วารสารวิ ชาการ วิทยาลัยSaแสงธรรม e n g th a m Co lle g e Jo u rn a l
ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม - ธันวาคม 2010/2553
วัตถุประสงค์ 1. เป็นเวทีเผยแพร่ผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการของคณาจารย์ทั้งใน และนอกวิทยาลัย ตลอดจนนักวิชาการอิสระ 2. เชื่อมโยงโลกแห่งวิชาการ และเผยแพร่องค์ความรู้ทางปรัชญา ศาสนา เทววิทยา และการศึกษา ให้เกิดประโยชน์แก่ชุมชนและสังคม ส่วนรวม 3. ส่งเสริมและกระตุ้นให้เกิดการวิจัย และพัฒนาองค์ความรู้ทางด้าน ปรัชญา ศาสนา เทววิทยา และการศึกษา เพิ่มมากขึ้น เจ้าของ บาทหลวง ดร.ชาติชาย พงษ์ศิริ ในนามอธิการบดีวิทยาลัยแสงธรรม บรรณาธิการ บาทหลวง ดร.ชาติชาย พงษ์ศิริ ในนามรองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ กองบรรณาธิการ บาทหลวง ดร.อภิสิทธิ์ กฤษเจริญ นางสุจิต เพชรแก้ว อาจารย์พิเชษฐ รุ้งลาวัลย์ นางสาวปนัดดา ชัยพระคุณ อาจารย์พีรพัฒน์ ถวิลรัตน์ นางสาวศรุตา พรประสิทธิ์ อาจารย์ลัดดาวรรณ์ ประสูตร์แสงจันทร์ อาจารย์สุจิตตรา จันทร์ลอย อาจารย์ทิพอนงค์ รัชนีลัดดาจิต นางสาววรัญญา สมตัว กำหนดเผยแพร่ ปีละ 2 ฉบับๆ ละ 100 บาท (ฉบับที่ 1 ม.ค.-มิ.ย. ฉบับที่ 2 ก.ค.-ธ.ค.) สถานที่ออกแบบและจัดพิมพ์ ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนางานวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม ออกแบบปก โดย อาจารย์สุจิตตรา จันทร์ลอย รูปเล่ม โดย นางสาววรัญญา สมตัว พิสูจน์อักษร โดย อาจารย์พิเชษฐ รุ้งลาวัลย์ นางสุจิต เพชรแก้ว นางศรุตา พรประสิทธิ์ ศูนย์วิจัยค้นคว้าศาสนาและวัฒนธรรม วิทยาลัยแสงธรรม มีความยินดีรับบทความวิจัย บทความวิชาการ บทวิจารณ์หนังสือ และบทความปริทัศน์ ด้านปรัชญา ศาสนา เทววิทยา และการศึกษา ที่ยังไม่เคยเผยแพร่ ในเอกสารใดๆ โดยส่งบทความมาที่ ผู้อำนวยการศูนย์วิจัยค้นคว้าศาสนาและวัฒนธรรม วิทยาลัยแสงธรรม เลขที่ 20 หมู่ 6 ต.ท่าข้าม อ.สามพราน จ.นครปฐม 73110 กองบรรณาธิการวารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม จะส่งบทความให้แก่ผู้ทรงคุณวุฒิทางวิชาการเพื่อประเมิน คุณภาพบทความว่าเหมาะสมสำหรับการตีพิมพ์หรือไม่ หากท่านสนใจกรุณาดูรายละเอียดรูปแบบการส่งต้น ฉบับได้ที่ www.saengtham.ac.th
รายนามคณะที่ปรึกษากองบรรณาธิการ
(Editorial Advisory Board)
ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก 1. บาทหลวง ศ.ดร.วชิระ น้ำเพชร, S.J. Sophia University, Japan 2. ศ.กีรติ บุญเจือ ราชบัณฑิต 3. ศ.ปรีชา ช้างขวัญยืน คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 4. ศ.ดร.เดือน คำดี คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 5. ศ.ดร.สมภาร พรมทา คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 6. รศ.ดร.สุมาลี จันทร์ชะลอ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี 7. ผศ.ดร.มณฑา เก่งการพาณิชย์ คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล 8. ผศ.ดร.ชาญณรงค์ บุญหนุน คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร 9. ผศ.ดร.วรยุทธ ศรีวรกุล คณะปรัชญาและศาสนา มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ
ผู้ทรงคุณวุฒิภายใน 1. มุขนายก ดร.ลือชัย ธาตุวิสัย 2. บาทหลวง ดร.ชาติชาย พงษ์ศิริ 3. บาทหลวง ดร.ออกัสติน สุกีโย ปิโตโย, S.J. 4. บาทหลวง ดร.ฟรังซิส ไกส์, S.D.B. 5. บาทหลวง ดร.เชิดชัย เลิศจิตรเลขา, M.I. 6. บาทหลวง ผศ.ดร.ไพยง มนิราช 7. บาทหลวง ดร.สุรชัย ชุ่มศรีพันธ์ุ 8. ภคินี ดร.ชวาลา เวชยันต์ ลิขสิทธิ์
ต้นฉบับที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการวิทยาลัยแสงธรรม ถือเป็นกรรมสิทธิ์ของวิทยาลัยแสงธรรม ห้ามนำข้อความทัง้ หมดไปตีพมิ พ์ซำ้ ยกเว้นได้รบั อนุญาตจากวิทยาลัยแสงธรรม ความรับผิดชอบ เนือ้ หาและข้อคิดเห็นใดๆ ทีต่ พี มิ พ์ในวารสารวิชาการวิทยาลัยแสงธรรม ถือเป็นความรับผิดชอบของ ผูเ้ ขียนเท่านัน้
รายนามผู้ทรงคุณวุฒิผู้ประเมินบทความ ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก 1. บาทหลวง ศ.ดร.วชิระ น้ำเพชร 2. ศ.กีรติ บุญเจือ 3. ศ.ดร.ยศ สันตสมบัติ 4. ภคินี ดร.ชวาลา เวชยันต์ 5. รศ.ดร.สุมาลี จันทร์ชะลอ 6. รศ.ดร.ประภา ลิ้มประสูติ 7. รศ.ดร.สุพรรณี ฉายะบุตร 8. รศ.ดร.พรพิมล เสนะวงศ์ 9. ผศ.ดร.มณฑา เก่งการพาณิชย์ 10. ผศ.ดร.วรยุทธ ศรีวรกุล 11. ผศ.ดร.บำรุง โตรัตน์
(Peer Review) ประจำฉบั บ
Sophia University, Japan ราชบัณฑิต คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ผู้อำนวยการโรงเรียนอัสสัมชัญศึกษา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี คณะพยาบาลศาสตร์ วิทยาลัยเซนต์หลุยส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล คณะปรัชญาและศาสนา มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
ผู้ทรงคุณวุฒิภายใน 1. บาทหลวง ดร.ชาติชาย พงษ์ศิริ อธิการบดีวิทยาลัยแสงธรรม 2. บาทหลวง ดร.สุรชัย ชุ่มศรีพันธุ์ คณะศาสนศาสตร์ วิทยาลัยแสงธรรม
บทบรรณาธิการ
บทบรรณาธิการ
Saengtham College Journal วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม - ธันวาคม 2010/2553 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม 2010/ 2553 ฉบับนี้ ถือเป็นฉบับแรกที่ผมมารับหน้าที่บรรณาธิการ ในนามของรองอธิการบดี ฝ่ายวิชาการ แทนบาทหลวงวุฒิชัย อ่องนาวา ซึ่งท่านได้ลาออกจากตำแหน่งรองอธิการบดี ฝ่ายวิชาการ ตามวาระ ขอแสดงความขอบคุณท่านไว้ ณ ที่นี้ด้วย ในฐานะที่ท่านได้ริเริ่มวารสาร วิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม สำหรับในฉบับนี้ กองบรรณาธิการได้รับบทความพิเศษจากผู้ทรงคุณวุฒิ บทความวิจัย และบทความวิชาการ จำนวนรวม 10 บทความ เพื่อนำเสนอให้กับท่านผู้อ่าน ทั้งนี้กอง บรรณาธิการต้องขอขอบพระคุณเป็นพิเศษ สำหรับบทความพิเศษเรื่อง คริตสชนคาทอลิกไทย กับการใช้คำราชาศัพท์ในบทภาวนา โดยบาทหลวง ศาสตราจารย์ ดร.วชิระ น้ำเพชร, S.J. ขอพระเจ้าโปรดตอบแทนน้ำใจดีของท่านที่ได้กรุณามอบบทความนี้เพื่อตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม กองบรรณาธิการวารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม ขอขอบพระคุณผู้ทรงคุณวุฒิ ทุกท่าน ที่กรุณาให้ความอนุเคราะห์ประเมินบทความต่างๆ อันส่งผลให้การผลิตวารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 นี้ สำเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี พร้อมนี้ขอขอบคุณ คณาจารย์ นักวิชาการ ผู้เขียนบทความทุกท่าน ที่ได้ให้ความร่วมมือส่งผลงานเพื่อลงตีพิมพ์เผย แพร่ อันเป็นการส่งมอบความรู้สู่แวดวงวิชาการอีกทางหนึ่ง สุดท้ายนี้ หวังเป็นอย่างยิ่งว่า วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม จะเป็นอีกช่องทางหนึ่ง ในการเผยแพร่องค์ความรู้ด้าน ปรัชญา ศาสนา เทววิทยา และการศึกษา ตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
บรรณาธิการ
คริสตชนคาทอลิกไทยกับการใช้คำราชาศัพท์ ในบทภาวนา
The Thai Catholics Use Royal Words to Address God in Prayer
บาทหลวง ศ.ดร.วชิระ น้ำเพชร, S.J. * บาทหลวงในคริสต์ศาสนจักรโรมันคาทอลิก คณะเยสุอิต * ศาสตราจารย์ด้านจิตวิทยาการศึกษา มหาวิทยาลัยโลโยลา แมรี่เมาท์ ประเทศสหรัฐอเมริกา
Rev.Professor Dr.Wajira Nampet, S.J. * Reverend in Roman Catholic Church, Jesuit. * Professor of Educational Psychology at Loyola Marymount University, U.S.A.
คริสตชนคาทอลิกไทยกับการใช้คำราชาศัพท์ในบทภาวนา
บทคัดย่อ
บทความนี้นำเสนอในเชิงวิเคราะห์เนื้อเรื่อง (Content Analysis) ทางด้านภูมิหลังด้านประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรมไทย ที่เกี่ยว ข้องกับการสรรสร้างและวิวัฒนาการของคำราชาศัพท์ และนำผลการ วิเคราะห์นี้ มาประกอบคำอธิบายให้เหตุผลว่า การที่พระศาสนจักร คาทอลิกไทยได้นำคำราชาศัพท์มาใช้ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในบทภาวนา นั้น มิได้เป็นอุปสรรค หรือสิ่งกีดกั้นต่อความสัมพันธ์ที่สนิทใกล้ชิดกับ พระเจ้า หากแต่วา่ เป็นการสะท้อนให้เห็นว่าวัฒนธรรมการใช้ภาษาไทย อาทิ คำราชาศัพท์ ที่มีบทบาทสำคัญและอิทธิพลยิ่งต่อการแสดงออก ถึงความเชื่อในส่วนลึกของจิตใจ บ่งชี้และยืนยันถึงความรู้สึกที่แท้จริง แห่งความสัมพันธ์นั้นของชาวไทยคาทอลิก
Introduction The main purpose of this paper is to reflect on being a Catholic after being a Buddhist over 30 years before conversion. This reflection has been inspired by one of the articles of a missionary to Thailand which mentions that using royal words to address God in prayer is to create a distance between God and people. In response to that article the author of this paper intends to show that to use royal words in prayer is one of the means by which culture has
2
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
played its suitable role in deeply expressing faith in God by Thai Catholics in terms of reverence, adoration, devotion, intimate relationship and love. This paper presents an analysis of Thai historical-cultural background which consists of three mutually related points: First, the history of Thailand in brief, the development of Thai Monarchy, and the concept of Thai kingship; Second, the cultural background in connection with a general concept of using royal words
วชิระ น้ำเพชร
and its application in the cultural and religious context; and Third, the history of the Thai Catholic Church and the adaptation of royal words in prayers to address God. Then, a presentation of both positive and negative aspects arising from the usage of royal words, and the pastoral perspectives will served as the concluding part of this paper. Since this paper was immediately called and prepared for presenting at a conference on Religious Dialogue and Inculturation in Asia at Loyola Marymount University, Los Angeles, CA, the USA, while lacking sufficient references available, it would have restricted a wider perspective for discussions; consequently, a limitation of the paper. I. A Brief History of the Kingdom of Thailand, the Development of Thai Monarchy, and the Concept of Thai Kingship
A. History of the Kingdom of Thailand in Brief Thailand, or Siam as it was called until the 1940s, has never been colonized by any foreign power, while all of its Southeast Asian neighbors had undergone European imperialism at one time or another. It is true that Thailand has suffered for several periods of invasions from the Burmese and Khmers, and Thailand was briefly occupied by the Japanese in the World War II, but the kingdom was never externally controlled long enough to dampen the individuality of the Thais. Thailand holds a special distinction even in modern time, namely, it is the only country in the troubled area of the world that kept its independence and avoiding wars. The mediating abilities of its monarchs were always successful in evading the greed of the western powers (Manuel, 1994). The history of Thailand is as complex as the slow Thai classical
ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2010/2553 3
The Thai Catholics Use Royal Words to Address God in Prayers
dance. The Thais beliefs, attitudes, political structures, and customs have been molded by a remarkable series of dynamic scholars, innovators and warrior kings who led the country through several crises from time to time. The history of this kingdom falls into four distinct periods (The Office of the Prime Minister, 1979): First, the Dvaravati period, which lasted from the 6th to the 13th centuries, presented the Thais who had gradually migrated from southern China into the fertile Chao Phraya river basin. Second, the Sukhothai period, which emerged as a beginning of the nation from the 13th and the 14th centuries when, assertively, the Thais rejected the authority of the Khmer empire centered in Angkor, (it is today called the Cambodia), and created the first independent Thai Kingdom. Third, the Ayutthaya period (the 14th – 18th centuries), when Thailand rose to become the central kingdom
4
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
of Southeast Asia, envoys approached to its courts to seek relationship with the powerful kings; merchant sought to trade for its fabled riches; and scholars came to study its administrative methods and artistic achievement. It went to war in the 17th century and was destroyed by the Burmese in 1767. Subsequently, Thon Buri was a new capital of Thailand for a short time during the reign of King Taksin (1768-1782), who retook Ayutthaya from the Burmese only seven months after the ruin of capital Ayutthaya. As a matter of fact, King Taksin crowned himself as King Sanpet, a King of Ayutthaya, to signify the continuation to ancient glories. Fourth, the Bangkok period, (from the mid of the 18th century until the present day), has shown that the Thais, arising from their devastated kingdom, rebuilt the country into a modern state, a major power in the region, with cultural, spiritual and
วชิระ น้ำเพชร
socio-political values uniquely in their own. B. The Development of the Thai Monarchy and the Concept of the Thai Kingship Since the founding of Sukhothai, the Thai monarchs have directed the development of the Thai nation with a firm yet benign hand. Formerly, they were known as “Lord of Life.” They held absolute power. During the Ayutthaya period, influenced by the Khmer concept of a god-king, they assumed a semi-divine aura and received the highest respect and reverence of the people. They became in effect both the symbol and embodiment of the nation (Hoskin, 1987). The Sukhothai kings had observed exclusively to the formalized Buddhist science of kingship, and they were both paternal and accessible to their people. The Ayutthayan kings, however, while not relinquishing Buddhist’s concept of kingship, embraced the Brahman concept of
divine kingship to increase a highly structured and distinguished position in terms of ritual, way of living, language and other things. According to a legend, the Lord Buddha, Gautama Siddhartha, at birth, had a choice of becoming either Buddha or a Chakravatin, the universal monarch upon whom ideal Buddhist kingship is modeled. Based on a canonical description of Chakravatin, an enlighten monarch who ruled according to the Buddhist precepts cherishes righteousness, honesty, and charity. The Buddhist ideal of kingship had inspired many Southeast Asian monarchs after the Indian Emperor Asoka. This emperor who was considered as the ideal Buddhist monarch sent missionaries to the surrounding regions during his reign in the 3rd century B.C. (The Office of the Prime Minister, 1979). Briefly, the ideal Buddhist monarch is a “King of Righteousness” who abides by the ten kingly verdures of
ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2010/2553 5
คริสตชนคาทอลิกไทยกับการใช้คำราชาศัพท์ในบทภาวนา
piety, liberality, charity, freedom from anger, mercy, patience, rectitude, mildness, devotion, and freedom from enmity. (These kingly virtues are considered as partly qualities of the Christian God). A paragon of virtue, such a king unfailingly upholds the five Buddhist precepts of abstaining from killing, stealing, lying, adultery, and intoxicating drinks. Furthermore, he dispenses justice, protects the weak, enriches the poor, and diligently guards his human and animal subjects (Hoskin, 1987). Pre-Sukhothai rulers were chosen by tribal elders for their overall wisdom and leadership qualities. New contenders for the throne were continually arising. No ruler was ever in power long enough for dynasties to be established. The Sukhothai period, the first stable era of Thai history, presented a dynastic succession which was established and embodied kingship in the benevolent paternalism molded by Buddhist ideals (The Office of the Prime Minister, 1979).
6
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
Then, during the Ayutthaya period (1350-1767), the Thai kings adopted the practice of divine kingship. Thus, the Ayutthayan kings, upon coronation, were invested with the trappings and ceremonies of the Brahmanic rituals and retiled with the names of Hindu gods, which was influenced by Khmer concept. For example, Ramathibodi, the founder of the Ayutthaya, derived his name from Rama, the re-incarnation of God Vishnu and the hero of the Indian epic Ramayana (The Office of the Prime Minister, 1979). (This idea has led the Thai Catholics to compare him with Jesus Christ, the incarnation of God the Son). The Brahmans, the Hindus of the highest caste, were the hereditary aristocracy who dominate the Indian thought. Concerning themselves with sacred ceremonies, cosmology, esoteric treatises and sublime speculation, the Brahmans viewed kingship purely as the logical Karmic reward for spiri-
วชิระ น้ำเพชร
tually-exalted previous existences. In the ages when the throne were more often seized than inherited, such a concept held obvious appeal and was eagerly adopted by the Khmer courts. Gradually, the Khmer monarchs found the Brahmans indispensible as sources of legitimization. The Ayutthayan kings came to share the same view. King Ramathibodi specifically invited eight Brahmans from the Hindu holy city of Benares to preside and legitimize his coronation. Their descendants still have comprised the Brahmans to conduct various ceremonies in the royal Thai court until today (The Office of the Prime Minister, 1979). Essentially, the complicated Brahman ceremonies endowed Ayutthayan kings with a divine aura. Gradually, the lives of the Ayutthayan kings assumed supernatural eminence and they were free from obligations to perform sacred ceremonies. They were free to do precisely as what
they wished, when they wished, and how they wished. Universally viewed as being without equals and residing above the law, authentic strongmen who held the power of life and death over their subjects, the Ayutthayan kings appointed all officials, owned all lands and their contains, including the people. The state revenues were exclusively theirs (The Office of the Prime Minister, 1979). Their unique positions were sustained by the elaborate court etiquette, language, ceremonies, and protocol with which they surrounded themselves. The persons in themselves were considered as literally sacred. Commoners were forbidden to look upon them, to touch them, or even mention their names in public. (Like, someway, the concept of the Jewish God). They ruled through a rigid hierarchy of intermediary courtiers, chamberlains, ministers, and court officials. Being a law unto themselves, the great Ayuttha-
ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2010/2553 7
คริสตชนคาทอลิกไทยกับการใช้คำราชาศัพท์ในบทภาวนา
yan kings were powerful leaders who led the country as innovators, warriors, statesmen, and scholars. Never conforming to any stereotype, they inevitably formed vanguards in the new developments and they gradually united fragmented Thai kingdoms, throughout the Chao Phraya river basin, into what, at its apex, was the most powerful and brilliant Southeast Asian civilization (The Office of the Prime Minister, 1979). During the Bangkok period, the revolution of 1932 ended the absolute monarchy and curtailed the political power of kings. The revolution, however, in any way did not reduce the respect of the people to them, nor downgraded their role to a mere figurehead. The monarchy is now as much cohesive force as it ever was (Hoskin, 1987). It is not easy for the foreigners to understand the full extent of the Thai people’s respect for the royal family since there is no real
8
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
parallel elsewhere in the world. There are, of course, other constitutional monarchs, but none of them function in the same way as in Thailand, where the king is still a shaper of national welfare and the king continues to exercise a strong guiding influence in real and positive terms. The present monarch, King Bhumibol or King Rama IX, works tirelessly for the on-going prosperity of his people. While the King sets the examples of an enlightened constitutional monarchy, he also reigns as Head of State, Upholder of Religions, and Head of the Armed Forces. In consequence, a certain amount of the old royal ceremonial persists along with the remarkable degree of the same public prestige as enjoyed under the rule of absolute royal power. The King is popularly held to be sacred and nonviolence. His portrait is commonly seen in homes, offices, schools, and public buildings. Many royal state occasions still draw
วชิระ น้ำเพชร
enormous public interest. The King of Thailand has made the symbol and the person to be uniquely combined in the role of monarch (Hoskin, 1987). II. Cultural Background: The Nature and Development of the Royal Words in Thai Language and the Applications of the Royal Words in Cultural and Religious Context A. The Nature and Development of the Royal Words in the Thai language l. General Concept of Thai Language The Thai language as spoken by the people of Thailand, in its original structure, to a certain extent, is comparable with Chinese. Fundamentally the Thai language is monosyllabic in its formation of words (Rajadhon, 1968). Early Thai settlers in the late Dvaravati period gradually enlarged their own Chinese-influenced, tonal, and monosyllabic language by borrowing
and adopting certain Mon and Khmer words. The Thais, later on, absorbed polysyllabic Sanskrit (the classical language of the Indian Hindu) and the Pali words when the Brahmanism and Theravada Buddhism assorted their shaping influences (The Office of the Prime Minister, 1979). King Ramkamhaeng of the Sukhothai period created the first Thai alphabet in 1283, based on Mon and Khmer scripts. In adopting the Pali, Sanskrit, and Khmer words into their language, the Thais have enriched themselves in many expressions of the words in their varied shades of meanings and conceptions. Generally speaking, the Thai spoken grammar is simple. The basic structure of Thai sentences is “subject” – “verb” –“object,” with adjectives follow nouns. In many cases, verbs can be changed into nouns with the use of a prefix. Each Thai word is complete inasmuch as there are no Thai suffixes, genders, articles, declensions or
ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2010/2553 9
คริสตชนคาทอลิกไทยกับการใช้คำราชาศัพท์ในบทภาวนา
plurals. Tenses are indicated by standards auxiliaries. Written Thai employs an alphabet of 44 consonants and 32 vowels that combine the form syllabic sounds. The sounds are combined with five different tones to fashion a melodious and complex language. Because of a richly diverse in origin, there are l7 ways of saying “I”, for example, kha-phra-chao, chan, phom, ku, attama, etc., and 19 ways of saying “YOU” such as than, khun, mueng, thoe, etc. (The Office of the Prime Minister, 1990). 2. The Nature and Development of the Royal Words No sooner had royal words developed than the Thai kings adopted the practice of divine kingship during the Ayutthayan period. Along the line of developing the kingship, hierarchy which classified the status of people in the Thai society, had been auto-
10 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
matically created. Their unique positions in each class were sustained by the way of living, language, custom, and other things. The said four classes are the Royalty, Ecclesiastics, Royal Official, and Lay People. In terms of language, different pronouns, different qualifying nouns, and verbs are used by different classes because the Thai’s pronominal structure illustrates rank and intimacy. In effect, there are four different languages, namely, the royal language, the ecclesiastical language, the high rank of royal official language, and the vernacular for the real commoners (including an earthly, pungent slung and a polite everyday usage). In fact, within each of four languages, there are still more than 10 usages of language used in each class, depended on the rank or position (The Office of the Prime Minister, 1979). (See Table 1).
วชิระ น้ำเพชร
Table 1 Comparison of Thai Words English Royal Words Ecclesiastic Royal Official Vernacular I Kha-phra-phut-thaAt-ta-ma Khra-phom Chan,Phom chao You Pha-phra-bat Phra-khun-chao Thun Khun, Thoe Die Sadet-sawan-na-khot Mo-ra-na-phap Thung-kae-kram Tai Chair Phra-thi-nang At-sa-na Thaen, Thi-nang Kao-i Table l shows an example of the varieties of Thai words in four language registers. Illustrating of this wide range of variations is the verb “to eat”. In the royal language, the word for this verb is “sa-woey”; in the ecclesiastic Thai, “chan”, while “rappra-than” is a formal word for the high rank of royal official (but it is now used as a polite word in modern Thai language). “Than” is for the polite uses of the commoners, whereas “Kin” is a colloquial form used between friends. “Daek” or “yat” is, for instance, a very rude or pungent word (it is now used among uneducated people). In fact, excluding some slangs, more than 20
ways of verb “to eat” are used in different classes mentioned. The most unusual of the four Thai languages is the royal language, ra-cha-sap. The royalty uses special words for common actions and for parts of the body, such as “eat” (sawoey), “walk” (dam-noen), “sleep” (ban-thom), “hand” (phra-hat), “hair” (phra-ke-sa), “feet” (phra-bat), etc. These words are mainly in the Khmer, Sanskrit, and Pali in their origin. The rest, fair numbers are Thai words which have been coined so as to differentiate them from the ordinary words (Rajadhon, 1968). For instance, to change a common word to be a
ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2010/2553 11
คริสตชนคาทอลิกไทยกับการใช้คำราชาศัพท์ในบทภาวนา
royal word, for noun, a prefix “phra” is added, and a prefix “song” for verb. Therefore, “Kao-i” (chair) becomes “Phra-kao-i” for the royal word. “Wing” (to run) becomes “Song-wing” for the royal word. This is one of various rules of the use of royal words. B. The Applications of Royal Words in Cultural and Religious Context l. The Royal Words in the Thai Culture and Religion Speaking of Thai culture, one must distinguish between its two principles but complementary and mutually reinforcing aspects, namely the classical court culture which includes Buddhists art, and folklore (the popular or village culture). Most of the classical Thais are originated in or under the patronage of the Royal court. The classical culture is reflected on classical poetry, literature, drama, painting, sculpture, and architecture. Early literature was primarily concerned with religion (Buddhism and
12 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
Hinduism) and until 1850 was in verse form. India poetic styles provided the patterns for Thai verse which was written exclusively by the aristocracy or royalty. The most important Thai literary work is the Ramakien. This uniquely Thai version of Hindu epic, the Ramayana, was also a source of inspiration for classical dramatists and painters. The early Thai version of Ramakien was lost with the destruction of the Ayutthaya. But, King Rama I (King Buddha Yodfa Chulaloke) of Bangkok rewrote it in 1798 and it became the source of the Thai courtly traditions. Royal words were used in the poetic style in the Ramakien literature because the story was about the kings, queens, gods, and goddesses. Later on, King Rama II (King Buddha Loetla Nabhalai) composed the Ramakien for classical drama (The Office of the Prime Minister, 1979). He wrote also many well-known Thai traditional literatures. Most of them were stories dealt with kings and
วชิระ น้ำเพชร
queens, romantic nature, and divine beings, which were inspired from Buddhist and Hindu mythologies (Rajadhon, 1986) Besides writing his own works, King Rama II collaborated with court poets, one of whom, Sunthon Phu, a poetic genius and well-loved commoner, became one of the major Thai literary figures. His works were written in the common language but they still preserved royal words which were easily understood by all classes. His work became the first Thai literature which had national as well as court appeal (The Office of the Prime Minister, 1979). The royal words, therefore, were used in all Thai poets and literatures even in the religious literatures, such as Maha Chat Kham Thet, the story of the Lord Buddha in His lastbirth-but-one on earth before He had attained His Buddhahood. Moreover, Thai dramas both classic and folk ones, performed the stories drawn
from the Thai written literatures which made royal words widely understood by every class of people. The Thai literatures and dramas as such indirectly brought the way of life of the royalty to the people. The stories also inspired the people to love, respect and give honor to the king by the themes themselves (The Office of the Prime Minister, 1979). It can be said that royal words are not foreign to the Thais. 2. The Royal Words in the Thai Way of Living The royal language is the means to express the unique relationship between the king and his subjects in the Thai culture. In the Thai way of living, the structural principle represented on microcosmic scale in the house and village can be seen extendedly up to the full complexity in the organization of the nation at large. Once more, the factor of superior, age, status or achievement prevails over all else as the criterion
ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2010/2553 13
คริสตชนคาทอลิกไทยกับการใช้คำราชาศัพท์ในบทภาวนา
for respect which is shown by means of language. Above all, this respect for His Majesty the King Bhumibol, the present king, is evident in his photographs hanging in schools and offices where one can find the short sentence or verses in royal language expressing the loyalty to the king, for instance, “Song-phra-chaleoen” (Long live the king). Even in a motion picture theater when to the accompaniment of the Royal Anthem which is composed in royal words, the king’s picture is projected on the screen. Further, the king is the head of the Thai national family. One of the traditional names for the monarch, in fact, is “Po-Mueang” or “Father of the Nation.” There is probably no western equivalent for the respect Thai people feel for their king. Many villagers, for instance, who have received gifts from the hands of the king regard this as the singular event of their lives (The Office of the Prime
14 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
Minister, 1979). When they speak to the king or make conversation regarding to the king, they use royal words properly. Thai affection has, in large part, been inspired by the king’s involvement with his subjects, a concern evidences by the multitude of projects he has initiated on their behalf during his more than 60 years of rule. It has also been heightened by his increasing personal contact with his people. Devoting himself to public service, King Rama IX (King Bhumibol), has brought the monarchy full circle making himself as accessible to his subjects as King Ramkamhaeng of Sukhothai period was to the people. King Bhumibol is revered as the traditional symbol of universal on whom ideal Buddhist kingship is modeled, and is recognized as Thailand moral leader. Further, the Royal Thai Anthem, acclaiming the Chakravatin ideal King Bhumibol embodies, is played during
วชิระ น้ำเพชร
state occasion and public meetings. Unlike other anthems whose lyrics are often archaic or absolute, sentiments portrayed in the royal Thai Anthem precisely mirror the feelings of the Thai people towards the king; composed in royal words: I, slave of the Lord Buddha, prostrate, my heart and head to pay homage and give great blessings to the Protector of the Land,one of the great Chakri Dynasty. Head of the Thai people, supreme in rank, I draw comfort from your protection. Because of your gracious care, all the people are blissful and peaceful. We pray that whatever you wish for, fate will grant you according toyour heart’s desire, to bring you prosperity. We salute you! Because of his dedicated efforts to better lives of his subjects, the feelings embodied in these lyrics are not postured mouthing of respect but are expressions of genuine love that King
Bhumibol has engendered and continues to elicit in his subjects throughout the land (The Office of the Prime Minister, 1979). Throughout Thai history, especially during Bangkok period, Thai kings (Rama I – Rama IX) have shown their Chakravatin ideal to Thai people completely. Therefore, the relationship between Thai king and his subjects is part of Thai way of living, which, one of various means, is expressed in royal words to other means. III. Brief History or the Catholic Church in Thailand and the Adaptation of the Royal Words in Prayers to Address God A. Brief History or the Catholic Church in Thailand Christianity was introduced to Thailand in the 16th and 17th centuries by Portuguese and Spanish Dominican, Franciscan, and Jesuit Missionaries. The growth of the mission was very evident during the reign of King
ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2010/2553 15
คริสตชนคาทอลิกไทยกับการใช้คำราชาศัพท์ในบทภาวนา
Narai (1955-1688) of the Ayutthayan period, who opened the country to the foreigners and gave all the liberty to the missionaries to preach the gospel (Chumsriphan, 1990). The policy of King Narai was to counterbalance the influence of these counties because of the period of the maritime discovery was also the period of colonialization. According to the Thais, the purpose and aim of the foreigners, who came to Thailand was to make profit to get the benefits of trading and perhaps to colonize Thailand as part of their empire. Therefore, the foreigners were not trusted by the Thais and this attitude was generalized and extended also towards the missionaries (Chumsriphan, 1990). Further, the revolution in 1688 and the persecution in the time of King Phra Phetracha (1688 1703) were really not suitable and benign for evangelization. With the anti-French, the king persecuted all the Christians (Chumsriphan, 1990). Moreover, when the second
16 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
persecution occurred again during the reign of King Thaysra (l709-l733), the missionaries were forbidden to leave the capital. They were forbidden to use the Thai and Pari Languages in teaching of religion. In addition, evangelization to the Thais was forbidden. Furthermore, debate and criticism of the Buddhist religion in order to spread the Good News were prohibited. These were the King’s orders and were recorded on a stone placed in front of St. Joseph Church in Ayutthaya (Chumsriphan, 1990). Nonetheless, Christianity was affected again by the invasion of Burma, and the fall of Ayutthaya in 1767. Consequently, St. Joseph Church was entirely burnt down. Many Christians were brought to Burma. However, during the reign of King Taksin the situation of the mission was better. The Catholic missionaries could enjoy a good relationship with the country, but some of them were compelled to leave the
วชิระ น้ำเพชร
country and came back once again during Bangkok period (Chumsriphan, 1990). In 1848, during the reign of King Rama II of Bangkok, the relationship between the Buddhist and the Catholics was seriously broken because one of the bishops published the book “Putcha Wisatchana” (Questions and Answer) in which it sharply criticized Buddhism. The government ordered a halt in the distributions of the book and threatened the missionaries with detention if they did not comply (Chumsriphan, 1990). However, in 1856, during the reign of King Rama IV (King Mongkut), a treaty was established with France. This treaty granted freedom to the Thais to follow the religion of their choice; and to the missionaries to preach, construct the seminary, found schools and hospitals, and with the facility to travel in the country. This gave the missionaries a great zeal and enthusiasm to propagate Catholicism,
because, since the Ayutthayan period until this time, no such freedom had been granted (Chumsriphan, 1990). During the reign of King Rama IV, his imaginative diplomacy ensured that Thailand alone remained independent while neighboring countries were helplessly toppled by the powerful tides of the 19th century colonialism. King Rama V (King Chulalongkorn) also considered Thailand’s singular independence by initiating the social reforms imperative for vigorous modernization (The Office of the Prime Minister, 1979). Thus, the aspirations of Thailand to go in the course of progress and modern civilization made the Bishop of Bangkok understand the mission should give assistance and cooperation in this course. Consequently, he encouraged the response in the field of education, health care, and printing press for missionary work (Chumsriphan, 1990). Since then, the Catholic Church’s mission has been developing rapidly in variety directions. When
ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2010/2553 17
คริสตชนคาทอลิกไทยกับการใช้คำราชาศัพท์ในบทภาวนา
describing the Church to outsiders, both clergy and lay leaders begin by stressing the fact that their members are a minority. Even though there were merely about 30,000 Catholics (in 1994) which was less than 0.5% of the total population of Thailand, as a minority, Catholics do not show signs of inferiority. Nevertheless, they are active and project an influence over society that goes beyond their numbers (Manuel, 1994). Thailand is a unique country where religion, national pride and politics are difficult to separate. Over 90 % of Thailand’s population is Buddhist in varying degrees. The Thais tend to identify nationhood with Buddhism: one country, one religion, one king. However, with regard to the Buddhists, the Catholic Church is resisted any attempt made by the Church to inculturate. They consider as Buddhist any Thai culture motif or aspect that Christians may desire to integrate in the expression of
18 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
their faith. Unfortunately, the Catholics were accused of stealing from Buddhism in a bid to win followers. This attitude forces the Church, somewhat, to postpone efforts to further inculturation the Christian faith (Manuel, 1994). B. The Adaptation of the Royal Words in Prayers to Address God 1. Characteristic of Royal Word Using in Thai Sense There are some main aspects taken from the analysis of Thai his-torical-cultural background which reveal the unique characteristic of royal words using in Thai sense in terms of relationship between the addressee and the addressers. a.) Throughout the history of Thailand, Thai kings adopted the ideal Buddhist monarch Chakravatin, a king of righteousness who abided by the ten kingly virtues (as mentioned in section I), and the ideas of divine kingship which made Thai kings to be
วชิระ น้ำเพชร
sacred and incarnated from God to rule the earthly kingdom. These ideas encouraged their subjects to give totally submissive respect to the kings. Their loyalty was deeply rooted in the hearts of Thai people by the protection under the kings’ reign over the kingdom for their prosperity, peace, and happiness which had been given from the kings more than 700 years. Royal words were, thus, introduced for use for the kings because of their uniqueness in this aspect. Moreover, Thai kings were so regarded as almighty because the lives of the people and fates were absolutely in their hands. At the same time, the kings also were so kind and moral that they were a model of the holy men according to the five Buddhist percepts (as mentioned in section I.B.). b.) During the Sukhothai period, the Thai Kings ruled their subjects as the head of a family, a father-chil-
dren relationship, even at present this unique character is still practiced, which placed the kings as “Father of the Nation.” This father-children relationship has been concretized by the king’s personal contact with his people. Thus, the Thai people love their kings from their heartedly feelings not the authority. By all means, using royal words to the kings, therefore, show the inner or deeper respect between father and children in terms of love, honor, and gratitude. 2. The Adoption of the Royal words in the Thai Catholic Church The Thai Catholics, no doubt, have personally experienced to be the subject of the Thai king and it cannot deny that such a relationship between the king and the Thais uniquely exists in their lives. At the same time, they have both religious experiences of who God is and the relationship between God and themselves.
ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2010/2553 19
คริสตชนคาทอลิกไทยกับการใช้คำราชาศัพท์ในบทภาวนา
Interestingly, the qualities of the king as the king of righteousness, a Buddhist Chakravatin monarch; and as Rama (a Hindu God), are partly those of Christian God. Further, the Thai Catholics refer these kingly qualities to visualize or figurize their God in their personal prayers (a conversation with God) so as to keep closely in touch with God. Consequently, royal words are both simultaneously and automatically drawn out from their hearts either consciously or subconsciously as personal prayers in addressing God. Therefore, it seems to the Thai Catholics that royal words are far better suited than others. For this reason, all Bible, religious materials, and prayers use royal words whatever, wherever or whenever they mention or refer to God. In the Gospel, however, Jesus’ use of the very intimate, non-royal word “Abba” for God (cf. Mt. 14:36)
20 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
was recommended to address God for personal relationship. This aspect can be led to have an idea that the use of royal words will create distance between God and the people. This may be true in non-Thai cultures, but as rationally presented in the previous sections, royal words are the essential expression of the Thais. Thus, Abba (or Daddy) and Phra-bi-da (Almighty Father), for instance, convey the same sentimental meaning for the Thai Catholics since the father-children relationship is hidden or concealed in the expressions of royal words. 3. Examples of the use of the Royal Words in Christian Prayers This section presents three common prayers: Our Father, Hail Mary, and Come, the Holy Spirit, to illustrate the use of the royal words in prayers. Brief explanations are also given after each prayer, as follows:
วชิระ น้ำเพชร
a.) Our Father (Khatae Phrabida) The Thai Version with Thai Scripts (Using a version of an official Roman Catholic Prayers in 1978) ข้าแต่พระบิดาของข้าพเจ้าทั้งหลาย พระองค์สถิตในสวรรค์ พระนาม พระองค์จงเป็นที่ สักการะ พระอาณาจักรจงมาถึง ขอให้ทุกสิ่งเป็นไปตามน้ำพระทัย ในแผ่นดินเหมือนในสวรรค์ ขอประทานอาหารประจำวัน แก่ข้าพเจ้าทั้งหลายในวันนี้ โปรดยกโทษแก่ข้าพเจ้าเหมือนข้าพเจ้า ยกให้ผู้อื่น อย่าปล่อยให้ข้าพเจ้าถูกประจญ แต่โปรดช่วยให้พ้นภัย อาแมน
The English Version* (1) Our Father who art in heaven, (2) hallowed be Thy name. (3) Thy Kingdom come. (4) Thy wilt be dome on earth, as it is in heaven. (5) Give us this day our daily bread, (6) and forgive us our tres-passes, (7) as we forgive those who trespass against us, (8) and lead us not into temptation, (9) but deliver us from evil. Amen.
Phonetic Transcription**
(1) Khatae phrabida khong khaphrchao thang lai phra-ong sathit nai sawan (2) Phranam pra-ong chong pen thi sak kara (3) Phra-anachak chong ma thung (4) Kho hai thuk sing pen pai tam nam phathai nai phandin muean nai sawan (5) Kho prathan a-han prachamwan kae khachao thang lai nai wanni (6) Prod yokthot khaphrachao (7) muan khaphrachao yok hai phu-uen (8) Ya ploi hai khaphrachaothuk pha chon (9) Tae prod chuai hai phon phai Amen
* Klein (2000) ** Using Royal Thai general system of transcription of the Thai Royal Institute (1978)
ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2010/2553 21
คริสตชนคาทอลิกไทยกับการใช้คำราชาศัพท์ในบทภาวนา
Explanation: (1) Phra-bi-da (God, the Father): Phra is a prefix added to any Thai common word (noun), or Pali, or Sanskrit word to innovate a royal word. Phra is also a noun referred to Lord Buddha, or a royal name in short. Kha-phra-chao, an abbreviation of kha-phra-phut-tha-chao which literally means “a servant of Lord Buddha”, is to use for an addresser who refers to oneself when he or she addresses to the king or gods. Phra-ong (Your majesty) is composed of a prefix Phra and Ong (body), referring to the second or third person in the royal words. Sa-thit (to live in the upper regions or spiritual dwelling) refers to, thereby, royal actions or presence in a highest place like palace or heaven. Sa-wan (heaven, paradise) is a Sanskrit word, referring to the place
22 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
where gods, angels, deceased kings, and holy men or women live. (2) Phra-nam means “royal name”, composed of Phra, and Nam (name). Sak-ka-ra (to pay homage to, to worship) is used for the king and sacred things or persons. (3) Phra-a-na-chak literally means a “royal kingdom.” (4) Nam-pha-thai means “royal will” which “pha-thai” literally refers to the “royal heart” and thus, “Nampha-thai” to royal disposition, sympathy, kindness, and clemency. (5) Pra-than (to give, confer, bestow) with a word “kho” (to beg, plead or beseech) refers to humbly asking the king to grant the addressees, but without obligation of the addressor, which they lack or need.
วชิระ น้ำเพชร
b.) Hail Mary (Wantha Maria) The Thai Version with Thai Scripts (A version of Bishop Louis Chorin) วันทามารีอา เปี่ยมด้วยหรรษทาน พระเจ้า (พระสวามี) สถิตกับท่าน ผู้มีบุญกว่าหญิงใดๆ และพระเยซูโอรสของท่าน ทรงบุญนักหนา สันตะมารีอา มารดาพระเจ้า โปรดภาวนาเพื่อเราคน บาป บัดนี้และเมื่อจะตาย อาแมน The English Version* (1) Hail, Mary, full of grace; the Lord is with thee; (2) blessed art thou among women, and blessed is the fruit of thy womb, Jesus. (3) Holy Mary, Mother of God, pray for us sinners, now and at the hour of our death. Amen.
Phonetic Transcription** (1) Wantha Maria piam duai phrahatsa than Phrachao (Phrasawami) sathit kap than (2) Phu mi bun kwa ying dai dai lae Phra Yesu o-rod khong than mi bun nakna (3) Santa Maria phramanda khong phrachao Prod phawana phuea rao khon bapBad ni laemuea cha tai Amen.
* Klein (2000) ** Using Royal Thai general system of transcription of the Thai Royal Institute (1978)
Explanation: Mary is the Mother of God, Jesus Christ. The royal words are also addressed to her in prayer. (1) Wan-tha (to salute, to greet) is used for king, queen or sacred object, and person as well.
Phra-hat-sa-than is a combination of prefix Phra and Hatsathan (grace) which literally means “a royal gift of gladness and rejoicing.” In fact, the word Phrahatsathan is innovated by the Catholic Church based on the rules applied for royal usage.
ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2010/2553 23
คริสตชนคาทอลิกไทยกับการใช้คำราชาศัพท์ในบทภาวนา
Phra-sa-wa-mi generally means, in Thai usage, “royal husband.” As a matter of fact, based on the root of the word in Pali and from Hinduism, it refers to lord, master, owner, or supremacy, etc. Originally, Bishop Chorin, who composed this version, intentionally translated it from word “Dominus and Lord” in a sense of “God, the Father” not “God, the Son.” To avoid a misconception, the word Phrachao (God) is popularly replaced and widely used instead. (2) Phra-Ye-su refers to the name of Jesus in Thai. A prefix Phra is added to royalize a person’s name. O-rod and Phra-o-rod both means “royal son.” A former is used
in this prayer. (3) Phra-man-da, which literally means “the mother of king or queen or of royal Children,” is a combination of Phra and Man-da (mother). This prayer does not apply a royal word to Mary’s name, Phra-nang Maria. “Phra-nang” is a royal title to put in front of female names, which refers to the queen or the high rank princess. There is one reason, however, to omit the royal title of Mary in this prayer. The words “Wantha” and “Santa” which precede Mary’s name indicate an equivalent status if they refer Mary as a holy person in a religious sense.
c.) Come, the Holy Spirit (Choen Sadet Ma Phrachitchao) The Thai Version with Thai Scripts (Using a version of an official Roman Catholic Prayers in 1978)
เชิ ญ เสด็ จ มาพระจิ ต เจ้ า ข้ า เชิ ญ มาสถิ ต ในดวงใจสั ต บุ รุ ษ และบั น ดาลให้ เร่ า ร้ อ นด้ ว ย ความรักต่อพระองค์ โปรดส่งพระจิตของพระองค์ และสรรพสิ่งจะอุบัติขึ้นมา แล้วพระองค์จะ นิมิตแผ่นดินขึ้นใหม่ ข้าแต่พระเป็นเจ้า พระองค์ (ทรง) สอนใจสัตบุรุษ ด้วยความสว่างของพระจิต ขอให้เราซาบซึ้งในความเที่ยงตรงด้วยพระจิตนั้น และให้ได้รับความบรรเทาจากพระองค์เสมอ เดชะพระคริสตเจ้า อาแมน 24 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
วชิระ น้ำเพชร
The English Version*
(1) Come Holy Spirit, fill the hearts of your faithful (2) and kindle in them the fire of your love. (3-4) Send forth your Spirit, and they shall be created. And You shall renew the face of the earth. (5) O, God, who by the light of the Holy Spirit, did instruct the hearts of the faithful, (6-7) grant that by the same Holy Spirit we may be truly wise and ever enjoy His consolations through Christ, Our Lord. Amen.
Phonetic Transcription**
(1) Choen sadet ma Phrachitchao kha choen ma sathit nai duang chai sat taburut (2) lae bandan hai raoron duai khwam rak to phra-ong. (3) Prod song Phrachit khong phra-ong lae sapphasing cha u-bat khuen ma (4) Laeo phra-ong cha nimit phandin khuen mai (5) Khatae Phrachao phra-ong son chai sattabutut duai khwam sawang khong Phrachit. (6) Prod hai rao sap sueng nai khwam thiang trong duai Phrachit nan. (7) lae hai dai rup khwam banthao chak phra-ong samoe Amen.
* Klein (2000) ** Using Royal Thai general system of transcription of the Thai Royal Institute (1978)
Explanation: (1) Sa-det (to go, to come, to proceed) is the term of a king’s being. Phra-chit-chao (the Holy Spirit) is composed of Phrachit, (royal heart or spirit) and word Chao (a suffix
added to a certain name or noun so that to refer to a royalty, prince, or lord) which the Catholics innovated for a special purpose in referring to the Holy Spirit by using the rules of creating a royal word.
ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2010/2553 25
คริสตชนคาทอลิกไทยกับการใช้คำราชาศัพท์ในบทภาวนา
(2) Ban-dan (to ordain, to predestine, to destine) is used by the one who has power and authority such as God, king, queen, prince, etc. to perform an act of, for instance, creation. (3) U-bat (to occur, to happen) is a word which refers to a divine or kingly act in a process or the result of action(s) as such. (4) Ni-mit or Ne-ra-mit (to create) is an exclusive word for God’s power, used in literature. (5) Song-son (to teach, to instruct) is combined with Song, a prefix to royalize a common verb and Son (to instruct). In the royal words, a prefix Song is always added to the main verb in order to indicate a royal action. But, in this prayer, Song was omitted. Also, this Prayer of the Holy Spirit uses the royal words, but not every word because the rhyming of the prayer needs to be preserved. Even though this prayer does not apply the royal words in some places, the nuances still refer to that of God
26 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
or a king because they are used only in literature, for instance, choen ma sathit, which literally means “please come to exist,” while choen ma song sathit, a royal word, conveys the same meaning as such. Even without the word “Song,” the former is never used in an ordinary language, and thus, it is exclusively used for God. Conclusion As a concluding section of this paper, three viewpoints are presented: the advantage aspect, the disadvantage aspect, and the pastoral perspective, arising from the use of the royal words in prayers. The Advantage Aspect The royal language used in Thai culture has been one of the unique means of communication between the king and his subjects throughout the Thai history since the 12th century. The language itself is the official but at the same time sen-
วชิระ น้ำเพชร
timental expression of an interior and deeper relationship of the addressor to the addressee, in terms of respect, loyalty, love, paternality, and gratitude. This language cannot be used to address other than the royalty. Further, the king is the center of unity of royal kingdom of Thai people, using a common language to address the Thai king is unacceptable to the Thais because it is against the true feelings and perception towards the Thai kingship. Since God is the supreme Divine Being, who is the most reverenced and the almighty, it is thus true to God as well. The royal words, which are richly filled with meaning more than other lower level Thai language, therefore, become the best and most suitable means of addressing God in the Thai Catholic faith, especially in prayers. Thus, when Jesus called God “Abba,” it is not significantly and essentially different from Phrabida in the Thai royal language.
The Disadvantage Aspect The royal words, naturally, make a sentence rather long, for example, to say “God walks.” In the Thai common language is “Phrachao doen,” whereas in the royal language it is “Phrachao sung sadet phraratchadamnoen.” One word is probably composed at least five to ten syllables if we do not make abbreviation of any word. Another difficulty in using words of royalty is the sound-similarity which could result in wrong communication, for instance, Phra-ong (Your majesty) and Kha-phra-ong (“I” or literally “a servant of your majesty”) can be mixed up in conversation for the listener. In addition, to be able to correctly or perfectly use the royal language needs also to have good education because there are many rules of usage. The Pastoral Perspective Thai grammar is partly adapted from Sanskrit and Pali languages
ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2010/2553 27
คริสตชนคาทอลิกไทยกับการใช้คำราชาศัพท์ในบทภาวนา
which are still complicated to learn and properly use for many Thais. Usage of the royal language is similarly and even more complex. In the literatures of the Catholic Church, even though there are widely used royal words to address God, many mistakes are often seen in terms of proper usage of grammar and patterns. For example, it is unnecessary to prefix some of royal verbs, but generally “nonroyal verbs,” with “Song,” and some of royal nouns with “Phra” in order to royalize them. The rules of “Rachasap” must be followed carefully. Otherwise, they will be redundant. Moreover, since the origin of the royal language is derived from the Buddhist concept of monarch and Hindu ideas of divine-kingship, some of the royal words are not fit or suitable for God in the Catholic faith. For instance, the word “Kha-phra-chao” is an abbreviation of “Kha-phra-phuttha-chao” which literally means “a
28 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
servant of Lord Buddha.” This word, however, is used in the prayer “Our Farther.” It is a grave mistake for God is not the Lord Buddha. However, if the Catholic Church is more aware of these points mentioned above as examples, the Thai Catholic will understand and benefit from using the words of royalty in prayers as the Thai Buddhist can also enjoy and appreciate the royal words in their religion. In conclusion, using the royal words to address God in the Thai Catholic Church, especially in prayers, is an example which has illustrated that faith is embodied and expressed in and through culture. This aspect should be analyzed systemically in further details to re-affirm the fact that the Catholic faith can be propagated very well in the Thai society which is rooted in Buddhism. Furthermore, to perceive and appreciate the values of Thai culture and to apply
วชิระ น้ำเพชร
them wisely in the Catholic Church is fully an advantage of inculturation
emphasized in documents of the Vatican II.
References Catholic Biblical Association of America. (1970). The new American bible. New York: Catholic Book Publication. Chumsriphan, Surachai. (1990). The Great Role of Jean-Louis Vey, apostolic Vicar of Siam (1875 1909), in the Church History of Thailand during the Reforma tion Period of King Rama V, the Great (1868-1910). Unpublished doctoral dissertation, Rome. Hoskin, John. (1987). A guide to Thai land: The Kingdom of Siam. Bangkok: Asia Books. Klein, Peter. (2000). The Catholic source book: A comprehensive col lection of information about the Catholic Church (3rd ed.). Orlando: Brown-Roa.
Manuel, Agusto L. (1994). Thailand: Small church big mission. World Mission, April-May: 22 34. Rajadhon, Phya Anuman. (1963). Essay on Thai folklore. Bangkok: Duang Kamol. The Office of the Prime Minister. (1979). Thailand into the 80’s. Bangkok: Author. The Office of the Prime Minister. (1990). Thailand in brief. Bangkok: Thai Wattana Panich. The Thai Royal Institute. (1989). Royal Thai general system of tran scription. In an official publica tion of the Thai Royal Institute, January 11, 1989: Bangkok: Author.
ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2010/2553 29
การศึกษาเครื่องมือประเมินและตัวชี้วัดที่เกี่ยวข้องกับ การพัฒนาด้านจิตวิญญาณตามหลักธรรมคำสอน ของคริสต์ศาสนา1
The Study of The Assessment Tools and The Indicators Related to Spiritual Development Based on Catholic Catechism
บาทหลวงสมชัย พิทยาพงศ์พร
* บาทหลวงในคริต์ศาสนาจักรโรมัน
สังฆมณฑลจันทบุรี
Rev.Somchai Pitthayapongporn
* Reverend in Roman Catholic Church, Chantaburi Diocese.
บาทหลวงเจริญ ว่องประชานุกูล
Rev.Charoen Vongprachanukul
บาทหลวงวุฒิชัย อ่องนาวา
Rev.Wuttichai Ongnawa
พิเชษฐ รุ้งลาวัลย์
Pichet Runglawan
ทิพอนงค์ รัชนีลัดดาจิต
Thip-anong Ratchaneelatdachit
* บาทหลวงในคริสต์ศาสนจักรโรมันคาทอลิก สังฆมณฑลราชบุรี * หัวหน้าสาขาวิชาคริสตศาสนศึกษา วิทยาลัยแสงธรรม * บาทหลวงในคริสต์ศาสนจักรโรมันคาทอลิก สังฆมณฑลราชบุรี * รองผู้อำนวยการศูนย์วิจัยค้นคว้าศาสนาและ วัฒนธรรม วิทยาลัยแสงธรรม * อาจารย์ประจำคณะมนุษยศาสตร์ วิทยาลัยแสงธรรม * ผู้ช่วยผู้อำนวยการและนักวิจัยประจำ ศูนย์วิจัยค้นคว้าศาสนาและวัฒนธรรม วิทยาลัยแสงธรรม
* Reverend in Roman Catholic Church, Ratchaburi Diocese. * Head of Department of Christian Studies, Saengtham College. * Reverend in Roman Catholic Church, Ratchaburi Diocese. * Deputy Director of Religious and Cultural Research Centre, Saengtham College. * Lecturer at Saengtham College. * Assistant Director and Researcher at Religious and Cultural Research Centre, Saengtham College.
งานวิจัยนี้ได้รับทุนสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ผ่านทางมูลนิธิสดศรีสฤษดิ์วงศ์
1
สมชัย พิทยาพงศ์พร และคณะ
บทคัดย่อ
การวิจยั ครัง้ นีเ้ ป็นการพัฒนาตัวชีว้ ดั การพัฒนาด้านจิตวิญญาณ ตามหลักธรรมคำสอนของคริสต์ศาสนา มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษา ทบทวนงานวิจัยว่าด้วยเครื่องมือประเมินและตัวชี้วัดที่เกี่ยวข้องกับการ พัฒนาด้านจิตวิญญาณ ตามหลักธรรมคำสอนของคริสต์ศาสนา ทั้งใน และนอกประเทศ 2) สังเคราะห์ตัวชี้วัดด้านจิตวิญญาณ ตามหลักธรรม คำสอนของคริสต์ศาสนา จากการทบทวนงานวิจัยทั้งใน และนอก ประเทศ 3) พัฒนาตัวชี้วัดด้านจิตวิญญาณ ตามหลักธรรมคำสอนของ คริสต์ศาสนา ผลการวิจัย พบว่า ตัวชี้วัดการพัฒนาด้านจิตวิญญาณตาม หลักคำสอนคริสต์ศาสนา แบ่งได้เป็น 2 ระดับ คือ 1) การกลับใจ และ 2) การดำเนินชีวิตตามคำแนะนำของพระวรสาร โดยแบ่งได้เป็น 7 ด้าน ประกอบด้วยตัวชี้วัด ทั้งหมด 55 ตัวชี้วัด ทั้งนี้ มีค่าความเหมาะสม ในการเป็นตัวชี้วัดด้านจิตวิญญาณ ตามหลักธรรมคำสอนของคริสต์- ศาสนา ดังต่อไปนี้ 1. มิติของการกลับใจด้านสติปัญญา (Intellectual Conversion) ประกอบด้วยตัวชี้วัดจำนวน 6 ตัวชี้วัด มีค่าเฉลี่ยความเหมาะ- สมอยู่ในระดับมาก (X = 3.91) 2. มิติของการกลับใจด้านอารมณ์ (Affective Conversion) ประกอบด้วยตัวชี้วัดจำนวน 6 ตัวชี้วัด มีค่าเฉลี่ยความเหมาะสมอยู่ใน ระดับมาก (X = 4.07) 3. มิติของการกลับใจด้านศีลธรรม (Moral Conversion) ประกอบด้วยตัวชี้วัดจำนวน 8 ตัวชี้วัด มีค่าเฉลี่ยความเหมาะสมอยู่ ในระดับมาก (X= 4.21) 4. มิติของการกลับใจด้านศาสนา (Religious Conversion) ประกอบด้วยตัวชี้วัดจำนวน 4 ตัวชี้วัด มีค่าเฉลี่ยความเหมาะสมอยู่ใน ระดับมาก (X= 4.07)
ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2010/2553 31
การศึกษาเครื่องมือประเมินและตัวชี้วัดที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาด้านจิตวิญญาณตามหลักธรรมคำสอนของคริสต์ศาสนา
5. การดำเนินชีวิตด้วยความยากจน ตามคำแนะนำของพระ- วรสาร ประกอบด้วยตัวชี้วัด จำนวน 10 ตัวชี้วัด มีค่าเฉลี่ยความ เหมาะสมอยู่ในระดับมาก (X= 4.12) 6. การดำเนินชีวิตด้วยความบริสุทธิ์ ตามคำแนะนำของพระ- วรสาร ประกอบด้วยตัวชี้วัด จำนวน 9 ตัวชี้วัด มีค่าเฉลี่ยความ เหมาะสมอยู่ในระดับมาก (X= 4.26) 7. การดำเนินชีวิตด้วยความนอบน้อมเชื่อฟัง ตามคำแนะนำ ของพระวรสาร ประกอบด้วยตัวชี้วัด จำนวน 5 ตัวชี้วัด มีค่าเฉลี่ย ความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก (X= 4.26) อย่างไรก็ตาม การพยายามใช้เครื่องมือเชิงปริมาณ เพื่อวัด สิ่งซึ่งเป็นนามธรรมนั้น อาจไม่สามารถวัดได้ถูกต้อง หรือสมบูรณ์พร้อม เครื่องมือและตัวชี้วัดที่ได้จากการวิจัยนี้ จึงเป็นเพียงเครื่องมือที่พัฒนา ขึ้นในขั้นแรก ซึ่งยังต้องการการพัฒนาอีกในโอกาสต่อไป เพื่อให้สิ่งที่ ไม่สมบูรณ์นี้ เข้าใกล้ความสมบูรณ์มากยิ่งขึ้น เท่าที่ความสามารถของ มนุษย์จะกระทำได้ คำสำคัญ : 1) เครื่องมือและตัวชี้วัด 2) จิตวิญญาณ 3) คาทอลิก Abstract
This research aimed at developing a set of indi- cators of spiritual development based on the Catholic catechism. The purposes of this research are : 1) To review both national and international researches on assessment tools related to spiritual development based on Catholic catechism. 2) To synthesize a set of spiritual indicators from national and international research review based on
32 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
สมชัย พิทยาพงศ์พร และคณะ
Catholic catechism. 3) To further develop the spiritual indicators based on the Catholic catechism. The research findings are as follows : The indicators of spiritual development are divided into two levels. 1) Conversion 2) Lifestyle as guided by the Gospel values and divided into seven areas consisting of 55 indicators. 1. Dimension of Intellectual Conversion. This consists of six indicators and demonstrates a high level (X= 3.91) 2. Dimension of Affective Conversion. This consists of six indicators and shows a high level (X= 4.07) 3. Dimension of Moral Conversion. This consists of eight indicators and shows a high level (X= 4.21) 4. Dimension of Religious Conversion. This consists of four indicators and shows a high level (X= 4.07) 5. Simple lifestyle in accordance with the Gospel values. This consists of nine indicators and shows a high level (X= 4.12) 6. A life of purity in accordance with the Gospel values. This consists of five indicators and shows a high level (X= 4.26) 7. A lifestyle of obedience in accordance with the Gospel values. This consists of five indicators and shows a high level (X= 4.26) However, the attempt to use a quantitative instrument to measure things that are abstract may not be
ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2010/2553 33
การศึกษาเครื่องมือประเมินและตัวชี้วัดที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาด้านจิตวิญญาณตามหลักธรรมคำสอนของคริสต์ศาสนา
accurate. The instruments and the indicators from this research are only at the first step. Further development is required in order to render complete what has been incomplete as much as possible. Keywords : 1) Instruments and Indicators 2) Spiritual 3) Catholic
34 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
สมชัย พิทยาพงศ์พร และคณะ
หลักการและเหตุผล ระบบสุขภาพคุ้นเคยกับเรื่องสุขภาวะ ทางกาย ทางจิต และทางสังคม แต่ยงั ไม่ชดั เจน เกี่ยวกับประเด็นการพัฒนาจิตหรือสุขภาวะ ทางปั ญ ญาหรื อ สุ ข ภาวะทางจิ ต วิ ญ ญาณ โดยเป็นทีย่ อมรับทัว่ กันว่า สุขภาวะทางปัญญา หรือสุขภาวะทางจิตวิญญาณน่าจะเป็นองค์ ประกอบสำคัญที่สามารถเติมเต็มหรือเข้ามา ช่วยให้การขับเคลื่อนระบบสุขภาพเพื่อสุข- ภาวะที่ดีนั้นครบองค์รวมอย่างแท้จริง เป็ น ที่ น่ า ยิ น ดี ว่ า มี ก ารเคลื่ อ นไหว เกี่ยวกับประเด็นการพัฒนาจิตหรือสุขภาวะ ทางปัญญาหรือสุขภาวะทางจิตวิญญาณอย่าง กว้างขวางทั้งในระดับสถาบันองค์กร มหา- วิทยาลัย โรงพยาบาลระดับต่างๆ ทั้งโรงเรียน แพทย์ โรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลทั่วไป โรงพยาบาลชุมชน ศูนย์สุขภาพชุมชน และ สถานี อ นามั ย รวมทั้ ง สถาบั น หรื อ องค์ ก รที่ ไม่ ไ ด้ ท ำงานกั บ ระบบสุ ข ภาพโดยตรง หรื อ มูลนิธิ หรือองค์กรเอกชนต่างๆ แต่ละภาคส่วน มีกระบวนทัศน์ วิธีทำงาน ผลลัพธ์ บทเรียน และเรื่ อ งราวความสำเร็ จ หลากหลายเป็ น ที่ ประจักษ์ทั่วไป อย่างไรก็ตามความเคลื่อนไหวเหล่า นี้ ยั ง ขาดเครื่ อ งมื อ ประเมิ น และตั ว ชี้ วั ด ที่ เหมาะสม เครื่องมือประเมินและตัวชี้วัดใน
หลายๆ กรณีเป็นเรื่องยาก และจำกัดความคิด หรือวิธีทำงานของบุคลากร เพราะมุ่งเน้นการ วัดผลลัพธ์จนเกินพอดี เครื่องมือประเมินและ ตัวชี้วัดในประเด็นการพัฒนาจิตหรือสุขภาวะ ทางปั ญ ญาหรื อ สุ ข ภาวะทางจิ ต วิ ญ ญาณไม่ ควรเป็นไปเพื่อการวัดผลลัพธ์ แต่ควรเป็นไป เพื่อการกระตุ้นพัฒนาหรือเอื้อต่อการพัฒนา ช่วยให้บุคลากรสามารถดำเนินชีวิตได้อย่างมี ความสุข มูลนิธิสดศรี-สฤษดิ์วงศ์ ได้เห็นความ สำคั ญ ของการพั ฒ นาจิ ต เพื่ อ สุ ข ภาพเห็ น ได้ จากในปี พ.ศ. 2551 แผนงานพัฒนาจิตเพื่อ สุขภาพ มูลนิธสิ ดศรี-สฤษดิว์ งศ์ ได้จดั กระบวน การแลกเปลี่ยนเรียนรู้และจัดการความรู้เรื่อง การพัฒนาสุขภาวะทางปัญญาระหว่างโรง- พยาบาลต่างๆ เกิดการสังเคราะห์ความรู้และ หมุ น เกลี ย วความรู้ จ นกระทั่ ง ประสบความ สำเร็จระดับหนึ่ง เช่นเดียวกับศูนย์วิจัยค้นคว้าศาสนา และวัฒนธรรม วิทยาลัยแสงธรรม อ.สามพราน จ.นครปฐม ที่ก่อตั้งใน พ.ศ. 2527 ให้เป็น ศูนย์การศึกษาค้นคว้าวิจัยคำสอนและวัฒน- ธรรมของศาสนา ภายใต้แนวทางของคริสต์- ศาสนา ภารกิจสำคัญประการหนึ่งของศูนย์ วิจัยค้นคว้าศาสนาและวัฒนธรรม วิทยาลัย แสงธรรม คือ การเป็นแหล่งศึกษาเรียนรู้ด้าน
ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2010/2553 35
การศึกษาเครื่องมือประเมินและตัวชี้วัดที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาด้านจิตวิญญาณตามหลักธรรมคำสอนของคริสต์ศาสนา
วัฒนธรรมและหลักธรรมคำสอนของศาสนา โดยเฉพาะการส่ ง เสริ ม การศึ ก ษาค้ น คว้ า สร้างองค์ความรู้ อาศัยกระบวนการวิจัย และ เผยแพร่องค์ความรู้ดังกล่าว เพื่อการพัฒนา ด้านจิตวิญญาณ รวมทั้งการสร้างและพัฒนา เครือข่ายหรือองค์กรศาสนา เพื่อส่งเสริมให้ สั ง คมใส่ ใจและมี แ หล่ ง เรี ย นรู้ ใ นการพั ฒ นา ด้ า นจิ ต วิ ญ ญาณยิ่ ง ขึ้ น โดยเฉพาะการเป็ น แหล่งรวบรวมและสืบค้นเอกสารและงานวิจัย เรื่องเครื่องมือประเมินและตัวชี้วัดที่เกี่ยวข้อง กับการพัฒนาด้านจิตวิญญาณตามหลักธรรม คำสอนของคริสต์ศาสนา ทั้งภายในและนอก ประเทศ นำสูก่ ารสังเคราะห์และพัฒนาตัวชีว้ ดั และเผยแพร่แก่บุคลากรของคริสต์ศาสนาและ ผู้สนใจทั่วไป ความจำเป็นเหล่านี้เรียกร้องให้เกิด การศึกษาในครั้งนี้เพื่อนำไปสู่การสังเคราะห์ ความรู้ เ กี่ ย วกั บ การพั ฒ นาด้ า นจิ ต วิ ญ ญาณ ของผูใ้ ห้บริการและผูร้ บั บริการในระบบบริการ สุ ข ภาพโดยอาศั ย การทำงานเป็ น เครื่ อ งมื อ สำคัญ อย่างไรก็ตามการศึกษาครั้งนี้ไม่ได้เน้น ที่การศึกษาตัวบ่งชี้เพื่อวัดผลลัพธ์ แต่เป็นไป เพื่ อ การกระตุ้ น การพั ฒ นาหรื อ เอื้ อ ต่ อ การ พัฒนา ช่วยให้บุคลากรสามารถดำเนินชีวิตได้ อย่างมีความสุข อีกทั้งเพื่อขยายผลการศึกษา ครั้ ง นี้ ไ ปสู่ ก ลุ่ ม เป้ า หมายอื่ น ๆ ในสั ง คมไทย ต่อไป
36 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
วัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาทบทวนงานวิจัยว่าด้วย เครื่องมือประเมินและตัวชี้วัดที่เกี่ยวข้องกับ การพั ฒ นาด้ า นจิ ต วิ ญ ญาณตามหลั ก ธรรม คำสอนของคริสต์ศาสนาทั้งในและนอกประ- เทศ 2. เพื่ อ สั ง เคราะห์ ตั ว ชี้ วั ด ด้ า นจิ ต - วิ ญ ญาณ ตามหลั ก ธรรมคำสอนของคริ ส ต์ - ศาสนา จากการทบทวนงานวิจยั ทัง้ ในและนอก ประเทศ 3. เพื่ อ พั ฒ นาตั ว ชี้ วั ด ด้ า นจิ ต วิ ญ ญาณ ตามหลักธรรมคำสอนของคริสต์ศาสนา ให้เหมาะสมกับบริบทของสังคมไทย ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. ได้ อ งค์ ค วามรู้ ว่ า ด้ ว ยเครื่ อ งมื อ ประเมินและตัวชี้วัดที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนา ด้านจิตวิญญาณ ตามหลักธรรมคำสอนของ คริสต์ศาสนา ทั้งในและนอกประเทศ 2. ได้ ตั ว ชี้ วั ด ด้ า นจิ ต วิ ญ ญาณ ตาม หลักธรรมคำสอนของคริสต์ศาสนาที่เหมาะสม กับบริบทของสังคมไทย นิยามศัพท์และรูปแบบการอ้างอิงเอกสาร 1. นิยามศัพท์ เพือ่ ให้เกิดความเข้าใจความหมายของ
สมชัย พิทยาพงศ์พร และคณะ
คำบางคำที่ใช้ในงานวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยกำหนด ความหมายของคำต่างๆ โดยเรียบเรียงจาก หนั ง สื อ สารานุ ก รมศาสนาคริ ส ต์ ค าทอลิ ก (มนัส, 1983) คนในทรรศนะของพุทธศาสนา อิสลามและคริสต์ศาสนา (เสรี และคณะ, 2524) และ Dictionary of Philosophy (Peter, 1981) ดังนี้ การไถ่บาป (Redemption) คือการ ที่พระเยซูคริสต์ได้ทรงมอบชีวิต แบบอย่าง และคำสอนของพระองค์เพื่อให้มนุษย์ได้พบ ทางกลับไปสู่พระเจ้า อาศัยพระทรมาน การ สิ้นพระชนม์และการกลับคืนพระชนมชีพของ พระองค์ การเผยแสดง (Revelation) หมายถึง การที่ พ ระเจ้ า ทรงเผยแสดงพระองค์ เ องแก่ มนุษย์ เพื่อให้มนุษย์บรรลุสู่ความรอด โดย การเผยแสดงสำคัญที่สุด คือ ทางพระเยซู- คริสตเจ้า และถ่ายทอดการเผยแสดงโดยผ่าน ทางพระวาจา ธรรมประเพณี และอำนาจการ สอนทางการของคริสต์ศาสนจักร กระแสเรียก (Vocation) หมายถึงการ ที่พระเจ้าทรงโปรดให้มนุษย์แต่ละคนแสวง- หาน้ ำ พระทั ย ของพระองค์ ใ นการบรรลุ ถึ ง ความรอด โดยแยกได้สองประเภท คือ ใน ฐานะเป็นผู้ติดตามที่ใกล้ชิด (นักบวช) หรือ ฆราวาส
ข้อความเชื่อ (Dogma) หมายถึง หลักธรรมทางศาสนา ซึ่งพระสันตะปาปาและ บรรดามุขนายก ประกาศอย่างเป็นทางการ ว่าเป็นความจริงทางศาสนาที่คริสตชน (คาทอลิ ก ) ต้ อ งเชื่ อ เพราะถื อ เป็ น ความจริ ง ที่ พระเจ้าทรงเผยแสดงผ่านทางคริสต์ศาสนจักร และถือว่าข้อความเชื่อเหล่านั้นเป็นความจริง ที่ไม่ผิดพลาด บาป (Sin) หมายถึง การทำผิดต่อ พระเจ้าและเพื่อนมนุษย์ โดยรู้ตัวและเต็มใจ โดยมองทั้ ง ด้ า นสภาพจิ ต ใจและการกระทำ ภายนอกด้วย บาปกำเนิด (Original Sin) หมายถึง บาปที่มีติดตัวมนุษย์ทุกคนตั้งแต่เกิดมา อัน เป็ น เหตุ ใ ห้ ม นุ ษ ย์ มี แ นวโน้ ม ที่ จ ะทำบาปอยู่ เสมอ บาปดังกล่าวสืบเนื่องมาจากบาปของ อาดั ม และเอวา ซึ่ ง เป็ น บาปแรกของมนุ ษ ย์ (การไม่ เชื่ อ ฟั ง และการเลื อ กตั ว เองแทนที่ พระเจ้า) และบาปนั้นตกทอดมาสู่มนุษย์คน อืน่ ๆ ในฐานะเป็นลูกหลานของอาดัมและเอวา พระคัมภีร์ไบเบิล (Bible) หมายถึง หนั ง สื อ ที่ บั น ทึ ก เรื่ อ งราวการเผยแสดงของ พระเจ้าแก่มนุษย์ โดยแบ่งออกเป็นสองภาค คือ พันธสัญญาเดิม (45 เล่ม) และพันธสัญญาใหม่ (27 เล่ม) รวมเป็น 72 เล่ม คริสตชนเชื่อว่าพระคัมภีร์ฯ เป็นหนังสือบันทึกประ-
ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2010/2553 37
การศึกษาเครื่องมือประเมินและตัวชี้วัดที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาด้านจิตวิญญาณตามหลักธรรมคำสอนของคริสต์ศาสนา
วัติศาสตร์แห่งความรอด โดยผู้เขียนได้รับการ ดลใจจากพระเจ้า คริสต์ศาสนจักร (The Church) หมายถึ ง มวลคริ ส ตศาสนิ ก ชนที่ ร วมกั น เป็ น ประชาคมและเป็ น สถาบั น โดยมี ผู้ น ำทาง ศาสนา โดยมีฐานันดรตามลำดับขั้นดังนี้ คือ พระสันตะปาปา (Pope) มุขนายก (Bishop) บาทหลวง (Priest) และสัตบุรุษ พระสันตะปาปา (Pope) หมายถึง มุขนายกแห่งโรม (Bishop of Rome) ซึ่งถือ เป็นประมุขสูงสุดของชาวคริสต์ นิกายโรมัน คาทอลิก เชื่อว่าเป็นผู้สืบตำแหน่งจากนักบุญ เปโตร ทั้งนี้โดยการแต่งตั้งของพระเยซูคริสต์ เอง ได้รับสิทธิอำนาจสูงสุดจากพระเจ้า พระหรรษทาน (Grace) หมายถึง พระพรของพระเจ้าที่ประทานแก่มนุษย์ เพื่อ ช่วยให้มนุษย์ไปสู่ความรอดพ้น ศีลศักดิ์สิทธิ ์ (Sacrament) หมายถึง พิธกี รรมของคริสต์ศาสนา อันเป็นเครือ่ งหมาย ภายนอกเพื่อแสดงออกถึงความสัมพันธ์ของ ศาสนิกกับพระเจ้า เป็นเครื่องหมายถึงการ ประทานพระหรรษทานของพระเจ้า ในนิกาย โรมันคาทอลิกมี 7 ศีล คือ ศีลล้างบาป ศีล กำลัง ศีลมหาสนิท ศีลอภัยบาป ศีลสมรส ศีลบวช และศีลเจิมคนไข้ สภาสังคายนา (Council) หมายถึง
38 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
การประชุมบรรดามุขนายก ผู้นำศาสนาและ ผู้เชี่ยวชาญ โดยมีพระสันตะปาปาเป็นผู้เรียก และเป็ น ประธานที่ ป ระชุ ม จนถึ ง ปั จ จุ บั น มี สภาสังคายนารวมทั้งสิ้น 21 ครั้ง สภาสังคายนาวาติกันครั้งที่ 2 (Vatican Council II) เป็นสภาสังคายนาครั้งล่า สุดของศาสนาคริสต์ นิกายโรมันคาทอลิก จัด ขึ้นที่กรุงโรมระหว่างปี ค.ศ. 1963 – 1965 โดยพระสั น ตะปาปาเรี ย กบรรดามุ ข นายก ทุกองค์ทั่วโลกประมาณ 3,000 กว่าองค์ รวม ทั้งผู้แทนบาทหลวง นักบวช ฆราวาส และผู้ เชี่ยวชาญทางด้านต่างๆ เข้าร่วมเป็นที่ปรึกษา และผู้สังเกตการณ์ เพื่อปรับปรุงคำสอนและ แนวคิดทางศาสนาให้เข้ากับการเปลี่ยนแปลง ของสังคมในปัจจุบัน อำนาจการสอนทางการของคริสต์ศาสนจักร (Magistery) หมายถึง ภาระหน้าที่ ในการอธิบายความอย่างถูกต้องเกี่ยวกับพระ- วาจาของพระเจ้า ซึ่งอำนาจนี้กระทำในนาม ของพระเยซู ค ริ ส ตเจ้ า ซึ่ ง มอบหมายไว้ แ ก่ บรรดามุ ข นายก โดยร่ ว มเป็ น หนึ่ ง เดี ย วกั บ ทายาทของนั ก บุ ญ เปโตร หรื อ อี ก นั ย หนึ่ ง มุขนายกแห่งกรุงโรม คือ สมเด็จพระสันตะ- ปาปา โดยถือว่า อำนาจการสอนทางการฯ นี ้ ไม่ ผิ ด พลาด และถื อ เป็ น การเผยแสดงของ พระเจ้า
สมชัย พิทยาพงศ์พร และคณะ
การสั ง เคราะห์ตัวชี้วัดด้านการพัฒนาจิตวิญญาณตามหลักธรรมคำสอนของคริสต์ศาสนา จากการประมวลแนวคิด ทฤษฎี หลัก ธรรมคำสอนของคริสต์ศาสนาและงานวิจัยที่ เกี่ยวข้องกับการพัฒนาจิตวิญญาณในรายละ- เอียดเรือ่ ง พืน้ ฐานหลักธรรมคำสอนของคริสต์- ศาสนา ความหมายและแนวทางการพัฒนาจิต-
วิญญาณตามคำสอนคริสต์ศาสนา พัฒนาการ และบุคคลสำคัญต่อการพัฒนาจิตวิญญาณใน คริสต์ศาสนา และตัวอย่างการศึกษาค้นคว้า วิจัยเรื่องเครื่องมือประเมินและตัวชี้วัดที่เกี่ยว ข้องกับการพัฒนาด้านจิตวิญญาณตามคำสอน คริสต์ศาสนา ทำให้คณะผูว้ จิ ยั ได้สงั เคราะห์ตวั ชี้วัดด้านการพัฒนาจิตวิญญาณตามหลักธรรม คำสอนของคริสต์ศาสนา ซึ่งมีกรอบแนวคิด ดังภาพที่ 1 ดังนี้
การพัฒนาจิตวิญญาณ
1. การกลับ ใจ
1.1 การกลับใจด้านสติปัญญา 1.2 การกลับใจด้านอารมณ์ 1.3 การกลับใจด้านศีลธรรม 1.4 การกลับใจด้านศาสนา
2. การดำเนินชีวิต ตามคำแนะนำของ พระวรสาร
พระพรของพระจิตเจ้า
2.1 ความยากจน 2.2 ความบริสุทธิ์ 2.3 ความนอบน้อมเชื่อฟัง
ภาพที่ 1 แสดงกรอบแนวคิดของการสังเคราะห์ตัวชี้วัดด้านการพัฒนาจิตวิญญาณ
ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2010/2553 39
การศึกษาเครื่องมือประเมินและตัวชี้วัดที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาด้านจิตวิญญาณตามหลักธรรมคำสอนของคริสต์ศาสนา
การสร้ า งและพั ฒ นาตั ว ชี้ วั ด ที่ เ กี่ ย ว ข้องกับการพัฒนาด้านจิตวิญญาณตามหลัก ธรรมคำสอนของคริสต์ศาสนา มีการดำเนิน- การ 3 ระยะ ดังนี้ ระยะที่ 1 การสร้ า งกรอบแนวคิ ด และร่างตัวชี้วัดที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาด้าน จิตวิญญาณตามหลักธรรมคำสอนของคริสต์ศาสนา จากการศึกษาเอกสาร ตำรา แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง คณะผู้วิจัย ได้สังเคราะห์เป็นกรอบแนวคิดตัวชี้วัดที่เกี่ยว ข้องกับการพัฒนาด้านจิตวิญญาณตามหลัก ธรรมคำสอนของคริสต์ศาสนา ซึ่งประกอบ ด้วย 2 ส่วน ดังต่อไปนี้ 1. การกลับใจ (Conversion) หมาย ถึง กระบวนการเปลี่ยนแปลงชีวิตโดยละทิ้ง ความชั่วหรือบาป เพื่อหันไปหาพระเจ้า ซึ่ง การกลับใจมีหลายมิติ แต่มีความสัมพันธ์กัน มีการแบ่งมิติการกลับใจเป็น 4 มิติที่มีความ สัมพันธ์กัน ดังนี้ 1) มิติของการกลับใจด้าน สติปัญญา 2) มิติของการกลับใจด้านอารมณ์
40 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
3) มิติของการกลับใจด้านศีลธรรม และ 4) มิติของการกลับใจด้านศาสนา 2. การดำเนิ น ชี วิ ต ตามคำแนะนำ ของพระวรสาร หมายถึง การดำเนินตามจิตตารมณ์ ข องผู้ ย ากจนของพระเจ้ า กล่ า วคื อ การเป็นผู้ที่สละน้ำใจของตนเพื่อทำตามพระ- ประสงค์ของพระเจ้าอย่างสมบูรณ์ พร้อมจะ เปิดใจรับข่าวดีเรื่องอาณาจักรพระเจ้า ด้วย การลดละความเห็ น แก่ ตั ว เพื่ อ มอบตนแด่ พระเจ้า และมอบตนรับใช้เพื่อนมนุษย์ การ ไม่ ยึ ด ติ ด หรื อ ทำให้ ท รั พ ย์ ส มบั ติ ก ลายเป็ น เป้าหมายของชีวิต ซึ่งมีองค์ประกอบที่สำคัญ 3 ประการ ดังต่อไปนี้ 1) ความยากจน 2) ความบริสุทธิ์ และ 3) ความนอบน้อมเชื่อฟัง เมื่อสังเคราะห์เนื้อหาดังกล่าวคณะผู้ วิจัยได้นำตัวชี้วัดทั้ง 7 ตัวชี้วัด เพื่อสร้างเป็น เครือ่ งมือประเมินการพัฒนาจิตวิญญาณสำหรับ คริ ส ตชนคาทอลิ ก โดยเครื่ อ งมื อ ประเมิ น ที่ สร้างขึ้นใช้ข้อคำถามเชิงคุณภาพ จำนวน 6 ข้อ
สมชัย พิทยาพงศ์พร และคณะ
คำถาม 1. เมื่อมีเหตุการณ์ที่ทำให้ท่านไม่พอใจ ท่านมักจะมองว่าต้นเหตุของความไม่พอใจคือ อะไรและคิดจะแก้ไขความไม่พอใจนี้อย่างไร 2. มีเหตุการณ์อะไรที่ทำให้ท่านไม่ถูกกับคนอื่นและท่านเป็นฝ่ายเริ่มต้นไปคืนดีกับ คนอื่น ขอให้สรุปเหตุการณ์และเล่าถึงความรู้สึกแต่ละช่วง 3. เป้าหมายสูงสุดของการพัฒนาจิตวิญญาณของคริสตชนคือความรักและเป็นหนึ่ง เดี ย วกั บ พระเจ้ า และสิ่ ง แวดล้ อ มแต่ วิ ถี ป ฏิ บั ติ อ าจแตกต่ า งกั น ไป สำหรั บ ท่ า นมี วิธีปฏิบัติเพื่อสร้างสัมพันธภาพและสิ่งต่างๆ เหล่านี้อย่างไร 3.1 ตนเอง 3.2 เพื่อนมนุษย์ 3.3 สิ่งแวดล้อม 3.4 พระเจ้า 4. “หากความยากจนตามหลักคำสอนของคริสต์ศาสนา หมายถึง การแบ่งปัน” ท่าน เคยมีประสบการณ์ในการแบ่งปันหรือไม่? 4.1 ท่านรู้สึกอย่างไร? 4.2 อะไรเป็นแรงจูงใจให้ท่านทำเช่นนั้น? 5. “ความหมายของความบริสุทธิ์ที่ว่าเป็นความซื่อสัตย์ต่อสถานภาพของตน” ท่านเคย พบกับเหตุการณ์ที่ล่อลวงให้ท่านต้องรักษาความซื่อสัตย์ต่อสถานภาพของตนหรือไม่ .......... 1) เคย ................ 2) ไม่เคย 5.1 เวลานั้นท่านรู้สึกอย่างไร? 5.2 อะไรเป็นแรงจูงใจให้ท่านรู้สึกว่าต้องรักษาความซื่อสัตย์ต่อสถานภาพ ของตน 6. “ความนบนอบเชื่อฟัง หมายถึง การพร้อมที่จะฟังความต้องการของผู้อื่นและทำตาม ด้วยความสมัครใจ” จากความหมายดังกล่าวเคยมีเหตุการณ์ในชีวิตของท่านที่สอด คล้องกับความหมายนี้หรือไม่ .......... 1) เคย ................ 2) ไม่เคย จากเหตุการณ์ดังกล่าว ท่านคิดว่าอะไรเป็นเหตุผลในการปฏิบัติเช่นนั้น?
ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2010/2553 41
การศึกษาเครื่องมือประเมินและตัวชี้วัดที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาด้านจิตวิญญาณตามหลักธรรมคำสอนของคริสต์ศาสนา
เมื่อนำข้อคำถามไปทดลองใช้กับกลุ่ม ตัวอย่าง ซึ่งประกอบด้วย บาทหลวง ฆราวาส และนักศึกษาด้านปรัชญาและศาสนา จำนวน 10 คน พบว่า แบบสอบถามปลายเปิดชุดนี ้ ต้องอาศัยระยะเวลา และการไตร่ตรองในการ ตอบเป็นอย่างมาก จึงเหมาะสมกับบาทหลวง และนั ก ศึ ก ษาผู้ เ ตรี ย มตั ว เป็ น บาทหลวงซึ่ ง ต้องศึกษาด้านปรัชญา ศาสนา และเทววิทยา2 เพราะต้องใช้ประสบการณ์การไตร่ตรองชีวิต พร้อมกับการตีความข้อคำถาม ซึ่งอ้างอิงข้อความเชื่อตามพระวรสาร อีกทั้งในทางปฏิบัต ิ แบบสอบถามชุดนี้ไม่สามารถเก็บข้อมูลกับ กลุ่มตัวอย่างที่มีขนาดใหญ่ได้ เพราะข้อจำกัด ของแบบสอบถามทีเ่ ป็นแบบปลายเปิดทัง้ หมด อั น ส่ ง ผลให้ ก ารวิ เ คราะห์ มี ข้ อ จำกั ด ตามไป ด้วย คณะผู้ วิ จั ย จึ ง เห็ น ว่ า ควรจะพั ฒ นา เครื่องมือชุดนี้ ให้สามารถเก็บข้อมูลได้กว้าง ขวางมากยิ่งขึ้น และสามารถประเมินเป็นค่า สถิติเชิงพรรณนาได้ จึงได้ดำเนินการพัฒนา โดยอาศัยกรอบแนวคิดเดิม และข้อมูลที่ได้ จากแบบสอบถามปลายเปิดชุดแรก ทำการ 2
สังเคราะห์ตัวชี้วัดเพิ่มเติม เพื่อเป็นแนวทางสู่ การจัดทำแบบสอบถามชุดที่ 2 ระยะที่ 2 การพั ฒ นาตั ว ชี้ วั ด ด้ า น จิตวิญญาณตามหลักธรรมคำสอนของคริสต์ศาสนา คณะผู้วิจัย ทำการสังเคราะห์ตัวบ่งชี้ เพิ่มเติม จากแบบสอบถามปลายเปิดชุดที่ 1 และโดยอาศัยการศึกษาหลักธรรมคำสอนของ คริสต์ศาสนา ได้ตัวชี้วัดเพิ่มเติม ดังต่อไปนี้ 1. การกลับใจ ประกอบด้วย 4 มิติ ดังนี้ 1.1 มิ ติ ข องการกลั บ ใจด้ า นสติ ปัญญา (Intellectual Conversion) ประ- กอบด้วยตัวชี้วัดจำนวน 13 ตัวชี้วัด ดังนี้ 1) การสำนึกว่าตนเคยหลงผิดในการเข้าใจพระเจ้า 2) การสำนึกว่าตนเคยหลงผิดในการเข้าใจ ตนเอง 3) การสำนึกว่าตนเคยหลงผิดในการ เข้าใจเพื่อนมนุษย์ 4) การสำนึกว่าตนเคยหลง ผิดในการเข้าใจสิ่งแวดล้อม 5) การพยายาม คืนดีต่อพระเจ้า 6) การพยายามคืนดีต่อตน เอง 7) การพยายามคืนดีต่อเพื่อนมนุษย์ 8) การพยายามคื น ดี ต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ ม 9) การ
รวมทั้งการเข้ารับการอบรม และพัฒนาบุคลิกภาพ วุฒิภาวะ และการพิจารณาด้านจิตวิญญาณ จากการรับคำปรึกษา แนะนำจากผู้ดูแล และบาทหลวงที่ปรึกษาด้านจิตวิญญาณ (คุณพ่อวิญญาณรักษ์) เป็นรายบุคคล ตามระบบการอบรม ของคริสต์ศาสนจักรคาทอลิก
42 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
สมชัย พิทยาพงศ์พร และคณะ
พยายามลดอคติ โดยเฉพาะอคติต่อพระเจ้า 10) การพยายามลดอคติ โดยเฉพาะอคติต่อ ตนเอง 11) การพยายามลดอคติ โดยเฉพาะ อคติต่อเพื่อนมนุษย์ 12) การพยายามลดอคติ โดยเฉพาะอคติต่อสิ่งแวดล้อม และ 13) การ พยายามลดการยึดมั่น ถือมั่น เพื่อเปิดใจเข้า หาพระเจ้าอย่างแท้จริง 1.2 มิ ติ ข องการกลั บ ใจด้ า น อารมณ์ (Affective Conversion) ประกอบ ด้วยตัวชี้วัดจำนวน 6 ตัวชี้วัด ดังนี้ 1) การ รู้ เ ท่ า ทั น ความรู้ สึ ก และอารมณ์ 2) การไม่ ปล่อยตัวทำตามอารมณ์ที่ไม่ดีและไม่สมดุล 3) การประพฤติตนอยู่ในกฎระเบียบของบ้าน เมือง 4) การประพฤติตนอยู่ในกฎระเบียบ ของศาสนา 5) การควบคุมอารมณ์โดยอาศัย เหตุผล และ 6) การควบคุมอารมณ์โดยอาศัย ความเชื่อ 1.3 มิติของการกลับใจด้านศีล- ธรรม (Moral Conversion) ประกอบด้วยตัว ชี้วัดจำนวน 8 ตัวชี้วัด ดังนี้ 1) การให้คุณค่า ของคน มากกว่าวัตถุ สิ่งของ 2) การมุ่งแบ่งปัน มากกว่าการแข่งขันเอาเปรียบ 3) ชอบความ สมถะมากกว่าความฟุ่มเฟือย 4) ชอบความ คุ้ ม ค่ า มากกว่ า คุ้ ม ทุ น 5) เลื อ กสิ่ ง ที่ ถู ก ต้ อ ง มากกว่าถูกใจ 6) เน้นการรับใช้มากกว่าการ บริโภค 7) การใช้ชีวิตเรียบง่าย และประสาน
กลมกลืนกับธรรมชาติ และ 8) การเน้นความ รักแท้กับพระเจ้า และเพื่อนพี่น้อง 1.4 มิตขิ องการกลับใจด้านศาสนา (Religious Conversion) ประกอบด้วยตัวชี้ วัดจำนวน 4 ตัวชี้วัด ดังนี้ 1) การเปลี่ยน แปลงชีวิตที่ไร้เป้าหมาย หรือมีเป้าหมายที่เห็น แก่ตัว ไปสู่ชีวิตที่มีพระเจ้าองค์ความรัก เป็น หลักยึดเหนี่ยวในชีวิต 2) การเลือกพระเจ้า เป็นการตัดสินใจเลือกขั้นพื้นฐาน (Fundamental Option) ซึง่ จะส่งผลไปสูก่ ารตัดสินใจ เลือกอื่นๆ ทุกอย่างในชีวิต 3) การใช้โทษบาป และการฟื้นฟูชีวิตอยู่เสมอ โดยผ่านทางศีล อภัยบาป และ 5) การปฏิบัติตามรูปแบบการ กลั บ ใจใช้ โ ทษบาปที่ พ ระศาสนจั ก รกำหนด ได้แก่ การอดอาหาร การอธิษฐานภาวนา และ การบริจาคทาน 2. การดำเนิ น ชี วิ ต ตามคำแนะนำ ของพระวรสาร ซึ่งมีองค์ประกอบที่สำคัญ 3 ประการ ดังต่อไปนี้ 2.1 การดำเนิ น ชี วิ ต ด้ ว ยความ ยากจน ตามคำแนะนำของพระวรสาร ประ- กอบด้วยตัวชี้วัด จำนวน 10 ตัวชี้วัด ดังนี้ 1) การวางใจและมอบตนรับใช้พระเจ้า 2) การ เปิดใจแสวงหาพระเจ้าในเหตุการณ์ที่อยู่เหนือ การควบคุม 3) การสละน้ำใจของตนเพื่อทำ ตามพระประสงค์ของพระเจ้า 4) การละทิ้ง
ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2010/2553 43
การศึกษาเครื่องมือประเมินและตัวชี้วัดที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาด้านจิตวิญญาณตามหลักธรรมคำสอนของคริสต์ศาสนา
ความเห็นแก่ตัว 5) การยอมรับความจำเป็น ด้านวัตถุ 6) การแบ่งปันทรัพยากรที่มีแก่ผู้อื่น 7) เชื่อว่าการมีทรัพย์สมบัติเป็นพระพรจาก พระเจ้ า 8) การไม่ ยึ ด ติ ด หรื อ ทำให้ ท รั พ ย์ สมบัติกลายเป็นเป้าหมายของชีวิต 9) การใช้ ทรัพย์สมบัติอย่างรู้คุณค่า และ 10) สำนึกว่า การทำงานเป็นองค์ประกอบพื้นฐานในการ ดำรงชีวิตของมนุษย์ 2.2 การดำเนินชีวิตด้วยความบริสุทธิ์ ตามคำแนะนำของพระวรสาร ประกอบด้วย ตัวชี้วัด จำนวน 9 ตัวชี้วัด ดังนี้ 1) การสร้าง ความสัมพันธ์กับพระเจ้าอย่างต่อเนื่อง โดย ผ่ า นทางศี ล มหาสนิ ท 2) การสร้ า งความ สั ม พั น ธ์ กั บ พระเจ้ า อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง โดยผ่ า น ทางศีลอภัยบาป 3) การสร้างความสัมพันธ์ กั บ พระเจ้ า อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง โดยผ่ า นทางการ ภาวนาและการรำพึงพระวาจา 4) การสร้าง ความสัมพันธ์กับพระเจ้าอย่างต่อเนื่อง โดย ผ่านทางการดำเนินชีวิตเป็นหมู่คณะ 5) พยายามฝึ ก ฝนและพั ฒ นาตนเองในการควบคุ ม การใช้พลังทางเพศให้อยู่ในขอบเขตหรือความ พอดี ตามจุดประสงค์ของเพศที่พระเจ้าทรง กำหนด และตามสถานะของบุคคล (บาทหลวง/ นักบวช ฆราวาส เด็กและเยาวชน ฯลฯ) 6) สามารถควบคุมการใช้พลังทางเพศให้อยูใ่ น ขอบเขตหรือความพอดี ตามจุดประสงค์ของ
44 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
เพศที่ พ ระเจ้ า ทรงกำหนด และตามสถานะ ของบุคคล (บาทหลวง/นักบวช ฆราวาส เด็ก และเยาวชน ฯลฯ) 7) การถือพรหมจรรย์เพื่อ อุทิศชีวิตตนทำงานของพระเจ้าด้วยหัวใจไม่ แบ่งแยก 8) เลือกชีวิตบริสุทธิ์ โดยไม่แสวงหา การชดเชยในทางอื่ น และไม่ เ อาคื น สิ่ ง ที่ ไ ด้ ถวายแด่พระเจ้าแล้ว 9) สมัครใจถือโสด เพื่อ อาณาจักรพระเจ้าและอุทิศชีวิตทั้งครบเพื่อ รับใช้พระเจ้าและเพื่อนมนุษย์โดยยินดีครอง ตนในความบริสุทธิ์อย่างแท้จริง 2.3 การดำเนินชีวิตด้วยความนอบ น้ อ มเชื่ อ ฟั ง ตามคำแนะนำของพระวรสาร ประกอบด้วยตัวชี้วัด จำนวน 5 ตัวชี้วัด ดังนี้ 1) การพยายามฝึกกระบวนการพิจารณาและ วินิจฉัยด้วยการภาวนาและการรำพึง 2) การ พยายามฝึ ก กระบวนการมองดู แ ละวิ นิ จ ฉั ย ด้วยการเรียนรู้ ฝึกฝน การรู้จักฟัง 3) ความ สามารถในการแยกแยะคำแนะนำของพระ- วรสาร กั บ ค่ า นิ ย มของโลกที่ เ กิ ด ขึ้ น ในชี วิ ต ประจำวันได้เป็นอย่างดี 4) การถือความนบ นอบเชื่อฟังผู้มีอำนาจชอบธรรม ตามสถานะ ของท่าน และ 5) การเชื่อฟังเป็นหนึ่งเดียวกับ ผู้นำของคริสต์ศาสนจักร เมื่อได้ทำการสังเคราะห์ตัวชี้วัดในแต่ ละด้ า นเรี ย บร้ อ ยแล้ ว จึ ง ได้ จั ด ทำเป็ น แบบ สอบถามชุดที่ 2 ซึ่งเป็นแบบประมาณค่า 5
สมชัย พิทยาพงศ์พร และคณะ
ระดับ และทำการทดสอบยืนยันตัวชี้วัดต่างๆ ในการดำเนินงานในระยะที่ 3 ต่อไป ระยะที่ 3 การพัฒนาตัวชี้วัดด้านจิต- วิ ญ ญาณตามหลั ก ธรรมคำสอนของคริ ส ต์ ศาสนา คณะผู้วิจัย นำตัวชี้วัดทั้ง 55 ตัว มา สร้างเป็นแบบสอบถามเพือ่ ยืนยันตัวชีว้ ดั ทัง้ นี ้ คณะผู้ วิ จั ย ได้ ห าคุ ณ ภาพของแบบสอบถาม โดยการหาความตรงเชิ ง เนื้ อ หา (Content Validity) และการหาความเที่ยง (Reliability) ซึ่งปรากฏผลดังนี้ การหาความตรงเชิงเนื้อหา ดำเนินการหาค่าดัชนีความสอดคล้อง (Index of Item Objective Congruence : IOC) ของตัวชี้วัดทั้ง 55 ตัว โดยผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 3 ท่าน ผลปรากฏว่า ทุกตัวชี้วัดมีค่า IOC อยู่ระหว่าง 0.67-1.00 จึงถือว่าใช้ได้ทุกตัวชี ้ วัด ส่วนการหาความความเที่ยง (Reliability) ดำเนินการโดยการหาค่าสัมประสิทธิ์แอลฟา ของครอนบรัค (Cronbach’s Alpha Coefficient) ซึ่งปรากฏว่าแบบสอบถามโดยภาพ รวม มี ค่ า สั ม ประสิ ท ธิ์ แ อลฟ่ า เท่ า กั บ 0.96 จากนั้นจึงนำแบบสอบถามชุดที่ 2 นี้ไปดำ- เนินการเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง ต่อไป ผลการดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล จากกลุ่มตัวอย่างจำนวน 450 คน ประกอบ ด้วย นักศึกษาสาขาวิชาปรัชญาและศาสนา
สาขาวิ ช าคริ ส ตศาสนศึ ก ษา และสาขาวิ ช า เทววิทยา คณาจารย์ และเจ้าหน้าที่ที่ทำงาน อยู่ในวิทยาลัยแสงธรรม ได้รับแบบสอบถาม กลับคืนจำนวน 429 คน คิดเป็นร้อยละ 95.33 สรุปผลการวิจัย 1. ผลการพัฒนาตัวชี้วัดการพัฒนาจิตวิญญาณตามหลักคำสอนของคริสต์ศาสนา นิ ย ามความหมายของการพั ฒ นา จิตวิญญาณตามหลักธรรมคำสอนของคริสต์- ศาสนา 1.1 การพัฒนาด้านจิตวิญญาณ หมายถึง การดำเนินชีวติ ตามการ ดลใจของพระจิตเจ้าโดยการกลับใจและการ ดำเนินชีวิตตามคุณค่าพระวรสาร ตามความ หมายนี้แสดงให้เห็นถึงความเกี่ยวเนื่องของ การพัฒนาด้านจิตวิญญาณในสองส่วน ได้แก่ 1) การกลับใจ 2) การดำเนินตามคำแนะนำ ของพระวรสาร 1.2 การกลับใจ (ประกอบด้วย 31 ตัวชี้วัด) หมายถึง กระบวนการค้นพบ ยอม รับสภาพแล้วตัดสินใจละทิ้งหรือเปลี่ยนแปลง สภาพชี วิ ต เก่ า ทั้ ง ภายนอกและภายในจิ ต - สำนึกไปดำเนินชีวิตตามคำแนะนำของพระ-
ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2010/2553 45
การศึกษาเครื่องมือประเมินและตัวชี้วัดที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาด้านจิตวิญญาณตามหลักธรรมคำสอนของคริสต์ศาสนา
วรสาร ปรั บ เปลี่ ย นทั ศ นคติ รื้ อ ฟื้ น ความ สั ม พั น ธ์ กั บ เพื่ อ นมนุ ษ ย์ แ ละสิ่ ง แวดล้ อ ม มี การแบ่งมิติการกลับใจเป็น 4 มิติที่มีความ สัมพันธ์กัน ดังนี้ 1) มิติของการกลับใจด้าน สติปัญญา ประกอบด้วยตัวชี้วัดจำนวน 13 ตั ว ชี้ วั ด 2) มิ ติ ข องการกลั บ ใจด้ า นอารมณ์ ประกอบด้วยตัวชี้วัดจำนวน 6 ตัวชี้วัด 3) มิติ ของการกลับใจศีลธรรม ประกอบด้วยตัวชี้วัด จำนวน 8 ตัวชี้วัด และ 4) มิติของการกลับใจ ศาสนา ประกอบด้วยตัวชี้วัดจำนวน 4 ตัวชี ้ วัด 1.3 การดำเนินชีวิตตามคำแนะนำของพระวรสาร (ประกอบด้วย 24 ตัวชี้ วัด) หมายถึง การดำเนินตามวิถีชีวิต และคำแนะนำที่ พ ระเยซู ค ริ ส ตเจ้ า ทรงนำ เสนอ เป็นหนทางที่ทำให้มนุษย์เป็นอิสระจาก ความเห็ น แก่ ตั ว เพื่ อ รั ก -รั บ ใช้ พ ระเจ้ า และ เพื่อนมนุษย์ตามบทบาทหน้าที่ของตน ซึ่งมี องค์ประกอบที่สำคัญ 3 ประการ ดังต่อไปนี ้ 1) ความยากจน ประกอบด้วยตัวชี้วัดจำนวน 10 ตัวชี้วัด 2) ความบริสุทธิ์ ประกอบด้วย ตัวชี้วัดจำนวน 9 ตัวชี้วัด และ 3) ความ นอบน้อมเชื่อฟัง ประกอบด้วยตัวชี้วัดจำนวน 5 ตัวชี้วัด
46 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
2. ผลการทดสอบความสอดคล้องของตัว ชี้ วั ด การพั ฒ นาด้ า นจิ ต วิ ญ ญาณตามหลั ก คำสอนของคริสต์ศาสนา การดำเนิ น การทดสอบความสอด คล้องเหมาะสมในการเป็นตัวชี้วัดการพัฒนา จิ ต วิ ญ ญาณตามหลั ก คำสอนของคริ ส ตศาสนา มิติของการกลับใจ ด้านสติปัญญา (Intellectual Conversion)ในภาพรวม มี ค่าเฉลี่ยความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก (X= 3.91) เมื่อพิจารณารายตัวชี้วัด พบว่า ตัวชี้วัด ที่มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด คือ ตัวชี้วัดที่ 5. การพยา- ยามคืนดีต่อพระเจ้า มีค่าเฉลี่ยความเหมาะสม อยู่ในระดับมาก (X= 4.48) ส่วนตัวชี้วัดที่ม ี ค่าเฉลี่ยต่ำที่สุด คือ ตัวชี้วัดที่ 4 การสำนึกว่า ตนเคยหลงผิดในการเข้าใจสิ่งแวดล้อม มีค่า เฉลี่ ย ความเหมาะสมอยู่ ใ นระดั บ ปานกลาง (X= 3.48) ค่ า เฉลี่ ย ความเหมาะสมในการเป็ น ตัวชีว้ ดั การพัฒนาจิตวิญญาณตามหลักคำสอน ของคริสต์ศาสนา มิติของการกลับใจ ด้าน อารมณ์ (Affective Conversion) ในภาพ รวม มีค่าเฉลี่ยความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก (X= 4.07) ) เมื่อพิจารณารายตัวชี้วัด พบว่า ตัวชี้วัดที่มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด คือ ตัวชี้วัดที่ 17. การประพฤติตนอยู่ในกฎระเบียบของศาสนา มี ค่ า เฉลี่ ย ความเหมาะสมอยู่ ใ นระดั บ มาก
สมชัย พิทยาพงศ์พร และคณะ
(X=4.17) ส่วนตัวชี้วัดที่มีค่าเฉลี่ยต่ำที่สุด คือ ตัวชี้วัดที่ 15. การไม่ปล่อยตัวทำตาม อารมณ์ที่ไม่ดี และไม่สมดุล มีค่าเฉลี่ยความ เหมาะสมอยู่ในระดับมาก (X=3.91) ค่ า เฉลี่ ย ความเหมาะสมในการเป็ น ตั ว ชี้ วั ด การพั ฒ นาจิ ต วิ ญ ญาณตามหลั ก คำสอนของคริสต์ศาสนา มิติของการกลับใจ ด้านศีลธรรม (Moral Conversion) นั้น ใน ภาพรวม มคี า่ เฉลีย่ ความเหมาะสมอยูใ่ นระดับ มาก (X=4.21)) เมื่อพิจารณารายตัวชี้วัด พบว่า ตัวชี้วัดที่มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด คือ ตัวชี้วัด ที่ 20. การให้คุณค่าของคน มากกว่าวัตถุ สิ่งของ มีค่าเฉลี่ยความเหมาะสมอยู่ในระดับ มาก (X=4.43) ส่วนตัวชี้วัดที่มีค่าเฉลี่ยต่ำ ที่สุด คือ ตัวชี้วัดที่ 24. เลือกสิ่งที่ถูกต้อง มากกว่าถูกใจ มีค่าเฉลี่ยความเหมาะสมอยู่ ในระดับมาก (X= 4.08) ค่าเฉลี่ยความเหมาะสมในการเป็นตัว ชี้วัดการพัฒนาจิตวิญญาณตามหลักคำสอน ของคริ ส ต์ มิ ติ ข องการกลั บ ใจ ด้ า นศาสนา (Religious Conversion) นั้น ในภาพรวม มี ค่ า เฉลี่ ย ความเหมาะสมอยู่ ใ นระดั บ มาก (X= 4.07) ) มื่อพิจารณารายตัวชี้วัด พบว่า ตัวชี ้ วัดที่มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด คือ ตัวชี้วัดที่ 29. การ เลือกพระเจ้าเป็นการตัดสินใจเลือกขั้นพื้นฐาน (Fundamental Option) ซึง่ จะส่งผลไปสูก่ าร
ตัดสินใจเลือกอื่นๆ ทุกอย่างในชีวิต มีค่าเฉลี่ย ความเหมาะสมอยู่ ใ นระดั บ มาก (X=4.13) ส่วนตัวชี้วัดที่มีค่าเฉลี่ยต่ำที่สุด คือ ตัวชี้วัดที่ 30. การใช้โทษบาปและการฟื้นฟูชีวิตอยู่เสมอ โดยผ่ า นทางศี ล อภั ย บาป มี ค่ า เฉลี่ ย ความ เหมาะสมอยู่ในระดับมาก (X= 4.05) ค่าเฉลี่ยความเหมาะสมในการเป็นตัว ชี้วัดการพัฒนาจิตวิญญาณตามหลักคำสอน ของคริสต์ศาสนา เรื่อง การดำเนินชีวิตตาม คำแนะนำของพระวรสาร ด้านความยากจน นั้น ในภาพรวม มีค่าเฉลี่ยความเหมาะสมอยู่ ในระดับมาก (X= 4.12) เมื่อพิจารณารายตัว ชี้วัด พบว่า ตัวชี้วัดที่มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด คือ ตัว ชี้วัดที่ 32. การวางใจและมอบตนรับใช้พระ- เจ้า มีค่าเฉลี่ยความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก (X= 4.27) ส่วนตัวชี้วัดที่มีค่าเฉลี่ยต่ำที่สุด คือ ตัวชี้วัดที่ 36. การยอมรับความจำเป็นด้าน วัตถุ มคี า่ เฉลีย่ ความเหมาะสมอยูใ่ นระดับมาก (X= 4.01) ค่าเฉลี่ยความเหมาะสมในการเป็นตัว ชี้วัดการพัฒนาจิตวิญญาณตามหลักคำสอน ของคริสต์ศาสนา เรื่อง การดำเนินชีวิตตาม คำแนะนำของพระวรสาร ด้านความบริสุทธิ์ นั้น ในภาพรวม มีค่าเฉลี่ยความเหมาะสมอยู่ ในระดับมาก (X=4.26) เมื่อพิจารณารายตัว ชี้วัด พบว่า ตัวชี้วัดที่มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด คือ ตัว
ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2010/2553 47
การศึกษาเครื่องมือประเมินและตัวชี้วัดที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาด้านจิตวิญญาณตามหลักธรรมคำสอนของคริสต์ศาสนา
ชี้วัดที่ 44. การสร้างความสัมพันธ์กับพระเจ้า อย่างต่อเนื่อง โดยผ่านทางการภาวนา และ การรำพึงพระวาจา มีค่าเฉลี่ยความเหมาะสม อยู่ในระดับมากที่สุด (X=4.53) ส่วนตัวชี้วัด ที่มีค่าเฉลี่ยต่ำที่สุด คือ ตัวชี้วัดที่ 47. สามารถ ควบคุมการใช้พลังทางเพศให้อยู่ในขอบเขต หรื อ ความพอดี ตามจุ ด ประสงค์ ข องเพศที่ พระเจ้ า ทรงกำหนด และตามสถานะของ บุคคล (บาทหลวง/นักบวช ฆราวาส เด็ก และเยาวชน ฯลฯ) มีค่าเฉลี่ยความเหมาะสม อยู่ในระดับมาก (X= 4.10) ค่าเฉลี่ยความเหมาะสมในการเป็นตัว ชี้วัดการพัฒนาจิตวิญญาณตามหลักคำสอน ของคริสต์ศาสนา เรื่อง การดำเนินชีวิตตามคำ แนะนำของพระวรสาร ด้านความนบนอบ นั้น ในภาพรวม มีค่าเฉลี่ยความเหมาะสมอยู่ใน ระดับมาก (X= 4.26) เมื่อพิจารณารายตัวชี้วัด พบว่า ตัวชี้วัดที่มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด คือตัวชี้วัด ที่ 55. การเชื่อฟังเป็นหนึ่งเดียวกับผู้นำของ คริสต์ศาสนจักร (โดยการติดตามคำสอนต่างๆ ของพระสันตะปาปา มุขนายก และบาทหลวง ด้วยท่าทีแห่งความเชื่อ เป็นหนึ่งเดียวกัน ร่วม มือทำภารกิจการประกาศพระวรสารในโลก ปัจจุบัน ตามบทบาทและสถานภาพของตน) มี ค่ า เฉลี่ ย ความเหมาะสมอยู่ ใ นระดั บ มาก (X= 4.37) ส่วนตัวชี้วัดที่มีค่าเฉลี่ยต่ำที่สุด คือ
48 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
ตัวชี้วัดที่ 53. ความสามารถในการแยกแยะ คำแนะนำของพระวรสา กับค่านิยมของโลก ที่ เ กิ ด ขึ้ น ในชี วิ ต ประจำวั น ได้ เ ป็ น อย่ า งดี มี ค่ า เฉลี่ ย ความเหมาะสมอยู่ ใ นระดั บ มาก (X= 4.06) อภิปรายผล ผลจากการศึกษาวิจยั ครัง้ นี้ มีประเด็น สำคัญที่ค้นพบจากตัวชี้วัดการพัฒนาด้านจิต- วิ ญ ญาณตามหลั ก ธรรมคำสอนของคริ ส ต์ - ศาสนา ซึ่งสามารถนำมาอภิปรายผลของการ วิจัย ได้ดังนี้ 1. การพัฒนาด้านจิตวิญญาณ ตาม หลักธรรมคำสอนของคริสต์ศาสนจักร จากการวิจัย พบว่า การพัฒนาด้าน จิตวิญญาณ ตามหลักธรรมคำสอนของคริสต์- ศาสนจักรคาทอลิกนั้น เริ่มต้นด้วยการดำเนิน ชีวิตตามการดลใจของพระจิตเจ้าโดยการกลับ ใจ จากนั้นจึงดำเนินชีวิตตามคำแนะนำของ พระวรสาร ตามความหมายนี้แสดงให้เห็นถึง ความเกีย่ วเนือ่ งของการพัฒนาด้านจิตวิญญาณ ในสองส่วน ได้แก่ 1) การกลับใจ 2) การดำเนิน ตามคำแนะนำของพระวรสาร 1.1 การกลับใจ จากการศึกษา วิจัย พบว่า “ใจ” ในทัศนะของชาวยิวถือว่า เป็นที่มาของความคิด ความปรารถนา อารมณ์
สมชัย พิทยาพงศ์พร และคณะ
และดุลพินิจทางศีลธรรม ดังที่พระเยซูเจ้าตรัส ไว้ว่า “สิ่งที่ออกจากปาก ก็ออกจากใจ สิ่ง เหล่ า นี้ แ หละทำให้ ม นุ ษ ย์ เ ป็ น มลทิ น ” (มธ 15: 18) การกลับใจ จึงหมายถึงกระบวนการ เปลี่ ย นแปลงชี วิ ต โดยละทิ้ ง ความชั่ ว หรื อ บาป เพื่อหันไปหาพระเจ้า ซึ่งสอดคล้องกับ Curren (1983) ที่อธิบายว่า การกลับใจมี ลั ก ษณะเป็ น กระบวนการเปลี่ ย นแปลงชี วิ ต ทั้ ง ภายนอกและภายในจิ ต สำนึ ก ทั ศ นคติ ความเข้าใจต่อโลกและมนุษย์ การกลับใจ มีหลายมิติ แต่มีความ สัมพันธ์กัน มีการแบ่งมิติการกลับใจเป็น 4 มิติ คือ 1) มิติการกลับใจด้านสติปัญญา 2) มิติการกลับใจด้านอารมณ์ 3) มิติการกลับใจ ด้านศีลธรรม และ 4) มิติการกลับใจด้าน ศาสนา ทั้งนี้การกลับใจเป็นงานของพระเจ้า และความร่วมมือของมนุษย์ โดยเริ่มต้นจาก พระจิตเจ้า และการตอบสนองด้วยใจอิสระ ของมนุษย์ ซึ่งสอดคล้องกับ Paul (1982) ที่อธิบายเรื่องการกลับใจไว้ว่า เป็นการร่วมมือ ของมนุษย์ ดังในพระวรสารนักบุญลูกา และ นักบุญมัทธิว กล่าวถึงข้อเรียกร้องสำหรับผู้ ต้องการจะเป็นสานุศิษย์ของพระเยซูคริสต- เจ้ า หลายประการ และสอดคล้ อ งกั บสภาประมุขแห่งบาทหลวงโรมันคาทอลิกประเทศไทย (2543) ในเอกสารทิศทางงานอภิบาล
คริ ส ตศั ก ราช 2000 ว่ า การกลั บ ใจของ คริสต์ศาสนจักร หมายความว่าสมาชิกทุกคน ต้องตายจากตนเอง และเกิดใหม่ เพื่อจะเป็น สังคมใหม่ 1.2 การดำเนินชีวิตตามคำแนะนำ ของพระวรสาร จากการศึกษาวิจยั พบว่า การ ดำเนิ น ชี วิ ต ตามคำแนะนำของพระวรสาร เป็นวิถชี วี ติ ทีพ่ ระเยซูคริสตเจ้าได้นำเสนอ เพือ่ เป็นแนวทางการพัฒนาจิตวิญญาณ ได้แก่ การ ดำเนินชีวิตด้วยความยากจน บริสุทธิ์ และ นอบน้อมเชื่อฟัง สอดคล้องกับ Molaney (1980) การดำเนินชีวิตตามคำแนะนำของ พระวรสาร คือ การดำเนินชีวิตตามวิถีชีวิต และคำแนะนำที่พระเยซูคริสตเจ้านำเสนอ 1.2.1 การดำเนินชีวิตด้วยความ ยากจน คือ การดำเนินตามจิตตารมณ์ของ ผู้ยากจนของพระเจ้า กล่าวคือ การเป็นผู้ที่ สละน้ ำ ใจของตนเพื่ อ ทำตามพระประสงค์ ของพระเจ้าอย่างสมบูรณ์ พร้อมจะเปิดใจรับ ข่าวดีเรื่องอาณาจักรพระเจ้า ด้วยการลด ละ ความเห็นแก่ตัวเพื่อมอบตนแด่พระเจ้า และ มอบตนรับใช้เพื่อนมนุษย์ ตลอดจนการไม่ยึด ติดหรือทำให้ทรัพย์สมบัติกลายเป็นเป้าหมาย ของชีวติ ดังทีน่ กั บุญมัทธิว ผูน้ พิ นธ์พระวรสาร บันทึกคำสอนประการแรกของพระเยซูคริสต- เจ้ า ไว้ ว่ า “ผู้ มี ใจยากจนย่ อ มเป็ น สุ ข เพราะ
ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2010/2553 49
การศึกษาเครื่องมือประเมินและตัวชี้วัดที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาด้านจิตวิญญาณตามหลักธรรมคำสอนของคริสต์ศาสนา
อาณาจักรสวรรค์เป็นของเขา” (มธ 5:3) และ ที่นักบุญลูกา ได้บันทึกไว้ว่า “ท่านทั้งหลาย ทีย่ ากจนย่อมเป็นสุข เพราะอาณาจักรพระเจ้า เป็นของท่าน” (ลก 6:20) ทั้งนี้ในพระวรสาร นักบุญลูกา และนักบุญมัทธิว ยืนยันตรงกัน ถึงคำสอนของพระเยซูคริสตเจ้าที่ว่า เป็นการ ยากที่คนที่มีทรัพย์สมบัติมากจะเข้าสู่อาณา- จักรสวรรค์ เปรียบดังอูฐจะลอดรูเข็มยังง่าย กว่าเศรษฐีจะเข้าอาณาจักรสวรรค์ (ลก 18: 24-27 ; มธ 19: 23-25) 1.2.2 การดำเนินชีวิตด้วย ความบริสุทธิ์ คือ การดำเนินชีวิตด้วยความ ตระหนักถึงพระพรของพระจิตเจ้า ด้วยการ มุ่งมั่น ฝึกฝน พัฒนา และบังคับตน ในการ บูรณาการและควบคุมการใช้พลังทางเพศ ให้ อยู่ในขอบเขตหรือความพอดี ตามจุดประสงค์ ของเพศทีพ่ ระเจ้าทรงกำหนด และตามสถานะ ของบุคคล เป็นวิถีชีวิตที่อุทิศตนทำงานของ พระเจ้าด้วยหัวใจไม่แบ่งแยก เพื่อมุ่งสู่อาณา- จักรพระเจ้า ด้วยการอุทิศชีวิตทั้งครบเพื่อรับ ใช้พระเจ้า และเพื่อนมนุษย์ ทั้งนี้ การดำเนินชีวิตตามคำแนะนำ ของพระวรสารเรือ่ งความบริสทุ ธิน์ ี้ มิได้ปฏิเสธ เรื่องการสมรส ดังที่พระเยซูคริสตเจ้าได้ตรัส สอนชาวยิวว่า ชีวิตสมรสมิใช่เกิดขึ้นเพราะ ความจำเป็นทางธรรมชาติเท่านั้น แต่เกิดจาก
50 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
ความรักและเพื่อความรัก ความรักมิใช่มีแต่ ความใคร่ แต่มีความรักเสียสละต่อกัน และ เป็ น ไปตามวั ต ถุ ป ระสงค์ ข องพระเจ้ า ดั ง ใน พระคัมภีร์พันธสัญญาเดิม หนังสือปฐมกาล บันทึกไว้ว่า “ไม่ควรที่ชายจะอยู่คนเดียว” (ปฐก 2 :18) “จงมีลูกหลานทวีขึ้น” (ปฐก 1: 28) และในพันธสัญญาใหม่ โดยพระวรสาร นักบุญมัทธิว บรรยายว่า พระเยซูคริสตเจ้าได้ ให้กฎใหม่แทนกฎของโมเสสว่า การแต่งงาน เป็นพระประสงค์ของพระเจ้า จึงหย่าร้างมิได้ (มธ 9: 19) และนักบุญเปาโลเขียนจนหมายถึง ชาวเอเฟซัส อธิบายว่า พระเยซูคริสตเจ้าทรง ยกการแต่งงาน เป็นศีลศักดิ์สิทธิ์ (อฟ 5:2532) อย่ า งไรก็ ต าม ในพระวรสารของ นักบุญมัทธิว ได้บันทึกพระดำรัสของพระเยซูคริสตเจ้าทีว่ า่ “มนุษย์สามารถสมัครใจเป็นโสด ถือพรหมจรรย์เพราะเห็นแก่พระอาณาจักร สวรรค์ได้” (มธ 19: 12) ซึ่งสอดคล้องกับ นักบุญเปาโล ในจดหมายถึงชาวโครินธ์ที่ว่า “การถือโสดไม่ใช่คำสั่ง แต่เป็นการเรียกของ พระเจ้า และเป็นพระพรพิเศษ” และ “การ ดำเนินชีวติ โสด เพือ่ อุทศิ ตนรับใช้พระเจ้า โดย ไม่ แ บ่ ง แยกหั ว ใจให้ กั บ บุ ค คลอื่ น เป็ น การ ดำเนินชีวิตที่สามารถอุทิศตนอย่างสิ้นเชิงเพื่อ งานของพระเจ้า” (1คร 7: 32-35) การถือ
สมชัย พิทยาพงศ์พร และคณะ
โสดเพื่ออุทิศตนอย่างสิ้นเชิงเพื่องานของพระเจ้า จึงเหนือกว่าการใช้ชีวิตคู่ 1.2.3 การดำเนินชีวิตด้วยความ นอบน้อมเชื่อฟัง คือ ความพร้อมของจิตใจที ่ จะปฏิบัติตามคำสั่งของผู้มีอำนาจชอบธรรม มิใช่ทำตามแบบยอมจำนน แต่เป็นการฟังและ การเลื อ กกระทำตามด้ ว ยใจสมั ค รและด้ ว ย ความรักเป็นแรงจูงใจ สอดคล้องกับเสรี พงศ์พศิ (2524) ที่ว่า การตกในบาปของมนุษย์ ชี้ให้ เห็นถึงการที่มนุษย์ใช้เสรีภาพในการเลือกตน เองมากกว่าพระเจ้า อันเป็นการเหินห่างจาก ชีวิตที่แท้จริงของตนเอง ดังที่พระวรสารนักบุญยอห์น บันทึก ไว้ว่า “ถ้าท่านทั้งหลายยึดมั่นในวาจาของเรา ท่านก็เป็นศิษย์ของเราอย่างแท้จริง ท่านจะรู้ ความจริง และความจริงทำให้ท่านเป็นอิสระ” (ยน 8:31-32) โดยการนอบน้อมเชื่อฟังขึ้นอยู ่ กับสถานะของแต่ละบุคคล ดังในพระวรสาร ที่บันทึกไว้ว่า สามีภรรยาควรมีความรักและ ยอมรับกันและกัน (อฟ 5:22-29) บุตรต้อง เคารพให้เกียรติบิดามารดา (อฟ 6:1-3) ใน สังคมลูกจ้างต้องเชื่อฟังนายจ้าง (1 ปต 2:18) ผู้น้อยเชื่อฟังผู้ใหญ่ (1 ปต 5:5) ประชาชน เชื่อฟังผู้มีอำนาจชอบธรรม (1ปต 2:13) ใน คริสต์ศาสนจักร คริสตชนเชือ่ ฟังเป็นหนึง่ เดียว กับผู้นำของคริสต์ศาสนจักร (1 คร 16:16) ซึ่ง
สอดคล้องกับ Apostolic Constitution Fidei Depositum (1994) ที่ว่า มุขนายก/ผู ้ นำคริสต์ศาสนจักรแห่งโรม คือ พระสันตะ- ปาปา ผู้มีอำนาจสั่งสอนในคริสต์ศาสนจักร นั้น ใช้อำนาจซึ่งได้รับมาจากพระเยซูคริสต- เจ้ า อย่ า งเต็ ม ที่ เมื่ อ ต้ อ งนิ ย ามหรื อ อธิ บ าย ข้อความเชือ่ โดยถือว่าอำนาจการสอนทางการ นี้ไม่ผิดพลาด อำนาจการสอนทางการของ คริสต์ศาสนจักร จึงเป็นทีม่ าของระเบียบแบบ แผนของข้อความเชื่อในคริสต์ศาสนา สรุปได้วา่ การพัฒนาด้านจิตวิญญาณ ตามหลักธรรมคำสอนของคริสต์ศาสนจักรนั้น เป็นการพัฒนาชีวิตทั้งครบ ทั้งการแสดงออก ภายนอก (กายภาพ) และมิติภายใน (จิต- วิญญาณ) ทั้งจิตสำนึก ทัศนคติ ความโน้ม เอียงตามธรรมชาติ ตลอดจนการดลใจของ พระจิตเจ้า การพัฒนาด้านจิตวิญญาณ จึงเป็น การพัฒนาวิถีชีวิตเดิม สู่วิถีชีวิตใหม่ที่มีพระ- เจ้าเป็นเป้าหมายของชีวิต ซึ่งสอดคล้องกับ เสรี พงศ์พิศ (2545) กล่าวว่า มนุษย์สามารถ บรรลุถงึ ความรอดพ้น ด้วยการร่วมมือกับพระพรที่พระเจ้าประทานให้ ด้วยการดำเนินชีวิต ตามแนวทางที่พระเจ้าประทานให้ด้วยความ เชื่อดังกล่าวนี่เอง ชาวคริสต์จึงมองวิวัฒนา- การของศาสนาคริสต์ในฐานะเป็นส่วนสำคัญ ส่วนหนึ่งในประวัติศาสตร์แห่งความรอด ซึ่ง
ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2010/2553 51
การศึกษาเครื่องมือประเมินและตัวชี้วัดที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาด้านจิตวิญญาณตามหลักธรรมคำสอนของคริสต์ศาสนา
ครอบคลุมไปถึงประวัติศาสตร์ของมนุษยชาติ ทั้งหมดด้วย โดยถือว่าพระเจ้าเป็นผู้ให้กำเนิด แก่มนุษยชาติ และทรงเป็นจุดหมายสุดท้ายที ่ มนุษยชาติกำลังไปถึง ดังคำแนะนำในพระ- วรสารที่ ว่ า “พระเยซู ค ริ ส ตเจ้ า ทรงเป็ น หน ทาง ความจริง และชีวิต” (ยน 14:6) ด้วย เหตุ นี้ ก ารพั ฒ นาด้ า นจิ ต วิ ญ ญาณตามหลั ก ธรรมคำสอนของคริสต์ศาสนา จึงเริ่มต้นที่การ กลับใจ ซึ่งเป็นพระพรของพระเจ้า ผ่านทาง พระจิตเจ้า จากนั้นให้ดำเนินชีวิตตามคำแนะนำของพระวรสาร โดยมีพระเจ้าเป็นเป้าหมาย สูงสุด ซึ่งการดำเนินชีวิตตามคำแนะนำของ พระวรสารนี้ ต้องทำให้เป็นส่วนหนึง่ ในวิถชี วี ติ ปรกติของคริสตชน ซึ่งสอดคล้องกับ Wakefield (1983) ที่ว่าการพัฒนาจิตวิญญาณ คริสตชน เป็นสิ่งที่ดำเนินควบคู่กับพัฒนาการ ของคริสต์ศาสนจักรตามธรรมประเพณีของ คริสต์ศาสนจักร รวมทัง้ ให้ความสำคัญในฐานะ เป็นวิถีชีวิตคริสตชน (The Christian life) เพื่อพัฒนาชีวิตไปสู่ชีวิตที่สมบูรณ์ สอดคล้อง กับ Alister (1999) ที่อธิบายว่าการพัฒนา จิตวิญญาณคริสตชน มีพื้นฐานบนความหวัง ไว้ ใจและพั น ธสั ญ ญาของพระเจ้ า ด้ ว ยการ ปฏิบัติตนตามคำสอนของพระวรสาร คือ การ ปฏิบัติความรักต่อคนอี่น และการลด ละ เลิก รูปแบบการดำเนินชีวิตที่เอาแต่ประโยชน์ส่วน ตัว
52 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
ข้อเสนอแนะ ข้อเสนอแนะในการนำผลการวิจัยไปใช้ประโยชน์ จากการศึ ก ษาวิ จั ย เรื่ อ ง การศึ ก ษา เครื่องมือประเมินและตัวชี้วัดที่เกี่ยวข้องกับ การพัฒนาด้านจิตวิญญาณ ตามหลักธรรมคำ สอนของคริสต์ศาสนา คณะผู้วิจัย พบว่า การ พัฒนาด้านจิตวิญญาณตามหลักธรรมคำสอน ของคริสต์ศาสนา ประกอบด้วย 2 ขั้นตอน คือ 1) การกลับใจ และ 2) การดำเนินชีวิต ตามคำแนะนำของพระวรสาร ซึ่ ง มี ตั ว ชี้ วั ด จำนวน 55 ตัวชี้วัด โดยตัวชี้วัดดังกล่าวเป็น การพยายามตี ค วามจากสิ่ ง ที่ เ ป็ น นามธรรม สู่การวัดในเชิงปริมาณ อันเป็นการวัดที่ไม่ สมบูรณ์ อีกทั้งตัวชี้วัดที่ได้ทั้ง 55 ตัวชี้วัดนี้ อาจไม่เหมาะสมกับคริสตชนทุกกลุ่ม เนื่อง จากมีตัวชี้วัดในเรื่องของการถือโสด และการ อุทิศชีวิตเพื่อรับใช้พระเจ้า อย่างไม่แบ่งแยก ซึง่ เหมาะกับสถานภาพของบาทหลวง นักบวช อีกทั้งตัวชี้วัดบางตัวอาจเข้าใจยาก และทำให้ เกิดความสับสน เพราะขึ้นอยู่กับการตีความ ของแต่ละคนที่มีประสบการณ์ ความเชื่อ และ ทัศนคติทแ่ี ตกต่างกัน หรืออาจเป็นข้อบกพร่อง ของตัวชี้วัดที่ไม่สามารถอธิบายได้อย่างชัดเจน ตรงประเด็น หรือเฉพาะเจาะจงให้มากกว่านี้
สมชัย พิทยาพงศ์พร และคณะ
คงต้องยอมรับก่อนว่า เรื่องของจิต- วิญญาณนั้น การจะวัดระดับในเชิงปริมาณคง กระทำได้ยาก และเป็นไปไม่ได้เลยหากต้องการ ความถูกต้องสมบูรณ์ การวิจัยนี้จึงมิได้มุ่งหวัง สิ่งที่สมบูรณ์ แต่มุ่งหวังที่จะเข้าใกล้ความ สมบูรณ์ให้มากที่สุด อย่างไรก็ตาม ตัวชี้วัดที ่ ได้จากการวิจัยนี้ ยังห่างไกลกับคำว่า “สมบูรณ์” มากมายนัก ซึ่งคณะผู้วิจัยก็ยอมรับ และตระหนักในเรื่องเหล่านี้ หากแต่หวังเพียง ว่าตัวชีว้ ดั ทีไ่ ด้จากการวิจยั นี้ อาจเป็นจุดเริม่ ต้น และเป็นแนวทางสำหรับการดำเนินการพัฒนา ตัวชีว้ ดั ด้านจิตวิญญาณ ตามหลักธรรมคำสอน ของคริสต์ศาสนา ในโอกาสต่อไป ข้อเสนอแนะในการวิจัยครั้งต่อไป ในการศึกษาครั้งนี้ คณะผู้วิจัยมีข้อ เสนอแนะสำหรับการวิจัยครั้งต่อไป ดังนี้ 1. ควรมีการศึกษาวิจัยต่อยอด การ พัฒนาตัวชี้วัดด้านจิตวิญญาณตามหลักธรรม คำสอนของคริสต์ศาสนาต่อไป โดยการจัดแบ่ง เครื่องมือตามกลุ่มผู้ตอบอย่างชัดเจน เช่น เครื่องมือสำหรับคริสตชนที่ดำเนินชีวิตแบบ ฆราวาส เครื่องมือสำหรับบาทหลวง นักบวช ซึ่งมีรูปแบบ และวิถีชีวิตที่แตกต่างกันไป 2. ควรมีการทดลองใช้เครื่องมือการ วิจัย ให้กว้างขวางมากยิ่งขึ้น ครอบคลุมทั้ง
ประเทศ เพื่อให้เกิดข้อถกเถียง โต้แย้ง อันจะ นำไปสู่การพัฒนาตัวชี้วัดที่ได้รับการยอมรับ มากที่สุด บรรณานุกรม เบเนดิกต์ที่ 16, พระสันตะปาปา. 2006. พระ เจ้าคือความรัก. กรุงเทพฯ: สื่อมวล- ชนคาทอลิกแห่งประเทศไทย. ยอห์น ปอลที่ 2, พระสันตะปาปา. 1996. ชีวิต ผู้รับเจิม. กรุงเทพฯ: อัสสัมชัญ. . 999. พระศาสนจักรในเอเซีย. กรุงเทพฯ: อัสสัมชัญ. . 2001. เริ่มต้นสหัสวรรษใหม่. กรุง- เทพฯ: อัสสัมชัญ. วงศ์สวัสดิ์ แก้วเสนีย,์ บาทหลวง. 2550. ภาวนา ด้วยคุณค่าและความหมาย. นครปฐม: วิทยาลัยแสงธรรม. . 2523. ความดีอยู่กับชีวิต. วารสาร แสงธรรมปริทัศน์ ปีที่ 4 เล่มที่ 1. นครปฐม: วิทยาลัยแสงธรรม. วัชศิลป์ กฤษเจริญ, บาทหลวง. (ผู้แปล). n.d. เรือ่ งสัน้ ประกอบการอบรมเรือ่ ง ภาวนา. ราชบุรี: ธรรมรักษ์. วุฒิชัย อ่องนาวา, บาทหลวง. 2549. ศาสนา คริสต์. เอกสารประกอบการสอน นครปฐม: วิทยาลัยแสงธรรม.
ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2010/2553 53
การศึกษาเครื่องมือประเมินและตัวชี้วัดที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาด้านจิตวิญญาณตามหลักธรรมคำสอนของคริสต์ศาสนา
สภาพระสังฆราชคาทอลิกแห่งประเทศไทย. 2543. ทิศทางของอภิบาล ค.ศ. 2000. กรุงเทพฯ: อัสสัมชัญ. สมชัย พิทยาพงศ์พร, บาทหลวง. 2550. วิถี ชีวิตจิตคริสตชน. นครปฐม: วิทยาลัย แสงธรรม. . 2552. พัฒนาการวิถีชีวิตจิต คริสตชน. นครปฐม: วิทยาลัย แสงธรรม. สหพันธ์สภาพระสังฆราชแห่งเอเชีย (FABC). 2531. ศาสนจักรในเอเซียกับการ พัฒนา. กรุงเทพฯ: สภาคาทอลิก แห่งประเทศไทยเพื่อการพัฒนา. เสรี พงศ์พิศ. 2545. ศาสนาคริสต์. กรุงเทพฯ: อัสสัมชัญ. Alister, E. 1999. Christian Spirituality. An Introduction. McGrath: Blackwell. Apostolic Constitution Fidei Deposi- tum. 1994. Catechism of the Catholic Church. London: Geoffrey Chapman. Bouyer, Louis. 1995. A History of Chris tian Spirituality Vol.1. London: Burns & Oates.
54 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
De Cea, Emeterio. 1992. Compendium of Spirituality Vol.1. New York: Alba House. Downey, Michael. 1993. The New Dic tionary of Catholic Spirituality. Collegeville: The Liturgical. Flannery, Austin, O.P. (Ed.). 1992. Vatican Council 2.The Conciliar and Post Conciliar Documents. Indiana: The Liturgical. Healey, Charles J. 1999. Christian Spirituality : An Introduction to Heritage. New York: Alba House. Homan, Daniel. 2000. Benedict’s Way. Illinois: Loyola. Holbock, Ferdinand. 2003. New Saints and Blesseds of the Catholic Church. Vol.1-2. Sanfrancisco: Ignatius. Johnston, William. 1995. Mystical Theology : The Science of Love. London: HarperCollins. John Paul II, Pope. 1991. Centesimus annus. Washington: United States Catholic Conference.
สมชัย พิทยาพงศ์พร และคณะ
. 1992. Fidei depositum. Washington: United States Catholic Conference. . 1995. Evangelium Vitae. Washington: United States Catholic Conference. . 1999. Ecclesia in Asia. Washington: United States Catholic Conference. Ker, Ian. 2001. The New Movements: ATheological Introduction. London: Catholic Truth Society. Lubich, Chiara. 2002. Una Via Nuova : La Spiritualita dell’ Unita. Rome: Citta Nuova.
Marthaler, Bernard L. 2003. The New Catholic Encyclopedia. Washington D.C.: The Catholic University. Rahner, Karl. 1997. Encyclopedia of Theology. London : Burns & Oats. Stewart, Columba. 1998. Prayer and Community:The Benedictine Tradition. New York: Orbis book. W., Beinert. & F.S., Fiorenza. 1995. Handbook of Catholic Theology. New York: Crossroad.
ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2010/2553 55
สุขภาวะของบาทหลวงคาทอลิกในประเทศไทย The Wellbeing of Catholic Priests in Thailand
บาทหลวงเจริญ ว่องประชานุกูล
Rev.Charoen Vongprachanukul
บาทหลวงวุฒิชัย อ่องนาวา
Rev.Wuttichai Ongnawa
* บาทหลวงในคริสต์ศาสนจักรโรมันคาทอลิก สังฆมณฑลราชบุรี * หัวหน้าสาขาวิชาคริสตศาสนาศึกษา วิทยาลัยแสงธรรม * บาทหลวงในคริสต์ศาสนจักรโรมันคาทอลิก สังฆมณฑลราชบุรี
* Reverend in Roman Catholic Church, Ratchaburi Diocese. * Head of Department of Christian Studies, Saengtham College. * Reverend in Roman Catholic Church, Ratchaburi Diocese. * E-mail : Franciswut@gmail.com
เจริญ ว่องประชานุกูล และวุฒิชัย อ่องนาวา
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสุขภาวะของบาทหลวง คาทอลิกใน 4 ด้าน คือ สุขภาวะทางกาย สุขภาวะทางจิต สุขภาวะ ทางสังคม สุขภาวะทางจิตวิญญาณ กลุ่มผู้ให้ข้อมูลในการวิจัยครั้งนี้ เป็นบาทหลวงคาทอลิก จำนวน 36 ท่าน เก็บรวบรวมข้อมูลใช้แบบ สอบถาม การวิเคราะห์ข้อมูลใช้ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า สุขภาวะของบาทหลวงคาทอลิกในประเทศ ไทยโดยรวมอยู่ในระดับดีมาก แยกพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า สุขภาวะทางกาย อยู่ในระดับดีมาก สุขภาวะทางจิตอยู่ในระดับดี สุขภาวะทางสังคมอยู่ในระดับดีมาก และสุขภาวะทางจิตวิญญาณอยู่ใน ระดับดีมาก อย่างไรก็ตาม ผลการวิจัยที่พบว่าสุขภาวะทางจิตของบาทหลวงมีค่าในระดับ “ดี” ในขณะที่สุขภาวะด้านอื่นๆ อยู่ในระดับ “ดีมาก” อภิปรายได้ว่า สุขภาวะทางจิตของบาทหลวง ซึ่งเป็นเรื่องที่ เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการชีวิตให้เกิดความสมดุลในมิติต่างๆ โดย เฉพาะเมื่อเผชิญหน้ากับสถานการณ์หรือกระแสสังคมปัจจุบันที่ก่อให้ เกิดความสับสนในการดำเนินชีวิตประจำวัน โดยเฉพาะค่านิยมบริโภค นิยม วัตถุนิยม หรือสถานการณ์ทางการเมือง ความรุนแรงของสังคม ในรูปแบบต่างๆ ที่บาทหลวงนอกจากจะต้องมีภูมิคุ้มกันในตนเองแล้ว ยังต้องดูแล อภิบาลคริสตชน/บุคลากรในความดูแลด้วย ส่งผลต่อการ บริหารจัดการความเครียดในตนเองเมื่อเผชิญหน้ากับสถานการณ์ที่ ยากต่อการให้คำแนะนำและการตัดสินใจ คำสำคัญ :
1) สุขภาวะ 3) คริสต์ศาสนา
2) บาทหลวงคาทอลิก
ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2010/2553 57
สุขภาวะของบาทหลวงคาทอลิกในประเทศไทย
Abstract
This research objective was to explore the wellbeing of Catholic priests on 4 aspects of physical, mental, social and spiritual wellbeing. The data collection were from 36 Catholic priests. The questionnaire, and was analyzed by descriptive statistic, frequency, percentage, mean, and standard deviation. The results were revealed that the wellbeing of Catholic priests in Thailand was in very good level, when considered on each aspect found that almost aspects were in very good level, except the mental wellbeing which was in good level. However, the research found that the mental wellbeing of the priests is in “good” level while the other is in “very good” level. The important problems are hard working and time management for relaxation, which affect to mental wellbeing in life management for the balance in various aspects, especially when confronted with situations or current society that cause confusion in everyday life, especially the consumerism, materialism, political situation and violence in society that priests also must have immunity and strong self spiritual and still care of Christian and people in control including various missions that impact on self stress management when confronted with situations that are difficult to provide advices and decisions. Keywords : 1) Wellbeing 3) Christianity
58 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
2) Catholic Priest
เจริญ ว่องประชานุกูล และวุฒิชัย อ่องนาวา
ความสำคัญของปัญหา สุขภาวะเป็นการเปลี่ยนแปลงกระบวนทัศน์ใหม่ของสุขภาพ ที่ไม่ได้หมายความ เฉพาะการมีร่างกายแข็งแรง ไม่มีโรค ไม่เจ็บไข้ หากแต่หมายความถึงการรักษาความสมดุล ของชีวิตด้วย ความสมดุลของชีวิตเป็นตัวแทน ของวิธีคิดแบบตะวันออกซึ่งมีลักษณะที่เป็น องค์รวม ไม่แยกสิง่ ต่างๆ ออกจากกัน สุขภาวะ แบบองค์รวมทั้ง 4 มิติ ได้แก่ สุขภาวะทางกาย สุขภาวะทางจิต สุขภาวะทางสังคม และสุขภาวะทางปัญญา ดังที่พระราชบัญญัติสุขภาพ แห่งชาติ พ.ศ. 2550 มาตรา 3 ให้คำจำกัด ความคำว่า “สุขภาพ” ว่า หมายถึงภาวะของ มนุษย์ที่สมบูรณ์ ทั้งทางกาย ทางจิต ทาง ปัญญา และทางสังคม เชื่อมโยงกันเป็นองค์ รวมอย่างสมดุล เช่นเดียวกับที่สำนักงานกอง ทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ซึ่ ง เป็ น หน่ ว ยงานภายใต้ ก ารกำกั บ ของรั ฐ ที่ รณรงค์ให้คนไทยมีสุขภาวะที่ดี และกำหนด วิสัยทัศน์ของหน่วยงานว่า เพื่อให้ “คนไทยมี สุขภาวะยั่งยืน” หมายถึงคนไทยมีสุขภาวะดี ครบทั้งสี่ด้าน ได้แก่ กาย จิต สังคม และปัญญา ดังนี้ 1) สุขภาวะทางกาย หมายถึง การมี ร่างกายที่สมบูรณ์แข็งแรง มีเศรษฐกิจพอเพียง มีสิ่งแวดล้อมดี ไม่มีอุบัติภัย เป็นต้น
2) สุขภาวะทางจิต หมายถึง จิตใจที่ เป็นสุข ผ่อนคลาย ไม่เครียด คล่องแคล่ว มี ความเมตตา กรุณา มีสติ มีสมาธิ เป็นต้น 3) สุขภาวะทางสังคม หมายถึง การ อยู่ร่วมกันด้วยดี ในครอบครัว ในชุมชน ใน ที่ทำงาน ในสังคม ในโลก ซึ่งรวมถึงการมี บริการทางสังคมที่ดี และมีสันติภาพ เป็นต้น 4) สุขภาวะทางปัญญา (จิตวิญญาณ) หมายถึง ความสุขอันประเสริฐที่เกิดจากมี จิตใจสูง เข้าถึงความจริงทั้งหมด ลดละความ เห็นแก่ตัว มุ่งเข้าถึงสิ่งสูงสุด ซึ่งหมายถึงพระนิพพาน หรือพระผู้เป็นเจ้าหรือความดีสูงสุด สุดแล้วแต่ความเชื่อที่แตกต่างกันของแต่ละ คน ปัจจุบัน จะเห็นได้ว่ามีความพยายาม ทั้งจากภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน ที่ ร ณรงค์ ใ ห้ ค นไทยมี ค วามตระหนั ก ต่ อ การ ดูแลสุขภาวะ ให้ครบมิติความเป็นมนุษย์ ภาย ใต้ ส ภาพสั ง คมในยุ ค โลกาภิ วั ต น์ ที่ มี ค วาม เจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยี โดยเฉพาะด้าน การติดต่อสือ่ สารทีไ่ ร้พรมแดน ทำให้สงั คมไทย มีการเปลี่ยนแปลงไปสู่สภาพสังคมที่ทันสมัย ซึ่งก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทั้งผลดีและผล เสี ย ด้ า นผลดี นั้ น มนุ ษ ย์ ไ ด้ รั บ ความสะดวก สบายในการดำรงชีวิตมากขึ้น แต่ในทางตรง กันข้าม คือ ทำให้เกิดการเจ็บป่วยและตาย
ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2010/2553 59
สุขภาวะของบาทหลวงคาทอลิกในประเทศไทย
ด้วยโรคที่มีสาเหตุมาจากการมีพฤติกรรมเสี่ยง เพิ่มขึ้น อีกทั้งการพัฒนาประเทศที่มุ่งเน้นการ เจริญเติบโตทางเศรษฐกิจด้วยการส่งเสริมอุตสาหกรรมทำให้ ช าวชนบทจำนวนมากต้ อ ง อพยพเข้าสู่เมืองเพื่อขายแรงงานในภาคอุตสาหกรรมและบริการมากขึ้น นำไปสู่ปัญหา สุขภาพ ทั้งทางกาย ทางจิต และทางสังคม ของประชาชนทุกเพศทุกวัย การสร้างสุขภาพนับได้วา่ มีความสำคัญ และเป็นหัวใจในการพัฒนาระบบสุขภาพให้ ยั่งยืน โดยเน้นการควบคุมปัจจัยเสี่ยง และส่ง เสริ ม ปั จ จั ย เสริ ม ที่ ก ำหนดการมี สุ ข ภาพที่ เหมาะสม ที่ ต้องอาศัยการบูรณาการความ ร่วมมือกับเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง ปัจจัยเสี่ยง สำคัญเกิดจากปัจเจกบุคคล นั่นคือ การมี พฤติกรรมสุขภาพที่ไม่พึงประสงค์ อาทิ ขาด การออกกำลังกาย การบริโภคอาหารไม่ปลอด ภัย ขาดการเสริมสร้างสุขภาพจิต เป็นต้น ซึ่ง ก่ อ ให้ เ กิ ด ปั ญหาโรคไม่ติดต่อหรือโรคเรื้อรัง เพิ่มจำนวนขึ้นเรื่อยๆ และเพิ่มภาระในการดู แลรั ก ษาสุ ข ภาพทั้ ง ในระบบบริ ก ารสุ ข ภาพ ครอบครัว ชุมชน รวมทั้งสถาบันต่างๆ ใน สังคม คริสต์ศาสนา เป็นหนึ่งในศาสนา สำคัญของโลก ที่ให้ความสำคัญต่อการดูแล สุขภาวะ โดยมีหน่วยงานและองค์กรต่างๆ ที่
60 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
รับผิดชอบ ส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดสุขภาวะแบบองค์รวมและยั่งยืน สำหรับคริสต์ศาสนจักรคาทอลิกในประเทศไทย ที่ดำเนินงานภายใต้สภาประมุขแห่งบาทหลวงโรมัน คาทอลิกแห่งประเทศไทย ได้กำหนดให้แผนก สุขภาพอนามัย อันเป็นหน่วยงานในคณะกรรม การคาทอลิกเพื่อการพัฒนาสังคม ในการส่ง เสริมและพัฒนาสุขภาวะดังกล่าว ใน ค.ศ. 2009-2010 พระสันตะปาปา เบเนดิกต์ที่ 16 ประมุขคริสต์ศาสนจักรคาทอลิก ทรงประกาศให้เป็น “ปีพระสงฆ์” (Year for Priests) ดังพระดำรัสของพระองค์ที่ตรัส แก่ผเู้ ข้าร่วมการประชุมของสมณกระทรวงเพือ่ พระสงฆ์ (Congregation for the Clergy) ในวันที่ 16 มีนาคม ค.ศ. 2009 ที่ว่า “ขอเน้น ย้ำพวกท่าน รู้จักขวนขวายตลอดเวลา เพื่อ แสวงหาศีลธรรมอันประเสริฐซึ่งปรากฏอยู่ใน จิตใจของพระสงฆ์ที่แท้จริง และเพื่อเป็นการ สนับสนุนพวกท่านให้ค้นพบจิตวิญญาณของ การเป็นสงฆ์ จึงได้ตัดสินใจประกาศให้วันที่ 19 มิถุนายน ค.ศ. 2009 - 19 มิถุนายน ค.ศ. 2010 เป็นปีเพื่อพระสงฆ์” ซึ่งสมณกระทรวง เพือ่ พระสงฆ์ (Congregation for the Clergy) ตอบสนองนโยบายของพระสันตะปาปาดังกล่าว โดยพระคาร์ดินัลเคลาดิโอ ฮูมส์ (2009) ประธานสมณกระทรวงฯ ได้ออกแถลงการณ์
เจริญ ว่องประชานุกูล และวุฒิชัย อ่องนาวา
เกี่ยวกับปีพระสงฆ์ตอนหนึ่งว่า “ให้ปีนี้ได้รับ การฉลองอย่างกว้างขวางทัว่ โลกในสังฆมณฑล ในเขตวัด และในหมู่คณะ ด้วยความร่วมมือ อย่างอบอุน่ จากบรรดาคริสตชนคาทอลิก ผู้รัก พระสงฆ์ของพวกเขา และอยากเห็นพระสงฆ์มี ความสุข ศักดิ์สิทธิ์ และร่าเริงในการประกอบ งานอภิบาลของตน” คริสต์ศาสนจักรคาทอลิกในประเทศ ไทย ตอบสนองนโยบายจากพระสันตะปาปา และสมณกระทรวงเพือ่ พระสงฆ์ โดยพระคาร์ดินัลไมเกิ้ล มีชัย กิจบุญชู ในฐานะประธาน คณะกรรมการคาทอลิ ก เพื่ อ พระสงฆ์ แ ละผู้ ถวายตัว ในสภาประมุขแห่งบาทหลวงโรมัน คาทอลิกแห่งประเทศไทย ได้ประกาศใน เอกสารเวียน วันที่ 28 มิถุนายน ค.ศ. 2009 ตอนหนึ่งว่า “ขอให้เราได้เริ่มต้นเฉลิมฉลอง ปีพระสงฆ์ ซึ่งสมเด็จพระสันตะปาปา ทรง ต้องการให้ ค.ศ. 2009 ถึง ค.ศ. 2010 เป็น การเฉลิมฉลองชีวิตและพันธกิจสงฆ์เป็นพิเศษ เป็ น โอกาสที่ บ าทหลวงแต่ ล ะท่ า นได้ หั น มา พิจารณาไตร่ตรองความเป็น “สงฆ์คาทอลิก” เป็นเวลาของการฟื้นฟูชีวิตจิต และชีวิตในศีล มหาสนิท พระสงฆ์เป็นผูท้ นี่ ำพระเยซูคริสตเจ้า มาสู่โลกโดยอาศัยการบูชาแห่งศีลมหาสนิท เหนื อ สิ่ ง อื่ น ใดทั้ ง สิ้ น พระสงฆ์ คื อ ผู้ แ ทนของ พระคริสตเจ้า เป็นพระคริสตเจ้าอีกองค์หนึง่ ใน
คริสต์ศาสนจักร จึงขอเชิญชวนพี่น้องทุกท่าน ร่ ว มเฉลิ ม ฉลองปี พ ระสงฆ์ พ ร้ อ มกั บ คริ ส ต์ ศาสนจักรสากล ทั้งในระดับสังฆมณฑล ระดับ วัด หรือระดับชุมชน ให้ทุกคนได้มีส่วนร่วม และสำนึกถึงพระพรและพระเมตตาที่พระเป็นเจ้าทรงประทานแก่คริสต์ศาสนจักรผ่าน ทางสังฆภาพสงฆ์” และกล่าวเสริมในจดหมาย ข่าว “เพื่อนสงฆ์” ปีที่ 7 ฉบับที่ 26 เดือน กรกฎาคม-กันยายน ค.ศ. 2009 ความว่า “คริสต์ศาสนจักรคาทอลิกวันนี้ ต้องถือว่า กำลังเผชิญวิกฤติหลายด้าน ทั้งวิกฤติการณ์ ด้านศาสนาและด้านพระธรรมคำสอน คุณธรรมและจริยธรรม และกำลังถูกซ้ำเติมด้าน บุคลากรของคริสต์ศาสนจักร ในแง่คุณภาพ และปริมาณ” (จดหมายข่าวเพื่อนสงฆ์, 2009: 2) การปฏิบัติภารกิจของการเป็นพระสงฆ์ หรือคำทางการที่ใช้ในประเทศไทย คือ “บาทหลวง” อย่างมีคุณภาพ ตามเจตนารมณ์ ของคริสต์ศาสนจักร จำเป็นต้องมีพื้นฐานอยู่ บนสุขภาวะทีด่ ี ด้วยเหตุนจี้ งึ จำเป็นต้องมีโครง การเฝ้าระวังและติดตามสภาวการณ์สุขภาวะ ของบาทหลวงคาทอลิกในประเทศไทย เพื่อ เป็ น แนวทางในการควบคุ ม ปั จ จั ย เสี่ ย งและ ปัจจัยเสริมให้ลดลง และเพื่อเป็นพื้นฐานการ พัฒนาระบบสุขภาวะที่ดีในระดับตัวบุคคล อัน
ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2010/2553 61
สุขภาวะของบาทหลวงคาทอลิกในประเทศไทย
จะนำไปสู่การพัฒนาระบบสุขภาวะแบบองค์ รวมและยั่งยืน และเป็นพื้นฐานสู่การปฏิบัติ ภารกิ จ การเป็นศาสนบริกรที่มีคุณภาพของ คริสต์ศาสนจักรต่อไป วัตถุประสงค์การวิจัย เพื่ อ ศึ ก ษาสุ ข ภาวะของบาทหลวง คาทอลิกใน 4 ด้าน คือ สุขภาวะทางกาย สุขภาวะทางจิต สุขภาวะทางสังคม และสุขภาวะ ทางจิตวิญญาณ คำถามการศึกษา สุขภาวะของบาทหลวงคาทอลิกใน 4 ด้าน คือ สุขภาวะทางกาย สุขภาวะทางจิต สุขภาวะทางสังคมและสุขภาวะทางจิตวิญญาณ เป็นอย่างไร นิยามศัพท์เฉพาะ สุขภาวะ หมายถึง การรักษาความ สมดุลของชีวิตอย่างองค์รวมในสี่ด้าน ได้แก่ 1) สุขภาวะทางกาย ได้แก่ ร่างกาย แข็งแรง ปลอดภัยจากสารพิษมีความปลอดภัย และการมีปัจจัย 4 2) สุขภาวะทางจิต ได้แก่ ความดี ความงามหรือสุนทรียะ ความสงบ ความมีสติ ทางสังคม
62 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
3) สุขภาวะทางสังคม ได้แก่ สังคม สัมพันธ์ หรือความมีสัมพันธ์ที่ดีในทุกระดับ สังคมเข้มแข็ง สังคมยุติธรรม สังคมสันติ 4) สุขภาวะทางจิตวิญญาณ ได้แก่ การมีจิตภาวะที่มั่นคงและมีพัฒนาการอย่าง ต่อเนื่อง ลงลึกในสร้างความสัมพันธ์กับพระเจ้า เป็นแรงจูงใจและพื้นฐานชีวิตและภารกิจ ของบาทหลวงในการรับใช้คริสตชนด้วยความ รัก ด้วยท่าทีแห่งการรับใช้พระเจ้าในเพื่อน มนุษย์ บาทหลวง หมายถึง ศาสนบริกรสงฆ์ ของคริสต์ศาสนจักรคาทอลิกในประเทศไทย หรือที่คริสตชนไทยเรียกว่า “คุณพ่อ” ซึ่งผ่าน การรับศีลบรรพชา ส่งผลให้ได้รบั พระพรพิเศษ ในการทำหน้าที่ประกาศสอน ปกครองและ พิธีกรรม ด้วยการดำเนินชีวิตถือความยากจน นบนอบเชือ่ ฟัง และถือโสด บาทหลวงแบ่งออก เป็นสองประเภท คือ บาทหลวงประจำสังฆมณฑล และบาทหลวงนักบวช ซึ่งงานวิจัยนี้ คำว่าบาทหลวง หมายถึง บาทหลวงประจำ สังฆมณฑล บาทหลวงประจำสังฆมณฑล หมาย ถึง บาทหลวงสังกัดสังฆมณฑล โดยมีมขุ นายก เป็นประมุข ทำหน้าทีอ่ ภิบาล บริหาร ปกครอง และรับใช้คริสตชนตามที่ได้รับมอบหมายจาก มุขนายกประจำสังฆมณฑลนั้นๆ
เจริญ ว่องประชานุกูล และวุฒิชัย อ่องนาวา
ประโยชน์ที่ได้รับจากการวิจัย ผลการศึ ก ษาทำให้ ไ ด้ ฐ านข้ อ มู ล ที่ จำเป็นต่อการกำหนดแนวทางพัฒนาสุขภาวะ รวมถึ ง การผลั ก ดั น การลงทุ น อย่ า งจริ ง จั ง เกี่ยวกับการพัฒนาสุขภาวะอย่างมีส่วนร่วม วิธีดำเนินการวิจัย ประชากรที่ศึกษา คือ บาทหลวงคาทอลิกในประเทศไทยจากทั้ง 10 สังฆมณฑล ประกอบด้วย 1) อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ 2) สังฆมณฑลจันทบุรี 3) อัครสังฆมณฑลท่าแร่หนองแสง 4) สังฆมณฑลเชียงใหม่ 5) สังฆมณฑลอุบลราชธานี 6) สังฆมณฑลอุดรธานี 7) สังฆมณฑลนครสวรรค์ 8) สังฆมณฑล สุราษฎร์ธานี 9) สังฆมณฑลราชบุรี และ 10) สังฆมณฑลนครราชสีมา การเลือกกลุม่ ตัวอย่าง กำหนดตัวอย่าง ในการศึกษา คือจำนวน 1 สังฆมณฑล ทำการ เลือกโดยใช้วิธีการสุ่มอย่างง่าย (Simple Random Sampling) โดยการจับฉลาก จาก 10 สังฆมณฑล ได้กลุ่มตัวอย่างซึ่งเป็นบาทหลวง คาทอลิกจากสังฆมณฑลราชบุรี จำนวน 40 คน ดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้ แบบสอบถาม ซึ่งประกอบด้วยข้อคำถาม 5 ตอน คือ 1) ข้อมูลส่วนบุคคล จำนวน 3 ข้อ
2) สุขภาวะทางกาย จำนวน 28 ข้อ 3) สุขภาวะทางจิต จำนวน 15 ข้อ 4) สุขภาวะ ทางสังคม จำนวน 14 ข้อ 5) สุขภาวะทาง จิตวิญญาณ จำนวน 55 ข้อ รวมทั้งหมด มีข้อคำถามจำนวน 115 ข้อ เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการแจกแบบ สอบถามให้ กั บ กลุ่ ม ผู้ ใ ห้ ข้ อ มู ล ด้ ว ยตนเอง จำนวน 40 ฉบับ ได้รับกลับคืน 36 ฉบับ คิด เป็นร้อยละ 90.00 ซึ่งได้มีการตรวจสอบความ ครบถ้วนและความสมบูรณ์ของข้อมูล การวิ เ คราะห์ ข้ อ มู ล ทำการบั น ทึ ก และวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยง เบนมาตรฐาน สรุปผลการวิจัย กลุ่มผู้ให้ข้อมูลส่วนใหญ่มีอายุอยู่ใน ช่วง 30-40 ปีมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 38.88 รองลงมาอายุ 41-50 ปี คิดเป็นร้อยละ 27.78 ส่วนใหญ่บวชมาแล้ว 1-10 ปี คิดเป็นร้อยละ 38.88 รองลงมาบวชมาแล้ว 11-20 ปี คิด เป็นร้อยละ 27.78 จบการศึกษาระดับปริญญาโทมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 47.2 รองลงมา จบการศึกษาระดับปริญญาตรี คิดเป็นร้อยละ 44.4
ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2010/2553 63
สุขภาวะของบาทหลวงคาทอลิกในประเทศไทย
สุขภาวะของบาทหลวงคาทอลิกใน ประเทศไทยโดยรวมอยู่ในระดับดีมาก 1. สุขภาวะทางกายโดยรวมอยู่ใน ระดับดีมาก (X=3.36) เมื่อพิจารณาเป็นราย ข้อพบว่า สิ่งที่บาทหลวงปฏิบัติมากที่สุดคือ ข้อ 1 การบอกถึงรสชาติของอาหารได้ เช่น รส เปรี้ยวหรือรสหวานได้เช่นเดียวกับคนอื่น และ ข้อ 4 การอาบน้ำฟอกสบู่อย่างน้อยวันละครั้ง ด้วยตนเอง (X=3.60) อยู่ในระดับดีมาก รอง ลงมาคือข้อ 2 ความสามารถรับรู้รสชาติของ อาหาร ข้อ 3 การได้ยินเสียงของคนที่คุยกับ ท่านได้ชัดเจน และข้อ 5 การรับประทาน อาหารวันละ 2-3 มื้อ (X=3.55) อยู่ในระดับดี มาก และสิ่งที่บาทหลวงปฏิบัติน้อยที่สุดคือ ข้อ 25 การหมั่นสังเกตอาการผิดปกติที่เกิดจาก การรับประทานยา (X=3.11) ซึ่งอยู่ในระดับดี 2. สุขภาวะทางจิตโดยรวมของบาทหลวงคาทอลิกในประเทศไทยอยู่ในระดับดี (X=3.24) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า สิ่ง ที่บาทหลวงปฏิบัติมากที่สุดคือข้อ 30 ท่านรู้ สึกภูมิใจที่ได้ช่วยเหลือผู้อื่นหรือทำประโยชน์ ให้กับส่วนรวม (X=3.41) อยู่ในระดับดีมาก รองลงมาคือข้อ 35 ท่านรู้สึกภูมิใจในตนเอง (X=3.40) อยู่ในระดับดีมาก และสิ่งที่บาทหลวงปฏิบัติน้อยที่สุดคือข้อ 32 ท่านสบายใจ ขึน้ เมือ่ ได้อา่ นคำสอนทางศาสนา หรือพักผ่อน
64 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
หย่อนใจโดยการดูหนัง ฟังเพลง หรือสวด ภาวนา (X=3.15) ซึ่งอยู่ในระดับดี 3. สุขภาวะทางสังคมโดยรวมของ บาทหลวงคาทอลิกในประเทศไทยอยู่ในระดับ ดีมาก (X=3.31) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า สิ่งที่บาทหลวงปฏิบัติมากที่สุดคือข้อ 48 การได้รับสิทธิต่างๆ ที่ควรได้รับจากหมู่ คณะหรือชุมชนโดยเท่าเทียมกับคนอื่นๆ (X= 3.78) อยู่ในระดับดีมาก รองลงมาคือข้อ 56 การมีโอกาสได้ร่วมกิจกรรมกับคนอื่นๆ ในหมู่ คณะ (X=3.43) อยู่ในระดับดีมาก และสิ่งที่ บาทหลวงปฏิบัติน้อยที่สุดคือข้อ 44 ท่านและ คนในหมู่คณะของท่านมีการช่วยเหลือซึ่งกัน และกัน และข้อ 45 สมาชิกในหมู่คณะของ ท่านมีการให้โอกาสและให้อภัยซึ่งกันและกัน (X=3.15) ซึ่งอยู่ในระดับดี 4. สุขภาวะทางจิตวิญญาณ มีด้วย กัน 7 ด้าน พบดังนี้ ด้านที่ 1 มิติของการกลับใจ ด้าน สติปัญญา (Intellectual Coversion) โดย รวมของบาทหลวงคาทอลิกในประเทศไทยอยู่ ในระดับดี (X=2.98) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า สิ่งที่บาทหลวงปฏิบัติมากที่สุดคือข้อ 62 ท่านพยายามคืนดีต่อพระเจ้า (X=3.45) อยู่ในระดับดีมาก รองลงมาคือข้อ 66 ท่าน พยายามลดอคติ โดยเฉพาะอคติต่อพระเจ้า
เจริญ ว่องประชานุกูล และวุฒิชัย อ่องนาวา
และข้อ 67 ท่านพยายามลดอคติ โดยเฉพาะ อคติต่อตนเอง (X=3.36) อยู่ในระดับดีมาก และสิ่งที่บาทหลวงปฏิบัติน้อยที่สุดคือข้อ 58 ท่านสำนึกว่าตนเคยหลงผิดในการเข้าใจพระเจ้า (X=2.09) ซึ่งอยู่ในระดับพอใช้ ด้านที่ 2 มิติของการกลับใจ ด้าน อารมณ์ (Affective Conversion) โดยรวม ของบาทหลวงคาทอลิกในประเทศไทยอยู่ใน ระดับดีมาก (X=3.35) เมื่อพิจารณาเป็นราย ข้อพบว่า สิ่งที่บาทหลวงปฏิบัติมากที่สุดคือ ข้อ 73 ท่านประพฤติตนอยู่ในกฎระเบียบของ บ้านเมือง (X=3.64) อยู่ในระดับดีมาก รองลง มาคือข้อ 74 ท่านประพฤติตนอยูใ่ นกฎระเบียบ ของศาสนา (X=3.45) อยู่ในระดับดีมาก และ สิ่งที่บาทหลวงปฏิบัติน้อยที่สุดคือข้อ 72 ท่าน ไม่ปล่อยตัวทำตามอารมณ์ที่ไม่ดี และไม่สมดุล (X=3.00) ซึ่งอยู่ในระดับดี ด้านที่ 3 มิติของการกลับใจ ด้าน ศีลธรรม (Moral Conversion) โดยรวมของ บาทหลวงคาทอลิกในประเทศไทยอยู่ในระดับ ดีมาก (X=3.40) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า สิ่งที่บาทหลวงปฏิบัติมากที่สุดคือข้อ 80 ท่าน ชอบความคุ้มค่า มากกว่า คุ้มทุน (X=3.55) อยู่ในระดับดีมาก รองลงมาคือข้อ 78 ท่านมุ่ง แบ่งปัน มากกว่า การแข่งขันเอาเปรียบ ข้อ 83 ท่านใช้ชีวิตเรียบง่าย และประสานกลม
กลืนกับธรรมชาติ และข้อ 84 ท่านเน้นความ รักแท้กับพระเจ้า และเพื่อนพี่น้อง (X=3.45) อยู่ในระดับดีมาก และสิ่งที่บาทหลวงปฏิบัติ น้อยที่สุดคือข้อ 81 ท่านเลือกสิ่งที่ถูกต้อง มาก กว่าถูกใจ (X=3.18) ซึ่งอยู่ในระดับดี ด้านที่ 4 มิติของการกลับใจ ด้าน ศาสนา (Religious Conversion) โดยรวม ของบาทหลวงคาทอลิกในประเทศไทยอยู่ใน ระดับดี (X=3.25) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า สิ่งที่บาทหลวงปฏิบัติมากที่สุดคือข้อ 86 ท่านเลือกพระเจ้าเป็นการตัดสินใจเลือก ขั้นพื้นฐาน (Fundamental Option) ซึ่งจะ ส่งผลไปสู่การตัดสินใจเลือกอื่นๆ ทุกอย่างใน ชีวิต (X=3.45) อยู่ในระดับดีมาก รองลงมาคือ ข้อ 85 ท่านเปลี่ยนแปลงชีวิตที่ไร้เป้าหมาย หรือมีเป้าหมายทีเ่ ห็นแก่ตวั ไปสูช่ วี ติ ทีม่ พี ระเจ้า องค์ความรัก เป็นหลักยึดเหนี่ยวในชีวิต (X= 3.27) อยู่ในระดับดีมาก และสิ่งที่บาทหลวง ปฏิบตั นิ อ้ ยทีส่ ดุ คือข้อ 87 ท่านใช้โทษบาปและ การฟื้นฟูชีวิตอยู่เสมอ โดยผ่านทางศีลอภัย บาป (X=3.09) ซึ่งอยู่ในระดับดี ด้านที่ 5 การดำเนินชีวิตด้วยความ ยากจน ตามคำแนะนำของพระวรสารโดย รวมของสุขภาวะทางจิตวิญญาณอยู่ในระดับ ดีมาก (X=3.44) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบ ว่า สิ่งที่บาทหลวงปฏิบัติมากที่สุดคือข้อ 98
ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2010/2553 65
สุขภาวะของบาทหลวงคาทอลิกในประเทศไทย
ท่านสำนึกว่าการทำงานเป็นองค์ประกอบพื้น ฐานในการดำรงชีวิตของมนุษย์ (X=3.73) อยู่ ในระดับดีมาก รองลงมาคือข้อ 90 ท่านเปิด ใจแสวงหาพระเจ้าในเหตุการณ์ที่อยู่เหนือการ ควบคุม (X=3.64) อยู่ในระดับดีมาก และสิ่ง ที่บาทหลวงปฏิบัติน้อยที่สุดคือข้อ 92 ท่านละ ทิ้งความเห็นแก่ตัว (X=3.00) ซึ่งอยู่ในระดับดี ด้านที่ 6 การดำเนินชีวิตด้วยความ บริสุทธิ์ ตามคำแนะนำของพระวรสาร โดย รวมของสุขภาวะทางจิตวิญญาณ อยู่ในระดับ ดีมาก (X=3.43) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบ ว่า สิ่งที่บาทหลวงปฏิบัติมากที่สุดคือข้อ 107 ท่านสมัครใจไม่แต่งงาน เพือ่ อาณาจักรพระเจ้า และอุ ทิ ศ ชี วิ ต ทั้ ง ครบเพื่ อ รั บ ใช้ พ ระเจ้ า และ เพื่อนมนุษย์โดยยินดีครองตนในความบริสุทธิ์ อย่างแท้จริง (X=3.91) อยู่ในระดับดีมาก รอง ลงมาคือข้อ 99 ท่านสร้างความสัมพันธ์กับ พระเจ้าอย่างต่อเนื่อง โดยผ่านทางศีลมหาสนิท (X=3.73) อยู่ในระดับดีมาก และสิ่งที่ บาทหลวงปฏิบัติน้อยที่สุดคือข้อ 104 ท่าน สามารถควบคุมการใช้พลังทางเพศให้อยู่ใน ขอบเขตหรือความพอดี ตามจุดประสงค์ของ เพศทีพ่ ระเจ้าทรงกำหนด และตามสถานะของ บุคคล (บาทหลวง นักบวช ฆราวาส เด็กและ เยาวชน ฯลฯ) (X=3.09) ซึ่งอยู่ในระดับดี
66 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
ด้านที่ 7 การดำเนินชีวิตด้วยความ นบนอบ ตามคำแนะนำของพระวรสารโดย รวมของสุขภาวะทางจิตวิญญาณ อยู่ในระดับ ดีมาก (X=3.32) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบ ว่า สิ่งที่บาทหลวงปฏิบัติมากที่สุดคือข้อ 111 ท่านถือความนบนอบเชื่อฟังผู้มีอำนาจชอบ ธรรม ตามสถานะของท่าน เช่น สามีภรรยา ควรมีความรักและยอมรับกันและกัน (อฟ 5: 22-29) บุตรต้องเคารพให้เกียรติบิดามารดา (อฟ 6: 1-3) ลูกจ้างต้องเชื่อฟังนายจ้าง (1ปต 2:18) ผู้น้อยเชื่อฟังผู้ใหญ่ (1ปต 5:5) ประชาชนเชื่อฟังผู้มีอำนาจชอบธรรม (1ปต 2:13) คริ ส ตชนเชื่ อ ฟั ง เป็ น หนึ่ ง เดี ย วกั บ ผู้ น ำของ คริสต์ศาสนจักร (1คร 16:16) (X=3.55) อยู่ ในระดับดีมาก รองลงมาคือข้อ 109 ท่าน พยายามฝึ ก กระบวนการมองดู แ ละวิ นิ จ ฉั ย ด้วยการเรียนรู้ ฝึกฝน การรู้จักฟัง (X=3.43) อยู่ในระดับดีมาก และสิ่งที่บาทหลวงปฏิบัติ น้อยที่สุดคือข้อ 110 ท่านมีความสามารถใน การแยกแยะคุณค่าพระวรสาร กับค่านิยม ของโลกที่เกิดขึ้นในชีวิตประจำวันได้เป็นอย่าง ดี (X=3.18) ซึ่งอยู่ในระดับดี อภิปรายผลการวิจัย ผลการวิ จั ย สุ ข ภาวะของบาทหลวง คาทอลิกในประเทศไทยทั้งสี่ด้าน ได้แก่ สุข-
เจริญ ว่องประชานุกูล และวุฒิชัย อ่องนาวา
ภาวะทางกาย จิตใจ สังคมและจิตวิญญาณ อยู่ในระดับที่ดีและดีมาก ส่วนหนึ่งเป็นผลมา จากการที่ บ าทหลวงผู้ให้ข้อมูลทั้งหมดที่ถูก เลือกอยู่ในสภาวะที่มีสุขภาพกายที่สามารถ ดำเนินชีวิตด้วยการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันได้ ปกติ จึงกล่าวได้ว่าบุคคลที่มีสุขภาวะทางกาย ระดับปกติ ซึ่งอาจเชื่อมโยงกับการจัดสรรชีวิต ให้สมดุล ทั้งระดับจิตใจ สังคม และจิตวิญญาณ ได้ในระดับหนึ่ง อย่างไรก็ตาม ผลการวิจัยที่พบว่าสุขภาวะทางจิตของบาทหลวงมีค่าในระดับ “ดี” ในขณะที่สุขภาวะด้านอื่นๆ อยู่ในระดับ “ดี มาก” ซึ่งประเด็นสำคัญที่พบเป็นปัญหา คือ ภารกิจที่หนักกับการจัดสรรเวลาเพื่อพักผ่อน มีน้อย ซึ่งมีผลต่อสุขภาวะทางจิตของบาทหลวง ในการบริหารจัดการชีวิตให้เกิดความ สมดุลในมิติต่างๆ โดยเฉพาะเมื่อเผชิญหน้า กับสถานการณ์หรือกระแสสังคมปัจจุบันที่ก่อ ให้เกิดความสับสนในการดำเนินชีวิตประจำ วัน โดยเฉพาะค่านิยมบริโภคนิยม วัตถุนิยม หรือสถานการณ์ทางการเมือง ความรุนแรง ของสังคมในรูปแบบต่างๆ ที่บาทหลวงนอก จากจะต้องมีภูมิคุ้มกัน และความเข้มแข็งฝ่าย จิตในตนเองแล้ว ยังต้องดูแลอภิบาลคริสตชน/ บุคลากรในความดูแล รวมถึงภารกิจต่างๆ ที่ ได้รับมอบหมาย ส่งผลต่อการบริหารจัดการ
ความเครียดในตนเองเมื่อเผชิญหน้ากับสถานการณ์ที่ยากต่อการให้คำแนะนำและการตัด สินใจ ข้อเสนอแนะ ข้อเสนอแนะในการนำผลการวิจัยไปใช้ 1. ในด้านสุขภาวะทางกายสิ่งที่บาทหลวงคาทอลิกปฏิบัติน้อยที่สุด คือ การหมั่น สังเกตอาการผิดปกติทเ่ี กิดจากการรับประทาน ยา ดังนั้น ควรจัดให้มีการส่งเสริม ให้ความรู้ จัดอบรมด้านสุขภาวะให้กับบาทหลวง หรือ จัดทำคู่มือให้ความรู้ด้านนี้โดยเฉพาะ 2. ในด้านสุขภาวะทางจิตสิ่งที่บาทหลวงคาทอลิกปฏิบัติน้อยที่สุดคือการได้อ่าน คำสอนทางศาสนาหรือพักผ่อนหย่อนใจโดย การดู ห นั ง ฟั ง เพลงหรื อ สวดภาวนาเมื่ อ รู้ สึ ก ไม่สบายใจ แสดงให้เห็นว่าเมื่อบาทหลวงคาทอลิกรู้สึกไม่สบายใจจะไม่มีโอกาสได้รับการ ผ่อนคลายความตึงเครียดที่เกิดขึ้น ดังนั้น ผู้ เกี่ยวข้องควรจัดกิจกรรมหรือหาเวลาให้บาทหลวงคาทอลิกได้พักผ่อนหย่อนใจ ข้อเสนอแนะในการวิจัยครั้งต่อไป 1. ควรมีการศึกษาสุขภาวะทัง้ 4 ด้าน ของบาทหลวงคาทอลิกในประเทศไทยทั้ง 10 สังฆมณฑล เนื่องจากการวิจัยนี้ศึกษา “บาท-
ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2010/2553 67
สุขภาวะของบาทหลวงคาทอลิกในประเทศไทย
หลวงคาทอลิกในสังฆมณฑลราชบุรี” เท่านั้น การศึ ก ษาต่ อ ไปจะได้ ข้ อ มู ล การศึ ก ษาและ ประเด็นการตอบที่ชัดเจนมากขึ้น 2. ควรมี ก ารวิ จั ย ติ ด ตามผลการ พัฒนาสุขภาวะทั้ง 4 ด้านของบาทหลวง คาทอลิก ในลักษณะที่เป็นผลสืบเนื่องจากงาน วิจัยชิ้นนี้ โดยศึกษาในประเด็นที่ว่า เมื่อทราบ ประเด็นความต้องการพัฒนาสุขภาวะแล้วมี การพัฒนาเปลี่ยนแปลงอย่างไร 3. ควรศึกษาสุขภาวะทั้ง 4 ด้านของ บาทหลวงคาทอลิกที่ทำงานในรูปแบบต่างๆ กัน แล้วนำข้อมูลที่ได้มาเปรียบเทียบความ แตกต่าง บรรณานุกรม เกรียงศักดิ์ โกวิทวาณิช ประชาชาติ ปรีชาวุฒิ สมกิจ นันทวิสุทธิ์ และบรรจง สันติสุขนิรันดร์. 2550. บาทหลวง : ศาสนบริกรของพระเจ้า. นครปฐม: วิทยาลัยแสงธรรม. เกรียงศักดิ์ โกวิชวาณิช, มุขนายก. 2535. สมณสาสน์ของสมเด็จพระสันตะ ปาปายอห์น ปอลที่ 2 เรื่องการอบรม พระสงฆ์ในสภาพการณ์ปัจจุบัน. แสงธรรมปริทัศน์ ปีที่ 16 (3) กันยายน – ธันวาคม 1992/2535. นครปฐม: วิทยาลัยแสงธรรม.
68 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
กีรติ บุญเจือ. 2522. สารานุกรมปรัชญา. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช. บรรณาธิการ, กอง 2009. จดหมายข่าว “เพื่อนสงฆ์” ปีที่ 7 ฉบับที่ 26 เดือนกรกฎาคม-กันยายน 2009. เอกสารถ่ายสำเนา. พระคัมภีร์คาทอลิกแห่งประเทศไทย, คณะกรรมการ. 1994. พระคัมภีร์ ภาษาไทยฉบับใหม่. กรุงเทพฯ: อำนวยรัตน์การพิมพ์. แปลจาก The New Jerusalem Bible. 1985. London: Cambridge University. ดังโตแนล ยัง มารี, บาทหลวง. 2533. ความสำคัญของบุคคลในปรัชญา ตะวันตกปัจจุบัน. แสงธรรมปริทัศน์ ปีที่ 14 (3). นครปฐม: วิทยาลัยแสงธรรม. . 2536. ความหมายของร่างกายใน ชีวิตมนุษย์. 2536. แสงธรรมปริทัศน์ ปีที่ 17 (3). นครปฐม: วิทยาลัยแสงธรรม. . 2536. ปรัชญาช่วยมองคุณค่าของ ชีวิต. แสงธรรมปริทัศน์ ปีที่ 17 (2). นครปฐม: วิทยาลัยแสงธรรม.
เจริญ ว่องประชานุกูล และวุฒิชัย อ่องนาวา
ประเวศ วะสี. 2551. จิตวิวัฒน์. (Online). Available: http://jitwiwat. blogspot.com. สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ. 2550. สุขภาพทางปัญญาของ สังคมไทย ความฝันทีย่ งั ไม่เป็นจริง. (Online). Available: www. nationalhealth.or.th. . 2550. พระราชบัญญัติสุขภาพ แห่งชาติ พ.ศ. 2550. (Online). Available: http://www. nationalhealth.or.th/mis3_1. html. 2550. เสรี พงศ์พิศ. 2008. สุขภาวะ ความสมดุล ที่สร้างได้. (Online). Available: http://www.phongphit.com/ index.php?option=com_ content&task=view&id=407& Itemid=52. วุฒิชัย อ่องนาวา, บาทหลวง. 2549. ศาสนาคริสต์. เอกสารประกอบ การสอน. นครปฐม: วิทยาลัย แสงธรรม. . 2552. การศึกษาอบรมของผู้เตรียม ตัวเป็นบาทหลวงของคริสต์ศาสนจักร คาทอลิกในประเทศไทย.
วารสารแสงธรรมปริทัศน์ ปีที่ 33 (3) กันยายน – ธันวาคม 2009/2553. นครปฐม: วิทยาลัยแสงธรรม. วุฒิชัย อ่องนาวา, บาทหลวง และ คณะ. 2553. การศึกษาเครื่องมือประเมิน และตัวชีว้ ดั ทีเ่ กีย่ วข้องกับการพัฒนา ด้านจิตวิญญาณ ตามหลักธรรม คำสอนของคริสต์ศาสนา. นครปฐม: วิทยาลัยแสงธรรม. รอฮานิ เจะอาแซ, วันดี สุทธรังสี, กิตติกร นิลมานัต, รัศมี สังข์ทอง. 2553. การทบทวนความรู้เรื่องเครื่องมือ ประเมินภาวะจิตวิญญาณ. (Online). Available: http://sph.thaissf.org/?module= media&pg=detail&id=102. Apostolic Constitution Fidei Depositum. 1993. Catechism of the Catholic Church. London: Geoffrey Chapman. Apostolic Constitution Sacrae Disciplinae Leges. 1983. Code of Canon Law. Washington, D.C.: Braun-Brumfield, Inc. Bouyer, Louis. 1995. A History of Christian Spirituality Vol.1. London: Burns & Oates.
ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2010/2553 69
สุขภาวะของบาทหลวงคาทอลิกในประเทศไทย
Flannery Austin, O.P. (Ed.). 1965. The Documents of Vatican 2, Gaudium et Spes: Pastoral Consitution on the Church in the Modern World. Grand Rapids, Mich: Eerdmans. Flannery Austin, O.P. (Ed.). 1992. Vatican Council 2. The Conciliar and Post Conciliar Documents. Indiana: The Liturgical.
70 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
John Paul II, Pope. 1992. Pastores Dabo Vobis. Washington: United States Catholic Conference. Molaney, Francis J., S.D.B. 1980. “A Life of Promise” Poverty, Chastity, Obedience. London: Darton Longman and Todd. Vernon, Mark. 2008. What is wellbeing? (Online). Available: http://podularity.com/2008/ 10/03/19-what-is-wellbeing.
บทบาทของผูป้ กครองต่อการอบรม
ผูเ้ ตรียมตัวเป็นบาทหลวงคาทอลิกใน สามเณราลัยเล็กของคริสต์ศาสนจักรคาทอลิก ในประเทศไทย : กรณีศกึ ษาสังฆมณฑลจันทบุรี สังฆมณฑลเชียงใหม่ และอัครสังฆมณฑลท่าแร่-หนองแสง
Parent’s Roles or Catholic Priestly Formation
for Minor Seminary of Church in Thailand : A Case Study of Chantaburi Diocese, Chiangmai Diocese and Thare-Nongseng Archdiocese บาทหลวงวุฒิชัย อ่องนาวา
Rev.Wuttichai Ongnawa
พีรพัฒน์ ถวิลรัตน์
Peerapat Thawinrat
ทิพอนงค์ รัชนีลัดดาจิต
Thip-anong Ratchaneelatdachit
* บาทหลวงในคริสต์ศาสนจักรโรมันคาทอลิก สังฆมณฑลราชบุรี
* รองผู้อำนวยการศูนย์ส่งเสริมและ พัฒนางานวิชาการ * ผู้ช่วยผู้อำนวยการและนักวิจัยประจำ ศูนย์วิจัยค้นคว้าศาสนาและวัฒนธรรม วิทยาลัยแสงธรรม
* Reverend in Roman Catholic Church, Ratchaburi Diocese. * E-mail : Franciswut@gmail.com * Deputy Director for Academic Promotion and Development Center. * Assistant Director and Researcher at Religious and Cultural Research Centre, Saengtham College. * E-mail : mariarose_th@hotmail.com
บทบาทของผู้ปกครองต่อการอบรมผู้เตรียมตัวเป็นบาทหลวงคาทอลิกในสามเณราลัยเล็กของคริสต์ศาสนจักรคาทอลิกในประเทศไทย : กรณีศึกษาสังฆมณฑลจันทบุรี สังฆมณฑลเชียงใหม่ และอัครสังฆมณฑลท่าแร่-หนองแสง
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาบทบาทของผู้ปกครอง ต่อการอบรมผู้เตรียมตัวเป็นบาทหลวงของคริสต์ศาสนจักรคาทอลิก ในประเทศไทย กลุ่มผู้ให้ข้อมูลในการวิจัยครั้งนี้เป็นผู้ปกครองของผู้ เตรียมตัวเป็นบาทหลวงในสามเณราลัยเล็ก สังฆมณฑลจันทบุรี เชียงใหม่ และอัครสังฆมณฑลท่าแร่-หนองแสง ที่อยู่ในสามเณราลัยประจำ ปีการศึกษา 2552 จำนวน 100 คน เก็บรวบรวมข้อมูลใช้แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลใช้ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า บทบาททัว่ ไปของผูป้ กครองทีป่ ฏิบตั มิ ากทีส่ ดุ ได้แก่ การสังเกต และควบคุมพฤติกรรมให้ดำเนินไปอย่างถูกต้องตามครรลองคลองธรรม รองลงมาคือเรื่องการให้ความรักความอบอุ่น และส่งเสริมให้ใช้ เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ส่วนบทบาทที่ผู้ปกครองไม่ได้ปฏิบัติ ได้แก่ การดูแลยามเจ็บไข้ได้ป่วย รองลงมาคือเรื่องการดูแลหาอาหาร เครื่อง นุ่งห่ม บทบาทด้านศาสนา / ระเบียบบ้านอบรมที่ปฏิบัติมากที่สุด ได้แก่ การส่งเสริมให้เข้าร่วมพิธีกรรมของศาสนาและคอยตักเตือนเมื่อ ออกนอกลู่นอกทาง ส่วนบทบาทที่ผู้ปกครองไม่ได้ปฏิบัติ ได้แก่ การ ปลูกฝังให้เลื่อมใสในศาสนาประจำชาติ บทบาทด้านการศึกษาที่ปฏิบัติมากที่สุด ได้แก่ ส่งให้ได้เล่า เรียนศึกษาตามการศึกษาภาคบังคับ รองลงมาคือส่งเสริมให้ใช้ความรู้ ที่เรียนมาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน ส่วนบทบาทที่ผู้ปกครองไม่ได้ ปฏิบัติ ได้แก่ สนับสนุนให้ศึกษาในวิชาชีพที่ชอบเพื่อเป็นพื้นฐานในการ ประกอบอาชีพในอนาคต
72 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
วุฒิชัย อ่องนาวา พีรพัฒน์ ถวิลรัตน์ ทิพอนงค์ รัชนีลัดดาจิต
บทบาทด้านสังคมที่ปฏิบัติมากที่สุด ได้แก่ สอนให้มีมารยาทในสังคม รองลงมาคือให้สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้เป็นที่ยอมรับของสังคม ส่วน บทบาทที่ผู้ปกครองไม่ได้ปฏิบัติ ได้แก่ อบรมสั่งสอนเพื่อปรับตัวให้เข้า กับสภาพสังคมและสิ่งแวดล้อมได้ บทบาทด้านการกล่อมเกลาจิตใจ (อารมณ์) ที่ปฏิบัติมากที่สุด ได้แก่ สร้างความภูมิใจกับสถานภาพของตนเองกับครอบครัวและการ ให้กำลังใจเพื่อให้สามารถต่อสู้และมีกำลังใจในการดำรงชีวิตในสังคม ได้ ส่วนบทบาทที่ผู้ปกครองไม่ได้ปฏิบัติ ได้แก่ มีสัมพันธภาพที่ดีต่อกัน เพื่อให้เกิดความสัมพันธ์ที่เหนียวแน่นและปลูกฝังให้สามารถควบคุม ตนเองได้ คำสำคัญ : Abstract
1) บทบาทผู้ปกครอง 2) การอบรม 3) บาทหลวง 4) สามเณราลัยเล็ก 5) คริสต์ศาสนจักรคาทอลิกในประเทศไทย
This research objective was to study the parent’s roles on priestly formation of Catholic Church in Thailand. The informants were 100 parents of seminarians in school year of 2009 for minor seminaries of Chantaburi Diocese, Chiangmai Diocese and Thare-Nongseng Archdiocese. The information collection tool was the questionnaire. The statistics for information analysis were the percentage, mean and standard deviation.
ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2010/2553 73
บทบาทของผู้ปกครองต่อการอบรมผู้เตรียมตัวเป็นบาทหลวงคาทอลิกในสามเณราลัยเล็กของคริสต์ศาสนจักรคาทอลิกในประเทศไทย : กรณีศึกษาสังฆมณฑลจันทบุรี สังฆมณฑลเชียงใหม่ และอัครสังฆมณฑลท่าแร่-หนองแสง
The research results were found that Most of general roles practiced are the noticing and controlling the behaviors along path of justice, giving the love and warmth and promoting to spend useful time respectively. The roles neglected are the medical care, nutrition and clothing. Most of religious/discipline roles practiced are the promoting to intent religious rites and admonishing against immoral behaviors respectively. The role neglected is the fostering of adherence in the national religion. Most of educational roles practiced are the supporting to achieve the compulsory education and promoting the knowledge application for daily life respectively. The role neglected is promoting the preferred education for profession in the future. Most of social roles practiced are the instructing about the etiquettes, living and being acknowledged in society respectively. The role neglected is the training for reformation into society and surrounding. Most of spiritual training (emotion) roles practiced are the building the pride on self and family status, encouraging to fight and alive in society respectively. The roles are neglected the making the tight relationship and fostering the self-control ability. Keywords : 1) Parent‘s Roles 2) Formation 3) Priest 4) Minor Seminary 5) Catholic Church in Thailand
74 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
วุฒิชัย อ่องนาวา พีรพัฒน์ ถวิลรัตน์ ทิพอนงค์ รัชนีลัดดาจิต
ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา ครอบครัวเป็นหน่วยสังคมที่เล็กที่สุด แต่สำคัญที่สุด เนื่องจากครอบครัวมีบทบาท ในการเลี้ ย งดู อ บรมสั่ ง สอนและถ่ า ยทอด คุณค่า วัฒนธรรมให้แก่สมาชิกในครอบครัว ถ้าเด็กได้รบั การเลีย้ งดูอย่างเพียงพอ เหมาะสม ตามวัย ผู้เลี้ยงดูให้ความรัก ความอบอุ่น ความเข้ า ใจ ความปลอดภั ย และเสริ ม สร้ า ง สุขนิสัย เด็กก็จะเจริญเติบโตตามวัย มีสุขภาพ แข็งแรงสมบูรณ์ มีความมั่นใจ อารมณ์ดี แทบ จะกล่าวได้ว่าผู้ใหญ่ในปัจจุบันเป็นเช่นไรล้วน เป็นผลจากการเลี้ยงดูอบรมสั่งสอนในวัยเด็ก ทัง้ สิน้ ครอบครัวจึงเป็นเบ้าหล่อหลอมทีส่ ำคัญ ที่สุดของทุกคน การอบรมที่สืบเนื่องจากครอบครัว คือโรงเรียนหรือสถาบันการอบรมศึกษา นับได้ ว่าเป็นบ้านหลังที่สองของเด็กๆ เมื่อเด็กเติบ โตขึ้นนอกจากการอบรมเลี้ยงดูจากครอบครัว จำเป็นต้องได้รับการอบรมศึกษาที่เหมาะสม กับสถานภาพและวิถีการดำเนินชีวิตในสังคม ศาสนา ในฐานะเป็นสถาบันสำคัญ อย่างหนึ่งของสังคม ย่อมมีระบบการศึกษา อบรม เพื่อเตรียมบุคลากรให้มีความพร้อมต่ อการปฏิบัติหน้าที่เผยแผ่หลักธรรมคำสอนใน ศาสนา จึงต้องมีระบบการศึกษาอบรม ภาย ใต้ ป ระสบการณ์ ข องแต่ ล ะศาสนาที่ เ หมื อ น และต่างกันไป
คริ ส ต์ ศ าสนจั ก รคาทอลิ ก ให้ ค วาม สำคัญต่อการศึกษาอบรมเพื่อเตรียมบุคลากร สู่การเป็นศาสนบริกรอย่างต่อเนื่อง มีการจัด ระบบและสถาบันการศึกษาอบรมสู่การเป็น ศาสนบริกรอย่างจริงจัง มีทั้งแนวทางที่เป็น สากล ภายใต้หน่วยงานที่รับผิดชอบ และแนว ทางการประยุกต์ให้เข้ากับชุมชนท้องถิ่น โดย เฉพาะการศึกษาอบรมผู้เตรียมตัวเป็นบาทหลวง ซึ่งถือเป็นศาสนบริกรสำคัญในคริสต์ ศาสนจักรคาทอลิก ในภารกิจการปกครอง ดู แ ลชุ ม ชน การประกอบพิ ธี ก รรมและการ ประกาศเผยแผ่คำสอน (ไชโย กิจสกุล, 2549: 12-13 อ้างในวุฒิชัย อ่องนาวา, 2552) การศึ ก ษาอบรมผู้ เ ตรี ย มเป็ น บาทหลวงของคริสต์ศาสนจักรคาทอลิก มีการจัด สถานทีเ่ ฉพาะทีเ่ รียกว่า “สามเณราลัย” (Seminary) สถานที่เนือ้ หาวิธกี ารและผูใ้ ห้การอบรม ต้องมีประสิทธิภาพและสอดคล้องกับสถาน การณ์แห่งยุคสมัย (เกรียงศักดิ์ โกวิทวานิช อ้างถึงใน เชาวฤทธิ์ สาสาย, 2550: 3) การ อบรมผู้ เ ตรี ย มเป็ น บาทหลวงคาทอลิ ก ใน ประเทศไทยมีสามระดับ ได้แก่ สามเณราลัย เล็ก สามเณราลัยกลาง และสามเณราลัยใหญ่ สามเณราลัยเล็ก หมายถึง การศึกษาอบรม ตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จนถึงชั้นมัธยม ศึกษาปีที่ 6 รวมทั้งการอบรมพิเศษ 1 – 2 ปี
ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2010/2553 75
บทบาทของผู้ปกครองต่อการอบรมผู้เตรียมตัวเป็นบาทหลวงคาทอลิกในสามเณราลัยเล็กของคริสต์ศาสนจักรคาทอลิกในประเทศไทย : กรณีศึกษาสังฆมณฑลจันทบุรี สังฆมณฑลเชียงใหม่ และอัครสังฆมณฑลท่าแร่-หนองแสง
ก่อนเข้าสามเณราลัยกลาง โดยมีจุดประสงค์ เพื่ อ รั บ การฝึ ก อบรมบ่ ม นิ สั ย ให้ เ ป็ น ผู้ ที่ มี ศรัทธาในพระเจ้าตามวุฒิภาวะของเขา พร้อม ทั้งคุณธรรมต่างๆ อบรมให้เขามีระเบียบวินัย มีจิตใจเอื้ออาทร เป็นผู้ที่สามารถดำเนินชีวิต ร่ ว มกั บ คนอื่ น ในสั ง คมได้ อ ย่ า งมี ค วามสุ ข สามเณราลัยกลาง คือ การศึกษาอบรมที่ต่อ เนื่องจากสามเณราลัยเล็ก โดยใช้ 1 ปี เพื่อการ พัฒนาความเชื่อศรัทธา การมีประสบการณ์ ชีวิตในรูปแบบต่างๆ รวมทั้งการใช้เวลาเพื่อ ไตร่ตรองพิจารณาชีวิตตนเองว่าเหมาะสมกับ การตอบรับจากพระเจ้าสู่การเป็นบาทหลวง หรือไม่ (ไชโย กิจสกุล, 2549: 13 อ้างใน วุฒิชัย อ่องนาวา, 2552) และสามเณราลัย ใหญ่ เป็นสถาบันการศึกษาอบรมขั้นสุดท้าย ใช้เวลาอย่างน้อย 8 ปี เพื่อพัฒนาชีวิตด้าน วุฒิภาวะ ชีวิตภายใน สติปัญญาและงานอภิบาล เพื่อความพร้อมสู่การเป็นบาทหลวงต่อ ไป ดังนั้น การศึกษาอบรมสู่การเป็น บาทหลวงของคริสต์ศาสนจักรคาทอลิกไทย จึงมีลักษณะเป็นกระบวนการที่สัมพันธ์และ ต่อเนื่อง จากครอบครัวสู่สามเณราลัยระดับ ต่างๆ สอดคล้องกับสภาสังคายนาวาติกนั ครัง้ ที่ 2 ในเอกสาร Optatam totius (1965: 3) ให้แนวทางว่าต้องจัดการอบรมอย่างเหมาะสม
76 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
กั บ อายุ อุ ป นิ สั ย และขั้ น พั ฒ นาตรงกั บ หลั ก จิตวิทยาอันดีและถูกต้อง โดยมีผู้ให้การอบรม คอยแนะนำ และบิดามารดาให้ความร่วมมือ เป็นอย่างดี และอย่าละเลยให้ผู้รับการอบรม มี โ อกาสได้ ป ระสบการณ์ ใ นชี วิ ต มนุ ษ ย์ ต าม สมควร และให้เขามีความสัมพันธ์กับครอบครัวตามปกติ ดังนั้น สาระสำคัญของการ ศึกษาอบรมผู้เตรียมเป็นบาทหลวง คือ การ จั ด การศึ ก ษาอบรมเพื่ อ ให้ ผู้ รั บ การอบรมมี ความพร้อมในการเป็นศาสนบริกรของคริสต์ศาสนจักร ภายใต้การดูแล รับผิดชอบของผู้ เกี่ยวข้อง ตั้งแต่ระดับผู้นำคริสต์ศาสนจักร ผู้ ให้การอบรม ผู้รับการอบรม และบิดามารดา บุคคลในครอบครัว ซึ่งมีอิทธิพลสำคัญต่อการ ศึกษาอบรมดังกล่าว อย่างไรก็ตาม เนื่องจากการรับการ อบรมสู่ ก ารเป็ น บาทหลวงเป็ น การศึ ก ษา อบรมแบบพิเศษ จึงจำเป็นต้องมีการศึกษา และทำความเข้ า ใจบทบาทของผู้ เ กี่ ย วข้ อ ง โดยเฉพาะบทบาทของผู้ ป กครองของผู้ รั บ การอบรม โดยเฉพาะการศึกษาอบรมในระดับ สามเณราลัยเล็ก ที่ผู้ให้การอบรม ผู้รับการ อบรมและผู้ปกครองต่างมีบทบาทร่วมกันใน การศึกษาอบรมอันเป็นพื้นฐานสำคัญต่อการ ศึกษาอบรมในระดับที่สูงขึ้นต่อไป ซึ่งมีความ จำเป็นต้องมีการศึกษาและทำความเข้าใจใน ทิศทางเดียวกัน
วุฒิชัย อ่องนาวา พีรพัฒน์ ถวิลรัตน์ ทิพอนงค์ รัชนีลัดดาจิต
งานวิจยั นีต้ อ้ งการศึกษาบทบาทของผูป้ กครอง ต่ อ การอบรมผู้ เ ตรี ย มตั ว เป็ น บาทหลวงใน สามเณราลัยเล็กของคริสต์ศาสนจักรคาทอลิก ในประเทศไทย ผลจากการวิจัยนี้จะทำให้ผู้ มีส่วนเกี่ยวข้องกับการอบรมผู้เตรียมตัวเป็น บาทหลวง ได้แก่ ผู้ให้การอบรม ผู้ปกครอง และผู้เตรียมตัวเป็นบาทหลวงมีความเข้าใจ เดียวกันเกี่ยวกับบทบาทของผู้ปกครองที่มีต่อ การอบรมผู้เตรียมตัวเป็นบาทหลวง วัตถุประสงค์การวิจัย เพื่อศึกษาบทบาทของผู้ปกครองต่อ การอบรมผูเ้ ตรียมตัวเป็นบาทหลวงของคริสต์ศาสนจักรคาทอลิกในประเทศไทยจากเอกสาร ที่เกี่ยวข้อง ขอบเขตการวิจัย 1. กลุ่มผู้ให้ข้อมูล ได้แก่ ผู้ปกครอง ในสามเณราลัยเล็ก สังฆมณฑลจันทบุรี เชียง ใหม่ และอัครสังฆมณฑลท่าแร่-หนองแสง 2. เนื้อหาที่ใช้ในการวิจัย 2.1 บทบาทของผู้ปกครอง 2.2 แนวทางการอบรมเลีย้ งดูบตุ ร 2.3 คู่มือและระเบียบปฏิบัติประจำสามเณราลัยเล็ก
ประโยชน์ที่ได้รับจากการวิจัย ได้ทราบบทบาทของผู้ปกครองอันจะ นําไปสู่แนวทางในการอบรมผู้เตรียมตัวเป็น บาทหลวงของคริ ส ต์ ศ าสนจั ก รคาทอลิ ก ใน ประเทศไทย นิยามศัพท์ ผู้ปกครอง หมายถึง บิดา มารดา ของ ผูร้ บั การอบรมเป็นบาทหลวงประจำสังฆมณฑล สามเณราลัยเล็ก หมายถึง สถาบัน อบรมขั้นแรกของผู้เตรียมตัวเป็นบาทหลวง ของคริสต์ศาสนจักร สังกัดสังฆมณฑล สามเณรเล็ก หมายถึง ผู้รับการอบรม ในสามเณราลัยเล็กสำหรับการเป็นบาทหลวง ประจำสังฆมณฑล สังฆมณฑล หมายถึง เขตปกครอง ของคริสต์ศาสนจักรคาทอลิก ซึ่งมีมุขนายก เป็นประมุข และบริหารปกครองร่วมกับคณะ บาทหลวง วิธีดำเนินการวิจัย แหล่งข้อมูลที่ใช้ในการศึกษาสำหรับ ขั้นตอนนี้ คือ ผู้ปกครองของผู้เตรียมตัวเป็น บาทหลวงในสามเณราลัยเล็ก สังฆมณฑล จันทบุรี เชียงใหม่ และอัครสังฆมณฑลท่าแร่หนองแสง ที่อยู่ในสามเณราลัยประจำปีการ
ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2010/2553 77
บทบาทของผู้ปกครองต่อการอบรมผู้เตรียมตัวเป็นบาทหลวงคาทอลิกในสามเณราลัยเล็กของคริสต์ศาสนจักรคาทอลิกในประเทศไทย : กรณีศึกษาสังฆมณฑลจันทบุรี สังฆมณฑลเชียงใหม่ และอัครสังฆมณฑลท่าแร่-หนองแสง
ศึกษา 2552 กำหนดวิธีการได้มาซึ่งกลุ่มผู้ให้ ข้อมูลโดยการสุม่ อย่างง่าย (Simple Random Sampling) จำนวน 100 คน ดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้ แบบสอบถามเรื่องบทบาทของผู้ปกครองต่อ การอบรมผู้เตรียมตัวเป็นบาทหลวงคาทอลิก ในสามเณราลั ย เล็ ก ของคริ ส ต์ ศ าสนจั ก ร คาทอลิกในประเทศไทย มีสาระครอบคลุม ประเด็นต่อไปนี้ คือ 1) ข้อมูลของผู้ตอบแบบ สอบถาม 2) ข้อมูลของผู้เตรียมตัวเป็นบาทหลวง 3) ความคิดเห็นเกี่ยวกับบทบาททั่วไป ของผูป้ กครอง 4) ความคิดเห็นเกีย่ วกับบทบาท ด้านศาสนา/ระเบียบบ้านอบรม 5) ความคิด เห็นเกี่ยวกับบทบาทด้านการศึกษา 6) ความ คิดเห็นเกี่ยวกับบทบาทด้านสังคม 7) ความคิด เห็นเกี่ยวกับบทบาทด้านการกล่อมเกลาจิตใจ (อารมณ์) ซึ่งมีจำนวน 100 คน นัดเวลาใน การรับกลับคืนประมาณ 3 เดือน แจกแบบ สอบถามไป 100 ฉบับ ได้รับกลับคืน 100 ฉบับ คิดเป็นร้อยละ 100 เมื่อได้รับแบบสอบ ถามกลับคืนจึงตรวจสอบความครบถ้วนของ ข้อมูลจนครบตามจำนวนที่กำหนด การวิเคราะห์ข้อมูล นำแบบสอบถาม ทีไ่ ด้มาตรวจสอบความถูกต้องอีกครัง้ หลังจาก นั้นทำการบันทึกลงรหัสในโปรแกรมสำเร็จรูป วิ เ คราะห์ ข้ อ มู ล ทางสถิ ติ โ ดยใช้ ค่ า ความถี่
78 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ซึ่งสรุปผลการวิจัยและข้อเสนอแนะของการ วิจัย มีดังนี้ สรุปผลการวิจัย 1. ผู้ปกครองสามเณรส่วนใหญ่อยู่ใน ช่วงอายุ 41-50 ปี มีวุฒิการศึกษาต่ำกว่า ปริญญาตรี มีความเกี่ยวข้องกับสามเณรใน ฐานะเป็นบิดา สถานภาพสมรส คือ อยู่ด้วย กัน นับถือศาสนาคาทอลิก อยู่ในสังกัดสังฆมณฑลจันทบุรี 2. สามเณรส่วนใหญ่เข้าบ้านเณรตั้ง แต่ระดับ ม.1 ปัจจุบันกำลังศึกษาในระดับ ม.3 และอยู่บ้านเณรมาเป็นเวลา 3 ปี 3. บทบาททั่ ว ไปของผู้ ป กครองที่ ปฏิบัติมากที่สุด ได้แก่ การสังเกตและควบคุม พฤติกรรมให้ดำเนินไปอย่างถูกต้องตามครรลองคลองธรรม รองลงมาคือ เรือ่ งการให้ความ รักความอบอุ่น และส่งเสริมให้ใช้เวลาว่างให้ เกิดประโยชน์ ส่วนบทบาทที่ผู้ปกครองไม่ได้ ปฏิบัติ ได้แก่ การดูแลยามเจ็บไข้ได้ป่วย รอง ลงมาคือ เรื่องการดูแลหาอาหาร เครื่องนุ่งห่ม 4. บทบาทด้านศาสนา/ระเบียบบ้าน อบรมที่ปฏิบัติมากที่สุด ได้แก่ การส่งเสริม ให้ เข้ า ร่ ว มพิ ธี ก รรมของศาสนาและคอยตั ก เตือนเมื่อออกนอกลู่นอกทาง ส่วนบทบาทที่ผู้
วุฒิชัย อ่องนาวา พีรพัฒน์ ถวิลรัตน์ ทิพอนงค์ รัชนีลัดดาจิต
ปกครองไม่ได้ปฏิบัติ ได้แก่ การปลูกฝังให้ เลื่อมใสในศาสนาประจำชาติ 5. บทบาทด้ า นการศึ ก ษาที่ ป ฏิ บั ติ มากที่สุด ได้แก่ ส่งให้ได้เล่าเรียนศึกษาตาม การศึกษาภาคบังคับ รองลงมาคือส่งเสริมให้ ใช้ความรู้ที่เรียนมาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน ส่วนบทบาทที่ผู้ปกครองไม่ได้ปฏิบัติ ได้ แก่ สนั บ สนุ นให้ศึกษาในวิชาชีพที่ชอบเพื่อ เป็นพื้นฐานในการประกอบอาชีพในอนาคต 6. บทบาทด้านสังคมที่ปฏิบัติมากที่ สุด ได้แก่ สอนให้มีมารยาทในสังคม รองลง มาคือให้สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้เป็นที่ยอม รับของสังคม ส่วนบทบาทที่ผู้ปกครองไม่ได้ ปฏิบัติ ได้แก่ อบรมสั่งสอนเพื่อปรับตัวให้เข้า กับสภาพสังคมและสิ่งแวดล้อมได้ 7. บทบาทด้านการกล่อมเกลาจิตใจ (อารมณ์) ที่ปฏิบัติมากที่สุด ได้แก่ สร้างความ ภูมิใจกับสถานภาพของตนเองกับครอบครัว และการให้กำลังใจเพื่อให้สามารถต่อสู้และมี กำลังใจในการดำรงชีวิตในสังคมได้ ส่วนบท บาทที่ผู้ปกครองไม่ได้ปฏิบัติ ได้แก่ มีสัมพันธภาพที่ ดี ต่ อ กั น เพื่ อ ให้ เ กิ ด ความสั ม พั น ธ์ ที่ เหนียวแน่นและปลูกฝังให้สามารถควบคุมตน เองได้
ข้อเสนอแนะ 1. ควรศึกษาบทบาทของผู้ปกครอง ต่อการอบรมผู้เตรียมตัวเป็นบาทหลวงของ คริสต์ศาสนจักรคาทอลิกในประเทศไทย ให้ ครบทั้ง 10 สังฆมณฑล เพื่อนำข้อมูลที่ได้มา เปรียบเทียบระบบการอบรมของแต่ละท้องถิน่ ในประเทศ 2. ควรเปรียบเทียบบทบาทของผูป้ กครองต่อการอบรมผู้เตรียมตัวเป็นบาทหลวง ของคริสต์ศาสนจักรคาทอลิกในประเทศไทย ของแต่ละสังฆมณฑล เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผล ต่อการอบรมเลี้ยงดูกับพื้นฐานของครอบครัว บรรณานุกรม เกรียงศักดิ์ โกวิชวาณิช, มุขนายก. 2535. สมณสาสน์ของสมเด็จพระสันตะ ปาปายอห์น ปอลที่ 2 เรื่องการ อบรมพระสงฆ์ในสภาพการณ์ ปัจจุบัน. วารสารแสงธรรมปริทัศน์ ปีที่ 16 ฉบับที่ 3 กันยายน – ธันวาคม 1992/2535. นครปฐม: วิทยาลัย แสงธรรม. ธีรพล กอบวิทยากุล. 2535. สามเณราลัย (บ้านเณร) ในประเทศไทย (มิสซังสยาม). สารนิพนธ์
ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2010/2553 79
บทบาทของผู้ปกครองต่อการอบรมผู้เตรียมตัวเป็นบาทหลวงคาทอลิกในสามเณราลัยเล็กของคริสต์ศาสนจักรคาทอลิกในประเทศไทย : กรณีศึกษาสังฆมณฑลจันทบุรี สังฆมณฑลเชียงใหม่ และอัครสังฆมณฑลท่าแร่-หนองแสง
หลักสูตรศาสนศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทววิทยา วิทยาลัย แสงธรรม. สามเณราลัยและกระแสเรียก, คณะกรรมการ. 2000. คู่มือสามเณรเล็ก. เอกสาร ถ่ายสำเนา. สำนักอธิการบดี. 2549. คู่มือการศึกษา วิทยาลัยแสงธรรม. นครปฐม: วิทยาลัยแสงธรรม. . 2549. ระบบการศึกษาอบรมของ วิทยาลัยแสงธรรม : เอกสาร ประกอบการศึกษาดูงาน. นครปฐม: วิทยาลัยแสงธรรม. . 2550. คู่มือการศึกษาวิทยาลัย แสงธรรม. นครปฐม: วิทยาลัย แสงธรรม สื่อมวลชนคาทอลิกแห่งประเทศไทย. 2009. ปฏิทินคาทอลิก คริสตศักราช 2010. กรุงเทพฯ: อัสสัมชัญ. วุฒิชัย อ่องนาวา, บาทหลวง. 2549. ศาสนาคริสต์. เอกสารประกอบ การสอน. นครปฐม: วิทยาลัย แสงธรรม.
80 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
. 2552. การศึกษาอบรมของผู้ เตรียมตัวเป็นบาทหลวงของคริสต์ ศาสนจักรคาทอลิกในประเทศไทย. วารสารแสงธรรมปริทัศน์ ปีที่ 33 ฉบับที่ 3 กันยายน–ธันวาคม 2009/ 2553. นครปฐม: วิทยาลัย แสงธรรม. เอกชัย ชินโคตร, บาทหลวง ดร. 2551. การศึกษาคาทอลิก. นครปฐม: วิทยาลัยแสงธรรม. Apostolic Constitution Sacrae Disciplinae Leges. 1983. Code of Canon Law. Washington, D.C.: Braun-Brumfield. Austin, Flannery, O.P. (Ed.). 1992. Vatican Council 2. The Conciliar and Post Conciliar Documents. Indiana: The Liturgical. John Paul II, Pope. 1992. Pastores Dabo Vobis. Washington, D.C.: Braun-Brumfield.
การสำรวจความต้องการการบริการความรู้
ด้านคริสต์ศาสนา สำหรับคริสตชนคาทอลิก ในประเทศไทย he Requirement Survey of Christianity Knowledge Services for Catholic in Thailand
T
บาทหลวง ดร.ชาติชาย พงษ์ศิริ
Rev.Dr.Chatchai Pongsiri
บาทหลวงไชโย กิจสกุล
Rev.chaiyo kitsakul
บาทหลวงธรรมรัตน์ เรือนงาม
Rev.Thamarat Ruanngam
ทิพอนงค์ รัชนีลัดดาจิต
Thip-anong Ratchaneelatdachit
* บาทหลวงในคริสต์ศาสนจักรโรมันคาทอลิก สังฆมณฑลจันทบุรี * อธิการบดี วิทยาลัยแสงธรรม
* บาทหลวงในคริสต์ศาสนจักรโรมันคาทอลิก อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ * รองอธิการบดีฝ่ายบริหาร วิทยาลัยแสงธรรม
* บาทหลวงในคริสต์ศาสนจักรโรมันคาทอลิก สังฆมณฑลจันทบุรี * อาจารย์ประจำคณะมนุษยศาสตร์ วิทยาลัยแสงธรรม * ผู้ช่วยผู้อำนวยการและนักวิจัยประจำ ศูนย์วิจัยค้นคว้าศาสนาและวัฒนธรรม วิทยาลัยแสงธรรม
* Reverend in Roman Catholic Church, Chanthaburi Diocese * Prisident of Saengtham College * E-mail : chart09@hotmail.com * Reverend in Roman Catholic Church, Bangkok Archdiocese * Vice President for Administrator Affairs, Saengtham College. * Reverend in Roman Catholic Church, Chanthaburi Diocese. * Lecturer at Saengtham College.
* Assistant Director and Researcher at Religious and Cultural Research Centre, Saengtham College. * E-mail : mariarose_th@hotmail.com
การสำรวจความต้องการการบริการความรูด้ า้ นคริสต์ศาสนา สำหรับคริสตชนคาทอลิกในประเทศไทย
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้ ง นี้ มี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ สำรวจความต้ อ งการการ บริการความรู้ด้านคริสต์ศาสนาของคริสตชนคาทอลิกในประเทศไทย กลุ่มผู้ให้ข้อมูลในการวิจัยครั้งนี้เป็นชุมชนคาทอลิก จำนวน 400 คน เก็บรวบรวมข้อมูลใช้แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลใช้ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า 1. เนื้อหาการอบรมคริสต์ศาสนามีความสำคัญกับคริสตชน ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก (X=4.23) เมื่อพิจารณาคะแนนเฉลี่ยเป็น รายข้อพบว่าเนื้อหาเรื่องพระคัมภีร์ (X=4.82) มีคะแนนเฉลี่ยมากที่สุด รองลงมาได้แก่ เนื้อหาเรื่องข้อบัญญัติ/พระบัญญัติ (X=4.69) และ เนื้อหาเรื่องการอภิบาลคริสตชน (X=3.28) มีคะแนนเฉลี่ยน้อยที่สุด 2. วิธีการอบรมคริสต์ศาสนาควรเป็นการใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ (ร้อยละ 45.32) การบรรยายความรู้ทางวิชาการ (ร้อยละ 22.52) การจัดสัมมนา/เสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (ร้อยละ 11.90) การเทศน์ ในพิธีกรรม (ร้อยละ 8.86) การศึกษาความรู้ด้วยตนเอง (ร้อยละ 6.84) การจัดค่ายอบรม (ร้อยละ 4.56) 3. กลุ่มเป้าหมายที่เหมาะสำหรับการเผยแพร่ความรู้มากที่ สุดคือ กลุ่มเยาวชน อายุ 15-24 ปี (ร้อยละ 45.82) ผู้ใหญ่ อายุ 2554 ปี (ร้อยละ 31.65) เด็กนักเรียน อายุ 6-14 ปี (ร้อยละ 16.20) และกลุ่มผู้สูงอายุ อายุ 55 ปีขึ้นไป (ร้อยละ 6.33) สรุปผลการศึกษา จากการสำรวจพบว่า คริสตชนคาทอลิกใน ประเทศไทยส่วนใหญ่ต้องการทราบเนื้อหาด้านพระคัมภีร์จากวิธีการ ใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์โดยเผยแพร่ความรู้ดังกล่าวให้กับกลุ่มเยาวชนที่มี อายุระหว่าง 15-24 ปี ข้อมูลจากการสำรวจนี้จะเป็นข้อมูลพื้นฐาน สำหรับการพัฒนาความรู้ของคริสตชนคาทอลิกในขั้นตอนต่อไป
82 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
ชาติชาย พงษ์ศิริ ไชโย กิจสกุล ธรรมรัตน์ เรือนงาม และทิพอนงค์ รัชนีลัดดาจิต
คำสำคัญ : Abstract
1) ชุมชนคาทอลิก 2) บริการความรู้ 3) การสำรวจความต้องการ
This research objectives is to survey the requirements of Christianity knowledge services for Catholic in Thailand. The informants are 400 persons in the Catholic communities. The information collection was made by the questionnaire distribution. The frequency, percentage, mean and standard deviation were used for the information analysis. The research results are found that 1. The contents of teaching Christianity are significant in overall with high level (X=4.23) When considered as the contents with ranking mean scores as follows; the content of the Bible (X=4.82), The Commandment (X=4.69) and Christian pastoral (X=3.28) respectively. 2. When considered as the methods of teaching Christianity with ranking percentage as follow; by e-learning (45.32%), academic lecturing (22.52%), seminar/dialogue for knowledge exchanges (11.90%), ritual preaching (8.86%), self-learning (6.84%) and educational camp (4.56%) respectively. 3. The target age groups that are appropriate to receive the knowledges with ranking percentage as follow;
ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2010/2553 83
การสำรวจความต้องการการบริการความรูด้ า้ นคริสต์ศาสนา สำหรับคริสตชนคาทอลิกในประเทศไทย
the youths : 15-24 years old (45.82%), the adults : 25-54 years old (31.65%), the primary to secondary students : 6-14 years old (16.20%) and the old people : 55 years old and elder (6.33%) respectively. Conclusion : From the initial survey informations, we found that most of Catholics in Thailand required to know about the content of the Bible by e-learning, especially teaching Christianity for the youths (15-24 years old). The informations from this survey will become the foundation on knowledge development for the Catholic in the next steps. Keywords : 1) Catholic Communities 2) Knowledge Services 3) Requirement Survey
84 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
ชาติชาย พงษ์ศิริ ไชโย กิจสกุล ธรรมรัตน์ เรือนงาม และทิพอนงค์ รัชนีลัดดาจิต
ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา จากความสำเร็จของการพัฒนาประเทศในช่วง 50 ปีที่ผ่านมา สิ่งที่ควบคู่มากับ ความสำเร็ จ กลั บ กลายเป็ น ปั ญ หาที่ ส ะสม พอกพู น ตามมาและเพิ่ ม มากยิ่ ง ขึ้ น จนอาจ สรุ ป เป็ น ข้ อ ความสั้นๆ แต่น่าคิดอย่างยิ่งว่า “เศรษฐกิจก้าวหน้า สังคมมีปัญหา การพัฒนา ไม่ยั่งยืน” ยิ่งพัฒนาด้านเศรษฐกิจและความ เจริญด้านวัตถุมากเท่าใดสภาพด้านจิตใจกลับ เสื่อมลง จิตใจคนสับสน ว้าเหว่ คนขาดที่พึ่ง ทางใจ ครอบครัวที่เคยเข้มแข็งกลับอ่อนแอ แตกแยก ชุมชน หมู่บ้านที่เคยเข้มแข็งก็ตกอยู่ ในสภาพเดียวกัน ประเทศไทยมีความเจริญ ก้ า วหน้ า อย่ า งรวดเร็ ว ทางด้ า นวั ต ถุ แต่ เ กิ ด ความเสื่อมทางด้านจิตใจ ค่านิยมและสังคม คนไทยประพฤติปฏิบัติที่แสดงถึงความเสื่อม ทางจิตใจอย่างเห็นได้ชัดเจนหลายประการ เช่น นิยมวัตถุ นิยมความหรูหราฟุ่มเฟือย ยกย่องคนรวย โดยไม่คำนึงถึงว่าจะร่ำรวยมาได้ โดยวิธีใด เกิดการแข่งขันเอารัดเอาเปรียบ ไม่ คำนึงถึงคุณธรรม จริยธรรม การเบียดเบียน เอารัดเอาเปรียบนี้นอกจากจะเบียดเบียนกัน เองแล้ว ยังเบียดเบียนรุกรานธรรมชาติและสิ่ง แวดล้อมอีกด้วย คนไทยส่วนใหญ่มีพื้นฐานการศึกษา น้อย ปรับตัวไม่ทันกับความเจริญทางวัตถุที่
เป็นไปอย่างรวดเร็ว ความเจริญทางจิตใจนั้น ถ่ายโอนกันไม่ได้ แต่ละคนต้องเริ่มต้นสร้าง กันเอง การต่อยอดในการพัฒนาจึงแทบเป็น ไปไม่ ไ ด้ อย่ า งมากก็ เ พี ย งจั ด สิ่ ง แวดล้ อ มให้ และแนะนำเทคนิคบางอย่างให้เท่านั้น การ พัฒนาคุณภาพของการศึกษาอบรมจึงทำได้ ช้ากว่าวัตถุ ไม่สามารถสร้างหน้าตาให้กับคน ในยุคปัจจุบันได้ และไม่ใช่สิ่งจะนำไปโอ้อวด กั น ทุ ก วั น นี้ ค วามเจริ ญ ทางวั ต ถุ มี ม ากกว่ า ความเจริญทางจิตใจมาก คนส่วนใหญ่จึงตก ไปในกระแสของวัตถุนิยมโดยอัตโนมัติอยู่แล้ว จากกระแสของโลกทำให้การพัฒนาทางจิตใจ นั้นขาดแคลนทั้งบุคลากร เครื่องไม้เครื่องมือ เงินทุนสนับสนุน อีกทั้งยังมีปัญหาที่บุคลากร ด้านนี้บางคนถูกกระแสวัตถุนิยมเข้าครอบงำ จนทำตัวให้เสื่อมเสีย ส่งผลให้คนจำนวนมาก หันหลังให้กับการพัฒนาด้านจิตใจและศาสนา มากขึ้นเรื่อยๆ เป็นการซ้ำเติมพัฒนาการทาง จิตใจให้แย่ลงไปอีก ปัญหาทางสังคมต่างๆ จึง ตามมาอย่างมากมายและทับถม สับสนปนเป กั น จนยากที่ จ ะแก้ ไข แต่ เ นื่ อ งจากความสุ ข จากความเจริญทางวัตถุนั้นเป็นความสุขที่ฉาบ ฉวย มีความสุขเพียงเล็กน้อยเป็นเครื่องล่อให้ ตกอยู่ในวังวนของวัตถุ ซึ่งมักทำให้ความทุกข์ ติดตามมาอย่างมากมาย ไม่วา่ จะเป็นทุกข์จาก การแสวงหา การแก่งแย่งชิงดีชิงเด่น การฟาด
ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2010/2553 85
การสำรวจความต้องการการบริการความรูด้ า้ นคริสต์ศาสนา สำหรับคริสตชนคาทอลิกในประเทศไทย
ฟันคูแ่ ข่ง ความกังวล ความกลัวการทำร้ายของ คูแ่ ข่ง ความไม่มนั่ คงของระบบเศรษฐกิจ ความ ผิดหวัง ความล้มเหลว ฯลฯ นอกจากนี้เมื่อ ได้ทรัพย์ตา่ งๆ มาครอบครองแล้ว ยังต้องกังวล เป็นห่วงเป็นใย กลัวว่าจะถูกแย่งชิงไปด้วยกลวิธีต่างๆ อีกด้วย และเมื่อต้องสูญเสียไปจริงๆ ก็ต้องเป็นทุกข์ขึ้นมาอีก ดังนั้น เมื่อวัตถุเจริญ มากขึ้นแทนที่ความสุขจะมากขึ้น กลับเป็นผล ที่ตรงกันข้าม แม้ร่างกายจะดูดีมีความสุขก็จริง แต่จิตใจนั้นกลับเต็มไปด้วยความทุกข์สารพัด รูปแบบ ทั้งความกลัว กังวล ว้าเหว่เพราะ ขาดคนที่จะคบด้วยอย่างจริงใจ เหงา ร้อนรุ่ม ด้วยความโลภ โกรธ หลง คนทั้งหลายจึงพยายามหาทางแก้ทุกข์กันสารพัดวิธี ซึ่งวิธีที่ง่าย และสะดวกสบาย เห็นผลได้รวดเร็ว ก็เช่น การ หันหน้าเข้าหาอบายมุขชนิดต่างๆ ไม่ว่าจะ เป็นเหล้า บุหรี่ ยาเสพติดชนิดต่างๆ จากการ ที่ ค นจำนวนมากตั้ ง หน้ า ตั้ ง ตาแสวงหาวั ต ถุ จนไม่มีเวลาให้กับครอบครัว ทำให้ต้องเลี้ยงดู ครอบครัวด้วยเงิน แทนทีจ่ ะเป็นความรักความ เข้าใจ ความอบอุ่น กำลังใจ ความเป็นน้ำหนึ่ง ใจเดียวกัน ดังนั้น ปัญหาในครอบครัวจึงตาม มา หากปัญหารุนแรงมากก็ถงึ ขัน้ หย่าร้าง หรือ ฆ่ากันตายก็มี เบาลงมาหน่อยก็มีปัญหากับ ลูกๆเมื่อเด็กขาดความอบอุ่นจากพ่อแม่ จึง ต้องหาความอบอุ่นจากที่อื่นมาทดแทน ซึ่งก็
86 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
คงหนีไม่พ้นเพื่อนๆ และถ้าโชคร้ายคบเพื่อน ที่ไม่ดี ก็มักจะชักจูงกันไปหาความสุขที่ฉาบ ฉวย หาได้ง่าย ก็คือเหล้า บุหรี่ และยาเสพติด ต่างๆ นั่นเอง นอกจากนี้ก็ยังมีการหาความ สุขอย่างอื่น เช่น การแต่งตัวตามแฟชั่นเพื่อ อวดกัน การแข่งรถ ฯลฯ อันเป็นความสุข เล็กๆ ที่พอหาได้ และเมื่อวัยรุ่นมารวมตัวกัน เป็นกลุม่ ใหญ่มากขึน้ ความรูส้ กึ ว่ากลุม่ ของตน เขื่องก็ตามมา จึงเป็นสาเหตุของการยกพวก เข้าทำร้ายกัน ดังที่เป็นข่าวอยู่บ่อยๆ และ เนื่องจากการเจริญเติบโตมาอย่างขาดความ อบอุน่ ของเด็กจำนวนมากนีเ้ อง ทำให้เด็กพยายามหาที่พึ่งทางใจต่างๆ เช่น การมีแฟน การ เรี ย นให้ ไ ด้ ผ ลการเรี ย นดี ที่ สุ ด เพื่ อ ให้ ค นอื่ น ยอมรับ ฯลฯ และพยายามทุ่มเทให้กับสิ่งที่ตน คิดว่าเป็นที่พึ่งนั้นอย่างหมดตัวหมดหัวใจ เมื่อ ผิดหวังจึงรู้สึกเหมือนโลกนี้ไม่มีอะไรเหลืออีก แล้วการฆ่าตัวตายจึงตามมาและเนื่องจากการ ชอบแสวงหาความสุขแบบฉาบฉวย ประกอบ กับการทุ่มเทให้กับสิ่งที่คิดว่าเป็นที่พึ่งทางใจ อย่างหมดตัวหมดหัวใจนีเ้ อง การมีเพศสัมพันธ์ ก่อนเวลาอันควรจึงตามมา ไม่ว่าจะด้วยความ ยินยอมพร้อมใจ หรือขัดอีกฝ่ายไม่ได้ก็ตาม (รวมทั้ ง กรณี ที่ ค นที่ มี เ งิ น น้ อ ย แต่ พ ยายาม แสวงหาความสุขจากวัตถุให้ได้มากๆ จนถึง กับยอมเอาร่างกายแลกกับเงินด้วย ปัญหาการ
ชาติชาย พงษ์ศิริ ไชโย กิจสกุล ธรรมรัตน์ เรือนงาม และทิพอนงค์ รัชนีลัดดาจิต
ตั้งท้องโดยไม่พร้อม การทำแท้ง การคลอดลูก แล้วทิ้งอันทำให้เกิดปัญหาเด็กเร่ร่อน ปัญหา เรื่องโรคเอดส์ ฯลฯ จึงเกิดขึ้นอย่างมากมาย ปัญหาทางสังคมทั้งหลายจึงเกิดขึ้น พอกพูน ทับถม ซับซ้อน ยากที่จะแก้ไข จากปัญหา ดังกล่าว ถึงเวลาแล้วที่ทุกคนในสังคมต้องร่วม มือกันแก้ไขปัญหา เพื่อไม่ให้ปัญหารุนแรงมาก กว่านี้ ศูนย์วจิ ยั ค้นคว้าศาสนาและวัฒนธรรม วิ ท ยาลั ย แสงธรรมเล็ ง เห็ น ความสำคั ญ ของ ความก้าวหน้าที่ไม่หยุดนิ่งของสังคมโลก การ เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วอาจส่งผลกระทบ ต่อระบบความเชื่อความศรัทธาและการปฏิบัติศาสนกิจของคริสตชนได้ ดังนั้นจึงพยายามผลั ก ดั น ให้ เ กิ ด องค์ ค วามรู้ เข้ า ถึ ง ระบบ ความเชื่อ ความศรัทธาของคริสตชนเพื่อผู้เข้า รับการอบรมจะได้นำความรู้เหล่านี้ไปปรับใช้ ให้เกิดประโยชน์ต่อการปฏิบัติศาสนกิจในชีวิต ประจำวันของคริสตชน วัตถุประสงค์การวิจัย เพื่อสำรวจความต้องการการบริการ ความรู้ด้านคริสต์ศาสนาของคริสตชนคาทอลิกในประเทศไทย
ขอบเขตการวิจัย 1. ประชากร ได้แก่ คริสตชนคาทอลิก ในประเทศไทยทั้ง 10 สังฆมณฑล ประกอบ ด้วย อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ สังฆมณฑล จันทบุรี อัครสังฆมณฑลท่าแร่-หนองแสง สังฆมณฑลเชียงใหม่ สังฆมณฑลอุบลราชธานี สังฆมณฑลอุดรธานี สังฆมณฑลนครสวรรค์ สังฆมณฑลสุราษฎร์ธานี สังฆมณฑลราชบุรี และสังฆมณฑลนครราชสีมา 2. ระยะเวลาในการวิจัย ภาคเรี ย น ที่ 1 ปีการศึกษา 2552 3. ขอบเขตการวิจัยครั้งนี้ มุ่งศึกษา ความต้องการการบริการความรู้ ด้านคริสต์ศาสนา 3 ด้าน ดังนี้ 3.1 ด้านเนื้อหา 3.2 ด้านวิธีการอบรม 3.3 ด้านกลุ่มเป้าหมาย นิยามศัพท์เฉพาะ 1. ความต้องการการบริการความรู้ ด้านคริสต์ศาสนา หมายถึง ระดับน้ำหนักวัด จากระดับค่าเฉลี่ยที่แสดงถึงความมากน้อยที่ มีต่อการรับบริการความรู้ด้านคริสต์ศาสนา สำหรับการวิจัยครั้งนี้มุ่งศึกษาใน 3 ประเด็น คือ เนื้อหาการอบรมคริสต์ศาสนา วิธีการที่ใช้ ในการอบรมคริสต์ศาสนา และกลุ่มเป้าหมาย ที่ใช้ในการอบรมคริสต์ศาสนา
ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2010/2553 87
การสำรวจความต้องการการบริการความรูด้ า้ นคริสต์ศาสนา สำหรับคริสตชนคาทอลิกในประเทศไทย
2. เนื้ อ หาการอบรมคริ ส ต์ ศ าสนา หมายถึง ข้อมูลที่ใช้ในการให้บริการความรู้ ด้านคริสต์ศาสนาซึ่งในการวิจัยครั้งนี้ประกอบ ด้วยเนื้อหาเรื่องพระคัมภีร์ เทววิทยา จริยศาสตร์/จริยธรรม พิธีกรรม ประวัติคริสต์ศาสนา การอภิบาลคริสตชน กฎหมายคริสต์ศาสนจักรและข้อบัญญัติ/พระบัญญัติ 3. วิธีการอบรมคริสต์ศาสนา หมาย ถึ ง ลั ก ษณะการนำเสนอความรู้ ด้ า นคริ ส ต์ ศาสนา สำหรับการวิจยั ครัง้ นีม้ งุ่ ศึกษาลักษณะ การนำเสนอความรู้ในด้านการบรรยายความ รู้ ท างวิ ช าการ การศึกษาความรู้ด้วยตนเอง การเทศน์ในพิธีกรรม การจัดค่ายอบรม การ จัดสัมมนา/เสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้และการ ใช้สื่ออิเลกทรอนิกส์ 4. กลุ่มเป้าหมายในการอบรมคริสต์ศาสนา หมายถึง บุคคลสำหรับรับบริการความ รู้ ท างคริ ส ต์ ศ าสนาที่ ก ลุ่ ม ผู้ ใ ห้ ข้ อ มู ล เห็ น ว่ า มี ค วามเหมาะสมในการวิจัยครั้งนี้มากที่สุด ประกอบด้วยกลุ่มเยาวชน กลุ่มผู้ใหญ่ กลุ่ม เด็กนักเรียน และกลุ่มผู้สูงอายุ 5. คริสตชนคาทอลิก หมายถึง ฆราวาสผู้นับถือศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิก ในประเทศไทยทั้ง 10 สังฆมณฑล ได้แก่ อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ สังฆมณฑลจันทบุรี อัครสังฆมณฑลท่าแร่-หนองแสง สังฆมณฑลเชียง-
88 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
ใหม่ สังฆมณฑลอุบลราชธานี สังฆมณฑล อุดรธานี สังฆมณฑลนครสวรรค์ สังฆมณฑล สุราษฎร์ธานี สังฆมณฑลราชบุรี และสังฆมณฑลนครราชสีมา ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. ได้ ท ราบความต้ อ งการการรั บ บริการความรู้ด้านคริสต์ศาสนาของคริสตชน คาทอลิกในประเทศไทยทั้ง 10 สังฆมณฑล 2. ได้ข้อมูลพื้นฐานสำหรับการวาง แผนให้บริการความรู้ด้านคริสต์ศาสนาสำหรับ คริสตชนคาทอลิกในประเทศไทย 3. ได้แนวทางสำหรับนำไปวางแผน การจั ด อบรมเกี่ ย วกั บ ให้ บ ริ ก ารความรู้ ด้ า น คริ ส ต์ ศ าสนาสำหรั บ คริ ส ตชนคาทอลิ ก ใน ประเทศไทย วิธีดำเนินการวิจัย แหล่งข้อมูลที่ใช้ในการศึกษาสำหรับ ขั้นตอนนี้ คือ คริสตชนคาทอลิกในประเทศ ไทยทั้ง 10 สังฆมณฑล จำนวน 400 คน ใช้ วิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอน (Multi-Stage Sampling) ดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้ แบบสอบถามเรื่องความต้องการการบริการ ความรู้ ด้ า นคริ ส ต์ ศ าสนาสำหรั บ คริ ส ตชน
ชาติชาย พงษ์ศิริ ไชโย กิจสกุล ธรรมรัตน์ เรือนงาม และทิพอนงค์ รัชนีลัดดาจิต
คาทอลิกในประเทศไทย ซึ่งเนื้อหาครอบคลุ่ม เรื่อง เนื้อหาด้านคริสต์ศาสนา วิธีการอบรม คริสต์ศาสนา และกลุ่มเป้าหมายสำหรับจัด การอบรม เก็บรวบรวมข้อมูลจากการแจกแบบ สอบถามให้กับกลุ่มผู้ให้ข้อมูลทั้งทางไปรษณีย์ และด้วยตนเอง เว้นระยะในการรับคืนประมาณ 1 เดือน แจกแบบสำรวจไป 400 ฉบับ ได้รบั กลับคืน 395 ฉบับ คิดเป็นร้อยละ 98.75 เมื่อได้รับแบบสอบถามกลับคืนจึงตรวจสอบ ความครบถ้วนของข้อมูลจนครบตามจำนวนที่ กำหนด การวิเคราะห์ข้อมูล นำแบบสอบถาม ทีไ่ ด้มาตรวจสอบความถูกต้องอีกครัง้ หลังจาก นั้ น ทำการบั น ทึ ก ลงรหั ส ในโปรแกรมสำเร็ จ รูป วิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติโดยใช้ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลีย่ และค่าส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน สรุปผลการวิจัย 1. คริสตชนส่วนใหญ่สังกัดอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ จำนวน 100 คนคิดเป็น ร้อยละ 25.30 อยู่ในกลุ่มอายุ 6-24 ปีจำนวน 243 คนคิดเป็นร้อยละ 61.52 มีอาชีพเป็น นักเรียน/นักศึกษาจำนวน 263 คนคิดเป็น ร้อยละ 66.58 2. เนื้อหาการอบรมคริสต์ศาสนามี
ความสำคั ญ กั บ คริ ส ตชนในภาพรวมอยู่ ใ น ระดับมาก (X=4.23) เมื่อพิจารณาคะแนน เฉลี่ยเป็นรายข้อพบว่าเนื้อหาเรื่องพระคัมภีร์ (X=4.82) มีคะแนนเฉลี่ยมากที่สุด รองลงมา ได้แก่ เนื้อหาเรื่องข้อบัญญัติ/พระบัญญัติ (X =4.69) และเนื้อหาเรื่องการอภิบาลคริสตชน (X=3.28) มีคะแนนเฉลี่ยน้อยที่สุด 3. วิ ธี ก ารอบรมคริ ส ต์ ศ าสนาควร เป็นการใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ (ร้อยละ 45.32) การบรรยายความรูท้ างวิชาการ (ร้อยละ 22.52) การจั ด สั ม มนา/เสวนาแลกเปลี่ ย น เรียนรู้ (ร้อยละ 11.90) การเทศน์ในพิธีกรรม (ร้อยละ 8.86) การศึกษาความรู้ด้วยตนเอง (ร้อยละ 6.84) การจัดค่ายอบรม (ร้อยละ 4.56) 4. กลุ่ ม เป้ า หมายที่ เ หมาะสำหรั บ การเผยแพร่ความรู้มากที่สุดคือ กลุ่มเยาวชน อายุ 15-24 ปี (ร้อยละ 45.82) ผู้ใหญ่ อายุ 25-54 ปี (ร้อยละ 31.65) เด็กนักเรียน อายุ 6-14 ปี (ร้อยละ 16.20)และกลุ่มผู้สูงอายุ อายุ 55 ปีขึ้นไป (ร้อยละ 6.33) จากการสำรวจข้อมูลครั้งนี้ สรุปได้ว่า การอบรมคริสต์ศาสนามีความสำคัญในระดับ มาก โดยเฉพาะเนื้อหาเรื่องพระคัมภีร์พระบัญญัติ เรือ่ งทีก่ ลุม่ ตัวอย่างเห็นว่ามีความสำคัญ น้อยที่สุด คือ การอภิบาลคริสตชน ด้านเกี่ยว
ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2010/2553 89
การสำรวจความต้องการการบริการความรูด้ า้ นคริสต์ศาสนา สำหรับคริสตชนคาทอลิกในประเทศไทย
กับวิธีการอบรมควรใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์มาก ที่สุด วิธีการอื่นมีเล็กน้อย และส่วนใหญ่เห็น ว่ากลุ่มเป้าหมายที่เหมาะสำหรับการเผยแพร่ ความรู้ คือ กลุ่มเยาวชน ข้อเสนอแนะ 1. ผลการวิจัยพบว่า พระคัมภีร์และ พระบัญญัติ เป็นเรื่องที่มีความสำคัญ ดังนั้น การจัดการอบรมควรใช้เนื้อหาด้านพระคัมภีร์ และพระบัญญัติเพื่อให้คริสตชนได้เข้าใจมาก ขึน้ จนสามารถทีจ่ ะนำไปปฏิบตั ใิ นชีวติ ประจำ วันได้ 2. แม้ว่าผลการศึกษาพบว่า การ อภิบาลคริสตชน กลุ่มตัวอย่างให้ความสำคัญ น้อยทีส่ ดุ การอภิบาลเป็นสิง่ ทีจ่ ะช่วยพยุงชีวติ คริสตชนให้พ้นจากภาวะที่อาจเป็นอันตราย ในชีวิตได้ จึงจำเป็นสำหรับผู้มีหน้าที่อภิบาล ดังนั้นจึงควรทำความเข้าใจให้เห็นความสำคัญ และเข้าใจวิธีการอภิบาลที่ถูกต้องทั้งผู้อภิบาล และผู้รับการอภิบาล บรรณานุกรม ธีรพล กอบวิทยากุล, บาทหลวง. 2549. ประวัติศาสตร์คริสตจักร 1. นครปฐม: วิทยาลัยแสงธรรม.
90 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
. 2549. เอกสารประกอบการ บรรยายเรื่อง “ประวัติศาสตร์และ ความเป็นมาของพระศาสนจักรใน ประเทศไทย. นครปฐม: วิทยาลัยแสงธรรม. พระคัมภีร์คาทอลิกแห่งประเทศไทย, คณะกรรมการ. 2537. พระคัมภีร์ ภาษาไทยฉบับใหม่. กรุงเทพฯ: อำนวยรัตน์การพิมพ์. แปลจาก The New Jerusalem Bible. 1985. London: Cambridge University. วัชศิลป์ กฤษเจริญ, บาทหลวง. (บก.) 2540. สารคำสอนสังฆมณฑลราชบุรี. ราชบุรี: ธรรมรักษ์. วัชศิลป์ กฤษเจริญ, บาทหลวง และคณะ. 2550. การสอนคริสตศาสนธรรม. นครปฐม: วิทยาลัยแสงธรรม. วุฒิชัย อ่องนาวา, บาทหลวง. 2549 ศาสนาคริสต์, เอกสารประกอบ การสอน. นครปฐม: วิทยาลัย แสงธรรม วีระ อาภรณ์รัตน์, บาทหลวง. 2551. แนวทางและอัตลักษณ์ครูสอน คริสตศาสนธรรม. นครปฐม: วิทยาลัยแสงธรรม.
ชาติชาย พงษ์ศิริ ไชโย กิจสกุล ธรรมรัตน์ เรือนงาม และทิพอนงค์ รัชนีลัดดาจิต
สภาพระสังฆราชคาทอลิกแห่งประเทศไทย, สำนักงาน. 2543. ทิศทางงาน อภิบาลคริสตศักราช 2000 ของ พระศาสนจักรคาทอลิกไทย สำหรับ ค.ศ.2000-2010. กรุงเทพฯ: อัสสัมชัญ. สื่อมวลชนคาทอลิกแห่งประเทศไทย. 2550. ปฏิทินคาทอลิก. กรุงเทพฯ: อัสสัมชัญ. Apostolic Constitution Fidei Depositum. 1994. Catechism of the Catholic Church. London: Geoffrey Chapman.
Apostolic Constitution Sacrae Disciplinae Leges. 1983. Code of Canon Law. Washington, D.C.: Braun-Brumfield, Inc. Flannery Austin, O.P. (Ed.). 1992. Vatican Council II. The Conciliar and Post Conciliar Documents. Indiana: The Liturgical. Miller, Michael J., C.S.B. (Ed.) 1996. The Encyclicals of John Paul II. Huntington, IN: Our Sunday Visitor. Paul VI, Pope. 1975. Evangelii Nuntiandi. n.p.
ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2010/2553 91
การพัฒนาระบบประกันคุณภาพการศึกษา ภายในของวิทยาลัยแสงธรรม
A
Development of The Internal Quality Assurance System of Saengtham College
บาทหลวงวุฒิชัย อ่องนาวา
Rev.Wuttichai Ongnawa
ทวีศักดิ์ เดชาเลิศ ทิพยา แสงไชย ลัดดาวรรณ์ ประสูตร์แสงจันทร์ ทิพอนงค์ รัชนีลัดดาจิต จิตรา กิจเจริญ ปนัดดา ชัยพระคุณ ลลิตา กิจประมวล
Thavisakdi Dechalert Tipaya Seangchai Laddawan Prasootsaengchan Thip-anong Ratchaneelatdachit Chittra Kitcharoen Panadda Chaiprakhun Lalita Kitpramaun
* บาทหลวงในคริสต์ศาสนจักรโรมันคาทอลิก สังฆมณฑลราชบุรี
* Reverend in Roman Catholic Church, Ratchaburi Diocese. * E-mail : Franciswut@gmail.com
วุฒิชัย อ่องนาวา และคณะ
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาความคิดเห็นของ ชุ ม ชนคาทอลิ ก ต่ อ ผลการประเมิ น คุ ณ ภาพภายนอกของวิ ท ยาลั ย แสงธรรม 2) ศึกษาความคิดเห็นของชุมชนคาทอลิกที่มีต่อสภาพการ ดำเนินการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาของวิทยาลัยแสงธรรม กลุ่มผู้ให้ข้อมูลในการวิจัยครั้งนี้เป็นชุมชนคาทอลิก จำนวน 550 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม วิเคราะห์ขอ้ มูลใช้คา่ ความถี่ และ ค่าร้อยละ การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพใช้การวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า 1. ชุมชนคาทอลิ ก ประเมิ น การดำเนิ น งานของวิ ท ยาลั ย ใน มาตรฐานที่ 1 อยู่ในระดับดีมาก คิดเป็นร้อยละ 2.0 ประเมินระดับดี คิดเป็นร้อยละ 8.1 ประเมินระดับพอใช้ คิดเป็นร้อยละ 79.8 ประเมิน ระดับควรปรับปรุง คิดเป็นร้อยละ 10.1 และเห็นว่าผลการประเมิน ของสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) มีความสอดคล้องการดำเนินงานของวิทยาลัยคิดเป็นร้อยละ 84.8 2. ชุมชนคาทอลิ ก ประเมิ น การดำเนิ น งานของวิ ท ยาลั ย ใน มาตรฐานที่ 2 อยู่ในระดับดีมาก คิดเป็นร้อยละ 7.1 ประเมินระดับดี คิดเป็นร้อยละ 38.5 ประเมินระดับพอใช้ คิดเป็นร้อยละ 49.4 ประเมิน ระดับควรปรับปรุง คิดเป็นร้อยละ 5.0 และเห็นว่าผลการประเมินของ สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) มี ความสอดคล้องการดำเนินงานของวิทยาลัย คิดเป็นร้อยละ 86.8 3. ชุมชนคาทอลิ ก ประเมิ น การดำเนิ น งานของวิ ท ยาลั ย ใน มาตรฐานที่ 3 อยู่ในระดับดีมาก คิดเป็นร้อยละ 5.1 ประเมินระดับดี คิดเป็นร้อยละ 39.5 ประเมินระดับพอใช้ คิดเป็นร้อยละ 52.4 ประเมินระดับควรปรับปรุง คิดเป็นร้อยละ 3.0 และเห็นว่าผลการ
ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2010/2553 93
การพัฒนาระบบประกันคุณภาพการศึกษาภายในของวิทยาลัยแสงธรรม
ประเมินของสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) มีความสอดคล้องการดำเนินงานของวิทยาลัย คิดเป็นร้อยละ 88.9 4. ชุมชนคาทอลิ ก ประเมิ น การดำเนิ น งานของวิ ท ยาลั ย ใน มาตรฐานที่ 4 อยู่ในระดับดีมาก คิดเป็นร้อยละ 2.0 ประเมินระดับดี คิดเป็นร้อยละ 10.1 ประเมินระดับพอใช้ คิดเป็นร้อยละ 62.5 ประเมินระดับควรปรับปรุง คิดเป็นร้อยละ 25.4 และเห็นว่าผลการ ประเมินของสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) มีความสอดคล้องการดำเนินงานของวิทยาลัย คิดเป็นร้อยละ 80.8 5. ชุมชนคาทอลิ ก ประเมิ น การดำเนิ น งานของวิ ท ยาลั ย ใน มาตรฐานที่ 5 อยู่ในระดับดีมาก คิดเป็นร้อยละ 1.0 ประเมินระดับดี คิดเป็นร้อยละ 6.0 ประเมินระดับพอใช้ คิดเป็นร้อยละ 80.8 ประเมินระดับควรปรับปรุง คิดเป็นร้อยละ 12.2 และเห็นว่าผลการ ประเมินของสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) มีความสอดคล้องการดำเนินงานของวิทยาลัย คิดเป็นร้อยละ 94.9 6. ชุมชนคาทอลิ ก ประเมิ น การดำเนิ น งานของวิ ท ยาลั ย ใน มาตรฐานที่ 6 อยู่ในระดับดีมาก คิดเป็นร้อยละ 2.0 ประเมินระดับดี คิดเป็นร้อยละ 21.3 ประเมินระดับพอใช้ คิดเป็นร้อยละ 68.6 ประเมินระดับควรปรับปรุง จำนวน 32 คน คิดเป็นร้อยละ 8.1 และ เห็นว่าผลการประเมินของสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณ ภาพการศึกษา (สมศ.) มีความสอดคล้องการดำเนินงานของวิทยาลัย คิดเป็นร้อยละ 83.8 7. ชุมชนคาทอลิ ก ประเมิ น การดำเนิ น งานของวิ ท ยาลั ย ใน มาตรฐานที่ 7 อยู่ในระดับดีมาก คิดเป็นร้อยละ 1.0 ประเมินระดับดี
94 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
วุฒิชัย อ่องนาวา และคณะ
คิดเป็นร้อยละ 9.1 ประเมินระดับพอใช้ คิดเป็นร้อยละ 61.5 ประเมินระดับควรปรับปรุง จำนวน 112 คน คิดเป็นร้อยละ 28.4 และเห็นว่าผลการประเมินของสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมิน คุ ณ ภาพการศึ ก ษา (สมศ.) มี ค วามสอดคล้ อ งการดำเนิ น งานของ วิทยาลัย คิดเป็นร้อยละ 80.8 คำสำคัญ : Abstract
1) ประกันคุณภาพ 2) ประเมินสถานศึกษา 3) วิทยาลัยแสงธรรม
This research has the objectives as follows: 1) To study the opinions of Catholic communities to the results of external quality assessment of Saengtham College. 2) To study the opinions of Catholic communities about the operation conditions of internal quality assurance of Saengtham College. The informants are 550 persons in the Catholic communities. The information collection was made by the questionnaire distribution. The frequency and percentage were used for the information analysis. Furthermore, the qualitative information was made by content analysis. The research results are found as follows: 1. The Catholic communities assessed the operations of the College in 1st Standard, the results are in Very Good level (2.0%), Good level (8.1%), Fair level
ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2010/2553 95
การพัฒนาระบบประกันคุณภาพการศึกษาภายในของวิทยาลัยแสงธรรม
(79.8%), Needs Improvement level (10.1%), including the results of assessment of The Office for National Education Standards and Quality Assessment (Public Organization) that according with the operations of the College (84.8%). 2. The Catholic communities assessed the operations of the College in 2nd Standard, the results are in Very Good level (7.1%), Good level (38.5%), Fair level (49.4%), Needs Improvement level (5.0%), including the results of assessment of The Office for National Education Standards and Quality Assessment (Public Organization) that according with the operations of the College (86.8%). 3. The Catholic communities assessed the operations of the College in 3srd Standard, the results are in Very Good level (5.1%), Good level (39.5%), Fair level (52.4%), Needs Improvement level (3.0%), including the results of assessment of The Office for National Education Standards and Quality Assessment (Public Organization) that according with the operations of the College (88.9%). 4. The Catholic communities assessed the operations of the College in 4sth Standard, the results are in Very Good level (2.0%), Good level 10.1%), Fair level (62.5%), Needs Improvement level (25.4%), including the results of assessment of The Office for National Education Standards and Quality Assessment (Public Organization)
96 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
วุฒิชัย อ่องนาวา และคณะ
that according with the operations of the College (80.8%). 5. The Catholic communities assessed the operations of the College in 5th Standard, the results are in Very Good level (1.0%), Good level (6.0%), Fair level (80.8%), Needs Improvement level (12.2%), including the results of assessment of The Office for National Education Standards and Quality Assessment (Public Organization) that according with the operations of the College (94.9%). 6. The Catholic communities assessed the operations of the College in 6th Standard, the results are in Very Good level (2.0%), Good level (21.3%), Fair level (68.6%), Needs Improvement level (8.1%), including the results of assessment of The Office for National Education Standards and Quality Assessment (Public Organization) that according with the operations of the College (83.8%). 7. The Catholic communities assessed the operations of the College in 7sth Standard, the results are in Very Good level (1.0%), Good level (9.1%), Fair level (61.5%), Needs Improvement level (28.4%), including the results of assessment of The Office for National Education Standards and Quality Assessment (Public Organization) that according with the operations of the College (80.8%). Keywords : 1) Quality Assurance in Education 2) Assessment of the College 3) Saengtham College ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2010/2553 97
การพัฒนาระบบประกันคุณภาพการศึกษาภายในของวิทยาลัยแสงธรรม
ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา ตามที่พระราชบัญญัติการศึกษาแห่ง ชาติ พ.ศ. 2542 (มาตรา 47) แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 (มาตรา 34) กำหนด ให้ มี ร ะบบประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษา เพื่ อ พั ฒ นาคุ ณ ภาพและมาตรฐานการศึ ก ษาทุ ก ระดับ รวมทั้งการศึกษาเฉพาะทางของกระทรวงต่างๆ ประกอบด้วยระบบประกันคุณภาพ ภายในและระบบประกั น คุ ณ ภาพภายนอก โดยกำหนดให้คณะกรรมการการอุดมศึกษา มี หน้าที่พิจารณาเสนอมาตรฐานการอุดมศึกษา ที่สอดคล้องกับความต้องการตามแผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และสอดคล้อง กับมาตรฐานการศึกษาของชาติ การจั ด การศึ ก ษาให้ มี คุ ณ ภาพนั้ น จำเป็นที่สถานศึกษาต้องมีมาตรฐานและตัว บ่ ง ชี้ คุ ณ ภาพการศึ ก ษาที่ ชั ด เจนเพื่ อ จะได้ พั ฒ นาการดำเนิ น งานให้ มี คุ ณ ภาพและได้ มาตรฐานและเปิดเผยการดำเนินงานให้ชุมชน และผู้ เ กี่ ย วข้ อ งได้ ท ราบและพร้ อ มที่ จ ะถู ก ตรวจสอบจากคณะกรรมการการประเมินผล ภายนอกในทุก 5 ปี จากการประกาศใช้พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ส่ง ผลให้สถานศึกษาทุกแห่งต้องดำเนินการประเมินผลภายในทุกปี ซึ่งสถานศึกษาหลายแห่ง อาจมี ก ารดำเนิ น การอยู่ บ้ า งแล้ ว แต่ อ าจยั ง
98 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
ไม่สมบูรณ์เพราะยังไม่มีความรู้ความเข้าใจใน เรื่องการประเมินผลภายในเท่าที่ควร สถาน ศึกษาหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการจัดการ ศึกษาจึงควรมีการส่งเสริมการประเมินผลและ การพัฒนาภายในสถานศึกษาอย่างจริงจัง ใน ปัจจุบันนี้แนวโน้มของการประเมินนั้นจะให้ ความสำคั ญ กั บ การประเมิ น ตนเองมากขึ้ น การประเมิ น ผลภายในหรื อ การประเมิ น ตน เองนับว่าเป็นกระบวนการหนึ่งในการบริหาร การจั ด การศึ ก ษาเนื่ อ งจากผลการประเมิ น ตนเองหากดำเนินการอย่างถูกต้องเหมาะสม และมีการนำไปใช้ประโยชน์อย่างจริงจังจะส่ งผลดีต่อหน่วยงานและสถานศึกษาอันจะนำ ไปสู่การพัฒนาและปรับปรุงตนเองให้บรรลุ เป้าหมายตามมาตรฐานการศึกษาที่กำหนด แต่จากการศึกษาพบว่าการประเมินคุณภาพ ภายในยั ง ทำกั น อยู่ ใ นวงจำกั ด เฉพาะกลุ่ ม บุคคลที่รับผิดชอบเท่านั้น สาเหตุอาจเนื่องมา จากบุคลากรที่เกี่ยวข้องยังไม่เห็นคุณค่าของ การประเมิ น หรื อ ยั ง ขาดความรู้ ด้ า นวิ ธี ก าร ประเมินจึงทำให้โอกาสการนำผลการประเมิน ไปใช้เป็นส่วนหนึ่งของการวางแผนพัฒนาคุณภาพการดำเนินงานยังไม่มากเท่าทีค่ วร ในการ ที่ จ ะพั ฒ นาคุ ณ ภาพของสถานศึ ก ษาให้ ไ ด้ มาตรฐานนั้ น จะต้ อ งให้ ค วามสำคั ญ กั บ การ ผลักดันให้สถานศึกษามีการประเมินคุณภาพ
วุฒิชัย อ่องนาวา และคณะ
สถานศึ ก ษาเพราะประเมิ น คุ ณ ภาพสถาน ศึกษามีส่วนดีตรงที่ผู้มีส่วนร่วมในการประเมินเป็นผู้ใกล้ชิดกับสถานศึกษาหรือโครงการ ที่ ถู ก ประเมิ น มี ค วามเข้ า ใจในลั ก ษณะของ ธรรมชาติของสถานศึกษาเป็นอย่างดี และการ เก็บข้อมูลนั้นสามารถทำได้ง่ายสะดวก โดย หลั ก การแล้ ว การประเมิ น ไม่ ไ ด้ สิ้ น สุ ด เพี ย ง แค่ทำการประเมินให้เสร็จสิ้นแต่จะต้องเป็น กระบวนการทำงานที่ต่อเนื่องเพื่อพัฒนาและ ปรับปรุงตนเองต่อไป การให้สถานศึกษาเป็น ผู้ ด ำเนิ น การประเมิ น ผลภายในด้ ว ยตนเอง จะนำไปสู่ ก ารพั ฒ นาระบบการประเมิ น ผล ภายใน ซึ่งแต่ละแห่งมีอิสระที่จะวางระบบการ ประเมินผลภายในของสถานศึกษา และสถาน ศึ ก ษาแต่ ล ะแห่ ง มี อิ ส ระที่ จ ะวางระบบการ ประเมินตนเองตามแนวทางที่เห็นว่าเหมาะ สม และต้ อ งให้ ก ารประเมิ น คุ ณ ภาพเป็ น ... ของการปฏิบัติงานในสถานศึกษา เพื่อพัฒนา ตนเอง วิ ท ยาลั ย แสงธรรมได้ จั ด ตั้ ง ขึ้ น ตาม เจตนารมณ์ ข องสภาประมุ ข แห่ ง บาทหลวง โรมันคาทอลิกประเทศไทย ที่ตอบสนองข้อ เรียกร้องจากการประชุมสภาสังคายนาวาติกันครั้งที่ 2 (ค.ศ. 1962 – 1965) ที่ให้แต่ละ ประเทศจัดตั้งสถาบันฝึกฝนอบรมผู้นำคริสต์ศาสนา โดยเฉพาะการเป็นบาทหลวง วิทยาลัย
แสงธรรมได้ รั บ ใบอนุ ญ าตจากทบวงมหาวิทยาลัยในขณะนั้นให้เป็นสถาบันอุดมศึกษา เอกชนในปี พ.ศ. 2519 และให้การรับรอง มาตรฐานการศึกษาในเวลาต่อมา ดังนั้น เมื่อ พิ จ ารณาจากธรรมชาติ ข องสถาบั น จึ ง วิ เ คราะห์ ไ ด้ ว่ า วิ ท ยาลั ย แสงธรรมต้ อ งมี ก าร ดำเนิ น งานภายใต้ แ นวทางของหน่ ว ยงานที่ เกี่ ย วข้ อ งกั บ การจั ด การศึ ก ษาในประเทศ ไทย (ทบวงมหาวิ ท ยาลั ย /สำนั ก งานคณะ กรรมการการอุดมศึกษา) และตามเจตนารมณ์ ของสภาประมุขแห่งบาทหลวงโรมันคาทอลิก แห่งประเทศไทย ควบคู่กันไป จากลักษณะเฉพาะ (อัตลักษณ์) ของ วิทยาลัยแสงธรรมดังกล่าวแล้วนี้ ส่งผลให้การ ดำเนินงานของวิทยาลัยแสงธรรมจึงต้องสอด คล้ อ งกั บ อั ต ลั ก ษณ์ ข องตนในฐานะเป็ น สถาบันเฉพาะทาง แนวทางการวางระบบและ การพัฒนาระบบประกันคุณภาพตามที่พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติดังกล่าวได้ให้ แนวทางนี้ จำเป็นต้องมีการพิจารณาถึงอัตลั ก ษณ์ ก ารวางระบบและพั ฒ นาระบบการ ประกันคุณภาพการศึกษาภายในวิทยาลัยแสงธรรมอย่างจริงจัง วัตถุประสงค์การวิจัย 1. เพื่อศึกษาความคิดเห็นของชุมชน
ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2010/2553 99
การพัฒนาระบบประกันคุณภาพการศึกษาภายในของวิทยาลัยแสงธรรม
คาทอลิกต่อผลการประเมินคุณภาพภายนอก ของวิทยาลัยแสงธรรม 2. เพื่อศึกษาความคิดเห็นของชุมชน คาทอลิกที่มีต่อสภาพการดำเนินการประกัน คุณภาพภายในสถานศึกษาของวิทยาลัยแสงธรรม ขอบเขตการวิจัย ขอบเขตด้านประชากร 1. ผู้ทรงคุณวุฒิ นักวิชาการ ที่ปรึกษาที่เกี่ยวข้องกับการวางระบบ การพัฒนา และประเมิ นระบบการประกันคุณภาพการ ศึกษาภายในวิทยาลัยแสงธรรม 2. คณะกรรมการสภาวิทยาลัยและ คณะกรรมการบริหาร วิทยาลัยแสงธรรม 3. อาจารย์ประจำ/พิเศษ วิทยาลัย แสงธรรม 4. เจ้าหน้าที่/บุคลากรของวิทยาลัย แสงธรรม ที่เกี่ยวข้องกับการวางระบบ และ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพการศึกษา ภายในวิทยาลัยแสงธรรม 5. นักศึกษาที่กำลังศึกษาที่วิทยาลัย แสงธรรม ปีการศึกษา 2552 นิยามศัพท์เฉพาะ 1. หน่ ว ยงานภายนอกวิ ท ยาลั ย
100 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
หมายถึง ฆราวาสผู้นับถือศาสนาคริสต์นิกาย โรมันคาทอลิกในประเทศไทยทั้ง 10 สังฆมณฑล ได้แก่ อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ สังฆมณฑลจันทบุรี อัครสังฆมณฑลท่าแร่-หนอง แสง สังฆมณฑลเชียงใหม่ สังฆมณฑลอุบลราชธานี สังฆมณฑลอุดรธานี สังฆมณฑลนครสวรรค์ สังฆมณฑลสุราษฎร์ธานี สังฆมณฑลราชบุรี และสังฆมณฑลนครราชสีมา 2. หน่วยงานภายในวิทยาลัย หมายถึง นักศึกษาที่จะสำเร็จการศึกษา บัณฑิตที่จบ หลักสูตร อาจารย์ผู้สอน ผู้บริหาร ผู้บังคับ บัญชา หัวหน้างานบัณฑิต และกรรมการสภา วิทยาลัยของภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552 3. นั ก ศึ ก ษา หมายถึ ง นั ก ศึ ก ษา วิทยาลัยแสงธรรม ประจำภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2552 4. ผลการประเมินคุณภาพภายนอก หมายถึง ผลคะแนนการประเมินคุณภาพโดย สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพสถานศึกษา (สมศ.) ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. ทราบความคิดเห็นของชุมชนคาทอลิ ก ต่ อ ผลการประเมิ น คุ ณ ภาพภายนอก ของวิทยาลัยแสงธรรม
วุฒิชัย อ่องนาวา และคณะ
2. ทราบความคิดเห็นของชุมชนคาทอลิกที่มีต่อสภาพการดำเนินการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาของวิทยาลัยแสงธรรม วิธีดำเนินการวิจัย กลุ่มผู้ให้ข้อมูลในการวิจัยครั้งนี้เป็น ชุมชนคาทอลิกในประเทศไทย จำนวน 550 คน สามารถแยกเป็น 2 กลุ่มตามลักษณะ ความเกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานของวิทยาลัย แสงธรรมประกอบด้วย 1. บุคคลจากหน่วยงานของวิทยาลัย คือ บัณฑิตที่จบหลักสูตร อาจารย์ผู้สอน ผู้ บริหาร ผู้บังคับบัญชา หัวหน้างานบัณฑิต และกรรมการสภาวิทยาลัย กำหนดขอบเขต เวลาในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552 จำนวน 400 คน 2. นักศึกษาที่กำลังศึกษาที่วิทยาลัย แสงธรรม ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552 จำนวนทั้งสิ้น 150 คน ดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้ แบบสอบถามสำหรับผู้เชี่ยวชาญเรื่องความ คิ ด เห็ น ที่ มี ต่ อ ผลการประเมิ น คุ ณ ภาพการ ศึกษาวิทยาลัยแสงธรรม มีสาระครอบคลุม ประเด็นต่อไปนี้ 1) ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบ ถาม 2) การดำเนินงานของวิทยาลัยแสงธรรม
และแบบสอบถามสำหรั บ นั ก ศึ ก ษาเรื่ อ ง คุณภาพการศึกษาวิทยาลัยแสงธรรม มีสาระ ครอบคลุ ม ประเด็ น ต่ อ ไปนี้ 1) ข้ อ มู ล ทั่ว ไป ของผูต้ อบแบบสอบถาม 2) การดำเนินงาน ของวิทยาลัยแสงธรรม เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการแจกแบบสอบ ถามให้กับกลุ่มผู้ให้ข้อมูลทั้งทางไปรษณีย์และ ด้วยตนเอง เว้นระยะในการรับคืนประมาณ 1 เดือน จำนวนทั้งสิ้น 550 ฉบับ ได้รับกลับ คืน 545 ฉบับ คิดเป็นร้อยละ 99.09 เมื่อได้ รับแบบสอบถามกลับคืนจึงตรวจสอบความ ครบถ้ ว นของข้ อ มู ล จนครบตามจำนวนที่ กำหนด การวิเคราะห์ข้อมูล นำแบบสอบถาม ทีไ่ ด้มาตรวจสอบความถูกต้องอีกครัง้ หลังจาก นั้ น ทำการบั น ทึ ก ลงรหั ส ในโปรแกรมสำเร็ จ รูป วิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติโดยใช้ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ข้อมูลเชิงคุณภาพใช้การวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) ซึ่งสรุปผลการวิจัย อภิปรายผล และข้อเสนอแนะของการวิจัย ดังนี้ สรุปผลการวิจัย การสำรวจข้อมูลจากแบบสอบถาม จากกลุ่มผู้ให้ข้อมูลในกลุ่มบุคคลจากหน่วย
ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2010/2553 101
การพัฒนาระบบประกันคุณภาพการศึกษาภายในของวิทยาลัยแสงธรรม
งานของวิทยาลัย จำนวน 400 คน ได้รับแบบ สอบถามกลับคืนจำนวน 395 ฉบับ ที่ประเมิน การดำเนินงานของวิทยาลัยจากกรอบผลการ ประเมิ น คะแนนของ สมศ. และข้ อ มู ล การ ดำเนินงานของวิทยาลัย แบ่งผลการประเมิน เป็น 4 ระดับ คือ ดีมาก ดี พอใช้และควรปรับปรุง วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ความถี่และค่าร้อยละ ผลการวิเคราะห์ข้อมูลมีดังนี้ 1. ชุมชนคาทอลิกประเมินการดำเนิน งานของวิ ท ยาลั ย ในมาตรฐานที่ 1 อยู่ ใ น ระดับดีมาก จำนวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ 2.0 ระดับดี จำนวน 32 คน คิดเป็นร้อยละ 8.1 ระดับพอใช้ จำนวน 315 คน คิดเป็นร้อยละ 79.8 ระดับควรปรับปรุง จำนวน 40 คน คิดเป็นร้อยละ 10.1 2. ชุมชนคาทอลิกประเมินการดำเนิน งานของวิทยาลัยในมาตรฐานที่ 2 อยู่ในระดับ ดีมาก จำนวน 28 คน คิดเป็นร้อยละ 7.1 ระดับดี จำนวน 152 คน คิดเป็นร้อยละ 38.5 ระดับพอใช้ จำนวน 195 คน คิดเป็นร้อยละ 49.4 ระดับควรปรับปรุง จำนวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ 5.0 3. ชุมชนคาทอลิกประเมินการดำเนิน งานของวิทยาลัยในมาตรฐานที่ 3 อยู่ในระดับ ดีมาก จำนวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ 5.1 ระดับดี จำนวน 156 คน คิดเป็นร้อยละ 39.5
102 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
ระดับพอใช้ จำนวน 207 คน คิดเป็นร้อยละ 52.4 ระดับควรปรับปรุง จำนวน 12 คน คิดเป็นร้อยละ 3.0 4. ชุมชนคาทอลิกประเมินการดำเนิน งานของวิทยาลัยในมาตรฐานที่ 4 อยู่ในระดับ ดีมาก จำนวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ 2.0 ระดับดี จำนวน 40 คน คิดเป็นร้อยละ 10.1 ระดับพอใช้ จำนวน 247 คน คิดเป็นร้อยละ 62.5 ระดับควรปรับปรุง จำนวน 100 คน คิดเป็นร้อยละ 25.4 5. ชุมชนคาทอลิกประเมินการดำเนิน งานของวิทยาลัยในมาตรฐานที่ 5 อยู่ในระดับ ดีมาก จำนวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 1.0 ระดับดี จำนวน 24 คน คิดเป็นร้อยละ 6.0 ระดับพอใช้ จำนวน 319 คน คิดเป็นร้อยละ 80.8 ระดับควรปรับปรุง จำนวน 48 คน คิดเป็นร้อยละ 12.2 6. ชุมชนคาทอลิกประเมินการดำเนิน งานของวิทยาลัยในมาตรฐานที่ 6 อยู่ในระดับ ดีมาก จำนวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ 2.0 ระดับดี จำนวน 84 คน คิดเป็นร้อยละ 21.3 ระดับพอใช้ จำนวน 271 คน คิดเป็นร้อยละ 68.6 ระดับควรปรับปรุง จำนวน 32 คน คิดเป็นร้อยละ 8.1 7. ชุมชนคาทอลิกประเมินการดำเนิน งานของวิทยาลัยในมาตรฐานที่ 7 อยู่ในระดับ
วุฒิชัย อ่องนาวา และคณะ
ดีมาก จำนวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 1.0 ระดับดี จำนวน 36 คน คิดเป็นร้อยละ 9.1 ระดับพอใช้ จำนวน 243 คน คิดเป็นร้อยละ 61.5 ระดับควรปรับปรุง จำนวน 112 คน คิดเป็นร้อยละ 28.4 การสำรวจข้อมูลจากแบบสอบถาม จากกลุ่มผู้ให้ข้อมูลในกลุ่มบุคคลจากหน่วย งานของวิทยาลัย จำนวน 400 คน ได้รับแบบ สอบถามกลับคืนจำนวน 395 ฉบับ ที่ประเมิน ความสอดคล้ อ งระหว่ า งผลการประเมิ น คะแนนเฉลี่ ย แบบถ่ ว งน้ ำ หนั ก ในแต่ ล ะ มาตรฐานกับผลประเมินของ สมศ. แยกเป็น 2 ประเด็น คือ สอดคล้องและไม่สอดคล้อง วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ความถี่และค่าร้อยละ ผลการวิเคราะห์ข้อมูลมีดังนี้ 1. ชุมชนคาทอลิกประเมินความสอด คล้องการดำเนินงานของวิทยาลัยกับผลการ ประเมินของ สมศ. ในมาตรฐานที่ 1 ว่า ไม่ สอดคล้อง จำนวน 60 คน คิดเป็นร้อยละ 15.2 และเห็นว่าสอดคล้อง จำนวน 335 คน คิดเป็นร้อยละ 84.8 2. ชุมชนคาทอลิกประเมินความสอด คล้องการดำเนินงานของวิทยาลัยกับผลการ ประเมินของ สมศ. ในมาตรฐานที่ 2 ว่า ไม่ สอดคล้อง จำนวน 52 คน คิดเป็นร้อยละ 13.2 และเห็นว่าสอดคล้อง จำนวน 343 คน
คิดเป็นร้อยละ 86.8 3. ชุมชนคาทอลิกประเมินความสอด คล้องการดำเนินงานของวิทยาลัยกับผลการ ประเมินของ สมศ. ในมาตรฐานที่ 3 ว่า ไม่ สอดคล้อง จำนวน 44 คน คิดเป็นร้อยละ 11.1 และเห็นว่าสอดคล้อง จำนวน 351 คน คิดเป็นร้อยละ 88.9 4. ชุมชนคาทอลิกประเมินความสอด คล้องการดำเนินงานของวิทยาลัยกับผลการ ประเมินของ สมศ. ในมาตรฐานที่ 4 ว่า ไม่ สอดคล้อง จำนวน 76 คน คิดเป็นร้อยละ 19.2 และเห็นว่าสอดคล้อง จำนวน 319 คน คิดเป็นร้อยละ 80.8 5. ชุมชนคาทอลิกประเมินความสอด คล้องการดำเนินงานของวิทยาลัยกับผลการ ประเมินของ สมศ. ในมาตรฐานที่ 5 ว่า ไม่ สอดคล้อง จำนวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ 5.1 และเห็นว่าสอดคล้อง จำนวน 375 คน คิดเป็นร้อยละ 94.9 6. ชุมชนคาทอลิกประเมินความสอด คล้องการดำเนินงานของวิทยาลัยกับผลการ ประเมินของ สมศ. ในมาตรฐานที่ 6 ว่า ไม่ สอดคล้อง จำนวน 64 คน คิดเป็นร้อยละ 16.2 และเห็นว่าสอดคล้อง จำนวน 331 คน คิดเป็นร้อยละ 83.8 7. ชุมชนคาทอลิกประเมินความสอด
ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2010/2553 103
การพัฒนาระบบประกันคุณภาพการศึกษาภายในของวิทยาลัยแสงธรรม
คล้องการดำเนินงานของวิทยาลัยกับผลการ ประเมินของ สมศ. ในมาตรฐานที่ 7 ว่า ไม่ สอดคล้อง จำนวน 76 คน คิดเป็นร้อยละ 19.2 และเห็นว่าสอดคล้อง จำนวน 319 คน คิดเป็นร้อยละ 80.8 อภิปรายผล จากผลการวิจัยที่นำเสนอข้างต้น ที่ ผู้ ต อบแบบสำรวจได้ ต อบแบบประเมิ น การ ดำเนิ น งานของวิ ท ยาลั ย จากกรอบผลการ ประเมินคะแนนของสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) และข้อมูลการดำเนินงานของวิทยาลัย แบ่งผล การประเมินเป็น 4 ระดับ คือ ดีมาก ดี พอใช้ และควรปรับปรุง ดังรายละเอียดข้างต้น และ มี ผู้ ต อบแบบสำรวจส่ ว นใหญ่ เ ห็ น ว่ า ระบบ ประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษาภายในวิ ท ยาลั ย แสงธรรมเป็นการดำเนินงานที่มีคุณภาพ สอด คล้ อ งกั บ การประเมิ น ของสำนั ก งานรั บ รอง มาตรฐานและประเมิ น คุ ณ ภาพการศึ ก ษา (สมศ.) ที่ได้ตรวจประเมินวิทยาลัยแสงธรรม รอบที่สอง ในปีการศึกษา 2550 เป็นที่น่าสังเกตว่าผู้ตอบแบบสำรวจได้ติดตามการดำเนิน งานของวิทยาลัยแสงธรรมอย่างต่อเนื่อง โดย เฉพาะผูต้ อบแบบสำรวจทีม่ ปี ระสบการณ์เกีย่ ว ข้องกับการทำงานตามระบบประกันคุณภาพ
104 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
ภายในของสถาบันการศึกษาในระดับต่างๆ อย่ า งไรก็ ต าม ผลการวิ จั ย ที่ ผู้ ต อบ แบบสำรวจจะมี ค วามคิ ด เห็ น ว่ า การดำเนิ น งานตามระบบประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษา ภายในของวิ ท ยาลั ย แสงธรรมไม่ ค วรจำกั ด กรอบการประเมิ น แต่ เ พี ย งแนวทางการ ประเมินจากสำนักงานรับรองมาตรฐานและ ประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) หรือจาก สำนั ก งานคณะกรรมการการอุ ด มศึ ก ษา (สกอ.) เท่านั้น เนื่องจากวิทยาลัยแสงธรรม เป็นสถาบันอุดมศึกษาเฉพาะทาง ที่มุ่งผลิต บัณฑิตสู่การเป็นศาสนบริกรของคริสต์ศาสนจักร จึงจำเป็นต้องนำแนวทางและการเปิด โอกาสให้เครือข่ายของคริสต์ศาสนจักรมีส่วน ร่วมในการจัดระบบและประเมินคุณภาพการ ศึกษาภายในวิทยาลัยแสงธรรมควบคู่ไปด้วย เพื่ อ สนองตามเจตนารมณ์ ข องสภาประมุ ข แห่ ง บาทหลวงโรมั น คาทอลิ ก แห่ ง ประเทศไทยทีจ่ ดั ตัง้ วิทยาลัยแสงธรรม เพือ่ รับใช้คริสต์ศาสนจักรในบริบทสังคมไทย ข้อเสนอแนะ ข้อเสนอแนะในการนำผลการวิจัยไปใช้ 1. มาตรฐานด้านการบริการวิชาการ นั ก ศึ ก ษาเห็ น ว่ า การบริ ก ารวิ ช าการของ วิทยาลัยควรมุ่งเน้นการผลิตบัณฑิตเฉพาะทาง
วุฒิชัย อ่องนาวา และคณะ
ให้สอดคล้องกับวิสัยทัศน์และเอกลักษณ์ของ วิทยาลัย นอกจากนี้ ในเรื่องของการจัดการ ศึกษาควรมุ่งเน้นด้านวิชาการให้เข้มข้น เช่น การจัดงานวิชาการของวิทยาลัย จากปีละครั้ง เป็นเดือนละครั้ง อีกทั้งส่งเสริมการศึกษาใน ลั ก ษณะที่ เ ปิ ด กว้ า งโดยจั ด ให้ อ าจารย์ ห รื อ นักศึกษาไปดูงานวิทยาลัยทั้งในและต่างประเทศที่มีลักษณะการบริการวิชาการที่คล้ายกัน เพื่ อ นำข้ อ มู ล ที่ ไ ด้ ม าพั ฒ นามาตรฐานการ บริการวิชาการให้มีคุณภาพต่อไป 2. มาตรฐานด้ า นงานวิ จั ย และงาน สร้างสรรค์ นอกจากผลการประเมินคุณภาพ ภายนอกรอบสองโดยสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) ที่ ให้คะแนนมาตรฐานด้านการบริหารวิชาการ อยู่ในระดับพอใช้แล้ว ยังมีมาตรฐานด้านการ วิจัยและงานสร้างสรรค์อีกด้วย เกี่ยวกับข้อ เสนอแนะในเรื่องนี้ นักศึกษาแสดงความคิด เห็นไว้อย่างน่าสนใจแยกเป็นประเด็นต่างๆ ดังนี้ 2.1 ประเด็นการดำเนินงานวิจัยและ งานสร้างสรรค์ - ควรสร้างขั้นตอนการทำงาน วิจัยที่ชัดเจน - รวบรวมและส่งเสริมการทำงานที่เป็นระบบ
- พัฒนาแหล่งค้นคว้าให้มีบรรยากาศที่เหมาะสม - สร้างสื่อใหม่ๆ - ใช้เทคโนโลยีเพื่อเผยแพร่งาน วิจัยทั้งของนักศึกษาและคณาจารย์ 2.2 ประเด็นด้านการพัฒนาบุคลากร - ควรให้มีที่ปรึกษาด้านงานวิจัย - ให้มีผู้เชี่ยวชาญเฉพาะในด้าน งานวิจัยหรือสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องกับการทำ วิจัย - อำนวยความสะดวกในการ ปรึกษาข้อมูลการทำวิจัย - เพิ่มจำนวนงานวิจัย - มีบุคลากรประจำด้านงานวิจัย เพื่อให้ความรู้แก่นักศึกษา - เน้นให้นักศึกษาทำงานวิจัย - จั ด อบรมด้ า นการทำวิ จั ย แก่ นักศึกษาและคณาจารย์ 2.3 ประเด็นด้านการใช้และการเผย แพร่ - เผยแพร่งานวิจัยเด่นๆ สู่ สาธารณชน - สร้างระบบจัดเก็บข้อมูลให้มี คุณภาพ สามารถสืบค้นได้ - ใช้สื่อทันสมัยเพื่อเผยแพร่งาน วิจัย
ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2010/2553 105
การพัฒนาระบบประกันคุณภาพการศึกษาภายในของวิทยาลัยแสงธรรม
- นำเสนอผลงานวิจยั ในทีป่ ระชุม วิชาการระดับชาติ/นานาชาติ - ร่วมมือกับหน่วยงานคาทอลิก เพื่อร่วมผลิตงานวิจัย - สร้างงานวิจัยเฉพาะด้านที่ตรง กับเอกลักษณ์ของศูนย์วิจัยฯ - ใช้งานวิจัยสร้างตำแหน่งทาง วิชาการ 2.4 ประเด็นด้านการใช้และการเผย แพร่ - เพิ่มทุนการทำวิจัยแต่ละปีให้ มากขึ้น - พัฒนางานวิจัย ข้อเสนอแนะในการวิจัยครั้งต่อไป 1. ควรเพิ่มประเด็นการศึกษาในเรื่อง ของการประเมินคุณภาพของสถานศึกษาให้ มีความเจาะจงมากขึ้น เช่น การศึกษาเฉพาะ เรื่องของการพัฒนาบัณฑิต ฯลฯ 2. ควรศึกษาโดยวิเคราะห์ข้อมูลของ แต่ละกลุ่มผู้ให้ข้อมูลเพื่อแยกแยะให้เห็นความ แตกต่างของน้ำหนักคะแนนในแต่ละกลุ่ม
106 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
บรรณานุกรม กองบรรณาธิการ. 2549. วารสารแสงธรรม ปริทัศน์ ปีที่ 30 ฉบับที่ 3 กันยายน – ธันวาคม 2549. นครปฐม: วิทยาลัยแสงธรรม คณะกรรมการดำเนินงานประกันคุณภาพการ ศึกษาภายในวิทยาลัยแสงธรรม. 2550. รายงานการประชุม คณะกรรมการดำเนินงานประกัน คุณภาพการศึกษาภายในวิทยาลัย แสงธรรม. นครปฐม: วิทยาลัย แสงธรรม. คณะผู้ตรวจประเมิน. 2551. รายงานการ ตรวจประเมินคุณภาพ วิทยาลัย แสงธรรม. เอกสารถ่ายสำเนา. พงศ์เทพ จิระโร. 2547. การพัฒนาระบบ ประกันคุณภาพภายในสำหรับ การศึกษาเฉพาะทางของกองทัพเรือ. วิธีวิทยาการวิจัย ปีที่ 17 ฉบับที่ 3 กันยายน–ธันวาคม 2547. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. 2550. คู่มือการประกันคุณภาพการ ศึกษาภายในสถานศึกษาระดับอุดม ศึกษา. เอกสารประกอบการประชุม สัมมนา (8 มีนาคม 2550).
วุฒิชัย อ่องนาวา และคณะ
สำนักงานคณะมนุษยศาสตร์และศาสน ศาสตร์. 2550. คู่มือการประกัน คุณภาพการศึกษาภายในฯ สาขา วิชาปรัชญาและศาสนา ปีการศึกษา 2550. นครปฐม: วิทยาลัยแสงธรรม. สำนักงานคณะมนุษยศาสตร์และศาสน ศาสตร์. 2551. คู่มือการประกัน คุณภาพการศึกษาภายในฯ สาขา วิชาปรัชญาและศาสนา ปีการศึกษา 2551. นครปฐม: วิทยาลัยแสงธรรม. สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมิน คุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน). 2549. คู่มือการประเมินคุณภาพ ภายนอกระดับอุดมศึกษา. กรุงเทพฯ : บริษัทจุดทองจำกัด. สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมิน คุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน). 2544. จุลสาร สมศ. ฉบับที่ 1 ประจำ เดือนมิถุนายน – กรกฎาคม 2544. สำนักอธิการบดี. 2549. คู่มือการศึกษา วิทยาลัยแสงธรรม. นครปฐม: วิทยาลัยแสงธรรม. สำนักอธิการบดี. 2550. คู่มือการศึกษา วิทยาลัยแสงธรรม. นครปฐม: วิทยาลัยแสงธรรม.
สำนักอธิการบดี. 2549. ระบบการศึกษา อบรมของวิทยาลัยแสงธรรม : เอกสารประกอบการศึกษาดูงาน. นครปฐม: วิทยาลัยแสงธรรม. Apostolic Constitution Sacrae Disciplinae Leges. 1983. Code of Canon Law. Washington, D.C.: Braun-Brumfield, Inc. Walter M. Abbott, S.J. (Ed.). 1966. The Documents of Vatican II. New York: Guild. การสัมภาษณ์/ฟังบรรยาย แลกเปลี่ยนความ คิดกับผู้ทรงคุณวุฒิ ศ. กีรติ บุญเจือ. (4 เม.ย. 2551) ห้องประชุม 1 สำนักอธิการบดี วิทยาลัยแสงธรรม ศ.ปรีชา ช้างขวัญยืน. (4 ก.พ. 2551) ที่ห้องประชุมคณาจารย์ วิทยาลัยแสงธรรม ผศ.ดร.วรยุทธ ศรีวรกุล (28 ก.พ. 2551) ห้องประชุมคณาจารย์ วิทยาลัยแสงธรรม และ (8 มี.ค. 2551) ห้องทำงานคณบดี คณะปรัชญาและศาสนา มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ
ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2010/2553 107
ปัจ(พ.ศ.จัยทีส่ 2554-2568) ง่ ผลต่อการวางแผนระยะยาว 15 ปี วิทยาลัยแสงธรรม
TPlanning he Factors Affecting the 15 Year-Long Term (2011-2025) of Saengtham College บาทหลวง ดร.ชาติชาย พงษ์ศิริ
Rev.Dr.Chatchai Pongsiri
บาทหลวงไชโย กิจสกุล
Rev.chaiyo kitsakul
บาทหลวงวุฒิชัย อ่องนาวา
Rev.Wuttichai Ongnawa
บาทหลวงวิรัช นารินรักษ์
Rev.Wirat Narinrak
บาทหลวงธรรมรัตน์ เรือนงาม
Rev.Thamarat Ruanngam
พีรพัฒน์ ถวิลรัตน์ พิเชษฐ รุ้งลาวัลย์ ทิพยา แสงไชย ลัดดาวรรณ์ ประสูตร์แสงจันทร์ ทิพอนงค์ รัชนีลัดดาจิต จิตรา กิจเจริญ ปนัดดา ชัยพระคุณ
Peerapat Thawinrat Pichet Runglawan Tipaya Seangchai Laddawan Prasootsaengchan Thip-anong Ratchaneelatdachit Chittra Kitcharoen Panadda Chaiprakhun
* บาทหลวงในคริสต์ศาสนจักรโรมันคาทอลิก สังฆมณฑลจันทบุรี * อธิการบดี วิทยาลัยแสงธรรม
* บาทหลวงในคริสต์ศาสนจักรโรมันคาทอลิก อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ * รองอธิการบดีฝ่ายบริหาร วิทยาลัยแสงธรรม
* บาทหลวงในคริสต์ศาสนจักรโรมันคาทอลิก สังฆมณฑลราชบุรี * บาทหลวงในคริสต์ศาสนจักรโรมันคาทอลิก สังฆมณฑลท่าแร่-หนองแสง * คณบดีคณะศาสนศาสตร์
* บาทหลวงในคริสต์ศาสนจักรโรมันคาทอลิก สังฆมณฑลจันทบุรี * อาจารย์ประจำคณะมนุษยศาสตร์ วิทยาลัยแสงธรรม
* Reverend in Roman Catholic Church, Chanthaburi Diocese. * President of Saengtham College. * E-mail : chart09@hotmail.com * Reverend in Roman Catholic Church, Bangkok Archdiocese. * Vice President for Administrative Affairs, Saengtham College. * Reverend in Roman Catholic Church, Ratchaburi Diocese. * Reverend in Roman Catholic Church, Thare-Nongseng Archdiocese. * Dean, Faculty of Religious Studies, Saengtham College. * Reverend in Roman Catholic Church, Chanthaburi Diocese. * Lecturer at Saengtham College.
ชาติชาย พงษ์ศิริ และคณะ
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการ วางแผนระยะยาว 15 ปีของวิทยาลัยแสงธรรมในด้าน 1) ปัจจัยภาย นอก (External Factors) 2) ปัจจัยภายใน (Internal Factors) 3) ภาพรวมอนาคตทิศทางการพัฒนาวิทยาลัยแสงธรรมในด้านวิชาการ 4) ด้านโครงสร้างและการบริหาร 5) ทางด้านสังคมและความเป็นมนุษย์ ที่สมบูรณ์ดั่งเจตนารมณ์ของสถาบันการศึกษา กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ สังฆราช/อุปสังฆราช อธิการเจ้าคณะ อธิการบ้านอบรม กรรมการสภา วิทยาลัย ผู้ให้การอบรม ศิษย์เก่าวิทยาลัยแสงธรรมและตัวแทนจาก องค์กรคาทอลิก จำนวน 120 คน การเก็บรวบรวมข้อมูลใช้แบบสอบ ถาม การวิเคราะห์ข้อมูลใช้ค่าความถี่ รอยละและวิเคราะห์ข้อมูลเชิง คุณภาพโดยใช้การวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า 1. ข้อมูลความเห็นเกี่ยวกับปัจจัยภายนอกที่น่าจะมีผลกระทบ ต่อทิศทางการพัฒนาวิทยาลัยแสงธรรมในอนาคต เรียงตามลำดับห้า ลำดับแรกได้ดังนี้ 1.1 กรอบ/บริ บ ท/แนวทาง/นโยบายและเจตนารมณ์ ของคริสต์ศาสนจักรในประเทศไทย 1.2 การดำรงชี วิ ต ของสั ง คมไทยเปลี่ ย นแปลงไปตาม กระแสโลกกลายเป็นสังคมบริโภคนิยมและวัตถุนิยมทำให้การศึกษา ทางด้านศาสนาและวัฒนธรรมอันดีงามลดน้อยลงไป 1.3 สังคมไทยในกระแสโลกาภิวัตน์ที่ยึดเศรษฐกิจเป็นตัว นำเพื่อแสวงหาอำนาจและทรัพย์สินเข้าสู่ตนเองและพวกพ้องโดยอาศัย ความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแบบก้าวกระโดด และอย่างต่อเนื่อง
ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2010/2553 109
ปัจจัยที่ส่งผลต่อการวางแผนระยะยาว 15 ปี (พ.ศ.2554-2568) วิทยาลัยแสงธรรม
1.4 สือ่ มวลชนและเทคโนโลยีสารสนเทศทัง้ จากภายในและ ภายนอกประเทศ 1.5 กรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ปีฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2551-2565) มีการปรับแผนเป็นระยะๆ ขึ้นอยู่กับนโยบายการจัดการ ศึกษาตามการเมืองที่เปลี่ยนไปตามนโยบายของรัฐบาลแต่ละสมัย 2. ข้อมูลความเห็นเกีย่ วกับปัจจัยภายในทีน่ า่ จะมีผลกระทบต่อ ทิศทางการพัฒนาวิทยาลัยแสงธรรมในอนาคต เรียงตามห้าลำดับแรก ได้ดังนี้ 2.1 ข้อกำหนด กรอบ แนวทาง และนโยบายของวิทยาลัย แสงธรรม 2.2 ความอ่อนแอของการสร้างองค์ความรู้ นวัตกรรมและ การวิจัยเพื่อการพัฒนาคุณภาพบัณฑิตในระดับสากล 2.3 ความร่วมมือและการแลกเปลีย่ นเรียนรูร้ ะหว่างผูบ้ ริหาร และคณาจารย์อย่างต่อเนื่องเพื่อการวางแผนระยะยาว 2.4 การเป็นสถาบันเฉพาะทางที่มุ่งเน้นการผลิตบัณฑิตสู่ การเป็นบาทหลวง นักบวชและครูคำสอนเท่านั้น 2.5 วาระการเป็นผู้บริหารและอาจารย์ประจำไม่นานพอ ต่อการพัฒนาวิทยาลัยอย่างต่อเนื่อง 3. ข้อมูลความเห็นเกี่ยวกับภาพรวมอนาคตทิศทางการพัฒนา ด้านวิชาการทีน่ า่ จะมีผลกระทบต่อทิศทางการพัฒนาวิทยาลัยแสงธรรม ในอนาคต เรียงตามห้าลำดับแรกได้ดังนี้ 3.1 การพัฒนามาตรฐานทางวิชาการ การเรียนการสอน และศักยภาพการเป็นผูน้ ำทีส่ อดคล้องกับความต้องการของคริสต์ศาสนจักรในประเทศไทย 3.2 การสนับสนุนและส่งเสริมการวิจยั สร้างองค์ความรูใ้ หม่ ด้านปรัชญาและศาสนาและสามารถนำไปประยุกต์ใช้และพัฒนาใน
110 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
ชาติชาย พงษ์ศิริ และคณะ
ด้านการศึกษา/จิตวิทยา ด้านศิลปวัฒนธรรม ด้านสุขภาพกายและจิต ด้านชุมชน/ครอบครัว และด้านสิ่งแวดล้อม 3.3 การพัฒนาคุณภาพบัณฑิตสู่ความเป็นเลิศทางวิชาการ ด้านปรัชญา ศาสนาและเทววิทยาในระดับสากลมีความสามารถในการ วิเคราะห์ การสังเคราะห์ การติดต่อสื่อสาร การตัดสินใจเชิงคุณค่า การเรียนรู้สิ่งใหม่ 3.4 ขยายการผลิตบัณฑิตทั้งระดับปริญญาตรีและระดับ บัณฑิตศึกษาในสาขาวิชาที่วิทยาลัยมีความพร้อมและสนองนโยบาย ของคริสต์ศาสนจักรในประเทศไทย 3.5 การพัฒนากิจกรรมนักศึกษาให้เกิดการเรียนรู้อย่างมี ความสุข มีความเป็นผู้นำ ทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และมีจิตสำนึกผูกพัน กับวิทยาลัย 4. ข้อมูลความเห็นเกี่ยวกับภาพรวมอนาคตทิศทางการพัฒนา ด้านโครงสร้างและการบริหารที่น่าจะมีผลกระทบต่อทิศทางการพัฒนา วิทยาลัยแสงธรรมในอนาคต เรียงตามห้าลำดับแรกได้ดังนี้ 4.1 การพัฒนาระบบการบริหารเพื่อให้วิทยาลัยบรรลุผล ตามเป้าหมายในการดำเนินงานทุกๆ ด้าน โดยจัดระบบให้โปร่งใส ตรวจ สอบได้ มีประสิทธิภาพและบุคลากรมีส่วนร่วม 4.2 การพัฒนาทรัพยากรบุคคลในวิทยาลัยโดยยึดหลัก “คนเป็นศูนย์กลางของการพัฒนา” 4.3 ผู้นำมีความสามารถในการบริหารอย่างมีประสิทธิภาพ และเข้าใจบทบาทของตนและของสถาบัน 4.4 การสนับสนุนสถาบันใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสารเพื่อการเข้าถึง เพื่อการเรียนรู้เฉพาะตัวไปจนถึงการเรียนรู้ของ มวลชน
ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2010/2553 111
ปัจจัยที่ส่งผลต่อการวางแผนระยะยาว 15 ปี (พ.ศ.2554-2568) วิทยาลัยแสงธรรม
4.5 ผู้บริหารมีความมุ่งมั่นและจริงใจในการแก้ปัญหาและ พร้อมที่เผชิญกับความผิดพลาดอันอาจเกิดขึ้นในอนาคต 5. ข้อมูลความเห็นเกี่ยวกับภาพรวมอนาคตทิศทางการพัฒนา ภาพรวมเรื่องวิวัฒนาการทางด้านสังคมและความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ ดั่งเจตนารมณ์ของสถาบันการศึกษา เรียงตามห้าลำดับแรกได้ดังนี้ 5.1 การพัฒนาคุณภาพบัณฑิตให้เป็นผู้ประพฤติดี มีวิสัยทัศน์ คุณธรรมจริยธรรม สุนทรียภาพ ความรับผิดชอบ และมีบคุ ลิกภาพ เหมาะสมกับศาสนบริกรทางคริสต์ศาสนา 5.2 การพัฒนานักศึกษาด้วยหลักธรรมคำสอนของคริสต์ศาสนจักรที่เน้นความรัก การรับใช้และความสุภาพถ่อมตนเพื่อเป็น บัณฑิตสำหรับภารกิจของศาสนบริกรที่ทรงคุณค่า 5.3 การบูรณาการด้านการศึกษาอบรมเพือ่ เสริมสร้างบุคลากร ของคริสต์ศาสนจักรตามนโยบายของสภาประมุขแห่งบาทหลวงโรมัน คาทอลิก ประเทศไทย 5.4 การส่งเสริมและพัฒนาคณาจารย์ประจำของวิทยาลัย ให้มีความเป็นเลิศทางวิชาการพร้อมกับการพัฒนาบุคลากรสายอื่นๆ ให้มีความรู้ ความสามารถเหมาะสมและสอดคล้องกับตำแหน่ง ภาระ หน้าที่และความรับผิดชอบ 5.5 การสร้างความพร้อมเพื่อเปิดโลกทัศน์สำหรับบัณฑิต ในภาวะโลกาภิวัตน์ด้านภาษาและวัฒนธรรมให้รู้และเห็นคุณค่าของ พหุลักษณ์และพหุวัฒนธรรมซึ่งเป็นการสร้างองค์ความรู้ ความเข้าใจ สำหรับสังคมไทยโดยรวม คำสำคัญ :
112 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
1) แผนระยะยาว 3) ปัจจัยที่ส่งผล
2) วิทยาลัยแสงธรรม
ชาติชาย พงษ์ศิริ และคณะ
Abstract
This research objective is to study the factors affecting the 15-year-long term planning of Saengtham College in these aspects: 1) External factors 2) Internal factors 3) Future perspective of the academic development directions of Saengtham College 4) Structure and administration 5) Society and complete humanity along the institute’s intentions. The representative samples are 120 persons, who are Bishops/Vicar generals, Provincial superiors, Rectors of Seminaries/novitiate houses, committees of college council, Formators, Saengtham College’s alumni and representatives from Catholic organization. The information collection was made by the questionnaire distribution. The frequency and percentage were used for the information analysis. Furthermore, the qualitative information was made by content analysis. The research results are found as follows: 1. The information on external factors that may be affecting the development direction of Saengtham College in the future is as the following: 1.1 Scope/context/method/policy and purpose of Christian Church in Thailand. 1.2 Living of Thai society that be changed by global currents becoming the society of consumptionism and materialism which are making the religious and cultural education to be down.
ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2010/2553 113
ปัจจัยที่ส่งผลต่อการวางแผนระยะยาว 15 ปี (พ.ศ.2554-2568) วิทยาลัยแสงธรรม
1.3 Thai society of globalization current adhering the economy as conductor to seek the prestige and asset for self and relatives by applying the rapid advancement of science and technology. 1.4 Public medias and information technology from both of national and international ones. 1.5 Scope of 15-year-long term planning : 2nd issue (2008-2022) having to revise by phases depend on the changed policies of educational administration along each age of government. 2. The information on internal factors that may be affecting the development direction of Saengtham College in the future is as the following: 2.1 Criteria/scope/method and policy of Saengtham College. 2.2 Weakness of knowledge building, innovation and research for quality development of graduates at the international level. 2.3 Cooperation and knowledge exchange between the administrators and staffs of lecturers for continuous long-term planning. 2.4 Being the specific institute to directly produce the graduates who will be the priests and catechetical teachers only. 2.5 Period of holding the positions of administrators and lecturers not be long enough to continuously develop the College.
114 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
ชาติชาย พงษ์ศิริ และคณะ
2.6 Weakness of communication, the heads could not make the same understanding to whom it concerns clearly. 3. The information on future perspective of the academic development directions that may be affecting the development direction of Saengtham College in the future is as the following: 3.1 Development for academic/education standards and efficiency of heads that be concerning the requirement of Christian Church in Thailand. 3.2 Contribution and Promotion for research, new knowledge on philosophy and religions involving the application and development for education/psychology, art/culture, physical/mental health, community/family and environment. 3.3 Quality development of graduates for excellence on philosophy, religions and theology at the international level, to have the ability of analysis/communication/making decision for values and erudition. 3.4 Extension of production of graduates both bachelor and master degrees in programs which the College be ready to respond the policies of Christian Church in Thailand. 3.5 Development of student’s activities to build happy learning, leadership, teamwork and consciousness in the College.
ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2010/2553 115
ปัจจัยที่ส่งผลต่อการวางแผนระยะยาว 15 ปี (พ.ศ.2554-2568) วิทยาลัยแสงธรรม
4. The information on future perspective of development directions for structure and administration that may be affecting the development direction of Saengtham College in the future as followings: 4.1 Development for administrative systems to achieve the goal in every operation by managing the systems with transparency, accountability, efficiency and participation. 4.2 Development for human resources in the College by holding the principle “People are the center of development” 4.3 Being the heads who have the ability of efficient administration and understanding of the roles both of self and institute. 4.4 Institute promotion applying the information technology and communication to reach and learn generally and publicly. 4.5 Administrators have the spirit and honesty to solve the problems and be ready to face the mistakes in the future. 5. The information on future perspective of development directions for evolution of society and complete humanity along the institute’s intentions is as the following: 5.1 Quality development of graduates to have good behaviors, vision, virtue, aesthetics, responsibility and appropriate personality for Christian minister.
116 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
ชาติชาย พงษ์ศิริ และคณะ
5.2 Student development with Christian doctrine of the Church which focus on love, serve and humbleness for being the graduates to do the religious rituals 5.3 Educational and training integration for strengthening the staffs of Christian Church along the policies of The Catholic Bishops’ Conference of Thailand. 5.4 Promotion and development for permanent lecturers of the College to have excellence on academic matters, and for other staffs to have the knowledge and suitable abilities concerning their positions, duties and responsibilities. 5.5 Building of readiness for opening the world outlook of graduates in globalization on languages and cultures to acknowledge the plural identity and multiculture which help to build the knowledge and understanding for overall Thai society. Keywords : 1) The long term planning 2) Saengtham college 3) The Factors Affecting
ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2010/2553 117
ปัจจัยที่ส่งผลต่อการวางแผนระยะยาว 15 ปี (พ.ศ.2554-2568) วิทยาลัยแสงธรรม
ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา การจัดทำแผนระยะยาวเป็นพันธกิจ ที่ เ หมาะสมแก่ ก าลเวลาและจำเป็ น ต่ อ การ พัฒนาระบบอุดมศึกษาไทยไปสู่อนาคตที่เต็ม ไปด้วยความเปลีย่ นแปลงและความไม่แน่นอน หากออกแบบระบบอุดมศึกษาที่เหมาะสมกับ สภาพสังคมไทย พร้อมกับติดตั้งระบบเพื่อขับ เคลื่อนระบบอุดมศึกษาอย่างก้าวกระโดดก็จะ เป็นปัจจัยสำคัญในการพัฒนาประเทศ สมดัง เจตนารมณ์ที่มุ่งให้คนไทยเป็นศูนย์กลางการ พัฒนา ได้ทั้งการสร้างความเข้มแข็งในระบบ เศรษฐกิจที่สามารถแข่งขันได้และการสร้าง คุณภาพชีวติ ทีด่ ใี ห้กบั ประชาชนและสังคมไทย (วิชาญ พานิช, 2551) วิทยาลัยแสงธรรมในฐานะเป็นสถาบัน การศึกษาระดับอุดมศึกษาเห็นความจำเป็นใน การพัฒนาสถาบันท่ามกลางความเปลีย่ นแปลง และความไม่แน่นอน การศึกษาปัจจัยที่มีผล ต่อการวางแผนระยะยาว 15 ปีของวิทยาลัย (พ.ศ.2554-2568) จะเป็นข้อมูลพืน้ ฐานในการ สร้างแนวทางเพื่อช่วยให้วิทยาลัยแสงธรรม ก้าวทันต่อความเปลี่ยนแปลงของสังคมโลกได้ อย่างมีอัตลักษณ์ วัตถุประสงค์การวิจัย เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการวางแผน
118 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
ระยะยาว 15 ปีของวิทยาลัยแสงธรรมในด้าน 1. ปัจจัยภายนอก (External Factors) ที่คาดว่าจะมีผลกระทบต่อทิศทางการ พัฒนาวิทยาลัยแสงธรรมในอนาคตประมาณ 15 ปีข้างหน้า (พ.ศ. 2554-2568) 2. ปัจจัยภายใน (Internal Factors) ที่คาดว่าจะมีผลกระทบต่อทิศทางการพัฒนา วิทยาลัยแสงธรรมในอนาคตประมาณ 15 ปี ข้างหน้า (พ.ศ. 2554-2568) 3. ภาพรวมอนาคตทิศทางการพัฒนา วิทยาลัยแสงธรรมในด้านวิชาการ 4. ภาพรวมอนาคตทิศทางการพัฒนา วิทยาลัยแสงธรรมในด้านโครงสร้างและการ บริหาร 5. ภาพรวมวิวฒ ั นาการทางด้านสังคม และความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ดั่งเจตนารมณ์ ของสถาบันการศึกษา การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนา เพื่อศึกษาความคิดเห็นของชุมชนคาทอลิกต่อ ปัจจัยที่มีผลต่อการวางแผนระยะยาว 15 ปี ของวิทยาลัยแสงธรรม (พ.ศ. 2554-2568) ข้ อ มู ล ที่ ไ ด้ จ ะเป็ น แนวทางพั ฒ นาวิ ท ยาลั ย แสงธรรมให้มีก้าวทันต่อความเปลี่ยนแปลง ของสังคมโลกอย่างมีอัตลักษณ์
ชาติชาย พงษ์ศิริ และคณะ
ขอบเขตด้านเนื้อหา การวิจัยนี้มุ่งศึกษาความคิดเห็นของ ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับวิทยาลัย ต่อปัจจัยที่มีผล ต่อการวางแผนระยะยาว 15 ปีของวิทยาลัย แสงธรรม (พ.ศ. 2554-2568) โดยมีประเด็น ศึกษากำหนดจากเนื้อหาต่างๆ ดังนี้ 1. ปัจจัยภายนอก (External Factors) ได้กำหนดประเด็นการศึกษาจากเนื้อหา เรื่อง 1.1 นโยบายด้านการจัดการศึกษา ของคริสต์ศาสนจักร/สภาพระสังฆราช/สังฆมณฑล/หน่วยงานการศึกษาคาทอลิก 1.2 นโยบายด้านการจัดการศึกษา ของสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) และสำนักงานรับรองมาตรฐานและ ประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) 2. ปัจจัยภายใน (Internal Factors) ได้กำหนดประเด็นศึกษาจากเนื้อหาเรื่อง 2.1 ทิศทางงานอภิบาลคริสตศักราช 2000 ของคริสต์ศาสนจักรคาทอลิกใน ประเทศไทย สำหรับ ค.ศ. 2000-2010 2.2 ข้อกำหนดของสำนักงานคณะ กรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) และสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการ ศึกษา (สมศ.)
ขอบเขตด้านประชากร ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็น กลุ่มบุคคลที่มีความเกี่ยวข้องกับการดำเนิน ในวิทยาลัยแสงธรรมประจำภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2551 ประกอบด้วย 1. สังฆราช/อุปสังฆราช 2. อธิการเจ้าคณะนักบวชในประเทศ ไทย 3. อธิการบ้านอบรม (บ้านเณรเล็ก/ บ้านเณรกลาง/บ้านนักบวช) 4. กรรมการสภาวิทยาลัย 5. ผู้ให้การอบรม 6. ศิษย์เก่าวิทยาลัยแสงธรรม 7. องค์กรคาทอลิก นิยามศัพท์เฉพาะ 1. แผนระยะยาว หมายถึง แผน สำหรับชี้ทิศทางเชิงยุทธศาสตร์ของวิทยาลัย แสงธรรมในอีก 15 ปีข้างหน้า (พ.ศ.25542568) 2. ปัจจัยภายนอก หมายถึง ภาวะ แวดล้อมที่มีอิทธิพลในการดำเนินการจัดการ ศึกษาอบรมของวิทยาลัยแสงธรรม ในทีน่ ศ้ี กึ ษา ขอบข่ายเรื่องสภาพสังคม เศรษฐกิจ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 3. ปัจจัยภายใน หมายถึง ภาวะ
ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2010/2553 119
ปัจจัยที่ส่งผลต่อการวางแผนระยะยาว 15 ปี (พ.ศ.2554-2568) วิทยาลัยแสงธรรม
แวดล้อมที่มีอิทธิพลในการดำเนินการจัดการ ศึกษาอบรมของวิทยาลัยแสงธรรม ในทีน่ ศ้ี กึ ษา ขอบข่ายเรื่องศาสนา ประโยชน์ที่ได้รับจากการวิจัย 1. ได้ทราบความคิดเห็นของผู้มีส่วน เกี่ยวข้องของวิทยาลัยเกี่ยวกับการดำเนินงาน ของวิทยาลัยในภาพรวม 2. ได้ทราบข้อมูลด้านปัจจัยภายนอก ที่ น่ า จะมี ผ ลกระทบต่ อ ทิ ศ ทางการพั ฒ นา วิทยาลัย 3. ได้ทราบข้อมูลด้านปัจจัยภายในที่ น่าจะมีผลกระทบต่อทิศทางการพัฒนาวิทยาลัย 4. ได้ ท ราบข้ อ มู ล ภาพรวมอนาคต ทิศทางการพัฒนาวิทยาลัยแสงธรรมในด้าน วิชาการ ด้านโครงสร้างและการบริหาร 5. ได้ทราบข้อมูลภาพรวมวิวฒ ั นาการ ทางด้านสังคมและความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ ดั่งเจตนารมณ์ของสถาบันการศึกษา 6. เป็นแนวทางในการนำข้อมูลไปใช้ ในการวางนโยบายจัดการศึกษาของวิทยาลัย 7. ได้ข้อมูลพื้นฐานสำหรับปรับปรุง การจั ด การศึ ก ษาของวิ ท ยาลั ย แสงธรรมให้ สามารถตอบสนองต่อความต้องการของสังคม ปัจจุบันได้มากขึ้น
120 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
วิธีดำเนินการวิจัย กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยครั้งนี้ประกอบด้วย สังฆราช/อุปสังฆราช อธิการเจ้าคณะ อธิการบ้านอบรม กรรมการสภาวิทยาลัย ผู้ ให้การอบรม ศิษย์เก่าวิทยาลัยแสงธรรมและ ตัวแทนจากองค์กรคาทอลิก จำนวน 120 คน ซึ่งได้มาจากการสุ่มอย่างง่าย (Simple Random Sampling) ดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้ แบบสอบถามเรื่องปัจจัยที่มีผลกับการจัดทำ แผนระยะยาว 15 ปี วิทยาลัยแสงธรรม มี สาระครอบคลุมประเด็นต่อไปนี้ 1) ข้อมูลทัว่ ไป ของผู้ตอบแบบสอบถาม 2) ปัจจัยภายนอก 3) ปัจจัยภายใน 4) ภาพอนาคต / ทิศทางการ พัฒนา เก็บรวบรวมข้อมูลจากการแจกแบบ สอบถามให้กับกลุ่มตัวอย่างทั้งทางไปรษณีย์ และด้วยตนเอง เว้นระยะในการรับคืนประมาณ 1 เดือน เมื่อได้รับแบบสอบถามกลับคืนจึง ตรวจสอบความครบถ้วนของข้อมูลจนครบตาม จำนวนที่กำหนด การวิเคราะห์ข้อมูล นำแบบสอบถาม ทีไ่ ด้มาตรวจสอบความถูกต้องอีกครัง้ หลังจาก นั้นทำการบันทึกลงรหัสในโปรแกรมสำเร็จรูป วิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติโดยใช้ค่าความถี่ ร้อย ละ ค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์เนือ้ หาจากข้อมูลเชิงคุณภาพ
ชาติชาย พงษ์ศิริ และคณะ
สรุปผลการวิจัย 1. ข้อมูลเกี่ยวกับปัจจัยภายนอกที่น่า จะมีผลกระทบต่อทิศทางการพัฒนาวิทยาลัย แสงธรรมในอนาคต เรียงตามลำดับได้ดังนี้ 1.1 กรอบ/บริบท/แนวทาง/นโยบายและเจตนารมณ์ของคริสต์ศาสนจักรใน ประเทศไทย 1.2 การดำรงชีวิตของสังคมไทย เปลีย่ นแปลงไปตามกระแสโลกกลายเป็นสังคม บริโภคนิยมและวัตถุนิยมทำให้การศึกษาทาง ด้านศาสนาและวัฒนธรรมอันดีงามลดน้อยลง ไป 1.3 สังคมไทยในกระแสโลกาภิวั ต น์ ที่ ยึ ด เศรษฐกิ จ เป็ น ตั ว นำเพื่ อ แสวงหา อำนาจและทรัพย์สินเข้าสู่ตนเองและพวกพ้อง โดยอาศัยความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแบบก้าวกระโดดและอย่างต่อ เนื่อง 1.4 สื่ อ มวลชนและเทคโนโลยี สารสนเทศทัง้ จากภายในและภายนอกประเทศ 1.5 กรอบแผนอุ ด มศึ ก ษาระยะ ยาว 15 ปีฉบับที่ 2 (พ.ศ.2551-2565) มี การปรับแผนเป็นระยะๆ ขึ้นอยู่กับนโยบาย การจัดการศึกษาตามการเมืองที่เปลีย่ นไปตาม นโยบายของรัฐบาลแต่ละสมัย
1.6 นโยบายและแนวทางในการ ดำเนินงานของสังฆมณฑล 1.7 แนวทาง/นโยบายของวั ด คาทอลิก คณะนักบวชและสถาบันการศึกษา คาทอลิก 1.8 นโยบายและแนวทางการ ดำเนินงานของหน่วยงาน/องค์กรคาทอลิก 1.9 แนวทาง/นโยบายของกลุ่ ม และศูนย์ฝึกอบรม 2. ปัจจัยภายในที่น่าจะมีผลกระทบ ต่ อ ทิ ศ ทางการพั ฒ นาวิ ท ยาลั ย แสงธรรมใน อนาคต เรียงตามลำดับได้ดังนี้ 2.1 ข้อกำหนด กรอบ แนวทาง และนโยบายของวิทยาลัยแสงธรรม 2.2 ความอ่อนแอของการสร้าง องค์ความรู้ นวัตกรรมและการวิจัยเพื่อการ พัฒนาคุณภาพบัณฑิตในระดับสากล 2.3 ความร่ ว มมื อ และการแลก เปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างผู้บริหารและคณาจารย์ อย่างต่อเนื่องเพื่อการวางแผนระยะยาว 2.4 การเป็นสถาบันเฉพาะทางที่ มุ่ ง เน้ น การผลิ ต บั ณ ฑิ ต สู่ ก ารเป็ น บาทหลวง นักบวชและครูคำสอนเท่านั้น 2.5 วาระการเป็ น ผู้ บ ริ ห ารและ อาจารย์ประจำไม่นานพอต่อการพัฒนาวิทยาลัยอย่างต่อเนื่อง
ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2010/2553 121
ปัจจัยที่ส่งผลต่อการวางแผนระยะยาว 15 ปี (พ.ศ.2554-2568) วิทยาลัยแสงธรรม
2.6 การปฏิรปู และการพัฒนาขาด เป้าหมายหลักที่ชัดเจนทำให้ขาดแนวทางใน การดำเนินงานระยะยาว 2.7 คุ ณ วุ ฒิ แ ละตำแหน่ ง ทาง วิชาการของอาจารย์ประจำตามมาตรฐานที่ สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) และสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมิน คุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) (สมศ.) กำหนด 2.8 ประสิทธิภาพในการบริหาร และผูน้ ำทีเ่ ข้มแข็งทีก่ ล้าตัดสินใจในการเปลีย่ น แปลง 2.9 ดำเนินการภายในกันเองโดย ไม่รับฟังข้อคิดเห็นจากสังคมภายนอก 2.10 ขาดการเผยแพร่ขอ้ มูลอย่าง ต่อเนื่องในขณะเดียวกันไม่ใส่ใจแนวคิดที่นอก เหนือหรือแตกต่างจากแนวคิดผู้บริหาร 2.11 ผู้นำไม่ตระหนักและไม่ให้ ความสำคัญแก่ทรัพยากรบุคคลซึง่ มีสว่ นสำคัญ ในการเปลี่ยนแปลง 2.12 การสื่อสารที่ด้อยคุณภาพ ผู้นำไม่สามารถสร้างความเข้าใจที่ตรงกันให้ เกิดขึ้นกับผู้ที่เกี่ยวข้องได้อย่างชัดเจนและต่อ เนื่อง 3. ข้ อ มู ล เกี่ ย วกั บ ภาพรวมอนาคต ทิ ศ ทางการพั ฒ นาด้ า นวิ ช าการที่ น่ า จะมี ผ ล
122 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
กระทบต่อทิศทางการพัฒนาวิทยาลัยแสงธรรม ในอนาคต เรียงตามลำดับได้ดังนี้ 3.1 การพัฒนามาตรฐานทางวิชาการ การเรียนการสอนและศักยภาพการเป็น ผู้นำที่สอดคล้องกับความต้องการของคริสต์ศาสนจักรในประเทศไทย 3.2 การสนับสนุนและส่งเสริมการ วิจัย สร้างองค์ความรู้ใหม่ด้านปรัชญาและ ศาสนาและสามารถนำไปประยุ ก ต์ ใช้ แ ละ พัฒนาในด้านการศึกษา/จิตวิทยา ด้านศิลปวัฒนธรรม ด้านสุขภาพกายและจิต ด้านชุมชน/ ครอบครัว และด้านสิ่งแวดล้อม 3.3 การพัฒนาคุณภาพบัณฑิตสู่ ความเป็นเลิศทางวิชาการด้านปรัชญา ศาสนา และเทววิทยาในระดับสากลมีความสามารถ ในการวิเคราะห์ การสังเคราะห์ การติดต่อ สื่อสาร การตัดสินใจเชิงคุณค่า การเรียนรู้สิ่ง ใหม่ 3.4 ขยายการผลิตบัณฑิตทัง้ ระดับ ปริญญาตรีและระดับบัณฑิตศึกษาในสาขาวิชา ทีว่ ทิ ยาลัยมีความพร้อมและสนองนโยบายของ คริสต์ศาสนจักรในประเทศไทย 3.5 การพัฒนากิจกรรมนักศึกษา ให้เกิดการเรียนรู้อย่างมีความสุข มีความเป็น ผู้นำ ทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และมีจิตสำนึกผูก พันกับวิทยาลัย
ชาติชาย พงษ์ศิริ และคณะ
3.6 การปฏิรูปการเรียนการสอน เพื่ อ ผลิ ต บั ณ ฑิ ต ที่ มี คุ ณ ภาพทั้ ง ทางวิ ช าการ และวิชาชีพ 3.7 การพัฒนาวิทยาลัยให้ก้าวไป สู่การเป็นศูนย์กลางการศึกษาทั้งทางวิชาการ และชีวิตจิตในระดับภูมิภาคและระดับนานาชาติ 3.8 การพั ฒ นาการบริ ก ารทาง วิชาการให้ประสานสัมพันธ์กับการเรียน การ สอนและการวิจัย 3.9 การส่งเสริมการทำวิจัยที่เป็น สหวิทยามากขึ้นโดยอาศัยกลไกการทำวิจัย ร่วมกันในลักษณะพหุพาคีเพื่อนำผลการวิจัย ไปประยุกต์ใช้ 4. ข้อมูลเกี่ยวกับภาพรวมอนาคตทิศ ทางการพัฒนาด้านโครงสร้างและการบริหาร ที่ น่ า จะมี ผ ลกระทบต่ อ ทิ ศ ทางการพั ฒ นา วิทยาลัยแสงธรรมในอนาคต เรียงตามลำดับ ได้ดังนี้ 4.1 การพัฒนาระบบการบริหาร เพื่อให้วิทยาลัยบรรลุผลตามเป้าหมายในการ ดำเนินงานทุกๆ ด้าน โดยจัดระบบให้โปร่งใส ตรวจสอบได้ มีประสิทธิภาพและบุคลากรมี ส่วนร่วม 4.2 การพัฒนาทรัพยากรบุคคล ในวิทยาลัยโดยยึดหลัก “คนเป็นศูนย์กลางของ
การพัฒนา” 4.3 ผู้ น ำมี ค วามสามารถในการ บริหารอย่างมีประสิทธิภาพและเข้าใจบทบาท ของตนและของสถาบัน 4.4 การสนับสนุนสถาบันใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการเข้า ถึง เพื่อการเรียนรู้เฉพาะตัวไปจนถึงการเรียน รู้ของมวลชน 4.5 ผูบ้ ริหารมีความมุง่ มัน่ และจริง ใจในการแก้ปัญหาและพร้อมที่เผชิญกับความ ผิดพลาดอันอาจเกิดขึ้นในอนาคต 4.6 การปรั บ ปรุ ง ข้ อ กำหนด ระเบียบ ข้อบังคับต่างๆ ให้เอื้อต่อการบริหาร จัดการเพื่อการพัฒนาสู่ความเป็นสากล และ การส่งเสริมให้มีการปฏิรูปหน่วยงานเพื่อให้ เกิดประสิทธิภาพสูงสุด 4.7 ความร่วมมือในการวิจัยและ แก้ ปั ญ หาสั ง คมร่ ว มกั บ หน่ ว ยงานภายนอก มากขึ้น 4.8 บุคคลภายนอกมีส่วนร่วมใน การผลักดันและแก้ปัญหาของสถาบัน 4.9 การพัฒนาทรัพยากรการเงิน ของวิทยาลัยอย่างเป็นระบบ 4.10 การสื่อสารถึงกลยุทธ์และ วิธกี ารดำเนินการทีเ่ ข้าถึงบุคลากรทุกภาคส่วน อย่างชัดเจน
ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2010/2553 123
ปัจจัยที่ส่งผลต่อการวางแผนระยะยาว 15 ปี (พ.ศ.2554-2568) วิทยาลัยแสงธรรม
5. ข้ อ มู ล เกี่ ย วกั บ ภาพรวมอนาคต ทิศทางการพัฒนาภาพรวมเรื่องวิวัฒนาการ ทางด้านสังคมและความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ ดั่งเจตนารมณ์ของสถาบันการศึกษา เรียงตาม ลำดับได้ดังนี้ 5.1 การพัฒนาคุณภาพบัณฑิตให้ เป็นผูป้ ระพฤติดี มีวสิ ยั ทัศน์ คุณธรรมจริยธรรม สุนทรียภาพ ความรับผิดชอบ และมีบคุ ลิกภาพ เหมาะสมกับศาสนบริกรทางคริสต์ศาสนา 5.2 การพัฒนานักศึกษาด้วยหลัก ธรรมคำสอนของคริสต์ศาสนจักรที่เน้นความ รัก การรับใช้และความสุภาพถ่อมตนเพื่อเป็น บัณฑิตสำหรับภารกิจของศาสนบริกรที่ทรง คุณค่า 5.3 การบูรณาการการศึกษาและ การอบรมเพื่อเสริมสร้างบุคลากรของคริสต์ ศาสนจักรตามนโยบายของสภาประมุขแห่ง บาทหลวงโรมันคาทอลิกแห่งประเทศไทย 5.4 การส่งเสริมและพัฒนาคณาจารย์ประจำของวิทยาลัยให้มีความเป็นเลิศ ทางวิชาการพร้อมกับการพัฒนาบุคลากรสาย อื่นๆ ให้มีความรู้ ความสามารถเหมาะสมและ สอดคล้องกับตำแหน่ง ภาระหน้าที่และความ รับผิดชอบ 5.5 การสร้างความพร้อมเพื่อเปิด โลกทัศน์สำหรับบัณฑิตในภาวะโลกาภิวัตน์
124 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
ด้านภาษาและวัฒนธรรมให้รู้และเห็นคุณค่า ของพหุลักษณ์และพหุวัฒนธรรมซึ่งเป็นการ สร้างองค์ความรู้ ความเข้าใจสำหรับสังคมไทย โดยรวม 5.6 การพัฒนาประชาคมสถาบัน แสงธรรมยึดมั่นในศาสนธรรม ความกตัญญู กตเวที ขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรม อันดีงามของไทยและดำรงตนเป็นแบบอย่าง ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง 5.7 การพัฒนาระบบการวางแผน และพัฒนาบุคลากรให้สอดคล้องกับทิศทาง การพัฒนาด้านวิชาการและการบริการวิชาการของสถาบัน และมีการกำกับติดตามประเมินผลอย่างใกล้ชิดและต่อเนื่อง ข้อเสนอแนะในการวิจัยครั้งต่อไป 1. การศึกษาครั้งนี้จำกัดขอบเขตการ วิจัยโดยเก็บข้อมูลเฉพาะผู้ให้ข้อมูลบางกลุ่ม อีกทั้งข้อมูลตอบกลับจากแบบสอบถามยังไม่ ครบ 100 % หากมีการเก็บข้อมูลเพิ่มเติมเพื่อ นำมาศึกษาเปรียบเทียบกับข้อมูลชุดนี้จะทำ ให้พบรายละเอียดของการศึกษามากขึ้น 2. ควรศึกษาเพิ่มเติมเพื่อให้ได้ข้อมูล เชิงคุณภาพเกี่ยวกับปัจจัยที่ส่งผลต่อการวาง แผนระยะยาวของวิทยาลัยแสงธรรม
ชาติชาย พงษ์ศิริ และคณะ
3. ควรเจาะลึกในประเด็นเกี่ยวกับ ปั จ จั ย ภายในว่าปัจจัยเฉพาะด้านใดที่ส่งผล โดยตรงต่อการวางแผนของวิทยาลัยแสงธรรม บรรณานุกรม คาทอลิกเพื่อคริสตศาสนธรรม, คณะ กรรมการ. 2548. ร่างคู่มือแนะแนว การสอนคำสอนในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: อัสสัมชัญ. ยอด พิมพิสาร, มุขนายก. 2543. ประเด็นที่ ท้าทายคริสต์ศาสนจักรคาทอลิก ประเทศไทย. อุดมสารรายสัปดาห์ ฉบับที่ 16, ประจำวันที่ 16 – 22 เมษายน 2000. วัชรินทร์ สมานจิต, บาทหลวง. 2548. ชีวิต จิตในงานพัฒนาบนพื้นฐานของ พระธรรมนูญ GAUDIUM ET SPES. เอกสารประกอบการสัมมนา. สภาประมุขแห่งบาทหลวงโรมันคาทอลิกแห่ง ประเทศไทย. 2543. ทิศทางงาน อภิบาลคริสตศักราช 2000. กรุงเทพฯ: อัสสัมชัญ. สมณกระทรวงว่าด้วยเรื่องพระสงฆ์. 2540. คู่มือแนะแนวทั่วไปสำหรับการสอน คริสตศาสนธรรม. กรุงเทพฯ: อัสสัมชัญ.
Apostolic Constitution Sacrae Disciplinae Leges. 1983. Code of Canon Law. Washington, D.C.: Braun-Brumfield, Inc. Apostolic Constitution Fidei Depositum. 1994. Catechism of the Catholic Church. London: Geoffrey Chapman. John Paul II, Pope. 1992. Pastores Dabo Vobis. Washington, D.C.: Braun-Brumfield, Inc. Walter M. Abbott, S.J. (Ed.). 1966. The Documents of Vatican II. New York: Guild. การสัมภาษณ์ ประยูร นามวงศ์, บาทหลวง. (2552, กรกฎาคม 30) อุปสังฆราช. สังฆมณฑลนครราชสีมา. สัมภาษณ์. วีระ ผังรักษ์, บาทหลวง (2552, กรกฎาคม 30) อุปสังฆราช. สังฆมณฑลจันทบุรี. สัมภาษณ์.
ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2010/2553 125
การพัฒนาชุดฝึกอบรมรายบุคคลระบบมัลติมเี ดีย
แบบปฏิสมั พันธ์ เรือ่ ง การผลิตภาพยกระดับสำหรับครู ระดับประถมศึกษาโรงเรียนเอกชนคาทอลิกนครราชสีมา
Development of Multimedia Interactive Training
Package in Making Paper Pop-up for Teachers in the Private Primary Catholic School in Nakhon Ratchasima บาทหลวงสุเทพ วนพงศ์ทิพากร
* บาทหลวงในคริสต์ศาสนจักรโรมันคาทอลิก สังฆมณฑลนครราชสีมา
Rev.Suthep Wanapongtipagon
* Reverend in Roman Catholic Church, Nakhon Ratchasima Diocese
สุเทพ วนพงศ์ทิพากร
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาชุดฝึกอบรมรายบุคคล ระบบมัลติมีเดียแบบปฏิสัมพันธ์ เรื่อง การผลิตภาพยกระดับ สำหรับ ครูระดับประถมศึกษาโรงเรียนเอกชนคาทอลิกนครราชสีมา ศึกษาผล สัมฤทธิ์ก่อน-หลังการใช้ชุดฝึกอบรมรายบุคคลระบบมัลติมีเดียแบบ ปฏิสมั พันธ์ และศึกษาความพึงพอใจของผูร้ บั การฝึกอบรม กลุม่ ตัวอย่าง ที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ ครูผู้สอนโรงเรียนเอกชนคาทอลิกระดับ ประถมศึกษา ปีการศึกษา 2552 ได้แก่ โรงเรียนอัสสัมชัญนครราชสีมา โรงเรียนมารีย์วิทยานครราชสีมา โรงเรียนมารีย์รักษ์นครราชสีมา ด้วย วิธีการแบบเจาะจง จำนวน 23 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ชุดฝึกอบรมรายบุคคลระบบมัลติมีเดียแบบปฏิสัมพันธ์ เรื่อง การผลิต ภาพยกระดับ จำนวน 6 คาบ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าเฉลี่ย ส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการศึกษาพบว่า 1. ประสิทธิภาพของชุดฝึกอบรมรายบุคคลระบบมัลติมีเดีย แบบปฏิสัมพันธ์ เรื่อง การผลิตภาพยกระดับ สำหรับครูระดับประถม ศึกษาโรงเรียนเอกชนคาทอลิกนครราชสีมา อยู่ในระดับดีมาก 2. ผลสัมฤทธิ์หลังการใช้ฝึกอบรมรายบุคคลระบบมัลติมีเดีย แบบปฏิสัมพันธ์ สูงกว่าก่อนใช้ชุดฝึกอบรมรายบุคคลระบบมัลติมีเดีย แบบปฏิสัมพันธ์ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. ความพึงพอใจของผู้รับการฝึกอบรมอยู่ในระดับมากที่สุด คำสำคัญ : 1) ชุดฝึกอบรมรายบุคคลระบบมัลติมีเดียแบบปฏิสัมพันธ์ 2) การผลิตภาพยกระดับ 3) ครูระดับประถมศึกษาโรงเรียนเอกชนคาทอลิกนครราชสีมา
ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2010/2553 127
การพัฒนาชุดฝึกอบรมรายบุคคลระบบมัลติมเี ดียแบบปฏิสมั พันธ์ เรือ่ ง การผลิตภาพยกระดับสำหรับครูระดับประถมศึกษาโรงเรียนเอกชน คาทอลิกนครราชสีมา
Abstract
The purposes of this study were : 1) to develop the Multimedia interactive training package in making paper pop-up for teachers in the private primary Catholic schools in Nakhon Ratchasima ; 2) to study the level of achievement before and after using the training package and 3) to study the satisfaction level of the trainees. The samples of this study were teachers in the private primary Catholic schools in Nakhon Ratchasima academic year 2552. These were Assumption School, Maryvittaya School and Marieraksa School. The 23 samples were drawn by Purposive Sampling. The instrument used in the study was the multimedia interactive training package in making paper pop-up for teachers in the private primary Catholic schools in Nakhon Ratchasima. The experiment was six periods of 50 minutes each. Statistical methods employed in this study were, mean, standard deviation, and t-values. The results of this study research were as follows : 1. The efficiency of the multimedia interactive training package in making paper pop-up for teachers in the private primary Catholic schools in Nakhon Ratchasima was high. 2. The achievement of the trainees after using the training package was higher than before using the training package at a significant level of 0.05
128 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
สุเทพ วนพงศ์ทิพากร
3. The satisfaction of the trainees towards the training were at the highest level. Keywords : 1) The Multimedia interactive training package 2) Making paper pop-up 3) The private primary Catholic schools in Nakhon Ratchasima
ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2010/2553 129
การพัฒนาชุดฝึกอบรมรายบุคคลระบบมัลติมเี ดียแบบปฏิสมั พันธ์ เรือ่ ง การผลิตภาพยกระดับสำหรับครูระดับประถมศึกษาโรงเรียนเอกชน คาทอลิกนครราชสีมา
ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา พระราชบั ญ ญั ติ ก ารศึ ก ษาแห่ ง ชาติ พ.ศ. 2542 มาตรา 4 ได้นิยามความหมาย ของการศึกษาไว้ว่า “การศึกษา” เป็นกระบวน การเรียนรู้เพื่อความเจริญงอกงามของบุคคล และสังคมโดยการถ่ายทอดความรู้ การฝึก อบรมการสืบสานทางวัฒนธรรม การสร้าง สรรค์ จรรโลงความก้าวหน้าทางวิชาการ การ สร้างองค์ความรู้อันเกิดจากการจัดสภาพแวด ล้อม สังคม การเรียนรู้ และปัจจัยเกื้อหนุน ให้บคุ คลเรียนรูอ้ ย่างต่อเนือ่ งตลอดชีวติ ในการ ปฏิรูปการศึกษาที่ต้องปรับเปลี่ยนรูปแบบการ จัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ (สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ, 2543 : 3) จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องพัฒนาครู โดยการฝึกอบรม ดังนั้นควรปรับนโยบายการ พั ฒ นาครู โ ดยให้ มี ก ารฝึ ก อบรมสั ม มนาเป็ น ประจำปี (สมหวัง พิริยานุวัฒน์, 2543 : 11-30) สื่อการสอนเป็นสิ่งที่มีบทบาทสำคัญ อย่างมากในการเรียนการสอน สื่อเป็นตัวกลาง ที่ จ ะช่ ว ยให้ การสื่อสารระหว่างผู้สอนและผู้ เรียน ดำเนินไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ เป็น เครื่องมือ หรือช่องทางสำหรับทำให้การสอน ของครูไปถึงผู้เรียน ทำให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ตาม จุดประสงค์ หรือจุดมุ่งหมายที่วางไว้เป็นอย่าง ดี (รสริน พิมลบรรยงก์ และคณะ, 2547 : 21)
130 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
ในด้านของผู้เรียน สื่อสามารถทำให้ผู้เรียน เข้าใจเนื้อหาบทเรียนที่ยุ่งยากซับซ้อนได้ เกิด ความคิดรวบยอดในเรื่องนั้น ๆ อย่างถูกต้อง นอกจากนี้ยังกระตุ้นในเกิดความสนใจ สนุก สนาน และไม่เบื่อหน่ายการเรียน ในด้านของ ครู สือ่ จะช่วยลดภาระของครูในด้านการเตรียม เนื้อหา การใช้สื่อประกอบการเรียนการสอน ช่ ว ยทำให้ บ รรยากาศการเรี ย นการสอนน่ า สนใจ สนุกสนานมากกว่าการบรรยายเพียง อย่างเดียว การเรียนการสอนจะบรรลุวตั ถุประสงค์ได้นั้น ครูต้องเป็นผู้รู้จักแก้ปัญหาด้วยการ ใช้ สื่ อ ที่ เ หมาะสมกั บ วิ ธี ก ารสอน และสอด คล้องกับเนื้อหาวิชา ยิ่งผู้เรียนได้แสดงตอบต่อ สิ่ ง เร้ า ได้ อ ย่ า งถู ก ต้ อ ง ได้ รั บ รู้ ด้ ว ยประสาท สัมผัสมากเท่าใด ยิง่ ทำให้ผเู้ รียนได้เรียนรูอ้ ย่าง มีประสิทธิภาพ ปัจจุบันการปฏิรูปการศึกษาที่เน้นผู้ เรียนเป็นสำคัญจำนวนหนึ่ง ได้แก่ ครูต้นแบบ และครูแกนนำ ที่ต้องการปรับเปลี่ยนรูปแบบ การจั ด การเรี ย นการสอนให้ เ น้ น ผู้ เรี ย นเป็ น สำคัญ เนื่องจากครูเหล่านั้นคิดว่า การปฏิรูป การเรียนรู้เป็นเรื่องยาก และจะสร้างความ ลำบากให้เกิดขึ้นกับการปฏิบัติงานของตน ซึ่ง เป็นเพราะครูเหล่านี้ไม่ได้รับการพัฒนาอย่าง ต่อเนื่องจากการศึกษาของสายสมร ประสรชัย (2542) พบว่า ครูผู้สอนโรงเรียนเอกชนมี
สุเทพ วนพงศ์ทิพากร
ความต้องการพัฒนา ความรู้ในด้านต่าง ๆ คือ ด้านวิชาการ ด้านทักษะวิชาชีพ และต้องการ ให้ มี ก ารอบรมเชิ ง ปฏิ บั ติ ก ารโดยมี วิ ท ยากร มาบรรยาย ดังนั้นครูผู้สอนโรงเรียนเอกชน มี ความจำเป็นที่จะต้องได้รับการอบรมทักษะ ต่าง ๆ โดยเฉพาะการเลือกและผลิตสื่อให้ เหมาะสม โดยให้ผู้เชี่ยวชาญให้คำแนะนำการ ใช้และการผลิตสื่อ ห้องเก็บรักษาสื่อและมีการ ซ่อมบำรุง สร้างคู่มือการใช้สื่อ จัดให้มีการฝึก อบรมสัมมนาวิธีการผลิตและใช้สื่อการสอนให้ ครู เพิ่มพูนความรู้ ทักษะ เจตคติที่ดีเกี่ยวกับ การใช้สื่อให้มากขึ้น ปัญหาที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน คือ การ ขาดวิทยากรผู้เชี่ยวชาญในการฝึกอบรม เพื่อ ถ่ายทอดความรู้ ผลสัมฤทธิ์ของการฝึกอบรม ขึ้นอยู่กับวิทยากรมีความสามารถในการถ่าย ทอดความรู้ได้ดีเพียงใด ทำให้ไม่เกิดผลอย่าง เต็มที่ อีกทั้งการถ่ายทอดความรู้นั้นยังมีค่าใช้ จ่ายและต้นทุนเป็นจำนวนมาก ทัง้ ในเรือ่ งของ วิทยากร ความยุ่งยากในเงื่อนไขของเวลา และ สถานที่ในการฝึกอบรม ปัจจุบันสื่อการสอน และเทคโนโลยี ก ารศึ ก ษาได้ พั ฒ นามากขึ้ น โปรแกรมมัลติมีเดียได้รับความนิยมมากขึ้น การใช้มัลติมีเดียโดยทั่วไป มีคุณสมบัติหลัก 2 ประการ คือ การควบคุมการใช้งาน และ ความสามารถในการมีปฏิสมั พันธ์กบั ผูใ้ ช้ ความ
สามารถในการมีปฏิสัมพันธ์กับผู้ใช้ เป็นคุณ สมบัติที่เพิ่มขึ้นมาพร้อม ๆ กับพัฒนาการด้าน เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ซึ่งช่วยให้ผู้เรียนรู้ สามารถโต้ ต อบกั บ คอมพิ ว เตอร์ ใ นรู ป แบบ ต่าง ๆ สามารถช่วยให้การเรียนรู้ด้วยตนเองมี ประสิทธิภาพและน่าสนใจขึ้น และนำมาใช้ ในการฝึกอบรม (Computer Based Training) หรือนำมาใช้ในระบบการเรียนการสอน การใช้มัลติมีเดียเพื่อเป็นสื่อทางการสอน ทำ ให้การสอนมีประสิทธิภาพมากกว่าการใช้สื่อ การสอนแบบปกติ และสามารถเสนอเนื้อหาได้ ลึกซึ้งกว่า เช่น การเตรียมนำเสนอไว้อย่างเป็น ขั้นเป็นตอน และใช้สื่อประเภทภาพประกอบ การบรรยาย และใช้ข้อความนำเสนอในส่วน รายละเอียด พร้อมภาพเคลื่อนไหว หรือใช้ วีดีทัศน์ เช่นนี้แล้วก็จะทำให้การสอนมีประสิทธิภาพสูงขึ้น ส่วนรายละเอียดพร้อมภาพ เคลื่อนไหวหรือใช้วีดิทัศน์ (ชัยยงค์ พรหมวงศ์, 2540 : 37 ; Frater and Paulissen, 1994 : 5-9 ; Hatfield and Bitter 1994 : 223 ; Linda. 1995 : 6-8) ครูโรงเรียนเอกชนคาทอลิกนครราชสีมา มีความสนใจในการจัดทำ สื่อการสอนที่ใช้ภาพ แล้วเสนอความหมาย หรือคำแปลจากภาพเป็นภาษาไทย และภาษา อังกฤษที่ใช้สอน หรือให้นักเรียนเรียนรู้ด้วย ตนเองนอกเวลาเรียน ครูบางคนทำภาพเป็น
ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2010/2553 131
การพัฒนาชุดฝึกอบรมรายบุคคลระบบมัลติมเี ดียแบบปฏิสมั พันธ์ เรือ่ ง การผลิตภาพยกระดับสำหรับครูระดับประถมศึกษาโรงเรียนเอกชน คาทอลิกนครราชสีมา
ภาพยกระดับง่าย ๆ ที่เลียนแบบตามบัตรอวย พร ฯลฯ เพราะสื่อดังกล่าวได้รับความสนใจ จากนักเรียนโดยเปิดดู เปิดอ่านอยู่เสมอ ครู บางคนทำเป็นหนังสือนิทาน และพบว่า นักเรียนชืน่ ชม ชอบอ่าน แต่คณ ุ ครูตอบคำถาม นักเรียนไม่ได้ว่าทำไมภาพบางภาพ เมื่อปิด หนังสือแล้ว ทำไมมีภาพยื่นออกมาจากกรอบ ของหนังสือ หรือเรียกว่า มีภาพโผล่ออกมา จากเล่มหนังสือเมื่อปิดหนังสือ ด้วยเหตุผล ดังกล่าวมาข้างต้นผู้วิจัย มีความสนใจทีจ่ ะพัฒนาชุดฝึกอบรมรายบุคคล ระบบมัลติมีเดียแบบปฏิสัมพันธ์ เรื่อง การ ผลิตภาพยกระดับ โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อช่วย แก้ปัญหาด้านวิทยากร และเพื่อให้ครูผู้สอน ระดับประถมศึกษาสามารถเรียนรูไ้ ด้ดว้ ยตนเอง ตลอดจนสามารถผลิตภาพยกระดับในระยะ เวลาที่สั้นและค่าใช้จ่ายไม่มาก ในขณะเดียว กันสามารถเป็นแนวทางในการพัฒนารูปแบบ สื่อการเรียนการสอน ดังนั้นการวิจัยครั้งนี้มี ความสำคัญและจำเป็นที่ต้องศึกษาพัฒนาชุด ฝึกอบรมรายบุคคลระบบมัลติมีเดียแบบปฏิสัมพันธ์ วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อพัฒนาชุดฝึกอบรมรายบุคคล ระบบมัลติมีเดียแบบปฏิสัมพันธ์ เรื่องการผลิต
132 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
ภาพยกระดับ สำหรับครูระดับประถมศึกษา โรงเรียนเอกชนคาทอลิกนครราชสีมา 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ก่อนหลังการใช้ชุดฝึกอบรมรายบุคคลระบบมัลติมีเดียแบบปฏิสัมพันธ์ เรื่อง การผลิตภาพยก ระดับ 3. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของผู้รับ การฝึกอบรมในการผลิตภาพยกระดับ ความสำคัญของการวิจัย 1. ได้ ชุ ด ฝึ ก อบรมรายบุ ค คลระบบ มัลติมีเดียแบบปฏิสัมพันธ์ เรื่อง การผลิตภาพ ยกระดับ สำหรับครูระดับประถมศึกษาโรง เรียนเอกชนคาทอลิกนครราชสีมา ที่มีประสิทธิภาพ 2. สามารถนำแนวคิดการฝึกอบรม รายบุ ค คลระบบมั ล ติ มี เ ดี ย แบบปฏิ สั ม พั น ธ์ เรื่อง การผลิตภาพยกระดับ ไปใช้กับการฝึก อบรมเรื่องอื่น ๆ ได้ ขอบเขตของการวิจัย 1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 1.1 ประชากร ได้แก่ ครูโรง เรี ย นเอกชนคาทอลิ ก ระดั บ ประถมศึ ก ษา เขตอำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา ปีการ ศึกษา 2552 จำนวน 3 โรงเรียน ได้แก่
สุเทพ วนพงศ์ทิพากร
โรงเรียนอัสสัมชัญนครราชสีมา จำนวน 39 คน โรงเรียนมารีย์วิทยานครราชสีมา จำนวน 83 คน โรงเรียนมารีย์รักษ์นครราชสีมา จำนวน 25 คน รวม 147 คน 1.2 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ครูโรงเรียน เอกชนคาทอลิ ก ระดั บ ประถมศึ ก ษาปี ก าร ศึกษา 2552 ได้แก่โรงเรียนอัสสัมชัญนครราชสีมา โรงเรียนมารีย์วิทยานครราชสีมา โรง เรียนมารีย์รักษ์นครราชสีมา ด้วยวิธีการแบบ เจาะจง (Purposive Sampling) โดยกำหนด คุณสมบัติ คือ ครูมีความสามารถในการใช้ คอมพิวเตอร์เบื้องต้นมีความสนใจในการผลิต สื่อการสอน จำนวน 23 คน 2. ตัวแปรที่ใช้ในการทดลอง 2.1 ตัวแปรอิสระ ได้แก่ การ ฝึกอบรมโดยใช้ชุดฝึกอบรมรายบุคคลระบบ มัลติมีเดียแบบปฏิสัมพันธ์ เรื่อง การผลิตภาพ ยกระดับ 2.2 ตัวแปรตาม ได้แก่ 2.2.1 ผลสัมฤทธิ์ของการใช้ ชุดฝึกอบรม 2.2.2 ความพึงพอใจของผู้รับ การฝึกอบรม 3. เนื้อหาที่ใช้ในการศึกษา เนื้อหาที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ได้แก่ เนื้อหา เรื่องการผลิตภาพยกระดับ สำหรับครู
ระดับประถมศึกษาโรงเรียนเอกชนคาทอลิก นครราชสีมา สมมุติฐานการวิจัย 1. ผู้ รั บ การฝึ ก อบรมโดยใช้ ชุ ด ฝึ ก อบรมรายบุคคลระบบมัลติมีเดียแบบปฏิสัมพันธ์ เรื่อง การผลิตภาพยกระดับ มีผลสัมฤทธิ์ หลังการใช้ชุดฝึกอบรมสูงกว่าก่อนการใช้ชุด ฝึกอบรม 2. ผู้รับการฝึกอบรมมีความพึงพอใจ ของในการรับฝึกอบรมในระดับมาก นิยามคำศัพท์เฉพาะ ชุดฝึกอบรมรายบุคคลระบบมัลติมีเดียแบบปฏิสัมพันธ์ หมายถึง ชุดฝึกอบรมที่ใช้ โปรแกรมคอมพิ ว เตอร์ ใ นการฝึ ก อบรมราย บุคคล ภายในโปรแกรม มีคำชีแ้ จง วัตถุประสงค์ วิธีใช้โปรแกรม มีเนื้อหาที่มีรายละเอียดมีภาพ และเสียง ตลอดจนการเคลือ่ นใหวและวีดทิ ศั น์ ประกอบ พร้อมทั้งกิจกรรมเป็นใบงานในการ ปฏิบัติ โดยโปรแกรมสามารถปฏิสัมพันธ์กับผู้ เรียน ผ่านการใช้เม้าท์และการคลิกในเนื้อหา และภาพที่กำหนด ทั้งไปข้างหน้าและย้อน กลับ ย่อและขยายรูปภาพ และเนื้อหาได้ ภาพยกระดับ หมายถึง ภาพที่นูนขึ้น จากกระดาษในแนวราบ เปิดหนังสือแล้วเห็น
ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2010/2553 133
การพัฒนาชุดฝึกอบรมรายบุคคลระบบมัลติมเี ดียแบบปฏิสมั พันธ์ เรือ่ ง การผลิตภาพยกระดับสำหรับครูระดับประถมศึกษาโรงเรียนเอกชน คาทอลิกนครราชสีมา
ภาพนูนขึ้น สูงกว่าตัวหนังสือ หรือเป็นคนละ ระดับกับตัวหนังสือ บางภาพที่นูนขึ้นมีการ เคลื่อนไหว เคลื่อนที่ไปมาทั้งซ้าย-ขวา บนล่าง เป็นภาพที่สามารถมองเห็นได้ทั้งสามมิติ คือ ด้านความกว้าง ความยาว และความลึก ซึ่งหมายความรวมถึง ภาพป๊อบอัพ (Pop-up) หรือภาพสามมิติ ในชุดฝึกอบรมทีผ่ วู้ จิ ยั ได้สร้าง ขึ้นด้วย ผลสัมฤทธิข์ องการฝึกอบรม หมายถึง ผลของคะแนนที่ ไ ด้ จ ากแบบทดสอบก่ อ นหลังการใช้ชุดฝึกอบรมรายบุคคลระบบมัลติมีเดียแบบปฏิสัมพันธ์ เรื่อง การผลิตภาพยก ระดับ และคะแนนทีไ่ ด้จากการประเมินชิน้ งาน การผลิตภาพยกระดับ ตามเกณฑ์ประเมินที่ผู้ วิจัยสร้างขึ้น ความพึงพอใจ หมายถึง ความพึงพอ ใจของครูโรงเรียนเอกชนคาทอลิกนครราชสีมา ที่รับการฝึกอบรมโดยชุดฝึกอบรมราย บุคคลระบบมัลติมีเดียแบบปฏิสัมพันธ์ เรื่อง การผลิตภาพยกระดับ โดยระดับความพึงพอใจ ได้จากการสอบถามด้วยแบบสอบถามที่ผู้วิจัย สร้างขึ้น โรงเรียนเอกชนคาทอลิกนครราชสีมา หมายถึง กลุ่มโรงเรียนเอกชนคาทอลิกที่อยู่ใน เขตการปกครองของศาสนาคริสต์นิกายโรมัน คาทอลิก เฉพาะเขต อ.เมือง จ.นครราชสีมา
134 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
คือ โรงเรียนมารีย์วิทยานครราชสีมา โรงเรียน อัสสัมชัญนครราชสีมา และโรงเรียนมารีย์รักษ์ นครราชสีมา วิธีดำเนินการวิจัย การสร้างชุดฝึกอบรมรายบุคคลระบบ มัลติมีเดียแบบปฏิสัมพันธ์ การสร้างชุดฝึกอบรมรายบุคคลระบบ มัลติมีเดียแบบปฏิสัมพันธ์ โดย 1. ศึ ก ษาสื่ อ ภาพยกระดั บ รู ป แบบ ต่าง ๆ จากเอกสาร ตำรา การ์ดอวยพร และ จากแหล่งข้อมูลในเว็บต่าง ๆ 2. ศึ ก ษาวิ ธี ท ำภาพยกระดั บ จาก เอกสาร ตำราต่าง ๆ 3. เลือกเนื้อหาการทำภาพยกระดับ ขัน้ พืน้ ฐาน และภาพยกระดับทีม่ คี วามซับซ้อน ไม่มากนัก 4. จั ด ทำหลั ก สู ต รการผลิ ต ภาพยก ระดับทีส่ ามารถปฏิบตั ไิ ด้ในระยะเวลา 6 ชัว่ โมง 5. เลื อ กประเภทของชุ ด ฝึ ก อบรม ผู้ วิ จั ย เลื อ กพั ฒ นาชุ ด ฝึ ก อบรมประเภทราย บุคคลระบบมัลติมเี ดียแบบปฏิสมั พันธ์ เป็นชุด ฝึ ก อบรมมั ล ติ มี เ ดี ย ที่ เ น้ น การให้ ผู้ ใช้ เ ป็ น ผู้ ควบคุมการนำเสนอการเลือกเส้นทางเดิน การ โต้ตอบ การให้ความรู้ และกิจกรรมที่มีในชุด ฝึกอบรม
สุเทพ วนพงศ์ทิพากร
6. การสร้างชุดฝึกอบรมรายบุคคล ผู้วิจัยได้สร้างขึ้นโดยมีการดำเนินการดังนี้ 6.1.1 ศึกษาตำรา เอกสาร และ งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับชุดฝึกอบรมรายบุคคล ระบบมัลติมีเดียแบบปฏิสัมพันธ์ 6.1.2 ศึกษาเนื้อหาเรื่องการผลิต ภาพยกระดับ เขียนวัตถุประสงค์ และกำหนด เนื้อหาในการฝึกอบรมโดยมี 3 หน่วยเนื้อหา โดยใช้ระยะเวลาทดลอง 6 คาบ ดังนี้ 6.1.2.1 เนื้ อ หาความรู้ Pop-up - รู้จักวัสดุ อุปกรณ์ เรียนรู้ สัญลักษณ์ - การพับกระดาษขึ้น การ พับกระดาษลง - การตัดกระดาษ เส้นตรง เส้นโค้ง วงกลม รูปเหลี่ยม 6.1.2.2 Pop-up ระดับ พื้นฐาน - การตัด กรีด การพับ กระดาษยกระดับเป็นตัวอักษร 6.1.2.3 Pop-up ระดับสูง - การตัด กรีด การพับ กระดาษยกระดับเป็นรูปสัตว์ 6.1.3 นำชุดฝึกอบรมรายบุคคล ที่สร้างขึ้น เสนอต่อผู้เชี่ยวชาญ เพื่อพิจารณา
ความถูกต้อง เหมาะสม ก่อนนำมาปรับปรุง แก้ไข 6.1.4 ออกแบบแผนการฝึ ก อบรม ทำคู่มือในการฝึกอบรม และกำหนดกิจกรรม การฝึกอบรม การหาคุณภาพของชุดฝึกอบรมรายบุคคล ระบบมัลติมีเดียแบบปฏิสัมพันธ์ เมื่อได้ชุดฝึกอบรมรายบุคคลระบบ มัลติมีเดียแบบปฏิสัมพันธ์แล้ว ผู้วิจัยได้ดำเนิน การต่อโดยนำไปตรวจสอบความถูกต้องของ ชุดฝึกอบรม โดยผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหา ผู้ เชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีการศึกษา ผู้ทรง คุณวุฒ ิ ตรวจสอบแบบวัดความพึงพอใจ ตรวจ ด้ า นสำนวนภาษาความสอดคล้ อ งของแบบ ประเมิน พร้อมปรับปรุงแก้ไขตามผูท้ รงคุณวุฒิ เสนอแนะ เพื่อใช้ในการทดลองขั้นต่อไป การสร้ า งแบบประเมิ น คุ ณ ภาพของชุ ด ฝึ ก อบรม การสร้างเครื่องมือวัดผลชุดฝึกอบรม มีขั้นตอนดังนี้ 1. แบบประเมินคุณภาพของชุดฝึก อบรม ศึกษาข้อมูล และวิธีการเพื่อเป็น แนวทางในการสร้ า งแบบประเมิ น ประเมิ น
ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2010/2553 135
การพัฒนาชุดฝึกอบรมรายบุคคลระบบมัลติมเี ดียแบบปฏิสมั พันธ์ เรือ่ ง การผลิตภาพยกระดับสำหรับครูระดับประถมศึกษาโรงเรียนเอกชน คาทอลิกนครราชสีมา
คุณภาพของชุดฝึกอบรม โดยการสร้างแบบ ประเมินคุณภาพของชุดฝึกอบรมมีขั้นตอนดัง นี้ 1.1 สร้างแบบประเมินคุณภาพ ของชุ ด ฝึ ก อบรมเป็ น แบบประเมิ น คุ ณ ภาพ ของชุดฝึกอบรมของผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหา 3 ท่าน ผู้เชี่ยวชาญเทคโนโลยีการศึกษา 3 ท่าน โดยใช้มาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) กำหนดค่าคะแนนเป็น 5 ระดับ ได้กำหนดค่าระดับความคิดเห็น ดังนี้ ระดับ 5 หมายถึง คุณภาพดีมาก ระดับ 4 หมายถึง คุณภาพดี ระดับ 3 หมายถึง คุณภาพพอใช้ ระดับ 2 หมายถึง ต้องปรับปรุงแก้ไข ระดับ 1 หมายถึง ไม่มีคุณภาพ การแปลความหมายค่าเฉลี่ยโดยใช้เกณฑ์ดังนี้ คะแนนเฉลี่ย 4.51-5.00 หมายถึง คุณภาพดีมาก คะแนนเฉลี่ย 3.51-4.50 หมายถึง คุณภาพดี คะแนนเฉลี่ย 2.51-3.50 หมายถึง คุณภาพพอใช้ คะแนนเฉลี่ย 1.51-2.50 หมายถึง ต้องปรับปรุงแก้ไข คะแนนเฉลี่ย 1.00-1.50 หมายถึง ไม่มีคุณภาพ
136 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
เกณฑ์ที่ผู้ศึกษาค้นคว้ากำหนด คือ ค่าเฉลี่ยที่ ได้ต้องมีค่าเฉลี่ยตั้งแต่ 3.51 ขึ้นไป 1.2 นำแบบประเมินคุณภาพให้ ประธานที่ ป รึ ก ษาทำการตรวจสอบความ เหมาะสมแล้วนำมาปรับปรุงแก้ไข 2. แบบวัดผลสัมฤทธิข์ องการฝึกอบรม 2.1 แบบทดสอบภาคทฤษฎี 2.1.1 ศึกษาการสร้างข้อสอบ และแบบทดสอบวั ด ผลสั ม ฤทธิ์ ท างการฝึ ก อบรมจากตำราและเอกสารต่าง ๆ 2.1.2 วิเคราะห์เนื้อหาและ วัตถุประสงค์การฝึกอบรมที่กำหนดไว้ นำมา ใช้เป็นแนวทางในการสร้างแบบทดสอบวัดผล สัมฤทธิ์ทางการฝึกอบรม 2.1.3 สร้างแบบทดสอบวัด ผลสัมฤทธิ์ทางการฝึกอบรม เป็นแบบปรนัย ชนิด 4 ตัวเลือกโดยให้ครอบคลุมเนื้อหา และ วัตถุประสงค์ จำนวน 20 ข้อ 2.1.4 นำแบบทดสอบวัดผล สัมฤทธิ์ทางการฝึกอบรมไปให้ผู้เชี่ยวชาญด้าน เนื้อหา ตรวจสอบความถูกต้องตรงตามเนื้อหา และสำนวนภาษา มาปรับปรุงแก้ไขตามที่ผู้ เชี่ยวชาญเสนอแนะ 2.1.5 นำแบบทดสอบวัดผล สัมฤทธิ์ทางการฝึกอบรมที่ผ่านการปรับปรุง แก้ไขแล้วไปให้ผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 3 ท่าน
สุเทพ วนพงศ์ทิพากร
ตรวจพิจารณาความเทีย่ งตรงตามวัตถุประสงค์ แบบประเมิ น ดั ช นี ค วามสอดคล้ อ ง (IOC) ระหว่าง 0.6 ถึง 1.0 2.2 แบบทดสอบภาคปฏิบัติ 2.2.1 กำหนดวั ต ถุ ป ระสงค์ เรื่องการผลิตภาพยกระดับ โดยให้ผู้รับการฝึก อบรมปฏิบัติชิ้นงาน 2.2.2 ให้ ผู้ รั บ การฝึ ก อบรม ปฏิบัติงานจริงตามวัตถุประสงค์ตามใบงานที่ กำหนด แล้วนำผลงานที่ได้มาประเมินตาม เกณฑ์ของเรื่อง การผลิตภาพยกระดับ 2.2.3 เกณฑ์การวัดและประเมินผลด้านปฏิบัติชิ้นงาน (สำนักมาตรฐาน การอาชีวศึกษาและวิชาชีพ, 2549 ข: 109) พิ จ ารณาผลงานตามเกณฑ์ ก ำหนดในด้ า น ความประณีตและสะอาด ปฏิบัติถูกขั้นตอน โดยลงในตารางประเมินแบ่งออกเป็น 3 ระดับ คือ 1.0, 0.7, 0.5 และแปลความหมาย คะแนนโดยใช้เกณฑ์ ดังนี้ 1.0 หมายถึงคะแนน 1 คะแนน 0.7 หมายถึงคะแนน 0.7 คะแนน 0.5 หมายถึงคะแนน 0.5 คะแนน การเก็บรวบรวมข้อมูล ผู้วิจัยเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยตนเอง โดยแบ่งการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็น 2 ตอน
คือ ตอนที่ 1 การหาคุณภาพของชุดฝึกอบรม รายบุ ค คลระบบมั ล ติ มี เ ดี ย แบบปฏิ สั ม พั น ธ์ ตอนที่ 2 การใช้แบบวัดผลสัมฤทธิ์ของการฝึก อบรม และแบบวัดความพึงพอใจของผู้รับการ ฝึกอบรม การวิเคราะห์ข้อมูล ผู้วิจัยได้ทำการวิเคราะห์ข้อมูลโดย การหาคุณภาพ ประสิทธิภาพของชุดฝึกอบรม รายบุ ค คลระบบมั ล ติ มี เ ดี ย แบบปฏิ สั ม พั น ธ์ และความพึงพอใจของผู้รับการฝึกอบรม โดย ใช้ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ สถิติที (t-test) สรุปผลการวิจัย ตอนที่ 1 ประสิทธิภาพของชุดฝึกอบรมราย บุคคลระบบมัลติมีเดียแบบปฏิสัมพันธ์ ผู้วิจัยได้ศึกษาค้นคว้านำชุดฝึกอบรม ที่ได้ปรับปรุงแก้ไขข้อบกพร่อง ตามประธาน และกรรมการควบคุมวิทยานิพนธ์เสนอแนะ เรียบร้อยแล้ว นำเสนอผูเ้ ชีย่ วชาญเพือ่ ประเมิน ชุดฝึกอบรมรายบุคคลระบบมัลติมีเดียแบบ ปฏิสัมพันธ์ และแก้ไขตามผู้เชี่ยวชาญเสนอ แนะแล้วทั้ง 3 ครั้ง พบว่าผู้เชี่ยวชาญมีความ เห็นชุดฝึกอบรม อยู่ในระดับดีมาก (X= 4.8, S.D. = 0.10) เมื่อพิจารณาตามรายการเรียง
ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2010/2553 137
การพัฒนาชุดฝึกอบรมรายบุคคลระบบมัลติมเี ดียแบบปฏิสมั พันธ์ เรือ่ ง การผลิตภาพยกระดับสำหรับครูระดับประถมศึกษาโรงเรียนเอกชน คาทอลิกนครราชสีมา
ลำดับ สรุปได้ดังนี้ ด้านภาพอยู่ในระดับดีมาก (X= 5, S.D. = 0.00) ด้านปฏิสัมพันธ์อยู่ใน ระดับดีมาก (X= 5, S.D. = 0.00) ด้าน เนื้อหาอยู่ในระดับดีมาก (X= 4.8, S.D. = 0.25) ด้านสีอยู่ในระดับดีมาก (X= 4.6, S.D. = 0.25) ด้านตัวอักษรอยูใ่ นระดับดีมาก (X=4.5, S.D. = 0.33) ตอนที่ 2 ผลสัมฤทธิ์ก่อน-หลังการใช้ชุดฝึก อบรมรายบุ ค คลระบบมั ล ติ มี เ ดี ย แบบปฏิ สัมพันธ์ เรื่อง การผลิตภาพยกระดับ ผลสั ม ฤทธิ์ ก่ อ นใช้ ชุ ด ฝึ ก อบรมราย บุคคลระบบมัลติมีเดียแบบปฏิสัมพันธ์ (X= 3.83, S.D. = 0.98) และหลังใช้ชุดฝึกอบรม รายบุ ค คลระบบมั ล ติ มี เ ดี ย แบบปฏิ สั ม พั น ธ์ (X= 4.39, S.D. = 0.72) สูงกว่าก่อนใช้ชุดฝึก อบรมรายบุ ค คลระบบมั ล ติ มี เ ดี ย แบบปฏิ สัมพันธ์ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ตอนที่ 3 ความพึงพอใจของผูร้ บั การฝึกอบรม ในภาพรวมผู้รับการฝึกอบรมมีความ พึงพอใจระดับมากที่สุด (X= 4.70, S.D. = 0.43) เมื่อพิจารณาตามรายการผู้รับการฝึก อบรมมี ค วามพึ ง พอใจในระดั บ มากที่ สุ ด จำนวน 8 รายการ เรียงตามลำดับดังนี้ คือ ใช้ภาษาที่เหมาะสม และเข้าใจง่าย (X= 4.96, S.D. = 0.58) อุ ป กรณ์ ที่ ใช้ ใ นการอบรม (X= 4.87, S.D. = 0.27) ผู้เข้าอบรมสามารถ
138 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
นำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในงานการเรียน การสอน หรือการทำงาน (X= 4.87, S.D. = 0.29) โปรแกรมสามารถใช้ได้ง่าย (X= 4.82, S.D. = 0.37) ภาพประกอบมีความสวยงาม เหมาะสม (X= 4.74, S.D. = 0.38) ผู้เข้า ร่วมอบรม มีความรู้หลังการเข้าอบรม (X= 4.74, S.D. = 0.36) คำแนะนำ คำชี้แจง อธิบายเนือ้ หาได้ชดั เจน (X= 4.61, S.D. = 0.56) สถานที่จัดอบรม (X= 4.56, S.D. = 0.42) และผู้ รั บ การฝึ ก อบรมมี ค วามพึ ง พอใจใน ระดับมาก 2 สองรายการ คือ ใบงานมี ความเหมาะสม (X= 4.48, S.D. = 0.59) ระยะเวลาในการฝึกอบรม (X= 4.34, S.D. = 0.46) อภิปรายผล จากการศึกษาครั้งนี้ พบว่า ชุดฝึก อบรมรายบุคคลระบบมัลติมีเดียแบบปฏิสัมพันธ์ เรื่อง การผลิตภาพยกระดับสำหรับครู ระดับประถมศึกษาโรงเรียนเอกชนคาทอลิก นครราชสีมา อยู่ในระดับดีมาก (X= 4.8, S.D. = 0.10) ผลสัมฤทธิ์หลังการใช้ฝึกอบรมราย บุคคลระบบมัลติมีเดียแบบปฏิสัมพันธ์ สูงกว่า ก่อนใช้ชุดฝึกอบรมรายบุคคลระบบมัลติมีเดีย แบบปฏิ สั ม พั น ธ์ อ ย่ า งมี นั ย สำคั ญ ทางสถิ ติ ที่ ระดับ .05 และผู้รับการฝึกอบรมมีความพึง
สุเทพ วนพงศ์ทิพากร
พอใจระดับมากที่สุด (X= 4.70, S.D. = 0.43) เป็นไปตามสมมุติฐานที่ตั้งไว้ ผู้วิจัยเห็นว่าน่า จะมาจากสาเหตุดังต่อไปนี้ 1. ผลสัมฤทธิ์ของการฝึกอบรม ผลสัมฤทธิ์หลังการฝึกอบรมที่อบ รมด้วยชุดฝึกอบรมรายบุคคลระบบมัลติมีเดีย แบบปฏิสัมพันธ์ เรื่อง การผลิตภาพยกระดับ สำหรับครูระดับประถมศึกษาโรงเรียนเอกชน คาทอลิกนครราชสีมา สูงกว่าก่อนใช้ชุดฝึก อบรมรายบุ ค คลระบบมั ล ติ มี เ ดี ย แบบปฏิ สัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 อาจเนื่องมาจากชุดฝึกอบรมนำเสนอเนื้อหา เป็นลำดับจากง่ายไปหายาก เนื้อหาที่นำเสนอ เมื่อผู้อบรมอ่าน ดูตัวอย่าง แล้วมีกิจกรรมให้ ฝึกปฏิบัติ ผู้ฝึกอบรมสามารถตรวจชิ้นงานที่ สำเร็จแล้ว กับชิ้นงานตัวอย่างในชุดฝึกอบรม ได้ ทำให้ผู้ฝึกอบรมไม่กลัวที่จะปฏิบัติกิจกรรม ตลอดจนสามารถปฏิ บั ติ ชิ้ น งานได้ เ องย้ อ น หลัง พร้อมกับทบทวนได้ด้วยตนเอง และ สามารถปฏิบัติชิ้นงานต่อไปได้ในกรณีชิ้นงาน เดิมสำเร็จแล้ว ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของ สุรพงษ์ มีศรี (2540) ; สุวัฒนา เกษวงษ์ (2546) และถวิล เนตรวงษ์ (2547) ที่สรุปได้ว่าชุด ฝึกอบรมช่วยให้ผลสัมฤทธิ์ในการเรียนรู้สูงขึ้น และสามารถแก้ ปั ญ หาการขาดทั ก ษะ เพิ่ ม ประสิทธิภาพของผู้เข้ารับการฝึกอบรมได้เป็น
อย่างดี นอกจากนี้ผลการฝึกอบรมรายบุคคล ระบบมัลติมีเดียแบบปฏิสัมพันธ์ยังสอดคล้อง กับงานวิจัยของวิไล องค์ธนะสุข (2542) ; เชษฐพงศ์ คลองโปร่ง (2543) ; สุกรี ยีดิน (2543) ; ศศิธร ฤดีสิริศักดิ์ (2543) และ Egan (1995) ได้ศึกษาพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ มัลติมีเดีย พบว่า การนำระบบมัลติมีเดียมา ใช้การเรียนการสอน และใช้ในการฝึกอบรม มีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น นับว่าระบบมัลติมีเดีย สามารถนำมาใช้ในการเรียนการสอน และการ ฝึกอบรมได้เป็นอย่างดี เพราะการฝึกอบรม โดยการใช้ ร ะบบมั ล ติ มี เ ดี ย เป็ น การรวมสื่ อ หลาย ๆ รูปแบบได้ทั้งการอ่าน การฟังการ เห็นภาพ การทดลองปฏิบัติตอบโต้กับระบบ ทั้งนี้น่าจะมาจากชุดฝึกอบรมที่สร้างขึ้น ใน เนื้ อ หาและรู ป แบบของกราฟิ ก ที่ ใช้ ห ลาก หลาย ผู้ฝึกอบรมสามารถศึกษาได้ด้วยตนเอง มีปฏิสัมพันธ์กับชุดฝึกอบรมส่งผลการเรียนรู้ ได้อย่างดี 2. ความพึงพอใจของผู้รับการฝึก อบรม ผู้รับการฝึกอบรมมีความพึงพอใจ ระดับมากที่สุด (X= 4.70, S.D. = 0.28) อาจ เนือ่ งมาจากการผลิตภาพยกระดับ เป็นสิง่ ทีค่ รู ผู้สอนคิดว่าทำได้ลำบาก เกินความสามารถ ของตน แต่เมื่อลงมือปฏิบัติกิจกรรมแล้ว จน
ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2010/2553 139
การพัฒนาชุดฝึกอบรมรายบุคคลระบบมัลติมเี ดียแบบปฏิสมั พันธ์ เรือ่ ง การผลิตภาพยกระดับสำหรับครูระดับประถมศึกษาโรงเรียนเอกชน คาทอลิกนครราชสีมา
สำเร็จเป็นชิ้นงานออกมาได้ จึงเกิดความภาค ภูมิใจ ความคิดและความสามารถที่สอดคล้อง กับแนวคิดนักการศึกษาที่ว่า บุคคลเกิดความ พึงพอใจจากการสร้างสิ่งเร้า เป็นแรงจูงใจ ของบุ ค คลให้ เ กิ ด ความพึ ง พอใจในงานนั้ น (กาญจนา อรุณสอนศรี, 2546 : 5 ; ศิริวรรณ เสรีรัตน์ และคณะ, 2541 : 45) เป็นความ พึงพอใจที่มีผลจากการเปรียบเทียบระหว่าง ผลประโยชน์จากคุณสมบัติผลิตภัณฑ์ หรือการ ทำงานของผลิตภัณฑ์ กับการคาดหวัง ความ รู้สึกชอบ ดีใจ มีความสุข อันเป็นผลมาจาก ได้ รั บ การตอบสนองตามจุ ด มุ่ ง หมายและ สำเร็จผลตามที่ได้ตั้งไว้ สิ่งที่ได้สังเกตจากการวิจัยในครั้งนี้ การจัดฝึกอบรมโดยใช้ชุดฝึกอบรม รายบุ ค คลระบบมั ล ติ มี เ ดี ย แบบปฏิ สั ม พั น ธ์ เรื่อง การผลิตภาพยกระดับ สำหรับครูระดับ ประถมศึกษาโรงเรียนเอกชนคาทอลิกนครราชสีมา ผูว้ จิ ยั มีขอ้ สังเกตขณะเฝ้าดูการปฏิบตั ิ งานของผู้รับการฝึกอบรม ดังนี้ 1. ผู้รับการฝึกอบรมให้ความสนใจใน การผลิตภาพยกระดับ อย่างมาก 2. ผู้รับการฝึกอบรมใช้เวลาในการ ศึกษาการผลิตภาพยกระดับ ขั้นตอนแรก ใช้ เวลามากในการเรียนรู้
140 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
3. ในขั้นตอนที่ผู้รับการฝึกอบรมทำ ตัวอักษรเอบีซี ทำได้ดีแต่ช้า เพราะเป็นหลัก การเรื่องอักษรยกระดับ 4. ขัน้ ตอนการผลิตการ์ดรูปสัตว์ ผูร้ บั การฝึ ก อบรมทำได้ เร็ ว กว่ า เวลาที่ ก ำหนดไว้ เพราะครูเข้าใจหลักการและวิธีทำแล้ว 5. ผูร้ บั การฝึกอบรมสามารถประยุกต์ ทำงานได้ เช่น ผลิตอักษรภาษาไทยได้โดยใช้ หลักการที่เรียนรู้จากโปรแกรม (ก ข ค ง) 6. ผู้รับการฝึกอบรมสนุกสนานและ ตั้งใจเรียนรู้ดีมาก บรรณานุกรม กาญจนา อรุณสอนศรี. 2546. ความพึง พอใจของสมาชิกสหกรณตอการ ดําเนินงานของสหกรณการเกษตร ไชยปราการจํากัด อําเภอชัยปราการ จังหวัดเชียงใหม. คณะเกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม. ชัยยงค์ พรหมวงศ์. 2545. มิติที่ 3 ทาง การศึกษา : สานฝันสู่ความเป็นจริง. กรุงเทพฯ : เอส อาร์ พริ้นติ้ง แมสโปรดักส์. เชษฐพงศ์ คลองโปร่ง. 2543. การพัฒนา บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบ มัลติมีเดีย เรื่อง สื่อประเภทเครื่อง
สุเทพ วนพงศ์ทิพากร
ฉาย สำหรับนักศึกษาระดับ ปริญญาตรี. วิทยานิพนธ์ครุศาสตร มหาบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีทาง การศึกษาบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ถวิล เนตรวงษ์. 2547. การพัฒนาชุดฝึก อบรมครู การจัดการเรียนรู้ที่ยึด ผู้เรียนเป็นสำคัญ กลุ่มสาระการ เรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และ วัฒนธรรม (สาระที่ 2) ชั้นประถม ศึกษาปีที่ 4. วิทยานิพนธ์การศึกษา มหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตร และการสอน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. รสริน พิมลบรรยงก์ และคณะ. 2547. เอกสารชุดการเรียนรู้ด้วยตนเอง วิชาเทคโนโลยีการศึกษา รหัสวิชา 103111. นครราชสีมา : โปรแกรม วิชาเทคโนโลยีและนวัตกรรม การศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา. อัดสำเนา. วิไล องค์ธนะสุข. 2542. การพัฒนาบท เรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย เรื่อง การผลิตรายการโทรทัศน์. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาเทคโนโลยีทางการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ. ศศิธร ฤดีสิริศักดิ์. 2543. การพัฒนา บทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย เรื่องการถ่ายภาพบุคคล. วิทยานิพนธ์ ครุศาสตรมหาบัณฑิต. สาขาเทคโนโลยีทางการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ. ศิริวรรณ เสรีรัตน์ และคณะ. 2541. การ บริหารการตลาดยุคใหม่. กรุงเทพฯ : ธีระฟิล์มและไซเท็กซ์ สมหวัง พิริยานุวัฒน์. 2543. ข้อเสนอเชิง นโยบายการปฏิรูปวิชาชีพครูตาม พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ. กรุงเทพฯ : วัฒนาพานิช. สายสมร ประสรชัย. 2542. การศึกษา สถานภาพและการใช้สื่อการสอน ของอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งชาติ ลาว. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตร มหาบัณฑิตสาขาวิชาเทคโนโลยี การศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2010/2553 141
การพัฒนาชุดฝึกอบรมรายบุคคลระบบมัลติมเี ดียแบบปฏิสมั พันธ์ เรือ่ ง การผลิตภาพยกระดับสำหรับครูระดับประถมศึกษาโรงเรียนเอกชน คาทอลิกนครราชสีมา
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. 2543. พระราชบัญญัติการศึกษา แห่งชาติ พ.ศ. 2542. กรุงเทพฯ : กระทรวงศึกษาธิการ. สุกรี ยีดิน. 2543. การพัฒนาบทเรียน คอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย เรื่อง ความรู้ เบื้องต้นเกี่ยวกับการออกแบบ สื่อสิ่งพิมพ์ สำหรับนักศึกษาระดับ ปริญญาตรี. วิทยานิพนธ์ครุศาสตร มหาบัณฑิต. สาขาเทคโนโลยีทางการ ศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ. สุรพงษ์ มีศรี. 2540. ประสิทธิภาพชุดฝึก อบรมเรื่อง การผลิตและนำเสนอ แผ่นภาพ โปร่งใส สำหรับครูผู้สอน ในวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยี ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์. สุวัฒนา เกษวงษ์. 2546. การพัฒนาชุด ฝึกอบรมแบบสื่อประสมเกี่ยวกับ ความรู้และทักษะฟื้นฐานในการใช้ เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา สำหรับ ครู-อาจารย์วิทยาลัยเกษตร
142 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
เทคโนโลยียโสธร. วิทยานิพนธ์ การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชา เทคโนโลยีการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. Bishop, Berry Michael. 1996. Design and development of an interactive, Multimedia product that preprares preservice teachers to use the library media center program). [CD-ROM]. Abstract from : ProQuest – Dissertation Abstracts (Jan. 1997 – Mar. 1999)/ Item ACC 9701433. Egan, Candace Lee. 1995. Interactive multimedia in the classroom : Integrating multiple Instruc tional technologies to teach video editing (hypertext). [CD-ROM]. Abstract from : ProQuest- Dissertation Abstracts (Jan. 1997 – Dec.1998)/Item ACC 1378459. Hall, Tom L. 1996. Utilizing multi media tool book U.S.A.: Boyd & Fraser
การดำเนินงานของมิชชันนารีคาทอลิกในเขต
ภาคเหนือของสยาม ช่วง พ.ศ. 2454-2490*
The Administration of Catholic
Missionaries in the North of Siam During 1911-1947 พุฒิพงศ์ พุฒตาลศรี
Puttipong Puttansri
ฉลอง สันทราวาณิชย์
Chalong Soontravanich
* หอจดหมายเหตุอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ
* รองศาสตราจารย์ประจำคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ดร.วิลลา วิลัยทอง
* อาจารย์ประจำคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
*
* Historical Archives Archdiocese of Bangkok * Associate Professor at Faculty of Arts, Chulalongkorn University
Villa Vilaithong, Ph.D.
* Lecturer at Faculty of Arts, Chulalongkorn University.
บทความนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์เรื่อง การเผยแผ่คริสต์ศาสนาในสมัยพระสังฆราชเรอเน มารี ยอแซฟ แปร์รอส พ.ศ.2454-2490
การดำเนินงานของมิชชันนารีคาทอลิกในเขตภาคเหนือของสยาม ช่วง พ.ศ.2454-2490
บทคัดย่อ
บทความชิน้ นี้ มีจดุ มุง่ หมายเพือ่ ทำการศึกษาถึงการดำเนินงาน เผยแผ่คริสต์ศาสนานิกายโรมันคาทอลิก ในเขตภาคเหนือของสยามใน ช่วง พ.ศ. 2454-2490 ในขณะนั้นมิสซังคาทอลิกสยามอยู่ภายใต้การ ปกครองของพระสังฆราชเรอเน มารี ยอแซฟ แปร์รอส (René Marie Joseph Perros) ซึ่งพระสังฆราชท่านนี้ได้ริเริ่มที่จะเปิดพื้นที่การเผย แผ่ศาสนาแห่งใหม่ขึ้นในเขตภาคเหนือ โดยเฉพาะอย่างยิ่งที่เชียงใหม่ อันเป็นเมืองที่สำคัญในเขตภาคเหนือของสยามรวมถึงพื้นที่ใกล้เคียง ถือเป็นรากฐานสำคัญสำหรับการเผยแผ่ศาสนาที่เขตภาคเหนือ ซึ่งได้ พัฒนาเป็นสังฆมณฑลเชียงใหม่ในเวลาต่อมา ผลของการศึกษาพบว่า การดำเนินงานของมิชชันนารีคาทอลิก ในเขตภาคเหนือ โดยเฉพาะอย่างยิ่งที่เชียงใหม่ มีความก้าวหน้าเป็น ลำดับ ด้วยความเอาใจใส่ในงานเผยแผ่ศาสนาเป็นพิเศษตามจิตตารมณ์ ของมิชชันนารี โดยเริ่มต้นการทำงานด้วยการก่อตั้งโบสถ์ และโรงเรียน เพื่อเป็นศูนย์กลางสำหรับการดำเนินงาน ด้านโรงเรียนได้รับความร่วม มือจากภราดาคณะเซนต์คาเบรียล และภคินีคณะอุร์สุลิน ที่ก่อตั้ง โรงเรียนขึ้น ยิ่งทำให้คาทอลิกเป็นที่รู้จักมากขึ้นในเชียงใหม่ ความสำ เร็จในการบุกเบิกพื้นที่การเผยแผ่ศาสนาแห่งใหม่นี้ จึงเป็นผลงานที่ สำคัญชิ้นหนึ่งของมิสซังสยามในสมัยพระสังฆราชเรอเน แปร์รอส คำสำคัญ :
144 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
1. พระสังฆราชเรอเน มารี ยอแซฟ แปร์รอส 2. มิชชันนารี 3. ศาสนาคริสต์
พุฒิพงศ์ พุฒตาลศรี ฉลอง สุนทราวาณิชย์ วิลลา วิลัยทอง
Abstract
This article aims at studying the evangelization of Catholicism in the northern part of Siam. In northern Siam during 1911-1947 the Catholic Mission was under the Prelate Bishop René Marie Joseph Perros. He began the evangelization in this area especially in Chiangmai and its vicinity which was proved to be a foundational ground for developing its own Catholic jurisdiction and later elevated to become a Catholic Diocese of Chiangmai. From this study, it was discovered that the administration of Catholic missionaries in the north of Siam developed constantly beginning with building churches and schools as centers for administration. For the schooling ministry, the missionaries invited the Brothers of St. Gabriel and Ursuline Sisters to establish the schools. As a result, Catholicism was well-known in Chiangmai. This was truly a fruit of Bishop René Marie Joseph Perros and other missionaries who paved the way and set up the Mission in the north of Siam. Keywords : 1. Bishop René Marie Joseph Perros 2. Missionaries 3. Christianity
ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2010/2553 145
การดำเนินงานของมิชชันนารีคาทอลิกในเขตภาคเหนือของสยาม ช่วง พ.ศ.2454-2490
คำสำคัญที่ปรากฏในบทความชิ้นนี้ เป็น คำเฉพาะที่ศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิกใน ประเทศไทยใช้ ดังนั้น ผู้เขียนจึงต้องคงความ หมายตามบริบททางประวัติศาสตร์ และตาม เอกสารอ้างอิง เช่น สมเด็จพระสันตะปาปา (Pope) พระสังฆราช (Bi-shop) คริสตัง (มาจาก ภาษาโปรตุเกส หมายถึง คริสต์ศาสนิกชนผู้นับ ถือนิกายโรมันคาทอลิก) นักบวช (Religious) ภคินี (นักบวชหญิง หรือ sister) ภราดา (นักบวช ชาย หรือ brother) บาทหลวงเจ้าอาวาส (parish priest)อธิการ (หัวหน้านักบวชชาย) อธิการิณี (หัวหน้านักบวชหญิง) AAB. (หอจดหมายเหตุ อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ)
ความนำ นับแต่พุทธศตวรรษที่ 22 เป็นต้นมา คริ ส ต์ ศ าสนานิ ก ายโรมั น คาทอลิ ก ได้ เข้ า สู่ สยาม โดยการเผยแผ่ศาสนาจากมิชชันนารี ฝรั่งเศส และโปรตุเกส แม้ว่าจะเป็นการเผย แผ่ศาสนาในกลุ่มชาวตะวันตกและผู้อพยพ ชาติต่างๆ เพราะเนื่องจากชาวพื้นเมืองเป็น ส่วนน้อยเท่านั้นที่รับศีลล้างบาป แต่คริสตัง จำนวนน้อยเหล่านี้ ก็เป็นที่รู้จักของคนทั่วไป ในฐานะเป็นพวก “เข้ารีต” จนกระทั่งช่วง พุทธศตวรรษที่ 24 จนถึงช่วงพุทธศตวรรษที่ 25 คริสตังในสยามก็ยังคงเป็นประชากรส่วน น้อยในสังคม คริสตังส่วนใหญ่เป็นชาวจีน ญวน
146 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
ผู้มีเชื้อสายโปรตุเกส ลาว และคนไทย ในกรณีของสยามซึ่งเป็นดินแดนที่มี การเผยแผ่ศาสนา โดยมิได้มีศาสนาคริสต์เป็น ศาสนาประจำถิ่ น จึ ง เรี ย กเขตการปกครอง ทางศาสนาว่า มิสซัง (Mission) ขอบเขตการ ปกครองนี้มีชื่อเรียกในภาษาละตินว่า Vicarius และมีผู้ทำหน้าที่ปกครองมิสซังคือ Apostolic Vicar หมายถึง ผู้แทนพระสันตะปาปา ที่ดำรงสมณศักดิ์เป็นพระสังฆราช ส่วนพื้นที่ การเผยแผ่ศาสนาในสยาม ได้รับการยกฐานะ เป็น “มิสซังสยาม” โดยสมเด็จพระสันตะปาปา เคลเมนต์ที่ 9 (Clement IX พ.ศ. 22102212) ในปี พ.ศ. 2212 มีพระสังฆราชหลุยส์ ลาโน (Louis Laneau พ.ศ. 2217-2239) เป็นผู้ปกครองมิสซังท่านแรก (กอสเต, 2547: 173-174) จากนั้นพระสังฆราชผู้สืบตำแหน่ง จากพระสังฆราชลาโนเรื่อยมาก็ได้ทำงานอภิบาล และเผยแผ่ศาสนาร่วมกับบรรดามิชชันนารีซึ่งส่วนใหญ่เป็นชาวฝรั่งเศส จนกระทั่งถึง สมัยกรุงรัตนโกสินทร์ ที่มีการขยายชุมชน คริสตังเพิ่มมากขึ้น ขอบเขตการทำงานก็เพิ่ม มากขึ้น ภายใต้การทำงานของพระสังฆราช ได้แก่ พระสังฆราชปัลเลอกัวส์ (Pallegoix พ.ศ. 2384-2405) พระสังฆราชดือปองด์ (Dupond พ.ศ. 2408-2415) พระสังฆราชหลุยส์ เวย์ (Louis Vey พ.ศ. 2418-2452) เป็นต้น
พุฒิพงศ์ พุฒตาลศรี ฉลอง สุนทราวาณิชย์ วิลลา วิลัยทอง
มิชชันนารีจำนวนมาก มิสซังสยามจึงมีความ ก้าวหน้าอย่างต่อเนื่อง อีกทั้งเป็นที่ยอมรับ มากขึ้นของสังคมในขณะนั้น กระทั่งถึงยุคของ พระสังฆราชเรอเน แปร์รอส ที่ได้เริ่มต้นใน วันที่ 30 มกราคม พ.ศ. 2453 อันเป็นวันที่ ท่านได้รับการอภิเษกเป็นพระสังฆราช ด้วย ความสนใจส่วนตัวของพระสังฆราชแปร์รอส เอง ที่ให้ความสำคัญต่อการเผยแผ่ศาสนาเป็น พิเศษ โดยได้แสดงออกมาในคติพจน์ประจำ ตำแหน่งพระสังฆราชของท่านทีว่ า่ “SALVARE QUOD PERIERAT” แปลว่า เพื่อช่วยผู้ที่หลง ทางไปให้รอดพ้น ดังนั้นการเผยแผ่ศาสนาจึง ถือเป็นงานหลักของมิสซังสยามในสมัยของ พระสังฆราชแปร์รอส ในสมัยนี้พื้นที่ของการ เผยแผ่ศาสนาได้ขยายตัวออกไปเป็นวงกว้าง มากขึ้น จากเดิมที่อยู่บริเวณในกรุงเทพฯ และ เมืองใหญ่ๆ ในเขตภาคกลาง ก็ได้กระจายไป ยังหัวเมืองใหญ่ของสยาม เช่น เชียงใหม่ อัน เป็ น เมื อ งที่ ส ำคั ญ อี ก ทั้ ง เป็ น ศู น ย์ ก ลางของ ล้านนา ปัจจัยที่การเผยแผ่ศาสนาได้ขยายตัว ออกไปสู่พื้นที่ต่างๆ ก็เนื่องจากมิสซังสยามใน ขณะนั้นมีบุคลากรเพิ่มมากขึ้น ทำให้สามารถ ที่จะรองรับงานที่เพิ่มขึ้นได้ในพื้นที่รอบนอก กรุงเทพฯ ดังจะกล่าวถึงในส่วนต่อไป
บริบทการเมืองและสังคมของล้านนา ก่อนที่จะกล่าวถึงการเผยแผ่ศาสนา ในดินแดนล้านนา จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องทำ ความเข้าใจกับความเป็นไปของล้านนาในช่วง ที่ มี ค วามใกล้ เ คี ย งกั บ สมั ย ของพระสั ง ฆราช แปร์รอส โดยเริ่มตั้งแต่ปี พ.ศ. 2437 ซึ่งตรง กั บ รั ช กาลของพระบาทสมเด็ จ พระจุ ล จอม เกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อได้เริ่มมีการสถาปนาระบบ มณฑลเทศาภิ บ าลปฏิ รู ป การปกครองส่ ว น ภูมิภาค รวมอำนาจจากท้องถิ่นและขุนนาง เข้าสู่ศูนย์กลาง โดยเริ่มจากหัวเมืองชั้นในก่อน แล้วขยายไปยังหัวเมืองประเทศราช เริ่มตั้งแต่ พ.ศ. 2437-2449 จึงทั่วพระราชอาณาจักร รวมทั้งสิ้น 18 มณฑล ดินแดนล้านนาซึ่งก่อน หน้า พ.ศ. 2437 ได้รับการปฏิรูปมาแล้วใน พ.ศ. 2427 เรียกว่า มณฑลลาวเฉียง ประกอบ ไปด้วย นครเชียงใหม่ นครลำปาง นครลำพูน นครน่าน แพร่ เถิน โดยตั้งที่บัญชาการมณฑล ที่นครเชียงใหม่ (สมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ, 2545: 185) เมื่อถูกจัดเป็นมณฑล เทศาภิบาล ปลายปี พ.ศ. 2442 จึงเปลี่ยน ชื่อเป็น มณฑลพายัพ และต่อมาใน พ.ศ. 2458 ได้แยก ลำปาง น่าน และแพร่ ออกจาก มณฑลพายัพตั้งเป็น มณฑลมหาราษฎร์ มี ศาลารัฐบาลมณฑลที่ลำปาง (สมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ, 2545: 190) การจัดการ
ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2010/2553 147
การดำเนินงานของมิชชันนารีคาทอลิกในเขตภาคเหนือของสยาม ช่วง พ.ศ.2454-2490
ปกครองแบบมณฑลเทศาภิบาลนี้ เป็นการ ยกเลิกฐานะหัวเมืองประเทศราชล้านนามา เป็ น ดิ น แดนส่ ว นหนึ่ ง ในพระราชอาณาจั ก ร อย่างแท้จริง ดังนั้นเจ้าเมืองประเทศราชจะ ไม่มีฐานะเป็นหัวหน้ารัฐบาลท้องถิ่นอีกต่อไป ด้วยการที่ถูกลิดรอนอำนาจมากยิ่งขึ้น จน ในที่สุด “ระบบเจ้า” ก็สลายลงโดยปริยาย (สรัสวดี อ๋องสกุล, 2552: 449) ดินแดนล้านนาจัดการปกครองเป็น เขตพิเศษแตกต่างจากมณฑลอื่นๆ เนื่องจาก ต้องการให้สอดคล้องกับสภาพการปกครอง แบบเดิม และลักษณะขนบธรรมเนียมประเพณีประจำท้องถิ่นที่เคยปกครองตนเองมาช้า นาน การเข้าดำเนินการเปลี่ยนแปลงจึงต้อง ยึดหลักค่อยเป็นค่อยไป รัฐบาลจึงออกกฎ สำหรับใช้เฉพาะมณฑลพายัพเป็นพิเศษ ซึ่งมี หลายฉบับ เช่น “กฎเสนาบดีกระทรวงมหาด ไทยเปนข้ อ บั ง คั บ สำหรั บ ปกครองมณฑล ตะวันตกเฉียงเหนือ ร.ศ. ๑๑๙” “พระราชบัญญัติการเก็บเงินค่าแรงแทนเกณฑ์มณฑล ตะวันตกเฉียงเหนือ ร.ศ. ๑๑๙” เป็นต้น แต่ ต่อมาราว พ.ศ. 2460 ก็ค่อยๆปรับให้ใช้กฎเกณฑ์ที่เป็นระเบียบแบบแผนเดียวกับมณฑล อื่นๆ (สรัสวดี อ๋องสกุล, 2552: 449-451) ในขณะเมือ่ มีการจัดระบบการปกครอง มณฑลพายัพนั้น เจ้าอินทวโรรสสุริยวงษ์ ที่อยู่
148 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
ในตำแหน่งเจ้าเมือง ซึ่งไม่มีหน้าที่ปกครอง เมืองโดยตรง ได้รับการยกย่องให้เกียรติเพียง ในนามเท่านั้น จึงเกิดความไม่พอใจการเข้า ควบคุมของรัฐบาล ได้ทำการเรียกร้องให้ข้า หลวงเทศาภิบาลลดอำนาจของข้าหลวงประจำเมืองลง และขอให้เจ้าเมืองมีอำนาจกลับ คืนดังเดิม แต่ก็ไม่เป็นผลสำเร็จดังที่ร้องขอ (สรัสวดี อ๋องสกุล, 2552: 453) การปกครอง ดังที่กล่าวมาแล้วจะคงอยู่ต่อไปจนกระทั่งปี พ.ศ. 2476 เนื่องจากในปี พ.ศ. 2475 คณะ ราษฎรได้ยดึ อำนาจ และเปลีย่ นแปลงการปกครองเป็นระบอบประชาธิปไตย ดังนั้น เมื่อ มีการประกาศใช้ “พระราชบัญญัตบิ ริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2476” เริ่มบังคับใช้ในวันที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2476 จึงได้มีการยกเลิก หน่วยการปกครองระดับมณฑลเทศาภิบาล ให้ เ หลื อ แต่ ห น่ ว ยระดั บ จั ง หวั ด และอำเภอ เมืองเชียงใหม่จึงเปลี่ยนเป็นจังหวัดเชียงใหม่ ตั้งแต่เวลานั้นเป็นต้นมา (สรัสวดี อ๋องสกุล, 2552: 446-448) กล่าวถึงมิชชันนารีโปรเตสแตนต์ ได้ มีการเดินทางเข้ามาเผยแผ่ศาสนาในดินแดน ล้านนา ซึ่งมีผลต่อการเติบโตของสังคมเมือง ต่างๆ ของล้านนา เช่น เชียงใหม่ ลำปาง น่าน และเชียงราย อย่างไรก็ดี เมืองเชียงใหม่ถือ เป็ น จุ ด เริ่ ม ต้ น ของการเผยแผ่ ค ริ ส ต์ ศ าสนา
พุฒิพงศ์ พุฒตาลศรี ฉลอง สุนทราวาณิชย์ วิลลา วิลัยทอง
นิกายเพรสไบทีเรียน ในปี พ.ศ. 2410 ปลาย สมัยพระเจ้ากาวิโลรสสุริยวงศ์ (พ.ศ. 23992413) โดยศาสนาจารย์ เดเนียล แมคกิลวารี (Daniel McGilvary) เป็นผู้บุกเบิกพร้อมกับ ครอบครัว เริ่มต้นด้วยการแจกยารักษาโรค และเผยแผ่ศาสนา หลังจากนัน้ จึงได้รบั อนุญาต จากเจ้ า หลวงเชี ย งใหม่ ใ ห้ ส ร้ า งคริ ส ตจั ก รที่ หนึ่งที่เชียงใหม่ และต่อมาได้สร้างโบสถ์แห่ง แรกทางด้านตะวันออกของแม่น้ำปิงภรรยา ของท่านได้เริ่มนำเด็กหญิงในเชียงใหม่มาสอน หนังสือที่บ้านพัก ซึ่งต่อมาพัฒนาเป็นโรงเรียน สตรีอเมริกัน หรือโรงเรียนพระราชชายา (โรง เรียนดาราวิทยาลัยในปัจจุบัน) นับเป็นการ เริ่มต้นการศึกษาสำหรับสตรีในเชียงใหม่เป็น ครั้งแรกและดำเนินการก่อนรัฐบาล (สรัสวดี อ๋องสกุล, 2552: 546-547) สำหรั บ โรงเรี ย นของเด็ ก ชายนั้ น ศาสนาจารย์เดวิด จี. คอลลินส์ (David G. Collins) ได้ขอใช้บริเวณของวัดร้างวังสิงห์คำ เป็นที่ตั้งโรงเรียน เมื่อ พ.ศ. 2430 เรียกว่า Chiang Mai Boys School หรือโรงเรียน ชายวังสิงห์คำ ต่อมา พ.ศ. 2448 ศาสนาจารย์วิลเลียม แฮรีส (William Harris) ได้ รับหน้าที่เป็นครูใหญ่ และได้ซื้อที่ดินด้าน ตะวันออกของแม่น้ำปิง เพื่อย้ายโรงเรียนไปที่ แห่งใหม่นี้ ซึ่งได้รับพระราชทานนามว่า โรง
เรียนปรินส์รอยแยลส์วิทยาลัย จากพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ขณะที่ยังทรง ดำรงพระอิสริยยศเป็นสยามมกุฎราชกุมาร บริเวณโรงเรียนแห่งนี้ยังเป็นที่ตั้งของโรงพิมพ์ แห่งแรกของเชียงใหม่ มีศาสนาจารย์เดวิด จี. คอลลินส์ เป็นผู้จัดการ และพิมพ์อักษรธรรม ล้านนาออกเผยแพร่ใน พ.ศ. 2435 คือ หนังสือพระธรรมมัทธิว แปลและเตรียมเป็น ภาษาล้านนาโดยนางโซเฟีย แมคกิลวารี (Sophia McGilvary) ศาสนาจารย์คอลลินส์ดูแล โรงพิมพ์นี้จนกระทั่งเสียชีวิต และภรรยาของ ท่านได้ดูแลต่อมาจนเสียชีวิตเมื่อ พ.ศ. 2466 ทำให้ กิ จ การหยุ ด ชะงั ก ไป แต่ เ มื่ อ มี ผู้ รั บ ผิ ด ชอบคนใหม่ก็ไม่สามารถทำได้ดีสุดท้ายก็ต้อง ปิดตัวไป จนเมื่อหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 นาย เมืองใจ ชัยนิลพันธุ์ ผู้นำโปรเตสแตนต์คนหนึ่ง ของเชียงใหม่ได้ซื้อกิจการและตั้งเป็นโรงพิมพ์ เจริญเมืองดำเนินสืบต่อมา (ประสิทธิ์ พงศ์อุดม, 2547: 38-40) นอกจากด้านการศึกษาแล้ว มิชชันนารีโปรเตสแตนต์ยังได้สร้างสถานพยาบาล โดยนำวิทยาการรักษาแบบตะวันตกเข้ามาใช้ เมื่อ พ.ศ. 2415 ได้มีการตั้งศาลาโอสถบริเวณ ข้างคุ้มเจ้าแก้วนวรัฐ ต่อมาได้ขยายเป็นโรงพยาบาลอเมริกันมิชชั่น ซึ่งเป็นสถานที่ที่นาย แพทย์เจมส์ แมคเคน (James McKean) ใช้
ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2010/2553 149
การดำเนินงานของมิชชันนารีคาทอลิกในเขตภาคเหนือของสยาม ช่วง พ.ศ.2454-2490
เป็ น ห้ อ งทดลองผลิ ต ฝี ห นองจนสามารถใช้ ป้องกันไข้ทรพิษสำเร็จก่อนไปตั้งสถาบันแมคเคนเพื่อการฟื้นฟูสภาพ และต่อมานายแพทย์ เอ็ดวิน คอร์ต (Edwin Cort) ได้เปลี่ยนโรง พยาบาลแห่งนี้เป็นโรงเรียนแพทย์เมื่อ พ.ศ. 2459 และได้ย้ายโรงพยาบาลไปฝั่งตะวันตก ของแม่น้ำปิง เรียกโรงพยาบาลใหม่นี้ว่า โรงพยาบาลแมคคอร์มิค (สรัสวดี อ๋องสกุล, 2552: 547-548) นับว่ามิชชันนารีโปรเตสแตนต์ได้นำความเจริญมาสู่เมืองเชียงใหม่เป็น อย่างมาก จนถึงสมัยของพระสังฆราชแปร์รอส นิกายโปรเตสแตนต์จึงได้หยั่งรากในเชียงใหม่ อย่างมั่นคงและเป็นที่รู้จักของผู้คนทั่วไป การเผยแผ่ศาสนาของมิชชันนารีคาทอลิก ในเชียงใหม่และเมืองใกล้เคียง การเผยแผ่คริสต์ศาสนานิกายโรมัน คาทอลิกในภาคเหนือ ได้เริ่มต้นขึ้นในสมัยของ พระสังฆราชปัลเลอกัวส์ โดยส่งผู้สำรวจกลุ่ม แรกคือบาทหลวงฌอง บัปติสต์ กรางฌอง (Jean Baptiste Grandjean) และบาทหลวง ฌอง บัปติสต์ วาซาล (Jean Baptiste Vachal) ได้ออกเดินทางจากกรุงเทพฯ ในวันที่
150 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
5 ธันวาคม พ.ศ. 2386 และถึงเมืองเชียงใหม่ ในวันที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2387 แต่ก็ไม่ประสบความสำเร็จในการเผยแผ่ศาสนาเนื่องจาก เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่คือ พระยาพุทธวงศ์ (พ.ศ. 2369-2389) และบรรดาขุนนางไม่ยิน ดีที่จะให้มีการเผยแผ่ศาสนาในดินแดนเชียง ใหม่ และได้มีการคาดโทษต่อประชาชนไม่ให้ ใครเป็นคริสตัง ไม่เช่นนั้นจะลงโทษถึงตาย (Launay, 1894: 118-119) เมื่อเหตุการณ์เป็น เช่นนั้นบาทหลวงทั้งสองจึงกลับมากรุงเทพฯ ต่อมาใน พ.ศ. 2440 บาทหลวงอลอย ดอนท์ (d’Hont) อุปสังฆราชสมัยพระสังฆราชหลุยส์ เวย์ ได้ส่งบาทหลวงอีฟ มารี เเกวงตริก (Yves Marie Quintric) และบาทหลวงเลออง ปิแอร์ ริชาร์ด (Léon Pierre Richard) แต่ก็ไม่เป็น ผลสำเร็ จ เช่ น ครั้ ง แรก เพราะเดิ น ทางไปถึ ง เพียงอุตรดิตถ์เท่านั้น เมื่อถึงสมัยของพระสังฆราชแปร์รอส ด้ ว ยท่ า นมี ค วามสนใจในการเผยแผ่ ศ าสนา อย่างมาก ทำให้ท่านเล็งเห็นว่าดินแดนในแถบ ภาคเหนือ ต้องมีการเข้าไปเผยแผ่คริสต์ศาสนา นิกายโรมันคาทอลิกให้ได้ ดังที่ปรากฏในราย งานประจำปี พ.ศ. 2454 มีใจความว่า
พุฒิพงศ์ พุฒตาลศรี ฉลอง สุนทราวาณิชย์ วิลลา วิลัยทอง
อนาคตอันสดใสของแผ่นดินอันกว้างใหญ่ทางภาคเหนือ ซึ่งขณะนี้ยัง ไม่มีการเผยแผ่พระวรสารของคาทอลิกเลย อาณาบริเวณนี้กว้างใหญ่จริงๆ ข้าพเจ้าไม่อาจกลั้นการถอนใจได้ เมื่อข้าพเจ้าอ่านชื่อเมืองต่างๆ ในเขตสยาม และลาว ได้แก่ พิษณุโลก เมืองแพร่ เมืองน่าน เมืองเถิน ระแหง นครลำปางและ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเชียงใหม่... เมื่อไหร่พวกเราจะสามารถประกาศพระวรสาร ที่นี่ได้... นี่คือดินแดนกว้างใหญ่ที่ควรจะต้องเปิดประตูได้แล้ว ข้าพเจ้าปรารถนาจะกล่าวว่าดินแดนเหล่านี้เป็นดินแดนใหม่ แต่ก็หาไม่ ได้มีหมอสอนศาสนาโปรเตสแตนต์เข้าไปแล้ว... พวกเขากล่าวว่าการสอนศาสนา ที่เมืองแพร่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งที่เชียงใหม่ได้ผลดียิ่ง ที่ซึ่งมีหมอสอนศาสนา 17 คน ฝ่ายเรามีบาทหลวงคาทอลิก 3 ท่าน ที่ทำงานในเขตอยุธยาถึงแคว้น รัฐฉาน (ลาเก, ม.ป.ป.: 148) เหตุผลที่พระสังฆราชแปร์รอสต้องการเผยแผ่ศาสนาที่ภาคเหนือ คือ เนื่องจาก ยังไม่มีการเผยแผ่ศาสนาของคาทอลิกเลยใน เขตเชียงใหม่ แต่ยังมีอีกเหตุผลหนึ่ง คือ ความ
ต้ อ งการที่ จ ะถ่ ว งดุ ล อำนาจของมิ ช ชั น นารี โปรเตสแตนต์ ดังที่พระสังฆราชแปร์รอสได้ บันทึกไว้ว่า
ที่เชียงใหม่พวกโปรเตสแตนต์ไปตั้งอยู่ตั้งแต่ปี 1863 (พ.ศ. 2406) แล้ว จึงมีอิทธิพลมาก เขามีทั้งโรงสวด โรงพยาบาล โรงเรียนและสถานรักษาคนโรค เรื้อน เพื่อต่อต้านการโฆษณาชวนเชื่อของพวกเขาอันมีเงินจากอเมริกาหนุนอยู่ เราจึงพยายามอย่างสุดกำลังที่จะตั้งหัวหาดขึ้นในเมืองใหญ่นี้... เรามีความหวัง มากแม้ว่าเรื่องนี้จะเป็นภาระหนักทางการเงิน (ลาเก, ม.ป.ป.: 249) ในสมั ย ของพระสั ง ฆราชแปร์ ร อส ปัญหาที่สำคัญของมิสซังสยาม คือ ขาดบาทหลวงทีจ่ ะเผยแผ่ศาสนา ทำให้มสิ ซังไม่สามารถ ส่ ง บาทหลวงไปดั ง ที่ พ ระสั ง ฆราชแปร์ ร อส
ตั้งใจไว้ แต่ก็ได้ขอความช่วยเหลือจากคริสตัง เชื้อสายเวียดนามคนหนึ่งซึ่งอาศัยอยู่ที่เชียงใหม่ ให้หาที่ดินในเขตลำปาง ลำพูน และ เชียงใหม่เพื่อที่จะสร้างโบสถ์ (“จดหมายวัด
ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2010/2553 151
การดำเนินงานของมิชชันนารีคาทอลิกในเขตภาคเหนือของสยาม ช่วง พ.ศ.2454-2490
พระหฤทัย เชียงใหม่” AAB. กล่อง 37 แฟ้ม เกิดสงครามโลกครั้งที่ 1 (“จดหมายวัดพระ2) จนกระทั่งต่อมาในเดือนมกราคม พ.ศ. หฤทัย เชียงใหม่” AAB. กล่อง 37 แฟ้ม 2457 พระสังฆราชแปร์รอสได้ส่งบาทหลวง 2) เป็นผลทำให้มิชชันนารีฝรั่งเศสในสยามได้ ฌอง บัปติสต์ ฟูยาต์ (Jean Baptiste Foullat) ถูกเกณฑ์ไปเป็นทหารที่ฝรั่งเศส โดยผู้ถูก และบาทหลวงยอแซฟ มารี บรัวซาต์ (Joseph เกณฑ์ในครั้งนี้ประกอบไปด้วย พระสังฆราช Marie Broizat) ไปเชียงใหม่เพื่อสำรวจพื้นที่ แปร์รอส บาทหลวง 11 ท่าน (ลาเก, ม.ป.ท.: ซึ่งข้อมูลการสำรวจของบาทหลวงทั้งสอง ทำ 164) และภราดาคณะเซนต์คาเบรียล 13 ให้พระสังฆราชแปร์รอสเล็งเห็นว่า สามารถ ท่าน (สมาคมอัสสัมชัญ, 2546: 242) คงเหลือ ขยายงานของคาทอลิกไปยังเชียงใหม่ได้ แม้วา่ บาทหลวงชราทำงานในมิสซังสยามอยู่เพียง จะมีปัญหาอยู่บ้างก็ตาม (ลาเก, ม.ป.ท.: 148) 6 ท่านเท่านั้น (ลาเก, ม.ป.ป.: 41) มิสซัง ดั ง นั้ น พระสั ง ฆราชแปร์ ร อสจึ ง ได้ มี สยามในช่วงเวลาดังกล่าวต้องอยู่ในภาวะหยุด คำสัง่ ให้บาทหลวงทัง้ สอง ซือ้ ทีด่ นิ ติดริมแม่นำ้ ชะงัก เนื่องจากขาดบุคลากรจำนวนมากเป็น ปิง ทางทิศใต้ของตัวเมืองเชียงใหม่ จำนวน เวลาติดต่อกัน 5 ปี คือระหว่าง พ.ศ. 24576 เฮกตาร์ เป็นเงินจำนวน 8,000 บาท แต่ 2461 ดังที่พระสังฆราชแปร์รอสได้บันทึกใน โครงการต่างๆ ก็ต้องหยุดไปก่อนเนื่องจาก รายงานประจำปี พ.ศ. 2458 ดังนี้ ช่วงกลางปี 1914 (พ.ศ. 2457) ถึงกลางปี 1915 (พ.ศ. 2458) มีเรื่อง ยุ่งยากต่างๆ ที่ไม่คาดคิด พระสังฆราชกับมิชชันนารีและภราดา ถูกเรียกตัว จากมิสซังสยามไปเข้าเกณฑ์ทำสงคราม กลุ่มคริสตังหลายแห่งถูกปล่อยให้ขาด พระสงฆ์และโรงเรียนฝึกหัดครูคำสอนต้องถูกปิดไป การขาดคุณพ่อซมแลต์ ซึ่ง เป็นคนรู้ภาษากวางตุ้งเพียงคนเดียวเท่านั้น ทำให้คริสตังใหม่เชื้อสายกวางตุ้ง ต้องขาดการรับศีลศักดิส์ ทิ ธิต์ า่ งๆ และขาดการเรียนคำสอน มิชชันนารีที่อยู่ตาม วัดก็ทำดีที่สุดเท่าที่จะทำได้ (ลาเก, ม.ป.ป.: 166) ต่ อ มาเมื่ อ พระสั ง ฆราชและมิ ช ชั น นารีได้กลับเข้ามายังสยามเรียบร้อยแล้ว ใน เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2469 พระสังฆราช
152 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
แปร์รอส และบาทหลวงอังเดรได้เดินทางขึ้น ไปภาคเหนือเพื่อดูสถานการณ์ต่างๆ แต่ทุก อย่ า งก็ ต้ อ งรอคอยจั ง หวะเนื่ อ งจากมิ ส ซั ง
พุฒิพงศ์ พุฒตาลศรี ฉลอง สุนทราวาณิชย์ วิลลา วิลัยทอง
สยามกำลังประสบปัญหาหลายอย่างทั้งเรื่อง บุคลากรและการเงิน (Annales de la Mission de Xiengmai, 1998: 1) ในที่สุดบาทหลวงลูเซียง จอร์จ มิราแบล (Lucien Georges Mirabel) มิชชันนารีใหม่ที่เพิ่งจะเข้ามาสยาม ได้รับหน้าที่ใน การบุ ก เบิ ก การเผยแผ่ ศ าสนาในเชี ย งใหม่ พร้อมกับบาทหลวงนิโคลาส บุญเกิด กฤษบำรุง ทั้งสองท่านได้เดินทางไปเชียงใหม่ใน วันที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2474 ช่วงแรกได้ พำนักอยู่ที่บ้านของตระกูลเดอซูซ่า (Desousa) (Annales de la Mission de Xiengmai, 1998: 2) จากนั้นได้พบกับครอบครัวคริสตัง ชาวอินเดีย คือ ครอบครัวของขุนวิจิตรวนการ
(ต้นสกุลวิจิตรพร) ที่ทำงานเกี่ยวกับป่าไม้ ทางภาคเหนือ (สภาอภิบาลอาสนวิหารพระหฤทัยเชียงใหม่, 2549: 35) ใน พ.ศ. 2464 พระสั ง ฆราชแปร์ ร อสได้ ม อบเงิ น จำนวน 12,500 บาท เพื่อซื้อที่ดินขนาด 2.4 เฮกตาร์ เพิ่มอีกหนึ่งแปลง เพื่อใช้สร้างโบสถ์ บ้าน พักบาทหลวงและบ้านพักของภคินีที่จะเดิน ทางมาทำงานที่เชียงใหม่ (จดหมายวัดพระหฤทัยเชียงใหม่ AAB. กล่อง 37 แฟ้ม 2) หลั ง จากที่ ไ ด้ มี ก ารสร้ า งโบสถ์ ห ลั ง แรกขึ้ น แล้ว พระสังฆราชแปร์รอสจึงเดินทางมาทำ พิธีเปิด ในวันที่ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2475 ดังที่ปรากฏในรายงานประจำปี พ.ศ. 2475 ความว่า
ความหวังของเราที่เชียงใหม่เริ่มสำเร็จเป็นจริง โบสถ์ได้รับการเสกอย่าง สง่าเมื่อวันที่ 3 มิถุนายน ในวันฉลองพระหฤทัยมีคนมาเต็มโบสถ์แต่ส่วนใหญ่ เป็นคนต่างศาสนา และในวันนั้นมีคนรับศีลล้างบาป 12 คน ทำให้ “ฝูงแกะ น้อย” ของเรามีจำนวนเพิ่มขึ้น (ลาเก, ม.ป.ป.: 254) เมื่อเริ่มมีการเผยแผ่ศาสนาของบาทหลวงคาทอลิกที่เชียงใหม่ ได้เกิดกลุ่มคริสตัง แรกนอกเขตตัวเมืองเชียงใหม่คือ ที่แม่ริมซึ่ง อยู่ห่างจากเชียงใหม่ไปทางเหนือราว 18 กิโลเมตร วันที่ 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2476 โปรเตสแตนต์ทุกครอบครัวจากหมู่บ้านแห่งนี้ได้ขอ เข้าเป็นคริสตัง วันนั้นมีโปรเตสแตนต์รับศีล
ล้างบาป 29 คน (ลาเก, ม.ป.ป.: 264) เหตุที่มี โปรเตสแตนต์เข้ามาเป็นคริสตัง เนื่องจากใน ช่วงแรกที่บาทหลวงมิราแบลและบาทหลวง นิโคลาส บุญเกิด เดินทางมาถึงเชียงใหม่ ทั้ง สองได้ไปยังหมู่บ้านต่างๆ เพื่อเทศน์สอนเกี่ยว กับข้อความเชือ่ คาทอลิก ทำให้มโี ปรเตสแตนต์ สนใจได้มาขอเรียนคำสอน และต่อมาจึงรับ
ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2010/2553 153
การดำเนินงานของมิชชันนารีคาทอลิกในเขตภาคเหนือของสยาม ช่วง พ.ศ.2454-2490
ศีลล้างบาป จากนั้นคริสตังใหม่กลุ่มนี้บางคน ก็ได้ทำหน้าที่เป็นผู้ช่วยของบาทหลวงทั้งสอง ในการเผยแผ่ศาสนาไปยังกลุ่มโปรเตสแตนต์ ที่ตนเองรู้จัก และตามหมู่บ้านต่างๆ ดังเช่น ตัวอย่างของครูวัณฑ์คำ ที่เคยเป็นโปรเตสแตนต์นกิ ายแบปติสต์มาก่อน เมือ่ ได้รบั ศีลล้าง บาปจึ ง ได้ ท ำหน้ า ที่ ค รู ค ำสอนและชั ก ชวน เพื่ อ นที่ เ ป็ น แบปติ ส ต์ ด้ ว ยกั น มาเป็ น คริ ส ตั ง (สื่อมวลชนคาทอลิกแห่งประเทศไทย, 2543: 28) ครูคำสอนเหล่านีม้ คี วามกระตือรือร้นเป็น อย่างมาก ทำให้ในบางครั้งเกิดการโต้เถียงกับ พวกผู้นำโปรเตสแตนต์ตามหมู่บ้านที่ไปเผย แผ่ศาสนา ในเรื่องของการตีความพระคัมภีร์ และข้อความเชื่อ (สภาอภิบาลอาสนวิหาร พระหฤทัยเชียงใหม่, 2549: 32-33) แต่ก็ได้ มีการตั้งข้อสังเกตจากบาทหลวงที่ทำงานใน เชียงใหม่ว่า “พวกคริสตังใหม่นั้นยังต้องเอา ใจใส่เป็นพิเศษ และเป็นระยะนาน พวกเขา ส่วนมากมาจากลัทธิโปรเตสแตนต์ จึงมีนิสัย ชอบให้พวกมิชชันนารีส่งเสริมชีวิตด้านวัตถุ บางครั้งมากกว่าด้านจิตใจ” (ลาเก, ม.ป.ป.: 285) นอกจากกลุ่มโปรเตสแตนต์ที่มาขอ เข้าเป็นคริสตังแล้ว ยังมีผู้ที่นับถือพุทธศาสนา มาขอเข้าเป็นคริสตังด้วย เช่น ในกรณีของ นายหวัน เบญจวรรณ ที่ได้เชิญบาทหลวง
154 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
นิโคลาส บุญเกิด ไปสอนคำสอนที่อำเภอเวียง ป่าเป้า ราวปี พ.ศ. 2476 โดยตอนแรกบาท หลวงนิโคลาสไปพักอยู่ที่บ้านของนายหวัน ที่ หมู่บ้านทรายมูล ได้ต่อเติมบ้านของนายหวัน เป็นที่ประกอบศาสนกิจ และได้มีผู้มาขอเรียน คำสอน เช่น ครอบครัวของนายสิงห์ สุวรรณใจ นายตัน ใจปา นายกุย ใจอ้าย นายแหว้น แก้วสุวรรณ เป็นต้น ต่อมาเมื่อมีผู้กลับใจ เพิ่มมากขึ้น ไม่เพียงแต่ที่หมู่บ้านทรายมูล เท่านั้น ยังมีชาวบ้านจากหมู่บ้านโป่งทวี หมู่ บ้านฮ่างต่ำ หมู่บ้านป่าเมือด มาเรียนคำสอน ในวันอาทิตย์ ดังนั้น บาทหลวงนิโคลาสจึงได้ จับจองที่ดินซึ่งเป็นป่า มีเนื้อที่ 27 ไร่ 3 งาน 27 ตารางวา ได้สร้างโบสถ์ชั่วคราวเป็นบ้าน ไม้ 2 ชั้นตั้งชื่อว่า “โบสถ์นักบุญเทเรซา” ต่อ มาพระสังฆราชแปร์รอสได้ส่งบาทหลวงอาทานาส ย้อ ดีสุดจิตร มาเป็นเจ้าอาวาสท่าน แรกของโบสถ์แห่งนี้ กิจการทางศาสนาก็ได้ เจริญก้าวหน้าตามลำดับ (สื่อมวลชนคาทอลิกแห่งประเทศไทย, 2541: 233) ดั ง ที่ ไ ด้ ก ล่ า วมาแล้ ว ว่ า กลุ่ ม คริ ส ตั ง ใหม่ในเขตภาคเหนือ บางส่วนมาจากผูท้ นี่ บั ถือ นิกายโปรเตสแตนต์ ในเรื่องนี้ทำให้เกิดความ ขัดแย้งระหว่างบาทหลวงคาทอลิกกับมิชชันนารีโปรเตสแตนต์ เมื่อความขัดแย้งทวีขึ้น ก็ ปรากฏว่ า มี มิ ช ชั น นารี โ ปรเตสแตนต์ ท่ า น
พุฒิพงศ์ พุฒตาลศรี ฉลอง สุนทราวาณิชย์ วิลลา วิลัยทอง
หนึ่งคือ นายแพทย์ ดับบลิว ฮาร์ดดิ้ง นีดเลอร์ (W. Harding Kneedler) ได้เขียนจดหมาย ถึงบาทหลวงคาทอลิก ในเดือนเมษายน พ.ศ. 2476 แสดงความรู้สึกเสียใจที่เห็นว่าบาทหลวงคาทอลิกและมิชชันนารีโปรเตสแตนต์ ในเชียงใหม่ มีความขัดแย้งและแข่งขันกันใน เรือ่ งของจำนวนคนทีเ่ ข้ามาเรียนรูค้ ริสต์ศาสนา (จดหมายวัดพระหฤทัยเชียงใหม่ AAB. กล่อง 37 แฟ้ม 3) ทางบาทหลวงคาทอลิกจึงได้มี จดหมายตอบนายแพทย์ท่านดังกล่าวด้วยใจ ความที่เป็นมิตร และเข้าใจถึงความปรารถนา ดีที่ต้องการให้ความขัดแย้งของทั้งสองนิกาย ในเชียงใหม่เบาบางลง จึงได้เชิญนายแพทย์ ท่านดังกล่าวมาสนทนาแลกเปลี่ยนความคิด เห็นกันในเวลาต่อมา (“จดหมายวัดพระหฤทัย เชียงใหม่” AAB. กล่อง 37 แฟ้ม 3) ซึ่งหลัง จากนั้นปัญหาระหว่างคาทอลิกและโปรเตสแตนต์ ที่ เชี ย งใหม่ ก็ ไ ด้ ล ดน้ อ ยลงตามลำดั บ ดังเช่นใน พ.ศ. 2478 ที่พระสังฆราชแปร์รอส
แสดงความเห็นว่า “บางแห่งซึ่งแต่ก่อนเคยมี พวกโปรเตสแตนต์โจมตี ก็เงียบหายไปเลย” (ลาเก, ม.ป.ป.: 270) การก่อตัง้ สถาบันการศึกษาคาทอลิกในเชียงใหม่ เมือ่ มีการเริม่ เผยแผ่ศาสนาในเชียงใหม่ สิ่งหนึ่งที่พระสังฆราชแปร์รอสและบาทหลวง มิราแบลมีความเห็นตรงกัน คือ ต้องอาศัยการ ศึ ก ษาเท่ า นั้ น ที่ จ ะทำให้ ก ารเผยแผ่ ศ าสนา ประสบผลสำเร็จ ด้วยเหตุนี้ พระสังฆราช แปร์รอสจึงสนับสนุนให้ภราดาคณะเซนต์คาเบรียล และภคินีคณะอุร์สุลิน ซึ่งประสบความ สำเร็จในการบริหารโรงเรียนที่กรุงเทพฯ คือ โรงเรียนอัสสัมชัญ และโรงเรียนมาแตร์เดอี วิทยาลัย ความคิดเห็นของพระสังฆราชแปร์ รอสในเรื่องโรงเรียนนี้ได้ปรากฎในจดหมาย ฉบับหนึ่งลงวันที่ 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2474 ถึงท่านอธิการิณีแซงต์ฌอง มาร์แตง ความว่า
การตั้งศูนย์คริสตชนแห่งใหม่ขึ้นทางภาคเหนือของสยาม คือที่เชียงใหม่ อันเป็นเมืองใหญ่ซึ่งมีมิชชันนารีชาวอเมริกันนิกายโปรเตสแตนต์จากพม่าเข้ามา ดำเนินกิจการในเมืองนี้มานานแล้ว... เราต้องสร้างโรงเรียนเพื่อจะได้เป็นที่รู้จัก และเป็นที่นับถือ ภราดาคณะเซนต์คาเบรียลจะเปิดโรงเรียนสำหรับเด็กชาย ชื่อ เสียงและความสำเร็จของภราดาคณะนี้ในกรุงเทพฯ จะเป็นที่สนใจแก่ผู้ที่ที่เคย รูจ้ กั คณะนีต้ งั้ แต่เริม่ งาน ส่วนเด็กหญิงข้าพเจ้าให้ภคินคี ณะอุรส์ ลุ นิ ก่อตัง้ โรงเรียน ขึ้นแห่งหนึ่ง งานของภคินีจะมั่นใจได้ว่าต้องได้รับความสำเร็จด้วยดี... (มาโฮนี, 2549: 92) ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2010/2553 155
การดำเนินงานของมิชชันนารีคาทอลิกในเขตภาคเหนือของสยาม
ใน พ.ศ. 2467 เป็นปีที่ภคินีคณะ อุ ร์ สุ ลิ น แห่ ง สหภาพโรมั น ได้ เ ดิ น ทางเข้ า มา ทำงานในมิสซังสยาม ตามคำเชิญของพระสังฆราชแปร์รอส และได้ทำการก่อตั้งโรงเรียน ขึน้ แห่งหนึง่ ใน พ.ศ. 2470 คือ โรงเรียนมาแตร์เดอีวิทยาลัย ต่อมาเมื่อมีการเผยแผ่ศาสนาที่ ภาคเหนือพระสังฆราชแปร์รอสเห็นควรที่จะ มีการเปิดโรงเรียนสำหรับเด็กหญิงขึ้น จึงได้ ปรึกษากับภคินีแบร์นาร์ดและได้รับการตกลง อย่างดีจากภคินีดังกล่าว เมื่อได้มีการขอ อนุ ญ าตจากผู้ ใ หญ่ ข องคณะที่ ก รุ ง โรมเรี ย บ ร้อยแล้ว ในวันที่ 6 เมษายน พ.ศ. 2475 ภคินีคณะอุร์สุลิน 5 คนได้ออกเดินทางด้วยรถ ไฟไปยังเชียงใหม่ โดยมีภคินีแบร์นาร์ดได้รับ แต่งตั้งเป็นอธิการของกลุ่มที่เชียงใหม่ ในวันที่ 16 เมษายน ปีเดียวกัน โรงเรียนได้เปิดทำการ สอนเป็นวันแรก และวันที่ 7 พฤษภาคม จึง ได้รับใบอนุญาตเป็นทางการจากทางราชการ (มาโฮนี, 2549: 106-112) คณะอุร์สุลินจึงได้ ตั้งมั่นทำงานที่เชียงใหม่เรื่อยมานับแต่ปี พ.ศ. 2475 เป็นต้นมา ในด้านของภราดาคณะเซนต์คาเบรียล ด้วยชื่อเสียงของการบริหารงานในกรุงเทพฯ ทำให้มีนักเรียนจากเชียงใหม่มาเรียนที่อัสสัมชัญตัง้ แต่ พ.ศ.2453 ต่อมาเมือ่ ได้จบการศึกษา และกลับไปยังบ้านเกิดจึงมีความประสงค์ที่
156 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
จะให้ภราดาจากอัสสัมชัญไปเปิดโรงเรียนที่ เชียงใหม่ด้วย ประกอบกับพระสังฆราชแปร์รอสที่ ต้ อ งการให้ มี ก ารเปิ ด โรงเรี ย นสำหรั บ นักเรียนชาย ดังนั้นในวันที่ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2474 ขณะที่โรงเรียนอัสสัมชัญปิดภาคการ ศึกษา ภราดาไมเคิล ภราดาฮีแลร์ และ บาทหลวงแปรูดง พร้อมกับศิษย์เก่าอัสสัมชัญ จากภาคเหนือได้ออกเดินทางไปยังหลายพื้นที่ เพื่อสำรวจหาที่อันเหมาะสมสำหรับการสร้าง โรงเรียน (ภราดาคณะเซนต์คาเบรียลแห่ง ประเทศไทย, 2544: 176) ต่อมาจึงได้ที่ดิน บริเวณใกล้แม่น้ำปิงสำหรับการก่อตั้งโรงเรียน ที่ ดิน นี้ เ ป็น ที่ ดิน ซึ่ ง บาทหลวงมิร าแบลได้ซื้ อ เอาไว้นานแล้วจากหลวงอนุสารสุนทรเพื่อใช้ สำหรับเป็นประโยชน์สำหรับมิสซัง ที่ดินนี้มี จำนวน 12 ไร่ ในขณะที่โรงเรียนซึ่งจะใช้ชื่อว่า “โรงเรียนมงฟอร์ตวิทยาลัย” กำลังทำการก่อ สร้างอยู่นั้น ได้ใช้เรือนไม้สองชั้นข้างโบสถ์ พระหฤทัยเป็นห้องเรียนชั่วคราว โดยเริ่มเปิด ทำการสอนในวันที่ 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2475 โดยมีบาทหลวงเมอนีเอร์ เป็นผูจ้ ดั การโรงเรียน ภราดาซีเมออน เป็นอธิการคนแรก และ ภราดาแอมบรอซิโอ เป็นรองอธิการ มีนกั เรียน ทั้งสิ้น 22 คน ต่อมาเมื่ออาคารมงฟอร์ตและ อาคารอำนายการ ซึ่งควบคุมการก่อสร้างโดย ภราดายอห์น หลุยส์ แล้วเสร็จ นักเรียนทั้ง 22
พุฒิพงศ์ พุฒตาล ฉลอง สุนทราวาณิชย์ วิลลา วิลัยทอง
คนจึงได้ย้ายจากโบสถ์พระหฤทัยเข้าไปเรียน ยังโรงเรียนใหม่ในวันที่ 9 มกราคม พ.ศ. 2475 ภายหลังเมื่อมีการย้ายแล้วจึงมีนักเรียนเพิ่ม มากขึ้นเป็น 116 คน (ภราดาคณะเซนต์คาเบรียลแห่งประเทศไทย, 2544: 176-177) อาคารเรียนหลังแรกของโรงเรียนมงฟอร์ตนี้มี 2 ชั้น 8 ห้องเรียน ปูพื้นด้วยไม้ กระดาน โดยชั้นบนด้านตะวันตก 2 ห้อง เปิด เป็นห้องโล่งถึงกันเพื่อเป็นที่อยู่ของนักเรียน ประจำ ต่อมาเมื่อภราดาฮูเบิร์ตจากโรงเรียน เซนต์คาเบรียลได้มารับตำแหน่งอธิการโรงเรียนแทนภราดาซีเมออน ได้มีการสนับสนุน ให้วงดุริยางค์ M.C. BAND ของโรงเรียนได้ ก้าวหน้าและมีมาตรฐานยิ่งขึ้น ในเดือน มิถุนายน พ.ศ. 2487 ภราดาเกลเมนต์ (บุญมี เกิดสว่าง) ได้ยนื่ คำร้องให้กระทรวงศึกษาธิการ รับรองวิทยฐานะ แต่เนือ่ งจากขณะนัน้ เป็นช่วง ที่ประเทศไทยต้องเผชิญกับภาวะสงครามโลก ครั้งที่ 2 ดังนั้นคำร้องฉบับนี้จึงต้องถูกระงับ ไป ต่อมา ภราดาเซราฟินจึงได้ยื่นเรื่องต่อ กระทรวงศึกษาธิการอีกครั้ง เมื่อวันที่ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2489 และในวันที่ 17 สิงหาคม ปีเดียวกัน อธิบดีกรมสามัญศึกษา พร้อมด้วยข้าหลวงตรวจการศึกษาภาค 4 และ ศึกษาธิการจังหวัด ได้มาตรวจสอบกิจการ ของโรงเรียน และในวันที่ 21 เมษายน พ.ศ.
2490 จึงได้มีการประกาศรับรองวิทยฐานะ ของโรงเรียนมงฟอร์ตวิทยาลัยอย่างเป็นทาง การให้เทียบเท่าโรงเรียนรัฐบาล (ภราดาคณะ เซนต์คาเบรียลแห่งประเทศไทย, 2544: 177178) การเดินทางสำรวจในต่างแดน นอกจากพื้ น ที่ ใ นเขตเชี ย งใหม่ แ ล้ ว พระสั ง ฆราชแปร์ ร อสยั ง ได้ ส่ ง บาทหลวง มิราแบลและบาทหลวงนิโคลาส บุญเกิด ไป สำรวจพื้นที่สำหรับการเผยแผ่ศาสนา อีกทั้ง เพื่อศึกษาการทำงานของมิชชันนารีในเมือง ต่างๆ ของพม่า โดยทั้งสองได้ออกเดินทางจาก เชียงใหม่ในวันที่ 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2476 การเดินทางครั้งนี้มีผู้นำทาง คือ ครูวัณฑ์คำ ซึ่งเป็นครูคำสอนช่วยงานบาทหลวงทั้งสองที่ เชียงใหม่ (Annales de la Mission de Xiengmai, 1998: 6) การเดินทางได้เริ่มด้วย รถเช่าจากตัวเมืองเชียงใหม่ มาถึงอำเภอจอม ทอง หลังจากนั้นจึงจ้างคนหาบของ 6 คน เพื่อติดตาม โดยบาทหลวงมิราแบลขี่ม้า และ บาทหลวงนิโคลาสนั่งไปกับรถเช่าจนกระทั่ง ถึงแม่น้ำสบเตียะ ซึ่งห่างจากอำเภอจอมทอง 6 กิโลเมตร รถเช่าจึงกลับไป หลังจากนั้นจึง ใช้วิธีเดินเท้า ในวันที่ 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2476 ได้เดินทางมาถึงจังหวัดแม่ฮ่องสอน
ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2010/2553 157
การดำเนินงานของมิชชันนารีคาทอลิกในเขตภาคเหนือของสยาม ช่วง พ.ศ.2454-2490
วันที่ 15 กุมภาพันธ์ ปีเดียวกัน ได้ เข้าเขตประเทศพม่าโดยข้ามแม่น้ำสาละวิน ด้วยเรือรับจ้าง เมื่อถึงเขตพม่า บาทหลวงฝรั่งเศสที่ทำงานในพม่าได้ส่งกะเหรี่ยง 2 คน นำ ช้างมาให้บาทหลวงทั้งสองท่านใช้เป็นพาหนะ เพื่อเดินทางไปยังโบสถ์คาทอลิกที่เมืองผาปูน หลังจากทีพ่ กั ผ่อน 1 คืน ในวันที่ 20 กุมภาพันธ์ คณะเดิ น ทางได้ ใช้ ร ถยนต์ แ ละต่ อ ด้ ว ยเรื อ กลไฟ เพื่อเดินทางไปยังเมืองเมาะละแหม่ง (Mawlamyine) ซึ่งเป็นที่ตั้งของสามเณราลัย ซึ่งบริหารโดยบาทหลวงฝรั่งเศส 1 ท่าน และ บาทหลวงกะเหรี่ยง 3 ท่าน ที่เมืองมะละ แหม่งนี้มีโบสถ์คาทอลิกหลายแห่ง รวมถึงมี โรงเรียนของภราดา อารามภคินี อีกหลาย แห่ง หลังจากที่พักอยู่ที่สามเณราลัย 4 คืน คณะเดินทางก็ได้โดยสารด้วยรถไฟจากสถานี เมาะตะมะ (Martaban) เพื่อไปยังย่างกุ้ง (Rangoon) และถึงที่หมายในเวลาเย็น หลัง จากนั้นบาทหลวงทั้งสองได้เดินทางไปเยี่ยม โบสถ์และอารามต่างๆ ที่เมืองเปกู (Pegu) และเญาเลปิน (Nyaunglebin) จนกระทั่งถึง วันที่ 6 มีนาคม พ.ศ. 2476 จึงได้เดินทาง ด้วยรถไฟไปยังเมืองตองอู (Toungoo) (สื่อ มวลชนคาทอลิกแห่งประเทศไทย, 2543: 435)
158 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
ที่ เ มื อ งตองอู นี้ บ าทหลวงทั้ ง สองได้ เดิ น ทางไปเยี่ ย มพระสั ง ฆราชแห่ ง เมื อ งตอง อู แต่ไม่พบเนือ่ งจากท่านเดินทางไปเยีย่ มคริสตังในป่า จึงได้เดินทางไปเยี่ยมโบสถ์ อาราม ภคินี สามเณราลัย และโรงพิมพ์ของพระสังฆราชแห่งตองอู ในวันที่ 7 มีนาคม พ.ศ. 2476 คณะเดินทางได้ออกจากตองอูด้วยรถไฟเพื่อ เดินทางไปยังเมืองมัณฑะเลย์ (Mandalay) เมื่อเดินทางมาถึง ได้มีบาทหลวง 2 ท่าน เดินทางมารับเพื่อไปเยี่ยมพระสังฆราชแห่ง มัณฑะเลย์ ทีเ่ มืองแห่งนีม้ โี บสถ์คาทอลิกหลาย แห่ง และมีโรงเรียนประจำสำหรับทั้งนักเรียน ชายและหญิง 4 โรงเรียน และโรงพยาบาล คนโรคเรื้อน 1 แห่ง ดำเนินงานโดยภคินี 29 คน นอกจากมัณฑะเลย์แล้วบาทหลวงทั้งสอง ยังได้เดินทางไปยังเมืองมักเกว (Magwe) ซึ่ง เป็นที่ตั้งของสามเณราลัย อารามภคินีและ โรงเรียนประจำ เพื่อเยี่ยมชมกิจการ (สื่อมวลชนคาทอลิกแห่งประเทศไทย, 2543: 37-40) ในวันที่ 12 มีนาคม พ.ศ. 2476 คณะ เดินทางได้โดยสารรถไฟจากเมืองมัณฑะเลย์ เพื่อไปยังเมืองกาลอว์ (Kalaw) เพื่อแวะพัก ผ่อนที่บ้านพักตากอากาศของมิชชันนารีท่าน หนึ่ง และเยี่ยมอารามต่างๆ ในเมืองกาลอว์ วันที่ 15 มีนาคม ปีเดียวกัน คณะเดินทางได้ ออกจากเมืองกาลอว์ด้วยรถยนต์ เพื่อไปยัง
พุฒิพงศ์ พุฒตาลศรี ฉลอง สุนทราวาณิชย์ วิลลา วิลัยทอง
เมืองตองยี (Taunggyi) แวะพักที่โบสถ์แห่ง หนึ่ง ในวันต่อมาจึงออกเดินทางเพื่อไปเชียง ตุงด้วยรถยนต์ ที่บาทหลวงท่านหนึ่งได้เช่าให้ หลังจากนั้นจึงเดินทางด้วยแพไปตามแม่น้ำ สาละวิน ถึงจังหวัดโมงปิง (Mong Ping) เพือ่ แวะพักทีโ่ บสถ์แห่งหนึง่ และโดยสารรถยนต์ มาจนถึงเมืองเชียงตุง ในวันที่ 19 มีนาคม พ.ศ. 2476 และได้เดินทางไปเยี่ยมพระสังฆราชแห่งเชียงตุง อีกทั้งบรรดาบาทหลวง และ ภคินีตามโบสถ์ต่างๆ ในบริเวณเมืองใกล้เคียง วันที่ 24 มีนาคม พ.ศ. 2476 จึงออกเดินทาง จากเชียงตุง เข้าสู่เขตสยามทางอำเภอแม่จัน จังหวัดเชียงราย หลังจากนั้นจึงขึ้นรถโดยสาร มาทีล่ ำปาง และเดินทางด้วยรถไฟไปยังจังหวัด เชียงใหม่ (สื่อมวลชนคาทอลิกแห่งประเทศไทย, 2543: 41-47) ถือเป็นการจบการเดิน ทางของบาทหลวงทั้งสอง ตลอดระยะเวลาการเดิ น ทางบาทหลวงนิโคลาส บุญเกิด ได้เขียนจดหมายบันทึก การเดิ น ทางส่ ง ไปถึ ง พระสั ง ฆราชแปร์ ร อส ซึง่ ได้นำจดหมายเหล่านีไ้ ปตีพมิ พ์ลงในนิตยสาร สารสาสน์ ฉบับปี ค.ศ. 1933 โดยใช้ชื่อบท ความดังกล่าวว่า “จดหมายเหตุรายวัน การ เยี่ยมมีซซังพะม่าของชาวเหนือ” (สื่อมวลชน คาทอลิกแห่งประเทศไทย, 2543: 3) เพื่อ เป็นการเผยแพร่ความรู้ที่บาทหลวงทั้งสองได้
รับจากการเดินทางครั้งนี้ (สื่อมวลชนคาทอลิก แห่งประเทศไทย, 2543: 2) นโยบายการตั้งมิสซังเชียงใหม่ ใน พ.ศ. 2477 บาทหลวงมิราแบล ผู้ บุ ก เบิ ก ทำงานที่ ภ าคเหนื อ ได้ เ ดิ น ทางออก จากมิสซังสยาม เนื่องว่าท่านได้สมัครเข้าเป็น นักบวชในคณะชาร์เตรอซ (Chartreux) (จด หมายวัดพระหฤทัยเชียงใหม่ AAB. กล่อง 37 แฟ้ม 3) พระสังฆราชแปร์รอสจึงได้แต่ง ตั้งบาทหลวงเรอเน เมอร์นีเอร์ (René Meunier) ให้ทำหน้าที่เป็นหัวหน้ากลุ่มบาทหลวง ที่เชียงใหม่แทน โดยมีบาทหลวงนิโคลาส บุญเกิด กฤษบำรุง บาทหลวงอาทานาส ย้อ ดีสุดจิต และบาทหลวงมีแชล มงคล (อ่อน) ประคองจิต เป็นผู้ร่วมงาน ใน พ.ศ. 2478 ได้เกิดกลุ่มคริสตังใหม่ในหลายแห่งได้แก่ พาน เมืองแพร่ นอกเหนือจากในตัวเมืองเชียงใหม่ แม่ริม และเชียงดาว ที่มีอยู่ก่อนหน้าแล้ว (ลาเก, ม.ป.ป.: 269) ในเขตภาคเหนือ เนือ่ งจากบุคลากรไม่ เพียงพอสำหรับการเผยแผ่ศาสนาพระสังฆราช แปร์รอสจึงต้องการมอบเชียงใหม่และพิษณุโลก ตลอดจนนครสวรรค์ให้คณะนักบวชปกครอง แต่ ปั ญ หาอยู่ ที่ จ ะมอบให้ แ ก่ ค ณะนั ก บวชใด ใน พ.ศ. 2477 บาทหลวงกาปรา (Capra) ซึ่ง
ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2010/2553 159
การดำเนินงานของมิชชันนารีคาทอลิกในเขตภาคเหนือของสยาม ช่วง พ.ศ.2454-2490
เป็นอาจารย์อยู่ที่กรุงโรมได้เดินทางมาเยี่ยม มิชชันนารีที่เชียงใหม่ และได้แนะนำคณะนัก บวชชาวอิ ต าเลียนให้มารับผิดชอบเขตภาค เหนือนี้ แต่พระสังฆราชแปร์รอสพยายามหา นักบวชที่เป็นฝรั่งเศส เนื่องจากพระสังฆราช แปร์รอสมีความเห็นว่ามิสซังสยามเป็นมิสซัง ที่ดูแลโดยมิชชันนารีฝรั่งเศส เพราะฉะนั้นจึง เห็ น ควรที่ จ ะให้ มิ ช ชั น นารี ที่ ม าจากฝรั่ ง เศส เป็นผูร้ บั ผิดชอบ เพือ่ ความสะดวกในการติดต่อ ประสานงาน และการสื่อสาร (กอสเต, 2549: 655) ดังนัน้ พระสังฆราชแปร์รอสจึงจำเป็น ต้องส่งเรื่องไปที่สมณกระทรวงเผยแผ่ความ เชื่อ และได้เสนอคณะมารี เดอ มงฟอร์ต (Society of Mary of Montfort) ที่มี สำนักงานใหญ่อยู่ที่กรุงปารีส ที่พระสังฆราช แปร์รอสเลือกคณะนี้เพราะภราดาคณะเซนต์คาเบรี ย ลมี ค วามเกี่ ย วพั น กั บ คณะนั ก บวช ดังกล่าว เนื่องจากมีผู้ก่อตั้งคณะท่านเดียวกัน คือ นักบุญหลุยส์ มารี กรียอง เดอ มงฟอร์ต แต่คณะดังกล่าวปฏิเสธ (“จดหมายวัดพระหฤทัยเชียงใหม่” AAB. กล่อง 54 แฟ้ม 1) บาทหลวงการ์นีเอ (Garnier) เหรัญญิกที่กรุง โรม จึงติดต่อบาทหลวงจูเซปเป บอซเซตติ (Giuseppe Bozzetti) มหาธิการของคณะ โรสมีเนียน (Rosminians หรือ Institute
160 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
of Charity) ซึ่งได้ตกลงรับปกครองเขตภาค เหนือของมิสซังสยาม ท่านมหาธิการคณะ ดังกล่าวได้สัญญาที่จะส่งนักบวชของคณะ ซึ่ง กำลังเตรียมตัวอยู่เพื่อมาทำงาน ท่านได้ขอให้ รออีก 2 ปี แต่พระสังฆราชแปร์รอสขอร้อง ให้ส่งนักบวชกลุ่มหนึ่งมาทันที เพื่อเริ่มอบรม นักบวชคณะดังกล่าวภายใต้การดูแลของบาทหลวงคณะมิสซังต่างประเทศแห่งกรุงปารีส เกีย่ วกับการทำงานในสยาม (จดหมายวัดพระหฤทัยเชียงใหม่ AAB. กล่อง 55 แฟ้ม 1) แต่โครงการดังกล่าวก็หยุดชะงักไป เพราะอยู่ ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ทำให้ขาดการติด ต่อกันไป ซึ่งต่อมาในสมัยของพระสังฆราช หลุยส์ โชแรง (Louis Cholin) ผู้สืบตำแหน่ง ต่อจากพระสังฆราชแปร์รอส ได้เชิญนักบวช คณะพระหฤทั ย ของพระเยซู เจ้ า แห่ ง เบธาราม (Congregation of the Sacred Heart of Jesus of Betharram) ที่ได้ทำงานที่ ประเทศจีน มาดูแลการเผยแผ่ศาสนาที่เขต ภาคเหนือ ในปี พ.ศ. 2494 (กอสเต, 2549: 672) ต่อมาเมื่อ พ.ศ. 2502 เชียงใหม่ได้รับ การตั้งเป็นมิสซังเชียงใหม่ โดยมีพระสังฆราชลูเซียน ลากอส (Lucien Lacoste) เป็น พระสังฆราชท่านแรก (สภาอภิบาลอาสนวิหารพระหฤทัยเชียงใหม่, 2549: 59) ดังนั้น จึงจะเห็นได้ว่าพัฒนาการใน
พุฒิพงศ์ พุฒตาลศรี ฉลอง สุนทราวาณิชย์ วิลลา วิลัยทอง
การดำเนิ น งานของมิ ส ซั ง สยามในสมั ย ของ พระสังฆราชเรอเน แปร์รอส ซึ่งได้มีการริเริ่ม ดำเนินงานในเขตพื้นที่เชียงใหม่นั้น เป็นไป ด้วยความราบรื่นแตกต่างจากบางพื้นที่ซึ่งต้อง ประสบปัญหาจากคนในพื้นที่เหล่านั้น สาเหตุ หนึ่งที่การดำเนินงานของมิสซังสยามในเขต เชียงใหม่อาจจะเนื่องจากเหตุที่มีศิษย์เก่าของ โรงเรียนอัสสัมชัญหลายคนมีหน้าที่การงานที่ ดีในเชียงใหม่รวมถึงผู้ว่าราชการของเชียงใหม่ คือ พระยาอนุบาลพายัพกิจ ก็ได้ให้การสนับ สนุ น การทำงานของมิ ช ชั น นารี ใ นเชี ย งใหม่ อย่างดี ดังนั้น การทำงานของมิชชันนารีจึง ดำเนินไปด้วยดี และด้วยการเริ่มดำเนินงานที่ มัน่ คงตัง้ แต่แรกเริม่ จึงทำให้การเผยแผ่ศาสนา ในเชียงใหม่และเขตภาคเหนือดำเนินไปด้วยดี จนกระทั่งถึงปัจจุบัน บรรณานุกรม เอกสารชั้นต้น ชีวประวัติมิชชันนารีคณะ M.E.P. เล่ม 1, แปล โดย บาทหลวงวิกตอร์ ลาเก (เอกสาร ไม่ตีพิมพ์ เผยแพร่) รายงานประจำปีของมิสซังสยาม และมิสซัง กรุงเทพฯ ถึงศูนย์มิสซังต่างประเทศ แห่งกรุงปารีส ตั้งแต่ ค.ศ. 1873 1982 เล่ม 2, แปลโดย บาทหลวง
วิกตอร์ ลาเก (เอกสารไม่ตีพิมพ์ เผยแพร่) หอจดหมายเหตุอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ, กล่องที่ 37 แฟ้มที่ 2 จดหมาย วัดพระหฤทัย เชียงใหม่ (ค.ศ. 1909 1932) เรื่อง “จดหมายของนายยวง บัปติสตา ถึงบาทหลวงแปรูดง ลงวันที่ 21 สิงหาคม ค.ศ. 1913” หอจดหมายเหตุอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ. กล่องที่ 37 แฟ้มที่ 2 จดหมาย วัดพระหฤทัย เชียงใหม่ (ค.ศ. 1909 1932) เรื่อง “จดหมายบันทึก ประวัติการเผยแผ่ศาสนาในเชียงใหม่ ลงวันที่ 21 กรกฎาคม ค.ศ. 1931” หอจดหมายเหตุอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ, กล่องที่ 37 แฟ้มที่ 3 จดหมาย วัดพระหฤทัย เชียงใหม่ (ค.ศ. 1933 1934) เรื่อง “จดหมายจาก นายแพทย์ดับบลิว. ฮาร์ดดิ้ง นีดเลอร์ ถึงมิสซังคาทอลิกแห่งเชียงใหม่ เดือนเมษายน ค.ศ. 1933” หอจดหมายเหตุอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ, กล่องที่ 37 แฟ้มที่ 3 จดหมาย วัดพระหฤทัย เชียงใหม่ (ค.ศ. 1933 1934) เรื่อง “จดหมายของมิสซัง คาทอลิกแห่งเชียงใหม่ ถึงนายแพทย์
ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2010/2553 161
การดำเนินงานของมิชชันนารีคาทอลิกในเขตภาคเหนือของสยาม ช่วง พ.ศ.2454-2490
W. Harding Kneedler ลงวันที่ 19 เมษายน ค.ศ. 1933” หอจดหมายเหตุอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ. กล่องที่ 37 แฟ้มที่ 3 จดหมาย วัดพระหฤทัย เชียงใหม่ (ค.ศ. 1933 1934) เรื่อง “จดหมายของ บาทหลวงลูเซียง มิราแบล ถึง พระสังฆราชเรอเน แปร์รอส ลงวันที่ 23 มีนาคม ค.ศ. 1934” หอจดหมายเหตุอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ, กล่องที่ 54 แฟ้ม 1 จดหมาย (ค.ศ. 1935) เรื่อง “จดหมายของ พระสังฆราชเรอเน แปร์รอส ถึง พระสังฆราชท่านหนึ่ง ลงวันที่ 12 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1935” หอจดหมายเหตุอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ, กล่องที่ 55 แฟ้มที่ 1 จดหมาย (ค.ศ. 1939) เรื่อง “จดหมายของ พระสังฆราชเรอเน แปร์รอส ลงวันที่ 2 พฤษภาคม ค.ศ. 1939” เอกสารชั้นรอง ไอรีน มาโฮนี, ซิสเตอร์. 2549. ณ แดนไกล คณะอุร์สุลินในช่วงยี่สิบปีแรกแห่ง การก่อตั้งสำนัก ณ ประเทศไทย ระหว่าง ค.ศ. 1942-1945. กรุงเทพฯ: ม.ป.ท.
162 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
โรแบต์ กอสเต, บาทหลวง. ประวัตกิ ารเผยแพร่ คริสต์ศาสนาในสยามและลาว. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์อัสสัมชัญ, 2549. ประสิทธิ์ พงศ์อุดม. 2547. “ประวัติศาสตร์ และตัวตนของสภาคริสตจักรใน ประเทศไทย” ใน 70 ปี แห่งพระพร สภาคริสตจักรในประเทศไทย 1934-2004. ศาสนาจารย์ชำนาญ แสงฉาย, บรรณาธิการ กรุงเทพฯ: สภาคริสตจักรในประเทศไทย. ภราดาคณะเซนต์คาเบรียลแห่งประเทศไทย. 2544. ศตวรรษสมโภช ภราดา คณะเซนต์คาเบรียลแห่งประเทศ ไทย พ.ศ. 2444-2544. กรุงเทพฯ: Sunprinting. โรเบิร์ต กอสเต. 2547. 2000 ปีแห่งการ ประกาศพระวรสาร. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์อัสสัมชัญ. สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยา ดำรงราชานุภาพ. 2545 เทศาภิบาล. กรุงเทพฯ: มติชน. สรัสวดี อ๋องสกุล. 2552. ประวัติศาสตร์ ล้านนา. กรุงเทพฯ: อมรินทร์. สมาคมอัสสัมชัญ. 2546. อัสสัมชัญประวัติ ๑๑๕ ปี. กรุงเทพฯ: อุดมศึกษา.
พุฒิพงศ์ พุฒตาลศรี ฉลอง สุนทราวาณิชย์ วิลลา วิลัยทอง
สภาอภิบาลอาสนวิหารพระหฤทัยเชียงใหม่. 2549. 75 ปี อาสนวิหาร พระหฤทัยเชียงใหม่ 1931-2006. เชียงใหม่: ม.ป.ท. สื่อมวลชนคาทอลิกแห่งประเทศไทย. 2541. ทำเนียบวัดคาทอลิกในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์อัสสัมชัญ. สื่อมวลชนคาทอลิกแห่งประเทศไทย. 2543. บันทึกเดินทางของธรรมทูตจากไทย ไปพม่า. กรุงเทพฯ; อัสสัมชัญ.
เอกสารภาษาฝรั่งเศส Adrien LAUNAY. 1894. Histoire Générale de la Société des Missions-Étrangères tome 3. (Paris: Téqui, 1894), Annales de la Mission de Xiengmai. Chiang Mai: n.p., 1998.
ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2010/2553 163
กระบวนการสร้างตัวตนคริสตชนของ พระศาสนจักรคาทอลิกในมุมมองของ นักบวชหญิงปกาเกอะญอ1
Christian Self-Reconstitution Processes of Catholic Church in the Perspective of Pga K’Nyau Nun.
ซิสเตอร์แพรดี มณีรัตนวงศ์สิริ
* นักบวชหญิงในคริสต์ศาสนจักรคาทอลิก คณะนักบุญอุร์สุลาแห่งสหภาพโรมัน (อุร์สุลิน)
1
Praedee Maneeratanawongsiri
* Sister in Roman Catholic Church, The Roman Union of The Oder of Saint Ursula
บทความวิชาการชิ้นนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (สตรีศึกษา) มหาวิทยาลัย เชียงใหม่ เรื่อง “กระบวนการสร้างตัวตนของนักบวชคาทอลิกหญิงปกาเกอะญอคนหนึ่งในบริบทการเปลี่ยน แปลงสังคมไทย”
แพรดี มณีรัตนวงศ์สิริ
“เจ้าทั้งหลายจงออกไปทั่วโลกสั่งสอนชนทุกชาติให้เป็นสาวก ของเรา ให้รับบัปติสมาในพระนามพระบิดา พระบุตรและพระวิญญาณ ศักดิ์สิทธิ์ สอนเขาให้ถือรักษาสิ่งสารพัดที่เราได้สั่งสอนพวกเจ้าไว้ นี่ แหละเราจะอยู่กับเจ้าทั้งหลายเสมอไปจนกว่าจะสิ้นยุค” มธ. 28:19 -20 บทคัดย่อ
บทความชิ้นนี้ศึกษาเกี่ยวกับกระบวนการสร้างตัวตนคริสตชน ของพระศาสนจักรคาทอลิก ใช้แนวคิดเศรษฐศาสตร์การเมืองว่าด้วย การสะสมความเป็นตัวตนทางสังคม (The political economy of social being) ของปีแอร์ บูดีเออ์ (Pirer Bourdeiu) นักคิดชาว ฝรั่งเศสมาเป็นกรอบวิเคราะห์ปรากฏการณ์กระบวนการแพร่ธรรมของ บรรดามิชชันนารีชาวฝรั่งเศส คณะเบธารามในสังคมปกาเกอะญอ ที่ใช้ กระบวนการสร้างตัวตนผ่านความสัมพันธ์ใหม่บนพื้นที่ใหม่ ผ่านการ ทักทายด้วยการจับมือ สร้างสัมพันธ์กับบุคคลนอกชุมชน ปฏิบัติการ สร้างตัวตนใหม่ผ่านการสร้างภาษาเขียน และผ่านกิจกรรมสันทนาการ สำหรับเด็ก และผ่านการสวดบทภาวนา ประจำวันเช้า-ค่ำ เพื่อให้เกิด การสร้างตัวตนใหม่ทเี่ ป็นสากล ทันสมัย มีระเบียบวินยั ตามแนวคิดสมัย ใหม่นิยม และเป็นลูกที่ดีของพระบิดาเจ้าสวรรค์ คำสำคัญ : 1) กระบวนการสร้างตัวตน 2) ปฏิบัติการ
ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2010/2553 165
กระบวนการสร้างตัวตนคริสตชนของพระศาสนจักรคาทอลิกในมุมมองของนักบวชหญิงปกาเกอะญอ
Abstract
This article was a study on the process of self construction of the Catholic Church. It utilized the political economy concept of social being of Pirer Bourdeiu, a French scholar. This concept was utilized as a framework in the analysis of the missionary work of the Priest of Betharram, a French Missionary, in the Pga K’ Nyau society. The French Missionaries established self construction to the Catholic Pga K’ Nyau by creating a new pattern of greeting by using hand checking. They also created a new written script for the Catholic Pga K’ Nyau as a new self identity by using the Romanize alphabets. Activities for children have also been established. The morning and\evening prayer systems have been established for Pga K’Nyau to generate new self construction to be modern and disciplined as a new paradigm and being good children of God in Heaven. Keywords : 1) Self-Reconstitation Process 2) Practice
166 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
แพรดี มณีรัตนวงศ์สิริ
บทนำ การเผยแผ่ ศ าสนธรรมของคริ ส ต์ ศาสนาในหมู่ชาวพื้นเมืองท้องถิ่นในภูมิภาค ต่าง ๆ ทั่วโลกตั้งแต่อดีตกาลจนถึงปัจจุบันนั้น ชาวคริสต์จะเข้าใจกันว่า เป็นการแพร่ธรรม เพื่อให้มีการ “กลับใจ” (Conversion) จาก ความเชื่อดั้งเดิมมา “รับเชื่อ” ใหม่ในคำสอน ของพระเยซูเจ้าและคำสอนของพระศาสนจักร ทั้งนี้เพราะเชื่อกันว่า ความเชื่อในคำสอน ของคริ ส ต์ ศ าสนานั้ น จะทำให้ ม นุ ษ ย์ ไ ด้ รั บ ความรอดพ้นหรือการหลุดพ้นจากพันธนาการ ฝ่ายต่ำของโลกนี้ ดังนั้นวิธีการแพร่ธรรมใน บริ บ ทวั ฒ นธรรมชนพื้ น เมื อ งจึ ง ใช้ ก ระบวน การลดคุณค่าและความสำคัญของความเชื่อ ดั้งเดิมตามเหตุผลตามคติของยุครู้แจ้ง หรือ ยุคแสงสว่างทางปัญญา (Enlightenment) ที่ จะยึ ด มั่ น ในเหตุ ผ ลเชิ ง ประจั ก ษ์ แ ละวิ ท ยาศาสตร์สมัยใหม่ เชื่อในระบบและโครงสร้าง ของสังคมศาสนาที่มุ่งสู่ความก้าวหน้าทันสมัย ดั ง นั้ น ยุ ท ธวิ ธี เ พื่ อ ให้ เ กิ ด ความชอบธรรมใน ปฏิบัติการณ์เพื่อสัมฤทธิผลในการสร้างสังคม ที่ “กลับใจ” คือการเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรม ท้องถิ่นอย่างถอนรากถอนโคน กลับใจมารับ เชื่ อ และสร้ า งชุ ม ชนใหม่ ที่ มั ก จะแปลกแยก จากชุมชนสังคมวัฒนธรรมดั้งเดิม ดังจะเห็น ได้จากชุมชนชาวคริสต์ในลาตินอเมริกาหลาย
ประเทศ ที่ชนพื้นเมืองต้องตั้งชุมชนนิคมทาง ความเชื่อขึ้นมา (The Paraguay Redaction) ตามหลั ก คิ ด ของมิ ช ชั น นารี ช าวเสปน (Anthony,1911) หรือที่เห็นชัดในภาพยนตร์เรื่อง นักบุญนักรบ (The Mission) ส่วนการแพร่ ธรรมในสยามมีการสร้างความเป็นชุมชนชาว คริสต์ที่มีลักษณะเป็นชุมชนปิด (Christian ghetto) เพื่อรักษาอัตลักษณ์ใหม่ของตน (สุรชัย ชุ่มศรีพันธ์, 2537) แต่ผลของการ พยายามสร้างชุมชนเช่นนี้ หลายแห่งไม่ได้มี ลักษณะเป็นชุมชนที่เป็นเอกภาพ มีความเชื่อ ศรัทธาที่บริสุทธ์ ปราศจากมลทินของความ เชื่อดั้งเดิมท้องถิ่น แต่มีการผสมผสาน คัดแยก กลั่นกรอง ผนวกรับ มิติต่าง ๆ ของวัฒนธรรม ท้องถิ่นเข้ามากลมกลืนอยู่ในหลักความเชื่อ และหลักปฏิบัติของคริสต์ศาสนา ทั้งทางตรง และทางอ้อม ถ้าจะมองในด้านเทววิทยาของ การรับเอากายลงมาบังเกิด (Theology of the Incarnation) จะเห็นว่าจิตวิญาณของ คริสต์ศาสนาตามความเข้าใจของบรรดามิชชันนารี ได้อวตาร รับเอาเนื้อ รับเอาหนัง รับ เอากาย รับเอาชีวิตของวัฒนธรรมท้องถิ่น มา ฝังรากเติบโตอยู่ในบริบทสังคมใหม่ได้อย่างมี ชีวิตชีวาและมีพลัง แต่บ่อยครั้งบรรดามิชชันนารีที่ยึดมั่นในวัฒนธรรมคริสต์แบบตะวันตก จึ ง มองว่ า คริ ส ตชนท้ อ งถิ่ น ที่ มี ลั ก ษณะผสม
ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2010/2553 167
กระบวนการสร้างตัวตนคริสตชนของพระศาสนจักรคาทอลิกในมุมมองของนักบวชหญิงปกาเกอะญอ
ผสานเช่นนี้เป็นความเชื่องมงายและต้องได้รับ การปรับปรุงแก้ไขใหม่ บทความฉบับนี้จึงได้ศึกษากระบวน การปรับเปลี่ยนทางวัฒนธรรมของคริสตชน ชาวพื้นเมืองกลุ่มหนึ่งที่เรียกตนเองว่า “ปกาเกอะญอ” ซึ่งเป็นคริสตชนคาทอลิกส่วนใหญ่ ของสังฆมณฑลเชียงใหม่ มีคาทอลิก 51,462 คน เป็นกลุ่มคริสตชนที่มีชีวิตชีวา มีความ ศรัทธาแรงกล้าและมีจำนวนเพิ่มมากขึ้นอย่าง ต่อเนื่อง โดยมีจำนวนคริสตังสำรอง ที่กำลัง เตรี ย มตั ว รั บ เชื่ อ หรื อ รั บ ศี ล ล้ า งบาปอี ก เป็ น จำนวนถึง 21,095 คน (จากสถิติจำนวน คริสตชนปี 2552 ปฏิทินคาทอลิก 2010) เมื่อ ได้ศึกษาถึงรายละเอียดของข้อความเชื่อและ หลักปฏิบัติทางศาสนาของชุมชนคริสต์เหล่านี้ ทำให้ประจักษ์ชัดว่า คาทอลิกปกาเกอะญอมี มิติความเชื่อที่ผสมผสานกับความเชื่อดั้งเดิม และนำจักรวาลวิทยาท้องถิ่นมาอธิบายความ เชื่อใหม่ของตนได้อย่างมีเหตุมีผลของเขาและ ไม่รู้สึกแปลกแยกจากการเป็นปกาเกอะญอ แต่อย่างใด ผู้เขียนจึงมองว่า “กระบวนการ กลับใจ” (The process of conversion) ของปกาเกอะญอนั้น ไม่ได้แปลว่า “กลับใจ” จากความชั่วร้าย หรือมลทินของวัฒนธรรม ดั้งเดิมของตนมาเชื่อในคำสอนใหม่ แต่เป็น กระบวนการปรับตัวหรือเปลี่ยนภายในทาง
168 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
วัฒนธรรม (Cultural Transfiguration) เพื่อ รักษาความเชื่อดั้งเดิมของตนเองในบริบทที่ เปลี่ยนแปลง ผู้เขียนจึงมองว่าการเปลี่ยน ศาสนปฏิบัติจากศาสนาดั้งเดิมมาเป็นศาสนปฏิบตั แิ บบคริสตชนนี้ เป็นกระบวนการ สะสม ความเป็นตัวตนทางสังคม (The accumulation of social being) อย่างต่อเนื่องนั่นเอง บริบททางสังคมวัฒนธรรม กระบวนการสร้ า งคนทั้ ง ครบตาม อุดมการณ์ของพระศาสนจักรคาทอลิก ซึ่งได้ สังคายนาหลักคำสอนในช่วง พ.ศ. 2503-2506 นัน้ ได้เปิดพืน้ ทีใ่ นการทำงานของบรรดามิชชันนารีในรูปแบบที่หลากหลายและสอดคล้องกับ การเปลี่ยนแปลงของโลกมากยิ่งขึ้น มีการนำ เอาเทคนิควิทยาการหล่อหลอมความเป็นคน ตามอุดมการณ์ความทันสมัย ที่จะต้องเน้น คนที่ มี เ หตุ ผ ลตามยุ ค แสงสว่ า งทางปั ญ ญา (Donavan, 2001:17) มีระเบียบวินัย ไม่งม งายหลงเชื่อในอำนาจของสิ่งเหนือธรรมชาติ ในทางที่ผิด ความเป็นนักการศาสนาที่ได้รับ การฝึกอบรมในกรอบคิดแบบความทันสมัย นั้น ทำให้บรรดามิชชันนารีเข้ามาทำงานในที่ ต่าง ๆ ของโลกด้วยความกระตือรือร้นที่จะร่วม สร้างประชากรใหม่ของพระเจ้า ที่จะต้องเป็น คนมีศรัทธา มีหลักศีลธรรมคุณธรรมตามหลัก
แพรดี มณีรัตนวงศ์สิริ
คำสอนของคริสต์ศาสนา ขณะเดียวกันต้องมี ความทันสมัยมีเหตุมีผลในการดำรงตนอย่างมี คุณค่า ตามศักดิ์ศรีของความเป็นบุตรธิดาของ พระผูเ้ ป็นเจ้าในแผ่นดินนี้ ดังนัน้ บรรดามิชชันนารีจะเห็นสอดคล้องตามคำสอนของพระเยซูคริสตเจ้าทีว่ า่ “มนุษย์มไิ ด้ดำรงชีวติ ด้วยอาหาร เท่านัน้ แต่ดำรงชีวติ ด้วยพระวาจาทุกคำทีอ่ อก จากพระโอษฐ์ของพระเจ้า” (มธ.4:4) กล่าวคือ บรรดามิชชันนารีต้องมีหน้าที่ในการพัฒนาคน ที่จะต้องวางรากฐานชีวิตอยู่ในพระวาจาของ พระเป็นเจ้าตามหลักศีลธรรมและจะต้องเป็น ผู้ที่รู้จักปรับตัวเข้ากับความเปลี่ยนแปลงของ โลกที่มนุษย์ต้องดำรงตนด้วยระบบเศรษฐกิจ ที่มีเหตุมีผล ดังนั้นเมื่อบรรดามิชชันนารีเข้ามาใน หมู่บ้านปกาเกอะญอในระยะต้นได้นำความรู้ ด้านการศึกษาและสาธารณสุข เพื่อสร้างกลุ่ม ชนที่จะดำรงชีวิตตามพระคัมภีร์แต่ขณะเดียว กันจะต้องมีความรู้ด้านสาธารณสุขแบบใหม่ คือมีสขุ ภาพแข็งแรงและมีระเบียบในการดำรง ชีวิต เทคนิควิทยาการฝึกฝนร่างกาย (Management of space and body) จะต้อง มีการสร้างพื้นที่ที่สามารถควบคุมได้ และบง การให้เชื่อฟัง (Docile Body) (มิแช็ล ฟูโกต์,
2547) ทั้งนี้เพราะโดยพื้นฐานแล้ววิถีชีวิต ดั้งเดิมของปกาเกอะญอนั้น สอดคล้องกับ คำสอนของคริสต์ศาสนาเป็นทุนเดิมอยู่แล้ว เพี ย งแต่ ไ ม่ ทั น สมั ย มิ ช ชั น นารี จึ ง พยายาม สร้ า งตั ว ตนที่ ทั น สมั ย ให้ กั บ ตั ว ตนของปกาเกอะญอ งานศึกษานี้จะเน้นการวิเคราะห์เชิง พรรณาการสร้ า งความเป็ น ตั ว ตนคริ ส ตชน ปกาเกอะญอในแต่ละช่วงของกระบวนการ หล่อหลอมความเป็นตัวตน ที่สอดคล้องกับ สถานการณ์ของโลก และกรอบศาสนาที่เป็น รูปแบบชีวติ ใหม่ เพือ่ ให้เห็นกระบวนการสร้าง ตัวตนใหม่ ให้กับปกาเกอะญอด้วยการจัดการ พื้นที่ใหม่ (Space) การจัดระเบียบระบบคิด ใหม่ (Imagination) และการจัดการชีวิต ประจำวันใหม่ (Time) กรอบคิดและทฤษฎีในการวิเคราะห์ ผู้เขียนได้ใช้แนวคิดเศรษฐศาสตร์การ เมื อ งว่ า ด้ ว ยการสะสมความเป็ น ตั ว ตนทาง สังคม (The political economy of social being) ของปีแอร์ บูดีเออ์ (Pirer Bourdeiu) นักคิดชาวฝรั่งเศส มาเป็นกรอบวิเคราะห์ ปรากฏการณ์กระบวนการแพร่ธรรมในสังคม ปกาเกอะญอ โดยจะมองบูดีเออร์ ตามความ
ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2010/2553 169
กระบวนการสร้างตัวตนคริสตชนของพระศาสนจักรคาทอลิกในมุมมองของนักบวชหญิงปกาเกอะญอ
เข้าใจของ คาซาน เฮก (Ghassan Hage)2 ซึ่งสรุปโดยสังเขปว่าบูดีเออร์ ได้มองว่า การ กระทำทุกอย่างของมนุษย์นั้นแฝงไปด้วยผล ประโยชน์ (all action is interested), (1997:178) และได้เชื่อมโยงมุมมองด้าน เศรษฐศาสตร์มามองกระบวนการหล่อมหลอม สร้างตัวตนของความเป็นมนุษย์ ผลประโยชน์ ทางเศรษฐกิ จ ก็ เ ป็ น ดั่ ง ผลประโยชน์ เ ชิ ง สัญลักษณ์ที่มนุษย์เราจะนำมาสะสมในการ สร้างตัวตน มุมมองที่น่าสนใจของบูดีเออร์คือ ความพยายามที่จะข้ามพ้นวิธีคิดเชิงคู่ตรงข้าม ระหว่างปัจเจกและสังคม ไม่ได้มองว่าสังคม เป็นตัวกำหนดการกระทำของมนุษย์หรือ การ กระทำของมนุ ษ ย์ เ ป็ น ตั ว กำหนดลั ก ษณะ ทางสังคม แต่เป็นการวิเคราะห์ว่า การเลือก กระทำการของมนุ ษ ย์ ทุ ก รู ป แบบเป็ น การ พยายามสะสมทุนที่ตัวเองมีอยู่ให้เพิ่มขึ้น บูดีเออร์มองว่า มนุษย์ในฐานะผู้ กระทำการ (Actor) ต่างถือครองทุนในรูปแบบ ต่าง ๆ ไม่ว่า ทุนทางเศรษฐกิจ ทุนทางสังคม ทุนทางวัฒนธรรม และทุนเชิงสัญลักษณ์ มา ลงทุนในตลาดชีวิตเพื่อการแข่งขัน ให้เกิดกำไร 2
สูงสุด ดังนั้นคุณค่าและอำนาจของทุนทุกรูป แบบจึงเป็นหน้าตักของตนที่จะนำมาสะสมให้ เกิดประโยชน์ในการรักษาตำแหน่งแห่งที่ของ ตนในสังคม ผูเ้ ขียนจึงเห็นว่ามุมมองด้านเศรษฐศาสตร์การเมืองว่าด้วยการสะสมความเป็น ตัวตนเชิงสังคม เป็นเครื่องมือที่จะทำความ เข้าใจปรากฏการณ์นี้ได้อย่างชัดเจน ในบทความนี้ผู้เขียนอยากจะมองว่า กระบวนการสร้ า งตั ว ตนของคริ ส ตชนปกาเกอะญอในการเข้ า มาเป็ น สมาชิ ก ของคาทอลิกนั้น เป็นเศรษฐศาสตร์การเมืองว่าด้วย การสะสมความเป็นตัวตนทางสังคม (The political economy of social beings) ตามทฤษฎีของนักคิดชาวฝรั่งเศส ปีแอร์ บูดีเออร์ ซึ่งได้มองว่า ในเศรษฐศาสตร์การเมือง ว่าด้วยการสะสมความเป็นตัวตนทางสังคมนั้น เป็นการลงทุนทางสังคมเพือ่ การสะสม ประการ ที่หนึ่ง การสะสมความหมายเหนือธรรมชาติ ที่บูดีเออร์เรียกว่า “Illusion” ประการที่สอง เป็นการสะสมความเชี่ยวชาญเชิงปฏิบัติ (Efficiency) ที่เรียกว่า Habitus ซึ่งเป็นการซึมซับ รับเอาโครงสร้างภายนอก มาเป็นความเชี่ยว
In the first lecture of the Key Thinkers seminar series at the University of Melbourne, Ghassan Hage (curator of the series) talks about the work and principal ideas of acclaimed French sociologist and writer Pierre Bourdieu.
170 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
แพรดี มณีรัตนวงศ์สิริ
ชาญของปฏิบัติการภายในชีวิต ประการที่ สามเป็นการสะสมทุน (Capitals) ในรูปแบบ ต่าง ๆ ไม่ว่า ทุนทางสังคม ทุนทางวัฒนธรรม ทุนทางเศรษฐกิจ และโดยเฉพาะอย่างยิ่งทุน เชิงสัญลักษณ์ เพื่อสะสม กระจาย ความเป็นตัว ตนทางสังคมเหล่านี้ ในปริมณฑลของความ เป็นตัวตนทางสังคมที่เหลื่อมล้ำ สูงต่ำ ไม่เท่า เทียมกัน (Unequal Distributed Capital market) ทัง้ นีเ้ พือ่ สะสมความชอบธรรม (Legitimation) ของความโดดเด่นทางสังคม แหล่งทรัพยากรในการสะสมความเป็นตัว ตนทางสังคม การสะสมความเป็นตัวตนทางสังคม ที่จะกล่าวต่อไปนี้เป็นการสะสมความหมาย ของชีวิต การสะสมความเชี่ยวชาญเฉพาะของ ชีวิตและการสะสมทุนในรูปแบบต่าง ๆ ผ่าน กระบวนการรับเชื่อมาเป็นสมาชิกของคริสต์ศาสนา 1. การลงทุ น ทางสั ง คมเพื่ อ สะสม ความหมายของชีวิตที่ใฝ่ฝัน (Illusion) บูดีเออร์ เป็นนักคิดที่ไม่ได้ยึดติด กับความหมายที่ตามตัวถาวร ความหมายของ ชีวติ นัน้ เป็นความหมายทีส่ ามารถเปลีย่ นแปลง แก้ไขและปรับตัวได้เสมอ ในกระบวนการ เสริมสร้างความเป็นตัวตนผ่านเศรษฐศาสตร์
การเมืองว่าด้วยการสะสมความเป็นตัวตนทาง สังคม (Social beings) นั้น จำเป็นที่จะต้อง มีพนื้ ทีใ่ นการสะสมทุน การสร้างพืน้ ที่ (Space) บางอย่างขึ้นมาในชีวิตนั้น ทำให้เกิดความ เข้าใจความแตกต่าง ทำให้เห็นความไม่เท่า เทียมของสังคมที่ตนเป็นอยู่ ตั้งแต่อดีตกาล มาชาวปกาเกอะญอได้อาศัยอยู่ในพื้นที่ป่าเขา ทางภาคเหนือของประเทศไทย ตั้งหมู่บ้าน กระจัดกระจาย ทำไร่หมุนเวียน (ถาวร, 2547) ที่ไม่ยึดติดกับพื้นที่ ไม่ยึดถือสิทธิ์เด็ดขาดของ ที่ดิน นั่นเป็นการสร้างอิสรภาพของความยืด หยุ่น เปลี่ยนแปลง และปรับตัวได้อย่างรวดเร็ว เพื่อหลีกหนีการครอบงำและต้องเป็นคนใน สังกัดของรัฐ ตามที่ James Scott เรียกว่า ศิลป์แห่งการไม่ถูกปกครองควบคุม (The art of not being governed) และคนเหล่านี้ อยู่ในชุมชนที่เรียกว่า Zomia พร้อมที่จะปรับ ตัวอยู่เสมอ (Scott, 2009) กิจกรรมการสะสมความเป็นตัวตนใน ด้านการสะสมเพิ่มเติมความเป็นตัวตนด้าน สังคม (Social being) นั้น ผู้เขียนจำได้ว่า บรรดาพ่ อ แม่ ญ าติ มิ ต รชาวปกาเกอะญอไม่ จำเป็นต้องเดินทางไปแสวงหาตัวตนดั่งพ่อค้า แสวงหามรดกล้ำค่าจากที่อื่นไกล แต่เป็นการ หยิ บ ยื่ น ให้ จ ากสั ง คมภายนอกผ่ า นบรรดาผู้ เผยแผ่ศาสนธรรม มิชชันนารี ผู้เขียนจำได้ว่า
ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2010/2553 171
กระบวนการสร้างตัวตนคริสตชนของพระศาสนจักรคาทอลิกในมุมมองของนักบวชหญิงปกาเกอะญอ
ได้เข้าแถวต้อนรับขบวนบาทหลวงมิชชันนารี ที่เดินทางมาจากบ้านแม่มูด ซึ่งห่างจากหมู่บ้านของผู้เขียนประมาณ 13 กิโลเมตร แต่ เป็ น ทางเท้ า ที่ ล าดชั น ขรุ ข ระมี หิ น เล็ ก น้ อ ย แหลมคม (Lejmeiqei) ที่เดินยาก ผู้เฒ่าผู้แก่ ที่ไม่ใส่รองเท้าก็จะเดินช้า เพราะเม็ดหินแหลม คมจะทิ่มแทงฝ่าเท้า ส่วนผู้ที่มีรองเท้าจะเดิน ยากเพราะจะลืน่ ไถลเมือ่ เหยียบเม็ดกรวดเหล่า นี้ รองเท้าแตะเป็นนวัตกรรมใหม่ที่ช่วยรอง ฝ่าเท้าในการเดินบนก้อนกรวด หรือทางเดินที่ ต้องเหยียบหนามก่อหลวงก่อน้อย (Seisafav hsoofmai) ย่าของผูเ้ ขียนเล่าให้ฟงั ว่า ชาวบ้าน ได้เห็นรองเท้าแตะครั้งแรก ตอนที่ทหารญี่ปุ่น เดินผ่านแถวหมู่บ้านมุ่งสู่ประเทศพม่า ไปทำ สงครามกับอังกฤษที่ฝั่งตองอู ตองจี การยืนเป็นแถวสองข้างทางหันหน้า เข้าหากันเพื่อต้อนรับบาทหลวงมิชชันนารีชาว ฝรั่งเศส สัมผัสมือและกล่าวคำว่า “โอ มึโช เปอ” (Ofmux hsopez) ซึ่งแปลว่า “อยู่ดี มีสุข” เป็นการเพิ่มเติมองค์ความรู้ชุดหนึ่งของ การทักทายซึ่งกันและกัน การทักทายกันด้วย คำอวยพร “โอ มึโช เปอ” นี้เป็นกระบวน การหนึ่งของการสะสมความเป็นตัวตนด้าน สังคมใหม่ เป็นการสร้างชุดความสัมพันธ์ชุด ใหม่ เ มื่ อ เวลาพบปะกันแล้วจะแสดงออกถึง ความเป็นคนที่มีความเชื่อเดียวกัน มีมิตรจิต-
172 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
มิตรใจ และหวังดีซึ่งกันและกัน คำว่า “โอ มึโช เปอ” พร้อมกับการสัมผัสมือนี้กลายเป็น ประเพณีปฏิบัติของปกาเกอะญอ คาทอลิก เป็นวัฒนธรรมของการทักทายกันของคาทอลิก ซึ่งต่างจากชาวคริสต์ปกาเกอะญอกลุ่ม อื่นๆ เช่นบรรดาคริสเตียนแบปติสต์ (Baptist Christian) “ต่า บลึ” (Tajbluv) ซึ่งแปลว่า เป็นพระคุณ หรือ ขอบคุณที่ได้เจอกัน เป็น การทักทายกันเมื่อแรกพบและเมื่อจากลา ชุด ความสัมพันธ์ที่มองจากประเพณีการทักทาย กันนี้ได้สร้างชุดความสัมพันธ์ทางสังคมแบบ ใหม่ การพบปะครูสอนคำสอนปกาเกอะญอที่มาจากฝั่งพม่า คนต่างถิ่นที่มีสำเนียงการ พูดภาษาเดียวกันด้วยสำเนียงที่แตกต่างกัน ก็ทำให้เกิดการรับรู้ภาษาปกาเกอะญอ และ ความเป็นปกาเกอะญอที่มีความหลากหลาย แตกต่างมากขึ้น และลูกศิษย์นักเรียนคำสอน สองสามคนเดิ น ทางมาพร้ อ มกั บ บาทหลวง มิชชันนารีและช่วยเป็นผู้นำทางและช่วยถือ ย่าม แบกหามสัมภาระ หนังสือ และเวชภัณฑ์ สุขภัณฑ์มาแจกจ่ายและรักษาชาวบ้าน พร้อม กับพูดคุยกับคนต่างชาติดูเหมือนเข้าใจและรู้ เรื่องทำให้เกิดจินตนาการของผู้เขียนใหม่ว่า เราปกาเกอะญอสามารถที่ จ ะเรี ย นรู้ ภ าษา ของคนอื่นได้เช่นกัน การพบปะคนต่างถิ่นที่มี
แพรดี มณีรัตนวงศ์สิริ
สำเนียงการพูดตลอดจนการสื่อสารกับคนต่าง ชาติต่างวัฒนธรรมนี้ได้กลายเป็นจินตนาการ ใหม่และความเป็นตัวตนใหม่ ที่เปิดขอบฟ้า แห่งความเป็นตัวตนทางสังคมที่กว้างขึ้น นอก จากนั้นการนำเวชภัณฑ์สมัยใหม่มาบรรเทา ความเจ็บไข้ที่เคยเข้าใจกันเสมอมาว่า เป็น ความเจ็บไข้ของปัจเจกนั้นมาจากปัญหาสังคม หรือความเจ็บป่วยทางสังคมเสมอ ปัญหาใน ชีวิตประจำวันของปัจเจกจำเป็นจะต้องแก้ไข ด้วยกระบวนการทางสังคม ซึ่งสะท้อนออกมา จากพิธีกรรมเสมอนั้น ทำให้ปัจเจกต้องพึ่งพา สังคมในการแก้ปัญหาส่วนตัวให้เสมอ ปัญหา ความเจ็บป่วยของปกาเกอะญอส่วนใหญ่ก็จะ เป็นโรคปวดเข่า ปวดไหล่ เวียนหัว โดย เฉพาะคนเฒ่าคนแก่ ความเจ็บไข้เหล่านี้ เคย เชื่ อ กั น ว่ า เป็ น การทำผิ ด ต่ อ ผี เจ้ า ป่ า เจ้ า เขา (เป็นความเจ็บป่วยทางสังคม) ซึ่งจะต้องแก้ไข ด้วยการทำพิธีกรรมเลี้ยงผีเจ้าป่าเจ้าเขา ทั้งนี้ เพราะปกาเกอะญอ เชือ่ กันว่าพืน้ ทีท่ เี่ ราอยูน่ นั้ เราอาศัยอยู่บนผืนแผ่นดินของวิญญาณที่เคย อาศัยอยู่ในอดีต คนที่อาศัยอยู่ไม่มีสิทธิ์ในการ จัดการหรือพัฒนาหมู่บ้านตามใจชอบ ความ คิดเช่นนี้ตามหลักศาสนาแล้วเป็นสิ่งที่ถูกต้อง (Haufhkof, moohkof, htinaj hkwaxco, kai taj Hti taj Tau av taj) ทุกสิ่ง เป็นของเจ้าป่าเจ้าเขา เรามีสิทธิ์เป็นเพียงผู้ใช้
เท่านั้น เราไม่มีสิทธิ์เป็นเจ้าของ หลักคำสอน ของคริสต์ศาสนาเองที่สอนว่า สรรพสิ่งทั้งมวล ล้วนเป็นของพระองค์ทั้งสิ้น (รม. 1:1) แต่เจ้า จะต้ อ งช่ ว ยตั ว เองอย่ า งเต็ ม ที่ ก่ อ นที่ จ ะคอย อ้อนวอนจากพระเจ้า การรักษาความเจ็บป่วย ของปัจเจกด้วยเวชภัณฑ์และองค์ความรู้ทาง การแพทย์พยาบาลสมัยใหม่นี้ ได้เสริมสร้าง ความรู้เชิงสังคมสมัยใหม่ว่า ปัญหาของปัจเจก แต่ละคนต้องแก้ไขด้วยศักยภาพของปัจเจกได้ ด้วยเช่นกัน นอกจากนี้การไม่ถือสิทธิเหนือที่ดิน ว่ า เป็ น เจ้ า ของเด็ ด ขาดในวั ฒ นธรรมปกาเกอะญอนี้ ท ำให้ ช าวปกาเกอะญอต้ อ งย้ า ย หมู่บ้านบ่อย ๆ หากเกิดเจ็บไข้ได้ป่วยหรือเกิด ปัญหาเชิงสังคมภายในหมู่บ้าน แม้กระทั่งการ ทะเลาะเบาะแว้งเล็กน้อย แต่ปกาเกอะญอมัก จะไม่พดู คุยกัน เพราะขาดทักษะทางสังคมของ การแก้ปัญหา เช่น เวลาที่สัตว์เลี้ยงวัวควาย เข้าสวนทำลายพืชผลของเพื่อนบ้าน มักจะทำ ให้เกิดปากเสียงเล็กน้อย แต่เมื่อขาดทักษะเชิง ปฏิสัมพันธ์ทางสังคม ต่างฝ่ายต่างย้ายหมู่บ้าน หนีจากกัน ดังนั้นการที่บรรดาบาทหลวงมิชชันนารีต้องการให้ตั้งหมู่บ้านถาวรนั้น ทำให้ ปกาเกอะญอต้ อ งเปลี่ ย นวิ ธี คิ ด ในเรื่ อ งของ กรรมสิทธิ์ในผืนแผ่นดินเป็นการเปลี่ยนโลกทัศน์ของความเข้าใจธรรมชาติ เป็นการปรับ
ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2010/2553 173
กระบวนการสร้างตัวตนคริสตชนของพระศาสนจักรคาทอลิกในมุมมองของนักบวชหญิงปกาเกอะญอ
เปลี่ ย นความสั ม พั น ธ์ แ บบใหม่ กั บ ธรรมชาติ และความสัมพันธ์ของคนในหมู่บ้านด้วย การยืนต้อนรับบาทหลวงมิชชันนารี และคณะนั้น ชาวบ้านจะนำ กลอง ฆ้อง โมง ตี เป็นจังหวะในการเดินแห่ขบวนกลับเข้าหมูบ่ า้ น เป็ น การต้ อ นรั บ แขกเหมื อ นกั บ พิ ธี ต้ อ นรั บ สมาชิกใหม่ในการแต่งงานเข้าหมู่บ้าน เปรียบ ดั่งการต้อนรับจ้าวบ่าวเข้าหมู่บ้าน เมื่อบาทหลวงมิ ช ชั น นารี ม าถึ ง จะต้ อ งทั ก ทายทุ ก คน ด้วยการจับมือ ตามธรรมเนียมของชาวยุโรป ประยุกต์กับคำอวยพรและทักทายเป็นภาษา ปกาเกอะญอ เด็ก ๆ ที่เล่นกับดินกับทรายจะ วิ่งไปล้างมือ ผู้ใหญ่ที่กลับจากไร่จากนา จะ ต้องล้างหน้า ล้างมือเพื่อจะได้มา “โอะ มึ โช เปอ” ทุกคนในหมู่บ้านได้สัมผัสมือของบาทหลวง ทุกคนรู้สึกว่าได้มีตัวตนใหม่เป็นคนที่มี สังกัดมีหมู่บ้านเป็นหลักแหล่งเกิดความรู้สึก มั่นคงทางอารมณ์ และทางสังคมรวมทั้งทาง จิตวิญญาณด้วย การสร้างพื้นที่ใหม่ในจินตนาการทาง ความมั่นคง (Imagined landscape) นี้ทำให้ ปกาเกอะญอมีความรู้จักตัวตนแบบใหม่ เป็น สมาชิกของสังคมที่มีมิติกว้างกว่าสังคมความ เป็นตัวตนแบบเดิม ความมั่นคงในการเป็นตัว ตนแบบจินตนาการใหม่ที่ผู้เขียนรู้สึกร่วมกับ ปกาเกอะญออื่น ๆ และชนชาติอื่นในที่นี้คือ
174 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
บาทหลวงมิชชันนารีนั้นสอดคล้องกับความ เป็นตัวตนตามอุดมการณ์ความทันสมัยของ ภราดรภาพ (Fraternity) การเปลี่ยนรูปแบบการทักทายด้วย วิธีการสัมผัสมือ “โอมึโชเปอ” (Ofmux hsopez) ซึ่งแปลว่า “อยู่ดีมีสุข” และบาทหลวง มิ ช ชั น นารี ไ ด้ ทั ก ทายและให้ ค วามสำคั ญ กั บ ทุก ๆ คนตลอดจนการสอนว่า พระเจ้าได้ สร้างมนุษย์ทุกคนอย่างเสมอภาค รูปแบบการ สั ม พั น ธ์ กั บ บาทหลวงมิ ช ชั น นารี ต่ า งชาติ ที่ ทักทายกับคนปกาเกอะญอคนต้อยต่ำ (Pgaz hpufhpo hsivhpo) และหลักคำสอนว่า “พระเจ้าสร้างมนุษย์ทุกคนอย่างเท่าเทียมกัน นั้น” ก็สอดคล้องกับอุดมการณ์ความทันสมัย เรื่องความเสมอภาค (Equality) อี ก ประการหนึ่ ง วิ ธี ก ารเปลี่ ย นรู ป แบบชีวิตแม้กระทั่งเรื่องง่าย ๆ ในการทักทาย ที่ใช้คำว่า “อยู่ดีมีสุข” (Ofmux hsopez) เป็น หลั ก คำสอนทางศาสนาที่ ต้ อ งการให้ ม นุ ษ ย์ ดำรงอยู่ร่วมกันอย่างสันติ แท้ที่จริงแล้วรูป แบบชีวิตของปกาเกอะญอก็ถือว่าเป็นกลุ่มที่ รักสันติ แต่เป็นสันติแบบปกาเกอะญอก็เป็น ความผาสุกภายในหมู่บ้านและภายในเผ่าชน แต่การสร้างเครือข่ายและความสัมพันธ์แบบ ใหม่กับอำนาจที่ใหญ่กว่าทำให้เกิดวิธีคิดเกี่ยว กับสันติภาพในรูปแบบที่กว้างกว่า ซึ่งเป็นไป
แพรดี มณีรัตนวงศ์สิริ
ตามหลักสากลเรื่องสันติภาพสากล (Peace) อุดมการณ์ทางศาสนาที่จะฝึกคนทั้งครบตาม หลักคำสอนของศาสนจักรคาทอลิก และอุดมการณ์ความทันสมัย ทีบ่ รรดาบาทหลวงมิชชันนารีได้รับอิทธิพล และมาถ่ายทอด เป็นส่วน หนึ่งของชีวิตใหม่ในโลกใหม่ ตามอุดมการณ์ การพั ฒ นานี้ ท ำให้ ผู้ เขี ย นและสมาชิ ก ปกาเกอะญอเกิดความรู้สึกตัวตนแบบใหม่ได้ อย่างไรก็ตามอุดมการณ์ทางศาสนา ที่มีพื้นฐานจากวัฒนธรรมตะวันตกและอุดมการณ์ความทันสมัยที่คิดในกรอบของวิทยาศาสตร์แห่งการมีเหตุมีผลเชื่อในความก้าวหน้า นั้น ไม่ได้ก้าวไปในทางที่สอดคล้องกันเมื่อนำ มาปฏิบัติในชุมชนท้องถิ่นเสมอไป ผู้เขียนเห็น ว่าอุดมการณ์ความเสมอภาคซึง่ เป็นอุดมการณ์ ทั้งของหลักการของศาสนาและคติของความ ทันสมัยมีความลักลั่นในกระบวนการพัฒนา คนทั้ ง ครบในตั ว ตนของความเป็ น ชายหญิ ง ทุกครั้งที่ผู้เขียนเข้าไปร่วมพิธีกรรมในโบสถ์ ใจกลางหมู่บ้านนั้นจะมีการแบ่งชายหญิงที่มา ร่วมพิธีกรรม ผู้หญิงอยู่ฝั่งซ้ายผู้ชายอยู่ฝั่งขวา เมื่อมีการแปลความเข้าใจองค์ความจริงสูงสุด (Taj Hti taj Tau) ซึ่งเป็นองค์ความจริงสูงสุด ไม่ได้เป็นตัวบุคคลที่มีความชัดเจน แต่บรรดา บาทหลวงมิชชันนารีจะแปลความเชื่อในองค์ ความจริงนี้ ตามคติความเชื่อของคาทอลิกที่ จะเรียกพระเจ้าว่าเป็นพระบิดา และมีพระเย-
ซูเจ้าเป็นพระบุตร (เป็นผู้ชาย) และประทับนั่ง อยูเ่ บือ้ งขวาองค์พระบิดา บรรดาผูช้ ายในชุมชน ปกาเกอะญอเป็นบุตรที่ได้รับศักดิ์สิทธิภาพ ส่ ว นบรรดาผู้ ห ญิ ง ไม่ ไ ด้ มี ตั ว ตนในพื้ น ที่ ท าง ศาสนาใหม่น้ี เป็นเพียงส่วนประกอบของชุมชน โดยรวมคติชายเป็นใหญ่ที่มาพร้อมกับอิทธิพล ของชาวยุโรปในเรื่องของการพัฒนาและความ ด้อยพัฒนาของกลุ่มชนนอกโลกคริสต์ศาสนา นั้น ดังนั้นถึงแม้ชุมชนในจินตนาการทาง ศาสนาใหม่ บรรดาสมาชิกผู้หญิงในชุมชนก็ยัง ต้องต่อสู้ดิ้นรนเพื่อให้มีพื้นที่แห่งตัวตน ที่จะมี ศักดิม์ ศี รีเท่าเทียมกับผูช้ าย ผูเ้ ขียนเห็นว่าอุดมการณ์ทางศาสนาที่ผ่านปฏิบัติการของบรรดา บาทหลวงมิชชันนารีในลักษณะนี้ เป็นอิทธิพล ด้านลบของวิธีคิดเชิงวิวัฒนาการ ที่มักจะมอง ว่ า ความแข็ ง แกร่ ง ทางกายภาพเป็ น ตั ว ชี้ วั ด ความสมบูรณ์แบบของความเป็นมนุษย์ ผูห้ ญิง ที่มีสรีระที่อ่อนแอกว่าถูกนิยามกำหนดว่าเป็น ผู้ที่ด้อยกว่าทั้งทางคุณธรรมและความรู้ (อริสโตเติ้ล อ้างใน วารุณี 2545 : 2 ) ผู้เขียนรู้สึก เกิ ด คำถามขึ้ น เมื่ อ บรรดาผู้ ช ายมี โ อกาสได้ พูดคุยปฏิสัมพันธ์กับบาทหลวมิชชันนารีอย่าง เป็นกันเอง ส่วนผู้หญิงก็จะอยู่ห่าง ๆ คอยฟัง ข่าวประเสริฐผ่านทางช่องกำแพง ผู้เขียนจึง รู้สึกว่ากระบวนการสร้างความเป็นตัวตนใหม่ ของความเป็นหญิง ในจินตนาการใหม่ทาง
ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2010/2553 175
กระบวนการสร้างตัวตนคริสตชนของพระศาสนจักรคาทอลิกในมุมมองของนักบวชหญิงปกาเกอะญอ
ศาสนานี้ ผู้หญิงจะต้องอาศัยเทคนิควิธีการ ของคนอ่อนแอในการสร้างหลักศีลธรรมคุณธรรม (Moral of the Weak) ที่จะต้องคอย ตื่ น เฝ้ า อยู่ เ สมอในการแสวงหาช่องทางเพื่อ ความเป็นตัวตนทีจ่ ะมีความมัน่ คงทางอัตลักษณ์ และอารมณ์ การลงทุ น ทางสั ง คมเพื่ อ การสะสม ความหมายของชีวิตนี้ ปกาเกอะญอได้สะสม ความเป็นตัวตนทางสังคม (Social being) ใน รูปแบบที่สะสมความเป็นตัวตนใหม่ในฐานะ ผู้ ที่ ส ามารถสื่ อ สารกั บ บาทหลวงมิ ช ชั น นารี ชาวต่างชาติ เชื่อมวัฒนธรรมท้องถิ่นของตน กับต่างวัฒนธรรม ทำให้ความหมายของวัฒนธรรมของตนเปิดความหมายมากขึ้น ภาษา และวัฒนธรรมของคนปกาเกอะญอที่เคยเป็น เครื่องมือสื่อสารเฉพาะคนในวัฒนธรรมเดียว กัน กลายเป็นวัฒนธรรมที่เข้าไปต่อสู้แย่งชิง ความหมายในวัฒนชีวิตและวัฒนธรรมของคน ต่างถิ่น 2. การสะสมทักษะของชีวิต “คนดิบ” คนที่ไม่ได้รับคำสอน “คนธรรมชาติ” มักจะเป็นภาพของปกาเกอะญอที่อยู่แบบธรรมชาติ ไม่สนใจความสัมพันธ์ กับผู้อื่น ไม่มีทักษะในการสื่อสาร กลัวคนต่าง ถิ่น หมิ่นคนต่างบ้าน หยามคนต่างแดน อยู่ อย่างไก่ฟ้าไก่ป่า ตื่นนอนตามตะวัน เข้านอน เมื่อพลบค่ำ กินเมื่อหิว กินอย่างงูอดอย่างงู
176 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
(Auf dauv guj, Kauz dauv guj) ไม่รู้จักอด ออม ไม่รู้จักสะสม “คนธรรมชาติ”เช่นนี้ ไม่ อาจจะเป็นคนได้อีกต่อไปในบริบทของการ เปลี่ยนแปลง ดังนั้นกระบวนการหล่อหลอม บทบาทและความเป็นตัวตนของปกาเกอะญอ จึงมีไว้เพื่อพัฒนาให้เขาเติบโตเป็นสมาชิกที่ รั บ ผิ ด ชอบต่ อ อนาคตของวิ ธี คิ ด แบบชนเผ่ า ในบริบทของครอบครัวและระบบเศรษฐกิจ แบบพึ่งตัวเอง จำเป็นต้องมีความเป็นคนที่มี ตัวตนเชิงสังคม (Social being) มากขึ้น รูป แบบวิ ธี ก ารฝึ ก ฝนก็ ขึ้ น อยู่ กั บ วงจรชี วิ ต ตาม ธรรมชาติ เด็ก ๆ ไม่จำเป็นจะต้องกดดันตัวตน ในการจินตนาการถึงชีวิตในอนาคต ปรับ ประยุกต์ เปลี่ยนแปลง ดังนั้นเมื่อบรรดาบาทหลวงมิชชันนารีได้นำจินตนาการใหม่ทางชีวิต เข้ามาในหมู่บ้านแล้ว ทำให้เด็กจะต้องฝึกฝน ตนเองให้สอดคล้องกับความคาดหวังของหลัก ศาสนธรรมและการพัฒนาสมัยใหม่ สิทธิใน การละเล่ น ตามประสาเด็ ก ที่ ต้ อ งอาศั ย วั ส ดุ อุปกรณ์ตามธรรมชาติจะต้องเปลี่ยนไป มีการ หล่อหลอมสำนึกเรื่องของเวลาเรื่องของความ พร้อมเพรียง เรื่องของบทบาทหน้าที่ส่วนต่างๆ ของร่างกายตลอดจนหลักอ้างอิงทางอารมณ์ ความรู้สึกของจินตนาการแบบเด็ก ๆ สิทธิใน การละเล่นและการเรียนรู้ตามหลักธรรมชาติ ของเด็ก ๆ ได้ถูกแทรกแซงและถูกกำหนดตาม อุดมการณ์ของชีวิตจินตนาการใหม่
การดำเนินงานของมิชชันนารีคาทอลิกในเขตภาคเหนือของสยาม
ดังนั้น ในยามค่ำคืนจะมีการรวมตัว กันที่โบสถ์เพื่อฝึกร้องเพลง ฝึกสวดภาวนา ฝึก การแสดงออก ฝึกท่าทางประกอบเพลง ซึ่ง ทำให้เห็นความพยายามบงการธรรมชาติให้ พัฒนาไปตามจินตนาการตัวตนที่ทันสมัยด้วย เทคนิควิธกี ารร้องเพลงและทำท่าประกอบตาม เสียงเพลง สมองก็ได้รับเนื้อหาของการหล่อ หลอมและร่างกายก็ปฏิบัติตาม เช่น บทเพลง Muj hseif muj ha ตอนเช้า ตอนเย็นi บรรดาบาทหลวงมิชชันนารีได้สอน บทเพลงนี้ให้เด็กได้ขับร้องจนขึ้นใจ เป็นการ ฝึกสมองให้จดจำทั้งทำนองและเนื้อหา เป็น การกระตุ้นทั้งปัญญาและอารมณ์เพื่อให้เกิด ความสมดุลในการพัฒนาธรรมชาติให้วัฒนา ขึ้น เนื้อหาของบทเพลงที่ว่า กลางคืนจะต้อง นอน ตอนเช้าจะต้องตื่นเพื่อให้สมองได้แจ่มใส นั้ นเป็นการหล่อหลอมสำนึกเรื่องของเวลาที่ จำเป็นจะต้องก้าวเดินไปพร้อมกับจังหวะชีวิต ซึ่ ง เป็ น ความเข้ า ใจในเรื่ อ งของเวลาตามคติ อุ ด มการณ์ ค วามทั น สมั ย ที่ จ ะต้ อ งบั ง คั บ ร่างกายให้หลับและให้ตื่นตามกำหนดอย่างมี ประสิทธิภาพ ส่วนเนื้อหาที่บอกว่าสว่างแล้วจงตื่น เถิด คนที่ตื่นสายเป็นคนเกียจคร้าน เป็นการ สอนเรื่องคุณค่าของเวลาว่า จะต้องใช้เวลา อย่างมีคุณค่า ดังนั้นวิธีคิดเรื่องของสำนึกเรื่อง
แพรดี มณีรัตนวงศ์สิริ
เวลาและคุณค่าของเวลานี้ ได้กลายเป็นระบบ ศีลธรรมของเด็ก (space and time ethic) ที่จะต้องมากำหนดบทบาทหน้าที่ของการเป็น ผู้ที่เตรียมพร้อมเสมอ “จงตื่นเฝ้าอยู่เสมอ เพราะท่านไม่รู้ว่าเจ้านายจะกลับมาเวลาใด” (มธ. 24:42-43) วิธีการหล่อหลอมเช่นนี้ทำ ให้เด็ก ๆ จะต้องต่อสู้ขับเคี่ยวกับธรรมชาติฝ่าย ต่ำ โดยเอาหลักธรรมเรื่องของการตรงต่อเวลา และคุณค่าของเวลามาเอาชนะความอ่อนแอ ของร่างกาย เด็ก ๆ ที่นอนแต่หัวค่ำจะมีสมองที่ โปร่งใสก็จะเป็นบุตรธิดาที่ดีของพระผู้เป็นเจ้า และเป็ น ประชากรที่ มี คุ ณ ภาพของโลกแห่ ง ความทันสมัย มีบทเพลงชื่อ Maix hkli hki tof ตาสองดวงii จะขับร้องด้วยท่าทางที่ยืนเป็น กลุ่ม ไม่เป็นแถวตรงและไม่เป็นวงกลม ทุกคน ต่ า งจ้ อ งหน้ า ไปที่ ผู้ น ำและปฏิ บั ติ ต ามอย่ า ง ถูกต้องพร้อมเพรียงจึงจะได้รับคำชมเชย ส่วน ท่าทางสุดท้ายที่บอกว่า “เมื่อเจ้าทำเช่นนี้จะ ได้รับรางวัลมงกุฎแห่งชีวิตตอบแทน” ทุกคน จะต้ อ งย่ อ เข่ า ลงเอามื อ ขวาทำปกบนศี ร ษะ และมื อ ซ้ า ยไขว้ ห ลั ง แสดงถึ ง ความถ่ อ มตน รองรับมงกุฎแห่งรางวัลด้วยความสุภาพ แต่มี เงื่อนไขอยู่ท่วี ่าจะต้องถวายทุกสิ่งเพื่อเป็นการ สรรเสริญพระผู้เป็นเจ้า
ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2010/2553 177
กระบวนการสร้างตัวตนคริสตชนของพระศาสนจักรคาทอลิกในมุมมองของนักบวชหญิงปกาเกอะญอ
ในที่สุดเราจะจบการขับร้องบทเพลง ส่งท้าย (ซึ่งหมายความว่ามีอีกหลายเพลงแต่ ผู้เขียนคัดมาเพียงสามเพลง) ด้วยเพลง Maz k’pauziii เป็นเพลงทีจ่ ะสอนให้เราต้องออกไป ให้แสงสว่างกับผู้อื่น ถึงแม้ว่าตะเกียงของฉัน จะริบหรี่แต่ฉันจะสร้างความสว่างให้กับผู้อื่น เป็นการหล่อหลอมให้เด็กๆ ต้องจินตนาการ ถึงการออกจากตัวเอง ไปสู่ผู้อื่น แต่ต้องอาศัย มงกุฎแห่งความดีของพระเจ้า กรอบความรัก ตามแบบพระเยซู ความพร้อมเพรียงตามแบบ สันทนาการที่ฝึกร่วมกันในบทเพลงที่จะต้อง ยืนเป็นวงกลมพร้อมกับความแข็งแกร่งของ เท้าที่จะต้องเดินเป็นแถว และสำนึกเรื่องเวลา และคุณค่าเพื่อจะมุ่งไปสู่ผู้อื่น ดังพลวัตของ การหล่อหลอมความเป็นตัวตนในชุมชนจินตนาการทางศาสนาแบบใหม่นี้ เริ่มให้เด็กๆ เรา รู้สึกถึงจินตนาการทางสังคม ที่สอดคล้องกับ ความเป็นคนในยุคสมัยใหม่ ตอนเด็กๆ ผู้ เขี ย นอาจจะไม่ รู้ สึ ก ถึ ง อิ ท ธิ พ ลของการสอน เช่นนี้ แต่เมื่อเติบโตเป็นผู้ใหญ่กลับได้ดำเนิน ชี วิ ต ตามคติ ข องความทั น สมั ย หรื อ โลกสมั ย ใหม่ดังกล่าวนี้ กระบวนการหล่ อ หลอมความเป็ น ตั ว ตนทางสั ง คมที่ ผ่ า นบทเพลงและท่ า ทาง เพื่อความพร้อมเพรียงเช่นนี้ ที่จริงแล้วเป็น การฝึกฝนความเชี่ยวชาญเฉพาะของเด็กๆ ที่
178 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
จะต้องเติบโตมาเป็นคนที่จะต้องดำเนินชีวิต ในสังคม การแพร่ธรรมผ่านบทเพลงทีด่ เู หมือน เป็นบทเพลงเพื่อการละเล่น สนุกสนานเช่นนี้ ที่จริงเป็นความชาญฉลาดที่ทำให้เด็กคริสตชน มี ทั ก ษะในการดำรงตนอยู่ ใ นสั ง คมร่ ว มกั บ ผู้อื่น เป็นการซึมซับรับเอาคำสอนที่จะกลาย เป็นตัวกำหนดทางสังคม เป็นจุดเริ่มต้นของ การเข้าสังคมของเด็ก ๆ ตั้งแต่แรกเรียนรู้ ทำ ให้รู้สึกถึงความชาญฉลาดในการหล่อหลอม เตรียมคนของบรรดาบาทหลวงมิชชันนารี ที่ ต้องการเห็นว่ามนุษย์เราต้องดำรงอยู่ด้วยพระ วาจาทุกคำที่ออกจากพระโอษฐ์ของพระองค์ (มธ. 4:4) และเหล้าใหม่ต้องอยู่ในถุงหนังใหม่ (มธ. 9:17) พวกเขาจึงกลายเป็นคนใหม่ที่มี ความเป็นตัวตนทางสังคมมากยิ่งขึ้น วิธีคิด เช่ น นี้ เ มื่ อ ผู้ เขี ย นเติ บ โตมาก็ ไ ด้ ถู ก ผลิ ต ซ้ ำ ใน ระบบการศึ ก ษาที่ ศ าสนจั ก รคาทอลิ ก เป็ น ผู้ ส่งเสริมสนับสนุนมาให้สังคมไทยด้วย เช่น บราเดอร์ ฟ.ฮีแล ได้เขียนไว้ในตำราดรุณศึกษา ว่า จงตืน่ เถิด เปิดตำราหาความรู ้ เรียนคำครูคำพระเจ้าเฝ้าขยัน จะอุดมสมบัติปัจจุบัน แต่สวรรค์ดีกว่าเราอย่าลืม 3. การสะสมทุนเชิงสัญลักษณ์ นอกจากนั้น “เวลา” ยังเป็นเครื่อง
แพรดี มณีรัตนวงศ์สิริ
มื อ สำคั ญ อี ก ประการหนึ่ ง ที่ มี พ ลั ง สู ง ในการ ฝึกฝนคนให้เกิดจินตนาการกับชีวิตใหม่ เป็น การจัดการกับช่วงเวลาแต่ละวันให้เกิดประสิทธิภาพต่อการดำเนินชีวิต เป็นการฝึกชีวิต ที่มีคุณธรรมในการใช้เวลาอย่างมีประโยชน์ วิธีการจัดเวลาใหม่ให้ชุมชนปกาเกอะญอใหม่ นี้มีมิติของคุณธรรมของเวลา ซึ่งเป็นเรื่องใหม่ ของปกาเกอะญอ ผูเ้ ขียนได้กลับมาคิดถึงความ หมายของเวลาหรือวันของปกาเกอะญอ เราไม่ เคยคิดถึงเวลาว่าเป็นสิ่งมีค่า หรือเวลาเป็นสิ่ง ที่มีคุณธรรม แต่เป็นเวลาธรรมชาติ เช้าก็ตื่น นอน กลางวันเป็นเวลาทำงาน และกลางคืน เป็นเวลาหลับนอน ทุกคนดำรงชีวิตตามธรรมชาติ ไ ม่ จ ำเป็ น ต้ อ งไขว่ ค ว้ า มาเป็ น สิ่ ง ที่ มี ค่ า เรามีเวลาพอเพียงสำหรับทุกสิง่ ทีเ่ ราทำ ทุก กิจกรรมที่ต้องรับผิดชอบ แต่ เ มื่ อ ผู้ เขี ย นโตขึ้ น และต้ อ งรั บ ผิ ด ชอบงานต่าง ๆ เวลากลายเป็นสิ่งที่มีค่า เวลา กลายเป็ น สิ่ ง ที่ จ ำกั ด และขาดแคลนจำเป็ น จะต้องแย่งชิงแข่งขัน ซึ่งเป็นผลของการหล่อ หลอมว่า เวลาเป็นสิง่ ทีจ่ ำกัดและมีคา่ ทีบ่ รรดา บาทหลวงมิชชันนารีมาหล่อหลอมวิถีชีวิต วิธี คิดหรือความเป็นตัวตนเช่นนี้ เป็นการคิดตาม
อุ ด มการณ์ ทั น สมั ย ที่ จ ะต้ อ งใช้ เวลาอย่ า งมี “มีค่า” มีค่าทางเศรษฐกิจและมีค่าในทางการ ดำรงชีวิต นอกจากนัน้ บรรดาบาทหลวงมิชชันนารีได้วางรูปแบบเวลาที่มีคุณธรรม ซึ่งเป็น อุ ด มการณ์ ท างศาสนาที่ ต้ อ งการฝึ ก ให้ เ ป็ น บุคคลทั้งครบ ความหมายของเวลาเช่นนี้ ผู้ เขียนจะรู้สึก หรือมีอิทธิพลโดยตรงต่อชีวิตเมื่อ เข้ามาเป็นนักบวช เป็นเวลาที่จะต้องถวายไว้ เพือ่ กิจกรรมศักดิส์ ทิ ธิ์ เวลาทัง้ วันเป็นส่วนหนึง่ ของกิจศรัทธา (Faith Act) ปฏิบัติการเรื่อง ของเวลาที่สอนวิธีคิด คือ ค่าของเวลาและ คุณธรรมของเวลาที่เปลี่ยนจากเวลาในฐานะที่ เป็นธรรมชาตินั้นได้รับการหล่อหลอมอย่างไร ผู้เขียนจะเล่าให้ฟังดังต่อไปนี้ เวลาที่มีค่าและเวลาที่มีคุณธรรม เมื่อบาทหลวงมิชชันนารีได้ต้ังโบสถ์ เล็ก ๆ ในหมู่บ้าน แล้วตาของผู้เขียน3 ได้ บริจาคฆ้องไว้เป็นของกลางไว้ที่โบสถ์ เพื่อใช้ เป็นเครื่องมือตีบอกเวลามารวมกันเพื่อสวด ภาวนาหรือทำศาสนกิจต่าง ๆ เมื่อครูคำสอน ที่ผ่านการฝึกอบรมจากศูนย์แม่ปอน4 มาอยู่
3 ตาเป็นคริสตชนคนแรกของหมู่บ้านใช้ชื่อนักบุญเปาโลเป็นศาสนนาม 4
ศูนย์แม่ปอน เป็นศูนย์งานแพร่ธรรมของคณะสงฆ์เบธารามที่ทำงานในเขตชาวปกาเกอะญอ ดูข้อมูลเพิ่มเติม ที่ www.maeponcenter.com
ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2010/2553 179
กระบวนการสร้างตัวตนคริสตชนของพระศาสนจักรคาทอลิกในมุมมองของนักบวชหญิงปกาเกอะญอ
ประจำหมู่บ้าน ครูสอนหลักธรรมคำสอนของ คริสต์ศาสนาเหล่านี้จะเรียกว่า ครูผู้ประกาศ ข่าวดี (S’raf taj sav hku k’cauf) ซึ่งมี หน้าที่หลักคือ การนำสวดภาวนาเช้าค่ำและ สอนหนังสือปกาเกอะญอที่ดัดแปลงจากอักษร โรมันและออกเสียงท้องถิ่น ถือเป็นตัวแทน บาทหลวงมิชชันนารีเพื่อทำหน้าที่ในการทำ พิ ธี ก รรมและดู แ ลปกครองด้ า นชี วิ ต จิ ต วิญญาณหรือกิจกรรมทางศาสนาของหมู่บ้าน ผู้เขียนจะต้องไปโบสถ์ทุกเช้าและบางทีในช่วง เย็นตามคำสั่งของแม่5 คุณธรรมสำคัญยิ่งสามประการของ คริสต์ศาสนาคือ คุณธรรมของความเชื่อ ความ หวังและความรัก (Faith, Hope and Love) เป็นวิชาที่ต้องเรียนกันในระดับเทววิทยาชั้น สูง ทั้งนี้เพราะเชื่อว่าชีวิตจะมีคุณค่าเมื่อชุด ความหมายต่าง ๆ มีองค์ประกอบของความ เชื่อ ความหวัง ศาสนา ความรัก การเสียสละ การให้อภัย การปกป้องคุ้มครอง บทสวด ภาวนาต่าง ๆ ต่อไปนี้เป็นการหล่อหลอมปลุก
ฝั ง ให้ เข้ า ใจในหลั ก ธรรมคำสอนของพระศาสนจักรว่ามีวิธีมองคุณค่าและความหมาย ของชีวิตอย่างไร กระบวนการสะสมชุดความ หมายผ่านปฏิบัติการของพิธีกรรม การสวด ภาวนาเช้าค่ำ เพื่อซึมซับรับเอาชุดปฏิบัติการ จนกลายเป็นส่วนหนึ่งของชีวิต เป็น Habitus6 ของคนที่นับถือคริสต์ศาสนาคาทอลิก เพราะ ในการดำรงชีวิตประจำวัน ชุดคุณค่าเบื้องต้น เจ็ดประการที่กล่าวมาข้างต้น ซึ่งถือว่าเป็น หลักการในชีวิต เป็นพลังเชิงศีลธรรมภายใน นั้น จะถูกท้าทาย ต่อรองอยู่เสมอ การสวด บทภาวนาเหล่านี้ทุกเช้าค่ำ กลายเป็นมโนธรรมพื้นฐานที่ให้กับคริสตชนปกาเกอะญอ เพื่ อ จะได้ เ ป็ น เครื่ อ งมื อ ที่ ท รงพลั ง คงอยู่ ไ ด้ ในบริบทสังคมที่แตกต่างหลากหลายนี้ ซึ่ง ถือเป็นบทบัญญัติทางสังคมหรือคติสาธารณะ (Doxa)7 ผู้เขียนขอยกบทภาวนา 3 บท คือ บทภาวนาแห่งความเชื่อ ความหวัง และ ความรัก ตามมุมมองและความเข้าใจในฐานะ คริสตชน
5 แม่เป็นกลุ่มคริสตชนสามคนแรกที่ไปพบคุณพ่อโฟญีนีที่บ้านป่าตึงอำเภอแม่แจ่ม 6
Habitus ตามความเข้าใจของ Pierre Bourdiue เป็นผลของกระบวนการซึมซับรับเอาคุณค่าของโครงสร้าง ภายนอกมาเป็นโครงสร้างและเครื่องมือภายในของคนในการดำรงชีวิต 7 Doxa คือ ความเชื่อที่เกิดจากการรับรู้ร่วมกันโดยนัยของสังคมว่าเป็นสิ่งที่สมควรเชื่อ อันเป็นผลมาจาก ความศรัทธาโดยอาจจะเป็นความศรัทธาในบุคคลที่เป็นผู้สถาปนาความเชื่อหรือความศรัทธาในสิ่งที่สังคม บัญญัติขึ้น (บูร์ดิเยอ ปีแยร์. ชนิดา เสงี่ยมไพศาลสุข, ผู้แปล 2550)
180 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
แพรดี มณีรัตนวงศ์สิริ
บทภาวนาแห่งความเชื่อ Tajcooj tajnax av tajhtuk’hpafiv “ความจริงจะทำให้ท่านเป็นอิสระ” บทแสดงถึ ง ความเชื่ อ ที่ ค าทอลิ ก จะต้ อ ง ภาวนาเช้าค่ำ บทนี้เป็นการแสดงถึงความเชื่อ ถึงพระเป็นเจ้าซึ่งเป็นองค์แห่งความจริง “องค์ แห่งความจริง” ที่พระศาสนจักรคาทอลิกได้ สอนนี้ คาทอลิกปกาเกอะญอจะนำความเชื่อ ดั้ ง เดิ ม มาสวมทั บ มโนทั ศ น์ อ งค์ ค วามจริ ง (The truth) ที่สอนในพระคัมภีร์ไบเบิล ความ เชื่อดั้งเดิมเรื่อง “องค์ความจริงเที่ยงแท้” (Taj Hti taj Tau) ในวัฒนธรรมปกาเกอะญอ จึงสอดประสานกับ “องค์ความจริง” (The truth) นั้นอย่างแยกไม่ออก ข้อคำสอนของ ศาสนาที่มีโครงสร้างสากลเป็นที่เชื่อถือได้ เช่น ศาสนจักรคาทอลิก จึงสามารถเป็นที่ยอมรับ ได้ในคำสอนของศาสนาที่เป็นศาสนาของชน พื้นเมืองท้องถิ่นได้เช่นกัน ดังนั้น เมื่อจะมองบทสวดภาวนาบท นี้ ใ นฐานะที่ เ ป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของกระบวนการ หล่อหลอม กระบวนการสะสมความเป็นตัวตน เชิงสังคม (Social being) ทำให้คาทอลิก ปกาเกอะญอได้ต่อยอดความเชื่อในเรื่อง “ต่า ทีต่าเตาะ” (Taj Hti taj Tau) กับ “องค์ ความจริง” (The truth) ในหลักความเชื่อตาม คำสอนของศาสนจักรคาทอลิกได้เป็นอย่างดี
บทภาวนาแห่งความหวัง Tajmujlaj av tajhtuk’hpafv ความหวัง คุณธรรมเชิงจิตวิญญาณ (Spiritual Virtue) อีกข้อหนึ่งที่เป็นคำสอน หลักของศาสนจักรคาทอลิก ชีวิตจะดำรงอยู่ และขับสู้กับอุปสรรคนานัปการ เพราะคนเรา มีความหวัง คำสอนเรื่องความหวังของศาสนจั ก รคาทอลิ ก นั้ น จะสอนว่ า อาศั ย บุ ญ บารมี ของการเสี ย สละตนของพระเยซู ค ริ ส ต์ จ ะ ทำให้มนุษย์ได้กุศล เพื่อความผาสุกในชีวิต หน้า ความเชื่อนี้จึงเป็นความเชื่อเชิงศาสนา (Spiritual Hope) แต่การเข้าใจของปกาเกอะญอคาทอลิกจะเป็น “ความหวัง” (Taj muj laj) ที่มีเป้าหมายใกล้กว่า คือ กำลังเป็นหรือ คำอวยพรของพระเจ้าในชีวติ นี้ ความสุขนิรนั ดร นั้นยากเกินกว่าที่จะเข้าใจไขว่คว้ามาได้ แต่ พระพรและพละกำลังในชีวิตปัจจุบันจะเป็น ความหวังที่เป็นจริงในปัจจุบัน บทภาวนาแห่งความรัก Tajaif tajkwi av tajhtuk’hpafvi บทภาวนาถึง “ความรัก” เป็นคุณธรรมเชิงจิตวิญญาณหลักอีกประการหนึ่งที่ ศาสนาคริ ส ต์ เ น้ น ย้ ำ ในฐานะคุ ณ ธรรมที่ จ ะ ต้องเกิดขึน้ จริง “จงรักพระเจ้าสิน้ สุดจิตใจและ จงรักเพือ่ นบ้านเหมือนรักตนเอง” ลก. 10:27
ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2010/2553 181
กระบวนการสร้างตัวตนคริสตชนของพระศาสนจักรคาทอลิกในมุมมองของนักบวชหญิงปกาเกอะญอ
เพื่อนบ้านที่กล่าวถึงนี้คือ คนต้อยต่ำและคน ที่ถูกเอารัดเอาเปรียบในสังคม เวลาที่จะต้อง ซึมซับรับเอาคุณธรรม “ความรัก” ตามคำสอน ชุดนี ้ ปกาเกอะญอจะนำมิตเิ ชิงสังคมของความ รักมาเป็นแนวทางปฏิบัติการ คือ ความรัก เกื้อกูลต่อแม่หม้ายลูกกำพร้า (Muxmai, hpofqai) ผู้ตกทุกข์ได้ยากในกลุ่มเผ่าชน ซึ่ง เป็นคำสอนที่มีอยู่ในประเพณีวัฒนธรรมอยู่ แล้ว ดังนั้นการแสดงความรักที่มีต่อพระเจ้า ที่ดีที่สุด คือ ความรักเอื้ออาทรต่อผู้ที่อ่อนแอ ผู้ที่ต้องการความช่วยเหลือ สรุป กระบวนการหล่อหลอมความเป็นตัว ตนตามอุดมคติศาสนาและอุดมการณ์ความ ทั น สมั ย ที่ บ รรดาบาทหลวงมิ ช ชั น นารี ไ ด้ หยิ บ ยื่ น ให้ สั ง คมปกาเกอะญอตามที่ ผู้ เขี ย น ได้นำเสนอผ่านบทความ ทำให้เห็นกระบวนการทีท่ ำให้ปกาเกอะญอทีอ่ ยูใ่ นสังคมเล็ก ได้ เปิดโลกทัศน์ที่กว้างขึ้น ได้สะสมต่อยอดความ เป็นตัวตนแบบชนเผ่า สู่ความเป็นตัวตนทาง สังคม (Social being) ที่มีลักษณะซับซ้อน มากขึ้น ดังนั้นการสะสมความเป็นตัวตนทาง สังคม (Social being ) นั้น ปกาเกอะญอได้ กลายเป็นคนที่ร้จู ักความเป็นตัวตนด้านปัจเจก
182 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
แต่ละคน ตามกระบวนการทำให้เป็นปัจเจก (Individualization) ผ่านการรักษาความเจ็บ ไข้ได้ป่วยที่เป็นความเจ็บป่วยส่วนบุคคล และ อาจจะไม่เกี่ยวข้องกับความเจ็บไข้ได้ป่วยของ สังคมเสมอไป การนำยาเวชภัณฑ์สมัยใหม่มา รักษาโรคของแต่ละบุคคลนั้นได้สร้างให้ปกาเกอะญอรู้จักรับผิดชอบต่อสิ่งที่ปัจเจกทำมาก ขึ้น ขณะเดียวกันได้รับรู้ถึงความทันสมัย ใน เรื่องของคุณค่าของวิทยาศาสตร์สมัยใหม่ที่ ต้องมีเหตุผลในการดำรงชีวิตผ่านการจัดการ เรื่องพฤติกรรมให้ปฏิบัติตนอย่างมีระเบียบ ใช้เวลาอย่างมีคุณค่าและมีคุณธรรม บรรดาผู้หญิงที่อยู่ในสังคมชายเป็น ใหญ่ โดยทางพฤติ นั ย เรี ย นรู้ ถึ ง ความเป็ น ปัจเจกที่จะต้องรับผิดชอบต่อตนเอง เรียนรู้ถึง ความเป็นตัวตนที่ต้องรับผิดชอบต่อพฤติกรรม ส่วนบุคคล การเป็นปัจเจกบุคคล (Individual Person) สร้างสำนึกถึงหน้าที่และสิทธิของผู้ หญิงแต่ละคน ขณะเดียวกันก็เป็นคนที่ดำรง อยู่ในชุมชนจินตนาการทางความเชื่อ (imagined community of believes) ใน พระอาณาจักรของพระเจ้า (Kingdom of God) องค์เดียวกัน แต่การตัดสินใจต่อชีวิตเป็น ของปัจเจก ดังนั้นทำให้ชาวปกาเกอะญอคาทอลิกมีทรัพยากรหรือทุนทางความคิดที่มีอยู่ ในวัฒนธรรมซึ่งกลายเป็นยุทธวิธีในการปรับ
แพรดี มณีรัตนวงศ์สิริ
ตัว และทรัพยากรและทุนทางวัฒนธรรม (วินัย บุญลือ, 2545) ที่มีอยู่ในวัฒนธรรม ปกาเกอะญอนั้นได้ทำงานในระดับจิตใต้สำนึก หรือในระดับที่เรียกว่า การมีจิตวิญญาณ (Spiritual Life) เมื่อพิจารณาไตร่ตรองเกี่ยว กั บ ความแตกต่ า งจากปกาเกอะญอกลุ่ ม อื่ น ก็ จ ะได้ รั บ คำตอบเป็ น เพราะลั ก ษณะทาง วั ฒ นธรรมของชาวปกาเกอะญอเองที่ เ มื่ อ ปะทะประสานกับสังคมใหม่ภายนอกที่ใหญ่ กว่า มีอำนาจกว่า เช่น ความเป็นสากล (Universal) ของพระศาสนจักรทำให้วัฒนธรรมที่ มีการถือกันว่าต่ำด้อยกว่าตามวิธีคิดสมัยใหม่ นิยมครอบงำสำเร็จเบ็ดเสร็จนี้เป็นเพียงภาพ ปรากฏภายนอก แต่สิ่งที่เรียกว่าปรากฏการณ์ ภายในของความมีจิตวิญญาณนั้น วัฒนธรรม เล็ก/ด้อยกว่ายังมีพลังของความโดดเด่นใน การรับเอาปรับตัวตามยุคสมัยได้ด้วย เพราะ ฉะนั้ น ความมี จิ ต วิ ญ ญาณของความเป็ น ชน กลุ่มหนึ่งที่สะท้อนออกมาในชีวิตประจำวัน นั้น อาศัยกระบวนการแทนที่จะสยบยอมที่ทำ ให้รู้สึกแปลกแยกแปลกปลอม จนไม่สามารถ ทำตามกฎเกณฑ์ได้อย่างสมบูรณ์ (Yoko Hayami, 1996) นอกจากนั้นคำสอนของพระศาสนจั ก รที่ เ ป็ น โครงสร้ า งจะถู ก ผนวกและผสม ผสานกับวิถีท้องถิ่น ทำให้เกิดศาสนธรรมที่มี
ความหมายสำหรับคนท้องถิ่น โครงสร้างจึง ไม่ได้มีอำนาจครอบงำแบบเบ็ดเสร็จสมบูรณ์ แต่ผู้รับจะเลือกรับเอาในสิ่งที่มีประโยชน์และ มีคุณค่าในการปรับตัวต่อสถานการณ์ใหม่ ๆ ตามบริบทที่ชุมชนดำรงอยู่ ดังนั้นบัญญัติสิบ ประการของพระเจ้าและบัญญัติหกประการ ของพระศาสนจักรซึ่งเป็นหลักธรรมคำสอน (Dogma) ของพระศาสนจักรศักดิ์สิทธิ์สากล นั้น จะถูกท้าทาย มีการสร้างใหม่ ทำให้ คริสตชนปกาเกอะญอไม่รู้สึกแปลกแยกจาก คำสอน ที่ดูภายนอกมีอำนาจมีกรอบครอบ คลุม โดยการเลือกรับแต่ละชุดคำสอนที่พระศาสนจั ก รนำมาเผยแพร่ ห รื อ มาหล่ อ หลอม คริสตชนกลุ่มชาติพันธุ์กลุ่มนี้ในที่สุด ทำให้ เกิดตัวตนใหม่ในชุมชน ความเป็นตัวตนใหม่ ที่น่าสนใจ คือ ความเป็นตัวตนของนักบวชหญิง ปกาเกอะญอ ผู้เขียนมักจะไม่ค่อยรู้สึกว่าถูก ครอบงำจากโครงสร้างของพระศาสนจักรที่ ชายเป็นใหญ่ หรือจากสังคมไทยปิตาธิปไตย ความเป็นตัวตนที่มีแนวคิด “แม่นำ” นั้นมัก จะเลือกรับและปฏิเสธอย่างต่อเนื่องเสมอ ดังนั้นข้อค้นพบของบทความนี้ ได้ชี้ ชัดว่า พระศาสนจักรคาทอลิกมีกระบวนการ สร้ า งความเป็ น ตั ว ตนให้ ช าวคาทอลิ ก ปกาเกอะญอโดยการหล่อหลอมความเป็นตัวตน ให้ เ ป็ น สมาชิ ก ของชุ ม ชนทางความเชื่ อ
ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2010/2553 183
กระบวนการสร้างตัวตนคริสตชนของพระศาสนจักรคาทอลิกในมุมมองของนักบวชหญิงปกาเกอะญอ
คาทอลิกที่ต้องอุทิศตนเพื่อผองพี่น้อง โดย เฉพาะพี่น้องผู้ต่ำต้อย แม่หม้ายลูกกำพร้า ความเป็ น ตั ว ตนของปกาเกอะญอคาทอลิ ก ได้ ห ล่ อ หลอมจากอุ ด มการณ์ ค วามทั น สมั ย และอุดมการณ์ศาสนา ผ่านกิจกรรมและพิธีกรรมทางศาสนา ตั้งแต่การเสริมสร้างให้รู้จัก คุณค่าของเวลา การตรงต่อเวลา ความพร้อม เพรียงในการทำหน้าที่ ซึ่งบทเพลงที่เป็น กิจกรรมของเด็กเชิงกิจกรรมสันทนาการ ควบ คู่ไปกับพิธีกรรมที่เคร่งครัด ผ่านการสวดบท ภาวนาค่ำเช้า เพื่อซึมซับรับเอาคุณค่าของ ความเป็นคนใหม่ เป็นคนที่มีความเชื่อ ความ หวั ง และความเสี ย สละถ่ อ มตนตามภาพลักษณ์ของพระเป็นเจ้า คือ “ท่านจงเป็นคนดี บริบูรณ์ ดังที่พระบิดาเจ้าสวรรค์ทรงความดี บริบูรณ์เถิด” ( มธ.5:48) เชิงอรรถ i เนื้อเพลง Muj hseif muj ha ตอนเช้า ตอนเย็น 1. Muj ha taj hkiv lauz li, keiz mi le lauj mi, pgaz le av keiz mi nauf Av hkof noov t’hsgi, keiz mi baf hse k’tauj, hposaf ho seif eh 2. Muj hseif taj k’pauz li, gaiz htef le lauj mi, pgaz le av gaiz htef nauf
184 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
meij pgaz le av kef, gaiz htef baf hse k’tauj, hposaf ho seif eh. 1. ถึงเวลากลางคืนแล้วจงเข้านอน เถิด คนที่เข้านอนช้าสมองจะไม่แจ่มใส จง นอนตรงเวลาเถิด เด็กน้อยทั้งหลายเอ๋ย 2. ตอนเช้าสว่างแล้ว ตื่นจากที่นอน เถิด คนที่ตื่นช้าคือคนขี้เกียจ ตื่นนอนตรงเวลา เถิด เจ้าเด็กน้อยทั้งหลายเอ๋ย ii
เนิ้อเพลง Maix hkli hki tof Maix hkli hki tof, baf kwaj htauf Ywaz, naj hpo hki hkau, baf do k’naf Htav hkof t’hsoo, civ htauf p’trez, hkauf hpo hki hkau baf laiz caiv caiv Yoov htauf p’cu soo htav, soo K’CajYwaz av of pgaz gauj muj seif eh! Civ htauf p’trez Ywaz, pgaz le av aif Ywaz neif K’baf wai taj hsof geiz, Ywaz k’heif av hkof s’lux s’moo. ดวงตาสองดวงมองขึ้นไปหาพระเจ้า หูใบน้อยๆ สองใบ คอยรับฟังอย่างดี ปากนี้คอยสรรเสริญพระ
แพรดี มณีรัตนวงศ์สิริ
iii
เท้าสองข้างไปมุ่งไปข้างหน้า ยกมือขึ้นข้างบนสู่พระผู้เป็นเจ้า พี่น้องทั้งหลายเอ๋ย สรรเสริญพระกันเถิด ผู้ที่รักพระจะได้รับพระพร และได้รับรางวัลตอบแทน
เนิ้อเพลง Maz k’pauz 1. Y’k’maz k’pauz, y’meif oo de hsiv y’k’maz k’pauz y’meif oo de hsiv Maz k’pauz, maz k’pauz, maz k’pauz 2. T’plai mufkauzlij maz pix, y’k’maz k’pauz T’plai mufkauzlij maz pix, y’k’maz k’pauz Maz k’pauz, maz k’pauz, maz k’pauz 3. Maz k’pauz yai tuz Kkri hai, y’k’maz k’pauz Maz k’pauz yai tuz Kkri hai, y’k’maz k’pauz Maz k’pauz maz k’pauz maz k’pauz.
1. ฉันจะส่องแสงสว่างแม้ตะเกียงฉัน เล็ก แต่ฉันจะส่องแสงอย่างแน่นอน 2. ไม่ให้ปีศาจมาดับ ฉันยังส่องแสง สว่าง 3. ฉันจะส่องสว่างจนพระคริสต์เสด็จ มา ฉันจะส่องแสงสว่าง iv
บทภาวนาแห่งการยืนยันความเชื่อ Tajcooj tajnax av tajhtuk’hpaf K’caj Ywaz eh, tajmeij tajtau le n’duv hpla htauf, dauv n’tajof hpgof k’recauhsgi sof lo wai kauv htif daiv neif, meij le n’t’lauzk’maf, dauv t’auflau pgaz baf av qo, y’coojnax auz gejgej klezklez lauz. ข้าแต่พระเจ้า ความจริงเที่ยงแท้ทุก อย่างที่พระองค์ได้เปิดเผย และที่พระศาสนจักรสั่งสอนทุกอย่าง เพราะเหตุที่พระองค์ไม่เคยผิดหลง และพระองค์ ก็ มิ เ คยหลอกลวงใคร ฉันจึงยอมเชื่อความจริงเที่ยงแท้ของพระองค์ ทุกอย่าง
ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2010/2553 185
กระบวนการสร้างตัวตนคริสตชนของพระศาสนจักรคาทอลิกในมุมมองของนักบวชหญิงปกาเกอะญอ
v
บทภาวนาแห่งความหวัง Tajmujlaj av tajhtuk’hpaf K’caj Ywaz eh, le K’caj Yeisoo Kri av taj si dauv av taj gaizhsehtef s’moohtauf keiz av qo, Y’mujlaj le n’heiflauz pgaz n’tajheifbluvcauhsgi t’coz iz, dauv tajmux tajhkuf av htoo av yox le hki t’coz, div n’eflauz pax neij pgaz av sauv neif lauz. ข้าแต่พระเจ้า ด้วยการตายของพระเยซูคริสตเจ้า และการกลับคืนชีพของพระองค์ นั้น ฉันจึงมีความหวังว่าพระองค์จะประทานพระพร ในชีวติ ขณะนี้ และตลอดจนความ สุขนิรันดรในโลกหน้า ดังที่พระองค์ได้ทรงสัญญาล่วงหน้า ไว้แก่ฉันแล้วนั้น vi
บทภาวนาแห่งรัก Tajaif tajkwi av tajhtuk’hpaf K’caj Ywaz le av sav geiz tux, dauv le p’krev aif hse keiz auz t’gaz eh, y’aifkwi naz lexsoof lexsav,
186 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
geizneij taj av gaz hkailex, dauv meijle y’aifkwi naz av qo, y’k’aifkwi ceijkauv pgaz av gaz, div y’aif lauz y’sav dafyai av sauv neif lauz. ข้าแต่พระผู้ใจดีที่สุด สมควรอย่ายิ่งที่ ฉันจะตอบแทนความรักของพระท่าน ฉันรัก ยกย่อง เทิดทูนพระองค์สุด จิตใจ ยิ่งกว่าสิ่งใด ๆ ทั้งสิ้น และเนื่องด้วยฉัน รัก พระองค์นั้น ฉันจะรัก เมตตาต่อคนอื่น ๆ ด้วย เหมือนดังที่ฉันนั้นรักตัวของฉันเอง บรรณานุกรม ถาวร กัมพลกุล. 2547. ไร่หมุนเวียนใน วงจรชีวิตชนเผ่าปกาเกอะญอ. ม.ป.ท. : บริษัท บี.ดี.เอส. การพิมพ์จำกัด. บูร์ดิเยอ ปีแยร์. ชนิดา เสงี่ยมไพศาลสุข, ผู้แปล 2550. เศรษฐกิจของ ทรัพย์สินเชิงสัญลักษณ์. กรุงเทพฯ : คบไฟ. วารุณี ภูริสินสิทธิ์. 2545. สตรีนิยม : ขบวนการและแนวคิดทางสังคม แห่งศตวรรษที่ 20. กรุงเทพฯ : คบไฟ.
แพรดี มณีรัตนวงศ์สิริ
วินัย บุญลือ. 2547. ทุนทางวัฒนธรรม และการช่วงชิงอำนาจเชิงสัญลักษณ์ ของชุมชนชาวปกาเกอะญอ. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการพัฒนาสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. มิแช็ล ฟูโกต์. 2547. ร่างกายใต้บงการ. กรุงเทพฯ : คบไฟ. สุรชัย ชุ่มศรีพันธ์, บาทหลวง. 2537. ประวัติศาสตร์พระศาสนจักร คาทอลิกไทย. 25 ปีความสัมพันธ์ ทางการทูตระหว่างประเทศไทย และนครรัฐวาติกันใน 25 ปี ไทย-วาติกัน. สื่อมวลชนคาทอลิก โรงพิมพ์อัสสัมชัญ. Bourdieu, P. 1977. Outline of a Theory of Practice. Cambridge : Cambridge University. Donovan, Josephine. 2001. Feminist Theory : The Intellectual Traditions. Third Edition. New York : The Continuum International Publishing Group
Huonder, Anthony. 1911. Reductions of Paraguay. The Catholic Encyclopedia. Vol. 12. New York: Robert Appleton. Hayami Yoko. 1996. Karen Tradition According to Christ or Buddha: The Implications of Multiple Reinterpretations for a Minority Group in Thailand. Kyoto University. James, Scott C. 2009. The Art of Not Being Governed : an anarchist History of Upland Southeast Asia. Yale University, Max, Weber. 1996. Politics as a Vocation. Princeton Readings in Political Thought. p.499-511 Swartz, David. 1997. Fields of Struggle for Power in Culture and Power : the sociology of Pierre Bourdieu. The University of Chicago.
ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2010/2553 187
รูปแบบการส่งต้นฉบับบทความ
www.saengtham.ac.th
1. การพิมพ์ผลงานทางวิชาการควรจัดพิมพ์ด้วย Microsoft Word for Windows หรือซอฟต์แวร์อื่น ที่ใกล้เคียงกันพิมพ์บนกระดาษขนาด A4 หน้าเดียว ประมาณ 26 บรรทัด ต่อ 1 หน้า Angsana New ขนาดของตัวอักษรเท่ากับ 16 และใส่เลขหน้าตั้งแต่ต้นจนจบบทความ ยกเว้นหน้าแรก 2. ต้องมีชื่อเรื่องบทความทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ (ชื่อบทความไม่ต้องอยู่ในวงเล็บ) 3. ให้ข้อมูลเกี่ยวกับผู้เขียนบทความทุกคน Curriculum Vitae (CV) ได้แก่ ชื่อ-นามสกุลของ ผู้เขียน หน่วยงานที่สังกัด ตำแหน่งทางวิชาการ (ถ้ามี) E-mail หรือโทรศัพท์ ทั้งภาษาไทย และภาษาอังกฤษ 4. ทุกบทความจะต้องมีบทคัดย่อภาษาไทย และ Abstract มีความยาวประมาณครึ่งหน้ากระดาษ A4 จะต้องพิมพ์คำสำคัญในบทคัดย่อภาษาไทย และพิมพ์ Keywords ใน Abstract ของบทความ ด้วย 5. ความยาวทั้งหมด ประมาณ 14-20 หน้า 6. เชิงอรรถอ้างอิง (ถ้ามี) 7. บรรณานุกรมตามมาตรฐาน APA แยกผลงานภาษาไทยและภาษาอังกฤษ (เรียงตามลำดับตัว อักษร) 8. บทความวิจัยควรมีหัวข้อดังนี้ ชื่อเรื่องบทความวิจัย (ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ) ชื่อผู้เขียนพร้อมข้อมูลส่วนตัวของทุกคน (รายละเอียดตามข้อ 3) บทคัดย่อภาษาไทย และ Abstract (รายละเอียดตามข้อ 4) ความสำคัญ ของเนื้อหา วัตถุประสงค์ สมมติฐานของการวิจัย ประโยชน์ที่ได้รับ ขอบเขตการวิจัย นิยามศัพท์ (ถ้ามี) วิธีการดำเนินการ ผลการวิจัย ข้อเสนอแนะ และบรรณานุกรม/References 9. ฝ่ายวิชาการนำบทความที่ท่านส่งมาเสนอต่อผู้ทรงคุณวุฒิเพื่อประเมินคุณภาพความเหมาะสม ของบทความก่อนการตีพิมพ์ ในกรณีที่ผลการประเมินระบุให้ต้องปรับปรุงหรือแก้ไข ผู้เขียนจะ ต้องดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลา 15 วันนับจากวันที่ได้รับผลการประเมินบทความ หากท่านต้องการสอบถามกรุณาติดต่อกับกองบรรณาธิการวารสารวิชาการ โทรศัพท์ (02) 4290100 โทรสาร (02) 4290819 หรือ E-mail: picheat@su.ac.th 10. บทความที่ได้รับการตีพิมพ์จะได้รับเงินค่าตอบแทนสมนาคุณ บทความละ 1,500 บาท พร้อม วารสารวิชาการวิทยาลัยแสงธรรม จำนวน 3 เล่ม
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
Sa e n g th a m Co lle g e Jo u rn a l
ใบสมัครสมาชิก วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม สมาชิกในนาม............................................................................................................... ที่อยู่ (สำหรับจัดส่งวารสารวิชาการ) เลขที่.................................ถนน.................................... แขวง/ตำบล...................................................เขต/อำเภอ.................................................. จังหวัด..................................................................รหัสไปรษณีย์...................................... โทรศัพท์.....................................................................โทรสาร......................................... มีความประสงค์สมัครเป็นสมาชิก วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม 1 ปี (2 ฉบับ) อัตราค่าสมาชิก 200 บาท วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม 2 ปี (4 ฉบับ) อัตราค่าสมาชิก 400 บาท วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงะรรม 3 ปี (6 ฉบับ) อัตราค่าสมาชิก 500 บาท ชำระเงินโดยวิธี ธนาณัติ (สั่งจ่าย “บาทหลวงอภิสิทธิ์ กฤษเจริญ”) ปณ. อ้อมใหญ่ 73160 โอนเงินเข้าบัญชีออมทรัพย์ ธนาคารกรุงไทย สาขาสามพราน ชื่อบัญชี “วารสารวิชาการวิทยาลัยแสงธรรม” เลขที่บัญชี 734-0-27562-2 (พร้อมส่งเอกสารการโอนมาที่ Fax. 0-2429-0819) ที่อยู่ที่ต้องการให้ออกใบเสร็จรับเงิน ตามที่อยู่ที่จัดส่ง ที่อยู่ใหม่ในนาม....................................................................................................... เลขที่.........................ถนน.............................แขวง/ตำบล..................................... เขต/อำเภอ............................จังหวัด...............................รหัสไปรษณีย์...................
.............................................(ลงนามผู้สมัคร) วันที่...........................................
ส่งใบสมัครมาที่ : ศูนย์วิจัยค้นคว้าศาสนาและวัฒนธรรม วิทยาลัยแสงธรรม เลขที่ 20 หมู่ 6 ต.ท่าข้าม อ.สามพราน จ.นครปฐม 73110 หรือที่ โทรสาร 0 2 429 0819
ขั้นตอนการจัดทำ
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม Saesngtham College Journal
เริ่มต้น ประกาศรับบทความต้นฉบับ รับบทความต้นฉบับ แก้ไข กอง บก. ตรวจรูปแบบทั่วไป
ไม่ผ่าน
แจ้งผู้เขียน
ผ่าน ส่งผู้ทรงคุณวุฒิ ข
ก้ไ อ้ งแ
ผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาบทความ
ไม่ผ่าน
ผ่าน กองบรรณาธิการแจ้งยืนยัน การรับบทความ จัดพิมพ์เผยแพร่ จบ
แจ้งผู้เขียน
ไม่ต
แก้ไ
ข
แจ้งผู้เขียน แก้ไข
จบ