วารสารวิชาการ
วิทยาลัยแสงธรรม
Saengtham College Journal
ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม - ธันวาคม 2020/2563 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม มีความยินดีรับบทความวิจัย บทความวิชาการ บทวิจารณ์ หนังสือและบทความปริทศั น์ดา้ นปรัชญา ศาสนา เทววิทยา และการศึกษาคาทอลิก ทีย่ งั ไม่เคยเผยแพร่ ในเอกสารใดๆ โดยส่งบทความมาทีผ่ อู้ ำ� นวยการศูนย์วจิ ยั ค้นคว้าศาสนาและวัฒนธรรม วิทยาลัยแสงธรรม กองบรรณาธิการวารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม จะส่งบทความให้แก่ผทู้ รงคุณวุฒทิ างวิชาการ เพื่อประเมินคุณภาพบทความว่าเหมาะสมส�ำหรับการตีพิมพ์หรือไม่ หากท่านสนใจกรุณาดูรายละเอียด รูปแบบการส่งต้นฉบับได้ที่ www.saengtham.ac.th/journal เจ้าของ วิทยาลัยแสงธรรม, สภาการศึกษาคาทอลิกแห่งประเทศไทย
วัตถุประสงค์ 1. เป็นเวทีเผยแพร่ผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการของคณาจารย์ทั้งในและนอกวิทยาลัย ตลอดจนนักวิชาการอิสระ 2. เชื่อมโยงโลกแห่งวิชาการ และเผยแพร่องค์ความรู้ทางปรัชญา ศาสนา เทววิทยา และการ ศึกษา ให้เกิดประโยชน์แก่ชุมชนและสังคมส่วนรวม 3. ส่งเสริมและกระตุ้นให้เกิดการวิจัย และพัฒนาองค์ความรู้ทางด้านปรัชญา ศาสนา เทววิทยา และการศึกษาเพิ่มมากขึ้น ลิขสิทธิ์ ต้นฉบับที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการวิทยาลัยแสงธรรม ถือเป็นกรรมสิทธิ์ของวิทยาลัย แสงธรรม ห้ามน�ำข้อความทัง้ หมดไปตีพมิ พ์ซำ �้ ยกเว้นได้รบั อนุญาตจากวิทยาลัยแสงธรรม ความรับผิดชอบ เนื้อหาและข้อคิดเห็นใดๆ ที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการวิทยาลัยแสงธรรม ถือเป็นความรับผิดชอบ ของผูเ้ ขียนเท่านัน้ ก�ำหนดเผยแพร่ : ปีละ 2 ฉบับ ฉบับละ 100 บาท (ฉบับที่ 1 ม.ค.-มิ.ย. ฉบับที่ 2 ก.ค.-ธ.ค.) สถานที่ออกแบบและจัดพิมพ์ : ศูนย์วิจัยค้นคว้าศาสนาและวัฒนธรรม วิทยาลัยแสงธรรม ปก/รูปเล่ม : นางสาวสุกานดา วงศ์เพ็ญ พิสูจน์อักษร : อาจารย์สุดหทัย นิยมธรรม
วารสารวิชาการวิทยาลัยแสงธรรม
ได้ผ่านการประเมินคุณภาพวารสาร จากศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (TCI) รอบที่ 4 (ปีพ.ศ.2563-2567)
โดยจัดอยู่ในกลุ่ม 2
เป็นวารสารที่ผ่านการรับรองคุณภาพของ TCI และอยู่ในฐานข้อมูล TCI
กองบรรณาธิการวารสาร Editorial Board
บรรณาธิการบริหาร บาทหลวง ผศ.ดร.ชาติชาย พงษ์ศิริ
ผู้อ�ำนวยการศูนย์วิจัยค้นคว้าศาสนาและ วัฒนธรรม วิทยาลัยแสงธรรม
กองบรรณาธิการวารสาร (ภายใน) บาทหลวง ผศ.ดร.ชาติชาย พงษ์ศิริ บาทหลวง ธีรพล กอบวิทยากุล ผศ.ดร.ลัดดาวรรณ์ ประสูตร์แสงจันทร์ อาจารย์พีรพัฒน์ ถวิลรัตน์ อาจารย์ศรัญญู พงศ์ประเสริฐสิน อาจารย์สุดหทัย นิยมธรรม น.ส.สุกานดา วงศ์เพ็ญ
หัวหน้าบรรณาธิการ ผู้ช่วยบรรณาธิการ ผู้ช่วยบรรณาธิการ ผู้ช่วยบรรณาธิการ ผู้ช่วยบรรณาธิการ ผู้ช่วยบรรณาธิการ ประจ�ำกองบรรณาธิการ
กองบรรณาธิการวารสาร (ภายนอก) บาทหลวง ศ.ดร.วชิระ น�้ำเพชร, เยสุอิต รศ.ดร.ไพศาล หวังพานิช รศ.ดร.มารุต พัฒผล รศ.ดร.สมเจตน์ ไวยาการณ์ รศ.ดร.รัตติกรณ์ จงวิศาล ผศ.ดร.วรยุทธ ศรีวรกุล ผศ.ดร.ประทีป ฉัตรสุภางค์ ดร.เมธัส วันแอเลาะ ดร.จิตรา ดุษฎีเมธา ดร.อาทิพย์ สอนสุจิตรา
มหาวิทยาลัยโซเฟีย ประเทศญี่ปุ่น คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ คณะศึกษาศาสตร์ วิทยาลัยนานาชาติเซนต์เทเรซา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คณะปรัชญาและศาสนา มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ผู้อ�ำนวยการ วิทยาลัยเทคโนโลยีอัร-รอบิตี บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ พัฒนาการศึกษา ฝ่ายการศึกษา มูลนิธิคณะเซนต์คาเบรียลแห่งประเทศไทย
รายนามผู้ทรงคุณวุฒิผู้ประเมินบทความ (Peer Review) ประจำ�ฉบับ
ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม - ธันวาคม 2020/2563
ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก 1. ศ.กีรติ บุญเจือ 2. รศ.ดร.ประเสริฐ อินทรักษ์ 3. รศ.ดร.ไชยยศ ไพวิทยศิริธรรม 4. รศ.ดร.ประกอบ คุณารักษ์ 5. รศ.ดร.สุมาลี จันทร์ชลอ 6. ผศ.ดร.ประทีป ฉัตรสุภางค์ 7. ผศ.ดร.วันชัย ปานจันทร์ 8. ผศ.ดร.ธีระศักดิ์ แสงสัมฤทธิ์ 9. ผศ.ดร.ดนุลดา จามจุรี 10. ผศ.ดร.อุบลวรรณ ส่งเสริม 11. ดร.สุภาวดี นัมคณิสรณ์ 12. บาทหลวง ดร.อิทธิพล ศรีรัตนะ 13. บาทหลวง ดร.ฉลองรัฐ สังขรัตน์
ราชบัณฑิต คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล คณะพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ มหาวิทยาลัยรามค�ำแหง ที่ปรึกษาผู้อ�ำนวยการศูนย์วิชาการ สังฆมณฑลราชบุรี บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร คณะปรัชญาและศาสนา มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ ผู้อ�ำนวยการโรงเรียนคาเบรียลอุปถัมภ์ ผู้อ�ำนวยการโรงเรียนแม่พระฟาติมา
ผู้ทรงคุณวุฒิภายใน 1. บาทหลวง ผศ.ดร.ฟรังซิส ไก้ส์, SDB. 2. บาทหลวง ผศ.ดร.วุฒิชัย อ่องนาวา 3. บาทหลวง ผศ.สมชัย พิทยาพงศ์พร 4. บาทหลวง ผศ.วสันต์ พิรุฬห์วงศ์ 5. บาทหลวง ดร.ธวัช สิงห์สา 6. บาทหลวง ดร.นันทพล สุขส�ำราญ 7. ภคินี ดร.ชวาลา เวชยันต์ 8. อาจารย์ศรัญญู พงศ์ประเสริฐสิน
คณะศาสนศาสตร์ วิทยาลัยแสงธรรม คณะมนุษยศาสตร์ วิทยาลัยแสงธรรม คณะศาสนศาสตร์ วิทยาลัยแสงธรรม คณะศาสนศาสตร์ วิทยาลัยแสงธรรม คณะศาสนศาสตร์ วิทยาลัยแสงธรรม คณะศาสนศาสตร์ วิทยาลัยแสงธรรม คณะศาสนศาสตร์ วิทยาลัยแสงธรรม คณะศาสนศาสตร์ วิทยาลัยแสงธรรม
บทบรรณาธิ ก าร Saengtham college Journal วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม - ธันวาคม 2020/2563
ในนามกองบรรณาธิการวารสารวิชาการวิทยาลัยแสงธรรม ขอส่งความสุขและพระพรของพระเป็นเจ้า มาสู่ผู้อ่านทุกท่าน เนื่องในโอกาสคริสตมาสและปีใหม่ที่มาเยือนอีกครั้ง ส่วนเนื้อหาในฉบับด้านปรัชญา ศาสนา เทววิทยาและการศึกษา ประกอบไปด้วย บทความวิชาการจ�ำนวน 1 เรื่องได้แก่ เรื่อง “การท�ำพันธกิจกับคนพิการส�ำหรับคริสตจักร” โดย ศาสนาจารย์ ผศ.ดร.สาธนัญ บุณยเกียรติ บทความวิจยั จ�ำนวน 8 เรือ่ ง จากบุคคลภายนอกจ�ำนวน 6 เรือ่ งได้แก่ เรือ่ ง “การพัฒนาชุดกิจกรรมการ อ่านภาษาไทยเชิงวิเคราะห์ดว้ ยเทคนิคการอ่านแบบ SQ3R ส�ำหรับนักเรียนชัน้ ประถมศึกษาปีท ี่ 5” โดย พรรณิกา ศรีชาญชัย เรื่อง “การพัฒนาตัวบ่งชี้สมรรถนะระหว่างวัฒนธรรมของอาจารย์หลักสูตรนานาชาติ” โดย กัลญา โอภาสเสถียร เรือ่ ง “กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิม่ เวลารูด้ า้ นนาฏศิลป์ เพือ่ ยกระดับคุณภาพผูเ้ รียนส�ำหรับนักเรียน ระดับชั้นมัธยมศึกษา” โดย ทิพอนงค์ กุลเกตุ เรื่อง “กลยุทธ์การบริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานคาทอลิกในอัคร สังฆมณฑลกรุงเทพฯ สู่ประชาคมอาเซียน” โดย วรวรรษ เทียมสุวรรณ เรื่อง “ความต้องการจ�ำเป็นของการ บริหารบุคลากรและวิชาการ โรงเรียนในเครืออุร์สุลิน กรุงเทพมหานคร ตามแนวคิดจิตตารมณ์อุร์สุลิน” โดย สุวรรณา ชัยพรแก้ว เรือ่ ง “ภาวะผูน้ ำ� แห่งการเปลีย่ นแปลงความสุขในการท�ำงาน และพฤติกรรมการท�ำงานตาม เกณฑ์มาตรฐานสถานศึกษา ในระดับสากลของ WASC” โดย ภาณุมาศ พิลาจันทร์ จากบุคคลากรภายใน จ�ำนวน 2 เรื่องได้แก่ เรื่อง “การปรับปรุงหลักสูตรการศึกษาบัณฑิต สาขาวิชาคริสตศาสนศึกษา คณะศาสน ศาสตร์ (หลักสูตรปรับปรุง 2558) โดย บาทหลวง ผศ.ดร.วัชศิลป์ กฤษเจริญและคณะ เรื่อง “บทบาทและการ ปฏิบัติตามบทบาทของผู้สูงอายุ ในการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม ตามหลักค�ำสอนของพระศาสนจักรคาทอลิก ส�ำหรับชุมชนคริสตชน กรณีศกึ ษาชมรมผูส้ งู อายุ วัดนักบุญยอห์น บัปติสต์ แม่โถ จังหวัดแม่ฮอ่ งสอน สังฆมณฑล เชียงใหม่” โดย นนทชัย ริทู สุดท้ายนี้ กองบรรณาธิการวารสารวิชาการวิทยาลัยแสงธรรม ขอขอบพระคุณผู้ทรงคุณวุฒิทุกท่าน ที่กรุณาให้ความอนุเคราะห์ประเมินบทความต่างๆ เพื่อให้วารสารของเรามีคุณภาพ เหมาะสมต่อการเผยแพร่ และเป็นแหล่งข้อมูลในการศึกษาค้นคว้าอ้างอิงด้านปรัชญา ศาสนา เทววิทยาและการศึกษาคาทอลิกต่อไป
บรรณาธิการ ธันวาคม 2563
การทำ�พันธกิจกับคนพิการจำ�เป็นสำ�หรับคริสตจักร The Essentiality of Disability Ministry for the Church.
ศาสนาจารย์ ผศ.ดร.สาธนัญ บุณยเกียรติ * ผู้ช่วยอธิการบดีและอนุศาสกมหาวิทยาลัยพายัพ * อาจารย์ประจ�ำวิทยาลัยพระคริสต์ธรรมแมคกิลวารี มหาวิทยาลัยพายัพ
Reverend Asst.Prof.Dr.Satanun Boonyakiat
* Assistant president and chaplain of Payap University. * Lecturer of McGilvary College of Divinity, Payap University.
ข้อมูลบทความ
* รับบทความ 7 พฤษภาคม 2563 * แจ้งแก้ไข 23 มิถุนายน 2563 * ตอบรับบทความ 29 มิถุนายน 2563
การทำ�พันธกิจกับคนพิการจำ�เป็นสำ�หรับคริสตจักร
บทคัดย่อ
ความทุกข์ยากล�ำบากของคนพิการและครอบครัวของคนพิการ ในประเทศไทยผลักดันคริสตชนไทยให้ประเมินการตอบสนองของเราต่อ ความจริงเรือ่ งความพิการว่าเหมาะสมเพียงใด อย่างไรก็ตาม คริสตจักร โปรเตสแตนต์ในประเทศไทยมักไม่ได้กำ� หนดให้พนั ธกิจกับคนพิการเป็น พันธกิจหลักของคริสตจักรและไม่ได้มุ่งท�ำพันธกิจกับคนพิการและ ครอบครัวของพวกเขา ด้วยเหตุน ี้ คริสตชนไทยจ�ำเป็นต้องมีความเข้าใจ ที่ชัดเจนยิ่งขึ้นเกี่ยวกับการท�ำพันธกิจกับคนพิการ บทความนีม้ เี ป้าหมายเพือ่ น�ำเสนอว่า หลักค�ำสอนของพระคริสต ธรรมคัมภีร์และเทววิทยายืนยันว่าการท�ำพันธกิจกับคนพิการจ�ำเป็น ส�ำหรับคริสตจักรเนื่องจากเหตุผลส�ำคัญ 3 ประการ ดังนี้ (1) พันธกิจ กับคนพิการช่วยคริสตจักรให้ตอบสนองต่อความทุกข์ของคนพิการได้ อย่างเหมาะสม (2) พันธกิจกับคนพิการเสริมสร้างคริสตจักรให้เป็น ชุมชนแบบมีสว่ นร่วมทีใ่ ห้เกียรติคนพิการ และ (3) พันธกิจกับคนพิการ เสริมพลังคนพิการให้บรรลุบทบาทส�ำคัญของพวกเขาเพือ่ อาณาจักรของ พระเจ้า ด้วยเหตุน ี้ พันธกิจกับคนพิการควรเป็นหนึง่ ในพันธกิจหลักของ คริสตจักร ค�ำส�ำคัญ: พันธกิจกับคนพิการ; คริสตจักร; บริบทไทย
6
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
สาธนัญ บุณยเกียรติ
Abstract
The suffering of Thai people with disabilities and their families compels Thai Christians to examine our response to the reality of disability in the Thai context. Unfortunately, disability ministry is often regarded as “optional” in the Thai Protestant churches. As a result, many Protestant churches do not intentionally minister to people with disabilities and their families. Therefore, it is crucial to help Thai Christians to gain a clearer understanding of disability ministry. This article aims to present the essentiality of disability ministry for the church from a biblical and theological standpoint. I will propose that disability ministry is essential for the church for three main reasons: First, disability ministry equips the church for a constructive response to the suffering of people with disabilities. Second, disability ministry enables the church to become an inclusive community that honors people with disabilities. Third, disability ministry empowers people with disabilities to fulfill their important roles in God’s kingdom. Therefore, disability ministry should be one of the core ministries of the church. Keywords: Disability Ministry; The Church; Thai Context
ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2020/2563
7
การทำ�พันธกิจกับคนพิการจำ�เป็นสำ�หรับคริสตจักร
Introduction In Thailand, the current disability prevalence is approximately 3% (1.9 million people) (Department of Empowerment of Persons with Disabilities, 2019). Over the past few decades, the Thai government, foundations and non-governmental organizations have assisted and empowered Thai people with disabilities in many ways. Unfortunately, Thai people with disabilities are still neglected and marginalized. They are among the poorest people in Thailand. Their opportunities for education and work are far from being equal with others. Moreover, they have to endure the negative attitudes of society and the lack of accessibility within the community. Generally, they are taken care of and assisted by their family members or relatives. Therefore, Thai people with disabilities and their families are facing great hardship in Thai society. This painful situation compels Thai Christians to examine our response to the reality of disability in the Thai
8
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
context. Unfortunately, disability ministry is often regarded as “optional” in the Thai Protestant churches. As a result, many Protestant churches do not intentionally minister to people with disabilities and their families. Therefore, it is crucial to help Thai Christians to gain a clearer understanding of disability ministry. This article aims to present the essentiality of disability ministry for the church from a biblical and theological standpoint. I will propose that disability ministry is essential for the church for three main reasons: First, disability ministry equips the church for a constructive response to the suffering of people with disabilities. Second, disability ministry enables the church to become an inclusive community that honors people with disabilities. Third, disability ministry empowers people with disabilities to fulfill their important roles in God’s kingdom.
สาธนัญ บุณยเกียรติ
1. Disability ministry equips the church for a constructive response to the suffering of people with disabilities Disability ministry has an important role in the church because it equips believers for a constructive response to the suffering of people with disabilities. A Christian theology of suffering affirms that suffering is a complex reality. Different causes of suffering demand different kinds of responses. For suffering caused by oppression and injustice, believers should respond by being in solidarity with the afflicted (Boonyakiat, 2009). People with disabilities experience great suffering in many ways, most of which are caused by attitudes and actions of others, rather than by their disability per se. Jeff and Kathi McNair succinctly describe this reality in Wolfensberger’s 18 Wounds of Disability (McNair, 2011: 1-7):
1. Bodily or intellectual impairment 2. Functional limitation 3. Relegation to low social status /deviancy 4. Disproportionate and relentless attitude of rejection 5. Cast into one or more historic deviancy roles; devalued social status causes devalued roles or vice versa. 6. Symbolic stigmatizing, “marking, deviancy imaging, branding” 7. Being multiply jeopardized/ scapegoated 8. Distanciation: usually via segregation and also congregation 9. Absence or loss of natural, freely given relationships and substitution with artificial/bought ones 10. Loss of control, perhaps even loss of autonomy and freedom 11. Discontinuity with the physical environment and objects, (“physical discontinuation”) 12. Social and relational discontinuity, even abandonment
ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2020/2563
9
การทำ�พันธกิจกับคนพิการจำ�เป็นสำ�หรับคริสตจักร
13. Deindividualization, “mortification,” reducing humanness 14. Involuntary material poverty, material/financial exploitation 15. Impoverishment of experience, especially that of the typical valued world 16. Exclusion from knowledge and participation in higher-order value systems (e.g., religion) that give meaning and direction to life and provide community 17. Having one’s life “wasted”; mindsets contributing to life-wasting 18. Being the object of brutalization, killing thoughts and death making Based on the fact that people with disabilities often suffer from attitudes and actions of others, Steve Bundy concludes, “We simply cannot deny that suffering exists in the disability community, nor can we deny that a great deal of this suffering comes about not as a result of their disability, but because of the world we live in... a world of exclusion, oppression and rejection” (Bundy, 2011: 1).
10
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
Therefore, the painful situations of people with disabilities and their families call for believers’ participation in their suffering through concrete actions. This response is in accordance with Christ’s ministry of being an advocate or paraclesis. The word “advocate” comes from the Greek word “paraclete” which literally means “called to the side.” This word signifies “a role of comforting, exhorting and encouraging” (Anderson, 2001: 195). In his earthly ministry, Christ’s role as an advocate—especially an advocate for people with disabilities— is apparent. He healed many people who were affected by disabilities; for example, the paralyzed (e.g. Mt. 4:24, 8:5-12, 9:2), the blind (e.g. Mt. 9:2730, Mk. 8:22-26), the mute (e.g. Mt. 9:32-33), the deaf and mute (e.g. Mk. 7:31-37). More importantly, in John 9, Jesus is an advocate for a man blind from birth. He rejected the traditional prejudice against the blind man, and declared, “Neither this man nor his
สาธนัญ บุณยเกียรติ
parents sinned, but this happened so that the works of God might be displayed in him” (Jn. 9:3). At present, Christ continues his role as our advocate in our contemporary concrete circumstances through the presence and work of the Holy Spirit. To participate in the suffering of others, consequently, is to be their advocate and to enable them to experience the presence and power of Christ alongside them in their needs and struggles (Anderson, 1997). However, this response is not just the imitation of Christ’s ministry in the past, but it is also the continuation of his ministry in this world. It is not asking the question, “What would Jesus do in this situation?” which implies his absence from our present situation, but it is to ask, “What is Jesus doing in this situation and what am I to do as a Christian?” After his resurrection, Jesus promised the coming of the Holy Spirit upon his followers as a continuation of his ministry on earth. Therefore, Christ’s redemp-
tive work still continues in the present situations through the ministry of the Holy Spirit in the lives of believers (Anderson, 2001). For this reason, disability ministry has a crucial role in equipping the church for a constructive response to the suffering of people with disabilities. It helps believers understand more about disabilities and how to minister to people with disabilities and their families. Indeed, disability ministry should be one of the core ministries of the church. However, this understanding implies neither that people with disabilities are inferior, nor that they are merely objects of disability ministry. People with and without disabilities are equally created in the image of God. Each person is called to be part of God’s community, and each person has unique roles in building up the community. This brings us to the remaining reasons that disability ministry is essential for the church.
ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2020/2563
11
การทำ�พันธกิจกับคนพิการจำ�เป็นสำ�หรับคริสตจักร
2. Disability ministry enables the church to become an inclusive community that honors people with disabilities A proper theological understanding of the church reveals that the church is designed to be an inclusive community, in which all are equally called to be people of God, parts of the body of Christ, and filled with the Holy Spirit. Therefore, each member is valued and honored, especially those who are weak and despised. Amos Yong says, “The church is constituted first and foremost of the weak, not the strong; people with disabilities are thus at the center rather than at the margins of what it means to be the people of God” (Yong, 2011: 95). This understanding is supported by the nature of Christ’s new community. In his earthly ministry, Jesus always welcomed and included the poor, oppressed, and marginalized in his community. Special attention was given to people with disabilities. As mentioned earlier, the Scripture high-
12
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
lights many people with disabilities that were accepted and healed by Jesus. More importantly, people with disabilities were important for Jesus’ ministry and teaching in Luke 13-14, particularly in Luke 14:1-24. Jesus healed two persons with disabilities on the Sabbath, and he used those opportunities to teach others (Lk. 13:10-17; 14:1-6). Jesus told a Pharisee who invited him into his house to welcome people with disabilities. He said, When you give a luncheon or dinner, do not invite your friends, your brothers or sisters, your relatives, or your rich neighbors; if you do, they may invite you back and so you will be repaid. But when you give a banquet, invite the poor, the crippled, the lame, the blind, and you will be blessed. Although they cannot repay you, you will be repaid at the resurrection of the righteous. (Lk. 14:12-14)
สาธนัญ บุณยเกียรติ
In the parable of the great banquet, the host specifically commanded his servants to search for the poor, the crippled, the blind and the lame, and to compel them to come to the banquet so that his house would be full (Lk. 14:15-24). This parable clearly shows that people with disabilities are central to God’s heart and his kingdom (Bundy, 2011). Moreover, the inclusive nature of Christ’s community is clearly illustrated by the image of the body of Christ. In 1 Corinthians 12, Paul indicates that all believers are indispensable parts of the body of Christ. They should have equal concern for each other. Each believer has important roles in the community. Paul says, The eye cannot say to the hand, “I don’t need you!” And the head cannot say to the feet, “I don’t need you!” On the contrary, those parts of the body that seem to be weaker are indispensable, and the parts that we think are less honorable we treat with special honor. And the
parts that are unpresentable are treated with special modesty, while our presentable parts need no special treatment. But God has put the body together, giving greater honor to the parts that lacked it, so that there should be no division in the body, but that its parts should have equal concern for each other. If one part suffers, every part suffers with it; if one part is honored, every part rejoices with it. (1 Corinthians 12: 21-26) Grounded in this understanding, the church will realize that people with disabilities, who are usually perceived as weaker and less honorable than others, are indispensable and should be treated with special honor. Therefore, the church must be an inclusive community that rejects the traditional notion that people with disabilities are weaker, less worthy, less necessary, or have fewer contributions. In contrast, as Amos Yong puts it, “People with disabilities are by
ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2020/2563
13
การทำ�พันธกิจกับคนพิการจำ�เป็นสำ�หรับคริสตจักร
definition embraced as central and essential to a fully healthy and functioning congregation in particular, and to the ecclesial body in general” (Yong, 2011: 95). Therefore, disability ministry exists to remind the church to constantly and intentionally resist the temptation to be exclusive, but rather to become an inclusive community, especially for people with disabilities. Moreover, disability ministry provides opportunities for people with disabilities to utilize their gifts for God’s kingdom. This leads to the third reason for the importance of disability ministry. 3. Disability ministry empowers people with disabilities to fulfill their important roles in God’s kingdom Disability ministry not only enables the church to include people with disabilities, but also empowers people with disabilities to respond to God’s calling on their lives. In The Bible, Disability, and the Church, Yong 14
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
proposes an inclusive theology of the church that each person with disability contributes to the body of Christ through the power of the Holy Spirit, rather than being just a recipient of others’ ministries. As a result, the church should minister inclusively to people with disabilities and be blessed by people with disabilities. In turn, the church should not be divided between people with disabilities and people without disabilities; rather it should be viewed as a community in which each person, with or without disabilities, equally and uniquely contributes to the whole (Yong, 2011). When the church truly includes people with disabilities, the church will be known as an inclusive and hospitable community that not only cares for people with disabilities but also values their contributions. As a result, the church will clearly manifest God’s love to people with disabilities, their families, service agencies, and the wider communities at large (Reynolds, 2008). This is extremely important for sharing Christ in Thailand, a Buddhist
สาธนัญ บุณยเกียรติ
country where the number of Christians is only about one percent of the population (according to the latest census in 2010). Cultural and religious background may prevent the Thai people from listening to the gospel message, but an inclusive and hospitable Christian community will enable the Thai people to experience the gospel in tangible ways. Similarly, Thai people with disabilities who come to faith in Christ are called to be ambassadors for Christ to other Thai people, with or without disabilities. Each Thai believer with a disability witnesses for Christ in his or her own specific ways. Therefore, disability ministry helps Thai Christians with disabilities recognize their crucial roles and empowers them to use their gifts to bless others in the church and society. Conclusion In summary, disability ministry is essential for the church because of three main reasons: First, disability ministry equips the church for a con-
structive response to the suffering of people with disabilities. Second, disability ministry enables the church to become an inclusive community that honors people with disabilities. Third, disability ministry empowers people with disabilities to fulfill their important roles in God’s kingdom. Therefore, it is clear that the church needs disability ministry. It should be one of the main ministries of the church. Disability ministry enables the church to reach out to people with disabilities. Disability ministry empowers the church to integrate people with disabilities into the community so that they can contribute to others (Eareckson et al., 2011). This brief discussion simply highlights the essentiality of disability ministry for the church. Thai Christians should seek a better understanding of disability and disability ministry in the Thai context. As a result, Thai churches will be able to respond to the reality of disability in the Thai context in a more faithful and fruitful manner.
ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2020/2563
15
การทำ�พันธกิจกับคนพิการจำ�เป็นสำ�หรับคริสตจักร
References Anderson, R. S. (1997). The soul of ministry: forming leaders for God's people. Louisville, KY: Westminster John Knox Press. Anderson, R. S. (2001). The shape of practical theology: empowering ministry with theological praxis. Downers Grove, IL: InterVarsity Press. Boonyakiat, S. (2009). A Christian theology of suffering in the context of Thera- vada Buddhism in Thailand. PhD diss., Fuller Theological Seminary. Bundy, S. (2011). Hope for the global disability community. Beyond suffering: a cultural adaptation reader. Agoura Hills, CA: The Christian Institute on Disability, Joni and Friends International Disability Center. Carter, E. W. (2007). Including people with disabilities in faith communities: a guide for service providers, families, and congregations. Baltimore, MD: Paul H. Brookes Publishing. Department of Empowerment of Persons with Disabilities (2019). The situation of people with disabilities (June 30, 2019). Bangkok: Department of Empowerment of Persons with Disabilities. Eareckson, J., Bundy, S. & Verbal, P. (2011) Beyond suffering: a Christian view on disability ministry. Agoura Hills, CA: The Christian Institute on Disability, Joni and Friends International Disability Center. McNair, J. & K. (2011). Wolfensberger’s 18 wounds of disability. Beyond suffering: a cultural adaptation reader. Agoura Hills, CA: The Christian Institute on Disability, Joni and Friends International Disability Center. Reynolds, T. E. (2008). Vulnerable communion: a theology of disability and hospitality. Grand Rapids, MI: Brazos Press. Yong, A. (2011). The Bible, disability, and the church: a new vision of the people of God. Grand Rapids, MI: Eerdmans.
16
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
ก ารปรับปรุงหลักสูตรการศึกษาบัณฑิต สาขาวิชาคริสตศาสนศึกษา คณะศาสนศาสตร์ (หลักสูตรปรับปรุง 2558)
Ton Bachelor of Education Program in Christian he Curriculum Improvement of the Curriculum Studies, Faculty of Divinity. (Update B.E. 2558)
บาทหลวง ผศ.ดร.วัชศิลป์ กฤษเจริญ * อาจารย์ประจ�ำคณะศาสนศาสตร์ สาขาวิชาคริสตศาสนศึกษา วิทยาลัยแสงธรรม บาทหลวง ผศ.วสันต์ พิรุฬห์วงศ์ * อาจารย์ประจ�ำคณะศาสนศาสตร์ สาขาวิชาเทววิทยา วิทยาลัยแสงธรรม บาทหลวง ดร.วีรศักดิ ์ ยงศรีปณิธาน * อาจารย์ประจ�ำคณะมนุษยศาสตร์ สาขาวิชาปรัชญาและศาสนา วิทยาลัยแสงธรรม บาทหลวง เชษฐา ไชยเดช * อาจารย์ประจ�ำคณะศาสนศาสตร์ สาขาวิชาเทววิทยา วิทยาลัยแสงธรรม บาทหลวง ดร.พิเชฐ แสงเทียน, เอส.เจ. * อาจารย์ประจ�ำคณะศาสนศาสตร์ สาขาวิชาเทววิทยาจริยธรรม วิทยาลัยแสงธรรม อาจารย์ สุดหทัย นิยมธรรม * อาจารย์ประจ�ำคณะศาสนศาสตร์ สาขาวิชาคริสตศาสนศึกษา วิทยาลัยแสงธรรม ลลิตา กิจประมวล * นักวิจัยค้นคว้าศาสนาและวัฒนธรรม วิทยาลัยแสงธรรม
ข้อมูลบทความ
* รับบทความ 29 มิถุนายน 2563 * แจ้งแก้ไข 8 สิงหาคม 2563 * ตอบรับบทความ 15 สิงหาคม 2563
Rev.Asst.Prof.Dr.Watchasin Kritjaroen * Lecturer, Faculty of Theology, Christian Education Program, Saengtham College. Rev.Asst.Prof.Wasan Pirulhwong, C.S.S. * Lecturer, Faculty of Theology, Theology Program, Saengtham College. Rev.Dr.Werasak Yongsripanithan * Lecturer, Faculty of Humanities, Philosophy and Religion Program, Saengtham College. Rev.Chedtha Chaiyadej * Lecturer, Faculty of Theology, Theology Program, Saengtham College. Rev.Dr.Pichet Saengthien, S.J. * Lecturer, Faculty of Theology, Theology Program, Saengtham College. Sudhathai Niyomtham * Lecturer, Faculty of Theology, Christian Education Program, Saengtham College. Lalita Kitpramuan * Researcher of Religious and Cultural Research center, Saengtham College.
การปรับปรุงหลักสูตรการศึกษาบัณฑิต สาขาวิชาคริสตศาสนศึกษา คณะศาสนศาสตร์ (หลักสูตรปรับปรุง 2558)
บทคัดย่อ
18
การวิจัยการปรับปรุงหลักสูตรการศึกษาบัณฑิต สาขาวิชาคริสต ศาสนศึกษา (หลักสูตรปรับปรุง 2558) วิทยาลัยแสงธรรม มีวตั ถุประสงค์ เพื่อปรับปรุงหลักสูตรการศึกษาบัณฑิต สาขาวิชาคริสตศาสนศึกษา (หลักสูตรปรับปรุง 2558) วิทยาลัยแสงธรรม เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ผู้ให้ข้อมูลหลัก ได้แก่ กรรมการบริหาร วิทยาลัยแสงธรรม จ�ำนวน 3 คน คณะกรรมการคณะศาสนศาสตร์ จ�ำนวน 8 คน คณะกรรมการฝ่ายวิชาการ จ�ำนวน 5 คน สภาวิชาการ จ�ำนวน 5 คน และสภาวิทยาลัย จ�ำนวน 9 คน รวมทั้งสิ้น 30 คน โดยวิธกี ารเลือกแบบเจาะจง (Purposive or Judgmental Sampling) ใช้กระบวนการศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลจากเอกสารหรือการวิจัย เอกสาร (Documentary Research) และการสนทนากลุ่ม (Focus Groups) วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติร้อยละ (%) และการวิเคราะห์ เนื้อหา (Content Analysis) ผลการวิจัยพบว่า 1. ปรัชญาของหลักสูตร โดยภาพรวมมีความเหมาะสมอยู่ใน ระดับมาก ให้คงไว้ตามเดิม 2. วัตถุประสงค์ของหลักสูตร โดยภาพรวมมีความเหมาะสมอยู่ ในระดับมาก ให้คงไว้ตามเดิม 3. โครงสร้างของหลักสูตร โดยภาพรวมมีความเหมาะสมอยู่ใน ระดับมาก มีขอ้ เสนอแนะ ให้ปรับจากหลักสูตร 5 ปี แก้ไขเป็นหลักสูตร 4 ปี ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการเรื่อง มาตรฐานคุณวุฒิระดับ ปริญญาตรี สาขาครุศาสตร์และสาขาศึกษาศาสตร์ (หลักสูตรสี่ปี) พ.ศ. 2562 ตามข้อบังคับคุรุสภา ว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2562 และประมวลกฎหมายของพระศาสนจักร เรือ่ งหน้าทีก่ ารสอนของ พระศาสนจักร และให้แก้ไขโครงสร้างหลักสูตรให้มีความเหมาะสม
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
วัชศิลป์ กฤษเจริญ, วสันต์ พิรุฬห์วงศ์, วีรศักดิ์ ยงศรีปณิธาน, เชษฐา ไชยเดช, พิเชษฐ แสงเทียน, สุดหทัย นิยมธรรม และ ลลิตา กิจประมวล
4. ความเหมาะสมของเนื้อหารายวิชาที่เปิดสอน และจ�ำนวน หน่วยกิต โดยภาพรวมมีความเหมาะสมอยูใ่ นระดับมาก มีขอ้ เสนอแนะ ให้แก้ไขรหัสวิชา เนื้อหารายวิชาที่เปิดสอน และจ�ำนวนหน่วยกิตให้มี ความเหมาะสมและสอดคล้องกับประกาศกระทรวงศึกษาธิการเรื่อง มาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี สาขาครุศาสตร์และสาขาศึกษา ศาสตร์ (หลั ก สู ต รสี่ ป ี ) พ.ศ. 2562 ตามข้ อ บั ง คั บ คุ รุ ส ภา ว่ า ด้ ว ย มาตรฐานวิชาชีพ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2562 และประมวลกฎหมายของ พระศาสนจักรเรื่องหน้าที่การสอนของพระศาสนจักร ค�ำส�ำคัญ: การปรับปรุงหลักสูตรการศึกษาบัณฑิต สาขาวิชา คริสตศาสนศึกษา (หลักสูตรปรับปรุง 2558) วิทยาลัยแสงธรรม
ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2020/2563
19
การปรับปรุงหลักสูตรการศึกษาบัณฑิต สาขาวิชาคริสตศาสนศึกษา คณะศาสนศาสตร์ (หลักสูตรปรับปรุง 2558)
Abstract
20
The Curriculum Improvement of Bachelor of Education Program in Christian Studies, Faculty of Divinity (Update B.E. 2558), Saengtham College had the following objectives to improve the Curriculum for Bachelor of Education Program in Christian Studies, Faculty of Divinity (Update B.E. 2558) to be a quantitative research. The main participants of the research comprised 3 committees of Saengtham College, 8 Faculty of Divinity committees, 5 Academic committee, 5 Academic Council and 9 College council. The research instruments used with a total of 30 persons consisted of the study process by purposive or judgmental sampling, analyze data or documentary research and focus group discussions. The data collected were analyzed using Percentage (%) and content analysis. The results of the research were as follows: 1. The curriculum found that philosophy was suitable at high level to remain intact. 2. The objectives of the course was suitable at high level to remain intact. 3. The structure of the course was suitable at high level; a 5-year curriculum is advised to change into a 4-year curriculum according to the announcement of the Ministry of Education about the Professional Standard of the Bachelor Degree in Pedagogy and Education (4-year course) B.E. 2562, the regulations of the Teachers’ Council of Thailand (No.4) B.E. 2562 and the Canon Law of Church on the Teaching of the Church; the structures of the course should be adjusted to be appropriate.
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
วัชศิลป์ กฤษเจริญ, วสันต์ พิรุฬห์วงศ์, วีรศักดิ์ ยงศรีปณิธาน, เชษฐา ไชยเดช, พิเชษฐ แสงเทียน, สุดหทัย นิยมธรรม และ ลลิตา กิจประมวล
4. The suitability of the contents of the course as well as the credits of the course by overall are very good. The Code of the subjects, the contents of the subjects and credits of the subjects are advised to be changed to suit the announcement of the Ministry of Education about the Professional Standard of the Bachelor Degree in Pedagogy and Education (4-year course) B.E. 2562, the regulations of the Teachers’ Council of Thailand (No.4) B.E. 2562 and the Canon Law of Church on the Teaching of the Church Key words: The Curriculum Improvement of the Bachelor of Education Program in Christian.
ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2020/2563
21
การปรับปรุงหลักสูตรการศึกษาบัณฑิต สาขาวิชาคริสตศาสนศึกษา คณะศาสนศาสตร์ (หลักสูตรปรับปรุง 2558)
ที่มาและความส�ำคัญของปัญหา การจั ด การศึ ก ษาระดั บ อุ ด มศึ ก ษามี ความส�ำคัญต่อการพัฒนาทางเศรษฐกิจ เป็น ศูนย์รวมของการเรียนรู้ในสังคม เป็นแหล่ง รวบรวมและสร้างองค์ความรู ้ และมีบทบาทใน การถ่ายทอดประสบการณ์ในด้านวัฒนธรรม และวิทยาศาสตร์ซึ่งมนุษย์ได้สั่งสมมา สถาบัน อุดมศึกษาได้พยายามปรับตัวเพื่อรับมือกับ ระบบการศึกษาในอนาคต ด้วยเหตุนี้สถาบัน อุดมศึกษาจึงต้องค้นหาเอกลักษณ์เฉพาะทีถ่ นัด ท�ำได้ดี มีความเชี่ยวชาญ และมีประสิทธิภาพ ทีส่ ดุ เพือ่ ทุม่ เททรัพยากรในการพัฒนาหลักสูตร การจัดการเรียนการสอน การวิจัย และการ พัฒนาบุคลากรที่เป็นจุดเด่นนั้นให้มีคุณภาพ กระบวนทั ศ น์ ใ หม่ ข องการจั ด การศึ ก ษาใน ยุคปัจจุบัน มุ่งเน้นสร้างเสริมประสบการณ์ใน ศาสตร์ ต ่ า งๆ ให้ แ ก่ ผู ้ เรี ย น เพื่ อ ให้ ผู ้ เรี ย น สามารถคิดเป็น ท�ำเป็น แก้ไขปัญหาได้ และหา แนวทางในการพัฒนาตนเองด้วยเทคโนโลยี จากความรู้สหวิทยาการที่ได้รับมาบูรณาการ ปรับใช้ให้เกิดประโยชน์กับชีวิต การจัดการ ศึกษาของคาทอลิกให้ความส�ำคัญกับความเชือ่ คุณค่าและวัฒนธรรมของมนุษย์เป็นอย่างยิ่ง พระศาสนจักรคาทอลิกได้ระบุไว้ในประมวล กฎหมายพระศาสนจักรคาทอลิก บรรพ 3: 795 วรรค 2 ว่า “เนือ่ งจากการศึกษาทีแ่ ท้จริง ต้องมุ่งให้การอบรมทั้งครบแก่มนุษย์ กล่าวคือ
22
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
การอบรมที่มุ่งสู่จุดมุ่งหมายสุดท้ายของบุคคล และขณะเดียวกันก็มุ่งสู่ความดีส่วนรวมของ สังคม ดังนั้น เด็ก และเยาวชนจะต้องได้รับ การอบรมเลี้ยงดูอย่างที่ว่า เขาสามารถพัฒนา สมรรถนะทางกาย ใจ และสติปัญญาของเขา ได้อย่างกลมกลืนกัน มีจิตส�ำนึกในความรับ ผิดชอบที่ดีมากขึ้น และรู้จักใช้เสรีภาพอย่าง ถูกต้อง รวมทัง้ ได้รบั การอบรมให้มสี ว่ นร่วมใน สังคมอย่างมีบทบาท” การพัฒนาคุณภาพชีวติ ผู้คนในสังคมให้ครบทุกมิติและอย่างมีสมดุล ทั้ ง ร่ า งกาย จิ ต ใจ สติ ป ั ญ ญานั้ น เกิ ด จาก กระบวนการจัดการศึกษา โดยสถาบันอุดม ศึกษาจัดการศึกษาจากหลักสูตรทีร่ บั การอนุมตั ิ ภายใต้ ก ารควบคุ ม ดู แ ลอย่ า งใกล้ ชิ ด ตาม มาตรฐานที่กระทรวงศึกษาธิการรับรอง หัวใจ ของการจัดการศึกษาคือหลักสูตร เพราะหลัก สูตรเป็นแนวทางในการจัดประสบการณ์การ เรียนรู้ให้กับผู้เรียนได้บรรลุเป้าหมายของการ จัดการศึกษา พิจิตรา ธงพานิช (2557: 11) ได้กล่าวถึงความส�ำคัญของหลักสูตรว่าหลัก สูตรเป็นเบ้าหลอมพลเมืองให้มีคุณภาพ เป็น มาตรฐานของการจัดการศึกษา และยังเป็น สิง่ ก�ำหนดแนวทางความรู ้ ความสามารถ ความ ประพฤติ ทักษะและเจตคติของผู้เรียน การ ก� ำ หนดหลั ก สู ต รจึ ง เป็ น สิ่ ง ที่ ส� ำ คั ญ ในการ จัดการเรียนรู้ให้กับผู้เรียน สิ่งหนึ่งซึ่งสถาบัน การศึ ก ษาให้ ค วามใส่ ใจเป็ น พิ เ ศษ คื อ การ
วัชศิลป์ กฤษเจริญ, วสันต์ พิรุฬห์วงศ์, วีรศักดิ์ ยงศรีปณิธาน, เชษฐา ไชยเดช, พิเชษฐ แสงเทียน, สุดหทัย นิยมธรรม และ ลลิตา กิจประมวล
ปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรให้สอดคล้องกับ พันธกิจที่ได้ตั้งเป้าหมายไว้ เพราะการพัฒนา หลักสูตรการเรียนการสอนทีเ่ หมาะสมกับความ ต้องการของผูเ้ รียนและเหมาะสมกับการพัฒนา ประเทศในด้านต่างๆ จะสามารถน�ำความรู้ไป ใช้ในชีวิตของผู้เรียนในการท�ำประโยชน์ให้กับ ตัวผู้เรียนเองและประเทศได้เป็นอย่างดี การ พัฒนาหลักสูตรเป็นกระบวนการของการตัดสิน ใจหาทางเลือกการเรียนการสอนที่เหมาะสม เพราะต้องค�ำนึงถึงองค์ประกอบหลายด้าน อย่างละเอียดและรอบคอบ เพราะผลลัพธ์ที่ เกิดขึน้ จะมีผลกระทบอย่างมากมายกับสิง่ อืน่ ๆ การพัฒนาหลักสูตรสามารถท�ำได้ทกุ ระยะเวลา ซึง่ ต้องด�ำเนินการอย่างเหมาะสม โดยอาจปรับ ปรุงสิ่งที่มีอยู่แล้วให้ดีขึ้น หรือสร้างหลักสูตร ใหม่ให้มีความเหมาะสมและทันสมัยต่อความ เปลี่ยนแปลงในปัจจุบัน ซึ่งต้องมีการวางแผน และพั ฒ นาประสบการณ์ ใ นการเรี ย นรู ้ ข อง ผู้เรียนได้เป็นอย่างดี วิ ท ยาลั ย แสงธรรมมี พั น ธกิ จ ในการ พัฒนาผู้เรียนให้เป็นครูสอนคริสตศาสนธรรม เป็ น ผู ้ มี ค วามรู ้ ค วามสามารถในการอบรม ถ่ายทอดคุณธรรม จริยธรรมตามหลักค�ำสอน ของคริสต์ศาสนา ตอบสนองคุณค่าและศักดิศ์ รี ของความเป็นมนุษย์ สนับสนุนและส่งเสริม ให้บัณฑิตมีความสามารถทางการคิดที่ลุ่มลึก
มี ทั ก ษะในการบู ร ณาการความรู ้ ท างคริ ส ต์ ศาสนาในการด�ำเนินชีวติ ประจ�ำวันและออกไป รับใช้สังคมในงานอภิบาลและแพร่ธรรมด้วย ชีวติ เพือ่ พัฒนาตนเองให้เป็นพลเมืองทีด่ ี เป็น ผูน้ ำ� ทางคริสต์ศาสนาอย่างยัง่ ยืนในสังคมต่อไป วิทยาลัยแสงธรรมด�ำเนินการจัดการศึกษาภาย ใต้เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรตามประกาศของ กระทรวงศึ ก ษาธิ ก าร ที่ ก� ำ หนดให้ ส ถาบั น อุดมศึกษาต้องปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตร ให้เป็นไปตามเกณฑ์อย่างสม�่ำเสมอ เพื่อให้มี คุณภาพตามเกณฑ์การประเมินคุณภาพการ ศึกษาทีส่ ำ� นักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) และส�ำนักงานรับรองมาตรฐานและ ประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) (สมศ.) ซึ่ ง ได้ ก� ำ หนดประเด็ น ส� ำ คั ญ ในการ บริหารจัดการด้านหลักสูตรคือ การบริหาร หลักสูตรและการจัดการศึกษาให้เป็นไปตาม กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่ง ชาติ พ.ศ. 2552 (Thai Qualification Framework for Higher Education, TQF: HEd) วัตถุประสงค์ของการวิจัย เพื่อปรับปรุงหลักสูตรการศึกษาบัณฑิต สาขาวิชาคริสตศาสนศึกษา (หลักสูตรปรับปรุง 2558) วิทยาลัยแสงธรรม
ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2020/2563
23
การปรับปรุงหลักสูตรการศึกษาบัณฑิต สาขาวิชาคริสตศาสนศึกษา คณะศาสนศาสตร์ (หลักสูตรปรับปรุง 2558)
ประชากรและกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในงานวิจัย ประชากรในงานวิ จั ย นี้ เ ป็ น กลุ ่ ม ผู ้ ใ ห้ ข้อมูลหลัก ในปีการศึกษา 2561 จ�ำแนกเป็น 1. กรรมการบริหารวิทยาลัยแสงธรรม จ�ำนวน 3 คน 2. คณะกรรมการคณะศาสนศาสตร์ จ�ำนวน 8 คน 3. คณะกรรมการฝ่ายวิชาการ จ�ำนวน 5 คน 4. สภาวิชาการ จ�ำนวน 5 คน 5. สภาวิทยาลัย จ�ำนวน 9 คน รวมทัง้ สิน้ 30 คน โดยวิธกี ารเลือกแบบ เจาะจง (Purposive or Judgmental Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ส� ำ หรั บ เครื่ อ งมื อ ที่ ผู ้ วิ จั ย ใช้ ใ นครั้ ง นี้ ผูว้ จิ ยั ก�ำหนดระเบียบวิธวี จิ ยั (Methodology) โดยใช้ วิ ธี วิ จั ย เชิ ง คุ ณ ภาพ (Qualitative Research) ได้แก่ 1. การวิจยั เชิงเอกสาร (Documentary Research) ซึ่งเป็นเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บ รวมรวมข้อมูลแนวทางหนึง่ โดยการศึกษาและ ค้นคว้าจากเอกสารทางวิชาการ ต�ำรา เอกสาร หลั ก สู ต ร พระราชกิ จ จานุ เ บกษา ประกาศ กระทรวงศึกษาธิการ กฎหมายพระศาสนจักร คาทอลิก และโครงสร้างหลักสูตรการศึกษา
24
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
บัณฑิต สาขาวิชาคริสตศาสนศึกษา (หลักสูตร ปรับปรุง 2558) คณะศาสนศาสตร์ รวมทั้ง ข้อมูลจาการค้นคว้าทางสือ่ อิเล็กทรอนิกส์ หรือ ข้อมูลที่ได้มาจากเว็บไซต์ทางอินเทอร์เน็ต 2. การสนทนากลุ่ม (Focus Group) เป็นเครื่องมือที่ใช้ประเด็นความคิดเห็นที่มีต่อ หลั ก สู ต รการศึ ก ษาบั ณ ฑิ ต สาขาวิ ช าคริ ส ต ศาสนศึกษา (หลักสูตรปรับปรุง 2558) คณะ ศาสนศาสตร์ ก�ำหนดระยะเวลาในการสนทนา กลุ่ม 3 ชั่วโมง เพื่อน�ำมาใช้ในกระบวนการ สร้างพืน้ ฐานองค์ความรูอ้ ย่างบูรณาการในทาง วิชาการ ที่เกี่ยวข้องกับการปรับปรุงหลักสูตร ในครั้งนี้ โดยการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของ บุคลากรทุกระดับของวิทยาลัย อันเป็นแนว ทางส�ำคัญในการน�ำไปสูก่ ารรวบรวมข้อคิดเห็น ทั้งหมดที่ได้จากการวิเคราะห์เนื้อหาที่ส�ำคัญๆ ต่างๆ สู่การสังเคราะห์ และปรับปรุงหลักสูตร ให้ได้มาตรฐานตามที่กฎหมายก�ำหนด สรุปผลการวิจัย การปรับปรุงหลักสูตรการศึกษาบัณฑิต สาขาวิชาคริสตศาสนศึกษา (หลักสูตรปรับปรุง 2558) คณะศาสนศาสตร์ วิทยาลัยแสงธรรม ในครั้งนี้ผู้วิจัยสรุปผลการวิจัยดังนี้ 1. ผลการวิจัยพบว่าปรัชญาของหลัก สูตร โดยภาพรวมมีความเหมาะสมอยูใ่ นระดับ มาก ให้คงไว้เหมือนเดิม
วัชศิลป์ กฤษเจริญ, วสันต์ พิรุฬห์วงศ์, วีรศักดิ์ ยงศรีปณิธาน, เชษฐา ไชยเดช, พิเชษฐ แสงเทียน, สุดหทัย นิยมธรรม และ ลลิตา กิจประมวล
2. ผลการวิจัยพบว่าวัตถุประสงค์ของ หลักสูตร โดยภาพรวมมีความเหมาะสมอยู่ใน ระดับมาก ให้คงไว้เหมือนเดิม 3. ผลการวิ จั ย พบว่ า โครงสร้ า งของ หลักสูตร โดยภาพรวมมีความเหมาะสมอยู่ใน ระดับมาก แต่เนือ่ งจากกระทรวงศึกษาธิการได้ ก� ำ หนดให้ ส ถาบั น อุ ด มศึ ก ษาที่ มี ห ลั ก สู ต ร วิชาชีพครู ต้องปรับปรุงหลักสูตร ตามประกาศ เรื่องมาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี สาขา ครุศาสตร์และสาขาศึกษาศาสตร์ (หลักสูตร สี่ปี) พ.ศ. 2562 และตามข้อบังคับคุรุสภา ว่า ด้วยมาตรฐานวิชาชีพ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2562 จึงมีข้อเสนอแนะจากผู้เข้าร่วมสนทนากลุ่มคือ ให้ด�ำเนินการปรับปรุงหลักสูตรจาก 5 ปี เป็น 4 ปี ตามข้อก�ำหนดดังกล่าว และให้สอดคล้อง กับประมวลกฎหมายของพระศาสนจักร เรื่อง หน้าทีก่ ารสอนของพระศาสนจักร และให้แก้ไข โครงสร้ า งหลั ก สู ต รให้ มี ค วามเหมาะสมกั บ สถานการณ์ในปัจจุบัน 4. ผลการวิจยั พบว่าความเหมาะสมของ เนือ้ หารายวิชาทีเ่ ปิดสอน และจ�ำนวนหน่วยกิต โดยภาพรวมมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก มีข้อเสนอแนะจากผู้เข้าร่วมสนทนากลุ่มดังนี้ ให้แก้ไขรหัสวิชา เนื้อหารายวิชาที่เปิดสอน และจ�ำนวนหน่วยกิตให้มีความเหมาะสมและ สอดคล้องกับประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง มาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี สาขา
ครุศาสตร์และสาขาศึกษาศาสตร์ (หลักสูตร สี่ปี) พ.ศ. 2562 ตามข้อบังคับคุรุสภา ว่าด้วย มาตรฐานวิชาชีพ (ฉบับที ่ 4) พ.ศ. 2562 และ ประมวลกฎหมายของพระศาสนจั ก ร เรื่ อ ง หน้าที่การสอนของพระศาสนจักร อภิปรายผลการวิจัย การปรับปรุงหลักสูตรการศึกษาบัณฑิต สาขาวิชาคริสตศาสนศึกษา (หลักสูตรปรับปรุง 2558) คณะศาสนศาสตร์ วิทยาลัยแสงธรรม ในครั้งนี้ผู้วิจัยอภิปรายได้ดังนี้ 1. ผลการวิจัยพบว่าปรัชญาของหลัก สูตร โดยภาพรวมมีความเหมาะสมอยูใ่ นระดับ มาก สอดคล้องผลการวิจยั ของ ชาติชาย พงษ์ ศิ ริ แ ละคณะ (2558: บทคั ด ย่ อ ) เรื่ อ งการ ประเมินหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา คริสตศาสนศึกษา คณะศาสนศาสตร์ วิทยาลัย แสงธรรม พบว่าปรัชญาของหลักสูตรรวมทั้ง นโยบายการจัดการศึกษาของหลักสูตรนี้ของ วิ ท ยาลั ย แสงธรรม มี ค วามเหมาะสมอยู ่ ใ น ระดับมาก ซึ่งปรัชญาของหลักสูตรนี้มุ่งพัฒนา และผลิตบัณฑิตเพื่อการประกอบวิชาชีพครู เป็นศาสนบริกรด้านการสอนคริสตศาสนธรรม สอดคล้องกับ เอกชัย ชินโคตร (2551: 201) ทีว่ า่ ปรัชญา (Philosophy) การศึกษาคาทอลิก สั ง กั ด สั ง ฆมณฑลในทศวรรษหน้ า คื อ การ พัฒนามนุษย์ในทุกมิติทั้งด้านร่างกาย จิตใจ
ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2020/2563
25
การปรับปรุงหลักสูตรการศึกษาบัณฑิต สาขาวิชาคริสตศาสนศึกษา คณะศาสนศาสตร์ (หลักสูตรปรับปรุง 2558)
สติปัญญา อารมณ์ และอยู่ในสังคมอย่างมี ความสุ ข สอดคล้ อ งกั บ ค� ำ สอนของนั ก บุ ญ โทมัส อไควนัส (Saint Thomas Aquinas) (ค.ศ. 1225-1274) อ้างถึง เอกชัย ชินโคตร (2551: 27) ที่สอนว่า การศึกษาเป็นกระบวน การต่อเนือ่ งตลอดชีวติ ทัง้ ในการกระท�ำการน�ำ ตนเองและการบรรลุถงึ สัจธรรมของชีวติ ซึง่ ต้อง เคารพต่อเสรีภาพและความเป็นบุคคลในทุกมิติ ของผู้เรียน 2. ผลการวิจัยพบว่าวัตถุประสงค์ของ หลักสูตร โดยภาพรวมมีความเหมาะสมอยู่ใน ระดั บ มาก สอดคล้ อ งกั บ ผลการวิ จั ย ของ มาเรียม นิลพันธุ์ (2555: 124) เรื่องการวิจัย ประเมิ น หลั ก สู ต รศึ ก ษาศาสตรมหาบั ณ ฑิ ต สาขาวิชาหลักสูตรและการนิเทศ คณะศึกษา ศาสตร์มหาวิทยาลัยศิลปากร พบว่าวัตถุประสงค์ มีความเหมาะสมกับสภาพปัจจุบัน สอดคล้อง กับสงัด อุทรานันท์ (2532: 211-212) ทีก่ ล่าว ว่าจุดมุ่งหมายของหลักสูตรควรตั้งอยู่บนพื้น ฐานการศึ ก ษาอย่ า งถู ก ต้ อ ง ได้ แ ก่ พื้ น ฐาน ปรัชญาจิตวิทยา สังคมวิทยา และธรรมชาติ ของความรู ้ และต้ อ งตั้ ง อยู ่ บ นรากฐานของ ความจริงและสามารถน�ำไปปฏิบตั ไิ ด้ สอดคล้อง ผลการวิจัยของ ชาติชาย พงษ์ศิริและคณะ (2558: บทคัดย่อ) เรื่องการประเมินหลักสูตร ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาคริสตศาสนศึกษา คณะศาสนศาสตร์ วิทยาลัยแสงธรรม พบว่า
26
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
ผู ้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ ข องหลั ก สู ต รสาขาวิ ช าคริ ส ต ศาสนศึกษา มีความคิดเห็นว่าวัตถุประสงค์ ของหลักสูตรมีความเหมาะสม สอดคล้องกับ เอกชัย ชินโคตร (2551: 28) ทีว่ า่ วัตถุประสงค์ ของการศึกษา เป็นกระบวนการพัฒนาคนให้ เป็นคนดีพร้อมและเป็นคริสตชนทีด่ ี การจัดตัง้ วัตถุประสงค์ทดี่ เี ป็นปัจจัยทีส่ ง่ เสริมการพัฒนา วิชาชีพครูให้เป็นวิชาชีพทีม่ คี ณ ุ ค่า สามารถคัด สรรคนเก่ง และมีใจรักมาเป็นครูได้อย่างยัง่ ยืน ภายใต้ระบบการบริหารจัดการที่มีคุณภาพ 3. ผลการวิ จั ย พบว่ า โครงสร้ า งของ หลักสูตร โดยภาพรวมมีความเหมาะสมอยู่ใน ระดับมาก เนื่องจากกระทรวงศึกษาธิการได้ ก� ำ หนดให้ ส ถาบั น อุ ด มศึ ก ษาที่ มี ห ลั ก สู ต ร วิชาชีพครู ต้องปรับปรุงหลักสูตร ตามประกาศ เรื่อง มาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี สาขา ครุศาสตร์และสาขาศึกษาศาสตร์ (หลักสูตร สี่ ปี ) พ.ศ. 2562 และตามข้ อ บั ง คั บคุ รุ ส ภา ว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพ (ฉบับที ่ 4) พ.ศ. 2562 จึงมีข้อเสนอแนะจากผู้เข้าร่วมสนทนากลุ่ม ให้ปรับปรุงหลักสูตร จากหลักสูตร 5 ปี แก้ไข เป็นหลักสูตร 4 ปี และให้ปรับโครงสร้างหลัก สูตรให้มีความเหมาะสม สอดคล้องกับผลการ วิจัยของ มาเรียม นิลพันธุ์ (บทคัดย่อ: 2555) เรื่องการวิจัยประเมินหลักสูตรศึกษาศาสตร มหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการนิเทศ คณะศึ ก ษาศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย ศิ ล ปากร
วัชศิลป์ กฤษเจริญ, วสันต์ พิรุฬห์วงศ์, วีรศักดิ์ ยงศรีปณิธาน, เชษฐา ไชยเดช, พิเชษฐ แสงเทียน, สุดหทัย นิยมธรรม และ ลลิตา กิจประมวล
พบว่าโครงสร้างของหลักสูตรมีความสอดคล้อง กับวัตถุประสงค์ของหลักสูตร การจัดโครงสร้าง ของหลักสูตร และโครงสร้างรายวิชามีความ เหมาะสมและสอดคล้องกัน และควรมีการ ปรับปรุงรายวิชาพื้นฐาน รายวิชาบังคับ และ รายวิชาเลือก ซึ่งสาขาวิชาให้ความส�ำคัญของ การปรับรายละเอียดของรายวิชา โดยเฉพาะมี การปรับค�ำอธิบายรายวิชาให้เหมาะสม เพื่อ เตรียมพร้อมส�ำหรับสภาพการเปลี่ยนแปลง ทางการศึกษาในศตวรรษที่ 21 สอดคล้องกับ พิจติ รา ธงพานิช (2554: 33) ทีไ่ ด้ให้ขอ้ สังเกต ว่า โครงสร้างหลักสูตรมีลกั ษณะเป็นการน�ำเอา เนือ้ หาวิชาของแต่ละวิชาซึง่ ได้เลือกสรรแล้วมา เรียงล�ำดับเข้าด้วยกัน โดยไม่มีการผสมผสาน กันแต่อย่างใด หรือถ้ามีก็น้อยมาก อย่างไร ก็ตามหลักสูตรเมื่อได้รับการดัดแปลงให้เป็น หลักสูตรบูรณาการ วิชาต่างๆ จะผสมผสานกัน เป็นเอกลักษณ์ ดังนั้น การจัดโครงสร้างหลัก สูตรทีด่ ี จะท�ำให้ทงั้ ผูส้ อนและผูเ้ รียนเกิดความ เข้าใจ และมีทศั นคติเกีย่ วกับสิง่ ทีเ่ รียนกว้างขึน้ ส่งเสริมให้การเรียนการสอนและการจัดกิจกรรม การเรียนรู้เอื้อประโยชน์ในการน�ำไปใช้ในชีวิต ประจ�ำวันได้จริง ซึง่ สอดคล้องกับ วิชยั วงษ์ใหญ่ (2554: 4) ทีก่ ล่าวว่า การปรับปรุงหลักสูตรให้ สอดคล้องกับสังคม เพื่อการวางแผนพัฒนา บุคคลส�ำหรับสังคมในอนาคต ในการปรับปรุง หลั ก สู ต รครั้ ง นี้ ผู ้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ ไ ด้ เ สนอการ
ปรับปรุงหลักสูตรให้สอดคล้องกับมาตรฐาน วิ ช าชี พ ครู ใ นปั จ จุ บั น เพื่ อ ให้ ไ ด้ ห ลั ก สู ต รที่ มี คุ ณ ภาพ สามารถผลิ ต บั ณ ฑิ ต ได้ ต รงตาม วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ และเพื่อพัฒนาบุคลากร ของสังคมอย่างมีคุณค่าต่อไปในอนาคต 4) ผลการวิจัยพบว่า ความเหมาะสม ของเนื้ อ หารายวิ ช าที่ เ ปิ ด สอน และจ� ำ นวน หน่วยกิต โดยภาพรวมมีความเหมาะสมอยู่ใน ระดับมาก มีขอ้ เสนอแนะจากผูเ้ ข้าร่วมสนทนา กลุ ่ ม ให้ ป รั บ รหั ส วิ ช า เนื้ อ หารายวิ ช า และ จ�ำนวนหน่วยกิตให้มคี วามเหมาะสม สอดคล้อง กับผลการวิจยั ของ ลลิตา กิจประมวล (2558) เรื่องอนาคตภาพหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาคริสตศาสนศึกษา วิทยาลัยแสงธรรม ในทศวรรษหน้า (พ.ศ. 2556-2566) วรสาร วิชาการวิทยาลัยแสงธรรม ปีที่ 7 ฉบับที่ 2, 143. พบว่า เนือ้ หาสาระของรายวิชาควรปรับ ให้ทนั สมัย ให้มคี วามก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี วิทยาลัยแสงธรรมได้พัฒนา หลั ก สู ต รการศึ ก ษาบั ณ ฑิ ต สาขาวิ ช าคริ ส ต ศาสนศึกษามาอย่างต่อเนื่อง เพื่อบัณฑิตที่จบ ไปเป็นศาสนบริการของพระศาสนจักรคาทอลิก ท�ำหน้าที่ในการอบรมคริสตศาสนธรรม (ครู ค�ำสอน) สอดคล้องกับผลการวิจยั ของ วัชศิลป์ กฤษเจริญและคณะ (2559) เรื่องศึกษาความ คิ ด เห็ น และความต้ อ งการการนิ เ ทศของครู ค�ำสอน เพื่อพัฒนาการจัดการเรียนการสอน
ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2020/2563
27
การปรับปรุงหลักสูตรการศึกษาบัณฑิต สาขาวิชาคริสตศาสนศึกษา คณะศาสนศาสตร์ (หลักสูตรปรับปรุง 2558)
และการจัดกิจกรรมในโรงเรียนคาทอลิก วารสาร วิชาการวิทยาลัยแสงธรรม ปีที่ 8 ฉบับที่ 2, 172. ที่ ก ล่ า วว่ า ครู ค� ำ สอนท� ำ หน้ า ที่ พิ เ ศษ หลายอย่ า ง นั่ น คื อ การสอนความเชื่ อ ทาง ศาสนา ถ่ายทอดความรู้ทางวิชาการ และการ ท�ำงานเพื่อการพัฒนาสังคมร่วมกับพระศาสน จักรคาทอลิก วิทยาลัยแสงธรรมด�ำเนินการ ปรั บ ปรุ ง หลั ก สู ต ร เพื่ อ ให้ ผ ลผลิ ต ที่ ไ ด้ เ ป็ น บุคลากรทีม่ คี ณ ุ ค่าของพระศาสนจักรคาทอลิก และของสังคมไทย เป็นผู้มีความสามารถใน การถ่ายทอดทัง้ ด้านวิชาการ และศาสนาควบคู่ กันไป เพราะหน้าที่ส�ำคัญของครูค�ำสอนซึ่ง วี ร ะ อาภรณ์ รั ต น์ อ้ า งถึ ง วารสารวิ ช าการ วิ ท ยาลั ย แสงธรรม ปี ที่ 8 ฉบั บ ที่ 2, 177. กล่าวไว้วา่ ครูคำ� สอนมีหน้าทีใ่ ห้การอบรมแบบ คริสตชนเนื่องจากการสอนคริสตศาสนธรรม มุ ่ ง ที่ จ ะสอนให้ผู้เรียนเข้าถึงการอบรมแบบ คริสตชนอย่างแท้จริง อย่างไรก็ตาม วิทยาลัยแสงธรรมยังคง ต้องด�ำเนินการปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรใน อนาคตต่อๆ ไป เพื่อจะได้สารสนเทศในการ ก�ำหนดวิสัยทัศน์ วัตถุประสงค์ของการจัดการ ศึกษา ซึง่ มีผลต่อไปยังพันธกิจของการก�ำหนด จุดมุ่งหมาย คุณลักษณะที่พึงประสงค์ รวมทั้ง การก�ำหนดรูปแบบการจัดการเรียนการสอน
28
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
และการจัดกิจกรรมในหลักสูตร ซึ่งสอดคล้อง กับ วิชยั วงษ์ใหญ่ และมารุต พัฒผล (2552: 3) ที่กล่าวถึงแนวโน้มการจัดรูปแบบการจัดการ ศึกษาในยุคใหม่ว่าควรมีลักษณะดังนี้ 1) การ พัฒนาสถานศึกษาให้สามารถบริหารจัดการ อย่างเข้มแข็ง 2) สถานศึกษาเป็นรากฐานการ สร้างชุมชนเข้มแข็ง 3) การสร้างเครือข่ายมา ช่วยสถานศึกษา สอดคล้องกับผลการวิจยั ของ ลลิตา กิจประมวล (2556: 161) วิจัยเรื่อง อนาคตภาพหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขา วิชาคริสตศาสนศึกษา วิทยาลัยแสงธรรมใน ทศวรรษหน้า (พ.ศ.2557-2566) แนวโน้ม ประสิทธิภาพของหลักสูตรในอนาคต สามารถ ผลิตบัณฑิตให้วเิ คราะห์เป็นแก้ปญ ั หาของสังคม ได้ การสร้างกระบวนการจัดการความรู้ด้าน การสอนค�ำสอนคริสต์ศาสนาได้ตรงใจคนเสริม สร้างเครือข่ายทั้งระดับภูมิภาค ประเทศและ ขยายวงกว้างไปยังหน่วยงานภายนอก เพือ่ เป็น ส่วนหนึ่งในสังคมส่งเสริมการเรียนรู้อย่างต่อ เนื่อง ควรเป็นหลักสูตรที่ส่งเสริมและพัฒนา ฆราวาสให้ มี ค วามเชี่ ย วชาญด้ า นการอบรม คริสตศาสนธรรมอย่างแท้จริง เพื่อให้บัณฑิต ที่จบการศึกษาในสาขาวิชานี้ มีความโดดเด่น ในด้านการอบรมคริสตศาสนธรรม และเป็น ผู้น�ำด้านคุณธรรมในสังคมไทย
วัชศิลป์ กฤษเจริญ, วสันต์ พิรุฬห์วงศ์, วีรศักดิ์ ยงศรีปณิธาน, เชษฐา ไชยเดช, พิเชษฐ แสงเทียน, สุดหทัย นิยมธรรม และ ลลิตา กิจประมวล
ข้อเสนอแนะจากการวิจัยในครั้งนี้ 1. ผลการวิจัยพบว่าปรัชญาของหลัก สูตรโดยภาพรวมมีความเหมาะสมอยู่ในระดับ มากให้คงไว้เหมือนเดิม ซึ่งวิทยาลัยแสงธรรม ควรพิจารณาความเหมาะสมของปรัชญาของ หลักสูตรอย่างต่อเนื่อง และให้มีความเหมาะ สมกับสภาพการเปลี่ยนแปลงของระบบการ ศึกษาในปัจจุบัน 2. ผลการวิจัยพบว่าวัตถุประสงค์ของ หลักสูตร โดยภาพรวมมีความเหมาะสมอยู่ใน ระดับมากให้คงไว้เหมือนเดิม ในอนาคตควร พิจารณาเป็นระยะๆ ให้สอดคล้องกับนโยบาย ของสภามุขนายกคาทอลิกแห่งประเทศไทย และนโยบายการศึกษาของภาครัฐ 3. ผลการวิจยั พบว่าโครงสร้างของหลัก สูตรโดยภาพรวมมีความเหมาะสมอยู่ในระดับ มาก ควรให้ปรับหลักสูตรจากหลักสูตร 5 ปี เป็นหลักสูตร 4 ปี และให้ปรับโครงสร้างหลัก
สูตรให้มีความเหมาะสมกับประกาศกระทรวง ศึ ก ษาธิ ก ารเรื่ อ ง มาตรฐานคุ ณ วุ ฒิ ร ะดั บ ปริญญาตรี สาขาครุศาสตร์และสาขาศึกษา ศาสตร์ (หลักสูตรสี่ปี) พ.ศ. 2562 ตามข้อ บังคับคุรสุ ภา ว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2562 4. ผลการวิจยั พบว่าความเหมาะสมของ เนือ้ หารายวิชาทีเ่ ปิดสอน และจ�ำนวนหน่วยกิต โดยภาพรวมมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก ให้ปรับรหัสวิชา เนื้อหารายวิชา และจ�ำนวน หน่ ว ยกิ ต ให้ มี ค วามเหมาะสมกั บ ประกาศ กระทรวงศึ ก ษาธิ ก ารเรื่ อ งมาตรฐานคุ ณ วุ ฒิ ระดับปริญญาตรี สาขาครุศาสตร์และสาขา ศึกษาศาสตร์ (หลักสูตรสี่ปี) พ.ศ. 2562 ตาม ข้ อ บั ง คั บ คุ รุ ส ภา ว่ า ด้ ว ยมาตรฐานวิ ช าชี พ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2562 และประมวลกฎหมาย ของพระศาสนจักร เรื่องหน้าที่การสอนของ พระศาสนจักร
ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2020/2563
29
การปรับปรุงหลักสูตรการศึกษาบัณฑิต สาขาวิชาคริสตศาสนศึกษา คณะศาสนศาสตร์ (หลักสูตรปรับปรุง 2558)
บรรณานุกรม กระทรวงศึกษาธิการ. (2562). มาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี สาขาครุศาสตร์และสาขา ศึกษาศาสตร์ (หลักสูตรสีป่ )ี พ.ศ.2562. [ออนไลน์]. สืบค้นจาก: http://www.ratchakit cha.soc.go.th/DATA/PDF/2562/E/056/T_0012.PDF คณะกรรมการที่ปรึกษาด้านกฎหมายพระศาสนจักร ภายใต้สภาพระสังฆราชคาทอลิกแห่ง ประเทศไทย. (2543). ประมวลกฎหมายพระศาสนจักร บรรพ 3 หน้าทีก่ ารสอนของพระ ศาสนจักร. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์อัสสัมชัญ. คุรสุ ภา. (2562). ข้อบังคับคุรสุ ภา ว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพ (ฉบับที ่ 4) พ.ศ.2562. [ออนไลน์]. สืบค้นจาก: http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2562/E/068/T_0018.PDF ชาติชาย พงษ์ศิร ิ และคณะ. (2558). การประเมินหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาคริสต ศาสนศึกษา คณะศาสนศาสตร์ วิทยาลัยแสงธรรม. นครปฐม. ประภัสสร จันทร์สถิตพร. (2560). การวิจยั เอกสารในฐานเครือ่ งมือการศึกษาเชิงวาทวิทยาและ สื่อสารการแสดง. [ออนไลน์]. สืบค้นจาก: https://scn.ncath.org/articles/documen tary-research-in-sppa-studies/ พิจติ รา ธงพานิช. (2557). การพัฒนาหลักสูตร ความรู ้ สมถรรนะตามมาตรฐานวิชาชีพครู. พิมพ์ ครั้งที่ 4. นครพนม: คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนครพนม. มาเรียม นิลพันธุ์. (2555). การประเมินหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาหลักสูตรและ การนิเทศ. นครปฐม: มหาวิทยาลัยศิลปากร. ลลิตา กิจประมวล. (2556). อนาคตภาพหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาคริสตศาสน ศึกษา วิทยาลัยแสงธรรม ในทศวรรษหน้า (พ.ศ.2557-2566). (วิทยานิพนธ์ศกึ ษาศาสตร มหาบัณฑิต). สาขาวิชาหลักสูตรและการนิเทศ, นครปฐม: มหาวิทยาลัยศิลปากร _________. (2558). อนาคตภาพหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาคริสตศาสนศึกษา วิทยาลัยแสงธรรม ในทศวรรษหน้า (พ.ศ. 2557-2566). วารสารวิชาการวิทยาลัย แสงธรรม, 7(2), 143. วัชศิลป์ กฤษเจริญ และคณะ. (2559). ศึกษาความคิดเห็นและความต้องการการนิเทศของครู ค�ำสอน เพื่อพัฒนาการจัดการเรียนการสอนและการจัดกิจกรรมในโรงเรียนคาทอลิก.
30
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
วัชศิลป์ กฤษเจริญ, วสันต์ พิรุฬห์วงศ์, วีรศักดิ์ ยงศรีปณิธาน, เชษฐา ไชยเดช, พิเชษฐ แสงเทียน, สุดหทัย นิยมธรรม และ ลลิตา กิจประมวล
_________. (2559). ศึกษาความคิดเห็นและความต้องการการนิเทศของครูค�ำสอน เพื่อ พัฒนาการจัดการเรียนการสอนและการจัดกิจกรรมในโรงเรียนคาทอลิก. วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม, 8(2), 172. วิชัย วงษ์ใหญ่. (2554). การพัฒนาหลักสูตรระดับอุดมศึกษา. กรุงเทพมหานคร. วิทยาลัยแสงธรรม. (2558). คู่มือการศึกษา. นครปฐม: โรงพิมพ์วิทยาลัยแสงธรรม. สงัด อุทรานันท์. (2532). พื้นฐานและการพัฒนาหลักสูตร. กรุงเทพมหานคร: คณะคุรุศาสตร์. โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. อรนุช บัวน้อย. (ม.ป.ป.). วิจยั เชิงเอกสาร. [ออนไลน์]. สืบค้นจาก: https://sites.google.com/ site/oranuchbuewnoi/wicay-cheing-xeksar เอกชัย ชิณโคตร. (2551). การศึกษาคาทอลิก: Utopia or Reality วัฒนธรรมองค์การของ โรงเรียนคาทอลิกในทศวรรษหน้า. กรุงเทพมหานคร: ปิติพานิช.
ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2020/2563
31
การพัฒนาชุดกิจกรรมการอ่านภาษาไทย
เชิงวิเคราะห์ ด้วยเทคนิคการอ่านแบบ SQ3R สำ�หรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
Development of Activity Package on Analytical Thai Reading Through Sq3r Technique for Prathomsuksa V Students.
พรรณิกา ศรีชาญชัย * มหาบัณฑิตสาขาวิชาหลักสูตรและการสอน คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ผศ.ดร.รุ่งฟ้า กิติญาณุสันต์ * อาจารย์ประจ�ำภาควิชาการจัดการเรียนรู้ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา Pannika Srichanchai * Master of Education (Curriculum and Instruction), Faculty of Education, Burapha University Asst.Prof.Dr. Roongfa Kitiyanusan * Associate Professor, Curriculum and Instruction, Faculty of Education, Burapha University
ข้อมูลบทความ
* รับบทความ 14 ธันวาคม 2561 * แจ้งแก้ไข 22 มกราคม 2562 * ตอบรับบทความ 4 กุมภาพันธ์ 2562
พรรณิกา ศรีชาญชัย และ รุ่งฟ้า กิติญาณุสันต์
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) สร้างและหาประสิทธิภาพของ ชุดกิจกรรมการอ่านภาษาไทยเชิงวิเคราะห์ ด้วยเทคนิคการอ่านแบบ SQ3R 2) เพือ่ ศึกษาพัฒนาการการอ่านภาษาไทยเชิงวิเคราะห์กอ่ นเรียน และหลังเรียน โดยใช้ชุดกิจกรรมการอ่านภาษาไทยเชิงวิเคราะห์ ด้วย เทคนิคการอ่านแบบ SQ3R และ 3) ศึกษาพฤติกรรมการอ่านระหว่าง เรียน ด้วยชุดกิจกรรมการอ่านภาษาไทยเชิงวิเคราะห์ ด้วยเทคนิคการ อ่านแบบ SQ3R ส�ำหรับนักเรียนชัน้ ประถมศึกษาปีท ี่ 5 กลุม่ ตัวอย่างที่ ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นนักเรียนที่ก�ำลังศึกษาอยู่ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนเมืองพัทยา 8 (พัทธยานุกลู ) ต�ำบลหนองปรือ อ�ำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุร ี ภาคเรียนที ่ 1 ปีการศึกษา 2561 ได้มาโดยวิธกี ารสุม่ แบบ กลุ่ม โดยการจับสลาก จ�ำนวน 1 ห้องเรียน จ�ำนวน 45 คน เครื่องมือ ที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย 1) ชุดกิจกรรมการอ่านภาษาไทยเชิง วิเคราะห์ จ�ำนวน 7 ชุด 2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิท์ างการอ่านภาษา ไทยเชิงวิเคราะห์ ก่อนเรียนและหลังเรียน รวม 2 ฉบับ เป็นแบบทดสอบ ปรนัย ฉบับละ จ�ำนวน 30 ข้อ และแบบสังเกตพฤติกรรมการอ่าน เป็น แบบสังเกตที่มีลักษณะเป็นแบบตรวจสอบรายการ สถิติที่ใช้ในการ วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงมาตรฐาน การ ทดสอบค่าที ผลการวิจัยพบว่า 1) ชุดกิจกรรมการอ่านภาษาไทยเชิงวิเคราะห์ ด้วยเทคนิคการ อ่านแบบ SQ3R ส�ำหรับนักเรียนชัน้ ประถมศึกษาปีท ี่ 5 มีประสิทธิภาพ เท่ากับ 89.27/88.15 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่ก�ำหนด 2) ผลสัมฤทธิ์ทางการอ่านภาษาไทยเชิงเคราะห์ของนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่ 5 ก่อนเรียนและหลังเรียน ด้วยชุดกิจกรรมการอ่าน ภาษาไทยเชิงวิเคราะห์ ด้วยเทคนิคการอ่านแบบ SQ3R มีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ ระดับ .01
ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2020/2563
33
การพัฒนาชุดกิจกรรมการอ่านภาษาไทยเชิงวิเคราะห์ ด้วยเทคนิคการอ่านแบบ SQ3R สำ�หรับนักเรียนชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 5
3) พฤติกรรมการอ่านภาษาไทยเชิงวิเคราะห์ของนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีท ี่ 5 ด้วยชุดกิจกรรมการอ่านภาษาไทยเชิงวิเคราะห์ ด้วย เทคนิคการอ่านแบบ SQ3R พบว่า พฤติกรรมการอ่านเชิงวิเคราะห์ ด้วยเทคนิคการอ่านแบบ SQ3R ส�ำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5 โดยรวมอยู่ในระดับ ดีเยี่ยม ค�ำส�ำคัญ:
34
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
เทคนิคการอ่านแบบ SQ3R อ่านภาษาไทยเชิงวิเคราะห์
พรรณิกา ศรีชาญชัย และ รุ่งฟ้า กิติญาณุสันต์
Abstract
The purpose of this research were 1) to construct instructional package in Thai reading comprehension by using SQ3R 2) to study analytical Thai reading development before and after using by activity package on analytical Thai reading through SQ3R technique 3) to study reading behavior during learning using Thai reading through SQ3R technique for Prathomsuksa V students. The sample consisted of 45 students in Prathomsuksa V in the first semester academic year 2018 of Pattaya city 8 (Pattayanukul) school by using Cluster Sampling. The research instruments were 1) Seven activity package on analytical Thai reading through SQ3R technique. 2) The analytical Thai reading achievement test and behavior observation forms. The statistics used were percentage, mean, standard deviation and t-test. The results of research as follows: 1) The Thai reading through SQ3R technique for had efficiency index of 89.27/88.15 whichs was higher than the standard criterion 2) The Thai reading comprehension of Prathomsuksa V students, posttest score of learning management by using SQ3R reading technique, was significantly higher than pretest score at the .01 level. 3) The Thai reading behavior during the studying by using SQ3R reading technique of Prathomsuksa V students were at excellent level. Keyword:
Reading Through Sq3r Technique Analytical Thai Reading ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2020/2563
35
การพัฒนาชุดกิจกรรมการอ่านภาษาไทยเชิงวิเคราะห์ ด้วยเทคนิคการอ่านแบบ SQ3R สำ�หรับนักเรียนชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 5
ความเป็นมาและความส�ำคัญของปัญหา ประโยชน์ของการอ่านมิได้เกิดแต่เฉพาะ กับผู้ใหญ่เท่านั้น เด็กที่อ่านหนังสือเป็นประจ�ำ การอ่านก็ช่วยให้ได้รับความรู้ทางภาษา ทั้ง ด้านเพิม่ พูนศัพท์และส�ำนวนภาษา ยิง่ อ่านมาก ยิ่งช่วยท�ำให้อ่านแตกฉาน เกิดทักษะในการ อ่าน มีความคล่องแคล่วในการใช้ภาษาทัง้ ด้าน การพูดและการเขียน ตลอดจนมีผลส่งไปถึง การเรียนรูว้ ชิ าต่างๆ ได้เร็วขึน้ ด้วย ฮัค (Huck, 1979 อ้างถึงใน นลินี บ�ำเรอราช, 2545ก) กล่าวว่าเด็กที่อ่านวรรณกรรมเด็กหรือหนังสือ ส�ำหรับเด็กจะสามารถพัฒนาความต้องการพืน้ ฐานทางจิตวิทยาของเด็ก ในเรื่องความเข้าใจ ตนเอง หรือที่เรียกว่า Self Concept ได้รับรู้ ความต้องการและความสามารถของตนเอง ได้เรียนรู้การอยู่ร่วมกับกลุ่มเด็กด้วยกัน หรือ เรียนรู้ที่จะเข้ากับเพื่อนได้ รวมถึงการเรียนรู้ บทบาททางเพศ (Sex Role) ทีเ่ หมาะสมของตน รู้ว่าเพศหญิง เพศชาย ควรปรากฏตนอย่างไร จึงจะเหมาะสม อีกทัง้ ยังได้พฒ ั นาทักษะในการ อ่าน การสื่อสารกับผู้อื่น และการใช้ตัวเลขได้ ดีขึ้น ความเข้าใจเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์และ สังคมศาสตร์ที่จ�ำเป็นส�ำหรับชีวิตประจ�ำวัน ค่านิยม ทัศนคติ และความส�ำนึกบางประการ ที่ได้รับรู้มาจากการอ่านหนังสือ และพัฒนา แนวคิดของตนเอง ผ่านการเรียนรู้แนวคิดของ ผู้อื่นจากหนังสือที่อ่าน ดังนั้น อาจกล่าวได้ว่า
36
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
ผลจากอ่านหนังสือของเด็ก ท�ำให้เด็กได้รับ ทัง้ สาระความรูต้ ามเนือ้ เรือ่ งต่างๆ จากบทอ่าน ได้เพิ่มทักษะการอ่าน เรียนรู้วิธีการอ่าน ได้ ประสบการณ์ชีวิตของคนที่อยู่ในวัยเด็ก และ วัยอืน่ ๆ และได้รบั การตอบสนองความต้องการ ของตน เป็ น การพั ฒ นาความนึ ก คิ ด และ ภูมิปัญญาของเด็กให้สูงขึ้น กระทรวงศึกษาธิการได้เล็งเห็นความ ส� ำ คั ญ ของการอ่ า น จึ ง ได้ ก� ำ หนดตั ว ชี้ วั ด คุณภาพของผู้เรียนด้านการอ่านไว้ในหลักสูตร แกนกลางการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน พ.ศ.2551 กลุม่ สาระการเรียนรูภ้ าษาไทยไว้วา่ ในระดับชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 5 ไว้ว่า อ่านออกเสียงบท ร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้ถูกต้อง อธิบาย ความหมายของค�ำ ประโยคและข้อความที่ เป็ นการบรรยายและการพรรณนา อธิบาย ความหมายโดยนัย จากเรื่องที่อ่านอย่างหลาก หลาย แยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเรื่อง ที่อ่าน วิเคราะห์และแสดงความคิดเห็นเกี่ยว กับเรื่องที่อ่านเพื่อน�ำไปใช้ในการด�ำเนินชีวิต และอ่านงานเขียนเชิงอธิบาย ค�ำสัง่ ข้อแนะน�ำ และปฏิบตั ติ าม (กระทรวงศึกษาธิการ, 2551) จากความส�ำคัญ ดังกล่าว นับเป็นหนึ่งในการ พัฒนาและยกระดับคุณภาพการศึกษา ซึ่งจะ ช่วยให้ผู้เรียนทุกคนได้รับการฝึกฝนในทุกๆ ด้านอย่างจริงจัง อีกทั้งยังเป็นมาตรการที่จะ ช่วยแก้ปญ ั หาความอ่อนด้อยด้านการอ่าน การ
พรรณิกา ศรีชาญชัย และ รุ่งฟ้า กิติญาณุสันต์
คิดวิเคราะห์ของผู้เรียนทุกระดับอีกด้วย ครูผู้ สอนจึงควรปรับปรุงกระบวนการจัดการเรียนรู้ ใหม่ โดยมุ่งเน้นการพัฒนาทักษะการอ่านเชิง วิเคราะห์ เพือ่ เป็นการเพิม่ พูนสมรรถภาพด้าน การอ่านเชิงวิเคราะห์ซึ่งจะส่งผลให้ผู้เรียนน�ำ ทักษะเหล่านีไ้ ปประยุกต์ใช้ในชีวติ ประจ�ำวันได้ อย่างมีประสิทธิภาพ (กรมวิชาการ, 2546) วิธกี ารอ่านแบบ SQ3R เป็นวิธกี ารอ่าน ที่ พั ฒ นาขึ้ น มาเพื่ อ ใช้ ใ นการสอนอ่ า น ซึ่ ง สามารถช่วยให้นักเรียนเลือกสิ่งที่คาดว่าจะรู้ จากเรื่องที่อ่าน เข้าใจแนวคิดของเรื่องที่อ่าน ได้อย่างรวดเร็ว และจดจ�ำได้ดี และทบทวน เรื่องราวที่อ่านได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีขั้น ตอนการอ่าน 5 ขั้นตอน ได้แก่ 1) ขั้นส�ำรวจ (Survey - S) โดยการกวาดสายตาไปตามหัวข้อ หนึ่งๆ เพื่อหาข้อหรือจุดส�ำคัญของเรื่องที่จะ กล่าวถึงต่อไป 2) ขั้นตั้งค�ำถาม (Question Q) โดยการเปลี่ยนหัวข้อที่อ่านให้เป็นค�ำถาม ตั้งค�ำถามนี้จะท�ำให้มีความอยากรู้อยากเห็น มากขึ้น ที่ส�ำคัญคือ ค�ำถามจะต้องสัมพันธ์กับ เรื่องราวที่ก�ำลังอ่าน 3) ขั้นอ่าน (Read - R) การอ่านข้อความในบทนัน้ ๆ ซ�ำ้ อีกอย่างละเอียด 4) ขัน้ เล่าเรือ่ ง (Recite - R) พยายามใช้ถอ้ ยค�ำ ของตนเองให้มากที่สุดเท่าที่จะท�ำได้หรืออาจ เริ่มด้วยการอ่านทวนค�ำถามซ�้ำใหม่อีก และ 5) ขัน้ ทบทวน (Review - R) เมือ่ อ่านจบแล้ว ลองส�ำรวจดูวา่ ตนมีความสามารถจับจุดส�ำคัญ
ของเรื่องได้ทุกจุดหรือไม่ สามารถจดจ�ำเรื่อง ราวและจุดส�ำคัญของเรื่องได้ดี (Robinson, 1961,) นอกจากนี้ผู้วิจัยได้ศึกษาผลการวิจัย ของนักการศึกษาและนักวิชาการเกี่ยวกับการ สอนอ่านแบบ SQ3R อาทิ ณันท์ขจร กันชาติ (2550) ได้ ศึ ก ษาผลของการสอนอ่ า นแบบ SQ3R ที่มีต่อความสามารถในการอ่านอย่างมี วิจารณญาณกับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 พบว่ า ความสามารถในการอ่ า นอย่ า งมี วิจารณญาณของนักเรียนที่ได้รับการอ่านแบบ SQ3R สู ง กว่ า เกณฑ์ ที่ ก�ำ หนดและส่ ง ผลให้ ความสนใจในการอ่านภาษาไทยของนักเรียน สูงกว่า 3.51 ซึ่งอยู่ในระดับดี ส่วน กรรณิการ์ เครือมาศ (2554) ได้ศึกษาผลการจัดกิจกรรม การเรี ย นรู ้ เรื่ อ งการอ่ า นเชิ ง วิ เ คราะห์ ข อง นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดยใช้กิจกรรม การเรียนรู้แบบ SQ3R พบว่า ความสามารถ ด้านการอ่านเชิงวิเคราะห์หลังการเรียนด้วยการ จัดกิจกรรมการเรียนรูแ้ บบ SQ3R สูงกว่าก่อน เรียนอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ซึ่ง สอดคล้องกับ สุธาทิพย์ เจริญรัตน์ (2555) ได้ พัฒนาทักษะการอ่านจับใจความด้วยวิธีการ สอนอ่านแบบ SQ3R ของนักเรียนชั้นประถม ศึกษาปีที่ 6 พบว่า นักเรียนที่เรียนด้วยวิธีการ สอนแบบ SQ3R มีทักษะการอ่านจับใจความ หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนยั ส�ำคัญทาง สถิติที่ระดับ .05
ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2020/2563
37
การพัฒนาชุดกิจกรรมการอ่านภาษาไทยเชิงวิเคราะห์ ด้วยเทคนิคการอ่านแบบ SQ3R สำ�หรับนักเรียนชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 5
ดั ง นั้ น เมื่ อ พิ จ ารณาวิ ธี ก ารสอนแบบ SQ3R จะพบว่ า การสอนอ่ า นแบบ SQ3R ล้วนเป็นประโยชน์ต่อความเข้าใจในการอ่าน ทั้งสิ้นนั้น น�ำมาพิจารณาร่วมกับผลการวิจัย ของนักการศึกษาและนักวิชาการเกี่ยวกับการ สอนแบบ SQ3R จึงท�ำให้สามารถเชื่อมโยง ทักษะและความรู้ไปตอบสนองต่อการก�ำหนด คุณภาพของผู้เรียนตามที่หลักสูตรได้ก�ำหนด เอาไว้ จึงเป็นวิธกี ารสอนอ่านทีผ่ วู้ จิ ยั เลือกทีจ่ ะ น�ำมาพัฒนา และปรับปรุงแก้ไขปัญหาการสอน อ่าน เพื่อให้นักเรียนได้ฝึกทักษะการอ่านได้ดี ยิ่งขึ้น และเมื่อน�ำมาประกอบกับชุดกิจกรรม การอ่าน ซึง่ เป็นชุดกิจกรรมการเรียนรูท้ ผี่ เู้ รียน ได้ศกึ ษาความรูร้ ว่ มกัน โดยปฏิบตั กิ จิ กรรมตาม ขั้นตอนต่างๆ ที่ก�ำหนดไว้ในชุดกิจกรรมการ เรี ย นรู ้ กล่ า วคื อ ในแต่ ล ะชุ ด กิ จ กรรมก็ จ ะมี กิจกรรมการเรียนรูใ้ นแต่ละหัวข้อย่อยให้ผเู้ รียน ศึกษาและท�ำกิจกรรมจนครบทุกกิจกรรมการ เรียนรู้ โดยในกระบวนการเรียนการสอนจะมี การประเมินผู้เรียนก่อนเรียน การน�ำเข้าสู่บท เรียน การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนสรุปผล และการประเมินหลังเรียน จึงช่วยให้การเรียน การสอนเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมากยิง่ ขึน้ ผูเ้ รียนมีโอกาสปฏิบตั กิ จิ กรรมด้วยตนเอง ช่วย เสริมการศึกษารายบุคคล และมีส่วนช่วยให้ผู้ เรี ย นพั ฒ นาตนเองอย่างเต็มศัก ยภาพ ด้วย เหตุผลดังกล่าว ผูว้ จิ ยั จึงมีแนวคิดในการพัฒนา
38
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
ชุดกิจกรรมการอ่านภาษาไทยเชิงวิเคราะห์ ด้ ว ยเทคนิ ค การอ่ า นแบบ SQ3R ส� ำ หรั บ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนเมือง พัทยา 8 (พัทธยานุกลู ) เพือ่ ให้นกั เรียนมีทกั ษะ ดียิ่งขึ้น อันจะเป็นประโยชน์ต่อการเรียนใน ระดับชั้นที่สูงขึ้นต่อไป วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อสร้างและหาประสิทธิภาพของ ชุดกิจกรรมการอ่านภาษาไทยเชิงวิเคราะห์ดว้ ย เทคนิคการอ่านแบบ SQ3R ส�ำหรับนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ตามเกณฑ์ 80/80 2. เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์การอ่านภาษา ไทยเชิงวิเคราะห์ก่อนเรียนและหลังเรียน โดย ใช้ชุดกิจกรรมการอ่านภาษาไทยเชิงวิเคราะห์ ด้วยเทคนิคการอ่านแบบ SQ3R ส�ำหรับนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 3. เพือ่ ศึกษาพฤติกรรมการอ่านระหว่าง เรียน ด้วยชุดกิจกรรมการอ่านภาษาไทยเชิง วิเคราะห์ดว้ ยเทคนิคการอ่านแบบ SQ3R ส�ำหรับ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 สมมติฐานของการวิจัย นักเรียนที่เรียนโดยใช้ชุดกิจกรรมการ อ่านภาษาไทยเชิงวิเคราะห์ ด้วยเทคนิคการ อ่านแบบ SQ3R มีผลสัมฤทธิก์ ารอ่านภาษาไทย เชิงวิเคราะห์ หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน
พรรณิกา ศรีชาญชัย และ รุ่งฟ้า กิติญาณุสันต์
ขอบเขตของการวิจัย 1. ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็น นักเรียนที่ก�ำลังศึกษาอยู่ในชั้นประถมศึกษา ปีที่ 5 โรงเรียนเมืองพัทยา 8 (พัทธยานุกูล) จังหวัดชลบุร ี ภาคเรียนที ่ 1 ปีการศึกษา 2561 จ�ำนวน 240 คน 2. กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ เป็นนักเรียนที่ก�ำลังศึกษาอยู่ชั้นประถมศึกษา ปีที่ 5/2 โรงเรียนเมืองพัทยา 8 (พัทธยานุกูล) จังหวัดชลบุร ี ภาคเรียนที ่ 1 ปีการศึกษา 2561 ได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster Sampling) โดยการจั บ สลาก จ� ำ นวน 1 ห้ อ ง จ�ำนวน 45 คน 3. เนื้อหาที่น�ำมาสร้างชุดกิจกรรมการ อ่านภาษาไทยเชิงวิเคราะห์ ด้วยเทคนิคการ อ่านแบบ SQ3R ส�ำหรับนักเรียนชั้นประถม ศึกษาปีที่ 5 เป็นเนื้อหาที่ใช้ในการฝึกความ สามารถในการคิดวิเคราะห์อยูใ่ นรายวิชาภาษา ไทยพื้นฐาน ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 5 หลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และแหล่งเรียนรูอ้ นื่ ได้แก่ หนังสือพิมพ์ บทความ 4. ระยะเวลาที่ใช้ในการทดลอง ผู้วิจัย ใช้เวลาทั้งสิ้น 14 ชั่วโมงในภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2561 ไม่รวมการทดสอบก่อนเรียน และหลังเรียน
5. ตัวแปรที่ใช้ในการศึกษา 5.1 ตัวแปรต้น ได้แก่ ชุดกิจกรรมการ อ่านภาษาไทยเชิงวิเคราะห์ ด้วยเทคนิคการ อ่านแบบ SQ3R ส�ำหรับนักเรียนชั้นประถม ศึกษาปีที่ 5 5.2 ตัวแปรตาม ได้แก่ ผลสัมฤทธิ์การ อ่านภาษาไทยเชิงวิเคราะห์ และพฤติกรรมใน การอ่านเชิงวิเคราะห์ ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. เป็ น แนวทางในการพั ฒ นาชุ ด กิจกรรมการอ่านภาษาไทยเชิงวิเคราะห์ ด้วย เทคนิคการอ่านแบบ SQ3R ส�ำหรับนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ที่มีประสิทธิภาพเพื่อ ใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตาม ความสามารถของผู้เรียน 2. เป็นแนวทางที่จะช่วยในการพัฒนา คุณภาพของผูเ้ รียนให้มผี ลสัมฤทธิท์ างการเรียน ภาษาไทยสูงขึ้น 3. เป็นแนวทางให้ครูปรับปรุงการเรียน การสอนภาษาไทยส�ำหรับนักเรียน ในระดับชัน้ ต่างๆ อันจะเป็นผลทีจ่ ะเกิดความก้าวหน้าทาง วิชาการต่อไป
ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2020/2563
39
การพัฒนาชุดกิจกรรมการอ่านภาษาไทยเชิงวิเคราะห์ ด้วยเทคนิคการอ่านแบบ SQ3R สำ�หรับนักเรียนชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 5
นิยามศัพท์เฉพาะ ชุ ด กิ จ กรรมการอ่ า นภาษาไทยเชิ ง วิเคราะห์ หมายถึง เอกสารที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น เพื่อฝึกความสามารถในการอ่านเชิงวิเคราะห์ ให้ แ ก่ นั ก เรี ย น มี ลั ก ษณะเป็ น กิ จ กรรมให้ นักเรียนฝึกปฏิบัติ จ�ำนวน 7 ชุด ได้แก่ การ อ่านนิทาน การอ่านโฆษณา การอ่านค�ำสัง่ ข้อ แนะน�ำ การอ่านข่าว การอ่านสารคดี การอ่าน บทความ การอ่านวรรณคดี เทคนิคการอ่านแบบ SQ3R หมายถึง วิธีการอ่านที่พัฒนาขึ้นมาเพื่อใช้ในการสอน อ่าน ซึ่งสามารถช่วยให้นักเรียนเลือกสิ่งที่คาด ว่าจะรู้จากเรื่องที่อ่าน เข้าใจแนวคิดของเรื่อง ที่ อ ่ า นได้ อ ย่ า งรวดเร็ ว และจดจ� ำ ได้ ดี และ ทบทวนเรื่องราวที่อ่านได้อย่างมีประสิทธิภาพ มี ขั้ น ตอนการอ่ า น 5 ขั้ น ตอน คื อ 1) การ ส�ำรวจ (S-Survey) การกวาดสายตาเพื่ออ่าน อย่างคร่าวๆ 2) การตัง้ ค�ำถาม (Q-Question) การตั้ ง ค� ำ ถามจากเรื่ อ งที่ อ ่ า น 3) การอ่ า น (R1-Read) การอ่ า นอย่ า งละเอี ย ดอี ก ครั้ ง 4) การจดจ�ำ (R2-Read) การจดจ�ำข้อความที่ ส� ำ คั ญ โดยการจดบั น ทึ ก ย่ อ และ 5) การ ทบทวน (R3-Review) การอ่านทบทวนเรื่อง ที่อ่านทั้งหมด การอ่านเชิงวิเคราะห์ หมายถึง การอ่าน ที่ผู้อ่านสามารถจ�ำแนกแยกแยะองค์ประกอบ ต่ า งๆ ของสิ่ ง ใดสิ่ ง หนึ่ ง ซึ่ ง อาจจะเป็ น วั ต ถุ
40
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
สิ่งของ เรื่องราวหรือเหตุการณ์ และหาความ สัมพันธ์เชิงเหตุผลระหว่างองค์ประกอบเหล่า นั้ น เพื่ อ ค้ น หาสภาพความเป็ น จริ ง หรื อ สิ่ ง ส�ำคัญของสิ่งที่ก�ำหนดให้ในเรื่องแต่ละเรื่องที่ อ่าน พฤติกรรมการอ่าน หมายถึง การกระท�ำ การแสดงออกของนักเรียนทีแ่ สดวงว่านักเรียน มีลักษณะนิสัยในการอ่านตามวิธีการจัดการ เรี ย นรู ้ ด ้ ว ยเทคนิ ค การอ่ า นแบบ SQ3R ซึ่ ง สังเกตได้จากพฤติกรรมการอ่าน 1) การกวาด สายตาเพื่ออ่านอย่างคร่าวๆ 2) การตั้งค�ำถาม จากเรื่องที่อ่าน 3) การอ่านอย่างละเอียดอีก ครั้ง 4) การจดจ�ำข้อความที่ส�ำคัญ โดยการ จัดบันทึกย่อ และ 5) การอ่านทบทวนเรื่องที่ อ่านทั้งหมด วิธีการด�ำเนินการวิจัย 1. ผู ้ วิ จั ย ใช้ แ บบแผนการวิ จั ย แบบ One-Group Pretest-Posttest Design 2. วิธีด�ำเนินการทดลอง 2.1 น�ำแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิก์ าร อ่านภาษาไทยเชิงวิเคราะห์ จ�ำนวน 30 ข้อ ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น ไปท�ำการทดลองกับนักเรียน ชั้ น ประถมศึ ก ษาปี ที่ 5/2 จ� ำ นวน 45 คน เป็นกลุ่มตัวอย่าง ใช้เวลาทดสอบ 50 นาที แล้ ว บั น ทึ ก คะแนนกลุ ่ ม ตั ว อย่ า ง จากการ ทดสอบครั้งนี้เป็นคะแนนก่อนเรียน
พรรณิกา ศรีชาญชัย และ รุ่งฟ้า กิติญาณุสันต์
2.2 ด�ำเนินการสอนโดยใช้ชดุ กิจกรรม การอ่านภาษาไทยเชิงวิเคราะห์ ด้วยเทคนิค การอ่านแบบ SQ3R ทั้ง 7 ชุด กับนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5/2 จ�ำนวน 45 คน ที่ เป็ น กลุ ่ ม ตั ว อย่ า ง ใช้ เวลา 14 ชั่ ว โมง แล้ ว บั น ทึ ก คะแนนจากการท� ำ แบบทดสอบหลั ง เรี ย นและคะแนนพฤติ ก รรมการอ่ า นของ นักเรียนเป็นรายบุคคลในแต่ละชุด จากนั้น น�ำคะแนนรวมทีไ่ ด้แต่ละชุดไปหาประสิทธิภาพ
2.3 น�ำแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิก์ าร อ่านภาษาไทยเชิงวิเคราะห์ ด้วยเทคนิคการ อ่านแบบ SQ3R ส�ำหรับนักเรียนชั้นประถม ศึกษาปีที่ 5 จ�ำนวน 30 ข้อ เป็นแบบทดสอบ คนละชุดกับก่อนเรียน ไปทดสอบกับนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5/2 จ�ำนวน 45 คน ที่ เป็นกลุ่มตัวอย่าง ใช้เวลาทดสอบ 50 นาที แล้วบันทึกคะแนนเป็นคะแนนทดสอบหลัง เรียน
สรุปผลการวิจัย 1. ชุดกิจกรรมการอ่านภาษาไทยเชิงวิเคราะห์ ด้วยเทคนิคการอ่านแบบ SQ3R ส�ำหรับ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 มีประสิทธิภาพเท่ากับ 89.27/88.15 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ 80/80 ที่ ตั้งไว้ ดังตารางที่ 1-2 ตารางที่ 1 ผลการหาประสิทธิภาพของกระบวนการเรียนรู้ (E1) ชุดกิจกรรมที่ ชุดที่ 1 การอ่านนิทาน ชุดที่ 2 การอ่านโฆษณา ชุดที ่ 3 การอ่านค�ำสัง่ ข้อแนะน�ำ ชุดที่ 4 การอ่านข่าว ชุดที่ 5 การอ่านสารคดี ชุดที่ 6 การอ่านบทความ ชุดที่ 7 การอ่านวรรณคดี
จ�ำนวน นักเรียน (n) 45 45 45 45 45 45 45
คะแนนเต็ม
คะแนนเฉลี่ย
70 70 70 70 70 70 70
405 408 403 403 398 400 395 2812
ประสิทธิภาพ ของกระบวน การเรียนรู้ (E1) 90.00 90.67 89.56 89.56 88.44 88.89 87.78 89.27
ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2020/2563
41
การพัฒนาชุดกิจกรรมการอ่านภาษาไทยเชิงวิเคราะห์ ด้วยเทคนิคการอ่านแบบ SQ3R สำ�หรับนักเรียนชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 5
ตารางที่ 2 ผลการหาประสิทธิภาพของผลลัพธ์ของการเรียนรู้ (E2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการอ่าน
จ�ำนวน นักเรียน (n) 45
คะแนนเต็ม
คะแนนเฉลี่ย
30
84.44
ประสิทธิภาพ ผลลัพธ์ของ การเรียนรู้ (E2) 88.15
2. นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ที่เรียนด้วยชุดกิจกรรมการอ่านภาษาไทยเชิงวิเคราะห์ ด้วยเทคนิคการอ่านแบบ SQ3R มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมี นัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ดังตารางที่ 3 ตารางที ่ 3 ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิก์ ารอ่านภาษาไทยเชิงเคราะห์ ด้วยเทคนิคการอ่านแบบ SQ3R ส�ำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ก่อนเรียนและหลังเรียน ผลสัมฤทธิ์ทางการอ่าน
จ�ำนวนนักเรียน (n)
x̅
SD
ก่อนเรียน
45
20.73
2.18
หลังเรียน
45
26.44
t
p
24.09**
.00
1.27
** p < .01 3. พฤติกรรมการอ่านภาษาไทยเชิงวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ด้วยชุด กิจกรรมการอ่านภาษาไทยเชิงวิเคราะห์ ด้วยเทคนิคการอ่านแบบ SQ3R พบว่า พฤติกรรมการ อ่านเชิงวิเคราะห์ด้วยเทคนิคการอ่านแบบ SQ3R ส�ำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โดยรวม อยู่ในระดับดีเยี่ยม โดยมีค่าคะแนนรวมคิดเป็นร้อยละ 94.29 ดังตารางที่ 4
42
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
พรรณิกา ศรีชาญชัย และ รุ่งฟ้า กิติญาณุสันต์
ตารางที่ 4 ผลการวิเคราะห์การสังเกตพฤติกรรมการอ่านเชิงวิเคราะห์ ด้วยเทคนิคการอ่านแบบ SQ3R ส�ำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ค่าเฉลี่ยร้อยละ ชุดที่ 1
ชุดที่ 2
ชุดที่ 3
ชุดที่ 4
ชุดที่ 5
ชุดที่ 6
ชุดที่ 7
รวม
ระดับ พฤติกรรม การอ่าน ภาษาไทย
1. การกวาดสายตาเพื่ออ่านอย่างคร่าวๆ
84.44
100.00
100.00
100.00
93.33
91.11
91.11
94.28
ดีเยี่ยม
2. การตั้งค�ำถามจากเรื่องที่อ่าน
64.44
88.89
97.78
100.00
100.00
100.00
100.00
93.02
ดีเยี่ยม
3. การอ่านอย่างละเอียดอีกครั้ง
88.89
100.00
95.56
100.00
97.78
91.11
93.33
95.24
ดีเยี่ยม
4. การจดจ�ำข้อความที่ส�ำคัญโดยการจดบันทึกย่อ
77.78
91.11
97.78
100.00
100.00
100.00
100.00
95.24
ดีเยี่ยม
5. การอ่านทบทวนเรื่องที่อ่านทั้งหมด
80.00
93.33
95.56
93.33
93.33
100.00
100.00
93.65
ดีเยี่ยม
79.11
94.67
97.33
98.67
96.89
96.44
96.89
94.29
ดีเยี่ยม
พฤติกรรม
รวม (เฉลี่ย)
อภิปรายผล 1. ชุดกิจกรรมการอ่านภาษาไทยเชิง วิ เคราะห์ ด้ วยเทคนิคการอ่านแบบ SQ3R ที่สร้างขึ้น มีประสิทธิภาพ 89.27/88.15 สูง กว่าเกณฑ์มาตรฐานที่ตั้งไว้ ทั้งนี้เนื่องจากการ สร้างชุดกิจกรรมยึดตามทฤษฎีและหลักการ สร้างชุดกิจกรรมตามที่ได้ศึกษาค้นคว้า โดย การศึกษาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น ฐาน คู่มือครู กระบวนการเรียนรู้ จุดประสงค์ การเรี ย นรู ้ การวั ด และประเมิ น ผล รวมทั้ ง เอกสารต่ า งๆ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การสร้ า งชุ ด กิจกรรมอย่างละเอียด เพือ่ เป็นแนวทางในการ สร้างชุดกิจกรรม และมีแนวคิดของนักวิชาการ มาประกอบการสร้างชุดกิจกรรม คือ สุวิทย์ มูลค�ำ และอรทัย มูลค�ำ (2551) ได้สรุปเกี่ยว กับขัน้ ตอนการสร้างชุดกิจกรรมว่า ควรก�ำหนด
เรื่องและเนื้อหาเพื่อท�ำชุดกิจกรรมตามหลัก สูตรที่ใช้สอนเพื่อให้เหมาะสมกับวัยและระดับ ชั้นผู้เรียน มีการก�ำหนดจุดประสงค์การเรียนรู้ และก�ำหนดเกณฑ์การตัดสินผลสัมฤทธิท์ างการ เรียนรู้ให้ครอบคลุมเนื้อหาและกิจกรรมที่เกิด การเรียนรู ้ รวมทัง้ สือ่ การสอน วัสดุอปุ กรณ์จะ ต้องมีจัดหมวดหมู่และมีมาตรฐานเพื่อความ สะดวกในการใช้และความเป็นระเบียบเรียบ ร้อยในการเก็บรักษา ส่วนการหาประสิทธิภาพ ของชุดกิจกรรม เมื่อสร้างชุดกิจกรรมเสร็จ เรี ย บร้ อ ยแล้ ว ต้ อ งน� ำ ชุ ด กิ จ กรรมนั้ น ๆ ไป ทดสอบโดยวิธกี ารต่างๆ ก่อนน�ำไปใช้จริง เช่น ทดลองเพื่อปรับปรุงแก้ไขให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจ สอบความถูกต้อง ความครอบคลุม และความ ตรงของเนื้อหา เป็นต้น สอดคล้องกับแนวคิด ของสุคนธ์ วินธพานนท์ (2551) เกี่ยวกับขั้น
ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2020/2563
43
การพัฒนาชุดกิจกรรมการอ่านภาษาไทยเชิงวิเคราะห์ ด้วยเทคนิคการอ่านแบบ SQ3R สำ�หรับนักเรียนชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 5
ตอนการสร้างชุดกิจกรรมว่า ควรเลือกหัวข้อ และประเด็ น ส� ำ คั ญ ได้ จ ากการวิ เ คราะห์ มาตรฐานการเรียนรู้และสาระการเรียนรู้ของ หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานในระดับชั้นที่ จะสอน การก�ำหนดเนือ้ หาทีจ่ ดั ท�ำชุดการสอน ต้องค�ำนึงถึงความรู้พื้นฐานของผู้เรียน การจัด กิจกรรมการเรียนการสอน จะต้องเน้นผู้เรียน เป็นส�ำคัญ ผู้เรียนจะต้องมีบทบาทในการท�ำ กิจกรรมด้วยตนเอง ผูส้ อนเป็นเพียงคอยชีแ้ นะ และควบคุมการเรียนการสอน เลือกกิจกรรมที่ หลากหลายที่เหมาะสมกับชุดกิจกรรม และ ฝึกให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วยการคิดหลากหลาย เช่น คิดวิเคราะห์ คิดแก้ปัญหา คิดสร้างสรรค์ เป็ น ต้ น ส่ ว นการสร้ า งแบบทดสอบควรมี 1) แบบทดสอบวัดพื้นความรู้เดิมของผู้เรียน ก่อนทีจ่ ะมาเรียน 2) แบบทดสอบย่อย เพือ่ วัด ความรู้ของผู้เรียนหลังจากเรียนจบในแต่ละ เนือ้ หาย่อย และ 3) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ในการเรี ย น ใช้ ป ระเมิ น ผลการเรี ย นรู ้ ข อง ผู้เรียนหลังจากการศึกษาชุดกิจกรรมจบแล้ว และสอดคล้องกับงานวิจยั ของกรรณิการ์ เครือ มาศ (2554) ได้ศึกษาผลการจัดกิจกรรมการ เรียนรู้เรื่องการอ่านเชิงวิเคราะห์ของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดยใช้กิจกรรมการเรียน รู้แบบ SQ3R พบว่า แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องการอ่านเชิงวิเคราะห์ กลุ่มสาระการเรียน รู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดยใช้การ จัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ SQ3R มีประสิทธิ 44
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
ภาพเท่ากับ 85.24/82.35 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่ ตั้งไว้ 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังใช้ชุด กิจกรรมสูงกว่าก่อนใช้ชุดกิจกรรม อย่างมีนัย ส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ซึ่งชุดกิจกรรมทั้ง 7 ชุด ได้แก่ ชุดที่ 1 การอ่านนิทาน ชุดที่ 2 การอ่านโฆษณา ชุดที่ 3 การอ่านค�ำสั่ง ข้อ แนะน�ำ ชุดที ่ 4 การอ่านข่าว ชุดที ่ 5 การอ่าน สารคดี ชุดที ่ 6 การอ่านบทความ และชุดที ่ 7 การอ่านวรรณคดี มีความส�ำคัญที่ท�ำให้ผู้เรียน มีพัฒนาการเรียนรู้ในการอ่านภาษาไทยเชิง วิเคราะห์ดีขึ้น ทั้งนี้อาจเนื่องมาจาก 2.1 การจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยให้ ผู้เรียนฝึกฝนเป็นขั้นตอนและบ่อยครั้งจนเกิด ความช�ำนาญ และเนื้อหาของบทอ่านทั้งหมด เกี่ยวข้องกับสถานการณ์ในปัจจุบัน น่าสนใจ และเป็นเรื่องใกล้ตัวเป็นประโยชน์ต่อการใช้ ชีวิตประจ�ำวัน โดยแต่ละชุดได้วางแผนการ สอนอย่ า งรั ด กุ ม โดยก� ำ หนดกิ จ กรรมใน แผนการสอนและสื่ อ การสอนอย่ า งชั ด เจน ท�ำให้นักเรียนได้ฝึกทักษะการอ่านอย่างเป็น ขั้นตอน การจัดล�ำดับเนื้อหาของชุดการสอน เริ่มจากง่ายไปยาก ดังที่ ใจทิพย์ เชื้อรัตนพงษ์ (2539, หน้า 22-29) ได้กล่าวไว้ว่า การคัด เลือกบทอ่านควรค�ำนึงถึงความส�ำคัญต่อการ เรียนรู้ ความถูกต้องทันสมัย ความน่าสนใจ เป็นสิ่งที่เรียนรู้ได้ และมีประโยชน์แก่นักเรียน ส่วนนลิน ี บ�ำเรอราช (2545ข, หน้า 230-234)
พรรณิกา ศรีชาญชัย และ รุ่งฟ้า กิติญาณุสันต์
กล่าวไว้ว่า การสอนอ่านจะต้องท�ำให้ผู้เรียน อ่านสิ่งต่างๆ ได้อย่างง่ายๆ ก่อน เพื่อท�ำให้ผู้ เรียนเกิดก�ำลังใจ มีความภาคภูมิใจว่าตนเอง อ่านได้ จะเป็นแรงผลักดันให้อยากอ่านต่อไป อีก อยากเรียนรู้ต่อไปอีก บทเรียนที่จัดท�ำขึ้น ควรเป็นบทเรียนสั้นๆ ตัดตอนมาจากหนังสือ ต่างๆ ที่เป็นเรื่องน่าสนใจ การจัดล�ำดับบท เรียน ควรเริ่มจากเรื่องที่ง่ายๆ แล้วเพิ่มความ ยากขึ้นไปประมาณ 20% ค่อยๆ เพิ่มความ ยากขึ้นไปเรื่อยๆ เพื่อท�ำให้เกิดความท้าทาย อยากเรียนรู้ต่อไปอีก 2.2 การจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ เทคนิคการอ่านแบบ SQ3R ตามแนวคิดของ Robinson (1961, pp.29-30) ซึง่ สามารถช่วย พัฒนาทักษะการอ่านของนักเรียน ท�ำให้เลือก สิ่งที่คาดว่าจะรู้จากเรื่องที่อ่าน เข้าใจแนวคิด ของเรื่องที่อ่านได้อย่างรวดเร็ว และจดจ�ำได้ดี และทบทวนเรื่องราวที่อ่านได้อย่างมีประสิทธิ ภาพ นอกจากนี้ยังช่วยพัฒนาพฤติกรรมการ อ่านเป็นระบบเพราะผู้เรียนได้ฝึกทักษะอย่าง เป็นขั้นตอนตามกระบวนการจัดการเรียนรู้ ซึง่ เริม่ จากขัน้ น�ำสูบ่ ทเรียนการเชือ่ มโยงเข้าสูใ่ น บทอ่าน เป็นการสร้างบรรยากาศความคุ้นเคย และเป็นการเตรียมความพร้อมโดยการสนทนา เพือ่ ทบทวนความรูเ้ ดิมของผูเ้ รียนและเพือ่ สร้าง ความรู้ใหม่ ต่อจากนั้นครูผู้สอนด�ำเนินการจัด กิจกรรมการเรียนรู้ด้วยเทคนิคการอ่านแบบ SQ3R ไปตามขั้นตอนโดยเริ่มจากให้ผู้เรียน
ส�ำรวจ (S-Survey) เป็นการการอ่านคร่าวๆ (กวาดสายตา) เพื่อให้เห็นภาพรวมของเรื่องที่ อ่าน เพือ่ หาจุดส�ำคัญของเรือ่ ง โดยไม่ดใู นราย ละเอียด เป็นการจุดประกายให้ผู้เรียนมีความ สนใจอยากติ ด ตามความเป็ น ไปของเรื่ อ งที่ อ่านแล้วน�ำสิ่งที่อยากรู้จากเรื่องมาตั้งค�ำถาม (Q-Question) โดยจับประเด็นค�ำถามให้ได้ว่า ใครท�ำอะไร ทีไ่ หน เมือ่ ไร อย่างไร กับใครและ ท� ำ ท� ำ ไม เป็ นการตั้ ง ค� ำ ถามจากเรื่ อ งที่ อ ่ า น แต่ละย่อหน้าเป็นการก�ำหนดจุดสนใจในการ อ่าน จึงเป็นการอ่านทีม่ จี ดุ หมาย ผูเ้ รียนเข้าใจ เรื่องที่อ่านได้รวดเร็วขึ้น เป็นผลให้นักเรียนมี ความกระตือรือร้นในการปฏิบัติกิจกรรม ต่อ จากนั้ น ให้ ผู ้ เรี ย นอ่ า นอย่ า งละเอี ย ดอี ก ครั้ ง (R1-Read) เพือ่ ท�ำความเข้าใจและตอบค�ำถาม จากเรื่องราวที่ตั้งไว้ เมื่อผู้เรียนรู้อ่านทบทวน หลายๆ ครั้ง ท�ำให้ผู้เรียนมีพัฒนาการในการ อ่านดีขึ้น โดยการสังเกตพฤติกรรมการอ่านใน ชุดกิจกรรมต่อๆ ไป หลังจากนั้นครูผู้สอนให้ ผู้เรียนท�ำความเข้าใจค�ำตอบและเนื้อเรื่องจาก การอ่านแล้วจดจ�ำข้อความส�ำคัญ โดยการ จดบันทึกย่อข้อความส�ำคัญ (R2-Recite) เป็น ค�ำพูดของตนเองหรือขีดเส้นใต้เพือ่ เตือนความ จ� ำ ของตนเอง จากนั้ น ครู ผู ้ ส อนให้ ผู ้ เรี ย น ทบทวน (R3-Review) เรื่ อ งที่ อ ่ า นทั้ ง หมด หรืออ่านบันทึกที่ตัวเองจัดท�ำไว้ จากนั้นท�ำ แบบฝึกหัดวัดความเข้าใจในการอ่านรวมทั้ง เฉลยแบบฝึกหัด ขั้นตอนสุดท้ายเป็นการสรุป
ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2020/2563
45
การพัฒนาชุดกิจกรรมการอ่านภาษาไทยเชิงวิเคราะห์ ด้วยเทคนิคการอ่านแบบ SQ3R สำ�หรับนักเรียนชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 5
องค์ความรู้จากกิจกรรมทั้งหมด ครูผู้สอนแจ้ง ผลการเรียนรูใ้ ห้ผเู้ รียนทราบทันทีหลังจากเสร็จ กิจกรรมเพื่อเป็นแรงจูงใจในการเรียนรู้ต่อไป และพั ฒ นาความก้ า วหน้ า ของผู ้ เรี ย นแต่ ล ะ คนในแต่ละชุดกิจกรรม สอดคล้ อ งกั บ งานวิ จั ย ของวั น เพ็ ญ วั ฒ ฐานะ (2557) ได้ จั ด การเรี ย นรู ้ โ ดยใช้ เทคนิคการอ่านแบบ SQ3R เพื่อพัฒนาความ เข้าใจในการอ่านและศึกษาพฤติกรรมการอ่าน ภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรี ย นวั ด ตะปอนน้ อ ย จั ง หวั ด จั น ทบุ รี พบว่า นักเรียนมีความเข้าใจในการอ่านภาษา อั ง กฤษของนั ก เรี ย นชั้ น ประถมศึ ก ษาปี ที่ 6 โรงเรียนวัดตะปอนน้อย จังหวัดจันทบุรี ด้วย การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิคการอ่านแบบ SQ3R หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัย ส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และงานวิจัยของ กรรณิ ก าร์ เครื อ มาศ (2554) ได้ ศึ ก ษาผล การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง การอ่านเชิง วิเคราะห์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดยใช้กิจกรรมการเรียนรู้แบบ SQ3R ผลการ ศึกษาพบว่า นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 มี ความสามารถด้านการอ่านเชิงวิเคราะห์ กลุ่ม สาระการเรียนรู้ภาษาไทย หลังการเรียนด้วย การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ SQ3R สูงกว่า ก่อนเรียนอย่างมีนยั ส�ำคัญทางสถิตทิ รี่ ะดับ .05
46
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
3. พฤติ ก รรมการอ่ า นภาษาไทยเชิ ง วิเคราะห์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ด้วยชุดกิจกรรมการอ่านภาษาไทยเชิงวิเคราะห์ ด้ ว ยเทคนิ ค การอ่ า นแบบ SQ3R พบว่ า พฤติกรรมการอ่านเชิงวิเคราะห์ ด้วยเทคนิค การอ่านแบบ SQ3R ส�ำหรับนักเรียนชัน้ ประถม ศึกษาปีที่ 5 ภาพรวมอยู่ในระดับดีเยี่ยม โดย นักเรียนเริ่มอ่านบทในใจ กวาดสายตาอย่าง รวดเร็วเพื่อส�ำรวจ (Survey) จากนั้นนักเรียน เกิ ด ความอยากรู ้ แ ละข้ อ สงสั ย จึ ง ท� ำ การตั้ ง ค�ำถาม (Question) ว่า ใคร ท�ำอะไร ที่ไหน เมือ่ ไร อย่างไร กับใคร และท�ำไม เมือ่ นักเรียน ตั้งค�ำถามแล้วก็อยากรู้ค�ำตอบจึงอ่านอย่าง ละเอี ย ดอี ก ครั้ ง (Read) เพื่ อ หาค� ำ ตอบ แล้วท�ำการจดบันทึกไว้ (Recite) และสุดท้าย เพื่อเป็นการท�ำความเข้าใจและจดจ�ำบทอ่าน ทัง้ หมด จึงอ่านทบทวนอีกครัง้ (Review) จาก การที่ นั ก เรี ย นได้ ล งมื อ ปฏิ บั ติ ต ามขั้ น ตอน SQ3R ซ�้ำๆ กันหลายๆ ครั้ง ท�ำให้นักเรียนมี ความช�ำนาญมากขึน้ เข้าใจขัน้ ตอนและวิธกี าร อ่านมากขึน้ ท�ำให้สามารถปฏิบตั กิ จิ กรรมตาม ชุดกิจกรรมอื่นๆ ได้ดีขึ้น ทั้งนี้อาจเป็นเพราะ กระบวนการของกิจกรรมในแต่ละชุดกิจกรรม ทัง้ 7 ชุด สอดคล้องกับขัน้ ตอนของเทคนิคการ อ่านแบบ SQ3R ซึ่งเน้นการปฏิบัติของผู้เรียน เป็นรายบุคคลตามขั้นตอนของการอ่านอย่าง เป็นระบบชัดเจน มีครูผู้สอนเป็นผู้ก�ำกับดูแล
พรรณิกา ศรีชาญชัย และ รุ่งฟ้า กิติญาณุสันต์
ให้ค�ำแนะน�ำอย่างใกล้ชิด เพื่อเป็นการสร้าง ความกล้า ความมั่นใจให้กับผู้เรียน ครูผู้สอน ท�ำหน้าที่บันทึกการสังเกตพฤติกรรมการอ่าน ระหว่างเรียนของผู้เรียน สอดคล้ อ งกั บ งานวิ จั ย ของวั น เพ็ ญ วัฒฐานะ (2557) ได้ศึกษาการจัดการเรียนรู้ โดยใช้เทคนิคการอ่านแบบ SQ3R เพื่อพัฒนา ความเข้าใจในการอ่านและศึกษาพฤติกรรมการ อ่านภาษาอังกฤษของนักเรียนชัน้ ประถมศึกษา ปีท ี่ 6 โรงเรียนวัดตะปอนน้อย จังหวัดจันทบุรี พบว่า พฤติกรรมการอ่านภาษาอังกฤษระหว่าง เรียนด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิคการ อ่านแบบ SQ3R ของนักเรียนชัน้ ประถมศึกษา ปีท ี่ 6 โรงเรียนวัดตะปอนน้อย จังหวัดจันทบุรี อยู่ในระดับดีเยี่ยม และงานวิจัยของ Baier (2011) ได้ท�ำการวิจัยเรื่องประสิทธิภาพของ กลวิธีการอ่านแบบ SQ3R ที่มีต่อระดับความ เข้าใจของนักเรียนเกรด 5 ในการศึกษาครัง้ นีม้ ี วัตถุประสงค์เพือ่ บูรณาการวิธกี ารสอนอ่านด้วย กลวิธี SQ3R กับการอ่านเนื้อหาวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนเกรด 5 และศึกษาพฤติกรรมการ อ่านแบบการอ่านนิยายกับวิธีการอ่านแบบ SQ3R จากผลการศึกษาพบว่า นักเรียนร้อยละ 53.10 ใช้วิธีการอ่านแบบ SQ3R โดยคาดว่า ในอนาคตจะมีนกั เรียนร้อยละ 68.70 จะหันมา ใช้วิธีการอ่านแบบ SQ3R
ข้อเสนอแนะ ข้อเสนอแนะในการน�ำไปใช้ 1. ครูผู้สอนควรฝึกฝนการตั้งค�ำถามให้ กับผู้เรียนอย่างสม�่ำเสมอและต่อเนื่อง จะช่วย ให้ผเู้ รียนเกิดความเคยชินจนกลายเป็นพฤติกรรม หรือนิสยั ทีก่ ระท�ำเมือ่ มีการอ่านเพือ่ ความเข้าใจ และการอ่านเชิงวิเคราะห์ 2. ครูผสู้ อนควรสังเกตพฤติกรรมผูเ้ รียน อย่างใกล้ชิดเพื่อค้นหาข้อบกพร่องของผู้เรียน อย่างต่อเนือ่ ง เพือ่ ปรังปรุงแก้ไขพฤติกรรมของ ผู้เรียนโดยทันที 3. ครูผู้สอนจะต้องมีการเสริมแรงใน การท�ำกิจกรรมให้กบั ผูเ้ รียน จะเป็นการกระตุน้ และสร้ า งความมั่ น ใจให้ กั บ ผู ้ เรี ย น ช่ ว ยให้ นักเรียนเข้าใจเรื่องที่อ่านสามารถตั้งค�ำถาม ตอบค�ำถาม และท�ำแบบฝึกหัดได้ดีขึ้น ข้อเสนอแนะในการศึกษาครั้งต่อไป 1. ควรท� ำ การวิ จั ย เพื่ อ เปรี ย บเที ย บ ระหว่างกิจกรรมการใช้แผนการจัดการเรียนรู้ แบบ SQ3R กั บ กิ จ กรรมการสอนตามปกติ เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์และพฤติกรรมการเรียน ของผู้เรียน 2. ควรน�ำวิธีการจัดการเรียนรู้โดยใช้ เทคนิคการอ่านแบบ SQ3R ไปทดลองสอน ทักษะการอ่านในกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่นๆ เพื่อเป็นการพัฒนาทักษะทางภาษา ด้านการ ฟัง การพูด การอ่าน และการเขียน
ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2020/2563
47
การพัฒนาชุดกิจกรรมการอ่านภาษาไทยเชิงวิเคราะห์ ด้วยเทคนิคการอ่านแบบ SQ3R สำ�หรับนักเรียนชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 5
บรรณานุกรม กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). ตัวชีว้ ดั และสาระการเรียนรูแ้ กนกลาง กลุม่ สาระการเรียนรูภ้ าษา ไทย ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย. กรรณิการ์ เครือมาศ. (2554). ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่อง การอ่านเชิงวิเคราะห์ของ นักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท ี่ 1 โดยใช้การจัดกิจกรรมการเรียนรูแ้ บบ SQ3R. (วิทยานิพนธ์ การศึกษามหาบัณฑิต). สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน, มหาวิทยาลัยสารคาม. กรมวิชาการ. (2546). แนวทางการส่งเสริมการอ่าน. พิมพ์ครัง้ ที ่ 3. กรุงเทพฯ: คุรสุ ภาลาดพร้าว. ใจทิพย์ เชื้อรัตนพงษ์. (2539). การพัฒนาหลักสูตร: หลักการและแนวทางปฏิบัติ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์อลีนเพรส. นลินี บ�ำเรอราช. (2545ก). การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ความคิดรวบยอด. วารสารหลักสูตรและ การสอน มหาวิทยาลัยบูรพา, 1(1), 8-25. นลินี บ�ำเรอราช. (2545ข). เอกสารค�ำสอน วิชา 406426 การสอนอ่าน. ชลบุรี: ภาควิชา หลักสูตรและการสอน คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา. วันเพ็ญ วัฒฐานะ. (2557). การจัดการเรียนรูโ้ ดยใช้เทคนิคการอ่านแบบ SQ3R เพือ่ พัฒนาความ เข้าใจในการอ่านและศึกษาพฤติกรรมการอ่านภาษาอังกฤษของนักเรียนชัน้ ประถมศึกษา ปีท ี่ 6 โรงเรียนวัดตะปอนน้อย จังหวัดจันทบุร.ี (วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต). สาขา วิชาหลักสูตรและการสอน, มหาวิทยาลัยบูรพา. สุธาทิพย์ เจริญรัตน์. (2555). การพัฒนาทักษะการอ่านจับใจความ ด้วยวิธกี ารสอนแบบ SQ3R กลุม่ สาระการเรียนรูภ้ าษาไทย ของนักเรียนชัน้ ประถมศึกษาปีท ี่ 6. (วิทยานิพนธ์ครุศาสตร มหาบัณฑิต). สาขาวิชาหลักสูตรและการเรียนการสอน, มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม. สุวิทย์ มูลค�ำ และอรทัย มูลค�ำ. (2551). 19 วิธีการจัดการเรียนรู้ เพื่อพัฒนาความรู้และทักษะ. กรุงเทพฯ: ภาพพิมพ์. สุคนธ์ สินธพานนท์. (2551). นวัตกรรมการเรียนการสอน. พิมพ์ครัง้ ที ่ 2. กรุงเทพฯ: เทคนิคพริน้ ติง้ . สุดารักษ์ สุวรรณทอง. (2553). ผลการเรียนรู้ภาษาไทยด้านการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ ชั้น มัธยมศึกษาปีท ี่ 3 โดยใช้การสอนอ่านแบบ SQ3Rs. (วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต). สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน, มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
48
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
พรรณิกา ศรีชาญชัย และ รุ่งฟ้า กิติญาณุสันต์
Baier, K. (2011). The effects of SQ3R on fifth Grade Students’ Comprehension Level. [Online]. From http://vslb109-148.ohiolink.edu/send-pdf.cgi/Baier% 20Kylie.pdf?bgsu1300677596 Robinson, F.P. (1961). Effects study SQ3R. New York: Harper and Brothers.
ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2020/2563
49
การพัฒนาตัวบ่งชี้สมรรถนะระหว่างวัฒนธรรมของ อาจารย์หลักสูตรนานาชาติ
Development of Intercultural Competency
Indicators of Faculty in International Program. กัลญา โอภาสเสถียร * ครุศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาอุดมศึกษา ภาควิชานโยบาย การจัดการและความเป็นผู้น�ำ ทางการศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผศ.ดร.พันธ์ศักดิ์ พลสารัมย์ * อาจารย์ประจ�ำสาขาวิชาอุดมศึกษา ภาควิชานโยบาย การจัดการและความเป็นผู้น�ำ ทางการศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย รศ.ดร.วรรณี แกมเกตุ * อาจารย์ประจ�ำสาขาวิชาวิจัยการศึกษา ภาควิชาวิจัยและจิตวิทยาการศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ข้อมูลบทความ
* รับบทความ 19 ตุลาคม 2561 * แจ้งแก้ไข 9 พฤศจิกายน 2561 * ตอบรับบทความ 12 พฤศจิกายน 2561
Kunlaya Opassatian * Division of Higher Education Department of Educational Policy, Management and Leadership Faculty of Education Chulalongkorn University Asst.Prof.Dr.Pansak Polsaram * Division of Higher Education Department of Educational Policy, Management and Leadership Faculty of Education Chulalongkorn University Assoc.Prof.Dr.Wanee Kaemkate * Division of Educational Research and Psychology, Faculty of Education Chulalongkorn University
กัลญา โอภาสเสถียร, พันธ์ศักดิ์ พลสารัมย์ และ วรรณี แกมเกตุ
บทคัดย่อ
การวิจัยมีวัตถุประสงค์ 1) พัฒนาตัวบ่งชี้ แบบวัดสมรรถนะ ระหว่างวัฒนธรรมของอาจารย์หลักสูตรนานาชาติ 2) ตรวจสอบความ สอดคล้องของโมเดลการวัดสมรรถนะระหว่างวัฒนธรรมของอาจารย์ หลักสูตรนานาชาติทผี่ วู้ จิ ยั พัฒนาขึน้ กับข้อมูลเชิงประจักษ์ กลุม่ ตัวอย่าง คือ อาจารย์หลักสูตรนานาชาติในมหาวิทยาลัยของรัฐและในก�ำกับด้วย การสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือในการวิจัย ได้แก่ แบบ สัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิและแบบวัดสมรรถนะระหว่างวัฒนธรรมของ อาจารย์ ห ลั ก สู ต รนานาชาติ ที่ ผู ้ วิ จั ย สร้ า งขึ้ น วิ เ คราะห์ ผ ลด้ ว ยการ วิเคราะห์เนื้อหา สถิติเชิงบรรยายและองค์ประกอบเชิงยืนยัน อันดับ 1 และ 2 โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ส�ำเร็จรูป ผลการวิจัยพบว่า 1) สมรรถนะระหว่างวัฒนธรรมของอาจารย์หลักสูตรนานาชาติ ประกอบด้วย 3 มิติ จ�ำนวน 7 ตัวบ่งชี้ ได้แก่ 1. มิติด้านความรู้ ในการสื่อสารและความหลากหลายทางวัฒนธรรมมี 2 ตัวบ่งชี้ คือ ความรู้ความเข้าใจในการสื่อสารระหว่างวัฒนธรรม ความรู้ความเข้าใจ ในความหลากหลายทางวัฒนธรรมของนักศึกษา 2. มิติด้านทัศนคติต่อ ความหลากหลายทางวัฒนธรรมมี 3 ตัวบ่งชี ้ คือ ความตระหนักในความ หลากหลายทางวัฒนธรรมของนักศึกษา การเปิดใจยอมรับความหลาก หลายทางวัฒนธรรมของนักศึกษา และ การใฝ่รใู้ นความหลากหลายทาง วัฒนธรรมของนักศึกษา 3. มิตดิ า้ นการปฏิสมั พันธ์และการสอนระหว่าง วัฒนธรรม มี 2 ตัวบ่งชี ้ คือ การปฏิสมั พันธ์ระหว่างอาจารย์กบั นักศึกษา ที่มีความหลากหลายทางวัฒนธรรม และ การสอนนักศึกษาที่มีความ หลากหลายทางวัฒนธรรม และ แบบวัดสมรรถนะระหว่างวัฒนธรรม ของอาจารย์หลักสูตรนานาชาติครอบคลุม 3 มิติ 7 ตัวบ่งชี้ เป็นแบบ มาตรประเมินค่า 5 ระดับมีความตรงเชิงเนื้อหาและโครงสร้าง ตัวบ่งชี้ มี คุ ณ ภาพอยู ่ ใ นระดั บ ดี ด ้ ว ยค่ า สั ม ประสิ ท ธิ์ แ อลฟาของครอนบาค .947
ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2020/2563
51
การพัฒนาตัวบ่งชีส้ มรรถนะระหว่างวัฒนธรรมของอาจารย์หลักสูตรนานาชาติ
2) ผลการวิเคราะห์การตรวจสอบโมเดลการวัดสมรรถนะระหว่าง วัฒนธรรมของอาจารย์หลักสูตรนานาชาติพบว่ามีความสอดคล้องกับ ข้อมูลเชิงประจักษ์พิจารณาจากค่าสถิติที่ใช้ตรวจสอบความตรงของ โมเดล ได้แก่คา่ ไค-สแควร์ (χ2) เท่ากับ 5.55 ค่าองศาอิสระ(df) เท่ากับ 8 ค่านัยส�ำคัญทางสถิติ(P-value) เท่ากับ 0.698 ค่าไค-สแควร์สัมพัทธ์ (χ2/df) เท่ากับ 0.694 ค่าดัชนีวัดความสอดคล้องกลมกลืนเชิงสัมพัทธ์ (CFI) เท่ากับ 1.00 และค่าดัชนีวัดระดับความสอดคล้อง (GFI) เท่ากับ 0.99 ค่าดัชนีวดั ระดับความสอดคล้องทีป่ รับแก้แล้ว(AGFI) เท่ากับ 0.98 รากทีส่ องของค่าเฉลีย่ ก�ำลังสองของส่วนเหลือมาตรฐาน(SRMR) เท่ากับ 0.014 ค่าความคลาดเคลื่อนในการประมาณค่าพารามิเตอร์ (RSEA) เท่ากับ 0.000 และ ค่าขนาดตัวอย่างวิกฤต (CN) เท่ากับ 1076.10 ค�ำส�ำคัญ:
52
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
ตัวบ่งชี้ สมรรถนะระหว่างวัฒนธรรม อาจารย์หลักสูตรนานาชาติ
กัลญา โอภาสเสถียร, พันธ์ศักดิ์ พลสารัมย์ และ วรรณี แกมเกตุ
Abstract
The objectives were 1) to develop intercultural competency indicators of faculty in international program under Governmental Thai Higher Education and scale 2) to confirmatory intercultural competency indicators of faculty in international program model with empirical data. The sample used was 300 international faculties under Governmental Thai Higher Education by Multi-stage random sampling. The instruments used were a specialist interview form and an intercultural competency of faculty in international program scale. Data analysis with Content Analysis, Descriptive Statistics and Confirmatory Factor Analysis (CFA) were conducted by using the statistical software. The result found: 1) Intercultural competency of international faculties consisted of 3 dimensions with 7 indicators: (1) communication and multicultural knowledge were measured by using two indicators: intercultural communication knowledge, multicultural student knowledge (2) attitude of multicultural were measured by using 3 indicators: awareness in multicultural of student, open-mind to multicultural of student, curiousness in multicultural of student (3) participation and teaching with multicultural student were measured by using 2 indicators: participation with multicultural student, multicultural student teaching. An intercultural competency of faculty in international program scale were concluded three dimensions seven indicators, five levels. The indicators were of good quality with Cronbach's coefficient alpha .947
ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2020/2563
53
การพัฒนาตัวบ่งชีส้ มรรถนะระหว่างวัฒนธรรมของอาจารย์หลักสูตรนานาชาติ
2) Intercultural competency of international faculties model developed were found to be consistent with the empirical data that considered from indices used for checking validity of the model χ2=5.55,df=8, P-value=0.698, χ2/df =0.694, CFI=1.00, GFI=0.99, AGFI=0.98, SRMR=0.014, RMSEA= 0.000 and CN=1076.10. Keywords:
54
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
Indicators Intercultural Competency International faculties
กัลญา โอภาสเสถียร, พันธ์ศักดิ์ พลสารัมย์ และ วรรณี แกมเกตุ
บทน�ำ สมรรถนะระหว่างวัฒนธรรม (intercultural competency) เป็นทักษะ (skill) ความ สามารถ (ability) และความรู้ (knowledge) ของบุ ค คลในการสร้ า งปฏิ สั ม พั น ธ์ อ ย่ า งมี ประสิทธิภาพและเหมาะสมกับบุคคลอื่นเมื่อ อยูใ่ นสังคมทีม่ คี วามหลากหลายทางวัฒนธรรม (Bertelsmann Stiftung, 2009 p.5; UNESCO, 2013 p.12,16) (อ้างใน กฤษฎา กุณฑล, 2556) มีงานวิจัยเกี่ยวกับความส�ำคัญของสมรรถนะ ระหว่างวัฒนธรรมต่อการศึกษาในบริบทที่มี ความหลากหลายทางวัฒนธรรมหรือบริบท นานาชาติ พบว่า สมรรถนะระหว่างวัฒนธรรม เป็นสมรรถนะทีจ่ ำ� เป็นของอาจารย์ในการสอน ในห้ อ งเรี ย นที่ มี บ ริ บ ทนานาชาติ มี ค วาม หลากหลายทางวัฒนธรรม (Multicultural – classroom) ช่วยให้อาจารย์สามารถสอนได้ อย่ า งเป็ น นานาชาติ (Gopal, 2011) ส่ ว น Knight (2008a) และ Chonh Pui Yee, (20 13) ได้เสนอว่า มหาวิทยาลัยจะต้องพัฒนา สมรรถนะระหว่างวัฒนธรรมนีใ้ ห้อาจารย์ โดย ต้องเพิ่มชุดความรู้ ทัศนคติ ทักษะ และความ เข้ า ใจเกี่ ย วกั บ มิ ติ น านาชาติ มิ ติ ร ะหว่ า ง วั ฒ นธรรม และมิติสากล ซึ่งจะสามารถลด ช่องว่างระหว่างวัฒนธรรมภายในมหาวิทยาลัย ที่มีความหลากหลายทางวัฒนธรรมได้ ทั้งนี้ เพือ่ ให้อาจารย์สามารถปฏิบตั งิ านสอนนักศึกษา
ทีม่ คี วามหลากหลายทางวัฒนธรรมและเรียนรู้ วัฒนธรรมทีแ่ ตกต่างกันของนักศึกษาได้อย่างมี ประสิทธิภาพ ปัจจุบนั ประเทศไทยมีการเปิดการเรียน การสอนหลักสูตรนานาชาติจ�ำนวนมากเพื่อ พัฒนาก�ำลังคนมุ่งสู่ความสามารถระดับสากล และเมื่ อ หลั ก สู ต รนานาชาติ มี ม าก จ� ำ นวน นักศึกษาต่างชาติเพิ่มขึ้นพร้อมกับวัฒนธรรม ทีห่ ลากหลาย รูปแบบการจัดการศึกษาจะเกิด การแลกเปลี่ ย นเรี ย นรู ้ ร ่ ว มกั น ของสั ง คมทั้ ง ชนชาติเดียวกันและต่างชนชาติ เป็นรูปแบบ เชิงการศึกษาข้ามวัฒนธรรม (cross-culture) (สุรศักดิ์ ปาเฮ, 2555 อ้างใน ณิชาภา จันทร์ เพ็ญ, 2556) น�ำมาซึ่งห้องเรียนที่มีความแตก ต่างหลากหลายของทั้งนักศึกษาและอาจารย์ อาจารย์ต้องเตรียมการสอนให้มีประสิทธิภาพ เพื่อให้เหมาะสมกับนักศึกษาที่มีภูมิหลังที่แตก ต่างกัน เช่น วัฒนธรรม ภาษา หรือเชื้อชาติ Keengwe, 2010 อ้างใน ณิชาภา จันทร์เพ็ญ, 2556) ตี ร ณ พงศ์ ม ฆพั ฒ น์ , 2547 อ้ า งใน จรั ญ ญา เทพพรบั ญ ชากิ จ ,2556 พบว่ า หลั ก สู ต รนานาชาติ โ ดยรวมในประเทศไทย ยั ง อยู ่ ในระยะอ่ อ นแอและละเลยเป้ า หมาย ด้านคุณภาพการศึกษา อีกทั้ง ธเนศ จิตสุทธิ ภากร, 2547 พบว่ า คุ ณ ภาพอาจารย์ เ ป็ น ปัจจัยหนึ่งในปัจจัยแห่งความส�ำเร็จของการ จัดการโปรแกรมนานาชาติ จากการศึกษาข้าง
ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2020/2563
55
การพัฒนาตัวบ่งชีส้ มรรถนะระหว่างวัฒนธรรมของอาจารย์หลักสูตรนานาชาติ
ต้น อุดมศึกษาไทยจึงควรเตรียมพร้อมพัฒนา สมรรถนะระหว่ า งวั ฒ นธรรมของอาจารย์ หลักสูตรนานาชาติให้ถงึ พร้อมต่อการเรียนการ สอนนักศึกษาทุกชาติทุกภาษาทุกวัฒนธรรม อย่างมีคุณภาพ ผู้วิจัยจึงสนใจที่จะศึกษาตัว บ่ ง ชี้ ข องสมรรถนะระหว่ า งวั ฒ นธรรมของ อาจารย์หลักสูตรนานาชาตินำ� มาซึง่ การพัฒนา ตั ว บ่ ง ชี้ ส มรรถนะระหว่ า งวั ฒ นธรรมของ อาจารย์หลักสูตรนานาชาติ ตรวจสอบด้วยการ ยืนยันความตรงเชิงโครงสร้างด้วยสถิติขั้นสูง วัตถุประสงค์การวิจัย 1. พั ฒ นาตั ว บ่ ง ชี้ แบบวั ด สมรรถนะ ระหว่างวัฒนธรรมของอาจารย์หลักสูตรนานา ชาติ 2. ตรวจสอบความสอดคล้องของโมเดล การวัดสมรรถนะระหว่างวัฒนธรรมของอาจารย์ หลักสูตรนานาชาติที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้นกับข้อมูล เชิงประจักษ์ ขอบเขตของการวิจัย ประชากรเป็นอาจารย์หลักสูตรนานา ชาติ ช าวไทยในมหาวิ ท ยาลั ย ภาครั ฐ และใน ก�ำกับและแบบวัดสมรรถนะระหว่างวัฒนธรรม ของอาจารย์หลักสูตรนานาชาติพัฒนาขึ้นเพื่อ อาจารย์หลักสูตรนานาชาติชาวไทยซึง่ เป็นกลุม่ ประชากรตัวอย่างจ�ำนวน 300 คน
56
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
วิธีด�ำเนินการวิจัย 1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากร ได้แก่ เอกสารและงานวิจัย ที่เกี่ยวข้องกับสมรรถนะระหว่างวัฒนธรรม, อาจารย์หลักสูตรนานาชาติจ�ำนวน 50 คน เพื่อทดสอบความเที่ยงของแบบวัดสมรรถนะ ระหว่างวัฒนธรรมของอาจารย์หลักสูตรนานา ชาติ และอาจารย์ผู้สอนหลักสูตรนานาชาติไม่ ระบุ เ พศ เชื้ อ ชาติ ศาสนา และ ระดั บ การ ศึ ก ษา ผู ้ วิ จั ย ก� ำ หนดกลุ ่ ม ตั ว อย่ า งโดยการ พิ จ ารณาจากจ� ำ นวนพารามิ เ ตอร์ ที่ จ ะต้ อ ง ประมาณค่ า ซึ่ ง โดยทั่ ว ไปจะก� ำ หนดขนาด ตั ว อย่ า งขั้ น ต�่ ำ ไว้ ที่ 5-20 เท่ า ของจ� ำ นวน พารามิเตอร์ที่จะต้องประมาณค่า ส�ำหรับงาน วิ จั ย นี้ โมเดลที่ มี ค ่ า พารามิ เ ตอร์ ที่ จ ะต้ อ ง ประมาณค่าสูงสุดมีจ�ำนวน 20 พารามิเตอร์ ซึ่ ง เป็ น โมเดลการวั ด ผู ้ วิ จั ย จึ ง ก� ำ หนดขนาด กลุ่มตัวอย่างขั้นต�่ำไว้ที่ 15 เท่าของจ�ำนวน พารามิ เ ตอร์ ที่ จ ะต้ อ งประมาณค่ า ขนาด ตัวอย่างขั้นต�่ำในงานวิจัยนี้จึงเท่ากับ 300 คน (20*15 เท่า = 300) ผู้วิจัยใช้การสุ่มตัวอย่าง แบบหลายขั้นตอน (Multi-stage random sampling) มีรายละเอียด 2 ขั้นตอน ดังนี้ 1) สุม่ รายชือ่ มหาวิทยาลัยของรัฐและในก�ำกับ ด้วยวิธีการสุ่มอย่างง่าย ได้ 29 มหาวิทยาลัย 2) สุ่มจ�ำนวนอาจารย์หลักสูตรนานาชาติจาก มหาวิทยาลัยทั้ง 29 แห่งด้วยวิธีการสุ่มอย่าง ง่าย เพื่อให้ได้กลุ่มตัวอย่างตามก�ำหนด
กัลญา โอภาสเสถียร, พันธ์ศักดิ์ พลสารัมย์ และ วรรณี แกมเกตุ
2. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เครือ่ งมือทีใ่ ช้ในการวิจยั ได้แก่ 1) แบบ สั ง เคราะห์ อ งค์ ป ระกอบสมรรถนะระหว่ า ง วั ฒ นธรรมจากแนวคิ ด ของนั ก วิ ช าการทั้ ง ในและต่ า งประเทศ 2) แบบสั ม ภาษณ์ เชิ ง โครงสร้างสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญ 3) แบบวัด สมรรถนะระหว่ า งวั ฒ นธรรมของอาจารย์ หลักสูตรนานาชาติ 3. การเก็บรวบรวมข้อมูล ผู้วิจัยเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยการศึกษา นิ ย าม แนวคิ ด และทฤษฎี ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ สมรรถนะระหว่างวัฒนธรรมจากต�ำรา เอกสาร และงานวิ จั ย ที่ เ กี่ ย วข้ อ งเพื่ อ ก� ำ หนดมิ ติ (องค์ประกอบ) ตัวบ่งชี้ของสมรรถนะระหว่าง วัฒนธรรมของอาจารย์หลักสูตรนานาชาติ แล้ว สกัดมิติ (องค์ประกอบ) ตัวบ่งชี้ พัฒนาเป็น กรอบคิดการพัฒนาตัวบ่งชี้สมรรถนะระหว่าง วัฒนธรรมของอาจารย์หลักสูตรนานาชาติ และ ก�ำหนดนิยามเชิงปฏิบัติการ (operational definition) ของแต่ละมิติ ตัวบ่งชี้และน�ำค�ำ นิยามเชิงปฏิบัติการมาสร้างแบบสัมภาษณ์ เชิงโครงสร้างสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญเพื่อการ ยืนยันความเหมาะสม และสร้างแบบสอบถาม สมรรถนะระหว่ า งวั ฒ นธรรมของอาจารย์ หลักสูตรนานาชาติ ต่อจากนั้นน�ำแบบสอบ ถามสมรรถนะระหว่างวัฒนธรรมของอาจารย์ หลักสูตรนานาชาติไปทดลองใช้กับอาจารย์
หลักสูตรนานาชาติจ�ำนวน 50 คน เพื่อตรวจ วัดความตรงของแบบสอบถามกลายเป็นแบบ วัดสมรรถนะระหว่างวัฒนธรรมของอาจารย์ หลักสูตรนานาชาติ และน�ำแบบวัดสมรรถนะ ระหว่างวัฒนธรรมของอาจารย์หลักสูตรนานา ชาติ แจกไปยั ง อาจารย์ ห ลั ก สู ต รนานาชาติ เพื่ อ ศึ ก ษาความสอดคล้ อ งระหว่ า งตั ว บ่ ง ชี้ สมรรถนะระหว่ า งวั ฒ นธรรมของอาจารย์ หลักสูตรนานาชาติที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นกับข้อมูล จริง 4. การวิเคราะห์ข้อมูล ผู้วิจัยสกัดมิติ (องค์ประกอบ) ตัวบ่งชี้ พัฒนาเป็นกรอบคิดการพัฒนาตัวบ่งชีส้ มรรถนะ ระหว่างวัฒนธรรมของอาจารย์หลักสูตรนานา ชาติ และก�ำหนดนิยามเชิงปฏิบตั กิ าร (operational definition) ของแต่ละมิต ิ ตัวบ่งชีแ้ ละ น�ำค�ำนิยามเชิงปฏิบตั กิ ารมาสร้างแบบสัมภาษณ์ เชิงโครงสร้างเรือ่ ง การพัฒนาตัวบ่งชีส้ มรรถนะ ระหว่างวัฒนธรรมของอาจารย์หลักสูตรนานา ชาติโดยการสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญยืนยันความ เหมาะสมด้วยผู้เชี่ยวชาญ และวิเคราะห์ความ ตรงเชิงเนือ้ หาและความเทีย่ งของแบบสอบถาม สมรรถนะระหว่ า งวั ฒ นธรรมของอาจารย์ หลักสูตรนานาชาติด้วยการค�ำนวณค่าดัชนี IOC (Item Objective Congruence) วิเคราะห์ ความตรงเชิงโครงสร้าง (construct validity) ของแบบสอบถามสมรรถนะระหว่างวัฒนธรรม
ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2020/2563
57
การพัฒนาตัวบ่งชีส้ มรรถนะระหว่างวัฒนธรรมของอาจารย์หลักสูตรนานาชาติ
ของอาจารย์ ห ลั ก สู ต รนานาชาติ ด ้ ว ยการ ค�ำนวณค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบสอบ ถามสมรรถนะระหว่างวัฒนธรรมของอาจารย์ หลั ก สู ต รนานาชาติ โดยใช้ ค ่ า สั ม ประสิ ท ธิ์ แอลฟาของครอนบาค (Cronbach’s coefficient alpha) และตรวจสอบโมเดลการวัด สมรรถนะระหว่ า งวั ฒ นธรรมของอาจารย์ หลั ก สู ต รนานาชาติ โ ดยการวิ เ คราะห์ อ งค์ ประกอบเชิงยืนยัน (Confirmatory Factor Analysis: CFA) อันดับที่ 1 และอันดับที่ 2 ตามล�ำดับ สรุปและอภิปรายผล 1. สรุปผลการวิจัย 1.1 ผลการพั ฒ นาตั ว บ่ ง ชี้ ส มรรถนะ ระหว่างวัฒนธรรมของอาจารย์หลักสูตรนานา ชาติ พบว่า สมรรถนะระหว่างวัฒนธรรมของ อาจารย์ ห ลั ก สู ต รนานาชาติ ประกอบด้ ว ย 3 มิติ 7 ตัวบ่งชี้ ดังนี้ 1) มิ ติ ด ้ า นความรู ้ ใ นการสื่ อ สารและ ความหลากหลายทางวั ฒ นธรรม (CMK) มี 2 ตัวบ่งชี ้ คือ ความรูค้ วามเข้าใจในการสือ่ สาร ระหว่างวัฒนธรรม (ICCK) และ ความรู้ความ เข้าใจในความหลากหลายทางวัฒนธรรมของ นักศึกษา (MULSK) 2) มิตดิ า้ นทัศนคติตอ่ ความหลากหลาย ทางวัฒนธรรม (AMC) ประกอบด้วย 3 ตัวบ่งชี้
58
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
ได้แก่ ความตระหนักในความหลากหลายทาง วัฒนธรรมของนักศึกษา (AWMULS) การเปิด ใจยอมรับความหลากหลายทางวัฒนธรรมของ นักศึกษา (OPMULS) และการใฝ่รู้ในความ หลากหลายทางวัฒนธรรมของนักศึกษา (CURMULS) 3) มิติด้านการปฏิสัมพันธ์และการสอน ระหว่างวัฒนธรรม (PTMS) ประกอบด้วย 2 ตัวบ่งชี ้ ได้แก่ การปฏิสมั พันธ์ระหว่างอาจารย์ กับนักศึกษาทีม่ คี วามหลากหลายทางวัฒนธรรม (PATIFUL) และการสอนนักศึกษาที่มีความ หลากหลายทางวัฒนธรรม (MULST) 1.2 ผลการพั ฒ นาแบบวั ด สมรรถนะ ระหว่างวัฒนธรรมของอาจารย์หลักสูตรนานา ชาติพบว่า ครอบคลุม 3 มิติ 7 ตัวบ่งชี้ เป็น แบบมาตรประมาณค่า 5 ระดับ 43 ข้อค�ำถาม มีความเป็นไปได้สูงส�ำหรับการน�ำไปเก็บรวบ รวมข้ อ มู ล ด้ ว ยค่ า สั ม ประสิ ท ธิ์ แ อลฟาของ ครอนบาค 947 1.3 ผลการวิเคราะห์ตรวจสอบโมเดล การวั ด สมรรถนะระหว่ า งวั ฒ นธรรมของ อาจารย์หลักสูตรนานาชาติโดยการวิเคราะห์ องค์ประกอบเชิงยืนยัน (Confirmatory Factor Analysis: CFA) ด้วยข้อมูลกลุ่มตัวอย่าง จ�ำนวน300 คน ปรากฏผลดังนี้ 1) ผลการวิ เ คราะห์ ค ่ า สั ม ประสิ ท ธิ์ สหสัมพันธ์ของเพียร์สนั (r) แสดงดังตารางที ่ 1
กัลญา โอภาสเสถียร, พันธ์ศักดิ์ พลสารัมย์ และ วรรณี แกมเกตุ
ตารางที่ 1 ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สันขององค์ประกอบสมรรถนะระหว่างวัฒนธรรม ของอาจารย์หลักสูตรนานาชาติ ICCK
MULSK AWMULS OPMULS CURMULS
PATIFMULS
MULST
ICCK 1 MULSK 0.550** 1 AWMULS 0.404** 0.333** 1 OPMULS 0.610** 0.331** 0.380** 1 CURMULS 0.625** 0.513** 0.364** 0.593** 1 PATIFMULS 0.491** 0.437** 0.356** 0.538** 0.538** 1 MULST 0.527** 0.485** 0.316** 0.598** 0.598** 0.657** 1 Bartlett’s test of sphericity Chi-Square=956.829, df=21, p=0.000, KMO=0.871 จากตารางที ่ 1 พบว่า ค่าสหสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรสังเกตได้ทงั้ 7 ตัวแปร ขององค์ประกอบ สมรรถนะระหว่างวัฒนธรรมของอาจารย์หลักสูตรนานาชาติ รวมทัง้ 21 คู ่ แตกต่างจากศูนย์อย่าง มีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 ทุกคู่มีค่าความสัมพันธ์กันในระดับต�่ำถึงปานกลาง มีค่าระหว่าง 0.316-0.657 นอกจากนีย้ งั พบว่าผลการวิเคราะห์คา่ Baertlett test of Sphericity มีคา่ เท่ากับ 956.829 ซึง่ มีคา่ ความน่าจะเป็นน้อยกว่า 0.01 (p<0.01) ส่วนค่า Kaiser-Mayer-Olkin Measurers of Sampling Adequacy (MSA) มีค่าเท่ากับ 0.871 โดยมีค่ามากกว่า0.80 แสดงว่าตัวแปรมี ความสัมพันธ์กันดีมาก สามารถน�ำไปวิเคราะห์องค์ประกอบได้ตามข้อเสนอของคิมและมัชเลอร์ เสนอว่า ค่ามากกว่า 0.80 ดีมากและถ้ามีค่าน้อยกว่า 0.50 ใช้ไม่ได้ (Kim&Muclle, 1978 อ้าง ถึงใน สมเกียรติ ทานอก, 2539) 2) ผลการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันอันดับที่หนึ่งด้วยโปรแกรมลิสเรลเพื่อสร้างสเกล องค์ประกอบ (มิต)ิ มาตรฐานจากตัวแปรสังเกตได้ (ตัวบ่งชี)้ จ�ำนวน 7 ตัวบ่งชี ้ และ ค่าสัมประสิทธิ์ สหสัมพันธ์ระหว่างกันขององค์ประกอบมิติ 3 มิติ ในสมรรถนะระหว่างวัฒนธรรมของอาจารย์ หลักสูตรนานาชาติ แสดงดังตารางที่ 2 และ 3
ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2020/2563
59
การพัฒนาตัวบ่งชีส้ มรรถนะระหว่างวัฒนธรรมของอาจารย์หลักสูตรนานาชาติ
ตารางที ่ 2 ผลการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันอันดับที ่ 1 ขององค์ประกอบสมรรถนะระหว่าง วัฒนธรรมของอาจารย์หลักสูตรนานาชาติ องค์ ประ กอบ มิติ CMK
สัมประสิทธิ์ สัมประสิทธิ์ ความคลาด การ คะแนน เคลื่อนของ พยากรณ์ องค์ประกอบ λ SE ตัวบ่งชี้ (e) t (R2) (FS) LCCK 0.80 0.03 14.90** 0.66 0.60 0.34 MULSK 0.68 0.03 12.06** 0.46 0.48 0.54 AMC AWMULS 0.48 0.03 8.40** 0.23 0.09 0.77 OPMULS 0.76 0.03 14.69** 0.58 0.39 0.42 CURMULS 0.78 0.03 15.18** 0.61 0.22 0.39 PTMS PATIFMUL 0.78 0.03 14.75** 0.61 0.51 0.39 MULST 0.84 0.03 16.01** 0.70 0.71 0.30 Chi-Square=5.55, df=8, p=0.698, CFI=1.00, GFI=0.99, AGFI=0.98, SRMR=0.014, RMSEA=0.000, CN=1076.10 ตัวแปร สังเกตได้ (ตัวบ่งชี้)
เมทริกซ์น�้ำหนัก องค์ประกอบ
**P < .01 ตารางที่ 3 ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่างกันขององค์ประกอบมิติ 3 มิติในสมรรถนะระหว่าง วัฒนธรรมของอาจารย์หลักสูตรนานาชาติ องค์ประกอบมิติ CMK AMC PTMS
CMK 1.00 0.99** 0.79**
**P < 0.01
60
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
AMC
PTMS
1.00 0.93**
1.00
กัลญา โอภาสเสถียร, พันธ์ศักดิ์ พลสารัมย์ และ วรรณี แกมเกตุ
จากตารางที่ 2 – 3 สามารถสร้างโมเดลสมรรถนะระหว่างวัฒนธรรมของอาจารย์หลักสูตรนานา ชาติ ได้ดังภาพที่ 1
ภาพที ่ 1 โมเดลการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันอันดับที ่ 1 ขององค์ประกอบ (มิต)ิ สมรรถนะ ระหว่างวัฒนธรรมของอาจารย์หลักสูตรนานาชาติ จากตารางที่ 2, 3 และภาพที่ 1 ผลการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันอันดับที่ 1 พบว่า โมเดลองค์ประกอบสมรรถนะระหว่างวัฒนธรรมของอาจารย์หลักสูตรนานาชาติมีความสอดคล้อง กับข้อมูลเชิงประจักษ์ดีมาก พิจารณาจากค่าไค-สแควร์ (χ2) เท่ากับ 5.55 ค่าองศาอิสระ (df) เท่ากับ 8 ค่านัยส�ำคัญทางสถิต ิ (P-value) เท่ากับ 0.698 นัน่ หมายถึง ค่าไค-สแควร์ไม่มนี ยั ส�ำคัญ ทางสถิติ ค่าไค-สแควร์สัมพัทธ์ (χ2/df) เท่ากับ 0.694 ค่าดัชนีวัดความสอดคล้องกลมกลืนเชิง สัมพัทธ์ (CFI) เท่ากับ 1.00 และค่าดัชนีวัดระดับความสอดคล้อง (GFI) เท่ากับ 0.99 ค่าดัชนีวัด ระดับความสอดคล้องทีป่ รับแก้แล้ว (AGFI) เท่ากับ 0.98 รากทีส่ องของค่าเฉลีย่ ก�ำลังสองของส่วน เหลือมาตรฐาน (SRMR) เท่ากับ 0.014 ค่าความคลาดเคลื่อนในการประมาณค่าพารามิเตอร์ (RMSEA) เท่ากับ 0.000 น�ำ้ หนักองค์ประกอบของตัวแปรสังเกตได้ (ตัวบงชี)้ ทัง้ 7 ตัวมีคา่ เป็นบวก
ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2020/2563
61
การพัฒนาตัวบ่งชีส้ มรรถนะระหว่างวัฒนธรรมของอาจารย์หลักสูตรนานาชาติ
มีค่าตั้งแต่ 0.48 – 0.84 ซึ่งเกินเกณฑ์ที่ก�ำหนด คือ 0.30 และมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 ทุกค่า แสดงว่าเป็นตัวบ่งชี้ที่ส�ำคัญของทั้ง 3 องค์ประกอบและค่าขนาดตัวอย่างวิกฤต (CN) เท่ากับ 1076.10 และพบว่าองค์ประกอบมิติในโมเดลมีความสัมพันธ์กันทุกตัวซึ่งเกิดจากความ สัมพันธ์ระหว่างความแปรปรวนและความแปรปรวนร่วมขององค์ประกอบย่อยที่ปรับให้เป็น มาตรฐานแล้ว มีค่าความสัมพันธ์ต�่ำสุดถึงสูงสุดตั้งแต่ 0.79 – 0.99 และตัวบ่งชี้แต่ละตัวจะมี ความคลาดเคลื่อนรวมอยู่ด้วยซึ่งเกิดจากความสัมพันธ์ระหว่างตัวบ่งชี้กับตัวบ่งชี้อ่ืนในโมเดล ในการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันในครั้งนี้ได้น�ำค่าความคลาดเคลื่อนเข้ามาวิเคราะห์ด้วย 3) ผลการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันอันดับที่สองด้วยโปรแกรมลิสเรลเพื่อพัฒนาตัว บ่งชีส้ มรรถนะระหว่างวัฒนธรรมของอาจารย์หลักสูตรนานาชาติ ดังแสดงในตารางที ่ 4 และภาพที ่ 2
ภาพที่ 2 โมเดลการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันอันดับสองของตัวบ่งชี้สมรรถนะระหว่าง วัฒนธรรมของ
62
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
กัลญา โอภาสเสถียร, พันธ์ศักดิ์ พลสารัมย์ และ วรรณี แกมเกตุ
ตารางที ่ 4 ผลการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันอันดับทีส่ อง เพือ่ พัฒนาตัวบ่งชีส้ มรรถนะระหว่าง วัฒนธรรมของอาจารย์หลักสูตรนานาชาติ
องค์ประกอบมิติ
เมทริกซ์น�้ำหนัก องค์ประกอบ λ
SE
t
สัมประสิทธิ์ สัมประสิทธิ์ ความคลาด คะแนน การพยากรณ์ เคลื่อนของตัว องค์ ป ระกอบ (R2) บ่งชี้ (e) (FS)
การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันอันดับแรก องค์ประกอบย่อยมิติด้านความรู้ในการสื่อสารและความหลากหลายทางวัฒนธรรม (CMK) LCCK 0.81 0.66 0.60 0.34 MULSK 0.68 0.03 10.87** 0.46 0.48 0.54 องค์ประกอบย่อยมิติด้านทัศนคติต่อความหลากหลายทางวัฒนธรรม (AMC) AWMULS 0.48 0.23 0.09 0.77 OPMULS 0.76 0.06 8.10** 0.58 0.39 0.42 CURMULS 0.78 0.06 8.20** 0.61 0.22 0.39 องค์ประกอบย่อยมิติด้านการปฏิสัมพันธ์และการสอนระหว่างวัฒนธรรม (PTMS) PATIFMUL 0.78 0.61 0.51 0.39 MULST 0.84 0.04 13.06** 0.70 0.71 0.30 การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันอันดับสอง CMK 0.91 0.07 14.04** 0.84 AMC 0.95 0.13 8.49** 0.97 PTMS 0.86 0.07 12.28** 0.74 Chi-Square=5.55, df=8, p=0.698, CFI=1.00, GFI=0.99, AGFI=0.98, SRMR=0.014, RMSEA=0.000, CN=1076.10 **P < .01 ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2020/2563
63
การพัฒนาตัวบ่งชีส้ มรรถนะระหว่างวัฒนธรรมของอาจารย์หลักสูตรนานาชาติ
จากตารางที่ 4 และภาพที่ 2 ผลการ วิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันอันดับที่ 2 พบว่า โมเดลมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิง ประจักษ์ดมี าก พิจารณาจากค่าไค-สแควร์ χ2) เท่ากับ 5.55 ค่าองศาอิสระ(df) เท่ากับ 8 ค่านัยส�ำคัญทางสถิต ิ (P-value) เท่ากับ 0.698 นัน่ หมายถึงค่าไค-สแควร์ไม่มนี ยั ส�ำคัญทางสถิติ ค่าไค-สแควร์สัมพัทธ์ (χ2/df) เท่ากับ 0.694 ค่าดัชนีวดั ความสอดคล้องกลมกลืนเชิงสัมพัทธ์ (CFI) เท่ากับ 1.00 และค่าดัชนีวดั ระดับความ สอดคล้อง (GFI) เท่ากับ 0.99 ค่าดัชนีวดั ระดับ ความสอดคล้องที่ปรับแก้แล้ว (AGFI) เท่ากับ 0.98 รากทีส่ องของค่าเฉลีย่ ก�ำลังสองของส่วน เหลือมาตรฐาน (SRMR) เท่ากับ 0.014 ค่า ความคลาดเคลื่อนในการประมาณค่าพารา มิเตอร์ (RMSEA) เท่ากับ 0.000 และค่าขนาด ตัวอย่างวิกฤต (CN) เท่ากับ 1076.10 น�ำ้ หนัก องค์ประกอบของตัวบ่งชี้ท้ัง 3 มีค่าเป็นบวก มีค่าตั้งแต่ 0.86 – 0.95 และมีนัยส�ำคัญทาง สถิตที่ระดับ 0.01 ทุกค่า เรียงล�ำดับจากมาก ไปหาน้อย คือมิติด้านทัศนคติต่อความหลาก หลายทางวัฒนธรรม(AMC) มีคา่ น�ำ้ หนัก 0.95 มิติด้านความรู้ในการสื่อสารและความหลาก หลายทางวัฒนธรรม (CMK) มีคา่ น�ำ้ หนัก 0.91 และมิ ติ ด ้ า นการปฏิ สั ม พั น ธ์ แ ละการสอน ระหว่างวัฒนธรรม (PTMS) มีคา่ น�ำ้ หนัก 0.86 แต่ละองค์ประกอบมีความแปรผันร่วมกันกับ
64
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
องค์ประกอบสมรรถนะระหว่างวัฒนธรรมของ อาจารย์หลักสูตรนานาชาติอยูร่ ะหว่าง 0.74 – 0.97 หรือร้อยละ 74 – 97 2.อภิปรายผลการวิจัย 2.1 ผลการพัฒนาตัวบ่งชีพ้ บว่าสมรรถนะ ระหว่างวัฒนธรรมของอาจารย์หลักสูตรนานา ชาติประกอบด้วย 3 มิติองค์ประกอบ 7 ตัว บ่งชี้ คือ 1. มิติด้านความรู้ในการสื่อสารและ ความหลากหลายทางวัฒนธรรม 2. มิติด้าน ทัศนคติต่อความหลากหลายทางวัฒนธรรม และ 3. มิติด้านการปฏิสัมพันธ์และการสอน ระหว่างวัฒนธรรม สอดคล้องกับ Anita Gopal (2011) ซึ่งได้ศึกษาเรื่อง Internationalization of Higher Education: Preparing Faculty to Teach Cross-culturally สรุปว่า สมรรถนะระหว่างวัฒนธรรมหรือสมรรถนะที่ จะช่วยให้อาจารย์สอนเป็นอย่างนานาชาติได้ นั้นประกอบด้วยทัศคติคืออาจารย์ต้องเคารพ และเห็นคุณค่าวัฒนธรรมของผู้อื่น มีความคิด เชิ ง บวก กระตื อ รื อ ร้ น ใฝ่ รู ้ ใ นวั ฒ นธรรมที่ หลากหลาย ความรู้ความเข้าใจคือเข้าใจภาษา และหน้ า ที่ ข องวั ฒ นธรรมนั้ น ๆ และทั ก ษะ คือความสามารถตอบโต้ตอบสนองกับนักศึกษา ในวั ฒ นธรรมนั้ น ๆ ส่ ว นผลการพั ฒ นาแบบ วัดสมรรถนะระหว่างวัฒนธรรมของอาจารย์ หลักสูตรนานาชาติมีลักษณะเป็นแบบมาตร ประเมินค่า 5 ระดับมีเนื้อหาที่ครอบคลุมมิติ
กัลญา โอภาสเสถียร, พันธ์ศักดิ์ พลสารัมย์ และ วรรณี แกมเกตุ
องค์ ป ระกอบทั้ ง 3 มิ ติ 7 ตั ว บ่ ง ชี้ 43 ข้ อ ค�ำถามมีค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค (cronbach’s coefficient alpha) ทั้งชุด เท่ า กั บ .947 สรุ ป ได้ ว ่ า แบบวั ด สมรรถนะ ระหว่ า งวั ฒ นธรรมของอาจารย์ ห ลั ก สู ต ร นานาชาติฉบับนี้มีความเหมาะสมในการน�ำ ไปวั ด ระดั บ สมรรถนะระหว่ า งวั ฒ นธรรม ของอาจารย์ ห ลั ก สู ต รนานาชาติ ช าวไทยใน ประเทศไทยเพื่ อ น� ำ สู ่ ก ารพั ฒ นาสมรรถนะ ระหว่างวัฒนธรรมต่อไป อย่างไรก็ดีแบบวัด ฉบับนี้อาจไม่สามารถน�ำไปวัดระดับสมรรถนะ ระหว่างวัฒนธรรมของอาจารย์หลักสูตรนานา ชาติที่เป็นชาวต่างประเทศเนื่องจากแบบวัดนี้ ยังไม่ได้น�ำไปทดสอบกับกลุ่มตัวอย่างที่เป็น อาจารย์หลักสูตรนานาชาติชาวต่างประเทศซึง่ อาจจะต้องมีการปรับเนื้อหาของข้อค�ำถามใน แต่ละมิติเนื่องจากการตั้งข้อค�ำถามต้องค�ำนึง ถึงความแตกต่างทางวัฒนธรรมของอาจารย์ หลักสูตรนานาชาติชาวต่างประเทศ 2.2 โมเดลการวัดสมรรถนะระหว่าง วั ฒ นธรรมของอาจารย์ ห ลั ก สู ต รนานาชาติ มี ค วามสอดคล้ อ งกั บ ข้ อ มู ล เชิ ง ประจั ก ษ์ ค่ า น�้ ำ หนั ก คะแนนมาตรฐานทั้ ง 3 มิ ติ แ ละ ทุกตัวมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ.01 แสดงว่า
เป็นมิติองค์ประกอบที่ส�ำคัญของสมรรถนะ ระหว่างวัฒนธรรมของอาจารย์หลักสูตรนานา ชาติโดย มิติด้านทัศนคติต่อความหลากหลาย ทางวัฒนธรรม มีน�้ำหนักความส�ำคัญมากที่สุด สามารถอธิ บ ายการมี ส มรรถนะระหว่ า ง วั ฒ นธรรมของอาจารย์ ห ลั ก สู ต รนานาชาติ ได้มากที่สุด ทั้งนี้เมื่ออาจารย์หลักสูตรนานา ชาติเปิดใจยอมรับ ใฝ่รใู้ นความหลากหลายทาง วัฒนธรรมของนักศึกษาจะส่งผลให้อาจารย์ หลั ก สู ต รนานาชาติ ต ระหนั ก ในความหลาก หลายทางวัฒนธรรมของนักศึกษา ซึง่ สอดคล้อง กั บ โมเดลพี ร ะมิ ด ของสมรรถนะระหว่ า ง วัฒนธรรม (Deardorff, 2006; 2008; 2009; 2011) ซึ่งพบว่าการพัฒนาสมรรถนะระหว่าง วัฒนธรรมจะต้องเริ่มจากทัศนคติต่อด้วยการ ให้ความรู้ และ ทักษะ (การฝึกปฏิบัติ) และ ท้ า ยสุ ด คื อ ผลลั พ ธ์ ภายในจิ ต ใจและผลลั พ ธ์ ภายนอกที่ แ สดงออกมาเป็ น พฤติ ก รรมส่ ง ผลให้ อ าจารย์ ห ลั ก สู ต รนานาชาติ สามารถ สอนนั ก ศึ ก ษาที่ มี ค วามหลากหลายทาง วัฒนธรรมตลอดจนมีปฏิสัมพันธ์กับนักศึกษา ที่มีความหลากหลายทางวัฒนธรรมได้อย่างมี ประสิทธิภาพ
ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2020/2563
65
การพัฒนาตัวบ่งชีส้ มรรถนะระหว่างวัฒนธรรมของอาจารย์หลักสูตรนานาชาติ
ข้อเสนอแนะ 1. ข้อเสนอแนะในการน�ำผลการวิจยั ไปใช้ 1.1 ส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดม ศึ ก ษาน� ำ ชุ ด ตั ว บ่ ง ชี้ น้ี เ ป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ในการ ก�ำหนดเกณฑ์การประกันคุณภาพของอาจารย์ หลักสูตรนานาชาติและหลักสูตรอื่น 1.2 ผูบ้ ริหารหลักสูตรนานาชาตินำ� แบบ วัดนี้ไปตรวจวัดและพัฒนาสมรรถนะระหว่าง วั ฒ นธรรมของอาจารย์ ห ลั ก สู ต รนานาชาติ ก�ำหนดเป็นเกณฑ์การคัดเลือกอาจารย์หลัก สูตรนานาชาติหรือหลักสูตรอื่นในเบื้องต้น
66
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
2. ข้อเสนอแนะในการท�ำวิจยั ครัง้ ต่อไป 2.1 เก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุม่ ตัวอย่าง อื่ น เช่ น อาจารย์ ห ลั ก สู ต รนานาชาติ ใ น มหาวิ ท ยาลั ย เอกชนเพื่ อ ให้ ไ ด้ ข ้ อ มู ล ที่ เ ป็ น ประโยชน์ต่อไป 2.2 พัฒนาแบบวัดสมรรถนะระหว่าง วัฒนธรรมของอาจารย์หลักสูตรนานาชาติให้ มีความเป็นสากลและมีมาตรฐานระดับโลก เพื่อให้สามารถใช้ได้ส�ำหรับอาจารย์หลักสูตร นานาชาติทุกเชื้อชาติ
กัลญา โอภาสเสถียร, พันธ์ศักดิ์ พลสารัมย์ และ วรรณี แกมเกตุ
บรรณานุกรม จรัญญา เทพพรบัญชากิจ. (2556).“ประสิทธิภาพของรูปแบบการบริหารจัดการที่มีการเรียนการ สอนหลักสูตรนานาชาติของมหาวิทยาลัยเอกชนไทย.” (ปริญญาดุษฎีนพิ นธ์). สาขาวิชาการ วิจัยและพัฒนาการศึกษา, คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ชุตินันท์ จันทรเสนานนท์. (2553). การพัฒนาแบบวัดสมรรถนะเชิงวัฒนธรรมส�ำหรับนักเรียน มัธยมศึกษา. (วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรดุษฎีบณ ั ฑิต). สาขาวิชาวิทยาการวิจยั การศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ณิชาภา จันทร์เพ็ญ. (2555). การพัฒนาตัวบ่งชี้และแบบวัดสมรรถนะข้ามวัฒนธรรมของครู: การทดสอบความไม่แปรเปลี่ยนของการวัดตามภูมิหลังของครู. (วิทยานิพนธ์ปริญญาครุ ศาสตรมหาบัณฑิต). สาขาวิชาวิธีวิทยาการวิจัยการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย, จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. นงลักษณ์ วิรัชชัย. (2542). โมเดลลิสเรล (LISREL): สถิติวิเคราะห์ส�ำหรับการวิจัย. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ศิริชัย กาญจนวาสี. (2555). สถิติประยุกต์สาหรับการวิจัย. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์แห่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. Anita Gopal. (2011). “Internationalization of Higher Education: Preparing Faculty to Teach Cross- culturally”. International Journal of Teaching and Learning in Higher Education : Vl.13Queens University. Alvino Fantini, Aqeel Tirmizi. (2006). Exploring and Assessing Intercultural Competence. SIT Graduate Institute/SIT Study Abroad Digital Collections@ SIT. Chonh Pui Yee. (2013). Internationalization of Higher Education: A Literature Review On competency approach. College of Foundation & General Studies, Universiti Tenaga Nasional, Jalan IKRAM-UNITEN, Kajang, Malaysia Deardorff, Darla K. (2006). “The Identification and Assessment of Intercultural Competence as a Student Outcome of Internationalization at Institutions of Higher Education in the United States”. Journal of Studies in Interna tional Education. Fall 2006, p.241-266 and The SAGE Handbook o Intercultural Competence. ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2020/2563
67
กิจกรรม “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ด้านนาฏศิลป์” เพื่อยกระดับคุณภาพผู้เรียน สำ�หรับนักเรียน ระดับชั้นมัธยมศึกษา
Activities about “Tech less Learn more on Thai dance” to enhance the quality of learning for high school students.
ดร.ทิพอนงค์ กุลเกตุ * อาจารย์ภาควิชาศึกษาทั่วไป คณะศิลปศึกษา วิทยาลัยนาฏศิลปสุพรรณบุรี สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ กระทรวงวัฒนธรรม Dr.Thip-anong Gulgate * Professor of General Education Program, Faculty of Art Education, Suphanburi college of Dramatic Arts ,Bunditpatanasilpa Institute
ข้อมูลบทความ
* รับบทความ 4 กันยายน 2561 * แจ้งแก้ไข 11 กันยายน 2561 * ตอบรับบทความ 13 กันยายน 2561
ทิพอนงค์ กุลเกตุ
บทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ถอดบทเรียนรูปแบบการจัด กิจกรรม“ลดเวลาเรียน เพิม่ เวลารูด้ า้ นนาฏศิลป์” เพือ่ ยกระดับคุณภาพ ผู้เรียน ส�ำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษา 2) พัฒนากิจกรรม“ลดเวลา เรียน เพิ่มเวลารู้ด้านนาฏศิลป์” เพื่อยกระดับคุณภาพผู้เรียน ส�ำหรับ นักเรียนระดับมัธยมศึกษา 3) ทดลองใช้กจิ กรรม“ลดเวลาเรียน เพิม่ เวลา รู้ด้านนาฏศิลป์” เพื่อยกระดับคุณภาพผู้เรียน ส�ำหรับนักเรียนระดับ มัธยมศึกษา 4) ประเมินผลกิจกรรม“ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ด้าน นาฏศิ ล ป์ ” เพื่ อ ยกระดั บ คุ ณ ภาพผู ้ เรี ย น ส� ำ หรั บ นั ก เรี ย นระดั บ มัธยมศึกษา ใช้ระเบียบวิธีวิจัยแบบการวิจัยและพัฒนา (Research & Development) กลุ่มเป้าหมายในการวิจัย คือ นักเรียนระดับชั้น มัธยมศึกษา ด�ำเนินการวิจยั ในภาคเรียนที ่ 1 ปีการศึกษา 2560 เครือ่ ง มือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบทดสอบความรู้ด้านนาฏศิลป์ไทย แบบ ประเมินผลงานนาฏศิลป์สร้างสรรค์ แบบประเมินความพึงพอใจที่มีต่อ กิจกรรม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า 1. ผลการพั ฒ นากิ จ กรรม “ลดเวลาเรี ย น เพิ่ ม เวลารู ้ ด ้ า น นาฏศิลป์” เพื่อยกระดั บคุ ณ ภาพผู ้ เรี ย น ส� ำ หรั บนั ก เรี ย นระดั บชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษา มี อ งค์ ป ระกอบดั ง นี้ หลั ก การ เป้ า หมาย แนวการจั ด กิจกรรม จุดประสงค์การเรียนรู้ โครงสร้างการจัดกิจกรรม สื่อ/แหล่ง เรียนรู้ประกอบกิจกรรม การวัดและประเมินผล และค�ำชี้แจงในหน่วย การเรียนรู้ 2. ผลการทดลองใช้กิจกรรม “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ด้าน นาฏศิลป์” เพื่อยกระดั บคุ ณ ภาพผู ้ เรี ย น ส� ำ หรั บนั ก เรี ย นระดั บชั้ น มัธยมศึกษา
ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2020/2563
69
กิจกรรม “ลดเวลาเรียน เพิม่ เวลารูด้ า้ นนาฏศิลป์” เพือ่ ยกระดับคุณภาพผูเ้ รียน สำ�หรับนักเรียนระดับชัน้ มัธยมศึกษา
2.1 ด้านความรู้ มีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 17.60 ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐานเท่ากับ 0.78 2.2 ด้านความสามารถในการปฏิบัตินาฏศิลป์ไทย ในภาพรวม อยูใ่ นระดับดีมาก มีคะแนนเฉลีย่ เท่ากับ 82.50 ส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน เท่ากับ 0.17 2.3 ด้านความพึงพอใจ โดยภาพรวมอยู่ในระดับดีมากที่สุด ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.81 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.44 3. ประเมินผลกิจกรรม“ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ด้านนาฏศิลป์” เพื่อยกระดับคุณภาพผู้เรียน ส�ำหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา ตาม กรอบมาตรฐานการประเมิน 4 ด้าน พบว่า มีประสิทธิภาพอยู่ในระดับ มากทุกด้าน ค่าเฉลีย่ เท่ากับ 4.29 ส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.47 ค�ำส�ำคัญ:
70
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
กิจกรรม “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” กิจกรรมด้านนาฏศิลป์ไทย
ทิพอนงค์ กุลเกตุ
Abstract
The purposes of this research were to 1) study lesson/learn the activities 2) develop the activities 3) Implemented the activities and 4) Evaluat the activities about “Teach less Learn more on Thai dance” to enhance the quality of learning for high school students. The methodology of this research was Research & Development. The research tools were test, rubric scoring and questionnaires with the students on semester 1 academic year 2018. The percentage average standard deviation and content analysis statistical were used in this research. The research findings were: 1. The component of activities about “Teach less Learn more on Thai dance” to enhance the quality of learning for high school students consisted of explanatory, goal, step, objective, unit of learning, resources, assessment and direction 2. The achievement on activities about “Teach less Learn more on Thai dance” to enhance the quality of learning for high school students 2.1 The students had an post-test average score of 17.60. The standard deviation was 0.78. 2.2 The performance results on activities overall was in high level (average was 82.50 and S.D. was 0.17). In addition, Creative in Dance formation was in the highest level.
ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2020/2563
71
กิจกรรม “ลดเวลาเรียน เพิม่ เวลารูด้ า้ นนาฏศิลป์” เพือ่ ยกระดับคุณภาพผูเ้ รียน สำ�หรับนักเรียนระดับชัน้ มัธยมศึกษา
2.3 The satisfaction in overall was excellent (average was 4.81 and S.D. was 0.44). 3. evaluation was found to be effective at all levels. The mean was 4.29. The standard deviation was 0.47. Keyword:
72
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
activities about “Tech less Learn more” activities on Thai dance
ทิพอนงค์ กุลเกตุ
ความเป็นมาและความส�ำคัญของปัญหา กระทรวงศึกษาธิการได้เริ่มด�ำเนินการ วางแนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียนตาม นโยบาย “ลดเวลาเรียน เพิม่ เวลารู”้ (Moderate Class More Knowledge) เพือ่ ลดระยะเวลา เรียนในห้องเรียนน้อยลง เรียนนอกห้องเรียน มากขึน้ โดยไม่กระทบเนือ้ หาหลักทีผ่ เู้ รียนควร เรียนรู้ และครูปรับการเรียนการสอน การจัด กิจกรรมโดยเพิ่มเวลารู้และโอกาสให้ผู้เรียน ได้ลงมือปฏิบัติจริงผ่านกิจกรรม 4H ได้แก่ 1) กิจกรรมพัฒนาสมอง (Head) 2) กิจกรรม พัฒนาจิตใจ (Heart) 3) กิจกรรมพัฒนาทักษะ ปฏิ บั ติ (Hands) และ 4) กิ จ กรรมพั ฒ นา สุ ข ภาพ (Health) โดยให้ โรงเรี ย นใช้ เวลา อย่างน้อย 1 ชั่วโมงก่อนกลับบ้าน เพื่อเสริม สร้ า งทั ก ษะการเรี ย นรู ้ ทุ ก ด้ า นในรู ป แบบ กิจกรรมเสริมหลักสูตร แนวทางการปฏิรปู การ ศึกษาอย่างเป็นรูปธรรม คือ การลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพอย่างมีความ หมายเน้นการมีส่วนร่วมของผู้เรียน (Active Learning) ครอบคลุมวิธีการจัดการเรียนรู้ อย่างหลากหลายวิธี เช่น การจัดการเรียนรู้ โดยใช้ กิ จ กรรมเป็ น ฐาน (Activity Based Learning) การจัดการเรียนรู้เชิงประสบการณ์ (Experiential Leaning) การจัดการเรียนรู้ โดยใช้ ป ั ญ หาเป็ น ฐาน (Problem Based Learning) การจัดการเรียนรู้โดยโครงงานเป็น
ฐาน (Project Based Learning) การจัดการ เรียนรู้ที่เน้นทักษะกระบวนการคิด (Thinking Based Learning) การจัดการเรียนรู้จากการ สืบค้น (Inquiry Based Learning) และการ สอนแบบสร้ า งสรรค์ เ ป็ น ฐาน (Creative Based Learning) ควรเป็นกิจกรรมที่มีความ หลากหลายที่ ช ่ ว ยเพิ่ ม พู น ทั ก ษะการคิ ด วิเคราะห์ การจัดกิจกรรม “ลดเวลาเรียน เพิ่ม เวลารู้” ยังสอดคล้องกับแนวคิดเกี่ยวกับการ สร้างองค์ความรู้ (Constructivism) ซึ่งให้ ความส�ำคัญกับกลไกการสร้างโครงสร้างความ คิดของนักเรียน ในการสร้างความรู้มีพื้นฐาน มาจากทฤษฏี พั ฒ นาการทางสติ ปั ญ ญาของ เพี ย เจต์ (Piaget อ้ า งใน Fosnot. 1996) นอกนั้นจะชี้ให้เห็นถึงความส�ำคัญของพัฒนา การทางสติปัญญา แล้วยังเน้นถึงกระบวนการ เรียนรู้ในตัวผู้เรียนว่าเป็นพลวัต และความ สมดุลทางปัญญา (cognitive equilibrium) ว่าเมื่อบุคคลปะทะสัมพันธ์กับประสบการณ์ หนึ่งๆ ถ้าข้อมูลหรือประสบการณ์นั้นสัมพันธ์ กั บ ความรู ้ ห รื อ โครงสร้ า งทางปั ญ ญาที่ มี อ ยู ่ แล้วจะเกิดกระบวนการซึมซับ (assimilation) เข้ากับโครงสร้างทางปัญญาที่มีอยู่เดิมจะเกิด ภาวะไม่สมดุลท�ำให้บุคคลพยายามท�ำความ เข้าใจเพื่อปรับสมดุลทางปัญญาโดยการสร้าง โครงสร้างทางปัญญาขึ้นใหม่เกิดเป็นความรู้
ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2020/2563
73
กิจกรรม “ลดเวลาเรียน เพิม่ เวลารูด้ า้ นนาฏศิลป์” เพือ่ ยกระดับคุณภาพผูเ้ รียน สำ�หรับนักเรียนระดับชัน้ มัธยมศึกษา
ใหม่ของบุคคลนั้น แม้ผู้เรียนจะแลกเปลี่ยน ความคิดและประสบการณ์เกีย่ วกับสิง่ เดียวกัน แต่ ผู ้ เรี ย นแต่ ล ะคนไม่ ส ามารถจ� ำ และน� ำ ความรู้ของคนอื่นมาเป็นของตนและไวกอสกี้ (Vygotsky, 1962) ให้ ค วามส� ำ คั ญ กั บ การ ปะทะสัมพันธ์กับบริบท ที่เน้นว่าผู้เรียนสร้าง ความคิดรวบยอดด้วยตนเองเกีย่ วกับเรือ่ งต่างๆ จากการปะทะสัมพันธ์ตามธรรมชาติมาก่อน แล้ว แต่ผู้เรียนยังมีศักยภาพที่จะพัฒนาได้อีก หากได้รับการแนะน�ำจากผู้ที่มีประสบการณ์/ ความสามารถมากกว่า ดังนั้น การจัดกิจกรรม การเรียนรู้เป็นการสร้างปฏิสัมพันธ์ระหว่าง นักเรียนและครูเพื่อช่วยให้ผู้เรียนพัฒนาขึ้น โดยครูค่อยๆ พานักเรียนสร้างโครงสร้างความ คิดรวบยอดหรือพัฒนาความสามารถของตนที ละน้อยๆ (scaffolding) ประดุจนั่งร้านของ ช่างก่อสร้างจนนักเรียนบรรลุถึงระดับความ สามารถสูงสุดของตน การต่อยอดให้นักเรียนพัฒนาความรู้ และทั ก ษะในกิ จ กรรม “ลดเวลาเรี ย น เพิ่ ม เวลารู้” ที่น�ำไปสู่การสร้างผลผลิตสินค้า สิ่ง ประดิษฐ์ โดยจัดโอกาสให้ใช้เทคโนโลยีในการ สืบค้น สร้างความรู้ สร้างสรรค์ผลงาน อย่าง เป็นรูปธรรม เป็นการขยายแนวคิด constructivism ไปสูท่ ฤษฎีการจัดการเรียนรูท้ ใี่ ห้ผเู้ รียน เกิดการปะทะสัมพันธ์กบั ปัญหาและบริบทของ สั ง คม และการสร้ า งสรรค์ ผ ลผลิ ต ชิ้ น งาน
74
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
น�ำเสนอ ฯลฯ โดยใช้เทคโนโลยี Papert และ Harel (1991) เชื่ อ ว่ า ผู ้ เรี ย นจะคิ ด และท� ำ อย่างเป็นระบบเมื่อผู้เรียนต้องท�ำงานใช้สร้าง ค�ำสั่งคอมพิวเตอร์ในการสร้างชิ้นงานน�ำเสนอ Papert เน้นว่า “การเรียนรู้ที่ดี ไม่ได้มาจาก การหาวิธีการที่ดีกว่าส�ำหรับครูไปใช้สอน แต่ มาจากการที่ครูให้โอกาสที่ดีกว่าแก่ผู้เรียนใน การสร้ า งความรู ้ และจากแนวคิ ด ที่ เชื่ อ ว่ า มนุษย์ใฝ่ด ี มีศกั ยภาพในการเรียนรูแ้ ละพัฒนา การจัดกิจกรรม “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” จึงเป็นกิจกรรมการพัฒนาที่เป็นพลวัต สถาน ศึกษาควรจัดกิจกรรมให้สอดคล้องกับความ สนใจและความถนัดของนักเรียน ฝึกให้เกิด ทั ก ษะการคิ ด การจั ด การ ค่ า นิ ย มและ คุณธรรมจริยธรรม ฝึกปฏิบัติจากสภาพจริง มี ก ารผสมผสานความรู ้ ด ้ า นต่ า งๆ ปลู ก ฝั ง คุณธรรม ตลอดจนสนับสนุนให้ครูสามารถ สร้างความร่วมมือกับชุมชน องค์กรทีเ่ กีย่ วข้อง ในการพัฒนาการจัดกิจกรรมต่างๆ จัดโอกาส ให้นักเรียนน�ำความรู้ ทักษะกระบวนการที่ได้ จากการพัฒนาไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ ต่อตนเอง ชุมชน และสังคมได้ตามวัย นักเรียน จึงเข้าใจเรื่องที่เรียนรู้ เข้าใจตนเองและเข้าใจ สังคมของตนอย่างถ่องแท้ ครูจึงต้องมีการออกแบบโดยก�ำหนด เป้าหมายการจัดกิจกรรมทีช่ ดั เจนในการพัฒนา สมอง (Head) การพัฒนาทักษะการปฏิบัติ
ทิพอนงค์ กุลเกตุ
(Hands) การพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม (Heart) และการพัฒนาสุขภาพ (Health) ครูจึงต้อง ออกแบบกิจกรรม “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” ที่ เ ปิ ด โอกาสให้ นั ก เรี ย นเรี ย นรู ้ แ ละพั ฒ นา ตามวัตถุประสงค์ที่ร่วมกันก�ำหนดไว้ โดยครู พิจารณาความสอดคล้องระหว่างเป้าหมาย วิ ธี ก ารจั ด กิ จ กรรม และการประเมิ น ผลให้ สอดคล้องกัน ซึ่งอาจประเมินความก้าวหน้า ของนั ก เรี ย นโดยใช้ มิ ติ ข องความเข้ า ใจที่ แสดงออก เช่น โดยการอธิบาย ตีความ การ ประยุกต์ใช้ การปรับเปลีย่ นมุมมอง และความ เข้าใจตนเอง (Wiggins & McTighe, 2005) ซึง่ ช่วยให้ครูและนักเรียนเห็นความงอกงามของ นักเรียนที่เป็นผลของการจัดกิจกรรมได้หลาย มิติและสะท้อนคุณค่าความแตกต่างระหว่าง บุคคลของนักเรียนได้เป็นอย่างดี ครูเปลี่ยน บทบาทจากผูส้ อนมาเป็นผูอ้ ำ� นวยความสะดวก เป็นที่ปรึกษา ชี้แนะ ช่วยเหลือนักเรียน สิ่งที่ ส�ำคัญ คือ ครูปรับโลกทัศน์ที่มีต่อตนเองและ นักเรียนไปสู่ Growth mindset ซึ่งช่วยให้ เห็นคุณค่าของการฝึกฝนและความพยายามที่ มีต่อความสามารถของนักเรียน การร่วมกัน ประเมินหลักการท�ำกิจกรรมร่วมกัน ช่วยเรียน รู้ทั้งจากความส�ำเร็จและนักเรียนมองความล้ม เหลวว่ามีต่อการเรียนรู้และเกิดโอกาสในการ พัฒนาต่อเนือ่ ง จึงเรียกได้วา่ เกิดการเรียนรูแ้ ละ การพัฒนาที่แท้จริง
วิทยาลัยนาฏศิลปอ่างทอง/วิทยาลัยนาฏศิลป สุพรรณบุร ี สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ กระทรวง วัฒนธรรม จัดการศึกษาวิชาชีพด้านนาฏศิลป์ และดุริยางคศิลป์ ทั้งยังมีภารกิจส�ำคัญในการ อนุ รั ก ษ์ พั ฒ นา เผยแพร่ สร้ า งสรรค์ แ ละ สืบทอดศิลปวัฒนธรรมอันเป็นมรดกของชาติ ไทยให้ ธ� ำ รงอยู ่ สื บ ไป ทั้ ง นี้ ไ ด้ มี ก ารพั ฒ นา หลั ก สู ต รให้ มี ค วามทั น สมั ย และเหมาะสม สอดคล้ อ งกั บ หลั ก สู ต รของกระทรวง ศึกษาธิการ ได้แก่ หลักสูตรพื้นฐานวิชาชีพ วิทยาลัยนาฏศิลป์ พุทธศักราช 2551 ระดับ มั ธ ยมศึ ก ษาตอนต้ น และหลั ก สู ต รพื้ น ฐาน วิชาชีพวิทยาลัยนาฏศิลป์ พุทธศักราช 2551 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย โดยใช้มาตรฐาน ตัวชี้วัดในกลุ่มสาระการเรียนรู้ตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ในกลุม่ สาระการเรียนรู ้ 8 กลุม่ สาระการ เรียนรู ้ ส่วนมาตรฐานการเรียนรู ้ ผลการเรียนรู้ และมาตรฐานการเรียนรู้ในกลุ่มวิชาชีพนั้น แสดงถึ ง ความเป็ น วิ ช าชี พ ด้ า นนาฏศิ ล ป์ และดุริยางค์ศิลป์อันเป็นอัตลักษณ์ของการ จัดการศึกษาของวิทยาลัยนาฏศิลป์ นอกจากนี้ วิทยาลัยได้จัดเวลาเรียนโดยให้นักเรียนระดับ มัธยมศึกษาตอนต้นเรียนวิชากลุ่มสาระการ เรียนรู้พื้นฐานในตอนเช้าจ�ำนวน 15 ชั่วโมง/ สัปดาห์ และเรียนวิชาปฏิบตั เิ อกและปฏิบตั โิ ท 20 ชัว่ โมง/สัปดาห์ โดยได้จดั แบ่งนักเรียนตาม
ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2020/2563
75
กิจกรรม “ลดเวลาเรียน เพิม่ เวลารูด้ า้ นนาฏศิลป์” เพือ่ ยกระดับคุณภาพผูเ้ รียน สำ�หรับนักเรียนระดับชัน้ มัธยมศึกษา
กลุ่มความสนใจตั้งแต่เริ่มแรก ได้แก่ กลุ่มวิชา เอกโขนพระ กลุ่มวิชาเอกโขนยักษ์ กลุ่มวิชา เอกโขนลิง กลุ่มวิชาเอกละครพระ กลุ่มวิชา เอกละครนาง กลุม่ วิชาเอกเครือ่ งสาย กลุม่ วิชา เอกปีพ่ าทย์ กลุม่ วิชาเอกคีตศิลป์ไทย กลุม่ วิชา เอกดนตรีสากล และกลุม่ วิชาเอกคีตศิลป์สากล เป็นการจัดกิจกรรมที่เน้นผู้เรียนเป็นส�ำคัญ และครูจดั กิจกรรมการเรียนรูอ้ ย่างเป็นขัน้ ตอน เพือ่ ให้ผเู้ รียนมีทกั ษะจนปฏิบตั ไิ ด้อย่างช�ำนาญ รวมทัง้ สามารถต่อยอดเพือ่ สร้างรายได้จากงาน อาชีพดังกล่าวด้วย ทั้งนี้ได้ใช้รูปแบบการเรียน การสอนนี้มาตั้งแต่ พุทธศักราช 2477 เป็น เวลานานกว่า 82 ปี การจัดการเรียนการสอน ดั ง กล่ า วมี ค วามเป็ น วิ ช าชี พ เป็ น รู ป ธรรม สอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้นเรื่อง “ลด เวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” ในปัจจุบัน สร้างความ สนใจให้กบั หลายโรงเรียนในสังกัดอืน่ ๆ ทีก่ ำ� ลัง เริม่ ต้นจัดกิจกรรม “ลดเวลาเรียน เพิม่ เวลารู”้ สามารถเป็นต้นแบบ และเป็นแบบอย่างที่ดีใน การจัดการเรียนการสอนดังกล่าว ผู้วิจัยเห็นว่ารูปแบบการเรียนการสอน ของวิทยาลัยนาฏศิลป์มีความสอดคล้องกับรูป แบบการจัดกิจกรรม “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลา รู้” เป็นนโยบายมุ่งเน้นเพื่อยกระดับคุณภาพ ผู้เรียนของ นายกรัฐมนตรี ฯพณฯ ประยุทธ์ จั น ทร์ โ อชา และได้ ส ่ ง ต่ อ แนวปฏิ บั ติ ใ ห้ กระทรวงศึกษาธิการ เพื่อมุ่งเน้นให้เด็กไทย
76
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
มีทักษะการคิด ทักษะวิชาชีพ และสามารถ สร้างรายได้ เห็นว่าควรมีการถอดบทเรียนสร้าง องค์ความรู้ (body of knowledge) โดยน�ำ เสนอเป็นกิจกรรม“ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ด้านนาฏศิลป์” เพื่อยกระดับคุณภาพผู้เรียน ส�ำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษา เพื่อเป็นต้น แบบให้กับโรงเรียนต่างๆ ได้ศึกษาและน�ำไป ปรับใช้ให้สอดคล้องกับบริบทการจัดการศึกษา ของโรงเรียนในสังกัดอื่นๆ ต่อไป วัตถุประสงค์การวิจัย 1. เพื่ อ ถอดบทเรี ย นการจั ด กิ จ กรรม “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ด้านนาฏศิลป์” เพื่อ ยกระดับคุณภาพผูเ้ รียน ส�ำหรับนักเรียนระดับ มัธยมศึกษา 2. เพื่อพัฒนากิจกรรม “ลดเวลาเรียน เพิม่ เวลารูด้ า้ นนาฏศิลป์” เพือ่ ยกระดับคุณภาพ ผู้เรียน ส�ำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษา 3. เพื่ อ ทดลองใช้ กิ จ กรรม “ลดเวลา เรี ย น เพิ่ ม เวลารู ้ ด ้ า นนาฏศิ ล ป์ ” เพื่ อ ยก ระดับคุณภาพผู้เรียน ส�ำหรับนักเรียนระดับ มัธยมศึกษา 4. เพื่อประเมินผลกิจกรรม “ลดเวลา เรี ย น เพิ่ ม เวลารู ้ ด ้ า นนาฏศิ ล ป์ ” เพื่ อ ยก ระดับคุณภาพผู้เรียน ส�ำหรับนักเรียนระดับ มัธยมศึกษา
ทิพอนงค์ กุลเกตุ
ค�ำถามในการวิจัย 1. รูปแบบการจัดกิจกรรม “ลดเวลา เรียน เพิ่มเวลารู้ด้านนาฏศิลป์” เพื่อยกระดับ คุณภาพผู้เรียน ส�ำหรับนักเรียนระดับมัธยม ศึกษา มีองค์ประกอบอะไรบ้าง 2. กิจกรรม “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ด้านนาฏศิลป์” เพื่อยกระดับคุณภาพผู้เรียน ส�ำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษา มีประสิทธิ ภาพในระดับใด 3. กิจกรรม “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลา รู้ด้านนาฏศิลป์” เพื่อยกระดับคุณภาพผู้เรียน ส�ำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษามีประสิทธิผล อยู่ในระดับใด ขอบเขตการวิจัย 1. ขอบเขตด้านกลุ่มเป้าหมาย 1.1 คณะผู้บริหาร วิทยาลัยนาฏศิลป์ จ�ำนวน 15 คน 1.2 ตัวแทนคณะครู จ�ำนวน 45 คน 1.3 ชั้นเรียนต้นแบบ “ลดเวลาเรียน เพิม่ เวลารูด้ า้ นนาฏศิลป์” จ�ำนวน 20 ห้องเรียน 1.4 นักเรียน จ�ำนวน 75 คน 1.5 ผูเ้ ชีย่ วชาญด้านการพัฒนาหลักสูตร และการจัดกิจกรรมการเรียนรู ้ จ�ำนวน 19 ท่าน 2. ขอบเขตด้านเนื้อหา การวิจัยนี้มุ่งศึกษาวิธีการ/ขั้นตอนของ กิจกรรมการเรียนรู้ ส�ำหรับวิชาในกลุ่มสาระ
การเรียนรู้ จ�ำนวน 12 ชั่วโมง/สัปดาห์ และ กิจกรรมการเรียนรู้ส�ำหรับวิชาในกลุ่มปฏิบัติ เอกและปฏิบัติโท 20 ชั่วโมง/สัปดาห์ เพื่อ พัฒนาความสามารถในการคิดขัน้ สูงของผูเ้ รียน ทีเ่ กิดจากการเรียนผ่านกิจกรรม “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ด้านนาฏศิลป์” ได้แก่ ทักษะที่เกิด จากกิจกรรมพัฒนาสมอง (Head) ทักษะที่ เกิดจากกิจกรรมพัฒนาจิตใจ (Heart) ทักษะ ทีเ่ กิดจากกิจกรรมปฏิบตั ิ (Hands) และทักษะ ที่เกิดจากกิจกรรมพัฒนาสุขภาพ (Health) 3. ขอบเขตด้านระยะเวลา การวิจัยนี้ใช้เวลาด�ำเนินการ 1 ปี (ใน ปีงบประมาณ 2561) เริ่มตั้งแต่เดือนกันยายน 2560 จนถึงเดือนตุลาคม 2561 นิยามศัพท์เฉพาะที่ใช้ในการวิจัย 1. กิจกรรม หมายถึง วิธีการ/ขั้นตอน ของกิ จ กรรมการเรี ย นรู ้ โดยองค์ ป ระกอบ ของรู ป แบบ ประกอบด้ ว ย 1) หลั ก การ 2) วั ต ถุ ป ระสงค์ 3) การจั ด กิ จ กรรม และ 4) การวัดและประเมินผล ซึ่งเป็นรูปแบบการ จัดกิจกรรมที่พัฒนาการเรียนรู้ด้านต่างๆ ของ นักเรียนไปพร้อมๆ กัน ทั้งด้านเนื้อหาสาระ และวิธีการตอบสนองแบบการเรียนรู้ 2. กิ จกรรมลดเวลาเรี ย น เพิ่ ม เวลารู ้ หมายถึง การจัดกิจกรรมการเรียนรูส้ ำ� หรับวิชา ในกลุ่มสาระการเรียนรู้ในตอนเช้าจ�ำนวน 15
ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2020/2563
77
กิจกรรม “ลดเวลาเรียน เพิม่ เวลารูด้ า้ นนาฏศิลป์” เพือ่ ยกระดับคุณภาพผูเ้ รียน สำ�หรับนักเรียนระดับชัน้ มัธยมศึกษา
ชั่วโมง/สัปดาห์ และจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ส� ำ หรั บ วิ ช าในกลุ่มปฏิบัติเ อกและปฏิบัติโท 20 ชั่วโมง/สัปดาห์ 3. ประสิ ท ธิ ผ ลของรู ป แบบการจั ด กระบวนการเรี ย นรู ้ หมายถึ ง ผลส� ำ เร็ จ ที่ เกิดจากการน�ำรูปแบบการจัดกระบวนการ เรี ย นรู ้ ไ ปใช้ ด� ำ เนิ น การกั บ นั ก เรี ย น คื อ 1) ความสามารถด้ า นการคิ ด ขั้ น สู ง ได้ แ ก่ คิ ด วิเคราะห์ คิดแก้ปัญหา คิดวิจารณญาณ และ คิดสร้างสรรค์ 2) กระบวนการเรียนรู้ 3) การ เรียนรู้อย่างมีความสุข และ 4) การเป็นบุคคล แห่งการเรียนรู้ วิธีด�ำเนินการวิจัย การวิจัยเรื่อง กิจกรรม“ลดเวลาเรียน เพิ่ ม เวลารู ้ ด ้ า นนาฏศิ ล ป์ ” เพื่ อ ยกระดั บ คุ ณ ภาพผู ้ เ รี ย น ส� ำ หรั บ นั ก เรี ย นระดั บ มั ธ ยมศึ ก ษา เป็ น การวิ จั ย เชิ ง ผสมผสานวิ ธี การ (Mixed Method Research) ระหว่าง การวิจยั เชิงคุณภาพ (Qualitative Research) กั บ การวิ จั ย เชิ ง ปริ ม าณ (Quantitative Research) โดยแบ่งขั้นตอนการวิจัยเป็น 4 ขั้นตอนหลักตามวัตถุประสงค์การวิจัย ดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 ถอดบทเรียนรูปแบบการ จั ด กิ จ กรรม“ลดเวลาเรี ย น เพิ่ ม เวลารู ้ ด ้ า น นาฏศิ ล ป์ ” เพื่ อ ยกระดั บ คุ ณ ภาพผู ้ เ รี ย น ส�ำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษา โดยมีราย ละเอียดขั้นตอนการวิจัย ดังนี้ 78
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
1.1 จุดประสงค์ เพื่อศึกษากิจกรรม “ลดเวลาเรี ย น เพิ่ ม เวลารู ้ ด ้ า นนาฏศิ ล ป์ ” ที่เป็นต้นแบบในการยกระดับคุณภาพผู้เรียน และพัฒนาทักษะการคิด (4Hs) ส�ำหรับนักเรียน ระดับมัธยมศึกษา วิทยาลัยนาฏศิลป์ สถาบัน บัณฑิตพัฒนศิลป์ กระทรวงวัฒนธรรม 1.2 วิธีด�ำเนินการ 1.2.1 สัมภาษณ์คณะผูบ้ ริหาร วิทยาลัย นาฏศิลป์ 15 แห่ง 1.2.2 จัดระดมสมองตัวแทนคณะครู 1.2.3 สังเกตการณ์ชั้นเรียน 1.2.4 สัมภาษณ์นักเรียน 1.3 เครื่องมือที่ใช้ 1.3.1 ประเด็นสัมภาษณ์คณะผู้บริหาร 1.3.2 ประเด็นระดมสมองคณะครู 1.3.3 แบบสังเกตการณ์ชั้นเรียน 1.3.4 แบบสัมภาษณ์นักเรียน 1.4 แหล่งข้อมูล 1.4.1 สัมภาษณ์คณะผูบ้ ริหาร วิทยาลัย นาฏศิลป์ จ�ำนวน 15 คน 1.4.2 ตัวแทนคณะครู จ�ำนวน 45 คน 1.4.3 ชั้นเรียนต้นแบบ “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ด้านนาฏศิลป์และดุริยางคศิลป์” 1.4.4 นักเรียน จ�ำนวน 75 คน 1.5 การวิเคราะห์ข้อมูล ใช้การวิเคราะห์เนือ้ หา (content analysis)
ทิพอนงค์ กุลเกตุ
ขั้ น ตอนที่ 2 น� ำ เสนอกิ จ กรรม “ลด เวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ด้านนาฏศิลป์” เพื่อยก ระดับคุณภาพผู้เรียน ส�ำหรับนักเรียนระดับ มัธยมศึกษา โดยมีรายละเอียดขัน้ ตอนการวิจยั ดังนี้ 2.1 จุดประสงค์ เพื่อน�ำเสนอกิจกรรม “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ด้านนาฏศิลป์” เพื่อ ยกระดับคุณภาพผูเ้ รียน ส�ำหรับนักเรียนระดับ มัธยมศึกษา 2.2 วิธีด�ำเนินการ 2.2.1 ร่างกิจกรรม“ลดเวลาเรียน เพิ่ม เวลารู้ด้านนาฏศิลป์” เพื่อยกระดับคุณภาพ ผู้เรียน ส�ำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษา 2.2.2 ตรวจสอบความเหมาะสมและ ความสอดคล้องของกิจกรรม “ลดเวลาเรียน เพิ่ ม เวลารู ้ ด ้ า นนาฏศิ ล ป์ ” เพื่ อ ยกระดั บ คุณภาพผู้เรียน ส�ำหรับนักเรียนระดับมัธยม ศึกษา 2.3 เครื่องมือที่ใช้ 2.3.1 เอกสารและงานวิ จั ย เกี่ ย วกั บ กิ จ กรรม“ลดเวลาเรี ย น เพิ่ ม เวลารู ้ ด ้ า น นาฏศิ ล ป์ ” เพื่ อ ยกระดั บ คุ ณ ภาพผู ้ เ รี ย น ส�ำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษา 2.3.2 แบบประเมิ น ความเหมาะสม และสอดคล้องของกิจกรรม “ลดเวลาเรียน เพิ่ ม เวลารู ้ ด ้ า นนาฏศิ ล ป์ ” เพื่ อ ยกระดั บ คุณภาพผู้เรียน ส�ำหรับนักเรียนระดับมัธยม ศึกษา
2.4 แหล่งข้อมูล ผูเ้ ชีย่ วชาญด้านการพัฒนาหลักสูตรและ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ จ�ำนวน 19 ท่าน 2.5 การวิเคราะห์ข้อมูล วิ เ คราะห์ ค ่ า เฉลี่ ย และส่ ว นเบี่ ย งเบน มาตรฐาน ขั้นตอนที่ 3 ทดลองใช้กิจกรรม “ลด เวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ด้านนาฏศิลป์” เพื่อยก ระดับคุณภาพผู้เรียน ส�ำหรับนักเรียนระดับ มัธยมศึกษา โดยมีรายละเอียดขัน้ ตอนการวิจยั ดังนี้ 3.1 จุดประสงค์ เพือ่ ทดลองใช้กจิ กรรม “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ด้านนาฏศิลป์” เพื่อ ยกระดับคุณภาพผูเ้ รียน ส�ำหรับนักเรียนระดับ มัธยมศึกษา 3.2 วิธีด�ำเนินการ ทดลองใช้กิจกรรม “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ด้านนาฏศิลป์” เพื่อยกระดับคุณภาพผู้เรียน ส�ำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษา 3.3 เครื่องมือที่ใช้ กิจกรรม “ลดเวลาเรียน เพิม่ เวลารูด้ า้ น นาฏศิลป์” เพือ่ ยกระดับคุณภาพผูเ้ รียนส�ำหรับ นักเรียนระดับมัธยมศึกษา แบบประเมินกิจกรรม “ลดเวลาเรียน เพิม่ เวลารูด้ า้ นนาฏศิลป์” เพือ่ ยกระดับคุณภาพ ผู้เรียน ส�ำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษา
ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2020/2563
79
กิจกรรม “ลดเวลาเรียน เพิม่ เวลารูด้ า้ นนาฏศิลป์” เพือ่ ยกระดับคุณภาพผูเ้ รียน สำ�หรับนักเรียนระดับชัน้ มัธยมศึกษา
3.4 แหล่งข้อมูล 3.4.1 สัมภาษณ์คณะผูบ้ ริหาร วิทยาลัย นาฏศิลป์ จ�ำนวน 15 คน 3.4.2 ตัวแทนคณะครู จ�ำนวน 45 คน 3.4.3 ชั้นเรียนต้นแบบ “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ด้านนาฏศิลป์และดุริยางคศิลป์” 3.4.4 นักเรียน จ�ำนวน 75 คน 3.5 การวิเคราะห์ข้อมูล วิ เ คราะห์ ค ่ า เฉลี่ ย และส่ ว นเบี่ ย งเบน มาตรฐาน ขั้นตอนที่ 4 ประเมินผลและขยายผล การใช้ กิ จ กรรม“ลดเวลาเรี ย น เพิ่ ม เวลารู ้ ด้านนาฏศิลป์” เพื่อยกระดับคุณภาพผู้เรียน ส�ำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษา โดยมีราย ละเอียดขั้นตอนการวิจัย ดังนี้ 4.1 จุดประสงค์ เพื่อประเมินผลและ ขยายผลการใช้กิจกรรม“ลดเวลาเรียน เพิ่ม เวลารู้ด้านนาฏศิลป์” เพื่อยกระดับคุณภาพ ผู้เรียน ส�ำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษา 4.2 วิธีด�ำเนินการ น�ำรูปแบบการจัด กิ จ กรรม “ลดเวลาเรี ย น เพิ่ ม เวลารู ้ ด ้ า น นาฏศิ ล ป์ แ ละดุ ริ ย างคศิ ล ป์ ” เพื่ อ ยกระดั บ คุ ณ ภาพผู ้ เ รี ย นและพั ฒ นาทั ก ษะการคิ ด (4Hs) ส�ำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษา ไปใช้ กับโรงเรียนในสังกัดอื่น
80
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
4.3 เครื่องมือที่ใช้ กิจกรรม “ลดเวลาเรียน เพิม่ เวลารูด้ า้ น นาฏศิ ล ป์ แ ละดุ ริ ย างคศิ ล ป์ ” เพื่ อ ยกระดั บ คุณภาพผูเ้ รียน ส�ำหรับผูเ้ รียนระดับมัธยมศึกษา 4.4 แหล่งข้อมูล 4.4.1 ครูนาฏศิลป์โรงเรียนมัธยมสังกัด สพฐ. จ�ำนวน 2 โรงเรียน 4.4.2 ครูนาฏศิลป์โรงเรียนมัธยมสังกัด อปท. จ�ำนวน 2 โรงเรียน 4.5 การวิเคราะห์ข้อมูล วิ เ คราะห์ ค ่ า เฉลี่ ย และส่ ว นเบี่ ย งเบน มาตรฐาน สรุปผลการวิจัย 1. ผู ้ วิ จั ย ได้ น� ำ ผลจากการวิ เ คราะห์ ข้ อ มู ล จากขั้ น ตอนการศึ ก ษาข้ อ มู ล พื้ น ฐาน ส�ำหรับการพัฒนากิจกรรม “ลดเวลาเรียน เพิม่ เวลารู้ด้านนาฏศิลป์” เพื่อยกระดับคุณภาพ ผูเ้ รียน ส�ำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษา และ ได้นำ� ข้อมูลให้ทปี่ รึกษาโครงการวิจยั ตรวจสอบ เบือ้ งต้น เพือ่ ขอค�ำแนะน�ำและข้อเสนอแนะใน การพัฒนากิจกรรม “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลา รู้ด้านนาฏศิลป์” เพื่อยกระดับคุณภาพผู้เรียน ส�ำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษา ซึ่งกิจกรรม “ลดเวลาเรี ย น เพิ่ ม เวลารู ้ ด ้ า นนาฏศิ ล ป์ ” มีองค์ประกอบดังนี้ หลักการ เป้าหมาย แนว
ทิพอนงค์ กุลเกตุ
การจัดกิจกรรม จุดประสงค์การเรียนรู้โครง สร้างการจัดกิจกรรม สือ่ /แหล่งเรียนรูป้ ระกอบ กิจกรรม การวัดและประเมินผล และค�ำชี้แจง ในหน่วยการเรียนรู้ 2. ผลการประเมินผลการเรียนรู้ เรื่อง นาฏศิลป์ไทย ผู้วิจัยได้ด�ำเนินการประเมินผล
จุดประสงค์การเรียนรู้ที่อยู่ในส่วนของภาค ทฤษฎี เรื่องนาฏศิลป์ไทย โดยใช้แบบทดสอบ วัดผลการเรียนรูห้ ลังเรียน จ�ำนวน 1 ชุด แบบ ปรนัย 4 ตัวเลือก จ�ำนวน 20 ข้อ แสดงผล การวิเคราะห์ท�ำแบบทดสอบของนักเรียนตาม จุดประสงค์การเรียนรู้
ตารางที่ 1 แสดงผลการวิเคราะห์ท�ำแบบทดสอบของนักเรียนตามจุดประสงค์การเรียนรู้ จุดประสงค์การเรียนรู้ ค่าเฉลี่ย นักเรียนสามารถบอกความหมายของนาฏศิลป์ได้ 17.00 นักเรียนสามารถบอกความรู้เกี่ยวกับนาฏศิลป์ไทยได้ 17.50 นักเรียนสามารถบอกความรูเ้ กีย่ วกับนาฏศิลป์สร้างสรรค์ได้ 18.67 นักเรียนสามารถจ�ำแนกการแสดงนาฏศิลป์ไทยได้ 16.75 นักเรียนสามารถบอกความรู้เกี่ยวกับนาฏศิลป์พื้นบ้านได้ 17.67 รวม 17.60
S.D. 0.00 1.05 0.58 0.50 1.75 0.78
อันดับ 4 3 1 5 2
ผู้วิจัยได้น�ำมาทดสอบค่าทีแบบ One – Sample t-test เพื่อเปรียบเทียบกับเกณฑ์ร้อยละ 80 สรุปผลดังตารางที่ 2 ตารางที่ 2 ผลการเปรียบเทียบผลการเรียนรู้ เรื่องนาฏศิลป์ไทย หลังการจัดกิจกรรม “ลดเวลา เรียน เพิ่มเวลารู้ด้านนาฏศิลป์” เทียบกับเกณฑ์ร้อยละ 80 ผลการ เรียนรู้
จ�ำนวน นักเรียน
คะแนน เต็ม
ค่าเฉลี่ย
S.D.
ร้อยละ
t-test
Sig
หลังเรียน
20
20
17.60
0.78
88
61.82
0.00
จากตารางที ่ 2 พบว่า ผลการเรียนรู ้ เรือ่ งนาฏศิลป์ไทย หลังการจัดกิจกรรม “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ด้านนาฏศิลป์” สัมพันธ์กับเกณฑ์ร้อยละ 80 ผู้เรียนมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 17.60 ส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.78 มีค่าร้อยละ 88 สูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 80 ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2020/2563
81
กิจกรรม “ลดเวลาเรียน เพิม่ เวลารูด้ า้ นนาฏศิลป์” เพือ่ ยกระดับคุณภาพผูเ้ รียน สำ�หรับนักเรียนระดับชัน้ มัธยมศึกษา
3. การประเมิ น ความสามารถของนั ก เรี ย นในการปฏิ บั ติ น าฏศิ ล ป์ ไ ทย หลั ง การจั ด กิจกรรม“ลดเวลาเรียน เพิม่ เวลารูด้ า้ นนาฏศิลป์” เป็นการประเมินจากการปฏิบตั ิ โดยนักเรียนเป็น ผู้สร้างสรรค์ท่าร�ำ การแปรแถว และการแต่งกายขึ้นมาใหม่ ซึ่งปรากฏดังตารางที่ 3 ตารางที่ 3 ผลการประเมินความสามารถในการปฏิบัตินาฏศิลป์ไทยหลังการจัดกิจกรรม รายการประเมิน การสร้างสรรค์ท่าร�ำ การสร้างสรรค์รูปแบบแถว การสร้างสรรค์การออกแบบ เครื่องแต่งกาย รวม
คะแนน เต็ม 60% 20% 20% 100
ค่าเฉลี่ย S.D. 52.50 15.00 15.00
0.51 0.00 0.00
82.50
0.17
ระดับ คุณภาพ 87.50 ดีมาก 75.00 ดี 75.00 ดี
ร้อยละ
ที่ 1 2 2
ดีมาก
จากตารางที ่ 3 ผลการประเมินความสามารถในการปฏิบตั นิ าฏศิลป์ไทยหลังการจัดกิจกรรม “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ด้านนาฏศิลป์” ในภาพรวมอยู่ในระดับดีมาก (X=82.50, S.D.=0.17) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ความสามารถที่มีคะแนนสูงสุด คือ การสร้างสรรค์ท่าร�ำ อยู่ใน ระดับคุณภาพดีมาก รองลงมา คือ การสร้างสรรค์รูปแบบแถวและการสร้างสรรค์การออกแบบ เครื่องแต่งกาย อยู่ในระดับคุณภาพดี 3. ประเมินผลกิจกรรม “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ด้านนาฏศิลป์” เพื่อยกระดับคุณภาพ ผู้เรียนส�ำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษา ตามกรอบมาตรฐานการประเมิน 4 ด้าน พบว่า มี ประสิทธิภาพอยู่ในระดับมากทุกด้าน ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.29 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.47
82
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
ทิพอนงค์ กุลเกตุ
อภิปรายผลการวิจัย จากการพัฒนากิจกรรม “ลดเวลาเรียน เพิม่ เวลารูด้ า้ นนาฏศิลป์” เพือ่ ยกระดับคุณภาพ ผู้เรียน ส�ำหรับนักเรียนมัธยมศึกษา มีประเด็น ที่น�ำมาเพื่ออภิปราย ดังนี้ 1. จากผลการศึกษาข้อมูลพื้นฐาน พบ ว่านักเรียนและผู้ที่เกี่ยวข้องต้องการให้พัฒนา กิจกรรม “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ด้านนาฏ ศิลป์” มีความคาดหวังให้นกั เรียนมีความรูเ้ รือ่ ง นาฏศิลป์ไทย การสร้างสรรค์นาฏศิลป์ไทย ทั้งนี้เป็นเพราะว่ากิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่ม เวลารู้ มีเป้าหมายเพื่อให้ผู้เรียนได้รับประสบ การณ์ที่หลากหลายเกิดความรู้ ความช�ำนาญ ด้านวิชาการและวิชาชีพ ค้นพบความสนใจ และความถนั ด ของตนเอง น� ำ ความรู ้ แ ละ ประสบการณ์ไปใช้พัฒนาตนเองและประกอบ อาชีพสุจริต มองเห็นช่องทางในการสร้างงาน อาชี พ ในอนาคตได้ อ ย่ า งเหมาะสม ค้ น พบ พัฒนาศักยภาพ พัฒนาบุคลิกภาพ เจตคติค่า นิยมทีด่ ใี นการด�ำเนินชีวติ เสริมสร้างคุณธรรม และจริยธรรม และมีจิตส�ำนึกในความรับผิด ชอบต่อตนเอง ครอบครัว สังคมและประเทศ ชาติ ตลอดจนความเป็นระเบียบวินยั คุณธรรม และจริยธรรม (กระทรวงศึกษาธิการ, 2551: 3-4) สอดคล้องกับกระทรวงศึกษาธิการที่ได้ ประกาศใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 ทีจ่ ดั ท�ำขึน้ ส�ำหรับ
สถานศึกษาได้นำ� ไปใช้เป็นกรอบและทิศทางใน การจัดท�ำหลักสูตรสถานศึกษาและจัดการเรียน การสอนเพื่อพัฒนาเด็กและเยาวชนไทยทุก คนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานให้มีคุณภาพ ด้านความรู้ และทักษะที่จ�ำเป็นในการด�ำรง ชี วิ ต ในสั ง คมที่ มี ก ารเปลี่ ย นแปลงและการ แสวงหาความรู ้ เพือ่ พัฒนาตนเองอย่างต่อเนือ่ ง ตลอดชีวิต ทั้งนี้ยังเป็นการส่งเสริมให้ผู้เรียน พั ฒ นาในการเป็ น เยาวชนของชาติ สู ่ โ ลก ศตวรรษที่ 21 และมุ ่ ง ส่ ง เสริ ม ให้ ผู ้ เรี ย นมี คุ ณ ภาพ รั ก ความเป็ น ไทย มี ทั ก ษะการคิ ด วิเคราะห์และความคิดสร้างสรรค์ มีทกั ษะทาง ด้านเทคโนโลยี สามารถท�ำงานอยู่ร่วมกันกับ ผูอ้ นื่ ในสังคมโลกได้อย่างมีความสุข (กระทรวง ศึกษาธิการ, 2551: 7) และ เคน เคย์ (Ken Kay, 2011: 34-35) ทีก่ ล่าวไว้วา่ ความสามารถ ในการคิดและทักษะในการคิดมีความส�ำคัญยิง่ เพราะความสามารถและทั ก ษะในการคิ ด มี ความจ�ำเป็นส�ำหรับการเรียนรู้ตลอดชีวิต การ ด�ำรงชีวติ และการปฏิบตั งิ านให้บรรลุเป้าหมาย และประสบผลส�ำเร็จ โดยเฉพาะในยุคข้อมูล ข่ า วสารความรู ้ ที่ มี ก ารเปลี่ ย นแปลงอย่ า ง รวดเร็วและต่อเนือ่ ง ดังมีนกั การศึกษากล่าวถึง แนวคิดส�ำคัญอย่างหนึ่งในยุคศตวรรษที่ 21 คือ ทักษะการเรียนรูแ้ ละนวัตกรรม (Learning and Innovation Skills) ได้แก่ 1) ความคิด สร้างสรรค์และนวัตกรรม 2) การคิดเชิงวิพากษ์
ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2020/2563
83
กิจกรรม “ลดเวลาเรียน เพิม่ เวลารูด้ า้ นนาฏศิลป์” เพือ่ ยกระดับคุณภาพผูเ้ รียน สำ�หรับนักเรียนระดับชัน้ มัธยมศึกษา
และการแก้ปัญหา และ3) การสื่อสารและการ ร่ ว มมื อ ท� ำ งาน ทั ก ษะชี วิ ต และการท� ำ งาน (Social and Cross-Cultural Skills) ได้แก่ 1) ความยื ด หยุ ่ น และความสามารถในการ ปรับตัว 2) ความคิดริเริ่มและการชี้น�ำตนเอง 3) ทั ก ษะทางสั ง คมและการเรี ย นรู ้ ข ้ า ม วัฒนธรรม 4) การเพิ่มผลผลิตและความรู้รับ ผิด และ5) ความเป็นผูน้ ำ� และความรับผิดชอบ (Ken Kay, 2011:34-35) ซึ่งทักษะด้านการ สร้างสรรค์ และนวัตกรรม (Creativity and Innovation) และทักษะด้านความเข้าใจต่าง วัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์ (Cross-cultural understanding) เป็นทักษะที่ส�ำคัญในยุค ศตวรรษที่ 21 2. จากผลการพัฒนากิจกรรม “ลดเวลา เรี ย น เพิ่ ม เวลารู ้ ด ้ า นนาฏศิ ล ป์ ” พบว่ า กิ จ กรรมที่ ส ร้ า งขึ้ น มี ค วามเหมาะสมอยู ่ ใ น ระดับมากที่สุด (x̅=4.60, S.D.= 0.54) โดย กิจกรรม “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ด้านนาฏ ศิลป์” มีองค์ประกอบทีส่ ำ� คัญ คือ 1) หลักการ 2) เป้าหมาย 3) แนวการจัดกิจกรรม 4) รูป แบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 5) ค�ำอธิบาย รายวิชา 6) จุดประสงค์การเรียนรู้ 7) โครง สร้าง การจัดกิจกรรม 8) สื่อ 9) การวัดและ ประเมินผล 10) หน่วยการเรียนรู้ จ�ำนวน 9 หน่วย ได้แก่ หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 มาเรียน นาฏศิลป์ไทยเบื้องต้น หน่วยการเรียนรู้ท่ี 2
84
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
เกริ่นน�ำร�ำไทย หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 ร�ำวง มาตรฐาน หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เพลงปลุกใจ หน่วยการเรียนรูท้ ี่ 5 การแสดงพืน้ บ้าน หน่วย การเรียนรูท้ ี่ 6 การแสดงละครไทย หน่วยการ เรียนรูท้ ี่ 7 โขน หน่วยการเรียนรูท้ ี่ 8 ร�ำ ระบ�ำ ฟ้อน และหน่วยการเรียนรูท้ ี่ 9 ลีลาสร้างสรรค์ แต่ละหน่วยจัดการเรียนรู้แบบประสบการณ์ และเน้นที่การปฏิบัติ 6 ขั้นตอนได้แก่ 1) ขั้น น�ำเข้าสูบ่ ทเรียน 2) ขัน้ ศึกษา/วิเคราะห์ 3) ขัน้ ปฏิบัติ/ฝึกหัด/ทดลอง 4) ขั้นสรุป/เสนอผล การเรียนรู้ 5) ขั้นปรับปรุงการเรียนรู้/น�ำไปใช้ 6) ขั้นการประเมินผล เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้ สามารถสร้างสรรค์ทา่ ร�ำ รูปแบบแถว และการ แต่งกาย โดยใช้เพลงที่สร้างสรรค์ขึ้นมาใหม่ ทั้งนี้เป็นเพราะว่ากิจกรรมพัฒนาผู้เรียนได้รับ การพัฒนาตามกระบวนการ ดังนี ้ 1) น�ำผลการ ศึกษาข้อมูลพืน้ ฐาน คือ การวิเคราะห์หลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 การสอบถามความต้องการของนักเรียน และการสัมภาษณ์ผู้ที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมลด เวลาเรียน เพิม่ เวลารู ้ เรือ่ งนาฏศิลป์สร้างสรรค์ ไทย 2) วิเคราะห์เนื้อหาสาระของกิจกรรมลด เวลาเรี ย น เพิ่ ม เวลารู ้ ที่ ต ้ อ งการพั ฒ นาให้ สอดคล้องกับบริบท 3) แนวการด�ำเนินการจัด กิจกรรมการเรียนรู้ สอดคล้องกับจุดประสงค์ การเรียนรู ้ ซึง่ เน้นให้ผเู้ รียนฝึกการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ และสร้างสรรค์ โดยเชิญผู้รู้ในท้อง
ทิพอนงค์ กุลเกตุ
ถิ่นมาให้ความรู้เกี่ยวกับนาฏศิลป์ ร่วมฝึกสอน ให้ ค� ำ แนะน� ำ จนนั ก เรี ย นเกิ ด องค์ ค วามรู ้ ที่ ชัดเจนจนสามารถปฏิบัติได้จริง มีการวัดผล ประเมินผลการเรียนรู้ตามจุดประสงค์ และ เนื้อหาสาระ โดยอาศัยการวัดและประเมินผล ตามสภาพจริง จะเห็นได้วา่ กิจกรรม “ลดเวลา เรียน เพิม่ เวลารูด้ า้ นนาฏศิลป์” เป็นกิจกรรมที่ สอดคล้องกับสภาพชุมชน และความต้องการ ของนักเรียน ท�ำให้นักเรียนได้พัฒนาตนเอง อย่างเต็มศักยภาพ ซึ่งสอดคล้องกับหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (2551: 20-21) ที่ ก ล่ า วถึ ง กิ จ กรรม พัฒนาผู้เรียนเป็นกิจกรรมที่จัดให้ผู้เรียนได้ พัฒนาความสามารถของตนเองตามศักยภาพ มุ่งเน้นเพิ่มจากกิจกรรมที่ได้จัดให้เรียนรู้ตาม กลุ่มสาระการเรียนรู้ 8 กลุ่ม การเข้าร่วมและ ปฏิบัติกิจกรรมที่เหมาะสมร่วมกับผู้อื่นอย่างมี ความสุขกับกิจกรรมที่เลือกด้วยตนเอง ตาม ความสามารถและความสนใจอย่างแท้จริง การ พัฒนาที่ส�ำคัญ ได้แก่ การพัฒนาองค์รวมของ ความเป็นมนุษย์ให้ครบทุกด้านทั้งร่างกาย สติ ปัญญา อารมณ์ และสังคม โดยอาจจัดเป็น แนวทางหนึ่งที่จะสนองนโยบายในการสร้าง เยาวชนของชาติให้เป็นผู้มีศีลธรรม จริยธรรม มีระเบียบวินัย และมีคุณภาพเพื่อพัฒนาองค์ รวมของความเป็นมนุษย์ทสี่ มบูรณ์ปลูกฝังและ สร้างจิตส�ำนึกของการท�ำประโยชน์เพื่อสังคม
กาญจนา คุณารักษ์ (2540: 342) และกาญจนา ศรีกาฬสินธุ์ (2538: 491) กล่าวสอดคล้องกัน ว่า กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนมุ่งส่งเสริมประสบ การณ์ของผู้เรียนให้กว้างขวางยิ่งขึ้น เพื่อให้ การเรียนการสอนตามหลักสูตรมีความสมบูรณ์ นอกจากนี้สุนันท์ ศิริวรรณ์ (2544: 23) และ กรรณิกา ภู่ระหงษ์ (2547: 24) ได้กล่าวถึง กิ จ กรรมพั ฒ นาผู ้ เ รี ย นที่ ส อดคล้ อ งกั น ว่ า กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนมีจุดมุ่งหมายเพื่อส�ำรวจ ความสนใจและความถนั ด ของแต่ ล ะบุ ค คล ใช้ เวลาว่ า งให้ เ กิ ด ประโยชน์ สนองความ ต้องการทางจิตวิทยาให้เป็นที่ยอมรับของกลุ่ม ช่วยให้นักเรียนรู้จักและเข้าใจตนเอง นักเรียน มีความสามารถในการแก้ปัญหาและได้เรียนรู้ ได้กว้างขวางขึ้น และเป็นแนวทางในการปรับ ปรุงให้สอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียน โดยมุ่งเน้นและพัฒนาคุณภาพของนักเรียน ส�ำหรับหน่วยการเรียนรูท้ งั้ 9 หน่วย ประกอบ ด้ ว ย ชื่ อ กิ จ กรรม สาระส� ำ คั ญ จุ ด ประสงค์ การเรี ย นรู ้ สมรรถนะส� ำ คั ญ ของผู ้ เ รี ย น คุณลักษณะอันพึงประสงค์ สาระการเรียนรู้ กระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ซึ่งจัดการ เรียนรู้แบบประสบการณ์และเน้นที่การปฏิบัติ 6 ขั้นตอน คือ 1) ขั้นน�ำเข้าสู่บทเรียน 2) ขั้น ศึกษา/วิเคราะห์ 3) ขั้นปฏิบัติ/ฝึกหัด/ทดลอง 4) ขัน้ สรุป/เสนอผลการเรียนรู ้ 5) ขัน้ ปรับปรุง การเรียนรู้/น�ำไปใช้ 6) ขั้นการประเมินผล สื่อ
ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2020/2563
85
กิจกรรม “ลดเวลาเรียน เพิม่ เวลารูด้ า้ นนาฏศิลป์” เพือ่ ยกระดับคุณภาพผูเ้ รียน สำ�หรับนักเรียนระดับชัน้ มัธยมศึกษา
การเรี ย นรู ้ ภาระงาน/ชิ้ น งาน การวั ด และ ประเมินผล ซึ่งสอดคล้องกับศุภชัย ไพศาลวัน (2548: 142) สุภัทรา จ�ำปาเงิน (2548: 139) อันธิกา วงษ์จ�ำปา (2549: 143) และสาลิกา ส�ำเภาทอง (2553: 168) ที่ได้พัฒนากิจกรรม ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ โดยใช้แผนการจัด กิจกรรมที่ประกอบด้วย ชื่อกิจกรรม สาระ ส�ำคัญ จุดประสงค์การเรียนรู ้ เนือ้ หา แนวการ จั ด กิ จ กรรม สื่อการจัดกิจกรรม ระยะเวลา การวัดและประเมินผล 3. ผลการทดลองจัดกิจกรรม ลดเวลา เรียน เพิม่ เวลารูด้ า้ นนาฏศิลป์ พบว่า นักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-6 ภาคเรียนที่ 1 ปีการ ศึกษา 2560 นักเรียนได้เรียนรู้เรื่องนาฏศิลป์ สร้ า งสรรค์ ไ ทย เกี่ ย วกั บ 1) ความสั ม พั น ธ์ ระหว่างไทยกับพม่า 2) ความรู้เกี่ยวกับนาฏ ศิลป์ไทย และนาฏศิลป์สร้างสรรค์ 3) นาฏ ยศิลป์เบื้องต้นของนาฏศิลป์ไทยและนาฏศิลป์ พม่า 4) การปฏิบัตินาฏศิลป์สร้างสรรค์ไทย และ5) คุณค่าและความส�ำคัญของนาฏศิลป์ ไทย โดยมีกระบวนการจัดการเรียนรู้ด้วยวิธี การสอนแบบประสบการณ์ แ ละเน้ น ที่ ก าร ปฏิบตั ปิ ระกอบด้วย 6 ขัน้ ตอน ดังนี ้ 1) ขัน้ น�ำ เข้าสู่บทเรียน 2) ขั้นศึกษา/วิเคราะห์ 3) ขั้น ปฏิบัติ/ฝึกหัด/ทดลอง 4) ขั้นสรุป/เสนอผล การเรียนรู้ 5) ขั้นปรับปรุงการเรียนรู้/น�ำไปใช้ 6) ขั้ น การประเมิ น ผล โดยผลการประเมิ น
86
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
ความสามารถในการปฏิบตั นิ าฏศิลป์สร้างสรรค์ ไทย อยู ่ ใ นระดั บ ดี ทั้ ง นี้ อ าจเป็ น เพราะว่ า กิจกรรมพัฒนาผูเ้ รียนมีความน่าสนใจ เป็นเรือ่ ง ที่แปลกใหม่ สอดคล้องกับบริบทของโรงเรียน และท้องถิ่น เนื้อหาสาระที่น�ำมาจัดกิจกรรม การเรียนรู้เกิดจากความต้องการของนักเรียน และเป็นเรือ่ งจ�ำเป็นส�ำหรับการเข้าสูป่ ระชาคม อาเซียน โดยเริ่มจากง่ายไปหายาก มีครูและ ผู้รู้ในท้องถิ่นคอยให้ความช่วยเหลือ แนะน�ำ ในการฝึกปฏิบัติจนท�ำให้นักเรียนเกิดความ กระตื อ รื อ ร้ น ขั้ น ตอนการสอนส่ ง เสริ ม ให้ นักเรียนเกิดการเรียนรู้ ท�ำให้นักเรียนเข้าร่วม กิ จ กรรมด้ ว ยความสนุ ก สนาน ตั้ ง ใจปฏิ บั ติ กิจกรรม มีความรับผิดชอบ เอาใจใส่ เพียร พยายาม และมี ค วามสามั ค คี ใ นการท� ำ งาน ร่วมกันเป็นทีม การช่วยเหลือซึ่งกันและกัน นั ก เรี ย นมี ส ่ ว นร่ ว มในการสร้ า งสรรค์ ก าร ออกแบบท่าร�ำ การสร้างสรรค์การออกแบบ เครื่ อ งแต่ ง กาย และการสร้ า งสรรค์ ก าร ออกแบบรู ป แบบแถว และสามารถน� ำ ประสบการณ์เดิม รวมกับประสบการณ์ใหม่ สร้ า งองค์ ค วามรู ้ ใ หม่ ๆ ขึ้ น มา จนเกิ ด เป็ น นาฏศิ ล ป์ ส ร้ า งสรรค์ ไทย-พม่ า สั ม พั นธ์ ซึ่ ง สอดคล้ อ งกั บ ส� ำ นั ก งานคณะกรรมการการ ศึ ก ษาแห่ ง ชาติ (2545: 1) ได้ ก ล่ า วถึ ง การ จัดการศึกษาเชิงสร้างสรรค์เป็นหน้าทีโ่ ดยทัว่ ไป ของการศึ ก ษาการส่ง เสริ ม จั ด การศึ กษาเชิ ง
ทิพอนงค์ กุลเกตุ
สร้างสรรค์และเชิงวัฒนธรรมให้ได้ผลนัน้ ต้องใช้ ยุทธศาสตร์ที่เป็นระบบนั่นคือยุทธศาสตร์ที่ สร้างความสมดุลระหว่างหลักสูตรของโรงเรียน วิธีการสอน วิธีการที่โรงเรียนติดต่อกับผู้อื่น และแหล่งความรู้อื่นๆ รวมทั้งการอบรมและ พัฒนาครูและบุคคลอื่นๆ ค�ำจ�ำกัดความของ การสร้างสรรค์แสดงให้เห็นองค์ประกอบของ กระบวนการแห่งการสร้างสรรค์ที่เราต้องการ จะกระตุ ้ น ให้ เ กิ ด เพื่ อ วั ต ถุ ป ระสงค์ ท างการ ศึ ก ษา จุ ด เริ่ ม ต้ น การรั บ รู ้ ถึ ง คุ ณ ลั ก ษณะ 4 ประการของกระบวนการแห่งการสร้างสรรค์ ประการแรก มักจะเกี่ยวข้องกับการคิดหรือ การปฏิบตั ติ นอย่างมีจนิ ตนาการเสมอ ประการ ที่ 2 กิจกรรมที่สร้างจินตนาการนี้จะต้องเต็ม ไปด้วยจุดมุ่งหมาย นั่นคือจะต้องมีการตั้งเป้า หมายเพื่ อ ให้ เ กิ ด ความส� ำ เร็ จ ประการที่ 3 กระบวนการนี้จะต้องก่อให้เกิดสิ่งที่มีลักษณะ ริเริ่มไม่เหมือนใคร ประการที่ 4 ผลที่ได้จะ ต้องมีคุณค่าเกี่ยวเนื่องกับจุดมุ่งหมายที่ตั้งไว้ จึงก�ำหนดนิยามการสร้างสรรค์ว่า “กิจกรรม แห่งจินตนาการที่ก่อให้เกิดผลที่เป็นทั้งการ ริเริ่มขึ้นเป็นครั้งแรกและมีคุณค่า” สอดคล้อง กับพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธ ศักราช 2542 และแก้ไขเพิ่มเติมพุทธศักราช 2545 ที่ ก ล่ า วถึ ง การพั ฒ นาคนไทยให้ เ ป็ น มนุ ษ ย์ ทั้ ง ร่ า งกาย จิ ต ใจ สติ ป ั ญ ญา และ สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุขนั้น
ควรมีการสืบสานทางวัฒนธรรมการสร้างสรรค์ จรรโลง รวมทั้งส่งเสริม ศิลปวัฒนธรรมของ ชาติ ฝึกให้ผู้เรียนมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ต้องยึดหลักว่าผู้เรียนทุกคนมีความสามารถใน การเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ โดยถือว่าผู้ เรี ย นส� ำ คั ญ ที่ สุ ด และควรจั ด เนื้ อ หาสาระ กิจกรรมให้สอดคล้องกับความสนใจ ความถนัด ของผู้เรียน ดังนั้นการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่ก�ำหนดไว้นั้น ควร จัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ให้นักเรียนมีส่วนร่วม ให้มากที่สุด 4. ประเมินผลการจัดกิจกรรมพัฒนา ผู้เรียน พบว่า ด้านผลการเรียนรู้ นักเรียนมี ผลการเรียนรู้ เรื่อง นาฏศิลป์สร้างสรรค์ไทย หลังการจัดกิจกรรมสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 80 อย่างมีนยั ส�ำคัญทางสถิตทิ รี่ ะดับ .05 ทัง้ นีอ้ าจ เป็นเพราะว่ากิจกรรม “ลดเวลาเรียน เพิม่ เวลา รู้ด้านนาฏศิลป์” เป็นกิจกรรมที่พัฒนาขึ้นจาก ความต้องการของนักเรียนเนื้อหาในกิจกรรม พัฒนาผู้เรียนเป็นเรื่องแปลกใหม่และทันสมัย มี ก ารจั ด การเรี ย นรู ้ ใ นรู ป แบบของการจั ด กิ จ กรรมแบบประสบการณ์ แ ละเน้ น ที่ ก าร ปฏิบัติ ซึ่งเหมาะกับการจัดการเรียนการสอน ในวิชานาฏศิลป์ที่เน้นทักษะการปฏิบัติ ครูมี บทบาทส�ำคัญในการเป็นผูใ้ ห้คำ� แนะน�ำ ชีแ้ นะ และคอยช่วยเหลือในการปฏิบัติกิจกรรม ผู้รู้ ในท้องถิ่นถ่ายทอดความรู้เกี่ยวกับนาฏศิลป์
ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2020/2563
87
กิจกรรม “ลดเวลาเรียน เพิม่ เวลารูด้ า้ นนาฏศิลป์” เพือ่ ยกระดับคุณภาพผูเ้ รียน สำ�หรับนักเรียนระดับชัน้ มัธยมศึกษา
พม่า มีวิธีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่หลาก หลาย ได้แก่ การเรียนรู้จากการดูชมวีดีทัศน์ การระดมสมอง การลงมือปฏิบัติจริง การใช้ ความคิดสร้างสรรค์ในการเชื่อมความสัมพันธ์ อั น ดี ต ่ อ ประเทศเพื่ อ นบ้ า นในรู ป แบบของ นาฏศิลป์ เป็นต้น ซึ่งสอดคล้องกับพระราช บัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 และแก้ไขเพิ่มเติมพุทธศักราช 2545 (ส�ำนัก งานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ, 2545: 1-8) มีจุดมุ่งหมายในการสร้างเด็กไทยให้เป็น คนเก่ง คนดี และมีความสุข ซึ่งมุ่งเน้นพัฒนา ทั้งด้านสติปัญญา (Intelligence Quotuent: IQ) ความฉลาดทางอารมณ์ (Emotional Quotuent: EQ) และด้านคุณธรรม จริยธรรม (Moral Quotuent: MQ) เพื่อให้เด็กไทยอยู่ ร่วมกันในสังคมไทย และสังคมโลกได้อย่างมี คุณภาพและรู้เท่าทัน อีกทั้งประเทศไทยต้อง พร้อมในการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ซึ่งมีความส�ำคัญในการพัฒนาระบบเศรษฐกิจ ของประเทศและประเทศสมาชิกอาเซียน เพิ่ม ศักยภาพในการแข่งขันของประเทศไทยบนเวที เศรษฐกิจโลกได้ ดังนัน้ การศึกษาเรือ่ งราวของ ศิลปวัฒนธรรม ภาษา และภูมิศาสตร์ ประวัติ ศาสตร์ของประเทศสมาชิกในอาเซียน สอด คล้องกับกระทรวงศึกษาธิการ (ส�ำนักงานเลขา ธิ ก ารสภาการศึก ษา กระทรวงศึก ษาธิก าร, 2554: 16-21) ได้ประกาศให้จัดการเรียนการ
88
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
สอนหลักสูตรอาเซียนศึกษาไว้รองรับการก้าว สู่การเป็นประชาคมอาเซียนของไทยอย่างเต็ม ตัว ในปี 2558 ซึ่งจะท�ำให้ผู้เรียนเห็นความ ส�ำคัญและเข้าใจความเป็น“อาเซียน” เพื่อ สร้ า งและพั ฒ นาอาเซี ย นให้ มี ศั ก ยภาพและ ก้าวทันความเปลี่ยนแปลงของสังคมโลกดังนั้น จ� ำ เป็ นที่ จะต้ อ งมี ก ารเตรี ย มความพร้ อ มใน หลายๆ ด้าน เพือ่ ให้สามารถรองรับการแข่งขัน ในด้านต่างๆ ทีจ่ ะเกิดขึน้ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ (ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ, 2545: 93) ในมาตรา 4 ซึ่งได้กล่าวถึงความ หมายของการศึกษาไว้ว่า เป็นกระบวนการ เรียนรู้เพื่อความเจริญงอกงามของบุคคลและ สังคม โดยการถ่ายทอดความรู้ การฝึกอบรม การสื บ สานทางวั ฒ นธรรม การสร้ า งสรรค์ จรรโลงความก้าวหน้าทางวิชาการ การสร้าง องค์ความรู้อันเกิดจากการจัดสภาพแวดล้อม สังคม การเรียนรู้และปัจจัยเกื้อหนุนให้บุคคล ได้เรียนรู้ตลอดชีวิต และแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555 2559) (สภาพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่ง ชาติ, 2549) ได้ช้ีให้เห็นถึงความจ�ำเป็นในการ ปรับเปลีย่ นจุดเน้นในการพัฒนาคุณภาพคนใน สังคมไทยให้ มีคุณธรรม และมีความรอบรู้ อย่างเท่าทันให้มีความพร้อมทั้งด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ และศีลธรรม สามารถก้าว
ทิพอนงค์ กุลเกตุ
ทันการเปลีย่ นแปลงเพือ่ น�ำไปสูส่ งั คมฐานความ รู้ได้อย่างมั่นคง แนวการพัฒนาคนดังกล่าว มุ่งเตรียมเด็กและเยาวชนให้มีพื้นฐานจิตใจที่ดี งาม มี จิ ต สาธารณะ พร้ อ มทั้ ง มี ส มรรถนะ ทักษะและความรู้พื้นฐานที่จ�ำเป็นในการด�ำรง ชีวิต อันจะส่งผลต่อการพัฒนาประเทศแบบ ยั่งยืน สุภัทรา จ�ำปาเงิน (2548: บทคัดย่อ) อันธิกา วงษ์จ�ำปา (2549: บทคัดย่อ) และ สาลิ ก า ส� ำ เภาทอง (2553: บทคั ด ย่ อ ) ได้ ศึกษาการพัฒนากิจกรรมพัฒนาผู้เรียน โดย ใช้ขั้นตอนการด�ำเนินการวิจัย 4 ขั้นตอน คือ ขั้ น ตอนที่ 1 การศึ ก ษาข้ อ มู ล พื้ น ฐาน และ ความต้องการเกี่ยวกับกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่ ม เวลารู ้ ด ้ า นนาฏศิ ล ป์ ขั้ น ตอนที่ 2 การ พัฒนาและหาประสิทธิภาพกิจกรรมพัฒนา ผู้เรียน ขั้นตอนที่ 3 การทดลองใช้กิจกรรม พัฒนาผู้เรียน ขั้นตอนที่ 4 การประเมินและ ปรับปรุงกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รียน ผลการวิจยั พบ ว่า นักเรียนมีผลการเรียนรู้หลังการใช้กิจกรรม มี ค ะแนนเฉลี่ ย สู ง กว่ า ก่ อ นใช้ กิ จ กรรมฮาร์ เจอร์ตี้ (Hargerty, 1970: 2401A, อ้างถึงใน สาลิกา ส�ำเภาทอง, 2553: 99) ได้ท�ำการวิจัย เรื่องการศึกษาสภาพการจัดกิจกรรมนักเรียน ในโรงเรี ย นมั ธ ยมศึ ก ษาตอนต้ น รั ฐ มิ ชิ แ กน เพื่อศึกษาระเบียบวิธีการจัดกิจกรรมนักเรียน และองค์ประกอบต่างๆทีเ่ กีย่ วข้องกับโครงการ การจั ด กิ จ กรรมนั ก เรี ย น ผลการวิ จั ย พบว่ า กิจกรรมนักเรียนในโรงเรียนมัธยมศึกษาตอน
ต้น รัฐมิชิแกน ได้รับการยอมรับให้เป็นส่วน หนึง่ ของโปรแกรมโรงเรียน และถือว่าเป็นส่วน ส�ำคัญส่วนหนึ่งของการศึกษาแต่ลักษณะการ ด�ำเนินงานยังมีข้อบกพร่องอยู่ เช่น ผู้บริหาร เป็นผูต้ ดั สินใจ และวางนโยบายควบคุม ในการ บริหารด้านกิจกรรมนักเรียน แต่แนวโน้มใน การจัดกิจกรรมนักเรียนจะประสบความส�ำเร็จ ถึงขั้นรวมวิชาการจัดกิจกรรมนักเรียนเข้าไว้ ในหลั ก สู ต รและเปิ ด ชั้ น เรี ย นพิ เ ศษ ชาร์ ล (Charles,1978: 3499A-3450A, อ้างถึงใน สาลิกา ส�ำเภาทอง, 2553: 99) ได้ท�ำการวิจัย เรื่ อ งการศึ ก ษากิ จ กรรมเสริ ม หลั ก สู ต รใน โรงเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายรัฐโอคลาโฮมา กลุ ่ ม ตั ว อย่ า ง จ� ำ นวน 478 คน เพื่ อ ศึ ก ษา เปรียบเทียบและหาความสัมพันธ์เกี่ยวกับการ ร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตรของนักเรียนผลการ วิ จั ย พบว่ า โรงเรี ย นส่ ว นใหญ่ จั ด โปรแกรม กิจกรรมเสริมหลักสูตรให้นกั เรียนได้มสี ว่ นร่วม นักเรียนจ�ำนวนมากได้เข้าร่วมกิจกรรมประเภท กีฬา การร่วมอภิปราย โต้วาทีและเป็นสมาชิก ชุ ม นุ ม วิ ช าการต่ า งๆ นั ก เรี ย นมี ผ ลสั ม ฤทธิ์ ทางการเรียนสูง มีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรม ต่างๆ มีนกั เรียนจ�ำนวนหนึง่ ไม่เข้าร่วมกิจกรรม เสริมหลักสูตร แต่มผี ลสัมฤทธิท์ างการเรียนสูง กิจกรรมส่วนใหญ่ขาดงบประมาณ เวลา และ การวั ด ผลประเมิ น ผล รวมทั้ ง ผู ้ บ ริ ห ารเป็ น ผู้ตัดสินใจ และวางนโยบายฝ่ายเดียว
ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2020/2563
89
กิจกรรม “ลดเวลาเรียน เพิม่ เวลารูด้ า้ นนาฏศิลป์” เพือ่ ยกระดับคุณภาพผูเ้ รียน สำ�หรับนักเรียนระดับชัน้ มัธยมศึกษา
ผลการประเมินความสามารถด้านการ ปฏิบัตินาฏศิลป์สร้างสรรค์ไทยของนักเรียน พบว่า นักเรียนมีความสามารถในการปฏิบัติ นาฏศิลป์สร้างสรรค์ไทย อยู่ในระดับดีมาก ทัง้ นีอ้ าจเป็นเพราะว่าในการจัดกิจกรรมในครัง้ นี้ใช้วิธีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบประสบ การณ์ แ ละเน้ น ที่ ก ารปฏิ บั ติ ซึ่ ง ต้ อ งอาศั ย ประสบการณ์ทั้งจากตนเองและครู การฝึกฝน ซ�้ำๆ จนเกิดเป็นความช�ำนาญ ได้ลงมือปฏิบัติ จริงด้วยตนเอง ได้แสดงออกในการสร้างสรรค์ ท่าร�ำรูปแบบแถว และการแต่งกาย ที่เป็นเช่น นี้เนื่องจากนักเรียนได้ใช้ศักยภาพทางความ สามารถ ความถนัดและประสบการณ์ในด้าน ต่างๆ ที่นักเรียนมีอยู่ให้ได้มากที่สุด ซึ่งมีผล ท�ำให้ผู้เรียนสามารถ พัฒนาขีดความสามารถ ให้สูงขึ้น สอดคล้องกับซิมพ์ซัน (Simpson, 1972) ที่ อ ธิ บ ายว่ า ทั ก ษะปฏิ บั ติ นี้ ส ามารถ พั ฒ นาได้ ด ้ ว ยการฝึ ก ฝน ซึ่ ง หากได้ รั บ การ ฝึ ก ฝนที่ ดี เ เล้ ว จะเกิ ด ความถู ก ต้ อ ง ความ คล่องแคล่ว ความเชี่ยวชาญช�ำนาญการ และ ความคงทน ผลของพฤติกรรมหรือการกระท�ำ สามารถสังเกตได้จากความรวดเร็ว ความแม่นย�ำ ความแรงหรือความราบรื่นในการจัดการ สอด คล้องกับแฮรโรว์ (Harrow, 1972: 96-99) จัดล�ำดับขั้นของการเรียนรู้ทางทักษะปฏิบัติไว้ 5 ขั้นโดยเริ่มจากระดับที่ซับซ้อนน้อยไปจนถึง ระดับที่มีความซับซ้อนมาก ดังนั้นการกระท�ำ จึงเริ่มจากการเคลื่อนไหวกล้ามเนื้อใหญ่ไป 90
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
ถึ ง การเคลื่ อ นไหวกล้ า มเนื้ อ ย่ อ ย ล� ำ ดั บ ขั้ น ดังกล่าวได้แก่การเลียนเเบบการลงมือกระท�ำ ตามค�ำสั่ง การกระท�ำอย่างถูกต้องสมบูรณ์ การแสดงออกเเละการกระท� ำ อย่ า งเป็ น ธรรมชาติ นอกจากนี้ยังสอดคล้องกับเดวีส์ (Davies, 1971: 0-56) ได้น�ำเสนอแนวคิด เกี่ ย วกั บ การพั ฒ นาทั ก ษะการปฏิ บั ติ ไว้ ว ่ า ทั ก ษะส่ ว นใหญ่ ป ระกอบด้ ว ยทั ก ษะย่ อ ยๆ จ�ำนวนมาก การฝึกให้ผเู้ รียนสามารถท�ำทักษะ ย่ อ ยๆ เหล่ า นั้ น ได้ แ ล้ ว เชื่ อ มโยงต่ อ กั น เป็ น ทักษะใหญ่ จะช่วยให้ผู้เรียนประสบผลส�ำเร็จ ได้ดแี ละรวดเร็วขึน้ เมือ่ พิจารณาความสามารถ ในการสร้างสรรค์เป็นรายด้านพบว่า การสร้าง สรรค์ท่าร�ำอยู่ในระดับสูงที่สุด ทั้งนี้อาจเป็น เพราะว่ า นั ก เรี ย นสามารถใช้ ค วามคิ ด ของ ตนเองได้อย่างอิสระ มีการระดมสมองสมาชิก ในกลุ ่ ม โดยมี ค วามรู ้ พื้ น ฐานจากการเรี ย น นาฏศิลป์ไทย มีการแก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้ เป็ น อย่ า งดี สอดคล้ อ งกั บ จอยส์ เเละวี ล (Joyce and weil, 1966: 239-253) และ ทอร์เเรนซ์ (Torrance, 1962) ซึ่งได้น�ำองค์ ประกอบของความคิดสร้างสรรค์ 3 องค์ประกอบ คือ คิดคล่องแเคล่ว (fluency) คิดยืดหยุ่น (fexibility) คิดริเริม่ (originality) มาใช้ประกอบ กั บ กระบวนการคิ ด แก้ ป ั ญ หา และการใช้ ประโยชน์จากกลุ่มซึ่งมีความหลากหลาย โดย เน้นการใช้เทคนิคระดมสมองเกือบทุกขั้นตอน นอกจากนี้สอดคล้องกับพรพรรณ อนะมาน
ทิพอนงค์ กุลเกตุ
(2553) สุ ม นรตี นิ่ ม เนติ พั น ธ์ (2553) และ วิวัฒน์ เพชรศรี (2551) ได้กล่าวในท�ำนอง เดียวกันคือ รูปแบบการจัดการเรียนรูน้ าฏศิลป์ ที่ส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ทางนาฏศิลป์สูง กว่ากลุ่มที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบปกติ ผลการสอบถามความพึ ง พอใจของ นักเรียนที่มีต่อกิจกรรม “ลดเวลาเรียน เพิ่ม เวลารู้ด้านนาฏศิลป์” พบว่า นักเรียนมีความ พึงพอใจต่อกิจกรรมดังกล่าว อยู่ในระดับพึง พอใจมาก เมื่ อ พิ จ ารณาเป็ น รายข้ อ พบว่ า กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนนี้ฝึกให้มีทักษะในการ สร้ า งสรรค์ มีสื่อการสอนท�ำให้ผู้เรียนเข้าใจ เนือ้ หาได้งา่ ย สือ่ การสอนกระตุน้ ให้ผเู้ รียนเกิด ความสนใจ ให้ผเู้ รียนมีสว่ นร่วมในกิจกรรมการ เรียนรู้สามารถน�ำความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ ในโอกาสอืน่ ได้ ท�ำให้มคี วามมัน่ ใจ สามารถน�ำ ความรูท้ ไี่ ด้รบั ไปใช้ได้ จัดกิจกรรมการเรียนรูไ้ ด้ เหมาะสมกับเวลา ฝึกให้มกี ารร่วมมือกันท�ำงาน สร้างความสามัคคีในหมู่คณะ ท�ำให้เกิดความ สนุกสนานในการเรียน รวมทัง้ เกิดทักษะในการ คิด ซึง่ สอดคล้องกับ สาลิกา ส�ำเภาทอง (2553: 173) พบว่า นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการจัด กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนโดยใช้ของเล่นพื้นบ้าน โดยภาพรวมอยู ่ ใ นระดั บ พึ ง พอใจมาก เมื่ อ พิจารณาเป็นรายด้าน ได้ฝกึ ทักษะกระบวนการ ทางวิ ท ยาศาสตร์ ด ้ ว ยการปฏิ บั ติ จ ริ ง ได้ รั บ ความรู้และความเข้าใจในการท�ำของเล่นพื้น บ้าน นักเรียนสนุกสนานกับการเรียน ให้ความ
ร่วมมือในการท�ำงานเป็นกลุม่ นักเรียนให้ความ สนใจและกระตือรือร้นในการเรียน และอันธิกา วงษ์จำ� ปา (2549: 151) พบว่า นักเรียนมีความ รู ้ สึ ก ที่ ดี ต ่ อ กิ จ กรรมพั ฒ นาผู ้ เรี ย น เพราะ นักเรียนชอบรูปแบบของกิจกรรม มีความสุข สนุ ก สนานเพลิ ด เพลิ น และกระตื อ รื อ ร้ น ที่ ได้ เข้ า ร่ ว มและปฏิ บั ติ กิ จ กรรม ที่ เ ป็ น เช่ น นี้ เนือ่ งจากกิจกรรมนัน้ ได้ให้นกั เรียนลงมือปฏิบตั ิ จริ ง และปฏิ บัติด้ วยตนเอง ได้ มี ส ่ วนร่ วมใน กิจกรรม ตลอดจนให้ผเู้ รียนได้เรียนรูจ้ ากแหล่ง เรี ย นรู ้ ใ นโรงเรี ย น นั ก เรี ย นทุ ก คนรู ้ สึ ก ว่ า นาฏศิลป์ไทยมีความหลากหลายทางด้านการ แสดง มี ทั้ ง ระบ� ำ ร� ำ ฟ้ อ น มี ทั้ ง อ่ อ นช้ อ ย สวยงาม และสนุกสนาน มีการแสดงที่บ่งบอก ถึงวิถีชีวิตของคนในแต่ละภาคนักเรียนทุกคน รูส้ กึ ตืน่ เต้นทีไ่ ด้ออกแบบเครือ่ งแต่งกายทีใ่ ช้ใน การแสดง เพราะไม่เคยได้ออกแบบด้วยตัวเอง มาก่อน นาฏศิลป์ไทยเป็นชุดการแสดงทีเ่ ห็นได้ บ่อย แต่ก็ยังรู้สึกดีที่ได้ออกแบบ คิดว่าต้อง ออกแบบมาสวยแน่นอน นักเรียนทุกคนรู้สึก ดีใจที่ได้เรียน เพราะเป็นการทบทวนสิ่งที่ได้ เรียนมาแล้ว รู้สึกว่าได้ฝึกสมาธิ และความ อดทนอีกด้วย นักเรียนทุกคนรูส้ กึ ตืน่ เต้นทีไ่ ด้มี โอกาสคิดประดิษฐ์ทา่ ร�ำด้วยตนเอง โดยเฉพาะ นาฏศิลป์ไทยที่ต้องมีความอ่อนช้อยสวยงาม แต่ก็พยายามอย่างสุดความสามารถได้ความรู้ เพิม่ เติมจากการแลกเปลีย่ นความคิดกับเพือ่ นๆ ในกลุ่ม ได้ฝึกให้เกิดความคิดสร้างสรรค์
ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2020/2563
91
กิจกรรม “ลดเวลาเรียน เพิม่ เวลารูด้ า้ นนาฏศิลป์” เพือ่ ยกระดับคุณภาพผูเ้ รียน สำ�หรับนักเรียนระดับชัน้ มัธยมศึกษา
ข้อเสนอแนะ จากการพัฒนากิจกรรม “ลดเวลาเรียน เพิม่ เวลารูด้ า้ นนาฏศิลป์” เพือ่ ยกระดับคุณภาพ ผู้เรียน ส�ำหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา ผู้วิจัยได้สรุปแนวคิดและข้อเสนอแนะเพื่อการ วิจัยมีรายละเอียด ดังนี้ ข้อเสนอแนะในการน�ำกิจกรรม “ลด เวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” ไปใช้ เพื่อให้สามารถ น�ำกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนไปใช้อย่างมีประสิทธิ ภาพ ผูว้ จิ ยั มีขอ้ เสนอแนะบางประการเกีย่ วกับ การน�ำกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนไปใช้ ดังนี้ 1. จากผลการวิจัยด้านความสามารถ ในการปฏิบัตินาฏศิลป์สร้างสรรค์ไทย พบว่า นักเรียนสามารถปฏิบัตินาฏศิลป์สร้างสรรค์ได้ เป็นอย่างดีหลังจากเข้าร่วมกิจกรรม ดังนั้น เพื่อให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ครู ค วรจั ด กิ จ กรรมการเรี ย นรู ้ โ ดยใช้ วิ ธี ก าร จัดการเรียนรูแ้ บบประสบการณ์และเน้นทีก่ าร ปฏิ บั ติ เนื่ อ งจากเป็ น วิ ธี ที่ เ หมาะสมกั บ การ เรียนปฏิบัติมากที่สุด และเกิดผลกับนักเรียน มากที่สุด 2. จากผลการวิจัยด้านความสามารถ ในการสร้างสรรค์การแต่งกาย พบว่านักเรียน บางคนขาดทักษะด้านการวาดรูปตามความคิด ของตนเอง ดังนัน้ ครูอาจให้นกั เรียนน�ำอุปกรณ์ เช่น ผ้ากระดาษสี มาตัดหรือสร้างเป็นแบบ จ�ำลองตามความคิดของตนแทน
92
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
3. จากผลการวิจัยด้านความพึงพอใจ ของนักเรียนที่มีต่อกิจกรรม พบว่า นักเรียนมี ความสุข สนุกสนาน เพลิดเพลิน และกระตือ รือร้นในการปฏิบัติกิจกรรม โดยเฉพาะการ เรียนรู้จากผู้รู้ในท้องถิ่น ดังนั้นโรงเรียนควรส่ง เสริมและสนับสนุนให้มีการจัดกิจกรรม โดย อาศัยผูร้ ใู้ นท้องถิน่ เพือ่ กระตุน้ ให้นกั เรียนสนใจ ที่จะเรียนรู้มากขึ้น ข้อเสนอแนะเพื่อการวิจัยครั้งต่อไป ผู้วิจัยมีข้อเสนอแนะส�ำหรับผู้สนใจใน การพัฒนากิจกรรม “ลดเวลาเรียน เพิม่ เวลารู”้ ต่อไป มีรายละเอียดดังนี้ 1. ควรมีการวิจัยและพัฒนากิจกรรม “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ด้านนาฏศิลป์” โดย ขยายกลุม่ เป้าหมายในการวิจยั โดยจัดในระดับ ชัน้ อืน่ ๆ เพือ่ เป็นการปลูกฝังนาฏศิลป์และการ คิดสร้างสรรค์ ให้กับนักเรียนทุกชั้น 2. ควรมีการวิจัยเพื่อพัฒนากิจกรรม “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” เกี่ยวกับนาฏศิลป์ สร้างสรรค์ ส�ำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษา โดยน�ำนาฏศิลป์ประเทศต่างๆ ในกลุม่ อาเซียน โดยขึน้ อยูก่ บั บริบทของสถานศึกษาทีม่ นี กั เรียน เชื้อชาติอื่น ที่มีอาณาเขตติดต่อกับประเทศ เพือ่ นบ้าน เช่น นาฏศิลป์กมั พูชา นาฏศิลป์ลาว นาฏศิลป์เวียดนาม เป็นต้น
ทิพอนงค์ กุลเกตุ
บรรณานุกรม ปกครอง บัววิรัตน์เลิศ พัชรีวรรณ กิจมี. (2559). ความพึงพอใจของผู้เรียนที่มีต่อโครงการลด เวลาเรียนเพิม่ เวลารูใ้ นโรงเรียนระดับประถมศึกษา. (งานวิจยั หลักสูตรมหาบัณฑิต). สาขา การบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์, มหาวิทยาลัยฟาร์อีสเทอร์น. ชัยภัทร วทัญญู. (2558). ผลการพัฒนาทักษะของชีวิตของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนอนุบาลบ้านหมอ (พัฒนราษฏร์) โดยใช้กิจกรรมลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ เรื่อง ท�ำกินได้ ท�ำขายดี. สระบุรี: โรงเรียนอนุบาลบ้านหมอ. จุฑามาศ สุธาพจน์ ธีระดา ภิญโญ. (2559). แนวทางการบริหารกิจกรรมการ เรียนรูต้ ามนโยบาย “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดส�ำนักงาน เขตพื้นที่การ ศึกษาประถมศึกษานนทบุรี เขต 2. (งานวิจัยหลักสูตรมหาบัณฑิต). สาขาวิชาบริหารการ ศึกษา, มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา. สุกญ ั ญา งามบรรจง. (2559). การพัฒนารูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรูเ้ พือ่ เสริมสร้างทักษะ ในศตวรรษที ่ 21 ผ่านกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิม่ เวลารู ้ ของส�ำนักงานคณะกรรมการการ ศึกษาขั้นพื้นฐาน. ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. ศลิษา ชุม่ วารี. (2557). การพัฒนาความรูค้ วามเข้าใจอย่างถาวรด้านนาฏศิลป์เพือ่ น�ำไปประยุกต์ ใช้ในชีวิตประจ�ำวัน โดยการใช้ชุดการสอนเรื่องนาฏยศัพท์และภาษาท่านาฏศิลป์ไทย ส�ำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6. โรงเรียนปรินส์รอยแยลส์วิทยาลัย. พัชนีพงศ์ คล่องนาวา. (2553). การพัฒนาความสามารถในการร�ำวงมาตรฐาน ของนักเรียนชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 5 ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์. มหาวิทยาลัย ศิลปากร. Fosnot Ganesh. (1996). Competency Based HRM. Tata McGraw-Hill Publishing Company Limited: New Delhi. Papert, Lyle M.; & Spencer, M. Signe. (1991). Competency at work. New York: Willey. Vygotsky. (1962). “Emotional Intelligence and Core Competencies” Journal of Extension. December 1999, 37(6): 20-29. Stufflebeam,D.,Shinkfield, A., (2007). Evaluation theory, model, & application. San Francisco: Jossey – Bass. Oliva, P.F. (1992). Developing the Curriculum. (3 rd ed). New York: Harper Collins. ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2020/2563
93
กลยุทธ์การบริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานคาทอลิก ในอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ สู่ประชาคมอาเซียน
The Administrative Strategies for
Catholic Basic Educational Schools in Bangkok Archdiocese Towards Asean Community. วรวรรษ เทียมสุวรรณ * ศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาภาวะผู้น�ำทางการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสวนดุสิต ผศ.ดร.วัชรพล วิบูลยศริน * อาจารย์ประจ�ำหลักสูตรภาษาและการสื่อสาร คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต รศ.ดร.ศิโรจน์ ผลพันธิน * อธิการบดีมหาวิทยาลัยสวนดุสิต Worawat Tiamsuwan * Doctor of Education in Educational Leadership Program, Graduate School, Suan Dusit University. Asst.Prof.Dr.Watcharapol Wiboolyasarin * Lecturer of Language and Communication Program, Faculty of Liberal Arts and Social Science, Suan Dusit University. Assoc.Prof.Dr.Sirote Pholpuntin * Rector of Suan Dusit University.
ข้อมูลบทความ
* รับบทความ 9 กุมภาพันธ์ 2562 * แจ้งแก้ไข 22 กุมภาพันธ์ 2562 * ตอบรับบทความ 11 มีนาคม 2562
วรวรรษ เทียมสุวรรณ, วัชรพล วิบูลยศริน และ ศิโรจน์ ผลพันธิน
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. ศึกษาสภาพทั่วไปของการ บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานคาทอลิกในอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ สูป่ ระชาคมอาเซียน 2. พัฒนากลยุทธ์การบริหารสถานศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน คาทอลิกในอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ สู่ประชาคมอาเซียน 3. ประเมิน กลยุทธ์การบริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานคาทอลิกในอัครสังฆมณฑล กรุงเทพฯ สู่ประชาคมอาเซียน ใช้วิธีการวิจัยแบบผสมผสาน กลุ่ม ประชากร คือ ผูบ้ ริหารสถานศึกษาคาทอลิกในอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ โรงเรียนละ 5 คน ประกอบด้วย ผูอ้ ำ� นวยการ/รองผูอ้ ำ� นวยการโรงเรียน และหัวหน้าฝ่ายทัง้ 4 ฝ่าย จ�ำนวน 48 โรงเรียน กลุม่ ตัวอย่างทีใ่ ช้ในการ วิจยั ครัง้ นี ้ จ�ำนวน 180 คน เก็บรวบรวมข้อมูลทัง้ แบบเชิงปริมาณซึง่ เก็บ จากแบบสอบถาม และเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพจากการสัมภาษณ์ผบู้ ริหาร สถานศึกษาจ�ำนวน 10 คน และการสนทนากลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิและ ผูเ้ ชีย่ วชาญจ�ำนวน 10 คน รับรองกลยุทธ์ดว้ ยผูท้ รงคุณวุฒจิ ำ� นวน 5 คน วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณด้วยสถิติการหาค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์แอลฟา และวิเคราะห์ข้อมูลเชิง คุณภาพด้วยการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า 1. สภาพทัว่ ไปของการบริหารสถานศึกษาขัน้ พืน้ ฐานคาทอลิกใน อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ สูป่ ระชาคมอาเซียนในภาพรวมของร่างกลยุทธ์ หลักอยู่ในระดับมาก ร่างกลยุทธ์หลักด้านผู้บริหารมีค่าเฉลี่ยสูงสุดเมื่อ พิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ร่างกลยุทธ์รองด้านนักเรียนโดยรวมอยู่ใน ระดับมาก เฉพาะด้านร่างกลยุทธ์รองด้านนักเรียน นักเรียนอยู่ร่วมกัน กับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข มีค่าเฉลี่ยสูงสุด นักเรียนมีผลการทดสอบ ระดับชาติและนานาชาติมีค่าเฉลี่ยต�่ำสุด ร่างกลยุทธ์รองด้านครู ครูอยู่ ร่วมกันกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข มีค่าเฉลี่ยสูงสุด ครูสามารถถ่ายทอด ความรู้โดยผ่านสื่อเทคโนโลยี มีค่าเฉลี่ยต�่ำสุด ร่างกลยุทธ์รองด้าน ผู้บริหาร ผู้บริหารมีทักษะด้านการสื่อสารกับบุคคลในระดับต่างๆ ได้
ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2020/2563
95
กลยุทธ์การบริหารสถานศึกษาขัน้ พืน้ ฐานคาทอลิกในอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ สูป่ ระชาคมอาเซียน
อย่างมีประสิทธิภาพ มีค่าเฉลี่ยสูงสุดผู้บริหารมีความรู้ความสามารถใน การบริหารจัดการและใช้เทคโนโลยี มีคา่ เฉลีย่ ต�ำ่ สุด ร่างกลยุทธ์รองด้าน หลักสูตร กระบวนการเรียนรู้ และกิจกรรมพัฒนานักเรียน โปรแกรม การเรียนที่หลากหลายเพื่อตอบสนองความสนใจและศักยภาพของ นักเรียน มีค่าเฉลี่ยสูงสุด สถานศึกษาปลูกฝังการรับใช้และการอุทิศตน ให้กับนักเรียนมีค่าเฉลี่ยต�่ำสุด และร่างกลยุทธ์รองด้านอาคาร สถานที่ และสิง่ อ�ำนวยความสะดวก ห้องเรียนถ่ายเทอากาศได้ด ี และมีแสงสว่าง เพียงพอเหมาะสมกับการจัดการเรียนรู ้ มีคา่ เฉลีย่ สูงสุด การซ้อมไฟไหม้ และแผ่นดินไหวเมื่อมีภัยทางธรรมชาติ มีค่าเฉลี่ยต�่ำสุด 2. การพัฒนากลยุทธ์การบริหารสถานศึกษาขัน้ พืน้ ฐานคาทอลิก ในอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ สูป่ ระชาคมอาเซียน โดยการสัมภาษณ์ผใู้ ห้ ข้อมูลคือผูบ้ ริหารสถานศึกษาจ�ำนวน 10 คน ประเด็นส�ำคัญทีไ่ ด้รบั การ พัฒนาเกี่ยวกับร่างกลยุทธ์หลัก 5 ด้านคือ ด้านนักเรียน ด้านครู ด้าน ผูบ้ ริหาร ด้านหลักสูตร กระบวนการเรียนรู ้ และกิจกรรมพัฒนานักเรียน และด้านอาคาร สถานที่ และสิ่งอ�ำนวยความสะดวก และร่างกลยุทธ์ รอง 10 ข้อ แบ่งเป็น ประเด็นที่น�ำมาพัฒนา 5 ข้อ (ร่างกลยุทธ์รอง ที่ได้คะแนนต�่ำสุดของแต่ละด้าน) และ ประเด็นที่น�ำมาส่งเสริม 5 ข้อ (ร่างกลยุทธ์รองที่ได้คะแนนสูงสุดของแต่ละด้าน) 3. การประเมินกลยุทธ์การบริหารสถานศึกษาขัน้ พืน้ ฐานคาทอลิก ในอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ สู่ประชาคมอาเซียน โดยการสนทนากลุ่ม และการรับรองกลยุทธ์ จากการสนทนากลุ่มของผู้ทรงคุณวุฒิและ ผู้เชี่ยวชาญด้านการบริหารสถานศึกษาจ�ำนวน 10 คน และการรับรอง กลยุทธ์จากผู้ทรงคุณวุฒิด้านการบริหารสถานศึกษาคาทอลิกจ�ำนวน 5 คน เห็นด้วยทุกด้านกับร่างกลยุทธ์หลักและร่างกลยุทธ์รองของการ บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานคาทอลิกในอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ สูป่ ระชาคมอาเซียนโดยให้มกี ารปรับเปลีย่ น และเพิม่ ร่างกลยุทธ์รองบาง ประการ ตลอดจนเพิ่มเป้าหมายและตัวชี้วัดที่ส�ำคัญของแต่ละร่าง
96
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
วรวรรษ เทียมสุวรรณ, วัชรพล วิบูลยศริน และ ศิโรจน์ ผลพันธิน
กลยุทธ์รอง สรุปแล้วกลยุทธ์การบริหารสถานศึกษาขัน้ พืน้ ฐานคาทอลิก ในอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ สู่ประชาคมอาเซียนประกอบด้วย กลยุทธ์ หลัก 5 ข้อ กลยุทธ์รอง 13 ข้อ เป้าหมาย 26 ข้อ และตัวชีว้ ดั ส�ำคัญ 41 ข้อ ค�ำส�ำคัญ: กลยุทธ์การบริหาร การบริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ การศึกษาคาทอลิก ประชาคมอาเซียน
ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2020/2563
97
กลยุทธ์การบริหารสถานศึกษาขัน้ พืน้ ฐานคาทอลิกในอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ สูป่ ระชาคมอาเซียน
Abstract
98
The objectives of the study were to 1) study the current state of basic school administration in Bangkok Archdiocese towards ASEAN Community 2) develop the strategies for basic school administration in Bangkok Archdiocese towards ASEAN Community 3) assess the strategies for basic school administration in Bangkok Archdiocese towards ASEAN Community. This research was conducted in a combined methods of quantitative and qualitative. According to the quantitative method, the population was consisted of 48 schools in Bangkok Archdiocese which included principals or vice-principals and four departmental heads. The sample contained 180 respondents. Based on the qualitative method, the semi-structured interview was implemented with 10 school administrators. The focus-group discussion with 10 educational specialists and experts and the strategic assessment with five educational experts were conducted. The data were analyzed by frequency, percentage, arithmetic mean, standard deviation, alpha coefficient and content analyses. The research results showed that: 1. The current state of basic school administration in Bangkok Archdiocese towards ASEAN Community in general was performed at the maximum level. The main strategy of administrator was at the highest level compared to other main strategies (student, teacher, curriculum, learning process and extra-curriculum activities, and environment and facilities). The minor strategy of student, in general,
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
วรวรรษ เทียมสุวรรณ, วัชรพล วิบูลยศริน และ ศิโรจน์ ผลพันธิน
was at the high level. Considered separately, the minor strategy of student, student staying with others happily had the highest arithmetic mean while the lowest arithmetic mean was found among students who took the international examinations. The minor strategy of teacher, teacher staying with others happily held the highest arithmetic mean while teacher teaching via electronic media contained the lowest arithmetic mean. The minor strategy of administrator, administrator communicating with other people in various levels effectively kept the highest arithmetic mean while the lowest arithmetic mean was found with administrator with little knowledge and competency in technological management. The minor strategy of curriculum, learning process and extra-curriculum activities, various learning programs in response to student’s interest and potential contained the highest arithmetic mean. The lowest arithmetic mean was found in schools implanting social mind and dedication to student. The minor strategy of environment and facilities, the illuminated and ventilated classroom which was suitable for learning arranging had the highest arithmetic mean while those rehearsing about fire and earthquake had the lowest arithmetic mean. 2. The strategic development of Catholic basic school administration in Bangkok Archdiocese towards ASEAN Community, based on the semi-structured interview, the ten informants (school administrators) shared the importance of the five main strategies which were about the student, the
ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2020/2563
99
กลยุทธ์การบริหารสถานศึกษาขัน้ พืน้ ฐานคาทอลิกในอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ สูป่ ระชาคมอาเซียน
teacher, the administrator, the curriculum, learning process and extra-curriculum activities, the environment and facilities. The 5 minor strategies with the lowest arithmetic mean were developed and the other 5 minor strategies with the highest arithmetic mean were supported. 3. The strategic assessment of Catholic basic school administration in Bangkok Archdiocese towards ASEAN Community, based on the focus-group discussion with 10 educational administration experts and specialists and the strategic assessment with 5 Catholic educational administration experts, approved both main and minor strategies of Catholic basic school administration in Bangkok Archdiocese towards ASEAN community. However, some minor strategies were adapted and added up. In conclusion, the administrative strategies for Catholic basic educational school in Bangkok Archdiocese towards ASEAN community were consisted of 5 main strategies, 13 minor strategies with 26 goals and 41 major indicators in the minor strategies. Keywords: Administrative Strategies Basic Education Schools in Bangkok Archdiocese Catholic Education ASEAN Community
100 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
วรวรรษ เทียมสุวรรณ, วัชรพล วิบูลยศริน และ ศิโรจน์ ผลพันธิน
ความเป็นมาและความส�ำคัญของปัญหา ประเทศไทยเป็นประเทศสมาชิกของ ประชาคมอาเซียน ตระหนักว่าคุณภาพของ การศึกษาเป็นกุญแจทีจ่ ะท�ำให้เอเชียตะวันออก เฉียงใต้ก้าวทันกับการเปลี่ยนแปลงของโลกใน ขณะเดียวกันยังคงรักษาอัตลักษณ์ในภูมิภาค ของตนอย่างเข้มแข็ง มุ่งมั่นที่จะส่งเสริมเป้า หมายของการรวมตัวกันเป็นหนึ่งของประเทศ สมาชิกและส่งเสริมความเข้าใจและความร่วม มือในภูมิภาค แนวคิดนี้ก่อให้เกิดความร่วมมือ ทางการศึกษาระหว่างประเทศทีท่ ำ� งานร่วมกัน ด้วยความมุ่งมั่นอย่างจริงใจเพื่อจุดมุ่งหมาย ของการเปลี่ยนกรอบแนวคิดและพฤติกรรม ของเยาวชนอาเซียนให้ตระหนักถึงการสืบทอด ประเพณีวฒ ั นธรรมและอัตลักษณ์ของตนเองให้ มากขึ้น (กระทรวงศึกษาธิการ, 2560) การจัดการศึกษาในประเทศไทยสูค่ วาม เป็นเลิศได้นั้นต้องอาศัยความร่วมมือจากภาค เอกชนให้เข้ามามีสว่ นร่วม สถานศึกษาคาทอลิก ในประเทศไทยเป็นส่วนหนึ่งที่เข้ามามีบทบาท ในการจัดการศึกษาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา จนถึงปัจจุบัน การจัดการศึกษาคาทอลิกมุ่ง เน้ น การจั ด การศึ ก ษาสู ่ ค วามเป็ น เลิ ศ สู ่ ก าร พั ฒ นาทั้ ง ด้ า นร่ า งกาย สติ ป ั ญ ญา อารมณ์ และสังคม สถานศึกษาขั้นพื้นฐานคาทอลิก เป็นกลุ่มสถาบันการศึกษาที่เน้นผู้เรียนให้ได้ รับการพัฒนาทุกมิติโดยเฉพาะการพัฒนาด้าน
คุ ณ ธรรม และจริ ย ธรรม คื อ “คุ ณ ธรรมน� ำ ความรู ้ คู ่ ค วามสุ ข ” เป็ น แนวคิ ด ที่ ส ภาการ ศึกษาคาทอลิก (ประเทศไทย) ใช้เป็นแนวทาง การจัดการศึกษาคาทอลิกเพือ่ สร้างยุทธศาสตร์ ในการจัดการเรียนการสอนให้ได้ผลิตผลที่มี คุณภาพโดยตั้งอยู่บนพื้นฐานการจัดการศึกษา ที่มุ่งเน้นการอบรมคน และการใส่ใจในการจัด บริบทของโรงเรียนหรือสถานศึกษา ประสาน การเรียนรู้และพัฒนาการทุกอย่างเข้าด้วยกัน เพื่อให้ผู้เรียนบรรลุความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ ตามหลักปรัชญาการศึกษาคาทอลิก (สภาการ ศึกษาคาทอลิกแห่งประเทศไทย, 2557) สภาการศึกษาคาทอลิกแห่งประเทศไทย (2557) กล่าวถึง รายงานเรื่อง บทบาทและ ศั ก ยภาพของโรงเรี ย นคาทอลิ ก ป 2014 สะท้อนถึงลักษณะเฉพาะของโรงเรียนคาทอลิก ในทัศนะของศิษย์เก่าและผู้ปกครอง เรียงตาม ล�ำดับจากการกล่าวถึงมากที่สุด 3 ประการ แรก คื อ 1. มุ ่ ง เน้ น การสอนเรื่ อ งจริ ย ธรรม คุณธรรมควบคูไ ปกับการใหค วามรูท างวิชาการ 2. บุ ค ลากรมี จ ริ ย ธรรมสู ง เอาใจใส ทุ ่ ม เท ในการดูแลเด็กนักเรียน และปฏิบัติต่อเด็กทุก คนอย่างเสมอภาค (ครู/อาจารย์/พนักงาน) 3. มีการสอนเรื่องการอยู่ร่วมกันในสังคม การ เสียสละ การเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ การแบงปน และ มีความรับผิดชอบตอสังคม
ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2020/2563 101
กลยุทธ์การบริหารสถานศึกษาขัน้ พืน้ ฐานคาทอลิกในอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ สูป่ ระชาคมอาเซียน
นันทวิชญ์ ฉัตรบรรยงค์ (2554) กล่าว ถึงปัญหาของการศึกษาคาทอลิกว่า การเปลีย่ น แปลงของโลกในปัจจุบันทางด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และเทคโนโลยี ส่งผลกระทบ ต่ อ การศึ ก ษาคาทอลิ ก โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง สถาบั น การศึ ก ษาที่ สั ง กั ด สั ง ฆมณฑลใน ประเทศไทย ท� ำ ให้ ส ถาบั น ต้ อ งปรั บ ตั ว ต่ อ การเปลี่ยนแปลง นอกจากนั้น ปัญหายังเกิด จากภายในของสถานศึกษาคาทอลิกเอง เช่น 1. เพื่อความอยู่รอดของสถานศึกษาบางแห่ง จึงต้องปรับตัวตามกระแสของการเปลีย่ นแปลง ที่เกิดขึ้นโดยขาดความส�ำนึกถึงอุดมคติ หลัก การ และเป้าหมายหลักตามที่พระศาสนจักร คาทอลิกก�ำหนด 2. การบริหารสถานศึกษา มีการปรับเปลี่ยนผู้บริหารอยู่บ่อย จึงท�ำให้ นโยบายการบริหารขาดความต่อเนื่อง บาทหลวง เดชา อาภรณ์รตั น์. (ม.ป.ป.). กล่าวถึง สิง่ ท้าทายในการจัดการเรียนการสอน ว่ า มี 3 ด้ า น คื อ 1. วิ ธี ก ารเรี ย นการสอน ครูสว นใหญย งั คงสอนตามแบบเดิม เน้นครูเปน ศูนยกลาง นักเรียนขาดความเขาใจที่แทจริง ในเนื้อหา และใชสิ่งที่เรียนรูในชีวิตจริงไมได้ 2. การสงเสริมจริยธรรมใหแกนกั เรียน ครูสว น ใหญไ มต ระหนักในบทบาทการพัฒนาจริยธรรม ใหแกนักเรียน และยังไมมีความชํานาญ และ 3. การพัฒนาตนเองของครูโดยครูสวนใหญไม “อา น” หนังสือ ขาดการคน ควา หาความรูเ พิม่ เติมและพัฒนาดวยตัวเอง 102 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
ขวัญทิพย์ ชินเศรษฐวงศ์ (2557) ท�ำ การวิจัยเรื่องยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนการ ศึกษาขั้นพื้นฐานสู่ประชาคมอาเซียน โดยใช้ กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้เชี่ยวชาญในสพฐ. สพป. และสพม. จ� ำ นวน 19 คนและบุ ค ลากร ทางการศึกษาทั่วประเทศที่เกี่ยวข้อง จ�ำนวน 488 คน ผลการวิจัยพบว่า ยุทธศาสตร์การ ขับเคลื่อนการศึกษาขั้นพื้นฐานสู่ประชาคม อาเซียนของประเทศไทย ประกอบด้วย 1. ส่งเสริม การพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ความสามารถมี ทั ก ษะในศตวรรษที่ 21 และมี คุ ณ ลั ก ษณะ อันพึงประสงค์ตามเกณฑ์มาตรฐานการศึกษา ชาติเพื่อมุ่งสู่มาตรฐานการศึกษาในระดับชาติ ระดับอาเซียน และระดับสากล 2. พัฒนาครู และบุ ค ลากรทางการศึ ก ษา ให้ มี ค วามรู ้ มี ทักษะการถ่ายทอด และมีคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ตามมาตรฐานวิชาชีพครู เพื่อพัฒนา ผู ้ เรี ย นสู ่ อ าเซี ย น 3. เร่ ง รั ด การพั ฒ นาการ บริหารจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานในทุกรูปแบบ ทุ ก ระดั บ เพื่ อ ยกระดั บมาตรฐานสู ่ อ าเซี ย น 4. ส่งเสริมการพัฒนาหลักสูตรและการจัดการ เรียนรู้ของการศึกษาขั้นพื้นฐาน ทุกรูปแบบ ทุกระดับสู่มาตรฐานสากล จากแนวคิดของกระทรวงศึกษาธิการ (2560) ร่วมมือทางการศึกษากับประชาคม อาเซียน การจัดการศึกษาของสภาการศึกษา คาทอลิกแห่งประเทศไทย (2557) แนวคิดของ
วรวรรษ เทียมสุวรรณ, วัชรพล วิบูลยศริน และ ศิโรจน์ ผลพันธิน
นันทวิชญ์ ฉัตรบรรยงค์ (2554) บาทหลวง เดชา อาภรณ์รัตน์ (ม.ป.ป.) และขวัญทิพย์ ชินเศรษฐวงศ์ (2557) ท�ำให้ผู้วิจัยสนใจและ มุ ่ ง ศึ ก ษากลยุท ธ์ก ารบริห ารสถานศึก ษาขั้น พื้นฐานคาทอลิกในอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ สูป่ ระชาคมอาเซียน เพือ่ ใช้เป็นแนวทางในการ พัฒนาสถานศึกษาขั้นพื้นฐานคาทอลิกให้โดด เด่นและเป็นที่ยอมรับของประเทศต่างๆ โดย เฉพาะอย่างยิ่งในประชาคมอาเซียน วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพือ่ ศึกษาสภาพทัว่ ไปของการบริหาร สถานศึกษาขัน้ พืน้ ฐานคาทอลิกในอัครสังฆมณฑล กรุงเทพฯ สู่ประชาคมอาเซียน 2. เพื่อพัฒนากลยุทธ์การบริหารสถาน ศึกษาขั้นพื้นฐานคาทอลิกในอัครสังฆมณฑล กรุงเทพฯ สู่ประชาคมอาเซียน 3. เพือ่ ประเมินกลยุทธ์การบริหารสถาน ศึกษาขั้นพื้นฐานคาทอลิกในอัครสังฆมณฑล กรุงเทพฯ สู่ประชาคมอาเซียน ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ด้านวิชาการ 1. สถานศึกษาสามารถน�ำผลการวิจัย จากกลยุทธ์หลักและกลยุทธ์รองด้านนักเรียน ครู หลักสูตร กระบวนการเรียนรู ้ และกิจกรรม พัฒนานักเรียน มาปรับปรุงพัฒนาด้านการ เรียนการสอนให้มีคุณภาพมากขึ้น
ด้านการบริหาร 1. ผู้บริหารสามารถน�ำผลการวิจัยจาก กลยุทธ์หลักและกลยุทธ์รองด้านผู้บริหารมา ปรับปรุงและพัฒนางานด้านการบริหารสถาน ศึกษาให้มีคุณภาพมากขึ้น 2. ผู้บริหารสถานศึกษาทุกฝ่าย เช่น สังฆมณฑลต่างๆ และคณะต่างๆ เช่น คณะ ภราดาเซนต์คาเบรียลแห่งประเทศไทย คณะ ซาเลเซียน เป็นต้น สามารถน�ำผลการวิจัยไป ใช้ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาให้มี คุณภาพมากขึ้น กรอบแนวคิดในการวิจัย ผู้วิจัยได้ด�ำเนินการวิจัยแบบผสมผสาน คือ เชิงปริมาณ (Quantitative Research) และเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) เพือ่ พิสจู น์ถงึ แนวคิดกระบวนทัศน์เกีย่ วกับการ วิเคราะห์มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานของ ประเทศในอาเซียนและการจัดการศึกษาตาม แนวปรัชญา วิสยั ทัศน์ พันธกิจ และเอกลักษณ์ ของสถานศึกษาคาทอลิก ว่าสามารถน�ำมา ประยุกต์ใช้เป็นกลยุทธ์การบริหารสถานศึกษา คาทอลิ ก ในอั ค รสั ง ฆมณฑลกรุ ง เทพฯ สู ่ ประชาคมอาเซี ย นได้ โ ดยศึ ก ษาตามกรอบ แนวคิดในการวิจัย ดังแผนภาพที่1 ดังนี้
ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2020/2563 103
กลยุทธ์การบริหารสถานศึกษาขัน้ พืน้ ฐานคาทอลิกในอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ สูป่ ระชาคมอาเซียน
การจัดการศึกษาคาทอลิก (สังเคราะห์จากงานวิจัยของเพียงแข ภูผายาง, 2554; ศรีจริน สิมมาลี, 2559; ศิ ริ รั ต น์ อนุ วั ฒ น์ ป ระกิ จ , 2557; สุ ริ น ทร์ จารย์อุปการะ, 2556; อภิสิทธิ์ กฤษเจริญ, 2554; อรวรรณ จันทร์ชลอ, 2550) 1. ปรัชญาการศึกษาคาทอลิก 2. วิสัยทัศน์การศึกษาคาทอลิก 3. พันธกิจการศึกษาคาทอลิก 4. เอกลักษณ์สถานศึกษาคาทอลิก
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานประชาคม อาเซียน (สั ง เคราะห์ จ าก 10 ประเทศใน ประชาคมอาเซียน คือ ราชอาณาจักรไทย สาธารณรัฐสิงคโปร์ สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ เนการาบรู ไ นดารุ ส ซาลาม สาธารณรั ฐ ประชาธิ ป ไตยประชาชนลาว สหพั น ธรั ฐ มาเลเซี ย สาธารณรั ฐ สั ง คมเวี ย ดนาม สาธารณรัฐอินโดนีเซีย ราชอาณาจักรกัมพูชา สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน 5 ด้าน คือ 1. ด้านนักเรียน 2. ด้านครู 3. ด้านผู้บริหาร 4. ด้านหลักสูตร กระบวนการเรียนรู้ และกิจกรรมพัฒนานักเรียน 5. ด้านอาคาร สถานที ่ และสิง่ อ�ำนวย ความสะดวก
กลยุ ท ธ์ ก ารบริ ห ารสถานศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐานคาทอลิ ก ในอั ค รสั ง ฆมณฑลกรุ ง เทพฯ สู่ประชาคมอาเซียนประกอบด้วย 5 ด้าน คือ 1. ด้านนักเรียน 2. ด้านครู 3. ด้านผู้บริหาร 4. ด้านหลักสูตร กระบวนการเรียนรู ้ และกิจกรรมพัฒนานักเรียน และ 5. ด้านอาคาร สถานที่ และสิ่งอ�ำนวยความสะดวก แผนภาพที่ 1 กรอบแนวคิดการวิจัย 104 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
วรวรรษ เทียมสุวรรณ, วัชรพล วิบูลยศริน และ ศิโรจน์ ผลพันธิน
นิยามศัพท์เฉพาะ 1. กลยุทธ์การบริหารสถานศึกษาขั้น พื้นฐานคาทอลิกในอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ สูป่ ระชาคมอาเซียนหมายถึง การจัดการเชิงกล ยุทธ์เพื่อให้บรรลุผลตามแผนงานของสถาน ศึกษาที่ตั้งไว้มี 2 ตัวแปรคือ 1. การจัดการ ศึกษาคาทอลิก ประกอบด้วย 4 ด้าน คือ 1.1 ปรัชญาการศึกษาคาทอลิก 1.2 วิสัยทัศน์การ ศึกษาคาทอลิก 1.3 พันธกิจการศึกษาคาทอลิก และ 1.4 เอกลักษณ์สถานศึกษาคาทอลิก และ 2. มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานประชาคม อาเซียน ประกอบด้วย 5 ด้าน คือ 2.1 ด้าน นักเรียน 2.2 ด้านครู 2.3 ด้านผู้บริหาร 2.4 ด้ า นหลั ก สู ต ร กระบวนการเรี ย นรู ้ และจั ด กิจกรรมพัฒนานักเรียน และ 2.5 ด้านอาคาร สถานที่ และสิ่งอ�ำนวยความสะดวก 2. ด้านนักเรียน หมายถึง บุคคลทีศ่ กึ ษา อยูใ่ นระดับการศึกษาขัน้ พืน้ ฐานในสถานศึกษา คาทอลิ ก ในอั ค รสั ง ฆมณฑลกรุ ง เทพฯ มี ผ ล สัมฤทธิ์ทางการเรียน ทักษะส�ำคัญของผู้เรียน สมรรถนะผูเ้ รียน และมีคณ ุ ธรรมและจริยธรรม ตามหลักศาสนาของตน 3. ด้านครู หมายถึง บุคลากรวิชาชีพที่ ท�ำหน้าที่หลักทางด้านการเรียนการสอนและ การส่งเสริมการเรียนรู้ของนักเรียนด้วยวิธีการ ต่างๆ ในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานในสถาน ศึกษาคาทอลิกในอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ
4. ด้ า นผู ้ บ ริ ห าร หมายถึ ง บุ ค ลากร วิ ชาชี พ ที่รั บผิ ดชอบการบริ ห ารสถานศึ ก ษา ขั้ น พื้ น ฐานในสถานศึ ก ษาคาทอลิ ก ในอั ค ร สังฆมณฑลกรุงเทพฯ 5. ด้านหลักสูตร กระบวนการเรียนรู้ และกิ จกรรมพั ฒ นานั ก เรี ย น หมายถึ ง การ จั ด การศึ ก ษาที่ ก� ำ หนดให้ ส ถานศึ ก ษาจั ด หลักสูตร กระบวนการเรียนรู้ และกิจกรรม พั ฒ นานั ก เรี ย นอย่ า งรอบด้ า นตามเกณฑ์ มาตรฐานการศึกษาขัน้ พืน้ ฐานเพือ่ การประกัน คุณภาพภายในของสถานศึกษา 6. ด้านอาคาร สถานที่ และสิ่งอ�ำนวย ความสะดวก หมายถึ ง การจั ด การศึ ก ษาที่ ก�ำหนดให้สถานศึกษาจัดอาคาร สถานที่ และ สิ่งอ�ำนวยความสะดวก ที่ส่งเสริมการพัฒนา ความรู ้ แ ละคุ ณ ธรรมของนั ก เรี ย นอย่ า งเต็ ม ศักยภาพในสถานศึกษาขัน้ พืน้ ฐานคาทอลิกใน อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ การด�ำเนินการวิจัย การวิ จั ย ครั้ ง นี้ เ ป็ น การวิ จั ย แบบผสม ผสาน (Mixed Method) ประกอบด้วยการ วิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Method) และการวิจยั เชิงคุณภาพ (Qualitative Method) การเก็บรวบรวมข้อมูลในครั้งนี้ เก็บรวบรวม ข้ อ มู ล ทั้ ง แบบเชิ ง ปริ ม าณซึ่ ง เก็ บ จากแบบ สอบถาม และเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพจากการ
ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2020/2563 105
กลยุทธ์การบริหารสถานศึกษาขัน้ พืน้ ฐานคาทอลิกในอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ สูป่ ระชาคมอาเซียน
สั ม ภาษณ์ และการสนทนากลุ ่ ม วิ เ คราะห์ ข้อมูลเชิงปริมาณด้วยสถิติการหาค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่า สัมประสิทธิ์แอลฟา และวิเคราะห์ข้อมูลเชิง คุณภาพด้วยการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ขั้นตอน การวิจัยมี 3 ขั้นตอน ดังนี้ 1. การศึก ษาสภาพทั่วไปการบริห าร สถานศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐานคาทอลิ ก ในอั ค ร สังฆมณฑลกรุงเทพฯ สู่ประชาคมอาเซียนโดย การสังเคราะห์ข้อมูลจากเอกสารการบริหาร สถานศึกษาขั้นพื้นฐานคาทอลิก และในอัคร สังฆมณฑลกรุงเทพฯ และมาตรฐานการศึกษา ขัน้ พืน้ ฐานของประชาคมอาเซียน แหล่งข้อมูล ที่ใช้ศึกษาคือ ต�ำราเอกสาร งานวิจัยเกี่ยวกับ การบริหารสถานศึกษาคาทอลิก และเว็บไซด์ มาตรฐานการศึ ก ษาพื้ น ฐานของประเทศ สมาชิกประชาคมอาเซียน บุคคลที่ให้ข้อมูล คือผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานคาทอลิกใน อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ จ�ำนวน 180 คน และเครื่องมือที่ใช้คือแบบสอบถาม 2. การพัฒนากลยุทธ์การบริหารสถาน ศึกษาขั้นพื้นฐานคาทอลิกในอัครสังฆมณฑล กรุ ง เทพฯ สู ่ ป ระชาคมอาเซี ย น บุ ค คลที่ ใ ห้ ข้ อ มู ล คื อ ผู ้ บ ริ ห ารสถานศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน คาทอลิกในอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ จ�ำนวน 10 คน เครื่องมือที่ใช้ คือแบบสัมภาษณ์ก่ึง โครงสร้าง (semi-structured interview form) 106 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
3. การประเมินกลยุทธ์การบริหารสถาน ศึกษาขั้นพื้นฐานคาทอลิกในอัครสังฆมณฑล กรุงเทพฯสู่ประชาคมอาเซียน แบ่งออกเป็น 2 ขัน้ ตอน คือ การน�ำเสนอร่างกลยุทธ์โดยการ สนทนากลุ่ม จากผู้ทรงคุณวุฒิและผู้เชี่ยวชาญ ด้านการบริหารสถานศึกษาขัน้ พืน้ ฐานคาทอลิก จ�ำนวน 10 คน และการรับรองร่างกลยุทธ์จาก ผูท้ รงคุณวุฒดิ า้ นการบริหารการศึกษาคาทอลิก จ�ำนวน 5 คน และเครื่องมือที่ใช้คือ แบบน�ำ เสนอร่างกลยุทธ์ และแบบประเมินการรับรอง ร่างกลยุทธ์ ผลการศึกษา ผลการศึกษากลยุทธ์การบริหารสถาน ศึกษาขั้นพื้นฐานคาทอลิกในอัครสังฆมณฑล กรุงเทพฯสู่ประชาคมอาเซียนแบ่งออกเป็น 3 ส่วน ดังนี้ 1. การศึ ก ษาสภาพทั่ วไปการบริ ห าร สถานศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐานคาทอลิ ก ในอั ค ร สั ง ฆมณฑลกรุ ง เทพฯ สู ่ ป ระชาคมอาเซี ย น สรุปว่า ในภาพรวมของร่างกลยุทธ์หลักอยู่ใน ระดับมาก ร่างกลยุทธ์หลักด้านผู้บริหารมีค่า เฉลีย่ สูงสุด เมือ่ พิจารณาเป็นรายด้านพบว่าร่าง กลยุทธ์รองด้านนักเรียน นักเรียนอยูร่ ว่ มกันกับ ผู้อื่นได้อย่างมีความสุข มีค่าเฉลี่ยสูงสุด และ นักเรียนมีผลการทดสอบระดับชาติและนานา ชาติที่มีค่าเฉลี่ยต�่ำสุด ร่างกลยุทธ์รองด้านครู
วรวรรษ เทียมสุวรรณ, วัชรพล วิบูลยศริน และ ศิโรจน์ ผลพันธิน
ครูอยู่ร่วมกันกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุขมีค่า เฉลีย่ สูงสุด ครูสามารถถ่ายทอดความรูโ้ ดยผ่าน สื่อเทคโนโลยี มีค่าเฉลี่ยต�่ำสุด ร่างกลยุทธ์รอง ด้านผูบ้ ริหาร ผูบ้ ริหารมีทกั ษะด้านการสือ่ สาร กับบุคคลในระดับต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ มี ค ่ า เฉลี่ ย สู ง สุ ด ผู ้ บ ริ ห ารมี ค วามรู ้ ค วาม สามารถในการบริหารจัดการและใช้เทคโนโลยี มีค่าเฉลี่ยต�่ำสุด ร่างกลยุทธ์รอง ด้านหลักสูตร กระบวนการเรี ย นรู ้ และกิ จ กรรมพั ฒ นา นักเรียน โปรแกรมการเรียนที่หลากหลายเพื่อ
ตอบสนองความสนใจและศั ก ยภาพของ นักเรียน มีคา่ เฉลีย่ สูงสุด ในขณะทีส่ ถานศึกษา ปลูกฝังการรับใช้และการอุทศิ ตนให้กบั นักเรียน มีคา่ เฉลีย่ ต�ำ่ สุด และร่างกลยุทธ์รองด้านอาคาร สถานที ่ และสิง่ อ�ำนวยความสะดวก ห้องเรียน ถ่ายเทอากาศได้ดี และมีแสงสว่างเพียงพอ เหมาะสมกับการจัดการเรียนรู ้ มีคา่ เฉลีย่ สูงสุด การซ้อมไฟไหม้และแผ่นดินไหวเมื่อมีภัยทาง ธรรมชาติ มีคา่ เฉลีย่ ต�ำ่ สุด ตามตารางที ่ 1 และ 2 ดังนี้
ตารางที่ 1 ค่าเฉลี่ย (x̅) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ตลอดจนค่าแปลผลของร่างกลยุทธ์หลัก ของสภาพทัว่ ไปการบริหารสถานศึกษาขัน้ พืน้ ฐานคาทอลิกในอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ สู่ประชาคมอาเซียน ด้าน ร่างกลยุทธ์หลัก 1. ด้านนักเรียน 2. ด้านครู 3. ด้านผู้บริหาร ด้านหลักสูตร กระบวนการเรียนรู้ 4. และกิจกรรมพัฒนาคุณภาพนักเรียน 5. ด้านอาคาร สถานที่ และสิ่งอ�ำนวยความสะดวก รวม
x̅ 3.99 4.23 4.49
S.D. 0.272 0.391 0.351
แปลผล มาก มาก มาก
4.41
0.346
มาก
4.39 4.30
0.417 0.355
มาก มาก
ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2020/2563 107
กลยุทธ์การบริหารสถานศึกษาขัน้ พืน้ ฐานคาทอลิกในอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ สูป่ ระชาคมอาเซียน
ตารางที่ 2 ค่าเฉลี่ย (x̅) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ตลอดจนค่าแปลผลของร่างกลยุทธ์รอง ของสภาพทัว่ ไปการบริหารสถานศึกษาขัน้ พืน้ ฐานคาทอลิกในอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ สู่ประชาคมอาเซียน ด้าน นักเรียน นักเรียน ครู ครู ผู้บริหาร ผู้บริหาร หลักสูตร กระบวนการเรียนรู้ และกิจกรรมพัฒนานักเรียน หลักสูตร กระบวนการเรียนรู้ และกิจกรรมพัฒนานักเรียน อาคาร สถานที่ และสิ่งอ�ำนวยความสะดวก อาคาร สถานที่ และสิ่งอ�ำนวยความสะดวก
ร่างกลยุทธ์รอง นักเรียนอยู่ร่วมกันกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข นักเรียนมีผลการทดสอบระดับชาติและนานาชาติ ครูอยู่ร่วมกันกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข ครูสามารถถ่ายทอดความรูโ้ ดยผ่านสือ่ เทคโนโลยี ผู้บริหารมีทักษะด้านการสื่อสารกับบุคคลใน ระดับต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ผู้บริหารมีความรู้ความสามารถในการบริหาร จัดการและใช้เทคโนโลยี โปรแกรมการเรียนที่หลากหลายเพื่อตอบสนอง ความสนใจและศักยภาพของนักเรียน สถานศึกษาปลูกฝังการรับใช้และการอุทิศตนให้ กับนักเรียน ห้องเรียนถ่ายเทอากาศได้ด ี และมีแสงสว่างเพียง พอเหมาะสมกับการจัดการเรียนรู้ การซ้อมไฟไหม้และแผ่นดินไหวเมื่อมีภัยทาง ธรรมชาติ
x̅ 4.46 3.02 4.56 3.61
S.D. 0.499 1.180 0.541 0.610
แปลผล มากที่สุด ต�่ำที่สุด มากที่สุด ต�่ำที่สุด
4.83 0.373 มากที่สุด 4.12 0.395 ต�่ำที่สุด 4.76 0.424 มากที่สุด 4.08 0.726 ต�่ำที่สุด 4.68 0.466 มากที่สุด 3.73 1.020 ต�่ำที่สุด
2. การพัฒนากลยุทธ์การบริหารสถานศึกษาขัน้ พืน้ ฐานคาทอลิกในอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ สู่ประชาคมอาเซียน ร่างกลยุทธ์หลักทั้ง 5 ด้าน และ ร่างกลยุทธ์รองในแต่ละด้านที่ได้ค่าแปรผล สูงที่สุดน�ำมาส่งเสริม และต�่ำที่สุดน�ำมาพัฒนา รวม 10 ข้อ สัมภาษณ์ผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้น ฐานคาทอลิกในอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ จ�ำนวน 10 คน และทั้ง 10 คนเห็นด้วยกับร่างกลยุทธ์ หลักและร่างกลยุทธ์รองที่ได้จากผลการพัฒนาการบริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานคาทอลิกในอัคร สังฆมณฑลกรุงเทพฯสู่ประชาคมอาเซียนและ สรุปเป็นข้อมูลตามตารางที่ 3 ดังนี้ 108 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
วรวรรษ เทียมสุวรรณ, วัชรพล วิบูลยศริน และ ศิโรจน์ ผลพันธิน
ตารางที่ 3 ร่างกลยุทธ์หลักและร่างกลยุทธ์รองที่พัฒนาเป็นกลยุทธ์การบริหารสถานศึกษาขั้น พื้นฐานคาทอลิกในอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ สู่ประชาคมอาเซียน ร่างกลยุทธ์หลัก
ร่างกลยุทธ์รอง 1. นักเรียนอยู่ร่วมกันกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข นักเรียน 2. นักเรียนมีผลการทดสอบระดับชาติและนานาชาติ 1. ครูอยูร่ ว่ มกันกับผูอ้ นื่ ได้อย่างมีความสุข ครู 2. ครูสามารถถ่ายทอดความรูโ้ ดยผ่านสือ่ เทคโนโลยี 1. ผู้บริหารมีทักษะด้านการสื่อสารกับบุคคลในระดับต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ผู้บริหาร 2. ผู้บริหารมีความรู้ความสามารถในการบริหารจัดการและ ใช้เทคโนโลยี 1. โปรแกรมการเรียนที่หลากหลายเพื่อตอบสนองความสนใจ หลักสูตร กระบวนการเรียนรู ้ และศักยภาพของนักเรียน และกิจกรรมพัฒนานักเรียน 2. สถานศึกษาปลูกฝังการรับใช้และการอุทิศตนให้กับนักเรียน 1. ห้องเรียนถ่ายเทอากาศได้ด ี และมีแสงสว่างเพียงพอเหมาะสม อาคาร สถานที่ กับการจัดการเรียนรู้ และสิ่งอ�ำนวยความสะดวก 2. การซ้อมไฟไหม้และแผ่นดินไหวเมื่อมีภัยทางธรรมชาติ 3. การประเมินกลยุทธ์การบริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานคาทอลิกในอัครสังฆมณฑล กรุงเทพฯสู่ประชาคมอาเซียน สรุปว่า จากการสนทนากลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิและผู้เชี่ยวชาญด้านการ บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานคาทอลิก จ�ำนวน 10 คน และการรับรองกลยุทธ์ จากผู้ทรงคุณวุฒิ ด้านการบริหารการศึกษาคาทอลิก จ�ำนวน 5 คน ผู้ทรงคุณวุฒิเห็นด้วยทุกด้านของกลยุทธ์หลัก และกลยุทธ์รองของการบริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานคาทอลิกในอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ สูป่ ระชาคมอาเซียนโดยให้มกี ารปรับเปลีย่ น และเพิม่ กลยุทธ์รองบางประการตลอดจนเพิม่ เป้าหมาย และตัวชี้วัดที่ส�ำคัญของแต่ละกลยุทธ์รอง สรุปแล้วกลยุทธ์การบริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คาทอลิกในอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ สูป่ ระชาคมอาเซียนประกอบด้วย กลยุทธ์หลัก 5 ข้อ กลยุทธ์ รอง 13 ข้อ เป้าหมาย 26 ข้อ และตัวชี้วัดส�ำคัญ 41 ข้อ สรุปเป็นตาราง ดังนี้ ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2020/2563 109
กลยุทธ์การบริหารสถานศึกษาขัน้ พืน้ ฐานคาทอลิกในอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ สูป่ ระชาคมอาเซียน
ตารางที่ 4 กลยุทธ์การบริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานคาทอลิกในอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ สู่ประชาคมอาเซียน ร่างกลยุทธ์หลัก
ร่างกลยุทธ์รอง
1. การอยูร่ ว่ มกันกับผูอ้ นื่ ได้อย่างมีความสุข ประกอบด้วย 2 เป้าหมาย และ 3 ตัวชีว้ ดั ส�ำคัญ 2. ด้านครู 2. การถ่ายทอดความรูโ้ ดยผ่านสือ่ เทคโนโลยี ประกอบด้วย 1 เป้าหมาย และ 2 ตัวชีว้ ดั ส�ำคัญ 1. ทักษะด้านการสื่อสารกับบุคคลในระดับต่างๆ อย่างมีประสิทธิภาพ ประกอบด้วย 1 เป้าหมาย และ 1 ตัวชี้วัดส�ำคัญ 2. ความรูค้ วามสามารถในการบริหารจัดการและใช้เทคโนโลยี ประกอบด้วย 1 เป้าหมาย และ 2 ตัวชี้วัดส�ำคัญ 3. ด้านผู้บริหาร 3. การปฏิบัติตนตามหลักธรรมาภิบาล (เพิ่มเติมจากการสนทนากลุ่ม) ประกอบด้วย 1 เป้าหมาย และ 1 ตัวชี้วัดส�ำคัญ 4. ภาวะผู้น�ำเชิงนวัตกรรม (เพิ่มเติมจากการสนทนากลุ่ม) ประกอบด้วย 4 เป้าหมาย และ 6 ตัวชี้วัดส�ำคัญ 1. โปรแกรมการเรียนที่หลากหลายเพื่อตอบสนองความสนใจและศักยภาพ 4. ด้านหลักสูตร กระบวนการเรียนรู้ ของนักเรียน ประกอบด้วย 3 เป้าหมาย และ 4 ตัวชี้วัดส�ำคัญ 2. การปลูกฝังการรับใช้ และการอุทิศตนให้กับนักเรียน ประกอบด้วย 2 และกิจกรรมพัฒนานักเรียน เป้าหมาย และ 2 ตัวชี้วัดส�ำคัญ 1. ห้องเรียนถ่ายเทอากาศได้ดี และมีแสงสว่างเพียงพอเหมาะสมกับการ จัดการเรียนรู้ เปลี่ยนเป็นสภาพแวดล้อมทางกายภาพ และสิ่งอ�ำนวย ความสะดวกต่างๆ เอือ้ ต่อการพัฒนาความรูแ้ ละคุณธรรมของนักเรียน 5. ด้านอาคาร สถานที่ (เปลี่ยนตามการสนทนากลุ่ม) ประกอบด้วย 2 เป้าหมาย และ 3 ตัว ชี้วัดส�ำคัญ และสิ่งอ�ำนวยความสะดวก 2. สถานศึกษาจัดให้มีการซ้อมไฟไหม้ และแผ่นดินไหวเมื่อมีภัยพิบัติทาง ธรรมชาติ เปลี่ยนเป็นการซ้อมรับภัยพิบัติทางธรรมชาติ (เปลี่ยนตาม การสนทนากลุ่ม) ประกอบด้วย 1 เป้าหมาย และ 1 ตัวชี้วัดส�ำคัญ
รวมทั้งสิ้น 5 กลยุทธ์หลัก
110 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
รวมทั้งสิ้น 13 กลยุทธ์รอง 26 เป้าหมาย 41 ตัวชี้วัดส�ำคัญ
วรวรรษ เทียมสุวรรณ, วัชรพล วิบูลยศริน และ ศิโรจน์ ผลพันธิน
อภิปรายผล จากผลการวิจยั ผูว้ จิ ยั พบประเด็นส�ำคัญ ที่สมควรน�ำมาอภิปราย ตามวัตถุประสงค์ของ การวิจัย ดังนี้ 1. สภาพทั่วไปการบริหารสถานศึกษา ขั้ น พื้ น ฐานในอั ค รสั ง ฆมณฑลกรุ ง เทพฯ สู ่ ประชาคมอาเซียนสังเคราะห์ได้รา่ งกลยุทธ์หลัก 5 ด้าน คือ ด้านนักเรียน ด้านครู ด้านผูบ้ ริหาร ด้านหลักสูตร กิจกรรมพัฒนานักเรียน และ อาคาร สถานที ่ และสิง่ อ�ำนวยความสะดวกซึง่ สอดคล้องกับงานวิจยั ของ อรวรรณ จันทร์ชลอ (2550) เรื่อง การวิเคราะห์ตัวบ่งชี้คุณภาพ การจัดการศึกษาโรงเรียนคาทอลิกสายสามัญ ประเทศไทย พบว่า ได้ตวั บ่งชีส้ ำ� คัญตามมาตร ฐาน 3 ด้าน ได้แก่ ด้านนักเรียน ด้านครู และ ด้านผู้บริหาร 2. การพัฒนากลยุทธ์การบริหารสถาน ศึกษาขั้นพื้นฐานคาทอลิกในอัครสังฆมณฑล กรุงเทพฯ สู่ประชาคมอาเซียน มีร่างกลยุทธ์ รอง 10 ข้อประกอบด้วยร่างกลยุทธ์รองทีต่ อ้ ง พัฒนา 5 ข้อและต้องส่งเสริม 5 ข้อเช่น 2.1 ด้านนักเรียน นักเรียนอยู่ร่วมกับ ผู้อื่นอย่างมีความสุข สอดคล้องกับเกณฑ์การ ประเมินโรงเรียนที่มีคุณภาพมาตรฐานสากล ของโรงเรียนเอกชนประเภทสายสามัญระดับ การศึกษาขั้นพื้นฐาน จัดโดย ส�ำนักงานคณะ กรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน (2556) ใน
ด้านทักษะชีวติ และงานอาชีพ ข้อที ่ 2 กล่าวถึง นักเรียนอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุขและ ยอมรับในข้อแตกต่างทางวัฒนธรรม 2.2 ด้านครู ครูอยูร่ ว่ มกับผูอ้ นื่ อย่างมี ความสุ ข สอดคล้ อ งกั บ งานวิ จั ย ของ ตะวั น สื่ อ กระแสร์ (2556) เรื่ อ งยุ ท ธศาสตร์ ก าร บริหารจัดการโรงเรียนเอกชนสู่ความเป็นเลิศ พบว่า ด้านการบริหารบุคลากรให้ความส�ำคัญ กับครูทต่ี อ้ งมีจรรยาบรรณครู เพือ่ ให้ครูทำ� งาน และอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข 2.3 ด้านผู้บริหาร ผู้บริหารมีทักษะ ด้านการสื่อสารกับบุคคลในระดับต่างๆ ได้ อย่างมีประสิทธิภาพสอดคล้องกับค�ำสัมภาษณ์ ของผูอ้ ำ� นวยการฝ่ายการศึกษา อัครสังฆมณฑล กรุ ง เทพฯ และเลขาธิ ก ารสภาการศึ ก ษา คาทอลิกแห่งประเทศไทย บาทหลวง เดชา อาภรณ์รัตน์ (2561, 1 สิงหาคม) และรอง อธิการบดี ฝ่ายวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม บาทหลวง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อภิสิทธิ์ กฤษเจริญ (2561, 2 สิงหาคม) ทีก่ ล่าวว่า การ สื่อสารเป็นเรื่องส�ำคัญส�ำหรับการท�ำงาน และ ลั ก ษณะของการสื่ อ สารเป็ น ปั จ จั ย ที่ ส� ำ คั ญ ประการหนึง่ เพือ่ ให้งานบรรลุตามวัตถุประสงค์ ทีไ่ ด้ตงั้ ไว้ สิง่ ทีค่ วรจะเป็นในการสือ่ สาร คือการ สื่อสารสองทาง กล่าวคือ การสื่อสารที่อยู่ใน ลักษณะของการพูดคุย การพบปะพูดคุยกัน เป็นการสือ่ สารดีทสี่ ดุ ประการหนึง่ ทัง้ นีเ้ พราะ
ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2020/2563 111
กลยุทธ์การบริหารสถานศึกษาขัน้ พืน้ ฐานคาทอลิกในอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ สูป่ ระชาคมอาเซียน
การที่พูดคุยกันนั้นเป็นการได้พบหน้า พูดคุย แบบหน้าต่อหน้าได้ปรึกษาหารือกันโดยตรง เป็นการทบทวนความเข้าใจให้ตรงกัน ดูคล้าย กับการสั่งการ แต่การสั่งการเป็นลักษณะของ ผูส้ งั่ และผูร้ บั ค�ำสัง่ แต่การพูดคุยเป็นการแลก เปลี่ยนความคิดเห็นของกันและกันบนพื้นฐาน ของการเคารพในความคิดของกันและกัน และ ร่วมกันในการท�ำงาน 2.4 ด้านหลักสูตร กระบวนการเรียน รู้ และกิจกรรมพัฒนานักเรียน เน้นโปรแกรม การเรียนที่หลากหลายเพื่อตอบสนองความ สนใจและศักยภาพของนักเรียน จากเกณฑ์การ ประเมินโรงเรียนที่มีคุณภาพมาตรฐานสากล ของโรงเรียนเอกชนประเภทสายสามัญระดับ การศึกษาขั้นพื้นฐานจัดโดย ส�ำนักงานคณะ กรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน (2556) ใน ด้านการบริหารด้านการพัฒนาหลักสูตรและ จัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ และ ประสิทธิผล ข้อ 2.1.1 ให้ความส�ำคัญกับการ จั ด หลั ก สู ต รที่ ห ลากหลายตอบสนองความ ต้องการของนักเรียนและผูป้ กครองทีส่ อดคล้อง กับท้องถิ่นและสากล 2.5 ด้านอาคาร สถานที ่ และสิง่ อ�ำนวย ความสะดวก สอดคล้องกับงานวิจัยเรื่องภาพ ลักษณ์ โรงเรียนเอกชนคาทอลิก ป 2010 อ้าง ถึงใน (สภาการศึกษาคาทอลิกแห่งประเทศ ไทย, 2557, หน้า 43) สรุปว่า “ผลการศึกษา
112 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
ภาพลักษณ์ด้านสถานที่และสภาพแวดลอม ของโรงเรียนเอกชนคาทอลิกในมุมมองของ ผูป กครองและประชาชนทัว่ ไป พบว่า ความคิด เห็นของผู้ปกครองและประชาชนทั่วไปสอด คลองกัน โดยผูปกครองและประชาชนทั่วไป ส่วนใหญ่คิดว่าภาพลักษณ์ด้านสถานที่ และ สภาพแวดล้อมที่ดีที่สุด ไดแก ความเอาใจใส่ ต่อนักเรียน และความปลอดภัยในทรัพย์สิน และร่ า งกาย ความปลอดภั ย จากยาเสพติ ด และอบายมุข และอาคารและสิง่ ก่อสร้างต่างๆ สวยงามและทั น สมั ย สถานที่ แ ละสภาพ แวดล้ อ มที่ เ อื้ อ ต่ อ การพั ฒ นาความรู แ ละ คุณธรรม สภาพแวดล้อมของโรงเรียนเหมาะสม กับการเรียนรู มีอุปกรณ์และเทคโนโลยีที่ทัน สมัย” 3. ประเมิ นกลยุ ท ธ์ ก ารบริ ห ารสถาน ศึกษาขั้นพื้นฐานคาทอลิกในอัครสังฆมณฑล กรุงเทพฯ สู่ประชาคมอาเซียน พบจุดที่น่า สนใจคื อ ผู ้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ แ ละผู ้ เชี่ ย วชาญเสนอ ร่างกลยุทธ์รองเกีย่ วกับภาวะผูน้ ำ� เชิงนวัตกรรม ที่ให้สถานศึกษาต้องพัฒนานวัตกรรม และ จัดการเพื่อให้เกิดนวัตกรรมของสถานศึกษา ผู้บริหารสถานศึกษาต้องอาศัยความคิดที่แตก ต่างอย่างสร้างสรรค์ หรือที่เรียกว่าทักษะการ คิ ด เชิ ง นวั ต กรรม (Innovative Thinking Skills) สอดคล้ อ งกั บ ค� ำ สั ม ภาษณ์ ข องรอง อธิ ก ารบดี ฝ ่ า ยวิ ช าการ มหาวิ ท ยาลั ย สยาม
วรวรรษ เทียมสุวรรณ, วัชรพล วิบูลยศริน และ ศิโรจน์ ผลพันธิน
รองศาสตราจารย์ ดร.จอมพงศ์ มงคลวนิช (2018, 29 กรกฎาคม) และประธานสาขา เทคโนโลยีสารสนเทศ คณะวิทยาการจัดการ สารสนเทศ มหาวิ ท ยาลั ย บู ร พา ผู ้ ช ่ ว ย ศาสตราจารย์ ดร.ณัฐนนท์ ลีลาตระกูล (2018, 30กรกฎาคม) และแนวคิ ด ของ อนุ ส รา สุ ว รรณวงศ์ ที่ ก ล่ า วว่ า บทบาทด้ า นการ พัฒนาการเรียนการสอนซึ่งเป็นหัวใจส�ำคัญ ในการพั ฒ นาคุ ณ ภาพการศึ ก ษาของผู ้ เรี ย น ยังไม่โดดเด่นเท่าที่ควร ดังนั้น นวัตกรรมการ จัดการสถานศึกษายุคใหม่จึงควรปรับเปลี่ยน บทบาทหน้าทีข่ องผูเ้ กีย่ วข้อง ผูบ้ ริหารมีหน้าที่ ระดมทรัพยากรและความร่วมมือจากหน่วย งานภายนอกเพื่ อ สนั บ สนุ น การพั ฒ นาของ สถานศึกษา โดยส่งเสริมให้ชุมชนเข้ามามีส่วน ร่วมในการพัฒนาการจัดการศึกษา ให้ความ ส� ำ คั ญ กั บ การพั ฒ นาวิ ช าชี พ ครู โ ดยให้ นั ก วิชาการเข้ามาร่วมจัดการเรียนการสอนกับ ครูเพื่อพัฒนาองค์ความรู้ และประสานความ ร่วมมือกับผู้ประกอบการผู้ผลิตสื่อการเรียน การสอน
ข้อเสนอแนะเพื่อน�ำผลการวิจัยไปใช้ 1. สภาการศึกษาคาทอลิกแห่งประเทศ ไทย ควรส่งเสริมและพัฒนาให้สถานศึกษา เอกชนคาทอลิกด�ำเนินการจัดท�ำเกณฑ์การ ประเมินกลยุทธ์หลักและกลยุทธ์รองที่ค้นพบ และปรั บ ให้ เ หมาะสมกั บ บริ บ ทของแต่ ล ะ สถาบันหรือหน่วยงานในการดูแลของสังฆมณฑล คณะนักบวช และฆราวาส 2. สถานศึ ก ษาคาทอลิ ก ควรจั ด ท� ำ เกณฑ์เพือ่ เป็นแนวทางในการประเมินคุณภาพ การจั ด การหรื อ การบริ ห ารการศึ ก ษาจาก กลยุ ท ธ์ ห ลั ก และกลยุ ท ธ์ ร องที่ ไ ด้ ให้ ส อด คล้ อ งกั บ ปรั ช ญาคาทอลิ ก คื อ รั ก เมตตา รับใช้ เพื่อเป็นแนวทางในการน�ำไปสร้างวิสัย ทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย และ กลยุทธ์ ของ แต่ละสถาบัน ซึ่งเกณฑ์นั้นต้องสอดคล้องกับ บริบทของแต่ละคณะและมณฑลต่างๆ 3. สถานศึกษาหรือหน่วยงานเกี่ยวกับ การศึกษาคาทอลิก สามารถน�ำกลยุทธ์หลัก และกลยุทธ์รองที่ได้ ไปใช้เป็นแนวทางในการ สร้างเครื่องมือเพื่อเป็นเกณฑ์การประเมินผ่าน โรงเรียนมาตรฐานคาทอลิกแห่งประเทศไทย เพื่อได้เป็นการจัดท�ำคู่ขนานหรือทดลองก่อน น�ำไปรับการประเมินโรงเรียนมาตรฐานสากล ของคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน (สช.)
ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2020/2563 113
กลยุทธ์การบริหารสถานศึกษาขัน้ พืน้ ฐานคาทอลิกในอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ สูป่ ระชาคมอาเซียน
บรรณานุกรม กระทรวงศึกษาธิการ. (2560). แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2579. กรุงเทพฯ: พริกหวาน กราฟฟิค. ขวัญทิพย์ ชินเศรษฐวงศ์. (2557, พฤษภาคม-สิงหาคม). ยุทธศาสตร์การขับเคลือ่ นการศึกษาขัน้ พื้นฐานสู่ประชาคมอาเซียน. วารสารวิชาการ Veridian E-Journal, 7(2), 140-155. จอมพงศ์ มงคลวนิช. (2561, 29 กรกฎาคม). รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ มหาวิทยาลัยสยาม. สัมภาษณ์. ณัฐนนท์ ลีลาตระกูล. (2561, 30 กรกฎาคม). ประธานสาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะวิทยาการ จัดการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยบูรพา. สัมภาษณ์. เดชา อาภรณ์รัตน์, บาทหลวง. (ม.ป.ป.). เปิดขอบฟ้าการศึกษาคาทอลิกในประเทศไทย. [ออนไลน์ ] . เข้ า ถึ ง ได้ จ าก: file:///G:/ดี % 20%20เปิ ด ขอบฟ้ า การศึ ก ษาคาทอลิ ก ใน ประเทศไทย%20(1).pdf. วันที่ค้นข้อมูล: 1 สิงหาคม 2561. เดชา อาภรณ์รัตน์, บาทหลวง. (2561, 1 สิงหาคม). ผู้อ�ำนวยการฝ่ายการศึกษา อัครสังฆมณฑล กรุงเทพฯ และเลขาธิการสภาการศึกษาคาทอลิกแห่งประเทศไทย. สัมภาษณ์. ตะวัน สื่อกระแสร์. (2556, กันยายน-ธันวาคม). ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการโรงเรียนเอกชนสู่ ความเป็นเลิศ. วารสารวิชาการ Veridian E-Journal, 6 (3), 124-140. นันทวิชญ์ ฉัตรบรรยงค์. (2554). รูปแบบการพัฒนาสถานศึกษาขึ้นพื้นฐานคาทอลิกสังกัด สังฆมณฑลในประเทศไทยเพื่อส่งเสริมการเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้. วารสารวิชาการ มหาวิ ท ยาลั ย อี ส เทิ ร ์ น เอเชี ย . [ออนไลน์ ] . เข้ า ถึ ง ได้ จ าก: file:///C:/Users/PKN/ Downloads/28582-Article%20Text-63008-1-10-20150112%20(2).pdf. วันที่ค้น ข้อมูล: 17 พฤษภาคม 2561. เพียงแข ภูผายาง. (2554). การประเมินการจัดการศึกษาของโรงเรียนคาทอลิกจังหวัดขอนแก่น. (วิทยานิพนธ์ปริญญาปรัชญาดุษฎีบณ ั ฑิต). สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ศรีจรินทร์ สิมมาลี. (2559). การพัฒนารูปแบบการบริหารการเปลี่ยนแปลงที่มีคุณภาพของ โรงเรียนคาทอลิก. (ปริญญาการศึกษาดุษฎีบณ ั ฑิต). สาขาการบริหารการศึกษา คณะศึกษา ศาสตร์, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
114 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
วรวรรษ เทียมสุวรรณ, วัชรพล วิบูลยศริน และ ศิโรจน์ ผลพันธิน
ศิรริ ตั น์ อนุวฒ ั น์ประกิจ. (2557). กลยุทธ์การบริหารเพือ่ เสริมสร้างสมรรถนะรักเรียนโรงเรียนใน สังกัดสภาการศึกษาคาทอลิกแห่งประเทศไทย. (ปริญญาครุศาสตรดุษฎีบณ ั ฑิต). สาขาวิชา บริหารการศึกษา, ภาควิชานโยบาย การจัดการและความเป็นผู้น�ำทางการศึกษาคณะ ครุศาสตร์, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สภาการศึกษาคาทอลิกแห่งประเทศไทย. (2557). ก้าวต่อไปด้วยอัตลักษณ์การศึกษาคาทอลิก: แนวทางเบือ้ งต้นของการจัดการศึกษาแบบคาทอลิก. กรุงเทพฯ: สภาการศึกษาคาทอลิก แห่งประเทศไทย. สุรนิ ทร์ จารย์อปุ การะ. (2556). การจัดการศึกษาโรงเรียนคาทอลิกในประเทศไทยตามอัตลักษณ์ การศึกษาคาทอลิก. (ปริญญาปรัชญาดุษฎีบณ ั ฑิต). สาขาวิชาการบริหารการศึกษา ภาควิชา การบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยศิลปากร. ส�ำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน. (2556). การประเมินโรงเรียนที่มีคุณภาพสู ่ มาตรฐานสากล. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: www.opec.go.th/ckfinder/userfiles/files/ general/.../manual60.pdf. วันที่ค้นข้อมูล : 21 กรกฎาคม 2561. ส�ำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ส�ำนักความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ. (2553). เกี่ยวกับ อาเซียน: ระบบการศึกษาไทย. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://www.bic.moe.go.th/ newth/index.php? Option =com_k2&view=itemlist&task=category&id=167:as ean&Itemid=294. วันที่ค้นข้อมูล: 9 สิงหาคม 2561. อนุสรา สุวรรณวงศ์. (2559). ภาวะผูน้ ำ� เชิงนวัตกรรม (Innovative Leadership). [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://www.trueplookpanya.com/knowledge/content/52233/ -edu-teaartedu-teaart-teaartdir. วันที่ค้นข้อมูล: 12 สิงหาคม 2561. อภิสิทธิ์ กฤษเจริญ, (บาทหลวง). (2554). การวิเคราะหความพรอมของโรงเรียนคาทอลิกใน ประเทศไทยในการเขาสูป ระชาคมอาเซียน. (วิทยานิพนธ์การศึกษาดุษฎีบณ ั ฑิต). สาขาวิชา บริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยบูรพา. อภิสทิ ธิ ์ กฤษเจริญ, บาทหลวง. (2561, 2 สิงหาคม). รองอธิการบดีฝา่ ยวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม. สัมภาษณ์. อรวรรณ จันทร์ชลอ. (2550). การวิเคราะห์ตัวบ่งชี้คุณภาพการจัดการศึกษาโรงเรียนคาทอลิก สายสามัญในประเทศไทย. (วิทยานิพนธ์ปริญญาปรัชญาดุษฎีบณ ั ฑิต). สาขาวิชาการบริหาร การศึกษา, ภาควิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยศิลปากร. ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2020/2563 115
กลยุทธ์การบริหารสถานศึกษาขัน้ พืน้ ฐานคาทอลิกในอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ สูป่ ระชาคมอาเซียน
Contextualized INEE Minimum Standards for Vietnam. (2011). [Online]. Available: http://toolkit.ineesite.org/toolkit/INEEcms/uploads/1154Vietnam_ MS_full_vcontextualized_handbook.pdf. (Access date: April 30, 2017). Department of Education. (2012). The Quality Assurance & Accountability Framework. [Online]. Available: https://deped-qms.wiki spaces.com/file/ view/Overview+QAAF.pdf. (Access date: April 28, 2017). Kingdom of Cambodia: Nation Religion King and Royal Government of Cambodia. (2015). Education for All 2015 National Review: Cambodia. [Online]. Available: http://unesdoc.unesco. org/images/0022/002297/229713e.pdf. (Access date April 26, 2017). Ministry of Education. (2000). The school excellence model: A guide. Singapore: The School Appraisal Branch, Schools Division, Ministry of Education. Ministry of Education Brunei Darussalam. (2015). Education For All 2015 National Review. [Online]. Available: http://unesdoc.unesco.org/images/0023/002305/ 230503e.pdf. (Access date: April 22, 2017). Ministry of Education, Youth and Sport. (2014). Education Strategic Plan 2014- 2018. [Online]. Available: http://www.veille.univap.info/media/pdf/pdf_ 14363256 27550.pdf. (Access date : April 23, 2017). OECD, ADB. (2015). Education in Indonesia: Rising to the Challenge, OECD Publishing. [Online]. Available: http://www.keepeek.com/Digital-Asset Management/oecd/education/education-in-indonesia_9789264230750en# WFICQ9J97IU#page6. (Access date: March 20, 2017). Preliminary Report: Malaysia Education Blueprint 2013-2025. (2012). [Online]. Available: http://www.moe.gov.my/userfiles/file/PPP/Preliminary-Blueprint Eng.pdf. (Access date: May 31, 2016). The Government of the Republic of the Union of Myanmar Ministry of Education. (2012). Education for All: Access to and Quality of Education in Myanmar. [Online]. Available: http://yangon.sites.unicnetwork.org/files/2013/05/Educa tion-for-All-in-Myanmar-Final2012 -FEB-2.pdf. (Access date: April 20, 2017). 116 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
ความต้องการจำ�เป็นของการบริหารบุคลากรและ วิชาการโรงเรียนในเครืออุร์สุลิน กรุงเทพมหานคร ตามแนวคิดจิตตารมณ์อุร์สุลิน
The Priority Needs of Human Resource and
Academic Management in Schools of The Ursuline Order in Bangkok Based on The Concept of The Ursuline Spirituality. สุวรรณา ชัยพรแก้ว * มหาบัณฑิต สาขาวิชาบริหารการศึกษา ภาควิชานโยบาย การจัดการและความเป็นผู้น�ำทางการศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผศ.ดร.สุกัญญา แช่มช้อย * อาจารย์ประจ�ำสาขาวิชาบริหารการศึกษา ภาควิชานโยบาย การจัดการและความเป็นผู้น�ำทางการศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Suwanna Chaipornkaew * Master of Education Program in Educational Administration, Department of Educational Policy, Management and Leadership, Faculty of Education, Chulalongkorn University. Asst.Prof.Dr.Sukanya Chamchoy * Lecturer, Educational management, Department of Educational Policy, Management and Leadership, Faculty of Education, Chulalongkorn University.
ข้อมูลบทความ
* รับบทความ 7 พฤษภาคม 2563 * แจ้งแก้ไข 5 มิถุนายน 2563 * ตอบรับบทความ 8 มิถุนายน 2563
ความต้องการจำ�เป็นของการบริหารบุคลากรและวิชาการโรงเรียนในเครืออุรส์ ลุ นิ กรุงเทพมหานคร ตามแนวคิดจิตตารมณ์อรุ ส์ ลุ นิ
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบันและ สภาพทีพ่ งึ ประสงค์ของการบริหารบุคลากรและวิชาการโรงเรียนในเครือ อุร์สุลิน กรุงเทพมหานคร ตามแนวคิดจิตตารมณ์อุร์สุลิน 2) เพื่อศึกษา ความต้องการจ�ำเป็นของการบริหารบุคลากรและวิชาการโรงเรียนใน เครืออุรส์ ลุ นิ กรุงเทพมหานคร ตามแนวคิดจิตตารมณ์อรุ ส์ ลุ นิ ประชากร ที่ศึกษาคือ โรงเรียนในเครืออุร์สุลิน กรุงเทพมหานคร 2 โรงเรียน มีผู้ บริหารและครูจ�ำนวน 180 คน ผู้ให้ข้อมูล คือ ผู้บริหาร ผู้ร่วมบริหาร หัวหน้ากลุ่มสาระ ผู้ประสานงานกลุ่มสาระ และครูปฏิบัติหน้าที่สอน จ�ำนวน 123 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามความคิด เห็นทีเ่ ป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ เก็บข้อมูลระหว่างวันที่ 18 กุมภาพันธ์ – 2 มีนาคม 2563 สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี ่ ร้อยละ ค่ามัชฌิมเลขคณิต (ค่าเฉลีย่ ) ค่าส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ความต้องการจ�ำเป็น (PNIModified) ผลการวิจยั พบว่า 1) สภาพปัจจุบนั ของการบริหารบุคลากรและ วิชาการโรงเรียนในเครืออุร์สุลิน กรุงเทพมหานคร ตามแนวคิดจิตตา รมณ์อุร์สุลิน ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก โดยการพัฒนาบุคลากรนอก เวลาการปฏิบัติงานและการจัดการเรียนการสอนมีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด เมื่อ พิจารณารายองค์ประกอบ ค่าเฉลี่ยที่สูงที่สุด คือ ด้านยินดีรับใช้ช่วย เหลือ (เซอร์เวียม) ค่าเฉลี่ยที่ต�่ำที่สุด คือ ด้านการสร้างนวัตกรรม การ เป็นประกาศก และการประยุกต์ใช้ สภาพที่พึงประสงค์ของการบริหาร บุคลากรและวิชาการโรงเรียนในเครืออุร์สุลิน กรุงเทพมหานคร ตาม แนวคิดจิตตารมณ์อุร์สุลิน ในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด โดยการ พัฒนาบุคลากรในระหว่างการปฏิบัติงานและการจัดการเรียนการสอน มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด เมื่อพิจารณารายองค์ประกอบ ค่าเฉลี่ยที่สูงที่สุด คือ ด้านยินดีรับใช้ช่วยเหลือ (เซอร์เวียม) ค่าเฉลี่ยที่ต�่ำที่สุด คือ ด้านการ สร้างนวัตกรรม การเป็นประกาศก และการประยุกต์ใช้ 2) ความ ต้องการจ�ำเป็นของการบริหารบุคลากรโรงเรียนในเครืออุรส์ ลุ นิ กรุงเทพ มหานคร ตามแนวคิดจิตตารมณ์อุร์สุลิน มีล�ำดับความต้องการจ�ำเป็น
118 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
สุวรรณา ชัยพรแก้ว และ สุกัญญา แช่มช้อย
จากสูงที่สุดไปหาต�่ำที่สุด คือ การพัฒนาบุคลากรในระหว่างการปฏิบัติ งาน (PNIModified = 0.126) มีองค์ประกอบที่มีค่าความต้องการจ�ำเป็น ทีส่ งู สุด และต�ำ่ สุด คือ ด้านการสร้างนวัตกรรม การเป็นประกาศก และ การประยุ ก ต์ ใช้ (PNI Modified = 0.159) และด้ า นความชื่ น ชมยิ น ดี และความหวัง (PNIModified = 0.002) ล�ำดับทีส่ อง คือ การพัฒนาบุคลากร นอกเวลาปฏิบัติงาน (PNIModified = 0.103) มีองค์ประกอบที่มีค่าความ ต้องการจ�ำเป็นทีส่ งู สุด และต�ำ่ สุด คือ ด้านการสร้างนวัตกรรม การเป็น ประกาศก และการประยุกต์ใช้ (PNIModified = 0.159) และด้านยินดี รับใช้ชว่ ยเหลือ (เซอร์เวียม) (PNIModified = 0.070) ความต้องการจ�ำเป็น ของการบริหารวิชาการโรงเรียนในเครืออุร์สุลิน กรุงเทพมหานคร ตาม แนวคิดจิตตารมณ์อรุ ส์ ลุ นิ มีลำ� ดับความต้องการจ�ำเป็นจากสูงทีส่ ดุ ไปหา ต�ำ่ ทีส่ ดุ คือ การวัดและประเมินผล (PNIModified = 0.106) มีองค์ประกอบ ที่ มี ค ่ า ความต้ อ งการจ� ำ เป็ น ที่ สู ง สุ ด และต�่ ำ สุ ด คื อ ด้ า นการสร้ า ง นวัตกรรม การเป็นประกาศก และการประยุกต์ใช้ (PNIModified = 0.168) และด้านยินดีรับใช้ช่วยเหลือ (เซอร์เวียม) (PNIModified = 0.064) ตาม ล�ำดับ ล�ำดับที่สอง คือ การพัฒนาหลักสูตร (PNIModified = 0.083) มี องค์ประกอบทีม่ คี า่ ความต้องการจ�ำเป็นทีส่ งู สุด และต�ำ่ สุด คือ ด้านการ สร้างนวัตกรรม การเป็นประกาศก และการประยุกต์ใช้ (PNIModified = 0.138) และด้านยินดีรบั ใช้ชว่ ยเหลือ (เซอร์เวียม) (PNIModified = 0.048) และความต้องการจ�ำเป็นล�ำดับสุดท้าย คือ การจัดการเรียนการสอน (PNIModified = 0.081) มีองค์ประกอบที่มีค่าความต้องการจ�ำเป็นที่สูง สุด และต�ำ่ สุด คือ ด้านการสร้างนวัตกรรม การเป็นประกาศก และการ ประยุ ก ต์ ใช้ (PNI Modified = 0.157) และด้ า นยิ น ดี รั บ ใช้ ช ่ ว ยเหลื อ (เซอร์เวียม) (PNIModified = 0.052) ตามล�ำดับ ค�ำส�ำคัญ:
1) ความต้องการจ�ำเป็น 2) การบริหารบุคลากร 3) การบริหารวิชาการ 4) โรงเรียนคาทอลิก 5) จิตตารมณ์อุร์สุลิน ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2020/2563 119
ความต้องการจำ�เป็นของการบริหารบุคลากรและวิชาการโรงเรียนในเครืออุรส์ ลุ นิ กรุงเทพมหานคร ตามแนวคิดจิตตารมณ์อรุ ส์ ลุ นิ
Abstract
The purpose of this research was to 1) study the present state and the desirable state of human resource and academic management in schools of the Ursuline Order in Bangkok based on the concept of the Ursuline spirituality and 2) study the priority needs of human resource and academic management in schools of the Ursuline Order in Bangkok based on the concept of the Ursuline spirituality. The Studied population was two schools of the Ursuline Order in Bangkok consisted of 180 administrators and teachers. The research informants consisted of the administrators, the co-administrative team, head and the coordinator of academic departments and teachers, totally 123 informants. The research instrument used in this study was a 5 levels rating scaled opinionnaire distributed during 18th February to 2nd March 2020. The data was analyzed by frequency distribution, percentage, arithmetic mean, standard deviation and Modified Priority Need Index (PNIModified) The research found that: 1) The present state of human resource and academic management in schools of the Ursuline Order in Bangkok based on the concept of the Ursuline spirituality was perform at a high level. The highest average was off-the-job development and the instructional management. While considering each element, the highest average was I will serve (Serviam) and the lowest average was Innovation, Prophecy and Adaptation. The desirable state management in schools of the Ursuline Order in
120 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
สุวรรณา ชัยพรแก้ว และ สุกัญญา แช่มช้อย
Bangkok based on the concept of the Ursuline spirituality was perform at a highest level. The highest average were on-the-job development and the instructional management. While considering each element, the highest average was I will serve (Serviam) and the lowest average was Innovation, Prophecy and Adaptation. 2) The priority needs of human resource management in schools of the Ursuline Order in Bangkok based on the concept of the Ursuline spirituality, sorted from highest to lowest were as follows: On-the-Job Development (PNIModified = 0.126). The highest element of priority need was Innovation, Prophecy and Adaptation (PNIModified = 0.159) and the lowest element of priority need was Joy and Hope (PNIModified = 0.002); The second rank of priority need index was Off-the-Job Development (PNIModified = 0.103) the highest element of priority need index was Innovation, Prophecy and Adaptation (PNIModified = 0.159) and the lowest element of priority need was I will serve (Serviam) (PNIModified = 0.070); The priority needs of academic management in schools of the Ursuline Order in Bangkok based on the concept of the Ursuline spirituality, sorted from highest to lowest were as follows: The Measurement and Evaluation (PNIModified = 0.106) the highest element of priority need index was Innovation, Prophecy and Adaptation (PNIModified = 0.168) and the lowest element of priority need was I will serve (Serviam) (PNIModified = 0.064); The second rank of priority need index was The Curriculum Development (PNIModified =0.083) the
ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2020/2563 121
ความต้องการจำ�เป็นของการบริหารบุคลากรและวิชาการโรงเรียนในเครืออุรส์ ลุ นิ กรุงเทพมหานคร ตามแนวคิดจิตตารมณ์อรุ ส์ ลุ นิ
highest element of priority need index was Innovation, Prophecy and Adaptation (PNIModified = 0.138) and the lowest element of priority need was I will serve (Serviam) (PNIModified = 0.048); and the final rank of the priority need index was The Instructional Management (PNIModified = 0.081) the highest element of priority need was Innovation, Prophecy and Adaptation (PNI Modified = 0.157) and the lowest element of priority need was I will serve (Serviam) (PNIModified = 0.052), respectively. Keywords:
122 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
1) Priority Needs 2) Human Resource Management 3) Academic management 4) Catholic School 5) The Ursuline Spirituality
สุวรรณา ชัยพรแก้ว และ สุกัญญา แช่มช้อย
ความเป็นมาและความส�ำคัญของปัญหา ปัญหาในสังคมไทยประการหนึ่งที่ระบุ ไว้ในแผนการศึกษาแห่งชาติ ปี 2560-2579 คือปัญหาด้านคุณธรรมจริยธรรมของคนใน สังคมไทย โดยเฉพาะการขาดความซื่อสัตย์ สุจริต ความรับผิดชอบ วินัยในตนเอง และ จิตสาธารณะ (ส�ำนักงานเลขาธิการสภาการ ศึ ก ษากระทรวงศึ ก ษาธิ ก าร, 2561) ดั ง นั้ น ยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2561-2580 ด้านการ พัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ได้ระบุให้สถาบันทางสังคมร่วมปลูกฝังค่านิยม และวัฒนธรรมทีพ่ งึ ประสงค์ โดยการบูรณาการ คุณธรรม จริยธรรม ในการจัดการเรียนการ สอนในสถานศึกษา เพือ่ ส่งเสริมให้คนไทยมีจติ สาธารณะและมีความรับผิดชอบต่อส่วนรวม (ส�ำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ, 2561) โรงเรียนอุร์สุลินในประเทศไทย เป็น โรงเรียนคาทอลิกที่มุ่งเน้นการจัดการศึกษา อบรมบุ ค คลให้ เ ป็ น คนทั้ ง ครบ ไม่ เ พี ย งแต่ พั ฒ นาด้ า นสติปัญญาเท่านั้น แต่ยังปลูก ฝัง คุณธรรมตามแนวทางของพระคัมภีร์ไบเบิล และจิตตารมณ์ของนักบุญอัญจลา เมริชี ผู้ก่อ ตั้งกลุ่มสตรีคณะอุร์สุลิน ซึ่งต่อมากลายเป็น คณะนักบวชหญิงนิกายโรมันคาทอลิกทีด่ ำ� เนิน งานด้านการให้การศึกษาอบรมมายาวนาน โรงเรียนอุร์สุลินในประเทศไทยด�ำเนินงานมา
ตั้ ง แต่ ป ี ค.ศ. 1928 ในกรุ ง เทพมหานครมี โรงเรียนอุร์สุลิน 2 แห่ง คือ โรงเรียนมาแตร์ เดอีวิทยาลัย และโรงเรียนวาสุเทวี ซึ่งได้รับใช้ ช่วยเหลือสังคมด้วยการผลิตศิษย์ที่เป็นคนดี มีคุณธรรม ใช้ความรู้ความสามารถเพื่อรับใช้ สังคมในมิติต่างๆ ตามเป้าหมายการจัดการ ศึกษาของโรงเรียนจ�ำนวนหลายท่าน อย่างไร ก็ตามจากรายงานการประเมินคุณภาพภายใน ของโรงเรียน พบว่าโรงเรียนขาดความเข้มแข็ง ในการถ่ายทอดจิตตารมณ์ขององค์กร เนื่อง จากจ� ำ นวนครู ใ หม่ มี ม าก และยั ง ต้ อ งได้ รั บ ความช่วยเหลือในการวางตนและการแสดง ออก ความสัมพันธ์กับนักเรียนและผู้ปกครอง ตามจิตตารมณ์อุร์สุลิน ซึ่งสวนกระแสกับค่า นิ ย มของสั ง คมปั จ จุ บั น ครู จ� ำ นวนหนึ่ ง ขาด ความชัดเจนเป็นหนึ่งเดียวกันกับโรงเรียนใน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ซึ่งจ�ำเป็นในการ สร้างแบบอย่างทีด่ แี ก่นกั เรียน (โรงเรียนมาแตร์ เดอีวิทยาลัย, 2561) อีกทั้งโรงเรียนควรเพิ่ม กิจกรรมเพื่อการพัฒนาผู้เรียนอย่างต่อเนื่อง ให้เป็นผู้มีความรับผิดชอบต่อตนเองและส่วน รวม สร้างระเบียบวินยั ให้ผเู้ รียน ปลูกฝังให้เป็น ผูม้ จี ติ สาธารณะ (โรงเรียนวาสุเทวี, 2562) จาก การส�ำรวจความเป็นอุร์สุลินของโรงเรียนผ่าน มุ ม มองของนั ก เรี ย น ผู ้ ป กครอง ครู และ ผู้บริหาร ในภาพรวมนักเรียนมีคุณธรรมต่างๆ ที่ โรงเรี ย นปลู ก ฝั ง โดยเฉพาะการรั บ ใช้ ช ่ ว ย
ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2020/2563 123
ความต้องการจำ�เป็นของการบริหารบุคลากรและวิชาการโรงเรียนในเครืออุรส์ ลุ นิ กรุงเทพมหานคร ตามแนวคิดจิตตารมณ์อรุ ส์ ลุ นิ
เหลื อ (เซอร์ เวี ย ม) อย่ า งเด่ น ชั ด แต่ ก็ ยั ง มี คุ ณ ธรรมอี ก หลายด้ า นที่ ต ้ อ งพั ฒ นา เช่ น ระเบียบวินัย (โรงเรียนมาแตร์เดอีวิทยาลัย, 2563) การที่โรงเรียนจะปลูกฝังนักเรียนได้ จ�ำเป็นต้องเริ่มจากครู ซึ่งเป็นบุคคลที่อยู่ใกล้ ชิดกับนักเรียนก่อน ดังนัน้ การบริหารบุคลากร ครู ใ ห้ เข้ า ใจและปฏิ บั ติ ต นตามจิ ต ตารมณ์ อุร์สุลินจึงเป็นสิ่งส�ำคัญ เพื่อครูจะเป็นแบบ อย่ า งและปลู ก ฝั ง จิ ต ตารมณ์ อุ ร ์ สุ ลิ น ให้ กั บ นักเรียน ควบคู่ไปกับการบูรณาการในด้าน วิชาการด้วย เพื่อให้แน่ใจว่านักเรียนได้รับการ ถ่ า ยทอดจิ ต ตารมณ์ อุ ร ์ สุ ลิ น เป็ น บุ ค คลที่ มี ความรู้คู่คุณธรรมตามเป้าหมายของโรงเรียน อุร์สุลินในการผลิตศิษย์ที่มีคุณภาพเพื่อรับใช้ สังคมต่อไป จากสภาพปัญหาสังคมที่ต้องการบุคคล ที่ มี คุ ณ ธรรม จริ ย ธรรม มี จิ ต สาธารณะ ซึ่ ง ยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2561-2580 ระบุให้ สถาบั น ทางสั ง คมร่ ว มปลู ก ฝั ง ค่ า นิ ย มและ วัฒนธรรมทีพ่ งึ ประสงค์ โดยส่งเสริมให้คนไทย มี จิ ต สาธารณะ มี ค วามรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คม โรงเรียนในเครืออุร์สุลินมุ่งให้การศึกษาอบรม บุคคลทัง้ ครบ ด้วยจิตตารมณ์อรุ ส์ ลุ นิ ทีป่ ลูกฝัง คุณค่าหลักอันดีงามต่างๆ ในการด�ำเนินชีวิต เพื่อรับใช้สังคม แต่โรงเรียนยังขาดความเข้ม แข็งในการถ่ายทอดจิตตารมณ์ขององค์กรให้ ครูใหม่ ซึ่งยังต้องได้รับการช่วยเหลือให้เข้าใจ
124 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
และปฏิบัติตนตามจิตตารมณ์อุร์สุลิน อีกทั้ง นั ก เรี ย นจ� ำ เป็ น ต้ อ งได้ รั บ การพั ฒ นาให้ มี คุณลักษณะอันพึงประสงค์อย่างต่อเนื่อง จาก สภาพการณ์ ข ้ า งต้ น ผู ้ วิ จั ย จึ ง มี ค วามสนใจ ศึกษาสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ ของการบริหารบุคลากรและวิชาการโรงเรียน ในเครืออุรส์ ลุ นิ กรุงเทพมหานคร ตามแนวคิด จิ ต ตารมณ์ อุ ร ์ สุ ลิ น และวิ เ คราะห์ ห าความ ต้องการจ�ำเป็นของการบริหารบุคลากรและ วิ ช าการโรงเรี ย นในเครื อ อุ ร ์ สุ ลิ น กรุ ง เทพ มหานคร เพื่อเป็นสารสนเทศในการก�ำหนด ทิศทางการพัฒนาบุคลากรและวิชาการ น�ำไป สู่การสร้างแนวทางการพัฒนาครูและนักเรียน ของโรงเรียนในเครืออุร์สุลิน ให้เข้มแข็งในจิต ตารมณ์อุร์สุลินต่อไป วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพือ่ ศึกษาสภาพปัจจุบนั และสภาพที่ พึงประสงค์ของการบริหารบุคลากรและวิชา การโรงเรียนในเครืออุร์สุลิน กรุงเทพมหานคร ตามแนวคิดจิตตารมณ์อุร์สุลิน 2. เพื่อศึกษาความต้องการจ�ำเป็นของ การบริหารบุคลากรและวิชาการโรงเรียนใน เครืออุรส์ ลุ นิ กรุงเทพมหานคร ตามแนวคิดจิต ตารมณ์อุร์สุลิน
สุวรรณา ชัยพรแก้ว และ สุกัญญา แช่มช้อย
การบริหารบุคลากร ประกอบด้วย 1. การพัฒนาบุคลากรในระหว่างการปฏิบตั งิ าน 1.1 การใช้ระบบพี่เลี้ยง 1.2 การชี้แนะหรือการสอนงาน 1.3 การหมุนเวียนงาน 1.4 การมอบหมายงานพิเศษ 2. การพัฒนาบุคลากรนอกเวลาปฏิบัติงาน 2.1 การอบรมหรือการสัมมนา 2.2 ชุมชนแห่งการเรียนรู้เชิงวิชาชีพ การบริหารวิชาการ ประกอบด้วย 1. การพัฒนาหลักสูตร 2. การจัดการเรียนการสอน 3. การวัดและประเมินผล
จิตตารมณ์อุร์สุลิน ประกอบด้วย 1. ความกรุณา รัก-เมตตา และอ่อนโยน 2. การสร้างนวัตกรรม การเป็นประกาศก และการประยุกต์ใช้ 3. ความกล้าหาญและมุ่งมั่นพยายาม อย่างไม่ย่อท้อ 4. ความชื่นชมยินดีและความหวัง 5. บูรณภาพ การเคารพให้เกียรติ และ อิสระเสรี 6. ความเป็นหนึ่งเดียวกัน ความผสม กลมกลืน และสันติ 7. ยินดีรับใช้ช่วยเหลือ (เซอร์เวียม)
แนวทางพัฒนาการบริหารบุคลากรและวิชาการ โรงเรียนในเครืออุรส์ ลุ นิ กรุงเทพมหานคร ตาม แนวคิดจิตตารมณ์อุร์สุลิน แผนภาพที่ 1 กรอบแนวคิดการวิจัย
ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2020/2563 125
ความต้องการจำ�เป็นของการบริหารบุคลากรและวิชาการโรงเรียนในเครืออุรส์ ลุ นิ กรุงเทพมหานคร ตามแนวคิดจิตตารมณ์อรุ ส์ ลุ นิ
วิธีด�ำเนินการวิจัย การวิจยั ครัง้ นี ้ เป็นการวิจยั เชิงพรรณนา (Descriptive Research) ศึกษาสภาพปัจจุบนั และสภาพทีพ่ งึ ประสงค์ของการบริหารบุคลากร และวิชาการโรงเรียนในเครืออุร์สุลิน กรุงเทพ มหานคร ตามแนวคิดจิตตารมณ์อุร์สุลิน และ ศึ ก ษาความต้ อ งการจ� ำ เป็ น ของการบริ ห าร บุคลากรและวิชาการโรงเรียนในเครืออุร์สุลิน กรุ ง เทพมหานคร ตามแนวคิ ด จิ ต ตารมณ์ อุร์สุลิน ประชากรและผู้ให้ข้อมูลในการวิจัย ครั้งนี้ประกอบด้วย ประชากรจ�ำนวนทั้งสิ้น 180 คน จากโรงเรียนมาแตร์เดอีวทิ ยาลัย และ โรงเรียนวาสุเทวี จังหวัดกรุงเทพมหานคร และ ผู้ให้ข้อมูลได้แก่ ผู้บริหาร 6 คน ผู้ร่วมบริหาร 10 คน หัวหน้ากลุ่มสาระและผู้ประสานงาน กลุม่ สาระ 20 คน และครู 87 คน รวมจ�ำนวน 123 คน กลุ ่ ม ตัวอย่างจากประชากรทั้งสิ้น 180 คนได้มาจากการเทียบสัดส่วนตามตาราง ของ Krejcie & Morgan (1970) เครือ่ งมือทีใ่ ช้ในการวิจยั คือ แบบสอบ ถามความคิดเห็น แบ่งออกเป็น 3 ตอน ได้แก่ ตอนที่ 1 สถานภาพทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบ ถาม เป็นแบบตรวจสอบรายการ (check list) ตอนที่ 2 สภาพปั จ จุ บั น และสภาพที่ พึ ง ประสงค์ของการบริหารบุคลากรและวิชาการ โรงเรียนในเครืออุรส์ ลุ นิ กรุงเทพมหานคร ตาม
126 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
แนวคิดจิตตารมณ์อรุ ส์ ลุ นิ เป็นแบบมาตราส่วน ประมาณค่า 5 ระดับ (rating scale) ตอนที ่ 3 ข้อเสนอแนะ เป็นแบบค�ำถามปลายเปิด (open -ended question) การสร้างและหาคุณภาพของเครือ่ งมือ ที่ใช้ในการวิจัย มีขั้นตอนดังนี้ 1. ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยว ข้องกับการบริหารบุคลากร การบริหารวิชาการ และแนวคิดจิตตารมณ์อุร์สุลิน 2. ก�ำหนดกรอบแนวคิดการวิจัย และ ข้ อ ค� ำ ถามในการสอบถามให้ ชั ด เจนตามผั ง โครงสร้างเครื่องมือวิจัย โดยก�ำหนดแบบสอบ ถามเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ แบบตอบสนองคู่ 3. ออกแบบและสร้างแบบตรวจสอบ ความตรงเชิงโครงสร้างและเนื้อหาของแบบ สอบถาม ก�ำหนดความตรงเชิงโครงสร้างและ เนื้อหาระหว่างข้อค�ำถามกับนิยามศัพท์ 4. น� ำ แบบสอบถามที่ ป รั บ ปรุ ง แก้ ไข แล้วเสนอผู้ทรงคุณวุฒิจ�ำนวน 3 ท่าน เพื่อ พิจารณาตรวจสอบความตรงเชิงเนือ้ หา โดยคัด เลื อ กข้ อ ค� ำ ถามที่ มี ค ่ า ดั ช นี ค วามสอดคล้ อ ง ตัง้ แต่ 0.50 ขึน้ ไป ซึง่ ถือว่าผ่านเกณฑ์ จากนัน้ น� ำ เสนอแบบสอบถามให้ อ าจารย์ ที่ ป รึ ก ษา พิจารณาความเหมาะสมก่อนจัดพิมพ์แบบสอบ ถามฉบับสมบูรณ์
สุวรรณา ชัยพรแก้ว และ สุกัญญา แช่มช้อย
การเก็บรวบรวมข้อมูล 1. ขอหนังสือน�ำจากสาขาวิชาเพื่อขอ ความอนุเคราะห์ตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ วิจัยและเก็บรวบรวมข้อมูล 2. ขออนุญาตผู้บริหารโรงเรียนในเครือ เก็บข้อมูลจากผู้ให้ข้อมูลจ�ำนวน 123 คน ใช้ เวลา 12 วัน ระหว่างวันที่ 18 กุมภาพันธ์ ถึง วันที่ 2 มีนาคม 2563 การวิเคราะห์ข้อมูล 1. วิเคราะห์แบบสอบถามโดยใช้สถิติ บรรยาย ได้แก่ ความถี่ (Frequency) ค่าร้อย ละ (Percentage) ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) และค่ามัชฌิมเลขคณิต (x̅) โดยใช้เกณฑ์ แปลความหมายค่าเฉลี่ย และการวิเคราะห์ เนื้อหา 2. วิเคราะห์คา่ ดัชนีความต้องการจ�ำเป็น และการจัดล�ำดับความต้องการจ�ำเป็นโดยใช้ เทคนิค Modified Priority Needs Index (PNImodified) โดยจัดล�ำดับความส�ำคัญจากค่า ดั ช นี ล� ำ ดั บ ความส� ำ คั ญ ของความต้ อ งการ จ�ำเป็นเรียงค่าดัชนีจากมากไปหาน้อย
สรุปผลการวิจัย 1. ผลการวิเคราะห์สภาพปัจจุบันและ สภาพที่พึงประสงค์ของการบริหารบุคลากร และวิชาการโรงเรียนในเครืออุร์สุลิน กรุงเทพ มหานคร ตามแนวคิดจิตตารมณ์อุร์สุลิน 1.1 การบริหารบุคลากร ประกอบ ด้วย 1) การพัฒนาบุคลากรในระหว่างปฏิบัติ งาน และ 2) การพัฒนาบุคลากรนอกเวลา ปฏิ บั ติ ง าน ตามแนวคิ ด จิ ต ตารมณ์ อุ ร ์ สุ ลิ น แสดงดังตารางที่ 1
ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2020/2563 127
ความต้องการจำ�เป็นของการบริหารบุคลากรและวิชาการโรงเรียนในเครืออุรส์ ลุ นิ กรุงเทพมหานคร ตามแนวคิดจิตตารมณ์อรุ ส์ ลุ นิ
ตารางที่ 1 สภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ของการบริหารบุคลากรโรงเรียนในเครืออุร์สุลิน กรุงเทพมหานคร ตามแนวคิดจิตตารมณ์อุร์สุลิน ในภาพรวม ข้อ
การบริหารบุคลากร
1. การพัฒนาบุคลากรในระหว่างการปฏิบตั งิ าน 1.1 ด้านความกรุณา รัก-เมตตา และอ่อนโยน 1.2 ด้านการสร้างนวัตกรรม การเป็นประกาศก และการประยุกต์ใช้ 1.3 ด้านความกล้าหาญและมุ่งมั่นพยายาม อย่างไม่ย่อท้อ 1.4 ด้านความชื่นชมยินดีและความหวัง 1.5 ด้านบูรณภาพ การเคารพให้เกียรติ และอิสระเสรี 1.6 ด้านความเป็นหนึ่งเดียวกัน ความผสมกลมกลืนและสันติ 1.7 ด้านยินดีรับใช้ช่วยเหลือ (เซอร์เวียม)
สภาพปัจจุบัน
สภาพที่พึงประสงค์
x̅ S.D. 4.29 0.698
ระดับ มาก
x̅ S.D. ระดับ 4.83 0.382 มากที่สุด
4.32 0.736
มาก
4.85 0.373 มากที่สุด
3.94 0.729
มาก
4.71 0.488 มากที่สุด
4.20 0.734
มาก
4.81 0.423 มากที่สุด
4.81 0.423 มากที่สุด 4.82 0.392 มากที่สุด 4.34 0.702
มาก
4.84 0.385 มากที่สุด
4.38 0.698
มาก
4.87 0.335 มากที่สุด
4.54 0.618 มากที่สุด 4.91 0.279 มากที่สุด 4.36 0.662
มาก
4.81 0.422 มากที่สุด
2.1 ด้านความกรุณา รัก-เมตตา และอ่อนโยน 2.2 ด้านการสร้างนวัตกรรม การเป็นประกาศก และการประยุกต์ใช้ 2.3 ด้านความกล้าหาญและมุ่งมั่นพยายาม อย่างไม่ย่อท้อ 2.4 ด้านความชื่นชมยินดีและความหวัง 2.5 ด้านบูรณภาพ การเคารพให้เกียรติ และอิสระเสรี 2.6 ด้านความเป็นหนึง่ เดียวกัน ความผสมกลมกลืน และสันติ 2.7 ด้านยินดีรับใช้ช่วยเหลือ (เซอร์เวียม)
4.43 0.653
มาก
4.80 0.440 มากที่สุด
4.09 0.711
มาก
4.74 0.484 มากที่สุด
4.24 0.680
มาก
4.78 0.440 มากที่สุด
4.36 0.686
มาก
4.81 0.433 มากที่สุด
4.41 0.649
มาก
4.82 0.418 มากที่สุด
4.45 0.624
มาก
4.83 0.399 มากที่สุด
รวม
4.33 0.680
2. การพัฒนาบุคลากรนอกเวลาปฏิบัติงาน
128 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
4.56 0.627 มากที่สุด 4.88 0.341 มากที่สุด มาก
4.83 0.402 มากที่สุด
สุวรรณา ชัยพรแก้ว และ สุกัญญา แช่มช้อย
จากตารางที่ 1 สภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ของการบริหารบุคลากร โรงเรียนใน เครืออุรส์ ลุ นิ กรุงเทพมหานคร ตามแนวคิดจิตตารมณ์อรุ ส์ ลุ นิ ในภาพรวม พบว่า สภาพปัจจุบนั ของ การบริหารบุคลากรโรงเรียนในเครืออุร์สุลิน กรุงเทพมหานคร ตามแนวคิดจิตตารมณ์อุร์สุลินใน ภาพรวมอยู่ในระดับมาก (x̅ = 4.33) เมื่อพิจารณาการบริหารบุคลากรในระหว่างการปฏิบัติ งานเป็นรายด้าน ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุดและต�่ำที่สุดคือ ด้านความชื่นชมยินดีและความหวัง (x̅ = 4.81) และด้านการสร้างนวัตกรรม การเป็นประกาศก และการประยุกต์ใช้ (x̅ = 3.94) ตามล�ำดับ การบริหารบุคลากรนอกเวลาปฏิบัติงาน เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูง ทีส่ ดุ และต�ำ่ ทีส่ ดุ คือ ด้านยินดีรบั ใช้ชว่ ยเหลือ (เซอร์เวียม) (x̅ = 4.56) และด้านการสร้างนวัตกรรม การเป็นประกาศก และการประยุกต์ใช้ (x̅ = 4.09) ตามล�ำดับ สภาพที่พึงประสงค์ในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด (x̅ = 4.83) เมื่อพิจารณาการบริหาร บุคลากรรายด้านพบว่าอยู่ในระดับมากที่สุดเช่นเดียวกัน โดยการพัฒนาบุคลากรในระหว่างการ ปฏิบตั งิ าน ด้านทีม่ คี า่ เฉลีย่ สูงทีส่ ดุ และต�ำ่ ทีส่ ดุ คือด้านยินดีรบั ใช้ชว่ ยเหลือ (เซอร์เวียม) (x̅ = 4.91) และด้านการสร้างนวัตกรรม การเป็นประกาศก และการประยุกต์ใช้ (x̅ = 4.71) ตามล�ำดับ การพัฒนาบุคลากรนอกเวลาปฏิบตั งิ าน ด้านทีม่ คี า่ เฉลีย่ สูงทีส่ ดุ และต�ำ่ ทีส่ ดุ คือด้านยินดีรบั ใช้ชว่ ย เหลือ (เซอร์เวียม) (x̅ = 4.88) และด้านการสร้างนวัตกรรม การเป็นประกาศก และการประยุกต์ ใช้ (x̅ = 4.74) ตามล�ำดับ 1.2 การบริหารวิชาการ ได้แก่ 1) การพัฒนาหลักสูตร 2) การจัดการเรียนการสอน และ 3) การวัดและประเมินผล ตามแนวคิดจิตตารมณ์อุร์สุลิน แสดงดังตารางที่ 2
ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2020/2563 129
ความต้องการจำ�เป็นของการบริหารบุคลากรและวิชาการโรงเรียนในเครืออุรส์ ลุ นิ กรุงเทพมหานคร ตามแนวคิดจิตตารมณ์อรุ ส์ ลุ นิ
ตารางที่ 2 สภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ของการบริหารวิชาการโรงเรียนในเครืออุร์สุลิน กรุงเทพมหานคร ตามแนวคิดจิตตารมณ์อุร์สุลิน ในภาพรวม ข้อ
การบริหารวิชาการ
1. การพัฒนาหลักสูตร 1.1 ด้านความกรุณา รัก-เมตตา และอ่อนโยน 1.2 ด้านการสร้างนวัตกรรม การเป็นประกาศก และการประยุกต์ใช้ 1.3 ด้านความกล้าหาญและมุ่งมั่นพยายาม อย่างไม่ย่อท้อ 1.4 ด้านความชื่นชมยินดีและความหวัง 1.5 ด้านบูรณภาพ การเคารพให้เกียรติ และอิสระเสรี 1.6 ด้านความเป็นหนึ่งเดียวกัน ความผสมกลมกลืนและสันติ 1.7 ด้านยินดีรับใช้ช่วยเหลือ (เซอร์เวียม) 2. การจัดการเรียนการสอน 2.1 ด้านความกรุณา รัก-เมตตา และอ่อนโยน 2.2 ด้านการสร้างนวัตกรรม การเป็นประกาศก และการประยุกต์ใช้ 2.3 ด้านความกล้าหาญและมุ่งมั่นพยายาม อย่างไม่ย่อท้อ 2.4 ด้านความชื่นชมยินดีและความหวัง 2.5 ด้านบูรณภาพ การเคารพให้เกียรติ และอิสระเสรี 2.6 ด้านความเป็นหนึ่งเดียวกัน ความผสมกลมกลืนและสันติ 2.7 ด้านยินดีรับใช้ช่วยเหลือ (เซอร์เวียม)
130 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
สภาพปัจจุบัน
สภาพที่พึงประสงค์
x̅ S.D. 4.45 0.643
ระดับ มาก
x̅ S.D. ระดับ 4.82 0.404 มากที่สุด
4.49 0.641
มาก
4.80 0.417 มากที่สุด
4.20 0.715
มาก
4.78 0.458 มากที่สุด
4.40 0.657
มาก
4.84 0.391 มากที่สุด
4.46 0.665
มาก
4.82 0.413 มากที่สุด
4.47 0.625
มาก
4.83 0.391 มากที่สุด
4.50 0.637 มากที่สุด 4.83 0.395 มากที่สุด 4.63 0.559 มากที่สุด 4.85 0.363 มากที่สุด 4.47 0.638
มาก
4.83 0.388 มากที่สุด
4.54 0.620 มากที่สุด 4.83 0.401 มากที่สุด 4.13 0.752
มาก
4.78 0.434 มากที่สุด
4.40 0.662
มาก
4.83 0.399 มากที่สุด
4.47 0.635
มาก
4.82 0.392 มากที่สุด
4.52 0.595 มากที่สุด 4.83 0.392 มากที่สุด 4.57 0.613 มากที่สุด 4.84 0.371 มากที่สุด 4.64 0.592 มากที่สุด 4.88 0.325 มากที่สุด
สุวรรณา ชัยพรแก้ว และ สุกัญญา แช่มช้อย
ข้อ
สภาพปัจจุบัน
การบริหารวิชาการ
3. การวัดและประเมินผล 1.1 ด้านความกรุณา รัก-เมตตา และอ่อนโยน 1.2 ด้านการสร้างนวัตกรรม การเป็นประกาศก และการประยุกต์ใช้ 1.3 ด้านความกล้าหาญและมุ่งมั่นพยายาม อย่างไม่ย่อท้อ 1.4 ด้านความชื่นชมยินดีและความหวัง 1.5 ด้านบูรณภาพ การเคารพให้เกียรติ และอิสระเสรี 1.6 ด้านความเป็นหนึ่งเดียวกัน ความผสมกลมกลืนและสันติ 1.7 ด้านยินดีรับใช้ช่วยเหลือ (เซอร์เวียม) รวม
สภาพที่พึงประสงค์
x̅ S.D. 4.33 0.748
ระดับ มาก
x̅ S.D. ระดับ 4.79 0.439 มากที่สุด
4.36 0.742
มาก
4.78 0.435 มากที่สุด
4.05 0.834
มาก
4.73 0.513 มากที่สุด
4.26 0.755
มาก
4.78 0.459 มากที่สุด
4.33 0.762
มาก
4.80 0.424 มากที่สุด
4.38 0.728
มาก
4.80 0.423 มากที่สุด
4.41 0.738
มาก
4.79 0.428 มากที่สุด
4.54 0.675 มากที่สุด 4.83 0.388 มากที่สุด 4.42 0.676
มาก
4.81 0.410 มากที่สุด
จากตารางที่ 2 สภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ของการบริหารวิชาการ โรงเรียนใน เครืออุรส์ ลุ นิ กรุงเทพมหานคร ตามแนวคิดจิตตารมณ์อรุ ส์ ลุ นิ ในภาพรวม พบว่า สภาพปัจจุบนั ของ การบริหารวิชาการโรงเรียนในเครืออุรส์ ลุ นิ กรุงเทพมหานคร ตามแนวคิดจิตตารมณ์อรุ ส์ ลุ นิ ในภาพ รวมอยู่ในระดับมาก (x̅ = 4.42) โดยการพัฒนาหลักสูตร ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุดและต�่ำที่สุด คือ ด้านยินดีรบั ใช้ชว่ ยเหลือ (เซอร์เวียม) (x̅ = 4.63) และด้านการสร้างนวัตกรรม การเป็นประกาศก และการประยุกต์ใช้ (x̅ = 4.20) ตามล�ำดับ ส่วนการจัดการเรียนการสอน ด้านทีม่ คี า่ เฉลีย่ สูงทีส่ ดุ และต�่ำที่สุดคือ ด้านยินดีรับใช้ช่วยเหลือ (เซอร์เวียม) (x̅ = 4.64) และด้านความชื่นชมยินดีและ ความหวัง (x̅ = 3.47) ตามล�ำดับ ส�ำหรับการวัดและประเมินผล เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน ด้าน ทีม่ คี า่ เฉลีย่ สูงทีส่ ดุ และต�ำ่ ทีส่ ดุ คือ ด้านยินดีรบั ใช้ชว่ ยเหลือ (เซอร์เวียม) (x̅ = 4.54) และด้านการ สร้างนวัตกรรม การเป็นประกาศก และการประยุกต์ใช้ (x̅ = 4.05) ตามล�ำดับ
ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2020/2563 131
ความต้องการจำ�เป็นของการบริหารบุคลากรและวิชาการโรงเรียนในเครืออุรส์ ลุ นิ กรุงเทพมหานคร ตามแนวคิดจิตตารมณ์อรุ ส์ ลุ นิ
สภาพที่พึงประสงค์ของการบริหารวิชาการในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด (x̅ = 4.81) เมื่อพิจารณาการบริหารวิชาการรายด้านพบว่าอยู่ในระดับมากที่สุดเช่นเดียวกัน โดยการบริหาร วิชาการ ประเด็นการพัฒนาหลักสูตร ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุดและต�่ำที่สุด คือด้านยินดีรับใช้ช่วย เหลือ (เซอร์เวียม) (x̅ = 4.85) และด้านการสร้างนวัตกรรม การเป็นประกาศก และการประยุกต์ใช้ (x̅ = 4.78) ตามล�ำดับ การจัดการเรียนการสอน ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุดและต�่ำที่สุดคือ ด้าน ยินดีรบั ใช้ชว่ ยเหลือ (เซอร์เวียม) (x̅ = 4.88) และด้านการสร้างนวัตกรรม การเป็นประกาศก และ การประยุกต์ใช้ (x̅ = 4.13) ตามล�ำดับ การวัดและประเมินผล เมือ่ พิจารณาเป็นรายด้าน ด้านทีม่ ี ค่าเฉลี่ยสูงที่สุดและต�่ำที่สุดคือ ด้านยินดีรับใช้ช่วยเหลือ (เซอร์เวียม) (x̅ = 4.83) และด้านการ สร้างนวัตกรรม การเป็นประกาศก และการประยุกต์ใช้ (x̅ = 4.73) ตามล�ำดับ 2. ผลการจัดล�ำดับความต้องการจ�ำเป็นของการบริหารบุคลากรและวิชาการ โรงเรียนใน เครืออุรส์ ลุ นิ กรุงเทพมหานคร ตามแนวคิดจิตตารมณ์อรุ ส์ ลุ นิ ด้วยการน�ำค่าเฉลีย่ ทีไ่ ด้มาวิเคราะห์ หาดัชนีล�ำดับความต้องการจ�ำเป็นและจัดล�ำดับความต้องการจ�ำเป็นของสภาพปัจจุบันและสภาพ ที่พึงประสงค์ในการบริหารบุคลากรและวิชาการโรงเรียนในเครืออุร์สุลิน กรุงเทพมหานคร ตาม แนวคิดจิตตารมณ์อรุ ส์ ลุ นิ โดยใช้เทคนิค Modified Priority Needs Index (PNIModified) เมือ่ เรียงล�ำดับความต้องการจ�ำเป็นของการบริหารบุคลากรและวิชาการ จ�ำแนกตามองค์ประกอบของ แนวคิดจิตตารมณ์อุร์สุลิน ผู้วิจัยจัดล�ำดับความต้องการจ�ำเป็นของการบริหารบุคลากรและการ บริหารวิชาการ แสดงดังตารางที่ 3 (หน้าที่ 133) และ ตารางที่ 4 (หน้าที่ 134) ดังนี้ จากตารางที่ 3 สรุปการจัดล�ำดับความต้องการจ�ำเป็นของการบริหารบุคลากรโรงเรียนใน เครืออุร์สุลิน กรุงเทพมหานคร ตามแนวคิดจิตตารมณ์อุร์สุลิน โดยภาพรวมพบว่า การบริหาร บุคลากรที่มีล�ำดับความต้องการจ�ำเป็นสูงที่สุด คือ การพัฒนาบุคลากรในระหว่างการปฏิบัติงาน เมือ่ พิจารณารายองค์ประกอบ ทีม่ ลี ำ� ดับความต้องการจ�ำเป็นสูงทีส่ ดุ และต�ำ่ ทีส่ ดุ คือ ด้านการสร้าง นวัตกรรม การเป็นประกาศก และการประยุกต์ใช้ (PNImodified = 0.195) และด้านความชื่นชม ยินดีและความหวัง (PNImodified = 0.002 ตามล�ำดับ ความต้องการจ�ำเป็นล�ำดับที่ 2 คือ การพัฒนาบุคลากรนอกเวลาปฏิบัติงาน เมื่อพิจารณา รายองค์ประกอบของจิตตารมณ์อรุ ส์ ลุ นิ สามารถสรุปล�ำดับความต้องการจ�ำเป็นสูงทีส่ ดุ และต�ำ่ ทีส่ ดุ คือ ด้านการสร้างนวัตกรรม การเป็นประกาศก และการประยุกต์ใช้ (PNImodified = 0.159) และ ด้านยินดีรับใช้ช่วยเหลือ (เซอร์เวียม) (PNImodified = 0.070) ตามล�ำดับ 132 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
สุวรรณา ชัยพรแก้ว และ สุกัญญา แช่มช้อย
ตารางที่ 3 การจัดล�ำดับความต้องการจ�ำเป็นของการบริหารบุคลากรโรงเรียนในเครืออุร์สุลิน กรุงเทพมหานคร ตามแนวคิดจิตตารมณ์อุร์สุลิน ในภาพรวม
5. ด้านบูรณภาพ การเคารพ ให้เกียรติ และอิสระเสรี
6. ด้านความเป็นหนึ่งเดียวกัน ความผสมกลมกลืนและสันติ
4.20
4.81
4.34
4.38
4.54
I
4.85
4.71
4.81
4.82
4.84
4.87
4.91
PNImodified
0.123
0.195
0.145
0.002
0.115
0.112
0.081
ล�ำดับ
(3)
(1)
(2)
(7)
(4)
(5)
(6)
D
4.43
4.09
4.24
4.36
4.41
4.45
4.56
I
4.80
4.74
4.78
4.81
4.82
4.83
4.88
PNImodified
0.084
0.159
0.127
0.103
0.093
0.085
0.070
ล�ำดับ
(6)
(1)
(2)
(3)
(4)
(5)
(7)
ล�ำดับ
3. ด้านความกล้าหาญและมุ่งมั่น พยายามอย่างไม่ย่อท้อ
3.94
PNI modified
2. ด้านการสร้างนวัตกรรม การเป็นประกาศก และการประยุกต์ใช้
4.32
7. ด้านยินดีรับใช้ช่วยเหลือ (เซอร์เวียม)
1. ด้านความกรุณา รัก-เมตตา และอ่อนโยน
D
4. ด้านความชื่นชมยินดีและความหวัง
ประเด็น
2. การพัฒนาบุคลากรนอก เวลาปฏิบัติงาน
1. การพัฒนาบุคลากรในระหว่า งการปฏิบัติงาน
การบริหารบุคลากร
จิตตารมณ์อุร์สุลิน
0.126
1
0.103
2
หมายเหตุ: D: Degree of success (สภาพปัจจุบัน), I: Importance (สภาพที่พึงประสงค์) PNImodified: Modified Priority Needs Index (ค่าดัชนีล�ำดับความต้องการจ�ำเป็น) ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2020/2563 133
ความต้องการจำ�เป็นของการบริหารบุคลากรและวิชาการโรงเรียนในเครืออุรส์ ลุ นิ กรุงเทพมหานคร ตามแนวคิดจิตตารมณ์อรุ ส์ ลุ นิ
ตารางที่ 4 การจัดล�ำดับความต้องการจ�ำเป็นของการบริหารบุคลากรโรงเรียนในเครืออุร์สุลิน กรุงเทพมหานคร ตามแนวคิดจิตตารมณ์อุร์สุลิน ในภาพรวม
ล�ำดับ D I PNImodified
ล�ำดับ
4.46 4.82 0.081 (3) 4.47 4.82 0.078 (3) 4.33 4.80 0.109 (3)
4.63 4.85 0.048 (7) 4.64 4.88 0.052 (7) 4.54 4.83 0.064 (7)
ล�ำดับ
4.50 4.83 0.073 (5) 4.57 4.84 0.059 (6) 4.41 4.79 0.086 (6)
PNI modified
4.47 4.83 0.081 (3) 4.52 4.83 0.069 (4) 4.38 4.80 0.096 (4)
7. ด้านยินดีรับใช้ช่วยเหลือ (เซอร์เวียม)
4.40 4.84 0.100 (2) 4.40 4.83 0.098 (2) 4.26 4.78 0.122 (2)
4. ด้านความชื่นชมยินดีและความหวัง
4.20 4.78 0.138 (1) 4.13 4.78 0.157 (1) 4.05 4.73 0.168 (1)
6. ด้านความเป็นหนึ่งเดียวกัน ความผสมกลมกลืนและสันติ
PNImodified
4.49 4.80 0.069 (6) 4.54 4.83 0.064 (5) 4.36 4.78 0.096 (4)
5. ด้านบูรณภาพ การเคารพ ให้เกียรติ และอิสระเสรี
ล�ำดับ D I
3. ด้านความกล้าหาญและมุ่งมั่น พยายามอย่างไม่ย่อท้อ
PNImodified
2. ด้านการสร้างนวัตกรรม การเป็นประกาศก และการประยุกต์ใช้
ประเด็น D I
1. ด้านความกรุณา รัก-เมตตา และอ่อนโยน
3. การวัดและ ประเมินผล
2. การจัดการเรียน 1. การพัฒนา การสอน หลักสูตร
การบริหารวิชาการ
จิตตารมณ์อุร์สุลิน
0.083
2
0.081
3
0.106
1
หมายเหตุ: D: Degree of success (สภาพปัจจุบัน), I: Importance (สภาพที่พึงประสงค์) PNImodified: Modified Priority Needs Index (ค่าดัชนีล�ำดับความต้องการจ�ำเป็น) 134 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
สุวรรณา ชัยพรแก้ว และ สุกัญญา แช่มช้อย
จากตารางที่ 4 สรุปการจัดล�ำดับความ ต้องการจ�ำเป็นของการบริหารวิชาการโรงเรียน ในเครืออุรส์ ลุ นิ กรุงเทพมหานคร ตามแนวคิด จิตตารมณ์อุร์สุลิน โดยภาพรวมพบว่า การ บริหารวิชาการที่มีล�ำดับความต้องการจ�ำเป็น สู ง ที่ สุ ด คื อ การวั ด และประเมิ น ผล เมื่ อ พิ จ ารณารายองค์ ป ระกอบของจิ ต ตารมณ์ อุ ร ์ สุ ลิ น สามารถสรุ ป ล� ำ ดั บ ความต้ อ งการ จ�ำเป็นสูงที่สุดและต�่ำที่สุด คือ ด้านการสร้าง นวั ต กรรม การเป็ น ประกาศก และการ ประยุกต์ใช้ (PNImodified = 0.168) และด้าน ยินดีรับใช้ช่วยเหลือ (เซอร์เวียม) (PNI modified = 0.064) ตามล�ำดับ ความต้องการจ�ำเป็น ล� ำ ดั บ ที่ 2 คื อ การพั ฒ นาหลั ก สู ต ร เมื่ อ พิ จ ารณารายองค์ ป ระกอบของจิ ต ตารมณ์ อุ ร ์ สุ ลิ น สามารถสรุ ป ล� ำ ดั บ ความต้ อ งการ จ�ำเป็นสูงที่สุดและต�่ำที่สุด คือ ด้านการสร้าง นวั ต กรรม การเป็ น ประกาศก และการ ประยุกต์ใช้ (PNImodified = 0.138) และด้าน ยินดีรับใช้ช่วยเหลือ (เซอร์เวียม) ((PNImodified = 0.048) ตามล�ำดับ ความต้องการจ�ำเป็น ล�ำดับสุดท้าย คือ การจัดการเรียนการสอน เมื่อพิจารณารายองค์ประกอบของจิตตารมณ์ อุ ร ์ สุ ลิ น สามารถสรุ ป ล� ำ ดั บ ความต้ อ งการ จ�ำเป็นสูงที่สุดและต�่ำที่สุด คือ ด้านการสร้าง นวั ต กรรม การเป็ น ประกาศก และการ ประยุกต์ใช้ = 0.157) และ และด้านยินดีรับ ใช้ชว่ ยเหลือ (เซอร์เวียม) (PNImodified = 0.052) ตามล�ำดับ
จากสรุ ป ผลการวิ จั ย ข้ า งต้ น ค่ า ดั ช นี ความต้องการจ�ำเป็นและล�ำดับความต้องการ จ�ำเป็นของการบริหารบุคลากรและวิชาการ โรงเรียนในเครืออุรส์ ลุ นิ กรุงเทพมหานคร ตาม แนวคิดจิตตารมณ์อุร์สุลิน ได้ผลการวิเคราะห์ ว่า การบริหารบุคลากรที่มีค่าดัชนีความต้อง การจ�ำเป็นและล�ำดับความต้องการจ�ำเป็นเรียง จากสู ง ที่ สุ ด ไปหาต�่ ำ ที่ สุ ด คื อ การพั ฒ นา บุคลากรในระหว่างปฏิบตั งิ าน และการพัฒนา บุคลากรนอกเวลาปฏิบัติงาน ตามล�ำดับ ส่วน ด้ า นการบริ ห ารวิ ช าการ ที่ มี ค ่ า ดั ช นี ค วาม ต้องการจ�ำเป็นและล�ำดับความต้องการจ�ำเป็น เรียงจากสูงที่สุดไปหาต�่ำที่สุด คือ การวัดและ ประเมิ น ผล การพั ฒ นาหลั ก สู ต ร และการ จัดการเรียนการสอน ตามล�ำดับ อภิปรายผลการวิจัย 1. สภาพปั จ จุ บั น ของการบริ ห าร บุ ค ลากรโรงเรี ย นในเครื อ อุ ร ์ สุ ลิ น กรุ ง เทพ มหานคร ตามแนวคิ ด จิ ต ตารมณ์ อุ ร ์ สุ ลิ น ในภาพรวมอยู ่ ใ นระดั บ มาก การพั ฒ นา บุ คลากรนอกเวลาการปฏิ บัติง านมี ค ่ า เฉลี่ ย สู ง กว่ า การพั ฒ นาบุ ค ลากรในระหว่ า งการ ปฏิบัติงานเล็กน้อย เนื่องจากโรงเรียนในเครือ อุ ร ์ สุ ลิ น มี ก ารพั ฒ นาบุ ค ลากรอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง สอดคล้องกับผลการวิจยั ความเป็นอุรส์ ลุ นิ ของ โรงเรียน ในมุมมองของผู้บริหาร ครู นักเรียน
ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2020/2563 135
ความต้องการจำ�เป็นของการบริหารบุคลากรและวิชาการโรงเรียนในเครืออุรส์ ลุ นิ กรุงเทพมหานคร ตามแนวคิดจิตตารมณ์อรุ ส์ ลุ นิ
และผูป้ กครองของโรงเรียนมาแตร์เดอีวทิ ยาลัย พบว่าคุณครูได้รับค�ำแนะน�ำ ช่วยเหลือจาก คณะซิสเตอร์ ผู้บริหาร ครูรุ่นพี่ ให้พัฒนาตาม ศั ก ยภาพ มี ก ารจั ด อบรมเพื่ อ ทบทวนและ ไตร่ตรองความเป็นครูอุร์สุลินอย่างสม�่ำเสมอ (โรงเรียนมาแตร์เดอีวิทยาลัย, 2563) ตัวอย่าง การพัฒนาบุคลากรนอกเวลาการปฏิบัติงาน อย่างต่อเนื่อง ได้แก่ การสัมมนาผู้ร่วมบริหาร การศึกษาอุร์สุลินปีละครั้ง การฟื้นฟูจิตใจครู จั ด กลุ ่ ม ย่ อ ยแบบค้ า งคื น นอกสถานที่ ทุ ก ปี ส�ำหรับครูทุกคน การส่งครูร่วมอบรมสัมมนา ต่ า งๆ และค่ า ยสื บ ทอดจิ ต ตารมณ์ นั ก บุ ญ อัญจลาส�ำหรับครูใหม่ เป็นต้น ส่วนการพัฒนา บุคลากรในเวลาการปฏิบัติงาน เช่น การใช้ ระบบพี่ เ ลี้ ย ง การชี้ แ นะหรื อ สอนงาน การ หมุนเวียนงาน และการมอบหมายงานพิเศษ ที่ผ่านมายังไม่ได้มีการวางระบบอย่างชัดเจน ทีมบริหารโรงเรียนในเครืออุร์สุลินจัดพัฒนา บุ ค ลากรเองตามบริ บ ทของแต่ ล ะโรงเรี ย น ซึ่ ง มี ค วามแตกต่ า งกั น ทั้ ง ขนาดและจ� ำ นวน บุคลากร ดังนั้นสภาพปัจจุบันของการบริหาร บุ ค ลากรโรงเรี ย นในเครื อ อุ ร ์ สุ ลิ น กรุ ง เทพ มหานครจึงอยู่ในระดับมาก เมื่อวิเคราะห์เป็น รายด้านพบว่า ด้านการสร้างนวัตกรรม การ เป็นประกาศก และการประยุกต์ใช้ มีค่าเฉลี่ย น้อยทีส่ ดุ ทัง้ การบริหารบุคลากรในระหว่างการ ปฏิบัติงานและนอกเวลาปฏิบัติงาน เพราะที่
136 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
ผ่านมาบริบทของโรงเรียนในเครืออุร์สุลินให้ ความส� ำ คั ญ กั บ จิ ต ตารมณ์ เซอร์ เวี ย ม หรื อ ด้านการช่วยเหลือรับใช้ ซึง่ เป็นด้านทีม่ คี า่ เฉลีย่ สูงสุด รวมทัง้ พยายามส่งต่อคุณค่าหลักอันเป็น ธรรมประเพณีที่ดีงามของโรงเรียนอุร์สุลินไปสู่ ครูรนุ่ ใหม่ เช่น การใส่ใจนักเรียนเป็นรายบุคคล อบรมด้วยความรัก ตักเตือนด้วยเหตุผล ท�ำให้ การพัฒนาบุคลากรในด้านการสร้างนวัตกรรม เปลี่ยนแปลงและริเริ่มสิ่งใหม่ยังมีน้อย จึงต้อง สนับสนุนด้านนี้เพิ่มมากขึ้น เป็นสภาพที่พึง ประสงค์ที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุดของการบริหาร บุ ค ลากรที่ ต ้ อ งพั ฒ นาครู ทั้ ง ในระหว่ า งการ ปฏิบัติงานและนอกเวลาปฏิบัติงาน ในส่วนของสภาพปัจจุบนั ของการบริหาร วิ ช าการ โรงเรี ย นในเครื อ อุ ร ์ สุ ลิ น กรุ ง เทพ มหานคร ตามแนวคิดจิตตารมณ์อรุ ส์ ลุ นิ ในภาพ รวมอยู่ในระดับมาก โดยด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูง ทีส่ ดุ คือ ด้านยินดีรบั ใช้ชว่ ยเหลือ (เซอร์เวียม) ตรงกันทัง้ การพัฒนาหลักสูตร การจัดการเรียน การสอน และการวัดประเมินผล เนื่องจาก จิ ต ตารมณ์ นี้ เ ป็ น อั ต ลั ก ษณ์ ข องโรงเรี ย น อุรส์ ลุ นิ ทุกแห่ง ผลการวิจยั ตรงกับสิง่ ทีน่ กั เรียน ผู้ปกครอง ครู และผู้บริหารของโรงเรียนมา แตร์ เ ดอี วิ ท ยาลั ย ประเมิ น เช่ น เดี ย วกั น ว่ า นักเรียนมีเซอร์เวียมในชีวติ ประจ�ำวันเป็นอันดับ แรก (โรงเรียนมาแตร์เดอีวทิ ยาลัย, 2563) รวม ทั้งการประเมินความเป็นอุร์สุลินของผู้บริหาร
สุวรรณา ชัยพรแก้ว และ สุกัญญา แช่มช้อย
และครู โรงเรี ย นวาสุ เ ทวี ได้ น� ำ เสนอการมี เซอร์เวียมของนักเรียนเป็นอันดับแรกเช่นกัน (โรงเรียนวาสุเทวี, 2563) ส�ำหรับด้านที่มีค่า เฉลีย่ ต�ำ่ ทีส่ ดุ คือ ด้านการสร้างนวัตกรรม การ เป็นประกาศก และการประยุกต์ใช้ ตรงกันทั้ง การพัฒนาหลักสูตร การจัดการเรียนการสอน และการวัดและประเมินผล ซึ่งเป็นจิตตารมณ์ อุร์สุลินด้านที่มีค่าเฉลี่ยต�่ำที่สุดของการบริหาร บุคลากรด้วยเช่นเดียวกัน กล่าวได้ว่ามีความ สอดคล้องกันทั้งในส่วนของบุคลากรครูและ นักเรียน 2. ความต้องการจ�ำเป็นของการบริหาร บุคลากรและวิชาการโรงเรียนในเครืออุร์สุลิน กรุ ง เทพมหานคร ตามแนวคิ ด จิ ต ตารมณ์ อุร์สุลิน การศึกษาวิจัยครั้งนี้พบว่า ค่าดัชนี ความต้องการจ�ำเป็น (PNImodified) ของการ บริหารบุคลากรและวิชาการโรงเรียนในเครือ อุ ร ์ สุ ลิ น กรุ ง เทพมหานคร ในส่ ว นของการ บริหารบุคลากร คือ การพัฒนาบุคลากรใน ระหว่างปฏิบตั งิ านและการพัฒนาบุคลากรนอก เวลาปฏิ บั ติ ง าน มี ค ่ า ความต้ อ งการจ� ำ เป็ น สูงกว่าการบริหารวิชาการ และค่าดัชนีความ ต้องการจ�ำเป็นของการบริหารบุคลากรสูงกว่า ค่ า เฉลี่ ย รวม แสดงถึ ง มุ ม มองของผู ้ บ ริ ห าร ผูร้ ว่ มบริหาร หัวหน้ากลุม่ สาระ ผูป้ ระสานงาน กลุ่มสาระ และครู ที่เล็งเห็นถึงความจ�ำเป็น ของการพัฒนาครูของโรงเรียนตามจิตตารมณ์
อุรส์ ลุ นิ เนือ่ งจากในปัจจุบนั คุณครูทที่ ำ� งานกับ โรงเรียนในเครืออุร์สุลินมายาวนานได้เกษียณ อายุไป จ�ำนวนครูใหม่มีมากขึ้น การส่งต่อจิต ตารมณ์อรุ ส์ ลุ นิ ของครูจากรุน่ สูร่ นุ่ ขาดความต่อ เนื่อง ตรงกับข้อมูลจากรายงานการประเมิน คุณภาพภายในของโรงเรียนที่พบว่าโรงเรียน ขาดความเข้มแข็งในการถ่ายทอดวัฒนธรรม ขององค์กร เนือ่ งจากจ�ำนวนครูใหม่มมี าก และ ยังต้องได้รับความช่วยเหลือในการวางตนและ การแสดงออก ความสัมพันธ์กับนักเรียนและ ผู้ปกครองตามจิตตารมณ์อุร์สุลิน (โรงเรียนมา แตร์เดอีวิทยาลัย, 2561) ดังนั้นการพัฒนาครู จึงเป็นเรื่องส�ำคัญยิ่ง เพราะครูคือต้นแบบของ นักเรียน เมื่อพิจารณาการบริหารบุคลากรและ วิ ช าการโรงเรี ย นในเครื อ อุ ร ์ สุ ลิ น กรุ ง เทพ มหานคร ทั้ง 5 ประเด็น คือ 1) การพัฒนา บุคลากรในระหว่างปฏิบัติงาน 2) การพัฒนา บุคลากรนอกเวลาปฏิบัติงาน 3) การพัฒนา หลักสูตร 4) การจัดการเรียนการสอน และ 5) การวั ด และประเมิ น ผล ในรายด้ า นตาม จิตตารมณ์อรุ ส์ ลุ นิ 7 ประการ พบว่า ด้านการ สร้างนวัตกรรม การเป็นประกาศก และการ ประยุกต์ใช้ มีล�ำดับความต้องการจ�ำเป็นสูง ที่ สุ ด เช่ น เดี ย วหมด สะท้ อ นให้ เ ห็ น ว่ า จาก สภาพสังคมปัจจุบันที่มีการเปลี่ยนแปลงไป อย่างรวดเร็ว โรงเรียนต้องการผู้บริหารและ
ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2020/2563 137
ความต้องการจำ�เป็นของการบริหารบุคลากรและวิชาการโรงเรียนในเครืออุรส์ ลุ นิ กรุงเทพมหานคร ตามแนวคิดจิตตารมณ์อรุ ส์ ลุ นิ
ครูที่สามารถเป็นผู้น�ำการเปลี่ยนแปลงและ ริเริ่มสิ่งใหม่เพื่อสร้างสรรค์สังคมที่ดีขึ้น การ สร้างนวัตกรรมเป็นหนึ่งในคุณลักษณะพิเศษ ของคณะอุร์สุลิน ซึ่งนักบุญอัญจลาผู้ก่อตั้งได้ สร้างนวัตกรรมรูปแบบการด�ำเนินชีวติ ของกลุม่ สตรีทรี่ บั ใช้พระเจ้าแต่ไม่ได้อยูใ่ นอารามนักบวช อันเป็นสิง่ ใหม่เอีย่ มในสังคมอิตาลีสมัยศตวรรษ ที ่ 15 และนักบุญอัญจลาบอกให้สมาชิกด�ำเนิน ชีวิตโดยสามารถปรับเปลี่ยนตามบริบทสังคม ที่เปลี่ยนแปลงไป ท่านกล่าวไว้ว่า “ถ้าเกิดมี ความจ�ำเป็นต้องบัญญัติกฎใหม่ๆ หรือต้อง ท�ำอะไรแตกต่างออกไป ตามกาลเวลาและ สถานการณ์แวดล้อม ก็จงด�ำเนินการอย่าง รอบคอบ และท� ำ โดยอาศั ย ค� ำ แนะน� ำ ที่ ดี ” (คณะอุ ร ์ สุ ลิ น แห่ ง สหภาพโรมั น , 2538) สอดคล้องกับงานวิจัยของ Waters (1985) ได้ศึกษาการก�ำเนิด การพัฒนา และอิทธิพล ของจิตตารมณ์อุร์สุลินที่มีต่อโรงเรียนคาทอลิก ของคณะนักบวชหญิงคณะอื่นๆ พบประเด็น การปรับตัวของคณะอุร์สุลินให้เหมาะกับการ จั ด การศึ ก ษาตามแต่ ล ะยุ ค สมั ย ในบริ บ ท ประเทศต่างๆ ดังนัน้ จากผลการวิจยั พบความ ต้องการจ�ำเป็นอันดับแรกในเรื่องการพัฒนา บุคลากรของโรงเรียนอุรส์ ลุ นิ กรุงเทพมหานคร ตามจิตตารมณ์อรุ ส์ ลุ นิ ด้านนวัตกรรม การเป็น ประกาศก และการประยุกต์ใช้ เป็นสิ่งส�ำคัญ จ�ำเป็น เพือ่ สร้างผูเ้ รียนให้เป็นผูท้ สี่ ร้างนวัตกรรม
138 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
อั น เป็ น หนึ่ ง ในคุ ณ ลั ก ษณะของคนไทย 4.0 ตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ.2561 (ส�ำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวง ศึกษาธิการ, 2561) ที่ต้องการให้คนไทยเป็น ผู้ร่วมสร้างนวัตกรรมเพื่อสังคมที่มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน นอกจากนี้จิตตารมณ์อุร์สุลินด้าน การสร้างนวัตกรรม การเป็นประกาศก และ การประยุกต์ใช้ ที่นักบุญอัญจลาให้แนวทาง ไว้ยังหมายถึงการปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างใน การด�ำเนินชีวิตโดยสิ่งที่อยากให้บุคคลอื่นท�ำ จะต้องท�ำเองก่อน คือการรู้จักประยุกต์หลัก คุณธรรมไปสูว่ ถิ ดี ำ� เนินชีวติ และประกาศความ ดีงาม คุณธรรมด้วยการด�ำเนินชีวิตของตน อันเป็นการสอนที่มีพลังเพราะตัวครูเป็นต้น แบบให้เห็น ดังนัน้ ในฐานะผูใ้ ห้การศึกษาอบรม ไม่ ว ่ า จะเป็ น ระดั บ ผู ้ บ ริ ห าร ผู ้ ร ่ ว มบริ ห าร หัวหน้าในระดับต่างๆ หรือครูผปู้ ฏิบตั กิ ารสอน ทั่วไปจึงมีภารกิจส�ำคัญในการปฏิบัติตนเป็น แบบอย่างด้านคุณธรรมจริยธรรมในการด�ำเนิน ชีวิต โรงเรียนในเครืออุร์สุลินจึงต้องสนับสนุน จิ ต ตารมณ์ อุ ร ์ สุ ลิ น ด้ า นการสร้ า งนวั ต กรรม การเป็นประกาศก และการประยุกต์ใช้เพิ่ม มากขึน้ โดยการพัฒนาบุคลากรเพือ่ เสริมสร้าง ความแข็ ง แกร่ ง ในความเป็ น ครู มื อ อาชี พ ที่ สามารถด�ำเนินชีวิตใหม่ตอบรับสัญญาณแห่ง กาลเวลาในโลกที่มีการเปลี่ยนแปลงไปอย่าง รวดเร็ว โดยยังคงยึดมั่นในหลักธรรมอันดีงาม
สุวรรณา ชัยพรแก้ว และ สุกัญญา แช่มช้อย
ส�ำหรับล�ำดับความต้องการจ�ำเป็นของ การบริหารบุคลากรและวิชาการโรงเรียนใน เครืออุรส์ ลุ นิ กรุงเทพมหานคร ในรายด้านตาม จิตตารมณ์อุร์สุลิน 7 ประการ ด้านที่มีค่าต�่ำ ที่สุดในภาพรวม คือ ด้านการยินดีรับใช้ช่วย เหลือ (เซอร์เวียม) จากการวิเคราะห์ผลการ วิจยั ด้านการยินดีรบั ใช้ชว่ ยเหลือหรือเซอร์เวียม ซึง่ เป็นภาษาลาตินแปลว่าข้าพเจ้าจะรับใช้ เป็น อัตลักษณ์ของโรงเรียนอุร์สุลินทุกแห่งทั่วโลก โดยอัคราธิการท่านแรกของคณะอุร์สุลินแห่ง สหภาพโรมัน คือ คุณแม่มารี เดอ แซงต์-ฌอง มาร์แตง (ค.ศ. 1876-1965) ได้เป็นผู้ริเริ่ม เซอร์เวียมส�ำหรับโรงเรียนอุร์สุลินมาตั้งแต่ปี ค.ศ.1931 การรับใช้พระเจ้าและเพื่อนมนุษย์ จึงกลายเป็นจิตตารมณ์ของโรงเรียนอุร์สุลิน ทั่วโลก ที่มุ่งหล่อหลอมศิษย์ด้วยความหวังว่า ศิษย์อรุ ส์ ลุ นิ จะรักและรับใช้สงั คม ประเทศและ โลก ตามแบบอย่างของนักบุญอัญจลา เมื่อ นั ก บวชคณะอุ ร ์ สุ ลิ น มาด� ำ เนิ น งานด้ า นการ ศึ ก ษาในประเทศไทย โรงเรี ย นอุ ร ์ สุ ลิ น ใน ประเทศไทยได้ส่งเสริมจิตตารมณ์เซอร์เวียม อย่างเข้มแข็ง ตรงกับการวิเคราะห์ SWOT ของโรงเรียนที่พบจุดแข็งเรื่องเป้าหมายด้าน คุณธรรมจริยธรรมทีช่ ดั เจนโดยเฉพาะจิตตารมณ์ เซอร์ เวี ย ม (โรงเรี ย นมาแตร์ เ ดอี วิ ท ยาลั ย , 2561)และยังสอดคล้องกับผลการวิจยั ความเป็น อุรส์ ลุ นิ ของโรงเรียน ที่ผู้บริหาร ครู นักเรียน
และผูป้ กครองของโรงเรียนมาแตร์เดอีวทิ ยาลัย มองว่ า นั ก เรี ย นมี เซอร์ เวี ย มเป็ น อั น ดั บ แรก (โรงเรียนมาแตร์เดอีวทิ ยาลัย, 2563) เช่นเดียว กับการประเมินตนเองของโรงเรียนวาสุเทวีที่ ระบุว่ารักและรับใช้ เป็นหนึ่งในจุดแข็งของ ความเป็นอุร์สุลินของโรงเรียน (โรงเรียนวาสุ เทวี, 2563)ดังนัน้ จิตตารมณ์อรุ ส์ ลุ นิ ด้านยินดี รับใช้ช่วยเหลือ (เซอร์เวียม) จึงมีล�ำดับความ ต้ อ งการจ� ำ เป็ น ต�่ ำ ที่ สุ ด ในภาพรวมของการ บริหารบุคลากรและวิชาการของโรงเรียนใน เครืออุร์สุลิน กรุงเทพมหานคร ยกเว้นการ พัฒนาบุคลากรในระหว่างปฏิบัติงาน ด้านที่มี ค่าความต้องการจ�ำเป็นที่ต�่ำที่สุด คือ ด้าน ความชื่ น ชมยิ น ดี แ ละความหวั ง มี ค ่ า ความ ต้องการจ�ำเป็นน้อยมากกว่าด้านอื่น เนื่องมา จากบริบทของโรงเรียนอุร์สุลินมีบรรยากาศ อบอุ่นเหมือนบ้านบุคลากรอยู่ร่วมกันเหมือน เป็นครอบครัว มีการสนับสนุน ให้ก�ำลังใจกัน เมือ่ มีความยากล�ำบากก็ชว่ ยเหลือกัน รวมทัง้ มี การจัดพิธีภาวนาในโอกาสต่างๆ อย่างสม�่ำ เสมอ ช่วยสร้างขวัญและก�ำลังใจให้กบั บุคลากร สอดคล้องกับงานวิจัยของ Lally (2014) และ Waters (1985) ชี้ให้เห็นจุดเด่นของนักบุญ อัญจลาเมริชี ท่านใช้บรรยากาศแบบบ้านใน การให้การศึกษาอบรม พัฒนาด้านศาสนธรรม คุณธรรมรวมทั้งการพัฒนาทางสติปัญญาและ สังคมไปพร้อมกัน โดยส่งเสริมคุณภาพของ
ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2020/2563 139
ความต้องการจำ�เป็นของการบริหารบุคลากรและวิชาการโรงเรียนในเครืออุรส์ ลุ นิ กรุงเทพมหานคร ตามแนวคิดจิตตารมณ์อรุ ส์ ลุ นิ
ความสั ม พั น ธ์ แ บบครอบครั ว ในหมู ่ ส มาชิ ก ดั ง นั้ น สภาพปั จ จุ บั น ของการพั ฒ นาครู ใ น ระหว่างการปฏิบตั งิ าน ของโรงเรียนในเครืออุร์ สุลิน กรุงเทพมหานคร ด้านความชื่นชมยินดี และความหวังจึงอยู่ในระดับมากที่สุด ข้อเสนอแนะในการน�ำผลการวิจัยไปใช้ 1) ทีมบริหารของโรงเรียนในเครืออุรส์ ลุ นิ ควรก�ำหนดนโยบายการพัฒนาบุคลากร โดย มุ ่ ง เน้ น จิ ต ตารมณ์ อุ ร ์ สุ ลิ น ในด้ า นการสร้ า ง นวัตกรรม การเป็นประกาศก และการประยุกต์ ใช้ จั ด ให้ มี โ ครงการที่ ส อดรั บ กั บ นโยบาย ดั ง กล่ า ว รวมทั้ ง มี ก ารติ ด ตามผลอย่ า งเป็ น รูปธรรม 2) ผูบ้ ริหารควรส่งเสริมครูให้สร้างสรรค์ นวัตกรรมทางวิชาการเพื่อเป็นแบบอย่างและ เป็ น การปลู ก ฝั ง นั ก เรี ย นให้ เ ป็ น ผู ้ ร ่ ว มสร้ า ง นวัตกรรม 3) ครู ควรน�ำผลการวิจัยไปใช้ในการ พัฒนาการจัดการเรียนรู้ โดยเฉพาะการเปิด โอกาสในนักเรียนสร้างสรรค์องค์ความรู้ด้วย ตนเอง สร้างนวัตกรรมใหม่ๆ รวมทั้งการปลูก ฝังมโนธรรมในจิตใจและทักษะในการคิดอย่าง มี วิ จ ารณญาณ เพื่ อ ให้ นั ก เรี ย นร่ ว มสร้ า ง นวัตกรรมเพื่อรับใช้สังคม
140 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
ข้อเสนอแนะในการวิจัยครั้งต่อไป 1) ควรมีการศึกษาแนวทางการพัฒนา บุคลากรให้เป็นผูส้ ร้างนวัตกรรมทางการศึกษา เพื่ อ ให้ บุ ค ลากรเกิ ด การเปลี่ ย นแปลง เป็ น ผู ้ ส ร้ า งนวั ต กรรมมากขึ้ น เนื่ อ งมาจากเป็ น ประเด็นที่มีความต้องการจ�ำเป็นสูงสุด ทั้งใน การพัฒนาบุคลากรในระหว่างการปฏิบัติงาน และการพัฒนาบุคลากรนอกเวลาการปฏิบัติ งาน 2) ควรมีการศึกษาแนวทางการพัฒนา ระบบการวัดและประเมินผลผูเ้ รียนในด้านการ สร้างนวัตกรรม การเป็นประกาศก และการ ประยุ ก ต์ ใช้ ท่ี ชั ด เจนมากขึ้ น เนื่ อ งจากเป็ น ประเด็นที่มีความต้องการจ�ำเป็นสูงสุดในการ วั ด และประเมิ น ผลเพื่ อ พั ฒ นาผู ้ เรี ย นตาม แนวคิ ด จิ ต ตารมณ์ อุ ร ์ สุ ลิ น ซึ่ ง สอดคล้ อ ง กับมาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561 ที่ต้องการคุณลักษณะของคนไทยที่เป็นผู้สร้าง นวัตกรรม
สุวรรณา ชัยพรแก้ว และ สุกัญญา แช่มช้อย
บรรณานุกรม คณะอุร์สุลินแห่งสหภาพโรมัน. (2538). นักบุญอัญจลา เมริชี ข้อเขียน พระวินัย ค�ำแนะน�ำ พินัยกรรม. แปลจากเรื่อง Writings of Saint Angela โดย บุญประจักษ์ ทรรทรานนท์. กรุงเทพฯ. โรงเรียนมาแตร์เดอีวิทยาลัย. (2561). รายงานการประเมินคุณภาพภายใน ปีการศึกษา 2560. กรุงเทพฯ: ผู้แต่ง โรงเรียนมาแตร์เดอีวิทยาลัย. (2561). แผนพัฒนาการจัดการศึกษา ปีการศึกษา 2561-2565 โรงเรียนมาแตร์เดอีวิทยาลัย. กรุงเทพฯ: ผู้แต่ง โรงเรียนมาแตร์เดอีวิทยาลัย. (2563). ความเป็นอุร์สุลินของโรงเรียนมาแตร์เดอีวิทยาลัย. การ สัมมนาประจ�ำปีของผู้ร่วมบริหารโรงเรียนอุร์สุลิน ครั้งที่ 18 ประจ�ำปีการศึกษา 2562 หัวข้อ “โรงเรียน อุร์สุลินในบริบทสังคมปัจจุบัน” วันที่ 9-11 กุมภาพันธ์ 2563, ณ ห้อง ประชุมอักแนส โรงเรียนมาแตร์เดอีวิทยาลัย. โรงเรียนวาสุเทวี. (2562). รายงานการประเมินคุณภาพภายใน ปีการศึกษา 2561. กรุงเทพฯ: ผู้แต่ง. โรงเรียนวาสุเทวี. (2563). ความเป็นอุรส์ ลุ นิ ของโรงเรียนวาสุเทวี. การสัมมนาประจ�ำปีของผูร้ ว่ ม บริหารโรงเรียนอุร์สุลิน ครั้งที่ 18 ประจ�ำปีการศึกษา 2562 หัวข้อ “โรงเรียนอุร์สุลินใน บริบทสังคมปัจจุบนั ” วันที ่ 9-11 กุมภาพันธ์ 2563, ณ ห้องประชุมอักแนส โรงเรียนมาแตร์ เดอีวิทยาลัย. ส�ำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2561). ยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2561-2580. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/ PDF/2561/A/ 082/T_0001.PDF ส�ำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ. (2561). แผนการศึกษาแห่งชาติปี 2560-2579. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://backoffice.onec.go.th/uploaded/ Outstand/2017-EdPlan60-79.pdf ส�ำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ. (2561). มาตรฐานการศึกษาของชาติ 2561. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://www.sesa17.go.th/site/images/Publish2. pdf
ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2020/2563 141
ความต้องการจำ�เป็นของการบริหารบุคลากรและวิชาการโรงเรียนในเครืออุรส์ ลุ นิ กรุงเทพมหานคร ตามแนวคิดจิตตารมณ์อรุ ส์ ลุ นิ
Castillon, L., Gondosasmito, M., Monnier, B., Pallisier, L., & Water, J. (2016). Ursuline Education in the Spirit of Saint Angela Merici. Rome: n.p. Krejcie, R.V., & Morgan, D.W. (1970). Determining Sample Size For Research Activities. Educational And Psychological Measurement, 30, 607-610. [Online]. Retrieved from: https://home.kku.ac.th/sompong/guest_speaker/ KrejcieandMorgan_article.pdf Lally, B. (2014). Maintaining the Educational Vision of St.Angela Merici in Ursuline Schools (Masters’s thesis). London: St Mary's University College. Waters, P. (1985). The origins, development and influence of Ursuline pedagogy (Master’s thesis). Melbourne: University of Melbourne). [Online]. Retrieved from: http://hdl.handle.net/11343/58127
142 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
บ ทบาทและการปฏิบัติตามบทบาทของผู้สูงอายุ ในการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมตามหลักคำ�สอน
พระศาสนจักรคาทอลิก สำ�หรับชุมชนคริสตชน กรณีศึกษาชมรมผู้สูงอายุ วัดนักบุญยอห์น บัปติสต์ แม่โถ จังหวัดแม่ฮ่องสอน สังฆมณฑลเชียงใหม่
TMorality in Accordance with The Teaching of he Role of The Elderly in The Promotion of
The Catholic Church for Catholic Communities: A Case Study of The Elderly Group of St.John The Baptist Church, Maetho, Mae Hong Son, Chiang Mai Dioces. นนทชัย ริทู * มหาบัณฑิตสาขาวิชาเทววิทยาจริยธรรม วิทยาลัยแสงธรรม บาทหลวง ดร.พิเชฐ แสงเทียน, เอส.เจ. * อาจารย์ประจ�ำคณะศาสนศาสตร์ สาขาวิชาเทววิทยาจริยธรรม วิทยาลัยแสงธรรม
บาทหลวง ผศ.ดร.ชาติชาย พงษ์ศิริ
* บาทหลวงในคริสต์ศาสนจักรโรมันคาทอลิก สังกัดสังฆมณฑลจันทบุรี * อธิการบดี วิทยาลัยแสงธรรม
ผศ.ดร.ลัดดาวรรณ์ ประสูตร์แสงจันทร์ * อาจารย์ประจ�ำคณะศาสนศาสตร์ สาขาวิชาคริสตศาสนศึกษา วิทยาลัยแสงธรรม
ข้อมูลบทความ
* รับบทความ 23 กันยายน 2563 * แจ้งแก้ไข 2 พฤศจิกายน 2563 * ตอบรับบทความ 14 พฤศจิกายน 2563
Nontachai Ritoo * Master of Arts Program in Moral Theology, Saengtham College. Rev.Dr.Pichet Saengthien, S.J. * Lecturer, Faculty of Theology, Moral Theology Program, Saengtham College. Rev.Asst.Prof.Dr.Chartchai Phongsiri * Reverend in Roman Catholic Church, Chanthaburi Diocese. * President of Saengtham College. Asst.Prof.Dr.Laddawan Prasutsaengchan * Lecturer, Faculty of Theology, Christian Education Program, Saengtham College.
บทบาทและการปฏิบตั ติ ามบทบาทของผูส้ งู อายุในการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม ตามหลักคำ�สอนพระศาสนจักรคาทอลิกสำ�หรับชุมชนคริสตชน กรณีศกึ ษาชมรมผูส้ งู อายุ วัดนักบุญยอห์น บัปติสต์ แม่โถ จังหวัดแม่ฮอ่ งสอน สังฆมณฑลเชียงใหม่
บทคัดย่อ
การวิจัยเชิงคุณภาพนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษา 1) บทบาทและ การปฏิบัติตามบทบาทของผู้สูงอายุในการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม ตามหลักค�ำสอนพระศาสนจักรคาทอลิกแก่ชุมชนคริสตชน วัดนักบุญ ยอห์น บัปติสต์ แม่โถ และ 2) แนวทางการส่งเสริมบทบาทและการ ปฏิบัติตามบทบาทของผู้สูงอายุในการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมตาม หลักค�ำสอนพระศาสนจักรคาทอลิกส�ำหรับชุมชนคริสตชน วัดนักบุญ ยอห์น บัปติสต์ แม่โถ กลุ่มผู้ให้ข้อมูล ได้แก่ ผู้สูงอายุในชมรมผู้สูงอายุ วัดนักบุญยอห์น บัปติสต์ แม่โถ จ�ำนวน 8 คน ได้มาโดยการเลือกแบบ เจาะจง และกลุม่ ผูท้ รงคุณวุฒ ิ จ�ำนวน 8 คน เครือ่ งมือวิจยั ได้แก่ แบบ สัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง และประเด็นการสนทนากลุ่ม สถิติที่ใช้ใน การวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ การวิเคราะห์ข้อมูลที่ ได้ จ ากการสั ม ภาษณ์ และการสนทนากลุ ่ ม ใช้ ก ารวิ เ คราะห์ แ ละ สังเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า: 1. ผู้สูงอายุชมรมผู้สูงอายุ วัดนักบุญยอห์น บัปติสต์ แม่โถ มี บทบาทในการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมแก่ชุมชนคริสตชน 5 ด้าน ประกอบด้วย 1) การส่งเสริมและถ่ายทอดความเชื่อ โดยการถ่ายทอด ความเชือ่ การเอาใจใส่ อบรมสัง่ สอน และการเป็นแบบอย่างด้านความ เชื่อในการประกาศข่าวดี 2) การส่งเสริมความกล้าหาญ โดยการเป็น สักขีพยาน การอุทิศตน และการกล้าเผชิญความทุกข์ และความตาย ด้วยความวางใจในพระเจ้า 3) การส่งเสริมการเข้าร่วมในพิธีกรรมและ การปฏิบัติศาสนกิจ โดยการส่งเสริมการมีส่วนร่วมในพิธีกรรม แก้บาป รับศีล ร่วมกิจกรรมของชุมชนคริสตชน จาริกแสวงบุญ ร�ำพึง และ ภาวนา 4) การส่งเสริมกิจกรรมภายในชุมชน โดยการอุทิศตน สร้าง ความสัมพันธ์อันดี สนับสนุนกิจกรรมของชุมชน และเปิดรับผู้อื่นด้วย ความเคารพ 5) การส่ ง เสริ ม วั ฒ นธรรม ประเพณี โดยการรั ก ษา วั ฒ นธรรมประเพณี ส่ ง เสริ ม การแต่ ง กายชุ ด ประจ� ำ เผ่ า ถ่ า ยทอด
144 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
นนทชัย ริทู, พิเชฐ แสงเทียน, ชาติชาย พงษ์ศิริ และลัดดาวรรณ์ ประสูตร์แสงจันทร์
เอกลักษณ์ ความรู้และภูมิปัญญาพื้นบ้านของชุมชน และปลุกจิตส�ำนึก ในคุณค่าประวัติศาสตร์ของครอบครัว ชุมชน และประเทศชาติ 2. แนวทางการส่งเสริมบทบาทและการปฏิบัติตามบทบาทของ ผูส้ งู อายุในการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมตามหลักค�ำสอนพระศาสนจักร คาทอลิกแก่ชุมชนคริสตชน 2.1 ส่งเสริมให้กลุ่มผู้สูงอายุมีบทบาทในการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมตามหลักค�ำสอนพระศาสนจักรคาทอลิกแก่ชุมชนคริสตชน อย่างต่อเนือ่ ง โดยเฉพาะการเป็นแบบอย่างการถ่ายทอด ความเชือ่ และ การเสริมสร้างความเชื่อให้กับลูกหลานและชุมชน 2.2 เปิดโอกาสให้กลุ่มผู้สูงอายุได้มีส่วนรับผิดชอบในพิธีกรรม และมีโอกาสไปร่วมฉลองวัด หรือฉลองในโอกาสพิเศษต่างๆ ที่วัดใกล้ เคียงจัดขึ้น 2.3 สนับสนุนการร่วมมือกันระหว่างกลุม่ ผูส้ งู อายุและกลุม่ อืน่ ๆ เช่น เยาวชน ในการเสียสละอุทิศตนเพื่อส่วนรวม เช่น การเยี่ยมผู้ป่วย 2.4 ส่งเสริมให้กลุม่ ผูส้ งู อายุได้มโี อกาสในการแบ่งปัน ถ่ายทอด ความรู้ ภูมิปัญญาแก่เยาวชน ชุมชน และสังคมในวงกว้างมากขึ้น เช่น ความสามารถในการเล่นเตหน่า การขับล�ำน�ำ การร�ำดาบ ร�ำกระบอง การตัดเย็บเสื้อผ้า และการจักสาน 2.5 เปิดโอกาสให้กลุ่มผู้สูงอายุ มีส่วนร่วมและบทบาทในการ พัฒนาชุมชน 2.6 จัดหาอุปกรณ์สิ่งอ�ำนวยความสะดวกแก่ผู้สูงอายุ เช่น รถเข็น (Wheelchair) ส�ำหรับผู้สูงอายุที่มีข้อจ�ำกัดในการเดินทาง ค�ำส�ำคัญ: บทบาท/ผู้สูงอายุ/คุณธรรมจริยธรรม/หลักค�ำสอนพระ ศาสนจักรคาทอลิก/ชุมชนคริสตชน/ชมรมผู้สูงอายุ วัดนักบุญยอห์น บัปติสต์ แม่โถ จังหวัดแม่ฮ่องสอน
ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2020/2563 145
บทบาทและการปฏิบตั ติ ามบทบาทของผูส้ งู อายุในการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม ตามหลักคำ�สอนพระศาสนจักรคาทอลิกสำ�หรับชุมชนคริสตชน กรณีศกึ ษาชมรมผูส้ งู อายุ วัดนักบุญยอห์น บัปติสต์ แม่โถ จังหวัดแม่ฮอ่ งสอน สังฆมณฑลเชียงใหม่
Abstract
As the Qualitative Research, this research aims to study: 1) research the role of the elderly in promoting the Ethics according to the Catholic Church for local people of St. John the Baptist Church Maetho. And 2) study some recommendations to strengthen the role and to look for some practice of the elderly which is to promote the Ethics according to the Catholic Church for local people, St.John the Baptist Church Maetho. Informant group is 8 members of st.John Baptist Church Meatho and 8 experts. Research instruments are semi-structured interview and focus group discussion. Content analysis of the statics; includes frequency and percentage. Data analysis given by semi-structured interview and focus group discussion used content analysis and content synthesis. The results were as follows: 1. The elderly group of St.John the Baptist Church Maetho has the role to promote the Ethics in the Catholic Church for local people in 5 parts; 1) Supporting and transferring the Faith by taking care, teaching and being a good model of Faith in the new evangelization. 2) Supporting encouraging to be a witness of devotion and daring to encounter with suffering and death by trusting in God. 3) Supporting of participating in the ritual and liturgical ceremony as supporting the participation in the liturgy, confession, communion, participating of activities of local people, making a pilgrimage, meditation and prayer. 4) Supporting activities of the community with total commitment, creating a good relationship, encouraging activities
146 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
นนทชัย ริทู, พิเชฐ แสงเทียน, ชาติชาย พงษ์ศิริ และลัดดาวรรณ์ ประสูตร์แสงจันทร์
of the community and opening to pay respect to other peoples. 5) Supporting culture and tradition by conservations, supporting to wear the traditional dress, transferring knowledge of folklore wisdom and creating awareness in the value of the history in family, community and country 2. Promotion of the Ethics according to the Catholic Church for local people 2.1 By supporting continuously the elderly in the role of the elderly to promote the Ethics according to the Catholic Church for local people, especially by transferring and supporting the faith to the descendants and community. 2.2 By opening widely to the elderly in the responsibility in the liturgy and joining in a celebration of church or nearby churches. 2.3 By supporting the participation of the elderly with other aged persons, such as youths, in the public devotion such as visiting the sick persons. 2.4 By supporting the elderly for sharing, transferring widely knowledge or folklore wisdom to the youth in their own community and the other community such as Tena-koo (Karen Guitar), singing the folk rhythm, sword dance, spear dance, weaving and basketry. 2.5 By openng widely to the elderly in the participation and the role to develop the community. 2.6 By providing facilities to the elderly such as wheelchair for the elderly who have limitations in travelling.
ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2020/2563 147
บทบาทและการปฏิบตั ติ ามบทบาทของผูส้ งู อายุในการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม ตามหลักคำ�สอนพระศาสนจักรคาทอลิกสำ�หรับชุมชนคริสตชน กรณีศกึ ษาชมรมผูส้ งู อายุ วัดนักบุญยอห์น บัปติสต์ แม่โถ จังหวัดแม่ฮอ่ งสอน สังฆมณฑลเชียงใหม่
Keyword: - Role - Elderly - Moral and Ethics/ - The Teaching of The Catholic Church - Catholic Communities - The Elderly Group of St.John The Baptist Church, Maetho, Mae Hong Son, Chiang Mai Dioces.
148 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
นนทชัย ริทู, พิเชฐ แสงเทียน, ชาติชาย พงษ์ศิริ และลัดดาวรรณ์ ประสูตร์แสงจันทร์
ความเป็นมาและความส�ำคัญของปัญหา ผู้สูงอายุคือ “ความทรงจ�ำที่มีชีวิตของ ครอบครัว” (AMORIS LAETITIA: ข้อ 193) เป็นความทรงจ�ำที่ส่งต่อไปสู่คนอีกรุ่นหนึ่ง ให้ เห็ น ถึ ง ความต่ อ เนื่ อ งของชนรุ ่ น ต่ า งๆ และ แสดงให้เห็นถึงการพึ่งพิงกันอย่างน่าอัศจรรย์ ในการแลกเปลี่ยนพระพร เพราะผู้สูงอายุนั้น ได้นำ� เอาคุณค่าทางศาสนาและศีลธรรม ซึง่ เป็น ความอุดมของชีวิตจิตให้แก่ชุมชนคริสตชน ครอบครั ว และสั ง คมโลก (คณะกรรมการ คาทอลิกเพื่อผู้สูงอายุ, 2003) ในปัจจุบัน ความเจริญก้าวหน้าในด้าน เทคโนโลยีได้มกี ารพัฒนาอย่างรวดเร็วเกือบทุก ด้าน ซึ่งความก้าวหน้าทางด้านการแพทย์และ และสาธารณสุขเป็นอีกปัจจัยหนึ่ง ที่ช่วยให้ ชีวติ ของมนุษย์ดขี นึ้ การคิดค้นนวัตกรรมใหม่ๆ วิ ธี ก ารใหม่ ๆ ที่ช่วยในการเยียวยาและการ รักษา มีผลท�ำให้มนุษย์มีอายุที่ยืนยาวขึ้นและ มีสุขภาพอนามัยที่ดีขึ้นอย่างมากอีกด้วย และ ข้อมูลของสหประชาชาติ (ยูเอ็น) ระบุว่า เมื่อ ปี พ.ศ. 2493 ประชากรที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปี ขึ้นไปทั่วโลกมีอยู่ประมาณ 205 ล้านคน ในปี พ.ศ. 2555 เพิม่ เป็น 810 ล้านคน และคาดว่า จะเพิ่มเป็นมากกว่า 1,000 ล้านคนภายในปี พ.ศ. 2565 และพอถึง ปี พ.ศ. 2593 จ�ำนวน ประชากรโลกวั ย 60 ขึ้ น ไป จะเพิ่ ม ขึ้ น อี ก เป็น 2 เท่าตัวคือมากถึง 2,000 ล้านคน (โลก
กับความท้าทายของสังคมผู้สูงอายุ: 2551) ส�ำหรับประเทศไทยนั้น ส�ำนักสถิติแห่งชาติ (National Statistical Office) ได้ระบุถงึ สถิติ ของผู้สูงอายุจากการส�ำรวจประชากรไทยที่มี จ�ำนวนทัง้ หมด 67.6 ล้านคน ในปี พ.ศ. 2560 เป็นชาย 33 ล้านคน และหญิง 34.6 ล้านคน ประชากร 60 ปีขึ้นไปมีจ�ำนวน 11.3 ล้านคน คิดเป็นร้อยละ 16.7 ของประชากรทั้งหมด และตามการคาดประมาณประชากรของ ส�ำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ (สคช.) ได้มกี ารประมาณไว้ ว่าในปี พ.ศ. 2564 นั้น ประเทศไทยจะเข้าสู่ “สั ง คมสู ง วั ย อย่ า งสมบู ร ณ์ ” (Complete aged society) ในสัดส่วนร้อยละ 20 ของ ประชากรทั้ ง หมด และในปี พ.ศ. 2574 ประเทศไทยจะเข้าสู่ “สังคมสูงวัยระดับสุด ยอด” (Super aged society) เมื่อประชากร อายุ 60 ปีขึ้นไป มีสัดส่วนสูงถึง ร้อยละ 28 ของประชากรทัง้ หมด (กุลพรภัสร์ จิระประไพ, 2561 ) และองค์การอนามัยโลกมีการประเมิน ว่า ในปี พ.ศ. 2583 ประเทศไทยจะมีสัดส่วน จ� ำ นวนผู ้ สู ง อายุ ม ากที่ สุ ด ในโลก ในขณะที่ เทคโนโลยีในด้านต่างๆ รอบตัวมนุษย์เจริญ ก้าวหน้ามากขึ้นอย่างรวดเร็ว แต่ความเจริญ ทางด้ า นคุ ณ ธรรมศี ล ธรรมในตั ว มนุ ษ ย์ ดู จ ะ สวนทางกันอย่างมากเช่นเดียวกัน ดังจะเห็นได้ จากข่าวการปล้นฆ่า ทะเลาะวิวาท ท�ำร้าย โกง
ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2020/2563 149
บทบาทและการปฏิบตั ติ ามบทบาทของผูส้ งู อายุในการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม ตามหลักคำ�สอนพระศาสนจักรคาทอลิกสำ�หรับชุมชนคริสตชน กรณีศกึ ษาชมรมผูส้ งู อายุ วัดนักบุญยอห์น บัปติสต์ แม่โถ จังหวัดแม่ฮอ่ งสอน สังฆมณฑลเชียงใหม่
คอรัปชั่น ฯลฯ ในสื่อต่างๆ เป็นประจ�ำทุกวัน แสดงถึงความตกต�่ำ ทางด้านคุณธรรมจริย ธรรมของผู้คนในสังคม ไม่ว่าจะนับถือศาสนา ใดก็ตาม การที่จะอบรมสั่งสอนให้บุคคลใน สังคมในยุคปัจจุบันมีคุณธรรมจริยธรรมตาม หลักค�ำสอนของศาสนา ย่อมเป็นสิ่งที่ส�ำคัญ และเป็นความต้องการจ�ำเป็นที่มาเป็นอันดับ ต้นๆ ในการพัฒนามนุษย์ในยุคปัจจุบนั บุคคล ทีจ่ ะมีบทบาท ในการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม ให้แก่บุคคลในครอบครัวและชุมชนได้อย่างดี กลุ่มหนึ่งก็คือ กลุ่มผู้สูงอายุ เพราะเป็นผู้ที่อยู่ ใกล้ชิดกับบุคคลในครอบครัวและชุมชนมาก ทีส่ ดุ เป็นผูถ้ งึ พร้อมด้วยคุณวุฒแิ ละวัยวุฒ ิ เป็น ผู้ที่มีประสบการณ์ มองเห็นชีวิต ความเป็นมา เป็นไปของชุมชนยาวนานกว่ากลุ่มอื่น ในเว็ บ ไซต์ Pope Report (2015: ออนไลน์) ได้พูดถึงมุมมองของพระศาสนจักร สากลในยุคปัจจุบนั ซึง่ พระสันตะปาปาฟรังซิส เรียกร้องให้ดูแลเอาใจใส่และเคารพในคุณค่า และศักดิศ์ รีของผูส้ งู อายุทกุ คน เพราะผูส้ งู อายุ คือ “คลังปัญญาของสังคม” และพระสันตะปาปา ยังได้พูดถึงบทบาทของผู้สูงอายุ ในปัจจุบันว่า ผู้สูงอายุคือช่วงเวลาแห่งพระหรรษทาน ซึ่ง พระเจ้าได้ทรงเรียกพวกเขาให้ปกปักรักษา ความเชื่อและส่งต่อความเชื่อให้กับบรรดาลูก หลาน และพระสันตะปาปายังกล่าวถึงจุดยืน ของพระศาสนจักรว่า "พระศาสนจักรจะเดิน
150 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
เคียงข้างผู้สูงอายุด้วยความส�ำนึกในพระคุณ และความรักที่ท่านเหล่านั้นมีให้” ในพระศาสนจั ก รท้ อ งถิ่ น นั้ น แผนก สุขภาพอนามัย คณะกรรมการคาทอลิกเพื่อ การพัฒนาสังคม (Catholic Commission for Social Development Desk for Health Pastoral Care - CHC) ได้จดั ตัง้ คณะ อนุกรรมการคาทอลิกเพื่อผู้สูงอายุ ในวันที่ 29 ธันวาคม พ.ศ. 2533 โดยมีชอื่ เป็นทางการ ว่า “ชมรมเครื อ ข่ า ยผู ้ สู ง อายุ ค าทอลิ ก แห่ ง ประเทศไทย” เพือ่ ให้วดั คาทอลิกทุกแห่งจัดตัง้ กลุ่มผู้สูงอายุในแต่ละวัด และการจัดตั้งกลุ่ม ผู้สูงอายุในสังฆมณฑลต่างๆ โดยมีจุดมุ่งหมาย เพื่อการอภิบาลผู้สูงอายุ ในด้านต่างๆ และส่ง เสริมให้ผู้สูงอายุได้เข้ามามีส่วนร่วมในงานของ พระศาสนจักรและกิจกรรมอันเป็นประโยชน์ ต่อสังคม อีกทัง้ ยังเป็นการร่วมมือและประสาน งานกับหน่วยงานต่างๆ ทัง้ ภายในและภายนอก ประเทศ เพือ่ จะได้ปฏิบตั งิ านอย่างเข้มแข็งและ ด�ำเนินงานเป็นไปในทิศทางเดียวกันตามเจตนา รมณ์ ของพระศาสนจักร วัดนักบุญยอห์น บัปติสต์ แม่โถ ของ สังฆมณฑลเชียงใหม่ เป็นวัดหนึ่งที่ให้ความ ส�ำคัญกับการอภิบาลผู้สูงอายุและการส่งเสริม ให้ผู้สูงอายุมีบทบาทต่อชุมชน อีกทั้งมีการจัด ตั้งชมรมผู้สูงอายุ โดยมีชื่อว่า “ชมรมผู้สูงอายุ โบสถ์นักบุญยอห์น บัปติสต์ แม่โถ” ซึ่งเป็น
นนทชัย ริทู, พิเชฐ แสงเทียน, ชาติชาย พงษ์ศิริ และลัดดาวรรณ์ ประสูตร์แสงจันทร์
ความร่วมมือกันทัง้ ทางศาสนา และทางภาครัฐ ได้แก่ หน่วยงานส�ำนักงานกองทุนสนันสนุน การสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ในโครงการขับ เคลื่อนและพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุที่ ต้องการให้รับมือกับการเปลี่ยนแปลงของโลก และเสริมสร้างสุขภาพทีด่ ใี ห้อยูค่ ชู่ มุ ชนได้อย่าง มีพลัง โดยมีคำ� ขวัญว่า “สูงวัย สูงคุณค่า” การ รวมกลุ่มกันนี้เป็นการให้เห็นภาพของผู้สูงอายุ ที่เป็นผู้รักษาความทรงจ�ำที่มีร่วมกัน เพื่อเป็น ผู้ที่ชี้น�ำชีวิตสังคม เพราะจากประสบการณ์ ความเป็นผูใ้ หญ่ของผูส้ งู อายุนนั้ ท�ำให้ผสู้ งู อายุ เป็นแบบอย่างในการด�ำเนินชีวิตที่ดี และเป็น ผูใ้ ห้คำ� แนะน�ำค�ำชีแ้ นะในด้านต่างๆ ให้กบั บุตร หลานหรื อ บุ ค คลในครอบครั ว ชุ ม ชน โดย เฉพาะในเรื่ อ งของการด� ำ เนิ น ชี วิ ต อย่ า งมี คุณธรรมจริยธรรม ผูส้ งู อายุจงึ ได้รบั การยกย่อง ให้เป็น “สารานุกรมแห่งปรีชาญาณ ที่มีชีวิต” “ผู้รักษาทรัพย์สมบัติล�้ำค่าของประสบการณ์ และจิตวิญญาณของมนุษย์” หนังสือบุตรสิรา กล่ า วให้ เห็ น ถึงความส�ำคัญของผู้สูงอายุว่า “จงอย่ามองข้ามค�ำสัง่ สอนของบรรดาผูอ้ าวุโส เพราะเขา ก็เรียนรู้มาจากบรรพบุรุษ” “ท่าน จงไปอยู่ในกลุ่มของบรรดาผู้อาวุโส ถ้าผู้ใดมี ปรีชาญาณ ก็จงไปอยูใ่ กล้ชดิ กับเขา” “สิง่ ทีน่ า่ ชื่นชมยิ่งคือ ปรีชาญาณของผู้ชรา การรู้จัก ไตร่ตรองและการตัดสินใจ มงกุฎของผู้ชรา คือ ประสบการณ์มากมาย ความภูมใิ จของเขา
คือ ความย�ำเกรงองค์พระผู้เป็นเจ้า” (บสร 8:9; 6:34; 25:5-6 ) (John Paul II, 1999: online) ผูว้ จิ ยั จึงสนใจทีจ่ ะศึกษาเรือ่ ง “บทบาท และการปฏิบตั ติ ามบทบาทของผูส้ งู อายุในการ ส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม ตามหลักค�ำสอน พระศาสนจั ก รคาทอลิ ก แก่ ชุ ม ชนคริ ส ตชน กรณี ศึ ก ษาชมรมผู ้ สู ง อายุ วั ด นั ก บุ ญ ยอห์ น บัปติสต์ แม่โถ จังหวัดแม่ฮอ่ งสอน สังฆมณฑล เชียงใหม่” ซึ่งเป็นชมรมผู้สูงอายุที่มีความเข้ม แข็งและสมาชิกทัง้ หมดเป็นชนเผ่าปกาเกอะญอ ทัง้ หมด อีกทัง้ ชมรมผูส้ งู อายุนยี้ งั มีลกั ษณะเด่น ในด้านการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมศาสนา และความเชื่อ ศิลปวัฒธรรมของชนเผ่าและ การอนุรักษ์ธรรมชาติอีกด้วย วัตถุประสงค์ของการวิจัย 2.1 เพื่อศึกษาบทบาทและการปฏิบัติ ตามบทบาทของผู ้ สู ง อายุ ใ นการส่ ง เสริ ม คุ ณ ธรรม จริ ย ธรรม ตามหลั ก ค� ำ สอนพระ ศาสนจั ก รคาทอลิ ก แก่ ชุ ม ชนคริ ส ตชน วั ด นักบุญยอห์น บัปติสต์ แม่โถ 2.2 เพื่ อ ศึ ก ษาแนวทางการส่ ง เสริ ม บทบาทและการปฏิ บั ติ ต ามบทบาทของผู ้ สู ง อายุ ใ นการส่ ง เสริ ม คุ ณ ธรรม จริ ย ธรรม ตามหลักค�ำสอนพระศาสนจักรคาทอลิกแก่ ชุมชนคริสตชน วัดนักบุญยอห์น บัปติสต์ แม่โถ
ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2020/2563 151
บทบาทและการปฏิบตั ติ ามบทบาทของผูส้ งู อายุในการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม ตามหลักคำ�สอนพระศาสนจักรคาทอลิกสำ�หรับชุมชนคริสตชน กรณีศกึ ษาชมรมผูส้ งู อายุ วัดนักบุญยอห์น บัปติสต์ แม่โถ จังหวัดแม่ฮอ่ งสอน สังฆมณฑลเชียงใหม่
ขอบเขตของการวิจยั 1. กรอบแนวความคิด หลักค�ำสอนพระศาสนจักรคาทอลิก เกี่ยวกับผู้สูงอายุ
บทบาทและการปฏิบัติตามบทบาทของ ผู้สูงอายุในการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม ตามหลักค�ำสอนพระศาสนจักรคาทอลิก แก่ชุมชนคริสตชน แนวทางการส่งเสริมบทบาทและการปฏิบัติ ตามบทบาทของผู้สูงอายุในการส่งเสริม คุณธรรม จริยธรรมตามหลักค�ำสอน พระศาสนจักรคาทอลิก
2. ขอบเขตด้านกลุ่มผู้ให้ข้อมูล 2.1 ประชากร คือ บุคคลซึ่งมีอายุเกิน 60 ปีขนึ้ ไปในหมูท่ ี่ 3 บ้านแม่โถกลาง และเป็น สมาชิกของชมรมผู้สูงอายุ วัดนักบุญยอห์น บัปติสต์ แม่โถ ซึ่งมีสมาชิกจ�ำนวน 65 คน 2.2 กลุม่ ผูใ้ ห้ขอ้ มูลในการศึกษาบทบาท ของกลุ ่ ม ผู ้ สู ง อายุ ในการส่ ง เสริ ม คุ ณ ธรรม จริยธรรมแก่ชุมชนคริสตชน ตามหลักค�ำสอน พระศาสนจักรคาทอลิก ตามวัตถุประสงค์ข้อ 1 คือ 1) ประธานชมรมผูส้ งู อายุ จ�ำนวน 1 คน 2) ผู้สูงอายุ ที่เป็นสมาชิกชมรมผู้สูงอายุวัด นักบุญยอห์น บัปติสต์ แม่โถด้วย จ�ำนวน 7 คน ได้มาโดยวิธีการเลือกแบบเจาะจง
152 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
2.3 กลุ่มผู้ให้ข้อมูลในการศึกษาแนว ทางการส่งเสริมบทบาทของผู้สูงอายุ ในการ ส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมแก่ชุมชนคริสตชน ตามวั ต ถุ ป ระสงค์ ข ้ อ 2 คื อ ผู ้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ จ�ำนวน 8 คน โดยวิธีเลือกแบบเจาะจง ตาม บทบาทหน้าที่ ประกอบด้วย 1) เจ้าอาวาส วัดนักบุญยอห์นบัปติสต์ แม่โถ จ�ำนวน 1 คน 2) ประธานชมรมผู ้ สู ง อายุ จ� ำ นวน 1 คน 3) ผู้สูงอายุ ที่เป็นสมาชิกชมรมผู้สูงอายุวัด นักบุญยอห์น บัปติสต์ แม่โถด้วย จ�ำนวน 1 คน 4) ผู้ใหญ่บ้าน จ�ำนวน 1 คน 5) ประธาน สภาภิบาล วัดนักบุญยอห์น บัปติสต์ แม่โถ
นนทชัย ริทู, พิเชฐ แสงเทียน, ชาติชาย พงษ์ศิริ และลัดดาวรรณ์ ประสูตร์แสงจันทร์
จ�ำนวน 1 คน 6) ครูค�ำสอน วัดนักบุญยอห์น บัปติสต์ แม่โถ จ�ำนวน 1 คน 7) เจ้าหน้าทีข่ อง องค์การบริหารส่วนต�ำบล จ�ำนวน 1 คน และ 8) เจ้าหน้าที่สาธารณสุข ต�ำบลแม่โถ จ�ำนวน 1 คน นิยามศัพท์เฉพาะ บทบาท หมายถึง การปฏิบัติตามสิทธิ หน้าที่ ในการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมตาม หลักค�ำสอนพระศาสนจักรคาทอลิกแก่ชุมชน คริสตชน ใน 5 ด้านประกอบด้วย 1) การส่ง เสริมและถ่ายทอดความเชื่อ 2) การส่งเสริม ความกล้าหาญ 3) การส่งเสริมการเข้าร่วมใน พิธีกรรมและปฏิบัติศาสนกิจ 4) การส่งเสริม กิจกรรมภายในชุมชนคริสตชน และ 5) การส่ง เสริมวัฒนธรรมประเพณี ผู้สูงอายุ หมายถึง บุคคลซึ่งมีอายุเกิน 60 ปีบริบรู ณ์ขนึ้ ไป และเป็นสมาชิกของชมรม ผู้สูงอายุโบสถ์นักบุญยอห์น บัปติสต์ แม่โถ ซึ่งมีสมาชิกจ�ำนวน 65 คน คุณธรรม จริยธรรม ตามหลักค�ำสอน พระศาสนจักรคาทอลิก หมายถึง หลักของ ความดีความงาม ความถูกต้อง ซึ่งจะแสดง ออกมาโดยการกระท� ำ ทางกาย วาจาและ จิตใจของแต่ละบุคคล ตามหลักค�ำสอนของ ศาสนาคริสต์ นิกายโรมันคาทอลิก
ชุ ม ชนคริ ส ตชน หมายถึ ง คริ ส ตชน ในหมู ่ บ ้ า นแม่ โ ถกลาง ต� ำ บลแม่ โ ถ อ� ำ เภอ แม่ลาน้อย จังหวัดแม่ฮ่องสอน ชมรมผู ้ สู ง อายุ โ บสถ์ นั ก บุ ญ ยอห์ น บัปติสต์ แม่โถ จังหวัดแม่ฮ่องสอน หมายถึง กลุ่มบุคคลของโบสถ์นักบุญยอห์น บัปติสต์ แม่โถ ซึ่งเป็นกลุ่มบุคคลเฉพาะผู้สูงอายุที่อยู่ อาศัยอยู่ในหมู่ที่ 3 หมู่บ้านแม่โถกลาง ต�ำบล แม่โถ อ�ำเภอแม่ลาน้อย จังหวัดแม่ฮ่องสอน และเป็นสมาชิกของชมรมผูส้ งู อายุโบสถ์นกั บุญ ยอห์น บัปติสต์ แม่โถ และกลุ่มบุคคลนี้ได้รับ การขึ้นทะเบียนเป็นชมรมอย่างเป็นทางการ จากสมาคมสภาผู้สูงอายุแห่งประเทศไทยใน พระบรมราชูปถัมภ์สมเด็จพระศรีนครินทรา บรมราชชนนี ประจ�ำจังหวัดแม่ฮ่องสอน เมื่อ วันที่ 20 พฤษภาคม พ.ศ. 2558 และได้เข้า ร่วมโครงการโรงเรียนผู้สูงอายุของส�ำนักงาน กองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) สังฆมณฑลเชียงใหม่ หมายถึง เขตการ ปกครองของศาสนาคริสต์ นิกายโรมันคาทอลิก มีอาณาเขตครอบคลุม 4 จังหวัด ได้แก่ จังหวัด เชียงใหม่ จังหวัดล�ำปาง จังหวัดล�ำพูน และ จังหวัดแม่ฮ่องสอน
ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2020/2563 153
บทบาทและการปฏิบตั ติ ามบทบาทของผูส้ งู อายุในการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม ตามหลักคำ�สอนพระศาสนจักรคาทอลิกสำ�หรับชุมชนคริสตชน กรณีศกึ ษาชมรมผูส้ งู อายุ วัดนักบุญยอห์น บัปติสต์ แม่โถ จังหวัดแม่ฮอ่ งสอน สังฆมณฑลเชียงใหม่
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 1. แบบสั ม ภาษณ์ แ บบกึ่ ง โครงสร้ า ง (Semi – Structured interview) จ�ำนวน 1 ชุด เพื่อการศึกษาบทบาทและการปฏิบัติ ตามบทบาทของผู ้ สู ง อายุ ใ นการส่ ง เสริ ม คุ ณ ธรรม จริ ย ธรรม ตามหลั ก ค� ำ สอนพระ ศาสนจักรคาทอลิกแก่ชุมชนคริสตชน 2. ประเด็นการสนทนากลุ่มเพื่อศึกษา แนวทางส่งเสริม บทบาทและการปฏิบัติตาม บทบาทของผู้สูงอายุ ในการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมแก่ชุมชนคริสตชน การสร้างและการพัฒนาเครื่องมือ ผู้วิจัยด�ำเนินการสร้างเครื่องมือตามขั้น ตอน ดังนี้ 1. ศึกษาวิเคราะห์เอกสารและงานวิจัย ที่เกี่ยวข้อง เพื่อน�ำมาใช้ในการสร้างเครื่องมือ ที่ใช้ในการศึกษาวิจัย 2. น�ำข้อมูลทีไ่ ด้ศกึ ษามาสร้างเป็นแบบ สั มภาษณ์ แ บบกึ่งโครงสร้าง (semi-structured interview) และประเด็นการสนทนา กลุ่ม 3. น�ำแบบสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง และประเด็นการสนทนากลุม่ ทีไ่ ด้สร้างขึน้ เพือ่ น�ำเสนออาจารย์ที่ปรึกษา ปรับปรุงแก้ไขตาม ค�ำแนะน�ำของอาจารย์ที่ปรึกษา แล้วน�ำเสนอ ผู้เชี่ยวชาญ 3 คน เพื่อตรวจสอบ พิจารณา และแก้ไขตามค�ำแนะน�ำของผู้เชี่ยวชาญ 154 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
4. น�ำแบบสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง ไปใช้ในการเก็บข้อมูลจากกลุ่มผู้ให้ข้อมูล และ ประเด็นการสนทนากลุ่มไปใช้ในการสนทนา กลุ่มกับผุ้ทรงคุณวุฒิ การวิเคราะห์ข้อมูล และสถิติที่ใช้ 1. การวิเคราะห์ขอ้ มูล มีขนั้ ตอนในการ ด�ำเนินการดังนี้ 1.1 ผู้วิจัยด�ำเนินตรวจสอบทบทวน ความครบถ้วนของข้อมูลที่ได้รับ 1.2 ผูว้ จิ ยั น�ำข้อมูลทีไ่ ด้รบั มาวิเคราะห์ สังเคราะห์ และเรียบเรียงอย่างเป็นระบบ 2. สถิติที่ใช้ 2.1 การวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานของ กลุ่มผู้ให้ข้อมูล ใช้ค่าความถี่ (Frequencies) ค่าร้อยละ (Percentage: %) 2.2 การวิ เ คราะห์ ข ้ อ มู ล จากการ สั ม ภาษณ์ และจากการสนทนากลุ ่ ม ใช้ ค ่ า ความถี่ (frequencies) ทางความคิดเห็นมา ประกอบการวิเคราะห์และสังเคราะห์เนื้อหา (content analysis and content synthesis) ผลการวิจัย 1. ผู้สูงอายุชมรมผู้สูงอายุ วัดนักบุญ ยอห์น บัปติสต์ แม่โถ มีบทบาทในการส่งเสริม คุณธรรมจริยธรรมแก่ชุมชนคริสตชน 5 ด้าน ประกอบด้วย 1) การส่งเสริมและถ่ายทอด ความเชื่อ โดยการถ่ายทอดความเชื่อ การเอา
นนทชัย ริทู, พิเชฐ แสงเทียน, ชาติชาย พงษ์ศิริ และลัดดาวรรณ์ ประสูตร์แสงจันทร์
ใจใส่อบรมสัง่ สอน และการเป็นแบบอย่างด้าน ความเชือ่ ใน การประกาศข่าวดี 2) การส่งเสริม ความกล้าหาญ โดยการเป็นสักขีพยาน การ อุ ทิ ศ ตนและการกล้ า เผชิ ญ ความทุ ก ข์ และ ความตายด้วยความวางใจในพระเจ้า 3) การส่ง เสริมการเข้าร่วมในพิธีกรรมและการปฏิบัติ ศาสนกิจ โดยการส่งเสริมการมีส่วนร่วมใน พิ ธี ก รรม แก้ บ าป รั บ ศี ล ร่ ว มกิ จ กรรมของ ชุ มชนคริ ส ตชน จาริก แสวงบุญ ร�ำพึง และ ภาวนา 4) การส่งเสริมกิจกรรมภายในชุมชน โดยการอุ ทิ ศ ตน สร้ า งความสั ม พั น ธ์ อั น ดี สนับสนุนกิจกรรมของชุมชน และเปิดรับผู้อื่น ด้วยความเคารพ 5) การส่งเสริมวัฒนธรรม ประเพณี โดยการรักษาวัฒนธรรมประเพณี ส่งเสริมการแต่งกายชุดประจ�ำเผ่า ถ่ายทอด เอกลักษณ์ ความรู้และภูมิปัญญาพื้นบ้านของ ชุ ม ชน และปลุ ก จิ ต ส� ำ นึ ก ในคุ ณ ค่ า ประวั ติ ศาสตร์ของครอบครัว ชุมชน และประเทศชาติ 2. แนวทางการส่งเสริมบทบาทและการ ปฏิบัติตามบทบาทของผู้สูงอายุในการส่งเสริม คุณธรรมจริยธรรมตามหลักค�ำสอนพระศาสน จักรคาทอลิกแก่ชุมชนคริสตชน 2.1 ส่งเสริมให้กลุม่ ผูส้ งู อายุมบี ทบาท ในการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมตามหลักค�ำ สอนพระศาสนจักรคาทอลิกแก่ชมุ ชนคริสตชน อย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะการเป็นแบบอย่างที่ ดีในด้านคุณธรรม การถ่ายทอดความเชือ่ และ การเสริมสร้างความเชื่อให้กับลูกหลานและ ชุมชน
2.2 เปิดโอกาสให้กลุ่มผู้สูงอายุได้มี ส่วนรับผิดชอบในพิธกี รรม และมีโอกาสไปร่วม ฉลองวัดหรือฉลองในโอกาสพิเศษต่างๆ ที่วัด ใกล้เคียงจัดขึ้น 2.3 สนับสนุนการร่วมมือกันระหว่าง กลุ่มผู้สูงอายุและกลุ่มอื่นๆ เช่น กลุ่มเยาวชน เป็นต้น ในการเสียสละอุทิศตนเพื่อส่วนรวม เช่น การเยี่ยมผู้ป่วย 2.4 ส่งเสริมให้กลุม่ ผูส้ งู อายุได้มโี อกาส ในการแบ่งปัน ถ่ายทอดความรู้ ภูมิปัญญา แก่เยาวชน ชุมชน และสังคมในวงกว้างมากขึน้ เช่น ความสามารถในการเล่นเตหน่า การขับ ล�ำน�ำ การร�ำดาบ ร�ำกระบอง การตัดเย็บเสื้อ ผ้า และการจักสาน 2.5 เปิดโอกาสให้กลุม่ ผูส้ งู อายุ มีสว่ น ร่วมและมีบทบาทในการพัฒนาชุมชน 2.6 จั ด หาอุ ป กรณ์ สิ่ ง อ� ำ นวยความ สะดวกแก่ผสู้ งู อายุ เช่น รถเข็น (Wheelchair) ส�ำหรับผู้สูงอายุที่มีข้อจ�ำกัดในการเดินทาง อภิปรายผล จากผลการศึกษาเรื่องบทบาทและการ ปฏิบัติตามบทบาทของผู้สูงอายุในการส่งเสริม คุณธรรมจริยธรรมตามหลักค�ำสอนพระศาสน จักรคาทอลิกแก่ชุมชนคริสตชน กรณีศึกษา ชมรมผูส้ งู อายุ วัดนักบุญยอห์น บัปติสต์ แม่โถ จังหวัดแม่ฮ่องสอน สังฆมณฑลเชียงใหม่ มี ประเด็นส�ำคัญที่สามารถน�ำมาอภิปรายผลได้ ดังนี้
ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2020/2563 155
บทบาทและการปฏิบตั ติ ามบทบาทของผูส้ งู อายุในการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม ตามหลักคำ�สอนพระศาสนจักรคาทอลิกสำ�หรับชุมชนคริสตชน กรณีศกึ ษาชมรมผูส้ งู อายุ วัดนักบุญยอห์น บัปติสต์ แม่โถ จังหวัดแม่ฮอ่ งสอน สังฆมณฑลเชียงใหม่
1. บทบาทด้านการส่งเสริมและถ่าย ทอดความเชื่อ จากการสัมภาษณ์กลุ่มผู้ให้ ข้อมูล สรุปได้ว่า ชมรมผู้สูงอายุ วัดนักบุญ ยอห์ น บั ป ติ ส ต์ แม่ โ ถ จั ง หวั ด แม่ ฮ ่ อ งสอน สังฆมณฑลเชียงใหม่ ได้ปฏิบตั ติ ามบทบาทที ่ 1 การส่งเสริมและถ่ายทอดความเชือ่ ให้แก่ชมุ ชน คริสตชน โดยการถ่ายทอดความเชือ่ การเอาใจ ใส่ต่อความเชื่อ การอบรมสั่งสอนให้รู้จักติด ตามพระเยซูคริสตเจ้า และการเป็นแบบอย่าง ทีด่ ใี นความเชือ่ นัน้ เป็นการแสดงออกโดยผ่าน ทางการเข้าวัด การร่วมมิสซา การสวดภาวนา และการเป็นตัวอย่าง ซึ่งเป็นการเน้นให้ลูก หลานคิดถึงพระเจ้าเสมอทั้งลูกหลานที่อยู่ใน หมู่บ้าน หรือลูกหลานที่ไปเรียนหรือไปท�ำงาน ที่ อื่ น และจะตั ก เตื อ นให้ คิ ด ถึ ง พระเจ้ า ใน ทุกกิจการต่างๆ ของชีวิต ส่วนการแพร่ธรรม การประกาศข่าวดีแก่ผู้สูงอายุและวัยอื่นๆ นั้น ได้ใช้โอกาสในการประชุมร่วมกันของชมรม ผู้สูงอายุ โดยผ่านทางการแบ่งปันพระวาจา การเป็นวิทยากร และการพูดคุยกันระหว่าง ผู้สูงอายุด้วยกัน ที่เป็นเช่นนี้อาจเป็นเพราะ วัฒนธรรมความเป็นอยู่ของครอบครัวไทยใน สมัยปัจจุบนั ยังมีความสัมพันธ์กนั อย่างใกล้ชดิ ระหว่างพ่อแม่ปยู่ า่ ตายายและลูกหลาน รวมทัง้ ความสัมพันธ์ทดี่ ตี อ่ กันระหว่างญาติพนี่ อ้ งหรือ เพื่อนบ้านใกล้เคียง โดยเฉพาะในสังคมชนบท อย่างชุมชนแม่โถ ปูย่ า่ ตายาย ผูส้ งู อายุมโี อกาส
156 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
ได้อยู่ใกล้ชิดลูกหลาน ได้ถ่ายทอดความเชื่อ ทีต่ นเองมีสลู่ กู หลานเหมือนทีต่ นเองก็ได้รบั การ ถ่ายทอดความเชื่อมาจากรุ่นพ่อแม่ปู่ย่าตายาย เช่นเดียวกัน เป็นการถ่ายทอดโดยค�ำกล่าวสอน การปลูกฝัง หรือการเป็นแบบอย่างของผู้สูง อายุ จึงเป็นสิ่งที่มีคุณค่าและเป็นประโยชน์ต่อ ครอบครัวและสังคม การส่งเสริมและถ่ายทอด ความเชื่อนั้น จึงเป็นสิ่งที่ส�ำคัญมากส�ำหรับชุม ชนคริสตชนดัง้ เดิมทีไ่ ด้รบั ความเชือ่ แบบอย่าง ของผู้สูงอายุจึงเป็นการตระหนักถึงบทบาทที่ เหมือนกับอับราฮัมทีเ่ ป็น “บิดาแห่งความเชือ่ ” ที่มีความเชื่อจนยอมแม้แต่จะถวายบุตรชาย แด่พระเจ้า (ปฐก 22:1-19) และการยอมถวาย ทุกสิ่งนี้แหละจึงเป็น “ตัวอย่างของความเชื่อ” (ทัศไนย์ คมกฤษ, 2012) และตามที่พระสมณ ลิขิตถึงผู้สูงอายุ (Letter to the Elderly) ได้เน้นย�้ำว่าชุมชนคริสตชนจะได้รับประโยชน์ จากผู้สูงอายุ เช่น “การประกาศข่าวดี” ซึ่งใน หลายครอบครัวนั้น ผู้สูงอายุมีบทบาทในการ เป็นผู้สอน ความเชื่อให้กับลูกหลาน (คณะ กรรมการคาทอลิกเพื่อผู้สูงอายุ, 2003) การ สอนความเชือ่ จึงออกมาในรูปแบบของการบอก กล่าวตักเตือน การอบรมสั่งสอน การเอาใจใส่ ต่อความเชือ่ และสิง่ ทีส่ ำ� คัญทีส่ ดุ คือ “การเป็น แบบอย่างของความเชือ่ ” เช่นเดียวกับอับราฮัม ซึ่งในพระสมณลิขิตเตือนใจ “จงชื่นชมยินดี เถิด” (Gaudete et Exsutate) ยังได้กล่าวว่า
นนทชัย ริทู, พิเชฐ แสงเทียน, ชาติชาย พงษ์ศิริ และลัดดาวรรณ์ ประสูตร์แสงจันทร์
“บุคคลใดทีเ่ ป็นพ่อแม่ และปูย่ า่ ตายาย” (ผูส้ งู อายุ) เขาย่อมเป็นผูศ้ กั ดิส์ ทิ ธิไ์ ด้โดยการมีความ มานะในการอบรมสั่ ง สอนลู ก หลานให้ รู ้ จั ก ติดตามพระคริสตเจ้า (GE.14) ดังนัน้ บทบาท ของผู้สูงอายุในชมรมจึงแสดงออกมาในแนว ทางของค�ำสอนพระศาสนจักร และแสดงออก มาเป็นรูปธรรมในชุมชนด้วย สอดคล้องกับใน เอกสารพระศาสนจักรเรือ่ งศักดิศ์ รีของผูส้ งู อายุ และภารกิจในพระศาสนจักรและในโลก (The Dignity of Older People and Their Mision in the Church and in the World) ที่ได้ระบุเสริมว่า “บรรดาผู้สูงอายุไม่เพียงแต่ เป็นผู้รับการดูแลอภิบาลจากพระศาสนจักร เท่านัน้ แต่ยงั เป็นผูแ้ พร่ธรรมทีไ่ ม่มใี ครทดแทน ได้ โดยเฉพาะคนทีอ่ ยูใ่ นวัยเดียวกัน เพราะไม่มี ใครคุน้ เคยกับปัญหาและความรูส้ กึ เท่าผูส้ งู อายุ ด้วยกันเอง นี่จึงเป็น การประกาศพระวรสาร โดยตรงแก่ผู้อื่น และแก่ชนรุ่นใหม่ คือ รุ่นลูก และรุน่ หลาน” (Pontifical Council for the Laity documents, 1998) ดังนั้น การแพร่ ธรรมโดยเฉพาะการถ่ายทอด ความเชื่อให้แก่ คริสตชนจึงเป็นบทบาททีผ่ สู้ งู อายุ ได้ตระหนัก และปฏิบัติในชีวิตประจ�ำวัน ทั้งในชมรมผู้สูง อายุ และแก่ชุมชนคริสตชน เป็นแบบอย่าง ที่จะส่งเสริมให้บรรดาบุตรหลานตระหนักใน เรื่องดังกล่าว เพื่อจะได้แพร่ธรรมผ่านทางการ ด�ำเนินชีวิตในแต่ละวันด้วยเช่นกัน
2. บทบาทด้านการส่งเสริมความกล้า หาญ จากการสัมภาษณ์กลุ่มผู้ให้ข้อมูล สรุป ได้วา่ ชมรมผูส้ งู อายุ วัดนักบุญยอห์น บัปติสต์ แม่โถ จังหวัดแม่ฮอ่ งสอน สังฆมณฑลเชียงใหม่ ได้ปฏิบัติตามบทบาทที่ 2 การส่งเสริมความ กล้าหาญ ให้แก่ชุมชนคริสตชน ผู้สูงอายุได้ ส่งเสริมการเป็นสักขีพยานถึงความหวัง โดย การเป็นสักขีพยานถึงความหวังและความรัก ของพระเจ้า มีความหวังในชีวิตหลังความตาย หรือในโลกหน้าทีจ่ ะไปอยูก่ บั พระเจ้าในสวรรค์ ส่วนการเป็นสักขีพยานถึงความรักนั้น จะส่ง เสริมให้ลูกหลานมีความรักต่อพระเจ้าและต่อ เพื่อนพี่น้องด้วยกัน นอกจากนั้นยังส่งเสริม ความกล้าหาญในการอุทิศตน เสียสละ ช่วย เหลือผู้อื่น ผู้เจ็บป่วย โดยการไปเยี่ยมเยียน การไปแบ่งปันของ การสวดภาวนา และการ ช่วยเหลือด้านปัจจัยต่างๆ เท่าทีต่ นเองมีความ สามารถ และเมื่อต้องเผชิญกับความทุกข์ยาก ผูส้ งู อายุจะส่งเสริมความกล้าเผชิญและยอมรับ ความทุกข์ด้วยความอดทน โดยการให้มีความ เชื่อและความไว้วางใจในพระ ฝากความทุกข์ ยาก ความเจ็บป่วยไว้ในพระหัตถ์ของพระเจ้า และไม่ลืมสวดภาวนา อีกทั้งผู้สูงอายุยังได้ส่ง เสริมการกล้าเผชิญ และยอมรับความตายด้วย ความสงบ โดยการให้ยอมรับในความจริงของ ชีวติ เกีย่ วกับความตาย และให้ยดึ มัน่ ในพระเจ้า เมื่อต้องเผชิญกับความตาย ในพระสมณลิขิต
ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2020/2563 157
บทบาทและการปฏิบตั ติ ามบทบาทของผูส้ งู อายุในการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม ตามหลักคำ�สอนพระศาสนจักรคาทอลิกสำ�หรับชุมชนคริสตชน กรณีศกึ ษาชมรมผูส้ งู อายุ วัดนักบุญยอห์น บัปติสต์ แม่โถ จังหวัดแม่ฮอ่ งสอน สังฆมณฑลเชียงใหม่
ถึงผูส้ งู อายุ (Letter to the Elderly) ได้กล่าว ถึงผู้สูงอายุว่า “ท่านสามารถถ่ายทอดปลูกฝัง ความกล้าหาญ โดยให้ค�ำแนะน�ำแห่งความรัก การภาวนาแบบเงียบ การเป็นพยานชีวิตที่ ยอมรับความทุกข์ด้วยความอดทน” (คณะ กรรมการคาทอลิกเพือ่ ผูส้ งู อายุ, 2003) ดังนัน้ ผู้สูงอายุจึงมีความกล้าหาญในการที่จะต้อง เผชิญกับความทุกข์ ความเจ็บป่วย หรือความ ตาย ด้วยความเชื่อ และไว้วางใจในพระผ่าน ทางการภาวนาในชี วิ ต ประจ� ำ วั น และสิ่ ง นี้เองที่พระสมณสาสน์ พระวรสารแห่งชีวิต (Evangelium Vitae) ได้กล่าวว่า “ผู้สูงอายุ จึงสามารถเป็นบ่อเกิดแห่งความฉลาดรอบรู้ และเป็นสักขีพยานถึงความหวังและความรัก” (EV.94) ดั ง นั้ น สั ก ขี พ ยานของความรั ก จึ ง ออกมาในรูปแบบของความกล้าที่จะออกจาก ตนเอง ในการอุทศิ ตน เสียสละ ช่วยเหลือผูอ้ นื่ และความหวังของผูส้ งู อายุจงึ ไม่ใช่เพือ่ ในโลกนี้ เท่านัน้ แต่เป็นสักขีพยานถึงความหวัง ในชีวติ นิรนั ดร ซึง่ สิง่ นีเ้ องทีไ่ ด้ถา่ ยทอดให้กบั ลูกหลาน ถึงความหวังที่แท้จริง 3. บทบาทด้านการส่งเสริมการเข้า ร่วมในพิธีกรรมและปฏิบัติศาสนกิจ จากการ สัมภาษณ์กลุม่ ผูใ้ ห้ขอ้ มูล สรุปได้วา่ ชมรมผูส้ งู อายุ วัดนักบุญยอห์น บัปติสต์ แม่โถ จังหวัด แม่ฮ่องสอน สังฆมณฑลเชียงใหม่ ได้ปฏิบัติ ตามบทบาทที่ 3 การส่งเสริมการเข้าร่วมใน
158 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
พิธกี รรมและการปฏิบตั ศิ าสนกิจ ซึง่ ผูส้ งู อายุได้ ส่งเสริมการมีสว่ นร่วมในพิธกี รรม โดยการบอก กล่าวลูกหลานให้ไปอ่านพระคัมภีร์ และช่วย มิสซากันทั้งในวันธรรมดาและวันอาทิตย์ และ มีการสนับสนุนทุนการศึกษาในกิจกรรมเกี่ยว กับการมีส่วนร่วมในพิธีกรรมด้วย ผู้สูงอายุยัง ส่งเสริมการรับศีลอภัยบาป และศีลมหาสนิท โดยบอกกล่าวให้ลกู หลานรับศีลอภัยบาป และ ศีลมหาสนิทเสมอ และเป็นแบบอย่างทีด่ ใี ห้กบั ลูกหลานด้วย อีกทั้งผู้สูงอายุยังส่งเสริมการมี ส่วนร่วมในชุมชนคริสตชน โดยการบอกกล่าว แก่ ลู ก หลานให้ มี ส่ ว นร่ ว มในพิ ธี ก รรมและ ศาสนกิจต่างๆ เสมอ และลูกหลานบางคนไม่ จ� ำ เป็ น ต้ อ งส่ ง เสริ ม แล้ ว เพราะเขาจะร่ ว ม กิจกรรมต่างๆ เสมออยู่แล้ว ส่วนการส่งเสริม เกี่ยวกับการจาริกแสวงบุญให้กับบรรดาลูก หลานในชุมชนนั้น มีการส่งเสริมค่อนข้างน้อย มาก มีเพียงแค่บางคนทีบ่ อกกล่าวให้ลกู หลาน ได้ไปจาริก แสวงบุญ และผู้สูงอายุ ส่วนใหญ่ ไม่รู้จักเกี่ยวกับการอบรมตนเองในการร�ำพึง ภาวนา การเข้าเงียบ การฝึกปฏิบัติชีวิตจิต จึงส่งผลให้ไม่มีการส่งเสริมในเรื่องดังกล่าวแก่ ชุมชนคริสตชน ในเอกสารของพระศาสนจักรเรื่องศักดิ์ ศรีของผู้สูงอายุและภารกิจในพระศาสนจักร และในโลก (The Dignity of Older People and Their Mission in the Church and
นนทชัย ริทู, พิเชฐ แสงเทียน, ชาติชาย พงษ์ศิริ และลัดดาวรรณ์ ประสูตร์แสงจันทร์
in the World) ได้กล่าวว่า “ในด้านพิธีกรรม ผู้สูงอายุยังสามารถบริการในส่วนนี้ได้ หาก ได้รับการฝึกฝนอบรมอย่างเหมาะสม พวก เขาสามารถเป็นสังฆานุกรถาวร และประกอบ พั น ธกิ จ ของผู ้ อ ่ า นพระคั ม ภี ร ์ และช่ ว ยข้ า ง พระแท่ น ในพิ ธี บู ช าขอบพระคุ ณ ทั้ ง ยั ง ท� ำ หน้าที่พิเศษในการแจกศีล และมีบทบาทผู้น�ำ ในวจนพิธกี รรม ทัง้ ยังสามารถส่งเสริมการอุทศิ ตนต่อศีลมหาสนิทในรูปแบบต่างๆ และการ อุทศิ ตนในรูปแบบอืน่ ๆ โดยเฉพาะต่อพระนาง มารีย ์ และต่อบรรดานักบุญทัง้ หลาย นอกจาก นั้น เป็นการส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีส่วนร่วมใน การเฉลิมฉลองศีลศักดิ์สิทธิ์แห่งการคืนดี และ ในการจาริกแสวงบุญ การเข้าเงียบ และการฝึก ปฏิบัติชีวิตจิตอีกด้วย” (Pontifical Council for the Laity documents, 1998) ดังนั้น การตระหนักในบทบาทหน้าที่ของตนในพิธี กรรมที่พระศาสนจักร ได้แนะน�ำจึงเป็นสิ่งที่ ผู้สูงอายุได้ปฏิบัติตามโดยผ่านทางการรับผิด ชอบในด้านพิธีกรรมในวันอาทิตย์ที่ 3 ของ แต่ละเดือน ซึ่งเป็นการส่งเสริมให้กับลูกหลาน ทีเ่ ป็นคริสตชนตระหนักในความรับผิดชอบและ การมีส่วนร่วมในพิธีกรรมต่างๆ ด้วยเดียวกัน ใน “การมีสว่ นร่วมในพิธกี รรมและศีลศักดิส์ ทิ ธิ์ และการมีส่วนร่วมในชุมชนคริสตชน” (Pontifical Council for the Laity documents, 1998)
4. บทบาทด้านการส่งเสริมกิจกรรม ภายในชุมชนคริสตชน จากการสัมภาษณ์กลุม่ ผูใ้ ห้ขอ้ มูล สรุปได้วา่ ชมรมผูส้ งู อายุ วัดนักบุญ ยอห์ น บั ป ติ ส ต์ แม่ โ ถ จั ง หวั ด แม่ ฮ ่ อ งสอน สังฆมณฑลเชียงใหม่ ได้ปฏิบตั ติ ามบทบาทที ่ 4 การส่งเสริมกิจกรรมภายในชุมชนคริสตชน ผูส้ งู อายุได้มบี ทบาทในการส่งเสริมการอุทศิ ตน ช่วยงานในองค์กรต่างๆ ของวัด โดยการบอก กล่าว ชี้แนะ และมอบหมายให้คริสตชนช่วย งานและรับผิดชอบในงานต่างๆ และผูส้ งู อายุมี ความปรารถนาที่จะให้มีคนมาช่วยงานที่มาก กว่าที่เป็นอยู่ นอกจากนั้นผู้สูงอายุยังส่งเสริม ลูกหลานในการสร้างความสัมพันธ์ดกี บั ผูอ้ นื่ ทุก เพศทุกวัย โดยการบอกกล่าวให้รักกันและกัน สามัคคีกัน ดูแลกัน ช่วยเหลือกัน รู้จักเคารพ ให้เกียรติผู้สูงอายุ และเป็นแบบอย่างที่ดีให้ กับลูกหลาน อีกทั้งยังส่งเสริมการช่วยเหลือ สนับสนุนกิจกรรมภายในชุมชม โดยการบอก กล่าวให้ลกู หลาน และสนับสนุนให้ชว่ ยงานเต็ม ที่ หากมีการขอทุนในกิจกรรมต่างๆ ยินดีที่จะ ช่วยสนับสนุนและให้ลูกหลานช่วยตามความ สามารถทีม่ ี และผูส้ งู อายุยงั ส่งเสริมในการเปิด ต้อนรับความร่วมมือของผู้คนในชุมชนด้วย ความเคารพและให้การยอมรับกัน โดยเปิด ต้อนรับคนรุ่นใหม่ให้มามีบทบาทและช่วยงาน ในกิจกรรมหรือกลุ่มต่างๆ ของชุมชน และจะ เตือนให้มีการเคารพให้เกียรติกันและกัน
ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2020/2563 159
บทบาทและการปฏิบตั ติ ามบทบาทของผูส้ งู อายุในการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม ตามหลักคำ�สอนพระศาสนจักรคาทอลิกสำ�หรับชุมชนคริสตชน กรณีศกึ ษาชมรมผูส้ งู อายุ วัดนักบุญยอห์น บัปติสต์ แม่โถ จังหวัดแม่ฮอ่ งสอน สังฆมณฑลเชียงใหม่
ในเอกสารพระศาสนจักร ศักดิ์ศรีของ ผู้สูงอายุและภารกิจในพระศาสนจักรและใน โลก (The Dignity of Older People and Their Mission in the Church and in the World) ได้กล่าวว่า “ผูส้ งู อายุจงึ พบสนามงาน มากมายในการอบรมตนเอง การอุทศิ ตน และ การอภิบาลในองค์กรต่างๆ มากมายที่มีอยู่ใน วั ด ของเรา พวกเขากลายเป็ น ผู ้ ที่ ส นั บ สนุ น กิจกรรมภายในของชุมชน คริสตชน (องค์กร ต่างๆ ของวัด)” (Pontifical Council for the Laity documents, 1998) ดังนัน้ การตระหนัก ถึงบทบาทที่จะช่วยงานต่างๆ ของกิจกรรม ภายในชุมชนเป็นสิ่งที่ผู้สูงอายุสามารถช่วย เหลือได้ตามก�ำลังของแต่ละคน และการเข้า ร่วมในองค์กรต่างๆ ของวัดเป็นสิ่งที่ได้รับการ ยอมรั บ จากบรรดาลู ก หลาน นอกจากนั้ น บทบาทของผู้สูงอายุจึงเป็นผู้ที่มีบทบาทที่จะ ส่งเสริมกิจกรรมต่างๆ ของชุมชน และส่งเสริม ให้ลูกหลานมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆ โดย ผ่านทางการมอบหมายงานให้กับคริสตชนลูก หลาน และการส่งเสริมกิจกรรมนั้นยังออกมา ทั้งในรูปแบบของพละก�ำลังและการสนับสนุน ด้านปัจจัยต่างๆ ตามความสามารถของแต่ละ คน เอกสารพระศาสนจักร ศักดิ์ศรีของผู้ สูงอายุและภารกิจในพระศาสนจักรและในโลก (The Dignity of Older People and Their
160 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
Mission in the Church and in the World) ยังได้กล่าวอีกว่า “การสมานฉันท์ระหว่างชน วัยที่ต่างกัน บรรดากลุ่มเยาวชน สมาคม หรือ ขบวนการต่างๆ ของวัด ต้องเรียนรู้ที่จะแสดง ความสัมพันธ์ตอ่ ผูส้ งู อายุในชุมชน ความสัมพันธ์ ระหว่างชนวัยต่างกันนี ้ ยังแสดงออกได้โดยการ เป็นเพื่อนซึ่งผู้เยาว์สามารถมอบให้แก่ผู้อาวุโส ได้ ผู้เยาว์มีโอกาสที่จะมีส่วนร่วมกับผู้สูงอายุ และชืน่ ชมประสบการณ์อบรมหล่อหลอม และ ได้รับการช่วยเหลือพัฒนาในจิตส�ำนึกในสังคม ทีเ่ ต็มไปด้วยความเห็นแก่ตวั วัตถุนยิ ม บริโภค นิยม จนกลายเป็นเยาวชนใหม่ทเี่ ห็นคุณค่าของ การไม่เห็นแก่ตัว การอุทิศตน มิตรภาพ การ ยอมรับ และการเคารพ” (Pontifical Council for the laity documents, 1998) ดังนั้น โดยผ่านทางกิจกรรมที่กระท�ำร่วมกันระหว่าง ผู้สูงอายุและลูกหลานคริสตชน จึงเป็นโอกาส ที่จะเป็นการสร้างความสัมพันธ์ และเป็นการ เชื่อมความสัมพันธ์ของคนในชุมชนทุกวัย เป็น โอกาสที่ผู้สูงอายุจะถ่ายทอดวิชาความรู้จาก ประสบการณ์ทไี่ ด้สงั่ สมมา และเป็นโอกาสทีจ่ ะ ท�ำให้เกิดการยอมรับและให้ความเคารพกัน ของคนต่างวัยกัน ผ่านทางกิจกรรมต่างๆ ของ ชุมชน ดังเช่นในเอกสารพระศาสนจักร ศักดิศ์ รี ของผู้สูงอายุและภารกิจในพระศาสนจักรและ ในโลก (The Dignity of Older People and Their Mission in the Church and in the
นนทชัย ริทู, พิเชฐ แสงเทียน, ชาติชาย พงษ์ศิริ และลัดดาวรรณ์ ประสูตร์แสงจันทร์
World) ทีไ่ ด้กล่าวเสริมอีกว่า “ในการร่วมส่วน ของชุมชนวัดนั้น ก็ได้รับเรียกให้ตอบสนอง ต่อการมีส่วนร่วมมากขึ้นของผู้สูงอายุในพระ ศาสนจักร โดยการหันไปหา ‘พระพร’ ที่ผู้สูง อายุมใี นฐานะประจักษ์พยานถึง ธรรมประเพณี แห่งความเชื่อ (สดด 44:2, อพย 12:26-27) เป็น ‘อาจารย์แห่งปรีชาญาณของชีวิต’ (บสร 6:34, 8:11-12) และ ‘ผู้ท�ำงานด้านเมตตา ธรรม’ ดังนั้น ชุมชนวัดจะต้องหันมาทบทวน งานอภิบาลในส่วนทีเ่ กีย่ วข้องกับผูส้ งู อายุ และ เปิดกว้างต้อนรับการมีสว่ นร่วมและการร่วมมือ ของพวกเขา” (Pontifical Council for the Laity documents, 1998) 5. บทบาทด้านการส่งเสริมวัฒนธรรม ประเพณี จากการสัมภาษณ์กลุ่มผู้ให้ข้อมูล สรุ ป ได้ ว ่ า ชมรมผู ้ สู ง อายุ วั ด นั ก บุ ญ ยอห์ น บัปติสต์ แม่โถ จังหวัดแม่ฮอ่ งสอน สังฆมณฑล เชียงใหม่ ได้ปฏิบัติตามบทบาทที่ 5 การส่ง เสริมวัฒนธรรม ประเพณีผสู้ งู อายุมบี ทบาทใน การส่งเสริมวัฒนธรรมและประเพณีทดี่ งี ามโดย การส่งเสริมให้มกี ารแต่งกายชุดประจ�ำเผ่า การ เรียนรู้ภาษาของตนเอง การขับล�ำน�ำ การร�ำ ดาบและกระบอง การถ่ายทอดนิทานพื้นบ้าน การท�ำไร่หมุนเวียน สมุนไพร การสอนเกีย่ วกับ การจักสาน การถักทอ การสืบทอดการรดน�้ำ ด�ำหัวผูส้ งู อายุ การยึดมัน่ ในค�ำสอนของศาสนา และค�ำสอนของผู้สูงอายุ อีกทั้ง การปลุกจิต ส�ำนึกในคุณค่าประวัตศิ าสตร์ของชุมชน โดยมี
การจัดเรียบเรียงและบอกกล่าวให้กบั ลูกหลาน ได้รับรู้ และให้รู้จักประวัติของครอบครัวและ วงศ์ตระกูลด้วย พระสมณลิขิตถึงผู้สูงอายุ (Letter to the Elderly) ได้กล่าวว่า “ผู้สูงอายุยังเป็น ‘ผู้พิทักษ์ ความทรงจ�ำร่วมของเรา’” (คณะ กรรมการคาทอลิกเพือ่ ผูส้ งู อายุ, 2003) ซึง่ ผ่าน ทางวัฒนธรรมและประเพณีต่างๆ โดยเฉพาะ วัฒนธรรมประเพณีของชนเผ่าปกาเกอะญอนัน้ ได้รับการสืบทอดต่อมาจากบรรดาผู้สูงอายุที่ ถ่ายทอดให้กับลูกหลาน เป็นคุณค่าทั้งด้าน ร่างกาย จิตใจและจิตวิญญาณของ ความเป็น ชนเผ่า และในพระสมณสาสน์ พระวรสารแห่ง ชีวติ (Evangelium Vitae) ได้กล่าวเสริมอีกว่า “ความปรีชาและประสบการณ์ของผู้สูงอายุ ที่จะเป็นบ่อเกิดของการช่วยเสริมสร้างครอบ ครัวและสังคมมนุษย์ให้แข็งแรงยิง่ ขึน้ ” (EV.46) (ยอห์น ปอล ที่ 2, 2550) ทั้งนี้ เพราะราก เหง้าของบุคคลแต่ละบุคคลมีความแตกต่างกัน และรากเหง้ า ของชนเผ่ า ปกาเกอะญอนั้ น มีปรีชาญาณและภูมิความรู้ของผู้สูงอายุที่เป็น บรรพบุรุษของเราได้ก่อสร้างขึ้นมาให้ เพื่อให้ ส่งต่อให้กับลูกหลานในแต่ละช่วงอายุ เหตุนี้ ผู้สูงอายุในปัจจุบันนี้ โดยเฉพาะผู้สูงอายุใน ชมรมผู้สูงอายุ จึงส่งเสริมให้ลูกหลานในการ เรียนรู้วัฒนธรรม ประเพณีต่างๆ และให้ลูก หลานเห็นคุณค่าในเรื่องดังกล่าว
ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2020/2563 161
บทบาทและการปฏิบตั ติ ามบทบาทของผูส้ งู อายุในการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม ตามหลักคำ�สอนพระศาสนจักรคาทอลิกสำ�หรับชุมชนคริสตชน กรณีศกึ ษาชมรมผูส้ งู อายุ วัดนักบุญยอห์น บัปติสต์ แม่โถ จังหวัดแม่ฮอ่ งสอน สังฆมณฑลเชียงใหม่
ในเอกสารพระศาสนจักรเรือ่ ง “ศักดิศ์ รี ของผู้สูงอายุและภารกิจในพระศาสนจักรและ ในโลก” (The Dignity of Older People and Their Mission in the Church and in the World) ได้ยืนยันเรื่องนี้ว่า “ผู้สูงอายุ นั้นเป็นความทรงจ�ำ ที่ส่งต่อไปสู่คนรุ่นหนึ่ง ผู้สูงอายุเป็นประวัติศาสตร์ซึ่งหากคนรุ่นใหม่ที่ ก�ำลังสูญเสียความรูส้ กึ นึกคิดทางประวัตศิ าสตร์ นี้ จะท�ำให้เขาขาดความส�ำนึกในเอกลักษณ์ ของตน ซึ่ ง สั ง คมที่ ล ดคุ ณ ค่ า ความส� ำ นึ ก ใน ประวัติศาสตร์ จะท�ำให้สังคมนั้นขาดความรับ ผิ ด ชอบในการอบรมหล่ อ หลอมเยาวชน” (Pontifical Council for the Laity documents, 1998) ดังนั้น บทบาทในการส่งเสริม ให้บรรดาลูกหลานได้ตระหนักถึงประวัตศิ าสตร์ ของตนเอง ชุมชน และประเทศชาตินั้น ผู้สูง อายุจงึ ถ่ายทอดผ่านทางการสอน การเล่าเรือ่ ง ราว และปลุกจิตส�ำนึกให้เห็นคุณค่าของประวัติ ศาสตร์ทเี่ ป็นเอกลักษณ์ของตน ดังในพระสมณ ลิขิตเตือนใจ “ความปีติยินดีแห่งความรัก” (Amoris Laetitia) ที่ได้กล่าวว่า “การได้ฟัง ผู้สูงอายุเล่าเรื่องราวของพวกท่านในอดีตนั้น เป็นผลดีต่อเด็กๆ และคนหนุ่มสาว มันท�ำให้ พวกเขารู้สึกเชื่อมโยงกับประวัติความเป็นมา ของครอบครัว กับเพื่อนบ้านและกับประเทศ ของพวกเขา” (AL.193) (ฟรังซิส, 2017)
162 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
แนวทางการส่งเสริมบทบาทของผู้สูงอายุ 1. ส่งเสริมให้กลุ่มผู้สูงอายุมีบทบาทใน การส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมตามหลักค�ำ สอนพระศาสนจักรคาทอลิกแก่ชมุ ชนคริสตชน อย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะการเป็นแบบอย่าง การถ่ า ยทอดความเชื่ อ และการเสริ ม สร้ า ง ความเชือ่ ให้กบั ลูกหลานและชุมชน ทัง้ นีเ้ พราะ ผู ้ สู ง อายุ จ ะได้ เ ป็ น ประจั ก ษ์ พ ยานด้ ว ยชี วิ ต โดยการแบบอย่างทีด่ ใี นการเข้าร่วมในพิธกี รรม ต่างๆ เช่น การสวดภาวนาเช้า และการร่วมพิธี บูชาขอบพระคุณในตอนเย็น เป็นต้น และเป็น ผูน้ ำ� ในการสวดภาวนาในโอกาสต่างๆ เช่น การ ก่ อ สวดสายประค� ำ ในเดื อ นตุ ล าคม ซึ่ ง เป็ น เดือนแห่งสายประค�ำ เป็นต้น นอกจากนัน้ เพือ่ ให้ผู้สูงอายุจะได้มีบทบาทในการเป็นผู้น�ำสวด ภายในบ้ า นของตนเอง เพื่ อ ขอพรให้ กั บลู ก หลานในโอกาสต่างๆ ซึ่งจะเป็นการถ่ายทอด ความเชื่อในระดับพื้นฐาน คือระดับครอบครัว และไปสูร่ ะดับชุมชนในโอกาสอืน่ ๆ ต่อไป สอด คล้องกับที่พระสมณลิขิตถึงผู้สูงอายุ (Letter to the Elderly) ได้ระบุไว้วา่ ชุมชนคริสตชน จะได้รับประโยชน์จากผู้สูงอายุ เช่น “การ ประกาศข่าวดี” ซึง่ ในหลายครอบครัวนัน้ ผูส้ งู อายุมีบทบาทในการเป็นผู้สอนความเชื่อให้กับ ลูกหลาน (คณะกรรมการคาทอลิกเพื่อผู้สูง อายุ, 2003)
นนทชัย ริทู, พิเชฐ แสงเทียน, ชาติชาย พงษ์ศิริ และลัดดาวรรณ์ ประสูตร์แสงจันทร์
2. เปิดโอกาศให้กลุ่มผู้สูงอายุได้มีส่วน ร่วมในพิธีกรรม และมีโอกาศไปร่วมฉลองวัด หรือฉลองในโอกาสพิเศษต่างๆ ที่วัดใกล้เคียง จัดขึน้ ทัง้ นีเ้ พราะเป็นการส่งเสริมบทบาทด้าน การเข้าร่วมพิธีกรรมและการปฏิบัติศาสนกิจ โดยให้ผู้สูงอายุจะได้มีบทบาทในพิธีกรรมมาก ขึน้ เช่น การอ่านบทอ่าน การเป็นผูน้ ำ� สวดการ เป็นผู้ก่อเพลง เป็นต้น และเพื่อให้ผู้สูงอายุจะ ได้เป็นแบบอย่างในการปฏิบัติศาสนกิจต่างๆ เช่น การรับศีลอภัยบาป การรับศีลมหาสนิท เป็นต้น และควรมีการจัดพิธกี รรมทีเ่ อือ้ ต่อการ ส่งเสริมบทบาทของผู้สูงอายุ เช่น การจัดให้ สัปดาห์ท ี่ 3 ของทุกๆ เดือน ซึง่ ทางสภาภิบาล วัดจะมอบหมายหน้าทีใ่ นพิธกี รรมต่างๆ ให้กบั ผู้สูงอายุได้รับผิดชอบ เป็นต้น ซึ่งสิ่งนี้เองจะ เป็นตัวอย่างให้กบั ลูกหลานได้เห็นอย่างชัดเจน และเป็นรูปธรรม อีกทั้งมีการจัดให้มีการจาริก แสวงบุญ ไปวัดอื่นๆ หรือหมู่บ้านอื่นๆ ที่มี กิจกรรมเกีย่ วกับความเชือ่ ของชุมชน เช่น การ ฉลองความเชือ่ ของชุมชน 50 ปี หรือการจาริก แสวงบุ ญ วั ด ที่ มี ก ารก� ำ หนดให้ ส ามารถรั บ พระคุณการุณย์ในโอกาส 350 ปี มิสซังสยาม เป็นต้น สอดคล้องกับที่เอกสารของพระศาสน จักรเรื่อง ศักดิ์ศรีของผู้สูงอายุและภารกิจใน พระศาสนจักรและในโลก (The Dignity of Older People and Their Mission in the Church and in the World) ได้ระบุไว้ว่า “ในด้านพิธีกรรม ผู้สูงอายุยังสามารถบริการ
ในส่วนนี้ได้ หากได้รับการฝึกฝนอบรมอย่าง เหมาะสม พวกเขาสามารถเป็นสังฆานุกรถาวร และประกอบพันธกิจของผูอ้ า่ นพระคัมภีร ์ และ ช่วยข้างพระแท่นในพิธบี ชู าขอบพระคุณ ทัง้ ยัง ท�ำหน้าที่พิเศษในการแจกศีล และมีบทบาท ผูน้ ำ� ในวจนพิธกี รรม ทัง้ ยังสามารถส่งเสริมการ อุทิศตนต่อศีลมหาสนิทในรูปแบบต่างๆ และ การอุ ทิ ศ ตนในรู ป แบบอื่ น ๆ โดยเฉพาะต่ อ พระนางมารีย์ และต่อบรรดานักบุญทั้งหลาย นอกจากนัน้ เป็นการส่งเสริมให้ผสู้ งู อายุมสี ว่ น ร่วมในการเฉลิมฉลองศีลศักดิส์ ทิ ธิแ์ ห่งการคืนดี และในการจาริกแสวงบุญ การเข้าเงียบ และ การฝึกปฏิบัติชีวิตจิตอีกด้วย” (Pontifical Council for the Laity documents, 1998) 3. สนับสนุนการร่วมมือกันระหว่างกลุม่ ผูส้ งู อายุและกลุม่ อืน่ ๆ เช่น เยาวชน ในการเสีย สละอุทศิ ตนเพือ่ ส่วนรวม เช่น การเยีย่ มผูป้ ว่ ย ทัง้ นีเ้ พราะกลุม่ ผูส้ งู อายุจะได้มบี ทบาทด้านการ มี ส ่ ว นร่ ว มกิ จ กรรมภายในชุ ม ชน โดยการ ก�ำหนดให้ผู้สูงอายุได้เข้ามาเป็นสมาชิกของ องค์กรต่างๆ ของวัด เช่น สภาภิบาลวัด กลุ่ม พลมารีย์ กลุ่มแบ่งปันพระวาจา เป็นต้น เพื่อ เป็นการส่งเสริมความร่วมมือระหว่างคนต่างวัย ในชุมชน และเป็นการสร้างความสัมพันธ์อันดี ให้มีมากขึ้น อีกทั้ง ยังเป็นโอกาสที่ผู้สูงอายุจะ มีบทบาทในการแบ่งปันประสบการณ์ ในการ ท�ำงานที่พวกท่านได้รับจากบรรดามิชชันนารี อีกด้วย สอดคล้องกับที่เอกสารพระศาสนจักร
ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2020/2563 163
บทบาทและการปฏิบตั ติ ามบทบาทของผูส้ งู อายุในการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม ตามหลักคำ�สอนพระศาสนจักรคาทอลิกสำ�หรับชุมชนคริสตชน กรณีศกึ ษาชมรมผูส้ งู อายุ วัดนักบุญยอห์น บัปติสต์ แม่โถ จังหวัดแม่ฮอ่ งสอน สังฆมณฑลเชียงใหม่
ศักดิ์ศรีของผู้สูงอายุและภารกิจในพระศาสน จั ก รและในโลก (The Dignity of Older People and Their Mission in the Church and in the World) ได้ระบุไว้ว่า “ผู้สูงอายุ จึงพบสนามงานมากมายในการอบรมตนเอง การอุทิศตน และการอภิบาลในองค์กรต่างๆ มากมายทีม่ อี ยูใ่ นวัดของเรา พวกเขากลายเป็น ผูท้ สี่ นับสนุนกิจกรรมภายในของชุมชนคริสตชน (องค์กรต่างๆ ของวัด)” (Pontifical Council for the Laity documents, 1998) ทั้งยัง ได้กล่าวอีกว่า “การสมานฉันท์ระหว่างชนวัยที่ ต่ า งกั น บรรดากลุ ่ ม เยาวชน สมาคม หรื อ ขบวนการต่างๆ ของวัด ต้องเรียนรู้ที่จะแสดง ความสัมพันธ์ตอ่ ผูส้ งู อายุในชุมชน ความสัมพันธ์ ระหว่างชนวัยต่างกันนี ้ ยังแสดงออกได้โดยการ เป็นเพือ่ น ซึง่ ผูเ้ ยาว์สามารถมอบให้แก่ผอู้ าวุโส ได้ ผู้เยาว์มีโอกาสที่จะมีส่วนร่วมกับผู้สูงอายุ และชืน่ ชมประสบการณ์อบรมหล่อหลอม และ ได้รับการช่วยเหลือพัฒนาในจิตส�ำนึกในสังคม ทีเ่ ต็มไปด้วยความเห็นแก่ตวั วัตถุนยิ ม บริโภค นิยม จนกลายเป็นเยาวชนใหม่ทเี่ ห็นคุณค่าของ การไม่เห็นแก่ตัว การอุทิศตน มิตรภาพ การ ยอมรับ และ การเคารพ” (Pontifical Council for the laity documents, 1998) 4. ส่งเสริมให้กลุ่มผู้สูงอายุได้มีโอกาส ในการแบ่งปัน ถ่ายทอดความรู้ภูมิปัญญาแก่ เยาวชน ชุมชน และสังคมในวงกว้างมากขึ้น เช่น ความสามารถในการเล่นเตหน่า การขับ 164 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
ล� ำ น� ำ การร� ำ ดาบ ร� ำ กระบอง การตั ด เย็ บ เสื้อผ้า และการจักสาน ทั้งนี้เพราะผู้สูงอายุ เป็นผู้ที่สะสมประสบการณ์ความรู้ต่างๆ มาก มาย จึงควรให้ผู้สูงอายุได้มีบทบาทถ่ายทอด ความรู้ในโรงเรียน และในกิจกรรมต่างๆ ของ ทัง้ โรงเรียนและชุมชน เช่น การสอนการร�ำดาบ การร�ำกระบอง การเล่นเตหน่า (ดนตรีพนื้ บ้าน ของปกาเกอะญอ) การจักสาน เป็นต้น และใน วันหยุดสุดสัปดาห์ยังเป็นโอกาสให้ผู้สูงอายุได้ ถ่ายทอดภาษาเขียน ภาษาอ่าน บทเพลง หรือ นิทานพื้นบ้านให้กับลูกหลาน หรือในการจัด ค่ายภาคฤดูรอ้ นของแต่ละครัง้ นอกจากนัน้ ยัง สามารถมอบหมายหน้าทีใ่ ห้กบั ผูส้ งู อายุในการ สอนเรื่องอื่นๆ เช่น สมุนไพร การด�ำรงชีวิตใน ป่า เป็นต้น เพื่อให้เด็กจะได้เห็นถึงคุณค่าและ รักในวัฒนธรรมและประเพณีตา่ งๆ ของตนเอง สอดคล้ อ งกั บ ที่ เ อกสารพระศาสนจั ก รเรื่ อ ง “ศักดิ์ศรีของผู้สูงอายุและภารกิจในพระศาสน จักรและในโลก” (The Dignity of Older People and Their Mission in the Church and in the World) ได้ระบุวา่ “ผูส้ งู อายุนนั้ เป็น ความทรงจ�ำทีส่ ง่ ต่อไปสูค่ นรุน่ หนึง่ ผูส้ งู อายุเป็น ประวัตศิ าสตร์ ซึง่ หากคนรุน่ ใหม่ทกี่ ำ� ลังสูญเสีย ความรู้สึกนึกคิดทางประวัติศาสตร์นี้ จะท�ำให้ เขาขาดความส�ำนึกในเอกลักษณ์ของตน ซึ่ง สังคมที่ลดคุณค่าความส�ำนึกในประวัติศาสตร์ จะท�ำให้สังคมนั้นขาดความรับผิดชอบในการ อบรมหล่อหลอมเยาวชน” (Pontifical Council for the Laity documents, 1998)
นนทชัย ริทู, พิเชฐ แสงเทียน, ชาติชาย พงษ์ศิริ และลัดดาวรรณ์ ประสูตร์แสงจันทร์
5. เปิดโอกาสให้กลุม่ ผูส้ งู อายุมสี ว่ นร่วม และบทบาทในการพัฒนาชุมชน ทั้งนี้เพราะ กิจกรรมต่างๆ ภายในชุมชนนั้น เป็นสิ่งที่ผู้สูง อายุได้เคยมีประสบการณ์การท�ำงานและการ จัดกิจกรรมต่างๆ มาแล้ว ผู้สูงอายุจะเป็นอีก หนึง่ แรงทีจ่ ะสามารถช่วยเหลือได้ตามก�ำลังของ ตน นอกจากนั้น ผู้สูงอายุจะเป็นผู้ที่ส่งเสริม กิจกรรมต่างๆ ของชุมชน ทั้งทางด้านประสบ การณ์ ความรู ้ และด้านการสนับสนุนในปัจจัย ต่ า งๆ อี ก ด้ ว ย สอดคล้องกับที่เ อกสารพระ ศาสนจักร ศักดิ์ศรีของผู้สูงอายุและภารกิจใน พระศาสนจักรและในโลก (The Dignity of Older People and Their Mission in the Church and in the World) ที่ได้ระบุว่า “ในการร่วมส่วนของชุมชนวัดนัน้ ก็ได้รบั เรียก ให้ตอบสนองต่อการมีสว่ นร่วมมากขึน้ ของผูส้ งู อายุในพระศาสนจักร โดยการหันไปหา ‘พระพร’ ที่ผู้สูงอายุมีในฐานะประจักษ์พยานถึงธรรม ประเพณี แ ห่ ง ความเชื่ อ (สดด 44:2, อพย 12:26-27) เป็น ‘อาจารย์แห่งปรีชาญาณของ ชีวิต’ (บสร 6:34, 8:11-12) และ ‘ผู้ท�ำงาน ด้านเมตตาธรรม’ ดังนั้น ชุมชนวัดจะต้องหัน มาทบทวนงานอภิบาลในส่วนที่เกี่ยวข้องกับผู้ สูงอายุ และเปิดกว้างต้อนรับการมีส่วนร่วม และการร่ ว มมื อ ของพวกเขา” (Pontifical Council for the Laity documents, 1998)
6. จัดหาอุปกรณ์สงิ่ อ�ำนวยความสะดวก แก่ผสู้ งู อายุ เช่น รถเข็น (Wheelchair) ส�ำหรับ ผูส้ งู อายุทมี่ ขี อ้ จ�ำกัดในการเดินทาง (โดยเฉพาะ การเดินทางเข้าวัด) ทัง้ นีเ้ พราะผูส้ งู อายุทแี่ ม้จะ มีข้อจ�ำกัดในกายภาพ แต่ยังเป็นแบบอย่างใน การเอาใจใส่ต่อความเชื่อ ซึ่งแบบอย่างนี้ที่จะ ส่งผลดีตอ่ ชุมชนให้เกิดการส�ำนึกและตระหนัก คุ ณ ค่ า ด้ า นจิ ต ใจ ซึ่ ง ก็ คื อ ความเชื่ อ และใน ระหว่างเข็นผู้สูงอายุเพื่อเดินทางไปวัดนั้น ยัง ท� ำ ให้ เ กิ ด ภาพของการแสดงออกถึ ง ความ กตั ญ ญู ข องบรรดาลู ก หลานที่ มี ต ่ อ ผู ้ สู ง อายุ อีกทัง้ ยังเป็นการแลกเปลีย่ นความทรงจ�ำ และ ประสบการณ์ต่างๆ ให้ลูกหลานได้รับฟัง โดย ผ่านทางการพูดคุยกันและการบอกเล่าเรือ่ งราว ต่างๆ สอดคล้องกับที่พระสมณลิขิตเตือนใจ “ความปีตยิ นิ ดีแห่งความรัก” (Amoris Laetitia) ที่ได้กล่าวว่า “การได้ฟังผู้สูงอายุเล่าเรื่อง ราวของพวกท่านในอดีตนั้น เป็นผลดีต่อเด็กๆ และคนหนุ่มสาว มันท�ำให้พวกเขารู้สึกเชื่อม โยงกับประวัติความเป็นมาของครอบครัวกับ เพื่อนบ้านและกับประเทศของพวกเขา” (AL. 193) (ฟรังซิส, 2017) และพระสมณสาสน์ พระวรสารแห่งชีวิต (Evangelium Vitae) ยังได้กล่าวอีกว่า “ความปรีชาและประสบการณ์ ของผู้สูงอายุที่จะเป็นบ่อเกิดของการช่วยเสริม สร้างครอบครัวและสังคมมนุษย์ให้แข็งแรงยิ่ง ขึ้น” (EV.46) (ยอห์น ปอล ที่ 2, 2550)
ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2020/2563 165
บทบาทและการปฏิบตั ติ ามบทบาทของผูส้ งู อายุในการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม ตามหลักคำ�สอนพระศาสนจักรคาทอลิกสำ�หรับชุมชนคริสตชน กรณีศกึ ษาชมรมผูส้ งู อายุ วัดนักบุญยอห์น บัปติสต์ แม่โถ จังหวัดแม่ฮอ่ งสอน สังฆมณฑลเชียงใหม่
ข้อเสนอแนะส�ำหรับการน�ำผลวิจัยไปใช้ นอกเหนื อ จากแนวทางการส่ ง เสริ ม บทบาทและการปฏิบัติตามบทบาทของผู้สูง อายุ ใ นการส่ ง เสริ ม คุ ณ ธรรมจริ ย ธรรมตาม หลักค�ำสอนพระศาสนจักรคาทอลิกแก่ชุมชน คริสตชนที่ได้จากการศึกษาวิจัยในครั้งนี้แล้ว ผู้วิจัยมีข้อเสนอแนะที่เกี่ยวข้อง ดังต่อไปนี้ 1. ควรมีการส่งเสริมบทบาทของผู้สูง อายุในระดับครอบครัว เช่น การเป็นผู้น�ำสวด ในโอกาสวันส�ำคัญ การเป็นผูอ้ วยพรบุตรหลาน ในโอกาสส�ำคัญของลูกหลานแต่ละคน เป็นต้น เพื่อเป็นการเชื่อมความสัมพันธ์ระหว่างคนแต่ ละช่วงอายุในครอบครัว และเพือ่ บุตรหลานจะ ได้สัมผัสถึงปรีชาญาณที่มาจากประสบการณ์ ของผู้สูงอายุที่ได้สะสมมาตลอดชีวิต 2. ควรมีการก�ำหนดและให้บทบาทผูส้ งู อายุรว่ มกับบรรดาเด็กๆ และเยาวชนในกิจกรรม ทางศาสนา เช่น พิธกี รรมหรือการปฏิบตั ศิ าสนกิจ ต่างๆ เพือ่ เป็นการสืบทอดและส่งต่อความเชือ่ โดยผ่านทางกิจกรรมทีม่ กี ารปฏิบตั ริ ว่ มกันและ เป็นการเสริมสร้างการดูแลกันและกันระหว่าง คนต่างวัย ซึง่ จะกลายเป็นการแสดงความกตัญญู ต่อบรรดาผู้อาวุโสหรือผู้สูงอายุ และเป็นภาพ ประทับใจแก่บรรดาชนรุ่นหลังด้วย 3. ในการจัดกิจกรรมของชุมชนแต่ละ ครั้ง ทั้งในส่วนของทางศาสนา โรงเรียน หรือ ภาครัฐ ควรส่งเสริมให้ผู้สูงอายุได้มีบทบาทใน การแสดงความสามารถ เช่น การร�ำดาบ การ ร� ำ กระบอง การเล่านิท านพื้นบ้าน เป็นต้น 166 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
ทัง้ นีเ้ พือ่ เป็นการสืบทอดภูมปิ ญ ั ญาพืน้ บ้านและ วัฒนธรรมประเพณีตา่ งๆ ให้กบั บรรดาลูกหลาน 4. ควรจัดตั้งศูนย์การเรียนรู้ภูมิปัญญา ปกาเกอะญอของชุมชนทีจ่ ะเป็นแหล่งรวบรวม ภูมิปัญญาและความรู้ในแขนงต่างๆ ทั้งนี้เพื่อ เป็นแหล่งเรียนรู้ให้กับลูกหลาน ชุมชน และ ชุมชนใกล้เคียง สังคม และประเทศชาติต่อไป 5. ควรมีการจัดการฝึกอบรมชีวติ ฝ่ายจิต ให้กับผู้สูงอายุ เช่น การส�ำรวมจิตภาวนา การ เข้าเงียบ เป็นต้น เพื่อเป็นส่งเสริมให้ผู้สูงอายุ จะได้มคี วามสงบในบัน้ ปลายของชีวติ และมีจติ ยึดมั่นในความเชื่อของเขา 6. ควรมีการส่งเสริมสิ่งอ�ำนวยความ สะดวกแก่ผู้สูงอายุในการปฏิบัติตามบทบาท ของความเป็นคริสตชน และบทบาทการเป็น แบบอย่างด้านความเชือ่ โดยการจัดหาอุปกรณ์ อ�ำนวยความสะดวก เช่น รถเข็น (Wheelchair) เป็นต้น เพื่อผู้สูงอายุจะได้สามารถปฏิบัติตาม บทบาทของตัวเองอย่างดี และส่งเสริมหรือ ถ่ายทอดความเชือ่ โดยผ่านทางการเป็นประจักษ์ พยานด้วยชีวิตของพวกท่าน ข้อเสนอแนะส�ำหรับการท�ำวิจัยครั้งต่อไป 1. ควรศึ ก ษาวิ จั ย เรื่ อ งแนวทางการ อภิ บ าลผู ้ สู ง อายุ ต ามหลั ก ค� ำ สอนของพระ ศาสนจักรคาทอลิก 2. ควรศึกษาวิจัยเรื่องแนวทางการส่ง เสริมและอบรมชีวิตฝ่ายจิตแก่ผู้สูงอายุ ตาม แนวทางของพระศาสนาจักรคาทอลิก
นนทชัย ริทู, พิเชฐ แสงเทียน, ชาติชาย พงษ์ศิริ และลัดดาวรรณ์ ประสูตร์แสงจันทร์
บรรณานุกรม คณะกรรมการคาทอลิกเพื่อคริสตศาสนธรรม แผนกพระคัมภีร์. (2550). พระคัมภีร์ภาคพันธ สัญญาใหม่. กรุงเทพฯ: ม.ป.ท. ______. (2014). พระคัมภีร์คาทอลิก ฉบับสมบูรณ์. กรุงเทพฯ: ม.ป.ท. คณะอนุกรรมการคาทอลิกเพือ่ ผูส้ งู อายุ. (2546). พระศาสนจักรคาทอลิกกับผูส้ งู อายุ. กรุงเทพฯ: ม.ป.ท. ทัศไนย์ คมกฤส, บาทหลวง. (2555). เชิญฟังพระวาจา. กรุงเทพมหานคร: บริษทั เจ สไมล์ ดีไซน์ จ�ำกัด. ฟรังซิส, พระสันตะปาปา. (2560). พระสมณลิขติ เตือนใจ ความปีตยิ นิ ดีแห่งความรัก (AMORIS LAETITIA). สภาประมุขบาทหลวงโรมันคาทอลิกแห่งประเทศไทย, ผู้จัดพิมพ์. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์อัสสัมชัญ. ______. (2561). พระสมณลิขิตเตือนใจ จงชื่นชมยินดีเถิด (GAUDETE ET EXSULTATE). สภาประมุขบาทหลวงโรมันคาทอลิกแห่งประเทศไทย, ผู้จัดพิมพ์. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ อัสสัมชัญ. ยอห์น ปอล ที่ 2, พระสันตะปาปา. (2550). พระสมณสาส์น พระวรสารแห่งชีวิต (EVANGELIUM VITAE). ส�ำนักงานเจ้าคณะซาเลเซียน, ผู้จัดพิมพ์. กรุงเทพฯ: ศูนย์วรรณกรรมซาเลเซียน. มติชนออนไลน์. (2561). “โลกกับความท้าทายของสังคมผูส้ งู อายุ”. สืบค้นเมือ่ วันที ่ 23 กรกฎาคม 2562. สืบค้นได้จาก: https://www.matichon.co.th/foreign/indepth/news_789840 John Paul II. (2542). “Letter to the Elderly”. Accused on August 18, 2019. Available from http://w2.vatican.va/content/john-paul-ii/en/letters/1999/documents/ hf_jp-ii_let_01101999_elderly.html Pope Report. (2558). “ลูกหลานที่ไม่ดูแลพ่อแม่และผู้สูงอายุ ถือเป็นบาปหนัก”. สืบค้นเมื่อ วันที่ 18 สิงหาคม 2562. สืบค้นได้จาก: https://www.popereport.com/2015/03/ blog-post_52.html Pontifical Council for the laity documents. (2541). “The Dignity of Older People and Their Mission in the Church and in the World”. Accused on July 20, 2019. available from http://www.vatican.va/roman_curia/pontifical_councils/ laity/ documents/rc_pc_laity_doc_05021999_older-people_en.html ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2020/2563 167
ภาวะผู้นำ�แห่งการเปลี่ยนแปลงความสุข
ในการทำ�งาน และพฤติกรรมการทำ�งานตามเกณฑ์ มาตรฐานสถานศึกษาในระดับสากลของ WASC
Transformational Leadership, Happiness at Work, and Work Behavior According to International Education Institution Standard of WASC.w
ภาณุมาศ พิลาจันทร์ * นักศึกษาหลักสูตรพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และองค์การ คณะพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ รศ.ดร.วิชัย อุตสาหจิต * อาจารย์คณะพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ Panumat Pilajun * Student at Human Resource and Organization Development, Graduate School of Human Resource Development, National Institute of Development Administration. Assoc.Prof.Dr.Wichai Utsahajit * Lecturer at Graduate School of Human Resource Development, National Institute of Development Administration.
ข้อมูลบทความ
* รับบทความ 11 ธันวาคม 2561 * แจ้งแก้ไข 22 มกราคม 2562 * ตอบรับบทความ 4 กุมภาพันธ์ 2562
ภาณุมาศ พิลาจันทร์ และ วิชัย อุตสาหจิต
บทคัดย่อ
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา ภาวะผู้น�ำแห่งการเปลี่ยน แปลง ความสุขในการท�ำงาน และพฤติกรรมการท�ำงานตามเกณฑ์ มาตรฐานสถานศึ ก ษาในระดั บ สากลของ WASC ในด้ า นรู ป แบบ ความสัมพันธ์ และอ�ำนาจในการท�ำนายร่วมกัน โดยมีกลุ่มตัวอย่าง ที่ใช้ในการเก็บข้อมูล คือ บุคลากรกลุ่ม Faculty และกลุ่ม Classified Staff โรงเรียนร่วมฤดีวิเทศศึกษา จ�ำนวน 244 คน การเก็บข้อมูลโดย ใช้แบบสอบถาม 4 แบบสอบถาม ได้แก่ แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามภาวะผูน้ ำ� แห่งการเปลีย่ นแปลง แบบสอบถามความสุขใน การท�ำงาน และแบบสอบถามพฤติกรรมการท�ำงานตามเกณฑ์มาตรฐาน สถานศึกษาในระดับสากลของ WASC ผลการวิจยั พบว่า ภาวะผูน้ ำ� แห่งการเปลีย่ นแปลงมีความสัมพันธ์ เชิงบวกกับความสุขในการท�ำงาน ภาวะผูน้ ำ� แห่งการเปลีย่ นแปลงมีความ สัมพันธ์เชิงบวกกับพฤติกรรมการท�ำงานตามเกณฑ์มาตรฐานสถานศึกษา ในระดับสากลของ WASC ความสุขในการท�ำงานมีความสัมพันธ์กับ พฤติกรรมการท�ำงานตามเกณฑ์มาตรฐานสถานศึกษาในระดับสากลของ WASC และพฤติกรรมการท�ำงานตามเกณฑ์มาตรฐานสถานศึกษาใน ระดับสากลของ WASC สามารถท�ำนายได้โดยภาวะผูน้ ำ� แห่งการเปลีย่ น แปลงและความสุขในการท�ำงาน ข้อเสนอแนะจากการศึกษาในครั้งนี้ คือ โรงเรียนควรมีการพัฒนาในด้านต่างๆ ได้แก่ การจัดท�ำแผนการ ด�ำเนินงานตามวิสัยทัศน์และพันธกิจของโรงเรียน การจัดหาช่องทางให้ บุคลากรได้ถา่ ยทอดความรูซ้ งึ่ กันและกันทัง้ ภายในและภายนอกโรงเรียน การพัฒนาบุคลากร การเปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนร่วมพัฒนาโรงเรียน การให้ความส�ำคัญกับความสุขในการท�ำงานของพนักงาน และควรมีการ พัฒนารูปแบบการศึกษาเพื่อศึกษาแนวทางที่เหมาะสมในการพัฒนา องค์การตัวอย่างต่อไป ค�ำส�ำคัญ: ภาวะผูน้ ำ� แห่งการเปลีย่ นแปลง, ความสุขในการท�ำงาน, Western Association of Schools and Colleges (WASC) ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2020/2563 169
ภาวะผูน้ �ำ แห่งการเปลีย่ นแปลงความสุขในการทำ�งาน และพฤติกรรมการทำ�งานตามเกณฑ์มาตรฐาน สถานศึกษาในระดับสากลของ WASC
Abstract
The purpose of this research was to examine the relation among and the prediction of Transformational Leadership and Happiness at Work on Work Behavior According to International Education Institution Standard of WASC. The sample group was 244 employees which were Faculty and Classified Staff, from Ruamrudee International School. The data were collected using research instruments including; General information about the respondent, Leadership Style (The School Administrators), Happinometer: Happiness You Can Self-Measure, and Work Behavior According to International Education Institution Standard of WASC. Results revealed that there were positive relationships between Transformational Leadership and Happiness at Work, Transformational Leadership and Work Behavior According to International Education Institution Standard of WASC, Happiness at Work and Work Behavior According to International Education Institution Standard of WASC. And also, Work Behavior According to International Education Institution Standard of WASC could be predicted by Transformational Leadership and Happiness at Work. Results found in this study recommended that the school should implement these following processes; planning all working processes following the school vision and mission, finding multiple inside and outside communication way for all staff to share their knowledge among themselves, providing professional development for all staff, making sure that all
170 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
ภาณุมาศ พิลาจันทร์ และ วิชัย อุตสาหจิต
school stakeholders involve in a development of the school, and paying attention to the happiness of all staff. Finally, the recommendation for further study was to find development methods suitable for developing the sample organization. Keywords: Transformational Leadership Happiness at Work Western Association of Schools and Colleges (WASC)
ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2020/2563 171
ภาวะผูน้ �ำ แห่งการเปลีย่ นแปลงความสุขในการทำ�งาน และพฤติกรรมการทำ�งานตามเกณฑ์มาตรฐาน สถานศึกษาในระดับสากลของ WASC
บทน�ำ ปัจจุบนั ในยุคแห่งโลกาภิวตั น์ทที่ กุ อย่าง มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและรุนแรง ทั้งในด้านความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีรวมไป ถึงเครือ่ งมืออุปกรณ์ตา่ งๆ ล้วนมีความทันสมัย ส่งผลโดยตรงต่อองค์การทั้งภาครัฐและภาค เอกชนที่จะต้องเผชิญหน้ากับการแข่งขันทาง ธุ ร กิ จ และการประกอบกิ จ การในการน� ำ เทคโนโลยีมาใช้เพือ่ ความก้าวหน้าและการเป็น ผู้น�ำ ผู้น�ำหรือผู้บริหารจึงมีความส�ำคัญเป็น อย่างมากเพราะเป็นผู้ก�ำหนด ทิ ศ ทางการด� ำ เนิ น งานทั้ ง หมดของ องค์การ ท�ำให้ผู้น�ำถูกเรียกร้องให้มีวิสัยทัศน์ ความรู ้ ความสามารถ และมีภาวะผูน้ ำ � (Leadership) (Yukl, 2006: 5) ในการบริหารงานให้ องค์การสามารถด�ำเนินงานให้บรรลุวตั ถุประสงค์ ขององค์ ก าร เพราะผู ้ น� ำ มี ภ าระหน้ า ที่ แ ละ ความรับผิดชอบโดยตรงที่จะต้องวางแผนสั่ง การดูแลและควบคุมให้บุคลากรขององค์การ ปฏิบตั งิ านต่างๆ ให้ประสบความส�ำเร็จตามเป้า หมายและวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ นอกจากการที่ ผู ้ น� ำ ภายในองค์ ก าร จ�ำเป็นที่จะต้องมีภาวะผู้น�ำที่พึงประสงค์แล้ว การท�ำงานจ�ำเป็นทีจ่ ะต้องมีความสุข (Happiness) ควบคู่ไปด้วย เพราะความสุขมีผลต่อ การพัฒนาบุคคลและองค์การไปในทิศทางที่ดี อี ก ทั้ ง ยั ง สามารถเป็ น แนวทางการพั ฒ นา
172 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
องค์ ก ารและประเทศได้ ใ นอนาคต ซึ่ ง สอด คล้องกับพระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จ พระปรมิ นทรมหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช (2523) พระราชทานแก่ นั ก ศึ ก ษามหาวิ ท ยาลั ย ศรีนครินทรวิโรฒ วิทยาเขตสงขลา ไว้ว่า “…ทุกคนมีจิตใจที่ปรารถนาความสุข หรือความส�ำเร็จ แต่การหาความสุขหรือความ ส�ำเร็จนี้ ย่อมต้องเหนื่อย เหนื่อยแน่ ไม่มีใคร ที่มีความสุขหรือความส�ำเร็จได้โดยไม่เหนื่อย ถ้าไม่อยากที่จะเหนื่อยก็ต้องฝึกฝนก�ำลัง การ ฝึกต้องฝึกจิตใจให้ดี ถ้าฝึกจิตใจให้ดี ไม่ให้ ขี้เกียจ ให้รู้จักว่างานเป็นอย่างไรแล้ว ก็เชื่อว่า ถ้าท�ำงานอย่างนั้นก็จะได้ผลดี เป็นต้น ก็จะ ท�ำให้มีความส�ำเร็จ ร่างกายและจิตใจจะแข็ง แรงพร้อมกัน…” ในส่วนของ “ความสุขในการท�ำงาน” (Happiness at Work) เป็นประสบการณ์ความ รู้สึงเชิงบวกบ่อยครั้งและความรู้สึกเชิงลบน้อย ครั้ง ภาพรวมของความรู้สึกจะสามารถสัมผัส ได้ถึง ความพึงพอใจในชีวิตทั้งครบ (Myers & Diener, 1995) เป็นความรูส้ กึ ภายในจิตใจของ ผูท้ ำ� งานหรือพนักงานทีต่ อบสนองต่อเหตุการณ์ หรือสภาพการณ์ทเี่ ป็นอยูใ่ นทีท่ ำ� งาน (ศิรนิ นั ท์ กิตติสขุ สถิต และคณะ, 2555) โดยความสุขใน การท�ำงานจะขึ้นอยู่กับคุณภาพชีวิตและความ เป็นอยู่ในการท�ำงาน
ภาณุมาศ พิลาจันทร์ และ วิชัย อุตสาหจิต
องค์ ก ารที่ น ่ า สนใจองค์ ก ารหนึ่ ง คื อ โรงเรียนนานาชาติซึ่งถูกจัดให้อยู่ในส่วนของ โรงเรี ย นเอกชนในระบบ โดยเป็ น โรงเรี ย น ที่ท�ำการศึกษาผ่านการเรียนการสอนโดยใช้ หลักสูตรต่างประเทศหรือหลักสูตรต่างประเทศ ที่ถูกน�ำมาปรับปรุงรายละเอียดของหลักสูตร ตามรายวิชา ซึ่งโรงเรียนร่วมฤดีวิเทศศึกษา (Ruamrudee International School) เป็น โรงเรียนนานาชาติแห่งหนึ่งที่บริหารงานโดย คณะสงฆ์พระมหาไถ่และขึ้นอยู่กับสภาการ ศึกษาคาทอลิกแห่งประเทศไทยภายใต้การดูแล ของส� ำ นั ก งานคณะกรรมการศึ ก ษาเอกชน (สช.) และกระทรวงศึกษาธิการ (Recruitment Handbook 2017-2018, 2016) และเพื่อที่ จะให้โรงเรียนมีชอื่ เสียงและเป็นทีย่ อมรับ รวม ไปถึ ง เป็ น ไปตามพระราชบั ญ ญั ติ ก ารศึ ก ษา แห่งชาติ พ.ศ.2542 โรงเรียนจะต้องมีระบบ ประเมินคุณภาพการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพ และมาตรฐานการศึกษาในทุกระดับ ประกอบ ด้วยระบบประกันคุณภาพภายในและระบบ ประกันคุณภาพภายนอก ซึง่ ถือว่าเป็นส่วนหนึง่ ของกระบวนการบริ ห ารการศึ ก ษาที่ ส ถาน ศึ ก ษาต้ อ งด� ำ เนิ น การอย่ า งสม�่ ำ เสมอและมี ความต่อเนื่อง (กรมวิชาการ, 2541: 1-2) การประเมินคุณภาพการศึกษาเพือ่ ทีจ่ ะ ได้รับการรับรองมาตรฐานสถานศึกษานั้นมี หลากหลายสถาบันและองค์การทัง้ ในและนอก
ประเทศที่ท�ำหน้าที่นี้ ซึ่ง Western Association of Schools and Colleges (WASC) สถาบันรับรองมาตรฐานสถานศึกษาในระดับ สากลจากประเทศสหรัฐอเมริกาเป็นอีกหน่วย งานรั บ รองมาตรฐานการศึ ก ษาสถาบั น การ ศึกษาที่ได้รับการยอมรับและเป็นที่ไว้วางใจใน ระดับสากล โดยการประเมินคุณภาพการศึกษา ของ WASC นัน้ จะมุง่ เน้นทีก่ ารให้ความส�ำคัญ ของการเรียนการสอนที่มุ่งเน้นนักเรียนเป็น ศูนย์กลาง (Child-Centered Learning) มุ่ง เน้ น ให้ นั ก เรี ย นเกิ ด การเรี ย นรู ้ อ ย่ า งแท้ จ ริ ง (Bay Area Web Solutions, 2015) และสิ่ง ส�ำคัญที่สถาบันใดๆ ก็ตามที่ต้องการได้รับการ รั บ รองมาตรฐาน จะต้ อ งมี พ ฤติ ก รรมการ ท� ำ งานตามเกณฑ์ ม าตรฐานทั้ ง ในส่ ว นของ สถานศึ ก ษาและบุ ค ลากรทุ ก ภาคส่ วน และ โรงเรียนร่วมฤดีวิเทศศึกษาก็เป็นโรงเรียนแห่ง หนึ่งที่ได้รับการรับรองมาตรฐานสถานศึกษา จาก WASC เช่นเดียวกัน ผูน้ ำ� ของทุกองค์การหรือทีใ่ นองค์การจะ นิยมเรียกโดยใช้คำ� ว่าผูบ้ ริหารนัน้ โดยโรงเรียน ร่วมฤดีวิเทศศึกษาได้ให้ค�ำจ�ำกัดความหรือ ระดับของบุคลากรที่อยู่ในต�ำแหน่งผู้น�ำหรือ ผู้บริหารระดับสูง คือ Administrator ในส่วน ของการบริ ห ารงานในฐานะที่ เ ป็ น ผู ้ น� ำ นั้ น ผู้บริหารระดับสูงได้เล็งเห็นความส�ำคัญของ การพัฒนาศักยภาพและแนวทางการบริหาร
ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2020/2563 173
ภาวะผูน้ �ำ แห่งการเปลีย่ นแปลงความสุขในการทำ�งาน และพฤติกรรมการทำ�งานตามเกณฑ์มาตรฐาน สถานศึกษาในระดับสากลของ WASC
งานให้ดียิ่งขึ้นอย่างต่อเนื่อง อีกทั้งเปิดโอกาส ให้ทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องกับโรงเรียนมีส่วน ร่วม ซึ่งผู้บริหารโรงเรียนได้ให้ความส�ำคัญกับ เรือ่ งการพัฒนาองค์การและบุคลากรเป็นอย่าง มาก ผ่านทางโครงการฝึกอบรมต่างๆ ทีจ่ ดั ขึน้ ให้กบั พนักงานภายใต้แนวคิด “Happy Workplace” ซึง่ เป็นนโยบายทีม่ าจากผูบ้ ริหารระดับ สูงโดยตรง ซึ่งจากข้อมูลต่างๆ ที่กล่าวมาข้าง ต้ น นี้ ดั ง นั้ น จะเห็ น ได้ ว ่ า ทางโรงเรี ย นและ ผู้บริหารได้ให้ความส�ำคัญทั้งในส่วนของการ ด�ำเนินงานและมีความจ�ำเป็นที่จะต้องเสริม สร้างพฤติกรรมการท�ำงานตามเกณฑ์มาตรฐาน สถานศึกษาในระดับสากลของ WASC การให้ ความส�ำคัญกับการพัฒนาการบริหารงานของ ผูบ้ ริหาร และการให้ความส�ำคัญกับความสุขใน การท�ำงานของพนักงานเป็นอย่างมาก ดังนั้น ผู้วิจัยจึงมีความสนใจที่จะศึกษา ถึงภาวะผู้น�ำแห่งการเปลี่ยนแปลงความสุขใน การท� ำ งาน และพฤติ ก รรมการท� ำ งานตาม เกณฑ์มาตรฐานสถานศึกษาในระดับสากลของ Western Association of Schools and Colleges (WASC) ซึ่งข้อมูลจากการศึกษา สามารถใช้ เ ป็ น แนวทางในการพั ฒ นาและ ปรับปรุงการบริหารองค์การโดยรวมทัง้ ในส่วน ของพฤติกรรมการท�ำงานของบุคลากรทุกภาค ส่วน รวมไปถึงการวางรากฐานการสร้างความ สุขในการท�ำงานภายในองค์การและมากไปกว่า
174 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
นั้นข้อมูลที่ได้รับจากงานวิจัยนี้จะสามารถน�ำ ไปใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาภาวะผู้น�ำของ ผู้บริหารและหัวหน้างาน เพื่อการก้าวขึ้นเป็น สถานศึกษาชั้นน�ำรวมไปถึงการเปลี่ยนแปลง ด้านต่างๆ ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาภาวะผู้น�ำแห่งการเปลี่ยน แปลงของผู้บริหาร ความสุขในการท�ำงานของ บุคลากร และพฤติกรรมการท�ำงานตามเกณฑ์ มาตรฐานสถานศึ ก ษาในระดั บ สากลของ WASC ของบุคลากร 2. เพือ่ ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะ ผู ้ น� ำ แห่ ง การเปลี่ ย นแปลงความสุ ข ในการ ท�ำงาน และพฤติกรรมการท�ำงานตามเกณฑ์ มาตรฐานสถานศึกษาในระดับสากลของ WASC 3. เพื่อศึกษาอ�ำนาจในการท�ำนายร่วม กันของภาวะผู้น�ำแห่งการเปลี่ยนแปลงและ ความสุขในการท�ำงานที่มีต่อพฤติกรรมการ ท� ำ งานตามเกณฑ์ ม าตรฐานสถานศึ ก ษาใน ระดับสากลของ WASC ระเบียบวิธีวิจัย ประชากรและกลุม่ ตัวอย่างทีใ่ ช้ในการ วิจัย ประชากรที่ใช้ในการศึกษาวิจัยครั้งนี้ คือ บุคลากรโรงเรียนร่วมฤดีวิเทศศึกษา จ�ำนวน 354 คน ได้แก่ กลุม่ ครู (Faculty) กลุม่ พนักงาน
ภาณุมาศ พิลาจันทร์ และ วิชัย อุตสาหจิต
(Classified Staff) และกลุม่ นักการ (Janitorial Staff) โดยแบ่งเป็นบุคลากรชาวไทยจ�ำนวน 219 คน และบุคลากรชาวต่างชาติจำ� นวน 135 คน กลุ่มตัวอย่างของประชากรในการวิจัย เชิงปริมาณนี้ ผู้วิจัยได้ใช้กรอบการเลือกกลุ่ม ตั ว อย่ า งจากบุ ค ลากรโรงเรี ย นร่ ว มฤดี วิ เ ทศ ศึกษา โดยผู้วิจัยใช้วิธีการเลือกกลุ่มตัวอย่าง แบบเจาะจง (Purposive Sampling) โดยจะ ใช้กลุ่มตัวอย่างทั้งหมด 2 กลุ่ม คือ กลุ่มครู (Faculty) และกลุ ่ ม พนั ก งาน (Classified Staff) รวมจ�ำนวน 244 คน เนื่องจากกลุ่ม นักการ (Janitorial Staff) จะขาดความรู้และ ความเข้ า ใจในแนวทางการด� ำ เนิ น งานของ WASC เนือ่ งจากไม่ได้ทำ� งานในส่วนทีเ่ กีย่ วข้อง ท�ำให้ไม่สามารถให้ขอ้ มูลทีถ่ กู ต้องได้ ทัง้ นีก้ ลุม่ ครู (Faculty) ไม่รวมกลุ่มผู้บริหารโรงเรียน จ�ำนวน 11 คน ตัวแปรที่ใช้ในการวิจัย ตัวแปรอิสระ (Independent Variables) 1. ภาวะผู ้ น� ำ แห่ ง การเปลี่ ย นแปลง (Bass and Avolio, 1994) ได้แก่ 1) ผู้นํา ประพฤติตนเป็นแบบอย่าง 2) ผู้นําสร้างแรง บันดาลใจ 3) ผู้น�ำส่งเสริมให้พนักงานมีความ คิดริเริ่ม และ 4) ผู้น�ำมอบหมายงานที่ท้าทาย ให้แก่พนักงาน
2. ความสุขในการท�ำงาน (ศิรนิ นั ท์ กิตติ สุขสถิต และคณะ, 2555) ได้แก่ 1) สุขภาพดี 2) ผ่อนคลายดี 3) น�้ำใจดี 4) จิตวิญญาณดี 5) ครอบครัวดี 6) สังคมดี 7) ใฝ่รู้ดี 8) การ เงินดี และ 9) การงานดี ตัวแปรตาม (Dependent Variables) พฤติกรรมการท�ำงานตามเกณฑ์มาตร ฐานสถานศึ ก ษาในระดั บ สากลของ WASC (Accrediting Commission for Schools Western Association of Schools and Colleges, 2016: 65-119) ได้แก่ 1) องค์การ เพื่อการเรียนรู้ส�ำหรับนักเรียน 2) หลักสูตร การเรียนการสอน และการประเมินผล 3) การ ส่ ง เสริ ม และสนั บ สนุ น ด้ า นทั ก ษะชี วิ ต และ การเติบโตด้านการศึกษาของนักเรียน และ 4) วัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อมภายในโรงเรียน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล (Personal Data) คือ แบบสอบถามเพือ่ เก็บข้อมูล ทั่วไปของกลุ่มตัวอย่างที่ต้องการท�ำการศึกษา ในส่ ว นของ เพศ อายุ วุ ฒิ ก ารศึ ก ษา กลุ ่ ม ต�ำแหน่งงาน และประสบการณ์การท�ำงาน แบบสอบถามภาวะผูน้ ำ� แห่งการเปลีย่ น แปลง (Tranformational Leadership) คือ แบบสอบถามทีถ่ กู พัฒนามาจากแบบสอบถาม ภาวะผู้น�ำของ เฉลา ระโหฐาน (2553) ซึ่ง สร้างเครื่องมือการวัดภาวะผู้นําแบบพัฒนา (แห่งการเปลี่ยนแปลง) ตามแนวคิดของ Bass
ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2020/2563 175
ภาวะผูน้ �ำ แห่งการเปลีย่ นแปลงความสุขในการทำ�งาน และพฤติกรรมการทำ�งานตามเกณฑ์มาตรฐาน สถานศึกษาในระดับสากลของ WASC
แบบสอบถามความสุ ข ในการท� ำ งาน (Happiness at Work) คื อ “แบบส� ำ รวจ ความสุข: HAPPINOMETER” แบบสอบถาม ชิน้ นีเ้ ป็นผลงานของสถาบันวิจยั ประชากรและ สังคมของมหาวิทยาลัยมหิดล แบบสอบถามพฤติกรรมการท�ำงานตาม เกณฑ์มาตรฐานสถานศึกษาในระดับสากลของ WASC (Work Behavior According to International Education Institution Standard of WASC) คือ แบบสอบถามที่ถูก สร้างและออกแบบมาจากข้อมูลที่ได้จากการ สัมภาษณ์แบบกึง่ โครงสร้าง (Semi-Structure Interview) โดยท�ำการสัมภาษณ์กับกลุ่มตัว อย่ า งที่ ถู ก เลื อ กอย่ า งเจาะจง (Purposive Sampling) จ�ำนวน 7 คน แล้วน�ำข้อมูลมา สร้างเป็นแบบสอบถามให้ผู้เชี่ยวชาญท�ำการ ประเมินความเทีย่ งตรง (IOC: Index of Item Objective Congruence) และท�ำการปรับ ปรุงแก้ไขพร้อมทั้งแปลแบบสอบถามทั้งหมด เป็นภาษาอังกฤษ เพือ่ ใช้กบั กลุม่ ตัวอย่างทีเ่ ป็น ชาวต่างชาติ การพัฒนาและการตรวจสอบคุณภาพเครื่อง มือที่ใช้ในการศึกษา ผูว้ จิ ยั ได้ทำ� การตรวจสอบโดยการทดสอบ ความเที่ยงตรง (Validity) และความเชื่อมั่น (Reliability) โดยการน�ำไปใช้งานจริงกับกลุ่ม
176 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
ตัวอย่าง จ�ำนวน 30 คน แล้วท�ำการตรวจสอบ ความเชื่อมั่นตามวิธีการ Alpha Coeffient ของ Conbach (Conbach's alpha coefficient) โดยมีคา่ ความเชือ่ มัน่ ของแบบสอบถาม ทั้งฉบับ คือ .916 การวิ เ คราะห์ ข ้ อ มู ล และสถิ ติ ที่ ใช้ ใ นการ วิเคราะห์ข้อมูล การวิ เ คราะห์ ข ้ อ มู ล งานวิ จั ย จาก แบบสอบถามโดยใช้ ส ถิ ติ เ ชิ ง พรรณนา (Descriptive Statistics) โดยใช้การหาค่า ความถี่ (Frequency) ค่ า เฉลี่ ย (Mean) ร้อยละ (Percentage) และส่วนเบี่ยนเบน มาตรฐาน (Standard Deviation) ผนวกกับ ค่ า คะแนนเฉลี่ ย ส� ำ เร็ จ รู ป ที่ ไ ด้ จ าก HAPPINOMETER Excel Programme (HEP) ของ ความสุ ข ในการท� ำ งาน รวมถึ ง การทดสอบ ความแตกต่างของ 2 กลุ่มที่เป็นอิสระต่อกัน (Independent Sample t-test) และสถิตเิ ชิง อนุ ม าน (Inferential Statistics) โดยวิ ธี Pearson’s Correlation Coefficient เพือ่ หา ระดั บ ความสั ม พั น ธ์ และวิ ธี Multiple Regression Analysis: Stepwise เพื่อการ วิเคราะห์หาอ�ำนาจในการท�ำนาย
ภาณุมาศ พิลาจันทร์ และ วิชัย อุตสาหจิต
ผลการศึกษาและการวิเคราะห์ข้อมูล ผลการศึกษาองค์ประกอบของภาวะ ผู้น�ำแห่งการเปลี่ยนแปลงพบว่า องค์ประกอบ โดยรวมมีคา่ เฉลีย่ 3.96 และเมือ่ พิจารณาเป็น รายองค์ประกอบพบว่า ด้านผู้น�ำสร้างแรง บันดาลใจมีคา่ เฉลีย่ สูงทีส่ ดุ คือ 4.00 รองลงมา คือองค์ประกอบด้านผูน้ ำ� ส่งเสริมให้พนักงานมี ความคิดริเริม่ ซึง่ มีคา่ เฉลีย่ 3.97 องค์ประกอบ ด้านผู้น�ำประพฤติตนเป็นแบบอย่างมีค่าเฉลี่ย 3.94 และองค์ประกอบด้านผูน้ ำ� มอบหมายงาน ที่ท้าทายให้แก่พนักงานซึ่งมีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด คือ 3.92 ผลการศึกษาองค์ประกอบความสุขใน การท�ำงานพบว่า องค์ประกอบโดยรวมมีค่า เฉลี่ย 74.51 ซึ่งหมายความว่ามีความสุข และ เมื่ อ พิ จ ารณาองค์ ป ระกอบย่ อ ยพบว่ า ด้ า น ครอบครัวดีมีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด คือ 83.54 ซึ่ง หมายความว่ามีความสุขอย่างยิง่ รองลงมา คือ ด้านใฝ่รู้ดีมีค่าเฉลี่ย 78.59 ซึ่งหมายความว่ามี ความสุขอย่างยิง่ ด้านสังคมดีมคี า่ เฉลีย่ 76.97 ซึ่งหมายความว่ามีความสุขอย่างยิ่ง ด้านการ งานดี มี ค ่ า เฉลี่ ย 76.95 ซึ่ ง หมายความว่ า มี ความสุขอย่างยิ่ง ด้านผ่อนคลายดีมีค่าเฉลี่ย 75.04 ซึ่งหมายความว่ามีความสุขอย่างยิ่ง ด้านจิตวิญญาณดีมีค่าเฉลี่ย 74.89 ซึ่งหมาย ความว่ า มี ค วามสุ ข ด้ า นน�้ ำ ใจดี มี ค ่ า เฉลี่ ย 73.52 ซึ่งหมายความว่ามีความสุข ด้านการ เงินดีมคี า่ เฉลีย่ 70.15 ซึง่ หมายความว่ามีความ
สุข และด้านสุขภาพดีมีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด คือ 60.91 ซึ่งหมายความว่ามีความสุข ผลการศึกษาพฤติกรรมการท�ำงานตาม เกณฑ์มาตรฐานสถานศึกษาในระดับสากลของ WASC พบว่า องค์ประกอบโดยรวมมีค่าเฉลี่ย 4.08 และเมือ่ พิจารณาองค์ประกอบย่อยพบว่า ด้านการส่งเสริมและสนับสนุนด้านทักษะชีวิต และการเติบโตด้านการศึกษาของนักเรียนมีคา่ เฉลี่ยสูงที่สุด คือ 4.14 รองลงมาคือด้านหลัก สูตร การเรียนการสอน และการประเมินผล มีค่าเฉลี่ย 4.08 ด้านองค์การเพื่อการเรียนรู้ ส�ำหรับนักเรียน และด้านวัฒนธรรมและสิ่ง แวดล้อมภายในโรงเรียนทั้งสองด้านมีค่าเฉลี่ย น้อยที่สุด คือ 4.07 การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะ ผู้น�ำแห่งการเปลี่ยนแปลงและความสุขในการ ท�ำงาน พบว่า ภาวะผูน้ ำ� แห่งการเปลีย่ นแปลง และความสุขในการท�ำงานมีความสัมพันธ์กัน โดยรวมอย่ า งมี นั ย ส� ำ คั ญ ทางสถิ ติ ที่ ร ะดั บ 0.00 (r = .392) การวิ เ คราะห์ ค วามสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า ง ภาวะผูน้ ำ� แห่งการเปลีย่ นแปลงและพฤติกรรม การท�ำงานตามเกณฑ์มาตรฐานสถานศึกษาใน ระดับสากลของ WASC พบว่า ภาวะผู้น�ำแห่ง การเปลีย่ นแปลงและพฤติกรรมการท�ำงานตาม เกณฑ์มาตรฐานสถานศึกษาในระดับสากลของ WASC ความสั ม พั น ธ์ กั น ทั้ ง โดยรวมอย่ า งมี นัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.00 (r = .452)
ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2020/2563 177
ภาวะผูน้ �ำ แห่งการเปลีย่ นแปลงความสุขในการทำ�งาน และพฤติกรรมการทำ�งานตามเกณฑ์มาตรฐาน สถานศึกษาในระดับสากลของ WASC
การวิ เ คราะห์ ค วามสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า ง ความสุ ข ในการท� ำ งานและพฤติ ก รรมการ ท� ำ งานตามเกณฑ์ ม าตรฐานสถานศึ ก ษาใน ระดับสากลของ WASC พบว่าความสุขในการ ท�ำงานและพฤติกรรมการท�ำงานตามเกณฑ์ มาตรฐานสถานศึ ก ษาในระดั บ สากลของ WASC มี ค วามสั ม พั น ธ์ กั น โดยรวมอย่ า งมี นัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.00 (r = .478) ผลการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณโดยรวม ของพฤติกรรมการท�ำงานตามเกณฑ์มาตรฐาน สถานศึกษาในระดับสากลของ WASC โดยน�ำ เอาภาวะผู้น�ำแห่งการเปลี่ยนแปลงและความ สุขในการท�ำงานร่วมกันท�ำนายพฤติกรรมการ ท� ำ งานตามเกณฑ์ ม าตรฐานสถานศึ ก ษาใน ระดับสากลของ WASC พบว่ามีคา่ สัมประสิทธิ์ ความเชื่ อ มั่ น (R 2) เท่ า กั บ 0.311 นั่ น คื อ สามารถท� ำ นายพฤติ ก รรมการท� ำ งานตาม เกณฑ์มาตรฐานสถานศึกษาในระดับสากลของ WASC ได้รอ้ ยละ 31.1 (F = 52.867, P< 0.01) และมีค่าสัมประสิทธิ์ความถดถอยมาตรฐาน เท่ากับ (β) เท่ากับ 0.355 และ 0.313 อภิปรายผลการวิจัย การศึ ก ษาภาวะผู ้ น� ำ แห่ ง การเปลี่ ย น แปลง ความสุขในการท�ำงาน และพฤติกรรม การท�ำงานตามเกณฑ์มาตรฐานสถานศึกษาใน ระดับสากลของ WASC จากการวิเคราะห์ขอ้ มูล สามารถอภิปรายผลการวิจัยได้ดังนี้ 178 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
1. ภาวะผู้น�ำแห่งการเปลี่ยนแปลงมี ความสัมพันธ์เชิงบวกกับความสุขในการท�ำงาน จากผลการศึกษาสามารถอภิปรายได้วา่ ผูน้ ำ� ที่ มีภาวะผู้น�ำแห่งการเปลี่ยนแปลงสามารถส่ง เสริมและสร้างให้เกิดความสุขในสถานทีท่ ำ� งาน ได้ ตามที่ ลัทธิกาล ศรีวะรมย์ (2538: 433) กล่าวว่าผู้ที่มีภาวะผู้น�ำจะเป็นผู้ตัดสินใจเพื่อ ก�ำหนดแนวทางในการแก้ไขปัญหา วางแผน และรับผิดชอบต่อความอยูร่ อดหรือการพัฒนา องค์การและพนักงาน ท�ำให้เกิดการเปลี่ยน แปลงภายในองค์การ (บุษยา วีรกุล, 2558: 8) และสามารถท�ำให้กลยุทธ์ที่ได้วางไว้ตามวิสัย ทัศน์ขององค์การส�ำเร็จ โดยใช้การปรับเปลีย่ น ให้เข้ากับสถานการณ์ที่เป็นอยู่อย่างเหมาะสม ที่สุด อีกทั้งยังสามารถท�ำให้พนักงานภายใน องค์การเกิดความสนใจและยินดีรว่ มมือปฏิบตั ิ ตามแผนงาน (วิชัย อุตสาหจิต และลัญชกร คําศรี, 2554) จากการที่ผู้น�ำสามารถท�ำให้ พนั ก งานยอมรั บ ในแนวการปฏิ บั ติ แ ละการ ท�ำงานของผูน้ ำ � ท�ำให้เมือ่ ผูน้ ำ� แนะน�ำหรือมอบ หมายงานพนักงานจะน�ำไปปฏิบัติตาม ซึ่งจะ ส่ ง ผลโดยตรงกั บ พนั ก งานในการเกิ ด ความ ผู ก พั น ความรู ้ สึ ก ภาคภู มิ ใจในตนเอง และ เป็นการให้โอกาสพนักงานได้พัฒนาความคิด ริเริ่มสร้างสรรค์ มีโอกาสก้าวหน้าในหน้าที่ อาชีพการงาน ซึ่งเป็นปัจจัยส�ำคัญอย่างหนึ่งที่ มีผลต่อขวัญและก�ำลังใจในการท�ำงาน ซึ่งจะ ตามมาด้ ว ยการเกิ ด ความสุ ข ในการท� ำ งาน
ภาณุมาศ พิลาจันทร์ และ วิชัย อุตสาหจิต
อีกทั้งงานวิจัยของ Ozaralli (2003) พบว่า พฤติ ก รรมของผู ้ น� ำ แห่ ง การเปลี่ ย นแปลง และปริมาณการให้กระจายอ�ำนาจของผู้น�ำสู่ พนักงานมีผลต่อประสิทธิภาพในการท�ำงาน และผลงานของทีม เกิดการสร้างนวัตกรรมใหม่ การสื่อสารภายในและภายนอกองค์การที่มี ประสิทธิภาพ ซึง่ ปัจจัยเหล่านีล้ ว้ นส่งเสริมและ ส่ ง ผลให้ เ กิ ด ความสุ ข ในการท� ำ งานของ พนักงาน 2. ภาวะผู้น�ำแห่งการเปลี่ยนแปลงมี ความสัมพันธ์เชิงบวกกับพฤติกรรมการท�ำงาน ตามเกณฑ์มาตรฐานสถานศึกษาในระดับสากล ของ WASC จากผลการศึกษาสามารถอภิปราย ได้ว่า ผู้น�ำที่มีภาวะผู้น�ำแห่งการเปลี่ยนแปลง สามารถส่งเสริมและสร้างให้เกิดพฤติกรรมการ ท� ำ งานตามเกณฑ์ ม าตรฐานสถานศึ ก ษาใน ระดับสากลของ WASC ตามที ่ วิชยั อุตสาหจิต และลัญชกร คําศรี (2554) น�ำเสนอแนวคิด ด้านคุณสมบัติหรือลักษณะของผู้น�ำที่สามารถ ท� ำ ให้ ก ลยุ ท ธ์ ที่ ไ ด้ ว างไว้ ต ามวิ สั ย ทั ศ น์ ข อง องค์การให้ส�ำเร็จและสามารถท�ำให้บุคลากร ภายในองค์การเกิดความสนใจและยินดีรว่ มมือ ปฏิบัติตามแผนงาน โดยผู้น�ำเป็นกุญแจส�ำคัญ ในการส่งเสริมและสร้างให้เกิดพฤติกรรมการ ท�ำงานทั้งหมดขององค์การ ซึ่งตรงกับ Burns (1978) ที่ได้เสนอแนวคิดที่ว่า ผู้น�ำแห่งการ เปลี่ยนแปลงจะแสวงหาแนวทางที่จะกระตุ้น
การท�ำงานของผูใ้ ต้บงั คับบัญชาให้ดขี นึ้ อยูเ่ สมอ ซึง่ พฤติกรรมในการท�ำงานจะส่งผลและสะท้อน ไปถึงประสิทธิภาพและประสิทธิผลขององค์การ อีกทั้งข้อมูลจาก Accrediting Commission for Schools Western Association of Schools and Colleges (2016: 65-119) กล่าวถึง ผูบ้ ริหารหรือผูน้ ำ� ของสถานศึกษาผูน้ ำ� ที่มีภาวะผู้น�ำที่ดีจะท�ำการด�ำเนินการพัฒนา และปรับปรุงแผนการปฏิบัติงาน มีการตัดสิน ใจที่จะท�ำให้กิจกรรมต่างๆ ของสถานศึกษา สามารถด�ำเนินไปได้อย่างราบรื่น ซึ่งจะมุ่งเป้า ไปที่ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาของนักเรียนและ การกระจายอ�ำนาจสู่บุคลากร รวมทั้งมีการ กระตุ้นและเปิดโอกาสให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุก ภาคส่วนกับสถานศึกษาในการให้การส่งเสริม และสนับสนุนการด�ำเนินการของสถานศึกษา พร้อมทัง้ จะต้องมีการติดตามผลการด�ำเนินการ ของแผนการปฏิบัติงานอีกด้วย 3. ความสุขในการท�ำงานมีความสัมพันธ์ เชิงบวกกับพฤติกรรมการท�ำงานตามเกณฑ์ มาตรฐานสถานศึกษาในระดับสากลของ WASC จากผลการศึ ก ษาสามารถอภิ ป รายได้ ว ่ า พนักงานทีม่ คี วามสุขในการท�ำงานมีพฤติกรรม การท�ำงานตามเกณฑ์มาตรฐานสถานศึกษา ในระดับสากลของ WASC ได้เป็นอย่างดี และ ตามมุ ม มองของ Manion (2003) ซึ่ ง สอด คล้องกับแนวคิดของ Diener (2003 อ้างถึงใน
ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2020/2563 179
ภาวะผูน้ �ำ แห่งการเปลีย่ นแปลงความสุขในการทำ�งาน และพฤติกรรมการทำ�งานตามเกณฑ์มาตรฐาน สถานศึกษาในระดับสากลของ WASC
จงจิต เลิศวิบูลย์มงคล, 2547: 26) นั้น ความ สุขในการท�ำงาน ความพึงพอใจในการท�ำงาน จะน�ำไปสูพ่ ฤติกรรมการท�ำงานทีต่ งั้ ใจและงาน มีประสิทธิภาพ ซึง่ เกิดจากผลของการกระท�ำที่ จะส่งผลต่อการเรียนรู้และความคิดสร้างสรรค์ จนเกิดเป็นการท�ำงานอย่างมีความสุข สนุก สนาน เกิ ด เป็ น ความผู ก พั น ธ์ แ ละต้ อ งการ ท� ำ งาน อี ก ทั้ ง ยั ง ส่ ง ผลดี ต ่ อ ภาพรวมของ องค์ ก ารที่ มีบรรยากาศแห่งความสุขในการ ท� ำ งาน โดยความสุ ข ในการท� ำ งานนั้ น เป็ น ประสบการณ์ แ ละความรู ้ สึ ก ของคนท� ำ งาน ที่ ต ้ อ งการให้ เ ป็ น ที่ รั ก ยกย่ อ งและยอมรั บ จากบุคคลอื่น การได้ท�ำงานที่มั่นคง มีความ ก้าวหน้าและโอกาสในการพัฒนาตนเอง การมี ผูน้ ำ� ทีม่ คี วามเมตตาและกรุณาให้การสนับสนุน รวมไปถึงมีผู้ร่วมงานที่ดีและจริงใจ การได้รับ ค่าตอบแทนและสวัสดิการที่เหมาะสมและพอ เพียงกับความต้องการ และการรู้สึกปลอดภัย ในการท�ำงานในทีท่ ำ� งาน คนท�ำงานจะมีความ สุขเมื่อได้รับสิ่งต่างๆ ที่กล่าวมานี้อย่างครบ ถ้วนสม�่ำเสมอ (ชื่นฤทัย กาญจนะจิตรา และ คณะ, 2551; ศิรินันท์ กิตติสุขสถิต และคณะ, 2552; กาญจนา ตัง้ ชลทิพย์ และคณะ, 2553) เพราะเมื่อบุคลากรมีความสุขในการท�ำงานจะ ส่งผลเชิงบวกให้เกิดพฤติกรรมการท�ำงานตาม เกณฑ์มาตรฐานสถานศึกษาในระดับสากลของ WASC
180 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
4. ภาวะผู้น�ำแห่งการเปลี่ยนแปลงและ ความสุขในการท�ำงานมีอ�ำนาจร่วมกันท�ำนาย พฤติ ก รรมการท� ำ งานตามเกณฑ์ ม าตรฐาน สถานศึกษาในระดับสากลของ WASC พบว่า พฤติ ก รรมการท� ำ งานตามเกณฑ์ ม าตรฐาน สถานศึกษาในระดับสากลของ WASC โดยรวม สามารถท�ำนายได้โดยน�ำเอาภาวะผูน้ ำ� แห่งการ เปลี่ ย นแปลงโดยรวมและความสุ ข ในการ ท�ำงานโดยรวมร่วมกันท�ำนายพฤติกรรมการ ท� ำ งานตามเกณฑ์ ม าตรฐานสถานศึ ก ษาใน ระดับสากลของ WASC ซึ่งถือว่าเป็นตัวแบบ ที่ ดี ที่ สุ ด ในการท� ำ นาย คื อ สามารถท� ำ นาย พฤติ ก รรมการท� ำ งานตามเกณฑ์ ม าตรฐาน สถานศึ ก ษาในระดั บ สากลของ WASC ได้ ร้อยละ 31.1 ซึง่ ผลทางสถิตนิ สี้ อดคล้องกับผล งานวิจยั ของ สิรนิ ทร แซ่ฉวั่ (2553) ทีน่ ำ� เสนอ ผลการวิจัยเชิงคุณภาพว่า บุคลากรจะมีความ สุขจากการที่ได้ท�ำงานที่ตนเองรัก งานมีความ อิ ส ระ มี ก ฎเกณฑ์ และกฎระเบี ย บที่ มี เอกลักษณ์ รวมไปถึงปัจจัยส�ำคัญคือการได้รับ การชมเชย การยอมรับและมีความสัมพันธ์ที่ดี กับหัวหน้างาน โดยสามารถอธิบายเพิ่มเติมได้ จากแนวคิดของ ศิรนิ นั ท์ กิตติสสุ ถิต และคณะ (2555: 12) ที่กล่าวว่า การได้ท�ำงานที่มั่นคง มีความก้าวหน้า การได้รบั โอกาสในการพัฒนา ตนเอง การมีผู้บังคับบัญชาหรือผู้น�ำที่มีความ เมตตากรุณา การมีเพือ่ นร่วมงานทีจ่ ริงใจ การ
ภาณุมาศ พิลาจันทร์ และ วิชัย อุตสาหจิต
ได้รับสวัสดิการที่เพียงพอ และการได้รับความ ปลอดภัยจากการท�ำงาน ซึ่งเมื่อคนท�ำงานได้ รับสิ่งต่างๆ เหล่านี้บ่อยครั้งอย่างต่อเนื่อง คน ท�ำงานก็จะมีความสุขในการท�ำงานและพร้อม ที่ จ ะท� ำ งาน (ชื่ น ฤทั ย กาญจนะจิ ต รา และ คณะ, 2551; กาญจนา ตั้งชลทิพย์ และคณะ; ศิรนิ นั ท์ กิตติสขุ สถิต และคณะ, 2552 อ้างถึง ใน ศิรนิ นั ท์ กิตติสขุ สถิต และคณะ, 2555: 12) ข้อเสนอแนะ ข้อเสนอแนะเพื่อการประยุกต์ใช้ 1) ด้านการพัฒนาโรงเรียน กล่าวคือ ผู้บริหารควรมีการจัดท�ำแผนการด�ำเนินงาน ตามวิ สั ย ทั ศ น์ แ ละพั น ธกิ จ ของโรงเรี ย นเป็ น ประจ�ำทุกปี โดยส่งเสริมให้บคุ ลากรมีสว่ นร่วม ในการวางแผนและจัดท�ำแผนการด�ำเนินงาน ตามความเหมาะสม เพื่อประโยชน์ทางการ บริหารงานและผลสัมฤทธิท์ างการศึกษาทีเ่ ป็น เลิศของนักเรียน 2) การน�ำแนวทางการพัฒนาโรงเรียนที่ กล่าวข้างต้นไปปรับใช้ภายใต้การศึกษาบริบท และวัฒนธรรมของแต่ละองค์การ และควร จัดหาช่องทางให้บคุ ลากรได้ถา่ ยทอดความรูซ้ งึ่ กันและกันทั้งภายในและภายนอกโรงเรียน 3) ด้านการพัฒนาภาวะผู้น�ำ ผู้บริหาร และผูเ้ กีย่ วข้องควรกําหนดแผนพัฒนาบุคลากร ให้ความสําคัญกับการส่งเสริมผู้บริหารสถาน
ศึกษาและหัวหน้างานให้มีคุณลักษณะภาวะ ผู้นําที่เหมาะสมกับการท�ำงานและบริบทของ องค์การ 4) ด้ า นการเป็ น ผู ้ น� ำ ผู ้ บ ริ ห ารและ หัวหน้างานควรแสดงออกทางพฤติกรรมและ เป็ น ผู ้ น� ำ การเปลี่ ย นแปลงด้ า นการพั ฒ นา โรงเรียนอย่างต่อเนือ่ งด้วยความเป็นระบบ เปิด โอกาสให้ทกุ ภาคส่วนได้เข้ามามีสว่ นร่วมในการ พัฒนาและแก้ไขปัญหาภายในโรงเรียนตาม บทบาทที่เหมาะสม 5) ด้านการพัฒนาบุคลากร ผู้บริหาร และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องควรให้ความส�ำคัญกับ ความสุขในการท�ำงานของพนักงานและมีวิธีที่ หลากหลายในการสร้างขวัญและก�ำลังใจในการ ท�ำงานของพนักงาน ข้อเสนอแนะส�ำหรับการวิจยั ในครัง้ ต่อไป 1) เนือ่ งจากการศึกษาวิจยั ครัง้ นีท้ ำ� การ ศึกษากับกลุ่มพนักงานโรงเรียนนานาชาติแห่ง เดียว ดังนั้น ควรมีการศึกษาในโรงเรียนนานา ชาติแห่งอืน่ ๆ หรือโรงเรียนอืน่ ๆ ทีม่ บี ริบทใกล้ เคียง เพื่อท�ำการเปรียบเทียบข้อมูลที่ได้รับว่า มีภาวะผู้น�ำแห่งการเปลี่ยนแปลงความสุขใน การท� ำ งาน และพฤติ ก รรมการท� ำ งานตาม เกณฑ์มาตรฐานสถานศึกษาในระดับสากลของ WASC ว่ามีความเหมือนหรือต่างกันหรือไม่ อย่างไร
ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2020/2563 181
ภาวะผูน้ �ำ แห่งการเปลีย่ นแปลงความสุขในการทำ�งาน และพฤติกรรมการทำ�งานตามเกณฑ์มาตรฐาน สถานศึกษาในระดับสากลของ WASC
2) ควรมีการน�ำแบบวัดมาใช้เป็นระยะ เช่น ท�ำการวัดทุกปีการศึกษา เป็นต้น ในการ เก็บข้อมูลเพื่อการพัฒนาแบบวัดและใช้ในการ สร้างค่ามาตรฐานการวัดระดับ (สูง ปานกลาง ต�่ำ) โดยเฉพาะแบบวัดพฤติกรรมการท�ำงาน ตามเกณฑ์มาตรฐานสถานศึกษาในระดับสากล ของ WASC 3) การศึกษาครั้งต่อไปควรมีการศึกษา ปัจจัยอืน่ ทีม่ ปี ระโยน์ตอ่ การพัฒนา เช่น พฤติกรรม การเป็นสมาชิกทีด่ ขี ององค์การ ความผูกพันใน องค์การ เป็นต้น โดยเฉพาะการศึกษาเพิม่ เติม เรื่องความสุขในการท�ำงานด้านสุขภาพดีและ ด้านครอบครัวดีภายใต้บริบทโรงเรียนนานา ชาติและองค์การที่มีบุคลากรชาวต่างชาติ
182 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
ภาณุมาศ พิลาจันทร์ และ วิชัย อุตสาหจิต
บรรณานุกรม กรมวิชาการ. (2541). รายงานการวิจัยการจัดการศึกษา ระดับประถมศึกษา มัธยม และ อาชีวศึกษาของไทยในทศวรรษหน้าทีส่ อดคล้องกับการเปลีย่ นแปลงของสังคม. กรุงเทพ มหานคร: กองวิจัยทางการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ. กาญจนา ตั้งชลทิพย์, ศิรินันท์ กิตติสุขสถิต, สุภรต์ จรัสสิทธิ์, พอตา บุนยตีรณะ และวรรณภา อารี ย ์ . (2553). การพั ฒ นาระบบเงิ น เดื อ นค่ า ตอบแทนสิ่ ง จู ง ใจและคุ ณ ภาพชี วิ ต ข้าราชการ: การศึกษาเพื่อพัฒนาเกณฑ์มาตรฐานชี้วัดคุณภาพชีวิตของข้าราชการ. รายงานวิจัย. ม.ป.ท. จงจิต เลิศวิบลู ย์มงคล. (2547). ความสัมพันธ์ระหว่าง ปัจจัยส่วนบุคคล การได้รบั การเสริมสร้าง พลังอาํ นาจในงานแรงจูงใจใฝ่สมั ฤทธิก์ บั ความสุขในการทาํ งานของพยาบาลประจาํ การ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. จุฑามาศ แก้วพิจิต, วิชัย อุตสาหจิต, และสมบัติ กุสุมาวลี. (2554). ความสุขหลากหายมุมมอง ด้วย HOME โมเดล. นนทบุรี: สองขารีเอชั่น. เฉลา ระโหฐาน. (2553). การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้น�ำการเปลี่ยนแปลงของ ผูบ้ ริหารสถานศึกษาและประสิทธิผลการบริหารงานของสถานศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน ในสังกัด ส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาชลบุรี เขต 2. (วิทยานิพนธ์ปริญญา). มหาวิทยาลัยราชภัฏ ราชนครินทร์. ชื่นฤทัย กาญจนะจิตรา, กาญจนา ตั้งชลทิพย์, ศิรินันท์ กิตติสุขสถิต, ปังปอนด์ รักอ�ำนวยกิจ, สุภรต์ จรัสสิทธิ,์ พอตา บุนยตีรณะ และวรรณภา อารีย.์ (2551). คุณภาพชีวติ คนท�ำงาน ในภาคอุตสาหกรรมและภาคบริการ. นครปฐม: สถาบันวิจยั ประชากรและสังคม มหาวิทยาลัย มหิดล. บุษยา วีรกุล. (2558). ภาวะผู้น�ำ. กรุงเทพมหานคร: สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช. (2523). พระบรมราโชวาท พระราชทานแก่ นักศึกษามหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ วิทยาเขตสงขลา. ม.ป.ท. ลัทธิกาล ศรีวะรมย์. (2538). คัมภีรก์ ารจัดการกับลูกน้องและเจ้านายเพือ่ ให้เป็นนักบริหารเกณฑ์ ประสิทธิผล. กรุงเทพมหานคร: คู่แข่งบุคส์. วิชัย อุตสาหจิต และลัญชกร คําศรี. (2554). ถอดรหัสผู้นํา: มุมมองภาคปฏิบัติบนฐานคิด เชิง ทฤษฎี. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2020/2563 183
ภาวะผูน้ �ำ แห่งการเปลีย่ นแปลงความสุขในการทำ�งาน และพฤติกรรมการทำ�งานตามเกณฑ์มาตรฐาน สถานศึกษาในระดับสากลของ WASC
ศิรินันท์ กิตติสุขสถิต, กาญจนา ตั้งชลทิพย์, สุภรต์ จรัสสิทธิ์, เฉลิมพล สายประเสริฐ, พอตา บุณยตีรณะ และวรรณณภา อารีย์. (2555). คู่มือการวัดความสุขด้วยตนเอง. นครปฐม: สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล. สิ ริ น ทร แซ่ ฉั่ว. (2553). ความสุ ข ในการทํ า งานของบุ ค ลากรเชิ ง สร้ า งสรรค์ : กรณี ศึ ก ษา อุตสาหกรรมเชิงสร้างสรรค์กลุม่ สือ่ และกลุม่ งานสร้างสรรค์เพือ่ การใช้งาน. (วิทยานิพนธ์ ปริญญามหาบัณฑิต). สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. Accrediting Commission for Schools Western Association of Schools and Colleges. (2016). Focus on Learning The Accreditation Manual. California: California Department of Education. Bass, B.M., and Avolio, B.J. (1994). Improving Organizational Effectiveness Through Transformational Leadership. Thousand Oaks, Calif.: Sage. Bay Area Web Solutions. (2015). Western Association of Schools and Colleges. [Online]. from: http://www.acswasc.org. (Retrieved: November 30, 2015). Burns, J.M. (1978). Leadership. New York: Harper & Row. Diener, E. (2003). Recent Finding on Subject Well-Being. [Online]. from: http:// goo.gl/egfLG. (Retrieved: November 16,2015). Manion, J. (2003). Joy at Work. Creating a Positive Workplace. Journal of Nursing Administration. 33(12): 652-659. Myers, D.G., & Diener, E. (1995). Who Is Happy?. Psychological Science. Vol 6(1): 1017. Ozaralli, N. (2003). Effects of transformational leadership on empowerment and team effectiveness. Leadership and Organization Development Journal. 24(6): 335- 344. Recruitment Handbook 2017-2018. (2016). Bangkok: Ruamrudee International School. Yukl, G. (2006). Leadership in Organization. (6th, Ed.). Englewood Cliffs, NJ: Prentice -Hall. 184 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
ค�ำแนะน�ำและเงื่อนไขในการเตรียมต้นฉบับวารสารวิชาการวิทยาลัยแสงธรรม ด้านปรัชญา ศาสนา เทววิทยา และการศึกษา การเตรียมต้นฉบับ ต้นฉบับเป็นบทความวิชาการ บทความวิจยั ด้านปรัชญา ศาสนา เทววิทยา และการศึกษา ทีย่ งั ไม่เคยเผยแพร่ในเอกสารใดๆ และเป็นบทความทีม่ เี นือ้ เรือ่ งทีส่ มบูรณ์ พิมพ์ตน้ ฉบับภาษาไทย หรือภาษาอังกฤษด้วย Microsoft Word for Windows พิมพ์บนกระดาษขนาด A4 หน้าเดียว ประมาณ 28 บรรทัด ต่อ 1 หน้ากระดาษ ต้นฉบับทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษให้ใช้ตัวอักษร TH SarabunPSK ขนาดตัวอักษร 16 และใส่เลขหน้าตั้งแต่ต้นจนจบบทความ ค�ำแนะน�ำในการเขียนบทความ 1. ชื่อเรื่อง/บทความ: ชื่อเรื่องควรกะทัดรัดไม่ยาวจนเกินไป มีทั้งภาษาไทยและภาษา อังกฤษ ขนาด 18 ตัวหนา บทความวิจัยความยาวไม่เกิน 12 หน้า บทความวิชาการความ ยาวไม่เกิน 8 หน้า (รวมบรรณานุกรม) 2. ชื่อ-สกุล: ชื่อเต็ม-นามสกุลเต็ม ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ของผู้แต่งแต่ละคนที่มี ส่วนในงานวิจยั นัน้ โดยเรียงตามล�ำดับความส�ำคัญ ขนาดตัวอักษร 16 หากเป็นวิทยานิพนธ์ ต้องมีชอื่ และสังกัดของอาจารย์ทปี่ รึกษาทัง้ ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ขนาดตัวอักษร 16 3. สถานทีท่ ำ� งาน: ระบุหน่วยงานทีส่ งั กัด ทัง้ ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ขนาดตัวอักษร 16 4. อีเมลล์: ให้ใส่เฉพาะผู้รับผิดชอบบทความ 5. บทคัดย่อ: มีทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ เขียนสรุปสาระส�ำคัญของเรื่องใช้ภาษาให้ รัดกุมเป็นประโยคสมบูรณ์และควรจะกล่าววัตถุประสงค์ วิธีด�ำเนินการวิจัย ข้อค้นพบและ สรุปผลที่ได้จากงานวิจัยนั้นๆ โดยให้เขียนเป็นความเรียงไม่ควรมีค�ำย่อ 6. ค�ำส�ำคัญ: มีทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษไม่เกิน 5 ค�ำ 7. บทน�ำ: เป็นส่วนของความส�ำคัญที่น�ำไปสู่การวิจัย สรุปความเป็นมา และความส�ำคัญ ของปัญหา การทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง พร้อมวัตถุประสงค์การวิจัย และไม่ควรใส่ ตารางหรือรูปภาพ
ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2020/2563 185
8. วัตถุประสงค์: เป็นข้อความทีแ่ สดงให้เห็นถึงสิง่ ทีน่ กั วิจยั ต้องการศึกษาทีม่ ลี กั ษณะเฉพาะ เจาะจง และเมื่อสิ้นสุดการวิจัยแล้วจะต้องได้ค�ำตอบตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ทุกข้อ 9. สมมติฐานการวิจัย: อาจจะมีหรือไม่ก็ได้ เป็นการเขียนความคาดหมายผลการวิจัยหรือ คาดคะเนค�ำตอบต่อปัญหาที่วิจัยไว้ล่วงหน้าอย่างมีเหตุผล 10. กรอบแนวคิดในการวิจัย: อาจมีหรือไม่ก็ได้ โดยให้เขียนกรอบแนวคิดของการวิจัยที่ พัฒนาจากการทบทวนวรรณกรรม 11. วิธีด�ำเนินการวิจัย: อธิบายเครื่องมือและวิธีการด�ำเนินการวิจัยให้กระชับและชัดเจน ให้บอกรายละเอียดสิ่งที่น�ำมาศึกษา จ�ำนวน ลักษณะเฉพาะของตัวอย่างที่ศึกษา ตลอดจน เครื่องมือ และอุปกรณ์ต่างๆ ที่ใช้ในการศึกษา คุณภาพของเครื่องมือ อธิบายรูปแบบการ ศึกษา การสุ่มตัวอย่าง วิธีหรือมาตรที่ใช้ในการวัด วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลและวิธีการ วิเคราะห์ข้อมูล 12. ผลการวิจัย: บรรยายสรุปผลการวิจัยอย่างกระชับโดยให้ตอบวัตถุประสงค์การวิจัย ถ้าการวิจยั เป็นข้อมูลเชิงปริมาณทีต่ อ้ งน�ำเสนอด้วยตาราง หรือแผนภูม ิ ควรมีคำ� อธิบายอยู่ ด้านล่าง การเรียงล�ำดับ ภาพ ตาราง หรือแผนภูมิควรเรียงล�ำดับเนื้อหาของงานวิจัย และ ต้องมีการแปลความหมายของผลที่ค้นพบหรือวิเคราะห์ 13. อภิปรายผล: เขียนสอดคล้องกับล�ำดับของการเสนอผล และการสรุปผลการวิจัย เป็นการวิพากษ์วจิ ารณ์ผลการวิจยั ทีไ่ ด้สอดคล้องหรือขัดแย้งกับสมมติฐาน พร้อมทัง้ อ้างอิง ข้อเท็จจริงทฤษฎีและผลการวิจยั อืน่ อธิบายอย่างเป็นเหตุเป็นผลถึงแนวความคิดของผูว้ จิ ยั ต่อผลการวิจัยที่ได้ 14. สรุปผลการวิจัย และข้อเสนอแนะ: ควรสรุปสาระส�ำคัญที่ไม่คลุมเครือและสรุปผล ว่าตรงกับวัตถุประสงค์ของการวิจัยหรือไม่ และอย่างไร และควรแสดงข้อเสนอแนะและ ความเห็นเพิม่ เติมเพือ่ การพัฒนางานต่อไปในอนาคต หรือเป็นแนวทางในการศึกษาค้นคว้า เพิ่มเติมต่อไปในอนาคต 15. เอกสารอ้างอิง: เป็นการแสดงถึงแหล่งที่มาของข้อมูลที่ถูกน�ำมาอ้างอิงขึ้นมาใช้ในการ วิจัย เพื่อเป็นการแสดงว่าไม่ได้น�ำผลงานของผู้อื่นมาเป็นของตนเอง การอ้างอิงเอกสารให้ เขียนตามมาตรฐานแบบ APA (American Psychological Association) แยกการอ้างอิง ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ (เรียงตามล�ำดับตัวอักษร)
186 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
16. ค่าใช้จ่ายในการตรวจประเมินบทความ: ผู้ส่งบทความจะต้องช�ำระเงินค่าส่งตรวจ ประเมินบทความ จ�ำนวน 2,400 บาท โดยโอนเงินเข้าบัญชีออมทรัพย์ ธนาคารกรุงไทย สาขาสามพราน ชือ่ บัญชี “วารสารวิชาการวิทยาลัยแสงธรรม” เลขทีบ่ ญ ั ชี 734-0-27562-2 (พร้อมส่งหลักฐานเอกสารการโอนเงินช�ำระค่าตรวจประเมินบทความมาที่ E-mail: rcrc. saengtham2016@gmail.com) (ทั้งนี้ค่าใช้จ่ายดังกล่าวผู้ส่งบทความเป็นผู้รับผิดชอบ และจะไม่ได้รับคืนในทุกกรณี) กองบรรณาธิการจะน�ำบทความที่ท่านส่งมาเสนอต่อผู้ทรง คุณวุฒเิ พือ่ ตรวจประเมินคุณภาพความเหมาะสมของบทความก่อนการตีพมิ พ์ ในกรณีทผี่ ล การประเมินระบุให้ตอ้ งปรับปรุงหรือแก้ไข ผูเ้ ขียนจะต้องด�ำเนินการให้แล้วเสร็จภายในระยะ เวลา 15 วัน นับจากวันที่ได้รับผลการประเมินบทความ หมายเหตุ: หากท่านต้องการสอบถามกรุณาติดต่อกับกองบรรณาธิการวารสารวิชาการ โทร. 02-429-0100-3 โทรสาร 02-429-0819 หรือ E-mail: rcrc.saengtham2016@gmail.com
ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2020/2563 187
รูปแบบบทความเพื่อส่งตีพิมพ์วารสารวิชาการวิทยาลัยแสงธรรม ด้านปรัชญา ศาสนา เทววิทยา และการศึกษา Mamuscript Preparation Guideline for Publication in Saengtham College Journal (ชื่อบทความภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ขนาด 18 pt. ตัวหนา)
ชือ่ เต็ม - นามสกุลเต็ม: สถานที่ท�ำงาน: อีเมลล์:
ภาษาไทยของผู้แต่งแต่ละคนที่มีส่วนในงานวิจัยนั้น (ขนาดตัวอักษร 16 pt.) ระบุหน่วยงานทีส่ งั กัดภาษาไทย (ขนาดตัวอักษร 16 pt.) ระบุเฉพาะผู้รับผิดชอบบทความ (ขนาดตัวอักษร 16 pt.)
Author Name: Affiliation:
ภาษาอังกฤษของผู้แต่งแต่ละคนที่มีส่วนในงานวิจัยนั้น (ขนาดตัวอักษร 16 pt.) ระบุหน่วยงานทีส่ งั กัดภาษาอังกฤษ (ขนาดตัวอักษร 16 pt.)
หมายเหตุ:
หากเป็นวิทยานิพนธ์ต้องมีชื่อและสังกัดของอาจารย์ที่ปรึกษา ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ (ขนาดตัวอักษร 16 pt.)
188 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
บทคัดย่อ (ขนาด 16 pt. ตัวหนา) --------------------------------------(TH SarabunPSK 16 pt. ตัวธรรมดา)-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ค�ำส�ำคัญ: ค�ำส�ำคัญ 1, ค�ำส�ำคัญ 2, ค�ำส�ำคัญ 3 (ไม่เกิน 5 ค�ำ) (ขนาด 16 pt. ตัวธรรมดา) Abstract (ขนาด 16 pt. ตัวหนา) --------------------------------------(TH SarabunPSK 16 pt. ตัวธรรมดา)-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------Keywords: Keywords 1, Keywords 2, Keywords 3 (ขนาด 16 pt. ตัวธรรมดา) บทน�ำ (ขนาด 16 pt. ตัวหนา) --------------------------------------(TH SarabunPSK 16 pt. ตัวธรรมดา)-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------วัตถุประสงค์ (ขนาด 16 pt. ตัวหนา) --------------------------------------(TH SarabunPSK 16 pt. ตัวธรรมดา)-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------สมมติฐานการวิจัย (ขนาด 16 pt. ตัวหนา) --------------------------------------(TH SarabunPSK 16 pt. ตัวธรรมดา)-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2020/2563 189
กรอบแนวคิดในการวิจัย (ขนาด 16 pt. ตัวหนา) --------------------------------------(TH SarabunPSK 16 pt. ตัวธรรมดา)-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------วิธีด�ำเนินการวิจัย (ขนาด 16 pt. ตัวหนา) --------------------------------------(TH SarabunPSK 16 pt. ตัวธรรมดา)-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ผลการวิจัย (ขนาด 16 pt. ตัวหนา) --------------------------------------(TH SarabunPSK 16 pt. ตัวธรรมดา)-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------อภิปรายผลการวิจัย (ขนาด 16 pt. ตัวหนา) --------------------------------------(TH SarabunPSK 16 pt. ตัวธรรมดา)-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------สรุปผลการวิจัยและข้อเสนอแนะ (ขนาด 16 pt. ตัวหนา) --------------------------------------(TH SarabunPSK 16 pt. ตัวธรรมดา)-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------เอกสารอ้างอิง (ขนาด 16 pt. ตัวหนา) --------------------------------------(TH SarabunPSK 16 pt. ตัวธรรมดา)-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------190 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
รูปแบบการเขียนบรรณานุกรม ส�ำหรับวารสารวิชาการวิทยาลัยแสงธรรม
ใช้การอ้างอิงระบบ APA (American Psychological Association) เพื่อเป็นแนวทางใน การเขียนอ้างอิงบรรณานุกรมในผลงานทางวิชาการที่ประสงค์จะลงตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม โดยมีวิธีการเขียนอ้างอิงบรรณานุกรมจากสารนิเทศประเภทต่างๆ มีดังนี้ การใช้อักษรย่อ ม.ป.ท. แทนคําเต็มว่า N.P. แทนคําเต็มว่า ม.ป.พ. แทนคําเต็มว่า n.p. แทนคําเต็มว่า (ม.ป.ป.) แทนคําเต็มว่า (n.d.) แทนคําเต็มว่า (บ.ก.) แทนคําเต็มว่า (Ed.) หรือ (Eds.) แทนคําเต็มว่า
(ไม่ปรากฏสถานที่พิมพ์) (no Place of publication) (ไม่ปรากฏสํานักพิมพ์) (no publisher) ไม่ปรากฏปีพิมพ์ no date บรรณาธิการ Editor หรือ Editors
การเขียนชื่อผู้แต่ง ไม่ต้องลงคํานําหน้านามตําแหน่งทางวิชาการคําเรียกทางวิชาชีพและตําแหน่งยศต่างๆ (ยกเว้น มีฐานันดรศักดิ์ บรรดาศักดิ์ และสมณศักดิ์) ผู้เขียน 1 คน ผู้แต่ง1./(ปีพิมพ์)./ชื่อเรื่อง/(พิมพ์ครั้งที่)./สถานที่พิมพ์:/สํานักพิมพ์. ผู้เขียน 2 คน ผู้แต่ง1,/และผู้แต่ง2./(ปีพิมพ์)./ชื่อเรื่อง/(พิมพ์ครั้งที่)./สถานที่พิมพ์:/สํานักพิมพ์. ผู้เขียน 3 คน ผู้แต่ง1,/ผู้แต่ง2,/และผู้แต่ง3./(ปีพิมพ์)./ชื่อเรื่อง/(พิมพ์ครั้งที่)./สถานที่พิมพ์: ///////สํานักพิมพ์. ผู้เขียนมากกว่า 3 คน ผู้แต่ง1/และคณะ./(ปีพิมพ์)./ชื่อเรื่อง/(พิมพ์ครั้งที่)./สถานที่พิมพ์:/สํานักพิมพ์. ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2020/2563 191
1. หนังสือ ผู้แต่ง 1./(ปีพิมพ์)./ชื่อเรื่อง/(พิมพ์ครั้งที่)./สถานที่พิมพ์:/สํานักพิมพ์. - หนังสือไม่ปรากฏชื่อผู้แต่ง ชื่อเรื่อง/(พิมพ์ครั้งที่)./(ปีพิมพ์)./สถานที่พิมพ์:/สํานักพิมพ์. - บทความหรือบทในหนังสือ ชือ่ ผูแ้ ต่งบทความหรือบท./(ปีพมิ พ์)./ชือ่ บทความหรือบท./ใน หรือ In/ชือ่ บรรณาธิการ/(บ.ก. หรือ ///////Ed. หรือ Eds.),/ชื่อหนังสือ/(น. หรือ p. หรือ pp. เลขหน้า)./สถานที่พิมพ์:/สํานักพิมพ์. *หมายเหตุ (พิมพ์ครั้งที่) ให้ระบุตั้งแต่ครั้งที่ 2 เป็นต้นไป 2. หนังสือแปล ชื่อผู้แต่งต้นฉบับ./(ปีพิมพ์)./ชื่อเรื่องที่แปล/[ชื่อต้นฉบับ]/(ชื่อผู้แปล, แปล)./สถานที่พิมพ์:/ ///////สํานักพิมพ์./(ต้นฉบับพิมพ์ปี ค.ศ. หรือ พ.ศ.) 3. E-book ผู้แต่ง 1./(ปีพิมพ์)./ชื่อเรื่อง/(พิมพ์ครั้งที่)./สถานที่พิมพ์:/สํานักพิมพ์./จาก หรือ from/ ///////http://www.xxxxxxx 4. รายงานการวิจัย ผู้แต่ง./(ปีพิมพ์)./ชื่อเรื่อง(รายงานผลการวิจัย)./สถานที่พิมพ์:/สํานักพิมพ์. 5. วิทยานิพนธ์ - วิทยานิพนธ์แบบรูปเล่ม ผู้แต่ง./(ปีพิมพ์)./ชื่อเรื่อง/(ปริญญานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต หรือ Doctoral dissertation ///////หรือ วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต หรือ master’s thesis)./สถานที่พิมพ์:/ชื่อสถาบัน. - วิทยานิพนธ์ฐานข้อมูลออนไลน์ ผู้แต่ง./(ปีพิมพ์)./ชื่อเรื่อง/(ปริญญานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต หรือ Doctoral dissertation ///////หรือ วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต หรือ master’s thesis)./สถานทีพ่ มิ พ์:/ชือ่ สถาบัน./ สืบค้นจาก หรือ Retrieved from http://www.xxxxxxxxx 192 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
6. วารสาร วารสารแบบเล่ม ชื่อผู้แต่ง./(ปีพิมพ์)./ชื่อบทความ./ชื่อวารสาร,/เลขของปีที่(เลขของฉบับที่),/เลขหน้า. วารสารออนไลน์ – กรณีไม่มีเลข DOI ชื่อผู้แต่ง./(ปีพิมพ์)./ชื่อบทความ./ชื่อวารสาร,/เลขของปีที่(เลขของฉบับที่),/เลขหน้า. ///////สืบค้นจาก หรือ Retrieved from http://www.xxxxxxxxx – กรณีมีเลข DOI ชื่อผู้แต่ง./(ปีพิมพ์)./ชื่อบทความ./ชื่อวารสาร,/เลขของปีที่(เลขของฉบับที่),/เลขหน้า. ///////doi: xxxxxxxxx 7. Website ผู้แต่ง./(ปีพิมพ์)./ชื่อบทความ.[ออนไลน์]./สืบค้น หรือ Retrieved วัน/เดือน/ปี,//จาก หรือ ///////from/http://www.xxxxxxxxxx
ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2020/2563 193
แบบ SCJ-1 แบบฟอร์มน�ำส่งบทความวิจัย/วิชาการ เพื่อพิมพ์เผยแพร่ในวารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม (ส่งแนบพร้อมกับบทความวิจัย/วิชาการ) เรียน บรรณาธิการวารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
วันที่……….เดือน………..……..พ.ศ.………
ข้าพเจ้า (นาย/นาง/นางสาว).................................................................................................................... (Mr./Mrs./Ms.)......................................................................................................................................... คุณวุฒิสูงสุด และสถานศึกษา................................................................................................................... ต�ำแหน่ง/ต�ำแหน่งทางวิชาการ (ถ้ามี) ..................................................................................................... ชื่อหน่วยงาน/สถาบันที่ท�ำงาน.................................................................................................................. ขอส่ง บทความจากงานวิจัย บทความวิชาการ บทความปริทัศน์ (review article) บทวิจารณ์หนังสือ (book review) ชื่อเรื่อง (ภาษาไทย) ................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. ชื่อเรื่อง (ภาษาอังกฤษ) ............................................................................................................................ .................................................................................................................................................................. ค�ำส�ำคัญ (ภาษาไทย) ............................................................................................................................... Keyword (ภาษาอังกฤษ).......................................................................................................................... ที่อยู่ที่สามารถติดต่อได้สะดวก......................หมู่ที่...................ซอย...................ถนน................................ ต�ำบล/แขวง....................อ�ำเภอ/เขต.....................จังหวัด.............................รหัสไปรษณีย์...................... โทรศัพท์......................................โทรศัพท์มือถือ......................................โทรสาร..................................... E-mail....................................................................................................................................................... ข้าพเจ้าขอรับรองว่าบทความนี้ เป็นผลงานของข้าพเจ้าเพียงผู้เดียว (ไม่ต้องกรอกแบบ SCJ-2) เป็นผลงานของข้าพเจ้าและผู้ที่ระบุชื่อในบทความ (กรอกแบบ SCJ-2 ด้วย) บทความนี้ไม่เคยลงตีพิมพ์ในวารสารใดมาก่อน นับจากวันที่ข้าพเจ้าได้ส่งบทความฉบับนี้มายัง กองบรรณาธิการวารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม ลงนาม............................................................... (.........................................................................)
แบบ SCJ-2 ข้อมูลผู้ร่วมเขียนบทความ (ส่งแนบพร้อมกับบทความวิจัย/วิชาการ) วันที่……….เดือน………..……..พ.ศ.………
ผู้ร่วมเขียนบทความคนที่ 1 ข้าพเจ้า (นาย/นาง/นางสาว)................................................................................................................................. (Mr./Mrs./Ms.)..................................................................................................................................................... คุณวุฒิสูงสุด และสถานศึกษา............................................................................................................................... ต�ำแหน่ง/ต�ำแหน่งทางวิชาการ (ถ้ามี)................................................................................................................... ที่อยู่ที่สามารถติดต่อได้สะดวก......................หมู่ที่...................ซอย...................ถนน........................................... ต�ำบล/แขวง....................อ�ำเภอ/เขต.....................จังหวัด.............................รหัสไปรษณีย์.................................. โทรศัพท์......................................โทรศัพท์มือถือ......................................โทรสาร................................................ E-mail.................................................................................................................................................................. ข้าพเจ้าขอรับรองว่าบทความนี้ เป็นผลงานของข้าพเจ้าในฐานะผู้ร่วมวิจัยและร่วมเขียนบทความจากงานวิจัย (กรณีที่เป็นบทความจากงานวิจัย) เป็นผลงานของข้าพเจ้าในฐานะผู้ร่วมเขียนบทความ ผู้ร่วมเขียนบทความคนที่ 2 ข้าพเจ้า (นาย/นาง/นางสาว)................................................................................................................................. (Mr./Mrs./Ms.)..................................................................................................................................................... คุณวุฒิสูงสุด และสถานศึกษา............................................................................................................................... ต�ำแหน่ง/ต�ำแหน่งทางวิชาการ (ถ้ามี)................................................................................................................... ที่อยู่ที่สามารถติดต่อได้สะดวก......................หมู่ที่...................ซอย...................ถนน........................................... ต�ำบล/แขวง....................อ�ำเภอ/เขต.....................จังหวัด.............................รหัสไปรษณีย์.................................. โทรศัพท์......................................โทรศัพท์มือถือ......................................โทรสาร................................................ E-mail.................................................................................................................................................................. ข้าพเจ้าขอรับรองว่าบทความนี้ เป็นผลงานของข้าพเจ้าในฐานะผู้ร่วมวิจัยและร่วมเขียนบทความจากงานวิจัย (กรณีที่เป็นบทความจากงานวิจัย) เป็นผลงานของข้าพเจ้าในฐานะผู้ร่วมเขียนบทความ หมายเหตุ: ถ้ามีผเู้ ขียนบทความมากกว่า 2 ท่าน กรุณากรอกรายละเอียดของผูเ้ ขียนบทความร่วมท่านอืน่ ๆ ด้วย
ขั้นตอนการจัดท�ำวารสารวิชาการ
วิSaทenยาลั ย แสงธรรม gth a m Col l ege J ourn a l
เริ่มต้น ประกาศรับบทความต้นฉบับ รับบทความต้นฉบับ แก้ไข กองบรรณาธิการตรวจพิจารณาเบื้องต้น
แจ้งผู้เขียน
ไม่ผ่าน
ส่งผู้ทรงคุณวุฒิ ไม่ผ่าน
แจ้งผู้เขียน
ผ่าน
แจ้งผู้เขียน
ผู้ทรงคุณวุฒิพิจาณาบทความ ผ่าน กองบรรณาธิการแจ้งยืนยันการรับบทความ จัดพิมพ์เผยแพร่ จบ
แก้ไข
จบ
วารสารวิชาการ
วิS aenทยาลั ย แสงธรรม gt h am C o lle ge Jo u r na l ใบสมัครสมาชิก วารสารวิชาการวิทยาลัยแสงธรรม สมาชิกในนาม............................................................................................................................................ ที่อยู่ (สำ�หรับจัดส่งวารสารวิชาการ) เลขที่..........................................ถนน............................................... แขวง/ตำ�บล..............................................เขต/อำ�เภอ................................................................................ จังหวัด........................................................................รหัสไปรษณีย์.......................................................... โทรศัพท์......................................................................โทรสาร................................................................... มีความประสงค์สมัครเป็นสมาชิก วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม 1 ปี (2 ฉบับ) อัตราค่าสมาชิก 200 บาท วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม 2 ปี (4 ฉบับ) อัตราค่าสมาชิก 400 บาท วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม 3 ปี (6 ฉบับ) อัตราค่าสมาชิก 500 บาท ชำ�ระเงินโดยวิธี โอนเงินเข้าบัญชีออมทรัพย์ ธนาคารกรุงไทย สาขาสามพราน ชื่อบัญชี “วารสารวิชาการวิทยาลัยแสงธรรม” เลขที่บัญชี 734-0-27562-2 (พร้อมส่งเอกสารการโอนมาที่ E-mail: rcrc.saengtham2016@gmail.com) ที่อยู่ที่ต้องการให้ออกใบเสร็จรับเงิน ตามที่อยู่ที่จัดส่ง ที่อยู่ใหม่ในนาม.......................................................................................................................... เลขที่............................ถนน..............................................แขวง/ตำ�บล..................................... เขต/อำ�เภอ...................................จังหวัด....................................รหัสไปรษณีย์.........................
................................................(ลงนามผู้สมัคร) วันที่.................................................
ส่งใบสมัครมาที่ : ศูนย์วิจัยค้นคว้าศาสนาและวัฒนธรรม วิทยาลัยแสงธรรม 20 หมู่ 6 ต.ท่าข้าม อ.สามพราน จ.นครปฐม 73110 หรือที่โทรสาร 02-429-0819