วารสารวิ ชาการ วิทยาลัยSaแสงธรรม e n g th a m Co lle g e Jo u rn a l
ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2012/2555
วัตถุประสงค์ 1. เป็นเวทีเผยแพร่ผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการของคณาจารย์ทั้งใน และนอกวิทยาลัย ตลอดจนนักวิชาการอิสระ 2. เชื่อมโยงโลกแห่งวิชาการ และเผยแพร่องค์ความรู้ทางปรัชญา ศาสนา เทววิทยา และการศึกษา ให้เกิดประโยชน์แก่ชุมชนและสังคมส่วนรวม 3. ส่งเสริมและกระตุ้นให้เกิดการวิจัย และพัฒนาองค์ความรู้ทางด้าน ปรัชญา ศาสนา เทววิทยา และการศึกษา เพิ่มมากขึ้น เจ้าของ บาทหลวง ดร.ชาติชาย พงษ์ศิริ ในนามอธิการบดีวิทยาลัยแสงธรรม บาทหลวง เดชา อาภรณ์รัตน์ ในนามประธานสภาการศึกษาคาทอลิก แห่งประเทศไทย บรรณาธิการ บาทหลวง ดร.อภิิสิทธิ์ กฤษเจริญ ในนามรองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ กองบรรณาธิการ รศ.ดร.ไพศาล หวังพานิช มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล ผศ.ประเสริฐ วิเศษกิจ ฝ่ายการศึกษา อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ ดร.อาทิพย์ สอนสุจิตรา มูลนิธิเซนต์คาเบียล ดร.สมเจตน์ ไวยการณ์ โรงเรียนเซนต์เทเรซา ดร.ยุพิน ยืนยง โรงเรียนบอสโกพิทักษ์ อาจารย์พีรพัฒน์ ถวิลรัตน์ อาจารย์ลัดดาวรรณ์ ประสูตร์แสงจันทร์ อาจารย์พิเชษฐ รุ้งลาวัลย์ นางสาวจิตรา กิจเจริญ นางสุจิต เพชรแก้ว อาจารย์ทิพอนงค์ รัชนีลัดดาจิต นางสาวปนัดดา ชัยพระคุณ นางศรุตา พรประสิทธิ์ นายวีระยุทธ กิจเจริญ นายศรัญญู พงษ์ประเสริฐสิน กำหนดเผยแพร่ : ปีละ 2 ฉบับๆ ละ 100 บาท (ฉบับที่ 1 ม.ค.- มิ.ย. ฉบับที่ 2 ก.ค.- ธ.ค.) สถานที่ออกแบบและจัดพิมพ์ : ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนางานวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม ออกแบบปก : โดย อาจารย์สุจิตตรา จันทร์ลอย รูปเล่ม โดย : นางสาววรัญญา สมตัว พิสูจน์อักษร : โดย อาจารย์พิเชษฐ รุ้งลาวัลย์, นางสุจิต เพชรแก้ว, นางศรุตา พรประสิทธิ์
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม มีความยินดีรับบทความวิจัย บทความวิชาการ บทวิจารณ์หนังสือ และ บทความปริทัศน์ ด้านปรัชญา ศาสนา เทววิทยา และการศึกษา ที่ยังไม่เคยเผยแพร่ในเอกสารใดๆ โดยส่ง บทความมาที่ ผู้อำนวยการศูนย์วิจัยค้นคว้าศาสนาและวัฒนธรรม วิทยาลัยแสงธรรม เลขที่ 20 หมู่ 6 ต.ท่าข้าม อ.สามพราน จ.นครปฐม 73110 กองบรรณาธิการวารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม จะส่งบทความให้แก่ผู้ทรงคุณวุฒิทางวิชาการเพื่อประเมิน คุณภาพบทความว่าเหมาะสมสำหรับการตีพิมพ์หรือไม่ หากท่านสนใจกรุณาดูรายละเอียดรูปแบบการส่งต้น ฉบับได้ที่ www.saengtham.ac.th/journal
รายนามคณะที่ปรึกษากองบรรณาธิการ
(Editorial Advisory Board)
ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก 1. บาทหลวง ศ.ดร.วชิระ น้ำเพชร, S.J. Sophia University, Japan 2. ศ.กีรติ บุญเจือ ราชบัณฑิต 3. ศ.ปรีชา ช้างขวัญยืน คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 4. ศ.ดร.เดือน คำดี คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 5. ศ.ดร.สมภาร พรมทา คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 6. รศ.ดร.สุมาลี จันทร์ชะลอ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี 7. ผศ.ดร.มณฑา เก่งการพาณิชย์ คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล 8. ผศ.ดร.ชาญณรงค์ บุญหนุน คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร 9. ผศ.ดร.วรยุทธ ศรีวรกุล คณะปรัชญาและศาสนา มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ
ผู้ทรงคุณวุฒิภายใน 1. มุขนายก ดร.ลือชัย ธาตุวิสัย 2. บาทหลวง ดร.ชาติชาย พงษ์ศิริ 3. บาทหลวง ดร.ออกัสติน สุกีโย ปิโตโย, S.J. 4. บาทหลวง ดร.ฟรังซิส ไกส์, S.D.B. 5. บาทหลวง ดร.เชิดชัย เลิศจิตรเลขา, M.I. 6. บาทหลวง ผศ.ดร.ไพยง มนิราช 7. บาทหลวง ดร.สุรชัย ชุ่มศรีพันธ์ุ 8. ภคินี ดร.ชวาลา เวชยันต์ ลิขสิทธิ์
ต้นฉบับที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการวิทยาลัยแสงธรรม ถือเป็นกรรมสิทธิ์ของวิทยาลัยแสงธรรม ห้ามนำข้อความทัง้ หมดไปตีพมิ พ์ซำ้ ยกเว้นได้รบั อนุญาตจากวิทยาลัยแสงธรรม ความรับผิดชอบ เนือ้ หาและข้อคิดเห็นใดๆ ทีต่ พี มิ พ์ในวารสารวิชาการวิทยาลัยแสงธรรม ถือเป็นความรับผิดชอบของ ผูเ้ ขียนเท่านัน้
รายนามผู้ทรงคุณวุฒิผู้ประเมินบทความ ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก 1. ศ.กีรติ บุญเจือ 2. ศ.ดร.ยศ สันตสมบัติ 3. รศ.ดร.มนตรี แย้มกสิกร 4. รศ.ดร.สุมาลี จันทร์ชะลอ 5. รศ.ดร.ไพศาล หวังพานิช 6. ผศ.ดร.ไชยศ ไพวิทยศิริธรรม 7. ผศ.ดร.วรยุทธ ศรีวรกุล 8. บาทหลวง ดร.เอกชัย ชินโคตร ผู้ทรงคุณวุฒิภายใน 1. บาทหลวง ดร.ชาติชาย พงษ์ศิริ 2. บาทหลวง ผศ.วัชศิลป์ กฤษเจริิญ 3. บาทหลวง ดร.เชิดชัย เลิศจิตรเลขา
(Peer Review) ประจำฉบั บ ราชบัณฑิต คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาเชียงใหม่ คณบดีคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล รองคณบดีฝ่ายวิชาการและวิจัย คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร คณะปรัชญาและศาสนา มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ ผู้จัดการโรงเรียนมารีย์อนุสรณ์ จ.บุรีรัมย์ เจ้าอาวาสวัดแม่พระแห่งสายประคำศักดิ์สิทธิ์ บุรีรัมย์ อธิการบดีวิทยาลัยแสงธรรม คณะศาสนศาสตร์ คณะศาสนศาสตร์
บทบรรณาธิการ
บทบรรณาธิการ
Saengtham College Journal วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2012/2555 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรมปีท่ี 4 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม-มิถนุ ายน 2012/2555 ฉบับนี้ ถือเป็นฉบับแรกที่ทางสภาการศึกษาคาทอลิกแห่งประเทศไทย โดยบาทหลวงเดชา อาภรณ์รัตน์ ประธานสภาการศึ ก ษาคาทอลิ ก แห่ ง ประเทศไทยได้ ก รุ ณ ามอบความไว้ ว างใจร่ ว มมื อ กั บ วิทยาลัยแสงธรรมเพื่อร่วมกันผลิตวารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม ให้เป็นวารสารด้านการ วิจัยที่รองรับผลงานอันเกิดจากน้ำพักน้ำแรงของบรรดาครูอาจารย์ในสถาบันการศึกษาสังกัดสภา การศึกษาคาทอลิกแห่งประเทศไทย จำนวนกว่า 291 โรงเรียน (การศึกษาคาทอลิกแห่งประเทศไทย, 2554) นับเป็นนิมิตหมายอันดียิ่งซึ่งจะทำให้วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม เข้มแข็ง และดำรง อยู่เพื่อเผยแพร่ผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการของบรรดาครูอาจารย์ต่อไป ในฉบับอันน่ายินดียิ่งนี้ กองบรรณาธิการได้นำเสนอบทความวิจัย จำนวนรวม 5 บทความ ประกอบไปด้วยบทความวิจัยเกี่ยวกับการศึกษา 3 บทความ ชีวิตและพันธกิจของคริสตจักร 1 บท ความ และการถอดตำนานในการตีความหมายเพื่อเข้าใจพระธรรม 1 บทความ ซึ่งทั้ง 5 บทความนี้ ได้ รั บ การประเมิ น จากผู้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ แ ล้ ว ทั้ ง สิ้ น ทั้ ง นี้ ก องบรรณาธิ ก ารขอขอบคุ ณ คณาจารย์ นักวิชาการผู้เขียนบทความทุกท่าน ที่ได้ให้ความร่วมมือส่งผลงานเพื่อลงตีพิมพ์ ขอพระเจ้าตอบ แทนน้ำใจดีของท่านที่ได้กรุณามอบบทความนี้เพื่อตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม กองบรรณาธิการวารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม ขอขอบคุณผู้ทรงคุณวุฒิทุกท่านที่ กรุณาให้ความอนุเคราะห์ประเมินบทความต่างๆ อันส่งผลให้วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 สำเร็จและผลิตออกเผยแพร่องค์ความรู้ด้านปรัชญา ศาสนา เทววิทยา และการศึกษา ตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ สุดท้ายนี้หวังเป็นอย่างยิ่งว่า วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม โดยความร่วมมือกัน ระหว่างฝ่ายวิจัยและพัฒนา สภาการศึกษาคาทอลิกแห่งประเทศไทย และศูนย์วิจัยค้นคว้าศาสนา และวัฒนธรรม วิทยาลัยแสงธรรม จะเป็นอีกช่องทางหนึ่งในการส่งมอบความรู้สู้แวดวงวิชาการ ตามวัตถุประสงค์ของวารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม บรรณาธิการ
รูดอล์ฟ บูลท์มานน์เข้กัาบใจพระธรรม(คั การถอดตำนานในการตีความหมายเพื่อความ มภีร์) ใหม่
R
udolf Bultmann’s Demythologizing as Interpretative Method of Understading the New Testament
ดร.จริยา ศรมยุรา * อาจารย์ประจำภาควิชาการศึกษาทั่วไป คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ
Dr.Jariya Sornmayura * Lecturer at General Education Department, Faculty of Arts, Assumption University
Rudolf Bultmann’s Demythologizing as Tnterpertative Method of Understanding the New Testament
Abstract
This article presents a review of Bultmann’s hermeneutical method towards the problem of interpretation of religious myth. It focuses on Bultmann’s method of demythologizing which he proposes as a hermeneutical method to interpret the myths in the New Testament. It also examines the strengths and weaknesses of his method of demythologizing. It begins with a brief overview of Bultmann’s understanding of myth in the New Testament, followed by an exposition of Bultmann’s hemeneutics and his method of demythologizing, including a detailed discussion. This article concludes with a summary assessment of Bultmann’s theological approach and its effect on contemporary theo logy in general and the writer’s personal reflection. Key words:
บทคัดย่อ
2
1) Rudolf Bultmann 2) Demythologizing 3) Hermeneutics 4) New Testament
บทความนี้ น ำเสนอความคิ ด เห็ น เกี่ ย วกั บ วิ ธี ก ารตี ค วาม ของบู ล ท์ ม านน์ ที่ มี ปั ญ หาในการตี ค วามตำนานทางศาสนา โดยมุ่งเน้นวิธีถอดตำนาน (ปรัมปรา) ซึ่งบูลท์มานน์นำเสนอเป็นวิธี การตีความหรือแปลความหมายเนื้อหาเรื่องราวในพระธรรม (คัมภีร์) ใหม่ นอกจากนี้ยังตรวจสอบจุดแข็งและจุดอ่อนของวิธีการ โดยเริ่มต้น จากภาพรวมโดยย่ อ ตามความเข้ า ใจของบู ล ท์ ม านน์ ด้ า นเนื้ อ หา
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
Jariya Sornmayura
เรื่องราวในพระธรรม (คัมภีร์) ใหม่ตามด้วยการอภิปรายมุมมองที่มีต่อ วิธีการตีความหมายดังกล่าวบทความจบด้วยการสรุปแนวความคิดทาง ด้านศาสนศาสตร์ของบูลท์มานน์ซง่ึ มีอทิ ธิพลต่อศาสนศาสตร์ปจั จุบนั รวม ถึงการสะท้อนมุมมองส่วนตัวของผูเ้ ขียน คำสำคัญ :
1) รูดอล์ฟ บูลท์มานน์ 2) การถอดตำนาน 3) การตีความ 4) พระธรรม (คัมภีร์) ใหม่
ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2012/2555
3
Rudolf Bultmann’s Demythologizing as Tnterpertative Method of Understanding the New Testament
Introduction Rudolf Bultmann is one of the most influential New Testament scholars in the twentieth century. In his essay “New Testament and Mytho logy”, Bultmann shows the fundamental problem for interpreting the New Testament. The problem is how we can understand the New Testament, since its language and world view are mythological. Bultmann asserts that it is impossible for the people of today to accept the mythology of the New Testament, which is due to various causes. For example, science and technology have played roles in making it impossible for contemporary people in this century to accept the world picture of the New Testament. What do Christian ministers or theologians have to do with this task? How do they convince the people of today to accept the picture of the world given in the New Testament? Bultmann asserts that to investigate this we must remove
4
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
the mythological view from the New Testament proclamation. Bultmann proposes the method of “Demythologizing”, so that the New Testament can be understandable and relevant to modern people. This article attempts to pre sent a review of Bultmann’s hermeneutical method towards the problem of interpretation of religious myth. Besides, it also tries to further examine the strengths and weaknesses of his method. It begins with Bultmann’s understanding of myth in the New Testament, followed by an exposition of Bultmann’s method of demythologizing, including a detailed discussion and evaluation. At the end, the article concludes with a summary assessment of Bultmann’s theological approach and its effect on contemporary theology in general. 1. New Testament Myth in Bultmann’s Thought As for the New Testament,
Jariya Sornmayura
some scholars propose a ‘mythological’ interpretation of the life of Christ in the sense of mythological fiction. For them, it is obvious to say that the Gospels are fictitious accounts of Christ’s life, even though the New Testament depicts Jesus as a historical figure. For them, myths only try to make meaning out of historical events which actually happened. Bartsch puts it this way, “The New Testament is the Word of God spoken through the words of men, and since the proclamation of the act of God as the incarnate Word confronts us in this particular form, it can never be spoken of in direct, straightforward language . . .” (Bartsch, 1961, p.vii). Cavendish puts it in a more succinct fashion by stating: “Christianity contains myths, in the sense of po werful and impressive stories about the world and the human condition which were for centuries generally believed to be literally true. (Cavendish, 1993, p.156). In Jesus Christ and Mythology
(Bultmann, 1958), Bultmann defines the term “ mythology ” as a primitive science, the intention of which is to explain phenomena and incidents, which are strange, curious, surprising, or frightening, by attributing them to supernatural causes, to gods or to demons. For him, myths speak of gods and demons as power on which man knows himself to be dependent, power whose favor he needs, and whose wrath he fears. In general myths express the knowledge that man is not master of the world or of his life. Mythology expresses a specific understanding of human existence. Bultmann further states: “The whole conception of the world which is presupposed in the preaching of Jesus as in the New Testament generally is mythological; i.e., the conception of the world as being structured in three stories, heaven, earth and hell; the conception of the intervention of supernatural powers in the course of events; and the concep-
ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2012/2555
5
Rudolf Bultmann’s Demythologizing as Tnterpertative Method of Understanding the New Testament
tion of miracles, especially the conce ption of the intervention of supernatural powers in the inner life of the soul, the conception that man can be tempted and corrupted by the devil and possessed by evil spirits. This conception of the world we call mythological” (Bultmann, 1958,p.15). Therefore, for Bultmann, the real purpose of myth is not to present an objective picture of the world as it is, but to express man’s understanding of himself in the world in which he lives. Myth is an expression of man’s conviction that the origin and purpose of the world in which he lives are to be sought not within it but beyond it, that is, beyond the realm of the known and tangible reality. In myth we see that man is not the Lord of his own being, or of the world he lives in. Therefore, myth should be interpreted not cosmologically, but anthropologically, or better still, existentially. The real purpose of myth is to speak of transcendent power, which controls the
6
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
world and man (Bultmann, 1961,pp.1011). For Bultmann, the concept of miracles is mythological. This interpretation seems to be the same as what David Hume thinks, i.e. miracles have no natural but a supernatural cause. Therefore, he does not accept miracles and argue against the possibility of miracles. Hume believes that his argument would destroy all possibility of believing in miracles. His arguments are based upon the principle of probability. Hume thinks that miracles are the violations of the laws of nature and therefore they are improbable. Thiselton states in his book, Two Horizons: New Testament Hermeneutics and Philosophical Description (1980) that Bultmann’s view of myth may be seen in three different ways: Firstly, Bultmann regards myth as a way of speaking of the other world in terms of this world, and of the gods in terms of derived human life. Myth is here used and popularized by School
Jariya Sornmayura
of History of Religion. This definition of myth comes very closely to equating myth to analogy. At all events, it is certainly close to equating myth to any language about God that is anthropomorphic by attributing Him human characteristics. This mythological use of imaginary drawn from this world leads men to have faith about another world. Secondly, Bultmann proposes that myth explains unusual or surprising phenomena in terms of the invasion of supernatural forces, which is bound up with a particular worldview or cosmology. This worldview is essentially that of a pre-scientific age. In writing about the three storied structures, namely, heaven, earth, and hell, Bultmann asserts that miracles are by no means rare or impossible. Man is not in control of his own life. This is therefore concerned with the “content” of a particular myth, which is bound up with a primitive or pre-scientific way of looking at the world.
Thirdly, as Bultmann sees it, myth in the New Testament is centered on eight beliefs as follows: 1) the three-decker view of the universe (heaven, earth, and hell), 2) miracles, 3) demon possession, 4) the belief that God guides and inspires men, 5) the notion that supernatural powers influence the course of history, 6) the belief that the Son was sent in the fullness of time, 7) the resurrection of Christ regarded as an event beyond and different from the rise of the Easter faith in the disciples, and 8) the belief in the Holy Spirit, if that Spirit be regarded as more than “the factual possibility of a new life realized in faith.” Finally, Thiselton concludes that the three different accounts of myth in Bultmann leads him not to different accounts of what in the New Testament is mythical, instead, they do lead him to different parallel accounts of why demythologizing is necessary (Thiselton, 1980,pp.252-258). This is the philosophical frame-
ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2012/2555
7
Rudolf Bultmann’s Demythologizing as Tnterpertative Method of Understanding the New Testament
work necessary to the understanding of the mythological approach of Bultmann in the interpretation of the New Testament for modern people. 2. Hermeneutics in Bultmann 2.1 Bultmann’s Hermeneutics in the New Testament Cosmology Bultmann begins all of his theological endeavors by posting himself with a fundamental question regarding how we can convey Christian message of the first century to modern people of the twentieth century. He then posted the incompatibility between the primitive and the modern worldviews. Such a dilemma is stated in his book, New Testament and Mythology, in which he says, “It is impossible to use electric light and the wireless and to avail us of modern medical and surgical discoveries, and at the same time to believe in the New Testament world of spirits and miracles” (Bultmann, 1961,p.5). For Bultmann, as Klemm puts it, to understand the New Testament
8
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
messages, one has to take the New Testament narrations and records as myth, since its language and worldview are mythological through and through. Therefore, the New Testament appears to be irrevocably obsolete for those who occupy the worldview of modern science (Klemm, 1986,p.108). Bultmann calls the New Testament cosmology a mythological worldview, in contrast to the modern scientific worldview which Bultmann believes all modern people need to hold as an alternative. Accordingly, the fundamental problem for interpreting the New Testament then shall be the understanding of Kerygma, the preaching of the New Testament to believers. He divides the handling of New Testament kerygma into two major categories: namely, the mythical view of the world and the mythical event of redemption, but the mythical view of the world is obsolete. 2.2 The Mystical View of the World and the Mythical Event of Redemption
Jariya Sornmayura
Bultmann begins with a brief description of mythical cosmology and its worldview: “The cosmology of the New Testament is essentially mythical in character. The world is viewed as a three-storied structure, and the underworld beneath. Heaven is the abode of God and… the angels. The underworld is hell, the place of torment. Even the Earth is more than the scene of natural, everyday events…It is the scene of the natural activity of God and his angels on the one hand, and of Satan and his demons on the other…This aeon…hastens towards its end…Then the Judge will come from Heaven, the dead will rise, the last judgment will take place, and men will enter into eternal salvation or damnation” (Bultmann, 1961,pp.1-2). For Bultmann, this is the mythical view of the world, which the New Testament presupposes when it pre sents the event of redemption, the subject of the preaching. The Gospel was proclaimed in the language of my-
thology. The records of the New Testament do not have to be events that really happened other than which were proclaimed. Bultmann does not deny that the Bible, especially the New Testament, teaches those things it records, yet he asserts that they are but myths whose meaning is more important than the factual events. Therefore, if the proclamation is to make sense for modern people, we need to try to sweep the myth away from the teaching by reinterpreting, in other words, to engage in a so called the demythologizing process. 2.3 The Obsolete Mythical View of the World With the perception of such a mythical view of the world and the mythical event of redemption. Bultmann then posts a paradigmatic question, “Can the preacher or Christian preaching expects modern man to accept the mystical view of the world as true?” Bultmann would answer that it is impossible because the mystical
ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2012/2555
9
Rudolf Bultmann’s Demythologizing as Tnterpertative Method of Understanding the New Testament
worldview happened in the pre-scientific age of the first century, and no one can adopt the view of the world by his own will. It is no longer possible for modern science (science or techno logy) to seriously hold the New Testament view of the world. Modern people do not deny that the meaning of the language about things happening in the world has in themselves religious significance. In the case of the New Testament, such as the atoning death of Jesus, his resurrection and ascension, the resurrection of the dead, the time of judgment, heaven and hell, and so on, they may only be given mythological significance instead of factual significance in its meaning. He cited I Thessalonians 4: 1317 as a prime example, on account of the return of the Lord or Christ, in which Paul states, “We believe that Jesus died and rose again… We who are still alive and are left will be caught up…in the cloud to meet the Lord in the air. And so we will be with the
10 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
Lord forever”. Bultmann states that we shall no longer look for the return of the Son of Man on the clouds of Heaven or hope that the faithful will meet him in the air. As our thinking is shaped irrevocably by modern science, we can no longer believe in the myths of the New Testament, therefore rendering New Testament worldview to be irrevocably obsolete (Bultmann, 1961). Consequently, this leads to Bultmann’s hermeneutics of demythologizing. 3. Bultmann’s Method of Demythologizing 3.1 A Proposal for the Interpretation of The New Testament For Bultmann, the authors of the New Testament did not consider the presentation of their messages to modern people that face a totally different reality and have a totally different worldview. This is what we call hermeneutics, or the problem of language, its interpretation and understanding. We need to harmonize
Jariya Sornmayura
the Christian message in the Gospel with the outlook of modern people. Existential analysis provides a good foundation of such endeavors. Questions may be asked, then, what do Christian ministers or theologians have to do with this task? According to Bultmann, to investigate this we must take the New Testament as myths and then remove the mythological view from the New Testament proclamation. By doing this, we are no more making Christian beliefs unnecessarily difficult, other than making it understandable and relevant to modern people. This process of accepting the New Testament as myths, but removing its mythological view, is what he called, the demythologizing of the Christians message of the early Christians. In short, demythologizing must be done with a precondition of accepting the mythology of the New Testament with the purpose to reinterpret and to restate the New Testament proclamation by moving the Gospel proclama-
tion away from historical discourses to philosophical and scientific discourses. 3.2 The Process of Demytho logizing As the aim of demythologizing is to recover the deeper meaning behind the mythological conceptions with the purpose of maintaining mythological statements of the New Testament, thus demythologizing is in fact a method of hermeneutics. For Bultmann, as mythology is anthropological and not cosmological, thus the purpose of demythologizing is not to make religion more acceptable to modern people by trimming the traditional Biblical texts, but to make clearer to them the Christian faith. To demythologize is to reject not the Scripture, but the worldview of the Scripture, which is undoubtedly the worldview of a past and primitive epoch. In the process of demythologizing, Bultmann maintains the significant character of the New Testament as mythological, but making the mean-
ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2012/2555
11
Rudolf Bultmann’s Demythologizing as Tnterpertative Method of Understanding the New Testament
ing of the myth the soul of kerygma in which the existential message is embedded, waiting to be explored. In dealing with a myth, we must always ask what the narrator is saying about his own existence instead of his world, a kind of an existentialist interpretation in the philosophy of language, a concept developed by Heidegger’s Existentialism. 4. A Critique of Bultmann’s Method of Demythologizing: Strengths and Weaknesses As Bultmann tries to make the Bible (New Testament) meaningful to modern people by translating the old mystical language into the modern scientific language, modern Biblical hermeneutics owes a great debt to his existentialist hermeneutics. This section shall discuss the strengths and weaknesses of his method of demythologizing the New Testament. 4.1 His Strengths: The Argument for Bultmann’s Demythologizing
12 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
4.1.1 Bultmann Interprets the Mythology in the New Testament Without Eliminating New Testament Myths The problem of the interpretation of the mythological elements in the New Testament is not in itself a new one. Many have raised questions on New Testament worldview for a long time. The most recent attempt to grapple with the problem is the liberal theologians. Bultmann’s view is that the older liberal theologians tried to solve the problem for interpreting the myth in the wrong way. They threw away not only the mythology but also the kerygma (proclamation) itself. This is the mistake and the characteristics of the older liberal theologians. Bultmann realizes that what is needed in dealing with the problem of interpretation of the myth in the New Testament is not its elimination as the older liberal theologians did, but its interpretation. Thus, mythology in the New Testament still remains and is reinterpreted in the sense of existen-
Jariya Sornmayura
tial interpretation which is concerned with human existence, not in the sense of cosmology which is focused on the pre-scientific way of looking at the world. zing would be the attempt to separate the essential message, the kerygma, from cosmological mythology, which no modern man can believe. In fact, his purpose is not necessarily to make Christian religion more acceptable to modern man by his method of demythologizing, but to make clearer to modern man what Christian faith is. 4.1.2 Bultmann’s Understanding of the Meaning of Human Existence: Existentialist Interpretation The positive aspect of demythologizing is the most valuable work of Bultmann on hermeneutics, in which he attempts to disclose the true intention of the New Testament mythology by existential interpretation. In so doing, he conveys a specific understanding of human existence. Bultmann asserts the possibility of interpreting the non-mythological intention
of the New Testament. Without doubt, Heidegger’s existential analysis has provided Bultmann with a valuable non-mythical vocabulary, able to express the important part of the New Testament message. We all agree that the theme of the Bible is the revelation of God in his specific relation to man. Therefore, to hear what the Bible says for our actual present time is to hear what the truth about our life and our soul is. In this context, our task is to discover the hermeneutical principle in which we can understand what is said in the Bible to arrive at what the Bible says here and now. This is the task of linguistic philosophy. Consequently, to understand the meaning of human existence, existential interpretation is needed. Existentialist interpretation requires a critical approach in terms of what a text (New Testament) says and what it means. When Bultmann interprets the New Testament in this way, he holds that what he called “myth” has to
ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2012/2555
13
Rudolf Bultmann’s Demythologizing as Tnterpertative Method of Understanding the New Testament
be removed in the process. Then the Gospel (the Word of God, Jesus’ teaching) is greater than the original New Testament myths. And in the process of looking behind the myths, we discover the kerygma or proclamation, that is, the true gospel which needs to be thought about and developed in a relevant form for the contemporary world. Ridderbos correctly observes “from this existentialism Bultmann derives the actual idea that man truly exists only when he chooses his freedom in responsibility. Bultmann is also of the opinion that the judgment of human being as made by this existentialist philosophy, is in its deepest sense no other than the picture that the New Testament gives of man” (Riddebos, 1979,p.15). 4.2 His Weaknesses: Argument Against Bultmann’s Demythologizing 4.2.1 On the De-Objectification of the Historicity of the New Testament For many existentialists, it is
14 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
impossible to speak of objectivity in history, insisting on the standpoint-less of meaning of history. Since we no longer claim to know the end and goal of history, the question of meaning in history as a whole has become meaningless. Bultmann points out that each interpretation of history or an historical document is guided by certain interest, which is based on a certain preliminary understanding. Bultmann further asserts that all interpretation is guided by the interpreter’s pre-understanding; historians cannot escape their own understanding. Though Bultmann does not totally agree with existentialist’s view of history, nevertheless, those who disagree with Bultmann do conclude in their final analysis that Bultmann’s method of demythologizing New Testament absolutely destroys the historical facts and events of the New Testament. As Bultmann proposes that the historical person of Jesus was very soon turned into a myth in primi-
Jariya Sornmayura
tive Christianity, and that we cannot recover the Jesus of history, other than finding the Christ of kerygma and the divine message to human kind embedded in this Christ, Bultmann has reduced the Gospel of historical facts to mere consciousness or subjectivity. Since Bultmann did not confine himself to the quest for the historical Jesus, as Craig has observed, the meaning of the Christ event for the believer, its significance for the individual, was of crucial importance to him (Craig, 1998, p.128). Many theologians argue that Bultmann has taken too extreme a position in so doing. By underestimating the importance of objective history, Bultmann has made too many concessions to twentieth century skepticism (Edward, 1967, p.425). In fact, he creates more misunderstanding than understanding, more foes than friends in hermeneutics. Myth, according to Bultmann, appears to portray ‘objective’ events. It does not, in the understanding of the
writer, describe objective events. For example, language about the last judgment, Bultmann claims that it does not describe or make statements about a future judgment, but simply invites an attitude of human responsibility. Similarly, Bultmann declares, “To believe in the cross of Christ” does not mean to concern us with a mythical process wrought outside of our world, with an objective event and us, but rather to make the cross of Christ our own (Thiselton, 1992, pp.281-282). 4.2.2 On the Affirmation of Mythology Without Eliminating the Myth: The Ambiguity of Bultmann’s View of Myth As previously expounded, Bultmann defines the term “myth” in three different ways. It appears that Bultmann’s view of myth has several loose ends and his definition of myth is apparently ambiguous. For example, he defines the term “myth” as the use of imagery in expressing the otherworldly in terms of this world, and the divine in
ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2012/2555
15
Rudolf Bultmann’s Demythologizing as Tnterpertative Method of Understanding the New Testament
terms of human life. Though Bultmann does not want to eliminate myth other than its reinterpretation, nevertheless, he cannot be rid of the misunderstanding created by the term demythologizing with derogative connotation of the authority of the Scripture. In fact, a number of biblical scholars and linguistic philosophers insist that modern man does need myth and man is at last beginning to know and understand the value of myth in our communication as an expression of a mode of being in the world. Some, like Jung, believes that the crisis of the modern world is in great part due to the fact that the Christian symbols and myths are no longer lived by the whole human being. Karl Jaspers adds that mythical thinking is not a thing of the past, but characterizes man in any epoch. To all these opinions, Bultmann would reply that he does not wish to eliminate myth, but only to interpret it… Bultmann’s answer is not entirely clear because of
16 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
the ambiguity of his definition of myth (Thiselton, 1992, p.289). 4.2.3 On the Discrediting of Christian Faith: An Incomplete Concept of Modern View of Science and the Unwarranted Conception of Existentialist Philosophy We shall delineate this section by reflecting on Bultmann’s two pre mises of demythologizing: his conception of modern science and modern worldview, and his conception of existentialist philosophy. In reading Bultmann, we find him acting as if he represents the total community of modern science. He speaks as if the totality of modern view of the world insists that there is no miraculous intervention now, lest in the New Testament. He rejects the alleged intrusions of gods and the demons from outside. On this ground he asserts that the resurrection is just as implausible to the contemporaries of Jesus as it is to modern people. In so doing, he rejects the contents of
Jariya Sornmayura
traditional Christian faith, judging them as absurd, leading to the negation of traditional Christian beliefs: all on account of his confidence in modern science and modern worldview as he believes it. To the question, if modern science really destroyed a large number of Biblical beliefs, or if modern worldview is always against Christian beliefs like Bultmann said, Jasper answers it differently. In fact, in his writing, Myth and Religion, Jasper states that when Bultmann speaks of modern science, he uses various traditional expressions in a fairly summary way. For instance, Bultmann refers to mythical and scientific thinking as mere contraries, and concludes that scientific thinking is prefigured in operational thinking. For this, Jasper asserts that Bultmann completely misses the meaning of modern science (Jaspers, 1958, pp.7-11). In a hind view, we may conclude that the spirit of an unlimited confidence on science and the scientific knowledge of the age
override Bultmann. Bultmann apparently distrusts Biblical revelation and opts for the flimsy ground of science in the spirit of positivism. Besides, it is Bultmann’s conception of philosophy, which enables him to give existentialist interpretation to certain contents of faith. In Bultmann’s demythologizing, he calls the existential interpretation scientific philosophy that will help us to achieve a natural understanding of human existence. By doing this, he is equating existentialism with empiricism. Together with Heidegger, Bultmann shares the ambiguity by using existential terms scientifically, phenomenologically, and objectively. As Jasper states, “Existen tial analysis can never give scientific insight... (It) is never neutral in the manner of science,… never universally valid… It speaks with a sense of responsibility or moral, not for scientific correctness”. On this matter, we agree with Jasper in saying that “Bultmann’s premise is a false idea and it is not in
ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2012/2555
17
Rudolf Bultmann’s Demythologizing as Tnterpertative Method of Understanding the New Testament
any scientific advance by a scientific philosophy (Jaspers, 1958, pp.7-11). 4.2.4 On the Use of Incongruent Sources in His Method of Demythologizing It is hard to fully understand Bultmann’s hermeneutics due to his utilization of numerous sources of the movements of thought, among others, liberalism, Barth, Heidegger. Bultmann also covers several fields, such as history, religion, theology, and philosophy. Without limiting the scope of the method of demythologizing, the reader gets easily confused and lost in the midst of the incoherent materials he has presented. Bultmann and his incongruent use of sources contribute to weakness in his demythologizing method in hermeneutics and subject him to much critic. 4.2.5 On the Definition of Miracles “as a Violation of Natural Law” To define miracles as a violation of natural law, as Bultmann does, provides a hermeneutics that allows
18 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
the Gospel to be interpreted without making reference to miracles as well as the acts of God. Such a practice is not only a violation of commosense; it is an insult to human dignity and integrity, and to Christian beliefs under the Grace of God. It would be proper for us to see how some philosophers/ theologians disagree with Bultmann on the definition of miracles “as a violation of natural law.” For Christians, a miracle is more than a myth or a symbol. It is a sign, signifying the presence of God, the Holy. To eliminate or reinterpret in a way that makes it less than a miracle is unacceptable. Many people shall agree with Tillich and believe that if there is reason to think that a kind of miracle has ever occurred, then they are justified in believing that God exists. James W. Cornman says, “...people have experienced miracles. Miracles are by definition, situations in which God participates. Therefore, some people have experienced God (Cornman, 1974, p.346).
Jariya Sornmayura
For Tillich, myths are symbols of faith combined in stories about divine-human encounter. He points out that since the language of faith is the symbol, Myth is the way we mediate our deepest experiences of God. All mythological elements in the Bible, doctrine, and liturgy should be maintained in their symbolic form, not to be replaced by scientific substitute. They are the languages of faith, thus cannot and should not be interpreted. Richard Swinburne stressesprior commitment to a theistic worldview and believes in miracles. He argues for miracles and believes that miracles are possible. If this is a theistic universe, miracles are possible. Therefore, the argument on Bultmann’s demythologizing in defining the terms miracle “as violation of the natural law” is meaningless. For if there is a God who can act in the world, then it is possible to experience acts of God like miracles. Since we have already believed that God exists, the possibility of miracles follows natu-
rally. Thus the objections to miracles are really the objections to the existence of a theistic God. For the Christian view, it can be shown that there is possibility of miracles. 5. Conclusion and Personal Reflection The purpose of this article has been to analyze and examine the hermeneutical method which Bultmann used to deal with the problem of interpretation. The writer has concentrated particularly on Bultmann’s method of demythologizing by which he proposes a hermeneutical method to interpret myths in the New Testament. For Bultmann, justification is by faith, not by history; therefore the pre-scientific mystical worldview in the Bible needs to be removed. Bultmann believed that the New Testament myths, such as angels, demons, heaven, and hell etc., all need to be reinterpreted which he did existentially. For him, most of the core traditional
ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2012/2555
19
Rudolf Bultmann’s Demythologizing as Tnterpertative Method of Understanding the New Testament
beliefs of Christians, such as resurrection, are not historical, but only the faith that survives in the lives of disciples. As a postmodernist hermeneutics, Bultmann attempts to make the Bible meaningful to modern people by using existentialist interpretatio to bring mythological worldview of the Bible to modern people with a scientific worldview. This is problematic, puzzling, and unacceptable for the traditional Christian faith. Spiritually speaking, Christianity believes in the Gospel and that God has done something for us through Jesus Christ. According to Bultmann’s demythologizing, it is easy for the Christians to be disappointed with what this actually is. Bultmann has used his method of demythologizing and we, Christians, are told to understand our existence in a new way. Bultmann’s view is that the authors of the New Testament did not consider how to present their messages to audiences consisting of modern people. Bultmann’s view is
20 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
problematic for traditional (conservative) Christians who believe that the Bible is written by men (Jesus’ apostles) through God’s inspiration. Writing as a committed Christian intellectual, Asian in general and Thai in particular, Bultmann’s demythologizing is a hermeneutics in philosophical framework, but not a valuable theological work in light of its lack of common ground for Asian Christians and the Thais as well. Protestants in Asia and Thailand are mostly loose, free, and very independent in their Biblical interpretation as long as they are holding on to the unchanging truth of the Bible. Some people say that if anyone, preachers or pastors, who use Bultmann’s demythologizing in their interpretation of the Bible, will find them shut off as they will be considered destroyers of the Christian faith. บทสรุปและความเห็นของผู้เขียน วัตถุประสงค์ของบทความนี้เป็นการ วิเคราะห์และตรวจสอบวิธีการตีความหมาย
Jariya Sornmayura
ซึ่ ง บู ล ท์ ม านน์ ใ ช้ ใ นการจั ด การกั บ ปั ญ หา การตี ค วามผู้เขี ย นมุ่ง เน้ น วิ ธีก ารของเขาที่ เรียกว่า“การถอดตำนาน(ปรัมปรา)”ซึ่งเป็น วิ ธี ก ารตี ค วามเนื้ อ หาเรื่ อ งราวในพระ ธรรม (คั ม ภี ร์ ) ใหม่ สำหรั บ บู ล ท์ ม านน์ โ ลก ทัศน์มุมมองของเนื้อหาเรื่องราวในพระคัมภีร์ ในยุคก่อนยุคใหม่ (ยุคก่อนโลกยุควิทยาศาสตร์) จำเป็นต้องนำออกไปบูลท์มานน์เชื่อว่าเนื้อหา เรื่องราวในพระธรรม (คัมภีร์) ใหม่ เช่น นางฟ้า เทวดา ปีศาจ สวรรค์ นรก และอืน่ ๆ จำเป็น ต้องมีการตีความใหม่ สำหรับบูลท์มานน์ความ เชื่อเกี่ยวกับการฟื้นคืนพระชนมชีพของพระ เยซู ค ริ ส ต์ ไ ม่ ใช่ เรื่ อ งของวิ ช าประวั ติ ศ าสตร์ แต่เป็นความเชื่อที่อยู่ในชีวิตของเหล่าสาวก หรื อ ผู้ เชื่ อ บู ล ท์ ม านน์ ใ นฐานะนั ก ตี ค วามใน ยุคหลังยุคใหม่ พยายามที่จะทำให้พระคัมภีร์ มีความหมายสำหรับคนรุ่นใหม่ในยุคปัจจุบัน โดยใช้การตีความใหม่ โดยตีความเนือ้ หาเรือ่ ง ราวของพระคัมภีร์ให้เหมาะสมกับผู้คนยุคใหม่ ที่มีมุมมองโลกทัศน์ด้านวิทยาศาสตร์ และนี่ ก็เป็นประเด็นปัญหาที่คริสตชนที่มีความเชื่อ แบบดั้ ง เดิ ม ไม่ ส ามารถยอมรั บ ได้ ค ริ ส ต์ ศาสนาเชื่อในพระวรสาร (กิตติคุณ) ของพระ เยซูคริสต์และเชื่อว่าพระเจ้าทรงกระทำการ ใดๆเพื่อมนุษย์เราโดยผ่านทางพระเยซูคริสต์ สำหรั บ การตี ค วามในพระคั ม ภี ร์ ด้ ว ยวิ ธี
ถอดตำนาน (ปรัมปรา) ของบู ล ท์ ม านน์ นั้ น นั บ ว่ า เป็ น เรื่ อ งที่ ง่ า ยมากที่ ท ำให้ ค ริ ส ตชน ผิ ด หวั ง กั บ วิ ธี ก ารตี ค วามซึ่ ง เป็ น วิ ธี ก ารที่ ทำให้ เราคริ ส ตชนเข้ า ใจถึ ง การมี ชีวิต อยู่ใ น รูปแบบใหม่บูลท์มานน์มองว่าผู้เขียนพระธรรม (คัมภีร์) ใหม่ไม่ได้พิจารณาถึงวิธีการที่จะนำ เสนอเนื้ อ หาเรื่ อ งราวในพระธรรม (คั ม ภี ร์ ) ใหม่ ใ ห้ แ ก่ ค นรุ่ น ใหม่ ใ นยุ ค ปั จ จุ บั น กล่ า วได้ ว่ามุมมองของบูลท์มานน์เป็นประเด็นปัญหา สำหรับคริสตชนที่มีมุมมองแบบเก่า ซึง่ เชือ่ ว่า พระคัมภีร์เป็นหนังสือที่เขียนขึ้นโดยอัครสาวก ของพระเยซูคริสต์โดยผ่านการบันดาลใจของ พระเจ้า บทความนี้เขี ย นขึ้น โดยนั ก วิ ช าการ คริสต์ชาวเอเชียซึ่งเป็นคนไทยคนหนึ่งผู้เขียน เห็ น ว่ า วิ ธี ถ อดตำนาน (ปรั ม ปรา) ของบู ล ท์ มานน์ เ ป็ น วิ ธี ก ารในกรอบความรู้ ด้ า น ปรั ช ญาแต่ ไ ม่ เ ป็ น ผลงานทางด้ า นศาสนศาสตร์ ท่ี มี คุ ณ ค่ า เนื่ อ งจากขาดคุ ณ ค่ า ใน แง่ ข องความเชื่ อ พื้ น ฐานสำหรั บ คริ ส ตชน เ อ เชี ย แ ล ะ ค ริ ส ต ช น ไ ท ย จ ะ เ ห็ น ไ ด้ ว่ า โปรเตสแตนท์ในเอเชียและประเทศไทยส่วน ใหญ่มีเสรีภาพมากในการตีความพระคัมภีร์ ทั้ ง นี้ ก ารตี ค วามต้ อ งอยู่ ภ ายใต้ เ งื่ อ นไขที่ ว่ า จะไม่กระทบการเปลี่ยนแปลงความจริงของ เนื้อหาเรื่องราวในพระคัมภีร์ บางคนกล่าวว่า
ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2012/2555
21
Rudolf Bultmann’s Demythologizing as Tnterpertative Method of Understanding the New Testament
ผู้ใดก็ตามไม่ว่าจะเป็นนักเทศน์ ศิษยาภิบาล ถ้าใช้วิธีการถอดตำนาน (ปรัมปรา) ของบูลท์ มานน์ในการตีความพระคัมภีร์ ถือได้ว่าผู้นั้น เป็นผู้ทำลายความเชื่อของคริสตชนก็ว่าได้ References: Bartsch, Hans Werner.(ed.). Kerygma and Myth. New York : Harper &Row. 1961. Bultmann, Rudolf.Jesus Christ and Mythology. London: SCM. 1958. _________. Kerygma and Myth. New York: Harper & Row. 1961. Cavendish, Richard. Mythology:An Il lustrated Encyclopedia. New York: Barnes&Noble. 1993. Cornman, W. James & Lehrer, Keith. Philosophical Problems and Ar guments: An Introduc tion. New York: Macmillan. 1974. Craig, Edward. Routledge Encyclo pedia of Philosophy,Vol.I. London. 1998.
22 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
Edward, P.(ed.). Encyclopedia of Philosophy,Vol.I. New York : Macmillan. 1967. Jaspers, Karl& Bultmann, Rudolf. Myth and Christianity. New York: The Noondat. 1958. Klemm, David E.Hermeneutical Inquiry Vol I : The Interpreta- tion of Existence. Atlanta: Scholars. 1986. Ridderbos. Bultmann. New Jersey : Presbyterian and Reformed. 1979. Thiselton, Anthony C. The Two Horizons: New Testament Hermeneutics and Philosophical Description. Michigan: William B. Eerdmans. 1980. _________. New Horizons in Hermeneutics: The Theory and Practice of Transforming Biblical Reading. Michigan : Zondervan Publishing House. 1992.
ชีวิตและการทำพัสังกันดธกิสภาคริ จของคริสตจักรท้องถิ่นในจังหวัดเชียงใหม่ สตจักรในประเทศไทย
L
lfe and Ministry of Local Churches in Chiang Mai Belonging to the Church of Christ in Thailand
ดร.สาธนัญ บุณยเกียรติ * คณบดีวิทยาลัยคริสต์ธรรมแมคกิลวารี มหาวิทยาลัยพายัพ ศาสนาจารย์ ดร.เอสเตอร์ เวคแมน * รองอธิการบดีฝ่ายศาสนกิจและพัฒนาคุณภาพ ชีวิต วิทยาลัยคริสต์ธรรมแมคกิลวารี มหาวิทยาลัยพายัพ ศาสนาจารย์มานิตย์ มณีวงศ์ * ผู้ช่วยฝ่ายพัฒนาคุณภาพชีวิต วิทยาลัยคริสต์ธรรมแมคกิลวารี มหาวิทยาลัยพายัพ ศาสนาจารย์ ดร.ชุลีพรรณ ศรีสุนทร * อาจารย์ประจำ วิทยาลัยคริสต์ธรรมแมคกิลวารี มหาวิทยาลัยพายัพ ศาสนาจารย์ ดร.ซิน ซึง ยอม * อาจารย์ประจำ วิทยาลัยคริสต์ธรรมแมคกิลวารี มหาวิทยาลัยพายัพ นิทราพร ลัดดากรพันธุ์ * อาจารย์ประจำ วิทยาลัยคริสต์ธรรมแมคกิลวารี มหาวิทยาลัยพายัพ ประสิทธิ์ แซ่ตั้ง * อาจารย์ประจำ วิทยาลัยคริสต์ธรรมแมคกิลวารี มหาวิทยาลัยพายัพ ศศิธร แซ่ตั้ง * อาจารย์ประจำ วิทยาลัยคริสต์ธรรมแมคกิลวารี มหาวิทยาลัยพายัพ อิฏฐพล ดวงนภา * อาจารย์ประจำ วิทยาลัยคริสต์ธรรมแมคกิลวารี มหาวิทยาลัยพายัพ
Dr.Satanun Boonyakiat * Deean McGilvary College of Divinity Payap University Rev.Esther Wakeman * Vice-President, Spiritual & Community Life McGilvary College of Divinity Payap University Rev.Manit Maniwong * Assistant to the Dean for Community Life McGilvary College of Divinity Payap University Rev.Dr.Chuleepran Srisoontorn * Lecturer at McGilvary College of Divinity Payap University Rev.Dr.Sin Seung Yeom * Lecturer at McGilvary College of Divinity Payap University Nitraporn Laddakornbhand * Lecturer at McGilvary College of Divinity Payap University Prasit Saetang * Lecturer at McGilvary College of Divinity Payap University Sasitorn Saetang * Lecturer at McGilvary College of Divinity Payap University Itthaphon Duangnapha * Lecturer at McGilvary College of Divinity Payap University
ชีวิตและการทำพันธกิจของคริสตจักรท้องถิ่นในจังหวัดเชียงใหม่ สังกัดสภาคริสตจักรในประเทศไทย
บทคัดย่อ
การวิจัยนี้เป็นการวิจัยพื้นฐานมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิเคราะห์ คุ ณ ภาพชี วิ ต และการทำพั น ธกิ จ ของคริ ส ตจั ก รท้ อ งถิ่ น ในจั ง หวั ด เชียงใหม่สังกัดสภาคริสตจักรในประเทศไทย บนรากฐานพระคัมภีร์ และเทววิทยากลุ่มประชากรตัวอย่าง คือ สมาชิกของคริสตจักรท้องถิ่น ในจังหวัดเชียงใหม่ สังกัดสภาคริสตจักรในประเทศไทย จำนวนทั้งสิ้น 591 คน ซึ่งมาจาก 16 คริสตจักร รวบรวมข้อมูลโดยการทบทวนเอกสาร การใช้แบบสอบถาม การสนทนากลุ่ม และการสัมภาษณ์ผลการวิจัย พบว่าคริสตจักรท้องถิ่นในจังหวัดเชียงใหม่ สังกัดสภาคริสตจักรใน ประเทศไทยเป็ น ชุ ม ชนของผู้ ที่ เชื่ อ วางใจในพระเยซู ค ริ ส ต์ ซึ่ ง มี คุณลักษณะสอดคล้องกับคุณลักษณะคริสตจักรตามหลักคำสอนของ พระคัมภีร์และหลักเทววิทยาและดำเนินพันธกิจหลัก 5 ประการของ คริสตจักรอย่างครบถ้วน อย่างไรก็ดี คริสตจักรฯ ควรพัฒนาพันธกิจ ด้านการสร้างสาวกและการประกาศพระกิตติคุณ และควรแสวงหาแนว ทางในการตอบสนองต่อปัจจัยสำคัญ 2 ประการที่ส่งผลกระทบต่อคุณ ภาพชีวิตและการทำพันธกิจของคริสตจักร คือ 1) การที่สมาชิกคริสตจักรฯ ได้รับอิทธิพลจากค่านิยมวิถีชีวิตของผู้คนในสังคมเป็นอย่างมาก 2) การที่สมาชิกคริสตจักรฯ ขาดความเข้าใจที่ชัดเจนเกี่ยวกับคำสอน ของพระคัมภีร์และหลักเทววิทยาเรื่องคริสตจักร คำสำคัญ : 1) คริสตจักรท้องถิ่น 2) ชีวิตคริสตจักรท้องถิ่น 3) การพันธกิจของคริสตจักรท้องถิ่น 4) สภาคริสตจักรในประเทศไทย
24 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
สาธนัญ บุณยเกียรติ และคณะ
Abstract
This study is a basic research that aims to examine characteristics and ministries of the local churches in Chiang Mai belonging to the Church of Christ in Thailand on the basis of biblical and theological understanding of the church. Data are taken from 591 members of 16 local churches in Chiang Mai. Methodology consists of literature review, questionnaire, focus groups, and interview. From this research, it is found that the local churches in Chiang Mai belonging to the Church of Christ in Thailand are communities of believers whose lives reflect characteristics of the church according to the biblical and theological teaching. In addition, these churches have five basic ministries: evangelism, disciple making, fellowship, worship, and service. However, the local churches in Chiang Mai should improve ministries of evangelism and disciple making. At the same time, they should seek ways to respond to two main factors that influence life and ministries of the local churches in Chiang Mai, namely members are strongly influenced by attitudes and ways of life of other people in the society; and members do not have an accurate biblical and theological understanding of the church. Keywords : 1) Local Church. 2) Life of Local Church. 3) Ministry of Local church. 4) The Church of Christ in Thailand
ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2012/2555
25
ชีวิตและการทำพันธกิจของคริสตจักรท้องถิ่นในจังหวัดเชียงใหม่ สังกัดสภาคริสตจักรในประเทศไทย
ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา คริสตจักรเป็น “ชุมชน” ของผู้คนที่มี ความเชื่ อ ศรั ท ธาในพระเยซู ค ริ ส ต์ มี ป ระ สบการณ์ แ ละชี วิ ต ที่ ไ ด้ รั บ การเปลี่ ย นแปลง จากพระองค์ เ ป็ น ชุ ม ชนที่ บ่ ม เพาะเลี้ ย งดู เกื้อ กู ล กั น และกั น ให้ มีชีวิต ที่เจริ ญ เติ บ โตขึ้น เยีย่ งพระเยซูคริสต์มากขึน้ และเกิดผลตามพระ ประสงค์ของพระเจ้า การขับเคลื่อนชีวิตและ การทำพันธกิจของคริสตจักรท้องถิ่นไปในทิศ ทางที่ถูกต้องย่อมส่งผลต่อความเข้มแข็งของ คริ ส ตจั ก รและมี ผ ลกระทบทั้ ง ทางตรงและ ทางอ้อมต่อชุมชนสังคมที่คริสตจักรตั้งอยู่แต่ หากคริสตจักรท้องถิ่นขับเคลื่อนชีวิตและทำ พันธกิจไปในทิศทางที่ไม่ถูกต้องย่อมส่งผลให้ เกิดการชะงักงันในการเจริญเติบโตและการเกิด ผลในชีวิตของผู้คนในชุมชนคริสตจักร ในปัจจุบันคริสตจักรท้องถิ่นในสังกัด สภาคริ ส ตจั ก รในประเทศไทยได้ รั บ ผล กระทบจากกระแสโลกาภิวัตน์ บริโภคนิยม วัตถุนิยม และการบริหารจัดการคริสตจักร ตามแบบการบริหารจัดการองค์กรทั่วไปยัง ผลให้ชุมชนคริสตจักรขับเคลื่อนชีวิตและทำ พั น ธกิ จ ไปในทิ ศ ทางที่ ค ลาดเคลื่ อ นไปจาก เป้าหมายเดิมของชุมชนคริสตจักรตามรากฐาน พระคั ม ภี ร์ แ ละเทววิ ท ยาสถานการณ์ เช่ น นี้ สามารถเห็นได้โดยทั่วไป อีกทั้งสามารถเห็น ผลลัพธ์และผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อคริสตจักร
26 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
ท้องถิ่นและสภาคริสตจักรในประเทศไทยใน ภาพรวม แต่กลับพบว่า ไม่ได้มีการศึกษาวิจัย เพื่อค้นหาความจริงในเรื่องนี้อย่างเป็นระบบ และน่าเชื่อถือ ค ณ ะ ผู้ วิ จั ย จึ ง มี ค ว า ม ป ร ะ ส ง ค์ จะศึ ก ษาวิ จั ย เรื่ อ งชี วิ ต และการทำพั น ธกิ จ ของคริ ส ตจั ก รท้ อ งถิ่ น ในจั ง หวั ด เชี ย งใหม่ สังกัดสภาคริสตจักรในประเทศไทย ในปัจจุบัน เพือ่ ศึกษาว่าชีวติ และการทำพันธกิจของคริสตจักรท้องถิ่นฯ มีสภาพเป็นอย่างไรเมื่อเปรียบ เทียบกับหลักคำสอนของพระคัมภีร์และหลัก เทววิทยาเรื่องชีวิตและการทำพันธกิจคริสตจั ก รโดยหวั ง เป็ น อย่ า งยิ่ ง ว่ า ข้ อ มู ล ความรู้ ที่ จ ะได้ รั บ จากการศึ ก ษาในครั้ ง นี้ จ ะเป็ น ประโยชน์ ต่ อ การพั ฒ นาคุ ณ ภาพชี วิ ต และ การทำพั น ธกิ จ ของคริ ส ตจั ก รท้ อ งถิ่ น ใน จั ง หวั ด เชี ย งใหม่ ซึ่ ง จะเป็ น แนวทางสำหรั บ คริ ส ตจั ก รท้ อ งถิ่ น อื่ น ๆในประเทศไทยยิ่ ง กว่ า นั้ น ผลการวิ จั ย สามารถนำไปใช้ ใ นการ กำหนดนโยบายของสภาคริสตจักรในประเทศ ไทย และการกำหนดหลักสูตรกระบวนการ เรี ย นการสอนและกระบวนการพั ฒ นา นั ก ศึ ก ษาในสถาบั น คริ ส ต์ ศ าสนศาสตร์ ผู้ซ่ึง จะทำหน้ า ที่เ ป็ น ผู้น ำในการพั ฒ นาคุ ณ ภาพ ชีวิตและการทำพันธกิจของคริสตจักรท้องถิ่น ในฐานะศิษยาภิบาลและศาสนาจารย์ต่อไป
สาธนัญ บุณยเกียรติ และคณะ
วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาชีวิตและการทำพันธกิจ ของคริ ส ตจั ก รท้ อ งถิ่ น ในจั ง หวั ด เชี ย งใหม่ สังกัดสภาคริสตจักรในประเทศไทย บนรากฐาน หลักคำสอนของพระคัมภีร์และหลักเทววิทยา เรื่องชีวิตและการทำพันธกิจคริสตจักร 2 . เ พื่ อ ศึ ก ษ า ชี วิ ต แ ล ะ ก า ร ท ำ พั น ธกิ จ ของคริ ส ตจั ก รท้ อ งถิ่ น ในจั ง หวั ด เชียงใหม่ สังกัดสภาคริสตจักรในประเทศไทย ตามวัฒนธรรม และสภาพที่เป็นจริงที่ได้รับผล กระทบจากกระแสสังคมด้านต่างๆ ในปัจจุบัน 3. เพื่ อ ศึ ก ษาแนวทางปรั บ ปรุ ง ประสิทธิภาพการขับเคลื่อนชีวิตและการทำ พั น ธกิ จ ของคริ ส ตจั ก รท้ อ งถิ่ น ในจั ง หวั ด เชียงใหม่ สังกัดสภาคริสตจักรในประเทศไทย ประโยชน์ที่ได้รับ 1. ได้ ท ราบสภาพชี วิ ต และการทำ พั น ธกิ จ ของคริ ส ตจั ก รท้ อ งถิ่ น ในจั ง หวั ด เชียงใหม่ สังกัดสภาคริสตจักรในประเทศไทย เมือ่ เปรียบเทียบกับหลักคำสอนของพระคัมภีร์ และหลักเทววิทยาเรื่องชีวิตและการทำพันธกิจคริสตจักร 2. ได้ ท ราบถึ ง ประเด็ น สำคั ญ ที่ ส่ ง ผลกระทบต่ อ สภาพชี วิ ต และการทำ พั น ธกิ จ ของคริ ส ตจั ก รท้ อ งถิ่ น ในจั ง หวั ด เชียงใหม่ สังกัดสภาคริสตจักรในประเทศไทย
ในปัจจุบัน 3. มีแนวทางปรับปรุงประสิทธิภาพ การขั บ เคลื่ อ นชี วิ ต และการทำพั น ธกิ จ ของคริ ส ตจั ก รท้ อ งถิ่ น ในจั ง หวั ด เชี ย งใหม่ สังกัดสภาคริสตจักรในประเทศไทย ขอบเขตการวิจัย 1. ขอบเขตด้ า นเนื้ อ หาการวิ จั ย ครั้ ง นี้ มุ่ ง ศึ ก ษาข้ อ มู ล และความเป็ น จริ ง เกี่ ย วกั บ คุ ณ ภาพชี วิ ต และการทำพั น ธกิ จ ของคริ ส ตจั ก รท้ อ งถิ่ น ในจั ง หวั ด เชี ย งใหม่ สังกัดสภาคริสตจักรในประเทศไทย เพื่อใช้ เป็นข้อมูลในการศึกษาวิเคราะห์ถึงประสิทธิ ภาพและคุณภาพในชีวิตและการขับเคลื่อน พันธกิจของคริสตจักรท้องถิ่นบนรากฐานพระ คัมภีรแ์ ละเทววิทยาเรือ่ งชีวติ และการทำพันธกิจ ของคริสตจักร 2. ขอบเขตด้านประชากรประชากร กลุม่ ตัวอย่างในการศึกษาวิจยั ครัง้ นี้ คือ สมาชิก ของคริ ส ตจั ก รท้ อ งถิ่ น ในจั ง หวั ด เชี ย งใหม่ จำนวน 6 กลุ่ม ดังนี้ 1) คริสตจักรท้องถิ่นที่มี ประวั ติ ศ าสตร์ ย าวนานและมี ส มาชิ ก เป็ น จำนวนมาก (มีอายุมากกว่า100ปีและมีสมาชิก มากกว่า 1,000 คน) 2) คริสตจักรท้องถิน่ ในเขต เมือง 3) คริสตจักรท้องถิ่นในเขตชานเมือง 4) คริสตจักรท้องถิ่นในเขตชนบท5) คริสตจักรท้องถิ่นในเขตพื้นที่สูงชาติพันธุ์กะเหรี่ยง
ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2012/2555
27
ชีวิตและการทำพันธกิจของคริสตจักรท้องถิ่นในจังหวัดเชียงใหม่ สังกัดสภาคริสตจักรในประเทศไทย
6) คริสตจักรท้องถิ่นในเขตพื้นที่สูงชาติพันธุ์ ลาหู่ นิยามศัพท์เฉพาะ 1. คริ ส ตจั ก รท้ อ งถิ่ น ในจั ง หวั ด เชี ย งใหม่ สั ง กั ด สภาคริ ส ตจั ก รในประเทศ ไทย หมายถึง ชุมชนของผู้ที่นับถือศาสนา คริสต์นิกายโปรเตสแตนต์ ซึ่งตั้งอยู่ในเขตพื้น ที่จังหวัดเชียงใหม่ และอยู่ในสังกัดของสภา คริสตจักรในประเทศไทย ซึ่งเป็นองค์กรทาง ศาสนาคริสต์นิกายโปรเตสแตนต์ ที่รวมตัวกัน เพื่อทำพันธกิจของพระเจ้าในประเทศไทย 2. ชีวิตคริสตจักร หมายถึง คุณภาพ ชีวิตของคนในชุมชนคริสตจักร ทั้งด้านร่างกาย จิตใจ ความคิดความรู้สึก สัมพันธภาพ และจิต วิญญาณของทั้งส่วนบุคคลและส่วนรวมที่อยู่ ร่วมกันในชุมชนของผู้ที่เชื่อ 3. พันธกิจคริสตจักร หมายถึง ภาระ หน้าที่ซึ่งคริสตจักรที่ได้รับมอบหมายจากองค์ พระผู้เป็นเจ้าจึงถือเป็นกิจที่กระทำด้วยพันธะ ผูกพันกับพระองค์ วิธีการดำเนินการวิจัย 1. ประชากรกลุ่มตัวอย่างประชากร กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยครั้งนี้เป็นสมาชิกของ คริสตจักรท้องถิ่น ในจังหวัดเชียงใหม่ สังกัด สภาคริสตจักรในประเทศไทย จำนวนทั้งสิ้น
28 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
591 คน มาจาก 16 คริสตจักร ซึ่งสามารถ แยกเป็น 6 กลุ่มตามลักษณะของคริสตจักร ดังนี้ 1) คริสตจักรท้องถิ่นที่มีประวัติศาสตร์ ยาวนานและมีสาชิกเป็นจำนวนมาก (1คริสตจักร) 2) คริสตจักรท้องถิน่ ในเขตเมือง (3คริสตจักร) 3) คริสตจักรท้องถิ่นในเขตชานเมือง (3คริสตจักร) 4) คริสตจักรท้องถิน่ ในเขตชนบท (3คริสตจักร) 5) คริสตจักรท้องถิน่ ในเขตพืน้ ที่ สูงชาติพันธุ์กะเหรี่ยง (3คริสตจักร) 6) คริสต จักรท้องถิ่นในเขตพื้นที่สูงชาติพันธุ์ลาหู่ (3 คริสตจักร) 2. การเก็บรวบรวมข้อมูล 2.1 การทบทวนเอกสาร ศึกษาหลัก คำสอนของพระคัมภีร์และหลักเทววิทยาเรื่อง ชีวิตและการทำพันธกิจคริสตจักร 2.2 การใช้แบบสอบถาม 2 ชุด คือ 1) แบบสอบถามเรื่องข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับ ชี วิ ต และการทำพั น ธกิ จ ของคริ ส ตจั ก รและ 2) แบบสอบถามเรื่องความคิดเห็นเกี่ยวกับ ระดับความสำเร็จและความต้องการพัฒนา การขั บ เคลื่ อ นชี วิ ต และการทำพั น ธกิ จ ของ คริสตจักร 2.3 การสนทนากลุม่ เนือ่ งจากการวิจยั ครั้ ง นี้ ใช้ ก ระบวนการรวบรวมข้ อ มู ล แบบ ครบวงจรการสนทนากลุ่ ม จะเกิ ด ขึ้ น หลั ง จากการประมวลผลข้อมูลจากแบบสอบถาม แล้ ว โดยคณะผู้ วิ จั ย ได้ จั ด ทำประเด็ น การ
สาธนัญ บุณยเกียรติ และคณะ
สนทนากลุ่มให้สอดคล้องกับผลการประมวล ข้อมูลจากแบบสอบถามเพื่อให้กลุ่มเป้าหมาย มี ส่ว นร่ ว มในการค้ น หาสาเหตุ ข องประเด็ น ต่างๆ และทางออกที่เหมาะสมสำหรับคริสตจักรของตน 2.4 การสัมภาษณ์ ผู้วิจัยอาจดำเนิน การสัมภาษณ์สมาชิกกลุ่มบางท่านหลังจาก การสนทนากลุ่ม หากต้องการข้อมูลที่เฉพาะ เจาะจงมากขึ้น 3. การวิเคราะห์ข้อมูล 3.1 ผู้ ศึ ก ษาวิ จั ย นำข้ อ มู ล ที่ ไ ด้ จ าก การทบทวนเอกสารมาประมวลและสรุปจัด หมวดหมู่เพื่อระบุหลักคำสอนของพระคัมภีร์ และหลักเทววิทยาเรื่องชีวิตและการทำพันธกิจของคริสตจักร 3.2 ผู้ศึกษาวิจัยทำการประมวลและ วิ เ คราะห์ ข้ อ มู ล ที่ ไ ด้ จ ากแบบสอบถามการ สนทนากลุ่ม และการสัมภาษณ์บนรากฐานหลัก คำสอนของพระคัมภีร์และหลักเทววิทยาเรื่อง ชีวิตและการทำพันธกิจของคริสตจักร แนวคิ ด และทฤษฎี เ กี่ ย วกั บ เรื่ อ งชี วิ ต และ พันธกิจคริสตจักร ในพระคริ ส ตธรรมคั ม ภี ร์ ภ าษาไทย ฉบับปี ค.ศ. 1971 มีคำว่า “คริสตจักร” ปรากฏ อยู่ทั้งหมด 106 ครั้ง (สมาคมพระคริสตธรรม ไทย, 1971) โดยแปลมาจากคำว่า “เอคเคล
เซีย” ในพระคัมภีรภ์ าคพันธสัญญาใหม่ตน้ ฉบับ ภาษากรีก ซึ่งหมายถึง ชุมนุมชน การประชุม หรือ กลุม่ คน ดงั นัน้ คริสตจักรจึงไม่ใช่ตวั อาคาร หรือองค์กร แต่หมายถึง ชุมชนของผู้ที่เชื่อวาง ใจในพระเจ้ า หรื อ ผู้ ที่ มี ค วามสั ม พั น ธ์ กั บ พระเจ้า (Stanley J. Grenz, 2000: 464485) หลั ก คำสอนของพระคั ม ภี ร์ แ ละหลั ก เทววิทยาเรื่องชีวิตและการทำพันธกิจคริสตจักร สามารถพบได้ในภาพเปรียบเทียบ 4 ภาพ ที่ ผู้ เขี ย นพระคั ม ภี ร์ ภ าคพั น ธสั ญ ญาใหม่ ไ ด้ กล่าวถึงคริสตจักรรวมทั้ง “พระมหาบัญชา” และ “พระมหาบัญญัติ” ที่พระเยซูได้ประทาน ให้กับเหล่าสาวกของพระองค์ 1. ชีวิตคริสตจักร 1.1 คริ ส ตจั ก รคื อ ประชากรของ พระเจ้า (เอเฟซัส 2:19 1เปโตร 2:9) ในขณะที่ ชาวอิ ส ราเอลได้ รั บ การเลื อ กให้ เ ป็ น พล เมื อ งของพระเจ้ า ผ่ า นทางการสื บ เชื้ อ สาย ในคริสตจักร ผู้คนจากทุกเชื้อชาติได้รับการ ทรงเลื อ กให้ เ ป็ น ประชากรของพระเจ้ า ผ่ า น ทางองค์พระเยซูคริสต์ ดังนั้น ความเชื่อในพระ เยซูคริสต์จึงไม่ได้เป็นเพียงเรื่องส่วนตัวแต่เป็น เรื่องของส่วนรวม (หรือชุมชน) ด้วย ผู้เชื่อได้คืน ดีกับพระเจ้าและมีความสัมพันธ์ที่สนิทสนม กับพระองค์ ในเวลาเดียวกัน พวกเขาก็ได้คืนดี กับผูเ้ ชือ่ คนอืน่ ๆ และมีความสัมพันธ์ทส่ี นิทสนม กันด้วย (Robert J. Banks, 1994: 26) คริสต-
ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2012/2555
29
ชีวิตและการทำพันธกิจของคริสตจักรท้องถิ่นในจังหวัดเชียงใหม่ สังกัดสภาคริสตจักรในประเทศไทย
จั ก รที่ ส อดคล้ อ งกั บ พระประสงค์ ข องพระ เจ้าจะเป็นชุมชนแห่งความรักใคร่กลมเกลียว สมาชิ ก คริ ส ตจั ก รจะเป็ น ผู้ ที่ มี ค วามสั ม พั น ธ์ ที่ ใ กล้ ชิ ด กั บ พระเจ้ า และกั บ สมาชิ ก คนอื่ น ๆ ในคริสตจักร สำหรั บ คริ ส ตศาสนานิ ก ายโปรเตส แตนท์ ความเข้าใจนี้เกี่ยวข้องกับคำสอนที่ว่า ผู้ เ ชื่ อ ทุ ก คนเป็ น ปุ โ รหิ ต ของพระเจ้ า ด้ ว ย เปโตรกล่าวว่า “แต่ท่านทั้งหลายเป็นชาติที่ พระองค์ ท รงเลื อ กไว้ แ ล้ ว เป็ น พวกปุ โรหิ ต หลวงเป็ น ประชาชาติ บ ริ สุ ท ธิ์ เ ป็ น ชนชาติ ของพระเจ้าโดยเฉพาะ เพื่อให้ท่านทั้งหลาย ประกาศพระบารมีของพระองค์ ผู้ได้ทรงเรียก ท่ า นทั้ ง หลายให้ อ อกมาจากความมื ด เข้ า ไปสู่ค วามสว่ างอันมหัศจรรย์ของพระองค์” (1เปโตร 2:9) พระคัมภีร์ข้อนี้เป็นรากฐานของ หลั ก คำ ส อน เรื่ อ งก าร เ ป็ น ปุ โ ร หิ ต ข อง ผู้เชื่อทุกคน โดย มาร์ติน ลูเธอร์ ซึ่งยืนยันว่า ผู้เชื่อแต่ละคนมีศักดิ์ศรี การทรงเรียก และ สิทธิ์พิเศษจำเพาะพระพักตร์พระเจ้าเท่าเทียม กัน (David F. Wright, 1988) ด้วยเหตุนี้ คริ ส เตี ย นทุ ก คนจึ ง มี ค วามรั บ ผิ ด ชอบต่ อ พันธกิจต่างๆ ของคริสตจักร มิใช่มอบให้เป็น หน้ า ที่ ข องผู้ รั บ ใช้ เ ต็ ม เวลาเท่ า นั้ น ซึ่ ง แท้ จ ริ ง แล้ ว คริ ส ตจั ก รจะเจริ ญ ก้ า วหน้ า ไปสู่ ค วามไพบู ล ย์ ข องพระคริ ส ต์ ไ ด้ ก็ ต่ อ เมื่ อ สมาชิ ก ส่ ว นใหญ่ ใ นชุ ม ชนแห่ ง ความ
30 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
เชื่ อ ได้ มี ส่ ว นร่ ว มในการรั บ ใช้ ด้ า นต่ า งๆ ของคริ ส ตจั ก รตามความสามารถของตน (เอเฟซัส 4:11-13) 1.2 คริสตจักร คือ พระกายของ พระคริสต์ (เอเฟซัส 1:22-23 1โครินธ์ 12: 12-31) พระเยซูคริสต์ทรงเป็นศีรษะของคริสตจักรหรือพระกายนั้น (โคโลสี 1:18) ราฟ พี. มาร์ติน กล่าวว่า ภาพนี้พิสูจน์ว่าการกลับใจ มาเชื่อพระเจ้าของคริสเตียนแต่ละคน นำไปสู่ การเข้ า เป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ในชุ ม ชนของผู้ เ ชื่ อ ชี วิ ต ใหม่ ใ นพระคริ ส ต์ เ ป็ น เรื่ อ งส่ ว นบุ ค คล แต่ ต้ อ งอาศั ย ชุ ม ชนในการเอาใจใส่ เ ลี้ ย งดู ฟู ม ฟั ก ในด้ า นต่ า ง ๆ ของชี วิ ต ให้ เ ติ บ โตไปสู่ ความไพบู ล ย์ ใ นพระองค์ (เอเฟซั 4:13) การเป็ น คริ ส เตี ย นจึ ง เกี่ ย วข้ อ งกั บ การตอบ สนองของแต่ ล ะบุ ค คลและการเข้ า มาอยู่ ใ น ชุมชนของผู้เชื่อ พร้อมกับรับการบ่มเพาะชีวิต จิตวิญญาณจากชุมชนคริสตจักรด้วย (Ralph P. Martin, 1980: 15) ดังนั้น สมาชิกของ คริ ส ตจั ก รจะต้ อ งให้ พ ระเยซู ค ริ ส ต์ เ ป็ น สรณะในชีวิตอย่างแท้จริง คือ เชื่อวางใจใน พระองค์ ใ นฐานะขององค์ พ ระผู้ เ ป็ น เจ้ า ดำเนินชีวิตในทุก ๆ ด้านโดยพึ่งพาในพระองค์ มี ค วามสั ม พั น ธ์ ที่ ใ กล้ ชิ ด กั บ พระองค์ ผ่ า น ทางการอธิ ษ ฐานและการอ่ า นพระคั ม ภี ร์ และได้รับการเสริมสร้าง ฟูมฟักให้ความเชื่อ ศรัทธาเข้มแข็งและเติบโตสู่การรับใช้ในเวลา
สาธนัญ บุณยเกียรติ และคณะ
เดียวกัน ความเข้าใจนี้แสดงให้เห็นว่าสมาชิก ของคริสตจักรต้องมีความสัมพันธ์ที่ใกล้ชิดต่อ กัน พึ่งพาอาศัยและเสริมสร้างซึ่งกันและกัน และร่วมมือกันทำพันธกิจรับใช้องค์พระผู้เป็น เจ้าในชุมชนคริสตจักร และชุมชนสังคมโลก ด้วยความสมัครสมานสามัคคี แม้วา่ ผูเ้ ชือ่ แต่ละ คนจะเป็นเหมือนอวัยวะของร่างกายที่มีความ สามารถแตกต่างกัน แต่งานรับใช้ทุกอย่างใน คริสตจักรจะต้องกระทำด้วยความเป็นน้ำหนึ่ง ใจเดียวกัน เมื่อผูเ้ ชือ่ คนใดหรือกลุม่ ใดในคริสตจักรได้รับมอบหมายหน้าที่บางประการก็ไม่ได้ หมายความว่าหน้าที่เหล่านั้นเป็นของพวกเขา เท่านั้น ผู้เชื่อคนอื่นๆ ในคริสตจักรยังคงต้อง มีส่วนรับผิดชอบในหน้าที่เหล่านั้นด้วย 1.3 คริสตจักร คือ พระวิหารของ พระวิญญาณบริสุทธิ์ (1โครินธ์ 3:16-17; 6: 19-20 เอเฟซัส 2:19-22) ในพระคัมภีร์ภาค พั น ธสั ญ ญาเดิ ม พระวิ ห ารเป็ น ที่ ส ถิ ต ของ พระเจ้ า ในโลกนี้ แ ต่ ใ นพระคั ม ภี ร์ ภ าคพั น ธสัญญาใหม่ จุดศูนย์กลางของการสถิตอยู่ด้วย ของพระเจ้า คือ ชุมชนของผู้เชื่อ (Stanley J. Grenz, 2000: 467) ดังนั้น นอกจากผู้เชื่อ แต่ ล ะคนจะเป็ น วิ ห ารของพระวิ ญ ญาณ บริ สุ ท ธิ์ แ ล้ ว ชุ ม ชนขอผู้ เชื่ อ โดยรวมก็ เ ป็ น ที่ สถิ ต ของพระวิ ญ ญาณบริ สุ ท ธิ์ ด้ ว ยคริ ส ตจักรจึงได้รับฤทธิ์เดช การสอน และการทรง นำในการรับใช้จากพระวิญญาณบริสุทธิ์
(ยอห์น 14:26 กิจการฯ 1:8) (Millard J. Erickson, 1998: 1049-1050) ดังนั้น สมาชิก ของคริสตจักรแต่ละคนจะต้องเป็นผู้ที่พึ่งพา พระวิ ญ ญาณบริ สุ ท ธิ์ ใ นการดำเนิ น ชี วิ ต ประจำวัน และคริสตจักรจะต้องทำพันธกิจ ของพระเยซู ค ริ ส ต์ ต่ อ ไปในโลกนี้ โ ดยพึ่ ง พา ฤทธิ์เดชจากพระวิญญาณบริสุทธิ์ พันธกิจที่ คริ ส ตจั ก รทำจึ ง ต้ อ งสอดคล้ อ งกั บ พั น ธกิ จ ที่ พระเยซูได้ทรงกระทำเมื่อพระองค์เสด็จมา เป็นมนุษย์ 1.4 คริสตจักร คือ ครอบครัวของ พระเจ้ า ผู้ เขี ย นพระคั ม ภี ร์ ภ าคพั น ธสั ญ ญา ใหม่ เ น้ น ว่ า ครอบครั ว ในฝ่ า ยวิ ญ ญาณนี้ เ ป็ น ครอบครัวแห่งความรักและความเป็นน้ำหนึ่ง ใจเดียวกัน เปาโลยืนยันความจริงนี้หลายครั้ง ในจดหมายฝากของท่ า นอี ก ทั้ ง ยั ง กล่ า วถึ ง ผู้เชื่อคนอื่นว่าเป็น “ลูก” และ “พี่น้อง” ของท่าน (เช่น 1โครินธ์ 4:14 กาลาเทีย 4:19)ยอห์ น บั น ทึ ก ว่ า พระเยซู ต รั ส สั่ ง ให้ เหล่าสาวกรักซึ่งกันและกัน รวมทั้งอธิษฐาน เผื่อให้พวกเขาเป็นหนึ่งเดียวกัน (ยอห์น 15: 12-17; 17:20-21) ท่านเน้นเกี่ยวกับความรัก ทั้ ง ใ น พ ร ะ กิ ต ติ คุ ณ แ ล ะ จ ด ห ม า ย ฝ า ก ที่ ท่ า นเขี ย นขึ้ น และกล่ า วถึ ง ผู้ รั บ จดหมาย ของท่านโดยใช้คำว่า “ลูกทัง้ หลาย” (1 ยอห์น 2: 1, 12, 18) เปโตร กล่าวว่าชุมชนคริสเตียน คือครอบครัวของพระเจ้า (1เปโตร 4:17) และ
ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2012/2555
31
ชีวิตและการทำพันธกิจของคริสตจักรท้องถิ่นในจังหวัดเชียงใหม่ สังกัดสภาคริสตจักรในประเทศไทย
เรียกยอห์นมาระโกว่า “บุตรของข้าพเจ้า” (1เปโตร 5:13) ดังนั้น คริสตจักรจึงเป็นชุมชน ของผู้เชื่อที่อยู่รวมกันด้วยความรัก สนิทสนม และเป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกัน สมาชิกแต่ละคนใน ชุมชนจะบ่มเพาะ เลี้ยงดู เกื้อกูลกันและกัน ให้แต่ละคนมีชีวิตที่เจริญเติบโตขึ้นตามอย่าง พระเยซูคริสต์มากขึ้นทุกวัน และเกิดผลตาม พระประสงค์ของพระเจ้า 2. พันธกิจหลักของคริสตจักร จากพระมหาบัญชา (มัทธิว 28:18-20) และ พระมหาบัญญัติ (มัทธิว 22:37-39) ของ พระเยซูคริสต์ เราพบว่าพันธกิจหลักที่คริสตจักรจะต้องทำมีอย่างน้อย 5 พันธกิจ ดังนี้ (ดูเปรียบเทียบ ริค วอร์เรน, 2006) 2.1 พั น ธกิ จ การประกาศพระกิ ต ติ คุณแก่ผู้ที่ยังไม่เชื่อ ในตอนต้นของพระมหา บัญชาพระเยซูตรัสว่า “เจ้าทั้งหลายจงออกไป สั่งสอนชนทุกชาติ ให้เป็นสาวกของเรา...” (มัทธิว 28:19) ผู้ที่จะเป็นสาวกของพระเยซู คริสต์ได้ต้องเชื่อวางใจในพระองค์ก่อน ดังนั้น คริสตจักรต้องตอบสนองต่อพระมหาบัญชา ด้วยการทำพันธกิจแรก คือ การประกาศพระ กิตติคุณแก่ผู้ที่ยังไม่เชื่อ ก่อนอื่น สมาชิกของ คริสตจักรต้องเข้าใจพระกิตติคุณ หรือ ข่าว ประเสริฐเรื่องพระเยซูคริสต์ ซึ่งถือว่าเป็นแก่น แท้ของคริสตศาสนา คือความจริง 4 ประการ ที่ว่า (1)โลกนี้มีพระเจ้าผู้ทรงรักเมตตามนุษย์
32 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
(2) ความบาปทำให้มนุษย์ถูกแยกจากพระเจ้า (3) พระเยซูคริสต์ทรงช่วยมนุษย์ให้หลุดพ้น จากอำนาจความบาปและความทุ ก ข์ แ ละ (4) มนุ ษ ย์ ต้ อ งเชื่ อ วางใจในพระเยซู ค ริ ส ต์ หลั ง จากที่ ส มาชิ ก ของคริ ส ตจั ก รมี ค วามเข้ า ใจที่ชัดเจนเกี่ยวกับพระกิตติคุณแล้ว พวกเขา ต้องประกาศความจริงนีใ้ ห้กบั คนอืน่ ๆด้วยความ กระตือรืนร้นและทุ่มเท 2.2 พั น ธกิ จ การสร้ า งสาวก หรื อ การพัฒนาคุณลักษณะชีวิตสาวกแท้ของพระ เยซู ค ริ ส ต์ พั น ธกิ จ การสร้ า งสาวกนี้ ต่ อ เนื่ อ ง จากพันธกิจแรก และเป็นใจความสำคัญของ พระมหาบัญชาของพระเยซูคริสต์ คริสตจักร ไม่ เ พี ย งแต่ ไ ด้ รั บ มอบหมายให้ ป ระกาศ พระกิตติคุณแก่ผู้ที่ยังไม่เชื่อเท่านั้น แต่ต้อง พั ฒ นาชี วิ ต ของผู้ ที่ เชื่ อ แล้ ว ให้ มี คุ ณ ลั ก ษณะ ของสาวกแท้ ข องพระเยซู ค ริ ส ต์ ม ากยิ่ ง ๆ ขึ้น ไปด้ ว ยดั ง นั้น คริ ส ตจั ก รต้ อ งจั ด กิ จ กรรม ต่างๆ ที่ตอบสนองต่อพันธกิจนี้ เช่น การจัด ชั้นเรียนพระคัมภีร์สำหรับสมาชิกคริสตจักร ในวัยต่างๆ การจัดการอบรมเกีย่ วกับการพัฒนา คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของคริสเตียน และ ส่งเสริมให้สมาชิกเลี้ยงดูฟูมฟักผู้เชื่อใหม่และ เลี้ยงดูฟูมฟักซึ่งกันและกัน 2.3 พันธกิจการสามัคคีธรรม หรือ การเอาใจใส่ดูแลและเสริมสร้างชีวิตของกัน และกั น พระมหาบั ญ ชาของพระเยซู ค ริ ส ต์
สาธนัญ บุณยเกียรติ และคณะ
มีข้อความว่า “...ให้รับบัพติศมาในพระนาม แห่ ง พระบิ ด า พระบุ ต ร และพระวิ ญ ญาณ บริสุทธิ์” (มัทธิว 28:19) พิธีบัพติศมา เป็น พิธีที่ผู้เชื่อได้เข้าส่วนในการตายและการเป็น ขึ้ น มาจากความตายของพระเยซู ค ริ ส ต์ ได้ ประกาศความเชื่อของตนเองต่อสาธารณชน ในขณะเดียวกัน ผู้นั้นจะได้เข้ามาเป็นส่วนหนึ่ง ของชุมชนแห่งความเชื่อร่วมกับคริสเตียนคน อื่นๆ ดังนั้น พันธกิจหลักประการที่สามของ คริสตจักร คือ การสามัคคีธรรม หรือ การเอา ใจใส่ดูแลและเสริมสร้างชีวิตของกันและกัน กล่าวคือ คริสตจักรต้องเอื้ออำนวยให้สมาชิก ทุ ก คนในชุ ม ชนมี โ อกาสได้ ดู แ ล และเสริ ม สร้างชีวิตของกันและกันผ่านทางกิจกรรมและ กลุ่มย่อยต่างๆ เช่น คณะอนุชน คณะสตรี คณะบุรุษ กลุ่มย่อยตามบ้าน เป็นต้น 2.4 พั น ธกิ จ การนมั ส การพระเจ้ า พระเยซูตรัสว่า “จงรักพระองค์ผู้เป็นพระเจ้า ของเจ้าด้วยสุดใจสุดจิตของเจ้าและด้วยสิ้นสุด ความคิ ด ของเจ้ า นั่ น แหละเป็ น พระบั ญ ญั ติ ข้อใหญ่และข้อต้น” (มัทธิว 22:37-38) พระ มหาบั ญ ญั ติ ข้ อ แรกชี้ ใ ห้ เ ห็ น ว่ า ผู้ เ ชื่ อ ต้ อ ง แสดงออกถึ ง ความรั ก ที่ ต นมี ต่ อ พระเจ้ า ใน ทุ ก ๆด้ า นของชี วิ ต ซึ่ ง สิ่ ง นี้ คื อ หั ว ใจของการ นมั ส การพระเจ้ า ในคริ ส ตศาสนา ดั ง นั้ น คริ ส ตจั ก รจำเป็ น ต้ อ งดำเนิ น พั น ธกิ จ การ นมัสการพระเจ้าอย่างมีประสิทธิภาพ กล่าวคือ
จั ด การนมั ส การพระเจ้ า ที่ ช่ ว ยให้ ส มาชิ ก มี โอกาสสรรเสริญพระเจ้าผ่านทางคริสตศาสน พิ ธี ต่ า งๆ รวมทั้ ง ช่ ว ยให้ ส มาชิ ก เข้ า ใจความ หมายของการนมัสการที่แท้จริง นั่นคือ การมี ชีวิตที่สรรเสริญพระเจ้าผ่านทางทุกสิ่งที่ทำใน ทุกแห่งและในทุกเวลา 2.5 พั น ธกิ จ การรั บ ใช้ ผู้ ค นในสั ง คม พระมหาบัญญัติข้อที่สองมีใจความว่า “จงรัก เพื่อนบ้านเหมือนรักตนเอง” (มัทธิว 22:39) ดังนั้นคริสตจักรจำเป็นต้องส่งเสริมให้สมาชิก มีส่วนในการรับใช้ผู้คนในสังคมโดยเฉพาะผู้ที่ ขัดสน ผู้ด้อยโอกาส ถูกเอารัดเอาเปรียบ และ ถูกกดขี่ข่มเหงจากสถานการณ์และจากบุคคล ต่างๆ การรับใช้เหล่านี้ต้องมีพื้นฐานมาจาก การรักเพื่อนบ้านเหมือนรักตนเองโดยไม่มีสิ่ง ใดแอบแฝง รวมทั้งต้องเป็นการรับใช้ที่แสดง ออกเป็นการกระทำอย่างแท้จริง สรุป คริ ส ตจั ก ร หมายถึ ง ชุ ม ชนของผู้ ที่ เชื่ อ วางใจในพระเจ้ า คุ ณ ภาพชี วิ ต ของผู้ ค น ในชุ ม ชนคริ ส ตจั ก รควรสะท้ อ นคุ ณ ลั ก ษณะ 4 ประการของคริ ส ตจั ก รคื อ การเป็ น ประชากรของพระเจ้ า พระกายของพระคริ ส ต์ พระวิ ห ารของพระวิ ญ ญาณบริ สุ ท ธิ์ แ ละ ครอบครัวของพระเจ้า กล่าวคือ เป็นชุมชน ของผู้ที่ให้พระเยซูคริสต์เป็นสรณะในชีวิตและ
ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2012/2555
33
ชีวิตและการทำพันธกิจของคริสตจักรท้องถิ่นในจังหวัดเชียงใหม่ สังกัดสภาคริสตจักรในประเทศไทย
ดำเนิ น ชี วิ ต โดยพึ่ ง พาพระองค์ อ ย่ า งแท้ จ ริ ง ผู้ที่มีความสัมพันธ์ที่สนิทสนมกับพระเจ้าและ ผู้อื่นในชุมชน ผู้ที่ร่วมรับผิดชอบในพันธกิจ ต่างๆ ในชุมชนคริสตจักรและชุมชนสังคมโลก ด้วยความสมัครสมานสามัคคี และด้วยการ พึ่ ง พาฤทธิ์ เ ดชจากพระวิ ญ ญาณบริ สุ ท ธิ์ พันธกิจหลักที่คริสตจักรจะต้องทำมีอย่างน้อย 5 พันธกิจ คือ การประกาศพระกิตติคุณแก่ผู้ที่ ยังไม่เชื่อ การสร้างสาวก หรือ การพัฒนาชีวิตผู้ เชื่อให้มีคุณลักษณะของสาวกแท้ของพระเยซู คริสต์ การสามัคคีธรรม หรือ การเอาใจใส่ดูแล และเสริมสร้างชีวติ ของกันและกัน การนมัสการ พระเจ้าและการรับใช้ผู้คนในสังคม ด้วยเหตุนี้ หากคริสตจักรในปัจจุบัน มี ค วามประสงค์ จ ะเป็ น คริ ส ตจั ก รที่ เข้ ม แข็ ง และเจริญเติบโต ผูค้ นในชุมชนคริสตจักรจำเป็น จะต้องมีความเข้าใจที่ชัดเจนเกี่ยวกับคำสอน ของพระคัมภีร์และหลักเทววิทยาเรื่องคริสต จักรอีกทั้งต้องมุ่งมั่นที่จะพัฒนาคุณภาพชีวิต ของผู้ ค นในชุ ม ชนและดำเนิ น พั น ธกิ จ ต่ า งๆ ของคริ ส ตจั ก รไปในทิ ศ ทางที่ ส อดคล้ อ งกั บ พระประสงค์ ข ององค์ พ ระผู้ เ ป็ น เจ้ า อย่ า ง แท้จริง ผลการวิจัย 1. ชีวิตคริสตจักร จากการศึกษาวิจัย พบว่า คริสตจักรท้องถิ่นในจังหวัดเชียงใหม่
34 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
สังกัดสภาคริสตจักรในประเทศไทยเป็นชุมชน ของผู้ที่เชื่อวางใจในพระเยซูคริสต์ ซึ่งมีคุณภาพชีวติ สอดคล้องกับคุณลักษณะ 4 ประการ ของคริสตจักรคือการเป็นประชากรของพระ เจ้ า พระกายของพระคริ ส ต์ พ ระวิ ห ารของ พระวิ ญ ญาณบริ สุ ท ธิ์ แ ละครอบครั ว ของ พระเจ้ า กล่ า วคื อ สมาชิ ก คริ ส ตจั ก รฯ ให้ พระเยซู ค ริ ส ต์ เ ป็ น ศู น ย์ ก ลางในการดำเนิ น ชี วิ ต พึ่ ง พาในพระองค์ มี ค วามสั ม พั น ธ์ ที่ ใ กล้ ชิดกับพระเจ้าผ่านการนมัสการการอธิษฐาน และการอ่ า นพระคั ม ภี ร์ นอกจากนั้นสมาชิก คริสตจักรฯ มีความสนิทสนมกันดูแลเอาใจใส่ ซึ่ ง กั น และกั น ช่ ว ยเหลื อ กั น และกั น ในการ ดำเนินชีวิตและการทำพันธกิจในคริสตจักร และสังคม 2. การทำพันธกิจของคริสตจักรผล การวิจัยพบว่า คริสตจักรฯ ได้ดำเนินพั น ธกิ จ หลักของคริสตจักรอย่างครบถ้วนทัง้ 5 พันธกิจ คือ 1) การประกาศพระกิตติคุณ 2) การสร้าง สาวก 3) การสามั ค คี ธ รรม 4) การนมัสการ และ 5) การรั บ ใช้ ผู้ ค นในสั ง คมโดยพั น ธกิ จ ที่คริสตจักรฯ ทำได้ดีที่สุดมี 2 พันธกิจ คือ 1) การนมัสการ และ 2) การสามัคคีธรรม 1) พันธกิจการนมัสการ คริสตจักร 5 กลุ่ม จากคริสตจักรทั้งหมด 6 กลุ่ม ระบุว่า พั น ธกิ จ ที่ ค ริ ส ตจั ก รทำได้ ดี คื อ พั น ธกิ จ การนมั ส การเนื่ อ งจากคริ ส ตจั ก รฯ ได้ จั ด ให้
สาธนัญ บุณยเกียรติ และคณะ
มีการนมัสการพระเจ้าในโอกาสต่างๆ อย่าง สม่ ำ เสมอเช่ น การนมั ส การหลายรอบใน วันอาทิตย์ การนมัสการในกลุ่มย่อยระหว่าง สัปดาห์ และการนมัสการในโอกาสพิเศษอื่นๆ นอกจากนั้น สมาชิกคริสตจักรฯ ยังให้ความ สำคั ญ กั บ การนมั ส การโดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง การนมัสการที่คริสตจักรในวันอาทิตย์ 2) พันธกิจการสามัคคีธรรมคริสตจักร 4 กลุ่ม จากคริสตจักรทั้งหมด 6 กลุ่มระบุว่า พั น ธกิ จ ที่ ค ริ ส ตจั ก รทำได้ ดี คื อ พั น ธกิ จ การสามัคคีธรรมโดยคริสตจักรฯ มีกิจกรรม ต่างๆ ที่ตอบสนองต่อพันธกิจการสามัคคีธรรม เช่นการจัดให้มีกลุ่มบุรุษกลุ่มสตรี กลุ่มอนุชน หรื อ กลุ่ ม ย่อยอื่นๆนอกจากนั้นคริสตจักรฯ ที่ส มาชิ ก มี จ ำนวนไม่ ม ากอาศั ย อยู่ใ นชุ ม ชน เดียวกัน หรือเป็นญาติพี่น้องกันพบว่าสมาชิก คริ ส ตจั ก รฯ มี ค วามสั ม พั น ธ์ ที่ ใ กล้ ชิ ด กั น และมี ก ารเอาใจใส่ ช่ ว ยเหลื อ ซึ่ ง กั น และกั น เป็นอย่างดี แต่คริสตจักรท้องถิ่นที่มีสมาชิก เป็นจำนวนมาก พบว่ามีสมาชิกเพียงบางส่วน ที่เข้าร่วมกลุ่มย่อยอย่างสม่ำเสมอ แต่สมาชิก ส่วนใหญ่ยงั ไม่มสี ว่ นในพันธกิจการสามัคคีธรรม เท่าที่ควร พั น ธกิ จ ที่ ค ริ ส ตจั ก รฯ ต้ อ งพั ฒ นา มากที่สุดมี 2 พันธกิจคือ 1) การสร้างสาวกและ 2) การประกาศพระกิตติคุณ 1) พันธกิจการสร้างสาวก คริสตจักร
ทั้ ง 6 กลุ่ ม ระบุ ว่ า พั น ธกิ จ ที่ ค ริ ส ตจั ก รต้ อ ง พั ฒ น า คื อ พั น ธ กิ จ ก า ร ส ร้ า ง ส า ว ก แ ม้ คริสตจักรฯได้จัดกิจกรรมต่างๆ ที่ตอบสนอง ต่อพันธกิจดังกล่าว เช่น การนมัสการพระเจ้า ชั้นเรียนพระคัมภีร์ และกลุ่มย่อยต่างๆ แต่ ผลการวิจัยพบว่าผู้ที่เข้าร่วมกิจกรรมดังกล่าว อย่างสม่ำเสมอมีจำนวนน้อยมากเมื่อเปรียบ เทียบกับจำนวนสมาชิกทั้งหมด สถานการณ์ ดั ง กล่ า วส่ ง ผลให้ ส มาชิ ก ส่ ว นใหญ่ ข าดการ ศึกษาพระคัมภีร์อย่างเป็นระบบ ต่อเนื่อง และ ครอบคลุมเนื้อหาทั้งหมดของพระคัมภีร์ ขาด ความเข้าใจที่ชัดเจนเกี่ยวกับหลักเทววิทยาใน เรื่องต่างๆ รวมทั้งขาดทักษะในการทำพันธกิจ การเลี้ยงดูฟูมฟักซึ่งกันและกัน และขาดทักษะ ในการทำพั น ธกิ จ ด้ า นอื่ น ๆ โดยมั ก มองว่ า ผู้รับใช้พระเจ้าเต็มเวลาในคริสตจักรควรเป็น ผู้รับผิดชอบพันธกิจต่างๆ ส่วนคริสเตียนทั่วไป มีหน้าที่สนับสนุนเท่านั้น 2) พันธกิจการประกาศพระกิตติคุณ คริ ส ตจั ก ร 5 กลุ่ ม จากคริ ส ตจั ก รทั้ ง หมด 6 กลุ่ม ระบุว่าพันธกิจที่คริสตจักรต้องพัฒนา คื อ พั น ธกิ จ การประกาศพระกิ ต ติ คุ ณ แม้ คริสตจักรฯ มีกิจกรรมต่างๆ ที่ตอบสนองต่อ พันธกิจการประกาศพระกิตติคุณ แต่กิจกรรม เหล่ า นั้ น มั ก อยู่ ภ ายใต้ ค วามรั บ ผิ ด ชอบของ ผู้รับใช้พระเจ้าเต็มเวลาหรือสมาชิกบางกลุ่ม ในคริ ส ตจั ก ร และมั ก ไม่ ไ ด้ ด ำเนิ น ไปอย่ า ง
ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2012/2555
35
ชีวิตและการทำพันธกิจของคริสตจักรท้องถิ่นในจังหวัดเชียงใหม่ สังกัดสภาคริสตจักรในประเทศไทย
สม่ำเสมอ เนื่องจากสมาชิกส่วนใหญ่ไม่เห็น ความสำคัญของการประกาศกิตติคุณ และไม่รู้ ว่าจะประกาศพระกิตติคุณอย่างไร 3. ประเด็นสำคัญที่ส่งผลกระทบต่อ สภาพชีวิตและการทำพันธกิจของคริสตจักร จากการศึกษาวิจยั พบประเด็นสำคัญ 2 ประการ ที่ ส่ ง ผลกระทบต่ อ สภาพชี วิ ต และการทำ พันธกิจของคริสตจักรท้องถิน่ ในจังหวัดเชียงใหม่ สังกัดสภาคริสตจักรในประเทศไทย 1) การที่ ส มาชิ ก คริ ส ตจั ก รฯ ได้ รั บ อิ ท ธิ พ ลจากค่ า นิ ย มและวิ ถี ชี วิ ต ของผู้ ค นใน สั ง คมเป็นอย่างมาก เช่น การให้คุณค่ากับ ความสำเร็จตามกระแสบริโภคนิยมและวัตถุ นิ ย มส่ ง ผลให้ ผู้ ใ หญ่ ใ นคริ ส ตจั ก รฯให้ ค วาม สำคัญกับการทำงานหาเลี้ยงชีพมากกว่าการ เข้าร่วมกลุ่มสามัคคีธรรมและส่งผลให้เยาวชน เลื อ กเรี ย นพิ เ ศษในวั น อาทิ ต ย์ แ ทนที่ จ ะมา นมัสการพระเจ้าและศึกษาพระคัมภีร์ท่คี ริสตจั ก รการเน้ น ความเป็ น ปั จ เจกชนของสั ง คม เมืองส่งผลให้สมาชิกคริสตจักรฯ ในเขตเมือง มองข้ า มความสำคั ญ ของการทำความรู้ จั ก และพั ฒ นาความสั ม พั น ธ์ ที่ ใ กล้ ชิ ด กั บ ผู้ อื่ น การที่สมาชิกคริสตจักรฯ ต้องย้ายถิ่นฐานไป อาศัยอยู่ในเมืองเพื่อทำงานหรือศึกษา ส่งผล ให้ ส มาชิ ก เหล่ า นั้ น ไม่ ส ามารถมี ส่ ว นร่ ว มใน พันธกิจต่างๆ ของคริสตจักรฯ ได้ 2) การที่ ส มาชิ ก คริ ส ตจั ก รฯ ขาด
36 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
ความเข้ า ใจที่ ชั ด เจนเกี่ ย วกั บ คำสอนของ พระคัมภีร์และหลักเทววิทยาเรื่องคริสตจักร โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ความเข้าใจว่า คริสตจักร คือ ครอบครัวของพระเจ้าและพระกายของ พระคริ ส ต์ ซึ่ ง สมาชิ ก แต่ ล ะคนจำเป็ น ต้ อ ง มี ค วามสั ม พั น ธ์ ที่ ใ กล้ ชิ ด กั บ พระเจ้ า และกั บ ผู้ อื่ น และสมาชิ ก แต่ ล ะคนมี บ ทบาทสำคั ญ ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตและการทำพันธกิจ ของคริสตจักร ความเข้าใจที่คลาดเคลื่อนนี้ นำไปสู่ ก ารขั บ เคลื่ อ นชี วิ ต และการทำพั น ธกิจของคริสตจักรที่คลาดเคลื่อนไปจากพระ ประสงค์ขององค์พระผู้เป็นเจ้าหลายประการ เช่น ทำให้สมาชิกคริสตจักรฯ ละเลยการพัฒนา ความสัมพันธ์ที่ใกล้ชิดกับพระเจ้าผ่านทางการ ศึกษาพระคัมภีร์ ไม่ให้ความสำคัญกับการร่วม เข้ า กลุ่ ม ย่ อ ย และไม่ มี ส่ ว นร่ ว มในการทำ พันธกิจของคริสตจักรอย่างสม่ำเสมอ ข้อเสนอแนะ 1. คริสตจักรท้องถิ่นควรจัดให้มีการ ศึกษาพระคัมภีร์อย่างเป็นระบบ ต่อเนื่อง และ ครอบคลุมเนื้อหาทั้งหมดของพระคัมภีร์ และ พัฒนาให้การเทศนาในการนมัสการส่งผลให้ สมาชิกมีความเข้าใจทีช่ ดั เจนมากยิง่ ขึน้ เกีย่ วกับ คำสอนของพระคัมภีร์และหลักเทววิทยาใน เรื่องต่างๆ 2. คริ ส ตจั ก รท้ อ งถิ่ น ควรช่ ว ยให้
สาธนัญ บุณยเกียรติ และคณะ
สมาชิ ก เห็ น ความสำคั ญ ของการประกาศ พระกิตติคุณและการสร้างสาวก เสริมสร้างให้ สมาชิกมีทักษะในการประกาศพระกิตติคุณ และการเลีย้ งดูฟมู ฟักซึง่ กันและกัน และส่งเสริม ให้สมาชิกมีโอกาสประกาศพระกิตติคุณและ เข้าร่วมกลุ่มย่อยอย่างสม่ำเสมอ 3. คริ ส ตจั ก รท้ อ งถิ่ น แต่ ล ะแห่ ง ควรมี ก ารศึ ก ษาวิ จั ย เกี่ ย วกั บ สภาพความ เป็ น จริ ง ของคริ ส ตจั ก รในประเด็ น ต่ า งๆ อย่างเฉพาะเจาะจง เพื่อให้สามารถวิเคราะห์ ประเด็นปัญหาต่างๆ ได้อย่างชัดเจนและมี แนวทางที่เหมาะสมยิ่งขึ้นในการพัฒนาชีวิต และการทำพั น ธกิ จ ของคริ ส ตจั ก รอย่ า งมี ประสิทธิภาพ บรรรณานุกรม สวารัซ, คริสเตียน เอ. การพัฒนาคริสตจักร อย่างธรรมชาติ. เชียงใหม : องค์การ เพื่อการพัฒนาคริสตจักร, 2002. วอร์เรน, ริค. คริสตจักรที่เคลื่อนไปด้วย วัตถุประสงค์. กรุงเทพฯ : สถาบัน คริสเตียนศึกษาและพัฒนาคริสตจักร (ซีอีดี), 2006. พระคริสตธรรมไทย, สมาคม. พระคริสต ธรรมคัมภีร,์ ฉบับปี 1971กรุงเทพฯ : สมาคมพระคริสตธรรมไทย, 1998.
ศิลป์ชัย เชาว์เจริญรัตน์. บริหารคริสตจักร. กรุงเทพฯ : สถาบันคริสเตียนศึกษา และพัฒนาคริสตจักร (ซีอีดี). 2006. _________.หลักความเชื่อคริสเตียน และศาสนศาสตร์ระบบ. กรุงเทพฯ : สถาบันคริสเตียนศึกษา และพัฒนาคริสตจักร (ซีอีดี). 2007. Banks, Robert J. Paul’s Idea of Com- munity. Rev. ed. Peabody, MA : Hendrickson, 1994. Coenen, Lothar. “Church, Synagogue.” In New International Diction ary of New Testament Theology, ed. Colin Brown, Vol. 1. Grand Rapids, MI: Zondervan, 1986. Erickson, Millard J. Christian Theology. 2nd edition. Grand Rapids, MI : Baker Book House, 1998. Giles, Kevin. What on Earth Is the Church? An Exploration in New Testament Theology. Downers Grove, IL : InterVarsity Press, 1995. Grenz, Stanley J. Theology for the Community of God. Grand Rap ids, MI : Eerdmans, 2000.
ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2012/2555
37
ชีวิตและการทำพันธกิจของคริสตจักรท้องถิ่นในจังหวัดเชียงใหม่ สังกัดสภาคริสตจักรในประเทศไทย
Grudem, Wayne A. Systematic Theol ogy : An Introduction to Biblical Doctrine. Grand Rap- ids, MI: Zondervan, 1994. Luther, Martin. Luther’s Works. Vol. 36. American ed., ed Helmut T. Lehmann. Philadelphia : Muhlenberg Press, 1959. Martin, Ralph P. The Family and the
38 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
Fellowship: New Testament Images of the Church. Grand Rapids, MI : Eerdmans, 1980. Wright, David F. “Priesthood of All Be lievers.” In New Dictionary of Theology, eds. Sinclair B. Ferguson and David F. Wright. Downers Grove, IL: InterVarsity Press, 1988.
กระบวนการบริหารโครงการสื่อศึกษาสำหรับเด็กและเยาวชน
T
he Project Management Process of Media Education for Children and Youth
รศ.กิติมา สุรสนธิ * อาจารย์ประจำภาควิชาบริหารการสื่อสาร คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
Associate Professor Kitima Surasonthi * Lecturer at Communication Administration Faculty of Journalism and Communication Thammasat University
ศรินทิพย์ กิจสวัสดิ์ * ฆราวาสผู้รับการเจิมถวายตัว สถาบันธิดาพระราชินีมาเรีย
Sarintip Kitsawat * Consecrated Person, The Daughters of the Queenship of Mary
กระบวนการบริหารโครงการสื่อศึกษาสำหรับเด็กและเยาวชน
บทคัดย่อ
การศึกษาวิจัยเรื่อง “กระบวนการบริหารโครงการสื่อศึกษา สำหรั บ เด็ ก และเยาวชน”ของสื่ อ มวลชนคาทอลิ ก ประเทศไทย มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษากระบวนการบริหารโครงการ“สื่อศึกษา” (Media Education) สำหรับเด็กและเยาวชน 2) ศึกษาปัจจัยที่มีผล ต่อความสำเร็จในกระบวนการบริหารโครงการ“สื่อศึกษา”สำหรับ เด็กและเยาวชน และ 3) ศึกษาปัญหาและอุปสรรคในกระบวนการ บริหารโครงการ “สื่อศึกษา” สำหรับเด็กและเยาวชน ของสื่อมวลชน คาทอลิกประเทศไทย การวิจัยนี้เป็นการศึกษาโดยใช้แนวทางการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) โดยอาศัยวิธีการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก (In–depth Interview) การศึกษานี้ใช้กลุ่มตัวอย่างของผู้บริหาร สื่อมวลชนคาทอลิกประเทศไทยในระดับผู้อำนวยการ รองผู้อำนวยการ กรรมการอำนวยการ วิทยากรและเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องจำนวน 7 ท่าน นอกจากนี้เป็นกลุ่มตัวอย่างผู้บริหารโรงเรียนในสังกัดสภาการศึกษา คาทอลิกแห่งประเทศไทย จำนวน 5 ท่านรวมทั้งศึกษาจากเอกสาร ที่เกี่ยวข้องผลการวิจัยพบว่า 1. กระบวนการบริ ห ารโครงการสื่ อ ศึ ก ษาสำหรั บ เด็ ก และ เยาวชนของสื่อมวลชนคาทอลิกประเทศไทย ได้รับนโยบายจากสมณ สภาสื่ อ สารสั ง คมแห่ ง สั น ตะสำนั ก ให้ ด ำเนิ น การเรื่ อ งนี้ อ ย่ า งจริ ง จั ง โดยส่ ง เสริ ม ให้ ส มาชิ ก ของพระศาสนจั ก รรู้ เ ท่ า ทั น สื่ อ และให้ ค วาม สำคัญกับเรื่องสื่อศึกษา สภาพระสังฆราชคาทอลิกแห่งประเทศไทย ได้กำหนดแผนอภิบาลคริสต์ศักราช 2010-2015 มีวัตถุประสงค์ เพื่อ ส่ ง เสริ ม สนั บ สนุ น ให้ เ ด็ ก และเยาวชนบริ โ ภคสื่ อ อย่ า งรู้ เ ท่ า ทั น มี วิจารณญาณและสามารถใช้สื่อมวลชนได้อย่างสร้างสรรค์รวมทั้งให้ ความสำคัญต่อกลุ่มเป้าหมายซึ่งส่วนมากเป็นเด็กและเยาวชน โดยใช้ กลยุทธ์การทำงานเป็นเครือข่าย และใช้เครือข่ายเป็นตัวขับเคลื่อน โครงการ ด้วยวิธีการจัดอบรมให้ผู้บริหาร ครู และผู้ปกครองเพื่อให้
40 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
กิติมา สุรสนธิ และศรินทิพย์ กิจสวัสดิ์
ขยายผลต่อไปยังเด็ก 2. จากความเชื่อและคำสอนของพระศาสนจักรคาทอลิกที่ว่า เด็กและเยาวชนเป็นของขวัญจากพระเจ้าจึงควรให้การศึกษาอบรม ทางด้านร่างกายและเสริมคุณค่าแห่งชีวิตฝ่ายจิต การรับรู้ในภารกิจ ดังกล่าว เป็นปัจจัยสำคัญที่ก่อให้เกิดพลังในการขับเคลื่อนให้โครงการ สือ่ ศึกษาดำเนินต่อไป นอกจากนี ้ บคุ ลากรทีเ่ ป็นคณะกรรมการสือ่ ศึกษา ต่างเป็นผู้ทรงคุณวุฒิที่เป็นทั้งนักวิชาการด้านสื่อสารมวลชน และมี ประสบการณ์การทำงานมาอย่างยาวนาน ซึ่งเป็นจุดได้เปรียบในการใช้ ผู้ทรงคุณวุฒิเหล่านี้ในการให้แนวคิด และทิศทางในการทำงาน เพื่อให้ งานดำเนินไปได้อย่างมีประสิทธิผล โดยได้รับการสนับสนุนทางด้าน งบประมาณ หลักสูตร และวิทยากร จากหน่วยงานด้านสื่อมวลชนใน ระดับสากล และเครือข่ายภาคีดา้ นสือ่ ศึกษาทีม่ กี ารประสานความร่วมมือ กันอย่างจริงจังและต่อเนื่อง ซึ่งเครือข่ายดังกล่าวจะเป็นดังพลังในการ ขับเคลื่อนงานสื่อศึกษาได้อย่างดี นอกจากนี้แล้ว สื่อต่างๆ ทั้งสิ่งพิมพ์ วิทยุ โทรทัศน์ และอินเทอร์เน็ต ซึ่งเป็นสื่อที่อยู่ในมือของสื่อมวลชน คาทอลิกฯ และมุ่งไปสู่กลุ่มเป้าหมายโดยตรง จะเป็นเครื่องมือที่ดีเยี่ยม ในการเผยแพร่ข้อมูลเรื่องสื่อศึกษา และการประชาสัมพันธ์โครงการ นอกนั้นสภาการศึกษาคาทอลิกแห่งประเทศไทย เป็นหน่วยงานหนึ่งที่ ได้ร่วมโครงการนี้ ซึ่งมีความพร้อมและต้องการให้สื่อศึกษาเกิดขึ้นใน โรงเรียนคาทอลิกอย่างจริงจัง เนื่องจากได้กำหนดให้สื่อศึกษาเป็น อัตลักษณ์การศึกษาคาทอลิก 3. การทำงานในระดับองค์กรนั้น การสื่อสารที่ดีและถูกต้องจะ ช่วยสร้างความเข้าใจ สร้างความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและองค์กรรวมทัง้ สร้าง บรรยายากาศแห่งความสำเร็จของการทำงาน สือ่ มวลชนคาทอลิกฯ มีปญั หาใน เรื่องการสื่อสารที่ไม่ตรงกันในเรื่องสื่อศึกษา ทำให้การดำเนินการใน เรือ่ งต่างๆมีทศิ ทางไม่ชดั เจนอันส่งผลกระทบทัง้ ในเรือ่ งงบประมาณและบุคลากร กลายเป็นปัญหาทีต่ อ่ เนือ่ งมายังการบริหารจัดการในเรือ่ งต่างๆ ของโครงการ
ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2012/2555
41
กระบวนการบริหารโครงการสื่อศึกษาสำหรับเด็กและเยาวชน
สื่ อ ศึ ก ษาเช่ น การเขี ย นโครงการที่ ไ ม่ มี ค วามชั ด เจนและขาดองค์ ประกอบต่ า งๆของการกระบวนการบริ ห ารจั ด การ นอกจากนี้ ยั ง ส่ ง ผลกระทบไปยั ง กลุ่ ม เป้ า หมายหลั ก คื อ โรงเรี ย นในสั ง กั ด สภา การศึกษาคาทอลิกแห่งประเทศไทย ที่ไม่เห็นภาพงานด้านสื่อศึกษา ของสื่อมวลชนคาทอลิกแห่งประเทศไทย ฉะนั้นการประสานความร่วม มือกันในการดำเนินการทั้งจากสภาการศึกษาคาทอลิกฯ สื่อมวลชน คาทอลิกฯ และการร่วมมือกับเครือข่ายภาคีสื่อศึกษาจะช่วยลดทอน ปัญหาทั้งเรื่องของบุคลากรและงบประมาณแต่กลับจะได้พลังประสบ การณ์ในการทำงานที่แตกต่างกันไปของแต่ละองค์กรในกลุ่มเครือข่าย ส่งผลให้งานสื่อศึกษาจะสามารถดำเนินการได้อย่างเป็นรูปธรรมเกิด ประสิทธิภาพแก่กลุ่มเป้าหมายอย่างมีประสิทธิผล คำสำคัญ : 1) กระบวนการบริหารโครงการ 2) สื่อศึกษา 3) เด็กและเยาวชน Abstract
The research study on “The Project Management Process of Media Education For Children and Youth” of the Catholic Social Communications of Thailand has the following purposes: 1) to study the project management process of “media education” for the children and youth of the Catholic Social Communications of Thailand; 2) to study the factors that lead to the success in the project management process of ‘media education’ for children and youth of the Catholic Social Communications of Thailand; and 3) to study the problems and hindrances in the project management process of ‘media education’ for the
42 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
กิติมา สุรสนธิ และศรินทิพย์ กิจสวัสดิ์
children and youth of the Catholic Social Communications of Thailand. This study applies the qualitative research method using in-depth interview. The study used group sampling of 7 people, involving the administrators of the Catholic Social Communications of Thailand at the level of manager, assistant manager, management committee members, trainers, and related staff members. Aside from these, there was another group sampling of 5 administrators of schools included in the Catholic Education Council of Thailand. There was also the study of related documents. The following are the findings of the study: The project management process of media education for children and youth of the Catholic Social Communications of Thailand is a policy of the Pontifical Council for Social Communications to be followed earnestly. The Catholic Bishops Conference of Thailand specifies in its five year plan from 2010 – 2015 that the members of the Church should be up-to-date with the media, and should give importance to media education, with the purpose to promote and encourage the children and youth to be media-cognizant, possessing critical judgment and creativ ity in the use of the media. The strategy of net-working is being applied, with this acting as the prime-mover of the project, by organizing formation seminars for the administrators and teachers in order to have multiplying effect to the children.
ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2012/2555
43
กระบวนการบริหารโครงการสื่อศึกษาสำหรับเด็กและเยาวชน
From the belief of the Catholic Church that the children and youth are the gifts of God, it is therefore just and proper to form their bodies and enrich their spirits. Acknowledging this mission is an important factor in order to have the driving-force to propel the project on media education. Aside from this, the personnel, who are commission members of media education, are all qualified people and academics in this field; they had long work-experience, which is an advantage when getting them to give ideas and directions in the work, so that this will proceed efficiently, complete with budgetary support , curriculum and experts from international social communications group, and from the media education network which has efficient and continuous coordination. This network is the propelling force that drives the media education work. Aside from this, other kinds of media of the Catholic Social Communications, which are the tools to reach the target groups directly, are the best means to disseminate data about media education and publicize the project. The Catholic Education Council of Thailand is the group that is prepared and that wants that this media education is truly present in the Catholic schools, because this is the identity of Catholic education. Working at the organization level, good and proper communication helps create understanding and relationship among the personnel. It also creates an atmosphere of success in the work. The Catholic Social Communications of Thailand has a problem in the communication of
44 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
กิติมา สุรสนธิ และศรินทิพย์ กิจสวัสดิ์
ideas about media education, making the implementation of various initiatives unclear in its directions. This affects the budget, the personnel, along with the management process of other matters of the media education project which lack the various elements of the process. This also affects the main sample group, the schools under the Catholic Education Council of Thailand who do not see the work profile on media education of the Catholic Social Communications of Thailand.Therefore, cooperation in the work process among the Catholic Education Council of Thailand, the Catholic Social Communications of Thailand, and the network on media education, will greatly reduce the problem of personnel and budget and become a strength in the work. The different experiences of the organizations in the media education network will help make this concrete and effective to the target group. Keywords : 1) The Project Management Process 2) Media Education 3) Children and Youth
ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2012/2555
45
กระบวนการบริหารโครงการสื่อศึกษาสำหรับเด็กและเยาวชน
ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา โลกทุ ก วั น นี้ สื่ อ มวลชนเข้ า มามี บทบาทสำคัญเป็นอย่างยิ่งต่อการดำเนินชีวิต ประจำวันของมนุษย์ในทุกมิติของสังคมและ ส่งอิทธิพลอย่างมากต่อการสร้างทัศนคติและ กำหนดค่านิยมในวิถีชีวิตของมนุษย์ โดยที่ ไม่ ส ามารถสกั ด กั้ น ได้ จ ากพลั ง อำนาจของ สื่อต่างๆ ที่เข้าถึงตัวมนุษย์นี้ ส่งผลทำให้เกิด แรงจูงใจหรือชี้นำทัศนคติและพฤติกรรมไป ตามที่สื่อได้นำเสนอ อันส่งผลต่อพฤติกรรมที่ ไม่ พึ ง ประสงค์ตามมาจึงส่งผลให้สื่อมวลชน ถู ก กล่ า วหาว่ า เป็ น สาเหตุ ข องความตกต่ ำ และความเสื่ อ มถอยของศี ล ธรรม (พระ สันตะปาปาเบเนดิกต์ที่ 161 , 2550) ซึง่ เกีย่ วกับ เรื่องนี้สื่อมวลชนเองเห็นว่าเป็นการกล่าวโทษ สื่ อ มวลชนแง่ ร้ า ยเพี ย งฝ่ า ยเดี ย วมากเกิ น ไป จึ ง ได้ ชี้ แ นวคิ ด ทฤษฎี ผ ลกระทบของ สื่อมวลชนอย่างจำกัด (Limited Effect) ที่ อธิ บ ายว่ า ผลของสื่ อ มวลชนที่ มี ต่ อ บุ ค คล ในสังคมนั้นจะเป็นเพียงปัจจัยหนึ่งในหลาย ปั จ จั ย ที่ มี ผ ล ต่ อ พ ฤ ติ ก ร ร ม ข อ ง บุ ค ค ล เท่านั้น จากอดี ต ที่ ผ่ า นมาการศึ ก ษาวิ จั ย 1
มั ก มุ่ ง ศึ ก ษาเกี่ ย วกั บ ผลกระทบของสื่ อ มวลชนที่มีต่อเด็กและเยาวชนเป็นส่วนใหญ่ ทั้ ง นี้ เนื่ อ งจากเด็ ก และเยาวชนเป็ น กลุ่ ม ผู้รับสารที่ยังขาดความรู้ ประสบการณ์ และ วิจารณญาณรวมทั้งขาดวุฒิภาวะในการเปิด รับข้อมูลข่าวสาร ทำให้ตกเป็นเหยื่อของการ ชักจูงโน้มน้าวใจในการสื่อสารของสื่อมวลชน ซึ่ ง สอดคล้ อ งกั บ การศึ ก ษาพฤติ ก รรมของ วัยรุ่นไทย ในมิติวัฒนธรรม ปัจจุบันพบว่าอยู่ใน ภาวะวิกฤต และที่น่าวิตกเป็นอย่างยิ่ง การมี พฤติกรรมที่ขาดความรับผิดชอบ ขาดจิตสำนึก ในสิ่ ง ชั่ ว ดี ห มกมุ่ น ในสิ่ ง ที่ ชั่ ว ร้ า ยทั้ ง ปวงซึ่ ง พฤติ ก รรมเหล่ า นี้ ล้ ว นเกิ ด มาจากการ บริโภคสื่อโดยขาดวิจารณญาณ ขาดความ รอบคอบและไม่ รู้ เ ท่ า ทั น จนเกิ ด การซึ ม ซั บ ที่สุดเป็นการลอกเลียนแบบ (อมรวิชช์ นาคร ทรรพ, 2550) แม้ ว่ า สื่ อ มวลชนมี ห น้ า ที่ ใ ห้ ข้ อ มู ล ข่ า วสารขณะเดี ย วกั น ก็ มี ส่ ว นในการ ชี้ น ำสั ง คมปั ญ หาต่ า งๆจึ ง เกิ ด อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง มาเป็ น ระยะเวลานาน และดู เ หมื อ นจะทวี ความรุนแรงขึ้นเรื่อยๆตามลำดับ ภาพสะท้อน ดังกล่าว เป็นการตอกย้ำว่า “สื่อ” เป็นแรง กระตุ้ น และยั่ ว ยุ ใ ห้ เ ด็ ก และเยาวชนเกิ ด
ดำรงตำแหน่งประมุขพระศาสนจักรโรมันคาทอลิก ตั้งแต่ ค.ศ.2005 จนถึงปัจจุบัน
46 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
กิติมา สุรสนธิ และศรินทิพย์ กิจสวัสดิ์
พฤติกรรมการใช้ความรุนแรงและลอกเลียน แบบฉะนั้ น หลายหน่ ว ยงาน หลายองค์ ก ร ไ ด้ เ กิ ด ค ว า ม ต ร ะ ห นั ก ถึ ง ส ภ า พ ซึ่ ง ไ ม่ สามารถจะหยุ ด ยั้ ง หรื อ สกั ด กั้ น การบริ โ ภค สื่ อ ก า ร ใช้ สื่ อ ข อ ง เ ย า ว ช น เ ห ล่ า นี้ ไ ด้ จึ ง หั น กลั บ มามองว่ า ควรหาวิ ธี ก ารที่ จ ะทำ ให้เขาบริโภคสื่อเหล่านี้ได้อย่างมีวิจารณญาณ แยกแยะ และรู้เท่าทัน การเสนอทางออกของปัญหาจากสื่อ นั้ น เริ่ ม แพร่ ห ลายในแวดวงวิ ช าการด้ า นสื่ อ สารมวลชน คือ สื่อศึกษา (Media Education) หรือการรู้เท่าทันสื่อ (Media Literacy) ซึ่งทุกวันนี้เป็นวิชาหนึ่งในหลักสูตรของการ ศึกษาทางด้านนิเทศศาสตร์และการสื่อสาร ในหลายประเทศ การรู้ เ ท่ า ทั น สื่ อ นอกจาก จะทำให้ รู้ จั ก แยกแยะประเด็ น ข้ อ เท็ จ จริ ง ออกจากความคิดเห็นหรือเรื่องไร้สาระแล้ว ยังช่วยให้ก้าวทันเกมหรือรู้เล่ห์เหลี่ยมชั้นเชิง ของกลุ่มประโยชน์ในสังคมด้วย เพราะเท่า กั บ ทำให้ ผู้ บ ริ โ ภคมี ท างเลื อ กมากขึ้ น ใน การตีความสารต่างๆ อันจะนำไปสู่อำนาจใน การควบคุมความเชื่อและพฤติกรรมส่วนตัว ด้วย (อัศวิน เนตรโพธิ์แก้ว, 2549) พระศาสนจักรคาทอลิกได้ให้ความ
สนใจ และศึ ก ษาถึ ง ความก้ า วหน้ า ของ เทคโนโลยี ก ารสื่ อ สารที่ พั ฒ นาไปอย่ า งรวด เร็ ว อยู่ ต ลอดเวลาจึ ง พยายามแนะแนวทาง ชี้ให้เห็นผลกระทบต่างๆ ที่จะเกิดขึ้นต่อสังคม และต่ อ ศี ล ธรรมอั น ดี ข องเยาวชนในการ ประชุ ม สั ง คายนาวาติ กั น ที่ 2 2 มี เ อกสาร ประกอบการประชุ ม ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ เรื่ อ งสื่ อ สารมวลชนใช้ ชื่ อ ว่ า “Inter Merifica” (เครื่ อ งมื อ แห่ ง สื่ อ สารมวลชน) ที่ ก ล่ า วถึ ง ปัญหาสำคัญๆ ที่เกี่ยวกับการใช้สื่อมวลชนใน ทางที่ อ าจก่ อ ให้ เ กิ ด ความหายนะต่ อ มวล มนุ ษ ยชาติ แ ต่ ห ากใช้ เ ครื่ อ งมื อ เหล่ า นี้ อย่างถูกต้องย่อมอำนวยประโยชน์มหาศาล แก่ ม วลมนุ ษ ยชาติ เช่ น กั น ดั ง นั้ น สมาชิ ก ของ พระศาสนจั ก รควรรั บ รู้ เข้ า ใจและรู้ จั ก ใช้ สื่อสารมวลชนอย่างรอบคอบ ปี ค.ศ.1972 พระสันตะปาปา เปาโล ที่ 6 ได้ออกสมณสาสน์ “Communio et Progressio”(เอกภาพและ ความก้ า วหน้ า ) เนื้ อ หาบอกถึ ง ความเจริ ญ ก้าวหน้าของเทคโนโลยีที่เข้ามามีส่วนร่วมใน ชีวิตประจำวัน มีอิทธิพลต่อมนุษย์ทั้งในด้าน ความคิด และวิถชี วี ติ อย่างลึกซึง้ ความก้าวหน้า และความรวดเร็วของสื่อมวลชนนั้น อาจก่อให้ เกิดความสับสนวุ่นวาย จึงควรคำนึงถึงผลที่จะ
2
สังคายนาวาติกันครั้งที่ 2 เป็นการประชุมสังคายนาครั้งล่าสุดของศาสนาคริสต์ นิกายโรมันคาทอลิก จัดขึ้นที่นครรัฐ วาติกัน ระหว่างปี ค.ศ.1962-1965 โดยพระสันตะปาปา ยอห์นที่ 23 ทรงเรียกประชุมมุขนายกทั่วโลกกว่า 3,000 องค์ รวมทั้งผู้แทนบาทหลวง นักบวช ฆราวาส และผู้เชี่ยวชาญแขนงต่างๆ เข้าร่วมเป็นที่ปรึกษาและสังเกตการณ์โดยมี จุดมุ่งหมายเพื่อปฏิรูปคำสอนและวิถีปฏิบัติของศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิกให้ทันยุคสมัยปัจจุบัน
ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2012/2555
47
กระบวนการบริหารโครงการสื่อศึกษาสำหรับเด็กและเยาวชน
เกิดขึน้ ต่อไปทางสังคมศีลธรรมต่อเยาวชนทุกคน จึ ง ต้ อ งตระหนั ก ถึ ง หน้ า ที่ ค วามรั บ ผิ ด ชอบ ร่วมกันรวมทั้งผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการผลิต สื่อด้วย ยิ่งต้องมีความรับผิดชอบอย่างยิ่ง ในปีค.ศ.1991 สมเด็จพระสันตะปาปา ยอห์นปอลที่ 2 ได้ออกสมณสาสน์“Aetatis Novae” (โลกยุคใหม่)3 เพื่อให้คำแนะนำแก่ บาทหลวง นักบวช และฆราวาสทุกคนด้านการ อภิบาลสัตบุรุษ โดยจะต้องนำเอาสื่อมวลชน ไปใช้เป็นเครื่องมือหรือเป็นส่วนหนึ่งในการ ทำงานเพราะโลกแห่ ง การติ ด ต่ อ สื่ อ สารใน ยุคนี้ทำให้ประสบการณ์ของมนุษยชาติกลาย เป็นประสบการณ์แห่งสื่อสารมวลชนเครื่อง มือเหล่านีย้ งั ประโยชน์ให้กบั การทำงานได้อย่าง ดีเยี่ยม หากนำมาใช้ในการทำงาน พระศาสนจักรคาทอลิกจึงพยายาม ปลุกจิตสำนึกและความรับผิดชอบให้แก่ทุก คนทุ ก กลุ่ ม ในสั ง คมโดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง ผู้ ที่ มี ส่ ว นเกี่ ย วข้ อ งในการผลิ ต ข้ อ มู ล ข่ า วสาร รวมทั้งสื่อต่างๆ ที่จะมีอิทธิพลต่อการรับรู้และ พฤติกรรมของเยาวชน โดยให้แนวคิดหลักว่า “การสร้ า งความเป็ น หนึ่ ง เดี ย วของมนุ ษ ย ชาติเป็นหน้าที่หลักของการสื่อสารมวลชน” 3 4 5
(พระสันตะปาปา เปาโล ที่ 64 ,1992, จุมพล รอดคำดี, 2552 ) และเพื่อช่วยให้สิ่งที่กล่าว ไปแล้วนั้นเป็นจริงได้ พระศาสนจักรคาทอลิก จึงได้ส่งเสริม สนับสนุน โดยระบุไว้ชัดเจนว่า ควรจัด “สื่อศึกษา” โดยผ่านทางโรงเรียนและ โครงการอบรมต่างๆ ดังนั้น สถาบันและหน่วย งานของพระศาสนจักรคาทอลิก ถือเป็นหน้าที่ สำคั ญ ที่ จ ะต้ อ งร่ ว มมื อ กั น เพื่ อ ให้ ส มาชิ ก ของพระศาสนจักรได้รับการฝึกอบรม การรับ และใช้ สื่ อ มวลชนอย่ า งมี วิ จ ารณญาณ และ มีประสิทธิภาพในทำนองเดียวกันผู้ปกครอง ต้ อ งฝึ ก ฝนตนเองให้ ส ามารถเป็ น ผู้ มี ค วามรู้ เป็นตัวอย่างในการใช้สอ่ื มวลชนอย่างชาญฉลาด เพื่อช่วยให้ลูกๆ ได้เรียนรู้คุณค่า และการใช้ สื่อมวลชนได้อย่างรู้เท่าทัน(พระสันตะปาปา ยอห์น ปอลที่ 2, 2000) สื่อมวลชนคาทอลิกประเทศไทยเป็น หน่ ว ยงานที่ อ ยู่ ใ นกรรมาธิ ก ารฝ่ า ยสื่ อ สาร สังคมรับนโยบายจากสมณสภาสื่อสารสังคม (Pontifical Council for Social Communi cations)5 สำนักวาติกันดำเนินงานภายใต้สภา ประมุขบาทหลวงโรมันคาทอลิกแห่งประเทศ ไทย ได้ตระหนักถึงบทบาทหน้าที่ของตนใน
สมณสาสน์ Aetatis Novae ออกโอกาสครบ 20 ปี แห่งสมณสาสน์ “Communio et Progressio” ดำรงตำแหน่งประมุขพระศาสนจักรคาทอลิกระหว่าง ค.ศ. 1963 - 1978 พระศาสนจักรโรมันคาทอลิก จัดระบบการบริหารจัดการภายใต้การปกครองของสมเด็จพระสันตะปาปา(มุขนายกแห่ง โรม)ซึ่งแบ่งการบริหารภายใต้กระทรวง(สมณกระทรวง)ต่างๆ สมณสภาสื่อสารสังคม เป็นหน่วยงานที่พระสันตะปาปา แต่งตั้งขึ้นเพื่อรับผิดชอบงานด้านสื่อสารมวลชนในภูมิภาคต่างๆ
48 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
กิติมา สุรสนธิ และศรินทิพย์ กิจสวัสดิ์
ฐานะสื่อของพระศาสนจักรคาทอลิก และเห็น ว่าสื่อมวลชนส่งผลกระทบต่อพฤติกรรมและ การลอกเลี ย นแบบสื่ อ ของบรรดาเยาวชน เช่นกันจึงได้รับนโยบายดังกล่าวมาดำเนินการ พยายามจั ด โครงการ “สื่ อ ศึ ก ษา” (Media Education) โดยแบ่ ง กิ จ กรรมออกเป็ น 3 รูปแบบคือ 1) พิธีมอบรางวัลสื่อมวลชนดีเด่น ดำเนินการมาอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ ปี ค.ศ.1979 2) การสัมมนาสามเณรที่กำลังอยู่ในช่วงการ ฝึ ก อบรมเพื่ อ เตรี ย มตั ว เป็ น บาทหลวง 6 ดำเนินการตั้งแต่ปีค.ศ. 1993 จนถึงปัจจุบัน และ 3) การให้การอบรมเรื่องสื่อศึกษาให้กับ บุ ค ลากรภายในและภายนอกองค์ ก รคาทอ ลิกมาตั้งแต่ปี ค.ศ. 1997 โดยเฉพาะอย่าง ยิ่ ง ในสถานศึ ก ษาคาทอลิ ก ทั่ ว ประเทศเห็ น ได้ว่าโครงการดังกล่าวได้ดำเนินการมาอย่าง ต่ อ เนื่ อ งโดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง ในกิ จ กรรม ที่ 3 นั้ น มี ค วามสำคั ญ อย่ า งยิ่ ง มี เ ป้ า หมาย เพื่ อ สร้ า งภู มิ คุ้ ม กั น หรื อ ฉี ด วั ค ซี น ให้ กั บ เยาวชนให้ ส ามารถรู้ เ ท่ า ทั น สื่ อ สามารถ แยกแยะวิเคราะห์และเข้าใจสื่อจนสามารถใช้ สื่ อ ได้ อ ย่ า งสร้ า งสรรค์ และเกิ ด ประโยชน์ ต่ อ สั ง คมกระบวนการดั ง กล่ า วจะสามารถ ต่ อ ยอดและขยายผลไปสู่ อี ก หลายส่ ว นของ
สังคมได้ จำเป็นอย่างยิ่งที่องค์กรต่างๆ จะต้อง ร่ ว มมื อ กั น ทั้ ง กระบวนการและเป็ น ระบบ ตั้งแต่ระดับผู้ปกครอง ผู้บริหาร ครู โดยอาศัย ความร่ ว มมื อ ของสมาชิ ก ในสั ง คมโดยรวม เพื่อให้เกิดผลอย่างต่อเนื่อง จากความสำคัญของปัญหาดังกล่าว ผู้ วิ จั ย จึ ง เห็ น ความสำคั ญ และความจำเป็ น เร่งด่วนที่จะแสวงหาแนวทางที่เหมาะสมที่สุด ในการสร้ า งกระบวนการภู มิ คุ้ ม กั น ของเด็ ก และเยาวชนผ่านกระบวนการ“สื่อศึกษา”ของ สื่อมวลชนคาทอลิกประเทศไทยที่ดำเนินการ มากว่า 10 ปีวา่ มีกระบวนการบริหารโครงการ สื่อศึกษาเป็นอย่างไรมีปัจจัยใดบ้างที่ส่งผลต่อ ความสำเร็ จ มี ปั ญ หาและอุ ป สรรคอะไรใน กระบวนการบริหารโครงการดังกล่าวทั้งนี้เพื่อ จะสามารถนำมาใช้ในการปรับปรุงแก้ไขและ จัดทำแผนพัฒนาเชิงกลยุทธ์ทเ่ี ป็นมาตรฐานเพือ่ ให้บรรลุเป้าหมายและเกิดประสิทธิผลสูงสุด วัตถุประสงค์ในการศึกษา 1. เพื่ อ ศึ ก ษากระบวนการบริ ห าร โครงการ “สื่อศึกษา” (Media Education) สำหรับเด็กและเยาวชนของสือ่ มวลชนคาทอลิก ประเทศไทย
6
บาทหลวง หรือคริสตชนจะเรียกว่า พระสงฆ์ คือผู้ที่รับศีลบวชตามจารีตพิธี และทำหน้าที่ภายใต้เขตรับผิดชอบที่ขึ้นตรง ต่อมุขนายกประจำเขตปกครองนั้น
ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2012/2555
49
กระบวนการบริหารโครงการสื่อศึกษาสำหรับเด็กและเยาวชน
2. เพื่ อ ศึ ก ษาปั จ จั ย ที่ มี ผ ลต่ อ ความ สำเร็จในกระบวนการบริหารโครงการ “สื่อ ศึกษา” (Media Education) สำหรับเด็กและ เยาวชนของสือ่ มวลชนคาทอลิกประเทศไทย 3. เพื่อศึกษาปัญหาและอุปสรรคใน กระบวนการบริ ห ารโครงการ “สื่ อ ศึ ก ษา” (Media Education) สำหรับเด็กและเยาวชน ของสื่อมวลชนคาทอลิกประเทศไทย ทฤษฎี แนวความคิด การศึ ก ษาวิ จั ย เรื่ อ ง “กระบวน การบริ ห ารโครงการสื่ อ ศึ ก ษาสำหรั บ เด็ ก และเยาวชน” ของสื่ อ มวลชนคาทอลิ ก ประเทศไทย ผู้วิจัยได้ประมวลแนวคิด ทฤษฎี เพื่อเป็นกรอบแนวคิดในการศึกษา ดังนี้ การบริ ห ารโครงการ (Project Management) ผู้ วิ จั ย ได้ น ำแนวคิ ด เรื่ อ งนี้ เป็นกรอบในการศึกษากระบวนการบริหาร โครงการสื่ อ ศึ ก ษาสำหรั บ เด็ ก และเยาวชน ของสื่ อ มวลชนคาทอลิ ก ประเทศไทยเพื่ อ ให้เห็นถึงกระบวนการในการบริหารจัดการ ในเรื่ อ งต่ า งๆ เช่ น การกำหนดวัตถุประสงค์ เป้ า หมาย การกำหนดกลุ่ ม เป้ า หมาย กลยุทธ์ที่ใช้ กิจกรรมและเนื้อหาเรื่องสื่อศึกษา แผนการปฏิ บั ติ ง าน และการประเมิ น ผล การดำเนินโครงการ รวมทั้งปัจจัยที่มีผลต่อ ความสำเร็จในกระบวนการบริหารโครงการ
50 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
และปั ญ หาอุ ป สรรคขั ด ขวางการดำเนิ น โครงการ (ปกรณ์ ปรียากรณ์, 2552) แนวคำสอนของพระศาสนจั ก ร คาทอลิ ก เรื่ อ งสื่ อ มวลชน พระศาสนจั ก ร คาทอลิกให้ความสำคัญกับเรื่องสื่อสารมวลชน และชี้แนะแนวทางแก่บุคลากรของพระศาสนจั ก รผู้ มี บ ทบาทหน้ า ที่ ใ นการอบรมสั่ ง สอน ต้องมีความรับผิดชอบต่อการทำให้ทุกคนโดย เฉพาะอย่างยิ่งเด็กและเยาวชนให้รู้เท่าทันสื่อ อีกทัง้ ตระหนักถึงคุณประโยชน์และพิษภัยของ สื่อ ส่วนบุคลากรของพระศาสนจักรจำต้อง รู้จักใช้สื่ออย่างสร้างสรรค์ ขณะเดียวกันได้ พยายามชีแ้ นะแนวทาง แก่ผบู้ ริโภคและผูผ้ ลิต ถึงผลดีและผลเสียเพื่อการดำเนินชีวิตอย่าง เป็นสุขของมวลมนุษยชาติ โดยพยายามเน้น ให้มี ก ารอบรมสื่ อ ศึ ก ษาให้ แ ก่ บุ ค ลากรของ พระศาสนจักรในทุกระดับอย่างต่อเนื่อง นอก นั้ น ทุกองค์กรต้องให้ความสำคัญต่อการให้ การอบรมในเรือ่ งสือ่ มวลชนและให้ถอื เป็นหน้า ที่อย่างเร่งด่วนในการจัดให้เป็นหลักสูตรใน โรงเรี ย นอย่ า งเป็ น ระบบ (พระสั น ตะปาปา เปาโล ที่ 6, 2552) นอกจากนี้พระศาสนจักร คาทอลิกเน้นให้ผนู้ ำในโลกของสือ่ ได้สนับสนุน วั ฒ นธรรมแห่ ง ความเคารพในศั ก ดิ์ ศ รี และ คุณค่าของความเป็นมนุษย์ของแต่ละคน แนวคิ ด เรื่ อ งสื่ อ ศึ ก ษาหรื อ การรู้ เท่ า ทั น สื่ อ (Media Education/Literacy
กิติมา สุรสนธิ และศรินทิพย์ กิจสวัสดิ์
Approach) ผู้วิจัยได้นำแนวคิดมาเป็นกรอบ ในการวิจัยเพื่อเปรียบเทียบและชี้ให้เห็นถึง พัฒนาการต่างๆ ของสื่อศึกษาที่เกิดขึ้นอย่าง ต่อเนื่องในหลายๆ ประเทศรวมทั้งในประเทศ ไทย ซึ่งกระบวนการ วิธีการต่างๆ มีการพัฒนา เป็นองค์ความรู้ใหม่ควบคู่ไปกับความก้าวหน้า ของสื่ อ มวลชน และเทคโนโลยี ที่ ไ ม่ ห ยุ ด นิ่ ง รวมทั้งความพยายามที่จะผลักดันองค์กรด้าน ต่างๆ เช่น ภาคสังคม ภาคการศึกษาเข้ามามี ส่วนร่วมและพัฒนาหลักสูตรวิธีการเพื่อให้เกิด ความชัดเจนและผลักดันเข้าสู่ระบบการศึกษา ผลการศึกษา กระบวนการบริ ห ารโครงการสื่ อ ศึ ก ษาของสื่ อ มวลชนคาทอลิ ก ประเทศไทย มี น โยบายที่ ถู ก กำหนดขึ้ น จากสมณสภา สื่อสารสังคมของสันตะสำนัก โดยกำหนดเป็น นโยบายและเป้าหมายหลักในการทำงานด้าน สื่อสารมวลชน ด้วยการสนับสนุนทั้งในเรื่อง หลักสูตร วิทยากรและงบประมาณ เพื่อเป็น แนวทางให้กับหน่วยงานในภูมิภาคต่างๆ ของ พระศาสนจักรคาทอลิกได้ทำงานไปในทิศทาง เดียวกัน แต่สามารถปรับเปลี่ยนรูปแบบและ ประยุกต์ใช้ได้ตามความเหมาะสมกับสภาพ แวดล้อมของแต่ละท้องถิ่น สภาประมุขบาทหลวงโรมันคาทอลิก แห่งประเทศไทยกำหนดในแผนอภิบาลคริสต-
ศักราช 2010-2015 ส่งเสริมให้สมาชิกของ พระศาสนจั ก รรู้ เ ท่ า ทั น สื่ อ และเห็ น ความ สำคั ญ ของสื่ อ ศึ ก ษานอกนั้ น สภาการศึ ก ษา คาทอลิกฯ ได้กำหนดเป็นอัตลักษณ์การศึก ษาคาทอลิ ก ควรจั ด ให้ มี สื่ อ ศึ ก ษาเพื่ อ ให้ นั ก เรี ย นนั ก ศึ ก ษาได้ รู้ จั ก เลื อ กบริ โ ภคสื่ อ และใช้เทคโนโลยีอย่างเหมาะสม โดยจัดให้มี การอบรมสือ่ ศึกษาในสถานศึกษาคาทอลิกจาก นโยบายดังกล่าวซึง่ ถูกกำหนดในแผนอภิบาลฯ เป็นแนวทางทีถ่ กู กำหนดขึน้ เพือ่ ให้พระศาสนจักรคาทอลิกในประเทศไทยทำงานไปในทิศ ทางเดียวกัน และสอดคล้องกับนโยบายของ สันตะสำนักอันส่งผลให้หน่วยย่อยต่างๆ ใน พระศาสนจักรคาทอลิกไม่สามารถหลีกเลี่ยง ได้และต้องดำเนินการอย่างจริงจัง สื่อมวลชน คาทอลิกจึงต้องรับหน้าที่นี้มาดำเนินการใน ฐานะเป็ น สื่ อ ของพระศาสนจั ก รคาทอลิ ก โดยตรง จากการศึกษาพบประเด็นต่างๆ ใน กระบวนการบริหารโครงการสื่อศึกษาดังนี้ 1. วั ต ถุ ป ระสงค์ แ ละเป้ า หมาย สื่ อ มวลชนคาทอลิกฯ มีการกำหนดวัตถุประสงค์ และเป้าหมายของการดำเนินโครงการสือ่ ศึกษา แบ่งเป็น 3 ประการคือ 1.1 เพื่อสนับสนุน และส่งเสริมผู้ผลิต สื่อที่ดีให้กับสังคม 1.2 เพือ่ ให้เด็ก เยาวชนได้ใช้สอ่ื มวลชน อย่างสร้างสรรค์ รวมทั้งใช้สื่ออุปกรณ์ที่มีอยู่
ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2012/2555
51
กระบวนการบริหารโครงการสื่อศึกษาสำหรับเด็กและเยาวชน
มากมายอย่างชาญฉลาด มีความรู้ความเข้าใจ ในการบริโภคสื่ออย่างรู้เท่าทัน มีวิจารณญาณ ในการดำรงชีวิตท่ามกลางสังคมแห่งความรู้ได้ อย่างมีความสุข โดยสอดแทรกมิติด้านศาสนา เข้าไปในการอบรมด้วย 1.3 เพื่ อ ให้ ผู้ ที่ ผ่ า นการอบรมโครง การสือ่ ศึกษาสามารถขยายผลได้เองในโรงเรียน ก่อให้เกิดการปลุกจิตสำนึกด้านต่างๆ ภายใน องค์กร 2. กลุ่มเป้าหมายหลัก คือ เด็กและ เยาวชนซึ่ ง อยู่ ใ นสนามงานหลั ก โรงเรี ย น คาทอลิกกว่า 300 โรงเรียนทั่วประเทศ ถือ ว่าเป็นสนามงานที่ใหญ่และเหมาะสมที่สุดที่ จะจัดทำโครงการสื่อศึกษาในโรงเรียนเหล่า นี้ กลุ่มเป้าหมายอีกกลุ่มหนึ่งคือ ผู้บริหาร ครู และผู้ ป กครองซึ่ ง กลุ่ ม นี้ ต้ อ งมี ทั ก ษะความรู้ เรื่องสื่อสารมวลชน เพื่อช่วยให้การทำงานเรื่อง สื่ อ ศึ ก ษาเป็ น ไปได้ อ ย่ า งคล่ อ งตั ว และเกิ ด ประสิทธิผล 3. กลยุ ท ธ์ ใช้ เ ครื อ ข่ า ยเป็ น ตั ว ขั บ เคลื่อนแผนงาน โดยการส่งเสริมและสนับสนุน ด้ ว ยการให้ ค วามรู้ แ ละงบประมาณโดย แต่ ล ะองค์ ก รแต่ ล ะเครื อ ข่ า ยสามารถนำไป ประยุ ก ต์ ใช้ ไ ด้ ต ามความเหมาะสมอาจจะ ด้วยวิธีการจัดอบรมสัมมนาให้ผู้บริหารและ ครู เพื่ อ ขยายผลต่ อ ไปยั ง เด็ ก หรื อ การจั ด สัมมนาเครือข่ายเพื่อพัฒนาหลักสูตรวิธีการ
52 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
ร่ ว มกั น เช่ น ร่ ว มมื อ กั บ สภาการศึ ก ษา คาทอลิกฯ ในการทำโครงการสื่อศึกษาร่วม กั น วางแผนงานวิ ธี ก ารกำหนดช่ ว งเวลาที่ เหมาะสมและกำหนดเป็ น แนวทางให้ ทุ ก โรงเรี ย นในสั ง กั ด สภาการศึ ก ษาคาทอลิ ก ฯ ให้ถือปฏิบัติร่วมกัน 4. เนื้อหาและกิจกรรมและสื่อศึกษา หลั ก สู ต รเนื้ อ หาของสื่ อ ศึ ก ษามาจากหลาย แหล่ง ประกอบด้วย จากสมณสภาสือ่ สารสังคม เอกสารต่างๆ ของพระศาสนจักรคาทอลิกที่ ออกมาเป็นระยะๆ นอกจากนี้แล้วยังมีเนื้อ หามาจากกลุ่ ม เครื อ ข่ า ยภาคี สื่ อ ศึ ก ษาที่ มี ก ารพั ฒ นาหลั ก สู ต รและวิ ธี ก ารอบรม อย่ า งต่ อ เนื่ อ งซึ่ ง พร้ อ มที่ จ ะเผยแพร่ แ ละ แบ่งปันหลักสูตรของแต่ละองค์กรในส่วนของ สื่ อ มวลชนคาทอลิ ก ฯ มี คู่ มื อ สื่ อ มวลชน ศึ ก ษาที่ สื่ อ มวลชนคาทอลิ ก ได้ จั ด ทำขึ้ น เมื่ อ ปี ค.ศ. 2007 ส่ ว นกิ จ กรรมต่ า งๆ นั้ น วิ ท ยากรที่ ใ ห้ ก ารอบรมต้ อ งประยุ ก ต์ ใ ช้ และคัดเลือกสื่อประเภทต่างๆ ให้เหมาะสมกับ ประเด็ น ที่ ต้ อ งการเน้ น ในการอบรมแต่ ล ะ กลุ่มเป้าหมายซึ่งต้องปรับเปลี่ยนรูปแบบไป ตามสถานการณ์ ค วามเคลื่ อ นไหวของสื่ อ มวลชนและความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย ส่ ง ผลให้ มี ก ารพั ฒ นาหลั ก สู ต รให้ เ หมาะสม กั บ สถานการณ์ ปั จ จุ บั น และมี ก ารประเมิ น หลักสูตรเพื่อช่วยในการพัฒนา
กิติมา สุรสนธิ และศรินทิพย์ กิจสวัสดิ์
5. แผนการปฏิบตั สิ อ่ื มวลชนคาทอลิก ระบุ แ ผนการปฏิ บั ติ ง านด้ า นสื่ อ ศึ ก ษา 2 กิจกรรมคือ 1) พิธมี อบรางวัลสือ่ มวลชนดีเด่น และ 2) การอบรมสามเณรที่เตรียมตัวเป็นบาท หลวง แต่ยังขาดแผนการปฏิบัติงานการอบรม สื่อศึกษาในโรงเรียน 6. การประเมินผล การเก็บรวบรวม ข้ อ มู ล และวิ เ คราะห์ ข้ อ มู ล ของการดำเนิ น โครงการจะทำให้ เ ห็ น ถึ ง ข้ อ ดี ข้ อ เสี ย ปัญหา อุปสรรคในการดำเนินโครงการว่ามี ข้ อ มู ล อะไรเพื่ อ นำไปปรั บ ปรุ ง แก้ ไขพั ฒ นา ในการทำโครงการต่อไป สื่อมวลชนคาทอลิกฯ ขาดการประเมิ น ผลโครงการที่ เ ป็ น ระบบ เนื่ อ งจากมี ก ารทำแผนปฏิ บั ติ ที่ ไ ม่ เ ป็ น ระบบที่ ชั ด เจนการประเมิ น ผลโครงการ จึงไม่เกิดขึ้น สรุ ป ได้ ว่ า โครงการสื่ อ ศึ ก ษาของ สื่ อ มวลชนคาทอลิ ก ฯ มี ก ารดำเนิ น การ ระดั บ หนึ่ ง แต่ ข าดการทำงานที่ เ ป็ น ระบบ แม้ว่าจะมีการกำหนดเป็นนโยบาย เป้าหมาย จากข้ อ มู ล พบว่ า มี ก ลุ่ ม เป้ า หมายที่ ชั ด เจน มีช่องทางที่เอื้อต่อการทำงาน และมีช่องทาง ในการแก้ ปั ญ หาทั้ ง เรื่ อ งของบุ ค ลากรและ งบประมาณ แต่ขาดการบริหารจัดการที่ดี ภายในองค์กรเองและองค์ประกอบที่สำคัญ ในกระบวนการบริหารโครงการ ดังนัน้ จึงทำให้ การดำเนินโครงการสื่อศึกษาเกิดความคลาด
เคลื่อน ไร้ทิศทาง จึงทำให้ไม่สามารถบรรลุ วัตถุประสงค์ของโครงการโดยเฉพาะอย่างยิ่ง เรื่ อ งการประเมิ น โครงการนั้ น จะเป็ น องค์ ประกอบสำคั ญ เพราะต้ อ งการข้ อ มู ล จาก ผลการประเมินมาเป็นตัวกำหนดทางเลือกใหม่ ของโครงการได้ อ ย่ า งมั่น ใจและเพื่อ ใช้ เ ป็ น องค์ประกอบในการตัดสินใจของผู้ท่ีต้องการ สนับสนุนโครงการให้ดำเนินต่อไปโดยอาศัย ข้อมูลจากการประเมินเป็นหลักซึง่ มีความจำเป็น ต่อเงือ่ นไขของการได้รบั เงินทุนจากแหล่งทุนด้วย ปัจจัยทีม่ ผี ลต่อความสำเร็จ 1. ปัจจัยภายใน ความเชื่อทางศาสนาเป็นแรงบันดาล ใจแรกที่ เ ป็ น พลั ง ผลั ก ดั น ให้ ก ระทำภารกิ จ ร่ ว มกั น ของบุ ค ลากรที่ เ ป็ น สมาชิ ก ของ พระศาสนจั ก รคาทอลิ ก ความตระหนั ก ใน วิกฤตด้านศีลธรรมอันเนื่องมาจากสื่อมวลชน ของประชากรโลกโดยเฉพาะอย่างยิ่งเด็กและ เยาวชนซึ่งสมาชิกของพระศาสนจักรคาทอลิก ได้รับการสั่งสอนว่าเด็กและเยาวชนเป็นของ ขวั ญ จากพระเจ้ า ดั ง นั้ น ในการให้ ก ารศึ ก ษา อบรมนักเรียนต้องเน้นคุณค่าของการอบรม ในทุกๆ ด้านพัฒนาทางด้านร่างกายและเสริม คุณค่าของชีวิตจิต เพื่อให้เป็นสมาชิกที่ดีและ มีคุณภาพของสังคม มิตดิ า้ นศาสนาจึงเป็นแกน หลักในการอบรมการรับรู้ภารกิจดังกล่าวจึง
ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2012/2555
53
กระบวนการบริหารโครงการสื่อศึกษาสำหรับเด็กและเยาวชน
เป็ น ดั ง ศู น ย์ ร วมของความเข้ า ใจร่ ว มกั น ใน ภาระหน้าที่ที่จะต้องร่วมมือกันปกป้องดูแล พวกเขา การบริหารจัดการภายในองค์กร สื่อ มวลชนคาทอลิกฯ มีการกำหนดให้แผนกสื่อ ศึกษาเป็นแผนกหนึ่งในโครงสร้างการบริหาร งานขององค์ ก รและจั ด ตั้ ง คณะกรรมการ ดำเนิ น โครงการ 10 ท่ า น ซึ่ ง ประกอบ ไปด้ ว ยผู้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ ที่ เ ป็ น ทั้ ง นั ก วิ ช าการ ผู้ เชี่ ย วชาญงานด้ า นสื่ อ สารมวลชนและมี ประสบการณ์ ใ นการทำงานมาอย่ า งยาว นานซึ่ ง คณะกรรมการเหล่ า นี้ เ ป็ น ผู้ ที่ มี ความเหมาะสมอย่ า งยิ่ ง ที่ จ ะให้ แ นวคิ ด และแนวทางในการทำงาน งบประมาณสื่ อ มวลชนคาทอลิ ก ฯ ได้ เขี ย นโครงการเพื่ อ ขอทุ น สนั บ สนุ น จาก ต่ า งประเทศ คื อ จากหน่ ว ยงาน SIGNIS ให้ ทุ น สนั บ สนุ น งบประมาณ ในการดำเนิ น โครงการเรื่องสื่อศึกษาเพียง 2 โครงการ คือ 1) การมอบรางวัลสื่อมวลชนดีเด่น และ2) การ ฝึกอบรมสามเณรที่เตรียมตัวเป็นบาทหลวง ซึ่งทั้ง 2 โครงการได้ดำเนินการมาอย่างต่อเนือ่ ง ช่องทางการเผยแพร่โครงการ สอื่ มวล ชนคาทอลิ ก ฯ มี สื่ อ สิ่ ง พิ ม พ์ วิ ท ยุ โทรทั ศ น์ เว็ บ ไซต์ ฯลฯ อยู่ ใ นมื อ แม้ ว่ า สื่ อ ต่ า งๆ เหล่ า นี้ จ ะมุ่ ง ไปยั ง กลุ่ ม เป้ า หมายที่ เ ป็ น ทั้ ง บุคลากรในพระศาสนจักรคาทอลิกและองค์กร
54 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
คาทอลิกเป็นหลักก็จริง แต่ก็ไปถึงประชาชน ทั่ ว ไป ด้ ว ยช่ อ งทางที่ มี อ ยู่ เ หล่ า นี้ ส ามารถ ช่วยงานสื่อศึกษาได้ 2 รูปแบบคือ ใช้เนื้อที่ จากสื่อเหล่านี้ในการประชาสัมพันธ์โครงการ ในเรื่องจุดมุ่งหมาย วัตถุประสงค์ และเนื้อหา ต่างๆ ของโครงการเพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้ สนใจเข้าร่วมโครงการ และสื่อเหล่านี้อำนวย ความสะดวกในการเป็นสื่อกลาง เพื่อให้ความ รู้หรือให้ข้อมูลเกี่ยวกับสื่อศึกษา ในมิติศาสนา และคำสั่งสอนของพระศาสนจักรในเรื่องสื่อ มวลชน 2. ปัจจัยภายนอก สมณสภาสื่ อ สารสั ง คมแห่ ง สั น ตะ สำนั ก เป็ น องค์ ก รที่ ร ะบุ ชั ด เจนว่ า มี ค วาม พร้อมในการสนับสนุนเรื่องสื่อศึกษา ทั้งเรื่อง หลั ก สู ต ร บุ ค ลากร และงบประมาณ อั น มี เงื่อนไขที่การเขียนโครงการเพื่อขอทุนในการ สนับสนุน ส ภ า ก า ร ศึ ก ษ า ค า ท อ ลิ ก แ ห่ ง ประเทศไทย กำหนดเชิ ง นโยบายว่ า ให้ สื่ อ ศึ ก ษาเป็ น อั ต ลั ก ษณ์ ก ารศึ ก ษาคาทอลิ ก ส่งผลให้โรงเรียนในสังกัดกว่า 300 โรงเรียน ต้ อ งดำเนิ น การตามนโยบายดั ง กล่ า วอย่ า ง จริงจัง กลุ่มโรงเรียนในสังกัดสภาการศึกษา คาทอลิกเปรียบเสมือนผู้มีส่วนร่วมโครงการ ดังนั้นการให้ความสำคัญกับกลุ่มบุคคลเหล่า นี้จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งเพราะจะเป็นกลุ่ม
กิติมา สุรสนธิ และศรินทิพย์ กิจสวัสดิ์
ที่มีอิทธิพลสูงสุดต่อการยอมรับหรือต่อต้าน โครงการจึงควรสร้างความเข้าใจที่ชัดเจนใน ประเด็นต่างๆ อันจะส่งผลให้เกิดการสนับสนุน ในเรื่องบุคลากร งบประมาณ และความร่วม มือ การสร้างเครือข่ายกันในการทำงานระหว่าง สื่ อ มวลชนคาทอลิ ก ฯ ที่ มี ข้ อ มู ล และวิ ธี ก าร และโรงเรี ย นมี ค วามพร้ อ มทรั พ ยากรใน ด้ า นต่ า งๆ การประสานงานร่ ว มกั น และ ดำเนิ น การอย่ า งจริ ง จั ง จะก่ อ ให้ เ กิ ด พลั ง มหาศาลในการแลกเปลีย่ นความรูป้ ระสบการณ์ ซึ่งจะมีศักยภาพอย่างยิ่ง เครือข่ายภาคีสื่อศึกษา ความร่วมมือ ระหว่ า งสื่ อ มวลชนคาทอลิ ก ฯ และภาคี สื่ อ ศึกษาอื่น ๆ อันประกอบด้วยแผนงานสื่อสร้าง สุ ข ภาวะเยาวชน (สสย.) มู ล นิ ธิ เ พื่ อ การ พั ฒ นาเด็ ก (มพด.) มู ล นิ ธิ สื่ อ ชาวบ้ า น (มะขามป้ อ ม) และกระทรวงศึ ก ษาธิ ก าร ซึ่งกำลังผลักดันให้สื่อศึกษาเป็นหลักสูตรใน โรงเรียน การทำงานที่ประสานความร่วมมือ และสร้ า งเครื อ ข่ า ยระหว่ า งกั น กั บ ภาคส่ ว น ในระดับต่างๆของพระศาสนจักรคาทอลิกฯ และเครื อ ข่ า ยภาคี เ หล่ า นี้ จ ะทำให้ เ กิ ด พลั ง มหาศาลในการขับเคลื่อนงานสื่อศึกษาให้มี ประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลอย่างแท้จริง ปัญหาและอุปสรรค การสือ่ สารทีไ่ ม่ตรงกันในระดับผูบ้ ริหาร
ของสื่อมวลชนคาทอลิกประเทศไทยเกี่ยวกับ โครงการสื่อศึกษาจะไปในทิศทางใด รวมทั้ง ระดับความจริงจังของการทำงาน การสือ่ สารที่ ไม่ตรงกันนั้นส่งผลให้เกิดความคลาดเคลื่อน ในการทำงาน ดังเช่นกลุ่มผู้บริหารโรงเรียน คาทอลิกมีความคิดเห็นที่ตรงกันว่า สื่อมวลชน คาทอลิกฯ มีความไม่ชัดเจนในนโยบายและ จุดมุ่งหมายของโครงการสื่อศึกษา ปัญหาเกีย่ วกับระบบงานด้านบุคลากร พบว่า 1. ขาดบุคลากรที่เป็นนักวิชาการ ที่มี ความรู้ความเชี่ยวชาญในเรื่องสื่อศึกษาเพื่อ จัดทำหลักสูตร เนื้อหา และกิจกรรมสื่อศึกษา ให้เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมายกลุ่มต่างๆ และ จัดทำเนื้อหาที่เหมาะสมเพื่อเผยตามช่องทาง การสื่อสารที่มีอยู่ 2. ขาดบุคลากรในการแปลเอกสาร เกี่ ย วกั บ สื่ อ ศึ ก ษา เนื่ อ งจากสื่ อ ศึ ก ษาเป็ น แนวคิดใหม่ท่ีเกิดขึ้นได้ไม่นาน เอกสารต่างๆ มักเป็นภาษาอังกฤษ แต่ยังขาดบุคลากรที่มา ดำเนินการในเรื่องนี้ จึงไม่สามารถให้บริการ ได้อย่างจริงจังในเรื่องข้อมูลต่างๆ ให้เป็นไป อย่างถูกต้องและสมบูรณ์ 3. ขาดบุ ค ลากรประจำแผนกเพื่ อ ประสานงานกั บ เครื อ ข่ า ย การทำงานเป็ น เครื อ ข่ า ยจะช่ ว ยเป็ น พลั ง ในการขั บ เคลื่ อ น โครงการได้ อ ย่ า งดี สื่ อ มวลชนมี ข้ อ จำกั ด
ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2012/2555
55
กระบวนการบริหารโครงการสื่อศึกษาสำหรับเด็กและเยาวชน
ในเรื่องนี้จึงทำให้การทำงานยังไม่ไหลลื่นตาม วัตถุประสงค์ 4. ขาดบุคลากรที่เชี่ยวชาญด้านการ เขี ย นโครงการ แม้ ว่ า ผลการศึ ก ษาจะระบุ ชัดเจนว่ามีงบประมาณสนับสนุนจากสมณกระทรวงสื่อสารสังคมของสันตะสำนักและงบ ประมาณสนับสนุนจากโรงเรียนในสังกัดสภา การศึกษาคาทอลิกก็ตาม แต่เรื่องงบประมาณ ยั ง คงเป็ น ปั ญ หาอุ ป สรรคของการดำเนิ น โครงการสื่อศึกษาของสื่อมวลชนคาทอลิกฯ เรื่อยมา เนื่องจากแหล่งทุนทั้ง 2 นี้มีเงื่อนไข เรื่องการต้องเขียนโครงการและต้องการแผน งานที่ เ ป็ น ระบบชั ด เจน ดั ง นั้ น จากปั ญ หา อุ ป สรรคด้ า นบุ ค ลากรที่ ข าดความรู้ ค วาม เข้าใจในเรื่องการเขียนโครงการจึงส่งผลต่อ เนื่องมายังปัจจัยด้านงบประมาณด้วย ดั ง นั้ น อาจกล่ า วได้ ว่ า บุ ค ลากรเป็ น ปั ญ หาและอุ ป สรรคที่ ส ำคั ญ ยิ่ ง เนื่ อ งจาก สื่ อ มวลชนคาทอลิ ก ฯ ขาดการจั ด เตรี ย ม และพั ฒ นาบุ ค ลากรในด้ า นต่ า งๆ ดั ง กล่ า ว ข้ า งต้ น ส่ ง ผลให้ ข าดระบบในการทำงาน ขาดการประเมิ น ผลโครงการ ทำให้ ไ ม่ เ ห็ น ปั ญ หาและอุ ป สรรคที่ แ ท้ จ ริ ง ในการดำเนิ น งาน ดั ง นั้ น จึ ง ทำให้ โ ครงการสื่ อ ศึ ก ษาไม่ สามารถดำเนิ น การไปได้ อ ย่ า งราบรื่ น ขาด ประสิทธิภาพ และประสิทธิผล นอกจากนี้แล้ว ยั ง สามารถพบปั ญ หาอุ ป สรรคในส่ ว นของ
56 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
โรงเรี ย นที่ สั ง กั ด สภาการศึ ก ษาคาทอลิ ก ซึ่ ง เป็ น ช่ อ งทางการเผยแพร่ โ ครงการและมี กลุ่ ม เป้ า หมายหลั ก ของโครงการสื่ อ ศึ ก ษา คือ ในโรงเรียนบุคลากรยังขาดความรู้ความ เชี่ยวชาญและทักษะด้านสื่อสารมวลชน และ ถึงแม้ว่าบางกลุ่มที่ผ่านการอบรมไปแล้วแต่ ไม่ ส ามารถขยายผลให้ น ำไปสู่ ก ารปฏิ บั ติ ใ น โรงเรียนของตนได้ ดังนั้นจึงควรมีการจัดทำ โครงการทั้ ง ระยะสั้ น และระยะยาวอย่ า ง ต่ อ เนื่ อ ง โดยเน้ น การอบรมครู เ พื่ อ ให้ ค รู สามารถดำเนินการในเรือ่ งสือ่ ศึกษาไปประยุกต์ ใช้กับนักเรียนอย่างเหมาะสมและมีประสิทธิ ภาพ อภิปรายผล การศึกษาในครัง้ นีเ้ น้นในเรือ่ งกระบวน การบริหารโครงการ ปัจจัยทีม่ ผี ลต่อความสำเร็จ ตลอดจนปัญหาและอุปสรรคในกระบวนการ บริหารโครงการ สามารถนำผลการศึกษามา วิเคราะห์และอภิปรายแนวคิดในภาพรวมตาม กรอบของการศึกษาได้ดังนี้ 1. แนวคิ ด เรื่ อ งสื่ อ ศึ ก ษา (Media Education) หรื อ การรู้ เ ท่ า ทั น สื่ อ (Media Literacy) แม้ว่าแนวคิดดังกล่าวจะมีการยอม รับในระดับสากลทั้งในยุโรปอเมริกาแม้กระทั่ง ในเอเชียก็ตาม อาจกล่าวได้ว่าแนวคิดนี้เป็น เรื่องใหม่และยังคงมีการพัฒนาควบคู่ไปกับ
กิติมา สุรสนธิ และศรินทิพย์ กิจสวัสดิ์
ความก้าวหน้าด้านเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน ที่ ไ ม่ ห ยุ ด นิ่ ง จากคำนิ ย ามความหมายของ นักวิชาการเกี่ยวกับเรื่องนี้มีจุดรวมบางอย่าง ที่ เ หมื อ นกั น แต่ มี อ งค์ ป ระกอบบางอย่ า ง แตกต่ า งกั น (พรทิ พ ย์ เย็ น จะบก, 2552) บางนิยามเป็นการเชื่อมโยงความหมายของ หลายคำศัพท์เข้าด้วยกัน สะท้อนให้เห็นว่า การนิยามความหมายยังไม่หยุดนิ่ง ไม่เป็นหนึ่ง นอกจากนี้ แ ล้ ว การนิ ย ามความหมายยั ง มี การปรับเปลี่ยนไปตามยุคสมัยและได้พัฒนา ขยายไปสู่ระดับองค์รวมหรือ Holistic Media Education (Oxstrand, 2009) ไปจนถึงใน ด้านการรู้เท่าทันสารสนเทศ (Information literacy) ซึ่ ง แนวความคิ ด เป็ น ไปในหลาย แนวทางยังไม่ชัดเจนและไม่เป็นหนึ่งนี้ ก่อให้ เกิดความสับสน ในแง่ของการนำไปปฏิบัติ 2. หลั ก ความเชื่ อ ทางศาสนาแม้ ว่ า โครงการสื่ อ ศึ ก ษาของสื่ อ มวลชนคาทอลิ ก ประเทศไทยจะเกิดจากความเชื่อทางศาสนา เป็ น แรงบั น ดาลใจแรกที่เป็นพลังผลักดันให้ กระทำภารกิ จ ร่ ว มกั น ของบุ ค ลากรที่ เ ป็ น สมาชิกของพระศาสนจักรคาทอลิกที่เชื่อว่า เด็ ก และเยาวชนเป็ น ของขวั ญ จากพระเจ้ า ที่ จ ำเป็ น ต้ อ งพั ฒ นาทางด้ า นร่ า งกายและ จิตใจ ที่ทุกภาคส่วนจะต้องมีเป้าหมายร่วมกัน ในการปกป้ อ งดู แ ลเด็ ก และเยาวชนเหล่ า นั้ น ซึ่ ง ภารกิ จ ดั ง กล่ า วนั้ น ถู ก กำหนดเป็ น
นโยบายให้องค์กรต่างๆ ของพระศาสนจักร คาทอลิกต้องร่วมมือกันกระทำ (พระสันตะปา ปาเปาโลที่ 6, 1972) ดั ง นั้ น แต่ ล ะองค์ ก ร จึ ง ต้ อ งนำนโยบายดั ง กล่ า วมาถ่ า ยทอดสู่ บุ ค ลากรเพื่ อ สร้ า งความเข้ า ใจร่ ว มกั น ใน ภารกิจดังกล่าว เพื่อนำไปสู่แนวทางในการ ปฏิ บั ติ อั น สอดคล้ อ งกั บ ความคิ ด ของพิ น โต และสเลวิน (Pinto and Slevin, 1994 อ้างใน ปกรณ์ ปรียากร, 2552) ที่กล่าวว่าโครงการ ใดใดจะสำเร็ จ ได้ จ ะต้ อ งเกิ ด จากการทำ ความเข้าใจร่วมกันในจุดมุ่งหมายและภารกิจ ของโครงการตั้ ง แต่ เ ริ่ ม ต้ น โดยชั ด เจน (Project Mission) ซึ่งเสมือนเป็นตัวกำหนด หลั ก นำทางให้ บุ ค ลากรทำงานไปในทิ ศ ทาง เดียวกันใน จุดหมายปลายทางที่จะไปถึงจะ ทำให้เกิดความเข้าใจที่ถูกต้อง ดังนัน้ ความเชือ่ ทางศาสนาและการตระหนักในการมีภารกิจ ร่วมกันนี้ จึงเป็นดั่งพลังในการขับเคลื่อนไปสู่ เป้าหมายเพื่อทำให้โครงการสื่อศึกษาดำเนิน ต่อไป จากแรงบั น ดาลใจดั ง กล่ า วข้ า งต้ น การกำหนดวัตถุประสงค์ของการดำเนินการ เรื่ อ งสื่ อ ศึ ก ษาของสื่ อ มวลชนคาทอลิ ก ฯ ใน การส่งเสริมผู้ผลิตสื่อที่ดีให้กับสังคม โดยการ มอบรางวัลสื่อมวลชนดีเด่น และจัดการอบรม สื่ อ ศึ ก ษาให้ กั บ เด็ ก เยาวชน สอดคล้ อ งกั บ คำสอนด้ า นสื่ อ มวลชนของพระศาสนจั ก ร
ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2012/2555
57
กระบวนการบริหารโครงการสื่อศึกษาสำหรับเด็กและเยาวชน
คาทอลิก ที่พยายามบอกว่า ผู้ที่เกี่ยวข้องทุกคน โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง ผู้ ผ ลิ ต ควรแสดงความ รั บ ผิ ด ชอบต่ อ บทบาทหน้ า ที่ ข องตน มี ม โน ธรรมอั น ถู ก ต้ อ ง ผลิ ต สื่ อ ที่ มี เ นื้ อ หาส่ ง เสริ ม คุณธรรมวัฒนธรรมอันดีงาม เป็นหลักในการ ทำงาน และวัตถุประสงค์ในการอบรมสือ่ ศึกษา เป็ น การส่ ง เสริ ม ให้ เ ยาวชนได้ ใช้ ส่ือ มวลชน อย่างรับผิดชอบ รูจ้ กั แยกแยะ และมีวจิ ารณญาณ ในการบริโภคสื่อต่างๆ ด้วยความระมัดระวัง (พระสันตะปาปา ยอห์นปอล ที่ 2, 2000) 3. นโยบาย นอกจากนโยบายที่ถูก กำหนดขึ้นจากระดับต่าง ๆ ของพระศาสนจักร คาทอลิกฯ แล้วนั้น สภาการศึกษาคาทอลิกฯ ยั ง ได้ ก ำหนดเป็ น ข้ อ หนึ่ ง ของอั ต ลั ก ษณ์ ก าร ศึกษาคาทอลิก เปรียบเสมือนข้อบังคับทีห่ น่วย งานในสังกัดต้องนำไปปฏิบัติอย่างจริงจัง และ แม้ว่าแรงบันดาลใจจากความเชื่อทางศาสนา จะเป็นปัจจัยแรกที่เป็นพลังผลักดันให้ดำเนิน โครงการก็ตาม แต่การดำเนินการต่างๆนัน้ ต้อง ให้เกิดเป็นรูปธรรมทีช่ ดั เจน เพือ่ ให้เห็นผลของ การปฏิบัตินั้น จะต้องมีคุณสมบัติในเรื่องวัตถุ ประสงค์ต้องชัดเจน มีการกำหนดเวลาเริ่มและ สิ้นสุดโครงการ มีการดำเนินงานที่มีข้อจำกัด ด้านงบประมาณ (สุภาพร พิศาลบุตร, 2550) อาจกล่าวได้ว่าการถ่ายทอดนโยบายระหว่าง บุคลากรจากระดับบนสู่ระดับล่างเกิดปัญหา อั น เนื่ อ งมาจากแนวคิ ด เรื่ อ งสื่ อ ศึ ก ษาที่ ยั ง
58 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
ไม่เป็นเอกภาพ จึงนำไปปฏิบัติได้ค่อนข้างยาก และยั ง ขาดคุ ณ สมบั ติ บ างประการของ กระบวนการบริหาร ทำให้โครงการสื่อศึกษา ดู เ หมื อ นไม่ มี ทิ ศ ทาง สื่ อ มวลชนคาทอลิ ก จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องหันกลับมา มองตนเองว่ายืนอยู่ ณ จุดใดในเรื่องสื่อศึกษา ขอบข่ า ยงานของตนอยู่ ร ะดั บ ใด เพื่ อ ปรั บ ทิ ศ ทางการทำงานด้ า นสื่ อ ศึ ก ษาให้ ถู ก ต้ อ ง และตรงเป้ า หมาย ดั ง นั้ น การสื่ อ สารเพื่ อ ให้ เ กิ ด ความเข้ า ใจกั น ในทุ ก ระดั บ จึ ง มี ความสำคั ญ อย่ า งยิ่ง ในการดำเนิ นโครงการ ดั ง เช่ น แนวความคิ ด ของสตั ค เคนบรั ค (Stuckenbruck,1988 อ้างในปกรณ์ ปรียากร, 2552) ที่ได้อธิบายไว้ว่า ในการดำเนินโครงการ จะต้ อ งมี ก ารสื่ อ สารและความร่ ว มมื อ กั น ระหว่างบุคลากรทุกระดับ ฉะนั้นการสื่อสาร ที่ ดี แ ละถู ก ต้ อ งจะช่ ว ยสร้ า งความสั ม พั น ธ์ ระหว่างบุคคลและองค์กร ซึ่งมีความสำคัญยิ่ง ในการสร้ า งบรรยากาศของความสำเร็ จ ใน การทำงาน การสื่อสารที่เหมาะสมจะทำให้ กระแสการไหลเวียนของข้อมูลข่าวสารที่จำ เป็นและที่มีความสำคัญระหว่างบุคลากรหลัก ในโครงการ สามารถดำเนินการได้อย่างถูกต้อง ทันเวลา ทันเหตุการณ์ ปัจจัยเหล่านี้จะทำให้ การขับเคลือ่ นงานโครงการเป็นไปอย่างราบรืน่ 4. การบริ ห ารจั ด การแม้ ว่ า จะเกิ ด ความเข้าใจที่ไม่ตรงกันก็ยังพบว่าสื่อมวลชน
กิติมา สุรสนธิ และศรินทิพย์ กิจสวัสดิ์
คาทอลิกมีโครงการที่เกี่ยวข้องกับสื่อศึกษา ที่ ด ำเนิ น การมาอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง คื อ พิ ธี ม อบ รางวั ล สื่ อ มวลชนดี เ ด่ น และการฝึ ก อบรม สามเณรที่กำลังเตรียมตัวเป็นบาทหลวง แต่ทั้ง สองโครงการนี้แม้ว่ายังขาดการเขียนโครงการ ที่เป็นระบบ ขาดแผนการปฏิบัติงานที่ชัดเจน ขาดรายละเอี ย ดในขั้ น ตอนต่ า งๆ ของการ ทำงาน นอกจากนี้แล้ว ยังขาดการประเมินผล ทีเ่ ป็นมาตรฐาน ซึง่ สอดคล้องกับความเห็นของ เยาวดี รางชัยกุล วิบูลย์ศรี ที่กล่าวไว้ถึงลักษณะ ของความพร้ อ มที่ จ ะประเมิ น โครงการก่ อ น ว่ า โครงการใดที่ มี ค วามพร้ อ มในการถู ก ประเมินโครงการจะต้องมีการระบุเป้าหมาย ที่ ชั ด เจนของการดำเนิ น โครงการหรื อ ผลสั ม ฤทธิ์ ไ ว้ เ พื่ อ จะได้ ท ราบว่ า โครงการ ผ่านสำเร็จหรือไม่ และโครงการควรมีระบบ การจัดการที่ดี บุคคลที่จะประเมินควรเป็น บุ ค คลที่ มิ ไ ด้ มี ส่ ว นร่ ว มในโครงการดั ง กล่ า ว เพื่อขจัดปัญหาความลำเอียงในการประเมิน การประเมิ น ของสื่ อ มวลชนคาทอลิ ก ฯ ขาดองค์ประกอบดังกล่าว จึงทำให้ไม่สามารถ สะท้อนภาพการทำงานทั้งหมดของโครงการ ข้อมูลจากผลการประเมินจึงอาจไม่สามารถ นำมาเป็นตัวกำหนดทางเลือกใหม่ของโครง การได้อย่างมั่นใจ และใช้เป็นองค์ประกอบ ในการตั ด สิ น ใจของผู้ ที่ ต้ อ งการสนั บ สนุ น โครงการให้ดำเนินต่อไป รวมทั้งการให้ข้อมูล
เพื่ อ รั บ รู้ ถึ ง ข้ อ ดี ข้ อ เสี ย ตามสภาพความ เป็นจริงที่เกิดขึน้ เพือ่ หาแนวทางในการพัฒนา ปรับปรุงแก้ไขต่อไป 5. ปัจจัยที่มีผลต่อความสำเร็จ ขณะ ที่สื่อมวลชนคาทอลิกฯ มองตนเองว่าปัญหา ของการทำโครงการสื่อศึกษาคือ ขาดทรัพยากรด้ า นงบประมาณและบุ ค ลากรจึ ง ทำให้ โ ครงการสื่ อ ศึ ก ษาไม่ ส ามารถดำเนิ น การได้ ปั ญ หาอุ ป สรรคทั้ ง สองประการนี้ กลับเป็นสิ่งที่สภาการศึกษาคาทอลิกฯ มีความ พร้ อ มที่ จ ะสนั บ สนุ น เพราะต้ อ งการให้ สื่ อ ศึ ก ษาเกิ ด ในโรงเรี ย นคาทอลิ ก ทั่ ว ประเทศ แต่ขาดวิธีการ ขาดผู้เชี่ยวชาญด้านสื่อศึกษา ทั้ ง ในมุ ม มองของพระศาสนจั ก รคาทอลิ ก และในมิติอื่นๆ นอกนั้นยังขาดผู้ประสานงาน ที่ จ ะมาช่ ว ยให้ โ ครงการดั ง กล่ า วเกิ ด ขึ้ น ใน โรงเรี ย นได้ ดั ง นั้ น ความต้ อ งการของสภา การศึกษาคาทอลิกฯ จึงเป็นช่องทางหนึ่งที่ สามารถช่วยแก้ปัญหาเรื่องงบประมาณและ บุคลากรได้ เนื่องจากสภาการศึกษาคาทอลิก มี โ รงเรี ย นซึ่ ง เป็ น กลุ่ ม เป้ า หมายหลั ก ของ โครงการอยู่ ใ นมื อ ดั ง นั้ น สภาการศึ ก ษา คาทอลิกฯ จึงเปรียบเสมือนผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ในโครงการ เป็นกลุ่มบุคคลที่มีความสำคัญยิ่ง ดังเช่นที่ ดินสมอร์ (Dinsmore, 1993 อ้างใน ปกรณ์ ปรียากร, 2552) ได้กล่าวไว้ว่าการให้ ความสำคั ญ กั บ กลุ่ ม ผู้ มี ส่ ว นได้ ส่ ว นเสี ย ใน
ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2012/2555
59
กระบวนการบริหารโครงการสื่อศึกษาสำหรับเด็กและเยาวชน
โครงการ (Stakeholders) ซึ่ ง ในที่ นี้ อ าจ หมายถึ ง กลุ่ ม ผู้ รั บ บริ ก ารหรื อ ลู ก ค้ า ของ โครงการ ผู้ ส นั บ สนุ น ทางการเงิ น หรื อ เทคโนโลยี มีส่วนสำคัญยิ่งในการยอมรับและ ต่อต้านโครงการ ดังนั้น กลุ่มผลประโยชน์นี้ จึ ง มี อิ ท ธิ พ ลอย่ า งยิ่ ง ต่ อ การตั ด สิ น ใจใน ประเด็นต่างๆ ที่สำคัญของโครงการ จึงควร ต้ อ งพิ จ ารณาให้ ล ะเอี ย ดเพื่ อ ที่ จ ะตอบ สนองความต้ อ งการของกลุ่ ม บุ ค คลเหล่ า นี้ เพื่อสร้างการยอมรับ (Acceptance) ในคุณค่า ของโครงการให้ เ กิ ด ขึ้ น อย่ า งจริ ง จั ง แก่ ก ลุ่ ม เป้าหมาย นั่นคือ ทำทุกวิถีทางเพื่อให้ผลงาน เกิ ด การยอมรั บ และถู ก นำไปใช้ ป ระโยชน์ อย่ า งเต็ ม ที่ ดั ง นั้ น การปรึ ก ษาหารื อ ร่ ว มกั น (Consultation) กั บ ผู้ รั บ บริ ก ารด้ ว ยการ แสวงหากรรมวิ ธี ใ นการติ ด ต่ อ สื่ อ สาร (Communication) และการรับฟังความคิด เห็นอย่างจริงจังและจริงใจ (Active Listening) จึงมีความสำคัญยิ่ง ดังนั้นการประสาน ความร่วมมือกันระหว่างสื่อมวลชนคาทอลิกฯ และสภาการศึ ก ษาคาทอลิ ก ฯ เพื่ อ จั ด การ ให้เกิดโครงการสื่อศึกษาที่เป็นระบบชัดเจน กำหนดแผนทั้งระยะสั้น และระยะยาว เพราะ การดำเนินการใดใดในสถานที่ต่าง ๆ ต้องการ ระบบที่ชัดเจนเช่นกัน นอกนั้นการประสาน ความร่วมมือกับเครือข่ายภาคีส่อื ศึกษาจะช่วย ลดทอนทั้งเรื่องของบุคลากร และงบประมาณ
60 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
แต่กลับได้พลังในการทำงาน ประสบการณ์ที่ แตกต่างกันไปของแต่ละองค์กรในกลุ่มภาคี สื่อศึกษา จะทำให้สื่อศึกษาดำเนินการได้อย่าง เป็นรูปธรรม เกิดประสิทธิผลแก่กลุม่ เป้าหมาย อย่างมีประสิทธิภาพ จะเห็นได้ว่าการทำงานด้านสื่อศึกษา เรียกร้องการทำงานที่จริงจัง เป็นระบบ และ ต้องมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง เนื่องจากสื่อ สารมวลชนเป็ น เรื่ อ งที่ ไ ม่ ห ยุ ด นิ่ ง ฉะนั้ น ในเรื่ อ งหลั ก สู ต รเนื้ อ หาจึ ง เป็ น อี ก ปั จ จั ย หนึ่ ง ที่ มี ค วามจำเป็ น ต้ อ งได้ รั บ การพั ฒ นา อยู่ ต ลอดเวลา เพื่ อ ให้ เ หมาะสมกั บ สภาวการณ์ ด้ า นสื่ อ สารมวลชนที่ เ กิ ด ขึ้ น ในโลก ซึ่ ง สอดคล้ อ งกั บ แนวคิ ด ของกาญจนา แก้ ว เทพ ที่กล่าวว่า กระบวนสร้างข้อมูลข่าวสาร มีพัฒนาการที่เจริญเติบโต และมีประสิทธิภาพ มากขึ้ น จนกระทั่ ง ผู้ รั บ สารอาจไม่ ส ามารถ รั บ มื อ ได้ เด็ ก และเยาวชนจะต้ อ งมี ชี วิ ต อยู่ ในสังคมข่าวสารที่สลับซับซ้อนและแตกแยก กระจัดกระจายมากขึ้น (กาญจนา แก้วเทพ, 2549) และสอดคล้องกับงานวิจัยของหลายๆ ท่านที่ผลของงานวิจัยเป็นไปในทิศทางเดียว กันว่า ควรมีการให้การศึกษาอบรม หรือการ เรียนการสอนเรื่องสื่อศึกษาหรือการรู้เท่าทัน สื่ อ ในนั ก เรี ย นระดั บ มั ธ ยมศึ ก ษา และ อุดมศึกษา กำหนดหลักสูตรการเรียนการสอน ให้ มี ค วามชั ด เจน เพราะการเจริ ญ เติ บ โต
กิติมา สุรสนธิ และศรินทิพย์ กิจสวัสดิ์
อย่างรวดเร็วของสื่อในโลก ส่งผลให้นักเรียน ขาดความรู้ในการพิจารณาข้อมูลต่างๆ รวมทั้ง การวิเคราะห์แยกแยะความเป็นจริง (เซเยด วาฮิด อาคิลี และบาฮาเรห์ นา, 2010) เพราะ การเรียนรู้เท่าทันสื่อเป็นเรื่องที่มีความสำคัญ มากในการพัฒนาเด็กและเยาวชน (แมรี่ แอน ลอรี่, 2006) เยาวชนจะมีความรู้เท่าทันสื่อได้ จะต้ อ งได้ รั บ การเรียนการสอนเช่นเดียวกับ นักศึกษาสื่อสารมวลชน ดังนั้น การบรรจุหลัก สูตรสือ่ สารมวลชนไว้ในระดับมัธยมศึกษา และ อุดมศึกษาจะช่วยให้เยาวชนมีความสามารถ และรับผิดชอบต่อตนเองในการรู้เท่าทันสื่อ มากขึ้น (สุภานี แก้วมณี, 2547) ดั ง นั้ น จึ ง ควรเป็ น ภาระหน้ า ที่ ข อง สถาบันการศึกษาในการตระเตรียมพวกเขาให้ สามารถใช้การสื่อสาร เพื่อตอบสนองความ ต้ อ งการของตนเองให้ ไ ด้ อ ย่ า งดี ดั ง นั้ น จึ ง เป็ น เหตุ ผ ลที่ ส ถาบั น การศึ ก ษาจำเป็ น ต้ อ ง รู้เท่าทันสื่อ โดยผ่านกระบวนการสื่อศึกษา การประสานความร่ ว มมื อ กั บ โรงเรี ย นและ เครือข่าย จึงเป็นแนวทางที่ดีเพื่อให้บุคลากร ที่มีความเชี่ยวชาญในเรื่องสื่อสารมวลชน ผู้มี ประสบการณ์ด้านงานสื่อศึกษาและผู้ที่ทำงาน ด้ า นหลั ก สู ต รในโรงเรี ย น ประสานความ ร่ ว มมื อ กั น เพื่ อ ให้ คู่ มื อ หลั ก สู ต รหรื อ เนื้ อ หา สื่อศึกษานั้นเหมาะสมกับ กลุ่มเป้าหมาย กับ ช่วงเวลา และเหมาะสมอย่างยิ่งกับการนำไป
ใช้ ใ นสภาพแวดล้ อ มที่ แ ตกต่ า งกั น ของกลุ่ ม เป้าหมาย ข้อเสนอแนะในกระบวนการบริหารโครงการ สื่อศึกษา จากการศึกษาเรื่อง “กระบวนการ บริ ห ารโครงการสื่ อ ศึ ก ษาสำหรั บ เด็ ก และ เยาวชน” ของสื่อมวลชนคาทอลิกประเทศไทย นั้น ผู้ศึกษามีข้อเสนอแนะ ดังนี้ 1. ผู้ รั บ ผิ ด ชอบในระดั บ ต่ า งๆ ของ พระศาสนจั ก รคาทอลิ ก หรื อ ผู้ ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง ควรจะทำความเข้าใจร่วมกันในเรื่องทิศทาง ของ Media Education หรื อ Media Literacy รวมทั้งนิยามความหมาย แม้กระทั่ง กระบวนการต่างๆ เพื่อให้เกิดความเข้าใจที่ ชัดเจนและเป็นเอกภาพ เพื่อเป็นแนวทางการ ทำงานในเรื่องนี้ 2. สื่ อ มวลชนคาทอลิ ก ฯ ควรเป็ น แกนนำในการประสานความร่วมมือกับสภา การศึกษาคาทอลิกแห่งประเทศไทย เพื่อจัดตั้ง คณะกรรมการในการดำเนินงานเรื่องสื่อศึกษา อย่างจริงจังเพื่อให้โครงการดังกล่าวเกิดการ ขับเคลื่อนอย่างต่อเนื่องเพื่อบรรลุเป้าหมาย ตามทิศทางที่พระศาสนจักรกำหนด 3. จั ด ทำโครงการสื่ อ ศึ ก ษาให้ เ ป็ น มาตรฐาน เพื่อขอการสนับสนุนจากแหล่งทุน ทั้ ง ภาครั ฐ และเอกชนเพื่ อ แก้ ไขปั ญ หาเรื่ อ ง
ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2012/2555
61
กระบวนการบริหารโครงการสื่อศึกษาสำหรับเด็กและเยาวชน
งบประมาณ 4. สร้างความร่วมมือเป็นเครือข่าย ภาคีสื่อศึกษาที่เป็นรูปธรรม เพื่อแลกเปลี่ยน ความรู้ ประสบการณ์ และการทำงานด้านสื่อ ศึกษา และร่วมเป็นพลังขับเคลื่อนโครงการ สื่ อ ศึ ก ษาในโรงเรี ย นสั ง กั ด สภาการศึ ก ษา คาทอลิกแห่งประเทศไทย 5. จั ด ทำศู น ย์ ข้ อ มู ล สื่ อ ศึ ก ษาโดย เฉพาะอย่ า งยิ่ ง การแปลเอกสารต่ า งๆ ของ พระศาสนจักรคาทอลิก และจัดหาเจ้าหน้าที่ ประจำ เพื่อเป็นศูนย์ประสานงานกับเครือข่าย และให้บริการข้อมูลในเรื่องดังกล่าว ข้อเสนอแนะการวิจัยในอนาคต 1. การศึกษาในครั้งนี้เป็นการศึกษา เฉพาะกระบวนการบริ ห ารโครงการสื่ อ ศึ ก ษาของสื่ อ มวลชนคาทอลิ ก ประเทศไทย เท่านั้น ในการศึกษาครั้งต่อไป ควรจะมีการ ศึ ก ษาการเปรียบเทียบกระบวนการบริหาร โครงการสื่อศึกษาขององค์กรอื่นๆ ด้วยเช่นกัน เพื่อให้เห็นถึงข้อดี ข้อเสีย หรือวิธีการบริหาร โครงการสื่อศึกษาในรูปแบบที่แตกต่างกันว่า มีผลสัมฤทธิ์ที่แตกต่างกันอย่างไรบ้าง เพื่อจะ
62 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
สามารถพัฒนาการทำงานด้านสื่อศึกษาต่อไป 2. ควรมีการศึกษาหรือวิเคราะห์หลัก สูตรสื่อศึกษาของแต่ละองค์กร เพื่อพัฒนาและ เพื่อให้เกิดองค์ความรู้ใหม่ในเรื่องสื่อศึกษา 3. การศึกษาในครั้งนี้ กลุ่มตัวอย่าง เป็ น ผู้ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ กระบวนการบริ ห าร โครงการสื่อศึกษาเท่านั้น ในการศึกษาครั้ง ต่อไปควรศึกษากลุ่มตัวอย่างที่เป็นผู้รับสาร หรือกลุ่มเป้าหมาย เพื่อให้เห็นถึงประสิทธิภาพ ของกระบวนการสื่อศึกษาว่าเกิดประสิทธิผล หรือไม่อย่างไร 4. การศึกษาในครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิง คุณภาพที่เน้นข้อมูลจากการสัมภาษณ์เจาะลึก จากกลุ่ ม ตั ว อย่ า งที่ เ กี่ ย วข้ อ งสื่ อ มวลชน คาทอลิ ก หรื อ ในพระศาสนจั ก รคาทอลิ ก เท่านั้น ในการศึกษาครั้งต่อไป ควรขยายกลุม่ ตั ว อย่ า งให้ ก ว้ า งขึ้ ควรเป็ น กลุ่ ม ตั ว อย่ า งที่ ทำงานสือ่ ศึกษาจากองค์กรอืน่ ๆเพือ่ ให้เกิดการ เปรียบเทียบถึงประสิทธิผลของการดำเนินการ 5. การศึ ก ษาในครั้ ง ต่ อ ไป ควรนำ หลักสูตรสื่อศึกษามาทำการวิจัยเชิงทดลอง เพื่อให้เห็นผลอย่างชัดเจนตามกำหนดเวลาที่ หลักสูตรกำหนด
กิติมา สุรสนธิ และศรินทิพย์ กิจสวัสดิ์
บรรณานุกรม กาญจนา แก้วเทพ. (2549). ศาสตร์แห่งสื่อ และวัฒนธรรมศึกษา.พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพ: เอดิสัน เพรส โพรดักส์. จุมพล รอดคำดี. (2552). โทรทัศน์สำหรับ เด็กวันนี.้ .สีอะไรโครงการเพือ่ เด็กไทย ใส่ใจสื่อ. กรุงเทพฯ : สำนักงานกอง ทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ. ปกรณ์ ปรียากร. (2552). การบริหารโครงการ: แนวคิดและแนวทางในการสร้าง ความสำเร็จ. พิมพ์ครั้งที่ 9. กรุงเทพฯ: เสมาธรรม. พรทิพย์ เย็นจะบก. (2552). ถอดรหัสลับ ความคิดเพื่อการรู้เท่าทันสื่อ: คูม่ อื การเรียนรูเ้ ท่าทันสือ่ . กรุงเทพฯ: ออฟเซ็ท ครีเอชั่น. เปาโลที่ 6, พระสันตะปาปา. (2552). เอกภาพ และความก้าวหน้า พิมพ์ครั้งที่ 3, กรุงเทพฯ : อัสสัมชัญ. ยอห์น ปอลที่ 2, พระสันตะปาปา. (2543). Ethicsin Advertising. กรุงเทพฯ: อัสสัมชัญ. _________. (2543). Ethicsin Commu- nications. กรุงเทพฯ: อัสสัมชัญ. สภาพระสังฆราชคาทอลิกแห่งประเทศไทย, (2553).แผนอภิบาลคริสตศักราช
2010-2015 ของพระศาสนจักร คาทอลิกในประเทศไทย:อภิบาล ชุมชนศิษย์พระคริสต์รว่ มพันธกิจ แบ่งปัน ข่าวดี (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: อัสสัมชัญ. เบเนดิกต์ที่ 16, พระสันตะปาปา. (2550). เด็ก ๆ และสื่อมวลชน : งานท้าทายเพื่อ การศึกษา. (ยอด พิมพิสาร, ผู้แปล). สาส์นวันสื่อมวลชนสากล. สังคายนาวาติกันที่ 2. (2535).สมณกฤษฎีกา ว่าด้วยเครือ่ งมือแห่งสือ่ สารมวลชน (พิมพ์ครั้งที่ 4, ยอด พิมพิสาร, ผู้แปล). กรุงเทพฯ: อัสสัมชัญ. สุภานี แก้วมณี. (2547). การศึกษาการรูเ้ ท่าทัน สื่อหนังสือพิมพ์ : กรณีศึกษา นักศึกษาระดับอุดมศึกษ ในเขตกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, คณะวารสารศาสตร์และสื่อสาร มวลชน, สาขาวิชาสื่อสารมวลชน. สุภาพร พิศาลบุตร. (2550). การวางแผนและ การบริหารโครงการ. กรุงเทพฯ : สถาบันราชภัฏ สวนดุสิต, ศูนย์เอกสารและตำรา. อมรวิชช์ นาครทรรพ. (2550). วัคซีนสื่อ
ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2012/2555
63
กระบวนการบริหารโครงการสื่อศึกษาสำหรับเด็กและเยาวชน
สร้างสรรค์. กรุงเทพฯ: สำนักงานกอง ทุนสนับสนุนสร้างเสริมสุขภาพ. อัศวิน เนตรโพธิ์แก้ว. (2549). รู้เท่าสังคมสื่อ รู้ทันสงครามการตลาด. กรุงเทพฯ: พิฆเณศ พริ้นติ้งเซนเตอร์. Aqili, S. V., & B., Nasiri (2010). Technol ogy and the Need for Media Literacy Education in the Twenty-First Century. European Journal of Social Sciences, 15(3), 450-456. A., Lauri M. (2006). Children’s masting
of the information society: A Maltese contribution. Journal of Mal tese Education Research, 4 (1). 1-17. Oxstrand, B. (2009). Media Literacy Education : A Discussion about Media Education in the Western Countries, Europe and Sweden. Paper presented at the Nordmedia09 Conference in Karlstad University. Sweden.
64 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
พฤติกรรมการตัดสินใจของผู้บริหาร กับประสิทธิผลโรงเรียนคาทอลิก สังกัดอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ THE DECISION MAKING BEHAVIOR OF THE ADMINISTRATORS AND THE EFFECTIVENESS OF THE CATHOLIC SCHOOLS IN THE ARCHDIOCESE OF BANGKOK ดร.วรกาญจน์ สุขสดเขียว * อาจารย์ประจำภาควิชาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
Dr.Vorakarn Suksodkiew * Lecturer at Educational Administration Faculty of Education Silpakorn University
ศรัญญู พงศ์ประเสริฐสิน * นักวิจัยประจำศูนย์วิจัยค้นคว้าศาสนา และวัฒนธรรม วิทยาลัยแสงธรรม
Saranyu Pongprasertsin * Researcher at Religious and Cultural Research Centre, Saengtham College.
พฤติกรรมการตัดสินใจของผู้บริหาร กับประสิทธิผลโรงเรียนคาทอลิก สังกัดอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ
บทคัดย่อ
การวิจยั ครัง้ นีม้ วี ตั ถุประสงค์เพือ่ ทราบ 1) พฤติกรรมการตัดสินใจ ของผู้บริหารโรงเรียนคาทอลิก สังกัดอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ 2) ประ สิ ท ธิ ผ ลโรงเรี ย นคาทอลิ ก สั ง กั ด อั ค รสั ง ฆมณฑลกรุ ง เทพฯ และ 3) ความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งพฤติ ก รรมการตั ด สิ น ใจของผู้ บ ริ ห ารกั บ ประสิ ท ธิ ผ ของโรงเรี ย นคาทอลิ ก สั ง กั ด อั ค รสั ง ฆมณฑลกรุ ง เทพฯ กลุ่มตัวอย่าง คือ สถานศึกษาคาทอลิก สังกัดอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ ที่ เ ปิ ด ทำการสอนในระดั บ การศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน จำนวน 32 แห่ ง ผู้ให้ข้อมูล คือ ผู้บริหาร ผู้ช่วยผู้บริหาร และครูผู้สอน รวมทั้งสิ้น 256 คน เครื่ อ งมื อ ที่ ใช้ ใ นการวิ จั ย เป็ น แบบสอบถามเกี่ ย วกั บ พฤติ ก รรมการ ตัดสินใจของผู้บริหาร จำนวน 7 ด้านตามแนวคิดของ แทนเนนบอม และชมิดท์ (Tannenbaum and Schmidt) และประสิทธิผลโรงเรียน จำนวน 4 ด้าน ตามแนวคิดของ ฮอย และมิสเกล (Hoy and Miskel) สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าความถี่ (frequency) ค่าร้อยละ (percentage) ค่าเฉลี่ย (X) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และการ วิเคราะห์ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน (Pearson’s product moment correlation coefficient) ผลการวิจัยพบว่า 1. พฤติ ก รรมการตั ด สิ น ใจของผู้ บ ริ ห ารโรงเรี ย นคาทอลิ ก สังกัดอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ พบว่าโดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก 2. ประสิทธิผลโรงเรียนคาทอลิกสังกัดอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ พบว่าโดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก 3. พฤติกรรมการตัดสินใจของผู้บริหาร มีความสัมพันธ์กับ ประสิทธิผลโรงเรียนคาทอลิก สังกัดอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ โดยภาพ รวมมีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 คำสำคัญ : 1) พฤติกรรมการตัดสินใจ 2) ประสิทธิผลโรงเรียน
66 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
วรกาญจน์ สุขสดเขียว และศรัญญู พงศ์ประเสริฐสิน
Abstract
The purposes of this research were to find 1) the decision making behavior of the administrators in the Archdiocese of Bangkok, 2) the effectiveness of the catholic schools in the Archdiocese of Bangkok, and 3) The correlation between the decision making behavior of the administrators and the effectiveness of the catholic schools in the Archdiocese of Bangkok. The samples were 32 basic education catholic schools in Bangkok Archdiocese. The respondents were administrators, assistant administrators and teachers, 256 respondents in total. The research instrument was a questionnaire on the the decision making behavior of the administrators in 7 aspects based on the viewpoint of Tannenbaum and Schmidt and the effectiveness schools on 4 aspects based on the viewpoint of Hoy and Miskel. The statistics applied in data analysis were frequency (f), percentage (%), mean (X), standard deviation (S.D.) and Pearson’s product moment correlation coefficient. The findings revealed as follows: 1. The decision making behavior of the administrators in the Archdiocese of Bangkok, as a whole, was at a high level. 2. The effectiveness of the catholic schools in the Archdiocese of Bangkok, as a whole, was at a high level. 3. The decision making behavior of the administrators have a correlation with the effectiveness of the catholic schools in the Archdiocese of Bangkok, as a whole, significantly at .05 level.
ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2012/2555
67
พฤติกรรมการตัดสินใจของผู้บริหาร กับประสิทธิผลโรงเรียนคาทอลิก สังกัดอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ
Keywords : 1) The Decision making behavior. 2) The Effectiveness schools. ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา การศึกษาคาทอลิกมีบทบาทในการ รั บ ใช้ สั ง คมในประเทศไทยมาเป็ น เวลาอั น ยาวนาน เพื่อที่จะมุ่งมั่นในการศึกษาอบรม พั ฒ นา เยาวชนไทยให้ เ ป็ น ผู้ ที่ มี ค วามรู้ ความพร้ อ มที่ จ ะดำรงชี วิ ต อยู่ ใ นสั ง คมได้ อย่ า งดี แ ละมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพเพี ย บพร้ อ ม ด้วยคุณธรรม และ จริยธรรม รัฐธรรมนูญแห่ง ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 หมวดที่ 5 แนวนโยบายพื้นฐานของรัฐ มาตราที่ 80 รัฐต้องดำเนินการตามแนวนโยบายด้านการ ศึกษาดังต่อไปนี้ พัฒนาคุณภาพและมาตรฐาน การจัดการศึกษาในทุกระดับและทุกรูปแบบ ให้สอดคล้องกับความเปลีย่ นแปลงทางเศรษฐกิจ และสั ง คม จั ด ให้ มี แ ผนการศึ ก ษาแห่ ง ชาติ กฎหมายเพื่ อ พั ฒ นาการศึ ก ษาของชาติ จั ด ให้ มี ก ารพั ฒ นาคุ ณ ภาพครู แ ละบุ ค ลากร ทางการศึ ก ษาให้ ก้ า วหน้ า ทั น การเปลี่ ย น แปลงของสังคมโลก รวมทั้งปลูกฝังให้ผู้เรียน มีจิตสำนึกของความเป็นไทย มีระเบียบวินัย คำนึ ง ถึ ง ประโยชน์ ส่ ว นรวม และยึ ด มั่ น ในการปกครองระบอบประชาธิ ป ไตยอั น มี พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (รัฐธรรมนูญ แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550,
68 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
2550) จะเห็นได้ว่า การพัฒนาการศึกษา ต้อง พัฒนาอย่างมีคุณภาพ และมีระบบ มาตรฐาน เพื่อก่อให้เกิดประสิทธิภาพ และประสิทธิผล สูงสุดต่อเยาวชนของชาติ การพัฒนาคุณภาพ การศึกษาในสถานศึกษานั้นกลไกที่สำคัญที่สุด ในการบริหาร คือ ผู้บริหารสถานศึกษา และ กระบวนการในการบริหารสถานศึกษาประเด็น หนึ่งที่สำคัญ คือ การตัดสินใจของผู้บริหาร จึ ง เป็ น ภาระหน้ า ที่ อั น สำคั ญ และจำเป็ น อย่ า งยิ่ ง ต่ อ ผู้ น ำและผู้ บ ริ ห ารถื อ ได้ ว่ า เป็ น กิ จ กรรม อั น สำคั ญ ยิ่ ง ที่ ผู้ น ำและผู้ บ ริ ห าร ทุกระดับจะต้องกระทำอยู่เสมอ การตัดสินใจ จึ ง เป็ น หั ว ใจที่ ส ำคั ญ ที่ สุ ด ในการปฏิ บั ติ งาน (วิเชียร วิทยอุดม, 2551) ดังนั้น กระบวน การการตั ด สิ น ใจของผู้ บ ริ ห ารนั้ น ถื อ เป็ น ความสำคั ญ ยิ่ ง ที่ จ ะพาองค์ ก ารไปสู่ ค วาม สำเร็จอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล นองจากนี้ ความสำคัญของการตัดสินใจนั้น ฮอยและมิสเกล (Hoy and Miskel) อธิบายว่า การตัดสินใจ คือ การตกลงใจว่าจะกระทำหรือ ละเว้นการกระทำการใดๆ ซึ่งเป็นความรับ ผิ ด ชอบของนั ก บริ ห ารทุ ก คน และเป็ น กระบวนการที่ ก ารตั ด สิ น ใจจะได้ รั บ การ ปฏิ บั ติ ก ระบวนการตั ด สิ น ใจจะไม่ ส้ิ น สุ ด ลง
วรกาญจน์ สุขสดเขียว และศรัญญู พงศ์ประเสริฐสิน
โดยให้ความเห็นเพิ่มเติมว่า ถ้าหากยังไม่มี การนำการตั ด สิ น ใจไปสู่ ก ารปฏิ บั ติ แ ล้ ว การตัดสินใจนั้นก็อาจจะเป็นเพียงความตั้งใจ ที่ดี และหากมีการนำไปปฏิบัติ จึงจะถือว่า เป็นการตัดสินใจ (Wayne N. Hoy and Cecil G. Miskel, 1991) เพราะฉะนั้น การตัดสินใจ ของผู้ บ ริ ห ารจึ ง เป็ น กระบวนการที่ มี ค วาม สำคัญมาก เพื่อก่อให้เกิดการนำพาองค์การ ไปสู่ความสำเร็จและการพัฒนาอย่างมากยิ่งขึ้น และสถานศึกษานับว่าเป็นส่วนที่มีความสำคัญ ต่ อ ประสิ ท ธิ ผ ลทางการศึ กษาเนื่อ งจากเป็ น ส่ ว นงานที่ จั ด การศึ ก ษาโดยตรงแก่ ผู้ เรี ย น และเมื่อมีความสำคัญ เช่นนี้แล้ว องค์การจะ ประสบความสำเร็จได้นั้นขึ้นอยู่กับการบริหาร การจั ด การและการตั ด สิ น ใจของผู้ บ ริ ห าร ทั้งสิ้นแนวความคิดของกริฟฟิธส์ (Griffiths) ได้ เ สนอแนวความคิ ด ว่ า การบริ ห ารคื อ การ ตั ด สิ น ใจ โดยอธิ บ ายเหตุ ผ ลประกอบไว้ 3 ประการ 1) การกำหนดโครงสร้างขององค์ การเป็นไปโดยอาศัยธรรมชาติของกระบวน การการตัดสินใจเป็นพื้นฐานของการพิจารณา 2) ฐานะตำแหน่งของแต่ละบุคคลในองค์การ มีความเกี่ยวข้องโดยตรงกับการควบคุมตาม กระบวนการการตั ด สิ น ใจของผู้ บ ริ ห าร 3) ประสิทธิผลของผู้บริหาร ขึ้นอยู่กับสัดส่วนของ จำนวนการตั ด สิ น ใจที่ เขาจั ด ทำด้ ว ยตนเอง (Daniel E. Griffiths, 1959) ดังนั้น การตัดสินใจ
ของผู้ บ ริ ห ารเป็ น หน้ า ที่ ที่ ผู้ บ ริ ห ารจำเป็ น ต้ อ งเอาใจใส่ แ ละต้ อ งมี วิ จ ารณญาณในการ ตัดสินใจเพื่อพัฒนาองค์การไปสู่ความสำเร็จ อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุด วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อทราบพฤติกรรมการตัดสินใจ ของผู้บริหารโรงเรียนคาทอลิกสังกัดอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ 2. เพื่ อ ทราบประสิ ท ธิ ผ ลโรงเรี ย น คาทอลิกสังกัดอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ 3. เพื่ อ ทราบความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า ง พฤติ ก รรมการตั ด สิ น ใจของผู้ บ ริ ห ารกั บ ประสิ ท ธิ ผ ลของโรงเรี ย นคาทอลิ ก สั ง กั ด อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ ขอบเขตของการวิจัย ในการวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยต้องการทราบ ถึ ง พฤติ ก รรมการตั ด สิ น ใจของผู้ บ ริ ห ารกั บ ประสิ ท ธิ ผ ลของโรงเรี ย น ในสถานศึ ก ษา คาทอลิ ก สั ง กั ด อั ค รสั ง ฆมณฑลกรุ ง เทพ ฯ จึงได้กำหนดตัวแปรที่ศึกษาดังนี้ คือ ตัวแปร ที่เกี่ยวกับพฤติกรรมการตัดสินใจของผู้บริหาร ผู้วิจัยใช้แนวคิดของแทนเนนบอม และ ชมิดท์ (Tannenbaum and Schmidt) ที่ได้จำแนก ความต่ อ เนื่ อ งของพฤติ ก รรมการตั ด สิ น ใจ ออกเป็น 7 แบบ ประกอบด้วย 1) ผู้บริหาร
ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2012/2555
69
พฤติกรรมการตัดสินใจของผู้บริหาร กับประสิทธิผลโรงเรียนคาทอลิก สังกัดอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ
ตั ด สิ น ใจเองแล้ ว แจ้ ง ให้ ท ราบ 2) ผู้ บ ริ ห าร ตัดสินใจแล้วเกลี้ยกล่อมให้ผู้ใต้บังคับบัญชา ยอมรั บ การตั ด สิ น ใจของตน 3) ผู้ บ ริ ห าร ตั ด สิ น ใจแล้ ว ขอความคิ ด เห็ น จากผู้ ใ ต้ บังคับบัญชาแต่ไม่เปลี่ยนแปลงการตัดสินใจ 4) ผูบ้ ริหารและครูตดั สินใจแล้วขอความคิดเห็น จากผู้ ใ ต้ บั ง คั บ บั ญ ชาและอาจเปลี่ ย นแปลง การตั ด สิ น ใจ 5) ผู้ บ ริ ห ารเสนอปั ญ หาแล้ ว ขอคำแนะนำหรื อ ความคิ ด เห็ น จากผู้ ใ ต้ บั ง คั บ บั ญ ชาแล้ ว นำมาพิ จ ารณาตั ด สิ น ใจ
6) ผู้บริหารชี้ข้อจำกัด แล้วให้ผู้ใต้บังคับบัญชา ตัดสินใจภายในขอบเขตนั้น 7) ผู้บริหารมอบ ให้ผู้ใต้บังคับบัญชาตัดสินใจเอง ส่วนตัวแปร ที่ เ กี่ ย วกั บ ประสิ ท ธิ ผ ลของโรงเรี ย นผู้ วิ จั ย ใช้แนวคิดของ ฮอยและ มิสเกล (Hoy and Miskel) ที่กล่าวถึงประสิทธิผลโรงเรียนใน 4 ด้าน คือ 1) การปรับตัว 2) การบรรลุเป้าหมาย 3) การบูรณาการ 4) การรักษาแบบแผน วัฒนธรรม
พฤติกรรมการตัดสินใจ ของผู้บริหาร (Xtot) 1. ผู้บริหารตัดสินใจเองแล้วแจ้งให้ทราบ (X1) 2. ผู้บริหารตัดสินใจแล้วเกลี้ยกล่อมให้ผู้ใต้บังคับบัญชา ยอมรับการตัดสินใจของตน (X2) 3. ผู้ บ ริ ห ารตั ด สิ น ใจแล้ ว ขอความคิ ด เห็ น จากผู้ ใ ต้ บั ง คั บ บัญชาแต่ไม่เปลี่ยนแปลงการตัดสินใจ (X3) 4. ผู้บริหารตัดสินใจแล้วขอความคิดเห็นจากผู้ใต้บังคับ บัญชาและผู้บริหารอาจเปลี่ยนแปลงการตัดสินใจ ใหม่ได้เมื่อได้ข้อมูลที่ดีกว่า (X4) 5. ผูบ้ ริหารเสนอปัญหาแล้วขอคำแนะนำหรือความคิดเห็น จากผู้ใต้บังคับบัญชาแล้วนำมาพิจารณาตัดสินใจ (X5) 6. ผู้บริหารชี้ข้อจำกัดแล้วให้ผู้ใต้บังคับบัญชาทำการ ตัดสินใจภายในขอบเขต (X6) 7. ผู้บริหารมอบให้ผู้ใต้บังคับบัญชาตัดสินใจเอง (X7)
ประสิทธิผลโรงเรียน (Ytot) 1. 2. 3. 4.
การปรับตัว (Y1) การบรรลุเป้าหมาย (Y2) การบูรณาการ (Y3) การรักษาแบบแผนวัฒนธรรม (Y4)
ภาพที่ 1 : ภาพแสดงขอบเขตของการวิจยั
70 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
วรกาญจน์ สุขสดเขียว และศรัญญู พงศ์ประเสริฐสิน
นิยามศัพท์เฉพาะ เพื่อให้เข้าใจความหมายของคำศัพท์ ที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ตรงกัน ผู้วิจัยได้กำหนด นิยามศัพท์เฉพาะไว้ดังนี้ พฤติ ก รรมการตั ด สิ น ใจ หมายถึ ง กระบวนการเลือกสิ่งต่างๆที่บุคคลหรือกลุ่ม บุ ค คลได้ อ าศั ย ความรู้ค วามชำนาญประสบ การณ์การทำงานรวมทัง้ มีวธิ กี ารต่างๆทีส่ ามารถ พิ จ ารณาวิ เ คราะห์ ห าทางเลื อ กที่ ดี ที่ สุ ด กั บ องค์ ก ารหรื อ สถานศึ ก ษาเพื่ อ ที่ จ ะสามารถ พั ฒ นาองค์ ก าร หรื อ สถานศึ ก ษาไปสู่ ค วาม สำเร็จ ซึง่ ประกอบด้วย 1) ผูบ้ ริหารตัดสินใจเอง แล้ ว แจ้ ง ให้ ท ราบ 2) ผู้ บ ริ ห ารตั ด สิ น ใจแล้ ว เกลี้ ย กล่ อ มให้ ผู้ ใ ต้ บั ง คั บ บั ญ ชายอมรั บ การ ตั ด สิ น ใจของตน 3) ผู้ บ ริ ห ารตั ด สิ น ใจแล้ ว ขอความคิ ด เห็ น จากผู้ ใ ต้ บั ง คั บ บั ญ ชาแต่ ไ ม่ เปลี่ ย นแปลงการตั ด สิ น ใจ 4) ผู้ บ ริ ห ารและ ครูตัดสินใจแล้วขอความคิดเห็นจากผู้ใต้บังคับ บั ญ ชาและอาจเปลี่ ย นแปลงการตั ด สิ น ใจ 5) ผู้บริหารเสนอปัญหาแล้วขอคำแนะนำหรือ ความคิดเห็นจากผู้ใต้บังคับบัญชาแล้วนำมา พิจารณาตัดสินใจ 6) ผู้บริหารชี้ข้อจำกัดแล้ว ให้ผใู้ ต้บงั คับบัญชาตัดสินใจภายในขอบเขตนัน้ 7) ผูบ้ ริหารมอบให้ผใู้ ต้บงั คับบัญชาตัดสินใจเอง ประสิทธิผลโรงเรียน หมายถึง การที่ สถานศึ ก ษาสามารถผลิ ต นั ก เรี ย นให้ มี ผ ล สัมฤทธิ์ทางการเรียนสูง สามารถผลิตนักเรียน
ที่ มี คุ ณ ภาพสู่ สั ง คมให้ นั ก เรี ย นสามารถ ดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างดีและมีคุณภาพ รวมทั้งสามารถแก้ปัญหาที่เข้ามาในชีวิตและ มี ทั ศ นคติ ใ นทางบวกและสามารถปรั บ ตั ว เข้ากับสภาพแวดล้อมได้ เพือ่ ทีจ่ ะพัฒนาตนเอง อยู่เสมอด้วยซึ่งประกอบด้วย 1) การปรับตัว 2) การบรรลุ เ ป้ า หมาย 3) การบู ร ณาการ 4) การรักษาแบบแผนวัฒนธรรม ผู้ บ ริ ห าร หมายถึ ง ผู้ อ ำนวยการ โรงเรียน ผู้จัดการโรงเรียน ผู้ช่วยฝ่ายวิชาการ ผู้ ช่ ว ยฝ่ า ยบริ ห ารทั่ ว ไป ผู้ ช่ ว ยฝ่ า ยกิ จ การ นักเรียนและหัวหน้ากลุ่มสาระต่าง ๆ สังกัด อั ค รสั ง ฆมณฑลกรุ ง เทพฯที่ มี ป ระสบการณ์ ทำงาน อย่างน้อย 3 ปี สถานศึกษาคาทอลิกสังกัดอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ หมายถึง โรงเรียนเอกชนของ มิ ส ซั ง โรมั น คาทอลิ ก แห่ ง กรุ ง เทพฯ ที่ เ ปิ ด ทำการสอนหลั ก สู ต รการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน พุทธศักราช 2551 โดยมุขนายกมิสซังโรมัน คาทอลิ ก แห่ ง กรุ ง เทพฯ เป็นผู้รับใบอนุญาต และมอบอำนาจให้บาทหลวงของอัครสังฆมณฑล กรุงเทพฯ เป็นผู้แทนผู้รับใบอนุญาต และ ดำเนินการบริหารโดยบาทหลวงและนักบวช คาทอลิก โดยมีผู้ช่วยมุขนายกฝ่ายการศึกษา เป็ น ผู้ ดู แ ลกำกั บ นโยบายทางการศึ ก ษา มี ส ถานศึ ก ษาที่ จั ด การศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน จำนวน 36 แห่ ง และแบ่ ง เป็ น 6 เขตการ
ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2012/2555
71
พฤติกรรมการตัดสินใจของผู้บริหาร กับประสิทธิผลโรงเรียนคาทอลิก สังกัดอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ
ศึ ก ษ า ซึ่ ง ค ร อ บ ค ลุ ม พื้ น ที่ 1 0 จั ง ห วั ด ประกอบด้ ว ย กรุ ง เทพฯ นครปฐม อยุ ธ ยา ฉะเชิงเทรา สมุทรปราการ สุพรรณบุรี นครนายก นนทบุรี ปทุมธานี และสมุทรสาคร การดำเนินการวิจัย เป็นแนวทางให้การดำเนินการวิจัย เป็นไปอย่างมีระบบและบรรลุจุดมุ่งหมายของ การวิจัยที่กำหนดไว้ ผู้วิจัยจึงกำหนดขั้นตอน ของการวิจัยเป็น 3 ขั้นตอน คือ ขั้นตอนที่ 1 การจัดเตรียมโครงการ วิ จั ย เป็ น การศึ ก ษาข้ อ มู ล สถิ ติ ว รรณกรรมที่ เกี่ยวข้องต่าง ๆ จากตำรา เอกสารทางวิชาการ วารสาร เว็บไซต์ ตลอดจนงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เพื่อนำผลที่ได้จากการศึกษามาจัดทำโครงร่าง งานวิจยั ขั้นตอนที่ 2 การดำเนินการวิจัยเป็น ขั้นตอนที่ผู้วิจัยจัดสร้างเครื่องมือสำหรับเก็บ รวบรวมข้อมูลทดสอบ ปรับปรุงแก้ไขข้อบก พร่องของเครื่องมือแล้วนำเครื่องมือที่สร้างขึ้น ไปเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง แล้วนำข้อมูลที่ เก็บรวบรวมได้มาตรวจสอบความถูกต้อง ทำ การวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติและแปลผลการ วิเคราะห์ข้อมูล ขั้นตอนที่ 3 การรายงานผลการวิจัย ประชากรที่ใช้ในการวิจัย ได้ แ ก่ โรงเรี ย นคาทอลิ ก สั ง กั ด อั ค ร
72 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
สั ง ฆมณฑลกรุ ง เทพฯ ที่เ ปิ ด ทำการสอน หลักสูตรการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 จำนวน 36 แห่ง ขัน้ ตอนที่ 1 การกำหนดกลุม่ ตัวอย่าง ผู้ วิ จั ย ใช้ ต ารางประมาณขนาดตั ว อย่ า งของ เครจซีและมอร์แกน(Krejcie and Morgan, 2540) จากโรงเรียนคาทอลิกสังกัดอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ ที่เปิดทำการสอนหลักสูตร การศึกษาขัน้ พืน้ ฐานพุทธศักราช 2551 จำนวน ทั้งสิ้น36 แห่ง ได้กลุ่มตัวอย่าง 32 แห่งแล้วใช้ วิธีการสุ่มอย่างง่าย(Simple Random Sam pling) ขั้ น ตอนที่ 2 ผู้ ใ ห้ ข้ อ มู ล ของแต่ ล ะ โรงเรียนที่เป็นกลุ่มตัวอย่างโดยผู้ให้ข้อมูลแต่ ละโรงเรียนโรงเรี ย นละ 8 คน ประกอบด้ ว ย ผู้บริหารจำนวน 1 คนผู้ช่วยผู้บริหารจำนวน 3 คน และครูผู้สอน จำนวน 4 คน รวมผู้ให้ข้อ มูลทั้งสิ้นจำนวน 256 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับพฤติกรรม การตัดสินใจของผู้บริหาร และประสิทธิผล โรงเรี ย นคาทอลิ ก และนำข้ อ มู ล ที่ ไ ด้ จ าก แบบสอบถามนำมาวิเคราะห์ สถิติที่ใช้ในการ วิเคราะห์ขอ้ มูล คือ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ใช้ ค่าเฉลีย่ ส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐานและการวิเคราะห์ หาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ แบบสอบถามแบ่งออกเป็น 3 ตอน
วรกาญจน์ สุขสดเขียว และศรัญญู พงศ์ประเสริฐสิน
ตอนที่ 1 สอบถามเกีย่ วกับสถานภาพ ส่ ว นตั ว ของผู้ ใ ห้ ข้ อ มู ล มี ลั ก ษณะเป็ น แบบ ตรวจสอบรายการ (Check List) จำนวน 5 ข้อ สอบถามเกี่ยวกับ 1) เพศ 2) อายุ 3) ระดับ การศึกษา 4) ตำแหน่งหน้าที่ 5) ประสบการณ์ ในการทำงาน ตอนที่ 2 สอบถามเกีย่ วกับพฤติกรรม การตัดสินใจของผู้บริหารโรงเรียนคาทอลิก สังกัดอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ ซึ่งสร้างตาม แนวคิดของแทนเนนบอมและชมิดท์ (Tann enbaum and Schmidt, 1958) โดยผู้วิจัย ได้ประยุกต์มาจากแบบสอบถามของนางสาว อนงค์ แสงแก้ว (พ.ศ.2548) ซึ่งใช้วัดพฤติกรรม การตัดสินใจของผู้บริหาร ประกอบด้วย 1) ผู้ บริ ห ารตั ด สิ น ใจเองแล้ ว แจ้ ง ให้ ท ราบ 2) ผู้ บริหารตัดสินใจแล้วเกลี้ยกล่อมให้ผู้ใต้บังคับ บัญชายอมรับการตัดสินใจของตน 3) ผู้บริหาร ตั ด สิ น ใจแล้ ว ขอความคิ ด เห็ น จากผู้ ใ ต้ บั ง คั บ บั ญ ชาแต่ ไ ม่ เ ปลี่ ย นแปลงการตั ด สิ น ใจ 4) ผู้ บ ริ ห ารและครู ตั ด สิ น ใจแล้ ว ขอความ คิ ด เห็ น จากผู้ ใ ต้ บั ง คั บ บั ญ ชาและอาจ เปลี่ยนแปลงการตัดสินใจ 5) ผู้บริหารเสนอ ปัญหาแล้วขอคำแนะนำหรือความคิดเห็นจาก ผู้ใต้บังคับบัญชาแล้วนำมาพิจารณาตัดสินใจ 6) ผู้บริหารชี้ข้อจำกัด แล้วให้ผู้ใต้บังคับบัญชา ตัดสินใจภายในขอบเขตนั้น และ 7) ผูบ้ ริหาร มอบให้ผู้ใต้บังคับบัญชาตัดสินใจเอง
ตอนที่ 3 สอบถามเกี่ยวกับประสิทธิ ผลโรงเรี ย นซึ่ ง สร้ า งตามแนวคิ ด ของฮอย และมิสเกล (Hoy and Miskel, 1991) ประกอบ ด้วย 1) การปรับตัว 2) การบรรลุเป้าหมาย 3) การบู ร ณาการ 4) การรั ก ษาแบบแผน วัฒนธรรม แบบสอบถามในตอนที่ 2 และตอน ที่ 3 มี ลั ก ษณะเป็ น มาตราส่ ว นประมาณค่ า 5 ระดัของไลเคิร์ท (Likert’s Five Rating Scale, 1967) คือ มากที่สุด มีค่าน้ำหนักเท่ากับ 5 คะแนน มาก มีค่าน้ำหนักเท่ากับ 4 คะแนน ปานกลาง มีค่าน้ำหนักเท่ากับ 3 คะแนน น้อย มีค่าน้ำหนักเท่ากับ 2 คะแนน และ น้อยที่สุด มีค่าน้ำหนักเท่ากับ 1 คะแนน ผลการวิจัย ตอนที่ 1 การวิ เ คราะห์ ส ถานภาพ ส่วนตัวของผู้ตอบแบบสอบถาม สถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม โดยภาพรวมส่ ว นใหญ่ เ ป็ น เพศหญิ ง จำนวน 197 คนคิดเป็นร้อยละ 79.44 เพศชาย จำนวน 51 คนคิดเป็นร้อยละ 20.56 มีอายุระหว่าง 41-50 ปีมากที่สุด จำนวน103 คน คิดเป็น ร้อยละ 41.53 มีอายุต่ำกว่า 30 ปีน้อยที่สุด จำนวน 9 คน คิดเป็นร้อยละ 3.63 มีสถานภาพ เป็นฆราวาสมากที่สุด จำนวน 223 คนคิดเป็น ร้ อ ยละ 89.92 มี ส ถานภาพเป็ น บาทหลวง
ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2012/2555
73
พฤติกรรมการตัดสินใจของผู้บริหาร กับประสิทธิผลโรงเรียนคาทอลิก สังกัดอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ
น้อยที่สุด จำนวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 1.61 ส่ ว นใหญ่ จ บการศึ ก ษาระดั บ ปริ ญ ญาตรี จำนวน 166 คน คิดเป็นร้อยละ 66.94 จบการศึ ก ษาสู ง กว่ า ปริ ญ ญาโทน้ อ ยที่ สุ ด จำนวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 2.82 มีตำแหน่ง หน้าที่เป็นครูผู้สอนมากที่สุด จำนวน 124 คน คิ ด เป็ น ร้ อ ยละ 50.00 มี ต ำแหน่ ง หน้ า ที่ เป็นผู้บริหารน้อยที่สุด จำนวน 31 คน คิดเป็น ร้อยละ 12.50 และส่วนใหญ่มีประสบการณ์ ในการทำงาน 16 ปีขึ้นไป จำนวน 93 คน คิดเป็นร้อยละ 37.50 ส่วนผู้ที่มีประสบการณ์ ในการทำงานไม่เกิน 5 ปีมีน้อยที่สุด จำนวน 28 คน คิดเป็นร้อยละ 11.29 ตอนที่ 2 การวิ เ คราะห์ พ ฤติ ก รรม การตัดสินใจของผู้บริหารโรงเรียนคาทอลิก
74 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
สังกัดอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ การวิเคราะห์พฤติกรรมการตัดสินใจ ของผู้ บ ริ ห ารโรงเรี ย นคาทอลิ ก สั ง กั ด อั ค ร สั ง ฆมณฑลกรุ ง เทพฯเพื่ อ ตอบคำถามของ การวิ จั ย ที่ ว่ า พฤติ ก รรมการตั ด สิ น ใจของ ผูบ้ ริหารโรงเรียนคาทอลิกสังกัดอัครสังฆมณฑล กรุงเทพฯ อยู่ในระดับใดผู้วิจัยวิเคราะห์จาก ค่ า เฉลี่ ย ( X ) และส่ ว นเบี่ ย งเบนมาตรฐาน (S.D.) ของพฤติกรรมการตัดสินใจของผู้บริหาร โรงเรี ย นคาทอลิ ก สั ง กั ด อั ค รสั ง ฆมณฑล กรุงเทพฯ ทั้งในภาพรวมและจำแนกตามองค์ ประกอบของพฤติ ก รรมการตั ด สิ น ใจของ ผู้บริหาร แล้วนำไปไปเปรียบเทียบกับเกณฑ์ ตามขอบเขตของค่ า เฉลี่ ย ตามแนวคิ ด ของ เบสท์ (Best)
วรกาญจน์ สุขสดเขียว และศรัญญู พงศ์ประเสริฐสิน
ตารางที่ 1 ค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและค่าพฤติกรรมการตัดสินใจของผู้บริหารโรงเรียน คาทอลิก สังกัดอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ พฤติกรรมการตัดสินใจของผู้บริหาร X S.D. ระดับ 1) ผู้บริหารตัดสินใจเองแล้วแจ้งให้ทราบ 3.74 .81 มาก 2) ผู้บริหารตัดสินใจแล้วเกลี้ยกล่อมให้ผู้ใต้บังคับบัญชา 3.53 .88 มาก ยอมรับการตัดสินใจของตน 3) ผู้บริหารตัดสินใจแล้วขอความคิดเห็นจากผู้ใต้ 3.49 .85 ปานกลาง บังคับบัญชาแต่ไม่เปลี่ยนแปลงการตัดสินใจ 4) ผู้บริหารและครูตัดสินใจแล้วขอความคิดเห็นจาก 3.93 .77 มาก ผู้ใต้บังคับบัญชาและอาจเปลี่ยนแปลงการตัดสินใจ 5) ผู้บริหารเสนอปัญหาแล้วขอคำแนะนำหรือความคิดเห็น 3.71 .78 มาก จากผู้ใต้บังคับบัญชาแล้วนำมาพิจารณาตัดสินใจ 6) ผู้บริหารชี้ข้อจำกัด แล้วให้ผู้ใต้บังคับบัญชาตัดสินใจ 3.91 .62 มาก ภายในขอบเขตนั้น 7) ผู้บริหารมอบให้ผู้ใต้บังคับบัญชาตัดสินใจเอง 3.87 .84 มาก รวม 3.74 .79 มาก จากตารางที่ 1 พฤติกรรมการตัดสินใจของ ผู้ บ ริ ห ารโรงเรี ย นคาทอลิ ก สั ง กั ด อั ค รสั ง ฆมณฑลกรุ ง เทพฯ พบว่ า โดยภาพรวม อยู่ในระดับมาก (X = 3.74, S.D. = 0.79) และเมื่ อ พิ จ ารณาเป็ น รายข้ อ พบว่ า อยู่ ใ น ระดับมาก 6 ข้อ และอยู่ในระดับปานกลาง 1ข้อ โดยเรี ย งจากค่ า เฉลี่ ย จากมากไปน้ อ ยดั ง นี้ ผู้บริหารและครูตัดสินใจแล้วขอความคิดเห็น จากผูใ้ ต้บงั คับบัญชาและอาจเปลีย่ นแปลงการ ตัดสินใจ (X = 3.93 , S.D. = 0.77), ผู้บริหารชี้
ข้ อ จำกั ด แล้ ว ให้ ผู้ ใ ต้ บั ง คั บ บั ญ ชาตั ด สิ น ใจ ภายในขอบเขตนั้น (X = 3.91, S.D. = 0.62 ), ผู้บริหารมอบให้ผู้ใต้บังคับบัญชาตัดสินใจเอง (X=3.87,S.D.=0.84),ผูบ้ ริหารตัดสินใจเองแล้ว แจ้งให้ทราบ (X = 3.74, S.D. = 0.81), ผู้บริหาร เสนอปัญหาแล้วขอคำแนะนำหรือความคิด เห็ น จากผู้ ใ ต้ บั ง คั บ บั ญ ชาแล้ ว นำมาพิ จ ารณา ตัดสินใจ (X = 3.71 , S.D. = 0.78), ผูบ้ ริหารตัดสินใจ แล้ ว เกลี้ ย กล่ อ มให้ ผู้ ใ ต้ บั ง คั บ บั ญ ชายอมรั บ การตัดสินใจของตน (X = 3.53, S.D. = 0.88),และ
ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2012/2555
75
พฤติกรรมการตัดสินใจของผู้บริหาร กับประสิทธิผลโรงเรียนคาทอลิก สังกัดอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ
ผู้ บ ริ ห ารตั ด สิ น ใจแล้ ว ขอความคิ ด เห็ น จาก ผู้ใต้บังคับบัญชาแต่ไม่เปลี่ยนแปลงการตัดสินใจ อยู่ในระดับปานกลาง (X = 3.49 , S.D. = 0.85 ) ตอนที่ 3 การวิเคราะห์ประสิทธิผลโรง เรียนคาทอลิก สังกัดอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ การวิเคราะห์ประสิทธิผลโรงเรียนคาทอลิกสังกัด อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ เพื่อตอบคำถามของ การวิ จั ย ที่ ว่ า ประสิ ท ธิ ผ ลโรงเรี ย นคาทอลิ ก
สังกัดอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯอยู่ในระดับใด ผู้ วิ จั ย วิ เ คราะห์ จ ากค่ า เฉลี่ ย (X)และส่ ว น เบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ของประสิทธิผล โรงเรี ย นคาทอลิ ก สั ง กั ด อั ค รสั ง ฆมณฑล กรุ ง เทพฯ ทั้ ง ในภาพรวมและจำแนกตาม องค์ ป ระกอบของประสิ ท ธิ ผ ลของโรงเรี ย น แล้วนำไปเปรียบเทียบกับเกณฑ์ตามขอบเขต ของค่าเฉลี่ยตามแนวคิดของเบสท์ (Best)
ตารางที่ 2 ค่าเฉลีย่ ค่าส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน และประสิทธิผลโรงเรียนคาทอลิก สงั กัดอัครสังฆมณฑล กรุงเทพฯ ประสิทธิผลของโรงเรียน X S.D. ระดับ 1) การปรับตัว 4.11 .43 มาก 2) การบรรลุเป้าหมาย 3.97 .36 มาก 3) การบูรณาการ 3.97 .48 มาก 4) การรักษาแบบแผนวัฒนธรรม 4.05 .53 มาก รวม 4.02 .47 มาก
จากตารางที่ 2 ประสิทธิผลโรงเรียนคาทอลิก สั ง กั ด อั ค รสั ง ฆมณฑลกรุ ง เทพฯ พบว่ า โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก (X = 4.02, S.D. = 0.47)และเมื่ อ พิ จ ารณาเป็ น รายข้ อ พบว่ า อยู่ในระดับมากทุกข้อ โดยเรียงจากค่าเฉลี่ยจาก
76 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
มากไปน้อย ดังนี้ การปรับตัว (X = 4.11 , S.D. = .43), การรักษาแบบแผนวัฒนธรรม ( X= 4.05, S.D. = 0.53 ), การบูรณาการ(X = 3.97,S.D. = .48 ), การบรรลุเป้าหมาย (X = 3.97, S.D. = .46 )
วรกาญจน์ สุขสดเขียว และศรัญญู พงศ์ประเสริฐสิน
ตอนที่ 4 การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ ระหว่าง พฤติกรรมการตัดสินใจของผู้บริหาร กั บ ประสิ ท ธิ ผ ลโรงเรี ย นคาทอลิ ก สั ง กั ด อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ ในการหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ ระหว่าง พฤติกรรมการตัดสินใจของผู้บริหาร
กั ป ระสิ ท ธิ ผ ลโรงเรี ย นคาทอลิ ก สั ง กั ด อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ ดำเนินการโดยใช้ วิธีการหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์ สัน (Pearson’s product moment correlation coefficient) ผลการวิเคราะห์ปรากฏดัง รายละเอียดตามตารางที่ 3
ตารางที่ 3 ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการตัดสินใจของผู้บริหาร กับประสิทธิผล โรงเรียนคาทอลิก สังกัดอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ ตัวแปร Y1 Y2 Y3 Y4 Ytot X1 .260** .240** .750** .154** .453** X2 .098 .122 .411** .055 .222** X3 .181** .199 .282** .176** .245** X4 .413** .298** .295** .264** .400** X5 .351** .369** .920** .300** .626** X6 .533** .569** .533** .435** .659** X7 .547** .530** .462** .454** .628** Xtot .505** .473** .792** .388** .689**
** มีนัยสำคัญที่ระดับ 0.01 * มีนัยสำคัญที่ระดับ 0.05
ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2012/2555
77
พฤติกรรมการตัดสินใจของผู้บริหาร กับประสิทธิผลโรงเรียนคาทอลิก สังกัดอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ
สรุปผลการวิจัย ผลจากการวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ มีข้อค้นพบสรุปได้ดังนี้ 1. พฤติ ก รรมการตั ด สิ น ใจของ ผูบ้ ริหารโรงเรียนคาทอลิก สังกัดอัครสังฆมณฑล กรุงเทพฯ พบว่าโดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก และเมื่ อ พิ จ ารณาเป็นรายด้านพบว่า อยู่ใน ระดับมาก 6 ด้าน และ อยู่ในระดับปานกลาง 1 ด้าน โดยเรียงจากค่าเฉลี่ยมากไปหาน้อย ดังนี้ ผู้บริหารและครูตัดสินใจแล้วขอความ คิดเห็นจากผู้ใต้บังคับบัญชาและอาจเปลี่ยน แปลงการตัดสินใจ ผู้บริหารชี้ข้อจำกัดแล้วให้ ผู้ใต้บังคับบัญชาตัดสินใจภายในขอบเขตนั้น ผู้บริหารมอบให้ผู้ใต้บังคับบัญชาตัดสินใจเอง ผู้ บ ริ ห ารตั ด สิ น ใจเองแล้ ว แจ้ ง ให้ ท ราบ ผู้ บ ริ ห ารเสนอปัญหาแล้วขอคำแนะนำหรือ ความคิดเห็นจากผู้ใต้บังคับบัญชาแล้วนำมา พิ จ ารณาตั ด สิ น ใจ ผู้ บ ริ ห ารตั ด สิ น ใจแล้ ว เกลี้ ย กล่ อ มให้ ผู้ ใ ต้ บั ง คั บ บั ญ ชายอมรั บ การ ตัดสินใจของตน และผู้บริหารตัดสินใจแล้ว ขอความคิ ด เห็ น จากผู้ ใ ต้ บั ง คั บ บั ญ ชาแต่ ไม่ เ ปลี่ ย นแปลงการตั ด สิ น ใจอยู่ ใ นระดั บ ปานกลาง 2. ประสิทธิผลโรงเรียนคาทอ ลิกสังกัด อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ พบว่าโดยภาพรวม อยู่ในระดับมากและเมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่าอยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยเรียงจาก
78 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
ค่าเฉลี่ยมากไปหาน้อย ดังนี้ ด้านการปรับตัว ด้ า นการรั ก ษาแบบแผนวั ฒ นธรรมด้ า นการ บูรณาการ และด้านการบรรลุเป้าหมาย 3. ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรม การตั ด สิ น ใจของผู้ บ ริ ห ารกั บ ประสิ ท ธิ ผ ล ของโรงเรียนคาทอลิกสังกัดอัครสังฆมณฑล กรุ ง เทพฯ โดยภาพรวมมี ค วามสั ม พั น ธ์ กั น อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 การอภิปรายผล 1. ผลการวิจัยพบว่า พฤติกรรมการ ตัดสินใจของผู้บริหารโรงเรียนคาทอลิก สังกัด อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ พบว่าโดยภาพรวม อยู่ ใ นระดั บ มากทั้ ง นี้ อ าจเป็ น เพราะว่ า ผู้ บ ริ ห ารโรงเรี ย นคาทอลิ ก ทุ ก คนตระหนั ก และเข้ า ใจถึ ง ความสำคั ญ ของนโยบายของ ฝ่ า ยการศึ ก ษาอั ค รสั ง ฆมณฑลกรุ ง เทพฯ ที่ ว่ า “การพั ฒ นาตนเองและยกระดั บ มาตรฐานการศึ ก ษาให้ เจริ ญ ก้ า วหน้ า มุ่ ง สู่ ความเป็นเลิศทางวิชาการและประสิทธิภาพ การทำงาน” คื อ ในการจะพั ฒ นาโรงเรี ย น คาทอลิ ก ให้ มุ่ ง ไปสู่ เ ป้ า หมายที่ ไ ด้ ตั้ ง ไว้ เป็นการพัฒนาตนเองและยกระดับมาตรฐาน การศึกษาให้เจริญก้าวหน้าได้นั้น สิ่งที่สำคัญ ประการหนึ่ง คือ ต้องอาศัยการตัดสินใจ ของ ผู้บริหาร ด้วยการคาดการณ์ล่วงหน้า การมอง การณ์ ไ กลของผู้ บ ริ ห ารการยอมรั บ ฟั ง
วรกาญจน์ สุขสดเขียว และศรัญญู พงศ์ประเสริฐสิน
ความคิดเห็นจากผู้ร่วมงาน สิ่งต่าง ๆ เหล่านี้ จะช่วยให้ผู้บริหารมีวิสัยทัศน์ที่กว้างไกลมาก ยิ่งขึ้น และสามารถมองภาพรวมของโรงเรียน ได้ชัดเจนยิ่งขึ้น ทั้งนี้เพือ่ มุง่ สูค่ วามเป็นเลิศทาง วิชาการ และเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานของ ผู้บริหารกับคณะครูที่ร่วมงานในโรงเรียนของ ตนนอกจากนี้ฝ่ายการศึกษาอัครสังฆมณฑล กรุงเทพฯ ได้กำหนดเป็นนโยบายในการเสริม สร้ า งคุ ณ ภาพชี วิ ต การทำงานของครู ทั้ ง ฝ่ายกาย คือ การส่งเสริมสวัสดิภาพชีวิตและ ความเป็ น อยู่ ข องครู ใ ห้ อ ยู่ ใ นสถานภาพที่ ดี ตามสมควรแก่ อั ต ภาพและค่ า ครองชี พ ของ สังคม และฝ่ายจิตใจ คือ การเสริมสร้างบรรยากาศ ที่ ดี แ ละมี คุ ณ ธรรมในสถานศึ ก ษา รวมทั้ ง เจตนารมณ์ที่จะให้การจัดการศึกษาของอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ เป็นไปเพื่อรับใช้สังคม จึงถือเป็นแนวทางสำคัญทีผ่ บู้ ริหารสถานศึกษา คาทอลิ ก สั ง กั ด อั ค รสั ง ฆมณฑลกรุ ง เทพฯ นำไปบริหารสถานศึกษาในความรับผิดชอบ ของตนทั้ ง ในด้ า นของการกำหนดลั ก ษณะ ของงานการปกครองบังคับบัญชา การสร้าง ความสั ม พั น ธ์ กั บ ครู แ ละบุ ค ลากรของ สถานศึกษาในการปฏิบัติงาน และการสร้าง สำนึ ก ให้ กั บ ครู ว่ า ตนเป็ น บุ ค ลากรที่ ส ำคั ญ และมี คุ ณ ค่ า ต่ อ สถานศึ ก ษา สิ่ ง ต่ า ง ๆ ที่ อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ ได้กำหนดทั้งด้าน ฝ่ายกายและฝ่ายใจ ต้องอาศัยการตัดสินใจ
ของผู้ บ ริ ห ารประสบการณ์ ใ นการทำงาน ของผู้บริหาร และ การรับฟังความคิดเห็น จากผู้ ร่ ว มงาน รวมทั้ ง ข้ อ เสนอแนะต่ า ง ๆ ด้ ว ยจึ ง ก่ อ ให้ เ กิ ด ทั้ ง ประสิ ท ธิ ภ าพ และ ประสิทธิผลในการทำงานในโรงเรียนคาทอลิก สอดคล้องกับงานวิจัยของ อรพรรณ ตู้จินดา (2544) ซึ่งทำการวิจัยเรื่องพฤติกรรมการตัด สินใจของผู้บริหารที่ส่งผลต่อความพึงพอใจ ของครูโรงเรียนประถมศึกษา จังหวัดสุพรรณบุรี พบว่าพฤติ ก รรมการตั ด สิ น ใจของผู้ บ ริ ห าร โรงเรี ย นประถมศึ ก ษาจั ง หวั ด สุ พ รรณบุ รี พบว่าในภาพรวมผู้ บ ริ ห ารมี พ ฤติ ก รรมการ ตัดสินใจอยู่ในระดับปานกลางเมื่อพิจารณา เป็นรายด้าน พบว่า อยู่ในระดับมาก 6 ด้าน และ ปานกลาง 1 ด้าน และ พฤติกรรมการ ตั ด สิ น ใจของผู้ บ ริ ห ารแบผู้ บ ริ ห ารและครู ตั ด สิ น ใจแล้ ว ขอความคิ ด เห็ น จากผู้ ใ ต้ บังคับบัญชาและ อาจเปลีย่ นแปลงการตัดสินใจ มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด เป็นพฤติกรรมการตัดสินใจ ที่ ผู้ บ ริ ห ารใช้ ม ากที่ สุ ด เพื่ อ ว่ า จะได้ มี ก าร ขอความคิดเห็นจากผู้ร่วมงาน โดยผู้บริหาร และผู้ ช่ ว ยผู้ บ ริ ห ารสร้ า งกรอบแนวทาง วิสัยทัศน์ต่าง ๆ ที่จะทำในปีนั้น ๆ และมีการ ประชุ ม ให้ ผู้ ร่ ว มงานทุ ก คนได้ ท ราบ และ ขอความคิ ด เห็ น จากผู้ ร่ ว มงาน และนำมา ปรั บ เปลี่ ย นตามความเหมาะสมที่ สุ ด เพื่ อ การทำงานในปีนั้น ๆ จะได้ราบรื่น และทุกคน
ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2012/2555
79
พฤติกรรมการตัดสินใจของผู้บริหาร กับประสิทธิผลโรงเรียนคาทอลิก สังกัดอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ
ก็จะทราบแนวทางต่าง ๆ ที่จะกระทำได้ไปใน ทิ ศ ทางเดี ย วกัน สอดคล้องกับงานวิจัยของ อรพรรณ ตูจ้ นิ ดา (2544) ทีไ่ ด้ศกึ ษาพฤติกรรม การตัดสินใจของผูบ้ ริหารทีส่ ง่ ผลต่อความพึงพอใจ ของครูโรงเรียนประถมศึกษาจังหวัดสุพรรณบุรี พบว่า ผู้บริหารแสดงพฤติกรรมการตัดสินใจ เป็นแบบที่ 4 คือ แบบผู้บริหารและครูร่วมกัน ตัดสินใจ เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่าแบบ พฤติกรรมการตัดสินใจของผู้บริหารโรงเรียน เป็ น แบบที่ 4 เช่ น เดี ย วกั น ในทุ ก ด้ า น คื อ ผู้บริหารและครูร่วมกันตัดสินใจ ทั้งนี้อาจเป็น เพราะว่ า ผู้ บ ริ ห ารและครู ข องสถานศึ ก ษา มีเป้าหมายเดียวกันในการทำงาน กล่าวคือ คุณภาพทางการศึกษา ซึ่งเราสามารถสังเกตได้ จากการพัฒนาการของนักเรีย และผลการ เรียนรูใ้ นด้านต่างๆ ทีว่ ดั ได้จากสาระการเรียนรู้ ของแต่ละกลุ่มสาระ และ งานวิจัยของเด็ฟลิน (Devlin) และของฮอย์กับมิสเคล (Hoy and Miskel) ที่ได้ศึกษาเกี่ยวกับการมีส่วนร่วมใน การตั ด สิ น ใจของครู อ าจารย์ ใ นสถานศึ ก ษา ซึ่งได้สรุปไว้ว่า โอกาสในการมีส่วนร่วมในการ กำหนดนโยบายเป็ น ปั จ จั ย สำคั ญ ที่ ส่ ง ผล ต่ อ ขวั ญ กำลั ง ใจของครู อ าจารย์ การมี ส่ ว น ร่วมในการตัดสินใจมีความสัมพันธ์ในทางบวก กับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานด้านการ สอนของครูอาจารย์ และครูอาจารย์นยิ มชมชอบ ผู้บริหารที่เปิดโอกาสให้พวกเขาได้มีส่วนร่วม
80 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
ในการตั ด สิ น ใจมากกว่ า ผู้ บ ริ ห ารที่ ไ ม่ ค่ อ ย เปิ ด โอกาสให้ พ วกเขาได้ มี ส วนร่ ว มในการ ตั ด สิ น ใจ ดั ง นั้ น การที่ ผู้ บ ริ ห ารและครู ตัดสินใจแล้วขอความคิดเห็นจากผู้ใต้บังคับ บั ญ ชาและอาจเปลี่ ย นแปลงการตั ด สิ น ใจ นั้ น ก่ อ ให้ เ กิ ด ความมั่ น ใจระหว่ า งผู้ บ ริ ห าร กับผู้ร่วมงาน เมื่อผู้บริหารแสดงถึงความไว้ วางใจและแสดงถึ ง การให้ ทุ ก คนมี ส่ ว นร่ ว ม ในการพัฒนาองค์กร ย่อมก่อให้เกิดผลดีทั้งต่อ สถานศึกษาและต่อการทำงานด้วยเพราะทุกคน ที่ทำงานในสถานศึกษา จะได้รู้วัตถุงประสงค์ วิสัยทัศน์ที่จะกระทำร่วมกัน และช่วยให้งาน ต่าง ๆ นัน้ บรรลุวตั ถุประสงค์ได้อย่างตรงเป้าหมาย มากที่สุดด้วย 2. ผลการวิจัยพบว่า ประสิทธิผลของ โรงเรี ย นคาทอลิ ก สั ง กั ด อั ค รสั ง ฆมณฑล กรุงเทพฯ พบว่า โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก อาจเนื่องมาจากในอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ มีการจัดการประชุม สร้างความเข้าใจในภาพรวม ของระดั บ อั ค รสั ง ฆมณฑลเพื่ อ ความเข้ า ใจ ไปในทิ ศ ทางเดี ย วกั น รวมทั้ ง ในด้ า น บุคลากรทางการศึกษาก็มีการจัดประชุม และ ส่ ง ไปอบรมอย่ า งต่ อ เนื่ อ งเพื่ อ พั ฒ นาอย่ า ง เป็นระบบ และในนโยบายการศึกษาของฝ่าย การศึกษาอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ ได้เขียนไว้วา่ “มุ่งพัฒนาคุณภาพครูและการสอน ส่งเสริม สวัสดิภาพชีวิต และความเป็นอยู่ของครู ให้อยู่
วรกาญจน์ สุขสดเขียว และศรัญญู พงศ์ประเสริฐสิน
ในสถานภาพที่ดี ตามสมควรแก่อัตภาพ และ ค่าครองชีพของสังคม” ในข้อที่กล่าวนี้ ก็จะ สอดคล้องกับกิจกรรมต่าง ๆ ที่แต่ละโรงเรียน ในอัครสังฆมณฑลได้ทำ ไม่ว่าจะเป็นการส่ง บุคลากรไปอบรมด้านต่าง ๆ ประชุมเพื่อพัฒนา แนวทางในการทำงานให้มีประสิทธิภาพและ ประสิทธิผลมากยิ่งขึ้น สอดคล้องกับงานวิจัย ของ นายสุดใจ วิชัย (2546) ที่ได้ศึกษาเรื่อง ระบบสังคมในโรงเรียนที่ส่งผลต่อประสิทธิผล ของโรงเรียนในสังกัดมูลนิธิแห่งสภาคริสตจักร ในประเทศไทย พบว่า ประสิทธิผลของโรงเรียน สั ง กั ด มู ล นิ ธิ แ ห่ ง สภาคริ ส ตจั ก รในประเทศ ไทยมีการปฏิบัติในภาพรวมอยู่ใน ระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า อยู่ในระดับ มากทุกด้าน และ ด้านการปรับตัว มีค่าเฉลี่ย มากที่สุด สำหรับด้านนี้ ด้านการปรับตัวนั้น เมื่อมีการปรับเปลี่ยน ปรับปรุง เปลี่ยนแปลง ในด้านต่าง ๆ เช่น ด้านหลักสูตร ด้านการเรียน การสอน รวมทั้ ง บางครั้ ง เกิ ด สถานการณ์ ฉุ ก เฉิ น ผู้ บ ริ ห ารและบุ ค ลากรสามารถที่ จ ะ ควบคุมและปรับเปลี่ยนตามสถานการณ์ต่าง ๆ ได้เป็นอย่างดี อาจเป็นเพราะมีการวางแผน หรื อ มี ก ารประชุ ม เพื่ อ เตรี ย มการรองรั บ สถานการณ์ต่าง ๆ ไว้แล้ว ซึ่งเป็นการแสดง ถึงความพร้อมของผู้บริหาร และ บุคลากรใน สถานศึกษาด้วย สอดคล้องกับงานวิจัยของ นายสมบัติ บุญเกิด (2548) ซึ่งได้ศึกษาเรื่อง
ประสิ ท ธิ ผ ลของโรงเรี ย นขนาดเล็ ก สั ง กั ด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสระแก้ว เขต 2 พบว่า ด้านความสามารถในการปรับเปลี่ยน และพัฒนาโรงเรียน ประสิทธิผลของโรงเรียน ขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา สระแก้ ว เขต 2 พบว่ า อยู่ ใ นระดั บ มาก เป็นเพราะผู้บริหารและครูต้องมีการปรับตัว ไม่หยุดนิ่ง พยายามปรับเปลี่ยนรูปแบบการ บริหารงาน และการดำเนินการต่าง ๆ ให้มคี วาม คล่องตัวต่อการปฏิบัติงาน ผู้บริหารและครู ควรมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ให้เกิดสิ่งใหม่ ๆ อยู่เสมอ ทั้งนี้ ก็สอดคล้องกับในฝ่ายการศึกษา ของอั ค รสั ง ฆมณฑลกรุ ง เทพฯ ที่ ต้ อ งมี ก าร พัฒนาครูอย่างต่อเนื่องและเป็นระบบ เพื่อ เตรี ย มความพร้ อ มต่ อ การเปลี่ ย นแปลง ต่าง ๆ ได้เสมอ โดยให้บุคลากรทุกคน มีความรู้ ในด้ า นต่ า งๆ โดยเฉพาะเรื่ อ งที่ ต นเองได้ รับผิดชอบนั้น ต้องมีความรู้เป็นอย่างดี เพื่อ ก่อให้เกิดประสิทธิภาพ และ ประสิทธิผลให้ มากยิ่ง ๆ ขึ้นด้วย ในงานวิจัยของ นาย ปิยะ ทรัพย์สมบูรณ์ (2545) ทำการวิจัยเกี่ยวกับ ความสั ม พั น ธ์ ข องบรรยากาศองค์ ก าร กับประสิทธิผลโรงเรียน พบว่า ประสิทธิผลของ โรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา เขตการศึกษา 1 อยู่ในระดับมาก ทั้งในภาพรวม และ เป็นรายด้าน เรียงลำดับได้ดังนี้ ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนของนักเรียน ความสามารถใน
ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2012/2555
81
พฤติกรรมการตัดสินใจของผู้บริหาร กับประสิทธิผลโรงเรียนคาทอลิก สังกัดอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ
การแก้ปัญหาภายในโรงเรียน ความสามารถ ในการปรั บ เปลี่ ย นและพั ฒ นาโรงเรี ย นและ ความสามารถในการพั ฒ นาเจตคติ นั ก เรี ย น เหตุที่ประสิทธิผลโรงเรียนมีความสำคัญและมี การปฏิบัติในระดับมากนั้น อาจเนื่องมาจาก กระแสการเปลี่ยนแปลงในยุคข้อมูลข่าวสาร ผลั ก ดั น ให้ เ กิ ด พระราชบั ญ ญั ติ ก ารศึ ก ษา แห่งชาติ พ.ศ. 2542 กระตุ้นให้หน่วยงานที่ เกี่ ย วข้ อ งในการดู แ ลการจั ด การศึ ก ษา คื อ กระทรวงศึ ก ษาธิ ก ารพยายามทุ ก วิ ถี ท างที่ จะปรับปรุงแนวทางการพัฒนาคุณภาพการ ศึกษา โดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ (ผลผลิตและผลลัพธ์) ด้วยนโยบายและมาตรการต่าง ๆ ซึ่งโรงเรียน ต่างขานนำมาพัฒนาโรงเรียนให้มีคุณภาพโดย ดำเนินงานให้มีทั้งประสิทธิภาพและประสิทธิ ผล ได้แก่ ระบบการประกันคุณภาพการศึกษา ซึ่ ง เป็ น ตั ว กำหนดมาตรฐานและตั ว บ่ ง ชี้ กลางของผลผลิต ปัจจัย และกระบวนการ จัดการศึกษา เพื่อเป็นแนวทางในการบริหาร โรงเรียนให้ได้มาตรฐานและการประกันคุณ ภาพการศึกษา เพื่อรองรับการประเมินทั้งการ ประเมิ น ภายในและการประเมิ น ภายนอก ให้ โ รงเรี ย นมี ม าตรฐานเป็ น ที่ ย อมรั บ ของ ชุมชนและสังคม นอกจากนี้ในระดับโรงเรียน ได้จัดการศึกษา ตามแนวนโยบายหลักแล้ว ในระดับเขต ระดับจังหวัด ระดับโรงเรียน ยังมีมาตรการอื่นกระตุ้นให้เกิดการพัฒนาได้
82 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
อีก เช่น การประกวดโรงเรียนพระราชทาน ประกวดโรงเรี ย นดี เ ด่ น ด้ า นต่ า ง ๆ มี ก าร ประเมินมาตรฐานโรงเรียนเป็นประจำทุกปี โดยกำหนดแนวปฏิบัติที่เอื้อให้ผู้บริหารมีแนว ทางในการปรับปรุงและพัฒนา พร้อมทั้งนำ ผลการประเมินเป็นฐานข้อมูลในการวางแผน เพื่อ พั ฒ นาให้ ป ระสิ ท ธิ ผ ลของโรงเรี ย นเพิ่ม สูงขึน้ นอกจากนัน้ ยังมุง่ เน้นการพัฒนาโรงเรียน ให้เป็นปัจจุบันโดยส่งเสริมให้โรงเรียนดูแลเอา ใจใส่ จัดระบบสังคมของโรงเรียนเพื่อการสนับ สนุ น การจั ด การศึ ก ษาพั ฒ นาโรงเรี ย นโดย มุ่งเน้นการทำให้โรงเรียนเป็นองค์กรแห่งการ เรียนรู้อย่างแท้จริง มีความพร้อมที่จะตอบ สนองต่อการเปลี่ยนแปลงทั้งภายในและภาย นอกโรงเรียน กล่าวคือเตรียมพร้อมให้โรงเรียน สามารถปรับตัว ซึ่งสะท้อนให้เห็นพฤติกรรม ของบุ ค ลากรในโรงเรี ย นว่ า บุ ค ลากรมี ค วาม ร่วมมือร่วมใจมีความพึงพอใจในการทำงาน และมีอุดมการณ์ พฤติกรรมเหล่านี้เมื่อ ผสม ผสานกันอย่างลงตัว ย่อมทำให้ภารกิจของ โรงเรี ย นเกิ ด ประสิ ท ธิ ผ ลอย่ า งดี และในปี การศึกษา 2552 ที่ผ่านมานี้ ได้เริ่มมีการใช้ หลั ก สู ต รแกนกลางการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน พุทธศักราช 2551 นั้น ตามโรงเรียนในอัคร สังฆมณฑลกรุงเทพฯ ก็ได้มกี ารเตรียมความพร้อม เพื่ อ ปรั บ เปลี่ ย นหลั ก สู ต รดั ง กล่ า ว โดย มี ก ารส่ ง บุ ค ลากรไปอบรมในเรื่ อ งดั ง กล่ า ว
วรกาญจน์ สุขสดเขียว และศรัญญู พงศ์ประเสริฐสิน
หรือ เชิญผู้มีความรู้มาให้คำแนะนำที่โรงเรียน ทั้งนี้ เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงต่างๆ ที่เกิด ขึ้นในสถานศึกษานั่นเอง 3. ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรม การตั ด สิ น ใจของผู้ บ ริ ห ารกั บ ประสิ ท ธิ ผ ล ของโรงเรียนคาทอลิก สังกัดอัครสังฆมณฑล กรุงเทพฯ โดยภาพรวมมีความสัมพันธ์ในระดับ ปานกลาง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ซึ่งเป็นไปตามสมมติฐานการวิจัย อาจเป็น เพราะว่า พฤติกรรมการตัดสินใจของผู้บริหาร กับประสิทธิผลโรงเรียนคาทอลิกนั้น ทุกด้าน ล้วนมีความสัมพันธ์กัน และมีความสำคัญต่อ การบริ ห ารงานในสถานศึ ก ษาอย่ า งมี ป ระ สิทธิภาพ และประสิทธิผล ผู้วิจัยคิดว่า ความ สำคั ญ ที่ ผู้ ต อบแบบวิ จั ย ได้ เ น้ น ไปทางด้ า น การปรับตัวนั้น เนื่องจากมีการปรับเปลี่ยน หลั ก สู ต รแกนกลางการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน พุทธศักราช 2551 ในปีการศึกษา 2552 นั่นเอง ทำให้มีการอบรม และเพิ่มเติมความรู้ด้าน หลักสูตรมากขึ้น และเป็นภาพที่ชัดเจนมากขึ้น โดยมีการจัดอบรม ให้ความรู้ และทำความ เข้าใจให้กับครูที่ดำเนินการสอน เพื่อเป็นแนว ทางในการดำเนินการสอนให้ตรงกับหลักสูตร ที่ปรับเปลี่ยนไปด้วย และในอีกด้านหนึ่งนั้น ผู้ วิจัยคิดว่า ในการบริหารโรงเรียนระดับอัคร สังฆมณฑลกรุงเทพฯ นั้น มีการปรับเปลี่ยน ผูบ้ ริหารโรงเรียน ในทุก ๆ 5 ปี โดยมีการโยกย้าย
ตามความเหมาะสม ดังนั้น ย่อมก่อให้เกิด การเปลี่ยนแปลงด้านวิสัยทัศน์พันธกิจต่าง ๆ ตามแนวทางของผู้ บ ริ ห ารที่ ไ ด้ ป รั บ เปลี่ ย น ไปแต่ ถึ ง อย่ า งไรก็ ต ามก็ ยั ง คงต้ อ งคงไว้ ซึ่ ง หลั ก การใหญ่ ๆ ของฝ่ า ยการศึ ก ษาอั ค รสั ง ฆมณฑลกรุ ง เทพฯอยู่ ด้ ว ย และเมื่ อ มี ก าร ปรั บ เปลี่ ย นแล้ ว นั้ น บุ ค ลากรทางการศึ ก ษา ก็ต้องปรับตัวและยอมรับในการเปลี่ยนแปลง ต่าง ๆ ดังนัน้ ผูว้ จิ ยั คิดว่า บุคลากรทางการศึกษา ได้ เ ห็ น ถึ ง ความสำคั ญ ของการเปลี่ย นแปลง ในด้ า นนี้ ด้ ว ย จึ ง เน้ น เรื่ อ งพฤติ ก รรมการ ตัดสินใจของผู้บริหารกับด้านการปรับตัวให้ มีความสัมพันธ์ในระดับมากด้วย ดังที่ฮอย และ มิสเกล (Hoy and Miskel) ที่กล่าวถึงประ สิทธิผลโรงเรียนใน 4 ด้าน คือ 1) การปรับตัว 2) การบรรลุเป้าหมาย 3) การบูรณาการ 4) การรักษาแบบแผนวัฒนธรรม 4. สำหรั บ พฤติ ก รรมการตั ด สิ น ใจ ของผู้บริหารมีความสัมพันธ์กับประสิทธิผล โรงเรียนคาทอลิกนั้น เป็นเพราะว่าผู้บริหาร โรงเรี ย นนั้ น ได้ เ ห็ น ถึ ง ความสำคั ญ ของการ บริหารงานโรงเรียน และตระหนักว่า ในการ ที่จะพัฒนาโรงเรียนให้มีความเจริญก้าวหน้า ได้ นั้ น ต้ อ งอาศั ย การตั ด สิ น ใจของผู้ บ ริ ก าร รวมทั้ ง ผู้ บ ริ ห ารต้ อ งได้ รั บ การอบรมพั ฒ นา ความรู้ต่าง ๆ และเพิ่มพูนความรู้ให้สูงขึ้นด้วย เพื่ อ จะได้ มี แ นวคิ ด ที่ ก ว้ า งไกลและสามารถ
ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2012/2555
83
พฤติกรรมการตัดสินใจของผู้บริหาร กับประสิทธิผลโรงเรียนคาทอลิก สังกัดอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ
เป็ น แบบอย่ า งให้ กั บ บุ ค ลากรในโรงเรี ย น ได้เห็น และนำไปเป็นแบบอย่างได้ นอกจากนี้ การที่ จ ะได้ รั บ ความร่ ว มมื อ จากทุ ก คนใน โรงเรียนนั้น ผู้บริหารต้องยอมรับความคิดเห็น ต่ า งๆและเปิ ด โอกาสให้ ผู้ ร่ ว มงานทุ ก ท่ า น มี ส่ว นร่ ว มโดยการรั บ ฟั ง ความคิ ด เห็ น ต่ า งๆ เปิ ด โอกาสให้ ทุ ก คนได้ แ สดงความคิ ด เห็ น และยอมรับปัญหาต่า ๆ ตามความเป็นจริง และปรับเปลี่ยน พัฒนาแนวทางให้เป็นไปใน ทิ ศ ทางที่ ดี ม ากยิ่ ง ขึ้ น ด้ ว ย สอดคล้ อ งกั บ แนวความคิดของมอรีส (Moris, 1964) ที่สรุป ว่า การตัดสินใจที่มีประสิทธิภาพมากที่สุด ผู้บริหารจะต้องพยายามหาแนวทางหรือวิธี การต่าง ๆทีก่ ว้างขวางให้ครอบคลุมปัญหามาก ทีส่ ดุ และผลการวิจยั ยังพบว่า ผูบ้ ริหารโรงเรียน ใช้ขั้นตอนการปฏิบัติที่เลือกไว้ และในแนวทาง เกณฑ์มาตรฐานผูบ้ ริหารการศึกษาของคุรสุ ภา ที่ ก ำหนดให้ บ ทบาทหน้ า ที่ ข องผู้ บ ริ ห าร ประการหนึ่งก็คือการตัดสินใจปฏิบัติกิจกรรม ต่ า งๆโดยคำนึ ง ถึ ง ผลที่ จ ะเกิ ด ขึ้ น กั บ การ พั ฒ นาบุ ค ลากรผู้ เรี ย นและชุ ม ชนและสอด คล้องกับ งานวิจัยของ เฮมพิล กริฟพิธ และ เฟดเดอริคสัน (Hemphill, Griffiths and Frederickson, 1962) จากมหาวิทยาลัย โคลั ม เบี ย ที่ ไ ด้ ท ำการวิ ย จั พ ฤติ ก รรมการตั ด สิ น ใจกั บ ผลการปฏิ บั ติ ง านของครู ใ หญ่ ในด้ า นการให้ มี ส่ ว นร่ ว มในการตั ด สิ น ใจ
84 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
(Participation in Decision Making) ผลการ วิจัยพบว่า เมื่อครู อาจารย์ได้มีส่วนร่วมใน การตัดสินใจมาก ความพึงพอใจในงาน (Job Satisfaction) และความรู้สึกผูกพัน (Organizationalcommitment) กั บ สถานศึ ก ษา จะมีมากตามไปด้วย ดังนั้นการตัดสินใจของ ผู้บริหารนั้นก่อให้เกิดความหวัง และเชื่อมั่น ในโรงเรียน เพราะว่าบุคลากรในโรงเรียน เชือ่ ว่า การตั ด สิ น ใจของผู้ บ ริ ห ารย่ อ มก่ อ ให้ เ กิ ด ความก้าวหน้าของโรงเรียน รวมทั้งก่อให้เกิด ประสิทธิภาพและประสิทธิผลอย่างเต็มที่ด้วย และผู้บริหารที่ดี ย่อมต้องรับผิดชอบต่อการ ตัดสินใจของตน ไม่ว่าผลนั้นจะออกมาดีหรือ ไม่ดีก็ตาม เพราะว่าบุคลากรของโรงเรียนได้ มอบความไว้วางใจ และความเชื่อมั่นให้กับ ผู้บริหารของตนแล้ว ข้อเสนอแนะจากการวิจัย จากผลการวิจยั เรือ่ ง พฤติกรรมการตัด สินใจของผู้บริหารกับประสิทธิผลของโรงเรียน คาทอลิก สงั กัดอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ ผูว้ จิ ยั มี ข้ อ เสนอแนะเพื่ อ เป็ น แนวทางในการ ส่งเสริมพฤติกรรมการตัดสินใจของผู้บริหาร กับประสิทธิผลของโรงเรียนคาทอลิก สังกัด อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ ดังนี้ 1. การเสนอแนวทางต่ า ง ๆ เพื่ อ พั ฒ นาโรงเรี ย นนั้ น ย่ อ มมี ค วามคิ ด ที่ ห ลาก
วรกาญจน์ สุขสดเขียว และศรัญญู พงศ์ประเสริฐสิน
หลาย เมื่อผู้บริหารควรรับฟังความคิดเห็น จากผู้ ร่ ว มงานทุ ก ท่ า นและตั ด สิ น ใจเลื อ ก แนวทางใดแนวทางหนึ่งแล้ว ควรจะต้องเสนอ แนวทางดังกล่าวต่อทีป่ ระชุม เพือ่ ว่าบุคลากร ทุ ก ท่ า นจะได้ ท ราบและควรมี ก ารชี้ แ จง เหตุผลต่าง ๆ ที่เลือกเหตุผลดังกล่าวผู้วิจัย เชื่อว่า เมื่อบุคลากรทุกท่านได้ฟังความคิดเห็น จากผู้บริหารแล้วก็จะเข้าใจและยอมรับความ เห็นจากผู้บริหารเช่นกัน 2. ฝ่ า ยการศึ ก ษาอั ค รสั ง ฆมณฑล กรุงเทพฯ ควรจะต้องมีการจัดการอบรม สัมมนา ให้ ค วามรู้ เ กี่ ย วกั บ เรื่ อ งใหม่ ๆ ที่ เ กิ ด ขึ้ น เช่ น ด้ า นหลั ก สู ต รนโยบายการศึ ก ษาของฝ่ า ย การศึกษาที่เปลี่ยนแปลงไปรวมทั้งวิสัยทัศน์ ที่ผู้บริหารเสนอให้เป็นไปในปีการศึกษานั้น ๆ ผู้ วิ จั ย เชื่ อ ว่ า หากมี ก ารอบรมพั ฒ นาอย่ า ง ต่ อ เนื่ อ งแล้ ว บุ ค ลากรทางการศึ ก ษาของ อั ค รสั ง ฆมณฑลกรุ ง เทพฯ ย่ อ มมี ป ระสิ ท ธิ ภาพและประสิทธิผลก่อให้เกิดความเจริญต่อ โรงเรี ย นคาทอลิ ก ในสั ง กั ด อั ค รสั ง ฆมณฑล กรุงเทพฯ 3. ผู้ บ ริ ห ารควรให้ ค วามสำคั ญ กั บ งานวิชาการโดยเน้นไปที่การติดตามผลการ เรี ย นของนั ก เรี ย นและกระบวนการจั ด การ
เรี ย นการสอนรวมทั้ ง ติ ด ตามว่ า มี นั ก เรี ย น ที่ ส อบหรื อ ได้ ค ะแนนน้ อ ยกี่ ค นและกระตุ้ น ครู ใ ห้ ใ ส่ ใจและสอบถามพู ด คุ ย กั บ นั ก เรี ย น ว่ า จะสามารถพั ฒ นาและเพิ่ ม เติ ม ความรู้ ได้อย่างไรบ้างอีกทั้งต้องกระตุ้นครูให้มีการ ทำวิ จั ย ในชั้ น เรี ย นของตนให้ ม ากยิ่ ง ๆ ขึ้ น เพื่อว่า ผลการวิจัยของครูเหล่านี้ จะช่วยให้เห็น ภาพรวมในระดับชัน้ และภาพรวมในโรงเรียนได้ มากขึ้นด้วย ข้อเสนอแนะเพื่อการวิจัยครั้งต่อไป 1. ควรศึกษาพฤติกรรมการตัดสินใจ ของผู้บริหารกับประสิทธิผลโรงเรียนคาทอลิก ในทุกสังกัด 2. ควรมี ก ารศึ ก ษาวิ จั ย พฤติ ก รรม การตัดสินใจของผู้บริหารส่งผลต่อแรงจูงใจ ในการทำงานของบุ ค ลากรทางการศึ ก ษา โรงเรียนคาทอลิก เพือ่ จะได้ทราบถึงวิธกี ารสร้าง แรงจูงใจในการทำงานของบุคลากรทางการ ศึกษาให้มีมากขึ้น 3. ควรศึกษาปัจจัยต่าง ๆ ที่ส่งผลต่อ ประสิ ท ธิ ผ ลโรงเรี ย น เช่ น แรงจู ง ใจในการ มาเรียนของนักเรียน หรือ บรรยากาศองค์กร เพื่อเป็นแนวทางต่อไปในอนาคต
ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2012/2555
85
พฤติกรรมการตัดสินใจของผู้บริหาร กับประสิทธิผลโรงเรียนคาทอลิก สังกัดอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ
บรรณานุกรม ปิยะ ทรัพย์สมบูรณ์. “ความสัมพันธ์ระหว่าง บรรยากาศองค์การกับประสิทธิผล ของโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัด กรมสามัญศึกษาเขตการศึกษา1.” วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิตสาขา การบริหารการศึกษาบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2545. วิเชียร วิทยอุดม, พฤติกรรมองค์การ , กรุงเทพฯ : บริษัท ธนธัชการพิมพ์ จำกัด, 2551. สมบัติ บุญเกิด. “ประสิทธิผลของโรงเรียน ขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานเขต พื้นที่การศึกษาสระแก้ว เขต 2.” วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษา มหาบัณฑิตสาขาวิชา การบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา, 2548. สุดใจ วิชัย. “ระบบสังคมในโรงเรียนที่ส่งผล ต่อประสิทธิผลของโรงเรียนใน สังกัดมูลนิธิแห่งสภาคริสจักรใน ประเทศไทย.” วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2546.
86 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
อนงค์ แสงแก้ว. “พฤติกรรมการตัดสินใจ ของผู้บริหารสถานศึกษา ขั้นพื้นฐาน เขตพื้นที่การศึกษา สมุทรสงคราม.” วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตร์ มหาบัญฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัย ศิลปากร,2548. อรพรรณ ตู้จินดา. “พฤติกรรมการตัดสินใจ ของผู้บริหารที่ส่งผลต่อความ พึงพอใจของครูโรงเรียนประถม ศึกษาจังหวัดสุพรรณบุรี.” วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัย ศิลปากร, 2544. Griffiths, Daniel E. Administrative Theory, New York : Appleton – Century & Crofts, 1959. Hemphill, John K., Griffiths, Daniel E., and Ferderickson, Norman. Administrative Performance and Personality., New York : Teacher ‘ s College Co lumbia University, 1962. Krejcie and Morgan, อ้างถึงใน พวงรัตน์
วรกาญจน์ สุขสดเขียว และศรัญญู พงศ์ประเสริฐสิน
ทวีรัตน์, วิธีการวิจัยพฤติกรรม ศาสตร์และสังคมศาสตร์, พิมพ์ครั้งที่ 7, กรุงเทพมหานคร : สำนักทดสอบทางการศึกษา และ จิตวิทยา มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร, 2540. Likert, Rensis. The Human Organiza- tion. New York : McGraw Hill Book company Inc., 1967 Tannenbaum, Robert., and Schmidt, Warren H. “How to Choose
A Leadership Pattern,” Harvard Business Review, March – April 1958.. Hoy, Wayne N., and Miskel, Cecil G. Educational Administration. Singapore : McGraw – Hill International Editions, 1991. Moris, William T. The Analysis of Management Decisions. HomeWood, Illinois : Richard D. Irwin, 1964.
ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2012/2555
87
ค่านิยมของบุคลากรในสถานศึกษาสังกัดสภาการศึกษาคาทอลิกแห่งประเทศไทย
ค่านิยมของบุคลากรในสถานศึ กษาสังกัดสภาการศึกษาคาทอลิก แห่งประเทศไทย
T
he Values of Personnel in Educational Institutions under the Catholic Education Council of Thailand
รองศาสตราจารย์ ดร.จินตนา มนเทียรวิเชียรฉาย * ผู้จัดการและรักษาการผู้รับใบอนุญาตโรงเรียนเซนต์จอห์นท่าบม จังหวัดเลย * คณบดีผู้ก่อตั้งคณะนิิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยเซนต์จอห์น Associate Professor Dr.Chintana Monthienvichienchai * Manager & Acting Licensee, Saint Jhon’s Thabom School, Loei * Founder Dean, Faculty of Communication Arts Saint John’s University
88 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
จินตนา มนเทียรวิเชียรฉาย
บทคัดย่อ
งานวิจัยนี้เป็นการศึกษาค่านิยมของบุคลากรในสถานศึกษา สังกัดสภาการศึกษาคาทอลิกแห่งประเทศไทยและค่านิยมเมื่อจำแนก ตามลักษณะส่วนบุคคล ผู้ตอบแบบสอบถามประกอบด้วยผู้บริหาร และครูของโรงเรียนใน 10 สังฆมณฑล จำนวนทั้งสิ้น 448 คน ทั้งนี้ ใช้เครื่องมือสำรวจวัดระบบค่านิยมไทยของสุนทรี โคมิน แบบสติ๊กเกอร์ ส่วนสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่ามัธยฐาน ค่าเฉลี่ยและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิ จั ย สรุ ป ได้ ว่ า บุ ค ลากรให้ ค่ า นิ ย มการมี ห ลั ก ธรรม และศาสนาเป็ น ที่ พึ่ ง มี ค วามสำคั ญ อยู่ ใ นลำดั บ ที่ 1 และให้ ค่ า นิ ย มความสำราญอยู่ ใ นลำดั บ สุ ด ท้ า ยของค่ า นิ ย มจุ ด หมาย ปลายทางส่ ว นค่ า นิ ย มวิ ถี ป ฏิ บั ติ ผู้ ต อบแบบสอบถามให้ ค่ า นิ ย ม ความซื่ อ สั ต ย์ อ ยู่ ใ นลำดั บ ที่ 1 สำหรั บ ค่ า นิ ย มลำดั บ สุ ด ท้ า ยได้ แ ก่ ค่านิยมความทะเยอทะยาน สำหรับลักษณะส่วนบุคคลที่แตกต่างกัน พบว่ า มี ผ ลทำให้ ก ารให้ ล ำดั บ ความสำคั ญ ของค่ า นิ ย มแตกต่ า งกั น เป็ น ส่ ว นใหญ่ ทั้ ง นี้ ค่ า นิ ย มการมี ห ลั ก ธรรมและศาสนาเป็ น ที่ พึ่ ง และค่ า นิ ย มความสงบสุ ข ทางใจ ในชุ ด ค่ า นิ ย มจุ ด หมายปลายทาง จำนวน 20 ค่านิยม ได้รับการจัดให้อยู่ในลำดับต้นๆ ในขณะที่ชุด ค่ า นิ ย มวิ ถี ป ฏิ บั ติ จ ำนวน 23 ค่ า นิ ย ม ค่ า นิ ย มที่ ไ ด้ รั บ การจั ด ให้ อ ยู่ ในลำดับต้นๆได้แก่ ค่านิยมความกตัญญูรู้คุณ ค่านิยมความรับผิดชอบ และค่านิยมความซื่อสัตย์ อย่างไรก็ดี แม้จะมีความแตกต่างในการ จัดลำดับความสำคัญของค่านิยม แต่บุคลากรได้จัดให้ค่านิยมความ สำราญและค่านิยมความทะเยอทะยานอยู่ในลำดับท้ายของค่านิยม จุดหมายปลายทางและค่านิยมวิถีปฏิบัติตามลำดับ คำสำคัญ : 1) ค่านิยม 2) ค่านิยมจุดหมายปลายทาง 2) ค่านิยมวิถีปฏิบัติ
ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2012/2555
89
ค่านิยมของบุคลากรในสถานศึกษาสังกัดสภาการศึกษาคาทอลิกแห่งประเทศไทย
Abstract
This study investigated the values of personnel in educational institutions under the Catholic Education Council of Thailand, using Komin’s Thai Value Survey. The personnel consisted of administrators and teachers from schools in ten dioceses. Analyzing the data the study utilized descriptive statistics: frequency, percentage, median, mean, and standard deviation. Results suggested that among the terminal values the value of “religious principles and faith” was placed at the top while the value of “life at leisure” was at the bottom. With regard to the instrumental values the value of “honesty” came out on top whereas the value of “ambition” was at the bottom rank. There were some value differences among the respondents of different demographic characteristics. However, of 20 terminal values the values of “religious principles and faith” and “inner harmony” were at the top, while among 23 instrumental values the top rank values were the values of “gratitude”, “responsibility” and “honesty”. Though there were ranking differences the respondents placed the values of “life at leisure” and “ambition” at the bottom of the terminal values and instrumental values, respectively. Keywords : 1) Values 2) Terminal Values 3) Instrumental Values
90 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
จินตนา มนเทียรวิเชียรฉาย
ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา โรงเรียนเป็นสถานศึกษาที่บ่มเพาะ ความรู้ ทักษะ ความเชื่อ ค่านิยมตลอดจน บรรทั ด ฐานทางสั ง คมเพื่ อ หล่ อ หลอม คุ ณ ลั ก ษณะที่ พึ ง ประสงค์ แ ก่ เ ยาวชน ผู้ ที่ มี บ ทบาทสำคั ญ ในการบ่ ม เพาะดั ง กล่ า วคื อ ครู ผู้ ซึ่ ง นอกจากจะมี ห น้ า ที่ อ บรมสั่ ง สอน ตามบทบาทและหน้ า ที่ ที่ ไ ด้ รับ มอบหมาย แล้ ว ยั ง เป็ น ต้ น แบบของการเรี ย นรู้ ใ ห้ แ ก่ นั ก เรี ย นซึ่ ง ได้ มี โ อกาสซึ ม ซั บ ตลอดระยะ เวลายาวนานที่ ไ ด้ ศึ ก ษาในแต่ ล ะช่ ว งชั้ น อีกด้วย ในระยะห้าปีที่ผ่านมาประเทศไทย ประสบวิ ก ฤตการณ์ ท างการเมื อ งและ ทางเศรษฐกิ จ สั ง คม แต่ บ าทหลวงมิ เ กล กาไรซาบาล S.J. 1 นั ก การศึ ก ษาคนสำคั ญ ในแวดวงการศึกษาคาทอลิก ให้ความเห็นว่า วิกฤตการณ์ที่เกิดขึ้นในประเทศไทยในขณะนี้ ไม่ใช่วิกฤติการณ์ทางเศรษฐกิจ “หากแต่เป็น ภาวะวิกฤตของการขาดระบบการศึกษาที่ดี” (มิเกล กาไรซาบาล, 2542: 3) ยิ่งไปกว่านั้น ดร.อมเรศ ศิลาอ่อน ประธานคณะกรรมการ องค์การเพื่อการปฏิรูประบบสถาบันการเงิน (ป.ร.ส.) ยังได้กล่าวถึงหน้าที่ของครูด้วยว่า 1
ครูจะต้องส่งเสริมและให้รางวัลคุณธรรมดังเช่น ความซื่อสัตย์สุจริต ความบากบั่น อดทน สู้งาน และการรู้จักเคารพตัวบทกฎหมาย (นิวสวีค 12 กรกฎาคม 1999 : 15, อ้างในมิเกลกาไรซาบาล, 2542) สภาสังคายนาวาติกันครั้งที่ 2 ได้ให้ ความสำคัญแก่ครูไว้ว่า “ครูมิใช่เป็นแต่เพียงผู้ เชี่ยวชาญในการสอน ประสิทธิประสาทความรู้ ต่อนักเรียนเท่านั้น แต่ครูคือผู้ให้การศึกษา เป็ น ผู้ อ บรมคนทั้ ง บุ ค คล หน้ า ที่ ข องครู มี นอกเหนือจากการให้เพียงความรู้ (สภาการ ศึกษาคาทอลิกแห่งประเทศไทย, 2551 : 63)” ด้ ว ยความสำคั ญ ดั ง กล่ า วข้ า งต้ น การทำความเข้ า ใจด้ า นพฤติ ก รรมของครู ทัง้ ในบริบทของการทำงานและการดำเนินชีวติ จึงจำเป็นต้องทำการศึกษาค่านิยมที่ครูยึดถือ เป็นแนวทาง เนื่องจากค่านิยมดังกล่าวเป็นตัว กำหนดการกระทำต่างๆ ดังนั้นการจำแนก ค่านิยมตามลักษณะส่วนบุคคลจึงเป็นปัจจัย สำคัญประการหนึ่งที่จะทำให้ทราบถึงข้อมูล ค่านิยมของครู ซึ่งมีความแตกต่างกันตามคุณลักษณะส่วนบุคคล ข้อค้นพบในส่วนนี้ จะนำ ไปสู่ ค วามเข้ า ใจว่ า ครู ที่ มี ค วามแตกต่ า งกั น ทั้งในแง่ของเพศ รายได้ ระดับการศึกษา อายุ
บาทหลวงในคริสต์ศาสนานิกายโรมันคาทอลิก คณะเยสุอิต
ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2012/2555
91
ค่านิยมของบุคลากรในสถานศึกษาสังกัดสภาการศึกษาคาทอลิกแห่งประเทศไทย
ศาสนา ประสบการณ์การทำงานในโรงเรียน คาทอลิ ก และสถานภาพในสถานศึ ก ษานั้ น มีค่านิยมที่แตกต่างกันอย่างไร อันจะนำไปสู่ การอธิบายพฤติกรรมของครูได้อย่างชัดเจน มากขึ้น นอกจากนี้การเปรียบเทียบค่านิยม ระหว่ า งตั ว แปรลั ก ษณะส่ ว นบุ ค คลของครู ซึ่งเป็นตัวแปรคุณลักษณะยังทำให้เกิดความ เข้าใจกลุ่มเป้าหมายเพื่อนำไปใช้ประโยชน์ใน การพัฒนาการวิจัยเพื่อแสวงหาตัวแปรเชิงเหตุ และผลต่อไป ยิ่ ง ไปกว่ า นั้ น พระศาสนจั ก รโรมั น คาทอลิกได้กำหนดให้สถาบันการศึกษาหรือ โรงเรี ย นคาทอลิ ก จั ด การศึ ก ษาอบรมแบบ คาทอลิกและสร้างอัตลักษณ์การศึกษาคาทอลิก แผนอภิบาลคริสตศักราช 2010-2015 ของพระ ศาสนจักรคาทอลิกในประเทศไทย ได้กำหนด งานอภิ บ าลหลั ก ในการศึ ก ษาอบรมแบบ คาทอลิ ก ไว้ ห ลายประการ และหนึ่ ง ในนั้ น ได้ระบุให้มีการให้การศึกษาอบรมผู้บริหาร ครู และบุ ค คลากรทางการศึกษาในเรื่องคุณค่า และความหมายที่แท้จริงของการเป็นสถาน ศึกษาคาทอลิก ในการผสมผสานวัฒนธรรมกับ ความเชื่อและความเชื่อกับชีวิต(สภาประมุข บาทหลวงโรมั น คาทอลิ ก แห่ ง ประเทศไทย, 2010) ดังนั้นเพื่อให้การดำเนินการตามแผน อภิบาลดังกล่าวบรรลุวัตถุประสงค์จึงมีความ จำเป็นที่ผู้ปฏิบัติทุกระดับจะต้องมีข้อมูลด้าน
92 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
ค่ า นิ ย มที่ ค รู ใ นสถานศึ ก ษาคาทอลิ ก มี อ ยู่ ใ น ปัจจุบันนอกจากนี้ข้อมูลค่านิยมดังกล่าวยังจะ สามารถนำมาใช้เป็นกรอบในการทำแผนยุทธ ศาสตร์เพื่อนำไปสู่ผลสัมฤทธิ์ในการสร้างอัตลักษณ์การศึกษาคาทอลิกอีกด้วย ค่านิยมเป็นปัจจัยภายในตัวของปัจ เจกบุคคลที่มีส่วนสำคัญในการกำหนดตัดสิน และผลั ก ดั น ให้ เ กิ ด พฤติ ก รรมในแนวทาง ใดทางหนึ่ ง ด้ ว ยเหตุ ผ ลดั ง กล่ า วจึ ง ทำให้ ค่านิยมเป็นปัจจัยสำคัญที่ทำให้สังคมเกิดการ เปลี่ย นแปลงลั ก ษณะของการเปลี่ย นแปลง ของสังคมนี้อาจเป็นไปในทิศทางที่ดีขึ้นหรือ เสื่ อ มลง ทั้ ง นี้ ขึ้ น อยู่ กั บ ว่ า สมาชิ ก ในสั ง คม ยึดถือค่านิยมอย่างไร ปัจจัยทั้งหมดจะส่งผล ต่อความเจริญ ความเสื่อมและความมั่นคงของ ประเทศชาติด้วย (วชิราภรณ์ ไชยชาติ, 2547) ส่ ว นเงื่ อ นไขหรื อ ปั จ จั ย ที่ มี ค วามเกี่ ย วข้ อ ง กับการเปลี่ยนแปลงค่านิยมนั้นมีหลายสาเหตุ เช่น ความนิยมตามยุคสมัย การอบรมสั่งสอน การชักชวนจากบุคคลอื่นเป็นต้น(ยนต์ ชุ่มจิต, 2553) ความคิดและประสบการณ์ก็เป็นสาเหตุ หนึ่งในการเปลี่ยนแปลงค่านิยมของครู ซึ่งอาจ เกิดจากการที่ครูได้รับประสบการณ์ที่มีความ หลากหลายประกอบกับการได้รับการปลูกฝัง อุดมการณ์ซง่ึ ส่งผ่านมาจากปรัชญา นโยบายและ วิสัยทัศน์ของสถานศึกษาที่ตนได้ปฏิบัติงานอยู่ นอกจากนี้ประสบการณ์จากการมีปฏิสัมพันธ์
จินตนา มนเทียรวิเชียรฉาย
กับนักเรียน ผู้บริหาร ตลอดจนผู้ร่วมงาน ล้วน แล้วแต่เกีย่ วข้องกับการเปลีย่ นแปลงค่านิยมของ ครูที่มีอยู่เดิม จากการศึกษางานวิจัยในบริบทของ สถานศึ ก ษาคาทอลิ ก ได้มีการศึกษาและวิจัย เกี่ยวกับกระบวนการบริหารงาน ภาพลักษณ์ ของผูบ้ ริหาร ภาพลักษณ์ของโรงเรียนวัฒนธรรม องค์กร ความพึงพอใจในการทำงานของครู การ ประเมินผลการปฏิบตั งิ านของครู และความคาด หวังของผู้ปกครอง เป็นต้น อย่างไรก็ตาม ยังไม่ ได้ มี ก ารศึ ก ษาวิ จั ย เกี่ ย วกั บ ค่ า นิ ย มของครู ในสถานศึกษาคาทอลิก ดังนัน้ การศึกษาค่านิยม ของบุ ค ลากรในสถาบั น การศึ ก ษาคาทอลิ ก สังกัดสภาการศึกษาคาทอลิกแห่งประเทศไทย ซึ่ ง หมายรวมถึ ง บุ ค ลากรที่ ท ำหน้ า ที่ ส อน และทำหน้าที่บริหารในสถานศึกษาดังกล่าว จึงเป็นเรือ่ งทีส่ มควรให้ความสนใจเป็นอย่างยิง่ วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่ อ ศึ ก ษาค่ า นิ ย มของบุ ค ลากร ในสถานศึกษาสังกัดสภาการศึกษาคาทอลิก แห่งประเทศไทย 2. เพื่ อ ศึ ก ษาค่ า นิ ย มของบุ ค ลากร ในสถานศึกษาสังกัดสภาการศึกษาคาทอลิก แห่ ง ประเทศไทยเมื่ อ จำแนกตามลั ก ษณะ ส่วนบุคคล
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ดังที่ได้กล่าวแล้วข้างต้น ผลวิจัยที่ได้ จะเป็ น ประโยชน์ ใ นการวางแผนการอบรม ปลู ก ฝั ง ครู ใ นสั ง กั ด ให้ ต ระหนั ก ถึ ง อั ต ลั ก ษณ์ การศึ ก ษาคาทอลิ ก และพร้ อ มที่ จ ะเป็ น ฟั น เฟื อ งสำคั ญ ในการสร้ า งกระบวนการ การศึ ก ษาโดยใช้ ก ระบวนการคุ ณ ค่ า ศึ ก ษา (Value Education)บนพืน้ ฐานแห่งพระวรสาร (ธรรมะ) นอกจากนี้ผลวิจัยยังเป็นประโยชน์ ในด้านวิชาการ กล่าวคือ เป็นการเพิม่ พูนความ รู้ทางจิตวิทยาสังคมและเป็นแนวทางการวิจัย ให้ผู้ที่สนใจศึกษาค่านิยมของบุคคลกลุ่มอื่น อีกด้วย ขอบเขตการวิจัย การวิ จั ย นี้ เ ป็ น การวิ จั ย เชิ ง สำรวจ โดยใช้ เ ครื่ อ งมื อ สำรวจวั ด ค่ า นิ ย มไทยของ สุนทรี โคมิน (Komin, 1990) ซึ่งประชากร เป้ า หมายในการวิ จั ย ครั้ ง นี้ คื อ บุ ค ลากรใน สถานศึกษาสังกัดสภาการศึกษาคาทอลิกแห่ง ประเทศไทย ทั่วประเทศซึ่งเข้าร่วมสัมมนา ประจำปีครัง้ ที่ 40 จัดโดยสภาการศึกษาคาทอลิก แห่งประเทศไทย โดยบุคลากรประกอบด้วย ผู้บริหารและครู ทั้งนี้ได้แจกแบบสอบถาม จำนวนทั้งสิ้น 448 ชุดตามจำนวนผูล้ งทะเบียน ตัวแปรที่ศึกษาได้แก่
ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2012/2555
93
ค่านิยมของบุคลากรในสถานศึกษาสังกัดสภาการศึกษาคาทอลิกแห่งประเทศไทย
1. ตัวแปรต้น ได้แก่ลกั ษณะส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ อายุ รายได้ ระดับการศึกษา ศาสนา ประสบการณ์ ส อน ประสบการณ์ ท ำงาน ในสถานศึ ก ษาคาทอลิ ก และสถานภาพ ในสถานศึกษา 2. ตัวแปรตาม ได้แก่ ค่านิยมซึง่ แบ่งเป็น ค่านิยมจุดหมายปลายทาง 20 ค่านิยมและ ค่านิยมวิถีปฏิบัติ 23 ค่านิยม นิยามศัพท์ ค่านิยมหมายถึง สิง่ ทีเ่ ป็นเครือ่ งกำหนด ความประพฤติและการปฏิบัติของคนในสังคม เพื่อให้บรรลุจุดมุ่งหมายของตนหรือของสังคม โดยตนเองตลอดจนสังคมเห็นว่าค่านิยมดังกล่าว เป็นสิ่งที่มีคุณค่าควรแก่การประพฤติปฏิบัติ ค่านิยมดังกล่าวแบ่งเป็น 2 ประเภท ได้แก่ ค่านิยมจุดหมายปลายทางและค่านิยมวิถปี ฏิบตั ิ ค่านิยมจุดหมายปลายทาง หมายถึง ค่านิยมที่กำหนดจุดหมายปลายทางของชีวิต ที่พึงปรารถนา ค่านิยมวิถีปฏิบัติ หมายถึง ค่านิยม ที่ ก ำหนดวิ ถี ท างในการประพฤติ ป ฏิ บั ติ ที่น่าพึงปรารถนา ค่านิยมของบุคลากร หมายถึง ค่านิยม ของผู้ ที่ ป ระกอบวิ ช าชี พ ครู ซึ่ ง รวมทั้ ง ครู ที่ทำหน้าที่สอนและทำหน้าที่บริหาร อัตลักษณ์การศึกษาคาทอลิก หมายถึง
94 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
ลักษณะเด่นเฉพาะของสถาบันการศึกษาคาทอลิก ซึ่ ง เป็ น ผลจากการถื อ ปฏิ บั ติ ต ามอุ ด มคติ ของโรงเรี ย นคาทอลิ ก ตามคำแถลงของ สภาสังคายนา “Declaration on Christian Education” โดยสมเด็จพระสันตปาปา ปอล ที่ 6 เมื่อวันที่ 28 ตุลาคม ค.ศ. 1965 พระวรสาร หมายถึ ง พระคั ม ภี ร์ ส่ ว นที่ เ กี่ ย วกั บ ชี วิ ต ของพระเยซู ศ าสดาของ คริสต์ศาสนา และคำเทศน์สอนของพระองค์ คุณค่าพระวรสาร หมายถึง ความดีงาม จากการเทศน์ ส อนและจากแบบอย่ า งชี วิ ต ของพระเยซู เช่ น ความรั ก ความเมตตา การให้ อ ภั ย ความเอื้ อ อาทร ความเอาใจใส่ ผู้ยากไร้ เป็นต้น บุ ค ลากร หมายถึ ง ครู ที่ ท ำหน้ า ที่ บ ริ ห า ร ห รื อ ส อ น ใ น ส ถ า น ศึ ก ษ า สั ง กั ด สภาการศึกษาคาทอลิกแห่งประเทศไทย สถานศึกษา หมายถึง โรงเรียนในระดับ อนุบาลและการศึกษาพื้นฐาน ลักษณะส่วนบุคคลหมายถึง เพศ อายุ ระดับการศึกษา รายได้ ประสบการณ์การสอน ประสบการณ์การทำงานในสถานศึกษาคาทอ ลิกและสถานภาพในหน่วยงาน สภาการศึกษาคาทอลิกแห่งประเทศไทย หมายถึ ง หน่ ว ยงานที่ เ ป็ น องค์ ก รสำหรั บ ส ถ า บั น ก า ร ศึ ก ษ า ค า ท อ ลิ ก ทุ ก ร ะ ดั บ ในประเทศไทยภายใต้ โ ครงสร้ า งของสภา
จินตนา มนเทียรวิเชียรฉาย
ประมุ ข บาทหลวงโรมั น คาทอลิ ก แห่ ง ประ เทศไทย โดยมี วั ต ถุ ป ระสงค์ ส ำคั ญ เพื่ อ กำหนดนโยบายและแนวทางปฏิบัติสำหรับ สถาบั น การศึกษาคาทอลิกให้สอดคล้องกับ จิตตารมณ์การศึกษาคาทอลิก การดำเนินการวิจัย ประชากรการวิ จั ย กำหนดให้ ป ระ ชากรคือ บุคลากรจากสถานศึกษาสังกัดสภา การศึ ก ษาคาทอลิ ก แห่ ง ประเทศไทยจาก ทั่ ว ประเทศที่ เข้ า ร่ ว มการสั ม มนาประจำปี ครั้งที่ 40 ซึ่งจัดโดยสภาการศึกษาคาทอลิก แห่งประเทศไทย จำนวน 448 คน ทั้งนี้ผู้วิจัย ได้แจกแบบสอบถามให้แก่ประชากรทั้งหมด โดยได้แนบพร้อมกับเอกสารลงทะเบียนเข้าร่วม สัมมนา เครือ่ งมือทีใ่ ช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล สำหรับเครื่องมือในการศึกษานี้ เป็น แบบสอบถามซึ่งแบ่งออกเป็นสองตอน ดังนี้ ตอนที่ 1 เป็ น การตอบข้ อ มู ล ทั่ ว ไป ของผู้ตอบแบบสอบถาม ได้แก่ เพศ อายุ การ ศึกษา รายได้ ศาสนา ประสบการณ์การสอน ระยะเวลาที่สอนในโรงเรียนและสถานภาพ ในโรงเรียน ตอนที่ 2 เป็นการเรียงลำดับของค่า นิยมในรูปแบบกระดาษสติ๊กเกอร์ (Gummed
Label) ใช้ในการประเมินค่านิยมที่พัฒนาโดย สุนทรี โคมิน แบบสอบถามแบ่งเป็นสองส่วน ส่ ว นที่ ห นึ่ ง ประกอบด้ ว ยประโยคที่ ส ะท้ อ น ค่านิยม 20 ข้อของค่านิยมจุดหมายปลายทางชีวติ (Terminal Values) ส่วนที่สองเป็นประโยคที่ สะท้อนค่านิยม 23 ข้อของค่านิยมวิถีปฏิบัติ (Instrumental Values) โดยนำมาตรวจสอบ คุณภาพของเครื่องมือวัดอีกครั้งหนึ่ง เนื่องจาก บริ บ ทของสั ง คมไทยมี ก ารเปลี่ ย นแปลง อย่างมากและเครื่องมือนี้ทำการพัฒนามากว่า สามสิบปี (2522) เนื่องจากวัตถุประสงค์หลัก ของการศึ ก ษานี้ คื อ การศึ ก ษาค่ า นิ ย มของ บุคลากรในสถานศึกษาสังกัดสภาการศึกษา คาทอลิกแห่งประเทศไทย และจะใช้เครื่องมือ วัดค่านิยมที่พัฒนาโดยสุนทรี โคมิน ซึ่งอาศัย แนวคิดของ Rokeach เป็นพื้นฐานในการ สร้ า งเครื่ อ งมื อ วั ด ให้ ส อดคล้ อ งกั บ บริ บ ท ของสังคมไทยในปัจจุบัน นักวิจัยจำนวนมาก ได้ ป รั บ เครื่ อ งมื อ วั ด ค่ า นิ ย มของ Rokeach (TheRokeach Value Survey) ให้ มี ระดับการวัดในระดับอันตรภาค หรือ interval scale (Moore, 1975; Munson and McIntyre, 1979; Rankin and Grube, 1980; Miethe, 1985 cited in Wang, Rao, & D’Auria, 1994) อย่างไรก็ตาม ในการศึกษานี้ ยั ง คงใช้ เ ครื่ อ งมื อ วั ด ค่ า นิ ย มที่ ท ำการวั ด ด้ ว ยแบบสอบถามที่ อ ยู่ ใ นรู ป แบบกระดาษ
ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2012/2555
95
ค่านิยมของบุคลากรในสถานศึกษาสังกัดสภาการศึกษาคาทอลิกแห่งประเทศไทย
สติก๊ เกอร์ (Gummed Label) ซงึ่ มีระดับการวัด ข้อคำถามที่สะท้อนค่านิยมในระดับ Ordinal Scale ดั ง รายละเอี ย ดข้ า งต้ น เพราะ นอกเหนื อ จากการศึ ก ษาระบบค่ า นิ ย มไทย ของสุนทรี โคมิน (สุนทรี โคมิน, 2522) ที่ใช้ เครือ่ งมือวัดในลักษณะนีแ้ ละมีระดับการวัดแบบ Ordinal Scale แล้ว ยังมีการศึกษาของนีออน กลิน่ รัตน์ และคณะ ได้ทำการศึกษาค่านิยมของ อาจารย์ในสถาบันฝึกหัดครูภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (นีออน กลิ่นรัตน์และคณะ, 2525) ซึ่ ง ใช้ แ บบวั ด ในลั ก ษณะเดี ย วกั น ดั ง นั้ น การทราบค่ า นิ ย มของครู ที่ ถู ก วั ด ด้ ว ยแบบ วั ด ลั ก ษณะคล้ า ยคลึ ง กั น ย่ อ มจะเข้ า ใจ ความแตกต่างกันของค่านิยมในช่วงเวลาทีต่ า่ งกัน ได้มากกว่าการใช้แบบวัดลักษณะอื่น อ นึ่ ง ผู้ วิ จั ย ไ ด้ รั บ อ นุ ญ า ต จ า ก เจ้ า ของเครื่ อ งมื อ วั ด ดั ง กล่ า วให้ ส ามารถ นำมาใช้ในการวิจยั ครัง้ นีไ้ ด้ เครือ่ งมือวัดค่านิยม ที่ พั ฒ นาโดยสุ น ทรี โคมิ น ได้ มี ก ารหาค่ า ความตรงตามเนื้อหา (Content Validity) และความเที่ยง (Reliability) เรียบร้อยแล้ว อย่ า งไรก็ ต าม ในการวิ จั ย ครั้ ง นี้ ไ ด้ มี ก าร หาค่าความเทีย่ งโดยการวัดซ้ำจากกลุม่ ตัวอย่าง ที่มีลักษณะใกล้เคียงกับประชากร กล่าวคือ เป็ น บุ ค ลากรในสถาบั น การศึ ก ษาสั ง กั ด สภาการศึ ก ษาคาทอลิ ก แห่ ง ประเทศไทย จำนวน 30 คน ด้วยการเก็บแบบสอบถาม
96 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
ในช่วงเวลาจากครั้งแรกและครั้งที่สองห่างกัน 6 สัปดาห์ และนำข้อมูลที่ได้มาคำนวณหาค่า Spearman Correlatio (rho) ของข้อคำถาม รายข้ อ จากเครื่ อ งมื อ วั ด ทั้ ง สองตอน โดย พบผลดั ง นี้ ค่ า นิ ย มจุ ด หมายปลายทาง มี ค่ า เท่ า กั บ .658 และค่ า นิ ย มวิ ถี ป ฏิ บั ติ มีค่าเท่ากับ .521 การวิเคราะห์ข้อมูลและสถิติที่ใช้ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ สถิตเิ ชิงพรรณนา (Descriptive Statistics) ดังนี้ ในตอนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐานของผู้ตอบแบบสอบ ถาม ใช้ความถี่ (Frequency) และ ร้อยละ (Percentage) ในตอนที่ 2 การเรียงลำดับค่านิยมผูว้ จิ ยั ใช้สถิติ เชิงพรรณนาดังนี้ 2.1 การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง ด้ ว ยค่ า มั ธ ยฐาน (Median) เพื่ อ พิ จ ารณา ค่ า นิ ย ม ที่ มี ผู้ เ ลื อ ก เ ป็ น อั น ดั บ สู ง สุ ด ไ ป หาต่ ำ สุ ด นอกจากนี้ เพื่ อ ที่ จ ะสามารถ ทำการเปรียบเทียบค่านิยมที่มีลำดับเท่ากัน ได้ ว่ า ค่ า นิ ย มใดมี ล ำดั บ ที่ ดี ก ว่ า กั น (เพราะ อาจเกิ ด กรณี ที่ ค่ า นิ ย มมี ล ำดั บ เท่ า กั น ได้ ) ผู้วิจัยได้ทำการกลับค่าคะแนน สำหรับค่านิยม จุ ด หมายปลายทางซึ่ ง ประกอบด้ ว ยค่ า นิ ย ม 20 ค่านิยม ให้ลำดับที่ 1 ได้ 20 คะแนน และกลับเช่นนี้จนถึงลำดับที่ 20 ได้ 1 คะแนน
จินตนา มนเทียรวิเชียรฉาย
ส่วนค่านิยมวิถีปฏิบัติซึ่งประกอบด้วยค่านิยม 23 ค่านิยม ให้ลำดับที่ 1 ได้ 23 คะแนน และกลับ เช่นนี้จนถึงลำดับที่ 23 ได้ 1 คะแนน 2.2 ภายหลั ง การกลั บ ค่ า คะแนน ผูว้ จิ ยั ใช้คา่ เฉลีย่ (Mean) และค่าเบีย่ งเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) เพือ่ ทำการเปรียบเทียบ ค่านิยมต่อไป ผลการวิจัย การศึ ก ษาค่ า นิ ย มของบุ ค ลากรใน สถานศึ ก ษาสั ง กั ด สภาการศึ ก ษาคาทอลิ ก แห่ ง ประเทศไทยมี ข้ อ สรุ ป และสามารถ นำมาอภิปรายได้ ดังนี้ ข้อสรุปที่ 1 การเรียงลำดับความสำคัญ ค่านิยมจุดหมายปลายทางจากค่าเฉลี่ยพบว่า บุ ค ลากรให้ ค่ า นิ ย มการมี ห ลั ก ธรรมศาสนา เป็นทีพ่ งึ่ อยูใ่ นลำดับที่1(X =17.57,S.D.=3.73) ส่วนลำดับสุดท้ายได้แก่ ค่านิยมความสำราญ ( X = 2.90, S.D. = 2.76) สำหรับค่าเฉลี่ย ความสำคั ญ ของการเรี ย งลำดั บ ค่ า นิ ย ม วิ ถี ป ฏิ บั ติ พ บ ว่ า บุ ค ล า ก ร ใ ห้ ค่ า นิ ย ม ความซื่อสัตย์อยู่ในลำดับที่ 1 (X = 18.73, S.D. = 4.36) สำหรับค่านิยมลำดับสุดท้ายได้แก่ ค่านิยมความทะเยอทะยาน (X = 4.10, S.D. = 4.58) การเรี ย งลำดั บ ค่ า นิ ย มจุ ด หมาย ปลายทางตามค่ า เฉลี่ ย ความสำคั ญ พบว่ า การมี ห ลั ก ธรรมศาสนาเป็ น ที่ พึ่ ง ความ
สงบสุ ข ทางใความสุ ข ในชี วิ ต ครอบครั ว การช่ ว ยเหลื อ ผู้ อื่ น และความภาคภู มิ ใ จ ในตนเอง เป็นค่านิยม 5 อันดับแรกตามลำดับ สำหรับค่านิยม 5 อันดับสุดท้ายเรียงตาม ลำดับได้ดังนี้ ได้แก่ การได้รับความยกย่อง ในสั ง คม ความกว้ า งขวางในสั ง คมการมี ชี วิ ต ที่ ตื่ น เต้ น ความมั่ ง มี ใ นเงิ น ทองและ วั ต ถุ แ ละความสำราญ ส่ ว นค่ า เฉลี่ ย ความ ส ำ คั ญ ข อ ง ก า ร เรี ย ง ล ำ ดั บ ค่ า นิ ย ม วิ ถี ปฏิบัติพบว่า ความซื่อสัตย์ ความรับผิดชอบ ความกตั ญ ญู รู้ คุ ณ ความมี น้ ำ ใจเมตตาอารี และการให้ อ ภั ย เป็ น ค่ า นิ ย ม 5 อั น ดั บ แรก ตามลำดั บ สำหรั บ ค่ า นิ ย ม 5 อั น ดั บ สุ ด ท้ า ย เรียงตามลำดับได้ดังนี้ 1) ความสะอาด 2) ความกล้า 3) ความสนุกสนานร่าเริง 4) ความ รักใคร่ชอบพอสนิทสนม และ 5) ความทะเยอ ทะยานในด้ า นค่ า นิ ย มจุ ด หมายปลายทาง การให้ ค วามสำคั ญ กั บ การมี ห ลั ก ธรรมและ ศาสนาเป็นที่พึ่ง ตลอดจนความสงบสุขทาง ใจสอดคล้ อ งกั บ การจำแนกค่ า นิ ย มที่ เ ป็ น เอกลักษณ์ของชาติโดยสุนทรี โคมิน (1990) โดยจัดอยูใ่ นกลุม่ ค่านิยมด้านจิตวิทยาเชิงศาสนา ซึ่งพบว่าคนไทยส่วนใหญ่ยังเห็นความสำคัญ ของศาสนา สำหรั บ ด้ า นค่ า นิ ย มวิ ถี ป ฏิ บั ติ ค่านิยม “ความซือ่ สัตย์” และค่านิยม “ความรับ ผิดชอบ” ซึ่งอยู่ใน 2 ลำดับแรกนับว่าสอดคล้อง กับค่านิยมที่ครูควรนิยม (ยนต์ ชุ่มจิต, 2546)
ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2012/2555
97
ค่านิยมของบุคลากรในสถานศึกษาสังกัดสภาการศึกษาคาทอลิกแห่งประเทศไทย
ข้ อ สรุ ป ที่ 2 ในจำนวน 20 ค่ า นิ ย ม จุ ด หมายปลายทาง บุ ค ลากรทั้ ง เพศชาย และเพศหญิงให้ลำดับความสำคัญเหมือนกัน ใน 3 อันดับแรก และ 3 อันดับสุดท้าย แต่ มี 11 ค่ า นิ ย มที่ แ ตกต่ า งกั น โดยมี ค่ า นิ ย ม จุ ด หมายปลายทางที่ ต่ า งกั น มากที่ สุ ด คื อ ค่ า นิ ย มความภาคภู มิ ใ จในตนเอง ซึง่ ผูช้ ายให้เป็นอันดับ 7 (X = 12.69) ส่วนผูห้ ญิง ให้เป็นอันดับ 4 (X = 14.01) สำหรับค่านิยม วิถีปฏิบัติจำนวน 23 ค่านิยม มี 12 ค่านิยมที่ เพศชายและเพศหญิ ง ให้ ล ำดั บ ความสำคั ญ แตกต่ า งกั น โดยมี ค่ า นิ ย มวิ ถี ป ฏิ บั ติ ที่ ต่ า ง กันมากที่สุดคือค่านิยมการพึ่งพาอาศัยกันซึ่ง ผู้ชายให้เป็นลำดั 11 (X = 11.65) ส่วนผูห้ ญิง ให้เป็นอันดับ 16 (X = 9.99) เป็นทีน่ า่ สังเกตว่า ทั้งเพศชายและเพศหญิงจัดลำดับความสำคัญ ลำดับที่ 1-5 เหมือนกัน ได้แก่ ความซื่อสัตย์ ความรับผิดชอบ ความกตัญญูรู้คุณ ความมี น้ำใจเมตตาอารี และความสุภาพตามลำดับ ผลการวิจัยดังกล่าวสอดคล้องกับงานวิจัยของ Genc (2008) ซึ่งพบว่าปัจจัยทางด้านเพศ ทำให้เกิดความแตกต่างในการให้ความสำคัญ แก่ค่านิยม ทั้งนี้จากการวิจัยประเมินความเห็น ของครูที่มีต่อการนำค่านิยมเชิงประชาธิปไตย มาใช้โดยครูใหญ่ในโรงเรียนระดับประถมศึกษา ในประเทศตุรกี ยง่ิ ไปกว่านัน้ ผลวิจยั ยังสอดคล้อง กั บ งานวิ จั ย เรื่ อ งค่ า นิ ย มทางการศึ ก ษาของ
98 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
สมบูรณ์ ตันยะ (2542) ซึง่ พบความแตกต่างด้าน ค่ า นิ ย มทางการศึ ก ษาเมื่ อ มี ปั จ จั ย เรื่ อ งเพศ เข้ามาเกี่ยวข้องเช่นเดียวกัน ข้ อ ส รุ ป ที่ 3 ใ น จ ำ น ว น ค่ า นิ ย ม จุ ด หมายปลายทาง บุ ค ลากรทุ ก กลุ่ ม อายุ จัดลำดับค่านิยมการมีหลักธรรมและศาสนา เป็ น ที่ พึ่ ง และค่ า นิ ย มความสงบสุ ข ทางใจ เป็ น ลำดั บ ที่ 1 และลำดั บ ที่ 2 เหมื อ นกั น ตามลำดับ เช่นเดียวกับที่ค่านิยมความสำราญ ถู ก จั ด ให้ อ ยู่ ใ นลำดั บ สุ ด ท้ า ยในทุ ก กลุ่ ม อายุ เช่ น กั น อย่ า งไรก็ ต าม บุ ค ลากรแต่ ล ะกลุ่ ม อายุแสดงความแตกต่างกันในการจัดลำดับ ค่านิยมอื่นๆ ยกเว้นค่านิยมความสำเร็จในชีวิต ที่กลุ่มตัวอย่างจัดให้อยู่ในลำดับที่ 9 ถึง 4 กลุ่มอายุ โดยมีเพียงช่วงอายุเดียวคือ กลุ่มอายุ 60 ปีขึ้นไปที่จัดให้อยู่ในลำดับที่ 7 ( X = 12.88) ส่ ว นในจำนวนค่ า นิ ย มวิ ถี ป ฏิ บั ติ บุ ค ลากร ทุ ก กลุ่ ม อายุ จั ด ลำดั บ ค่ า นิ ย มความทะเยอ ทะยาน เป็ น ลำดั บ สุ ด ท้ า ย ในขณะที่ มี ทั้ ง ความเหมื อ นและความแตกต่ า งกั น ในการ จั ด ลำดั บ ค่ า นิ ย มอื่ น ๆสำหรั บ บางกลุ่ ม อายุ ข้ อ สรุ ป นี้ ส อดคล้ อ งกั บ งานวิ จั ย เกี่ ย วกั บ ค่านิยมและระบบค่านิยมไทยของสุนทรี โคมิน และสนิท สมัครการ (2522) และงานวิจัยของ นีออน กลิน่ รัตน์และคณะ (2525) ทพ่ี บว่าระดับ อายุที่แตกต่างกันทำให้เกิดความแตกต่างกัน ในการให้ความสำคัญแก่ค่านิยมบางค่านิยม
จินตนา มนเทียรวิเชียรฉาย
ข้ อ สรุ ป ที่ 4 ในจำนวนค่ า นิ ย ม จุ ด หมายปลายทางทุ ก กลุ่ ม รายได้ จั ด ลำดั บ ความสำคั ญ ค่ า นิ ย มการมี ห ลั ก ธรรมและ ศาสนาเป็นทีพ่ ง่ึ และค่านิยมความสงบสุขทางใจ เป็นลำดับที่ 1 และลำดับที่ 2 เหมือนกันตาม ลำดับ ในขณะเดียวกันกับที่กลุ่มรายได้ 3 กลุ่ม จั ด ลำดั บ ความสำคั ญ ของค่ า นิ ย มความมั่ ง มี ในเงิ น ทองและวั ต ถุ และค่านิยมความสำราญ อยู่ในลำดับที่ 19 และลำดับที่ 20 ตามลำดับ โดยมี ก ลุ่ ม รายได้ ต่ ำ กว่ า 10,000 บาทที่ จั ด ให้ อ ยู่ ใ นลำดั บ ที่ ส ลั บ กั น ส่ ว นค่ า นิ ย มอื่ น ๆ มีลำดับที่หลากหลายตามกลุ่มรายได้สำหรับ ค่านิยมวิถีปฎิบัติ พบว่าค่านิยมความสุภาพ มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญ (X = 18.05) ในกลุ่มรายได้ต่ำกว่า 10,000 บาทเมื่อเปรียบ เทียบกับกลุ่มรายได้อีก 3 กลุ่ม (X = 15.57, X = 15.40, X =16.11) โดยกลุ่มรายได้ 10,001-20,000 บาท และ 20,001-30,000 บาท ให้ลำดับความสำคัญของค่านิยมกตัญญูรู้คุณ เป็นลำดับที่ 1(X = 18.76, X =18.84) ส่วน กลุ่มรายได้ 30,000-40,000 บาทให้ลำดับ ความสำคั ญ ของค่ า นิ ย มความซื่ อ สั ต ย์ เป็นลำดับที1( X = 21.37) อย่างไรก็ตามยัง มี ทั้ ง ความเหมื อ นและความแตกต่ า งกั น ในการจัดลำดับค่านิยมอื่นๆสำหรับทุกกลุ่ม รายได้ ในกรณีของค่านิยมจุดหมายปลายทาง จะเห็ น ได้ ว่ า รายได้ ไ ม่ เ ป็ น ปั จ จั ย ที่ ท ำให้
กลุ่ ม ตั ว อย่ า งให้ ค วามสำคั ญ แก่ ค่ า นิ ย ม ความมั่ ง มี ใ นเงิ น ทองและวั ต ถุ แ ละค่ า นิ ย ม ความสำราญ ซึ่งกลุ่มตัวอย่างทั้ง กลุ่มรายได้ให้ ลำดับความสำคัญเป็น 2 ลำดับสุดท้ายทั้งนี้ไม่ เป็นไปตามผลการวิจัยของสุนทรี โคมิน และ สนิท สมัครการ (2522) ตลอดจนผลการวิจัย ขอบุญชูไตรรัตน์รังษี (2539) ซึ่งบุคลากรให้ ความสำคัญแก่การมีวัตถุสิ่งของเงินทองเป็น อั น ดั บ หนึ่ ง ส่ ว นในประเด็ น ของค่ า นิ ย มวิ ถี ปฏิบัติ การที่กลุ่มรายได้ต่ำกว่า 10,000 บาท ให้ ค วามสำคั ญ แก่ ค่ า นิ ย มความสุ ภ าพ สามารถวิเคราะห์ได้ว่า เป็นไปตามค่านิยม ของสั ง คมไทยที่ ผู้ มี ฐ านะด้ อ ยกว่ า จะต้ อ งมี ความสุ ภ าพอ่ อ นน้ อ ม ส่ ว นค่ า นิ ย ม ความ กตัญญูรู้คุณ ซึ่งผู้ตอบแบบสอบถาม 3 กลุ่ม รายได้ให้ความสำคัญเป็นลำดับ 1 สอดคล้องกับ ค่านิยมทีเ่ ป็นเอกลักษณ์ของชาติในกลุม่ ค่านิยม ความสั ม พั น ธ์ ด้ า นการรู้ คุ ณ ที่ จ ำแนกไว้ โ ดย สุนทรี โคมิน (1990) โดยกลุ่มค่านิยมดังกล่าว ประกอบด้วยค่านิยมบุญคุณ การกตัญญูรู้คุณ และการตอบแทนบุญคุณ ข้ อ สรุ ป ที่ 5 ในจำนวนค่ า นิ ย ม จุดหมายปลายทางบุคลากรในทุกระดับการศึกษา ให้ความสำคัญแก่ค่านิยมความสงบสุขทางใจ และค่านิยมการมีหลักธรรมและศาสนาเป็น ที่พึ่ง เป็นลำดับต้นๆ กล่าวคือ ระดับต่ำกว่า ปริ ญ ญาตรี ใ ห้ ค วามสำคั ญ แก่ ค่ า นิ ย มความ
ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2012/2555
99
ค่านิยมของบุคลากรในสถานศึกษาสังกัดสภาการศึกษาคาทอลิกแห่งประเทศไทย
สงบสุขทางใจ เป็นลำดับที่ 1( X = 17.50) และให้ ค่ า นิ ย มการมี ห ลั ก ธรรมและศาสนา เป็ น ที่ พึ่ ง มี ค วามสำคั ญ เท่ า กั น ในขณะที่ ระดับปริญญาตรีและระดับปริญญาโทขึ้นไป ให้ ค วามสำคั ญ แก่ ค่ า นิ ย มการมี ห ลั ก ธรรม และศาสนาเป็ น ที่ พึ่ ง และค่ า นิ ย ม ความ สงบสุขทางใจ เป็นลำดับที่ 1 และลำดับที่ 2 ตามลำดับ สำหรับค่านิยมวิถีปฏิบัติ บุคลากร ที่ มี ร ะดั บ การศึ ก ษาต่ ำ ว่ า ปริ ญ ญาตรี ใ ห้ ความสำคัญเป็นลำดับที่ 1 แก่ค่านิยมความ รับผิดชอบ ( X= 19.75) ส่วนระดับปริญญาตรี ให้ ค วามสำคั ญ แก่ ค่ า นิ ย มความกตั ญ ญู รู้คุณ เป็นลำดับที่ 1( X = 19.02) และระดับ ปริ ญ ญาโทขึ้ น ไปให้ ค วามสำคั ญ แก่ ค่ า นิ ย ม ความซื่อสัตย์ เป็นลำดับที่ 1( X =19.07) ข้อ สรุ ป ข้ า งต้ น แสดงถึ ง ความสอดคล้ อ งกั บ ผล การวิ จั ย เรื่ อ งค่ า นิ ย มทางการศึ ก ษาของ ไทย: อดีต ปัจจุบัน อนาคต ของสมบูรณ์ ตันยะ (2542) ซึง่ พบในกลุม่ ตัวอย่างทีม่ รี ะดับการศึกษา ต่างกันว่ามีค่านิยมทางการศึกษาแตกต่างกัน นอกจากนี้ ยังสอดคล้องกับงานวิจัยของ วิสินี มณีประสิทธิ์ (2548) ที่พบว่านักเรียนที่มารดา มีระดับการศึกษาแตกต่างกันมีค่านิยมพื้นฐาน ที่ต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ ข้ อ สรุ ป ที่ 6 ในจำนวนค่ า นิ ย ม จุดหมายปลายทาง บุคลากรทั้ง 3 กลุ่มศาสนา ทั้งศาสนาพุทธ ศาสนาคริสต์ และศาสนาอื่นๆ
100 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
ให้ความสำคัญแก่ค่านิยมการมีหลักธรรมและ ศาสนาเป็ น ที่ พึ่ ง ไว้ ใ นลำดั บ ต้ น โดยกลุ่ ม ที่ นับถือศาสนาคริสต์และศาสนาอื่นๆจัดให้เป็น ลำดับที่ 1 ในขณะที่กลุ่มที่นับถือศาสนาพุทธ ให้ ค วามสำคั ญ เป็ น ลำดั บ ที่ 2 (X=15.16) รองจากค่ า นิ ย มความสุ ข ในชี วิ ต ครอบครั ว (X=15.30) สำหรั บ ค่ า นิ ย มวิ ถี ป ฏิ บั ติ ก ลุ่ ม ที่ นั บ ถื อ ศาสนาคริ ส ต์ แ ละศาสนาอื่ น ๆให้ ความสำคั ญ แก่ ค่ า นิ ย มความกตั ญ ญู รู้ คุ ณ ความรับผิดชอบและความซื่อสัตย์ ให้อยู่ใน 3 ลำดั บ แรกแต่ ส ลั บ ลำดั บ ความสำคั ญ กั น ข้อสรุปที ่ 6 สามารถนำไปสูข่ อ้ สังเกต ของสาโรช บัวศรี(2551:207)ทีว่ า่ ผูม้ จี ริยธรรม จะต้ อ งยึ ด มั่ น ในค่ า นิ ย มทั้ ง ประเภทพื้ น ฐาน และวิชาชีพ หรือว่าทั้งประเภทศีลธรรมและ ประเภทข้อตกลง “จะยึดถือแต่เพียงประเภท เดียวย่อมจะไม่สมบูรณ์” ยิ่งไปกว่านั้น แบบ แผนพฤติกรรมตามจรรยาบรรณครู (สำนักงาน เลขาธิ ก ารคุ รุ ส ภา, 2541) ซึ่ ง กำหนดให้ ครู เ ป็ น แบบอย่ า งที่ ดี แ ก่ ศิ ษ ย์ ยั ง ทำหน้ า ที่ เป็ น กรอบความประพฤติ ซ่ึ ง เป็ น สิ่ ง ย้ ำ เตื อ นให้ ค รู ต ระหนั ก ถึ ง คุ ณ ค่ า ของศาสนา เพื่อเป็นเครื่องนำทางชีวิตไปสู่การเป็นคนดี มีคณ ุ ธรรม โดยเฉพาะอย่างยิง่ การทีก่ ลุม่ ตัวอย่าง ที่ นั บ ถื อ ศาสนนาคริ ส ต์ ใ ห้ ค่ า นิ ย ม “การมี หลักธรรมและศาสนาเป็นที่พึ่ง” อยู่ในลำดับที่ 1 สามารถสนองแนวทางการสร้างอัตลักษณ์
จินตนา มนเทียรวิเชียรฉาย
ของการศึ ก ษาคาทอลิ ก ตามแนวทางของ การสั ง คายนาวาติ กั น โดยแนวทางดั ง กล่ า วกำหนดให้ โ รงเรี ย นคาทอลิ ก เป็ น กลุ่ ม สั ง คมที่ ด ำเนิ น ชี วิ ต ตามค่ า นิ ย มแห่ ง พระวรสาร (อันหมายถึงความรัก ความเมตตา และอิ ส รภาพ) อี ก ทั้ ง กำหนดให้ ค รู ข องโรง เรี ย นเป็ น ทรั พ ยากรที่ มี ค วามสำคั ญ ที่สุดใน กระบวนการพั ฒ นาหล่ อ หลอมนั ก เรี ย นทั้ ง ด้ า นการปลู ก ฝั ง และเสริ ม สร้ า งค่ า นิ ย มคุ ณ ธรรมและจริยธรรม ตลอดจนเป็นสมาชิกทีม่ ี ความรับผิดชอบต่อสังคมในความเป็นคนไทย และในบริบทของวัฒนธรรมและสังคมไทย ข้ อ สรุ ป ที่ 7-8 ในจำนวนค่ า นิ ย ม จุ ด หมายปลายทางค่ า นิ ย มการมี ห ลั ก ธรรม และศาสนาเป็นที่พึ่งและค่านิยมความสงบสุข ทางใจได้ รั บ การจั ด ลำดั บ เป็ น ลำดั บ ที่ 1 แ ล ะ ล ำ ดั บ ที่ 2 ต า ม ล ำ ดั บ ใ น ทุ ก ก ลุ่ ม ระยะเวลาของประสบการณ์ ก ารสอนใน ข ณ ะ เ ดี ย ว กั น กั บ ที่ ค่ า นิ ย ม ค ว า ม มั่ ง มี ในเงินทองและวัตถุ และค่านิยมความสำราญ อยู่ ใ น 2 ลำดั บ สุ ด ท้ า ยโดยสลั บ ลำดั บ กั น ขึ้ น อ ยู่ กั บ แ ต่ ล ะ ก ลุ่ ม ร ะ ย ะ เ ว ล า ข อ ง ประสบการณ์การสอนโดยทุกกลุ่มระยะเวลา ให้ ทั้ ง 2 ค่ า นิ ย มอยู่ ใ นลำดั บ ที่ 19 และ ลำดั บ ที่ 20 ยกเว้ น กลุ่ ม ระยะเวลา 6-10 ปี ที่ ใ ห้ ค่ า นิ ย มความมั่ ง มี ใ นเงิ น ทองและวั ต ถุ อยู่ ใ นลำดั บ ที่ 20 และค่ า นิ ย มความสำราญ
อยู่ ใ นลำดั บ ที่ 19 สำหรั บ ค่ า นิ ย มวิ ถี ป ฏิ บั ติ พบว่าค่านิยมความรับผิดชอบความกตัญญูรคู้ ณ ุ และความซื่อสัตย์ อยู่ในลำดับความสำคัญ 3 ลำดับแรก โดยสลับลำดับความสำคัญขึน้ อยูก่ บั แต่ละกลุม่ ระยะเวลาของประสบการณ์การสอน ในจำนวนค่านิยมจุดหมายปลายทาง ค่านิยม การมี ห ลั ก ธรรมและศาสนาเป็ น ที่ พึ่ ง ได้ รั บ การจั ด ลำดั บ ให้ เ ป็ น ลำดั บ ที่ 1 โดยกลุ่ ม ตั ว อย่างทุกกลุ่มระยะเวลาการมีประสบการณ์ การทำงานในโรงเรียนคาทอลิกและค่านิยม ความสงบสุขทางใจ อยู่ในลำดับที่ 2 ยกเว้น ในกลุ่ ม ที่ มี ป ระสบการณ์ ก ารทำงานใน โรงเรียนคาทอลิกระหว่าง 11-15 ปี ซึ่งได้จัด ค่ า นิ ย มความสงบสุ ข ทางใจ ไว้ ใ นลำดั บ ที่ 3 สำหรับค่านิยมวิถีปฏิบัติพบว่ากลุ่มทุกระยะ เวลาการมี ป ระสบการณ์ ก ารทำงานใน โรงเรียนคาทอลิกจัดค่านิยมความกตัญญูรู้คุณ ความรับผิดชอบ และความซื่อสัตย์ ไว้เป็น 3 ลำดับแรกแม้จะสลับลำดับกันก็ตาม จากข้อสรุปที่ 7-8 จะเห็นได้ว่าระยะ เวลาประสบการณ์ ส อนและระยะเวลาประ สบการณ์การทำงานในโรงเรียนคาทอลิกมีผล ต่อการให้ความสำคัญแก่ค่านิยม 3 ลำดับแรก ในลักษณะเดียวกัน ทั้งนี้เนื่องจากผู้ที่ตอบ แบบสอบถามเป็นครูในสถานศึกษาคาทอลิก ซึ่งสภาการศึกษาคาทอลิกแห่งประเทศไทย ได้เน้นย้ำกับสถานศึกษาในสังกัดอยู่เสมอถึง
ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2012/2555
101
ค่านิยมของบุคลากรในสถานศึกษาสังกัดสภาการศึกษาคาทอลิกแห่งประเทศไทย
บทบาทสำคัญยิ่งของสถานศึกษาในการเป็น สถานที่ อ บรมสั่ ง สอนเด็ ก และเยาวชน อี ก ทั้ ง มี ห น้ า ที่ ส ำคั ญ ในการอบรมและปลู ก ฝั ง ความดี ง ามให้ แ ก่ เ ด็ ก และเยาวชนทุ ก คน ด้วยเหตุนี้ ครูจงึ มีหน้าทีส่ ำคัญอย่างมากในการ ทำให้ ส ถานศึ ก ษาบรรลุ เ ป้ า หมายดั ง กล่ า ว ข้างต้น โดยเป็นผูป้ ลูกฝังและเป็นแบบอย่างทีด่ ี ทางด้านคุณธรรมและจริยธรรมแก่เด็กและ เยาวชน นอกจากนีจ้ รรยาบรรณครู พ.ศ.2539 (สำนั ก งานเลขาธิ ก ารคุ รุ ส ภา, 2541) ยั ง กำหนดแบบแผนพฤติกรรมครูไว้ 9 ประการ และหนึง่ ในนัน้ กำหนดให้ครูประพฤติปฏิบตั ติ น เป็นแบบอย่างที่ดีแก่ศิษย์ทั้งทางกาย วาจา และจิตใจ ดังนั้น จึงเป็นสิ่งสำคัญอย่างยิ่งที่ ผู้บริหารและครูจะได้รับการบ่มเพาะคุณธรรม และจริยรรมเพือ่ จะได้เป็นแบบอย่างทีด่ แี ก่เด็ก และเยาวชน ยิ่งไปกว่านั้น ครูยังเป็น 1 ใน 5 เสาหลักที่สำคัญในการร่วมกันสร้างการศึกษา อบรมตามอัตลักษณ์การศึกษาคาทอลิกอีกด้วย ข้ อ สรุ ป ที่ 9 ในจำนวนค่ า นิ ย ม จุ ด หมายปลายทางค่ า นิ ย มการมี ห ลั ก ธรรม และศาสนาเป็ น ที่ พึ่ ง และค่ า นิ ย มความ สงบสุขทางใจ ได้รับการจัดลำดับเป็นลำดับที่ 1 และลำดั บ ที่ 2 ตามลำดั บ ในทุ ก กลุ่ ม ทั้งในกลุ่มครูผู้สอน กลุ่มผู้บริหาร และกลุ่ม ผู้บริหารและครูผู้สอน ในขณะที่กลุ่มครูผู้สอน และกลุม่ ผูบ้ ริหารและครูผสู้ อนจัดลำดับค่านิยม
102 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
ความสุ ข ในชี วิ ต ครอบครั ว ไว้ เ ป็ น ลำดั บ ที่ 3 (X=14.80) กลุ่มผู้บริหารจัดลำดับค่านิยม การช่ ว ยเหลื อ ผู้ อื่ น ไว้ เ ป็ น ลำดั บ ที่ 3(X =14.88) สำหรั บ ค่ า นิ ย มวิ ถี ป ฏิ บั ติ ทั้ ง 3 กลุ่ ม จั ด ลำดั บ ค่ า นิ ย มความรั บ ผิ ด ชอบ ความกตัญญูรู้คุณ และความซื่อสัตย์ ไว้เป็น 3 ลำดับแรกแต่สลับลำดับความสำคัญกัน การเลือกลำดับความสำคัญค่านิยม ทั้งค่านิยมจุดหมายปลายทางและวิถีปฏิบัติ สามารถใช้ ผ ลงานวิ จั ย ของดรุ ณี ศรี ม งคล (2535) อธิ บ ายปรากฏการณ์ ดั ง กล่ า วได้ จากงานวิ จั ย การเปรี ย บเที ย บความคิ ด เห็ น ของผู้บริหารโรงเรียน กลุ่มผู้ช่วยอาจารย์ใหญ่ และหัวหน้าหมวดวิชา และครูผู้สอน เกี่ยวกับ คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้บริหารโรงเรียน คาทอลิ ก ในประเทศไทย คุ ณ ลั ก ษณะทาง ด้ า นบุ ค ลิ ก ภาพที่ จั ด ว่ า สำคั ญ อย่ า งยิ่ ง ใน 5 อันดับแรก การมีความซื่อสัตย์สุจริตเป็นอันดับ 1 ส่วนอันดับ 2 ได้แก่ การมีความยุติธรรม เสมอภาคกั บ ทุ ก คนขณะที่ ก ารมี อ ารมณ์ เยือกเย็น สุขุมมั่นคงและควบคุมตนเองการมี ความเพียรและความอดทน และการวางตัวได้ เหมาะสม เป็นอันดับ 3 อันดับ 4 และอันดับ 5 ตามลำดับ ดังนั้น จึงอาจกล่าวได้ว่าคุณลักษณะ ทางด้านบุคลิกภาพดังกล่าวเป็นไปในทิศทาง เดียวกันกับการเลือกลำดับความสำคัญของ ค่านิยมจุดหมายปลายทางและค่านิยมวิถปี ฏิบตั ิ
จินตนา มนเทียรวิเชียรฉาย
ของทุกกลุ่มสถานภาพ ข้อเสนอแนะจากผลวิจยั เป็นที่น่าสังเกตว่า ในจำนวนค่านิยม จุดหมายปลายทาง 20 ค่านิยม ค่านิยมความเป็น ปราชญ์ เ ป็ น ผู้ รู้ ดี ถู ก จั ด ไว้ ใ นลำดั บ กลางๆ ในขณะทีค่ า่ นิยมการได้รบั ความยกย่องในสังคม และความกว้ า งขวางในสั ง คมอยู่ ใ นกลุ่ ม ที่ บุคลากรให้ความสำคัญอยู่ในห้าลำดับสุดท้าย ส่วนค่านิยมวิถีปฏิบัติ 23 ค่านิยม ค่านิยม การศึกษาสูงและค่านิยมความสะอาดกลับถูก จัดให้อยูใ่ นกลุม่ ค่านิยม 5 ลำดับสุดท้าย ค่านิยม เหล่านี้ล้วนเป็นค่านิยมที่เอื้อประโยชน์แก่การ ปฏิบัติหน้าที่ของบุคลากรทางการศึกษาทั้งสิ้น ดังนั้น สถานศึกษาควรจะปลูกฝังและบ่มเพาะ ให้เกิดค่านิยมดังกล่าวข้างต้น ค่านิยมที่พึงประสงค์เกิดขึ้นจากการ บ่มเพาะและปลูกฝัง ดังนั้นเพื่อให้บุคลากร ในสถานศึกษาสังกัดสภาการศึกษาคาทอลิก แห่งประเทศไทย มีคุณลักษณะที่สอดคล้อง กั บ ค่ า นิ ย มดั ง กล่ า ว หน่ ว ยงานที่ เ กี่ ย วข้ อ ง จะต้องสร้างความตระหนักในการมีค่านิยม ที่ พึ ง ประสงค์ ข องบุ ค ลากรในสถานศึ ก ษา คาทอลิกซึ่ ง อาจกระทำได้ ใ นรู ป แบบต่ า งๆ เช่น การกำหนดค่านิยมที่บุคลากรในสังกัด จำเป็ น ต้ อ งมี ก ารอบรมด้ า นอั ต ลั ก ษณ์ การศึกษาคาทอลิก การจัดกิจกรรมทางศาสนา
และทางสังคม เป็นต้น อย่างไรก็ตาม ผลจาก การวิเคราะห์คา่ นิยมของบุคลากรในสถานศึกษา สังกัดสภาการศึกษาคาทอลิกแห่งประเทศไทย ทำให้ทราบว่าบุคลากรที่มีคุณลักษณะพื้นฐาน ที่แตกต่างกัน มีค่านิยมเป็นไปในลักษณะใด บ้างซึง่ จะนำไปสูก่ ารพัฒนาค่านิยมทีพ่ งึ ประสงค์ โดยใช้ ก ารพิ จ ารณาคุ ณ ลั ก ษณะของกลุ่ ม เป็นแนวทาง ทั้งนี้เพื่อให้สอดคล้องกับกลุ่ม เป้าหมายมากทีส่ ดุ นอกจากนีก้ ารศึกษาเพิม่ เติม เกี่ยวกับปัจจัยอื่น เช่นปัจจัยด้านจิตใจ ปัจจัย แวดล้อมที่มีส่วนเกี่ยวข้อง เป็นต้น ก็น่าจะเป็น ข้อมูลในการพัฒนาปัจจัยเหล่านี้หากปัจจัย ดังกล่าวมีความสัมพันธ์กบั ค่านิยมทีพ่ งึ ประสงค์ ข้อเสนอแนะสำหรับการวิจัยครั้งต่อไป ข้อจำกัดประการแรกที่ผู้วิจัยพบใน การวิจัยครั้งนี้คือข้อจำกัดในการใช้เครื่องมือ สำรวจวัดระบบค่านิยมไทยของสุนทรี โคมิน (1990) เป็ น ข้ อ จำกั ด ที่ นั ก วิ จั ย อื่ น ๆได้ พ บ จากการนำ Rokeach Value Survey (RVS) มาใช้ในการศึกษาค่านิยม ประการแรก ผู้ตอบ จำต้องเลือกจัดลำดับความสำคัญของค่านิยม ทั้งๆที่แต่ละค่านิยมอาจมีความสำคัญต่อผู้ตอบ เท่าเทียมกัน (Wang, Rao, & D’Auria, 1994) ยิง่ ไปกว่านัน้ การเสนอชุดค่านิยมซึง่ ประกอบด้วย ค่ า นิ ย มมากมายอาจทำให้ ผู้ ต อบงงหรื อ สั บ สนและทำให้ ก ระบวนการการเลื อ กลำดั บ
ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2012/2555
103
ค่านิยมของบุคลากรในสถานศึกษาสังกัดสภาการศึกษาคาทอลิกแห่งประเทศไทย
ความสำคั ญ ผิ ด พลาดหรื อ ไขว้ เขว (Miller, 1956) ด้ ว ยเหตุ นี้ ผู้ วิ จั ย เสนอแนะให้ ป รั บ เครื่ อ งมื อ ให้ มี ร ะดั บ อั น ตรภาค (Interval Scale) ดังตัวอย่างที่ Wang, Rao, & D’Auria (1994) ได้ปรับเครื่องมือวัดค่านิยมวิถีปฏิบัติ 18 ค่ า นิ ย มของ Rokeach โดยใช้ ร ะดั บ 7 ระดั บ เพื่ อ วั ด ความสำคั ญ ของค่ า นิ ย มทั้ ง 18 ค่ า นิ ย ม ทั้ ง นี้ ก ำหนดให้ ห มายเลข 7 มี ระดั บ ความสำคัญที่สุด ส่วนหมายเลข 1 มีระดับความสำคัญน้อยที่สุด เป็นต้น ข้อจำกัดประการที่ 2 คือ นอกจาก ข้ อ จำกั ด ด้ า นเครื่ อ งมื อ วั ด แล้ ว งานวิ จั ย นี้ ยังมีข้อจำกัดด้านเงื่อนเวลาและกลุ่มประชากร กล่าวคือ เมือ่ พิจารณาถึงประเด็นการศึกษาแล้ว นั บ ได้ ว่ า ระยะเวลาในการทำวิ จั ย สั้ น มาก กล่าวคือ ใช้เวลาเพียง 8 เดือน ทำให้ได้กลุ่ม
ประชากรที่ มี เ พศหญิ ง มากกว่ า เพศชายใน อั ต ราส่ ว นที่ค่อ นข้ า งสู ง ดั ง นั้น ในการวิ จัย ครั้ ง ต่ อ ไปควรจะหากลุ่ ม ประชากรหรื อ กลุ่มตัวอย่างที่มีอัตราส่วนเพศชายและเพศ หญิงที่ไม่แตกต่างกันมาก ประการสุดท้าย เพื่อให้การนำผลวิจัย ไปใช้ ป ระโยชน์ ใ นการวางแผนการอบรม ปลูกฝังครูในสถานศึกษาคาทอลิกให้ตระหนักถึง อัตลักษณ์การศึกษาคาทอลิก และพร้อมที่จะ เป็นฟันเฟืองสำคัญในการสร้างกระบวนการ การศึกษาตามอัตลักษณ์การศึกษาคาทอลิก โดยใช้ ก ระบวนการคุ ณ ค่ า ศึ ก ษาบนพื้ น ฐาน แห่งพระวรสาร ดังนั้นข้อเสนอแนะสำหรับ การวิจยั เรือ่ งค่านิยมครัง้ ต่อไป คือ ให้มกี ารศึกษา ตัวแปรด้านการเห็นคุณค่าของศาสนาพร้อมกัน ไปด้วย
บรรณานุกรม ดรุณี ศรีมงคล. 2535. “การเปรียบเทียบ ความคิดเห็นของผู้บริหารโรงเรียน กลุ่มผู้ช่วยอาจารย์ใหญ่และหัวหน้า หมวดวิชา และครูผู้สอนเกี่ยวกับ คุณลักษณะที่พึงประสงค์ ของผู้บริหารโรงเรียนคาทอลิก ในประเทศไทย”. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตร มหาบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. นีออน กลิ่นรัตน์, เพ็ญศิริ ชุติกุล และ สถาพร ขันโต. 2525. ค่านิยมของอาจารย์ ในสถาบันฝึกหัดครูภาคตะวันออก เฉียงเหนือ. รายงานวิจัยคณะศึกษา ศาสตร์มหาวิทยาลัยขอนแก่น. บุญชู ไตรรัตน์รังษี. 2539 “ทัศนคติต่อการ เป็นหนี้ ค่านิยมทางวัตถุ และการ เป็นหนี้ของครูโรงเรียนเอกชน
104 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
จินตนา มนเทียรวิเชียรฉาย
ในเขตบึงกุ่ม กรุงเทพมหานคร”. วิทยานิพนธ์ปริญญาพัฒนา บริหารศาสตรหมาบัณฑิต สาขา พัฒนาสังคม สถาบัน นัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. มิเกล กาไรซาบาล. 2539. การศึกษาคาทอลิก สูส่ หัสวรรษทีส่ าม (สุมติ รา พงศธร). กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์อัสสัมชัญ. มิเกล กาไรซาบาล. 2542. การปฏิรูป การศึกษาด้วยจิตตารมณ์พระเยซู คริสตเจ้า. (สุมิตรา พงศธร). กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์อัสสัมชัญ. ยนต์ ชุ่มจิต. 2546. การศึกษา และความเป็นครูไทย. กรุงเทพมหานคร : โอเดียนสโตร์. _________. 2553. ความเป็นครู: Self actualization for teachers. กรุงเทพมหานคร : โอเดียนสโตร์. วชิราภรณ์ ไชยชาติ. 2547. “ค่านิยม ของสังคมไทย : การวิเคราะห์ เนื้อหาจากหนังสือสำหรับเด็กระดับ ประถมศึกษา”. วิทยานิพนธ์ ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยาการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
วิสินี มณีประสิทธิ์. 2548. “การศึกษา ค่านิยมพื้นฐานของนักเรียน ระดับช่วงชัน้ ที่ 3 โรงเรียนคาทอลิก สังกัดอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ เขตการศึกษาที่ 3”. วิทยานิพนธ์ ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการวัดและประเมินผล การศึกษา มหาวิทยาลัยรามคำแหง. สภาการศึกษาคาทอลิก แห่งประเทศไทย. 2551. อัตลักษณ์การศึกษาคาทอลิก. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์อัสสัมชัญ. สภาประมุขบาทหลวงโรมันคาทอลิก แห่งประเทศไทย. 2510. อภิบาลชุมชน ศิษย์พระคริสต์ ร่วมพันธกิจแบ่งปันข่าวดี. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์อัสสัมชัญ. สำนักงานเลขาธิการคุรุสภา. 2541. แบบแผนพฤติกรรมตามจรรยาบรรณครู พ.ศ. 2539. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว. สมบูรณ์ ตันยะ. (2542). ค่านิยมทางการศึกษาของไทย : อดีต ปัจจุบัน อนาคต. รายงานวิจัยคณะครุศาสตร์ สถาบันราชภัฏนครราชสีมา. สาโรช บัวศรี. 2551. รากแก้วการศึกษา. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัย
ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2012/2555
105
ค่านิยมของบุคลากรในสถานศึกษาสังกัดสภาการศึกษาคาทอลิกแห่งประเทศไทย
ศรีนครินทรวิโรฒ. สุนทรี โคมิน และสนิท สมัครการ. 2522. ค่านิยมและระบบค่านิยมไทย : เครื่องมือในการสำรวจวัด. กรุงเทพมหานคร : สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหาศาสตร์. GenÇ, S. Z. 2008. An Evaluation of Teachers’ Views of Primary School Principals’ Practice of Democratic Values. Social Behavior and Personality, 36 (4), 483+. Retrieved from http://www.questia.com Komin, S. 1990. Psychology of the Thai people: Values and Behavioral Patterns. Bangkok: National Institute of Development Administration. Miethe, T. D. 1985. The Validity and Reliability of Value Measure- ments. Journal of Psychol- ogy, 119 (5), 441-453. Miller, G. A. 1956. The Magical Number Seven, Plus or Minus Two: Some Limits on Our Capacity for Processing
106 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
Information. Psychology Review 63 (March), 81-97. Moore, M. 1975. Rating vs. Ranking in Rokeach Value Survey. European Journal of Social Psychology, 5 (3), 405-408. Munson, J. M., & McIntyre, S. H. 1979. Developing Practical Procedures for the Measurement of Personal Values in Cross- Cultural Marketing. Journal of Marketing Research, 16 (February), 55-60. Rankin, W. L., & Grube, J. W. 1980. A Comparison of Ranking and Rating Procedures for Value System Measurement. European Journal of Social Psychology, 10 (3), 233-246. Wang, Z., Rao, C. P., & D’Auria. 1994. A Comparison of the Rokeach Value Survey (RVS) in China and the United States. Asia Pacific Advances in Consumer Research, 1, 185-190.
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
Sa e n g th a m Co lle g e Jo u rn a l
ใบสมัครสมาชิก วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม สมาชิกในนาม............................................................................................................... ที่อยู่ (สำหรับจัดส่งวารสารวิชาการ) เลขที่.................................ถนน.................................... แขวง/ตำบล...................................................เขต/อำเภอ.................................................. จังหวัด..................................................................รหัสไปรษณีย์...................................... โทรศัพท์.....................................................................โทรสาร......................................... มีความประสงค์สมัครเป็นสมาชิก วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม 1 ปี (2 ฉบับ) อัตราค่าสมาชิก 200 บาท วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม 2 ปี (4 ฉบับ) อัตราค่าสมาชิก 400 บาท วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงะรรม 3 ปี (6 ฉบับ) อัตราค่าสมาชิก 500 บาท ชำระเงินโดยวิธี ธนาณัติ (สั่งจ่าย “บาทหลวงอภิสิทธิ์ กฤษเจริญ”) ปณ. อ้อมใหญ่ 73160 โอนเงินเข้าบัญชีออมทรัพย์ ธนาคารกรุงไทย สาขาสามพราน ชื่อบัญชี “วารสารวิชาการวิทยาลัยแสงธรรม” เลขที่บัญชี 734-0-27562-2 (พร้อมส่งเอกสารการโอนมาที่ Fax. 0-2429-0819) ที่อยู่ที่ต้องการให้ออกใบเสร็จรับเงิน ตามที่อยู่ที่จัดส่ง ที่อยู่ใหม่ในนาม....................................................................................................... เลขที่.........................ถนน.............................แขวง/ตำบล..................................... เขต/อำเภอ............................จังหวัด...............................รหัสไปรษณีย์...................
.............................................(ลงนามผู้สมัคร) วันที่...........................................
ส่งใบสมัครมาที่ : ศูนย์วิจัยค้นคว้าศาสนาและวัฒนธรรม วิทยาลัยแสงธรรม เลขที่ 20 หมู่ 6 ต.ท่าข้าม อ.สามพราน จ.นครปฐม 73110 หรือที่ โทรสาร 0 2 429 0819
รูปแบบการส่งต้นฉบับบทความ
www.saengtham.ac.th
1. การพิมพ์ผลงานทางวิชาการควรจัดพิมพ์ด้วย Microsoft Word for Windows หรือซอฟต์แวร์อื่น ที่ใกล้เคียงกันพิมพ์บนกระดาษขนาด A4 หน้าเดียว ประมาณ 26 บรรทัด ต่อ 1 หน้า Angsana New ขนาดของตัวอักษรเท่ากับ 16 และใส่เลขหน้าตั้งแต่ต้นจนจบบทความ ยกเว้นหน้าแรก 2. ต้องมีชื่อเรื่องบทความทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ (ชื่อบทความไม่ต้องอยู่ในวงเล็บ) 3. ให้ข้อมูลเกี่ยวกับผู้เขียนบทความทุกคน Curriculum Vitae (CV) ได้แก่ ชื่อ-นามสกุลของ ผู้เขียน หน่วยงานที่สังกัด ตำแหน่งทางวิชาการ (ถ้ามี) E-mail หรือโทรศัพท์ ทั้งภาษาไทย และภาษาอังกฤษ 4. ทุกบทความจะต้องมีบทคัดย่อภาษาไทย และ Abstract มีความยาวประมาณครึ่งหน้ากระดาษ A4 จะต้องพิมพ์คำสำคัญในบทคัดย่อภาษาไทย และพิมพ์ Keywords ใน Abstract ของบทความ ด้วย 5. ความยาวทั้งหมด ประมาณ 14-20 หน้า 6. เชิงอรรถอ้างอิง (ถ้ามี) 7. บรรณานุกรมตามมาตรฐาน APA แยกผลงานภาษาไทยและภาษาอังกฤษ (เรียงตามลำดับตัว อักษร) 8. บทความวิจัยควรมีหัวข้อดังนี้ ชื่อเรื่องบทความวิจัย (ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ) ชื่อผู้เขียนพร้อมข้อมูลส่วนตัวของทุกคน (รายละเอียดตามข้อ 3) บทคัดย่อภาษาไทย และ Abstract (รายละเอียดตามข้อ 4) ความสำคัญ ของเนื้อหา วัตถุประสงค์ สมมติฐานของการวิจัย ประโยชน์ที่ได้รับ ขอบเขตการวิจัย นิยามศัพท์ (ถ้ามี) วิธีการดำเนินการ ผลการวิจัย ข้อเสนอแนะ และบรรณานุกรม/References 9. ฝ่ายวิชาการนำบทความที่ท่านส่งมาเสนอต่อผู้ทรงคุณวุฒิเพื่อประเมินคุณภาพความเหมาะสม ของบทความก่อนการตีพิมพ์ ในกรณีที่ผลการประเมินระบุให้ต้องปรับปรุงหรือแก้ไข ผู้เขียนจะ ต้องดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลา 15 วันนับจากวันที่ได้รับผลการประเมินบทความ หากท่านต้องการสอบถามกรุณาติดต่อกับกองบรรณาธิการวารสารวิชาการ โทรศัพท์ (02) 4290100 โทรสาร (02) 4290819 หรือ E-mail:
ขั้นตอนการจัดทำ
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม Saesngtham College Journal
เริ่มต้น ประกาศรับบทความต้นฉบับ รับบทความต้นฉบับ แก้ไข กอง บก. ตรวจรูปแบบทั่วไป
ไม่ผ่าน
แจ้งผู้เขียน
ผ่าน ส่งผู้ทรงคุณวุฒิ ข
ก้ไ อ้ งแ
ผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาบทความ
ไม่ผ่าน
ผ่าน กองบรรณาธิการแจ้งยืนยัน การรับบทความ จัดพิมพ์เผยแพร่ จบ
แจ้งผู้เขียน
ไม่ต
แก้ไ
ข
แจ้งผู้เขียน แก้ไข
จบ