วารสารวิชาการวิทยาลัยแสงธรรม ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน 2558

Page 1

ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม-มิถุนายน 2558

ISSN 1906-5078

บทความวิชาการ 1

ภาพสะท้อนด้านสิทธิมนุษยชนในสังคมไทย : มุมมองจากวิทยาลัยแสงธรรม บาทหลวง ดร.ชาติชาย พงษ์ศิริ

บทความวิจัย 19

กลยุทธ์การบริหารความปลอดภัยสถานศึกษา ดร.ชัยวัฒน์ อุทัยแสน และ ผศ.ว่าที่พันตรี ดร.นพดล เจนอักษร

29

การจัดการศึกษาโรงเรียนคาทอลิกในประเทศไทยตามอัตลักษณ์การศึกษาคาทอลิก บาทหลวง ดร.สุรินทร์ จารย์อุปการะ และ ผศ.ดร.ประเสริฐ อินทร์รักษ์

46

การหล่อหลอมมโนธรรมตามแบบอย่างนักบุญอิกญาซีโอแห่งโลโยลา ปฏิคม วิริยะสมบัติ บาทหลวง ดร.ออกัสติน สุกีโย ปีโตโย, S.J. และบาทหลวงเจริญ ว่องประชานุกูล

60

คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของงานจิตตาภิบาลในโรงเรียนคาทอลิก สังกัดอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ

บาทหลวง ผศ.วัชศิลป์ กฤษเจริญ บาทหลวง ดร.ชาติชาย พงษ์ศิริ บาทหลวง ดร.ออกัสติน สุกีโย ปีโตโย บาทหลวง ผศ.สมชัย พิทยาพงศ์พร สุดหทัย นิยมธรรม และศรัญญู พงศ์ประเสริฐสิน

75

จากกาลิลีสู่เยรูซาเล็ม : คุณธรรมความนอบน้อมเชื่อฟังสำหรับบาทหลวง ผู้ติดตามพระคริสต์ (มก 8:27-10:52) บาทหลวงกรณ์ อดิเรกวุฒิกุล มุขนายก ดร.ลือชัย ธาตุวิสัย และบาทหลวงสมเกียรติ ตรีนิกร

86

นวัตกรรมการบริหารงานอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีในสถานศึกษาอาชีวศึกษา ดร.พิศณุ ทองเลิศ และ ผศ.ดร.ประเสริฐ อินทร์รักษ์

101

บทบาทครูในการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม ตามอัตลักษณ์การศึกษาคาทอลิก ในโรงเรียนคาทอลิก สังกัดอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ บาทหลวง ดร.อภิสิทธิ์ กฤษเจริญ บาทหลวง ดร.พิเชฐ แสงเทียน, S.J. บาทหลวงธีรพล กอบวิทยากุล สุดหทัย นิยมธรรม และศรัญญู พงศ์ประเสริฐสิน

รูปแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงานของครูโรงเรียนเอกชน จังหวัดกำแพงเพชร

120

ดร.เมธี น้อมนิล รศ.ดร.ประเทือง ภูมิภัทราคม และ รศ.ดร.ธานี เกสทอง

แนวทางการอภิบาลครอบครัวเลี้ยงเดี่ยวตามคำสอนของพระศาสนจักรคาทอลิก บาทหลวงอุดม ดีเลิศประดิษฐ์ มุขนายก ดร.ลือชัย ธาตุวิสัย บาทหลวงวัยพรต พุฒสา, O.M.I. และ ดร.ลัดดาวรรณ์ ประสูตร์แสงจันทร์

135


วารสารวิชาการ วิทยาลัยSaแสงธรรม e n g th a m Co lle g e Jo u rn a l ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2015/2558

วัตถุประสงค์ 1. เป็นเวทีเผยแพร่ผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการของคณาจารย์ทั้งใน และนอกวิทยาลัย ตลอดจนนักวิชาการอิสระ 2. เชื่อมโยงโลกแห่งวิชาการ และเผยแพร่องค์ความรู้ทางปรัชญา ศาสนา เทววิทยา และการศึกษา ให้เกิดประโยชน์แก่ชุมชนและสังคมส่วนรวม 3. ส่งเสริมและกระตุ้นให้เกิดการวิจัย และพัฒนาองค์ความรู้ทางด้าน ปรัชญา ศาสนา เทววิทยา และการศึกษา เพิ่มมากขึ้น เจ้าของ บาทหลวง ดร.ชาติชาย พงษ์ศิริ บาทหลวง เดชา อาภรณ์รัตน์

ในนามอธิการบดีวิทยาลัยแสงธรรม ในนามประธานสภาการศึกษาคาทอลิก แห่งประเทศไทย

บรรณาธิการ บาทหลวง ดร.อภิ​ิสิทธิ์ กฤษเจริญ กองบรรณาธิการ รศ.ดร.ไพศาล หวังพานิช รศ.ดร.สมเจตน์ ไวยาการณ์ ผศ.ประเสริฐ วิเศษกิจ ดร.อาทิพย์ สอนสุจิตรา ดร.ยุพิน ยืนยง อาจารย์พีรพัฒน์ ถวิลรัตน์ อาจารย์พิเชษฐ รุ้งลาวัลย์ อาจารย์ศรัญญู พงษ์ประเสริฐสิน นางสาวศรุตา พรประสิทธิ์

ในนามรองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล โรงเรียนเซนต์เทเรซา ฝ่ายการศึกษา อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ มูลนิธิเซนต์คาเบรียล โรงเรียนบอสโกพิทักษ์ อาจารย์ ดร.ลัดดาวรรณ์ ประสูตร์แสงจันทร์ อาจารย์ทิพอนงค์ รัชนีลัดดาจิต นางสาวจิตรา กิจเจริญ

กำาหนดเผยแพร่ : ปีละ 2 ฉบับๆ ละ 100 บาท (ฉบับที่ 1 ม.ค.- มิ.ย. ฉบับที่ 2 ก.ค.- ธ.ค.) สถานที่ออกแบบและจัดพิมพ์ : ศูนย์วิจัยค้นคว้าศาสนาและวัฒนธรรม วิทยาลัยแสงธรรม ออกแบบปก & รูปเล่ม : โดย อาจารย์พิเชษฐ รุ้งลาวัลย์ พิสูจน์อักษร : โดย นางสาวศรุตา พรประสิทธิ์

วารสารวิชาการวิทยาลัยแสงธรรม ได้ผ่านการประเมินคุณภาพวารสาร จากศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย(TCI) รอบที่ 3 (ปี พ.ศ. 2558-2562)

โดยจัดอยู่ในกลุ่ม 1 เป็นวารสารที่ผ่านการรับรองคุณภาพของ TCI และอยู่ในฐานข้อมูล TCI และจะถูกคัดเลือกเข้าสู่ฐานข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI) ต่อไป


รายนามคณะที่ปรึกษากองบรรณาธิการ (Editorial Advisory Board) ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก 1. บาทหลวง ศ.ดร.วชิระ น้ำาเพชร, S.J. 2. ศ.กีรติ บุญเจือ 3. ศ.ปรีชา ช้างขวัญยืน 4. ศ.ดร.เดือน คำาดี 5. ศ.ดร.สมภาร พรมทา 6. รศ.ดร.สุมาลี จันทร์ชลอ 7. ผศ.ดร.มณฑา เก่งการพาณิชย์ 8. ผศ.ดร.ชาญณรงค์ บุญหนุน 9. ผศ.ดร.วรยุทธ ศรีวรกุล

Sophia University, Japan ราชบัณฑิต คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร คณะปรัชญาและศาสนา มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ

ผู้ทรงคุณวุฒิภายใน 1. มุขนายก ดร.ลือชัย ธาตุวิสัย 3. บาทหลวง ดร.ออกัสติน สุกีโย ปีโตโย, S.J. 5. บาทหลวง ดร.เชิดชัย เลิศจิตรเลขา, M.I. 7. บาทหลวง ดร.สุรชัย ชุ่มศรีพันธ์ุ 9. อาจารย์ ดร.ลัดดาวรรณ์ ประสูตร์แสงจันทร์

2. บาทหลวง ดร.ชาติชาย พงษ์ศิริ 4. บาทหลวง ผศ.ดร.ฟรังซิส ไก้ส์, S.D.B. 6. บาทหลวง ผศ.ดร.ไพยง มนิราช 8. ภคินี ดร.ชวาลา เวชยันต์

ลิขสิทธิ์ ต้นฉบับที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการวิทยาลัยแสงธรรม ถือเป็นกรรมสิทธิ์ของวิทยาลัยแสงธรรม ห้ามน�าข้อความทัง้ หมดไปตีพมิ พ์ซา�้ ยกเว้นได้รบั อนุญาตจากวิทยาลัยแสงธรรม ความรับผิดชอบ เนือ้ หาและข้อคิดเห็นใดๆ ทีต่ พี มิ พ์ในวารสารวิชาการวิทยาลัยแสงธรรม ถือเป็นความรับผิดชอบของ ผูเ้ ขียนเท่านัน้


รายนามผู้ทรงคุณวุฒิผู้ประเมินบทความ (Peer Review) ประจำ า ฉบั บ

ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2015/2558

ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก 1. ศ.กีรติ บุญเจือ 2. ศ.ดร.ยศ สันตะสมบัติ 3. ศ.ดร.สมภาร พรมทา 4. รศ.ดร.สุมาลี จันทร์ชลอ 5. ผศ.ดร.ประเสริฐ อินทร์รักษ์ 6. บาทหลวง ดร.เอกชัย ชิณโคตร

ราชบัณฑิต คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ผู้จัดการโรงเรียนมารีย์อนุสรณ์ จ.บุรีรัมย์

ผู้ทรงคุณวุฒิภายใน 1. บาทหลวง ดร.ชาติชาย พงษ์ศิริ 2. บาทหลวง ผศ.ดร.วุฒิชัย อ่องนาวา 3. บาทหลวง ดร.พิเชฐ แสงเทียน 4. บาทหลวง ดร.เกรียงยศ ปิยะวัณโณ 5. อาจารย์ ดร.ลัดดาวรรณ์ ประสูตร์แสงจันทร์

อธิการบดี วิทยาลัยแสงธรรม คณะมนุษย์ศาสตร์ คณะศาสนศาสตร์ คณะศาสนศาสตร์ คณะศาสนศาสตร์

วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม มีความยินดีรับบทความวิจัย บทความวิชาการ บทวิจารณ์หนังสือ และ บทความปริทัศน์ ด้านปรัชญา ศาสนา เทววิทยา และการศึกษา ที่ยังไม่เคยเผยแพร่ในเอกสารใดๆ โดยส่ง บทความมาที่ ผู้อ�านวยการศูนย์วิจัยค้นคว้าศาสนาและวัฒนธรรม วิทยาลัยแสงธรรม เลขที่ 20 หมู่ 6 ต.ท่าข้าม อ.สามพราน จ.นครปฐม 73110 กองบรรณาธิการวารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม จะส่งบทความให้แก่ผู้ทรงคุณวุฒิทางวิชาการเพื่อประเมิน คุณภาพบทความว่าเหมาะสมส�าหรับการตีพิมพ์หรือไม่ หากท่านสนใจกรุณาดูรายละเอียดรูปแบบการส่งต้น ฉบับได้ที่ www.saengtham.ac.th/journal


บทบรร าธิ ก าร Saengtham College Journal

วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2015/2558

ก่อนอื่นต้องขอแสดงความยินดีกับกองบรรณาธิการวารสารวิชาการวิทยาลัยแสงธรรม ที่ได้ ร่วมกันด�าเนินงานด้วยกระบวนการคุณภาพ จนท�าให้วารสารวิชาการวิทยาลัยแสงธรรม ได้รับการ ประเมินจากศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (TCI) รอบที่3 (พ.ศ.2558-2562) โดยจัดอยู่ในกลุ่มที่ 1 ซึ่งเป็นกลุ่มที่มีคุณภาพมากที่สุด ขอให้รักษาคุณภาพไว้และพัฒนาให้ดียิ่งขึ้นต่อไป วารสารวิชาการวิทยาลัยแสงธรรมฉบับนี้ กองบรรณาธิการขอน�าเสนอบทความรวมจ�านวน 10 บทความ ประกอบไปด้วยบทความวิชาการ จ�านวน 1 เรื่อง คือ “A Reflection on Human Rights in Thai Society : Points of View from Saengtham College” ซึ่งได้ รับความกรุณาจาก บาทหลวง ดร.ชาติชาย พงษ์ศิริ อธิการบดีวิทยาลัยแสงธรรม และอีก 2 บทความวิจัยจากบุคลากรภายใน ได้แก่บทความวิจัยเรื่อง “บทบาทครูในการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม ตามอัตลักษณ์การศึกษาคาทอลิกในโรงเรียนคาทอลิก สังกัดอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ” และ “คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของงานจิตตาภิบาลในโรงเรียนคาทอลิก สังกัดอัครสังฆมณฑล กรุงเทพฯ” นอกจากนี้ยังมีอีก 3 บทความวิจัย ซึ่งเป็นผลงานจากรายวิชา กอ.791 การค้นคว้าอิสระ ของนั ก ศึ ก ษาระดับปริญญาโท สาขาวิชาเทววิทยาจริยธรรม วิทยาลัยแสงธรรม ประกอบด้วย บทความวิจัยเรื่อง “จากกาลิลีสู่เยรูซาเล็ม : คุณธรรมความนอบน้อมเชื่อฟังส�าหรับบาทหลวงผู้ ติดตามพระคริสต์ (มก 8:27-10:52)” เรื่อง “แนวทางการอภิบาลครอบครัวเลี้ยงเดี่ยวตามค�าสอน ของพระศาสนจักรคาทอลิก” และเรื่อง “การหล่อหลอมมโนธรรมตามแบบอย่างนักบุญอิกญาซีโอ แห่งโลโยลา” และยังมีบทความวิจัยจากภายนอก ซึ่งเป็นผลงานสืบเนื่องมาจากการศึกษาระดับปริญญา เอก อีกจ�านวน 4 บทความ ได้แก่ เรื่อง “การจัดการศึกษาโรงเรียนคาทอลิกในประเทศไทยตามอัตลักษณ์การศึกษาคาทอลิก” เรื่อง “นวัตกรรมการบริหารงานอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีในสถานศึกษา อาชีวศึกษา” เรื่อง “กลยุทธ์การบริหารความปลอดภัยสถานศึกษา” และเรื่อง “รูปแบบการพัฒนา คุณภาพชีวิตในการท�างานของครูโรงเรียนเอกชน จังหวัดก�าแพงเพชร” ซึ่งบทความทั้ง 10 ได้ผ่าน การประเมินจากผู้ทรงคุณวุฒิแล้วทั้งสิ้น กองบรรณาธิ ก ารวารสารวิ ช าการวิ ท ยาลั ย แสงธรรม ขอขอบคุ ณ ผู ้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ ทุ ก ท่ า นที่ กรุณาให้ความอนุเคราะห์ประเมินบทความต่างๆ อันส่งผลให้วารสารวิชาการวิทยาลัยแสงธรรมส�าเร็จ และผลิตออกเผยแพร่องค์ความรูด้ า้ นปรัชญา ศาสนา เทววิทยา และการศึกษา บรรณาธิการ มิถุนายน 2015


วารสารวิ ชาการ วิทยาลัยSaแสงธรรม e n g th a m Co lle g e Jo u rn a l

ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2015/2558

วัตถุประสงค์ 1. เป็นเวทีเผยแพร่ผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการของคณาจารย์ทั้งใน และนอกวิทยาลัย ตลอดจนนักวิชาการอิสระ 2. เชื่อมโยงโลกแห่งวิชาการ และเผยแพร่องค์ความรู้ทางปรัชญา ศาสนา เทววิทยา และการศึกษา ให้เกิดประโยชน์แก่ชุมชนและสังคมส่วนรวม 3. ส่งเสริมและกระตุ้นให้เกิดการวิจัย และพัฒนาองค์ความรู้ทางด้าน ปรัชญา ศาสนา เทววิทยา และการศึกษา เพิ่มมากขึ้น เจ้าของ บาทหลวง ดร.ชาติชาย พงษ์ศิริ ในนามอธิการบดีวิทยาลัยแสงธรรม บาทหลวง เดชา อาภรณ์รัตน์ ในนามประธานสภาการศึกษาคาทอลิก แห่งประเทศไทย บรรณาธิการ บาทหลวง ดร.อภิ​ิสิทธิ์ กฤษเจริญ ในนามรองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ กองบรรณาธิการ รศ.ดร.ไพศาล หวังพานิช มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล รศ.ดร.สมเจตน์ ไวยาการณ์ โรงเรียนเซนต์เทเรซา ผศ.ประเสริฐ วิเศษกิจ ฝ่ายการศึกษา อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ ดร.อาทิพย์ สอนสุจิตรา มูลนิธิเซนต์คาเบรียล ดร.ยุพิน ยืนยง โรงเรียนบอสโกพิทักษ์ อาจารย์พีรพัฒน์ ถวิลรัตน์ อาจารย์ ดร.ลัดดาวรรณ์ ประสูตร์แสงจันทร์ อาจารย์พิเชษฐ รุ้งลาวัลย์ อาจารย์ทิพอนงค์ รัชนีลัดดาจิต อาจารย์ศรัญญู พงษ์ประเสริฐสิน นางสาวจิตรา กิจเจริญ นางสาวศรุตา พรประสิทธิ์ กำ�หนดเผยแพร่ : ปีละ 2 ฉบับๆ ละ 100 บาท (ฉบับที่ 1 ม.ค.- มิ.ย. ฉบับที่ 2 ก.ค.- ธ.ค.) สถานที่ออกแบบและจัดพิมพ์ : ศูนย์วิจัยค้นคว้าศาสนาและวัฒนธรรม วิทยาลัยแสงธรรม ออกแบบปก & รูปเล่ม : โดย อาจารย์พิเชษฐ รุ้งลาวัลย์ พิสูจน์อักษร : โดย นางสาวศรุตา พรประสิทธิ์

วารสารวิชาการวิทยาลัยแสงธรรม ได้ผ่านการประเมินคุณภาพวารสาร จากศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย(TCI) รอบที่ 3 (ปี พ.ศ. 2558-2562)

โดยจัดอยู่ในกลุ่ม 1 เป็นวารสารที่ผ่านการรับรองคุณภาพของ TCI และอยู่ในฐานข้อมูล TCI และจะถูกคัดเลือกเข้าสู่ฐานข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI) ต่อไป


รายนามคณะที่ปรึกษากองบรรณาธิการ

(Editorial Advisory Board)

ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก 1. บาทหลวง ศ.ดร.วชิระ น้ำ�เพชร, S.J. Sophia University, Japan 2. ศ.กีรติ บุญเจือ ราชบัณฑิต 3. ศ.ปรีชา ช้างขวัญยืน คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 4. ศ.ดร.เดือน คำ�ดี คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 5. ศ.ดร.สมภาร พรมทา คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 6. รศ.ดร.สุมาลี จันทร์ชลอ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี 7. ผศ.ดร.มณฑา เก่งการพาณิชย์ คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล 8. ผศ.ดร.ชาญณรงค์ บุญหนุน คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร 9. ผศ.ดร.วรยุทธ ศรีวรกุล คณะปรัชญาและศาสนา มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ

ผู้ทรงคุณวุฒิภายใน 1. มุขนายก ดร.ลือชัย ธาตุวิสัย 2. บาทหลวง ดร.ชาติชาย พงษ์ศิริ 3. บาทหลวง ดร.ออกัสติน สุกีโย ปีโตโย, S.J. 4. บาทหลวง ผศ.ดร.ฟรังซิส ไก้ส์, S.D.B. 5. บาทหลวง ดร.เชิดชัย เลิศจิตรเลขา, M.I. 6. บาทหลวง ผศ.ดร.ไพยง มนิราช 7. บาทหลวง ดร.สุรชัย ชุ่มศรีพันธ์ุ 8. ภคินี ดร.ชวาลา เวชยันต์ 9. อาจารย์ ดร.ลัดดาวรรณ์ ประสูตร์แสงจันทร์

ลิขสิทธิ์ ต้นฉบับที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการวิทยาลัยแสงธรรม ถือเป็นกรรมสิทธิ์ของวิทยาลัยแสงธรรม ห้ามน�ำข้อความทัง้ หมดไปตีพมิ พ์ซำ�้ ยกเว้นได้รบั อนุญาตจากวิทยาลัยแสงธรรม ความรับผิดชอบ เนือ้ หาและข้อคิดเห็นใดๆ ทีต่ พี มิ พ์ในวารสารวิชาการวิทยาลัยแสงธรรม ถือเป็นความรับผิดชอบของ ผูเ้ ขียนเท่านัน้


รายนามผู้ทรงคุณวุฒิผู้ประเมินบทความ

(Peer Review) ประจำ � ฉบั บ

ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2015/2558

ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก 1. ศ.กีรติ บุญเจือ ราชบัณฑิต 2. ศ.ดร.ยศ สันตะสมบัติ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 3. ศ.ดร.สมภาร พรมทา คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 4. รศ.ดร.สุมาลี จันทร์ชลอ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี 5. ผศ.ดร.ประเสริฐ อินทร์รักษ์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร 6. บาทหลวง ดร.เอกชัย ชิณโคตร ผู้จัดการโรงเรียนมารีย์อนุสรณ์ จ.บุรีรัมย์ ผู้ทรงคุณวุฒิภายใน 1. บาทหลวง ดร.ชาติชาย พงษ์ศิริ อธิการบดี วิทยาลัยแสงธรรม 2. บาทหลวง ผศ.ดร.วุฒิชัย อ่องนาวา คณะมนุษย์ศาสตร์ 3. บาทหลวง ดร.พิเชฐ แสงเทียน คณะศาสนศาสตร์ 4. บาทหลวง ดร.เกรียงยศ ปิยะวัณโณ คณะศาสนศาสตร์ 5. อาจารย์ ดร.ลัดดาวรรณ์ ประสูตร์แสงจันทร์ คณะศาสนศาสตร์

วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม มีความยินดีรับบทความวิจัย บทความวิชาการ บทวิจารณ์หนังสือ และ บทความปริทัศน์ ด้านปรัชญา ศาสนา เทววิทยา และการศึกษา ที่ยังไม่เคยเผยแพร่ในเอกสารใดๆ โดยส่ง บทความมาที่ ผู้อำ�นวยการศูนย์วิจัยค้นคว้าศาสนาและวัฒนธรรม วิทยาลัยแสงธรรม เลขที่ 20 หมู่ 6 ต.ท่าข้าม อ.สามพราน จ.นครปฐม 73110 กองบรรณาธิการวารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม จะส่งบทความให้แก่ผู้ทรงคุณวุฒิทางวิชาการเพื่อประเมิน คุณภาพบทความว่าเหมาะสมสำ�หรับการตีพิมพ์หรือไม่ หากท่านสนใจกรุณาดูรายละเอียดรูปแบบการส่งต้น ฉบับได้ที่ www.saengtham.ac.th/journal


บทบรรณาธิ ก าร Saengtham College Journal

วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2015/2558

ก่อนอื่นต้องขอแสดงความยินดีกับกองบรรณาธิการวารสารวิชาการวิทยาลัยแสงธรรม ที่ได้ ร่วมกันด�ำเนินงานด้วยกระบวนการคุณภาพ จนท�ำให้วารสารวิชาการวิทยาลัยแสงธรรม ได้รับการ ประเมินจากศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (TCI) รอบที่3 (พ.ศ.2558-2562) โดยจัดอยู่ในกลุ่มที่ 1 ซึ่งเป็นกลุ่มที่มีคุณภาพมากที่สุด ขอให้รักษาคุณภาพไว้และพัฒนาให้ดียิ่งขึ้นต่อไป วารสารวิชาการวิทยาลัยแสงธรรมฉบับนี้ กองบรรณาธิการขอน�ำเสนอบทความรวมจ�ำนวน 10 บทความ ประกอบไปด้วยบทความวิชาการ จ�ำนวน 1 เรื่อง คือ “A Reflection on Human Rights in Thai Society : Points of View from Saengtham College” ซึ่งได้ รับความกรุณาจาก บาทหลวง ดร.ชาติชาย พงษ์ศิริ อธิการบดีวิทยาลัยแสงธรรม และอีก 2 บทความวิจัยจากบุคลากรภายใน ได้แก่บทความวิจัยเรื่อง “บทบาทครูในการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม ตามอัตลักษณ์การศึกษาคาทอลิกในโรงเรียนคาทอลิก สังกัดอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ” และ “คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของงานจิตตาภิบาลในโรงเรียนคาทอลิก สังกัดอัครสังฆมณฑล กรุงเทพฯ” นอกจากนี้ยังมีอีก 3 บทความวิจัย ซึ่งเป็นผลงานจากรายวิชา กอ.791 การค้นคว้าอิสระ ของนั กศึ กษาระดับ ปริญ ญาโท สาขาวิช าเทววิทยาจริยธรรม วิทยาลัยแสงธรรม ประกอบด้ว ย บทความวิจัยเรื่อง “จากกาลิลีสู่เยรูซาเล็ม : คุณธรรมความนอบน้อมเชื่อฟังส�ำหรับบาทหลวงผู้ ติดตามพระคริสต์ (มก 8:27-10:52)” เรื่อง “แนวทางการอภิบาลครอบครัวเลี้ยงเดี่ยวตามค�ำสอน ของพระศาสนจักรคาทอลิก” และเรื่อง “การหล่อหลอมมโนธรรมตามแบบอย่างนักบุญอิกญาซีโอ แห่งโลโยลา” และยังมีบทความวิจัยจากภายนอก ซึ่งเป็นผลงานสืบเนื่องมาจากการศึกษาระดับปริญญา เอก อีกจ�ำนวน 4 บทความ ได้แก่ เรื่อง “การจัดการศึกษาโรงเรียนคาทอลิกในประเทศไทยตามอัตลักษณ์การศึกษาคาทอลิก” เรื่อง “นวัตกรรมการบริหารงานอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีในสถานศึกษา อาชีวศึกษา” เรื่อง “กลยุทธ์การบริหารความปลอดภัยสถานศึกษา” และเรื่อง “รูปแบบการพัฒนา คุณภาพชีวิตในการท�ำงานของครูโรงเรียนเอกชน จังหวัดก�ำแพงเพชร” ซึ่งบทความทั้ง 10 ได้ผ่าน การประเมินจากผู้ทรงคุณวุฒิแล้วทั้งสิ้น กองบรรณาธิ ก ารวารสารวิ ช าการวิ ท ยาลั ย แสงธรรม ขอขอบคุ ณ ผู ้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ ทุ ก ท่ า นที่ กรุณาให้ความอนุเคราะห์ประเมินบทความต่างๆ อันส่งผลให้วารสารวิชาการวิทยาลัยแสงธรรมส�ำเร็จ และผลิตออกเผยแพร่องค์ความรูด้ า้ นปรัชญา ศาสนา เทววิทยา และการศึกษา บรรณาธิการ มิถุนายน 2015


ภาพสะท้มุมอมองจากวิ นด้านสิทธิมนุษยชนในสังคมไทย : ทยาลัยแสงธรรม

A Reflection on Human Rights in Thai Society : Points of View from Saengtham College. บาทหลวง ดร.ชาติชาย พงษ์ศิริ

* บาทหลวงในคริสต์ศาสนจักรคาทอลิก สังกัดสังฆมณฑลจันทบุรี * อธิการบดีวิทยาลัยแสงธรรม

Rev.Dr.Chatchai Phongsiri

* Reverend in Roman Catholic Church, Chanthaburi Diocese. * President of Saengtham College.


A Reflection on Human Rights in Thai Society : Points of View from Saengtham College.

Introduction “All human beings are born free and equal in dignity and rights.” (Wikipedia, 2014) When someone thinks or talks about “Human Rights”, we must ask what do the words mean for him or her. An examination of the UN declaration would lead to the following conclusions. Human rights are moral principles that set out certain standards of human behavior, and are regularly protected as legal rights in national and international law. They are “commonly understood as inalienable fundamental rights to which a person is inherently entitled simply because she or he is a human being.” Human rights are thus conceived as universal (applicable everywhere) and egalitarian (the same for everyone). The doctrine of human rights has been highly influential within international law, global and regional institutions, in the policies of states and in the activities of nongovernmental organizations and has

2

วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

become a cornerstone of public policy around the world. The idea of human rights suggests that, “if the public discourse of peacetime global society can be said to have a common moral language, it is that of human rights.” The strong claims made by the doctrine of human rights continue to provoke considerable skepticism and debates about the content, nature and justifications of human rights to this day. Indeed, the question of what is meant by a “right” is itself controversial and the subject of continued philosophical debate. (Wikipedia, 2014) According to this document then, every person has the right to have his or her rights as a human being respected and granted. This should apply in all countries throughout the world in an egalitarian manner in all states and organizations.


Chartchai Phongsiri

Human Right and Thai Society National Human Rights Commission of Thailand (NHRCT) The National Human Rights Commission of Thailand (NHRCT) was founded after a serious violent conflict (known as “Black May”) between pro-democracy demonstrators and the military in May 1992; a conflict with multiple casualties. The Cabinet of (42: Prem Tinsulanonda 3 March 1980 – 30 April 1983) passed a resolution in September 1992 to establish a national mechanism committed to the protection of human rights. The national human rights commission was eventually mandated in Article 199 and 200 of the Constitution adopted in October 1997, and formally constituted in July 2001. From its inception to 31 May 2005, it received a total of 2,148 complaints of which 1,309 had already been investigated, 559 were still in the process of investigation, and 209 were in the process of gathering evidence. These complaints covered not only civil and

political rights but also other spheres of rights including economic, social and cultural rights. As for the “clash” that inspired the NHRC, on 16 May 2002, Amnesty International issued a press release noting that ten years later, justice had still not been done. It is accredited with “A status” by the International Co-ordinating Committee of National Human Rights Institutions (ICC), and is a member of the regional NHRI network, the Asia Pacific Forum. The following are some of the powers and duties of the National Human Rights Commission of Thailand : • To promote, at both domestic and international levels, respect for and the practice of the principles of human rights. • To examine and report on the commission and omission of acts which violate human rights or which do not comply with obligation under international treaties relating to human rights to which Thailand is a party. It should propose appropriate actions

ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2015/2558

3


A Reflection on Human Rights in Thai Society : Points of View from Saengtham College.

which should be taken or remedial measures in relation to the person or agency committing or omitting such acts • To propose policies and recommendations with regard to the revision of laws, rules or regulations for the purpose of promoting and protecting human rights • To promote education, research and the dissemination of knowledge on human rights. • To promote co-operation and co-ordination among government agencies, private organizations, and other organizations in the field of human rights. • To prepare an annual report on the situation of human rights in the country and disseminate this to the public .

• To propose recommendations to the Council of Ministers and the National Assembly in any case where Thailand is to be a party to a treaty concerning the promotion and protection of human rights. (NHRCT, 2007) Catholic Commission for Justice and Peace (CCJP) : Catholic Church Organization “Bringing Justice and Peace to our society” , has been the mission of the CCJP, according to the policy of Catholic Bishop Conference of Thailand (CBCT). The organization focuses not only on Catholics but on all the people of Thailand. Rev. Payont Sansanayudh, former Spiritual Director of Justice and Peace Department, Caritas Thailand, writes :

At this point in time, Thai people share the same need that they want to see peace in society. We are afraid that the current tension in our country is moving towards violence, which no one wants to see, and all of us are ready to reject those methods. Yet,

4

วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม


Chartchai Phongsiri

we cannot deny that this pressing situation created by both factions has already caused wound of dissent in the heart of the people. This wound is a conflict pushing society towards division when each faction sees that it is better and more correct without listening or accepting reasons raised by the other faction. It is regrettable that this current of idea has already been extended widely in society, and we are not able to find out an answer who would be responsible for this damage. (Payont, 2008) The CCJP emphasizes the mission of the Church; it works with the people and among the people encouraging them to become involved in the effort to promote respect for human rights in Thai society. A lot of its activities is with youth, teaching them to respect the human rights of others. Today many other areas of human rights have come to the fore – the political crisis; the situation of labourers and migrant workers; the rights of children and women; economic, social and cultural rights; the rights of local communities and their sustainable resource management. In all these areas human rights issues are involved.

The Reflection on Human Rights in Thai Society : Saengtham College’s point of view 1. Pont of view from outside Rev. Fr. Patrick A Connaughton, a professor in the Department of Philosophy and Religion’ professor, argues that the fundamental questions in the field of political philosophy and ethics are at stake in present-day Thailand. These questions also are related to human rights. He started with political philosophy because clearly, at the time this interview was carried out, Thailand was going through a difficult political period. One example of the problem was a recent general elec-

ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2015/2558

5


A Reflection on Human Rights in Thai Society : Points of View from Saengtham College.

tion where one major party did not participate; it also tried to discourage or prevent other people from voting. He has spent most of the past seven years in Thailand but realizes that he is still a foreigner here. For that reason there are some areas he prefers not to try to analyze. But the situation raises some questions which go beyond the borders of Thailand : they are global questions. Sometimes, an important part of the answer to a local question would be found outside the country not just inside – and he is not just referring to emigrant politicians. In relation to the situation of Human Rights in Thailand he emphasizes, thai this is not the only country where there are protests and problems and demands for change. Similar ones are taking place in India, in Indonesia, Cambodia, in Ukraine, in Greece and many other countries at the moment. Two years ago they were happening all over North Africa. Why are they happening in the same place at the same

6

วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

time, more or less? There are of course local conditions like allegations of corruption and things like that. But there are a number of common factors; he mentioned just three : a) the movement of rural people to the cities, b) some improvement in the conditions of middle class people and c) the power of social media. The further details are… “Huge numbers of rural people have moved to cities in the past 40 years for better-paying jobs, for education for their children and better health care. Many are now young and are more aware of their rights as citizens. But even in rural areas too, conditions have improved in many places and people are more politically aware because of independence from ‘landlords’ and because of the work done by local organizations, NGOs and so on. Social media, I mean the mobile phone, Internet with all the different possibilities like email, Facebook, Twitter and all these


Chartchai Phongsiri

things have made it very easy for people to instantly communicate their thoughts with their friends. They can now know that many people think like them and so get the courage to do things more publicly. So people are uniting more and more and protesting in public about things that are of concern to them – or make them angry.” His focus then is on the social changes that are taking place, not only in Thailand but all over the world. Inequality in wealth distribution is a serious problem found in many countries : “Corruption and favouritism in politics is one of the common themes in many countries. The inequalities in society is another – the rich get much richer while the middle class stagnate and the poor get poorer. In Brazil for instance the poor people are very angry that the government is spending $12 billion dollars preparing for the next World Cup Football Finals while so many people live in absolute poverty. Some of these elements are found in

Thailand.” Is this unrest just something that will pass like the student 1960s uprisings? He thinks not : “I don’t think so. A big change is taking place in many countries and it is not possible to stop it in the long-term. A new group of people is demanding a share in political power. They see this as a human right. That may be happening in Thailand too. Some people dismiss this as the result of political manipulation; they forget about the extraordinary new power the social media of communication has given people.” He underlines another of the challenges involved in the effort to build a truly mature democratic society where the rights of all might be respected : “One of the basic building blocks of a democratic society is the idea of elected leaders. Each person in that society can vote for the person of their choice. Many countries have

ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2015/2558

7


A Reflection on Human Rights in Thai Society : Points of View from Saengtham College.

fought for a long time to get that right. Citizens of mature democratic countries have learned to accept the rule even of those who are not ‘my party.’ Many countries have one privileged group of people who have controlled the power for a long time – The Burmans and military chiefs in Myanmar, Hun Sen and his party in Cambodia – the movements of protests are an effort to make free election by all the people a reality.” Can a knowledge of political philosophy do anything to help? “We cannot find direct answers to present day problems in Plato or Aristotle but some of the questions they discussed are vital, even today. Plato, in his Republic discusses the theme of justice at length. Aristotle’s Politics has many chapters worthy of reflection. One of them says that when people see that rulers can be pushed out by forceful means they realize that if it can be done once, then it can be done twice. For that reason, while he recog-

8

วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

nizes that a bad ruler can be forced out by a popular movement, he would say this must be a rare exception.” Later philosophers like John Locke from England, who devote a lot of his energy to political philosophy would have more relevance for us. He had a big influence on the early American lawmakers. The writings of Frenchman Jacques Maritain had an important influence on the Christian Democrat parties of Europe. In our own times Jurgen Habermas has given a lot of time also to the question of contemporary society. In one of his books he talks about a sickness of present-day society. The idea of human rights has been corrupted, he says. Now people see it as a stick to beat other people with. They think only of my rights, often at the expense of the rights of the community. The writings of contemporary philosophers like John Rawls, Alasdair MacIntyre and Michael Sandel also have had considerable influence; but


Chartchai Phongsiri

these are just a few names among many. How does he see the relationship between freedom and democracy? Does democracy give absolute freedom? “The freedom of action in any society is limited by the laws of the state. Limiting laws are always necessary. A present-day example is the Internet. This has allowed great freedom of speech; it can be a powerful instrument when used well. But if you spend five minutes looking at some on the internet blogs you can also see that it can be used for evil. In moral philosophy there is an important distinction between freedom and license.” One of the tasks of moral philosophy then is to clarify the the difference between freedom and license. What does he see as big issues in Thailand today? One of the issues often commented on by outsiders is the vey big divide between the two main political

parties and their followers. It is said the ‘politics is the art of the possible. It involves a great amount of compromise – not with the truth, but with the possible. That ability to compromise, to make agreements for the good of all, is not very visible today in Thailand. The ‘winner takes all’ approach is more evident. The dangerous element here is the depth of prejudice; that is an ethical issue because it has to do with respect for other people’s rights. “I have met good people who support the different sides. Very often they can see no good whatsoever in the other. Many years ago philosopher Gordon Alport wrote a best-seller called Prejudice. The prejudiced person sees everything through a lens of a particular colour. Prejudice of course has a value – it saves people the trouble of thinking for themselves. They just accept the viewpoint of their group. There may be some very disagreeable aspects of ‘the other side’ but they must have some good points

ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2015/2558

9


A Reflection on Human Rights in Thai Society : Points of View from Saengtham College.

also.” So for him, prejudice is strengthened when people read/watch/listen to only media of their own party. “People who watched only Fox News in the USA were, as far as I remember, twice as likely as others to support G.W. Bush and his war policies.” The prejudiced person will often justify efforts to deprive others of their rights. One occasionally hears statements such as: “The rural people are very ignorant and their vote can easily be bought.” This may be true of some in both rural and urban areas, but not of millions. Nobody has the right to deprive the poorest of people of their vote. If there are problems of election fraud then that has to be corrected. In general people in every strata of society vote for the party that offers them most. What contribution could the study of ethics or moral philosophy make to Thailand today? “There are many possible con-

10

วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

tributions but I’ll mention just one which has a long tradition. Aristotle writes at length about the subject of virtue, especially the four cardinal virtues. He believes that rules and laws are not enough; society will be good only if the people of that society are virtuous. Today there are two very wellknown philosophers, Alasdair MacIntyre and Michael Sandel who insist on the need to create societies which have as their foundation the virtues of the people rather than multiple laws. In general, Thailand has no shortage of laws; the problem is in the application of the laws. A form of virtue ethics is central to both Buddhist and Christian approaches to the good life.” He, also, shared a little about his past experience… “I am from Ireland; we had a long and bitter political struggle in Northern Ireland in the 20th century. It wasn’t, by the way, just a Catholic against Protestant war; it was Unionist (with UK) against Nationalist (join


Chartchai Phongsiri

Republic of Ireland). I also worked for 18 years in a very divided Chile under a military dictatorship and then during its return to democracy. The two situations were different but in both cases peace was brought about only by a willingness to make political compromises and leave the past behind.” 2. A Point of view from inside From perspective of Rev. Fr.Pichet, as a moral theologian and philosopher, what are the basic Human Rights concerns? First of all human societies should make sure that basic human rights are respected. Even if the person is not a member of a particular society that society may not violate his or her rights and it should support them as it can. Often, societies are political entities, but they do not need to be. Basic human rights should include a right to a life of a certain quality. There is a hierarchy of rights; other human rights such as the right to vote, the right to own land, the right to

bear arms, etc., may not apply in some cases. He made the following general comment about Human Rights : “There are many crimes which are a violation of basic human rights; murder, bodily harm, and psychological torture are some examples. They still exist in the world and are also found in the Thai Society. Every possible effort should be made by human societies and individuals to eliminate these abuses.” In the interview he focused on the widespread abuse of Human Rights around the world and also in Thailand. Speaking about the current political problems, he believed that Thai people have a right to gather and protest. However it is not morally right for protesters to intentionally cause inconvenience for others or to use violence against them; this leads to a more basic violation of human rights. While he does not believe education is the most basic human right, it is necessary to im-

ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2015/2558

11


A Reflection on Human Rights in Thai Society : Points of View from Saengtham College.

prove the quality of life in the long run. He emphasized his point of view about the education in Thai society : “I am not primarily concerned with diplomas, degrees, job opportunities or salaries, which are some of the fruits of education. I am more concerned with basic skill for livelihood such as literacy and health education. Education is apparently not equality of educational opportunities in Thailand. The gap that is most visible is between urban and rural areas; availability of opportunity is also closely related to economic status.” There are some particular challenges for Thailand : “There are still refugee camps along the Thailand-Myanmar border. Most of the refugees belong to ethnic minorities that are not treated well by the Burmese government. The Thai government is keeping them in camps along the border, which limits their

12

วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

mobility. Third countries are accepting them at very slow pace, and many refugees have been in camps for several years.” Thai people from different political groupings need to find ways to resolve problems without inflicting harm on one another. Poor people and refugees, among others, should be better cared for. Human rights are violated at different levels in Thailand. There is much more work for the government and individuals to improve respect for these rights. 3. How do we deal with the problems of Human Right in the Thai society We have seen some of the views about human rights in Thai society from both outside and inside the country. Universal respect for Human Rights remains an ideal, but in many countries around the world they are violated by governments, groups and ideologies. Can we find anything to


Chartchai Phongsiri

help our search for remedies in recent teaching of the Catholic Church? Pope Benedict XVI outlined one of the basic problems : “The reality of human solidarity, which is benefit for us, also imposes a duty. Many people today would claim that they owe nothing to anyone, except to themselves. They are concerned only with their rights, and they often have great difficulty in taking responsibility for their own and other people’s integral development. Here it is important to call for a renewed reflection on how rights presuppose duties, if they are not to become mere license. …” The sharing of reciprocal duties is a more powerful incentive to action than the mere assertion of rights” (Caritas in Veritae, No.43) In the “Encyclical Letter on Integral Human Development in Charity and Truth”, we find an emphasis on basic justice as a foundation stone of a healthy society : “The Church’s social doctrine

has a lot to say about justice and the common good; these are the criteria that govern moral action in an increasingly globalised society. Justice “is inseparable from charity”. On this point Pope Benedict reaffirms Pope Paul VI’s conviction that “justice is love’s absolute minimum”. The common good, says Benedict, is “a good that is linked to living in society”. It is the good of all of us.” Very few modern popes have spoken with the clarity of Pope Francis on the disastrous effects of the current dominant ideology of free market economics on the basic rights of millions of people in the world. “Some people continue to defend trickle-down theories which assume that economic growth, encouraged by a free market, will inevitably succeed in bringing about greater justice and inclusiveness in the world. This opinion, which has never been confirmed by the facts, expresses a crude and naïve trust in the goodness

ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2015/2558

13


A Reflection on Human Rights in Thai Society : Points of View from Saengtham College.

of those wielding economic power and in the sacralized workings of the prevailing economic system. Meanwhile, the excluded are still waiting. To sustain a lifestyle which excludes others, or to sustain enthusiasm for that selfish ideal, a globalization of indifference has developed. Almost without being aware of it, we end up being incapable of feeling compassion at the outcry of the poor, weeping for other people’s pain, and feeling a need to help them, as though all this were someone else’ s responsibility and not our own. The culture of prosperity deadens us; we are thrilled if the market offers us something new to purchase; and in the meantime all those lives stunted for lack of opportunity seem a mere spectacle; they fail to move us.” (Evangelii Gaudium : 54) “While the earnings of a minority are growing exponentially, so too is the gap separating the majority from the prosperity enjoyed by those happy few. This imbalance is the result of

14

วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

ideologies which defend the absolute autonomy of the marketplace and financial speculation. Consequently, they reject the right of states, charged with vigilance for the common good, to exercise any form of control. A new tyranny is thus born, invisible and often virtual, which unilaterally and relentlessly imposes its own laws and rules. Debt and the accumulation of interest also make it difficult for countries to realize the potential of their own economies and keep citizens from enjoying their real purchasing power. To all this we can add widespread corruption and self-serving tax evasion, which have taken on worldwide dimensions. The thirst for power and possessions knows no limits. In this system, which tends to devour everything which stands in the way of increased profits, whatever is fragile, like the environment, is defenseless before the interests of a deified market, which become the only rule.” (Evangelii Gaudium : 56)


Chartchai Phongsiri

How does Pope Francis suggest we start again? “Peace in society cannot be understood as pacification or the mere absence of violence resulting from the domination of one part of society over others. Nor does true peace act as a pretext for justifying a social structure which silences or appeases the poor, so that the more affluent can placidly support their lifestyle while others have to make do as they can. Demands involving the distribution of wealth, concern for the poor and human rights cannot be suppressed under the guise of creating a consensus on paper or a transient peace for a contented minority. The dignity of the human person and the common good rank higher than the comfort of those who refuse to renounce their privileges. When these values are threatened, a prophetic voice must be raised. Nor is peace “simply the absence of warfare, based on a precarious balance of power; it is fashioned by efforts direct-

ed day after day towards the establishment of the ordered universe willed by God, with a more perfect justice among men”. In the end, a peace which is not the result of integral development will be doomed; it will always spawn new conflicts and various forms of violence.” (Evangelii Gaudium: 218-219) In Thailand the Catholic Commission for Justice and Peace (CCJP) tries to contextualize Church teaching on Human Rights for Thai society; the Catholic Church sees this as a fundamental part of its responsibility. Conclusion When we reflect on the oral and written interviews, the “Encyclical Letter on Integral Human Development in Charity and Truth” of Benedict XVI and “Evangelii Gaudium” of Pope Francis we can draw some conclusions: First : there must be a real and sustained attempt made at reconciliation. This is very difficult and it is usually easier to begin at the bottom,

ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2015/2558

15


A Reflection on Human Rights in Thai Society : Points of View from Saengtham College.

at village level, rather than at the top. The poor can teach lessons in this to the rich. The real solution has to be found in Thailand among Thais. Little progress can be made until people begin to talk to each other. Second : A basic thing is to stop looking too much at the past. People have long memories for the injustices, real or imagined, that they suffered. Progress can be made only if people look to the future. They may never be able to agree about events of the past; they have a much better possibility of agreeing to do some things together in the years to come. Thai people from different political groupings should find ways to resolve the problems of “Human Rights” without inflicting harm on one another. Poor people and refugees, among others, should be better cared for. Human Rights are violated at different levels in Thailand. Third : There is much more work to be done by the government and individuals to improve respect for

16

วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

these rights. The Catholic Church can make perhaps a small but nevertheless important contribution to the promotion of Human Rights in our country. Valuable guidance can be found for this work in the recent writings of Pope Benedict XVI and Pope Francis I. These are orientations not just for Catholics but for all ‘people of good will.’ The implementation of their teachings would go a long way toward preparing the way for the coming the promised kingdom of justice, love and peace. “All human beings are born free and equal in dignity and rights.” (UDHR) “The sharing of reciprocal duties is a more powerful incentive to action than the mere assertion of rights” Pope Benedict XVI.


Chartchai Phongsiri

Appendix Points of view from Outside : From Rev. Fr. Patrick A Connaughton. Irish. Professor : Department of Philosophy and Religious’ Saengtham College, Member of Missionary Society of St Columban. Worked in Ireland, Chile, Myanmar, Thailand China. BA in philosoply form National University of Ireland. Licentiate in Theology Gregorian University Rome. Postgraduate studies: Catholic Theological Union Chicago, Angelicum University Rome. Points of view from Inside : From Rev. Fr. Peter Pichet Saengthien Professor : Department of Theology, Master of Arts Programme in Moral Theology. Ph.D. in Integrated and Applied Sciences, Department of Biology, Saint Louis University, U.S.A., 2013. M.Div., Jesuit Graduate Faculty of Theology, Regis College, University of Toronto, Canada, 2006. M.S. in Biochemistry, Department of Chemistry, University of Scranton, U.S.A., 2003.

M.A. in Philosophy, Department of Philosophy, Ateneo de Manila University, the Philippines, 2001. A.B. in Engineering Sciences, Division of Engineering and Applied Sciences, Harvard University, U.S.A., 1996. Academic specialties : Basic cancer research involving biochemistry, cell biology, and genetics Philosophical and theological concerns with biomedical sciences Academic work experience : 2006-2007, Instructor of Biological Science, Saengtham College, Department of Philosophy and Religion 2006-2007, Instructor of Bio ethics at Saint Louis College, Thailand 1995, Peer Tutor of Solid Mechanics, Division of Engineering and Applied Sciences, Harvard University 1994, Teaching Fellow of Thermodynamics and Statistical Mechanics, Division of Engineering and Applied Sciences, Harvard University

ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2015/2558

17


A Reflection on Human Rights in Thai Society : Points of View from Saengtham College.

References Nigel Warburton. 2013. A little History of Philosophy. Thai language translation copyright, Prapda Nyoun and Rapeeporn Chaipiya, Typhoon Studio. Apostolic Exhortation. 2013. “EVANGELII GAUDIUM” Of The Holy Father FRANCIS To The Bishops. Vatican : Vatican Press.

18

วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

Catholic commission for justice and peace. 2013. Education for Human Rights and Peace. Bangkok : Assumtion Press. Encyclical Letter. 2009. Caritas in Veritate, Pope Benedict XVI. Vatican : Vatican Press.


กลยุทธ์การบริหารความปลอดภัยสถานศึกษา School Security Strategic Management. ดร.ชัยวัฒน์ อุทัยแสน

* กรรมการบริหารและผู้จัดการสาขาลพบุรี บริษัท ก้อนทองเอกวิศวกร จำ�กัด

ผศ.ว่าที่พันตรี ดร.นพดล เจนอักษร

* ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประจำ�ภาควิชาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

Dr.Chaiwat Uthaisan

* General Managing Gontronake Visavakon Co., Ltd.

Asst.Prof.Maj.Dr.Nopadol Chenaksara. RTAR.

* Assistant Professor, Department of Education Administration, Faculty of Education, Silpakorn University.


กลยุทธ์การบริหารความปลอดภัยสถานศึกษา

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อทราบองค์ประกอบกลยุทธ์ การบริหารความปลอดภัยสถานศึกษา 2) เพื่อทราบความสัมพันธ์ ขององค์ประกอบกลยุทธ์การบริหารความปลอดภัยสถานศึกษา และ 3) เพื่อยืนยันรูปแบบกลยุทธ์การบริหารความปลอดภัยสถานศึกษา กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ สถานศึกษาระดับมัธยมศึกษา จ�ำนวน 331 แห่ง ผู้ให้ข้อมูลแห่งละ 3 คน ประกอบด้วย ผู้อ�ำนวยการโรงเรียน รองผู้ อ�ำนวยการโรงเรียน ประธานคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้ จ�ำนวนผู้ให้ข้อมูลรวมทั้งสิ้น 993 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิเคราะห์ ข้อมูลเป็นแบบวิเคราะห์เอกสาร แบบสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง และ แบบสอบถามเกี่ยวกับกลยุทธ์การบริหารความปลอดภัยสถานศึกษา สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การวิเคราะห์เนื้อหา ความถี่ ค่าร้อยละ ค่ามัชฌิมเลขคณิต ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ องค์ประกอบแบบส�ำรวจ และการวิเคราะห์เส้นทาง ผลการวิจัยพบว่า 1. กลยุทธ์การบริหารความปลอดภัยสถานศึกษา ประกอบด้วย 1) การก�ำหนดแนวทางปฏิบัติเพื่อความปลอดภัย 2) การบริหาร ความเสี่ยง 3) การก�ำหนดแผนและมาตรฐานความปลอดภัย 4) การ ประเมินความปลอดภัย 5) นโยบายด้านความปลอดภัย และ 6) การ ป้องกันความเสียหาย 2. รูปแบบความสัมพันธ์ของกลยุทธ์การบริหารความปลอดภัย สถานศึกษา จากการวิเคราะห์เส้นทาง (Path Analysis) พบว่ากลยุทธ์ ทั้ง 6 มีความสัมพันธ์กัน โดยมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ 3. ยืนยันรูปแบบกลยุทธ์การบริหารความปลอดภัยสถานศึกษา ประกอบด้วย 6 กลยุทธ์ ซึ่งมีความเหมาะสม ถูกต้อง เป็นไปได้ และ สามารถน�ำไปใช้ประโยชน์ได้สอดคล้องกับกรอบแนวคิดทฤษฏีของการ วิจัย ค�ำส�ำคัญ :

20

วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

1) กลยุทธ์การบริหาร 2) ความปลอดภัย 3) สถานศึกษา


ชัยวัฒน์ อุทัยแสน และนพดล เจนอักษร

Abstract

The purposes of this research were 1) to the strategies of school security the strategic management 2) to study the related strategies of the school security the strategic management and 3) to certified the models of school security the strategic management. The sample of this study were 331 of high schools, the informants were directors, deputies and the chairmans of high school board, totally 993 persons. The research instruments were a content analysis, the semi-structured interview, questionnaires of school security strategic management. The statistical used for analyzing the data were frequency, percentage, arithmetic mean, standard deviation, factor analysis and path analysis. The results of this research found that : 1. School security strategic management consisted of : 1) implementing security procedure 2) Risk Management 3) planning and standard of security 4) evaluating security 5) security policies, and 6) preventing damage. 2. Model of school security strategic management from path analysis were found that six strategies were correlated. management factors were correlated. 3. Verified that school security strategic management models consisted of six strategies were found appropriate, accurate, to be useful and accordance with the conceptual framework of research. Keywords : 1) Strategic Management 3) School

2) Security

ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2015/2558

21


กลยุทธ์การบริหารความปลอดภัยสถานศึกษา

ความเป็นมาและความสำ�คัญของปัญหา สถานการณ์ในปัจจุบันมีการเปลี่ยน แปลงสภาวะทางด้านเศรษฐกิจ ที่กลายเป็น ตัวกระตุ้นที่สำ�คัญ ที่ก่อให้เกิดปัญหา ความ รุนแรง การเอารัดเอาเปรียบ ส่วนทางด้าน สังคม เป็นสังคมแห่งการแข่งขันมีความก้าว หน้าทางเทคโนโลยี แต่ด้านคุณธรรม จริยธรรม กลับเสื่อมถอยลง มีการแพร่กระจายของสาร เสพติด โดยเฉพาะในกลุ่มเด็กและเยาวชน เด็กและเยาวชนส่วนหนึ่งมีการเสพสื่อต่างๆ อย่างขาดการยั้งคิด เปิดรับบรรยากาศและ สิ่งแวดล้อมที่ไม่สร้างสรรค์ ขาดการไตร่ตรอง หรือขาดภูมิคุ้มกันทางความคิด ส่งผลให้มี พฤติกรรมเบี่ยงเบน ล่อแหลมต่อการทำ�ผิด กฎหมาย หมิ่นเหม่ต่อศีลธรรมอันดีงามและมี ค่านิยมที่ไม่พึงประสงค์ นอกจากนี้ ยั ง มี ก ารเปลี่ ย นแปลง ทางด้านธรรมชาติ ซึ่งพบว่าในช่วง 40 ปี ที่ผ่านมา อุณหภูมิโลกสูงขึ้นโดยเฉลี่ย 0.2 องศาเซลเซียสต่อทศวรรษ ส่งผลให้สภาพ ภูมิอากาศแปรปรวน ก่อให้เกิดภัยพิบัติทาง ธรรมชาติบ่อยครั้งและทวีความรุนแรง สภาวะ ที่ เ ปลี่ ย นแปลงไปเป็ น ภั ย คุ ก คามที่ มี ผ ลต่ อ ความปลอดภัยของเด็กและเยาวชน การ ดำ�รงชีวิตของเด็กและเยาวชนในปัจจุบันจึง อยู่ท่ามกลางสภาพแวดล้อมทางสังคมที่เสี่ยง

22

วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

ต่อความไม่ปลอดภัยในชีวิตและขาดการดูแล อย่างแท้จริง รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักร ไทย พุทธศักราช 2550 ได้กำ�หนดหน้าที่ของ รัฐตามมาตรา 80 รัฐต้องดำ�เนินการพัฒนา คุ ณ ภาพและมาตรฐานการจั ด การศึ ก ษาใน ทุกระดับและทุกรูปแบบ ให้สอดคล้องกับ ความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคม อีกทั้งต้องคุ้มครอง พัฒนาเด็กและเยาวชน สนับสนุนการอบรมเลี้ยงดูและให้การศึกษา ปฐมวัย ส่งเสริมความเสมอภาค ทั้งหญิงและ ชาย เสริมสร้างและพัฒนาความเป็นปึกแผ่น ของสถาบันครอบครัว นอกจากนี้พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 และที่ แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2553 มีจุดมุ่ง หมายของการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาคนไทย ให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งทางร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้และคุณธรรม มีจริยธรรม และวัฒนธรรมในการดำ�รงชีวิต สามารถอยู่ ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2553 โรงเรียนนับว่าเป็นสิ่งแวดล้อมที่มีความสำ�คัญ ต่อเด็กมาก ทั้งนี้เนื่องจากเด็กจะต้องใช้ชีวิต อยู่วันละ 6 - 7 ชั่วโมง ความรู้ ทัศนคติ ค่านิยม และประสบการณ์ต่างๆ ที่เด็กได้รับในโรงเรียน ย่อมมีอิทธิพลต่อจิตใจ ความสนใจ และอุดมคติ ใ นชี วิ ต การเรี ย นต่ อ ไปจนถึ ง ชี วิ ต ในการ


ชัยวัฒน์ อุทัยแสน และนพดล เจนอักษร

ทำ�งานของเด็กทุกคน ประการสำ�คัญโรงเรียน เป็ น สถาบั น ที่ จ ะสร้ า งเสริ ม ประชาชนให้ มี สุขภาพดี วัตถุประสงค์การวิจัย 1. เพื่อทราบองค์ประกอบกลยุทธ์ การบริหารความปลอดภัยสถานศึกษา 2. เพื่อทราบความสัมพันธ์ขององค์ ประกอบกลยุทธ์การบริหารความปลอดภัย สถานศึกษา 3. เพื่ อ ยื น ยั น รู ป แบบกลยุ ท ธ์ ก าร บริหารความปลอดภัยสถานศึกษา ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. ทราบองค์ประกอบกลยุทธ์การ บริหารความปลอดภัยสถานศึกษา 2. ทราบความสั ม พั น ธ์ ข ององค์ ประกอบกลยุทธ์การบริหารความปลอดภัย สถานศึกษา 3. สามารถยื น ยั น รู ป แบบกลยุ ท ธ์ การบริหารความปลอดภัยสถานศึกษา นิยามศัพท์เฉพาะ กลยุทธ์การบริหาร หมายถึง การ ดำ�เนินการเพื่อให้ได้ผลตามแผนขององค์กร กำ�หนดกลยุทธ์ การนำ�กลยุทธ์ไปปฏิบัติ และ

การประเมินกลยุทธ์ กระบวนการวางแผน นำ�แผนไปใช้อย่างมีประสิทธิภาพ ภายใต้การ วิ เ คราะห์ ปั จ จั ย สภาพแวดล้ อ มภายในและ ภายนอก นำ�มาประเมินหาทางเลือกที่เหมาะ สมที่สุด สำ�หรับในการวิจัยครั้งนี้ กลยุทธ์การ บริหาร หมายถึง ความสัมพันธ์ของกลยุทธ์ การบริ ห ารความปลอดภั ย สถานศึ ก ษาเพื่ อ เป็ น แนวทางในการดำ�เนิ น การ ในการจั ด โครงสร้างองค์กร การกำ�หนดนโยบายและ แผนการดำ�เนิ น งานตามภารกิ จ ของสถาน ศึกษา ความปลอดภัย หมายถึง สภาวะ การปราศจากภัยหรือการพ้นภัย และรวมถึง ปราศจากอันตราย การบาดเจ็บ การเสี่ยงภัย และการสูญเสีย สำ�หรับการวิจัยครั้งนี้ ความ ปลอดภัย หมายถึง การดำ�เนินการเพื่อป้องกัน การเกิดอุบัติภัย เพิ่มความปลอดภัยและสร้าง จิตสำ�นึก โดยนำ�มาตรฐานวิศวกรรมความ ปลอดภัย มาตรฐาน ISO ทฤษฎีความปลอด ภัยในโรงงาน พระราชบัญญัติ ระเบียบสำ�นัก นายกรัฐมนตรี กฎหมาย กฎกระทรวง ประ กาศกระทรวง สวัสดิศึกษา และคู่มือ และ มาตรการการรั ก ษาความปลอดภั ย สถาน ศึกษา ฉบับปรับปรุงใหม่ พ.ศ.2552 สถานศึกษา หมายถึง หน่วยงาน ทางการศึ ก ษาที่ จัดการเรี ย นการสอนตั้ ง แต่

ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2015/2558

23


กลยุทธ์การบริหารความปลอดภัยสถานศึกษา

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 - 6 ตามกฎหมาย ที่ มี ห น้ า ที่ ห รื อ มี วั ต ถุ ป ระสงค์ ใ นการจั ด การ ศึกษาไม่ว่าจะเป็นของภาครัฐหรือภาคเอกชน เช่น โรงเรียน วิทยาลัย มหาวิทยาลัย หรือ หน่วยงานการศึกษาอื่นๆ สำ�หรับการวิจัยครั้ง นี้ สถานศึกษา หมายถึง หน่วยงานทางการ ศึกษาที่จัดการเรียนการสอนตั้งแต่ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1 - 6 วิธีการดำ�เนินการวิจัย เพื่อให้การวิจัยดำ�เนินไปตามระเบียบ วิธีวิจัย และสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของ การวิจัยที่กำ�หนดไว้ ผู้วิจัยได้กำ�หนดวิธีการ ดำ�เนินการวิจัยไว้ ดังแผนภูมิที่ 1 (ในหน้าถัด ไป) ผลการวิจัย 1. องค์ประกอบกลยุทธ์การบริหาร ความปลอดภัยสถานศึกษา ประกอบด้วย 6 กลยุทธ์ 66 ตัวแปร ดังนี้ 1) การก�ำหนด แนวทางปฏิบัติเพื่อความปลอดภัย 2) การ บริหารความเสี่ยง 3) การก�ำหนดแผนและ มาตรฐานความปลอดภัย 4) การประเมิน ความปลอดภัย 5) นโยบายด้านความปลอด ภัย และ 6) การป้องกันความเสียหาย โดย มีค่าสถิติ Chi - Square Sphericity เท่ากับ

24

วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

52436.159 (p<.01) แสดงว่า เมตริกซ์สหสั ม พั น ธ์ นี้ แ ตกต่ า งจากเมตริ ก ซ์ เ อกลั ก ษณ์ อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 สอด คล้องกับค่า KMO ซึ่งมีค่าเท่ากับ 0.932 แสดง ถึงความเหมาะสมเพียงพอของข้อมูล สามารถ ใช้การวิเคราะห์ปัจจัยได้ในระดับดีมาก และ จากค่าไอเกนของปัจจัยที่มากกว่า 1.00 โดย มีความแปรปรวนสะสมเท่ากับร้อยละ 55.85 ในแต่ละปัจจัย ได้จัดเรียงล�ำดับตัวแปร ตาม ค่าน�้ำหนักปัจจัย (Factor Loading) 2. ความสัมพันธ์ขององค์ประกอบ ของกลยุทธ์การบริหารความปลอดภัยสถาน ศึกษา จากการวิเคราะห์เส้นทาง (Path Analysis) ค่าสถิติที่ใช้ในการทดสอบโมเดล คือ ค่าไคสแควร์ (Chi-Square : X2) มีค่าเท่า กับ 551.43 (P=0.00000) แสดงให้เห็นความ แตกต่างอย่างไม่มีนัยสำ�คัญทางสถิติ หมาย ถึง รูปแบบที่มีประสิทธิภาพของความสัมพันธ์ ขององค์ ป ระกอบกลยุ ท ธ์ ก ารบริ ห ารความ ปลอดภัยสถานศึกษา มีความสอดคล้องกับ ข้ อ มู ล เชิ ง ประจั ก ษ์ นอกจากนี้ ยั ง สามารถ พิจารณาค่าดัชนีวดั ความสอดคล้องอื่นๆ ได้อกี เช่น Goodness of Fit Index (GFI) และ Adjusted Goodness of Fit Index (AGFI) มี ค่าใกล้ 1 คือ GFI=0.89 และค่า AGFI=0.90 แสดงให้เห็นว่ารูปแบบที่มีประสิทธิภาพของ


ชัยวัฒน์ อุทัยแสน และนพดล เจนอักษร

ขั้นตอน

1. กำ�หนดตัวแปร ที่เกี่ยวข้องในการวิจัย

2. การหาองค์ประกอบ กลยุทธ์การบริหารความ ปลอดภัยสถานศึกษา

กระบวนการ

ผลที่ได้

- ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการบริหารความปลอดภัย สถานศึกษา โดยใช้วิธีวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) - พัฒนาแบบสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง ปรึกษาอาจารย์ที่ปรึกษาและ ปรับแก้ตามคำ�แนะนำ� - สัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญ และผู้เกี่ยวข้อง โดยวิธีเลือกแบบ (Snowball Technique) และวิเคราะห์เนื้อหาที่ได้จากการสัมภาษณ์ - สรุปตัวแปรที่เกี่ยวข้องกับการบริหารความปลอดภัยสถานศึกษา

ตัวแปรที่เกี่ยว ข้องกับการบริหาร ความปลอดภัย สถานศึกษา

- พัฒนาแบบสอบถามโดยใช้ข้อมูลจากขั้นตอนที่ 1 - ตรวจสอบแบบสอบถามให้มีความตรงเชิงเนื้อหา (Validity) โดยหา ค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) และปรับปรุงแบบสอบถาม - นำ�แบบสอบถามไปทดลองใช้กับประชากรที่ไม่ใช่กลุ่มตัวอย่าง หาค่า ความเที่ยง (Reliability) โดยใช้วิธีสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาค (Cronbach’s Alpha Coefficient) สอบถามความคิดเห็นจากกลุ่มตัวอย่าง

องค์ประกอบ กลยุทธ์การบริหาร ความปลอดภัย สถานศึกษา

รวบรวมข้อมูลวิเคราะห์องค์ประกอบโดยใช้สถิติ (Exploratory Factor Analysis)

3. การพิจารณารูปแบบ ความสัมพันธ์ของ องค์ประกอบกลยุทธ์การ บริหารความปลอดภัย สถานศึกษา

รูปแบบความสัมพันธ์ขององค์ประกอบกลยุทธ์การบริหาร ความปลอดภัยสถานศึกษา โดยการหาความสัมพันธ์เชิง สาเหตุ (Path Analysis)

รูปแบบความ สัมพันธ์ของ กลยุทธ์การบริหาร ความปลอดภัย สถานศึกษา

4. การยืนยันกลยุทธ์การ บริหารความปลอดภัย สถานศึกษาที่เหมาะสม

สร้าง ตรวจสอบ และยืนยันกลยุทธ์การบริหารความ ปลอดภั ย สถานศึ ก ษา โดยการสั ม ภาษณ์ ผู้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ จำ�นวน 7 คน

กลยุทธ์การบริหาร ความปลอดภัย สถานศึกษา

แผนภูมิที่ 1 แสดงวิธีการดำ�เนินการวิจัย

ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2015/2558

25


กลยุทธ์การบริหารความปลอดภัยสถานศึกษา

ความสั มพั น ธ์ขององค์ประกอบกลยุท ธ์ก าร บริหารความปลอดภัยสถานศึกษา มีความ สอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ระดับดีมาก ค่า Root Mean Square Residual (RMR) มีค่าเท่ากับ 0.09 และค่า Standardized Root Mean Square Residual (Standardized RMR) มีค่าเข้าใกล้ 0 และไม่เกิน 0.08 ซึ่งในที่นี้เท่ากับ 0.06 แสดงให้เห็นว่ารูปแบบ โมเดลมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ ค่าดัชนี Root Mean Square Error of Approximation (RMSEA) มีค่าเท่ากับ 0.03 ซึ่งมีค่าระหว่าง 0 ถึง 0.05 แสดงว่าโมเดล มี ค วามสอดคล้ อ งกั บ ข้ อ มู ล เชิ ง ประจั ก ษ์ ใ น ระดับดีมาก แสดงว่ารูปแบบความสัมพันธ์ ของตัวแปรกลยุทธ์การบริหารความปลอดภัย สถานศึกษาที่ผู้วิจัยเสนอมีความสอดคล้องกับ ข้อมูลเชิงประจักษ์ 3. การยื น ยั น รู ป แบบที่ เ หมาะ สมในการบริหารความปลอดภัยสถานศึกษา จากการพิจารณาของผู้ทรงคุณวุฒิ จำ�นวน 7 คน ตรวจสอบความเหมาะสมเป็นไปได้ ความ ถูกต้อง และการนำ�ไปใช้ประโยชน์ได้ขององค์ ประกอบกลยุทธ์การบริหารความปลอดภัย สถานศึกษา โดยวิธีการพิจารณาโดยวิธีการ สัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิ ผลการพิจารณา พบ ว่า กลยุทธ์การบริหารความปลอดภัยสถาน

26

วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

ศึกษา มีความเหมาะสม เป็นไปได้ ความถูก ต้อง และสามารถนำ�ไปใช้ประโยชน์ได้ และ แต่ละกลยุทธ์มีความสัมพันธ์กันโดยมีความ คิดเห็นว่าแนวทางในการปฏิบัติตามกลยุทธ์ การบริหารความปลอดภัยสถานศึกษา ประ กอบด้วย 6 กลยุทธ์ ได้แก่ 1) การกำ�หนด แนวทางปฏิบัติเพื่อความปลอดภัย 2) การ บริหารความเสี่ยง 3) การกำ�หนดแผนและ มาตรฐานความปลอดภัย 4) การประเมิน ความปลอดภั ย 5) นโยบายด้ า นความ ปลอดภัย และ 6) การป้องกันความเสียหาย ข้อเสนอแนะทั่วไป ด้านนโยบาย ผู้บริหารและผู้รับผิด ชอบด้ า นการศึ ก ษาควรให้ ค วามสำ�คั ญ และ นำ�รูปแบบไปปรับปรุงและพัฒนาการบริหาร เชิงกลยุทธ์ของสถานศึกษา เพื่อให้การดำ�เนิน งานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ สอดคล้อง กับสถานการณ์ทางกลยุทธ์ที่ต้องปรับเปลี่ยน ตลอดเวลา ทั้งนี้ในการกำ�หนดนโยบายด้าน ความปลอดภัยผู้บริหารสถานศึกษาจะต้อง คำ�นึงถึงแนวทางปฏิบัติเพื่อความปลอดภัย มี การบริหารความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นในสถาน ศึกษา มีการกำ�หนดแผนและมาตรฐานความ ปลอดภัยที่ชัดเจน และจะต้องมีการป้องกัน ความเสียหายที่อาจจะเกิดขึ้นในสถานศึกษา


ชัยวัฒน์ อุทัยแสน และนพดล เจนอักษร

ด้วย ด้านการนำ�ไปปฏิบัติ ผู้บริหารสถาน ศึกษาและผู้บริหารที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการ บริหารเชิงกลยุทธ์ ควรนำ�ข้อค้นพบที่ได้จาก การศึกษาวิจัยครั้งนี้คือ “กลยุทธ์การบริหาร ความปลอดภัยสถานศึกษา” ไปประยุกต์ใช้ ในการบริหารกลยุทธ์ของสถานศึกษา โดย ปรับเปลี่ยนให้เหมาะสมกับบริบทของสถาน ศึกษา และให้ความรู้ความเข้าใจแก่ผู้ที่เกี่ยว ข้องทุกฝ่าย มีการติดตามประเมินผลการใช้ เป็นระยะๆ เพื่อปรับปรุงพัฒนาคุณภาพของ สถานศึกษาให้ได้มาตรฐานที่กำ�หนด ข้อเสนอแนะเพื่อการวิจัยครั้งต่อไป 1. ควรศึกษาเปรียบเทียบ กลยุทธ์ การบริหารความปลอดภัยสถานศึกษา ของ สถานศึกษาขนาดใหญ่ ระหว่างภาครัฐ และ เอกชน และเปรียบเทียบความแตกต่างในการ บริหาร 2. ควรศึกษาวิจัยกลยุทธ์การบริหาร ความปลอดภัยสถานศึกษาแต่ละกลยุทธ์ทั้ง เชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ 3. ควรศึกษาเรื่องข้อจำ�กัด สภาพ ปัญหา และอุปสรรคในกลยุทธ์ความปลอดภัย สถานศึกษา เนื่องจากแต่ละสถานศึกษามี โครงสร้างการบริหารงานที่แตกต่างกัน ทำ�ให้

ตอบสนองความต้องการในการบริหารความ ปลอดภัยที่แตกต่างกันด้วย บรรณานุกรม ชินวรณ์ บุณยเกียรติ. 2554. ระเบียบ กระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการ บริหารข้อมูลสารสนเทศด้านการ ศึกษา พ.ศ.2554. เข้าถึงเมื่อ 19 กรกฎาคม 2554 เข้าถึงได้จาก www.aya1.go.th/guide/g07.doc ทศพล สมจิตร. 2554. หลัก 3E เพื่อความ ปลอดภัยในโรงงานอุตสาหกรรม. เข้าถึงเมื่อวันที่ 12 พฤศจิกายน 2554 เข้าถึงได้จาก http:// www.engineerfriend.com/webboard/safety/หลัก-3e-เพื่อความ ปลอดภัย/ นภาพรรณนา อูนากูล. 2540. การศึกษา ความต้องการของผู้ปกครองเกี่ยว กับสวัสดิภาพของนักเรียนใน โรงเรียนอนุบาล. ปริญญานิพนธ์ การศึกษามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร.

ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2015/2558

27


กลยุทธ์การบริหารความปลอดภัยสถานศึกษา

นฤมล สะอาดโฉม. 2548. Risk management การบริหารความเสี่ยง. กรุงเทพฯ : พหลการพิมพ์. วิฑูรย์ สิมะ. 2538. วิศวกรรมความ ปลอดภัยในโรงงาน. กรุงเทพฯ : บริษัท ดวงกมลสมัย จำ�กัด. อาร์เธอร์ กริฟฟิธ. 2553. ทฤษฎีการเกิด อุบัติเหตุ สวิส ชีส โมเดล. เข้าถึง เมื่อ 3 พฤศจิกายน 2553 เข้าถึง ได้จาก http://www.thaisafetywork.com/สวิส-ชีส-โมเดล/

28

วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม


การจัดการศึ กษาโรงเรียนคาทอลิกในประเทศไทย ตามอัตลักษณ์การศึกษาคาทอลิก Management of Catholic School in Thailand Beyond Catholic School Identity. บาทหลวง ดร.สุรินทร์ จารย์อุปการะ

* ผู้อำ�นวยการฝ่ายการศึกษา สังฆมณฑลราชบุรี

ผศ.ดร.ประเสริฐ อินทร์รักษ์

* ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประจำ�ภาควิชาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

Rev.Dr.Surin Chanupakara

* Director of Education for the Diocese of Ratchaburi

Asst.Prof.Dr.Prasert Intarak

* Assistant Professor, Department of Education Administration, Faculty of Education, Silpakorn University.


การจัดการศึกษาโรงเรียนคาทอลิกในประเทศไทยตามอัตลักษณ์การศึกษาคาทอลิก

บทคัดย่อ

30

การวิจัยครั้งนี้มีมีจุดประสงค์เพื่อทราบ 1) องค์ประกอบ การจัดการศึกษาโรงเรียนคาทอลิกในประเทศไทยตามอัตลักษณ์การ ศึกษาคาทอลิก และ 2) ผลการยืนยันองค์ประกอบการจัดการศึกษา โรงเรียนคาทอลิกในประเทศไทยตามอัตลักษณ์การศึกษาคาทอลิก กลุ่มตัวอย่างคือ โรงเรียนคาทอลิกสังกัดสังฆมณฑลในประเทศไทย จำ�นวน 103 โรง ผู้ให้ข้อมูลคือ ผู้บริหารโรงเรียน หัวหน้ากลุ่มงาน วิชาการ หัวหน้ากลุ่มงานจิตตาภิบาล กรรมการบริหารโรงเรียน รวม จำ�นวน 412 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามเกี่ยวกับ การจัดการศึกษาตามอัตลักษณ์การศึกษาคาทอลิก สถิติที่ใช้ในการ วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่ามัชฌิมเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การ วิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำ�รวจ การวิเคราะห์ความแปรปรวนทาง เดียว การทดสอบของเชฟเฟ่ และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัย พบว่า 1. องค์ ป ระกอบการจั ด การศึ ก ษาโรงเรี ย นคาทอลิ ก ใน ประเทศไทยตามอัตลักษณ์การศึกษาคาทอลิก เป็นพหุองค์ประกอบ มี 9 องค์ประกอบ คือ 1) การเงินและงบประมาณตามอัตลักษณ์การ ศึกษาคาทอลิก 2) การจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการคุณค่าพระ วรสาร 3) การบริหารจัดการตามนโยบายการจัดการศึกษาคาทอลิก แบบมีส่วนร่วม 4) การอภิบาลและบริหารงานบุคคล 5) การจัด กิจกรรมตามหลักอภิบาล 6) งานจิตตาภิบาล 7) การกำ�หนดหลักสูตร บนพื้ น ฐานคุ ณ ค่ า พระวรสาร 8) การกำ � หนดเนื้ อ หารายวิ ช าตาม แนวคิดของพระศาสนจักรคาทอลิก และ 9) การวางแผนและกำ�หนด เป้าหมายตามนโยบายของพระศาสนจักรคาทอลิก 2. ผลการยื น ยั น องค์ ป ระกอบการจั ด การศึ ก ษาโรงเรี ย น คาทอลิ ก ในประเทศไทยตามอั ต ลั ก ษณ์ ก ารศึ ก ษาคาทอลิ ก ผู้ ท รง คุณวุฒิมีความคิดเห็นสอดคล้องกันว่า องค์ประกอบการจัดการศึกษา โรงเรียนคาทอลิกนั้น เป็นองค์ประกอบสำ�คัญในการดำ�เนินงานของ

วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม


สุรินทร์ จารย์อุปการะ และประเสริฐ อินทร์รักษ์

โรงเรียนคาทอลิก ตามหลักการศึกษาของพระศาสนจักรคาทอลิก ตาม อัตลักษณ์การศึกษาคาทอลิก ตามเป้าหมาย และพันธกิจที่สภาการ ศึกษาคาทอลิกแห่งประเทศไทยกำ�หนด และองค์ประกอบดังกล่าวจะ ก่อให้เกิดผลดีต่อการจัดการศึกษาโรงเรียนคาทอลิกตามอัตลักษณ์การ ศึกษาคาทอลิกในอนาคต

คำ�สำ�คัญ :

Abstract

1) การจัดการศึกษาโรงเรียนคาทอลิก 2) อัตลักษณ์การศึกษาคาทอลิก

The purposes of this research were to find : 1) the components of the management of catholic school in Thailand beyond catholic school identity, and 2) the confirmation of the management of catholic school in Thailand beyond catholic school identity. The samples were 103 catholic schools. The respondents were administrators, head of academic department, chaplain, and school management committee with the total of 412 respondents. The data collected by using the opinionnaire about management beyond Catholic School Identity.. The data were analyzed by arithmetic mean, standard deviation, exploratory analysis, one-way analysis of variance, Scheffe’s method, and content analysis. The findings were as follows : 1. The management of catholic school in Thailand factor were 9 components namely : 1) Finance and budget according to the Catholic school identity 2) The integrated teaching according to Gospel values 3) The participatory management according to the policy of Catholic

ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2015/2558

31


การจัดการศึกษาโรงเรียนคาทอลิกในประเทศไทยตามอัตลักษณ์การศึกษาคาทอลิก

education 4) The pastoral and personnel administration 5) The activities by principles pastoral 6) Chaplaincy Service 7) The course assignments base on Gospel values 8) The content setting based on the concept of Catholic Church and 9) Planning and targeting with the policy of the Catholic Church 2. The experts confirmed that the component of management of catholic school in Thailand were important element in the operation of catholic schools as principles of education Catholic Church, the goals and mission of the Catholic Education Council of Thailand, and these components will cause a positive effect on educational catholic school identity as catholic education in the future. Keywords : 1) Management of Catholic School 2) Catholic School Identity

32

วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม


สุรินทร์ จารย์อุปการะ และประเสริฐ อินทร์รักษ์

ความเป็นมาและความส�ำคัญของปัญหา ประมวลกฎหมายพระศาสนจั ก ร คาทอลิก (Code of Cannon Law) มาตรา 794 ระบุว่า เป็นสิทธิและหน้าที่ของพระ ศาสนจักรคาทอลิกในการจัดการศึกษา โดย ได้รับการมอบหมายพันธกิจช่วยเหลือมนุษย์ จากพระเจ้า การจัดการศึกษาคาทอลิกจึง มีพระคริสตเจ้าเป็นรากฐาน มุ่งมั่นให้สถาน ศึกษาเป็นสนามประกาศข่าวดีแก่ทุกคน โดย สร้างบรรยากาศคาทอลิก สอนค�ำสอน ปลูก ฝังความเชื่อ ผสมผสานวัฒนธรรมกับความ เชื่อ และความเชื่อกับชีวิต ซึ่งมีผลถึงคุณภาพ การอบรมคุณธรรม จริยธรรมตามคุณค่าพระ วรสาร พระศาสนจักรคาทอลิกจึงให้มีการจัด ตั้ ง โรงเรี ย นคาทอลิ ก และให้ ค วามส�ำคั ญ ต่ อ การจัดการศึกษาคาทอลิกเป็นพิเศษ ให้มีการ พัฒนาการจัดการศึกษาคาทอลิกให้เหมาะสม กับบริบทของพระศาสนจักรคาทอลิกที่ตั้งอยู่ ในแต่ละพื้นที่ พระศาสนจั ก รคาทอลิ ก ตระหนั ก ถึงการจัดการศึกษาของโรงเรียนคาทอลิกว่า โรงเรียนคาทอลิกยังขาดความเอาใจใส่อย่าง จริงจังถึงการจัดการศึกษาตามอัตลักษณ์การ ศึกษาคาทอลิก จึงเรียกร้องให้มีการปฏิรูป การจัดการศึกษาคาทอลิก เพื่อให้โรงเรียน คาทอลิกซื่อสัตย์ต่อการจัดการศึกษาตามอัต-

ลักษณ์การศึกษาคาทอลิกอย่างแท้จริง พระศาสนจักรคาทอลิกประเทศไทย ตระหนั ก ถึ ง ความจ�ำเป็ น ที่ จ ะต้ อ งแสวงหา แนวทางของการจั ด การศึ ก ษาคาทอลิ ก ที่ เหมาะสมกับบริบทสังคมไทยส�ำหรับโรงเรียน คาทอลิกในประเทศไทย โรงเรียนคาทอลิกใน ประเทศไทย ยังขาดแนวทางในจัดการศึกษา ที่เหมาะสมกับครู บุคลากร และนักเรียน ผู้ ปกครอง ตลอดจนวัฒนธรรมและประเพณี ของประเทศไทย และผู้บริหารยังขาดความรู้ ความเข้าใจเรื่องอัตลักษณ์การศึกษาคาทอลิก โรงเรียนไม่สามารถหาครูที่มีคุณภาพและชีวิต จิตที่เหมาะสมกับงานด้านการอบรม โรงเรียน เน้นความเป็นเลิศทางวิชาการ การแข่งขัน การสร้างชื่อเสียง แต่การอบรมด้านความเป็น มนุ ษ ย์ ที่ ส มบู ร ณ์ ให้ กั บนั ก เรี ย นยั ง มี ไ ม่ เ พี ย ง พอ ความท้าทายของการศึกษาคาทอลิกใน ประเทศไทยคือการกลับมาสู่การเป็นโรงเรียน คาทอลิกที่มีอัตลักษณ์คาทอลิกอย่างแท้จริง วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่ อ ทราบองค์ ป ระกอบการ จัดการศึกษาโรงเรียนคาทอลิกในประเทศไทย ตามอัตลักษณ์การศึกษาคาทอลิก 2. เพื่ อ ทราบผลการยื น ยั น องค์ ประกอบการจัดการศึกษาโรงเรียนคาทอลิก

ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2015/2558

33


การจัดการศึกษาโรงเรียนคาทอลิกในประเทศไทยตามอัตลักษณ์การศึกษาคาทอลิก

ในประเทศไทย ตามอั ต ลั ก ษณ์ ก ารศึ ก ษา คาทอลิก กรอบแนวคิดการวิจัย ผู้วิจัยก�ำหนดกรอบแนวคิดการวิจัย จากเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการ จั ด การศึ ก ษาคาทอลิ ก ของพระศาสนจั ก ร คาทอลิก แนวคิดการจัดการศึกษาคาทอลิก ของพระศาสนจักรคาทอลิกแห่งประเทศไทย ตามแผนอภิบาล ค.ศ. 2010-2015 แนวคิด การจัดการศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาไทย และจากการสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรง คุณวุฒิ นิยามศัพท์เฉพาะ โรงเรียนคาทอลิก หมายถึง สถาบัน การศึกษาของเอกชนที่จัดการศึกษาในระบบ โรงเรียน เป็นสถาบันการศึกษาที่สังฆมณฑล เป็ น เจ้ า ของและบริ ห ารงาน มี ก ารจั ด การ ศึกษาในระดับปฐมวัย ระดับประถมศึกษา และระดับมัธยมศึกษา อั ต ลั ก ษณ์ ก ารศึ ก ษาโรงเรี ย น คาทอลิก หมายถึง ลักษณะอันแสดงถึงการ ด�ำเนินงานของโรงเรียนตามหลักการศึกษา ของพระศาสนจักรคาทอลิก และเหมาะสมกับ บริบทของการจัดการศึกษาโรงเรียนคาทอลิก

34

วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

ในประเทศไทย ตามเป้าหมาย และพันธกิจ การจัดการศึกษาคาทอลิก ที่สภาการศึกษา คาทอลิกแห่งประเทศไทยก�ำหนด การจัดการศึกษา หมายถึง ขอบข่าย และภารกิจของการด�ำเนินงานภายในโรงเรียน ได้แก่ งานวิชาการ งานบุคลากร งานงบ ประมาณ และงานบริหารทั่วไป แผนแบบการวิจัย การวิจัยครั้งนี้ ใช้ระเบียบวิธีวิจัยแบบ ผสมผสาน (Mixed Methodology) โดย เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) และการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) มีแผนแบบการวิจัยแบบ กลุ่มตัวอย่างเดียว ศึกษาสภาวการณ์ไม่มีการ ทดลอง (the one shot, non-experimental case study design) ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากร คือ โรงเรียนคาทอลิก สังกัดสังฆมณฑลในประเทศไทย จ�ำนวน 143 โรง กลุ่มตัวอย่าง คือ โรงเรียนคาทอลิก สังกัดสังฆมณฑลในประเทศไทย จ�ำนวน 103 โรง ผู้ให้ข้อมูล ในแต่ละโรงเรียนมี 4 คน ประกอบด้วย 1) ผู้บริหารโรงเรียน (ต�ำแหน่ง


สุรินทร์ จารย์อุปการะ และประเสริฐ อินทร์รักษ์

ผู้รับใบอนุญาต หรือผู้จัดการ หรือผู้อ�ำนวย การโรงเรียน ท�ำหน้าที่บริหารจัดการโรงเรียน โดยตรง) 2) ครูปฏิบัติหน้าที่หัวหน้ากลุ่ม งานวิชาการ 3) หัวหน้ากลุ่มงานจิตตาภิบาล และ 4) กรรมการสถานศึกษา รวมจ�ำนวน 412 คน ผู ้ วิ จั ย ก�ำหนดขนาดกลุ ่ ม ตั ว อย่ า ง จากตารางประมาณการขนาดตั ว อย่ า งของ เครจซี่ และมอร์แกน (Krejcie and Morgan, 1970) ได้ขนาดตัวอย่างจ�ำนวน 103 โรง โดย วิธีการสุ่มแบบแบ่งประเภท/แบ่งชั้น (stratified random sampling) ในแต่ละสังฆมลฑล ตามสัดส่วน ตัวแปรที่ศึกษา 1. ตัวแปรพื้นฐาน คือ ตัวแปรที่ เกี่ยวกับสถานภาพส่วนตัวของผู้ให้ข้อมูล 2. ตัวแปรที่ศึกษา คือ ตัวแปร ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การจั ด การศึ ก ษาโรงเรี ย น คาทอลิกตามอัตลักษณ์การศึกษาคาทอลิก ที่ ได้จาก การวิเคราะห์เอกสาร (Documentary Analysis) และจากการสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญ และผู้ทรงคุณวุฒิ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย แบบสอบถามความคิดเห็น (Opio-

nionnire) เรื่อง การจัดการศึกษาโรงเรียน คาทอลิ ก ในประเทศไทยตามอั ต ลั ก ษณ์ ก าร ศึกษาคาทอลิก จ�ำนวน 1 ฉบับ โดยมีการ สร้างและพัฒนาเครื่องมือ ดังนี้ 1. สั ง เคราะห์ ห ลั ก การ แนวคิ ด ทฤษฎี จากเอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง และสังเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากการสัมภาษณ์ ความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิ แล้วสร้างกระทงค�ำถาม 2. สร้างแบบสอบถาม โดยแบ่งออก เป็น 2 ตอน คือ ตอนที่ 1 เป็นแบบสอบถาม เกี่ยวกับสถานภาพทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบ ถาม มีลักษณะเป็นแบบตรวจสอบรายการ (Check List) ตอนที่ 2 เป็นแบบสอบถาม จ�ำนวน 150 ข้อ ซึ่งใช้การประเมินตาม มาตราส่วนประมาณค่า (RatingScale)5ระดับ ตามแบบของลิเคิร์ท (Rensis Likert, 1967) 3. ตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือ วิจัย โดยน�ำแบบสอบถามเสนอต่อผู้เชี่ยวชาญ เพื่ อ ตรวจสอบความเที่ ย งตรงเชิ ง เนื้ อ หา (Content Validity) เพื่อหาค่า Index of Item Objective Congruence (IOC) แล้วคัด เลือกข้อค�ำถามที่มีค่า IOC มากกว่า 0.6 ตาม เกณฑ์การพิจารณา ได้ข้อค�ำถาม 140 ข้อ 4. น�ำแบบสอบถามไปทดลองใช้ (Try Out) กับโรงเรียนคาทอลิกจ�ำนวน 8

ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2015/2558

35


การจัดการศึกษาโรงเรียนคาทอลิกในประเทศไทยตามอัตลักษณ์การศึกษาคาทอลิก

โรงเรียน ที่ไม่ใช่กลุ่มตัวอย่าง เพื่อน�ำมา วิเคราะห์หาค่าความเชื่อมั่น (Reliability) ของ แบบสอบถามด้วยการค�ำนวณค่าสัมประสิทธิ์ แอลฟา ( -coefficient) ของครอนบาค (Cronbach, Lee J., 1984) ได้ค่าความเชื่อ มั่น 0.9908 5. น�ำแบบสอบถามฉบับสมบูรณ์ไป เก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง โดยการส่งและรับ ทางไปรษณีย์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ค่าความถี่ (Frequencies) ค่าร้อย ละ (Percentage : %) ค่ามัชฌิมเลขคณิต (Arithmetic Mean : X) และส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน (Standard Deviation : S.D.) การ วิเคราะห์องค์ประกอบเชิงส�ำรวจ (Exploratory Factor Analysis) ส่วนการยืนยันองค์ ประกอบใช้แบบประเมินและการประชุม และ สนทนากลุ่มของผู้ทรงคุณวุฒิ สถิติที่ใช้คือ วิธี วิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว one-way analysis of variance (ANOVA) วิธีการ ทดสอบของเชฟเฟ่ (Scheffe’s Method) และวิธีวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis)

36

วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

สรุปผลการวิจัย 1. องค์ประกอบการพัฒนาครูค�ำ สอนในโรงเรียนคาทอลิก องค์ ป ระกอบการจั ด การศึ ก ษา โรงเรี ย นคาทอลิ ก ตามอั ต ลั ก ษณ์ ก ารศึ ก ษา คาทอลิก ประกอบด้วย 9 องค์ประกอบ เรียง ตามน�้ำหนักองค์ประกอบที่ได้จากมากไปน้อย ซึ่งสามารถสรุปเป็นแผนภูมิที่ 1 (ในหน้าถัด ไป) องค์ประกอบที่ 1 การเงินและงบ ประมาณตามอัตลักษณ์การศึกษาคาทอลิก มีจ�ำนวนตัวแปร 19 ตัวแปร มีค่าน�้ำหนัก องค์ประกอบ อยู่ระหว่าง .522-.816 ดังนี้ 1) มี ก ารใช้ เ งิ น หรื อ ทรั พ ย์ สิ น ที่ ไ ด้ รั บ จาก การบริจาคตามวัตถุประสงค์ของการบริจาค และถูกต้อง โปร่งใส สามารถตรวจสอบได้ 2) มี ก ารท�ำบั ญ ชี โรงเรี ย นตามระบบบั ญ ชี และมี ก ารตรวจสอบจากหน่ ว ยงานภายใน และภายนอก 3) การบริหารทรัพย์สินของ โรงเรี ย นอย่ า งถู ก ต้ อ งก่ อ ประโยชน์ ต ่ อ การ จัดการศึกษาของโรงเรียน 4) มีการก�ำหนด ค่ า ธรรมเนี ย มการเรี ย น ค่ า ธรรมเนี ย มอื่ น ตามความยุติธรรมและเป็นไปตามที่กฎหมาย ก�ำหนด 5) มีระบบและขั้นตอนการประเมิน ผลการด�ำเนิ น งานด้ า นงบประมาณ 6) มี วิ ธี ก ารจั ด เก็ บ ค่ า ธรรมเนี ย มการเรี ย นและ


สุรินทร์ จารย์อุปการะ และประเสริฐ อินทร์รักษ์

1. การเงินและงบประมาณ ตามอัตลักษณ์การศึกษา คาทอลิก 9. การวางแผน และกำ�หนดเป้าหมาย ตามนโยบายของ พระศาสนจักรคาทอลิก 8. การกำ�หนดเนื้อหารายวิชา ตามแนวคิดของ พระศาสนจักรคาทอลิก 7. การกำ�หนดหลักสูตร บนพื้นฐานคุณค่าพระวรสาร

2. การจัดการเรียนการสอน แบบบูรณาการคุณค่า พระวรสาร

องค์ประกอบการจัดการ ศึกษาโรงเรียนคาทอลิก ตามอัตลักษณ์การศึกษา คาทอลิก

6. งานจิตตาภิบาล

3. การบริหารจัดการตาม นโยบายการจัดการศึกษา คาทอลิกแบบมีส่วนร่วม 4. การอภิบาลและ บริหารงานบุคคล 5. การจัดกิจกรรม ตามหลักอภิบาล

แผนภูมิที่ 1 แสดงองค์ประกอบการจัดการศึกษาโรงเรียนคาทอลิกตามอัตลักษณ์การศึกษา คาทอลิก ประกอบไปด้วย 9 องค์ประกอบ ค่าธรรมเนียมอื่น โดยใช้หลักความยุติธรรม และความเมตตา 7) มี ก ารด�ำเนิ น การ สร้ า งรายได้ ต ามวิ ธี ที่ ก�ำหนดในตราสารจั ด ตั้ ง นิ ติ บุ ค คลโรงเรี ย นอย่ า งยุ ติ ธ รรม 8) มี การประเมิ น ผลการด�ำเนิ น งานด้ า นงบ ประมาณ 9) มี ก ารประชุ ม คณะกรรมการ บริหารโรงเรียนเป็นไปตามตราสารจัดตั้งนิติ บุ ค คลโรงเรี ย น 10) มี ร ะบบการตรวจ สอบบัญชี เป็นไปตามข้อก�ำหนดในตราสาร

จัดตั้งนิติบุคคลโรงเรียน และหน่วยงานที่ เกี่ ย วข้ อ ง 11) มี ขั้ น ตอนการรั บ เงิ น และ จ่ายเงินอย่างเป็นระบบ มีหลักฐานถูกต้อง ตรวจสอบได้ 12) มี ก ารขอรั บเงิ นอุ ด หนุ น ประเภทต่างๆ จากรัฐ เป็นไปตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อก�ำหนด และมีการใช้เงินอุดหนุน ตามวั ต ถุ ป ระสงค์ ข องการอุ ด หนุ น แต่ ล ะ ประเภท 13) มี ก ารกระจายงบประมาณ ทั้ ง การรั บ และการให้ ค วามช่ ว ยเหลื อ จาก

ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2015/2558

37


การจัดการศึกษาโรงเรียนคาทอลิกในประเทศไทยตามอัตลักษณ์การศึกษาคาทอลิก

สังฆมณฑล ซึ่งเป็นไปตามข้อก�ำหนด ระเบียบ และกฎหมายที่ เ กี่ ย วข้ อ ง 14) มี ก ารน�ำ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการด�ำเนิน งาน 15) มีการจ่ายเงินเดือน ค่าตอบแทน สวั ส ดิ ก ารต่ อ ครู ต ามกฎหมายและกรอบ เวลาที่ก�ำหนด 16) มีการจัดประชุมคณะผู้ บริหาร ประชุมครูและประชุมผู้ปกครองอย่าง สม�่ ำ เสมอ 17) มี ก ารจั ด ระบบการศึ ก ษา ตามมาตรฐานของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น ส�ำนั ก งานคณะกรรมการการศึ ก ษาเอกชน สภาการศึ ก ษาคาทอลิ ก แห่ ง ประเทศไทย 18) มี ก ารใช้ ง บประมาณเป็ น ไปตามวั ต ถุ ประสงค์ของงบประมาณ และ 19) มีการเปิด โอกาสทางการศึกษาที่เท่าเทียมให้กับเด็กทุก คน องค์ประกอบที่ 2 การจัดการเรียน การสอนแบบบูรณาการคุณค่าพระวรสาร มีจ�ำนวนตัวแปร 16 ตัวแปร มีค่าน�้ำหนักองค์ ประกอบ อยู่ระหว่าง .504-.705 ดังนี้ 1) มี การประเมินผลการด�ำเนินงานด้านวิชาการ ตามขั้นตอนและวิธีการที่ก�ำหนดและน�ำผล การประเมิ น ไปปรั บ ปรุ ง พั ฒ นา 2) มี ก าร ประเมิ น ผู ้ เรี ย นทุ ก มิ ติ เ ป็ น รายบุ ค คลตาม สภาพจริ ง ด้ ว ยวิ ธี แ ละเครื่ อ งมื อ ที่ ห ลาก หลาย 3) มี ก ารจั ด การเรี ย นการสอนที่ ส ่ ง เสริ ม ให้ ผู ้ เรี ย นมี วิ นั ย และมี ม โนธรรมที่ ถู ก

38

วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

ต้อง 4) มีขั้นตอนและวิธีการประเมินผลการ ด�ำเนินงานด้านวิชาการอย่างครอบคลุม (การ จัดการเรียนการสอน กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน งานทะเบียนวัดผล ฯลฯ) 5) มีการจัดการ เรียนการสอนที่ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วยตนเอง จากการลงมือปฏิบัติและการท�ำงานเป็นกลุ่ม 6) มีการก�ำกับ ติดตาม และประเมินผลการ จัดการเรียนการสอนอย่างเป็นระบบ 7) มี การแนะแนวหรือการให้ค�ำปรึกษาแก่ผู้เรียน ทั้งด้านวิชาการและคุณภาพชีวิต 8) มีการ วิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล และการส่ง ต่ อ ข้ อ มู ล แก่ ผู ้ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งเพื่ อ การพั ฒ นาผู ้ เรียนตามศักยภาพของผู้เรียน และเป้าหมาย ของชีวิตในอนาคต 9) มีการประเมินทักษะ การอ่าน การคิดวิเคราะห์ไตร่ตรอง และการ สั ง เคราะห์ ข องผู ้ เรี ย น 10) มี ก ารจั ด การ เรี ย นการสอนที่ ส ่ ง เสริ ม ให้ ผู ้ เรี ย นได้ มี ส ่ ว น ร่วมในการวางแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 11) มีการวิจัยในชั้นเรียน เพื่อพัฒนาการ เรี ย นการสอนโดยมุ ่ ง เน้ น ที่ คุ ณ ภาพผู ้ เรี ย น 12) มี ก ารด�ำเนิ น งานประกั น คุ ณ ภาพการ ศึกษาอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง โดยเน้น กระบวนการและความพยายาม 13) มีการ สร้ า งเครื อ ข่ า ยด้ า นวิ ช าการกั บ หน่ ว ยงาน ภายนอกโรงเรี ย น 14) มี ก ารก�ำหนดเป้ า หมายการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาผู้เรียนทุก


สุรินทร์ จารย์อุปการะ และประเสริฐ อินทร์รักษ์

มิติ ได้แก่ ร่างกาย สติปัญญา จิตใจ อารมณ์ สั ง คม และจิ ต วิ ญ ญาณ 15) มี ก ารจั ด การ เรี ย นการสอนแบบบู ร ณาการ และ/หรื อ สหวิทยาการ เพื่อหล่อหลอมความรู้เป็นคุณค่า ชีวิต และ 16) มีการจัดการเรียนการสอนที่มี การบูรณาการคุณค่าพระวรสารในการสอน ทุกรายวิชา องค์ประกอบที่ 3 การบริหารจัดการ ตามนโยบายการจัดการศึกษาคาทอลิกแบบ มีส่วนร่วม มีจ�ำนวนตัวแปร 10 ตัวแปร มีค่า น�้ำหนักองค์ประกอบ อยู่ระหว่าง .513-.671 ดังนี้ 1) มีการเปิดโอกาสให้ผู้ปกครอง ชุมชน หรือผู้มีส่วนได้ส่วนเสียมีส่วนร่วมในการจัด กิ จ กรรมและเข้ า ร่ ว มกิ จ กรรมของโรงเรี ย น 2) มีการเปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการ วางแผนการจัดการศึกษาและกิจกรรม 3) มี การสร้างเครือข่ายความสัมพันธ์กับหน่วยงาน ของพระศาสนจักรคาทอลิก หน่วยงานภาค รัฐ และหน่วยงานเอกชน 4) มีการสนับสนุน ส่งเสริม และพัฒนาครอบครัว ให้มีส่วนร่วม ในการให้ ก ารอบรมศึ ก ษาแก่ ผู ้ เรี ย น 5) มี การวางแผนพั ฒ นาหรื อ แผนกลยุ ท ธ์ แ ละ แผนปฏิ บั ติ ง านที่ ส อดคล้ อ งกั บ บริ บ ทของ โรงเรียน 6) มีการก�ำหนดบทบาทหน้าที่ของ คณะกรรมการบริหารโรงเรียนอย่างชัดเจน และด�ำเนิ น งานตามบทบาทหน้ า ที่ ที่ ไ ด้ รั บ

7) มีการจัดกิจกรรมส่งเสริมตามวัฒนธรรม ประเพณีไทยและท้องถิ่น บนพื้นฐานคุณค่า พระวรสาร เช่น กิจกรรมในวันส�ำคัญต่างๆ และการปฏิ บั ติ ต นในชี วิ ต ประจ�ำวั น 8) มี การก�ำหนดนโยบายและแผนงานของโรงเรียน โดยการมีส่วนร่วมของผู้บริหาร ครู บุคลากร ผู้เรียน และผู้ปกครอง 9) มีระบบการให้การ ศึ ก ษาอบรมผู ้ เรี ย นทั้ ง ภายในโรงเรี ย นและ ภายนอกโรงเรียน และ 10) มีการวางระบบ กลไกในการบริหารจัดการสถานศึกษา เพื่อ ความต่อเนื่องในการบริหาร องค์ประกอบที่ 4 การอภิบาลและ บริหารงานบุคคล มีจ�ำนวนตัวแปร 7 ตัวแปร มีค่าน�้ำหนักองค์ประกอบ อยู่ระหว่าง .522.722 ดังนี้ 1) มีระบบและขั้นตอนการด�ำเนิน การทางวินัย การพิจารณาตัดสินของบุคลากร อย่างชัดเจน 2) มีการสร้างขวัญและก�ำลัง ใจให้กับบุคลากรด้านวัตถุและจิตใจ ด้วยหลัก การอภิบาล 3) มีระบบและขั้นตอนในการ ประเมิ น ผลการด�ำ เนิ น งานของบุ ค ลากร 4) มีระบบและขั้นตอนการอุทรณ์ และการ ร้องทุกข์ของบุคลากรอย่างชัดเจน 5) มีการ จัดท�ำระบบข้อมูลบุคลากรเพื่อการประเมิน และการพั ฒ นาบุ ค ลากรตามแนวทางการ ศึกษาคาทอลิก 6) มีการจัดกิจกรรมพัฒนา บุคลากรที่บรรจุใหม่ให้มีความรู้ความเข้าใจ

ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2015/2558

39


การจัดการศึกษาโรงเรียนคาทอลิกในประเทศไทยตามอัตลักษณ์การศึกษาคาทอลิก

เกี่ ย วกั บ การจั ด การศึ ก ษาคาทอลิ ก และ 7) มีการพัฒนาบุคลากรในด้านชีวิตภายใน กระแสเรียก จิตวิญญาณความเป็นครู และ จรรยาบรรณวิชาชีพครู องค์ประกอบที่ 5 การจัดกิจกรรม ตามหลักอภิบาล มีจ�ำนวนตัวแปร 10 ตัวแปร มีค่าน�้ำหนักองค์ประกอบ อยู่ระหว่าง .508-.661 ดังนี้ 1) มีการจัดกิจกรรมสร้าง เสริ ม ความรู ้ แ ละความศรั ท ธา การฟื ้ น ฟู จิตใจ ส�ำหรับครูจิตตาภิบาล ครูค�ำสอน ครู คาทอลิก เป็นประจ�ำและต่อเนื่อง 2) มีการ ท�ำงานหรือท�ำกิจกรรมต่างๆ ตามหลักการ อภิ บ าล 3) มี ก ารจั ด กิ จ กรรมทางศาสนา ศาสนสัมพันธ์ และศาสนิกสัมพันธ์ ตาม โอกาส บนพื้ น ฐานเสรี ภ าพในการนั บ ถื อ ศาสนา 4) มี ก ารเปิ ด โอกาสให้ พ ระสงฆ์ / บาทหลวง นักบวชชาย-นักบวชหญิง มีส่วน ร่วมในการจัดการเรียนการสอนและกิจกรรม ของโรงเรียน 5) มีการจัดกิจกรรมที่ส่งเสริม ให้ผู้เรียนท�ำประโยชน์เพื่อสังคม มีจิตอาสา/ จิตสาธารณะ 6) มีการจัดกิจกรรมที่ส่งเสริม ให้โรงเรียนและชุมชนมีความเป็นหนึ่งเดียวกัน และร่ ว มมื อ ในการจั ด การศึ ก ษา 7) มี ก าร ประเมินผลการด�ำเนินงานด้านจิตตาภิบาล ตามระบบและขั้ น ตอนที่ ก�ำหนดและน�ำผล การประเมินไปปรับปรุงพัฒนา 8) มีการจัด

40

วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

กิจกรรมพัฒนาผู้บริหาร ครู และผู้ปกครอง เรื่องการอภิบาลผู้เรียน 9) มีการร่วมมือกับ ผู้ปกครองในการอภิบาลผู้เรียนและศิษย์เก่า และ 10) มีการจัดระบบดูแลช่วยเหลือ ผู้เรียน เป็นรายบุคคลและเป็นกลุ่มตามหลักอภิบาล องค์ประกอบที่ 6 งานจิตตาภิบาล มีจ�ำนวนตัวแปร 8 ตัวแปร มีค่าน�้ำหนัก องค์ประกอบ อยู่ระหว่าง .530-.608 ดังนี้ 1) มีการส่งเสริมบุคลากร ผู้เรียน ปฏิบัติ ศาสนกิจในศาสนาที่ตนนับถืออย่างสม�่ำเสมอ 2) มีกระบวนการสรรหาบุคลากรด้านจิตตาภิบาล 3) มีการพัฒนาบุคลากรด้านจิตตาภิบาลอย่างต่อเนื่อง โดยร่วมกับหน่วยงานต่างๆ เช่น สังฆมณฑล วิทยาลัยแสงธรรม ศูนย์ อบรมคริสตศาสนธรรมระดับชาติ 4) มีการ จัดหรือใช้สัญลักษณ์แห่งความเป็นคาทอลิก ในการจัดอาคาร สถานที่ และสิ่งแวดล้อม 5) มี ก ารจั ด ให้ มี ค รู จิ ต ตาภิ บ าลที่ เ พี ย งพอ เหมาะสมกับจ�ำนวนผู้เรียน 6) มีการส่งเสริม การภาวนาในชีวิตประจ�ำวัน และจัดให้มีการ ภาวนาให้กันและกันในโรงเรียนทุกวัน 7) มี การจั ด กิ จกรรมอบรมฟื ้ นฟู จิต ใจ หรื อ การ ปฏิบัติธรรมให้กับบุคลากรและผู้เรียนอย่าง สม�่ ำ เสมอ และ 8) มี ก ารจั ด สอนค�ำสอน นักเรียนคาทอลิก และผู้เรียนที่สนใจ


สุรินทร์ จารย์อุปการะ และประเสริฐ อินทร์รักษ์

องค์ประกอบที่ 7 การก�ำหนด หลั ก สู ต รบนพื้ น ฐานคุ ณ ค่ า พระวรสาร มี จ�ำนวนตัวแปร 4 ตัวแปร มีค่าน�้ำหนักองค์ ประกอบ อยู่ระหว่าง .500-.749 ดังนี้ 1) มี การจัดท�ำหลักสูตรที่มีการบูรณาการคุณค่า พระวรสาร คุณธรรมจริยธรรม วัฒนธรรม ประเพณี ไ ทยและท้ อ งถิ่ น 2) มี ก ารจั ด ท�ำ หลักสูตรให้ครอบคลุมการพัฒนาผู้เรียน ทั้ง ด้านความรู้ และคุณธรรม ด้วยมิติของความ เชื่ อ ในศาสนา 3) มี ก ารก�ำหนดหลั ก สู ต ร ที่ ส อดคล้ อ งการจั ด การศึ ก ษาคาทอลิ ก บน พื้นฐานคุณค่าพระวรสาร (Gospel Value) และ 4) มี ก ารก�ำหนดวิ ช าจริ ย ศึ ก ษาหรื อ จริ ย ธรรม ไว้ ใ นโครงสร้ า งหลั ก สู ต รสถาน ศึกษา และหรือมีการอบรมคุณธรรมจริยธรรม อย่างเป็นระบบ องค์ประกอบที่ 8 การก�ำหนดเนื้อหา รายวิ ช าตามแนวคิ ด ของพระศาสนจั ก ร คาทอลิก มีจ�ำนวนตัวแปร 5 ตัวแปร มีค่าน�้ำ หนักองค์ประกอบอยู่ระหว่าง .594-.660 ดังนี้ 1) การจั ด การเรี ย นการสอนเรื่ อ งสื่ อ ศึ ก ษา สิทธิมนุษยชน สันติศึกษา เพศศึกษา และ นิเวศวิทยา ตามแนวคิดของพระศาสนจักร คาทอลิก 2) มีการก�ำหนดเนื้อหาสาระการ เรี ย นรู ้ ส อดคล้ อ งกั บ การเปลี่ ย นแปลงทาง สังคม ได้แก่ การเข้าสู่ประชาคมอาเซียน

การด�ำเนินชีวิตในศตวรรษที่ 21 ความ ก้าวหน้าทางความรู้ เช่น ภาษา วัฒนธรรม เทคโนโลยี ทักษะการคิด และทักษะการ แสวงหาความรู ้ 3) มี ก ารก�ำหนดเนื้ อ หา การเรี ย นรู ้ ตามแนวคิ ด ของพระศาสนจั ก ร คาทอลิ ก และตามลั ก ษณะของแต่ ล ะ รายวิชา 4) มีการก�ำหนดเนื้อหาการเรียนรู้ และกิจกรรมที่ตอบสนองต่อความสนใจ และ ศักยภาพของผู้เรียน และ 5) มีการก�ำหนด วิชาคริสตศาสตร์ไว้ในโครงสร้างหลักสูตร องค์ประกอบที่ 9 การวางแผน และก�ำหนดเป้ า หมายตามนโยบายของ พระศาสนจักรคาทอลิก มีจ�ำนวนตัวแปร 4 ตัวแปร มีค่าน�้ำหนักองค์ประกอบ อยู่ระหว่าง .503-.745 ดังนี้ 1) มีการก�ำหนดเป้าหมาย การจัดการศึกษาที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ ปรัชญาการศึกษาคาทอลิก และนโยบายของ สภาประมุ ข บาทหลวงโรมั น คาทอลิ ก แห่ ง ประเทศไทย 2) มีการวางแผนการบริหาร จั ด การศึ ก ษาที่ ส อดคล้ อ งกั บ วั ต ถุ ป ระสงค์ ปรัชญาการศึกษาคาทอลิก และนโยบายของ สภาประมุ ข บาทหลวงโรมั น คาทอลิ ก แห่ ง ประเทศไทย 3) มี ก ารจั ด การศึ ก ษาของ สถานศึกษา ที่มีพระเยซูคริสตเจ้าเป็นรากฐาน และน�ำคุณค่าพระวรสาร มาเป็นบรรทัดฐาน ในการจัดการศึกษา และ 4) โรงเรียนมีความ

ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2015/2558

41


การจัดการศึกษาโรงเรียนคาทอลิกในประเทศไทยตามอัตลักษณ์การศึกษาคาทอลิก

สัมพันธ์เป็นหนึ่งเดียวและท�ำงานร่วมกับพระ ศาสนจักรคาทอลิกในฐานะเป็นเครื่องมือและ สนามงานแห่งการประกาศข่าวดี 2. ผลการยื น ยั น องค์ ป ระกอบ การจั ด การศึ ก ษาโรงเรี ย นคาทอลิ ก ใน ประเทศไทยตามอั ต ลั ก ษณ์ ก ารศึ ก ษา คาทอลิก โดยกลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิ สรุปได้ว่า กลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิมีความ คิดเห็นสอดคล้องกันว่า ตัวแปรการจัดการ ศึกษาโรงเรียนคาทอลิกที่ได้จากกลุ่มตัวอย่าง และจากการพิจารณาโดยกลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิ นั้น เป็นตัวแปรหรือองค์ประกอบส�ำคัญใน การด�ำเนินงานของโรงเรียนคาทอลิกตามหลัก การศึกษาของพระศาสนจักรคาทอลิก ตาม อัตลักษณ์การศึกษาคาทอลิก ตามเป้าหมาย และพั น ธกิ จ ที่ ส ภาการศึ ก ษาคาทอลิ ก แห่ ง ประเทศไทยก�ำหนดตามความเหมาะสมกับ บริบทของการจัดการศึกษาโรงเรียนคาทอลิก ในประเทศไทย และตัวแปรดังกล่าวจะก่อให้ เกิดผลดีต่อการจัดการศึกษาโรงเรียนคาทอลิก ตามอัตลักษณ์การศึกษาคาทอลิกในอนาคต อภิปรายผล ผลที่ได้จากการวิจัยพบว่า องค์ประ กอบการจั ด การศึ ก ษาโรงเรี ย นคาทอลิ ก ใน ประเทศไทยตามอัตลักษณ์การศึกษาคาทอลิก

42

วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

ประกอบด้วย 9 องค์ประกอบเรียงตามน�้ำ หนักองค์ประกอบที่ได้จากมากไปน้อย คือ 1) การเงิ น และงบประมาณตามอั ต ลั ก ษณ์ การศึกษาคาทอลิก 2) การจัดการเรียนการ สอนแบบบูรณาการคุณค่าพระวรสาร 3) การ บริหารจัดการตามนโยบายการจัดการศึกษา คาทอลิ ก แบบมี ส ่ ว นร่ ว ม 4) การอภิ บ าล และบริหารงานบุคคล 5) การจัดกิจกรรม ตามหลักอภิบาล 6) งานจิตตาภิบาล 7) การ ก�ำหนดหลักสูตรบนพื้นฐานคุณค่าพระวรสาร 8) การก�ำหนดเนื้ อ หารายวิ ช าตามแนวคิ ด ของพระศาสนจักรคาทอลิก และ 9) การ วางแผนและก�ำหนดเป้าหมายตามนโยบาย ของพระศาสนจักรคาทอลิก ซึ่งการจัดการ ศึกษาโรงเรียนคาทอลิกในประเทศไทยตาม อัตลักษณ์การศึกษาคาทอลิก ทั้ง 9 องค์ ประกอบดั ง กล่ า ว เป็ น ไปตามสมมติ ฐ าน ของการวิจัยที่ว่า องค์ประกอบการจัดการ ศึกษาโรงเรียนคาทอลิกในประเทศไทยตาม อั ต ลั ก ษณ์ ก ารศึ ก ษาคาทอลิ ก เป็ น พหุ อ งค์ ประกอบ ทั้ ง นี้ เ พราะในการจั ด การศึ ก ษา โรงเรี ย นคาทอลิ ก ในประเทศไทตามอั ต ลั ก ษณ์ ก ารศึ ก ษาคาทอลิ ก นั้ น จ�ำเป็ น ที่ จ ะ ต้ อ งมี อ งค์ ป ระกอบต่ า งๆ ที่ มี ค วามส�ำคั ญ และสั ม พั น ธ์ เ กี่ ย วข้ อ งเชื่ อ มโยงกั น ทั้ ง ใน การวางแผนและก�ำหนดเป้าหมาย ด้านการ


สุรินทร์ จารย์อุปการะ และประเสริฐ อินทร์รักษ์

จัดการเรียนการสอน การก�ำหนดหลักสูตร การก�ำหนดเนื้อหารายวิชา งานจิตตาภิบาล การจัดกิจกรรม การบริหารงานทั่วไป และ การอภิบาล และบริหารงานบุคคล ซึ่งมี ความสอดคล้ อ งกั บ สมณกระทรวงการ ศึกษาคาทอลิก ในเอกสารโรงเรียนคาทอลิก ข้อ 34 ที่ว่า พระเยซูคริสต์เป็นรากฐาน ของกิ จ กรรมทางการศึ ก ษาทั้ ง ปวงของโรง เรียนคาทอลิก การไขแสดงของพระองค์มอบ ความหมายใหม่ แ ก่ ชี วิ ต และช่ ว ยให้ ม นุ ษ ย์ ก�ำกั บ ความคิ ด การกระท�ำและปณิ ธ าน ตามหลักการพระวรสาร ท�ำให้วิถีแห่งบุญลาภเป็ น บรรทั ด ฐานของชี วิ ต เช่ น นี้ แ ล้ ว โรงเรี ย นคาทอลิ ก จึ ง มี ห ลั ก การพระวรสาร เป็ น บรรทั ด ฐานทางการศึ ก ษา สอดคล้ อ ง กับสภาประมุขบาทหลวงโรมันคาทอลิกแห่ง ประเทศไทย ในแผนอภิ บ าลคริ ส ตศั ก ราช 2010-2015 (สภาประมุ ข บาทหลวงโรมั น คาทอลิกแห่งประเทศไทย, 2553) ที่กล่าว ไว้ ว ่ า สถานศึ ก ษาคาทอลิ ก ต้ อ งแสดงอั ต ลักษณ์ของตนให้เด่นชัด โดยมีพระคริสตเจ้าเป็นรากฐาน มุ่งมั่นให้สถานศึกษาเป็น สนามประกาศข่าวดีแก่ทุกคน โดยสร้างบรรยากาศคาทอลิก สอนค�ำสอน ปลูกฝังความ เชื่อ ผสมผสานวัฒนธรรมกับความเชื่อ และ ความเชื่อกับชีวิต ซึ่งมีผลถึงคุณภาพการอบรม

คุณธรรม จริยธรรมตามคุณค่าพระวรสาร จากการยืนยันองค์ประกอบการจัด การศึกษาโรงเรียนคาทอลิกในประเทศไทย ตามอัตลักษณ์การศึกษาคาทอลิก โดยผู้ทรง คุณวุฒิระดับสูง พบว่า กลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิ ระดั บ สู ง มี ค วามคิ ด เห็ น สอดคล้ อ งกั น ว่ า ตัวแปรการจัดการศึกษาโรงเรียนคาทอลิกที่ ได้จากกลุ่มตัวอย่างและจากการพิจารณาโดย กลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิทั้ง 3 ฝ่าย นั้น เป็นตัวแปร หรือองค์ประกอบส�ำคัญในการด�ำเนินงานของ โรงเรียนคาทอลิกตามหลักการศึกษาของพระ ศาสนจักรคาทอลิก ตามอัตลักษณ์การศึกษา คาทอลิก ซึ่งองค์ประกอบทั้ง 9 องค์ประกอบ นั้ น เป็ นปั จจั ย พื้ นฐานที่ มี ความครอบคลุ ม สอดคล้องเชื่อมโยงประเด็นที่เกี่ยวข้องกับการ จัดการศึกษาโรงเรียนคาทอลิกในประเทศไทย ตามอัตลักษณ์การศึกษาคาทอลิก ทั้งนี้เพราะ องค์ประกอบดังกล่าว มาจากข้อมูลจริงใน ด้านความคิดเห็นของผู้บริหาร ครู และคณะ กรรมการบริหารโรงเรียน ที่เป็นกลุ่มตัวอย่าง สอดคล้ อ งกั บ สภาการศึ ก ษาคาทอลิ ก แห่ ง ประเทศไทย ในเอกสารก้าวไปข้างหน้าด้วย อัตลักษณ์การศึกษาคาทอลิก ปี ค.ศ. 20122015 ที่ก�ำหนดพันธกิจว่า ทบทวน ก�ำหนด วิสัยทัศน์ จัดท�ำแผนพัฒนา และแผนปฏิบัติ การของโรงเรียนให้เป็นไปตามเป้าหมายของ

ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2015/2558

43


การจัดการศึกษาโรงเรียนคาทอลิกในประเทศไทยตามอัตลักษณ์การศึกษาคาทอลิก

โรงเรียนคาทอลิก โดยการส�ำรวจความต้อง การ จัดประชุมผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย (ผู้บริหาร ครู บุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการ บริหารโรงเรียน ผู้ปกครอง) เพื่อร่วมกัน ทบทวนหรือก�ำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้า หมาย และคุณลักษณะของนักเรียนให้เป็น ไปตามอัตลักษณ์ของโรงเรียนคาทอลิก จัดท�ำ แผนพั ฒ นาและแผนปฏิ บั ติ ก าร เพื่ อ ให้ โรงเรียนเป็นไปตามเป้าหมายที่ก�ำหนด ครอบ คลุมถึง การพัฒนาครูและบุคลากร การ พัฒนาอาคารสถานที่ การบริหารงบประมาณ การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา และแต่งตั้ง ผู้รับผิดชอบอย่างชัดเจน ข้อเสนอแนะเพื่อน�ำผลการวิจัยไปใช้ 1. ควรสร้ า งเสริ ม ความรู ้ เ กี่ ย วกั บ อัตลักษณ์การศึกษาคาทอลิกให้กับบุคลากร ในโรงเรียนคาทอลิกอย่างเป็นระบบและต่อ เนื่อง 2. โรงเรี ย นต้ อ งมี ก ระบวนการ จั ด การเรี ย นการสอนแบบบู ร ณาการคุ ณ ค่ า พระวรสารที่เน้นผู้เรียนเป็นส�ำคัญที่สามารถ สร้างเสริมผู้เรียนถึงระดับจิตวิญญาณ มุ่งพัฒนาผู ้ เรี ย นเป็ น รายบุ ค คล เพื่ อ ให้ ผู ้ เรี ย นได้ พัฒนาตนเองทั้งด้านร่างกาย สติปัญญา จิตใจ อารมณ์ สังคม และจิตวิญญาณ

44

วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

3. ฝ่ า ยบริ ห ารโรงเรี ย นควรน�ำผล วิจัยไปเสริมสร้างการจัดการที่เป็นรูปธรรม มากขึ้น โดยเฉพาะองค์ประกอบที่เป็นอัตลักษณ์คาทอลิก ทั้งในแง่ของการให้ความรู้ และการน�ำไปใช้จริง ข้อเสนอแนะเพื่อการวิจัยครั้งต่อไป 1. ควรศึกษาเรื่อง มาตรฐาน ตัวบ่งชี้ และเกณฑ์การประเมิน การจัดการศึกษาตาม อั ต ลั ก ษณ์ ก ารศึ ก ษาโรงเรี ย นคาทอลิ ก โดย เฉพาะ 2. ควรศึกษาเรื่อง ปัจจัยที่ส่งผลต่อ การจัดการศึกษาโรงเรียนคาทอลิกตามอัตลักษณ์การศึกษาคาทอลิก


สุรินทร์ จารย์อุปการะ และประเสริฐ อินทร์รักษ์

บรรณานุกรม “พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542.” ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 116, ตอนที่ 74 ก 19 สิงหาคม 2542. “พระราชบัญญัติโรงเรียนเอกชน พ.ศ.2550 (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2554.” ราชกิจจา นุเบกษา เล่ม 128, ตอนที่ 46 ก 9 มิถุนายน 2545. พระสันตะปาปาเปาโลที่ 6. 2556. ค�ำแถลง สภาสังคายนาวาติกันที่สอง เรื่อง การอบรมตามหลักพระคริสตธรรม. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์อัสสัมชัญ. สมณกระทรวงเพื่อการศึกษาคาทอลิก. 2556. โรงเรียนคาทอลิก. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์อัสสัมชัญ. . 2556. มิติด้านศาสนาของ การศึกษาในโรงเรียนคาทอลิก. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์อัสสัมชัญ. สภาการศึกษาคาทอลิกแห่งประเทศไทย. 2555. ก้าวไปข้างหน้าด้วยอัตลักษณ์การศึกษาคาทอลิก ปี ค.ศ. 2012-2015. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ อัสสัมชัญ.

. ม.ป.ป.. ระเบียบ ข้อบังคับ และ แนวปฏิบัติสภาการศึกษาคาทอลิก (ประเทศไทย). ม.ป.ท.. . 2551. อัตลักษณ์การศึกษา คาทอลิก. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ อัสสัมชัญ. สภาประมุขบาทหลวงโรมันคาทอลิกแห่ง ประเทศไทย. 2553. แผนอภิบาล คริสตศักราช 2010-2015 ของพระ ศาสนจักรคาทอลิกในประเทศไทย อภิบาลชุมชนศิษย์พระคริสต์ ร่วม พันธกิจแบ่งปันข่าวดี. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์อัสสัมชัญ. Cronbach, Lee J. 1984. Essentials of psychological Testing. New York : Harper & Row Publishers. Krejcie, R.V., and P.W. Morgan. 1970. Educational and Psychological Measurement. New York : Harper & Row Publishers. Likert, Rensis. 1967. The Human Organization : Its Management and Values. New York : McGraw – Hill.

ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2015/2558

45


การหล่อหลอมมโนธรรมตามแบบอย่างนักบุญอิกญาซีโอแห่งโลโยลา Forming Conscience According to St.Ignatius of Loyola. ปฏิคม วิริยะสมบัติ

* มหาบัณฑิตสาขาวิชาเทววิทยาจริยธรรม วิทยาลัยแสงธรรม

บาทหลวง ดร.ออกัสติน สุกีโย ปีโตโย, S.J.

* บาทหลวงในคริสต์ศาสนจักรโรมันคาทอลิก สังกัดคณะเยสุอิต * อาจารย์ประจำ�หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทววิทยาจริยธรรม วิทยาลัยแสงธรรม

บาทหลวงเจริญ ว่องประชานุกูล

* บาทหลวงในคริสต์ศาสนจักรโรมันคาทอลิก สังฆมณฑลราชบุรี * คณบดีคณะศาสนศาสตร์ วิทยาลัยแสงธรรม * ผู้อำ�นวยการศูนย์ส่งเสริมและพัฒนางานวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

Patikom Wiriyasombat

* Master of Arts Programe in Moral Theology, Saengtham College.

Rev.Dr.Agustinus Sugiyo Pitoyo, S.J.

* Reverend in Roman Catholic Church, Jesuit. * Lacturer of The Master of Arts Programe in Moral Theology, Saengtham College.

Rev.Charoen Vongprachanukul

* Reverend in Roman Catholic Church, Ratchaburi Diocese. * Dean, Faculty of Religious, Saengtham College. * Director of Academic Promotion and Development Center, Saengtham College.


ปฏิคม วิริยะสมบัติ ออกัสติน สุกีโย ปีโตโย และเจริญ ว่องประชานุกูล

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทราบ 1) แนวความคิดเรื่อง มโนธรรมของนักบุญอิกญาซีโอแห่งโลโยลา 2) การหล่อหลอมมโนธรรมตามแบบอย่างนักบุญอิกญาซีโอแห่งโลโยลา และ 3) การนำ� ไปประยุกต์ใช้ ผลการวิจัยพบว่า 1) พื้นฐานแนวความคิดเกี่ยวกับ มโนธรรมและการหล่ อ หลอมมโนธรรมของนั ก บุ ญ อิ ก ญาซี โ อได้ รั บ อิทธิพลจากหลายปัจจัย ปัจจัยที่สำ�คัญในวัยเด็ก คือ ครอบครัวและ ศาสนาซึ่งท่านมีความเชื่อเรื่องพระเจ้า สภาพแวดล้อมและการบาดเจ็บ จากหน้าที่ เป็นสาเหตุหลักของการเปลี่ยนแปลงเป้าหมายชีวิต การหัน มาดำ�เนินชีวิตใส่ใจเรื่องมโนธรรมและการหล่อหลอมมโนธรรมอย่าง จริงจัง ตัดสินใจทำ�งานเพื่อเผยแผ่พระราชัยของพระเป็นเจ้า 2) นัก บุญอิกญาซีโอเห็นว่า มโนธรรมมีความเกี่ยวข้องและสัมพันธ์กับการ แสดงออกภายนอก มโนธรรมมีความสำ�คัญควรที่จะได้รับการดูแล เอาใจใส่และไตร่ตรองเสมอๆ หลีกเลี่ยงการทำ�บาป การใช้พระวาจา นำ�ชีวิต การมีบุคคลเป็นแบบอย่าง และการเป็นแบบอย่างสำ�หรับผู้อื่น 3) นักบวชคณะเยสุอิตที่ท่านก่อตั้ง ได้นำ�แนวคิด วิธีการเกี่ยวกับการ ฝึกปฏิบัติจิตของท่านไปประยุกต์ใช้ในชีวิตและเผยแพร่จนถึงปัจจุบัน ตามทัศนะผู้วิจัยพบว่า การศึกษาข้อมูลจากเอกสาร สอดคล้อง กับผลวิเคราะห์จากการสัมภาษณ์และการดำ�เนินชีวิตของนักบวชคณะ เยสุอิต ในความเป็นศาสนจักรหนึ่งเดียวศักดิ์สิทธิ์สากล นักบวชไม่ว่า คณะใดหรือผู้ให้การอบรม ไม่ควรมองข้ามเครื่องมือหรือวิธีการ การฝึก ปฏิบัติจิต การพิจารณาไตร่ตรองมโนธรรม ควรถูกนำ�มาใช้ปฏิบัติอย่าง จริงจังในชีวิตประจำ�วัน โดยเฉพาะสำ�หรับกลุ่มคริสตชน ผ่านทางบท เทศน์ การอบรม การสอนคำ�สอน การสนใจบุคคลอื่น การทำ�ตนเป็น แบบอย่าง เพื่อพระสิริรุ่งโรจน์และร่วมเดินทางสู่บ้านพระบิดาเดียวกัน คำ�สำ�คัญ : 1) มโนธรรม 2) เยสุอิต 3) นักบุญอิกญาซีโอ

ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2015/2558

47


การหล่อหลอมมโนธรรมตามแบบอย่างนักบุญอิกญาซีโอแห่งโลโยลา

Abstract

The purposes of this research are : 1) St.Ignatius’ idea about conscience 2) forming conscience according to St. Ignatius and 3) apply and transform to the life and also useful. The results are 1) There are many functions influence to St.Ignatius’conscience. Environment in his childhood was a family and religion. He believes in God. War injury was the main cause changed his lifestyle. He changed his life to focus about Conscience and adapt every moment to proclaim the kingdom of God. 2) St. Ignatius consider as Conscience is concern to behavior, so that should be take care and always concentrate, avoid chance to do sin. He let the word of God lead the life. He had the idol person and attempted to be a good model for the other and 3) Congregation of Jesuit that was constituted by him use the ways that he thought about spiritual discernment apply and forward in the present. In the view of learner found that the result of studying, interview and way of Jesuit’s life were correlation. In the one of the church every congregation should not pass the tool such as spiritual discernment that should be use in the real life especially in the sermon, teaching catechism, care about the other and do the good thing for the glory and going to the house of our Father. Keywords : 1) Conscience 2) Jesuit 3) Saint Ignatius

48

วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม


ปฏิคม วิริยะสมบัติ ออกัสติน สุกีโย ปีโตโย และเจริญ ว่องประชานุกูล

ความเป็นมาและความส�ำคัญของปัญหา การแสดงออกของพฤติกรรมมนุษย์ ธรรมชาติได้สร้างให้มนุษย์มีคุณสมบัติพิเศษ คื อ มี ป ระสาทพิ เ ศษและมี มั น สมองพิ เ ศษ นอกจากจะมีความรู้สึกโดยการสัมผัสแล้ว ยัง สามารถนึกคิดได้ดีเลิศอีกด้วย รู้จักสิ่งที่ดีและ ชั่ว รู้สึกส�ำนึกตัวได้ว่าสิ่งใดปฏิบัติประพฤติ แล้วสิ่งนั้นจะก่อให้เกิดผลดี สิ่งใดปฏิบัติประพฤติแล้วสิ่งนั้นจะก่อให้เกิดผลร้าย (นงเยาว์ ชาญณรงค์, 2545) ค�ำสอนของพระศาสนจักรคาทอลิก (CCC) ได้ ก ล่ า วถึ ง สิ่ ง ที่ อ ยู ่ ภ ายในตั ว ของ มนุษย์ สิ่งพิเศษที่ส่งผลถึงการแสดงออก คือ “มโนธรรม” โดยกล่าวว่า “ในห้วงลึกของ มโนธรรมของเขา มนุษย์ค้นพบพระบัญญัติ ประการหนึ่งที่เขามิได้เป็นผู้ตั้งขึ้นเอง เสียง ซึ่ ง พร�่ ำ เรี ย กเขาอย่ า งสม�่ ำ เสมอให้ รั ก และ ประกอบความดีหลีกหนีความชั่วนั้น จะพูด กั บ หั ว ใจเขาเมื่ อ ยามเหมาะสม เนื่ อ งด้ ว ย มนุษย์มีกฎที่พระเจ้าทรงจารึกไว้ในหัวใจของ เขา มโนธรรมเป็ น แก่ น แท้ ที่ ลี้ ลั บ ที่ สุ ด ของ มนุษย์และเป็นสักการสถานของเขา ณ ตรง นั้น เขาจะพบกับพระเจ้าตามล�ำพังและเสียง ของพระองค์ก็จะดังก้องกังวานในห้วงลึกนั้น” (CCC#1776) ด้วยเสรีภาพที่มนุษย์มี ซึ่งพระผู้สร้าง

ประทานแก่มนุษย์ เราไม่อาจจะพูดถึงเสรีภาพ ที่จะใช้ผิดๆ ถูกๆ หรือจัดการสิ่งต่างๆ ได้ ตามใจชอบ ขอบเขตที่พระผู้สร้างทรงก�ำหนด ไว้ตั้งแต่แรก ซึ่งแสดงออกเชิงสัญลักษณ์โดย ข้อห้ามมิให้ “กินผลไม้จากต้น” (เทียบ ปฐก 2:16-17) แสดงอย่างชัดเจนว่า เมื่อเกี่ยวกับ โลกธรรมชาติ เราจะต้องอยู่ภายใต้มิใช่เพียง กฎชีววิทยาเท่านั้น แต่ภายใต้กฎศีลธรรมอีก ด้วย ซึ่งจะฝ่าฝืนโดยปราศจากความผิดหามิได้ (SS#34) แสดงให้เห็นว่า ธรรมชาติของแต่ละ สิ่งมีความสัมพันธ์กัน เราจึงควรที่จะตระหนัก ในด้ า นศี ล ธรรม เพื่ อ การพั ฒ นาความเป็ น บุคคลของมนุษย์ต่อไป เพราะฉะนั้น มโนธรรมต้องได้รับการ นิเทศและดุลพินิจทางศีลธรรมของมโนธรรม ต้องชัดเจน มโนธรรมที่ได้รับการหล่อหลอม มาอย่างดีจะเต็มเปี่ยมด้วยความเที่ยงธรรม และความจริง มโนธรรมวินิจฉัยตัดสินตาม เหตุผลอันสอดคล้องกับความดีแท้จริง อัน เป็นพระประสงค์ของพระผู้สร้าง การอบรม ให้การศึกษาแก่มโนธรรมเป็นสิ่งที่ยกเว้นไม่ ได้ส�ำหรับมนุษย์ ผู้ซึ่งต้องเผชิญอิทธิพลไม่ ดีต่างๆ และถูกล่อลวงโดยบาปให้เห็นชอบ ดุลพินิจของตนเองมากกว่าและปฏิเสธค�ำสอน อันทรงอ�ำนาจ (CCC#1783) เนื่ อ งจากว่ า ในปั จ จุ บั น จ�ำนวน

ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2015/2558

49


การหล่อหลอมมโนธรรมตามแบบอย่างนักบุญอิกญาซีโอแห่งโลโยลา

ประชากรโลกเพิ่มมากขึ้น การแบ่งแยกเพื่อ การครอบครองท�ำให้เกิดการแย่งชิงทรัพยากร เพื่อการด�ำรงชีวิตให้สะดวกสบายขึ้น มนุษย์ จึงหาวิธีการต่างๆ เพื่อให้ได้มาซึ่งปัจจัยที่จะ สนองความต้องการให้มากที่สุด โดยมุ่งเน้น เฉพาะชีวิตฝ่ายกายเป็นหลัก น�ำมาซึ่งปัญหา มากมายที่เป็นอันตรายต่อชีวิตฝ่ายจิต เพราะ ลืมนึกคิดถึงชีวิตอีกด้านที่ส�ำคัญกว่า “จิตเป็น นาย กายเป็นบ่าว” คนเราหลงว่าตัวเองฉลาด ได้คิดค้น ประดิษฐ์สร้างสิ่งต่างๆ อีกทั้งยังออก ก�ำหนดกฎเกณฑ์สิ่งผิดถูก ให้สอดคล้องตอบ สนองความต้องการของตนเอง แม้แต่ก�ำหนด กฎหมายให้ อ�ำนาจมนุ ษ ย์ ด ้ ว ยกั น สามารถ พิจารณาตัดสิน ให้มีชีวิตหรือท�ำลายชีวิต รวม ถึงบิดเบือนสิ่งสร้างและกฎแห่งความดีงามที่ เที่ยงตรงอีกด้วย ความเจริญรุ่งเรืองฝ่ายโลก จึงท�ำให้ชีวิตฝ่ายจิตของคนในสังคมถดถอย หากทุกคนไม่ใส่ใจให้ความส�ำคัญอย่างจริงจัง ด�ำเนินชีวิตฝ่ายจิตอย่างไร้ทิศทาง หลงลืม ใส่ใจในด้านมโนธรรมและความนึกคิด หรือ มีการหล่อหลอมที่ส่งเสริมให้คนมีมโนธรรม หลงผิดตามแนวคิดสุขนิยม เสียงที่ออกมาจาก ภายในใจของเขา สันติและความดีงามจะจาง หายจากสังคม เหตุ นี้ ผู ้ วิ จั ย จึ ง ได้ ท�ำการศึ ก ษาการ หล่ อ หลอมมโนธรรมตามแบบอย่ า งนั ก บุ ญ

50

วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

อิกญาซีโอแห่งโลโยลา เพื่อผู้วิจัยและบุคคลที่ สนใจท่านอื่นๆ จะได้ทราบถึงภูมิหลังชีวิตของ ท่านที่เป็นบุคคลธรรมดาซึ่งสามารถเปลี่ยน แปลงตนเองและด�ำเนิ น ชี วิ ต จนได้ รั บ การ แต่งตั้งเป็นนักบุญ รวมถึงการศึกษาแนวคิด เรื่องมโนธรรมและการฝึกปฏิบัติจิต ปัจจัยที่ เกี่ยวข้องกับการหล่อหลอมมโนธรรม เพื่อน�ำ ประยุกต์ใช้ในการหล่อหลอมชีวิตจิตคริสตชน และบุคคลที่เกี่ยวข้อง โดยเฉพาะการน�ำมาใช้ กับตนเอง เพื่อเป็นแบบอย่างที่ดีกับบุคคลอื่น ท�ำให้เกิดการพัฒนาชีวิตฝ่ายจิตได้อย่างเที่ยง ตรง เป็นแนวทางให้คริสตชนหรือบุคคลทั่วไป มีความเข้าใจถึงคุณค่าการด�ำเนินชีวิตอย่างดี งาม โดยมีนักบุญเป็นต้นแบบ และสามารถ น�ำไปใช้เป็นประโยชน์กับพระศาสนจักร วัตถุประสงค์ของการศึกษา 1. เพื่อศึกษาถึงแนวความคิดเรื่อง มโนธรรมของนักบุญอิกญาซีโอแห่งโลโยลา 2. เพื่ อ ศึ ก ษาเรื่ อ งการหล่ อ หลอม มโนธรรมตามแบบอย่างนักบุญอิกญาซีโอแห่ง โลโยลา 3. เพื่อสามารถน�ำไปประยุกต์ใช้ใน การหล่อหลอมมโนธรรม


ปฏิคม วิริยะสมบัติ ออกัสติน สุกีโย ปีโตโย และเจริญ ว่องประชานุกูล

ขอบเขตและวิธีการศึกษา การหล่ อ หลอมมโนธรรมตามแบบ อย่างนักบุญอิกญาซีโอแห่งโลโยลา เป็นการ ศึกษาเชิงเอกสาร (Documentary Research) ท�ำให้ ท ราบถึ ง แนวความคิ ด แนวปฏิ บั ติ และการด�ำเนิ น ชี วิ ต ของนั ก บุ ญ อิ ก ญาซี โ อ แห่งโลโยลา ซึ่งช่วงการด�ำเนินชีวิตของท่าน ผู้ วิจัยได้วางขอบเขตในการศึกษาไว้ดังนี้ 1. ชีวิตส่วนตัวและครอบครัว 2. ชีวิตฝ่ายจิตใจและการกลับใจ 3. ชีวิตการศึกษา 4. ชีวิตการท�ำงาน รวมถึ ง สิ่ ง ที่ ไ ด้ บ รรยายและระบุ ไว้ เกี่ ย วกั บ นั ก บุ ญ อิ ก ญาซี โ อ บรรดาชิ้ น งาน เอกสารที่เกี่ยวข้องและงานเขียนของท่าน เช่น การฝึกปฏิบัติจิตและพระธรรมนูญของคณะ แห่งพระเยซูเจ้า (คณะเยสุอิต) เป็นต้น นิยามค�ำศัพท์เฉพาะ มโนธรรม หมายถึง การตัดสินใน ทางปฏิบัติของสติปัญญาของเราซึ่งท�ำให้เรา ตัดสินใจ ณ บัดนั้นว่า เราควรท�ำสิ่งที่ดีและ หลีกเลี่ยงสิ่งที่เห็นว่าชั่ว เป็นสิ่งที่ช่วยตัดสินว่า กิจการใดกิจการหนึ่งที่ได้กระท�ำไปแล้ว หรือ วางแผนจะท�ำ สอดคล้องกับมาตรฐานทาง ด้านศีลธรรมของแต่ละคนหรือไม่ ในงานวิจัย

นี้ มโนธรรม หมายถึง จิตบริสุทธิ์มีอิสรภาพ ในมนุษย์แต่ละคน เป็นจุดที่รับรู้ด้านศีลธรรม จริยธรรมและจิตใจ ให้สามารถแยกแยะความ ผิดและความถูกของมนุษย์น�ำสู่พฤติกรรม การหล่อหลอมมโนธรรม หมายถึง การอบรมให้การศึกษาแก่มนุษย์แต่ละคนใน เรื่องของการฟังเสียงมโนธรรมหรือเสียงแห่ง ความดี เพื่อที่จะได้มีการรับรู้อย่างฉลาดรอบ คอบ เข้าใจในความถูกต้อง เพื่อว่าทุกๆ การ กระท�ำที่ อ อกมาจากมนุ ษ ย์ ที่ เ ป็ น อิ ส รภาพ อย่ า งแท้ จ ริ ง จะมี สั น ติ ภ ายในจิ ต ใจเมื่ อ ได้ ปฏิบัติ การท�ำให้เป้าหมายเปลี่ยนแปลง เพื่อ กลับใจสู่ความจริงและความดีอย่างต่อเนื่อง ซึ่งมีบ่อเกิดและการตัดสินอย่างแท้จริง คือ หั ว ใจที่ ต ้ อ งกลั บ มาหาพระเจ้ า และที่ จ ะรั ก ความดี เพื่อจะรู้จักวินิจฉัยว่าสิ่งใดเป็นพระ ประสงค์ของพระเจ้า สิ่งใดดีและสิ่งใดเป็น ที่พอพระทัยอันสมบูรณ์พร้อมของพระองค์ (รม. 12:2) นักบุญอิกญาซีโอ หมายถึง นักบุญ อิกญาซีโอแห่งโลโยลา บุคคลผู้ก่อตั้งคณะนัก บวชเยสุอิตหรือคณะแห่งพระเยซูเจ้า ในปี ค.ศ. 1540 ท่านมีความโดดเด่นในด้านการฝึก และสอนเรื่องการฝึกปฏิบัติจิต ท่านได้รับแต่ง ตั้งเป็นนักบุญในปี ค.ศ. 1622

ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2015/2558

51


การหล่อหลอมมโนธรรมตามแบบอย่างนักบุญอิกญาซีโอแห่งโลโยลา

ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. รู้และเข้าใจถึงแนวความคิดเรื่อง มโนธรรมของนักบุญอิกญาซีโอแห่งโลโยลา 2. รู้และเข้าใจการหล่อหลอมมโนธรรมตามแบบอย่ า งนั ก บุ ญ อิ ก ญาซี โ อแห่ ง โลโยลา 3. ผลจากการศึกษา สามารถน�ำไป ประยุ ก ต์ ใช้ ถ่ า ยทอดในชี วิ ต จริ ง และเป็ น ประโยชน์แก่ผู้ศึกษา ผู้วิจัย ผู้ที่สนใจท่านอื่นๆ ต่อไป ผลการศึกษา ค�ำว่า “มโนธรรม” จากเอกสารใน มุมมองด้านประวัติศาสตร์ความคิดเกี่ยวกับ เรื่องมโนธรรมเป็นสิ่งที่ด�ำเนินมาอย่างต่อเนื่อง มุ่งอธิบายให้เข้าใจเรื่องของมโนธรรมตามยุค ตามสมัยนั้นๆ ในพระคั ม ภี ร ์ ส ามารถพบค�ำว่ า มโนธรรม ในพระค�ำภีร์ภาคพันธสัญญาใหม่ ในจดหมายของนักบุญเปาโลถึงชาวโรม ซึ่งค�ำ ที่ปรากฏ คือ Syneidesis ซึ่งหมายถึง จุดที่ รับรู้อย่างเหมาะสมในด้านศีลธรรมและจิตใจ เป็นส่วนหนึ่งในงานสร้างของพระเจ้า ทุกคน ได้รับมาและมีความสามารถที่จะแยกแยะใน ด้านความถูกจากความผิดได้ ในหนั ง สื อ อธิ บ ายพระคั ม ภี ร ์ (NIB

52

วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

Commentary : 441) ได้อรรถาธิบายไว้ว่า นักบุญเปาโลใช้ค�ำว่า มโนธรรม หมายถึง การ กล่าวต�ำหนิหรือการกล่าวโทษของมโนธรรม หลังจากที่บุคคลนั้นได้กระท�ำกิจการที่ผิด ดัง นั้น มโนธรรมในความหมายนี้ จึงเป็นความ สามารถด้านสติปัญญาในการตัดสิน กิจการที่ ได้กระท�ำว่าถูกหรือผิด มโนธรรมในสมัยปิตาจารย์นั้นได้สืบ เนื่องมาจากความคิดเกี่ยวกับมโนธรรมในพระ คัมภีร์ ซึ่งมีพระเยซูคริสตเจ้าเป็นจุดศูนย์กลาง ในการด�ำเนินชีวิต มีผลต่อการด�ำเนินชีวิตด้าน ศีลธรรมของคริสตชน ถ่ายทอดประสบการณ์ ความเชื่อในองค์พระเยซูคริสตเจ้าให้กับคริสตชนในสมัยของตนได้เข้าใจ โดยผ่านทางความ คิดปรัชญาที่โดดเด่นในสมัยนั้น ได้แก่ ลัทธิ สโตอาและลัทธินิยมพลาโต้ใหม่ แนวความคิด ที่ส�ำคัญของปรัชญาดังกล่าวนี้ คือ โลกเป็นส่วน ประกอบที่ มี ก ระบวนการพั ฒ นาจากความ ยุ่งเหยิง (Chaos) ไปสู่ความมีระเบียบ (Cosmos) มโนธรรมด้านศีลธรรมเป็นมโนธรรม ที่ล�้ำลึก (Mystical Conscience) เพราะ เป็นมโนธรรมที่เกิดจากการร่วมเป็นหนึ่งของ คริสตชนในธรรมล�้ำลึกกับสติปัญญาของโลก จักรวาล (Logos) ซึ่งส�ำหรับคริสตชนนั้นก็คือ องค์พระเยซูคริสตเจ้า นอกจากนั้น มโนธรรม ไม่ใช่สิ่งที่พระเป็นเจ้าประทานให้แก่มนุษย์


ปฏิคม วิริยะสมบัติ ออกัสติน สุกีโย ปีโตโย และเจริญ ว่องประชานุกูล

เพียงเท่านั้น แต่ยังเป็นแก่นแท้ที่ลึกที่สุดใน มนุษย์ที่เขาสามารถจะเสวนาและพบปะกับ การประทับอยู่ของพระเป็นเจ้า แนวความคิดในสมัยอัสสมาจารย์ ให้ ความส�ำคัญในสติปัญญาหรือมนัส (Intellect) และให้ ค วามส�ำคั ญ ในเรื่ อ งของน�้ ำ ใจหรื อ เจตจ�ำนง (Will) พระศาสนจั ก รได้ มี ก ารถ่ า ยทอด และสอนว่า มโนธรรมเป็นเกณฑ์วัดความดี ความชั่วของเราแต่ละคนต่อหน้าพระเจ้า ดัง นั้น ทุกคนต้องด�ำเนินชีวิตตามเสียงมโนธรรม เรามีหน้าที่ต้องสร้างมโนธรรมให้ถูกต้องและ เที่ยงตรง ศาสนาคริสต์มีความเชื่อสูงสุดใน องค์พระผู้เป็นเจ้า มโนธรรมทางศาสนาคริสต์ ได้กล่าวไว้และท�ำให้เราได้เห็นถึงมิติแห่งความ สัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับพระเจ้าได้เพิ่มเข้า มาในพระศาสนจักร มโนธรรมในยุคสมัยต่างๆ และการ ให้ ค�ำอธิ บ ายความหมายไว้โดยบุคคลต่างๆ จึงพอสรุปและเข้าใจได้ว่า มโนธรรมเป็นงาน สร้างของพระเจ้า มีอยู่ในมนุษย์ทุกคน มโนธรรมเป็นข้อบ่งชี้ว่า มนุษย์เป็นสัตว์ประเสริฐ แตกต่างจากสิ่งสร้างและสรรพสิ่งมีชีวิตอื่นๆ เป็นส่วนลี้ลับที่มีอิสรภาพในการก�ำหนด การ คิด การพิจารณาและการตัดสินใจ เป็นดัง เสียงบอกหรือสิ่งที่ช่วยชี้ให้มนุษย์เลือกในการ

ท�ำสิ่งต่างๆ ว่า สิ่งใดดีควรท�ำหรือสิ่งใดไม่ดีไม่ ควรท�ำ มโนธรรมเป็นสิ่งที่ท�ำให้มนุษย์มีความ สัมพันธ์ที่ดีกับพระได้ ขณะเดียวกันก็เป็นสิ่ง ที่แยกเราออกจากพระได้เช่นกันหากเราไม่ ปฏิบัติตามและฟังเสียงมโนธรรมที่ดี จากการศึกษาพบว่า ชีวิตส่วนตัวและ ครอบครัวจากชาติก�ำเนิดของนักบุญอิกญาซีโอ ปัจจัยทางพันธุกรรมและลักษณะสภาพ แวดล้อมในวัยเด็ก เป็นสิ่งที่มีอิทธิพลส�ำคัญ ต่อการสร้างรากฐานทางจิตใจและมโนธรรม ให้แก่นักบุญอิกญาซีโอ เป็นที่มาของความ ส�ำรวมใจส่วนตัวและจิตใจที่รู้การไตร่ตรอง ความห้าวหาญเด็ดเดี่ยว มุ่งมั่น ท�ำให้ท่านกล้า หาญที่จะน้อมรับพระประสงค์ของพระเจ้าที่ บังเกิดขึ้นในชีวิตท่าน หลังจากการกลับใจของ นักบุญอิกญาซีโอ ความเปลี่ยนแปลงได้เกิดขึ้น กับชีวิตโดยรวมของท่าน ด้วยการไตร่ตรอง และแสงสว่างแห่งพระหรรษทาน ท่านเห็นว่า จะต้องตัดขาดจากอดีตอย่างสมบูรณ์และเข้า สู่ชีวิตอีกแบบที่แตกต่างกัน จากประสบการณ์ ชีวิตที่ท่านปฏิบัติและการเปลี่ยนแปลงภายใน ของท่าน ท่านได้ใส่ใจในเรื่องของจิตวิญญาณ และได้ถ่ายทอดออกมา เป็นผลงานเขียนที่ มีชื่อเสียง ได้แก่ “การฝึกปฏิบัติจิต” (Spiritual Exercise) ซึ่งเป็นสิ่งที่ยืนยันว่า ท่านได้ให้ ความส�ำคัญกับการหล่อหลอมมโนธรรมและ

ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2015/2558

53


การหล่อหลอมมโนธรรมตามแบบอย่างนักบุญอิกญาซีโอแห่งโลโยลา

การหล่อหลอมต้องได้รับการปฏิบัติ แม้ท่าน จะไม่ ไ ด้ ใ ห้ นิ ยามไว้เ กี่ยวกับค�ำว่ามโนธรรม แต่เรารู้ว่า ท่านมีแนวความคิดและเข้าใจว่า มโนธรรมมีความเกี่ยวข้องและสัมพันธ์กับการ แสดงออกภายนอก มโนธรรมมีความส�ำคัญ ควรที่จะได้รับการดูแลเอาใจใส่และไตร่ตรอง เสมอๆ ส�ำหรั บ ชี วิ ต ทางการศึ ก ษาของนั ก บุญอิกญาซีโอ ท่านรู้ตัวว่าที่ผ่านมานั้น ท่าน ได้เรียนน้อยมาก ดังนั้นท่านจึงตั้งใจที่จะเรียน หนังสืออย่างจริงจัง ท่านสามารถอุทิศตัวของ ท่านให้กับการศึกษา ประสบการณ์และความ ล�ำบากทางการศึกษาของท่านนี้ ได้ช่วยท่าน ในการร่างธรรมนูญของคณะซึ่งได้ระบุว่า นัก ศึกษาเยสุอิตต้องอุทิศตนให้กับการเรียนอย่าง จริงจัง ทั้งนี้เพราะว่าในการเล่าเรียน จ�ำเป็นที่ จะต้องใช้ความพยายามทั้งมวลที่มีอยู่ ท่านได้ เน้นถึงเรื่องของการส่งเสริมให้มีความก้าวหน้า ทางชีวิตฝ่ายจิตและคุณธรรม เรื่องการหล่อหลอมมโนธรรม ใน ค�ำสอนพระศาสนจักรคาทอลิก ได้มีการพูด ถึงและกล่าวสนับสนุนว่า มนุษย์มีสิทธิ์ที่จะ ปฏิบัติตามมโนธรรมและมีอิสรภาพ เพื่อว่าเขา จะได้กระท�ำการตัดสินใจทางศีลธรรมโดยส่วน ตัว “เขาจะต้องไม่ถูกบังคับให้กระท�ำตรงกัน ข้ามกับมโนธรรมของเขา โดยเฉพาะในเรื่อง

54

วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

ที่เกี่ยวกับศาสนา” ด้วยเหตุนี้การหล่อหลอม มโนธรรมเพื่อน�ำไปสู่การปฏิบัติเป็นสิ่งที่จ�ำ เป็ น ในค�ำสอนของพระศาสนจั ก รคาทอลิ ก ผลงานส�ำคัญของนักบุญอิกญาซีโอ คือ การ ก่อตั้ง “คณะแห่งพระเยซูเจ้า” หรือ “คณะ เยสุอิต” ในพระศาสนจักรคาทอลิก การหล่อ หลอมสมาชิกในคณะโดยอาศัยธรรมนูญของ คณะ และหนังสือข้อพิจารณาทั่วไปส�ำหรับ ผู้สมัคร ให้สมาชิกและบุคคลที่จะสมัครเข้า คณะได้เห็นถึงอุดมคติแห่งความยากจน และ เช่ น เดี ย วกั น ได้ มี ก ารกล่ า วถึ ง จิ ต วิ ญ ญาณ โดยให้มีความเจริญก้าวหน้าในคุณธรรม เช่น กิจศรัทธา ความนอบน้อมเชื่อฟัง การควบคุม ประสาทสัมผัส ความยากจน เป็นต้น ความ มุ่งมั่นเพื่อเผยแพร่ศาสนาไปยังประเทศต่างๆ ภายหลังนักบุญอิกญาซีโอเห็นว่า การเทศน์ และการเผยแพร่ ศ าสนาควรที่ จ ะปฏิ บั ติ ใ น สถานศึกษา ต่อบรรดาเยาวชนทั้งหลายด้วย เช่นกัน สิ่งเหล่านี้ได้เน้นถึงการรับใช้พระเจ้า เพื่อช่วยเหลือมนุษย์ทั้งด้านจิตวิญญาณและ ความเป็นอยู่ การท�ำงานของท่านมาจากการ ภาวนาและความสว่างที่ท่านได้รับมาจากพระ เป็นเจ้า ผลจากการสัมภาษณ์พบว่า บาทหลวงผู้อบรมหรือน�ำการเข้าเงียบ มีการน�ำไป ปฏิบัติเมื่อได้มีโอกาสเป็นผู้น�ำอบรมหรือน�ำ


ปฏิคม วิริยะสมบัติ ออกัสติน สุกีโย ปีโตโย และเจริญ ว่องประชานุกูล

การเข้าเงียบ ส่วนมากน�ำวิธีการและปรับใช้ ตามความเหมาะสมกับสภาวะและสภาพใน การใช้ชีวิตที่เร่งรีบ แต่สาระหลักได้เน้นในเรื่อง การพิจารณาไตร่ตรองมโนธรรมและการหล่อ หลอมในเรื่องของชีวิตภายใน เพื่อชีวิตที่มีการ หล่อหลอมจะเกิดการพัฒนาไปในทางที่ดีขึ้น ปัจจุบันรูปแบบและวิธีการให้ความใส่ใจต่อ เรื่องชีวิตจิตมีหลายแนวทาง พบว่า บุคลากร ในคริ ส ต์ ศ าสนาเองได้ มี ก ารศึ ก ษาทดลอง ปฏิบัติและเรียนรู้บ้าง จุดมุ่งหมายคือ การ พยายามท�ำให้ตนเองใกล้ชิดสนิทกับพระเจ้า นั่นเอง พิจารณาถึงสิ่งที่ควรปฏิบัติ และอีก ประการหนึ่งที่ส�ำคัญ คือ การให้พระวาจา ของพระเจ้าเข้ามามีบทบาทในชีวิต “พระ วาจาคือชีวิต เป็นเข็มทิศจากพระเจ้า” ขณะ เดียวกัน ก็ให้มองถึงชีวิตของนักบุญอิกญาซีโอ เป็นแบบอย่าง นั่นคือ สร้างค�ำถามให้กับ ตนเองว่า “ข้าพเจ้าได้ท�ำอะไรเพื่อพระคริสตเจ้า ข้าพเจ้าก�ำลังท�ำอะไรเพื่อพระคริสตเจ้า และข้าพเจ้าสามารถท�ำอะไรเพื่อพระคริสตเจ้า” อาศัยการถามตนเอง ท�ำให้เกิดการคิด พิจารณาตนเอง จะส่งผลและท�ำให้เกิดการ เปลี่ยนแปลงน�ำไปสู่ความดีงาม นั ก บวชคณะเยสุ อิ ต ให้ ค วามส�ำคั ญ และเห็นว่าเป็นเรื่องที่จ�ำเป็นอย่างยิ่งส�ำหรับ ชีวิตคนเรา กับการพิจารณามโนธรรมในการ

ฝึกปฏิบัติจิต ตามแบบอย่างนักบุญอิกญาซีโอ เราซึ่งมีภาระหน้า ที่ กิจกรรมมากมายที่ต้อ ง ปฏิบัติ ท�ำให้ขาดการใส่ใจในเรื่องชีวิตภายใน ของตนเอง ซึ่งย่อมต้องได้รับการหล่อเลี้ยง ให้มีความเข้มแข็งและภูมิต้านทานต่อสิ่งยั่วยุ ต่อสิ่งที่ไม่ดี ในศาสนาอื่นๆ ก็มีวิธีการฝึก ปฏิบัติเช่นกัน การพิจารณามโนธรรมในการ ฝึกปฏิบัติจิตตามแบบอย่างนักบุญอิกญาซีโอ ท�ำให้เรามีสติและเข้าใจ รู้ตัวตนของเราใน ปั จ จุ บั น สามารถน�ำวิ ธี พิ จ ารณามโนธรรม ทั่วไป ไปใช้ปฏิบัติได้ตามขั้นตอนดังนี้ คือ 1. โมทนาคุ ณ พระเป็ น เจ้ า ส�ำหรั บ พระคุณที่ได้รับ 2. วอนขอพระคุ ณ ให้ เราส�ำนึ ก ใน บาปของเราและขอให้ เราหลุ ด พ้ น จากบาป นั้นๆ 3. ส�ำรวจความเป็ น ไปของจิ ต วิญญาณของเรา นับแต่เวลาที่ลุกขึ้นจนถึง เวลาที่ก�ำลังพิจารณาในปัจจุบัน ให้พิจารณา เป็นชั่วโมงๆ ไป หรือจากช่วงระยะเวลาหนึ่ง ถึงอีกระยะหนึ่งก็ได้ โดยให้พิจารณาความคิด ของตน แล้วพิจารณาค�ำพูดและการกระท�ำ ของตนเองตามล�ำดับ 4. ขออภั ย ต่ อ พระเป็ น เจ้ า ส�ำหรั บ ความผิดพลาดที่เราได้กระท�ำ 5. อาศั ย พระหรรษทานของพระ

ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2015/2558

55


การหล่อหลอมมโนธรรมตามแบบอย่างนักบุญอิกญาซีโอแห่งโลโยลา

เป็นเจ้า ตั้งใจที่จะปรับปรุงชีวิตของตนเอง แล้วจบด้วยการภาวนาบท “ข้าแต่พระบิดา” การที่ เราได้ มี โ อกาสตั้ ง ค�ำถามต่ อ ตนเองได้ฝึกปฏิบัติตามแบบอย่าง ซึ่งได้เคยมี ผู้น�ำไปใช้และเกิดผลลัพธ์ที่ดีกับชีวิต การมอง ถึงชีวิตตนเองอย่างสม�่ำเสมอ จะน�ำพาให้เรา ก้าวไปข้างหน้าอย่างดี ดังนั้น แม้เราจะไม่รู้ และคาดเดาอนาคตของเราได้ แต่เราสามารถ ท�ำตัวของเราในปัจจุบันให้ดีได้ และด้วยความ ดีนี้เองจะน�ำพาเราไปสู่อนาคตที่ดีด้วยเช่นกัน การพิ จ ารณาและการหล่ อ หลอม มโนธรรมมี ผ ลต่ อ ชี วิ ต ประจ�ำวั น และสั ง คม ซึ่ ง ไม่ ใช่ ก ฎหมายทางบ้ า นเมื อ งที่ ชี้ ผิ ด ชี้ ถู ก ให้ค�ำตัดสินหรือตามเสียงส่วนใหญ่ได้น�ำพา ไป แต่ เ ป็ น ความดี ง ามในตั ว ของเราที่ เ ป็ น ปัจเจกบุคคลได้น�ำพาไป ทุกคนมีข้อจ�ำกัด และความแตกต่าง แต่ล้วนสามารถเป็นคนดี ที่อยู่ร่วมกันในสังคมได้ เริ่มต้นจากจุดเล็กๆ ที่เรามีส่วนร่วมไปสู่จุดที่ใหญ่ขึ้นสู่สังคมส่วน รวม หากสังคมประกอบด้วยบุคคลซึ่งผ่าน การหล่อหลอมที่ไม่ถูกต้องเที่ยงตรง ไม่มีการ ไตร่ตรองตนเองจ�ำนวนมาก สังคมนั้นจะอยู่ ภายใต้บรรยากาศที่ปราศจากความรัก ความ เข้าใจ และการใส่ใจกันและกัน หากเรามองไป ยังบุคคลที่มีการไตร่ตรองพิจารณามโนธรรม ผ่ า นทางการหล่ อ หลอมมโนธรรมซึ่ ง ไม่ ไ ด้

56

วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

เฉพาะเจาะจงไปยังคริสตชนเท่านั้น หมาย รวมไปถึงคนทั่วไปด้วย เขาจะมีความรอบคอบ กระท�ำสิ่งต่างๆ ด้วยความใส่ใจ ความจริงจัง ความสนใจบุคคลอื่น การกระท�ำสิ่งเหล่านี้ จึงย่อมส่งผลดีต่อสังคม และเช่นเดียวกัน เมื่อ มองถึงชีวิตของนักบุญอิกญาซีโอ เราจะทราบ ว่าท่านได้อ่านศึกษา ท่านมีบุคคลเป็นแบบ อย่าง ท่านใส่ใจชีวิตวิญญาณ และท่านสนใจ ในบุคคลอื่นๆ รอบข้าง ท่านปรารถนาให้มี การหล่อหลอมมโนธรรม ตามความคิดของ ท่านที่เชื่อว่า มโนธรรมมีความเกี่ยวข้องและ สัมพันธ์กับการแสดงออกภายนอก มโนธรรม มีความส�ำคัญควรที่จะได้รับการดูแลเอาใจใส่ และไตร่ตรองเสมอๆ นักบวชคณะเยสุอิตจึง ได้ยึดแนวทางของผู้ก่อตั้งคณะมาปฏิบัติ เพื่อ พัฒนาคนและเพื่อพัฒนาสังคม อภิปรายผล การหล่ อ หลอมมโนธรรมตามแบบ อย่างนักบุญอิกญาซีโอซึ่งผู้วิจัยได้น�ำเสนอ มี ความทันสมัยเหมาะสมกับสถานการณ์ทุกยุค ทุกสมัย นักบุญอิกญาซีโอท่านมุ่งมั่นปฏิบัติ และสัมผัสกับประสบการณ์ตรง ด้วยตัวของ ท่านเอง แม้นว่าท่านมีโอกาสที่จะเลือกด�ำเนิน ชี วิ ต อย่ า งมี เ กี ย รติ ต ามแบบตระกู ล ขุ น นาง เพื่อแสวงหาทรัพย์สมบัติและความสบายฝ่าย


ปฏิคม วิริยะสมบัติ ออกัสติน สุกีโย ปีโตโย และเจริญ ว่องประชานุกูล

โลก แต่ท่านได้ฟังเสียงเรียก ท่านไตร่ตรอง มโนธรรม เลือกการติดตามและท�ำงานเพื่อ พระเยซูคริสตเจ้า คณะเยสุอิตที่ท่านก่อตั้งขึ้น ล้ ว นเป็ น ผลพวงจากความรู ้ ที่ เ กิ ด จากการ ปฏิบัติของท่านและน�ำถ่ายทอดสู่ผู้อื่น ท่าน ปรารถนาจะเห็ น มวลมนุ ษ ย์ ไ ด้ รั บ การหล่ อ หลอมให้มีชีวิตจิตที่ดีงาม เพื่อพระสิริรุ่งโรจน์ ของพระเจ้า มโนธรรมเป็นสิ่งที่ท�ำให้มนุษย์มี ความสัมพันธ์ที่ดีขึ้นกับพระเจ้า เราสามารถ รั บ ทราบได้ โ ดยเอกสารของพระศาสนจั ก ร Gaudium Et Spes (พระธรรมนูญว่าด้วยพระ ศาสนจักรในโลกสมัยนี้) ว่า เสรีภาพเป็นสิ่ง ประเสริฐสักเพียงใด เพราะพระองค์ (พระเจ้า) ทรงพอพระทั ย ปล่ อ ยให้ ม นุ ษ ย์ คิ ด พิ จ ารณา ไตร่ตรองเอง จะได้แสวงหาพระผู้สร้างด้วย ตนเอง แล้วบรรลุถึงความสมบูรณ์พูนสุข โดย สมัครใจ จงรักภักดีต่อพระองค์ ฉะนั้น ศักดิ์ศรี ของมนุษย์จึงเรียกร้องให้เขาท�ำตามที่ได้เลือก อย่างรู้ส�ำนึกและสมัครใจ การอบรม ดู แ ล และหล่ อ หลอม มโนธรรมเป็นความพยายามตลอดชีพ ซึ่งต้อง ใช้ช่วงระยะหนึ่งที่เป็นเรื่องของวัตถุประสงค์ มาตรฐาน พื้นฐานทางศีลธรรม “พระวาจา ของพระเจ้าเป็นอุปกรณ์ เครื่องมือที่ส�ำคัญ ที่สุดในการสร้างและหล่อหลอมมโนธรรมขึ้น เมื่อได้รับการย่อย ดูดซึมจากการศึกษา การ

ภาวนา และการฝึกปฏิบัติของเรา” นั ก บุ ญ อิ ก ญาซี โ อเป็ น แบบอย่ า งที่ ชั ด เจน โดยประสบการณ์ ต รงในชี วิ ต ของ ท่าน มนุษย์ย่อมบรรลุถึงศักดิ์ศรีนี้ เมื่อช่วย ตนเองให้พ้นจากความเป็นทาสตัณหา ท่าน สมัครใจเลือกท�ำความดี เดินมุ่งไปสู่จุดหมาย ปลายทางของตนและหาเครื่องมืออันเหมาะ สมด้วยความฉลาด อาศัยพระหรรษทานของ พระเป็นเจ้าช่วยและการหล่อหลอมมโนธรรม ให้สามารถวินิจฉัยอย่างเที่ยงตรงไม่หลงผิด เพราะเราแต่ละคนจะต้องให้การเกี่ยวกับการ ด�ำเนินชีวิตของเราที่ศาลของพระเป็นเจ้า ตาม ที่ เราได้ ตั ด สิ น ใจเลื อ กกระท�ำดี ห รื อ กระท�ำ ความชั่ว ส่วนหนึ่งของชีวิตนักบุญอิกญาซีโอ เหมือนคนทั่วไปในสมัยนี้ ท่านเต็มไปด้วย กิเลส ท่านท�ำผิดมากมายซ�้ำแล้วซ�้ำอีกตาม วิสัยมนุษย์ เพราะมนุษย์ด�ำเนินชีวิตแบบใช้ สติปัญญาว่าตนเองเฉลียวฉลาดเสมอมา เลือก ตัดสินใจแบบไตร่ตรองหลงผิด แต่ช่วงระยะ เวลาแห่งความยากล�ำบากและจากส่วนหนึ่ง ของการหล่อหลอมที่ท่านรับการถ่ายทอดจาก บรรพบุรุษและสภาพแวดล้อมของครอบครัว ท�ำให้ ท ่ า นได้ ใช้ อิ ส รภาพทางมโนธรรมที่ องค์ พ ระผู ้ เ ป็ น เจ้ า ได้ ท รงมอบให้ ม นุ ษ ย์ ทุ ก คนเท่าเทียมกัน วินิจฉัยตัดสินใจเลือกการ

ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2015/2558

57


การหล่อหลอมมโนธรรมตามแบบอย่างนักบุญอิกญาซีโอแห่งโลโยลา

เปลี่ยนแปลงการด�ำเนินชีวิตของท่าน ความ เชื่อมั่นศรัทธาในพระเจ้าและการสวดภาวนา น�ำมาซึ่งพระหรรษทานและพระเมตตาที่นัก บุญอิกญาซีโอได้รับ นักบุญอิกญาซีโอไม่ยอม ที่จะให้สถานการณ์และเหตุการณ์น�ำพาให้ ไขว้เขว หลงไปสู่หนทางที่ไม่เหมาะสม ในยุค สมัยซึ่งมีแนวความคิดด้านความเชื่อที่แตกต่าง ไปจากพระศาสนจักรคาทอลิกซึ่งก�ำลังแพร่ หลาย ท่านจึงมีความมุ่งมั่นที่จะปกป้องความ เชื่อคาทอลิกเพื่อพระสิริรุ่งโรจน์ของพระเจ้า แนวความคิดเรื่องมโนธรรมของนัก บุญอิกญาซีโอ คือ มโนธรรมมีความเกี่ยวข้อง และสั ม พั น ธ์ กั บ การแสดงออกภายนอก มโนธรรมมี ค วามส�ำคั ญ ควรที่ จ ะได้ รั บ การ ดูแลเอาใจใส่และไตร่ตรองเสมอๆ จึงเป็นการ ดี ยิ่ ง นั ก หากได้ มี ก ารพิ จ ารณาไตร่ ต รอง มโนธรรมสม�่ำเสมอ รู้จักควบคุมตัวของเรา เตื อ นตนเองและเป็ น แบบอย่ า งแก่ บุ ค คล รอบข้ า งเมื่ อ เรามี โ อกาสในสถานการณ์ ใ ด สถานการณ์หนึ่งที่เกิดขึ้น นักบุญอิกญาซีโอ ให้ ค วามสนใจต่ อ ผู ้ อื่ น ปรารถนาที่ จ ะให้ มนุษย์ใกล้ชิดกับพระ ท่านได้เผื่อแผ่สู่ผู้อื่น ผ่านทางคณะนักบวชเยสุอิตที่ท่านก่อตั้งขึ้น ซึ่งท่านเองและสมาชิกผู้ร่วมงานของท่านได้ ท�ำงานทุกอย่างที่สามารถช่วยกิจการของพระ ศาสนจักรหรืองานของศาสนาได้ มนุษย์มีชีวิต

58

วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

จิต มีมโนธรรมที่ต้องการการหล่อหลอม ไม่ ว่าจะมีถิ่นก�ำเนิดที่ใด อยู่ในยุคสมัยใด หากมี ความปรารถนาเพื่อเป็นคนดี แม้ว่านักบุญอิกญาซีโอจะไม่ได้ให้ค�ำ จ�ำกัดความ หรือให้ความหมายว่ามโนธรรม คืออะไร แต่จากการศึกษา ท�ำให้ทราบว่า ท่านมีความเชื่อในพระเจ้าและเข้าใจว่ามนุษย์ สามารถเลือกด�ำเนินชีวิตดีและไม่ดีได้ ผลงาน เรื่องวิธีฝึกปฏิบัติจิต (Spiritual Exercises) ของท่าน ได้ถูกน�ำไปใช้อย่างแพร่หลายใน ด้ า นการหล่ อ หลอมมโนธรรมท่ า นให้ ค วาม ส�ำคัญกับการปฏิบัติ ท่านลงมือปฏิบัติจริงจัง โดยใช้ วิ ธี ก ารพิ จ ารณาไตร่ ต รองมโนธรรม บ่อยๆ หลีกเลี่ยงเพื่อไม่ให้ท�ำบาป สวดภาวนา อ่ า นพระวาจา ทบทวนกิ จ กรรมที่ ก ระท�ำ สม�่ ำ เสมอเพื่ อ เปรี ย บเที ย บและพั ฒ นาให้ ดี ขึ้น ท่านพยายามด�ำเนินชีวิตเลียนแบบอย่าง บรรดานักบุญทั้งหลาย ซึ่งเป็นบุคคลต้นแบบ คนในสั ง คมปั จ จุ บั น สามารถน�ำมาเป็ น แนว ทางปฏิ บั ติ ไ ด้ อาจเป็ น การยากหากเราจะ เลียนแบบพระเยซูเจ้า แต่เป็นไปได้มากกว่า หากเราเลียนแบบมนุษย์ปุถุชนที่เราพบเห็นใน ยุคสมัยใกล้เคียงกับเราในปัจจุบัน เพียงให้เรา มีความกล้าหาญในการเปลี่ยนแปลงชีวิตของ เราเฉกเช่นนักบุญอิกญาซีโอ ปั จ จุ บั น จึ ง ได้ มี ก ารน�ำรู ป แบบการ


ปฏิคม วิริยะสมบัติ ออกัสติน สุกีโย ปีโตโย และเจริญ ว่องประชานุกูล

ฝึกปฏิบัติจิตของนักบุญอิกญาซีโอไปใช้แพร่ หลายและมี ก ารปรั บ เปลี่ ย นระยะเวลาตาม ความเหมาะสม เราจึงต้องมุ่งมั่น หมั่นหล่อ หลอมและไตร่ ต รองมโนธรรมเพื่ อ สามารถ น�ำพาชีวิตตนเองและผู้อื่นในสังคมไปสู่ความดี งามให้ดียิ่งขึ้นได้ ข้อเสนอแนะส�ำหรับการน�ำผลการวิจัยไปใช้ 1. บรรดาบาทหลวง นั ก บวชที่ มี ภาระหน้าที่งานในการอภิบาล โดยเฉพาะ การสอนค�ำสอน การอบรมต่อบรรดาผู้ที่เป็น คาทอลิกและผู้ที่เตรียมตัวจะรับศีลล้างบาป เป็นคาทอลิก ควรเน้นให้เขาได้รับรู้ ให้เขา เห็นความส�ำคัญ ให้คุณค่าแก่ตนเองในด้าน มโนธรรมการหล่อหลอมและการกระท�ำต่อ บุคคลรอบข้างอยู่เสมอ ส่งเสริมกิจกรรมด้าน ชีวิตจิต การพิจารณาไตร่ตรองมโนธรรมเป็น อันดับแรก เมื่อความคิดและมโนธรรมถูกหล่อ หลอมไปในทางที่ดีงาม การกระท�ำ พฤติกรรม ที่แสดงออกภายนอกก็จะดีไปด้วย 2. ผู ้ ที่ มี ส ่ ว นเกี่ ย วข้ อ งในการส่ ง เสริมความเชื่อและศาสนา ควรน�ำจิตตารมณ์ เรื่ อ งราวและผลงานของนั ก บุ ญ อิ ก ญาซี โ อ ถ่ายทอดให้เป็นที่รู้จักมากขึ้น ส่งเสริมน�ำสู่การ ปฏิบัติ ให้บุคคลต่างๆ รู้จักวิธีการไตร่ตรอง และหล่อหลอมมโนธรรมตามแบบอย่างนัก

บุญอิกญาซีโอ เพื่อจะได้มีสติ สมาธิ มุ่งเน้น การปฏิบัติตนและด�ำเนินชีวิตเป็นคริสตชนที่ ดี เป็นแบบอย่างผู้อื่น เพื่อพระสิริรุ่งโรจน์แด่ พระเจ้า บรรณานุกรม กีรติ บุญเจือ. 2542. จริยศาสตร์ส�ำหรับผู้ เริ่มเรียน. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนา พานิช. เชิดชัย เลิศจิตรเลขา. 2548. คริสตจริยศาสตร์พื้นฐาน. กรุงเทพฯ : โรงเรียนดอนบอสโก. ดาลมัสเสส แคนดิโอ เดอ., บาทหลวง. 2532. อิกญาซีโอแห่งโลโยลา ผู้สถานปนาคณะแห่งพระเยซูเจ้า เสาเข็มของเยสุอิต. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์อัสสัมชัญ. สมชัย พิทยาพงศ์พร, บาทหลวง. 2551. พัฒนาการวิถีชีวิตจิตคริสตชน. นครปฐม : ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนา งานวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม. Lewis, Hedwig, S.J.. 2006. St. Ignatius Loyola Retrospective Perspective Reflective. India : Gujarat Sahitya Prakash.

ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2015/2558

59


คุณลักษณะที่พึงสัประสงค์ ของงานจิตตาภิบาลในโรงเรียนคาทอลิก งกัดอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ The Desirable Characteristics of Chaplaincy in Catholic Schools of The Archdiocese of Bangkok. บาทหลวง ผศ.วัชศิลป์ กฤษเจริญ

* บาทหลวงในคริสต์ศาสนจักรโรมันคาทอลิก สังฆมณฑลราชบุรี * ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประจำ�สาขาวิชาคริสตศาสนศึกษา คณะศาสนศาสตร์ วิทยาลัยแสงธรรม

บาทหลวง ดร.ชาติชาย พงษ์ศิริ

* บาทหลวงในคริสต์ศาสนจักรคาทอลิก สังกัดสังฆมณฑลจันทบุรี * อธิการบดีวิทยาลัยแสงธรรม

บาทหลวง ดร.ออกัสติน สุกีโย ปีโตโย, S.J.

* บาทหลวงในคริสต์ศาสนจักรโรมันคาทอลิก สังกัดคณะเยสุอิต * อาจารย์ประจำ�หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทววิทยาจริยธรรม วิทยาลัยแสงธรรม

บาทหลวง ผศ.สมชัย พิทยาพงศ์พร

* บาทหลวงในคริสต์ศาสนจักรโรมันคาทอลิก สังฆมณฑลจันทบุรี * ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประจำ�สาขาวิชาคริสตศาสนศึกษา คณะศาสนศาสตร์ วิทยาลัยแสงธรรม

สุดหทัย นิยมธรรม

* อาจารย์ประจำ�วิทยาลัยแสงธรรม

ศรัญญู พงศ์ประเสริฐสิน

* อาจารย์ประจำ�วิทยาลัยแสงธรรม

Rev.Asst.Watchasin Kritjaroen

* Reverend in Roman Catholic Church, Ratchaburi Diocese. * Assistant Professor, Christian Studies Faculty of Religious, Saengtham College.

Rev.Dr.Chatchai Phongsiri

* Reverend in Roman Catholic Church, Chanthaburi Diocese. * President of Saengtham College.

Rev.Dr.Agustinus Sugiyo Pitoyo, S.J.

* Reverend in Roman Catholic Church, Jesuit. * Lacturer of The Master of Arts Programe in Moral Theology, Saengtham College.

Rev.Asst.Somchai Phitthayaphongphond

* Reverend in Roman Catholic Church, Chanthaburi Diocese. * Assistant Professor, Christian Studies Faculty of Religious, Saengtham College.

Sudthathai Niyomtham

* Lacturer at Saengtham College.

Saranyu Phongpasertsin

* Lacturer at Saengtham College.


วัชศิลป์ กฤษเจริญ ชาติชาย พงษ์ศิริ ออกัสติน สุกีโย ปีโตโย สมชัย พิทยาพงศ์พร สุดหทัย นิยมธรรม และศรัญญู พงศ์ประเสริฐสิน

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาคุณลักษณะที่พึง ประสงค์ของงานจิตตาภิบาลในโรงเรียนคาทอลิก สังกัดอัครสังฆมณฑล กรุงเทพฯ จำ�นวน 36 โรงเรียน ศึกษาจากกลุ่มตัวอย่าง จำ�นวน 32 โรงเรียน ผู้ให้ข้อมูลของแต่ละสถานศึกษาที่เป็นกลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้บริหารโรงเรียน 1 คน ครูหัวหน้างานจิตตาภิบาล 1 คน ครูผู้สอน หรือครูจิตตาภิบาล 3 คน รวมผู้ให้ข้อมูลทั้งสิ้น 160 คน เครื่องมือที่ ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของ งานจิตตาภิบาลในโรงเรียนคาทอลิก สังกัดอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ จำ�นวน 1 ฉบับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าความถี่ (Frequency) ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) และส่วนเบี่ยง เบนมาตรฐาน (S.D.) ผลการวิจัยพบว่า 1. คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของงานจิตตาภิบาลในโรงเรียน คาทอลิก สังกัดอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ มีระดับการปฏิบัติโดยภาพ รวมเป็นลักษณะที่พึงประสงค์อยู่ในระดับมาก (X= 4.17, S.D.=0.78) 2. คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของงานจิตตาภิบาลในโรงเรียน คาทอลิก สังกัดอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ จำ�แนกรายด้าน พบว่าอยู่ใน ระดับมากทุกด้าน ดังนี้ 1) ด้านงานแพร่ธรรม (X=4.30, S.D.=0.73) 2) ด้านงานอภิบาล (X=4.24, S.D.=0.74) 3) ด้านการช่วยเหลือผู้ ยากไร้และด้อยโอกาสทางการศึกษา (X=4.16, S.D.=0.83) 4) ด้าน การจัดการ มาตรฐาน (X=4.15, S.D.=0.75) 5) ด้านบรรยากาศ สิ่งแวดล้อม ทรัพยากร (X=4.14, S.D.=0.92) และ 6) ด้านการจัด กิจกรรมการเรียนรู้ (X=3.98, S.D.=0.87) คำ�สำ�คัญ : 1) โรงเรียนคาทอลิก

2) งานจิตตาภิบาล

ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2015/2558

61


คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของงานจิตตาภิบาลในโรงเรียนคาทอลิก สังกัดอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ

Abstract

The purpose of this research was to find the desirable characteristics of chaplaincy in catholic schools of the archdiocese of bangkok. The samples were 36 basic education catholic schools in the archdiocese of bangkok. The respondents were administrators, assistant administrators and teachers, 160 respondents in total. The research instrument was a questionnaire on The desirable characteristics of chaplaincy in catholic schools. The statistics applied in data analysis were frequency (f), percentage (%), mean (X) and standard deviation (S.D.). The findings revealed as follows : 1. The desirable characteristics of chaplaincy in catholic schools of the archdiocese of bangkok as a whole was at a high level. (X=4.17, S.D.=0.78) 2. The desirable characteristics of chaplaincy in catholic schools of the archdiocese of bangkok when classified by elements found at high levels in all the elements. 1) Apostolate (X=4.30, S.D.=0.73) 2) The Pastoral work (X=4.24, S.D.=0.74) 3) Helping the poor and educationally disadvantaged (X=4.16, S.D.=0.83) 4) Standard Management (X=4.15, S.D.=0.75) 5) Atmospheric Environment Resources (X=4.14, S.D.=0.92) and 6) The learning activities (X=3.98, S.D.=0.87) Keywords : 1) The Catholic Schools

62

วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

2) Chaplaincy


วัชศิลป์ กฤษเจริญ ชาติชาย พงษ์ศิริ ออกัสติน สุกีโย ปีโตโย สมชัย พิทยาพงศ์พร สุดหทัย นิยมธรรม และศรัญญู พงศ์ประเสริฐสิน

ความเป็นมาและความส�ำคัญของปัญหา การศึ ก ษาเป็ น เครื่ อ งมื อ ส�ำคั ญ ส�ำ หรับการพัฒนา เพื่อให้เยาวชนและประชาชน ได้สามารถพัฒนาตนเองอย่างเต็มศักยภาพ และขีดความสามารถของตน มุ่งสู่ความเป็น มนุษย์ที่สมบูรณ์และเป็นบุคคลดี ครอบคลุม การพัฒนาทั้งด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สติปัญญา และสังคม สามารถรับใช้และพัฒนา สังคมที่ตนเป็นสมาชิกด้วยความรับผิดชอบ ประเทศไทยได้ ใ ห้ ค วามส�ำคั ญ ของ การให้ ก ารศึ ก ษาโดยแผนพั ฒ นาเศรษฐกิ จ และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 (ฉบับปัจจุบัน พ.ศ. 2550 – พ.ศ. 2554) ได้มุ่งเน้นความ ส�ำคัญในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ซึ่งถือ ว่าเป็นทรัพยากรหลักที่ส�ำคัญในการพัฒนา ทุกด้าน การพัฒนาประเทศระบุให้ยึดประ ชาชนเป็นศูนย์กลางของการพัฒนา ทางด้าน กฎหมายทางการศึกษาได้แก่ พระราชบัญญัติ การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ได้ระบุไว้ ชัดเจนในมาตรา 6 มาตรา 10 และมาตรา 22 สรุปความว่า การจัดการศึกษาต้องเป็น ไปเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ ทั้งร่างกายและจิตใจ สติปัญญา ความรู้ และ คุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการ ด�ำรงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่าง มีความสุข ต้องจัดให้บุคคลทุกคนไม่ยกเว้น

บุคคลที่มีความบกพร่อง ให้มีสิทธิและโอกาส ได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ต้องยึดหลักว่าผู้ เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนา ตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนมีความส�ำคัญที่สุด ส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ จากวิสัยทัศน์การศึกษาของประเทศ ที่มุ่งพัฒนาคนไทยให้มีคุณลักษณะสมบูรณ์ พร้อม ทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สติปัญญา สังคม คุณธรรม และจริยธรรม เพื่อให้สามารถปรับ ตัวเข้ากับโลกสหัสวรรษใหม่ได้ ในการพัฒนา บุคคลให้มีคุณสมบัติดังกล่าว ต้องใช้วิธีการ ที่เหมาะสมในการพัฒนาสมองให้มีคุณภาพ หากทุ ก ภาคส่ ว นร่ ว มกั น พั ฒ นาศั ก ยภาพ สมองของเยาวชนไทยให้ได้เรียนรู้อย่างเต็ม ประสิทธิภาพ ก็จะสามารถเจริญเติบโตเป็น ผู ้ ใ หญ่ ที่ มี คุ ณ ภาพ มี ค วามสมบู ร ณ์ พ ร้ อ ม เป็ น คนดี ค นเก่ ง ที่ มี ค วามสุ ข และมี ค วามใฝ่ รู้ เป็นทรัพยากรบุคคลที่จะท�ำประโยชน์ต่อ สังคมและประเทศชาติได้อย่างดีต่อไป (ชวนี ทองโรจน์, 2550) การศึ ก ษาคาทอลิ ก เน้ น คุ ณ ค่ า และ ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ โดยให้ความส�ำคัญ ต่อการพัฒนาจิตใจให้เป็นแหล่งแห่งปัญญา และแสงสว่ า งน�ำทางชี วิ ต ด้ ว ยคุ ณ ธรรม และหลั ก ธรรมแห่ ง ค�ำสอนศาสนา โดยยึ ด

ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2015/2558

63


คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของงานจิตตาภิบาลในโรงเรียนคาทอลิก สังกัดอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ

คุณค่าของพระวรสารและปรัชญาการศึกษา คาทอลิกเป็นแก่นของการจัดการศึกษาอบรม งานจิ ต ตาภิ บ าลจึ ง เป็ น ภารกิ จ แห่ ง การมุ ่ ง เอาใจใส่ดูแลบุคคลให้สามารถพัฒนาตนเอง ด้วยความรู้จักตนเองอย่างชัดแจ้ง ในค่านิยม และจิตใจอันดีงาม ในการนี้ คุณลักษณะที่ พึงประสงค์ของงานจิตตาภิบาลในโรงเรียน คาทอลิก จึงเป็นส่วนส�ำคัญส่วนหนึ่งที่ช่วยใน การขับเคลื่อนกระบวนการศึกษาให้เป็นไป อย่างสมบูรณ์ จากการศึกษาวิจัยเรื่อง “บทบาท หน้าที่ที่เป็นจริงและความคาดหวังของการ บริหารจัดการด้านการศึกษา ของฝ่ายการ ศึกษา อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ (วุฒิชัย และคณะ, 2553) พบว่า กลุ่มตัวอย่างซึ่ง เป็นผู้บริหารและครูผู้สอนมีความคาดหวังใน บทบาทหน้าที่ของกลุ่มงานจิตตาภิบาล ใน ระดับมากที่สุด สอดคล้องกับกฤษฎีกาสมัชชา อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ (2005) บทที่ 11 ว่าด้วยเรื่อง การฟื้นฟูงานค�ำสอน มีใจความ ส�ำคัญตอนหนึ่งว่า “พระศาสนจักรท้องถิ่น มีหน้าที่ดูแลเอาใจใส่ ปรับปรุง พัฒนา เพิ่มเติม ศักยภาพในด้านต่างๆ ของครูค�ำสอน เนื้อหา และสื่อค�ำสอนให้เข้ากับยุคสมัย รวมทั้งส่ง เสริมงานค�ำสอนทุกด้านให้มากที่สุดเท่าที่จะ กระท�ำได้” และเพื่อให้การจัดการศึกษานั้น

64

วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

สอดคล้องกับสมณกระทรวงเพื่อการศึกษา คาทอลิก (เอกชัย ชิณโคตร, 2551) ที่กล่าว ว่า “หัวใจของการศึกษาคาทอลิก คือ การอยู่ ร่วมกันฉันพีน่ อ้ ง โรงเรียนสอนเรือ่ งนีด้ ว้ ยวาจา และเน้ น ความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งบุ ค คลให้ แสดงความจริงอันนี้ การศึกษาจึงเป็นการ ชี้น�ำมนุษย์ให้อยู่ร่วมกับผู้อื่นเยี่ยงพี่น้องใน ทุ ก สั ง คมของชี วิ ต ...การศึ ก ษาอบรมที่ แ ท้ จริงคือ การส่งเสริมศักดิ์ศรีของมนุษย์และ การสร้างความสัมพันธ์ที่จริงใจต่อกัน รวม ทั้งเป็นการเปิดตนเองสู่พระสัจธรรม” ฝ่าย จิตตาภิบาลในโรงเรียนคาทอลิกจึงเป็นส่วน ส�ำคั ญ ที่ จ ะตอบสนองต่ อ ปรั ช ญาการศึ ก ษา คาทอลิก สอดคล้องกับงานวิจัยของ นิตยา โจสรรค์นุสนธิ์ (2547) ที่เสนอว่าการปฏิบัติ งานของจิ ต ตาภิ บ าลโรงเรี ย นคาทอลิ ก ที่ ส ่ ง ผลต่อพฤติกรรมทางคุณธรรมจริยธรรมและ ค่านิยมที่พึงประสงค์ของผู้เรียน คือ งานการ สร้ า งและจั ด บรรยากาศสิ่ ง แวดล้ อ มและ ทรัพยากร งานด้านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ งานด้านการอภิบาล งานด้านการแพร่ธรรม และงานช่ ว ยเหลื อ ผู ้ ย ากไร้ ด ้ า นการให้ ก าร ศึกษา และสอดคล้องกับงานวิจัยของ อิทธิพล ศรีรัตนะ (2554) ที่พบว่า บรรยากาศองค์การ ในโรงเรียนคาทอลิก อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ โดยภาพรวมอยู ่ ใ นระดั บ มาก ที่ เ ป็ น เช่ น นี้


วัชศิลป์ กฤษเจริญ ชาติชาย พงษ์ศิริ ออกัสติน สุกีโย ปีโตโย สมชัย พิทยาพงศ์พร สุดหทัย นิยมธรรม และศรัญญู พงศ์ประเสริฐสิน

เพราะในโรงเรี ย นของอั ค รสั ง ฆมณฑล กรุงเทพฯ ทุกโรงเรียนมีฝ่ายจิตตาภิบาล ซึ่ง งานหลักประการหนึ่งของฝ่ายจิตตาภิบาล คือ การสร้างบรรยากาศในโรงเรียน โดยมีการจัด กิจกรรมต่างๆ เป็นประจ�ำและสม�่ำเสมอ นอกจากนี้ ฝ่ายจิตตาภิบาลยังเป็น เอกลั ก ษณ์ อย่างหนึ่งของโรงเรียนคาทอลิก อันเป็นจุดเด่น และจุดที่ควรเน้นเป็นพิเศษ ด้ ว ยเหตุ นี้ ท างคณะผู ้ วิ จั ย จึ ง เล็ ง เห็ น ความ ส�ำคัญของงานในฝ่ายจิตตาภิบาลของโรงเรียน จึ ง เป็ น ที่ ม าของการวิ จั ย ในหั ว ข้ อ “คุ ณ ลั ก ษณะที่ พึ ง ประสงค์ ข องงานจิ ต ตาภิ บ าล ในโรงเรียนคาทอลิก” เพื่อให้เกิดความเข้าใจ ถึงความหมาย ความส�ำคัญ และการเป็นแบบ อย่ า งที่ ดี ข องจิ ต ตาภิ บ าลอย่ า งลึ ก ซึ้ ง และ เพื่อชี้แสดงให้เห็นว่าในการศึกษามีอีกหนึ่ง องค์ประกอบที่ส�ำคัญ ที่สามารถช่วยสร้าง บรรยากาศการเรียนรู้ให้มีประสิทธิภาพมาก ยิ่งขึ้น วัตถุประสงค์ของการวิจัย เพื่อศึกษาคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ของงานจิตตาภิบาลในโรงเรียนคาทอลิก สังกัด อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ

ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง การก�ำหนดกลุ่มตัวอย่าง คณะผู้วิจัย ใช้ตารางประมาณขนาดตัวอย่างของเครจซี และมอร์แกน (Krejcie and Morgan) จาก โรงเรี ย นคาทอลิ ก สั ง กั ด อั ค รสั ง ฆมณฑล กรุ ง เทพฯ ที่ เ ปิ ด ท�ำการสอนหลั ก สู ต รการ ศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 จ�ำนวน ทั้งสิ้น 36 โรง ได้กลุ่มตัวอย่าง 32 โรง แล้วใช้วิธีการสุ่มอย่างง่าย (Simple Random Sampling) ผู ้ ใ ห้ ข ้ อ มู ล ของแต่ ล ะโรงเรี ย นที่ เป็ น กลุ ่ ม ตั ว อย่ า ง เพื่ อ ให้ ไ ด้ ก ลุ ่ ม ตั ว อย่ า ง ตามจ�ำนวนที่ต้องการ โรงเรียนละ 5 คน ประกอบด้วย ผู้บริหารโรงเรียน จ�ำนวน 1 คน ครูหัวหน้างานจิตตาภิบาล จ�ำนวน 1 คน ครูผู้ สอนหรือครูจิตตาภิบาล จ�ำนวน 3 คน รวมผู้ ให้ข้อมูลทั้งสิ้น 160 คน นิยามศัพท์เฉพาะ งานจิตตาภิบาล หมายถึง งานของ จิตตาภิบาลโรงเรียนคาทอลิก ซึ่งประกอบ ไปด้วย งานด้านการอบรมสั่งสอน งานการ ดูแลเอาใจใส่บุคลากรทุกคนในโรงเรียน งาน ที่เน้นคุณค่าด้านจิตใจ เป็นงานที่เสริมสร้าง และพัฒนาผู้เรียน รวมทั้งบุคลากรทุกคนใน โรงเรียนให้เป็นทูตแห่งคุณธรรม ความดีงาม

ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2015/2558

65


คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของงานจิตตาภิบาลในโรงเรียนคาทอลิก สังกัดอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ

ของสังคมไทย มีความรู้ มีการศึกษาที่ดี มี คุณธรรมจริยธรรม ภายใต้บรรทัดฐานของ จิตตารมณ์แห่งความรักและการรับใช้ ผู้บริหาร หมายถึง ผู้อ�ำนวยการ โรงเรียน ผู้จัดการโรงเรียน ผู้ช่วยผู้อ�ำนวยการ ฝ่ายวิชาการ ผู้ช่วยผู้อ�ำนวยการฝ่ายบริหาร ทั่วไป ผู้ช่วยผู้อ�ำนวยการฝ่ายกิจการนักเรียน ผู ้ ช ่ ว ยผู ้ อ�ำนวยการ ฝ่ า ยงานจิ ต ตาภิ บ าล โรงเรียนในสังกัดอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ โรงเรี ย นคาทอลิ ก สั ง กั ด อั ค รสั ง ฆมณฑลกรุงเทพฯ หมายถึง โรงเรียนคาทอลิก แห่ ง อั ค รสั ง ฆมณฑลกรุ ง เทพฯ ที่ เ ปิ ด ท�ำ การสอนหลั ก สู ต รการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน พุทธศักราช 2551 โดยมุขนายกมิสซังโรมัน คาทอลิกแห่งกรุงเทพฯ เป็นผู้รับใบอนุญาต และมอบอ�ำนาจให้บาทหลวงของอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ เป็นผู้แทนผู้รับใบอนุญาต และด�ำเนิ น การบริ ห ารโดยบาทหลวงและ นักบวชคาทอลิก โดยมีผู้ช่วยมุขนายกฝ่าย การศึกษา เป็นผู้ดูแลก�ำกับนโยบายทางการ ศึ ก ษามี โรงเรี ย นที่ จั ด การศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน จ�ำนวน 36 แห่ง และแบ่งเป็น 6 เขตการศึกษา ซึ่งครอบคลุมพื้นที่ 10 จังหวัด ประกอบ ด้วย กรุงเทพฯ นครปฐม พระนครศรีอยุธยา ฉะเชิงเทรา สมุทรปราการ สุพรรณบุรี นครนายก นนทบุรี ปทุมธานี และสมุทรสาคร

66

วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

สรุปผลการวิจัย 1. คุ ณ ลั ก ษณะที่ พึ ง ประสงค์ ข อง งานจิตตาภิบาลในโรงเรียนคาทอลิก สังกัด อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ มีระดับการปฏิบัติ โดยภาพรวมเป็ น ลั ก ษณะที่ พึ ง ประสงค์ ใ น ระดับมาก (X=4.17, S.D.=0.78) 2. คุ ณ ลั ก ษณะที่ พึ ง ประสงค์ ข อง งานจิตตาภิบาลในโรงเรียนคาทอลิก สังกัด อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ จ�ำแนกรายด้าน พบว่าอยู่ในระดับมากทุกด้าน ดังนี้ 1) ด้าน งานแพร่ธรรม (X=4.30, S.D.=0.73) 2) ด้าน งานอภิบาล (X=4.24, S.D.=0.74) 3) ด้าน การช่วยเหลือผู้ยากไร้และด้อยโอกาสทางการ ศึกษา (X=4.16, S.D.=0.83) 4) ด้านการ จัดการ มาตรฐาน (X=4.15, S.D.=0.75) 5) ด้านบรรยากาศ สิ่งแวดล้อม ทรัพยากร (X=4.14, S.D.=0.92) และ 6) ด้านการจัด กิจกรรมการเรียนรู้ (X=3.98, S.D.=0.87) การอภิปรายผล 1. กลุ่มตัวอย่างเห็นว่าคุณลักษณะ ที่พึงประสงค์ของงานจิตตาภิบาลในโรงเรียน คาทอลิ ก สั ง กั ด อั ค รสั ง ฆมณฑลกรุ ง เทพฯ โดยภาพรวมเป็นคุณลักษณะที่พึงประสงค์อยู่ ในระดับมาก ทั้งนี้อาจเป็นเพราะโรงเรียน คาทอลิกในอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ มีการ


วัชศิลป์ กฤษเจริญ ชาติชาย พงษ์ศิริ ออกัสติน สุกีโย ปีโตโย สมชัย พิทยาพงศ์พร สุดหทัย นิยมธรรม และศรัญญู พงศ์ประเสริฐสิน

เตรียมความพร้อมทางด้านงานจิตตาภิบาล มาเป็นระยะเวลานานพอสมควร ทางคณะ ผู้บริหาร คณะครู และนักเรียนให้ความ สนใจและพั ฒ นาศั ก ยภาพด้ า นงานจิ ต ตาภิ บาลเป็นอย่างมาก โดยมีการเข้าร่วมประชุม วางแผนงานจิตตาภิบาลเพื่อทราบแนวทาง ของสภาประมุขบาทหลวงโรมันคาทอลิกแห่ง ประเทศไทย เพื่อวางแนวทางในการท�ำงาน จิตตาภิบาลในโรงเรียนคาทอลิก อีกทั้งแต่ละ โรงเรี ย นในอั ค รสั ง ฆมณฑลกรุ ง เทพฯ มี บาทหลวงที่ด�ำเนินงานจิตตาภิบาลในโรงเรียน หรือมีการแต่งตั้งผู้รับผิดชอบงานจิตตาภิบาล อย่างเป็นรูปธรรม และด�ำเนินงานจิตตาภิบาล อย่างต่อเนื่อง โดยการน�ำกิจกรรมต่างๆ ของ โรงเรียนสอดแทรกงานจิตตาภิบาลลงไปใน งาน/โครงการต่างๆ ของโรงเรียนเพื่อพัฒนา ศักยภาพของนักเรียนให้มีความรู้ ความเข้าใจ ถึงงานอภิบาล เพื่อเตรียมนักเรียนให้เข้าใจ และเข้าถึงงานจิตตาภิบาลตามแนวทางของ อั ค รสั ง ฆมณฑลกรุ ง เทพฯ สอดคล้ อ งกั บ วิสัยทัศน์ของกลุ่มงานจิตตาภิบาลของอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ ที่ว่า “มุ่งมั่นให้สถาน ศึกษาคาทอลิก เป็นฐานประกาศข่าวดี เป็น พยานถึงความรัก การรับใช้ และเมตตาธรรม ดังที่พระคริสตเจ้าทรงเป็นหนทาง ความจริง และชีวิต ประกาศพระคริสตเจ้าแก่บุคลากร

นั ก เรี ย น ผู ้ ป กครอง ขณะเดี ย วกั น พระ ศาสนจักรก็ต้องส่งเสริม และพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม แก่ผู้เรียนทุกคน ให้เข้าถึงคุณค่า ความดีตามความเชื่อของแต่ละศาสนา และ เพื่อสามารถมีชีวิตอยู่ร่วมกันในสังคมอย่าง มีความสุข มีความสมานฉันท์ มีความเข้าใจ ซึ่งกันและกัน อาศัยการเสวนาและส่งเสริม งานด้านศาสนสัมพันธ์” จะเห็นได้ว่า แต่ละ โรงเรียนในอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ พยายาม ที่ จ ะด�ำเนิ น งานตามวิ สั ย ทั ศ น์ ข องกลุ ่ ม งาน จิ ต ตาภิ บ าลของอั ค รสั ง ฆมณฑลกรุ ง เทพฯ เพื่ อ จะได้ มี ค วามเป็ น หนึ่ ง เดี ย วในอั ค รสั ง ฆมณฑลกรุ ง เทพฯ ซึ่ ง ผู ้ บ ริ ห ารและครู จิ ต ตาภิ บ าลให้ ค วามส�ำคั ญ สอดคล้ อ งกั บ งานวิจัยของนิตยา โจสรรค์นุสนธิ์ (2547) ที่ ว่ า การปฏิ บั ติ ง านของจิ ต ตาภิ บ าลโรงเรี ย น คาทอลิ ก โดยภาพรวมและรายด้ า นอยู ่ ใ น ระดับมาก พฤติกรรมทางคุณธรรมจริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ของผู้เรียนโดยภาพ รวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก การปฏิบัติ งานของจิ ต ตาภิ บ าลโรงเรี ย นคาทอลิ ก ที่ ส ่ ง ผลต่อพฤติกรรมทางคุณธรรมจริยธรรมและ ค่านิยมที่พึงประสงค์ของผู้เรียน คือ งานการ สร้ า งและจั ด บรรยากาศสิ่ ง แวดล้ อ มและ ทรัพยากร งานด้านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ งานด้านการอภิบาล งานด้านการแพร่ธรรม

ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2015/2558

67


คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของงานจิตตาภิบาลในโรงเรียนคาทอลิก สังกัดอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ

และงานช่ ว ยเหลื อ ผู ้ ย ากไร้ ด ้ า นการให้ ก าร ศึกษา อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และสอดคล้องกับอิทธิพล ศรีรัตนะ (2554) ที่ว่า บรรยากาศองค์การในโรงเรียนคาทอลิก อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ โดยภาพรวมและ รายด้าน อยู่ในระดับมาก ที่เป็นเช่นนี้เพราะ ในโรงเรี ย นของอั ค รสั ง ฆมณฑลกรุ ง เทพฯ ทุกโรงเรียนมีฝ่ายจิตตาภิบาล ซึ่งงานหลัก ประการหนึ่งของ ฝ่ายจิตตาภิบาล คือ การ สร้ า งบรรยากาศในโรงเรี ย น โดยมี ก ารจั ด กิจกรรมต่างๆ เป็นประจ�ำและสม�่ำเสมอ 2. ด้านงานแพร่ธรรม โดยภาพรวม เป็นคุณลักษณะที่พึงประสงค์อยู่ในระดับมาก และสูงเป็นอันดับแรก (X=4.30, S.D.=0.73) เนื่องจากโรงเรียนคาทอลิกในสังกัดอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ มีการปลูกฝังคุณธรรมความ เชื่อ ความศรัทธาของแต่ละศาสนา โดยมีการ จั ด กิ จ กรรมที่ ส�ำคั ญ ทางศาสนาให้ นั ก เรี ย น ได้เข้าร่วมอย่างสม�่ำเสมอ อีกทั้งมีกิจกรรม ศาสนสัมพันธ์เพื่อสร้างความสัมพันธ์ ความ เข้าใจที่ดีต่อกันด้านความเชื่อ ความศรัทธา โดยให้นักเรียนที่นับถือศาสนาต่างกันเข้าร่วม กิจกรรมในศาสนาที่แตกต่างกัน เพื่อสร้าง ความเข้าใจอันดีในแต่ละศาสนาและปลูกฝัง ให้นักเรียนเคารพความเชื่อในแต่ละศาสนา นอกจากนี้ ผู้บริหารโรงเรียนคาทอลิกในอัคร-

68

วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

สั ง ฆมณฑลกรุ ง เทพฯ นั้ น เป็ น บาทหลวง และนักบวช ดังนั้นความเข้าใจเรื่องงานจิตตาภิบาลจึงเป็นส่วนส�ำคัญและท�ำให้งานด้าน การแพร่ธรรมมีการพัฒนามากยิ่งขึ้น ตาม กฤษฎี ก าสมั ช ชาอั ค รสั ง ฆมณฑลกรุ ง เทพฯ ค.ศ.2005 (2548) บทที่ 11 ว่าด้วยเรื่อง การ ฟื้นฟูงานค�ำสอน โดยมีใจความส�ำคัญตอน หนึ่งว่า “พระศาสนจักรท้องถิ่นมีหน้าที่ดูแล เอาใจใส่ ปรับปรุง พัฒนา เพิ่มเติมศักยภาพใน ด้านต่างๆ ของครูค�ำสอน เนื้อหา และสื่อค�ำ สอนให้เข้ากับยุคสมัย ร่วมทั้งส่งเสริมงานค�ำ สอนทุกด้านให้มากที่สุดเท่าที่จะกระท�ำได้” (ข้อ 92) สอดคล้องกับสมณองค์กรสนับสนุน งานแพร่ ธ รรมแห่ ง ประเทศไทยได้ ใ ห้ ค�ำ แนะน�ำเรื่องการแพร่ธรรมกับเด็กๆ ในฐานะ ครูหรือผู้ให้การอบรมในโรงเรียน สรุปดังนี้ 2.1 การปลุ ก จิ ต ส�ำนึ ก /จิ ต ศรั ท ธา การปลุกจิตส�ำนึกเป็นการสร้างความตระหนัก ให้ เ ด็ ก ๆ ได้ เ ห็ น ถึ ง ความจ�ำเป็ น และความ ส�ำคั ญ ของงานแพร่ ธ รรมและการท�ำหน้ า ที่ แพร่ธรรม ปลุกให้ตื่นจากความเมินเฉยหรือ การไม่รู้ ส�ำนึกแรกคือ เขามาจากไหน พระเจ้า รักและดีต่อเขามากเช่นไร พระเจ้าทรงดีต่อ เขาท�ำไม ส�ำนึกที่สองคือ เขาจะต้องด�ำเนิน ชีวิตอย่างไรและต้องท�ำอย่างไรเพื่อตอบแทน พระคุณของพระองค์ เราจะท�ำการปลุกจิต-


วัชศิลป์ กฤษเจริญ ชาติชาย พงษ์ศิริ ออกัสติน สุกีโย ปีโตโย สมชัย พิทยาพงศ์พร สุดหทัย นิยมธรรม และศรัญญู พงศ์ประเสริฐสิน

ส�ำนึกเด็กๆ ได้อย่างไร การให้ข้อมูล การสร้าง กระแส ด้วยการพูดหรือให้เด็กๆ ได้รับรู้ถึงข่าว คราวงานแพร่ธรรมในที่ต่างๆ ความล�ำบาก ของเพื่อนร่วมโลกในที่ต่างๆ ให้รู้สึกเห็นใจคน ที่ล�ำบากกว่าเราทั้งด้านปัจจัย 4 เป็นต้นคน ที่ขาดความรัก คนที่ต้องการความช่วยเหลือ ทางด้านจิตใจ และที่สูงสุด คือคนที่มีความ ต้องการความช่วยเหลือทางด้านจิตวิญญาณ อาจจะด�ำเนินงานโดยการท�ำนิทรรศการ การ รณรงค์ การพาไปร่วมงานธรรมทูต ไปเยี่ยม ธรรมทูต การเขียนจดหมายหรือการส่งการ์ด ให้ธรรมทูตที่ท�ำงานในสถานที่ต่างๆ การเชิญ ธรรมทูตมาแบ่งปันประสบการณ์ การหาข่าว มาน�ำเสนอในรูปแบบต่างๆ ฯลฯ การสร้าง ศรัทธาให้เด็ก เช่น การให้เด็กๆ สวดภาวนา เพื่องานแพร่ธรรม อย่างน้อยให้สวดวันทามา รีอาวันละ 1 บท การให้สวดสายประค�ำธรรม ทูต เดินรูป 14 ภาคธรรมทูต มิสซาธรรมทูต ฯลฯ 2.2 การให้ความรู้ การให้ความรู้ เกี่ยวกับงานธรรมทูต เป็นการสอนค�ำสอน ด้านธรรมทูต เช่น การท�ำงานของพระเยซูเจ้า การเลือกอัครสาวกมาร่วมงาน การท�ำงาน ของบรรดาอัครสาวกที่ต้องสู้ทนกับความยาก ล�ำบาก โดยคัดเลือกมาจากพระคัมภีร์ ความรู้เกี่ยวกับคณะนักบวชต่างๆ ที่

ท�ำงานแพร่ธรรม ฆราวาสแพร่ธรรม ประวัติ ของนักบุญ มรณสักขี และมิชชันนารี ประวัติ การเผยแพร่ศาสนาคริสต์ในประเทศของเรา ท้องถิ่นของเรา และของสากล ความรู้ ทักษะ วิธีการประกาศข่าวดี 2.3 การปฏิบัติ เมื่อมีศรัทธาและ ความรู้แล้ว ครูควรให้เด็กๆ ได้ปฏิบัติการ อย่างใดอย่างหนึ่งเพื่อน�ำความรู้มาเป็นการ กระท�ำ เช่น การท�ำกิจกรรมประเภทจิต อาสา การช่วยเหลือกิจกรรมในโรงเรียน การ ช่วยเหลือเพื่อนๆ หรือรุ่นน้องในการบริการ ต่างๆ การบริจาคเงินเพื่อเด็กที่ยากจนกว่า การไปเยี่ยมบ้านเด็กก�ำพร้า เด็กพิการ ผู้ป่วย ผู้สูงอายุ การเป็นอาสาสมัครช่วยงานของ โบสถ์ เช่น ช่วยพิธีบูชาขอบพระคุณ ขับร้อง ท�ำความสะอาดโบสถ์ รดน�้ำต้นไม้ แจกและ เก็บหนังสือเพลง การอาสาชวนเพื่อนมาโบสถ์ ชวนเพื่อนเฝ้าศีลมหาสนิท อธิบายบทเพลง และบทภาวนาให้เพื่อนๆ บอกเล่าเรื่องพระ เยซูเจ้าให้เพื่อนฟัง พาเด็กๆ ไปเข้าค่ายกระแส เรียก ไปเที่ยวบ้านอบรมสามเณร บ้านอบรมผู้ ฝึกหัด บ้านนักบวช ศูนย์แพร่ธรรมต่างๆ ฯลฯ 2.4 ความร่วมมือกันในการท�ำงาน/ เป็นน�้ำหนึ่งใจเดียวกัน เพื่อให้การท�ำงานได้ อย่างมีประสิทธิภาพ จะต้องมีการเรียนรู้งาน ของกันและกัน ร่วมมือกัน ประชุมปรึกษา

ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2015/2558

69


คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของงานจิตตาภิบาลในโรงเรียนคาทอลิก สังกัดอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ

หารื อ กั น มี กิ จ กรรมร่ ว มกั น ระหว่ า งกลุ ่ ม ระหว่างโรงเรียน ระหว่างสังฆมณฑล ระหว่าง ทวี ป เครื่ องมือเพื่อการสร้างความร่วมมือ เช่ น วั น ยุ ว ธรรมสากล หนังสือคู่มือต่างๆ อุปกรณ์การฝึกอบรมต่างๆ (น�ำเสนอคณะ ครูสังฆมณฑลราชบุรี วันที่ 17 ก.ค. 2553 : บาทหลวง ผศ.วัชศิลป์ กฤษเจริญ) 3. ด้ า นงานอภิ บ าล มี ร ะดั บ การ ปฏิบตั โิ ดยภาพรวมอยูใ่ นระดับมาก เป็นอันดับ สอง (X=4.24, S.D.=0.77) เนื่องจาก โรงเรียน คาทอลิกในอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ มีการ จัดกิจกรรมงานอภิบาลในโรงเรียนคาทอลิก อย่างสม�่ำเสมอ โดยเฉพาะการฟื้นฟูจิตใจ แก่ ค รู ค าทอลิ ก เป็ น ประจ�ำทุ ก ปี โดยใน โรงเรียนคาทอลิกได้จัดกิจกรรมให้ครูได้เข้า เงียบเพื่อฟื้นฟูชีวิตภายใน หรือให้นักเรียน ได้ร่วมพิธีกรรมในทุกวันศุกร์ต้นเดือน การ ให้นักเรียนได้รับศีลอภัยบาปเป็นประจ�ำทุก เดือน การฝึกขับร้องเพลงศักดิ์สิทธิ์ การฝึก เป็นผู้อ่านพระคัมภีร์และช่วยพิธีกรรม การ ได้รับการอบรมและส่งเสริมความเชื่อ ความ ศรัทธาตามความเชื่อของแต่ละศาสนา/เข้า ร่วมกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม กิจกรรมต่างๆ เหล่านี้ล้วนส่งเสริม งานด้านการอภิบาลให้พัฒนาครูและนักเรียน ได้ อ ย่ า งมาก ภารกิ จ หลั ก ของงานอภิ บ าล

70

วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

โรงเรียนคาทอลิก คือการจัดกิจกรรมส่งเสริม จริยธรรม สร้างบรรยากาศไปสู่ผู้เรียนและผู้ เข้าร่วมโครงการทุกคนด้วยการเป็นพยานถึง องค์พระคริสตเจ้าในทุกๆ สถานการณ์ที่อยู่ ต่อหน้าเรา เพื่อให้สอดคล้องและตอบสนอง นโยบายของพระศาสนจักรในปัจจุบัน โดยส่ง เสริมให้นักเรียนและผู้เข้าร่วมโครงการ ได้เห็น ความส�ำคัญของการพัฒนาชีวิต ด้านคุณธรรม และจริยธรรมขั้นพื้นฐาน เพื่อน�ำมาสู่ความ รับผิดชอบ การรวมพลังเป็นหนึ่งเดียว ความ รับผิดชอบ ความยุติธรรม ความมีระเบียบ วินัยทั้งต่อตนเองและสังคม สอดคล้องกับ คู่มือแนวทางการพัฒนางานจิตตาภิบาลของ โรงเรียนคาทอลิกในอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ (ฉบับปฏิบัติการขั้นต้น, 2545) ที่ว่า กรอบ งานด้านการอภิบาล เป็นงานด้านการอบรม สั่งสอนและการปกครองดูแลเด็กและเยาวชน รวมทั้ ง บุ ค ลากรทุ ก คนในโรงเรี ย นและผู ้ ปกครอง กรอบงานด้าน การอภิบาล ประกอบ ด้วย 2 งานหลักที่ส�ำคัญ คือ 3.1 งานด้ า นพระวาจา หรื อ การ สอนคริ ส ตศาสนธรรม เป็ น งานพั ฒ นา ทรัพยากรมนุษย์ทั้งครบ ตั้งแต่ผู้บริหาร เด็ก และเยาวชน บุคลากรและผู้ปกครอง เพื่อ ให้ พ ระวาจาของพระเจ้ า ได้ เจริ ญ งอกงาม ในชี วิ ต ของทุ ก คนที่ อ ยู ่ ใ นสถานศึ ก ษา ซึ่ ง


วัชศิลป์ กฤษเจริญ ชาติชาย พงษ์ศิริ ออกัสติน สุกีโย ปีโตโย สมชัย พิทยาพงศ์พร สุดหทัย นิยมธรรม และศรัญญู พงศ์ประเสริฐสิน

สามารถปรากฏให้เห็นได้ด้วยการเป็นแบบ อย่างในการด�ำเนินชีวิตที่ดี รวมทั้งงานปรับ ปรุงและพัฒนาหลักสูตรการสอนคริสตศาสนธรรมด้วย โดยมุ่งเน้นที่บาทหลวง นักบวช ผู้บริหาร ต้องเป็นแบบอย่างในการด�ำเนิน ชี วิ ต ที่ เ ปี ่ ย มด้ ว ยจิ ต ตารมณ์ ข องความรั ก และการรั บ ใช้ ให้ ค วามส�ำคั ญ กั บ งานจิ ต ตาภิ บ าลเป็ น อั น ดั บ ต้ น และควรมี ชั่ ว โมง สอนคริ ส ตศาสนธรรมอย่ า งชั ด เจน ครู ทุ ก คนในโรงเรียนต้องได้รับการสอนคริสตศาสนธรรมหรือจริยธรรมตามความเชื่อของแต่ละ ศาสนา มีการสร้างความเป็นหนึ่งเดียวกันใน กลุ่ม ด้วยการอบรมหรือมีกิจกรรมท�ำร่วม กั น และที่ ส�ำคั ญ คื อ ต้ อ งเป็ น แบบอย่ า งใน การด�ำเนินชีวิตที่ดี นักการภารโรงทุกคน ไม่ ว่านับถือศาสนาใด ต้องได้รับความยุติธรรม ในด้ า นค่ า แรงและสวั ส ดิ ก ารและได้ รั บ การ ฟื ้ น ฟู จิ ต ใจด้ ว ย นั ก เรี ย นทุ ก คนต้ อ งได้ รั บ การอบรม ส่งเสริมและพัฒนาความเชื่อตาม ศาสนาที่ ต นนั บ ถื อ เพื่ อ น�ำไปสู ่ ก ารด�ำเนิ น ชีวิตที่ดี และมีความสุขในการด�ำเนินชีวิต อีก ทั้งงานสร้างสัมพันธ์ชุมชน ผู้ปกครอง โบสถ์ และโรงเรี ย น เป็ น การสร้ า งความสั ม พั น ธ์ และความร่วมมือที่ดีต่อกันระหว่างผู้ปกครอง ชุมชน วัด และโรงเรียน ในการพัฒนาเด็กและ เยาวชนให้เป็นบุคคลที่สมบูรณ์ต่อไป ในขณะ

เดียวกันก็เน้นการพัฒนาผู้ปกครองคาทอลิก ให้ตระหนักถึงการเป็นแบบอย่างที่ดีในด้าน ความเชื่อ ความศรัทธาต่อบุตรหลาน งาน ด้านการสอนพระคริสตธรรมยังประกอบด้วย งานปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรคริสตศาสนธรรม เป็นการพัฒนาหลักสูตรการสอนคริสตศาสนธรรมที่เน้นพระคัมภีร์และคุณค่าของ พระวรสารมากกว่าการท่องจ�ำ มีการก�ำหนด ชั่วโมงสอนที่ชัดเจน มีโครงสร้างหลักสูตรของ โรงเรียน มีการพัฒนาแนวการจัดกิจกรรมที่ หลากหลายเน้นคุณค่าพระวรสาร การพัฒนา สื่อ อุปกรณ์การสอน พร้อมทั้งมีการวัดผล และประเมินผลในรูปแบบที่หลากหลายไม่ใช่ เพื่อการสอบอย่างเดียว 3.2 งานด้านศีลศักดิ์สิทธิ์ เน้นงาน ด้านการให้ความรู้ การเตรียม และให้บริการ ศีลศักดิ์สิทธิ์ รวมไปถึงการให้ค�ำแนะน�ำและ ดูแลชีวิตฝ่ายจิตให้กับนักเรียน ครู บุคลากร ทุกคน และผู้ปกครองที่เป็นคาทอลิก นอกจาก นี้ยังรวมถึงงานด้านพิธีกรรมต่างๆ และกิจกรรมทางศาสนาด้วย การพัฒนาคุณธรรม จริ ย ธรรมจะขาดไม่ ไ ด้ ซึ่ ง งานด้ า นกิ จ กรรม ต่างๆ เช่น กิจกรรมตามเทศกาลเป็นกิจกรรม ตามปีพิธีกรรม รวมไปถึงกิจกรรมเสริมที่เกี่ยว ข้องกับศีลศักดิ์สิทธิ์ และพิธีกรรมฉลองนักบุญ องค์อุปถัมภ์ของโรงเรียน กิจกรรมคาทอลิก

ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2015/2558

71


คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของงานจิตตาภิบาลในโรงเรียนคาทอลิก สังกัดอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ

เน้นกิจกรรมที่ให้นักเรียนทั้งที่เป็นคาทอลิก และไม่เป็นคาทอลิกเข้าร่วมด้วย ไม่ว่าจะเป็น กิจกรรมกองหน้าร่าเริง พลศีล ยุวธรรมทูต และอื่นๆ กิจกรรมลูกเสือเน้นที่ผู้ให้การอบรม จะได้เป็นแบบอย่างที่ดี ไม่ว่าจะด้วยค�ำพูด หรือเพลงที่น�ำมาเสนอเพื่อความสนุกสนาน ต้องไม่ใช่แง่มุมที่จะน�ำไปทางที่ไม่ดี การเสริม คุณค่าพระวรสารลงไปในกิจกรรมต่างๆ และ มี ว จนพิ ธี ก รรมเสริ ม ในพิ ธี เ ปิ ด และปิ ด ด้ ว ย หรือมีการน�ำภาวนาก่อนเริ่มกิจกรรม รวม ทั้งการสร้างความตระหนักในคุณค่าของพระ วรสารสู่ความหมายของกฎและค�ำปฏิญาณ ลูกเสือ 4. ด้ า นการจั ด กิ จ กรรมการเรี ย น รู้ มีระดับการปฏิบัติโดยภาพรวมอยู่ในระดับ มาก เป็นอันดับสุดท้าย (X=3.98, S.D.=0.87) เนื่ อ งจากการจั ด กิ จ กรรมการเรี ย นรู ้ ใ นโรง เรียนคาทอลิกของอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ นั้ น มี กิ จ กรรมที่ ห ลากหลายเพื่ อ มุ ่ ง เน้ น ให้ นักเรียนได้พัฒนาศักยภาพทั้งครบ เพื่อเป็น มนุษย์ที่สมบูรณ์ โรงเรียนคาทอลิกมีลักษณะ เฉพาะ คือ สร้างบรรยากาศในโรงเรียนให้ มี ชี วิ ต ชี ว าด้ ว ยจิ ต ตารมณ์ สร้ า งเสรี ภ าพ และความรั ก ในแบบพระวรสารที่ มุ ่ ง ช่ ว ย เด็กและเยาวชนให้พัฒนาบุคลิกภาพ เป็น บุคคลที่สมบูรณ์มากขึ้น โรงเรียนคาทอลิก

72

วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

อบรมนั ก เรี ย นของตนให้ ท�ำงานอย่ า งเกิ ด ผลเพื่ อ ประโยชน์ ข องประเทศ นอกจากนี้ โรงเรี ย นคาทอลิ ก ยั ง มี ลั ก ษณะพิ เ ศษอี ก คื อ เป็นโรงเรียนที่เน้นให้นักเรียนรู้จักบังคับตัว เอง มีระเบียบวินัย โดยถือว่า การบังคับตัว เองนั้ น จะน�ำไปสู ่ ค วามส�ำเร็ จ ทางโลกและ ทางจริ ย ธรรม ลั ก ษณะพิ เ ศษของโรงเรี ย น คาทอลิ ก ตั้ ง อยู ่ บ นพื้ น ฐานของความเชื่ อ ทางศาสนาที่ ป ระยุ ก ต์ เ ข้ า กั บ วั ฒ นธรรม พัฒนามนุษย์ทั้งครบ ทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สังคม โดยการสร้างบรรยากาศทางการเรียน ให้เกิดเป็นวัฒนธรรมแห่งการเรียนรู้ที่มีหลัก บนความเชื่อทางศาสนา โดยมีพระคริสตเจ้า เป็นแบบฉบับ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดย เฉพาะการบูรณาการความรู้ด้านศาสนาลง ไปในรายวิชาต่างๆ นั้น ท�ำได้ค่อนข้างยาก เพราะต้ อ งมี ก ารประชุ ม คณะครู เ พื่ อ เขี ย น หลักสูตร เป็นการบูรณาการความรู้ ความ เชื่อทางศาสนาลงไปในการเรียนการสอน ซึ่ง ในโรงเรี ย นคาทอลิ ก พยายามที่ จ ะเพิ่ ม เติ ม การเรียนการสอนโดยเฉพาะวิชาด้านศาสนา ลงไปในคาบเรียน เพื่อให้นักเรียนได้มีการ เรียนรู้อย่างต่อเนื่องทุกสัปดาห์ สอดคล้องกับ คู่มือแนวทางการพัฒนางานจิตตาภิบาลของ โรงเรียนคาทอลิกในอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ (ฉบับปฏิบัติการขั้นต้น, 2545) ที่ว่า กรอบ


วัชศิลป์ กฤษเจริญ ชาติชาย พงษ์ศิริ ออกัสติน สุกีโย ปีโตโย สมชัย พิทยาพงศ์พร สุดหทัย นิยมธรรม และศรัญญู พงศ์ประเสริฐสิน

งานด้านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ งานด้าน วิชาการและการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ถือ เป็นหัวใจส�ำคัญของการจัดการศึกษา จุดเน้น ของงานด้านวิชาการของโรงเรียนคาทอลิก มุ่งเน้นที่จะให้ผู้เรียนได้พัฒนาในทุกมิติตาม จิตตารมณ์ของปรัชญาการศึกษาคาทอลิก ที่ มุ่งเน้นการพัฒนาผู้เรียนไปสู่ความสมบูรณ์ใน ทุกมิติ ไม่ว่าจะเป็นด้านสติปัญญา ร่างกาย อารมณ์ สังคม จิตใจ และที่ส�ำคัญคือ จิตวิญญาณของความดี ด้วยเหตุนี้ จุดเด่นและ เป้าหมายของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้คือ การมุ่งให้ผู้เรียนมีคุณธรรมน�ำความรู้คู่ความ สุข มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้ได้รับการพัฒนาเต็ม ตามศักยภาพตามความสามารถของผู้เรียน ให้ผู้เรียนมีสุนทรียภาพในชีวิตไม่ว่าจะเป็น สุนทรียภาพในด้านศิลปะ ดนตรี กีฬา และ สุนทรียภาพในด้านความสงบฝ่ายจิตใจ รวม ไปถึงการมุ่งพัฒนาผู้เรียนให้สามารถน�ำคุณค่า ของความดี ความรู้ และทักษะความสามารถ ต่างๆ ที่ได้รับการฝึกฝนน�ำไปใช้ในชีวิตประจ�ำ วั น ในกรอบงานด้ า นการจั ด กิ จ กรรมการ เรี ย นรู ้ มุ ่ ง เน้ น พั ฒ นากิ จ กรรมการเรี ย นรู ้ ใ น เรื่องต่อไปนี้ คือ 1) การบูรณาการจริยธรรม ในทุกกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน และในทุกกลุ่ม สาระการเรียนรู้ โดยการบูรณาการคุณธรรม จริ ย ธรรมเข้ า ไปในเนื้ อ หาสาระการเรี ย น

รู้ ตั้งแต่จุดประสงค์การเรียนรู้ กิจกรรมการ เรียนรู้ และการวัดและประเมินผลการเรียน รู้ 2) การน�ำคุณค่าพระวรสารลงสู่กิจกรรม การเรียนรู้ โดยการบูรณาการคุณค่าของพระ วรสารลงไปในเนื้อหาวิชาในทุกโอกาสตาม ความเหมาะสม โดยเฉพาะอย่างยิ่งคุณค่าพระ วรสารในเรื่องของความรัก การแบ่งปัน และ การรับใช้ 3) การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ และ กิจกรรมเสริมหลักสูตร ที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียนมี วิจารณญาณ เท่าทันต่อปัญหาในสังคม รู้จัก คิด แยกแยะความถูกผิดได้จากสถานการณ์ และปัญหาที่เกิดขึ้น รู้จักการยอมรับตนเอง และผู้อื่น ยอมรับในความแตกต่างกันระหว่าง บุ ค คลและคุ ณ ค่ า ทางวั ฒ นธรรม และได้ มี โ อกาสแสดงออกในด้ า นความคิ ด ความ สามารถอย่ า งอิ ส ระ ภายใต้ ก ารเคารพถึ ง คุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ และ 4) จั ด หลั ก สู ต รครอบครั ว ศึ ก ษาให้ เ หมาะ สมกับวัย มุ่งเน้นการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ และบรรยากาศของครอบครัวที่เต็มเปี่ยมไป ด้วยความอบอุ่น ความเข้าใจกัน ให้เกิดขึ้น ในห้องเรียน ในทุกระดับชั้นและจัดกิจกรรม และสื่อการเรียนการสอนให้เหมาะสมกับวัย รวมทั้งมีการให้ค�ำปรึกษาและแนะแนวทางใน การปฏิบัติตนที่เหมาะสม

ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2015/2558

73


คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของงานจิตตาภิบาลในโรงเรียนคาทอลิก สังกัดอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ

ข้อเสนอแนะจากการวิจัย 1. ควรศึ ก ษาคุ ณ ลั ก ษณะที่ พึ ง ประสงค์ ข องงานจิ ต ตาภิ บ าลในโรงเรี ย น คาทอลิกทุกสังฆมณฑล 2. ควรศึกษาระบบงานของจิตตาภิ บ าลในโรงเรี ย นที่ ป ระสบความส�ำเร็ จ ใน การด�ำเนินงานจิตตาภิบาล และน�ำมาสร้าง เป็นแนวทางในการปฏิบัติที่ดีและเผยแผ่ต่อ โรงเรียนเรียนคาทอลิกในทุกสังกัดต่อไป บรรณานุกรม นิตยา โจสรรค์นุสนธิ์. 2547. งานของจิตตาภิบาลในโรงเรียนคาทอลิกที่ ส่งผลต่อคุณธรรมจริยธรรมและ ค่านิยมที่พึงประสงค์ของผู้เรียน. ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศิลปากร. ฝ่ายงานจิตตาภิบาล อัครสังฆมณฑล กรุงเทพฯ. 2545. คู่มือแนวทาง การพัฒนางานจิตตาภิบาลของ โรงเรียนคาทอลิกในอัครสังฆมณฑล กรุงเทพฯ. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ อัสสัมชัญ.

74

วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ ฝ่ายการศึกษา. 2545. คู่มือแนวทางการพัฒนา งานจิตตาภิบาลของโรงเรียนในอัคร สังฆมณฑลกรุงเทพฯ (ฉบับปฏิบัติ การขั้นต้น). กรุงเทพฯ : บริษัท พี.ที.เอ.เบสท์ซัพพลาย จ�ำกัด. วุฒิชัย อ่องนาวา และคณะ. 2553. บทบาท หน้าที่ที่เป็นจริงและความคาดหวัง ของการบริหารจัดการด้านการ ศึกษา ของฝ่ายการศึกษา อัคร สังฆมณฑลกรุงเทพฯ. วารสาร วิชาการวิทยาลัยแสงธรรม, 2(1) : 105-131. อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ. 2548. กฤษฎีกา สมัชชาอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ ค.ศ. 2005. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ อัสสัมชัญ. อิทธิพล ศรีรัตนะ. 2554. การบริหารโดย ใช้โรงเรียนเป็นฐานกับบรรยากาศ องค์การในโรงเรียนคาทอลิก อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ. วารสารวิชาการวิทยาลัยแสงธรรม, 3(1) : 37-56.


จสำ�หรัากกาลิ ลีสู่เยรูซาเล็ม : คุณธรรมความนอบน้อมเชื่อฟัง บบาทหลวง ผู้ติดตามพระคริสต์ (มก 8:27-10:52)

From Priests Galilee to Jerusalem : The Virtue of Obedience for as Disciples of Christ (MK 8:27-10:52). บาทหลวงกรณ์ อดิเรกวุฒิกุล

* บาทหลวงในคริสต์ศาสนจักรโรมันคาทอลิก อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ * มหาบัณฑิตสาขาวิชาเทววิทยาจริยธรรม วิทยาลัยแสงธรรม

มุขนายก ดร.ลือชัย ธาตุวิสัย

* ประมุขแห่งสังฆมณฑลอุดรธานี * อาจารย์ประจำ�หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทววิทยาจริยธรรม วิทยาลัยแสงธรรม

บาทหลวงสมเกียรติ ตรีนิกร

* บาทหลวงในคริสต์ศาสนจักรโรมันคาทอลิก อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ * อาจารย์ประจำ�คณะศาสนศาสตร์ วิทยาลัยแสงธรรม

Rev.Korn Adirekwutthikul

* Reverend in Roman Catholic Church, Bangkok Archdiocese. * Master of Arts Programe in Moral Theology, Saengtham College.

Bishop Dr.LueChai Thatwisai

* Bishop of Udonthani Diocese. * Lacturer of The Master of Arts Programe in Moral Theology, Saengtham College.

Rev.Somkiat Trinikorn

* Reverend in Roman Catholic Church, Bangkok Archdiocese. * Lacturer at Faculty of Religious, Saengtham College.


จากกาลิลีสู่เยรูซาเล็ม : คุณธรรมความนอบน้อมเชื่อฟังสำ�หรับบาทหลวง ผู้ติดตามพระคริสต์ (มก 8:27-10:52)

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษา วิเคราะห์ และ ตีความตัวบทพระวรสารตามค�ำบอกเล่านักบุญมาระโก บทที่ 8:2710:52 ในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับเรื่องคุณธรรมความนอบน้อมเชื่อ ฟั ง จากค� ำ สั่ ง สอนของพระเยซู เจ้ า บนเส้ น ทางเดิ น จากกาลิ ลี สู ่ ก รุ ง เยรูซาเล็ม และ 2) เพื่อประยุกต์ค�ำสอนของพระเยซูเจ้าที่ทรงอบรม สั่งสอนบรรดาศิษย์ จากพระวรสารตามค�ำบอกเล่าของนักบุญมาระโก บทที่ 8:27-10:52 มาเป็นแนวทางส�ำหรับการไตร่ตรองและการปฏิบัติ คุณธรรมความนอบน้อมเชื่อฟังส�ำหรับบาทหลวง ผลการวิจัยพบว่า 1. คุณธรรมความนอบน้อมเชื่อฟังจากค�ำสั่งสอนของพระเยซู เจ้า บนเส้นทางเดินจากกาลิลีสู่กรุงเยรูซาเล็ม มีกุญแจส�ำคัญอยู่ที่พระ ด�ำรัสของพระบิดาที่ตรัสบนภูเขาสูงให้อัครสาวกต้องเชื่อฟังและปฏิบัติ ตามค�ำสั่งสอนของพระเยซูเจ้า 2. คุณธรรมความนอบน้อมเชื่อฟังที่ปรากฏอยู่บนเส้นทาง เดิ น จากกาลิ ลี สู ่ ก รุ ง เยรู ซ าเล็ ม สามารถน� ำ มาเป็ น แนวทางในการ ไตร่ตรองและปฏิบัติเรื่องคุณธรรมความนอบน้อมเชื่อฟังของบาทหลวง ได้ ค�ำส�ำคัญ :

Abstract

76

1) ความนอบน้อมเชื่อฟัง 2) บาทหลวง 3) คาทอลิก

The purposes of this research were to find : 1) The meaning of the virtue of Obedience accoding to the Sermon On the Way from Galilee to Jerusalem (MK. 8:27-10:52) and 2) To apply the teaching of Jesus about the virtue of Obedience for the reflections and practice for priests. The results of the study were : 1. The key of the teaching of Obedience, On the

วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม


กรณ์ อดิเรกวุฒิกุล ลือชัย ธาตุวิสัย และสมเกียรติ ตรีนิกร

Way from Galilee to Jerusalem, is based on God’s speech on the high mountain, which commands the disciples to obey the teaching of Jesus. 2. Virtue of Obedience On the Way from Galilee to Jerusalem, could be apply for reflection and practice for priests. Keywords : 1) Obedience 2) Priests

ความเป็นมาและความส�ำคัญของปัญหา พระวรสารตามค� ำ บอกเล่ า ของ นักบุญมาระโก ในบทที่ 8:27-10:52 เป็นพระ วรสารที่บรรดานักวิชาการพระคัมภีร์ยอมรับ กันอย่างกว้างขวางว่าเป็น “เส้นทางการอบรม ศิ ษ ย์ ข องพระเยซู เจ้ า ” บรรดานั ก วิ ช าการ พระคัมภีร์ยังได้ให้ข้อสังเกตเกี่ยวกับภาพของ บรรดาอัครสาวกผู้ติดตามพระเยซูเจ้าในพระ วรสารตามค�ำบอกเล่าของนักบุญมาระโก โดย เฉพาะอย่างยิ่งของบรรดาศิษย์ที่ปรากฏบน เส้นทางการเดินทางจากกาลิลีสู่กรุงเยรูซาเล็ม ที่ แ ตกต่ า งจากภาพของศิ ษ ย์ ใ นพระวรสาร ฉบับอื่นๆ อย่างชัดเจน กล่าวคือ มาระโกไม่ ได้ บ รรยายถึ ง ภาพของศิ ษ ย์ ใ นแบบอุ ด มคติ หรือในแบบที่ศิษย์ควรเป็นแบบอย่างเหมือน ในพระวรสารฉบับอื่นๆ เพราะท่านได้ให้ภาพ ของศิษย์ในรูปแบบที่พวกเขาเป็นจริงๆ คือ มี ความอ่อนแอ มีความไม่สมบูรณ์ มีความไม่

3) Catholic

เข้าใจ มีความสงสัย มีความรู้สึกและความเห็น ที่ขัดแย้งกับค�ำสอนของพระเยซูเจ้าอาจารย์ ของพวกเขา และมี เจตนาที่ จ ะให้ ศิ ษ ย์ ที่ มี คุณสมบัติแบบนี้มาเป็นผู้ร่วมเดินบนเส้นทาง แห่งไม้กางเขนของพระเยซูเจ้า ในสมณสาส์น “ความรุ่งโรจน์แห่ง ความจริง” (VERITATIS SPLENDOR) (ยอห์น ปอล ที่ 2, 1993) พระสันตะปาปา ยอห์น ปอลที่ 2 ยังได้ตรัสถึงการติดตามพระเยซูเจ้า บนเส้ น ทางแห่ ง ไม้ ก างเขนของพระเยซู เจ้ า ว่า ไม่ใช่เฉพาะบรรดาอัครสาวก หรือ ศิษย์ ของพระเยซู เจ้ า เท่ า นั้ น ที่ ไ ด้ รั บ การเชื้ อ เชิ ญ ให้ร่วมทางกับพระองค์ แต่เส้นทางแห่งไม้ กางเขนนี้ ยังเป็นเส้นทางที่พระเยซูเจ้าทรง เป็นผู้ริเริ่มและเชื้อเชิญคริสตชนทุกคนให้มา ติดตามพระองค์ด้วย โดยเริ่มจากอัครสาวก ทั้ง 12 และทุกคนที่เชื่อในพระองค์ก็ได้รับ

ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2015/2558

77


จากกาลิลีสู่เยรูซาเล็ม : คุณธรรมความนอบน้อมเชื่อฟังสำ�หรับบาทหลวง ผู้ติดตามพระคริสต์ (มก 8:27-10:52)

การเชื้อเชิญให้ติดตามพระองค์ด้วย ทั้งนี้ การ ติดตามพระองค์ไม่ใช่แค่เป็นการยอมฟังค�ำ สอนและยอมรับพระบัญญัติอย่างนอบน้อม เชื่อฟังเท่านั้น แต่จะต้องยึดมั่นในองค์พระเยซู เจ้า มีส่วนในชีวิตและชะตากรรมของพระองค์ และมีส่วนในความนอบน้อมเชื่อฟัง ด้วยหัวใจ ที่อิสระและเต็มเปี่ยมไปด้วยความรักต่อพระ ประสงค์ของพระบิดา โดยการสนองตอบด้วย ความเชื่ อ และติ ด ตามพระวจนาตถ์ ที่ ม ารั บ สภาพมนุษย์ เพื่อจะได้กลายเป็นศิษย์ของพระ เยซูเจ้าอย่างแท้จริงด้วย การจะติ ด ตามพระเยซู เจ้ า ได้ อ ย่ า ง ดีนั้น คือการด�ำเนินชีวิตอย่างดี ไม่ใช่เพียง เพื่อท�ำตามกฎ ตามบัญญัติ แต่คือการยึดมั่น ในพระเยซูเจ้าและปฏิบัติตามพระประสงค์ ของพระบิดา เพราะพระเยซูเจ้าเองทรงเป็น ผู้เรียกเราให้ติดตามและเลียนแบบพระองค์ บนหนทางแห่งความรัก ในการอุทิศตนเองแก่ พี่น้องเพราะเห็นแก่ความรักต่อพระเจ้า และ โดยอาศัยการเลียนแบบพระบุตรผู้ทรงเป็น ภาพลักษณ์ของพระเจ้า ทั้งนี้ถือได้ว่าเป็นการ เลี ย นแบบพระบิ ด าด้ ว ยนั่ น เอง ด้ ว ยเหตุ นี้ คริ ส ตชนจึ ง ถู ก เรี ย กมาให้ เจริ ญ ชี วิ ต อย่ า ง ศักดิ์สิทธิ์ ถูกต้องตามครรลองคลองธรรม และเพื่อจะได้ด�ำเนินชีวิตคริสตชนอย่างดี ดัง นั้ น การพยายามเจริ ญ ชี วิ ต ตามคุ ณ ค่ า พระ

78

วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

วรสารจึงเป็นเสมือนเครื่องมือที่ช่วยเราในการ ติดตามพระประสงค์อย่างดีในชีวิตประจ�ำวัน เพราะพระจริยวัตรและพระวาจาของพระเยซู เจ้า การกระท�ำและบทบัญญัติของพระองค์ ได้ เ ป็ น กฎเกณฑ์ ด ้ า นจริ ย ธรรมส� ำ หรั บ ชี วิ ต คริสตชน ข้ อ เรี ย กร้ อ งนี้ จึ ง เป็ น สิ่ ง ที่ เรี ย กร้ อ ง จากบาทหลวงด้วย มิใช่เพียงเพราะบรรดา บาทหลวงอยู ่ ในพระศาสนจั ก รเท่ า นั้ น แต่ เพราะพวกท่านเหล่านั้นคือ “หัวแถว” ของ พระศาสนจักร เพราะเหตุว่า บาทหลวงเป็น ดั่ ง พระคริ ส ตเจ้ า ผู ้ ท รงเป็ น ศี ร ษะและนาย ชุมพาบาล จึงจ�ำเป็นที่จะต้องพร้อมและอุทิศ ตนแก่ศาสนบริการที่ได้รับในศีลบวช โดยได้ รับการดลใจในความรักแบบผู้อภิบาลให้ต้อง แสดงออก และด้วยการหยั่งรากลึกในพระ วรสาร เราจะเห็ น การเติ บ โตของคุ ณ ธรรม และศี ล ธรรม อั น เป็ น ข้ อ เรี ย กร้ อ งส� ำ หรั บ ชีวิตผู้อภิบาล พระวาจาของพระเจ้าจึงเป็น สิ่งจ�ำเป็นส�ำหรับชีวิตสงฆ์ เพื่อจะได้ด�ำเนิน ชีวิตประจ�ำวันได้อย่างสอดคล้องกับวิถีทาง ของพระคริสตเจ้า ผู้ทรงเป็นศีรษะของพระ ศาสนจักรและนายชุมพาบาล และเพื่อช่วยให้ บาทหลวงกอปรไปด้วยคุณธรรมและศีลธรรม สมกับที่เป็น “หัวแถว” ในพระศาสนจักร และในบรรดาคุณธรรมที่จ�ำเป็นที่สุด


กรณ์ อดิเรกวุฒิกุล ลือชัย ธาตุวิสัย และสมเกียรติ ตรีนิกร

ส� ำ หรั บ ศาสนบริ ก ารของบาทหลวง ความ นอบน้อมเชื่อฟังถือเป็นคุณลักษณะพิเศษ เหตุ เพราะความนอบน้อมเชื่อฟังเป็น คุณลักษณะ ของอัครสาวก (apostolic) ในความหมายว่า มีการยอมรับ รักและรับใช้พระศาสนจักร... เป็นหนึ่งเดียวกับพระสันตะปาปา กับคณะ มุขนายก และโดยเฉพาะอย่างยิ่งกับมุขนายก ของตนเอง ซึ่งสมควรจะได้รับความเคารพ และความนอบน้อมเชื่อฟังฉันบุตร ดั่งที่ได้ สัญญาในพิธีบวช และเมื่อบาทหลวงได้รับ แรงบันดาลใจที่ถูกต้องในการปฏิบัติคุณธรรม ความนอบน้อมเชื่อฟังอย่างจริงแท้แล้ว คือ มิใช่ต้องปฏิบัติตามเสมือนเป็นทาส บาทหลวง ก็จะสามารถปฏิบัติความน้อบนอบเชื่อฟังนี้ อย่ า งสอดคล้ อ งกั บ แก่ น แท้ ข องพระวรสาร ที่ตนได้รับมา เพื่อร่วมงานกับประชากรของ พระเจ้าได้ และเพื่อจะแน่ใจได้ว่าจริงแท้เป็น อย่างไร สิ่งที่บาทหลวงจะปฏิเสธไม่ได้เลยใน ชีวิตนั้นคือ ต้องใส่ใจอย่างแท้จริงที่จะกระหาย หาพระวรสาร ด้วยเหตุนี้ ผู้วิจัยซึ่งก�ำลังศึกษาอยู่ใน สาขาเทววิทยาจริยธรรม และโดยเฉพาะอย่าง ยิ่งในฐานะของผู้ที่ก�ำลังเป็นศิษย์ติดตามพระ คริสตเจ้าในฐานะบาทหลวง จึงได้รับการปลูก ฝังให้ตระหนักและรักพระคัมภีร์ พระวาจา ของพระเจ้า อันเป็นพื้นฐานของเทววิทยา

ต่างๆ ที่ผู้วิจัยได้เคยท�ำการศึกษาในเรื่องที่ เกี่ยวกับเทววิทยาจริยธรรม เมื่อตระหนักได้ว่า เทววิทยาต่างๆ ล้วนแล้วแต่มีต้นก�ำเนิดและ ที่มาจากพระวาจาของพระเจ้า พระวจนาตถ์ (Logos) ผู้ทรงรับสภาพมนุษย์ จึงตระหนัก และเล็งเห็นว่า หากเราผู้ติดตามพระคริสตเจ้า ต้องการที่จะมีคุณธรรม โดยเฉพาะอย่างยิ่ง คุณธรรมในเรื่องความนอบน้อมเชื่อฟัง ดั่งเช่น พระคริสตเจ้าทรงมี ก็นับว่ามีความจ�ำเป็น อย่างยิ่งที่จะต้องเริ่มต้นจากการอ่าน การฟัง และการศึกษาจากพระคัมภีร์ โดยเฉพาะอย่าง ยิ่งในพระวรสาร เหตุว่า พระวาจาของพระเจ้า ที่ปรากฏในพระวรสารนั้น เป็นพระวาจาของ พระวจนาตถ์ พระเจ้าผู้ทรงรับสภาพมนุษย์ เองที่ได้ตรัสสิ่งเหล่านั้น ซึ่งบรรดาอัครสาวก และบรรดาศิษย์ได้บันทึกไว้ เพื่อเป็นแนวทาง ส�ำหรับการปฏิบัติ การพัฒนา และการติดตาม พระเยซูเจ้าในชีวิต และโดยเฉพาะอย่างยิ่ง บาทหลวง ผู้ติดตามพระคริสตเจ้า ก็ยิ่งจ�ำเป็น มากกว่านั้นอีกที่ท่านจะต้องใกล้ชิดและเรียน รู้สิ่งที่ปรากฏอยู่ในพระวาจาของพระเจ้ามาก เป็นพิเศษ ในฐานะศิษย์ ศาสนบริกร และผู้ติด ตามพระคริสตเจ้า วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาวิเคราะห์ และตีความ

ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2015/2558

79


จากกาลิลีสู่เยรูซาเล็ม : คุณธรรมความนอบน้อมเชื่อฟังสำ�หรับบาทหลวง ผู้ติดตามพระคริสต์ (มก 8:27-10:52)

ตัวบทพระวรสารตามค�ำบอกเล่าของนักบุญ มาระโก บทที่ 8:27-10:52 ในประเด็นที่ เกี่ ย วข้ อ งกั บ เรื่ อ งคุ ณ ธรรมความนอบน้ อ ม เชื่ อ ฟั ง จากค� ำ สั่ ง สอนของพระเยซู เ จ้ า บนเส้นทางเดินจากกาลิลีสู่กรุงเยรูซาเล็ม 2. เพื่ อ ประยุ ก ต์ ค� ำ สอนของพระ เยซู เจ้ า ที่ ท รงอบรมสั่งสอนบรรดาศิษย์จ าก พระวรสารตามค�ำบอกเล่าของนักบุญมาระโก บทที่ 8:27-10:52 มาเป็นแนวทางส�ำหรับ การไตร่ตรองและการปฏิบัติคุณธรรมความ นอบน้อมเชื่อฟังส�ำหรับบาทหลวง ของเขตการวิจัย การศึกษา ตีความ และวิเคราะห์ตัว บทพระวรสารนักบุญมาระโกในเรื่องคุณธรรม ความนอบน้อมเชื่อฟังส�ำหรับบาทหลวง ผู้ติด ตามพระคริสตเจ้า เป็นการศึกษาเชิงเอกสาร (Documentary Research) เกี่ยวกับสิ่งที่ พระเยซู เจ้ า อบรมสั่ ง สอนบรรดาศิ ษ ย์ ข อง พระองค์บนเส้นทางเดินจากกาลิลีสู่เยรูซาเล็ม โดยจะท�ำการศึกษา ตีความ และวิเคราะห์ ตัวบทจากพระวรสารของนักบุญมาระโก ใน บทที่ 8:27-10:52 เพื่อประยุกต์เป็นแนวทาง ไตร่ ต รองและการปฏิ บั ติ คุ ณ ธรรมความ นอบน้อมเชื่อฟังส�ำหรับบาทหลวง

80

วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

นิยามศัพท์เฉพาะ ความนอบน้ อ มเชื่ อ ฟั ง (OBEDIENCE) ในการวิจัยนี้ มีขอบเขตหมายถึง ความนอบน้อมเชื่อฟังตามแนวทางของคริสต์ ศาสนา ตามตัวอักษร หมายถึง ความพร้อมที่ จะฟังความประสงค์ของผู้อื่นและปฏิบัติตาม ความประสงค์นั้น และในแง่มุมที่เป็นคุณธรรม ความนอบน้อมเชื่อฟัง หมายถึง ความพร้อม ของจิ ต ใจที่ จ ะปฏิ บั ติ ต ามค� ำ สั่ ง ของผู ้ ใ หญ่ ผู ้ มีอ�ำนาจโดยชอบธรรม โดยมิใช่การปฏิบัติ ตามแบบยอมจ�ำนน (submissively) แต่เป็น การฟั ง และการเลื อ กกระท� ำ ตามด้ ว ยความ สมัครใจโดยมีความรักเป็นแรงจูงใจ สรุปผลการวิจัย 1. คุ ณ ธรรมความนอบน้ อ มเชื่ อ ฟัง บนเส้นทางของการอบรมศิษย์ของพระ เยซูเจ้า มีหัวใจหรือกุญแจส�ำคัญอยู่ที่พระ ด�ำรัสของพระบิดาที่ตรัสกับเปโตร ยากอบ และยอห์น บนภูเขาสูงว่า “ผู้นี้ คือ บุตรสุด ที่รักของเรา จงฟังท่านเถิด” (มก. 9:8) และ แม้ จ ะไม่ มี ค� ำ สอนของพระเยซู เจ้ า ที่ ต รั ส ให้ บรรดาศิษย์จะต้องนอบน้อมเชื่อฟังโดยตรง แต่คุณธรรมประการนี้ ถูกเรียกร้องให้ต้อง แสดงออกมาเป็นกิจการ คือ ในการเชื่อฟัง และปฏิบัติตามค�ำสอนของพระเยซูเจ้า โดย


กรณ์ อดิเรกวุฒิกุล ลือชัย ธาตุวิสัย และสมเกียรติ ตรีนิกร

เฉพาะอย่างยิ่งในค�ำสอนเรื่องพระทรมานของ พระเยซูเจ้า 2. การน� ำ ตั ว บท จากกาลิ ลี สู ่ เยรูซาเล็ม (มก. 8:27-10:52) มาใช้เพื่อ ศึกษาหาแนวทางในการไตร่ตรองและปฏิบัติ คุ ณ ธรรมความนอบน้ อ มเชื่ อ ฟั ง ส� ำ หรั บ บาทหลวงได้ เพราะถือว่าเป็นสิ่งที่สอดคล้อง กับสิ่งที่เป็นเจตนาของผู้เขียนที่ต้องการให้เส้น ทางนี้เป็นเส้นทางเพื่อการอบรมศิษย์ของพระ เยซูเจ้า อภิปรายผล 1. จากการศึกษา วิเคราะห์ และ ตีความ ตัวบทพระคัมภีร์ เรื่องการแสดง พระองค์อย่างรุ่งโรจน์ของพระเยซูเจ้า บรรดา นักวิชาการพระคัมภีร์ได้ให้อรรถาธิบายและ วิ เ คราะห์ ตี ค วามตรงกั น และได้ ผ ลสรุ ป ที่ ตรงกันว่า คุณธรรมความนอบน้อมเชื่อฟัง ที่ ป รากฏบนเส้ น ทางเดิ น จากกาลิ ลี สู ่ ก รุ ง เยรูซาเล็ม (มก. 8:27-10:52) ตั้งอยู่พื้นฐาน ส�ำคัญ คือ พระด�ำรัสของพระบิดาบนภูเขาสูง ที่ตรัสกับบรรดาศิษย์ว่า “ผู้นี้คือบุตรสุดที่รัก ของเรา จงฟังท่านเถิด” (มก. 9:8) ซึ่งพระ ด�ำรัสของพระบิดาตอนนี้ ก็มีความสอดคล้อง กั น กั บ สิ่ ง ที่ ป รากฏอยู ่ ใ นค� ำ สอนของพระ ศาสนจั ก รในเรื่ อ งที่ เ กี่ ย วกั บ คุ ณ ธรรมความ

นอบน้อมเชื่อฟังของบาทหลวงที่ปรากฏอยู่ทั้ง ในอดีตและในปัจจุบัน 2. จากการศึกษา วิเคราะห์ และ ตีความตัวบท เรื่องค�ำท�ำนายถึงพระทรมาน ของพระเยซูเจ้า พบว่า บรรดานักวิชาการพระ คัมภีร์ได้ลงความเห็นตรงกันว่า ค�ำท�ำนายถึง พระทรมานที่พระเยซูเจ้าตรัสบนเส้นทางเดิน จากกาลิลีสู่กรุงเยรูซาเล็มทั้งสามครั้ง เป็นค�ำ สอนเฉพาะพิเศษที่พระเยซูเจ้าได้ตรัสสั่งสอน กับบรรดาอัครสาวกทั้งสิบสองคนเท่านั้น และ แม้ว่า จากการศึกษาตัวบทจะไม่พบข้อความ วลี หรือประโยคจากพระเยซูเจ้าที่ตรัสสอนกับ บรรดาศิษย์ให้ต้องมีคุณธรรมความนอบน้อม เชื่อฟังโดยตรง แต่การสอนเรื่องพระทรมาน ของพระเยซูเจ้า ก็ถือได้ว่าเป็นการแสดงออก ให้เห็นถึงความนอบน้อมเชื่อฟังของพระองค์ ต่อพระบิดาด้วยวาจาแก่บรรดาศิษย์ ซึ่งที่สุด เราพบว่าค�ำสอนนี้ได้เกิดขึ้นและเป็นจริงตาม ที่มีบันทึกไว้ในพระวรสารตามค�ำบอกเล่าของ นักบุญมาระโกในบทที่ 14-15-16 ด้วย จากค� ำ สอนเรื่ อ งพระทรมานของ พระเยซูเจ้านี้ ผู้วิจัยพบว่า บรรดาบาทหลวง สามารถน� ำ แบบอย่ า งของพระเยซู เ จ้ า ใน ตอนนี้ ม าเป็ น ต้ น แบบ เป็ น แบบอย่ า งเพื่ อ การปฏิบัติคุณธรรมความนอบน้อมเชื่อฟังได้ ในฐานะที่ ท รงเป็ น ผู ้ ป ฏิ บั ติ คุ ณ ธรรมความ

ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2015/2558

81


จากกาลิลีสู่เยรูซาเล็ม : คุณธรรมความนอบน้อมเชื่อฟังสำ�หรับบาทหลวง ผู้ติดตามพระคริสต์ (มก 8:27-10:52)

นอบน้อมเชื่อฟังต่อพระบิดา ทั้งด้วยวาจาและ การกระท�ำ ในการรับทรมาน การสิ้นพระชนม์ และการกลับคืนพระชนมชีพของพระองค์ 3. จากการศึกษา วิเคราะห์ และ ตีความตัวบทพระคัมภีร์ ในเรื่องความไม่เข้าใจ ของศิษย์พบว่า แม้พระวรสารตามค�ำบอก เล่าของนักบุญมาระโกจะไม่ได้กล่าวโดยตรง ว่า บรรดาศิษย์ไม่นอบน้อมเชื่อฟังต่อพระ เยซูเจ้า แต่จากท่าทีและการกระท�ำที่พวกเขา แสดงออกนั้น นักวิชาการพระคัมภีร์หลาย ท่านได้ให้อรรถาธิบายไปในแนวทางเดียวกัน ว่า มาระโกมีเจตนาที่จะแสดงให้ผู้อ่านของ ท่านเห็นว่า บรรดาศิษย์มีความอ่อนแอตาม ประสามนุษย์ และมีความไม่เข้าใจ ทั้งไม่ พยายามเข้าใจค�ำสอนเรื่องพระทรมานของ พระเยซูเจ้าเลย ท�ำให้พวกเขาไม่พร้อมที่จะฟัง และปฏิบัติตามสิ่งที่พระเยซูเจ้าสั่งสอน แม้จะไม่ปรากฏโดยตรงในตัวบทจาก พระวรสารตามค�ำบอกเล่าของนักบุญมาระโก ว่า บรรดาศิษย์ได้กล่าวเป็นค�ำพูด วลี หรือ ประโยคว่า พวกเขาจะไม่นอบน้อมเชื่อฟัง ต่อพระเยซูเจ้า แต่จากท่าทีที่มาระโกบรรยาย นั ก วิ ช าการพระคั ม ภี ร ์ ห ลายท่ า นก็ ใ ห้ ค วาม เห็นตรงกันว่า ท่าทีของบรรดาศิษย์ที่มาระโก บรรยาย เป็นการแสดงออกถึงความไม่เข้าใจ และไม่พร้อมปฏิบัติตาม และโดยอาศัยหลัก

82

วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

การส�ำคัญ คือ พระด�ำรัสของพระบิดาที่รับสั่ง โดยตรงกับบรรดาศิษย์ (มก. 9:8) ก็ตีความ ได้ ว ่ า ความไม่ เข้ า ใจและความไม่ พ ร้ อ มที่ จะยอมรับค�ำสอนของพระเยซูเจ้าเรื่องพระ ทรมานของพวกเขา เป็นการละเมิดต่อค�ำสั่ง ของพระบิดาบนภูเขาสูง อันแสดงออกให้เห็น ว่าพวกเขาไม่นอบน้อมต่อพระประสงค์ของ พระบิดาที่ได้ตรัสกับพวกเขาว่า ให้เชื่อฟัง และปฏิบัติตามสิ่งที่พระเยซูเจ้าทรงสอน โดย เฉพาะอย่างยิ่งในค�ำสอนเรื่องพระทรมานของ พระองค์ กล่าวคือ พวกเขามีความคิดและ ความเข้าใจที่สวนทางกับท่าทีที่พระเยซูเจ้า ประสงค์ให้พวกเขาเข้าใจและยอมรับอย่าง เป็นรูปธรรม 4. จากการศึกษา วิเคราะห์ และ ตีความตัวบท เรื่องค�ำแนะน�ำของพระเยซูเจ้า ที่ทรงแนะน�ำบรรดาศิษย์เมื่อพวกเขามีความ ไม่เข้าใจทั้งในความคิดและท่าทีท่ีแสดงออก ถึงความไม่เข้าใจและไม่พร้อมที่จะปฏิบัติค�ำ สั่งสอนของพระเยซูเจ้า เราพบว่า พระองค์ได้ ประทานค�ำแนะน�ำแก่พวกเขา ในเรื่องนี้ผู้วิจัย พบว่า แม้จะไม่ปรากฏโดยตรงว่า พระเยซูเจ้า ทรงรับสั่งให้บรรดาศิษย์จะต้องนอบน้อมเชื่อ ฟังต่อพระองค์ แต่โดยอาศัยหลักการส�ำคัญ คือ พระด�ำรัสของพระบิดาที่รับสั่งโดยตรง กับเปโตร ยากอบ และยอห์น ซึ่งบรรดานัก


กรณ์ อดิเรกวุฒิกุล ลือชัย ธาตุวิสัย และสมเกียรติ ตรีนิกร

วิชาการพระคัมภีร์ถือว่า พวกเขาเป็นตัวแทน ของบรรดาอัครสาวก ก็แสดงชัดเจนว่า พวก เขาต้ อ งปฏิ บั ติ ต ามค� ำ สอนของพระเยซู เจ้ า อย่างไม่มีเงื่อนไข ดังนั้น จึงกล่าวได้ว่า การ ปฏิบัติตามค�ำสอนของพระองค์ คือการแสดง ความนอบน้อมเชื่อฟังต่อพระเยซูเจ้า และ ไม่ใช่แค่กับพระเยซูเจ้า แต่หมายถึงการแสดง ความนอบน้อมเชื่อฟังแด่พระบิดาด้วย ดังนั้น ก็กล่าวได้ว่า ค�ำแนะน�ำต่างๆ ที่พระเยซูเจ้า ตรัสสอนนั้น เป็นค�ำแนะน�ำเพื่อพวกเขาจะได้ เข้าใจถึงพระประสงค์ของพระบิดาในชีวิตของ พระเยซูเจ้า และไม่เพียงแต่เท่านั้น ยังเป็นการ ท�ำให้พระประสงค์ของพระบิดาบนภูเขาสูงได้ ส�ำเร็จไปด้วย โดยอาศัยพระเยซูเจ้าเป็นแบบ อย่าง โดยจากอาศัยตัวบททั้งสองตอนนี้ ผู้ วิ จั ย ได้ สั ง เคราะห์ แ ละสรุ ป มาเป็ น ประเด็ น เพื่อการไตร่ตรองเกี่ยวกับการปฏิบัติคุณธรรม ความนอบน้ อ มเชื่ อ ฟั ง ในชี วิ ต บาทหลวง 3 ประเด็น คือ 1. บทบาทหน้าที่ของบาทหลวง คือ บาทหลวงจ�ำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องท�ำความ เข้ า ใจในเรื่ อ งบทบาทและหน้ า ที่ ข องตน อย่างดี ว่าก�ำลังท�ำหน้าที่ของพระเยซูเจ้าใน ฐานะศาสนบริกรที่ได้รับการบรรพชาในพระ ศาสนจักร ท่านต้องตระหนักถึงบทบาทของ

ตนเองในฐานะที่ เ ป็ น ผู ้ ติ ด ตามพระเยซู เจ้ า และในฐานะที่เป็นผู้น�ำประชากรของพระเจ้า และทบทวนอยู่เสมอๆ ในชีวิตของท่านว่า ท่านยังคงติดตามพระเยซูเจ้าอยู่หรือไม่ หรือ ท่านก�ำลังให้พระองค์ติดตามท่านและไปใน ที่ที่ท่านอยากไป และสิ่งที่ท่านก�ำลังติดตาม นั้น คือ พระประสงค์ของพระเจ้า หรือความ ประสงค์ของท่านที่ท่านก�ำลังติดตามอยู่ 2 . อ� ำ น า จ ข อ ง บ า ท ห ล ว ง คื อ บาทหลวงจ�ำเป็นต้องตระหนักและไตร่ตรอง อยู่เสมอถึงอ�ำนาจของศีลบรรพชาที่ท่านได้ รับมาว่า เป็นอ�ำนาจตามจิตตารมณ์แบบพระ เยซูเจ้าหรือไม่ คือการเป็นผู้มีจิตใจสุภาพถ่อม ตนและกระท�ำตนเป็นผู้รับใช้ หรือว่าอ�ำนาจที่ ท่านได้รับมานั้นท่านใช้ตามอ�ำเภอใจของตน เองได้ และอยากจะเป็นบาทหลวงเพียงเพื่อ การเป็นผู้น�ำที่เหนือกว่าคนอื่นๆ ท่านตระ หนักและยินยอมนอบน้อมเชื่อฟังต่อผู้ที่สืบ ต่ออ�ำนาจจากพระคริสตเจ้าด้วยหัวใจที่เป็น อิสระหรือไม่ 3 . พั น ธ กิ จ ข อ ง บ า ท ห ล ว ง คื อ บาทหลวงจ�ำเป็นต้องตระหนักและไตร่ตรอง อยู่เสมอเกี่ยวกับพันธกิจแห่งการรับใช้ที่ได้ รับมอบหมายจากพระเยซูเจ้า เพราะว่าศีลบรรพชาที่ท่านได้รับผ่านทางการเจิมและการ ปกมือของมุขนายก ได้มอบหมายพันธกิจแห่ง

ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2015/2558

83


จากกาลิลีสู่เยรูซาเล็ม : คุณธรรมความนอบน้อมเชื่อฟังสำ�หรับบาทหลวง ผู้ติดตามพระคริสต์ (มก 8:27-10:52)

การรับใช้ คือ การประกาศข่าวดี ท่านได้อุทิศ ตนทั้งครบเพื่อความรอดพ้นของมนุษยชาติ อย่างที่พระเยซูเจ้าได้ทรงกระท�ำเป็นตัวอย่าง หรือไม่ หรือว่าท่านก�ำลังแสวงหาความเจริญ ก้าวหน้า อ�ำนาจชื่อเสียง ยศถาบรรดาศักดิ์ แบบทางโลก แทนที่จะเป็นผู้ที่รักและรับใช้ พระเจ้าและมนุษย์ แต่ท่านกลับท�ำตนเหนือผู้ อื่น เพื่อให้ผู้อื่นรับใช้ท่านหรือไม่ ที่สุด ท่านผู้เป็นบาทหลวงได้ปฏิบัติ คุณธรรมความนอบน้อมเชื่อฟัง คือ ฟังและ ปฏิบัติตามแบบอย่างของพระองค์ เชื่อฟังและ ปฏิบัติตามสิ่งที่บรรดาผู้แทนของพระองค์บน โลกนี้ประสงค์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการปฏิบัติ ต่อมุขนายกประมุขของท่านหรือไม่ ท่านได้ แสวงหาและปฏิบัติตามพระประสงค์ของพระ บิดาหรือไม่ หรือท่านเป็นบาทหลวงที่ฟังและ ท�ำตามเสียงและความประสงค์ของตนเอง ข้อเสนอแนะส�ำหรับการศึกษาครั้งต่อไป 1. พระวรสารตามค�ำบอกเล่าของ นักบุญมาระโกในบทที่ 8:27-10:52 ยังเต็มไป ด้วยค�ำสอนในเรื่องอื่นอีก นอกเหนือจากเรื่อง คุณธรรมความนอบน้อมเชื่อฟัง เป็นต้นว่า ใน เรื่องคุณธรรมส�ำหรับผู้ที่เป็นศิษย์ติดตามพระ เยซูเจ้า ซึ่งมีอีกหลายแง่มุมที่น่าจะท�ำการ ศึกษา ส�ำหรับผู้ที่สนใจในประเด็นที่เกี่ยวกับ

84

วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

คุณธรรมทางศาสนาส�ำหรับผู้ที่เป็นศิษย์ของ พระเยซูเจ้า 2. การวิจัยนี้ ยังไม่ได้กล่าวถึง คุณธรรมความนอบน้อมเชื่อฟังของพระเยซูเจ้าที่ เกิดขึ้นในเหตุการณ์ที่กรุงเยรูซาเล็ม กล่าวคือ พระทรมาน การสิ้นพระชนม์ และการกลับคืน พระชนมชีพของพระเยซูเจ้า จากพระวรสาร ตามค�ำบอกเล่าของนักบุญมาระโก ในบทที่ 14-15-16 ผู้ที่สนใจสามารถท�ำการศึกษาวิจัย ต่อไป เกี่ยวกับสิ่งที่พระเยซูเจ้าได้ทรงท�ำนาย บนเส้นทางเดินจากกาลิลีสู่กรุงเยรูซาเล็ม ว่าที่ สุดแล้ว คุณธรรมความนอบน้อมเชื่อฟังของ พระองค์ต่อพระบิดา ได้น�ำมนุษยชาติไปสู่ ความรอดพ้นได้อย่างไร 3. บนเส้นทางของการอบรมศิษย์ จากกาลิลีสู่กรุงเยรูซาเล็มนั้น ได้ท�ำให้ผู้วิจัย ตระหนักถึงความอ่อนแอตามประสามนุษย์ ของศิษย์จากพระวรสารตามค�ำบอกเล่าของ นั ก บุ ญ มาระโก ซึ่ ง มี ค วามแตกต่ า งจากผู ้ นิพนธ์พระวรสารสหทรรศน์ฉบับอื่น ประเด็น นี้ ผู้วิจัยเห็นว่าเป็นประเด็นที่น่าสนใจมากใน การจะน� ำ มาศึ ก ษาเพื่ อ ขยายความเข้ า ใจใน เรื่องความอ่อนแอตามประสามนุษย์ที่เกิดขึ้น กับศิษย์ และในเรื่องค�ำสั่งสอนของพระเยซู เจ้าบนเส้นทางเดินจากกาลิลีสู่กรุงเยรูซาเล็ม เพื่อน�ำมาพัฒนาคุณธรรมและศีลธรรมของผู้ที่


กรณ์ อดิเรกวุฒิกุล ลือชัย ธาตุวิสัย และสมเกียรติ ตรีนิกร

เป็นศิษย์ติดตามพระเยซูเจ้าในปัจจุบัน บรรณานุกรม ทัศไนย์ คมกฤส, บาทหลวง. 2535. เชิญ มาอ่านพระคัมภีร์กันเถอะ เล่ม 2. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์อัสสัมชัญ. สมเกียรติ ตรีนิกร, บาทหลวง. 2552. เอกสารประกอบการอบรมสามเณร ชั้นปีที่ 5. นครปฐม : สามเณราลัย ใหญ่แสงธรรม. John Paul II, Pope. 1992. I will give you Shepherds : Pastores Dabo Vobis. Vatican City : United States Catholic Conference.

ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2015/2558

85


นวัตกรรมการบริ หารงานอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี ในสถานศึกษาอาชีวศึกษา

The Administrative Innovation for Dual Vocational Training System in Vocational College. ดร.พิศณุ ทองเลิศ

* รองผู้อำ�นวยการฝ่ายวิชาการ วิทยาลัยเทคนิคโพธาราม

ผศ.ดร.ประเสริฐ อินทร์รักษ์

* ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประจำ�ภาควิชาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

Dr.Phitsanu Thonglert

* Deputy Director of Academic Affairs, Photharam Technical College.

Asst.Prof.Dr.Prasert Intarak

* Assistant Professor, Education Administration Faculty of Education, Silpakorn University.


พิศณุ ทองเลิศ และประเสริฐ อินทร์รักษ์

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ทราบสภาพการบริหาร งานอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีในสถานศึกษาอาชีวศึกษา 2) ทราบองค์ ประกอบนวัตกรรมการบริหารงานอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีในสถาน ศึกษาอาชีวศึกษา กลุ่มตัวอย่างคือ สถานศึกษาอาชีวศึกษาที่เปิดสอน อาชีวศึกษาระบบทวิภาคี 159 สถานศึกษา เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง และการประชุม สนทนากลุ่มเพื่อตรวจสอบความคิดเห็นสามเส้า (Triangulation) สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่ามัชฌิมเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงส�ำรวจ ผลการวิจัยพบว่า 1. สภาพการบริหารงานอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีในสถานศึกษา โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( = 3.86, S.D. = 0.43) 2. นวัตกรรมการบริหารงานอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี มี 7 องค์ ประกอบ คือ 1) การบริหารจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี (Management) 2) ระบบการด�ำเนินงานอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี (System) 3) นโยบายการจัดอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี (Policy) 4) ความ ร่วมมือการจัดอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี (Collaborative) 5) การวัด และประเมินผล (Assessment) 6) หลักสูตร (Curriculum) และ 7) คุณลักษณะผู้เรียน (Trait) 3. ผลการยืนยันนวัตกรรมการบริหารงานอาชีวศึกษาระบบ ทวิภาคี 7 องค์ประกอบ ผู้เชี่ยวชาญเห็นสอดคล้องกันว่า นวัตกรรมการ บริหารงานอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี มีความถูกต้องครอบคลุม เหมาะ สม เป็นไปได้ และเป็นประโยชน์ ค�ำส�ำคัญ :

1) นวัตกรรม 2) อาชีวศึกษาระบบทวิภาคี

ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2015/2558

87


นวัตกรรมการบริหารงานอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีในสถานศึกษาอาชีวศึกษา

Abstract

The purposes of this research were to study 1) The Dual Vocational Training System managements, 2) The Administrative Innovation for Dual Vocational Training System in Vocational College. The samples were 159 colleges. The instrument used were a questionnaire, an interview, and a discussion (Triangulation). The data were analyzed by frequency, percentage, arithmetic mean, standard deviation, and exploratory factor analysis findings were as follows : The Dual Vocational Training System management in Vocational College were at an agreeable level ( = 3.86, S.D. = 0.43). The Administrative Innovation for Dual Vocational Training System in Vocational College were 7 components : 1) management 2) system 3) policy 4) collaborative 5) assessment 6) curriculum and 7) trait The experts were confirmed that the Administrative Innovation for Dual Vocational Training System was accuracy, propriety, feasibility, and utility standards. Keywords : 1) Innovation 2) Dual Vocational Training System

88

วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม


พิศณุ ทองเลิศ และประเสริฐ อินทร์รักษ์

ความเป็นมาและความสำ�คัญของปัญหา พระราชบั ญ ญั ติ ก ารศึ ก ษาแห่ ง ชาติ พ.ศ. 2542 ตามมาตรา 20 บัญญัติให้มีพระ ราชบัญญัติการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2551 ความ ว่า การจัดการอาชีวศึกษา การฝึกอบรม วิชาชีพ ให้จัดในสถานศึกษาของรัฐ สถาน ศึกษาของเอกชน สถานประกอบการ หรือ โดยความร่ ว มมื อ ระหว่ า งสถานศึ ก ษากั บ สถานประกอบการ ให้เป็นไปตามกฎหมาย ว่ า ด้ ว ยการอาชี ว ศึ ก ษา โดยมี ป ระกาศใน ราชกิจจานุเบกษา เมื่อ 5 มีนาคม พ.ศ. 2551 ในหมวด 1 บททั่วไป มาตรา 6 การ จั ด การอาชี ว ศึ ก ษาและฝึ ก อบรมวิ ช าชี พ ต้ อ งเป็ น การจั ด การศึ ก ษาในด้ า นวิ ช าชี พ ที่ สอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่ ง ชาติ แ ละแผนการศึ ก ษาแห่ ง ชาติ เพื่ อ ผลิตและพัฒนากำ�ลังคนในด้านวิชาชีพระดับ ฝี มื อ ระดั บ เทคนิ ค และระดั บ เทคโนโลยี เป็นการยกระดับการศึกษาวิชาชีพให้สูงขึ้น เพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาด แรงงานโดยนำ�ความรู้ในทางทฤษฎี และทาง ปฏิบัติไปประกอบอาชีพในลักษณะผู้ปฏิบัติ หรือประกอบอาชีพโดยอิสระได้ (พ.ร.บ.การ อาชีวศึกษา, 2551) ดั ง นั้ น ขอบเขตการบริ ห ารงาน อาชีวศึกษาระบบทวิภาคี เป็นงานที่รองผู้

อำ�นวยการฝ่ า ยวิ ช าการต้ อ งกำ�กั บ ดู แ ล มี หั ว หน้ า งานที่ ไ ด้ รั บ แต่ ง ตั้ ง จากสถานศึ ก ษา รั บ ผิ ด ชอบ ในการปฏิ บั ติ ง านตามสายการ บังคับบัญชาให้เกิดความเรียบร้อย (ระเบียบ สำ�นักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ว่า ด้วยการบริหารสถานศึกษา, 2552) สอด คล้ อ งกั บ ความต้ อ งการของตลาดแรงงาน และแผนพั ฒ นาเศรษฐกิ จ และสั ง คมแห่ ง ชาติ อันเป็นการพัฒนาคุณภาพ ทักษะฝีมือ เพื่อเตรียมเข้าสู่ประชาคมอาเซียนในปี พ.ศ. 2558 ซึ่งในแต่ละงานมีหน้าที่และภาระงาน ที่เหมือนกันคือ ต้อง 1) จัดทำ�ปฎิทินการ ปฏิบัติงาน เสนอโครงการ และรายงานการ ปฏิบัติงานตามลำ�ดับขั้น 2) ดูแล บำ�รุงรักษา และรับผิดชอบทรัพย์สินของสถานศึกษาที่ได้ รับมอบหมาย และ 3) ปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้ รับมอบหมาย ประเด็ น ปั ญ หาที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การ จั ด การศึ ก ษาแบบทวิ ภ าคี ข องอาชี ว ศึ ก ษา สามารถสรุปได้ 3 ประการ ได้แก่ 1) นักศึกษา ระบบทวิ ภ าคี มี จำ�นวนลดลง 2) การจั ด อาชีวศึกษาระบบทวิภาคีขาดความต่อเนื่อง และ 3) สำ�นั ก งานรั บ รองมาตรฐานและ ประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) (สมศ.) มี ข้ อ เสนอต่ อ การพั ฒ นาคุ ณ ภาพ มาตรฐานการจัดอาชีวศึกษา

ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2015/2558

89


นวัตกรรมการบริหารงานอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีในสถานศึกษาอาชีวศึกษา

วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่ อ ทราบสภาพการบริ ห ารงานอาชี ว ศึกษาระบบทวิภาคีในสถานศึกษาอาชีวศึกษา

2. เพื่ อ ทราบองค์ ป ระกอบนวั ต กรรมการ บริหารงานอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีในสถาน ศึกษาอาชีวศึกษา

กรอบแนวคิดการวิจัย ศึกษางานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับ การจัดอาชีวศึกษา ระบบทวิภาคี

พระราชบัญญัติ การอาชีวศึกษา พ.ศ. 2551 และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง

การจัดอาชีวศึกษา ระบบทวิภาคี ในเยอรมัน

นวัตกรรม การบริหารงาน อาชีวศึกษา ระบบทวิภาคี ในสถานศึกษาอาชีวศึกษา

สัมภาษณ์ความคิดเห็น จากผู้เชี่ยวชาญ

การจัดอาชีวศึกษา ระบบทวิภาคี ในสิงคโปร์

การจัดอาชีวศึกษา ระบบทวิภาคี ในอิสราเอล

แผนภูมิที่ 1 แสดงกรอบแนวคิดของการวิจัย

90

วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

การจัดอาชีวศึกษา ระบบทวิภาคี ในแคนาดา

การจัดอาชีวศึกษา ระบบทวิภาคี ในสหรัฐอเมริกา

การจัดอาชีวศึกษา ระบบทวิภาคี ในสหราชอาณาจักร

การจัดอาชีวศึกษา ระบบทวิภาคี ในออสเตรเลีย


พิศณุ ทองเลิศ และประเสริฐ อินทร์รักษ์

นิยามศัพท์เฉพาะ นวั ต กรรมการบริ ห ารงานอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี (The Administrative Innovation for Dual Vocational Training System) หมายถึง หลักการ วิธี การ องค์ประกอบ หรือเครื่องมือ ที่นำ�มาใช้ ในการส่งเสริมพัฒนาการจัดการ ดำ�เนินงาน อาชีวศึกษาระบบทวิภาคีให้มีประสิทธิภาพ การดำ�เนินการวิจัย มี 3 ขั้น คือ 1) ศึกษา วิเคราะห์ สังเคราะห์ เอกสาร ข้อมูลการสัมภาษณ์ งาน วิจัยที่เกี่ยวข้อง 2) การพัฒนาเครื่องมือ และ การเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง และ 3) การ ตรวจสอบยืนยันนวัตกรรม โดยการสนทนา กลุ่ม เพื่อตรวจสอบความคิดเห็นสามเส้า (Triangulation) ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ใช้ ส ถานศึ ก ษาในสั ง กั ด สำ�นั ก งาน คณะกรรมการการอาชี ว ศึ ก ษาที่ มี ก ารจั ด การเรี ย นการสอนระบบทวิ ภ าคี เ ป็ น หน่ ว ย วิเคราะห์ (Unit of analysis) จำ�นวน 268 แห่ง กลุ่มตัวอย่าง คือ ใช้สถานศึกษาใน สั ง กั ด สำ�นั ก งานคณะกรรมการการอาชี ว -

ศึ ก ษาที่ มี ก ารจั ด การเรี ย นการสอนระบบ ทวิภาคี เป็นหน่วยวิเคราะห์ (Unit of analysis) จำ�นวน 159 แห่ง ตามตารางของเครจซี่ และมอร์แกน (R.V. Krejcie, and P.W. Morgan, 1970) ได้มาโดยวิธีการสุ่มอย่างง่าย (Simple Random Sampling) โดยมีผู้ให้ ข้อมูลสถานศึกษาแห่งละ 4 คน ประกอบด้วย ผู้อำ�นวยการ รองผู้อำ�นวยการฝ่ายวิชาการ หัวหน้างานอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี และเจ้า หน้าที่งานอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี รวมผู้ให้ ข้อมูลทั้งสิ้น 636 คน ตัวแปรที่ศึกษา 1. ตัวแปรพื้นฐาน คือ ตัวแปรที่เกี่ยว กับสถานภาพส่วนตัวของผู้ให้ข้อมูล ได้แก่ เพศ อายุ ระดับการศึกษา ประสบการณ์ใน การทำ�งาน 2. ตัวแปรที่เกี่ยวข้องกับสภาพการ บริหารงานอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีในสถาน ศึกษาอาชีวศึกษา เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 1. แบบสอบถาม 2. แบบสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง

ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2015/2558

91


นวัตกรรมการบริหารงานอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีในสถานศึกษาอาชีวศึกษา

การสร้างและพัฒนาเครื่องมือ 1. ศึกษาวิเคราะห์หลักการแนวคิด ทฤษฎี แ ละงานวิ จั ย ที่ เ กี่ ย วข้ อ งและการ สัมภาษณ์ความคิดเห็นจากผู้ทรงคุณวุฒิ 2. สร้างแบบสอบถาม จำ�นวน 1 ฉบับ 3. ตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือ วิจัย โดยนำ�แบบสอบถามเสนอต่อผู้เชี่ยวชาญ เพื่ อ ตรวจสอบความตรงเชิ ง เนื้ อ หา (Content Validity) ด้วยวิธีการหาค่าดัชนีความ สอดคล้อง (Index of Item Objective Congruence: IOC) 4. ทดลองใช้เครื่องมือวิจัย โดยนำ� แบบสอบถามไปทดลองใช้ (Try Out) กับ สถานศึกษาอาชีวศึกษา ที่ไม่ใช่กลุ่มตัวอย่าง เพื่อนำ�มาวิเคราะห์หาค่าความเชื่อมั่น (Reliability) ของแบบสอบถามด้วยการคำ�นวณ ค่าสัมประสิทธิ์แอลฟา ( -coefficient) ของ ครอนบาค (Cronbach, Lee J., 1984) ได้ค่า ความเชื่อมั่น 0.97 5. นำ�แบบสอบถามฉบับสมบูรณ์ไป เก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล สถิติที่ใช้ประกอบด้วย ค่าความถี่ (Frequencies) ค่าร้อยละ (Percentage :

92

วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

%) ค่ามัชฌิมเลขคณิต (Arithmetic Mean : ) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation : S.D.) การวิเคราะห์องค์ประกอบ เชิงสำ�รวจ (Exploratory Factor Analysis) การวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) ผลการวิจัย 1. สภาพการบริ ห ารงานอาชี ว ศึกษาระบบทวิภาคี พบว่า สภาพการบริหาร งานอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี ในสถานศึกษา อาชีวศึกษา โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก ค่า เฉลี่ย ( ) เท่ากับ 3.86 และส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน (S.D.) เท่ากับ 0.43 2. นวั ต กรรมการบริ ห ารงาน อาชีวศึกษาระบบทวิภาคี พบว่า มีองค์ ประกอบ 7 องค์ประกอบ คือ 1) การบริหาร จัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี (Management) 2) ระบบการดำ�เนินงานอาชีวศึกษา ระบบทวิภาคี 3) นโยบายการจัดอาชีวศึกษา ระบบทวิภาคี (Policy) 4) ความร่วมมือ การจัดอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี (Collaborative) 5) การวัดและประเมินผล (Assessment) 6) หลักสูตร (Curriculum) และ 7) คุณลักษณะผู้เรียน (Trait) 3. ผลการยื น ยั น นวั ต กรรมการ บริหารงานอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี


พิศณุ ทองเลิศ และประเสริฐ อินทร์รักษ์

ผู้ เ ชี่ ย วชาญเห็ น สอดคล้ อ งกั น ว่ า นวัตกรรมการบริหารงานอาชีวศึกษาระบบ ทวิภาคี มีความถูกต้องครอบคลุม เหมาะ สม เป็นไปได้ และเป็นประโยชน์ ซึ่งจากการ วิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากการสนทนากลุ่มของ ผู้เชี่ยวชาญและผู้ที่เกี่ยวข้องเพื่อตรวจสอบ ความเห็นสามเส้า (Triangulation) สรุปดังนี้ องค์ประกอบที่ 1 การบริหารจัดการ อาชีวศึกษาระบบทวิภาคี (Management) มีนวัตกรรมที่สนับสนุน คือ 1) สร้างความ รู้ (Knowledge) นำ�สู่การปฏิบัติที่ถูกต้อง 2) ปฏิบัติการเชิงรุก 3) สถานประกอบการ เข้ามามีส่วนร่วมการจัดอาชีวศึกษา 4) มีแนว ปฏิบัติให้ครู ผู้เกี่ยวข้อง เครือข่าย 5) คำ�นึงถึง ผู้มีส่วนได้เสีย (Stakeholder) 6) สร้างความ เข้ า ใจการจั ด อาชี ว ศึ ก ษาระบบทวิ ภ าคี ใ ห้ ตรงกัน 7) การกำ�กับติดตาม (Controlling) ให้ทำ�อย่างต่อเนื่อง 8) นำ�ไปสู่การบริหาร จัดการที่ยั่งยืน (Sustainable) 9) มีระบบการ บริหารจัดการ ขับเคลื่อนอย่างต่อเนื่อง (Development) 10) มีการวัดผลและประเมิน ผล ทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ 11) ให้สิทธิ ประโยชน์แก่สถานประกอบการโดยลดหย่อน ภาษีและประกาศเป็นพระราชกฤษฎีกา 12) การสร้างเครือข่าย (Network) ความร่วมมือ ระหว่ า งสถานศึ ก ษากั บ สถานประกอบการ

13) ชุมชน ผู้ปกครอง รูปแบบ เชิดชูเกียรติ 14) สร้างความเข้มแข็งให้กับสถานประกอบ การ 15) นักศึกษาได้ประโยชน์จากการฝึกงาน ในสถานประกอบการ 16) กำ�หนดเป้าหมาย การผลิ ต การรั บ เข้ า ทำ�งานได้ ร้ อ ยละร้ อ ย 17) จัดทำ�หลักสูตรร่วมกันกับสถานประกอบ การมุ่งเน้นสมรรถนะให้ตรงกับความต้องการ ของสถานประกอบ 18) กำ�หนดให้มีชั่วโมง ปฏิบัติมากกว่าภาคทฤษฎีและให้มีงานทำ�ทุก คน และ 19) คำ�นึงถึงหลักการ 3 C: ได้แก่ Curriculum, Collaborative, Competency สร้างระบบเครือข่ายระหว่างสถานศึกษา กับสถานประกอบการ มีการประชาสัมพันธ์ ในการจัดอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีอย่างแพร่ หลาย ซึ่งงานวิจัยของ วิทยา ดีวุ่น กล่าวว่า ด้านงบประมาณขาดการสนับสนุนจากรัฐบาล และขาดงบประมาณในการจัดสัมมนา ครู ฝึก และครูอาจารย์ ผู้เรียนระบบทวิภาคีส่วน ใหญ่มีงานทำ� ได้รับการสนับสนุนให้ได้ศึกษา ต่อระดับที่สูงขึ้น หากผู้เรียนนั้นมีความรับผิด ชอบมีความขยันเป็นต้น นอกจากนั้นควรมี การเชิดชูเกียรติแก่สถานประกอบการที่เข้า ร่วมจัดอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีฝึกงาน องค์ประกอบที่ 2 ระบบการดำ�เนิน งานการจัดอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี (System) มีนวัตกรรมที่สนับสนุน คือ 1) กำ�หนด

ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2015/2558

93


นวัตกรรมการบริหารงานอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีในสถานศึกษาอาชีวศึกษา

ยุทธศาสตร์เชิงรุก (Strategy) 2) ส่งเสริมให้ สถานศึกษาเป็น ศูนย์การเรียนรู้ ฝึกอบรมโดย พนักงานของสถานประกอบการ 3) พัฒนา บุคลากร หลักสูตร สื่อ ร่วมกันระหว่างสถาน ศึกษา-สถานประกอบการ 4) โอกาสในการ เข้าร่วมการจัดการศึกษา/การสร้างแรงจูงใจ 5) การติดต่อสื่อสาร สืบค้นข้อมูลได้สะดวก รวดเร็ว 6) MOU มีความชัดเจนภายใต้ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อสิทธิและประโยชน์ ที่จะเกิดกับนักเรียน ทั้งยังส่งเสริมสนับสนุน ให้มีมาตรฐาน ด้านการบริหารจัดการทักษะ วิชาชีพของบุคลากร เครื่องมือ เครื่องจักรที่ ทันสมัย มีครูฝึกเพื่อสอนงาน ถ่ายทอดความ รู้และระบบการทำ�งาน มีการจัดเก็บข้อมูล ต่างๆ การวัดประเมินผลอย่างเป็นระบบด้วย เทคโนโลยีที่ทันสมัย องค์ประกอบที่ 3 นโยบายการจัด อาชีวศึกษาระบบทวิภาคี (Policy) มีนวัตกรรมที่สนับสนุน คือ 1) ให้กำ�หนดเป็นวาระ แห่งชาติ (Agenda) 2) ผลิตนักเรียนให้มี ทักษะในการทำ�งานมากขึ้น 3) ทักษะฝีมือ ได้ ม าตรฐานสากลเพราะมี ก ารเคลื่ อ นย้ า ย แรงงานใน ASEAN 4) การเพิ่มปริมาณผู้ เรียนให้มาก 5) ภาครัฐกำ�หนดอัตราตำ�แหน่ง แรงงานของประเทศให้ ส อดคล้ อ งกั บ ความ ต้องการและแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม

94

วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

แห่งชาติ 6) เสนองบประมาณเงินอุดหนุนให้ กับผู้เรียนระบบทวิภาคีให้มากขึ้น ทุกสถาน ศึ ก ษาทราบถึ ง นโยบายการจั ด อาชี ว ศึ ก ษา ระบบทวิภาคีที่ สอศ. ประกาศ และส่วนใหญ่ ให้ความสำ�คัญ เกี่ยวกับพันธกิจในการพัฒนา กำ�ลังคน แรงงาน ระดับฝีมือ ระดับเทคนิค และระดับเทคโนโลยีให้มีความพร้อม มีทักษะ ฝี มื อ สู ง มี ค วามตั้ ง ใจในการทำ�งานเป็ น ที่ ต้องการของตลาดแรงงาน องค์ประกอบที่ 4 ความร่วมมือการ จั ดอาชี วศึ ก ษาระบบทวิ ภาคี (Collaborative) มีนวัตกรรมที่สนับสนุน คือ 1) กำ�หนด รูปแบบ (Model) นำ�ไปสู่การทำ�ข้อตกลงร่วม กัน MOU โดยคำ�นึงถึงสิทธิประโยชน์ที่พึง ได้ 2) ใช้หลักการ 3 A (A: Attempt, A: Awareness, A: Achievement) เพื่อการ กำ�หนดยุทธศาสตร์ (Strategy) เป้าหมายให้ ชัดเจน 3) ผู้เกี่ยวข้องเปิดใจ พัฒนาบุคลากร จัดประชุมสัมมนา มีการประเมินผลเป็นระยะ จัดมอบโล่ เชิดชูเกียรติ 4) ครูฝึกและครูนิเทศ ใฝ่เรียนรู้ แสวงหาความรู้ ทักษะ เทคโนโลยี ที่ทันสมัยและมีการเปลี่ยนแปลง นอกจาก นั้นผู้บริหารสถานศึกษาและสถานประกอบ การตระหนักเห็นความสำ�คัญและส่วนใหญ่มี วิสัยทัศน์ ในการกำ�หนดนโยบายยุทธศาสตร์ เชิ ง รุ ก ในการจั ด อาชี ว ศึ ก ษาระบบทวิ ภ าคี


พิศณุ ทองเลิศ และประเสริฐ อินทร์รักษ์

หั ว หน้ า งานอาชี ว ศึ ก ษาระบบทวิ ภ าคี ขั บ เคลื่อนการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีให้เป็น ไปตามนโยบาย ครูส่วนใหญ่ให้ความร่วมมือ ร่วมใจเพื่อให้การจัดอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี ประสบความสำ�เร็จ โดยมีกลยุทธ์ในการให้ ความร่วมมือกับสถานประกอบการ ทำ� MOU จะต้องให้เกิดประโยชน์ร่วมกันทุกฝ่าย เป็นที่ ยอมรับ ควรแยก จำ�แนก รูปแบบให้ชัดเจน สอดคล้ อ งกั บ งานวิ จั ย ของจั น ทิ ร า แก้ ว สู ง (2542) กรณีศึกษาความร่วมมือของสถาน ศึ ก ษากั บ สถานประกอบการในการจั ด การ ศึ ก ษาระบบทวิ ภ าคี พ บว่ า ความร่ ว มมื อ ระหว่างสถานศึกษากับสถานประกอบการใน การจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี ในภาค รวมอยู่ในระดับปานกลาง ควรมีการปรับปรุง พัฒนาบทบาทของผู้บริหาร การประสานงาน และการประชาสัมพันธ์ เป็นต้น แต่เนื่องจาก สภาพทางสังคม เศรษฐกิจ และเทคโนโลยี ในปัจจุบันได้มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ทำ�ให้การจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี ได้ รับความสนใจ ความร่วมมือจากผู้ที่มีส่วนร่วม เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและภาคเอกชน สถาน ประกอบการต่างๆ ให้ความร่วมมือในการ ขับเคลื่อนและประสบผลสำ�เร็จมากขึ้นและ สอดคล้องกับ มันส์ โจชิม (Munch Joachim, 1991) กล่าวว่า การจัดอาชีวศึกษาระบบ

ทวิภาคี ในประเทศเยอรมัน เป็นความรับผิด ชอบของภาครัฐที่จะต้องคอยดูแล และการ ฝึกอบรมจนต้องเป็นความร่วมมือกับระหว่าง สถานประกอบการและโรงเรียน เพื่อให้เกิด ประสิ ท ธิ ภ าพตามความต้ อ งการของตลาด แรงงาน องค์ ป ระกอบที่ 5 การวั ด และ ประเมินผล (Assessment) มีนวัตกรรมที่ สนับสนุน คือ 1) ใบงาน (Job Sheet) ตาม ภาระงาน การฝึกทักษะวิชาชีพ 2) แฟ้มสะสม งาน (Portfolio) 3) เอกสารรายงาน (Report Paper) 4) การประเมินตามสภาพจริง (Authentic Assessment : Rubric Scoring, Holistic Scoring) 5) สร้างข้อตกลงร่วมกัน โดยมีรูปแบบ เครื่องมือวัด เกณฑ์ ระยะเวลาที่ เหมาะสม นักเรียนนักศึกษาอาชีวศึกษาระบบ ทวิภาคี มีการประเมินมาตรฐานวิชาชีพร่วม กับ หน่วยงานองค์กรภายนอก ที่ได้รับการ ยอมรับ องค์ประกอบที่ 6 หลักสูตร (Curriculum) มีนวัตกรรมที่สนับสนุน คือ 1) จัดการเรียนเป็นชุดการเรียน (Module) 2) หลักสูตรต้องมีความยืดหยุ่น 3) การ บริ ห ารจั ด การหลั ก สู ต รให้ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ 4) มี ก ารประเมิ น ผลการนำ�หลั ก สู ต รไปใช้ 5) การพัฒนาเครื่องมือการทดสอบ 6) คำ�นึง

ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2015/2558

95


นวัตกรรมการบริหารงานอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีในสถานศึกษาอาชีวศึกษา

ถึงคุณภาพ 7) สำ�รวจความต้องการ (Need Assessment) 8) การประเมินทักษะ การ จัดทำ�หลักสูตรที่มุ่งเน้นสมรรถนะในการจัด อาชีวศึกษาระบบทวิภาคี ได้รับความร่วมมือ จากผู้เชี่ยวชาญ ผู้ทรงคุณวุฒิในสาขาวิชาชีพ ต่ า งๆ และสถานประกอบการจั ด ทำ�และ พัฒนาหลักสูตรอย่างต่อเนื่อง มีความเหมาะ สม ทำ�ให้สามารถผลิตนักศึกษาให้มีคุณภาพ ตามความต้องการของสถานประกอบการ องค์ ป ระกอบที่ 7 คุ ณ ลั ก ษณะผู้ เรียน (Trait) มีนวัตกรรมที่สนับสนุน คือ ผลิต นักศึกษาอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีให้มีความ รู้ (Knowledge) มีทักษะ (Skill) ในวิชาที่ ตนเรียน มีคุณลักษณะขยัน ซื่อสัตย์ มีวินัย ฯลฯ และสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ทักษะ วิชาชีพได้ ตามสมรรถนะที่สถานประกอบการ ต้องการ อภิปรายผล 1. ผลการวิ เ คราะห์ ส ภาพการ บริ ห ารงานอาชี ว ศึ ก ษาเชิ ง ปริ ม าณ พบ ว่า สภาพการบริหารงานอาชีวศึกษาระบบ ทวิภาคี ในสถานศึกษาอาชีวศึกษา โดยภาพ รวมอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย ( ) เท่ากับ 3.86 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) เท่ากับ 0.43 โดยผู้อำ�นวยการ รองผู้อำ�นวย

96

วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

การฝ่ายวิชาการ หัวหน้างานอาชีวศึกษา ระบบทวิภาคีและเจ้าหน้าที่งานอาชีวศึกษา ระบบทวิภาคี มีความคิดเห็นสอดคล้องกัน อยู่ในระดับมาก คือหัวหน้างานอาชีวศึกษา ระบบทวิภาคี จัดให้มีการปฐมนิเทศ การ สัมมนาระหว่างการฝึกงาน และปัจฉิมนิเทศ ให้กับนักเรียน นักศึกษาที่ออกฝึกงาน ซึ่ง หมายความว่ า ทุ ก ฝ่ า ยที่ มี ส่ ว นเกี่ ย วข้ อ งกั บ การบริหารงานอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี เห็น ความสำ�คั ญ กั บ นั ก เรี ย นนั ก ศึ ก ษาที่ จ ะออก ฝึกงาน ให้เป็นผู้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ มีความพร้อมในทุกๆ ด้าน ให้บรรลุตามเป้า หมายทางการจัดการอาชีวศึกษา และการ ฝึกอบรมวิชาชีพ ตามมาตรา 6 แห่งพระ ราชบัญญัติการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2551 โดย สำ�นักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาได้ ประกาศนโยบาย การจัดอาชีวศึกษาระบบ ทวิ ภ าคี ใ ห้ ท ราบโดยทั่ ว กั น เพื่ อ ส่ ง เสริ ม สนับสนุนนักเรียนนักศึกษาในการเข้าฝึกงาน กับสถาน ส่วนความเห็นเกี่ยวกับการบริหาร งานอาชีวศึกษาที่อยู่ในระดับน้อยที่สุด พบ ว่า นักเรียนนักศึกษาที่จบอาชีวศึกษาระบบ ทวิภาคี ยังมีคุณลักษณะไม่สู้งานหนัก ไม่มี ความรับผิดชอบ ขาดระเบียบวินัย ซึ่งสอด คล้องกับงานวิจัยของวิทยา ดีวุ่น กล่าวว่าด้าน คุณวุฒิภาวะนักเรียนขาดความพร้อม ขาด


พิศณุ ทองเลิศ และประเสริฐ อินทร์รักษ์

ความรู้ ทั ก ษะพื้ น ฐานและขาดความรั บ ผิ ด ชอบในการฝึกงานอาชีพสอดคล้องกับ พิเชษฐ์ ศรีพนม จากงานวิจัยพบว่านักเรียนในระบบ ทวิภาคี ปัญหาคือ ขาดความรู้ และทักษะพื้น ฐานก่อนการทำ�งานทั้งนี้เนื่องมาจากนักเรียน ยังมีวุฒิภาวะไม่พร้อมที่จะรับผิดชอบ ขาด ทั ก ษะความรู้ และขาดความมั่ น ใจในการ ทำ�งาน อันอาจเนื่องมาจากสภาพครอบครัว เศรษฐกิจ และการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ของสังคมปัจจุบัน 2. นวัตกรรมการบริหารงานอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีใน 7 องค์ประกอบคือ 1) การบริ ห ารจั ด การอาชี ว ศึ ก ษาระบบ ทวิภาคี (Management) 2) ระบบการ ดำ�เนินงานอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี (System) 3) นโยบาย (Policy) 4) ความร่วม มื อ การจั ด อาชี ว ศึ ก ษาระบบทวิ ภ าคี (Collaborative) 5) การวัดและประเมินผล (Assessment) 6) หลักสูตร (Curriculum) และ 7) คุณลักษณะผู้เรียน (Trait) นั้นมี ความสอดคล้องต่อการจัดอาชีวศึกษาและฝึก อบรมวิชาชีพของประเทศไทย และมีความ คล้ายคลึงกับการจัดอาชีวศึกษาของประเทศ สิงคโปร์ กล่าวคือ สถาบันเทคนิคศึกษาของ สิงคโปร์ (ITE: Institute of Technical Education) ให้ความสำ�คัญกับพันธกิจและวิสัย

ทั ศ น์ ร วมถึ ง คุ ณ ค่ า ที่ ต้ อ งขั บ เคลื่ อ นให้ สู่ เ ป้ า หมาย การจัดการศึกษา (Management) ของสถาบัน ITE คำ�นึงถึง 1) Hands-on หมายถึง การใช้มือที่ต้องอาศัยทักษะในการ ปฏิบัติงาน 2) Minds-on หมายถึง จิตใจที่ มุ่งมั่นให้ไปสู่ความสำ�เร็จ และ 3) Heartson หมายถึง หัวใจที่ต้องการให้บริการอย่างมี คุณค่า เกี่ยวกับหลักสูตร (Curriculum) ITE ประกอบด้วย 8 มอดูลหลัก (Core 8 Modules) 80 %, 2 มอดูลเลือก (Electives 2 Modules) 5 %, ทักษะชีวิต (Lift Skill) 15% ซึ่ ง ในทั ก ษะชี วิ ต ให้ ค วามสำ�คั ญ กั บ 1) ทักษะการสื่อสาร (Communication) 2) ทั ก ษะการปรั บ ตั ว เข้ า กั บ ผู้ ร่ ว มงานอื่ น (Personal and Interpersonal) 3) ทักษะ กระบวนการคิด และการแก้ไขปัญหา (Thinking and Problem Solving) 4) การสร้าง ทีมงาน (Team Building Skills) 5) การให้ บริการชั้นเยี่ยม (Service Excellence) หาก พิจารณาด้านการบริหารจัดการอาชีวศึกษา สิงคโปร์มีหลักการพื้นฐาน (Fundamental Principle) สอดคล้องกับการจัดอาชีวศึกษา ในประเทศไทยดังนี้ 1) ความเป็นผู้นำ�ทำ�ให้ มีความแตกต่าง 2) ความเข้าใจถึงความ สำ�คัญของการจัดการอาชีวศึกษามันเป็นการ ท้าทาย และการให้โอกาส 3) ความร่วมมือ

ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2015/2558

97


นวัตกรรมการบริหารงานอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีในสถานศึกษาอาชีวศึกษา

อย่างต่อเนื่องในระบบการศึกษา 4) คำ�นึงถึง ภาระหน้าที่ วิสัยทัศน์ เป้าหมายและคุณค่า 5) ปรั บ ตามนโยบายตามต้ อ งการของการ พัฒนาเศรษฐกิจ 6) ใช้ยุทธวิธีในการวางแผน 7) การสร้างเครือข่าย 8) ความสำ�เร็จเกิด จากความร่ ว มมื อ กั น การพั ฒ นาหลั ก สู ต ร และรูปแบบ Pedagogic 9) มีทีมงานใน การจัดการ 10) การเปลี่ยนภาพพจน์เดิม 11) จัดการศึกษาโดยให้ปฏิบัติจริง มีความ เข้ า ใจในการทำ�งานและมี ใ จรั ก ในงาน 12) สถานศึกษาต้องมีอุปกรณ์ที่ดี ที่ช่วยใน การสอนและการสภาพการเรียนรู้ 13) การ จั ด การขององค์ ก รต้ อ งมี ค วามดี เ ด่ น และ 14) การพัฒนาจะประสบความสำ�เร็จต้อง ได้ รั บ การสนั บ สนุ น จากหน่ ว ยงานและผู้ ที่ เกี่ยวข้อง สรุป ผลการวิ จั ย ดั ง กล่ า วทำ�ให้ ม องเห็ น สภาพการบริ ห ารงานอาชี ว ศึ ก ษาระบบทวิ ภาคีในสถานศึกษา เชิงปริมาณเชิงคุณภาพ และเชิงความรับผิดชอบ มีความสอดคล้องกัน กล่ า วคื อ ในเชิ ง ปริ ม าณมี ส ภาพการบริ ห าร งานอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี ภาพรวมให้ ความสำ�คัญในระดับมาก ส่วนเชิงคุณภาพ จากการสังเคราะห์งานเอกสาร งานวิจัย

98

วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

และการสัมภาษณ์ พบว่าผู้บริหารระดับสูง ของสำ�นักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ให้ความตระหนักและ เห็นความสำ�คัญของการจัดอาชีวศึกษาระบบ ทวิภาคีในสถานศึกษา ด้วยการทำ�ความ ตกลง (MOU : Memorandum Of Understanding) กับองค์กร หน่วยงาน ภาคเอกชน ทั้งในประเทศและต่างประเทศ เช่น บริษัท BMW, HomePro, Isuzu สมาคมโรงแรม บริษัท เอส แอนด์ พี ฯลฯ รวมทั้งความตกลง พัฒนาบุคลากรร่วมกันระหว่างประเทศไทย เยอรมัน เนเธอร์แลนด์ อิสราเอล สิงคโปร์ เป็นต้น และในเชิงความรับผิดชอบเป็นไป ตามพันธกิจ นโยบาย โครงสร้างการบริหาร สถานศึกษาอันมีความเกี่ยวข้องกับการผลิต และพัฒนากำ�ลังแรงงานในระดับฝีมือ ระดับ เทคนิค และระดับเทคโนโลยี ภายใต้พระ ราชบัญญัติการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2551 และ กฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง อีกทั้งความรับผิด ชอบของสถานประกอบการทั้ ง ที่ เ ป็ น ผู้ ใช้ ผลผลิตคือนักเรียนนักศึกษา รวมทั้งผู้มีส่วน เกี่ยวข้อง อันได้แก่ ตัวผู้เรียน ผู้ปกครอง ครู นิ เ ทศ ครู ฝึ ก ในสถานประกอบการและผู้ บริหารสถานศึกษา ส่ ว นนวั ต กรรมการบริ ห ารอาชี ว ศึกษาระบบทวิภาคี มีความเกี่ยวข้องกับ


พิศณุ ทองเลิศ และประเสริฐ อินทร์รักษ์

การบริหารจัดการ ระบบของความร่วมมือ ระหว่ า งสถานศึ ก ษากั บ สถานประกอบการ นโยบาย ความร่วมมือของทุกฝ่าย การวัด และประเมินผล หลักสูตร และคุณลักษณะอัน พึ่งประสงค์ของนักเรียนนักศึกษา ที่ต้องนำ�ไป สู่การปฏิบัติในสถานศึกษาให้บรรลุผลสำ�เร็จ ข้อเสนอแนะทั่วไป ระดับนโยบาย สำ�นักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กำ�หนดให้ทุกสถานศึกษา จัดอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี 5 รูปแบบ ได้แก่ รูปแบบ A จัดอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี เต็มรูปแบบในพื้นที่ รูปแบบ B จัดอาชีวศึกษา ระบบทวิภาคีเต็มรูปแบบนอกพื้นที่ รูปแบบ C จัดอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีบางสาขา รูป แบบ D จัดอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีให้แก่ พนั ก งานของสถานประกอบการ และรู ป แบบ E จัดอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีในต่าง ประเทศ โดยทำ�ข้อตกลงร่วมมือกับสถาน ประกอบการในและนอกพื้นที่ที่สถานศึกษา ตั้งอยู่ หรือดำ�เนินงานร่วมกับศูนย์อาชีวศึกษา ระบบทวิภาคี สำ�นักงานคณะกรรมการการ อาชีวศึกษา เพื่อการทำ�บันทึกข้อตกลงร่วมกัน ระดับสถานศึกษา ผู้บริหารสถาน ศึ ก ษาต้ อ งให้ ค วามสำ�คั ญ และปฏิ บั ติ ใ ห้ ต่ อ เนื่อง

ข้อเสนอแนะสำ�หรับการวิจัยครั้งต่อไป 1. นำ�นวั ต กรรมไปทดลองใช้ ใ น สถานศึกษาอาชีวศึกษา 2. หาปั จ จั ย ที่ ทำ�ให้ น วั ต กรรมมี ประสิทธิภาพ บรรณานุกรม กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน, กระทรวงแรงงาน. 2547. คู่มือสิทธิประโยชน์การฝึก อบรมฝีมือแรงงานภายใต้พระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาฝีมือ แรงงาน พ.ศ. 2545. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว. จันจิรา แก้วสูง. 2542. กรณีศึกษาความ ร่วมมือของสถานศึกษากับสถาน ประกอบการในการจัดการศึกษา ระบบทวิภาคีของวิทยาลัยเทคนิค ปทุมธานี. วิทยานิพนธ์ครุศาสตร์ อุตสาหกรรมมหาบัณฑิต สาขา วิชาเทคโนโลยีเทคนิคศึกษา สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า พระนครเหนือ.

ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2015/2558

99


นวัตกรรมการบริหารงานอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีในสถานศึกษาอาชีวศึกษา

ชนะ กสิภาร์. 2548. หลักการของ นวัตกรรมและนวัตกรรม อาชีวศึกษาและการฝึกอบรม. กรุงเทพฯ : สถาบันเทคโนโลยี พระจอมเกล้าพระนครเหนือ. ณรงค์ ฤทธิเดช. 2552. การพัฒนารูป แบบการดำ�เนินการอาชีวศึกษา ระบบทวิภาคี ระดับอาชีวศึกษา จังหวัด โดยใช้กระบวนการเครือ ข่ายศูนย์กำ�ลังคนอาชีวะจังหวัด. วิทยานิพนธ์ครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกล้าพระนครเหนือ. บรรเลง ศรนิล และคณะ. 2552. การ ศึกษาแนวทางการผลิตกำ�ลังคน ด้านอาชีวศึกษาและเทคโนโลยี ตามความต้องการของประเทศ : กรณีศึกษาประเภทอุตสาหกรรม. กรุงเทพฯ : สำ�นักงานเลขาธิการ สภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ.

100 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

พรหมสวัสดิ์ ทิพย์คงคา. 2546. รายงาน การสังเคราะห์การศึกษาวิจัยเพื่อ ส่งเสริมการพัฒนารูปแบบและวิธี การจัดการอาชีวศึกษา. กรุงเทพฯ: สำ�นักงานคณะกรรมการการ อาชีวศึกษา. Dobbs, K. 2000. Simple Moments of Learning. Training 35, no. 1 (January 2000) : 52-58. Doo H Lim, Training design factors influencing transfer of training to the workplace within and international context. Journal of Vocational Education and Training; 52. Munch Joachim. 1991. Vocational education and training in Germany. Landham : Assembly Drive.


บทบาทครู ในการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม ตามอัตลักษณ์การศึกษาคาทอลิก ในโรงเรียนคาทอลิก สังกัดอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ

The Teacher’s Role in Enhancing Morality and Ethics According to the Identity of Catholic Education in Catholic Schools of The Archdiocese of Bangkok. บาทหลวง ดร.อภิสิทธิ์ กฤษเจริญ

* บาทหลวงในคริสต์ศาสนจักรโรมันคาทอลิก สังฆมณฑลราชบุรี * รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

บาทหลวง ดร.พิเชฐ แสงเทียน, S.J.

* บาทหลวงในคริสต์ศาสนจักรโรมันคาทอลิก สังกัดคณะเยสุอิต * อาจารย์ประจำ�หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทววิทยาจริยธรรม วิทยาลัยแสงธรรม

บาทหลวงธีรพล กอบวิทยากุล

* บาทหลวงในคริสต์ศาสนจักรคาทอลิก สังกัดอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ * อาจารย์ประจำ�วิทยาลัยแสงธรรม

สุดหทัย นิยมธรรม

* อาจารย์ประจำ�วิทยาลัยแสงธรรม

ศรัญญู พงศ์ประเสริฐสิน

* อาจารย์ประจำ�วิทยาลัยแสงธรรม

Rev.Dr.Aphisit Kitcharoen

* Reverend in Roman Catholic Church, Ratchaburi Diocese. * Vice President for Academic Affairs, Saengtham College.

Rev.Dr.Pichet Saengthien, S.J.

* Reverend in Roman Catholic Church, Jesuit. * Lacturer of The Master of Arts Programe in Moral Theology, Saengtham College.

Rev.Theeraphol Kobvithayakul

* Reverend in Roman Catholic Church, Bangkok Archdiocese. * Lacturer at Saengtham College.

Sudthathai Niyomtham

* Lacturer at Saengtham College.

Saranyu Phongpasertsin

* Lacturer at Saengtham College.


บทบาทครูในการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม ตามอัตลักษณ์การศึกษาคาทอลิก ในโรงเรียนคาทอลิก สังกัดอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาบทบาทครูในการส่ง เสริมคุณธรรม จริยธรรม ตามอัตลักษณ์การศึกษาคาทอลิก ในโรงเรียน คาทอลิก สังกัดอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ กลุ่มตัวอย่าง คือ โรงเรียนใน เครือคาทอลิก สังกัดอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ รวมจ�ำนวนทั้งสิ้น 36 โรงเรียน ได้กลุ่มตัวอย่าง จ�ำนวน 32 โรงเรียน ผู้ให้ข้อมูลของแต่ละ สถานศึกษาที่เป็นกลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้บริหารโรงเรียน จ�ำนวน 1 คน ครูหัวหน้าฝ่ายวิชาการ จ�ำนวน 1 คน ครูผู้สอน จ�ำนวน 3 คน รวมผู้ ให้ข้อมูลทั้งสิ้น 160 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม เกี่ยวกับอัตลักษณ์การศึกษาคาทอลิก จ�ำนวน 1 ฉบับ สถิติที่ใช้ในการ วิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าความถี่ (Frequency) ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) และ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ผลการวิจัยพบ ว่า 1. บทบาทครูในการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม ตามอัตลักษณ์การศึกษาคาทอลิก ในโรงเรียนคาทอลิก สังกัดอัครสังฆมณฑล กรุงเทพฯ มีระดับการปฏิบัติโดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก (X=4.21, S.D. = 0.72) 2. บทบาทครูในการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม ตามอัตลักษณ์การศึกษาคาทอลิก ในโรงเรียนคาทอลิก สังกัดอัครสังฆมณฑล กรุงเทพฯ จ�ำแนกรายด้าน พบว่าอยู่ในระดับมากทุกด้าน ดังนี้ คุณค่าที่ 1 ความเชื่อความศรัทธา (X=4.04, S.D.=0.86) คุณค่า ที่ 2 ความจริง (X=4.12, S.D.=0.93) คุณค่าที่ 3 การไตร่ตรอง/ ภาวนา (X=4.27, S.D.=0.78) คุณค่าที่ 4 มโนธรรม/วิจารณญาณ/ ความกล้าหาญเชิงศีลธรรม (X=3.94, S.D.=0.63) คุณค่าที่ 5 อิสรภาพ (X=4.05, S.D.=0.80) คุณค่าที่ 6 ความยินดี (X=4.19, S.D.=0.73) คุณค่าที่ 7 ความเคารพ/ศักดิ์ศรี (X=4.04, S.D.=0.79) คุณค่าที่ 8 ความสุภาพถ่อมตน (X=4.17, S.D.=0.38) คุณค่าที่ 9 ความซื่อตรง (X=4.16, S.D. =0.57) คุณค่าที่ 10 ความเรียบง่าย/ความพอเพียง

102 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม


อภิสิทธิ์ กฤษเจริญ พิเชฐ แสงเทียน ธีรพล กอบวิทยากุล สุดหทัย นิยมธรรม และศรัญญู พงศ์ประเสริฐสิน

(X=4.18, S.D.= 0.66) คุณค่าที่ 11 ความรัก (X=4.35, S.D.=0.76) คุณค่าที่ 12 เมตตา (X=4.15, S.D.=0.84) คุณค่าที่ 13 ความกตัญญู รู้คุณ (X=4.45, S.D.=0.50) คุณค่าที่ 14 การงาน/หน้าที่ (X=4.21, S.D.=0.72) คุณค่าที่ 15 การรับใช้ (X=4.17, S.D.=0.64) คุณค่าที่ 16 ความยุติธรรม (X=4.22, S.D.=0.51) คุณค่าที่ 17 สันติ/การคืนดี (X=4.15, S.D.=0.83) คุณค่าที่ 18 อภัย (X=4.23, S.D.=0.88) คุณค่า ที่ 19 ความเป็นหนึ่ง/ความเป็นชุมชน (X=4.37, S.D.=0.61) คุณค่าที่ 20 ความมหัศจรรย์ใจในสิ่งสร้าง/รักษ์ธรรมชาติ (X=4.42, S.D.=0.78) คุณค่าที่ 21 ความหวัง (X=4.33, S.D.=0.47)

ค�ำส�ำคัญ : Abstract

1) โรงเรียนคาทอลิก 2) อัตลักษณ์การศึกษาคาทอลิก

The purpose of this research was to find the teacher’s role in enhancing morality and ethics according to the Identity of catholic education in catholic schools of the archdiocese of bangkok. The samples were 36 basic education catholic schools in the archdiocese of bangkok. The respondents were administrators, assistant administrators and teachers, 160 respondents in total. The research instrument was a questionnaire on the teacher’s role in enhancing morality and ethics according to the identity of catholic education in catholic schools. The statistics applied in data analysis were frequency (f), percentage (%), mean (X) and standard deviation (S.D.). The findings revealed as follows : 1. The teacher’s role in enhancing morality and ethics according to the identity of catholic education in catholic schools of the archdiocese of bangkok as a whole was at a ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2015/2558

103


บทบาทครูในการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม ตามอัตลักษณ์การศึกษาคาทอลิก ในโรงเรียนคาทอลิก สังกัดอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ

high level. (X=4.21, S.D.=0.72) The teacher’s role in enhancing morality and ethics according to the identity of catholic education in catholic schools of the archdiocese of bangkok when classified by elements found at high levels in all the elements. 1) Faith (X=4.04, S.D.=0.86) 2) Truth (X=4.12, S.D.=0.93) 3) Reflection/Prayer (X=4.27, S.D.=0.78) 4) Conscience/Discernment/Moral Courage (X=3.94, S.D.=0.63) 5) Freedom (X=4.05, S.D.=0.80) 6) Joy (X=4.19, S.D.=0.73) 7) Respect/ Dignity (X=4.04, S.D.=0.79) 8) Humility (X=4.17, S.D.=0.38) 9) Honesty (X=4.16, S.D.= 0.57) 10) Simplicity/Sufficiency (X=4.18, S.D.=0.66) 11) Love (X=4.35, S.D.=0.76) 12) Compassion (X=4.15, S.D.=0.84) 13) Gratitude (X=4.45, S.D.=0.50) 14) Work/Duty (X=4.21, S.D.=0.72) 15) Service (X=4.17, S.D.=0.64) 16) Justice (X=4.22, S.D.=0.51) 17) Peace/Reconciliation (X=4.15, S.D.=0.83) 18) Forgiveness (X=4.23, S.D.=0.88) 19) Unity/Community (X=4.37, S.D.=0.61) 20) Wonder/Conservation (X=4.42, S.D.=0.78) and 21) Hope (X=4.33, S.D.=0.47) Keywords : 1) The Catholic Schools 2) The Identity of Catholic Education

104 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม


อภิสิทธิ์ กฤษเจริญ พิเชฐ แสงเทียน ธีรพล กอบวิทยากุล สุดหทัย นิยมธรรม และศรัญญู พงศ์ประเสริฐสิน

ความเป็นมาและความส�ำคัญของปัญหา ความเจริญก้าวหน้าในสังคมปัจจุบัน ได้ มี ก ารเปลี่ ย นแปลงไปอย่ า งรวดเร็ ว ด้ ว ย กระแสการพัฒนาของสังคมโลกในปัจจุบัน ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางด้านเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม ตลอดจนชีวิตความเป็นอยู่ ในการด�ำเนินชีวิตประจ�ำวันของเยาวชนใน ปัจจุบัน การพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมให้กับ เยาวชนในโรงเรียนเป็นเรื่องที่ส�ำคัญ โดยการ ปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรมในโรงเรียน ในแผนพั ฒ นาเศรษฐกิ จ และสั ง คม แห่งชาติ ฉบับที่ 11 พ.ศ.2555 – 2559 บท ที่ 2 วิสัยทัศน์และยุทธศาสตร์การพัฒนา ใน ส่วนที่ 3 : ยุทธศาสตร์การพัฒนาในระยะแผน พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 บทที่ 4 ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนสู่สังคม แห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างยั่งยืน ข้อที่ 3.3 สถาบันทางสังคมมีความเข้มแข็ง ท�ำหน้า ที่และบทบาทของตนเองได้อย่างเหมาะสม กั บ สถานการณ์ ที่ มี ก ารเปลี่ ย นแปลงตลอด เวลา ทั้งสถาบันครอบครัว สถาบันศาสนา สถาบันการศึกษา และชุมชน ให้เป็นสถาบัน หลักในการพัฒนาความรู้ ปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมที่ดีงาม (ส�ำนักงานคณะ กรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่ง ชาติ : แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่ง

ชาติ ฉบับที่ 11) ได้ชี้ให้เห็นถึงความส�ำคัญ ของการศึ ก ษาที่ ทุ ก คนในประเทศต้ อ งให้ ความเอาใจใส่ ต ่ อ การศึ ก ษาของบุ ค คลใน ครอบครั ว โดยอาศั ย ความช่ ว ยเหลื อ จาก หน่วยงานทางภาครัฐที่ต้องคอยสนับสนุนให้ เด็กทุกคนในประเทศไทยต้องได้รับการศึกษา ที่เท่าเทียมกัน และในหัวข้อที่ 4 ยุทธศาสตร์ การพัฒนาประเทศ ข้อที่ 4.1 ยุทธศาสตร์ การสร้างความเป็นธรรมในสังคม มุ่งสร้าง ภูมิคุ้มกันตั้งแต่ระดับปัจเจก ครอบครัวและ ชุมชน เพื่อให้เป็นสังคมที่มีคุณภาพ สามารถ ปรับตัวเข้ากับการเปลี่ยนแปลงและบริหาร จัดการความเสี่ยงได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดย ให้ความส�ำคัญกับการสร้างความมั่นคงทาง เศรษฐกิ จ และสั ง คมให้ ทุ ก คนในสั ง คมไทย สามารถเข้าถึงบริการทางสังคมที่มีคุณภาพ ได้รับการคุ้มครองทางสังคมที่ครอบคลุมทั่ว ถึงและมีคุณภาพเท่าเทียมกัน มีโอกาสเข้า ถึ ง ทรั พ ยากรและโครงสร้ า งพื้ น ฐานในการ สร้างอาชีพและรายได้ที่มั่นคงสามารถเข้าถึง กระบวนการยุติธรรมอย่างเสมอภาค ได้รับ การคุ้มครองสิทธิ ผลประโยชน์และความ มั่ น คงปลอดภั ย ในชี วิ ต และทรั พ ย์ สิ น อย่ า ง เท่าเทียม และสามารถด�ำรงชีวิตอยู่ได้อย่าง มีศักดิ์ศรี ภายใต้ระบบบริหารจัดการภาครัฐ ที่โปร่งใส ยึดประโยชน์ส่วนรวม และเปิด

ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2015/2558

105


บทบาทครูในการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม ตามอัตลักษณ์การศึกษาคาทอลิก ในโรงเรียนคาทอลิก สังกัดอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ

โอกาสการมีส่วนร่วมของประชาชนทุกภาค ส่วนในกระบวนการพัฒนาประเทศ (แผน พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่สิบ เอ็ด พ.ศ.2555 – 2559) และในรัฐธรรมนูญ แห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2550 ส่วนที่ 4 แนวนโยบายด้านศาสนา สังคม การสาธารณสุข การศึกษา และวัฒนธรรม มาตรา 80 (3) พั ฒ นาคุ ณ ภาพและมาตรฐานการจั ด การ ศึ ก ษาในทุ ก ระดั บ และทุ ก รู ป แบบให้ ส อด คล้ อ งกั บ ความเปลี่ ย นแปลงทางเศรษฐกิ จ และสังคม จัดให้มีแผนการศึกษาแห่งชาติ กฎหมายเพื่อพัฒนาการศึกษาของชาติ จัดให้ มีการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาให้ ก้าวหน้าทันการเปลี่ยนแปลงของสังคมโลก รวมทั้งปลูกฝังให้ผู้เรียนมีจิตส�ำนึกของความ เป็นไทย มีระเบียบวินัย ค�ำนึงถึงประโยชน์ ส่วนรวม และยึดมั่นในการปกครองระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็น ประมุ ข (รั ฐ ธรรมนู ญ แห่ ง ราชอาณาจั ก ร ไทย พ.ศ.2550) เมื่อเป็นดังนี้แล้ว โรงเรียน มี ห น้ า ที่ โ ดยตรงที่ จ ะอบรมสั่ ง สอนนั ก เรี ย น เกี่ยวกับหลักศีลธรรมให้แก่นักเรียน เพื่อให้ นั ก เรี ย นเป็ น ผู ้ มี คุ ณ ธรรมจริ ย ธรรมมากยิ่ ง ขึ้น (สุพัฒน์ ธีรภาพสกุลวงศ์, 2530) ดังนั้น โรงเรียนจะต้องพัฒนาเยาวชนให้เป็นคนดีมี คุณธรรม สามารถท�ำประโยชน์ให้แก่สังคมนั้น

106 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

ถือเป็นหน้าที่หลักของสถานศึกษา การพัฒนา เยาวชนโดยให้เป็นคนดี คนเก่ง มีความรู้คู่ คุณธรรม สามารถน�ำไปปรับใช้ในการด�ำเนิน ชี วิ ต ได้ อ ย่ า งมี ค วามสุ ข เกิ ด ประโยชน์ ต ่ อ ตนเองและส่วนรวม กิติมา ปรีดีดิลก (2529) ได้กล่าวไว้ว่า "...การให้การศึกษาตามแนวทาง ที่ สั ง คมมุ ่ ง หวั ง ดั ง กล่ า วจะประสบผลส� ำ เร็ จ มีประสิทธิภาพมากน้อยเพียงใดนั้นย่อมขึ้น อยู่กับครูทุกคน รวมถึงผู้บริหารสถานศึกษา ซึ่งย่อมมีบทบาทที่มีผลต่อความส�ำเร็จและ ประสิทธิภาพของงานอย่างยิ่ง" สมณกระทรวงการศึ ก ษาคาทอลิ ก ได้ชี้แนะต่อทุกท่านที่มีหน้าที่รับผิดชอบต่อ การศึกษา ไม่ว่าจะเป็นผู้ปกครอง ครู คน หนุ่มสาว ตลอดจนเจ้าหน้าที่ของโรงเรียน ให้ ช่วยกันรวบรวมทรัพยากรและวิธีการเท่าที่ จะมี เพื่อช่วยกันให้โรงเรียนคาทอลิกสามารถ ให้ ก ารรั บ ใช้ อ ย่ า งมี ผ ลแท้ จ ริ ง ในการสร้ า ง พลเมืองที่ดีและในการแพร่ธรรม (อัตลักษณ์ การศึกษาคาทอลิก, 2551) พระศาสนจักร คาทอลิกมีความห่วงใยเยาวชนทุกคนที่เข้า มาศึกษาในโรงเรียนคาทอลิก และพระศาสนจั ก รยั ง พยายามเน้ น ย�้ ำ ให้ ผู ้ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งให้ ความใส่ใจ สนใจเยาวชนทุกคนที่เข้ามาศึกษา เพื่อเยาวชนเหล่านั้นจะสามารถพัฒนาศักยภาพของตนเอง โดยเฉพาะเรื่องคุณธรรม


อภิสิทธิ์ กฤษเจริญ พิเชฐ แสงเทียน ธีรพล กอบวิทยากุล สุดหทัย นิยมธรรม และศรัญญู พงศ์ประเสริฐสิน

จริยธรรมให้มีมากยิ่งขึ้น เพื่อน�ำไปใช้ในชีวิต ประจ�ำวัน และในสังคมที่ตนเองอยู่ด้วย นอกจากนี้ “โรงเรียนคาทอลิกเป็น องค์ประกอบส่วนหนึ่งแห่งพันธกิจการไถ่กู้ ของพระศาสนจักร โดยเฉพาะอย่างยิ่งในการ ศึกษาเกี่ยวกับความเชื่อ โดยระลึกว่า การ พัฒนาจิตส�ำนึกด้านจิตวิทยาและจริยธรรม ของมนุษย์ที่ต้องเกิดขึ้นควบคู่กันไปนั้นเป็น สิ่งที่พระคริสตเจ้าทรงเรียกร้องให้ต้องเป็น เงื่อนไขแรกก่อนที่จะสามารถรับพระพรแห่ง ความจริงและพระหรรษทาน พระศาสนจักร ท� ำ หน้ า ที่ ข องตนโดยการสนั บ สนุ น บรรดา บุ ต รแห่ ง ตนให้ มี ค วามตื่ น ตั ว และตระหนั ก อย่างเต็มที่ถึงการเกิดใหม่ของพวกเขาสู่ชีวิต ใหม่ เมื่อใดที่พระวรสารของพระคริสตเจ้า หยั่ ง รากลึ ก ลงไปในสติ ป ั ญ ญาและชี วิ ต ของ สัตบุรุษ เมื่อนั้นแหละโรงเรียนคาทอลิกจึงจะ พบค�ำจ�ำกัดความในความหมายของตนซึ่งไป ได้ด้วยดีกับสภาพการณ์วัฒนธรรมแห่งกาล เวลาปัจจุบัน” (อัตลักษณ์การศึกษาคาทอลิก, 2551) พระศาสนจักรได้เน้นย�้ำว่า ภารกิจของ โรงเรียนคาทอลิกคือการพัฒนาบุคคลที่เข้า มาศึกษาให้มีความพร้อมทางด้านจริยธรรม คุณธรรม ที่ต้องปลูกฝังลงไปให้กับผู้ที่มาเรียน ไม่ใช่แต่เพียงความรู้อย่างเดียวเท่านั้น แต่ต้อง เพียบพร้อมไปในทุกๆ ด้าน โดยอาศัยพระ

วรสารของพระคริสตเจ้าเป็นหลักเกณฑ์ใน การด�ำเนินการปฏิบัติ โดยในประเด็นนี้ โรงเรียนคาทอลิกจะต้องมีการเตรียมความ พร้ อ มทั้ ง ในด้ า นวิ ช าการ อาคารสถานที่ บุคลากร โดยมีการจัดเตรียมให้การอบรม พัฒนาทักษะต่างๆ แก่บุคคลที่มีส่วนเกี่ยวข้อง ตั้งแต่ผู้บริหารจนถึงบุคลากรทุกฝ่ายในโรง เรียนคาทอลิกด้วย โรงเรี ย นคาทอลิ ก นอกจากจะเน้ น เรื่องวิชาการ หลักสูตร ความพร้อมด้านอาคาร สถานที่แล้ว สิ่งที่ส�ำคัญประเด็นหนึ่งก็คือ เรื่อง คุณธรรม จริยธรรม พระศาสนจักรคาทอลิก แห่งประเทศไทย ได้ก�ำหนดนโยบายปฏิบัติ ข้อที่ 6 ที่ว่า “ด�ำเนินการให้สถานศึกษาเป็น สนามแห่งการแพร่ธรรมมากขึ้นโดยให้การ อบรมและฟื้นฟูชีวิตนักเรียน เยาวชน และ บุคคลที่เกี่ยวข้องในการด�ำเนินชีวิตตามจิตตารมณ์ของพระคริสตเจ้าเพื่อให้การศึกษา เป็นกระบวนการ ที่ส่งเสริมศักดิ์ศรีมนุษย์ สร้างคุณธรรม จริยธรรมและสันติในสังคม ตามระบอบประชาธิปไตย ให้โอกาสแก่นัก เรียนคาทอลิกและผู้ยากไร้ อีกทั้งเน้นการมี ส่วนร่วมระหว่างบ้าน โบสถ์ สถานศึกษา และชุมชน เพื่อให้ทุกสถาบันและองค์กรได้ เป็นสนามแพร่ธรรมอย่างแท้จริง” โรงเรียน คาทอลิกซึ่งเน้นการพัฒนาคนทั้งครบ จึงมีจิต-

ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2015/2558

107


บทบาทครูในการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม ตามอัตลักษณ์การศึกษาคาทอลิก ในโรงเรียนคาทอลิก สังกัดอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ

ตาภิบาลซึ่งหมายถึงบุคคลที่ท�ำหน้าที่เอาใจ ใส่ต่อคุณค่าชีวิตของ บุคคลและกลุ่มบุคคลใน ความรับผิดชอบ ซึ่งหมายถึง ผู้บริหาร ครูและ นักเรียนทุกคนในสถานศึกษา จิตตาภิบาลใน โรงเรียนคาทอลิก มีหน้าที่ 1) เน้นความส�ำคัญ ของครู เป็นความส�ำคัญล�ำดับแรกในการจัด การศึกษา 2) ให้ความส�ำคัญกับการศึกษา ด้านจิตใจและอภิบาลเอาใจใส่นักเรียน การ ปฏิ บั ติ ศ าสนกิ จ และหน้ า ที่ ต ามข้ อ ก� ำ หนด ของศาสนาเพื่อเป็นศาสนิกชนที่ดี ในขณะที่ ตระหนักดีว่าผู้บริหารต้องเป็นแบบอย่างที่ดี แก่ครูและนักเรียนด้วย 3) เน้นการอภิบาล โดยให้ความส�ำคัญต่อการจัดบรรยากาศของ โรงเรียน เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ และพัฒนา คุณธรรม จริยธรรม 4) ส่งเสริมและอภิบาล เอาใจใส่ต่อชีวิต ปลูกฝังค่านิยมที่ดีแห่งการรับ ใช้ และการบ�ำเพ็ญประโยชน์ ในการด�ำเนิน ชีวิตประจ�ำวัน เพื่อเป็นสมาชิกของสังคมและ พลเมืองที่ดีของประเทศ และ 5) ส่งเสริม การท�ำงานร่วมกับผู้อื่น เน้นความรับผิดชอบ ต่อหน้าที่ และมีความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน แม้จะ นับถือศาสนาหรือมีบุคลิกลักษณะวัฒนธรรม ต่างกัน บนพื้นฐานของคุณภาพและจิตใจดี งาม (ฝ่ายการศึกษาอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ, 2545) เราจะเห็นได้ว่า ความส�ำคัญของการ สอดแทรกคุณธรรม จริยธรรมลงไปในการ

108 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

สอนในโรงเรียนคาทอลิก จะช่วยให้มีการ พั ฒ นาของนั ก เรี ย นในโรงเรี ย นให้ มี ค วามรู ้ และสามารถฝึ ก ฝนตนเองให้ เ ป็ น บุ ค คลที่ มีคุณธรรมและจริยธรรมได้ นอกจากนี้ใน โรงเรียนคาทอลิกต้องปลูกฝัง และส่งเสริมให้ ทั้งผู้ที่ได้เรียนในโรงเรียนคาทอลิก และผู้ที่ได้ สัมผัสโรงเรียนคาทอลิก ไม่วา่ จะเป็นผูป้ กครอง บุคลากรทางการศึกษา รวมทั้งผู้ที่มีโอกาส มาเยี่ยมชมโรงเรียนได้เห็นถึงการใส่ใจ เอาใจ ใส่คุณค่าทางด้านคุณธรรม จริยธรรม เพื่อว่า รับรู้ถึงคุณค่าความส�ำคัญของคุณธรรมและ จริยธรรมที่ได้ปลูกฝังในโรงเรียนคาทอลิกด้วย สภาการศึกษาคาทอลิกแห่งประเทศ ไทยได้รวบรวมสมณสาสน์ต่างๆ ของพระ ศาสนจั ก รสากลที่ เ ป็ น หลั ก การพื้ น ฐานของ การศึกษาคาทอลิก ตั้งแต่สังคายนาวาติกันที่ 2 โดยรวมมี 8 ฉบับ เพื่ออ�ำนวยความสะดวก แก่นักการศึกษาคาทอลิก โดยพระคาร์ดินัล ไมเกิล้ มีชยั กิจบุญชู ได้เป็นผูก้ ำ� หนดชือ่ หนัง สือเล่มนี้ว่า “อัตลักษณ์การศึกษาคาทอลิก” หนังสือเล่มนี้ เป็นการสนองตอบนโยบายการ ปฏิรูปการศึกษาคาทอลิก โดยการจัดประ ชุ ม เชิ ง ปฏิ บั ติ ก าร โดยใช้ ส มณสาสน์ ต ่ า งๆ เป็ น พื้ น ฐานในการเอื้ อ อ� ำ นวยให้ ผู ้ บ ริ ห าร โรงเรียนคาทอลิกสร้างอัตลักษณ์ของโรงเรียน คาทอลิกบนพื้นฐานของความเป็นศาสนจักร


อภิสิทธิ์ กฤษเจริญ พิเชฐ แสงเทียน ธีรพล กอบวิทยากุล สุดหทัย นิยมธรรม และศรัญญู พงศ์ประเสริฐสิน

คาทอลิกในประเทศไทย และในที่สุดเมื่อได้ สังเคราะห์ผลของการประชุมเชิงปฏิบัติการ จนในที่สุดเกิดหนังสือ “ก้าวไปข้างหน้าด้วย อัตลักษณ์การศึกษาคาทอลิก” ซึ่งเป็นเครื่อง มือที่ส�ำคัญแก่โรงเรียนคาทอลิกในการปฏิรูป โรงเรียนต่อไป โดยมีความเป็นไทยในความ เป็นส่วนหนึ่งของพระศาสนจักรสากลด้วยเช่น กัน สาระส�ำคัญของ “ก้าวไปข้างหน้าด้วย อัตลักษณ์การศึกษาคาทอลิก” นั้น ท�ำให้เรา ได้เห็นถึงภารกิจต่างๆ ของสถานศึกษา โดย อาศัยความร่วมมือจากทุกๆ ภาคส่วนในแต่ละ สังฆมณฑล เพื่อความส�ำเร็จของเป้าหมายการ ศึกษาคาทอลิกที่ได้วางไว้ ในการด�ำเนินการวิจัยในครั้งนี้ คณะ ผู้วิจัยได้น�ำคุณค่าพระวรสาร 21 ประการ (ก้ า วไปข้ า งหน้ า ด้ ว ยอั ต ลั ก ษณ์ ก ารศึ ก ษา คาทอลิก, 2012) ส�ำหรับอัตลักษณ์การศึกษา คาทอลิกมาเป็นที่ตั้ง เพื่อคาดหวังว่า ใน โรงเรียนคาทอลิกมีการด�ำเนินงานตามคุณค่า พระวรสาร 21 ประการ เพื่อพัฒนาเยาวชน ที่ ไ ด้ ม าศึ ก ษาในโรงเรี ย นคาทอลิ ก ได้ ท ราบ เข้าใจ และน�ำไปปฏิบัติในชีวิตประจ�ำวันของ ตนได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมทั้งปฏิบัติตน เป็นแบบอย่างที่ดีต่อบุคคลรอบข้างได้อย่างดี ด้วย

คุณค่าพระวารสาร 21 ประการ ประกอบด้วย 1. ความเชื่ อ เป็ น พื้ น ฐานของทุ ก คุณค่า คุณค่าที่ 1 ค ว า ม เ ชื่ อ ค ว า ม ศรัทธา (Faith) 2. คุณค่าที่เป็นหน้าที่ต่อพระเจ้า และต่อตนเอง คุณค่าที่ 2 ความจริง (Truth) คุณค่าที่ 3 การไตร่ตรอง/ภาวนา (Reflection/Prayer) คุณค่าที่ 4 มโนธรรม/วิ จ ารณญาณ/ความกล้ า หาญเชิ ง ศี ล ธรรม (Conscience/Discernment/Moral Courage) คุณค่าที่ 5 อิ ส ร ภ า พ ( F r e e dom) คุณค่าที่ 6 ความยินดี (Joy) คุณค่าที่ 7 ความเคารพ/ศักดิ์ศรี (Respect/Dignity) คุณค่าที่ 8 ความสุ ภ าพถ่ อ มตน (Humility) คุณค่าที่ 9 ความซื่อตรง (Honesty) คุณค่าที่ 10 ความเรียบง่าย/ความ พอเพียง (Simplicity/Sufficiency)

ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2015/2558

109


บทบาทครูในการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม ตามอัตลักษณ์การศึกษาคาทอลิก ในโรงเรียนคาทอลิก สังกัดอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ

3. ความรักเป็นจุดมุ่งหมายสูงสุด ของทุกคุณค่า คุณค่าที่ 11 ความรัก (Love) 4. คุณค่าที่เป็นหน้าที่ต่อผู้อื่นและ สิ่งสร้าง คุณค่าที่ 12 เมตตา (Compassion) คุณค่าที่ 13 ความกตั ญ ญู รู ้ คุ ณ (Gratitude) คุณค่าที่ 14 การงาน/หน้าที่ (Work/ Duty) คุณค่าที่ 15 การรับใช้ (Service) คุณค่าที่ 16 ความยุติธรรม (Justice) คุณค่าที่ 17 สันติ/การคืนดี (Peace/ Reconciliation) คุณค่าที่ 18 อภัย (Forgiveness) คุณค่าที่ 19 ความเป็ น หนึ่ ง /ความ เป็นชุมชน (Unity/Community) คุณค่าที่ 20 การพิ ศ เพ่ ง สิ่ ง สร้ า ง/ รักษ์ธรรมชาติ (Wonder/Conservation) 5. ความหวังเป็นความมั่นคงของ ทุกคุณค่า คุณค่าที่ 21 ความหวัง (Hope) ดังนั้น ผู้วิจัยจึงได้เห็นถึงความส�ำคัญ และได้ท�ำการวิจัยเรื่อง “บทบาทครูในการส่ง เสริมคุณธรรม จริยธรรม ตามอัตลักษณ์การ

110 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

ศึกษาคาทอลิก ในโรงเรียนคาทอลิก สังกัด อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ” เพื่อเป็นฐานข้อมูล ให้แก่โรงเรียนคาทอลิก สังกัดอัครสังฆมณฑล กรุงเทพฯ ในการหาวิธีการ แนวทาง หรือ กลยุ ท ธ์ ม าปลู ก ฝั ง และพั ฒ นาจริ ย ธรรมใน โรงเรียนให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล มากยิ่งขึ้น วัตถุประสงค์ของการวิจัย เพื่อศึกษาบทบาทครูในการส่งเสริม คุณธรรม จริยธรรม ตามอัตลักษณ์การศึกษา คาทอลิ ก ในโรงเรี ย นคาทอลิ ก สั ง กั ด อั ค รสังฆมณฑลกรุงเทพฯ นิยามศัพท์เฉพาะ โรงเรี ย นคาทอลิ ก สั ง กั ด อั ค ร สังฆมณฑลกรุงเทพฯ หมายถึง โรงเรียน คาทอลิกแห่งอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ ที่เปิด ท� ำ การสอนหลั ก สู ต รการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน พุทธศักราช 2551 โดยมุขนายก มิสซังโรมัน คาทอลิกแห่งกรุงเทพฯ เป็นผู้รับใบอนุญาต และมอบอ�ำนาจให้บาทหลวงของอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ เป็นผู้แทนผู้รับใบอนุญาต และด� ำ เนิ น การบริ ห ารโดยบาทหลวงและ นักบวชคาทอลิก โดยมีผู้ช่วยมุขนายกฝ่าย การศึกษา เป็นผู้ดูแลก�ำกับนโยบายทางการ


อภิสิทธิ์ กฤษเจริญ พิเชฐ แสงเทียน ธีรพล กอบวิทยากุล สุดหทัย นิยมธรรม และศรัญญู พงศ์ประเสริฐสิน

ศึ ก ษามี โรงเรี ย นที่ จั ด การศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน จ�ำนวน 36 แห่ง และแบ่งเป็น 6 เขตการศึกษา ซึ่งครอบคลุมพื้นที่ 10 จังหวัด ประกอบด้วย จังหวัดกรุงเทพฯ จังหวัดนครปฐม จังหวัด อยุธยา จังหวัดฉะเชิงเทรา จังหวัดสมุทรปราการ จังหวัดสุพรรณบุรี จังหวัดนครนายก จังหวัดนนทบุรี จังหวัดปทุมธานี และจังหวัด สมุทรสาคร อั ต ลั ก ษณ์ ก ารศึ ก ษาคาทอลิ ก หมายถึ ง ลั ก ษณะเฉพาะที่ เ ป็ น ตั ว ตนของ สถานศึกษาที่สอดคล้องกับเจตนารมณ์ในการ จัดตั้งสถานศึกษา หรือลักษณะโดดเด่นของ สถานศึกษา ควรเน้นที่การก�ำหนดภาพความ ส�ำเร็จในตัวผู้เรียน ตามคุณค่าพระวรสาร 21 ประการ การด�ำเนินการวิจัย ขั้นตอนที่ 1 การจัดเตรียมโครงการ วิจัย เป็นการศึกษาข้อมูล สถิติ วรรณกรรมที่ เกี่ยวข้องต่างๆ จากต�ำรา เอกสารทางวิชาการ วารสาร เว็บไซต์ ตลอดจนงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เพื่ อ น� ำ ผลที่ ไ ด้ จ ากการศึ ก ษามาจั ด ท�ำ โครง ร่างงานวิจัย รับข้อเสนอแนะของกรรมการที่ ปรึกษางานวิจัย มาปรับปรุงแก้ไขข้อบกพร่อง ต่างๆ ให้สมบูรณ์ ขั้นตอนที่ 2 การด�ำเนินการวิจัย

เป็นขั้นตอนที่ผู้วิจัยจัดสร้างเครื่องมือส�ำหรับ เก็บรวบรวมข้อมูล ทดสอบ ปรับปรุงแก้ไข ข้อบกพร่องของเครื่องมือ แล้วน�ำเครื่องมือที่ สร้างขึ้น ไปเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง แล้ว น�ำข้อมูลที่เก็บรวบรวมได้ มาตรวจสอบความ ถูกต้อง ท�ำการวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ และ แปลผลการวิเคราะห์ข้อมูล ขั้นตอนที่ 3 การรายงานผลการ วิจัย เป็นขั้นตอนของการจัดท�ำร่างรายงาน ผลการวิจัยน�ำเสนอคณะกรรมการงานวิจัย เพื่อตรวจสอบความถูกต้อง ปรับปรุงแก้ไขข้อ บกพร่องตามที่คณะกรรมการงานวิจัยเสนอ แนะ จัดท�ำรายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์เสนอ ต่อสภาการศึกษาคาทอลิก ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ โรงเรียนคาทอลิก สังกัดอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ ที่เปิดท�ำการสอนหลักสูตรการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 จ�ำนวน 36 โรง กลุ ่ ม ตั ว อย่ า งและผู ้ ใ ห้ ข ้ อ มู ล การ ก�ำหนดกลุ่มตัวอย่าง ใช้ตารางประมาณขนาด ตัวอย่างของเครจซีและมอร์แกน (Krejcie and Morgan) จากโรงเรียนคาทอลิก สังกัด อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ ที่เปิดท�ำการสอน หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 จ�ำนวนทั้งสิ้น 36 โรง ได้กลุ่มตัวอย่าง

ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2015/2558

111


บทบาทครูในการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม ตามอัตลักษณ์การศึกษาคาทอลิก ในโรงเรียนคาทอลิก สังกัดอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ

32 โรง แล้วใช้วิธีการสุ่มอย่างง่าย (Simple Random Sampling) โดยผู้ให้ข้อมูลแต่ละ โรงเรียน โรงเรียนละ 5 คน ประกอบด้วย ผู้ บริหารโรงเรียน จ�ำนวน 1 คน ครูหัวหน้างาน จิตตาภิบาล จ�ำนวน 1 คน ครูผู้สอนหรือครู จิตตาภิบาล จ�ำนวน 3 คน รวมผู้ให้ข้อมูลทั้ง สิ้น 160 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ เป็น แบบสอบถามจ�ำนวนหนึ่งฉบับ แบ่งออกเป็น 2 ตอน ดังนี้ ตอนที่ 1 สอบถามเกี่ยวกับสถานภาพ ส่วนตัวของผู้ให้ข้อมูล มีลักษณะเป็นแบบ ตรวจสอบรายการ (Check list) จ�ำนวน 4 ข้อ สอบถามเกี่ยวกับ 1) เพศ 2) อายุ 3) สถานภาพ 4) ระดับการศึกษา ตอนที่ 2 สอบถามคุณลักษณะพึง ประสงค์ของผู้เรียน ตามอัตลักษณ์การศึกษา คาทอลิก 21 ประการและแบบสอบถามใน ตอนที่ 2 มีลักษณะเป็นมาตราส่วนประมาณ ค่า 5 ระดับของไลเคิร์ท (Likert’s Five Rating Scale) สรุปผลการวิจัย ผลจากการวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ มีข้อค้นพบสรุปได้ดังนี้ 1. บทบาทครู ใ นการส่ ง เสริ ม

112 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

คุณธรรม จริยธรรม ตามอัตลักษณ์การศึกษา คาทอลิก ในโรงเรียนคาทอลิก สังกัดอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ มีระดับการปฏิบัติโดย ภาพรวมอยู่ในระดับมาก (X=4.21, S.D.= 0.72) 2. บทบาทครู ใ นการส่ ง เสริ ม คุณธรรม จริยธรรม ตามอัตลักษณ์การศึกษา คาทอลิก ในโรงเรียนคาทอลิก สังกัดอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ จ�ำแนกรายด้าน พบว่า อยู่ในระดับมากทุกด้าน ดังนี้ คุณค่าที่ 1 ความเชื่อความศรัทธา (X=4.04, S.D.=0.86) คุณค่าที่ 2 ความ จริง (X=4.12, S.D.=0.93) คุณค่าที่ 3 การ ไตร่ตรอง/ภาวนา (X=4.27, S.D.=0.78) คุณค่าที่ 4 มโนธรรม/วิจารณญาณ/ความ กล้าหาญเชิงศีลธรรม (X=3.94, S.D.=0.63) คุณค่าที่ 5 อิสรภาพ (X=4.05, S.D.=0.80) คุณค่าที่ 6 ความยินดี (X=4.19, S.D.=0.73) คุณค่าที่ 7 ความเคารพ/ศักดิ์ศรี (X=4.04, S.D.=0.79) คุณค่าที่ 8 ความสุภาพถ่อม ตน (X=4.17, S.D.=0.38) คุณค่าที่ 9 ความ ซื่อตรง (X=4.16, S.D.=0.57) คุณค่าที่ 10 ความเรียบง่าย/ความพอเพียง (X=4.18, S.D. =0.66) คุณค่าที่ 11 ความรัก (X=4.35, S.D. =0.76) คุณค่าที่ 12 เมตตา (X=4.15, S.D. =0.84) คุณค่าที่ 13 ความกตัญญูรู้คุณ (X=


อภิสิทธิ์ กฤษเจริญ พิเชฐ แสงเทียน ธีรพล กอบวิทยากุล สุดหทัย นิยมธรรม และศรัญญู พงศ์ประเสริฐสิน

4.45, S.D.=0.50) คุณค่าที่ 14 การงาน/หน้าที่ (X=4.21, S.D.=0.72) คุณค่าที่ 15 การรับ ใช้ (X=4.17, S.D.=0.64) คุณค่าที่ 16 ความ ยุติธรรม (X=4.22, S.D.=0.51) คุณค่าที่ 17 สันติ/การคืนดี (X=4.15, S.D.=0.83) คุณค่า ที่ 18 อภัย (X=4.23, S.D.=0.88) คุณค่าที่ 19 ความเป็นหนึ่ง/ความเป็นชุมชน (X=4.37, S.D.=0.61) คุณค่าที่ 20 ความมหัศจรรย์ใจใน สิ่งสร้าง/รักษ์ธรรมชาติ (X=4.42, S.D.=0.78) คุณค่าที่ 21 ความหวัง (X=4.33, S.D.=0.47) การอภิปรายผล 1. ผลการวิจัย พบว่า โรงเรียน คาทอลิกในอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ มีการ เตรี ย มความพร้ อ มในการพั ฒ นาโรงเรี ย น ให้มีความโดดเด่นด้านคุณธรรม จริยธรรม อย่างต่อเนื่อง โดยทางฝ่ายการศึกษา อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ มีการเตรียมความพร้อม ด้านอัตลักษณ์การศึกษาคาทอลิก โดยการ ให้ความรู้ความเข้าใจกับคณะผู้บริหาร คณะ ครู นักเรียน เพื่อความเข้าใจถึงเป้าหมายที่แท้ จริงของโรงเรียนคาทอลิก และมีการจัดอบรม ตามโรงเรียนเพื่อสร้างความเข้าใจที่เป็นหนึ่ง เดียวกันในอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ ความส�ำคัญของบทบาทครูในการส่ง เสริมคุณธรรม จริยธรรมตามอัตลักษณ์การ

ศึกษาคาทอลิกนั้น ผู้บริหารมีความส�ำคัญ เป็นอย่างมาก ผู้บริหารโรงเรียนคาทอลิกทุก คนตระหนัก และเข้าใจถึงความส�ำคัญของ นโยบายของฝ่ายการศึกษาอัครสังฆมณฑล กรุงเทพฯ ที่ว่า “การพัฒนาตนเองและยก ระดับมาตรฐานการศึกษาให้เจริญก้าวหน้า มุ่งสู่ความเป็นเลิศทางวิชาการ และประสิทธิภาพการท�ำงาน” คือ ในการจะพัฒนาโรง เรียนคาทอลิกให้มุ่งไปสู่เป้าหมายที่ได้ตั้งไว้ ท�ำให้โรงเรียนคาทอลิก ในอัครสังฆมณฑล กรุงเทพฯ ทราบถึงจุดหมายที่แท้จริงและก้าว เดินตามเป้าหมายที่ได้ตั้งไว้ซึ่งสอดคล้องกับ งานวิจัยของนารายณ์ นาคปนทอง (2545) ศึ ก ษาบทบาทของผู ้ บ ริ ห ารโรงเรี ย นในการ พั ฒ นาจริ ย ธรรมของนั ก เรี ย นระดั บ มั ธ ยม ศึ ก ษาในโรงเรี ย นสั ง กั ด กรมสามั ญ ศึ ก ษา จังหวัดกระบี่ ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก และสอดคล้องกับงานวิจัยของมานิต คงเจริญ (2545) ศึกษาบทบาทของผู้บริหารโรงเรียน ในการส่งเสริมจริยธรรมนักเรียนในโรงเรียน มัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา จังหวัด ฉะเชิงเทรา ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก นอกจากนี้ บทบาทของครูมีความ ส� ำ คั ญ อย่ า งยิ่ ง ในการพั ฒ นาคุ ณ ธรรม จริยธรรม ตามอัตลักษณ์การศึกษาคาทอลิก โดยฝ่ายการศึกษาอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ

ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2015/2558

113


บทบาทครูในการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม ตามอัตลักษณ์การศึกษาคาทอลิก ในโรงเรียนคาทอลิก สังกัดอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ

ได้ลงพื้นที่ให้ความรู้ ความเข้าใจถึงอัตลักษณ์ การศึกษาคาทอลิก เพื่อคณะครูจะได้น�ำไป ถ่ายทอดในวิชาการเรียนการสอน การด�ำเนิน ชีวิตประจ�ำวัน รวมทั้งการจัดกิจกรรมการ เรียนการสอนต่างๆ ในโรงเรียน เพื่อให้นัก เรียนได้ซึมซับถึงอัตลักษณ์การศึกษาคาทอลิก ที่แท้จริง อัตลักษณ์การศึกษาคาทอลิก ท�ำให้ เข้าใจลึกซึ้งถึงความเป็นคาทอลิก เข้าใจหลัก ศาสนา แนวปฏิบัติ ความเชื่อ และการสร้าง บรรยากาศโรงเรียนคาทอลิก การท�ำงานกลุ่ม ท�ำให้ได้รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น ได้แลก เปลี่ยนความรู้ซึ่งกันและกัน สิ่งต่างๆ เหล่านี้ ล้วนมีความจ�ำเป็นและส�ำคัญในการด�ำเนิน ชีวิตของนักเรียนในโรงเรียนคาทอลิก สอด คล้องกับ ถ้อยแถลงการณ์ประชุมสัมมนาประ จ�ำปีการศึกษา 2556 ของสภาการศึกษา คาทอลิกแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 43 หัวข้อ โรงเรียนคาทอลิกในมาตรฐานสากล เมื่อวัน ที่ 18 – 21 สิงหาคม 2556 ณ โรงแรมเอเชีย พัทยา จังหวัดชลบุรี ว่า “ขณะที่ก�ำลังก้าวเข้า สู่สังคมอาเซียนในอนาคตอันใกล้นี้ โรงเรียน คาทอลิกเห็นความจ�ำเป็น ที่จะต้องปรับตัว เข้าสู่มาตรฐานสากลมากขึ้น โดยให้ความ ส�ำคัญกับการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นการ ไตร่ตรองนี้ เพื่อนักเรียนไม่เพียงแต่รู้ว่า “ฉัน ได้เรียนรู้อะไร”แต่ยังรู้ด้วยว่า “ฉันเข้าใจได้

114 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

อย่ า งไร” และ “ท� ำ ไมฉั น จึ ง ต้ อ งเรี ย นเรื่ อ ง นี้ ” จนกระทั่ ง ในบางโอกาสสามารถสั ม ผั ส ความน่าพิศวงของกลไกธรรมชาติ ที่พระผู้ สร้างประทานให้ด้วย ซึ่งจะช่วยให้นักเรียน เปลี่ยนชีวิตจากภายในของตน และสร้าง ทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิต ทั้งนี้ โดยมีครู เป็นต้นแบบและเพื่อนร่วมทางของนักเรียน บนเส้นทางแห่งการเรียนรู้ นอกนั้นโรงเรียน คาทอลิกยังต้องให้ความส�ำคัญในการมีวิชา หลักสูตร และกิจกรรมการเรียนรู้ที่ท�ำให้เท่า ทันเทคโนโลยีและสื่อ ครูมีโอกาสพัฒนาการ ใช้สื่อดิจิตอลในการเรียนรู้และถ่ายทอด อีก ทั้งท�ำงานร่วมกันเป็นชุมชนในการปรับปรุง กระบวนการจั ด การเรี ย นรู ้ ใ ห้ ดี ยิ่ ง ๆ ขึ้ น อยู ่ เสมอ เพื่อเตรียมนักเรียนให้พร้อมที่จะมีชีวิต การท�ำงานในยุคโลกาภิวัตน์อย่างมีศักดิ์ศรี ในการน� ำ อั ต ลั ก ษณ์ ก ารศึ ก ษา คาทอลิ ก สู ่ ภ าคปฏิ บั ติ ใ ห้ เ ป็ น ที่ ป ระจั ก ษ์ โรงเรียนคาทอลิกในมาตรฐานสากลยังต้องมุ่ง มั่น ที่จะปฏิรูปโรงเรียนให้เป็นสนามแห่งการ อบรม และเป็นฐานแห่งการประกาศข่าวดี อย่างชัดเจนยิ่งขึ้น ซึ่งต้องเป็นการประกาศ ข่าวดีใหม่ ด้วยชีวิตก่อนและติดตามด้วยวาจา มุ่งเน้นการพัฒนาด้านสติปัญญาของนักเรียน ให้รับรู้ถึงสิ่งที่เป็นความจริง ความดี และ ความงาม รวมทั้งด้านความเป็นมนุษย์ บน


อภิสิทธิ์ กฤษเจริญ พิเชฐ แสงเทียน ธีรพล กอบวิทยากุล สุดหทัย นิยมธรรม และศรัญญู พงศ์ประเสริฐสิน

พื้ น ฐานของคุ ณ ค่ า ส� ำ คั ญ สองประการคื อ “อิสรภาพและการรับใช้” เพื่อให้นักเรียนมี อิสรภาพด้วยการรู้จักไตร่ตรอง ก่อนการเลือก และตัดสินใจท�ำสิ่งที่ถูกต้องดีงามอย่างกล้า หาญและรับผิดชอบ พร้อมทั้งเปิดตัวออกจาก ตนเอง เพื่อรับใช้ผู้อื่น ชุมชน และสังคมโลก เนื่ อ งด้ ว ยภารกิ จ ในถ้ อ ยแถลงดั ง กล่าวนี้ เป็นกระบวนการที่เรียกร้องให้นักการ ศึกษาคาทอลิกทุกคนทุ่มเทและอุทิศตนอย่าง จริงจัง ผู้เข้าร่วมสัมมนาจึงตั้งปณิธานอันแน่ว แน่ ที่จะท�ำให้กระบวนการเรียนรู้ที่เน้นการ ไตร่ตรองและเพื่อการเปลี่ยนชีวิต ด�ำเนินไป อย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง อีกทั้งท�ำให้ทุก คนได้ทราบข่าวดีของพระเยซูคริสต์เจ้า โดย ตระหนั ก ดี ว ่ า ทุ ก คนมี สิ ท ธิ ที่ จ ะได้ รู ้ จั ก และ สัมผัสความรักของพระองค์ ดังที่พระองค์ได้ เคยตรั ส ว่ า “ท่ า นทั้ ง หลายก็ จ ะเป็ น พยาน ให้เราด้วย เพราะท่านอยู่กับเราตั้งแต่แรก แล้ว” (ยอห์น 15:27) 2. ผลการวิจัย พบว่า คุณค่าที่ 13 ความกตัญญูรู้คุณ มีระดับการปฏิบัติโดยภาพ รวมอยู่ในระดับมาก เป็นอันดับแรก (X=4.45, S.D.=0.50) เนื่องจาก ผู้บริหาร คณะครู โรงเรียนคาทอลิกในอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ เห็นถึงความส�ำคัญของความกตัญญูรู้คุณต่อ ทุกคน โดยเฉพาะบิดา มารดา ครู อาจารย์

รวมทั้งผู้มีพระคุณอื่นๆ โดยโรงเรียนคาทอลิก อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ มีการจัดกิจกรรม แสดงความกตัญญูต่อบิดา มารดา ในโอกาส วันพ่อแห่งชาติ วันแม่แห่งชาติ โดยพยายาม จัดกิจกรรม นิทรรศการ รวมทั้งเชิญบิดา มารดามาร่วมในวันที่จัดกิจกรรมดังกล่าว เพื่อ สร้างเสริมให้นักเรียนได้มีความกตัญญูต่อผู้ มีพระคุณที่ให้ก�ำเนิดชีวิตมา รวมทั้งการจัด กิจกรรมงานไหว้ครู งานมุฑิตาจิต แก่คุณครู ที่ครบเกษียณอายุ การแสดงความอาลัยต่อ คุณครูที่เสียชีวิต กิจกรรมต่างๆ เหล่านี้ล้วนมี ความหมาย มีความส�ำคัญต่อนักเรียน เป็น การสร้ า งความส� ำ นึ ก ในความกตั ญ ญู รู ้ คุ ณ ต่อผู้มีพระคุณทุกท่าน นักเรียนจะซึมซับเอา ความกตัญญูและแสดงออกมาให้เห็นในการ ด�ำเนินชีวิตประจ�ำวันของนักเรียนนั่นเอง ซึ่ง สอดคล้องกับ พระวิทูล ญาณธมฺโม (2555) ซึ่งท�ำการวิจัยเรื่องศึกษาพฤติกรรมด้านความ กตัญญูกตเวที ต่อบิดามารดาของนักเรียน ชั้น มัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนบ้านหนองช้าง ต�ำบลเขวาทุ่ง อ�ำเภอธวัชบุรี จังหวัดร้อยเอ็ด พบว่า พฤติกรรมด้านความกตัญญูกตเวทีต่อ บิดามารดาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอน ต้น โรงเรียนบ้านหนองช้าง ต�ำบลเขวาทุ่ง อ�ำเภอธวัชบุรี จังหวัดร้อยเอ็ด สรุปผลการ ศึกษาดังนี้ 1) ท่านเลี้ยงเรามาแล้ว เลี้ยง

ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2015/2558

115


บทบาทครูในการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม ตามอัตลักษณ์การศึกษาคาทอลิก ในโรงเรียนคาทอลิก สังกัดอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ

ท่านตอบ โดยรวมสรุปพฤติกรรม ด้านท่าน เลี้ยงเรามาแล้วเลี้ยงท่านตอบ คือ นักเรียน เตรียมอาหารและน�้ำดื่มให้มารดาบิดา ดูแล ท� ำ ความสะอาดห้ อ งนอนของมารดา จั ด อาหารและยาตามที่ แ พทย์ ใ ห้ ม ารดาบิ ด า เมื่อเจ็บป่วย นักเรียนซักเสื้อผ้าให้มารดา บิดา เป็นต้น 2) ด้านช่วยท�ำการงานของ ท่ า น นั ก เรี ย นหุ ง ข้ า วท� ำ กั บ ข้ า วให้ บิ ด า มารดารับประทาน กวาดบ้าน ถูบ้าน ล้างถ้วย ล้ า งจาน กรอกน�้ ำ ใส่ ตู ้ เ ย็ น เก็ บ สิ่ ง ของ เครื่องใช้ภายในบ้านอย่างระมัดระวัง ช่วย ท� ำ ธุ ร ะภายนอกบ้ า นแทนบิ ด ามารดา ไป ซื้ อ ของนอกบ้ า นแทนบิ ด ามารดา เป็ น ต้ น 3) ด�ำรงวงศ์ตระกุล คือ นักเรียนไหว้บิดา มารดาก่ อ นออกจากบ้ า นและกลั บ เข้ า บ้าน นักเรียนเป็นคนดีมีนิสัยมัธยัสถ์ ขยัน ตั้งใจเรียนหนังสือ 4) ประพฤติตนให้เหมาะ สมแก่การรับทรัพย์มรดก คือ นักเรียนพูด คุ ย กั บ บิ ด ามารดาด้ ว ยกิ ริ ย ามารยาทสุ ภ าพ เรี ย บร้ อ ย ให้ ข องขวั ญ แก่ บิ ด ามารดา ในโอกาสพิ เ ศษ เช่ น วั น ขึ้ น ปี ใ หม่ วั น สงกรานต์ วันแม่ เป็นต้น และ 5) ท�ำบุญ อุ ทิ ศ ให้ ท ่ า นเมื่ อ ท่ า นล่ ว งลั บ ไปแล้ ว คื อ นักเรียนชวนบิดามารดาไปถวายสังฆทานที่วัด เพื่ออุทิศส่วนกุศลให้บรรพบุรุษ ท�ำบุญทอด กฐิน ผ้าป่าเพื่อสร้างวัด เป็นต้น

116 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

คุณค่าที่ 20 ความมหัศจรรย์ใจใน สิ่งสร้าง/รักษ์ธรรมชาติ มีระดับการปฏิบัติ โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เป็นอันดับสอง (X=4.42, S.D.=0.78) เนื่องจาก โรงเรียน คาทอลิกในอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ โรงเรียน จัดกิจกรรมการเรียนการสอน ที่ส่งเสริมให้ นักเรียนเกิดความมหัศจรรย์ใจในความสวย งามของธรรมชาติ และปลูกฝังสุนทรียภาพ มีการปลูกฝังให้นักเรียนรู้คุณค่า และรักษา ธรรมชาติ การรักษาความสะอาด ดูแลรักษา ธรรมชาติในโรงเรียน สิ่งแวดล้อมในโรงเรียน ให้เกิดความสะอาดเรียบร้อย กิจกรรมต่างๆ เหล่านี้ ล้วนเป็นกิจกรรมที่โรงเรียนควรปลูก ฝังให้นักเรียนได้ส�ำนึกว่า ตนไม่ได้อยู่คนเดียว ในสังคม ยังมีธรรมชาติที่นักเรียนทุกคนต้อง อยู่ร่วมด้วย และควรรักษาไว้ซึ่งสมดุลทาง ธรรมชาติ โดยการสอดแทรกความรู้เรื่อง การรั ก ษาสิ่ ง แวดล้ อ มลงไปในทุ ก กิ จ กรรม เช่น มีการรณรงค์การท�ำความสะอาดทั้งโรง เรียน (Big Cleaning Day) การประกวดห้อง สะอาด การบ�ำเพ็ญประโยชน์เพื่อสังคม รวม ทั้งความสะอาดในโรงอาหาร ห้องน�้ำ สิ่งต่างๆ เหล่านี้จะติดตัวนักเรียนไปในทุกการการะท�ำ ในชีวิตประจ�ำวัน นอกจากนี้ การปลูกฝังให้ นักเรียนรักษาธรรมชาติ ยังช่วยให้เป็นการ สร้างบรรยากาศในการเรียนการสอนของครู


อภิสิทธิ์ กฤษเจริญ พิเชฐ แสงเทียน ธีรพล กอบวิทยากุล สุดหทัย นิยมธรรม และศรัญญู พงศ์ประเสริฐสิน

และนักเรียนให้มีความสามารถในการเรียน การสอนมากยิ่ ง ขึ้ น และเป็ น การฝึ ก ฝนให้ นักเรียนมีความรับผิดชอบ รักษาอาคารสถาน ที่ให้สะอาดอยู่เสมอ และเป็นการสร้างเสริม ลักษณะนิสัยที่นักเรียนควรมีด้วย สอดคล้อง กับ Benninca และคณะ (2006) ที่ได้ศึกษา สิ่ ง ที่ โรงเรี ย นดี ป ฏิ บั ติ ใ นเรื่ อ งของอั ต ลั ก ษณ์ ศึกษาในสถาบันการศึกษา พบว่า สิ่งที่โรง เรียนดีควรปฏิบัติ คือ การจัดสิ่งแวดล้อมทาง กายที่เอื้อต่อการพัฒนาคุณธรรมของนักเรียน โดยการจัดบริเวณโรงเรียนให้สะอาดและมี ความปลอดภัยในสวัสดิภาพของนักเรียนทุก ด้าน ในคุณค่าที่ 4 มโนธรรม/วิจารณญาณ/ความกล้าหาญเชิงศีลธรรม มีระดับ การปฏิ บั ติ โ ดยภาพรวมอยู ่ ใ นระดั บ มาก เป็นอันดับสุดท้าย (X=3.94, S.D.=0.63) เนื่ อ งจากการส่ ง เสริ ม มโนธรรมที่ ดี ข อง นักเรียนในโรงเรียนคาทอลิกนั้น ต้องใช้เวลา ในการบ่มเพาะ สร้างมโนธรรมที่ดี ถูกต้อง ดังนั้นการหล่อหลอมด้านมโนธรรมจึงเป็นไป ได้ค่อนข้างยาก ประกอบกับความก้าวหน้า ทางเทคโนโลยีเติบโตเป็นอย่างมาก จึงเป็น ความท้ า ทายของโรงเรี ย นคาทอลิ ก ในการ สร้ า งเสริ ม มโนธรรมที่ ดี แ ละถู ก ต้ อ งให้ กั บ นักเรียน ในโรงเรียนคาทอลิก อัครสังฆมณฑล

กรุงเทพฯ สอดแทรกงานจิตตาภิบาลลงไปใน งาน/โครงการต่างๆ ของโรงเรียน เพื่อพัฒนา ศักยภาพของนักเรียนให้มีความรู้ ความเข้าใจ ถึงงานอภิบาล เพื่อเตรียมนักเรียนให้เข้าใจ และเข้าถึงงานจิตตาภิบาลตามแนวทางของ อั ค รสั ง ฆมณฑลกรุ ง เทพฯ สอดคล้ อ งกั บ วิสัยทัศน์ของกลุ่มงานจิตตาภิบาลของอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ ที่ว่า “มุ่งมั่นให้สถาน ศึกษาคาทอลิก เป็นสนามประกาศข่าวดีเป็น พยานถึงความรัก การรับใช้และเมตตาธรรม ดังที่ พระคริสตเจ้าทรงเป็นหนทาง ความจริง และชีวิต ประกาศพระคริสตเจ้าแก่บุคลากร นักเรียน ผู้ปกครอง ขณะเดียวกันพระ ศาสนจักรก็ต้องส่งเสริม และพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม แก่ผู้เรียนทุกคน ให้เข้าถึงคุณค่า ความดีตามความเชื่อของ แต่ละศาสนา และ เพื่อสามารถมีชีวิตอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างมี ความสุข มีความสมานฉันท์ มีความเข้าใจซึ่ง กันและกัน อาศัยการเสวนาและส่งเสริมงาน ด้านศาสนสัมพันธ์” เราจะเห็นได้ว่า แต่ละ โรงเรียนในอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ พยายาม ที่จะด�ำเนินงานตามวิสัยทัศน์ของกลุ่มงานจิตตาภิบาลของอัคร สังฆมณฑลกรุงเทพฯ เพื่อ จะได้มีความเป็นหนึ่งเดียวในอัครสังฆมณฑล กรุงเทพฯ และเป็นการสร้างมโนธรรมที่ดีใน สังคมได้อย่างดี สอดคล้องกับ สันติ ดาวเรือง

ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2015/2558

117


บทบาทครูในการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม ตามอัตลักษณ์การศึกษาคาทอลิก ในโรงเรียนคาทอลิก สังกัดอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ

(2552) ที่ได้ศึกษาเรื่อง การพัฒนาคุณธรรม จริ ย ธรรม ค่ า นิ ย มและคุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ ง ประสงค์โดยการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ ส�ำหรับนักศึกษาโรงเรียนสงขลาเทคโนโลยี อ�ำเภอเมือง จังหวัดสงขลา พบว่า หากครูทุก คนไม่ว่าจะสอนวิชาอะไรหรือเรื่องอะไร หาก มีการสอนที่สอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม ด้ ว ยทุ ก ครั้ ง และเป็ น แบบอย่ า งที่ ดี ใ ห้ เ ห็ น ถือว่าได้บอกหรือสอนบ่อยๆ เมื่อนักศึกษาได้ รับบ่อยๆ สิ่งเหล่านั้น ก็จะเข้าสู่จิตใต้ส�ำนึก ของนักศึกษาเองโดยไม่รู้ตัว พอจิตใต้ส�ำนึกมี มากโอกาสที่เขาจะดึงออกมาใช้ก็สูง เมื่อเกิด ปัญหาอะไรขึ้นกับเขา เขาจะดึงสิ่งที่มีในจิตใต้ ส�ำนึกออกมา แต่ถ้าหากจิตใต้ ส�ำนึกเก็บแต่ ความไม่ดีเข้าไป เมื่อเกิดปัญหานักศึกษาก็จะ ดึงจิตใต้ส�ำนึกที่ถูกปลูกฝังแต่ความไม่ดี ท�ำให้ เห็ น พฤติ ก รรมที่ไม่ดีของนัก ศึก ษาเหล่านั้น ว่าเป็นอย่างไร นักศึกษาที่มีพฤติกรรมก้าวร้าว หรือพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ทั้งหลาย ส่วน ใหญ่มักจะมาจากการได้รับสิ่งที่ไม่ดีสู่จิตใต้ ส�ำนึกนั่นเอง ฉะนั้นจึงจ�ำเป็นอย่างยิ่งที่ครูทุก คนจะต้องปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ ง ประสงค์ ใ ห้ กั บ นั ก ศึกษา ไม่ว่าจะเป็นวิชาใดก็ตาม

118 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

ข้อเสนอแนะจากการวิจัย 1. ควรจั ด กิ จ กรรมการพั ฒ นา คุณธรรม จริยธรรม เพื่อเสริมสร้างคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามอัตลักษณ์การ ศึกษาคาทอลิก โดยการจัดการเรียนรู้แบบ บูรณาการคุณค่าพระวรสารเข้าไปในทุกคาบ เรียน ซึ่งต้องปลูกฝังให้นักเรียนเป็นคนมีความ รับผิดชอบ รู้จักแบ่งเวลาแยกแยะในเรื่อง หน้าที่ต้องปฏิบัติ มีเหตุผล ในสาระการเรียน รู้ของรายวิชาด้วยทุกครั้ง 2. ควรส่งเสริมและพัฒนานักเรียน ให้มีศักยภาพในด้านต่างๆ อย่างต่อเนื่อง เช่น การท�ำงานร่วมกันเป็นทีม การกล้าแสดงออก ในความถูกต้อง การพัฒนาหล่อหลอมด้าน จิตใจ ซึ่งเมื่อพัฒนาได้ จะสอดคล้องกับการ ศึ ก ษาคาทอลิ ก ที่ ว ่ า การพั ฒ นานั ก เรี ย นใน โรงเรียนคาทอลิกในเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์มาก ยิ่งขึ้น


อภิสิทธิ์ กฤษเจริญ พิเชฐ แสงเทียน ธีรพล กอบวิทยากุล สุดหทัย นิยมธรรม และศรัญญู พงศ์ประเสริฐสิน

บรรณานุกรม นารายณ์ นาคปนทอง. 2545. บทบาท การบริหารโรงเรียนในการพัฒนา จริยธรรมของนักเรียนระดับ มัธยมศึกษาในโรงเรียนสังกัด กรมสามัญศึกษา จังหวัดกระบี่. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. พระวิทูล ญาณธมฺโม (พันธุมิตร). 2555. การศึกษาพฤติกรรมด้านความ กตัญญูกตเวที ต่อบิดามารดา ของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาตอน ต้น โรงเรียนบ้านหนองช้าง ต�ำบล เขวาทุ่ง อ�ำเภอธวัชบุรี จังหวัด ร้อยเอ็ด. ปริญญาพุทธศาสตรมหา บัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช วิทยาลัย. มานิต คงเจริญ. 2545. บทบาทของผู้ บริหารโรงเรียนในการส่งเสริม จริยธรรมนักเรียนในโรงเรียน มัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา จังหวัดฉะเชิงเทรา. ปริญญาศึกษา ศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัย บูรพา.

สภาการศึกษาคาทอลิก. 2551. อัตลักษณ์ การศึกษาคาทอลิก. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์อัสสัมชัญ. . 2556. เอกสารประชุมสัมมนา ประจ�ำปีการศึกษา 2556. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์อัสสัมชัญ. สันติ ดาวเรือง. 2552. การพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมและคุณลักษณะ อันพึงประสงค์โดยการจัดการเรียน รู้แบบบูรณาการ ส�ำหรับนักศึกษา โรงเรียนสงขลาเทคโนโลยี อ�ำเภอ เมือง จังหวัดสงขลา. ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัย ราชภัฏสงขลา. Benninca et al.. 2006. Character and Academics : What Good Schools Do. Phi Delta Kappan 6 : 448 – 452.

ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2015/2558

119


รูปแบบการพัฒนาคุณภาพชี วิตในการทำ�งานของครูโรงเรียนเอกชน จังหวัดกำ�แพงเพชร The ModelofofPrivate Development for the Teachers’ Quality of Work Life School in Kamphang Phet Province. ดร.เมธี น้อมนิล

* ครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการศึกษาและการเรียนรู้ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์

รศ.ดร.ประเทือง ภูมิภัทราคม

* รองศาสตราจารย์ประจำ�คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์

รศ.ดร.ธานี เกสทอง

* รองศาสตราจารย์ประจำ�คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์

Dr.Matee Nomnil

* Doctor of Education Degree of Education and Learning Management, Nakhon Sawan Rajabhat University.

Assoc.Prof.Dr.Pratuang Phumpatrakom

* Associate Professor, Faculty of Education, Nakhon Sawan Rajabhat University.

Assoc.Prof.Dr.Thanee Geasthong

* Associate Professor, Faculty of Education, Nakhon Sawan Rajabhat University.


เมธี น้อมนิล ประเทือง ภูมิภัทราคม และธานี เกสทอง

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) วิเคราะห์องค์ประกอบ คุณภาพชีวิตในการท�ำงานของครูโรงเรียนเอกชน จังหวัดก�ำแพงเพชร 2) หาความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อคุณภาพชีวิตใน การท�ำงานของครูโรงเรียนเอกชน จังหวัดก�ำแพงเพชร และ 3) น�ำ เสนอรูปแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิตในการท�ำงานของครูโรงเรียน เอกชนจังหวัดก�ำแพงเพชร ผลการวิจัย พบว่า 1. การวิเคราะห์องค์ประกอบคุณภาพชีวิตในการท�ำงานของ ครูโรงเรียนเอกชน จังหวัดก�ำแพงเพชร เมื่อพิจารณาตามเกณฑ์ใน การเลือกสามารถจัดกลุ่มได้ 7 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) ด้านพฤติกรรม ของผู้บริหาร 2) ด้านค่าตอบแทนและสวัสดิการ 3) ด้านความรู้สึก ต่อองค์การ 4) ด้านสภาพแวดล้อมทางกายภาพของสถานที่ท�ำงาน 5) ด้านความก้าวหน้าและความมั่นคงในการท�ำงาน 6) ด้านการพัฒนา ความรู้ความสามารถ และ 7) ด้านการเป็นที่ยอมรับของโรงเรียนต่อ สาธารณชน และเมื่อศึกษาถึงระดับคุณภาพชีวิตในการท�ำงานของครู โรงเรียนเอกชนจังหวัดก�ำแพงเพชร โดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง 2. การหาความสั ม พั น ธ์ เชิ ง สาเหตุ ข องปั จ จั ย ที่ มี อิ ท ธิ พ ลต่ อ คุณภาพชีวิตในการท�ำงานของครูโรงเรียนเอกชน จังหวัดก�ำแพงเพชร พบว่า ความสามารถในการท�ำงานส่งผลทางตรงต่อคุณภาพชีวิตใน การท�ำงานของครู สูงสุด รองลงมาคือ คุณลักษณะของผู้บริหาร การ สนับสนุนทางสังคม และบรรยากาศองค์การ 3. การน�ำเสนอรูปแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิตในการท�ำงาน ของครูโรงเรียนเอกชน จังหวัดก�ำแพงเพชร มีองค์ประกอบการพัฒนา คุณภาพชีวิตในการท�ำงาน 4 P ได้แก่ การวางแผน การส่งเสริม การ ติดตาม และการมีส่วนร่วม และเป็นรูปแบบที่มีคุณภาพเป็นที่ยอมรับ ได้ตามเกณฑ์ด้านความถูกต้อง ความเหมาะสม ความเป็นไปได้ และ การใช้ประโยชน์ อยู่ในระดับมาก ค�ำส�ำคัญ :

1) คุณภาพชีวิตในการท�ำงาน ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2015/2558

121


รูปแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำ�งานของครูโรงเรียนเอกชน จังหวัดกำ�แพงเพชร

Abstract

The purposes of this research were 1) to analyze the components of their quality of life that involved with their work 2) to find out path analysis that affected their quality of life, and 3) to propose the development model of the quality of life of teachers in private schools. Findings were as follows : 1. There were 7 important components that influenced their quality of work life : 1) administrator’s performance 2) payment and welfare 3) perspective toward organization, 4) environment and workplace 5) work progress and stability 6) development of knowledge and capacities and 7) public acknowledgement. The level of the teachers’ quality of work life was at the moderate stage. 2. It revealed that the working ability has directly influenced on the quality of work life of private school teachers in Kamphang Phet Province. 3. The model of development for the quality of work life of private school teachers in Kamphang Phet Province were 4 P model : Planning, Promotion, Pay Attention and Participation. The model constructed meet standard qualities : accuracy, appropriateness, feasibility, and utility. Keyword : 1) The Quality of Work Life.

122 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม


เมธี น้อมนิล ประเทือง ภูมิภัทราคม และธานี เกสทอง

ความเป็นมาและความส�ำคัญของปัญหา โรงเรี ย นเอกชนมี บ ทบาทส� ำ คั ญ ในการจัดการศึกษา เป็นการแบ่งเบาภาระ ของรั ฐ บาลในการจั ด การศึ ก ษาให้ เ ยาวชน ของประเทศทุ ก ระดั บ การศึ ก ษาตั้ ง แต่ ก าร ศึกษาปฐมวัย จนถึงอุดมศึกษาเพื่อให้มีความ สอดคล้องกับพระราชบัญญัติการศึกษาแห่ง ชาติ พ.ศ. 2542 และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 หมวด 5 มาตรา 45 “ให้สถาน ศึ ก ษาเอกชนจั ด การศึ ก ษาในทุ ก ระดั บ และ ทุกประเภทโดยรัฐต้องก�ำหนดนโยบายและ มาตรการที่ชัดเจนเกี่ยวกับการมีส่วนร่วมของ เอกชนในด้านการศึกษา” การด�ำเนินงาน จัดการศึกษาของโรงเรียนเอกชนในปัจจุบัน จะต้ อ งมุ ่ ง เน้ น คุ ณ ภาพเป็ น หลั ก นั่ น คื อ คุณภาพการจัดการศึกษาและคุณภาพของครู เพื่อให้สอดคล้องและทันต่อการเปลี่ยนแปลง จากสภาวการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้น การบริหาร งานจะต้องเป็นไปอย่างมีระบบ ที่ส�ำคัญคือ การวางแผนด� ำ เนิ น การจั ด การศึ ก ษาของ โรงเรียน และพัฒนาครูให้มีความสามารถ ในการจั ด การเรี ย นการสอนได้ เ ป็ น อย่ า งดี (ส�ำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษา เอกชน, 2542) ดังนั้น ครูในโรงเรียนเอกชน จึ ง มี บ ทบาทส� ำ คั ญ เป็ น ผู ้ รั บ ผิ ด ชอบในการ จัดกิจกรรมการเรียนการสอน เพื่อให้ผู้เรียน

เกิ ด การเรี ย นรู ้ แ ละพั ฒ นาตนเองได้ อ ย่ า งมี ประสิทธิภาพ การน� ำ คุ ณ ภาพชี วิ ต ในการท� ำ งาน ของครูโรงเรียนเอกชนมาปรับปรุงกระบวน การในการด�ำเนินงานต่างๆ ในโรงเรียนเอกชน เป็ น สิ่ ง ส� ำ คั ญ เนื่ อ งจากสภาพเศรษฐกิ จ ใน ยุคปัจจุบันมีการแข่งขันสูง ไม่ว่าจะเป็นด้าน การท� ำ งาน หรื อ การด� ำ รงชี วิ ต ประจ� ำ วั น โดยเฉพาะผู้ที่ประกอบอาชีพครูเอกชนส่วน ใหญ่ ไ ด้ รั บ เงิ น เดื อ นค่ อ นข้ า งต�่ ำ เมื่ อ เที ย บ กับข้าราชการครู นับตั้งแต่แรกเข้าและการ พั ฒ นาเงิ น เดื อ น ซึ่ ง ไม่ มี ร ะบบบั ญ ชี เ ป็ น ฐานรองรับ ทั้งยังมีความเหลื่อมล�้ำในด้าน สวั ส ดิ ก าร มี ก ารเปลี่ ย นแปลงการเบิ ก เงิ น สวัสดิการของครูโรงเรียนเอกชน โดยมีการ จ� ำ กั ด วงเงิ น การเบิ ก จ่ า ย อี ก ทั้ ง วิ ท ยฐานะ และศักดิ์ศรี ด้วยโรงเรียนเอกชนเป็นธุรกิจ การศึกษา ดังนั้น ผู้รับใบอนุญาตมักให้ความ ส�ำคัญกับการลงทุนด้านวัตถุ ไม่ว่าจะเป็น อาคารสถานที่ อุปกรณ์การเรียน มากกว่า การลงทุ น ด้ า นบุ ค ลากร การพิ จ ารณาค่ า ตอบแทนของครูขึ้นอยู่กับศักยภาพในด้านงบ ประมาณของสถานศึ ก ษาและนโยบายของ ผู้รับใบอนุญาต ท�ำให้ครูเอกชนส่วนใหญ่ต้อง ท�ำอาชีพเสริม ย้ายโรงเรียนหรือเปลี่ยนงาน อยู่เสมอ ซึ่งสะท้อนความเป็นจริงถึงความ

ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2015/2558

123


รูปแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำ�งานของครูโรงเรียนเอกชน จังหวัดกำ�แพงเพชร

ไม่มั่นคง ไม่มั่นใจในวิชาชีพ ซึ่งสภาพเหล่านี้ ย่อมส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตการท�ำงาน ของครูและคุณภาพการศึกษาในที่สุด (คเณศ เพชโรทัย, 2544) ผู ้ วิ จั ย จึ ง มี ค วามสนใจที่ จ ะน� ำ เสนอ รูปแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิตในการท�ำงาน ของครูโรงเรียนเอกชน จังหวัดก�ำแพงเพชร ซึ่ ง ข้ อ ค้ น พบที่ ไ ด้ จ ากการวิ จั ย ครั้ ง นี้ จ ะเป็ น ประโยชน์ต่อการบริหารงานและการพัฒนา ครูโรงเรียนเอกชน เพื่อให้บุคลากรในองค์กร มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น สามารถท�ำงานอยู่กับ องค์กรนั้นอย่างมีความสุข และจะส่งผลต่อ คุณภาพการศึกษาในโอกาสต่อไป วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อวิเคราะห์องค์ประกอบคุณภาพชีวิตในการท�ำงานของครูโรงเรียนเอกชน จังหวัดก�ำแพงเพชร 2. เพื่อหาความสัมพันธ์เชิงสาเหตุ ของปั จ จั ย ที่ มี อิ ท ธิ พ ลต่ อ คุ ณ ภาพชี วิ ต ใน การท�ำงานของครูโรงเรียนเอกชน จังหวัด ก�ำแพงเพชร 3. เพื่อน�ำเสนอรูปแบบการพัฒนา คุ ณ ภาพชี วิ ต ในการท� ำ งานของครู โรงเรี ย น เอกชน จังหวัดก�ำแพงเพชร

124 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง ในการด�ำเนินการวิจัยในครั้งนี้ ผู้วิจัย ได้ ใช้ แ นวคิ ด เกี่ ย วกั บ คุ ณ ภาพชี วิ ต ในการ ท�ำงานของวอลตัน (Walton, 1973) องค์ ประกอบของคุณภาพชีวิตในการท�ำงานของ เคอร์ซ และเควลีย์ (Kerce & Kewley, 1993) เลวิน (Lewin, 1981) ฮิวส์และคัมมิ่ง (Huse and Cumming, 1985) ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง กับคุณภาพชีวิตในการท�ำงานของ Abraham Maslow ทฤษฎีสองปัจจัยของเฮอร์เบอรก์ (Herzberg) ทฤษฎีการจูงใจของแอลเดอร์ เฟอร์ (Alderfer, s ERG Theory) ทฤษฎีความ ต้องการของแมคคลีลแลนด์ (McClelland Theory) ทฤษฎีการจูงใจด้านกระบวนการ (Process Theories) ทฤษฎีความเสมอภาค (Adam, Equity Theory) ทฤษฎีการตั้งเป้า หมาย (Goal Setting Theory) ทฤษฎีการ เสริมแรง (Reinforce Theory) และปรับ พฤติกรรม (Behavior Modification) ของ สกินเนอร์ (Skinner) และแนวคิดเกี่ยวกับ การพั ฒ นารู ป แบบผู ้ วิ จั ย ได้ ยึ ด แนวคิ ด ของ บุญชม ศรีสะอาด (2535) ซึ่งมี 2 ขั้นตอน คือ 1) การสร้างหรือการพัฒนารูปแบบ และ 2) การทดลองความเที่ ย งตรงของรู ป แบบ ตลอดจนงานวิ จั ย ที่ เ กี่ ย วกั บ คุ ณ ภาพชี วิ ต ในการท�ำงานซึ่งจากการที่ผู้วิจัยได้ทบทวน


เมธี น้อมนิล ประเทือง ภูมิภัทราคม และธานี เกสทอง

แนวคิดทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ผู้วิจัย ก�ำหนดกรอบแนวคิดในการวิจัย ซึ่งแสดงได้ ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อ คุณภาพชีวิตในการทำ�งาน ของครูโรงเรียนเอกชน จังหวัดกำ�แพงเพชร 1. ความสามารถในการทำ�งาน 2. คุณลักษณะของผู้บริหาร 3. การสนับสนุนทางสังคม 4. บรรยากาศองค์การ

ดังแผนภูมิที่ 1

รูปแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำ�งานของครูโรงเรียนเอกชน จังหวัดกำ�แพงเพชร 1. ที่มาของรูปแบบ 1.1 แนวคิดและทฤษฎีพื้นฐานของรูปแบบ 1.2 หลักการพื้นฐานของรูปแบบ 1.3 วัตถุประสงค์ของรูปแบบ 2. ด้านองค์ประกอบหลักของรูปแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำ�งานของครู โรงเรียนเอกชน 2.1 ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อคุณภาพชีวิตในการทำ�งานที่ต้องการพัฒนา 2.2 องค์ประกอบการพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำ�งาน 2.3 กระบวนการพัฒนาคุณภาพชีวิต ในการทำ�งาน

แผนภูมิที่ 1 แสดงแนวคิดการวิจัย ระเบียบวิธีวิจัย การวิ จั ย ครั้ ง นี้ เ ป็ น การวิ จั ย และ พัฒนา (Research and Development) ผู้วิจัยก�ำหนดระเบียบวิธีวิจัย ดังต่อไปนี้ ขั้นตอนที่ 1 การวิเคราะห์องค์ประ กอบคุ ณ ภาพชี วิ ต ในการท� ำ งานของครู โรง เรียนเอกชน จังหวัดก�ำแพงเพชร มีวิธีด�ำเนิน การดังนี้ 1) ศึกษาเอกสาร งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 2) สัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิ ได้แก่ นักวิชาการ ด้านการศึกษาเอกชน จ�ำนวน 3 คน ผู้อ�ำนวย การโรงเรียนเอกชน จ�ำนวน 3 คน ครูโรงเรียน เอกชน จ�ำนวน 3 คน รวมจ�ำนวน 9 คน เพื่อ

สร้างแบบสอบถาม 3) น�ำแบบสอบถามไปใช้ กับกลุ่มตัวอย่าง และน�ำข้อมูลที่ได้มาท�ำการ การวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการ วิเคราะห์องค์ประกอบเชิงส�ำรวจ (Exploratory Factor Analysis : EFA) ขั้นตอนที่ 2 การหาความสัมพันธ์เชิง สาเหตุของปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อคุณภาพชีวิต ในการท�ำงานของครูโรงเรียนเอกชน จังหวัด ก�ำแพงเพชร มีวิธีด�ำเนินการดังนี้ สอบถาม ข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างโดยใช้แบบสอบถาม และท�ำการจัดกระท�ำข้อมูลโดยสถิติ การ

ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2015/2558

125


รูปแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำ�งานของครูโรงเรียนเอกชน จังหวัดกำ�แพงเพชร

หาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน และการวิเคราะห์เส้นทาง (Path Analysis) ขั้นตอนที่ 3 การน�ำเสนอรูปแบบ การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการท�ำงานของครู โรงเรียนเอกชน จังหวัดก�ำแพงเพชร ผู้วิจัย ด�ำเนินการร่างรูปแบบและน�ำมาตรวจสอบ โดยการสั ม มนาอิ ง ผู ้ เชี่ ย วชาญ (Connoisseurship) จ�ำนวน 9 คน ได้แก่ ผู้เชี่ยวชาญ ด้านการศึกษาเอกชน จ�ำนวน 3 คน ผู้ เชี่ยวชาญด้านการวิจัย จ�ำนวน 3 คน และผู้ เชี่ยวชาญด้านการบริหารการศึกษา จ�ำนวน 3 คน สรุปผลการวิจัย 1. ผลการวิเคราะห์องค์ประกอบ คุณภาพชีวิตในการท�ำงานของครูโรงเรียน เอกชน จังหวัดก�ำแพงเพชร จากผลการวิ เ คราะห์ อ งค์ ป ระกอบ สามารถก�ำหนดองค์ประกอบคุณภาพชีวิตใน การท�ำงานของครูโรงเรียนเอกชนได้เป็น 7 องค์ประกอบ ดังนี้ องค์ประกอบที่ 1 ด้านพฤติกรรมของ ผู้บริหาร ประกอบด้วยตัวแปร 15 ตัว ซึ่งมี ค่าน�้ำหนักตัวแปรในองค์ประกอบอยู่ระหว่าง .501 ถึง .769 มีค่าความแปรปรวนของ

126 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

ตัวแปร (Eigenvalues) = 42.928 ค่าร้อยละ ความแปรปรวนของตัวแปร (% of Variance) ที่อธิบายได้ด้วยองค์ประกอบที่ 1 = 47.698 องค์ประกอบที่ 2 ด้านค่าตอบแทน และสวัสดิการ ประกอบด้วยตัวแปร 15 ตัว ซึ่ ง มี ค ่ า น�้ ำ หนั ก ตั ว แปรในองค์ ป ระกอบอยู ่ ระหว่าง .564 ถึง .837 มีค่าความแปรปรวน ของตัวแปร (Eigenvalues) = 6.651 ค่าร้อย ละความแปรปรวนของตัวแปร (% of Variance) ที่อธิบายได้ด้วยองค์ประกอบที่ 2= 7.390 องค์ประกอบที่ 3 ด้านความรู้สึก ต่อองค์การประกอบด้วยตัวแปร 11 ตัวซึ่งมี ค่าน�้ำหนักตัวแปรในปัจจัยอยู่ระหว่าง .576 ถึง .737 มีค่าความแปรปรวนของตัวแปร (Eigenvalues) = 2.683 ค่าร้อยละความ แปรปรวนของตัวแปร (% of Variance) ที่ อธิบายได้ด้วยองค์ประกอบที่ 3 = 2.981 องค์ประกอบที่ 4 ด้านสภาพ แวดล้ อ มทางกายภาพของสถานที่ ท� ำ งาน ประกอบด้วย ตัวแปร 8 ตัวซึ่งมีค่าน�้ำหนัก ตัวแปรในปัจจัยอยู่ระหว่าง .568 ถึง .688 มี ค่าความแปรปรวนของตัวแปร (Eigenvalues) = 2.257 ค่าร้อยละความแปรปรวน ของตัวแปร (% of Variance) ที่อธิบายได้ ด้วยองค์ประกอบที่ 4 = 2.508


เมธี น้อมนิล ประเทือง ภูมิภัทราคม และธานี เกสทอง

องค์ประกอบที่ 5 ด้านความก้าวหน้า และความมั่นคงในการท�ำงาน ประกอบ ด้วยตัวแปร 8 ตัวซึ่งมีค่าน�้ำหนักตัวแปรใน องค์ประกอบอยู่ระหว่าง .535 ถึง .621 มี ค่าความแปรปรวนของตัวแปร (Eigenvalues) =2.033 ค่าร้อยละความแปรปรวนของ ตัวแปร (% of Variance) ที่อธิบายได้ด้วย องค์ประกอบที่ 5 = 2.259 องค์ประกอบที่ 6 ด้านการพัฒนา ความรู้ความสามารถ ประกอบด้วยตัวแปร 7 ตัวซึ่งมีค่าน�้ำหนักตัวแปรในองค์ประกอบอยู่ ระหว่าง .503 ถึง .645 มีค่าความแปรปรวน ของตัวแปร (Eigenvalues) = 1.615 ค่าร้อย ละความแปรปรวนของตัวแปร (% of Variance) ที่อธิบายได้ด้วยองค์ประกอบที่ 6 =1.794 องค์ประกอบที่ 7 ด้านการเป็นที่ ยอมรับของโรงเรียนต่อสาธารณชน ประกอบ ด้วย ตัวแปร 3 ตัวซึ่งมีค่าน�้ำหนักตัวแปรใน ปัจจัยอยู่ระหว่าง .585 ถึง .653 มีค่าความ .987

K

1

1.979

E3

1.973

E1

แปรปรวนของตั ว แปร (Eigenvalues)= 1.446 ค่าร้อยละความแปรปรวนของตัวแปร (% of Variance) ที่อธิบายได้ด้วยองค์ ประกอบที่ 7 = 1.607 2. ผลการหาความสั ม พั น ธ์ เชิ ง สาเหตุ ข องปั จ จั ย ที่ มี อิ ท ธิ พ ลต่ อ คุ ณ ภาพ ชี วิ ต ในการท� ำ งานของครู โรงเรี ย นเอกชน จังหวัดก�ำแพงเพชร ผลการวิเคราะห์ข้อมูลความสัมพันธ์ เชิงสาเหตุของปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อคุณภาพ ชี วิ ต ในการท� ำ งานของครู โรงเรี ย นเอกชน จังหวัดก�ำแพงเพชร พบว่า ตัวแปรที่มีอิทธิพล ทางตรงต่อตัวแปรคุณภาพชีวิตในการท�ำงาน (E4) ได้แก่ ความสามารถในการท�ำงาน (E1) มีค่าอิทธิพลเท่ากับ 4.607 คุณลักษณะของ ผู้บริหาร (K) มีค่าอิทธิพลเท่ากับ 3.277 การ สนับสนุนทางสังคม (E3) มีค่าอิทธิพลเท่ากับ 1.986 และบรรยากาศองค์การ (E2) มีค่า อิทธิพลเท่ากับ 1.974 ดังแผนภูมิที่ 2

2.220 3.277** 2.193

3 .00

2

E2

4.607*

1.9

*

1.974*

86*

E4

เมื่อ K = คุณลักษณะของผู้บริหาร E1= ความสามารถในการ ทำ�งาน E2 = บรรยากาศองค์การ E3= การสนับสนุนทางสังคม E4 = คุณภาพชีวิตในการ ทำ�งาน

แผนภูมิที่ 2 แสดงความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อคุณภาพชีวิตในการทำ�งาน

ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2015/2558

127


รูปแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำ�งานของครูโรงเรียนเอกชน จังหวัดกำ�แพงเพชร

3. การน�ำเสนอรูปแบบการพัฒนา คุณภาพชีวิตในการท�ำงานของครูโรงเรียน เอกชน จังหวัดก�ำแพงเพชร

ส่วนที่ 1 ที่มาของรูปแบบ

3.1 ผลการสร้ า งรู ป แบบมี อ งค์ ประกอบ 2 ส่วน คือ ส่วนที่ 1 ที่มาของรูป แบบ ส่วนที่ 2 องค์ประกอบหลักของรูปแบบ ดังรายละเอียดในแผนภูมิที่ 3

1. แนวคิดและทฤษฎีพื้นฐานของรูปแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำ�งาน 2. หลักการพื้นฐานของรูปแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำ�งาน 3. วัตถุประสงค์ของรูปแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำ�งาน

ส่วนที่ 2 องค์ประกอบหลักของรูปแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำ�งาน 2.1 ปัจจัยทีมีอิทธิพลต่อคุณภาพชีวิตในการทำ�งานที่ต้องการพัฒนา 2.2 องค์ประกอบหลักของการพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำ�งาน P1 : การวางแผน (Planning) P2 : การส่งเสริม (Promotion) P3 : การติดตาม (Pay Attention) P4 : การมีส่วนร่วม (Participation)

2.3 กระบวนการพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำ�งาน

ขั้นที่ 1 การประเมินความ ต้องการจำ�เป็นใน การพัฒนา

ขั้นที่ 2 การเตรียม การพัฒนา

ข้อมูลย้อนกลับ (Feedback)

ขั้นที่ 3 การดำ�เนินการ พัฒนา

ขั้นที่ 4 การประเมินผล และ ติดตามผลการ พัฒนา ไม่เหมาะสม

เหมาะสม

การพัฒนาอย่างต่อเนื่อง

แผนภูมิที่ 3 แสดงรูปแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำ�งานของครู

128 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม


เมธี น้อมนิล ประเทือง ภูมิภัทราคม และธานี เกสทอง

3.2 ผลการตรวจสอบรูปแบบการ พั ฒ นาคุ ณ ภาพชี วิ ต ในการท� ำ งานของครู โรงเรียนเอกชน จังหวัดก�ำแพงเพชร พบว่า เป็นรูปแบบที่มีคุณภาพเป็นที่ยอมรับได้ตาม เกณฑ์ ด ้ า นความถู ก ต้ อ ง ความเหมาะสม ความเป็นไปได้ และการใช้ประโยชน์ อยู่ใน ระดับมาก อภิปรายผล 1. การวิ เ คราะห์ อ งค์ ป ระกอบ คุ ณ ภาพชี วิ ต ในการท� ำ งานของครู โรงเรี ย น เอกชน จังหวัดก�ำแพงเพชร สามารถ วิเคราะห์ได้เป็น 7 องค์ประกอบ คือ 1) ด้าน พฤติกรรมของผู้บริหาร 2) ด้านค่าตอบแทน และสวัสดิการ 3) ด้านความรู้สึกต่อองค์การ 4) ด้ า นสภาพแวดล้ อ มทางกายภาพของ สถานที่ท�ำงาน 5) ด้านความก้าวหน้าและ ความมั่นคงในการท�ำงาน 6) ด้านการพัฒนา ความรู้ความสามารถ และ 7) ด้านการเป็น ที่ยอมรับของโรงเรียนต่อสาธารณชน จะเห็น ได้ว่าในการวิเคราะห์องค์ประกอบผลที่ได้มี ความสอดคล้องกับผลการศึกษาของ ฮิวส์ และคัมมิ่ง (Huse and Cumming, 1985) ได้ เสนอลั ก ษณะที่ส�ำคัญที่ประกอบขึ้นเป็น คุณภาพชีวิตการท�ำงานว่ามี 8 ด้านคือ 1) ผล ตอบแทนที่ยุติธรรมและเพียงพอ 2) สภาพ

ท�ำงานที่ปลอดภัยไม่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ 3) การพั ฒ นาศั ก ยภาพของผู ้ ป ฏิ บั ติ ง าน 4) ความก้าวหน้า 5) สังคมสัมพันธ์ 6) ลักษณะ การบริ ห ารงาน 7) ภาวะอิ ส ระจากงาน 8) ความภูมิใจในองค์กร และวอลตัน (Walton, 1973) ได้ชี้ให้เห็นถึงปัจจัยที่มีผลต่อการ สร้างคุณภาพชีวิตการท�ำงานนั้นว่าประกอบ ไปด้วยเงื่อนไขต่างๆ 8 ประการ ดังนี้ 1) การ ได้ รั บ ค่ า ตอบแทนในการท� ำ งานเพี ย งพอ และยุติธรรม 2) สภาพแวดล้อมการท�ำงาน ดี มี ค วามปลอดภั ย 3) ความก้ า วหน้ า และ ความมั่ น คงในการท� ำ งาน 4) การพั ฒ นา ความสามารถบุคคล 5) การบูรณาการทาง สังคมหรือการท�ำงาน 6) สิทธิของพนักงาน/ ธรรมนูญในองค์การ 7) ความสมดุลระหว่าง งานกับชีวิตส่วนตัว และ 8) ความเกี่ยวข้อง และเป็นประโยชน์ต่อสังคม 2. การหาความสัมพันธ์เชิงสาเหตุ ของปั จ จั ย ที่ มี อิ ท ธิ พ ลต่ อ คุ ณ ภาพชี วิ ต ใน การท�ำงานของครูโรงเรียนเอกชน จังหวัด ก�ำแพงเพชร ผลการวิเคราะห์ข้อมูลความ สัมพันธ์เชิงสาเหตุของปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อ คุ ณ ภาพชี วิ ต ในการท� ำ งานของครู โรงเรี ย น เอกชน จังหวัดก�ำแพงเพชร พบว่า ความ สามารถ ในการท�ำงาน (E1) ส่งผลทางตรง ต่อคุณภาพชีวิตในการท�ำงานของครูโรงเรียน

ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2015/2558

129


รูปแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำ�งานของครูโรงเรียนเอกชน จังหวัดกำ�แพงเพชร

เอกชน (E4) มีค่าอิทธิพลเท่ากับ 4.607 บรรยากาศองค์การ (E2) ส่งผลทางตรงต่อ คุ ณ ภาพชี วิ ต ในการท� ำ งานของครู โรงเรี ย น เอกชน (E4) มีค่าอิทธิพลเท่ากับ 1.974 สอดคล้องกับงานวิจัยของจันทรา แทนสุโพธิ์ (2545) ได้ ศึ ก ษาความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า ง บรรยากาศองค์ก ารกับคุณ ภาพชีวิตการท�ำ งานของทีมสุขภาพ ศูนย์สุขภาพชุมชน จังหวัด ขอนแก่น พบว่า บรรยากาศองค์การมีความ สั ม พั น ธ์ กั บ คุ ณ ภาพชี วิ ต การท� ำ งานของที ม สุขภาพ ศูนย์สุขภาพชุมชน จังหวัดขอนแก่น และยั ง สอดคล้ อ งกั บ งานวิ จั ย ของ อรุ ณี เอกวงศ์ตระกูล (2545) ที่ได้ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล การมีส่วนร่วม ในงาน บรรยากาศองค์การกับคุณภาพชีวิต การท� ำ งานของพยาบาลประจ� ำ การโรง พยาบาลศูนย์เขตภาคใต้ ผลการวิจัยพบว่า บรรยากาศองค์การมีความสัมพันธ์ทางบวก กับคุณภาพชีวิตการท�ำงาน อย่างมีนัยส�ำคัญ ทางสถิติที่ระดับ .05 ส�ำหรับคุณลักษณะของ ผู้บริหาร (K) ส่งผลทางตรงต่อคุณภาพชีวิตใน การท�ำงานของครูโรงเรียนเอกชน (E4) มีค่า อิ ท ธิ พ ลเท่ า กั บ 3.277 จะเห็ น ได้ ว ่ า คุ ณ ลั ก ษณะของผู ้ บ ริ ห ารมี อิ ท ธิ พ ลต่ อ คุ ณ ภาพ ชีวิตในการท�ำงาน ดังนั้น การพัฒนาการ บริหารองค์การของผู้บริหารจะมีประสิทธิผล

130 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

ได้นั้น ขึ้นอยู่กับความพึงพอใจในงานของครู เป็นส�ำคัญ ซึ่งคุณลักษณะของผู้บริหารน่าจะ มีอิทธิพลทางตรงต่อคุณภาพชีวิตการท�ำงาน และมีอิทธิพลทางอ้อม โดยผ่านบรรยากาศ องค์ ก าร และการสนั บสนุ นทางสั ง คมตาม สมมติฐานที่ผู้วิจัยตั้งไว้ และคุณลักษณะของ ผู ้ บริ ห ารส่ ง ผลทางตรงต่ อ ความสามารถใน การท�ำงาน มีค่าอิทธิพลเท่ากับ 1.987 เป็นค่า ความสัมพันธ์ที่อยู่ในระดับสูง สอดคล้องกับ งานวิจัยของเลวิส (Lewis, 2001) ได้ศึกษา องค์ประกอบภายในและภายนอกที่มีต่อการ พั ฒ นาคุ ณ ภาพชี วิ ต การท� ำ งานในศู น ย์ ดู แ ล รักษาสุขภาพ ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยที่ส่ง ผลต่อคุณภาพชีวิตการงานในองค์การ ได้แก่ ค่ า ตอบแทนและผลประโยชน์ ที่ เ หมาะสม รูปแบบการนิเทศ คุณลักษณะ และบทบาท ของผู้น�ำองค์การ ส�ำหรับการสนับสนุนทาง สังคม (E3) ส่งผลทางตรงต่อคุณภาพชีวิตใน การท�ำงานของครูโรงเรียนเอกชน (E4) มีค่า อิทธิพลเท่ากับ 1.986 การสนับสนุนทาง สั ง คมเป็ น ตั ว ที่ มี อิ ท ธิ พ ลต่ อ คุ ณ ภาพชี วิ ต ใน การท�ำงานของครูเนื่องจากการด�ำเนินชีวิต ต้องอยู่ภายใต้กรอบของสังคม และต้องได้ การยอมรับจากสังคม 3. การน�ำเสนอรูปแบบการพัฒนา คุ ณ ภาพชี วิ ต ในการท� ำ งานของครู โรงเรี ย น


เมธี น้อมนิล ประเทือง ภูมิภัทราคม และธานี เกสทอง

เอกชน จังหวัดก�ำแพงเพชร ผลการพัฒนา รูปแบบมีองค์ประกอบ 2 ส่วน คือ ส่วนที่ 1 ที่มาของรูปแบบ ซึ่งประกอบไปด้วยแนวคิด และทฤษฎีพื้นฐานของรูปแบบ หลักการของ รูปแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิตในการท�ำงาน และวั ต ถุ ป ระสงค์ ข องรู ป แบบการพั ฒ นา คุณภาพชีวิตในการท�ำงาน ส่วนที่ 2 องค์ ประกอบหลักของรูปแบบการพัฒนาคุณภาพ ชีวิต ประกอบด้วย 1) ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อ คุณภาพชีวิตในการท�ำงานที่ต้องการพัฒนา 2) องค์ประกอบหลักของการพัฒนาคุณภาพ ชี วิ ต ในการท� ำ งาน และ 3) กระบวนการ พัฒนาคุณภาพชีวิตในการท�ำงาน ซึ่งการ พั ฒ นาคุ ณ ภาพชี วิ ต ในการท� ำ งานเป็ น กระ บวนการพั ฒ นาปั จ จั ย ที่ มี อิ ท ธิ พ ลสู ง สุ ด ต่ อ คุ ณ ภาพชี วิ ต ในการท� ำ งานของครู โรงเรี ย น เอกชน จังหวัดก�ำพงเพชร โดยบูรณาการ กั บ ปั จ จั ย ที่ มี อิ ท ธิ พ ลต่ อ คุ ณ ภาพชี วิ ต ใน การท� ำ งานของครู โรงเรี ย นเอกชนในระดั บ รองลงมา ดังนั้น เมื่อองค์กรต้องการให้ พนั ก งานมี ค วามผู ก พั น กั บ องค์ ก ร และให้ บุคลากรสามารถปฏิบัติงานที่มีคุณภาพและ ทุ่มเทให้กับองค์กรอย่างเต็มที่ ผู้บริหารจะ ต้ อ งพยายามหาวิ ธี ก ารที่ จ ะท� ำ ให้ บุ ค ลากร แสดงศักยภาพอย่างแท้จริง โดยการสร้าง สมดุลระหว่างงานและชีวิตของบุคคลเพื่อให้

บุคลากรมีคุณภาพชีวิตการท�ำงานที่ดี เพราะ คุณภาพชีวิตในการท�ำงานจะให้ความส�ำคัญ กับผลของงานที่มีต่อบุคคล และประสิทธิภาพ ขององค์การ (ณัฏฐพันธ์ เขจรนันทน์, 2551) การปรั บ ปรุ ง คุ ณ ภาพชี วิ ต การท� ำ งานไม่ สามารถท�ำได้เพียงส่วนใดส่วนหนึ่ง แต่ต้อง ท� ำ การปรั บ ปรุ ง ทั้ ง ระบบของการจั ด การ คุณภาพชีวิตการท�ำงาน ข้อเสนอแนะทั่วไป 1. การวิเคราะห์องค์ประกอบ พบ ว่า ด้านพฤติกรรมของผู้บริหาร และด้านค่า ตอบแทนและสวัสดิการ เป็นองค์ประกอบที่ มีตัวแปรมากที่สุด แสดงให้เห็นว่าครูโรงเรียน เอกชนให้ ค วามส� ำ คั ญ กั บ คุ ณ ภาพชี วิ ต ใน การท�ำงานในด้านที่เกี่ยวกับผู้บริหารและค่า ตอบแทนตลอดจนสวัสดิการที่ได้รับ หน่วย งานและผู ้ มี ส ่ ว นเกี่ ย วข้ อ งควรมี ก ารด� ำ เนิ น การก�ำหนดนโยบายและเสนอนโยบายเพื่อ เพิ่มเงินเดือน ค่าตอบแทน เบี้ยเลี้ยง และค่า ครองชีพให้ครูโรงเรียนเอกชนมากขึ้น 2. ระดับคุณภาพชีวิตในการท�ำงาน ของครูโรงเรียนเอกชน จังหวัดก�ำแพงเพชร จากผลการวิจัยในภาพรวมอยู่ในระดับปาน กลาง จึงมีความจ�ำเป็นอย่างยิ่งที่หน่วยงาน และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการปฏิบัติงานของ

ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2015/2558

131


รูปแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำ�งานของครูโรงเรียนเอกชน จังหวัดกำ�แพงเพชร

ครูจะต้องมีการพัฒนาปัจจัยที่ส่งผลต่อระดับ คุ ณ ภาพชี วิ ต ในการท� ำ งานของครู โรงเรี ย น เอกชน โดยเฉพาะด้านผู้บริหาร ด้านค่าตอบ แทนสวัสดิการ ด้านความรู้สึกต่อองค์การ และ ความสามารถในการท�ำงาน 3. ความสั ม พั น ธ์ เชิ ง สาเหตุ ข อง ปั จ จั ย ที มี อิ ท ธิ พ ลต่ อ คุ ณ ภาพชี วิ ต ในการ ท�ำงานของครูโรงเรียนเอกชนสูงสุด คือ ความ สามารถในการท�ำงาน และปัจจัยที่มีอิทธิพล ต่ อ ความสามารถในการท� ำ งานสู ง สุ ด คื อ คุณลักษณะของผู้บริหาร การจะพัฒนาคุณภาพชี วิ ต ในการท� ำ งานจึ ง ต้ อ งมี ก ารพั ฒ นา เป็นองค์รวม และควรน�ำองค์ประกอบการ พัฒนาคุณภาพชีวิตในการท�ำงานในด้านการ วางแผน การส่งเสริม การติดตามและการมี ส่วนร่วมมาประยุกต์ใช้ 4. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เมื่อน�ำ รูปแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิตในการท�ำงาน ของครูโรงเรียนเอกชน ไปใช้ควรมีการศึกษา รายละเอียดของรูปแบบจากคู่มือการด�ำเนิน งานพั ฒ นาคุ ณ ภาพชี วิ ต ในการท� ำ งานให้ เกิดความเข้าใจอย่างละเอียดในทุกประเด็น เนื้อหาก่อนน�ำไปใช้ในสถานการณ์จริง ตลอด จนผู้เกี่ยวข้องทุกคนควรมีการประชุม ชี้แจง เพื่อสร้างความเข้าใจร่วมกันก่อนด�ำเนินการ พัฒนาคุณภาพชีวิต และควรก�ำหนดแนวทาง

132 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

ส�ำหรับครูโรงเรียนเอกชนน�ำข้อมูลย้อนกลับ รายบุคคลไปปรับปรุงและพัฒนาตนเองอย่าง เป็นระบบ ข้อเสนอแนะในการวิจัยครั้งต่อไป 1. ควรมี ก ารพั ฒ นารู ป แบบการ พัฒนาคุณภาพชีวิตในการท�ำงานของครูใน สังกัดอื่นๆ ก�ำหนดเป็นคู่มือในการท�ำงานให้ สอดคล้องกับบริบทในการท�ำงานของแต่ละ หน่วยงานเพื่อไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพชีวิต ในการท�ำงาน 2. ควรท�ำการวิจัยเชิงคุณภาพเกี่ยว กับคุณภาพชีวิตในการท�ำงานเพื่อให้ได้ข้อมูล ที่ ส ะท้ อ นคุ ณ ภาพชี วิ ต ในการท� ำ งานเชิ ง ลึ ก เพื่อให้เห็นสภาพและปัญหาที่แท้จริง 3. ควรมีการศึกษาการน�ำรูปแบบ การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการท�ำงานไปใช้ใน การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการท�ำงานของครู โรงเรียนเอกชนที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการ งานมากขึ้น 4. ควรมี ก ารศึ ก ษาเปรี ย บเที ย บ คุ ณ ภาพชี วิ ต ในการท� ำ งานของครู ใ นแต่ ล ะ สังกัด เพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาคุณภาพ ชี วิ ต ได้ เ หมาะสมและสอดคล้ อ งกั บ ความ ต้องการของครู


เมธี น้อมนิล ประเทือง ภูมิภัทราคม และธานี เกสทอง

บรรณานุกรม คเณศ เพชโรทัย. 2544. พระราชบัญญัติ การศึกษาเกี่ยวกับการจัดการสอน โรงเรียนเอกชน. กรุงเทพฯ : ม.ป.ท. คณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน, ส�ำนักงาน. 2541. แนวด�ำเนินการ เพื่อประกันคุณภาพและรับรอง มาตรฐานคุณภาพการศึกษาของ โรงเรียนเอกชน. กรุงเทพฯ : ส�ำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการ ศึกษาเอกชน. จันทรา แทนสุโพธิ์. 2545. ความสัมพันธ์ ระหว่างบรรยากาศองค์การกับ คุณภาพชีวิตการท�ำงานของทีม สุขภาพศูนย์สุขภาพชุมชน จังหวัด ขอนแก่น. วิทยานิพนธ์สาธารณสุข ศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์. ณัฏฐพันธ์ เขจรนันทน์. 2551. พฤติกรรม องค์การ. กรุงเทพฯ : บริษัท วี.พริ้น (1991) จ�ำกัด บุญชม ศรีสะอาด. 2535. การวิจัยทางการ วัดผลและประเมินผล. มหาสารคาม : มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ มหาสารคาม.

สุธรรม รัตนโชติ. 2552. พฤติกรรมองค์การ และการจัดการ. กรุงเทพฯ : บริษัท ส�ำนักพิมพ์ท้อป จ�ำกัด. อรุณี เอกวงศ์ตระกูล. 2545. ความ สัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล การมีส่วนร่วมในงานบรรยากาศ องค์การ กับคุณภาพชีวิตการ ท�ำงานของพยาบาลประจ�ำการ โรงพยาบาลศูนย์ เขตภาคใต้. วิทยานิพนธ์ปริญญาพยาบาลมหา บัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Davis, L.E. 1977. Enhancing Quality of Working Life. International Labor Review. 16 (July-August 1977) : 53. Kast, F.E. and J.E. Rosenzweig. 1985. Organization Management : System and Contingency Approach. Singapore : National Printer Ltd. Herzberg, F.,B. Mausner and B. Snyderman. 1959. The Motivation to Work. New York : John Wiley and Sons Inc.

ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2015/2558

133


รูปแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำ�งานของครูโรงเรียนเอกชน จังหวัดกำ�แพงเพชร

Huse, E.F. and T.G. Cummings. 1985. Organization Development and Change. Minnesota : West Publishing. Lewin, D. 1981. Collective Bargaining and The Quality of Work Life. Organizational Dynamics. 11(2), 37-53.

134 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

Maslow, Abraham H. 1954. Motivation and Personality. New York : Harper and Rows Publisher. McGregor, D. 1960. The Human Side of Enterprise. New York: McGraw-Hill Book Company. Inc.


แนวทางการอภิพระศาสนจั บาลครอบครัวเลี้ยงเดี่ยวตามคำ�สอนของ กรคาทอลิก Pastoral Guidelines for Single Parent According to Catholic Church Teaching. บาทหลวงอุดม ดีเลิศประดิษฐ์

* บาทหลวงในคริสต์ศาสนจักรโรมันคาทอลิก สังฆมณฑลอุดรธานี * มหาบัณฑิตสาขาวิชาเทววิทยาจริยธรรม วิทยาลัยแสงธรรม

มุขนายก ดร.ลือชัย ธาตุวิสัย

* ประมุขแห่งสังฆมณฑลอุดรธานี * อาจารย์ประจำ�หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทววิทยาจริยธรรม วิทยาลัยแสงธรรม

บาทหลวงวัยพรต พุฒสา, O.M.I.

* บาทหลวงในคริสต์ศาสนจักรโรมันคาทอลิก สังกัดคณะธรรมทูตแห่งมารีนิรมล

ดร.ลัดดาวรรณ์ ประสูตร์แสงจันทร์

* อาจารย์ประจำ�คณะศาสนศาสตร์ วิทยาลัยแสงธรรม

Rev.Udom Deelertphadit

* Reverend in Roman Catholic Church, Udonthani Diocese. * Master of Arts Programe in Moral Theology, Saengtham College.

Bishop Dr.LueChai Thatwisai

* Bishop of Udonthani Diocese. * Lacturer of The Master of Arts Programe in Moral Theology, Saengtham College.

Rev.Waiphrot Phutthada, O.M.I.

* Reverend in Roman Catholic Church, Missionary Oblates of Mary Immaculate.

Dr.Laddawan Prasootsaengchan

* Lacturer at Faculty of Religious, Saengtham College.


แนวทางการอภิบาลครอบครัวเลี้ยงเดี่ยวตามคำ�สอนของพระศาสนจักรคาทอลิก

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษา 1) สภาพการด�ำเนินชีวิต ของครอบครัวเลี้ยงเดี่ยว 2) แนวทางการอภิบาลครอบครัวเลี้ยงเดี่ยว ตามค�ำสอนของพระศาสนจักรคาทอลิก กลุ่มผู้ให้ข้อมูลมี 2 กลุ่ม คือ 1) ครอบครัวคริสตชนที่เป็นครอบครัวเลี้ยงเดี่ยว จ�ำนวน 10 ครอบ ครัว และ 2) กลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิ จ�ำนวน 7 คน เครื่องมือที่ใช้ในการ ศึกษา คือ แบบสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง ผลการวิจัยพบว่า 1. สภาพการด�ำเนินชีวิตของครอบครัวเลี้ยงเดี่ยว ครอบครัว เลี้ยงเดี่ยวมีสภาพการด�ำเนินชีวิตและแนวคิดว่าลูกคือพระพรที่ล�้ำค่า แห่งชีวิต เป็นพระพรอันประเสริฐที่ได้รับจากพระเจ้า เป็นความ สมบูรณ์ของครอบครัว บทบาทของพ่อแม่เป็นบทบาทส�ำคัญแรกใน ชีวิต ต้องเป็นแบบอย่างแห่งความเชื่อไว้ใจและความรักในพระเจ้า เป็น ได้ทั้งพ่อแม่และเพื่อนให้ความรักความอบอุ่น การอบรมที่ดีต่อลูกและ เลี้ยงลูกด้วยความกล้าหาญ อดทน เข้มแข็งมีเหตุผล เผชิญหน้ากับ ความจริงด้วยความรับผิดชอบให้ลูกเติบโตในมิติแห่งความรักอาศัย การภาวนา การเข้าร่วมพิธีบูชาขอบพระคุณและกิจกรรมต่างๆ ของ ศาสนาให้ลูกเติบโตเป็นคนดี มีความสุข เป็นพลังและก�ำลังใจให้กัน เสมอ ครอบครัวเลี้ยงเดี่ยวเผชิญกับปัญหาความยากล�ำบากต่อการ ด�ำเนินชีวิตในด้านต่างๆ อาทิ ด้านจิตใจ ด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม ซึ่งเมื่อเกิดปัญหาหรือความยากล�ำบากต่างๆ ครอบครัวเลี้ยงเดี่ยวได้ พยายามแก้ไขปัญหาในหลายๆ วิธีทั้งการคิดไตร่ตรองด้วยตนเอง การ ปรึกษาขอรับค�ำแนะน�ำจากบุคคลรอบข้างทั้งพ่อแม่ ญาติพี่น้อง เพื่อน บาทหลวง ซิสเตอร์ เพื่อช่วยหาวิธีทางแก้ไขปัญหา หรือบรรเทาความ ทุกข์ทางใจที่เกิดขึ้น โดยเฉพาะการน�ำค�ำสอนของพระเจ้ามาเป็นหลัก ยึดเหนี่ยวในจิตใจ และการด�ำเนินชีวิต

136 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม


อุดม ดีเลิศประดิษฐ์ ลือชัย ธาตุวิสัย และลัดดาวรรณ์ ประสูตร์แสงจันทร์

2. แนวทางการอภิบาลครอบครัวเลี้ยงเดี่ยวตามค�ำสอนของ พระศาสนจักร พระศาสนจักรคาทอลิก หน่วยงานและบุคคลต่างๆ ที่ เกี่ยวข้องควรให้ความส�ำคัญและช่วยเหลือดูแลครอบครัวเลี้ยงเดี่ยวให้ สามารถด�ำเนินชีวิตได้อย่างดีในทุกมิติ โดย 2.1 พระศาสนจักรคาทอลิกควรส่งเสริมความร่วมมือของ บาทหลวง นักบวชและหน่วยงานต่างๆ ให้มีส่วนร่วมในการดูแล อภิบาลครอบครัว มีการส่งเสริมการดูแลเอาใจใส่ เยียวยา ครอบครัวใน มิติต่างๆ ทั้งมิติด้านสังคม ด้านศีลธรรมและเทววิทยา ด้วยกระบวนการ กิจกรรมต่างๆ ตามหลักค�ำสอนของคริสต์ศาสนา เพื่อดูแลช่วยเหลือ สิ่งเสริมให้สมาชิกครอบครัว มีความรัก ความเชื่อ ไว้วางใจในพระเจ้า ด�ำเนินชีวิตตามแบบอย่างและหลักธรรม ค�ำสอนของพระเจ้า พระแม่ มารีย์ และตามค�ำสอนของพระศาสนจักรคาทอลิก 2.2 โบสถ์ ชุมชน หน่วยงาน ควรมีการส่งเสริมความเชื่อ ศรัทธาโดยผ่านทางกิจกรรมต่างๆ การอบรมให้ความรู้พื้นฐาน หลัก ปฏิบัติดีงามในการการด�ำเนินชีวิตครอบครัวที่สมบูรณ์มีการจัดตั้งกลุ่ม จัดตั้งกองทุน เพื่อช่วยเหลือดูแล 2.3 ผู้อภิบาลควรเป็นแบบอย่างที่ดี ดูแลส่งเสริมชิวิตของ ครอบครัว สนใจความเป็นอยู่และปัญหาของครอบครัว เอื้อเฟื้อ ให้ค�ำ ปรึกษา เอาใจใส่ในการสอนค�ำสอนให้บรรดาเด็กเยาวชน สมาชิกใน ครอบครัวให้เติบโตในความเชื่อ “ตามหาและน�ำลูกแกะกลับมาสู่ความ รักของพระเจ้า” ค�ำส�ำคัญ :

1) ครอบครัวเลี้ยงเดี่ยว 2) การอภิบาล 3) ค�ำสอนพระศาสนจักรคาทอลิก

ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2015/2558

137


แนวทางการอภิบาลครอบครัวเลี้ยงเดี่ยวตามคำ�สอนของพระศาสนจักรคาทอลิก

Abstract

The purposes of this research were to study : 1) the living situation of single-parent families and 2) the pastoral guidelines for single-parent families in accordance with the teachings of the Catholic Church. The respondents were 10 Catholic single-parents and 7 experts. The data was collected by using semi-structured interviews. The findings were as follows : 1. The living situation of single-parent families. The single-parents normally have concept that : children are exquisite and most valuable gift of God and the fulfillment of family life. The raising of their children is the first duty of the mother and father. They must be an example of faith, hope and love of God. The single mother or single father with the help of both parents and friends of children, must give good formation with love, raising with courage, in a realistic way. They endure everything with truth and responsibility for the sake of the children helping their to grow up with love and the virtue of prayer, attendance at the Eucharistic Celebration and religious activities so that the children grow into a happy and good people, able to give the strength and encouragement to each other always. The single-parent families were faced with problems and obstacles in various fields; mental, economic, and social whenever they happened, the single-parent families have tried to solve them in several ways, either by self-reflective thinking, requesting advice from the people around them such as parents, relatives, friends, priests or sisters. In particular, the teachings of the Lord is the main anchor in

138 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม


อุดม ดีเลิศประดิษฐ์ ลือชัย ธาตุวิสัย และลัดดาวรรณ์ ประสูตร์แสงจันทร์

their minds and lifestyle. 2. The pastoral guidelines for single-parent families in accordance the teachings of the Catholic Church. The Catholic Church, organizations and related persons should take a priority to take care of the single-parent families so that they would be able to live well in all dimensions. 2.1 The Catholic Church should encourage priests, religious, and organizations to participate in the pastoral care of the families, and to promote and take care of families in the social, moral and theological areas through activities inspired by the doctrine of the Church. All these should look after the family members with love, faith and trust in the Lord, and teach by exemple following the teachings of Jesus, Mary and of the Catholic Church. 2.2 Church, communities and organizations should encourage the faith of the family through various activities and through Ethical living. They should establish groups and funds to help support the families. 2.3 The pastors should be of good role model, caring for the well-being and the concern about the problems of families by generous counseling and catechesis for children, youth and Christians to grow in their faith. “Lilke the good shepherd, they should go in search of the lamp and lead the lamb back into the love of God.” Keywords : 1) Single-Parent Families 2) Pastoral Guidelines 3) The Teachings of The Catholic Church

ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2015/2558

139


แนวทางการอภิบาลครอบครัวเลี้ยงเดี่ยวตามคำ�สอนของพระศาสนจักรคาทอลิก

ความเป็นมาและความส�ำคัญของปัญหา สมเด็จพระสันตะปาปานักบุญยอห์น ปอล ที่ 2 ในสมณสาส์นครอบครัวคริสตชน ในโลกปัจจุบัน (Familiaris consortio) ตรัส ว่า “พระเจ้าทรงสร้างมนุษย์ตามภาพลักษณ์ และความละม้ายกับพระองค์” ทรงเรียกร้อง ให้เขามีชีวิตโดยอาศัยความรักที่หยั่งรากลึกใน ความเชื่อ ในเวลาเดียวกันก็ทรงเรียกร้องให้มี เวลาเพื่อความรัก เพราะพระเจ้า คือ องค์แห่ง ความรัก ในพระองค์เอง พระองค์ทรงด�ำเนิน ชีวิตในรหัสธรรมแห่งความเป็นหนึ่งเดียวใน ความรัก การสร้างมนุษยชาติตามภาพลักษณ์ ของพระองค์ และท�ำให้มนุษย์ด�ำรงอยู่เช่น นั้นเสมอไป พระเจ้าทรงประทับตรากระแส เรี ย กในความเป็ น มนุ ษ ย์ ข องชายและหญิ ง พร้อมกับความสามารถและความรับผิดชอบ ที่จะรักและเป็นหนึ่งเดียวกัน (Gaudium et spes#12) เพราะฉะนั้นความรักจึงเป็นกระ แสเรียกพื้นฐาน และคงอยู่ตั้งแต่มนุษย์ทุกคน ก�ำเนิดมา” (Familiaris consortio#11) เนื่ อ งจากความห่ ว งใยของพระ ศาสนจักรที่จะต้องต่อสู้กับวิกฤตการณ์แห่ง ความอ่ อ นแอทางด้ า นชี วิ ต ครอบครั ว โดย เฉพาะอย่างยิ่งสภาพการณ์ครอบครัวที่มีแต่ พ่อหรือแม่ผู้เดียว (ครอบครัวเลี้ยงเดี่ยว) ของ คริสตชนที่มีผลต่อความเชื่อแห่งความเป็นศีล

140 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

ศักดิ์สิทธิ์ของการแต่งงานอีกด้วย จากข้ อ มู ล ของทางมู ล นิ ธิ เ ครื อ ข่ า ย ครอบครั ว และแผนงานสุ ข ภาวะครอบครั ว ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุข ภาพรายงานว่า มีการเปลี่ยนแปลงและการ เพิ่มของครอบครัวพ่อแม่เลี้ยงเดี่ยวมีจ�ำนวน มาก คือ ใน 1.3 ล้านครอบครัวจากจ�ำนวน ทั้งหมด 20 ล้านครอบครัวเป็นครอบครัว เลี้ยงเดี่ยว และจะพบได้ว่าเด็กไทยอายุ 1124 ปี อยู ่ ใ นครอบครั ว เลี้ ย งเดี่ ย วมากกว่ า 2.5 ล้านครอบครัว ปัญหาและสาเหตุที่เกิด ขึ้นคือ ปัญหาการหย่าร้าง การแยกทาง การ ละทิ้ง การสูญเสียชีวิตของฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง ซึ่ง การหย่าร้างเป็นตัวชี้วัดหนึ่งของการเพิ่มของ ครอบครัวเลี้ยงเดี่ยว สถิติที่ได้บอกไว้ว่า การ หย่าที่เพิ่มขึ้นเป็น 2 เท่าจากประมาณเกือบ 50,000 คู่ในปี 2536 เพิ่มเป็น 100,000 คู่ ใน ปี 2550 และจะมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นต่อไปพร้อม กับการไม่จดทะเบียนสมรสก็มีเพิ่มมากขึ้นเช่น กัน (ศิรินันท์ กิตติสุขสถิต, 2557) ดั ง นั้ น พระศาสนจั ก รคาทอลิ ก ได้ ก� ำ ลั ง เห็ น ความส� ำ คั ญ ของปั ญ หาเกี่ ย วกั บ ครอบครัวเลี้ยงเดี่ยวที่จะต้องมีแนวทางในการ พัฒนาให้เห็นได้ชัดเจนมากขึ้น ในการท�ำการ วิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยมีความตั้งใจที่จะแสวงหา แนวทางในการพลิกวิกฤติให้กลับเป็นสิ่งที่ดี


อุดม ดีเลิศประดิษฐ์ ลือชัย ธาตุวิสัย และลัดดาวรรณ์ ประสูตร์แสงจันทร์

ขึ้นมา จากสภาพที่แท้จริงของสังคมที่ก�ำลังได้ รับความเดือดร้อน และสิ่งที่ส�ำคัญที่สุดเพื่อ จะได้เสริมพลังแห่งพระพรให้กับบุคคลที่ก�ำลัง ประสบปัญหา ให้มีก�ำลังใจ เข้มแข็งในการ ด�ำเนินชีวิตด้วยความเชื่อความรักและความ หวังให้เป็นรากฐานของชีวิต คริสตชนให้มาก ขึ้น วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาสภาพการด�ำเนินชีวิต ของครอบครัวเลี้ยงเดี่ยว 2. เพื่ อ ศึ ก ษาแนวทางการอภิ บ าล ครอบครั ว เลี้ ย งเดี่ ย วตามค� ำ สอนของพระ ศาสนจักรคาทอลิก ขอบเขตของการวิจัย ขอบเขตด้ า นเนื้ อ หา 1) ศึ ก ษา เนื้ อ หาแนวทางการอภิ บ าลครอบครั ว เลี้ ย ง เดี่ยวตามเอกสารของพระศาสนจักรคาทอลิก 2) ศึ ก ษาแนวทางในการดู แ ลช่ ว ยเหลื อ ครอบครัวเลี้ยงเดี่ยวของหน่วยงานและองค์กร ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ขอบเขตด้ า นผู ้ ใ ห้ ข ้ อ มู ล กลุ ่ ม ผู ้ ใ ห้ ข้อมูลมี 2 กลุ่ม คือ 1) ครอบครัวคริสตชน ที่เป็นครอบครัวเลี้ยงเดี่ยวในอัครสังฆมณฑล กรุงเทพฯ จ�ำนวน 10 ครอบครัว ได้มาโดยวิธี

การเลือกแบบเจาะจง จากรายชื่อที่บาทหลวง เจ้ า อาวาสวั ด คาทอลิ ก อั ค รสั ง ฆมณฑล กรุงเทพฯ แนะน�ำ และเป็นครอบครัวที่เต็มใจ ให้ข้อมูล และ 2) กลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิ จ�ำนวน 7 คน นิยามศัพท์เฉพาะ ครอบครั ว เลี้ ย งเดี่ ย ว หมายถึ ง ครอบครัวที่สิ้นสุดชีวิตสมรสด้วยสาเหตุต่างๆ ทั้งจากการละทิ้ง การแยกทาง การหย่าร้าง หรือการเสียชีวิตของคู่สมรส ท�ำให้พ่อหรือแม่ ต้องเลี้ยงลูกตามล�ำพัง ในงานวิจัยนี้ ครอบครัว เลี้ ย งเดี่ ย วหมายถึ ง ครอบครั ว คริ ส ตชนใน เขตอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ ที่พ่อหรือแม่ ต้องเลี้ยงลูกตามล�ำพัง การอภิ บ าลตามค� ำ สอนของพระ ศาสนจักรคาทอลิก หมายถึง การมองดู การเฝ้าดูแลรักษาและปกป้อง ซึ่งเป็นหน้าที่ ของบรรดาผู ้ น� ำ ของคริ ส ต์ ศ าสนา นิ ก าย โรมั น คาทอลิ ก ที่ จ ะต้ อ งเลี้ ย งดู ป ระชากร ของพระเจ้ า โดยการช่ ว ยเหลื อ เกื้ อ กู ล ปัจเจกบุคคล และครอบครัว ตามพันธกิจ แห่งคริสต์ศาสนา ให้มีคุณค่าและศักดิ์ศรีของ ความเป็นมนุษย์ การอภิ บ าลครอบครั ว เลี้ ย งเดี่ ย ว หมายถึง การดูแล ให้ความช่วยเหลือ ส่งเสริม

ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2015/2558

141


แนวทางการอภิบาลครอบครัวเลี้ยงเดี่ยวตามคำ�สอนของพระศาสนจักรคาทอลิก

ให้ความรู้ ความเข้าใจ ในหลักการด�ำเนินชีวิต เพื่อให้พ่อแม่ที่เลี้ยงลูกตามล�ำพัง สามารถ ด�ำเนินชีวิตได้อย่างดี มีความสุข และช่วยลด การเกิดปัญหาในสังคมน้อยลง แนวทางการอภิ บ าลครอบครั ว เลี้ ย งเดี่ ย วตามค� ำ สอนของพระศาสนจั ก ร คาทอลิก หมายถึง วิธีการดูแล ให้ความ ช่วยเหลือ ส่งเสริมให้ความรู้ ความเข้าใจใน การด� ำ เนิ น ชี วิ ต ตามหลั ก ค� ำ สอนของพระ ศาสนจักรแก่ครอบครัวเลี้ยงเดี่ยวที่มีพ่อหรือ แม่เลี้ยงลูกตามล�ำพัง ให้ด�ำเนินชีวิตได้อย่าง ดี มั่นคงในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็น มนุษย์ตามค�ำสอนของพระศาสนจักร เพื่อน�ำ ทางคริสตชนให้เดินตามหนทางแสงสว่างของ พระคริสตเจ้า ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. ได้ ท ราบสภาพการด� ำ เนิ น ชี วิ ต ของครอบครัวเลี้ยงเดี่ยว 2. ได้ข้อมูลส�ำหรับใช้เป็นแนวทาง ในการอภิบาลครอบครัวเลี้ยงเดี่ยวของครอบ ครัวคริสตชน สรุปและอภิปรายผล สภาพการด� ำ เนิ น ชี วิ ต และสภาพ ปัญหาครอบครัวเลี้ยงเดี่ยว พระสันตะปาปา

142 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

ปอลที่ 6 ได้กล่าวไว้อย่างชัดเจนในการให้ความ ส�ำคญต่อความเป็นพ่อแม่ที่ควรจะต้องกล้า เผชิญหน้ากับความเพียรพยายาม ได้รับแรง สนับสนุนจากความเชื่อ ความรัก และความ หวังเสมอ อาศัยความรักของพระที่ผลักดัน ในหัวใจผ่านทางองค์พระคริสตเจ้าที่เราได้รับ หากถูกบาปครอบง�ำก็จงได้อย่าท้อแต่จงหัน ไปพึ่งพระด้วยความพากเพียร อดทน และ ถ่อมตนเสมอ ซึ่งพระเมตตาของพระเจ้าจะ หลั่งไหลมาในศีลอภัยบาปอันไม่มีสิ้นสุด จงรัก ครอบครัวเหมือนที่พระคริสตเจ้าทรงรักพระ ศาสนจักร จงถนุถนอมเขาไว้เหมือนที่พระ คริสตเจ้าทรงถนุถนอม พระศาสนจักรเป็น รหั ส ธรรมอั น ยิ่ ง ใหญ่ ที่ มี คุ ณ ค่ า และความ หมายที่พระศาสนจักรได้มอบไว้เพื่อให้เราทั้ง หลายรั ก กั น และกั น เหมื อ นอย่ า งที่ เราได้ รั ก ท่าน ด้วยความยากล�ำบากของพ่อหรือแม่ ที่เลี้ยงลูกตามล�ำพัง เพราะชีวิตตัวคนเดียวที่ จะต้องตัดสินใจด้วยตนเอง และหลายครั้งก็ ท�ำให้เห็นว่ามีพลังต่างๆ มากมายในทางลบ ของชีวิตมักจะโหมเข้ามารุมท�ำร้ายอยู่เสมอ และหากว่าชีวิตนั้นไม่ได้มีมิติของพลังทางบวก ก็จะท�ำให้กลายเป็นปัญหาที่น่าเป็นห่วงทั้งต่อ ลูกและสังคม ผู้ศึกษาจึงค้นพบว่า พลังทาง ศาสนาจึงเป็นพลังที่จะคอยช่วยเหลือ ส่งเสริม


อุดม ดีเลิศประดิษฐ์ ลือชัย ธาตุวิสัย และลัดดาวรรณ์ ประสูตร์แสงจันทร์

ให้ชีวิตของครอบครัวนั้นได้มีมุมมองที่เปลี่ยน ไปในทางความดี และในแง่บวกเสมอ ประเด็นที่น่าสนใจเกี่ยวกับบทบาท ที่จ�ำเป็นของความเป็นพ่อแม่ที่ทันสมัยไว้ใน ความหมายว่า วัฒนธรรมของคนไทยควรจะ ต้องให้ค�ำแนะน�ำใหม่ส�ำหรับการอบรมเลี้ยงดู ลูก ไม่ตี ไม่ด่า ไม่ว่า ไม่ใช้ความรุนแรง เพราะ จะใช้กับเด็กในสังคมปัจจุบันไม่ได้ แต่ตรงกัน ข้ามควรจะใช้ความพยายามในการแสดงออก ความคิดเห็น เหตุผล อาศัยการพูดคุยและ ปรึกษากัน เพราะสิ่งที่ส�ำคัญหากเด็กได้มีโอ กาสมากๆ ในการแสดงความคิดเห็นก็จะท�ำให้ เด็ ก มี พั ฒ นาการในการตั ด สิ น ใจที่ ดี ขึ้ น ยิ่ ง ไปกว่านั้นจะท�ำให้เกิดการสร้างความผูกพัน ระหว่างกันและกันท�ำให้เกิดความรัก ความ เป็นหนึ่งเดียวกันมากขึ้น และที่ส�ำคัญควรจะ ต้องสอนให้เขาได้รู้จักภูมิใจในตนเอง เรียนรู้ที่ จะท�ำงานและตัดสินใจด้วยตนเองอย่างดีและ ถูกต้อง หากไม่สอนเขาให้ตัดสินใจแล้วก็จะ ท�ำให้เด็กคิดไม่ได้ ตัดสินใจไม่เป็น ดังนั้นจึง เป็นสิ่งที่ควรจะน�ำไปปรับใช้เพื่อให้เกิดมิติแห่ง ความสัมพันธ์ท่ีดีระหว่างความเป็นพ่อแม่ที่มี ต่อลูกอย่างแท้จริง หลักค�ำสอนในเรื่องของ “ความรัก” นับว่าเป็นหลักหัวใจสากล ที่พระเป็นเจ้าได้ ประทานให้กับมนุษย์ทุกๆ คน เพราะความ

รักเป็นสิ่งที่ทุกคนต้องการ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ความรักที่ได้รับมาจากพระเป็นเจ้า ผู้วิจัยเห็น ว่าหลักคุณธรรมและค�ำสอนแห่งความรักนี้ เป็นสิ่งที่ส�ำคัญมากต่อการที่พ่อแม่เลี้ยงเดี่ยว ที่ จ ะน� ำ มายึ ด ถื อ ในการด� ำ เนิ น ชี วิ ต เพราะ หากบุคคลใดยึดมั่นในคุณธรรมประการนี้ก็จะ ท�ำให้เห็นว่าชีวิตนั้นมีมุมมองที่ดี มองโลกใน แง่ดีเสมอ และมีการเปิดใจ ยอมรับความจริง ในชีวิตของตนเองที่เกิดขึ้นเสมอไม่ว่าจะเผชิญ หน้ากับสิ่งใด หลักค�ำสอนเกี่ยวกับ “พระนางมารีย์ พระมารดาพระเจ้า” ผู้เป็นรูปแบบแห่งความ หวั ง ของคริ ส ตชนที่ มี ต ่ อ พระเป็ น เจ้ า เป็ น แบบอย่างของชาวเราที่จะเดินตามเสียงแห่ง น�้ำพระทัยของพระเป็นเจ้า และเป็นต้นแบบ ที่ดีงามของชีวิตครอบครัวเลี้ยงเดี่ยว เพราะ แม่พระได้ร่วมเดินทางกับองค์พระคริสตเจ้า ตลอดเวลาที่พระองค์ทรงพระชนม์อยู่ ชีวิตครอบครัวเลี้ยงเดี่ยวต้องเผชิญ กับสิ่งต่างๆ มากมาย จึงเป็นสิ่งที่ไม่เพียงพอที่ จะใช้แต่เพียงความเข้าใจเพียงอย่างเดียว แต่ ต้องอาศัยความรักที่งดงาม เรียนรู้ที่จะรับ ผิดชอบต่อบทบาทและหน้าที่ของความเป็น พ่ อ แม่ ไ ด้ อ ย่ า งดี สุ ด ความสามารถ ซึ่ ง เป็ น ความหมายอั น ยิ่ ง ใหญ่ ที่ จ ะถ่ า ยทอดคุ ณ ค่ า และความหมายแห่งชีวิตที่งดงามบริสุทธิ์ด้วย

ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2015/2558

143


แนวทางการอภิบาลครอบครัวเลี้ยงเดี่ยวตามคำ�สอนของพระศาสนจักรคาทอลิก

ความรักให้กับลูกต่อไป อาศัยพระพรอันล�้ำค่า จากองค์พระคริสตเจ้า และ “ชีวิตของท่านถูก ซ่อนไว้กับพระคริสตเจ้าในพระเจ้า” (คส.3:3) เป็นท่อธารของความรัก พระองค์ทรงหลั่ง ความรักส�ำหรับแม่ แก่บรรดาครอบครัวเลี้ยง เดี่ยวทั้งหลายให้ได้มีความรักต่อกัน ความเป็น หนึ่งเดียวในเส้นทางของพระองค์ เพื่อที่จะ เป็นพลังในการก้าวไปในชีวิตครอบครัวอย่างมี ความสุข สมเด็ จ พระสั น ตะปาปาฟรานซิ ส องค์ปัจจุบันให้แนวทางส�ำหรับผู้อภิบาลที่มี ใจความส�ำคัญว่า ผู้อภิบาลต้องอยู่กับฝูงแกะ ของตน และชีวิตบาทหลวงคือการเป็นผู้รับ ใช้ บาทหลวงจะต้องมีหัวใจของความเมตตา สงสาร (Mercy and Compassion) เหมือน อย่างพระเยซูเจ้า โดยเฉพาะอย่างยิ่งต่อผู้ที่ มีบาดแผล หรือบาดเจ็บในชีวิต เป็นต้นใน ครอบครัวเลี้ยงเดี่ยวที่ได้ผ่านประสบการณ์ที่ ยากล�ำบากในชีวิต ดังนั้น ศีลอภัยบาปคือยา รั ก ษาชั้ น ดี ข องพระเจ้าต่อบรรดาประชากร ของพระองค์ (Pastoral Charity and Pastoral Suffering) and A Priest must be a “man of mercy, compassion, close to his people and the servant of all.” And “Aseptic priest – those who seem like they are working in a laboratory and are

144 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

all clean and perfect – don’t help the Church. The world is messy and filled with people who have been bloodied by the battles of life. We priests have to be there, close to the people.” การจั ด ตั้ ง โครงการและโปรแกรม การอบรมให้กับบรรดาครอบครัวเลี้ยงเดี่ยว เพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาชีวิตให้มีความ เข้มแข็งและมีพลังมากยิ่งขึ้นตามแนวทางค�ำ สอนของพระศาสนจั ก รคาทอลิ ก โดยอาจ จะใช้ชื่อว่า “เครือข่ายเสริมสร้าง พัฒนา ชีวิต ครอบครัวเลี้ยงเดี่ยว” หรืออาจจะปรับ เปลี่ยนได้ตามความเหมาะสมต่อสภาพสังคม ซึ่งบรรดาผู้ให้ข้อมูลและบรรดาผู้เชี่ยวชาญ ก็ ไ ด้ เ ห็ น สอดคล้ อ งกั น ถึ ง ความส� ำ คั ญ ใน หลายๆ ประการที่ ควรจะจั ด ให้ มี โ ครงการ และกิจกรรมต่างๆ อันเป็นประโยชน์ต่อสภาพ การด�ำเนินชีวิตได้อย่างดี ผู้วิจัยจึงได้รวบรวม ความเห็นในทุกภาคส่วนที่มีความคิดเห็นไปใน แนวทางอันหนึ่งอันเดียวกัน ข้อเสนอแนะในการน�ำผลการวิจัยไปใช้ พระศาสนจักรคาทอลิก หน่วยงาน และบุ ค คลต่ า งๆ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งควรให้ ค วาม ส� ำ คั ญ และช่ ว ยเหลื อ ดู แ ลครอบครั ว เลี้ ย ง เดี่ยวให้สามารถด�ำเนินชีวิตได้อย่างดีในทุก


อุดม ดีเลิศประดิษฐ์ ลือชัย ธาตุวิสัย และลัดดาวรรณ์ ประสูตร์แสงจันทร์

มิติ โดย 1) พระศาสนจักรคาทอลิกควรส่ง เสริ ม ความร่ ว มมื อ ของบาทหลวง นั ก บวช และหน่วยงานต่างๆ ให้มีส่วนร่วมในการดูแล อภิ บ าลครอบครั ว มี ก ารส่ ง เสริ ม การดู แ ล เอาใจใส่ เยียวยา ครอบครัวในมิติต่างๆ ทั้ง มิติด้านสังคม ด้านศีลธรรมและเทววิทยา ด้วย กระบวนการ กิจกรรมต่างๆ ตามหลักค�ำ สอนของคริสต์ศาสนา เพื่อดูแลช่วยเหลือ ส่ง เสริมให้สมาชิกครอบครัว มีความรัก ความ เชื่อ ไว้วางใจในพระเจ้า ด�ำเนินชีวิตตามแบบ อย่างและหลักธรรมค�ำสอนของพระเจ้า พระ แม่มารีย์ และตามค�ำสอนของพระศาสนจักร 2) วัด ชุมชน หน่วยงาน ควรมีการส่งเสริม ความเชื่อศรัทธาโดยผ่านทางกิจกรรมต่างๆ การอบรมให้ความรู้พื้นฐาน หลักปฏิบัติดีงาม ในการการด�ำเนินชีวิตครอบครัวที่สมบูรณ์ มี การจัดตั้งกลุ่ม จัดตั้งกองทุน เพื่อช่วยเหลือ ดูแล 3) ผู้อภิบาลควรเป็นแบบอย่างที่ดี ดูแล ส่งเสริมชีวิตของครอบครัว สนใจความเป็น อยู่และปัญหาของครอบครัว เอื้อเฟื้อ ให้ค�ำ ปรึกษา เอาใจใส่ในการสอนค�ำสอนให้บรรดา เด็กเยาวชน สมาชิกในครอบครัวให้เติบโต ในความเชื่อ ตามหาและน�ำลูกแกะกลับมาสู่ ความรักของพระเจ้า กล่าวคือ 1. แนวทางการอภิ บ าลครอบครั ว เลี้ ย งเดี่ ย วส� ำ หรั บ พระศาสนจั ก รท้ อ งถิ่ น

โดยเฉพาะในชุมชนวัด โดยพระศาสนจักร คาทอลิกแห่งประเทศไทย ควรส่งเสริมความ ร่วมมือของบาทหลวง นักบวช และหน่วย งานต่างๆ เข้ามามีส่วนร่วมในการดูแลอภิบาล ครอบครัวให้มากยิ่งขึ้น ช่วยกันดูแลเอาใจ ใส่ให้ก�ำลังใจ เป็นแสงสว่างส่องทาง สร้าง มิติแห่งการอภิบาลมากกว่าการลงโทษ และ สร้างรากฐานแห่งกระแสเรียกที่ดีในครอบครัว ให้เข้มแข็งมากขึ้น ด้วยพลังความเชื่อศรัทธา มั่นคงในพระเจ้า 2. แนวทางการอภิ บ าลครอบครั ว เลี้ ย งเดี่ ย วส� ำ หรั บ พระศาสนจั ก รในด้ า น จิตวิทยา ในระดับส่วนตัว และระดับกลุ่ม โดยควรมี ก ารส่ ง เสริ ม การดู แ ลเอาใจใส่ เยียวยา ให้ค�ำปรึกษา ทางจิตใจแก่สมาชิกใน ครอบครัว ผ่านทางกิจกรรมทางศาสนาและ กิจกรรมต่างๆ เพื่อให้สมาชิกครอบครัวเกิด มิติแห่งการเปิดตนเองสู่ชีวิตจริงมากยิ่งขึ้น มี ความรั ก ความเชื่ อ และมี ห ลั ก ในการด� ำ เนิ น ชีวิตที่เข้มแข็ง อาศัยการเริ่มจากการให้ความ ส�ำคัญในระดับชุมชนวัด 3. แนวทางการอภิ บ าลครอบครั ว เ ลี้ ย ง เ ดี่ ย ว ส� ำ ห รั บ พ ร ะ ศ า ส น จั ก ร ใ น กระบวนการต่ า งๆ เพื่ อ เป็ น เครื่ อ งมื อ ใน การขับเคลื่อนกลุ่มในชุมชนให้เข้มแข็ง โดย ควรให้ความส�ำคัญของกระบวนการเยียวยา

ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2015/2558

145


แนวทางการอภิบาลครอบครัวเลี้ยงเดี่ยวตามคำ�สอนของพระศาสนจักรคาทอลิก

ครอบครัวเลี้ยงเดี่ยวให้มากขึ้น ส่งเสริมสนับ สนุนให้สมาชิกครอบครัวเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม ต่างๆ เพื่อส่งเสริมความรัก ความเข้าใจ แบ่ง ปันความคิดเห็น แนวทางการด�ำเนินชีวิต การ แก้ไขปัญหา ช่วยเหลือ แบ่งปัน เสริมสร้าง ความเข้มแข็งในครอบครัว 4. แนวทางการอภิ บ าลครอบครั ว เลี้ ย งเดี่ ย วส� ำ หรั บ พระศาสนจั ก รในมิ ติ ด ้ า น สั ง คมโดยควรเสริ ม สร้ า งมิ ติ สั ม พั น ธ์ เชื่ อ ม โยงกันทั้งในระดับพระศาสนจักรท้องถิ่น วัด โรงเรียน ชุมชน เพื่อการดูแลครอบครัวใน ปัจจัยส�ำคัญของชีวิตให้ความพอดี เหมาะสม และมีการร่วมมือกับฝ่ายรัฐได้อย่างดี 5. แนวทางการอภิ บ าลครอบครั ว เลี้ ย งเดี่ ย วส� ำ หรั บ พระศาสนจั ก รในมิ ติ ด ้ า น ศี ล ธรรมและเทววิ ท ยาในเขตวั ด ที่ อ าศั ย อยู ่ โดยควรมี ท ่ า ที ท่ี ดี แ ละพร้ อ มจะช่ ว ยเหลื อ บรรเทาทุกข์ ดูแลทุกคน แม้คนที่ท�ำบาปที่สุด ควรเอาใจใส่ครอบครัวให้มีมิติด้านความรัก ศรัทธา การด�ำเนินชีวิตตามหลักค�ำสอนของ คริสต์ศาสนาให้มากขึ้น 6. แนวทางการอภิ บ าลครอบครั ว เลี้ ย งเดี่ ย วส� ำ หรั บ หลั ก ค� ำ สอนของคริ ส ต์ ศาสนา โดยมีบาทหลวงเป็นผู้น�ำทาง และควร เสริมสร้าง เน้นย�้ำให้ครอบครัว มีความรัก ไว้ วางใจในพระเจ้าสุดจิตใจ น�ำแม่พระมารีย์และ

146 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

ค�ำสอนของท่านมาเป็นต้นแบบในการด�ำเนิน ชีวิต การสวดภาวนา การท�ำงานอภิบาลแม้ใน ยามทุกข์เศร้า 7. แนวทางการอภิ บ าลครอบครั ว เลี้ยงเดี่ยวในระดับองค์กร วัด โรงเรียน และ ชุมชน โดยควรมีการส่งเสริมความเชื่อศรัทธา โดยผ่านทางกิจกรรมต่างๆ การอบรมให้ความ รู้พื้นฐาน หลักปฏิบัติดีงามในการด�ำเนินชีวิต ครอบครั ว ที่ ส มบู ร ณ์ แนวทางแก้ ไขปั ญ หา มีการดูแลช่วยเหลือ แบ่งปัน จัดตั้งกลุ่ม คริสตชนต่างๆ จัดตั้งกองทุนส�ำหรับการดูแล ช่วยเหลือครอบครัวที่มีความยากล�ำบากควร เอาใจใส่ ใ นการสอนค� ำ สอนให้ บ รรดาเด็ ก เยาวชน สมาชิ ก ในครอบครั ว ให้ เ ติ บ โตใน ความเชื่อ ควรให้ความส�ำคัญ ดูแลเอาใจ ใส่นักเรียน รวมไปถึงครอบครัว โดยเฉพาะ นักเรียนหรือครอบครัวที่ประสบปัญหาความ ยากล�ำบาก จัดท�ำตั้งกองทุนช่วยเหลือส�ำหรับ ครอบครัวที่มีความยากล�ำบาก ในปัจจัยการ ศึกษา การงาน อาศัย ความช่วยเหลือ แบ่งปัน ตามจิตตารมรณ์ 8. แนวทางการอภิ บ าลครอบครั ว เลี้ยงเดี่ยวส�ำหรับผู้อภิบาล โดยผู้อภิบาลควร เป็นบุคคลแบบอย่างที่ดี ดูแลส่งเสริมชีวิตจิต ของครอบครัวคริสตชน ดูแลสนใจความเป็น อยู่และปัญหาของครอบครัว คริสตชน เปิดใจ


อุดม ดีเลิศประดิษฐ์ ลือชัย ธาตุวิสัย และลัดดาวรรณ์ ประสูตร์แสงจันทร์

รับ ให้ค�ำปรึกษา เอื้อเฟื้อ ช่วยเติมเต็มในมิติที่ หายไป ตามหาลูกแกะเพื่อน�ำกลับมาสู่ความ รักของพระเจ้า บรรณานุกรม เบเนดิกต์ที่ 16, พระสันตะปาปา. 2549. พระเจ้าคือความรัก” (Deus Catritas Est). กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ อัสสัมชัญ. ปอล ที่ 6, พระสันตะปาปา. 1997. กฎ เกณฑ์ว่าด้วยการคุมก�ำเนิดของ ชีวิตมนุษย์ (Humanae Vitae). กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์อัสสัมชัญ. ยอห์น ปอล ที่ 2, พระสันตะปาปา. 2538. สารถึงบรรดาครอบครัว. แปลโดย ยอห์นปัปติสต์ นรินทร์ ศีริวิริยานนท์. กรุงเทพฯ : ส�ำราญการพิมพ์. ______. 2550. พระวรสารแห่งชีวิต (Evangelium Vitae). กรุงเทพฯ: ศูนย์วรรณกรรมซาเลเซียน. ลัดดาวรรณ์ ประสูตรแสงจันทร์. 2557. “รักวัวให้ผูก รักลูกให้ตี.” วารสาร แสงธรรมปริทัศน์. (มกราคมเมษายน 2557) : 86-91.

ศิรินันท์ กิตติสุขสถิต. 2557. สถาบันวิจัย ประชากรและสังคม. เข้าถึงเมื่อ 10 กรกฎาคม 2557 เข้าถึงได้ จากhttp://www.ipsr.mahidol. ac.th/IPSR/AnnualConference/ ConferenceII/Article/Article15. htm. สุเทพ วนพงศ์ทิพากร, บาทหลวง. 2553. สัญญาที่เป็นยิ่งกว่าสัญญา. นครปฐม : ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนา งานวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม. Andrea Gasparino. 2002. Sexuality and Love. London : Catholic truth society publishers to the Holy See. Eldred Willey. 2006. Generosity in the family. London : Catholic truth society publishers to the Holy See. John Paul II. 1990. Christian Family. Melbourne Australia : St. Paul Publications.

ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2015/2558

147


วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

Sa e n g th a m Co lle g e Jo u rn a l

ใบสมัครสมาชิก วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม สมาชิกในนาม............................................................................................................... ที่อยู่ (สำ�หรับจัดส่งวารสารวิชาการ) เลขที่.................................ถนน.................................... แขวง/ตำ�บล...................................................เขต/อำ�เภอ.................................................. จังหวัด..................................................................รหัสไปรษณีย์...................................... โทรศัพท์.....................................................................โทรสาร......................................... มีความประสงค์สมัครเป็นสมาชิก วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม 1 ปี (2 ฉบับ) อัตราค่าสมาชิก 200 บาท วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม 2 ปี (4 ฉบับ) อัตราค่าสมาชิก 400 บาท วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม 3 ปี (6 ฉบับ) อัตราค่าสมาชิก 500 บาท ชำ�ระเงินโดยวิธี ธนาณัติ (สั่งจ่าย “บาทหลวงอภิสิทธิ์ กฤษเจริญ”) ปณ. อ้อมใหญ่ 73160 โอนเงินเข้าบัญชีออมทรัพย์ ธนาคารกรุงไทย สาขาสามพราน ชื่อบัญชี “วารสารวิชาการวิทยาลัยแสงธรรม” เลขที่บัญชี 734-0-27562-2 (พร้อมส่งเอกสารการโอนมาที่ Fax. 0-2429-0819) ที่อยู่ที่ต้องการให้ออกใบเสร็จรับเงิน ตามที่อยู่ที่จัดส่ง ที่อยู่ใหม่ในนาม....................................................................................................... เลขที่.........................ถนน.............................แขวง/ตำ�บล..................................... เขต/อำ�เภอ............................จังหวัด...............................รหัสไปรษณีย์...................

.............................................(ลงนามผู้สมัคร) ........./............./.......... (วันที่)

ส่งใบสมัครมาที่ : ศูนย์วิจัยค้นคว้าศาสนาและวัฒนธรรม วิทยาลัยแสงธรรม เลขที่ 20 หมู่ 6 ต.ท่าข้าม อ.สามพราน จ.นครปฐม 73110 หรือที่ โทรสาร 0 2 429 0819


รูปแบบและเงื่อนไขการส่งต้นฉบับบทความ

www.saengtham.ac.th/journal

1. เป็นบทความวิชาการ บทวิจารณ์หนังสือ และบทความปริทัศน์ ด้านปรัชญา ศาสนา เทววิทยา และ การศึกษาคาทอลิก ที่ยังไม่เคยเผยแพร่ในเอกสารใด ๆ 2. การพิมพ์ผลงานทางวิชาการควรจัดพิมพ์ด้วย Microsoft Word for Windows หรือซอฟท์แวร์อื่นที่ ใกล้เคียงกัน พิมพ์บนกระดาษขนาด A4 หน้าเดียว ประมาณ 28 บรรทัด ต่อ 1 หน้า TH SarabunPSK ขนาดของตัวอักษรเท่ากับ 16 และใส่เลขหน้าตั้งแต่ต้นจนจบบทความ 3. ต้องมีชื่อเรื่องบทความทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 4. ให้ข้อมูลเกี่ยวกับผู้เขียนบทความทุกคน ได้แก่ ชื่อ-นามสกุลของผู้เขียน หน่วยงานที่สังกัด ตำ�แหน่ง ทางวิชาการ (ถ้ามี) E-mail หรือโทรศัพท์ หากเป็นวิทยานิพนธ์ ต้องมีชื่อและสังกัดของอาจารย์ที่ปรึกษา ด้วย ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 5. ทุกบทความจะต้องมีบทคัดย่อภาษาไทย และ Abstract จะต้องพิมพ์คำ�สำ�คัญในบทคัดย่อภาษาไทย และ พิมพ์ Keywords ใน Abstract ของบทความด้วย 6. บทความวิจัยความยาวไม่เกิน 12 หน้า บทความวิชาการความยาวไม่เกิน 8 หน้า (รวมบรรณานุกรมแล้ว) 7. เชิงอรรถอ้างอิง (ถ้ามี) 8. บรรณานุกรมตามมาตรฐาน APA แยกผลงานภาษาไทยและภาษาอังกฤษ (เรียงตามลำ�ดับตัวอักษร) 9. บทความวิจัยควรมีหัวข้อดังนี้ ชื่อเรื่องบทความวิจัย(ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ) ชื่อผู้เขียนพร้อมข้อมูล ส่วนตัวของทุกคน(รายละเอียดตามข้อ 3) บทคัดย่อภาษาไทย และ Abstract ความสำ�คัญของเนื้อหา วัตถุประสงค์ สมมติฐานของการวิจัย ประโยชน์ที่ได้รับ ขอบเขตการวิจัย นิยามศัพท์(ถ้ามี) วิธีการดำ�เนิน การ ผลการวิจัย ข้อเสนอแนะ และบรรณานุกรม/References 10. ค่าใช้จ่ายในการตรวจประเมิน จำ�นวน 2,400 บาท โดยโอนเงินเข้าบัญชีออมทรัพย์ ธนาคารกรุงไทย สาขา สามพราน ชื่อบัญชี “วารสารวิชาการวิทยาลัยแสงธรรม” เลขที่บัญชี 734-0-27562-2 (พร้อมส่งเอกสาร การโอนมาที่ Fax. 0-2429-0819 หรือที่อีเมล cheat_p@hotmail.com) ทั้งนี้ค่าใช้จ่ายดังกล่าวผู้ส่ง บทความเป็นผู้รับผิดชอบ และจะไม่ได้รับคืนในทุกกรณี 11. กองบรรณาธิก ารนำ�บทความที่ท่านส่งมาเสนอต่ อ ผู้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ เ พื่ อ ประเมิ น คุ ณ ภาพความเหมาะสม ของบทความก่อนการตีพิมพ์ ในกรณีที่ผลการประเมินระบุให้ต้องปรับปรุงหรือแก้ไข ผู้เขียนจะต้อง ดำ�เนินการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลา 15 วันนับจากวันที่ได้รับผลการประเมินบทความ หากท่าน ต้องการสอบถามกรุณาติดต่อกับกองบรรณาธิการวารสารวิชาการ โทรศัพท์ (02) 4290100 โทรสาร (02) 4290819 หรือ E-mail: cheat_p@hotmail.com


ขั้นตอนการจัดทำ�

วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม Saesngtham College Journal

เริ่มต้น ประกาศรับบทความต้นฉบับ รับบทความต้นฉบับ แก้ไข กอง บก. ตรวจรูปแบบทั่วไป

ไม่ผ่าน

แจ้งผู้เขียน

ผ่าน ส่งผู้ทรงคุณวุฒิ ข

ก้ไ อ้ งแ

ผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาบทความ

ไม่ผ่าน

แจ้งผู้เขียน

ไม่ต

แก้ไ

ผ่าน กองบรรณาธิการแจ้งยืนยัน การรับบทความ จัดพิมพ์เผยแพร่ จบ

แจ้งผู้เขียน แก้ไข

จบ


V o l . 7N o . 1J a n u a r y-J u n e2 0 1 5

I S S N1 9 0 6 5 0 7 8

A c a d e mi cP a p e r AR e fl e c t i o no nH u ma nR i g h t si nT h a i S o c i e t y: P o i n t so f V i e wf r o mS a e n g t h a mC o l l e g e .1 R e v . D r . C h a t c h a i P h o n g s i r i

R e s e a r c hP a p e r s S c h o o l S e c u r i t yS t r a t e g i cMa n a g e me n t .

1 9

D r . C h a i wa t Ut h a i s a na n dA s s t . P r o f . Ma j . D r . N o p a d o l C h e n a k s a r a . R T A R .

Ma n a g e me n t o f C a t h o l i cS c h o o l i nT h a i l a n dB e y o n dC a t h o l i cS c h o o l I d e n t i t y .

2 9

R e v . D r . S u r i nC h a n u p a k a r aa n dA s s t . P r o f . D r . P r a s e r t I n t a r a k

F o r mi n gC o n s c i e n c eA c c o r d i n gt oS t . I g n a t i u so f L o y o l a .

4 6

P a t i k o mWi r i y a s o mb a t , R e v . D r . A g u s t i n u sS u g i y oP i t o y o , S . J . a n dR e v . C h a r o e nV o n g p r a c h a n u k u l

T h eD e s i r a b l eC h a r a c t e r i s t i c so f C h a p l a i n c yi nC a t h o l i cS c h o o l s o f T h eA r c h d i o c e s eo f B a n g k o k .

6 0

R e v . A s s t . P r o f . Wa t c h a s i nK r i t j a r o e n , R e v . D r . C h a t c h a i P h o n g s i r i , R e v . D r . A g u s t i n u sS u g i y oP i t o y o , S . J . , R e v . A s s t . P r o f . S o mc h a i P h i t t h a y a p h o n g p h o n d , S u d h a t h a i N i y o mt h a ma n dS a r u n y uP o n g p r a s e r t s i n

F r o mG a l i l e et oJ e r u s a l e m: T h eV i r t u eo f O b e d i e n c ef o rP r i e s t s a sD i s c i p l e so f C h r i s t ( MK8 : 2 7 1 0 : 5 2 ) .

7 5

R e v . K o r nA d i r e k wu t t h i k u l , B i s h o pD r . L u e c h a i T h a t wi s a i a n dR e v . S o mk i a t T r i n i k o r n

I n n o v a t i o no f D u a l V o c a t i o n a l T r a i n i n gi nV o c a t i o n a l C o l l e g e .

8 6

D r . P h i t s a n uT h o n g l e r t a n dA s s t . P r o f . D r . P r a s e r t I n t a r a k

T h eT e a c h e r ’ sR o l ei nE n h a n c i n gMo r a l i t ya n dE t h i c sA c c o r d i n gt ot h eI d e n t i t yo f C a t h o l i cE d u c a t i o ni nC a t h o l i cS c h o o l so f T h eA r c h d i o c e s eo f B a n g k o k .

1 0 1

R e v . D r . A p h i s i t K i t c h a r o e n , R e v . D r . P i c h e t S a e n g t h i e n , S . J . , R e v . T h e e r a p h o l K o b v i t h a y a k u l , S u d h a t h a i N i y o mt h a ma n dS a r u n y uP o n g p r a s e r t s i n

T h eMo d e l o f D e v e l o p me n t f o rt h eT e a c h e r s ’ Q u a l i t yo f Wo r kL i f eo f P r i v a t eS c h o o l i nK a mp h a n gP h e t P r o v i n c e .

1 2 0

P a s t o r a l G u i d e l i n e sf o rS i n g l eP a r e n t A c c o r d i n gt oC a t h o l i cC h u r c hT e a c h i n g .

1 3 5

D r . Ma t e eN o mn i l , A s s o c . P r o f . D r . P r a t u a n gP h u mp a t r a k o ma n dA s s o c . P r o f . D r . T h a n e eG e a s t h o n g R e v . Ud o mD e e l e r t p h a d i t , B i s h o pD r . L u e c h a i T h a t wi s a i , R e v . Wa i p h r o t P h u t t h a d a , O . M. I . a n dD r . L a d d a wa nP r a s o o t s a e n g c h a n


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.