล โดยเฉพาะใน ยุคกษัตริย์ลิจฉวี  ศาสนาพุทธมหายานแบบ เนปาลได้แพร่หลายไปยังทิเบต โดยการส่งเจ้า หญิงเนปาลไปอภิเษกกับกษัตริย์ทิเบตท�ำให้ ศาสนาพุทธได้แพร่หลายเข้าไปในทิเบตด้วย รวมถึงในช่วงคริสต์ศตวรรษที ่ 13 พุทธศาสนา ในอิ น เดี ย เริ่ ม เสื่ อ มลงอย่ า งมาก ส่ ง ผลให้ พุทธศาสนิกชนพระภิกษุสงฆ์และฆราวาสจาก อินเดียได้ลี้ภัยเข้ามายังเนปาล ท�ำให้เนปาล เป็นสถานทีท่ มี่ พี ระคัมภีรท์ างพุทธศาสนาเยอะ มากในขณะนั้น และเป็นยุคที่มีการแปลพระ คัมภีร์มากที่สุด มีการแปลจากภาษาสันสกฤต เป็นภาษาทิเบตและเนวาร์  ขณะเดียวกันเมื่อ พุทธศาสนาได้เดินทางมาสู่ยุคตกต�่ำ ซึ่งเกิด จากการปฏิวตั สิ งั คมเนปาล โดยบังคับให้มกี าร แบ่งชั้นวรรณะในสังคม บังคับให้พระภิกษุใน พุทธศาสนาต้องสึกออกไปเป็นจ�ำนวนมาก รวม ถึงเกิดจากกลุ่มเผด็จการรานา ที่ได้สั่งท�ำลาย วัดวาอารามทางพุทธศาสนาเป็นจ�ำนวนมาก และท�ำลายคัมภีร์ทางพุทธศาสนาด้วย ห้าม ออกบวช หรือท�ำกิจกรรมใดๆ ที่เกี่ยวกับพุทธ

ศาสนา ส่งผลให้พระสงฆ์เนปาลจ�ำนวนมาก ต้องลีภ้ ยั การเมืองไปอยูป่ ระเทศใกล้เคียง และ นับได้ว่าเป็นช่วงที่พระพุทธศาสนาในเนปาล ตกต�่ำมากที่สุด ความตกต�่ำทางพุทธศาสนา ด�ำเนินมาอย่างต่อเนือ่ ง จนถึงช่วงปี ค.ศ.1951 เมื่อยุคเผด็จการรานาได้หมดอ�ำนาจลง และ ระบบกษัตริย์ของเนปาลได้ถูกน�ำมาใช้อีกครั้ง ส่งผลให้ประชาชนมีอิสรเสรีภาพในการนับถือ พุทธศาสนา ท�ำให้พุทธศาสนาได้รับการฟื้นฟู ขึ้นใหม่  ทั้งพุทธศาสนามหายานและเถรวาท พระภิ ก ษุ ส ามเณรชาวเนปาลที่ ถู ก เนรเทศ ได้กลับมาตุภูมิ  เป็นต้น เหตุการณ์ดังกล่าว ถือเป็นนิมิตรหมายที่ดีของพุทธศาสนาที่จะ กลับมารุ่งเรืองอีกครั้งในเนปาล และจากการ เปิดประเทศให้อสิ รภาพการนับถือพุทธศาสนา ประเทศไทยจึงเล็งเห็นโอกาสดังกล่าว โดย ให้การสนับสนุนการฟืน้ ฟูพทุ ธศาสนาในเนปาล เช่น การส่งพระปฏิมา พระไตรปิฏก การส่ง พระธรรมทู ต ไทยไปช่ ว ยท� ำ การเผยแพร่ พระพุทธศาสนา การจัดสร้างวัดไทยลุมพินี ที่ประเทศเนปาล เป็นต้น และนับจากนี้ไป การฟื ้ น ฟู พุ ท ธศาสนาในเนปาลยั ง คงเป็ น ประเด็นที่น่าจับตามองว่าจะกลับมารุ่งเรืองได้ ดังอดีตกาลหรือไม่  ปัจจัยภายในประเทศ โดย เฉพาะปัญหาการเมืองของเนปาล ที่ไม่ราบรื่น และยังคงอยู่บนเส้นทางแห่งการเปลี่ยนแปลง จะส่งผลต่อพุทธศาสนามากน้อยเพียงใด ขณะ

ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2020/2563

13


วิวฒ ั นาการพระพุทธศาสนาในประเทศเนปาล

ที่ปัจจัยภายนอกประเทศ การผลักดันสนับ สนุนจากประเทศไทย ในการด�ำเนินการฟื้นฟู พุทธศาสนาอย่างเป็นรูปธรรมและต่อเนื่อง ถือเป็นแนวทางการฟื้นฟูที่ดี  และน่าจะเป็น

ช่องทางที่จะน�ำพาให้ชาวพุทธเนปาลได้ย้อน กลับไปสู่ค�ำสอนของพุทธศาสนาที่บริสุทธิ์มาก ขึ้นกว่าที่เป็นอยู่

บรรณานุกรม Bhikkhu, Amritananda. (1982). A short History of Therawada Buddhism in Nepal.  Nepal: Arwat Press. Charles S. Predish. (1975). Buddhism: A Modern Perspective. United States: Penn State University Press. Department of Trade Negotiations. (2017). Kingdom of Nepal. Bangkok: Department of Trade Negotiations. GrawohPaat, Tanoo. (2007). World Religion. Bangkok: Logic Publisher. Heinrich Dumoulin. (1990). Buddhism in the Modern World. New York: Macmillan Publishing Company.  Hongsa, Suchat. (2007). History of Buddhism. Bangkok: Sayam Press. Pomgsuwa, Prayoon. (2011). Buddhism in the Present World. Bangkok: Phranakhon Rajabhat University. P.V. Bapat. (1956). 2500 Years of Buddhism. New Delhi: The Publication Division Ministry of Information and Broadcastion Government of India.  Rita M. Gross. (1993). Buddhism after Patriarchy: A Feminist History, Analysis,  and Reconstruction of Buddhism. New York: State University of New York Press. “Thai-Nepal… Connect with Buddhism”. [Online]. From: https://www.voicetv.co.th/ read/57331. (Retrieved: January 20, 2018). Vaseerapunyo, Phramaha Daosayaam. (2011). According to Buddhist Survey in  India. Bangkok: Thana Press. W.P. Wirayuththo, Praratrangsri. (2005). Pilgrim…Nepal. Bangkok: Institute Leutam.

14

วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม


การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมภาวะผู้นำ�การ

เปลี่ยนแปลงสำ�หรับผู้นำ�นักเรียน กลุ่มโรงเรียนเฉลิมพระเกียรตินวมินทราชูทิศ

The Development of Transformational

Leadership Training Program for The Student Leaders of Navamindarajudis Schools Group. กนิษฐ์นันท์ พรหมปฏิมา

Kanitnun Prompatima

ศ.ดร.บุญเรียง ขจรศิลป์

Professor Dr. Boonreang Kajornsin

ดร.ธนีนาฏ ณ สุนทร

Dr.Taneenart Na-soontorn

* ครูช�ำนาญการพิเศษ โรงเรียนนวมินทราชูทิศ   กรุงเทพมหานคร * อาจารย์ประจ�ำหลักสูตรปรัชญาดุษฏีบัณฑิต   สาขาวิชาการบริหารการศึกษาและภาวะผู้น�ำ   มหาวิทยาลัยเซนต์จอห์น * คณบดีคณะศึกษาศาสตร์   สาขาวิชาการบริหารการศึกษาและภาวะผู้น�ำ   มหาวิทยาลัยเซนต์จอห์น

ข้อมูลบทความ

* รับบทความ    2 ธันวาคม 2560 * แจ้งแก้ไข  23 มกราคม 2561 * ตอบรับบทความ  31 มกราคม 2561

* Senior Professional Level Teacher.   Navamindarajudis school. * Lecturer at Educational Administration and   Leadership – Faculty of Education,    Saint John’s University. * Dean of Faculty of Education at Educational   Administration and Leadership – Faculty of   Education, Saint John’s University.


การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมภาวะผูน้ �ำ การเปลีย่ นแปลงสำ�หรับผูน้ �ำ นักเรียน กลุม่ โรงเรียนเฉลิมพระเกียรตินวมินทราชูทศิ

บทคัดย่อ

16

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาหลักสูตรฝึกอบรม ภาวะผู ้ น� ำ การเปลี่ ย นแปลง ส� ำ หรั บ ผู ้ น� ำ นั ก เรี ย น กลุ ่ ม โรงเรี ย น เฉลิมพระเกียรตินวมินทราชูทศิ  2) การทดลองใช้หลักสูตรการฝึกอบรม ภาวะผู้น�ำการเปลี่ยนแปลง ส�ำหรับผู้น�ำนักเรียน 3) ประเมินหลักสูตร ฝึกอบรมภาวะผู้น�ำการเปลี่ยนแปลงส�ำหรับผู้น�ำนักเรียน วิธีการด�ำเนิน การวิจัย แบ่งออกเป็น 3 ขั้นตอนคือ ขั้นที่  1 การพัฒนาหลักสูตรฝึก อบรมภาวะผู้น�ำการเปลี่ยนแปลง ส�ำหรับผู้น�ำนักเรียน ขั้นที่  2 การ ทดลองใช้หลักสูตรฝึกอบรมภาวะผูน้ ำ� นักเรียน และขัน้ ที ่ 3 การประเมิน หลักสูตรฝึกอบรมภาวะผู้น�ำนักเรียน กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้น�ำนักเรียน โรงเรียนนวมินทราชูทิศ กรุงเทพมหานคร จ�ำนวน 20 คน เครื่องมือที่ ใช้   คื อ  แบบสั ม ภาษณ์ แ ละแบบสอบถาม สถิ ติ ที่ ใช้ ไ ด้ แ ก่   ค่ า เฉลี่ ย การวิเคราะห์เนื้อหาและค่าร้อยละ ผลการวิจัย พบว่า 1) หลักสูตร ฝึกอบรมภาวะผู้น�ำการเปลี่ยนแปลง ส�ำหรับผู้น�ำนักเรียนนี้  ประกอบ ด้วย 9 โมดูล ได้แก่  โมดูลที่  1 ผู้น�ำที่ข้าพเจ้าชื่นชอบ โมดูลที่  2 ความ รูเ้ รือ่ งภาวะผูน้ ำ� แบบเต็มรูป โมดูลที ่ 3 แนวทางการพัฒนาภาวะผูน้ ำ� การ เปลี่ยนแปลงองค์ประกอบด้านการมีอิทธิพลอย่างมีอุดมการณ์  โมดูลที่ 4 แนวทางการพัฒนาภาวะผู้น�ำการเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบด้านการ สร้ า งแรงบั น ดาลใจ โมดู ล ที่   5 แนวทางการพั ฒ นาภาวะผู ้ น� ำ การ เปลี่ ย นแปลง องค์ ป ระกอบด้ า นการกระตุ ้ น ทางปั ญ ญา โมดู ล ที่   6 แนวทางการพัฒนาภาวะผู้น�ำการเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบด้านการ ค�ำนึงถึงความเป็นปัจเจกบุคคล โมดูลที่  7 อัตลักษณ์ของลูกนวมินท์ โมดูลที ่ 8 การวางแผนพัฒนาภาวะผูน้ ำ� การเปลีย่ นแปลงของตนเอง และ โมดูลที่  9 การติดตามและประเมินผล 2) ผลจากการน�ำหลักสูตรไป ทดลองใช้  พบว่า ความรูเ้ รือ่ งภาวะผูน้ ำ� การเปลีย่ นแปลงกับความรูเ้ กีย่ ว กับค�ำขวัญของโรงเรียนหลังการฝึกอบรมสูงกว่าก่อนการฝึกอบรม คิดเป็นร้อยละ 64.20 คะแนนพฤติกรรมภาวะผู้น�ำการเปลี่ยนแปลง ของผู้เข้ารับการฝึกอบรม เพิ่มขึ้นจากก่อนการฝึกอบรม ร้อยละ 26.39

วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม


กนิษฐ์นันท์ พรหมปฏิมา, บุญเรียง ขจรศิลป์ และ ธนีนาฏ ณ สุนทร

และผลจากการประเมินความเหมาะสมของหลักสูตรฝึกอบรม พบว่า อยู่ ในระดับ มากถึง มากทีส่ ดุ  3) ผลการปรับปรุงหลักสูตรฝึกอบรม พบว่า มีการปรับปรุงเล็กน้อย ค�ำส�ำคัญ:

ภาวะผู้น�ำการเปลี่ยนแปลง หลักสูตรฝึกอบรม

ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2020/2563

17


การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมภาวะผูน้ �ำ การเปลีย่ นแปลงสำ�หรับผูน้ �ำ นักเรียน กลุม่ โรงเรียนเฉลิมพระเกียรตินวมินทราชูทศิ

Abstract

18

The objectives of this research were 1) to develop the student transformational leadership training program for student leaders of Navamindarajudis schools group 2) to test the student leadership training program and 3) to evaluate the student leadership training program. The procedures for this research were divided into 3 steps. 1) Developing the curriculum of student leadership training program. 2) Test the student leadership training program. 3) Evaluation the student leadership training program. The sample were 20 persons of student leaders of Navamindarajudus school. Content analysis, mean and percentage were employed to analyze data.The research found that 1) the transformational leadership training program for student leaders consisted of 9 modules: module 1, my favorite leader, module 2, full range leadership knowledge, module 3, guidelines for the development of transformational leadership in idealized influence, module 4, guidelines for the development of transformational leadership in inspirational motivation, module 5, guidelines for the development of transformational leadership in intellectual stimulation, module 6, guidelines for the development of transformational leadership in individualized consideration, module 7, Navamindarajudis student’s identity, module 8, planning for transformational leadership development of their own and module 9, monitoring and evaluation. 2) The results of the implementation of transformational leadership training program indicated that the knowledge

วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม


กนิษฐ์นันท์ พรหมปฏิมา, บุญเรียง ขจรศิลป์ และ ธนีนาฏ ณ สุนทร

of transformational leadership and school motto increased 64.20%. Behavioral scores of transformational leadership increased after training 26.39 %. The evaluation results of the training program appropriateness was at the high to highest level. 3) The student leadership training program was a little improved. Keyword:

Transformational Leadership Training Program.

ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2020/2563

19


การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมภาวะผูน้ �ำ การเปลีย่ นแปลงสำ�หรับผูน้ �ำ นักเรียน กลุม่ โรงเรียนเฉลิมพระเกียรตินวมินทราชูทศิ

บทน�ำ ปัจจุบันเป็นยุคโลกาภิวัตน์  ซึ่งเป็นยุค แห่งการเปลี่ยนแปลง มีการแข่งขันในโลกของ ศตวรรษที่  21โดยเฉพาะความก้าวหน้าทาง ด้านเทคโนโลยี  และการเปลี่ยนแปลงทางด้าน เศรษฐกิ จ  สั ง คม การเมื อ งวั ฒ นธรรม และ วิ ท ยาการใหม่ ๆ  โดยเฉพาะเข้ า สู ่ ยุ ค  AEC (ASEAN Economic Community) ภายใน ปี   2558 ได้ ส ร้ า งความตื่ น ตั ว ในการพั ฒ นา ศักยภาพของแต่ละประเทศ การให้ความส�ำคัญ ต่อการพัฒนาศักยภาพของคนเป็นอันดับแรก เพื่อให้มีทักษะการปรับเปลี่ยนตัวเองให้ทัน เหตุการณ์  กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศให้ มีการปฏิรูปการศึกษา ในทศวรรษที่  2 (พ.ศ. 2552 -2561) เพื่อให้ประสบผลส�ำเร็จตาม เป้าประสงค์  คือ คนไทยได้เรียนรู้ตลอดชีวิต อย่างมีคณ ุ ภาพ ให้มนี โยบายยกระดับโรงเรียน ชั้นน�ำที่มีความพร้อมสู่โรงเรียนดีมีมาตรฐาน สากลโลก (World-Class Standard School) เพื่อให้เป็นโรงเรียนที่มีระบบพัฒนาผู้เรียนให้มี สมรรถภาพเป็ น พลโลก ตระหนั ก ถึ ง ความ ส�ำคัญในการผลักดันให้โรงเรียนต่างๆ ได้รับ การยกระดั บ มาตรฐานโรงเรี ย นสู ่ ส ากลใน อนาคตอย่างมีคุณภาพ (กษมาพร ทองเอื้อ, 2555: 1) สถานศึกษาทุกแห่ง มีความใส่ใจ กับสภาวะการเปลี่ยนแปลงของสังคมยุคใหม่ มีความตื่นตัวเรื่องประชาธิปไตย สนับสนุนให้

20

วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

นักเรียนกล้าคิด กล้าแสดงออก และกล้าท�ำใน สิ่ ง ถู ก ต้ อ ง มี ก ารรณรงค์ ใ ห้ มี ก ารเลื อ กตั้ ง ประธานนักเรียนและคณะกรรมการนักเรียน ให้เกิดสภานักเรียน ที่เป็นกลุ่มผู้น�ำนักเรียน ที่มีบทบาทในการช่วยพัฒนาโรงเรียนร่วมกับ คณะครูอาจารย์กลุ่มโรงเรียนเฉลิมพระเกียรติ นวมินทราชูทิศทั้งห้าภูมิภาค เป็นสถานศึกษา ที่กรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการได้จัด ตั้ ง ขึ้ น เพื่ อ เฉลิ ม พระเกี ย รติ พ ระบาทสมเด็ จ พระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่  9 เนื่องในวโรกาสที่ พระองค์ท่านเจริญพระชนมายุครบห้ารอบ ในวันที่  5 ธันวาคม พ.ศ.2530 โดยจัดตั้งตาม ภู มิ ภ าคต่ า งๆ ของประเทศไทยห้ า แห่ ง มี ปรัชญา สัญลักษณ์  ค�ำขวัญและปณิธานของ โรงเรียนร่วมกัน  ค�ำขวัญ คือ “รักษ์ศักดิ์ศรี  มีคุณธรรม น�ำวิชาการ สืบสานงานพระราชด�ำริ” กลุ่ม โรงเรี ย นเฉลิ ม พระเกี ย รติ น วมิ น ทราชู ทิ ศ ทั้งห้าภูมิภาคมีการจัดประชุมฝึกอบรมผู้น�ำ นักเรียนทุกปี  แต่ละภูมิภาคหมุนเวียนกันเป็น เจ้าภาพ และถือเป็นประเพณีปฏิบัติสืบต่อกัน ไป กลุ่มโรงเรียนเฉลิมพระเกียรตินวมินทรา ชูทิศ ขณะนี้ไม่มีหลักสูตรฝึกอบรมภาวะผู้น�ำ นั ก เรี ย นตามทฤษฎี ภ าวะผู ้ น� ำ   โรงเรี ย น เฉลิมพระเกียรติทั้งห้าแห่งมีนโยบายฝึกอบรม ผู ้ น� ำ นั ก เรี ย นอยู ่ ใ นแผนงานของแต่ ล ะแห่ ง มุ่งให้ด้านความรู้ภาวะผู้น�ำทั่วๆ ไป และเน้น


กนิษฐ์นันท์ พรหมปฏิมา, บุญเรียง ขจรศิลป์ และ ธนีนาฏ ณ สุนทร

บทบาทหน้าที่ที่ต้องรับผิดชอบในการพัฒนา โรงเรียนตามนโยบายที่โรงเรียนและผู้บริหาร วางเอาไว้  ดังนั้น เพื่อการพัฒนาภาวะผู้น�ำใน ตัวผู้น�ำนักเรียน ให้เป็นผู้น�ำที่มีคุณค่าและมี ประสิทธิภาพยิง่ ขึน้  ผูว้ จิ ยั เห็นความส�ำคัญการ พัฒนาหลักสูตรภาวะผู้น�ำการเปลี่ยนแปลง โดยอาศัยแนวคิดทฤษฎีของ Bass & Avolio (1994: 11) มาเป็นส่วนส�ำคัญของหลักสูตรฝึก อบรมภาวะผู้น�ำ เพื่อให้ผู้น�ำนักเรียน สามารถ พัฒนาตนเอง พัฒนาเพือ่ นร่วมงาน การท�ำงาน เป็นทีมและสามารถสร้างกิจกรรมทีม่ ปี ระโยชน์ ต่อโรงเรียน ต่อชุมชน และเหมาะสมกับยุค โลกาภิวัตน์  สามารถเป็นผู้น�ำระดับชาติได้ต่อ ไป  วัตถุประสงค์ของการวิจัย  1. เพื่อพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมภาวะ ผูน้ ำ� การเปลีย่ นแปลงส�ำหรับผูน้ ำ� นักเรียน กลุม่ โรงเรียนเฉลิมพระเกียรตินวมินทราชูทิศ  2. เพื่ อ ทดลองใช้ ห ลั ก สู ต รฝึ ก อบรม ภาวะผูน้ ำ� การเปลีย่ นแปลงส�ำหรับผูน้ ำ� นักเรียน กลุ่มโรงเรียนเฉลิมพระเกียรตินวมินทราชูทิศ  3. เพือ่ ประเมินหลักสูตรฝึกอบรมภาวะ ผูน้ ำ� การเปลีย่ นแปลงส�ำหรับผูน้ ำ� นักเรียน กลุม่ โรงเรียนเฉลิมพระเกียรตินวมินทราชูทิศ

ประโยชน์ที่ได้รับจากการวิจัย  ได้หลักสูตรฝึกอบรมภาวะผู้น�ำนักเรียน ตามทฤษฎี ภ าวะผู ้ น� ำ การเปลี่ ย นแปลงที่ สามารถน�ำไปใช้ในการฝึกอบรมภาวะผูน้ ำ�  ของ กลุ่มโรงเรียนเฉลิมพระเกียรตินวมินทราชูทิศ ขอบเขตของการวิจัย  1) ด้านประชากร ประชากรทีใ่ ช้ในการวิจยั ครัง้ นี ้ เป็นผูน้ ำ� นั ก เรี ย นของกลุ ่ ม โรงเรี ย นเฉลิ ม พระเกี ย รติ นวมินทราชูทิศห้าภูมิภาค จ�ำนวน 100 คน กลุ่มตัวอย่างผู้น�ำนักเรียนโรงเรียนนวมินทรา ชูทิศ กรุงเทพมหานคร จ�ำนวน 20 คน 2) ด้านเนื้อหา  เนื้ อ หาหลั ก สู ต รฝึ ก อบรมภาวะผู ้ น� ำ นักเรียน ในการวิจัย ใช้กรอบแนวคิด ดังนี้  1) ทฤษฎีภาวะผู้น�ำการเปลี่ยนแปลง ของ Bass & Avolio (1994: 11) ซึ่ ง มี สี่ องค์ประกอบพฤติกรรม 4 I’s ได้แก่  (1) การมีอิทธิพลอย่างมีอุดมการณ์ (Idealized Influence) (2) การสร้างแรงบันดาลใจ (Inspirational Motivation) (3) การกระตุ้นทางปัญญา (Intellectual Stimulation)  (4) การค� ำ นึ ง ถึ ง ความเป็ น ปั จ เจก บุคคล (Individual Consideration)

ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2020/2563

21


การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมภาวะผูน้ �ำ การเปลีย่ นแปลงสำ�หรับผูน้ �ำ นักเรียน กลุม่ โรงเรียนเฉลิมพระเกียรตินวมินทราชูทศิ

2) ค�ำขวัญของกลุ่มโรงเรียน คือ “รักษ์ ศักดิ์ศรี  มีคุณธรรม น�ำวิชาการ สืบสานงาน พระราชด�ำริ”  3) การประเมินการทดลองใช้หลักสูตร ฝึกอบรมของ Stufflebeam (2003: 261265)  ระเบียบวิธีวิจัย  การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยและพัฒนา (Research and Development) เรื่องการ พัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมภาวะผู้น�ำการเปลี่ยน แปลงส�ำหรับผู้น�ำนักเรียนกลุ่มโรงเรียนเฉลิม พระเกียรตินวมินทราชูทิศ มีการด�ำเนินการ วิจัยสามขั้นตอน ดังนี้  ขั้นที่  1 การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรม ภาวะผู ้ น� ำ การเปลี่ ย นแปลงส� ำ หรั บ ผู ้ น� ำ นักเรียนมีขั้นตอนรายละเอียด ดังต่อไปนี ้ 1.1 วิเคราะห์  สังเคราะห์เอกสารงาน วิจัยที่เกี่ยวข้องกับการฝึกอบรมภาวะผู้น�ำกับ ทฤษฎีภาวะผู้น�ำการเปลี่ยนแปลงและค�ำขวัญ ของกลุ่มโรงเรียน  1.2 ประเมินความต้องการจ�ำเป็นใน การฝึกอบรมภาวะผู้น�ำนักเรียน ประกอบด้วย การวิเคราะห์สามประการ ได้แก่  1) วิเคราะห์ องค์กร 2) วิเคราะห์ภารกิจและคุณสมบัติของ ผูน้ ำ� นักเรียน และ 3) วิเคราะห์บคุ คล คือ ผูน้ ำ� นักเรียน

22

วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

เครือ่ งมือทีใ่ ช้ในการวิจยั ครัง้ นี ้ คือ แบบ สัมภาษณ์อย่างมีโครงสร้างใช้กับกลุ่มผู้บริหาร โรงเรียนทั้งห้าแห่ง มีลักษณะปลายเปิดและ ปลายปิดทีก่ ำ� หนดขอบเขตเนือ้ หาความคิดเห็น เกี่ยวกับความจ�ำเป็นต้องมีการฝึกอบรมภาวะ ผู้น�ำของผู้น�ำนักเรียน และใช้แบบสอบถาม ความต้องการการฝึกอบรมภาวะผู้น�ำจากผู้น�ำ นักเรียน  การเก็ บ รวบรวมข้ อ มู ล   ด้ า นแบบ สัมภาษณ์  โดยการสัมภาษณ์ด้วยตนเอง และ เก็บแบบสอบถามด้วยตนเอง การวิเคราะห์  โดยการวิเคราะห์เนื้อหา และใช้สถิติขั้นพื้นฐาน ค่าร้อยละ 1.3 น�ำข้อมูลจากข้อ 1.1และข้อที่ 1.2 มาร่างโครงสร้างหลักสูตรฝึกอบรมภาวะ ผู้น�ำซึ่งหลักสูตรฝึกอบรมที่สอดคล้องกับผู้น�ำ การเปลี่ ย นแปลงส� ำ หรั บ ผู ้ น� ำ นั ก เรี ย นและ นโยบายของโรงเรียน  1.4 ตรวจสอบความเหมาะสมของ หลักสูตรฝึกอบรม โดยการสนทนากลุ่มของ ผู้เชี่ยวชาญจ�ำนวนเก้าท่าน  1.5 ปรั บ หลั ก สู ต รฝึ ก อบรมภาวะ ผู ้ น� ำ นั ก เรี ย น ตามผลการสนทนากลุ ่ ม ของ ผู้เชี่ยวชาญ  การเก็บรวบรวมข้อมูล คือ ประเด็นการ วิพากษ์ในการสนทนากลุ่มโดยจดบันทึกและ เทปบันทึกเสียง  การวิเคราะห์ข้อมูล โดยการวิเคราะห์ เนื้อหา


กนิษฐ์นันท์ พรหมปฏิมา, บุญเรียง ขจรศิลป์ และ ธนีนาฏ ณ สุนทร

ขั้ น ที่   2 การทดลองใช้ ห ลั ก สู ต รฝึ ก อบรมภาวะผู้น�ำนักเรียน ขั้นตอนนี้เป็นการ น�ำหลักสูตรฝึกอบรมที่พัฒนาแล้วไปทดลอง ใช้กับกลุ่มตัวอย่าง มีรายละเอียดดังต่อไปนี ้ 2.1 ทดลองใช้หลักสูตรฝึกอบรมภาวะ ผู ้ น� ำ นั ก เรี ย น ประกอบด้ ว ยกิ จ กรรมสอง กิจกรรม ได้แก่  ก�ำหนดแผนการทดลอง เป็น แบบกลุ ่ ม เดี ย วทดสอบก่ อ นและหลั ง การใช้ หลักสูตรฝึกอบรม (The One Group Pretest – Posttest Design) ด�ำเนินการทดลอง ฝึกอบรมกับกลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้น�ำนักเรียน โรงเรี ย นนวมิ น ทราชู ทิ ศ กรุ ง เทพมหานคร จ�ำนวน 20 คน  เครื่องมือที่ใช้ในการฝึกอบรมภาวะ ผู้น�ำนักเรียนครั้งนี้ ได้แก่  1. แบบทดสอบความรูเ้ รือ่ งภาวะผูน้ ำ� การเปลีย่ นแปลงกับความรูเ้ กีย่ วกับค�ำขวัญของ โรงเรียน โดยมีวธิ กี ารสร้างและการหาคุณภาพ เครื่องมือ ดังนี้  (1.1) จัดท�ำแบบทดสอบความรู้เรื่อง ภาวะผู้น�ำการเปลี่ยนแปลงกับความรู้เกี่ยวกับ ค�ำขวัญของโรงเรียน มีลักษณะเป็นข้อสอบ ปรนัย ชนิดเลือกตอบ 4 ข้อเลือก จ�ำนวน 40 ข้ อ  น� ำ เสนออาจารย์ ที่ ป รึ ก ษาดุ ษ ฎี นิ พ นธ์ พิจารณาเพื่อปรับปรุงแก้ไข (1.2) น�ำแบบทดสอบทีป่ รับปรุงแก้ไข ตามข้อเสนอแนะ ไปให้ผเู้ ชีย่ วชาญ จ�ำนวนห้า ท่านได้ตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหา และน�ำ

มาค� ำ นวณดั ช นี ค วามสอดคล้ อ ง (ค่ า  IOC) ปรากฏว่ า มี ค ่ า  IOC เท่ า กั บ  0.80-1.00 ผู ้ เชี่ ย วชาญเสนอแนะให้ ป รั บ ข้ อ ค� ำ ถามเพื่ อ ความถูกต้องและเหมาะสม  (1.3)  น� ำ แบบทดสอบความรู ้ ที่ ปรับปรุงแล้วไปทดลองใช้กับผู้น�ำนักเรียนที่ ไม่ใช่กลุ่มตัวอย่างจ�ำนวน 40 คน เพื่อหาค่า จ� ำ แนกรายข้ อ และวิ เ คราะห์ ค วามยากง่ า ย พบว่ามีบางข้อมีค่าจ�ำแนกต�่ำต้องตัดทิ้งไป จึง เหลือ 38 ข้อ แล้วน�ำไปหาค่าความเชื่อมั่น โดยใช้สตู รสัมประสิทธิแ์ อลฟาของ Cronbach มีค่าเท่ากับ .864  2. แบบวัดภาวะผูน้ ำ� การเปลีย่ นแปลง (MLQ) ส�ำหรับผู้น�ำประเมินตนเอง จ�ำนวน 45 ข้อ (2.1) แบบวัดภาวะผู้น�ำการเปลี่ยน แปลง ผู้วิจัยได้แปลมาจาก Bass & Avolio (1995: 1-6) ฉบั บ  5x จาก Multifactor Leadership Questionnaire Instrument (Leader and Rater Form) and Scoring Guide โดยการขอซื้ อ ลิ ข สิ ท ธิ์ จ าก www. mindgarden.com ส� ำ หรั บ ผู ้ น� ำ ประเมิ น ตนเอง (MLQ) เป็นมาตรประมาณค่าห้าอันดับ และได้น�ำมาปรับแก้ไขข้อค�ำถามให้เหมาะสม กับผูน้ ำ� นักเรียน โดยขัน้ แรก อาจารย์ทปี่ รึกษา ดุษฎีนิพนธ์  ตรวจสอบความถูกต้องของข้อ ค�ำถาม

ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2020/2563

23


การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมภาวะผูน้ �ำ การเปลีย่ นแปลงสำ�หรับผูน้ �ำ นักเรียน กลุม่ โรงเรียนเฉลิมพระเกียรตินวมินทราชูทศิ

(2.2)  น� ำ แบบวั ด ภาวะผู ้ น� ำ การ เปลี่ ย นแปลงให้ ผู ้ เชี่ ย วชาญจ� ำ นวนห้ า ท่ า น ตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหา และค�ำนวณ ดัชนีความสอดคล้อง ผลปรากฏว่าค่า IOC เท่ากับ 0.80-1.00 และให้ปรับปรุงข้อค�ำถาม ใหม่บางข้อให้เหมาะสมตามค�ำแนะน�ำของ ผู้เชี่ยวชาญ (2.3) น� ำ แบบวั ด ที่ ป รั บ ปรุ ง แล้ ว ไป ทดสอบกับผู้น�ำนักเรียนที่ไม่ใช่กลุ่มตัวอย่าง จ�ำนวน 40 คน จากการทดสอบพบว่า จ�ำนวน แบบวัดภาวะผู้น�ำการเปลี่ยนแปลง มีบางข้อที่ มี อ� ำ นาจจ� ำ แนกติ ด ลบ ต้ อ งตั ด ออกสองข้ อ จึงเหลือ 43 ข้อ นอกจากนัน้ ยังพบว่า ข้อที ่ 3, 5,7,12, 20 และ 28 ความสัมพันธ์ของคะแนน รายข้อกับคะแนนรวมมีค่าต�่ำมาก จึงตัดออก ไป เหลือแบบวัดที่น�ำมาใช้ได้  36 ข้อ (2.4) น�ำแบบวัดหาค่าความเชื่อมั่น ทั้งฉบับ โดยใช้สูตรสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของ Cronbach พบว่า มีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับ เท่ากับ .949  3. แบบประเมิ น ความเหมาะสมของ หลักสูตรฝึกอบรมภาวะผู้น�ำนักเรียน

24

วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

ส�ำหรับแบบประเมินนีเ้ ป็นแบบ (checklist) ตามหัวข้อทีใ่ ช้ในการฝึกอบรมทัง้ เก้าโมดูล ซึง่ ผูว้ จิ ยั ใช้แบบมาตรวัดประเมินค่า 5 ระดับใน การให้คะแนนดังนี้  5 หมายถึง ดีมาก 4 หมายถึง ดี 3 หมายถึง ปานกลาง 2 หมายถึง ควรปรับปรุง 1 หมายถึง ควรปรับปรุงอย่างยิ่ง โดยทั้ ง เก้ า โมดู ล แบ่ ง เป็ น หั ว ข้ อ ใช้ ประเมิน ต่อไปนี้ 1. ด้านความเหมาะสมของเนื้อหาของ หลักสูตร 2. ด้ า นความเหมาะสมของเวลากั บ ความส�ำคัญของหัวข้อในหลักสูตร 3. ด้านความเหมาะสมของวิทยากร 4. ด้านความเหมาะสมของสือ่  – เอกสาร 5. ด้านประโยชน์ของเนื้อหาต่อการน�ำ ไปใช้ ป ฏิ บั ติ ง าน ผลจากการที่ ผู ้ น� ำ นั ก เรี ย น ประเมิน อยู่ในเกณฑ์ดีมาก  4. หลั ก สู ต รฝึ ก อบรมภาวะผู ้ น� ำ การ เปลี่ยนแปลงส�ำหรับผู้น�ำนักเรียน มีโครงสร้าง และเนื้อหาทั้งเก้าโมดูล ดังนี้


กนิษฐ์นันท์ พรหมปฏิมา, บุญเรียง ขจรศิลป์ และ ธนีนาฏ ณ สุนทร

หลักสูตรฝึกอบรมภาวะผู้น�ำการเปลี่ยนแปลงส�ำหรับผู้น�ำนักเรียน โมดูลที่  1 โมดูลที่  2 โมดูลที่  3 โมดูลที่  4 โมดูลที่  5 โมดูลที่  6 โมดูลที่  7 โมดูลที่  8 โมดูลที่  9

ผู้น�ำที่ข้าพเจ้าชื่นชอบเกี่ยวกับภาวะผู้น�ำและคุณลักษณะของผู้น�ำที่พึงประสงค์  ความรู้เรื่องภาวะผู้น�ำการเปลี่ยนแปลงเต็มรูปแบบหรือพิสัยเต็ม และพฤติกรรม เฉพาะสี่องค์ประกอบ 4 I’s  แนวทางในการพัฒนาภาวะผูน้ ำ� การเปลีย่ นแปลง องค์ประกอบด้าน การมีอทิ ธิพล อย่างมีอุดมการณ์  ประกอบด้วยโมดูลย่อยสามโมดูล 1) การสร้างวิสัยทัศน์  2) การเห็นคุณค่าในตนเองและความศรัทธาในตัวผู้น�ำ 3) การพัฒนาคุณธรรมและการบริหารอารมณ์  แนวทางในการพัฒนาภาวะผู้น�ำการเปลี่ยนแปลง องค์ประกอบด้าน การสร้าง แรงบันดาลใจ  มีเนื้อหาหนึ่งโมดูลคือ การสร้างแรงจูงใจภายในและการสร้าง เจตคติที่ดี  แนวทางในการพัฒนาภาวะผูน้ ำ� การเปลีย่ นแปลง องค์ประกอบด้าน การกระตุน้ ทางปัญญา มีเนือ้ หาหนึง่ โมดูล คือ ความคิดริเริม่ สร้างสรรค์กบั การคิดในเชิงบวก และวิธีการคิดแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ  แนวทางในการพัฒนาภาวะผูน้ ำ� การเปลีย่ นแปลง องค์ประกอบด้าน การค�ำนึงถึง ความเป็นปัจเจกบุคคล ประกอบด้วยสองโมดูลย่อย คือ 1) การค�ำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล-การติดต่อสื่อสารระหว่างบุคคล 2) เทคนิคการมอบหมายงานและการท�ำงานเป็นทีม  อัตลักษณ์ของลูกนวมินท์เกี่ยวกับการแสดงออกถึงความจงรักภักดีต่อสถาบัน พระมหากษัตริย์แสดงความเป็นเอกลักษณ์ของลูกนวมินท์  การวางแผนพัฒนาภาวะผูน้ ำ� การเปลีย่ นแปลงของตนเอง เกีย่ วกับตัวผูน้ ำ� นักเรียน วางแผนและเป้าหมายพัฒนาตนเองตามหลัก 4 I’s โดยผู้ฝึกอบรมมอบใบงาน ให้เขียนรายงาน  การติดตามและประเมินผล ผู้วิจัยเป็นผู้ด�ำเนินการติดตามหลังการฝึกอบรม พบปะ นัดหมาย และประเมินผลหลังการฝึกอบรมผ่านไปสองเดือน

ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2020/2563

25


การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมภาวะผูน้ �ำ การเปลีย่ นแปลงสำ�หรับผูน้ �ำ นักเรียน กลุม่ โรงเรียนเฉลิมพระเกียรตินวมินทราชูทศิ

2.2 การทดลองใช้หลักสูตรฝึกอบรม ภาวะผูน้ ำ� การเปลีย่ นแปลงส�ำหรับผูน้ ำ� นักเรียน การประเมินหลังการทดลองใช้หลักสูตร ฝึกอบรมภาวะผู้น�ำการเปลี่ยนแปลง ส�ำหรับ ผู้น�ำนักเรียน เครื่องมือที่ใช้  ได้แก่ 1) แบบทดสอบความรู้เรื่องภาวะผู้น�ำ การเปลีย่ นแปลงกับความรูเ้ กีย่ วกับค�ำขวัญของ โรงเรียน จ�ำนวน 38 ข้อ ชนิดเลือกตอบ 4 ข้อ เลือก  2)แบบวัดภาวะผู้น�ำการเปลี่ยนแปลง ส�ำหรับผู้น�ำประเมินตนเอง จ�ำนวน 36 ข้อ  วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล เก็บรวบรวม โดยผูว้ จิ ยั เป็นผูเ้ ก็บทัง้ แบบทดสอบและแบบวัด การวิเคราะห์ข้อมูลและสถิติที่ใช้  ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าร้อยละ  ขั้นที่  3 การประเมินผลหลักสูตรฝึก อบรมภาวะผูน้ ำ� การเปลีย่ นแปลงส�ำหรับผูน้ ำ� นักเรียน  การประเมิ น ผลหลั ง การทดลองใช้ หลั ก สู ต ร  โดยใช้ รู ป แบบ  CIPP  Model มี ร ายละเอี ย ดดั ง นี้   ด้ า นบริ บ ทหรื อ สภาพ แวดล้อมพบว่าทางผู้บริหารของโรงเรียนให้ ความส�ำคัญต่อโครงการฝึกอบรมภาวะผู้น�ำ นั ก เรี ย น ซึ่ ง มีความสอดคล้องด้านนโยบาย ของโรงเรียนรวมทั้งมีในแผนงานของโรงเรียน และผู้น�ำนักเรียนมีความต้องการการฝึกอบรม ภาวะผู้น�ำการเปลี่ยนแปลงด้านปัจจัยน�ำเข้า

26

วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

โรงเรียนมีความพร้อมในการสนับสนุนด้าน บุคลากร งบประมาณ วัสดุอุปกรณ์  และสื่อ ต่ า งๆ ด้ า นกระบวนการการฝึ ก อบรมของ วิ ท ยากรด� ำ เนิ น การฝึ ก ครบตามเนื้ อ หาของ หลักสูตรฝึกอบรม ให้ตรงตามวัตถุประสงค์ ที่ตั้งไว้  ได้แก่  การทดสอบก่อน – หลังการฝึก อบรม การด� ำ เนิ น กิ จ กรรมระหว่ า งการฝึ ก อบรม ปัจจัยด้านผลผลิต ประเมินผลการฝึก อบรมภาวะผู ้ น� ำ การเปลี่ ย นแปลงของผู ้ น� ำ นักเรียน หลังการทดลองใช้หลักสูตรฝึกอบรม ภาวะผู้น�ำการเปลี่ยนแปลงพบว่าผู้น�ำนักเรียน มีพฤติกรรมภาวะผูน้ ำ� การเปลีย่ นแปลงเพิม่ ขึน้ และมี ค ะแนนทดสอบที่ เ พิ่ ม ขึ้ น ก่ อ นการฝึ ก อบรม  เครือ่ งมือทีใ่ ช้ ผูว้ จิ ยั ใช้แบบประเมินของ อุไร อภิชาตบันลือ (2550: 261) โดยใช้วธิ กี าร ประเมิ น แบบ Checklist ที่ ก� ำ หนดด้ ว ยตั ว บ่งชี้ตามรูปแบบ CIPP  วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล ผู้วิจัยเป็น ผู้เก็บด้วยตนเองจากคณะกรรมการกิจการ นักเรียน การวิ เ คราะห์ ข ้ อ มู ล และสถิ ติ ที่ ใ ช้ วิเคราะห์ด้านเนื้อหาในการแสดงความคิดเห็น ตามตัวบ่งชี้  และระดับคะแนนในการตรวจ รายการ ใช้สถิติขั้นพื้นฐาน ค่าร้อยละ ในด้านข้อเสนอแนะ ผูว้ จิ ยั เห็นว่า เวลา ที่ใช้ในการฝึกอบรมครั้งนี้มีระยะเวลาสั้นๆ คือ


กนิษฐ์นันท์ พรหมปฏิมา, บุญเรียง ขจรศิลป์ และ ธนีนาฏ ณ สุนทร

สามวั น  หากมี ผู ้ ส นใจน� ำ หลั ก สู ต รฝึ ก อบรม ภาวะผูน้ ำ� การเปลีย่ นแปลงส�ำหรับผูน้ ำ� นักเรียน นี้ไปใช้  ควรพิจารณาวันและเวลาเพื่อขยาย เนือ้ หาในหลักสูตรได้ไม่ตอ้ งจ�ำกัดเวลาทีก่ ระชับ เกินไป สรุปผลการวิจัย ผลการพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมภาวะ ผู ้ น� ำ การเปลี่ ย นแปลงส� ำ หรั บ ผู ้ น� ำ นั ก เรี ย น มีดังนี้ 1. หลั ก สู ต รฝึ ก อบรมภาวะผู ้ น� ำ การ เปลี่ยนแปลงส�ำหรับผู้น�ำนักเรียนกลุ่มโรงเรียน เฉลิมพระเกียรตินวมินทราชูทศิ  มีวตั ถุประสงค์ เพื่อ 1.1 ผู้เข้ารับการฝึกอบรม มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิดทฤษฎีภาวะผู้น�ำ การเปลี่ยนแปลง 1.2 ผู ้ เข้ารับการฝึก อบรม ได้พัฒนา ศักยภาพความเป็นผู้น�ำ 1.3 ผู้เข้ารับการฝึกอบรม ได้ตระหนัก ในค�ำขวัญของโรงเรียน  เนือ้ หาของหลักสูตรฝึกอบรมภาวะผูน้ ำ� การเปลีย่ นแปลงส�ำหรับผูน้ ำ� นักเรียน ประกอบ ด้วยเก้าโมดูล ดังต่อไปนี้  โมดูลที่  1 ผู้น�ำที่ข้าพเจ้าชื่นชอบ เวลา ทีใ่ ช้ 1.30 ชม. เนือ้ หาสาระ ได้แก่ ความหมาย ความส�ำคัญของผูน้ ำ�  ภาวะผูน้ ำ� และคุณลักษณะ

ของผู้น�ำที่พึงประสงค์  สื่อที่ใช้  Video Tape และเอกสารประกอบ (มีแบบทดสอบท้ายบท) โมดูลที่  2 ความรู้เรื่องภาวะผู้น�ำการ เปลี่ยนแปลงเต็มรูปแบบ และแนวคิดเกี่ยวกับ ภาวะผู้น�ำการเปลี่ยนแปลง เวลาที่ใช้  2 ชม. เนื้อหาสาระได้แก่  ความรู้เรื่องภาวะผู้น�ำการ เปลี่ยนแปลงเต็มรูปแบบหรือพิสัยเต็ม ทฤษฎี ภาวะผู้น�ำของ Bass & Avolio (1994: 11) และพฤติกรรมเฉพาะสี่องค์ประกอบ (4I’s) มีรายละเอียดของแนวคิดทฤษฎีภาวะผูน้ ำ� การ เปลี่ยนแปลง สื่อที่ใช้  Power Point, Video Tape (มีแบบทดสอบท้ายบท)  โมดูลที ่ 3 แนวทางการพัฒนาภาวะผูน้ ำ� การเปลี่ยนแปลงในองค์ประกอบด้านการมี อิทธิพลอย่างมีอุดมการณ์  ประกอบด้วยโมดูล ย่อยๆ สามโมดูล 1) การสร้างวิสัยทัศน์  2) การเห็นคุณค่าในตนเองและความศรัทธาใน ตัวผูน้ ำ�  3) การพัฒนาคุณธรรมและการบริหาร อารมณ์ โดยประการทีห่ นึง่  การสร้างวิสยั ทัศน์ เวลาที่ใช้  1 ชม. เนื้อหาสาระเกี่ยวกับความ หมายความส�ำคัญของวิสยั ทัศน์ การปฏิบตั ติ าม วิ สั ย ทั ศ น์   และความเข้ า ใจในวิ สั ย ทั ศ น์ ข อง โรงเรี ย น สื่ อ ที่ ใช้   Power point เอกสาร ประกอบการบรรยาย (มีแบบทดสอบท้ายบท) ประการที่สอง การเห็นคุณค่าในตนเองและ ความศรัทธาในตัวผู้น�ำ เวลาที่ใช้  1.30 ชม. เนื้อหาสาระ ได้แก่  ความหมาย ความส�ำคัญ

ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2020/2563

27


การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมภาวะผูน้ �ำ การเปลีย่ นแปลงสำ�หรับผูน้ �ำ นักเรียน กลุม่ โรงเรียนเฉลิมพระเกียรตินวมินทราชูทศิ

และการส่งเสริมให้เห็นคุณค่าในตนเอง การ สร้างความศรัทธาในตัวผู้น�ำ สื่อที่ใช้  Power point, (มีแบบทดสอบท้ายบท) ประการทีส่ าม  การพัฒนาคุณธรรมและการบริหารอารมณ์ เวลาที่ใช้  1.30 ชม. เนื้อหาสาระได้แก่  ความ หมาย ความส�ำคัญของคุณธรรม/จริยธรรม ผู้เข้ารับการฝึกอบรมเล่าประสบการณ์ชีวิตที่ ตนเองมีหรือบุคคลอืน่ ทีม่ อี ทิ ธิพลต่อชีวติ ตนเอง การมีคณ ุ ธรรมในการท�ำงานกับผูร้ ว่ มงาน และ รูจ้ กั การบริหารอารมณ์ของตนเองได้อย่างมีสติ อยูร่ ว่ มกับผูอ้ นื่ ได้ สือ่ ทีใ่ ช้ Power Point, แผ่น ใบงานกรณีศึกษา  โมดูลที ่ 4 แนวทางการพัฒนาภาวะผูน้ ำ� การเปลีย่ นแปลง ในองค์ประกอบการสร้างแรง บันดาลใจ เวลาที่ใช้  1.30 ชม.ประกอบด้วย หนึง่ โมดูลคือ การสร้างแรงจูงใจภายในและการ สร้างเจตคติที่ดีเนื้อหาสาระ ได้แก่  ทฤษฎีแรง จู ง ใจ องค์ ป ระกอบ ความหมายและความ ส� ำ คั ญ ของแรงจู ง ใจ วิ ธี ก ารสร้ า งแรงจู ง ใจ ภายในและตั้งเป้าหมายในการท�ำงาน ความ หมายและองค์ ป ระกอบของเจตคติ สื่ อ ที่ ใช้ Video Tape, Power Point, เอกสาร ประกอบ (มีแบบทดสอบท้ายบท)  โมดูลที ่ 5 แนวทางการพัฒนาภาวะผูน้ ำ� การเปลี่ยนแปลงในองค์ประกอบด้านการกระ ตุ้นทางปัญญา เวลาที่ใช้  2.30 ชม. ประกอบ ด้ ว ยหนึ่ ง โมดู ล คื อ  การสร้ า งความคิ ด ริ เริ่ ม สร้างสรรค์  การคิดในเชิงบวกและวิธีการคิด 28

วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

แก้ปญ ั หาอย่างเป็นระบบ เนือ้ หาสาระเกีย่ วกับ ความหมาย ความส� ำ คั ญ ของความคิ ด ริ เริ่ ม สร้างสรรค์  การส่งเสริมให้เกิดความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ของตนเองและเพือ่ นร่วมงาน ความ หมาย ความส� ำ คั ญ ของการคิ ด ในเชิ ง บวก คุณสมบัติของผู้ที่จะมีความส�ำเร็จในชีวิต ต้อง พัฒนาความคิดในเชิงบวก และวิธีการคิดแก้ ปัญหาอย่างเป็นระบบ สือ่ ทีใ่ ช้  Power Point, ใบงานกิจกรรม (มีแบบทดสอบท้ายบท)  โมดูลที ่ 6 แนวทางการพัฒนาภาวะผูน้ ำ� การเปลี่ ย นแปลง ในองค์ ป ระกอบด้ า นการ ค�ำนึงถึงความเป็นปัจเจกบุคคล ประกอบด้วย โมดูลย่อยๆ สองโมดูล 1) การค�ำนึงถึงความ แตกต่างระหว่างบุคคล –การติดต่อสื่อสาร ระหว่างบุคคล 2) เทคนิคการมอบหมายงาน และการท�ำงานเป็นทีม โดยประการทีห่ นึง่  การ ค�ำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล – การ ติ ด ต่ อ สื่ อ สารระหว่ า งบุ ค คล เวลาที่ ใช้ เวลา 1.30 ชม. เนื้อหาสาระ ได้แก่  ธรรมชาติความ แตกต่างระหว่างบุคคล วิธกี ารเอาใจเขามาใส่ใจ เราความส�ำคัญที่ต้องค�ำนึงถึงความแตกต่าง ระหว่างบุคคล ความส�ำคัญและองค์ประกอบ ของการสื่อสาร สื่อที่ใช้  VCD, นิทาน, Power Point และประการที่สอง เทคนิคการมอบ หมายงานและการท�ำงานเป็นทีม เวลาที่ใช้ 1.30 ชม. เนื้อหาสาระได้แก่  ความส�ำคัญของ การมอบหมายงาน วิธีการมอบหมายงานและ การสอนงานแก่ผู้ร่วมงาน การท�ำงานเป็นทีม


กนิษฐ์นันท์ พรหมปฏิมา, บุญเรียง ขจรศิลป์ และ ธนีนาฏ ณ สุนทร

และการมองเห็นความส�ำคัญของเป้าหมายใน องค์กรเพื่อให้บรรลุเป้าหมายร่วมกัน สื่อที่ใช้ Power Point, เอกสาร การมองเห็นความ ส�ำคัญของเป้าหมายในองค์กรเพื่อให้บรรลุเป้า หมายร่วมกัน สือ่ ทีใ่ ช้  Power Point, เอกสาร ประกอบ, ใบงาน (มีแบบทดสอบท้ายบท)  โมดู ล ที่   7 อั ต ลั ก ษณ์ ข องลู ก นวมิ น ท์ เวลาที่ใช้  1.30 ชม. เนื้อหาสาระเกี่ยวกับการ แสดงออกถึ ง ความจงรั ก ภั ก ดี ต ่ อ สถาบั น พระมหากษัตริย์  เช่น การฝึกถวายบังคม การ กราบ การจัดนิทรรศการเกี่ยวกับวันส�ำคัญ ความเข้าใจในหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ค� ำ ขวั ญ และปรั ช ญาของโรงเรี ย น  หลั ก ประชาธิปไตย และร้องเพลงบทเพลงพระราช นิ พ นธ์   สื่ อ ที่ ใช้   Video กิ จ กรรมต่ า งๆ ที่ โรงเรียนจัดเกี่ยวกับสถาบันพระมหากษัตริย์ (วันพ่อ, วันแม่แห่งชาติ) CD เพลงพระราช นิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั  รัชกาล ที่เก้า เป็นต้น  โมดูลที ่ 8 การวางแผนพัฒนาภาวะผูน้ ำ� การเปลี่ยนแปลงของตนเอง เวลาที่ใช้  1.30 ชม. เนื้อหาสาระ ได้แก่  ผู้น�ำนักเรียนวางแผน และเป้าหมายในการพัฒนาตนเองตามหลัก 4 I’S โดยวิธีเพื่อนช่วยเพื่อน เขียนลงในใบ งานที่วิทยากรมอบให้  พิจารณาว่ามีอุปสรรค หรือปัญหาที่อาจเกิดขึ้น และหาวิธีการแก้ไข โดยให้นำ� เสนอแผนพัฒนาภาวะผูน้ ำ� ของตนเอง

ในที่ห้องฝึกอบรม เพื่อจะได้ช่วยกันแนะน�ำ ปรับปรุงให้เหมาะสมต่อไป โมดูลที่  9 การติดตามผลและประเมิน ผลโมดูลนี้  ผู้วิจัยเป็นผู้ด�ำเนินการติดตามผล หลังการฝึกอบรม เช่น นัดหมายพบปะผู้น�ำ นักเรียนในการติดตามแผนพัฒนาภาวะผู้น�ำ ของตนเอง ทีผ่ นู้ ำ� นักเรียนน�ำเสนอในโมดูลที ่ 8 มีก�ำหนดสองเดือนหลังการฝึกอบรม โดยการ พบปะหนึ่งครั้ง/เดือนแรก และอีกสองครั้งใน เดือนถัดไป เพื่อประเมินผลหลังการฝึกอบรม ผ่านไปสองเดือน แต่ผู้น�ำนักเรียนสามารถนัด พบปะแลกเปลี่ยนประสบการณ์กันได้ในกลุ่ม เพื่อนช่วยเพื่อนตามต้องการ  2. ผลการทดลองใช้หลักสูตรฝึกอบรม ภาวะผูน้ ำ� การเปลีย่ นแปลงส�ำหรับผูน้ ำ� นักเรียน พบว่า ดัชนีประสิทธิผลแสดงความก้าวหน้า ของผู ้ น� ำ นั ก เรี ย น คิ ด เป็ น ร้ อ ยละ 64.20 หมายความว่าผู้น�ำนักเรียนมีความรู้เรื่องภาวะ ผู ้ น� ำ การเปลี่ ย นแปลงกั บ ความรู ้ เ กี่ ย วกั บ ค�ำขวัญของโรงเรียนเพิ่มขึ้นจากก่อนการฝึก อบรม ร้ อ ยละ 64.20 และผลจากแบบวั ด พฤติกรรมภาวะผูน้ ำ� การเปลีย่ นแปลง จากดัชนี ประสิทธิผลพบว่า หลังการฝึกอบรมมีภาวะ ผู้น�ำเพิ่มขึ้น คิดเป็นร้อยละ 26.39 แสดงว่า ผู ้ น� ำ นั ก เรี ย นมี พ ฤติ ก รรมภาวะผู ้ น� ำ การ เปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้น คิดเป็นร้อยละ 26.39

ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2020/2563

29


การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมภาวะผูน้ �ำ การเปลีย่ นแปลงสำ�หรับผูน้ �ำ นักเรียน กลุม่ โรงเรียนเฉลิมพระเกียรตินวมินทราชูทศิ

จากการประเมินผลความเหมาะสมของ หลักสูตรฝึกอบรมภาวะผู้นำ� นักเรียน โดยผู้น�ำ นักเรียนเห็นว่ามีความเหมาะสมอยู่ในระดับดี มากและผลจากการประเมินโครงการฝึกอบรม อยู่ในระดับมากถึงมากที่สุด ด้ า นการปรั บ ปรุ ง หลั ก สู ต รฝึ ก อบรม ภาวะผูน้ ำ� นักเรียน หลังการน�ำไปทดลองใช้แล้ว พบว่า มีบางโมดูลทีม่ กี ารปรับปรุง ดังต่อไปนี ้ โมดูลที่  2 เป็นหลักสูตรที่มีเนื้อหาเป็น องค์ความรู้ภาคทฤษฎี  ใช้เวลาฝึกอบรมสอง ชัว่ โมงผูเ้ ข้ารับการฝึกอบรมอาจเครียดและเบือ่ จึงปรับปรุงโดยแทรกกิจกรรมเล่นเกมปริศนา ค� ำ ทาย และใช้ ส่ื อ  Video Tape แทรก ระหว่างฝึกอบรม โมดูลที ่ 3 มีเนือ้ หาประกอบ มาก โดยมีโมดูลย่อยๆ อีกสามโมดูล ต้องปรับ ลดเวลาลง และแทรกกิจกรรม วาดภาพระบาย สี  ใช้กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ที่เป็นภาคปฏิบัติ ใช้เวลาสีช่ วั่ โมง ปรับลดเป็น 2.30 ชม. โมดูลที่ 4 ใช้เวลา 1.30 ชม. ปรับลดลงเป็นหนึง่ ชัว่ โมง เน้นใช้สื่อ Video Tape และกิจกรรมระดม สมอง โมดูลที ่ 5 ใช้เวลา 2.30 ชม. ปรับลดลง เป็นสองชั่วโมง วิทยากรใช้สื่อ Power Point ประกอบการบรรยาย แทรกกิ จ กรรมกลุ ่ ม สัมพันธ์และการระดมสมอง โมดูลที ่ 6 ใช้เวลา สามชั่วโมง ประกอบด้วยโมดูลย่อยๆ อีกสอง โมดูล ได้ปรับลดเป็น 2.30 ชั่วโมง สอดแทรก กิจกรรมกลุม่  การแสดงบทบาทสมมติ เป็นต้น

30

วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

3. ผลการประเมิ น หลั ก สู ต ร พบว่ า หลักสูตรฝึกอบรมภาวะผูน้ ำ� การเปลีย่ นแปลงนี้ สามารถน�ำไปใช้ได้กบั ผูน้ ำ� นักเรียน ซึง่ จากการ ประเมินหลักสูตรตามรูปแบบ CIPP ในด้าน บริบท พบว่า ผู้บริหารโรงเรียนให้ความส�ำคัญ ต่ อ โครงการฝึ ก อบรมภาวะผู ้ น� ำ  มี ค วาม สอดคล้องกับนโยบายของโรงเรียน และผู้น�ำ นักเรียนมีความต้องการการฝึกอบรมหลักสูตร ภาวะผู้น�ำการเปลี่ยนแปลง ด้านปัจจัยน�ำเข้า โรงเรี ย นมี ค วามพร้ อ มด้ า นงบประมาณ บุคลากร สื่อ วัสดุอุปกรณ์และสถานที่  ด้าน กระบวนการ การฝึกอบรมของวิทยากร มีการ ด�ำเนินการฝึกอบรมตามเนื้อหาของหลักสูตร ฝึ ก อบรมครบถ้ ว น และด้ า นผลผลิ ต  คื อ ได้ ผลจากการฝึ ก อบรมที่ ผู ้ น� ำ นั ก เรี ย นมี ก าร เปลี่ ย นแปลงในการพั ฒ นาตนเองเพิ่ ม ขึ้ น ทั้งด้านความรู้  และด้านพฤติกรรมที่มีภาวะ ผูน้ ำ� การเปลีย่ นแปลงเพิม่ ขึน้ หลังการฝึกอบรม  อภิปรายผลการวิจัย  จากสรุปผลการวิจัย สามารถอภิปราย ผลการวิจัยได้ดังนี้  1.หลั ก สู ต รฝึ ก อบรมภาวะผู ้ น� ำ การ เปลี่ยนแปลงส�ำหรับผู้น�ำนักเรียน ได้ก�ำหนด วัตถุประสงค์ไว้สามข้อ คือ1) เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิดทฤษฎีภาวะผู้น�ำ การเปลีย่ นแปลง 2) เพือ่ พัฒนาศักยภาพความ


กนิษฐ์นันท์ พรหมปฏิมา, บุญเรียง ขจรศิลป์ และ ธนีนาฏ ณ สุนทร

เป็นผู้น�ำ และ 3) เพื่อให้ตระหนักในค�ำขวัญ ของโรงเรียน วัตถุประสงค์ทั้งสามข้อนี้เป็น วัตถุประสงค์ที่ก�ำหนดออกมาในเชิงพฤติกรรม ที่สามารถวัดได้  สังเกตได้  ถึงภาวะผู้น�ำการ เปลี่ ย นแปลงของผู ้ น� ำ นั ก เรี ย นโรงเรี ย น นวมินทราชูทศิ  กรุงเทพมหานคร ซึง่ สอดคล้อง กับ เต็มดวง รัตนทัศนีย์  (ม.ป.ป.: 48) ที่กล่าว ถึงวัตถุประสงค์ของการฝึกอบรมว่า ลักษณะ วั ต ถุ ป ระสงค์ ที่ ดี ต ้ อ งก� ำ หนดออกมาในเชิ ง พฤติกรรมที่เปลี่ยนแปลง ที่วัดได้  สังเกตได้ สอดคล้องกับที่  รัตติกรณ์  จงวิศาล (2543: 114 ; Bass 1998 และ Avolio, 1999) กล่าว ไว้ ว ่ า  ภาวะผู ้ น� ำ การเปลี่ ย นแปลงสามารถ พัฒนาได้โดยสามารถท�ำได้หลายวิธี  หรือโดย การบูรณาการเทคนิควิธีการต่างๆ มาใช้ด้วย กั น  เพื่ อ ให้ เ กิ ด การเปลี่ ย นแปลงพฤติ ก รรม จากหลักสูตรฝึกอบรมภาวะผู้น�ำนักเรียนตาม ทฤษฎีภาวะผู้น�ำการเปลี่ยนแปลงทั้งเก้าโมดูล มี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ ชิ ง พฤติ ก รรมที่ มุ ่ ง เน้ น คุ ณ ลั ก ษณะความเป็ น ผู ้ น� ำ ที่ ดี   มี วิ สั ย ทั ศ น์ มี ค วามคิ ด ริ เริ่ ม สร้ า งสรรค์   ฝึ ก ทั ก ษะกล้ า แสดงออก รู้จักการท�ำงานเป็นทีม และมีวิธี แก้ปัญหาร่วมกันได้ ด้านเนื้อหาสาระของหลักสูตร พบว่า โมดูลที่  1 เรื่องผู้น�ำที่ข้าพเจ้าชื่นชอบ และ โมดูลที่  2 ความรู้เรื่องภาวะผู้น�ำเต็มรูปแบบ มี เ นื้ อ หาสาระที่ เ กี่ ย วกั บ คุ ณ ลั ก ษณะผู ้ น� ำ ที่

พึงประสงค์และภาวะผู้น�ำเต็มรูปแบบ ซึ่งทั้ง สองโมดูลนีใ้ ห้ความส�ำคัญกับการน�ำตัวเองของ ผู้น�ำนักเรียนและมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ซึ่ ง ผู ้ น� ำ นั ก เรี ย นจะต้ อ งได้ รั บ การพั ฒ นา คุ ณ ลั ก ษณะดั ง กล่ า ว สอดคล้ อ งกั บ ไพศาล จันทรภักดี  (2548 : 25) ซึ่งท�ำวิจัยเรื่องการ พัฒนาภาวะผูน้ ำ� เยาวชน ระดับชัน้ มัธยมศึกษา ตอนปลาย โรงเรี ย นมั ธ ยมสั ง กั ด ส� ำ นั ก งาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานกระทรวง ศึกษาธิการ โดยใช้กระบวนการหลักสูตรการ ศึกษาวิจัยในอนาคต ผลการวิจัยพบว่า ภาวะ ผู ้ น� ำ ที่ พึ ง ประสงค์ ข องเยาวชน คื อ  เป็ น ผู ้ มี วิสัยทัศน์  มีความสามารถในการติดต่อสื่อสาร มี ค วามคิ ด ริ เริ่ ม สร้ า งสรรค์   รู ้ ทั น เหตุ ก ารณ์ ก้ า วทั นเทคโนโลยี   มี ความเชื่ อ มั่ นในตนเอง สามารถตั ด สิ น ใจ มี คุ ณ ธรรม จริ ย ธรรม ซื่อสัตย์สุจริต มีมนุษยสัมพันธ์  ความสามารถ ในการบริ ห ารจั ด การดี   มี บุ ค ลิ ก ภาพดี   เสี ย สละและยุติธรรม โมดูลที่  3, 4 , 5, และ 6 มี เ นื้ อ หาเกี่ ย วข้ อ งกั บ ภาวะผู ้ น� ำ การเปลี่ ย น แปลงของผู้น�ำนักเรียนในด้านองค์ประกอบ พฤติ ก รรมสี่ ป ระการ หรื อ ที่ เรี ย กว่ า  4 I’s ได้ แ ก่   1) การมี อิ ท ธิ พ ลอย่ า งมี อุ ด มการณ์ 2) ด้านการสร้างแรงบันดาลใจ 3) ด้านการ กระตุ ้ น ทางปั ญ ญา และ4) ด้ า นการค� ำ นึ ง ถึงความเป็นปัจเจกบุคคล ซึง่ ผูน้ ำ� นักเรียนจะได้ รั บ ความรู ้   ความเข้ า ใจ ถึ ง พฤติ ก รรมการ

ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2020/2563

31


การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมภาวะผูน้ �ำ การเปลีย่ นแปลงสำ�หรับผูน้ �ำ นักเรียน กลุม่ โรงเรียนเฉลิมพระเกียรตินวมินทราชูทศิ

เปลี่ยนแปลงของผู้น�ำในแต่ละองค์ประกอบ หลายๆ ด้าน ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดทฤษฎี ของ Bass & Avolio (1994, p. 2-6) ทีก่ ล่าว ว่าภาวะผู้น�ำการเปลี่ยนแปลง เป็นภาวะผู้น�ำ ที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและผู ้ ร ่ ว มงานมี ค วามพึ ง พอใจในการท�ำงานมากกว่า โมดูลที่  7 เรื่อง อัตลักษณ์ของลูกนวมินท์  โมดูลที่  8 เรื่องการ วางแผนพัฒนาภาวะผูน้ ำ� การเปลีย่ นแปลงของ ตนเอง ซึ่ ง ทั้ ง สองโมดู ล นี้ เ ป็ น คุ ณ ลั ก ษณะที่ พึงประสงค์ของทางโรงเรียนและกลุ่มโรงเรียน เฉลิมพระเกียรตินวมินทราชูทิศทั้งห้าภูมิภาค ที่มีเนื้อหาจะต้องพัฒนาเกี่ยวกับพฤติกรรม ของลูกนวมินท์ที่แสดงออกถึงความจงรักภักดี ต่อสถาบันพระมหากษัตริย์  ความตระหนักใน ค�ำขวัญและปรัชญาของโรงเรียน การน้อมน�ำ หลั ก ปรั ช ญาเศรษฐกิจพอเพียงสู่ก ารปฏิบัติ ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่  9 การเรียนรู้หลักประชาธิปไตย และบทเพลง พระราชนิพนธ์อันมีคุณค่า และในโมดูลที่  8 มีการวางแผนพัฒนาภาวะผูน้ ำ� ของตนเอง ตาม หลัก 4I’s โดยเลือกใช้ค�ำขวัญของโรงเรียน หนึ่ ง ข้ อ ความจากสี่ ข ้ อ ความเป็ น แกนน� ำ ได้ ซึ่ ง สอดคล้ อ งกั บ หลั ก ปรั ช ญาหรื อ จุ ด หมาย เพื่อพัฒนาคนหรือเยาวชนของกลุ่มโรงเรียน เฉลิมพระเกียรตินวมินทราชูทิศที่ว่า “รักษ์ ศักดิ์ศรี  มีคุณธรรม น�ำวิชาการ สืบสานงาน พระราชด� ำ ริ ”  อี ก ประการหนึ่ ง ในโมดู ล นี้ มี เนื้อหาสาระเกี่ยวกับการน�ำผลที่ผู้น�ำนักเรียน 32

วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

ได้วางแผนพัฒนาตนเองคือเพื่อให้เป็นคนที่ สมบูรณ์  มีปัญญา และคุณธรรมตามคติพจน์ ที่ ว ่ า  “ความรู ้ คู ่ คุ ณ ธรรม” โมดู ล ที่   9 การ ติดตามและการประเมินผล ด้านความรู้และ พฤติกรรม ซึง่ ในโมดูลนีเ้ กีย่ วกับการน�ำผลการ ที่ผู้น�ำนักเรียนได้วางแผนพัฒนาตนเองหรือ ร่วมกันกับเพือ่ นๆ พัฒนาโรงเรียนในด้านต่างๆ แล้วเกิดปัญหาที่ต้องแก้ไขเพื่อให้บรรลุเป้า หมาย เนือ้ หาสาระนีส้ อดคล้องกับแนวคิดของ ประสาท เนืองเฉลิม (2556: 7) ที่กล่าวว่า การพัฒนาหลักสูตรเป็นกระบวนการต่อเนื่อง ซึง่ แบ่งออกเป็นสีข่ นั้ ตอน คือ 1) ขัน้ เตรียมการ ข้อมูลส�ำคัญคือ ความจ�ำเป็นและความต้องการ ขององค์กรนั้นๆ ปรัชญาการศึกษาก็สามารถ เตรียมการสร้างหลักสูตรได้เหมาะสมสอดคล้อง กั บ ธรรมชาติ ข องผู ้ เรี ย น 2) ขั้ น จั ด ท� ำ และ วางแผนการใช้หลักสูตร จากการประมวลความ รูข้ นั้ ที ่ 1 ผนวกกับความคิดเห็นของผูเ้ ชีย่ วชาญ ด้านเนื้อหา รวมทั้งการจัดประสบการณ์  องค์ ประกอบของการใช้หลักสูตร ซึง่ การวางแผนใน เรื่องเหล่านี้จะท�ำให้ทราบสภาพความพร้อม และแก้ปัญหาล่วงหน้าได้  3) ขั้นด�ำเนินการใช้ หลั ก สู ต ร การประเมิ น ผลระหว่ า งการใช้ หลักสูตรจะช่วยให้ทราบปัญหาและอุปสรรค ซึ่งจะเป็นแนวทางไปสู่การปรับปรุงแก้ไขให้ บรรลุเป้าประสงค์ได้  และ4) ขั้นตรวจสอบผล ของการใช้หลักสูตรในขั้นตอนนี้  จะช่วยให้ได้


กนิษฐ์นันท์ พรหมปฏิมา, บุญเรียง ขจรศิลป์ และ ธนีนาฏ ณ สุนทร

ข้อมูลว่าหลักสูตรก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลง พฤติกรรมของผู้เรียนตรงตามเป้าประสงค์ของ หลักสูตรหรือไม่  ควรจะแก้ไขอย่างไร 2. ผลจากการทดลองใช้หลักสูตรฝึก อบรมภาวะผู้น�ำการเปลี่ยนแปลง ส�ำหรับผู้น�ำ นักเรียน พบว่า คะแนนจากแบบทดสอบวัด ความรู้หลังการฝึกอบรมภาวะผู้น�ำนักเรียนสูง กว่าก่อนการฝึกอบรมใช้หลักสูตรอย่างมีนัย ส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 แสดงให้เห็นว่า หลักสูตรฝึกอบรมภาวะผู้น�ำการเปลี่ยนแปลง ทีผ่ วู้ จิ ยั พัฒนาขึน้ สามารถเสริมสร้างความรูด้ า้ น ภาวะผู้น�ำการเปลี่ยนแปลง ซึ่งมีผลจากดัชนี ประสิทธิผล คิดเป็นร้อยละ 64.20 และด้าน มีพฤติกรรมภาวะผู้น�ำการเปลี่ยนแปลงที่ผ่าน การฝึ ก อบรมตามหลั ก สู ต รก็ เ พิ่ ม ขึ้ น  ดั ง ผล จากดั ช นี ป ระสิ ท ธิ ผ ล ที่ มี ก ารเปลี่ ย นแปลง พฤติกรรมเพิ่มขึ้น ร้อยละ 26.39 หลังการ ฝึกอบรม สอดคล้องกับ วรวุฒิ  จิรสุจริตธรรม (2553: บทคั ด ย่ อ ) ได้ วิ จั ย เรื่ อ งการพั ฒ นา หลั ก สู ต รเสริ ม เพื่ อ พั ฒ นาทั ก ษะภาวะผู ้ น� ำ เยาวชนในโรงเรียนอาชีวศึกษาคาทอลิก โดย หลักสูตรมุ่งเน้นการพัฒนาทักษะภาวะผู้น�ำ เยาวชนทั้ ง ด้ า นความรู ้ ทั ก ษะและเจตคติ พบว่ า ผลการประเมิ น หลั ง การทดลองใช้ หลั ก สู ต ร นั ก เรี ย นมี ค ะแนนสู ง กว่ า ผลการ ประเมินก่อนการทดลองอย่างมีนัยส�ำคัญทาง สถิติที่ระดับ .001 ทั้งสามด้าน

ข้อเสนอแนะ  จากผลการวิจัยเรื่อง การพัฒนาหลัก สู ต รฝึ ก อบรมภาวะผู ้ น� ำ การเปลี่ ย นแปลง ส�ำหรับผู้น�ำนักเรียนกลุ่มโรงเรียนนวมินทรา ชูทิศ ผู้วิจัยมีข้อเสนอแนะดังนี้ 1. ข้อเสนอแนะในการน�ำหลักสูตรไปใช้ ผลการวิจยั แสดงให้เห็นว่า การพัฒนาหลักสูตร ฝึกอบรมภาวะผู้น�ำการเปลี่ยนแปลงส�ำหรับ ผู ้ น� ำ นั ก เรี ย นนี้   สามารถน� ำ ไปใช้ ไ ด้ กั บ ผู ้ น� ำ นักเรียน กิจกรรมนักเรียน ในสถานศึกษาทัว่ ไป และสามารถน�ำไปใช้เป็นหลักสูตรเสริมในระยะ เวลาสั้นๆ ได้  ซึ่งหลักสูตรฝึกอบรมนี้ได้ปรับใช้ ระยะเวลาสามวัน เพื่อความเหมาะสมกับวัย ของผู้เข้ารับการฝึกอบรม 2. สามารถน�ำหลักสูตรฝึกอบรมภาวะ ผู้น�ำการเปลี่ยนแปลงนี้ไปใช้ขยายผลในกลุ่ม ผู้น�ำชุมชนอื่นๆ ได้ ข้อเสนอแนะในการท�ำวิจัยครั้งต่อไป  1. ควรมีการวิจัยและพัฒนาหลักสูตร ภาวะผูน้ ำ� การเปลีย่ นแปลงส�ำหรับผูน้ ำ� นักเรียน กลุ่มโรงเรียนเฉลิมพระเกียรตินวมินทราชูทิศ ในด้ า นคุ ณ ลั ก ษณะอื่ น ๆ เพื่ อ ให้ ค รอบคลุ ม ภาวะผูน้ ำ� การเปลีย่ นแปลงส�ำหรับผูน้ ำ� นักเรียน และสถานการณ์ปจั จุบนั  เช่น ด้านความรับผิด ชอบต่อหน้าทีท่ มี่ ตี อ่ สังคมในปัจจุบนั และความ มีวินัยในตนเองของเยาวชน เป็นต้น

ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2020/2563

33


การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมภาวะผูน้ �ำ การเปลีย่ นแปลงสำ�หรับผูน้ �ำ นักเรียน กลุม่ โรงเรียนเฉลิมพระเกียรตินวมินทราชูทศิ

2. ควรน�ำหลักสูตรฝึกอบรมนีไ้ ปทดลอง ท�ำการวิจัยอีกครั้งกับผู้น�ำนักเรียนในโรงเรียน ระดั บ ชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาตอนต้ น และระดั บ ชั้ น ประถมศึ ก ษาตอนปลาย โดยการปรั บ ปรุ ง เนือ้ หาสาระให้เหมาะสมกับวัยและความสนใจ ของเด็ก เพื่อการพัฒนาหลักสูตรและพัฒนา ภาวะผู้น�ำการเปลี่ยนแปลงให้ดียิ่งขึ้น บรรณานุกรม กษมาพร ทองเอื้อ. (2555). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิผลของโรงเรียนมาตรฐานสากล. วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ.  เต็มดวง รัตนทัศนีย์. (ม.ป.ป.). การสร้างหลักสูตรฝึกอบรม. กรุงเทพมหานคร: ภาควิชาศึกษา ศาสตร์และมนุษย์ศาสตร์  มหาวิทยาลัยมหิดล.  ประสาท เนื องเฉลิม. (2556). วิ จั ย การเรี ย นการสอน. กรุ ง เทพมหานคร: ส� ำ นั ก พิ ม พ์ แ ห่ ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.  เผชิญ กิจระการ. (2546). “ดัชนีประสิทธิผล” ในเอกสารประกอบการสอน. มหาสารคาม: คณะ ศึกษาศาสตร์  มหาวิทยาลัยสารคาม. ไพศาล จันทรภักดี. (2548). การพัฒนาภาวะผู้น�ำเยาวชน ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวง  ศึกษาธิการ โดยใช้กระบวนการหลักสูตรการศึกษาวิจยั ในอนาคต. ปริญญาการศึกษาดุษฎี บัณฑิต, สาขาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยนเรศวร. รั ต ติ ก รณ์   จงวิ ศ าล. (2543). ผลการฝึ ก อบรมภาวะผู ้ น� ำ การเปลี่ ย นแปลงของผู ้ น� ำ นิ สิ ต  มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต สาขาการวิจัย พฤติกรรมศาสตร์ประยุกต์  บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

34

วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม


กนิษฐ์นันท์ พรหมปฏิมา, บุญเรียง ขจรศิลป์ และ ธนีนาฏ ณ สุนทร

วรวุฒิ  จิรสุจริตธรรม. (2553). การพัฒนาหลักสูตรเสริมเพื่อพัฒนาทักษะภาวะผู้น�ำเยาวชนใน  โรงเรียนอาชีวศึกษาคาทอลิก. วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษาดุษฎีบัณฑิต, สาขาวิชาการ บริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. อุไร อภิชาตบันลือ. (2550). การพัฒนากระบวนการประเมินผลการฝึกอบรม. วิทยานิพนธ์ ปริญญาครุศาสตร์อตุ สาหกรรมดุษฎีบณ ั ฑิต, สาขาวิชาวิจยั และพัฒนาหลักสูตร มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีพระจอมเกล้าฯ พระนครเหนือ.

ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2020/2563

35


การรับรู้ความสามารถของตนเอง ความต้องการ ภายใน ความสนใจ และเป้าหมายการสอน ที่สัมพันธ์กับพฤติกรรมการสอนของครู

A Study of Self-Efficacy, Intrinsic Needs,

Interests, and Teaching Goal as  They Relate to Teacher Instructional Behaviors. ปราณี ใจบุญ * วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการวิจัยและสถิติทางวิทยาการปัญญา  คณะวิทยาลัยวิทยาการวิจัยและสถิติทางวิทยาการปัญญา มหาวิทยาลัยบูรพา กนก พานทอง * อาจารย์ประจ�ำ คณะวิทยาลัยวิทยาการวิจัยและสถิติทางวิทยาการปัญญา มหาวิทยาลัยบูรพา ปิยะทิพย์ ประดุจพรม * อาจารย์ประจ�ำ คณะวิทยาลัยวิทยาการวิจัยและสถิติทางวิทยาการปัญญา มหาวิทยาลัยบูรพา

Pranee Jaiboon

* Master of Science (Research And Statistics in Cognitive Science),  College of Research Methodology and Cognitive Science, Burapha University.

Kanok Panthong

* Lecturer, College of Research Methodology and Cognitive Science, Burapha University.

Piyathip Pradujprom

* Lecturer, College of Research Methodology and Cognitive Science, Burapha University.

ข้อมูลบทความ

* รับบทความ  16 มิถุนายน 2561 * แจ้งแก้ไข  14 มกราคม 2561 * ตอบรับบทความ  20 กรกฎาคม 2561


ปราณี ใจบุญ, กนก พานทอง และ ปิยะทิพย์ ประดุจพรม

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ตรวจสอบองค์ประกอบเชิง ยืนยันของตัวแปรการรับรูค้ วามสามารถของตนเอง ความต้องการภายใน ความสนใจ เป้าหมายการสอน และพฤติกรรมการสอนของครู 2) ศึกษา สหสัมพันธ์พหุคูณของตัวแปรการรับรู้ความสามารถของตนเอง ความ ต้องการภายใน ความสนใจ เป้าหมายการสอน และพฤติกรรมการสอน ของครู  3) สร้างสมการท�ำนายพฤติกรรมการสอนของครู  ด้วยตัวแปร การรับรูค้ วามสามารถของตนเอง ความต้องการภายใน ความสนใจ เป้า หมายการสอน กลุ่มตัวอย่างครูจ�ำนวน 157 คน ด้วยวิธีการสุ่มแบบ สัดส่วน กลุ่มตัวอย่างนักเรียนที่ตอบแบบสอบถามจ�ำนวน 1,570 ฉบับ ด้วยวิธกี ารสุม่ แบบอย่างง่าย เครือ่ งมือทีใ่ ช้ในการวิจยั เป็นแบบสอบถาม ส�ำหรับครูและแบบสอบถามส�ำหรับนักเรียน วิเคราะห์ข้อมูลโดยการ วิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน วิเคราะห์ความสัมพันธ์พหุคณ ู ระหว่าง ตัวแปร และวิเคราะห์พหุคูณระหว่างตัวแปรท�ำนายกับพฤติกรรมการ สอนของครู ผลการวิจยั ปรากฏว่า 1) ตัวแปรการรับรูค้ วามสามารถของ ตนเอง ความต้องการภายใน ความสนใจ เป้าหมายการสอน และ พฤติกรรมการสอนของครู  มีความตรงเชิงโครงสร้าง 2) ตัวแปรท�ำนาย การรับรูค้ วามสามารถของตนเอง ความต้องการภายใน ความสนใจ และ เป้าหมายการสอนกับตัวแปรเกณฑ์พฤติกรรมการสอนของครูมีความ สัมพันธ์กัน 3) ตัวแปรการรับรู้ความสามารถของตนเอง ความต้องการ ภายใน ความสนใจ และเป้าหมายการสอน สามารถท�ำนายพฤติกรรม การสอนของครู  ได้ร้อยละ 25.60 สามารถสร้างสมการถดถอยพหุคูณ ท�ำนายพฤติกรรมการสอนของครูได้  ดังนี้ สมการถดถอยในรูปคะแนนดิบ คือ ŶTIB = .744 + .154(SE)** + .151(IN)** + .103(INT)* + .157(TG)** สมการถดถอยในรูปคะแนนมาตรฐาน คือ ŶζTIB = .154Z**SE + .151Z**IN + .103Z*INT + .157Z**TG **p <.01 *p <.05 ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2020/2563

37


การรับรูค้ วามสามารถของตนเอง ความต้องการภายใน ความสนใจ และเป้าหมายการสอน ทีส่ มั พันธ์กบั พฤติกรรมการสอนของครู

ค�ำส�ำคัญ: Abstract

38

พฤติกรรมการสอนของครู การรับรู้ความสามารถของตนเอง ความต้องการภายใน ความสนใจ เป้าหมายการสอน

The research purposes were 1) to confirm the factors of self-efficacy, intrinsic needs, interests, teaching goals, and teacher instructional behaviors variable 2) to study multiple correlations of self-efficacy, intrinsic needs, interests, teaching goals, and teacher instructional behaviors variable 3) to build multiple regressions of teacher instructional behaviors with self-efficacy, intrinsic needs, interests, and teaching goals variable. Samples: 157 teachers by proportional stratified random sampling and 1,570 questionnaires’ students by simple random sampling. Research instruments are teacher’s questionnaire and student’s questionnaire. Data were analyzed by confirmatory factor analysis, multiple correlation analysis, and multiple regressions analysis. The research findings were 1) self-efficacy, intrinsic needs, interests, teaching goals, and teacher instructional behaviors have construct validity 2) predictor variable: selfefficacy, intrinsic needs, interests, and teaching goals; and criterion variable: teacher instructional behaviors have significant correlation. 3) self-efficacy, intrinsic needs, interests, and teaching goals could be used to teacher instructional behaviors coping at 25.60%. The multiple regression equations were as follows:

วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม


ปราณี ใจบุญ, กนก พานทอง และ ปิยะทิพย์ ประดุจพรม

Multiple regressions in the form of raw score was: ŶTIB = .744 + .154(SE)** + .151(IN)** + .103(INT)* + .157(TG)** Multiple regressions in the form of standard score was: ζ ŶTIB = .154Z**SE + .151Z**IN + .103Z*INT + .157Z**TG **p <.01 *p <.05 Keywords:

Teacher Instructional Behaviors Self-Efficacy Intrinsic Needs Interests Teaching Goals

ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2020/2563

39


การรับรูค้ วามสามารถของตนเอง ความต้องการภายใน ความสนใจ และเป้าหมายการสอน ทีส่ มั พันธ์กบั พฤติกรรมการสอนของครู

ความเป็นมาและความส�ำคัญของปัญหา การศึกษาเป็นเครือ่ งมือและกลไกส�ำคัญ ในการสร้ า งและพั ฒ นาบุ ค คลให้ มี คุ ณ ภาพ มีทกั ษะความรู ้ ความสามารถ เป็นพลเมืองทีด่ ี ของสังคมและประเทศชาติ  แผนพัฒนาการ ศึกษาได้วางยุทธศาสตร์การผลิต และพัฒนาครู และบุคลากรทางการศึกษา เพื่อให้เกิดการ พัฒนาทางวิชาชีพและมีกระบวนการเรียนการ สอนที่ดีขึ้น (ส�ำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ ส�ำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ, 2559, หน้า 44) การขับเคลื่อนแผนพัฒนาการศึกษา สู่การปฏิบัตินั้น สถานศึกษามีบทบาทอย่าง มากในการจั ด การศึ ก ษาที่ ส ่ ง เสริ ม พั ฒ นา นักเรียนให้มีความรู้  ทักษะการอ่านเขียน คิด ค�ำนวณ อันเป็นพื้นฐานส�ำคัญในการเรียนรู้ และด�ำรงชีวิตในอนาคต หลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ได้ ก�ำหนดบทบาทหน้าทีข่ องผูส้ อนว่า ผูส้ อนต้อง ก� ำ หนดเป้ า หมายที่ ต ้ อ งการให้ เ กิ ด ขึ้ น กั บ นักเรียน ออกแบบการเรียนรู้  จัดการเรียนรู้ ไปสู่เป้าหมาย จัดบรรยากาศและสื่อการเรียน รูท้ สี่ นับสนุนการเรียนรู ้ ประเมินความก้าวหน้า ระดับพัฒนาการของนักเรียน รวมถึงปรับปรุง พั ฒ น า ก า ร เรี ย น ก า ร ส อ น   ( ก ร ะ ท ร ว ง ศึกษาธิการ, 2551, หน้า 26) กล่าวถึงบทบาท ของผู้สอนในการจัดการเรียนรู้ได้ว่า ครูมีหน้า ที่ ห ลั ก ทางด้ า นการเรี ย นการสอน การจั ด ประสบการณ์เรียนรูแ้ ละการส่งเสริมการเรียนรู้ 40

วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

ของนักเรียน เพือ่ น�ำไปสูเ่ ป้าหมายทีต่ อ้ งการให้ เกิดขึน้ กับนักเรียน เรียกโดยรวมว่า พฤติกรรม การสอนของครู  การจัดการเรียนรูก้ บั พฤติกรรมการสอน ของครูจงึ เป็นสิง่ ทีค่ วบคูก่ นั  พฤติกรรมการสอน ของครูเป็นการแสดงออกถึงพฤติกรรมในรูป แบบของการอบรม การสั่งสอน การถ่ายทอด วิชาความรู้ให้กับผู้เรียน การปฏิบัติหน้าที่ตาม ความรับผิดชอบ การเป็นแบบอย่างที่ดี  การ ประพฤติตนให้ควรแก่ความเคารพของนักเรียน รวมถึ ง การมี ป ฏิ สั ม พั น ธ์ ที่ ดี ร ะหว่ า งครู กั บ นักเรียน (สันติ  บุญภิรมย์, 2557, หน้า 14) โดยพฤติกรรมการสอนของครูประกอบด้วย 3 ด้าน คือ การจัดกิจกรรมความรู ้ การจัดการ เรียนรูใ้ นห้องเรียน และสัมพันธภาพระหว่างครู กับนักเรียน แต่หากมองพฤติกรรมของบุคคล ให้ลึกลงไป พฤติกรรมของบุคคลที่เกิดขึ้นหรือ เปลี่ยนแปลงไปนั้น ไม่ได้เกิดจากปัจจัยสภาพ แวดล้อมเพียงอย่างเดียว ยังมีแรงจูงใจภายใน หรื อ ปั จ จั ย ที่ เ กิ ด จากภายในจิ ต ใจ ร่ ว มมี ปฏิสัมพันธ์เกี่ยวเนื่องกันท�ำให้เกิดพฤติกรรม ของบุ ค คล หากสามารถส่ ง เสริ ม แรงจู ง ใจ ภายในพฤติกรรมของบุคคลให้มีการพัฒนา ความสามารถของตนเองที่มีประสิทธิภาพมาก ยิง่ ขึน้  จะส่งผลให้การปฏิบตั งิ านมีคณ ุ ภาพเพิม่ ขึ้นด้วยเช่นกัน (ทนงศักดิ์  นันทกร, สมศักดิ์ สีดากุลฤทธิ ์ และจ�ำนงค์  ศรีมงั กร, 2559) แรง จูงใจภายในเป็นสิ่งเร้าต่อการตอบสนองและ


ปราณี ใจบุญ, กนก พานทอง และ ปิยะทิพย์ ประดุจพรม

การแสดงออกทางพฤติกรรมของบุคคล แรง จูงใจภายในตัวบุคคลจึงมีสว่ นร่วมในการแสดง ออกทางพฤติกรรมการสอนของครู  จากการทบทวนวรรณกรรมพบว่า แรง จูงใจภายในตัวบุคคลที่ส่งเสริมพฤติกรรมการ สอนของครู  ได้แก่  การรับรู้ความสามารถของ ตนเอง ความต้องการภายใน ความสนใจ และ เป้าหมายการสอน โดยขยายความได้  ดังนี้ การรับรูค้ วามสามารถของตนเอง (SelfEfficacy) เป็นความเชื่อที่มีต่อการรับรู้ความ สามารถโดยเฉพาะเจาะจงของตนเอง ในการ กระท�ำเรื่องใดเรื่องหนึ่งตามสถานการณ์หรือ เหตุการณ์  น�ำมาซึ่งการแสดงออกทางบุคลิก ภาพของบุคคล มีความเกี่ยวข้องทางบวกกับ พฤติกรรม ส่งผลกับประสิทธิภาพการท�ำงาน ที่มีผลต่อการเลือกกระท�ำ ความพยายามมุ่ง มานะในการกระท�ำ รูปแบบความคิด และการ ตอบสนองทางอารมณ์ ข องบุ ค คล การรั บ รู ้ ความสามารถของตนเองมีผลต่อบุคคลในการ เลือกกระท�ำพฤติกรรมหรือไม่ท�ำพฤติกรรม หากประเมินการรับรู้ความสามารถของตนเอง ต�ำ่  อาจก่อให้บคุ คลเกิดการหลีกเลีย่ งงาน ขาด ความมั่นใจเผชิญสถานการณ์นั้นๆ (Bandura, 2004) โดยการรับรู้ความสามารถของตนเอง ประกอบด้วย 3 ด้าน คือ ความสามารถทาง เนือ้ หาวิชา ทัศนคติตอ่ วิชา และความคาดหวัง ต่อวิชา

ความต้องการภายใน (Intrinsic Needs) เป็นพืน้ ฐานความปรารถนาในจิตใจทีเ่ กีย่ วข้อง กับการท�ำงานของบุคคล ความต้องการภายใน ส่งผลต่อความพึงพอใจในการท�ำงานและมีผล ต่อผลงาน แรงจูงใจ การปรับตัว ปฏิสัมพันธ์ กับผูอ้ นื่ ในการท�ำงานและส่งเสริมต่อการมีสว่ น ร่วมในองค์กร อารมณ์และความอ่อนล้าในการ ท�ำงาน ความต้องการภายในมีความเกี่ยวข้อง กับแรงจูงใจภายในที่เป็นสิ่งผลักดันให้เกิดการ กระท�ำของบุคคลจนน�ำไปสูค่ วามส�ำเร็จ (Deci & Ryan, 2002, p. 42) โดยความต้ อ งการ ภายในประกอบด้วย 3 ด้าน คือ ความมีอสิ ระ ก� ำ หนดตนเอง ความต้ อ งการเป็ น ผู ้ มี ค วาม สามารถ และความต้องการมีปฏิสัมพันธ์กับ ผู้อื่น ความสนใจ (Interests) เป็นความตัง้ ใจ ของบุคคลที่เกี่ยวข้องกับความแน่วแน่  การ เอาใจใส่ต่อเรื่องที่สนใจ อันจะน�ำไปสู่แรงจูงใจ ภายในที่ผลักดันให้บุคคลกระท�ำพฤติกรรมจน บรรลุเป้าหมาย ความสนใจของบุคคลมาจาก การก�ำหนดภายในจิตใจที่มีความสัมพันธ์ต่อ การรับรู้และความรู้สึก ความสนใจเกิดขึ้นเมื่อ บุคคลรับรู้ความรู้สึกในเชิงบวกและให้ความ ส�ำคัญกับเรื่องนั้นๆ เมื่อบุคคลมีความสนใจ ย่อมก่อให้เกิดการใฝ่รู้เรื่องนั้นๆ และน�ำไปสู่ พฤติกรรมต่อเรื่องที่ตนเองสนใจ (Schiefele, Streblow, & Retelsdorf, 2013) โดยความ

ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2020/2563

41


การรับรูค้ วามสามารถของตนเอง ความต้องการภายใน ความสนใจ และเป้าหมายการสอน ทีส่ มั พันธ์กบั พฤติกรรมการสอนของครู

สนใจประกอบด้วย 3 ด้าน คือ ความสนใจใน วิชา ความสนใจในการสอน และความสนใจ ด้านการศึกษา เป้าหมายการสอน (Teaching Goals) หรือเป้าหมายการเรียนรู้  (Mastery Goals) ในด้านของผู้สอน จุดมุ่งหมายที่ต้องการไปสู่ ความส�ำเร็จ การก�ำหนดเป้าหมายเป็นกรอบ แนวทางและแรงจูงใจเพื่อด�ำเนินพฤติกรรมให้ บรรลุตามผลส�ำเร็จทีต่ งั้ ไว้ ในการสอนทีม่ งุ่ ไปสู่ ผลส�ำเร็จตามเป้าหมายการสอนนั้น ครูที่มีเป้า หมายการสอนเหมือนกันอาจมีแนวทางการ สอนของแต่ ล ะบุ ค คลที่ แ ตกต่ า งกั น ออกไป (Butler & Shibaz, 2008) โดยเป้าหมายการ สอนประกอบด้วย 3 ด้าน คือ เป้าหมายการ เป็นมืออาชีพ เป้าหมายความสามารถ-วิธีการ สอน และเป้าหมายการหลีกเลี่ยงอุปสรรค ดังนั้น แรงจูงใจภายในตัวบุคคล ได้แก่ การรับรู้ความสามารถของตนเอง ความต้อง การภายใน ความสนใจ และเป้าหมายการสอน ส่งเสริมต่อการแสดงออกทางพฤติกรรมการ สอนของครู  สอดคล้องกับงานวิจัยของ Holzberger, Philipp, and Kunter (2014) ที่ว่า การรับรูค้ วามสามารถของตนเอง (Self-Efficacy) และความต้องการภายใน (Intrinsic Needs) มีความสัมพันธ์และส่งผลต่อพฤติกรรมการสอน ของครู   และแนวคิ ด ของ Schiefele and Schaffner (2015) ที่ว่า ความสนใจ (Inter-

42

วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

ests) และ เป้าหมายการสอน (Teaching Goals) หรือเป้าหมายการเรียนรู้  (Mastery Goals) เป็นอีกปัจจัยที่ส่งผลต่อการท�ำนาย พฤติกรรมการสอนของครู พฤติ ก รรมการสอนของครู เ ป็ น องค์ ประกอบส�ำคัญในการจัดการเรียนรู ้ อันน�ำไปสู่ ความส�ำเร็จทางการศึกษา ยิ่งในการเรียนการ สอนระดับมัธยมศึกษาทีม่ สี าระและเนือ้ หาวิชา ที่หลากหลาย เป็นระดับการศึกษาพื้นฐานที่ น�ำไปสู่การเลือกศึกษาต่อสายสามัญหรือสาย อาชีพ ครูต้องมีพฤติกรรมการสอนที่สามารถ ถ่ายทอดความรู้ให้นักเรียนเข้าใจเนื้อหาวิชา มี ทั ก ษะความรู ้ ที่ พ ร้ อ มเผชิ ญ ต่ อ ระดั บ การ ศึกษาทีส่ งู ขึน้  จากความส�ำคัญนี ้ กลุม่ โรงเรียน คาทอลิกสังกัดสังฆมณฑลจันทบุรีที่มีนโยบาย ส่ ง เสริ ม พั ฒ นาคุ ณ ภาพการศึ ก ษาให้ มี ประสิทธิภาพ มุง่ เน้นงานบริหารการศึกษาตาม มาตรฐานคาทอลิ ก และสอดคล้ อ งกั บ การ บริ ห ารการศึ ก ษาตามมาตรฐานการศึ ก ษา วิ สั ย ทั ศ น์   “อั ต ลั ก ษณ์ ก ารศึ ก ษาเด่ น  เป็ น โรงเรียนมาตรฐานคุณภาพการศึกษาคาทอลิก มุง่ สัมฤทธิผ์ ลแบบองค์รวม” (โรงเรียนคาทอลิก สังกัดสังฆมณฑลจันทบุรี, 2553) เชื่อว่าครู เป็นหัวใจหลักในการถ่ายทอดองค์ความรู้และ พฤติ ก รรมให้ กั บ นั ก เรี ย น  การส่ ง เสริ ม พฤติกรรมการสอนของครูจะส่งผลทางบวกต่อ การเรียนรู้ของนักเรียน กลุ่มโรงเรียนคาทอลิก


ปราณี ใจบุญ, กนก พานทอง และ ปิยะทิพย์ ประดุจพรม

สังกัดสังฆมณฑลจันทบุร ี หากสามารถส่งเสริม แรงจูงใจภายในพฤติกรรมการสอนของครูได้ จะเพิม่ ประสิทธิภาพการสอนของครู และก่อให้ เกิดประโยชน์ต่อการเรียนรู้ของนักเรียน  วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพือ่ ตรวจสอบองค์ประกอบเชิงยืนยัน ของตัวแปรการรับรู้ความสามารถของตนเอง ความต้องการภายใน ความสนใจ เป้าหมาย การสอน และพฤติกรรมการสอนของครู 2. เพื่อศึกษาสหสัมพันธ์พหุคูณตัวแปร การรั บ รู ้ ค วามสามารถของตนเอง ความ ต้องการภายใน ความสนใจ เป้าหมายการสอน และพฤติกรรมการสอนของครู 3. เพื่อสร้างสมการท�ำนายพฤติกรรม การสอนของครู   ด้ ว ยตั ว แปรการรั บ รู ้ ค วาม สามารถของตนเอง ความต้ อ งการภายใน ความสนใจ และเป้าหมายการสอน กรอบแนวคิดในการวิจัย แรงจูงใจภายในที่ส่งเสริมต่อพฤติกรรม การสอนของครู  จากการทบทวนวรรณกรรม พบว่า มี  2 แนวคิด ได้แก่  แนวคิดของ Holzberger et al. (2014) และ Schiefele and Schaffner (2015) จึงได้ตัวแปรท�ำนายการ

รับรู้ความสามารถของตนเอง ความต้องการ ภายใน ความสนใจ และเป้าหมายการสอน ที่สัมพันธ์ต่อตัวแปรเกณฑ์พฤติกรรมการสอน ของครู ในการศึกษาวิจยั ครัง้ นี ้ ผูว้ จิ ยั วัดตัวแปร การรั บ รู ้ ค วามสามารถของตนเอง ความ ต้องการภายใน ความสนใจ และเป้าหมายการ สอน โดยใช้การวิเคราะห์จากแบบสอบถาม ส�ำหรับครู  และในส่วนตัวแปรพฤติกรรมการ สอนของครูใช้การวิเคราะห์จากแบบสอบถาม ส�ำหรับนักเรียน สามารถสรุปกรอบแนวคิดใน การวิจัยได้ดังภาพที่  1 (หน้าที่  44) สมมติฐานของการวิจัย  1. องค์ประกอบของตัวแปรการรับรู้ ความสามารถของตนเอง ความต้องการภายใน ความสนใจ เป้าหมายการสอน และพฤติกรรม การสอนของครูสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ 2. ตัวแปรพฤติกรรมการสอนของครู มีความสัมพันธ์พหุคณ ู กับตัวแปรการรับรูค้ วาม สามารถของตนเอง ความต้ อ งการภายใน ความสนใจ และเป้าหมายการสอน 3.  สามารถสร้ า งสมการท� ำ นาย พฤติกรรมการสอนของครู  ด้วยตัวแปรการรับ รู ้ ค วามสามารถของตนเอง ความต้ อ งการ ภายใน ความสนใจ และเป้าหมายการสอน

ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2020/2563

43


การรับรูค้ วามสามารถของตนเอง ความต้องการภายใน ความสนใจ และเป้าหมายการสอน ทีส่ มั พันธ์กบั พฤติกรรมการสอนของครู

ภาพที่ 1 กรอบแนวคิดการรับรู้ความสามารถของตนเอง ความต้องการภายใน ความสนใจ และ เป้าหมายการสอนที่สัมพันธ์กับพฤติกรรมการสอนของครู ขอบเขตของการวิจัย ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้  แบ่ง ออกเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ 1. กลุ ่ ม ครู   ระดั บ ชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่ 1-3 ในกลุ ่ ม โรงเรี ย นคาทอลิ ก สั ง ฆมณฑล จันทบุร ี จ�ำนวน 11 โรงเรียน ภาคเรียนที ่ 2 ปี การศึกษา 2560 จ�ำนวน 230 คน (โรงเรียน คาทอลิกสังกัดสังฆมณฑลจันทบุรี, 2560) 2. กลุ ่ ม นั ก เรี ย น ที่ ก� ำ ลั ง ศึ ก ษาอยู ่ ใ น ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่  1-3 ในกลุ่มโรงเรียน คาทอลิ ก สั ง ฆมณฑลจั น ทบุ รี   จ� ำ นวน 11 โรงเรียน ภาคเรียนที่  2 ปีการศึกษา 2560 จ�ำนวน 3,431 คน (โรงเรียนคาทอลิกสังกัด สังฆมณฑลจันทบุรี, 2560) 44

วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

กลุม่ ตัวอย่างทีใ่ ช้ในการวิจยั ครัง้ นี ้ แบ่ง ออกเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ 1. กลุ ่ ม ครู   ระดั บ ชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่ 1-3 ในกลุ ่ ม โรงเรี ย นคาทอลิ ก สั ง ฆมณฑล จันทบุร ี จ�ำนวน 11 โรงเรียน ภาคเรียนที ่ 2 ปี การศึกษา 2560 จ�ำนวน 157 คน ที่ได้จาก การสุ่มแบบเป็นสัดส่วน 2. กลุ ่ ม นั ก เรี ย น ที่ ก� ำ ลั ง ศึ ก ษาอยู ่ ใ น ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่  1-3 ในกลุ่มโรงเรียน คาทอลิ ก สั ง ฆมณฑลจั น ทบุ รี   จ� ำ นวน 11  โรงเรียน ภาคเรียนที่  2 ปีการศึกษา 2560 ที่ ตอบแบบสอบถามจ�ำนวน 1,570 ฉบับ โดยได้ มาจากการสุ่มแบบอย่างง่าย


ปราณี ใจบุญ, กนก พานทอง และ ปิยะทิพย์ ประดุจพรม

ตัวแปรที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1. ตั ว แปรท� ำ นาย ประกอบด้ ว ย 4 ตัวแปรแฝง ได้แก่  1.1 การรับรูค้ วามสามารถของตนเอง (Self-Efficacy) ประกอบด้วยตัวแปรสังเกต ได้  3 ตัวแปร ได้แก่  ความสามารถทางเนื้อหา วิชา ทัศนคติตอ่ วิชา และความคาดหวังต่อวิชา 1.2 ความต้องการภายใน (Intrinsic Needs) ประกอบด้วยตัวแปรสังเกตได้  3 ตัว แปร ได้แก่ ความต้องการมีอสิ ระก�ำหนดตนเอง ความต้องการเป็นผูม้ คี วามสามารถ และความ ต้องการมีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น 1.3 ความสนใจ (Interests) ประกอบ ด้วยตัวแปรสังเกตได้  3 ตัวแปร ได้แก่  ความ สนใจในวิชา ความสนใจในการสอน และความ สนใจด้านการศึกษา  1.4 เป้าหมายการสอน (Teaching Goals) ประกอบด้วยตัวแปรสังเกตได้  3 ตัว แปร ได้แก่  เป้าหมายการเป็นมืออาชีพ เป้า หมายความสามารถ-วิธกี ารสอน และเป้าหมาย การหลีกเลี่ยงอุปสรรค  2. ตัวแปรเกณฑ์  ได้แก่  พฤติกรรมการ สอนของครู (Teacher Instructional Behaviors) ประกอบด้วยตัวแปรสังเกตได้  3 ตัวแปร ได้แก่  การจัดกิจกรรมความรู ้ การจัดการเรียน รู้ในห้องเรียน และสัมพันธภาพระหว่างครูกับ นักเรียน

ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. ครู ส ามารถน� ำ ปั จ จั ย ที่ ส ่ ง ผลต่ อ พฤติกรรมการสอนของครู  มาเป็นแนวทาง พัฒนาตนเองเพื่อส่งเสริมพฤติกรรมการสอน ของครูมีประสิทธิภาพสูงขึ้น  2. คณะผู ้ บ ริ ห ารและผู ้ ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง สามารถน�ำผลการวิจัยครั้งนี้ไปเป็นแนวทาง ในการพัฒนาแนวทางนโยบายการบริหารงาน ที่ ส ่ ง เสริ ม ให้ มี พ ฤติ ก รรมการสอนของครู มี คุณภาพและประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น  วิธีด�ำเนินการวิจัย การพัฒนาเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบ รวมข้อมูล โดยสร้างข้อค�ำถามให้สอดคล้อง และครอบคลุ ม กั บ นิ ย ามศั พ ท์ เ ฉพาะตาม แนวคิ ด  ทฤษฎี ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง น� ำ เครื่ อ งมื อ ให้ ผู้เชี่ยวชาญจ�ำนวน 4 คน ตรวจสอบความตรง เชิงเนื้อหา (Content Validity) และน�ำไป ทดลองใช้  (Tryout) กับครูและนักเรียนที่เป็น โรงเรียนที่มีลักษณะคล้ายคลึงกับกลุ่มตัวอย่าง ครูและกลุม่ ตัวอย่างนักเรียน พิจารณาเลือกข้อ ค�ำถามที่มีค่าอ�ำนาจจ�ำแนกรายข้อตั้งแต่  .20 ขึน้ ไป ได้คา่ ความเทีย่ งแบบสอบถามส�ำหรับครู เท่ากับ .97 และได้คา่ ความเทีย่ งแบบสอบถาม ส�ำหรับนักเรียนเท่ากับ .93

ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2020/2563

45


การรับรูค้ วามสามารถของตนเอง ความต้องการภายใน ความสนใจ และเป้าหมายการสอน ทีส่ มั พันธ์กบั พฤติกรรมการสอนของครู

การด�ำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล เริ่ม จากการท�ำหนังสือขอความอนุเคราะห์ในการ เก็ บ ข้ อ มู ล การวิ จั ย   จั ด ท� ำ เอกสารชี้ แ จง วัตถุประสงค์การวิจัย และใบยินยอมเข้าร่วม การวิจยั  ผูว้ จิ ยั ด�ำเนินการเก็บข้อมูลด้วยตนเอง และทางไปรษณีย์  ระหว่างวันที่  24 มกราคม ถึงวันที ่ 14 กุมภาพันธ์ 2561 ได้แบบสอบถาม ที่สมบูรณ์และสามารถน�ำมาวิเคราะห์  แบบ สอบถามส�ำหรับครูจ�ำนวน 157 ฉบับ แบบ สอบถามส�ำหรับนักเรียนจ�ำนวน 1,570 ฉบับ คิ ด เป็ น ร้ อ ยละ 95.15 ของแบบสอบถามที่ แจกไป บันทึกลงโปรแกรมการประมวลผล เพื่อวิเคราะห์ตามขั้นตอน ดังนี้

ขั้นตอนที่  1 การตรวจสอบความตรง เชิงโครงสร้างตัวแปรการรับรูค้ วามสามารถของ ตนเอง ความต้องการภายใน ความสนใจ เป้า หมายการสอน และพฤติกรรมการสอนของ ครูด้วยการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน (Confirmatory Factor Analysis) จากตัว แปรสั ง เกตได้   เพื่ อ ตรวจสอบความตรงเชิ ง โครงสร้าง ขั้ น ตอนที่   2  การตรวจสอบความ สัมพันธ์พหุคูณตัวแปรการรับรู้ความสามารถ ของตนเอง ความต้องการภายใน ความสนใจ เป้าหมายการสอน และพฤติกรรมการสอนของ ครู เพือ่ ตรวจสอบความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร ท�ำนายและตัวแปรเกณฑ์ ขั้นตอนที่  3 การสร้างสมการท�ำนาย พฤติกรรมการสอนของครู  ด้วยตัวแปรการ รับรู้ความสามารถของตนเอง ความต้องการ ภายใน ความสนใจ และเป้าหมายการสอน

ผลการวิเคราะห์ข้อมูล 1. ผลการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันเพื่อตรวจสอบความตรงเชิงโครงสร้าง ตารางที่ 1 ผลการวิเคราะห์ตัวแปรการรับรู้ความสามารถของตนเอง ตัวแปรสังเกตได้ ผลการวิเคราะห์ น�้ำหนักองค์ประกอบ SE ความสามารถทางเนื้อหาวิชา 0.794** .030 ทัศนคติต่อวิชา 0.835** .028 ความคาดหวังต่อวิชา 0.681** .032 ** p < .01

46

วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

t-value 11.428 11.471 8.833


ปราณี ใจบุญ, กนก พานทอง และ ปิยะทิพย์ ประดุจพรม

จากตารางที ่ 1 ปรากฏว่าตัวแปรแฝงการรับรูค้ วามสามารถของตนเอง ประกอบด้วย ตัวแปร สังเกตได้ 3 ตัวแปร ได้แก่ ความสามารถทางเนือ้ หาวิชา ทัศนคติตอ่ วิชา และความคาดหวังต่อวิชา มีคา่ น�ำ้ หนักองค์ประกอบเท่ากับ .794 .835 และ .681 ตามล�ำดับ และมีนยั ส�ำคัญทางสถิตทิ  ี่ .01 ตารางที่ 2 ผลการวิเคราะห์ตัวแปรความต้องการภายใน ตัวแปรสังเกตได้ ผลการวิเคราะห์ น�้ำหนักองค์ประกอบ SE t-value ความต้องการมีอิสระก�ำหนดตนเอง .717** .035 9.712 ความต้องการเป็นผู้มีความสามารถ .788** .035 10.188 ความต้องการมีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น .761** .039 9.772 ** p < .01 จากตารางที ่ 2 ปรากฏว่า ตัวแปรแฝงความต้องการภายใน ประกอบด้วย ตัวแปรสังเกตได้ 3 ตัวแปร ได้แก่ ความต้องการมีอสิ ระก�ำหนดตนเอง ความต้องการเป็นผูม้ คี วามสามารถ และความ ต้องการมีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น มีค่าน�้ำหนักองค์ประกอบเท่ากับ .717 .788 และ.761 ตามล�ำดับ และมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่  .01 ตารางที่ 3 ผลการวิเคราะห์ตัวแปรความสนใจ ตัวแปรสังเกตได้ ผลการวิเคราะห์ น�้ำหนักองค์ประกอบ SE t-value ความสนใจในวิชา .703** .032 9.653 ความสนใจในการสอน .851** .029 11.883 ความสนใจด้านการศึกษา .847** .033 11.808 ** p < .01 จากตารางที ่ 3 ปรากฏว่า ตัวแปรแฝงความสนใจประกอบด้วย ตัวแปรสังเกตได้  3 ตัวแปร ได้แก่  ความสนใจในวิชา ความสนใจในการสอน และความสนใจด้านการศึกษา มีค่าน�ำ้ หนักองค์ ประกอบเท่ากับ .703 .851 และ .847 ตามล�ำดับ และมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่  .01

ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2020/2563

47


การรับรูค้ วามสามารถของตนเอง ความต้องการภายใน ความสนใจ และเป้าหมายการสอน ทีส่ มั พันธ์กบั พฤติกรรมการสอนของครู

ตารางที่ 4 ผลการวิเคราะห์ตัวแปรเป้าหมายการสอน ตัวแปรสังเกตได้ ผลการวิเคราะห์ น�้ำหนักองค์ประกอบ SE t-value เป้าหมายการเรียนรู้ .903** .025 14.480 เป้าหมายความสามารถ-วิธีการ .841** .030 12.475 เป้าหมายการหลีกเลี่ยง .683** .038 9.280 ** p < .01 จากตารางที ่ 4 ปรากฏว่า ตัวแปรแฝงเป้าหมายการสอน ประกอบด้วย ตัวแปรสังเกตได้  3 ตัวแปร ได้แก่  เป้าหมายการเรียนรู้  เป้าหมายความสามารถ-วิธีการ และเป้าหมายการหลีกเลี่ยง มีค่าน�้ำหนักองค์ประกอบเท่ากับ .903 .841 และ.683 ตามล�ำดับ และมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่  .01 ตารางที่ 5 ผลการวิเคราะห์ตัวแปรพฤติกรรมการสอนของครู ตัวแปรสังเกตได้ ผลการวิเคราะห์ น�้ำหนักองค์ประกอบ SE t-value การจัดกิจกรรมความรู้ .902** .012 57.835 การจัดการเรียนรู้ในห้องเรียน .919** .012 57.835 สัมพันธภาพระหว่างครูกับนักเรียน .905** .014 55.758 ** p < .01 จากตารางที ่ 5 ปรากฏว่า ตัวแปรแฝงพฤติกรรมการสอน ประกอบด้วย ตัวแปรสังเกตได้  3 ตัวแปร ได้แก่  การจัดกิจกรรมความรู้  การจัดการเรียนรู้ในห้องเรียน และสัมพันธภาพระหว่างครู กับนักเรียน มีค่าน�้ำหนักองค์ประกอบเท่ากับ .902 .919 และ .905 ตามล�ำดับ และมีนัยส�ำคัญ ทางสถิติที่  .01

48

วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม


ปราณี ใจบุญ, กนก พานทอง และ ปิยะทิพย์ ประดุจพรม

2. ผลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์พหุคูณระหว่างตัวแปร ตารางที่ 6 ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร ตัวแปร การรับรู้ ความสามารถของตนเอง ความต้องการภายใน ความสนใจ เป้าหมายการสอน พฤติกรรมการสอนของครู ** p < .01

การรับรู้                                                           พฤติกรรม ความสามารถ    ความต้องการ    ความสนใจ    เป้าหมาย       การสอน ของตนเอง       ภายใน                            การสอน         ของครู 1.00 .653**           1.00 .671**           .696**             1.00 .639**           .574**             .791**       1.00 .406**           .404**             .435**       .417**       1.00

จากตารางที่  6 ปรากฏว่า ตัวแปรการรับรู้ความสามารถของตนเอง ความต้องการภายใน ความสนใจ เป้าหมายการสอน และพฤติกรรมการสอนของครู  มีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์อย่างมี นัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ทุกคู่  โดยตัวแปรท�ำนายการรับรู้ความสามารถของตนเอง ความ ต้องการภายใน ความสนใจ และเป้าหมายการสอน กับตัวแปรเกณฑ์พฤติกรรมการสอนของครู พบว่า มีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เท่ากับ .406 .404 .435 และ .417 ตามล�ำดับ และมีค่า สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์พหุคูณ(R) เท่ากับ .506 3. ผลการวิเคราะห์ตัวแปรท�ำนายกับพฤติกรรมการสอนของครู ตารางที่ 7 ผลการวิเคราะห์สมการถดถอยพหุคูณท�ำนายพฤติกรรมการสอนของครู  (n=1,570) ตัวแปรต้น b SE b  β การรับรู้ความสามารถของตนเอง .154** .049 .154** ความต้องการภายใน .151** .052 .151** ความสนใจ .103* .048 .103* เป้าหมายการสอน .157** .048 .157** Constant .744 .037 χ2 = 35.726, df = 26, P = 0.097, RMSEA = .015, R = .506, R2 = .256 **p <.01 *p <.05 ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2020/2563

49


การรับรูค้ วามสามารถของตนเอง ความต้องการภายใน ความสนใจ และเป้าหมายการสอน ทีส่ มั พันธ์กบั พฤติกรรมการสอนของครู

ภาพที่ 2 โมเดลการถดถอยพหุคูณส�ำหรับการท�ำนายพฤติกรรมการสอนของครู จากตารางที ่ 7 ผลการวิเคราะห์สมการถดถอยพหุคณ ู ท�ำนายพฤติกรรมการสอนของครู และ ภาพที่  2 โมเดลการถดถอยพหุคูณส�ำหรับการท�ำนายผลพฤติกรรมการสอนของครู  ด้วยวิธีการ ถดถอยพหุคณ ู แบบใส่ตวั แปรพร้อมกัน ปรากฏว่า การรับรูค้ วามสามารถของตนเอง ความต้องการ ภายใน เป้าหมายการสอน มีนยั ส�ำคัญทางสถิตทิ รี่ ะดับ .01 และตัวแปรความสนใจ มีนยั ส�ำคัญทาง สถิตทิ รี่ ะดับ .05 สามารถท�ำนายพฤติกรรมการสอนของครู ได้รอ้ ยละ 25.60 โดยตัวแปรเป้าหมาย การสอน สามารถท�ำนายได้มากทีส่ ดุ เท่ากับ .157 รองลงมา คือ ตัวแปรการรับรูค้ วามสามารถของ ตนเอง ตัวแปรความต้องการภายใน ตัวแปรความสนใจ เท่ากับ .154 .151 และ .103 ตามล�ำดับ สามารถสร้างสมการถดถอยพหุคูณท�ำนายพฤติกรรมการสอนของครูได้  ดังนี้ สมการถดถอยในรูปคะแนนดิบ คือ ŶTIB = .744 + .154(SE)** + .151(IN)** + .103(INT)* + .157(TG)** สมการถดถอยในรูปคะแนนมาตรฐาน คือ ZTIB = .154Z**SE + .151Z**IN + .103Z*INT + .157Z**TG 50

วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม


ปราณี ใจบุญ, กนก พานทอง และ ปิยะทิพย์ ประดุจพรม

สรุปอภิปรายผล ผลการวิจัยการรับรู้ความสามารถของ ตนเอง ความต้องการภายใน ความสนใจและ เป้าหมายการสอน ทีส่ มั พันธ์กบั พฤติกรรมการ สอนของครู  ปรากฏดังนี้ 1. ตัวแปรการรับรู้ความสามารถของ ตนเอง ความต้องการภายใน ความสนใจ เป้า หมายการสอน และพฤติกรรมการสอนของครู มีความตรงเชิงโครงสร้างสอดคล้องกับข้อมูล เชิ ง ประจั ก ษ์   เนื่ อ งจากองค์ ป ระกอบของ ตั ว แปรเป็ น ไปตามแนวคิ ด และทฤษฎี ที่ ตั้ ง สมมติฐานไว้  สอดคล้องกับผลวิจัยของ สายใจ อินทรณรงค์  (2554) ที่พบว่า ความสามารถ ด้านการสอนเป็นองค์ประกอบของการรับรู้ ความสามารถของตนเอง สอดคล้องกับผลวิจยั ของ คริสวัฒน์  บุญญะสิทธิ์  (2554) ที่พบว่า ครู ผู ้ ส อนมี ค วามต้ อ งการพั ฒ นาในด้ า นการ ปฏิ บั ติ ง าน ด้ า นความรู ้ แ ละประสบการณ์ วิชาชีพ และสอดคล้องกับผลวิจัยของ Long and Hoy (2006) ทีพ่ บว่า ครูกระตือรือร้นต่อ วิชา ครูมีความรอบรู้  เป็นองค์ประกอบการ รับรู้ของนักเรียนที่มีต่อความสนใจของครู  2. ตัวแปรท�ำนายการรับรูค้ วามสามารถ ของตนเอง ความต้องการภายใน ความสนใจ และเป้าหมาย การสอน มีความสัมพันธ์พหุคณ ู กับตัวแปรเกณฑ์พฤติกรรมการสอนของครู เนื่ องจากการรับรู้ความสามารถของตนเอง

ความต้ อ งการภายใน ความสนใจ และเป้ า หมายการสอน เป็นแรงจูงใจภายในที่มีความ สัมพันธ์กับพฤติกรรมการสอนของครู  ซึ่งเป็น ไปตามแนวคิดและทฤษฎี สอดคล้องกับผลวิจยั ของ ศุภชัย สว่างภพ, ประวิต เอราวรรณ์ และ ไพบูลย์ บุญไชย (2555) ทีพ่ บว่า ปัจจัยด้านครู มีความสัมพันธ์กับประสิทธิภาพการสอนของ ครู   และสอดคล้ อ งกั บ ผลวิ จั ย ของ อเทตยา แก้วศรีหา, กระพัน ศรีงาน และโกวิท วัชรินท รางกูร (2558) ที่พบว่า แรงจูงใจ ก�ำลังใจใน การปฏิ บั ติ ง าน เจตคติ ต ่ อ การสอน มี ค วาม สัมพันธ์ทางบวกกับประสิทธิภาพการสอนของ ครู 3. ตัวแปรการรับรู้ความสามารถของ ตนเอง ความต้องการภายใน ความสนใจ และ เป้าหมายการสอน ร่วมกันท�ำนายพฤติกรรม การสอนของครู  ได้ร้อยละ 25.60 เนื่องจาก พฤติกรรมการสอนของครูทแี่ สดงออกส่วนหนึง่ มาจากแรงจูงใจภายในร่วมมีปฏิสัมพันธ์ท�ำให้ เกิ ด พฤติ ก รรมของบุ ค คล ซึ่ ง สอดคล้ อ งกั บ สมมติฐานของการวิจัยและสอดคล้องกับผล วิจัยของ ดนุรี  เงินศรี  และณัฏฐภรณ์  หลาว ทอง (2552) ที่พบว่า การรับรู้ความสามารถ ของตนเองของครู มี อิ ท ธิ พ ลทางตรงต่ อ พฤติกรรมการสอนของครู  สอดคล้องกับผล วิจัยของ พรรณทรี  โชคไพศาล และจุไรรัตน์ สุดรุ่ง (2554) ที่พบว่า พฤติกรรมนิเทศด้าน

ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2020/2563

51


การรับรูค้ วามสามารถของตนเอง ความต้องการภายใน ความสนใจ และเป้าหมายการสอน ทีส่ มั พันธ์กบั พฤติกรรมการสอนของครู

ความสัมพันธ์ การเสริมแรงและการให้ครูมสี ว่ น ร่วมส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการ สอนของครู   และสอดคล้ อ งกั บ ผลวิ จั ย ของ Maulana, Opdenakker, and Bosker (2016) ที่ พ บว่ า  แรงจู ง ใจทางการศึ ก ษามี อิ ท ธิ พ ลต่ อ พฤติ ก รรมการสอนของครู   และ พฤติกรรมการสอนของครูที่มีคุณภาพสามารถ พัฒนาแรงจูงใจทางด้านวิชาการของนักเรียน  ข้อเสนอแนะการวิจัย 1. ข้อเสนอแนะในการน�ำผลการวิจยั ไปใช้ ครู ส ามารถน� ำ ผลการวิ จั ย ไปใช้ เ ป็ น ข้ อ มู ล ในการพั ฒ นาตนเองเพื่ อ ส่ ง เสริ ม พฤติกรรมการสอนของครูให้มีประสิทธิภาพ สูงขึน้  เนือ่ งจากการรับรูค้ วามสามารถเป็นแรง จู ง ใจภายในที่ มี ต ่ อ ความเชื่ อ มั่ น ในความ สามารถของตนเอง ครูทมี่ คี วามเชือ่ มัน่ จะแสดง พฤติ ก รรมในความพยายามและกระตุ ้ น นักเรียนให้มีความกระตือรือร้นใน การเรียน ขณะเดียวกันเมื่อครูได้รับการเติมเต็มความ ต้องการภายใน เช่น ได้รบั โอกาสพัฒนาวิชาชีพ มีปฏิสัมพันธ์ที่ดีกับเพื่อนครู  เป็นต้น ครูจะรับ รู้ถึงความก้าวหน้าในการท�ำงานและท�ำงาน ด้วยความมุ่งมั่นเต็มใจกระท�ำ ความสนใจเป็น อีกหนึง่ แรงจูงใจภายในทีน่ ำ� ไปสูพ่ ฤติกรรมการ สอนของครู  ครูที่มีความสนใจในเนื้อหาวิชาที่ ตนเองสอน จะใส่ใจต่อวิชาทีส่ อนและพยายาม

52

วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

ดึงให้นักเรียนมีความสนใจร่วมด้วย และเป้า หมายการสอนเป็นแรงจูงใจภายในที่เป็นตัว ก�ำหนดจุดมุ่งหมายในพฤติกรรมการสอนของ ครู ที่ มี ต ่ อ การจั ด การเรี ย นการสอน ครู ที่ มี เป้าหมายการสอน จะพยายามหาวิธีการหรือ เทคนิคในการสอนเพื่อน�ำไปสู่ความส�ำเร็จตาม เป้าหมายที่ตั้งไว้ คณะผู้บริหารสามารถน�ำผลการวิจัย เป็นแนวทางในการพัฒนานโยบายบริหารงาน ที่ ส ่ ง เสริ ม ให้ พ ฤติ ก รรมการสอนของครู มี คุ ณ ภาพ และประสิ ท ธิ ภ าพมากยิ่ ง ขึ้ น  โดย 1) สร้างการรับรู้ความสามารถของตนเองใน ตัวครูให้สงู ขึน้  โดยจัดอบรมพัฒนาวิชาชีพ เปิด โอกาสให้ครูแสดงความคิดเห็น แสดงความ สามารถและร่วมวางแผนงาน ให้ความเชื่อมั่น และก�ำลังใจ 2) ครูได้รบั เติมเต็มความต้องการ ภายใน โดยเปิ ด โอกาสให้ ค รู มี อิ ส ระในการ ตัดสินใจ วางแผนและปฏิบัติงานด้วยตนเอง สนับสนุนให้ครูตระหนักถึงความสามารถและ คุณค่าในตนเอง สร้างปฏิสัมพันธ์ที่ดีระหว่าง ผู ้ บ ริ ห ารกั บ ครู   ครู กั บ เพื่ อ นครู   และครู กั บ นักเรียน 3) สนับสนุนความสนใจของครูทมี่ ตี อ่ เนื้อหาวิชาและในการสอน รวมถึงความสนใจ ในด้านการศึกษาที่มีผลต่อการพัฒนาความรู้ ความสามารถของครู  และ 4) กระตุ้นให้ครู ตั้งเป้าหมายการสอน โดยก�ำหนดเป้าหมาย ของการจัดการเรียนการสอน เป้าหมายที่จะ


ปราณี ใจบุญ, กนก พานทอง และ ปิยะทิพย์ ประดุจพรม

พัฒนาตนเอง ก�ำหนดวิธีด�ำเนินการในแต่ละ เป้าหมายและหาแนวทางหลีกเลีย่ งต่ออุปสรรค ที่อาจจะเกิดขึ้นระหว่างด�ำเนินการร่วมด้วย เพื่อน�ำไปสู่ความส�ำเร็จในการสอน ผูท้ เี่ กีย่ วข้อง สามารถน�ำผลการวิจยั เป็น ข้อมูลในการสนับสนุนพฤติกรรมการสอนของ ครู  เนื่องจาก ครูเป็นหัวใจส�ำคัญของการเรียน การสอน นักเรียนได้รับการสั่งสอน ถ่ายทอด ความรู ้ เจตคติ การเป็นแบบอย่างทีด่  ี โดยผ่าน พฤติกรรมการสอนของครู  การสนับสนุนส่ง เสริ ม ให้ ค รู มี พ ฤติ ก รรมการสอนของครู ที่ มี คุณภาพ มิใช่มาจากแรงจูงใจภายนอก เช่น การให้รางวัล ค่าตอบแทน การยกย่อง เป็นต้น เพียงอย่างเดียวเท่านัน้  แรงจูงใจภายในเป็นแรง ขับส�ำคัญทีก่ อ่ ให้เกิดพฤติกรรมการสอนของครู โดยครู ยิ น ดี ก ระท� ำ ด้ ว ยความเต็ ม ใจเพราะ กระท�ำจากพื้นฐานภายในจิตใจ

2. ข้อเสนอแนะในการท�ำวิจัยต่อไป ควรศึ ก ษาตั ว แปรท� ำ นายแรงจู ง ใจ ภายในเพิม่ เติม เนือ่ งจากแรงจูงใจภายในก่อให้ เกิดการกระท�ำพฤติกรรมด้วยความเต็มใจ หาก สามารถส่งเสริมแรงจูงใจภายในที่ส่งผลต่อ พฤติ ก รรมการสอนของครู   ย่ อ มส่ ง ผลต่ อ พฤติกรรมการสอนของครูที่แสดงออกในการ จัดการเรียนรู้เพิ่มขึ้น กิตติกรรมประกาศ ขอขอบพระคุณส�ำนักงานคณะกรรม การวิจัยแห่งชาติที่ให้ทุนอุดหนุนการวิจัยตาม กรอบการวิจัยที่เครือข่ายองค์กรบริหารงาน วิ จั ย แห่ ง ชาติ   (คอบช.) เพื่ อ ส่ ง เสริ ม และ สนั บ สนุ น การวิ จั ย ที่ มุ ่ ง เป้ า ตอบสนองความ ต้ อ งการในการพั ฒ นาประเทศประจ� ำ ปี งบประมาณ 2561

ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2020/2563

53


การรับรูค้ วามสามารถของตนเอง ความต้องการภายใน ความสนใจ และเป้าหมายการสอน ทีส่ มั พันธ์กบั พฤติกรรมการสอนของครู

บรรณานุกรม กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตร. คริสวัฒน์  บุญญะสิทธิ์. (2554). ความต้องการในการพัฒนาสู่มาตรฐานวิชาชีพครูของครูผู้สอน ในสถานศึกษาสังกัดส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาปทุมธานี  เขต 2. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยปทุมธานี, 3(3), 116-121. ดนุรี  เงินศรี  และณัฏฐภรณ์  หลาวทอง. (2552). การพัฒนาโมเดลเชิงสาเหตุและผลของการรับรู้ ความสามารถของครูมัธยมศึกษา สังกัดส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษากรุงเทพมหานคร. วารสารอิเล็กทรอนิกส์ทางการศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 4(1), 1231-1244.  ทนงศักดิ ์ นันทกร, สมศักดิ ์ สีดากุลฤทธิ ์ และจ�ำนงค์ ศรีมงั กร. (2559). แรงจูงใจในการท�ำงานของ ครู  สังกัดส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 19. วารสารมนุษยศาสตร์และ  สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 35(4), 56-69. พรรณทรี โชคไพศาล และจุไรรัตน์ สุดรุง่ . (2554). พฤติกรรมการนิเทศทีส่ ง่ ผลต่อการเปลีย่ นแปลง พฤติกรรมการสอนของครู. วารสารอิเล็กทรอนิกส์ทางการศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,  6(1), 1501-1515. โรงเรียนคาทอลิกสังกัดสังฆมณฑลจันทบุรี. (2553). ระเบียบโรงเรียนคาทอลิกสังกัดสังฆมณฑล  จันทบุรี พ.ศ.2553. ชลบุรี: ศรีราชาสิ่งพิมพ์. โรงเรียนคาทอลิกสังกัดสังฆมณฑลจันทบุรี. (2560). รายงานสถิติครูและนักเรียน. (เอกสาร). ชลบุรี: โรงเรียนคาทอลิกสังกัดสังฆมณฑลจันทบุรี. ศุภชัย สว่างภพ, ประวิต เอราวรรณ์  และไพบูลย์  บุญไชย. (2555). ปัจจัยที่สัมพันธ์กับประสิทธิ ภาพการสอนของครูกลุม่ สาระการเรียนรูค้ ณิตศาสตร์ ช่วงชัน้ ที ่ 3 จังหวัดศรีสะเกษ. วารสาร  การวัดผลการศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 17(1), 293-304. สันติ  บุญภิรมย์. (2557). การบริหารจัดการในห้องเรียน. กรุงเทพฯ: ทริปเพิ้ล เอ็ดดูเคชั่น.  สายใจ อินทรณรงค์. (2554). การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันการรับรูค้ วามสามารถในตนเอง ของครู. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา, 22(3), 154-168. ส�ำนักนโยบายและยุทธศาสตร์  ส�ำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ. (2559). แผนพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2560-2564. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ ส�ำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ. 54

วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม


ปราณี ใจบุญ, กนก พานทอง และ ปิยะทิพย์ ประดุจพรม

อเทตยา แก้ ว ศรี ห า, กระพั น  ศรี ง าน และโกวิ ท  วั ช ริ น ทรางกู ร . (2558). ปั จ จั ย ที่ ส ่ ง ผลต่ อ ประสิทธิภาพการสอนของครูผสู้ อนหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพในโรงเรียนมัธยมศึกษา สั ง กั ด ส� ำ นั ก งานเขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษามั ธ ยมศึ ก ษา เขต 32. วารสารวิ จั ย และพั ฒ นา  มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์, 10(2), 57-66. Bandura, A. (2004). Self-efficacy. Encyclopedia of Health & Behavior, 2, 708-714. Butler, R., & Shibaz, L. (2008). Achievement goals for teaching as predictors of students' perceptions of instructional practices and students' help seeking and cheating. Learning and Instruction, 18(5), 453-467.  Deci, E. L., & Ryan, R. M. (2002). Handbook of self-determination research. University Rochester Press. Holzberger, D., Philipp, A., & Kunter, M. (2014). Predicting teachers’ instructional behaviors: The interplay between self-efficacy and intrinsic needs. Contem porary Educational Psychology, 39(2), 100-111. doi: http://dx.doi.org/10. 1016/j.cedpsych.2014.02.001 Long, J. F., and A. W. Hoy. (2006). Interested instructors: A composite portrait of individual differences and effectiveness. Teaching and Teacher Education,  22(1), 303–314.  Maulana, R., Opdenakker, M. C., & Bosker, R. (2016). Teachers' instructional behaviors as important predictors of academic motivation: Changes and links across the school year. Learning and Individual Differences, 50, 147 156.  Schiefele, U., & Schaffner, E. (2015). Teacher interests, mastery goals, and self efficacy as predictors of instructional practices and student motivation. Contemporary Educational Psychology, 42, 159-171.  Schiefele, U., Streblow, L., & Retelsdorf, J. (2013). Dimensions of teacher interest and their relations to occupational well-being and instructional practices. Journal for educational research online 5, 1, 7-37.

ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2020/2563

55


การวิสาขาวิ จัยประเมินหลักสูตรศาสนศาสตรบัณฑิต ชาเทววิทยา คณะศาสนศาสตร์ (หลักสูตรปรับปรุง 2556) วิทยาลัยแสงธรรม

TDivinity Program in Theology, Faculty of Divinity. he Evaluation of the Curriculum on Bachelor of (Update B.E. 2556) Saengtham College.

บาทหลวง ดร.นันทพล สุขส�ำราญ * อาจารย์ประจ�ำคณะศาสนศาสตร์   สาขาวิชาคริสตศาสนศึกษา วิทยาลัยแสงธรรม

บาทหลวง ธรรมรัตน์ เรือนงาม

* อาจารย์ประจ�ำคณะมนุษยศาสตร์   สาขาวิชาปรัชญาและศาสนา วิทยาลัยแสงธรรม

บาทหลวง ผศ.ดร.วุฒิชัย อ่องนาวา

* อาจารย์ประจ�ำคณะมนุษยศาสตร์   สาขาวิชาปรัชญาและศาสนา วิทยาลัยแสงธรรม

บาทหลวง ผศ.สมชัย พิทยาพงศ์พร

* อาจารย์ประจ�ำคณะศาสนศาสตร์   สาขาวิชาเทววิทยา วิทยาลัยแสงธรรม

บาทหลวง ผศ.ดร.ฟรังซิส ไก้ส์

* อาจารย์ประจ�ำคณะศาสนศาสตร์   สาขาวิชาเทววิทยา วิทยาลัยแสงธรรม

บาทหลวง เจริญ ว่องประชานุกูล

* อาจารย์ประจ�ำคณะศาสนศาสตร์   สาขาวิชาคริสตศาสนศึกษา วิทยาลัยแสงธรรม

บาทหลวง ดร.สุรชัย ชุมศรีพันธ์ุ

* อาจารย์ประจ�ำคณะศาสนศาสตร์   สาขาวิชาเทววิทยาจริยธรรม วิทยาลัยแสงธรรม ลลิตา กิจประมวล * นักวิจัยค้นคว้าศาสนาและวัฒนธรรม   วิทยาลัยแสงธรรม

ข้อมูลบทความ

* รับบทความ    7 กุมภาพันธ์ 2563 * แจ้งแก้ไข  19 มีนาคม 2563 * ตอบรับบทความ   7 พฤษภาคม 2563

Rev.Nantapon Suksamran, Ph.D.

* Lecturer, Faculty of Theology, Bachelor of   Education Program in Christian Studies,   Saengtham College.

Rev.Thammarat Ruanngam

* Lecturer, Faculty of Humanities, Philosophy   and Religion Program, Saengtham College. Rev.Asst.Prof.  Wuttichai Ongnawa, Ph.D. * Lecturer, Faculty of Humanities, Philosophy   and Religion Program, Saengtham College. Rev.Asst.Prof.  Somchai Phitthayaphongphond * Lecturer, Faculty of Theology,   Theology Program, Saengtham College. Rev.Asst.Prof.  Franciscus Cais, S.D.B., Ph.D * Lecturer, Faculty of Theology,   Theology Program, Saengtham College.

Rev.Charoen Wongprachanukul

* Lecturer, Faculty of Theology, Bachelor of   Education Program in Christian Studies,   Saengtham College.

Rev.Surachai Chumsriphun, Ph.D.

* Lecturer, Faculty of Theology,   Moral Theology Program, Saengtham College.

Lalita Kitpramuan

* Researcher of Religious and Cultural   Research center, Saengtham College.


นันทพล สุขส�ำราญ, ธรรมรัตน์ เรือนงาม, วุฒิชัย อ่องนาวา, สมชัย พิทยาพงศ์พร, ฟรังซิส ไก้ส์, เจริญ ว่องประชานุกูล, สุรชัย ชุมศรีพันธ์ุ และ ลลิตา กิจประมวล

บทคัดย่อ

การประเมินหลักสูตรศาสนศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทววิทยา คณะศาสนศาสตร์   (หลั ก สู ต รปรั บ ปรุ ง  2556) วิ ท ยาลั ย แสงธรรม มีวัตถุประสงค์  1) เพื่อประเมินหลักสูตรศาสนสตรบัณฑิต สาขาวิชา เทววิท ยา คณะศาสนศาสตร์   (หลั ก สู ตรปรั บปรุ ง  2556) วิ ท ยาลั ย แสงธรรม ด้านบริบท ด้านปัจจัยน�ำเข้า ด้านกระบวนการ ด้านผลผลิต และด้านผลกระทบของหลักสูตร 2) เพือ่ ศึกษาหาแนวทางในการพัฒนา และปรับปรุงหลักสูตรศาสนศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทววิทยา คณะ ศาสนศาสตร์  (หลักสูตรปรับปรุง 2556) วิทยาลัยแสงธรรม โดยใช้ รู ป แบบการประเมิ น  CIPPI Model ผู ้ ใ ห้ ข ้ อ มู ล หลั ก  ได้ แ ก่   คณะ กรรมการบริหารวิทยาลัยแสงธรรม จ�ำนวน 4 คน อาจารย์ประจ�ำ หลักสูตรและอาจารย์ผู้สอน จ�ำนวน 13 คน ผู้ทรงคุณวุฒิ  จ�ำนวน 12 คน นักศึกษาชั้นปีที่  3-4 สาขาวิชาเทววิทยา จ�ำนวน 23 คน บัณฑิต สาขาวิชาเทววิทยา จ�ำนวน 9 คน และผู้ปกครองนักศึกษา จ�ำนวน 3 คน รวมทั้งสิ้น 64 คน โดยวิธีการเลือกแบบเจาะจง (Purposive or judgmental sampling) เครื่ อ งมื อ ที่ ใช้ ใ นการวิ จั ย ประกอบด้ ว ย แบบสอบถาม (Questionnaire) และการสนทนากลุ่ม (Focus group discussions) วิเคราะห์ขอ้ มูลโดยใช้สถิตริ อ้ ยละ (%) ค่าเฉลีย่  (x̅) ส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และการวิเคราะห์เนื้อหา (Content analysis) ผลการวิจัยพบว่า  ด้านบริบท: โครงสร้างและวัตถุประสงค์ของหลักสูตร แนวทาง การพัฒนาของวิทยาลัยที่ได้จากการมีส่วนร่วมของบุคลากร แผนการ ปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตร โดยภาพรวม มีความเหมาะสมอยูใ่ นระดับ มาก ปรับปรุงวัตถุประสงค์ให้มีความเหมาะสมกับสภาพปัจจุบัน ด้านปัจจัยน�ำเข้า: โดยภาพรวมมีความเหมาะสมอยูใ่ นระดับมาก ปรับปรุงหนังสือในหอสมุดให้ทันสมัย ปรับค�ำอธิบายรายวิชาบางราย วิชาให้มีความเหมาะสม โดยเพิ่มเติมความรู้เรื่องพิธีกรรม และศีล ศักดิ์สิทธิ์  ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ

ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2020/2563

57


การวิจยั ประเมินหลักสูตรศาสนศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทววิทยา คณะศาสนศาสตร์ (หลักสูตรปรับปรุง 2556) วิทยาลัยแสงธรรม

ด้านกระบวนการ: โดยภาพรวมและรายข้อ มีความเหมาะสมอยู่ ในระดับมาก การเรียนการสอนควรมีทงั้ ภาคทฤษฎีและภาคปฏิบตั  ิ เพือ่ ให้นกั ศึกษาสามารถน�ำเอาความรูไ้ ปประยุกต์ใช้ในชีวติ ประจ�ำวันได้ ควร ทบทวนรูปแบบการเรียนการสอนและการจัดกิจกรรมรายวิชาฝึกปฏิบตั ิ ให้สอดคล้องกับการอบรมนักศึกษาให้เป็นผู้อภิบาลในอนาคต ด้านผลผลิต: บัณฑิตมีความรู้  ความเข้าใจในสาขาวิชาเทววิทยา โดยภาพรวมและรายข้อ อยู่ในระดับมาก โครงการและกิจกรรมต่างๆ ของวิทยาลัยเป็นประโยชน์ในการฝึกอบรมนักศึกษาให้เป็นผู้น�ำทาง ศาสนาในอนาคต วิทยาลัยควรรักษาเอกลักษณ์เฉพาะนี้ไว้ให้คงอยู่ต่อ ไป  ด้านผลกระทบ: โดยภาพรวมและรายข้อ อยูใ่ นระดับมาก บัณฑิต สามารถน�ำความรู้และประสบการณ์ที่ได้รับไปใช้ในการปฏิบัติงานและ วิชาชีพของตนเอง มีทกั ษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ภาวะความเป็น ผู้น�ำ ทักษะการสื่อสาร และสามารถใช้เทคโนโลยีในการปฏิบัติงานได้ อย่างมีคณ ุ ภาพ มีความรับผิดชอบต่อสังคม สามารถท�ำงานร่วมกับผูอ้ นื่ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และสามารถน�ำความรูไ้ ปถ่ายทอดและขยายผล ให้ผู้อื่นได้ ค�ำส�ำคัญ:

58

วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

การประเมินหลักสูตร หลักสูตรศาสนศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทววิทยา


นันทพล สุขส�ำราญ, ธรรมรัตน์ เรือนงาม, วุฒิชัย อ่องนาวา, สมชัย พิทยาพงศ์พร, ฟรังซิส ไก้ส์, เจริญ ว่องประชานุกูล, สุรชัย ชุมศรีพันธ์ุ และ ลลิตา กิจประมวล

Abstract

The evaluation of the curriculum on Bachelor of Divinity Program in Theology, Faculty of Divinity (Update B.E. 2556), Saengtham College had the following objectives: 1) to evaluate the context, the input, the process, the production and the impact of the curriculum on Bachelor of Divinity, Program in Theology, Faculty of Divinity (Update B.E. 2556) Saengtham College. 2) to study the issues and guidelines for development and improvement of the Bachelor of Divinity, Program in Theology, Faculty of Divinity (Update B.E. 2556), Saengtham College by using CIPPI Model on the sample groups of 64 respondents. The sample of the research comprised 4 committees of Saengtham College, 13 lecturers, 12 specialists of Catechism, 23 students ranging from sophomore to senior, 9 alumni and 3 parents of the students. The research instruments consisted of interviews, questionnaires and focus group discussions. The data collected was analyzed using Percentage (%), Means (x̅), Standard Deviation (SD) and content analysis. The results of the research were as follows:  1. The context of curriculum showed that the structure and the objectives of the curriculum, the guidelines for the development of the college received from the participants, the overall improvement and development plan for the curriculum were high. The improvement of the objectives of the course is suitable for the current condition.

ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2020/2563

59


การวิจยั ประเมินหลักสูตรศาสนศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทววิทยา คณะศาสนศาสตร์ (หลักสูตรปรับปรุง 2556) วิทยาลัยแสงธรรม

2. The input factors of the curriculum found that the overall image is good. The books in the library have been updated, some of the subject descriptions have been adjusted by adding the knowledge of the ritual and the Holy Sacrament in theory and practice. 3. The process of the curriculum for knowledge management in overall were at high level. The theoretical and practical sectors should be integrated in the teaching processes so that students can apply their knowledge to daily life. Teaching and learning styles should be reviewed, the practical activities should be combined in accordance with student training program in the future.  4. The outcome of the curriculum in overall found that students have knowledge of the theology at high level. The projects and activities are helpful for training students to become religious leaders in the future. The college should keep this unique identity on hold;  5. The impact of the curriculum in overall and in each were high. Students can apply the knowledge and experience they have had in their own works and professions. Students have the interpersonal skills, leadership skills, communicative skills, and the abilities to use technology appropriately for their jobs. Students have high responsibilities for society and the ability to collaborate effectively with others and be able to convey and extend the knowledge they have got to others. Keywords: 60

วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

Curriculum Evaluation Bachelor of Divinity (Theology).


นันทพล สุขส�ำราญ, ธรรมรัตน์ เรือนงาม, วุฒิชัย อ่องนาวา, สมชัย พิทยาพงศ์พร, ฟรังซิส ไก้ส์, เจริญ ว่องประชานุกูล, สุรชัย ชุมศรีพันธ์ุ และ ลลิตา กิจประมวล

ที่มาและความส�ำคัญของปัญหา การจั ด การศึ ก ษาระดั บ อุ ด มศึ ก ษามี ความส�ำคัญต่อการพัฒนาทางเศรษฐกิจ เป็น ศูนย์รวมของการเรียนรู้ในสังคม เป็นแหล่ง รวบรวมและสร้างองค์ความรู ้ และมีบทบาทใน การถ่ายทอดประสบการณ์ในด้านวัฒนธรรม และวิทยาศาสตร์ซึ่งมนุษย์ได้สั่งสมมา สถาบัน อุดมศึกษาได้พยายามปรับตัวเพื่อรับมือกับ ระบบการศึกษาในอนาคต ด้วยเหตุนี้สถาบัน อุดมศึกษาจึงต้องค้นหาเอกลักษณ์เฉพาะทีถ่ นัด ท�ำได้ดี  มีความเชี่ยวชาญ และมีประสิทธิภาพ ที่สุด เพื่อทุ่มทรัพยากรในการพัฒนาหลักสูตร การจัดการเรียนการสอน การวิจัย การพัฒนา บุคลากรที่เป็นจุดเด่นนั้นให้มีคุณภาพ หัวใจ ของการจั ด การศึ ก ษาคื อ หลั ก สู ต ร เพราะ หลักสูตรเป็นแนวทางในการจัดประสบการณ์ การเรียนรู้ให้กับผู้เรียนได้บรรลุเป้าหมายของ การจัดการศึกษา พิจิตรา ธงพานิช (2554, 11) ได้กล่าวถึงความส�ำคัญของหลักสูตรว่า หลักสูตรเป็นเบ้าหลอมพลเมืองให้มีคุณภาพ เป็นมาตรฐานของการจัดการศึกษา และยังเป็น สิง่ ก�ำหนดแนวทางความรู ้ ความสามารถ ความ ประพฤติ  ทักษะและเจตคติของผู้เรียน การ ก�ำหนดหลักสูตรจึงเป็นสิ่งที่ส�ำคัญในการจัด การเรียนรู้ให้กับผู้เรียน สิ่งหนึ่งซึ่งสถาบันการ ศึกษาให้ความใส่ใจเป็นพิเศษ คือการปรับปรุง และพัฒนาหลักสูตรให้สอดคล้องกับพันธกิจ ที่ได้ตั้งเป้าหมายไว้  กระบวนการที่ส�ำคัญอย่าง

หนึ่งในการพัฒนาหลักสูตรก็คือการประเมิน หลักสูตร เพราะการประเมินหลักสูตรจะช่วย ให้เห็นถึงความก้าวหน้าในการพัฒนาหลักสูตร ให้สอดคล้องกับความต้องการของสังคม วิชัย วงษ์ใหญ่  (2554, 121) กล่าวถึงการประเมิน หลักสูตรไว้ว่า เป็นกระบวนการเก็บรวบรวม และศึกษาข้อมูล รวมถึงการวิเคราะห์ข้อมูล เพื่ อ ตรวจสอบหลั ก สู ต ร และตั ด สิ น ว่ า หลั ก สูตรมีคณ ุ ค่าบรรลุเป้าหมายทีก่ ำ� หนดไว้หรือไม่ การประเมินหลักสูตร นอกจากจะพิจารณา ประเมินในด้านต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับการบริหาร จัดการหลักสูตรตามที่ผู้ประเมินและคณะวิชา เห็นสมควรแล้ว จ�ำเป็นที่จะต้องด�ำเนินการ ประเมิ น ให้ ส อดคล้ อ งกั บ เกณฑ์ ม าตรฐาน หลักสูตรตามประกาศของกระทรวงศึกษาธิการ ที่ก�ำหนดให้ทุกหลักสูตรมีการพัฒนาหลักสูตร ให้ทันสมัย บริหารหลักสูตรและจัดการศึกษา ให้เป็นไปตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับ อุดมศึกษาแห่งชาติ  พ.ศ.2552 (Thai Qualification Framework for Higher Education, TQF: HEd)  วิทยาลัยแสงธรรมมีพันธกิจในการผลิต บัณฑิตให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามจุด มุง่ หมายของหลักสูตรและอัตลักษณ์การศึกษา ของวิทยาลัย มุ่งเน้นหลักคิดทางคริสต์ศาสนา ที่ตอบสนองคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็น มนุษย์  ส่งเสริมและสนับสนุนให้บณ ั ฑิตมีความ สามารถทางการคิดที่ลุ่มลึก มีทักษะในการ

ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2020/2563

61


การวิจยั ประเมินหลักสูตรศาสนศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทววิทยา คณะศาสนศาสตร์ (หลักสูตรปรับปรุง 2556) วิทยาลัยแสงธรรม

บู ร ณาการความรู ้ ท างคริ ส ต์ ศ าสนาในการ ด� ำ เนิ น ชี วิ ต  การถ่ า ยทอดองค์ ค วามรู ้ ต ่ า งๆ วิทยาลัยด�ำเนินการจัดการเรียนการสอนระดับ อุดมศึกษามาตัง้ แต่ป ี พ.ศ.2518 จนถึงปัจจุบนั ได้ปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรให้เหมาะสม ภายใต้บริบทของกฎหมายคริสต์ศาสนจักร คาทอลิ ก  และกฎหมายของประเทศไทย มาอย่ า งต่ อเนื่อง ท�ำให้เ ห็นการพัฒนาและ การเติ บ โตระดั บ คุ ณ ภาพของหลั ก สู ต ร แต่ เนื่องจากวิทยาลัยแสงธรรม จัดการศึกษาโดย เน้นทางด้านศาสนา มีภารกิจที่ส�ำคัญคือการ พัฒนาผูเ้ รียนให้เป็นบาทหลวง นักบวช และครู สอนคริสตศาสนธรรม เพื่อออกไปรับใช้สังคม ในงานอภิบาลและแพร่ธรรม ท�ำให้การเรียนรู้ ทางวิชาการทางโลกอาจไม่เพียงพอ จ�ำเป็นที่ จะต้องพิจารณาเนื้อหารายวิชาต่างๆ ที่เปิด สอนในปัจจุบันให้มีความทันสมัย และเหมาะ สม พัฒนาผู้เรียนตามพันธกิจ เพื่อให้ผู้เรียน มีความรู้ท่ีครอบคลุมในหลายสาขาวิชา การ มุง่ มัน่ ในพันธกิจทีก่ ำ� หนดไว้จำ� เป็นอย่างยิง่ ทีจ่ ะ ต้องมีกระบวรการในการปรับปรุงและพัฒนา หลักสูตรเพื่อตอบโจทย์ในการพัฒนาคนอย่าง สมบูรณ์แบบ และเพื่อผลิตบัณฑิตให้เป็นผู้ มีความรู้  ปฏิบัติตนตามหลักธรรมของศาสนา มีคุณธรรม จริยธรรม สามารถพัฒนาตนเอง เป็นพลเมืองทีด่  ี และเป็นผูน้ ำ� ทางคริสต์ศาสนา อย่างยั่งยืนในสังคมต่อไป

62

วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

วัตถุประสงค์ของการวิจัย  1. เพื่อประเมินหลักสูตรศาสนศาสตร บัณฑิต สาขาวิชาเทววิทยา (หลักสูตรปรับปรุง 2556) วิทยาลัยแสงธรรม ด้านบริบท ด้าน ปัจจัยน�ำเข้า ด้านกระบวนการ ด้านผลผลิต และด้านผลกระทบของหลักสูตร  2. เพื่ อ ศึ ก ษาแนวทางในการพั ฒ นา และปรั บ ปรุ ง หลั ก สู ต รศาสนศาสตรบั ณ ฑิ ต สาขาวิชาเทววิทยา (หลักสูตรปรับปรุง 2556) วิทยาลัยแสงธรรม ประชากรและกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในงานวิจัย ประชากรที่ใช้ในการศึกษาวิจัยครั้งนี้ คือคณะกรรมการบริหารวิทยาลัยแสงธรรม จ�ำนวน 4 คน อาจารย์ประจ�ำหลักสูตรและ อาจารย์ผู้สอนสาขาวิชาเทววิทยา จ�ำนวน 13 คนผู ้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ ภ ายนอกของสาขาวิ ช า เทววิทยา จ�ำนวน 12 คน นักศึกษาสาขาวิชา เทววิทยา ชัน้ ปีท ี่ 3-4 จ�ำนวน 23 คน บัณฑิต สาขาวิชาเทววิทยา จ�ำนวน 9 คน ผู้ปกครอง จ�ำนวน 3 คน จ�ำนวนรวมทั้งสิ้น 64 คน กลุ่ม ตัวอย่าง เป็นกลุม่ ตัวอย่างจากนักศึกษาชัน้ ปีที่ 2 สาขาวิชาเทววิทยา ในปีการศึกษา 2561 จ�ำนวน 7 คน โดยวิธีการเลือกแบบเจาะจง (Purposive or judgmental sampling) เครื่ อ งมื อ ที่ ใช้ ใ นการวิ จั ย เป็ น แบบสอบถาม (Questionnaire) และการสนทนากลุ่มตั้งแต่


นันทพล สุขส�ำราญ, ธรรมรัตน์ เรือนงาม, วุฒิชัย อ่องนาวา, สมชัย พิทยาพงศ์พร, ฟรังซิส ไก้ส์, เจริญ ว่องประชานุกูล, สุรชัย ชุมศรีพันธ์ุ และ ลลิตา กิจประมวล

วันที ่ 24 กันยายน 2560 ถึงวันที ่ 28 มกราคม 2562 และน�ำข้อมูลที่ได้มาท�ำการวิเคราะห์ ข้อมูล เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้มี  2 ประเภท ได้แก่  แบบสอบถาม และประเด็น สนทนากลุ่ม 1. แบบสอบถาม (Questionnaire) มี  3 ชุดได้แก่  แบบสอบถามนักศึกษา แบบ สอบถามบัณฑิต และแบบสอบถามผู้ปกครอง ประกอบด้วย แบบสอบถามเกีย่ วกับสถานภาพ และข้อมูลทั่วไป แบบสอบถามความคิดเห็น ด้านผลผลิต และแบบสอบถามความคิดเห็น ด้านผลกระทบ ซึ่งเป็นแบบตรวจสอบรายการ (Check list) ส�ำหรับแบบสอบถาม ทั้ง 3 ชุด เก็บรวบรวมข้อมูลเป็นมาตราส่วนประมาณค่า (Rating scale) 5 ระดับ ท�ำการวิเคราะห์ขอ้ มูล ด้วยโปรแกรมส�ำเร็จรูป เสนอผลการวิเคราะห์ เป็นตารางประกอบการรายงานผล  2. การสนทนากลุ่ม (Focus Group Discussion Guideline) ผูว้ จิ ยั ตัง้ ประเด็นการ สนทนากลุ่ม ในการปรับปรุงหลักสูตรศาสน ศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทววิทยา ส�ำหรับ กรรมการบริ ห ารวิ ท ยาลั ย  อาจารย์ ป ระจ� ำ หลักสู ตร อาจารย์ผู้สอน และผู้ทรงคุณวุฒิ ภายนอก จ�ำนวน 29 คน แบ่งเป็นความคิด เห็นการสนทนากลุ่ม ด้านบริบท ด้านปัจจัย

น� ำ เข้ า  และข้ อ เสนอแนะที่ มี ต ่ อ หลั ก สู ต ร ศาสนศาสตรบั ณ ฑิ ต  สาขาวิ ช าเทววิ ท ยา โดยมี ป ระเด็ น ที่ ใช้ ใ นการสนทนากลุ ่ ม  9 ประเด็น ได้แก่  1) โครงสร้างของหลักสูตร 2) วั ต ถุ ป ระสงค์ ข องหลั ก สู ต ร 3) แนวทาง การพั ฒ นาหลั ก สู ต ร 4) แผนการปรั บ ปรุ ง และพัฒนาหลักสูตร 5) ความรู้ความสามารถ ของอาจารย์  6) การเป็นที่ปรึกษาทางวิชาการ ของอาจารย์  7) หนังสือ ต�ำรา บทความ งาน วิจัยในหอสมุด 8) ความเหมาะสมของเนื้อหา รายวิชาที่เปิดสอน และจ�ำนวนหน่วยกิต และ 9) ข้อเสนอแนะทีม่ ตี อ่ การปรับปรุงและพัฒนา หลักสูตร จัดสนทนากลุ่ม 3 รอบ โดยก�ำหนด ระยะเวลาในการสนทนากลุม่  รอบละ 3 ชัว่ โมง ข้อมูลที่ได้จากการสนทนากลุ่ม ผู้วิจัยรวบรวม เป็นหมวดหมู ่ วิเคราะห์ขอ้ มูลเชิงเนือ้ หา (Context analysis) และน�ำเสนอเป็นแบบเขียน พรรณนาความเรียง สรุปผลการวิจัย ผลการวิจัย พบว่า 1. ผลการประเมินด้านบริบท พบว่า โครงสร้างของหลักสูตรโดยภาพรวมมีความ เหมาะสมอยู่ในระดับมาก โดยมีข้อเสนอแนะ จากการสนทนากลุ่มคือ วิทยาลัยแสงธรรม มี อั ต ลั ก ษณ์ แ ละความเฉพาะเจาะจง การ ปรับปรุงพัฒนาควรให้ความส�ำคัญกับนโยบาย ของสภาพระสังฆราชคาทอลิก แห่งประเทศ

ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2020/2563

63


การวิจยั ประเมินหลักสูตรศาสนศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทววิทยา คณะศาสนศาสตร์ (หลักสูตรปรับปรุง 2556) วิทยาลัยแสงธรรม

ไทย เพื่ อ การบรรลุ เ ป้ า หมายของการผลิ ต บาทหลวงพื้นเมืองในสังคมปัจจุบัน โครงสร้าง ของหลักสูตรควรให้มีความเหมาะสม แก้ไข หรือเพิ่มเติมในส่วนของหมวดวิชาเฉพาะให้ มากขึ้น วัตถุประสงค์ของหลักสูตร โดยภาพ รวมมีความเหมาะสมอยูใ่ นระดับมาก ให้ความ ส�ำคัญกับวัตถุประสงค์  เพราะเป็นตัวก�ำหนด รายวิชาและการจัดการศึกษา ควรปรับปรุงให้ เห็นถึงล�ำดับความส�ำคัญทางวิชาการก่อน ต้อง วั ด และประเมิ น ได้   จั ด รายวิ ช าให้ ต รงตาม วัตถุประสงค์  และปรับปรุงวัตถุประสงค์  ดังนี้ 1) เพือ่ ผลิตบัณฑิตให้เป็นผูน้ ำ� ของคริสต์ ศาสนาที่มีคุณธรรม จริยธรรม เป็นแบบอย่าง ชีวิตคริสตชน เป็นผู้น�ำด้านจิตวิญญาณและ ปัญญา ธ�ำรงหลักธรรมของคริสต์ศาสนาในการ อภิบาลศาสนิกชน  2) เพื่อผลิตบัณฑิตให้ใฝ่รู้  ใฝ่เรียน มี ความรอบรู้อย่างลึกซึ้งทางด้านเทววิทยาของ คริศต์ศาสนจักรคาทอลิก  3) เพือ่ ผลิตบัณฑิตให้มจี ติ ตารมณ์ธรรม ทูต จิตอาสา เสริมสร้างสันติสุขในชุมชนด้วย การเสวนาและศาสนสัมพันธ์  4) เพื่อผลิตบัณฑิตให้มีจิตส�ำนึกที่จะ ท�ำนุบำ� รุง สืบทอดศาสนา อนุรกั ษ์และส่งเสริม ศิลปวัฒนธรรมและสภาพแวดล้อมอย่างเหมาะ สมตามบริบทของสังคมไทย

64

วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

แนวทางในการพั ฒ นาของวิ ท ยาลั ย โดยภาพรวมมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก วิทยาลัยรับฟังความคิดเห็นจากบุคลากรทุก ระดับของวิทยาลัยทั้งจากบุคลากรภายในและ ชุ ม ชน วิ ท ยาลั ย ควรให้ ค วามส� ำ คั ญ ในการ พัฒนาการเรียนการสอนเป็นภาษาอังกฤษมาก ขึ้น เพราะเป็นเรื่องที่ส�ำคัญและจ�ำเป็น ควร มี ก ารพั ฒ นาคุ ณ ภาพอาจารย์ แ ละนั ก ศึ ก ษา ควบคู่กันไปอย่างเป็นระบบและจริงจัง การ ปรั บ ปรุ ง หลั ก สู ต รต้ อ งมี ค วามเหมาะสมกั บ นักศึกษาในยุคปัจจุบนั ทีต่ อ้ งให้รเู้ ท่าทันต่อการ เปลี่ยนแปลงของสังคมและศาสนาในบริบท ของประเทศไทย มีการเชือ่ มโยงกับสถาบันการ ศึกษา พิจารณารูปแบบการเรียน การสอนให้ กระชับในการฝึกอบรมผูเ้ ตรียมตัวเป็นผูน้ ำ� ทาง ศาสนาคริสต์  ปรับรายวิชาให้สอดคล้องกับ นโยบายของสภาประมุ ข บาทหลวงโรมั น คาทอลิกแห่งประเทศไทย และนโยบายการ ศึกษาของภาครัฐ ควรพิจารณารูปแบบการ เรียนการสอนให้มีความกระชับ เหมาะกับการ ฝึกอบรมผู้เตรียมตัวบวชเป็นบาทหลวง ตรวจ สอบรายวิ ช าต่ า งๆของสาขาวิ ช าเทววิ ท ยา ทั้ ง หมดในหลั ก สู ต รให้ มี ร ายวิ ช าตามที่ พ ระ ศาสนจักรก�ำหนดเรียนให้ครบ


นันทพล สุขส�ำราญ, ธรรมรัตน์ เรือนงาม, วุฒิชัย อ่องนาวา, สมชัย พิทยาพงศ์พร, ฟรังซิส ไก้ส์, เจริญ ว่องประชานุกูล, สุรชัย ชุมศรีพันธ์ุ และ ลลิตา กิจประมวล

2. ผลการประเมิ น ด้ า นป จ จั ย นํ า เข า พบว่าโดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก ควรมีการ ก� ำ หนดให้ นั ก ศึ ก ษาได้ เรี ย นรายวิ ช าดนตรี ศาสนาและศิลปะศักดิ์สิทธิ์  เพราะนักศึกษา สาขาวิชาเทววิทยาที่จบออกไปเป็นบาทหลวง ควรมีความรู้เรื่องดนตรีศาสนาอย่างเพียงพอ เพื่อที่พวกเขาจะได้เข้าใจและน�ำไปใช้ในการ อภิบาลได้อย่างถูกต้องตามหลักการของพระ ศาสนจั ก ร ปรั บ ปรุ ง หนั ง สื อ ในหอสมุ ด ให้ มี ความทันสมัย และมีหนังสือใหม่ๆ อยู่ตลอด เวลา ทั้ ง ภาษาไทยและภาษาอั ง กฤษ เพื่ อ นักศึกษาจะได้ค้นหาความรู้ได้อย่างดี  เป็นต้น วิ ช าเทววิ ท ยาการอภิ บ าล ในการจั ด ท� ำ ค� ำ อธิบายรายวิชาต่างๆ ให้มีเนื้อหาที่เกี่ยวกับ ค�ำสอน พิธีกรรม ชีวิตจิต และการปฏิบัติลง ในรายวิชาที่เป็นศีลศักดิ์สิทธิ์ต่างๆ ด้วย และ เสนอให้แก้ไขรายวิชาดังต่อไปนี้  2.1 รายวิชา ทว.226 เทววิทยาเรื่อง ศีลล้างบาปและศีลก�ำลัง ให้เพิม่ ค�ำว่า พิธกี รรม ลงไปในค�ำอธิบายรายวิชา ข้อความเชื่อ และ ค�ำอธิบายของคริสต์ศาสนจักรเรือ่ งความหมาย ความส�ำคัญ พิธีกรรม และข้อปฏิบัติเกี่ยวกับ ศีลล้างบาปและศีลก�ำลัง 2.2 เสนอให้ปรับค�ำอธิบายรายวิชา ทว.227 เทววิทยาด้านการอภิบาลเบื้องต้น ความรู้ทั่วไป ความเป็นมาเกี่ยวกับเทววิทยา อภิบาล การอภิบาลและผูอ้ ภิบาลในพระคัมภีร์ พันธสัญญาเดิมและพันธสัญญาใหม่  รูปแบบ

การอภิบาลและผู้อภิบาลในสมัยพระเยซูเจ้า และในสมั ย ต่ อ ๆ มา การน� ำ เทววิ ท ยาการ อภิบาลสูภ่ าคปฏิบตั  ิ การสร้างกลุม่ คริสตชนบน พื้นฐานเทววิทยาการอภิบาล และการอภิบาล ในกลุ่มพิเศษบางกลุ่ม 2.3 วิชา ทว.326 เทววิทยาเรื่องศีล มหาสนิท และพิธีบูชาขอบพระคุณ ตัดค�ำว่า มิ ส ซา ออกจากชื่ อ รายวิ ช า และเพิ่ ม ค� ำ ว่ า พิธีกรรม ลงไปในค�ำอธิบายรายวิชา ข้อความ เชือ่  และประกาศของคริสต์ศาสนจักรคาทอลิก เรื่ อ งความหมาย ความส� ำ คั ญ  แบบแผน ประเพณี   พิ ธี ก รรม และข้ อ ปฏิ บั ติ เ กี่ ย วกั บ ศีลมหาสนิท และพิธีมิสซาบูชาขอบพระคุณ 2.4 รายวิชา ทว.382 เทววิทยาเรื่อง จิตภาวะ เปลี่ยนเป็น ทว.382 เทววิทยาเรื่อง วิถีชีวิตจิตคริสตชน 2.5 รายวิชา ทว.425 เทววิทยาเรื่อง ศีลอภัยบาป และศีลเจิมผู้ป่วย ให้เพิ่มค�ำว่า พิธีกรรม ลงไปในค�ำอธิบายรายวิชา ข้อความ เชื่อ และค�ำอธิบายของคริสต์ศาสนจักรเรื่อง ความหมาย ความส�ำคัญ พิธีกรรม และ ข้อ ปฏิบัติเกี่ยวกับศีลอภัยบาปและศีลเจิมผู้ป่วย 2.6 รายวิชา ทว.426 เทววิทยาเรื่อง ศี ล บวช และศี ล สมรส เพิ่ ม ค� ำ ว่ า  พิ ธี ก รรม ลงไปในค�ำอธิบายรายวิชา ข้อความเชื่อ และ ค�ำอธิบายของคริสต์ศาสนจักรเรือ่ งความหมาย ความส�ำคัญ พิธีกรรมและข้อปฏิบัติเกี่ยวกับ ศีลบวช และศีลสมรส

ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2020/2563

65


การวิจยั ประเมินหลักสูตรศาสนศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทววิทยา คณะศาสนศาสตร์ (หลักสูตรปรับปรุง 2556) วิทยาลัยแสงธรรม

2.7 ปรับลดหน่วยกิต วิชา ทว.331 พันธกิจชาวคริสต์ต่อบุคคล จากเดิม 4 หน่วย กิต เป็น 3 หน่วยกิต 3. ผลการประเมิ น ด้ า นกระบวนการ พบว่า ในภาพรวมอยูใ่ นระดับมาก การจัดการ เรียนการสอนส่งเสริมนักศึกษาให้มีทักษะการ คิ ด อย่ า งเป็ น ระบบ สามารถใช้ เ หตุ ผ ลเพื่ อ วิเคราะห์  สังเคราะห์  วิพากษ์  และวิจารณ์ เป็นการวางพื้นฐานเพื่อการศึกษาค้นคว้าวิจัย ที่เหมาะสม มีกระบวนการในการก�ำกับดูแล และติดตามการท�ำสารนิพนธ์  มีกระบวนการ ในการจั ด การเรี ย นการสอนและการจั ด กิจกรรมในรายวิชาฝึกปฏิบตั วิ ชิ าชีพอย่างเพียง พอ อาจารย์มีเทคนิควิธีสอนและการถ่ายทอด ความรู้  มีวิธีการวัดและการประเมินผลของ แต่ละรายวิชาตรงตามลักษณะรายวิชาที่จัด สอน การจัดกิจกรรมหลากหลายและเหมาะสม กับเนื้อหารายวิชา วิทยาลัยควรจัดการเรียน การสอนเป็นภาษาอังกฤษ เพราะเป็นเรื่องที่ ส�ำคัญ ผู้ที่จบไปแล้วต้องน�ำไปใช้ในการศึกษา ต่อหรือใช้ในชีวติ ประจ�ำวัน วิทยาลัยควรพัฒนา ให้เป็น International Catholic University จึงควรมีความพร้อมในด้านการใช้ภาษาอังกฤษ รายวิชาที่เปิดสอนควรมีการเรียนการสอนทั้ง ภาคทฤษฎีและภาคปฏิบตั  ิ เป็นต้น ในรายวิชา ศีลศักดิ์สิทธิ์  เพื่อสามารถน�ำไปใช้ประโยชน์ได้ จริง เพราะนักศึกษาต้องออกไปปฏิบัติหน้าที่

66

วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

ตามโบสถ์และโรงเรียนต่างๆ นักศึกษาจึงควร ปฏิบตั ไิ ด้จริงในด้านพิธกี รรม เช่น การโปรดศีล ล้างบาป ศีลก�ำลัง ควรทบทวนรูปแบบวิธีการ เรียนการสอน และการจัดกิจกรรมรายวิชาฝึก ปฏิบัติว่ามีความจ�ำเป็นและเหมาะสมกับการ เป็นผู้อภิบาลในอนาคตมากน้อยเพียงใด 4. ผลการประเมินด้านผลผลิต พบว่า ภาพรวมอยูใ่ นระดับมาก บัณฑิตมีความเมตตา กรุณา เสียสละและช่วยเหลือผู้อื่น มีทักษะใน การติดต่อสื่อสารกับผู้อื่น สามารถท�ำงานเป็น ทีมและปรับตัวให้เข้ากับผูอ้ นื่ ได้ บัณฑิตยอมรับ ฟังความคิดเห็นของผู้อื่น และเป็นที่ยอมรับ ของผู ้ ร ่ ว มงาน มี ค วามรู ้ ใ นระดั บ ที่ ส ามารถ ปฏิบัติงานให้บรรลุเป้าหมายอย่างมีประสิทธิ ภาพ และสามารถน� ำ ความรู ้   ความเข้ า ใจ มาประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานได้อย่างสร้าง สรรค์  บัณฑิตมีวนิ ยั  ขยันขันแข็ง ซือ่ สัตย์  และ รับผิดชอบต่อหน้าที่  มีความสามารถในการ เรียนรู้เทคโนโลยีใหม่ๆ ใช้คอมพิวเตอร์และ โปรแกรมส�ำเร็จรูปในการปฏิบตั งิ านได้ บัณฑิต มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์  วางแผนใน การปฏิบัติงานอย่างเป็นระบบ มีทักษะในการ แก้ไขปัญหาต่างๆ ในขณะปฏิบัติงานที่ได้รับ มอบหมาย ก่ อ นจบการศึ ก ษาในหลั ก สู ต ร นักศึกษาควรมีความรู้ในรายวิชาของหลักสูตร ที่ได้เรียนมาพอสังเขป


นันทพล สุขส�ำราญ, ธรรมรัตน์ เรือนงาม, วุฒิชัย อ่องนาวา, สมชัย พิทยาพงศ์พร, ฟรังซิส ไก้ส์, เจริญ ว่องประชานุกูล, สุรชัย ชุมศรีพันธ์ุ และ ลลิตา กิจประมวล

5. ผลการประเมินด้านผลกระทบ พบ ว่า ภาพรวมอยูใ่ นระดับมาก บัณฑิตทีจ่ บสาขา วิชาเทววิทยาเป็นแบบอย่างที่ดีในการด�ำเนิน ชีวิตคริสตชน สามารถน�ำความรู้ไปถ่ายทอด และขยายผลให้ ผู ้ อื่ น ได้   วิ ท ยาลั ย มี บ ทบาท ส�ำคัญในการพัฒนาระบบการศึกษาและการ พัฒนาเยาวชนของประเทศ บัณฑิตที่จบสาขา วิชาเทววิทยาสามารถน�ำความรูท้ ไี่ ด้รบั จากการ ศึกษาไปประยุกต์ใช้กับการปฏิบัติงานได้อย่าง เหมาะสม และวิทยาลัยเป็นที่รู้จักและยอมรับ ในสังคม อภิปรายผล ผลการวิจัย พบว่า 1. ผลการประเมินด้านบริบท พบว่า โครงสร้างของหลักสูตรโดยภาพรวมมีความ เหมาะสมอยู่ในระดับมาก วิทยาลัยแสงธรรม มี อั ต ลั ก ษณ์ แ ละความเฉพาะเจาะจง การ ปรับปรุงพัฒนาควรให้ความส�ำคัญกับนโยบาย ของสภาประมุขบาทหลวงโรมันคาทอลิกแห่ง ประเทศไทยเพื่อการบรรลุเป้าหมายของการ ผลิตบาทหลวงพื้นเมืองในสังคมปัจจุบัน ซึ่ง สอดคล้องกับวิสยั ทัศน์ของการศึกษาคาทอลิก  เอกชัย ชินโคตร(2551: 39-40) สถาบันการ ศึกษาคาทอลิกมุง่ มัน่ ทีจ่ ะสร้างวิสยั ทัศน์ในการ จัดการศึกษาเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้  ชุมชน ที่รักและเอื้ออาทร และมุ่งสู่ความเป็นเลิศแห่ง

ความเป็ น มนุ ษ ย์ ต ามหลั ก พระคริ ส ตธรรม (Learning Persons, Loving and Caring Community, Reaching for Human Excellence, According to Christian Principle) โครงสร้างของหลักสูตรควรให้มีความ เหมาะสม แก้ไขหรือเพิ่มเติมในส่วนของหมวด วิ ช าเฉพาะให้ ม ากขึ้ น  วั ต ถุ ป ระสงค์ ข อง หลักสูตร โดยภาพรวมมีความเหมาะสมอยู่ใน ระดั บ มาก ให้ ค วามส� ำ คั ญ กั บ วั ต ถุ ป ระสงค์ เพราะเป็นตัวก�ำหนดรายวิชาและการจัดการ ศึกษา ควรปรับปรุงให้เห็นถึงล�ำดับความส�ำคัญ ทางวิชาการก่อน ต้องวัดและประเมินได้  จัด รายวิชาให้ตรงตามวัตถุประสงค์  สอดคล้องกับ ระวิวรรณ ศรีคร้ามครัน (2541: บทคัดย่อ) อ้างถึงผลการวิจยั ของ จรรยา ดาสา และคณะ (2553: บทคัดย่อ) วิจัยเรื่อง การประเมินและ ติดตามหลักสูตรการศึกษามหาบัณฑิต สาขา วิชาวิทยาศาสตรศึกษา (แผน ข) มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ พบว่า การจัดท�ำโครงสร้าง ของหลักสูตรต้องก�ำหนดกลุ่มวิชา รายวิชา อัตราเวลาเรียนเพื่อสนองความต้องการของ ผู้เรียนและสังคมแนวทางในการพัฒนาของ วิทยาลัย โดยภาพรวมมีความเหมาะสมอยู่ใน ระดับมาก วิทยาลัยรับฟังความคิดเห็นจาก บุคลากรทุกระดับของวิทยาลัยทัง้ จากบุคลากร ภายในและชุมชนวิทยาลัยควรให้ความส�ำคัญ ในการพั ฒ นาการเรี ย นการสอนเป็ น ภาษา

ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2020/2563

67


การวิจยั ประเมินหลักสูตรศาสนศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทววิทยา คณะศาสนศาสตร์ (หลักสูตรปรับปรุง 2556) วิทยาลัยแสงธรรม

อังกฤษมากขึ้น เพราะเป็นเรื่องที่ส�ำคัญและ จ�ำเป็น สอดคล้องกับผลการวิจยั ของ พัชราพร รัตนวโรภาส (2553: 8) วิจัยเรื่อง สภาพและ ปัญหาการจัดการเรียนการสอนวิชา ENG 321 ภาษาอังกฤษเพือ่ การสือ่ สารมวลชน สาขาวิชา ภาษาอั ง กฤษสื่ อ สารธุ ร กิ จ  มหาวิ ท ยาลั ย ศรีปทุม พบว่า ภาษาอังกฤษเป็นภาษาสากลที่ มีความจ�ำเป็นอย่างยิ่งทั้งในการเรียน การใช้ ชีวิตประจ�ำวัน การประกอบอาชีพ และการ พัฒนาในสังคมไทยควรมีการพัฒนาคุณภาพ อาจารย์และนักศึกษาควบคู่กันไปอย่างเป็น ระบบและจริงจัง การปรับปรุงหลักสูตรต้องมี ความเหมาะสมกับนักศึกษาในยุคปัจจุบนั ทีต่ อ้ ง ให้รู้เท่าทันต่อการเปลี่ยนแปลงของสังคมและ ศาสนาในบริบทของประเทศไทย มีการเชื่อม โยงกั บ สถาบั น การศึ ก ษา พิ จ ารณารู ป แบบ การเรียนการสอนให้กระชับในการฝึกอบรม ผู้เตรียมตัวเป็นผู้น�ำทางศาสนาคริสต์  ปรับ รายวิ ช าให้ ส อดคล้ อ งกั บ นโยบายของสภา ประมุขบาทหลวงโรมันคาทอลิกแห่งประเทศ ไทย และนโยบายการศึกษาของภาครัฐ ควร พิจารณารูปแบบการเรียนการสอนให้มีความ กระชับ เหมาะกับการฝึกอบรมผูเ้ ตรียมตัวบวช เป็นบาทหลวง ตรวจสอบรายวิชาต่างๆ ของ สาขาวิ ช าเทววิ ท ยาทั้ ง หมดในหลั ก สู ต รให้ มีรายวิชาตามที่พระศาสนจักรก�ำหนดเรียนให้ ครบ

68

วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

2. ผลการประเมิ น ด้ า นป จ จั ย นํ า เข า พบว่าโดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก ควรมีการ ก� ำ หนดให้ นั ก ศึ ก ษาได้ เรี ย นรายวิ ช าดนตรี ศาสนาและศิลปะศักดิ์สิทธิ์  เพราะนักศึกษา สาขาวิชาเทววิทยาที่จบออกไปเป็นบาทหลวง ควรมีความรู้เรื่องดนตรีศาสนาอย่างเพียงพอ เพื่ อ ที่ พ วกเขาจะได้ เข้ า ใจและน� ำ ไปใช้ ใ น การอภิบาลได้อย่างถูกต้องตามหลักการของ พระศาสนจั ก ร ปรั บ ปรุ ง หนั ง สื อ ในหอสมุ ด ให้ มี ค วามทั น สมั ย  และมี ห นั ง สื อ ใหม่ ๆ  อยู ่ ตลอดเวลา ทั้ ง ภาษาไทยและภาษาอั ง กฤษ เพื่ อ นั ก ศึ ก ษาจะได้ ค ้ น หาความรู ้ ไ ด้ อ ย่ า งดี เป็นต้น วิชาเทววิทยาการอภิบาล สอดคล้อง กับผลการวิจัยของ มาเรียม นิลพันธุ์  (2555: 122-123) วิ จัย เรื่ อ ง การประเมิ นหลั ก สู ต ร ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตร และการนิเทศ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัย ศิลปากร พบว่า ด้านปัจจัยน�ำเข้า โดยภาพ รวมอยู่ในระดับมาก มีแหล่งสืบค้น แสวงหา ความรู้ที่ตอบสนองต่อการสืบค้นหาความรู้ มี ท รั พ ยากรการเรี ย นรู ้ ที่ เ อื้ อ อ� ำ นวยและ สนับสนุนผู้เรียนและตรงกับความต้องการใน การพัฒนาการเรียนรู้  มีความสะดวกในการ เลือกใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อน�ำมา ประกอบการเรียนรู้ในห้องเรียน มีการปรับ ค�ำอธิบายรายวิชาให้เหมาะสมกับสภาพการ เปลีย่ นแปลงทางการศึกษา และให้ความส�ำคัญ


นันทพล สุขส�ำราญ, ธรรมรัตน์ เรือนงาม, วุฒิชัย อ่องนาวา, สมชัย พิทยาพงศ์พร, ฟรังซิส ไก้ส์, เจริญ ว่องประชานุกูล, สุรชัย ชุมศรีพันธ์ุ และ ลลิตา กิจประมวล

กับวิธีการแสวงหาความรู้  อาจารย์ผู้สอนควร ใช้เทคโนโลยีเข้ามาช่วยในการสอนให้มากยิง่ ขึน้ การจัดท�ำค�ำอธิบายรายวิชาต่างๆ ให้มีเนื้อหา ที่เกี่ยวกับค�ำสอน พิธีกรรม ชีวิตจิต และการ ปฏิบัติลงในรายวิชาที่เป็นศีลศักดิ์สิทธิ์ต่างๆ ด้วย  3. ผลการประเมินด้านกระบวนการ พบ ว่า ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก การจัดการ เรียนการสอนส่งเสริมนักศึกษาให้มีทักษะการ คิ ด อย่ า งเป็ น ระบบ สามารถใช้ เ หตุ ผ ลเพื่ อ วิเคราะห์  สังเคราะห์  วิพากษ์  และวิจารณ์ เป็นการวางพื้นฐานเพื่อการศึกษาค้นคว้าวิจัย ที่เหมาะสม มีกระบวนการในการก�ำกับดูแล และติดตามการท�ำสารนิพนธ์ มีกระบวนการใน การจัดการเรียนการสอนและการจัดกิจกรรม ในรายวิ ช าฝึ ก ปฏิ บั ติ วิ ช าชี พ อย่ า งเพี ย งพอ อาจารย์ มี เ ทคนิ ค วิ ธี ส อนและการถ่ า ยทอด ความรู้  มีวิธีการวัดและการประเมินผลของ แต่ละรายวิชาตรงตามลักษณะรายวิชาที่จัด สอน การจัดกิจกรรมหลากหลายและเหมาะสม กับเนื้อหารายวิชา วิทยาลัยควรจัดการเรียน การสอนเป็นภาษาอังกฤษ เพราะเป็นเรื่องที่ ส�ำคัญ ผู้ที่จบไปแล้วต้องน�ำไปใช้ในการศึกษา ต่อหรือใช้ในชีวติ ประจ�ำวัน วิทยาลัยควรพัฒนา ให้เป็น International Catholic University จึงควรมีความพร้อมในด้านการใช้ภาษาอังกฤษ รายวิชาที่เปิดสอนควรมีการเรียนการสอนทั้ง

ภาคทฤษฎีและภาคปฏิบตั  ิ เป็นต้น ในรายวิชา ศีลศักดิ์สิทธิ์  เพื่อสามารถน�ำไปใช้ประโยชน์ได้ จริง เพราะนักศึกษาต้องออกไปปฏิบัติหน้าที่ ตามโบสถ์และโรงเรียนต่างๆ นักศึกษาจึงควร ปฏิบัติได้จริงในด้านพิธีกรรม เช่น การโปรด ศีลล้างบาป ศีลก�ำลัง ควรทบทวนรูปแบบวิธี การเรียนการสอน และการจัดกิจกรรมรายวิชา ฝึกปฏิบัติว่ามีความจ�ำเป็นและเหมาะสมกับ การเป็นผู้อภิบาลในอนาคตมากน้อยเพียงใด ดังนั้น แนวทางในการพัฒนาหลักสูตรสาขา วิชาเทววิทยา ควรพัฒนารายวิชาต่างๆ ให้ บัณฑิตทีจ่ บไปได้รบั ความรูท้ งั้ ทางด้านวิชาการ และความรู้ทางด้านศาสนาไปพร้อมกัน โดย ค� ำ นึ ง ถึ ง คุ ณ ลั ก ษณะของบั ณ ฑิ ต ตามกรอบ มาตรฐานคุ ณ วุ ฒิ ร ะดั บ อุ ด มศึ ก ษาแห่ ง ชาติ พ.ศ.2552 (Thai Qualification Framework for Higher Education, TQF: HEd) และ คุ ณ ลั ก ษณะของบั ณ ฑิ ต ตามอั ต ลั ก ษณ์ ข อง วิทยาลัยแสงธรรม และวิทยาลัยแสงธรรมควร มี บ ทบาทมากขึ้ น ในการพั ฒ นาชุ ม ชนอย่ า ง ยั่งยืน ทั้งในด้านเศรษฐกิจ และสังคม เพื่อให้ วิทยาลัยมีส่วนร่วมมากยิ่งขึ้นในการพัฒนาคน และประเทศ สอดคล้องกับผลการวิจัยของ ธิดา ทิพย์สุข (2552: 1) วิจัยเรื่อง การพัฒนา ผลการเรียนรู้ด้านการอ่านและการเขียนภาษา อั ง กฤษเพื่ อ การสื่ อ สารของนั ก เรี ย นชั้ น มัธยมศึกษาปีที่  3 ที่จัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิค

ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2020/2563

69


การวิจยั ประเมินหลักสูตรศาสนศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทววิทยา คณะศาสนศาสตร์ (หลักสูตรปรับปรุง 2556) วิทยาลัยแสงธรรม

CIRC มหาวิทยาลัยศิลปากร กล่าวว่า จ�ำเป็น อย่างยิ่งที่ประเทศไทยจะต้องพัฒนาบุคลากร ให้มคี วามรู ้ ความสามารถในการสือ่ สาร ภาษา อั ง กฤษเพื่ อ ให้ เข้ า ใจและสามารถเลื อ กรั บ สารสนเทศที่มีประโยชน์  สามารถน�ำไปใช้ใน การพั ฒ นาการเรี ย นรู ้ ด ้ า นต่ า งๆ ให้ เ กิ ด ประสิทธิภาพ วิทยาลัยปรับปรุงและพัฒนาการ เรี ย นการสอนให้ เ ป็ น ภาษาอั ง กฤษให้ เ ป็ น มาตรฐานสากล พั ฒ นาผู ้ เรี ย นให้ มี ค วาม สามารถในการใช้ภาษา สื่อสารภาษาอังกฤษ และน�ำภาษาอังกฤษไปใช้ในชีวิตประจ�ำวันได้ อย่างคล่องแคล่ว  4. ผลการประเมินด้านผลผลิต พบว่า ภาพรวมอยูใ่ นระดับมาก บัณฑิตมีความเมตตา กรุณา เสียสละและช่วยเหลือผู้อื่น มีทักษะ ในการติดต่อสื่อสารกับผู้อื่น สามารถท�ำงาน เป็นทีมและปรับตัวให้เข้ากับผู้อื่นได้  บัณฑิต ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น และเป็นที่ ยอมรั บ ของผู ้ ร ่ ว มงาน มี ค วามรู ้ ใ นระดั บ ที่ สามารถปฏิบัติงานให้บรรลุเป้าหมายอย่างมี ประสิทธิภาพ และสามารถน�ำความรู้  ความ เข้าใจ มาประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานได้อย่าง สร้างสรรค์  บัณฑิตมีวนิ ยั  ขยันขันแข็ง ซือ่ สัตย์ และรับผิดชอบต่อหน้าที่  มีความสามารถใน การเรียนรูเ้ ทคโนโลยีใหม่ๆ การใช้คอมพิวเตอร์ และโปรแกรมส�ำเร็จรูปในการปฏิบัติงานได้  บั ณ ฑิ ต มี ค วามสามารถในการคิ ด วิ เ คราะห์

70

วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

วางแผนในการปฏิ บั ติ ง านอย่ า งเป็ น ระบบ มีทกั ษะในการแก้ไขปัญหาต่างๆ ในขณะปฏิบตั ิ งานที่ได้รับมอบหมาย ก่อนจบการศึกษาใน หลักสูตร นักศึกษาควรมีความรูใ้ นรายวิชาของ หลักสูตรที่ได้เรียนมาพอสังเขป สอดคล้องกับ ธ�ำรง บัวศรี  (2531: 83) กล่าวว่า เจตนารมณ์ ของการออกแบบหลักสูตรก็เพือ่ ประโยชน์ของ ผู ้ เรี ย นโดยตรง นั ก พั ฒ นาหลั ก สู ต รต้ อ งยึ ด ผู ้ เรี ย นเป็ น หลั ก  ซึ่ ง หลั ก สู ต รที่ ดี จ ะพั ฒ นา ผู้เรียนในหลายด้านได้แก่  1) พัฒนาการทาง กาย 2) พัฒนาการเชาว์ปัญญา 3) พัฒนาการ ด้ า นบุ ค คลิ ก ภาพ 4) พั ฒ นาด้ า นศี ล ธรรม และจริยธรรมของผู้เรียน 5) พัฒนาการเจริญ เติบโตตามวัย สอดคล้องกับ รุ่งทิวา จักรกร (2527: 6-7) ที่กล่าวว่า หลักสูตรที่ดีจะต้อง ให้ ป ระสบการณ์ แ ละการเรี ย นรู ้ ที่ ผู ้ เรี ย น สามารถออกไปเผชิญกับความเปลี่ยนแปลง อย่างรวดเร็วของสังคมได้  โดยพัฒนาผู้เรียน ให้เกิดความคิด มีทกั ษะในการท�ำงาน สามารถ แก้ปัญหาได้  และด�ำรงชีวิตในสังคมได้อย่าง ราบรื่น 5. ผลการประเมินด้านผลกระทบ พบ ว่า ภาพรวมอยูใ่ นระดับมาก บัณฑิตทีจ่ บสาขา วิชาเทววิทยาเป็นแบบอย่างที่ดีในการด�ำเนิน ชีวิตคริสตชน สามารถน�ำความรู้ไปถ่ายทอด และขยายผลให้ ผู ้ อื่ น ได้   วิ ท ยาลั ย มี บ ทบาท ส�ำคัญในการพัฒนาระบบการศึกษาและการ


นันทพล สุขส�ำราญ, ธรรมรัตน์ เรือนงาม, วุฒิชัย อ่องนาวา, สมชัย พิทยาพงศ์พร, ฟรังซิส ไก้ส์, เจริญ ว่องประชานุกูล, สุรชัย ชุมศรีพันธ์ุ และ ลลิตา กิจประมวล

พัฒนาเยาวชนของประเทศ บัณฑิตที่จบสาขา วิชาเทววิทยาสามารถน�ำความรูท้ ไี่ ด้รบั จากการ ศึกษาไปประยุกต์ใช้กับการปฏิบัติงานได้อย่าง เหมาะสม และวิทยาลัยเป็นที่รู้จักและยอมรับ ในสังคม สอดคล้องกับผลการวิจัยของ ชาติ ชาย พงษ์ศริ  ิ และคณะ (2558: 152) วิจยั เรือ่ ง การประเมิ น หลั ก สู ต รศาสนศาสตรบั ณ ฑิ ต สาขาวิชาเทววิทยา (หลักสูตรปรับปรุง 2551) พบว่าสาขาวิชาเทววิทยาเป็นที่ยอมรับจาก สั ง คมที่ ไ ด้ ช่ื อ ว่ า เป็ น สถาบั น ที่ ผ ลิ ต พระสงฆ์ และนักบวชในคริสต์ศาสนาเพียงแห่งเดียวใน ประเทศไทย ถือได้ว่าเป็นเอกลักษณ์ของสาขา วิชานี้โดยเฉพาะ จึงควรส่งเสริมให้นักศึกษามี ความรอบรู้ทั้งทางด้านวิชาการและศาสนาไป พร้อมๆ กัน เพือ่ ทีจ่ ะสามารถท�ำให้บณ ั ฑิตเป็น ที่พึ่งของคนในสังคม มีส่วนช่วยเหลือในงาน อภิบาลของพระศาสนจักรได้อย่างเหมาะสม ซึ่งจะท�ำให้การด�ำเนินงานของวิทยาลัยในการ บริหารจัดการในหลักสูตรนีป้ ระสบความส�ำเร็จ มีส่วนช่วยในการพัฒนาสังคมและประเทศได้ แบบยั่งยืน ข้อเสนอแนะ ข้อเสนอแนะจากการวิจัยในครั้งนี้  1. ควรปรับปรุงวัตถุประสงค์ให้มีความ เหมาะสมกับบริบทในสังคมไทย และบริบท ศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิกให้มากยิ่งขึ้น

ควรมีการพัฒนาคุณภาพอาจารย์และนักศึกษา ควบคู่กันไปอย่างเป็นระบบและจริงจัง การ ปรั บ ปรุ ง หลั ก สู ต รต้ อ งมี ค วามเหมาะสมกั บ นักศึกษาในยุคปัจจุบัน และพิจารณารูปแบบ การเรียนการสอนให้กระชับในการฝึกอบรม ผู้เตรียมตัวเป็นผู้น�ำทางศาสนาคริสต์  2. ควรปรับปรุงรายวิชาให้สอดคล้อง กั บ หลั ก สู ต ร สอดคล้ อ งนโยบายของสภา ประมุขบาทหลวงโรมันคาทอลิกแห่งประเทศ และนโยบายการศึ ก ษาของรั ฐ  ควรมี ก าร ก� ำ หนดให้ นั ก ศึ ก ษาได้ เรี ย นรายวิ ช า ดนตรี ศาสนา และศิ ล ปะศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์   ปรั บ ปรุ ง ค� ำ อธิบายรายวิชาเทววิทยาการอภิบาล ในการจัด ท�ำค�ำอธิบายรายวิชาต่างๆ ให้เพิ่มเนื้อหาที่ เกี่ยวกับ ค�ำสอนพิธีกรรม ชีวิตจิต และการ ปฏิบัติลงในรายวิชาที่เป็นศีลศักดิ์สิทธิ์ต่างๆ และให้แก้ไขรายวิชาดังต่อไปนี้  รายวิชา ทว. 226 เทววิทยาเรื่อง ศีลล้างบาปและศีลก�ำลัง รายวิชา ทว.227 เทววิทยาด้านการอภิบาล เบื้องต้น รายวิชา ทว.326 เทววิทยาเรื่องศีล มหาสนิทและพิธีบูชาขอบพระคุณ รายวิชา ทว.382 เทววิทยาเรื่องจิตภาวะ เปลี่ยนเป็น รายวิ ช า ทว.382 เทววิ ท ยาเรื่ อ งวิ ถี ชี วิ ต จิ ต คริสตชนรายวิชา ทว.425 เทววิทยาเรื่องศีล อภัยบาปและศีลเจิมผู้ป่วย รายวิชา ทว.426 เทววิทยาเรือ่ งศีลบวช และศีลสมรส และให้ลด หน่วยกิตรายวิชา ทว.331 พันธกิจชาวคริสต์

ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2020/2563

71


การวิจยั ประเมินหลักสูตรศาสนศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทววิทยา คณะศาสนศาสตร์ (หลักสูตรปรับปรุง 2556) วิทยาลัยแสงธรรม

ต่อบุคคลจากเดิม 4 หน่วยกิต เป็น 3 หน่วยกิต และปรับปรุงหนังสือในหอสมุดให้ทันสมัยอยู่ เสมอ 3. วิทยาลัยแสงธรรมควรจัดการเรียน การสอนเป็นภาษาอังกฤษ เพราะเป็นเรื่องที่ ส�ำคัญ พัฒนาวิทยาลัยให้เป็น International Catholic University มีความพร้อมในโลก แห่งการเปลีย่ นแปลง รายวิชาทีเ่ ปิดสอนควรมี การเรียนการสอนทัง้ ภาคทฤษฎีและภาคปฏิบตั ิ เพือ่ สามารถน�ำไปใช้ประโยชน์ได้จริง นักศึกษา ควรปฏิบัติได้จริงในด้านพิธีกรรม ควรทบทวน รู ป แบบวิ ธี ก ารเรี ย นการสอน และการจั ด กิจกรรมรายวิชาฝึกปฏิบตั วิ า่ มีความจ�ำเป็นและ เหมาะสมกับการเป็นผู้อภิบาลในอนาคตมาก น้อยเพียงใด

72

วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม


นันทพล สุขส�ำราญ, ธรรมรัตน์ เรือนงาม, วุฒิชัย อ่องนาวา, สมชัย พิทยาพงศ์พร, ฟรังซิส ไก้ส์, เจริญ ว่องประชานุกูล, สุรชัย ชุมศรีพันธ์ุ และ ลลิตา กิจประมวล

บรรณานุกรม จรรยา ดาสา และคณะ. (2553). การประเมินและติดตามผลหลักสูตร การศึกษามหาบัณฑิต  สาขาวิทยาศาสตรศึกษา (แผน ข). มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ชาติชาย พงษ์ศริ  ิ และคณะ. (2558). การประเมินหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาปรัชญา และศาสนา คณะมนุษยศาสตร์ วิทยาลัยแสงธรรม. นครปฐม. ธิดา ทิพย์สขุ . (2552). การพัฒนาผลการเรียนรูด้ า้ นการอ่านและการเขียนภาษาอังกฤษเพือ่ การ  สือ่ สารของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท ี่ 3 ทีจ่ ดั การเรียนรูด้ ว้ ยเทคนิค CIRC. วิทยานิพนธ์ ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการนิเทศ มหาวิทยาลัยศิลปากร นครปฐม. ธ�ำรง บัวศรี. (2531). ทฤษฎีหลักสูตร. กรุงเทพมหานคร: ธนธัชการพิมพ์  จ�ำกัด. พิจิตรา ธงพานิช. (2557). การพัฒนาหลักสูตร ความรู้  สมถรรนะตามมาตรฐานวิชาชีพครู. พิมพ์ครั้งที่  4. นครพนม: คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์  มหาวิทยาลัยนครพนม. พัชราพร รัตนวโรภาส. (2553). สภาพและปัญหาการจัดการเรียนการสอนวิชา ENG321 ภาษา  อังกฤษเพื่อการสื่อสารมวลชน สาขาวิชาภาษาอังกฤษสื่อสารธุรกิจ คณะศิลปศาสตร์. มหาวิทยาลัยศรีปทุม. มาเรียม นิลพันธุ์. (2555). การประเมินหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาหลักสูตรและ  การนิเทศ. นครปฐม: มหาวิทยาลัยศิลปากร.  รุง่ ทิวา จักร์กร. (2527). วิธสี อนทัว่ ไป. กรุงเทพมหานคร: ศึกษาศาสตร์  มหาวิทยาลัยศรีนครินทร วิโรฒ ประสานมิตร. วิชัย วงษ์ใหญ่. (2554). การพัฒนาหลักสูตรระดับอุดมศึกษา. กรุงเทพมหานคร. เอกชัย ชิณโคตร. (2551). การศึกษาคาทอลิก : Utopia or Reality วัฒนธรรมองค์การของ  โรงเรียนคาทอลิกในทศวรรษหน้า. กรุงเทพมหานคร: ปิติพานิช.

ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2020/2563

73


การส่งเสริมความเชื่อแก่บุตรตามแนวทางของ

พระสมณลิขิตเตือนใจความปีติยินดีแห่งความรัก (Amoris Laetitia) กรณีศึกษา: วัดราชินีแห่งสันติภาพ สังฆมณฑลนครสวรรค์

Promoting The Faith for Children by Parents

According to The Apostolic Exhortation Amoris Laetitia. Case Study: Mother of Peace Church, Nakhonsawan Diocese. สมพร ฤทัยหวนพนา * มหาบัณฑิตสาขาวิชาเทววิทยาจริยธรรม วิทยาลัยแสงธรรม บาทหลวง ดร.พิเชฐ แสงเทียน, เอส.เจ.

* บาทหลวงในคริสต์ศาสนจักรโรมันคาทอลิก สังกัดคณะเยสุอิต * อาจารย์ประจ�ำหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทววิทยาจริยธรรม วิทยาลัยแสงธรรม

ผศ.ดร.ลัดดาวรรณ์ ประสูตร์แสงจันทร์

* อาจารย์ประจ�ำหลักสูตรการศึกษาบัณฑิต สาขาวิชาคริสตศาสนศึกษา วิทยาลัยแสงธรรม

Somporn Ruethaihuanpana * Master of Arts Program in Moral Theology, Saengtham College. Rev.Pichet Saengthien, S.J., Ph.D.

* Reverend in Roman Catholic Church, Jesuit. * Lecturer of The Master of Arts Program in moral Theology, Saengtham College. Asst.Prof.Laddawan Prasutsaengchan, Ph.D.

* Lecturer, Bachelor of Education Program in Christian Studies, Saengtham College.

ข้อมูลบทความ

* รับบทความ    9 พฤศจิกายน 2562 * แจ้งแก้ไข  11 ธันวาคม 2562 * ตอบรับบทความ  18 ธันวาคม 2562


สมพร ฤทัยหวนพนา, พิเชฐ แสงเทียน และ ลัดดาวรรณ ประสูตร์แสงจันทร์

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้วัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) สภาพการปฏิบัติหน้าที่ของบิดา มารดาคาทอลิกในการส่งเสริมความเชื่อ แก่บุตรวัดราชินีแห่งสันติภาพ สังฆมณฑลนครสวรรค์  ตามแนวทางของพระสมณลิขิตเตือนใจ ความ ปีติยินดีแห่งความรัก และ 2) ปัจจัยในการส่งเสริมความเชื่อแก่บุตร วัดราชินีแห่งสันติภาพ สังฆมณฑลนครสวรรค์  ตามแนวทางของพระ สมณลิขิตเตือนใจ ความปีติยินดีแห่งความรัก เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพ กลุ ่ ม ผู ้ ใ ห้ ข ้ อ มู ล  คื อ  ครอบครั ว คริ ส ตชน วั ด ราชิ นี แ ห่ ง สั น ติ ภ าพ สังฆมณฑลนครสวรรค์ จ�ำนวน 10 ครอบครัว ได้มาโดยการสุม่ อย่างง่าย เก็บข้อมูลโดยใช้การสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง และ การสนทนากลุ่ม ผู้ทรงคุณวุฒิ  7 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปของผู้ให้ข้อมูล ได้แก่  ค่าความถี ่ และ ค่าร้อยละ ส�ำหรับการวิเคราะห์สภาพการปฏิบตั ิ หน้าทีใ่ นการส่งเสริมความเชือ่ แก่บตุ รและปัจจัยในการส่งเสริมความเชือ่ แก่บุตรของบิดามารดา วัดราชินีแห่งสันติภาพ สังฆมณฑลนครสวรรค์ ตามแนวทางของพระสมณลิขิตเตือนใจ ความปีติยินดีแห่งความรัก ใช้ การวิเคราะห์เนื้อหา  ผลการวิจัย 1. บิดามารดาได้ท�ำหน้าที่ในการเป็นแบบอย่างและมีอิทธิพล อย่างมากในการหล่อหลอมส่งเสริมความเชื่อให้แก่บุตร ตามแนวทาง พระสมณลิขติ เตือนใจความปีตยิ นิ ดีแห่งความรัก (AMORIS LAETITIA) ในเรือ่ งของการ 1) ปฏิบตั ศิ าสนกิจ การรับศีลอภัยบาป รับศีลมหาสนิท ร่วมพิธีบูชาขอบพระคุณและสวดภาวนาอย่างสม�่ำเสมอ 2) มีความ เคารพไว้ใจ เอาใจเขามาใส่ใจเรา รู้จักขอบคุณและขอโทษ เคารพและ ให้เกียรติในการเป็นมนุษย์  เปิดรับความหลากหลายของผู้คนชายและ หญิง ยอมรับในข้อแตกต่างและข้อจ�ำกัดของตนเองและผู้อื่น 3) อุทิศ ตน ท�ำกิจเมตตา 4) รักความยุตธิ รรม ไม่เข้าข้างคนผิด ยืนหยัดถึงความ ถูกต้องและความดีในสังคม และ 5) ปกป้องและใช้ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อมอย่างประหยัดและคุ้มค่า บริโภคอย่างพอดีไม่ทิ้งขว้าง

ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2020/2563

75


การส่งเสริมความเชือ่ แก่บตุ รตามแนวทางของพระสมณลิขติ เตือนใจความปีตยิ นิ ดีแห่งความรัก (AMORIS LAETITIA) กรณีศกึ ษา วัดราชินแี ห่งสันติภาพ สังฆมณฑลนครสวรรค์

2. ปัจจัยส�ำคัญในการส่งเสริมความเชือ่ แก่บตุ ร ตามแนวทางของ พระสมณลิขติ เตือนใจความปีตยิ นิ ดีแห่งความรัก (AMORIS LAETITIA) ประกอบด้วย 1) ปัจจัยภายใน ได้แก่  พื้นฐานความเชื่อทางวัฒนธรรม และศาสนา ความเชื่อไว้ใจในพระเจ้าอย่างแท้จริง การแสวงหาพระเจ้า การสัมผัสถึงความต้องการพระเจ้าของตน และ 2) ปัจจัยภายนอก ได้แก่ ประเพณีวฒ ั นธรรม การศึกษา การประกอบอาชีพ สือ่ เทคโนโลยี และการท�ำกิจศรัทธา ซึ่งเป็นปัจจัยที่ช่วยส่งเสริมความเชื่อตามวิถีชีวิต ของชนเผ่าปกาเกอะญอ เป็นกลุ่มชาติพันธุ์กะเหรี่ยง ที่เรียกตนเอง ว่า “ปกาเกอะญอ” เป็นชนเผ่าที่อาศัยอยู่ในประเทศไทย มีเอกลักษณ์ การดาํ รงความเป็นเผ่าพันธุ ์ โดยมีภาษา ประเพณี วัฒนธรรมของตนเอง ดํารงชีวิตใช้ทรัพยากรธรรมชาติโดยตรง มีการนับถือศาสนาที่ต่างกัน ซึง่ ปกาเกอะญอดัง้ เดิมจะนับถือผี เชือ่ เรือ่ งต้นไม้ปา่ ใหญ่ ภายหลังหันมา นับถือพุทธ คริสต์  เป็นต้น ที่ปรากฏออกมาในชีวิตประจ�ำวัน ค�ำส�ำคัญ:

76

วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

ความเชื่อ พระสมณลิขิตเตือนใจความปีติยินดีแห่งความรัก วัดราชินีแห่งสันติภาพ


สมพร ฤทัยหวนพนา, พิเชฐ แสงเทียน และ ลัดดาวรรณ ประสูตร์แสงจันทร์

Abstract

This research aims to study : 1) Present situation, condition of duties in the promotion of faith for children by parents at Mother of Peace Church in Nakornsawan Diocese, according to the Apostolic Exhortation Amoris Laetitia, and 2) Factors for promoting faith for children by parents at Mother of Peace Church in Nakornsawan Diocese, according to the Apostolic Exhortation Amoris Laetitia. It is a qualitative research. Informant groups are 10 Christian families at Mother of Peace Church in Nakhonsawan Diocese. We got the data by simple random sampling. The data was collected by using semi-structured interview and group discussion with 7 experts. Content analysis to the statistics given by the informants, including frequency and percentage, was used analyze to what extent percents of at Mother of Peace Church in Nakornsawan Diocese practice their duty, to promote the faith in their children by parents and factors for promoting faith to children in accordance with the Apostolic Exhortation Amoris Laetitia. Research result 1. Parents have served as role models and have a huge influence in communicating their faith and beliefs to the children, according to the Apostolic Exhortation Amoris Laetitia, especially in the following A) Practicing religious activities, receiving Baptism, receiving Holy Communion, regularly attending the Eucharistic Celebration and Vigil B) Respect for adults, being a companion; consideration for

ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2020/2563

77


การส่งเสริมความเชือ่ แก่บตุ รตามแนวทางของพระสมณลิขติ เตือนใจความปีตยิ นิ ดีแห่งความรัก (AMORIS LAETITIA) กรณีศกึ ษา วัดราชินแี ห่งสันติภาพ สังฆมณฑลนครสวรรค์

others; knowing how to say thank you and how to apologize, respecting and honoring others; openness to a variety of men and women and accepting differences; and recognizing limitations of oneself and others C) Devotion and doing works of mercy D) Putting Love and justice into practice, not favoring the wrong people, standing for truth and goodness in society and E) Protecting and using natural resources and the environment economically and cost-effectively, sustainable consumption, and avoiding a throwaway culture. 2. Important factors for promoting faith in children, according to the Apostolic Exhortation Amoris Laetitia include A) Internal factors, such as love, belief, faith and B) External factors, such as culture, tradition, education, occupation, technological media, putting faith into practice in everyday life –factors that help to promote Christian belief in the way of life of the Karen (Pgaz k’ nyau) tribes. Keywords:

78

วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

Belief Children Parents Amoris Laetitia Mother of Peace Church


สมพร ฤทัยหวนพนา, พิเชฐ แสงเทียน และ ลัดดาวรรณ ประสูตร์แสงจันทร์

ความเป็นมาและความส�ำคัญของปัญหา “จะมีประโยชน์อะไร หากผู้หนึ่งอ้างว่า มีความเชือ่ แต่ไม่มกี ารกระท�ำ” (ยากอบ 2:14) หลักความเชื่อของคริสตชนคือเชื่อในพระเจ้า เชื่ อ ในทุ ก สิ่ ง ที่พ ระเจ้าตรัสและทรงเปิดเผย ความจริงแก่คริสตชน และสิ่งที่พระศาสนจักร สัง่ สอน พระศาสนจักรสอนให้คริสตชนมีความ เชื่ อ และน� ำ ความเชื่ อ นั้ น มาเป็ น หลั ก ในการ ด�ำเนินชีวิตที่ดี  หากแต่โลกยุคปัจจุบันก�ำลัง พัฒนาอย่างรวดเร็วทั้งด้านวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี  ส่วนใหญ่เพื่อมุ่งสนองตอบความ ต้องการของมนุษย์ทางด้านร่างกาย ซึ่งไม่อาจ ตอบสนอบความต้องการด้านจิตใจหรือแก้ไข ปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นตามมาได้อย่างทั้งหมด หรืออย่างแท้จริง การให้คณ ุ ค่ากับวัตถุมากกว่า ความดี ง าม หรื อ หลั ก ค� ำ สอนทางศาสนา ครอบครัวเป็นสถาบันทีส่ ำ� คัญมากทีส่ ดุ  ปัญหา ในสถาบันครอบครัวปัจจุบันคือการขาดความ รักเอาใจใส่ การใช้ความรุนแรง การไม่สนใจต่อ ค�ำสอนและหลักปฏิบัติของศาสนา ไม่อบรม ปลูกฝังความเชือ่  เสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรม แก่บตุ รหลาน Cardinal Arch Bishop Antonio Tagle กล่ า วรายงานในโอกาสสมเด็ จ พระสันตะปาปาฟรังซิสเสด็จไปเยือนประเทศ ฟิลิปปินส์ในเดือนมกราคม ค.ศ.2015 ความ ตอนหนึ่งว่า “การเป็นคาทอลิกที่ไม่ได้ด�ำเนิน ชีวิตแบบคริสตชน (Cardinal Arch Bishop

Antonio Tagle (2015: ออนไลน์) คือ การไม่ สนใจศาสนา ซึง่ เป็นปรากฏการณ์ทนี่ า่ เป็นห่วง อย่างยิ่ง หากไม่ได้รับการส่งเสริมความเชื่อพื้น ฐานอย่างดีและเพียงพอ จะท�ำให้บุตรไม่มีที่ ยึดเหนี่ยวทางด้านจิตใจที่ดีในชีวิตประจ�ำวัน จะส่งผลกระทบต่อการด�ำเนินชีวิตของบุตร อย่างหลีกเลีย่ งไม่ได้  ดังนัน้ ความเชือ่ จึงมีความ ส�ำคัญในการก�ำหนดรูปแบบการด�ำเนินชีวิต ของมนุษย์ เป็นเหมือนเข็มทิศทีช่ นี้ ำ� การด�ำเนิน ชีวิต พระสมณลิขติ เตือนใจความปีตยิ นิ ดีแห่ง ความรักให้ความส�ำคัญกับการอบรมสั่งสอน ส่งมอบความเชื่อ และการเป็นแบบอย่างที่ดี ของบิดามารดาในเรื่องของความเชื่อ การหล่อ หลอมให้บุตรมีความเชื่อ และสามารถปฏิบัติ ตนให้เป็นประจักษ์พยานแห่งความเชื่อ ผ่าน ทางการปฏิ บั ติ ศ าสนกิ จ  ท� ำ กิ จ ศรั ท ธา กิ จ เมตตาทั้งฝ่ายกายและวิญญาณในหลากหลาย รูปแบบ (เทียบ AMORIS LAETITIA 7: ข้อ 263-290) ทั้งในเรื่องของ 1) การปฏิบัติศาสน กิจ 2) ความเป็นน�้ำหนึ่งใจเดียวกัน การเปิด รับความหลากหลายของผู้คน 3) การอุทิศตน เพือ่ ประโยชน์สว่ นรวม 4) การปกป้องสิง่ สร้าง และ 5) การรั ก ษาความยุ ติ ธ รรมในสั ง คม ความเคารพในศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ ผู ้ วิ จั ย เห็ น ว่ า  การอบรมหล่ อ หลอม จริยธรรมบุตรให้มีความเชื่อ ด�ำเนินชีวิตตาม

ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2020/2563

79


การส่งเสริมความเชือ่ แก่บตุ รตามแนวทางของพระสมณลิขติ เตือนใจความปีตยิ นิ ดีแห่งความรัก (AMORIS LAETITIA) กรณีศกึ ษา วัดราชินแี ห่งสันติภาพ สังฆมณฑลนครสวรรค์

หลั ก จริ ย ธรรม หลั ก ความเชื่ อ ของคริ ส ตชน และตามแนวทางในพระสมณลิ ขิ ต เตื อ นใจ ความปีตยิ นิ ดีแห่งความรัก (AMORIS LAETITIA) นั้นเป็นสิ่งที่ส�ำคัญต่อทุกๆ ครอบครัว ไม่ว่าจะ เป็นครอบครัวในทวีปใดของโลก หรือในภาคใด ของประเทศ ส�ำหรับครอบครัวคริสตชนใน เขตวัดราชินแี ห่งสันติภาพ เป็นชุมชนคริสตชน แห่ ง หนึ่ ง ที่ ตั้ งอยู่ในจังหวัดตาก สังฆมณฑล นครสวรรค์  ชาวบ้านส่วนใหญ่ประกอบอาชีพ ท�ำไร่ทำ� นา มีวถิ ชี วี ติ ความเป็นอยูแ่ บบเรียบง่าย บิดามารดาและบุตรอยู่ร่วมกัน ท�ำให้มีเวลา ในการดูแลอบรมสั่งสอนบุตรได้อย่างเต็มที่ สามารถพาบุตรไปเข้าวัด แก้บาป รับศีล สวด ภาวนา ท�ำกิจศรัทธา กิจเมตตาร่วมกันอย่าง สม�่ำเสมอ ปัญหาในด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม ก็ยงั มีนอ้ ย ปัจจุบนั นีช้ าวบ้านประสบกับปัญหา เรื่องผลผลิตและที่ส�ำหรับการท�ำเกษตรกรรม ท�ำให้เกิดภาวะการย้ายถิ่นที่อยู่อาศัยเพื่อเข้า สูส่ งั คมเมือง จึงส่งผลให้เกิดปัญหาในด้านต่างๆ โดยเฉพาะการอบรมบุตรในด้านค�ำสอนพระ ศาสนจักรในด้านความเชือ่  ความศรัทธาเพราะ บุ ต รได้ อ ยู ่ ห ่ า งไกลจากบิ ด ามารดาและไม่ มี โอกาสปฏิบัติศาสนกิจ กิจเมตตาอื่นๆ เท่าที่ ควร รวมถึงปัญหาด้านจริยธรรมในการด�ำเนิน ชีวติ เหมือนในสังคมเมืองทัว่ ไป ทัง้ เรือ่ งของการ แข่งขัน การเอารัดเอาเปรียบ การมุ่งแสวงหา ประโยชน์ส่วนตนมากกว่าประโยชน์ส่วนรวม

80

วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

ผู ้ วิ จั ย มี ค วามสนใจที่ จ ะศึ ก ษา การส่ ง เสริ ม ความเชือ่  ตามแนวทางของพระสมณลิขติ เตือน ใจความปีติยินดีแห่งความรัก (AMORIS LAETITIA) กรณี ศึ ก ษาวั ด ราชิ นี แ ห่ ง สั น ติ ภ าพ สังฆมณฑลนครสวรรค์ วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพือ่ ศึกษาสภาพการปฏิบตั หิ น้าทีข่ อง บิดามารดาคาทอลิกในการส่งเสริมความเชื่อ แก่ บุ ต ร วั ด ราชิ นี แ ห่ ง สั น ติ ภ าพสั ง ฆมณฑล นครสวรรค์  ตามแนวทางของพระสมณลิขิต เตือนใจความปีติยินดีแห่งความรัก (AMORIS LAETITIA) 2. เพือ่ ศึกษาปัจจัยในการส่งเสริมความ เชือ่ แก่บตุ ร วัดราชินแี ห่งสันติภาพ สังฆมณฑล นครสวรรค์  ตามแนวทางของพระสมณลิขิต เตือนใจความปีติยินดีแห่งความรัก (AMORIS LAETITIA) ขอบเขตของการวิจัย ศึกษาเกีย่ วกับความเชือ่ และการส่งเสริม ความเชื่อแก่บุตร ตามแนวทางของพระสมณ ลิขติ เตือนใจความปีตยิ นิ ดีแห่งความรัก (AMORIS LAETITIA)


สมพร ฤทัยหวนพนา, พิเชฐ แสงเทียน และ ลัดดาวรรณ ประสูตร์แสงจันทร์

กรอบแนวคิดของการวิจัย   สภาพการปฏิบัติหน้าที่ของ การส่งเสริมความเชื่อแก่บุตร   ตามแนวทางของพระสมณลิ ปัจจัยที่ส่งเสริมความเชื่อแก่บุตร บิดามารดาคาทอลิก ขิต วัดราชินีแห่งสันติภาพ  เตือนใจความปีตยิ นิ ดีแห่งความรัก  ในการส่งเสริมความเชื่อแก่บุตร สังฆมณฑลนครสวรรค์ วัดราชินีแห่งสันติภาพ   (AMORIS LAETITIA)   ประชากร กลุ่มผู้ให้ข้อมูล และกลุ่มผู้ทรง การส่งเสริมความเชือ่ ให้แก่บตุ รหมายถึง คุณวุฒิ การอบรมสั่งสอน ส่งมอบความเชื่อ และการ กลุ่มผู้ให้ข้อมูล คือ ครอบครัวคริสตชน เป็นแบบอย่างที่ดีของบิดามารดาในเรื่องของ วัดราชินีแห่งสันติภาพ สังฆมณฑลนครสวรรค์ ความเชื่ อ  ให้ บุ ต รมี ค วามเชื่ อ  และสามารถ จ�ำนวน 10 ครอบครัว ได้มาโดยการสุ่มอย่าง ปฏิบัติตนให้เป็นประจักษ์พยานแห่งความเชื่อ ง่าย โดยมีบิดามารดาของแต่ละครอบครัวเป็น ผ่านทางการปฏิบัติศาสนกิจ การท�ำกิจศรัทธา ผู้ให้ข้อมูล  กิ จ เมตตา ในหลากหลายรู ป แบบ ได้ แ ก่ กลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิจ�ำนวน 7 คน  1) การปฏิบัติศาสนกิจด้วยความเชื่อศรัทธา กลุ ่ ม ผู ้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ   ประกอบด้ ว ย 1) 2) ความเป็นน�้ำหนึ่งใจเดียวกัน การเปิดรับ บาทหลวงเจ้าอาวาสวัดราชินีแห่งสันติภาพ ความหลากหลายของผู ้ ค น 3) การอุ ทิศ ตน จ�ำนวน 1 คน 2) สภาอภิบาลวัด จ�ำนวน 1 เพือ่ ประโยชน์สว่ นรวม 4) การปกป้องสิง่ สร้าง คน 3) ครูคำ� สอน จ�ำนวน 1 คน และ 4) บิดา และ 5) การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางสังคม มารดาจ�ำนวน 4 คู่ ทีไ่ ม่เป็นธรรม การลดความเหลือ่ มล�ำ้ ทางสังคม โดยอาศั ย ความรั ก  ความจริ ง ใจ เหมื อ นที่ นิยามศัพท์เฉพาะ พระองค์ทรงมีต่อมนุษย์ทุกคน (เทียบ AMO ความเชือ่ ในงานวิจยั นีห้ มายถึงความเชือ่ RIS LAETITIA 7: ข้อ 263-290)  ในพระเจ้า เชือ่ ในทุกสิง่ ทีพ่ ระองค์ตรัสและทรง สังฆมณฑลนครสวรรค์หมายถึงเขตการ เปิดเผยความจริงแก่คริสตชนและสิ่งที่พระ ปกครองของคริสตจักรโรมันคาทอลิก ปกครอง ศาสนจักรสั่งสอน ซึ่งสามารถปฏิบัติให้เป็น ดูแลโดยมุขนายก มีเขตพื้นที่ครอบคลุม 13 ประจักษ์พยานผ่านทางการปฏิบัติศาสนกิจ จังหวัด การท�ำกิจศรัทธา กิจเมตตาต่างๆ

ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2020/2563

81


การส่งเสริมความเชือ่ แก่บตุ รตามแนวทางของพระสมณลิขติ เตือนใจความปีตยิ นิ ดีแห่งความรัก (AMORIS LAETITIA) กรณีศกึ ษา วัดราชินแี ห่งสันติภาพ สังฆมณฑลนครสวรรค์

วัดราชินีแห่งสันติภาพหมายถึงชุมชน คริสตจักรโรมันคาทอลิกแห่งหนึ่ง ภายใต้เขต ปกครองสังฆมณฑลนครสวรรค์  ตั้งอยู่ที่ต�ำบล ท่าสองยาง อ�ำเภอท่าสองยาง จังหวัดตาก วิธีด�ำเนินการวิจัย 1) การศึกษาวิเคราะห์เอกสารและงาน วิจัยที่เกี่ยวข้อง  2) สร้ า งและพั ฒ นาเครื่ อ งมื อ  ได้ แ ก่ แบบสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง และประเด็น การสนทนากลุ่ม น�ำเครื่องมือที่สร้างขึ้นเสนอ อาจารย์ที่ปรึกษา แก้ไขตามค�ำแนะน�ำแล้วน�ำ เสนอต่อผู้เชี่ยวชาญจ�ำนวน 3 คน เพื่อตรวจ สอบความสอดคล้องเชิงเนื้อหาของเครื่องมือ (content validity) ได้คา่ ดัชนีความสอดคล้อง อยู่ระหว่าง 0.66 – 1.00  3) น� ำ เครื่ อ งมื อ ที่ พั ฒ นาแล้ ว ไปเก็ บ ข้อมูล ทั้งนี้  ในการสัมภาษณ์กลุ่มผู้ให้ข้อมูล จ�ำนวน 10 ครอบครัว ผู้วิจัยท�ำการสัมภาษณ์ โดยใช้ภาษาปกาเกอะญอซึ่งเป็นภาษาท้องถิ่น แล้วน�ำข้อมูลมาวิเคราะห์เรียบเรียงเป็นภาษา ไทยกลาง  4) น� ำ ข้ อ มู ล ที่ ไ ด้ ม าตรวจทานความ ถูกต้อง วิเคราะห์  แปลผล และ สรุปผลการ ศึกษา

82

วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

ผลการวิจัย 1. สภาพการปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ใ นการส่ ง เสริมความเชื่อแก่บุตร ตามแนวทางพระสมณ ลิ ขิ ต เตื อ นใจ ความปี ติ ยิ น ดี แ ห่ ง ความรั ก (AMORIS LAETITIA) ในภาพรวมพบว่าส่วน ใหญ่ได้ปฏิบัติหน้าที่ในการเป็นแบบอย่างและ มี อิ ท ธิ พ ลอย่ า งมากในการหล่ อ หลอมและ ส่งเสริมความเชื่อให้แก่บุตร ในเรื่องของการ 1) ปฏิบัติศาสนกิจ การรับศีลอภัยบาป รับศีล มหาสนิท ร่วมพิธีบูชาขอบพระคุณ และสวด ภาวนา อย่างสม�่ำเสมอ 2) มีความเคารพไว้ใจ เอาใจเขามาใส่ใจเรา รู้จักขอบคุณและขอโทษ เคารพและให้เกียรติในการเป็นมนุษย์  เปิดรับ ความหลากหลายของผู ้ ค นชายและหญิ ง ยอมรับในข้อแตกต่างและข้อจ�ำกัดของตนเอง และผูอ้ นื่  3) อุทศิ ตน ท�ำกิจเมตตา 4) รักความ ยุติธรรม ไม่เข้าข้างคนผิด ยืนหยัดถึงความ ถูกต้องและความดีในสังคม และ 5) ปกป้อง และใช้ทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อมอย่าง ประหยั ด และคุ ้ ม ค่ า  บริ โ ภคอย่ า งพอดี ไ ม่ ทิ้งขว้าง  1.1 การปฏิบตั ศิ าสนกิจด้วยความเชือ่ ศรัทธา (AMORIS LAETITIA: ข้อ 288, 289) บิดามารดาทุกครอบครัวมีบทบาทส�ำคัญในการ สอนและเป็นแบบอย่างในการปฏิบัติศาสนกิจ ความเชื่อศรัทธาแก่บุตร ซึ่งความเชื่อที่มีอยู่ใน ใจนั้นได้แสดงออกมาเป็นรูปธรรม สนับสนุน


สมพร ฤทัยหวนพนา, พิเชฐ แสงเทียน และ ลัดดาวรรณ ประสูตร์แสงจันทร์

บุตรให้ได้รบั ประสบการณ์ ความเชือ่ ด้วยตัวเขา เองโดยผ่านทางการภาวนา การท�ำกิจกรรม กิจศรัทธาต่างๆแสดงออกถึงความเชื่อความ ไว้ ใ จในองค์ พ ระเจ้ า  สอนบุ ต รให้ มี ค วาม ปฏิสัมพันธ์ที่ดีกับพระเจ้าโดยผ่านทางการร่วม พิธีบูชาขอบพระคุณเพื่อความเป็นหนึ่งเดียว รับศีลมหาสนิทเพื่อให้พระเยซูเจ้าสถิตในตัว แก้บาปเพื่อคืนดีกับพระเจ้าและเพื่อนมนุษย์ สวดภาวนาทัง้ ส่วนตัวและส่วนรวมเพือ่ เป็นการ ขอพรส�ำหรับการด�ำเนินชีวิต ในการท�ำงาน ในการศึกษาเล่าเรียน 1.2 ความเป็นน�ำ้ หนึง่ ใจเดียวกัน เปิด รับความหลายหลายของผู้คนชายและหญิง (AMORIS LAETITIA: ข้อ 266, 275, 290) บิดามารดามีความเห็นตรงกันว่าการจะอยูด่ ว้ ย กั น ในสั ง คมอย่ า งสงบสุ ข นั้ น จะต้ อ งมี ค วาม เคารพผู้ใหญ่  เพื่อนสนิทมิตรสหาย มีความ เข้าใจกัน เอาใจเขามาใส่ใจเรา รู้จักขอบคุณ เวลาคนท�ำดีกบั เรา ขอโทษในเวลาทีท่ ำ� ผิด รวม ถึงการให้ก�ำลังใจผู้อื่นในเวลาที่ท�ำดี  หรือเวลา ทีต่ กอยูใ่ นความยากล�ำบาก และทีส่ ำ� คัญคือให้ รู้จักตนเองว่าเป็นคนอย่างไร เพื่อเสริมสร้าง ชีวติ ให้สามารถด�ำเนินชีวติ อยูร่ ว่ มกับผูอ้ นื่ อย่าง มีความสุข ซึง่ เป็นการปฏิบตั ติ นพืน้ ฐานในการ ด�ำเนินชีวิตในสังคม  1.3 การอุทิศตนเพื่อประโยชน์ส่วน รวม การท�ำกิจเมตตา (AMORIS LAETITIA:

ข้อ 290) บิดามารดาสอนบุตรให้เป็นผูอ้ ทุ ศิ ตน เพือ่ ประโยชน์สว่ นรวม การท�ำกิจเมตตา ความ เสียสละ การแบ่งปันอาหารกันในชุมชนแก่ ผู้ที่ขาดแคลนตามก�ำลังความสามารถ การหา โอกาสไปเยีย่ มเยียนให้กำ� ลังใจแก่ผปู้ ว่ ย รวมถึง ญาติผลู้ ว่ งลับ การตักเตือนคนบาปคนประพฤติ ผิด การอดทน การให้อภัยแก่ผู้อื่นนั้น เป็น เรื่องที่ส�ำคัญในการด�ำเนินชีวิต ซึ่งแสดงออก ถึงความรักความเข้าใจ การช่วยเหลือกันใน สังคม ชุมชน เป็นการเอาใจใส่กนั ด้วยความรัก ทั้งร่างกายและจิตใจ และท�ำเป็นแบบอย่างให้ แก่บุตร รวมถึงอดทนต่อสิ่งต่างๆ ที่เกิดขึ้น แม้บางเรื่องจะไม่ได้ดังที่ใจต้องการ เพราะทุก ประสบการณ์ไม่วา่ จะดีหรือไม่ด ี ก็เป็นสิง่ ทีช่ ว่ ย ให้มนุษย์เติบโตขึ้น  1.4 การลดความเหลื่อมล�้ำทางสังคม การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางสังคมที่ไม่เป็น ธรรม (AMORIS LAETITIA: ข้อ 280-282) บิดามารดาสอนบุตรให้รกั ความยุตธิ รรม ไม่เข้า ข้ า งคนผิ ด เคารพและให้ เ กี ย รติ ในการเป็ น มนุษย์  ความเป็นเพศชายหรือหญิงของแต่ละ บุคคลเป็นเรื่องที่ส�ำคัญซึ่งจะเป็นการยืนหยัด ถึงความถูกต้องและความดีในสังคม เฉพาะ อย่างยิ่งการรักนวลสงวนตัวซึ่งในสถานการณ์ ปัจจุบันไม่ได้รับการเอาใจใส่เท่าที่ควร บิดา มารดาต้องสอนให้บุตรเข้าใจคุณค่าที่แท้จริง ของเพศคือความรักและการให้กำ� เนิดบุตร การ

ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2020/2563

83


การส่งเสริมความเชือ่ แก่บตุ รตามแนวทางของพระสมณลิขติ เตือนใจความปีตยิ นิ ดีแห่งความรัก (AMORIS LAETITIA) กรณีศกึ ษา วัดราชินแี ห่งสันติภาพ สังฆมณฑลนครสวรรค์

เข้าอกเข้าใจ เอาใจเขามาใส่ใจเรา ให้เกียรติ ไม่เอาเปรียบ ไม่ประพฤติผดิ ทางเพศ ให้แสดง ออกที่แตกต่างของความรักความห่วงใยการ ดูแลเอาใจใส่ซึ่งกันและกัน รักเคารพ ไม่ลด ทอนคุณค่าของเพศ ซึง่ เป็นการให้เกียรติตนเอง และให้เกียรติผู้อื่นอีกด้วย 1.5 การปกป้องสิ่งสร้าง (AMORIS LAETITIA: ข้อ 290) เนื่องจากส่วนใหญ่ท�ำไร่ หมุนเวียน ทุกครอบครัวได้ปฏิบัติและสอนให้ บุ ต รปกป้ องและใช้ท รัพ ยากรอย่างรู้คุณ ค่า ประหยั ด  คุ ้ ม ค่ า  ดู แ ลรั ก ษาธรรมชาติ แ ละ สิ่งแวดล้อม รวมถึงการบริโภคอย่างพอดีไม่ทิ้ง ขว้ า งเกิ น ความจ� ำ เป็ น  ไม่ ท� ำ การใดอั น เป็ น มลพิษ มลภาวะ หรือผลกระทบต่อผู้อื่นและ สิง่ แวดล้อมเป็นเรือ่ งทีส่ ำ� คัญ เพราะว่าปัจจุบนั นี้  ธรรมชาติ  ป่า แม่น�้ำ ล�ำธารถูกท�ำลายไป มากหากไม่รู้รักษา ใช้เท่าที่จ�ำเป็น ผลร้ายจะ เกิดขึ้นกับมนุษย์เอง ดังนั้น ทุกคนมีสิทธิที่จะ ใช้ทรัพยากร และทุกคนต้องรับผิดชอบในการ รักษาด้วย  1.6 สิ่งที่ช่วยให้บิดามารดาสามารถ หล่อหลอมความเชื่อแก่บุตร ตามข้อ 1.1-1.5 คือการปฏิบัติศาสนกิจด้วยความเชื่อศรัทธา ท่านได้ปฏิบัติและสอนบุตรให้รับศีลศักดิ์สิทธิ์ ต่างๆ เข้าร่วมพิธีบูชาขอบพระคุณ แก้บาป รับศีล และการสวดภาวนา อย่างสม�่ำเสมอ

84

วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

2. ปัจจัยส�ำคัญในการส่งเสริมความเชือ่ แก่บุตรตามแนวทางของพระสมณลิขิตเตือน ใจความปีติยินดีแห่งความรัก (AMORIS LAETITIA) ประกอบด้วย 1) ปัจจัยภายใน และ 2) ปัจจัยภายนอก ซึ่งเป็นปัจจัยที่ช่วยส่งเสริม ความเชื่อตามวิถีชีวิตของชนเผ่าปกาเกอะญอ ที่ปรากฏออกมาในชีวิตประจ�ำวัน ดังนี้ 2.1 ปัจจัยภายใน 2.1.1 พืน้ ฐานความเชือ่ ทางวัฒนธรรม และศาสนา คริสตชนชาวปกาเกอะญอด�ำเนิน ชีวิตตามความเชื่อทางวัฒนธรรมบนพื้นฐาน ของศาสนาคริ ส ต์   และความเชื่ อ ดั้ ง เดิ ม ที่ เกี่ยวข้องกับสิ่งเหนือธรรมชาติ  ที่ถูกถ่ายทอด มาปากสู ่ ป ากรุ ่ น สู ่ รุ ่ น  ซึ่ ง มี อิ ท ธิ พ ลต่ อ การ ด�ำเนินชีวิต เช่น ความเชื่อในเรื่อง 1) “ต่าที ต่าตอ” (Taj hti taj tau) คือ สิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่ คอยดู แ ลมนุ ษ ย์   จะคุ ้ ม ครองชี วิ ต และการ ท� ำ งานเฉพาะคนดี เ ท่ า นั้ น  จึ ง ต้ อ งเป็ น คนดี 2) “ทีเกอะจ่าก้อเกอจ่า” (hti k’ caj hkauj k’ caj) คื อ  เจ้ า ป่ า เจ้ า เขา ที่ ค อยคุ ้ ม ครอง ดูแลป่า จึงต้องให้ความเคารพ ระมัดระวังเวลา ท�ำสิ่งใดต่อธรรมชาติ  2.1.2 ความเชื่ อ ในพระเจ้ า อย่ า ง แท้จริง ครอบครัวชาวปกาเกอะญอที่วัดราชินี แห่ ง สั น ติ ภ าพเป็ น คริ ส ตชนทุ ก ครอบครั ว รากฐานของความเชือ่ ทีเ่ ข้มแข็งของบิดามารดา เป็นปัจจัยส�ำคัญในการส่งเสริมความเชื่อใน


สมพร ฤทัยหวนพนา, พิเชฐ แสงเทียน และ ลัดดาวรรณ ประสูตร์แสงจันทร์

พระเจ้าแก่บุตร ที่จะสอนให้บุตรมีความเชื่อ อย่ า งลึ ก ซึ้ ง ได้ นั้ น ต้ อ งเริ่ ม ต้ น ที่ บิ ด ามารดา เป็นมิตขิ องการเปิดจิตใจ ต่อสิง่ เหนือธรรมชาติ คือเปิดจิตใจสู่พระเจ้ายอมให้พระเจ้าเป็นนาย เหนื อ ชี วิ ต  ซึ่ ง เป็ น จุ ด เริ่ ม ต้ น ของความเชื่ อ ภายในจิตใจ 2.1.3 การแสวงหาพระเจ้าและการ สัมผัสถึงความต้องการพระเจ้า ทุกครอบครัว แสวงหาด้วยการปฏิบัติกิจศรัทธา ศาสนกิจ ต่างๆ สวดภาวนา ไปวัด เป็นมิติของการเปิด รับต่อพระเจ้า ท�ำให้ผู้เชื่อมีความรัก ความไว้ วางใจในพระเจ้ามากขึ้น และแสดงออกมา สู ่ ค วามรั ก เคารพต่ อ บุ ค คลรอบข้ า งมากขึ้ น มี อิ ท ธิ พ ลต่ อ การรั ก ษาความดี แ ละเป็ น พลั ง ค�้ำจุนชีวิตของผู้เชื่อให้เป็นคนดี 2.2 ปัจจัยภายนอก 2.2.1 วั ฒ นธรรมประเพณี   ได้ แ ก่ 1) ภาษาปกาเกอะญอ การอ่ า นและเขี ย น สองรู ป แบบคือ หลิวา และอัก ษรโรมันเพื่อ ใช้ในการสือ่ สารในชีวติ ประจ�ำวันและใช้สำ� หรับ ในการสวดภาวนาอ่านหนังสือเพลงตอบรับ พระสงฆ์ในการร่วมพิธีกรรม มีการสอนบุตร หลานให้เรียนหลิวา เพื่อจะได้ไม่ลืมภาษาของ ตนเองและใช้ในพิธีกรรมทางศาสนาและกิจ ศรัทธา สรรเสริญพระเจ้าผ่านทางบทสวด การ ขับร้องบทเพลง ใช้ในการสวดภาวนาเพื่อส่ง เสริมความเชือ่  2) เครือ่ งแต่งกายประจ�ำชนเผ่า ปกาเกอะญอ ส�ำหรับใช้สวมใส่ส�ำหรับเข้าร่วม

พิธกี รรมในวันอาทิตย์วนั พระเจ้า ซึง่ ชุดประจ�ำ เผ่ า ในยุ ค ปั จ จุ บั น มี   3 แบบ คื อ  “เชกอ” (Hseigauz) เป็นเสือ้ สีแดงส�ำหรับผูช้ าย “เชวา” (Hseiwa) เป็นชุดสีขาวยาวถึงเท้าส�ำหรับสตรี ทีย่ งั ไม่สมรส และ “เชซู” (Hseisoo) เป็นเสือ้ สีเข้มส�ำหรับสตรีที่แต่งงานแล้ว 3) การรดน�้ำ ด�ำหัวในเดือนเมษายนของทุกปี  เป็นโอกาสดีที่ บุตรจะแสดงความเคารพต่อบิดามารดา และ ได้รับการอบรมสั่งสอนจากบิดามารดา โดย เฉพาะบุตรที่อยู่ห่างไกล สอดคล้องกับพระ บัญญัติพระเจ้า “จงนับถือบิดามารดา” และ 4) การรักเดียวใจเดียว ในวัฒนธรรมชนเผ่า สอนเรือ่ ง “ผัวเดียวเมียเดียวเท่านัน้ ” ไม่นอกใจ ไม่หย่าร้าง ต้องรักกันจนตาย ซึง่ สอดคล้องกับ ค�ำสอนของพระศาสนจักรคาทอลิก 2.2.2 การศึกษาการสอนคริสตศาสนา ในโรงเรียนคาทอลิก เป็นโอกาสส�ำคัญทีจ่ ะสอน ความเชือ่  หลักค�ำสอน จริยธรรมพิธกี รรมและ อื่นๆ  2.2.3 การประกอบอาชี พ ของชาว ปกาเกอะญอ อาศัยความเชื่อว่าพระเจ้าสร้าง ทุกสิ่งส�ำหรับมนุษย์  ให้มนุษย์ใช้สอยและดูแล รักษา จึงเป็นหน้าทีข่ องทุกคนทีจ่ ะต้องใช้อย่าง พอดีรู้คุณค่า และต้องดูแลรักษา หากไม่ดูแล รักษา พระเจ้าก็จะไม่มอบให้อีก มีการสวด ภาวนาในสวนไร่นา3 ช่วง คือ 1) เริ่มถางไร่ หรือเริม่ ไถนา (เดือนเมษายน) 2) พืชผลเริม่ โต (เดื อ นกรกฎาคม) 3) หลั ง เก็ บ เกี่ ย ว (เดื อ น

ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2020/2563

85


การส่งเสริมความเชือ่ แก่บตุ รตามแนวทางของพระสมณลิขติ เตือนใจความปีตยิ นิ ดีแห่งความรัก (AMORIS LAETITIA) กรณีศกึ ษา วัดราชินแี ห่งสันติภาพ สังฆมณฑลนครสวรรค์

พฤศจิกายน)  2.2.4 สื่อเทคโนโลยีเป็นเครื่องมือใน การส่งเสริมความเชื่อ เข้าถึงหลักธรรมค�ำสอน และเป็นช่องทางส�ำหรับการติดต่อสือ่ สารอบรม ส่งเสริมความเชือ่ บุตร เช่น เตือนให้สวดภาวนา ไปวัด 2.2.5 การปฏิบัติกิจศรัทธาเป็นการ แสดงออกถึงความเชือ่ ในพระเจ้า ทัง้ กิจศรัทธา ส่วนรวม เช่น การสวดภาวนาร่วมกันที่โบสถ์ และส่วนตัว เช่น สวดภาวนาเช้า-ค�่ำส่วนตัวใน ครอบครัว สรุปผลอภิปราย 1. สภาพการปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ข องบิ ด า มารดา จากการศึกษาพบว่าบิดามารดาของวัด ราชินแี ห่งสันติภาพ ตระหนักถึงบทบาทหน้าที่ ของตนเอง ส่งเสริมความเชื่อแก่บุตรโดยการ สอน และเป็นแบบอย่างในการปฏิบตั ศิ าสนกิจ รับศีลอภัยบาป รับศีลมหาสนิท ร่วมพิธีบูชา ขอบพระคุณและสวดภาวนาอย่างสม�่ำเสมอ เพราะกิจกรรมเหล่านี้จะช่วยส่งเสริมชีวิตจิต ของบุตรและของบิดามารดาเองด้วย ให้มคี วาม เข้มแข็งในความเชือ่ ในพระเจ้า มีความไว้วางใจ ในพระเจ้า มีความหวังในความรักเมตตา ความ ช่วยเหลือจากพระเจ้า มีที่พึ่งทางจิตใจ และ เป็นเสมือนเข็มทิศที่คอยชี้น�ำชีวิต ให้อยู่ใน หนทางของพระเจ้ า ที่ ถู ก ต้ อ ง นั ก บุ ญ โทมั ส อไควนั ส ” ท่ า นบั น ทึ ก เอาไว้ ใ นงานเขี ย น 86

วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

“Summa Theologiae” ไว้วา่  ความเชือ่ เป็น “คุ ณ ธรรมทางเทววิ ท ยา” เป็ น คุ ณ ธรรมที่ พระเจ้าประทานให้แก่มนุษย์  เพื่อมนุษย์จะได้ เข้าใจความจริงเกี่ยวกับพระเจ้าและที่พระเจ้า ทรงเปิดเผยให้กบั มนุษย์  โดยแสดงออกมาเป็น กิจการแห่งความรักต่อเพื่อนมนุษย์  นักบุญ ยากอบกล่าวไว้ว่า “จะมีประโยชน์อะไร หาก ผู้หนึ่งอ้างว่ามีความเชื่อแต่ไม่มีการกระท�ำ” (ยากอบ 2:14) และในพระสมณลิขิตเตือนใจ ความปีติยินดีแห่งความรัก (บทที่  7 ข้อ 287289) ระบุวา่ บิดามารดามีอทิ ธิพลอย่างมากต่อ พัฒนาการด้านศีลธรรมของลูก ดังนั้น บิดา มารดาจึงต้องกระตือรือร้น มีเหตุผลเหมาะสม ให้ความช่วยเหลือ สร้างบรรยากาศทีเ่ หมาะสม ที่จะให้ลูกเติบโตทั้งร่างกายและวิญญาณ บุตร จะต้ อ งต้ อ งตระหนั ก ถึ ง การเป็ น บุ ต รของ พระเจ้า ในพระสมณลิขติ เตือนใจความปีตยิ นิ ดี แห่งความรัก (บทที ่ 5 :191-193) กล่าวว่าบุตร ต้องตระหนักเสมอว่าเราแต่ละคนต่างเป็นบุตร ชายบุตรหญิง ถึงแม้เราจะเติบโตเป็นผู้ใหญ่ มีหน้าที่การงานหรือเป็นผู้สูงวัย อย่างไรก็ตาม จะท�ำให้เราตระหนักถึงชีวติ ของเราว่า เราไม่ได้ เป็นคนให้กำ� เนิดชีวติ แก่ตนเอง แต่ชวี ติ เป็นของ ขวัญชิ้นแรกที่ย่ิงใหญ่ที่เราได้รับ เป็นพระเจ้า ที่ทรงมอบให้แก่เราผ่านทางพ่อแม่  2. ปัจจัยในการส่งเสริมความเชือ่ แก่บตุ ร ตามแนวทางของพระสมณลิขิตเตือนใจ ความ ปีติยินดีแห่งความรัก (AMORIS LAETITIA)


สมพร ฤทัยหวนพนา, พิเชฐ แสงเทียน และ ลัดดาวรรณ ประสูตร์แสงจันทร์

ประกอบด้วย 1) ปัจจัยภายใน ได้แก่  1.1) พื้นฐานความเชื่อทางวัฒนธรรมและศาสนา 1.2) ความเชือ่ ไว้ใจในพระเจ้าอย่างแท้จริง 1.3) การแสวงหาพระเจ้า 1.4) การสัมผัสถึงความ ต้องการพระเจ้าของตน และ 2) ปัจจัยภาย นอก ได้แก่ 2.1) วัฒนธรรมประเพณี 2.2) การ ศึ ก ษา 2.3) การประกอบอาชี พ  2.4) กิ จ ศรั ท ธาส่ ว นตั ว และส่ ว นรวม และ 2.5) สื่ อ เทคโนโลยีทเี่ ป็นเช่นนีอ้ าจเป็นเพราะปัจจัยส่วน ใหญ่นั้น เป็นสิ่งที่ได้รับการถ่ายทอดปลูกฝัง ความคิ ด ความเชื่ อ กั น มาอย่ า งยาวนานจาก บรรพบุรษุ จนถึงรุน่ ลูกหลาน เป็นการน�ำความ เชื่อทางศาสนาและตามประเพณีวัฒนธรรม มาผสมกลมกลืนกันจนกลายเป็นความเชือ่ ตาม วิถีชีวิตของชนเผ่าปกาเกอะญอ ที่ปรากฏออก มาในชีวิตประจ�ำวัน และสื่อเทคโนโลยีเป็น ปัจจัย ที่เป็นเรื่องใหม่ที่เข้ามาสู่ชุมชนในช่วง หลังๆ ถึงแม้จะเป็นปัจจัยทีจ่ ะก่อให้เกิดปัญหา หรือโทษหลายๆ ประการ แต่ก็เป็นปัจจัยที่ ครอบครั ว  บิ ด ามารดา สามารถน� ำ มาเป็ น แนวทางในการส่งเสริมความเชื่อให้แก่บุตร ในยุคสมัยปัจจุบันได้เป็นอย่างดี  เนื่องจากสื่อ เทคโนโลยีเป็นที่สนใจของบุตรเป็นอย่างมาก อยูแ่ ล้ว และสามารถใช้เป็นเครือ่ งมือในการพูด คุย อบรมสั่งสอน รวมถึงใช้เป็นเครื่องมือใน การศึกษาหาความรูด้ า้ นหลักธรรมค�ำสอนของ ศาสนาหรือของพระศาสนจักรได้ดีมากยิ่งขึ้น สอดคล้องกับทีส่ มเด็จพระสันตะปาปากิตติคณ ุ

เบเนดิกต์ที่  16 ได้กล่าวถึงความเชื่อในช่วง เวลาสวดพรหมถือสาร ณ จตุรัสนักบุญเปโตร เมือ่ วันพุธที ่ 24 ตุลาคม 2012 ไว้วา่  ความเชือ่ ยังคงเป็นเรือ่ งส�ำคัญในโลกยุคปัจจุบนั ทีเ่ ต็มไป ด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมากมาย ถึง เวลาแล้วที่ต้องกลับมาฟื้นฟูความรู้เรื่องความ เชือ่ ของเรา อันจะเป็นรากฐานทีน่ ำ� พาคริสตชน ไปพบกับพระเจ้าในพระเยซูคริสตเจ้า และ ความเชื่อ การถ่ายทอดความเชื่อจากคนรุ่น หนึ่งไปสู่อีกรุ่นหนึ่ง ความเชื่อของคริสตชนนั้น ไม่เปลี่ยนแปลง คือ การแสดงออกซึ่งกิจการ แห่งความรัก ดังทีท่ า่ นนักบุญเปาโล กล่าวไว้วา่ “ความเชื่อที่แสดงออกเป็นการกระท�ำอาศัย ความรัก” (กท 5: 6) ข้อเสนอแนะส�ำหรับการน�ำผลวิจัยไปใช้ 1. บิดามารดาต้องติดต่อสือ่ สารกับบุตร ผ่านทางช่องทางต่างๆ ใช้สื่อส�ำหรับบุตรที่อยู่ ห่างไกลจากบิดามารดา เพื่อให้ก�ำลังใจ รับฟัง ปัญหาของบุตรและสวดภาวนาให้กับบุตร 2. องค์ ก รที่ เ กี่ ย วข้ อ งในการอบรม เยาวชน จัดกิจกรรมให้ความรู้เรื่องวัฒนธรรม เฉพาะในท้องถิน่ นัน้ ๆ เพือ่ ให้เยาวชนตระหนัก ถึงการด�ำเนินชีวิตให้สอดคล้องกับวัฒนธรรม อันดีงาม รักษา และด�ำรงไว้ 3. ชุ ม ชนจะต้ อ งเอาใจต่ อ การปฏิ บัติ ศาสนกิจเพื่อส่งเสริมความเชื่อทั้งส่วนตัวและ ส่วนรวม

ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2020/2563

87


การส่งเสริมความเชือ่ แก่บตุ รตามแนวทางของพระสมณลิขติ เตือนใจความปีตยิ นิ ดีแห่งความรัก (AMORIS LAETITIA) กรณีศกึ ษา วัดราชินแี ห่งสันติภาพ สังฆมณฑลนครสวรรค์

ข้อเสนอแนะส�ำหรับการท�ำวิจัยครั้งต่อไป ควรศึกษาแนวทางอภิบาลที่จะส่งเสริม ความเชื่อที่ได้รับการส่งเสริมจากบิดามารดา มาใช้เป็นหลักในการด�ำเนินชีวิตของเยาวชน ปกาเกอะญอ

บรรณานุกรม ฟรังซิส, พระสันตะปาปา. (2017). พระสมณลิขติ เตือนใจ “ความปีตยิ นิ ดีแห่งความรัก” (AMORIS  LAETITIA). สื่อมวลชนคาทอลิกแห่งประเทศไทย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์อัสสัมชัญ. เชิดชัย เลิศจิตรเลขา, บาทหลวง. (2548). คริสตจริยศาสตร์พื้นฐาน. กรุงเทพฯ: แผนกการพิมพ์ โรงเรียนดอนบอสโก. เบเนดิกต์ที่  16, พระสันตะปาปา. (2012). สมณลิขิตประตู  แห่งความเชื่อ (Porta Fidei).  สภาประมุขบาดหลวงโรมันคาทอลิกแห่งประเทศไทย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์อัสสัมชัญ. _____. ความหมายของความเชือ่ . [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://www.vatican.aa/holy_xvi /audieces. (วันที่ค้นข้อมูล: 15 สิงหาคม 2561). Antonio Tagle, Cardinal Arch Bishop. การเป็นพยานถึงความเชือ่ . [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: www.ncronline.org/news/world/pope-francis-visit-Philippines. (วันที่ค้นข้อมูล: 18 สิงหาคม 2561). John Paul II, Pope. (1981). Familiaris Consortio. United States of Catholic Bishops Confererence Washington.

88

วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม


ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำ�การเปลี่ยนแปลง

ของผู้บริหารสถานศึกษากับการบริหารงานวิชาการ สถานศึกษา สังกัดสำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาราชบุรี เขต 1

The Relationship Between Transformatioal Leadership of School Administrators with Academic Administration Under Ratchaburi Primary Educational Service Area Office I.

อุมาพร นันทวิสุทธิ์

* ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง

ดร.ชวน ภารังกูล

* อาจารย์ประจ�ำสาขาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง

U-maporn Nanthawisut

* Master of Education Program in Educational Administration,   Muban Chombueng Rajabhat University.

Dr. Chuan Parunggul

* Lecturer, Education Program in Educational Administration,   Muban Chombueng Rajabhat University.

ข้อมูลบทความ

* รับบทความ    6 เมษายน 2561 * แจ้งแก้ไข    9 พฤษภาคม 2561 * ตอบรับบทความ  15 พฤษภาคม 2561


ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผูน้ �ำ การเปลีย่ นแปลงของผูบ้ ริหารสถานศึกษากับการบริหารงานวิชาการ สถานศึกษา สังกัดสำ�นักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1

บทคัดย่อ

การวิ จั ย ครั้ ง นี้   มี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ  1) ศึ ก ษาภาวะผู ้ น�ำ การ เปลีย่ นแปลงของผูบ้ ริหารสถานศึกษา 2) ศึกษาการบริหารงานวิชาการ สถานศึ ก ษา และ 3) ศึ ก ษาความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งภาวะผู ้ น� ำ การ เปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษากับการบริหารงานวิชาการสถาน ศึกษา สังกัดส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี  เขต 1 ประชากรได้แก่สถานศึกษาในสังกัดส�ำนักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถม ศึกษาราชบุรี  เขต 1 จ�ำนวน 180 แห่งกลุ่มตัวอย่าง ได้แก่  โรงเรียน สังกัดส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี  เขต 1 จ�ำนวน 123 แห่ง ได้สุ่มแบบแบ่งชั้นตามสัดส่วน (proportional stratified random sampling) ขนาดของสถานศึกษา เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บ รวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถาม มีลกั ษณะเป็นแบบมาตรประมาณค่า 5 ระดับ ผ่านการตรวจสอบคุณภาพ โดยผู้ทรงคุณวุฒิ  มีค่า IOC เท่า กับ .965 และค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ .978 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี ่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลีย่  ส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐานและ สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน  ผลการวิจัยพบว่า 1. ภาวะผูน้ ำ� การเปลีย่ นแปลงของผูบ้ ริหารของสถานศึกษา สังกัด ส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี  เขต 1 โดยภาพรวม และรายด้านอยู่ในระดับมาก  2. การบริหารงานวิชาการของสถานศึกษา สังกัดส�ำนักงานเขต พืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาราชบุร ี เขต 1 โดยภาพรวมและรายด้านอยู่ ในระดับมาก  3. ภาวะผูน้ ำ� การเปลีย่ นแปลงของผูบ้ ริหารสถานศึกษา โดยภาพ รวมมีความสัมพันธ์ทางบวก กับการบริหารงานวิชาการสถานศึกษา สังกัดส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรีเขต 1 อย่าง มีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .01  ค�ำส�ำคัญ:

90

วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

ภาวะผู้น�ำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษา การบริหารงานวิชาการสถานศึกษา


อุมาพร นันทวิสุทธิ์ ,และ ชวน ภารังกูล

Abstract

The purposes of this study were to 1) study transformational leadership of school administrators, 2) study the academic administration in schools, and 3) study the relationship between transformational leadership of school administrators and academic administration. The population was 180 schools under Ratchaburi primary educational service area office 1.The sampling was 123 schools selected using Proportional Stratified Random Sampling. random sampling was used for the school size. The instrument used to collect data was a 5-level licker scale, and passed the quality inspection by experts, which the validity was .965 and the reliability was .978. Statistics used in data analysis were frequency, percentage, mean, standard deviation, and Pearson’s correlation coefficient. The findings were as follows:  1. For overall and each aspect result, the transformational leadership of school administrators was at a high level. 2. For overall and each aspect result, the academic administration in schools was at a high level. 3. For the overall result, the transformational leadership of school administrators had the positive relations with academic administration, which was statistically significant at .01 level.  Keywords: Transformational Leadership of School Administrators Academic Administration

ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2020/2563

91


ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผูน้ �ำ การเปลีย่ นแปลงของผูบ้ ริหารสถานศึกษากับการบริหารงานวิชาการ สถานศึกษา สังกัดสำ�นักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1

บทน�ำ ในยุคปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงของ สังคมโลกในด้านเศรษฐกิจ สังคม เทคโนโลยี การเมื อ งและสิ่ ง แวดล้ อ มอย่ า งรวดเร็ ว และ ตลอดเวลาอย่ า งไม่ ห ยุ ด นิ่ ง  รวมทั้ ง ความ ก้ า วหน้ า ด้ า นเทคโนโลยี   การสื่ อ สารและ สารสนเทศ ท�ำให้กลายเป็นโลกไร้พรมแดน สังคมโลกจะมีการลื่นไหลระหว่างวัฒนธรรม มากขึน้  น�ำไปสูก่ ารผสมผสานความคิด ค่านิยม ตลอดจนวิ ถี ชี วิ ต ความเป็ น อยู ่ ร ะหว่ า งมวล มนุษยชาติทน่ี ำ� โลกเข้าสูย่ คุ แห่งการจัดระเบียบ ทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองระหว่าง ประเทศ อันมีผลกระทบต่อทุกชาติ  ทุกภาษา รวมทัง้ ประเทศไทย ดังนัน้ ไม่วา่ จะเป็นคนหรือ สถานศึกษาก็ย่อมได้รับผลกระทบด้วย สถาน ศึกษาในฐานะที่เป็นระบบเปิดย่อมต้องได้รับ ผลกระทบจากสิ่งแวดล้อมภายนอกทั้งด้าน เศรษฐกิจ สังคม และการเมือง เพราะถ้าสิ่ง แวดล้อมภายนอกเปลี่ยนสถานศึกษาต้องปรับ ตัวให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงเพื่อการด�ำรงอยู่ ขององค์การ การจัดการบริหารสถานศึกษา จ�ำเป็นต้องมีการปรับแนวทางในการด�ำเนินการ เพื่อให้บรรลุเป้าหมายและวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ (ส�ำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ, 2553, หน้า 1) ในประเด็นนี ้ เกรียงศักดิ ์ เจริญ วงศ์ศักดิ์  (2550, หน้า 1-8) กล่าวไว้ว่า การ เปลีย่ นแปลงอย่างรวดเร็วของกระแสสังคมโลก

92

วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

ส่ ง ผลให้ สั ง คมไทยเกิ ด การปรั บ ตั ว  เปลี่ ย น แปลงครั้งใหญ่ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคมและ การเมือง การศึกษา จึงต้องมีการปรับเปลี่ยน ทั้ ง แนวคิ ด  สาระ ตลอดจนแนวทางในการ จัดการศึกษาในฐานะเป็นเครื่องมือหรือวิธีการ ทีส่ ำ� คัญในการพัฒนาบุคคลในชาติให้พร้อมรับ และปรั บ ตั ว ให้ ส อดคล้ อ งเหมาะสมกั บ การ เปลี่ยนแปลงของกระแสสังคมในโลกทุกรูป แบบ การจัดการศึกษาในยุคแห่งการเปลี่ยน แปลงจึงมีลกั ษณะเฉพาะทีต่ อ้ งจัดให้เหมาะสม โดยสร้ า งให้ เ ป็ น สั ง คมแห่ ง การเรี ย นรู ้ แ ละ คุ ณ ธรรม ท� ำ งานเป็ น กลุ ่ ม เป็ น ที ม และปรั บ แนวคิดจากเรียนและสอนในห้องเรียนสู่การ เรียนรู้ตลอดชีวิต สอดคล้องกับแนวทางการ ปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่  2 (พ.ศ. 25522561) ที่ มุ ่ ง เน้ น ให้ ค นไทยได้ เรี ย นรู ้ ต ลอด ชี วิ ต อย่ า งมี คุ ณ ภาพ โดยมี เ ป้ า หมายหลั ก 3 ประการ คือ พัฒนาคุณภาพและมาตรฐาน การศึกษาและเรียนรู้ของคนไทยเพิ่มโอกาส ทางการศึ ก ษาและเรี ย นรู ้ อ ย่ า งทั่ ว ถึ ง และมี คุณภาพ และส่งเสริมการมีส่วนร่วมของทุก ภาคส่วนในสังคมในการบริหารจัดการศึกษา และมีกรอบแนวทางการปฏิรูปการศึกษา 4 ประการ คือ พัฒนาคุณภาพคนไทยยุคใหม่ พัฒนาคุณภาพครูยคุ ใหม่ พัฒนาคุณภาพสถาน ศึ ก ษาและแหล่ ง เรี ย นรู ้ ยุ ค ใหม่   และพั ฒ นา


อุมาพร นันทวิสุทธิ์ ,และ ชวน ภารังกูล

คุณภาพการบริหารจัดการใหม่ (ธีระ รุญเจริญ, 2553, หน้า 50) เพื่อให้สอดคล้องกับพระราช บัญญัติการศึกษาแห่งชาติ  พ.ศ.2542 และ ที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่  2) พ.ศ.2545 ที่ได้ กล่าวไว้ว่า การศึกษาหมายถึงกระบวนการ เรียนรู้เพื่อความเจริญงอกงามของบุคคลและ สังคมโดยการถ่ายทอดความรู้  การฝึก การ อบรม การสืบสานทางวัฒนธรรม การสร้าง สรรค์จรรโลงความก้าวหน้าทางวิชาการ การ สร้ า งองค์ ค วามรู ้ อั น เกิ ด จากการจั ด สภาพ แวดล้อม สังคม การเรียนรู ้ และปัจจัยเกือ้ หนุน ให้บุคคลเรียนรู้ตลอดชีวิต บาส และ อโวลิโอ (Bass & Avoio,1994, pp.2-6) ได้ให้แนวคิด เกีย่ วกับภาวะผูน้ ำ� การเปลีย่ นแปลง (transformational leadership) เป็นกระบวนการที่ ผู ้ น� ำ มี อิ ท ธิ พ ลต่ อ ผู ้ ร ่ ว มงานและผู ้ ต าม โดย เปลี่ยนแปลงความพยายามของผู้ร่วมงานและ ผู้ตามให้สูงขึ้นกว่าความพยายามที่คาดหวัง พัฒนาความสามารถของผู้ร่วมงานและผู้ตาม ไปสู่ระดับที่สูงขึ้นและศักยภาพมากขึ้น ท�ำให้ เกิดการตระหนักรู้ในภารกิจและวิสัยทัศน์ของ ทีมและขององค์การ จูงใจให้ผู้ร่วมงานและ ผู้ตามมองให้ไกลเกินกว่าความสนใจของพวก เขาไปสู่ประโยชน์ของกลุ่มองค์การหรือสังคม ซึ่งกระบวนการที่ผู้น�ำมีอิทธิพลต่อผู้ร่วมงาน หรือผู้ตามนี้  จะกระท�ำโดยผ่านองค์ประกอบ พฤติ ก รรมเฉพาะ 4 ประการ หรื อ ที่ เรี ย ก

ว่า “4I’s” (Four I’s) คือ 1) การมีอิทธิพล อย่างมีอดุ มการณ์  หรือการสร้างบารมี  2) การ สร้างแรงบันดาลใจ 3) การกระตุ้นทางปัญญา และ 4) การค�ำนึงถึงความเป็นปัจเจกบุคคล จะเห็นได้ว่า ผู้บริหารสถานศึกษาเป็น บุ ค คลหลั ก ที่ ต ้ อ งรั บ ผิ ด ชอบต่ อ ประสิ ท ธิ ผ ล และความส�ำเร็จของสถานศึกษา ซึง่ ก็ขนึ้ อยูก่ บั ความสามารถของผู้บริหาร ผู้บริหารยุคใหม่ที่ จะสามารถน�ำพาองค์กรไปสู่ความส�ำเร็จได้ดี นอกจากจะมีภาวะผู้น�ำการเปลี่ยนแปลงดัง กล่าวแล้ว ความสามารถการบริหารงานด้าน อื่นๆ ก็ต้องมีด้วย โดยเฉพาะการบริหารงาน วิชาการซึ่งเป็นงานหลักในสถานศึกษา ดังที่ อุ น ากรรณ์   สวนมะม่ ว ง (2553, หน้ า  23) กล่ า วไว้ ว ่ า  การบริ ห ารงานวิ ช าการมี ค วาม ส�ำคัญอย่างมาก เพราะเป็นกิจกรรมการจัดการ เกี่ยวกับงานด้านพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา ด้านวัดผลประเมินผล ด้านพัฒนาสือ่  นวัตกรรม และเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา ด้านนิเทศการ ศึกษา ด้านส่งเสริมและสนับสนุนงานวิชาการ แก่บุคคล ครอบครัว องค์กร หน่วยงาน และ สถาบันอืน่ ทีจ่ ดั การศึกษา ด้านการจัดการเรียน การสอนที่จะสร้างผู้เรียนให้มีคุณภาพ มีความ รู ้ มีจริยธรรมและคุณสมบัตติ ามทีต่ อ้ งการ เพือ่ น�ำไปใช้ในการด�ำรงชีวิต ในสังคมต่อไปได้เป็น อย่างดี

ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2020/2563

93


ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผูน้ �ำ การเปลีย่ นแปลงของผูบ้ ริหารสถานศึกษากับการบริหารงานวิชาการ สถานศึกษา สังกัดสำ�นักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1

การจัดการศึกษาที่ดีและมีคุณภาพนั้น มิ ใช่ เ พี ย งแต่ ค รู ผู ้ ส อนเท่ า นั้ น ที่ จ ะสามารถ พัฒนาคุณภาพของผู้เรียนให้ดีขึ้นได้  ผู้บริหาร สถานศึกษาถือเป็นบุคคลที่มีบทบาทส�ำคัญใน การบริหารจัดการสถานศึกษา โดยเฉพาะการ บริหารงานวิชาการซึ่งถือเป็นภารกิจหลักของ สถานศึกษาทุกระดับ ดังที ่ ปรียาพร วงศ์อนุตร โรจน์  (2543, หน้า 1) ได้กล่าวถึงผู้บริหารว่า ผูบ้ ริหารเป็นผูม้ หี น้าทีเ่ กีย่ วกับการวางแผนงาน วิชาการ เพราะงานวิชาการในสถานศึกษาถือ ได้ ว ่ า เป็ น งานหลั ก ที่ เ ป็ น หั ว ใจส� ำ คั ญ  โดยผู ้ บริหารควรมีความรับผิดชอบวางแผนงานทุก ระดับ ตั้งแต่งานวิชาการจนถึงการเรียนการ สอนของครู  อาจารย์  ซึ่งกล่าวไว้ว่า เกี่ยวข้อง กับกิจกรรมทุกชนิดในสถานศึกษา โดยเฉพาะ ปรับปรุงคุณภาพการเรียนการสอน ซึ่งเป็นจุด มุง่ หมายหลักของสถานศึกษา และเป็นเครือ่ งชี้ วัดความส�ำเร็จและความสามารถของผู้บริหาร จากที่ ก ล่ า วมาข้ า งต้ น  พอสรุ ป ได้ ว ่ า ภาวะผูน้ ำ� การเปลีย่ นแปลงของผูบ้ ริหารกับการ บริหารวิชาการ และมีความส�ำคัญยิ่งต่อการ บริหารจัดการสถานศึกษาให้ทันสมัยต่อความ ก้าวหน้าของโลกเทคโนโลยีด้านข้อมูลข่าวสาร ผู้บริหารควรใช้ทักษะ ความรู้  ความสามารถ ทางการบริหารในการบริหารสถานศึกษาให้ องค์การประสบผลส�ำเร็จ ผู้วิจัยในสถานะครู ผู้สอนจึงมีความสนใจศึกษาเรื่องความสัมพันธ์

94

วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

ระหว่ า งภาวะผู ้ น� ำ การเปลี่ ย นแปลงของผู ้ บริหารสถานศึกษากับการบริหารงานวิชาการ สถานศึ ก ษา สั ง กั ด ส� ำ นั ก งานเขตพื้ น ที่ ก าร ศึกษาประถมศึกษาราชบุรี  เขต 1 เพื่อที่จะ น�ำผลการวิจัยไปเป็นข้อมูลพื้นฐานประกอบ เป็ น แนวทางในการพั ฒ นาภาวะผู ้ น� ำ  การ เปลี่ ย นแปลงของผู ้ บ ริ ห ารสถานศึ ก ษากั บ การบริ ห ารงานวิ ช าการสถานศึ ก ษา สั ง กั ด ส� ำ นั ก งานเขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษาประถมศึ ก ษา ราชบุรี  เขต 1 ให้เกิดประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น วัตถุประสงค์ของการวิจัย  1. ศึกษาภาวะผูน้ ำ� การเปลีย่ นแปลงของ ผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดส�ำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี  เขต 1 2. ศึกษาการบริหารงานวิชาการสถาน ศึ ก ษา สั ง กั ด ส� ำ นั ก งานเขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษา ประถมศึกษาราชบุรี  เขต 1 3. ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะ ผู้น�ำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษา กับการบริหารงานวิชาการสถานศึกษา สังกัด ส� ำ นั ก งานเขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษาประถมศึ ก ษา ราชบุรี  เขต 1 สมมติฐานของการวิจัย ความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งภาวะผู ้ น� ำ การ เปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษากับการ


อุมาพร นันทวิสุทธิ์ ,และ ชวน ภารังกูล

บริหารงานวิชาการสถานศึกษา สังกัดส�ำนัก งานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1 มีความสัมพันธ์กันในทางบวก ประโยชน์ที่ได้รับ ผลการวิจัยครั้งนี้  สามารถน�ำไปใช้เป็น แนวทางในการพัฒนาปรับปรุงภาวะผู้น�ำการ เปลีย่ นแปลงของผูบ้ ริหารสถานศึกษา และการ บริหารงานวิชาการสถานศึกษาให้มีประสิทธิ ภาพมากขึ้น ขอบเขตของการวิจัย การวิจัยครั้งนี้  มุ่งศึกษาความสัมพันธ์ ระหว่ า งภาวะผู ้ น� ำ การเปลี่ ย นแปลงของ ผู ้ บ ริ ห ารสถานศึ ก ษากั บ  การบริ ห ารงาน วิชาการสถานศึกษา สังกัดส�ำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี  เขต 1 โดยมี ขอบเขตของการวิจัยดังนี้ 1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง  1.1 ประชากรทีใ่ ช้ในการวิจยั  ประกอบ ด้วยสถานศึกษาในสังกัดส�ำนักงานเขตพืน้ ทีก่ าร ศึกษาประถมศึกษาราชบุร ี เขต 1 จ�ำนวน 180 แห่ง จ�ำแนกตามขนาดได้  3 ขนาด คือ ขนาด ใหญ่  6 แห่ง ขนาดกลาง 72 แห่ง และขนาด เล็ก 102 แห่ง  1.2 กลุม่ ตัวอย่างทีใ่ ช้ในการวิจยั  ผูว้ จิ ยั ก�ำหนดขนาดตัวอย่างด้วยการใช้ตารางส�ำเร็จ

รูปของเครจซี่และมอร์แกน (Krejcie & Morgan) ได้ขนาดตัวอย่าง 123 แห่ง จากนั้นใช้ การสุ ่ ม แบบแบ่ ง ชั้ น ตามสั ด ส่ ว น (proportional1 Stratified random 1 sampling) โดยใช้ขนาดของสถานศึกษาเป็นชั้นในการสุ่ม (stratum) ได้กลุ่มตัวอย่างเป็นขนาดใหญ่  4 แห่ง ขนาดกลาง 49 แห่ง และขนาดเล็ก 70 แห่ง และใช้การสุ่มอย่างง่ายแบบจับฉลาก (simple random sampling) เพื่อให้ได้มา ซึ่งสถานศึกษาที่เป็นกลุ่มตัวอย่าง ในการตอบ แบบสอบถาม ทั้งนี้ผู้วิจัยก�ำหนดให้ผู้ให้ข้อมูล โดยเลือกแบบเจาะจง (purposive sampling) สถานศึกษาละ 2 คน คือ ครูที่ท�ำหน้าที่เป็น หัวหน้าฝ่ายวิชาการ 1 คน และครูผสู้ อน 1 คน 2. ตัวแปรที่ศึกษา ส�ำหรับการวิจัยใน ครั้งนี้คือ 2.1 ตัวแปรต้น ได้แก่  ภาวะผู้น�ำการ เปลี่ยนแปลงของผู้บริหาร ตามแนวคิดของ บาส และ อโวลิโอ (Bass & Avoio,1994, pp.2-6) ประกอบด้วยคุณลักษณะ 4 ประการ คือ 1.) การมีอิทธิพลอย่างมีอุดมการณ์  หรือ การสร้างบารมี  2.) การสร้างแรงบันดาลใจ 3.) การกระตุ้นการใช้ปัญญา 4.) การค�ำนึงถึง ความเป็นปัจเจกบุคคล 2.2 ตัวแปรตาม ได้แก่  การบริหารงาน วิชาการ ตามขอบข่ายงานวิชาการ 12 ด้าน ของกระทรวงศึกษาธิการ (2551, หน้า 33-37) ได้ก�ำหนด ดังนี้

ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2020/2563

95


ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผูน้ �ำ การเปลีย่ นแปลงของผูบ้ ริหารสถานศึกษากับการบริหารงานวิชาการ สถานศึกษา สังกัดสำ�นักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1

การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา การ พัฒนากระบวนการเรียนรู้  การวัดประเมินผล และเทียบโอนวัดการเรียน การวิจยั เพือ่ พัฒนา คุณภาพการศึกษา การพัฒนาสื่อ นวัตกรรม และเทคโนโลยีเพือ่ การศึกษา การพัฒนาแหล่ง เรียนรู้  การนิเทศการศึกษา การแนะแนวการ ศึกษา การพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายใน สถานศึ ก ษา การส่ ง เสริ ม การเรี ย นรู ้ ด ้ า น วิชาการแก่ชมุ ชน การประสานความร่วมมือใน การพัฒนางานวิชาการกับสถานศึกษาอืน่  การ ส่งเสริม และสนับสนุนงานวิชาการแก่บุคคล ครอบครัว องค์การ หน่วยงาน และสถาบันอืน่ ที่จัดการศึกษา กรอบแนวคิดการวิจัย การวิจยั เรือ่ งความสัมพันธ์ระหว่างภาวะ ผู้น�ำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษา กับการบริหารงานวิชาการสถานศึกษา สังกัด ส� ำ นั ก งานเขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษาประถมศึ ก ษา ราชบุ รี   เขต 1 ผู้วิจัยใช้ก รอบแนวคิดภาวะ ผูน้ ำ� การเปลีย่ นแปลงของผูบ้ ริหาร ตามแนวคิด ของบาสและอโวลิโอ (Bass & Avoio, 1994, pp.2-6) ประกอบด้วยคุณลักษณะ 4 ประการ คือ 1) การมีอิทธิพลอย่างมีอุดมการณ์  หรือ การสร้ า งบารมี   2) การสร้ า งแรงบั น ดาลใจ 3) การกระตุน้ การใช้ปญ ั ญา และ 4 การค�ำนึง ถึงความเป็นปัจเจกบุคคล และใช้กรอบแนวคิด

96

วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

การบริ ห ารงานวิ ช าการตามขอบข่ า ยงาน วิ ช าการของกระทรวงศึ ก ษาธิ ก าร (2551, หน้า 33-37) 12 ด้าน ซึ่งประกอบด้วย ดังนี้ 1) การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา 2) การ พัฒนากระบวนการเรียนรู้  3) การวัดประเมิน ผล และเทียบโอนวัดการเรียน 4) การวิจยั เพือ่ พัฒนาคุณภาพการศึกษา 5) การพัฒนาสื่อ นวัตกรรมและเทคโนโลยีเพือ่ การศึกษา 6) การ พัฒนาแหล่งเรียนรู้  7) การนิเทศการศึกษา 8) การแนะแนวการศึกษา 9) การพัฒนาระบบ ประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา 10) การ ส่ ง เสริ ม การเรี ย นรู ้ ด ้ า นวิ ช าการแก่ ชุ ม ชน 11) การประสานความร่วมมือในการพัฒนา งานวิชาการกับสถานศึกษาอื่น 12) การส่ง เสริ ม  และสนั บ สนุ น งานวิ ช าการแก่ บุ ค คล ครอบครัว องค์การ หน่วยงานและสถาบัน อื่ น ที่ จั ด การศึ ก ษา ซึ่ ง ผู ้ วิ จั ย ได้ น� ำ แนวคิ ด ดังกล่าวมาปรับประยุกต์ใช้ในการวิจัย  นิยามศัพท์เฉพาะ เพื่อให้เกิดความเข้าใจตรงกัน ผู้วิจัยจึง ให้ความหมายของค�ำศัพท์เฉพาะ ส�ำหรับศึกษา การท�ำวิจัยในครั้งนี้ไว้ดังต่อไปนี้ 1. ภาวะผู ้ น� ำ การเปลี่ ย นแปลงของ ผูบ้ ริหารหมายถึงความเป็นผูน้ ำ� ทีท่ ำ� ให้เกิดการ เปลี่ยนแปลง ด้านค่านิยม ทัศนคติของผู้ตาม ให้การด�ำเนินงานบรรลุผลส�ำเร็จตามเป้าหมาย


อุมาพร นันทวิสุทธิ์ ,และ ชวน ภารังกูล

ขององค์การ โดยประกอบด้วยคุณลักษณะ 4 ประการ ได้ แ ก่   1) การมี อิ ท ธิ พ ลอย่ า งมี อุดมการณ์  หรือการสร้างบารมี  2) การสร้าง แรงบันดาลใจ 3) การกระตุ้นการใช้ปัญญา และ 4) การค�ำนึงถึงความเป็นปัจเจกบุคคล 2. การบริ ห ารงานวิ ช าการหมายถึ ง กระบวนการการบริ ห ารกิ จ กรรมทุ ก ด้ า นที่ เกี่ยวข้องกับการปรับปรุงการเรียนการสอนให้ ดีขึ้น การปรับปรุงพัฒนาการเรียนการสอน ตลอดจนการประเมิ น ผลการเรี ย นการสอน เพื่อให้เป็นไปตามจุดมุ่งหมายของหลักสูตร และจุ ด มุ ่ ง หมายของการศึ ก ษา เพื่ อ เกิ ด ประโยชน์ สู ง สุ ด แก่ ผู ้ เรี ย น ประกอบด้ ว ย ขอบข่ายงานวิชาการ 12 ด้าน คือ 1) การ พั ฒ นาหลั ก สู ต รสถานศึ ก ษา 2) การพั ฒ นา กระบวนการเรียนรู ้ 3) การวัดประเมินผล และ เทียบโอนวัดการเรียน 4) การวิจัยเพื่อพัฒนา คุณภาพการศึกษา 5) การพัฒนาสือ่ นวัตกรรม และเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา 6) การพัฒนา แหล่งเรียนรู้  7) การนิเทศการศึกษา 8) การ แนะแนวการศึ ก ษา 9) การพั ฒ นาระบบ ประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา 10) การส่ง เสริมการเรียนรูด้ า้ นวิชาการแก่ชมุ ชน 11) การ ประสานความร่วมมือในการพัฒนางานวิชาการ กั บ สถานศึ ก ษาอื่ น  12) การส่ ง เสริ ม  และ สนับสนุนงานวิชาการแก่บุคคล ครอบครัว  องค์การ หน่วยงานและสถาบันอื่นที่จัดการ ศึกษา

3.  ผู ้ บ ริ ห ารสถานศึ ก ษาหมายถึ ง ผูอ้ ำ� นวยการสถานศึกษา หรือผูร้ กั ษาการณ์ใน ต� ำ แหน่ ง ผู ้ อ� ำ นวยการสถานศึ ก ษา สั ง กั ด ส� ำ นั ก งานเขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษาประถมศึ ก ษา ราชบุรี  เขต 1  4. ครูที่ท�ำหน้าที่หัวหน้าฝ่ายวิชาการ หมายถึง ครูที่ได้รับการมอบหมายให้ปฏิบัติ หน้ า ที่ หั ว หน้ า ฝ่ า ยวิ ช าการของสถานศึ ก ษา สั ง กั ด ส� ำ นั ก งานเขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษาประถม ศึกษาราชบุรี  เขต 1 5. ครูผู้สอน หมายถึง ครูที่ปฏิบัติการ สอน สั ง กั ด ส� ำ นั ก งานเขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษา ประถมศึกษาราชบุรี  เขต 1 6. ส�ำนักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถม ศึกษาราชบุรี  1 หมายถึง หน่วยงานที่รับผิด ชอบในการจัดการศึกษาระดับการศึกษาขั้น พื้นฐาน ซึ่งมีที่ตั้งของสถานศึกษาอยู่ในเขต อ�ำเภอจอมบึง อ�ำเภอบ้านคา อ�ำเภอปากท่อ อ�ำเภอเมือง อ�ำเภอวัดเพลง และอ�ำเภอสวนผึง้ ระเบียบวิธีวิจัย การวิ จั ย ในครั้ ง นี้   เป็ น การวิ จั ย เชิ ง พรรณนา (descriptive research) ด�ำเนิน การสร้าง ตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ และ วิเคราะห์ข้อมูล ดังนี้

ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2020/2563

97


ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผูน้ �ำ การเปลีย่ นแปลงของผูบ้ ริหารสถานศึกษากับการบริหารงานวิชาการ สถานศึกษา สังกัดสำ�นักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1

การสร้างและตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ 1. ศึกษาวรรณกรรม หลักการ แนวคิด และทฤษฎี ที่ เ กี่ ย วข้ อ งจากหนั ง สื อ  ต� ำ รา เอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับภาวะผู้น�ำ การเปลี่ยนแปลงและการบริหารงานวิชาการ 2. น� ำ ข้ อ มู ล ที่ ไ ด้ จ ากการศึ ก ษามา ประมวล เพื่อมาก�ำหนดเป็นโครงสร้างเครื่อง มือ โดยขอค�ำแนะน�ำจากอาจารย์ที่ปรึกษา วิทยานิพนธ์ 3. สร้างแบบสอบถาม โดยให้ครอบคลุม เนื้อหาเสนออาจารย์ที่ปรึกษาตรวจสอบ เพื่อ ให้ข้อเสนอแนะน�ำมาปรับปรุง 4. น�ำแบบสอบถามเสนอผู้เชี่ยวชาญ เพื่ อ ตรวจสอบความเที่ ย งตรงของเนื้ อ หา (content validity) เพื่อปรับปรุงแก้ไขข้อ บกพร่อง เพื่อความสมบูรณ์และถูกต้องของ เนื้อหา โดยให้เทคนิค IOC (index of item objective congruence) แล้วน�ำมาปรับปรุง แก้ไขอีกครั้ง โดยคัดเลือกเฉพาะข้อที่มีค่า 0.5 ขึ้นไป มีค่าความตรงเท่ากับ .965 5. น� ำ แบบสอบถามที่ ป รั บ ปรุ ง แก้ ไข แล้วไปทดลองใช้  (try out) กับสถานศึกษา ในสังกัดส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถม ศึ ก ษาราชบุ รี   เขต 1 ที่ ไ ม่ ใช่ ก ลุ ่ ม ตั ว อย่ า ง จ� ำ นวน 15 แห่ ง  ผู ้ ใ ห้ ข ้ อ มู ล ประกอบด้ ว ย ครูที่ท�ำหน้าที่เป็นหัวหน้าฝ่ายวิชาการ 1 คน และตัวแทนครูผสู้ อน 1 คน รวมทัง้ สิน้  30 คน ได้ค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ .978 98

วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

การวิเคราะห์ข้อมูล  สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่ า ความถี่   (frequency) ค่ า ฉลี่ ย  (mean) ค่ า ร้ อ ยละ (percentage) ส่ ว นเบี่ ย งแบน มาตรฐาน (standard deviation) และหาค่า ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้น�ำการเปลี่ยน แปลงของผู้บริหารสถานศึกษากับการบริหาร งานวิชาการสถานศึกษา สังกัดส�ำนักงานเขต พื้นที่ การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี  เขต 1 โดยใช้ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน โดยได้ น� ำ ข้ อ มู ล มาวิ เ คราะห์ แ ละเสนอผล จ�ำแนกเป็น 4 ตอน คือ ตอนที่   1  สถานภาพของผู ้ ต อบ แบบสอบถาม พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามส่วน ใหญ่เป็นเพศหญิง จ�ำนวน 225 คน คิดเป็น ร้อยละ 91.50 เป็นเพศชาย จ�ำนวน 21 คน คิดเป็นร้อยละ 8.50 เป็นผู้ที่มีอายุ  41-50 ปี มากที่ สุ ด  จ� ำ นวน 124 คน คิ ด เป็ น ร้ อ ยละ 50.40 รองลงมาคืออายุ  31-40 ปี  จ�ำนวน 62 คน คิ ด เป็ น ร้ อ ยละ 25.20 อายุ   20-30 ปี จ�ำนวน 33 คน คิดเป็นร้อยละ 13.40 และ เป็นผู้ที่มีอายุ50 ปีขึ้นไป น้อยที่สุด จ�ำนวน 21 คน คิดเป็นร้อยละ 11.00 ระดับการศึกษา พบว่าจบการศึกษาระดับปริญญาตรีมากที่สุด จ�ำนวน 217 คน คิดเป็นร้อยละ 88.20 และ จบการศึกษาระดับปริญญาโท จ�ำนวน 29 คน คิดเป็นร้อยละ 11.80 ต�ำแหน่งปัจจุบันของ


อุมาพร นันทวิสุทธิ์ ,และ ชวน ภารังกูล

ผู ้ ต อบแบบสอบถามเป็ น ครู ที่ ท� ำ หน้ า ที่ เ ป็ น หัวหน้าฝ่ายวิชาการ จ�ำนวน 123 คน คิดเป็น ร้อยละ 50 และเป็นครูผสู้ อน จ�ำนวน 123 คน คิดเป็นร้อยละ 50 มีประสบการณ์ท�ำงานใน ต�ำแหน่งปัจจุบนั  10 ปีขนึ้ ไปมากทีส่ ดุ  จ�ำนวน 133 คน คิดเป็นร้อยละ 54.06 รองลงมามี ประสบการณ์ท�ำงาน 1-5 ปี  จ�ำนวน 65 คน คิ ด เป็ น ร้ อ ยละ 26.41 และประสบการณ์ ท�ำงาน 6-10 ปี  จ�ำนวน 48 คนคิดเป็นร้อยละ 19.53 และผู ้ ต อบแบบสอบถามจากสถาน ศึกษาขนาดเล็ก 70 แห่ง จ�ำนวน 140 คน คิดเป็นร้อยละ 56.90 รองลงมาสถานศึกษา ขนาดกลาง 49 แห่ง จ�ำนวน 98 คน คิดเป็น ร้ อ ยละ 39.80 และสถานศึก ษาขนาดใหญ่ 4 แห่ง จ�ำนวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ 3.30 ตอนที่  2 ระดับภาวะผู้น�ำการเปลี่ยน  แปลงของผู้บริหารของสถานศึกษา สังกัด ส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ราชบุ รี   เขต 1 ในการวิ เ คราะห์ ร ะดั บ การ บริ ห ารงานวิ ช าการของสถานศึ ก ษา สั ง กั ด ส� ำ นั ก งานเขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษาประถมศึ ก ษา ราชบุรี  เขต 1 พบว่า ภาวะผู้น�ำการเปลี่ยน แปลงของผู ้ บ ริ ห ารของสถานศึ ก ษา สั ง กั ด ส� ำ นั ก งานเขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษาประถมศึ ก ษา ราชบุรี  เขต 1 โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก (x̅=3.98, S.D.=.193) และเมื่อพิจารณาใน รายด้าน พบว่าอยู่ในระดับมากทุกด้าน โดย

เรียงล�ำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ดังนี้ การสร้างแรงบันดาลใจ (x̅ =4.23, S.D.=.290) รองลงมาคือ การค�ำนึงถึงความเป็นปัจเจก บุคคล (x̅ =4.21, S.D.=.273) การกระตุน้ การ ใช้ปัญญา (x̅=3.78, S.D.=.299) และการมี อิทธิพลอย่างมีอุดมการณ์  หรือการสร้างบารมี (x̅=3.72, S.D.=.265) ตอนที ่ 3 ระดับการบริหารงานวิชาการ ของสถานศึกษา สังกัดส�ำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษาราชบุร ี เขต 1 ในการ วิเคราะห์ระดับการบริหารงานวิชาการของ สถานศึ ก ษา สั ง กั ด ส� ำ นั ก งานเขตพื้ น ที่ ก าร ศึ ก ษาประถมศึ ก ษาราชบุ รี   เขต 1 ผู ้ วิ จั ย วิเคราะห์โดยใช้ค่าเฉลี่ย (x̅) และส่วนเบี่ยง เบนมาตรฐาน (S.D.) พบว่า ระดับการบริหาร งานวิชาการของสถานศึกษา สังกัดส�ำนักงาน เขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาราชบุร ี เขต 1 โดยภาพรวมอยูใ่ นระดับมาก (x̅=4.07, S.D.= .181) และเมื่อพิจารณาในรายด้าน พบว่าอยู่ ในระดับมากทุกด้าน โดยเรียงค่าเฉลีย่ จากมาก ไปหาน้อย ดังนี้  การแนะแนวการศึกษา (x̅= 4.16, S.D.=.395) รองลงมาการพัฒนาหลัก สูตรสถานศึกษา (x̅=4.16, S.D.=.196) การ นิเทศการศึกษา (x̅=4.14, S.D.=.371) การ พัฒนากระบวนการเรียนรู้  (x̅=4.13, S.D.= .229) การส่งเสริมและสนับสนุนงานวิชาการ แก่บุคคล ครอบครัว องค์การ หน่วยงานและ

ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2020/2563

99


ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผูน้ �ำ การเปลีย่ นแปลงของผูบ้ ริหารสถานศึกษากับการบริหารงานวิชาการ สถานศึกษา สังกัดสำ�นักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1

สถาบันอื่นที่จัดการศึกษา (x̅=4.12, S.D.= .513) การพัฒนาระบบประกันคุณภาพภาย ในสถานศึกษา (x̅=4.10, S.D.=.212) การ ประสานความร่วมมือในการพัฒนางานวิชาการ กั บ สถานศึ ก ษาอื่ น  ( x̅ =4.09, S.D.=.590) การพัฒนาแหล่งเรียนรู ้ (x̅=4.08, S.D.=.370) การส่งเสริมการเรียนรู้ด้านวิชาการแก่ชุมชน ( x̅ =4.07, S.D.=.393) การวั ด ประเมิ น ผล และเทียบโอนวัดการเรียน (x̅=4.05, S.D.= .583) การพัฒนาสือ่  นวัตกรรมและเทคโนโลยี เพื่อการศึกษา (x̅=3.88, S.D.=.623) ส่วนข้อ ที่ มี ค ่ า เฉลี่ ย ต�่ ำ สุ ด คื อ ผู ้ ก ารวิ จั ย เพื่ อ พั ฒ นา คุณภาพการศึกษา (x̅=3.83, S.D.=.653) ตอนที่ 4 ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะ ผู ้ น� ำ การเปลี่ ย นแปลงของผู ้ บ ริ ห ารสถาน ศึกษากับการบริหารงานวิชาการสถานศึกษา  สังกัดส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถม ศึกษาราชบุรี  เขต 1 ในการวิเคราะห์ความ สัมพันธ์ระหว่างภาวะผูน้ ำ� การเปลีย่ นแปลงของ ผูบ้ ริหารสถานศึกษากับการบริหารงานวิชาการ สถานศึ ก ษา สั ง กั ด ส� ำ นั ก งานเขตพื้ น ที่ ก าร ศึกษาประถมศึกษาราชบุรี  เขต 1 โดยใช้การ วิเคราะห์หาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์  ของ เพียร์สัน (Pearson’s product moment correlation coefficient) พบว่า ภาวะผู้น�ำ การเปลีย่ นแปลงของผูบ้ ริหารสถานศึกษา โดย ภาพรวมมีความสัมพันธ์ทางบวกกับการบริหาร

100 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

งานวิชาการสถานศึกษา สังกัดส�ำนักงานเขต พื้นที่ การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี  เขต 1 อย่างมีนยั ส�ำคัญทางสถิตทิ ร่ี ะดับ .01 (r = .716 เมื่ อ พิ จ ารณารายด้ า นพบว่ า ภาวะผู ้ น� ำ การ เปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษาในแต่ ละด้ า นและระหว่ า งด้ า นมี ค วามสั ม พั น ธ์ ทางบวกอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ทั้ ง  4 ด้ า น โดยเรี ย งล� ำ ดั บ ค่ า สั ม ประสิ ท ธิ์ สหสั ม พั น ธ์ จ ากมากไปหาน้ อ ย ดั ง นี้   การ แนะแนวการศึกษา การพัฒนาหลักสูตรสถาน ศึ ก ษา  การนิ เ ทศการศึ ก ษา  การพั ฒ นา กระบวนการเรียนรู ้ และอยูใ่ นระดับปานกลาง 8 ด้าน คือ การส่งเสริม และสนับสนุนงาน วิชาการแก่บุคคล ครอบครัว องค์การ หน่วย งานและสถาบันอื่นที่จัดการศึกษา การพัฒนา ระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา งาน วิชาการกับสถานศึกษาอื่น การพัฒนาแหล่ง เรียนรู้  การส่งเสริมการเรียนรู้ด้านวิชาการแก่ ชุมชน การวัดประเมินผล และเทียบโอนวัด การเรี ย น  การพั ฒ นาสื่ อ นวั ต กรรมและ เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา การวิจัยเพื่อพัฒนา คุณภาพการศึกษา ตามล�ำดับ สรุปผลการวิจัย การศึ ก ษาวิ จั ย เรื่ อ งความสั ม พั น ธ์ ระหว่ า งภาวะผู ้ น� ำ การเปลี่ ย นแปลงของ ผูบ้ ริหารสถานศึกษากับการบริหารงานวิชาการ


อุมาพร นันทวิสุทธิ์ ,และ ชวน ภารังกูล

สถานศึ ก ษา สั ง กั ด ส� ำ นั ก งานเขตพื้ น ที่ ก าร ศึกษาประถมศึกษาราชบุร ี เขต 1 สามารถสรุป ผลการวิจัยได้ดังนี้ 1. ภาวะผู ้ น� ำ การเปลี่ ย นแปลงของ ผู้บริหารของสถานศึกษา สังกัดส�ำนักงานเขต พื้นที่ การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี  เขต 1 โดยภาพรวมอยูใ่ นระดับมาก และเมือ่ พิจารณา ในรายด้านพบว่าอยู่ในระดับมากทุกด้าน โดย เรียงล�ำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ดังนี้ การสร้างแรงบันดาลใจ การค�ำนึงถึงความเป็น ปัจเจกบุคคล การกระตุ้นการใช้ปัญญา และ การมีอิทธิพลอย่างมีอุดมการณ์  หรือการสร้าง บารมี  ตามล�ำดับ 2. การบริหารงานวิชาการของสถาน ศึ ก ษา สั ง กั ด ส� ำ นั ก งานเขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษา ประถมศึกษาราชบุรี  เขต 1 โดยภาพรวมอยู่ ในระดับมาก และเมือ่ พิจารณาในรายด้าน พบ ว่าอยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยเรียงค่าเฉลี่ย จากมากไปหาน้ อ ย ดั ง นี้   การแนะแนวการ ศึกษา การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา การ นิเทศการศึกษา การพัฒนากระบวนการเรียน รู้  การส่งเสริมและสนับสนุนงานวิชาการแก่ บุ ค คล ครอบครั ว  องค์ ก าร หน่ ว ยงานและ สถาบันอื่นที่จัดการศึกษา การพัฒนาระบบ ประกั น คุ ณ ภาพภายในสถานศึ ก ษา การ ประสานความร่วมมือในการพัฒนางานวิชาการ กั บ สถานศึ ก ษาอื่ น  การพั ฒ นาแหล่ ง เรี ย นรู ้

การส่งเสริมการเรียนรู้ด้านวิชาการแก่ชุมชน การวัดประเมินผล และเทียบโอนวัดการเรียน การพัฒนาสือ่ นวัตกรรมและเทคโนโลยีเพือ่ การ ศึกษา และผู้การวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการ ศึกษา  3. ภาวะผู ้ น� ำ การเปลี่ ย นแปลงของ ผู ้ บ ริ ห ารสถานศึ ก ษา โดยภาพรวมมี ค วาม สัมพันธ์ทางบวกกับการบริหารงานวิชาการ สถานศึ ก ษา สั ง กั ด ส� ำ นั ก งานเขตพื้ น ที่ ก าร ศึ ก ษาประถมศึ ก ษาราชบุ รี   เขต 1 อย่ า งมี นัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 อยู่ในระดับสูง เมื่ อ พิ จ ารณารายด้ า นพบว่ า ภาวะผู ้ น� ำ การ เปลีย่ นแปลงของผูบ้ ริหารสถานศึกษาในแต่ละ ด้านและระหว่างด้านมีความสัมพันธ์ทางบวก อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 อยู่ใน ระดับสูง 4 ด้าน โดยเรียงล�ำดับค่าสัมประสิทธิ์ สหสัมพันธ์จากมากไปหาน้อย ดังนี้  การแนะ แนวการศึกษา การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา การนิเทศการศึกษา การพัฒนากระบวนการ เรียนรู้  และอยู่ในระดับปานกลาง 8 ด้าน คือ การส่งเสริมและสนับสนุนงานวิชาการแก่บคุ คล ครอบครัว องค์การ หน่วยงาน และสถาบันอืน่ ที่ จั ด การศึ ก ษา การพั ฒ นาระบบประกั น คุณภาพภายในสถานศึกษา งานวิชาการกับ สถานศึกษาอืน่  การพัฒนาแหล่งเรียนรู ้ การส่ง เสริมการเรียนรู้ด้านวิชาการแก่ชุมชน การวัด ประเมินผล และเทียบโอนวัดการเรียน การ

ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2020/2563 101


ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผูน้ �ำ การเปลีย่ นแปลงของผูบ้ ริหารสถานศึกษากับการบริหารงานวิชาการ สถานศึกษา สังกัดสำ�นักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1

พัฒนาสื่อนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการ ศึกษา การวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา ตามล�ำดับ อภิปรายผลการวิจัย จากผลการวิเคราะห์ข้อมูลการวิจัยพบ ว่าภาวะผู้น�ำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหาร สถานศึกษา โดยภาพรวมมีความสัมพันธ์ทาง บวกกับการบริหารงานวิชาการสถานศึกษา สั ง กั ด ส� ำ นั ก งานเขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษาประถม ศึกษาราชบุร ี เขต 1 อย่างมีนยั ส�ำคัญทางสถิติ ทีร่ ะดับ .01 ซึง่ สอดคล้องกับสมมติฐานทีต่ งั้ ไว้ ทั้งนี้อาจเป็นเพราะการจัดการศึกษาที่ดีและ มีคุณภาพนั้น มิใช่เพียงแต่ครูผู้สอนเท่านั้นที่ จะสามารถพัฒนาคุณภาพของผูเ้ รียนให้ดขี นึ้ ได้ ผู้บริหารสถานศึกษาถือเป็นบุคคลที่มีบทบาท ส�ำคัญในการบริหารจัดการสถานศึกษา โดย เฉพาะการบริหารงานวิชาการซึง่ ถือเป็นภารกิจ หลักของสถานศึกษาทุกระดับ ดังที่  ปรียาพร วงศ์อนุตรโรจน์  (2543, หน้า 1) ได้กล่าวถึง ผู้บริหารว่าผู้บริหารเป็นผู้มีหน้าที่เกี่ยวกับการ วางแผนงานวิชาการ เพราะงานวิชาการใน สถานศึกษาถือได้ว่าเป็นงานหลักที่เป็นหัวใจ ส� ำ คั ญ  โดยผู ้ บ ริ ห ารควรมี ค วามรั บ ผิ ด ชอบ วางแผนงานทุกระดับ ตั้งแต่งานวิชาการจนถึง การเรียนการสอนของครู  อาจารย์  ซึ่งกล่าวไว้ ว่า เกีย่ วข้องกับกิจกรรมทุกชนิดในสถานศึกษา

102 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

โดยเฉพาะปรับปรุงคุณภาพการเรียนการสอน ซึ่งเป็นจุดมุ่งหมายหลักของสถานศึกษา และ เป็นเครื่องชี้วัดความส�ำเร็จและความสามารถ ของผูบ้ ริหาร ดังนัน้ ผูบ้ ริหารสถานศึกษาจึงต้อง ปรับตัวให้ทนั ต่อการเปลีย่ นแปลงเพือ่ การด�ำรง อยูข่ ององค์การ การจัดการบริหารสถานศึกษา จ�ำเป็นต้องมีการปรับแนวทางในการด�ำเนินการ เพื่อให้บรรลุเป้าหมายและวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ สิง่ ทีเ่ ป็นแนวทางในการบริหารสถานศึกษาเพือ่ ให้อยู่รอดและประสบความส�ำเร็จ คือ การ บริหารการเปลี่ยนแปลง (Change Management) (ส�ำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบ ราชการ, 2553, หน้ า  8) สอดคล้ อ งกั บ พีรพรรณ ทองปั้น (2552, บทคัดย่อ) ศึกษา เรือ่ งการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผูน้ ำ� การเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารกับการบริหาร งานวิชาการโรงเรียนในสังกัดส�ำนักงานเขต พื้นที่การศึกษาเลย เขต 1 ผลวิจัยพบว่าความ สัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้น�ำ การเปลี่ยนแปลง ของผูบ้ ริหารกับการบริหารวิชาการโรงเรียนใน สังกัดส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาเลย เขต 1 โดยภาพรวมมีความสัมพันธ์ในระดับสูง อย่าง มีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .01


อุมาพร นันทวิสุทธิ์ ,และ ชวน ภารังกูล

ข้อเสนอแนะ จากผลการศึกษา ความสัมพันธ์ระหว่าง ภาวะผู้น�ำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถาน ศึกษากับการบริหารงานวิชาการสถานศึกษา สั ง กั ด ส� ำ นั ก งานเขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษาประถม ศึกษาราชบุรี  เขต 1 มีข้อเสนอแนะเพื่อเป็น แนวทางในการพัฒนาภาวะผู้น�ำการเปลี่ยน แปลงของผู้บริหารสถานศึกษาเกี่ยวกับการ บริ ห ารงานวิ ช าการสถานศึ ก ษา จั ก เป็ น ประโยชน์ในการบริหารจัดการสถานศึกษาให้ เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลให้ดียิ่งขึ้น และเป็นแนวทางในการศึกษาวิจัยครั้งต่อไป ดังนี้ ข้อเสนอแนะทั่วไป 1. ผู้บริหารสถานศึกษาควรมีวิสัยทัศน์ ที่กว้างไกลสามารถถ่ายทอดวิสัยทัศน์ไปยัง ผู้ร่วมงานได้ 2. ผู้บริหารสถานศึกษาควรให้ความ ส�ำคัญเกีย่ วกับการวิจยั เพือ่ พัฒนาคุณภาพการ ศึกษา เพือ่ น�ำผลวิจยั มาใช้ในการบริหารจัดการ และการพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนรู้ของ สถานศึกษา 3. ผู้บริหารสถานศึกษาควรจัดหาสื่อ และเทคโนโลยี ที่ ทั น สมั ย อย่ า งหลากหลาย เพื่อใช้ในการเรียน การสอน และการพัฒนา งานด้านวิชาการ

ข้อเสนอแนะเพื่อการวิจัยครั้งต่อไป 1. ควรศึกษาภาวะผูน้ ำ� การเปลีย่ นแปลง ของผูบ้ ริหารสถานศึกษาทีส่ ง่ ผลการบริหารงาน วิชาการสถานศึกษา สังกัดส�ำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี  เขต 1 2. ควรศึกษาการบริหารจัดการสถาน ศึกษาที่ส่งผลต่อการบริหารงานวิชาการสถาน ศึ ก ษา สั ง กั ด ส� ำ นั ก งานเขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษา ประถมศึกษาราชบุรี  เขต 1

ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2020/2563 103


ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผูน้ �ำ การเปลีย่ นแปลงของผูบ้ ริหารสถานศึกษากับการบริหารงานวิชาการ สถานศึกษา สังกัดสำ�นักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1

บรรณานุกรม กระทรวงศึกษาธิการ. (2546). คูม่ อื การบริหารสถานศึกษาขัน้ พืน้ ฐานทีเ่ ป็นนิตบิ คุ คล. กรุงเทพฯ: กระทรวงศึกษาธิการ. ________. (2550). แนวทางปฏิรูปการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ. กรุงเทพฯ: กระทรวง ศึกษาธิการ. ________. (2551). แนวทางการกระจายอ�ำนาจบริหารและการจัดการศึกษาให้คณะกรรมการ  ส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษาตามกฎกระทรวง ก�ำหนดหลักเกณฑ์และ  วิธกี ารกระจายอ�ำนาจการบริหารและการจัดการศึกษา พ.ศ. 2550. กรุงเทพฯ: กระทรวง ศึกษาธิการ.  ธีระ รุญเจริญ. (2546). การบริหารโรงเรียนในยุคปฏิรูปการศึกษา (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: อักษรไทย. _______. (2553). ความเป็นมืออาชีพในการจัดและบริหารการศึกษายุคปฏิรูปการศึกษา. กรุงเทพฯ: นวสาสนการพิมพ์. ปรียาพร วงศ์อนุตรโรจน์. (2543). การบริหารงานวิชาการ. กรุงเทพฯ: ศูนย์สื่อเสริมกรุงเทพ. _______. (2545). การบริหารงานวิชาการ. กรุงเทพฯ: ศูนย์สื่อเสริมกรุงเทพ. พีรพรรณ ทองปั้น. (2552). การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้น�ำการเปลี่ยนแปลงของผู้  บริหารกับการบริหารงานวิชาการโรงเรียนสังกัดส�ำนักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาเลยเขต 1. ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. (2543). แนวทางการประกันคุณภาพภายในสถาน  ศึกษา: เพือ่ พร้อมรับการประเมินภายนอก. กรุงเทพฯ: ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษา แห่งชาติ. _______. (2545). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ  พ.ศ.2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่  2)  พ.ศ. 2545. กรุงเทพฯ: ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. ส�ำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ. (2553). การบริหารการเปลี่ยนแปลง. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรมหาวิทยาลัย.

104 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม


อุมาพร นันทวิสุทธิ์ ,และ ชวน ภารังกูล

อุนากรรณ์  สวนมะม่วง. (2553). การศึกษาสภาพและปัญหาการบริหารงานวิชาการของสถาน  ศึกษาสังกัดส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาพระนครศรีอยุธยา เขต 1 และ 2. การค้นคว้า อิสระครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏ พระนครศรีอยุธยา. Bass, B. M. (1985). Leadership and performance beyond expectaitons.  New York: Free press. Bass, B. M., & Bruce J. Avolio. (1994). Improving organization. Effectiveness  through transformational leadership. California: Sage publications.

ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2020/2563 105


ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำ�ทางวิชาการของ ผู้บริหารกับประสิทธิผลของสถานศึกษา ในสังกัดสังฆมณฑลราชบุรี

The Relationship Between Instructional Leadership of School Administrators  and School Effectiveness in The Diocese of Ratchaburi.

อภิชญา พูลโภคผล * ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎหมู่บ้านจอมบึง

ดร.ชวน ภารังกูล * อาจารย์ประจ�ำภาควิชาการบริหารการศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎหมู่บ้านจอมบึง

Apichaya Poolpokpol

* Master of Education Program in Educational Administration,   Muban Chombueng Rajabhat University.

Dr.Chuan Parunggul

* Professor, Education Program in Educational Administration,   Muban Chombueng Rajabhat University.

ข้อมูลบทความ

* รับบทความ  31 ตุลาคม 2561 * แจ้งแก้ไข  20 พฤศจิกายน 2561 * ตอบรับบทความ  31 พฤศจิกายน 2561


อภิชญา พูลโภคผล และ ชวน ภารังกูล

บทคัดย่อ

การวิจยั ครัง้ นีม้ วี ตั ถุประสงค์เพือ่  1) ศึกษาภาวะผูน้ ำ� ทางวิชาการ ของผู ้ บ ริ ห ารสถานศึ ก ษาในสั ง กั ด สั ง ฆมณฑลราชบุ รี   2) ศึ ก ษา ประสิทธิผลของสถานศึกษาในสังกัดสังฆมณฑลราชบุรี  3) ศึกษาความ สัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้น�ำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษากับ ประสิทธิผลของสถานศึกษาในสังกัดสังฆมณฑลราชบุรี  กลุ่มตัวอย่าง ทีใ่ ช้ในการวิจยั  ได้แก่  ผูบ้ ริหาร ผูช้ ว่ ยผูบ้ ริหารฝ่ายวิชาการ และครูจาก สถานศึกษาในสังกัดสังฆมณฑลราชบุรี  จ�ำนวน 291 คน ซึ่งได้มาโดย การสุ่มแบบแบ่งชั้น จากนั้นผู้วิจัยท�ำการสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ใน การเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่  แบบสอบถามแบบมาตรประมาณค่า 5 ระดับ มีคา่ ความเชือ่ มัน่ ของแบบสอบถามเกีย่ วกับภาวะผูน้ ำ� ทางวิชาการ ของผู้บริหาร เท่ากับ .978 ค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถามเกี่ยวกับ ประสิ ท ธิ ผ ลของสถานศึ ก ษา เท่ า กั บ  .958 ค่ า ความเชื่ อ มั่ น ของ แบบสอบถามทั้งฉบับ เท่ากับ .983 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่  การแจกแจงความถี่  ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์อย่างง่าย ผลการวิจัยพบว่า  1. ภาวะผู ้ น� ำ ทางวิ ช าการของผู ้ บ ริ ห ารสถานศึ ก ษาในสั ง กั ด สังฆมณฑลราชบุรี  โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด และเมื่อแยก พิจารณาในรายด้าน พบว่า ภาวะผู้น�ำทางวิชาการของผู้บริหารสถาน ศึกษาในสังกัดสังฆมณฑลราชบุรอี ยูใ่ นระดับมากทีส่ ดุ  7 ด้าน และระดับ มาก 3 ด้าน  2. ประสิทธิผลของสถานศึกษาในสังกัดสังฆมณฑลราชบุรี  โดย ภาพรวมอยูใ่ นระดับมาก และเมือ่ แยกพิจารณาในรายด้าน พบว่า ระดับ ประสิทธิผลของสถานศึกษาในสังกัดสังฆมณฑลราชบุร ี อยูใ่ นระดับมาก ที่สุด 1 ด้าน และระดับมาก 3 ด้าน  3. ภาวะผูน้ ำ� ทางวิชาการของผูบ้ ริหารสถานศึกษาโดยภาพรวมมี ความสัมพันธ์กบั ประสิทธิผลของสถานศึกษาในสังกัดสังฆมณฑลราชบุรี

ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2020/2563 107


ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผูน้ �ำ ทางวิชาการของผูบ้ ริหารกับประสิทธิผลของสถานศึกษา ในสังกัดสังฆมณฑลราชบุรี

อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดยมีความสัมพันธ์กันในทิศทาง บวก อยู่ในระดับสูงมาก เมื่อพิจารณารายคู่  พบว่าทุกคู่มีความสัมพันธ์ ในทิศทางเดียวกันอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .01  ค�ำส�ำคัญ: Abstract

ภาวะผู้น�ำทางวิชาการ ประสิทธิผลของสถานศึกษา

The purposes of this research were to 1) study the instructional leadership of the school administrators in the Diocese of Ratchaburi, 2) study the school effectiveness in the Diocese of Ratchaburi and 3) study the relationship between instructional leadership of school administrators and school effectiveness in the Diocese of Ratchaburi. The samples were 291 school principals, academic assistants and teachers. By using the stratified random sampling and the simple random sampling, the researcher selected the samples. The instrument used for collecting data was a 5 rating scales questionnaire with reliability .978 on the instructional leadership of the school administrators and .958 on school effectiveness. The reliability of the whole questionnaire was .983. The statistics used in data analysis were frequency, percentage, means, standard deviation and Pearson simple correlation coefficient. The research results were as follows: 1. The instructional leadership of the school administrators in the Diocese of Ratchaburi was rated at the highest level as a whole and at each aspect appeared at 7 variables were the highest level and 3 variables were high level.

108 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม


อภิชญา พูลโภคผล และ ชวน ภารังกูล

2. The school effectiveness in the Diocese of Ratchaburi was rated at the high level as a whole and at each aspect appeared at 1 variable was the highest level and 3 variables were high level.  3. The instructional leadership of the school administrators was positive and most highly correlated with schools effectiveness in the Diocese of Ratchaburi at the statistically significant level of .01. When considered deeply, it was found correlated in every pair. Keywords:

Instructional Leadership School Effectiveness

ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2020/2563 109


ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผูน้ �ำ ทางวิชาการของผูบ้ ริหารกับประสิทธิผลของสถานศึกษา ในสังกัดสังฆมณฑลราชบุรี

บทน�ำ การศึกษาเป็นกลไกส�ำคัญอย่างยิ่งใน การพัฒนาประเทศชาติ  สังคมโลกในศตวรรษ ที่  21 ได้เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว สืบเนือ่ งมาจากความเจริญก้าวหน้าทัง้ ทางด้าน วิทยาศาสตร์  เทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสาร และเพื่อให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลง ดั ง กล่ า ว ประเทศไทยซึ่ ง เป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของ สังคมโลกจึงต้องมีการพัฒนาประเทศให้เจริญ ก้าวหน้าทางด้านการศึกษา เพราะการศึกษา เป็นรากฐานส�ำคัญที่จะพัฒนาคน ท�ำให้คนมี ความรู้  มีทักษะ มีเจตคติและค่านิยมที่จะช่วย ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตและสังคมได้อย่าง เหมาะสม เป็ น ก� ำ ลั ง ส� ำ คั ญ ส่ ว นหนึ่ ง ในการ พัฒนาประเทศให้เจริญยิ่งขึ้น  ส� ำ หรั บ บริ บ ทของประเทศไทยนั้ น รัฐบาลได้เห็นถึงความส�ำคัญของการศึกษา จึ ง มี ก ารปรั บ เปลี่ ย นและพั ฒ นาการบริ ห าร จัดการมาโดยตลอด เพื่อสร้างศักยภาพของ ประเทศให้ด�ำรงอยู่ในประชาคมโลกได้อย่างมี ศักดิศ์ รีและอยูใ่ นสังคมส่วนรวมได้อย่างมีความ สุข ดังที่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 มาตรา 54 ได้บัญญัติไว้ ว่า “รัฐต้องด�ำเนินการให้ประชาชนได้รับการ ศึกษาตามความต้องการในระบบต่างๆ รวมทัง้ ส่งเสริมให้มีการเรียนรู้ตลอดชีวิต และจัดให้มี การร่วมมือกันระหว่างรัฐ องค์กรปกครอง ส่วน

110 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

ท้องถิ่น และภาคเอกชนในการจัดการศึกษา ทุ ก ระดั บ  โดยรั ฐ มี ห น้ า ที่ ด� ำ เนิ น การ ก� ำ กั บ ส่งเสริม และสนับสนุนให้การจัดการศึกษา ดั ง กล่ า วมี คุ ณ ภาพและได้ ม าตรฐานสากล ซึง่ การศึกษาทัง้ ปวงต้องมุง่ พัฒนาผูเ้ รียนให้เป็น คนดี มีวนิ ยั  ภูมใิ จในชาติ สามารถเชีย่ วชาญได้ ตามความถนัดของตน และมีความรับผิดชอบ ต่อครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติ” (ส�ำนักงานเลขาธิการสภานิติบัญญัติแห่งชาติ, 2560, 14) ดังนัน้  การจัดการศึกษาเพือ่ พัฒนา คนให้มีคุณภาพจึงเป็นเรื่องที่จ�ำเป็นอย่างยิ่ง สอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติได้กล่าวถึงความจ�ำเป็นส�ำหรับการ พัฒนาที่ยั่งยืนเพื่อมุ่งเน้นการพัฒนาคนให้มี ความเป็ น คนที่ ส มบู ร ณ์   โดยยึ ด  “คนเป็ น ศูนย์กลางการพัฒนา” สังคมไทยเป็นสังคม คุณภาพ และเปิดโอกาสให้กับทุกคนในสังคม ด�ำเนินชีวิตที่ดี  มีความสุขและอยู่ร่วมกันอย่าง สมานฉันท์  (ส�ำนักงานคณะกรรมการพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, 2559, 4) ซึ่ง จากการศึกษาสภาวการณ์และบริบทแวดล้อม ในแผนการศึ ก ษาแห่ ง ชาติ   สิ่ ง ส� ำ คั ญ ที่ มี ผ ล กระทบต่อการพัฒนาการศึกษาได้แก่ความ ก้าวหน้าของเทคโนโลยีดจิ ติ ลั แบบก้าวกระโดด (กระทรวงศึกษาธิการ, 2560, ค) ส่งผลให้การ จัดการศึกษาต้องเร่งด�ำเนินการพัฒนาให้แต่ละ สถานศึกษา สามารถจัดการเรียนการสอนเพือ่


อภิชญา พูลโภคผล และ ชวน ภารังกูล

ให้ ผู ้ เรี ย นได้ พั ฒ นาตามธรรมชาติ แ ละเต็ ม ศักยภาพ ซึ่งสอดคล้องกับนโยบายรัฐบาลใน แผนพั ฒ นาการศึ ก ษาของส� ำ นั ก งานปลั ด กระทรวงศึ ก ษาธิ ก าร นโยบายที่   4.4 ที่ ใ ห้ ความส�ำคัญกับการปรับกระบวนการเรียนรู้ และหลั ก สู ต รให้ เชื่ อ มโยงกั บ ภู มิ สั ง คม โดย บูรณาการความรู้และคุณธรรมเข้าด้วยกันเพื่อ ให้เอื้อต่อการพัฒนาผู้เรียนทั้งในด้านความรู้ ทักษะ การใฝ่เรียนรู้  การแก้ปัญหา การรับฟัง ความเห็ น ผู ้ อื่ น  มี คุ ณ ธรรม จริ ย ธรรม และ ความเป็นพลเมืองดี  (ส�ำนักงานปลัดกระทรวง ศึกษาธิการ, 2560, 10) การพัฒนาคนให้มีคุณภาพนั้นเป็นเรื่อง ทีส่ ำ� คัญและมีความจ�ำเป็นอย่างยิง่  สถานศึกษา ทุ ก แห่ ง ต้ อ งด� ำ เนิ น การพั ฒ นาคุ ณ ภาพของ ตนเองอยู่เสมอ เป็นต้นจัดให้มีการบริหารงาน วิชาการทีเ่ น้นคุณภาพ เพือ่ พัฒนาคุณภาพของ ผู้เรียนได้อย่างต่อเนื่องตลอดเวลา ให้เป็นไป ตามเกณฑ์มาตรฐานการศึกษาทีก่ ำ� หนด ดังนัน้ ผู้บริหารสถานศึกษาที่มีความเป็นผู้น�ำ ต้อง สามารถน� ำ และเป็ น หลั ก ให้ กั บ องค์ ก ารได้ จะต้องอุทิศตน มุ่งมั่น และผู้น�ำที่ดีจะต้องมี ภาวะผู้น�ำที่ดีด้วยเพื่อที่จะสามารถใช้อิทธิพล ในการโน้มน้าวจูงใจบุคลากรในองค์การให้ ปฏิบัติตามด้วยความเต็มใจ โดยอาศัยความรู้ ความสามารถทั้งศาสตร์และศิลป์ด้วยเพื่อให้ องค์การนัน้ บรรลุเป้าหมาย ยิง่ กว่านัน้ แล้วผูน้ ำ�

จะต้องมีภาวะผูน้ ำ� ทางวิชาการ เพือ่ ด�ำเนินการ ให้สถานศึกษามุง่ ไปสูค่ ณ ุ ภาพและได้มาตรฐาน พัฒนาผลสัมฤทธิท์ างการเรียนและคุณลักษณะ อั น พึ ง ประสงค์ ข องผู ้ เรี ย นอี ก ด้ ว ย (สมถวิ ล ศิ ล ปคนธรรพ์ ,  2556, 2) การบริ ห ารงาน วิ ช าการเกี่ ย วข้ อ งกั บ กิ จ กรรมทุ ก ชนิ ด ใน สถานศึกษา และเป็นเครื่องชี้วัดความส�ำเร็จ และความสามารถของผู้บริหาร เพื่อให้การ ท� ำ งานมี ประสิ ท ธิ ภาพ การด� ำ เนิ นงานด้ า น วิชาการจะต้องอาศัยบุคลากร ทีมงาน และ องค์ ก ารที่ มี ค วามรู ้   ความสามารถ  มี ประสบการณ์สูง และมีเทคนิคในการท�ำงาน ผลของงานถึงจะมีความส�ำเร็จสูง จนเกิดการ ยอมรั บ ให้ เ ป็ น ผู ้ น� ำ ทางวิ ช าการ ในยุ ค การ เปลี่ยนแปลงนี้  ผู้บริหาร ทีมงานและองค์การ ทีม่ ภี าวะผูน้ ำ� ทางวิชาการจะชอบงานทีท่ า้ ทาย มี เ ป้ า หมายสู ง  และมี ค วามต้ อ งการให้ ง าน มีความเป็นเลิศเพื่อให้เกิดการยอมรับในทุก ระดั บ  (สมเกี ย รติ   พละจิ ต ต์ ,  2555, 4-5) ดังนั้นจึงสรุปได้ว่า ภาวะผู้น�ำทางวิชาการของ ผู้บริหารมีบทบาทที่ส�ำคัญต่อการพัฒนาการ ศึกษา ผู้บริหารมีความส�ำคัญอย่างมากในการ มอบหมายหรือก�ำหนดความรับผิดชอบงาน ให้ บุ ค คลน� ำ แผนไปปฏิ บั ติ ใ ห้ ส อดคล้ อ งกั บ วั ต ถุ ป ระสงค์ ข องนโยบาย รวมทั้ ง ส่ ง เสริ ม สนับสนุน ก�ำกับ ติดตามผล และการมีส่วน ร่วมในการสื่อสารระหว่างองค์กรในการขับ

ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2020/2563 111


ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผูน้ �ำ ทางวิชาการของผูบ้ ริหารกับประสิทธิผลของสถานศึกษา ในสังกัดสังฆมณฑลราชบุรี

เคลือ่ นแผนไปสูก่ ารปฏิบตั  ิ โดยการสร้างความ เข้ า ใจ ความตระหนั ก และความชั ด เจนแก่ ผู้ปฏิบัติเพื่อให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ในการ พัฒนาคุณภาพผูเ้ รียนตามทีก่ ำ� หนดไว้ (บรรพต รู้เจนทร์, 2557, 4)  ตัวชี้วัดความส�ำเร็จของสถานศึกษาให้ เกิดประสิทธิผลมีความส�ำคัญต่อองค์การหรือ สถานศึกษาเป็นอย่างมากในการที่จะตัดสินใจ ว่าจะอยู่รอดต่อไปหรือไม่  ประสิทธิผลของ สถานศึกษาเป็นความสามารถของสถานศึกษา ที่ จ ะด� ำ เนิ น การให้ ไ ด้ ผ ลของงานบรรลุ ต าม วัตถุประสงค์หรือเป้าหมายของสถานศึกษาที่ ได้ ตั้ ง ไว้   ดั ง นั้ น  สถานศึ ก ษาจึ ง ควรมี ค วาม สามารถในการจัดการเรียนการสอนจนท�ำให้ นักเรียนส่วนใหญ่มผี ลสัมฤทธิเ์ ฉลีย่ อยูใ่ นระดับ สูง อบรมคุณธรรมจริยธรรม จนท�ำให้นกั เรียน ส่วนใหญ่มีผลการประเมินคุณลักษณะที่พึง ประสงค์ของสังคมอยูใ่ นระดับสูง พัฒนาสถาน ศึกษา ได้แก่ความสามารถของผู้บริหารและ ครูที่ร่วมกันพัฒนา ปรับเปลี่ยนโครงสร้างด้าน ต่างๆ เพื่อให้สถานศึกษามีความก้าวหน้าทัน ต่อการเปลีย่ นแปลงในปัจจุบนั  (ทิพวรรณ พรม ทอง, 2558, 2) สถานศึกษาในสังกัดสังฆมณฑลราชบุรี เป็นสถานศึกษาคาทอลิกสังกัดส�ำนักบริหาร งานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน กระทรวงศึกษาธิการ บริหารงานโดยบาทหลวง

112 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

ในสังกัดสังฆมณฑลราชบุรี  ซึ่งมีวัตถุประสงค์ เพือ่ พัฒนาคุณภาพผูเ้ รียนให้เป็นคนดี มีปญ ั ญา มีคุณภาพชีวิตที่ดี  มีขีดความสามารถในการ แข่งขัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเพิ่มศักยภาพ ของผู้เรียนให้สูงขึ้น สามารถด�ำรงชีวิตได้อย่าง มีความสุข มีปรัชญาว่า “คุณธรรม น�ำวิชา พัฒนาสุข” วิสัยทัศน์ของสถานศึกษาในสังกัด สังฆมณฑลราชบุรี  คือ ภายในปี  พ.ศ.2570 สถานศึกษาและหน่วยงานในฝ่ายอบรมศึกษา สั ง ฆมณฑลราชบุ รี ต ้ อ งมี ร ะบบการบริ ห าร จัดการทีท่ นั สมัย มีประสิทธิภาพ มีผลประจักษ์ ทางด้านคุณธรรม จริยธรรม ผู้เรียนมีคุณภาพ สูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานทีก่ ำ� หนด มีสมรรถภาพ ตามหลักสากล ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) และสังคมไทย ภายใต้รูปแบบ การบริ ห ารจั ดการของสถานศึ ก ษาในสั ง กั ด สังฆมณฑล ผ่านการมีสว่ นร่วมของบุคลากรทุก ระดับ โดยมีศูนย์วิชาการเป็นแกนน�ำเพื่อมุ่ง สูผ่ ลสัมฤทธิท์ เี่ ป็นเลิศ อย่างต่อเนือ่ งและยัง่ ยืน (คณะกรรมการฝ่ายอบรมศึกษาสังฆมณฑล ราชบุรี  2555-2570, 1) ในความก้าวหน้าทาง การศึกษา โดยเฉพาะงานด้านวิชาการต้องมี การพั ฒ นาอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง โรงเรี ย นในสั ง กั ด สังมณฑลราชบุร ี มีแนวทางการบริหารด้านการ ศึ ก ษาแบบ “เอกภาพบนความหลากหลาย (Unity in diversity) โดยพัฒนาบุคลากรและ เครือข่ายทีเ่ กีย่ วข้อง ให้รว่ มเป็นประจักษ์พยาน


อภิชญา พูลโภคผล และ ชวน ภารังกูล

แห่งความเป็นหนึ่งเดียวกัน (Let’s see, we’ re one) โดยพระสังฆราชประจ�ำสังฆมณฑล ได้ขอให้ผบู้ ริหารและบุคลากรทางการศึกษาใน แต่ ล ะสถาบั น  ร่ ว มเป็ น หนึ่ ง เดี ย วกั น ในการ จัดโครงการ หรือกิจกรรมที่เป็นการเชื่อมโยง สานสัมพันธภาพโดยมอบหมายให้ศนู ย์วชิ าการ สังฆมณฑลราชบุรี  เป็นหลักในการขับเคลื่อน กฤษฎีกาฯ ตามสถานศึกษาคาทอลิกในเขต สังฆมณฑลราชบุรี  (วุฒิชัย อ่องนาวา, 2561, 67) จากการศึกษาปัญหาในสถานศึกษาใน สังกัดสังฆมณฑลราชบุร ี พบว่า ผูบ้ ริหารมีการ เปลีย่ นแปลงตามวาระ ส่งผลให้การบริหารงาน ด้านวิชาการขาดความต่อเนื่อง ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับ วิ สั ย ทั ศ น์ แ ละภาวะผู ้ น� ำ ของผู ้ บ ริ ห ารสถาน ศึกษา จึงมีความจ�ำเป็นทีจ่ ะต้องมีการวางแผน จัดระบบ และศึกษาความเกี่ยวเนื่องเชื่อมโยง เกี่ยวกับภาวะผู้น�ำทางวิชาการในแต่ละด้าน ของผู้บริหารสถานศึกษาในสังกัดสังฆมณฑล ราชบุรีโดยเฉพาะในด้านการตรวจสอบความ ก้าวหน้าของนักเรียนที่เน้นการติดตามดูแล นักเรียนอย่างใกล้ชิด การควบคุมการใช้เวลา ในการเรียนการสอน การจัดสิ่งจูงใจให้กับครู เพื่อเพิ่มขวัญและก�ำลังใจในการท�ำงาน ด้าน การนิเทศประเมินผลและด้านอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง เพื่อเป็นแนวทางพัฒนาทางการศึกษาต่อไป (วุ ฒิ ชั ย  อ่ อ งนาวา, 2561, พฤษภาคม 21) ซึ่งสอดคล้องกับปัญหาภาวะผู้น�ำทางวิชาการ

ที่ได้ท�ำการศึกษา จากการศึกษาเอกสาร และ งานวิจยั ทีผ่ า่ นมาพบว่า ภาวะผูน้ ำ� ทางวิชาการ ที่อยู่ระดับต�่ำสุด ได้แก่  ด้านการตรวจสอบ ความก้าวหน้าของนักเรียน (สุขฤทัย จันทร์ทรง กรด, 2558, 57) ด้านการส่งเสริมสภาพการ เรียนรู้  (อังคณา ฉางข้าวด�ำ, 2557, 86) ด้าน การส่งเสริมให้มีการพัฒนาวิชาชีพ (พิมพิชญา จงเกียรติกาญจน์  (2553, 81) และด้านการ นิเทศและการประเมินผลด้านการสอน (พิสษิ ฐ์ แม้นเขียน, 2545, 116, กัญญ์วรา เครือ่ งพาที, 2556, 82, บรรพต รู้เจนทร์, 2557, 224) และยังสอดคล้องกับโคอิมบรา (Coimbra, 2013, 65) ที่ระบุว่ากระบวนการในการนิเทศ และการประเมิ น ผลส่ ว นใหญ่ ไ ม่ ค ่ อ ยมี ประสิทธิภาพ ผู้บริหารมีปัญหาเรื่องการจัดฝึก อบรมทีเ่ ข้มแข็งและมัน่ คง ขาดการส่งเสริมการ เรียนการสอนที่มีคุณภาพ รวมถึงปฏิสัมพันธ์ ระหว่างผู้ร่วมประเมินอีกด้วย จึงต้องมีการ ปรับปรุงกระบวนการเรียนการสอนให้มากขึ้น เพื่อพัฒนาการศึกษาให้เกิดประสิทธิผลและ มุ่งสู่ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน การประเมินประสิทธิผลของสถานศึกษา ในปั จ จุ บั น มี วิ ธี ก ารที่ ห ลากหลาย ซึ่ ง ความ ส�ำเร็จหรือความมีประสิทธิผลของสถานศึกษา นั้ น  ภาวะความเป็ น ผู ้ น� ำ ทางวิ ช าการของ ผู้บริหารและครูมีบทบาทส�ำคัญอย่างยิ่งต่อ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน ทั้งนี้ขึ้น

ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2020/2563 113


ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผูน้ �ำ ทางวิชาการของผูบ้ ริหารกับประสิทธิผลของสถานศึกษา ในสังกัดสังฆมณฑลราชบุรี

อยู่กับความถนัดและสไตล์การบริหารงานของ ผู้บริหารแต่ละคนด้วย ซึ่งการวัดประสิทธิผล อาจดูได้จากผูบ้ ริหารและครูสามารถปรับตัวให้ เข้ากับสภาพพื้นฐานที่เปลี่ยนไปได้  สามารถ ปรับเปลี่ยนกระบวนการเรียนการสอนได้เป็น อย่างดี  มีการพัฒนาการเรียนการสอนในเชิง ประจักษ์มากขึน้  สามารถผสมผสานบูรณาการ เพื่ อ ให้ เ กิ ด ประสิ ท ธิ ผ ลมากขึ้ น เป็ น การเพิ่ ม ศักยภาพของตนท�ำให้สถานศึกษาเกิดความ มั่นคงและเป็นระบบ จากการศึกษาเอกสาร และงานวิจัยที่ผ่านมาพบว่า ประสิทธิผลของ สถานศึกษาด้านความสามารถในการพัฒนา ศักยภาพของตน (จริยาภรณ์  พรหมมิ, 2559, 124) และด้ า นความสามารถในการผลิ ต นักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูง มีค่า เฉลี่ยอยู่ในระดับต�่ำสุด (ศุภกร อินทร์คล้า, 2556, 63, ณัฐชนก ชัยศรี, 2555, 84, ภัทรา พึง่ ไพฑูรย์, 2555, 77) สถานศึกษาจ�ำเป็นต้อง พัฒนาบุคลากรทางการศึกษาอย่างสม�่ำเสมอ และต่อเนื่อง ซึ่งสอดคล้องกับโลเคและลาธัม (Locke & Latham, 2002 cited in Wesson & Derrer-Rendall, 3) ที่กล่าวว่าความ สามารถในการผลิตนัก เรียนให้มีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนสูงนัน้ ต้องอาศัยปัจจัยหลายอย่าง เช่ น  การให้ ค� ำ แนะน� ำ เพื่ อ การปรั บ ปรุ ง ผล สัมฤทธิท์ างการเรียนให้ดที สี่ ดุ  นับเป็นแรงจูงใจ เพื่ อ ให้ เ ป้ า หมายของสถานศึ ก ษาเกิ ด

114 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

ประสิทธิผล โดยเป้าหมายนั้นจะต้องมีความ ชัดเจนเป็นรูปธรรมเพื่อให้นักเรียนแต่ละคน สามารถไปให้ถงึ เป้าหมายทีส่ ถานศึกษาได้ตงั้ ไว้ ซึ่ ง ถื อ ว่ า เป็ น งานที่ ท ้ า ทายและพั ฒ นาความ สามารถของผู้บริหารและบุคลากรทุกฝ่ายได้ เป็นอย่างดี  จากการศึกษาความเป็นมาและความ ส�ำคัญของภาวะผู้น�ำทางวิชาการของผู้บริหาร และประสิทธิผลของสถานศึกษา ผูว้ จิ ยั จึงสนใจ ศึ ก ษาความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งผู ้ บ ริ ห ารกั บ ป ร ะ สิ ท ธิ ผ ล ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า ใ น สั ง กั ด สั ง ฆมณฑลราชบุ รี เ พื่ อ เป็ น แนวทางในการ พัฒนาบุคลากรทางการศึกษาต่อไป วัตถุประสงค์ของการวิจัย  1. เพือ่ ศึกษาภาวะผูน้ ำ� ทางวิชาการของ ผูบ้ ริหารสถานศึกษาในสังกัดสังฆมณฑลราชบุรี 2. เพื่ อ ศึ ก ษาประสิ ท ธิ ผ ลของสถาน ศึกษาในสังกัดสังฆมณฑลราชบุรี 3. เพือ่ ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะ ผู้น�ำทางวิชาการของผู้บริหารกับประสิทธิผล ของสถานศึกษาในสังกัดสังฆมณฑลราชบุรี สมมติฐานการวิจัย 1. ระดั บ ภาวะผู ้ น� ำ ทางวิ ช าการของ ผูบ้ ริหารสถานศึกษาในสังกัดสังฆมณฑลราชบุรี โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด


อภิชญา พูลโภคผล และ ชวน ภารังกูล

2. ระดับประสิทธิผลของสถานศึกษาใน สั ง กั ด สั ง ฆมณฑลราชบุ รี โ ดยภาพรวมอยู ่ ใ น ระดับมาก 3. ภาวะผู้น�ำทางวิชาการของผู้บริหาร สถานศึกษามีความสัมพันธ์กบั ประสิทธิผลของ สถานศึกษาในสังกัดสังฆมณฑลราชบุรีทิศทาง บวก ประโยชน์ที่ได้รับ ผลการวิจยั ครัง้ นี ้ ผูท้ สี่ นใจสามารถน�ำไป ใช้เป็นข้อมูลในการพัฒนาและยกระดับภาวะ ผู้น�ำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาและ ประสิทธิผลของสถานศึกษา ขอบเขตของการวิจัย การวิจัยครั้งนี้  มุ่งศึกษาความสัมพันธ์ ระหว่างภาวะผู้น�ำทางวิชาการของผู้บริหาร สถานศึกษากับประสิทธิผลของสถานศึกษาใน สังกัดสังฆมณฑลราชบุรี  โดยก�ำหนดของเขต วิจัย ดังนี้ 1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 1.1 ประชากรที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ผูบ้ ริหาร ผูช้ ว่ ยผูบ้ ริหารฝ่ายวิชาการ และครูใน สถานศึกษาสังกัดสังฆมณฑลราชบุรี  มีสถานที่ ตั้ ง อยู ่ ใ นจั ง หวั ด กาญจนบุ รี   ราชบุ รี   สมุ ท ร สงคราม และเพชรบุรี  จ�ำนวน 1,182 คน

1.2 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ผู้บริหาร ผู้ช่วยผู้บริหารฝ่ายวิชาการ และครู จากสถานศึ ก ษาในสั ง กั ด สั ง ฆมณฑลราชบุ รี ได้กลุ่มตัวอย่างจ�ำนวน 291 คน ซึ่งได้มาโดย เปิดตารางขนาดตัวอย่างของเครจซี่และมอร์ แกน (Krejcie & Morgan, 1970, 607-610) กลุ ่ ม ตั วอย่ า งใช้ วิธีสุ ่ ม แบบแบ่ ง ชั้ น (Stratified random sampling) โดยมีโรงเรียนเป็น ชั้นแล้วเทียบตามสัดส่วน จากนั้นท�ำการสุ่ม อย่างง่าย (Simple random sampling)  2. ตัวแปรที่ศึกษา 2.1 ตัวแปรต้น ได้แก่  ภาวะผู้น�ำทาง วิ ช าการตามแนวคิ ด ของฮอลลิ ง เจอร์   และ เมอร์ ฟ ี   (Hallinger & Murphy, 1985 cited in Hallinger & Chung Wang, 2015, 26-35) มี  10 องค์ประกอบ ได้แก่  1) การ ก� ำ หนดเป้ า หมายของสถานศึ ก ษา 2) การ สื่ อ สารเป้ า หมายของสถานศึ ก ษา 3) การ ประสานงานด้านการใช้หลักสูตร 4) การนิเทศ และการประเมินผลด้านการสอน 5) การตรวจ สอบความก้าวหน้าของนักเรียน 6) การควบคุม การใช้เวลาในการสอน 7) การจัดให้มีสิ่งจูงใจ ให้ กั บ ครู   8) การส่ ง เสริ ม สภาพการเรี ย นรู ้ 9) การส่งเสริมให้มีการพัฒนาวิชาชีพ และ 10) การดูแลเอาใจใส่ครูและนักเรียนอย่าง ทั่วถึง

ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2020/2563 115


ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผูน้ �ำ ทางวิชาการของผูบ้ ริหารกับประสิทธิผลของสถานศึกษา ในสังกัดสังฆมณฑลราชบุรี

2.2 ตัวแปรตาม ได้แก่  ประสิทธิผล ของสถานศึ ก ษาตามแนวคิ ด ของฮอยและ มิสเกล (Hoy & Miskel, 1991, 378-383) มี  4 องค์ประกอบ ได้แก่  1) ความสามารถใน การปรั บ ตั ว  2) ความสามารถในการผลิ ต นั ก เรี ย นที่ มี ผ ลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย นสู ง 3) ความสามารถในการบู ร ณาการ และ 4) ความสามารถในการพัฒนาศักยภาพของตน กรอบแนวคิดในการวิจัย การวิจัยครั้งนี้ผู้วิจัยได้ศึกษาภาวะผู้น�ำ ทางวิ ช าการตามแนวคิ ด ของฮอลลิ ง เจอร์ และเมอร์ฟี  (Hallinger & Murphy, 1985 cited in Hallinger & Chung Wang, 2015, 26-35) ซึ่งประกอบด้วย 10 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) การก�ำหนดเป้าหมายของสถานศึกษา 2) การสื่ อ สารเป้ า หมายของสถานศึ ก ษา 3) การประสานงานด้ า นการใช้ ห ลั ก สู ต ร 4) การนิเทศและการประเมินผลด้านการสอน 5) การตรวจสอบความก้าวหน้าของนักเรียน 6) การควบคุมการใช้เวลาในการสอน 7) การ จัดให้มีสิ่งจูงใจให้กับครู  8) การส่งเสริมสภาพ การเรี ย นรู ้   9) การส่ ง เสริ ม ให้ มี ก ารพั ฒ นา วิชาชีพ และ 10) การดูแลเอาใจใส่ครูและ นักเรียนอย่างทัว่ ถึง และประสิทธิผลของสถาน ศึ ก ษาตามแนวคิ ด ของฮอยและมิ ส เกล (Hoy & Miskel, 1991, 378-383) ซึง่ ประกอบ

116 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

ด้วย 1) ความสามารถในการปรับตัว 2) ความ สามารถในการผลิ ต นั ก เรี ย นที่ มี ผ ลสั ม ฤทธิ์ ทางการเรี ย นสู ง  3) ความสามารถในการ บูรณาการ และ 4) ความสามารถในการพัฒนา ศักยภาพของตน โดยน�ำแนวคิดดังกล่าวเป็น แนวทางในการศึกษาวิจัยในครั้งนี้ นิยามศัพท์เฉพาะ เพื่อให้เกิดความเข้าใจตรงกัน ผู้วิจัยจึง ให้ความหมายของค�ำศัพท์เฉพาะ ส�ำหรับศึกษา การท�ำวิจัย ในครั้งนี้ไว้ดังต่อไปนี้ 1. ภาวะผู ้ น� ำ ทางวิ ช าการ หมายถึ ง ความรู ้   ความสามารถและพฤติ ก รรมของ ผู้บริหารสถานศึกษาในบทบาททั้งครบ ซึ่งมี อิทธิพลต่อทุกฝ่ายในองค์การ โดยมีหน้าที่ใน การสร้ า งและส่ ง เสริ ม ความก้ า วหน้ า ของ องค์การเป็นการน�ำองค์ความรู้สู่การปฏิบัติที่ มุง่ มัน่ สร้างสรรค์ให้ทมี งานเชือ่ ถือศรัทธา อาศัย กระบวนการและการพัฒนาการต่างๆ ได้อย่าง มีประสิทธิภาพ เป็นผูป้ ระสานงานและส่งเสริม บรรยากาศ วัฒนธรรมการเรียนรู้โดยอาศัย ความร่วมมือกันของสมาชิกในองค์การ ซึ่งใน การวิ จั ย ครั้ ง นี้   ก� ำ หนดองค์ ป ระกอบไว้   10 ประการ ดังนี้  1) การก�ำหนดเป้าหมายของ สถานศึกษา 2) การสือ่ สารเป้าหมายของสถาน ศึกษา 3) การประสานงานด้านการใช้หลักสูตร 4) การนิเทศและการประเมินผลด้านการสอน


อภิชญา พูลโภคผล และ ชวน ภารังกูล

5) การตรวจสอบความก้าวหน้าของนักเรียน 6) การควบคุมการใช้เวลาในการสอน 7) การ จัดให้มีสิ่งจูงใจให้กับครู  8) การส่งเสริมสภาพ การเรี ย นรู ้   9) การส่ ง เสริ ม ให้ มี ก ารพั ฒ นา วิชาชีพ และ 10) การดูแลเอาใจใส่ครูและ นักเรียนอย่างทั่วถึง  2. ประสิทธิผลของสถานศึกษา หมาย ถึง ความสามารถในการด�ำเนินงานของสถาน ศึกษาเพื่อให้เกิดผลส�ำเร็จตามวัตถุประสงค์ที่ วางไว้ทงั้ ในด้านคุณภาพและปริมาณ ประกอบ ด้ ว ยเกณฑ์ ชี้ วั ด ด้ า นต่ า งๆ ดั ง นี้   1) ความ สามารถในการปรับตัว 2) ความสามารถในการ ผลิ ต นั ก เรี ย นที่ มี ผ ลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย นสู ง 3) ความสามารถในการบู ร ณาการ และ 4) ความสามารถในการพัฒนาศักยภาพของตน 3. ผู ้ บ ริ ห าร หมายถึ ง  ผู ้ อ� ำ นวยการ สถานศึกษา เป็นบาทหลวงหรือนักบวชทีไ่ ด้รบั การแต่งตัง้ จากพระสังฆราชประจ�ำสังฆมณฑล ราชบุ รี   เพื่ อ มาบริ ห ารสถานศึ ก ษาประจ� ำ สังฆมณฑล ปีการศึกษา 2561 4. ผูช้ ว่ ยผูบ้ ริหารฝ่ายวิชาการ หมายถึง ผูช้ ว่ ยผูอ้ ำ� นวยการฝ่ายวิชาการทีไ่ ด้รบั การเลือก จากผู้บริหาร เป็นบุคลากรวิชาชีพท�ำหน้าที่ หลักด้านการบริหารงานฝ่ายวิชาการ ซึง่ ปฏิบตั ิ งานอยู่ในสถานศึกษาสังกัดสังฆมณฑลราชบุรี ปีการศึกษา 2561

5. ครู   หมายถึ ง  บุ ค ลากรวิ ช าชี พ ท� ำ หน้ า ที่ ห ลั ก ด้ า นการเรี ย นการสอน หรื อ ผู ้ มี ความเชี่ยวชาญและประสบการณ์ในการสอน มานาน ที่ปฏิบัติงานอยู่ในสถานศึกษาสังกัด สังฆมณฑลราชบุรี  ปีการศึกษา 2561 6. สถานศึ ก ษาในสั ง กั ด สั ง ฆมณฑล ราชบุรี  หมายถึง โรงเรียนในสังกัดสังฆมณฑล ราชบุรี  ซึ่งครอบคลุมพื้นที่ใน 4 จังหวัด คือ จังหวัดราชบุร ี สมุทรสงคราม กาญจนบุร ี และ เพชรบุ รี   มี จ� ำ นวน 13 สถานศึ ก ษา ได้ แ ก่ โรงเรียนดรุณาราชบุรี  โรงเรียนดรุณาราชบุรี วิเทศศึกษา โรงเรียนดรุณานุเคราะห์  โรงเรียน ดรุ ณ านุ กู ล  โรงเรี ย นเรื อ งวิ ท ย์ พ ระหฤทั ย โรงเรียนด�ำเนินวิทยา โรงเรียนวันทามารีอา โรงเรียนธีรศาสตร์  โรงเรียนเทพินทร์พิทยา โรงเรียนเทพวิทยา โรงเรียนวีรศิลป์  โรงเรียน อนุชนศึกษา และโรงเรียนดรุณากาญจนบุรี ระเบียบวิธีวิจัย การวิ จั ย ในครั้ ง นี้   เป็ น การวิ จั ย เชิ ง พรรณนา (descriptive research) ด�ำเนิน การสร้าง ตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ และ วิเคราะห์ข้อมูล ดังนี้

ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2020/2563 117


ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผูน้ �ำ ทางวิชาการของผูบ้ ริหารกับประสิทธิผลของสถานศึกษา ในสังกัดสังฆมณฑลราชบุรี

การสร้างและตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ 1. ศึกษาวรรณกรรม หลักการ แนวคิด และทฤษฎี ที่ เ กี่ ย วข้ อ งจากหนั ง สื อ  ต� ำ รา เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับภาวะผู้น�ำ ทางวิชาการของผู้บริหารและประสิทธิผลของ สถานศึกษา 2. น� ำ ข้ อ มู ล ที่ ไ ด้ จ ากการศึ ก ษามา ประมวล เพื่อมาก�ำหนดเป็นโครงสร้างเครื่อง มื อ โดยขอค� ำ แนะน� ำ จากอาจารย์ ที่ ป รึ ก ษา วิทยานิพนธ์ 3. สร้างแบบสอบถามโดยให้ครอบคลุม เนื้อหาเสนออาจารย์ที่ปรึกษาตรวจสอบ เพื่อ ให้ข้อเสนอแนะน�ำมาปรับปรุง 4. น�ำแบบสอบถามเสนอผู้เชี่ยวชาญ 3 ท่านเพือ่ ตรวจสอบความเทีย่ งตรงของเนือ้ หา (content validity) เพื่อปรับปรุงแก้ไขข้อ บกพร่องเพื่อความสมบูรณ์และถูกต้องของ เนื้อหาโดยให้เทคนิค IOC (Index of Item Objective Congruence) แล้วน�ำมาปรับปรุง แก้ไขอีกครัง้ โดยคัดเลือกเฉพาะข้อทีม่ คี า่  0.60 ขึ้นไป 5. น� ำ แบบสอบถามที่ ป รั บ ปรุ ง แก้ ไข แล้วไปทดลองใช้ (try out) กับโรงเรียนคาทอลิก ในสั ง ฆมณฑลราชบุ รี   ที่ ไ ม่ ใช่ ก ลุ ่ ม ตั ว อย่ า ง จ�ำนวน 3 โรงเรียน ผู้ให้ข้อมูลประกอบด้วย ผู้บริหารจ�ำนวน 3 คน และครูจ�ำนวน 27 คน รวมทั้งสิ้น 30 คน ได้ค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ .983 118 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

การวิเคราะห์ข้อมูล สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่  (frequency) ค่าเฉลี่ย (mean) ค่ า ร้ อ ยละ (percentage) ส่ ว นเบี่ ย งแบน มาตรฐาน (standard deviation) และหาค่า ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้น�ำทางวิชาการ ของผู้บริหารสถานศึกษากับประสิทธิผลของ สถานศึกษาในสังกัดสังฆมณฑลราชบุรี  โดยใช้ ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สันโดยได้ น�ำข้อมูลมาวิเคราะห์และเสนอผล จ�ำแนกเป็น 4 ตอน คือ  ตอนที่  1 สถานภาพของผู้ตอบแบบ  สอบถาม พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ เป็นเพศหญิง จ�ำนวน 238 คน คิดเป็นร้อยละ 81.79 เป็นเพศชาย จ�ำนวน 53 คน คิดเป็น ร้อยละ 18.21 เป็นผูท้ มี่ อี ายุ  51 ปีขนึ้ ไป มาก ที่สุด จ�ำนวน 82 คน คิดเป็นร้อยละ 28.18 รองลงมาคืออายุ  41-50 ปี  จ�ำนวน 79 คน คิดเป็นร้อยละ 27.15 อายุ  31-40 ปี  จ�ำนวน 66 คน คิดเป็นร้อยละ 22.68 และเป็นผู้ที่ มีอายุต�่ำกว่า 30 ปี  น้อยที่สุด จ�ำนวน 64 คน คิดเป็นร้อยละ 21.99 ส่วนระดับการศึกษาพบ ว่ า จบการศึ ก ษาระดั บ ปริ ญ ญาตรี ม ากที่ สุ ด จ�ำนวน 262 คน คิดเป็นร้อยละ 90.03 รองลง มาจบการศึกษาระดับปริญญาโท จ�ำนวน 22 คน คิดเป็นร้อยละ 7.56 จบการศึกษาระดับ ปริ ญ ญาเอก จ� ำ นวน 4 คน คิ ด เป็ นร้ อ ยละ 1.37 และระดับต�่ำกว่าปริญญาตรีน้อยที่สุด


อภิชญา พูลโภคผล และ ชวน ภารังกูล

จ�ำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 1.03 ต�ำแหน่ง ปั จ จุ บั น ของผู ้ ต อบแบบสอบถามส่ ว นใหญ่ เป็นครู จ�ำนวน 241 คน คิดเป็นร้อยละ 82.82 รองลงมาเป็ น ผู ้ ช ่ ว ยผู ้ บ ริ ห ารฝ่ า ยวิ ช าการ จ�ำนวน 37 คน คิดเป็นร้อยละ 12.71 และ ล�ำดับน้อยที่สุดคือผู้บริหาร จ�ำนวน 13 คน คิดเป็นร้อยละ 4.47 เป็นผู้ที่มีประสบการณ์ ท�ำงานมากกว่า 21 ปีมากที่สุด จ�ำนวน 117 คน  คิ ด เป็ น ร้ อ ยละ  40.21  รองลงมามี ประสบการณ์ทำ� งาน 1-10 ปี จ�ำนวน 115 คน คิดเป็นร้อยละ 39.52 และล�ำดับที่น้อยที่สุด คือประสบการณ์ท�ำงาน 11-20 ปี  จ�ำนวน 59 คน คิดเป็นร้อยละ 20.27 ตอนที่  2 ภาวะผู้น�ำทางวิชาการของ  ผู ้ บ ริ ห ารสถานศึ ก ษาในสั ง กั ด สั ง ฆมณฑล ราชบุรี  ในการวิเคราะห์ระดับภาวะผู้น�ำทาง วิ ช าการของผู ้ บ ริ ห ารสถานศึ ก ษาในสั ง กั ด สั ง ฆมณฑลราชบุ รี   พบว่ า  ภาวะผู ้ น� ำ ทาง วิ ช าการของผู ้ บ ริ ห ารสถานศึ ก ษาในสั ง กั ด สังฆมณฑลราชบุรี  โดยภาพรวมอยู่ในระดับ

มากที่สุด (x̅=4.51, S.D.=0.43) และเมื่อแยก พิ จารณาในรายด้ า น พบว่ า  ภาวะผู ้ น�ำ ทาง วิ ช าการของผู ้ บ ริ ห ารสถานศึ ก ษาในสั ง กั ด สังฆมณฑลราชบุรอี ยูใ่ นระดับมากทีส่ ดุ  7 ด้าน และระดับมาก 3 ด้าน โดยเรียงล�ำดับค่าเฉลี่ย จากมากไปหาน้อยได้ดงั นี ้ การสือ่ สารเป้าหมาย ของสถานศึกษา (x̅=4.57, S.D.=0.44) การ ดู แ ละเอาใจใส่ ค รู แ ละนั ก เรี ย นอย่ า งทั่ ว ถึ ง ( x̅ =4.56, S.D.=0.51) การประสานงาน ด้านการใช้หลักสูตร (x̅= 4.56, S.D.=0.47) การส่งเสริมสภาพการเรียนรู้  (x̅=4.55, S.D. =0.55) การนิเทศและการประเมินผลด้านการ สอน (x̅=4.54, S.D.=0.46) การส่งเสริมให้มี การพัฒนาวิชาชีพ (x̅=4.52, S.D.=0.49) การ ก�ำหนดเป้าหมายของสถานศึกษา (x̅=4.51, S.D.=0.45) การควบคุมการใช้เวลาในการสอน (x̅=4.44, S.D.=0.53) การจัดให้มีสิ่งจูงใจให้ กับครู  (x̅=4.44, S.D.=0.54) และการตรวจ สอบความก้ า วหน้ า ของนั ก เรี ย น ( x̅ =4.43, S.D.=0.56)

ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2020/2563 119


ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผูน้ �ำ ทางวิชาการของผูบ้ ริหารกับประสิทธิผลของสถานศึกษา ในสังกัดสังฆมณฑลราชบุรี

ตาราง 1 ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดับภาวะผู้น�ำทางวิชาการของผู้บริหารสถาน ศึกษาในสังกัดสังฆมณฑลราชบุรี  โดยภาพรวม (Xtot) (n=291) ภาวะผู้น�ำทางวิชาการของผู้บริหาร   x̅ 1. การก�ำหนดเป้าหมายของสถานศึกษา (X1) 4.51 2. การสื่อสารเป้าหมายของสถานศึกษา (X2) 4.57 3. การประสานงานด้านการใช้หลักสูตร (X3) 4.56 4. การนิเทศและการประเมินผลด้านการสอน (X4) 4.54 5. การตรวจสอบความก้าวหน้าของนักเรียน (X5) 4.43 6. การควบคุมการใช้เวลาในการสอน (X6) 4.44 7. การจัดให้มีสิ่งจูงใจให้กับครู  (X7) 4.44 8. การส่งเสริมสภาพการเรียนรู้  (X8) 4.55 9. การส่งเสริมให้มีการพัฒนาวิชาชีพ (X9) 4.52 10. การดูและเอาใจใส่ครูและนักเรียนอย่างทั่วถึง (X10) 4.56 รวม (Xtot) 4.51

S.D. 0.46 0.44 0.47 0.46 0.56 0.53 0.54 0.55 0.49 0.51 0.43

ค่าระดับ มากที่สุด มากที่สุด มากที่สุด มากที่สุด มาก มาก มาก มากที่สุด มากที่สุด มากที่สุด มากที่สุด

ล�ำดับ 7 1 3 5 10 8 9 4 6 2

ตอนที่ 3 ประสิทธิผลของสถานศึกษาในสังกัดสังฆมณฑลราชบุรี ในการวิเคราะห์ระดับประสิทธิผลของสถานศึกษาในสังกัดสังฆมณฑลราชบุรี  พบว่า ระดับ ประสิ ท ธิ ผ ลของสถานศึ ก ษาในสั ง กั ด สั ง ฆมณฑลราชบุ รี   โดยภาพรวมอยู ่ ใ นระดั บ มาก (x̅=4.45, S.D.=0.45) และเมือ่ แยกพิจารณาในรายด้าน พบว่า ระดับประสิทธิผลของสถานศึกษา ในสังกัดสังฆมณฑลราชบุรี  อยู่ในระดับมากที่สุด 1 ด้าน และระดับมาก 3 ด้าน โดยเรียงล�ำดับ ค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อยได้ดังนี้  ด้านความสามารถในการพัฒนาศักยภาพของตน (x̅=4.56, S.D.=0.46) ด้านความสามารถในการบูรณาการ ( =4.44, S.D.=0.48) ด้านความสามารถในการ ปรับตัว (x̅=4.41, S.D.=0.50) และด้านความสามารถในการผลิตนักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนสูง (x̅=4.38, S.D.=0.52)

120 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม


อภิชญา พูลโภคผล และ ชวน ภารังกูล

ตาราง 2 ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดับประสิทธิผลของสถานศึกษาในสังกัด สังฆมณฑลราชบุรี  โดยภาพรวม (Ytot) (n=291) ประสิทธิผลของสถานศึกษา 1. ความสามารถในการปรับตัว (Y1) 2. ความสามารถในการผลิตนักเรียนที่มี    ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูง (Y2) 3. ความสามารถในการบูรณาการ (Y3) 4. ความสามารถในการพัฒนาศักยภาพของตน (Y4) รวม (Ytot)

x̅ S.D. ค่าระดับ 4.41 0.50 มาก 4.38 0.52 มาก

ล�ำดับ 3 4

4.44 0.48 มาก 4.56 0.46 มากที่สุด 4.45 .045 มาก

2 1

ตอนที่ 4 ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำ� ทางวิชาการของผู้บริหารกับประสิทธิผลของ สถานศึกษาในสังกัดสังฆมณฑลราชบุรี ในการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผูน้ ำ� ทางวิชาการของผูบ้ ริหารกับประสิทธิผลของ สถานศึกษาในสังกัดสังฆมณฑลราชบุรี  พบว่า ภาวะผู้น�ำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาโดย ภาพรวมมีความสัมพันธ์กบั ประสิทธิผลของสถานศึกษาในสังกัดสังฆมณฑลราชบุรอี ย่างมีนยั ส�ำคัญ ทางสถิติที่ระดับ .01 โดยมีความสัมพันธ์กันในทิศทางบวก อยู่ในระดับสูงมาก (r=.824) เมื่อ พิจารณารายคู่  พบว่าทุกคู่มีความสัมพันธ์ในทิศทางเดียวกันอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดยคู่ที่มีความสัมพันธ์กันสูงที่สุดได้แก่ด้านการดูแลเอาใจใส่ครูและนักเรียนอย่างทั่วถึง กับความ สามารถในการบูรณาการ คือ r=.744 รองลงมาได้แก่  ด้านการดูแลเอาใจใส่ครูและนักเรียนอย่าง ทั่วถึงกับความสามารถในการปรับตัว คือ r=.726 และด้านการดูแลเอาใจใส่ครูและนักเรียนอย่าง ทั่วถึงกับความสามารถในการพัฒนาศักยภาพของตน คือ r=.718 ส่วนด้านที่มีความสัมพันธ์กัน ต�่ำที่สุด คือ ด้านการสื่อสารเป้าหมายของสถานศึกษากับความสามารถในการผลิตนักเรียนที่มี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูง คือ r=.545

ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2020/2563 121


ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผูน้ �ำ ทางวิชาการของผูบ้ ริหารกับประสิทธิผลของสถานศึกษา ในสังกัดสังฆมณฑลราชบุรี

ตาราง 3 ค่าสัมประสิทธิส์ หสัมพันธ์ระหว่างภาวะผูน้ ำ� ทางวิชาการของผูบ้ ริหารกับประสิทธิผลของ สถานศึกษาในสังกัดสังฆมณฑลราชบุรี X1

X2

X3

X4

X5

X6

X7

X8

X9

X10

Xtot

Y1

Y2

Y3

Y4

X1

1

X2

.721**

X3

.729** .760**

X4

.615** .694** .700**

X5

.679** .732** .767** .769**

X6

.607** .633** .685** .660** .706**

X7

.685** .723** .711** .666** .729** .710**

X8

.581** .713** .670** .642** .706** .683** .748**

X9

.661** .750** .758** .748** .784** .745** .739** .745**

X10

.709** .788** .784** .720** .759** .691** .785** .764** .818**

Xtot

.805** .867** .874** .834** .888** .830** .873** .846** .898** .906**

Y1

.598** .631** .665** .633** .683** .609** .621** .625** .688** .726** .751**

Y2

.595** .545** .656** .589** .698** .609** .633** .598** .679** .686** .731** .798**

Y3

.636** .645** .701** .619** .717** .627** .675** .654** .714** .744** .782** .772** .831**

Y4

.636** .632** .688** .640** .674** .608** .654** .610** .676** .718** .757** .728** .761** .817**

Ytot

.672** .668** .739** .676** .757** .669** .705** .679** .752** .784** .824** .903** .929** .933** .898**

Ytot

1 1 1 1 1 1 1 1

** มีความสัมพันธ์อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .01

122 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

1 1 1 1 1 1 1


อภิชญา พูลโภคผล และ ชวน ภารังกูล

สรุปผลการวิจัย 1. ภาวะผู้น�ำทางวิชาการของผู้บริหาร สถานศึกษาในสังกัดสังฆมณฑลราชบุรี  โดย ภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด (x̅=4.51) และ เมื่อแยกพิจารณาในรายด้าน ภาวะผู้น�ำทาง วิ ช าการของผู ้ บ ริ ห ารสถานศึ ก ษาในสั ง กั ด สังฆมณฑลราชบุรอี ยูใ่ นระดับมากทีส่ ดุ  7 ด้าน และระดับมาก 3 ด้าน โดยเรียงล�ำดับค่าเฉลี่ย จากมากไปหาน้ อ ยได้ ดั ง นี้   ด้ า นการสื่ อ สาร เป้าหมายของสถานศึกษา ด้านการดูแลเอาใจ ใส่ครูและนักเรียนอย่างทัว่ ถึง ด้านการประสาน งานด้านการใช้หลักสูตร ด้านการส่งเสริมสภาพ การเรียนรู้  ด้านการนิเทศและการประเมินผล ด้านการสอน ด้านการส่งเสริมให้มีการพัฒนา วิชาชีพ ด้านการก�ำหนดเป้าหมายของสถาน ศึกษา ด้านการควบคุมการใช้เวลาในการสอน ด้านการจัดให้มีสิ่งจูงใจให้กับครู  และด้านการ ตรวจสอบความก้าวหน้าของนักเรียน 2. ประสิทธิผลของสถานศึกษาในสังกัด สังฆมณฑลราชบุรี  โดยภาพรวมอยู่ในระดับ มาก (x̅=4.45) และเมื่อแยกพิจารณาในราย ด้าน พบว่า ระดับประสิทธิผลของสถานศึกษา ในสังกัดสังฆมณฑลราชบุรี  อยู่ในระดับมาก ที่สุด 1 ด้าน และระดับมาก 3 ด้าน โดยเรียง ล�ำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อยได้ดังนี้  ด้าน ความสามารถในการพัฒนาศักยภาพของตน ด้านความสามารถในการบูรณาการ ด้านความ

สามารถในการปรับตัว และด้านความสามารถ ในการผลิตนักเรียนทีม่ ผี ลสัมฤทธิท์ างการเรียน สูง  3. ภาวะผู้น�ำทางวิชาการของผู้บริหาร โดยภาพรวมมีความสัมพันธ์กบั ประสิทธิผลของ สถานศึกษาในสังกัดสังฆมณฑลราชบุรีอย่างมี นั ย ส� ำ คั ญ ทางสถิ ติ ที่ ร ะดั บ  .01 โดยมี ค วาม สัมพันธ์กันในทิศทางบวก อยู่ในระดับสูงมาก (r=.824) เมื่ อ พิ จ ารณารายคู ่   พบว่ า ทุ ก คู ่ มี ความสั ม พั น ธ์ ใ นทิ ศ ทางเดี ย วกั น อย่ า งมี นั ย ส� ำคั ญ ทางสถิ ติ ที่ ร ะดั บ  .01 โดยคู ่ ที่ มี ค วาม สัมพันธ์กันสูงที่สุดได้แก่ด้านการดูแลเอาใจใส่ ครูและนักเรียนอย่างทัว่ ถึงกับความสามารถใน การบูรณาการ รองลงมาได้แก่  ด้านการดูแล เอาใจใส่ครูและนักเรียนอย่างทั่วถึงกับความ สามารถในการปรับตัว และด้านการดูแลเอาใจ ใส่ครูและนักเรียนอย่างทัว่ ถึงกับความสามารถ ในการพัฒนาศักยภาพของตน ส่วนด้านที่มี ความสัมพันธ์กันต�่ำที่สุด คือ ด้านการสื่อสาร เป้าหมายของสถานศึกษากับความสามารถใน การผลิตนักเรียนทีม่ ผี ลสัมฤทธิท์ างการเรียนสูง อภิปรายผลการวิจัย 1. จากผลการวิจยั ทีพ่ บว่าภาวะผูน้ ำ� ทาง วิ ช าการของผู ้ บ ริ ห ารสถานศึ ก ษาในสั ง กั ด สังฆมณฑลราชบุรี  โดยภาพรวมอยู่ในระดับ มากที่สุด ที่เป็นเช่นนี้เพราะระบบการบริหาร

ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2020/2563 123


ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผูน้ �ำ ทางวิชาการของผูบ้ ริหารกับประสิทธิผลของสถานศึกษา ในสังกัดสังฆมณฑลราชบุรี

จัดการของฝ่ายการอบรมศึกษาสังฆมณฑล ราชบุ รี มี ค วามทั น สมั ย และมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ สามารถผลิตบุคลากรทางการศึกษาทีม่ คี ณ ุ ภาพ เพือ่ มาบริหารจัดการ รับผิดชอบ ตัดสินใจและ ด�ำเนินการบริหารงานต่างๆ โดยผูบ้ ริหารสถาน ศึกษาทุกคนจบการศึกษาในระดับปริญญาโท และปริญญาเอก มีประสบการณ์ในการท�ำงาน มาหลายปี  จึงมีความรู้  ประสบการณ์  เทคนิค วิธีการต่างๆ มีความสามารถในการใช้กลยุทธ์ โดยการน�ำความรู้  ทักษะต่างๆ มาใช้ในการ ส่งเสริมและสนับสนุน รวมทัง้ สร้างบรรยากาศ ทางวิ ช าการในสถานศึ ก ษา เพื่ อ พั ฒ นาการ เรียนรู้ให้กับผู้เรียนได้บรรลุผลส�ำเร็จตามเป้า หมายที่ได้ก�ำหนดไว้อย่างมีคุณภาพ ผู้บริหาร สถานศึกษาต้องพัฒนาตนเองให้เป็นผู้น�ำทาง วิชาการอยูเ่ สมอโดยการสือ่ สารเป้าหมายต่างๆ ได้อย่างชัดเจน มีการส่งเสริมการเปลี่ยนแปลง ต้องรู้จักวางแผนงานวิชาการ ส่งเสริมให้มีการ พัฒนาหลักสูตรอย่างต่อเนื่อง พัฒนาครูให้มี ความก้าวหน้าในวิชาชีพ ดูแลและส่งเสริมให้มี การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา ดูแลและส่ง เสริมการสอนของครูและการเรียนของนักเรียน อย่างทั่วถึง อีกทั้งเสริมสร้างขวัญและก�ำลังใจ ให้ ค วามเอาใจใส่   เสริ ม สร้ า งบรรยากาศใน สถานศึกษาให้เอื้อต่อการเรียนการสอน และ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อจะน�ำไปสู่การ จัดการศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ จากปัจจัย

124 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

ดังกล่าวข้างต้นจึงท�ำให้ภาวะผู้น�ำทางวิชาการ ของผู ้ บ ริ ห ารในโรงเรี ย นสั ง กั ด สั ง ฆมณฑล ราชบุ รี โ ดยภาพรวมอยู ่ ใ นระดั บ มากที่ สุ ด ซึ่ ง สอดคล้ อ งกั บ  บรรพต รู ้ เจนทร์   (2557, 224) ได้ศกึ ษาวิจยั  เรือ่ งภาวะผูน้ ำ� ทางวิชาการ ของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อสมรรถนะ ครู  ในสถานศึกษาสังกัดองค์การบริหารส่วน จังหวัดนครราชสีมา ผลการวิจยั พบว่าผูบ้ ริหาร สถานศึกษาในสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัด นครราชสีมา มีภาวะผูน้ ำ� ทางวิชาการโดยภาพ รวมอยูใ่ นระดับมาก เมือ่ พิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า อยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยด้านที่มาก ที่สุดคือ ด้านการก�ำหนดและสื่อสารวิสัยทัศน์ เป้ า หมายและพั น ธกิ จ การเรี ย นรู ้   และยั ง สอดคล้องกับ กัญญ์วรา เครื่องพาที  (2556, 82) ที่ได้ศึกษาวิจัยเรื่องภาวะผู้น�ำทางวิชาการ ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดส�ำนักงานเขต พื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 1 ผลการวิจัยพบว่าภาวะผู้น�ำทางวิชาการของ ผู ้ บ ริ ห ารโดยภาพรวมอยู ่ ใ นระดั บ มาก ซึ่ ง แนวทางการพัฒนาภาวะผู้น�ำทางวิชาการของ ผู้บริหารสถานศึกษา คือ ผู้บริหารให้ผู้มีส่วน ได้ เ สี ย มี ส ่ ว นร่ ว มในการก� ำ หนดวิ สั ย ทั ศ น์ เป้าหมาย พันธกิจของสถานศึกษาทีเ่ น้นผูเ้ รียน เป็นส�ำคัญและสือ่ สารให้ครู ผูป้ กครองรับทราบ โดยทั่วกันในรูปแบบที่เป็นทางการและไม่เป็น ทางการ ผู ้ บ ริ ห ารต้ อ งมี ค วามรู ้ ค วามเข้ า ใจ


อภิชญา พูลโภคผล และ ชวน ภารังกูล

หลักสูตรและก�ำกับ ติดตาม ตรวจสอบดูแล ให้มีการจัดท�ำหลักสูตรและการจัดการเรียน การสอนอย่างต่อเนื่อง  2. จากผลการวิจัยที่พบว่า ประสิทธิผล ของสถานศึ ก ษาในสั ง กั ด สั ง ฆมณฑลราชบุ รี โดยภาพรวมอยูใ่ นระดับมาก ทีเ่ ป็นเช่นนีเ้ พราะ ฝ่ายอบรมการศึกษาของสังฆมณฑลราชบุรี ได้ จั ด ท� ำ แผนพั ฒ นาการศึ ก ษา อยู ่ ใ นแผน สังฆมณฑลราชบุร ี 2016-2020 ซึง่ มีเป้าหมาย หลัก คือเพือ่ สร้างเยาวชนให้มที ศั นคติทถี่ กู ต้อง ต่ อ คุ ณ ค่ า และศั ก ดิ์ ศ รี ข องตนเองและผู ้ อื่ น มีวิจารณญาณ คิดวิเคราะห์ไตร่ตรองอย่าง รอบคอบและตั ด สิ น ใจเลื อ กในสิ่ ง ที่ ถู ก ต้ อ ง เหมาะสม มีสติในการด�ำเนินชีวติ  มีจติ ตารมณ์ แห่งการรับใช้สงั คม (สังฆมณฑลราชบุร,ี  2559, 21-22) ซึ่ ง สิ่ ง เหล่ า นี้ เ ป็ น หั ว ใจหลั ก ต่ อ การ พัฒนาคน เป็นการส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความรู้ มีคุณธรรม มีคุณภาพชีวิตที่ดีและอยู่ในสังคม ได้อย่างมีความสุข เช่นเดียวกับจุดมุง่ หมายของ การศึกษาของประเทศที่ต้องการให้ผู้เรียนเป็น คนเก่ง เป็นคนดี  มีศีลธรรม และด�ำรงชีวิต ได้อย่างมีความสุข โดยสถานศึกษาสามารถ ผลิตนักเรียนให้มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูง สามารถผสมผสานความพึงพอใจ บรรยากาศ และการติดต่อสื่อสารได้อย่างดี  และสามารถ พั ฒ นาศั ก ยภาพของตนสร้ า งชื่ อ เสี ย งให้ แ ก่ สถานศึกษาได้อย่างมีคุณภาพ ซึ่งสอดคล้อง

กับแผนพัฒนาการศึกษา ฉบับที่  12 (ส�ำนัก งานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ, 35) ที่ให้ความ ส� ำ คั ญ กั บ การปลู ก ฝั ง และส่ ง เสริ ม คุ ณ ธรรม จริยธรรม คุณลักษณะที่พึงประสงค์โดยวาง รากฐานไว้ในกลุ่มสาระการเรียนรู้  กิจกรรม พัฒนาผูเ้ รียน และการบริหารจัดการของสถาน ศึกษาทีม่ งุ่ หมายสร้างภูมคิ มุ้ กันและปรับเปลีย่ น พฤติ ก รรมนั ก เรี ย นให้ มี คุ ณ ลั ก ษณะที่ พึ ง ประสงค์ด้วย สิ่งเหล่านี้ท�ำให้สถานศึกษาเกิด ประสิทธิผลมากขึ้น ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัย ของทิพวรรณ พรมกอง (2558, 79) ได้ศึกษา วิจัย เรื่อง ประสิทธิผลของโรงเรียนคาทอลิก สั ง ฆมณฑลอุ บ ลราชธานี   ผลการวิ จั ย พบว่ า ประสิทธิผลของโรงเรียนคาทอลิก สังฆมณฑล อุบลราชธานีโดยรวมอยู่ในระดับมากทุกด้าน  3. จากผลการวิจัยที่พบว่า ภาวะผู้น�ำ ทางวิชาการของผู้บริหารโดยภาพรวมมีความ สัมพันธ์กบั ประสิทธิผลของสถานศึกษาในสังกัด สั ง ฆมณฑลราชบุ รี   โดยมี ค วามสั ม พั น ธ์ กั น ในทิศทางบวก อยู่ในระดับสูงมาก ทั้งนี้เพราะ ผู้บริหารส่วนใหญ่เป็นบาทหลวงและนักบวช มี คุ ณ ลั ก ษณะที่ ดี   มี ภ าวะผู ้ น� ำ ทางวิ ช าการ ที่ เ หมาะสม มี ก ารพั ฒ นาตนเองอยู ่ เ สมอ มีคุณธรรม จริยธรรม และมีความสามารถใน การจัดการกับความซับซ้อนของสิ่งแวดล้อม ที่เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลาของผู้เรียน ท�ำให้ การปฏิบัติงานในองค์การมีประสิทธิภาพ และ

ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2020/2563 125


ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผูน้ �ำ ทางวิชาการของผูบ้ ริหารกับประสิทธิผลของสถานศึกษา ในสังกัดสังฆมณฑลราชบุรี

เกิ ด ประสิ ท ธิ ผ ลมากขึ้ น  ซึ่ ง ภาวะผู ้ น� ำ ที่ ดี ถือเป็นเรื่องที่ส�ำคัญและจ�ำเป็นต่อบุคคลใน การด�ำรงชีวิตอยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างสร้างสรรค์ มีความสุข ประสบความส�ำเร็จ เป็นผู้มีคุณค่า ที่ท�ำประโยชน์แก่ผู้อื่น ซึ่งสอดคล้องกับงาน วิจัยของพิมพิชญา จงเกียรติกาญจน์  (2553, 108) ได้ศึกษาวิจัยเรื่องความสัมพันธ์ระหว่าง ภาวะผูน้ ำ� ทางวิชาการของผูบ้ ริหารสถานศึกษา กั บ ประสิ ท ธิ ผ ลของโรงเรี ย นเอกชนระดั บ ประถมศึกษา สังกัดส�ำนักงานเขตพื้นที่การ ศึกษาอุดรธานี  ผลการวิจยั พบว่าความสัมพันธ์ ระหว่างภาวะผู้น�ำทางวิชาการกับประสิทธิผล ของโรงเรี ย น มี ค วามสั ม พั น ธ์ กั น โดยตรง ในระดั บ สู ง มากอย่ า งมี นั ย ส� ำ คั ญ ทางสถิ ติ ที่ ระดับ .01 ซึ่งสอดคล้องกับอภิเดช พลเยี่ยม (2556, 91) ได้ศึกษาวิจัยเรื่องความสัมพันธ์ ระหว่างภาวะผู้น�ำทางวิชาการกับประสิทธิผล ของโรงเรียนของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัด ส� ำ นั ก งานเขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษาประถมศึ ก ษา ร้อยเอ็ด เขต 3 ผลการวิจัยพบว่า ระดับภาวะ ผู้น�ำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาโดย รวมอยู่ในระดับมาก ระดับประสิทธิผลของ โรงเรียนอยู่ในระดับมากที่สุด ค่าสัมประสิทธิ์ สหสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้น�ำทางวิชาการของ ผู ้ บ ริ ห ารสถานศึ ก ษากั บ ประสิ ท ธิ ผ ลของ โรงเรียนอยู่ในระดับสูง และเป็นทิศทางบวก ที่ระดับนัยส�ำคัญทางสถิติ  .01 เมื่อพิจารณา

126 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

ดูรายด้านพบว่า ด้านการดูแลเอาใจใส่ครูและ นักเรียนอย่างทั่วถึงอยู่ในระดับความสัมพันธ์ สูงสุด ทั้งนี้เพราะระบบการบริหารจัดการของ ฝ่ายการอบรมศึกษาสังฆมณฑลราชบุรีมีความ ทันสมัยและมีประสิทธิภาพ เอาใจใส่บุคลากร ทุกคนโดยสามารถผลิตบุคลากรทางการศึกษา ที่มีคุณภาพเพื่อมาบริหารจัดการ รับผิดชอบ ตัดสินใจ และด�ำเนินการบริหารงานต่างๆ ใน สถานศึกษาในสังกัดสังฆมณฑลราชบุรี  ตรง ตามวัตถุประสงค์ของสถานศึกษาคาทอลิกที่ ให้ช่วยกันพัฒนาเยาวชนให้มีทัศนคติท่ีถูกต้อง ต่ อ คุ ณ ค่ า และศั ก ดิ์ ศ รี ข องตนเองและผู ้ อื่ น มีวจิ ารณญาณ คิดวิเคราะห์และไตร่ตรองอย่าง รอบคอบโดยตัดสินใจเลือกในสิ่งที่ถูกต้องและ เหมาะสม (สั ง ฆมณฑลราชบุ รี ,  2559, 22) เสริมสร้างขวัญและก�ำลังใจ ให้ความเอาใจใส่ เสริมสร้างบรรยากาศในสถานศึกษาให้เอื้อต่อ การเรียนการสอน และการจัดกิจกรรมการ เรียนรู้เพื่อจะน�ำไปสู่การจัดการศึกษาได้อย่าง มีประสิทธิภาพ และสิง่ ทีส่ ำ� คัญทีส่ ดุ ในศตวรรษ ที่  21 นี้ก็คือผู้บริหารที่มีความเป็นผู้น�ำทาง วิชาการ สามารถเรียนรู้ที่จะจัดการกับความ ซับซ้อนของสิง่ แวดล้อมทีเ่ ปลีย่ นแปลงอยูต่ ลอด เวลาของผู้เรียน โดยให้ความส�ำคัญกับการ เรียนรูจ้ ากประสบการณ์ทงั้ ของครูและนักเรียน ด้วย จากปัจจัยดังกล่าวข้างต้นจึงท�ำให้ด้าน การดูแลเอาใจใส่ครูและนักเรียนมีความสัมพันธ์


อภิชญา พูลโภคผล และ ชวน ภารังกูล

สูงสุด ซึ่งสอดคล้องกับณัฐชนก ชัยศรี  (2555, 84) ศึกษาวิจยั เรือ่ งความสัมพันธ์ระหว่างภาวะ ผู้น�ำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษากับ ประสิทธิผลของโรงเรียน สังกัดส�ำนักงานเขต พื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 19 ผลการ วิจยั พบว่า ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผูน้ ำ� ทาง วิ ช าการของผู ้ บ ริ ห ารกั บ ประสิ ท ธิ ผ ลของ โรงเรียน สังกัดส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 19 เป็นไปตามสมมติฐาน โดยภาพรวม อยู่ในระดับสูง มีนัยส�ำคัญทาง สถิตทิ รี่ ะดับ .01 เมือ่ พิจารณาเป็นรายด้านพบ ว่า มีนยั ส�ำคัญทางสถิตทิ รี่ ะดับ .01 ทุกคู ่ ส่วน ด้านการสื่อสารเป้าหมายของโรงเรียนมีความ สัมพันธ์กันในระดับสูง ทั้งนี้เพราะการติดต่อ สื่ อ สารเป้ า หมายของสถานศึ ก ษาเป็ น หั ว ใจ ที่ส�ำคัญในการบริหารงานของผู้บริหาร เป็น ความสามารถที่จะถ่ายทอดความคิดเห็นและ ค�ำพูด ผู้บริหารจ�ำเป็นต้องพัฒนาเพื่อสร้าง มนุษยสัมพันธ์ที่ดีให้เกิดแรงจูงใจต่อครูและ นักเรียน ซึ่งสอดคล้องกับจริยาภรณ์  พรหมมิ (2559, 124) ได้ศึกษาวิจัย เรื่องปัจจัยภาวะ ผู ้ น� ำ ทางวิ ช าการของผู ้ บ ริ ห ารที่ ส ่ ง ผลต่ อ ประสิทธิผลของโรงเรียน สังกัดส�ำนักงานเขต พืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุร ี เขต 3 ผลการวิจัยพบว่า ภาวะผู้น�ำทางวิชาการของ ผูบ้ ริหารและประสิทธิผลของโรงเรียน ด้านการ สื่อสารเป้าหมายของโรงเรียน มีความสัมพันธ์

ทางบวกอยู ่ ใ นระดั บ สู ง กั บ ประสิ ท ธิ ผ ลของ โรงเรียน สังกัดส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึ ก ษาสุ พ รรณบุ รี   เขต 3 อย่ า งมี นัย ส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05  ข้อเสนอแนะ จากการศึ ก ษาความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า ง ภาวะผูน้ ำ� ทางวิชาการของผูบ้ ริหารกับประสิทธิผล ของสถานศึ ก ษาในสั ง กั ด สั ง ฆมณฑลราชบุ รี ผู้วิจัยมีข้อเสนอแนะเพื่อเป็นแนวทางในการ พัฒนาภาวะผูน้ ำ� ทางวิชาการของผูบ้ ริหารและ ประสิทธิผลของสถานศึกษาให้เกิดประสิทธิภาพ และประสิทธิผลในการบริหารสถานศึกษา ใน สถานศึ ก ษาในสั ง กั ดสั ง ฆมณฑลราชบุ รี ให้ ดี ยิ่งขึ้น และเป็นแนวทางในการศึกษาวิจัยครั้ง ต่อไป ดังนี้ ข้อเสนอแนะทั่วไป 1. ในเรื่องภาวะผู้น�ำทางวิชาการของ ผูบ้ ริหารสถานศึกษาในสังกัดสังฆมณฑลราชบุรี ผลการวิ จั ย พบว่ า ด้ า นการตรวจสอบความ ก้าวหน้าของนักเรียนมีค่าเฉลี่ยอยู่ในล�ำดับที่ น้อยที่สุด ดังนั้นผู้บริหารควรพบครูเป็นราย บุคคล เพื่อปรึกษาเกี่ยวกับความก้าวหน้าด้าน การเรี ย นของนั ก เรี ย น และควรใช้ ผ ลการ ทดสอบเพือ่ การประเมินความก้าวหน้าตามเป้า หมายด้านวิชาการของโรงเรียน (สุขฤทัย จันทร์ ทรงกรด, 2558, 88)

ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2020/2563 127


ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผูน้ �ำ ทางวิชาการของผูบ้ ริหารกับประสิทธิผลของสถานศึกษา ในสังกัดสังฆมณฑลราชบุรี

2. ในเรื่องประสิทธิผลของสถานศึกษา ในสังกัดสังฆมณฑลราชบุรี  ผลการวิจัยพบว่า ความสามารถในการผลิตนักเรียนทีม่ ผี ลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนสูงมีค่าเฉลี่ยอยู่ในล�ำดับที่น้อย ที่ สุ ด  ดั ง นั้ น ผู ้ บ ริ ห ารควรส่ ง เสริ ม ให้ ค รู แ ละ บุคลากรภายในสถานศึกษาเล็งเห็นถึงความ ส�ำคัญในการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักเรียน โดยการหาวิธกี ารจัดกิจกรรมการ เรียนการสอนที่หลากหลาย หรือจัดการอบรม เทคนิควิธีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน แบบใหม่ๆ (ศุภกร อินทร์คล้า, 2556, 75)  3. ในเรื่องความสัมพันธ์ระหว่างภาวะ ผู้น�ำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษากับ ประสิทธิผลของสถานศึกษาในสังกัดสังฆมณฑล ราชบุร ี ผลการวิจยั พบว่าภาวะผูน้ ำ� ทางวิชาการ ของผู้บริหารกับประสิทธิผลของสถานศึกษา ในสังกัดสังฆมณฑลราชบุรีมีความสัมพันธ์กัน สูงมาก ดังนั้นผู้บริหารต้องใช้ภาวะผู้น�ำทาง วิ ช าการของตนเองในรู ป แบบที่ เ หมาะสม เพื่ อ การบริ ห ารงานที่ ไ ด้ ป ระสิ ท ธิ ผ ลและมี ประสิทธิภาพต่อไป

128 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

ข้อเสนอแนะเพื่อการวิจัยครั้งต่อไป 1. ควรมีการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่าง ภาวะผูน้ ำ� ทางวิชาการของผูบ้ ริหารสถานศึกษา กับประสิทธิผลของสถานศึกษาในสังกัดอื่นๆ 2. ควรมีการศึกษาภาวะผูน้ ำ� ทางวิชาการ ของผูบ้ ริหารสถานศึกษาทีส่ ง่ ผลต่อกับประสิทธิผล ของสถานศึกษาในสังกัดอื่นๆ  3. ควรมีการศึกษาการใช้อ�ำนาจของ ผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อประสิทธิผล ของการท� ำ งานของครู ใ นสถานศึ ก ษาสั ง กั ด สังฆมณฑลราชบุรี


อภิชญา พูลโภคผล และ ชวน ภารังกูล

บรรณานุกรม กระทรวงศึกษาธิการ. (2560). แผนการศึกษาแห่งชาติ (พ.ศ.2560-2574). กรุงเทพฯ: ส�ำนักงาน เลขาธิการสภาการศึกษา. กัญญ์วรา เครือ่ งพาที. (2556). ภาวะผูน้ ำ� ทางวิชาการของผูบ้ ริหาร สังกัดส�ำนักงานเขตพืน้ ทีก่ าร  ศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 1. รายงานการศึกษาอิสระศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์  มหาวิทยาลัยขอนแก่น. จริยาภรณ์  พรหมมิ. (2559). ปัจจัยภาวะผู้น�ำทางวิชาการของผู้บริหารที่ส่งผลต่อประสิทธิผล  ของโรงเรี ย น สั ง กั ด ส� ำ นั ก งานเขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษาประถมศึ ก ษาสุ พ รรณบุ รี   เขต 3. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา. ณัฐชนก ชัยศรี. (2555). ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้น�ำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา  กับประสิทธิผลของโรงเรียน สังกัดส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 19. วิ ท ยานิ พ นธ์ ค รุ ศ าสตรมหาบั ณ ฑิ ต , สาขาวิ ช าการบริ ห ารการศึ ก ษา คณะครุ ศ าสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎเลย. ทิพวรรณ พรมกอง. (2558). ประสิทธิผลของโรงเรียนคาทอลิก สังฆมณฑลอุบลราชธานี. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาการบริหารการศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัย ราชภัฎอุบลราชธานี. บรรพต รู้เจนทร์. (2557). ภาวะผู้น�ำทางการเรียนการสอนของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อ  สมรรถนะครูในสถานศึกษาสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดนครราชสีมา. วิทยานิพนธ์ การศึกษามหาบัณฑิต, สาขาวิชาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์  มหาวิทยาลัย ขอนแก่น. ฝ่ายอบรมศึกษาสังฆมณฑลราชบุรี. (2555). แผนแม่บท (Master Plan) พ.ศ.2555-2570.  ราชบุรี: ศูนย์วิชาการสังฆมณฑลราชบุรี. พิมพิชญา จงเกียรติกาญจน์. (2553). ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผูน้ ำ� ทางวิชาการของผูบ้ ริหาร  กับประสิทธิผลของโรงเรียนเอกชนระดับประถมศึกษา สังกัดส�ำนักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษา  อุดรธานี. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการบริหารการศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎอุดรธานี.

ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2020/2563 129


ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผูน้ �ำ ทางวิชาการของผูบ้ ริหารกับประสิทธิผลของสถานศึกษา ในสังกัดสังฆมณฑลราชบุรี

พิสิษฐ์  แม้นเขียน. (2545). พฤติกรรมความเป็นผู้น�ำทางวิชาการของผู้บริหารที่ส่งผลต่อการ  ปฏิบัติงานตามเกณฑ์มาตรฐานด้านการเรียนการสอนของครูในโรงเรียนประถมศึกษา  สังกัดส�ำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดเพชรบุร.ี  วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต, สาขา วิชาการบริหารการศึกษา คณะครุศาสตร์  สถาบันราชภัฎเพชรบุรี. ภัทรา พึง่ ไพฑูรย์. (2555). ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผูน้ ำ� ทางวิชาการของผูบ้ ริหารสถานศึกษา  กับประสิทธิผลของโรงเรียน สังกัดส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปราจีนบุรี  เขต 1. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการบริหารการศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎราชนครินทร์. วุฒชิ ยั  อ่องนาวา. (2561). การเสริมสร้างและพัฒนางานวิชาการในยุคไทยแลนด์ 4.0 และการ  ขับเคลื่อนกฤษฎีกา “ศิษย์พระคริสต์  เจริญชีวิตประกาศข่าวดีใหม่”. สารสังฆมณฑล ราชบุรี. 36, 66-69.  _______. (2561, พฤษภาคม 21). ผู้อ�ำนวยการ. ศูนย์วิชาการสังฆมณฑลราชบุรี. สัมภาษณ์. ศุภกร อินทร์คล้า. (2556). ทักษะภาวะผู้น�ำของผู้บริหารกับประสิทธิผลของสถานศึกษาสังกัด  เทศบาลกลุม่ การศึกษาท้องถิน่ ที ่ 1. วิทยานิพนธ์ศกึ ษาศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาบริหาร การศึกษา คณะศึกษาศาสตร์  มหาวิทยาลัยศิลปากร. สมเกียรติ  พละจิตต์. (2555). ภาวะผู้น�ำทางวิชาการในสถานศึกษาดีเด่น: การศึกษาเพื่อสร้าง  ทฤษฎีฐานราก. วิทยานิพนธ์ดุษฎีบัณฑิต, สาขาภาวะผู้น�ำทางการบริหารการศึกษา คณะ ครุศาสตร์  มหาวิทยาลัยราชภัฎสกลนคร. สมถวิล ศิลปคนธรรพ์. (2556). ภาวะผู้น�ำทางวิชาการของผู้บริหารที่ส่งผลต่อการเป็นองค์การ  แห่งการเรียนรูใ้ นสถานศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน สังกัดส�ำนักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษา  สมุทรสาคร. วิทยานิพนธ์ศกึ ษาศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาบริหารการศึกษา คณะศึกษา ศาสตร์  มหาวิทยาลัยศิลปากร. สังฆมณฑลราชบุร.ี  (2559). แผนปฏิบตั งิ านอภิบาลและประกาศข่าวดี คริสตศักราช 2016-2020.  ราชบุรี: ธรรมรักษ์การพิมพ์. ส�ำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ. (2559). แผนพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ  ฉบับที่ 12 พ.ศ.2560-2564. กรุงเทพฯ: ส�ำนักนโยบายและยุทธศาสตร์.

130 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม


อภิชญา พูลโภคผล และ ชวน ภารังกูล

ส�ำนักงานเลขาธิการสภานิติบัญญัติแห่งชาติ. (2560). รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย  พุทธศักราช 2560. กรุงเทพฯ: ส�ำนักการพิมพ์  ส�ำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา. สุขฤทัย จันทร์ทรงกรด. (2558). ภาวะผู้น�ำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาในจังหวัด  จันทบุรี สังกัดส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 17. วิทยานิพนธ์การศึกษา มหาบัณฑิต, สาขาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์  มหาวิทยาลัยบูรพา. อภิเดช พลเยี่ยม. (2556). ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้น�ำทางวิชาการกับประสิทธิผลของ  โรงเรียน ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา  ร้อยเอ็ด เขต 3. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการบริหารการ ศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น. Coimbra, M.D.N.C.T & Alves, C.D.D. (2013). Supervision and Evaluation: Teachers’  Perspectives. International Journal of Humanities and Social Science. 65-71. Hallinger, P & Murphy, J. (1985). Assessing the instructional management behaviors of principals. The Elementary School Journal, 86, (2), 217-247. Hallinger, P. & Wang, W.C. (2015). Assessing Instructional Leadership with the  Principal Instructional Management Rating Scale. Switzerland: Springer  International. Hoy, W. K., & Miskel, C. G. (1991). Educational administration: Theory, research,  and practice (4th ed). New York: McGraw-Hill. Krejcie, R. V. & Morgan, D. W. (1970). Determining Sample Size for Research  Activities. Educational and Psychological Measurement, 30(3). Locke, E. and Latham, G. (2002). Building a practically useful theory of goal  setting and task motivation: A 35-year odyssey. American Psychologist,  57(9), 705-717.  Wesson, C. J. & Derrer-Rendall, N. M. (2011). Self-beliefs and student goal  achievement. The British Psychological Society: Psychsource.

ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2020/2563 131


คุณภาพชีวิตการทำ�งานและวัฒนธรรมโรงเรียน ที่ส่งผลต่อความผูกพันต่อโรงเรียนของครู และบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนคาทอลิก สังกัดสังฆมณฑลจันทบุรี

The Effect of Quality of Work Life and School Culture on The Commitment of Teachers and Educational Personnel in Catholic Schools Under The Education Section of Chanthaburi Diocese.

บาทหลวงพูนพงษ์ คูนา

* บาทหลวงในคริสต์ศาสนจักรโรมันคาทอลิก สังกัดสังฆมณฑลจันทบุรี * ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏร�ำไพพรรณี ดร.ธีรังกูร วรบ�ำรุงกุล  * อาจารย์ประจ�ำคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏร�ำไพพรรณี

รศ.วรญา ภูเสตวงษ์

* อาจารย์พิเศษคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏร�ำไพพรรณี

Rev.Poonpong Kuna

* Reverend in Roman Catholic Church, Chanthaburi Diocese. * Master of Educational Administration, Rambhai Barni Rajabhat University.

Dr.Theerangkoon Warabamrungkul

* Lecturer, Faculty of Education, Rambhai Barni Rajabhat University.

Assoc.Prof. Voraya Phusatwong

* Lecturer, Faculty of Education, Rambhai Barni Rajabhat University.

ข้อมูลบทความ

* รับบทความ  18 พฤศจิกายน 2560 * แจ้งแก้ไข    1 มกราคม 2561 * ตอบรับบทความ    6 มกราคม 2561


พูนพงษ์ คูนา, ธีรังกูร วรบ�ำรุงกุล และ วรญา ภูเสตวงษ์

บทคัดย่อ

การวิจยั ครัง้ นีม้ วี ตั ถุประสงค์เพือ่  1) ศึกษาระดับคุณภาพชีวติ การ ท�ำงาน ระดับวัฒนธรรมโรงเรียน และระดับความผูกพันต่อโรงเรียนของ ครูและบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนคาทอลิกสังกัดสังฆมณฑลจันทบุรี 2) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างคุณภาพชีวิตการท�ำงานกับความผูกพัน ต่อโรงเรียนของครูและบุคลากรทางการศึกษา และความสัมพันธ์ระหว่าง วัฒนธรรมโรงเรียนกับความผูกพันต่อโรงเรียนของครูและบุคลากร โรงเรียนคาทอลิกสังกัดสังฆมณฑลจันทบุรี  3) ศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อ ความผูกพันต่อโรงเรียนของครูและบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียน คาทอลิกสังกัดสังฆมณฑลจันทบุรี  กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ ครูและบุคลากรทางการศึกษาในโรงเรียนคาทอลิกสังกัดสังฆมณฑล จันทบุรี  ปีการศึกษา 2560 จ�ำนวน 309 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เป็นแบบสอบถาม มาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ จ�ำนวน 113 ข้อ มีค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) 0.66-1.00 มีค่าอ�ำนาจจ�ำแนกรายข้อ 0.21 - 0.81 และมีค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถามทั้งฉบับเท่ากับ 0.97 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่  ค่าเฉลี่ย (x̅) ค่าเบี่ยงเบน มาตรฐาน (S.D.) ค่าสัมประสิทธิส์ หสัมพันธ์แบบเพียร์สนั  (rxy) และการ วิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ ผลการวิจัยพบว่า 1) ความคิดเห็นเกี่ยวกับคุณภาพชีวิตการ ท�ำงาน ความคิดเห็นเกีย่ วกับวัฒนธรรมโรงเรียน และความคิดเห็นเกีย่ ว กับความผูกพันต่อโรงเรียนของครูและบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียน คาทอลิกสังกัดสังฆมณฑลจันทบุร ี โดยรวมอยูใ่ นระดับมากทีส่ ดุ ทุกด้าน 2) ความสัมพันธ์ระหว่างคุณภาพชีวิตการท�ำงานกับความผูกพันต่อ โรงเรียนของครูและบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนคาทอลิกสังกัด สังฆมณฑลจันทบุรมี คี วามสัมพันธ์กนั ทางบวก ในระดับค่อนข้างสูงอย่าง มีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และ ความสัมพันธ์ระหว่างวัฒนธรรม โรงเรียนกับความผูกพันต่อโรงเรียนของครูและบุคลากรทางการศึกษา โรงเรียนคาทอลิกสังกัดสังฆมณฑลจันทบุรีมีความสัมพันธ์กันทางบวก

ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2020/2563 133


คุณภาพชีวติ การทำ�งานและวัฒนธรรมโรงเรียนทีส่ ง่ ผลต่อความผูกพันต่อโรงเรียน ของครูและบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนคาทอลิกสังกัดสังฆมณฑลจันทบุรี

ในระดับสูง อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 3) สมการพยากรณ์ ปัจจัยที่ส่งผลต่อความผูกพันต่อโรงเรียนของครูและบุคลากรทางการ ศึกษาโรงเรียนคาทอลิกสังกัดสังฆมณฑลจันทบุรี  เรียงตามล�ำดับความ ส�ำคัญ ประกอบด้วย ด้านความรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งของหมู่คณะ (XS 4) ความเอื้ออาทร (XS8) ความซื่อสัตย์สุจริต (XS9) และความมั่นคงใน การท�ำงานและความก้าวหน้าในวิชาชีพ (XQ3) โดยมีค่าสัมประสิทธิ์ สหสัมพันธ์พหุคูณเท่ากับ 0.84 สามารถร่วมกันพยากรณ์ความผูกพัน ต่อโรงเรียนของครูและบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนคาทอลิกสังกัด สังฆมณฑลจันทบุร ี ได้รอ้ ยละ 71 อย่างมีนยั ส�ำคัญทางสถิตทิ รี่ ะดับ .01 และสามารถสร้างสมการในการพยากรณ์  หรือสมการถดถอยได้ดังนี้  สมการพยากรณ์ในรูปคะแนนดิบ Ŷ= 0.37+0.35XS4+0.22XS8+ 0.24XS9+0.10XQ3 และสมการพยากรณ์ในรูปคะแนนมาตรฐาน Ζ= 0.36XS4+0.25XS8+0.24XS9+0.12XQ3 ค�ำส�ำคัญ:

134 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

1) คุณภาพชีวิตการท�ำงาน 2) วัฒนธรรมโรงเรียน 3) ความผูกพันต่อโรงเรียน 4) โรงเรียนคาทอลิกสังกัดสังฆมณฑลจันทบุรี


พูนพงษ์ คูนา, ธีรังกูร วรบ�ำรุงกุล และ วรญา ภูเสตวงษ์

Abstract

The purposes of this research were to study 1) the quality of work life, school culture and the commitment of teachers and educational personnel in catholic schools under the education section of Chanthaburi diocese, 2) the relation between quality of work life with the commitment of teachers and educational personnel and the relation between school culture with the commitment of teachers and educational personnel in catholic schools under the education section of Chanthaburi diocese, and 3) the regression equation of quality of work life and school culture affecting the commitment of teachers and educational personnel in catholic schools under the education section of Chanthaburi diocese. The samples consisted of 309 teachers and educational personnel in catholic schools under the education section of Chanthaburi diocese in academic year of 2017. The research instrument was a five – rating scale questionnaire containing 113 items with IOC validity level of 0.66-1.00, the discrimination level of 0.21-0.81. The questionnaire itself showed the reliability level of 0.97. The descriptive statistics were percentage, mean (x̅), standard deviation (S.D.), the Pearson Product Moment Correlation (rxy), and Multiple Regression Analysis The results of the study were as follows: 1) the quality of work life, School culture and the commitment of teachers and educational personnel in catholic schools under the education section of Chanthaburi diocese were at highest levels. 2) The relation between quality of work life and school culture with the commitment of teachers ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2020/2563 135


คุณภาพชีวติ การทำ�งานและวัฒนธรรมโรงเรียนทีส่ ง่ ผลต่อความผูกพันต่อโรงเรียน ของครูและบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนคาทอลิกสังกัดสังฆมณฑลจันทบุรี

and educational personnel were positively and relatively correlated, showing the statistical significance at the .01 level and the relation between school culture with the commitment of teachers and educational personnel in catholic schools under the education section of Chanthaburi diocese were positively and relatively correlated, showing the statistical significance at the .01 level. 3) The regression equation of the quality of work life and school culture affecting the commitment of teachers and educational personnel in catholic schools under the education section of Chanthaburi diocese showed the aspects of acceptance of sense of community (XS4), caring (XS8), integrity (XS9) and the security and professional growth (XQ3) with the multiple correlation co-efficient level of 0.84, The result could show the 71 percent of the prediction power towards the commitment of teachers and educational personnel in catholic schools under the education section of Chanthaburi diocese. There was statistically significant relation at .01 level and the result could create prediction equation of regression equation as follows: raw score prediction equation result of Ŷ= 0.37+0.35XS4+0.22XS8+0.24XS9+0.10XQ3 and standard scores prediction equation result of Ζ=0.36XS4+ 0.25XS8+0.24XS9+0.12XQ3 Keywords: 1) The Quality of Work Life 2) School Culture 3) The Commitment of Teachers and Educational Personnel 4) Catholic Schools under The Education Section of Chanthaburi Diocese 136 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม


พูนพงษ์ คูนา, ธีรังกูร วรบ�ำรุงกุล และ วรญา ภูเสตวงษ์

ความเป็นมา ปัจจุบันองค์การต่างๆ ทั้งในประเทศ และต่างประเทศต่างหันมาสนใจเรือ่ งการสร้าง ความผูกพันในการท�ำงานให้เกิดขึน้ กับบุคลากร ของตนเอง เพราะงานวิจัยที่มีอยู่ในปัจจุบัน ยื น ยั น ว่ า  องค์ ก ารที่ พ นั ก งานมี ค วามผู ก พั น จะท�ำให้องค์การประสบความส�ำเร็จ (สุพจน์ นาคสวัสดิ์. 2559: 13) และทุกองค์การต่าง ต้องการได้บุคลากรที่มีความรู้ความสามารถมี ประสบการณ์และทัศนคติที่ดีในงาน เพื่อที่จะ สามารถปฏิบตั งิ านทีม่ คี ณ ุ ภาพและทุม่ เทให้กบั องค์การอย่างเต็มที่  (ณัฎฐพันธ์  เขจรนันทน์. 2551: 108) มีการสรรหาคนเก่งเข้ามาร่วมงาน พยายามพั ฒ นาบุ ค ลากรให้ มี ค วามรู ้ ค วาม สามารถอย่างต่อเนือ่ ง หาวิธสี ร้างกลไกจูงใจให้ บุคลากรมีความผูกพันกับองค์การ ซึง่ ไม่ได้เกิด ขึ้นทันทีทันใดต้องใช้ระยะเวลาหนึ่งจึงจะเกิด ความผูกพันขึ้นมา “ความรัก ความผูกพัน” ของคนเราเป็น ปัจจัยหลักที่จะน�ำไปสู่ความส�ำเร็จ บุคลากร ที่มีความรักความผูกพันต่อองค์การที่ท�ำงาน ด้วยจะมีจิตใจมุ่งมั่นที่จะท�ำแต่เรื่องดีๆ ให้กับ องค์การของตน (สุพจน์  นาคสวัสดิ์. 2559: 4) กระบวนการค้นหาข้อมูลเพือ่ น�ำมาจัดการสร้าง และพั ฒ นาระบบทรั พ ยากรบุ ค คลภายใน องค์การ โดยมีเป้าหมายเพือ่ ให้บคุ ลากรมีความ พึงพอใจ มีความสุขในการปฏิบัติงานเป็นเรื่อง

ที่ จ� ำ เป็ น  เช่ น  มี ก ารวางระบบจู ง ใจด้ ว ยค่ า ตอบแทนและสวัสดิการที่อยู่ในระดับที่เหมาะ สม บุคลากรสามารถฝากอนาคตในงานอาชีพ ได้  เป็นต้น ถ้าองค์การมีแนวทางการบริหาร ความผูกพันไม่เหมาะสมองค์การจะสูญเสีย บุคลากรทีม่ คี วามสามารถ (รุง่ โรจน์ อรรถานิทธิ.์ 2554: 22,149) บุคลากรทุกคนต้องการพัฒนาตนเอง เพื่ อ ความเป็ น มนุ ษ ย์ ที่ ส มบู ร ณ์   (ณั ฎ ฐพั น ธ์ เขจรนันทน์. 2551: 108) มีคุณภาพชีวิตที่ดี มีความสุข และมีความพึงพอใจ ทัง้ มิตดิ า้ นการ ท�ำงาน มิติด้านสังคม มิติด้านส่วนตัว และ มิติด้านเศรษฐกิจ (ส�ำนักงานคณะกรรมการ ข้ า ราชการพลเรื อ น. 2550: 27) จึ ง เป็ น ประเด็นส�ำคัญทีอ่ งค์การควรจัดระบบการดูแล คุณภาพชีวติ การท�ำงานของบุคลากร หากคาด หวังให้บุคลากรรู้สึกผูกพันกับองค์การ วัฒนธรรมองค์การเป็นเรือ่ งหนึง่ ทีค่ นรุน่ ใหม่ในปัจจุบันใช้เป็นตัวตัดสินใจที่จะเข้าร่วม ท�ำงานหรือออกจากองค์การไป การสร้างระบบ จูงใจด้วยค่าตอบแทนอาจไม่เพียงพอ จ�ำเป็น ต้องสร้างความสัมพันธ์ระหว่างผู้บังคับบัญชา และบุคลากร บรรยากาศในการท�ำงาน เป็นต้น (ประเวศน์ มหารัตน์สกุล. 2558: 32) วัฒนธรรม องค์การมีความส�ำคัญ เพราะวัฒนธรรมที่เข้ม แข็งจะมีผลต่อการควบคุมพฤติกรรมได้มาก และท�ำให้สมาชิกขององค์การมีแรงยึดเหนี่ยว

ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2020/2563 137


คุณภาพชีวติ การทำ�งานและวัฒนธรรมโรงเรียนทีส่ ง่ ผลต่อความผูกพันต่อโรงเรียน ของครูและบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนคาทอลิกสังกัดสังฆมณฑลจันทบุรี

กันสูง มีความจงรักภักดีและผูกพันต่อองค์การ มาก (จอมพงศ์  มงคลวนิช. 2556: 239) และ จากการศึกษาของ นิติพล ภูตะโชติ  (2559: 134) ที่ ผ ่ า นมาพบว่ า วั ฒ นธรรมองค์ ก ารมี อิ ท ธิ พ ลต่ อ การปฏิ บั ติ ง านของบุ ค ลากรใน องค์การด้วย ดังนัน้  องค์การต่างๆ จึงพยายาม สร้างและแสวงหาวัฒนธรรมทีม่ คี วามเหมาะสม กับองค์การของตน ทั้งนี้เพื่อประสิทธิภาพใน การท�ำงานขององค์การให้เกิดประโยชน์สูงสุด สภาการศึกษาคาทอลิกแห่งประเทศไทย (2556: 221) การบริหารโรงเรียนต้องสอด คล้องกับสภาวการณ์ของโลกในยุคปัจจุบัน ทั้งด้านการเมือง เศรษฐกิจ วัฒนธรรม และ สั ง คมโดยองค์ ร วม โรงเรี ย นคาทอลิ ก สั ง กั ด สังฆมณฑลจันทบุรี  มีการด�ำเนินงานด้านการ จัดการศึกษา ซึ่งกิจกรรมการด�ำเนินงานจะ บรรลุตามเป้าประสงค์ที่ได้วางไว้ได้บุคลากร จ� ำ เป็ น ต้ อ งได้ พั ฒ นาเรื่ อ งคุ ณ ภาพชี วิ ต การ ท� ำ งานด้ า นคุ ณ ลั ก ษณะตามอั ต ลั ก ษณ์ ก าร ศึกษาคาทอลิก รวมทั้งเสริมสร้างด้วยวิธีการ ต่างๆ เพือ่ ให้บคุ ลากรมีคณ ุ ภาพชีวติ การท�ำงาน ที่ ดี   มี ค วามศรั ท ธา ยอมรั บ เป้ า หมายและ คุณค่าของโรงเรียน เต็มใจที่จะใช้พลังเต็มที่ ในการปฏิบัติงานให้กับโรงเรียน และมีความ ปรารถนาอย่ า งแรงกล้ า ที่ จ ะคงความเป็ น สมาชิ ก ของโรงเรี ย น (Porter and et al. 1974: 603-609)

138 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

จากเหตุผลที่ได้กล่าวมาทั้งหมด ท�ำให้ ผู้วิจัยที่ท�ำหน้าที่เป็นผู้บริหารสถานศึกษาใน โรงเรี ย นคาทอลิ ก สั ง กั ด สั ง ฆมณฑลจั น ทบุ รี มีความสนใจศึกษาคุณภาพชีวติ การท�ำงานและ วัฒนธรรมโรงเรียนที่ส่งผลต่อความผูกพันต่อ โรงเรียนของครูและบุคลากรทางการศึกษา โรงเรี ย นคาทอลิ ก สั ง กั ด สั ง ฆมณฑลจั น ทบุ รี เพื่อน�ำข้อมูลที่ได้จากการศึกษาวิจัยไปใช้เป็น แนวทางในการด� ำ เนิ น การบริ ห ารจั ด การ โรงเรียนของผู้บริหารและผู้ที่เกี่ยวข้อง เพื่อ ให้ เ กิ ด ความส� ำ เร็ จ ในการด� ำ เนิ น งานของ โรงเรียนอย่างยั่งยืน รวมทั้งอาจเป็นประโยชน์ ต่อหน่วยงานอื่นๆ ที่จะน�ำข้อมูลนี้ไปปรับใช้ บริหารจัดการให้เหมาะสมกับบริบทของหน่วย งานของตนเอง วัตถุประสงค์ของการวิจัย การวิจยั ในครัง้ นีม้ วี ตั ถุประสงค์ดงั ต่อไปนี้ 1. เพื่ อ ศึ ก ษาระดั บ คุ ณ ภาพชี วิ ต การ ท�ำงาน ระดับวัฒนธรรมโรงเรียน และระดับ ความผูกพันต่อโรงเรียนของครูและบุคลากร ทางการศึกษาโรงเรียนคาทอลิกสังกัดสังฆมณฑล จันทบุรี 2. เพื่ อ ศึ ก ษาความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า ง คุ ณ ภาพชี วิ ต การท� ำ งานกั บ ความผู ก พั น ต่ อ โรงเรียนของครูและบุคลากรทางการศึกษา และความสัมพันธ์ระหว่างวัฒนธรรมโรงเรียน


พูนพงษ์ คูนา, ธีรังกูร วรบ�ำรุงกุล และ วรญา ภูเสตวงษ์

กับความผูกพันต่อโรงเรียนของครูและบุคลากร โรงเรียนคาทอลิกสังกัดสังฆมณฑลจันทบุรี 3. เพื่ อ ศึ ก ษาปั จ จั ย ที่ ส ่ ง ผลต่ อ ความ ผูกพันต่อโรงเรียนของครูและบุคลากรทางการ ศึ ก ษาโรงเรี ย นคาทอลิ ก สั ง กั ด สั ง ฆมณฑล จันทบุรี สมมติฐานของการวิจัย 1. คุณภาพชีวติ การท�ำงานและวัฒนธรรม โรงเรี ย น มี ค วามสั ม พั น ธ์ ท างบวกต่ อ ความ ผู ก พั น ของครู แ ละบุ ค ลากรทางการศึ ก ษา โรงเรียนคาทอลิกสังกัดสังฆมณฑลจันทบุรี 2. คุณภาพชีวติ การท�ำงานและวัฒนธรรม โรงเรี ย นส่ ง ผลต่ อ ความผู ก พั น ของครู แ ละ บุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนคาทอลิกสังกัด สังฆมณฑลจันทบุรี ประโยชน์ที่ได้รับ 1. เพื่อเป็นข้อมูลในการบริหารจัดการ ทรั พ ยากรครู แ ละบุ ค ลากรทางการศึ ก ษา โรงเรี ย นคาทอลิ ก สั ง กั ด สั ง ฆมณฑลจั น ทบุ รี และเพื่อให้ผู้ที่เกี่ยวข้องได้ทราบถึงคุณภาพ ชีวติ การท�ำงาน วัฒนธรรมโรงเรียน และความ ผูกพันต่อโรงเรียนของครูและบุคลากรทางการ ศึ ก ษา รวมถึ งปัจจัยที่ส่งผลต่อความผูก พัน ต่อโรงเรียนของครูและบุคลากรทางการศึกษา สามารถน�ำไปใช้ในการพัฒนาและปรับปรุงครู

และบุคลากรทางการศึกษา เพือ่ ท�ำให้การบริหาร จัดการโรงเรียนท�ำได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2. เพื่อเป็นข้อมูลในการพัฒนาครูและ บุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนคาทอลิกสังกัด สังฆมณลจันทบุร ี ให้มคี วามรักและความผูกพัน ต่อโรงเรียนมากขึ้น 3. เพื่อเป็นประโยชน์และแนวทางใน การศึกษาคุณภาพชีวติ การท�ำงานกับวัฒนธรรม โรงเรียนทีส่ ง่ ผลต่อความผูกพันต่อโรงเรียนของ ครูและบุคลากรทางการศึกษา และสามารถน�ำ ไปปรับใช้ในการบริหารจัดการบุคลากรของ องค์การอื่นๆ ได้ ขอบเขตของการวิจัย ประชากรและกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการ วิจัย 1. ประชากรที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่  ครู และบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนคาทอลิก สังกัดสังฆมณฑลจันทบุรี  ปีการศึกษา 2560 จ�ำนวน 16 โรงเรียน รวมจ�ำนวนครูทั้งหมด 1,350 คน 2. กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ครู แ ละบุ ค ลากรทางการศึ ก ษาโรงเรี ย น คาทอลิกสังกัดสังฆมณฑลจันทบุร ี ปีการศึกษา 2560  ก� ำ หนดกลุ ่ ม ตั ว อย่ า งโดยใช้ โ ดย การค�ำนวณขนาดของกลุ่มตัวอย่างตามสูตร การค� ำ นวณหาขนาดตั ว อย่ า งของ ยามาเน่

ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2020/2563 139


คุณภาพชีวติ การทำ�งานและวัฒนธรรมโรงเรียนทีส่ ง่ ผลต่อความผูกพันต่อโรงเรียน ของครูและบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนคาทอลิกสังกัดสังฆมณฑลจันทบุรี

(Yamane. 1973: 580-581) ที่ระดับความ เชือ่ มัน่ ร้อยละ 95 ได้กลุม่ ตัวอย่างจ�ำนวน 309 คน และใช้วิธีการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเป็น ชั้นภูมิ  (Stratified Sampling) โดยใช้ระดับ ชั้นการสอนของครู  ต�ำแหน่งและหน้าที่ของ บุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนคาทอลิกสังกัด สังฆมณฑลจันทบุรี  เป็นเกณฑ์จ�ำแนกชั้นภูมิ ตัวแปรที่ศึกษา ตัวแปรที่ศึกษาการวิจัยครั้งนี้  ประกอบ ด้วย 1. คุณภาพชีวิตการท�ำงาน 7 ด้าน คือ 1.1 ค่ า ตอบแทนที่ เ หมาะสมและ ยุติธรรม 1.2 สภาพแวดล้ อ มการท� ำ งานที่ ปลอดภัยและส่งเสริมสุขภาพ  1.3 ความมั่ น คงในการท� ำ งานและ ความก้าวหน้าในวิชาชีพ  1.4 การพั ฒ นาทั ก ษะความรู ้ แ ละ ความสามารถของบุคคล 1.5 การท�ำงานร่วมกันและมีมนุษย สัมพันธ์ในการท�ำงาน 1.6 ความสมดุ ล ระหว่ า งชี วิ ต การ ท�ำงานกับชีวิตส่วนตัว 1.7 คุณลักษณะตามอัตลักษณ์การ ศึกษาคาทอลิก

140 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

2. วัฒนธรรมโรงเรียน 10 ด้าน คือ 2.1 ความมุ่งประสงค์ของโรงเรียน 2.2 การมอบอ�ำนาจ 2.3 การตัดสินใจ 2.4 ความรูส้ กึ เป็นส่วนหนึง่ ของหมูค่ ณะ 2.5 ความไว้วางใจ 2.6 ความมีคุณภาพ 2.7 การยอมรับ 2.8 ความเอื้ออาทร 2.9 ความซื่อสัตย์สุจริต 2.10 ความหลากหลายของบุคลากร 3. ความผูกพันต่อองค์การแบ่งออกเป็น 3 ด้าน คือ 3.1 เชื่ อ ถื อ ยอมรั บ เป้ า หมายและ คุณค่าของโรงเรียน 3.2 ความเต็มใจในการปฏิบตั งิ านเพือ่ ท�ำประโยชน์ของโรงเรียน 3.3 ความต้องการทีจ่ ะรักษาความเป็น สมาชิกของโรงเรียน กรอบแนวคิดในการวิจัย การวิ จั ย ครั้ ง นี้   เป็ น วิ จั ย เกี่ ย วกั บ การ ศึกษาคุณภาพชีวิตการท�ำงานและวัฒนธรรม โรงเรียนที่ส่งผลต่อความผูกพันต่อโรงเรียน ของครูและบุคลาการทางการศึกษาโรงเรียน คาทอลิกสังกัดสังฆมณฑลจันทบุร ี โดยก�ำหนด กรอบแนวคิดในการวิจัย ดังภาพประกอบ 1


พูนพงษ์ คูนา, ธีรังกูร วรบ�ำรุงกุล และ วรญา ภูเสตวงษ์

ตัวแปรพยากรณ์ คุณภาพชีวิตการท�ำงาน 1. ค่าตอบแทนที่เหมาะสมและยุติธรรม 2. สภาพแวดล้อมการท�ำงานที่ปลอดภัยและ    ส่งเสริมสุขภาพ 3. ความมัน่ คงในการท�ำงานและความก้าวหน้า    ในวิชาชีพ 4. การพัฒนาทักษะความรู้และความสามารถ    ของบุคคล 5. การท�ำงานร่วมกันและมีมนุษยสัมพันธ์ใน    การท�ำงาน 6. ความสมดุลระหว่างชีวิตการท�ำงานกับชีวิต    ส่วนตัว 7. คุ ณ ลั ก ษณะตามอั ต ลั ก ษณ์ ก ารศึ ก ษา    คาทอลิก วัฒนธรรมโรงเรียน 1. ความมุ่งประสงค์ของโรงเรียน 2. การมอบอ�ำนาจ 3. การตัดสินใจ 4. ความรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งของหมู่คณะ 5. ความไว้วางใจ 6. ความมีคุณภาพ 7. การยอมรับ 8. ความเอื้ออาทร 9. ความซื่อสัตย์สุจริต 10. ความหลากหลายของบุคลากร

ตัวแปรเกณฑ์

ความผูกพันต่อโรงเรียน 1. ความเชื่อถือยอมรับเป้าหมายและคุณค่า    ของโรงเรียน 2. ความเต็ ม ใจในการปฏิ บั ติ ง านเพื่ อ ท� ำ    ประโยชน์ของโรงเรียน 3. ความต้องการที่จะรักษาความเป็นสมาชิก    ของโรงเรียน

ภาพประกอบ 1 กรอบแนวคิดในการวิจยั ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2020/2563 141


คุณภาพชีวติ การทำ�งานและวัฒนธรรมโรงเรียนทีส่ ง่ ผลต่อความผูกพันต่อโรงเรียน ของครูและบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนคาทอลิกสังกัดสังฆมณฑลจันทบุรี

เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ในครั้งนี้  เป็นแบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น เสนอผูท้ รงคุณวุฒจิ ำ� นวน 3 ท่านเพือ่ ขอความ อนุ เ คราะห์ ใ นการตรวจสอบความตรงเชิ ง เนื้อหา (Content Validity) โดยมีค่าความ เชือ่ มัน่ แบบสอบถามทัง้ ฉบับเท่ากับ 0.97 แบ่ง แบบสอบถามออกเป็น 4 ตอน ดังนี้ ตอนที่  1 เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับ ระดับชัน้ การสอนของครู  ต�ำแหน่ง และหน้าที่ ของบุคลากรทางการศึกษา ตอนที่  2 เป็นแบบสอบถามความคิด เห็นเกี่ยวกับคุณภาพชีวิตการท�ำงานของครู และบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนคาทอลิก สังกัดสังฆมณฑลจันทบุรี  จ�ำนวน 35 ข้อ โดย มีค่าอ�ำนาจจ�ำแนกตั้งแต่  0.21-0.72 และมี ค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.91 ตอนที่  3 เป็นแบบสอบถามความคิด เห็นเกี่ยวกับวัฒนธรรมโรงเรียนของครูและ บุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนคาทอลิกสังกัด สังฆมณฑลจันทบุรี  จ�ำนวน 54 ข้อ โดยมีค่า อ�ำนาจจ�ำแนกตัง้ แต่ 0.35-0.81 และมีคา่ ความ เชื่อมั่นเท่ากับ 0.96 ตอนที่  4 เป็นแบบสอบถามความคิด เห็นเกี่ยวกับความผูกพันต่อโรงเรียนของครู และบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนคาทอลิก สังกัดสังฆมณฑลจันทบุรี  จ�ำนวน 24 ข้อ โดย มีค่าอ�ำนาจจ�ำแนกตั้งแต่  0.24-0.72 และมี ค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.91 142 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

การเก็บรวบรวมข้อมูล ผู้วิจัยได้ด�ำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล กับกลุ่มตัวอย่าง ดังนี้ 1. ผู้วิจัยน�ำหนังสือจากมหาวิทยาลัย ราชภัฏร�ำไพพรรณีถึงหน่วยงานต้นสังกัดเพื่อ ขอความอนุเคราะห์ในการเก็บรวบรวมข้อมูล จากโรงเรียนคาทอลิกสังกัดสังฆมณฑลจันทบุรี 2. ผู้วิจัยน�ำแบบสอบถามไปยังสถาน ศึกษาที่เป็นกลุ่มตัวอย่างด้วยตนเอง และนัด หมายเวลาเพื่อรับแบบสอบถามกลับคืน  3. ได้รับแบบสอบถามคืนและมีความ สมบูรณ์ครบ 309 ฉบับ คิดเป็นร้อยละ 100 การวิเคราะห์ข้อมูล 1. น�ำข้อมูลทัง้ หมดมาจัดหมวดหมู ่ และ บันทึกคะแนนแต่ละข้อในรูปแบบรหัส (Coding Form) 2. วิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับปัจจัยส่วน บุ ค คลของครู แ ละบุ ค ลากรทางการศึ ก ษา โรงเรียนคาทอลิกสังกัดสังฆมณฑลจันทบุร ี คือ ครูผสู้ อน และบุคลากรทางการศึกษา โดยการ หาค่าความถี่และค่าร้อยละ แล้วน�ำเสนอเป็น ตารางประกอบความเรียง 3. วิเคราะห์ขอ้ มูลความคิดเห็นเกีย่ วกับ คุณภาพชีวิตการท�ำงานของครูและบุคลากร ทางการศึกษาโรงเรียนคาทอลิกสังกัดสังฆมณฑล จันทบุรี  โดยการหาค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน


พูนพงษ์ คูนา, ธีรังกูร วรบ�ำรุงกุล และ วรญา ภูเสตวงษ์

4. วิเคราะห์ข้อมูลความคิดเห็นเกี่ยว กั บ วั ฒ นธรรมโรงเรี ย นของครู แ ละบุ ค ลากร ทางการศึ ก ษาโรงเรี ย นคาทอลิ ก สั ง กั ด สังฆมณฑลจันทบุรี  โดยการหาค่าเฉลี่ยและ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน  5. วิเคราะห์ข้อมูลความคิดเห็นเกี่ยว กับความผูกพันต่อโรงเรียนของครูและบุคลากร ทางการศึ ก ษาโรงเรี ย นคาทอลิ ก สั ง กั ด สังฆมณฑลจันทบุรี  โดยการหาค่าเฉลี่ยและ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน  6. การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่าง คุ ณ ภาพชี วิ ต การท� ำ งานกั บ ความผู ก พั น ต่ อ โรงเรียนของครูและบุคลากรทางการศึกษา โรงเรี ย นคาทอลิ ก สั ง กั ด สั ง ฆมณฑลจั น ทบุ รี และวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างวัฒนธรรม โรงเรียนกับความผูกพันต่อโรงเรียนของครูและ

บุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนคาทอลิกสังกัด สั ง ฆมณฑลจั น ทบุ รี   ใช้ ก ารวิ เ คราะห์ ค ่ า สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน (rxy) 7. วิเคราะห์คณ ุ ภาพชีวติ การท�ำงานและ วัฒนธรรมโรงเรียนที่ส่งผลต่อความผูกพันต่อ โรงเรียนของครูและบุคลากรทางการศึกษา โรงเรี ย นคาทอลิ ก สั ง กั ด สั ง ฆมณฑลจั น ทบุ รี โดยใช้การวิเคราะห์สมการถดถอยพหุคณ ู แบบ เป็นขั้นตอน สรุปผลการวิจัย คุณภาพชีวิตการท�ำงานและวัฒนธรรม โรงเรียนทีส่ ง่ ผลต่อความผูกพันต่อโรงเรียนของ ครูและบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนคาทอลิก สังกัดสังฆมณฑลจันทบุรี  มีผลการวิเคราะห์ ข้อมูลสรุปเป็นประเด็นส�ำคัญ ดังนี้

ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2020/2563 143


คุณภาพชีวติ การทำ�งานและวัฒนธรรมโรงเรียนทีส่ ง่ ผลต่อความผูกพันต่อโรงเรียน ของครูและบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนคาทอลิกสังกัดสังฆมณฑลจันทบุรี

ตารางที่ 1 ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ระดับ และอันดับของความคิดเห็นเกี่ยวกับคุณภาพ ชีวิตการท�ำงานของครูและบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนคาทอลิกสังกัดสังฆมณฑลจันทบุรี  โดย รวมและรายด้าน ที่ คุณภาพชีวิตการท�ำงานของครู และบุคลากรทางการศึกษา 1 ค่าตอบแทนที่เหมาะสมและยุติธรรม 2 สภาพแวดล้อมการท�ำงานที่ปลอดภัย และส่งเสริมสุขภาพ 3 ความมั่นคงในการท�ำงานและก้าวหน้าในอาชีพ 4 การพัฒนาทักษะ ความรู้ และความสามารถของบุคคล 5 การท�ำงานร่วมกันและมีมนุษยสัมพันธ์ในการท�ำงาน 6 ความสมดุลระหว่างชีวิตการท�ำงานกับชีวิตส่วนตัว 7 คุณลักษณะตามอัตลักษณ์การศึกษาคาทอลิก รวม

คุณภาพชีวิตการท�ำงาน (n=309) x̅ S.D. ระดับ อันดับ 4.18 0.58 มาก    7 4.58 0.39 มากที่สุด   5 4.63 0.40 มากที่สุด   3 4.64 0.37 มากที่สุด   2 4.60 4.26 4.72 4.52

0.39 0.56 0.34 0.32

มากที่สุด   4 มาก    6 มากที่สุด   1 มากที่สุด

จากตารางที่  1 ผลการวิเคราะห์ความคิดเห็นเกี่ยวกับคุณภาพชีวิตการท�ำงานของครูและ บุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนคาทอลิกสังกัดสังฆมณฑลจันทบุรี  โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด เรียงล�ำดับรายด้านจากมากไปน้อย คือ คุณลักษณะตามอัตลักษณ์การศึกษาคาทอลิก การพัฒนา ทักษะ ความรู้  และความสามารถของบุคคล ความมั่นคงในการท�ำงานและก้าวหน้าในอาชีพ การ ท�ำงานร่วมกันและมีมนุษยสัมพันธ์ในการท�ำงาน สภาพแวดล้อมการท�ำงานที่ปลอดภัยและ ส่งเสริมสุขภาพ ความสมดุลระหว่างชีวิตการท�ำงานกับชีวิตส่วนตัว และค่าตอบแทนที่เหมาะสม และยุติธรรม ตามล�ำดับ

144 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม


พูนพงษ์ คูนา, ธีรังกูร วรบ�ำรุงกุล และ วรญา ภูเสตวงษ์

ตารางที ่ 2 ค่าเฉลีย่  ส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน ระดับ และอันดับของความคิดเห็นเกีย่ วกับวัฒนธรรม โรงเรียนของครูและบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนคาทอลิกสังกัดสังฆมณฑลจันทบุร ี โดยรวมและ รายด้าน ที่ วัฒนธรรมโรงเรียนของครู และบุคลากรทางการศึกษา 1 ความมุ่งประสงค์ของโรงเรียน 2 การมอบอ�ำนาจ 3 การตัดสินใจ 4 ความรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งของหมู่คณะ 5 ความไว้วางใจ 6 ความมีคุณภาพ 7 การยอมรับ 8 ความเอื้ออาทร 9 ความซื่อสัตย์สุจริต 10 ความหลากหลายของบุคลากร รวม

วัฒนธรรมโรงเรียน (n=309) x̅ S.D. ระดับ อันดับ 4.67 0.41 มากที่สุด   3 4.55 0.46 มากที่สุด   9 4.60 0.44 มากที่สุด   6 4.74 0.36 มากที่สุด   2 4.60 0.42 มากที่สุด   6 4.63 0.41 มากที่สุด   5 4.55 0.45 มากที่สุด   9 4.64 0.40 มากที่สุด   4 4.76 0.35 มากที่สุด   1 4.59 0.42 มากที่สุด   8 4.63 0.35 มากที่สุด

จากตารางที ่ 2 ผลการวิเคราะห์ความคิดเห็นเกีย่ วกับวัฒนธรรมโรงเรียนของครูและบุคลากร ทางการศึกษาโรงเรียนคาทอลิกสังกัดสังฆมณฑลจันทบุรี  โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด เรียงล�ำดับ รายด้านจากมากไปน้อย คือ ความซื่อสัตย์สุจริต ความรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งของหมู่คณะ ความมุ่ง ประสงค์ของโรงเรียน ความเอื้ออาทร ความมีคุณภาพ การตัดสินใจ ความไว้วางใจ ความหลาก หลายของบุคลากร การมอบอ�ำนาจ และการยอมรับ ตามล�ำดับ

ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2020/2563 145


คุณภาพชีวติ การทำ�งานและวัฒนธรรมโรงเรียนทีส่ ง่ ผลต่อความผูกพันต่อโรงเรียน ของครูและบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนคาทอลิกสังกัดสังฆมณฑลจันทบุรี

ตารางที่  3 ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ระดับ และอันดับของความคิดเห็นเกี่ยวกับความ ผูกพันต่อโรงเรียนของครูและบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนคาทอลิกสังกัดสังฆมณฑลจันทบุร ี โดย รวมและรายด้าน ที่ ความผูกพันต่อโรงเรียนของครู ความผูกพันต่อโรงเรียน (n=309) และบุคลากรทางการศึกษา x̅ S.D. ระดับ อันดับ 1 ความเชื่อถือยอมรับเป้าหมายและคุณค่าของโรงเรียน 4.70 0.38 มากที่สุด   2 2 ความเต็มใจในการปฏิบัติงานเพื่อท�ำประโยชน์ 4.73 0.36 มากที่สุด   1 ของโรงเรียน 3 ความต้องการที่จะรักษาความเป็นสมาชิก 4.69 0.38 มากที่สุด   3 ของโรงเรียน รวม 4.71 0.34 มากที่สุด จากตารางที่  3 ผลการวิเคราะห์ความคิดเห็นเกี่ยวกับความผูกพันต่อโรงเรียนของครูและ บุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนคาทอลิกสังกัดสังฆมณฑลจันทบุรี  โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด เรียงล�ำดับรายด้านจากมากไปน้อย คือ ความเต็มใจในการปฏิบตั งิ านเพือ่ ท�ำประโยชน์ของโรงเรียน ความเชือ่ ถือยอมรับเป้าหมายและคุณค่าของโรงเรียน และความต้องการทีจ่ ะรักษาความเป็นสมาชิก ของโรงเรียน

146 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม


พูนพงษ์ คูนา, ธีรังกูร วรบ�ำรุงกุล และ วรญา ภูเสตวงษ์

ตารางที ่ 4 ค่าสัมประสิทธิส์ หสัมพันธ์แบบเพียร์สนั ระหว่างคุณภาพชีวติ การท�ำงานกับความผูกพัน ต่อโรงเรียนของครูและบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนคาทอลิกสังกัดสังฆมณฑลจันทบุรีโดยแยก เป็นรายด้าน ตัวแปรที่ศึกษา Y XQ1 XQ2 XQ3 XQ4 XQ5 XQ6 XQ7 ** p < .01

Y

XQ1 XQ2 XQ3 XQ4 XQ5 XQ6 XQ7

1.000

0.360** 1.000 0.418** 0.422** 1.000 0.509** 0.520** 0.519** 1.000 0.570** 0.359** 0.533** 0.544** 1.000 0.482** 0.343** 0.407** 0.504** 0.638** 1.000 0.637** 0.513** 0.378** 0.534** 0.420** 0.456** 1.000 0.619** 0.305** 0.386** 0.453** 0.479** 0.541** 0.443** 1.000

จากตารางที ่ 4 ผลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างคุณภาพชีวติ การท�ำงานกับความผูกพัน ต่อโรงเรียนของครูบคุ ลากรทางการศึกษาโรงเรียนคาทอลิกสังกัดสังฆมณฑลจันทบุร ี พบว่า คุณภาพ ชีวติ การท�ำงานของครูและบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนคาทอลิกสังกัดสังฆมณฑลจันทบุรมี คี วาม สัมพันธ์กนั ทางบวกในระดับค่อนข้างสูงอย่างมีนยั ส�ำคัญทางสถิตทิ รี่ ะดับ .01 2 ด้าน เรียงตามล�ำดับ ความสัมพันธ์จากมากไปน้อย คือ ความสมดุลระหว่างชีวติ การท�ำงานกับชีวติ ส่วนตัวมีคา่ สัมประสิทธิ์ สหสัมพันธ์เท่ากับ 0.637 และคุณลักษณะตามอัตลักษณ์การศึกษาคาทอลิกค่าสัมประสิทธิ์ สหสัมพันธ์เท่ากับ 0.619

ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2020/2563 147


คุณภาพชีวติ การทำ�งานและวัฒนธรรมโรงเรียนทีส่ ง่ ผลต่อความผูกพันต่อโรงเรียน ของครูและบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนคาทอลิกสังกัดสังฆมณฑลจันทบุรี

ตารางที่ 5 ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สันระหว่างวัฒนธรรมโรงเรียนกับความผูกพันต่อ โรงเรียนของครูและบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนคาทอลิกสังกัดสังฆมณฑลจันทบุรีโดยแยกเป็น รายด้าน ตัวแปร Y      XS1      XS2      XS3      XS4      XS5      XS6      XS7      XS8      XS9      XS10 ที่ศึกษา Y 1.000 XS1 0.677**  1.000 XS2 0.606**  0.777**   1.000 XS3 0.580**  0.808**   0.742**    1.000 XS4 0.775**  0.685**   0.585**    0.591**   1.000 XS5 0.637**  0.747**   0.723**    0.740**   0.684**    1.000 XS6 0.654**  0.687**   0.627**    0.664**   0.625**    0.676**    1.000 XS7 0.609**  0.675**   0.675**    0.700**   0.548**    0.735**    0.727**   1.000 XS8 0.742**  0.697**   0.652**    0.657**   0.697**    0.736**    0.684**   0.796**    1.000 XS9 0.741**  0.668**   0.556**    0.623**   0.704**    0.619**    0.660**   0.592**    0.714**    1.000 XQ10 0.672**  0.681**   0.637**    0.661**   0.615**    0.703**    0.645**   0.730**    0.760**    0.672**    1.000

** p < .01

จากตารางที่  5 ผลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างวัฒนธรรมโรงเรียนกับความผูกพัน ต่อโรงเรียนของครูและบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนคาทอลิกสังกัดสังฆมณฑลจันทบุรี  พบว่า วัฒนธรรมโรงเรียนของครูและบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนคาทอลิกสังกัดสังฆมณฑลจันทบุรี มีความสัมพันธ์กนั ทางบวกในระดับ .01 วัฒนธรรมโรงเรียนทีส่ ง่ ผลต่อความผูกพันต่อโรงเรียนทีอ่ ยู่ ในระดับสูง คือ ความรูส้ กึ เป็นส่วนหนึง่ ของหมูค่ ณะ มีคา่ สัมประสิทธิส์ หสัมพันธ์เท่ากับ 0.775 และ มีความสัมพันธ์ในระดับค่อนข้างสูง 6 ด้าน เรียงตามล�ำดับความสัมพันธ์จากมากไปน้อย คือ ความ เอือ้ อาทร มีคา่ สัมประสิทธิส์ หสัมพันธ์เท่ากับ 0.742 ความซือ่ สัตย์สจุ ริต มีคา่ สัมประสิทธิส์ หสัมพันธ์ เท่ากับ 0.741 ความมุง่ ประสงค์ของโรงเรียน มีคา่ สัมประสิทธิส์ หสัมพันธ์เท่ากับ 0.677 ความหลาก หลายของบุคลากร มีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เท่ากับ 0.672 ความมีคุณภาพ มีค่าสัมประสิทธิ์ สหสัมพันธ์เท่ากับ 0.654 ความไว้วางใจ มีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เท่ากับ 0.637 148 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม


พูนพงษ์ คูนา, ธีรังกูร วรบ�ำรุงกุล และ วรญา ภูเสตวงษ์

ตารางที่  6 แสดงผลการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบเป็นขั้นตอน (Stepwise Multiple Regression Analysis) ของคุณภาพชีวติ การท�ำงานและวัฒนธรรมโรงเรียนทีส่ ง่ ผลต่อความผูกพัน ต่อโรงเรียนของครูและบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนคาทอลิกสังกัดสังฆมณฑลจันทบุรี  โดยแยก เป็นรายด้าน คุณภาพชีวิตการท�ำงานและวัฒนธรรมโรงเรียน   b SEb   β   t Sig t. ความรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งของหมู่คณะ (XS4) 0.35 0.04 0.36 7.80 .00** ความเอื้ออาทร (XS8) 0.22 0.04 0.25 5.40 .00** ความซื่อสัตย์สุจริต (XS9) 0.24 0.04 0.24 5.16 .00** ความมั่นคงในการท�ำงานและ 0.10 0.03 0.12 3.52 .00** ความก้าวหน้าในวิชาชีพ (XQ3) R = 0.84   R2 = 0.72   SEest = 0.16   a = 0.37   Adjusted R2 = 0.71   F = 195.69** ** p < .01 จากตาราง 6 ผลการวิเคราะห์คุณภาพชีวิตการท�ำงานและวัฒนธรรมโรงเรียนที่ส่งผลต่อ ความผูกพันของครูและบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนคาทอลิกสังกัดสังฆมณฑลจันทบุร ี ด้วยการ สร้างสมการพยากรณ์เพือ่ หาตัวแปรพยากรณ์ทดี่ ที สี่ ดุ  พบว่า คุณภาพชีวติ การท�ำงานและวัฒนธรรม โรงเรียน มี  4 ด้าน เรียงตามค่าสัมประสิทธิก์ ารถดถอยของการพยากรณ์  ได้แก่  ความรูส้ กึ เป็นส่วน หนึ่งของหมู่คณะ ความเอื้ออาทร ความซื่อสัตย์สุจริต และความมั่นคงในการท�ำงานและความ ก้าวหน้าในวิชาชีพ โดยมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์พหุคูณเท่ากับ 0.84 หมายถึง ความรู้สึกเป็น ส่วนหนึง่ ของหมูค่ ณะ ความเอือ้ อาทร ความซือ่ สัตย์สจุ ริต และความมัน่ คงในการท�ำงานและความ ก้าวหน้าในวิชาชีพ สามารถร่วมกันพยากรณ์ความผูกพันต่อโรงเรียนของครูและบุคลากรทางการ ศึกษาโรงเรียนคาทอลิกสังกัดสังฆมณฑลจันทบุรีได้ร้อยละ 71 อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 เป็นไปตามสมมติฐานที่ได้ตั้งไว้  คือ คุณภาพชีวิตการท�ำงานและวัฒนธรรมโรงเรียนส่งผลต่อ ความผูกพันต่อโรงเรียนของครูและบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนคาทอลิกสังกัดสังฆมณฑลจันทบุรี และได้สมการในการพยากรณ์หรือสมการถดถอยดังนี้

ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2020/2563 149


คุณภาพชีวติ การทำ�งานและวัฒนธรรมโรงเรียนทีส่ ง่ ผลต่อความผูกพันต่อโรงเรียน ของครูและบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนคาทอลิกสังกัดสังฆมณฑลจันทบุรี

สมการพยากรณ์ความผูกพันต่อโรงเรียนครูและบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนคาทอลิกสังกัด สังฆมณฑลจันทบุรี  ในรูปคะแนนดิบ มีดังนี้ Ŷ = a1 + b4XS4 + b8XS8 + b9XS9 + b3XQ3    = 0.37 + 0.35XS4 + 0.22XS8 + 0.24XS9 + 0.10XQ3 สมการพยากรณ์ความผูกพันต่อโรงเรียนครูและบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนคาทอลิกสังกัด สังฆมณฑลจันทบุรี  ในรูปคะแนนดิบ มีดังนี้ Ζ = βXS4 + XS8 + XS9 + XQ3    = 0.36XS4 + 0.25XS8 + 0.24XS9 + 0.12XQ3 อภิปรายผล คุณภาพชีวิตการท�ำงานและวัฒนธรรม โรงเรี ย นที่ ส ่ ง ผลต่ อ ความผู ก พั น ของครู แ ละ บุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนคาทอลิกสังกัด สังฆมณฑลจันทบุรี  สามารถอภิปรายผลที่เกิด ขึ้นได้ดังนี้ 1. ผลการวิเคราะห์ความคิดเห็นเกี่ยว กับคุณภาพชีวติ การท�ำงานของครูและบุคลากร ทางการศึกษาโรงเรียนคาทอลิกสังกัดสังฆมณฑล จันทบุรี  โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด เรียง ล�ำดับรายด้านจากมากไปน้อย คือ คุณลักษณะ ตามอัตลักษณ์การศึกษาคาทอลิก การพัฒนา ทักษะ ความรู้  และความสามารถของบุคคล ความมัน่ คงในการท�ำงานและก้าวหน้าในอาชีพ การท�ำงานร่วมกันและมีมนุษยสัมพันธ์ในการ ท�ำงาน สภาพแวดล้อมการท�ำงานที่ปลอดภัย และส่งเสริมสุขภาพ ความสมดุลระหว่างชีวิต การท�ำงานกับชีวิตส่วนตัว และค่าตอบแทนที่

150 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

เหมาะสมและยุติธรรม ตามล�ำดับ ทั้งนี้ความ คิดเห็นเกี่ยวกับคุณภาพชีวิตการท�ำงานที่น่า สนใจที่สุด 3 อันดับแรก คือ คุณลักษณะตาม อัตลักษณ์การศึกษาคาทอลิก น่าจะเป็นเพราะ ว่า โรงเรียนคาทอลิกสังกัดสังฆมณฑลจันทบุรี มี อั ต ลั ก ษณ์ ที่ ชั ด เจนโดยน� ำ จิ ต ตารมณ์ พ ระ วรสาร 5 ประการ คือ รัก เมตตา ซือ่ สัตย์ รับใช้ พอเพี ย ง มาก� ำ หนดเป็ น นโยบายของทุ ก โรงเรี ย น มุ ่ ง เน้ น การเป็ น โรงเรี ย นส่ ง เสริ ม คุณธรรม รวมทั้งมีการอบรมให้ความรู้ถึงอัต ลักษณ์โรงเรียนคาทอลิกกับครูและบุคลากร ทางการศึกษาอย่างสม�่ำเสมอ ผ่านทางการ สัมนา การประชุม สอดคล้องกับสภาการศึกษา คาทอลิ ก แห่ ง ประเทศไทย (2557: 9,35)ที่ กล่าวว่า ครูจ�ำเป็นต้องได้รับการพัฒนาเรื่อง คุณภาพชีวิตการท�ำงานด้านคุณลักษณะตาม อัตลักษณ์การศึกษาคาทอลิก เป็นผู้มีความรัก (Love) เมตตา (Compassion) รับใช้ (Service)


พูนพงษ์ คูนา, ธีรังกูร วรบ�ำรุงกุล และ วรญา ภูเสตวงษ์

รักองค์ความดี  รักและเคารพในคุณค่าและ ศักดิ์ศรีของตนเองและผู้อื่น เป็นบุคคลเพื่อ ผู้อื่น เสียสละ มีน�้ำใจ พร้อมแบ่งปันและช่วย เหลือผูอ้ นื่  โดยไม่หวังสิง่ ตอบแทน รูจ้ กั ให้อภัย และคืนดี  สอดคล้องกับ รัทบูคา (Rutebuka. 2000: 257-289) ได้พบว่าครูในโรงเรียนทีเ่ ป็น โรงเรี ย นคริ ส ต์   พึ ง พอใจกั บ งานและสาเหตุ ที่ เ ลื อ กงานเพราะมี ค วามผู ก พั น กั บ ศาสนา คริสต์  ความผูกพันต่อวิชาชีพครู  มีลักษณะ งานที่ท้าทายมีความสัมพันธ์ต่อความผูกพัน องค์การคริสต์ ส�ำหรับการพัฒนาทักษะ ความรู้  และ ความสามารถของบุคคล น่าจะเป็นเพราะว่า โรงเรี ย นคาทอลิ ก สั ง กั ด สั ง ฆมณฑลจั น ทบุ รี มีการประชุมฝ่ายต่างๆ ทัง้  6 ฝ่าย ฝ่ายบริหาร จัดการ ฝ่ายหลักสูตรและวิชาการ ฝ่ายบัญชี การเงิน ทรัพย์สนิ  ฝ่ายพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ฝ่ายอัตลักษณ์ ประกันคุณภาพ ฝ่ายเทคโนโลยี สารสนเทศ และฝ่ายภาษาต่างประเทศอย่าง สม�่ำเสมอ เป็นการกระตุ้นให้เกิดการพัฒนา ทักษะ ความรู ้ ความสามารถ มีใจรักในวิชาชีพ มีอุดมการณ์  จิตวิญญาณความเป็นครู  และ สอดคล้องกับเป้าหมายของโรงเรียน สอดคล้อง กับ จอมพงศ์ มงคลวนิช (2556: 116) ทีก่ ล่าว ว่าผลดีทไี่ ด้คอื การปรับปรุงระดับความตระหนัก รูใ้ นตนเองของครูเป็นการเพิม่ ทักษะการท�ำงาน ของแต่ละบุคคลและยกระดับความรู้  ความ

สามารถในการปฏิบัติงานให้ก้าวทันต่อการ เปลีย่ นแปลงของเครือ่ งมืออุปกรณ์ใหม่ๆ ครูได้ วิเคราะห์ปัญหาและการหาแนวการท�ำงาน ให้ประสบผลส�ำเร็จอย่างมีประสิทธิภาพ และ เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ผ ล ลดความผิ ด พลาดในการ ท�ำงานประหยัดทรัพยากร ประหยัดเวลา ช่วย ประสานความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ท�ำให้เกิด ความเข้าใจ สร้างแนวทางในการท�ำงานร่วมกัน และปรั บ เปลี่ ย นเจตคติ ที่ ดี ต ่ อ กั น  เป็ น การ เพิ่มพูนแรงใจของแต่ละบุคคลให้มีความมุ่งมั่น อุ ทิ ศ ตนปฏิ บั ติ ง านอย่ า งเต็ ม ความสามารถ สอดคล้องกับ เฮอร์ซเบอร์ก (Herzsberg) ได้ เสนอผลการทดสอบทีเ่ รียกว่า “An Empirical Test of a New Theory of Human Needs” มนุษย์ต้องการความก้าวหน้าและเติบโต เป็น ความต้องการเกี่ยวกับการพัฒนาการเปลี่ยน แปลงฐานะ สภาพและการเติบโตก้าวหน้าของ ผู้ท�ำงาน การพัฒนาเติบโตด้านความรู้ความ สามารถ ส�ำหรับในองค์การ คือความต้องการ ที่จะได้รับความรับผิดชอบเพิ่มขึ้น หรือความ ต้องการอยากได้  ท�ำกิจกรรมใหม่ที่มีโอกาสใช้ ความรู้ความสามารถใหม่ๆ และได้มีโอกาส เข้าไปสัมผัสกับงานใหม่ๆ อีกหลายๆ ด้านมาก ขึ้น (Alderfer. 1972: 47-56) ส� ำ หรั บ ความมั่ น คงในการท� ำ งาน และก้ า วหน้ า ในอาชี พ  เป็ น ความมุ ่ ง หวั ง ใน ความมั่นคงในงานและการเพิ่มขึ้นของรายได้

ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2020/2563 151


คุณภาพชีวติ การทำ�งานและวัฒนธรรมโรงเรียนทีส่ ง่ ผลต่อความผูกพันต่อโรงเรียน ของครูและบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนคาทอลิกสังกัดสังฆมณฑลจันทบุรี

น่าจะเป็นเพราะว่า โรงเรียนคาทอลิกสังกัด สั ง ฆมณฑลจั น ทบุ รี มี เ กณฑ์ ก ารปรั บ ขึ้ น เงิ น เดือนที่ก�ำหนดไว้ในคู่มือครูโรงเรียนคาทอลิก สังกัดสังฆมณฑลจันทบุรี  มีความชัดเจนและ ยุตธิ รรม สอดคล้องกับแนวคิดของ กรมพัฒนา ฝีมือแรงงาน กระทรวงแรงงาน (2553: 7-8) มี ร ะบบประเมิ น ผลงานและสร้ า งเครื่ อ งมื อ ส�ำหรับวัดผลส�ำเร็จของงาน เพื่อประโยชน์ใน การพิจารณาเลือ่ นขัน้  เลือ่ นเงินเดือนทีม่ คี วาม สอดคล้องกับงาน และสัมพันธ์กับการยังชีพ ซึ่งจะส่งผลให้เกิดความก้าวหน้าและมีความ มัน่ คงในการท�ำงาน เป็นไปตามแนวคิด มาสโลว์ (Maslow. 1970: 35-40) กล่าวว่าความต้อง การความปลอดภัยและความมั่นคง หมายถึง มนุษย์มีความต้องการทางด้านความปลอดภัย และความมัน่ คง เช่น ความมัน่ คงในงานทีท่ ำ� ไม่ ถูกปลดออกหรือถูกย้ายงานบ่อยๆ แต่ต้องได้ รับการปฏิบัติอย่างยุติธรรมทัดเทียมกัน เวลา เจ็บไข้ก็จะได้รับการเอาใจใส่รักษาพยาบาล เมือ่ จะออกจากงานก็ตอ้ งได้รบั บ�ำเหน็จบ�ำนาญ เป็นการตอบแทนนอกจากนีย้ งั ต้องมีรายได้พอ สมควรแก่การด�ำรงชีวติ  สอดคล้องกับ ลุสเซอร์ (Lusser. 2001: 86-87) กล่าวว่า อดัม (Adum) ได้ เ สนอแนวความคิ ด ว่ า เมื่ อ สถานการณ์ ที่ คนงานจะเกิดความพึงพอใจคือความสมดุล หรือความเป็นธรรมที่เกิดขึ้นเมื่อเขาได้รับรู้ว่า สัดส่วนของ Input กับ Outcomes ที่เขาได้

152 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

รับเท่าเทียมกับสัดส่วนของ Input กับ Outcomes ของคนอื่นเมื่อเปรียบเทียบกัน สอด คล้องกับ ปรีชา วงษาบุตร (2553:102) ได้ ศึกษาเรื่องคุณภาพชีวิตการท�ำงานกับความ ผูกพันต่อองค์การของบุคลากร บริษทั  คาร์เปท อินเตอร์แนชัน่ แนล ไทยแลนด์ จ�ำกัด (มหาชน) พบว่า องค์การทีม่ กี ารจัดสวัสดิการต่างๆ ตาม ความเหมาะสม ซึง่ สิง่ เหล่านีย้ อ่ มส่งเสริมท�ำให้ เกิดคุณภาพชีวิตในการท�ำงานที่ดี  และสอด คล้องกับ สุดารัตน์  ครุฑสึก (2557: 96-98) ได้ศึกษาเรื่องปัจจัยคุณภาพชีวิตในการท�ำงาน ของบุ ค ลากรความผู ก พั น ต่ อ องค์ ก ารและ การสือ่ สารในองค์การส่งผลต่อการเป็นสมาชิก ที่ ดี ต ่ อ องค์ ก ารของบุ ค ลากรเอกชนในเขต กรุงเทพมหานคร พบว่า ความก้าวหน้าและ มัน่ คงในการท�ำงาน ส่งผลต่อการเป็นสมาชิกที่ ดีของบุคลากรเอกชนในเขตกรุงเทพมหานคร  2. ผลการวิเคราะห์ความคิดเห็นเกี่ยว กั บ วั ฒ นธรรมโรงเรี ย นของครู แ ละบุ ค ลากร ทางการศึ ก ษาโรงเรี ย นคาทอลิ ก สั ง กั ด สังฆมณฑลจันทบุรี  โดยรวมอยู่ในระดับมาก ที่สุด เรียงล�ำดับรายด้านจากมากไปน้อย คือ ความซือ่ สัตย์สจุ ริต ความรูส้ กึ เป็นส่วนหนึง่ ของ หมู่คณะ ความมุ่งประสงค์ของโรงเรียน ความ เอือ้ อาทร ความมีคณ ุ ภาพ การตัดสินใจ ความ ไว้วางใจ ความหลากหลายของบุคลากร การ มอบอ�ำนาจ และการยอมรับ ตามล�ำดับ ทั้งนี้


พูนพงษ์ คูนา, ธีรังกูร วรบ�ำรุงกุล และ วรญา ภูเสตวงษ์

ความคิ ด เห็ น เกี่ ย วกั บ วั ฒ นธรรมโรงเรี ย นที่ น่าสนใจทีส่ ดุ  3 อันดับแรก ความซือ่ สัตย์สจุ ริต น่าจะเป็นเพราะว่า โรงเรียนคาทอลิกได้ให้ ความส�ำคัญกับครู  เห็นคุณค่าของการปฏิบัติ ตามจริธรรม โดยการชมเชยและให้ผลตอบ แทน เช่น รางวัลครูดีมีคุณภาพ รสจ. สอด คล้องกับ สิทธิชัย นันทนาวิจิตร (2551: 20) ปัจจัยแห่งความส�ำเร็จ คือ จิตส�ำนึก เป็นสิ่งที่ ผู้บริหารสูงสุดให้ความส�ำคัญเป็นอย่างมาก โดยการสร้างความเชื่อขึ้นมาจากพื้นฐานของ บริษทั  จากนัน้ แปรเปลีย่ นให้เป็นค่านิยมตลอด จนมี ก ารน� ำ ไปปฏิ บั ติ ทั่ ว ทั้ ง องค์ ก ารจนเป็ น พฤติกรรม และในที่สุดเกิดเป็นวัฒนธรรมที่ เข้มแข็งขององค์การ  ส�ำหรับความรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งของหมู่ คณะ น่าจะเป็นเพราะว่า โรงเรียนคาทอลิกให้ ครูและบุคลากรในโรงเรียนมีหน้าทีแ่ ละบทบาท ความรับผิดชอบในฝ่ายต่างๆ ภายในโรงเรียน รวมทัง้ มีหน้าทีร่ บั ผิดชอบในโครงการ งานและ กิจกรรมของทางโรงเรียน เช่น กิจกรรมกีฬาสี กิจกรรมวันคริสต์มาส กิจกรรมวันสถาปนา โรงเรียน เป็นต้น ท�ำให้เกิดความผูกพัน การ รู้จักเสียสละเวลาให้กับงาน และรู้สึกว่าเป็น ส่วนหนึ่งของโรงเรียน เป็นไปตามแนวคิดของ ไวลส์  (Wiles. 1953: 46-47) กล่าวว่า ครูแต่ ละคนต้องการเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มที่ท�ำงาน ด้วย ท�ำให้เกิดความพึงพอใจในงานเกิดขึ้น

วิธีสร้างความรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งของโรงเรียน ท�ำได้โดย 1) ให้บคุ ลากรในโรงเรียนมีความรูส้ กึ ผูกพันซึง่ กันและกัน และเกีย่ วข้องกันตลอดจน รู้จักเสียสละเวลาให้กับงาน 2) ส่งเสริมความ ก้าวหน้าของสมาชิกครูแต่ละคนในโรงเรียน 3) ร่วมกิจกรรมด้วยกันในวันหยุดสุดสัปดาห์ 4) ให้ครูแต่ละคนมีความรู้สึกว่า เขาเป็นคน ส�ำคัญ ส�ำหรับความมุ่งประสงค์ของโรงเรียน น่าจะเป็นเพราะว่า โรงเรียนคาทอลิกสังกัด สังฆมณฑลจันทบุรี  ได้ประชาสัมพันธ์ชี้แจงถึง การเป็นโรงเรียนคุณธรรมตามวิถีคริสต์  โดย แต่ละโรงเรียนได้ด�ำเนินการวางแผนกิจกรรม การพัฒนาคุณธรรมตามวิถีคริสต์ในบริบทของ ตนเอง รวมทัง้ ก�ำหนดให้แต่ละโรงเรียนติดตาม และการประเมินร่วมกัน สอดคล้องกับเซอร์จิ โอวานนี่  และสตรารัทท์  (Sergivaanni and Strarratt. 1988: 107) ทีก่ ล่าวว่า เมือ่ ก�ำหนด ความมุ่งประสงค์ของโรงเรียนแล้ว ควรประชา สัมพันธ์  ชี้แจงให้บุคลากรของโรงเรียน เข้าใจ เห็นคุณค่าและความส�ำคัญเกี่ยวกับความมุ่ง ประสงค์ของโรงเรียน เพื่อเป็นแนวทางในการ ด�ำเนินการและประเมินผลร่วมกัน รวมทัง้ ต้อง ให้การตัดสินใจในกิจการของโรงเรียนมีพนื้ ฐาน อยู ่ บ นความมุ ่ ง ประสงค์ ข องโรงเรี ย นด้ ว ย สอดคล้ อ งกั บ จอมพงศ์   มงคลวนิ ช  (2556: 177) หลักการและแนวคิดว่าด้วยการพัฒนา

ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2020/2563 153


คุณภาพชีวติ การทำ�งานและวัฒนธรรมโรงเรียนทีส่ ง่ ผลต่อความผูกพันต่อโรงเรียน ของครูและบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนคาทอลิกสังกัดสังฆมณฑลจันทบุรี

และบริหารองค์การทางการศึกษาตลอดจน บุคลากรทางการศึกษาให้มมี าตรฐาน และเป็น แรงขับเคลื่อนองค์การทางการศึกษาสู่ความ ส�ำเร็จดังทีว่ างวัตถุประสงค์ไว้ ในการขับเคลือ่ น องคาพยพในองค์การ ภาวะผูน้ ำ� ของผูบ้ ริหาร/ ผู้น�ำขององค์การทางการศึกษาและหน่วยงาน ภายในถือเป็นปัจจัยทีส่ ำ� คัญมากการขับเคลือ่ น องค์ ก ารสู ่ เ ป้ า หมายที่ ว างไว้   สอดคล้ อ งกั บ เซอร์จิโอวานนี่  และสตรารัทท์  (Sergiovanni and Straratt.1988: 103) ได้ศกึ ษาวิจยั พบว่า วัฒนธรรมโรงเรียนก่อตัวมาจากประวัติความ เป็ น มาของโรงเรี ย น ความเชื่ อ  ค่ า นิ ย ม บรรทั ด ฐานและมาตรฐานรู ป แบบของ พฤติกรรม วัฒนธรรมองค์การ และวัฒนธรรม โรงเรียนมีที่มาจากผู้ก่อตั้งองค์การ เป็นการ ส่งต่อทางประวัตศิ าสตร์ของรูปแบบและความ หมายของโรงเรียนซึ่งจะมีอิทธิพลต่อความเชื่อ ความเชือ่ มีอทิ ธิพลต่อค่านิยม ค่านิยมมีอทิ ธิพล ต่อบรรทัดฐานและมาตรฐาน บรรทัดฐานและ มาตรฐานมีอิทธิพลต่อรูปแบบของพฤติกรรม 3. ผลการวิเคราะห์ความคิดเห็นเกี่ยว กับความผูกพันต่อโรงเรียนของครูและบุคลากร ทางการศึ ก ษาโรงเรี ย นคาทอลิ ก สั ง กั ด สังฆมณฑลจันทบุรี  โดยรวมอยู่ในระดับมาก ที่สุด เรียงล�ำดับรายด้านจากมากไปน้อย คือ ความเต็มใจในการปฏิบตั งิ านเพือ่ ท�ำประโยชน์ ของโรงเรียน ความเชื่อถือยอมรับเป้าหมาย

154 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

และคุณค่าของโรงเรียน และความต้องการทีจ่ ะ รักษาความเป็นสมาชิกของโรงเรียน น่าจะเป็น เพราะว่า โรงเรียนคาทอลิกสังกัดสังฆมณฑล จันทบุรี  มีอัตลักษณ์ที่ชัดเจนแตกต่างๆ จาก โรงเรียนรัฐบาลและโรงเรียนเอกชนอื่นๆ การ ที่ครูเลือกที่จะมาท�ำงานที่โรงเรียนคาทอลิก ครูต้องเห็นพ้องถึงเป้าหมายและค่านิยมของ โรงเรียน ส�ำหรับความเต็มใจในการปฏิบัติงาน เพื่อท�ำประโยชน์ของโรงเรียน เป็นไปตามแนว คิดของ เสตียรส์  (Steers. 1977: 120-122) ได้รวบรวมผลการศึกษาของนักวิชาการต่างๆ แล้วน�ำมาสรุปผลของความผูกพันต่อองค์การ ที่มีต่อพฤติกรรมของบุคลากรว่า บุคลากรที่มี ความผู ก พั น อั น แท้ จ ริ ง ต่ อ จุ ด มุ ่ ง หมายและ คุณค่าขององค์การ จะแสดงระดับการมีส่วน ร่วมในกิจกรรมขององค์การสูงกว่า และการ ขาดงานโดยความสมัครใจจะมีอัตราต�่ำกว่าใน กลุ่มของบุคลากรที่มีความผูกพันต่อองค์การ น้อย สอดคล้องกับ ชุติมา เผ่าพหล (2553: 116-117) ได้ ศึ ก ษาเรื่ อ งคุ ณ ภาพชี วิ ต การ ท�ำงานและระดับความผูกพันต่อองค์การของ บุคลากรธนาคารกรุงเทพ จ�ำกัด มหาชน พบ ว่ า  ระดั บ คุ ณ ภาพชี วิ ต การท� ำ งานที่ มี ค วาม สัมพันธ์กบั ความผูกพันต่อองค์การของบุคลากร ธนาคารกรุงเทพ จ�ำกัด (มหาชน) พบว่า ความ ความภู มิ ใจในองค์ ก าร มี ผ ลต่ อ ระดั บ ความ สัมพันธ์กับความผูกพันต่อองค์การมากที่สุด


พูนพงษ์ คูนา, ธีรังกูร วรบ�ำรุงกุล และ วรญา ภูเสตวงษ์

ส�ำหรับความเต็มใจในการปฏิบัติงาน เพื่อท�ำประโยชน์ของโรงเรียน สอดคล้องกับ มาสโลว์  (Maslow. 1970: 35-40) ในความ ต้องการทางสังคม หมายถึงความต้องการที่ จะให้สังคมยอมรับตนเข้าเป็นสมาชิก ต้องการ มีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆ เมื่อคนเรารู้สึกว่า สั ง คมยอมรั บ แล้ ว ก็ จ ะเกิ ด ความภาคภู มิ ใจ มีความรับผิดชอบ รักษาส่วนได้ส่วนเสียของ สังคมอย่างเต็มที่  สอดคล้องกับ ลูธันส์  (Luthans. 1995: 130 -131) กล่าวว่า ความรูส้ กึ ของบุคลากรที่มีต่อองค์การ โดยการจ�ำแนก ออกเป็นพฤติกรรมทีแ่ สดงออกมา คือ มีความ ตั้งใจและใช้ความพยายามอย่างถึงที่สุดเพื่อ ประโยชน์ขององค์การ สอดคล้องกับ บูชานัน (Buchanan. 1974: 533-545) ได้ศึกษาเรื่อง ความผูกพันต่อองค์การ พบว่าประสบการณ์ใน การท�ำงานมีความสัมพันธ์กับความผูกพันต่อ องค์การ ได้แก่  เจตคติของบุคคลต่อองค์การ ส�ำหรับความต้องการที่จะรักษาความ เป็นสมาชิกของโรงเรียน สอดคล้องกับอัลเลน และไมเยอร์  (Allen and Meyer. 1990: 57) ที่กล่าวว่าความผูกพันต่อองค์การ หมายถึง ความรู้สึกที่บุคลากรมีต่อองค์การโดยเป็นสิ่ง เหนี่ยวรั้งให้คนยังคงอยู่ในองค์การ สอดคล้อง กับจอร์จ และโจนส์  (George and Jones. 2004: 96) ได้กล่าวถึงผลของความผูกพันต่อ องค์ ก ารไว้ ว ่ า  เมื่ อ บุ ค คลมี ค วามผู ก พั น ต่ อ

องค์การแล้วเขาจะมีความเชื่อมั่นในองค์การ และเมือ่ เขามีความสุขทีไ่ ด้ทำ� งานกับองค์การจะ ท�ำให้เขาไม่มีความคิดที่จะเปลี่ยนแปลงหรือ ย้ายที่ท�ำงาน สอดคล้องกับปรีชา วงษาบุตร (2553: 102) ได้ศึกษาเรื่องคุณภาพชีวิตการ ท�ำงานกับความผูกพันต่อองค์การของบุคลากร บริษทั  คาร์เปท อินเตอร์แนชัน่ แนล ไทยแลนด์ จ�ำกัด (มหาชน) พบว่า ทัศนคติด้านบวกที่ จะท�ำให้บุคลากรยอมรับค่านิยมขององค์การ ส่งผลให้เกิดการทุ่มเทในการท�ำงานให้ดี  และ ส่งผลให้เกิดเป็นความจงรักภักดีต่อองค์การ และมี ค วามต้ อ งการด� ำ รงเป็ น สมาชิ ก ของ องค์การต่อไป 4. ผลการวิ เ คราะห์ ค วามสั ม พั น ธ์ ระหว่างคุณภาพชีวติ การท�ำงานกับความผูกพัน ต่อโรงเรียนของครูและบุคลากรทางการศึกษา โรงเรี ย นคาทอลิ ก สั ง กั ด สั ง ฆมณฑลจั น ทบุ รี พบว่ า  คุ ณ ภาพชี วิ ต การท� ำ งานของครู แ ละ บุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนคาทอลิกสังกัด สั ง ฆมณฑลจั น ทบุ รี   มี ค วามสั ม พั น ธ์ กั น ทาง บวกในระดับค่อนข้างสูงอย่างมีนัยส�ำคัญทาง สถิติที่ระดับ .01 2 ด้าน เรียงตามล�ำดับความ สั ม พั น ธ์ จ ากมากไปน้ อ ย คื อ  ความสมดุ ล ระหว่างชีวิตการท�ำงานกับชีวิตส่วนตัว และ คุณลักษณะตามอัตลักษณ์การศึกษาคาทอลิก กล่ า วคื อ  เมื่ อ ความสมดุ ล ระหว่ า งชี วิ ต การ ท�ำงานส่วนตัวและคุณลักษณะตามอัตลักษณ์

ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2020/2563 155


คุณภาพชีวติ การทำ�งานและวัฒนธรรมโรงเรียนทีส่ ง่ ผลต่อความผูกพันต่อโรงเรียน ของครูและบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนคาทอลิกสังกัดสังฆมณฑลจันทบุรี

การศึ ก ษาคาทอลิ ก มี ค ่ า เพิ่ ม มากขึ้ น  ความ ผูกพันต่อโรงเรียนของครูและบุคลากรทางการ ศึ ก ษาโรงเรี ย นคาทอลิ ก สั ง กั ด สั ง ฆมณฑล จันทบุรีก็จะมากขึ้นด้วย ส�ำหรับความสมดุล ระหว่างชีวิตการท�ำงานกับชีวิตส่วนตัว น่าจะ เป็นเพราะว่า การท�ำงานเป็นส่วนหนึง่ ของชีวติ ไม่ใช่ทงั้ หมดของชีวติ  การแบ่งเวลาให้เกิดความ สมดุลระหว่างเวลาทีใ่ ช้ในการท�ำงาน เวลาส่วน ตัว เวลาทีใ่ ห้กบั ครอบครัวและเวลาทีใ่ ช้ในการ ปฏิสัมพันธ์กับสังคมเป็นสิ่งที่จะต้องจัดการให้ เหมาะสม การสร้างความสมดุลระหว่างชีวิต การท�ำงานและชีวติ ส่วนตัว เป็นปัจจัยทีม่ คี วาม ส�ำคัญอย่างยิ่งในการสร้างความพึงพอใจความ จงรั ก ภั ก ดี แ ละผลผลิตในการท�ำงานของครู สอดคล้ อ งกั บ  ส� ำ นั ก งานกองทุ น สนั บ สนุ น การสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) (2552: 10-11) ที่ ก ล่ า วว่ า  ความสุ ข เป็ น สุ ด ยอดแห่ ง ความ ปรารถนาของมนุษย์  ไม่วา่ จะเป็นความสุขจาก ครอบครัว ความสุขจากการท�ำงาน ความสุข จากการพักผ่อน สอดคล้องกับ นิติพล ภูตะ โชติ  (2559: 179) กล่าวว่าในการท�ำงานของ ครูจะต้องมีเวลาให้แก่ครอบครัว เพื่อสร้าง ความอบอุ่นและความสุขในครอบครัว รวมทั้ง มีวันหยุดพักผ่อนด้วย ถ้าครูเคร่งเครียดแต่ ในเรื่องการท�ำงานจนไม่มีเวลาให้แก่ครอบครัว จะส่งผลเสียต่อคุณภาพชีวติ ทัง้ ในทีท่ ำ� งานและ ครอบครัวด้วย สอดคล้องกับ ลัดดา ดวงรัตน์

156 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

(2552: 156-157) ได้ศกึ ษาเรือ่ งผลกระทบของ วั ฒ นธรรมองค์ ก ารและคุ ณ ภาพชี วิ ต ในการ ท�ำงานที่มีผลต่อความผูกพันในองค์การของ ผู้สอบบัญชีสหกรณ์ในส�ำนักงานตรวจบัญชี สหกรณ์พบว่า คุณภาพชีวติ ในการท�ำงาน ด้าน ความสมดุ ล ในชี วิ ต การงานและครอบครั ว มีความสัมพันธ์และผลกระทบเชิงบวกกับความ ผูกพันในองค์การ และสอดคล้องกับ ปวีณา กรุงพลี  (2552: 88-89) ได้ศึกษาเรื่องความ สัมพันธ์ระหว่างคุณภาพชีวิตการท�ำงานกับ ความผูกพันต่อองค์การของเจ้าหน้าที่ส�ำนัก กษาปณ์  พบว่า ความสัมพันธ์ระหว่างคุณภาพ ชีวิตการท�ำงานประกอบด้วย 8 ด้าน ได้แก่ ค่าตอบแทนทีเ่ ป็นธรรมและเพียงพอ สิง่ แวดล้อม ทีถ่ กู ลักษณะปลอดภัย การพัฒนาความรูค้ วาม สามารถของบุคลากร ความก้าวหน้ามั่นคงใน งาน การบูรณาการทางสังคม สิทธิของบุคลากร ธรรมนูญในองค์การ ความสมดุลระหว่างงาน กับชีวิตส่วนตัว และความเกี่ยวข้องและเป็น ประโยชน์ตอ่ สังคม กับความผูกพันต่อองค์การ ประกอบด้วย 3 ด้าน ได้แก่  ความเชื่อมั่นและ ยอมรั บ เป้ า หมายและค่ า นิ ย มขององค์ ก าร ความเต็มใจอย่างแรงกล้าทีจ่ ะใช้ความพยายาม อย่างเต็มก�ำลังความสามารถเพื่อประโยชน์ ขององค์การ และความต้องการทีจ่ ะคงอยูเ่ ป็น สมาชิ ก ขององค์ ก าร พบว่ า  โดยภาพรวมมี ความสัมพันธ์กันทุกด้าน


พูนพงษ์ คูนา, ธีรังกูร วรบ�ำรุงกุล และ วรญา ภูเสตวงษ์

และผลการวิเคราะห์วฒ ั นธรรมโรงเรียน ของครูและบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียน คาทอลิ ก สั ง กั ด สั ง ฆมณฑลจั น ทบุ รี   มี ค วาม สัมพันธ์กันทางบวกที่ส่งผลต่อความผูกพันต่อ โรงเรียนที่อยู่ในระดับสูง คือ ความรู้สึกเป็น ส่วนหนึ่งของหมู่คณะ และมีความสัมพันธ์ใน ระดับค่อนข้างสูง 6 ด้าน เรียงตามล�ำดับความ สัมพันธ์จากมากไปน้อย คือ ความเอื้ออาทร ความซื่ อ สั ต ย์ สุ จ ริ ต  ความมุ ่ ง ประสงค์ ข อง โรงเรียน ความหลากหลายของบุคลากร ความ มีคุณภาพ ความไว้วางใจ กล่าวคือ เมื่อความ รู ้ สึ ก เป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของหมู ่ ค ณะเพิ่ ม มากขึ้ น ความผูกพันต่อโรงเรียนของครูและบุคลากร ทางการศึกษาโรงเรียนคาทอลิกสังกัดสังฆมณฑล จันทบุรกี จ็ ะมากขึน้ ด้วย สอดคล้องกับ บูชานัน (Buchanan. 1974: 553-546) ที่กล่าวว่า ความผูกพันต่อองค์การเป็นทัศนคติที่ส�ำคัญ ส�ำหรับองค์การทุกระดับ เพราะเป็นตัวเชื่อม ระหว่างจิตนาการของมนุษย์กับจุดมุ่งหมาย ขององค์การ ท�ำให้ผู้ปฏิบัติงานเกิดความรู้สึก เป็นเจ้าขององค์การ และมีสว่ นสร้างความเป็น อยู ่ ท่ี ดี ข ององค์ ก าร สอดคล้ อ งกั บ เซอร์ จิ โ อ วานนี่   และสตรารั ท ท์   (Sergiovanni and Straratt. 1988: 108) ที่กล่าวว่าความรู้สึก เป็นส่วนหนึง่ ของโรงเรียนว่า ในการด�ำเนินงาน ผู ้ บ ริ ห ารโรงเรี ย นควรด� ำ เนิ น งานโดยยึ ด ถื อ องค์การหรือโรงเรียนเป็นหลัก โดยให้ความ

ช่วยเหลือและพัฒนาบุคลากร พร้อมทัง้ กระตุน้ ให้บคุ ลากรในองค์การเห็นความส�ำคัญของการ เป็นเจ้าของร่วมกันของหน่วยงานให้มากที่สุด สอดคล้องกับ แฮนสัน (Hanson.1991: 6869) ที่กล่าวว่า วัฒนธรรมโรงเรียนเป็นเครื่อง ยึ ดเหนี่ ย วให้ บุค ลากรมี ความเป็ นน�้ ำ หนึ่ ง ใจ เดียวกันและเป็นเครือ่ งมือยึดโยงให้กจิ การต่างๆ ในโรงเรียนด�ำเนินไปได้อย่างต่อเนื่อง สอด คล้ อ งกั บ  จอร์ จ  และโจนส์   (George and Jones. 2004: 96) ที่กล่าวว่าความผูกพันต่อ องค์การ หมายถึงความรู้สึกของบุคลากรที่มี ต่อองค์การโดยที่เขามีความสุขที่ได้เป็นส่วน หนึ่งขององค์การและความรู้สึกที่ดีต่อองค์การ และไม่อยากที่จะละทิ้งองค์การไป สอดคล้อง กับ มนชญา ดุลยากร (2553: 112-113) ได้ ศึกษาเรื่องการศึกษาวัฒนธรรมโรงเรียนที่มี อิ ท ธิ พ ลต่ อ ความผู ก พั น ของครู ต ่ า งชาติ ใ น โรงเรียนนานาชาติ  พบว่า ครูต่างชาติที่มีการ รั บ รู ้ วั ฒ นธรรมโรงเรี ย นร่ ว มกั น  จะมี ค วาม ผูกพันต่อโรงเรียนเชิงบวกในระดับปานกลาง และสอดคล้องกับ พนิดา ค�ำกิ่ง (2558: 102) ได้ศึกษาเรื่องความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ วัฒนธรรมองค์การกับความผูกพันต่อองค์การ ของบุคลากรโรงพยาบาลการุญเวช จังหวัด ปทุมธานีและจังหวัดพระนครศรีอยุธยา พบว่า ความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งวั ฒ นธรรมองค์ ก ารมี ความสัมพันธ์กับความผูกพันต่อองค์การ

ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2020/2563 157


คุณภาพชีวติ การทำ�งานและวัฒนธรรมโรงเรียนทีส่ ง่ ผลต่อความผูกพันต่อโรงเรียน ของครูและบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนคาทอลิกสังกัดสังฆมณฑลจันทบุรี

5. ผลการวิเคราะห์คุณภาพชีวิตการ ท�ำงานและวัฒนธรรมโรงเรียนทีส่ ง่ ผลต่อความ ผูกพันต่อโรงเรียนของครูและบุคลากรทางการ ศึ ก ษาโรงเรี ย นคาทอลิ ก สั ง กั ด สั ง ฆมณฑล จั น ทบุ รี   ด้ ว ยสมการพยากรณ์ พ บว่ า  มี   4 ปัจจัยร่วมที่ส่งผลต่อความผูกพันของครูและ บุคลากรทางการศึกษาได้เป็นอย่างดี คือ ความ รูส้ กึ เป็นส่วนหนึง่ ของหมูค่ ณะ ความเอือ้ อาทร ความซื่อสัตย์สุจริต และความมั่นคงในการ ท�ำงานและความก้าวหน้าในอาชีพ ส�ำหรับ คุณภาพชีวิตการท�ำงาน สอดคล้องกับ นิติพล ภูตะโชติ  (2559: 178) ว่าคุณภาพชีวิตการ ท�ำงานของบุคลากรจะส่งผลต่อคุณภาพชีวิต ในการท�ำงานของบุคลากร ซึ่งจะส่งผลดีต่อ องค์การในด้านการบริหารจัดการ ลดความ ขัดแย้ง การลาออกจากงานของบุคลากร การ ขาดแคลนบุคลากร และปัญหาอืน่ ๆ สอดคล้อง กับ ลัดดา ดวงรัตน์  (2552: 156-157) ได้ ศึกษาเรื่องผลกระทบของวัฒนธรรมองค์การ และคุณภาพชีวิตในการท�ำงานที่มีผลต่อความ ผูกพันในองค์การของผู้สอบบัญชีสหกรณ์ใน ส�ำนักงานตรวจบัญชีสหกรณ์  พบว่า คุณภาพ ชีวิตในการท�ำงาน มีความสัมพันธ์และผลกระ ทบเชิงบวกกับความผูกพันในองค์การ และ สอดคล้องกับ ปรีชา วงษาบุตร (2553:102) ได้ศึกษาเรื่องคุณภาพชีวิตการท�ำงานกับความ ผูกพันต่อองค์การของบุคลากร บริษัท คาร์

158 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

เปท อิ นเตอร์ แ นชั่ นแนล ไทยแลนด์   จ� ำ กั ด (มหาชน) พบว่า คุณภาพชีวติ ในการท�ำงานทีด่ ี เกิดทัศนคติดา้ นบวกทีจ่ ะท�ำให้บคุ ลากรยอมรับ ค่านิยมขององค์การ ส่งผลให้เกิดการทุ่มเทใน การท�ำงานให้ดี  และส่งผลให้เกิดเป็นความ จงรักภักดีตอ่ องค์การและมีความต้องการด�ำรง เป็นสมาชิกขององค์การต่อไป ส� ำ หรั บ วั ฒ นธรรมโรงเรี ย นส่ ง ผลต่ อ ความผูกพันต่อโรงเรียน สอดคล้องกับ แบร์ และคณะ (Beare and et al. 1989: 97-98) ที่กล่าวว่า วัฒนธรรมที่แข็งแกร่งจะเป็นสิ่งยึด โยงให้ทุกหน่วยและบุคลากรทุกคนในโรงเรียน เป็นน�้ำหนึ่งใจเดียวกัน สอดคล้องกับ พิบูล ทีปะปาล (2551: 71) กล่าวว่าวัฒนธรรมของ องค์การมีส่วนช่วยท�ำหน้าที่ส�ำคัญ คือ ช่วย สร้างความภักดีของบุคลากร สอดคล้องกับ จอมพงศ์  มงคลวนิช (2556: 239) วัฒนธรรม องค์การมีความส�ำคัญ เพราะวัฒนธรรมที่เข้ม แข็งจะมีผลต่อการควบคุมพฤติกรรมได้มาก และท�ำให้สมาชิกขององค์การมีแรงยึดเหนี่ยว กันสูง มีความจงรักภักดีและผูกพันต่อองค์การ มาก สอดคล้องกับ นิติพล ภูตะโชติ  (2559: 142) ที่กล่าวว่าวัฒนธรรมท�ำให้สมาชิกเกิด ความผูกพัน ความภาคภูมิใจ ความจงรักภักดี ต่อองค์การนั้น สอดคล้องกับ ลัดดา ดวงรัตน์ (2552: 156-157) ได้ศกึ ษาเรือ่ งผลกระทบของ วั ฒ นธรรมองค์ ก ารและคุ ณ ภาพชี วิ ต ในการ


พูนพงษ์ คูนา, ธีรังกูร วรบ�ำรุงกุล และ วรญา ภูเสตวงษ์

ท�ำงานที่มีผลต่อความผูกพันในองค์การของ ผู้สอบบัญชีสหกรณ์ในส�ำนักงานตรวจบัญชี สหกรณ์   พบว่ า  วั ฒ นธรรมองค์ ก ารมี ค วาม สัมพันธ์และผลกระทบเชิงบวกกับความผูกพัน ในองค์การ  ข้อเสนอแนะ จากการศึกษาคุณภาพชีวิตการท�ำงาน และวัฒนธรรมโรงเรียนที่ส่งผลต่อความผูกพัน ของครูและบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียน คาทอลิกสังกัดสังฆมณฑลจันทบุรี  ควรน�ำผล การศึกษาไปใช้และศึกษาค้นคว้าวิจัย ดังนี้ ข้อเสนอแนะทั่วไป 1. ผู ้ บ ริ ห ารควรให้ ค วามส� ำ คั ญ กั บ วัฒนธรรมโรงเรียน ด้านความรูส้ กึ เป็นส่วนหนึง่ ของหมู่คณะ ด้วยการให้ครูและบุคลากรทาง การศึกษามีส่วนร่วมรับผิดชอบโครงการ งาน และกิจกรรมต่างๆ ของทางโรงเรียน 2. ผู ้ บ ริ ห ารควรให้ ค วามส� ำ คั ญ กั บ วัฒนธรรมโรงเรียน ด้านความเอื้ออาทร ด้วย การดูแลเอาใจใส่  สร้างความใกล้ชดิ กับครูและ บุคลากรทางการศึกษา จัดสวัสดิการที่เหมาะ สม รวมทั้งมีการสนับสนุนความก้าวหน้าของ ครูและบุคลากรทางการศึกษา 3. ผู ้ บ ริ ห ารควรให้ ค วามส� ำ คั ญ กั บ วัฒนธรรมโรงเรียน ด้านความซื่อสัตย์สุจริต ผู้บริหาร

ควรเห็นคุณค่าของความซื่อสัตย์มานะความ พยายามของครูและบุคลากรทางการศึกษาที่ ปฏิบัติงานอย่างสม�่ำเสมอ ให้ค�ำชมเชยและ ผลตอบแทนตามหลักจริยธรรมและตามทีค่ มู่ อื ครูโรงเรียนคาทอลิกสังกัดสังฆมณฑลจันทบุรี ก�ำหนดไว้ 4. ผู ้ บ ริ ห ารควรให้ ค วามส� ำ คั ญ กั บ คุณภาพชีวติ การท�ำงาน ด้านความมัน่ คงในการ ท�ำงานและความก้าวหน้าในวิชาชีพ ด้วยการ มอบหมายงานที่ เ หมาะกั บ ความรู ้   ความ สามารถ และวุฒกิ ารศึกษาของครูและบุคลากร ทางการศึกษา และให้เงินเดือนที่แน่นอนตรง ตามก�ำหนดเวลา ข้อเสนอแนะเพื่อการวิจัยครั้งต่อไป 1. ควรท�ำวิจัยเชิงคุณภาพคุณภาพชีวิต การท�ำงานและวัฒนธรรมโรงเรียนที่ส่งผลต่อ ความผูกพันของครูและบุคลากรทางการศึกษา ในโรงเรียนคาทอลิก โดยใช้ตัวแปร คือ ความ รูส้ กึ เป็นส่วนหนึง่ ของหมูค่ ณะ ความเอือ้ อาทร ความซื่อสัตย์สุจริต และความมั่นคงในการ ท�ำงานและความก้าวหน้าในอาชีพ 2. ควรท�ำวิจัยแบบผสม เพื่อให้ได้องค์ ความรูใ้ นการสร้างคุณภาพชีวติ การท�ำงานและ วัฒนธรรมโรงเรียน 3. ควรศึกษาปัจจัยเรื่องอื่น เช่น เพศ อายุ  ประสบการณ์ในการท�ำงาน เป็นต้น ที่มี ความสั ม พั น ธ์ แ ละส่ ง ผลต่ อ ความผู ก พั น ต่ อ โรงเรียนของครูและบุคลากรทางการศึกษา

ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2020/2563 159


คุณภาพชีวติ การทำ�งานและวัฒนธรรมโรงเรียนทีส่ ง่ ผลต่อความผูกพันต่อโรงเรียน ของครูและบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนคาทอลิกสังกัดสังฆมณฑลจันทบุรี

บรรณานุกรม กรมพัฒนาฝีมอื แรงงาน กระทรวงแรงงาน. (2553). “เส้นทางความก้าวหน้าในอาชีพของข้าราชการ สายงานนักวิชาการพัฒนาฝีมือกระทรวงศึกษาธิการ” ใน พระราชบัญญัติโรงเรียนเอกชน  พ.ศ.2550 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2). หน้า 7-8. กรุงเทพฯ: กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน. จอมพงศ์  มงคลวนิช. (2556). การบริหารองค์การและบุคลากรทางการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่  2. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ชุตมิ า เผ่าพหล. (2553). คุณภาพชีวติ การท�ำงานและระดับความผูกพันต่อองค์การของพนักงาน  ธนาคารกรุ ง เทพ จ� ำ กั ด  มหาชน. การศึ ก ษาค้ น คว้ า อิ ส ระ บธ.ม. (บริ ห ารธุ ร กิ จ ). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. ณัฎฐพันธ์  เขจรนันทน์. (2551). พฤติกรรมองค์การ (Organizational Behaviors). กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น. นิติพล ภูตะโชติ. (2559). พฤติกรรมองค์การ (Organizational Behavior). พิมพ์ครั้งที่  3. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ประเวศน์   มหารัตน์สกุล. (2558). การจั ด การทรั พ ยากรมนุ ษ ย์ :  แนวทางใหม่   (Human  Resource Management: A New Approach). กรุงเทพฯ: ปัญญาชน. ปรีชา วงษาบุตร. (2553). คุณภาพชีวิตการท�ำงานกับความผูกพันต่อองค์การของพนักงาน  บริษทั  คาร์เปท อินเตอร์แนชัน่ แนล ไทยแลนด์ จ�ำกัด (มหาชน). การศึกษาค้นคว้าอิสระ บธ.ม. (บริหารธุรกิจ). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. ปวีณา กรุงพลี. (2552). ความสัมพันธ์ระหว่างคุณภาพชีวิตการท�ำงานกับความผูกพันต่อ  องค์กรของเจ้าหน้าที่ส�ำนักกษาปณ์. วิทยานิพนธ์  บธ.ม. (บริหารธุรกิจ). ปทุมธานี: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฎวไลยอลงกรณ์ในพระบรมราชูปถัมภ์. พนิดา ค�ำกิ่ง. (2558). ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้วัฒนธรรมองค์การกับความผูกพันต่อ  องค์การของพนักงานโรงพยาบาลการุณเวช จังหวัดปทุมธานีและจังหวัดพระนคร  ศรีอยุธยา. การศึกษาค้นคว้าอิสระ บธ.ม. (การบริหารธุรกิจ). ปทุมธานี: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฎวไลยอลงกรณ์. พิบูล ทีปะปาล (2551). การจัดการเชิงกลยุทธิ์ (Strategic Management). กรุงเทพฯ: อมร การพิมพ์.

160 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม


พูนพงษ์ คูนา, ธีรังกูร วรบ�ำรุงกุล และ วรญา ภูเสตวงษ์

มนชญา ดุลยากร. (2553). การศึกษาวัฒนธรรมโรงเรียนที่มีอิทธิผลต่อความผูกพันของครูต่าง  ชาติในโรงเรียนนานาชาติ. วิทยานิพนธ์  ศศ.ม. (ภาษาและวัฒนธรรมเพื่อการสื่อสารและ การพัฒนา). นครปฐม: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล. รุ่งโรจน์  อรรถานิทธิ์. (2554). การสร้างความผูกพันของพนักงานในองค์กร (Employee  Engagement). กรุงเทพฯ: บ้านหนังสือโกสินทร์. ลัดดา ดวงรัตน์. (2552). ผลกระทบของวัฒนธรรมองค์กรและคุณภาพชีวติ ในการท�ำงานทีม่ ผี ล  ต่อความผูกพันในองค์กรของผู้สอบบัญชีสหกรณ์ในส�ำนักงานตรวจบัญชีสหกรณ์. วิทยานิพนธ์  บช.ม. (การบัญชี). มหาสารคาม: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. สภาการศึกษาคาทอลิกแห่งประเทศไทย. (2556). อัตลักษณ์การศึกษาคาทอลิก (ฉบับปรับปรุง  ค.ศ.2013). กรุงเทพฯ: สภาการศึกษาคาทอลิกแห่งประเทศไทย. _____. (2557). ก้าวไปข้างหน้าด้วยอัตลักษณ์การศึกษาคาทอลิก ปี  ค.ศ.2012-2015. กรุงเทพฯ: สภาการศึกษาคาทอลิกแห่งประเทศไทย. ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ. (2552). เมล็ดพันธุ์แห่งความสุขแผนกงาน  สุขภาวะองค์กรภาคเอกชน. นครปฐม: มหาวิทยาลัยมหิดล. ส�ำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน. (2550). การเสริมสร้างคุณภาพชีวติ และการท�ำงาน  กระแสใหม่ของการบริหารทรัพยากรบุคคล. กรุงเทพฯ: แอร์บอร์นพรินต์. สิทธิชัย นันทนาวิจิตร. (พฤษภาคม–มิถุนายน 2551). “การสร้างวัฒนธรรมองค์การสู่ความเป็น เลิศ,” วารสาร Productivity World เพื่อการเพิ่มผลผลิต. 13(74), 20. สุดารัตน์  ครุฑสึก. (2557). ปัจจัยคุณภาพชีวิตในการท�ำงานของพนักงานความผูกพันต่อ  องค์กรและการสือ่ สารในองค์กรส่งผลต่อการเป็นสมาชิกทีด่ ตี อ่ องค์กรของพนักงานเอกชน  ในเขตกรุงเทพมหานคร. การศึกษาค้นคว้าอิสระ บธ.ม.(บริหารธุรกิจ). กรุงเทพฯ: บัณฑิต วิทยาลัย มหาวิทยาลัยกรุงเทพ. สุพจน์  นาคสวัสดิ์. (2559). การส�ำรวจความผูกพันในการท�ำงานของพนักงาน (Employee  Engagement Survey). กรุงเทพฯ: เอช อาร์  เซ็นเตอร์.

ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2020/2563 161


คุณภาพชีวติ การทำ�งานและวัฒนธรรมโรงเรียนทีส่ ง่ ผลต่อความผูกพันต่อโรงเรียน ของครูและบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนคาทอลิกสังกัดสังฆมณฑลจันทบุรี

Alderfer, C.P. (1972). Existence, Relatedness, and Growth; Human Needs in  Organizational Settings. New York: Free Press. Allen, N.J. and Meyer, J.P. (1990). “The Measurement and Antecedents of Affective Continuance and Normative Commitment of the Organizations,” Journal of Occupational Psychology, 63, 1-18. Beare, H. and et al. (1989). Creating an Excellent School: Some New Management  Techniques. London: Rutledge. Buchanan, B. (December 1974). “Building Organizational Commitment: The Socialization of Managers in Work Organization,” Administrative Science  Quarterly, 19(4), 533-546. George, J.M. and Jones, G.R. (2004). Understanding and Managing Organizational  Behavior. Tanas: Addison-Wesley. Hanson, E.M. (1991). Educational Administration and Organizational Behavior. Boston, MA: Allyn and Bacon. Lussier, R.N. (2001). Leadership : Theory, Application and Skill Development. Ohio: South-Western College. Luthans, F. (1995). Organization Behavior. 7th ed. New York: McGraw-Hill. Maslow, A.H. (1970). Motivation and Personality. New York: Haper and Brother. Porter, L.W. and et al. (December 1974). “Organizational Commitment Job Satisfac tion and Turnover among Psychiatric Technicians,” Journal of Applied  Psychology, 59(5), 603-609. Rutebuka, A.K. (2000). “Job satisfaction among Teacher in Seventy – day Adventist School and its Relationship to Commitment and Selected Work Conditions,” Journal of Research on Christian Education, 9, 257-289. Sergiovanni, T.J. and Strarratt, R.J. (1988). Supervision Human Perspectives.  4th ed. New York: McGraw-hill.

162 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม


พูนพงษ์ คูนา, ธีรังกูร วรบ�ำรุงกุล และ วรญา ภูเสตวงษ์

Steers, R.M. (1977). Organizational Effectiveness : A Behavioral View. California: Goodyear. Wiles, K. (1953). Supervision for Better School: The Role of the Official Leader  in Program Development. 6th ed. Englewood Cliffs, NJ: Prentice-Hall. Yamane, T. (1973). Statistic: An Introductory Analysis. 3rd ed. New York: Harper and Row.

ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2020/2563 163


คุณลักษณะของนักศึกษา

ในสถาบันอุดมศึกษาคาทอลิกในประเทศไทย ตามอัตลักษณ์การศึกษาคาทอลิก

Students Characteristics

in Higher Educational Institution according to the Identities of Catholic Education. ดร.อัชฌา ชื่นบุญ

* อาจารย์ประจ�ำส�ำนักวิชาศึกษาทั่วไป  วิทยาลัยเซนต์หลุยส์

ดร.ชุติมา แสงดารารัตน์

* อาจารย์ประจ�ำส�ำนักวิชาศึกษาทั่วไป  วิทยาลัยเซนต์หลุยส์

บาทหลวง ผศ.ดร.อภิสิทธิ์ กฤษเจริญ

* บาทหลวงในคริสต์ศาสนจักรคาทอลิก  สังกัดสังฆมณฑลราชบุรี * รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

อาจารย์ศรัญญู พงศ์ประเสริฐสิน

* อาจารย์ประจ�ำหลักสูตรการศึกษาบัณฑิต  สาขาวิชาคริสตศาสนศึกษา วิทยาลัยแสงธรรม  ศาสตราจารย์กิตติคุณ นพ.ดร.จิตร สิทธีอมร * อธิการบดีวิทยาลัยเซนต์หลุยส์

ข้อมูลบทความ

* รับบทความ  27 พฤษภาคม 2562 * แจ้งแก้ไข  18 กันยายน 2562 * ตอบรับบทความ  25 กันยายน 2562

Dr.Athcha Chuenboon

* Lecturer, School of General Education,  Saint Louis College, Thailand.

Dr.Chutima Saengdararat

* Lecturer, School of General Education,  Saint Louis College, Thailand.

Rev.Asst.Prof.Dr.Aphisit Kitcharoen

* Reverend in Roman Catholic Church,  Ratchaburi Diocese. * Vice President for Academic Affairs of  Saengtham College.

Saranyu Pongprasertsin

* Lecturer, Bachelor of Education Program in  Christian Studies, Saengtham College.

Prof.Emeritus Chitr Sitthi-amorn

* President of Saint Louis College, Thailand.


อัชฌา ชื่นบุญ, ชุติมา แสงดารารัตน์, อภิสิทธิ์ กฤษเจริญ, ศรัญญู พงศ์ประเสริฐสิน และ จิตร สิทธีอมร

บทคัดย่อ

การวิ จั ย ครั้ ง นี้ มี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ  1) ศึ ก ษาคุ ณ ลั ก ษณะของ นักศึกษาระดับอุดมศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาคาทอลิกประเทศไทย ตามอัตลักษณ์การศึกษาคาทอลิก และ 2) เปรียบเทียบคุณลักษณะของ นักศึกษาระดับอุดมศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาคาทอลิกประเทศไทย ตามอัตลักษณ์การศึกษาคาทอลิก จ�ำแนกตามชั้นปี  และกลุ่มสาขาวิชา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย นักศึกษาระดับปริญญาตรี  ในสถาบัน อุดมศึกษาคาทอลิกในประเทศไทย ซึ่งเป็นสถาบันอุดมศึกษาเอกชนใน ก� ำ กั บ ดู แ ลของส� ำ นั ก งานคณะกรรมการการอุ ด มศึ ก ษา กระทรวง ศึกษาธิการ จ�ำนวน 5 สถาบัน รวมทั้งสิ้น 1,111 คน ได้มาโดยวิธีการ สุม่ แบบหลายขัน้ ตอน เครือ่ งมือทีใ่ ช้เก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม คุณลักษณะของนักศึกษาระดับอุดมศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาคาทอลิก ประเทศไทย ตามอั ต ลั ก ษณ์ ก ารศึ ก ษาคาทอลิ ก  แบบมาตราส่ ว น ประมาณค่า 10 ระดับ มีความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.97 วิเคราะห์ข้อมูล ด้วยสถิตเิ ชิงพรรณนา และการวิเคราะห์  ความแปรปรวนแบบทางเดียว ผลการวิจัยพบว่า  1. คุณลักษณะของนักศึกษาระดับอุดมศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา คาทอลิกประเทศไทย ตามอัตลักษณ์การศึกษาคาทอลิกอยูใ่ นระดับมาก  2. ชั้ น ปี   และกลุ ่ ม สาขาวิ ช าที่ แ ตกต่ า งกั น  คุ ณ ลั ก ษณะของ นักศึกษาระดับอุดมศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาคาทอลิกประเทศไทย ตามอัตลักษณ์การศึกษาคาทอลิกโดยรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยส�ำคัญ ทางสถิติที่ระดับ .05 ค�ำส�ำคัญ:

คุณลักษณะนักศึกษา สถาบันอุดมศึกษาคาทอลิก อัตลักษณ์

ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2020/2563 165


คุณลักษณะของนักศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาคาทอลิกในประเทศไทยตามอัตลักษณ์การศึกษาคาทอลิก

Abstract

The purposes of this descriptive research aimed to 1) study the students characteristics in higher educational institution according to the identities of Catholic Education and 2) compare the students characteristics in higher educational institution according to the identities of Catholic Education by their class level and field of study 3) The sample group used in this study were the 1,111 undergraduate students in Catholic higher education institutions in Thailand. There were five public institutes supervised by the Higher Education Commission, The Ministry of Education. The sample was collected using multi-stage sampling method while the tool used for identifying the characteristics of students was a 10-levels rating scale questionnaire. The questionnaire had 0.97 reliability. Analyzing descriptive statistics and analysis of variance, the result were shown as follow. 1. Students characteristics in higher educational institution according to the Identities of Catholic Education was rated at a high level. 2. Class level and field of study in differences were affected the students characteristics in higher educational institution according to the identities of Catholic Education at 0.05 significant level. Keywords:

166 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

Students characteristics Catholic higher education institutions Identities


อัชฌา ชื่นบุญ, ชุติมา แสงดารารัตน์, อภิสิทธิ์ กฤษเจริญ, ศรัญญู พงศ์ประเสริฐสิน และ จิตร สิทธีอมร

ความเป็นมาและความส�ำคัญของปัญหา ในปัจจุบันแนวทางการพัฒนาประเทศ เป็ น ไปตามโมเดลไทยแลนด์   4.0 ที่ เ น้ น เทคโนโลยีและความคิดสร้างสรรค์  ทุกภาค ส่ ว นไม่ ว ่ า จะเป็ น ภาคเกษตรกรรมและ อุ ต สาหกรรม รวมถึ ง สถานศึ ก ษาด้ ว ย ซึ่ ง สถาบันอุดมศึกษามีหน้าที่ในการผลิตบัณฑิต ให้ มี คุ ณ ภาพ เพราะสถาบั น อุ ด มศึ ก ษาคื อ สถาบั น ที่ จั ด การศึก ษาที่สูงกว่าระดับมัธยม ศึ ก ษา มี ทั้ ง ที่ เ ป็ น ระดั บ ต�่ ำ กว่ า ปริ ญ ญาตรี ปริญญาตรี  และสูงกว่าปริญญาตรี  คือ ระดับ บั ณ ฑิ ต ศึ ก ษา โดยทั่ ว ไปส่ ว นใหญ่ ใช้ ค� ำ ว่ า "มหาวิทยาลัย" ซึง่ ใช้สำ� หรับสถาบัน ทีเ่ ปิดสอน ระดับปริญญาตรีและสูงกว่าปริญญาตรีขึ้นไป มหาวิทยาลัยจึงมีบทบาทหน้าที่ในการให้วิชา ความรู้แก่ผู้ที่มาเรียน มีบทบาทหน้าที่หลักใน การด�ำเนินภารกิจส�ำคัญ 4 ประการ คือ การ ผลิตบัณฑิต การวิจัยและพัฒนา การบริการ ทางวิ ช าการ และการท� ำ นุ บ� ำ รุ ง ศิ ล ปะและ วัฒนธรรม (สารานุกรมไทยส�ำหรับเยาวชน, ม.ป.ป.) ซึ่งสถานศึกษาส่วนใหญ่ได้ปรับปรุง คุ ณ ลั ก ษณะบั ณ ฑิ ต   โดยเน้ น ทั้ ง ความรู ้ คุณธรรม จริยธรรม และคุณสมบัติอื่นๆ แต่ บางสถานศึกษามีการเน้นคุณธรรมน�ำความรู้ สถาบั น ศึ ก ษาบางแห่ ง เน้ น ความรู ้ ม ากกว่ า คุ ณ ธรรม (ชู ช าติ   อารี จิ ต รานุ ส รณ์ ,  2552) และบางสถานศึกษายังมีหลักสูตรที่สอดรับ

แนวนโยบายไทยแลนด์   4.0 นอกจากนี้ สุ ร เกี ย รติ   ธาดาวั ฒ นาวิ ท ย์   (2561) ศึ ก ษา คุณลักษณะบัณฑิตที่สอดคล้องกับการพัฒนา ประเทศไทยตามแนว “ประเทศไทย 4.0” โดยศึ ก ษาจากหลากหลายผู ้ เชี่ ย วชาญและ แหล่ ง ข้ อ มู ล ต่ า งๆ พบว่ า  คุ ณ ลั ก ษณะของ บั ณ ฑิ ต ที่ ส อดคล้ อ งกั บ การพั ฒ นาประเทศ จะต้องมีลักษณะของการคิดวิเคราะห์  การคิด สร้างสรรค์  การสร้างสรรค์  ผลงาน มีความ รับผิดชอบต่อสังคม การท�ำงานร่วมกับผู้อื่น มีภาวะผูน้ ำ�  มีความภาคภูมใิ จในความเป็นไทย มี  ความรูด้ า้ นเทคโนโลยีและดิจทิ ลั  รูจ้ กั เรียนรู้ ตลอดชีวิต มีความเป็นผู้ประกอบการ และมี ทักษะการท�ำงาน  ระบบการศึกษาในสถาบันการศึกษา คาทอลิกมีนโยบายของการศึกษาคาทอลิกเกีย่ ว กั บ ความรั บ ผิ ด ชอบของสถาบั น การศึ ก ษา คาทอลิ ก ต่ อ สั ง คม ประกอบด้ ว ย 1) สร้ า ง บรรยากาศที่ ส ่ ง เสริ ม เสรี ภ าพและความรั ก แบบพระวรสารในสถาบัน 2) เปิดโอกาสให้เด็ก และเยาวชนรู ้ จั ก รั บ ผิ ด ชอบในส่ ว นตั ว และ ส่วนรวมตามวัยและภาวะของแต่ละคน และ 3) เน้นการปฏิบัติและการปลูกฝังค่านิยมของ การเคารพในสิทธิต่อกันและกันการมีความคิด สร้างสรรค์  และการผนึกก�ำลัง ท�ำความดีร่วม กั น พั ฒ นาชุ ม ชนที่ ต นอาศั ย อยู ่   นอกจากนี้ สภาการศึ ก ษาคาทอลิ ก แห่ ง ประเทศไทย

ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2020/2563 167


คุณลักษณะของนักศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาคาทอลิกในประเทศไทยตามอัตลักษณ์การศึกษาคาทอลิก

(2556) ยังมีการกล่าวถึงว่า พระศาสนจักร มีความห่วงใยสถาบันการศึกษาขั้นอุดมศึกษา ด้ ว ยโดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง วิ ท ยาลั ย และ มหาวิทยาลัย โดยตั้งปณิธานว่า ในธรรมนูญ ของสถาบั น ขั้ น อุ ด มศึ ก ษาที่ ขึ้ น อยู ่ กั บ พระ ศาสนจักรจะต้องก�ำหนดให้การแสวงหาวิชา ความรู้ในแต่ละสาขาวิชาด�ำเนินไปตามหลัก การและวิธีการของแต่ละสาขาวิชาเอง และ ด้วยเสรีภาพในการค้นคว้าทางวิทยาศาสตร์  เพื่อที่จะก่อให้เกิดความเข้าใจอย่างลึกซึ้งมาก ขึ้นในแต่ละสาขาวิชา นอกจากนี้  นักศึกษาใน สถาบันเหล่านี้จะได้รับการหล่อหลอมให้เป็น มนุษย์ที่ได้รับการฝึกฝนอย่างดีเยี่ยม พร้อมที่ จะรับภาระความรับผิดชอบอันหนักหน่วงของ สังคม  ส� ำ หรั บ คุ ณ ลั ก ษณะของผู ้ เ รี ย นใน โรงเรี ย นการศึ ก ษาคาทอลิ ก  มี ดั ง นี้   1) รั ก เมตตา รับใช้-รักองค์ความดี  รักและเคารพใน คุณค่าและศักดิ์ศรีของตนเองและผู้อื่น เป็น บุคคลเพือ่ ผูอ้ นื่  เสียสละ มีนา้ ใจ พร้อมแบ่งปัน และช่วยเหลือผู้อื่น โดยไม่หวังสิ่งตอบแทน รู ้ จั ก ให้ อ ภั ย และคืนดี  รัก และทะนุถนอมสิ่ง สร้างทั้งหลาย 2) ซื่อตรง/ ซื่อสัตย์-มีปรีชา ญาณในการดารงตน อยู ่ ใ นความจริ ง  รู ้ จั ก แสวงหาความจริง แยกแยะดี-ชั่ว จริง-เท็จ และให้คุณค่าสิ่งต่างๆ ได้อย่างถูกต้อง กล้า หาญที่จะท�ำสิ่งที่ถูกต้องและเที่ยงตรง จริงใจ

168 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

มีสจั จะ โปร่งใส ไม่คดโกงหรือเบียดเบียนผูอ้ นื่ 3) กตัญญูรู้คุณ-รู้คุณต่อพระเจ้า สิ่งสร้างและ มีพระคุณ และตระหนักในความดีที่ผู้อื่นมอบ ให้ ต น  พร้ อ มตอบแทนคุ ณ ในทุ ก โอกาส นบนอบ เคารพ เชื่อฟัง ให้เกียรติบิดา มารดา และผู ้ มี พ ระคุ ณ รู ้ คุ ณ สถาบั น และแผ่ น ดิ น 4) พอเพี ย ง มี ภู มิ คุ ้ ม กั น -เฉลี ย วและฉลาด รอบคอบ พร้อมรับการเปลี่ยนแปลง พอใจใน สิ่งที่ตนเป็นและมี  ประหยัดอดออม มีชีวิตอยู่ อย่างเรียบง่ายและมีความสุข รักและอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติ 5) รักกันฉันพีน่ อ้ ง-ด�ำเนิน ชีวติ เป็นหนึง่ เดียว ช่วยเหลือเกือ้ กูลกัน บนพืน้ ฐานของความเสมอภาคและเท่ า เที ย มกั น เคารพในความแตกต่างทางความเชื่อศาสนา และวัฒนธรรม และ 6) มุ่งความเป็นเลิศ-ใฝ่รู้ ใฝ่เรียน รู้รอบ และมุ่งพัฒนาสู่ความเป็นเลิศ เต็มตามศักยภาพแห่งตน และจากการประชุม สัมมนาสภาการศึกษาคาทอลิกแห่งประเทศ ไทย ครัง้ ที ่ 42 เมือ่ วันที ่ 19-22 สิงหาคม ค.ศ. 2012 ที่ โรงแรมเอเชี ย พั ท ยา จั ง หวั ด ชลบุ รี ผู้ช่วยศาสตราจารย์  ดร.กฤตินี  ณัฎฐวุฒิสิทธิ์ สถาบั น บั ณ ฑิ ต บริ ห ารธุ ร กิ จ ศศิ น ทร์ แ ห่ ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้สรุปอัตลักษณ์ของ ศิษย์เก่าจ�ำนวนมากของโรงเรียนคาทอลิกเป็น บุคคลคุณภาพของสังคม คือ เป็นคนเก่งและ เป็นคนดี  ลักษณะเด่นที่พบคือ จะเป็นคนที่ นึกถึงคนอื่นและนึกถึงผลจากการกระท�ำของ


อัชฌา ชื่นบุญ, ชุติมา แสงดารารัตน์, อภิสิทธิ์ กฤษเจริญ, ศรัญญู พงศ์ประเสริฐสิน และ จิตร สิทธีอมร

ตนเองกับคนอื่นอยู่เสมอ ซึ่งน�ำไปสู่การด�ำรง ชีวิตและการท�ำงาน โดยค�ำนึงถึงสังคมและ สิ่งแวดล้อม โดยไม่ได้นึกถึงตนเองเป็นส�ำคัญ (ฉลองรัฐ สังขรัตน์, 2559)  สถาบันอุดมศึกษาคาทอลิกในประเทศ ไทย มีทงั้ หมด 5 แห่งประกอบด้วย มหาวิทยาลัย อัสสัมชัญ มหาวิทยาลัยเซนต์จอห์น วิทยาลัย เซนต์หลุยส์  วิทยาลัยแสงธรรม และวิทยาลัย นานาชาติเซนต์เทเรซา และเป็นสถาบันอุดม ศึกษาเอกชนในก�ำกับดูแลของส�ำนักงานคณะ กรรมการการอุดมศึกษา ถึงแม้จะมีการจัดการ เรี ย นการสอนที่ มี ค วามแตกต่ า งและหลาก หลายกลุ ่ ม วิ ช า แต่ ก็ มี พั น ธกิ จ เช่ น เดี ย วกั บ สถาบันอุดมการศึกษาอื่นๆ อาจจะต่างกันที่มี พันธกิจหลักทีจ่ ะต้องด�ำเนินการตามแบบฉบับ ของพระเยซูเจ้าในการรักและรับใช้เพือ่ นมนุษย์ เพือ่ การพัฒนามนุษย์ในทุกมิตดิ ว้ ยความรูค้ วาม ช�ำนาญในศาสตร์เฉพาะทาง เคารพในคุณค่า และศั ก ดิ์ ศ รี ค วามเป็ น มนุ ษ ย์   อั น เป็ น การ สร้างสรรค์ความผาสุกและสันติสุขแก่สังคม ดังนั้น การวิจัยนี้จะช่วยท�ำให้ทราบเกี่ยวกับ คุณลักษณะของนักศึกษา ในสถาบันอุดมศึกษา คาทอลิกในประเทศไทย ตามอัตลักษณ์การ ศึกษาคาทอลิกในแต่ละสถาบันอันจะน�ำผลไป เป็ น ข้ อ มู ล ส� ำ หรั บ การพั ฒ นานั ก ศึ ก ษาให้ มี คุณลักษณะทีพ่ ึงประสงค์ของสถานศึกษานัน้ ๆ

วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาคุณลักษณะของนักศึกษา ระดับอุดมศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาคาทอลิก ประเทศไทย ตามอัตลักษณ์การศึกษาคาทอลิก  2. เพื่ อ เปรี ย บเที ย บคุ ณ ลั ก ษณะของ นักศึกษาระดับอุดมศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา คาทอลิกประเทศไทย ตามอัตลักษณ์การศึกษา คาทอลิก จ�ำแนกตามชั้นปี  และกลุ่มสาขาวิชา นิยามศัพท์ คุ ณ ลั ก ษณะของนั ก ศึ ก ษา หมายถึ ง คุณลักษณะของนักศึกษาระดับอุดมศึกษาใน สถาบันอุดมศึกษาคาทอลิกประเทศไทย ตาม อัตลักษณ์การศึกษาคาทอลิกโดยใช้คณ ุ ค่าพระ วรสาร มี  21 คุณค่าเป็นเครื่องมือวัด ดังนี้  1 ความเชื่อศรัทธา (Faith) หมายถึง ความเชื่อหรือความศรัทธาของบุคคลที่เป็นไป ตามค�ำสอนของศาสนาที่ตนเองนับถือ การน�ำ หลักปฏิบัติทางศาสนามาประยุกต์ใช้ในชีวิต ประจ�ำวัน และด�ำเนินชีวิตตามความเชื่อและ ความศรัทธาของของศาสนา 2. ความจริง (Truth) หมายถึง การ ยอมรับความจริงที่เกิดขึ้นในชีวิต ด�ำเนินชีวิต ไปตามความจริงที่เกิดขึ้นแม้จะล�ำบาก และ ยอมรับ และกล้าทีจ่ ะยืนยันความจริงทีเ่ กิดขึน้ 3. การไตร่ตรอง/ภาวนา (Reflection /Prayer) หมายถึง การสวดภาวนา นั่งสมาธิ

ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2020/2563 169


คุณลักษณะของนักศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาคาทอลิกในประเทศไทยตามอัตลักษณ์การศึกษาคาทอลิก

เพื่อให้เกิดความสงบในจิตใจ การน�ำกระบวน การคิด การไตร่ตรองมาใช้ในการเรียน การ ไตร่ตรองการกระท�ำของตน เพื่อให้เกิดการ ตัดสินใจที่ถูกต้อง 4. มโนธรรม/วิจารณญาณ/ความกล้า หาญเชิงศีลธรรม (Conscience/Discernment/Moral Courage) หมายถึ ง  ความ สามารถในการแยกแยะความชั่ ว  ความดี ตัดสินใจเลือกทางปฏิบัติที่ดี  ถูกต้อง ในเรื่อง ต่างๆ และความกล้าหาญ ยึดมั่นในการรักษา ศีลธรรมและคุณงามความดี 5. อิ ส รภาพ (Freedom) หมายถึ ง การมี อิ ส ระที่ จ ะปฏิ บั ติ ใ นสิ่ ง ที่ ถู ก ต้ อ งดี ง าม มีอสิ ระทางความคิด ด�ำเนินชีวติ ประจ�ำวันและ เคารพเสรีภาพทางความคิดต่อตนเองและผูอ้ นื่ 6. ความยินดี  (Joy) หมายถึง การยินดี ต่อความส�ำเร็จของตนเองและผู้อื่น ยินดีเรียน รูส้ งิ่ ใหม่ๆ และไม่หวัน่ ไหว ไม่หวาดกลัวต่อการ เปลี่ยนแปลงของชีวิต 7. ความเคารพ/ศักดิ์ศรี  (Respect/ Dignity) หมายถึง ความเข้าใจ และเคารพใน ศักดิ์ศรีของตนเอง ยอมรับความแตกต่างของ บุคคลในสังคม และเคารพในสิทธิ/เสรีภาพของ ผู้อื่น โดยการรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น 8. ความสุ ภ าพถ่ อ มตน (Humility) หมายถึ ง  การให้ เ กี ย รติ ผู ้ อื่ น รู ้ จั ก กาลเทศะ ไม่ ก ้ า วร้ า ว ไม่ ใช้ ค วามรุ น แรง มี ม ารยาท มีความเคารพ และอ่อนน้อมต่อผู้ใหญ่ 170 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

9. ความซื่อตรง (Honesty) หมายถึง การซื่อสัตย์ในการปฏิบัติหน้าที่ของตน ไม่พูด ปดและกล้าพูดความจริง ไม่ลกั ขโมย ไม่คดโกง และไม่เบียดเบียนผู้อื่น 10. ความเรียบง่าย / ความพอเพียง (Simplicity/Sufficiency) หมายถึง การน�ำ หลักเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในการด�ำเนินชีวิต มีการปรับตัวและใช้ชีวิตร่วมกับเพื่อนในสังคม ใช้สงิ่ ของต่างๆ อย่างสมดุลตามสถานภาพของ ตนเอง  11. ความรัก (Love) หมายถึง การมี ความสามัคคีในหมู่คณะ มีความรัก ไม่เห็นแก่ ตัว และความรักทีม่ อบแก่ทกุ คนในสังคม รูจ้ กั เสียสละตนเอง และมีจิตอาสา 12. เมตตา (Compassion) หมายถึง การปฏิบัติดีต่อผู้อื่นโดยไม่หวังสิ่งตอบแทน แบ่งปันสิง่ ของทีต่ นมีแก่ผทู้ ตี่ อ้ งการ ช่วยเหลือ ผู้ยากไร้  ผู้ด้อยโอกาสในสังคม 13. ความกตั ญ ญู รู ้ คุ ณ  (Gratitude) หมายถึง ตอบแทนพระคุณของบิดา มารดา ครู  อาจารย์  และผู้มีพระคุณ โดยพูดดีและ ปฏิบัติดีทุกครั้งที่มีโอกาส 14. การงาน/หน้ า ที่   (Work/Duty) หมายถึง การเป็นพลเมืองที่ดีของสังคมและ ประเทศชาติ   แสวงหาความรู ้   เพื่ อ พั ฒ นา ตนเอง มีนิสัยเอาการเอางาน และรับผิดชอบ และเห็นคุณค่าในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย


อัชฌา ชื่นบุญ, ชุติมา แสงดารารัตน์, อภิสิทธิ์ กฤษเจริญ, ศรัญญู พงศ์ประเสริฐสิน และ จิตร สิทธีอมร

15. การรับใช้  (Service) หมายถึง การ ช่วยเหลือผู้อ่ืน โดยไม่หวังสิ่งตอบแทน ช่วย เหลือการด�ำเนินกิจกรรมในสถาบันการศึกษา และชุมชน และมีส่วนร่วมในกิจกรรมบ�ำเพ็ญ ประโยชน์ของสถาบัน 16. ความยุติธรรม (Justice) หมายถึง การได้ รั บ การปฏิ บั ติ ด ้ ว ยความยุ ติ ธ รรม ใช้ทรัพยากรสิ่งแวดล้อมอย่างยุติธรรม และ ไม่ ฟุ ่ มเฟื อ ย สามารถตัดสินปัญหาที่เ กิดขึ้น ด้วยความพึงพอใจของแต่ละฝ่าย 17. สันติ/ การคืนดี  (Peace/Reconciliation) หมายถึง ความสามารถปฏิบัติตน อยู่ร่วมกันในสังคมอย่างเสมอภาค ปฏิบัติต่อ เพื่อนเพื่อให้เกิดความสัมพันธ์อันดีและสันติ และน�ำแนวปฏิบัติการขจัดความขัดแย้งมาใช้ ในการด�ำเนินชีวิตประจ�ำวัน 18. อภั ย  (Forgiveness) หมายถึ ง การให้อภัยผู้อื่นที่ท�ำผิดต่อตนเองด้วยใจสงบ อดทนต่อข้อบกพร่องของตนเอง ให้อภัยต่อ ความผิดของตนเอง 19. ความเป็นหนึ่ง/ความเป็นชุมชน (Unity/Community) หมายถึง การช่วยดูแล รักษาสาธารณะสมบัติ  สามารถท�ำงานร่วมกับ สมาชิกของสถาบัน สามารถท�ำงานร่วมกับ ชุมชน สร้างความสัมพันธ์อันดีต่อเพื่อนและ บุคคลรอบข้าง

20. การพิศเพ่งสิ่งสร้าง/รักษ์ธรรมชาติ (Wonder)/Conservation) หมายถึง การ เรียนรู้  ท�ำความเข้าใจ และซาบซึ้งในความ สวยงามของธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม รูค้ ณ ุ ค่า ของธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล้ อ ม ดู แ ลรั ก ษา ธรรมชาติ  และสิ่งแวดล้อม 21. ความหวัง (Hope) หมายถึง การ ตั้ ง เป้ า หมายในการด� ำ เนิ น ชี วิ ต ที่ ดี ต ามแนว ปฏิบัติศาสนาที่ตนเองนับถือ มีความคิดเชิง บวกและมั่ น คงในความดี   มี ค วามอดทน พากเพียร และมองโลกในแง่ดี ขอบเขตการวิจัย กลุ ่ ม เป้ า หมายเป็ น นั ก ศึ ก ษาระดั บ ปริ ญ ญาตรี ใ นสถาบั น อุ ด มศึ ก ษาคาทอลิ ก ซึ่งเป็นสถาบันอุดมศึกษาเอกชนในก�ำกับดูแล ของส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ จ�ำนวน 5 สถาบัน ได้แก่ มหาวิ ท ยาลั ย อั ส สั ม ชั ญ   มหาวิ ท ยาลั ย เซนต์จอห์น วิทยาลัยเซนต์หลุยส์  วิทยาลัย แสงธรรม และวิทยาลัยนานาชาติเซนต์เทเรซา เปิดการเรียนการสอนประกอบด้วย 3 กลุ่ม สาขาวิ ช าที่ จ� ำ แนกตามคู ่ มื อ การประกั น คุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ระดับ อุดมศึกษา พ.ศ.2553 ดังนี้  1) กลุ่มสาขาวิชา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  มี  2 คณะ ได้แก่ วิศวกรรมศาสตร์  และวิทยาศาสตร์  2) กลุ่ม

ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2020/2563 171


คุณลักษณะของนักศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาคาทอลิกในประเทศไทยตามอัตลักษณ์การศึกษาคาทอลิก

สาขาวิ ช าวิ ท ยาศาสตร์ สุ ข ภาพ มี   3 คณะ ได้แก่  พยาบาลศาสตร์  สาธารณสุขศาสตร์ และกายภาพบ�ำบัด และ 3) กลุ่มสาขาวิชา มนุ ษ ยศาสตร์ แ ละสั ง คมศาสตร์   มี   8 คณะ ได้แก่  นิติศาสตร์  บริหารธุรกิจ นิเทศศาสตร์ ศิลปศาสตร์  จิตวิทยา ศาสนศาสตร์  มนุษย์ ศาสตร์และสังคมศาสตร์  และศึกษาศาสตร์ วิธีการด�ำเนินการวิจัย การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเป็นการวิจัยเชิง พรรณนา (Descriptive research) มี วิ ธี ด�ำเนินการวิจัย ดังนี้ ประชากรที่ใช้ในการวิจัย  นักศึกษา ระดั บ ปริ ญ ญาตรี   ในสถาบั น อุ ด มศึ ก ษา คาทอลิ ก ในประเทศไทย ซึ่ ง เป็ น สถาบั น อุดมศึกษาเอกชนในก�ำกับดูแลของส�ำนักงาน คณะกรรมการการอุ ด มศึ ก ษา กระทรวง ศึกษาธิการ จ�ำนวน 5 สถาบัน ได้แก่  มหา วิทยาลัยอัสสัมชัญ มหาวิทยาลัยเซนต์จอห์น วิทยาลัยเซนต์หลุยส์  วิทยาลัยแสงธรรม และ วิทยาลัยนานาชาติเซนต์เทเรซา รวมทั้งสิ้น 19,534 คน กลุม่ ตัวอย่างทีใ่ ช้ในการวิจยั  นักศึกษา ระดั บ ปริ ญ ญาตรี   ในสถาบั น อุ ด มศึ ก ษา คาทอลิ ก ในประเทศไทย ซึ่ ง เป็ น สถาบั น อุดมศึกษาเอกชนในก�ำกับดูแลของส�ำนักงาน คณะกรรมการการอุ ด มศึ ก ษา กระทรวง

172 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

ศึ ก ษาธิ ก าร จ� ำ นวน 5 สถาบั น  รวมทั้ ง สิ้ น 1,111 คน ก�ำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ ตารางก�ำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างของยามาเน่ (Yamane, 1967) แล้ ว ใช้ วิ ธี ก ารสุ ่ ม แบบ หลายขั้ น ตอน (Multi-stages random sampling) การพิ ทั ก ษ์ สิ ท ธิ ข องกลุ ่ ม ตั ว อย่ า ง โครงการวิจัยนี้ได้ผ่านการพิจารณาของคณะ กรรมการจริยธรรมเกี่ยวกับการวิจัยในมนุษย์ วิทยาลัยเซนต์หลุยส์ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย 2 ตอน ประกอบด้วยตอนที ่ 1 เป็นข้อมูลทัว่ ไป ของผู้ตอบแบบสอบถาม เป็นแบบตรวจสอบ รายการ จ� ำ นวน 6 ข้ อ  และตอนที่   2 เป็ น แบบสอบถามคุณลักษณะของนักศึกษาระดับ อุ ด มศึ ก ษาในสถาบั น อุ ด มศึ ก ษาคาทอลิ ก ประเทศไทย ตามอัตลักษณ์การศึกษาคาทอลิก แบบมาตราส่วนประมาณค่า 10 ระดับ จ�ำนวน 65 ข้ อ  ที่ ผู ้ วิ จั ย ได้ ส ร้ า งขึ้ น  โดยศึ ก ษาจาก แนวคิ ด   ทฤษฎี แ ละผลงานวิ จั ย ต่ า งๆ  ที่ เกี่ ย วข้ อ ง การตรวจสอบคุ ณ ภาพเครื่ อ งมื อ ดังนี้


อัชฌา ชื่นบุญ, ชุติมา แสงดารารัตน์, อภิสิทธิ์ กฤษเจริญ, ศรัญญู พงศ์ประเสริฐสิน และ จิตร สิทธีอมร

1. ตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาของ มาตรวัด (Content Validity) ผ่านการพิจารณา จากข้ อ ค� ำ ถามผู ้ เชี่ ย วชาญ 3 คน มี ค ่ า ดั ช นี ความสอดคล้อง (Index of Item–Objective Congruence: IOC) ระหว่าง 0.67–1.00  2. น�ำแบบวัดไปทดลองใช้  (Try out) กับกลุ่มที่ไม่ใช่กลุ่มตัวอย่าง จ�ำนวน 30 คน เพื่ อ ตรวจสอบ ความเที่ ย ง (Reliability) ได้ค่าสัมประสิทธิ์แอลฟ่าด้วยสูตรของครอน บาค (Cronbach’s Alpha Coefficient) เท่ากับ 0.97  การวิเคราะห์ข้อมูลและสถิติที่ใช้ใน การวิ เ คราะห์ข ้อมูล  ใช้สถิติพื้นฐาน ได้แก่ ค่าความถี ่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลีย่  กับค่าเบีย่ งเบน มาตรฐาน  เพื่ อ อธิ บ ายคุ ณ ลั ก ษณะของ นักศึกษาระดับอุดมศึกษา ตามอัตลักษณ์การ ศึ ก ษาคาทอลิ ก  และการวิ เ คราะห์ ค วาม แปรปรวนแบบทางเดี ย วในการทดสอบ สมมติฐานการวิจัย

ผลการวิเคราะห์ข้อมูล 1. กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มากที่สุด ร้อยละ 67.68 อายุเฉลี่ย 21.8 ปี นับถือศาสนาพุทธมากที่สุด ร้อยละ 81.13 ก� ำ ลั ง ศึ ก ษาอยู ่ ที่ ม หาวิ ท ยาลั ย อั ส สั ม ชั ญ มากที่สุด ร้อยละ 28.5 รองลงมา วิทยาลัย นานาชาติ เ ซนต์ เ ทเรซา  ร้ อ ยละ  27.60 มหาวิ ท ยาลั ย เซนต์ จ อห์ น  ร้ อ ยละ 18.97 วิ ท ยาลั ย เซนต์ ห ลุ ย ส์   ร้ อ ยละ 16.74 และ วิทยาลัยแสงธรรม ร้อยละ 8.19 ตามล�ำดับ กลุ่มสาขาวิชาที่เรียนเป็น มนุษยศาสตร์และ สังคมศาสตร์มากที่สุด ร้อยละ 56.81 และ ก�ำลังศึกษาอยู่  ชั้นปีที่  2 มากที่สุด ร้อยละ  28.05  2. การศึ ก ษาระดั บ คุ ณ ลั ก ษณะของ นักศึกษาระดับอุดมศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา คาทอลิกประเทศไทย ตามอัตลักษณ์การศึกษา คาทอลิก ดังตารางที่  1 ต่อไปนี้

ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2020/2563 173


คุณลักษณะของนักศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาคาทอลิกในประเทศไทยตามอัตลักษณ์การศึกษาคาทอลิก

ตารางที่  1 ค่าเฉลี่ยและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของคุณลักษณะของนักศึกษาระดับอุดมศึกษาใน สถาบันอุดมศึกษาคาทอลิกประเทศไทย ตามอัตลักษณ์การศึกษาคาทอลิกรายด้าน และภาพรวม คุณค่าที่  1  คุณค่าที่  2  คุณค่าที่  3  คุณค่าที่  4  คุณค่าที่  5  คุณค่าที่  6  คุณค่าที่  7  คุณค่าที่  8  คุณค่าที่  9  คุณค่าที่  10  คุณค่าที่  11  คุณค่าที่  12  คุณค่าที่  13  คุณค่าที่  14  คุณค่าที่  15  คุณค่าที่  16  คุณค่า 17  คุณค่าที่  18  คุณค่าที่  19  คุณค่าที่  20  คุณค่าที่  21

รายด้าน   ความเชื่อ ความศรัทธา ความจริง การไตร่ตรอง/ภาวนา  มโนธรรม/วิจารณญาณ/ ความกล้าหาญเชิงศีลธรรม อิสรภาพ  ความยินดี  ความเคารพ/ศักดิ์ศรี  ความสุภาพถ่อมตน ความซื่อตรง  ความเรียบง่าย/ความพอเพียง  ความรัก เมตตา  ความกตัญญูรู้คุณ การงาน/หน้าที่    การรับใช้  ความยุติธรรม  สันติ/การคืนดี อภัย  ความเป็นหนึ่ง/ความเป็นชุมชน ความมหัศจรรย์ใจในสิ่งสร้าง/ รักษ์ธรรมชาติ  ความหวัง  รวมทั้ง 21 ด้าน

174 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

8.16 8.54 7.86

S.D. แปลความหมาย 1.49 มาก 1.23 มาก 1.44 มาก

8.52 8.65 8.64 8.79 8.82 8.72 8.41 8.59 8.60 8.86 8.65 8.48 8.52 8.60 8.50 8.61

1.21 1.16 1.20 1.15 1.21 1.17 1.13 1.12 1.17 1.18 1.08 1.19 1.15 1.16 1.22 1.10

มาก มาก มาก มาก มาก มาก มาก มาก มาก มาก มาก มาก มาก มาก มาก มาก

8.71 8.69 8.58

1.17 1.20 1.06

มาก มาก มาก


อัชฌา ชื่นบุญ, ชุติมา แสงดารารัตน์, อภิสิทธิ์ กฤษเจริญ, ศรัญญู พงศ์ประเสริฐสิน และ จิตร สิทธีอมร

จากตารางที่  1 พบว่า คุณลักษณะของนักศึกษาระดับอุดมศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา คาทอลิกประเทศไทย ตามอัตลักษณ์การศึกษาคาทอลิกในภาพรวมอยู่ในระดับมาก (x̅=8.58) เมื่อพิจารณารายด้านเรียง 3 ล�ำดับสูงสุด ได้แก่  ความกตัญญูรู้คุณ มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด (x̅=8.86) ความสุภาพ ถ่อมตน (x̅=8.82) และความเคารพ/ศักดิ์ศรี  (x̅=8.79) ตามล�ำดับ ส�ำหรับการไตร่ ตรอง/ภาวนา มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด (x̅=7.86)  3. การเปรียบเทียบคุณลักษณะของนักศึกษาระดับอุดมศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาคาทอลิก ประเทศไทย ตามอัตลักษณ์การศึกษาคาทอลิก จ�ำแนกตามชั้นปี  และกลุ่มสาขาวิชา ดังแสดงใน ตารางที่  2 – 5 ต่อไปนี้ ตารางที่ 2 คุณลักษณะของนักศึกษาระดับอุดมศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาคาทอลิกประเทศไทย ตามอัตลักษณ์การศึกษาคาทอลิกในภาพรวม จ�ำแนกตามชั้นปี คุณค่า ชั้นปี จ�ำนวน ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน (x̅) มาตรฐาน (S.D.) F-test

p

รวมทั้ง 21 ด้าน 1 304 8.72 1.29 2.96 0.03* 2 314 8.59 0.96 3 231 8.52 0.98 4 273 8.47 0.94 *p<.05 จากตารางที ่ 2 ผลการทดสอบสมมติฐานด้วย F – test พบว่า ชัน้ ปีแตกต่างกันคุณลักษณะ ของนักศึกษาระดับอุดมศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาคาทอลิกประเทศไทย ตามอัตลักษณ์การศึกษา คาทอลิกโดยรวมแตกต่างกันอย่างมีนยั ส�ำคัญทางสถิตทิ รี่ ะดับ .05 (F – test = 2.96, sig. = 0.03) จึงได้ทดสอบความแตกต่างรายคูข่ องคุณลักษณะของนักศึกษาระดับอุดมศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา คาทอลิกประเทศไทย ตามอัตลักษณ์การศึกษาคาทอลิกในภาพรวมจ�ำแนกตามชั้นปีดังแสดงใน ตารางที่  4 ต่อไปนี้

ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2020/2563 175


คุณลักษณะของนักศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาคาทอลิกในประเทศไทยตามอัตลักษณ์การศึกษาคาทอลิก

ตารางที่  3 เปรียบเทียบความแตกต่างรายคู่ของคุณลักษณะของนักศึกษาระดับอุดมศึกษาใน สถาบันอุดมศึกษาคาทอลิกประเทศไทย ตามอัตลักษณ์การศึกษาคาทอลิกในภาพรวม จ�ำแนกตาม ชั้นปี ชั้นปีที่ 1 2 3 4 *p<.05

1 2 3 4 8.72 - 0.13 0.19 0.25* 8.59 - 0.07 0.12 8.52 - 0.06 8.47 -

จากตารางที่  3 พบว่า มีจ�ำนวน 1 คู่  คือ กลุ่มที่อยู่ชั้นปีที่  1 กับ ชั้นปีที่  4 มีคุณลักษณะ ของนักศึกษาระดับอุดมศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาคาทอลิกประเทศไทย ตามอัตลักษณ์การศึกษา คาทอลิกในภาพรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ตารางที่ 4 คุณลักษณะของนักศึกษาระดับอุดมศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาคาทอลิกประเทศไทย ตามอัตลักษณ์การศึกษาคาทอลิกในภาพรวม จ�ำแนกตามกลุ่มสาขาวิชา ประเด็น กลุ่มสาขาวิชา จ�ำนวน ค่าเฉลี่ย ส่วน F-test p (x̅) เบี่ยงเบน มาตรฐาน (S.D.)

รวมทั้ง 21 ด้าน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 137 8.19 0.89 13.07 0.00* วิทยาศาสตร์สุขภาพ 348 8.73 0.88 มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ 637 8.58 1.16 *p<.05

176 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม


อัชฌา ชื่นบุญ, ชุติมา แสงดารารัตน์, อภิสิทธิ์ กฤษเจริญ, ศรัญญู พงศ์ประเสริฐสิน และ จิตร สิทธีอมร

จากตารางที่  4 ผลการทดสอบสมมติฐานด้วย F – test พบว่า กลุ่มสาขาวิชาแตกต่างกัน คุณลักษณะของนักศึกษาระดับอุดมศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาคาทอลิกประเทศไทย ตามอัตลักษณ์ การศึกษาคาทอลิกโดยรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (F – test = 13.07, sig. = 0.00) จึงได้ทดสอบความแตกต่างรายคู่ของคุณลักษณะของนักศึกษาระดับอุดมศึกษาใน สถาบันอุดมศึกษาคาทอลิกประเทศไทย ตามอัตลักษณ์การศึกษาคาทอลิกในภาพรวม จ�ำแนกตาม กลุ่มสาขาวิชา ดังแสดงในตารางที่  5 ต่อไปนี้ ตารางที่  5 เปรียบเทียบความแตกต่างรายคู่ของคุณลักษณะของนักศึกษาระดับอุดมศึกษาใน สถาบันอุดมศึกษาคาทอลิกประเทศไทย ตามอัตลักษณ์การศึกษาคาทอลิกในภาพรวม จ�ำแนกตาม กลุ่มสาขาวิชา กลุ่มสาขาวิชา x̅ วิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์ มนุษยศาสตร์ และเทคโนโลยี สุขภาพ และสังคมศาสตร์

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 8.19 - 0.54* วิทยาศาสตร์สุขภาพ 8.73 - มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ 8.58 *p<.05

0.40* 0.14 -

จากตาราง พบว่า มีจ�ำนวน 2 คู่  คือ กลุ่มที่เรียนสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกับ กลุ่มที่เรียนสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ และกลุ่มที่เรียนสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กับกลุม่ ทีเ่ รียนสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มีคณ ุ ลักษณะของนักศึกษาระดับอุดมศึกษา ในสถาบันอุดมศึกษาคาทอลิกประเทศไทย ตามอัตลักษณ์การศึกษาคาทอลิกโดยรวมแตกต่างกัน อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05

ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2020/2563 177


คุณลักษณะของนักศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาคาทอลิกในประเทศไทยตามอัตลักษณ์การศึกษาคาทอลิก

สรุปผลและอภิปรายผลการวิจัย  1. กลุม่ ตัวอย่างส่วนใหญ่กำ� ลังศึกษาอยู่ ที่มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ มากที่สุด ร้อยละ 28.5 รองลงมา วิทยาลัยนานาชาติเซนต์เทเรซา ร้อยละ 27.60 มหาวิทยาลัยเซนต์จอห์น ร้อย ละ 18.97 วิทยาลัยเซนต์หลุยส์ ร้อยละ 16.74 และวิ ท ยาลั ย แสงธรรม ร้ อ ยละ 8.19 ตาม ล�ำดับ กลุม่ สาขาวิชาทีเ่ รียนเป็น มนุษยศาสตร์ และสังคมศาสตร์มากทีส่ ดุ  ร้อยละ 56.81 และ ก�ำลังศึกษาอยู่  ชั้นปีที่  2 มากที่สุด ร้อยละ 28.05  2. คุ ณ ลั ก ษณะของนั ก ศึ ก ษาระดั บ อุ ด มศึ ก ษาในสถาบั น อุ ด มศึ ก ษาคาทอลิ ก ประเทศไทย ตามอัตลักษณ์การศึกษาคาทอลิก พบว่า ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก (x̅=8.58) เมือ่ พิจารณารายด้านเรียง 3 ล�ำดับสูงสุด ได้แก่ ความกตัญญูรคู้ ณ ุ  มีคา่ เฉลีย่ มากทีส่ ดุ  (x̅=8.86) ความสุภาพ ถ่อมตน (x̅ =8.82) และความ เคารพ/ศักดิ์ศรี  (x̅=8.79) ตามล�ำดับ ส�ำหรับ การไตร่ ต รอง/ภาวนา มี ค ่ า เฉลี่ ย น้ อ ยที่ สุ ด (x̅=7.86)  3. การเปรี ย บเที ย บคุ ณ ลั ก ษณะของ นักศึกษาระดับอุดมศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา คาทอลิกประเทศไทย ตามอัตลักษณ์การศึกษา คาทอลิก จ�ำแนกตามชั้นปี  และกลุ่มสาขาวิชา ผลปรากฏว่า

178 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

3.1 ชั้นปีแตกต่างกันคุณลักษณะ ของนักศึกษาระดับอุดมศึกษาในสถาบัน อุดมศึกษาคาทอลิกประเทศไทย ตาม อัตลักษณ์การศึกษาคาทอลิกโดยรวม แตกต่างกันอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ ทีร่ ะดับ .05 (F – test = 2.96, sig. =  0.03) นั่ น คื อ  ชั้ น ปี ที่   1 มี ค ่ า เฉลี่ ย เท่ า กั บ  8.72 ชั้ น ปี ที่   2 มี ค ่ า เฉลี่ ย เท่ า กั บ  8.59 ชั้ น ปี ที่   3 มี ค ่ า เฉลี่ ย เท่ากับ 8.52 และ ชั้นปีที่  4 มีค่าเฉลี่ย เท่ า กั บ  8.47 ตามล� ำ ดั บ  แสดงว่ า นักศึกษาชั้นปีที่สูงขึ้นจะมีค่าคะแนน เฉลี่ยคุณลักษณะของนักศึกษาระดับ อุ ด มศึ ก ษาในสถาบั น อุ ด มศึ ก ษา คาทอลิกประเทศไทย ตามอัตลักษณ์ การศึกษาคาทอลิกลดลง ซึ่งทดสอบ ความแตกต่างรายคู่  พบว่า มีจ�ำนวน 1 คู่  คือ กลุ่มที่อยู่ชั้นปีที่  1 กับ ชั้นปีที่  4 มี คุ ณ ลั ก ษณะของนั ก ศึ ก ษาระดั บ อุ ด มศึ ก ษาในสถาบั น อุ ด มศึ ก ษา คาทอลิกประเทศไทย ตามอัตลักษณ์ การศึกษาคาทอลิกในภาพรวมแตกต่าง กั น อย่ า งมี นั ย ส� ำ คั ญ ทางสถิ ติ ที่ ร ะดั บ .05 จากผลการวิจัย สามารถอภิปราย ได้วา่  ช่วงรอยต่อจากระดับมัธยมศึกษา ตอนปลายเข้ า สู ่ ก ารศึ ก ษาในระดั บ ปริญญาตรีที่นักศึกษายังคงซึมซับจาก


อัชฌา ชื่นบุญ, ชุติมา แสงดารารัตน์, อภิสิทธิ์ กฤษเจริญ, ศรัญญู พงศ์ประเสริฐสิน และ จิตร สิทธีอมร

การหล่อหลอมและการปลูกฝังคุณธรรม จริ ย ธรรมจากสถาบั น การศึ ก ษาของ ตนเองจนกระทั่งมาศึกษาอยู่ในระดับ ปริญญาตรีชั้นปีที่  1 และชั้นปีที่  2 แต่ ก็ค่อยๆ ลดลง นอกจากนี้  ความเข้ม เข้นการจัดการเรียนการสอนในชัน้ ปีท ี่ 1 และ ชั้นปีที่  2 ยังคงเป็นรายวิชาพื้น ฐาน ยังไม่มกี ารเน้นรายวิชาเฉพาะหรือ วิชาชีพ ดังนั้น การให้ความส�ำคัญใน การเรี ย นและการมองอนาคตในการ ประกอบอาชีพยังคงไม่ชัดเจนเท่ากับ นักศึกษา ชั้นปีที่  3 กับชั้นปีที่  4 ผล การวิจัยยังสอดคล้องกับการศึกษาของ สุวรรณี ละออปักษิณ และคณะ (2561) ทีศ่ กึ ษาคุณลักษณะนักศึกษาตามคุณค่า พระวรสาร วิทยาลัยเซนต์หลุยส์  กลุ่ม ตัวอย่างเป็นเป็นนักศึกษาระดับปริญญา ตรี  คณะพยาบาลศาสตร์  ผลการวิจัย พบว่า คุณลักษณะนักศึกษาตามคุณค่า พระวรสาร ชั้นปี  1 กับชั้นปีที่  4 แตก ต่างกัน แตกต่างกันอย่างมีนัยส�ำคัญ ทางสถิติที่ระดับ .01  3.2  กลุ ่ ม สาขาวิ ช าแตกต่ า งกั น คุ ณ ลั ก ษ ณ ะ ข อ ง นั ก ศึ ก ษ า ร ะ ดั บ อุ ด มศึ ก ษาในสถาบั น อุ ด มศึ ก ษา คาทอลิกประเทศไทย ตามอัตลักษณ์ การศึกษาคาทอลิกโดยรวมแตกต่างกัน

อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (F – test = 13.07, sig. = 0.00) นัน่ คือ สาขาวิ ช าวิ ท ยาศาสตร์ สุ ข ภาพ มี ค ่ า เ ฉ ลี่ ย เ ท ่ า กั บ   8 . 7 3   ส า ข า วิ ช า มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์  มีค่า เฉลี่ ย เท่ า กั บ  8.58 และสาขาวิ ช า วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  มีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 8.19 ซึ่งทดสอบความแตกต่าง รายคู่  พบว่า มีจ�ำนวน 2 คู่  คือ กลุ่ม ที่ เ รี ย นสาขาวิ ช าวิ ท ยาศาสตร์ แ ละ เทคโนโลยี   กั บ กลุ ่ ม ที่ เรี ย นสาขาวิ ช า วิทยาศาสตร์สุขภาพ และกลุ่มที่เรียน สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กับกลุ่มที่เรียนสาขาวิชามนุษยศาสตร์ และสั ง คมศาสตร์   มี คุ ณ ลั ก ษณะของ นั ก ศึ ก ษาระดั บ อุ ด มศึ ก ษาในสถาบั น อุดมศึกษาคาทอลิกประเทศไทย ตาม อัตลักษณ์การศึกษาคาทอลิกโดยรวม แตกต่างกันอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ ระดับ .05 ผลการวิจยั สามารถอภิปราย ได้ว่า สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพมี ค่าเฉลีย่ มากทีส่ ดุ และแตกต่างจากสาขา วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  เพราะ กลุ ่ ม สาขาวิ ช าดั ง กล่ า วมี ม าตรฐาน วิชาชีพก�ำกับ โดยกลุม่ ตัวอย่างประกอบ ด้วย 3 คณะ ได้แก่  1) คณะพยาบาล ศาสตร์  มีพระราชบัญญัติวิชาชีพการ

ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2020/2563 179


คุณลักษณะของนักศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาคาทอลิกในประเทศไทยตามอัตลักษณ์การศึกษาคาทอลิก

พยาบาลและการผดุงครรภ์  ข้อบังคับ สภาการพยาบาล พระราชบัญญัติและ กฎหมายต่างๆ ระเบียบของกระทรวง สาธารณสุ ข ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ วิ ช าชี พ มาตรฐานการพยาบาลและการ ผดุ ง ครรภ์   ตลอดจนสิ ท ธิ ผู ้ ป ่ ว ยที่ วิ ช าชี พ การพยาบาลต้ อ งรู ้   2) คณะ กายภาพบ� ำ บั ด   มี พ ระราชบั ญ ญั ติ วิชาชีพกายภาพบ�ำบัด ข้อบังคับของ สภากายภาพบ�ำบัด และมาตรฐานการ ให้ บ ริ ก ารของผู ้ ป ระกอบวิ ช าชี พ ก า ย ภ า พ บ� ำ บั ด   แ ล ะ   3 )   ค ณ ะ สาธารณสุขศาสตร์  วศิน พิพัฒนฉัตร (2559)   ร ะ บุ ว ่ า บทบาทวิ ช าชี พ สาธารณสุ ข ปั จ จุ บั น มี ค วามชั ด เจน มากขึน้ ในรูปแบบของมาตรฐานวิชาชีพ ตามกฎหมายซึ่งมีกฎหมายมาท�ำหน้าที่ ควบคุมก�ำกับการประกอบวิชาชีพ ไม่วา่ จะเป็นบทบาทในฐานะอาชีวอนามัย หรือการสาธารณสุขชุมชน ซึ่งทั้งสาม คณะจะเรี ย นและจบออกมาท� ำ หน้ า เกี่ ย วข้ อ งกั บ สุ ข ภาพของบุ ค คลและ ชุมชนโดยตรง อีกทั้ง กรอบมาตรฐาน คุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติ  พ.ศ.

180 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

2542 ก�ำหนดคุณภาพของบัณฑิตทุก ระดับคุณวุฒิและสาขา/สาขาวิชาตางๆ ตองเปนไปตามมาตรฐานผลการเรียน รูที่คณะกรรมการการอุดมศึกษาและ ตองครอบคลุมอยางนอย 5 ดาน คือ (1) ดานคุณธรรม จริยธรรม (2) ดาน ความรู  (3) ดานทักษะทางปญญา (4) ดานทักษะความสัมพันธระหวางบุคคล และความรั บ ผิ ด ชอบ และ (5) ด า น ทั ก ษะการวิ เ คราะห เชิ ง ตั ว เลข การ สือ่ สารและการใชเ ทคโนโลยีสารสนเทศ สํ า หรั บ สาขาวิ ช าชี พ หรื อ สาขาวิ ช าที่ เนนทักษะทางปฏิบตั ติ อ งเพิม่ มาตรฐาน ผลการเรียนรู้ดานทักษะพิสัย  ข้อเสนอแนะ ข้อเสนอแนะที่ได้จากการวิจัย 1. ควรมีการศึกษาวิจัยระยะยาวเพื่อดู พัฒนาการของนักศึกษาตั้งแต่ชั้นปีที่  1 จน ส�ำเร็จการศึกษา 2. ควรมีการศึกษาวิจัยคุณภาพเพื่อให้ ได้ขอ้ มูลเชิงลึกว่าท�ำไมชัน้ ปีทสี่ งู ขึน้ คุณลักษณะ ของนั ก ศึ ก ษาระดั บ อุ ด มศึ ก ษา ในสถาบั น อุดมศึกษาคาทอลิกประเทศไทยจึงลดลง


อัชฌา ชื่นบุญ, ชุติมา แสงดารารัตน์, อภิสิทธิ์ กฤษเจริญ, ศรัญญู พงศ์ประเสริฐสิน และ จิตร สิทธีอมร

ข้อเสนอแนะเพื่อการวิจัยครั้งต่อไป 1. ควรมีการศึกษาหาปัจจัยเชิงสาเหตุ หรือปัจจัยทีส่ ง่ ผลต่อคุณลักษณะของนักศึกษา ระดับอุดมศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาคาทอลิก ประเทศไทย ตามอัตลักษณ์การศึกษาคาทอลิก

2.  ควรมี ก ารศึ ก ษาเปรี ย บเที ย บ คุณลักษณะของนักศึกษาระดับอุดมศึกษาใน สถาบันอุดมศึกษาคาทอลิกประเทศไทย ตาม อัตลักษณ์การศึกษาคาทอลิก กับคุณลักษณะ ของนักศึกษาระดับอุดมศึกษาในสถาบันอุดม ศึกษาอื่นๆ

บรรณานุกรม ฉลองรัฐ สังขรัตน์. (2559). อัตลักษณ์โรงเรียนคาทอลิกในอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ ทีเ่ ป็นพลวัต  ตามนโยบายของสภาการศึกษาคาทอลิกแห่งประเทศไทย. ดุษฎีนพิ นธ์ปรัชญาดุษฎีบณ ั ฑิต, มหาวิทยาลัยบูรพา. ชูชาติ  อารีจิตรานุสรณ์. (2552). คุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: https://home.kku.ac.th/chuare/e-article/graduateframework.pdf. (สืบค้นเมื่อ: 28 มกราคม 2562). วศิน พิพฒ ั นฉัตร. (2559). บทบาทวิชาชีพสาธารณสุขตามพระราชบัญญัตวิ ชิ าชีพสาธารณสุข  ชุมชน พ.ศ.2556. วารสารกฎหมายสุขภาพและสาธารณสุข, 2(1), 63–78. สุวรรณี  ละออปักษิณ มยุรา นพพรพันธ์  และอัชฌา ชื่นบุญ. (2561). การศึกษาคุณลักษณะ  นักศึกษาตามคุณค่าพระวรสาร วิทยาลัยเซนต์หลุยส์. วารสารปัญญาภิวฒ ั น์, 10(3), 269 –282. สารานุกรมไทยส�ำหรับเยาวชน. (ม.ป.ป.). บทบาทหน้าที่ของสถาบันอุดมศึกษา. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://kanchanapisek.or.th/kp6/sub/book/book.php?book=38& chap=3&page=t38-3-infodetail09.html. (สืบค้นเมื่อ: 20 มีนาคม 2562). สภาการศึกษาคาทอลิกแห่งประเทศไทย. (2556). อัตลักษณ์การศึกษาคาทอลิก. กรุงเทพมหานคร: สภาการศึกษาคาทอลิกแห่งประเทศไทย. สุรเกียรติ  ธาดาวัฒนาวิทย์. (2561). คุณลักษณะบัณฑิตที่สอดคล้องกับการพัฒนาประเทศไทย  ตามแนว “ประเทศไทย 4.0”. วารสารวิทยาลัยดุสิตธานี, 12(2), 404-416. Yamane, Taro. (1967). Statistic, an Introductory Analysis. 2nd ed. New York: Haper. ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2020/2563 181


คุณลักษณะของผู้นำ�สถานศึกษาที่อิงศาสนา ในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน

The Characteristics of the Leaders of Religious Schools in Basic Education Institutions.

ศศิธร คล้อยแสงอาทิตย์  * หัวหน้าฝ่ายวิชาการ โรงเรียนซางตาครู้สคอนแวนท์

ไอยรา เลาะห์มิน * ผู้ช่วยผู้อ�ำนวยการฝ่ายบริหารทั่วไป โรงเรียนเซนต์เทเรซา หนองจอก กรุงเทพมหานคร ศรัญญู พงศ์ประเสริฐสิน

* อาจารย์ประจ�ำหลักสูตรการศึกษาบัณฑิต สาขาวิชาคริสตศาสนศึกษา วิทยาลัยแสงธรรม

ดร.จิตรา ดุษฎีเมธา * อาจารย์ประจ�ำสาขาการวิจัยและพัฒนาหลักสูตร บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ดร.ขนิษฐา สาลีหมัด  * อาจารย์ประจ�ำหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการวิจัยและพัฒนาหลักสูตร   มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

Sasitorn Kloysangatit  * Academic Head, Santa Cruz Convent School. Aiyara Lohmin  *Assistant Executive Director of General Administrative, Saint Theresa School.

Saranyu Pongprasertsin

* Lecturer, Bachelor of Education Program in Christian Studies, Saengtham College.

Dr.Jitra Dudsdeemaytha

* Lecturer, Research and Curriculum Development, Graduate School, Srinakharinwirot University.

Dr.Khanittha Saleemad

* Lecturer, Doctor of Philosophy in Curriculum Research and Development,   Srinakharinwirot University

ข้อมูลบทความ

* รับบทความ  27 มกราคม 2563 * แจ้งแก้ไข  14 กุมภาพันธ์ 2563 * ตอบรับบทความ   4 มีนาคม 2563


ศศิธร คล้อยแสงอาทิตย์, ไอยรา เลาะห์มิน, ศรัญญู พงศ์ประเสริฐสิน, จิตรา ดุษฎีเมธา และ ขนิษฐา สาลีหมัด

บทคัดย่อ

บทความวิชาการนี ้ มีวตั ถุประสงค์เพือ่ ศึกษาคุณลักษณะของผูน้ ำ� สถานศึกษาที่อิงศาสนา และเพื่อศึกษาสภาพแวดล้อมของสถานศึกษา ที่อิงศาสนา โดยประเด็นที่น�ำเสนอประกอบด้วย คุณลักษณะของผู้น�ำ ด้านการบริหารจัดการ ด้านบุคลิกภาพ ด้านภาวะผู้น�ำ ด้านคุณธรรม และจริยธรรม การจัดการสภาพแวดล้อมสถานศึกษาที่อิงศาสนา และ การวิเคราะห์คุณลักษณะของผู้น�ำสถานศึกษาที่อิงศาสนาและสภาพ แวดล้อมของสถานศึกษาที่อิงศาสนา ผู้เขียนใช้วิธีการสืบค้นจากฐาน ข้อมูลออนไลน์เพื่อวิเคราะห์ฐานข้อมูลและใช้วิธีการสัมภาษณ์เพื่อ วิเคราะห์เนื้อหาและบริบทตามที่วัตถุประสงค์ได้ตั้งไว้ ผู้น�ำสถานศึกษาที่อิงศาสนาเป็นผู้ที่ได้รับเลือกสรร เป็นผู้มีความ รู ้ ความเข้าใจในการบริหารจัดการสถานศึกษา ใช้ศาสตร์และศิลป์ในการ บริหารจัดการสถานศึกษาทีอ่ งิ ศาสนา เป็นผูม้ คี วามรอบรู ้ มีความแม่นย�ำ ในกฎระเบียบของสถานศึกษาที่อิงศาสนา และเป็นผู้แต่งกายสุภาพ เรียบร้อย เหมาะสมตามรูปแบบวัฒนธรรมและค่านิยม ซึ่งจะเป็น คุณลักษณะทีส่ ำ� คัญทีท่ ำ� ให้ผใู้ ต้บงั คับบัญชามีความเลือ่ มใสศรัทธา และ เป็นที่ยอมรับกับบุคคลทั้งภายในและภายนอกองค์กร ข้อเสนอแนะ คือ การเปลี่ยนแปลงของสังคมและโลกในปัจจุบัน นัน้  ผูน้ ำ� ควรมีการติดตามข่าวสารหรือการพัฒนาตนเองอย่างสม�ำ่ เสมอ เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงของสังคมต่อให้เกิดผลกระทบกับหลายฝ่าย เช่น การศึกษา เศรษฐกิจ และการเมือง เพราะฉะนั้นหากมีการพัฒนา ตนเองสม�่ำเสมอจะช่วยให้องค์กรนั้นพัฒนาได้อย่างรวมเร็วและยั่งยืน ค�ำส�ำคัญ:

คุณลักษณะ ผู้น�ำสถานศึกษา อิงศาสนา

ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2020/2563 183


คุณลักษณะของผูน้ �ำ สถานศึกษาทีอ่ งิ ศาสนาในสถานศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน

Abstract

The objectives of this academic article are to study the characteristics of the leaders of religious schools and study the environments of religious schools. The points of this article consist of the characteristics of the leaders in administration and management, personality, leadership, morality and ethics, the environmental management of the religious schools and the analysis of the characteristics of the leaders of religious schools and environments of religious schools. The author searched for the data online to analyze the database and used the interview method to analyze the contents and contents according to the objectives mentioned above. The leaders of religious schools that were selected are who comprehend the educational administration and management; the science and arts of administration and management in religious schools; are accurate in the rules of religious schools and properly dress according to the cultural form and value considered the important characteristics that any subordinates believe in and accept. According to the suggestions, under the social and global changes at the present time, the leaders should always update news or improve themselves because they are affected from social changes such as in education, economy and politics; therefore, if they always improve themselves, it helps the organization develop fast and sustainably. Keyword:

184 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

Characteristic, Leader of School, Religious


ศศิธร คล้อยแสงอาทิตย์, ไอยรา เลาะห์มิน, ศรัญญู พงศ์ประเสริฐสิน, จิตรา ดุษฎีเมธา และ ขนิษฐา สาลีหมัด

บทน�ำ การเปลี่ ย นแปลงของสั ง คมโลกใน ปัจจุบนั นัน้ มีความเปลีย่ นแปลงไปอย่างรวดเร็ว ทั้งด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และการ ศึกษา ผู้น�ำต่างๆ จะต้องมีการพัฒนาตนเอง และองค์ ก รให้ ขั บ เคลื่ อ นให้ ทั น ต่ อ โลกใน ปัจจุบันอย่างมาก ดังนั้นผู้น�ำต่างๆ จึงต้องมี การวางแผนการจั ด การองค์ ก ร รวมถึ ง มี คุ ณ ลั ก ษณะของผู ้ น� ำ ที่ ดี   ซึ่ ง ภาวะผู ้ น� ำ แบบ Team leadership หมายถึง ผูน้ ำ� ทีเ่ ป็นบุคคล ที่ มี ค วามรู ้   มี ค วามสามารถ ประสบการณ์ ทักษะ การสือ่ สาร โดยใช้ทงั้ ศาสตร์และศิลปะ ในการดึงเอาความสามารถความแตกต่างความ หลากหลายของแต่ละบุคคลของทีมงานเหล่า นั้ น มาประสานกั น เพื่ อ ท� ำ งานให้ บ รรลุ จุ ด มุ่งหมายที่ก�ำหนดไว้ทั้งของตนเองและองค์กร เป็นบุคคลที่จะให้ความส�ำคัญเกี่ยวกับผลผลิต ขององค์ ก ารและความสั ม พั น ธ์ ที่ ดี ร ะหว่ า ง สมาชิกในทีมเป็นอย่างมาก ซึ่งผู้น�ำส�ำหรับทีม จะเป็นผู้น�ำที่ดีที่สุดในตาข่ายพฤติกรรมการ บริหาร แม้ว่าจะเป็นเรื่องยากที่องค์กรหรือ หน่วยงานจะมีบุคคลที่พร้อมทั้งสองด้านอยู่ใน คนเดียวกัน แต่อย่างไรก็ตาม ถ้าบุคคลที่ผ่าน การฝึกและพัฒนาอยู่เสมอ ก็สามารถพัฒนา ตนเองเข้าสูส่ ภาวะผูน้ ำ� ส�ำหรับทีมงานได้เช่นกัน (ศิลปะการจัดการยุคใหม่ ราชภัฏภูเก็ต, 2554: 200-201) นอกจากนี้ ผู ้ น� ำ จะต้ อ งมี ห ลั ก

ธรรมาภิบาล (Good Governance) คือ การ บริ ห ารกิ จ การบ้ า นเมื อ งและสั ง คมที่ ดี เ ป็ น แนวทางส� ำ คั ญ  ในการจั ด ระเบี ย บให้ สั ง คม ทั้ ง ภาครั ฐ  ภาคธุ ร กิ จ และภาคประชาชน ซึ่งครอบคลุมถึงฝ่ายวิชาการ ฝ่ายปฏิบัติการ ฝ่ายราชการและฝ่ายธุรกิจสามารถอยู่ร่วมกัน อย่างสงบสุข มีความรู้จักสามัคคีและร่วมกัน เป็นพลังก่อให้เกิดการพัฒนาอย่างยั่งยืน และ ส่งเสริมความเข้มแข็งหรือสร้างภูมิคุ้มกันแก่ ประเทศเพื่อบรรเทาป้องกันหรือแก้ไขเยียวยา ภาวะวิกฤตภัยอันตรายที่หากจะมีในอนาคต เพราะสังคมจะรู้สึกถึงความยุติธรรม ความ โปร่ ง ใส  และความมี ส ่ ว นร่ ว ม  อั น เป็ น คุณลักษณะส�ำคัญของศักดิศ์ รีความเป็นมนุษย์ และการปกครองแบบประชาธิ ป ไตย อั น มี พระมหากษั ต ริ ย ์ ท รงเป็ นประมุ ข สอดคล้ อ ง กับความเป็นไทย รัฐธรรมนูญและกระแสโลก ยุคปัจจุบนั  (อริยธ์ ชั  แก้วเกาะสะบ้า, 2560: 4) ผู ้ น� ำ ควรจะเป็ น ผู ้ ที่ มี ก ารท� ำ งานเป็ น ที ม ได้ มีการบริหารจัดการทีด่ เี พือ่ ให้งานนัน้ ขับเคลือ่ น ไปได้ ด้ วยดี   การท� ำ งานร่ วมกั นเป็ นอั นหนึ่ ง อันเดียวกันจนสามารถท�ำงานได้สำ� เร็จสามารถ จัดระเบียบของทีมงาน ควรเปิดโอกาสให้ทุก คนได้มีโอกาสในการแสดงความคิดเห็นหรือ ช่วยให้การท�ำงานเป็นไปด้วยความเรียบร้อย และราบรืน่  การดูแลเอาใจใส่สมาชิก ผูน้ ำ� ควร ท�ำให้ทุกคนมีความรู้สึกว่าตนเองเป็นคนที่มี

ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2020/2563 185


คุณลักษณะของผูน้ �ำ สถานศึกษาทีอ่ งิ ศาสนาในสถานศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน

คุณค่า มีประโยชน์ต่อทีมงานและเกิดความ รูส้ กึ ว่าตนเองเป็นส่วนหนึง่ ของทีมงาน มีความ รักและความพอใจที่จะช่วยเหลือกันอย่างเต็ม ความสามารถ สร้างบรรยากาศที่อบอุ่นและ เป็นมิตรให้เกิดขึ้น การขจัดและการลดความ ขัดแย้งต่างๆ ที่เกิดขึ้นในทีมงาน หน้าที่หลัก ของผู้น�ำได้แก่  หน้าที่ด้านการบริหารงาน การ วางแผนงาน การวางนโยบาย เป็นตัวแทนของ ทีมงาน เป็นผู้ให้รางวัลและบทลงโทษ เป็น ผู้ประนีประนอมและตัดสิน นอกจากนี้ยังเป็น ผู ้ ค วบคุ ม ความสั ม พั น ธ์ ใ นที ม งาน และมี คุณลักษณะทีโ่ ดดเด่นหลายประการด้วยกันคือ ประการแรก ผูน้ ำ� ต้องมีสว่ นร่วมกับทีมงานเป็น บุคคลที่รู้เรื่องงานเป็นอย่างดี  สามารถมองคน ออก บอกคนได้  ใช้คนเป็น ดึงคนที่มีความ สามารถไม่เหมือนกันมาท�ำงานด้วยกันเพือ่ เติม เต็ ม ให้ กั บ ที ม งานได้ อ ย่ า งเหมาะสมมี ค วาม ทะเยอทะยานและพลัง มีแรงขับผลักดันในการ ท�ำงาน มีความปรารถนาดีอย่างแรงกล้าที่จะ ท� ำ งานให้ ส� ำ เร็ จ  มี พ ลั ง ท� ำ งานอย่ า งไม่ รู ้ จั ก เหน็ดเหนือ่ ย มีความอดทน สูง้ าน และมีความ คิดริเริม่ สร้างสรรค์  ประการทีส่ อง ผูน้ ำ� จะต้อง เป็ น ผู ้ ที่ รู ้ ป ั ญ หาต่ า งๆ เป็ น อย่ า งดี มี ค วาม สามารถด้านสติปญ ั ญาเพือ่ รวบรวม สังเคราะห์ ข้อมูลจ�ำนวนมาก จะต้องมีวิสัยทัศน์ในการ แก้ปญ ั หาและตัดสินใจได้อย่างถูกต้อง ประการ ที่สาม ผู้น�ำจะต้องมีจิตใจและมุมมองที่กว้าง

186 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

ไกลดังค�ำพูดที่ว่า "มองให้ไกลใจให้กว้าง" ต้อง เป็นบุคคลที่เข้าใจ รู้ใจและให้ก�ำลังใจแก่ทีม งาน โดยให้ ที ม งานมี อิ ส ระในการตั ด สิ น ใจ ก�ำหนดวิธีการปฏิบัติงาน มีเป้าหมายในการ ท�ำงานและสามารถสร้างแรงบันดาลใจให้กับ ที ม งานเพื่ อ ร่ วมแรงร่ วมใจในการท� ำ งานให้ ประสบผลส�ำเร็จ ประการที่สี่  มีความซื่อสัตย์ และยึดหลักคุณธรรม และเป็นผูท้ สี่ ามารถสร้าง ความเชื่อถือในระหว่างตัวเขาเองกับทีมงาน ด้วยความจริงใจไม่หลอกลวง รวมทั้งรักษา ค�ำมัน่ สัญญาในการกระท�ำทุกอย่าง ประการที่ ห้า มีความรู้เกี่ยวกับงานที่ท�ำ ผู้น�ำจะต้องมี ความรูเ้ ป็นอย่างดีเกีย่ วกับทีมงานมีความรูท้ าง เทคนิค ความรูท้ างธุรกิจ เพือ่ ให้สามารถตัดสิน ใจได้อย่างถูกต้องและน�ำไปสูก่ ารปฏิบัตไิ ด้เป็น อย่างดี  ประการที่หก มีความอดทนต่อสภาวะ ตึงเครียด สามารถที่จะท�ำงานและเผชิญกับ ความไม่แน่นอนตามสถานการณ์ต่างๆ ในทุก รูปแบบ ประการที่เจ็ด มีความปรารถนาอย่าง แรงกล้าที่จะมีอิทธิพลและน�ำผู้อื่นโดยแสดง ออกถึงความเต็มใจที่จะรับผิดชอบงานอย่าง แท้จริง ประการทีแ่ ปด เป็นผูท้ มี่ คี วามมัน่ ใจใน ตัวเอง เชื่อมั่นในความสามารถของตนเองและ แสดงความสามารถนั้นให้ปรากฏต่อทีมงาน เพือ่ จูงใจชักน�ำทีมงานให้เชือ่ ถือในการตัดสินใจ และพร้อมที่จะปฏิบัติตาม ประการสุดท้าย ต้องมีวุฒิภาวะทางอารมณ์ไม่มุ่งเน้นที่ตนเอง


ศศิธร คล้อยแสงอาทิตย์, ไอยรา เลาะห์มิน, ศรัญญู พงศ์ประเสริฐสิน, จิตรา ดุษฎีเมธา และ ขนิษฐา สาลีหมัด

มากเกินไป จะต้องสามารถควบคุมความรู้สึก ของตนได้ และสามารถรับฟังข้อวิพากษ์วจิ ารณ์ จากผู้อื่นหรือทีมงานได้  จากการที่ผู้วิจัยได้ศึกษาข้อมูลและจาก การสั ม ภาษณ์ ผู ้ น� ำ สถานศึ ก ษาที่ อิ ง ศาสนา จ�ำนวน 4 โรงเรียน แบ่งเป็น ผู้น�ำสถานศึกษา ที่อิงศาสนาอิสลาม จ�ำนวน 2 โรงเรียน และ ผู้น�ำสถานศึกษาที่อิงศาสนาคริสต์  จ�ำนวน 2 โรงเรียน ผู้วิจัยได้แบ่งประเด็นการน�ำเสนอ คุณลักษณะของผู้น�ำสถานศึกษาที่อิงศาสนา ดั ง นี้   คุ ณ ลั ก ษณะของผู ้ น� ำ สถานศึ ก ษาที่ อิ ง ศาสนาและสภาพแวดล้อมของสถานศึกษาที่ อิงศาสนา ซึ่งผู้น�ำมีความส�ำคัญอย่างยิ่งที่จะ ต้องน�ำผูต้ ามของแต่ละองค์กร ผูน้ ำ� เป็นจุดศูนย์ รวมในการท�ำงานกลุ่มตลอดจน เป็นแรงขับ เคลื่อนที่ช่วยในการจูงใจและการประสานงาน ขององค์กร นอกจากนี้ผู้น�ำยังเป็นท�ำให้เกิด ปฏิสัมพันธ์ของบุคคลในกลุ่มโดยคุณลักษณะ ของผู ้ น� ำ จะส่ ง ผลต่ อ การกระท� ำ ของผู ้ ต าม ดังนั้นผู้น�ำจึงสามารถน�ำพาองค์กรไปสู่ความ ส�ำเร็จ ทั้งในองค์กรของตนเองและองค์กรอื่น จนขยายสู่องค์กรระดับประเทศ วัตถุประสงค์ 1. เพือ่ ศึกษาคุณลักษณะของผูน้ ำ� สถาน ศึกษาที่อิงศาสนา 2. เพื่อศึกษาสภาพแวดล้อมของสถาน ศึกษาที่อิงศาสนา

เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา เป็นแบบสัมภาษณ์ที่ผู้ศึกษาพัฒนาขึ้น จากแนวคิดทางทฤษฎีมาเป็นแนวทางในการ พั ฒ นาแบบสั ม ภาษณ์   แบบสั ม ภาษณ์ คุณลักษณะของผู้น�ำสถานศึกษาที่อิงศาสนา และศึ ก ษาสภาพแวดล้ อ มของสถานศึ ก ษา ที่ อิ ง ศาสนา เป็ น การสั ม ภาษณ์ เชิ ง ลึ ก แบบ กึ่งโครงสร้าง (In-depth Interview SemiStructure) วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล ใช้ วิ ธี ก ารสั ม ภาษณ์ แ บบเจาะลึ ก จาก ผู้บริหารสถานศึกษาแบบเจาะจง จ�ำนวน 4 โรงเรียน แบ่งเป็นโรงเรียนอิงศาสนาอิสลาม ก และโรงเรียนอิงศาสนาอิสลาม ข จ�ำนวน 2 โรงเรียน และโรงเรียนอิงศาสนาคริสต์  ค และ โรงเรียนอิงศาสนาคริสต์  ง จ�ำนวน 2 โรงเรียน การวิเคราะห์ข้อมูล น�ำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ข้อมูลของผู้ ให้ข้อมูลแต่ละคนโดยวิธีการวิเคราะห์เนื้อหา (Content analysis) โดยเริ่มจากการฟังเทป และถอดข้อความ (Transcribe) ทุกค�ำพูดแบบ ค�ำต่อค�ำ (Verbatim) เป็นภาษาเขียน ตรวจ สอบความถูกต้องและความสมบูรณ์ของเนือ้ หา ของผู้ให้ข้อมูลแต่ละคน หลังจากนั้นวิเคราะห์ และสรุปประเด็นของผู้ให้ข้อมูลแต่ละคนตาม

ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2020/2563 187


คุณลักษณะของผูน้ �ำ สถานศึกษาทีอ่ งิ ศาสนาในสถานศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน

แนวทางของ อารีย์วรรณ อ่วมตานี  (2549) โดยอ่านข้อมูลที่ได้จากการสัมภาษณ์  และฟัง เทปเสียงซ�ำ้ ๆ หลายๆ ครัง้  จากนัน้ ดึงข้อความ ทีก่ ล่าวซ�ำ้ ๆ ออกมาและให้ความหมาย จัดเรียง ข้ อ มู ล และเชื่ อ มโยงความสั ม พั น ธ์   จากนั้ น ผู้ศึกษาได้น�ำผลการวิเคราะห์ข้อมูลมาเปรียบ เทียบกับแนวคิด ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง สรุปผลการศึกษา สรุปคุณลักษณะของผู้น�ำสถานศึกษา ที่ อิ ง ศาสนา ศาสนาคริ ส ต์ แ ละอิ ส ลามมี ทั้ ง ประเด็ น ที่ เ หมื อ นกั น และแตกต่ า งกั น โดย ประเด็นที่เหมือนกันคือ คุณลักษณะของผู้น�ำ สถานศึกษาที่อิงศาสนาได้แบ่งเป็น 4 ด้าน ดังนี้ 1. ด้านการบริหารจัดการ คุณลักษณะ ของผูน้ ำ� สถานศึกษาทีอ่ งิ ศาสนามีความรู ้ ความ เข้ า ใจในการบริ ห ารจั ด การสถานศึ ก ษา ใช้ ศาสตร์และศิลป์ในการบริหารจัดการ มีความ สามารถในการปกครองบังคับบัญชาผู้ร่วมงาน มีความสุจริตโปร่งใส และเที่ยงธรรม มีฝ่าย จัดท�ำแผนที่เข้มแข็ง แม่นย�ำในกฎระเบียบ สามารถตัดสินใจได้อย่างถูกต้องรวดเร็ว และ กล้าตัดสินใจ ปฏิบตั ติ ามนโยบายของกระทรวง ศึกษาธิการ สามารถวางแผนพัฒนาโรงเรียน เพื่อพัฒนาองค์กรไปสู่เป้าหมาย โดยวางคนได้ เหมาะสมกับงาน Put the right man on

188 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

the right job มีการสร้างทีมงาน (team work) ทีเ่ ข้มแข็ง มีความคิดริเริม่ สร้างสรรค์  เช่น การ ใช้จัดการจัดการเรียนการสอนแบบแฟ้มสะสม ผลงาน มีความรอบรู้  มีความแม่นย�ำในกฎ ระเบียบของทางราชการ โดยใช้โรงเรียนเป็น ฐาน มีความสามารถในการระดมทรัพยากร เพือ่ พัฒนาการศึกษา เป็นนักประสาน สามารถ ประสานความร่วมมือระหว่างผูม้ สี ว่ นเกีย่ วข้อง และหน่วยงานต่างๆ ได้  มีความซื่อสัตย์และมี ประสิทธิภาพ และมีความสัมพันธ์อนั ดีระหว่าง ผู้บริหารและครู  ดังตัวอย่างค�ำกล่าวดังนี้ “เราอยูก่ นั แบบพีน่ อ้ งเหมือนครอบครัว มีการแบ่งงานที่ชัดเจน มีการประชุมกันทุก สัปดาห์  เพื่อสอบถามปัญหา แนวทางแก้ไข การด�ำเนินการ และผลการด�ำเนิน” (โรงเรียน อิงศาสนาอิสลาม ก.) “มีการจัดการบริหารคนโดยการส่งเสริม ให้ ทุ ก คนได้ มี ก ารศึ ก ษารวมถึ ง ครู ที่ มี ห น้ า ที่ ธุรการเพือ่ การเข้าใจในเอกสารของงานเพือ่ การ จัดท�ำเอกสารส่ง สช. นั้นครอบคลุม ถูกต้อง” (โรงเรียนอิงศาสนาอิสลาม ข.)  “ใช้หลักการบริหารแบบมีสว่ นร่วม ส่วน ใหญ่จะใช้การเข้าใจเป็นหลัก และมีการประชุม เพื่ อ สอบถามความต้ อ งการพร้ อ มติ ด ตาม ด� ำ เนิ น ผลและการเลื อ กคนให้ ถู ก กั บ งาน” (โรงเรียนอิงศาสนาคริสต์  ค.)  “เรามีจิตใจที่ดูแลคนจ�ำนวนมากได้  แต่


ศศิธร คล้อยแสงอาทิตย์, ไอยรา เลาะห์มิน, ศรัญญู พงศ์ประเสริฐสิน, จิตรา ดุษฎีเมธา และ ขนิษฐา สาลีหมัด

เราต้องมีการบริหารทีเ่ ป็นหลักการบริหารด้วย เพราะต้องมีระเบียบและใช้ทฤษฎีเข้ามาบริหาร ถ้าใช้หลักธุรกิจอย่างเดียวก็จะบริหารได้เงิน อย่างเดียวแต่ไม่ได้เข้าใจคนมันควรควบคูก่ นั ไป เพราะในโรงเรียนมีทงั้ ครูทอี่ อ่ นแอ ครูทเี่ ข้มแข็ง หลักการบริหารงานนั้นมีส่วนส�ำคัญเพื่อให้คน นั้นซื่อสัตย์และมีประสิทธิภาพ” (โรงเรียนอิง ศาสนาคริสต์  ง.) 2. ด้ า นบุ ค ลิ ก ภาพ คุณลักษณะของ ผู ้ น� ำ สถานศึ ก ษาที่ อิ ง ศาสนามี บุ ค ลิ ก ภาพดี มีความสามารถในการควบคุมอารมณ์  มีความ มั่ น คงทางอารมณ์   ไม่ ห งุ ด หงิ ด  ฉุ น เฉี ย ว มีความกล้าหาญในการเผชิญกับอุปสรรคต่างๆ มี ค วามเชื่ อ มั่ น ในตนเอง แต่ ง กายสุ ภ าพ เรียบร้อย เหมาะสมตามรูปแบบวัฒนธรรม ค่านิยม เป็นที่ยอมรับกับบุคคลทั้งภายในและ ภายนอกองค์ ก รรวมถึ ง การแต่ ง กายตาม สถานการณ์  มีความน่าเชื่อถือ สามารถพัฒนา ตนเองและพัฒนาทางการแสดงออกของตน ต่อผู้อื่นได้ดี  โดยผู้น�ำสถานศึกษาที่อิงศาสนา อิสลามจะแต่งกายปกปิดร่างกายอย่างมิดชิด และเป็นผู้ที่อยู่ในกรอบของหลักการอิสลาม ส่วนผูน้ ำ� สถานศึกษาทีอ่ งิ ศาสนาคริสต์ ผูน้ ำ� คือ บาทหลวงและซิสเตอร์ซงึ่ เป็นนักบวช แต่งกาย ตามชุดของนักบวชและมีความเป็นนักบวชที่ เด่ น ชั ด  เพื่ อ เป็ น เครื่ อ งหมายภายนอกด้ า น บุคลิกภาพในการแสดงตัวเองต่อสาธารณะชน

และเป็นภาพลักษณ์อนั ดีตอ่ คณะครู ผูป้ กครอง นั ก เรี ย น ตลอดจนผู ้ พ บเห็ น  ดั ง ตั ว อย่ า งค� ำ กล่าวดังนี้ “บุคลิกภาพของผู้น�ำนั้นมีส่วนส�ำคัญ ทีโ่ รงเรียนอิงศาสนาอิสลาม ก. ก�ำลังสร้างผูน้ ำ� รุ ่ น ใหม่ จึ ง จะต้ อ งสร้ า งบุ ค ลิ ก ที่ น ่ า เชื่ อ ถื อ ถึงแม้ว่าผู้น�ำรุ่นใหม่จะยังมีอายุน้อยแต่การ วางตัวที่ดี  สุขุม และมีความมั่นคงทางอารมณ์ จึ ง ท� ำ ให้ น ่ า เชื่ อ ถื อ ได้ ”  (โรงเรี ย นอิ ง ศาสนา อิสลาม ก.) “ผู ้ น� ำ ควรมี ก ารพั ฒ นาตนเองอย่ า ง สม�่ำเสมอเพื่อให้คุณครูในโรงเรียนได้เห็นและ เป็นตัวอย่างทีด่  ี รวมถึงการลงมือปฏิบตั ใิ นงาน นั้นๆเพื่อเป็นตัวอย่างให้กับครูในโรงเรียนจึง เป็นการสร้างความเชื่อมั่นให้กับครูในโรงเรียน ของเราได้” (โรงเรียนอิงศาสนาอิสลาม ข.) “เนื่องจากผู้น�ำในโรงเรียนอิงศาสนา คริสต์เป็นนักบวชอยู่แล้วจึงมีความน่าเชื่อถือ อยู ่ ใ นระดั บ หนึ่ ง  แต่ ว ่ า ควรควบคุ ม อารมณ์ หงุดหงิดและฉุนเฉียวด้วย รวมถึงการพัฒนา ตนเองอย่างสม�่ำเสมอจึงสามารถท�ำให้คุณครู ในโรงเรียนนั้นเชื่อถือได้” (โรงเรียนอิงศาสนา คริสต์  ค.) “การวางตั ว ที่ เ หมาะสม จั ด การกั บ อารมณ์ของตนเองได้ด ี มีการตัดสินใจทีร่ วดเร็ว และรอบคอบ” (โรงเรียนอิงศาสนาคริสต์  ง.)

ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2020/2563 189


คุณลักษณะของผูน้ �ำ สถานศึกษาทีอ่ งิ ศาสนาในสถานศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน

3. ด้านภาวะผูน้ ำ�  คุณลักษณะของผูน้ ำ� สถานศึกษาที่อิงศาสนามีความสามารถในการ เป็ น ผู ้ น� ำ การเปลี่ ย นแปลง สามารถวิ นิ จ ฉั ย สั่ ง งานและมอบหมายงานให้ ผู ้ อื่ น ปฏิ บั ติ ไ ด้ อย่ า งรวดเร็ ว  มี ค วามสามารถในการให้ ค� ำ แนะน� ำ การแก้ ป ั ญ หาการบริ ห ารงานใน ส� ำ นั ก งานได้ แ ละมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ มี ค วาม สามารถในการแก้ปัญหา ขจัดความขัดแย้ง ในองค์กร กล้าตัดสินใจและเป็นที่พึ่งได้  มีวิสัย ทั ศ น์ ที่ ก ว้ า งไกล โดยรู ้ จั ก การวางแผนเพื่ อ อนาคต แสวงหาความรู้อย่างต่อเนื่อง กระตุ้น ให้เกิดความคิดสร้างสรรค์  การแลกเปลี่ยน เรียนรู้  เป็นผู้น�ำการเปลี่ยนแปลง ดังตัวอย่าง ค�ำกล่าวดังนี้ “เมื่อมีสถานการณ์การเกิดขึ้น เราควร ใช้ ภ าวะผู ้ น� ำ ในการศึ ก ษาข้ อ มู ล ก่ อ นตั ด สิ น พร้อมกับการพิจารณาอย่างรอบคอบรวมถึง การประชุมเพื่อปรึกษาและหาแนวทางแก้ไข จึงจะท�ำให้เกิดภาวะผู้น�ำที่ครูในโรงเรียนเชื่อ ถือ” (โรงเรียนอิงศาสนาอิสลาม ก.) “เราใช้หลักการของท่านนบีมูฮัมหมัด ซล. ว่าท่านเป็นผู้รับใช้  ผู้น�ำคือผู้รับใช้  ไม่ใช่ มาคอยชี้ให้ท�ำ แต่น�ำเพื่อที่จะท�ำไปด้วยกัน” (โรงเรียนอิงศาสนาอิสลาม ข.) “ผู้น�ำที่ดีควรเป็นแบบอย่างที่ดีทั้งด้าน การท�ำงานทีต่ รงต่อเวลา การแก้ไขสถานการณ์ การใช้เหตุผลมากกว่าอารมณ์และเมื่อมีข้อ

190 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

สงสั ย ควรสอบถามและหาแนวทางแก้ ไข” (โรงเรียนอิงศาสนาคริสต์  ค.) “ผู ้ น� ำ ควรเป็ น ผู ้ ที่ ใ ห้ ค� ำ แนะน� ำ  การ เอาใจเขามาใส่ใจเรา การเข้าถึงผู้คนและควร มีวิสัยทัศน์ที่กว้างไกล” (โรงเรียนอิงศาสนา คริสต์  ง.) 4. ด้านคุณธรรม จริยธรรม คุณลักษณะ ของผู้น�ำสถานศึกษาที่อิงศาสนาประพฤติตน เป็นแบบอย่างที่ดีแก่ผู้ใต้บังคับบัญชา มีความ ซื่อสัตย์สุจริตต่อหน้าที่การงานและหน่วยงาน มีความส�ำนึกรับผิดชอบต่อหน้าที่ที่ได้รับมอบ หมายตามนโยบายของหน่ ว ยงาน มี ค วาม ยุติธรรมและสามารถปฏิบัติต่อผู้ร่วมงานได้ อย่ า งเสมอภาค  มี ค วามสามารถในการ วิเคราะห์ปัญหาและการแก้ปัญหาได้อย่างมี เหตุผล มีความบริสุทธิ์ใจและจริงใจต่อผู้ร่วม งาน มีความเมตตา กรุณา ต่อบุคลากรและ นักเรียน ดังตัวอย่างค�ำกล่าวดังนี้ “ควรท� ำ ตนเป็ น แบบอย่ า งด้ ว ยการ ท�ำงานที่เป็นธรรมแก่ทุกคน ไม่ควรอิงฝ่ายใด ฝ่ า ยหนึ่ ง เพราะทุ ก คนเปรี ย บเสมื อ นคนใน ครอบครัวของเรา” (โรงเรียนอิงศาสนาอิสลาม ก.) “เราใช้หลักการของท่านนบีมูฮัมหมัด ถ้ า หากเราปฏิ บั ติ ต ามแล้ ว นั้ น ก็ เ ท่ า กั บ มี คุณธรรมและจริยธรรม” (โรงเรียนอิงศาสนา อิสลาม ข.)


ศศิธร คล้อยแสงอาทิตย์, ไอยรา เลาะห์มิน, ศรัญญู พงศ์ประเสริฐสิน, จิตรา ดุษฎีเมธา และ ขนิษฐา สาลีหมัด

“ผู้น�ำนั้นเป็นนักบวชอยู่แล้วแต่ควรที่ จะเพิ่มด้านความเป็นกลางและการเท่าเทียม” (โรงเรียนอิงศาสนาคริสต์  ค.) “ผู ้ น� ำ ที่ ดี ไ ม่ ค วรเลื อ กปฏิ บั ติ   ควรท� ำ ตัวเป็นการเพื่อด�ำเนินงานอย่างเป็นระบบ” (โรงเรียนอิงศาสนาคริสต์  ง.) จากคุณลักษณะของผู้น�ำสถานศึกษา ที่อิงศาสนาคริสต์  และอิสลามมีทั้งประเด็น ทีเ่ หมือนกันนัน้ จะเห็นได้วา่ ทัง้ ผูน้ ำ� สถานศึกษา ที่อิงศาสนาอิสลาม โรงเรียน ก. โรงเรียน ข. และผูน้ ำ� สถานศึกษาทีอ่ งิ ศาสนาคริสต์ โรงเรียน ค. โรงเรียน ง. มีคณ ุ ลักษณะของผูน้ ำ� ทีม่ คี วาม เหมือนกัน โดยใช้ผู้น�ำศาสนาเป็นต้นแบบใน การด�ำเนินชีวิต มีความรักและรับใช้  แต่สิ่งที่ แตกต่างกันคือเรื่องของสภาพแวดล้อมของ สถานศึ ก ษาที่ อิ ง ศาสนาคริ ส ต์ ศ าสนาและ อิสลาม ผู้น�ำได้ยึดหลักค�ำสอนขององค์ศาสดา มาเป็นแนวทางในการปฏิบตั งิ าน และพยายาม ถ่ า ยทอดค� ำ สอนของศาสดาลงไปในวิ ธี ก าร ท�ำงาน การบริหาร การจัดการองค์กร จากการ สัมภาษณ์ คณะผูว้ จิ ยั ได้เห็นถึงภาพของค�ำสอน ทีว่ า่  “การกระท�ำดังกว่าค�ำพูด” ซึง่ เป็นภาพที่ ชัดเจนและกระจ่างชัดขึน้  เพราะว่าบุคลากรใน โรงเรียนจะเห็นภาพของผู้น�ำที่มีคุณลักษณะที่ เด่นชัดจากการกระท�ำ ซึ่งบุคลากรสามารถรับ รู้ได้อย่างชัดเจน

สรุปสภาพแวดล้อมของสถานศึกษาที่  อิงศาสนาพบว่า  สถานศึกษาที่อิงศาสนามี การจัดการบริหารงานนัน้ มีเป้าหมาย วิสยั ทัศน์ ทีช่ ดั เจนและเกีย่ วข้องกับศาสนา มีรปู แบบของ คุณธรรม จริยธรรม โดยจะปลูกฝังให้ผู้เรียนมี คุณธรรม จริยธรรม ตามหลักธรรมทางศาสนา ที่ ต นเองนั บ ถื อ  ในสถานศึ ก ษาที่ อิ ง ศาสนา คริสต์  มีการจัดบรรยากาศเหมือนโรงเรียนโดย ทั่วไปติดคุณค่าพระวรสารตามสถานที่ต่างๆ มี รู ป ปั ้ น ของนั ก บุ ญ และแม่ พ ระ เพื่ อ เป็ น สัญลักษณ์ของความรักและรับใช้  มีการสอด แทรกคุณค่าพระวรสาร (คุณธรรมสากล) โดย ครู ต ้ อ งเข้ า ใจก่ อ น ผ่ า นการฝึ ก อบรมจาก บาทหลวงผู้เชี่ยวชาญ และบูรณาการเข้าไป ในเนื้อหาการเรียนของกลุ่มสาระการเรียนรู้ ต่างๆ มีศาสนสัมพันธ์โดยการมีห้องศาสนา พุทธ ศาสนาคริสต์ และห้องละหมาด นักเรียน และครูสามารถละหมาดได้  ถ้าหากมีวันเข้า พรรษาสามารถท�ำได้  สามารถเชิญพระสงฆ์ มาตักบาตรในโรงเรียนได้  ส�ำหรับนักเรียนที่ นับถือศาสนาอิสลามจะคลุมผมมา สถานศึกษา ให้ อ นุ ญ าต มี ก ารสอนค� ำ สอนจากครู ที่ จ บ หลักสูตรครูคำ� สอนโดยตรง มีชวั่ โมง จริยศึกษา มี ชั่ ว โมงคริ ส ต์ ศ าสนา และชั่ ว โมงศาสนา ที่แต่ละคนนับถือ (พุทธ คริสต์  อิสลาม) โดย บริ บ ทการบริ ห ารงาน ผู ้ น� ำ คื อ นั ก บวชชาย และหญิ ง  ที่ มี ต ้ น สั ง กั ด มิ ส ซั ง โรมั น คาทอลิ ก

ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2020/2563 191


คุณลักษณะของผูน้ �ำ สถานศึกษาทีอ่ งิ ศาสนาในสถานศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน

กรุง เทพฯ เป็นผู้แต่งตั้ง และเปิดโอกาสให้ ทุกศาสนาเข้ามาศึกษาเล่าเรียน ซึ่งเมื่อมีการ ปฏิบัติกิจกรรมทางศาสนาก็จะแยกนักเรียน ทีเ่ ป็นอิสลามออกไป โดยการดูแลของครูนบั ถือ ศาสนาอิ ส ลาม สามารถอยู ่ ร ่ ว มกั น ได้ ใ น วัฒนธรรมที่แตกต่าง ในโรงเรียนอิงศาสนา อิสลาม สภาพแวดล้อมส่วนใหญ่จะอยูใ่ นชุมชน อิสลามหรือใกล้มัสยิด โดยผู้บริหารได้มีการ สนั บ สนุ น ให้ นั ก เรี ย นเข้ า ร่ ว มกิ จ กรรมของ ศาสนาเป็ น ประจ� ำ และเคร่ ง ครั ด  ซึ่ ง สภาพ แวดล้อมก็มีความเหมาะสม ท�ำให้นักเรียนได้ เกิ ด การเรี ย นรู ้ ห ลั ก ศาสนาอย่ า งเข้ า ใจและ มีความชัดเจน ตลอดจนสภาพแวดล้อมที่มีนั้น ชุมชนให้ความร่วมมือ โดยเมือ่ มีกจิ กรรมส�ำคัญ ทางศาสนาชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการจัด กิจกรรมของโรงเรียนท�ำให้เกิดการเรียนรู้ที่ดี ระหว่างโรงเรียนและชุมชน ดังตัวอย่างค�ำกล่าว ดังนี้ “โรงเรี ย นมี ก ารจั ด สภาพแวดล้ อ มที่ ไม่ได้ปิดกั้นศาสนา เมื่อมีวันส�ำคัญต่างๆ ทาง ศาสนาอื่นโรงเรียนให้ความร่วมมือและสอนให้ ทุกศาสนาอยู่ร่วมกันได้” (โรงเรียนอิงศาสนา อิสลาม ก.) “โรงเรียนของเราไม่ได้ปิดกั้นทางด้าน วัฒนธรรม สามารถให้นักเรียนศาสนาอื่นเข้า เรียนได้ แต่ทผี่ า่ นมาไม่เคยมีนกั เรียนศาสนาอืน่ เข้ามาเรียนเลย อาจเนือ่ งจากการทีโ่ รงเรียนนัน้

192 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

อยูใ่ กล้มสั ยิดและนักเรียนทุกคนทีเ่ รียนนัน้ เป็น นักเรียนอิสลามทั้งหมด และชุมชนใกล้เคียง ยั ง เป็ น ชุ ม ชนที่ มี ค นอิ ส ลามอยู ่ ม ากจึ ง ท� ำ ให้ ไม่มีนักเรียนศาสนาอื่นมาเรียน” (โรงเรียนอิง ศาสนาอิสลาม ข.) “โรงเรียนนั้นสามารถอยู่ร่วมกับศาสนา อืน่ ได้  ในโรงเรียนมีทงั้ ศาสนาพุทธ คริสต์  และ อิ ส ลาม ถึ ง แม้ ว ่ า จะเป็ น โรงเรี ย นคริ ส ต์ แ ต่ นักเรียนส่วนมากนับถือศาสนาพุทธ เมื่อถึง วั น ส� ำ คั ญ ทางศาสนาโรงเรี ย นมิ ไ ด้ ป ิ ด กั้ น สามารถท�ำพิธีทางศาสนาได้  รวมถึงมีห้องให้ ส�ำหรับนักเรียนอิสลามเพื่อการละหมาดด้วย” (โรงเรียนอิงศาสนาคริสต์  ค.) “ในโรงเรียนมีนักเรียนที่นับถือศาสนา แตกต่างกันออกไปแต่ว่าการจัดการเรียนการ สอนนั้ น ไม่ ไ ด้ มี ก ารปิ ด กั้ น ศาสนาอื่ น ๆ แต่ สามารถเรียนรู้ศาสนาอื่นได้ด้วยเพื่อการมอง โลกที่กว้างไกลมากขึ้น” (โรงเรียนอิงศาสนา คริสต์  ง.) การจัดบรรยากาศของโรงเรียน โรงเรียน จึงจ�ำเป็นต้องมีการปรับปรุงบรรยากาศองค์การ เพือ่ ให้อำ� นวยต่อการจูงใจใน การท�ำงานซึง่ เป็น เรื่องส�ำคัญและเป็นพื้นฐานส�ำคัญส�ำหรับการ ปรับปรุงคุณภาพในการท�ำงานถ้าผู้บริหารไม่ สามารถสร้ า งบรรยากาศที่ ดี ใ ห้ เ กิ ด ขึ้ น ใน องค์การแล้ว การบริหารงานในองค์การจะไม่ สามารถบรรลุเป้าประสงค์อย่างมีประสิทธิภาพ


ศศิธร คล้อยแสงอาทิตย์, ไอยรา เลาะห์มิน, ศรัญญู พงศ์ประเสริฐสิน, จิตรา ดุษฎีเมธา และ ขนิษฐา สาลีหมัด

เพราะบรรยากาศองค์การจะมีการปรับเปลีย่ น อยู ่   ตลอดเวลา การประเมิ น บรรยากาศ องค์การจึงต้องมีการประเมินเพื่อพัฒนาตลอด เวลาด้วย (Richard M. Steers, 1977) จาก การสัมภาษณ์  และการสังเกตในสถานศึกษา ที่อิงศาสนานั้น ผู้บริหารได้จัดบรรยากาศของ โรงเรี ย นให้ เ อื้ อ ต่ อ การเรี ย นรู ้   และสร้ า ง บรรยากาศของการเรียนรู้ในแบบศาสนา เพื่อ ให้คณะครู นักเรียน ตลอดจนบุคลากรได้สมั ผัส ถึงหลักศาสนา เพือ่ บุคลากรต่างๆ จะได้เรียนรู้ และสัมผัสถึงหลักศาสนาไม่มากก็น้อย นอก จากนี้บราวน์และโมเบิร์ก (Brown and Moberg) ให้ความเห็นว่าบรรยากาศองค์การ ยังมี ส่ ว นในการวางรู ป แบบความคาดหวั ง ของ สมาชิกในองค์การประกอบต่างๆ ขององค์การ ซึ่งจะช่วยกระตุ้นให้มีทัศนคติที่ดีองค์การและ ความพอใจที่ จ ะอยู ่ ใ นองค์ ก าร ดั ง นั้ น  หาก ต้ อ งการปรั บ ปรุ ง เปลี่ ย นแปลงหรื อ  พั ฒ นา องค์การแล้ว สิ่งที่นักพัฒนาองค์การจะต้อง พิจารณาเปลีย่ นแปลงก่อนอืน่  คือ บรรยากาศ องค์การ เพราะบรรยากาศองค์การได้รับการ สัง่ สมจากความเป็นมา วัฒนธรรม และกลยุทธ์ ขององค์ ก ารตั้ ง แต่ อ ดี ต   (W.B.  Brown and D.J. Moberg,1980) การจัดบรรยากาศ องค์กร จะช่วยกระตุน้ ให้บคุ ลากรเกิดการเรียนรู้ หรือสามารถพัฒนาองค์กรได้ไปในทิศทางที่ ต้องการ ซึ่งในที่นี้  การจัดบรรยากาศองค์กร

สามารถท� ำ ให้ บุ ค ลากรเกิ ด การเรี ย นรู ้   โดย เฉพาะเรื่องศาสนาได้อย่างมีประสิทธิภาพมาก ขึ้น  สรุปสภาพแวดล้อมของสถานศึกษาที่  อิงศาสนาพบว่า มีรูปแบบด้านเป้าหมายหลัก ของโรงเรียนเพือ่ ปลูกฝังความศรัทธาในศาสนา โรงเรียน มีวิสัยทัศน์  “มุ่งมั่นเป็นสถาบันชั้น น�ำทางการศึกษา คุณธรรม จริยธรรมและอยู่ ร่วมกันอย่างสันติสุข” มีเป้าหมายเพื่อพัฒนา ผูเ้ รียนให้มคี ณ ุ ธรรม จริยธรรมตามหลักค�ำสอน ของศาสนาที่ ต นนั บ ถื อ  มี รู ป แบบด้ า นโครง สร้างการบริหารและกฎระเบียบเพือ่ ตอบสนอง เป้าหมายหลัก มีกลุ่มบริหารในโครงสร้างการ บริหารงานโรงเรียน ผู้บริหาร เปิดให้ศึกษาได้ ทุ ก ศาสนา จั ด บรรยากาศสิ่ ง แวดล้ อ มใน โรงเรี ย นไม่ ขั ด กั บ หลั ก ค� ำ สอนของศาสนาที่ ตนเองนับถือ รวมทั้งวันส�ำคัญต่างๆ ตามหลัก ศาสนา เปิดโอกาสให้นักเรียนได้เข้าร่วมพิธี ทางศาสนา มีรปู แบบด้านการบริหารหลักสูตร เพื่ อ ตอบสนองเป้ า หมายหลั ก  “วิ สั ย ทั ศ น์ หลักสูตร” ใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษา มุ ่ ง ให้ ผู ้ เรี ย นมี คุ ณ ธรรมจริ ย ธรรมตามหลั ก ค�ำสอนของศาสนาที่ตนนับถือ ยึดมั่นในการ ปกครองระบอบประชาธิ ป ไตยอั น มี อ งค์ พระมหากษัตริย์เป็นประมุข มีความรู้ทักษะ พื้นฐานที่จ�ำเป็นต่อการศึกษาและประกอบ อาชีพ “เนื้อหาหลักสูตร” มีสัดส่วนการเรียน

ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2020/2563 193


คุณลักษณะของผูน้ �ำ สถานศึกษาทีอ่ งิ ศาสนาในสถานศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน

วิชาสามัญตามที่กระทรวงศึกษาธิการก�ำหนด มีการบูรณาการวิชาอิสลามศึกษากับวิชาสามัญ มีวิชาภาษาต่างประเทศ มีรูปแบบด้านความ เชื่อมโยงกับสภาพแวดล้อมทุกระดับ มีการ ใช้และสนับสนุนแหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญา ท้ อ งถิ่ น  มี เ ครื อ ข่ า ยองค์ ก รสนั บ สนุ น ด้ า น วิ ช าการและงบประมาณจากแหล่ ง ภายใน มูลนิธิ  มีรูปแบบด้านคุณภาพผู้เรียนเพื่อการ เรี ย นรู ้ อ ย่ า งต่ อ เนื่ อ งตลอดชี วิ ต  สมรรถนะ ส� ำ คั ญ ของผู ้ เรี ย น เป็ น คนไทยที่ ดี มี ค วาม สามารถรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของสังคม คุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ ง ประสงค์ ข องผู ้ เ รี ย น มี จริยธรรมตามหลักค�ำสอนของศาสนาอิสลาม หรือศาสนาที่ตนนับถือ รวมทั้งมีความรู้และ ทักษะสามารถศึกษาต่อและประกอบอาชีพได้ ตามความต้องการของท้องถิ่นและสังคมไทย จากการจัดสภาพล้อมของสถานศึกษา ทีอ่ งิ ศาสนาทัง้ ศาสนาคริสต์และศาสนาอิสลาม ในด้านหลักสูตรสถานศึกษาใช้หลักสูตรสถาน ศึกษาแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน และบูรณา การหลั ก ค� ำ สอนของศาสนา เป็ น คุ ณ ธรรม สากล เช่น การรัก รับใช้  การซื่อสัตย์  ความ

194 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

กตัญญู  ฯลฯ ในแผนการจัดการเรียนรู้  เพื่อ ให้การเรียนรู้ของนักเรียนนั้นเป็นผู้มีความรู้ ควบคู่คุณธรรม ในด้านโครงสร้างการบริหาร งาน มีการบริหารงานแบบมีส่วนร่วมโดยมีทีม บริหารงานที่เข็มแข็งในการพัฒนาสถานศึกษา ในด้านอาคารสถานที่  มีการจัดสภาพแวดล้อม ให้สอดคล้องกับวัยของผู้เรียนแตกต่างตรงที่ ศาสนาคริสต์มีรูปปั้นที่แสดงและบ่งบอกถึง นักบุญหรือแม่พระองค์อุปถัมภ์ของโรงเรียน แต่โรงเรียนอิสลามตามหลักค�ำสอนของศาสนา จะไม่มีรูปปั้นหรือติดค�ำสอนใดๆ เพราะไม่ใช่ แนวทางปฏิ บั ติ ข องศาสนาอิ ส ลามด้ า นการ ปฏิบัติศาสนากิจ ทั้ง 2 ศาสนา ให้นักเรียนได้ ปฏิบัติศาสนกิจจริง เพื่อเป็นพื้นฐานในการ ด�ำรงชีวิตของนักเรียน แต่อย่างไรก็ดีสถาน ศึ ก ษาที่ อิ ง ศาสนาทั้ ง คริ ส ต์ แ ละอิ ส ลามมี วัตถุประสงค์ทตี่ รงกันคือ “สอนให้ลกู เป็นคนดี ก่อนเป็นคนเก่ง” เพราะเชื่อว่าความดีจะเป็น ภูมคิ มุ้ กันให้นกั เรียนสามารถใช้ชวี ติ อยูใ่ นสังคม ที่มีการเปลี่ยนแปลงทุกวันได้อย่างดี  เหมือน เป็นยาวิเศษให้กับนักเรียนบนแนวทางและวิธี การสอนตามบริบทของแต่ละสถานศึกษา”


ศศิธร คล้อยแสงอาทิตย์, ไอยรา เลาะห์มิน, ศรัญญู พงศ์ประเสริฐสิน, จิตรา ดุษฎีเมธา และ ขนิษฐา สาลีหมัด

บรรณานุกรม อารียว์ รรณ อ่วนตานี. (2549). การวิจยั เชิงคุณภาพทางการพยาบาล. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. อริย์ธัช แก้วเกาะสะบ้า. (2560). หลักธรรมาภิบาลในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย  พุทธศักราช 2560. บทความวิชาการ: 4-5. Richard M. Steers. Organizational Effectiveness: A Behavioral. California: Good year, 1977, 391–407. W.B. Brown and D.J. Moberg. (1980). Organization Theory and Management:  A Macro Approach. New York: John Wiley & Sons, Inc.

ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2020/2563 195


บทบาทหน้าที่ของสภาอภิบาลที่มีต่อปัญหา

จริยธรรมของวัด แขวงศรีราชา สังฆมณฑลจันทบุรี

The Role and Duty in Moral Problems of Pastoral Councils of Sriracha Deanery, Chanthaburi Diocese.

วรวุฒิ มาหา * มหาบัณฑิตสาขาวิชาเทววิทยาจริยธรรม

Worawut Maha * Master of Arts Program in Moral Theology,

บาทหลวง ดร.สุรชัย ชุ่มศรีพันธุ์

Rev.Surachai Chumsriphan, Ph.D.

วิทยาลัยแสงธรรม

* บาทหลวงในคริสต์ศาสนจักรโรมันคาทอลิก   สังกัดอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ * อาจารย์ประจ�ำหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต   สาขาวิชาเทววิทยาจริยธรรม วิทยาลัยแสงธรรม

บาทหลวง ดร.อภิชิต ชินวงค์

* บาทหลวงในคริสต์ศาสนจักรโรมันคาทอลิก   สังกัดสังฆมณฑลจันทบุรี * อาจารย์ประจ�ำหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต   สาขาวิชาเทววิทยาจริยธรรม วิทยาลัยแสงธรรม

ผศ.ดร.ลัดดาวรรณ์ ประสูตร์แสงจันทร์

* อาจารย์ประจ�ำหลักสูตรการศึกษาบัณฑิต   สาขาวิชาคริสตศาสนศึกษา วิทยาลัยแสงธรรม

ข้อมูลบทความ

* รับบทความ    9 พฤศจิกายน 2562 * แจ้งแก้ไข    4 ธันวาคม 2562 * ตอบรับบทความ  18 ธันวาคม 2562

Saengtham College.

* Reverend in Roman Catholic Church,

Bangkok Archdiocese. * Lecturer of The Master of Arts Program in   moral Theology, Saengtham College.

Rev.Apichit Chinnawong, Ph.D.

* Reverend in Roman Catholic Church,   Chanthaburi Diocese. * Lecturer of The Master of Arts Program in   moral Theology, Saengtham College.

Asst.Prof.Laddawan Prasutsaengchan, Ph.D. * Lecturer, Bachelor of Education Program in   Christian Studies, Saengtham College.


วรวุฒิ มาหา, สุรชัย ชุ่มศรีพันธุ์, อภิชิต ชินวงค์ และ ลัดดาวรรณ์ ประสูตร์แสงจันทร์

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) บทบาทหน้าที่ในด้านการจัดการปัญหาจริยธรรมของสภาอภิบาลวัด แขวงศรีราชา สังฆมณฑลจันทบุรี  และ 2) แนวทางการพัฒนาบทบาท หน้าที่ของสภาอภิบาลวัด แขวงศรีราชา สังฆมณฑลจันทบุรีไปสู่การ จัดการปัญหาจริยธรรมอย่างเป็นรูปธรรม กลุ่มผู้ให้ข้อมูลคือกรรมการ สภาอภิบาลวัด คณะละ 2 คน รวม 14 คน ได้มาโดยการเลือกแบบ เจาะจง คือ เป็นสภาอภิบาลวัดทีร่ บั ผิดชอบงานด้านสังคมและงานด้าน การศึกษาอบรม ด้านละ 1 คน เครือ่ งมือทีใ่ ช้คอื  1) แบบสัมภาษณ์แบบ กึ่งโครงสร้าง และ 2) แบบบันทึกการสนทนากลุ่มส�ำหรับกลุ่มผู้ทรง คุณวุฒ ิ จ�ำนวน 11 คน สถิตทิ ใี่ ช้ในการวิเคราะห์ขอ้ มูลส่วนตัวของกลุม่ ผูใ้ ห้ขอ้ มูล ได้แก่ ค่าความถี ่ และค่าร้อยละ การวิเคราะห์ขอ้ มูล ทีไ่ ด้จาก การสัมภาษณ์กลุ่มผู้ให้ข้อมูลและการสนทนากลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิใช้การ วิเคราะห์เนื้อหา  ผลการวิจัยพบว่า 1. สภาอภิบาลวัดได้รบั รูแ้ ละตระหนักรูถ้ งึ บทบาทหน้าทีต่ อ่ ปัญหา จริยธรรมต่างๆ ทีเ่ กิดขึน้  ซึง่ เป็นปัญหาทีร่ บั รูไ้ ด้ทงั้ โดยการพบเห็น โดย การได้ฟังจากค�ำบอกเล่าของบุคคลรอบข้าง หรือโดยการรับข้อมูล ข่าวสารทางสื่อเทคโนโลยี  สื่อสังคมออนไลน์ต่างๆ ปัญหาเหล่านี้ซึ่งนับ วันจะทวีขึ้นทั้งจ�ำนวนและความรุนแรง ก่อให้เกิดผลกระทบด้านลบต่อ ชุมชนและสังคม บางเรือ่ งอาจเป็นปัญหาทีด่ เู หมือนไกลตัวอยูบ่ า้ งแต่บาง เรื่องก็เป็นปัญหาเป็นภัยใกล้ตัว ใกล้ชุมชนคริสตชนที่ต้องพึงระวังและ ป้องกัน ทั้งปัญหาการใช้ความรุนแรง การเสพยาเสพติดและการปล่อย ตัวอยูใ่ นอบายมุข รวมถึงการท�ำลายสิง่ แวดล้อมและวัฒนธรรมประเพณี ที่ดีงาม การค้ามนุษย์  หรือการเปิดสถานเริงรมย์ผิดกฎหมาย สภา อภิบาลวัดเข้าใจบทบาทหน้าที่ในการดูแลป้องกันช่วยแก้ไขปัญหาทาง จริยธรรมที่เกิดขึ้นในชุมชนคริสตชน รวมไปถึงการเสริมสร้างจริยธรรม แก่ชุมชนโดยเฉพาะในเด็กและเยาวชน

ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2020/2563 197


บทบาทหน้าทีข่ องสภาอภิบาลทีม่ ตี อ่ ปัญหาจริยธรรมของวัด แขวงศรีราชา สังฆมณฑลจันทบุรี

2. แนวทางในการพัฒนาบทบาทหน้าทีข่ องสภาอภิบาลวัด แขวง ศรีราชา สังฆมณฑลจันทบุรีที่มีต่อปัญหาทางจริยธรรมไปสู่การปฏิบัติ มีดังนี้ 2.1 กลุม่ สภาอภิบาลวัดต้องมีความเอาใจใส่  ตระหนักถึงความ ส�ำคัญและบทบาทหน้าที่ของตนที่มีต่อปัญหาทางจริยธรรมที่เกิดขึ้นใน ชุมชนคริสตชน 2.2 กลุ่มสภาอภิบาลวัดต้องรับรู้และตระหนักในปัญหาทาง จริยธรรม เข้าใจสาเหตุ  ประเมินสถานการณ์และผลกระทบทีจ่ ะเกิดขึน้ ร่วมกัน เพื่อน�ำไปสู่การวางแผน หาแนวทางป้องกันแก้ไขปัญหา และ เสริมสร้างจริยธรรมให้แก่ชุมชนคริสตชน 2.3 กลุม่ สภาอภิบาลวัดต้องร่วมกันวางแผน หาแนวทางป้องกัน แก้ไขปัญหาและเสริมสร้างจริยธรรมให้แก่ชุมชนคริสตชนร่วมกัน  2.4 กลุ่มสภาอภิบาลวัดต้องร่วมกันด�ำเนินงานตามแผน โดย อาศัยเครือข่าย ความร่วมมือร่วมใจกับบุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ทั้งภาครัฐและเอกชน  2.5 กลุ่มสภาอภิบาลวัดต้องมีการประเมิน ติดตาม ให้ความ ช่วยเหลืออย่างต่อเนื่อง ทั้งที่เป็นทางการ เช่น การประชุมสภาอภิบาล วัด และอย่างไม่เป็นทางการเช่น การดูแล เยีย่ มเยียนสอบถามความคืบ หน้าความเป็นไป  2.6 กลุ่มสภาอภิบาลวัดต้องน�ำผลการด�ำเนินงานที่ได้มารับมา วางแผนพัฒนา การป้องกันแก้ไขปัญหา และการเสริมสร้างจริยธรรมให้ แก่ชุมชนคริสตชนต่อไป ค�ำส�ำคัญ:

198 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

บทบาทหน้าที่สภาอภิบาลวัด แขวงศรีราชา สังฆมณฑลจันทบุรี


วรวุฒิ มาหา, สุรชัย ชุ่มศรีพันธุ์, อภิชิต ชินวงค์ และ ลัดดาวรรณ์ ประสูตร์แสงจันทร์

Abstract

The research is qualitative with its purposes as following 1) to investigate the role and duty in dealing with the moral problems of the pastoral councils within the ecclesiastic deanery of Sriracha, Chantaburi Diocese and 2) to figure out the methodology for the development of its role and duty for the further implementation. The information are collected through fourteen members of the pastoral councils selected particularly, two from each parish pastoral council, one responsible for social aspect and another for educational aspect. The means used were quasi-structural interviews and 2) the documentation of the group discussion of a group of eleven experts. The statistics used to analyze the data are frequency and percentage. Analysis of the data was obtained by the interview and the discussion is content-relating analysis.  The results are 1. The parish pastoral council realizes and acknowledges its role and duty towards the actual moral problems known through personal notification, conversation with the people and social media. These moral problems get worse gradually and cause the negative effects to the community and society. Some of the problems are perceived as distant; others are close and require a closer surveillance such as violence, drug addiction and self-indulgence in all-vices (abaiyamuk); natural and cultural deterioration; human trafficking or unlawful business. The parish council has its role and duty to prevent and find a way out of these problems in the Christian community including proviปีที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2020/2563 199


บทบาทหน้าทีข่ องสภาอภิบาลทีม่ ตี อ่ ปัญหาจริยธรรมของวัด แขวงศรีราชา สังฆมณฑลจันทบุรี

sion of integrating the moral values into the community, especially to its younger generation.  2. The directions of implementation are as follow: 2.1 The parish pastoral council must regard highly its proper position and duty towards the moral problems in the Christian community.  2.2 The pastoral council must acknowledge and recognize the moral problems, by which it tries to comprehend the cause, and then evaluate the factual situation and the eventual effects; with all of these processes the council can construct a plan to prevent the moral problems and to integrate moral values into the community.  2.3 The pastoral councils must work together to make these plans.  2.4 The pastoral councils must follow the plan through network of government or private cooperations.  2.5 The plans must be followed-up with evaluation and continual sustenance both officially, through discussions in the plenary agenda of the council’s meeting; and unofficially, through visitation and intervention.  2.6 The result of the work in progress must be developed into the better strategy which would be more effective in dealing with the moral problems and in integration of moral values into the community.  Keywords: 200 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

Acknowledgement Pastoral Council Sriracha Deanery Chanthaburi Diocese


วรวุฒิ มาหา, สุรชัย ชุ่มศรีพันธุ์, อภิชิต ชินวงค์ และ ลัดดาวรรณ์ ประสูตร์แสงจันทร์

ที่มาและความส�ำคัญของปัญหา โลกเกิ ด การพั ฒ นามากขึ้ น ทั้ ง ในด้ า น เทคโนโลยี  ความรู้ความสามารถของมนุษย์ พระศาสนจั ก รได้ รั บ ผลกระทบจากความ เปลี่ ย นแปลงนี้   นวั ต กรรมต่ า งๆ เกิ ด ขึ้ น มากมาย แต่สงิ่ ทีก่ ำ� ลังถดถอยลง คือ จิตส�ำนึก ของศี ล ธรรมและจริ ย ธรรม สั ง คมไทยใน ปัจจุบันก�ำลังเผชิญกับสังคมบริโภคนิยมและ กระแสวัตถุนิยม มุ่งแสวงหาความสุขจากการ ได้บริโภคเพียงเท่านัน้  และเชือ่ ว่าการมี “อ�ำนาจ” เพิม่ พูนมากขึน้  ถือเป็นความก้าวหน้า “มนุษย์ สมัยใหม่ไม่ได้รับการศึกษาอบรมที่จ�ำเป็นใน การใช้อ�ำนาจของตนอย่างดี” เพราะความ ก้าวหน้าทางเทคโนโลยีมิได้พัฒนาไปพร้อมกับ เรื่ องความรั บผิดชอบ คุณ ค่าและมโนธรรม มีความตระหนักรู้ในข้อจ�ำกัดของตนเองน้อย มาก ด้ ว ยเหตุ นี้   “เป็ น ไปได้ ว ่ า มนุ ษ ย์ จ ะใช้ อ�ำนาจของตนในทางที่ผิด เมื่อไม่มีกฎเกณฑ์ เรื่องเสรีภาพ แต่เป็นการอ้างถึงความจ�ำเป็น เช่ น  ประโยชน์ แ ละความมั่ น คงปลอดภั ย ” มนุษย์ไม่มีอิสระในการเลือกอย่างเต็มที่  เขา ถูกจ�ำกัดเมื่อเขาปล่อยตนเองให้กับอ�ำนาจมืด ของความไม่รตู้ วั  มนุษย์จงึ เปลือยเปล่าต่อหน้า อ�ำนาจของตนเองยิง่ ทียงิ่ มากขึน้  โดยปราศจาก ปั จ จั ย ที่ จ ะควบคุ ม  แต่ เรายื น ยั น ได้ ว ่ า  ใน ปัจจุบันมนุษย์ขาดจริยธรรมที่เข้มแข็ง ขาด วัฒนธรรมและจิตวิญญาณที่จะจ�ำกัดมนุษย์

ได้ อ ย่ า งแท้ จ ริ ง  และท� ำ ให้ ม นุ ษ ย์ รู ้ จั ก การ ปฏิเสธอย่างรู้ตัว (เทียบ พระสมณสาสน์เรื่อง ขอสรรเสริญองค์พระผู้เป็นเจ้า, ข้อ105) ปัญหาทางจริยธรรมทวีความรุนแรงมาก ขึ้นในสังคม แผนอภิบาลสังฆมณฑลจันทบุรี คริสตศักราช 2016-2020 (2016: 20-21) ได้ ระบุวา่  ความเจริญเติบโตทางอุตสาหกรรมเพือ่ การส่งออก และอุตสาหกรรมท่องเที่ยวที่ขาด ความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม เกิดมลภาวะ สภาวะโลกร้อนและสภาพอากาศเปลีย่ นแปลง ส่ ง ผลกระทบต่ อ มนุ ษ ย์ แ ละระบบนิ เ วศน์ โดยตรงความก้าวหน้า ทางเทคโนโลยีและการ สือ่ สารมีอทิ ธิพลต่อการเปลีย่ นแปลงด้านคุณค่า ศาสนาและวัฒนธรรม ประเพณี  และวิถีชีวิต ของคนในสังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่งเยาวชน ที่มีวิกฤตการณ์ด้านจิตใจ คุณธรรม จริยธรรม ในชีวิต และส�ำนักงานพัฒนาสังคมและความ มั่ น คงของมนุ ษ ย์ จั ง หวั ด ชลบุ รี   และตามที่ ส� ำ นั ก งานพั ฒ นาสั ง คมและความมั่ น คงของ มนุ ษ ย์ จั ง หวั ด ระยอง (2560: 43-45) ได้ รายงานสถานการณ์ทางสังคมประจ�ำปี  2560 พบว่ า มี ป ั ญ หาจริ ย ธรรมต่ า งๆ ในสั ง คม อันได้แก่  การใช้ความรุนแรง การมีพฤติกรรม ไม่เหมาะสม การเสพยาเสพติดและอบายมุข การค้ า มนุ ษ ย์   การเปิ ด สถานเริ ง รมย์ ที่ ผิ ด กฎหมาย เด็กตัง้ ครรภ์กอ่ นวัยอันควร ไม่พร้อม ในการเลี้ยงดูบุตร การท�ำลายสิ่งแวดล้อมและ

ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2020/2563 201


บทบาทหน้าทีข่ องสภาอภิบาลทีม่ ตี อ่ ปัญหาจริยธรรมของวัด แขวงศรีราชา สังฆมณฑลจันทบุรี

วัฒนธรรมประเพณีทดี่ งี าม ซึง่ เป็นปัญหาทีต่ อ้ ง ได้รับ การเอาใจใส่  ป้องกัน และแก้ไขเยียวยา อย่างเร่งด่วน ผู้วิจัยมีความสนใจเลือกกรณีศึกษาใน แขวงศรีราชา สังฆมณฑลจันทบุรี  เนื่องด้วย แขวงศรีราชา สังฆมณฑลจันทบุร ี อยูใ่ นจังหวัด ชลบุ รี แ ละระยอง มี วั ด ในการดู แ ลทั้ ง หมด 9 วัด ซึ่งมีสภาพแวดล้อมและสภาพสังคมเป็น กึ่งสังคมเมือง ด้วยเป็นแหล่งท่องเที่ยวและ แหล่งอุตสาหกรรม จึงท�ำให้ทั้งสองจังหวัดนี้ มีผู้คนที่มาพักอาศัยหรือท่องเที่ยวเป็นจ�ำนวน มาก ส่ ง ผลให้ เ กิ ด ปั ญ หาในด้ า นต่ า งๆ โดย เฉพาะปัญหาด้านจริยธรรม ที่ส่งผลกระทบ ถึ ง บุ ค คลที่ อ าศั ย อยู ่ ทั้ ง ที่ เ ป็ น คริ ส ตชนหรื อ ศาสนิกชนต่างความเชื่อ ที่ผ่านมาการบริหาร งานของแขวงศรีราชาได้มกี ารก�ำหนดโครงสร้าง การบริหารจัดการที่ชัดเจน ให้ความส�ำคัญต่อ งานอภิบาลคริสตชนของสภาอภิบาลวัด มีการ แต่งตั้งสภาอภิบาลวัดเพื่อท�ำหน้าที่ช่วยเหลือ พระสงฆ์หรือวัด โดยมีบุคลากรที่พร้อมด�ำเนิน

งานในการดูแลอภิบาลคริสตชนในด้านต่างๆ แต่ ด ้ ว ยสภาพสั ง คมและสภาพปั ญ หาด้ า น จริยธรรมทีเ่ กิดขึน้ ในสังคม ดูเหมือนจะมีความ รุนแรงและซับซ้อนมากขึ้นเรื่อยๆ จึงเหมือน เสียงเรียกร้องถึงสภาอภิบาลวัดให้ความส�ำคัญ กับบทบาทหน้าที่ในด้านสังคมมากขึ้น โดย เฉพาะการรับรู้ปัญหาทางจริยธรรมในสังคม และความรับผิดชอบที่มีต่อสังคม อันจะน�ำไป สู่การอภิบาลดูแลคริสตชน ชุมชน และสังคม ในแขวงศรีราชาได้ดีมากยิ่งขึ้น วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่ อ ศึ ก ษา บทบาทหน้ า ที่ ท่ี มี ต ่ อ ปั ญ หาจริ ย ธรรมของสภาอภิ บ าลวั ด  แขวง ศรีราชา สังฆมณฑลจันทบุรี  2.  เพื่ อ ศึ ก ษาแนวทางการพั ฒ นา บทบาทหน้ า ที่ ข องสภาอภิ บ าลวั ด  แขวง ศรี ร าชา สั ง ฆมณฑลจั น ทบุ รี ที่ มี ต ่ อ ปั ญ หา จริยธรรมไปสู่ภาคปฏิบัติ

ขอบเขตของการวิจัย กรอบแนวคิดของการวิจัย บทบาทหน้าที่ของสภาอภิบาลที่มีต่อปัญหา จริยธรรมของวัด แขวงศรีราชา สังฆมณฑลจันทบุรี

202 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

แนวทางการพัฒนาบทบาทหน้าที่ของ สภาอภิบาลวัด แขวงศรีราชา สังฆมณฑลจันทบุรี ที่มีต่อปัญหาจริยธรรมไปสู่ภาคปฏิบัติ


วรวุฒิ มาหา, สุรชัย ชุ่มศรีพันธุ์, อภิชิต ชินวงค์ และ ลัดดาวรรณ์ ประสูตร์แสงจันทร์

ประชากร กลุ่มผู้ให้ข้อมูล และกลุ่มผู้ทรง คุณวุฒิ 1. ประชากรและกลุ่มผู้ให้ข้อมูล กลุ่มประชากร คือ คณะกรรมการสภา อภิบาลวัด แขวงศรีราชา สังฆมณฑลจันทบุรี ที่ได้รับการแต่งตั้งอย่างเป็นทางการจากพระ สังฆราช สังฆมณฑลจันทบุรี  จ�ำนวน 7 คณะ กลุม่ ผูใ้ ห้ขอ้ มูล คือ คณะกรรมการสภาอภิบาล วัด แขวงศรีราชา สังฆมณฑลจันทบุรี  จ�ำนวน คณะละ 2 คน รวม 14 คน ได้มาโดยการเลือก แบบเจาะจง คือ เป็นกรรมการสภาอภิบาลวัด และหรือตัวแทนที่รับผิดชอบงานด้านสังคม และงานด้านการศึกษาอบรม ด้านละ 1 คน 2. กลุม่ ผูท้ รงคุณวุฒ ิ ในการสนทนากลุม่ (Focus group) จ�ำนวน 11 คน ประกอบด้วย ผู้ช่วยพระสังฆราช สังฆมณฑลจันทบุรี  1 คน พระสงฆ์ ที่ เ ป็ น หั ว หน้ า แขวงศรี ร าชา 1 คน พระสงฆ์เจ้าอาวาสวัดในแขวงศรีราชา จ�ำนวน 4 คน ผู ้ อ� ำ นวยการสภาอภิ บ าลวั ด  แขวง ศรีราชา 4 คน และผูเ้ ชีย่ วชาญด้านจริยศาสตร์ 1 คน ได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง นิยามศัพท์เฉพาะ สภาอภิบาลวัด หมายถึง บุคคลที่ได้รับ เลื อ กจากชุ ม ชนคริ ส ตชนวั ด และได้ รั บ การ แต่ ง ตั้ ง อย่ า งเป็ น ทางการจากพระสั ง ฆราช สังฆมณฑลจันทบุรีให้รับผิดชอบในหน้าที่งาน

อภิบาลแพร่ธรรม และภารกิจอืน่ ๆ ของชุมชน วั ด ที่ ต นสั ง กั ด  โดยการให้ ค วามร่ ว มมื อ กั บ พระสงฆ์ เ จ้ า อาวาสในการสอดส่ อ งดู แ ล ส่งเสริม และพัฒนาเขตวัดที่ตนสังกัดอยู่ใน ด้านต่างๆ ตามแผนงานอภิบาล สังฆมณฑล จันทบุร ี ประกอบด้วย 1) ด้านอภิบาล 2) ด้าน ธรรมทู ต  3) ด้ า นการศึ ก ษาอบรม 4) ด้ า น บริ ห ารจั ด การ 5) ด้ า นสื่ อ สารสั ง คม และ 6) ด้านสังคม  ปัญหาจริยธรรมในงานวิจัยนี้  หมายถึง ความยากล�ำบาก ความเดือดร้อนของบุคคล หรือชุมชนคริสตชน อันเกิดจากการประพฤติ ปฏิบัติของบุคคลที่ขัดต่อหลักคุณธรรมต่างๆ อันได้แก่ การใช้ความรุนแรง การเสพยาเสพติด และอบายมุข การค้ามนุษย์  การเปิดสถาน เริงรมย์ที่ผิดกฎหมาย การท�ำลายสิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรมประเพณีที่ดีงาม บทบาทหน้าที่ที่มีต่อปัญหาจริยธรรม ของสภาอภิบาลวัด แขวงศรีราชา สังฆมณฑล จั นทบุ รี   หมายถึ ง  การท� ำ งานตามสิ ท ธิ แ ละ ภาระความรับผิดชอบของสภาอภิบาลวัดเกีย่ ว กับปัญหาจริยธรรมในชุมชนคริสตชนของวัด ทั้งในเรื่องของการใส่ใจ รับรู้  เข้าใจ ประเมิน สถานการณ์ ข องปั ญ หาที่ เ กิ ด ขึ้ น  วางแผน ด�ำเนินการสงเคราะห์ช่วยเหลือ แก้ไข การหา แนวทางป้ อ งกั น ทางจริ ย ธรรมในชุ ม ชน คริสตชน รวมถึงสร้างความตระหนักในหน้าที่

ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2020/2563 203


บทบาทหน้าทีข่ องสภาอภิบาลทีม่ ตี อ่ ปัญหาจริยธรรมของวัด แขวงศรีราชา สังฆมณฑลจันทบุรี

ความรับผิดชอบต่อสังคมแก่ชุมชนคริสตชน เพื่อส่งเสริมและปกป้องคุณค่า ศักดิ์ศรีความ เป็นมนุษย์ในสังคม เสริมสร้างความยุติธรรม และสันติภาพ ตลอดจนการสืบสานวัฒนธรรม ประเพณี ที่ ดี ง าม อนุ รั ก ษ์ ธ รรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล้อมแก่ชุมชนและสังคม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ 1) แบบ สั มภาษณ์ แ บบกึ่งโครงสร้าง (semi-structured interview) จ� ำ นวน 1 ชุ ด  และ 2) ประเด็นการสนทนากลุ่ม ที่ผ่านความเห็น ชอบจากผู้เชี่ยวชาญจ�ำนวน 3 คน มีค่าความ สอดคล้องเชิงเนื้อหา (IOC) ระหว่าง 0.661.00 สถิติที่ใช้ 1. การวิเคราะห์ข้อมูลส่วนตัวของผู้ให้ ข้อมูล ใช้ค่าความถี่  (frequency) ค่าร้อยละ (percentage) 2.  การวิ เ คราะห์ ข ้ อ มู ล จากการ สั ม ภาษณ์   และการสนทนากลุ ่ ม  ใช้ ก าร วิเคราะห์เนื้อหา (content analysis) ผลการวิจัย 1. สภาอภิบาลวัดได้รับรู้และตระหนัก ถึงปัญหาจริยธรรมต่างๆ ที่เกิดขึ้น โดยรับรู้ได้

204 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

ทั้งจากการพบเห็น การได้ฟังจากค�ำบอกเล่า ของบุ ค คลรอบข้ า ง หรื อ จากการรั บ ข้ อ มู ล ข่าวสารทางสื่อเทคโนโลยี  สื่อสังคมออนไลน์ ต่างๆ และตระหนักถึงปัญหาเหล่านี ้ นับวันจะ ยิง่ มากและรุนแรงขึน้  ก่อให้เกิดผลกระทบด้าน ลบต่อชุมชนและสังคม บางเรือ่ งอาจเป็นปัญหา ที่ ดู เ หมื อ นไกลตั ว อยู ่ บ ้ า งแต่ บ างเรื่ อ งก็ เ ป็ น ปัญหาเป็นภัยใกล้ตวั  ใกล้ชมุ ชนคริสตชนทีต่ อ้ ง พึงระวังและป้องกัน ทั้งปัญหาการใช้ความ รุนแรง การเสพยาเสพติดและอบายมุข การ ท� ำ ลายสิ่ ง แวดล้ อ มและวั ฒ นธรรมประเพณี ที่ ดี ง าม การค้ า มนุ ษ ย์   หรื อ  การเปิ ด สถาน เริงรมย์ทผี่ ดิ กฎหมาย ปัญหาทีเ่ กิดขึน้ ก่อให้เกิด ผลกระทบด้ า นลบทั้ ง ต่ อ บุ ค คลที่ ก ่ อ ปั ญ หา ครอบครั ว  บุ ค คลใกล้ ชิ ด  ชุ ม ชนและสั ง คม ที่นับวันจะทวีความรุนแรงมากขึ้น ทั้งนี้  สภา อภิบาลควรมีบทบาทหน้าทีใ่ นการดูแลป้องกัน ช่วยแก้ไขปัญหาทางจริยธรรมที่เกิดขึ้นในชุม ชนคริสตชน รวมไปถึงการเสริมสร้างจริยธรรม แก่ชุมชนโดยเฉพาะในเด็กและเยาวชน ปั ญ หาต่ า งๆ ที่ เ กิ ด ขึ้ น  มี ส าเหตุ ห ลั ก ส�ำคัญคือ การขาดคุณธรรมจริยธรรมในการ ด�ำเนินชีวิต ครอบครัวซึ่งเป็นสถาบันหลักขาด ความรัก ความอบอุ่น ท�ำให้เกิดความเห็นแก่ ตัว นึกถึงแต่ประโยชน์ส่วนตน ขาดความหวัง ความเชือ่  และความกล้าหาญในการทีจ่ ะท�ำตน เป็นคนดี  ท�ำความดี  ด�ำเนินชีวติ โดยขาดความ


วรวุฒิ มาหา, สุรชัย ชุ่มศรีพันธุ์, อภิชิต ชินวงค์ และ ลัดดาวรรณ์ ประสูตร์แสงจันทร์

รอบคอบ โดยเฉพาะวัยรุ่นที่มักท�ำไปท�ำตาม กระแสสังคมที่ไม่ดี  โดยที่ไม่มีผู้ใหญ่คอยให้ ค�ำแนะน�ำที่ดีส�ำหรับการด�ำเนินชีวิต มีการใช้ ความรุ น แรงในการตัดสินหรือแก้ปัญหาจน เห็นเป็นเรือ่ งปกติทวั่ ไป ส่วนสาเหตุของปัญหา เรื่องยาเสพติดมาจาก ตัวบุคคลที่ขาดความรัก ความหวัง และความเชื่อในตนเอง ไม่คิดให้ รอบคอบ ไม่ประมาณตนเอง และเจ้าหน้าที่ บ้านเมืองบางส่วนที่ไม่จริงจังในการบังคับใช้ กฎหมายและการปราบปราม และสาเหตุของ ปัญหาสภาพแวดล้อมมาจากตัวบุคคลและการ ขยายตั ว ของเมื อ งและภาคอุ ต สาหกรรมที่ รวดเร็วและไม่มีการวางแผนที่ดีพอ จากการ เห็นแก่ประโยชน์ส่วนตน กอบโกยให้ได้มาก ทีส่ ดุ  ไม่คำ� นึงถึงความรับผิดชอบความยุตธิ รรม ที่ต้องมีต่อสังคม การไม่รักตัวเอง ครอบครัว ไม่ รั ก ขนบธรรมเนี ย มที่ ดี ง าม จึ ง ก่ อ ให้ เ กิ ด ปัญหาต่างๆ ตามมา ทั้งเรื่องของการตั้งครรภ์ ในวัยเรียน การอยู่ก่อนแต่ง การไม่ซื่อสัตย์ นอกใจคู ่ ชี วิ ต  ฯลฯ สิ่ ง ต่ า งๆ เหล่ า นี้ ล ้ ว นมี ผลกระทบด้ า นลบทั้ ง ต่ อ บุ ค คลที่ ก ่ อ ปั ญ หา ครอบครั ว  บุ ค คลใกล้ ชิ ด  ชุ ม ชนและสั ง คม ทั้ ง การด� ำ เนิ น ชี วิ ต ประจ� ำ วั น ทั่ ว ไปและการ ปฏิบัติศาสนกิจในฐานะคริสตชนที่ดี  เป็นต้น แนวทางทีจ่ ะช่วยในป้องกันแก้ไขได้โดย การปลูกฝัง หล่อหลอมคุณธรรมจริยธรรมให้ เกิดขึ้นในตัวบุคคลโดยเฉพาะเด็กและเยาวชน ให้ เ ห็ น ถึ ง ความส� ำ คั ญ และคุ ณ ค่ า ของหลั ก

ค�ำสอนทางคริสตศาสนามาเป็นหลักในการ ด� ำ เนิ น ชี วิ ต ประกอบอาชี พ การงานต่ า งๆ มีความรักในตนเอง ครอบครัว บุคคลรอบข้าง และสิ่งแวดล้อม มีความหวัง ความเชื่อ ความ กล้าหาญ ในการที่จะท�ำความดี  ท�ำสิ่งต่างๆ อย่ า งถู ก ท� ำ นองคลองธรรม ประมาณการ ตนเองได้ ถู ก ต้ อ ง และท� ำ สิ่ ง ต่ า งๆ อย่ า ง รอบคอบ ตระหนักถึงปัญหาและผลกระทบ ที่จะเกิดขึ้น นอกจากนี้  ควรให้ความร่วมมือ หรือมีส่วนร่วมในการป้องกันแก้ไขปัญหาที่จะ เกิดขึน้ หรือเกิดขึน้ แล้วร่วมกับบุคคลหรือหน่วย งานอื่นๆ โดยเฉพาะเจ้าหน้าที่หน่วยราชการ และสภาอภิบาลวัดหรือหน่วยงานอื่นของพระ ศาสนจักรคาทอลิก นอกจากนี้  พ่อแม่พี่น้อง และบุคคลทั่วไปควรเป็นแบบอย่างที่ดีให้กับ เด็กและเยาวชนทั้งในด้านการปฏิบัติงานและ ปฏิบัติศาสนกิจ โดยการรักในอาชีพที่สุจริต ท�ำงานด้วยความขยัน ซือ่ สัตย์ ตัดสินหรือแก้ไข ปัญหาต่างๆ ด้วยเหตุผล ไม่ใช้ความรุนแรงและ หมัน่ สวดภาวนา ไปวัด แก้บาป รับศีล รวมถึง การท�ำกิจศรัทธาต่างๆ เพราะนัน่ คือ การเสริม สร้าง หล่อหลอมให้เกิดคุณธรรมจริยธรรมอัน เป็นฐานรากที่ส�ำคัญในการเจริญชีวิต 2. แนวทางในการพัฒนาบทบาทหน้าที่ ของสภาอภิบาลวัด แขวงศรีราชา สังฆมณฑล จันทบุรีที่มีต่อปัญหาทางจริยธรรมไปสู่การ ปฏิบัติ  มีดังนี้

ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2020/2563 205


บทบาทหน้าทีข่ องสภาอภิบาลทีม่ ตี อ่ ปัญหาจริยธรรมของวัด แขวงศรีราชา สังฆมณฑลจันทบุรี

2.1 กลุ่มสภาอภิบาลวัด ต้องมีความ เอาใจใส่  ตระหนักถึงความส�ำคัญและบทบาท หน้าที่ของตนที่มีต่อปัญหาทางจริยธรรมที่เกิด ขึ้นในชุมชนคริสตชน 2.2 กลุม่ สภาอภิบาลวัด ต้องรับรูแ้ ละ ตระหนักในปัญหาทางจริยธรรม เข้าใจสาเหตุ ประเมินสถานการณ์และผลกระทบทีจ่ ะเกิดขึน้ ร่วมกัน เพื่อน�ำไปสู่การวางแผน หาแนวทาง ป้องกันแก้ไขปัญหา และเสริมสร้างจริยธรรม ให้แก่ชุมชนคริสตชน 2.3 กลุ่มสภาอภิบาลวัด ต้องร่วมกัน วางแผน หาแนวทางป้องกันแก้ไขปัญหาและ เสริมสร้างจริยธรรมให้แก่ชุมชนคริสตชนร่วม กัน  2.4 กลุ่มสภาอภิบาลวัด ต้องร่วมกัน ด�ำเนินงานตามแผน โดยอาศัยเครือข่าย ความ ร่ ว มมื อ ร่ ว มใจกั บ บุ ค คลหรื อ หน่ ว ยงานที่ เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและเอกชน  2.5 กลุ่มสภาอภิบาลวัด ต้องมีการ ประเมิน ติดตาม ให้ความช่วยเหลืออย่างต่อ เนื่อง ทั้งที่เป็นทางการ เช่น การประชุมสภา อภิบาลวัด และอย่างไม่เป็นทางการเช่น การ ดูแล เยี่ยมเยียนสอบถามความคืบหน้าความ เป็นไป  2.6 กลุ่มสภาอภิบาลวัด ต้องน�ำผล การด�ำเนินงานที่ได้มารับมาวางแผนพัฒนา การป้องกันแก้ไขปัญหาและการเสริมสร้าง จริยธรรมให้แก่ชุมชนคริสตชนต่อไป 206 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

อภิปรายผล 1. บทบาทหน้าทีท่ มี่ ตี อ่ ปัญหาจริยธรรม ของสภาอภิบาลวัด แขวงศรีราชา สังฆมณฑล จันทบุรี จากการศึกษาพบว่า สภาอภิบาลวัดได้ รั บ รู ้ แ ละตระหนั ก ถึ ง ปั ญ หาจริ ย ธรรมต่ า งๆ ทีเ่ กิดขึน้  และตระหนักถึงปัญหาและผลกระทบ ด้านลบต่อชุมชนคริสตชนที่ต้องพึงระวังและ ป้องกัน ทั้งปัญหาการใช้ความรุนแรง การเสพ ยาเสพติดและอบายมุข การท�ำลายสิง่ แวดล้อม และวัฒนธรรมประเพณีที่ดีงาม การค้ามนุษย์ หรือการเปิดสถานเริงรมย์ทผี่ ดิ กฎหมาย ทีเ่ ป็น เช่นนี้อาจเป็นเพราะสภาพสังคมในปัจจุบันที่ มุ่งเน้นไปที่คุณค่าด้านวัตถุมากกว่าด้านจิตใจ แสวงหาแต่ความสุขและผลประโยชน์ส่วนตน โดยไม่ค�ำนึงถึงความทุกข์ยากของคนอื่นหรือ ความเสื่ อ มโทรมของทรั พ ยากรสิ่ ง แวดล้ อ ม ประกอบกับในพื้นที่แขวงศรีราชา สังฆมณฑล จันทบุรี  อยู่ในเขตปกครองของจังหวัดชลบุรี และจังหวัดระยอง ที่เป็นแหล่งอุตสาหกรรม แหล่งท่องเที่ยว มีสถานประกอบการ รวมไป ถึงแหล่งอบายมุขต่างๆ ที่อยู่ในชุมชน เช่น คาราโอเกะ สถานเริงรมย์ สนุกเกอร์ ร้านเกมส์ ร้านขายเหล้า/บุหรี ่ เป็นจ�ำนวนมาก รวมไปถึง การมีผู้คนอาศัยอยู่มากหน้าหลายตา หลาย กลุ่ม หลายประเภท เหล่านี้ท�ำให้เกิดปัญหา ต่างๆ ตามมาเป็นอย่างมาก ทั้งปัญหายาเสพ


วรวุฒิ มาหา, สุรชัย ชุ่มศรีพันธุ์, อภิชิต ชินวงค์ และ ลัดดาวรรณ์ ประสูตร์แสงจันทร์

ติด ตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ทะเลาะวิวาท ปัญหา ครอบครัว ส่วนใหญ่ประสบปัญหามีพฤติกรรม ไม่เหมาะสม มีการท�ำความรุนแรงต่อกัน เป็น ปัญหาที่เกิดจากการขาดคุณธรรมจริยธรรมที่ ส�ำคัญในการด�ำเนินชีวิต ครอบครัวขาดความ รั ก ความอบอุ ่ น  การดู แ ลสั่ ง สอนคุ ณ ธรรม จริยธรรม การเห็นตัวอย่างที่ไม่ดีจากบุคคล รอบข้าง เมื่อพ่อแม่ไม่มีเวลาไม่เอาใจใส่ให้ การอบรมที่ ดี พ อ เด็ ก และเยาวชนจึ ง ถู ก ชั ก จูงไปในทางที่ไม่ดีได้โดยง่ายทั้งในเรื่องของยา เสพติดและอบายมุข การตามกระแสสังคมของ วัตถุนิยม บริโภคนิยม สอดคล้องกับ ข้อมูล รายงานสถานการณ์ทางสังคมจังหวัดระยอง ปี  2560 ในเชิงประเด็นสังคม พบว่าปัญหา สังคมที่ส�ำคัญเป็นเรื่องปัญหาการมีพฤติกรรม ไม่เหมาะสม ได้แก่  มั่วสุมและท�ำความร�ำคาญ ให้ชาวบ้าน ติดเหล้า/เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ติ ด ยาเสพติ ด  ติ ด เกมส์   ติ ด การพนั น ต่ า งๆ ผูป้ ระสบปัญหาส่วนใหญ่เป็นวัยแรงงาน รองลง มาคื อ ผู ้ สู ง อายุ แ ละเยาวชน นอกจากนี้ มี ครอบครัวที่ประสบปัญหาพฤติกรรมไม่เหมาะ สม จ�ำนวน 4,866 ครอบครัว คิดเป็นร้อยละ 1.88 ของครอบครัวที่มีอยู่จริง สอดคล้องกับ ทีพ่ ระครูไบฎีกาสุบนิ  โสภโณ นาวิน พรมใจสา และศิ ว าพร วั ง สมบั ติ   ได้ ศึ ก ษาวิ จั ย เรื่ อ ง แนวทางการขับเคลื่อนคุณธรรมจริยธรรมของ เยาวชนในจังหวัดเชียงราย แล้วพบว่าเด็กและ

เยาวชนมีความรู้ความเข้าใจบ้างในเรื่องของ ศี ล ธรรม  การมี คุ ณ ธรรมและจริ ย ธรรม ที่สามารถน�ำไปประพฤติปฏิบัติได้แต่ไม่ดีเท่า ที่ควร จึงท�ำให้เด็กและเยาวชนมีปัญหาด้าน ต่ า งๆ คื อ  ด้ า นศี ล ธรรม ด้ า นสั ง คมและ วัฒนธรรม การประพฤติทางกาย การประพฤติ ทางวาจา การประพฤติ ท างจิ ต ใจ และการ เปลีย่ นแปลงทีร่ วดเร็วของสังคมและวัฒนธรรม มี ผ ลกระทบต่ อ พฤติ ก รรมและการปฏิ บั ติ ตัวของเด็กและเยาวชนทั้งในด้านดีและไม่ดี และในกฤษฎีกาสมัชชาใหญ่ของพระศาสนจักร คาทอลิกในประเทศไทยคริสตศักราช 2015 “ศิษย์พระคริสต์เจริญชีวติ ประกาศข่าวดีใหม่” ได้ให้ความคิดเกี่ยวกับสภาพความเป็นจริงใน โลกปัจจุบันและสภาพสังคมไทยว่าการขยาย ตัวของลัทธิวัตถุนิยมและพัฒนาการทางด้าน เทคโนโลยีส่งผลต่อสภาพการใช้ชีวิตของทุก คนในสังคม ผูค้ นต้องดิน้ รนท�ำงานหนักขึน้ เพือ่ หารายได้มาจุนเจือค่าครองชีพที่ปรับตัวสูงขึ้น อย่างต่อเนื่อง การดิ้นรนเพื่อความอยู่รอดเช่น นี้กระทบต่อส�ำนึกด้านจริยธรรมถึงขั้นที่การ แสวงหาอ� ำ นาจและความร�่ ำ รวยกลายเป็ น ปัจจัยในการก�ำหนดการตัดสินใจ แทนทีจ่ ะเป็น ความรู้สึกผิดชอบชั่วดี  เห็นว่าการทุจริตการ คดโกงเป็นพฤติกรรมที่ได้รับการยอมรับจาก สังคมในวงกว้าง

ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2020/2563 207


บทบาทหน้าทีข่ องสภาอภิบาลทีม่ ตี อ่ ปัญหาจริยธรรมของวัด แขวงศรีราชา สังฆมณฑลจันทบุรี

2. แนวทางการพัฒนาบทบาทหน้าที่ ของสภาอภิบาลวัด แขวงศรีราชา สังฆมณฑล จันทบุรีที่มีต่อปัญหาจริยธรรมไปสู่ภาคปฏิบัติ จากการศึกษาพบว่า แนวทางการน�ำ บทบาทหน้ า ที่ ข องสภาอภิ บ าลวั ด  แขวง ศรี ร าชา สั ง ฆมณฑลจั น ทบุ รี ที่ มี ต ่ อ ปั ญ หา จริยธรรมไปสู่ภาคปฏิบัติ  คือกลุ่มสภาอภิบาล วัดต้องมีความเอาใจใส่ ตระหนักถึงความส�ำคัญ และบทบาทหน้าที่ของตนที่มีต่อปัญหาทาง จริยธรรมที่เกิดขึ้นในชุมชนคริสตชนรับรู้และ ตระหนักในปัญหาทางจริยธรรม เข้าใจสาเหตุ ประเมินสถานการณ์และผลกระทบทีจ่ ะเกิดขึน้ ร่วมกัน เพื่อน�ำไปสู่การวางแผน ด�ำเนินการ แก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น และเสริมสร้างจริยธรรม ให้แก่ชมุ ชนคริสตชน โดยอาศัยเครือข่ายความ ร่ ว มมื อ ร่ ว มใจกั บ บุ ค คลหรื อ หน่ ว ยงานที่ เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและเอกชน รวมถึงต้อง มี ก ารติ ด ตามประเมิ น ผลเพื่ อ น� ำ มาวางแผน พัฒนาการป้องกันแก้ไขปัญหาและการเสริม สร้ า งจริ ย ธรรมให้ แ ก่ ชุ ม ชนคริ ส ตชนต่ อ ไป ทีเ่ ป็นเช่นนีเ้ พราะสภาอภิบาลวัดเปรียบเสมือน ผู้น�ำในชุมชนวัด และเป็นผู้ที่มีบทบาทหน้าที่ ในการดูแลอภิบาลคริสตชนในชุมชนร่วมกับ ทางวัดหรือหน่วยงานอื่นๆ ในสังฆมณฑลอยู่ แล้ว และนอกจากนี้ยังเป็นกลุ่มคนในพื้นที่ ทีส่ ามารถรับรู ้ มองเห็นถึงปัญหาทีเ่ กิดขึน้ อย่าง ใกล้ชิด สามารถจะช่วยประเมินสถานการณ์ ที่เกิดขึ้นว่าเรื่องใดเร่งด่วน ส�ำคัญ และต้องรีบ ได้รับการเยียวยารักษา สภาอภิบาลวัดจึงควร 208 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

ได้แสดงบทบาทหน้าที่ส�ำคัญในการร่วมมือกับ พระสงฆ์ เจ้ า อาวาสและคริ ส ตชนทุ ก คนใน ชุมชน เป็นแบบอย่างที่ดีให้กับคริสตชนทั้ง ผู ้ ใ หญ่   เด็ ก และเยาวชน คอยสอดส่ อ งดู แ ล สิง่ ไม่ดตี า่ งๆ ทีเ่ ป็นปัญหาทางจริยธรรม อันจะ น�ำผลเสียมาสู่ชุมชนคริสตชนโดยเฉพาะบุตร หลานในชุมชน ซึ่งจะต้องได้รับการอบรมบ่ม เพาะให้เติบโตขึ้นในแบบคริสตชนที่ดีเพื่อเป็น ก�ำลังส�ำคัญของวัด ชุมชน และสังคมต่อไป พร้ อ มทั้ ง ด� ำ เนิ นชี วิต คริ ส ตชนเป็ นประจั ก ษ์ พยานท่ามกลางพี่น้องต่างความเชื่ออีกด้วย สอดคล้ อ งกั บ ที่ พ ระครู ไ บฎี ก าสุ บิ น  โสภโณ นาวิ น  พรมใจสา และศิ ว าพร วั ง สมบั ติ   ได้ ศึกษาวิจยั เรือ่ งแนวทางการขับเคลือ่ นคุณธรรม จริยธรรมของเยาวชนในจังหวัดเชียงราย แล้ว พบว่ า แนวทางในการขั บ เคลื่ อ นให้ เ ด็ ก และ เยาวชนมีคณ ุ ธรรมจริยธรรม พบว่าทุกฝ่ายต้อง ร่ ว มมื อ กั น  ช่ ว ยกั น ในการขั บ เคลื่ อ น ทั้ ง  3 สถาบัน คือ สถาบันครอบครัว สถานศึกษา และสถาบันศาสนา และงานวิจัยของอธิคุณ สินธนาปัญญา ที่ได้ศึกษาวิจัยเรื่องจริยธรรม เด็กและเยาวชนเหยือ่ ของปัญหาสังคม แล้วพบ ว่าปัญหาทางด้านจริยธรรมนัน้ จะแฝงตัวอยูก่ บั ทุกกลุ่มอายุ  และกลุ่มอาชีพ รวมถึงเด็กและ เยาวชน การแก้ปัญหาจริยธรรมในกลุ่มเด็ก และเยาวชนมีความจ�ำเป็นที่จะต้องได้รับแก้ไข อย่างเร่งด่วน ซึง่ จะต้องได้รบั ความร่วมมือจาก ทุกภาคส่วนของสังคม


วรวุฒิ มาหา, สุรชัย ชุ่มศรีพันธุ์, อภิชิต ชินวงค์ และ ลัดดาวรรณ์ ประสูตร์แสงจันทร์

ข้อเสนอแนะส�ำหรับการน�ำผลการวิจัยไปใช้ 1. ควรมี ก ารก� ำ หนดบทบาทหน้ า ที่ ที่มีต่อปัญหาจริยธรรม ไว้ในบทบาทหน้าที่ ของสภาอภิบาลวัด แขวงศรีราชา สังฆมณฑล จันทบุรี 2. สภาอภิบาลวัดแต่ละวัดควรศึกษา วิ เ คราะห์   จั ด ล� ำ ดั บ ความส� ำ คั ญ และความ รุ น แรงของปั ญ หาจริ ย ธรรมในชุ ม ชนที่ ต ้ อ ง แก้ไขเยียวยาอย่างเร่งด่วน เพือ่ วางแผนด�ำเนิน การแก้ไขปัญหาจริยธรรมนั้นให้หมดไปจาก ชุมชน ข้อเสนอแนะในการศึกษาวิจัยครั้งต่อไป  ควรศึ ก ษาแนวทางส่ ง เสริ ม สถาบั น ครอบครัวคาทอลิกให้เป็นบ่อเกิดของความรัก และความเข้มแข็งเพื่อลดปัญหาจริยธรรม

ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2020/2563 209


บทบาทหน้าทีข่ องสภาอภิบาลทีม่ ตี อ่ ปัญหาจริยธรรมของวัด แขวงศรีราชา สังฆมณฑลจันทบุรี

บรรณานุกรม ฟรังซิส. สมเด็จพระสันตะปาปา. (2015). พระสมณสาสน์เรื่องขอสรรเสริญองค์พระผู้เป็นเจ้า  (Laudato Si’). สภาประมุขบาทหลวงโรมันคาทอลิกแห่งประเทศไทย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์อัสสัมชัญ. สภาพระสังฆราชคาทอลิกแห่งประเทศไทย. (2017). กฤษฎีการสมัชชาใหญ่ของพระศาสนจักร  คาทอลิกในประเทศไทยคริสตศักราช 2015. กรุงเทพฯ: สภาพระสังฆราชคาทอลิกแห่ง ประเทศไทย. สังฆมณฑลจันทบุร.ี  (2547). คูม่ อื สภาอภิบาลวัด สังฆมณฑลจันทบุร.ี  ชลบุร:ี  สังฆมณฑลจันทบุร.ี _____. (2559). แผนอภิบาลสังฆมณฑลจันทบุรคี ริสตศักราช 2016-2020. ชลบุร:ี  สังฆมณฑล จันทบุรี. ส�ำนักงานพัฒนาสังคมและความมัน่ คงของมนุษย์. (2561). รายงานสถานการณ์ทางสังคมจังหวัด  ชลบุรี ประจ�ำปี 2560. (อัดส�ำเนา) พระครูไบฎีกาสุบิน โสภโณ นาวิน พรมใจสา และศิวาพร วังสมบัติ. แนวทางการขับเคลื่อน  คุณธรรมจริยธรรมของเยาวชนในจังหวัดเชียงราย. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: https:// www.tci-thaijo.org/index.php/crrugds_ejournal/article/download/.../87701/ (วันที่ค้นข้อมูล: 14 มกราคม 2562). ส�ำนักงานพัฒนาสังคมและความมัน่ คงของมนุษย์. รายงานสถานการณ์ทางสังคม จังหวัดระยอง  ประจ�ำปี 2560. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://www.rayong.m-society.go.th/wp content/uploads/2017. (วันที่ค้นข้อมูล: 9 ตุลาคม 2561). อธิคุณ สินธนาปัญญา. จริยธรรมเด็กและเยาวชนเหยื่อของปัญหาสังคม. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้ จาก: https://tci-thaijo.org/index.php/buajead-ubru/article/download/63646/ 52236/. (วันที่ค้นข้อมูล: 14 มกราคม 2562).

210 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม


ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เชิงผลิตภาพ ที่มีต่อความสามารถในการสร้างผลงาน ของนักเรียนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน

The Effects of Productivity-Based Learning Activities Toward Ability of Students in Basic Education.

ผศ.ดร.สุวรรณา จุ้ยทอง

* อาจารย์ประจ�ำสาขาหลักสูตรและการสอน คณะครุศาสตร์   มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลอลงกรณ์ในพระบรมราชูปถัมภ์

Asst.Prof.Dr.SuwanaJuithong

* Assistant Professor, Curriculum and Instruction,   Education of ValayaAlongkorn Rajabhat University under the Royal Patronage.

ข้อมูลบทความ

* รับบทความ  16 พฤษภาคม 2561 * แจ้งแก้ไข    6 มิถุนายน 2561 * ตอบรับบทความ  11 มิถุนายน 2561


ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรูเ้ ชิงผลิตภาพทีม่ ตี อ่ ความสามารถในการสร้างผลงานของนักเรียน ในระดับการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบความสามารถ ในการสร้างผลงานของนักเรียนในระดับการศึกษาขัน้ พืน้ ฐานทีไ่ ด้รบั การ จัดกิจกรรมการเรียนรูเ้ ชิงผลิตภาพกับเกณฑ์รอ้ ยละ 80 ของคะแนนเต็ม และ 2) ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนทีม่ ตี อ่ การจัดกิจกรรมการเรียน รู้เชิงผลิตภาพที่นักศึกษาไปจัดการเรียนรู้ในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่  นักเรียนในโรงเรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ใน จั ง หวั ด ปทุ ม ธานี   จั ง หวั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยา จั ง หวั ด อ่ า งทอง และ กรุงเทพมหานคร ซึ่งได้มาโดยการสุ่มแบบหลายขั้นตอน จ�ำนวน 10 ห้องเรียน ภาคเรียนที่  1 ปีการศึกษา 2559 ซึ่งนักศึกษาจะน�ำแผนการ จัดการเรียนรู้เชิงผลิตภาพไปทดลองใช้จริงในโรงเรียนเครื่องมือที่ใช้ ในการวิ จั ย ครั้ ง นี้ เ ป็ น แผนการจั ด การเรี ย นรู ้ เชิ ง ผลิ ต ภาพมี ค ่ า  IOC อยู่ระหว่าง 0.67-1.00 แบบประเมินความสามารถในการสร้างผลงาน แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียน ทีม่ ตี อ่  การเรียนรูเ้ ชิงผลิตภาพ เป็นมาตราส่วนประมาณค่ามีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.78 สถิติที่ใช้ใน การวิเคราะห์ขอ้ มูล ได้แก่ ค่าเฉลีย่ เลขคณิต ส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐานและ ทดสอบค่าทีแบบกลุ่มเดียว ผลการวิจัยพบว่า 1. หลังเรียนนักเรียนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานที่ได้รับการ จัดกิจกรรมการเรียนรู้เชิงผลิตภาพมีความสามารถในการสร้างผลงาน คะแนนสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 80 ของคะแนนเต็มอย่างมีนัยส�ำคัญทาง สถิตที่ระดับ .01 โดยในแต่ละโรงเรียนมีผลการทดลองไปในแนวทาง เดียวกัน 2. หลังเรียนนักเรียนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานทุกโรงเรียน และทุกระดับชัน้ เรียนทีไ่ ด้รบั การจัดกิจกรรมการเรียนรูเ้ ชิงผลิตภาพของ นักศึกษาระดับปริญญาตรีสาขาคณิตศาสตร์โดยภาพรวมผลการศึกษา ค่าเฉลีย่ ความพึงพอใจอยูใ่ นระดับมากทีส่ ดุ ทุกด้าน (x̅=4.60, S.D.=0.71) ค�ำส�ำคัญ:

212 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

1) การจัดกิจกรรมการเรียนรู้เชิงผลิตภาพ 2) ความสามารถในการสร้างผลงาน 3) ความพึงพอใจ


สุวรรณา จุ้ยทอง

Abstract

The objectives of this research were 1) to compare the ability to produce of the students in basic education with the 80 percent, 2) to study students,satisfaction in basic education towards productivity-based learning activities. The sampling is underthe basic education of PathumThani, Phra Nakhon Si Ayutthaya, Ang Thongand Bangkok Provinces by Multi-stage cluster random sampling. The first semester of academic year 2559 the number of 10 group. The tool used in this study is the production lesson plan the IOC value is between 0.67-1.00.The satisfaction used in this study was a guestionnaire which five-rating scale its coefficieint reliability 0.78.The Average Standard Deviation and t-test one sample. The findings were as follows: The ability to produce of the students in basic education level, they were organized by production activities was significance higher than the 80 percent of the established criteria at the statistical significance at the 0.01 level. The results were satisfaction of the students in basic education every school and every class receive the production learning activities, at the highest satisfaction levels (x̅=4.60,S.D.=0.71). Keywords:

1) Productivity-Based learning activities 2) ability to produce 3) satisfaction

ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2020/2563 213


ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรูเ้ ชิงผลิตภาพทีม่ ตี อ่ ความสามารถในการสร้างผลงานของนักเรียน ในระดับการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน

ความเป็นมาและความส�ำคัญของปัญหา ในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 ที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่  2) พ.ศ.2545 และที่ แ ก้ ไขเพิ่ ม เติ ม  (ฉบั บ ที่   3) พ.ศ.2553 มาตรา 22 ก�ำหนดแนวทางในการ จัดการศึกษาไว้ว่า การจัดการศึกษาต้องยึด หลักว่าผู้เรียนทุกคนมีความสามารถในการ เรียนรูพ้ ฒ ั นาตนเองได้  และถือว่าผูเ้ รียนส�ำคัญ ที่สุด ดังนั้นกระบวนการในการจัดการศึกษา จะต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตนเอง ได้ตามธรรมชาติเต็มตามศักยภาพทัง้ ด้านความ รู้ด้านทักษะคณิตศาสตร์  มาตรา 24 การจัด กระบวนการเรียนรู้  ได้ก�ำหนดให้สถานศึกษา และหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง จัดเนือ้ หาสาระและ กิจกรรมการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับ ความสนใจและความถนัดของผูเ้ รียน โดยค�ำนึง ถึ ง ความแตกต่ า งระหว่ า งบุ ค คล ฝึ ก ทั ก ษะ ให้ผู้เรียนใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์  เผชิญ ปั ญ หาและสถานการณ์   ทั้ ง นี้ ก็ เ พื่ อ น� ำ ประสบการณ์ แ ละความรู ้ ที่ ไ ด้ รั บ ไปปรั บ ประยุกต์ใช้ในการป้องกันแก้ไขปัญหาสังคม และประเทศต้องการผลผลิตทางการศึกษา ที่ดีที่พึงประสงค์  ได้แก่ผู้เรียนเก่ง ผู้เรียนดี มีคณ ุ ธรรมคิดเป็น ท�ำเป็น แก้ปญ ั หาได้  ตลอด จนทักษะการสื่อสาร และการร่วมมือท�ำงาน ได้ อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ผ ลซึ่ ง เป็ น ทั ก ษะแห่ ง ศตวรรษที่   21 ที่ ต ้ อ งเตรี ย มความพร้ อ มให้

214 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

ผู ้ เรี ย น (วรพจน์   วงศ์ กิ จ รุ ่ ง เรื อ ง และ อธิ ป จิตตฤกษ์, 2554: 60) เมื่อผลผลิตทางการ ศึกษาดีก็ส่งผลดีต่อสังคม สังคมเต็มไปด้วยคน ที่มีคุณภาพคนในสังคมมีความสุข คนในสังคม มีอาชีพมีรายได้ไม่มีความเหลื่อมล�้ำทางสังคม ประเทศมีความปลอดภัย ดังนัน้ การศึกษาเป็น ตัวแปรส�ำคัญในการสร้างคนสร้างสังคมและ สร้างประเทศชาติการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ จะต้องเป็นกิจกรรมที่มีลักษณะการฝึกปฏิบัติ ให้ผู้เรียนท�ำได้  คิดเป็น ท�ำเป็นเกิดการใฝ่รู้ ใฝ่เรียนอย่างต่อเนือ่ ง และส่งเสริมสนับสนุนให้ ผู ้ ส อนจั ด บรรยากาศสภาพแวดล้ อ มสื่ อ การ เรียนรู้  เพื่ออ�ำนวยความสะดวกให้กับผู้เรียน ที่เอื้อต่อการเกิดการเรียนรู้  ทั้งนี้ผู้สอนและ ผู้เรียนอาจเรียนรู้ไปพร้อมๆ กัน หลั ก การของการเรี ย นรู ้ เชิ ง ผลิ ต ภาพ ผูเ้ รียนต้องได้รบั การเรียนรูจ้ ากสถานการณ์และ ประสบการณ์จริง จุดเด่นของการเรียนรู้เชิง ผลิตภาพ เป็นกระบวนการที่เน้นผู้เรียนเป็น ส�ำคัญ จะส่งผลโดยตรงกับผู้เรียนด้านการคิด ซึง่ จะสอดคล้องกับการเรียนรูใ้ นยุคศตวรรษที ่ 21 คนที่ จ ะประสบความส� ำ เร็ จ ในชี วิ ต จะ มีเพียงความรูอย่างเดียวไม่เพียงพอ จะต้อง มี ทั ก ษะในการแก้ ป ั ญ หา  ความคิ ด ริ เ ริ่ ม สร้ า งสรรค์ ห าสิ่ ง ที่ แ ปลกใหม่ ค วบคู ่ ไ ปด้ ว ย ดังนัน้ การจัดการศึกษาซึง่ ถือว่าเป็นการเตรียม ความพร้ อ มในการสร้ า งคน ให้ มี ศั ก ยภาพ


สุวรรณา จุ้ยทอง

จึงจ�ำเป็นต้องมีการพัฒนารูปแบบการจัดการ เรียนรู้ให้เหมาะสม เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษา มีศักยภาพที่เพียงพอต่อการด�ำรงชีวิตได้อย่าง มีความสุข ไพฑูรย์  สินลารัตน์  (2558: 22) ได้กล่าวว่า ครูผู้สอนต้องศึกษาหาความรู้ไว้ ก่อน เพือ่ สามารถตอบค�ำถามของผูเ้ รียน เสร็จ แล้วจึงเตรียมกระบวนการจัดการเรียนรู้ด้วย เทคนิ ค วิ ธี ก าร  เพื่ อ ให้ ผู ้ เ รี ย นได้ คิ ด เอง วางแผนเอง ค้นคว้าเอง สรุปและวิเคราะห์เอง โดยวิธีการลักษณะนี้จะช่วยท�ำให้ผู้เรียนได้ มีการก�ำหนดเป้าหมายฝึกการคิดวิเคราะห์ การแยกแยะข้อมูล รู้จักแก้ปัญหา รู้จักเลือก คัดสรรข้อมูล ฝึกการประยุกต์ใช้  เป็นต้น การ จัดการเรียนการสอนโดยใช้การวิจัยเป็นฐาน (Research – Based Learning: RBL) เป็น วิ ธี ก ารสอนหนึ่ ง ในหลายรู ป แบบที่ มี ค วาม เหมาะสมกับการจัดการเรียนการสอนในระดับ อุดมศึกษา เนือ่ งจากเป็นกระบวนการแสวงหา ความรู้  ความจริง ด้วยตนเองของผู้เรียน จากการศึ ก ษาเกี่ ย วกั บ การสอนแบบ ใช้ วิ จั ย เป็ น ฐาน พบว่ า  ช่ ว ยฝึ ก ให้ ผู ้ เรี ย น ตั้งปัญหาและหาแนวทางแก้ปัญหาอย่างเป็น ระบบ (จุ ฑ า ธรรมชาติ ,  2555) ดั ง นั้ น การ จัดการเรียนการสอนโดยใช้วิจัยเป็นฐานจะ ช่วยให้ผู้เรียนได้ศึกษาค้นคว้าอย่างต่อเนื่อง ในเรื่องที่ผู้เรียนสนใจหรือต้องการหาค�ำตอบ ซึ่งสอดคล้องกับ ธีรศักดิ์  พาจันทร์  (2560)

ได้ศึกษาการพัฒนารูปแบบการเรียนการสอน โดยใช้การวิจัยเป็นฐาน พบว่า บทบาทผู้สอน นั้นควรมีการพิจารณาวัตถุประสงค์และสาระ การเรียนรูว้ า่ ส่วนใดสามารถเอือ้ ต่อการท�ำวิจยั ผู้สอนได้ออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้  ที่เปิด โอกาสให้ผู้เรียนสามารถท�ำวิจัยได้  โดยผู้สอน ช่วยกระตุ้นให้ผู้เรียนใฝ่รู้  ฝึกทักษะที่จ�ำเป็น ต่อกระบวนการวิจัยให้ผู้เรียนเกิดทักษะรวม ทัง้ สังเกตพฤติกรรมการเรียนรูก้ ระบวนการวิจยั และมี ก ารประเมิ น ผลผู ้ เ รี ย น โดยสั ง เกต พฤติกรรมในชั้นเรียนการเข้าร่วมกิจกรรมการ เรียนการสอน เป็นต้น ท�ำให้ผู้วิจัยที่จะศึกษา การจัดกิจกรรมการเรียนรู้เชิงผลิตภาพโดยน�ำ แนวคิดในการจัดกิจกรรมโดยใช้การวิจัยเป็น ฐานร่วมกับการเรียนรู้แบบร่วมมือในรายวิชา หลักการจัดการเรียนรู้  จากทีก่ ล่าวมาข้างต้น ผูว้ จิ ยั จึงมีแนวคิด ที่จะให้นักศึกษามีความสามารถในการออก แบบการจัดการเรียนรู้เชิงผลิตภาพ (Productivity-Based Learning) โดยให้กับนักศึกษา ในระดับปริญญาตรี คณะครุศาสตร์ตอ้ งมีความ รู้ในการจัดท�ำแผนการจัดการเรียนรู้แบบเชิง ผลิตภาพ เพือ่ น�ำไปทดลองปฏิบตั กิ ารสอนจริง ในสถานศึกษา และให้นักเรียนเกิดผลิตภาพ ออกมาเป็นรูปธรรมตามเป้าหมายของหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2020/2563 215


ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรูเ้ ชิงผลิตภาพทีม่ ตี อ่ ความสามารถในการสร้างผลงานของนักเรียน ในระดับการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน

วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพือ่ เปรียบเทียบความสามารถในการ สร้างผลงานของนักเรียนในระดับการศึกษาขัน้ พื้นฐานที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เชิง ผลิตภาพกับเกณฑ์รอ้ ยละ 80 ของคะแนนเต็ม 2. ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มี ต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เชิงผลิตภาพที่ นักศึกษาไปจัดการเรียนรูใ้ นระดับการศึกษาขัน้ พื้นฐาน

กรอบแนวคิดในการวิจัย ตัวแปรอิสระ การจัดกิจกรรมการเชิงผลิตเรียนรู้ภาพ ของนักศึกษาในระดับการศึกษา ขั้นพื้นฐาน

216 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

สมมติฐานของการวิจัย 1. คะแนนความสามารถในการสร้างผล งานของนักเรียนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เชิงผลิตภาพ สูงกว่าคะแนนความสามารถในการสร้างผลงาน ของนักเรียนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานที่ ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เชิงผลิตภาพ คะแนนเฉลี่ ย ตามเกณฑ์ ร ้ อ ยละ 80 ของ คะแนนเต็ม 2. นักเรียนในระดับการศึกษาขั้นพื้น ฐานหลังจากได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เชิงผลิตภาพที่นักศึกษาในระดับปริญญาตรี ไปจัดกิจกรรมการเรียนรู้เชิงผลิตภาพมีความ พึงพอใจในระดับมาก ตัวแปรตาม ความสามารถในการสร้างผลงาน ความพึงพอใจของนักเรียน


สุวรรณา จุ้ยทอง

นิยามศัพท์เฉพาะ 1. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้เชิงผลิต ภาพหมายถึง การจัดกิจกรรมการเรียนการ สอนแบบใช้การวิจยั เป็นฐานร่วมกับการเรียนรู้ แบบร่วมมือ ทีเ่ น้นการน�ำผลการวิจยั ของผูว้ จิ ยั และผู้อื่นมาให้นักศึกษาได้ศึกษา โดยเชื่อมโยง กับสาระที่นักศึกษาก�ำลังเรียนในรายวิชาหลัก การจัดการเรียนรู้  ท�ำให้นักศึกษามีความรู้และ ความสามารถ ในการสร้างแผนการจัดการ เรียนรู้ท่ีส่งเสริมให้นักเรียนได้สร้างองค์ความรู้ สร้างชิน้ งาน หรือสร้างภาระงาน รวมถึงผูว้ จิ ยั ได้ให้นักศึกษามีโอกาส ในการเรียนรู้โดยใช้ กระบวนการวิจัยในการเรียนรู้เป็นกระบวน การกลุ่ม ซึ่งนักศึกษาต้องน�ำแผนการจัดการ เรียนรู้ที่สร้างขึ้น ที่มีการออกแบบการเรียนรู้ เชิงผลิตภาพ โดยใช้แนวคิดการออกแบบการ เรียนรู้โดยใช้เทคนิค Backward Design ซึ่งมี 3 ขั้นตอนใหญ่  ๆ ได้แก่  1) ก�ำหนดเป้าหมาย การเรียนรู้  2) ก�ำหนดหลักฐานที่เป็นผลการ เรียนรู้ของผู้เรียนตามเป้าหมายการเรียนรู้ที่ ก�ำหนด และ 3) ออกแบบการจัดการเรียนรู้ เพื่อให้ผู้เรียนมีผลการเรียนรู้ตามเป้าหมายที่ ก�ำหนด แล้วให้นักศึกษาน�ำไปทดลองใช้สอน จริงให้กับนักเรียนในสถานศึกษา ระดับการ ศึกษาขั้นพื้นฐาน พร้อมทั้งให้นักศึกษาได้เก็บ รวบรวมข้อมูลในระหว่างการจัดกิจกรรมการ เรียนรู ้ การประเมินผลชิน้ งาน/ภาระงาน น�ำมา

วิเคราะห์ขอ้ มูล และน�ำผลการสอนมาน�ำเสนอ หน้าชัน้ เรียน เพือ่ เป็นการแลกเปลีย่ นเรียนรูก้ นั ซึ่งเป็นการสอนแบบวิจัยเป็นฐานร่วมกับการ เรียนรู้แบบร่วมมือ 2. ความสามารถในการออกแบบการ จัดกิจกรรมการเรียนรู้เชิงผลิตภาพ หมายถึง ความสามารถของนักศึกษาในการวางแผนการ ออกแบบกิจกรรมการเรียนรูเ้ ชิงผลิตภาพระดับ การศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน ซึง่ แสดงออกมาโดยเขียน เป็นแผนการจัดการเรียนรู้ที่ส่งเสริมการสร้าง ผลิตภาพ หรือสร้างผลงาน หรือสร้างชิ้นงาน/ ภาระงาน และเมื่อน�ำแผนการจัดการเรียนรู้ นี้ไปใช้สอนนักเรียนในระดับการศึกษาขั้นพื้น ฐาน นักเรียนมีความรู้  ความสามารถในการ สร้างผลิตภาพหรือสร้างผลงานหรือสร้างชิ้น งาน/ภาระงานตามมาตรฐานการเรียนรู้และ ตัวชี้วัด ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น พื้นฐานพุทธศักราช 2551 ได้ซึ่งประกอบด้วย 3 ขั้นตอนใหญ่ๆ ได้แก่  1) ก�ำหนดเป้าหมาย การเรียนรู้  2) ก�ำหนดหลักฐานที่เป็นผลการ เรียนรู้ของผู้เรียนตามเป้าหมายการเรียนรู้ที่ ก�ำหนด และ 3) ออกแบบการจัดการเรียนรู้ เพื่อให้ผู้เรียนมีผลการเรียนรู้ตามเป้าหมายที่ ก�ำหนด 3. ความสามารถในการสร้างผลงานของ นักเรียน หมายถึง คะแนนของนักเรียนที่ได้ จากการสร้างชิ้นงานหรือสร้างภาระงาน ซึ่ง

ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2020/2563 217


ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรูเ้ ชิงผลิตภาพทีม่ ตี อ่ ความสามารถในการสร้างผลงานของนักเรียน ในระดับการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน

แสดงออกถึงการน�ำความรูค้ วามสามารถในการ ออกแบบชิ้ น งาน หรื อ ภาระงานที่ ส ะท้ อ น มาตรฐานการเรียนรูแ้ ละตัวชีว้ ดั  ตามหลักสูตร แกนกลางการศึก ษาขั้นพื้นฐานพุท ธศัก ราช 2551 ซึ่ ง วั ด ได้ จ ากแบบประเมิ น ผลงานที่ นักศึกษาเขียนไว้ในแผนการจัดการเรียนรู้ 4. ความพึงพอใจของนักเรียน หมายถึง ความรูส้ กึ ของนักเรียนทีเ่ กิดความพอใจ ชอบใจ และสนใจที่จะร่วมปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ อย่าง สนุกสนาน ซึ่งผู้วิจัยให้โอกาสนักศึกษาได้สอน จริงในสถานศึกษาโดยมีการประเมิน 4 ด้าน ได้แก่  1) ด้านสาระการเรียนรู้  2) ด้านการจัด กิจกรรมการเรียนรู้  3) ด้านสื่อการเรียนการ สอน และ 4) ด้านการวัดผลประเมินผล  ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ  1. ได้กิจกรรมการเรียนรู้ที่ส่งเสริมการ เรียนรูเ้ ชิงผลิตภาพ ในรายวิชาหลักการจัดการ เรียนรูข้ องคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ วไลยอลงกรณ์  ในพระบรมราชูปถัมภ์ 2. ได้แผนการจัดการเรียนรู้ที่ส่งเสริม การเรี ย นรู ้ เชิ ง ผลิ ต ภาพจั ด ท� ำ โดยนั ก ศึ ก ษา ระดับปริญญาตรี คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัย ราชภัฏวไลยอลงกรณ์  ในพระบรมราชูปถัมภ์ 3. เป็นแนวทางส�ำหรับอาจารย์ผสู้ อนใน ระดับปริญญาตรี  ในการจัดกิจกรรมการรู้ที่ ต้องการให้นกั ศึกษามีผลิตผลงานใหม่ และงาน สร้างสรรค์ 218 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

4. เป็นแนวทางส�ำหรับครูผู้สอนในการ จั ด กิ จ กรรมการเรี ย นรู ้ ที่ ต ้ อ งการให้ ผู ้ เรี ย น มีผลิตผลงานและชิ้นงานใหม่  ในสาระคณิต ศาสตร์ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ขอบเขตของการวิจัย 1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 1.1 ประชากร ได้ แ ก่   นั ก เรี ย นใน โรงเรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในจังหวัด ปทุมธานี  จังหวัดพระนครศรีอยุธยา จังหวัด อ่างทอง และกรุงเทพมหานครในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2559 1.2 กลุ ่ ม ตั ว อย่ า ง ได้ แ ก่ นั ก เรี ย นใน โรงเรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในจังหวัด ปทุมธานี  จังหวัดพระนครศรีอยุธยา จังหวัด อ่างทอง และกรุงเทพมหานครซึ่งได้มาโดย การสุม่ แบบหลายขัน้ ตอน (Multi-stage Random Sampling) ในภาคเรี ย นที่   1 ปี ก าร ศึกษา 2559 จ�ำนวน 10 ห้องเรียน  2. ระยะเวลาที่ใช้ในการวิจัย ภาคเรียน ที่  1 ปีการศึกษา 2559 3. ขอบเขตเนื้อหา ผู้วิจัยใช้เนื้อหาที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ได้ จากหลักสูตรแกนการกลางศึกษาขั้นพื้นฐาน พุ ท ธศั ก ราช 2551 กลุ ่ ม สาระการเรี ย นรู ้ คณิ ต ศาสตร์   โดยให้ นัก ศึ ก ษาในแต่ ล ะกลุ ่ ม (กลุ่มละ 2-3 คน) จ�ำนวน 10 กลุ่ม สามารถ


สุวรรณา จุ้ยทอง

เลือกเนือ้ หาตามทีต่ นสนใจและถนัดทีจ่ ะน�ำมา จั ด ท� ำ แผนการจั ด การเรี ย นรู ้ เชิ ง ผลิ ต ภาพ ในระดับชั้นประถมศึกษา หรือในระดับมัธยม ศึกษา โดยมีรายละเอียด ดังนี้ สาระที่  1 จ�ำนวนและการด�ำเนินการ ความคิดรวบยอดและความรู้สึกเชิงจ�ำนวน ระบบจ�ำนวนจริง สมบัติเกี่ยวกับจ�ำนวนจริง การด�ำเนินการของจ�ำนวน อัตราส่วน ร้อยละ การแก้ ป ั ญ หาเกี่ ย วกั บ จ� ำ นวน และการใช้ จ�ำนวนในชีวิตจริง สาระที่  2 การวัด ความยาว ระยะทาง น�้ำหนัก พื้นที่  ปริมาตรและความจุ  เงินและ เวลา หน่วยวัดระบบต่างๆ การคาดคะเนเกีย่ ว กับการวัด  สาระที่  3 เรขาคณิต รูปเรขาคณิตและ สมบัติของรูปเรขาคณิตหนึ่งมิติ  สองมิติ  และ สามมิต ิ การนึกภาพ แบบจ�ำลองทางเรขาคณิต สาระที่  4 พีชคณิต แบบรูป (pattern) ความสัมพันธ์  ฟังก์ชนั  เซตและการด�ำเนินการ ของเซต การให้เหตุผล นิพจน์  สมการ ระบบ สมการ อสมการ กราฟ ล�ำดับเลขคณิต ล�ำดับ เรขาคณิต  สาระที่  5การวิเคราะห์ข้อมูลและความ น่าจะเป็น การก�ำหนดประเด็น การเขียนข้อ ค� ำ ถาม การก� ำ หนดวิ ธี ก ารศึ ก ษา การเก็ บ รวบรวมข้อมูล การจัดระบบข้อมูล การน�ำ เสนอข้อมูล

สาระที่  6 ทักษะและกระบวนการทาง คณิตศาสตร์  การแก้ปัญหาด้วยวิธีการที่หลาก หลาย การให้เหตุผล การสือ่ สาร การสือ่ ความ หมายทางคณิตศาสตร์และการน�ำเสนอ การ เชื่อมโยงความรู้ต่างๆ ทางคณิตศาสตร์  และ การเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆ และ ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ การสร้างเครื่องมือในการวิจัย 1. สร้างแผนการจัดการเรียนรู ้ ผูว้ จิ ยั ให้ นักศึกษาสร้างแผนการจัดการเรียนรู้  ซึ่งมีการ ออกแบบจัดกิจกรรมการเรียนรู้เชิงผลิต 1.1 ผู้วิจัยให้นักศึกษาศึกษาหาความ รูจ้ ากตัวอย่างผลงานวิจยั ของผูว้ จิ ยั และผลงาน วิ จั ย ของผู ้ อื่ น  ศึ ก ษารายละเอี ย ดขององค์ ประกอบของแผนการจัดการเรียนรู้  โดยผู้วิจัย ใช้ค�ำถามกระตุ้น ให้นักศึกษาได้คิดและศึกษา ค้นคว้าเพิ่มเติม โดยใช้ใบกิจกรรมให้นักศึกษา แสวงหาความรู้เพิ่มเติม  1.2 ให้นักศึกษาที่เป็นกลุ่มตัวอย่าง ร่วมกันเขียนแผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้การ เรียนรูแ้ บบร่วมมือ (กลุม่ ละ 2-3 คน) เพือ่ ร่วม กันศึกษาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น ฐาน พุทธศักราช 2551 และเนื้อหาในกลุ่ม สาระการเรียนรูท้ จี่ ะน�ำมาเขียนแผนการจัดการ เรียนรู ้ ในระดับการศึกษาขัน้ พืน้ ฐานตามความ สนใจและความต้องการของนักศึกษาในแต่ละ

ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2020/2563 219


ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรูเ้ ชิงผลิตภาพทีม่ ตี อ่ ความสามารถในการสร้างผลงานของนักเรียน ในระดับการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน

กลุ่ม (ระดับชั้นประถมศึกษา ปีที่  1- มัธยม ศึกษาปีที่  6) 1.3 ให้นักศึกษาในแต่ละกลุ่มศึกษา เนื้ อ หาสาระจากคู ่ มื อ ครู ข องกระทรวง ศึกษาธิการ ในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานตาม ความต้ อ งการและตามความสนใจเพื่ อ น� ำ เนือ้ หาสาระ มาตรฐานการเรียนรู ้ และตัวชีว้ ดั ของหลักสูตรมาสร้างเป็นแผนการจัดการเรียน รู ้ ซึง่ มีการออกแบบกิจกรรมการเรียนรูเ้ ชิงผลิต ภาพ 1.4 ให้นักศึกษาในแต่ละกลุ่มศึกษา วิธีสอน เทคนิคการสอนจากเอกสารประกอบ การสอนของผูว้ จิ ยั  และแสวงหาความรูเ้ พิม่ เติม จากเอกสารและงานวิจัยอื่นๆ โดยผู้วิจัยเป็น ผู้อ�ำนวยความสะดวก คอยชี้แนะ และกระตุ้น ให้นักศึกษาออกแบบการเรียนรู้  1.5  ให้ นั ก ศึ ก ษาในแต่ ล ะกลุ ่ ม ออกแบบการจั ด การเรี ย นรู ้ โ ดยใช้ เ ทคนิ ค Backward Design ซึ่งมี  3 ขั้นตอนใหญ่ๆ ได้ แ ก่   1) ก� ำ หนดเป้ า หมายการเรี ย นรู ้   2) ก�ำหนดหลักฐานทีเ่ ป็นผลการเรียนรูข้ องผูเ้ รียน ตามเป้ า หมายการเรี ย นรู ้ ท่ี ก� ำ หนดและ 3) ออกแบบการจัดการเรียนรู้เพื่อให้ผู้เรียนมีผล การเรียนรู้ตามเป้าหมายที่ก�ำหนด 1.6 ให้นักศึกษาในแต่ละกลุ่มเขียน แผนการจัดการเรียนรู้กลุ่มละ 3 แผน โดย เน้นเมื่อน�ำแผนการจัดการเรียนรู้ไปทดลองใช้

220 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

จริงในโรงเรียน ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน นั ก เรี ย นต้ อ งมี ผ ลงาน ผลผลิ ต  หรื อ ชิ้ น งาน หรือภาระงาน ซึง่ ในแต่ละแผนการจัดการเรียน รู้มีองค์ประกอบ ดังนี้  1) มาตรฐานการเรียนรู้  2) ตัวชี้วัด  3) สาระส�ำคัญ  4) จุดประสงค์การเรียนรู้  5) สาระการเรียนรู้  6) หลักฐานการเรียนรู้     (ชิ้นงาน/ภาระงาน)  7) กิจกรรมการเรียนรู้   8) สื่อและอุปกรณ์การเรียนรู้  9) การวัดผลประเมินผล 2. สร้างแบบประเมินความสามารถใน การสร้างผลงาน ผู้วิจัยให้นักศึกษาสร้างแบบ ประเมิ น ความสามารถในการสร้ า งผลงาน ผู้วิจัยให้นักศึกษาในแต่ละกลุ่มสร้างเกณฑ์ใน การตรวจชิ้นงาน/ภาระงาน อยู่ในการวัดผล ประเมินผลซึง่ เป็นองค์ประกอบหนึง่ ในแผนการ จั ด การเรี ย นรู ้ ที่ นั ก ศึ ก ษาสร้ า งขึ้ น  ในการ ประเมินผลงาน/ชิน้ งาน/ภาระงานของนักเรียน ผู ้ วิ จั ย จะเน้ น ให้ นั ก ศึ ก ษาสร้ า งเกณฑ์ ก าร ประเมิน (Rubric) 3. แบบประเมิ น ความพึ ง พอใจของ นั ก เรี ย น ผู ้ วิ จั ย สร้ า งแบบประเมิ น ความพึ ง พอใจของนักเรียน


สุวรรณา จุ้ยทอง

3.1 ผูว้ จิ ยั ศึกษาทฤษฎี ต�ำรา เอกสาร และงานวิจยั ทีเ่ กีย่ วข้องกับความพึงพอใจทีม่ ตี อ่ การเรียนการสอนเพือ่ น�ำมาสร้างแบบสอบถาม 3.2 ผู้วิจัยสร้างแบบสอบถามความ พึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการเรียนรู้เชิงผลิต ภาพในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน  การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ 1. การตรวจสอบคุ ณ ภาพแผนการ จัดการเรียนรู้โดยนักศึกษาสร้างขึ้น ซึ่งมีการ ออกแบบจัดกิจกรรมการเรียนรู้เชิงผลิตและ ความพึงพอใจของนักเรียน 1.1 ผู ้ วิ จั ย ให้ นั ก ศึ ก ษาน� ำ แผนการ จั ด การเรี ย นรู ้ ที่ ส ร้ า งขึ้ น จ� ำ นวน 3 แผนให้ ผู ้ เชี่ ย วชาญการสอนคณิ ต ศาสตร์ จ� ำ นวน 3 ท่าน เพือ่ ตรวจสอบความถูกต้องของเนือ้ หา การจัดกิจกรรม การเรียนรู ้ การวัดผลประเมิน ผล ตลอดจนความสอดคล้องขององค์ประกอบ ต่ า งๆ ของแผน การจั ด การเรี ย นรู ้   โดย พิจารณาความเหมาะสมของข้อค�ำถาม แล้ว น�ำผลพิจารณามาหาค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) ซึ่งได้ค่า IOC อยู่ระหว่าง 0.67-1.00 1.2 น�ำแบบสอบถามความพึงพอใจ ของนักเรียนที่มีต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เชิงผลิตภาพ ทีน่ กั ศึกษาไปจัดการเรียนรูร้ ะดับ การศึกษาขั้นพื้นฐานไปให้ผู้เชี่ยวชาญจ�ำนวน 5 ท่าน ตรวจสอบความตรงตามเชิงนิยามศัพท์

โดยพิจารณาความเหมาะสมของข้อค�ำถาม แล้วน�ำผลพิจารณามาหาค่าดัชนีความสอด คล้อง (IOC) ซึ่งได้ค่า IOC อยู่ระหว่าง 0.671.00 1.3 น�ำแบบสอบถามความพึงพอใจ ของนั ก เรี ย นที่ มี ต ่ อ การเรี ย นรู ้ เชิ ง ผลิ ต ภาพ ผู้วิจัยน�ำไป Try Out กับนักเรียนที่ไม่ใช่กลุ่ม ตัวอย่าง จ�ำนวน 30 คน เพื่อหาค่าความเชื่อ มั่ น ตามวิ ธี ก ารของครอนบั ค  (Cronbach) โดยหาค่าแอลฟาสัมประสิทธิข์ องแบบสอบถาม ความพึงพอใจ ของนักเรียนได้ค่าความเชื่อมั่น เท่ากับ 0.78 1.4 แบบประเมินความสามารถในการ สร้างผลงานของนักเรียน ในระดับการศึกษา ขัน้ พืน้ ฐานทีน่ กั ศึกษาจ�ำนวน 10 กลุม่  กลุม่ ละ 2-3 คน ได้ลงภาคสนามไปจัดการเรียนรู้ตาม แผนการจัดการเรียนรู้ที่สร้างไว้  โดยในแต่ละ แผนการจัดการเรียนรู้ที่นักศึกษาสร้างขึ้นจะ มีการวัดผลประเมินผลทุกแผน ซึ่งนักศึกษา ทุกกลุ่มจะใช้เกณฑ์การให้คะแนน (Scoring rubrics) ประเมินผลงานของนักเรียน โดย แผนการจัดการเรียนรู้ของนักศึกษาในแต่ละ กลุ่มผ่านการประเมินจากผู้เชี่ยวชาญแล้ว

ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2020/2563 221


ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรูเ้ ชิงผลิตภาพทีม่ ตี อ่ ความสามารถในการสร้างผลงานของนักเรียน ในระดับการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน

การเก็บรวบรวมข้อมูล 1. ให้ นั ก ศึ ก ษาในแต่ ล ะกลุ ่ ม น� ำ แผน การจัดการเรียนรู้ไปทดลองใช้จริงในโรงเรียน ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน นักศึกษาจ�ำนวน 10 กลุ่ม กลุ่มละ 2-3 คน 2. ผู้วิจัยมีการนิเทศติดตามการจัดการ เรียนรู้เชิงผลิตภาพในชั้นเรียนที่นักศึกษาไป ทดลองสอนในโรงเรี ย น 4 จั ง หวั ด  ได้ แ ก่ จังหวัดปทุมธานี  จังหวัดพระนครศรีอยุธยา จังหวัดอ่างทอง และกรุงเทพมหานคร โดย ใช้แบบนิเทศติดตาม 3. ให้นักศึกษาเก็บแบบสอบถามความ พึงพอใจของนักเรียนที่นักศึกษาสอน 4. ให้ นั ก ศึ ก ษาตรวจให้ ค ะแนนผลิ ต ภาพ/ผลงาน/ชิ้นงานของนักเรียน  5. ให้นักศึกษาวิเคราะห์ข้อมูล 6. ให้นักศึกษาสรุปผลจากการทดลอง สอนในโรงเรียน พร้อมทัง้ น�ำเสนอผลิตภาพ/ผล งาน/ชิ้นงาน ของนักเรียน ในระดับการศึกษา ขั้นพื้นฐานที่นักศึกษาไปทดลองสอน 7. ผู้วิจัยประเมินผลจากการน�ำเสนอ ของนักศึกษาในข้อ 6  8. ผู้วิจัยประเมินผลิตภาพ/ผลงาน/ชิ้น งานของนักเรียน ในระดับการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน ที่นักศึกษาไปทดลองสอนในโรงเรียน

222 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

การวิเคราะห์ข้อมูล วิเคราะห์เชิงเนื้อหา (content Analysis) ค่าเฉลีย่ เลขคณิต ส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน และใช้สถิติ  t-test แบบ one sample  ผลการวิจัย 1. หลังเรียนนักเรียนในระดับการศึกษา ขั้นพื้นฐาน ที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เชิงผลิตภาพมีความสามารถในการสร้างผลงาน คะแนนสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 80 ของคะแนน เต็ม อย่างมีนยั ส�ำคัญทางสถิตทีร่ ะดับ .01 โดย ในแต่ละโรงเรียนมีผลการทดลองไปในแนวทาง เดียวกัน 2. หลังเรียนนักเรียนในระดับการศึกษา ขั้นพื้นฐานทุกโรงเรียน และทุกระดับชั้นเรียน ที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เชิงผลิตภาพ ของนั ก ศึ ก ษาระดั บ ปริ ญ ญาตรี   สาขาคณิ ต ศาสตร์   โดยภาพรวมผลการศึ ก ษาค่ า เฉลี่ ย ความพึ ง พอใจอยู ่ ใ นระดั บ มากที่ สุ ด ทุ ก ด้ า น (x̅=4.60, S.D.=0.71) สรุปอภิปรายผล ผลจากการที่ นั ก ศึ ก ษาน� ำ แผนการ จัดการเรียนรู้เชิงผลิตภาพไปทดลองใช้จริงใน โรงเรียน 1. ผลการประเมินความสามารถในการ สร้างผลงานของนักเรียน ทีน่ กั ศึกษาไปจัดการ เรียนรู้  ในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานพบว่า


สุวรรณา จุ้ยทอง

ความสามารถในการสร้างผลงานของนักเรียน ในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่ได้รับการจัด กิจกรรมการเรียนรู้เชิงผลิตภาพ มีคะแนนสูง กว่าเกณฑ์รอ้ ยละ 80 ของคะแนนเต็ม อย่างมี นัยส�ำคัญทางสถิตที่ระดับ .01 โดยในแต่ละ โรงเรียนมีผลการทดลองไปในแนวทางเดียวกัน อาจเป็ น เพราะผู ้ วิ จั ย ให้ นั ก ศึ ก ษาออกแบบ การจั ดการเรียนรู้  ตามแนวคิด Backward Design ซึ่ ง สอดคล้ อ งกั บ  Wiggins and McTighe (2006) เป็นกระบวนการออกแบบ การจัดการเรียนรู้แบบย้อนกลับ โดยเริ่มจาก การคิดทุกอย่างให้มคี วามเชือ่ มโยงกัน จากนัน้ ครูผู้สอนจึงเริ่มต้นจากปลายทางหรือผลผลิต ที่เป็นผลงาน/ชิ้นงาน/ภาระงาน ที่ต้องการ โดยยึดเป้าหมายทีเ่ ป็นมาตรฐานการเรียนรูแ้ ละ ตั ว ชี้ วั ด ของหลั ก สู ต รแกนกลางการศึ ก ษา ขัน้ พืน้ ฐานพุทธศักราช 2551 โดยครูผสู้ อนน�ำ มาวางแผนการจัดการเรียนรู้ในสิ่งที่จ�ำเป็นให้ กับผูเ้ รียน เพือ่ เป็นเครือ่ งมือทีน่ ำ� ไปสูก่ ารสร้าง ผลงาน/ชิน้ งาน/ภาระงาน ซึง่ เป็นหลักฐานแห่ง การเรียนรู้นั้น (สุวรรณา จุ้ยทอง, 2560) และ สอดคล้องกับงานวิจัยของ ธัฒนคร พวงค�ำ (2555) ได้ ท� ำ การวิ จั ย เรื่ อ ง การศึ ก ษาผล สัมฤทธิ์ทางการเรียนและทักษะพื้นฐานการ สร้างองค์ความรู ้ วิชา ส 31104 ประวัตศิ าสตร์ 2 ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  4 ที่เรียน จากการจัดการเรียนรู้โดยใช้การวิจัยเป็นฐาน

ผลการวิจัย พบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักเรียนนักเรียนร้อยละ 85 มีคะแนนผล สัมฤทธิท์ างการเรียนเฉลีย่ ร้อยละ 74.50 ซึง่ สูง กว่าเกณฑ์ที่ก�ำหนดไว้  ส่วนทักษะพื้นฐานการ สร้างองค์ความรูข้ องของนักเรียนร้อยละ 87.50 มีคะแนนวัดทักษะพืน้ ฐานการสร้างองค์ความรู้ เฉลี่ยร้อยละ 76.85 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่ก�ำหนด ไว้  และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมการ เรียนรู้ด้วยวิธีการสอนเชิงผลิตภาพ ซึ่งสอด คล้ อ งกั บ งานวิ จั ย ของ อนงค์ น าฎ บรรหาร (2555) ได้ท�ำการวิจัยเรื่องการพัฒนาหน่วย การเรียนรู้บูรณาการประเพณี  และวัฒนธรรม ในอ�ำเภอชนบทด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้ โครงงาน รายวิ ช า ส16101 สั ง คมศึ ก ษา ศาสนาและวั ฒ นธรรม ส� ำ หรั บ นั ก เรี ย นชั้ น ประถมศึ ก ษาปี ที่   6 ผลการวิ จั ย พบว่ า  ผล สัมฤทธิท์ าง การเรียนของนักเรียนเฉลีย่ เท่ากับ 23.00 คิดเป็นร้อยละ 77.83 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ ทีก่ ำ� หนดไว้  และความพึงพอใจของนักเรียนใน ด้านเนื้อหาและด้านการจัดการเรียนรู้โดยใช้ โครงงานภาพรวม อยู ่ ใ นระดั บ มากที่ สุ ด เนื่องจากวิธีการสอนเชิงสร้างสรรค์และผลิต ภาพ (CRP) ท� ำ ให้ นั ก เรี ย นเกิ ด การเรี ย นรู ้ ได้สืบค้นข้อมูล ได้รู้จักที่จะก�ำหนดปัญหาและ การวิเคราะห์สถานการณ์ปัญหา รู้จักวิธีการที่ เหมาะสมให้ได้มาซึ่งค�ำตอบ สามารถรวบรวม ข้อมูลจากแหล่งเรียนรูต้ คี วามหมายข้อมูล และ

ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2020/2563 223


ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรูเ้ ชิงผลิตภาพทีม่ ตี อ่ ความสามารถในการสร้างผลงานของนักเรียน ในระดับการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน

มีการสรุปผลการเรียนรู้ที่ได้มาอย่างเข้าใจ ซึ่ง เป็นการพัฒนาวิธีการเรียนรู้ของนักเรียนให้ เกิดความเข้าใจยิ่งขึ้น จึงส่งผลให้ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนของนักเรียน กลุ่มตัวอย่างผ่าน เกณฑ์ทกี่ ำ� หนดไว้ นอกจากนีบ้ รรยากาศในการ เรียนเป็นลักษณะของการพึง่ พาอาศัยกัน มีการ แลกเปลี่ ย นเรี ย นรู ้ ร ะหว่ า งผู ้ เรี ย น ท� ำ ให้ นักเรียนเกิดการยอมรับฟังผู้อื่นและมีทักษะ ทางสังคมเพิ่มมากขึ้น รวมถึงแผนการจัดการ เรียนรู้ของนักศึกษาได้ผ่านการประเมินจาก ผูเ้ ชีย่ วชาญ โดยมีการปรับปรุงแก้ไขให้สมบูรณ์ ก่ อ นให้ นั ก ศึ ก ษาน� ำ ไปใช้ ส อนจริ ง  และให้ นักศึกษาสอนเป็นทีม ทีมละ 2-3 คน ท�ำให้ นักศึกษาใช้กระบวนการวิจัย ร่วมคิด ร่วมท�ำ และร่วมกันแก้ปัญหาโดยการปฏิบัติจริง ใน โรงเรียน และมีการรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ ข้อมูล น�ำผลการวิจัยที่ได้จากการทดลองสอน จริ ง ในแต่ ล ะกลุ ่ ม มาน� ำ เสนอในห้ อ งเรี ย น เป็นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กันอีกด้วยนอกจาก นี้ยังสอดคล้องกับ ศิรประภา พาหลง (2550) ได้ทำ� การศึกษาเรือ่ งการพัฒนาแผนการจัดการ เรียนรู้โดยใช้แบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ เรื่องความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจ�ำนวนจริง ชั้น มัธยมศึกษาปีท ี่ 2 ผลการศึกษาพบว่า คะแนน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจ�ำนวนจริง ชั้นมัธยม ศึกษาปีที่  2 หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมี นัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ซึ่งจะเห็นได้ว่า 224 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

นักเรียนกลุ่มทดลองทุกโรงเรียนมีคะแนนหลัง เรียนสูงกว่าเกณฑ์ที่ตั้งไว้ทุกโรงเรียน 2. ผลการศึ ก ษาความพึ ง พอใจของ นักเรียน ที่มีต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เชิง ผลิตภาพ ที่นักศึกษาไปจัดการเรียนรู้ในระดับ การศึกษาขัน้ พืน้ ฐานพบว่า ความพึงพอใจของ นักเรียนที่มีต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เชิง ผลิตภาพ ที่นักศึกษาไปจัดการเรียนรู้ในระดับ การศึกษาขั้นพื้นฐาน หลังจากที่นักเรียนใน ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานทุกโรงเรียนและทุก ระดับชัน้ เรียน ทีไ่ ด้รบั การจัดกิจกรรมการเรียน รู้เชิงผลิตภาพของนักศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาคณิตศาสตร์ โดยภาพรวมผลการศึกษาค่า เฉลี่ยความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุดทุก ด้าน เมื่อพิจารณารายด้านโดยภาพรวมด้านที่ มีค่าเฉลี่ยระดับความพึงพอใจสูงที่สุดมีค่าอยู่ ในระดับมากทีส่ ดุ คือ ด้านการจัดกิจกรรม การ เรียนรู้  (x̅=4.64, S.D.=0.34) รองลงมามีค่า อยู่ในระดับมากที่สุดคือ ด้านสื่อการเรียนการ สอน (x̅=4.63, S.D.=0.47) และโดยภาพรวม ด้านที่มีค่าเฉลี่ยระดับความพึงพอใจต�่ำที่สุด มีค่าอยู่ในระดับมากที่สุดคือ ด้านการวัดผล และประเมินผล (x̅=4.56, S.D.=0.91) อาจ เป็นเพราะนักศึกษาน�ำแผนการจัดการเรียนรู้ ไปทดลองสอนจริงในโรงเรียน โดยเน้นการ ปฏิบัติจริงและ ให้นักเรียนในระดับการศึกษา ขัน้ พืน้ ฐานปฏิบตั ทิ ำ� ชิน้ งาน/ภาระงานจริง รวม ถึงในแผนการจัดการเรียนรู้ของนักศึกษาจะมี


สุวรรณา จุ้ยทอง

การทบทวนความรู้เดิมก่อนที่จะสอนเนื้อหา ใหม่  จึงส่งผลให้นักเรียนทุกคนมีความเข้าใจ อ ย ่ า ง ต ่ อ เ นื่ อ ง   ซึ่ ง ธ ร ร ม ช า ติ ข อ ง วิ ช า คณิตศาสตร์ที่มีเนื้อหาเกี่ยวเนื่องกัน ถึงแม้ว่า นักศึกษาจะสอนต่างโรงเรียน ต่างระดับชั้นทั้ง 10 ทีม ดังนั้นการน�ำแผนการจัดการเรียนรู้ไป ใช้เพื่อให้เกิดประโยชน์อย่างเต็มที่  ครูผู้สอน ต้องค�ำนึงถึงความรู้พื้นฐานเดิมของนักเรียนที่ สัมพันธ์  กับเนื้อหาใหม่  หากนักเรียนมีความรู้ พื้นฐานเดิมไม่เพียงพอในการเรียนเนื้อหาใหม่ ครูผู้สอนต้องสอนความรู้พื้นฐานเดิมให้ก่อน (สุวรกาญจนมยูร, 2541: 3) เป็นการเตรียม ความพร้อมหรือปรับพืน้ ฐานให้กบั นักเรียนก่อน เรียน ซึ่งจะส่งผลให้กาจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เชิงผลิตภาพนี้สามารถพัฒนานักเรียนได้ทั้ง กลุ่มเก่ง ปานกลาง และอ่อนได้ทุกคน อีกทั้ง ครูผู้สอนต้องฝึกให้นักเรียนกล้าพูด กล้าแสดง ความคิดเห็นโดยเฉพาะนักเรียนอ่อนครูผู้สอน ต้องกระตุ้นให้น�ำเสนอความคิดก่อน นอกจาก นี้  ยังสอดคล้องกับศิรประภา พาหลง (2550) ได้ทำ� การศึกษาเรือ่ งการพัฒนาแผนการจัดการ เรียนรู้  โดยใช้แบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจ�ำนวนจริง ชั้น มัธยมศึกษาปีที่  2 ผลการศึกษา พบว่า ความ พึ ง พอใจของนั ก เรี ย นที่ มี ต ่ อ การเรี ย นด้ ว ย แผนการจั ด การเรี ย นรู ้ โ ดยใช้ แ บบฝึ ก เสริ ม ทักษะคณิตศาสตร์เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยว

กับจ�ำนวนจริง ชัน้ มัธยมศึกษาปีท ี่ 2 มีคา่ เฉลีย่ เท่ากับ 3.87 มีความพอใจระดับมาก ข้อเสนอแนะ ข้อเสนอแนะในการน�ำผลการวิจยั ไปใช้ 1. ควรให้โอกาสกับนักศึกษาได้มีการ ออกแบบการเรียนรู้  ที่ส่งเสริมการเรียนรู้เชิง ผลิตภาพอย่างหลากหลายในรายวิชาชีพครู ทุกชั้นปี  พร้อมทั้งให้โอกาสในการน�ำแผนการ จัดการเรียนรู้ไปทดลองสอนจริงในโรงเรียน จะท�ำให้นักศึกษาได้มีประสบการณ์ตรงก่อนที่ จะออกประสบการณ์จริง โดยใช้กระบวนการ วิจัยมาช่วยในการจัดการเรียนรู้ 2. ควรส่งเสริมให้นักศึกษาได้มีโอกาส ทดลองใช้แผนการจัดการเรียนรูจ้ ริงในโรงเรียน เพือ่ ให้นกั ศึกษามีประสบการณ์จริงพร้อมทัง้ น�ำ ผลการทดลองสอนจริงที่ได้จากการทดลองใช้ แผนการจัดการเรียนรู้  มาสะท้อนและแลก เปลี่ยนเรียนรู้ในห้องเรียน 3. อาจารย์ ผู ้ ส อนต้ อ งให้ ค� ำ แนะน� ำ ให้ค�ำปรึกษา เป็นผู้อ�ำนวยความสะดวกต่อ นักศึกษา โดยสร้างบรรยากาศแห่งการเรียนรู้ ให้นักศึกษามีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนรู้ นักศึกษาท�ำวิจัย โดยออกไปสอนจริงในสถาน ศึกษา จะส่งผลให้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เชิ ง ผลิ ต ภาพ  ประสบความส� ำ เร็ จ และมี ประสิทธิภาพ

ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2020/2563 225


ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรูเ้ ชิงผลิตภาพทีม่ ตี อ่ ความสามารถในการสร้างผลงานของนักเรียน ในระดับการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน

ข้อเสนอแนะเพื่อการวิจัยต่อไป 1. ควรมีการศึกษาเกี่ยวกับการจัดการ เรียนการสอนในยุคการศึกษา 4.0 ให้กับครู หรือผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษา ขั้นพื้นฐาน

2. ควรศึ ก ษากิ จ กรรมการเรี ย นรู ้ เชิ ง ผลิ ต ภาพ จะสามารถใช้ พั ฒ นาทั ก ษะใน ศตวรรษที่  21 ได้หรือไม่  เพื่อให้สอดคล้อง กับความต้องการของสังคมยุคปฏิรปู การศึกษา ในปัจจุบัน

บรรณานุกรม จุฑา ธรรมชาติ. (2555). การวิจัยและพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบใช้วิจัยเป็นฐานใน  รายวิ ช าการวิ จั ย ทางการศึ ก ษา. วารสารสงขลานคริ น ทร์ ฉ บั บ สั ง คมศาสตร์ แ ละ มนุษยศาสตร์, 18(1), 183-214. ธัฒนคร พวงค�ำ. (2555). การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและทักษะพื้นฐานการสร้างองค์  ความรู้ วิชา ส 31104 ประวัติศาสตร์ 2 ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่เรียนจาก  การจัดการเรียนรู้โดยใช้การวิจัยเป็นฐาน. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชา หลักสูตรและการสอน,บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยขอนแก่น. ธีรศักดิ์  พาจันทร์. (2560). การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนโดยใช้การวิจัยเป็นฐาน เพื่อ  เสริมสร้างสมรรถนะในการวิเคราะห์และวางแผนแก้ไขปัญหาสาธารณสุข ของนักศึกษา  หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสาธารณสุขชุมชน. ขอนแก่น: วิทยาลัยการ สาธารณสุขสิรินธร. ไพฑูรย์ สินลารัตน์. (2558). ปฏิรปู การเรียนรู ้ ปฏิรปู การศึกษากลับทางจากล่างขึน้ บน. กรุงเทพฯ: บริษัท พี  เอ.ลีฟวิ่ง จ�ำกัด. วรพจน์  วงศ์กิจรุ่งเรือง และอธิป จิตตฤกษ์. (2554). ทักษะแห่งอนาคตใหม่  การศึกษาเพื่อ  ศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ: Openworlds.

226 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม


สุวรรณา จุ้ยทอง

ศิรประภา พาหลง. (2550). การพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์  เรื่องความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจ�ำนวนจริง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  2. วิทยานิพนธ์  ครุศาสตร มหาบัณฑิต, สาขาวิชาคณิตศาสตร์, มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม. ศิรศิ กุ ร์ ศิรโิ ชคชัยตระกูล และ ลัดดา ศิลาน้อย. (2558). การศึกษาทักษะการแก้ปญ ั หาและความ  คิดสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้กิจกรรมการเรียนรู้ด้วยวิธีการ  สอนเชิงสร้างสรรค์และผลิตภาพ (CRP)รายวิชา ส 14101 สังคมศึกษา ศาสนาและ  วัฒนธรรม. วารสารศึกษาศาสตร์. มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 131-138.  สุวรรณา จุย้ ทอง. (2560). การออกแบบหน่วยการเรียนรูอ้ งิ มาตรฐานเพือ่ ส่งเสริมการเรียนรูเ้ ชิง  ผลิตภาพ. วารสารวไลยอลงกรณ์ปริทัศน์. 7(2), 143-152. สุวร กาญจนมยูร. (2541, เมษายน-มิถุนายน). การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนคณิตศาสตร์  ระดับประถมศึกษา. วารสาร สสวท. 26(101), 3-6. อนงค์นาฎ บรรหาร. (2555). เรือ่ งการพัฒนาหน่วยการเรียนรูบ้ รู ณาการประเพณีและวัฒนธรรม  ในอ�ำเภอชนบทด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงาน รายวิชา ส16101 สังคมศึกษา  ศาสนาและวัฒนธรรม ส�ำหรับนักเรียนชัน้ ประถมศึกษาปีท ี่ 6. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษา ศาสตร, บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยขอนแก่น. Wiggins, Grant andMcTighe, Jay. (2006). Understanding by design. Alexandria. VA: Association for Supervision and Curriculum Development.

ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2020/2563 227


ศาสนาเป็นการแสดงออกตามทฤษฏีของ

ฟ๊อยเออร์บคั  ประหนึง่ เป็นดังหนทางเชือ่ มความเชือ่ เพือ่ เข้าสูว่ ฒ ั นธรรมของชาวกะเหรีย่ ง ในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

On Feuerbach's Idea of Religious Projection

as a Way of Approaching Religious Inculturation among the Karen of South East Asia. บาทหลวง วีรศักดิ์ ยงศรีปณิธาน

* บาทหลวงในคริสต์ศาสนจักรโรมันคาทอลิก สังกัดสังฆมณฑลเชียงใหม่ * อาจารย์ประจ�ำหลักสูตรศิลปศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชาปรัชญาและศาสนา วิทยาลัยแสงธรรม

ยอห์น ที จอร์ดาโน

* อาจารย์ประจ�ำภาควิชาปรัชญาและศาสนา มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญแห่งประเทศไทย

Rev.Werasak Yongsripanithan

* Reverend in Roman Catholic Church, Chiang Mai Diocese. * Lecturer, Bachelor of Arts Program in Philosophy and Religion, Saengtham College.

John T. Giordano

* Lecturer of Graduate School of Philosophy & Religion, Assumption University of Thailand.

ข้อมูลบทความ

* รับบทความ  18 ธันวาคม 2562 * แจ้งแก้ไข  22 มกราคม 2563 * ตอบรับบทความ  29 มกราคม 2563


Yongsripanithan Werasak and John T. Giordano

บทคัดย่อ

ลูวกิ  ฟ๊อยเออร์บคั  เจ้าของทฤษฏี  ศาสนาเป็นการแสดงออกของ มนุษย์  ความคิดนี้มีอิทธิพลต่อนักปรัชญาหลายคน เช่น คาร์ล มาร์กซ์ และซิกมุนด์  ฟร็อยด์  ทั้งสองได้เสนอศาสนาประหนึ่งเป็นอุปสรรคต่อ ความเจริญก้าวหน้า เพราะศาสนาเป็นมายาที่จะต้องถูกแทนที่ด้วย เหตุผลแต่ความคิดของฟ๊อยเออร์บัคก็เปิดช่องทางให้ถูกตีความในเชิง บวก การแสดงออกทางความเชือ่ ของวัฒนธรรมท้องถิน่ และความหมาย ที่มีอยู่ในศาสนาดั้งเดิมนั้น ผ่านทางการตีความในเชิงบวกของวาร์ทอฟ สกี้และฮาร์วี่  ได้สนับสนุนว่าศาสนาเป็นการแสดงออกนั้นมีความหมาย ในเชิ ง บวก บทความนี้ ไ ด้ น� ำ เสนอการประยุ ก ต์ ท ฤษฏี นี้ ใ นการมอง วัฒนธรรมกะเหรีย่ งในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และความเข้าใจคริสต ศาสนในบริบทของชาวกะเหรี่ยง และในบทความนี้ให้แสดงให้เห็นด้วย ว่ า คริ ส ต์ ศ าสนานั้ น ได้ เข้ า สู ่ ช าวกะเหรี่ ย งซึ่ ง มี ร ากฐานความเข้ า ใจ ธรรมชาติ  และสุดท้าย บทความนี้ได้น�ำเสนอความเชื่อมโยงระหว่าง ศาสนาดั้งเดิมของกะเหรี่ยงกับคริสศาสนาซึ่งส่งผลต่อความเข้าใจและ สร้างความสมดุลในการด�ำรงชีวิตทั้งสองมิติคือวัตถุกับรหัส ธรรม ค�ำส�ำคัญ:

ฟ๊อยเออร์บัค การแสดงออกทางศาสนา การเข้าสู่วัฒนธรรม กะเหรี่ยง กองบุญข้าว

ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2020/2563 229


On Feuerbach's Idea of Religious Projection as a Way of Approaching Religious Inculturation among the Karen of South East Asia

Abstract

Ludwig Feuerbach is famous for stating that religion is a projection of man. This was a great influence on such writers as Marx and Freud who view religion as an obstacle to progress or a mere illusion which needs to be replaced by reason. But Feuerbach’s ideas can be seen in a more positive way; as recognition of the importance of local culture and the meaning of religion within that culture. After a brief examination of the work of two commenters Wartofsky and Harvey, Feuerbach’s theory will be evaluated in a more positive light. This article will then apply these insights concerning religious projection to Karen culture in South East Asia and the way in which Christianity is understood in that cultural context. The article will also show that the Karen appropriation of Christianity is rooted in ecological concerns. Finally, it will show that the connection between traditional Karen faith and Christianity is important for creating a balance between two dimensions of reality – the material and the mysterious. Keywords:

230 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

Feuerbach Religious projection Inculturation Karen Kong Boon Khao.


Yongsripanithan Werasak and John T. Giordano

Introduction Christians in Thailand have been commemorating the 350th anniversary of the Church in Siam (1669-2019). The Catholic Church here as in other Asian countries owes a debt of gratitude to all missionaries who dedicated their lives to spreading the Good News of the Gospel throughout the continent. Today, in many countries where the missionaries originally came from, their faith and work are not universally admired. For this reason we have the responsibility to not only spread the Gospel, but to take seriously and confront the critics. Sometimes the criticisms of Christianity can be rich sources of instruction. Sometimes couched within their criticisms are insights that allow us to achieve new and deeper perspectives on our faith. One of the most notorious critics of Christianity is the philosopher Ludwig Feuerbach. But he was no mere critic of religion but a scholar who dedicated his whole life to critically commenting on the meaning and place of religion in human life.

Feuerbach’s Life and Writings Ludwig Feuerbach (1804 -72), was a contemporary of Charles Darwin and Karl Marx. He is remembered today especially for his book The Essence of Christianity published in 1841. As a student he was an enthusiastic disciple of G.F. Hegel but in later life became one of his sharpest critics. He is best remembered today as the writer who had a deep influence on Karl Marx and Friedrich Engels and later, Sigmund Freud. He is also the man who asserted that “religion is a projection of man”. But the scholar Van Harvey suggests that Feuerbach's approach to religion is much deeper and warns us against seeing him as a mere precursor to the atheism of Marx and Freud. It is mistaken to accept the conventional opinion that Feuerbach’s best insights were mediated to modernity by Marx and Freud. Although there are obvious points of continuity between these two thinkers and Feuerbach the discontinuities are

ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2020/2563 231


On Feuerbach's Idea of Religious Projection as a Way of Approaching Religious Inculturation among the Karen of South East Asia

even greater and, as I shall argue, more significant as regards the interpretation of religion. This is especially true of the concept of projection. Even though Marx thought he was indebted to Feuerbach for the insight that the gods arise out of a sense of privation and, hence that religion would wither away when this privation was abolished, both the early and later Feuerbach believed that religion is rooted in something more primal and elemental in consciousness itself. (Harvey, 1995, p.12) Feuerbach’s most famous publication was The Essence of Christianity. It was published in 1841 and it quickly became a best-seller. None of his many later writings had the same effect. Many readers of The Essence of Christianity took away this one clear idea – that religion is no more than a projection of man. Most interpreters understand Feuerbach’s use of “projection” as something that man himself

232 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

projects; to use Feuerbach’s own words man “projects his being into objectivity” (Feuerbach, 1841, p.29). Seen in this way the meaning of projection easily leads to a negative understanding of religion. But we can ask if there a possibility of reading the work of Feuerbach in a way which strengthens our understanding of our faith. In this article I would like to focus on interpreters who see positive elements in Feuerbach’s philosophy. The argument will be drawn from the work of two of the best-known Feuerbach interpreters, Max Wartofsky and Van Harvey. They offer alternative interpretations of his thought. At the end of the article I will examine how the Karen Christian practices of “Kong Boon Khao” (Dias, 2004, p.89-93) in Karen Christianity with its “particular experience” (Fung, 2017, p.12), of the world might reflect some of the things that Feuerbach is getting at. Paul Ricoeur identifies three people, Marx, Nietzsche and Freud as “masters of suspicion” (Ricoeur, 1970,


Yongsripanithan Werasak and John T. Giordano

p.28-36). In modern times, each of them looked on Christianity as a product of “projection” by believers. Some may wonder why Ludwig Feuerbach is not included in this list. The theologian Karl Barth has observed that Feuerbach’s thought was “more theological than that of many theologians” (Harvey, 1995, p.3-17). Barth is also one of those who believe that Feuerbach’s idea of religion as a projection could be interpreted from different perspectives. Feuerbach proclaimed that his methodology is to allow religion speak for itself “I constitute myself only its listener and interpreter, not its prompter” (Feuerbach, 1957, xxxvi). It would seem from this that the suggestion that he should not be included among the masters of suspicion. His idea of religion was formulated not only in his books but through his whole life as a philosopher. Barth concluded that few “had been so intensively, so exclusively and precisely occupied with the problem of theology as Feuerbach - although his

love was an unhappy one” (Feuerbach, 1841: x). He dedicated his life to searching for what he considered to be the real meaning of religion. Man sometimes gives a meaning to religious practice in accordance with his desires or wishes. How does Feuerbach approach the question of the essence of religion in the lives of people? Harvey cautions that “Feuerbach’s view that religion is a function of the emergence of self-consciousness leads to a far more complex interpretation of religion than that practiced by the other three masters of suspicion” (Harvey, 1995, p.13). In The Essence of Religion Loos, the translator of this book writes that Feuerbach argues that the attributes of God reflect the various needs of human nature. In ancient times, before human beings had any scientific understanding of nature, divine powers were seen behind every natural manifestation, from lightning bolts to the

ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2020/2563 233


On Feuerbach's Idea of Religious Projection as a Way of Approaching Religious Inculturation among the Karen of South East Asia

change of season. By contrast, in the modern era, when an in-depth understanding of natural causes has been achieved, there is no longer any need to imagine God behind the working of nature. (Alexander Loos, 1873, cover page). These statements open the way to an alternative interpretation of the word “projection” in Feuerbach’s thought. The way he is interpreted is that religion is nothing else but the projection of man’s essence or species being; that his philosophy should be understood as a mere materialism. But a closer reading opens other possibilities. Projection is not just a product of man’s imagination; there is something real behind and within this projection. Man projects something supernatural, not a product of his imagination, but because there is a mysterious (supernatural) reality within him which is being projected. This point needs to be taken seriously. Firstly, according to the tradi-

234 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

tional interpretation Feuerbach is always interpreted in a negative way. Referring to this theologian and philosopher Hans Küng says: “we must ‘open the eyes’ of religion-and also of speculative philosophy and theologyor’ rather turn its gaze from the internal towards the external” (Küng, 1978, p.199). Many interpreters were not conscious of the other dimensions of Feuerbach’s thought and developed inaccurate understandings. Secondly, the meaning of projection as found in Feuerbach has its own horizon and worldview; it does not see Christianity as something that has no foundation; but as pointing to something real. We will look fairly briefly at how some commentators have analyzed the work of Feuerbach. Wartofsky: Feuerbach Takes Religion Seriously The first commentator we will examine is Marx Wartofsky. He places Feuerbach in a different category than the writers of the French Enlightenment


Yongsripanithan Werasak and John T. Giordano

like Diderot or Montesquieu who mocked religious belief. He examines the way Feuerbach’s understanding of religion developed. Feuerbach understood religion as a stage in the growth of human self-consciousness, to be investigated in its own forms of expression – from the ‘inside’ so to speak. (Wartofsky, 1977, p.6) Wartofsky points out that this idea of religion as a stage in the growth of human self-consciousness will appear again and again in his writings. In a sense, going back to Hegel, it is the antithesis stage before the new synthesis is arrived at. Religious belief belongs within a specific context and this must be understood or its significance will be missed. Religion is a search for meaning. Wartofsky refers to the fact that religion is born in different places and is expressed in different ways. Much depends on the condition and culture of a people. Wartofsky quotes from The Essence of Christianity in giving an

answer to the question where religion comes from. Religion rests on the essential difference between men and animals – animals have no religion –But what is this difference? The simplest and most general, as well as the most popular answer to this question is – consciousness…The animal is certainly an object to itself, as an individual – therefore it has selfawareness ¬– but it isn’t aware of its species nature. (Feuerbach, 1841, p.1) What is the meaning of this description of religion? The different levels of consciousness between the human and the other animals is clear. A key difference is that man is capable of reflecting on the fact that he is a member of a species. The more he becomes aware of this species identity the more he will become aware of his own dignity. In looking for answers to life’s mysteries it is clear that Feuerbach

ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2020/2563 235


On Feuerbach's Idea of Religious Projection as a Way of Approaching Religious Inculturation among the Karen of South East Asia

didn’t take shortcuts or accept easy answers. Wartofsky again quotes The Essence of Christianity. Here, the extent of our lack of knowledge is underlined but this does not mean that we have to invoke some what Feuerbach calls superstition to fill the gaps. The origin of life is inexplicable and incomprehensible. So be it. But this incomprehensibility doesn’t justify you in the superstitious consequences which theology draws, on the basis of deficiencies in human knowledge, doesn’t justify you in going beyond the domain of natural causes. (Wartofsky, 1977, p.398) Wartofsky comments that “There are, therefore, two levels at which the work may be read. First, there is the manifest thesis that man creates the gods in his own image. But, second, there is the latent and deeper thesis concerning the nature of concept formation not only in religion and theology, but in philoso-

236 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

phy itself” (Wartofsky, 1977, p.197). We have to be aware of these levels when we read the Essence of Christianity, otherwise it will be difficult to understand Feuerbach. There are two reflections here on the reality of “speculative philosophy”; “Philosophy itself is to be demystified and recognized as the refracted, abstract image of concrete human existence and the esoteric expression of human consciousness and self-consciousness” (Wartofsky, 1977, p.198). Feuerbach intends to replace “old philosophy” with “new philosophy, to go” from “abstract philosophy to concrete philosophy”. Wartofsky evaluates Feuerbach in a positive way. Humans are searching for the truth that lies behind the image. Feuerbach explains his project: I am nothing but a natural scientist of spirit; but the natural scientist can do nothing without instruments, without material means. In this capacity – as a natural scientist- I have written


Yongsripanithan Werasak and John T. Giordano

this work, which consequently contains nothing but the principle of a new philosophy, one essentially different from previous philosophy, and one which is confirmed practically, i.e., in concreto, in application to a particular, concrete subject matter, but one which has universal significance: namely, to religion, with respect to which this principle is presented, developed, and carried through to its consequences. (Wartofsky, 1977, p.200) In his critique of religion Feuerbach affirms that the “true” subject of religion is man. But lying under religious belief there is a “mystery” of religion; it’s true object or that which it hides under the external form” (Wartofsky, 1977, p.198). Through it man can arrive at the knowledge of himself as man. His later writings show that his ideas developed through time. Wartofsky goes on to introduce another element of interpretation that must be taken into account, the terms exoteric and esoteric. What do

these terms mean? Firstly, ‘exoteric’ refers to what is “suitable to be imparted to the public” or “outer”. Wartofsky draws our attention to the fact that we should read “The Essence of Christianity” as a work meant to show in public or demonstrate religion as a “thing”. Secondly, “esoteric” refers to the “mysterious”. “Feuerbach is concerned with the psychological process that generates the image and therefore explains what it is an image” (Wartofsky, 1977, p.253). He calls this level “psychic pathology”. For Wartofsky, the image is generated by a religious consciousness that is trying to find a way to talk about the mysterious. He writes: “The very distinction of exoteric and esoteric interpretation develops into a two-edged sword, available for the purpose of reading not only the supernatural in the natural but the natural in the supernatural as well”. (Wartofsky, 1977, p.252). The ‘image’ becomes a means which allows some access to the ‘mysterious being’.

ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2020/2563 237


On Feuerbach's Idea of Religious Projection as a Way of Approaching Religious Inculturation among the Karen of South East Asia

Harvey: Development of Feuerbach’s Thought The second commentator who develops a more positive view of Feuerbach is Van Harvey. Harvey believes that although Feuerbach is not included in Paul Ricoeur’s list of the ‘masters of suspicion’ he deserves to be on it. What is Feuerbach basic argument in the Essence of Christianity? “Its basic premise is that the superhuman deities of religion are, in fact, involuntary projections of the essential attributes of human nature, and this projection, in turn, is explained by a theory of human consciousness heavily indebted to Hegel” (Harvey, 1995, p.25). The ground was prepared for Feuerbach not only by Hegel, with whom he came to disagree, but also by his contemporary, the Protestant theologian of the Tübingen School, David Strauss (1808-1874). Strauss applied critical methods to his Bible studies and showed for example that the Gospels were not eyewitness accounts and that there were contra-

238 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

dictions in the texts etc. He did not believe in the divinity of Jesus. This kind of thinking had a profound effect of the faith of the more intellectually minded Christians. Feuerbach reflects: “Man – this is the mystery of religion – projects his being into objectivity, and then again makes himself an object of this projected image of him, thus converted into a subject; he thinks of himself as an object to himself, but as the object of an object, of another being than himself.” (Feuerbach, 1841, p.29). Feuerbach’s stated purpose in writing his book is to help Christians understand what he sees to be the truenature of religion. His book the Essence of Christianity is divided into two parts. He says that the first part is positive. He sets out to show that so many of the qualities or ‘predicates’ that Christian believers attribute to God are othing more than the product of human imagination. For example, the compassion they attribute to God is nothing more than an idealized version


Yongsripanithan Werasak and John T. Giordano

of the human quality of compassion. He calls this part ‘The true or anthropological Essence of Religion’. The second part of this book, he calls ‘The False or theological Essence of Religion’. Here his intention is to show the many mistakes and false beliefs that Christians can be led into if they do not understand what he says in the first part. That is if they do not know that the contents of their beliefs do not refer to a divine being but are merely collections of human desires. Commentators on Feuerbach agree that his theory of projection is difficult to understand. At one level it can be stated in a very simple way such as that God is a product of human desire and imagination. Over two thousand years before Feuerbach the Greek philosopher Xenophanes said something similar. But there are other levels in Feuerbach’s concept that go far beyond Xenophanes; the most important of these is his Hegelian background. He begins by asking what distinguishes the human from

other animals; just as we saw in Wartofsky, it is consciousness. This consciousness is achieved through the person’s contact with another person, a Thou, and the realization that this person is like ‘me’ – of the same species. The special elements of this consciousness are reason, will and feeling. The primary mode of this contact is not abstract but concrete, through the senses, the body. Every species relates to the world around it in the manner its organism permits. Humans can attain happiness, for example, if they can use the powers of their nature. Humans become aware that they belong to a species and that the species will continue into the future but each person, as an individual, will die. This causes suffering and is one explanation for the ‘invention’ of a God and belief in life after death; “The root of religion in humans comes not from reason but from feeling and imagination.” (Feuerbach,

ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2020/2563 239


On Feuerbach's Idea of Religious Projection as a Way of Approaching Religious Inculturation among the Karen of South East Asia

1841, p.125-6). These are two important elements in the process of projection. Feelings produce the activities of longing and wishing. These two activities, when they become very strong, bring the wished-for object into (imaginary) existence. Because the person feels it or longs for it so deeply it ‘must’ exist. The imagination is also extremely important in religious thought. “The imagination can create worlds; it can work with abstractions. It can by-pass the laws of nature and invent many things – even separate divine beings” (Feuerbach, 1841, p.139). The most important qualities or predicates of the human species are reason, will and feeling. Is God something invented by reason? Feuerbach says that a god like this would be too cold and distant. A god who represents good moral standards and a god who loves are also required to meet human longings – not just the cold god produced by reason. How does Harvey sum up what religion is for Feuerbach?

240 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

Religion can best be described as a type of anthropomorphism rooted in the structure of selfconsciousness; more precisely in the twofold differentiation of the self from nature, on the one hand, and persons, on the other. This twofold distinction creates the correlative desires to be free from nature and to gain recognition from other subjects. The gods satisfy both structural desires uniquely. They can set aside the limits of nature by performing miracles and they can offer a recognition that transcends that which can be given by any finite person. (Harvey, 1995, p.63) For the younger Feuerbach “Religion is man’s earliest and indirect form of self-knowledge” (Feuerbach, 1841, p.13). Harvey asserted that this was “a necessary stage in the development of human consciousness” (Harvey, 1995, p.229). However “the idea of the divine is primarily generated


Yongsripanithan Werasak and John T. Giordano

from within and is only indirectly a response to anything external” (Harvey, 1995, p.229). Therefore the idea of God in religion always remains something mysterious. Feuerbach hows that to touch a transcendent reality is to go out from oneself. In his Lectures on the Essence of Religion he writes: “What am I? Where have I come from? To what end? And this feeling that I am nothing without a notI which is distinct from me yet intimately related to me, something other, which is at the same time my own being, in the religious feeling” (Feuerbach, 1967, p.311). Man projects himself beyond of the ‘I’ because he is looking for something that is beyond himself. This is the nature of the religious projection. But Feuerbach wants to focus not on abstractions but on “man who eats and drinks”. Harvey asks if Feuerbach could be fitted into any of the present-day theories of projection. He says that all these theories can be put into two broad categories. The first classification

he calls the ‘beam theory.’ The metaphor is taken from what happens in the cinema where a projector ‘beams’ an image to the screen (to outside itself). These theories describe projection as the externalization of the self or its attributes. They tend to postulate some kinds of inner psychic mechanism which causes religious belief and explains the projection. Some of these ideas are later found in Freud and collective consciousness of Jung. This kind of projection can have “latent and hidden meanings from the projectors themselves are not even aware” (Harvey, 1995, p.236). The beam metaphor provides criteria for a judgment about what can be justified as true or false. Religion, for them, is an illusion of believers. It may be healthy or not, it depends on who believes, but there is an assumption that there can be a healthy illusion (Harvey, 1995, p.236). Harvey goes on to introduce the second general classification of present-day projection theories. Here the

ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2020/2563 241


On Feuerbach's Idea of Religious Projection as a Way of Approaching Religious Inculturation among the Karen of South East Asia

model used is taken from mapmakers who use a grid to show the layout of towns etc. Harvey writes that “there is another type of projection in which the term “projection” is used to refer not to the externalization of some aspect of the self its feelings, attributes, or subjectivity itself- but to the symbolic or conceptual forms that human beings superimpose on the experience in order to make it intelligible” (Harvey, 1995, p. 246). Just as map-makers use the grid to organize their material likewise humans use religion to organize the elements of their life. This is the Grid metaphor which presents the meaning of projection within the framework of man in the process of and orienting his life. Harvey writes: “The term ‘projection’ to include religion itself has seemed to many philosophers of religion like a natural move once a religion is regarded as a conceptual scheme or worldview by means of which people orient themselves to life” (Harvey, 1995, p.247). Here reli-

242 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

gion is seen as a projection; an element of life organization within the human system of belief. The two concepts of the “Beam metaphor” and “Esoteric” offer the possibility to interpret Feuerbach’s theory in a more positive way. Harvey and Wartofsky underline projection as part of the effort to understand the “mysterious”in life and the human search for what is beyond the merely material. To finish, we can consider a few observations on projection by Fokke Sierksma, a Dutch psychologist of religion. He says man worries about the balance between the external and internal world. Man is searching not only for material things but “the meaning of life” as well. What lies behind it all? (Sierksma, 1990, p.100). He writes: (Man) becomes aware of “something” in himself that judgeshim, unseen and not objectifiable; when he shudders before the mystery of the groundless


Yongsripanithan Werasak and John T. Giordano

ground of his own soul. It is precisely that which is unknowable, ungraspable, overpowering, mysterious that gives man the feeling that he is no longer at home in his trusted, stabilized perceptual world, that he is unheim-lich (homeless)… He experiences bodily that man stands in nothingness; that, although with his perception and his hands he has conquered a part of the world, of which he thought it was the world, this turns out to be only a small part of the world, a Merkwell…Beyond it is the reverse side of the world, is mystery. (Sierksma, 1990, p.102) Wartofsky, Harvey and Sierksma interpret the projection theory of Feuerbach in a deeper way. What the human being projects in the form of religion is not just a material essence but a spiritual one.

Has Feuerbach Any Relevance to Understanding Karen Culture Aloysius Pieris, was a Sri Lankan theologian who wrote about three levels that we must be aware of when we approach inter-religious dialogue. These three levels are what he calls the Primordial experience, the Collective Memory and the Interpretation. Examples of the primordial experience might be the life of Jesus or Buddha. The collective memory is what is handed on in the culture through scripture, story tradition etc. The interpretation is how a religion interpreted and given relevance today. These elements which Pieris distinguishes are very helpful in applying Feuerbach's theory and his interpreters to an understanding of Karen religious belief. There is a story which is important to understanding the essence of Karen Christianity in the north of Thailand.

ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2020/2563 243


On Feuerbach's Idea of Religious Projection as a Way of Approaching Religious Inculturation among the Karen of South East Asia

An orphan lived alone and other people discriminated against him. A heavenly angel saw his suffering then transfigured as a grandmother came to stay with this orphan. She taught him how to cultivate rice. The orphan survived, and got strong and a time came when the grandmother wanted to say goodbye to him. He didn’t want her to go back to heaven; he asked her to stay with him forever. Finally this grandmother was transfigured into rice. Karen culture has a rice ritual to recall the spirit of rice which is represented as a black bird. (Historical Documentation, 2019, p.121-131) But we will look at three significant elements to be interpreted in this story. i) Firstly, there is the Karen consciousness of living in an orphan situation. Their life is full of suffering, something often expressed in songs. The culture has many stories like this. They often feel abandoned.

244 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

In Karen language the word “Haufhkof” means “the World” “a place where we are crying”. Most Karen see this world as a temporary home and believe that one day they will rest in a better place where it is called “Moohkof” or “living place.” “Moo” means “life” and “Hkof” means “place”. Karen consciousness is conscious that they are poor and limited by many conditions. They were cruelly treated by other nations, often having to go from place to place. Marshall writes that “Karen is accustomed to say of themselves that they put a thing in the heart” (Marshall, 1922, 26). And Marshall mentions that “they are cautious in entering into friendship, but, having done so, are faithful and sincere to those whose confidence they accept in exchange for the other” (Marshall, 1922, p.26). Their personality is to keep quiet and be careful when establishing relationships with other nations. They think deeply and they put thing in their heart. In the story the orphan is aban-


Yongsripanithan Werasak and John T. Giordano

doned by others, but struggled a lot to live and even in a terrible situation is faithful to life and tries to earn his living. The Karen accept the fate of life according to “Hta” (Ancient Poem); Hpo qai le ple pgaz tooj e, htof lauz auf bu le lejhkle, Hpo qai le ple tooj saf wi, hez htauf bu laj kai htauf piv iv (The orphan, in the past, was treated badly. He planted rice on a rock and suffered famine. The wrapped grain became cooked-rice). The orphan in the story is a projection of the Karen consciousness that life should be simple and honest. (Simplicity and Honesty as Essence of Life) Simplicity and honesty are the important elements of life, but like the iceberg, much of what is essential in life is hidden under the water; it is mysterious. ii) Secondly, we find in the story the intervention of an angel in the form of a grandmother (Hpi muj mai). In many Karen fables there are two relevant persons – a grandmother and an orphan. They usually live together and help each other but

occasionally people around envy them and attempt to destroy them. They never win because this grandmother or Hpi is an agent coming from heaven to help the poor orphan. This projection of the grandmother who saves can fit into the Feuerbach the idea of the defenseless person who is searching for something that can save him from a terrible situation. Man is treated badly by fate but finds, or imagines he finds, a savior. The intervention of the grandmother is an awareness, or at least a desire of something more that lies beyond the merely human, a consciousness of mysterious being. For Karen is a real consciousness in which is represented in several places in songs, poems, Htas and sayings. iii) Finally the grandmother becomes the grain for the orphan; “Streams of rice came out from under her fingernails, her toenails, her eyelids, her hair, her nose, her mouth, and her clothes and began to fill the

ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2020/2563 245


On Feuerbach's Idea of Religious Projection as a Way of Approaching Religious Inculturation among the Karen of South East Asia

hut with a loud noise. The old widow's whole body became a beautiful golden yellow of paddy” (from Karen folklore). The rice is from the mystic grandmother who lived with the orphan. The grain is not only to satisfy physical need but also the consolation and closeness of this grandmother. From now on the link between the orphan and the grandmother is an anthropomorphic one represented in this mysterious relationship. Perhaps we could go back for a moment to the three levels of primordial experience, collective memory and interpretation used by Pieris. In Karen culture, Primordial experience is connected with rice which is not only a source of nutrition but somehow connects their consciousness to mysterious form of being. For Collective Memory, Karen people have the story as “The Lost Book” which can be found different part of South East Asia. Its content is fairly similar; in the Karen culture it

246 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

is a waiting for the younger brother who would return bringing a book. At the level of Interpretation, the Karen perspective on life is that they interpret all appearances or events in the world as mysterious revelation to man living in the here and now. This harmonizes with Pieris’ analysis that religions “are composed of two complementary elements: a cosmic religion functioning as foundation and a metacosmic soteriology constructing the main edifice” (Pieris, 1988, p.71). There is a traditional saying among the Karen hill tribes: “Those who have more eat less, and the rest must be shared. Those who have less must also share” and “When we have, we all eat together, when we don’t have, we all starve together”. Each village has a rice merit group in Karen language is called “Bupaxkauz”. “Bu” means “rice”, “Pax” means “keeping” and “Kauz” means “everlasting” or “sustainable” (Wongjomporn, Interviewed on August 2, 2019). For long periods in the past the Karen people


Yongsripanithan Werasak and John T. Giordano

suffered from hunger, poverty and disease. Sharing became an important part of Karen consciousness. Their saying “we live or starve together” echoed in the heart of this hilltribe. “Bupaxkauz” became a symbol of communion with the other. Robert White writes that “The religious impulse they contain is a comprehensive source of spiritual, social, and intellectual resources” (White, 1994, p,110). Love is not an abstract idea but an action in which Karen see life not only for oneself alone but also community. A prayer from the Karen hill tribe illuminates the central place of rice in the culture. Pru! Come rice, come up! Bird of the rice spirit, widowed grandmother, call the paddy up, call the milled rice up, call the rice up in the barn, call the rice up in the granary, rice in the sky, rice in the ground, rice from the north, rice from the south, rice from the east, rice from the

west, rice from the big field, rice from the big paddy field, rice from the great Mae-khong, rice from the great Salween, rice from the great mountain, rice from the high peak, rice from Chiang Mai, rice from Bangkok, make yourself come up, make yourself increase, come up and eat the first rice, come up and drink pure water, come up and eat bird meat, come up and eat chicken meat, come up and join together, come up and be together, come up and unite, come up and be in solidarity, come up and fill the barn, come up and fill the granary, come up and fill the field hut, come up and fill the resting place!. (Historical Documentation, 2019, p.121) This prayer is recited by the Karen hill tribes in Northern Thailand during the threshing of the rice paddy after harvesting. Here again we have the reference to “bird of the rice

ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2020/2563 247


On Feuerbach's Idea of Religious Projection as a Way of Approaching Religious Inculturation among the Karen of South East Asia

spirit” and the “widowed grandmother.” Rice as a gift, something essential from the mysterious being. The Kong Boon Khao or Rice Merit Network found today in Karen villages is a concrete expression of the central place of rice in the culture of the people and their awareness that “we live or starve together”. Feuerbach asserts that “It is true that man places the aim of his action in God, but God has no other aim of action that the moral and eternal salvation of man: thus man has in fact no other aim than himself. The divine activity is not distinct from the human” (Feuerbach, 1841, p.30). Feuerbach thinks that God, Christianity and religious practice in general is a projection of man. The writings of both Wartofsky and Harvey give a positive assessment of the idea of projection that allow us to grasp other latent and hidden meanings. There may be elements of projection in the Karen culture and the beliefs that underlie Kong Boon Khao

248 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

expressed in the saying that we live or starve together; a projection with its meaning of man’s suffering for other. The Christian religion distinguished the impulses and passions of man according to their quality, their character; it represented only good emotions, good dispositions, good thought, as revelations, operations-that is, as dispositions, feelings, thoughts, of God; for what God reveals is a quality of God himself. (Feuerbach, 1841, p.31). Harvey’s ‘beam’ metaphor of projection might be a useful instrument to apply some ideas from Feuerbach to the Karen view of life. This metaphor is taken from what happens in a cinema when a projector ‘projects’ a beam on to a screen. In human projection what is ‘projected’ is not just illusion but the story and meaning and emotions of the one who projects. In the stories and practices of the Karen there is plenty of past stories and present emotions.


Yongsripanithan Werasak and John T. Giordano

There are many elements in Karen culture that prepared them to give a welcome to Christianity. People who have as a basic principle of life the realization that we live or starve together open to Christian ideas such as God is Love. And their expectation for the future is not for one where there is just plenty of rice but also some contact with a mysterious being which is the fulfilment of the mystery inside of them.

Conclusion Feuerbach said of religion: “I constitute myself only its listener and interpreter, not its prompter”. Some think he interpreted religion as nothing more than an anthropomorphic invention. At the end of his life he was much less negative about the relevance of religion. It was still a projection but it was also the recognition that our human existence has much that is mysterious. The Kong Boon Khao may have elements of projection but it is also the ‘beam’ which projects forward the meaning, direction and purpose of a living local culture.

ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2020/2563 249


On Feuerbach's Idea of Religious Projection as a Way of Approaching Religious Inculturation among the Karen of South East Asia

References Dias, Saturnino. (2004). Indigenous People in Asia and Challenges of the  Future. Goa: Claretian Publication. Diocesan Social Action Centre (DISAC) and Research and Training Centre for Religio Cultural Communities (RTRC). (2019). Historical Documentation. ChiangMai: Wanida Karnpim Limited Partnership. Feuerbach, Ludwig. (1841). The Essence of Christianity, Trans. George Eliot, with an introductory essay by Karl Barth and foreword by H. Richard Niebuhr, New York: Harper & Row.  Feuerbach, Ludwig. (1843), (1966). Principles of the Philosophy of the Future,  Trans. And with an introduction by Manfred Vogel, library of Liberal Art, Indianapolis: Bobbs-Merrill. Feuerbach, Ludwig. (1851). Lecture on the Essence of Religion, Translated by Ralph Mannheim in 1967. Harper & Row Publisher. Feuerbach, Ludwig. (1830). Thoughts on Death and Immortality: from the Papers  of a Thinker, along with an Appendix of Theological-Satirical Epigram,  Edited by One of His Friends. Translated with introduction and notes by James A. Massey Berkeley: University of California Press.  Fung, Jojo. (2017). Creation is Spirited & Sacred; An Asian Indigenous Mysticism  of Sacred Sustainability. Philippines: Claretian Communications Foundation. Harvey, Van A. (1995). Feuerbach and the interpretation of religion. Cambridge University Press.  Harvey, Van A. (Jan, 1998). “Feuerbach on Luther’s Doctrine of revelation”; An Essay in Honor of Brian Gerrish in the Journal of Religion. Vol.78, No.1. Marshall, Harry I. (1922). The Karen people of Burma: A Study in Anthropology  and Ethology, Columbus: Ohio State University. Pieris, Aloysius. (1988). An Asian Theology of Liberation. New York: Orbis Books.

250 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม


Yongsripanithan Werasak and John T. Giordano

Sierksma, Fokke. (1990), Projection and Religion: An Anthropological and  Psychological Study of the Phenomeno of Projection in the Various  Religions, translated by Jacob Faber, foreword by Lee W. Bailey, Ann Arbor, Mich: UMI Books on Demand. Wartofsky, Max W. (1977). Feuerbach. Cambridge University Press. Yibmuntasiri, Phruk. (1997). Using land for multiplying fruitful in sustainable  way of PgazK’nyau, Chiang Mai: Social Network of Chiang Mai Diocese.

ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2020/2563 251


ค�ำแนะน�ำและเงื่อนไขในการเตรียมต้นฉบับวารสารวิชาการวิทยาลัยแสงธรรม ด้านปรัชญา ศาสนา เทววิทยา และการศึกษา การเตรียมต้นฉบับ ต้นฉบับเป็นบทความวิชาการ บทความวิจยั  ด้านปรัชญา ศาสนา เทววิทยา และการศึกษา ทีย่ งั ไม่เคยเผยแพร่ในเอกสารใดๆ และเป็นบทความทีม่ เี นือ้ เรือ่ งทีส่ มบูรณ์  พิมพ์ตน้ ฉบับภาษาไทย หรือภาษาอังกฤษด้วย Microsoft Word for Windows พิมพ์บนกระดาษขนาด A4 หน้าเดียว ประมาณ 28 บรรทัด ต่อ 1 หน้ากระดาษ ต้นฉบับทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษให้ใช้ตัวอักษร TH SarabunPSK ขนาดตัวอักษร 16 และใส่เลขหน้าตั้งแต่ต้นจนจบบทความ ค�ำแนะน�ำในการเขียนบทความ 1. ชื่อเรื่อง/บทความ: ชื่อเรื่องควรกะทัดรัดไม่ยาวจนเกินไป มีทั้งภาษาไทยและภาษา อังกฤษ ขนาด 18 ตัวหนา บทความวิจัยความยาวไม่เกิน 12 หน้า บทความวิชาการความ ยาวไม่เกิน 8 หน้า (รวมบรรณานุกรม) 2. ชื่อ-สกุล: ชื่อเต็ม-นามสกุลเต็ม ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ของผู้แต่งแต่ละคนที่มี ส่วนในงานวิจยั นัน้  โดยเรียงตามล�ำดับความส�ำคัญ ขนาดตัวอักษร 16 หากเป็นวิทยานิพนธ์ ต้องมีชอื่ และสังกัดของอาจารย์ทปี่ รึกษาทัง้ ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ขนาดตัวอักษร 16 3. สถานทีท่ ำ� งาน: ระบุหน่วยงานทีส่ งั กัด ทัง้ ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ขนาดตัวอักษร 16 4. อีเมลล์: ให้ใส่เฉพาะผู้รับผิดชอบบทความ 5. บทคัดย่อ: มีทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ เขียนสรุปสาระส�ำคัญของเรื่องใช้ภาษาให้ รัดกุมเป็นประโยคสมบูรณ์และควรจะกล่าววัตถุประสงค์  วิธีด�ำเนินการวิจัย ข้อค้นพบและ สรุปผลที่ได้จากงานวิจัยนั้นๆ โดยให้เขียนเป็นความเรียงไม่ควรมีค�ำย่อ 6. ค�ำส�ำคัญ: มีทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษไม่เกิน 5 ค�ำ 7. บทน�ำ: เป็นส่วนของความส�ำคัญที่น�ำไปสู่การวิจัย สรุปความเป็นมา และความส�ำคัญ ของปัญหา การทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง พร้อมวัตถุประสงค์การวิจัย และไม่ควรใส่ ตารางหรือรูปภาพ

252 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม


8. วัตถุประสงค์: เป็นข้อความทีแ่ สดงให้เห็นถึงสิง่ ทีน่ กั วิจยั ต้องการศึกษาทีม่ ลี กั ษณะเฉพาะ เจาะจง และเมื่อสิ้นสุดการวิจัยแล้วจะต้องได้ค�ำตอบตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ทุกข้อ 9. สมมติฐานการวิจัย: อาจจะมีหรือไม่ก็ได้  เป็นการเขียนความคาดหมายผลการวิจัยหรือ คาดคะเนค�ำตอบต่อปัญหาที่วิจัยไว้ล่วงหน้าอย่างมีเหตุผล 10. กรอบแนวคิดในการวิจัย: อาจมีหรือไม่ก็ได้  โดยให้เขียนกรอบแนวคิดของการวิจัยที่ พัฒนาจากการทบทวนวรรณกรรม 11. วิธีด�ำเนินการวิจัย: อธิบายเครื่องมือและวิธีการด�ำเนินการวิจัยให้กระชับและชัดเจน ให้บอกรายละเอียดสิ่งที่น�ำมาศึกษา จ�ำนวน ลักษณะเฉพาะของตัวอย่างที่ศึกษา ตลอดจน เครื่องมือ และอุปกรณ์ต่างๆ ที่ใช้ในการศึกษา คุณภาพของเครื่องมือ อธิบายรูปแบบการ ศึกษา การสุ่มตัวอย่าง วิธีหรือมาตรที่ใช้ในการวัด วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลและวิธีการ วิเคราะห์ข้อมูล 12. ผลการวิจัย: บรรยายสรุปผลการวิจัยอย่างกระชับโดยให้ตอบวัตถุประสงค์การวิจัย ถ้าการวิจยั เป็นข้อมูลเชิงปริมาณทีต่ อ้ งน�ำเสนอด้วยตาราง หรือแผนภูม ิ ควรมีคำ� อธิบายอยู่ ด้านล่าง การเรียงล�ำดับ ภาพ ตาราง หรือแผนภูมิควรเรียงล�ำดับเนื้อหาของงานวิจัย และ ต้องมีการแปลความหมายของผลที่ค้นพบหรือวิเคราะห์ 13. อภิปรายผล: เขียนสอดคล้องกับล�ำดับของการเสนอผล และการสรุปผลการวิจัย เป็นการวิพากษ์วจิ ารณ์ผลการวิจยั ทีไ่ ด้สอดคล้องหรือขัดแย้งกับสมมติฐาน พร้อมทัง้ อ้างอิง ข้อเท็จจริงทฤษฎีและผลการวิจยั อืน่  อธิบายอย่างเป็นเหตุเป็นผลถึงแนวความคิดของผูว้ จิ ยั ต่อผลการวิจัยที่ได้ 14. สรุปผลการวิจัย และข้อเสนอแนะ: ควรสรุปสาระส�ำคัญที่ไม่คลุมเครือและสรุปผล ว่าตรงกับวัตถุประสงค์ของการวิจัยหรือไม่  และอย่างไร และควรแสดงข้อเสนอแนะและ ความเห็นเพิม่ เติมเพือ่ การพัฒนางานต่อไปในอนาคต หรือเป็นแนวทางในการศึกษาค้นคว้า เพิ่มเติมต่อไปในอนาคต 15. เอกสารอ้างอิง: เป็นการแสดงถึงแหล่งที่มาของข้อมูลที่ถูกน�ำมาอ้างอิงขึ้นมาใช้ในการ วิจัย เพื่อเป็นการแสดงว่าไม่ได้น�ำผลงานของผู้อื่นมาเป็นของตนเอง การอ้างอิงเอกสารให้ เขียนตามมาตรฐานแบบ APA (American Psychological Association) แยกการอ้างอิง ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ (เรียงตามล�ำดับตัวอักษร)

ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2020/2563 253


16. ค่าใช้จ่ายในการตรวจประเมินบทความ: ผู้ส่งบทความจะต้องช�ำระเงินค่าส่งตรวจ ประเมินบทความ จ�ำนวน 2,400 บาท โดยโอนเงินเข้าบัญชีออมทรัพย์  ธนาคารกรุงไทย สาขาสามพราน ชือ่ บัญชี “วารสารวิชาการวิทยาลัยแสงธรรม” เลขทีบ่ ญ ั ชี 734-0-27562-2 (พร้อมส่งหลักฐานเอกสารการโอนเงินช�ำระค่าตรวจประเมินบทความมาที่  E-mail: rcrc. saengtham2016@gmail.com) (ทั้งนี้ค่าใช้จ่ายดังกล่าวผู้ส่งบทความเป็นผู้รับผิดชอบ และจะไม่ได้รับคืนในทุกกรณี) กองบรรณาธิการจะน�ำบทความที่ท่านส่งมาเสนอต่อผู้ทรง คุณวุฒเิ พือ่ ตรวจประเมินคุณภาพความเหมาะสมของบทความก่อนการตีพมิ พ์  ในกรณีทผี่ ล การประเมินระบุให้ตอ้ งปรับปรุงหรือแก้ไข ผูเ้ ขียนจะต้องด�ำเนินการให้แล้วเสร็จภายในระยะ เวลา 15 วัน นับจากวันที่ได้รับผลการประเมินบทความ หมายเหตุ: หากท่านต้องการสอบถามกรุณาติดต่อกับกองบรรณาธิการวารสารวิชาการ   โทร. 02-429-0100-3 โทรสาร 02-429-0819 หรือ   E-mail: rcrc.saengtham2016@gmail.com

254 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม


รูปแบบบทความเพื่อส่งตีพิมพ์วารสารวิชาการวิทยาลัยแสงธรรม ด้านปรัชญา ศาสนา เทววิทยา และการศึกษา Mamuscript Preparation Guideline for Publication in  Saengtham College Journal (ชื่อบทความภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ขนาด 18 pt. ตัวหนา)

ชือ่ เต็ม - นามสกุลเต็ม: สถานที่ท�ำงาน: อีเมลล์:

ภาษาไทยของผู้แต่งแต่ละคนที่มีส่วนในงานวิจัยนั้น (ขนาดตัวอักษร 16 pt.) ระบุหน่วยงานทีส่ งั กัดภาษาไทย (ขนาดตัวอักษร 16 pt.) ระบุเฉพาะผู้รับผิดชอบบทความ (ขนาดตัวอักษร 16 pt.)

Author Name: Affiliation:

ภาษาอังกฤษของผู้แต่งแต่ละคนที่มีส่วนในงานวิจัยนั้น (ขนาดตัวอักษร 16 pt.) ระบุหน่วยงานทีส่ งั กัดภาษาอังกฤษ (ขนาดตัวอักษร 16 pt.)

หมายเหตุ:

หากเป็นวิทยานิพนธ์ต้องมีชื่อและสังกัดของอาจารย์ที่ปรึกษา ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ (ขนาดตัวอักษร 16 pt.) ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2020/2563 255


บทคัดย่อ (ขนาด 16 pt. ตัวหนา) --------------------------------------(TH SarabunPSK 16 pt. ตัวธรรมดา)-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ค�ำส�ำคัญ: ค�ำส�ำคัญ 1, ค�ำส�ำคัญ 2, ค�ำส�ำคัญ 3 (ไม่เกิน 5 ค�ำ) (ขนาด 16 pt. ตัวธรรมดา) Abstract (ขนาด 16 pt. ตัวหนา) --------------------------------------(TH SarabunPSK 16 pt. ตัวธรรมดา)-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------Keywords: Keywords 1, Keywords 2, Keywords 3 (ขนาด 16 pt. ตัวธรรมดา) บทน�ำ (ขนาด 16 pt. ตัวหนา) --------------------------------------(TH SarabunPSK 16 pt. ตัวธรรมดา)-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------วัตถุประสงค์ (ขนาด 16 pt. ตัวหนา) --------------------------------------(TH SarabunPSK 16 pt. ตัวธรรมดา)-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------สมมติฐานการวิจัย (ขนาด 16 pt. ตัวหนา) --------------------------------------(TH SarabunPSK 16 pt. ตัวธรรมดา)-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------256 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม


กรอบแนวคิดในการวิจัย (ขนาด 16 pt. ตัวหนา) --------------------------------------(TH SarabunPSK 16 pt. ตัวธรรมดา)-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------วิธีด�ำเนินการวิจัย (ขนาด 16 pt. ตัวหนา) --------------------------------------(TH SarabunPSK 16 pt. ตัวธรรมดา)-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ผลการวิจัย (ขนาด 16 pt. ตัวหนา) --------------------------------------(TH SarabunPSK 16 pt. ตัวธรรมดา)-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------อภิปรายผลการวิจัย (ขนาด 16 pt. ตัวหนา) --------------------------------------(TH SarabunPSK 16 pt. ตัวธรรมดา)-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------สรุปผลการวิจัยและข้อเสนอแนะ (ขนาด 16 pt. ตัวหนา) --------------------------------------(TH SarabunPSK 16 pt. ตัวธรรมดา)-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------เอกสารอ้างอิง (ขนาด 16 pt. ตัวหนา) --------------------------------------(TH SarabunPSK 16 pt. ตัวธรรมดา)-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2020/2563 257


รูปแบบการเขียนบรรณานุกรม ส�ำหรับวารสารวิชาการวิทยาลัยแสงธรรม

ใช้การอ้างอิงระบบ APA (American Psychological Association) เพื่อเป็นแนวทางใน การเขียนอ้างอิงบรรณานุกรมในผลงานทางวิชาการที่ประสงค์จะลงตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม โดยมีวิธีการเขียนอ้างอิงบรรณานุกรมจากสารนิเทศประเภทต่างๆ มีดังนี้ การใช้อักษรย่อ ม.ป.ท. แทนคําเต็มว่า N.P. แทนคําเต็มว่า ม.ป.พ. แทนคําเต็มว่า n.p. แทนคําเต็มว่า (ม.ป.ป.) แทนคําเต็มว่า (n.d.) แทนคําเต็มว่า (บ.ก.) แทนคําเต็มว่า (Ed.) หรือ (Eds.) แทนคําเต็มว่า

(ไม่ปรากฏสถานที่พิมพ์) (no Place of publication) (ไม่ปรากฏสํานักพิมพ์) (no publisher) ไม่ปรากฏปีพิมพ์ no date บรรณาธิการ Editor หรือ Editors

การเขียนชื่อผู้แต่ง ไม่ต้องลงคํานําหน้านามตําแหน่งทางวิชาการคําเรียกทางวิชาชีพและตําแหน่งยศต่างๆ (ยกเว้น มีฐานันดรศักดิ์  บรรดาศักดิ์  และสมณศักดิ์) ผู้เขียน 1 คน ผู้แต่ง1./(ปีพิมพ์)./ชื่อเรื่อง/(พิมพ์ครั้งที่)./สถานที่พิมพ์:/สํานักพิมพ์. ผู้เขียน 2 คน ผู้แต่ง1,/และผู้แต่ง2./(ปีพิมพ์)./ชื่อเรื่อง/(พิมพ์ครั้งที่)./สถานที่พิมพ์:/สํานักพิมพ์. ผู้เขียน 3 คน ผู้แต่ง1,/ผู้แต่ง2,/และผู้แต่ง3./(ปีพิมพ์)./ชื่อเรื่อง/(พิมพ์ครั้งที่)./สถานที่พิมพ์: ///////สํานักพิมพ์. ผู้เขียนมากกว่า 3 คน ผู้แต่ง1/และคณะ./(ปีพิมพ์)./ชื่อเรื่อง/(พิมพ์ครั้งที่)./สถานที่พิมพ์:/สํานักพิมพ์. 258 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม


1. หนังสือ ผู้แต่ง 1./(ปีพิมพ์)./ชื่อเรื่อง/(พิมพ์ครั้งที่)./สถานที่พิมพ์:/สํานักพิมพ์. - หนังสือไม่ปรากฏชื่อผู้แต่ง ชื่อเรื่อง/(พิมพ์ครั้งที่)./(ปีพิมพ์)./สถานที่พิมพ์:/สํานักพิมพ์. - บทความหรือบทในหนังสือ ชือ่ ผูแ้ ต่งบทความหรือบท./(ปีพมิ พ์)./ชือ่ บทความหรือบท./ใน หรือ In/ชือ่ บรรณาธิการ/(บ.ก. หรือ ///////Ed. หรือ Eds.),/ชื่อหนังสือ/(น. หรือ p. หรือ pp. เลขหน้า)./สถานที่พิมพ์:/สํานักพิมพ์. *หมายเหตุ  (พิมพ์ครั้งที่) ให้ระบุตั้งแต่ครั้งที่  2 เป็นต้นไป 2. หนังสือแปล ชื่อผู้แต่งต้นฉบับ./(ปีพิมพ์)./ชื่อเรื่องที่แปล/[ชื่อต้นฉบับ]/(ชื่อผู้แปล, แปล)./สถานที่พิมพ์:/ ///////สํานักพิมพ์./(ต้นฉบับพิมพ์ปี  ค.ศ. หรือ พ.ศ.) 3. E-book ผู้แต่ง 1./(ปีพิมพ์)./ชื่อเรื่อง/(พิมพ์ครั้งที่)./สถานที่พิมพ์:/สํานักพิมพ์./จาก หรือ from/ ///////http://www.xxxxxxx 4. รายงานการวิจัย ผู้แต่ง./(ปีพิมพ์)./ชื่อเรื่อง(รายงานผลการวิจัย)./สถานที่พิมพ์:/สํานักพิมพ์. 5. วิทยานิพนธ์ - วิทยานิพนธ์แบบรูปเล่ม ผู้แต่ง./(ปีพิมพ์)./ชื่อเรื่อง/(ปริญญานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต หรือ Doctoral dissertation ///////หรือ วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต หรือ master’s thesis)./สถานที่พิมพ์:/ชื่อสถาบัน. - วิทยานิพนธ์ฐานข้อมูลออนไลน์ ผู้แต่ง./(ปีพิมพ์)./ชื่อเรื่อง/(ปริญญานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต หรือ Doctoral dissertation ///////หรือ วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต หรือ master’s thesis)./สถานทีพ่ มิ พ์:/ชือ่ สถาบัน./ สืบค้นจาก หรือ Retrieved from http://www.xxxxxxxxx ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2020/2563 259


6. วารสาร วารสารแบบเล่ม ชื่อผู้แต่ง./(ปีพิมพ์)./ชื่อบทความ./ชื่อวารสาร,/เลขของปีที่(เลขของฉบับที่),/เลขหน้า. วารสารออนไลน์ – กรณีไม่มีเลข DOI ชื่อผู้แต่ง./(ปีพิมพ์)./ชื่อบทความ./ชื่อวารสาร,/เลขของปีที่(เลขของฉบับที่),/เลขหน้า. ///////สืบค้นจาก หรือ Retrieved from http://www.xxxxxxxxx – กรณีมีเลข DOI ชื่อผู้แต่ง./(ปีพิมพ์)./ชื่อบทความ./ชื่อวารสาร,/เลขของปีที่(เลขของฉบับที่),/เลขหน้า. ///////doi: xxxxxxxxx 7. Website ผู้แต่ง./(ปีพิมพ์)./ชื่อบทความ.[ออนไลน์]./สืบค้น หรือ Retrieved วัน/เดือน/ปี,//จาก หรือ  ///////from/http://www.xxxxxxxxxx

260 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม


แบบ SCJ-1 แบบฟอร์มน�ำส่งบทความวิจัย/วิชาการ  เพื่อพิมพ์เผยแพร่ในวารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม (ส่งแนบพร้อมกับบทความวิจัย/วิชาการ) เรียน บรรณาธิการวารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

วันที่……….เดือน………..……..พ.ศ.………

ข้าพเจ้า (นาย/นาง/นางสาว).................................................................................................................... (Mr./Mrs./Ms.)......................................................................................................................................... คุณวุฒิสูงสุด และสถานศึกษา................................................................................................................... ต�ำแหน่ง/ต�ำแหน่งทางวิชาการ (ถ้ามี) ..................................................................................................... ชื่อหน่วยงาน/สถาบันที่ท�ำงาน.................................................................................................................. ขอส่ง บทความจากงานวิจัย บทความวิชาการ บทความปริทัศน์  (review article) บทวิจารณ์หนังสือ (book review) ชื่อเรื่อง (ภาษาไทย) ................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. ชื่อเรื่อง (ภาษาอังกฤษ) ............................................................................................................................ .................................................................................................................................................................. ค�ำส�ำคัญ (ภาษาไทย) ............................................................................................................................... Keyword (ภาษาอังกฤษ).......................................................................................................................... ที่อยู่ที่สามารถติดต่อได้สะดวก......................หมู่ที่...................ซอย...................ถนน................................ ต�ำบล/แขวง....................อ�ำเภอ/เขต.....................จังหวัด.............................รหัสไปรษณีย์...................... โทรศัพท์......................................โทรศัพท์มือถือ......................................โทรสาร..................................... E-mail....................................................................................................................................................... ข้าพเจ้าขอรับรองว่าบทความนี้ เป็นผลงานของข้าพเจ้าเพียงผู้เดียว (ไม่ต้องกรอกแบบ SCJ-2) เป็นผลงานของข้าพเจ้าและผู้ที่ระบุชื่อในบทความ (กรอกแบบ SCJ-2 ด้วย) บทความนี้ไม่เคยลงตีพิมพ์ในวารสารใดมาก่อน นับจากวันที่ข้าพเจ้าได้ส่งบทความฉบับนี้มายัง กองบรรณาธิการวารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม ลงนาม............................................................... (.........................................................................)


แบบ SCJ-2 ข้อมูลผู้ร่วมเขียนบทความ (ส่งแนบพร้อมกับบทความวิจัย/วิชาการ) วันที่……….เดือน………..……..พ.ศ.………

ผู้ร่วมเขียนบทความคนที่ 1 ข้าพเจ้า (นาย/นาง/นางสาว)................................................................................................................................. (Mr./Mrs./Ms.)..................................................................................................................................................... คุณวุฒิสูงสุด และสถานศึกษา............................................................................................................................... ต�ำแหน่ง/ต�ำแหน่งทางวิชาการ (ถ้ามี)................................................................................................................... ที่อยู่ที่สามารถติดต่อได้สะดวก......................หมู่ที่...................ซอย...................ถนน........................................... ต�ำบล/แขวง....................อ�ำเภอ/เขต.....................จังหวัด.............................รหัสไปรษณีย์.................................. โทรศัพท์......................................โทรศัพท์มือถือ......................................โทรสาร................................................ E-mail.................................................................................................................................................................. ข้าพเจ้าขอรับรองว่าบทความนี้ เป็นผลงานของข้าพเจ้าในฐานะผู้ร่วมวิจัยและร่วมเขียนบทความจากงานวิจัย (กรณีที่เป็นบทความจากงานวิจัย) เป็นผลงานของข้าพเจ้าในฐานะผู้ร่วมเขียนบทความ ผู้ร่วมเขียนบทความคนที่ 2 ข้าพเจ้า (นาย/นาง/นางสาว)................................................................................................................................. (Mr./Mrs./Ms.)..................................................................................................................................................... คุณวุฒิสูงสุด และสถานศึกษา............................................................................................................................... ต�ำแหน่ง/ต�ำแหน่งทางวิชาการ (ถ้ามี)................................................................................................................... ที่อยู่ที่สามารถติดต่อได้สะดวก......................หมู่ที่...................ซอย...................ถนน........................................... ต�ำบล/แขวง....................อ�ำเภอ/เขต.....................จังหวัด.............................รหัสไปรษณีย์.................................. โทรศัพท์......................................โทรศัพท์มือถือ......................................โทรสาร................................................ E-mail.................................................................................................................................................................. ข้าพเจ้าขอรับรองว่าบทความนี้ เป็นผลงานของข้าพเจ้าในฐานะผู้ร่วมวิจัยและร่วมเขียนบทความจากงานวิจัย (กรณีที่เป็นบทความจากงานวิจัย) เป็นผลงานของข้าพเจ้าในฐานะผู้ร่วมเขียนบทความ หมายเหตุ: ถ้ามีผเู้ ขียนบทความมากกว่า 2 ท่าน กรุณากรอกรายละเอียดของผูเ้ ขียนบทความร่วมท่านอืน่ ๆ ด้วย


ขั้นตอนการจัดท�ำวารสารวิชาการ

วิSaทenยาลั ย แสงธรรม gth a m  Col l ege  J ourn a l

เริ่มต้น ประกาศรับบทความต้นฉบับ รับบทความต้นฉบับ แก้ไข กองบรรณาธิการตรวจพิจารณาเบื้องต้น

แจ้งผู้เขียน

ไม่ผ่าน

ส่งผู้ทรงคุณวุฒิ ไม่ผ่าน

แจ้งผู้เขียน

ผ่าน

แจ้งผู้เขียน

ผู้ทรงคุณวุฒิพิจาณาบทความ ผ่าน กองบรรณาธิการแจ้งยืนยันการรับบทความ จัดพิมพ์เผยแพร่ จบ

แก้ไข

จบ


วารสารวิชาการ

วิS aenทยาลั ย แสงธรรม gt h am  C o lle ge   Jo u r na l ใบสมัครสมาชิก วารสารวิชาการวิทยาลัยแสงธรรม สมาชิกในนาม............................................................................................................................................ ที่อยู่ (สำ�หรับจัดส่งวารสารวิชาการ) เลขที่..........................................ถนน............................................... แขวง/ตำ�บล..............................................เขต/อำ�เภอ................................................................................ จังหวัด........................................................................รหัสไปรษณีย์.......................................................... โทรศัพท์......................................................................โทรสาร................................................................... มีความประสงค์สมัครเป็นสมาชิก วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม 1 ปี (2 ฉบับ) อัตราค่าสมาชิก 200 บาท วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม 2 ปี (4 ฉบับ) อัตราค่าสมาชิก 400 บาท วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม 3 ปี (6 ฉบับ) อัตราค่าสมาชิก 500 บาท ชำ�ระเงินโดยวิธี โอนเงินเข้าบัญชีออมทรัพย์ ธนาคารกรุงไทย สาขาสามพราน ชื่อบัญชี “วารสารวิชาการวิทยาลัยแสงธรรม” เลขที่บัญชี 734-0-27562-2 (พร้อมส่งเอกสารการโอนมาที่ E-mail: rcrc.saengtham2016@gmail.com) ที่อยู่ที่ต้องการให้ออกใบเสร็จรับเงิน ตามที่อยู่ที่จัดส่ง ที่อยู่ใหม่ในนาม.......................................................................................................................... เลขที่............................ถนน..............................................แขวง/ตำ�บล..................................... เขต/อำ�เภอ...................................จังหวัด....................................รหัสไปรษณีย์......................... ................................................(ลงนามผู้สมัคร) วันที่................................................. ส่งใบสมัครมาที่ : ศูนย์วิจัยค้นคว้าศาสนาและวัฒนธรรม วิทยาลัยแสงธรรม 20 หมู่ 6 ต.ท่าข้าม อ.สามพราน จ.นครปฐม 73110 หรือที่โทรสาร 02-429-0819



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.