วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม ปีที่ 2 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2553

Page 1


วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

S a e n g t h a m C o l l e g e J o u r n al

ปที่ 2 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2010/2553 วัตถุประสงค 1. เปนเวทีเผยแพรผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการของคณาจารยทั้งใน และนอกวิทยาลัย ตลอดจนนักวิชาการอิสระ 2. เชื่อมโยงโลกแหงวิชาการ และเผยแพรองคความรูทางปรัชญา ศาสนา เทววิทยา และการศึกษา ใหเกิดประโยชนแกชุมชนและสังคม สวนรวม 3. สงเสริมและกระตุนใหเกิดการวิจัย และพัฒนาองคความรูทางดาน ปรัชญา ศาสนา เทววิทยา และการศึกษา เพิ่มมากขึ้น เจาของ บาทหลวง ดร.ชาติชาย พงษศิริ

ในนามอธิการบดีวิทยาลัยแสงธรรม

บรรณาธิการ บาทหลวงวุฒิชัย อองนาวา ในนามรองอธิการบดีฝายวิชาการ กองบรรณาธิการ นางสุจิต เพชรแกว อาจารยพิเชษฐ รุงลาวัลย อาจารยพีรพัฒน ถวิลรัตน นางสาวปนัดดา ชัยพระคุณ อาจารยลัดดาวรรณ ประสูตรแสงจันทร นางสาวศรุตา พรประสิทธิ์ อาจารยสุจิตตรา จันทรลอย นางสาววรัญญา สมตัว อาจารยทิพอนงค รัชนีลัดดาจิต นางสาวอิสรีย กิจสวัสดิ์ กำหนดเผยแพร ปละ 2 ฉบับๆ ละ 100 บาท (ฉบับที่ 1 ม.ค.-มิ.ย. ฉบับที่ 2 ก.ค.-ธ.ค.) สถานที่ออกแบบและจัดพิมพ ศูนยสงเสริมและพัฒนางานวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม ออกแบบปก โดย อาจารยสุจิตตรา จันทรลอย รูปเลม โดย นางสาววรัญญา สมตัว พิสูจนอักษร โดย อาจารยพิเชษฐ รุงลาวัลย นางสุจิต เพชรแกว นางศรุตา พรประสิทธิ์ ศูนยวิจัยคนควาศาสนาและวัฒนธรรม วิทยาลัยแสงธรรม มีความยินดีรับบทความวิจัย บทความวิชาการ บทวิจารณหนังสือ และบทความปริทัศน ดานปรัชญา ศาสนา เทววิทยา และการศึกษา ที่ยังไมเคยเผยแพร ในเอกสารใดๆ โดยสงบทความมาที่ ผูอำนวยการศูนยวิจัยคนควาศาสนาและวัฒนธรรม วิทยาลัยแสงธรรม เลขที่ 20 หมู 6 ต.ทาขาม อ.สามพราน จ.นครปฐม 73110 กองบรรณาธิการวารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม จะสงบทความใหแกผูทรงคุณวุฒิทางวิชาการเพื่อประเมิน คุณภาพบทความวาเหมาะสมสำหรับการตีพิมพหรือไม หากทานสนใจกรุณาดูรายละเอียดรูปแบบการสงตน ฉบับไดที่ www.saengtham.ac.th


รายนามคณะที่ปรึกษากองบรรณาธิการ (Editorial Advisory Board) ผูทรงคุณวุฒิภายนอก 1. บาทหลวง ศ.ดร.วชิระ น้ำเพชร, S.J. 2. ศ.กีรติ บุญเจือ 3. ศ.ปรีชา ชางขวัญยืน 4. ศ.ดร.เดือน คำดี 5. ศ.ดร.สมภาร พรมทา 6. รศ.ดร.สุมาลี จันทรชะลอ 7. ผศ.ดร.มณฑา เกงการพาณิชย 8. ผศ.ดร.ชาญณรงค บุญหนุน 9. ผศ.ดร.วรยุทธ ศรีวรกุล

Sophia University, Japan ราชบัณฑิต คณะอักษรศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย คณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร คณะอักษรศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย คณะครุศาสตรอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล คณะอักษรศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร คณะปรัชญาและศาสนา มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ

ผูทรงคุณวุฒิภายใน 1. มุขนายก ดร.ลือชัย ธาตุวิสัย 2. บาทหลวง ดร.ชาติชาย พงษศิริ 3. บาทหลวง ดร.ออกัสติน สุกีโย ปโตโย, S.J. 4. บาทหลวง ดร.ฟรังซิส ไกส, S.D.B. 5. บาทหลวง ดร.เชิดชัย เลิศจิตรเลขา, M.I. 6. บาทหลวง ผศ.ดร.ไพยง มนิราช 7. บาทหลวง ดร.สุรชัย ชุมศรีพันธุ 8. ภคินี ดร.ชวาลา เวชยันต ลิขสิทธิ์ ตนฉบับที่ไดรับการตีพิมพในวารสารวิชาการวิทยาลัยแสงธรรม ถือเปนกรรมสิทธิ์ของวิทยาลัยแสงธรรม หามนำขอความทัง้ หมดไปตีพมิ พซำ้ ยกเวนไดรบั อนุญาตจากวิทยาลัยแสงธรรม ความรับผิดชอบ เนือ้ หาและขอคิดเห็นใดๆ ทีต่ พี มิ พในวารสารวิชาการวิทยาลัยแสงธรรม ถือเปนความรับผิดชอบของ ผูเ ขียนเทานัน้


รายนามผูทรงคุณวุฒิผูประเมินบทความ (Peer Review) ประจำฉบั บ ผูทรงคุณวุฒิภายนอก 1. ศ.กีรติ บุญเจือ 2. ศ.ดร.ยศ สันตสมบัติ 3. ภคินี ดร.ชวาลา เวชยันต 4. รศ.ดร.สุมาลี จันทรชะลอ

ราชบัณฑิต คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม ผูอำนวยการโรงเรียนอัสสัมชัญศึกษา คณะครุศาสตรอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี 5. รศ.ดร.ประภา ลิ้มประสูติ คณะพยาบาลศาสตร วิทยาลัยเซนตหลุยส 6. ผศ.ดร.มณฑา เกงการพาณิชย คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล

ผูทรงคุณวุฒิภายใน 1. บาทหลวง ดร.ชาติชาย พงษศิริ

อธิการบดีวิทยาลัยแสงธรรม


บทบรรณาธิการ บทบรรณาธการ

บทบรรณาธิการ

Saengtham College Journal วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม ปที่ 2 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2010/2553

วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม ปที่ 2 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม– มิถุนายน 2010/2553 ฉบับนี้ กองบรรณาธิการไดนำบทความวิจัยพิเศษจาก ผูทรงคุณวุฒิ บทความวิจัย และบทความวิชาการ จำนวน 8 บทความ เพื่อนำ เสนอใหกับทานผูอาน ทั้งนี้ กองบรรณาธิการตองขอขอบพระคุณเปนพิเศษ สำหรับบทความวิจัยพิเศษ จำนวน 2 เรื่อง ไดแก บทความวิจัยพิเศษเรื่อง ความ สัมพันธระหวางระดับความสามารถของการตัดสินคุณคาทางศีลธรรมกับความ พอใจทางลักษณะของบุคลิกภาพ โดยบาทหลวง ศาสตราจารย ดร.วชิระ น้ำเพชร, S.J. และบทความวิจัยพิเศษเรื่อง ผลดีผลเสียจากการใชปรัชญาตีความคัมภีร โดย ศาสตาจารยกีรติ บุญเจือ ราชบัณฑิต ซึ่งทานทั้งสองไดกรุณามอบบทความ วิจัยเหลานี้ เพื่อตีพิมพในวารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม ฉบับนี้ กองบรรณาธิการวารสารวิชาการวิทยาลัยแสงธรรม ขอขอบพระคุณผู ทรงคุณวุฒิทุกทาน ที่กรุณาใหความอนุเคราะหประเมินบทความตางๆ อันสงผล ใหการผลิตวารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม ปที่ 2 ฉบับที่ 1 นี้ สำเร็จ ลุลวงไปไดดวยดี พรอมนี้ขอขอบคุณคณาจารย นักวิชาการผูเขียนบทความ ทุกทาน ที่ไดใหความรวมมือสงผลงานเพื่อลงตีพิมพเผยแพร อันเปนการสงมอบ ความรูสูแวดวงวิชาการอีกทางหนึ่ง สุดทายนี้ หวังเปนอยางยิ่งวา วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรมจะเปน อีกชองทางหนึ่งในการเผยแพรองคความรูดาน ปรัชญา ศาสนา เทววิทยา และ การศึกษา ตามวัตถุประสงคที่ตั้งไว บรรณาธิการ


ววชระ ชร นน้ำเเพชร พช ร

ความสัมพันธระหวางระดับความสามารถ ของการตัดสินคุณคาทางศีลธรรม กับความพอใจทางลักษณะของบุคลิกภาพ

Moral Judgment Competence Levels in Relation to Personality Type Preferences บาทหลวง ศ.ดร.วชิระ น้ำเพชร, S.J. * บาทหลวงในคริสตศาสนจักรโรมันคาทอลิก คณะเยสุอิต * ศาสตราจารยดานจิตวิทยาการศึกษา มหาวิทยาลัยโลโยลา แมรี่เมาท ประเทศสหรัฐอเมริกา

Rev.Professor Dr.Wajira Nampet, S.J. * Reverend in Roman Catholic Church, Jesuit. * Professor of Educational Psychology at Loyola Marymount University, U.S.A.

ปที่ 2 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2010/2553 1


ความสัมพันธระหวางระดับความสามารถของการตัดสินคุณคาทางศีลธรรมกับ ความพอใจทางลักษณะของบุคลิกภาพ

Abstract Morality is not purely a matter of having right moral attitudes or knowing moral principles, but that morality is a “competence” which needs to be developed and measured, in much the same way as other competences are developed and measured. Kohlberg (1965) defined moral judgment competence as the capacity to make decisions and judgment which are moral and to consistently act in accordance with such judgments. The dual-aspect theory of moral development also depicts a person’s description of moral behavior that both affective and cognitive properties need to be considered (Lind, 2001). Besides, there is a growing question of whether personality would be related to an individual’s moral principles, attitudes, reasoning and behavior. The question implies that personality types could somewhat account for a person’s competence in moral judgment. Hence, this study investigated the relationship between moral judgment competence levels, as measured by Moral Judgment Test, and personality type preference, as measured by Myers & Briggs Type Indicator (MBTI) of the 181 high-academic performing students at high school levels. Since most extraneous factors, such as age, gender, cognitive ability, and educational backgrounds, had been controlled for the internal validity and generalizability, the general conclusion could be made from the find-

2

วารสารวชาการ วทยาลัยแสงธรรม


วชระ น้ำเพชร

ings that personality-type preferences differentiate moral judgment competence levels. Recommendations were also given for the future research, and concrete application and/ or implementation of the findings specifically to the subjects of the study. Keywords :

1) Moral Judgment Competence 2) Affective and Cognitive Properties

บทคัดยอ ศีลธรรมมิใชเปนเพียงเฉพาะแคการมีเจตคติทางศีลธรรมที่ถูก ตองหรือการรอบรูหลักคุณธรรมเทานั้น หากแตวา ศีลธรรมยังหมายถึง “ขีดสมรรถนะ” ซึ่งจำเปนตองไดรับการพัฒนาและวัดคุณคา เหมือน กับสมรรถนะดานอื่นๆ ที่มีการพัฒนาและการวัดในทำนองเดียวกัน โคลเบิรก (1965) ไดนิยาม สมรรถนะการตัดสินทางศีลธรรมวา เปน ความสามารถในการวินิจฉัยและการตัดสินที่เปนประเด็นในทางศีลธรรมแลวประพฤติปฎิบัติตน อยางสอดคลองมั่นคงตามการตัดสินนั้นๆ ทฤษฏี ท วิ ภ าคของการพั ฒ นาทางจริ ย ธรรม ในทำนองเดี ย วกั น ได พรรณนาบุ ค ลิ ก ลั ก ษณะทางพฤติ ก รรมด า นศี ล ธรรมว า คุ ณ สมบั ติ จำเพาะสองดาน คือ จิตพิสัย และพุทธิปญญา จำเปนตองนำมา พิจารณาดวย (Lind,2001) นอกจากนี้ ไดมีคำถามเพิ่มมากยิ่งขึ้น เรื่อยๆ วา บุคลิกภาพ มีความสัมพันธกับศีลธรรมของปจเจกบุคคล ในดานหลักการ เจตคติ การใชเหตุผล และพฤติกรรม หรือไม คำถามนี้ บงบอกเปนนัยวา ประเภทของบุคลิกลักษณะอาจชวยอธิบายถึง ขีด สมรรถนะของแตละบุคคลในการตัดสินประเด็นทางศีลธรรมได ดังนั้น

ปที่ 2 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2010/2553 3


ความสัมพันธระหวางระดับความสามารถของการตัดสินคุณคาทางศีลธรรมกับ ความพอใจทางลักษณะของบุคลิกภาพ

การวิจัยนี้ไดทำการศึกษาความสัมพันธระหวาง “ระดับสมรรถนะการ ตัดสินทางศีลธรรม” (ซึ่งวัดดวยแบบสอบวัดการตัดสินทางศีลธรรม, MJT) และ “ประเภทบุคลิกลักษณะทางจิตวิทยา” (ซึ่งวัดดวยแบบสอบ วัดดัชนีบงชี้ลักษณะประเภทของมายเออรส และบริจส, MBTI) ของ นักเรียนระดับมัธยมศึกษาผูมีความเปนเลิศทางวิชาการ จำนวน 181 คน เนื่องจากปจจัยแทรกซอนสวนใหญ อาทิ อายุ เพศ ความสามารถ ดานพุทธิปญญา และภูมิหลังการศึกษาไดมีการควบคุมไว เพื่อความ เทีย่ งภายใน และการแปลผลใชในกลุม ประชากรอืน่ การวิจัยนีส้ ามารถ กลาวโดยสรุปรวมจากขอคนพบไดวา “ประเภทบุคลิกลักษณะทาง จิตวิทยา” จำแนกบงบอกความแตกตางของ “ระดับสมรรถนะในการ ตัดสินทางศีลธรรม” ได ขอแนะนำสำหรับงานวิจัยในอนาคต รวมทั้ง การประยุกตใชในเชิงรูปธรรม และ/หรือการนำผลการวิจัยไปปฏิบัติ ทดลองใช โดยเฉพาะอยางยิ่ง กับกลุมตัวอยางอื่นๆ นั้น ไดนำเสนอ ไวในการวิจัยนี้ดวย คำสำคัญ :

4

วารสารวชาการ วทยาลัยแสงธรรม

1) สมรรถนะการตัดสินทางศีลธรรม 2) จิตพิสัย และพุทธิปญญา


วชระ น้ำเพชร

Background of the study In the midst of progression of modern sciences and technologies of the present time, moral controversial issues have been enlarged and widely discussed. The discussion especially center on moral matters such as: making decisions on what is right or wrong when confronted with moral issues, questions on what norms to use in judging behaviors and actions over moral situations, role of individual conscience and social consensus in moral determination, and other related and relevant issues to morality (Arthur, 1996; Boss, 1999; Liszka, 1999; & White, 1997). Some instances of such controversial issues on morality that our modern society is facing are: cloning and genetic engineering, organs selling, abortion, euthanasia and assisted suicide, justice, punishment and death penalty, gender differences, racism, multiculturalism, among others. These issues cut across advanced as well as

developing countries in Asia, Africa and Latin America. In poverty stricken many countries, moral judgment and behavior seem to have been complicated by the very situation of poverty and the struggle to survive, if not combat it. Specific moral issues are: corruption in all levels of the government, armed struggle as a means to fight poverty and injustice, engagement in enterprises allied with genetically manufactured plants and organisms to feed the rich and poor alike, exploitation of the environment, flesh trade, abortion, and many others. Apparently, within our complex society with high technological advances, the more progressive it has become, the more moral questions have been broadening and still the less satisfied solutions are obtained. Consequently, in indirectly dealing with those complicated moral dilemmas and finding ways to justify disputed solutions, human behaviors and personality have become a target

ปที่ 2 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2010/2553 5


ความสัมพันธระหวางระดับความสามารถของการตัดสินคุณคาทางศีลธรรมกับ ความพอใจทางลักษณะของบุคลิกภาพ

of interest in studies more than ever in the recent years. There is a growing question of whether personality would be related to an individual’s moral attitude, moral reasoning, moral judgment competence, and moral behavior. These questions seem to imply that personality types could somewhat account for a person’s competence in moral judgment. This interest on moral behavior in fact contributed to the emergence of a new field in psychology called Moral Psychology. This new field has built upon earlier branches of psychology like Developmental Psychology, Cognitive Psychology, Educational Psychology and Personality Psychology. Since the last three decades, many reliable psychological measurements have been constructed and employed based on both classical and modern theories in all branches of psychology. Within this decade, a good number of researchers in fields of psychology and education have

6

วารสารวชาการ วทยาลัยแสงธรรม

been interested in doing correlational and comparison studies to examine the relationship between moral and personality theories in a range of aspects of studies with a variety of types of subjects (McMillan & Schumacher, 2001). In an attempt to finding an answer to the question regarding the relationship between moral judgment and personality, as many researchers have done in the past, the present study is interested in exploring some specific theories on personality and morality, and in employing some appropriate and suitable measure ments that may significantly help explain the relationship as such. The following presentations in connection with those theories and measurements serve as the foundation and background of the present study. Interestingly, among those studies on theories of personality, Carl Jung’s Theory of Psychological Types, despite current crucial controversies,


วชระ น้ำเพชร

remains to have given a strong impact on psychological testing and measures of personality (Cantrell, 2000). Likewise, the Kohlberg’s Moral Theory is most likely to be referenced and applied in many research and studies concerning morality and moral behavior and development (Lind, 2002). According to the Jung’s Typology, there are two fundamental or Basic Attitudes that underlie human behaviors: Extraversion (E) and Introversion (I) (Jung, 1964). Jung pointed out that people are not purely introverted or extroverted. Instead, each person has both aspects which involve complex variations as dominant or inferior sides in a fashion of compensating for one another. In addition to the two basic attitudes, Jung postulated the existence of the “Four Functions of Way/Thought” in which people related to the world: Thinking (T), Feeling (F), Sensing (S) and Intuiting (N) (Ryckman, 1993; Limpingco & Tria, 1999).

According to Jung, Thinking and Feeling are called the “Rational Functions” since they involve making judgments about experiences, whereas Sensation and Intuition are called the “Irrational (non-rational) Functions” because they involve passively recording experience without evaluating or interpreting it (Limpingco & Tria, 1999). These rational and irrational functions are articulated or differentiated to varying degrees within the psyche (Ryckman, 1993). Jung, however, focused on the combination between the two basic attitudes and the four functions to form the eightfold classification scheme of psychological types, i.e., the extraverted thinking type (E-T), the introverted intuition type (I-N), etc. Based on the Jungian Theory of Psychological Types, the popular Myers-Briggs Type Indicator (MBTI) had been developed and modifi ed a forced response test (Myers & McCaulley, 1985), in which the sixteen

ปที่ 2 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2010/2553 7


ความสัมพันธระหวางระดับความสามารถของการตัดสินคุณคาทางศีลธรรมกับ ความพอใจทางลักษณะของบุคลิกภาพ

personality types of preference from the four pairs of the two opposite poles are formed: Extraversion (E) – Introversion (I), Sensing (S) – Intuition (N), Thinking (T) – Feeling (F), and Judging (J) – Perception (P). Samples of the sixteen of personality types of preference assessed by the MBTI are ESTP, ENFJ, INTP, ISFJ, etc. In the sphere of Jung’s Theory of Psychological Types, a person’s uniqueness and differentiation of way of thinking and attitudes, which is principally formed by the two basic attitudes and the four functions, depends upon the degree to which those six aspects are combined. Accordingly, an individual person proceeds and reveals moral principles, attitudes, thoughts, judgments and behaviors as part of his/her distinctive personality in different ways and circumstances (Ryckman, 1993). Hence, a question arises whether or not types of human personality preference is related to and then differentiate moral

8

วารสารวชาการ วทยาลัยแสงธรรม

attitudes, thoughts and behaviors. If it is so, then what underlying factors would make the differences. In dealing with this question, the following related aspects, perspectives and theories on morality are examined. From the viewpoint of modern psychology, Lind (1992), asserts that morality is a matter not only of attitudes towards moral principles but also of people’s competency to utilize those principles in their moral thoughts and behavior. Along this line, Jean Piaget and Lawrence Kohlberg have revolutionized the way we are looking at moral thought, reasoning and behavior (Lind, 2000). Lawrence Kohlberg (1969 & 1975) developed the Theory of Moral Development based on Piaget’s moral realism (i.e., Rules are absolute and can’t be changed) and morality of cooperation (i.e., People make rules and people can change them.) Jung described three main levels of moral development with two stages in each level


วชระ น้ำเพชร

In Kohlberg’s studies, this theory was used to examine and assess how people made moral reasoning or judgment for their moral action. With this, Kohlberg defined moral reasoning as judgment about right and wrong and defi ned a person’s level of moral reasoning from the reasoning used to defend his/her position when faced with a moral dilemma. However, Kohlberg thought that this is more important than the actual choice made, since the choices people make in such a dilemma are not always clearly and indisputably right (Woolfolk, 2000). Later Kohlberg’s moral theory development was modified by James Rest (1979), who constructed the famous “Defining Issues Test” (DIT), which is extensively applied to measure matters concerning moral issues in many studies and researches. Also, several tests for measuring and assessing a person’s moral reasoning ability were constructed on the bases

of various moral perspectives for use in different age groups, for instance, the Kohlberg’s Moral Judgment Interview (MJI), the Moral Development Scale (MDS) based on Piaget’s moral perspective, the Bronfenbrenner’s Moral Dilemma Test (MDT), etc. Parallel to the bloom of moral studies and moral measurements, there was another school of thought led by Georg Lind (1998) who critiqued the classic/traditional measures of moral reasoning, asserting that they were more likely to measure only a person’s moral attitude/ opinion aspect and hardly applied to his/her moral behavior. Lind (2002) argued that, essentially from the concepts of Piaget and Kohlberg, morality is not, as so many had assumed, purely a matter of having right moral attitudes or knowing moral terminology/principles, but that morality is a “competence” which needsto be developed and measured, in much the same way as other com-

ปที่ 2 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2010/2553 9


ความสัมพันธระหวางระดับความสามารถของการตัดสินคุณคาทางศีลธรรมกับ ความพอใจทางลักษณะของบุคลิกภาพ

petences are developed and measured. Hence, the term moral competence was introduced in the measurement and testing sphere. Consequently, Lind developed the “Dual-Aspect Theory of Moral Behavior and Development” as outlined by Piaget, Kohlberg and Lind. That is, for Piaget (1976) “affective and cognitive mechanisms are inseparable, although distinct: the former depends on energy, and the latter depend on structure.” Accordingly, Kohlberg (1984) meant the “Stage Model of Moral Development” to be described in terms of both the affective and the cognitive aspects of moral behavior. Lind (2000) further explicated this theory and analyzed its implication for the measurement and stimulation of moral cognitive development. Further, the Dual-Aspect Theory of Moral Development states that for a comprehensive description of moral behavior both affective as well as

10 วารสารวชาการ วทยาลัยแสงธรรม

cognitive properties need to be considered. A full description of a person involves (1) moral ideals and principles that informs it, and (2) the cognitive capacities that a person has when applying these ideas and principles in his/her decision making processes (Lind, 2000). In view of that, Lind (2000) has constructed the “Moral Judgment Test” (MJT) in 1975 to assess a person’s moral judgment competence in accordance with Kohlberg’s definition which states that moral judgment competence is “the capacity to make decisions and judgment which are moral (i.e., based on internal principles) and to act in accordance with such judgments” (Kohlberg, 1969). The MJT is conversely a test of subject’s ability to judge controversial arguments in a discussion about moral problems on the basis of moral principles and orientations rather than on the basis of other criteria like opinion-agreement or opinion domain. The “encounter-arguments” presented


วชระ น้ำเพชร

in a given moral dilemma are the central features of the MJT to measure how a person consistently make his judgment (Lind, 2000). Hence, the MJT is completely different from the Rest’s Defining Issues Test (DIT) even though both have been constructed based on the six stages of moral reasoning of Kohlberg’s Moral Theory. In comparison and correlational studies of personality and morality, which, in fact, indirectly applied to Jung’s Theory of Psychological Type and Kohlberg’s Moral Theory, a good number of researchers interestingly investigated and examined the relationship and/or the causaleffect between subjects’ moral reasoning, moral attitudes or moral judgment and their personality type preferences in various groups of subjects. In their studies, most of them were more preferably to utilize the Defining Issues Test (DIT) (Rest, 1997) or

the Moral Judgment Interview (MJI) (Kohlberg, 1974), and the Myers-Briggs Type Inventory (MBTI). Along with this, they have found such relationships in some degrees in various types and groups of the samples. Since perspectives and theories of personality and moral development in the field of psychology still vary, in an examination of the relationship between moral judgment com petence and personality type preference, the underlying theories in which the two constructs (moral judgment and personality) are rooted should be clearly specified (O’Brien, 2001). Hence, in the present study, Jung’s Theory of Psychological Type and the Dual-Aspect Theory in Moral Development (based on Piaget, Kohlberg and Lind) are specifically considered and particularly made as foundation.

ปที่ 2 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2010/2553 11


ความสัมพันธระหวางระดับความสามารถของการตัดสินคุณคาทางศีลธรรมกับ ความพอใจทางลักษณะของบุคลิกภาพ

How does the present study link those two theories in examining their relationship? In the Jungian theory of psychological types, Jung focused on the two main aspects that differentiate a person’s personality type: Basic Attitudes (Extroversion and Introversion) and Functions of thought (Rational and Irrational). The combination among them form different types of personality (Ryckman, 1993). At the same time, a person’s moral judgment competence depends on the person’s capacity of making decision and judgment which are moral (Kohlberg. 1964). In addition, according to the Dual-Aspect Theory of Moral Development, such a capacity is based on the person’s moral development and functioning of both affective (i.e. moral attitude) and cognitive (i.e., moral reasoning) aspects (Lind, 2000). That is, both the functions of thought (rational and irrational) and the basic attitudes play their roles in a person’s

12 วารสารวชาการ วทยาลัยแสงธรรม

judgment and perception (Mcmahon, 1992). The present study, thus, uses such underlying role factors of a person’s decision-making as the linkage of the two theories, and using this as a point of departure to investigate the relationship between personality type preference and moral judgment. By and large, most studies of such relationship which utilized the MBTI to measure subjects’ personality types had not assigned them in a typology or classification provided by the Jungian personality theory, but in accordance with the interpretation of Myers and Briggs. However, the present study chiefly focuses and particularly examines on those differences in Jung’s rational functions (Thinking and Feeling) as the cognitive aspects in their moral judgment competence. If the difference exists, there will be a further investigation of whether the attitude aspects (the two basic attitudes: Extraversion and Introversion) and irrational functions of thought


วชระ น้ำเพชร

(Sensation and Intuition) play their role in moral judgment. Furthermore, since the MJT has not been used in any correlational studies in this regard before and it was constructed based on the DualAspect Theory of Moral Development and used the C-index to measure and signify the degree of cognitive-structural properties of persons’ moral judgment competence, this study will be a pioneer. Still further, the present study is primarily interested in using a homogeneous group of subjects in order to control the probable threats to internal validity (extraneous factors) of the study as much as possible. Thus, the present study had selected only the Ateneo High School’s highacademic performing male students who are in the middle adolescence stage (third and fourth year high school levels) from the honor sections as subjects of this study to respond to the two standardized tests: the MJT and the MBTI.

Research and studies on the Relationship between Morality and Personality. In research and studies on the relationship between morality and personality, many types of instruments to measure these two constructs were employed and various groups of subjects were used to investigate such a relationship in both more specific perspectives and broader areas. The following studies are selected to compare with the present study: Redford (1993) explored the relationship between Jungian typology and Kohlberg’s moral development. The question of interest was whether those persons in high and those persons in low levels of principled moral reasoning differ in their distribution of psychological type. The study examined sixteen psychological types described by the MBTI. The subjects were 148 college and non-academic adult participants. Results indicated

ปที่ 2 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2010/2553 13


ความสัมพันธระหวางระดับความสามารถของการตัดสินคุณคาทางศีลธรรมกับ ความพอใจทางลักษณะของบุคลิกภาพ

that the ISFJ and the ISTJ were overrepresented in low and under-represented in high P- scores. Supplementary analysis results indicated the Sensors (S) was over-represented in low and under-represented in high Pscores, and the Intuitors (N) and the Introverted-Perceivers (I-P) were overrepresented in high and under-represented in low P-scores. Conclusions followed that the actual judgment process (T or F) was apparently not as influential as the other preferences, parti-cularly the perceptive preference (S or N). Redford, McPherson, Frankiewicz and Gaa (1995) investigated the relationship between the sensing (S) intuition (N) dimension of the MBTI and moral development using two group samples of 74 subjects (aged 18 years old and above) each from Houston-Clear Lake, Texas, the USA. The results supported the hypothesis that, of the four personality dimensions of the MBTI (E-I, T-F, S-N, and J-P

14 วารสารวชาการ วทยาลัยแสงธรรม

dimension), the S-N dimension would be the only one to have a positive relation with subjects’ level of moral reasoning. Faucett, Morgan, Poling and Johnson (1995) investigated relationships between MBTI preferences and Kohlberg’s postconventional stages of moral reasoning (using DIT). The subjects were 214 undergraduates of the University of Arkansas, the USA. It found that postconventional moral reasoning scores of Introverts (I) were higher than those of Extroverts (E); scores of Intuitors (N) were higher than those of Sensors (S); and scores of Perceivers (P) were higher than those of Judgers (J). However, Thinkers (T) and Feelers (F) were not significantly different. The postconventional reasoning scores of N-Ts and N-Fs were significantly higher than scores of S-Ps and S-Js. Results suggested that different personality types may prefer different kinds of moral reasoning and that differences in developmental


วชระ น้ำเพชร

stages of moral reasoning may, to some extent, reflect type preferences. O’Brien (2001) examined the relationship between pre-service teachers’ personality type preference and moral judgment using the DIT and the MBTI, using 124 subjects (aged 18 years old and above) from Florida State. The study found significant differences in moral judgment ability between groups of individuals with different personality type preferences (according to the MBTI’s classification). Specifically, those who preferred Intuition (N) as their means to perceive information had a higher P score than those who preferred Sensation. Additionally, when looking at the Sensation-Intuition (S-N) and the Thinking-Feeling (T-F) simultaneously, the main effect for the S-N and the T-F subscales were significant. There was also a significant interaction between the S-N and the T-F factors. This preliminary research has indicated that personality type preference may play a key role in moral development.

Cantrell (2000) investigate whether or not there are significant differences in the level of moral reasoning and in personality preferences of gifted students as compared with the normative population. The study also investigated if a significant relationship existed between various personality preferences and the level of moral reasoning. Two-hundred gifted students (rising 6th through rising tenth-grade students) were administered the Murphy-Meisgeier Type Indicator for Children to assess personality preferences and the DIT to assess moral reasoning. Findings revealed significant differences in the level of moral reasoning and in personality preferences as compared to the normative population. These findings suggested that the personality of the gifted has a tendency to be stabilized and more clearly defined at an earlier age than non-gifted peers and indicated that the level of moral reasoning among the gifted is more highly

ปที่ 2 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2010/2553 15


ความสัมพันธระหวางระดับความสามารถของการตัดสินคุณคาทางศีลธรรมกับ ความพอใจทางลักษณะของบุคลิกภาพ

developed than that of their non-gifted peers. Analyses examining the relationship between personality preferences and the level of moral reasoning were non-significant for the most part. The results suggested that personality preferences among gifted students were not related to the level of moral reasoning. Mcmahon (1992) investigated the relationship between moral development and year in school, gender, and personality type for university undergraduates. Moral development was measured by the DIT and personality was assessed using the MBTI. The sample consisted of 320 freshmen, sophomores, juniors, and seniors enrolled as full-time students at the University of Iowa. From this sample, 188 (36.9%) students returned usable questionnaires. This random sample, stratified according to undergraduate class and gender, was provided by the university registrar. Subjects completed and returned a mailed question-

16 วารสารวชาการ วทยาลัยแสงธรรม

naire booklet containing the DIT and the MBTI. Significant gender and year in school effects were found when analyzing the P-score of moral development level. Women scored significantly higher than men and seniors scored significantly higher than freshman, sophomores, and juniors. The Feeling (F) dimension of the MBTI was found to be significantly associated with gender (females). Finally, the Stage 4 score was found to be significantly related to the Sensing (S) and Judging (J) dimensions of the MBTI. The P score was found to be significantly related to the Intuitive (N) and Feeling (F) dimensions of the MBTI. These results confirmed earlier studies in which a significant relationship was found between year in school and moral development level. The gender effect had been theorized and found in some studies but is unusual when using the DIT. The significant relationship between different dimensions of the MBTI and Stage 4 and P moral


วชระ น้ำเพชร

development scores had not been previously reported in the literature. Relationship between morality and personality. Several findings are related to the present study. For instance, as measured by the DIT, the ISF were over-presented and IST type were under-represented in high P-scores; Thinking-Feeling (T-F) factor was not as influential as the SensingIntuitive (S-N) factor (Redford, 1993), and especially, the S-N were positively related to moral judgment (Faucett, Morgan, Poling and Johnson, 1995). However, there was no significant difference on moral judgment between Thinkers and the Feelers. But, P-scores of the N-T and the N-F types were higher than the S-type (Faucett, Morgan, Poling and Johnson, 1995). Likewise, the N-type had P-scores higher than the S-type. Further, some found that there were main effects of the S-N factor and the T-F factor, and also interaction effects between these two factors on moral judgment (O’Brien,

2001). The related literature and studies as presented are substantial and sufficient to establish or postulate an assumption that there exists a relationship between moral judgment and personality type preferences despite the fact that such relationships are grounded on different perceptions or perspectives of theories either on moral development or personality; and diversely employed types of psychometric instruments for measurements. However, in an attempt to investigate moral judgment competence level in relation to personality type preferences, the present study, in particular, utilized the dualaspect theory of moral development, as rooted in Piaget’s and Kohlberg’s theories of morality, and Jungian personality theory. There also exist the key underlying and related factors that link between these two theories in both theoretical and conceptual aspects.

ปที่ 2 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2010/2553 17


ความสัมพันธระหวางระดับความสามารถของการตัดสินคุณคาทางศีลธรรมกับ ความพอใจทางลักษณะของบุคลิกภาพ

In study of the relationship of those two constructs, the present study utilized the two standardized tests: the MBTI and the MJT. The former was constructed based on Jung’s Theory of Psychological Types, and the latter was on the Dual-Aspect Theory of Moral Development, founded on Piaget, Kohlberg and Lind’s theories. The present study is significant in terms of the contribution it shall make to the fundamental question whether the moral judgment is related to personality and in advancing research on the exploration of the existence of such relationship. If this relationship is established in the present study, this finding may be used as an indicator in prediction of moral judgment competence levels given particular personality type based on Jung’s typology. Moreover, since this is the first study on the DualAspect Theory of Moral Development and the use on the MJT correlated

18 วารสารวชาการ วทยาลัยแสงธรรม

to the Jung’s theory of personality, the findings can provide substantial reference to the study on the theories of personality and moral development to this particular measurement, the MJT. Research Objectives and Statement of the Problems The present study aims to explore the relationship between the moral judgment competence level (as measured by the MJT) and the Jungian personality-type preference (as measured by the MBTI) of the Ateneo high-academic performing students. Specifically, it seeks to answer the following questions: 1. Is there a difference in moral judgment competence level between those who have the Thinking (T) and the Feeling (F) personality-type preferences? 2. Is there a difference in moral judgment competence level between those who have the Extraversion (E)


วชระ น้ำเพชร

and the Introversion (I) personalitytype preferences? 3. Is there a difference in moral judgment competence level between those who have the Sensation (S) and the Intuition (N) personality-type preferences? 4. Taken by pairs, do the combinations of these three factors: particularly, between the Basic-Attitude (Extraversion and Introversion) and the Rational- function (Thinking and Feeling); and between the Rational-function (Thinking and Feeling) and the Irrational-function (Sensation and Intuition) factors, differentiate moral judgment competence levels? And, 5. Taken simultaneously, do the combinations of these three factors: the Basic Attitude (Extraversion and Introversion), the Rational function (Thinking and Feeling) factors, and the Irrational function (Sensation and Intuition), differentiate moral judgment competence levels?

Method Participants There are some criticisms about gender bias in the Kohlberg’s Moral Theory on which the MJT is based (Woolfolk, 2000), and there are differences of adolescent cognitive development in each stage: early, middle and late (Seifert & Hoffnung, 2000). Also, with the developmental nature of moral judgment during the past twenty-five years, a good number of research revealed that moral judgment was related to some factors, such as age, levels of education, gender, religion, socio-economic status and certain life-experiences (Newburn, 1992). So as to restrain some extraneous factors, such as, gender differences, intellectual ability of using language, educational background, stage of adolescent development, religious belief, etc. that may affect and become threats to the internal and external validities of the study,

ปที่ 2 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2010/2553 19


ความสัมพันธระหวางระดับความสามารถของการตัดสินคุณคาทางศีลธรรมกับ ความพอใจทางลักษณะของบุคลิกภาพ

the homogeneity of the selected subjects was primarily considered. Therefore, only 181 male students in the thirdand fourth-year students of the Ateneo de Naga High School, Naga City, the Philippines, who are in the same middle adolescent stage (15-17 years old), who have their highacademic performance (in the honor classes), and who are Catholics, are chosen to be the subjects of the present study. Design and Procedure The present study is a nonexperimental (descriptive and quantitative) research. The design and methodology of the study are as follows: 1) In examining differences in moral judgment competence levels between those who have (1) the Thinking (T) and the Feeling (F) personalitytype preferences, (2) the Extraversion (E) and the Introversion (I) personalitytype preferences, and (3) the Sensation (S) and the Intuition (N) persona-

20 วารสารวชาการ วทยาลัยแสงธรรม

lity-type preferences, Analysis of Variance for one dependent variable by one or more factors, was used. 2) In examining personalitytype preference factors that affect the moral judgment competence levels, when taken simultaneously by pairs: between the Basic attitudes (Extraversion and Introversion) and the Rational functions (Thinking and Feeling); and between the Rational functions (Thinking and Feeling) and the Irrational functions (Sensation and Intuition), the ANOVA for one dependent variable by one or more factors was used. If the interaction effects exist in any paired-factor group, the pairwise comparison tests among groups was employed. Thereby, the first paired-factor groups are the E-T, the I-T, the E-F and the I-F; and the second paired-factor groups are the S-T, the S-F, the N-T and the N-F. 3) In investigating the three personality-type preference factors that affect the moral judgment com-


วชระ น้ำเพชร

petence levels, when taken simultaneously the Basic attitudes (Extraversion and Introversion), the Rational functions (Thinking and Feeling), and the Irrational functions (Sensation and Intuition), the 2×2×2 Factorial Analysis of Variance was employed in view of the fact that there are three factors (independent variables), and each factor has 2 levels. Also, the eight groups of students’ personality-type preferences: the EST, the ESF, the ENT, the ENF, the IST, the ISF, the INT and the INF were also examined in terms of their effects when taken the personality-type as an independent factor, and then compared their differences of levels of moral judgment competence. Measures Two types of standardized psychological test were primarily employed and administered to collect data and information as follows:

The Moral Judgment Test (MJT). The MJT has been constructed to assess subjects’ moral judgment competence as it has been defined by Kohlberg. Essentially, the MJT assesses moral judgment competence by recording how subject deals with counter-arguments, that is, with arguments that oppose his/her position on difficult problem. The counterarguments represent the “moral task” that the subject is confronted with two moral dilemmas and with arguments pro and contra the subject’s opinion on solving each of them (Lind, 1998). The two dilemmas are the Worker’s Dilemma and the Doctor’s Dilemma. Subjects are asked to judge arguments for their acceptability. These arguments present different levels of moral reasoning, six supporting the decision that the protagonist in the story made, and six arguing against one’s decision. In each dilemma, the respondent is to judge twelve argu-

ปที่ 2 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2010/2553 21


ความสัมพันธระหวางระดับความสามารถของการตัดสินคุณคาทางศีลธรรมกับ ความพอใจทางลักษณะของบุคลิกภาพ

ments. In the standard version of the MJT, there are then twenty-four arguments to be rated. The main score, the C-index, of the MJT measures the degree to which a subject’s judgment about pro- and con- arguments are determined by moral viewpoints rather than by non-moral considerations like opinion-agreement. Each subject will have the C-index from the MJT to indicate his moral judgment competence score which can be classified in to four categories (levels): very high (above 50), high (30-49), medium (10-29), and low (below 10) (Cohen, 1988; Lind, 2000). This measures cognitive aspects according to the dual-aspect theory. Besides this cognitive variable, the MJT measures subjects’ moral ideas or attitudes. Also, it can be scored for other aspects of subject’s moral judgment behavior like most preferred stages of reasoning (Lind, 2000). The validity of the MJT is supported (a) by the theoretical construction principles, and (b) by empirical validation studies.

22 วารสารวชาการ วทยาลัยแสงธรรม

Moreover, the MJT is not submitted to traditional item analysis. That is, no items are selected to increase the correlation of the C-index (Lind, 2002). Most important, the items are not screened either to maximize stability of scores (reliability) at the expense of the test sensitivity for educationinduced change, or to maximize sensitivity for change at the expense of theoretical validity (Lind,2002). The Myers-Briggs Type Indicator (MBTI) Form M. The MBTI is constructed and modified based on the Jungian Psychological Type, There are four pairs of preference types: Extrovert (E)/ Introvert (I), Thinking (T)/Feeling (F), Sensation (S)/Intuition (N) and but the fourth pair: Judging (J) and Perceiving (P)which the developers had added to the Jung’s typology. One can be either one of those pairs. For instance, the T-type or F-type, but cannot be both T and F types. It is a forced-item


วชระ น้ำเพชร

response test in which the subjects select a choice from each of the 93 items to assess their preferences, that collectively, make up their personality type. The types of preference are designated by four letters. Each type of personality preference (T or F, S or N, E or I, and J or P) has total scores of preference. After completing and scoring the test, one can have the type of personality preference, for example, ESTJ, but not EIJP. Based on the MBTI, the sixteen types of personality preferences are ISTJ, ISTP, ISFJ, ISFP, ESTP, ESTJ, ESFP, ESFJ, INFJ, INFP, INTJ, INTP, ENFP, ENTP, ENFJ and ENTJ. It is re ported to have a consistency reliability coefficient between 0.7-0.88 in various forms of the MBTI (Myers & McCaulley, 1985). The present study employed the MBTI-Form M, to measure and identify the personality-type preference of the subjects. Data Collection The high-academic performing

male students of the Ateneo de Naga High School, the subjects of the study (181 students), were given the MBTI, and later a couple of days, the MJT with standardized test administrations. In the process of data collection, all extraneous variables were controlled as much as possible. Results The results initially revealed that the main effects of the Rationalfunction (T & F) factor upon moral judgment competence (MJC) levels from the two groups: the T-type and Ftype were statistically significant, F (1,179) = 8.209, p = .005: and it was more likely for those who preferred the Thinking type to have a mean of moral judgment competence levels higher that those who preferred the Feeling type (mean difference = 5.838, p = .005). In addition, there were neither statistically significant main effect of the factors of Basic-attitudes (E & I) nor

ปที่ 2 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2010/2553 23


ความสัมพันธระหวางระดับความสามารถของการตัดสินคุณคาทางศีลธรรมกับ ความพอใจทางลักษณะของบุคลิกภาพ

that of Irrational-functions (S & N) on moral judgment competence levels (MJC) of the subjects of this study. That is, there were no significant mean difference in MJC levels between the Sensors (S-type) and the Intuitives (Ntype), and between the Extraverts (Etype) and the Introverts (I-type). However, when taken by pairs, first, the Rational-function (T & F) and the Basic-attitude (E & I) factors, there were statistically significant interaction effects between these two factors, F (1, 177) = 9.851, p = .002. That is, when they were considered together, they had more effects on MJC mean than when they were considered individualTable 1 Mean MJC of Jungian Psychological Jungian Psychological Types (Attitudes & Rational Functions) Extraverted – Thinkers (E-T) Extraverted – Feelers (E-F) Introverted – Thinkers (I-T) Introverted – Feelers (I-F) Total Dependent Variable: C- INDEX

ly. Hence, mean differences between the Thinkers (T-type) and the Feelers (F-type) can be further explained when these two personality types were both extraverted (E-T & E-F), the mean MJC of the Extraverted Thinkers (27.964) was much greater than that of the Extraverted Feelers (15.963) (see Table 1). On the contrary, when the Thinkers and the Feelers were both introverted (I-T & I-F), the Introverted Thinkers’ mean MJC (18.865) was slightly less than that of the Introverted Feelers (19.072) (also see Table 1). Therefore, there was an interaction between the two factors (Basic-attitudes and Rational-functions) on mean C-index.

Types (Attitudes & Rational Functions) Mean N C-index Percent of N 27.964 29 16.02 15.963 68 37.57 18.865 31 17.13 19.072 53 29.28 19.293 181 100.00

24 วารสารวชาการ วทยาลัยแสงธรรม

Std. Deviation 13.561 12.074 14.053 11.706 13.104


วชระ น้ำเพชร

Furthermore, when taken by other pairs and then all three-factors simultaneously, no other interaction effects on the MJC within other com binations of the two-different factors, or the three-factors were statistically significant. Therefore, the mean difference of MJC between Thinkers and Feelers were not affected by Irrationalfunctions (S & N). That is, whether they both were also either in the Sensing or Intuitive types, their mean MJC were insignificantly different. Likewise, when the three factors (Basic-attitudes, Rational-functions and Irrational-functions) were considered together, there was still insignificantly different in mean MJC between the Thinkers and the Feelers. Still, based on the results from the interaction effects between the Rational-function and Basic-attitude factors, the effects of the first four Jungian psychological types (the E-T, the E-F, the I-E and the I-F type) on

the MJC of the students was further investigated. It was found that when these different type preferences were treated as one independent factor, and taken simultaneously for analysis, there were statistically significant main effects on the MJC for these four personality-type preference groups (F (3, 177) = 6.209, p < .001). It indicated that personality-type preference factors, in this case, the four Jungian psychological types (a combination between the two Basic-attitudes and the two Rational-functions), had ef fects on the MJC mean. Thus, there were significantly differences in MJC mean among the students’ personality type preferences of this category. Still further, when examined by a method of pairwise comparisons among these four psychological typepreference groups, the MJC mean differences (md) of each pair were statistically significant, namely, between the E-T type and the E-F the (md=

ปที่ 2 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2010/2553 25


ความสัมพันธระหวางระดับความสามารถของการตัดสินคุณคาทางศีลธรรมกับ ความพอใจทางลักษณะของบุคลิกภาพ

12.001, p < .001), between the E-T type and the I-F type (md=8.893, p = .003), and between the E-T type

and the I-T type (md=9.099, p = .006), (see Table, 2).

Table 2 Pairwise Comparisons of the MJC Mean Differences between the Jungian Psychological: Combination between the Basic Attitudes and the Rational Functions Jungian (BASIC ATT. Mean Std. 95% Confidence Interval Psychological & Difference Error Sig. for Difference Types RAT.FUNCT.) Lower Upper Bound Bound E-F E-T -12.001(*) 2.788 .000 -17.503 -6.500 I-F -3.109 2.303 .179 -7.654 1.437 I-T -2.903 2.724 .288 -8.278 2.473 E-T E-F 12.001(*) 2.788 .000 6.500 17.503 I-F 8.893(*) 2.903 .003 3.163 14.622 I-T 9.099(*) 3.247 .006 2.690 15.507 I-F E-F 3.109 2.303 .179 -1.437 7.654 E-T -8.893(*) 2.903 .003 -14.622 -3.163 I-T .206 2.842 .942 -5.403 5.815 I-T E-F 2.903 2.724 .288 -2.473 8.278 E-T -9.099(*) 3.247 .006 -15.507 -2.690 I-F -.206 2.842 .942 -5.815 5.403 Dependent Variable: C- INDEX Based on estimated marginal means * The mean difference is significant at the .05 level.

26 วารสารวชาการ วทยาลัยแสงธรรม


วชระ น้ำเพชร

Moreover, when these four Jungian psychological type preferences, which was treated as one independent factor, were taken simultaneously with the Irrational-function factor (S & N), there were no statistically significant interaction effects on the MJC mean among these four particular types with the Irrational-function factor in this analysis. Hence, the results were more likely to confirm the assumption that the MJC mean difference of the T-type and the F-type groups was due to an interaction only with the Basic-attitude factor, not with the Irrational-Function factor. Additionally, when four-function personality types (S-T, S-F, N-T, and N-F types) were taken together as an independent factor (a combination of the Rational functions and the Irrational functions), there were no significant effects on the MJC mean for those who preferred a different pair of these two functions across the

subjects of this study. It thus means that the students of this category of personality type preferences had no significant differences in mean MJC. Finally, when the eight personality type personality of preference (a combination of the two basic attitudes and the four functions): the ENT-, the ENF-, the EST-, the ESF- the INT-, the INF-, the IST-, and the ISFtype, were treated as one independent factor and taken simultaneously for analysis, there were statistically significant main effects on the MJC means among these eight types of personality preferences, (F (7, 173) = 2.664, p = .012). The main effects of these eight (8) particular types of personality preferences on the moral judgment competence levels across the different type-groups is shown in Table 3. Data from the table clearly reveal that the MJC means of personality-type preferences are relatively similar by pairs. The MJC means of a pair of the ENT

ปที่ 2 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2010/2553 27


ความสัมพันธระหวางระดับความสามารถของการตัดสินคุณคาทางศีลธรรมกับ ความพอใจทางลักษณะของบุคลิกภาพ

and the EST were likely much higher than that of a pair of the ENF and the ESF, whereas a pair of the INF and the

IST had relatively similar low means, and so did a pair of the INT and the ISF.

Table 3 Statistical Descriptions of the Eight Personality Type Preferences: Combination of the Three Factors Personality Types

Mean of C- index

Standard Deviation

Std. Error

28.530 27.357 19.835 19.657 18.505 17.743 15.996 15.942

12.087 15.426 16.384 10.714 13.071 12.815 13.571 11.221

3.279 3.394 3.522 2.245 2.708 3.080 2.491 1.960

Total 181 19.293 Dependent Variable: C_INDEX

13.104

ENT EST INT ISF INF IST ESF ENF

N

15 14 13 32 22 17 26 42

However, when an examination of multiple comparisons among these eight personality typed-preference groups were conducted using the mean differences (md) of the C- index,

28 วารสารวชาการ วทยาลัยแสงธรรม

95% Confidence Interval Lower Upper Bound Bound 22.058 20.658 12.883 15.226 13.161 11.664 11.080 12.075

35.002 34.057 26.787 24.088 23.849 23.822 20.912 19.810

only 9 out of 28 pairs were found statistically significant (see Table 4). Accordingly, there were differences between the ENT-type and the ENFtype (md = 12.588, p = .001), between


วชระ น้ำเพชร

the ENT-type and the ESF-type (md = 12.534, p = .003), between the ENTtype and the INF-type (md = 10.025, p = .020), between the ENT-type and the ISF-type (md = 8.873, p = .027), between the ENT-type and the ISTtype (md = 10.787, p = .018), between

the EST-type and the ENF-type (md = 11.415, p =.004), between the ESTtype and the ESF-type (md = 11.316, p = .008), between the EST and the INFtype (md = 8.852, p = .043), and between the EST-type and the ISTtype (md = 9.614, p = .037).

Table 4 Pairwise Comparisons of the MJC Mean Differences among the Eight Personality Type Preferences Personality Types (a)

ENT

Personality Types (b)

NF ESF IST INF ISF INT EST

95% Confidence Interval for Difference(a)

Mean Difference (a-b)

Std. Error Sig.(*)

2.588(*) 12.534(*) 10.787(*) 10.025(*) 8.873(*) 8.695 1.173

3.820 4.118 4.499 4.252 3.974 4.812 4.719

.001 .003 .018 .020 .027 .073 .804

Lower Bound

Upper Bound

5.048 4.407 1.908 1.632 1.030 -.803 -8.142

20.128 20.662 19.667 18.419 16.717 18.194 10.488

ปที่ 2 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2010/2553 29


ความสัมพันธระหวางระดับความสามารถของการตัดสินคุณคาทางศีลธรรมกับ ความพอใจทางลักษณะของบุคลิกภาพ Table 4 (Continued) Personality Types (a)

Personality Types (b)

Mean Difference (a-b)

EST

95% Confidence Interval for Difference (a) Std. Error Sig.(*)

ENF 11.415(*) 3.919 ESF 11.361(*) 4.210 IST 9.614(*) 4.583 INF 8.852(*) 4.342 ISF 7.700 4.069 INT 7.522 4.891 ENT -1.173 4.719 Dependent Variable: C-INDEX * The mean difference is significant at the .05 level.

Discussion Moral Judgment Competence and Personality Type Preferences Based on Three Factors (Basic Attitudes, Rational Functions and Irrational Functions) It was revealed in the present study that there were significant differences in MJC levels between the Thinkers and the Feelers (F) among the Ateneo high-academic performing male students; no significant

30 วารสารวชาการ วทยาลัยแสงธรรม

.004 .008 .037 .043 .060 .126 .804

Lower Bound

Upper Bound

3.680 3.052 .568 .283 -.332 -2.132 -10.488

19.151 19.671 18.661 17.422 15.732 17.177 8.142

differences in MJC level between the Extraverts and the Introverts among the Ateneo high-academic performing male students; and no significant differences in MJC level between the Sensors and the Intuitives among the Ateneo high-academic performing students. Additionally, mean MJC of the Thinkers were significantly higher than that of the Feelers. Substantial explanations to the fi ndings may be made based on


วชระ น้ำเพชร

Jungian psychological types and the dual-aspect theory of moral development as follows: With regard to the differences in MJC levels between the Thinkers and the Feelers, Thinking as a function of logical discrimination, according to Jung, is rational (judging). So does Feeling, which is a way of evaluating an individual’s likes or dislikes and can be quite as discriminating as thinking. Both Thinking and Feeling are called Rational because they are based on a reflective, linear process that coalesces into a particular judgment (Sharp, 1987). Since they make judgments and evaluations about experiences, or make use of reason, abstraction and generalization (Feist, 1994), they enable an individual to look for lawfulness in the universe (Hall, Lindzey & Campbell, 1998). Thinking function is ideational and intellectual. By thinking, humans try to comprehend the nature of the world and themselves.

On the contrary, Feeling function gives humans their subjective experiences; it is about the valuing of things, whether positive or negative with reference to the subjective (Hall, Lindzey &Campbell, 1998). There are some distinctive qualitiesassociated with these two types. Thinking function relies on principles of cause and effect and tends to be impersonal, analytic, critical, clear and consistent in principles, and emphasis on objective criteria, while the Feeling function is about decision-making by weighing relative values, need for harmony, interest in emotions rather than in ideas, and given emphasis on subjective criteria (Bayne, 1997). Similarly, according to the dual-aspecttheory of moral development, the cognitive and affective aspects provide an individual with important information about the nature of a person’s moral behavior: the affective aspect gives the direction, whereas the cogni-

ปที่ 2 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2010/2553 31


ความสัมพันธระหวางระดับความสามารถของการตัดสินคุณคาทางศีลธรรมกับ ความพอใจทางลักษณะของบุคลิกภาพ

tive aspect provides the organization and structure of action in the process of decisions making and judgment (Lind, 2000). Yet, an individual’s moral judgment competence is founded on the cognitive aspects even though their developments are parallel and inseparable (Lind, 2002). By definition, moral judgment competence is a capability of making moral decisions on matters that deal with universality and objectivity rather than that with personal harmony and subjectivity. Additionally, moral judgment competence is characterized by ability on adherence to and consistent application of abstract, universal moral principles, regardless of stages of morality. Hence, the cognitive aspect of moral development and the judging-rational function of personality type development (i.e., Thinking) is more closely complemented to one another than that of the evaluative-rational function (i.e., Feeling) in moral judgment competence.

32 วารสารวชาการ วทยาลัยแสงธรรม

According to Lind (2000), those who are in a high MJC level have their consistency in applying moral principles in their moral judgments or decisions, as indicated by obtaining higher scores from the MJT. Moreover, in the MBTI senses, Thinking-type relies on principle of cause and effect and tends to be impersonal, whereas Feeling-type makes decisions by weighing relative values. A difference between the Thinkers and the Feelers is, hence, basically about how values/principles are used and which take priority (Myers & McCaulley, 1985). Since morality deals with abstract, universal principles rather than relative values, those who have more characteristic/function (way of thought) of Thinking function would tend to be in favor of moral judgment competence than Feeling function. Hence, such distinctive qualities of these two types of personality preference may account for the difference in moral judgment competence levels


วชระ น้ำเพชร

between the Thinkers and the Feelers, as revealed in the present study where the MJC mean (C-index) of the Thinking type is significantly higher than that of the Feeling type. Contrary results to the present study have been found in the research of Faucett, Morgan, Poling and Johnson (1995) where the Thinkers (T-type) and the Feelers (F-type) were not significantly different, in their investigation of the relationships between the MBTI preferences and L. Kohlberg’s postconventional stages of moral reasoning, as measured by the DIT, using samples of 214 undergraduates of the University of Arkansas in the USA. Factors underlying the opposite directions of the findings from the two studies may be explained by empirical research which indicated that among those personal characteristic viewed as related to moral judgment development were age, education, gender, religion and certain life

experiences (Newburn, 1992; Barit, 1985). Importantly, most of extraneous factors in the present study, such as age, gender, formal education, religion, and life experiences, had been controlled as much as possible. For instance, the subjects were third-and fourth-year, highly-academic performing, and male students in the same age group of middle adolescent (1517 years old); all were Catholics who were studying in the same Catholic, Jesuit school. Hence, the differences in level of moral judgment competence may most likely be explained only by the factor of personality-type of preferences In addition, the present study also found that even though both groups were in medium level of MJC, however, the mean C-index of the Thinkers (T-type) were significantly higher than that of the Feelers (F-type).

ปที่ 2 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2010/2553 33


ความสัมพันธระหวางระดับความสามารถของการตัดสินคุณคาทางศีลธรรมกับ ความพอใจทางลักษณะของบุคลิกภาพ

Moral Judgment Competence and Jungian Personality Types The present study conducted a further investigation, by pairing the Rational-function (T and F) with the Basic-attitudes (E and I), and also with Irrational-functions (S and N) to determine whether any pair of these two factors affected the students’ MJC. It was revealed that there were significant interaction effects on MJC, but only between the Rational-function factor and the Basic-attitude factor. It means that when the two factors were simultaneously taken into consideration, the difference in MJC between the Thinkers and the Feelers was able to be substantially explained by an influence from their type of Basic-attitudes (E or I). A combination between the two Basic-attitudes and Rationalfunctions forms four Jung’s psychological types (E-T, E-F, I-T and I-F). Based on these findings, mean C-index of the Extraverted-Thinkers (E-T type) were significantly highest

34 วารสารวชาการ วทยาลัยแสงธรรม

among the other types (E-F, I-T and I-F) in the same category (as shown in Tables 1 & 2), especially higher than that of the Extraverted-Feelings (E-F type), whereas the Introverted Thinkers (I-T type) were not in the same fashion. Hence, Extraversion attitude was the underlying factor which was significantly accounted for the difference between the T-type and the F-type on MJC levels of the students in this study. However, there was no contribution on a part of the Irrational-function factor in this investigation. Thus, the implication of these findings is that personality type preferences can differentiate on levelsof moral judgment competence. Several explanations to the findings can be drawn from the personality type theory and some previous studies as follows: According to the MBTI sense, in the Extraverted attitude, energy and attention flow out, or are drawn out, to the objects and people in the en-


วชระ น้ำเพชร

vironment. The individual experiences a desire to act on the environment, to affirm its importance, to increase its effect. Persons habitually taking Extraverted attitude may develop some or all of the characteristic associated with Extraversion: awareness of and reliance on environment for stimulation and guidance; an eagerness to interact with the outer world; an action-oriented, sometimes impulsive way of meeting life; openness to new experiences; ease of communication and social; and a desire to talk things out (Myers & McCaulley, 1985). When the Extraverted attitude combines with Thinking function, the persons in this type (E-T type) have their thought focused primarily on objective data, abstract ideas and principles that are then utilized to assist in the ordering of the external world to search for absolutes, for universal truths (Wallace, 1993). When the Feeing function is paired with Extraversion, those in the E-F types are subjects to tradi-

tional or generally accepted standards of value. Concerned with interpersonal relationship and the impressions they engender, the values extraverts place on objects are highly influenced by the present social standards and can be characterized as fitting, fashionable, or political. In short, they will fulfill aesthetic expectations (Wallace, 1993). On a matter of morality, one of the differences between the E-T and the E-F is evidently in moral principles. The moral principles and ideas are fundamentally universal and abstract. The former holds tight on absolute and objectivity, whereas the latter on relativity and subjectivity: the former holds competence definition on morality, while the latter holds the ruleconformity and good-intention definition (Lind, 2002). Therefore, based on the concept of moral judgment competence (rooted in the dual-aspect theory of moral development) and their characteristics according to Jun-

ปที่ 2 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2010/2553 35


ความสัมพันธระหวางระดับความสามารถของการตัดสินคุณคาทางศีลธรรมกับ ความพอใจทางลักษณะของบุคลิกภาพ

gian personality types, those in the E-T type would have a tendency to have a higher competence in using moral principles in their moral judgment than do the E-F type, as was found in this present study. On the contrary, in the Introverted attitude, energy is drawn from the environment toward inner experience and reflection. One desires to stay focused on the internal subjective stage, to affirm value, and to maintain this focus as long as possible. Persons habitually taking Introverted attitude may develop some or all of the characteristics associated with Introversion: interest in the clarity of concepts, ideas, and collective experience; a thoughtful contemplative detachment; an enjoyment of solitude and privacy; and a desire to think things out before talking about them (Myers & McCaulley, 1985). When thinking is the most differentiated function of the introvert, it is always oriented at decisive points to subjective data. Those in the I-T

36 วารสารวชาการ วทยาลัยแสงธรรม

type are concerned with abstractions, the formulation of questions, and the creation of theories, often without practical purpose. While there is the tendency for the I-T type’s to ignore facts that do not fit their scheme, they may use objective data as evidence for their ideas, or at least give others the impression they are doing so (Wallace, 1993). The Introverted Feeling type (the I-F) is principally determined by subjective factors and controlled by subjective preconditions. Those in this personality type tend to be unable to conform to current changes, have a strong defensive posture toward any aesthetic expectations with high egoism, and tend to be stated passively and negatively in the matter of judgment and values (Wallace, 1993). Hence, on the matter of moral judgment competence which requires an ability of applying universal moral principles in an objective manner of judgment, as far as the dual-aspect theory of moral development as well


วชระ น้ำเพชร

as the personality type preferences are concerned, it is expected that these two psychological types of personality (the I-T and the I-F type) would be rather inferior to the E-T type in moral judgment competence level. Moral Judgment Competence and Personality Type Preferences (A combination among two Basic attitudes and four Functions) When the eight personality types (ENT, ENF, EST, ESF, INT, INF, IST and ISF) were considered as a single independent factor in the investigation whether there are differences in moral judgment competence among the eight types, the present study significantly found that there were mean differences on MJC among them (as shown in Table 4). The MJC means of the pair of the ENT and the EST were much higher than those of the pairs of the ENF and the ESF, whereas the pair of the INF and the IST relatively had similar lowest means of the MJC,

and so did the pairs of the INT and the ISF (as shown in Table 3). Some explanations to the findings in this present study can be drawn from the Jung’s personality theory as follows: 1) In the pair of the ENT- and the EST-types, both are basically the Extroverted-Thinkers. In this study, we found that there were no Irrationalfunctions which affected their on MJC levels. In other words, whether they (the ENT and the EST) have either kind of their perception (Sensing or Intuition), it (perception) significantly gives no impact on their MJC. Some theoretical explanations have been given about how the E-T type had the highest moral judgment competence among others in the same category in the previous section. Still, it is noticeable that the ENT-type had the highest mean C-index (28.53) among the eight personality type, as shown in Table 3. Based on the Lind’s explanation that C-index of 5.00 is psychologically significant and 20.00 is

ปที่ 2 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2010/2553 37


ความสัมพันธระหวางระดับความสามารถของการตัดสินคุณคาทางศีลธรรมกับ ความพอใจทางลักษณะของบุคลิกภาพ

very psychologically significant, the value of 28.53 obtained in this study is, thus, regarded as very psychologically significant (Lind, 2003). This C-index means that those in this type (ENT type) had high moral judgment competence in consistent application of their universal moral principles when they dealt with and made decisions on moral dilemmas, as measured by the MJT. The higher C-index of the ENT type than the other personality types, as established in this study, may be accounted for by the uniqueness of their personality type. Research on type dynamics offers explanation of this result. Myers and McCaulley (1985) described the characteristics of the ENT as those who use their thinking primarily externally and thus are natural critics. They set their own standards and value, and have intellectual competence. They are likely to be analytical, logical and objectively critical, and also be decisive,

38 วารสารวชาการ วทยาลัยแสงธรรม

clear and assertive in their judgment. Further, Bayne (1997) who adapted Keirsey’s temperament theory in aninvestigation suggested that Thinking (T) was the most influential factor, especially when it combined with Intuition (N). It influenced the basic motives of the N-T type to have a tendency of developing new theories (ideas, models or systems) with high standards and quality, planning in details, liking analysis, criticism and understanding, and having a clear rationale, judgment competence, and autonomy. Thus, when the E-T and the N-T combined to one another (to be the ENT), both of their characteristics and psychic energy on cognitive ability required for a competency on judgment are complemented and reinforced each other that consequently gave much effect on the MJC level for the ENT personality type, especially the factors of judgment competence and autonomy which are requirements for a mature moral development (Lind, 2000).


วชระ น้ำเพชร

2) The EST-personality type is the second highest of mean C-index (27.357) among the others in the same category, as shown in Table 3. It can be interpreted that those in this type had a very high moral judgment competence in consistent application of their universal moral principles when they dealt with and made decisions and judgments on moral dilemmas, as measured by the MJT (since C-index is higher than 20 points). In the MBTI sense, those in the EST-type take an objective approach to problem solving and are tough when the situation requires toughness. They cover all the bases, leave no loose ends and get things done on time. They prefer proven procedures and systems and their orientation is to tasks, action and the bottom line. They are seen as conscientious, dependable, decisive, outspoken and self-confident. They may apply logic even when emotions and impacts on people need primary consideration. Like the ENT-type, the

characteristics of the EST are main factors for cognitive ability. Hence, these characteristics contribute to moral judgment competence according to the dual-aspect theory of moral development. Some studies indicated some influential psychic energy, when the Irrational functions (S and N) play their roles in personality type. For example, Mill and Parker, (1994) found in their study, using Irish samples, that the gifted adolescent students score highly on Intuition (N), which indicated a preference for matters that are abstract and theoretical. Also, Taylor (1992) argued that the key to developing a learning ability to think critically was found in the order of the learners’ preferences for perception (S and N) and Judgment (T). From these two studies, an inference may be drawn to support the explanations why the ENTtype and the EST-type of the subjects of this present study, who are highly academic performing students, had

ปที่ 2 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2010/2553 39


ความสัมพันธระหวางระดับความสามารถของการตัดสินคุณคาทางศีลธรรมกับ ความพอใจทางลักษณะของบุคลิกภาพ

mean C-index much higher than did the others six personality type preferences. In addition, most personality types of the students in this study preferred mathematics as their favorite subjects. Mills (1984) in a study on mathematically-gifted adolescents in the USA, found that there was a connection between Thinking (T-type) and math ability and between math ability and ways of using information in social activity. The findings as such can be also used as an implication that mathematical ability may be an underlying factor that confirms and supports the high MJC level of those subjects who were in the ENT-type and ESTtype in this study. Moreover, the low MJC means of the other three pairs could be theoretically explained by the same descriptions of characteristics of particular types as above-mentioned and with the same explanations given in the previous sections.

40 วารสารวชาการ วทยาลัยแสงธรรม

Conclusion Based on the significant findings in the light of Jungian psychology types and dual-aspect theory of moral development in conjunction with the previous studies and others related cognitive and moral development theories in psychology and psychometric measurements, the relationship between moral judgment competence and personality types exists. A primary recommendation is made for future research that there should be comparison studies with regard to moral judgment competence in relation to personality types on gender differences, and on different psychometric measurements to assess underlying theories and/or theoretical effects among them. In addition, future research should be conducted in different samples of different demographic backgrounds, such as, age, education level, career, SES, nationwide, cross-culture and among others.


วชระ น้ำเพชร

References Arthur, J. (1996). Morality and moral controversies (4th ed). Upper Saddle River, NJ: Prentice Hall. Barit, L.T. (1985). Moral judgment of Filipino adolescents and some of its correlates. Ateneo de Manila University. Bayne, R. (1997). The Myers-Briggs Type Indicator: A critical review and practice guide. Cheltenham: Stanley Thornes Publishers Ltd. Boss, J.A. (1999). Analyzing moral issues. Mountain View, CA: Maryfield Publishing Company. Cantrell, C.C. (2000), The relationship between psychological type and the level of moral reasoning among gifted children and adolescents. Unpublished doctoral dissertation, University of South Carolina. Cohen, J. (1988). Statistical power analysis for the behavioral sciences (2nd ed.). Hillsdale, NJ: Erlbaum.

Faucett, J.M., Morgan, E.R., Poling, T.H., & Johnson, J. (1995). MBTI type and Kohlberg’s postconventional stages of moral reasoning. Journal of Psychological Type, 34, 17-23. Feist, J. (1994). Theories of personality (3rd ed.). Fort Worth: Harcourt Brace College Publishers. Hall, C.S., Lindzey, G., & Campbell, J.B. (1998). Theories of personality (4th ed.). New York: John Wiley & Sons, Inc. Jung, C.G. (1964). Two assays on analytic psychology. New York: Meridan. Kohlberg, L. (1975). The development of modes of moral thinking and choice in the years ten to sixteen. University of Chicago: Unpublished doctoral dissertation. Kohlberg, L. (1969). Continuities and discontinuities in childhood and adult moral development. Human Development, 12, 93-120.

ปที่ 2 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2010/2553 41


ความสัมพันธระหวางระดับความสามารถของการตัดสินคุณคาทางศีลธรรมกับ ความพอใจทางลักษณะของบุคลิกภาพ

Kohlberg, L. (1969). Stage and sequence: The cognitivedevelopmental approach to socialization. In D. Goslin (Ed.), Handbook of socialization theory and research. Chicago: Rand McNally. Kohlberg, L. (1984). The psychology of moral development. San Francisco: Harper & Row. Limpingco, D., & Tria G. (1999). Personality (2nd ed.). Quezon City: Ken Inc. Lind, G. (1992). The measurement of structure: A new approach to a assessing affective and cognitive aspects of moral judgment behavior. Retrieved January 6, 2004, from http://www.unikonstanz.de/ag-moral/b-publik. html Lind, G. (1998). Moral judgment test (MJT): Measurement of moral judgment competence and moral attitudes for research and evaluation. Retrieved

42 วารสารวชาการ วทยาลัยแสงธรรม

January 6, 2004, from http:// www.uni-konstanz.de/ag-moral/ b-publik.html Lind, G. (2000). Review and appraisal of the Moral Judgment Test (MJT). Retrieved January 6, 2004, from http://www.uni-konstanz. de/ag-moral/b-publik.html Lind, G. (2002).The meaning and measurement of moral judgment competence: A dual-aspect model. Retrieved January 6, 2004, from http:// www.uni-konstanz.de/ag-moral/ b-publik.html Liszka, J.J. (1999). Moral competence: An Integrated approach to the study of ethics. Upper Saddle River, NJ: Prentice Hall. Mcmahon, T.R. (1992). The relationship between moral development and personality type of university undergraduates. Unpublished doctoral dissertation, The Oregon State University.


วชระ น้ำเพชร

McMillan, J.H., & Schumacher, S. (2001). Research in education: A conceptual introduction (5th ed.). New York: Addison Wesley Longman. Mill, C.J., & Parker, W.D. (1998). Cognitive-psychological profiles of grifted adolescents from Ireland and the US. International Journal of Intercultural Relations, 22 (1), 1-16. Mills, C.J. (1984). Sex differences in self-concept and self-esteem for mathematically precocious adolescents. Paper presented at the Annual Meeting of the American Educational Research Association. New Orleans, LA. Myers, I.S., McCaulley, L.H. (1985). MBTI manual: A guide to the development and use of the Myers-Briggs Type Indicator. Palo Alto, CA: Consulting Psychologists Press, Inc. Newburn, J.C. (1992). Comparative levels of moral judgment of

superintendents and school committee chairpersons in Massachusetts. Unpublished doctoral dissertation, Boston College. US. O’Brien, J.M. (2001). An examination of the relationship between moral reasoning ability and personality type preference in pre-service teachers utilizing the DIT and the MBTI. Unpublished doctoral disserttion, Florida State University. Piaget, J. (1976). The effective unconscious and the cognitive unconscious. In Inhelder, B. & Chipman, H.H., (Eds.), Piaget and his school. New York: Springer. Redford, J.L. (1993). Psychological type and moral development. Unpublished doctoral dissertation, University of Houston. Redford, J.L., McPherson, R.H., Frankiewicz, R.G., & Gaa, J. (1995). Intuition and moral development. Journal of Psychology, 129 (1), 91-101.

ปที่ 2 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2010/2553 43


ความสัมพันธระหวางระดับความสามารถของการตัดสินคุณคาทางศีลธรรมกับ ความพอใจทางลักษณะของบุคลิกภาพ

Rest, J. (1979). The longitudinal study of the Defining Issues Test: A strategy for analyzing developmental change. Developmental Psychology, 11, 738-748. Ryckman, R.M. (1993). Theories of personality (5th ed.). Pacific Grove, CA: Brooks/Cole Publishing Company. Sharp, D. (1987). Personality types: Jung’s model of typology. Toronto: Inner City Books. Seifert, K. & Hoffnung, R. (2000). Child and adolescent development. Boston: Houghton Mifflin Company.

Taylor, L.J. (1992). Moral decisions and psychological type: Gender, context and the Myers-Briggs Type Indicator. Unpublished doctoral dissertation, University of St. Thomas (St. Paul). Wallace, W.A. (1993). Theories of personality. Boston: Allyn and Bacon. NJ: Erlbaum. White, J.E. (1997). Contemporary moral problems (5th ed.). New York: West Publishing Company. Woolfolk, A. (2000). Educational Psychology (8th ed.). Boston: Allyn & Bacon.

About the Author Professor Wajira Nampet, S.J., Ph.D., a Jesuit priest, was a visiting professor of Psychology and Statistics at Harvard University, and a professor of Educational Research, Measurement and Evaluation at Boston College. He works as a researcher at Sophia University, and as a professor of Educational Psychology at Loyola Marymount University. This research, conducted in years 2006-08, was presented at the IMES 2009 The International Conference: Global Issue and Trends in Educational Research, Measurement, Evaluation, Statistics and Psychology, in January 2009, Nakornnayok, Thailand. Also, the author was invited to present it at the Second Paris International Conference on Education, Economy & Society, Paris, France, in July 2010.

44 วารสารวชาการ วทยาลัยแสงธรรม


กีรติ บุญเจอ

ผลดีผลเสีย จากการใชปรัชญาตีความคัมภีร

Advantages and Disadvantages from the Use of Philosophy Interpertation of Scripture ศาสตราจารยกีรติ บุญเจือ * ศาสตราจารยและราชบัณฑิต * ประธานโครงการปริญญาเอกปรัชญาและ จริยศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา โทร. 086-0455299.

Professor Kirti Bunchua * Professor and Ex-Member of National Legislative Assembly. * Chairman of the Ph.D. Program in Philosophy and Ethics Suan Sunandha Rajadha University * Homepage : http://www.kirti.bunchua.com/ * Tel. 086-0455299

ปที่ 2 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2010/2553 45


ผลดีผลเสียจากการใชปรัชญาตีความคัมภีร

บทคัดยอ คัมภีรศาสนายอมเปนสิ่งตายตัว ไมพึงแกไขแมแตอักษรเดียว แตอาจจะตีความไดหลายความหมาย เพื่อจะแนใจวาความหมายใด ถูกตอง มีผูเสนอหลักการหลายอยาง เชน 1) คัมภีรตองตีความดวย คัมภีรเอง เพราะฉะนั้นเรียนคัมภีรอยางเดียวพอ 2) ความหมายตาม ไวยากรณจึงจะเขาถึงเจตนาของศาสดา เพราะฉะนั้นตองรูหลักภาษาที่ เขียนคัมภีรอ ยางดี 3) เจตนาของศาสดาเปนสากลสำหรับคนทุกยุคทุก สมัย ดังนั้นอรรถปริวรรตของปรัชญาจึงเปนสิ่งจำเปน คำสำคัญ :

1.) คัมภีร

2.) ปรัชญา

3.) อรรถปริวรรต

Abstract Religious Scriptures are fixed, accepting no change even of one letter. However, they are submitted to many interpretations. To be sure of the right interpretation, several standards have been proposed, such as: 1) Scripture interprets itself, therefore study only the Scripture; 2) Meaning according to the grammar to get to the intention of the Founder, therefore know perfectly the grammar of the original language; or 3) The intention of the Founder is for all generations, so the Philosophical Hermeneutics is needed. Keywords :

46 วารสารวชาการ วทยาลัยแสงธรรม

1.) Religious Scriptures 3.) Hermeneatics

2.) Philosophy


กีรติ บุญเจอ

ปรัชญาเปนอันตรายตอศรัทธาหรือไม ถาถามพี่นองชาวโปรเตสแตนตสวน มากจะตอบวา “เปน” หรืออยางนอยก็เสีย เวลาเรียน เพราะนอกจากจะเสียเวลาอานหรือ เรี ย นแล ว ยั ง มี อั น ตรายต อ ความเชื่ อ ไม ม าก ก็ น อ ย ประวั ติ ศ าสตร บ อกว า ลั ท ธิ น อกรี ต ทั้ ง หลายก อ กำเนิ ด มาจากนั ก ปรั ช ญาทั้ ง สิ้ น อย า งไรก็ ต าม มหาวิ ท ยาลั ย พายั พ ซึ่ ง สภา คริสตจักรเปนเจาของก็เปดคณะปรัชญารับ นั ก ศึ ก ษาจากทุ ก ศาสนา และความเชื่ อ เข า เรียนได และมีพี่นองคาทอลิกจบมาแลวดวย สำหรั บ พี่ น อ งคาทอลิ ก ไม มี ป ญ หา เพราะรูกันอยูวาคุณพอ (บาทหลวง) ของเรา ทุกองคตองเรียนวิชาปรัชญากอน จึงจะมีสิทธิ เรียนเทววิทยา แลวจึงไดบวช เรามีการสอน หลั ก สู ต รปรั ช ญาในสถาบั น อุ ด มศึ ก ษาทุ ก แหงที่เปนของคาทอลิก ในประเทศไทยจึงมี สอนอยูในวิทยาลัยแสงธรรม มหาวิทยาลัย อัสสัมชัญ และมหาวิทยาลัยเซนตจอหน ใน ระดั บ โลกก็ มี ค ณะปรั ช ญาที่ ด ำเนิ น การโดย สถาบันคาทอลิกอยูทั่วทุกมุมโลก แตก็แปลก มากที่ไมสูมีชาวคาทอลิกมีชื่อเปนนักปรัชญา ระดั บ โลก ผิ ด กั บ พี่ น อ งชาวโปรเตสแตนต ที่มีมาก อยางเชน อิมมานุเอล คานทชาว เยอรมั น ฟ ก เทชาวเยอรมั น นี บู ร ช าว เยอรมั น ที ล ลิ ช ชาวเยอรมั น จอหนฮิกชาว

อังกฤษ ริเกอรชาวฝรัง่ เศส เปนตน ยอนอานประวัติศาสตรแหงความคิด จะพบวาเทอเทิลเลีย (Tertullian 155-220) แสดงความไม พ อใจที่ ป ญ ญาชนชาวคริ ส ต ในสมั ย ของท า นสนใจศึ ก ษาปรั ช ญาเพื่ อ ตี ความคัมภีร ซึ่งทานมองวาเปนการเสียเวลา เปลาๆ นาจะเอาเวลามาอานพระคัมภีรและ รำพึงภาวนาจะคุมคากวา สำหรับทานเทอรเทิ ล เลี ย นพระคั ม ภี ร ไ บเบิ ล บรรจุ ค วามจริ ง ไวครบถวนแลว มีเนื้อหาและขอความอธิบาย ในตัวเองไดอยางสมบูรณ ไมจำเปนต องพึ่ง ความรูภายนอกอยางปรัชญามาชวยตีความให ความกระจาง เพราะ “พระคัมภีรมีสมรรถนะ ตีความตนเอง” (Biblia habet facultatem se ipsum interpretandi) ถาหากจะศึกษา ปรั ช ญาเพื่ อ ตอบโต แ ละประนามผู ส อนผิ ด อยางที่นักบุญเจิสทีน (St.Justin 100?-165) และพรรคพวกไดทำไวก็พอรับได แตควรเสีย เวลาเทาที่จำเปนก็พอ ก็หมายความวา คัมภีร ไบเบิลจะเขาใจไดก็ต องใชภาษาของไบเบิล เทานั้น ใชศัพทแสง และสำนวนอื่นมาชวยตี ความก็เทากับบิดเบือนความหมายไปจากเดิม กลายเป น คำสอนนอกรี ต ทั้ ง สิ้ น ต อ งเข า ใจ คัมภีรดวยคัมภีรเทานั้น จึงจะไดความเขาใจ คัมภีรอ ยางบริสทุ ธิ์ (Pure Understanding) เฮลมุท ธีลิคเค (Helmut Thielicke)

ปที่ 2 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2010/2553 47


ผลดีผลเสียจากการใชปรัชญาตีความคัมภีร

นักเทววิทยาโปรเตสแตนตปจจุบัน วิจารณ บุลทมานน (Rudolf Bulmann 1884-1976) วาทำผิดที่ไมเดินตามแนวทางของเทอรเทิลเลียน “เมื่อไรก็ตามที่มีการตีความคัมภีรดวย หลักการที่มาจากความคิดนอกคัมภีร นับเปน การละเมิดสมรรถนะตีความตัวเองของคัมภีร (faculty of interpreting itself = Facultas se ipsum interpretandi) ดังที่เกิดขึ้นกับ ปรัชญาของคานท และซ้ำรอยเดิมโดยลัทธิ อุดมคตินิยม (อยางเชนฟกเท) บุลทมานนก็เดิน ตามรอยเดียวกัน”1 หนังสือพระคริสตานุวรรตหรือจำลอง แบบพระคริสต (The Imitation of Christ) ก็ ไดแสดงความรูส ึกไววา ปรัชญาเปนเลหเหลีย่ ม ของปศาจที่สรางขึ้นมาลอใจปญญาชนใหหลง ใหล จะไดสนใจศึกษาพระคัมภีรนอยลงหรือ ไม ส นใจเลย ผู เขี ย นพระคริ ส ตานุ ว รรตคื อ ธามเมิส ณ เคมเพิส (Thomas a Kempis 1380-1471) เปนนักฌานนิยม จึงรูสึกวาการ ใชเหตุผลเชิงปรัชญาไมใหความอิ่มใจเทาการ

1

บำเพ็ ญ ฌาน ผู เขี ย นชี ว ประวั ติ ข องนั ก บุ ญ ธามเนิส อไควเนิส (Thomas Aquinas 12251274) ก็กลาวเชนเดียวกันวา ตอนปลายชีวิต เมื่อทานเขาถึงฌานกับพระเจาแลว ทานก็เลิก สนใจคิดและเขียนปรัชญาและเทววิทยาเอา เสียเลย เปนตน อยางไรก็ตาม พระสันตะปาปา ยอหน ปอลที่ 2 ไดออกสมณสาสนศรัทธากับเหตุผล (Faith and Reason) เพื่อเนนใหเห็นความ สำคัญและบทบาทของปรัชญาในพระศาสนจักรคาทอลิก ทำใหชาวคาทอลิกตื่นตัวศึกษา ปรัชญาขึ้นมาพอสมควร เชน คุณพอยอรช แมกลีน แหงคณะแมพระนิรมล อาจารยสอน วิ ช าปรั ช ญาที่ ม หาวิ ท ยาลั ย คาทอลิ ก แห ง อเมริ ก า ได พ ยายามจั ด สั ม มนานั ก ปรั ช ญา คาทอลิกและพยายามใหนักปรัชญาคาทอลิก รวมกลุ ม กั น เป น สมาคม ทำให เ กิ ด สมาคม ปรั ช ญาแห ง โลกแหงเอเชีย ฯลฯ และคอยๆ มีนักปรัชญาคาทอลิกระดับโลกขึ้น อยางเชน มากลีโอลา, วัตตีโม, คาปูโต เปนตน ดังนั้น

Helmut Thielicke, “The Restatement of New Testament Mythology”. “Whenever a non-Biblical principle derived from contemporary secular thought is applied to the interpretation of the Bible, the Bible’s facultas se ipsum interpretandi is violated with fatal results. This is what happened in Kant’s philosophy, and again in theological idealism. It is happening in Bultmann too.”

48 วารสารวชาการ วทยาลัยแสงธรรม


กีรติ บุญเจอ

ชาวคริ ส ต ค าทอลิ ก ไม น า จะมองข า มความ สำคัญของปรัชญาอีกตอไปแลว สำหรั บ ชาวคริ ส ต โ ปเตสแตนต ก็ค ง จะตองแลวแตนโยบายของแตละกลุม อยางไร ก็ ต ามตลอดเวลาที่ ผ า นมาจะพบชาวโปรเตสแตนต บ างกลุ ม และบางคนสนใจศึ ก ษา ค น คว า และเผยแพร ผ ลงานทางปรั ช ญา อยางมีคณ ุ ภาพอยางสม่ำเสมอ สำหรั บ ศาสนิ ก ของศาสนาอื่ น ๆ ก็ เชนกัน มีบางคนสนใจมากๆ อยูเสมอ ทั้งนี้ เพื่อถวงดุลกับนักปรัชญาที่ไมเชื่อศาสนาใด เลย ซึ่งบอยๆ ก็คอยจาบจวงความเชื่อและ การนับถือศาสนา ตลอดจนลอเลียนการปฏิบตั ิ ศาสนกิ จ อย า งไม เกรงใจอยูบอยๆ จึงควรที่ นั ก ปรั ช ญาฝ า ยศาสนาไม ว า จะมี ค วามเชื่ อ ศาสนาแบบใดก็ ต าม พึ ง ตระหนั ก และรวม ความคิ ด กั น เป น หนึ่ ง เดี ย วในความหลาก หลาย เพื่อถวงดุลและเรียกรองใหเกรงใจกัน บ า ง ตามหลั ก การว า “ไม เชื่ อ ก็ อ ย า ลบหลู ไมนับถือก็อยาดูแคลน ไมแมนซึ้งก็พึงรับรูไว กอน” จากมุมมองนี้จึงแบงนักปรัชญาออก ไดเปน 3 ประเภท คือ 1) นักปรัชญาฝาย ศาสนา คือพวกที่เชื่อวามีโลกหนาหลังความ ตาย ไมวาจะเชื่อแบบใดก็ตาม 2) นักปรัชญา ฝายตอตานศาสนา คือ พวกที่ไมเชื่อแลวยัง

ตอตานและอาจจะถึงขนาดลงมือลงไมทำลาย ด ว ยก็ มี 3) นั ก ปรั ช ญาที่ ไ ม ส นใจศาสนา และไม ส นใจว า ใครจะเชื่ อ หรื อ ไม เชื่ อ ศาสนาใด แต ต นเองถื อ ว า คำสอนของทุ ก ศาสนาเหมื อ นนิ ท านสุ ภ าษิ ต สั ต ว โ ลกตาย แลวจบสิ้นเหมือนกันหมด จึงไมตอบโต ไม คั ด ค า น และไม ส นั บ สนุ น ความคิ ด และการ กระทำของศาสนาใดทั้งสิ้น คือ “ไมเชื่อและ ไมลบหลู ไมนับถือและไมดูแคลน ไมแมนซึ้ง แตก็รับรูสักแตวารับรู” ประเด็ น ป ญ หาหนึ่ ง ของปรั ช ญา ป จ จุ บัน ที่ ฝา ยไม ส นใจศาสนาชอบยกขึ้ น มา ถก เพราะถือวาเปนความเปนจริงที่มีความ สำคัญสำหรับมนุษยทุกคน คือ ปรัชญาภาษา และประเด็ น สำคั ญ ที่ สุ ด ของปรั ช ญาภาษา ดังกลาว ก็คือ การตีความภาษาอันเปนเนื้อหา ของวิชาอรรถปริวรรตศาสตร เมื่ อเปนเชน นี้ นั ก ปรั ช ญาฝ า ยศาสนาก็ ไ ม ค วรมองข า ม และฝ า ยต อ ต า นศาสนาก็ พึ ง ให เ กี ย รติ ใ น ฐานะผูมีความคิดแตกตางซึ่งควรแลกเปลี่ยน ความคิ ด กั น อย า งให เ กี ย รติ แ ก กั น ยิ่ ง กว า จะ วางตัวเปนศัตรูกัน การเตรียมตัวสูอ รรถปริวรรตคัมภีรศ าสนา ผูศึกษาคัมภีรศาสนาเชิงนักวิชาการ ในป จ จุ บั น จำต อ งสนใจภาษาศาสตร โ ดย

ปที่ 2 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2010/2553 49


ผลดีผลเสียจากการใชปรัชญาตีความคัมภีร

เฉพาะอยางยิ่งอรรถปริวรรตศาสตร จะคน คว า เรื่ อ งอรรถปริ ว รรตก็ จ ำต อ งรู ธ รรมชาติ ของความรู เ ป น พื้ น ฐานสำคั ญ ทั้ ง ยั ง ต อ งรู ธรรมชาติข องการใชภ าษา รูก ระบวนทัศ น และปฐมบทของผูตีความแตละคน พื้นฐาน ของความรู ต า งๆ ที่ จ ำเป น ดั ง กล า ว ก็ คื อ ปรั ช ญาทั่ ว ไปและการประยุ ก ต สู ป ระเด็ น ตางๆ ของอรรถปริวรรต ตามลำดับขั้นตอน ของการวิเคราะห วิจักษ และวิธานซึ่งเธอเซลทันใหขอสังเกตไว 5 ขอคือ 1. การตี ค วามทุ ก ครั้ ง มี ก ารหลอม กรอบความคิด (Fusion of Horizons) จาก กรอบความคิ ด ของเจ า ของตั ว บทกั บ กรอบ ความคิ ด ของผู ตี ค วาม เกิ ด เป น ความเข า ใจ ใหม ด ว ยการขยายกรอบของผู ตี ค วามซึ่ ง ไม จำเปนจะตองเหมือนกรอบของตัวบท ทั้งๆ ที่ อาจจะเขาใจตัวบทไดมากขึ้นกวาเดิม 2. การตีความคัมภีรศาสนาตองการ ความรูจากประวัติศาสตร ภาษาศาสตร เทววิทยาและปรัชญา 3. แต ทั้ ง นี้ มิ ไ ด ห มายความว า เมื่ อ เอาอรรถปริวรรตไปตีความคัมภีรศาสนาแลว อรรถปริวรรตจะเปนตัวกำหนดความหมาย ของศาสนาอยางเปนทางการและตายตัว แต เปนความเขาใจไดในระดับเปนไปไดอยางหนึ่ง ซึ่งไมปดกั้นการตีควาแบบอื่นๆ ผลที่ปรากฏ

50 วารสารวชาการ วทยาลัยแสงธรรม

มาในอดี ต ปรากฏว า อรรถปริ ว รรตเพี ย งแต ชวยลวงเอาความหมายแฝงในตัวบทใหแสดง ออกมาอย า งตรงไปตรงมาเป น ส ว นๆ เพิ่ ม มากขึ้ น ตามลำดั บ ในที่ สุ ด ความหมายจาก คั ม ภี ร ศ าสนาที่ ไ ด ม าอย า งระมั ด ระวั ง นั้ น ก็ จะหวนกลับไปพัฒนาเครื่องมือตางๆ ที่กลาว ขางตนที่ใชตีความ ทำใหเครื่องมือดังกลาว เฉียบคม จนถึงขั้นกลับไปปฏิรูปในเนื้อหาของ วิชาเหลานั้น กระบวนการดังกลาวไดชื่อวา วงจรอรรถปริวรรต (Hermeneutical Circle) 4. อรรถปริ ว รรตมี ห น า ที่ ล ว งลงไป ถึงความหมายแฝงในคัมภีรศาสนา และเลือก เอาความหมายที่เหมาะสมกับคนรวมสมัยเพื่อ คัมภีรจะไดยังมีความหมายสำหรับชีวิตของ พวกเขา 5. ไมมีใครมีสิทธิ์จะบิดเบือนความ หมายของคัมภีรศาสนา แตทุกคนมีสิทธิและ หนาที่ที่จะรับรูความหมายทั้งที่ปรากฏและที่ จะทำใหปรากฏไดตามความตองการของยุค สมัย ปรัชญาเปนสิง่ จำเปนสำหรับเขาใจพระคัมภีร เธอเซลทัน (Anthony C.Thiselton) ไดใชเทคนิคการตีความ วิเคราะหประเด็นนี้ เสนอเหตุผลสนับสนุนเปน 5 ประเด็น


กีรติ บุญเจอ

1. เพื่อเขาใจประเด็นที่นักปรัชญา พาดพิงถึงคัมภีรศาสนา บุลทมานนกลาววา “วิธีวิเคราะหอัตถิภาวะของฮายเด็กเกอรเปน ประโยชนอยางมากใหขาพเจาตีความคัมภีร โดยเฉพาะอยางยิ่งพันธสัญญาใหม สิ่งที่ฮายเด็กเกอรชวยขาพเจา มิใชเรื่องคัมภีรกลาว อะไร ซึ่งไมสำคัญเทาคัมภีรกลาวอยางไร”2 และที่เฮลมุท ธีลิคเค ตำหนิบุลมานนวาเพราะ ไมเชื่อเทอเทิลเลียนจึงเกิดความเสียหายนั้น หมายความวาอยางไรจริงๆ ก็ตอ งรูเ รือ่ งปรัชญา ที่เกี่ยวของ ผูเ ห็นดวยกับบุลทมานนอยางนีน้ บั วัน แตจะมากขึน้ เชน Fuchs, Ebeling, Gadamer, Dilthey, Kimmerle, Schleiermacher, Palmer, Via, Wittgenstein, Lapointe, Ricoeur, Barr, Wilder, และ Thiselton ผูช ว้ี า “แมผเู ขียนคัมภีรใ หมเองก็ยงั ใชมโนทัศน จากวัฒนธรรมกรีกโรมันรอบๆ ตัวเพื่อเสนอ สาสนของศาสนาคริสต... การใชความคิดบาง

สวนมิไดหมายความตองรับคำสอนทัง้ ระบบ”3 2. เทคนิคการตีความหมายเปนเครือ่ ง มื อ คิ ด แทนตรรกวิ ท ยา ปรั ช ญานวยุ ค โดย เฉพาะอยางยิ่ง ปรัชญาพุทธิปญญา ใชตรรกวิทยาเปนเครื่องมือเอกเพื่อดำเนินความคิด และสร า งความชอบธรรมให กั บ ความคิ ด ปรัชญาของตนทั้งระบบ สวนปรัชญาหลังนวยุคใชอรรถปริวรรตหรือเทคนิคการตีความเปน เครื่องมือคิดและสรางความชอบธรรมเพื่อลม ทั้งตรรกวิทยาและปรัชญานวยุค และในเมื่อ อรรถปริวรรตที่เปนเครื่องมือสำหรับตีความ คั ม ภี ร ด ว ยคั ม ภี ร แ ละปรั ช ญาป จ จุ บั น ที่ ใช อรรถปริวรรตเปนเครื่องมือโคจรมาพบกันที่ อรรถปริวรรตของญาณปรัชญา คัมภีรจึงถูก ดึงเขาไปพัวพันกับปรัชญาปจจุบันอยางไมมี ทางเลี่ยง ไมวาจะดีหรือรายก็ตองพัวพัน ผู พิทักษศาสนาจึงตองรูปรัชญาดวยโดยจำเปน ดังที่ เอบเบิลลิง กลาวไววา “อรรถปริวรรต ขณะนี้ ก ลายเป น ญาณปรั ช ญาที่ ไ ด รั บ การ

Rudolf Buttmann, “Reply to Macquarie”. “Heidegger’s analysis of existence has become for me fruitful for hermeneutics, that is for the interpretation of the New Testament…I learned from him [Heidegger] not what theology has to say, but how it has to say it.”. 3 See Anthony C. Thiselton. The Two Horizons (Grand Rapids, MI: Eerdmans, 1980), p.10. “Even the New Testament Writers themselves were willing to borrow concepts from the Graeco-Roman world around them in order to expound their distinctively Christian message.” 2

ปที่ 2 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2010/2553 51


ผลดีผลเสียจากการใชปรัชญาตีความคัมภีร

ยอมรับ ดังนั้น หากเทววิทยาศึกษาอรรถปริวรรตก็จะเขาถึงจุดนัดพบกับปรัชญา”4 สวน แกดเดอเมอร (Gadamer) ในหนังสือ Truth and Method ก็ไดแสดงความคิดเห็นไววา ณ วันนี้เราจะพาซื่ออางวาเขาใจตัวบทโบราณ หรือธรรมเนียมประเพณี โดยไมพิจารณาถึง ปญหาปรัชญาอยางเพียงพอหาไดไม แมจะ คิดวาปญหาเกิดจากความสำนึกตามประวัติศาสตรก็ตาม อยางเชน ใครที่จะศึกษาพระธรรมใหม โดยไม ส นใจทฤษฎี ตี ค วาม โดย เฉพาะอยางยิ่ง ทฤษฎีถอดปรัมปราของบุลทมานนหาไดไม หรือในทางกลับกันจะศึกษา เทคนิ ค การตี ค วามในปรั ช ญาโดยไม รู จั ก ทฤษฎีประวัติศาสตรของดีลธายหาไดไม และ จะเขาใจดีลธาย โดยไมเขาใจชลายเออรมาเคอรเสียกอนหาไดไม ฝ า ยต อ ต า นศาสนาชอบใช อ รรถปริ ว รรตเป น เครื่ อ งมื อ แทนตรรกวิ ท ยาอยู นับเปนเวทีกลางของนักปรัชญาทุกฝายที่จะ ตองลุกขึ้นมาถกปญหาปรัชญาบนเวทีเดียว

กัน ใครไมสนใจประเด็นนี้ในปจจุบันก็ถือวา ตกกระแส จึงไมพึงมองขามความสำคัญของ อรรถปริวรรต และความจริงการถกประเด็น นี้ ใ นปรั ช ญาก็ ค รอบคลุ ม ประเด็ น สำคั ญ ๆ ของปรั ช ญาทุ ก เรื่ อ งตั้ ง แต อ ดี ต ถึ ง ป จ จุ บั น เพียงแตถกจากแงมุมมองใหมเทานั้น เนื้อหา มิไดลดลงไปเลย มีแตเพิ่มมากขึ้นเทานั้น จึงไม ตองกลัววาอะไรในปรัชญาจะตกหลนหายหนา ไปจากวงการปรัชญา เพราะใชอรรถปริวรรต เปนแกนนำในการศึกษาวิชาปรัชญา 3. ปรัชญาจำเปนสำหรับเขาใจพระ ธรรมใหมเปนพิเศษ คำสอนของพระเยซูเจา เต็มไปดวยปรัชญาลัทธิอัตถิภาวนิยม5 ชลายเออรมาเคอร (Friedrich Schleiermacher 1768-1834) กลาวใหเห็นความสำคัญของ ปรั ช ญาในการตีค วามคัม ภีรวา ตอ ใหใ ครก็ ตามที่มีค วามรูท างภาษา (เพื่ อ เข า ใจความ หมายตามตัวบท) และมีความรูทางประวัติศาสตร (เพือ่ เขาใจตามเจตนาของผูเ ขียน) ครบ ถวนสักปานใดก็ตาม พรอมทัง้ รูก ฎวิทยาศาสตร

4

Gerhard Ebeling, Word and Faith. (London: S.C.M., 1963), p.317. “Hermeneutics now takes the place of the classical epistemological theory…For theology the hermeneutic problem is therefore today becoming the place of meeting with philosophy.”.

5

ดูกีรติ บุญเจือ, ปรัชญาลัทธิอัตถิภาวะนิยม และปรัชญาหลังนวยุค ซึ่งจะไดคความาเสนอในเวลาอันควรตอไป

52 วารสารวชาการ วทยาลัยแสงธรรม


กีรติ บุญเจอ

แหงการตีความอยางดี แตถาหากยังขาดความ รูทางปรัชญาเสียอยางเดียว ก็ไมอาจจะเขาใจ ความหมายอย า งดี พ ออยูน่ัน เอง ผูท่ีศึก ษา เรื่องนี้อยางจริงจัง คือ ฟุกสและพามเมอร (ดู บรรณานุกรม) 4. ตองการปรัชญาภาษาเพื่อตีความ ไดสมบูรณแบบ เนื่องจากการตีความภาษา ตองรูเรื่องภาษาอยางดี คือ ภาษาศาสตรควบ คูไปกับปรัชญา และวิชาที่เชื่อมโยงภาษากับ ปรัชญาก็คือ ปรัชญาภาษา โรเจอร ลาปวงต ผู เชี่ ย วชาญทางคั ม ภี ร ช าวคาทอลิ ก คนหนึ่ ง กลาวถึงเรื่องนี้วา “อรรถปริวรรตเปนเรื่อง ของสหวิชาอันประกอบดวยปรัชญา เทววิทยา ภาษาศาสตร วรรณคดี วิ จ ารณ แ ละศาสตร ทุกอยางที่เกี่ยวกับมนุษย”6 และปอล ริเกอร ผู เชี่ ย วชาญทางอรรถปริ ว รรตชาวโปรเตสแตนตก็ไดกลาวไวในทำนองเดียวกัน7 5. ตองใชปรัชญาเพื่อชี้แจงวาคัมภีร

ไมพอสรางความชอบธรรมใหตัวเอง เพราะ จะกลายเปนการพิสูจนแบบเปนวงจร เปนงู กินหางหรือวัวพันหลัก ซึ่งก็เหมือนการพิสูจน เปนวงจรทั้งหลาย จะมีปญหาวาจะรูอยางไร วาจะถูกหรือผิดทั้งระบบ เปนเรื่องธรรมดา และจำเปนที่วานิยามตางๆ ที่ใชในคัมภีรตอง ไดรับการค้ำประกันความชอบธรรมจากภาย นอกคัมภีร8 ประโยชนของอรรถปริวรรต 1. เพื่อสหวิชาการ ในปจจุบันกลาย เปนแฟชั่นผลักดันใหนักวิชาการดานศาสนา ตองสนใจเชื่อมโยงศาสนาไมวาศาสนาใดกับ วิชาการดานอื่นๆ มิฉะนั้นก็ถือวาตกกระแส ไมทันสมัย ศาสนาที่ขาดความรูทางปรัชญา ใหชวยมอง ยอมขาดความกระจางอะไรบาง อยางที่ปรัชญาควรจะใหได จนมีการกลาววา “ศาสนาที่ ไร ป รั ช ญาจะมี พ ลั ง แต ข าดความ

6

Roger Lapointe, “Hermenoutics Today”. “The hermeneutic question is interdisciplinary. It is correlated to philosophy, theology, exegesis, literary criticism, the human sciences in general.”. 7

Paul Ricoeur. The Conflict of Interpretation (Evaston, IL: Northwestern U. Press, 1974) “Hermeneutics… relates the technical problems of textual exegesis to the more general problems of meaning and language.” 8

See James Barr, Old and New in Interpretation (London: S.C.M. 1966).

ปที่ 2 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2010/2553 53


ผลดีผลเสียจากการใชปรัชญาตีความคัมภีร

กระจาง ปรัชญาที่ไรศาสนาแมจะมีความกระ จางแตก็ขาดพลัง” ไดมีการริเริ่มออกวารสาร Semeia ในป ค.ศ.1974 เพื่อเปนเวทีเสนอ งานวิจัยความหมายของคัมภีรศาสนาอาศัย ความรูจากวิชาตางๆ ซึ่งก็ดูดี เพราะทำใหได ความหมายจากคั ม ภี ร ศ าสนามากขึ้ น กว า เดิมมาก และยังเปดทางใหคนหาตอไปไดอีก มากมายอยางไมรูจักจบสิ้น ผูไมเชื่อคัมภีรจะ ใช ป รั ช ญาทั น สมั ย ของทุ ก ยุ ค ทุ ก สมั ย เพื่ อ ชั ก ชวนผู อ า นให ห มดความเชื่ อ ถื อ ต อ คั ม ภี ร ผูเชื่อคัมภีรจึงจำเปนตองศึกษาปรัชญาที่ทัน สมัยเสมอ เพื่อปกปองความนาเชื่อของคัมภีร ด ว ยความทั น สมั ย ไม ยิ่ ง หย อ นกว า กั น ดั ง ที่ บุลทมานนกลาวไวขางตน9 2. การศึ ก ษาอรรถปริ ว รรตเชิ ง ปรั ช ญาช ว ยให เข า ใจเครื่ อ งมื อ ดี ก อ นใช เชน ฟุกส เกิดทาที Einverstaendnis ซึ่ง อาจจะแปลได ว า ความเข า ใจร ว ม ความ เขาใจกันและกัน หรือความรูสึกรวม ซึ่งชวย

9

ดูเชิงอรรถที่ 2.

10

See E. Fuchs, “Hermeneutical Problem”.

11

ดูเชิงอรรถที่ 4.

54 วารสารวชาการ วทยาลัยแสงธรรม

บรรยากาศศาสนสั ม พั น ธ ใ ห เ กิ ด ขึ้ น กั บ ทุ ก ๆ ฝาย10 อรรถปริวรรตในปจจุบันเปนจุดนัดพบ ของนักวิชาการตางๆ ดังนั้น หากนักเทววิทยา ศึกษาอรรถปริวรรตก็จะเขาถึงจุดนัดพบกับ นั ก วิ ช าการและนั ก วิ ช าการด า นอื่ น ๆ ดั ง ที่ แอบเบลลิงไดกลาวไวขางตน11 สรุป การที่ วิ ท ยาลั ย แสงธรรมกำหนดให ผูจะเรียนเทววิทยาตองไดเรียนปรัชญามากอน อยางนอย 2 ปในฐานะเปนหลักสูตรบังคับ ก็ นับวาถูกตองตามเจตนาแลว เพียงแตวานัก ศึกษาจะตองตระหนักวาเปนพื้นฐานที่สำคัญ สำหรับจะเขาใจเทววิทยาใหลกึ ซึง้ ใหสงั เกตวา นักเทววิทยาเกงๆ ทั้งหลายลวนแตรูปรัชญา อยางดีดวยทั้งสิ้น ผิดกับผูเชี่ยวชาญพระคัมภีร ไมจำเปนตองเกงปรัชญาดวย ทั้งนี้ก็เพราะ เทววิทยา ก็คือ การศึกษาตีความคัมภีรและขอ ประกาศของพระศาสนจักรดวยปรัชญานัน่ เอง


กีรติ บุญเจอ

บรรณานุกรม กีรติ บุญเจือ. 2522. ปรัชญาลัทธิ อัตถิภาวนิยม. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช : . 2545. ปรัชญาหลังนวยุค. กรุงเทพฯ: ดวงกมล : . 2546. “ศาสนาอรรถปริวรรต ของมนุษยชาติ” ในชุดปรัชญาและ ศาสนา เซนตจอหน. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเซนตจอหน Barr, James. 1966. Old and New iInterpretation. London : S.C.M. Ebeling, Gerhard. 1963. Word and Faith. London : S.C.M.

Fuchs, Ernst. 1971. The Future of Our Religious Past. London: S.C.M. Palmer, Richard. 1969. Hermeneutics: Interpretation Theory in Schleiemacher, Dilthey, Heidegger and Gadamer. Evaston, IL: Northwestern U. Ricoeur, Paul. 1974. The Conflict of Interpretation. Evaston, IL: Northwestern U. Thiselton, Antony. 1980. The Two Horizons. Grand Rapids, MI: Eerdmans.

ปที่ 2 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2010/2553 55


การอานพระคัมภีรของเยาวชนคาทอลิกในประเทศไทย

การอานพระคัมภีรของเยาวชนคาทอลิก ในประเทศไทย

Bible Reading of Catholic Youth in Thailand. มุขนายก ดร.ลือชัย ธาตุวิสัย * อาจารยประจำคณะศาสนศาสตร วิทยาลัยแสงธรรม * ปจจุบันดำรงตำแหนงเปนประมุข สังฆมณฑลอุดรธานี

Bishop Dr.LueChai Thatwisai * Lecturer at Saengtham College. * Bishop of Udonthani Diocese.

บาทหลวงธรรมรัตน เรือนงาม * บาทหลวงในคริสตศาสนจักรโรมันคาทอลิก สังฆมณฑลจันทบุรี * อาจารยประจำคณะมนุษยศาสตร วิทยาลัยแสงธรรม

Rev.Thamarat Ruanngam * Reverend in Roman Catholic Church, Chanthaburi Diocese. * Lecturer at Saengtham College.

บาทหลวงสมเกียรติ ตรีนิกร * บาทหลวงในคริสตศาสนจักรโรมันคาทอลิก อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ * อาจารยประจำคณะศาสนศาสตร วิทยาลัยแสงธรรม

Rev.Somkieat Trinikorn * Reverend in Roman Catholic Church, Bangkok ArchDiocese. * Lecturer at Saengtham College.

ทวีศักดิ์ เดชาเลิศ * อาจารยประจำคณะมนุษยศาสตร วิทยาลัยแสงธรรม

Thavisakdi Dechalert * Lecturer at Saengtham College.

56 วารสารวชาการ วทยาลัยแสงธรรม


ลือชัย ธาตุวสัย ธรรมรัตน เรอนงาม สมเกียรติ ตรนิกร ทวศักดิ์ เดชาเลิศ

บทคัดยอ การวิ จั ย นี้ เ ป น การวิ จั ย เชิ ง สำรวจ โดยมี วั ต ถุ ป ระสงค เ พื่ อ ศึกษาพฤติกรรมการอานพระคัมภีร และเปรียบเทียบความรูเบื้องตน และทัศนคติเกี่ยวกับพระคัมภีร จำแนกตามเพศและระดับชั้นที่ศึกษา กลุมตัวอยางเปนเยาวชนคาทอลิก จำนวน 1,007 คน ในโรงเรียน ระดับมัธยมศึกษาสังกัดสังฆมณฑลทั้ง 10 แหง และคณะนักบวชทั่ว ประเทศ เก็ บ ข อ มู ล ในภาคเรี ย นที่ 1 ป ก ารศึ ก ษา 2552 โดยใช แบบสอบถามเปนเครื่องมือในการเก็บรวบรวมขอมูล วิเคราะหขอมูล โดยใชสถิติเชิงพรรณนา เปรียบเทียบความแตกตางของขอมูลโดยใช สถิติเชิงอนุมาน ไดแก t -test ผลการวิจัยพบวา กลุมตัวอยางรอยละ 19.2 อานพระคัมภีร มากกวา 1 ครั้งตอป ขณะที่ รอยละ 16.0 อานมากกวา 1 ครั้งตอ สัปดาห นอกจากนี้ รอยละ 43.1 อานพระคัมภีรรวมกับเพื่อนในกลุม คริสตชนดวยกัน ขณะที่รอยละ 42.9 อานคนเดียวตามลำพัง สำหรับ การสวดรำพึง เมื่ออานพระคัมภีร รอยละ 30.2 สวดรำพึงเมื่ออาน พระคัมภีรจบ ขณะที่รอยละ 33.9 ไมสวดรำพึง นอกจากนี้รอยละ 67.1 อานพระคัมภีร โดยเลือกอานบางบทหรือบางตอนที่สนใจ ขณะ ที่รอยละ 56.8 อานพระคัมภีรเมื่อมีเวลาวาง สวนสาเหตุที่ไมอานพระ คัมภีร รอยละ 61.2 ใหเหตุผลวา ไมมีเวลาอาน ในดานทัศนคติตอ พระคัมภีร สวนใหญมีความเห็นวา พระคัมภีรเปนหนังสือศักดิ์สิทธิ์ และเป น พระวาจาของพระเจ า และยั ง เชื่ อ ว า การอ า นพระคั ม ภี ร ทำใหไดใกลชิดสนิทกับพระเจา ทั้งยังชวยดลใจ ใหประพฤติแตสิ่งดี นอกจากนี้ เยาวชนไมเห็นดวยวา พระคัมภีรเปน หนังสือโบราณ ลา สมัย และการอานพระคัมภีรเปนเรื่องนาเบื่อ สำหรับคะแนนความรู เบื้องตนเกี่ยวกับพระคัมภีร รอยละ 73.6 สอบผานโดย ไดคะแนน เฉลี่ย 6.8 จาก 10 คะแนน และเยาวชนหญิงไดคะแนนเฉลี่ย 7.0

ปที่ 2 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2010/2553 57


การอานพระคัมภีรของเยาวชนคาทอลิกในประเทศไทย

ซึ่งมากกวาเยาวชนชายที่ไดคะแนนเฉลี่ย 6.4 และเยาวชนที่ศึกษา ในระดั บ มั ธ ยมศึ ก ษาตอนปลายได ค ะแนนเฉลี่ ย 7.4 ซึ่ ง มากกว า เยาวชนที่ศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอนตนที่ไดคะแนนเฉลี่ย 6.6 โดย มีความแตกตางอยางมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 คำสำคัญ : 1) การอาน Abstract

2) พระคัมภีร

3) เยาวชนคาทอลิก

This survey research aims to investigate Bible reading behaviors of Catholic youths in Thailand anda comparison of fundamental Bible knowledge and attitudes towards the Bible divided by gender and education levels. The subjects were 1,007 students studying in the first semester of the 2009 academic year who were randomly selected from secondary Catholic schools in 10 dioceses and Thai religious orders across Thailand. The instrument for data collection is a questionnaire. The data were statistically analyzed by frequency, percentage, means, standard deviation and inferential statistics with t-test for comparison means difference. The major findings are 19.2% of the subjects read the Bible more than once a year while 16.0% read more than once a week. 43.1% read the Bible with their Christian friends while 42.9% read the Bible individually. Furthermore, 61.2% indicate that they do not read the Bible due to time limitation. In terms of saying the prayers, 30.2% pray after reading the Bible while

58 วารสารวชาการ วทยาลัยแสงธรรม


ลือชัย ธาตุวสัย ธรรมรัตน เรอนงาม สมเกียรติ ตรนิกร ทวศักดิ์ เดชาเลิศ

33.9 % do not pray after reading the Bible. In case of reading passages, 67.1% read certain parts or chapters to their interests while 56.8% read the bible only in their leisure time. In respect to their attitudes towards the Bible, the subjects indicate that the Bible is the holy text and the words of God. Additionally, they believe that reading the Bible paves ways closer to God and it is an inspiration to good deeds. Also, they disagree that the Bible is obsolete and that reading Bible is boring. In terms of fundamental Bible knowledge, 73.6% of the subjects pass the Bible knowledge test. The mean score is 6.8 out of 10. The scores are significantly different by genders and levels of study at .05 where the mean score of the female students (7.0) is higher than that of male (6.4) and the mean score of the upper secondary school students (7.4) is higher than that of the lower secondary school students (6.6). Keywords : 1) Reading

2) Bible

3) Catholic Youth

ปที่ 2 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2010/2553 59


การอานพระคัมภีรของเยาวชนคาทอลิกในประเทศไทย

ความเปนมาและความสำคัญของปญหา สืบเนือ่ งจากการประชุมสภามุขนายก คาทอลิกแหงประเทศไทย เมื่อวันที่ 27–30 มี น าคม พ.ศ. 2550 ได มี ม ติ ใ ห ก ารรณรงค ระหวางป พ.ศ. 2550–2553 เพื่อคริสตชน ทุกฐานันดร ไมวาจะเปน บาทหลวง นักบวช และฆราวาส สามารถนำพระวาจาเขาสูชีวิต อยางมีประสิทธิผลยิ่งขึ้น และสอดคลองกับ นโยบายทิศทางงานอภิบาลของพระศาสนจั ก รคาทอลิ ก ในประเทศไทย พ.ศ. 2543– 2553 ที่ระบุในพันธกิจ เชิญชวนใหคริสตชน ทุ ก คน มุ ง อุ ทิ ศ ตนฟ น ฟู ชี วิ ต ให ส นิ ท กั บ พระ คริสตเจา โดยอาศัยพระวาจาและศีลศักดิ์สิทธิ์ ภายหลั ง จากที่ ส ภามุ ข นายกฯ ได ประกาศให ป พ .ศ. 2550–2553 เป น ป พระวาจาแล ว ต อ มาใน ป พ .ศ. 2551 ซึ่ ง เขาสูป ท ่ี 2 ของปพระวาจา สมเด็จพระสันตะ ปาป เบเนดิ ก ต ที่ 16 ได ป ระกาศให พ ระ ศาสนจั ก รทั่ ว โลกได ร ะลึ ก ถึ ง วาระครบรอบ 2000 ป แห ง การบั ง เกิ ด ของนั ก บุ ญ เปาโล และกำหนดให ป พ .ศ. 2551 เป น ป นั ก บุ ญ เปาโล อัครสาวก มีระยะเวลาตั้งแตวันที่ 28 มิถุนายน 2551 ถึงวันที่ 29 มิถุนายน 2552 ดังนั้น สภามุขนายกฯ จึงไดประกาศใหชวง ระยะเวลาดังกลาวเปน “ปพระวาจาและป นักบุญเปาโล” ควบคูกันไปและเพื่อใหบรรลุ

60 วารสารวชาการ วทยาลัยแสงธรรม

พั น ธกิ จ และวั ต ถุ ป ระสงค ดั ง กล า ว สภา มุ ข นายกฯ ได เ สนอแนวปฏิ บั ติ ต า งๆ อาทิ ให แ ต ล ะสั ง ฆมณฑลคณะนั ก บวช และ สถาบันทั้งหลาย เชน โรงเรียน สามเณราลัย และองค ก รต า งๆ จั ด ตั้ ง คณะกรรมการ เฉพาะกิจเพื่อดำเนินงาน “ปพระวาจาและ ป นั ก บุ ญ เปาโล” จั ด ให มี พิ ธี ก รรมเป ด –ป ด ป นั ก บุ ญ เปาโลและกิ จ กรรมหลั ก ระหว า งป อาทิ การชุ ม นุ ม เพื่ อ พระคั ม ภี ร (Bible Congress) รวมทั้ ง การจั ด กิ จ กรรมร ว มกั บ พี่นองโปรเตสแตนท นอกจากนี้ ยังจัดใหมี การสัมมนาเชิงวิชาการ และ/หรือใหมีการ ศึกษาไตรตรอง เพื่อเรียนรูเอกลักษณ ภารกิจ การเดิ น ทางประกาศพระวรสาร และข อ คำสอน โดยใชบทจดหมายตางๆ ของนักบุญ เปาโล พรอมทั้งจัดกิจกรรมลงสูภาคปฏิบัติ ใหเกิดผลในชีวิตอยางจริงจัง เชน โครงการ รักพระวาจา เปนตน ตั้ ง แต ป พ .ศ. 2550 เป น ต น มา ทุ ก หน ว ยงานในองค ก รคาทอลิ ก ต า งได จั ด กิจกรรม โครงการตางๆ เปนการสนองตอบ เพื่ อ ให ค ริ ส ตชนหั น มาสนใจพระวาจาของ พระเจา ดวยการอานพระคัมภีรมากขึ้น และ ในปพ.ศ. 2552 อันเปนปที่ 3 ของปพระวาจา ก็ ยั ง คงมี ก ารรณรงค ด ว ยการจั ด กิ จ กรรม และโครงการตางๆ อยางตอเนื่อง อยางไรก็ดี


ลือชัย ธาตุวสัย ธรรมรัตน เรอนงาม สมเกียรติ ตรนิกร ทวศักดิ์ เดชาเลิศ

จุดออนในชวงที่ผานมาคือ ขาดการประเมิน ผลว า การรณรงค ดั ง กล า ว มี ผ ลต อ การ อ า นพระวาจาในพระคั ม ภี ร ม ากขึ้ น หรื อ ไม อยางไร โดยเฉพาะเยาวชนคาทอลิกซึ่งเปน กลุ ม เป า หมาย และพลั ง สำคั ญ ของพระ ศาสนจั ก ร ดั ง นั้ น ศู น ย วิ จั ย ค น คว า ศาสนา และวั ฒ นธรรม วิ ท ยาลั ย แสงธรรมอั น เป น หน ว ยงานที่ ส ง เสริ ม การทำวิ จั ย ให ส ภามุ ข นายกฯ จึงเห็นความสำคัญในการ เขาใจถึง วิธีการสงเสริมการอานพระคัมภีรในรูปแบบ ตางๆ ที่มีการดำเนินการไปแลว และสถานการณความสนใจอานพระคัมภีรของเยาวชน คาทอลิ ก จะเป น ประโยชน อ ย า งยิ่ ง ต อ การ แก ไข พั ฒ นา และกำหนดมาตรการและ แนวทางสงเสริมการอานในหวงเวลาที่เหลือ อยูอีก 2 ปขางหนา ใหมีประสิทธิผลยิ่งขึ้น อันจะทำให “ปพระวาจา” ไดบรรลุเจตนารมณที่ตั้งไว วัตถุประสงคของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาพฤติกรรมการอานพระ คัมภีรของเยาวชนคาทอลิกในประเทศไทย 2. เพื่อเปรียบเทียบความรูเบื้องตน และทัศนคติเกี่ยวกับพระคัมภีร จำแนกตาม เพศและระดับการศึกษา

วิธีดำเนินการวิจัย เปนการวิจัยเชิงสำรวจ (Survey Research) โดยใชแบบสำรวจในการเก็บรวบรวม ข อ มู ล ในช ว งเดื อ นกรกฎาคม ถึ ง สิ ง หาคม 2552 ประชากร ประชากร ไดแก เยาวชนคาทอลิกซึง่ กำลังศึกษาอยูในโรงเรียนระดับมัธยมศึกษา สังกัดสังฆมณฑลและคณะนักบวชตางๆ ทั่ว ประเทศ ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2552 กลุมตัวอยาง กลุมตัวอยางจำนวน 1,007 คน ได จากการสุมแบบหลายขั้นตอน (Multi–Stage Random Sampling) โดยสุมโรงเรียนสังกัด สั ง ฆมณฑล และคณะนั ก บวชทั่ ว ประเทศ จำนวน 60 โรงเรียนกอน แลวจึงใหโรงเรียน สุมนักเรียนในโรงเรียนดวยวิธีการสุมอยางงาย (Simple Random Sampling) มีโรงเรียนสง แบบสำรวจกลับคืนมา 43 โรงเรียน คิดเปน รอยละ 71.67 ไดแบบสำรวจที่สมบูรณจำนวน 1,007 ชุด

ปที่ 2 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2010/2553 61


การอานพระคัมภีรของเยาวชนคาทอลิกในประเทศไทย

ตัวแปรที่ศึกษา 1. ตัวแปรตน ไดแก เพศ ระดับชั้น 2. ตัวแปรตาม ไดแก พฤติกรรมการ อ า นพระคั ม ภี ร ทั ศ นคติ ความรู เ บื้ อ งต น เกี่ ย วกั บ พระคั ม ภี ร และสาเหตุ ก ารไม อ า น พระคัมภีร เครื่องมือที่ใชในการวิจัย เครื่ อ งมื อ ที่ ใช ใ นการวิ จั ย ครั้ ง นี้ เ ป น แบบสำรวจการอ า นพระคั ม ภี ร มี ลั ก ษณะ เปนแบบตรวจสอบรายการ (Check List) ใหเลือกตอบ ประกอบดวยเนื้อหา 5 ตอน คือ ตอนที่ 1 สถานภาพของนักเรียน ตอนที่ 2 พฤติกรรมการอานพระคัม ภีร ตอนที่ 3 ทัศนคติความคิดเห็นเกี่ยว กับพระคัมภีร ตอนที่ 4 ความรู เ บื้ อ งต น เกี่ ย วกั บ พระคัมภีร ตอนที่ 5 สาเหตุที่ไมอานพระคัมภีร สำหรับแบบทดสอบวัดความรูเ บือ้ งตน เกี่ยวกับพระคัมภีร มีคาความยากอยูระหวาง 0.20-0.80 ค า อำนาจจำแนกตั ง แต 0.20 ขึ้นไป และมีคาความเที่ยงดวยคาสัมประสิทธิ์

62 วารสารวชาการ วทยาลัยแสงธรรม

แอลฟาของครอนบาค (Cronbach) เทากับ 0.60 การวิเคราะหขอมูล นำข อ มู ล ที่ ไ ด ม าตรวจสอบความ ถู ก ต อ งในการบั น ทึ ก ลงรหั ส ประมวลผล โดยใช โ ปรแกรมคอมพิ ว เตอร ส ำเร็ จ รู ป และ ดำเนินการวิเคราะหหาคาสถิติเชิงพรรณนา ได แ ก ค า เฉลี่ ย เลขคณิ ต (Arithematic Mean) สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) คารอยละ และสถิติเชิงอนุมาน คือ คาสถิติ t–test เพื่อเปรียบเทียบคะแนน เฉลี่ยความรูเบื้องตนเกี่ยวกับพระคัมภีรของ นักเรียนระหวางเพศชายกับหญิง และระดับ มัธยมศึกษาตอนตนกับมัธยมศึกษาตอนปลาย สรุปผลการวิจัย 1. พฤติกรรมการอานพระคัมภีร 1.1 ความถี่ในการอานพระคัมภีร กลุมตัวอยางเยาวชนคาทอลิกอาน พระคัมภีรในรอบสัปดาห (อานทุกวัน อาน มากกวา 1 ครั้ง ตอสัปดาหหรืออานสัปดาห ละครั้ง) รอยละ 37.14 ในจำนวนนี้เปนการ อ า นมากกว า 1 ครั้ ง ต อ สั ป ดาห มากที่ สุ ด รอยละ 16.02 รองลงมา เปนการอานพระ


ลือชัย ธาตุวสัย ธรรมรัตน เรอนงาม สมเกียรติ ตรนิกร ทวศักดิ์ เดชาเลิศ

คัมภีร ในรอบป (อานมากกวา 1 ครั้งตอป หรือ อานปละครั้ง) รอยละ 30.63 ในจำนวนนี้เปน การอานมากกวา 1 ครั้งตอป รอยละ 19.22 และเปนการอานพระคัมภีรในรอบเดือน (อาน มากกวา 1 ครั้งตอเดือน หรืออานเดือนละครั้ง) รอยละ 27.82 นอกจากนี้ยังพบวา รอยละ 4.41 ไม เ คยอ า นพระคั ม ภี ร เ ลยในรอบป ที่ ผานมา 1.2 ลักษณะการอานพระคัมภีร ลักษณะการอานพระคัมภีรข อง กลุมตัวอยางเยาวชนคาทอลิก เปนการอาน พระคัมภีรร ว มกับเพือ่ นๆ หรือในกลุม คริสตชน ดวยกัน รอยละ 43.10 รองลงมาในอัตราที่ ใกลเคียงกัน ไดแก การอานคนเดียวตามลำพัง รอยละ 42.99 และการอานรวมกันในครอบ ครัว (อานรวมกับบิดามารดาหรือพี่นอง) นอย สุด คือ รอยละ 10.85 1.3 การสวดรำพึงเวลาที่อานพระคัมภีร กลุมตัวอยางเยาวชนคาทอลิกมี การสวดรำพึงเวลาที่อานพระคัมภีร (สวดกอน อ า น ขณะอ า น และเมื่ อ อ า นจบ) คิ ด เป น รอยละ 62.77 ในจำนวนนี้ เปนการสวดรำพึง เมื่ออานจบมากที่สุด รอยละ 30.24 รองลงมา คือ การสวดรำพึงกอนอาน รอยละ 27.11 สำหรับผูที่ไมสวดรำพึงใดๆ พบรอยละ 33.99

1.4 วิธีการอานพระคัมภีร กลุมตัวอยางเยาวชนคาทอลิก ใชวิธีอานพระคัมภีร โดยการเลือกอานบาง บทบางตอนที่สนใจ มากที่สุดรอยละ 67.09 รองลงมา คือ อานตามบทอานประจำวันใน พิธีมิสซา รอยละ 25.40 1.5 เวลาที่อานพระคัมภีร กลุมตัวอยางเยาวชนคาทอลิก อานพระคัมภีรเ มือ่ มีเวลาวาง มากทีส่ ดุ รอยละ 56.77 รองลงมา คือ อานขณะรวมพิธีมิสซา รอยละ 16.05 และอานเมื่อตื่นนอนในตอนเชา รอยละ 5.13 1.6 สาเหตุที่เยาวชนไมอานพระ คัมภีร เหตุผลที่กลุมตัวอยางเยาวชน คาทอลิกไมอานพระคัมภีรหรืออานพระคัมภีร นอยนั้น พบวา รอยละ 61.27 ใหเหตุผลวา ไมมีเวลาอาน รองลงมา รอยละ 26.42 ระบุวา พระคั ม ภี ร อ า นเข า ใจยากไม รู เรื่ อ ง ร อ ยละ 26.32 ไมชอบอานหรือไมสนใจที่จะอาน และ รอยละ 24.13 ไมรูวิธีการอานที่ถูกตอง 2. ทัศนคติ/ความคิดเห็นตอพระคัมภีร เยาวชนคาทอลิกเห็นดวยในระดับ สูงมากวา พระคัมภีรเปนพระวาจาของพระเจ า (ร อ ยละ 96.31) และพระคั ม ภี ร เ ป น

ปที่ 2 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2010/2553 63


การอานพระคัมภีรของเยาวชนคาทอลิกในประเทศไทย

หนังสือศักดิ์สิทธิ์ของพระเจา (รอยละ 95.92) รองลงมา คื อ การอ า นพระคั ม ภี ร ท ำให เรา ไดใกลชิดสนิทกับพระเจา (รอยละ 87.80) และชวยดลใจใหเราประพฤติแตสิ่งดีๆ ทั้งตอ ตนเองและผูอื่น (รอยละ 84.93) อยางไรก็ดี มี บ างประเด็ น ที่ เ ยาวชนมี ค วามไม แ น ใจใน ความเห็นของตน ไดแก การอานพระคัมภีร ช ว ยขจั ด ความชั่ ว ร า ยในตั ว เราให ห มดไป

(รอยละ 39.52) เปนเรื่องที่เขาใจไดยาก (รอย ละ 32.83) ข อ ความในพระคั ม ภี ร เ ป น สั จ ธรรม ความจริ ง แท เป น อมตะ (ร อ ยละ 23.50) สวนประเด็นที่ไมเห็นดวยอยางมาก ไดแก พระคัมภีรเปนหนังสือโบราณ ลาสมัย (รอยละ 76.42) และการอานพระคัมภีรเปน เรื่องนาเบื่อ (รอยละ 76.17) ดังตารางที่ 1

ตารางที่ 1 รอยละของเยาวชนคาทอลิกจำแนกตามทัศนคติ / ความคิดเห็นตอพระคัมภีร ขอความ เห็นดวย ไมเห็นดวย ไมแนใจ 1. พระคัมภีรเปนหนังสือศักดิ์สิทธิ์ของพระเจา 2. พระคัมภีรเปนพระวาจาของพระเจา 3. การไมรูจักพระคัมภีรก็เทากับไมรูจักพระคริสตเจา 4. ขอความในพระคัมภีรเปนสัจธรรม ความจริงแท เปนอมตะ 5. พระคัมภีรเปนหนังสือโบราณ ลาสมัย 6. การอานพระคัมภีรเปนเรื่องนาเบื่อ 7. การอานพระคัมภีรเปนเรื่องที่เขาใจไดยาก 8. การอานพระคัมภีรทำใหเราไดใกลชิดสนิทกับพระเจา 9. การอานพระคัมภีรชวยดลใจใหเราประพฤติแตสิ่งดีๆ ทั้งตอตนเองและผูอื่น 10. การอานพระคัมภีรชวยขจัดความชั่วรายในตัวเรา ใหหมดไป

64 วารสารวชาการ วทยาลัยแสงธรรม

95.92 96.31 71.16 71.40

0.40 0.70 12.97 5.10

3.69 2.99 15.87 23.50

8.69 3.79 14.77 87.80 84.93

76.42 76.17 52.40 1.40 1.90

14.89 20.04 32.83 10.80 13.17

52.69

7.78

39.52


ลือชัย ธาตุวสัย ธรรมรัตน เรอนงาม สมเกียรติ ตรนิกร ทวศักดิ์ เดชาเลิศ

3. ความรูเ บือ้ งตนเกีย่ วกับพระคัมภีร ความรู เ บื้ อ งต น เกี่ ย วกั บ พระคั ม ภี ร ของกลุมตัวอยางเยาวชนคาทอลิกไดคะแนน เฉลี่ย 6.80 คะแนน จากคะแนนเต็ม 10 คะแนน สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 2.22 คะแนน มี ผู ส อบผ า น (ได ค ะแนนตั้ ง แต 6 คะแนนขึ้นไป) รอยละ 73.58 สวนผูที่สอบ ไมผาน (ไดคะแนนไมถึง 6 คะแนน) มีรอยละ 26.42 โดยที่ เ ยาวชนหญิ ง ได ค ะแนนเฉลี่ ย 7.00 สู ง กว า เยาวชนชายที่ ไ ด ค ะแนนเฉลี่ ย 6.40 ขณะที่ เ ยาวชนในระดั บ มั ธ ยมศึ ก ษา ตอนปลายไดคะแนนเฉลี่ย 7.38 คะแนน สูง กวาเยาวชนในระดับมัธยมศึษาตอนตนที่ได 6.59 คะแนน ความแตกตางของคะแนนเฉลี่ย ระหว า งเพศและระดั บ ชั้ น มี นั ย สำคั ญ ทาง สถิติที่ระดับ .05 4. วิธีการสงเสริมใหเยาวชนสนใจ อานพระคัมภีรมากขึ้น กลุมตัวอยางเยาวชนคาทอลิกจำนวน 847 คน คิดเปนรอยละ 84.11 ของทั้งหมด ไดใหขอเสนอแนะวิธีการสงเสริมใหเยาวชน อานพระคัมภีร สรุปเปนประเด็นสำคัญๆ ได ทั้งหมด 8 ขอ เรียงลำดับจากจำนวนผูเสนอ แนะมากที่สุดไปหานอยที่สุด ดังนี้ - จัดกิจกรรมสงเสริมการอานพระคัมภีร

- กำหนดเวลาใหอานพระคัมภีรอยาง จริงจัง - ปรับปรุงหนังสือพระคัมภีรใ หเหมาะ กับวัยของผูอาน - เชิญชวนใหผูอื่นอานพระคัมภีร - สอนวิธีการอานและชี้ใหเห็นถึงประ โยชน - จัดหาพระคัมภีรใหครอบครัวละ 1 เลม - จัดตั้งจัดกลุมคนรักการอานพระคัม ภีร - บิดามารดาผูปกครองชวยนำบุตร หลานอานพระคัมภีรในครอบครัว อภิปรายผล ขอคนพบแสดงใหเห็นวา มีเยาวชน คาทอลิกเพียงรอยละ 8 เทานั้นที่อานพระ คัมภีรเปนประจำทุกวัน โดยรอยละ 16 อาน มากกวา 1 ครั้งตอสัปดาห และรอยละ 13 อานสัปดาหละครั้ง โดยภาพรวมแลวมีเยาวชน ที่อานพระคัมภีรในรอบสัปดาห รอยละ 37 ใน ขณะทีก่ ารอานแบบนานๆ ครัง้ คือ อานในรอบ เดือนและรอบปสูงถึง รอยละ 59 และยังพบวา เยาวชนคาทอลิกไมวาจะเปนหญิงชาย เรียน ระดับชั้นม.ตน หรือ ม.ปลาย มีสัดสวนการอาน มากกวา 1 ครั้งตอป (ซึ่งเปนความถี่ในการ

ปที่ 2 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2010/2553 65


การอานพระคัมภีรของเยาวชนคาทอลิกในประเทศไทย

อานที่ต่ำ) สูงกวาการอานตอสัปดาห หรือตอ เดือน อีกทั้งพบวาเยาวชนชั้นม.ปลาย อาน หนังสือพระคัมภีรนอยลง สิ่งนี้บงบอกวายิ่ง เยาวชนมีอายุมากขึ้นก็จะอานพระคัมภีรนอย ลง สอดคลองกับผลการสำรวจของสำนักงาน สถิติแหงชาติเมื่อปพ.ศ. 2551 และการสำรวจ ของเอแบคโพลล ปพ.ศ. 2549 ซึ่งพบวาอัตรา การอานหนังสือของคนไทยมีแนวโนมลดลง อย า งไรก็ ต าม ขณะที่ เราพบว า เยาวชน คาทอลิ ก อ า นหนั ง สื อ พระคั ม ภี น ร น อ ยลง แต ก ารสำรวจของเอแบคโพลล กลั บ พบว า เยาวชนชอบอ า นหนั ง สื อ ตลกขบขั น กว า รอยละ 50 ซึ่งอาจเปนวิกฤตของการเขาถึง พระวาจาของพระเจาที่จะเปนขุมทรัพยสำคัญ ในการพั ฒ นามนุ ษ ย จ ากพลั ง ภายในการ ส ง เสริ ม การอ า นพระคั ม ภี ร ใ นหมู เ ยาวชน คาทอลิ ก จึ ง เป น ภารกิ จ ที่ ท า ทายของพระศาสนจักร สำหรั บ สาเหตุ ที่ ไ ม อ า นพระคั ม ภี ร เยาวชนคาทอลิกประมาณรอยละ 60 ระบุวา เพราะไมมีเวลาอาน รอยละ 26 บอกวาอาน เขาใจยาก อานไมรูเรื่อง ไมชอบอาน หรือไม สนใจอาน เหตุผลนีส้ อดคลองกับผลการสำรวจ การอานหนังสือของประชากรไทย พ.ศ. 2551 โดยสำนักงานสถิติแหงชาติ (สำนักงานสถิติ แหงชาติ, 2552 : 1-25 ) ที่พบวา ประชากร

66 วารสารวชาการ วทยาลัยแสงธรรม

อายุตั้งแต 6 ขวบขึ้นไปที่ไมอานหนังสือมาก กวาครึ่ง (รอยละ 54) ใหเหตุผลวา ไมมีเวลา อานเพราะชอบดูโทรทัศนมากกวา เห็นไดชัด วา ที่ไมมีเวลาอานก็เพราะตองใชเวลาไปทำ สิ่งอื่นที่นาสนใจกวา เชน การดูโทรทัศน เลน คอมพิวเตอร เปนตน สอดคลองกับเหตุผล ของถนอมวงศ ล้ำยอดมรรคผล (2550 : 1114) ที่กลาวถึงปญหาของการอานวาไมมีเวลา อานเปนเพียงขอแกตัวเทานั้น เพราะคนที่รัก การอานสามารถหาเวลาอานไดเสมอ ดังนั้น การแกปญหาการไมอานหนังสือจึงควรมุงเนน การปลูกฝงและสงเสริมใหเยาวชนมีนิสัยรัก การอานเปนสำคัญ เยาวชนคาทอลิกนิยมอานพระคัมภีร รวมกับเพื่อนๆ พอๆ กับอานตามลำพัง สิ่งที่ นาเปนหวง คือ มีการอานในครอบครัวนอย สะท อ นถึ ง การปลู ก ฝ ง นิ สั ย รั ก การอ า นพระ คั ม ภี ร ใ นครอบครั ว มี น อ ยมากทั้ ง ๆ ที่ ค รอบ ครัวควรเปนสถาบันที่มีบทบาทตอการปลูกฝง นิสัยรักการอานไดมากที่สุด ดังนั้น เราจึงควร สงเสริมการอานพระคัมภีรในบาน ในครอบ ครัวใหมากขึ้น วิธีการอานพระคัมภีรดวยตนเองใน แตละครั้ง ควรเริ่มตนดวยการสวดอธิษฐาน ขอพระจิ ต เจ า ตามด ว ยการสวดรำพึ ง ขณะ อาน และสวดโมทนาคุณพระเจาหลังจากอาน


ลือชัย ธาตุวสัย ธรรมรัตน เรอนงาม สมเกียรติ ตรนิกร ทวศักดิ์ เดชาเลิศ

พระคั ม ภี ร จ บ เมื่ อ พิ จ ารณาผลการวิ จั ย ใน เรื่องนี้พบวา เยาวชนคาทอลิกสวดรำพึงเมื่อ อานจบ รอยละ 30 และสวดรำพึงกอนอาน รอยละ 27 ขณะที่การสวดรำพึงขณะอาน มี เพียงรอยละ 5 เทานั้น การวิจัยครั้งนี้ไมไดถาม ถึงการสวดครบทั้ งสามขั้นตอน จึงไมทราบ สั ด ส ว นของผู ที่ ส วดรำพึ ง ครบว า มี อ ยู เ ท า ไร อยางไรก็ตาม สัดสวนของผูที่สวดรำพึงไมวา จะเปนกอนหรือหลังการอาน พบวามีไมมาก นัก แตผูที่ไมสวดรำพึงใดๆ กลับมีถึงรอยละ 34 ดังนั้น จึงควรใหความรูที่ถูกตองเกี่ยวกับ วิ ธี ก ารอ า นพระคั ม ภี ร โดยเฉพาะการสวด รำพึงเวลาอานพระคัมภีร การอ า นพระคั ม ภี ร ค รั้ ง เดี ย วให จ บ เล ม เป น เรื่ อ งที่ ท ำได ย ากมาก เนื่ อ งจาก เนื้ อ หาของพระคั ม ภี ร มี ม ากมายทั้ ง ฉบั บ พั น ธสั ญ ญาเก า และพั น ธสั ญ ญาใหม ดั ง นั้ น การอานพระคัมภีรจึงมีขอแนะนำวา ควรอาน ครั้งละบทหรือครั้งละตอน ผลการวิจัยพบวา เยาวชนคาทอลิกของเรา รอยละ 67 เลือกอาน บางบทบางตอนที่สนใจ สอดคลองกับวิธีการ อานตามขอเสนอแนะ รองลงมา เปนการอาน ตามบทอ า นประจำวั น ในพิ ธี มิ ส ซา ร อ ยละ 25 ปญหา ก็คือ บางบทบางตอนที่สนใจอาน มีความสำคัญตอการดำเนินชีวิตไดมากนอย เพียงใด และใครเปนผูกำหนดวา เยาวชน

ควรอาน บทใด ตอนใด จึงควรมีผูเชี่ยวชาญ ดานพระคัมภีร เพื่อใหขอเสนอแนะบางบท บางตอนที่ เ ยาวชนควรอ า นเป น ลำดั บ ก อ น หลัง นอกจากนี้ ควรระบุดวยวา เนื้อหาบทนี้ ตอนนี้ ก อ ให เ กิ ด ประโยชน อ ย า งไรกั บ ผู อ า น ทั้ ง นี้ เ พื่ อ เป น แนวทางให เ ยาวชนของเราได ตัดสินใจเลือกอานไดเหมาะกับวัย ความสนใจ และความตองการของตน การเลือกเวลาอานพระคัมภีรพบวา เยาวชนคาทอลิ ก ส ว นใหญ ป ระมาณร อ ยละ 60 เลือกที่จะอานพระคัมภีรเมื่อมีเวลาวาง รองลงมา รอยละ 16 จะอานขณะรวมพิธมี สิ ซา การระบุ ว า จะอ า นเมื่ อ มี เวลาว า งนั บ ว า เป น เหตุผลที่ไมสูดีนัก หมายความวา เมื่อมีเวลา ว า งจึ ง จะอ า น ถ า ไม ว า งก็ ไ ม อ า น ยิ่ ง สภาพ สัง คมในปจ จุบั น ไมเ พีย งโทรทั ศ นเ ทา นั้ น ที่ แย ง เวลาอ า นหนั ง สื อ ของเยาวชน ยั ง มี อิ น เทอร เ น็ ต เกมออนไลน ท างคอมพิ ว เตอร ที่ ดึ ง ดู ด ใจเยาวชนให จ ดจ อ อยู บ นหน า จอจน แทบไมมีเวลาเหลือใหทำอยางอื่นนอกจากกิน และนอนเทานัน้ ครัน้ ยอนไปดูเหตุผลทีไ่ มอา น พระคัมภีร ก็พบวา ไมมีเวลาอานเปนเหตุผล ที่ถูกอางถึงมากที่สุด ขอคนพบนี้บงชี้วาการ ไมอานพระคัมภีรจะมีแนวโนมในระดับที่สูง ขึ้นอยางแนนอน การวิจัยนี้ ไดตั้งคำถามเกี่ยวกับพระ

ปที่ 2 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2010/2553 67


การอานพระคัมภีรของเยาวชนคาทอลิกในประเทศไทย

คัมภีร เพื่อใหเยาวชนคาทอลิกไดแสดงความ คิดเห็นวา เห็นดวย ไมเห็นดวย หรือไมแนใจ โดยให เ ลื อ กตอบเพี ย งอย า งใดอย า งหนึ่ ง คำตอบที่ไดจะเปนสิ่งสะทอนถึงทัศนคติที่ดี หรื อ ไม ดี ข องเยาวชนคาทอลิ ก ที่ มี ต อ พระ คัมภีร เปนทีน่ า อุน ใจวา เยาวชนคาทอลิกของ เรามี ทั ศ นคติ ที่ ดี ต อ พระคั ม ภี ร เ ห็ น ได จ าก คำตอบกวารอยละ 95 ที่ระบุ เห็นดวย กับ ขอความทีว่ า “พระคัมภีรเ ปนหนังสือศักดิส์ ทิ ธิ์ ของพระเจา” และกวารอยละ 96 เห็นดวย วา “พระคัมภีรเปนพระวาจาของพระเจา” นั บ ว า เป น ความเห็ น ที่ แ สดงถึ ง ความเชื่ อ มั่ น และศรั ท ธาในหนั ง สื อ พระคั ม ภี ร อ ย า งแท จริง สวนขอความในเชิงลบที่วา “พระคัมภีร เปนหนังสือโบราณ ลาสมัย” และ “การอาน พระคัมภีรเปนเรื่องนาเบื่อ” รอยละ 76 ไม เห็นดวย ตัวเลขนี้แตกตางจากผลการสำรวจ ทัศนคติเกี่ยวกับพระคัมภีรในสหราชอาณาจั ก ร เมื่ อ ป ค .ศ.2007 (Leslie J.Francis, 2007) ที่พบวา รอยละ 31.34 เห็นดวยวา พระคัมภีรเปนหนังสือโบราณ ขณะที่เยาวชน ของเราเห็ น ด ว ย เพี ย งร อ ยละ 9 ไม แ น ใจ รอยละ 15 ยิ่งไปกวานั้นรอยละ 48 เห็นวา การฟงบทอานในพระคัมภีรเปนเรื่องนาเบื่อ ขณะที่เยาวชนของเรา เพียงรอยละ 4 เทานั้น ที่ เ ห็ น ด ว ยว า การอ า นพระคั ม ภี ร เ ป น เรื่ อ ง

68 วารสารวชาการ วทยาลัยแสงธรรม

นาเบื่อ ไมแนใจ รอยละ 20 ดังนั้น ถาเปรียบ เทียบกับเยาวชนในสหราชอาณาจักร เห็นได ชั ด ว า เยาวชนคาทอลิ ก ในประเทศไทยมี ทัศนคติตอพระคัมภีรดีกวาเยาวชนในสหราชอาณาจักรคอนขางมาก สำหรับความคิดเห็นเกี่ยวกับการอาน พระคั ม ภี ร ที่ น า สนใจอี ก ประการหนึ่ ง ก็ คื อ “การอานพระคัมภีรเปนเรื่องที่เขาใจไดยาก” พบวา เยาวชนคาทอลิกของเราเกินครึ่งเล็ก นอย (รอยละ 52) ที่ไมเห็นดวย รอยละ 33 ไมแนใจ และรอยละ 15 เห็นดวย หากมีวิธีการ ใดที่ จ ะส ง เสริ ม ให เ ยาวชนเห็ น ว า การอ า น พระคัมภีรเปนเรื่องที่เขาใจไดไมยาก คงชวย ให ทั ศ นคติ ต อ การอ า นพระคั ม ภี ร ดี ขึ้ น นั่ น หมายถึง เยาวชนของเราจะหันมาสนใจอาน พระคัมภีรกันมากขึ้นนั่นเอง ความคิ ด เห็ น เกี่ ย วกั บ ประโยชน ที่ ได จ ากการอ า นพระคั ม ภี ร พบว า เยาวชน คาทอลิกของเรามีทัศนคติคอนขางดีในเรื่อง นี้ กลาวคือ รอยละ 88 และ 85 ตางเห็น ดวยวา การอานพระคัมภีรทำใหเราไดใกลชิด สนิทกับพระเจา และชวยดลใจใหเราประพฤติ แตสิ่งดีๆ ทั้งตอตนเองและผูอื่น ตามลำดับ นับวาอยูในระดับมากทีเดียว การตระหนักถึง ประโยชนที่ไดจากการอาน คือ แรงจูงใจอยาง ดีใหเกิดความอยากอาน สวนประโยชนที่วา


ลือชัย ธาตุวสัย ธรรมรัตน เรอนงาม สมเกียรติ ตรนิกร ทวศักดิ์ เดชาเลิศ

การอานพระคัมภีรชวยขจัดความชั่วรายใน ตั ว เราให ห มดไป เยาวชนเกิ น ครึ่ ง เล็ ก น อ ย (รอยละ 53) เทานั้นที่เห็นดวย จึงควรเปลี่ยน ไปชี้ใหเห็นถึงประโยชนในเรื่องอื่นๆ ดูบาง การทดสอบความรูเบื้องตนเกี่ยวกับ พระคัมภีร พบวา เยาวชนคาทอลิกเกือบสาม ในสี่ (รอยละ 74) สอบผาน ไดคะแนนตั้งแต 6 คะแนนขึ้นไป จากคะแนนเต็ม 10 โดยมี คะแนนเฉลี่ย 6.80 คะแนน แสดงวาเยาวชน คาทอลิกมีความรูพื้นฐานเกี่ยวกับพระคัมภีร อยู ใ นเกณฑ ดี ทั้ ง นี้ ก ารสอนคำสอนในโรง เรียนคงมีสวนชวยไดมาก อยางไรก็ตาม ความ รูเพียงอยางเดียวคงไมพอ หากมีความรูจริง แตไมอานก็จะไมเกิดประโยชนอันใด จึงควร เนนความรูควบคูกับการสอนอานพระคัมภีร ไปพรอมๆ กัน เมื่อพิจารณาผลการวิจัยในภาพรวม ตองยอมรับวา พฤติกรรมการอานพระคัมภีร โดยเฉพาะความถี่ในการอานและวิธีการอาน ยังอยูในระดับที่ไมสูงมาก ขณะที่ทัศนคติตอ พระคัมภีรอยูในเกณฑดี สวนความรูเบื้องตน เกี่ยวกับพระคัมภีรก็ไดผลเปนที่นาพอใจ หาก ได รั บ การส ง เสริ ม การอ า นอย า งจริ ง จั ง และ ตอเนื่อง เชื่อวา เยาวชนของเราจะหันมาสนใจ อานพระคัมภีรมากขึ้นอยางแนนอน

ขอเสนอแนะ 1. องคกรทางศาสนา ไมวาจะเปน สภามุ ข นายกสั ง ฆมณฑลต า งๆ สื่ อ มวลชน คาทอลิ ก จะต อ งร ว มมื อ กำหนดนโยบาย ส ง เสริ ม การอ า นพระคั ม ภี ร ที่ เ ป น รู ป ธรรม มี ร ะบบการติ ด ตามประเมิ น ผลการปฏิ บั ติ งานตามนโยบายอยางจริงจัง นอกจากนี้ยัง ตองจัดสรรงบประมาณกระจายไปยังหนวย งานตางๆ ในระดับปฏิบตั เิ พือ่ ใหการดำเนินงาน ตามนโยบายเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ สำหรั บ หน ว ยงานที่ มี ห น า ที่ ใ นการ ผลิตเอกสาร สื่อสิ่งพิมพ เชน อุดมศานต ควร มีการปรับเนื้อหา และกระบวนการสื่อสารให เยาวชนไดเปนผูสื่อสาร และการคนหาสารใน พระคัมภีรที่จะถายทอดใหเขาถึงเยาวชนใน วัยเดียวกันไดมากขึ้น 2. การสงเสริมใหเยาวชนคาทอลิก หันมาสนใจอานพระคัมภีรมากขึ้นตองอาศัย ความร ว มมื อ จากบุ ค คล ครอบครั ว โบสถ โรงเรียน และองคกรทางศาสนา ดังนี้ 2.1 ระดับบุคคล ตองชวยกันสราง โอกาสหรือชองทางใหเยาวชนเขาถึงพระคัมภีร ไดงาย เชน การจัดทำพระคัมภีรฉบับเยาวชน ในรูปแบบที่เหมาะกับวัยและความสนใจของ เขา โดยเฉพาะการใชภาพ (การตูน) ใหมาก

ปที่ 2 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2010/2553 69


การอานพระคัมภีรของเยาวชนคาทอลิกในประเทศไทย

กวาตัวอักษร หรือใชสื่อไฮเทคโนโลยี ไมวาจะ เปนพระคัมภีรในรูปแบบซีดี ดีวีดี 2.2 ระดับครอบครัว ตองสงเสริม และสนับสนุนใหมีกิจกรรมการอานพระคัมภีร รวมกันอยางนอยสัปดาหละ 2-3 ครั้ง หรือจัด มุมพระคัมภีรในบานซึ่งเปนมุมที่เยาวชนจะ ไดเรียนรูวาถาตองการอานหนังสือพระคัมภีร เมื่อไรจะตองมาที่มุมนี้เสมอ 2.3 ระดับโบสถ ตองจัดกิจกรรม สงเสริมการอานพระคัมภีรอยางตอเนื่องอาจ ใช เ วลาหลั ง พิ ธี มิ ส ซาวั น อาทิ ต ย เพื่ อ ให เยาวชนได มี โ อกาสอ า นพระคั ม ภี ร ร ว มกั น โดยใชเวลาสั้นๆ ขอสำคัญก็คือ กิจกรรมที่จัด ทุกกิจกรรมตองมีการอานพระคัมภีรรวมดวย เสมอ 2.4 ระดับโรงเรียน ตองจัดกิจกรรม สงเสริมการอานทั้งในหองเรียนและในบริเวณ โรงเรี ย น ในห อ งเรี ย นอาจจั ด ให มี ก ารอ า น พระคัมภีรกอนเริ่มเรียนในคาบแรก หรือคาบ สุดทายกอนเลิกเรียน ใชเวลา 3–5 นาที ใน บริ เวณโรงเรี ย นควรมี ก ารจั ด บอร ด หรื อ มุ ม เกี่ ย วกั บ พระคั ม ภี ร โ ดยเฉพาะมี กิ จ กรรม สงเสริมการอานทุกสัปดาห 3. การจัดการเรียนการสอนวิชาคำสอน ในโรงเรียน ผูสอนควรผานการอบรมความรู เกี่ยวกับพระคัมภีร เพื่อสามารถชี้แนะวิธีการ

70 วารสารวชาการ วทยาลัยแสงธรรม

อ า นพระคั ม ภี ร ที่ ถู ก ต อ ง เนื่ อ งจากเหตุ ผ ล ประการหนึ่งของการไมอานพระคั มภีรเปน ผลมาจากการไมรูวิธีการอานที่ถูกตอง ไมควร ใชวิธีบังคับใหอาน เพราะนิสัยรักการอานสวน หนึ่งมาจากแรงบันดาลใจบางอยางเฉพาะคน การสรางแรงบันดาลใจใหเยาวชนสนใจการ อาน อาจตองอาศัยบุคคลทีเ่ ปนดารา นักกีฬา นักรอง หรือบุคคลทีเ่ ปนขวัญใจของเด็กๆ เปน ตัวอยางหรือแสดงใหเห็นวา ความสำเร็จของ เขาเหลานั้น สวนหนึ่งมาจากนิสัยรักการอาน พร อ มกั บ แนะนำหนั ง สื อ ที่ เ ยาวชนควรอ า น และแนนอนวาหนึ่งในหนังสือเหลานั้น ควรมี หนังสือพระคัมภีรอยูดวย 4. ควรมีการวิจัยถึงรูปแบบและวิธี การส ง เสริ ม การอ า นพระคั ม ภี ร ที่ ส ง ผลต อ การชอบอานพระคัมภีรของเยาวชนคาทอลิก นอกจากนี้ ค วรมี ก ารวิ จั ย รู ป แบบหนั ง สื อ พระคัมภีรที่เหมาะกับเยาวชนในระดับอายุ ต า งๆ กั น ตลอดจนการวิ จั ย เกี่ ย วกั บ การ วิเคราะหเนือ้ หาพระคัมภีร เพือ่ คัดสรรบางบท บางตอนที่สามารถนำมาอานใหเหมาะกับวัย อันจะเปนการชวยพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม รวมทั้ ง นำไปเป น แนวทางการดำเนิ น ชี วิ ต ที่ สอดคลองกับหลักคำสอนของคริสตศาสนจักร คาทอลิก


ลือชัย ธาตุวสัย ธรรมรัตน เรอนงาม สมเกียรติ ตรนิกร ทวศักดิ์ เดชาเลิศ

บรรณานุกรม การสรางนิสัยรักการอาน. 2552. เขาถึงไดจาก http://www.thairath.co.th/ content/edu/26478 สืบคน 18 สิงหาคม 2552. คูมือการอานและใชพระคัมภีร. 2551 เขาถึง ไดจาก http://www.kamsondee dee.com/main/index.php/ 2008-11-13-03-18-05/87/580 สืบคน 14 ตุลาคม 2551. ถนอมวงศ ล้ำยอดมรรคผล. 2552. การอานใหเกง (พิมพครั้งที่ 13). กรุงเทพฯ : โรงพิมพภาพพิมพ. สำนักงานสถิติแหงชาติ. 2552. สรุปผลที่สำคัญการสำรวจการอาน หนังสือของประชากร พ.ศ.2552. กรุงเทพฯ :หางหุน สวนจำกัดบางกอก บลอก.

สภามุขนายกคาทอลิกแหงประเทศไทย. 2550. ประกาศสภามุขนายก คาทอลิกแหงประเทศไทย เรื่องปพระวาจา. เขาถึงไดจาก http://www.catholic.or.th/ events/catholicbishops/cbs02/ cbs02/cbs02.html สืบคน 14 ตุลาคม 2551. .2551. ประกาศสภามุขนายก คาทอลิกแหงประเทศไทย เรื่องปพระวาจา–ปนักบุญเปาโล. เขาถึงไดจาก http://www.cbct. net/news20080511.html สืบคน 14 ตุลาคม 2551. Leslie J. Francis. 2009 Religious Trends 7 2007/8.Retrieved January 24, 2009, from http: www.eauk.org/Slipstream/ resources/attitudes towards the Bible.

ปที่ 2 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2010/2553 71


การพัฒนากระบวนทัศนทางปรัชญาโดยอาศัยการฝกปฏิบัติการเขยนบทความตามหัวขอที่กำหนด ในรายวชาปรั ชญาเบื้องตน ใ

การพัฒนากระบวนทัศนทางปรัชญา โดยอาศัยการฝกปฏิบัติการเขียนบทความ ตามหัวขอที่กำหนดในรายวิชาปรัชญา เบื้องตน

The Philosophical Paradigm Development by Article Writing Training According to the Assigned Issues in the Course of Introduction to Philosophy บาทหลวงวุฒิชัย อองนาวา * บาทหลวงในคริสตศาสนจักรโรมันคาทอลิก สังฆมณฑลราชบุรี * รองอธิการบดีฝายวิชาการ และผูอำนวย การศูนยวิจัยคนควาศาสนาและวัฒนธรรม วิทยาลัยแสงธรรม

72 วารสารวชาการ วทยาลัยแสงธรรม

Rev.Wuttichai Ongnawa * Reverend in Roman Catholic Church, Ratchaburi Diocese. * Vice President for Acabemic Affairs and Director of Religious and Cultural Research * E-mail : Franciswut@gmail.com


วุฒิชัย อองนาวา

บทคัดยอ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อ 1) พัฒนากระบวนทัศนทาง ปรัชญาใหแกนักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียนรายวิชาปรัชญาเบื้องตน โดย การฝกปฏิบัติการเขียนบทความตามหัวขอที่กำหนด 2) เพื่อหาประสิทธิภาพของการฝกปฏิบัติการเขียนบทความตามหัวขอที่กำหนด โดย การเปรียบเทียบผลการทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน กลุมตัวอยาง ไดแก นักศึกษารายวิชาปรัชญาเบื้องตน ประจำภาคเรียนที่ 1 ปการ ศึกษา 2552 จำนวน 51 คน การเก็บรวบรวมขอมูลใชแบบทดสอบ กอนเรียน ระหวางเรียน และหลังเรียน การวิเคราะหขอมูลใชคะแนน รอยละความกาวหนา คาเฉลี่ย คาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบวา 1. รอยละคะแนนผลสัมฤทธิ์นักศึกษาที่พัฒนาขึ้นโดยการทำ วิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน คะแนนกอนเรียน x=35.49 คะแนน หลัง เรียน x=92.35 พบวามีคะแนนพัฒนาการเฉลี่ยรอยละ 89.47 2. กอนการเรียนนักศึกษามีคะแนนเฉลี่ยอยูในระดับปรับปรุง (x=1.77) และหลังเรียนมีคะแนนเฉลี่ยอยูในระดับดี (x=4.62) 3. นักศึกษาสวนมากรอยละ 82.35 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หลังเรียนอยูในระดับดีมาก รองลงมารอยละ 15.69 อยูในระดับดี และ อันดับสุดทายรอยละ 1.96 อยูในระดับพอใช คำสำคัญ :

1) การพัฒนากระบวนทัศน 2) กระบวนทัศนทางปรัชญา 3) การฝกปฏิบัติการเขียนบทความ 4) ปรัชญาเบื้องตน

ปที่ 2 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2010/2553 73


การพัฒนากระบวนทัศนทางปรัชญาโดยอาศัยการฝกปฏิบัติการเขยนบทความตามหัวขอที่กำหนด ในรายวชาปรัชญาเบื้องตน

Abstract This research has the following objectives : 1) to develop the philosophical paradigm in the students who enroll in the course of Introduction to Philosophy by training of article writing according to the assigned issues 2) to find out the efficiency of such training by comparing pre-study with the post-study test. The representative samples are 51 students enrolling in Introduction to Philosophy during the first semester of 2009. The information was collected from the testing along pre-study, during study and post-study. The percentage score on progress, mean and standard deviation were used for the information analysis. The research results show that:1. The percentage scores of the students pre-test and post-test are 35.49% and 92.35% respectively, and the mean improvement score is 89.47% 2. The mean score of pre-test score is at the level of “Improvement Need” (x=1.77) while as the mean score of post-test score is at “Good” level (x=4.62) 3. The overall evaluation of educational achievements on post-study is at the level of “Excellent” (82.35%), “Good” (15.69%) and “Fair” (1.96%) Keywords :

74 วารสารวชาการ วทยาลัยแสงธรรม

1) Paradigm Development 2) Philosophic Paradigm 3) Training of Article Writing 4) Introduction to Philosophy


วุฒิชัย อองนาวา

ความเปนมาและความสำคัญของปญหา การศึ ก ษารายวิ ช าปรั ช ญาเบื้ อ งต น เปนสวนหนึง่ ของการศึกษาตามหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาปรัชญาและศาสนา (Bachelor of Arts Program in Philosophy and Religion) วิทยาลัยแสงธรรม หลักสูตร ปรับปรุง พ.ศ. 2551 ซึง่ สภาวิทยาลัยแสงธรรม ไดอนุมตั หิ ลักสูตรดังกลาว ในวันที่ 29 มกราคม 2552 กำหนดวัตถุประสงคหลักสูตร คือ (1) เพื่ อ ผลิ ต บั ณ ฑิ ต ให มี คุ ณ ธรรม จริยธรรม เปนแบบอยางชีวิตคริสตชน เปนผู นำดานจิตวิญญาณและปญญา สามารถดำเนิน ชีวิตอยางมีคุณภาพ (2) เพื่อผลิตบัณฑิตใหใฝรู ใฝเรียน มีความรอบรูในกระบวนทัศนทางปรัชญาและ ศาสนา (3) เพื่ อ ผลิ ต บั ณ ฑิ ต ให มี ทั ก ษะการ คิ ด อย า งเป น ระบบสามารถใช เ หตุ ผ ลเพื่ อ วิเคราะห สังเคราะห วิพากษ และวิจารณ เปน การวางพื้นฐานเพื่อการศึกษา คนควา วิจัยที่ ลึกซึ้งตอไป (4) เพื่อผลิตบัณฑิตใหมีจิตสำนึกที่ จะทำนุบำรุง สืบทอด ศาสนา อนุรักษและ สงเสริมศิลปวัฒนธรรม และสภาพแวดลอม อยางเหมาะสมตามบริบทของสังคมไทย (สภา วิทยาลัยแสงธรรม, 2552)

นอกจากนั้น ในคำอธิบายรายวิชา ปรัชญาเบื้องตน คณะกรรมการปรับปรุงหลัก สูตรเห็นควรใหดำเนินตามคำอธิบายรายวิชา ตามหลักสูตรเดิม ไดแก หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาปรัชญาและศาสนา พ.ศ. 2547 ที่กำหนดคำอธิบายรายวิชาวา “ศึกษา การกำเนิดและพัฒนาการของปรัชญา ความ หมาย ความสำคัญ สาระและธรรมชาติของ ปรัชญา ชวงยุคตางๆ ของปรัชญา ความ สัมพันธระหวางเทววิทยาและปรัชญา การ แบงสาขาปรัชญาและสาระสังเขปของปรัชญา สาขาตางๆ (ทั้งปรัชญาตะวันตกและปรัชญา ตะวันออก)” (สภาวิทยาลัยแสงธรรม, 2552) ผูวิจัย ในฐานะเปนอาจารยผูสอนรายวิชาดัง กลาว ไดกำหนดวัตถุประสงคการศึกษาราย วิชา ดังนี้ เมือ่ ศึกษาวิชานีแ้ ลว นักศึกษาสามารถ (1) อธิบายความหมาย วิธีการ แนว ทางและอัตลักษณการศึกษาปรัชญาได (2) อธิ บ ายประเภทและสาขาของ ปรัชญาได (3) บอกกำเนิ ด และภาพรวมเกี่ ย ว กับพัฒนาการของแนวคิดทางปรัชญาตลอด จนช ว งยุ ค ต า งๆ ของปรั ช ญาตะวั น ตกและ ปรัชญาตะวันออกได (4) บอกความเชื่ อ มโยงและสาระ

ปที่ 2 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2010/2553 75


การพัฒนากระบวนทัศนทางปรัชญาโดยอาศัยการฝกปฏิบัติการเขยนบทความตามหัวขอที่กำหนด ในรายวชาปรัชญาเบื้องตน

สังเขปของปรัชญาลัทธิตางๆ ในการอธิบาย ความจริง (5) อธิบายความสัมพันธของปรัชญา กับวิทยาศาสตร ศาสนาและความเชือ่ คริสตชน ได (6) อธิ บ ายและได สั ม ผั ส คำศั พ ท สำคัญๆ ที่เกี่ยวของกับปรัชญา (7) ศึกษา คนควาเอกสารอางอิงทาง ปรัชญา อันเปนประโยชนตอ การศึกษาคนควา ในอนาคต (8) รูถ งึ หลักการทางปรัชญา สามารถ วิ เ คราะห ป ญ หาและมี แ นวทางในการตอบ ปญหาเชิงปรัชญาได รวมทั้งมีหลักการนำไป ประยุกตใชในชีวิตประจำวัน (9) บอกบริบทและภาพรวมการศึกษา ปรัชญาของวิทยาลัยแสงธรรม เพื่อเปนแนว ทางให นั ก ศึ ก ษาทำการศึ ก ษาปรั ช ญาอย า ง เปนระบบ มีความตอเนื่องและเปนบูรณาการ (วุฒิชัย อองนาวา, 2552) จึงเห็นไดวา การศึกษารายวิชาปรัชญา เบือ้ งตน เปนรายวิชาทีเ่ ปนพืน้ ฐานสูก ารศึกษา รายวิชาปรัชญาอืน่ ๆ ทีม่ กี ำหนดไวในหลักสูตร ดังกลาว ตามที่ วุฒิชัย อองนาวา (2552) ได เสนอความคิดในการวิจัยเรื่องอัตลักษณการ ศึกษาวิชาปรัชญา วิทยาลัยแสงธรรม วาการ ศึกษาวิชาปรัชญา เปนการศึกษาที่เนนพัฒนา

76 วารสารวชาการ วทยาลัยแสงธรรม

ผูเรียนใหเปน “ผูมีกระบวนทัศนทางปรัชญา” กลาวคือ มุง ใหผเู รียนเปดตนเองสูค วามจริงใน เรือ่ งคุณคา ความหมายและเปาหมาย (What/ Why to be) พยายามตั้งคำถามและตอบ ปญหาเกี่ยวกับภาวะที่มีอยูในฐานะที่มันเปน อยางที่มันเปน (ไมใชมุงสูความจริงในแบบที่ อยากใหเปน) (Artigas Mariano, 1990) ใน ฐานะที่ภาวะนั้นๆ มีคุณคาและความหมายใน ตัวเอง นำสูการจัดระบบและหลักการดำเนิน ชีวติ ทีต่ ระหนักถึงคุณคา ความหมายของสรรพ สิ่ง โดยเฉพาะตัวมนุษย อันเปนพื้นฐานสูการ สรางหลัก/แนวทางปรัชญาชีวิตของผูศึกษา ปรัชญา ผูว จิ ยั ไดรบั มอบหมายจากคณะกรรมการคณะมนุษยศาสตร ใหรับผิดชอบรายวิชา ปรัชญาเบื้องตน ตั้งแตปการศึกษา 2548 จวบ จนปจจุบัน ผูวิจัยไดจัดกิจกรรมการเรียนการ สอนโดยใชการบรรยาย อภิปราย และการ มอบหมายงานใหนักศึกษาฝกปฏิบัติการเขียน บทความตามหั ว ข อ ที่ ก ำหนด หลั ง จบการ เรียนการสอนในแตละบท เพือ่ พัฒนานักศึกษา ใหมีกระบวนทัศนทางปรัชญา อันเปนพื้นฐาน จำเปนตอการศึกษาวิชาปรัชญาอื่นๆ ตอไป จากการจั ด กิ จ กรรมการเรี ย นการ สอน นอกจากมีการบรรยาย อภิปราย นำเสนอ แนวคิดแลว ผูว จิ ยั ยังใหนกั ศึกษาฝกปฏิบตั กิ าร


วุฒิชัย อองนาวา

เขียนบทความตามหัวขอที่กำหนดในรายวิชา ปรัชญาเบื้องตน ซึ่งดำเนินกิจกรรมการเรียน การสอนในรู ป แบบนี้ ม าตั้ ง แต ป ก ารศึ ก ษา 2548 วิธีการสอนที่กลาวเปนวิธีการที่ยังไม เปนรูปแบบที่ชัดเจน และไมสามารถสรุปผล การเรียนไดแนนอน แตจากการสังเกตผูเรียน และสอบถามนักศึกษา พบวา กิจกรรมดัง กลาว ชวยพัฒนากระบวนทัศนทางปรัชญา ของนักศึกษามากยิ่งขึ้น จึงเห็นควรทำการ วิจยั ในชัน้ เรียนเพือ่ ตรวจสอบวา การฝกปฏิบตั ิ การเขี ย นบทความตามหั ว ข อ ที่ ก ำหนดใน รายวิชาปรัชญาเบื้องตน ชวยใหนักศึกษาที่ลง ทะเบียนเรียนในรายวิชาดังกลาว มีพฒ ั นาการ ดานกระบวนทัศนทางปรัชญามากขึ้นจริงหรือ ไม รวมทัง้ นำขอมูลทีไ่ ดรบั มาพัฒนากิจกรรม การเรียนการสอน เพื่อพัฒนากระบวนทัศน ทางปรัชญาแกนักศึกษาตอไป วัตถุประสงคการวิจัย 1. เพื่ อ พั ฒ นากระบวนทั ศ น ท าง ปรัชญาใหแกนักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียนราย วิชาปรัชญาเบื้องตน โดยการฝกปฏิบัติการ เขียนบทความตามหัวขอที่กำหนด 2. เพื่อหาประสิทธิภาพของการฝก ปฏิบัติการเขียนบทความตามหัวขอที่กำหนด

โดยการเปรียบเทียบผลการทดสอบกอนเรียน และหลังเรียน ขอบเขตการวิจัย ขอบเขตดานเนื้อหา กระบวนทัศนทางปรัชญา ไดแก การ นำเสนอความคิ ด อย า งเป น ระบบตามหลั ก เหตุผล เพื่อตอบปญหาเกี่ยวกับคุณคาและ ความหมายของภาวะที่มีอยู (Being) ดวยการ อธิ บ ายตามหั ว ข อ ที่ ผู ส อนมอบหมายให ท ำ ตามเวลาที่กำหนด ขอบเขตดานประชากร ศึกษาเฉพาะนักศึกษาที่ลงทะเบียน เรียนรายวิชาปรัชญาเบื้องตน หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาปรัชญาและศาสนา และคริ ส ตศาสนศึ ก ษา วิ ท ยาลั ย แสงธรรม ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2552 ขอบเขตดานตัวแปร 1. ตัวแปรอิสระ การฝกปฏิบัติการ เขียนบทความตามหัวขอที่กำหนด 2. ตั ว แปรตาม กระบวนทั ศ น ท าง ปรัชญาที่เพิ่มขึ้นหลังจากการฝกปฏิบัติการ เขียนบทความตามหัวขอที่กำหนด

ปที่ 2 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2010/2553 77


การพัฒนากระบวนทัศนทางปรัชญาโดยอาศัยการฝกปฏิบัติการเขยนบทความตามหัวขอที่กำหนด ในรายวชาปรัชญาเบื้องตน

นิยามศัพทเฉพาะ กระบวนทัศนทางปรัชญา หมายถึง การนำเสนอความคิดอยางเปนระบบ ตามหลัก เหตุผล เพื่ออธิบายคุณคา และความหมาย ของภาวะที่มีอยู ตามหัวขอที่ผูสอนรายวิชา ปรัชญาเบื้องตนมอบหมายใหทำตามเวลาที่ กำหนด การฝกปฏิบัติการเขียนบทความตาม หัวขอที่กำหนด หมายถึง หัวขอในรายวิชา ปรัชญาเบื้องตนที่ผูรับผิดชอบการเรียนการ สอนในรายวิชาปรัชญาเบื้องตน มอบหมายให นักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียนรายวิชาปรัชญา เบื้องตนจัดทำ และนำสงในเวลาที่กำหนด รายวิ ช าปรั ช ญาเบื้ อ งต น หมายถึ ง รายวิชาปรัชญาเบือ้ งตน ทีม่ กี ารเรียนการสอน ในวิทยาลัยแสงธรรม ภาคเรียนที่ 1 ปการ ศึกษา 2552

ปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน ใหมีประสิทธิภาพในรายวิชาปรัชญาเบื้องตน และรายวิชาปรัชญาอื่นๆ ยิ่งขึ้น 3) เปนขอมูลแกผูบริหารและคณาจารย สาขาวิชาปรัชญาและศาสนา วิทยาลัย แสงธรรม เพื่อจัดจัดระบบกิจกรรมการเรียน การสอนวิ ช าปรั ช ญา ให ส อดคล อ งกั บ อั ต ลั ก ษณ ก ารเรี ย นการสอนวิ ช าปรั ช ญาของ วิทยาลัยแสงธรรม

ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ ประโยชนดานการเรียนการสอน 1) มี แ นวทางและตั ว อย า ง ในการ พัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ที่ สงเสริมการพัฒนากระบวนทัศนทางปรัชญา ใหแกนักศึกษาในรายวิชาปรัชญาเบื้องตนและ รายวิชาที่เกี่ยวของกับวิชาปรัชญา 2) นำผลการวิจัยเปนแนวทางในการ

วิธีดำเนินการวิจัย งานวิจัยนี้เปนการวิจัยปฏิบัติการใน ชัน้ เรียน มีวตั ถุประสงคเพือ่ การพัฒนากระบวน ทัศนทางปรัชญา โดยการฝกปฏิบัติการเขียน บทความตามหัวขอทีก่ ำหนดในรายวิชาปรัชญา เบื้องตน ผลผลิตที่ไดจากการวิจัยครั้งนี้ คือ กระบวนทัศนทางปรัชญา ในการวิจัยครั้งนี้ ผู วิจัยนำเสนอวิธีดำเนินการแบงเปน 2 ขั้นตอน ดังนี้

78 วารสารวชาการ วทยาลัยแสงธรรม

ประโยชนดานการวิจัย งานวิจัยนี้ เปนจุดเริ่มตนสำหรับการ วิ จั ย การจั ด กิ จ กรรมการเรี ย นการสอนของ วิ ท ยาลั ย แสงธรรม โดยข อ มู ล ที่ ไ ด จ ากการ ศึกษานี้จะเปนพื้นฐานสวนหนึ่งสูการทำงาน วิจัยเพื่อพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนการ สอนของวิทยาลัยแสงธรรมยิ่งขึ้น


วุฒิชัย อองนาวา

ตอนที่ 1 สรางหัวขอฝกปฏิบัติการ เขียนบทความตามหัวขอที่กำหนดในรายวิชา ปรั ช ญาเบื้ อ งต น ผู วิ จั ย ได ค น คว า ข อ มู ล จาก บทความ หนังสือ รายงานการวิจัย ทั้งนี้เพื่อ นำมากำหนดเปนขั้นตอนและวิธีการจัดการ เรียนการสอน จากนัน้ ใหผเู ชีย่ วชาญตรวจสอบ ความถูกตองของเนื้อหา ตอนที่ 2 ศึกษารูปแบบการพัฒนา จากการจัดการเรียนการสอน เปนการดำเนิน การวิ จั ย เชิ ง ทดลองแบบแผนการวิ จั ย แบบ กลุม ทดลองกลุม เดียว วัดผลกอนและหลังการ ทดลอง (One-Group Pretest-Posttest Design) กำหนดรูปแบบการพัฒนากระบวน ทัศน ไดแก การนำเสนอหัวขอในภาพรวม การบรรยายและอภิปรายรวมกันในกลุม การ กำหนดหัวขอใหเขียนบทความ การนำเสนอ บทความและการวิพากษวิจารณในชั้น สรุปผลการวิจัย 1. รอยละคะแนนผลสัมฤทธิน์ กั ศึกษา ที่พัฒนาขึ้นโดยการทำวิจัยปฏิบัติการในชั้น เรียน คะแนนกอนเรียน x=35.49 คะแนน หลั ง เรี ย น x=92.35 และเมื่ อ พิ จ ารณาถึ ง คะแนนพั ฒ นาการตามสู ต รการหาคะแนน พัฒนาการของ ศิริชัย กาญจนวาสี (2544) พบวามีคะแนนพัฒนาการเฉลี่ยรอยละ 89.47

2. กอนการเรียนนักศึกษามีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนอยูในระดับปรับปรุง (x=1.77) และหลังเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนอยูใน ระดับดี (x=4.62) 3. นักศึกษาสวนมากรอยละ 82.35 มี ผ ลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย นหลั ง เรี ย นอยู ใ น ระดับดีมาก รองลงมารอยละ 15.69 อยูใน ระดับดี และอันดับสุดทายรอยละ 1.96 อยูใน ระดับพอใช อภิปรายผล การพัฒนากระบวนทัศนทางปรัชญา โดยอาศั ย การฝ ก ปฏิ บั ติ ก ารเขี ย นบทความ ตามหัวขอที่กำหนดในรายวิชาปรัชญาเบื้อง ตน ผูวิจัยไดดำเนินการอยางเปนขั้นตอนภาย ใตกรอบแนวคิด ทฤษฎีและผลงานการวิจัย ที่เกี่ยวของจนกระทั่งไดจัดการเรียนการสอน ตามกระบวนการดังกลาว โดยจัดการเรียน การสอนกับนักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียนราย วิชาปรัชญาเบื้องตน ในภาคเรียนที่ 1 ปการ ศึกษา 2552 ผลจากการทดลองพบวา นัก ศึ ก ษามี พั ฒ นาการด า นกระบวนทั ศ น ท าง ปรัชญามากขึ้น จึงกลาวไดวาการฝกปฏิบัติ การเขียนบทความตามหัวขอที่กำหนดในราย วิ ช าเบื้ อ งต น มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพทำให นั ก ศึ ก ษา สามารถพัฒนากระบวนทัศนทางปรัชญาได

ปที่ 2 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2010/2553 79


การพัฒนากระบวนทัศนทางปรัชญาโดยอาศัยการฝกปฏิบัติการเขยนบทความตามหัวขอที่กำหนด ในรายวชาปรัชญาเบื้องตน

เปนอยางดี นอกจากนี้จากการเก็บรวบรวม ข อ มู ล และวิ เ คราะห ข อ มู ล เกี่ ย วกั บ การฝ ก ปฏิบัติการพัฒนากระบวนทัศนทางปรัชญามี ความเป น ไปได ที่ จ ะใช พั ฒ นาคุ ณ ภาพการ เรียนการสอนในรายวิชาอืน่ ๆ ทีต่ อ งการพัฒนา กระบวนทัศนทางการเรียนการสอนในวิชาอืน่ ๆ ดวย ขอเสนอแนะ ขอเสนอแนะในการนำผลการวิจัยไปใช 1. นั ก ศึ ก ษาที่ ล งทะเบี ย นรายวิ ช า ปรัชญาเบื้องตน เปนนักศึกษาชั้นปที่ 1 ซึ่ง เพิ่ ง จะเริ่ ม ต น ชี วิ ต การศึ ก ษาในระดั บ อุ ด ม ศึกษา จึงยังไมมที กั ษะการเรียนการสอนระดับ อุดมศึกษา ที่จำเปนตองทักษะการศึกษาคน คว า ส ว นตั ว ภายใต ค ำแนะนำของอาจารย ผู สอน สงผลใหการพัฒนาการเรียนรูต อ งใชเวลา กับการวางพื้นฐานที่จำเปน เชน ทักษะการ คนควา ทักษะการเขียน การนำเสนอในรูป แบบตางๆ เปนตน 2. นักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียนราย วิชาปรัชญาเบื้องตน มีความแตกตางเกี่ยวกับ ทักษะพืน้ ฐานคอนขางมาก สงผลใหผวู จิ ยั ตอง กำหนดหัวขอใหนักศึกษาตอบ มีความหลาก หลายและมี หั ว ข อ ให เ ลื อ กตอบจำนวนมาก รวมทั้งตองมีการอธิบายหัวขอตางๆ สงผลให

80 วารสารวชาการ วทยาลัยแสงธรรม

เวลาในการตอบอาจลดนอยลงไปดวย 3. การที่ผูวิจัยมีเจตนาเลือกทำวิจัย สำหรับนักศึกษาที่เพิ่งเริ่มตนศึกษาระดับอุดม ศึกษา และเพิ่งเริ่มตนเรียนรายวิชาปรัชญา เปนครั้งแรก เพื่อศึกษาวิธีการเรียนการสอน ในขั้ น เริ่ ม ต น ที่ เ หมาะสมต อ การวางพื้ น ฐาน ในการศึกษาวิชาปรัชญาแกนักศึกษาดวยวิธี การทีห่ ลากหลาย รวมทัง้ การเปลีย่ นแปลงและ การประยุกตสถานการณตางๆ ในสังคมมา เปนสวนหนึง่ ในการนำเสนอเนือ้ หา การพัฒนา กระบวนทัศนทางปรัชญาอาศัยการฝกปฏิบัติ การเขียนบทความตามหัวขอที่กำหนดไมเปน เพียงรูปแบบเดียวที่ผูสอนนำเสนอ แตเปน สวนประกอบอันหนึ่ง ที่ควบคูกับการบรรยาย อภิปราย และวิธีการสอนอื่นๆ เพื่อพัฒนา กระบวนทัศนทางปรัชญาแกนักศึกษา จึงไม เหมาะสมที่จะกลาววา การพัฒนากระบวน ทัศนทางปรัชญาของนักศึกษามีมากขึ้น เพียง เพราะการฝกปฏิบัติการเขียนบทความตาม หัวขอที่กำหนดเทานั้น แตตองคำนึงถึงองค ประกอบอืน่ ๆ เพิม่ เติม ในวิธกี ารเรียนการสอน ที่เรียกรองใหมีความหลากหลายเพื่อพัฒนา กระบวนทัศนทางปรัชญาของนักศึกษา ขอเสนอแนะในการวิจัยครั้งตอไป 1. ควรมีการนำการวิจัยเพื่อพัฒนา


วุฒิชัย อองนาวา

กระบวนทัศนทางปรัชญา โดยอาศัยการฝก ปฏิบัติการเขียนบทความตามหัวขอที่กำหนด ในรายวิ ช าปรั ช ญาเบื้ อ งต น ไปทดลองใช กั บ เนื้ อ หาในรายวิ ช าอื่ น ๆ ที่ มี ธ รรมชาติ แ ละ ลักษณะของวิชาใกลเคียงกับวิชาปรัชญาเพื่อ ศึกษาถึงความเปนไปไดและผลลัพธที่เกิดขึ้น วามีความแตกตางจากผลการวิจัยครั้งนี้หรือ ไมอยางไร 2. ควรนำการฝกปฏิบัติการเขียนบท ความตามหัวขอที่กำหนดในรายวิชาปรัชญา เบื้องตนไปทดลองใชเพื่อศึกษาถึงผลของการ เขียนบทความตามหัวขอที่กำหนดที่มีผลตอ ตัวแปรอื่นๆ ซึ่งมีความสำคัญตอการพัฒนา กระบวนทัศนทางปรัชญาของนักศึกษา เชน ความสามารถในการสรุป ความสามารถใน การเชื่อมโยง ทักษะการคิด ฯลฯ 3. ควรขยายเวลาในการทดลองให มากขึ้นเพื่อตรวจสอบและเปรียบเทียบดูวา นักศึกษาที่เรียนตามการวิจัยเพื่อพัฒนากระ บวนทัศนทางปรัชญา โดยอาศัยการฝกปฏิบัติ การเขียนบทความตามหัวขอที่กำหนดในราย วิชาปรัชญาเบื้องตนจะมีการพัฒนากระบวน ทัศนทางปรัชญามากกวานักศึกษาที่เรียนตาม ปกติหรือไม หรือ ทดลองหารูปแบบการจัด กิ จ กรรมการเรี ย นการสอนในรู ป แบบอื่ น ๆ เพื่ อ ศึ ก ษาว า รู ป แบบนั้ น ๆ จะสามารถช ว ย

พั ฒ นาทั ก ษะการรู คิ ด ของนั ก ศึ ก ษาได ดี ขึ้ น หรือไม เอกสารอางอิง กีรติ บุญเจือ. 2522. สารานุกรมปรัชญา. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช. __________. 2541. ปรัชญาสำหรับผู เริ่มเรียน. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช. เกรียงศักดิ์ เจริญวงศักดิ์. 2551. เขียน ใหเปน. กรุงเทพฯ: สถาบันอนาคต การศึกษาเพื่อการพัฒนา. คณะกรรมการคณะมนุษยศาสตร. 2550. รายงานการประชุมคณะฯ ปการศึกษา 2548 – 2550. (เอกสารถายสำเนา). ราชบัณฑิตยสถาน. 2538. พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2525. กรุงเทพฯ: อักษรเจริญทัศน. วิทย วิศวเวทย. 2538. ปรัชญาทั่วไป. กรุงเทพฯ: อักษรเจริญทัศน. วุฒิชัย อองนาวา, บาทหลวง. 2552. ปรัชญาเบื้องตน. นครปฐม: ศูนยสงเสริมและพัฒนางานวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม.

ปที่ 2 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2010/2553 81


การพัฒนากระบวนทัศนทางปรัชญาโดยอาศัยการฝกปฏิบัติการเขยนบทความตามหัวขอที่กำหนด ในรายวชาปรัชญาเบื้องตน

วุฒิชัย อองนาวา, บาทหลวง และคณะ. 2552.รายงานการวิจัยเรื่อง อัตลักษณการศึกษาวิชาปรัชญา วิทยาลัยแสงธรรม. นครปฐม: วิทยาลัยแสงธรรม. สมัคร บุราวาศ. 2544. วิชาปรัชญา. กรุงเทพฯ: ศยาม. สุนทร ณ รังษี. 2537. ปรัชญาอินเดีย : ประวัติและลัทธิ. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. สนั่น ไชยานุกูล. 2519. ปรัชญาอินเดีย. กรุงเทพฯ : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. สำนักอธิการบดี. 2550. คูมือการศึกษา วิทยาลัยแสงธรรม. นครปฐม: วิทยาลัยแสงธรรม. ออกัสติน สุกีโย ปโตโย, บาทหลวง ดร. และคณะ. 2551. รายงานการวิจัย เรื่องการประเมินหลักสูตร ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาปรัชญาและศาสนา วิทยาลัยแสงธรรม. นครปฐม: วิทยาลัยแสงธรรม. เอกชัย ชิณโครต, บาทหลวง ดร. 2551. การศึกษาคาทอลิก. นครปฐม: วิทยาลัยแสงธรรม.

82 วารสารวชาการ วทยาลัยแสงธรรม

อิมรอน มะลูลีม. 2539. ปรัชญาอิสลาม. กรุงเทพฯ: อิสลามิคอะเคเดมี. Fredrich Copleston. 1964. A History of Philosophy. New York: Image Books. Hick, John. 1974. Faith and Knowledge. Collins: Fantana Books. John Paul 2. Pope. 1998. Fides et Ratio. Pasy City: Paulines Publishing House. Mariano Artigas. 1990. Introduction to Philosophy. Manila: Sing-Tala Publishers. Robert Paul Wolff. 1992. About Philosophy. New Jersey: Prentice Hall. Samuel Enoch Stumpf. 1989. Philosophy : history & problems. Singapore: McGraw-Hill. William A. Wallace, O.P. 1977. The Elements of Philosophy. New York: Alba House.


วุฒิชัย อองนาวา

การสัมภาษณ แลกเปลี่ยนความคิดกับผูทรง คุณวุฒิ บาทหลวง ดร. วีรศักดิ์ วนาโรจนสุวิช. (ม.ค. – ธ.ค. 2551) หองรับรองคณาจารย วิทยาลัยแสงธรรม. บาทหลวง ดร. ชาติชาย พงษศิริ. (พ.ย. – ก.พ. 2552) หองรับรองคณาจารย วิทยาลัยแสงธรรม. บาทหลวงยัง มารี ดังโตแนล. (พ.ย. – ก.พ. 2552) หองรับรองคณาจารย วิทยาลัยแสงธรรม.

บาทหลวงสุรชาติ แกวเสนีย. (พ.ย. – ก.พ. 2552) หองรับรองคณาจารย วิทยาลัยแสงธรรม. ศ. กีรติ บุญเจือ. (4 เม.ย. 2551) หองประชุม 1 สำนักอธิการบดี วิทยาลัยแสงธรรม ศ. ปรีชา ชางขวัญยืน. (4 ก.พ. 2551) หอสมุด วิทยาลัยแสงธรรม (28 พ.ค. 2551) หองประชุม 1 วิทยาลัยแสงธรรม.

ปที่ 2 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2010/2553 83


การสำรวจความตองการของชุมชนคาทอลิก

การสำรวจความตองการของชุมชนคาทอลิกเพื่อวางแผนผลิตบัณฑิตวทยาลัยแสงธรรม

เพื่อวางแผนผลิตบัณฑิตวิทยาลัยแสงธรรม

The Survey of Requirement of

Catholic Communities for Production Planning of Saengtham College’s Graduates

บาทหลวงวุฒิชัย อองนาวา * รองอธิการบดีฝายวิชาการ และผูอำนวย การศูนยวิจัยคนควาศาสนาและวัฒนธรรม วิทยาลัยแสงธรรม

Rev.Wuttichai Ongnawa * Vice President for Acabemic Affairs and Director of Religiousand Cultural Research * E-mail : Franciswut@gmail.com

บาทหลวง ดร.ออกัสติน สุกีโย ปโตโย, S.J. * คณบดีคณะมนุษยศาสตร วิทยาลัยแสงธรรม

Rev.Dr.Agustinus Sugiyo Pitoyo * Dean of the Faculty of Humanities, Saengtham College.

บาทหลวงวิรัช นารินรักษ * คณบดีคณะศาสนศาสตร วิทยาลัยแสงธรรม

Rev.Wirat Narinrak * Dean of the faculty of Religious, Saengtham College.

บาทหลวงเจริญ วองประชานุกูล * หัวหนาสาขาวิชาคริสตศาสนศึกษา วิทยาลัยแสงธรรม ภักดี กฤดิกรัณย ทิพยา แสงไชย ลัดดาวรรณ ประสูตรแสงจันทร ทิพอนงค รัชนีลัดดาจิต ปนัดดา ชัยพระคุณ จิตรา กิจเจริญ ลลิตา กิจประมวล

84

วารสารวชาการ วทยาลัยแสงธรรม

Rev.Charoen Vongprachanukul * Head of Department of Christion Studies, Saengtham College. Pakdi Grifigran Tipaya Seangchai Laddawan Prasootsaengchan Thip-anong Ratchaneelatdachit Panadda Chaiprakhun Chittra Kitcharoen Lalita Kitpramaun


วุฒิชัย อองนาวา และคณะ

บทคัดยอ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อ 1) ศึกษาความคิดเห็นของ ชุ ม ชนที่ มี ต อ การผลิ ต นั ก ศึ ก ษาแสงธรรมในด า นคุ ณ ลั ก ษณะที่ พึ ง ประสงค 2) ศึกษาความคิดเห็นของชุมชนเกี่ยวกับคุณลักษณะที่เปน จริงของนักศึกษาแสงธรรมในปจจุบัน กลุมผูใหขอมูลในการวิจัยครั้งนี้ เปนชุมชนคาทอลิกจำนวน 290 คน แยกเปน 2 กลุม คือ บุคคล จากหนวยงานภายนอกและบุคคลจากหนวยงานภายใน เก็บรวบรวม ขอมูลใชแบบสอบถาม การวิเคราะหขอมูลใชคาความถี่ รอยละ คา เฉลี่ย คาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ขอมูลเชิงคุณภาพใชการวิเคราะห เนื้อหา (Content Analysis) ผลการวิจัยพบวา 1. ขอมูลคุณลักษณะที่พึงประสงคในดานความเปนเลิศดาน คุณธรรม ความคิดเห็นของชุมชนที่มีตอการผลิตนักศึกษาแสงธรรม เกี่ยวกับคุณลักษณะที่พึงประสงคในดานความเปนเลิศดานคุณธรรม โดยรวมทัง้ 5 ดานอยูใ นระดับมากทีส่ ดุ (x=4.69) เมือ่ พิจารณาคะแนน เฉลี่ยเปนรายดาน พบวา คุณลักษณะดานมีความเสียสละและอุทิศ ตนเพื่อสวนรวม (x=4.84) มีคะแนนเฉลี่ยมากที่สุด รองๆ ลงมา ไดแก คุณลักษณะดานมีความรับผิดชอบ (x=4.74) สามารถทำงานรวมกัน ผูอื่นได (x=4.69) มีมนุษยสัมพันธที่ดี (x=4.65) และการตระหนัก ถึงสิทธิหนาที่ในฐานะพลเมืองดีของชาติ (x=4.57) มีคะแนนเฉลี่ยนอย ที่สุด 2. ขอมูลคุณลักษณะที่พึงประสงคในดานความเปนเลิศดาน ความรู ความคิดเห็นของชุมชนที่มีตอการผลิตนักศึกษาแสงธรรม เกี่ ย วกั บ คุ ณ ลั ก ษณะที่ พึง ประสงค ใ นด า นความเป น เลิ ศ ด า นความรู โดยรวมทั้ง 6 ดานอยูในระดับมาก (x=4.38) เมื่อพิจารณาคะแนน

ปที่ 2 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2010/2553 85


การสำรวจความตองการของชุมชนคาทอลิกเพื่อวางแผนผลิตบัณฑิตวทยาลัยแสงธรรม

เฉลี่ยเปนรายดาน พบวา คุณลักษณะการศึกษาอบรมในบรรยากาศที่ เสริมสรางคุณธรรมความรู (x=4.59) มีคะแนนเฉลี่ยมากที่สุด รองๆ ลงมา ไดแก มีการเสวนาระหวางศาสนา วัฒนธรรมและประเพณี ทองถิน่ (x=4.48) สามารถเชื่อมโยงความรูกับภูมิปญญาทองถิ่นสูการ ปฏิบัติจริง (x=4.44) เปนบุคคลแหงการเรียนรูอาศัยการไตรตรอง และสรางองคความรูใหมอยางสม่ำเสมอ (x=4.44) เปนผูสรางองค ความรูอยางสม่ำเสมอ (x=4.23) และเปนผูนำทางดานวิชาการและ งานวิจัย (x=4.14) มีคะแนนเฉลี่ยนอยที่สุด 3. ขอมูลคุณลักษณะที่พึงประสงคในดานความเปนเลิศดาน การอุ ทิ ศ ตนเพื่ อ ส ว นรวม ความคิ ด เห็ น ของชุ ม ชนที่ มี ต อ การผลิ ต นั ก ศึ ก ษาแสงธรรมเกี่ ย วกั บ คุ ณ ลั ก ษณะที่ พึ ง ประสงค ใ นด า นความ เปนเลิศดานการอุทิศตนเพื่อสวนรวม โดยรวมทั้ง 6 ดานอยูในระดับ มาก (x =4.45) เมื่ อ พิ จ ารณาคะแนนเฉลี่ ย เป น รายด า น พบว า คุณลักษณะดาน การพัฒนาชุมชนทองถิ่นโดยเฉพาะดานคุณธรรม จริยธรรม (x=4.73) มีคะแนนเฉลี่ยมากที่สุด รองๆ ลงมา ไดแก การทำนุบำรุงศาสนา และศิลปวัฒนธรรม (x=4.59) เปนผูน ำดานงาน บริการสังคมที่มีประสิทธิ ภาพ (x=4.55) การจัดกิจกรรมบำเพ็ญ ประโยชน (x=4.51) อนุรกั ษและเสริมสรางสิง่ แวดลอม (x=4.44) และ การมี ส ว นร ว มกั บ สถาบั น ต า งๆ เพื่ อ พั ฒ นาตนเป น บั ณ ฑิ ต คุ ณ ภาพ (x=3.90) มีคะแนนเฉลี่ยนอยที่สุด 4. ขอมูลคุณลักษณะที่เปนจริงในดานความเปนเลิศดาน คุณธรรม ความคิดเห็นของชุมชนที่มีตอการผลิตนักศึกษาแสงธรรม เกี่ยวกับคุณลักษณะที่เปนจริงในดานความเปนเลิศดานคุณธรรมโดย รวมทั้ง 5 ดาน อยูในระดับมาก (x=3.63) เมื่อพิจารณาคะแนนเฉลี่ย เปนรายดาน พบวา คุณลักษณะดานตระหนักถึงสิทธิหนาที่ในฐานะ พลเมืองดีของชาติ (x=3.74) มีคะแนนเฉลี่ยมากที่สุด รองๆ ลงมา

86

วารสารวชาการ วทยาลัยแสงธรรม


วุฒิชัย อองนาวา และคณะ

ไดแก คุณลักษณะดานมีความรับผิดชอบ x=3.68) มีมนุษยสัมพันธที่ดี (x=3.68) มีความเสียสละและอุทิศตนเพื่อสวนรวม (x=3.61) และ คุณลักษณะดานการสามารถทำงานรวมกับผูอื่นได (x=3.44) มีคะแนน เฉลี่ยนอยที่สุด 5. ขอมูลคุณลักษณะที่เปนจริงในดานความเปนเลิศดาน ความรู ความคิดเห็นของชุมชนที่มีต อการผลิตนักศึกษาแสงธรรม เกี่ยวกับคุณลักษณะที่เปนจริงในดานความเปนเลิศดานความรูโดย รวมทั้ง 6 ดานอยูในระดับปานกลาง (x=2.97) เมื่อพิจารณาคะแนน เฉลี่ยเปนรายดาน พบวา คุณลักษณะการศึกษาอบรมในบรรยากาศที่ เสริมสรางคุณธรรมความรู (x=3.48) มีคะแนนเฉลี่ยมากที่สุด รองๆ ลงมา ไดแก สามารถเชื่อมโยงความรูกับภูมิปญญาทองถิ่นสูการปฏิบัติ จริง (x=3.03) มีการเสวนาระหวางศาสนา วัฒนธรรมและประเพณี ทองถิ่น (x=3.01) เปนบุคคลแหงการเรียนรูอาศัยการไตรตรองและ สรางองคความรูใ หมอยางสม่ำเสมอ (x=2.91) เปนผูน ำทางดานวิชาการ และงานวิจัย (x=2.71) และเปนผูสรางองคความรูใหมอยางสม่ำเสมอ (x=2.68) มีคะแนนเฉลี่ยนอยที่สุด 6. ขอมูลคุณลักษณะที่เปนจริงในดานความเปนเลิศดาน การอุ ทิ ศ ตนเพื่ อ ส ว นรวม ความคิ ด เห็ น ของชุ ม ชนที่ มี ต อ การผลิ ต นักศึกษาแสงธรรมเกี่ยวกับคุณลักษณะที่เปนจริงในดานความเปนเลิศ ดานการอุทิศตนเพื่อสวนรวม โดยรวมทั้ง 6 ดานอยูในระดับปานกลาง (x=3.43) เมื่อพิจารณาคะแนนเฉลี่ยเปนรายดาน พบวา คุณลักษณะ ด า นการพั ฒ นาชุ ม ชนท อ งถิ่ น โดยเฉพาะด า นคุ ณ ธรรมจริ ย ธรรม (x=3.60) มีคะแนนเฉลี่ยมากที่สุด รองๆ ลงมา ไดแก การทำนุบำรุง ศาสนา และศิลปวัฒนธรรม (x=3.58) การจัดกิจกรรมบำเพ็ญประโยชน (x=3.44) เปนผูนำดานงานบริการสังคมที่มีประสิทธิภาพ (x=3.39) อนุรักษและเสริมสรางสิ่งแวดลอม (x=4.44) และการมีสวนรวมกับ

ปที่ 2 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2010/2553 87


การสำรวจความตองการของชุมชนคาทอลิกเพื่อวางแผนผลิตบัณฑิตวทยาลัยแสงธรรม

สถาบันตางๆ เพื่อพัฒนาตนเปนบัณฑิตคุณภาพ (x=3.25) มีคะแนน เฉลี่ยนอยที่สุด คำสำคัญ :

1) ชุมชนคาทอลิก 3) การผลิตบัณฑิต

2) บัณฑิตแสงธรรม 4) การสำรวจความตองการ

Abstract This research has the objectives as follows 1) To study the opinions of Catholic communities on production plannin of Saengtham College’s graduates with desirable characteristics. 2) To study the opinions of communities about the actual characteristics of Saengtham College’s present students. The representative samples are 290 Catholics in the communities that are internal and external persons. The information collection was made by the questionnaire distribution. The frequency, percentage, mean and standard deviation were used for the information analysis. Furthermore, the qualitative information was made by content analysis. The research results are found that 1. The desirable characteristics of excellence in virtue : The opinions of communities on production of Saengtham College’s graduates with desirable characteristics of excellence in virtue, have overall of 5 aspects that are in highest level (x=4.69) When considered as

88

วารสารวชาการ วทยาลัยแสงธรรม


วุฒิชัย อองนาวา และคณะ

the aspect with ranking mean scores as follows; characteristic of self-sacrifice (x=4.84), responsibility (x=4.74), teamwork (x=4.69), good interpersonal relation (x=4.65) and consciousness on rights of good citizen (x=4.57) respectively. 2. The desirable characteristics of excellence in knowledge : The opinions of communities on production of Saengtham College’s graduates with desirable characteristics of excellence in knowledge, have overall of 6 aspects that are in high level (x=4.38) When considered as the aspect with ranking mean scores as follows; having educational atmosphere of virtueal contribution (x=4.59), having the dialogue of inter-religion/culture/local tradition (x=4.48), being able to link between the knowledges and folk wisdoms into practical actions (x=4.44), being the person who always learns contemplatively and builds the new knowledges (x=4.44), being the person who always builds the knowledges (x=4.23), and being the leader of academic/research works (x=4.14) respectively. 3. The desirable characteristics of excellence in self-sacrifice : The opinions of communities on production of Saengtham College’s graduates with desirable characteristics of excellence in self-sacrifice, have overall of 6 aspects that are in high level (x=4.45) When considered as the aspect with ranking mean scores as

ปที่ 2 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2010/2553 89


การสำรวจความตองการของชุมชนคาทอลิกเพื่อวางแผนผลิตบัณฑิตวทยาลัยแสงธรรม

follows; The development of local communities with the ethics (x=4.73), The preservation of religion/art and culture (x=4.59), The leader of efficient social services (x=4.55), The management of benevolent activities (x= 4.51), The preservation and promotion of environment (x=4.44), and the association with other institutes to develop the quality of graduates (x=3.90) respectively. 4. The actual characteristics of excellence in virtue : The opinions of communities on production of Saengtham College’s students with actual characteristics of excellence in virtue, have overall of 5 aspects that are in high level (x=3.63) When considered as the aspect with ranking mean scores as follows; characteristic of consciousness on rights of good citizen (x=3.74), responsibility (x=3.68), good interpersonal relation (x=3.68), self-sacrifice (x=3.61), and teamwork (x=3.44) respectively. 5. The actual characteristics of excellence in knowledge : The opinions of communities on production of Saengtham College’s students with actual characteristics of excellence in knowledge, have overall of 6 aspects that are in moderate level (x=2.97) When considered as the aspect with ranking mean scores as follows; having educational atmosphere of virtueal contribution (x=3.48), being able to link between the knowledges and folk wisdoms into practical actions (x=3.03), having the dialogues of inter-religion/culture/local tradition

90

วารสารวชาการ วทยาลัยแสงธรรม


วุฒิชัย อองนาวา และคณะ

(x=3.01), being the person who always learns contemplatively and builds the new knowledges (x=2.91), being the leader of academic/research works (x=2.71), and being the person who always builds the knowledges (x=2.68) respectively. 6. The actual characteristics of excellence in self-sacrifice : The opinions of communities on production of Saengtham College’s students with actual characteristics of excellence in self-sacrifice, have overall of 6 aspects that are in moderatelevel (x=3.43) When considered as the aspect with ranking mean scores as follows; The development of local communities with the ethics (x=3.60), The preservation of religion/art and culture (x=3.58), The management of benevolent activities (x=3.44), The leader of efficient social services (x=3.39), The preservation and promotion of environment (x=4.44) and the association with other institutes to develop the quality of graduate (x=3.25) respectively. Keywords :

1) Catholic Community 2) Saengtham College’s Graduates 3) Production of Graduates 4) Survey of Requirement

ปที่ 2 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2010/2553 91


การสำรวจความตองการของชุมชนคาทอลิกเพื่อวางแผนผลิตบัณฑิตวทยาลัยแสงธรรม

ความเปนมาและความสำคัญของปญหา ปจจุบันสังคมโลกมีการเปลี่ยนแปลง มากขึ้นและเปนไปอยางรวดเร็ว ในสังคมยุค โลกาภิ วัต น ห รื อ ที่เรี ย กว า สั ง คมไร พ รมแดน ความเจริญทางดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ไ ด มี บ ทบาทต อ สั ง คมโลกสู ง มากและ โดยเฉพาะสังคมไทย การพัฒนาทรัพยากร มนุษยจึงมีความสำคัญอยางยิ่ง การจัดการ ศึก ษาของชาติจึ ง มีค วามจำเปน อยา งมากที่ จะตองใหผูเรียนทุกคนเปนมนุษยที่สมบูรณ ในดานรางกาย อารมณ สังคมและสติปญญา หรื อ ให เขาเหล า นั้ น มี คุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ ง ประสงค ที่ ค วรจะเป น ไปตามนโยบาย จุ ด มุงหมาย หลักการ ตามพระราชบัญญัติการ ศึกษาแหงชาติ พุทธศักราช 2542 มาตรา 6 ที่กลาววา การจัดการศึกษาตองเปนไปเพื่อ พัฒนาคนไทยใหเปนมนุษยที่สมบูรณทั้งทาง รางกาย จิตใจ สติปญญา ความรูและคุณธรรม มี จ ริ ย ธรรมและวั ฒ นธรรมในการดำรงชี วิ ต สามารถอยู ร ว มกั บ ผู อื่ น ได อ ย า งมี ค วามสุ ข (พระราชบัญญัตกิ ารศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 และที่แกไขเพิ่มเติม 2545) นอกจากนี้การจัดการศึกษาของชาติ จำเปนอยางยิง่ ทีจ่ ะตองพัฒนาทรัพยากรมนุษย ซึ่งเปนทรัพยากรสำคัญในกาพัฒนาประเทศ ไมวาจะเปนประเทศที่เจริญแลวหรือประเทศ

92

วารสารวชาการ วทยาลัยแสงธรรม

ที่ ก ำลั ง พั ฒ นาก็ ต าม การจั ด การศึ ก ษาต อ ง พัฒนาไปพรอมกับคุณธรรม จริยธรรมของคน ในสั ง คมของชาติ ซึ่ ง เป น ไปตามรั ฐ ธรรมนู ญ แห ง ราชอาณาจั ก รไทยพุ ท ธศั ก ราช 2540 ที่ระบุวา รัฐจะตองจัดการศึกษาอบรมใหเกิด ความรูคูคุณธรรม จัดใหมีกฎหมายเกี่ยวกับ การศึ ก ษาแห ง ชาติ ปรั บ ปรุ ง การศึ ก ษาให สอดคลองกับการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ และสังคม (มาโนช เงาภูทอง, 2548) จากพระราชบั ญ ญั ติ ก ารศึ ก ษาแห ง ชาติ พุทธศักราช 2542 และที่แกไขเพิ่มเติม 2545 และรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 ไดบง บอกคุณลักษณะของ การพัฒนาคนในชาติไวอยางเดนชัด นั่นหมาย ถึง การพัฒนาผูเรียนทุกคนใหมีคุณลักษณะ อันพึงประสงคที่ทุกคนจะสามารถอยูรวมกัน อยางมีความสุขในสังคมไดนั่นเอง เมื่อพิจารณาคุณลักษณะของบัณฑิต แสงธรรม จากนโยบายการจัดการศึกษาของ วิทยาลัยแสงธรรม พบวา วิทยาลัยแสงธรรม เนนการพัฒนาบัณฑิตใหมีคุณลักษณะดังตอ ไปนี้ 1 คุ ณ ลั ก ษณะความเป น เลิ ศ ด า น คุณธรรม 1.1. การตระหนักถึงสิทธิหนาที่ ในฐานะพลเมืองดี


วุฒิชัย อองนาวา และคณะ

1.2 มีความรับผิดชอบ 1.3 มีความเสียสละและอุทิศตน เพื่อสวนรวม 1.4 มีมนุษยสัมพันธที่ดี 1.5 สามารถทำงานรวมกับผูอื่น ได 2. คุ ณ ลั ก ษณะความเป น เลิ ศ ด า น ความรู 2.1 สามารถเชื่อมโยงความรูกับ ภูมิปญญาทองถิ่นสูการปฏิบัติจริง 2.2 เป น บุ ค คลแห ง การเรี ย นรู อาศัยการไตรตรองและสรางองคความรูใหม อยางสม่ำเสมอ 2.3 ศึกษาอบรมในบรรยากาศที่ เสริมสรางคุณธรรมความรู 2.4 มีการเสวนาระหวางศาสนา วัฒนธรรมและประเพณีทองถิ่น 2.5 เป น ผูส ร า งองค ค วามรูใ หม อยางสม่ำเสมอ 3. คุ ณ ลั ก ษณะความเป น เลิ ศ ด า น การอุทิศตนเพื่อสวนรวม 3.1 มี ส ว นร ว มกั บ สถาบั น ต า งๆ เพื่อพัฒนาตนเองเปนบัณฑิตคุณภาพ 3.2 ทำนุบำรุงศาสนาและศิลปวัฒธรรม 3.3 พั ฒ นาชุ ม ชนท อ งถิ่ น โดย

เฉพาะดานคุณธรรมจริยธรรม 3.4 อนุ รั ก ษ แ ละเสริ ม สร า งสิ่ ง แวดลอม 3.5 จั ด กิ จ กรรมบำเพ็ ญ ประโยชน 3.6 เป น ผู น ำด า นงานบริ ก าร สั ง คมที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ วิ ท ยาลั ย แสงธรรม เปนสถาบันอุดมศึกษาเอกชนในประเทศไทย โดยมี ก ารบริ ห ารหลั ก สู ต รสอดคล อ งกั บ รูปแบบประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง หลักเกณฑมาตรฐานหลักสูตรระดับปริญญา ตรี และแนวทางจากสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาแหงชาติ (สกอ.) อยางไร ก็ ต าม วิ ท ยาลั ย แสงธรรมเป น สถาบั น อุ ด ม ศึ ก ษาที่ มี ลั ก ษณะเฉพาะ คื อ การอบรมผู เตรียมตัวเปนบาทหลวงของคริสตศาสนจักร เปนหนวยงาน ซึ่งอยูในความรับผิดชอบของ คริสตศาสนจักรคาทอลิก (วุฒิชัย อองนาวา และคณะ, 2551) จากวั ต ถุ ป ระสงค ใ นการจั ด ตั้ ง วิ ท ยาลั ย แสงธรรมดั ง กล า วส ง ผลให สั ง คม ยอมรับวา วิทยาลัยแสงธรรมเปนสถาบันที่มี คุ ณ ภาพแห ง หนึ่ ง เมื่ อ วิ ท ยาลั ย ได รั บ ความ สนใจจากสังคม คณะผูวิจัยในฐานะอาจารย ผูสอนที่มีความสนใจเรื่องการผลิตนักศึกษา ให มี คุ ณ ลั ก ษณะที่ พึ ง ประสงค จึ ง ได ศึ ก ษา

ปที่ 2 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2010/2553 93


การสำรวจความตองการของชุมชนคาทอลิกเพื่อวางแผนผลิตบัณฑิตวทยาลัยแสงธรรม

และเปรี ย บเที ย บคุ ณ ลั ก ษณะที่ เ ป น จริ ง และคุ ณ ลั ก ษณะที่ พึ ง ประสงคของนักศึกษา แสงธรรม วามีคณ ุ ลักษณะสอดคลองหรือแตก ตางกับนโยบาย มาตรฐานการจัดการศึกษา ของวิทยาลัยแสงธรรมในดานคุณลักษณะของ บัณฑิต ดังนัน้ คณะผูว จิ ยั จึงไดศกึ ษาวิจยั เรือ่ ง นี้ โดยมุ ง ศึ ก ษาคุ ณ ลั ก ษณะที่ เ ป น จริ ง และ คุณลักษณะที่พึงประสงคตามมาตรฐานการ จั ด การศึ ก ษาของวิท ยาลัย แสงธรรม ซึ่ง ผล ที่ ไ ด จ ากการศึ ก ษาครั้ ง นี้ จ ะเป น ประโยชน ต อ วิ ท ยาลั ย ในการกำหนดคุ ณ ลั ก ษณะที่ พึ ง ประสงคของบัณฑิตแสงธรรมในอนาคต รวม ถึงเปนแนวทางในการปรับปรุงหลักสูตรการ จัดการเรียนการสอน การอบรม และการจัด กิจกรรมเสริมในดานอื่นๆ ตอไป วัตถุประสงคการวิจัย 1. เพื่อศึกษาความคิดเห็นของชุมชน ที่มีตอการผลิตนักศึกษาแสงธรรมในดานคุณลักษณะที่พึงประสงค 2. เพื่อศึกษาความคิดเห็นของชุมชน เกี่ยวกับคุณลักษณะที่เปนจริงของนักศึกษา แสงธรรมในปจจุบัน

94

วารสารวชาการ วทยาลัยแสงธรรม

ขอบเขตการวิจัย การวิ จั ย นี้ เ ป น การวิ จั ย เชิ ง ปริ ม าณ ระเบียบวิธีการวิจัยเชิงสำรวจเพื่อศึกษาความ คิ ด เห็ น ของชุ ม ชนคาทอลิ ก ที่ มี ต อ การผลิ ต นั ก ศึ ก ษาแสงธรรมในด า นคุ ณ ลั ก ษณะที่ พึ ง ประสงคและคุณลักษณะที่เปนจริง ขอมูลที่ได จะเป น แนวทางพั ฒ นาคุ ณ ลั ก ษณะของ นักศึกษาแสงธรรมในอนาคต ขอบเขตดานเนื้อหา การวิจัยนี้มุงศึกษาความคิดเห็นของ ชุ ม ชนคาทอลิ ก ที่ มี ต อ การผลิ ต นั ก ศึ ก ษาใน ดานคุณลักษณะของบัณฑิตวิทยาลัยแสงธรรม โดยมีประเด็นศึกษาเกี่ยวกับคุณลักษณะของ บั ณ ฑิ ต วิ ท ยาลั ย แสงธรรมซึ่ ง สามารถแยก เปนหัวขอศึกษาในดานตางๆ ไดดังนี้ 1. คุ ณ ลั ก ษณะความเป น เลิ ศ ด า น คุณธรรม 1.1 การตระหนั ก ถึ ง สิ ท ธิ ห น า ที่ ในฐานะพลเมืองดี 1.2 มีความรับผิดชอบ 1.3 มี ค วามเสี ย สละและอุ ทิ ศ ตนเพื่อสวนรวม 1.4 มีมนุษยสัมพันธที่ดี 1.5 สามารถทำงานรวมกับผูอื่น ได


วุฒิชัย อองนาวา และคณะ

2. คุ ณ ลั ก ษณะความเป น เลิ ศ ด า น

สังคมที่มีประสิทธิภาพ

ความรู 2.1 สามารถเชื่อมโยงความรูกับ ภูมปิ ญญาทองถิ่นสูการปฏิบัติจริง 2.2 เป น บุ ค คลแห ง การเรี ย นรู อาศัยการไตรตรองและสรางองคความรูใหม อยางสม่ำเสมอ 2.3 ศึ ก ษาอบรมในบรรยากาศ ที่เสริมสรางคุณธรรมความรู 2.4 มีการเสวนาระหวางศาสนา วัฒนธรรมและประเพณีทองถิ่น 2.5 เป น ผู ส ร า งองค ค วามรู ใ หม อยางสม่ำเสมอ 3. คุ ณ ลั ก ษณะความเป น เลิ ศ ด า น การอุทิศตนเพื่อสวนรวม 3.1 มี สว นร ว มกั บ สถาบั น ต า งๆ เพือ่ พัฒนาตนเองเปนบัณฑิตคุณภาพ 3.2 ทำนุ บ ำรุ ง ศาสนาและศิ ล ป วัฒนธรรม 3.3 พั ฒ นาชุ ม ชนท อ งถิ่ น โดย เฉพาะดานคุณธรรมจริยธรรม 3.4 อนุ รั ก ษ แ ละเสริ ม สร า งสิ่ ง แวดลอม 3.5 จั ด กิ จ กรรมบำเพ็ ญ ประโยชน 3.6 เป น ผู น ำด า นงานบริ ก าร

ขอบเขตดานประชากร ประชากรที่ใชในการวิจัยครั้งนี้เปน ชุมชนคาทอลิกซึ่งสามารถแยกเปน 2 กลุมตาม ลักษณะความเกี่ยวของกับการปฏิบัติงานของ วิทยาลัยแสงธรรมประกอบดวย 1. บุ ค คลจากหน ว ยงานภายนอก วิทยาลัย ไดแก คริสตชนคาทอลิกในประเทศ ไทยทั้ง 10 สังฆมณฑล ประกอบดวย อัครสั ง ฆมณฑลกรุ ง เทพฯ สั ง ฆมณฑลจั น ทบุ รี อัครสังฆมณฑลทาแร-หนองแสง สังฆมณฑล เชี ย งใหม สั ง ฆมณฑลอุ บ ลราชธานี สั ง ฆมณฑลอุดรธานี สังฆมณฑลนครสวรรค สังฆมณฑลสุราษฎรธานี สังฆมณฑลราชบุรี และ สังฆมณฑลนครราชสีมา 2. บุ ค คลจากหน ว ยงานภายใน วิทยาลัย ไดแก นักศึกษาที่จะสำเร็จการศึกษา บัณฑิตทีจ่ บหลักสูตร อาจารยผสู อน ผูบ ริหาร ผูบังคับบัญชา หัวหนางานบัณฑิตและกรรมการสภาวิทยาลัยของภาคเรียนที่ 1 ปการ ศึกษา 2552 ขอบเขตดานตัวแปร ตัวแปรที่ศึกษาประกอบดวย 1. ตัวแปรอิสระ คือ สถานภาพของ

ปที่ 2 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2010/2553 95


การสำรวจความตองการของชุมชนคาทอลิกเพื่อวางแผนผลิตบัณฑิตวทยาลัยแสงธรรม

กลุมตัวอยาง ไดแก 1.1 ชุ ม ชนคาทอลิ ก จากหน ว ย งานภายนอกวิทยาลัย 1.2 ชุ ม ชนคาทอลิ ก จากหน ว ย งานภายในวิทยาลัย 2. ตัวแปรตาม ไดแก ความคิดเห็น ของชุมชนคาทอลิกที่มีตอการผลิตนักศึกษา แสงธรรมในดานคุณลักษณะของบัณฑิตทั้ง 3 ดาน ไดแก 2.1 คุ ณ ลั ก ษณะความเป น เลิ ศ ดานคุณธรรม 2.2 คุ ณ ลั ก ษณะความเป น เลิ ศ ดานความรู 2.3 คุ ณ ลั ก ษณะความเป น เลิ ศ ดานการอุทิศตนเพื่อสวนรวม สมมติฐานการวิจัย 1. ความคิดเห็นของชุมชนคาทอลิก ที่มีตอการผลิตนักศึกษาในดานคุณลักษณะ ที่พึงประสงคและคุณลักษณะที่เปนจริงแตก ตางกัน 2. ความคิดเห็นของชุมชนคาทอลิก จากหนว ยงานภายนอกวิท ยาลัย และหนว ย งานภายในวิทยาลัยที่มีตอการผลิตนักศึกษา ในดานคุณลักษณะที่พึงประสงคไมแตกตาง กัน

96

วารสารวชาการ วทยาลัยแสงธรรม

3. ความคิดเห็นของชุมชนคาทอลิก จากหน ว ยงานภายนอกวิ ท ยาลั ย และหน ว ย งานภายในวิทยาลัยที่มีตอการผลิตนักศึกษา ในดานคุณลักษณะที่เปนจริงไมแตกตางกัน นิยามศัพทเฉพาะ 1. คุณลักษณะของบัณฑิตแสงธรรม หมายถึง คุณลักษณะของนักศึกษาแสงธรรม ตามมาตรฐานการศึ ก ษาของวิ ท ยาลั ย แสงธรรม มี 3 ดานไดแก 1) คุณลักษณะความ เปนเลิศดานคุณธรรม 2) คุณลักษณะความ เป น เลิ ศ ด า นความรู 3) คุ ณ ลั ก ษณะความ เปนเลิศดานการอุทิศตนเพื่อสวนรวม 2. คุณลักษณะที่พึงประสงค หมาย ถึง คุณลักษณะที่ตองการหรือควรจะมีของ นักศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาของวิทยาลัย แสงธรรมตามความคาดหวังของชุมชนคาทอลิกในประเทศไทย 3. คุณลักษณะที่เปนจริง หมายถึง คุณลักษณะซึ่งนักศึกษาวิทยาลัยแสงธรรมได ปฏิบตั จิ ริง ตามมาตรฐานการศึกษาของวิทยาลัย แสงธรรมตามความคิดเห็นของชุมชนคาทอลิกในประเทศไทย 4. ชุ ม ชนคาทอลิ ก หมายถึ ง ผู นั บ ถือศาสนาคริสตนิกายโรมันคาทอลิกในประเทศไทย ในการศึ ก ษาครั้ ง นี้ จ ำแนกเป น 2


วุฒิชัย อองนาวา และคณะ

กลุม คือ กลุม หนวยงานภายนอกวิทยาลัยและ กลุม หนวยงานภายในวิทยาลัย 5. หน ว ยงานภายนอกวิ ท ยาลั ย หมายถึง ฆราวาสผูนับถือศาสนาคริสตนิกาย โรมันคาทอลิกในประเทศไทยทั้ง 10 สังฆมณฑล ไดแก อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ สังฆมณฑลจันทบุรี สังฆมณฑลทาแร-หนองแสง สังฆมณฑลเชียงใหม สังฆมณฑลอุบลราชธานี สังฆมณฑลอุดรธานี สังฆมณฑลนครสวรรค สังฆมณฑลสุราษฎรธานี สังฆมณฑล ราชบุรี สังฆมณฑลนครราชสีมา 6. หนวยงานภายในวิทยาลัย หมายถึง นักศึกษาที่จะสำเร็จการศึกษา บัณฑิตที่จบ หลักสูตร อาจารยผูสอน ผูบริหาร ผูบังคับ บัญชา หัวหนางานบัณฑิตและกรรมการสภา วิทยาลัยของภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2551 ประโยชนที่ไดรับจากการวิจัย 1. ไดทราบถึงคุณลักษณะที่เปนจริง และคุ ณ ลั ก ษณะที่พึง ประสงค ข องนั ก ศึ ก ษา แสงธรรมตามความคิดเห็นของชุมชนคาทอลิก 2. ได ท ราบความแตกต า งระหว า ง ความคิดเห็นของชุมชนคาทอลิกที่มีเกี่ยวกับ คุ ณ ลั ก ษณะที่เ ป น จริ ง และคุ ณ ลั ก ษณะที่พึ ง ประสงคของนักศึกษาแสงธรรม 3. เปนแนวทางในการนำไปใชเปน

ขอมูลในการวางนโยบายจัดการเรียนการสอน จั ด กิ จ กรรมต า งๆ ที่ ส ง เสริ ม ให นั ก ศึ ก ษามี คุณลักษณะที่พึงประสงค 4. ไดขอมูลพื้นฐานสำหรับปรับปรุง หลักสูตรของวิทยาลัยแสงธรรมในดานคุณลักษณะที่พึงประสงคใหมีคุณภาพ สามารถ ตอบสนองตอความตองการของสังคมปจจุบัน ไดมากขึ้น 5. ทำใหทราบความกาวหนาในการ ปฏิบัติงานของวิทยาลัยแสงธรรมและความ คิดเห็นของผูเกี่ยวของในดานการผลิตบัณฑิต ใหมีคุณลักษณะที่พึงประสงคเพื่อประโยชน ตอการจัดการศึกษาของวิทยาลัยแสงธรรม วิธีดำเนินการวิจัย กลุมผูใหขอมูลในการวิจัยครั้งนี้เปน ชุมชนคาทอลิก จำนวน 290 คน กำหนด วิ ธี ก ารได ม า ซึ่ ง กลุ ม ผู ใ ห ข อ มู ล โดยการสุ ม อยางงาย (Simple Random Sampling) สามารถแยกเปน 2 กลุมตามลักษณะความ เกี่ยวของกับการปฏิบัติงานของวิทยาลัยแสงธรรม ประกอบดวย 1. บุคคลจากหนวยงานภายนอกวิทยา ลัย คือ คริสตชนไทยทั้ง 10 สังฆมณฑล 2. บุ ค คลจากหน ว ยงานภายใน วิทยาลัย คือ นักศึกษาที่จะสำเร็จการศึกษา

ปที่ 2 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2010/2553 97


การสำรวจความตองการของชุมชนคาทอลิกเพื่อวางแผนผลิตบัณฑิตวทยาลัยแสงธรรม

บั ณ ฑิ ต ที่ จ บหลั ก สู ต ร อาจารย ผู ส อน ผู บริหาร ผูบังคับบัญชา หัวหนางานบัณฑิตและ กรรมการสภาวิทยาลัย กำหนดขอบเขตเวลา ในภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2552 ดำเนินการเก็บรวบรวมขอมูลโดยใช แบบสอบถามเรื่องการสำรวจความตองการ ของชุมชนเพื่อวางแผนผลิตบัณฑิตแสงธรรม มีสาระครอบคลุมประเด็นตอไปนี้ 1) ขอมูล ทัว่ ไปของผูต อบแบบสอบถาม 2) คุณลักษณะ ความเปนเลิศดานคุณธรรม 3) คุณลักษณะ ความเป น เลิ ศ ด า นความรู 4) คุ ณ ลั ก ษณะ ความเปนเลิศดานการอุทิศตนเพื่อสวนรวม 5) คุ ณ ลั ก ษณะอื่ น ๆ ที่ พึ ง ประสงค ข องนั ก ศึกษาวิทยาลัยแสงธรรม เก็บรวบรวมขอมูล จากการแจกแบบสอบถามให กั บ กลุ ม ผู ใ ห ขอมูลทั้งทางไปรษณียและดวยตนเอง เวน ระยะในการรับคืนประมาณ 1 เดือน เมื่อไดรับ แบบสอบถามกลั บ คื น จึ ง ตรวจสอบความ ครบถ ว นของข อ มู ล จนครบตามจำนวนที่ กำหนด การวิ เ คราะห ข อ มู ล นำแบบสอบ ถามที่ ไ ด ม าตรวจสอบความถู ก ต อ งอี ก ครั้ ง หลังจากนั้นทำการบันทึกลงรหัสในโปรแกรม สำเร็จรูป วิเคราะหขอมูลทางสถิติโดยใชคา ความถี่ รอยละ คาเฉลี่ย และคาสวนเบี่ยงเบน มาตรฐาน และการวิเคราะหเนื้อหาจากขอมูล เชิงคุณภาพ

98

วารสารวชาการ วทยาลัยแสงธรรม

สรุปผลการวิจัย 1. ขอมูลคุณลักษณะทีพ่ งึ ประสงคใน ดานความเปนเลิศดานคุณธรรม ความคิดเห็น อยูในระดับมากที่สุด (x=4.69) เมื่อพิจารณา เปนรายขอ พบวา 1.1 คุณลักษณะดานมีความเสีย สละและอุทิศตนเพื่อสวนรวม (x=4.84) 1.2 คุ ณ ลั ก ษณะด า นมี ค วามรั บ ผิดชอบ (x=4.74) 1.3 สามารถทำงานรวมกันผูอื่น ได (x=4.69) 1.4 มี ม นุ ษ ยสั ม พั น ธ ที่ ดี (x= 4.65) 1.5 การตระหนั ก ถึ ง สิ ท ธิ ห น า ที่ ในฐานะพลเมืองดีของชาติ (x=4.57) 2. ขอมูลคุณลักษณะทีพ่ ึงประสงคใน ดานความเปนเลิศดานความรู ความคิดเห็น อยูในระดับมาก (x=4.38) เมื่อพิจารณาเปน รายขอ พบวา 2.1 การศึกษาอบรมในบรรยากาศที่เสริมสรางคุณธรรมความรู (x=4.59) 2.2 มีการเสวนาระหวางศาสนา วัฒนธรรมและประเพณีทองถิ่น (x=4.48) 2.3 สามารถเชื่อมโยงความรูกับ ภูมิปญญาทองถิ่นสูการปฏิบัติจริง (x=4.44) 2.4 เป น บุ ค คลแห ง การเรี ย นรู


วุฒิชัย อองนาวา และคณะ

อาศัยการไตรตรองและสรางองคความรูใหม อยางสม่ำเสมอ (x=4.44) 2.5 เปนผูสรางองคความรูอยาง สม่ำเสมอ (x=4.23) 2.6 เป น ผู น ำทางด า นวิ ช าการ และงานวิจัย (x=4.14) 3. ขอมูลคุณลักษณะที่พึงประสงคใน ดานความเปนเลิศดานการอุทิศตนเพื่อสวน รวมความคิดเห็นอยูในระดับมาก (x=4.45) เมื่อพิจารณาเปนรายขอ พบวา 3.1 การพัฒนาชุมชนทองถิ่นโดย เฉพาะดานคุณธรรมจริยธรรม (x=4.73) 3.2 การทำนุบำรุงศาสนา และ ศิลปวัฒนธรรม (x=4.59) 3.3 เปนผูน ำดานงานบริการสังคม ที่มีประสิทธิภาพ (x=4.55) 3.4 การจัดกิจกรรมบำเพ็ญประโยชน (x=4.51) 3.5 อนุรักษและเสริมสรางสิ่งแวด ลอม (x=4.44) 3.6 การมี ส ว นร ว มกั บ สถาบั น ตางๆ เพื่อพัฒนาตนเปนบัณฑิตคุณภาพ (x= 3.90) 4. ข อ มู ล คุ ณ ลั ก ษณะที่ เ ป น จริ ง ใน ดานความเปนเลิศดานคุณธรรม ความคิดเห็น อยูในระดับมาก (x=3.63) เมื่อพิจารณาเปน

รายขอ พบวา 4.1 ตระหนั ก ถึ ง สิ ท ธิ ห น า ที่ ใ น ฐานะพลเมืองดีของชาติ (x=3.74) 4.2 คุณลักษณะดานมีความรับผิดชอบ (x=3.68) 4.3 มีมนุษยสัมพันธทด่ี ี (x=3.68) 4.4 มีความเสียสละและอุทิศตน เพือ่ สวนรวม (x=3.61) 4.5 คุณลักษณะดานการสามารถ ทำงานรวมกับผูอื่นได (x=3.44) 5. ข อ มู ล คุ ณ ลั ก ษณะที่ เ ป น จริ ง ใน ดานความเปนเลิศดานความรู ความคิดเห็นอยู ในระดับปานกลาง (x=2.97) เมื่อพิจารณา เปนรายขอ พบวา 5.1 การศึกษาอบรมในบรรยากาศที่เสริมสรางคุณธรรมความรู (x=3.48) 5.2 สามารถเชื่อมโยงความรูกับ ภูมิปญญาทองถิ่นสูการปฏิบัติจริง (x=3.03) 5.3 มีการเสวนาระหวางศาสนา วัฒนธรรมและประเพณีทองถิ่น (x=3.01) 5.4 เป น บุ ค คลแห ง การเรี ย นรู อาศัยการไตรตรองและสรางองคความรูใหม อยางสม่ำเสมอ x=2.91) 5.5 เป น ผู น ำทางด า นวิ ช าการ และงานวิจัย (x=2.71) 5.6 เป น ผู ส ร า งองค ค วามรู ใ หม

ปที่ 2 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2010/2553 99


การสำรวจความตองการของชุมชนคาทอลิกเพื่อวางแผนผลิตบัณฑิตวทยาลัยแสงธรรม

อยางสม่ำเสมอ (x=2.68) 6. ข อ มู ล คุ ณ ลั ก ษณะที่ เ ป น จริ ง ใน ดานความเปนเลิศดานการอุทิศตนเพื่อสวน รวม ความคิดเห็นอยูในระดับปานกลาง (x= 3.43) เมื่อพิจารณาเปนรายขอ พบวา 6.1 การพัฒนาชุมชนทองถิ่นโดย เฉพาะดานคุณธรรมจริยธรรม (x=3.60) 6.2 การทำนุ บ ำรุ ง ศาสนาและ ศิลปวัฒนธรรม (x=3.58) 6.3 การจัดกิจกรรมบำเพ็ญประโยชน (x=3.44) 6.4 เป น ผู น ำด า นงานบริ ก าร สังคมที่มีประสิทธิภาพ (x=3.39) 6.5 อนุ รั ก ษ แ ละเสริ ม สร า งสิ่ ง แวดลอม (x=4.44) 6.6 การมี ส ว นร ว มกั บ สถาบั น ตางๆ เพื่อพัฒนาตนเปนบัณฑิตคุณภาพ (x= 3.25) อภิปรายผล 1. ขอมูลคุณลักษณะทีพ่ ึงประสงคใน ด า นความเป น เลิ ศ ด า นคุ ณ ธรรม จากการ สำรวจความคิดเห็นของชุมชน พบวา ชุมชน คาทอลิ ก ต อ งการให บั ณ ฑิ ต แสงธรรมมี คุณลักษณะดานการเสียสละและอุทิศตน เพื่อ สวนรวมมากทีส่ ดุ (คะแนนเฉลี่ยเทากับ 4.84)

100 วารสารวชาการ วทยาลัยแสงธรรม

จากคุณลักษณะทั้งหมด 5 คุณลักษณะ ไดแก คุณลักษณะดานมีความรับผิดชอบ สามารถ ทำงานร ว มกั น ผู อื่ น ได มี ม นุ ษ ยสั ม พั น ธ ที่ ดี และการตระหนั ก ถึ ง สิทธิหนาที่ในฐานะพลเมืองดีของชาติ เนือ่ งจากเปาหมายการฝกฝน อบรม (หรือผลิต) บัณฑิตวิทยาลัยแสงธรรม คือ การเปนศาสนบริกรของคริสตศาสนจักร รู ป แบบการดำเนิ น ชี วิ ต ที่ เ ด น ชั ด ที่ สุ ด ของ การเปนศาสนบริกร คือ การดำเนินชีวิตเปน ตัวอยางแกคนอื่นในสังคม โดยเฉพาะคุณ ลั ก ษณะด า นการเสี ย สละและอุ ทิ ศ ตนต อ สวนรวม โดยไมเห็นแกประโยชนสวนตัว เปน คุ ณ ลั ก ษณะพื้ น ฐาน หรื อ เป น จิ ต ตารมณ พื้ น ฐานของการเป น ศาสนบริ ก รของคริ ส ต ศาสนจักร ถามีจิตตารมณหรืออุดมการณที่ ชัดเจนในเรื่องดังกลาว จะสงผลใหศาสนบริกร พัฒนาคุณลักษณะอื่นๆ ตามลำดับตอไป 2. จากการสำรวจความคิดเห็นของ ชุมชน พบวา ชุมชนคาทอลิกตองการใหนัก ศึกษาแสงธรรมมีคุณลักษณะดานการศึกษา อบรมในบรรยากาศที่ เ สริ ม สร า งคุ ณ ธรรม ความรูมากที่สุด (x=4.59) จากคุณลักษณะ ทัง้ หมด 6 คุณลักษณะ คือ การเสวนาระหวาง ศาสนา วั ฒ นธรรมและประเพณี ท อ งถิ่ น สามารถเชื่อมโยงความรูกับภูมิปญญาทองถิ่น สู ก ารปฏิบัติ จ ริ ง เป น บุ ค คลแห ง การเรี ย นรู


วุฒิชัย อองนาวา และคณะ

อาศัยการไตรตรองและสรางองคความรูใหม อยางสม่ำเสมอ เปนผูสรางองคความรูอยาง สม่ำเสมอ และเปนผูนำทางดานวิชาการและ งานวิจยั เนือ่ งจากมีความเขาใจวา ปญหาสังคม ในปจจุบัน ไมใชมาจากปญหาการขาดคนเกง หรือขาดมืออาชีพในการบริหารจัดการ ปญหา สำคัญที่สุดที่สังคมประสบ คือ การขาดผูนำ ที่ เ ด น ชั ด ในการสอนคุ ณ ธรรม จริ ย ธรรมที่ เหมาะสมกับยุคสมัย มีความเขาใจวา กอนที่ จะให สิ่ ง ใดแก ค นอื่ น ผู ใ ห จ ำเป น ต อ งมี แ ละ เปนสิ่งนั้นกอน ดังนั้น กอนที่บัณฑิตวิทยาลัย แสงธรรม จะเปนศาสนบริกรที่มีคุณภาพของ คริ ส ต ศ าสนจั ก รได ต ามคุ ณ ลั ก ษณะที่ พึ ง ประสงค นักศึกษาวิทยาลัยแสงธรรมควรได มีประสบการณตรงกับบรรยากาศที่เสริมสราง คุณธรรมความรู เพื่อจะไดนำประสบการณ ดังกลาวไปชี้นำสังคมในเรื่องคุณธรรม จริยธรรม ที่อยางมีคุณภาพ สอดคลองกับสถานการณ 3. ข อ มู ล คุ ณ ลั ก ษณะในด า นความ เปนเลิศดานการอุทิศตนเพื่อสวนรวม ความ คิดเห็นของชุมชน พบวา ชุมชนตองการใหมี คุณลักษณะดานการพัฒนาชุมชนทองถิ่นโดย เฉพาะดานคุณธรรมจริยธรรมมากที่สุด (x= 4.73) จากคุณลักษณะที่สำรวจดานการทำนุ บำรุงศาสนาและศิลปวัฒนธรรม (x=4.59)

เปนผูนำดานงานบริการสังคมที่มีประสิทธิภาพ (x =4.55) การจั ด กิ จ กรรมบำเพ็ ญ ประโยชน (x=4.51) อนุรักษและเสริมสราง สิ่งแวดลอม (x=4.44) และการมีสวนรวม กับสถาบันตางๆ เพื่อพัฒนาตนเปนบัณฑิต คุณภาพ (x=3.90) เนื่องจากผูตอบแบบสอบ มี ค วามเข า ใจว า สั ง คมไทยขาดความสมดุ ล ระหว า งการพั ฒ นาด า นคุ ณ ธรรมจริ ย ธรรม กับการพัฒนาดานวัตถุ เศรษฐกิจ มีแนวคิด บริโภคนิยม วัตถุนิยม โดยละเลยคุณคาความ ดีงามตามหลักคุณธรรม จริยธรรม อยางไร ก็ตาม การพัฒนาใหเกิดความสมดุลดังกลาว จำเปนตองเริ่มจากกลุมชนเล็กๆ ขยายวงไปสู สังคมโดยรวม การพัฒนาชุมชนทองถิ่นดาน คุณธรรม จริยธรรมมีแนวโนมที่จะดำเนินการ ไดเปนรูปธรรมมากกวา เนื่องจากเปนเรื่อง ใกลตัวและอยูในแวดวงคนใกลชิด ที่มีความ คุนเคยบริบทของสภาพแวดลอมและชุมชน ท อ งถิ่ น ในแบบเครื อ ญาติ ห รื อ เพื่ อ นบ า นที่ มี แ นวโน ม พั ฒ นาให เ กิ ด ความสมดุ ล ด า น คุณธรรมจริยธรรมไดชัดเจนกวา ขอเสนอแนะ ขอเสนอแนะในการนำผลการวิจัยไปใช 1. จากการสำรวจความตองการของ ชุมชนคาทอลิกเกี่ยวกับคุณลักษณะดานความ

ปที่ 2 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2010/2553 101


การสำรวจความตองการของชุมชนคาทอลิกเพื่อวางแผนผลิตบัณฑิตวทยาลัยแสงธรรม

เปนเลิศดานคุณธรรม พบวา การตระหนัก ถึ ง สิ ท ธิ ห น า ที่ ใ นฐานะพลเมื อ งดี ข องชาติ มี คะแนนเฉลี่ยนอยที่สุด ดังนั้น วิทยาลัยแสงธรรมควรจัดกิจกรรมเสริมคุณลักษณะความ เป น เลิ ศ ด า นคุ ณ ธรรมด า นการปลู ก ฝ ง ให นั ก ศึ ก ษามี ค วามตระหนั ก ถึ ง สิ ท ธิ ห น า ที่ ใ น ฐานะพลเมือ งดี ข องชาติ โดยการศึก ษากฎ หมายคุมครองสิทธิของบุคคล เชน กฎหมาย คุมครองเด็ก กฎหมายการศึกษา กฎหมาย คุมครองผูบริโภค กฎหมายลิขสิทธิ์ มีความ เขาใจเกี่ยวกับสิทธิดานมนุษยชนที่บุคคลพึง ไดรับ กฎหมายแพง กฎหมายอาญาที่เกี่ยว ของกับชีวิตประจำวัน โครงสราง และสาระ สำคั ญ ของรั ฐ ธรรมนู ญ แห ง ราชอาณาจั ก ร ไทย ความคล า ยคลึ ง และความแตกต า ง ระหว า งวั ฒ นธรรมไทยกั บ วั ฒ นธรรมอื่ น ๆ รวมไปถึงสถานภาพ บทบาท สิทธิเสรีภาพ หนาที่ในฐานะพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย และกระบวนการตรากฎหมาย 2. ชุมชนคาทอลิกเห็นวาคุณลักษณะ ที่เปนจริงในดานความเปนเลิศดานความรูโดย รวมของนักศึกษาอยูในระดับปานกลาง ดังนั้น วิทยาลัยแสงธรรมควรเพิ่มเติมความรูใหกับ นักศึกษาเพื่อจะไดกาวสูความเปนเลิศ ไดแก การศึ ก ษาอบรมในบรรยากาศที่ เ สริ ม สร า ง

102 วารสารวชาการ วทยาลัยแสงธรรม

คุณธรรมความรู สามารถเชื่อมโยงความรูกับ ภู มิ ป ญ ญาท อ งถิ่ น สู ก ารปฏิ บั ติ จ ริ ง เสวนา ระหวางศาสนาวัฒนธรรมและประเพณีทอง ถิ่น เปนบุคคลแหงการเรียนรูอาศัยการไตร ตรองและสรางองคความรูใหมอยางสม่ำเสมอ เปนผูนำทางดานวิชาการและงานวิจัย และ เปนผูสรางองคความรูใหมอยางสม่ำเสมอ ขอเสนอแนะในการวิจัยครั้งตอไป 1. ควรมี ก ารวิ จั ย คุ ณ ลั ก ษณะที่ พึ ง ประสงค ข องผู เ ตรี ย มตั ว เป น บาทหลวง คาทอลิก เนื่องจากการวิจัยนี้ศึกษา “นักศึกษา แสงธรรม” คำนี้มีความหมายรวมถึงบุคคล หลายกลุม หากมีการศึกษาเจาะจงเฉพาะกลุม “ผูเตรียมตัวเปนบาทหลวงคาทอลิก” จะได ข อ มู ล การศึ ก ษาและประเด็ น การตอบที่ ชัดเจนมากขึ้น 2. ควรมีการวิจัยติดตามผลนักศึกษา แสงธรรมที่ไดรับการปลูกฝง การพัฒนาคุณลั ก ษณะที่เ ปน ผลสืบ เนื่อ งจากงานวิจัย ชิ้น นี้ โดยศึกษาในประเด็นที่วา เมื่อสำเร็จการศึกษา ไปแลวไดพัฒนาเปลี่ยนแปลงอยางไร 3. ควรศึ ก ษาคุ ณ ลั ก ษณะของนั ก ศึกษาในสถาบันเฉพาะทางอื่นๆ แลวนำขอมูล ที่ไดมาเปรียบเทียบความแตกตาง


วุฒิชัย อองนาวา และคณะ

บรรณานุกรม เกรียงศักดิ์ โกวิชวาณิช, มุขนายก. 2535. สมณสารของสมเด็จพระสันตะปาปา ยอหน ปอลที่ 2 เรื่องการอบรม พระสงฆในสภาพการณปจจุบัน. วารสารแสงธรรมปริทัศน ปที่ 16 ฉบับที่ 3 กันยายน–ธันวาคม 1992/2535. นครปฐม : วิทยาลัยแสงธรรม. คณะผูต รวจประเมิน. 2551. รายงานการตรวจ ประเมินคุณภาพ วิทยาลัยแสงธรรม เอกสารถายสำเนา. เชาวฤทธิ์ สาสาย. บาทหลวง. 2550. การ พัฒนาหลักสูตรการฝกอบรม ระยะสั้นสำหรับผูเ ตรียมตัว เปนพระสงฆคาทอลิกสูภาวะผูนำ ในฐานะผูนำการศึกษา. ดุษฎีนิพนธ ดุษฏีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา และภาวะผูนำ. สำนักมาตรฐานและประเมินผลอุดมศึกษา. 2549. มาตรฐานการอุดมศึกษา และเกณฑมาตรฐานที่เกี่ยวของ. กรุงเทพฯ : สำนักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ.

สำนักอธิการบดี. 2550. คูมือการศึกษา วิทยาลัยแสงธรรม. นครปฐม : วิทยาลัยแสงธรรม. วุฒิชัย อองนาวา, บาทหลวง. 2549. ฝาย วิชาการ หัวใจของวิทยาลัยแสงธรรม. วารสารแสงธรรมปริทัศน ปที่ 30 ฉบับที่ 3 กันยายน–ธันวาคม 2549. นครปฐม : วิทยาลัยแสงธรรม. . 2552. อัตลักษณการศึกษาวิชา ปรัชญาวิทยาลัยแสงธรรม. นครปฐม : วิทยาลัยแสงธรรม. Apostolic Constitution Sacrae Disciplinae Leges. 1983. Code of Canon Law. Washington,D.C.: Braun-Brumfield, Inc. John Paul II, Pope. 1992. Pastores Dabo Vobis. Washington, D.C. : Braun-Brumfield, Inc. Walter M. Abbott, S.J. (Ed.). 1966. The Documents of Vatican II. New York : Guild.

ปที่ 2 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2010/2553 103


การสำรวจความตองการของชุมชนคาทอลิกเพื่อวางแผนผลิตบัณฑิตวทยาลัยแสงธรรม

การสัมภาษณ ศ. ปรีชา ชางขวัญยืน. (4 ก.พ. 2551). ประธานคณะผูตรวจประเมิน คุณภาพการศึกษาภายนอก (วิทยาลัยแสงธรรม) รอบสอง. สัมภาษณ.

104 วารสารวชาการ วทยาลัยแสงธรรม


บทบาทหนาที่ที่เปนจริงและความคาดหวัง

วุฒิชัย อองนาวา พิเชษฐ รุงลาวัลย ทิพอนงค รัชนีลัดดาจต

ของการบริหารจัดการดานการศึกษา ของฝายการศึกษา อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ

The Current Roles and

The Expectation on the Education Administration of The Education Department of Bangkok Archdiocese

บาทหลวงวุฒิชัย อองนาวา * บาทหลวงในคริสตศาสนจักรโรมันคาทอลิก สังฆมณฑลราชบุรี * รองอธิการบดีฝายวิชาการ และผูอำนวย การศูนยวิจัยคนควาศาสนาและวัฒนธรรม วิทยาลัยแสงธรรม

Rev.Wuttichai Ongnawa * Reverend in Roman Catholic Church, Ratchaburi Diocese. * Vice President for Acabemic Affairs and Director of Religious and Cultural Research * E-mail : Franciswut@gmail.com

พิเชษฐ รุงลาวัลย * รองผูอำนวยการศูนยวิจัยคนควาศาสนาและ วัฒนธรรม วิทยาลัยแสงธรรม * อาจารยประจำคณะมนุษยศาสตร วิทยาลัยแสงธรรม

Pichet Runglawan * Deputy Director of Religious and Cultural Research Centre, Saengtham College. * Lecturer at Saengtham College.

ทิพอนงค รัชนีลัดดาจิต * ผูชวยผูอำนวยการและนักวิจัยประจำ ศูนยวิจัยคนควาศาสนาและวัฒนธรรม วิทยาลัยแสงธรรม

Thip-anong Ratchaneelatdachit * Assistant Director and Researcher at Religious and Cultural Research Centre, Saengtham College. * E-mail : mariarose_th@hotmail.com ปที่ 2 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2010/2553 105


บทบาทหนาที่ที่เปนจรงและความคาดหวังของการบรหารจัดการดานการศึกษา ของฝายการศึกษา อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ

บทคัดยอ การวิจัยเชิงสำรวจ เรื่อง บทบาทหนาที่ที่เปนจริงและความคาด หวังของการบริหารจัดการดานการศึกษาของฝายการศึกษา อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ มีวัตถุประสงคเพื่อ 1) ศึกษาบทบาทหนาที่ท่เี ปนจริง ในปจจุบันของการบริหารจัดการดานการศึกษาของฝายการศึกษา อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ 2) ศึกษาความคาดหวังตอบทบาทหนาทีใ่ น การบริหารจัดการดานการศึกษาของฝายการศึกษา อัครสังฆมณฑล กรุ ง เทพฯ 3) ศึ ก ษาแนวทางในการปฏิ บั ติ ง านของฝ า ยการศึ ก ษา อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ ดำเนินการศึกษาโดยสำรวจความคิดเห็น จากผูบริหาร ผูชวยผูบริหาร ครูหัวหนากลุมสาระ ครูผูปฏิบัติงาน และ ครูผูชวยสนับสนุนการสอน จำนวน 541 คน จากสถานศึกษาในสังกัด อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ จำนวน 39 โรงเรียน ทั้งนี้มีผูตอบแบบสอบ ถามกลับมาจำนวน 407 ฉบับ (รอยละ 75.23) โดยทำการศึกษา ใน 3 กลุมงานตามระบบการบริหารดานการศึกษาของฝายการศึกษา อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ ไดแก 1) กลุมงานจิตตาภิบาล 2) กลุมงาน วิชาการ และ 3) กลุมงานอำนวยการ ผลการศึกษาพบวา ผูบริหารและครูไดรับรูขอมูลขาวสารความเคลื่อนไหวของฝาย การศึกษา อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ จากชองทางตางๆ เรียงตามลำดับ ดังนี้ 1) การประชุม/อบรม/สัมมนาของฝายการศึกษาฯ 2) จดหมาย เวียนจากฝายการศึกษาฯ 3) เว็บไซตของฝายการศึกษาฯ 4) ชองทาง อื่นๆ บทบาทหนาที่ที่เปนจริงและความคาดหวังของการบริหารจัด การดานการศึกษาของฝายการศึกษา อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ เปน ดังนี้ 1) กลุมงานจิตตาภิบาล บทบาทหนาที่ที่เปนจริงอยูในระดับมาก (x=3.56) มีความควาดหวังอยูในระดับมากที่สุด (x=4.59) 2) กลุม

106 วารสารวชาการ วทยาลัยแสงธรรม


วุฒิชัย อองนาวา พิเชษฐ รุงลาวัลย ทิพอนงค รัชนีลัดดาจต

งานวิชาการ บทบาทหนาที่ที่เปนจริงอยูในระดับมาก (x=3.55) มี ความควาดหวังอยูในระดับมากที่สุด (x=4.59) 3) กลุมงานอำนวย การ บทบาทหนาที่ที่เปนจริงอยูในระดับมาก (x=3.78) มีความคาด หวังอยูในระดับมากที่สุด (x=4.62) ผลการศึก ษาแนวทางในการปฏิบัติ ง านของฝา ยการศึ ก ษา อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ พบวา 1.) กลุมงานจิตตาภิบาล ผูบริหารและครูไดเสนอแนวทางเพื่อ พัฒนางานใหดีขึ้น คือ ควรมีการประสานงานกับทางศูนยคำสอน อยางตอเนื่อง และควรสงเสริมในเรื่องของคุณธรรมจริยธรรมมากยิ่ง ขึ้น สงเสริมใหครูมีคุณธรรมจริยธรรม และควรประชาสัมพันธใหครู ฝายตางๆ เห็นความสำคัญในเรื่องของคุณธรรมจริยธรรมมากขึ้น มี การแลกเปลี่ยนแนวทางการปฏิบัติงานระหวางโรงเรียน จัดทำตัวอยาง แผนการสอนคำสอน โดยใชตัวอยางจากโรงเรียนที่มีแนวปฏิบัติที่ดี (Best Practice) เพื่อใหเปนแนวทางสำหรับครูใหม จัดอบรมเพื่อให ครูสามารถปฏิบัติงานไดท้งั ในโรงเรียนและชุมชน รวมมือกับศาสนาอื่น และชุมชนใหมากขึ้น เปดโอกาสใหโรงเรียนไดนิมนตพระมาเทศนและ สอนในโรงเรียน 2) กลุมงานวิชาการ ควรพัฒนาระบบคลังขอสอบ สรางมาตรฐานโรงเรียนคาทอลิก จัดระบบประเมินผลใหดำเนินการ ในทิศทางเดียวกัน ปรับปรุงหลักสูตรใหทันสมัยและสอดคลองกับ ความตองการของสังคมและชุมชน สวนในเรื่องของการสงเสริมการ วิจัย ควรสรางความตระหนักใหครูเห็นคุณคาในการทำวิจัยเพื่อพัฒนา การเรียนการสอน จัดอบรมดานการวิจัยเพื่อใหครูสามารถดำเนินการ วิจัยและพัฒนางานวิจัยได ตลอดจนลดภาระงานดานเอกสารลงเพื่อ ใหสามารถทำงานวิจัยในชั้นเรียนไดอยางเต็มที่ และควรประชาสัมพันธ ใหทราบความเคลื่อนไหว ควรพัฒนาครูใหเปนผูรู โดยการสงเสริมให ครู ไ ด เข า รั บ การอบรมมากขึ้ น จั ด อบรมมาตรฐานวิ ช าชี พ ครู อ ย า ง

ปที่ 2 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2010/2553 107


บทบาทหนาที่ที่เปนจรงและความคาดหวังของการบรหารจัดการดานการศึกษา ของฝายการศึกษา อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ

ตอเนื่อง เพื่อใหครูไดพัฒนาดานการเรียนการสอน ตลอดจนสามารถ รักษามาตรฐานที่ดีไว กิจกรรมพัฒนาผูเรียนควรลงลึกถึงตัวผูเรียนให มากขึ้น เพื่อปลูกฝงใหผูเรียนเกิดทักษะชีวิตครบทุกดาน 3) กลุมงาน อำนวยการ ควรมีการประชาสัมพันธใหทราบอยางทั่วถึง จัดใหมี สวัสดิการพิเศษ หรือคาตำแหนงที่สูงขึ้นเพื่อสรางแรงจูงใจ มีการ จั ด จำแนกเกณฑ ก ารพิ จ ารณางบประมาณตามประเภทของสถาน ศึ ก ษาเพื่ อ ให เ กิ ด ความเหมาะสมมากยิ่ ง ขึ้ น เช น โรงเรี ย นสามั ญ โรงเรียนอาชีวะ เปนตน ควรพัฒนาระบบการบริหารติดตามงานที่ รัดกุมและชัดเจน อีกทั้งไมควรเปลี่ยนผังบัญชีบอย คำสำคัญ :

1) ความคาดหวัง 2) การจัดการศึกษา 3) อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ 4) โรงเรียนคาทอลิก

Abstract The survey research “The Current Roles and the Expectation on the Education Administration of The Education Department of Bangkok Archdiocese” has the purposes as follows: 1) To study the present situation on the education administration roles of The Education Department of Bangkok Archdiocese; 2) To study the expectation on the education administration roles of The Education Department of Bangkok Archdiocese; and 3) To study the guidelines for operations of The Education Department of Bangkok Archdiocese. The methodology is to study by surveying the opinions by 541 samples of the administrators, administrator assistants, heads of

108 วารสารวชาการ วทยาลัยแสงธรรม


วุฒิชัย อองนาวา พิเชษฐ รุงลาวัลย ทิพอนงค รัชนีลัดดาจต

subject group, teachers and teacher assistants from 39 Catholic schools in Bangkok Archdiocese. There are 407 responding persons (75.23%) of 3 working groups along education administration system in Bangkok Archdiocese as: 1) Pastoral group; 2) Academic group; and 3) Administration group. This study found that : The administratos and teachers got of the information movements of the Education Administration of The Education Department of Bangkok Archdiocese from following channels : 1) Meeting/training/seminar 2) Circular letter 3) Website and 4) Others The current roles and the expectation on the Education Administration of The Education Department of Bangkok Archdiocese as follows: 1) Pastoral group with high (x=3.56) and highest level (x=4.59) respectively. 2) Academic group with high (x=3.55) and highest level (x=4.59) respectively. 3) Administration group with high (x=3.78) and highest level (x=4.62) respectively. The guidelines for operations of The Education Department of Bangkok Archdiocese as follows: 1) Pastoral group suggested the guidelines for better work development as there are continuously coordination with Archdiocese Catechetical Center, ethics promotion among teacher group, operation courses exchange in the midst

ปที่ 2 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2010/2553 109


บทบาทหนาที่ที่เปนจรงและความคาดหวังของการบรหารจัดการดานการศึกษา ของฝายการศึกษา อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ

of schools, dogma education plan examples from the schools which have the best practices for new teachers, training the teachers to be able to work for school and interdenominational community, giving the opportunities for the Buddhist monks to preach in Catholic schools; 2) Academic group suggested to develop the examination repository system, to manage the same evaluation system, to improve for the modern courses according to the demands of society and community. For the researching promotion, it should be created the consciousness for teachers to know the value of the researches which help to develop the education. The training on researching should be managed for teachers to be able to proceed and develop the own researches. The decrease of paper works will help to support the classroom researching through public relations. The training on teacher professionals should be continuously managed for developing education skills and keeping the standards. The activities should be emphasized in deep details such as educational guidance, scouts and several clubs including indigenous knowledges which implant the complete living skills for students; and 3) Administration group suggested the public relation to widen the information. There are the special welfares or remunerations for higher position to create the motivation. The criteria for budget consideration should be assigned in accordance with the types of school for more

110 วารสารวชาการ วทยาลัยแสงธรรม


วุฒิชัย อองนาวา พิเชษฐ รุงลาวัลย ทิพอนงค รัชนีลัดดาจต

appropriatness such as general school or vocational training school etc. Moreover, it should be developed administrative systems for following up the works and should be not often changed the accounting scheme. Keywords :

1) The Expectation 2) Education Administration 3) Bangkok Archdiocese 4) Catholic School

ปที่ 2 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2010/2553 111


บทบาทหนาที่ที่เปนจรงและความคาดหวังของการบรหารจัดการดานการศึกษา ของฝายการศึกษา อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ

ที่มาและความสำคัญของปญหา การศึ ก ษาคาทอลิ ก ในประเทศไทย มีความเปนมาตั้งแตสมัยกรุงศรีอยุธยา เมื่อ คณะมิช ชัน นารีช าวโปรตุ เ กส ไดเริ่ม เข า มา เผยแพร ศ าสนาที่ ก รุ ง ศรี อ ยุ ธ ยา โรงเรี ย น คาทอลิ ก แห ง แรกในประเทศไทยได ถื อ กำเนิดขึ้นมีชื่อวา General College โดยให การศึ ก ษาแก ผู ที่ เ ตรี ย มตั ว เป น บาทหลวง และประชาชนทั่ ว ไป รวมทั้ ง ลู ก หลานของ พวกขุนนางจากราชสำนัก (เชษฐา ไชยเดช, 2550) และตั้งแตบัดนั้นเปนตนมาโรงเรียน คาทอลิ ก ได ท ำหน า ที่ ใ ห ก ารศึ ก ษาอบรมแก เยาวชนไทยอยางตอเนื่องจนถึงปจจุบัน โดย ยึดหลักจากประมวลกฎหมายพระศาสนจักร (Apostolic Constitution Sacrae Disciplinae Leges,1983) ใน “Code of Canon Law” บรรพ 3 หน า ที่ ก ารสอนของพระ ศาสนจักร ลักษณะ 3 การศึกษาคาทอลิก และหมวด 1 โรงเรียน สรุปไดวาพระศาสนจั ก รมี ห น า ที่ แ ละสิ ท ธิ ใ ห ก ารศึ ก ษาด ว ย เหตุผลพิเศษ เพราะพระศาสนจักรไดรับมอบ พั น ธกิ จ ช ว ยเหลื อ มนุ ษ ย จ ากพระเป น เจ า ให ส ามารถบรรลุ ถึ ง ความสมบู ร ณ แ ห ง ชี วิ ต คริสตชน และเนื่องจากการศึกษาที่แทจริงตอง มุงใหการอบรมทั้งครบ

112 วารสารวชาการ วทยาลัยแสงธรรม

ฝายการศึกษา อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ ก อ ตั้ ง เมื่ อ วั น ที่ 27 มกราคม พ.ศ. 2527 โดยพระคารดินัลไมเกิ้ล มีชัย กิจบุญชู ประมุ ข ของอั ค รสั ง ฆมณฑลกรุ ง เทพฯ เพื่ อ จัดระบบการศึกษาในแนวนโยบายเดียวกัน โดยให ก ารศึ ก ษาและอาศั ย โรงเรี ย นเป น สนามแพร ธ รรมตามจิ ต ตารมณ พระคริ ส ต คื อ ความรั ก และการแบ ง ป น ตามแนวหลั ก ธรรมพระวรสาร (ฝายการศึกษา อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ, 2551ก) ปจจุบันมีสถานศึกษาในสังกัด จำนวน 39 โรงเรียน ซึ่งแบงออกเปน 6 เขตการศึกษา เปดสอนตัง้ แตระดับกอนประถมศึกษา ประถม ศึกษา มัธยมศึกษา และประกาศนียบัตรวิชา ชีพ สำหรับในปพ.ศ.2552 นี้ ฝายการศึกษา อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ จะครบรอบ 25 ป แหงการดำเนินงาน ซึ่งเปนระยะเวลาอันยาว นาน ในโอกาสนี้ จึ ง เห็ น สมควรที่ จ ะทำการ ศึ ก ษาทบทวนบทบาทหน า ที่ ข องฝ า ยการ ศึกษา โดยสำรวจความคิดเห็นของบุคลากร ทุกฝายดานการศึกษา ประกอบดวย ผูบริหาร และคณะครู ซึ่ ง ผลที่ ไ ด จ ากการศึ ก ษานั้ น สามารถนำมาเปนขอมูลเพื่อการพัฒนาปรับ ปรุงการดำเนินงานเพื่อใหการจัดการศึกษา ของโรงเรียนในสังกัดมีประสิทธิภาพมากยิ่ง


วุฒิชัย อองนาวา พิเชษฐ รุงลาวัลย ทิพอนงค รัชนีลัดดาจต

ขึ้ น สามารถหล อ หลอมเยาวชนให มี คุ ณ ค า โดยมีความเปนมนุษยทั้งครบ (The Whole Man) ตามปรัชญาการศึกษาคาทอลิก ตลอด จนเพื่ อ เป น การเสริ ม สร า งความไว ว างใจ ใหกับผูปกครองอีกทางหนึ่ง นิยามศัพทเฉพาะ 1. ฝายการศึกษา อัครสังฆมณฑล กรุ ง เทพฯ หมายถึ ง หน ว ยงานหนึ่ ง ที่ อ ยู ภายใต ค วามรั บ ผิ ด ชอบของอั ค รสั ง มณฑล กรุงเทพฯ ทำงานเกี่ยวกับการบริหารจัดการ ดานการศึกษาของโรงเรียนคาทอลิกในเครือ จำนวน 39 โรงเรียน โดยแบงเปน 6 เขต การศึ ก ษา ซึ่ ง ครอบคลุ ม พื้ น ที่ 10 จั ง หวั ด ประกอบดวย จังหวัดกรุงเทพฯ จังหวัดนครปฐม จั ง หวั ด อยุ ธ ยา จั ง หวั ด ฉะเชิ ง เทรา จั ง หวั ด สมุ ท รปราการ จั ง หวั ด สุ พ รรณบุ รี จั ง หวั ด นครนายก จั ง หวั ด นนทบุ รี จั ง หวั ด ปทุมธานี และจังหวัดสมุทรสาคร 2. บทบาทหนาทีท่ เ่ี ปนจริง หมายถึง การบริหารงานหรือดำเนินงานของฝายการ ศึกษา อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ ในปจจุบัน 3. ความคาดหวังตอบทบาทหนาที่ ในการบริหารจัดการดานการศึกษา หมายถึง การบริหารงานหรือดำเนินงานของฝายการ ศึกษา อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ ในอนาคต

ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ 1. ทราบถึงบทบาทหนาที่ที่เปนจริง และความควาดหวั ง ของการบริ ห ารจั ด การ ดานการศึกษาของฝายการศึกษา อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ 2. นำผลการศึกษาวิจัยมาเปนแนว ทางในการวางนโยบายการบริหารจัดการของ ฝ า ยการศึ ก ษา อั ค รสั ง ฆมณฑลกรุ ง เทพฯ เพื่อใหสอดคลองกับความตองการและสภาพ ความเปนจริง เอกลักษณการศึกษาคาทอลิก สมณกระทรวงเพือ่ การศึกษาคาทอลิก (2525) กลาววา นับแตชั่วขณะแรกที่นักเรียน คนหนึ่งเหยียบยางเขามาในโรงเรียนคาทอลิก นักเรียนชายหรือหญิงผูนั้นควรจะรูสึกประทับ ใจวา ไดเขามาสูส ภาพแวดลอมใหม เปนสภาพ แวดล อ มที่ ส ว า งไสวด ว ยแสงแห ง ความเชื่ อ และมีลักษณะเฉพาะของตนที่ไมเหมือนใคร นั ก เรี ย นที่ เข า มาเรี ย นในโรงเรี ย น คาทอลิกตองตระหนักวา โรงเรียนเปนเสมือน บานของเขาเองที่ขยายตอเนื่องออกมา และ ดังนัน้ “บาน-โรงเรียน” จึงควรมีอะไรบางอยาง ทีเ่ ปนความรืน่ รมย ทีส่ ามารถสรางบรรยากาศ แบบครอบครัวขึ้นไดอยางนาชื่นชมและเปน สุขใจ สิ่งแรกที่จะชวยสรางสภาพแวดลอมที่

ปที่ 2 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2010/2553 113


บทบาทหนาที่ที่เปนจรงและความคาดหวังของการบรหารจัดการดานการศึกษา ของฝายการศึกษา อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ

นารื่นรมย ก็คือ ความสะดวกสบายทางกายภาพอยางเพียงพอ เปนความสะดวกสบายที่ ประกอบไปดวย การมีพ้ืนที่เพียงพอสำหรับ หองเรียน การกีฬา สันทนาการ และอื่นๆ เชน หองพักครูและหองประชุมครู และผูปกครอง เปนตน แมสิ่งแวดลอมไมหรูหราอะไรนัก แต บรรยากาศตองอุดมดวยความอบอุน ทั้งในแง ของความเปนมนุษยและในแงของจิตวิญญาณ โรงเรียนคาทอลิกควรเปนแบบอยาง ของความเรียบงาย และความยากจนตามแบบ ฉบับของพระคริสตเจา แตมีวัสดุที่จำเปนแก การให ก ารศึ ก ษาอย า งเหมาะสมเนื่ อ งจาก ความก า วหน า ทางเทคโนโลยี ที่ พั ฒ นาไป อย า งรวดเร็ ว ดั ง นั้ น ในบางกรณี โรงเรี ย น จึ ง ต อ งมี วั ส ดุ อุ ป กรณ ที่ ทั น สมั ย และมี ร าคา แพง นี่ ไ ม ใ ช ค วามฟุ ม เฟ อ ยแต เ ป น สิ่ ง ซึ่ ง โรงเรียนจำเปนตองมีเพื่อดำเนินบทบาทของ ตนตอไปในฐานะเปนสถาบันการศึกษา โรงเรียนคาทอลิกสำนึกในการประทับ อยูของพระแมมารียพรหมจารี ซึ่งจะชวยได มากในการทำใหโรงเรียนเปนเสมือน “บาน มารีย” มารดาและอาจารยของพระศาสนจักร ได อ ยู เ คี ย งข า งองค พ ระบุ ต รเพื่ อ อุ ป ถั ม ภ นักเรียนซึ่งเปนลูกของพระนางตลอดเวลาที่ กำลังเจริญวัยขึ้นมา โดยการดูแลปกปองลูก (ศิษย) ที่อยูในโรงเรียนใหเปนคนดี สามารถอยู

114 วารสารวชาการ วทยาลัยแสงธรรม

รอดปลอดภัย และมีความสุข วัด (โบสถ) ไมควรถูกมองวาเปนอะไร ที่ ไ ม เ กี่ ย วข อ งกั บ โรงเรี ย น แต ค วรถื อ ว า วั ด เปนสถานที่ที่คุนเคยและใกลชิดสนิทสนม ซึ่ง เยาวชนผู มี ค วามเชื่ อ จะสามารถพบการ ประทับอยูของพระเจาได “...จงรูไวเถิดวา เรา อยูกับทานทุกวัน...” (มธ. 28 : 20) โรงเรียน คาทอลิ ก ส ว นมากจะตั้ ง อยู ใ นพื้ น ที่ ข องวั ด การบริหารโรงเรียนกับวัดแมวาจะเปนอิสระ ตอกัน แตควรมีความสัมพันธชวยเหลือเกื้อ กู ล กั น โดยเฉพาะในการอบรมเยาวชนให เป น คนดี และเป น ตั ว อย า งที่ ดี แ ก เ ยาวชน เพื่อใหเปนพลังในการอบรมสั่งสอนใหบรรลุ วั ต ถุ ป ระสงค และนโยบายของการจั ด การ เรียนรู โรงเรี ย นคาทอลิ ก เป น เครื่อ งมื อ เชิ ง อภิบาลประเภทหนึ่ ง โรงเรี ย นเป น สื่ อ กลาง ระหว า งความเชื่ อ และวั ฒ นธรรม กล า วคื อ ดำรงความซื่ อ สั ต ย ต อ ความใหม ใ นพระ คริสตธรรม ในขณะเดียวกันก็เคารพตอความ เปนเอกเทศและระเบียบแบบแผน โรงเรี ย นคาทอลิ ก มี พื้ น ฐานอยู ที่ ปรั ช ญาการศึ ก ษา ซึ่ ง ในปรั ช ญาดั ง กล า ว ความเชื่อ วัฒนธรรมและชีวิตจะถูกนำมาผสม กลมกลืนกัน โรงเรียนคาทอลิกชวยใหบรรลุ ความสำเร็ จ ตามเป า หมาย ถึ ง สองประการ


วุฒิชัย อองนาวา พิเชษฐ รุงลาวัลย ทิพอนงค รัชนีลัดดาจต

กลาวคือ โดยธรรมชาติของโรงเรียนคาทอลิก เอง โรงเรียนเปนผูชี้นำทั้งชายและหญิงใหไป สูความดีสมบูรณพรอมทั้งจากแงของการเปน มนุษย และจากแงของการเปนคริสตชน โรงเรียนคาทอลิกสังกัดสังฆมณฑล ตางๆ ในประเทศไทย พระศาสนจักรคาทอลิกในประเทศ ไทย แบงการปกครองออกเปน 10 สังฆมณฑล แต ล ะสั ง ฆมณฑลมี โ รงเรี ย นคาทอลิ ก อยู ในความรับผิดชอบมากนอยแตกตางกัน ดัง ตอไปนี้ 1. อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ มิสซัง แรก คือ เทียบสังฆมณฑลสยาม (Vicariate Apostolic of Siam) กอตัง้ ขึน้ ทีก่ รุงศรีอยุธยา เมื่อวันที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ.2212 เปนมิสซัง แรกของคณะบาทหลวงมิ ส ซั ง ต า งประเทศ แหงกรุงปารีส ปจจุบันอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ รับผิดชอบพืน้ ที่ 11 จังหวัด คือ กรุงเทพฯ นครปฐม นนทบุรี ฉะเชิงเทรา (บาง สวน) นครนายก (เฉพาะอำเภอบานนา) ปทุมธานี สุพรรณบุรี สมุทรปราการ สมุทรสาคร พระนครศรีอยุธยา และอางทอง มีโรงเรียน คาทอลิก จำนวน 136 โรงเรียน โรงเรียน คาทอลิกสังกัดอัครสังฆมณฑลกรุงเทพ จำนวน 39 โรงเรียน โรงเรียนของคณะนักบวช 36 โรงเรียน และโรงเรียนของฆราวาสคาทอลิก

61 โรงเรียน 2. อัครสังฆมณฑลทาแรหนองแสง การเผยแผศาสนาในภาคอีสาน เริ่มตนในป พ.ศ. 2424 เดิมทีเรียกวา “มิสซังลาว” แยก ออกจากมิสซังกรุงเทพฯ ในปพ.ศ. 2442 มี ศูนยกลางอยูที่จังหวัดนครพนม ครอบคลุม อาณาบริเวณทั้งภาคตะวันออกเฉียงเหนือและ ประเทศลาว ตั้งแตบานเวียงคุกเหนือสุดไปจน ถึ ง จำปาศั ก ดิ์ ที่ อ ยู ใ ต สุ ด และทางตะวั น ตก ตั้ ง แต แ ถบเชี ย งหวาง ซึ่ ง อยู ท างตะวั น ออก ไปจนถึงนครราชสีมา ตอมาในปพ.ศ. 2479 แขวงเวี ย งจั น ทร แ ละหลวงพระบางได แ ยก ออกเปนมิสซังตางหาก วันที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2493 มิสซัง ลาวหรือมิสซังหนองแสง ไดเปลี่ยนชื่อเปน “มิสซังทาแร” โดยปกครองเฉพาะ 15 จังหวัด ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และตอมาวันที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2503 ไดรับชื่อวา “มิสซัง ทาแร-หนองแสง” และในวันที่ 18 ธันวาคม พ.ศ. 2508 ไดรับการสถาปนาเปน “อัครสังฆมณฑล” รั บ ผิ ด ชอบพื้ น ที่ 4 จั ง หวั ด คื อ สกลนคร นครพนม กาฬสินธุ และมุกดาหาร มีโรงเรียนคาทอลิก จำนวน 14 โรงเรียน ใน จำนวนนีเ้ ปนโรงเรียนคาทอลิกสังกัด อัครสังฆมณฑลทาแร-หนองแสง 11 โรงเรียน โรงเรียน คาทอลิกสังกัดคณะนักบวช 3 โรงเรียน

ปที่ 2 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2010/2553 115


บทบาทหนาที่ที่เปนจรงและความคาดหวังของการบรหารจัดการดานการศึกษา ของฝายการศึกษา อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ

3. สังฆมณฑลราชบุรี มิสซังราชบุรี แยกออกจากมิสซังกรุงเทพฯ ในปพ.ศ. 2470 ตอมาในปพ.ศ.2473 คณะนักบวชซาเลเซียน เขามาในประเทศไทยและไดปกครองมิสซัง ราชบุรี ในปพ.ศ. 2512 มิสซังนี้ไดแบงออก เปน 2 มิสซัง คือ มิสซังราชบุรี และมิสซัง สุ ร าษฎร ธ านี มี พ้ื น ที่ รั บ ผิ ด ชอบ 4 จั ง หวั ด ได แ ก ราชบุ รี กาญจนบุ รี เพชรบุ รี และ สมุทรสงคราม มีโรงเรียนคาทอลิกจำนวน 27 โรงเรียน ในจำนวนนี้เปนโรงเรียนคาทอลิก สังกัดสังฆมณฑล 20 โรงเรียน และโรงเรียน คาทอลิกสังกัดคณะนักบวช 5 โรงเรียน เปน โรงเรียนของฆราวาสคาทอลิก 2 โรงเรียน 4. สังฆมณฑลจันทบุรี มิสซังจันทบุรี แยกออกจากมิสซังกรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2487 เปนมิสซังแรกที่ปกครอง โดยคณะบาทหลวงพื้นเมือง มีพื้นที่รับผิดชอบ 8 จังหวัด ไดแก จันทบุรี ฉะเชิงเทรา (บางสวน) ชลบุรี ตราด นครนายก (บางสวน) ปราจีนบุรี ระยอง และสระแกว มีโรงเรียนคาทอลิกทั้งสิ้น 49 โรงเรียน ในจำนวนนี้เปนโรงเรียนสังกัด สังฆมณฑล 18 โรงเรียน เปนโรงเรียนของคณะ นักบวช 15 โรงเรียน เปนของฆราวาสคาทอลิก 16 โรงเรียน 5. สังฆมณฑลเชียงใหม การเปลีย่ น แปลงการปกครองไปสู ร ะบอบสั ง คมนิ ย ม

116 วารสารวชาการ วทยาลัยแสงธรรม

คอมมิวนิสตของจีนแผนดินใหญ ทำใหบาทหลวงคณะพระหฤทั ย แห ง เบธาราม (ศู น ย กลางอยูที่ภาคใตประเทศฝรั่งเศส) ตองอพยพ ออกจากประเทศจีนเขามาเผยแผศาสนาใน ประเทศไทย ในป พ.ศ. 2494 จึงไดรับมอบ หมายจากมิ ส ซั ง กรุ ง เทพฯ ให ป กครองเขต เชี ย งใหม ต อ มาในวั น ที่ 17 พฤศจิ ก ายน พ.ศ. 2502 ได แ ยกออกมาเป น เขตมิ ส ซั ง เชียงใหม รับผิดชอบพื้นที่ 8 จังหวัด ไดแก เชียงใหม เชียงราย นาน พะเยา แพร แมฮองสอน ลำปาง และลำพูน มีโรงเรียนคาทอลิก ทั้งสิ้น 16 โรงเรียน ในจำนวนนี้เปนโรงเรียน คาทอลิกสังกัดสังฆมณฑล 6 โรงเรียน เปน โรงเรียนของคณะนักบวช 7 โรงเรียน เปน โรงเรียนของฆราวาสคาทอลิก 3 โรงเรียน 6. สังฆมณฑลอุดรธานี มิสซังอุดรธานี แ ยกออกจากมิ ส ซั ง ท า แร เมื่ อ วั น ที่ 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2496 และไดรับการสถาปนา เปนสังฆมณฑลเมื่อวันที่ 18 ธันวาคม พ.ศ. 2508 มีพื้นที่รับผิดชอบ 5 จังหวัด ไดแก อุดรธานี ขอนแกน หนองคาย หนองบัวลำภู และเลย มี โ รงเรี ย นคาทอลิ ก ทั้ ง สิ้ น 24 โรงเรียน ในจำนวนนี้เปนโรงเรียนคาทอลิก สังกัดสังฆมณฑล 12 โรงเรียน เปนโรงเรียน ของคณะนักบวช 11 โรงเรียน โรงเรียนของ ฆราวาสคาทอลิก 1 โรงเรียน


วุฒิชัย อองนาวา พิเชษฐ รุงลาวัลย ทิพอนงค รัชนีลัดดาจต

7. สังฆมณฑลอุบลราชธานี มิสซัง อุบลราชธานีแยกออกจากมิสซังทาแร เมื่อ วันที่ 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2496 มีพื้นที่รับ ผิดชอบ 7 จังหวัด คือ อุบลราชธานี มหาสารคาม ยโสธร รอยเอ็ด ศรีสะเกษ สุรินทร และอำนาจเจริญ มีโรงเรียนคาทอลิกทั้งสิ้น 17 โรงเรียน ในจำนวนนีเ้ ปนโรงเรียนคาทอลิก สังกัดสังฆมณฑล 11 โรงเรียน เปนโรงเรียน ของคณะนักบวช 6 โรงเรียน 8. สังฆมณฑลนครราชสีมา มิสซัง นครราชสีมาแยกออกจากมิสซังอุบลราชธานี เมื่อวันที่ 21 เมษายน พ.ศ.2508 มีอาณาเขต รับผิดชอบ 3 จังหวัด ไดแก นครราชสีมา ชัยภูมิ และบุรีรัมย มีโรงเรียนคาทอลิกทั้งสิ้น 15 โรงเรียน ในจำนวนนี้เปนโรงเรียนคาทอลิก สังกัดสังฆมณฑล 11 โรงเรียน เปนโรงเรียน ของคณะนักบวช 1 โรงเรียน เปนโรงเรียน ของฆราวาสคาทอลิก 3 โรงเรียน 9. สั ง ฆมณฑลนครสวรรค มิ ส ซั ง นครสวรรค แ ยกออกจากอั ค รสั ง ฆมณฑล กรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ พ.ศ. 2510 มีพื้นที่รับผิดชอบ 13 จังหวัด ไดแก นครสวรรค กำแพงเพชร ชัยนาท ตาก พิจิตร พิษณุโลก เพชรบูรณ ลพบุรีสิงหบุรี สระบุรี สุโขทัย อุทัยธานี และอุตรดิตถ มีโรงเรียน คาทอลิกทั้งสิ้น 16 โรงเรียน ในจำนวนนี้

เป น โรงเรี ย นคาทอลิ ก สั ง กั ด สั ง ฆมณฑล 8 โรงเรียน เปนโรงเรี ยนของคณะนักบวช 7 โรงเรียน เปนโรงเรียนของฆราวาสคาทอลิก 1 โรงเรียน 10. สังฆมณฑลสุราษฎรธานี มิสซัง สุราษฎรธานี แยกออกจากมิสซังราชบุรี เมื่อ วันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2512 มีอาณาเขต รับผิดชอบ 15 จังหวัด ไดแก สุราษฎรธานี กระบี่ ชุมพร ตรัง ปตตานี นราธิวาส ประจวบคีรีขันธ นครศรีธรรมราช พังงา พัทลุง ภูเก็ต ระนอง ยะลา สงขลา และสตูล มี โรงเรี ย นคาทอลิ ก ทั้ ง สิ้ น 25 โรงเรี ย น ใน จำนวนนี้ เ ป น โรงเรี ย นคาทอลิ ก สั ง กั ด สั ง ฆมณฑล 11 โรงเรียน เปนโรงเรียนของคณะ นักบวช 14 โรงเรียน สำหรับการศึกษาในครั้งนี้ มุงศึกษา โรงเรี ย นในสั ง กั ด อั ค รสั ง ฆมณฑลกรุ ง เทพฯ เนื่ อ งจากถื อ เป น ศู น ย ก ลางการศึ ก ษาของ ประเทศ และมีจำนวนโรงเรียนในสังกัดมาก ถึง 39 แหง ในที่นี้จึงขอขยายความเฉพาะ โรงเรี ย นในสั ง กั ด อั ค รสั ง ฆมณฑลกรุ ง เทพฯ เทานั้น ฝายการศึกษา อัครสังมณฑลกรุงเทพฯ จากการสั ม มนาที่ บ า นซาเลเซี ย น อ.หัวหิน จ.ประจวบคี รี ขั น ธ เมื่ อ วั น ที่ 12

ปที่ 2 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2010/2553 117


บทบาทหนาที่ที่เปนจรงและความคาดหวังของการบรหารจัดการดานการศึกษา ของฝายการศึกษา อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ

มกราคม พ.ศ. 2527 ที่ประชุมไดมีมติใหกอ ตั้ง “ฝายการศึกษาในโรงเรียนของอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ” และเดือนเมษายน 2545 ไดเปลี่ยนชื่อเปน “ฝายการศึกษา อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ” และเริม่ ตัง้ “คณะกรรมการ บริหารการศึกษา” ซึ่งภายหลังเปลี่ยนชื่อเปน “คณะกรรมการจัดการการศึกษา” และเริ่ม หาผู รั บ ผิ ด ชอบงานเต็ ม เวลา ทั้ ง พระสงฆ (บาทหลวง) และฆราวาสรวมถึงการหาสถานที่ ทำงานของฝายการศึกษาฯ ดวย ฝายการศึกษา อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ เปนหนวยงานหนึ่งที่อยูภายใตความ รั บ ผิ ด ชอบของอั ค รสั ง ฆมณฑลกรุ ง เทพฯ ทำงานเกี่ ย วกั บ การศึ ก ษาของโรงเรี ย น คาทอลิ ก ในเครื อ มี ส ถานที่ ท ำงานตั้ ง อยู ที่ 122/8-9 อาคารแม พ ระรั บ เกี ย รติ ย กขึ้ น สวรรค ซ.นาคสุวรรณ ถ.นนทรี แขวงชอง นนทรี เขตยานนาวา กรุงเทพฯ 10120 การบริ ห ารงานของฝ า ยการศึ ก ษา อั ค รสังฆมณฑลกรุงเทพฯ ฝายการศึกษา อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ แบงการทำงานและมอบหมายใหมีผู รับผิดชอบในการจัดการศึกษาของอัครสังฆมณฑลดังนี้ 1. ประธานกลุมงาน มีหนาที่ควบคุม

118 วารสารวชาการ วทยาลัยแสงธรรม

ดูแลกลุมงานของฝายการศึกษา ซึ่งมี 3 กลุม งาน ไดแก กลุมอำนวยการ กลุมวิชาการ และ กลุมจิตตาภิบาล ดังนี้ 1.1 กลุม งานจิตตาภิบาล ประกอบ ดวย แผนกจิตตาภิบาล แผนกคำสอน การ แพรธรรมและงานเมตตาจิต และแผนกศาสนสัมพันธและชุมชน 1.2 กลุมงานวิชาการ ประกอบ ดวย ศูนยประเมินผลและวิจยั พัฒนาการศึกษา แผนกหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน ศูนยพัฒนาวิชาชีพ แผนกกิจกรรมพัฒนาผู เรียน แผนกอนุบาล และแผนกหองสมุด 1.3 กลุม งานอำนวยการ ประกอบ ดวย แผนกงานอำนวยการ แผนกบุคคล แผนก แผนงานและระบบงบประมาณ แผนกระบบ บัญชีและการเงิน และแผนกโภชนาการ 2. ผูจัดการแผนกตางๆ มีหนาที่ควบ คุม ดูแลใหความชวยเหลืองานของฝายการ ศึกษาฯ ใหเปนไปตามนโยบายและวัตถุประสงค ของอั ค รสั ง ฆมณฑลกรุ ง เทพฯ ซึ่ ง สั ง กั ด อยู ในกลุมงานทั้ง 3 กลุม และมีหนาที่สงเสริม สนับสนุน ประสานงานดานการศึกษา การ ศึกษาอบรมตางๆ ที่เกี่ยวของกับการศึกษา 3. บาทหลวงหัวหนาเขตการศึกษา 6 เขต เปนผูรับผิดชอบงานดานการศึกษา ใน เขตการศึกษาทีฝ่ า ยการศึกษา อัครสังฆมณฑล


วุฒิชัย อองนาวา พิเชษฐ รุงลาวัลย ทิพอนงค รัชนีลัดดาจต

กรุงเทพฯ มอบหมายใหดำเนินการ มีอำนาจ หนาที่บริหาร และกำกับดูแลโรงเรียนในเขต การศึกษาใหดำเนินงานเปนไปตามนโยบาย ของอั ค รสั ง ฆมณฑลกรุ ง เทพฯ และตาม กฎระเบียบของทางราชการ 4. คณะกรรมการจั ด การศึ ก ษา มี หน า ที่ ก ำกั บ ดู แ ลการจั ด การศึ ก ษาในสถาน ศึ ก ษาของอั ค รสั ง ฆมณฑลให เ ป น ไปตาม นโยบาย และวัตถุประสงคที่อัครสังฆมณฑล กรุ ง เทพฯ กำหนด คณะกรรมการจั ด การ ศึ ก ษาประกอบด ว ย ผู อ ำนวยการฝ า ยการ ศึ ก ษาฯ รองผู อ ำนวยการฝ า ยการศึ ก ษาฯ ประธานกลุมงาน ผูจัดการแผนก บาทหลวง หัวหนาเขตการศึกษาทั้ง 6 เขต รวมกับผูแทน ของคณะซิ ส เตอร ที่ ท ำงานในสถานศึ ก ษา คาทอลิ ก สั ง กั ด อั ค รสั ง ฆมณฑลกรุ ง เทพฯ ได แ ก ค ณะภคิ นี พ ระหฤทั ย แห ง กรุ ง เทพฯ คณะภคินี เซนต ปอล เดอ ชารต และคณะ ธิดาพระราชินีมาเรียผูนิรมล (ฝายการศึกษา อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ, 2551ข) วิธีดำเนินการวิจัย ประชากร ประชากรที่ใชในการวิจัยครั้งนี้เปนผู บริหารและครูในสถานศึกษา สังกัดฝายการ ศึกษา อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ ประจำปการ

ศึกษา 2551 ซึ่งมีสถานศึกษาทั้งหมด 39 แหง จำนวนผูปฏิบัติหนาที่ทั้งสิ้น 3,676 คน กลุมตัวอยาง กลุ ม ตั ว อย า งที่ ใช ใ นการวิ จั ย ครั้ ง นี้ เปนผูบริหารและครูที่ปฏิบัติหนาที่ในสถาน ศึกษาสังกัดฝายการศึกษา อัครสังฆมณฑล กรุงเทพฯ ประจำปการศึกษา 2551 จำนวน 541 คน โดยใช ต ารางกำหนดขนาดกลุ ม ตัวอยางของยามาเน (Yamane, 1970: 886887) ที่ระดับความเชื่อมั่น 95 ทั้งนี้ยอมให เกิดความคลาดเคลื่อนรอยละ 4 เลือกมาโดย วิธีการสุมแบบหลายขั้นตอน (Multi-Stage Sampling) ซึ่ ง มี ล ำดั บ ขั้ น ตอนของการสุ ม ดังนี้ 1. กลุมตัวอยางที่เปนผูบริหารใชวิธี การสุมอยางงาย (Simple Random Sampling) จากประชากร 2 กลุมดังนี้ 1.1 กลุมตัวอยางที่เปนผูบริหาร โรงเรียนใชวิธีการสุมอยางงาย (Simple Random Sampling) จำนวนโรงเรียนละ 1 คน จากสถานศึ ก ษาทั้ ง หมด 39 แห ง ได ก ลุ ม ตั ว อย า งที่เ ป น ผูบ ริ ห ารที่ ใช ส ำหรั บ การวิ จัย ครัง้ นีจ้ ำนวน 39 คน 1.2 กลุ ม ตั ว อย า งที่ เ ป น ผู ช ว ยผู บริหารฝายตางๆ ใชการสุม อยางงาย (Simple

ปที่ 2 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2010/2553 119


บทบาทหนาที่ที่เปนจรงและความคาดหวังของการบรหารจัดการดานการศึกษา ของฝายการศึกษา อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ

Random Sampling) โรงเรียนละ 3 คนจาก สถานศึกษาจำนวน 39 แหง ใชกลุมตัวอยาง ทั้งสิ้นจำนวน 117 คน 2. กลุ ม ตั ว อย า งที่ เ ป น ครู ส อนใช วิธีการสุมแบบหลายขั้นตอน (Multi-Stage Sampling) ตามลักษณะเฉพาะของผูใ หขอ มูล แตละกลุม ดังนี้ 2.1 กลุม ตัวอยางทีเ่ ปนครูหวั หนา กลุ ม สาระการเรี ย นรู ใช ก ารสุ ม อย า งง า ย (Simple Random Sampling) ในแตละ สถานศึ ก ษามี ก ลุ ม สาระการเรี ย นรู จ ำนวน 8 สาระการเรียนรู จากสถานศึกษาทั้งหมด 39 แหง สุมกลุมตัวอยางที่เปนครูหัวหนากลุม สาระการเรียนรูทั้งหมด 80 คน 2.2 กลุม ตัวอยางทีเ่ ปนครูผปู ฏิบตั ิ งานสอน ใชการสุมอยางงาย (Simple Random Sampling) โรงเรียนละ 6 คน จาก สถานศึกษาจำนวน 39 แหง ไดกลุมตัวอยาง ที่เปนครูผูปฏิบัติงานสอนจำนวน 234 คน 2.3 กลุมตัวอยางที่เปนบุคลากร ทางการศึกษา ใชการสุมอยางงาย (Simple Random Sampling) จากจำนวนรวมที่เหลือ จากการสุม ไดกลุมตัวอยางที่เปนครูสนับสนุน การสอนจำนวน 71 คน

120 วารสารวชาการ วทยาลัยแสงธรรม

เครื่องมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูล เครื่องมือที่ใชในการวิจัยขั้นตอนนี้ คือ แบบสอบถามเรื่ อ งบทบาทหน า ที่ ที่ เ ป น จริ ง และความคาดหวังของการบริหารจัดการดาน การศึกษาของฝายการศึกษา อัครสังฆมณฑล กรุงเทพฯ มีสาระครอบคลุมประเด็นตอไปนี้ 1) สถานภาพของผูตอบแบบสอบถาม 2) การ ติดตอประสานงานกับฝายการศึกษาฯ 3) การ ทำงานที่สัมพันธกับแผนกงานฝายการศึกษาฯ 4) บทบาทหนาที่ที่เปนจริงและความคาดหวัง ของการบริหารจัดการดานการศึกษาของฝาย การศึกษาฯ และ 5) แนวทางสำหรับการปฏิบตั ิ งาน วิธีดำเนินการเก็บรวบรวมขอมูล การเก็บรวบรวมขอมูลดำเนินการโดย การแจกแบบสอบถามใหกับสถานศึกษาทั้ง 39 แหงทางไปรษณีย โดยดำเนินการระหวาง วันที่ 13 กุมภาพันธ 2552 ถึงวันที่ 20 มีนาคม 2552 ซึ่งมีขั้นตอนในการเก็บรวบรวมขอมูล ดังนี้ 1. ออกจดหมายขอความอนุเคราะห ตอบแบบสอบถามไปยังโรงเรียนทั้ง 39 แหง 2. ติ ด ต อ ประสานงานกั บ ผู บ ริ ห าร


วุฒิชัย อองนาวา พิเชษฐ รุงลาวัลย ทิพอนงค รัชนีลัดดาจต

สถานศึ ก ษาในการเก็ บ รวบรวมข อ มู ล จาก บุคลากรของสถานศึกษา นัดเวลาในการรับ แบบสอบถามคืนโดยเวนระยะเวลาประมาณ 1 เดือน 3. เมื่อไดรับแบบสอบถามกลับคืน แลวไดตรวจสอบความถูกตองของการตอบ แบบสอบถาม จากนั้ น บั น ทึ ก ลงรหั ส เพื่ อ ดำเนินการวิเคราะหขอมูลตอไป 4. สงแบบสอบถามไปจำนวน 541 ฉบับ ไดรับกลับคืนจำนวน 407 ฉบับ คิดเปน รอยละ 75.23 การวิเคราะหขอมูลและสถิติที่ใช 1. ขอมูลสถานภาพของผูตอบแบบ สอบถามวิ เคราะหความถี่แล วหาคารอยละ จากนั้ นนำเสนอในรูปตารางประกอบความ เรียง 2. ข อ มู ล การติ ด ต อ ประสานงาน กับฝายการศึกษาฯ วิเคราะหความถีแ่ ลวหาคา รอยละ จากนั้นนำเสนอขอมูลเปนภาพรวม และรายด า นแยกตามตำแหน ง หน า ที่ ใ น โรงเรียน โดยผลการวิเคราะหขอมูลนำเสนอ ในรูปของตารางประกอบความเรียง 3. ข อ มู ล การทำงานที่ สั ม พั น ธ กั บ แผนกงานฝายการศึกษาฯ วิเคราะหความถี่ แลวหาคารอยละ จากนั้นนำเสนอขอมูลแยก

ตามตำแหนงหนาที่ในโรงเรียน โดยผลการ วิ เ คราะห ข อ มู ล นำเสนอในรู ป ของตาราง ประกอบความเรียง 4. ข อ มู ล บทบาทหน า ที่ ที่ เ ป น จริ ง และความคาดหวังของการบริหารจัดการดาน การศึกษาของฝายการศึกษาฯ วิเคราะหโดย ใช ค า เฉลี่ ย และค า ส ว นเบี่ ย งเบนมาตรฐาน แล ว นำเสนอผลการวิ เ คราะห ด ว ยตาราง ประกอบความเรียง การกำหนดระดั บ คะแนนและการ แปลความหมายโดยนำค า เฉลี่ ย เที ย บกั บ เกณฑตามแนวคิดของเบสท (John W.Best, 1970) 5. ขอมูลแนวทางสำหรับการปฏิบัติ งานเป น แบบสอบถามปลายเป ด ให ผู ต อบ แบบสอบถามแสดงความคิดเห็น แบงเปน 2 สวนคือ สวนที่ 1 ใหเรียงลำดับประสิทธิภาพ ในการปฏิ บั ติ ง านของแผนกต า งๆ ที่ ผู ต อบ แบบสอบถามมีสวนเกี่ยวของกับการบริหาร งานของฝายการศึกษาอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ สวนที่ 2 ใหแสดงความคิดเห็นเกี่ยว กับเหตุผลที่เลือกการจัดอับดับในลำดับแรก และสุดทายเพื่อเปนแนวทางในการพัฒนาใช การวิเคราะหเนื้อหา (Content Analysis)

ปที่ 2 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2010/2553 121


บทบาทหนาที่ที่เปนจรงและความคาดหวังของการบรหารจัดการดานการศึกษา ของฝายการศึกษา อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ

จากนั้นนำเสนอผลการวิเคราะหขอมูลในรูป ของความเรียง ผลการศึกษา บทบาทหนาที่ที่เปนจริงของการบริหารจัด การดานการศึกษาของฝายการศึกษา อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ จากการศึ ก ษาข อ มู ล การติ ด ต อ ประสานงานของผูเกี่ยวของกับฝายการศึกษา อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ พบวา กลุมตัวอยาง สวนใหญไดรับรูขอมูลขาวสารความเคลื่อน ไหวของฝ า ยการศึ ก ษาฯ จากการประชุ ม / อบรม/สัมมนา ของฝายการศึกษาฯ และกลุม ตั ว อย า งส ว นใหญ ไ ด รั บ ความสะดวกและ ไดขอมูลครบถวนในการติดตอประสานงาน ผูบริหารและครูไดรับรูขอมูลขาวสาร ความเคลื่อนไหวของฝายการศึกษา อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ จากชองทางตางๆ เรียงตาม ลำดับ ดังนี้ 1) การประชุม/อบรม/สัมมนาของ ฝายการศึกษาฯ 2) จดหมายเวียนจากฝายการ ศึกษาฯ 3) เว็บไซตของฝายการศึกษาฯ และ 4) ชองทางอื่นๆ การศึกษาขอมูลบทบาทหนาที่ที่เปน จริงของการบริหารจัดการดานการศึกษาของ ฝ า ยการศึ ก ษา อั ค รสั ง ฆมณฑลกรุ ง เทพฯ ผลการศึกษา พบวา

122 วารสารวชาการ วทยาลัยแสงธรรม

1. กลุมงานจิตตาภิบาล กลุมตัวอยาง เห็นวา การดำเนินงานตามบทบาทหนาที่ที่ เปนจริงของกลุมงานนี้ในภาพรวมอยูในระดับ มาก (x=3.56) เมื่อพิจารณาคะแนนเฉลี่ยเปน รายข อ พบว า แผนกจิ ต ตาภิ บ าล มี ค ะแนน เฉลี่ยสูงสุด (x=3.69) 2. กลุมงานวิชาการ กลุมตัวอยางมี ความคิดเห็นตอการดำเนินงานตามบทบาท หนาที่ที่เปนจริงของกลุมงานนี้ในภาพรวมอยู ในระดั บ มาก (x =3.55) เมื่ อ พิ จ ารณา คะแนนเฉลี่ยเปนรายขอ พบวา ศูนยประเมิน ผลและวิจยั มีคะแนนเฉลีย่ สูงสุดสุด (x=3.70) 3. กลุม งานอำนวยการ กลุม ตัวอยาง มีความคิดเห็นตอการดำเนินงานตามบทบาท หนาที่ที่เปนจริงของกลุมงานนี้ในภาพรวมอยู ในระดับมาก (x=3.78) เมื่อพิจารณาคะแนน เฉลี่ยเปนรายขอพบวาแผนกบุคคล มีคะแนน เฉลี่ยสูงสุด (x=3.94) ความคาดหวังตอบทบาทหนาทีใ่ นการบริหาร จั ด การด า นการศึ ก ษาของฝ า ยการศึ ก ษา อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ การศึกษาเกี่ยวกับความคาดหวังตอ การบริหารงานของฝายการศึกษาอัครสังฆมณฑลกรุ ง เทพฯ โดยศึ ก ษาความคาดหวั ง จากการบริ ห ารงานของฝ า ยการศึ ก ษาฯ


วุฒิชัย อองนาวา พิเชษฐ รุงลาวัลย ทิพอนงค รัชนีลัดดาจต

ผลการศึกษาพบวา 1. กลุม งานจิตตาภิบาล กลุม ตัวอยาง มีความคาดหวังตอกลุมงานนี้ในภาพรวมอยู ในระดับมากที่สุด (x=4.52) เมื่อพิจารณา คะแนนเฉลี่ยเปนรายขอพบวาแผนกจิตตาภิบาลและแผนกคำสอน มีคะแนนเฉลี่ยสูงสุด (x=4.55) 2. กลุมงานวิชาการ กลุมตัวอยางมี ความคาดหวังตอกลุมงานนี้ในภาพรวมอยูใน ระดับมากทีส่ ดุ (x=4.59) เมือ่ พิจารณาคะแนน เฉลี่ ย เป น รายข อ พบว า แผนกหลั ก สู ต ร มี คะแนนเฉลี่ยสูงสุด (x=4.66) 3. กลุมงานอำนวยการ กลุมตัวอยาง มีความคาดหวังตอกลุมงานนี้ในภาพรวมอยู ในระดับมากที่สุด (x=4.62) เมื่อพิจารณา คะแนนเฉลี่ ย เป น รายข อ พบว า แผนกงาน อำนวยการ มีคะแนนเฉลี่ยสูงสุด (x=3.74) แนวทางในการปฏิบตั งิ านของฝายการศึกษา อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ การศึ ก ษาเกี่ ย วกั บ แนวทางในการ ปฏิบัติงานของฝายการศึกษา อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ ใชแบบสอบถามปลายเปด ผลการ ศึกษาพบวา 1. กลุมงานจิตตาภิบาล 1.1 แผนกจิ ต ตาภิ บ าล ทั้ ง นี้ ผู

บริหาร และครูไดเสนอแนวทางเพือ่ พัฒนางาน จิตตาภิบาลใหดีขึ้นดังตอไปนี้ กลาวคือ ควร มีการประสานงานกับทางศูนยคำสอนอยาง ตอเนือ่ ง และควรสงเสริมในเรือ่ งของคุณธรรม จริ ย ธรรมมากยิ่ ง ขึ้ น โดยการเพิ่ ม กิ จ กรรม การนิ ม นต พ ระมาเทศน ส อน และมี ก าร ประเมินผลงานเดือนละครั้ง สงเสริมใหครูมี คุณธรรมจริยธรรม และควรประชาสัมพันธ ใหครูฝายตางๆ เห็นความสำคัญในเรื่องของ คุณธรรมจริยธรรมมากขึ้น 1.2 แผนกคำสอน งานแพรธรรม และเมตตาจิต ทั้งนี้ผูบริหาร และครูไดเสนอ แนวทางเพื่อพัฒนางานดานคำสอน งานแพร ธรรมและเมตตาจิตไวดังตอไปนี้ กลาวคือ ให มี ก ารติ ด ตามประเมิ น ผลเป น ระยะๆ อย า ง ตอเนื่อง มีการแลกเปลีย่ นแนวทางการปฏิบตั ิ งานระหวางโรงเรียน จัดทำตัวอยางแผนการ สอนคำสอน โดยใชตัวอยางจากโรงเรียนที่มี แนวปฏิบัติที่ดี (Best Practice) เพื่อใหเปน แนวทางสำหรับครูใหม 1.3 แผนกศาสนสั ม พั น ธ แ ละ ชุ ม ชน ทั้ ง นี้ ผู บ ริ ห าร และครู ไ ด เ สนอแนว ทางเพื่อพัฒนางานศาสนสัมพันธและชุมชน ไวดังตอไปนี้ กลาวคือ เนนการประชาสัมพันธ และการติ ด ต อ ประสานงาน โดยอาจมี เจ า หนาที่ของฝายการศึกษาฯ คอยใหคำแนะนำ

ปที่ 2 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2010/2553 123


บทบาทหนาที่ที่เปนจรงและความคาดหวังของการบรหารจัดการดานการศึกษา ของฝายการศึกษา อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ

และเยี่ยมเยียนโรงเรียน จัดอบรมเพื่อใหครู สามารถปฏิบัติงานไดทั้งในโรงเรียนและชุมชน ร ว มมื อ กั บ ศาสนาอื่ น และชุ ม ชนให ม ากขึ้ น เปดโอกาสใหโรงเรียนไดนิมนตพระมาเทศน และสอนในโรงเรี ย น จั ด กิ จ กรรมร ว มกั บ ศาสนาอื่นและชุมชน 2. กลุมงานวิชาการ 2.1 ศู น ย ป ระเมิ น ผลและวิ จั ย พั ฒ นาการศึ ก ษา ทั้ ง นี้ ผู บ ริ ห าร และครู ไ ด เสนอแนวทางเพื่ อ พั ฒ นางานให ดี ขึ้ น คื อ ควรพัฒนาระบบคลังขอสอบ สรางมาตรฐาน โรงเรี ย นคาทอลิ ก จั ด ระบบประเมิ น ผลให ดำเนินการในทิศทางเดียวกัน จัดอบรมการ สร า งแบบทดสอบอย า งต อ เนื่ อ งเพื่ อ ให ค รู สามารถสร า งแบบทดสอบได อ ย า งถู ก ต อ ง ในเรื่องของการวิจัย ควรสรางความตระหนัก ให ค รู เ ห็ น คุ ณ ค า ในการทำวิ จั ย เพื่ อ พั ฒ นา การเรียนการสอน จัดอบรมดานการวิจัยเพื่อ ให ค รู ส ามารถดำเนิ น การวิ จั ย และพั ฒ นา งานวิจยั ได ตลอดจนลดภาระงานดานเอกสาร ลงเพื่ อ ให ส ามารถทำงานวิ จั ย ในชั้ น เรี ย นได อยางเต็มที่ และควรประชาสัมพันธใหทราบ ความเคลื่อนไหว 2.2 แผนกหลักสูตรและการจัด การเรียนการสอน ผูบริหาร และครูไดเสนอ แนวทางเพื่อพัฒนางานใหดีขึ้น คือ ควรจัด

124 วารสารวชาการ วทยาลัยแสงธรรม

อบรมและพัฒนาอยางตอเนื่องและครอบคลุม ทุกกลุม สาระ โดยพัฒนาในทุกโรงเรียน ไมควร เนนเพียงบางกลุม เพื่อใหครูทุกคนตระหนัก ถึ ง ความสำคั ญ จำเป น ในการพั ฒ นาตนเอง โดยเฉพาะในเรื่องของเทคนิควิธีการสอน สื่อ และอุ ป กรณ ป ระกอบการสอน และจั ด ทำ ตั ว อย า งแผนการสอนหรื อ นวั ต กรรมต า งๆ ที่ฝายการศึกษาฯ จัดประกวดเพื่อเผยแพรให ครูใชเปนแนวทางได ปรับปรุงหลักสูตรและ การจัดการเรียนการสอนใหทันสมัย โดยใช หลั ก สู ต รใหม ป 2552 ที่ ก ระทรวงศึ ก ษาธิการกำหนด และอาจเพิ่มภูมิปญญาทองถิ่น ในบางรายวิ ช า และลดภาระด า นเอกสาร สำหรับครูผูสอนเพื่อใหสามารถเตรียมสอน ไดอยางเต็มที่ 2.3 ศู น ย พั ฒ นาวิ ช าชี พ ครู ผู บริหาร และครูไดเสนอแนวทางเพือ่ พัฒนางาน ใหดีขึ้น คือ ควรพัฒนาครูใหเปนผูรู โดยการ สงเสริมใหครูไดเขารับการอบรมมากขึ้น ได รั บ ทราบข า วสารจากสื่ อ ต า งๆ มากขึ้ น จั ด อบรมมาตรฐานวิ ช าชี พ ครู อ ย า งต อ เนื่ อ ง เพื่ อ ให ค รู ไ ด พั ฒ นาด า นการเรี ย นการสอน ตลอดจนสามารถรักษามาตรฐานที่ดีไว 2.4 แผนกกิ จ กรรมพั ฒ นาผู เรียน/ลูกเสือเนตรนารี/กิจการนักเรียน ทั้งนี้ ผูบริหาร และครูไดเสนอแนวทางเพื่อพัฒนา


วุฒิชัย อองนาวา พิเชษฐ รุงลาวัลย ทิพอนงค รัชนีลัดดาจต

งานใหดีขึ้น คือ กิจกรรมพัฒนาผูเรียนควรลง ลึกถึงตัวผูเรียนใหมากขึน้ เชน กิจกรรมแนะ แนว กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี ชมรมตางๆ เพื่อปลูกฝงใหผูเรียนเกิดทักษะชีวิตครบทุก ด าน ทั้งนี้ ควรประชาสัมพันธการดำเนินงานของแผนกฯ ใหโรงเรียนไดทราบอยางตอ เนื่อง 2.5 แผนกอนุบาล ผูบริหาร และ ครู ได เ สนอแนวทางเพื่อ พั ฒ นางานใหดีขึ้น คือ เพิ่มทักษะดานปฐมวัยใหกับครู โดยการ จัดอบรมเชิงปฏิบัติการสำหรับครูอนุบาลโดย เฉพาะ เพื่อใหสามารถปฏิบัติงานไดอยางเปน รูปธรรมและดำเนินไปในทิศทางเดียวกัน และ ดู แ ลทุ ก โรงเรี ย นอย า งทั่ ว ถึ ง โดยเฉพาะโรง เรียนเล็กๆ นอกจากนี้ควรประชาสัมพันธการ ดำเนินงานของแผนกฯ ใหโรงเรียนไดทราบ อยางตอเนื่อง 2.6 แผนกหองสมุด ผูบ ริหาร และ ครู ไดเ สนอแนวทางเพื่อ พัฒ นางานใหดีขึ้น คือ ควรเพิ่มหนังสือใหมีจำนวนมากขึ้นและมี ความหลากหลาย สนับสนุนดานเทคโนโลยี สารสนเทศใหทันสมัย โดยเฉพาะเครื่องคอมพิ ว เตอร แ ละอิ น เตอร เ น็ ต สำหรั บ ใช ค น คว า ขอมูล สงเสริมบรรณารักษใหสามารถพัฒนา ห อ งสมุ ด ได อ ย า งเต็ ม ที่ ทั้ ง ด า นการบริ ก าร กิจกรรม มีการนิเทศติดตามและจัดสรรงบ

ประมาณใหกับหองสมุดแตละโรงเรียนอยาง ชัดเจน โดยเฉพาะโรงเรียนขนาดเล็กที่ขาด แคลนงบประมาณ และมี ก ารแจ ง ข า วสาร อยางสม่ำเสมอโดยเฉพาะขาวสารเรื่องการ ประกวดหองสมุด 3. กลุมงานอำนวยการ 3.1 แผนกงานอำนวยการ ผู บริหาร และครูไดเสนอแนวทางเพือ่ พัฒนางาน ใหดีข้นึ คือ ควรมีการประชาสัมพันธใหทราบ อยางทั่วถึง และการจัดประชุมในแตละครั้ง ควรจัดใหมีเนื้อหาที่กระชับ 3.2 แผนกบุคคล ผูบริหาร และ ครู ไดเ สนอแนวทางเพื่อ พัฒ นางานใหดีขึ้น คือ ใหเจาหนาที่ฝายบุคคลไดรับขอมูลจาก ทางฝายการศึกษาฯ มากขึ้น ควรมีการสรุป เงินฝาก 2% ของครูใหทราบในแตละป และ จั ด ให มี ส วั ส ดิ ก ารพิ เ ศษ หรื อ ค า ตำแหน ง ที่ สูงขึ้นเพื่อสรางแรงจูงใจ 3.3 แผนกแผนงานและระบบ งบประมาณ ผูบริหาร และครูไดเสนอแนว ทางเพื่ อ พั ฒ นางานให ดี ขึ้ น คื อ มี ก ารจั ด จำแนกเกณฑการพิจารณางบประมาณตาม ประเภทของสถานศึ ก ษาเพื่ อ ให เ กิ ด ความ เหมาะสมมากยิ่ ง ขึ้ น เช น โรงเรี ย นสามั ญ โรงเรียนอาชีวะ เปนตน มีการนิเทศติดตาม ดู แ ลการปฏิ บั ติ ง านของบุ ค ลากรใหม อ ย า ง

ปที่ 2 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2010/2553 125


บทบาทหนาที่ที่เปนจรงและความคาดหวังของการบรหารจัดการดานการศึกษา ของฝายการศึกษา อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ

ใกลชิด และสำหรับการประชุมชี้แจงโครงการ และงบประมาณควรมี ก ารปฏิ บั ติ ที่ ชั ด เจน และเปนไปในทิศทางเดียวกัน ตลอดจนจัด ใหมีการประชาสัมพันธอยางทั่วถึง 3.4 แผนกระบบบั ญ ชี แ ละการ เงิน ผูบริหาร และครูไดเสนอแนวทางเพื่อ พั ฒ นางานให ดี ขึ้ น คื อ ควรพั ฒ นาระบบ การบริ ห ารติ ด ตามงานที่ รั ด กุ ม และชั ด เจน อีกทั้งไมควรเปลี่ยนผังบัญชีบอยๆ และเนื่อง จากบุ ค ลากรในแผนกนี้ ส ว นใหญ ยั ง ไม มี ใ บ ประกอบวิชาชีพครู ทางฝายการศึกษาฯ จึง ควรพิจารณาพัฒนาในเรื่องเหลานี้ 3.5 แผนกโภชนาการ ผูบริหาร และ ครู ไ ด เ สนอแนวทางเพื่ อ พั ฒ นางานให ดีขึ้น คือ ควรจัดอบรมใหความรูดานโภชนาการและมาตรฐานคุณภาพอาหาร จัดใหมีการ ประกวดเพื่อสงเสริมใหเกิดการพัฒนา และมี การติดตามผลงานอยางตอเนื่อง และทำการ สุมตรวจสอบคุณภาพ และความสะอาดเปน ระยะๆ ส ง เสริ ม อาหารเพื่ อ สุ ข ภาพและ เหมาะสมกับวัยที่กำลังเจริญเติมโตของเด็ก พัฒนาการประชาสัมพันธ และการประสาน งานล ว งหน า โดยการส ง หนั ง สื อ แจ ง เพื่ อ ให เกิดความเขาใจและความพรอมในการปฏิบัติ งาน

126 วารสารวชาการ วทยาลัยแสงธรรม

อภิปรายผล กลุมงานจิตตาภิบาล โดยภาพรวม นั้น บทบาทหนาที่ที่เปนจริงอยูในระดับมาก (x=3.56) โดยมีความควาดหวังอยูในระดับ มากที่ สุ ด (x =4.52) ทั้ ง นี้ สื บ เนื่ อ งจากที่ ผานมา กลุมงานจิตตาภิบาล ฝายการศึกษา อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ ไดดำเนินการปรับ ปรุง พัฒนา และเพิ่มศักยภาพในดานตางๆ มาโดยตลอด ตามกฤษฎีกาสมัชชาอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ (2551) บทที่ 11 วาดวย เรือ่ ง การฟน ฟูงานคำสอน โดยมีใจความสำคัญ ตอนหนึ่งวา “พระศาสนจักรทองถิ่นมีหนาที่ ดูแลเอาใจใส ปรับปรุง พัฒนา เพิ่มเติมศักยภาพในดานตางๆ ของครูคำสอน เนื้อหา และ สื่อคำสอน ใหเขากับยุคสมัย รวมทั้งสงเสริม งานคำสอนทุ ก ด า นให ม ากที่ สุ ด เท า ที่ จ ะ กระทำได” (ขอ 92) ซึ่งสอดคลองกับวิสยั ทัศนของกลุม งานจิตตาภิบาล ที่กำหนดไววา “มุ ง มั่ น ให ส ถานศึ ก ษาคาทอลิ ก เป น สนาม ประกาศขาวดีเปนพยานถึงความรัก การรับ ใชแ ละเมตตาธรรม ดัง ที่พ ระคริส ตเจา ทรง เปนหนทาง ความจริง และชีวิต ประกาศ พระคริสตเจาแกบุคลากร นักเรียน ผูปกครอง ขณะเดียวกันพระศาสนจักรก็ตอ งสงเสริม และ พัฒนาคุณธรรมจริยธรรมแกผูเรียนทุกคน ให


วุฒิชัย อองนาวา พิเชษฐ รุงลาวัลย ทิพอนงค รัชนีลัดดาจต

เขาถึงคุณคาความดีตามความเชื่อของแตละ ศาสนา และเพื่อสามารถมีชีวิตอยูรวมกันใน สังคมอยางมีความสุข มีความสมานฉันท มี ความเขาใจซึง่ กันและกัน อาศัยการเสวนาและ สงเสริมงานดานศาสนสัมพันธ” ดังนั้นเพื่อให บรรลุถึงวิสัยทัศนดังกลาว โรงเรียนคาทอลิก ในสังกัดอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ จึงไดจัดให มีหอ งคำสอน หรือหองคริสตศาสนา เพือ่ บริการ ด า นหนั ง สื อ คำสอน พระคั ม ภี ร นิ ต ยสาร คาทอลิก และสื่ออุปกรณคำสอนที่ทันสมัยไว บริการ ซึ่งสอดคลองกับงานวิจัยของ นิตยา โจสรรคนุสนธิ์ (2547) ที่วา การปฏิบัติงาน ของจิ ต ตาภิ บ าลโรงเรี ย นคาทอลิ ก โดยภาพ รวมและรายดานอยูในระดับมาก พฤติกรรม ทางคุ ณ ธรรมจริ ย ธรรมและค า นิ ย มที่ พึ ง ประสงคของผูเรียนโดยภาพรวมและรายดาน อยูในระดับมาก การปฏิ บั ติ ง านของจิ ต ตาภิบาลโรงเรียนคาทอลิกที่สงผลตอพฤติกรรม ทางคุ ณ ธรรมจริ ย ธรรมและค า นิ ย มที่ พึ ง ประสงค ข องผู เรี ย น คื อ งานการสร า งและ จั ด บรรยากาศสิ่ ง แวดล อ มและทรั พ ยากร งานดานการจัดกิจกรรมการเรียนรู งานดาน การอภิบาล งานดานการแพรธรรม และงาน ช ว ยเหลื อ ผู ย ากไร ด า นการให ก ารศึ ก ษา อย า งมี นั ย สำคั ญ ทางสถิ ติ ที่ ร ะดั บ .05 สอด คลองกับ อิทธิพล ศรีรัตนะ (2550) ที่วา

บรรยากาศองคการในโรงเรียนคาทอลิก อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ โดยภาพรวมและราย ด า นอยู ใ นระดั บ มาก ที่ เ ป น เช น นี้ เ พราะใน โรงเรียนของอัครสัง ฆมณฑลกรุ ง เทพฯ ทุก โรงเรี ย นมี ฝ า ยจิ ต ตาภิ บ าล ซึ่ ง งานหลั ก ประการหนึ่งของฝายจิตตาภิบาล คือ การ สร า งบรรยากาศในโรงเรี ย น โดยมี ก ารจั ด กิจกรรมตางๆ เปนประจำและสม่ำเสมอ กลุมงานวิชาการ โดยภาพรวมนั้น บทบาทหนาที่ที่เปนจริงอยูในระดับมาก (x= 3.55) โดยมีความควาดหวังอยูในระดับมากที่ สุด (x=4.59) ทั้งนี้กลุมงานวิชาการ ฝายการ ศึกษา อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ โดยเฉพาะ ศูนยประเมินผลและวิจัย ซึ่งมีคาเฉลี่ยตาม บทบาทหนาที่ที่เปนจริงสูงที่สุด ซึ่งประกอบ ดวย การประเมินคุณภาพผูเรียนโดยใชการ ประเมินการอานและการคิดวิเคราะห การ พั ฒ นาระบบประเมิ น ผลโดยการสร า งและ ให บ ริ ก ารข อ สอบร ว ม การพั ฒ นาระบบ ประเมิ น ผลโดยการจั ด ทำรายงานและ วิ เ คราะห ผ ลการสอบในแต ล ะกลุ ม สาระ วิ ช า และการพั ฒ นาการศึ ก ษาโดยใช ง าน วิ จั ย ในชั้ น เรี ย นหรื อ งานวิ จั ย รู ป แบบอื่ น ๆ จากองคประกอบตางๆ เหลานี้ทำใหทราบ ไดวา ฝายการศึกษาฯ ไดใหความสำคัญกับ การพัฒนาดานวิชาการดวยการพัฒนาระบบ

ปที่ 2 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2010/2553 127


บทบาทหนาที่ที่เปนจรงและความคาดหวังของการบรหารจัดการดานการศึกษา ของฝายการศึกษา อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ

การประเมินผล ตลอดจนการทำวิจัยและการ นำผลการวิจัยไปใชประโยชน โดยทั้งการวัด การประเมิ น ผล และการวิ จั ย เป น ตั ว บ ง ชี้ คุณภาพที่เปนรูปธรรมชัดเจน และไดรับการ ยอมรับในแงของวิชาการ ซึ่งสอดคลองกับ อรวรรณ จันทรชลอ (2550) ที่กลาววา เพื่อ ให ผู บ ริ ห ารสามารถใช เ ป น แนวทางในการ พั ฒ นาการจัด การศึก ษาให ส อดคลอ งและมี คุณภาพ โรงเรียนคาทอลิกจำเปนตองจัดการ ศึกษาใหมีคุณภาพ เปนรูปธรรมชัดเจน มีตัว บงชี้ที่บงบอกคุณภาพ การจัดการศึกษาโดย เนนปรัชญาการศึกษาคาทอลิก ที่สามารถนำ ไปเป น กรอบและแนวทางในการปฏิ บั ติ ไ ด อยา งเหมาะสม สอดคล อ งกั บ งานวิ จัย ของ ภัสสร เอมโกษา (2545) ที่กลาววา การ บริ ห ารงานวิ ช าการของโรงเรี ย นคาทอลิ ก โดยภาพรวมมี ส ภาพการปฏิ บั ติ ง านใน ระดับมากแทบทุกเรื่อง ซึ่งการบริหารงานใน โรงเรียน มาตรฐานและคุณภาพพิจารณาได จากผลงานดานวิชาการเปนสำคัญ กลุมงานอำนวยการ โดยภาพรวมนั้น บทบาทหนาที่ที่เปนจริงอยูในระดับมาก (x= 3.78) โดยมีความควาดหวังอยูในระดับมาก ที่สุด (x=4.62) ทั้งนี้กลุมงานอำนวยการของ ฝายการศึกษา อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ โดย เฉพาะแผนกบุคคล ซึ่งมีคาเฉลี่ยตามบทบาท

128 วารสารวชาการ วทยาลัยแสงธรรม

หนาที่ที่เปนจริงสูงที่สุด ซึ่งประกอบดวย การ สงเสริมและเชิดชูเกียรติของครูที่ปฏิบัติงาน ครบ 25 ป การใหบริการสวัสดิการเกี่ยวกับ เงินสะสม 2% ของครูและบุคลากร การจัดทำ เอกสารขอมูลดานสถิติโรงเรียน นักเรียน ครู และบุคลากรประจำป และการดำเนินการ เกี่ยวกับทุนการศึกษาของนักเรียน ครูและ บุคลากร ทั้งนี้ฝายการศึกษาฯ ไดใหความ สำคัญกั บบุคลากรที่ปฏิบัติ หนาที่ดวยความ ตัง้ ใจและตอเนือ่ งยาวนาน โดยการจัดกิจกรรม เชิดชูเกียรติ และการจัดสวัสดิการ การสงเสริมการศึกษาตอ ของบุคลากร สอดคลอง กั บ เสกสิ ฐ เล า กิ จ เจริ ญ (2550) ที่ ว า โรงเรี ย นควรมี ก ารเสริ ม แรงหรื อ สร า งกำลั ง ใจในการทำงาน โดยการใหรางวัล การยกยอง ชมเชย การเผยแพร ผ ลงานที่ ดี มี คุ ณ ภาพ สูสาธารณชน สอดคลองกับ เฮิลม (Helm, 1989) ที่วา ควรมีการสรางเสริมความสัมพันธ ในเชิงบวกระหวางครูอาจารย ตลอดจนการ เสริมสรางขวัญกำลังใจ และการรวมแบงปน เทคนิควิธีการนิเทศการสอนและการรวมกัน ตัดสินใจแบบเปนทีมงาน นอกจากนี้ “สายใย แหงสัมพันธภาพ” (Web of Relationships) ที่เชื่อมโยงผูปกครอง ครูอาจารย นักเรียน และผูบริหารเขาไวดวยกัน เปนองคประกอบ ที่สำคัญยิ่ง


วุฒิชัย อองนาวา พิเชษฐ รุงลาวัลย ทิพอนงค รัชนีลัดดาจต

ขอเสนอแนะ ขอเสนอแนะในการนำผลการวิจัยไปใช การศึ ก ษาครั้ ง นี้ เริ่ ม ต น จากการนำ บทบาทหน า ที่ ที่ ฝ า ยการศึ ก ษาฯ ได ด ำเนิ น การในปที่ผานมา เพื่อศึกษาทบทวนบทบาท หนาที่ดงั กลาว ผลการศึกษาปรากฏวา การ ปฏิบัติงานตามบทบาทหนาที่อยูในระดับมาก ทั้ง 3 กลุมงาน (กลุมงานจิตตาภิบาล กลุม งานวิชาการ และกลุมงานอำนวยการ) สวน ความคาดหวั ง นั้ น อยู ใ นระดั บ มากที่ สุ ด ทั้ ง 3 กลุมงานเชนเดียวกัน แสดงใหเห็นวา การ ดำเนินงานของฝายการศึกษาของทั้ง 3 กลุม งานดำเนินการมาถูกทาง หากแตยังตองการ การพัฒ นาอีก เล็ ก น อ ย เพื่อ กา วไปใหถึ ง ขั้น สูงสุดตามความคาดหวัง โดยเฉพาะในแผนก ที่พบวามีบทบาทหนาที่ที่เปนจริงอยูในระดับ ปานกลาง อั น ได แ ก แผนกศาสนสั ม พั น ธ แผนกกิจกรรมพัฒนาผูเรียน แผนกอนุบาล และแผนกโภชนาการ โรงเรี ย นคาทอลิ ก สั ง กั ด อั ค รสั ง ฆมณฑลกรุงเทพฯ มีรูปแบบเครือขายองคกร ที่ดี อาจใชประโยชนจากการเปนองคกรเครือ ข า ยให ม ากขึ้ น จากเดิ ม ที่ ด ำเนิ น การอยู แ ล ว ในการแลกเปลี่ยนเรียนรูซึ่งกันและกัน อาจ เพิ่ ม เติ ม ในเรื่ อ งของรู ป แบบการทำงานที่ ดี

(Best Practice) การสรางบรรยากาศแบบ คาทอลิกในโรงเรียน เปนตน ขอเสนอแนะสำหรับการทำวิจัยครั้งตอไป 1. ควรทำการศึกษาเปรียบเทียบรูป แบบการบริ ห ารจั ด การด า นการศึ ก ษาของ โรงเรียนสังกัดคณะนักบวชอื่นๆ กับโรงเรียน สังกัดอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ 2. เนื่องจากงานวิจัยดานการศึกษา โดยเฉพาะโรงเรียนคาทอลิกสังกัดอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ มีผดู ำเนินการวิจยั ไวมากมาย จึงควรมีการศึกษาวิเคราะห รวบรวมงานวิจัย เหลานั้น เพื่อประโยชนในการศึกษาคนควา ตอยอดตอไป บรรณานุกรม เชษฐา ไชยเดช. 2550. คุณภาพชีวิตการ ทำงานของครูทส่ี ง ผลตอการปฏิบตั ิ งานตามมาตรฐานวิชาชีพครูใน สถานศึกษาคาทอลิกสังกัด อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ. วิทยานิพนธศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ปที่ 2 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2010/2553 129


บทบาทหนาที่ที่เปนจรงและความคาดหวังของการบรหารจัดการดานการศึกษา ของฝายการศึกษา อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ

นิตยา โจสรรคนุสนธิ์. 2547. งานของจิตตาภิบาลโรงเรียน คาทอลิกที่สงผลตอคุณธรรม จริยธรรมและคานิยมที่พึงประสงค ของผูเ รียน. ปริญญานิพนธ ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร. แผนกบุคคล ฝายการศึกษา อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ. 2551. สถิตขิ อ มูลครู นักเรียน ประจำปการศึกษา 2551 โรงเรียนของอัครสังฆมณฑล กรุงเทพฯ. กรุงเทพฯ: ฝายการศึกษา อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ. ฝายการศึกษา, อัครสังมณฑลกรุงเทพฯ. 2551ก. นโยบายการศึกษา ของฝายการศึกษา. สืบคนวันที่ 10 มิถุนายน 2551 จาก http://www.edba.in.th/ AbotUs/Plan.php . 2551ข. โรงเรียนของอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ. สืบคนวันที่ 10 มิถุนายน 2551 จาก http://www.edba.in.th/ myschool/index.php

130 วารสารวชาการ วทยาลัยแสงธรรม

ภัสสร เอมโกษา. 2545. การสังเคราะหงาน วิจัยเกี่ยวกับการบริหารงาน โรงเรียนคาทอลิก. วิทยานิพนธ การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. เสกสิฐ เลากิจเจริญ. 2550. การพัฒนา รูปแบบการบริหารจัดการ เทคโนโลยีคอมพิวเตอร เพื่อการเรียนการสอนในโรงเรียน คาทอลิกสังกัดสังฆมณฑลราชบุรี เขตเหนือ วิทยานิพนธ การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. อภิสทิ ธิ์ กฤษเจริญ. 2551 การพัฒนารูปแบบ การบริหารโรงเรียนเอกชนคาทอลิก สังกัดสังฆมณฑลในทศวรรษหนา. ดุษฎีนิพนธการศึกษาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยบูรพา. อรวรรณ จันทรชลอ. 2550. การวิเคราะห ตัวบงชี้คุณภาพการจัดการศึกษา โรงเรียนคาทอลิกสายสามัญใน


วุฒิชัย อองนาวา พิเชษฐ รุงลาวัลย ทิพอนงค รัชนีลัดดาจต

ประเทศไทย. ดุษฎีนิพนธปรัชญาดุษฎีบณ ั ฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร. อิทธิพล ศรีรัตนะ. 2550. การบริหารโดยใช โรงเรียนเปนฐานกับบรรยากาศ องคการในโรงเรียนคาทอลิก อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ. วิทยานิพนธศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร. Apostolic Constitution Sacrae Disciplinae Leges. 1983 Code of Canon Law. Washington, D.C.: Braun-Brumfield, Inc.

Helm, C. M. 1989. Cultural and Symbolic Leadership in Catholic Elementary School: An Ethnographic Study. Doctoral Dissertation on Catholic School in The United States, 1988-1997 (p.11). Washington : National Catholic Educational Association. Morris, A. B. 2005. Diversity, deprivation and the common good: pupil attainment in Catholic school in England. Oxford Review of Education. 31(2), 311-330.

ปที่ 2 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2010/2553 131


การกอรูปตัวตนของนักบวชหญิงในศาสนจักรคาทอลิกไทย

การกอรูปตัวตนของนักบวชหญิง ในศาสนจักรคาทอลิกไทย

Reconstituting the Self Among the Catholic Nuns in Thailand

ชื่นสุข อาศัยธรรมกุล * นักวิจัยอิสระ และนักฝกอบรมอิสระดานสิทธิมนุษยชน และสิทธิสตรี

132 วารสารวชาการ วทยาลัยแสงธรรม

Chuensuk Arsaithamkul * Research and Training, Focusing on Human Rights and Women’s Rights. * E-mail : toomthai@hotmail.com


ช่นสุข อาศัยธรรมกุล

บทคัดยอ งานวิจัยนี้ ศึกษาการกอรูปตัวตนของนักบวชหญิงในคริสตศาสนานิ ก ายโรมั น คาทอลิ ก ในประเทศไทย เพื่ อ ตอบคำถามว า “นักบวชหญิงคือใคร” และมีกระบวนการฝกฝนขัดเกลาใหสามารถ ดำเนินชีวิตของนักบวชไดอยางไร โดยเลือกศึกษาชีวิตนักบวชหญิงใน คณะภคินพี ระหฤทัยของพระเยซูเจาแหงกรุงเทพฯ ในฐานะคณะนักบวช หญิงพื้นเมืองที่ตั้งขึ้นในประเทศไทย และคณะภคินีอุรสุลินในฐานะ คณะนักบวชนานาชาติ และมุงการศึกษาไปที่นักบวชหญิงที่ผานขั้น โนวิสและประกาศคำปฏิญาณตนเปนนักบวชแลว การศึกษานีป้ ระกอบ ดวยการศึกษาและวิเคราะหเอกสารเกี่ยวกับประวัติการกอตั้งคณะ ภารกิจ กระบวนการฝกอบรมและขัดเกลาผูเตรียมตัวบวช ในบาน อบรมหรืออารามและสถานที่ตางๆ และการสัมภาษณเชิงลึกนักบวช หญิงที่เลาเกี่ยวกับตัวเองและประสบการณชีวิตนักบวช การศึกษาพบวา ตัวตนของนักบวชหญิง1 มิไดมีมาแตกำเนิด หากแตเปนสิ่งที่ถูกสรางขึ้นดวยกระบวนการฝกฝนอบรมขัดเกลาโดย สถาบันนักบวช คณะภคินีพระหฤทัยของพระเยซูเจาแหงกรุงเทพฯ แบงขั้นตอนการอบรมผูเตรียมตัวบวชออกเปน 5 ขั้นตอน ดังนี้ ขั้นที่1 ผูฝกหัดขั้นเยาวนารี ขั้นที่ 2 แอสปรันตรุนเล็ก ขั้นที่ 3 แอสปรันต รุนใหญ ขั้นที่ 4 โปสตุลันตหรือผูฝกหัด และขั้นที่ 5 โนวิสหรือนวกเณรี สวนของคณะภคินีอุรสุลินจะมีเพียง 2 ขั้นตอน คือ ขั้นโปสตุลันต และโนวิส ตามกฎหมายพระศาสนจักรเทานั้น ตลอดกระบวนการ

1

นักบวชหญิงในคริสตศาสนานิกายโรมันคาทอลิก อาจถูกเรียกโดยคำอื่น อันหมายถึงนักบวชหญิงนี้ เชน ภคินี หรือ ซิสเตอร หรือ มาเซอร หรือ คุณแม หรือ มาแมร ในการศึกษาครั้งนี้จะใชคำวา นักบวชหญิง หรือ ซิสเตอร

ปที่ 2 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2010/2553 133


การกอรูปตัวตนของนักบวชหญิงในศาสนจักรคาทอลิกไทย

ฝกอบรมใชเวลาราว 5-12 ป ทั้งนี้โดยมี พระคัมภีร ประกอบกับพระ ธรรมนูญของคณะภคินีอุรสุลินมี 239 ขอ ธรรมวินัยของคณะภคินี พระหฤทัยของพระเยซูเจาแหงกรุงเทพฯ มี 226 ขอ และระเบียบ ประเพณี 156 ขอ ที่เปนทั้งเข็มทิศชี้ทาง สรางพลังชีวิตภายใน รวมทั้ง เปนกรอบภายนอกที่คอยกำกับใหนักบวชหญิงดำรงชีวิตอยูในหนทาง ที่ตนเองเลือกเดินไป ซึ่งแตละขั้นตอนไมไดตัดขาดจากกัน แตเปน การเพิ่มความเขมขนเครงครัดมากขึ้น เมื่อผานกระบวนดังกลาวมา ได ดวยการพิจารณาเห็นพองตองกันทั้งสองฝาย คือ ทั้งคณะผูอบรม รวมกับมหาอธิการิณีและผูที่ตองการจะบวชเองแลวจึงจะสามารถ ปฏิญาณตนเปนนักบวชถือพรหมจรรย ความยากจน และความนบนอบ เชื่อฟงได นั ก บวชหญิ ง ในฐานะที่ เ ป น ศาสนิ ก ในคริ ส ต ศ าสนาซึ่ ง เป น ศาสนาแบบเอกเทวนิยม ผูกสัมพันธกับพระเจาดวยความเชื่อและ ความศรัทธา บนพื้นฐานของญาณวิทยาแบบคริสต มีความเชื่อวา การ ที่ตนเองเริ่มกาวเขามาเปนนักบวชก็ดวย “การเชิญชวนของพระเจา” หรือที่เรียกวา “กระแสเรียก” ซึ่งนักบวชหญิงแตละคนมีประสบการณ ที่ไดรับกระแสเรียกที่แตกตางกันไป การนิยาม “ความเปนนักบวชหญิง” หรือ “ตัวตนของนักบวช หญิง” มีองคประกอบรวมที่สำคัญ 3 สวน คือ 1) การถือตามคำ ปฏิญาณ 3 ประการ คือ พรหมจรรย ความยากจน และความนบนอบ เชื่อฟง 2) การใชชีวิตอยูรวมกันเปนหมูคณะ และ 3) การอุทิศชีวิต เพื่อรับใชผูอื่นตามแบบอยางของพระคริสต จากการศึกษาครั้งนี้สรุปไดวา เนื่องจากคานิยมที่นักบวชหญิง เลือกยึดถือเปนคานิยมที่สวนทางกับคานิยมของโลกปจจุบัน นักบวช หญิ ง จึ ง ต อ งมี สิ่ ง ยึ ด เหนี่ ย วภายในที่ จ ะเป น พลั ง ในการต อ ต า นกั บ คานิยมของโลกปจจุบัน พรอมกับมีกรอบภายนอกที่จะชวยควบคุม

134 วารสารวชาการ วทยาลัยแสงธรรม


ช่นสุข อาศัยธรรมกุล

กำกับตนเอง แตในขณะเดียวกัน นักบวชหญิงก็ตองการมีอิสระใน ระดั บ หนึ่ ง ที่ จ ะยึ ด ถื อ ปฏิ บั ติ ต ามค า นิ ย มนั้ น โดยไม รู สึ ก ว า ถู ก บั ง คั บ อยางไรก็ตามในกรอบของ “ความเปนนักบวชหญิง” ก็มีกรอบของ “ความเปนหญิง” ที่มีบทบาทและความคาดหวังของสังคมกำกับอยู สงผลใหสถานะความเปนรอง (Subordinate) ยังคงอยูกับนักบวช หญิง ในเวลาเดียวกันก็ไดมีการตอสูของนักบวชหญิงที่จะกาวพนจาก สถานะเช น นั้ น ด ว ย การก อ รู ป ตั ว ตนของนั ก บวชหญิ ง จึ ง ไม ห ยุ ด นิ่ ง ยังคงมีกระบวนการของการกอตัวตนดำเนินอยูตลอดเวลา คำสำคัญ :

1) นักบวชหญิง 3) การกอรูปตัวตน

2) คณะภคิณี 4) ศาสนจักรคาทอลิก

Abstract The research entitled Reconstituting Self Among the Catholic Nuns in Thailand aims to answer the question of “Who is the Nun?” and what process of the forma tion is needed to achieve the living of a religious life. The respondents of the study are a group of Nuns in the Congregation of the Sisters of the Sacred Heart of Jesus of Bangkok as a local congregation originated in Thailand and the Sister Congregation of Ursulines as the inter national congregation. All the respondents had taken solemn vows. This study is based on documentations reviewing and analyzing the history of these congregations, the tasks of the Nuns and the initial process for entering the congregation. Another method used in this study is

ปที่ 2 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2010/2553 135


การกอรูปตัวตนของนักบวชหญิงในศาสนจักรคาทอลิกไทย

in-depth interviewing in which the Nun respondents told the researcher the story of their lives and their experiences as a Nun. Based on the interview, this study found that the “Self” as a Nun was not naturally created but was re-formed by the process of learning and modifications encountered in the religious institution. In general, the Congregation of the Sisters of the Sacred Heart of Jesus of Bangkok has typically divided the process of formation into five steps, firstly the Young Woman, secondly the Junior Aspirant, thirdly the Senior Aspirant, fourthly the Postulant and the fifth the Novice. However, the process within the Sister Congregation of Ursulines has set into only two steps, Postulant and Novice, according to the Cannon Law. The completion of these initial periods would take from five to twelve years. Indeed, the Nuns who are in the Sister Congregation of Ursulines must constitutionally act upon the 239 decrees. For the Nuns in the Congregation of the Sisters of the Sacred Heart of Jesus of Bangkok, there are 226 particular rules and 156 traditional customs which they must conform. These principles are the fundamental commandments for their establishment of their interior religious life. Furthermore, it can be the external framework for their lives as religious. Each step of preparation for becoming a Nun is part of the whole cannot be separated, those steps become increasingly rigid and more

136 วารสารวชาการ วทยาลัยแสงธรรม


ช่นสุข อาศัยธรรมกุล

serious. The completion of the process must be the coherent decision of the two parties; first are the minister committees including the female monastery Superior and the woman herself who wishes to enter the convent. Upon the completion of the process, she can finally take the solemn vows of poverty, chastity and obedience. A Nun with the status of a religious woman member of Christ is vowed to God alone and is related to God through faith. On the basis of Christian Spirituality, they believe that their entrance into convent is the answer to “Invitation of God” or “His Calling” which is expressed differently as the Nun respondents’ life stories informed us. The essence of the “Catholic Religious Life” or the “Self of the Catholic Nun” is composed of three essential parts; firstly, promising to deserve the three vows of chasity, poverty and obedience, secondly, living a religious life and having a ministry, thirdly, they must wholeheartedly sacrifi ce their lives to serve other people following the model of Jesus Christ. In sum, this study found that the values to which the Nuns adhere to are apparently contradictory to the values of modern society. Therefore, they must be radically attached to the serious belief in God’s calling. Also, they must have external boundaries for controlling their behavior. Nonetheless, this study showed that the Nuns

ปที่ 2 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2010/2553 137


การกอรูปตัวตนของนักบวชหญิงในศาสนจักรคาทอลิกไทย

need some level of freedom in order to freely practice those norms. The boundary of “Religious life” thus is constituted still covered by the framework of “Womanhood” as expected and controlled by society. The subordinate status of the Nun still remains. Since they had indeed attempted to fight for crossing this status, the “Re-constituting Self” ideals of the Nun respondents are found to be very dynamic and on-going. Keywords :

138 วารสารวชาการ วทยาลัยแสงธรรม

1) Nun 2) Congregation 3) Reconstituting Self 4) Catholic Church


ช่นสุข อาศัยธรรมกุล

ความเปนมาและความสำคัญของปญหา หนังสือ 25 ปชมรมนักบวชหญิงใน พระศาสนจักรไทย มีขอเขียนเรื่อง “นักบวช คือใคร?” (ชมรมนักบวชหญิง, 2528, น.168) ไดใหคำจำกัดความไววา “นักบวช คือ ผูที่ตอบ สนองการเรียกของพระเจา (ชาวคาทอลิกมัก ใช ค ำว า “กระแสเรี ย ก”-ขยายความโดยผู วิจยั ) ใหมาดำเนินชีวติ รวมกันเปนหมูค ณะดวย การประกาศถือคำปฏิญาณ 3 ประการ คือ พรหมจรรย ความยากจน และความนบนอบ เชื่ อ ฟ ง ด ว ยวิ ธี นี้ นั ก บวชได ด ำเนิ น ชี วิ ต เป น พยานใหโลกไดเห็นประจักษถึงชีวิตคริสตชน โดยแท ว า ค า ของการเป น มนุ ษ ย อ ยู ที่ ก าร พัฒนาตนดวยการพยายามดำเนินชีวิตใหอยู รวมกันไดอยางสันติ โดยมีความรักเปนสายใย เชื่อมโยง และไมแตเพียงการมีชีวิตอยูรวมกัน เปนหมูคณะเทานั้น นักบวชยังอุทิศชีวิตของ ตน เพื่ อ บริ ก ารรั บ ใช พี่ น อ งทุ ก คนตามแบบ อยางของพระคริสตดวย”

หนังสือชื่อ นักบวช (ไพยง มนิราช, 2550, น.1-2) ไดกลาวถึงนักบวชวา เปนผู ถวายตัวแดพระเปนเจา และไดอางถึงประมวล กฎหมายพระศาสนจักรที่เขียนไววา ผูถวาย ตัวแดพระเปนเจา คือ บุคคลที่ปฏิญาณตนจะ ดำเนิ น ชี วิ ต ตามคำแนะนำแห ง พระวรสาร และถือวาเปนรูปแบบชีวิตเฉพาะที่ผูนั้นยินดี ปฏิบัติตามโดยมุงการติดตามพระเยซูคริสต อย า งใกล ชิ ด ผู ถ วายตั ว แด พ ระเป น เจ า จะ ดำเนินชีวิตประจำวันอยางดี มุงสูชีวิตอมตะ โดยการปฏิญาณตน ผูกมัดตนเองที่จะดำเนิน ชีวิตตามพระเยซูเจาที่บันทึกไวในพระวรสาร2 ซึ่ ง เราจะเรี ย กว า ศี ล บนหรื อ พั น ธะศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ (Vows or Sacred Bonds) ประกอบดวย การ ถือความบริสุทธิ์ (Chastity) ความยากจน (Poverty) และความนอบนอมเชื่อฟง (Obedience) เปนสำคัญ ผูถวายตัวตองแสดงออก ดวยสภาพอิสระที่จะถือตามศีลบน หรือพันธะ ศักดิ์สิทธิ์ โดยไมมีการบีบบังคับหรือหลงผิด

2

เสรี พงศพิศ ไดเขียนไวในหนังสือ ศาสนาคริสต (น.137) วา พระวารสาร (The Gospels) หรือ “ขาวดี” (Good News) เปนหนังสือเกี่ยวกับชีวิตและคำสอนของพระเยซู มีอยูสี่เลม ผูประพันธคือ เซนตมัทธิว เซนตมารค เซนตลูกา และ เซนตยอหน เนื้อหาของหนังสือทั้งสี่เลมนี้เปน “การเทศนสอน” (Kerygma) ของบรรดาสาวก เปนพยานความเชื่อของ พวกเขาในสิ่งที่ไดประสบมาเมื่อพระเยซูเจายังทรงพระชนมอยู

ปที่ 2 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2010/2553 139


การกอรูปตัวตนของนักบวชหญิงในศาสนจักรคาทอลิกไทย

นักบวชหญิงในฐานะปจเจกบุคคล คือ ผูหญิงโสด ที่นับถือศาสนาคริสตนิกายโรมัน คาทอลิกอันหมายถึง ผูที่มีความเชื่อในพระ คริ ส ตเจ า เปลี่ ย นสถานะจากฆราวาสเข า สู สถานะ “นักบวช” ดวยการประกาศคำปฏิญาณ ตนถือศีลบน 3 ประการ คือ ความบริสุทธิ์หรือ พรหมจรรย ความยากจน และความนบนอบ เชือ่ ฟง รวมทัง้ พระพรพิเศษทีเ่ ปนภารกิจเฉพาะ ของแตละคณะนักบวช (Congregation)3 โดย ที่กอนจะเขาปฏิญาณตนเปนนักบวชจะตอง ผานกระบวนการอบรม ฝกฝน ขัดเกลาเพื่อ

เตรี ย มตั ว เป น นั ก บวช ซึ่ ง ใช เวลาประมาณ 5-12 ป แตกตางกันไปตามกระบวนการฝกฝน อบรมของแตละคณะนักบวช กระบวนการ อบรม ธรรมวินัย และระเบียบประเพณีทั้งมวล ลวนมีอิทธิพลหรือสงผลโดยตรงตอการจัดการ กับ “รางกาย”4 รวมทั้งการดำเนินชีวิตประจำ วันของนักบวชหญิง “ทั้งนี้เพราะรางกายเปน แดนเชื่ อ มต อ ” ของการกำหนดกั น และกั น ระหวางสภาพแวดลอมทางวัตถุและการเลือก ของปจเจก พื้นที่ของรางกายเปนปฏิบัติการ ในชีวิตประจำวัน เปนที่ที่เปดโอกาสใหมนุษย

3

คณะนักบวช หรือ คณะนักบวชหญิง หรืออาจเรียกไดอีกวา คณะภคินี หมายถึง นักบวชหญิงหรือภคินีที่รวมกันอยูเปน หมูคณะ มีการกอตั้งเปนทางการ โดยไดรับการรับรองฐานะโดยผูปกครองศาสนจักรในประเทศนั้นๆ แตละคณะจะมีคำ ปฏิญาณ ขอตั้งใจ พันธกิจ และกฎ ระเบียบ ประเพณีปฏิบัติ เฉพาะของตนเอง

4

ในวิธีคิดหลังสมัยใหมเห็นวา พื้นที่ที่สามารถแสดงความเปนปจเจกแทนที่จะเปนพื้นที่นามธรรมของเหตุผลกลับเลื่อน มาอยูที่พื้นที่รูปธรรมคือ “รางกาย” โดยพิจารณาวา รางกายมีมิติสองดานที่ทำใหเปนตัวเชื่อมตรงกลางระหวางพื้นที่ภาย ในโลกประสบการณ กับพื้นที่ที่แสดงถึงอิทธิพลของวัฒนธรรมและสังคม (Grosz, 1995, อางถึงใน อภิญญา เฟองฟูสกุล, 2543, น.66) โดยจะเนนกระบวนการที่ประทับเครื่องหมายใหกับรางกายและเปลี่ยนสถานภาพของรางนั้น ในทุกสังคม ทุกยุคสมัยจะมีสถาบันสังคม ความรู คานิยม อุดมการณ ตลอดจนพิธีกรรมตางๆ ในการประทับความหมายแกกาย เสมอ พิธีกรรมเปลี่ยนผาน (Rite-de-Passage) ตางๆ ทั้งการเปลี่ยนผานในขั้นตอนตางๆ ของชีวิต หรือพิธีการรับรอง คนเขารวมเปนสมาชิกกลุมก็ตาม ลวนแลวแตตองมีสัญลักษณที่กระทำตอกาย การโกนผม การเจิม การรดน้ำ การสัก หรือการขลิบ หรือการเปลี่ยนแปลงขนาดของอวัยวะดวยเครื่องประดับ เชน หวงสรอยคอทำใหคอยืดยาวขึ้น การ ประดับกายดวยสีตางๆ โคลน ขนนก เสื้อผา เครื่องหมายเหลานี้เปลี่ยนแปลงสถานภาพทางสังคมของรางนั้น จัด ตำแหนงแหงที่นิยามอัตลักษณใหใหม พรอมทั้งกำกับกายนั้นดวยระบบคุณคาจารีตประเพณี (McCraken, 1990, อาง ถึงในเพิ่งอาง, น.68 )

140 วารสารวชาการ วทยาลัยแสงธรรม


ช่นสุข อาศัยธรรมกุล

แสดงความเปนตัวเองออกมา (The Expressive Site of Existence) (อภิญญา เฟองฟูสกุล, 2546, น.106) การศึกษาครั้งนี้ใหความสนใจศึกษา เกี่ยวกับการกอรูปตัวตนของนักบวชหญิง เพื่อ ตอบคำถามวา “นักบวชหญิงคือใคร” จากการ บอกเลาประสบการณ (Oral Defining or Meaning Defining) ของนักบวชหญิงเอง การ เปลี่ยนแปลงสถานภาพทางสังคมจากฆราวาส หญิงมาสูการเปนนักบวชหญิงโดยผานปฏิบัติ การกับความรูสึกนึกคิดและรางกาย ไมวาจะ เปนการสวมชุดเครื่องแบบที่แตกตางกันไปใน แตละขั้นตอนของการฝกอบรม เครื่องแบบนัก บวชหญิงสีขาวที่ตองมีผาคลุมผมตลอดเวลา กับความหมายใหมแหงตัวตนของนักบวชหญิง การเขาสูพิธีกรรมการบวชเปนนักบวชหญิงใน คริสตศาสนานิกายโรมันคาทอลิก ตัวตนใหมนี้ ถูกกำกับดวยระบบคุณคาจารีตประเพณีใด บ า ง หากการดำเนิ น ชี วิ ต ของนั ก บวชหญิ ง ดำเนินไปตามธรรมวินัยและระเบียบประเพณี สิ่งตางๆเหลานี้จะสรางหรือไดสราง “ตัวตน” ของนักบวชหญิงใหเปนเชนใด ตัวนักบวชหญิง เองไดมีสวนรวมสรางและตระหนักถึงตัวตน ใหม ที่ ป รั บ เปลี่ ย นสถานะจากฆราวาสมาสู ความเปน “นักบวชหญิง”อยางไรบาง และนัก บวชหญิงวางฐานะหรือจัดระยะหางระหวาง

ตนเองกับผูอื่นอยางไร ในแงความสัมพันธกับ โลก โลกขางนอกมิไดเปนเพียง แตอยูที่นั่น เฉยๆ รอใหมีคนไปเปลี่ยนแปลงมัน ทวาโลก นี้ซึมซับเขามาในเนื้อหนังรางกาย มีสวนสราง ชีวิตใหกับรางนี้เทาๆกับที่สามารถถูกจัดการ เปลี่ยนแปลงโดยรางนี้ ในการเปลี่ยนแปลงโลก รางนี้ก็เปลี่ยนแปลงตนเองไปดวย” (อภิญญา เฟองฟูสกุล, 2546, น.106) หากชีวิตนักบวช มีพระคัมภีรเปนเครื่องนำทาง เมื่อขอความ (Text) ในพระคัมภีรยังเหมือนเดิมมาเปนเวลา นับพันป ทวามีการตีความใหมเสมอใหเหมาะ สมกับยุคสมัย ดังคำที่นักบวชหญิงใชวา “ตาม เครื่องหมายแหงกาลเวลา” เมื่อมีการตีความ พระคั ม ภี ร ใ หม จึ ง อาจเกิ ด ความหมายใหม กอปรกับทีน่ กั บวชหญิงบอกไวเชนกันวา “คณะ นั ก บวชจะปฏิ บั ติ ภ ารกิ จ ตามที่ ผู ก อ ตั้ ง คณะ ไดประกาศไว” แตนาศึกษาวาเมื่อมี “การอาน เครื่องหมายแหงกาลเวลา” อยูเสมอ มีการตี ความใหม มีบทบาทใหม อันอาจนำไปสูการ ปรับสรางตัวตนใหม กระบวนการสรางหรือ ปรั บ เปลี่ ย นตั ว ตนใหม ข องนั ก บวชหญิ ง นี้ มี กระบวนการ กลไก กิจกรรมอยางไรบาง สิ่ง เหลานี้นำไปสูการปรับเปลี่ยนตัวตนของนัก บวชหญิ ง อย า งไร ในการศึ ก ษานี้ ผู ศึ ก ษาจึ ง ศึกษาถึงกระบวนการเรียนรูและเลือกรับผาน กระบวนการอบรม (Formation) อันนำไปสู

ปที่ 2 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2010/2553 141


การกอรูปตัวตนของนักบวชหญิงในศาสนจักรคาทอลิกไทย

การกอรูปตัวตนของนักบวชหญิงในศาสนจักร คาทอลิกไทย วัตถุประสงคในการวิจัย 1. เพื่อศึกษากระบวนการขัดเกลาผู เตรียมตัวบวชของนักบวชหญิง ซึ่งเปนการ สรางตัวตนนักบวชหญิง โดยการถายทอดความ หมายของคำปฏิญาณ 3 ประการ คือ พรหมจรรย ความยากจน และความนบนอบเชื่อฟง 2. เพื่อศึกษาการใหความหมายและ การตอรองการใหความหมายในตนเอง (Self Defining) ของนักบวชหญิง โดยเชื่อมโยงกับ คำปฏิญาณ 3 ประการ คือ พรหมจรรย ความ ยากจน และความนบนอบเชื่อฟง 3. เพื่ อ ศึ ก ษาการปฏิ บั ติ ต ามคำ ปฏิญาณ 3 ประการ คือ พรหมจรรย ความ ยากจน และความนบนอบเชื่อฟงในชีวิตประ จำวันของนักบวชหญิง สมมุติฐานการวิจัย ผูว จิ ยั มีสมมติฐานวา ตัวตนของนักบวช หญิงมิไดมีมาแตกำเนิด หากแตเปนสิ่งที่ถูก สรางขึ้นดวยกระบวนการฝกฝนอบรมขัดเกลา โดยสถาบันนักบวช และเนื่องจากคานิยมที่นัก บวชหญิงเลือกยึดถือเปนคานิยมที่สวนทางกับ คานิยมของโลกปจจุบัน นักบวชหญิงจึงตองมี

142 วารสารวชาการ วทยาลัยแสงธรรม

สิ่ ง ยึ ด เหนี่ ย วภายในที่ จ ะเป น พลั ง ในการต อ ตานกับคานิยมของโลกปจจุบัน พรอมกับมี กรอบภายนอกที่จะชวยควบคุมกำกับตนเอง แต ใ นขณะเดี ย วกั น นั ก บวชหญิ ง ก็ ต อ งการ มี อิ ส ระในระดั บ หนึ่ ง ที่ จ ะยึ ด ถื อ ปฏิ บั ติ ต าม คานิยมนั้นโดยไมรูสึกวาถูกบังคับ อยางไรก็ ตาม ในกรอบของ “ความเปนนักบวชหญิง” ก็ มีกรอบของ “ความเปนหญิง” ที่มีบทบาทและ ความคาดหวั ง ของสั ง คมกำกั บ อยู ส ง ผลให สถานะความเปนรอง (Subordinate) ยังคงอยู กับนักบวชหญิง ในเวลาเดียวกันก็ไดมีการตอสู ของนั ก บวชหญิ ง ที่ จ ะก า วพ น จากสถานะ เชนนั้นดวย ประโยชนที่ไดรับจากการวิจัย 1. การศึกษานี้กอใหเกิดความเขาใจ ต อ วิ ธี คิ ด และกระบวนการต อ รองในการให ความหมายตัวตนของนักบวชหญิงที่ดำรงชีวิต อยูภายในโครงสรางของคณะนักบวชหญิงที่ ตนเองเลือกสังกัดอยู 2. การศึกษานีเ้ ปนการเปดมุมมองใหม ใหกับคนในสังคมใหไดรับรูถึงวิถีชีวิตของนัก บวชหญิง โดยผานมุมมองและประสบการณ ชีวิตของนักบวชหญิงคาทอลิกเอง 3. การศึกษานี้เปนประโยชนตอการ วางนโยบายการพัฒนานักบวชหญิงทามกลาง สังคมที่เปลี่ยนแปลง


ช่นสุข อาศัยธรรมกุล

ขอบเขตของการวิจัย การวิ จั ย ครั้ ง นี้ เป น การศึ ก ษาเพื่ อ วิเคราะหกระบวนการกอรูปตัวตนของนักบวช หญิงในคริสตศาสนานิกายโรมันคาทอลิกใน ประเทศไทย โดยเลือกศึกษาชีวิตนักบวชหญิง ในคณะภคินีพระหฤทัยของพระเยซูเจาแหง กรุงเทพฯ ในฐานะคณะนักบวชหญิงพื้นเมือง ที่ ก อ ตั้ ง ขึ้ น ในประเทศไทย และคณะภคิ นี อุรสุลินในฐานะคณะนักบวชนานาชาติ และ มุงการศึกษาไปที่นักบวชหญิงที่ผานขั้นโนวิส และประกาศคำปฏิญาณตนเปนนักบวชแลว เพราะเห็ น ว า เป น บุ ค คลที่ ผ า นกระบวนการ ฝ ก ฝนขั ด เกลามาแล ว นานพอสมควร การ ศึกษานี้ประกอบดวยการศึกษาและวิเคราะห เอกสารเกี่ ย วกั บ ประวั ติ ก ารก อ ตั้ ง คณะ ภารกิจ กระบวนการฝกอบรมและขัดเกลาผู เตรียมตัวบวชในบานอบรมหรืออาราม และ สถานที่ตางๆ และการสัมภาษณนกั บวชหญิง ที่ เ ล า เกี่ ย วกั บ ตั ว เองและประสบการณ ชี วิ ต นักบวช โดยเลือกศึกษาชีวิตของนักบวชหญิง ที่ปฏิญาณตนชั่วคราวแลว (บวชได 6 ป) นัก บวชหญิงรุนกลาง คือ มีอายุการบวชระหวาง 7-25 ป และนักบวชหญิงที่บวชมานานกวา 25 ป ซึง่ ถือวามัน่ คงแลว รวมทัง้ นักบวชหญิง ทีเ่ ปนผูอ บรม หรือผูด แู ลนักบวช และผูเ ตรียม ตัวบวช นอกจากนี้ ยังศึกษาดวยการสังเกต-

การณ อ ย า งมี ส ว นร ว มระดั บ หนึ่ ง โดยการ เขารวมในกิจกรรมการฝกอบรมผูเตรียมตัว ปฏิ ญ าณตนตลอดชี วิ ต กิ จ กรรมการศึ ก ษา อบรมตอ เนื่อ ง และกิจ การงานของนัก บวช หญิง นิยามศัพทที่ใชในการวิจัย นักบวชหญิง หมายถึง ผูห ญิงโสด ที่ นับถือศาสนาคริสตนิกายโรมันคาทอลิกอัน หมายถึ ง ผู ที่ มี ค วามเชื่ อ ในพระคริ ส ตเจ า เปลี่ยนสถานะจากฆราวาสหญิงเขาสูสถานะ “นักบวชหญิง ” ดวยการปฏิญาณตนถือศีล 3 ประการ คือ ความบริสุทธิ์ หรือพรหมจรรย ยากจน และนบนอบเชื่อฟง คณะภคินี หมายถึง นักบวชหญิงหรือ ภคิ นี ที่ ร วมกั น อยู เ ป น หมู ค ณะ มี ก ารก อ ตั้ ง เปนทางการ โดยไดรับการรับรองฐานะโดย ผูปกครองศาสนจักรในประเทศนั้นๆ แตละ คณะจะมีคำปฏิญาณขอตั้งใจ พันธกิจ และ กฎ ระเบียบ ประเพณีปฏิบัติเฉพาะของตน เอง การกอรูปตัวตน หมายถึง กระบวน การของการก อ รู ป ตั ว ตนที่ ก ำลั ง เกิ ด ขึ้ น ซึ่ ง สามารถเลื่ อ นไหล เปลี่ ย นแปรไปได ต าม ปริบท การเปลี่ยนแปลงประสบการณเกี่ยว กับ เวลา พื้นที่ และแบบแผนชีวิตประจำวัน

ปที่ 2 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2010/2553 143


การกอรูปตัวตนของนักบวชหญิงในศาสนจักรคาทอลิกไทย

วิ ธี ด ำเนิ น การศึ ก ษาและการเก็ บ รวบรวม ขอมูล การวิ จั ย นี้ เ ป น การวิ จั ย เชิ ง คุ ณ ภาพ (Qualitative Research) ที่แบงการศึกษา ออกเปน 3 รูปแบบ คือ 1) ศึกษาขอมูลจาก เอกสารของคณะนักบวช เชน พระธรรมวินัย ระเบียบประเพณี แผนการอบรม 2) ศึกษา การฝ ก อบรมผู เ ตรี ย มตั ว ปฏิ ญ าณตนตลอด ชีวิตในศูนยนักบวชหญิง โดยเขารวมกิจกรรม และการสังเกตอยางมีสวนรวม (Participant Observation) ระดับหนึ่ง และ 3) ศึกษา จากการสั ม ภาษณ แ บบเชิ ง ลึ ก (In-depth Interview) ที่นักบวชหญิงเลาเกี่ยวกับตัวเอง และประสบการณชีวิตนักบวช โดยเปดเผย สถานภาพวาผูศึกษากำลังเรียนอยู การศึกษาครั้งนี้มีแหลงขอมูลในการ วิจัยดังนี้ 1. การวิจยั เอกสาร (Documentary Research) เพื่อใหเห็นประวัติการกอตั้งคณะ วัตถุประสงคหรือพระพรพิเศษของคณะตามที่ ผูกอตั้งคณะไดกำหนดวางไว และเพื่อใหเห็น มโนภาพ หรื อ หลั ก การและขั้ น ตอนในการ อบรม ขัดเกลาบุคคลใหเปนนักบวช รวมทั้ง หลั ก เกณฑ ส ำหรั บ วิ ถี ป ฏิ บั ติ ต ามที่ ค ณะนั ก บวชไดมีการกำหนดเปนแนวทาง เปาหมาย หรือคาดหวังไว

144 วารสารวชาการ วทยาลัยแสงธรรม

เอกสารที่เกี่ยวของ มีดังนี้ 1.1. ประวัติคณะนักบวชหญิงใน ประเทศไทย (เฉพาะคณะที่เลือกศึกษา) 1.2. แนวปฏิ บั ติ แ ละแผนการ อบรมของสถาบันนักบวช 1.3. พระธรรมวินัยและระเบียบ ประเพณีของคณะภคินีพระหฤทัยของพระเยซูเจาแหงกรุงเทพฯ 1.4. พระธรรมนูญและระเบียบ ปฏิบัติของคณะภคินีอุรสุลิน 1.5. เอกสารตางๆ ที่คณะนักบวช ทั้ ง สองใช ใ นการอบรมผู เ ตรี ย มตั ว บวชและ นักบวช 2. ศึกษาขัน้ ตอนการฝกอบรมนักบวช ผู เ ตรี ย มตั ว ปฏิ ญ าณตนตลอดชี วิ ต ในศู น ย นักบวชหญิง ซึ่งนักบวชทั้งสองคณะ คือคณะ ภคินีพระหฤทัยของพระเยซูเจาแหงกรุงเทพฯ และคณะภคินีอุรสุลินเขารวมอยู โดยไดเขา ร ว มกิ จ กรรม และสั ง เกตอย า งมี ส ว นร ว ม (Participant Observation) ระดับหนึ่ง 3. สัมภาษณบุคคลแบบเชิงลึก (Indepth Interview) โดยสัมภาษณบคุ คลสำคัญ ผูใหขอมูลการวิจัย (Key Informant) ใน 2 กลุมลักษณะ รวมทั้งหมด 10 คน ประกอบ ดวย กลุมแรก คือ ผูอบรม (Formator) มี


ช่นสุข อาศัยธรรมกุล

จำนวน 2 คนในแต ล ะคณะ ซึ่ ง เป น บุ ค คล สำคั ญ ในการดู แ ลชี วิ ต จิ ต ของผู เ ตรี ย มตั ว บวชและนั ก บวชในคณะ การศึ ก ษาส ว นนี้ เพื่อใหเห็นภาพกระบวนการขัดเกลาของคณะ นั ก บวชและความคาดหวั ง ต อ ผู เ ตรี ย มตั ว บวชและนักบวชในคณะของตน กลุ ม ที่ ส อง เน น ที่ ก ารเก็ บ รวบรวม ขอมูลจากประสบการณจริง ที่นักบวชหญิงเลา เกี่ยวกับตัวเอง และประสบการณชีวิตนักบวช ดวยการตั้งคำถามแบบปลายเปด เปนคำถาม ที่กำหนดไวสวนหนึ่ง โดยกำหนดมาจากแนว คิ ด ทฤษฎี ที่ เ กี่ ย วข อ ง แต ใช ก ารสั ม ภาษณ ที่ ยืดหยุน และลื่นไหลไปตามสถานการณ ทั้งนี้ การเลื อ กนั ก บวชหญิ ง ที่ ใ ห ข อ มู ล นั้ น เลื อ ก โดยการสุม ขอคุยกับนักบวชหญิงที่ยินดีให สั ม ภาษณ ต ามเกณฑ ก ารเลื อ กตั ว แทนกลุ ม เปาหมาย ผูศึกษาจึงไดเลือกนักบวชหญิงที่ให สัมภาษณรวมทั้งหมด 10 คน ประกอบดวย 3.1 นั กบวชหญิงที่เพิ่งปฏิญาณ ตนชัว่ คราวได 6 ปแรก กำลังเตรียมตัวปฏิญาณ ตนตลอดชีวติ คณะละ 1 คน รวม 2 คน เหตุผล ที่เลือกศึกษาเพียงคณะละ 1 คน เพราะในปที่ ศึ ก ษาคณะนั ก บวชทั้ ง สองคณะมี นั ก บวชใน ชวงนี้เพียงคณะละ 1 คน 3.2 นักบวชหญิงรุนกลาง คือ มี

อายุการบวชระหวาง 7-25 ป เปนนักบวชที่ ปฏิ ญ าณตนตลอดชี วิ ต แล ว อยู ใ นช ว งการ พัฒนาและเติบโตในการดำเนินชีวิตนักบวช คณะละ 1 คน รวม 2 คน 3.3 นั ก บวชหญิ ง ที่ ป ฏิ ญ าณตน ตลอดชีวิตแลว และดำเนินชีวิตในฐานะนัก บวชหญิงมาไมนอยกวา 25 ป ถือวามั่นคงแลว รวม 6 คน สรุปผลการวิจัย การศึกษาเรื่องการกอรูปตัวตนของ นักบวชหญิงในศาสนจักรคาทอลิกไทย พบวา นักบวชหญิงในฐานะที่เปนศาสนิกในคริสตศาสนา ซึ่งเปนศาสนาแบบเอกเทวนิยม ผูก สัมพันธกับพระเจาดวยความเชื่อ และความ ศรั ท ธา มี ค วามเชื่ อ ว า การที่ ต นเองเริ่ ม ก า ว เขามาเปนนักบวชก็ดวย “การเชิญชวนของ พระเจา” หรือที่เรียกวา “กระแสเรียก” ซึ่ง นั ก บวชหญิ ง แต ล ะคนมี ป ระสบการณ ที่ ไ ด รับกระแสเรียกที่แตกตางกันไป ดังที่ ซิสเตอร ก ผูดูแลผูเตรียมตัวบวชและนักบวชบอกวา “ชีวิตคนเราไมมีใครเหมือนกันเลย ฉะนั้นการ เชิญชวนจากพระของแตละคนก็ตองไมเหมือน กั น บางคนพระเจ า เชิ ญ ชวนชั ด เจนมาเลย รูเลยวามาเพื่ออะไร บางคนไดยินเสียงแผวๆ ไมแนใจ แตรูสึกวามีอะไรบางอยางดึงดูดมาก็

ปที่ 2 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2010/2553 145


การกอรูปตัวตนของนักบวชหญิงในศาสนจักรคาทอลิกไทย

มา ฉะนั้นคนที่ยังไมชัด เมื่อเขามาอยูแลวก็ คอยๆ ชำระสะสางกันใหเขาใจมากขึ้นก็ตอได บางคนเขามาแลวมาชัดเลยวาไมใช ก็ไป” การเลื อ กจะอยู ท่ี ค ณะใด จึ ง เป น กระแสเรียกเชนกัน ดังที่ซิสเตอร อ บอกวา “แตละคณะก็มีเอกลักษณของตัวเอง คนที่อยู คณะไหนแล ว ได ใช พ ระพรพิ เ ศษที่ พ ระเจ า ใหไดเต็มที่ นั่นละที่ของเขาเลย” (ซิสเตอร อ) เมื่ อ ฆราวาสหญิ ง โสดตั ด สิ น ใจเข า สูชีวิตนักบวช ณ จังหวะแรกนั้น ทุกคนยังไมมี ใครรูแนชัดวาชีวิตนักบวชเปนอยางไร บาง คนไมรูแมแตวาตองมาผานขั้นตอนอะไรบาง คิ ด เพี ย งว า เมื่ อ คณะภคิ นี รั บ สมั ค รตั ว เอง เขามาก็ไดเปนนักบวชเลย แตเมื่อสมัครเขา มาแลวจึงคอยๆ มาเรียนรูทำความเขาใจดวย กระบวนการฝกฝนอบรมที่คณะภคินีเตรียม ไว โดยสำหรั บ คณะภคิ นี พ ระหฤทั ย ของ พระเยซูเจาแหงกรุงเทพฯ แบงขั้นตอนการ อบรมผู เ ตรี ย มตั ว บวชออกเป น 5 ขั้ น ตอน ดังนี้ ขั้นที่ 1 ผูฝกหัดขั้นเยาวนารี ขั้นที่ 2 แอสปรันตรุนเล็ก ขั้นที่ 3 แอสปรันตรุนใหญ ขั้นที่ 4 โปสตุลันตหรือผูฝกหัด และขั้นที่ 5 โนวิส หรือนวกเณรี สวนของคณะภคินีอุรสุลินจะมีเพียง 2 ขั้นตอน คือ ขั้นโปสตุลันต และโนวิส ตามกฎหมายพระศาสนจักรเทานั้น ตลอดกระบวนการฝกอบรมใชเวลาราว 5-12

146 วารสารวชาการ วทยาลัยแสงธรรม

ป ซึ่งแตละขั้นตอนไมไดตัดขาดจากกัน แต เป น การเพิ่ ม ความเข ม ข น เคร ง ครั ด มากขึ้ น เมื่ อ ผ า นกระบวนดั ง กล า วมาได ด ว ยการ พิ จ ารณาเห็ น พ อ งต อ งกั น ทั้ ง สองฝ า ย คื อ ทั้ ง คณะผู อ บรมร ว มกั บ มหาอธิ ก าริ ณี แ ละผู ที่ ต อ งการจะบวชเอง แล ว จึ ง จะสามารถ ปฏิ ญ าณตนเป น นั ก บวชถื อ พรหมจรรย ความยากจน และความนบนอบเชื่ อ ฟ ง ได ถึงกระนั้นก็ตาม ซิสเตอรก็ยังบอกวา “ซิสเตอร ที่ ป ฏิ ญ าณตนชั่ ว คราวในช ว ง 5–6 ป แรก ยังไมนับวาเปนนักบวชอยางแทจริง เมือ่ ไดปฏิ ญาณตนตลอดชี พแลวนั่นแหละถึ ง จะ เปนนักบวชเต็มขั้น” (ซิสเตอร อ) ตั ว ตนของนั ก บวชหญิ ง มิ ไ ด มีม าแต กำเนิด หากแตเปนสิ่งที่ถูกสรางขึ้นผานกระ บวนการฝกฝน อบรม ขัดเกลาโดยสถาบัน นักบวช และเนื่องจากคานิยมที่นักบวชหญิง เลือกยึดถือเปนคานิยมที่สวนทางกับคานิยม ของโลกปจจุบัน ดังนั้น นักบวชหญิงจึงตอง มี สิ่ ง ยึ ด เหนี่ ย วภายในที่ จ ะเป น พลั ง ในการ ตอตานกับคานิยมของโลกปจจุบัน พรอมกับ มี ก รอบภายนอกที่ จ ะช ว ยควบคุ ม กำกั บ ตนเอง แตในขณะเดียวกันนักบวชหญิงก็ตอง การมี อิ ส ระในระดั บ หนึ่ ง ที่ จ ะยึ ด ถื อ ปฏิ บั ติ ตามคานิยมนั้นโดยไมรูสึกวาถูกบังคับ การนิยาม “ความเปนนักบวชหญิง”


ช่นสุข อาศัยธรรมกุล

หรือ “ตัวตนของนักบวชหญิง” มีองคประกอบ รวมที่สำคัญ 3 สวน คือ 1) การถือตามคำ ปฏิญาณ 3 ประการ คือ พรหมจรรย ความ ยากจน และความนบนอบเชื่อฟง 2) การใช ชีวิตอยูรวมกันเปนหมูคณะ และ 3) การอุทิศ ชี วิ ต เพื่ อ รั บ ใช ผู อื่ น ตามแบบอย า งของพระ คริ ส ต “ชี วิ ต ของพระองคยากจน ชีวิตของ พระองค น บนอบ ชี วิ ต ของพระองค ยึ ด ถื อ พรหมจรรย เราประกาศตนเองวา ฉันจะเปน คริสตชนที่เครงครัดกวาคริสตชนคนอื่น ใน เรื่องการถือขอเรียกรองทั้งสามนี้” (ซิสเตอร อ) กระบวนการอบรม 3-5 ขั้นตอน เปน เวลา 5–12 ป ของสถาบันนักบวชหญิง ได ฝกฝนขัดเกลาใหหญิงโสดที่สมัครเขามาเปน ผูฝ ก หัดเตรียมตัวบวช สามารถดำเนินชีวติ ของ นักบวช ตามคำจำกัดความที่ไดกลาวไวเบื้อง ตน โดยมีพระคัมภีรประกอบกับพระธรรมนูญ ของคณะภคินีอุรสุลินมี 239 ขอ ธรรมวินัยของ คณะภคินีพระหฤทัยมี 226 ขอ และระเบียบ ประเพณี 156 ขอ ที่เปนทั้งเข็มทิศชี้ทางสราง พลังชีวิตภายใน รวมทั้งเปนกรอบภายนอกที่ คอยกำกับใหนักบวชหญิงดำรงชีวิตอยูในหน ทางที่ตนเองเลือกเดินไป กระบวนการอบรมนี้ ไดสรางสิ่งยึดเหนี่ยวภายใน “อยางไรก็แลวแต พอเราหันมาทางนี้ ความสำคัญของชีวติ ภายใน

ยังสำคัญอยูเสมอ” (ซิสเตอร ป) ถึงแมจะมีพระธรรมนูญ ธรรมวินัย และระเบี ย บประเพณี จำนวนมากมายที่ ดู เหมื อ นจะคอยกำกั บ ชี วิ ต ทุ ก ย า งก า ว จนผู ฝกหัดหรือนักบวชหญิงบางคนรูสึกเบื่อหนาย หรื อ เห็ น ว า ปฏิ บั ติ ต ามได ย ากจึ ง ลาออกไป แตนักบวชหญิงบางคนก็บอกวา “เราเรียกมันวาวินัยนะ ตอนแรกก็ คิ ด เหมื อ นกั น ว า มั น เป น กฎที่ ทุ ก คนต อ ง ปฏิบัติ แตเมื่อเราเขาไปดูจริง เห็นวาในฐานะ นั ก บวชเราต อ งปฏิ บั ติ ต ามข อ ปฏิ ญ าณสาม ข อ อยู แ ล ว วิ นั ย จะช ว ยให ก ารปฏิ บั ติ ต าม ข อ ปฏิ ญ าณสามข อ ชั ด เจนขึ้ น ...ถามว า ทำ ไดทุกขอไหม...ยาก วินัยเหลานี้เปนแนวทาง มากกว า คนก็ พ ยายามไปให ถึ ง วั น นั้ น ” (ซิสเตอร ป) หัวใจของการเปนนักบวช คือ การ เลี ย นแบบชี วิ ต ของพระเยซู ค ริ ส ตเจ า อย า ง เครงครัด การที่นักบวชหญิงจะสามารถรูจัก พระเยซูเจาและสัมพันธใกลชิ ดกั บพระองค ได ก็โดยการศึกษาพระคัมภีร และอาศัยการ ภาวนาและพิธีกรรมตางๆ ดังนั้นในกระบวน การอบรม จึ ง ให ค วามสำคั ญ กั บ การฝ ก ฝน การภาวนา พยายามใหผูฝกหัดสัมผัสพระเจา โดยมีพระคัมภีรเปนเครื่องนำทาง ซึ่งจะฝก เขมขนในขั้นโนวิสหรือนวกภาพ และในปกอน

ปที่ 2 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2010/2553 147


การกอรูปตัวตนของนักบวชหญิงในศาสนจักรคาทอลิกไทย

การปฏิ ญ าณตนตลอดชี วิ ต ดั ง ที่ ซิ ส เตอร บอกว า “ตรงนี้ ถื อ ว า เป น หั ว ใจของการเข า บวช เวลาเปนโนวิสเปนปที่เราจะชิดสนิทกับ พระเจา เปนการผูกสัมพันธดวยการภาวนา เปนปทองของชีวติ เปนชีวติ ภาวนา” (ซิสเตอร ป) นอกจากนั้นในระเบียบ ประเพณี ก็มีขอ ปฏิ บัติ เกี่ยวกับการภาวนาและกิจศรัทธาไว อยางละเอียดดวย การตี ค วามและการให ค วามหมาย คำปฏิญาณสามประการ และการปฏิบัติใน ชีวิต ประจำวันของนักบวชหญิ งที่มี ประสบการณ แ ละระยะเวลาการดำรงชี วิ ต นั ก บวช ที่ แ ตกต า งกั น ล ว นเป น กระบวนการสร า ง “ตัวตน” ของนักบวชหญิงที่ไมหยุดนิ่ง มีการ ตอเติม ปรับเปลี่ยนอยูตลอดเวลา นักบวชหญิงรับรูเกี่ยวกับตัวตนของ ตนเองด ว ยพื้ น ที่ ท างภู มิ ศ าสตร ใ นชี วิ ต ประ จำวัน ตั้งแตการที่ผูเตรียมตัวบวชตองใชชีวิต อยูในสถานอบรม (อาจจะเปนบานอบรม หรือ อาราม) ตลอดการอบรมทั้งหาขั้นตอน และยัง มีพื้นที่ที่ถูกกำหนดเปน “เขตพรต” ตามธรรมวินัยและระเบียบประเพณี “เขตพรต” นี้ยัง เป น ทั้ ง สั ญ ลั ก ษณ แ ละปฏิ บั ติ ก ารของการ นิยาม “เสนกั้นพรมแดน” ระหวางคนในกับ คนนอก เพราะเปนเขตหวงหามซึ่งบุคคลภาย นอกจะเขาไมได หรือหามเขาโดยไมจำเปน

148 วารสารวชาการ วทยาลัยแสงธรรม

นอกจากจะมีอนุญาตพิเศษเทานั้น (ระเบียบ ประเพณีขอ 21 และ 22) นอกจากนั้น พื้นที่ ทางภู มิ ศ าสตร ยั ง มี ส ว นในการควบคุ ม พื้ น ที่ ของร า งกาย เพราะนั ก บวชหญิ ง ต อ งขอ อนุญาตจากอธิการบานเมื่อตองการออกไป นอกบานนอกเวลางาน (ระเบียบประเพณีขอ 48) และนักบวชหญิงจะพบผูมาเยี่ยมไดใน หองรับแขกเทานั้น (ระเบียบประเพณีขอ 23) พื้นที่ในมิตินามธรรม คือ วิธีคิดและ ความรู สึ ก ในจิ ต ใจไม อ าจแยกออกจากมิ ติ รู ป ธรรมที่ เ ป น เรื่ อ งของการจั ด พื้ น ที่ ท าง ภู มิ ศ าสตร หรื อ ร า งกายได พื้ น ที่ ใ นสองมิ ติ ดังกลาวเชื่อมโยงกันดวยมโนทัศนของอำนาจ และการนิยาม เมื่อเราใหความหมายสิ่งตางๆ ดวยการนิยาม เราจำตองลากเสนแบงสิ่งนั้น ออกจากสิ่งที่ไมใชสิ่งนั้น การสรางอัตลักษณ แกตัวเราหรือสิ่งตางๆ จึงสัมพันธกับการสราง พื้นที่ของความแตกตางและการลากเสนพรม แดนเสมอ วิธีคิดเชิงพื้นที่จึงไมอาจแยกออก จากความรับรูเกี่ยวกับตัวตนและการจัดระยะ หางระหวางเรากับสิ่งอื่น (อภิญญา เฟองฟูสกุล, 2543, น.68) สิ่งนี้ไดรับการเนนย้ำโดย ซิสเตอร ด วา “ในชีวิตของเราซิสเตอรอาจจะ พูดจนกระทั่งเหมือนเปนของธรรมดา เพราะ ทุกวันนีเ้ ราอยูแ บบนี้ เพราะเรามีหนาทีต่ อ งทำ เราก็ ต อ งทำตามหน า ที่ และทุ ก อย า งต อ ง


ช่นสุข อาศัยธรรมกุล

รายงานผูใหญ หรือแมแตซิสเตอรจะออกไป ขางนอก ถาเปนแบบหนาที่ก็ไปได แตถาบาง วันที่เกินเวลาของหนาที่ ตองขออนุญาตจาก อธิการซึ่งอยางนี้คือชีวิตของเรา” สิ่งตางๆ เหลานีไมวาจะเปนการจัด พื้ น ที่ “ เขตพรต” ตารางการภาวนา และ กิจกรรมตางๆ ในบานนักบวช ลวนมีสวนสราง ความเปนตัวตนของนักบวชหญิงทั้งสิ้น และ การที่นักบวชหญิงยึดถือปฏิบัติสืบตอกันมา อยางจริงจัง ก็เปนการสืบทอดใหสิ่งเหลานั้น ดำรงอยู การตอรองของนักบวชหญิงเปนไป อยางจำกัด สวนหนึ่งเปนเพราะระเบียบวินัย ประเพณีที่มีอุดมการณหรือความเชื่อศรัทธา ทางคริสตศาสนารองรับอยูน้ัน เปนสิ่งที่ปรับ เปลีย่ นไดยาก นอกจากนี้ผูรักษาระเบียบวินัย ที่ เ ป น ผู อ บรมหรื อ ผู ดู แ ลนั ก บวชที่ มี ค วาม เครงครัด คาดหวังสูงและดูแลนักบวชอยาง ใกลชิด ดวยเหตุนี้ ผูที่สมัครเขามาบวชเมื่อ ผานกระบวนการฝกฝนอบรมมาไดระยะหนึ่ง เมื่อพบวาตัวเองไมสามารถรับกับกฎ กติกา ระเบี ย บ วิ นั ย ของคณะนั ก บวชได และรู ว า ตัวเองไมสามารถตอรองกับระเบียบวินัยนั้น ไดก็ออกไป บางคนไดปฏิญาณตนเปนนักบวช แล ว แต เ มื่ อ อยู ไ ป..อยู ไ ป ก็ พ บว า ที่ แ ท ชี วิ ต นั ก บวชไม ใช วิ ถี ชี วิ ต ที่ ต นเองจะดำรงอยู ไ ด

อยางมีความสุข ก็จำเปนตองลาออกไปเชนกัน สวนนักบวชที่ยังคงดำรงชีวิตนักบวชอยู จะ มี ก ารต อ รองก็ แ ต เ พี ย งการปฏิ บั ติ บ างส ว น ภายในกรอบระเบียบวินัยหรืออุดมการณของ “ความเปนนักบวช” เทานั้น อยางไรก็ตาม ป จ จั ย หนึ่ ง ที่ ส ง ผลต อ ความต อ งการต อ รอง หรือไม หรือจะสามารถตอรองไดหรือไม คือ เอกลั ก ษณ ข องคณะนั ก บวชนั้ น เอง คณะ ภคิ นี พ ระหฤทั ย ของพระเยซู เจ า แห ง กรุ ง เทพฯ กั บ คณะภคิ นี อุ ร สุ ลิ น มี พ ระพรพิ เ ศษ เจตนารมณในการดำรงอยู ตลอดจนบุคลิก ลั ก ษณะบางอย า งที่ แ ตกต า งกั น สิ่ ง เหล า นี้ ส ง ผลในแง ก ารเอื้ อ อำนวยหรื อ จำกั ด ความ ตองการตอรอง หรือความเปนไปไดในการ ตอรองดวย เมื่อนักบวชหญิงดำเนินชีวิตไปตาม แนวทางของพระธรรมนูญ ธรรมวินัย และ ระเบียบประเพณี อันเปนเครื่องหลอหลอม ตั ว ตนของนั ก บวชหญิ ง อยู ทุ ก วั น สิ่ ง ต า งๆ เหลานี้จะสราง หรือไดสราง “ตัวตน” ของ นั ก บวชหญิ ง และนั ก บวชหญิ ง เองก็ ไ ด มี ส ว นร ว มสร า งและตระหนั ก ถึ ง ตั ว ตนใหม ที่ ปรับเปลี่ยนสถานะจากฆราวาสมาสูความเปน “นักบวชหญิง” ดวย นักบวชหญิงใน 2 คณะ ภคิ ณี ที่ ผู ศึ ก ษาเลื อ กศึ ก ษาครั้ ง นี้ มี ป ระสบการณและใหความหมายที่มีทั้งความเหมือน

ปที่ 2 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2010/2553 149


การกอรูปตัวตนของนักบวชหญิงในศาสนจักรคาทอลิกไทย

และความแตกตางหลากหลายกันไป ในที่นี้ พอกล า วโดยสั ง เขปถึ ง ลั ก ษณะของตั ว ตน ที่ ก ำลั ง ก อ ตั ว ของนั ก บวชหญิ ง ได ว า มี ส อง ลักษณะ ลักษณะที่หนึ่ง คือ นักบวชหญิงที่ รับเอาความหมายของคำปฏิญาณ 3 ประการ คือ พรหมจรรย ความยากจน และนบนอบ เชื่อฟง ผานกระบวนการฝกฝนขัดเกลาตาม ความคาดหวังของผูอบรมไวไดทั้งหมด ยินดี ในการยึดถือปฏิบัติและใหความหมายแกตัว ตนของตัวเองไปในทางนั้น อาจเรียกวาเปน “Passive Self” ลักษณะที่สอง คือ นักบวช ที่เลือกรับเพียงบางสวนและมีการตอรอง รวม มีสวนในการใหความหมาย อันจะมีผลตอหรือ เป น ผลมาจากการเลื อ กยึ ด ถื อ ปฏิ บั ติ ต าม ระเบียบประเพณีปฏิบัติของคณะนักบวชนั้นๆ ในชี วิ ต ประจำวั น ด ว ย แต ที่ สุ ด แล ว ก็ ยั ง คง เลื อ กที่ จ ะดำรงชี วิ ต นั ก บวชต อ ไปอาจเรี ย ก ไดวาเปน “Active Self” การศึกษาครั้งนี้ผู ศึกษาพบวา การกอรูปตัวตนของนักบวชหญิง เกิดในหลายลักษณะผสมผสานกัน กลาวคือมี ทั้งความเปน “Passiv Self” และ “Active Self” สลับสับเปลี่ยนกันไปในแตละชวงของ ชีวิต

150 วารสารวชาการ วทยาลัยแสงธรรม

บรรณานุกรม กัลยา ตรีโสภา. 2545. ภคินีพระหฤทัยฯสู ศตวรรษใหมขาพเจาทำไดทุกสิ่ง อาศัยพระองค. ในหนึ่งศตวรรษใน ออมหัตถพระหฤทัย หนา 158-161, กรุงเทพฯ: โรงเรียนพระหฤทัย พัฒนเวศม. ภคินีพระหฤทัยของพระเยซูเจาแหง กรุงเทพฯ,คณะ. 2528. ระเบียบ ประเพณีคณะภคินีพระหฤทัยของ พระเยซูเจาแหงกรุงเทพฯ. กรุงเทพฯ : โรงพิมพรุงพัฒนา. . 2545. ผูฝกหัด. ในหนึ่ง ศตวรรษในออมหัตถพระหฤทัย หนา 175-180, กรุงเทพมหานคร : โรงเรียนพระหฤทัยพัฒนเวศม. อุรสุลินในประเทศไทย, คณะ. ม.ป.ป. ขอเขียน พระวินัย คำแนะนำ พินัยกรรของ นักบุญอัญจลาเมริซี. แปลจาก ตนฉบับภาษาอังกฤษโดย ซิสเตอร บุญประจักษ ทรรทรานนท. กรุงเทพฯ


ช่นสุข อาศัยธรรมกุล

. 2529. พระธรรมนูญของคณะ นักบุญอุรสุลาแหงสหภาพโรมัน จงดำเนินชีวิตใหม 1984. กรุงเทพฯ : บริษัทประชุมชางจำกัด. ปริตตา เฉลิมเผา กออนันตกูล. 2546. เจาแม คุณปู ชางซอชางฟอน และ เรื่องอื่นๆ วาดวยพิธีกรรมและ นาฏกรรม. กรุงเทพฯ : ศูนยมานุษยวิทยาสิรินธร. ปาเลอกัวซ. 2547. บันทึกเรื่องมิสซังแหงกรุง สยาม. แปลโดย เพียงฤทัย วาสบุญมา. กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร. ไพยง มนิราช. 2550. นักบวช. พิมพครั้งที่ 2, กาญจนบุรี : พรสวรรคการพิมพ. นักบวชหญิงแหงประเทศไทย, ชมรม. 2528. นักบวชคือใคร? บทความแปลใน 25 ป ชมรมนักบวชหญิง ในพระศาสนจักรไทย, กรุงเทพฯ : โรงพิมพสารมวลชน. บูเซอร, มารธา. 2547. ยังคงอยู. ..ทามกลางเรา! การทบทวนชีวิตจิตของนักบุญ อัญจลา เมริชี. แปลโดย ซิสเตอรรวงกาญจนา ชินะผา, OSU., กรุงเทพฯ : คณะอุรสุลินในประเทศไทย.

ลุค, คอลลา. CICM,. 2542. พระคริสตเจาและ พระศาสนจักรของพระองค. แปลโดย เรือง อาภรณรตั น และอกาทา จิตอุทศั น. กรุงเทพฯ: สำนักพระอัครสังฆราช. สมณกระทรวงเพื่ อ สถาบั น ชี วิ ต ที่ ถ วายแล ว และสมาคมชีวิตแพรธรรม. 2542. แนวปฏิบตั เิ รือ่ งการอบรมในสถาบัน นักบวช, แปลโดยประคิณ ชุมสาย ณ อยุธยา, กรุงเทพฯ. ม.ป.ป. พระดำรัสเตือนหลังการประชุมสภา สมัชชาพระสังฆราชเรือ่ ง“ชีวติ ผูร บั เจิม”(VITA CONSECRATA) ของสมเด็จพระสันตะปาปา ยอหน ปอลที่ 2. แปลจากตนฉบับ ภาษา ฝรั่งเศสโดยประคิณ ชุมสาย ณ อยุธยา: ม.ป.ท. สหพันธอธิการเจาคณะนักบวชในประเทศไทย. 2546. นักบวชหญิงและชายใน ประเทศไทย, กรุงเทพมหานคร: สหพันธอธิการเจาคณะนักบวชใน ประเทศไทย. เสรี พงศพิศ. 2527. คาทอลิกกับสังคมไทย สีศ่ ตวรรษแหงคุณคาและบทเรียน, กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ มูลนิธิโกมลคีมทอง.

ปที่ 2 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2010/2553 151


การกอรูปตัวตนของนักบวชหญิงในศาสนจักรคาทอลิกไทย

. 2545. ศาสนาคริสต. พิมพครั้งที่ 3, กรุงเทพมหานคร : ฝายงานอภิบาลและธรรมทูต อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ. อภิญญา เฟองฟูสกุล. 2543. พื้นที่ในทฤษฎี สังคมศาสตร. วารสารสังคมศาสตร. ปที่ 12 ฉบับที่ 2 : 65-101. คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม. . 2546. อัตลักษณ : การ ทบทวนทฤษฎีและกรอบแนวคิด. กรุงเทพฯ : คณะกรรมการ สภาวิจัยแหงชาติ สาขาสังคมวิทยา สำนักงานคณะกรรมการวิจัย แหงชาติ. อัครสังฆมณฆลกรุงเทพฯ. 2511. เอกสาร แหงสภาสังคายนาวาติกันที่ 2 พระธรรมนูญเรื่องพระศาสนจักร. กรุงเทพฯ : โรงพิมพตรีณสาร.

152 วารสารวชาการ วทยาลัยแสงธรรม

Agnes Kanlaya Trisopa. 1989. Initial Formation to Religious Life : A Study of development of Vocation of Novices with Special Reference to The Congregation of The Sacred Heart of Bangkok. Master’s thesis, Faculty of Arts in Religious Sciences, Pontifical Institute “Regina Mundi” associated with the Pontifical Gregorian University. Butler, Judith. 1990. Gender Trouble : Feminism and The Subversion ofIdentity. Linda J. Nicholson, editor London : Routledge, Chapman & Hall. Saulnier, C.F., 1996. Feminist Theories and Social Work: Approaches and Application. Newyork : The Haworth.


เชดชัย เลิศจตรเลขา

ปญหาศีลธรรมเรื่องการใหอาหาร และน้ำทางสายยางแกผูปวย ที่อยูในสภาพชีวิตพืชอยางถาวร

Ethical Dilemmas about Naso Gastric Tube Feeding to Permanent Vegetative State Patient บาทหลวง ดร.เชิดชัย เลิศจิตรเลขา, M.I. * บาทหลวงในคริสตศาสนจักรโรมันคาทอลิก คณะคามิลเลียน * อาจารยประจำคณะศาสนศาสตร วิทยาลัยแสงธรรม

Rev.Dr.Cherdchai Lertjitlekha, M.I. * Reverend in Roman Catholic Church, Camillian. * Lecturer at Saengtham College.

ปที่ 2 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2010/2553 153


ปญหาศีลธรรมเร่องการใหอาหารและน้ำทางสายยางแกผูปวยที่อยูในสภาพชวตพืชอยางถาวร

การยุ ติ ก ารรั ก ษา (Withdrawing Treatment) หรือการรับการรักษา (Withholding Treatment) เปนเรื่องสิทธิของผู ปวย ซึ่งผูปวยมีสิทธิที่จะรับการรักษาหรือยุติ การรักษา ซึ่งหลักเกณฑที่ใชในการตัดสินใจ วา เมื่อไหรควรยุติหรือควรดำเนินการรักษา ตอไปคือ ความสมเหตุสมผล (Proportionate) หรือความไมสมเหตุสมผล (Disproportionate) ของการรักษาที่กำลังดำเนินการอยู นั้น ที่ผูปวยเปนผูที่ตัดสินใจเลือกตามมโนธรรมของตนเอง (Informed Conscience) โดยอาศัยขอมูลการรักษาที่ไดจากแพทย ซึ่ง ในขณะที่ผูปวยเปนผูที่ยังสามารถใชเหตุผล ในการตัดสินใจได ก็เปนผูปวยเองที่ตัดสินใจ เลือกสำหรับตนเอง และในกรณีที่ผูปวยไม สามารถแสดงออก ซึ่งความสามารถในการ ตัดสินใจเลือกได ญาติหรือพี่นองของผูปวย จะเปนผูที่ทำหนาที่ในการตัดสินใจแทน โดย การตัดสินใจนั้น ยึดหลักเกณฑเพื่อคุณประโยชนของผูปวยเปนหลัก (Patient’s Benefit) กลาวคือ การรักษาทีใ่ หคณ ุ ประโยชนแกผปู ว ย ก็ควรที่จะดำเนินตอไป แตการรักษาที่เปน ภาระ (Burdensome) มากกวาคุณประโยชน ก็ไมจำเปนที่จะตองใหการรักษานั้นแกผูปวย หลักเกณฑการตัดสินใจเลือกจะยุติ การรักษาหรือดำเนินการรักษาดังกลาวขางตน

154 วารสารวชาการ วทยาลัยแสงธรรม

เป น หลั ก เกณฑ ที่ ป ระยุ ก ต ใช ต ลอดเรื่ อ ยมา หลายทศวรรษ ซึ่งคำสอนของพระศาสนจักร คาทอลิกก็ประยุกตใชหลักเกณฑดังกลาว จน ถึงในป ค.ศ. 2004 ที่พระศาสนจักรไดเปลี่ยน จุดยืนเกี่ยวกับหลักเกณฑในการตัดสินใจ ซึ่ง การเปลี่ยนจุดยืนในการตัดสินใจนี้ เราสามารถ พบไดจากการที่พระสันตะปาปา ยอหน ปอล ที่ 2 ไดทรงปราศรัยตอผูเขารวมประชุมนานา ชาติ (International Congress) หัวขอเรื่อง “การรักษาเพื่อชวยชีวิต และสภาพชีวิตพืช: ความก า วหน า ทางวิ ท ยาศาสตร แ ละป ญ หา ศีลธรรม” (Life-Sustaining Treatments and Vegetative State: Scientific Advances and Ethical Dilemmas) เมื่อวันที่ 24 มีนาคม ค.ศ. 2004 ที่พระสันตะปาปาทรง กลาววา “การใหน้ำและอาหารทางสายยาง เปนวิธีการธรรมชาติ (Natural Means) ที่ รักษาชีวิต ซึ่งไมใชเปนวิธีการทางการแพทย ดังนั้น การใหอาการและน้ำทางสายยาง จึง ควรไดรับการพิจารณาในหลักการ (in Principle) วาเปนวิธีการธรรมดา (Ordinary) และ มีความสมเหตุสมผล (Proportionate) และ มี ค วามจำเป น ด า นศี ล ธรรมต อ งปฏิ บั ติ ต าม (Morally Obligatory) ตราบเทาที่วิธีการนี้ ไดบรรลุถงึ จุดมุง หมายเฉพาะ ซึง่ ในกรณีนเี้ ปน การให ส ารอาหารต อ ผู ป ว ย และเป น การ


เชดชัย เลิศจตรเลขา

บรรเทาความทุกขทรมาน”1 (John Paul II, No. 4) คำปราศรัยดังกลาวขางตน ที่พระสันตะปาปา ไดกลาววา การใหอาหารและน้ำ ทางสายยางแกผูปวยที่อยูในภาวะพืชถาวรวา (Permanent Vegetative State) เปนวิธกี าร ธรรมดา (Ordinary Means) และมีความสม เหตุสมผล (Proportionate) ดังนั้น จึงมีผล บังคับดานศีลธรรม (Morally Obligatory) ที่ตองใหอาหารและน้ำทางสายยาง กับผูปวย ที่ อ ยู ใ นภาวะพื ช ถาวรทุ ก คนโดยไม มี ข อ ยก เวน คำปราศรัยเกี่ยวกับเรื่องนี้กอใหเกิดการ ถกเถียงระหวางนักคริสตจริยศาสตรในชวง 4-5 ปที่ผานมา (Thomas A. Shannon and James J. Walter, 2005: 652-62) บทความบทนี้ตองการที่จะชี้ใหเห็น วา ในสังคมแหงความกาวหนาของเทคโนโลยี ทางการแพทย ผูปวยเปนเหยื่อของความกาว หนาดานการรักษาทางการแพทย โดยเฉพาะ อยางยิ่งผูปวยในระยะสุดทาย หรือผูปวยที่อยู ในสภาพชีวิตพืชอยางถาวร การเปลี่ยนจุดยืน

ของคำสอนของพระศาสนจั ก รจากจุ ด ยื น ที่ ยึดถือทฤษฎี Teleology ที่พิจารณาวาการ รักษานั้น กอใหเกิดคุณประโยชน (Benefit) หรือภาระ (Burdensome) ที่เกิดกับผูปวย กลับมาเปนการยืดถือทฤษฎี Deontology ที่ พิจารณาวาการใหอาหารและน้ำทางสายยาง โดยธรรมชาติ (Natural Means) เปนสิ่งจำ เป น สำหรั บ ผู ป ว ยที่ อ ยู ใ นสภาพชี วิ ต พื ช ใน ทุกกรณี ซึ่งเปนการเปลี่ยนจุดยืนของคำสอน ของพระศาสนจักร ทีน่ ำไปสูก ารตัง้ คำถามและ การถกเถียงของนักจริยศาสตร ตลอดจนแนว ทางปฏิบัติวาในกรณีดังกลาวเราควรปฏิบัติ อยางไร ผูป ว ยเหยือ่ ของความกาวหนาทางการแพทย ป ญ หาที่ ม นุ ษ ย ใ นป จ จุ บั น ที่ ก ำลั ง เผชิญอยูส ำหรับผูป ว ยคือ มนุษยเปนเหยือ่ ของ ความกาวหนาและเทคโนโลยีทางการแพทย โดยเฉพาะอย า งยิ่ ง เกี่ ย วกั บ การดำเนิ น การ รักษา (Withholding Treatment) หรือการ

1

“…the administration of water and food, even when provided by artificial means, always represents a natural means of preserving life, not a medical act. Its use, furthermore, should be considered, in principle, ordinary and proportionate, and as such morally obligatory, insofar as and until it is seen to have attained its proper finally, which in the present case consists in providing nourishment to the patients and alleviation of his suffering.”

ปที่ 2 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2010/2553 155


ปญหาศีลธรรมเร่องการใหอาหารและน้ำทางสายยางแกผูปวยที่อยูในสภาพชวตพืชอยางถาวร

ยุติการรักษา (Refusal Treatment) เพราะ มนุษยปจจุบันมีความคิ ดเกี่ ยวกับการรักษา ดูแลผูปวยวา “อะไรที่สามารถทำได ก็ควรที่ จะกระทำ” (what could be done, it should be done) มนุษยปจจุบันมีความคิด วาความกาวหนาดานการแพทย และเทคนิค การรักษายิ่งมีมากขึ้นเทาไหร ก็ควรที่จะประยุ ก ต ใช เ ทคนิ ค การรั ก ษานั้ น กั บ ผู ป ว ยอย า ง จำเปนมากขึ้นเทานั้น เชน ถาแพทยวินิจฉัย การรักษาที่สามารถกระทำไดกับผูปวย ญาติ พี่นองสวนใหญคิดวาการรักษาตามที่แพทย วินิจฉัยนั้นเปนสิ่งที่จำเปน (Necessary and Obligatory) สำหรับผูปวย และถาไมใหการ รั ก ษานั้ น ต อ ผู ป ว ย ดู เ หมื อ นว า พวกเขาไม เคารพรักผูปวย เพราะวาไมไดประยุกตใชวิธี การรักษาที่ทันสมัยนั้นแกผูปวย การเขาใจความจำเปนการประยุกต ให ก ารรั ก ษาด า นการแพทย ที่ ก า วหน า ทั น สมัยแกผูปวยอยางสุดโตงและไมสามารถหลีก เลีย่ งไดอยางดังกลาว กอใหเกิดปญหาศีลธรรม ที่เกิดขึ้น คือ ปญหาความพยายามยื้อชีวิต ของผูปวย (Prolonging Life) ที่เปนเพียง ชีวิตพืช ใหยืนยาวตอไปอีกชั่วระยะเวลาหนึ่ง โดยอาศั ย เครื่ อ งมื อ แพทย ที่ ทั น สมั ย แม ว า ความตายตามธรรมชาติ (Natural Death) ไดมาถึงแลว ซึ่งเปนการกระทำที่ไมจำเปน

156 วารสารวชาการ วทยาลัยแสงธรรม

และเปนสิ่งที่ขัดตอศีลธรรม (Immoral) ที่ บอย ๆ สิ่งนี้เปนสิ่งที่เกิดขึ้นในปจจุบัน แทนที่ มนุษยจะใชมโนธรรมศีลธรรมของตน (Personal Moral Conscience) เปนผูตัดสินชี้ ขาดในการตัดสินใจ วาจะดำเนินการรักษา หรือยุติการรักษา โดยอาศัยคำปรึกษาจาก แพทยผูเชี่ยวชาญ ถึงคุณประโยชนและโทษ ของการรักษาที่จะเกิดขึ้นตอผูปวย โดยคำนึง ถึงคุณประโยชน (Benefit) หรือภาระ (Burdensome) ที่ผูปวยจะไดรับเปนเกณฑ กลับ กลายเปนวาการตัดสินใจรักษาผูปวย ขึ้นอยู กั บ ความสามารถด า นการแพทย เ ป น หลั ก กลาวคือ ถามีความเปนไปไดที่จะรักษาตาม ความกาวหนาดานการแพทย ก็ควรที่จะประยุ ก ต ใช ก ารรั ก ษานั้ น กั บ ผู ป ว ยอย า งจำเป น โดยไมไดพิจารณาวาการรักษานั้นใหคุณประโยชนหรือโทษแกผูปวย นอกนั้น ผูปวยในปจจุบันยังตกในกับ ดักของเครื่องมือการรักษาอยางไมสามารถ หลีกเลียงได กลาวคือ เมื่อเริ่มการรักษาโดย ใชเครื่องมือทางการแพทยแลว ผูปวยก็จะอยู กับเครื่องมือดังกลาวจนกวาผูปวยจะสิ้นชีวิต โดยที่ไมมีใครกลาที่จะยุติการใชเครื่องมือใน การรักษาผูปวย เพราะคิดวาการยุติการรักษา จากเครื่องมือดานการแพทยนั้น ดูเหมือนวา เปนการกระทำการุณยฆาตตอผูปวย ซึ่งเปน


เชดชัย เลิศจตรเลขา

สิ่งที่มนุษยในปจจุบันเขาใจผิด เนื่องจากวา การใช เ ครื่ อ งมื อ หรื อ วิ ธี ท างการแพทย ที่ ทั น สมัยในการรักษา ในขัน้ ตนระยะแรกอาจจะยัง มีความสมเหตุสมผล เพราะวายังมีความหวัง วาผูปวยอาจฟนคืนสติขึ้นมาอีกครั้งหนึ่ง แต เมื่อระยะเวลาผานไป การใชเครื่องมือหรือวิธี การรักษาดังกลาวกลายเปนภาระทั้งตอผูปวย และญาติ ในสถานการณดังกลาวไมมีใครกลา ที่จะยุติการรักษา ตัวอยางเชน ผูปวยที่ไดรับอุบัติเหตุที่ ทำใหสมองพิการ อาจเนื่องมาจากสมองไดรับ การกระทบกระเทือนอยางหนัก หรืออุบัติเหตุ ที่ทำใหสมองขาดออกซิเจนชวงเวลาหนึ่งที่ทำ ใหเซลลของกานสมองที่ทำหนาที่ควบคุมการ ทำงานของกลามเนื้อ หัวใจ และอวัยวะภาย ในไมทำงาน ซึ่งเปนสภาพของผูปวยที่มีชีวิต พืชอยางถาวร ผูปวยที่อยูในสภาพเชนนี้ และ ผูปวยไดรับอาหารและน้ำอยางสม่ำเสมอ บาง รายอาจจะมีชีวิตอยูไดเปนเดือน ๆ หรือเปนป ในกรณีเชนนี้ ญาติพี่นองมักจะมีความคิดวา ควรใช วิ ธี ก ารรั ก ษาทุ ก วิ ถี ท างที่ ท ำให ผู ป ว ย สามารถมีชวี ติ อยูไ ด เพราะการกระทำดังกลาว เปนการแสดงความรัก ความเมตตาตอผูปวย ซึ่งถือวาเปนสิ่งจำเปนตองกระทำ นอกนั้น เมื่อเริ่มใหการรักษาโดยใชเครื่องมือดังกลาว แลว เมื่อเวลาผานไปผูปวยไมมีอาการดีขึ้น

แตสามารถมีชีวิตอยูได เนื่องจากเครื่องมือนั้น ซึ่งอาจใชระยะเวลาเปนเดือนหรือเปนป โดย ผูปวยไมมีคุณภาพชีวิต ผูปวยจะติดกับดักวิธี การรักษานั้น จนกวาจะตาย เพราไมมีใครกลา ยุติการใชวิธีการรักษานั้นแกผูปวย ธรรมเนียมคำสอนของพระศาสนจักรคาทอลิก: การรักษาที่สมเหตุสมผล (Proportionate) และการรักษาที่ไมสมเหตุสมผล (Disproportionate) ธรรมเนี ย มคำสอนด า นศี ล ธรรม (Moral Tradition) ของพระศาสนจักรคาทอลิก ที่ใชเปนหลักเกณฑในการตัดสินใจวาจะ ดำเนินการรักษาหรือยุติการรักษา คือ มโนธรรมสวนบุคคล (Personal Moral Conscience) ที่ไดรับคำแนะนำดานการรักษา จากแพทย ซึง่ ตัง้ อยูบ นหลักเกณฑวา การรักษา นั้น มีลักษณะเปนเครื่องมือพิเศษ (Extraordinary Means) หรือเครื่องมือธรรมดา (Ordinary Means) ซึ่งการแยกแยะดังกลาว ใชเปนมาตรการวัดวา เมื่อใดควรที่จะดำเนิน การรั ก ษาต อ ไปและเมื่ อ ใดควรที่ จ ะยุ ติ ก าร รักษา โดยประยุกตตามหลักเกณฑวา ถาวิธกี าร รักษาเปนเครื่องมือธรรมดา ก็จำตองประยุกต ใชสำหรับผูปวยอยางจำเปน (Obligatory) ถา วิธีการรักษานั้นเปนเครื่องมือพิเศษ วิธีการ

ปที่ 2 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2010/2553 157


ปญหาศีลธรรมเร่องการใหอาหารและน้ำทางสายยางแกผูปวยที่อยูในสภาพชวตพืชอยางถาวร

รักษานั้นเปนเพียงตัวเลือก (Option) เทานั้น ไมจำเปนที่จะใหการรักษาแกผูปวยเสมอไป ความแตกตางระหวางระหวางเครื่องมือพิเศษ และเครื่องมือธรรมดา ขึ้นอยูกับองคประกอบ และปจจัยตางๆ ของเครื่องมือเองหลักการ พิจารณาถึงลักษณะหรืธรรมชาติความแตก ต า งระหว า งเครื่ อ งมื อ พิ เ ศษและเครื่ อ งมื อ ธรรมดา มีดังนี้ (Wildes, W. Kevin, 1966: 500-512.) เครื่ อ งมื อ พิ เ ศษ (Extraordinary Means) หมายถึง เครื่องมือที่โดยธรรมชาติ ของเครื่องมือมีลักษณะดังตอไปนี้ 1. ลั ก ษณะการได ม าของเครื่ อ งมือ (Possibility of Means) กลาวคือ เครื่องมือ พิ เ ศษเป น เครื่ อ งมื อ ที่ ไ ม ส ามารถแสวงหา ได หรือถาสามารถแสวงหาไดก็ไมสามารถ ใชเครื่องมือดังกลาวไดโดยงาย และมีความ ยุงยากอยางมากในการใชเครื่องมือดังกลาว เชน การรักษาความบกพรองดานพันธุกรรม โดยใชการบำบัดจากสเต็มเซลล เปนตน 2. ความยากลำบากในการเขาหาหรือ แสวงหาเครื่องมือ (Difficulty of Accessibility of Means) เครื่องมือพิเศษเปนเครื่อง มือที่มีความยากลำบากในการเขาถึง เชน ผู ปวยที่เปนมะเร็งที่ตองเดินทางไปรักษาในตาง ประเทศที่อยูหางไกล ดวยความยากลำบาก เปนตน

158 วารสารวชาการ วทยาลัยแสงธรรม

3. การรักษามีความเจ็บปวดทนทุกข ทรมานมาก (The Question of Pain) ความ เจ็ บ ปวดทรมานมี บ ทบาทอย า งมากในการ กำหนดวา เครื่องมือใดหรือวิธีการรักษาชนิด ใดเปนวิธีธรรมดา และวิธีการรักษาประเภท ใดเปนวิธีการพิเศษ เชน การรักษาคนปวยที่ เปนโรคมะเร็งโดยวิธี Chemotherapy ซึ่ง กอใหเกิดความเจ็บปวดในขณะที่ทำการรักษา เปนตน 4. มีคาใชจายสูง (Excessive Expense) การรักษาโดยใชเครื่องมือที่ตองเสีย คาใชจายอยางมาก จนเปนหนี้สินแกผูอื่น ก็ เปนปจจัยสำคัญที่เปนตัวกำหนดวา เครื่องมือ ดังกลาวเปนเครื่องมือพิเศษ เชน การรักษา ที่ตองเสียคาใชจาย จนทำใหครอบครัวลำบาก จนตองขายทั้งบานและที่ดิน และเปนหนี้เปน สินผูอื่น เปนตน 5. เครื่องมือที่กอใหเกิดความหวาด กลัวในขณะทำการรักษา (The Question of Fear and Repugnance) ความกลัวที่ใน บางครั้ ง อาจจะเป น ความกลั ว ที่ ไ ม ส มเหตุ สมผลก็ตาม แตก็มีสวนในการพิจารณาทำให เครื่องมือหรือวิธีการที่ใชในการรักษาวาเปน แบบธรรมดาหรือเปนแบบพิเศษ สวนเครื่องมือธรรมดา (Ordinary Means) เปนเครื่องมือที่โดยธรรมชาติเปนสิ่ง


เชดชัย เลิศจตรเลขา

จำเปน (Obligatory) ตองใชเครื่องมือดังกลาว ตอการรักษาใหผูปวย หรือผูปวยมีสิทธิในการ ไดรับการรักษาดวยเครื่องมือดังกลาว ซึ่งมี ลักษณะดังตอไปนี้ 1. เครื่องมือที่กอใหเกิดความหวังที่ เปนประโยชนตอผูปวย (The Hope Benefit) กลาวคือ เครื่องมือหรือวิธีการรักษาคนปวย ที่ กอใหเกิดความหวังที่เปนประโยชนตอผูปวย ก็เปนเครื่องมือธรรมดา เชน การใหน้ำเกลือ ในผูปวยที่ออนแรง ซึ่งทำใหผูปวยมีอาการ แข็งแรงขึ้น 2. เครื่องมือธรรมดา ตองเปนเครื่อง มือที่สามัญชนโดยทั่วไปสามารถจัดหาได จาก มาตรฐานของสังคมทั่วไปที่เขาอาศัยอยู โดย ยึดหลักชนชั้นกลางเปนมาตรฐาน 3. เครื่องมือธรรมดาสามัญ (Common Means) ขึน้ อยูก บั สถานะภาพทางสังคม ที่แตกตางกัน ของแตละคนที่อยูในสังคม เชน เครือ่ งมือชนิดเดียวกัน สำหรับคนทีเ่ ปนบุคคล สำคัญในสังคม อาจเปนเครื่องมือธรรมดา แต สำหรั บ คนที่ ไ ม ใช เ ป น บุ ค คลสำคั ญ ในสั ง คม อาจเปนเครื่องมือพิเศษก็ได เชน การลางไต ด ว ยเครื่ อ งล า งไต สำหรั บ คนในยุ โรปและ สหรั ฐ อเมริ ก า เป น เครื่ อ งมื อ ธรรมดา แต สำหรับคนในประเทศแอฟริกาเปนเครื่องมือ พิเศษ เปนตน

4. เครื่องมือธรรมดาเปนเครื่องมือ ที่แสวงหาไดงาย (Not too Difficulty to Accessible) ไมใชเปนเครื่องมือที่ตองเสียคา ใชจายสูง เครื่องมือที่กอใหเกิดความกลัว ฯลฯ การแบงแยกระหวางเครื่องมือพิเศษ (Extraordinary Means) และเครื่องมือธรรมดา (Ordinary Means) เปนแนวความคิดดั้งเดิม ที่ใชในการตัดสินใจวา ควรที่จะดำเนินการ รักษาหรือยุติการรักษา การแยกแยะดังกลาว จะเห็นวามีลักษณะเปนพลวัต (Dynamic) ที่ ไมใชเปนเสนแบงเขตตายตัว ที่ขึ้นอยูกับหลาย ปจจัยดังที่ไดอธิบายมาแลว ซึ่งการพิจารณา โดยใหความสนใจที่ลักษณะวิธีการรักษา หรือ ลักษณะของเครื่องมือเปนหลัก ปจจุบันนักจริยศาสตรไดเปลี่ยนจุด เนนจากการแบงแยก ระหวางเครื่องมือพิเศษ และเครื่องมือธรรมดา ที่ยึดเอาลักษณะของ เครื่องมือเปนหลักในการอธิบาย โดยหันมา ใหความสำคัญตอสภาพของผูปวยเปนหลัก (Patient’s Medical Condition) และความ สามารถที่จะบรรลุถึงคุณคาตางๆ ของผูปวย เปนจุดสำคัญ (Patient’s Ability to Pursue of Values) โดยพิจารณาความเปนสัดสวน ที่สมเหตุสมผล ระหว างวิธีการรักษา และ สถานะภาพของผูป ว ย กลาวคือ การรักษาที่ เปนสัดสวนที่สมเหตุผล (Proportionate) ก็

ปที่ 2 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2010/2553 159


ปญหาศีลธรรมเร่องการใหอาหารและน้ำทางสายยางแกผูปวยที่อยูในสภาพชวตพืชอยางถาวร

ควรที่จะดำเนินการรักษาตอไป สวนการรักษา ไมเปนสัดสวนที่สมเหตุผล (Disproportionate) ก็ควรทีจ่ ะยุตหิ รือระงับการรักษาดังกลาว โดยยึดเอาคุณภาพชีวิตของผูปวย (Quality of Life) เปนหลักการรักษาใดกอใหเกิดภาระ แกผูปวย โดยปราศจากความหวังที่จะกลับ ฟ น คื น มา ก็ เ ป น การรั ก ษาที่ ไ ม เ ป น สั ด ส ว น ที่สมเหตุผล และในทางตรงขาม การรักษา ใดที่เปนคุณประโยชนตอผูปวย ก็ถือวาเปน การรักษาที่สมเหตุผล หลั ก เกณฑ ค วามเป น สั ด ส ว นที่ ส ม เหตุผล (Proportionate) และความไมเปน สั ด ส ว นที่ ส มเหตุ ผ ล (Disproportionate) ดั ง กล า ว สามารถพบได ตั่ ง แต แรกเริ่ ม ใน คำสอนของพระสันตะปาปาปโอที่ 12 ในป ค.ศ. 1958 ที่พระองคทรงปราศรัยใหแกคณะ วิสัญญีแพทย ในหัวขอ “การเยื้อชีวิต” ซึ่ง แมวาคำปราศรัยดังกลาวจะเปนอำนาจสอน ลำดับขั้นที่ต่ำที่สุด (Low Authority) เพราะ เปนเพียงคำปราศรัย (Discourse) เทานั้น แต ที่นาสำคัญคือ ในขณะที่กำลังเผชิญกับความ กาวหนาทางการแพทย เชน การใชเครื่อง

2

ชวยหายใจ ซึ่งเปนสิ่งใหมที่สามารถยืดชีวิตผู ปวยใหยืนยาวขึ้น ปญหาศีลธรรมที่เกิดขึ้นใน ขณะนั้นคือ เราจำตองใชเครื่องมือนี้เสมอไป หรือไม? และเมื่อเริ่มตนใชแลวสามารถยุติการ ใชไดหรือไม? สิ่ ง ที่ พ ระศาสนจั ก รกำลั ง เผชิ ญ ใน ขณะนั้นคือ ชวงเวลาขณะนั้นเปนชวงเวลาที่ กำลังประสบกับปญหา คำจำความหมายของ ความตาย (Definition of Death) วาจะใช อะไรเปนมาตรการบงชี้วาผูปวยไดตายแลว แมวาพระสันตะปาปาปโอที่ 12 กำลังเผชิญ กับปญหาความกาวหนาทางการแพทยสมัย ใหม แต ก ารแก ไขป ญ หาพระองค ยั ง คงใช ธรรมเนี ย มการแก ไขป ญ หาตามธรรมเนี ย ม เดิม กลาวคือ พระองคทรงตรัสวา “โดยทัว่ ไป แลวทุกคนควรใชวิธีการรักษาธรรมดา ที่สอด คลองกับสถานการณของผูปวย สถานที่ เวลา และวัฒนธรรม กลาวคือ วิธีการรักษาที่ไมเปน ภาระหนักทั้งแกผูปวยและผูอื่น”2 (Pius XII, 1958) คำสอนของพระศาสนจักรเรือ่ งการุณยฆาต (Declaration on Euthanasia) ในป

“But normally one is held to use ordinary means – according to circumstances of persons, places, times and culture – that is to say, means that do not involve any grave burden for oneself or another.”

160 วารสารวชาการ วทยาลัยแสงธรรม


เชดชัย เลิศจตรเลขา

ค.ศ. 1980 โดยกระทรวงเผยแพรความเชื่อ (the Congregation for the Doctrine of the Faith) ก็ไดยึดถือหลักเกณฑตามธรรมเนียมของพระศาสนจักร เมื่อจำตองตัดสินใจ วาเมื่อใดควรดำเนินการรักษา และเมื่อใดควร ยุติการรักษา โดยกลาววา “ในบางกรณี มี ความเป น ไปได ที่ จ ะตั ด สิ น ใจอย า งถู ก ต อ ง เกี่ยวกับวิธีการรักษา โดยศึกษารูปแบบของ การรักษาที่ใช ความซับซอน และความเสี่ยง ที่จะเกิดขึ้น คาใชจาย และความเปนไปไดที่ จะประยุกตใชการรักษานั้น และเปรียบเทียบ กับผลลัพธทค่ี าดวาจะเกิดขึน้ โดยการพิจารณา รวมถึ ง สภาพของผู ป ว ย และทรั พ ยากรทั้ ง ดานรางกายและจิตใจของผูปวยดวย”3 (CDF, 1980) หนั ง สื อ คำสอนของพระศาสนจั ก ร คาทอลิกสากล (Catechism of the Catho-

lic Church) ยั ง ได ย้ ำ ถึ ง หลั ก เกณฑ ต าม ธรรมเนียมของพระศาสนจักร โดยกลาววา “ใหยุติกระบวนการรักษาที่เปนภาระ อันตราย เป น เครื่ อ งมื อ พิ เ ศษ และการรั ก ษาที่ ไ ม ส ม เหตุสมผล ซึ่งเปนการกระทำที่ถูกตอง คือ การปฏิเสธการรักษาที่เกินเลย ณ ที่นี้เราไม ปรารถนาความตายให เ กิ ด ขึ้ น แต ห มายถึ ง ความไมสามารถหลีกเลียงความตายได กลาว คือการยอมรับความตายนั้นเอง ผูปวยควร เปนผูที่ตัดสินใจ เมื่อเขายังมีความสามารถ แต ถ า ผู ป ว ยไม ส ามารถ ก็ เ ป น ผู ที่ ก ฎหมาย มอบฉั น ทะที่ ท ำหน า ที่ แ ทนผู ป ว ย ซึ่ ง ต อ ง เคารพน้ำใจและความสนใจของผูปวยเสมอ”4 (CCC, 1994: no. 2278) จากคำสอนของพระศาสนจั ก รดั ง กลาวขางตน จึงสามารถสรุปไดวา หลักเกณฑ ที่มโนธรรมใชในการตัดสินใจที่จะดำเนินการ

3

“In any case, it will be possible to make a correct judgment as to the means by studying the type of treatment to be used, its degree of complexity or risks, its cost and the possibility of using it, and comparing these elements with the result that can be expected, taking into account the state of the sick person and his or her physical and moral resources.” 4

Discontinuing medical procedures that are burdensome, dangerous, extraordinary, or disproportionate to the expected outcome can be legitimate; it is the refusal of ‘over-zealous’ treatment. Here one does not will to cause death; one’s inability to impede it is merely accepted. The decisions should be made by the patient if he is competent and able or, if not, by those legally entitled to act for the patient, whose reasonable will and legitimate interests must always be respected.”

ปที่ 2 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2010/2553 161


ปญหาศีลธรรมเร่องการใหอาหารและน้ำทางสายยางแกผูปวยที่อยูในสภาพชวตพืชอยางถาวร

รักษาหรือยุติการรักษา หลังจากไดคำปรึกษา จากแพทยผูเชี่ยวชาญ ถึงวิธีการรักษาและ คุณ ประโยชนห รือ โทษของการรัก ษาที่มีตอ ผูปวย คือการรักษาที่เปนเครื่องมือธรรมดา (Ordinary Means) หรือการรักษาที่สมเหตุ สมผล (Proportionate) เป น สิ่ ง ที่ จ ำเป น สำหรับผูปวยและจำตองประยุกตการรักษา นั้นใหแกผูปวย สวนการรักษาที่เปนเครื่องมือ พิเศษ (Extraordinary Means) หรือการ รักษาที่ไมสมเหตุสมผล (Disproportionate) ก็ไ มเ ป น สิ่ง ที่บั ง คับ และไม จ ำเปน ที่จ ะตอ ง ประยุกตใชวิธีการรักษานั้นกับผูปวยเสมอไป การเปลี่ ย นจุ ด ยื น ของคำสอนของพระศาสนจักร จุ ด ยื น ของคำสอนของพระศาสนจักรที่ใชเปนหลักเกณฑวา เมื่อใดควรดำเนิน การรั ก ษาและเมื่ อ ใดควรยุ ติ ก ารรั ก ษา ได เปลี่ยนไปจากเดิม เปนการเปลี่ยนจากการใช กฎเกณฑตามธรรมเนียม (Moral Tradition) ซึ่งเราสามารถรูการเปลี่ยนแปลงนี้ได จากคำ ปราศรัยของพระสันตะปาปา ยอหน ปอลที่ 2 ไดทรงปราศรัย (Discourse) ตอผูเขารวม ประชุมนานาชาติ (International Congress) หัวขอเรือ่ ง “การรักษาเพือ่ ชวยชีวติ และสภาพ ชีวิตพืช: ความกาวหนาทางวิทยาศาสตรและ

162 วารสารวชาการ วทยาลัยแสงธรรม

ปญหาศีลธรรม” (Life-Sustaining Treatments and Vegetative State: Scientific Advances and Ethical Dilemmas) เมื่อ วันที่ 20 มีนาคม ค.ศ. 2004 ที่พระองคทรง ตรั ส เกี่ ย วกั บ วิ ธี ก ารรั ก ษาผู ป ว ยที่ มี ชี วิ ต พื ช และผูปวยที่มีชีวิตพืชถาวร ซึ่งพระองคทรง ตรัสวา “การใหน้ำและอาหารทางสายยาง เปนวิธีการธรรมชาติ (Natural Means) ที่ รักษาชีวิต ซึ่งไมใชเปนวิธีการทางการแพทย (Medical Act) ดังนั้น การใหอาหารและน้ำ ทางสายยาง จึ ง ควรได รั บ การพิ จ ารณาใน หลักการ (in Principle) วาเปนวิธีการธรรมดา (Ordinary) และมีความสมเหตุสมผล (Proportionate) และมีความจำเปนดานศีลธรรม ตองปฏิบัติตาม (Morally Obligatory) ตราบ เทาที่วิธีการนี้ไดบรรลุถึงจุดมุงหมายเฉพาะ (Proper Finality) ซึ่งจุดมุงหมายในกรณีนี้ เปนการใหสารอาหารตอผูปวย และเปนการ บรรเทาความทุกขทรมานของผูปวย” (John Paul II, No. 4) คำปราศรัย (Discourse) ดังกลาวกอ ใหเกิดการวิภาษวิจารณถึงการเปลี่ยนจุดยืน ของพระศาสนจักร แมวาคำปราศรัยจะเปน คำสอนของพระศาสนจั ก รที่ อ ยู ใ นระดั บ ต่ ำ (Low Authority) กวาคำสอนในรูปแบบอื่นๆ ก็ตาม ซึ่งคำวิจารณสามารถสรุปไดดังตอไปนี้


เชดชัย เลิศจตรเลขา

ประการแรกคือ พระศาสนจักรไดเปลี่ยนจุด ยืนจากการอางเหตุผลโดยใชทฤษฎี Teleology คือการพิจารณาวาการรักษานั้น มีจุด มุงหมายเพื่อคุณประโยชนของผูปวย หรือเปน ภาระของผูปวยมาเปนการอางเหตุผลโดยใช ทฤษฎี Deontology คือการกำหนดวาวิธี การรักษา โดยวิธีการใหน้ำและอาหารทาง สายยาง เปนเครื่องมือธรรมดาและมีความสม เหตุสมผล โดยธรรมชาติของวิธีการรักษาเอง ซึ่งจำเปนตองประยุกตใชสำหรับผูปวยทุกคน ที่อยูในสภาพชีวิตพืชอยางถาวร จุดนี้เองที่เปนสิ่งที่นักจริยศาสตรได วิภาษวิจารณ เพราะวาแตเดิมตามธรรมเนียม (Moral Tradition) พระศาสนจักรใชหลัก เกณฑ คือพิจารณาจุดมุงหมายของการรักษา (End of Treatment) วากอใหเกิดคุณประโยชนหรือภาระตอผูปวย ที่เปนการพิจารณา ที่ยึดหลักผูปวยเปนศูนยกลางแหงความสนใจ (Patient’s Center) แตจากคำปราศรัยที่ กำหนดวา การใหอาหารและน้ำทางสายยาง สำหรับผูปวยที่อยูในสภาพชีวิตพืชอยางถาวร เปนวิธีการรักษาหรือเครื่องมือธรรมดา โดย ปราศจากการพิจารณาที่ตั้งอยูบนหลักเกณฑ วาการใหอาหารและน้ำทางสายยางนั้น เปน คุ ณ ประโยชน ห รื อ เป น ภาระต อ ผู ป ว ยและ ญาติหรือไม? โดยกำหนดวิธีการรักษา (การ

ใหอาหารและน้ำทางสายยาง) วาเปนวิธีการ รักษาที่จำเปนตองประยุกตใชสำหรับทุกคน และอางวาใครที่ถอดสายอาหารและน้ำจาก ผูปวยที่มีสภาพชีวิตพืชอยางถาวร ก็เทากับ เป น การกระทำการุ ณ ยฆาตโดยการละเว น (Euthanasia by Omission) ซึ่งเปนการ กระทำที่ผิดศีลธรรม (Immoral) แตหลังจากนั้น เมื่อวันที่ 12 พฤศจิกายน ค.ศ. 2004 พระสันตะปาปายอหน ปอล ที่ 2 ไดทรงปราศรัยตรัสแกผูที่เขารวม ประชุมนานาชาติครั้งที่ 19 ที่จัดโดยกระทรวง เพื่องานอภิบาลสุขภาพอนามัย (the Pontifical Council for Health Pastoral Care) และพระองคทรงตรัสวา “ความเมตตาที่แท จริง ในทางตรงขาม สนับสนุนความพยายาม อย า งมี เ หตุ ผ ลทุ ก วิ ถี ท างสำหรั บ การฟ น คื น มาของผูปวย และในเวลาเดียวกัน เปนการ ช ว ยเหลื อ ที่ แ ยกแยะเมื่ อ เกิ ด ความชั ด เจน วา การรักษาโดยวิธีดังกลาวที่ดำเนินตอไป ไมไดชวยใหบรรลุจุดประสงคนี้ การปฏิ เ สธการรั ก ษาแบบเข ม งวด (Aggressive Treatment) ไมใชเปนการทอด ทิ้งผูปวยหรือชีวิตของเขา แตตามความจริง จุด มุง หมายของการตัด สิน ใจวา จะเริ่ม การ รักษาหรือยังดำเนินการรักษาตอไป ไมเกี่ยว ของกับคุณคาของชีวิตพืชของผูปวย แตขึ้น

ปที่ 2 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2010/2553 163


ปญหาศีลธรรมเร่องการใหอาหารและน้ำทางสายยางแกผูปวยที่อยูในสภาพชวตพืชอยางถาวร

อยู กั บ ว า การรั ก ษานั้ น เป น คุ ณ ประโยชน ต อ ผูปวยหรือไม ความเปนไปไดในการตัดสินใจที่จะไมเริ่ม การรักษาหรือยุตกิ ารรักษา จะเปนการกระทำ ดานศีลธรรมที่ถูกตอง ถาการรักษาที่กำลัง ดำเนินอยูนั้น ไมเกิดคุณประโยชนตอผูปวย และเปนสิ่งที่ไมสมเหตุสมผล ในจุดประสงค เพื่ อ เยื้อ ชีวิ ต หรื อ ฟ น ฟูสุ ข ภาพ ผลลัพ ธคือ การตัดสินใจยุติการรักษาแบบเขมงวด เปน การแสดงออกของความเคารพที่พึงมีตอผูปวย ในทุกขณะ”5 สิ่งที่นาสังเกตคือคำปราศรัย (Discourse) เมือ่ วันที่ 12 พฤศจิกายน ค.ศ. 2004 ในครั้งนี้นั้น ไมไดระบุอยางชัดเจนวาเปนการ แกไข หรือเพิ่มเติม คำปราศรัยที่ไดทรงใหไว

5

ในครั้งกอนเมื่อวันที่ 24 มีนาคม ค.ศ. 2004 แตสิ่งที่ชัดเจนคือเปนคำสอนที่มีจุดยืนที่แตก ตางกันหลายประการ ประการแรก คำสอน ณ ที่นี้ยอมรับวาในบางครั้งการใหการรักษาที่ ดำเนินตอไปนั้น ไมเปนสิ่งที่จำเปน ประการ ที่สอง คำสอนที่กลาววาผูปวยสามารถยุติการ รักษาแบบเขมงวด คำวา “การรักษาแบบเขม งวด” (Aggressive Treatment) ที่กลาวถึง ณ ที่ นี้ ห มายถึ ง “การรั ก ษาด ว ยเครื่ อ งมื อ พิเศษ” (Extraordinary Means) หรือ “การ รักษาแบบไมสมเหตุสมผล” (Disproportionate) ใชหรือไม? สิ่งที่นาสังเกตจากคำปราศรัยเมื่อวันที่ 12 พฤศจิกายน ค.ศ. 2004 เปนการแสดง ออกจุดยืนที่ยอยกลับไปยังจุดยืนดั้งเดิมแหง

True compassion, on the contrary, encourages every reasonable effort for the patient’s recovery. At the same time, it helps draw the line when it is clear that no further treatment will serve this purpose. The refusal of aggressive treatment is neither a rejection of the patient nor of his or her life. Indeed, the object of the decision on whether to begin or to continue a treatment has nothing to do with the value of the patient’s life but rather with whether such medical intervention is beneficial for the patients. The possible decision either not to start or to halt a treatment will be deemed ethically correct if the treatment is ineffective or obviously disproportionate to the aims of sustained life or recovering health. Consequently, the decision to forego aggressive treatment is an expression of the respect that is due to the patient at every moment.

164 วารสารวชาการ วทยาลัยแสงธรรม


เชดชัย เลิศจตรเลขา

ธรรมเนียมของพระศาสนจักร (Moral Tradition) คือ การตัดสินใจที่จะเริ่มการรักษา หรือยุติการรักษา ขึ้นอยูกับวาการรักษานั้น สมเหตุสมผล (Proportionate) หรือไมสม เหตุสมผล (Disproportionate) และความ หมายของการรักษาที่สมเหตุสมผล คือการ รักษาที่กอคุณประโยชนตอผูปวย สวนการ รักษาที่ไมสมเหตุสมผล คือการรักษาที่กอให เกิดภาระทั้งกับผูปวยและผูอื่น ตอมาเมือ่ วันที่ 1 สิงหาคม ค.ศ. 2007 กระทรวงเผยแพรความเชื่อ (the Congregation for the Doctrine of the Faith) ได ใหคำอธิบาย (Commentary) คำปราศรัย ของพระสันตะปาปา ยอหน ปอลที่ 2 ไดทรง ปราศรัยตอผูเขารวมประชุมนานาชาติ ที่ได ใหไวเมื่อวันที่ 20 มีนาคม ค.ศ. 2004 ในหัว ขอเรื่อง “การรักษาเพื่อชวยชีวิต และสภาพ ชีวิตพืช: ความกาวหนาทางวิทยาศาสตรและ ปญหาศีลธรรม” (Life-Sustaining Treatments and Vegetative State: Scientific Advances and Ethical Dilemmas) ที่ เป น จุ ด เริ่ ม ต น แห ง การถกเถี ย งระหว า งนั ก จริยศาสตร และเปนโอกาสตอบคำถามจาก สภาพระสังฆราชแหงประเทศสหรัฐอเมริกา ที่ ไ ด ถ ามเกี่ ย วกั บ เรื่ อ งการให อ าหารและน้ ำ ทางสายยางแกผูปวย ที่อยูในสภาพชีวิตพืช

โดยใจความของสำคัญปญหาคือ การใหอาหาร และน้ำตอผูป วยที่อยูในสภาพชีวิ ตพืช โดย เฉพาะอยางยิ่ง เมื่อตองอาศัยวิธีการการแพทย (Artificial Means) วิธีการเชนนี้อาจกอให เกิดภาระหนักทั้งแกผูปวยและญาติ และอาจ จะรวมถึงระบบสุขภาพ จนอาจถึงจุดที่กลาย เปนเครื่องมือพิเศษหรือวิธีการรักษาที่ไมสม เหตุสมผล จึงไมมีผลการบังคับดานศีลธรรม แมวาจะพิจารณาภายใตแสงสวางแหงคำสอน ของพระศาสนจักรแลวก็ตามไดหรือไม? คำอธิบาย (Commentary) จากกระทรวงเผยแพรความเชื่อ (the Congregation for the Doctrine of the Faith) ไดตอบย้ำ คำสอนเดิมที่ไดใหไวเมื่อวันที่ 20 มีนาคม ค.ศ. 2004 คือ การใหอาหารและน้ำ แมวาโดย อาศัยวิธีการทางแพทย (Artificial Means) โดยหลักการ (in Principle) เปนเครื่องมือ ธรรมดาหรือวิธีการรักษาที่สมเหตุสมผล ใน การรั ก ษาชี วิ ต ของผู ป ว ยที่ อ ยู ใ นสภาพชี วิ ต พืช ดังนั้น จึงเปนสิ่งที่จำเปน (Obligatory) ตราบเทาที่วิธีการนี้แสดงใหเห็นวาไดบรรลุ ถึงจุดมุงหมายเฉพาะ (Proper Finality) คือ จุดมุงหมายเพื่อการใหสารอาหารและน้ำตอ ผูปวย ดังนั้น การใหอาหารและน้ำโดยวิธีการ นี้ จำตองใหกับผูปวยที่อยูในสภาพชีวิตพืช อยางถาวรดวย เพราะวาผูปวยที่อยูในสภาพนี้

ปที่ 2 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2010/2553 165


ปญหาศีลธรรมเร่องการใหอาหารและน้ำทางสายยางแกผูปวยที่อยูในสภาพชวตพืชอยางถาวร

เปนบุคคลที่มีศักดิ์ศรีพื้นฐานเชนเดียวกับคน อื่นๆ จึงควรไดรับอาหารและน้ำ ซึ่งเปนสิทธิ พื้นฐานของมนุษยทั่วไป นอกนั้น กระทรวงเผยแพรความเชื่อ (the Congregation for the Doctrine of the Faith) ยั ง ได ก ล า วถึ ง ข อ ยกเว น บาง ประการดวย โดยอธิบายวา เนื่องจากวาการ ใหอาหารและน้ำทางสายยางถือวาเปนหลัก การ (in Principle) และคำวาหลักการใน ที่นี้หมายถึงโดยทั่วไป (in General) และยัง ไดกลาวถึงกรณียกเวน ที่มีอยู 3 กรณีคือ กรณีแรก อยูในถิ่นกันดานและยากจนอยาง หนัก และการใหอาหารและน้ำที่ตองอาศัย วิธีทางการแพทยเปนสิ่งที่เปนไปไมได และ กรณีที่สอง รางกายผูปวยไมสามารถดูดซึม และนำเอาสารอาหารไปใช ป ระโยชน ต อ รางกายได และกรณีที่สาม การใหอาหารและ น้ ำ ทางสายยาง กลั บ กลายเป น ภาระหนั ก สำหรับของผูปวย เชน การใหอาหารทางสาย ยาง กอใหเกิดผลกระทบแทรกซอนที่ตามมา กับผูปวย สุดทาย กระทรวงเผยแพรความเชื่อ (the Congregation for the Doctrine of the Faith) ไดสรุปวา แมแตในกรณียกเวน ดังกลาว ก็ไมไดทำใหเราละทิ้งมาตรการดาน ศีลธรรม ที่กำหนดวาการใหอาหารและน้ำ

166 วารสารวชาการ วทยาลัยแสงธรรม

แมวา โดยวิถที างการแพทย (Artificial Means) เปนวิธีการธรรมชาติ (Natural Means) ที่ ชวยเหลือชีวิต และไมใชเปนการรักษาใหหาย จากโรค (Therapeutic Treatment) ดังนั้น จึงสามารถประยุกตใชเพราะวาเปนเครื่องมือ ธรรมดา (Ordinary) และเปนวิธีการสมเหตุ สมผล (Proportionate) แมวาผูปวยจะอยูใน สภาพชีวิตพืชเปนระเวลานานก็ตาม สรุป คำสอนดังกลาวเปนคำสอนทีม่ อี ำนาจ ในการสอนของพระศาสนจักร ที่เรียกรองให ปฏิบัติตามและมีผลบังคับดานความนบนอบ ด า นความเชื่ อ (Religious Obedience) เพราะเปนคำสอนอยางเปนทางการของพระ ศาสนจักร แมวาจะเปนคำสอนที่อยูประเภท ทายสุด (Low Authority) เมื่อเทียบกับคำ สอนที่เปนทางการของพระศาสนจักรระดับ อื่นๆ ก็ตาม คำสอนของพระศาสนจักรเกี่ยวกับ การใหอาหารและน้ำทางสายยาง สำหรับผู ปวยที่อยูในสภาพชีวิตพืช หรือผูปวยที่อยูใน สภาพชีวิตพืชอยางถาวร คอยๆ มีความชัด เจนมากยิ่งขึ้นตามลำดับ เนื่องจากวาลักษณะ ความจริงดานศีลธรรม (Moral Truth) เปน ความจริงที่ตองคนหาใหสอดคลองกับสภาพ


เชดชัย เลิศจตรเลขา

ชีวิตของผูปวย และสภาพแวดลอมที่เกิดขึ้น ปญหาศีลธรรมดังกลาว เปนปญหาที่ ตองการผูเชี่ยวชาญในดานตางๆ ที่มีสวนเกี่ยว ข อ งมาช ว ยเสนอความคิ ด เห็ น ในการแก ไข ปญหา เพราะปญหาศีลธรรมประเภทนี้เราไม มีสูตรสำเร็จ พรอมเสร็จที่สามารถแกไขปญหา ทุกประเภทได การกำหนดวิธีการแกไขปญหา แบบตายตัว โดยไมพิจารณาสภาพแวดลอม และโดยเฉพาะอย า งยิ่ ง คุ ณ ประโยชน ข องผู ปวยเปนหลัก เปนการถอยหลังลงคลอง มาก กวาเปนความกาวหนา พระศาสนจักรในฐานะ ที่เปนพระศาสนจักรแหงการเรียนรู จึงจำตอง คนหาวิธีการแกไขปญหา โดยการทำงานของ พระจิตเจาในพระศาสนจักร Conclusion This Doctrine is Magisterium of the Roman Catholic Church which is required to follow and be effective in religious obedience because it is the official teaching of the Church. Evenif this teaching is the low authority when compared with the official teaching in other levels. The teaching of the Church about Naso gastric tube feeding to the

patient in vegetative state or to permanent vegetative state is quietly clear respectively. Due to the moral truth, that needs to conform to the patient state. This Ethical Issue need related expertise to suggest the solutions because this ethical issue doesn’t have perfect formula that can be done with all types of problems. To define the solution regardless circum stances and specially patient’s benefits will be regressive than progressive. As the Church is the Church of learning, it is necessary to seek the solution by the action of the Holy Spirit of the Church. บรรณานุกรม Congregation for the Doctrine of the Faith. 1980. Declaration on Euthanasia. (5 May 1980), in: ASS 72: 545-546. Congregation for the Doctrine of the Faith. 2007. Commentary. (1 August 2007) http://www.

ปที่ 2 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2010/2553 167


ปญหาศีลธรรมเร่องการใหอาหารและน้ำทางสายยางแกผูปวยที่อยูในสภาพชวตพืชอยางถาวร

vatican.va/roman_curia/ congregations/cfaith/ documents/rc_con_ cfaith_doc_20070801_ nota-commento_en.html (accessed August 21, 2009) John Paul II. 2004. the Participants in the International Conference on Life-Sustaining Treatments and Vegetative State: Scientific Advances and Ethical Dilemma http://www.vatican. va/holy_father/john_paul_ii/ speeches/2004/march/ documents/hf_jp-ii_spe_ 20040320_congress-fiamc_ en.html (accessed August 21, 2009) John Paul II, 2004 the Participants in the 19th International Conference of the Pontifical Council for Health Pastoral Care http://www.vatican.va/

168 วารสารวชาการ วทยาลัยแสงธรรม

holy_father/john_paul_ii/ speeches/2004/november/ documents/hf_jp-ii_spe_2004/_ pc-hlthwork_en.html (accessed August 21, 2009) Pius XII. 1985. Prolongation of Life. in: The Pope Speaks: 393-398. Shannon, A. Thomas. 2008. Unbind him and let him go. Ethical Issues in the Determination of Proportionate and Disproportionate Treatment”. in: Theological Studies. 69: 894-917. Shannon, A. Thomas and Walter J. James. 2005. Assisted Nutrition and Hydration and the catholic Tradition. in: Theological Studies. 66: 232-233. Wildes, W. Kevin. 1996. Ordinary and Extraordinary Means and the Quality of Life. in: Theological Studies: 500-512.


วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

S a e n g t h a m C o l l e g e J o u r n al

ใบสมัครสมาชิก วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม สมาชิกในนาม............................................................................................................... ที่อยู (สำหรับจัดสงวารสารวิชาการ) เลขที่.................................ถนน.................................... แขวง/ตำบล...................................................เขต/อำเภอ.................................................. จังหวัด..................................................................รหัสไปรษณ........................................ โทรศัพท.....................................................................โทรสาร......................................... มีความประสงคสมัครเปนสมาชิก วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม 1 ป (2 ฉบับ) อัตราคาสมาชิก 200 บาท วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม 2 ป (4 ฉบับ) อัตราคาสมาชิก 400 บาท วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงะรรม 3 ป (6 ฉบับ) อัตราคาสมาชิก 500 บาท ชำระเงินโดยวิธี ธนาณัติ (สั่งจาย “บาทหลวงวุฒิชัย อองนาวา”) ปณ. ออมใหญ 73160 โอนเงินเขาบัญชีออมทรัพย ธนาคารกรุงไทย สาขาสามพราน ชื่อบัญชี “วารสารวิชาการวิทยาลัยแสงธรรม” เลขที่บัญชี 734-0-27562-2 (พรอมสงเอกสารการโอนมาที่ Fax. 0-2429-0819) ที่อยูที่ตองการใหออกใบเสร็จรับเงิน ตามที่อยูที่จัดสง ที่อยูใหมในนาม....................................................................................................... เลขที่.........................ถนน.............................แขวง/ตำบล..................................... เขต/อำเภอ............................จังหวัด...............................รหัสไปรษณีย................... .............................................(ลงนามผูสมัคร) วันที่........................................... สงใบสมัครมาที่ : ศูนยวิจัยคนควาศาสนาและวัฒนธรรม วิทยาลัยแสงธรรม เลขที่ 20 หมู 6 ต.ทาขาม อ.สามพราน จ.นครปฐม 73110 หรือที่ โทรสาร 0 2 429 0819


รูปแบบการสงตนฉบับบทความ www.saengtham.ac.th 1. การพิมพผลงานทางวิชาการควรจัดพิมพดวย Microsoft Word for Windows หรือซอฟตแวรอื่น ที่ใกลเคียงกันพิมพบนกระดาษขนาด A4 หนาเดียว ประมาณ 26 บรรทัด ตอ 1 หนา Angsana New ขนาดของตัวอักษรเทากับ 16 และใสเลขหนาตั้งแตตนจนจบบทความ ยกเวนหนาแรก 2. ตองมีชื่อเรื่องบทความทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ (ชื่อบทความไมตองอยูในวงเล็บ) 3. ใหขอมูลเกี่ยวกับผูเขียนบทความทุกคน Curriculum Vitae (CV) ไดแก ชื่อ-นามสกุลของ ผูเขียน หนวยงานที่สังกัด ตำแหนงทางวิชาการ (ถามี) E-mail หรือโทรศัพท ทั้งภาษาไทย และภาษาอังกฤษ 4. ทุกบทความจะตองมีบทคัดยอภาษาไทย และ Abstract มีความยาวประมาณครึ่งหนากระดาษ A4 จะตองพิมพคำสำคัญในบทคัดยอภาษาไทย และพิมพ Keywords ใน Abstract ของบทความ ดวย 5. ความยาวทั้งหมด ประมาณ 14-20 หนา 6. เชิงอรรถอางอิง (ถามี) 7. บรรณานุกรมตามมาตรฐาน APA แยกผลงานภาษาไทยและภาษาอังกฤษ (เรียงตามลำดับตัว อักษร) 8. บทความวิจัยควรมีหัวขอดังนี้ ชื่อเรื่องบทความวิจัย (ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ) ชื่อผูเขียนพรอมขอมูลสวนตัวของทุกคน (รายละเอียดตามขอ 3) บทคัดยอภาษาไทย และ Abstract (รายละเอียดตามขอ 4) ความสำคัญ ของเนื้อหา วัตถุประสงค สมมติฐานของการวิจัย ประโยชนที่ไดรับ ขอบเขตการวิจัย นิยามศัพท (ถามี) วิธีการดำเนินการ ผลการวิจัย ขอเสนอแนะ และบรรณานุกรม/References 9. ฝายวิชาการนำบทความที่ทานสงมาเสนอตอผูทรงคุณวุฒิเพื่อประเมินคุณภาพความเหมาะสม ของบทความกอนการตีพิมพ ในกรณีที่ผลการประเมินระบุใหตองปรับปรุงหรือแกไข ผูเขียนจะ ตองดำเนินการใหแลวเสร็จภายในระยะเวลา 15 วันนับจากวันที่ไดรับผลการประเมินบทความ หากทานตองการสอบถามกรุณาติดตอกับกองบรรณาธิการวารสารวิชาการ โทรศัพท (02) 4290100 โทรสาร (02) 4290819 หรือ E-mail: picheat@su.ac.th 10. บทความที่ไดรับการตีพิมพจะไดรับเงินคาตอบแทนสมนาคุณ บทความละ 1,500 บาท พรอม วารสารวิชาการวิทยาลัยแสงธรรม จำนวน 3 เลม


ขั้นตอนการจัดทำ

วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม Saesngtham College Journal

เริ่มตน ประกาศรับบทความตนฉบับ รับบทความตนฉบับ แกไข กอง บก. ตรวจรูปแบบทั่วไป

ไมผาน

แจงผูเขียน

ผาน สงผูทรงคุณวุฒิ ข แกไ

แจงผูเขียน

อง

ผูทรงคุณวุฒิพิจารณาบทความ

ไมผาน

ไมต แกไ

ผาน กองบรรณาธิการแจงยืนยัน การรับบทความ จัดพิมพเผยแพร จบ

แจงผูเขียน แกไข

จบ



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.