วารสารวิชาการ
วิทยาลัยแสงธรรม
Saengtham College Journal
ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม - ธันวาคม 2016/2559
วัตถุประสงค์
1. เป็นเวทีเผยแพร่ผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการของคณาจารย์ทั้งในและนอก วิทยาลัย ตลอดจนนักวิชาการอิสระ 2. เชื่อมโยงโลกแห่งวิชาการ และเผยแพร่องค์ความรู้ทางปรัชญา ศาสนา เทววิทยา และการศึกษา ให้เกิดประโยชน์แก่ชุมชนและสังคมส่วนรวม 3. ส่งเสริมและกระตุ้นให้เกิดการวิจัย และพัฒนาองค์ความรู้ทางด้านปรัชญา ศาสนา เทววิทยา และการศึกษา เพิ่มมากขึ้น
เจ้าของ บาทหลวง ผศ.ดร.ชาติชาย พงษ์ศริ ิ บาทหลวง เดชา อาภรณ์รัตน์ บรรณาธิการ บาทหลวง ผศ.ดร.อภิสทิ ธิ์ กฤษเจริญ กองบรรณาธิการ รศ.ดร.ไพศาล หวังพานิช รศ.ดร.สมเจตน์ ไวยาการณ์ ดร.อาทิพย์ สอนสุจิตรา ผศ.ประเสริฐ วิเศษกิจ ผศ.ดร.ลัดดาวรรณ์ ประสูตร์แสงจันทร์ อาจารย์ศรัญญู พงศ์ประเสริฐสิน อาจารย์สุดหทัย นิยมธรรม
ในนามอธิการบดีวิทยาลัยแสงธรรม ในนามเลขาธิการสภาการศึกษาคาทอลิก แห่งประเทศไทย ในนามผูอ้ ำ� นวยการศูนย์วจิ ยั ค้นคว้าศาสนา และวัฒนธรรม วิทยาลัยแสงธรรม มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล วิทยาลัยเซนต์เทเรซา มูลนิธิเซนต์คาเบรียล ฝ่ายการศึกษา อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ อาจารย์พีรพัฒน์ ถวิลรัตน์ นางสาวจิตรา กิจเจริญ นางสาวสุกานดา วงศ์เพ็ญ
ก�ำหนดเผยแพร่ : ปีละ 2 ฉบับๆ ละ 100 บาท (ฉบับที่ 1 ม.ค.-มิ.ย. ฉบับที่ 2 ก.ค.-ธ.ค.) สถานที่ออกแบบและจัดพิมพ์ : ศูนย์วิจัยค้นคว้าศาสนาและวัฒนธรรม วิทยาลัยแสงธรรม ออกแบบปก/รูปเล่ม : นางสาวสุกานดา วงศ์เพ็ญ พิสูจน์อักษร : อาจารย์สุดหทัย นิยมธรรม
วารสารวิชาการวิทยาลัยแสงธรรม
ได้ผ่านการประเมินคุณภาพวารสาร จากศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (TCI) รอบที่ 3 (ปีพ.ศ.2558-2562)
โดยจัดอยู่ในกลุ่ม 1
เป็นวารสารที่ผ่านการรับรองคุณภาพของ TCI และอยู่ในฐานข้อมูล TCI และจะถูกคัดเลือกเข้าสู่ฐานข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI) ต่อไป
รายนามคณะที่ปรึกษากองบรรณาธิการ
Editorial Advisory Board
ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก 1. บาทหลวง ศ.ดร.วชิระ น�ำ้ เพชร, S.J. 2. ศ.กีรติ บุญเจือ 3. ศ.ดร.เดือน ค�ำดี 4. ศ.ดร.สมภาร พรมทา 5. รศ.ดร.สุมาลี จันทร์ชะลอ 6. รศ.ดร.มณฑา เก่งการพานิช 7. ผศ.ดร.ชาญณรงค์ บุญหนุน 8. ผศ.ดร.วรยุทธ ศรีวรกุล
Sophia University, Japan ราชบัณฑิต คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร คณะปรัชญาและศาสนา มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ
ผู้ทรงคุณวุฒิภายใน 1. มุขนายก ดร.ลือชัย ธาตุวิสัย 3. บาทหลวง ดร.ออกัสติน สุกีโย ปิโตโย, S.J. 5. บาทหลวง ดร.เชิดชัย เลิศจิตรเลขา, M.I. 7. บาทหลวง ดร.สุรชัย ชุ่มศรีพันธ์ุ 9. ผศ.ดร.ลัดดาวรรณ์ ประสูตร์แสงจันทร์
2. บาทหลวง ผศ.ดร.ชาติชาย พงษ์ศริ ิ 4. บาทหลวง ผศ.ดร.ฟรังซิส ไกส์, S.D.B. 6. บาทหลวง ผศ.ดร.ไพยง มนิราช 8. ภคินี ดร.ชวาลา เวชยันต์
ลิขสิทธิ์ ต้นฉบับทีไ่ ด้รบั การตีพมิ พ์ในวารสารวิชาการวิทยาลัยแสงธรรม ถือเป็นกรรมสิทธิข์ องวิทยาลัย แสงธรรม ห้ามน�ำข้อความทัง้ หมดไปตีพมิ พ์ซำ �้ ยกเว้นได้รบั อนุญาตจากวิทยาลัยแสงธรรม ความรับผิดชอบ เนือ้ หาและข้อคิดเห็นใดๆ ทีต่ พี มิ พ์ในวารสารวิชาการวิทยาลัยแสงธรรม ถือเป็นความรับผิดชอบ ของผูเ้ ขียนเท่านัน้
รายนามผู้ทรงคุณวุฒิผู้ประเมินบทความ
(Peer Review) ประจำ�ฉบับ
ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม - ธันวาคม 2016/2559 ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก 1. ศ.กีรติ บุญเจือ 2. รศ.ดร.สุมาลี จันทร์ชะลอ 3. รศ.ดร.มณฑา เก่งการพานิช 4. รศ.ดร.ประเวศ อินทองปาน 5. รศ.ดร.พิทักษ์ ศิริวงศ์ 6. รศ.ลิขิต กาญจนาภรณ์ 7. ผศ.ดร.ประเสริฐ อินทรักษ์ 8. ดร.สุภาวดี นัมคณิสรณ์
ผู้ทรงคุณวุฒิภายใน 1. บาทหลวง ผศ.ดร.ชาติชาย พงษ์ศิริ 2. บาทหลวง ผศ.ดร.ฟรังซิส ไก้ส์ 3. บาทหลวง ผศ.ดร.วุฒิชัย อ่องนาวา 4. บาทหลวง ดร.สุรนิ ทร์ จารย์อุปการะ 5. บาทหลวง ดร.พิเชฐ แสงเทียน 6. บาทหลวง เจริญ ว่องประชานุกูล 7. ภคินี ดร.ชวาลา เวชยันต์ 8. ผศ.ดร.ลัดดาวรรณ์ ประสูตร์แสงจันทร์ 9. อาจารย์พรี พัฒน์ ถวิลรัตน์ 10. อาจารย์ศรัญญู พงศ์ประเสริฐสิน
ราชบัณฑิต คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยศิลปากร คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร คณะปรัชญาและศาสนา มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ
คณะมนุษยศาสตร์ คณะศาสนศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์ คณะศาสนศาสตร์ คณะศาสนศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์ คณะศาสนศาสตร์
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม มีความยินดีรับบทความวิจัย บทความวิชาการ บทวิจารณ์หนังสือ และบทความปริทัศน์ด้านปรัชญา ศาสนา เทววิทยา และการศึกษาคาทอลิก ที่ยังไม่เคยเผยแพร่ในเอกสารใดๆ โดยส่งบทความมาที่ ผู้อ�ำนวยการศูนย์วิจัยค้นคว้าศาสนาและ วัฒนธรรม วิทยาลัยแสงธรรม เลขที่ 20 ม.6 ต.ท่าข้าม อ.สามพราน จ.นครปฐม 73110 กองบรรณาธิการวารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม จะส่งบทความให้แก่ผทู้ รงคุณวุฒทิ าง วิชาการเพือ่ ประเมินคุณภาพบทความว่าเหมาะสมส�ำหรับการตีพมิ พ์หรือไม่ หากท่านสนใจกรุณา ดูรายละเอียดรูปแบบการส่งต้นฉบับได้ท่ี www.saengtham.ac.th/journal
บทบรรณาธิ ก าร Saengtham college Journal วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม - ธันวาคม 2016/2559 วารสารวิชาการวิทยาลัยแสงธรรมฉบับนี ้ ขอน�ำเสนอบทความในด้านปรัชญา ศาสนา เทววิทยา และการศึกษา ประกอบไปด้วย บทความวิชาการจ�ำนวน 2 เรื่องจากบุคคลภายนอกจ�ำนวน 1 เรื่องได้แก่ เรื่อง “ปัญหา ความทุกข์ในหนังสือโยบและความหมายโดยนับต่อเทววิทยาเรือ่ งความทุกข์ ในบริบทพุทธศาสนา ในประเทศไทย” โดย ศาสนาจารย์ ผศ.ดร.สาธนัญ บุณยเกียรติ และบทความวิชาการจากภายใน เรื่อง “ความคาดหวังของประชาชนคนไทยจากนักการเมืองไทยในอนาคต” โดยบาทหลวง ผศ.ดร. อภิสทิ ธิ ์ กฤษเจริญ บทความวิจัยจ�ำนวน 9 เรื่อง จากบุคคลภายนอกจ�ำนวน 5 เรื่องได้แก่ “การบริหาร โรงเรียนคาทอลิก ในเครือสังฆมณฑลเชียงใหม่” โดย บาทหลวงไพศาล เต็มอรุณรุง้ เรือ่ ง “การ ประชุมสังคายนาวาติกนั ครัง้ ที ่ 2 และกิจกรรมด้านศาสนสัมพันธ์ของพระศาสนจักรคาทอลิกใน ประเทศเวียดนาม” โดย บาทหลวง ฮว่าง โด บา O.P. “การเปลีย่ นแปลงทางประวัตศิ าสตร์ ของ Kami: จากเทพเจ้าในศาสนาชินโตสูพ ่ ระเจ้าในศาสนาคริสต์” โดย Hideo Maruyama เรื่อง “พฤติกรรมการเสริมสร้างความเข้มแข็งในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม ของ ผู้น�ำชุมชน อ.แม่แจ่ม จ.เชียงใหม่” โดยนิพนธ์ สมบูรณ์พูนเพิ่ม เรื่อง “ระบบการพัฒนา สมรรถนะส�ำหรับผูบ้ ริหาร ในสถานศึกษาคาทอลิกในเครือสังฆมณฑล” โดย บาทหลวงอิทธิพล ศรีรัตนะ จากบุคคลากรภายในจ�ำนวน 4 เรื่องได้แก่ “แนวทางการอบรมคุณธรรมในครอบครัว เพื่อส่งเสริมกระแสเรียกเยาวชน กรณีศึกษาวัดนักบุญเปโตร สามพราน นครปฐม” โดย ปัตทวี วงศ์ศรีแก้ว เรือ่ ง “แนวทางการอภิบาลเยาวชน ในด้านจริยธรรมการใช้เทคโนโลยี ตาม สมณสาส์นขอสรรเสริญองค์พระผูเ้ ป็นเจ้า” โดย เจริญโชค สันดี เรือ่ ง “บทบาทความเชือ่ ของ ซิสเตอร์คณะภคินแี พร่ธรรมแห่งพระนางมารียผ์ ปู้ ฎิสนธินริ มล ในการส่งเสริมคุณธรรมความเชือ่ ให้เด็กและเยาวชนชาวปกาเกอะญอ” โดย ศรศักดิ์ เจริญสุขทวีพูน เรื่อง “ศึกษาความคิดเห็น และความต้องการการนิเทศของครูค�ำสอน เพื่อพัฒนาการจัดการเรียนการสอน และการจัด กิจกรรมในโรงเรียนคาทอลิก” โดยบาทหลวง ผศ.ดร.วัชศิลป์ กฤษเจริญและคณะ โอกาสนี้ กองบรรณาธิการวารสารวิชาการวิทยาลัยแสงธรรม ขอร่วมใจกับพี่น้องชาวไทยทุก ท่านในการสืบสานปณิธานของพระเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที ่ 9 และขอขอบพระคุณผูท้ รงคุณวุฒทิ กุ ท่าน ที่ กรุณาให้ความอนุเคราะห์ประเมินบทความต่างๆ เพือ่ ให้วารสารของเรามีคณ ุ ภาพ เหมาะสมต่อการเผย แพร่และเป็นแหล่งข้อมูลในการศึกษาค้นคว้าอ้างอิงด้านปรัชญา ศาสนา เทววิทยาและการศึกษา คาทอลิกต่อไป บรรณาธิการ ธันวาคม 2016
ความคาดหวังของประชาชนคนไทย จากนักการเมืองไทยในอนาคต
Efromxpectations of Thai People Future Thai Politicians. บาทหลวง ผศ.ดร.อภิสิทธิ์ กฤษเจริญ * บาทหลวงในคริสต์ศาสนจักรคาทอลิก สังกัดสังฆมณฑลราชบุรี * รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
Rev.Asst.Prof.Dr.Aphisit Kitcharoen * Reverend in Roman Catholic Church, Ratchaburi Diocese.
* Vice President for Academic Affairs of Saengtham College.
ความคาดหวังของประชาชนคนไทยจากนักการเมืองไทยในอนาคต
ทุกชาติใดบนโลกนี้ ย่อมเริ่มต้นจาการ อยูร่ วมกันเป็นกลุม่ เล็กๆ มาก่อน มนุษย์เป็น สั ต ว์ สั ง คมและต้ อ งการชี วิ ต กลุ ่ ม ซึ่ ง เป็ น ธรรมชาติของตน และเมื่อมีจ�ำนวนสมาชิก เพิ่มมากขึ้น มนุษย์ต้องการกฎเกณฑ์เพื่อให้ สังคมที่มีอยู่เป็นไปอย่างมีระเบียบเรียบร้อย แม้ทุกชนชาติจะมีรูปแบบการด�ำเนินชีวิตโดย ผ่ า นทางขนบธรรมเนี ย ม ประเพณี แ ละ วัฒนธรรม ซึ่งเป็นกลไกหนึ่งที่ผูกสมาชิกทุก คนไว้ดว้ ยกัน และข้อตกลงนีใ้ ช้เพือ่ อยูร่ ว่ มกัน พึง่ พาอาศัยซึง่ กันและกัน เมือ่ สังคมเจริญและ เติบโตมากขึ้น มนุษย์ต้องการกฎหมายและ รัฐธรรมนูญเพือ่ ทุกชีวติ สามารถด�ำเนินต่อไปได้ ในสังคมโดยได้รบั ความคุม้ ครองในฐานะทีเ่ ป็น บุ ค คลซึ่ ง จะต้ อ งเคารพกั น และกั น ด้ ว ยตาม ความเป็นธรรม นี่คือชีวิตของมนุษย์ที่จ�ำเป็น ต้องเรียนรู้และแต่ละคนจะต้องปรับชีวิตของ ตนให้เข้ากับความเป็นไปทุกขณะ ตราบใดที่ โลกยังหมุนอยู ่ มนุษย์จะหยุดทีจ่ ะเรียนรูไ้ ม่ได้ เพราะมนุษย์เป็นผู้มีชีวิต บทความนี้ ต้องการจะปลูกจิตส�ำนึก ของคนไทยให้ตระหนักถึงภารกิจที่อยู่ในมือ ของแต่ ล ะคน ทุ ก คนมี ห น้ า ที่ ที่ จ ะน� ำ พา ประเทศนี้ ใ ห้ เจริ ญ ก้ า วหน้ า ต่ อ ไป ไม่ ก าร พั ฒ นาในด้ า นต่ า งๆ ของปั จ เจกชน เช่ น ความเป็นอยู่ การศึกษา คุณธรรมจริยธรรม และด้านการพัฒนาการอยูร่ ว่ มกันเป็นในสังคม
2
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
เช่น การมีส่วนร่วมในระดับหมู่บ้าน อาทิ ชุมชน จังหวัดและประเทศ เป็นต้น ดังนั้น เนื้อหาของบทความสั้นๆ นี้ จะช่วยส่องความคิดผู้อ่านให้มองเห็นให้ชัดขึ้น ว่า ทุกคนมีหน้าที่และทุกคนต้องท�ำหน้าที่ การศึกษาเปลี่ยนแปลงมนุษย์ ถ้ า จะพั ฒ นาทรั พ ยากรมนุ ษ ย์ ข อง ประเทศเรื่ อ งหลั ก ที่ ส� ำ คั ญ ที่ สุ ด ที่ ต ้ อ งได้ รั บ ความเอาใจใส่ คื อ การศึ ก ษา มนุ ษ ย์ ยิ่ ง เข้าใจตนเองมากเท่าใด ก็จะยิง่ พัฒนาขึน้ มาก เท่านั้น มนุษย์จึงเป็นผู้ก�ำหนดชะตาชีวิตด้วย การกระท�ำของตนเอง มนุษย์เป็นสัตว์สังคม ระบบการเมื อ งซึ่ ง เป็ น เหมื อ นเส้ น เลื อ ดใน ร่างกายนี้ จึงต้องได้รับการเอาใจใส่ การเริ่ม หาหลั ก เพื่ อ พั ฒ นาผ่ า นทางการเมื อ ง ใน ประวัติศาสตร์โลก มีนักปราชญ์หลายท่านได้ คิดค้นทฤษฏีเพื่อน�ำมาปรับใช้ในการปกครอง ปรัชญาการเมืองสมัยกรีก ปรัชญาการเมืองของปลาโต้ (427-347 ก่ อ น ค.ศ.)ได้ ใ ห้ ค วามส� ำ คั ญ กั บ หลั ก การ บริหารชีวิตของมนุษย์ รัฐในอุดมคติของเขา แม้ จ ะไม่ ส ามารถเป็ น จริ ง ได้ ใ นชั่ ว ชี วิ ต ของ ปลาโต้ เ อง แต่ ค วามคิ ด ของท่ า นได้ ว าง แนวทางไว้ส�ำหรับโลกใบนี้ คือ ชีวิตปัจเจก เองก็ต้องอาศัยรัฐเพื่อพัฒนาตนเองไปสู่เป้า
อภิสิทธิ์ กฤษเจริญ
หมายในฐานะเป็นมนุษย์และรัฐเองก็มีหน้าที่ เป็นทีท่ เี่ อือ้ ให้ทกุ คนสามารถด�ำเนินชีวติ อยูแ่ ละ ได้ รั บ ความเป็ น ธรรม (ประวั ติ ป รั ช ญา การเมือง เล่มที่ 1, 48) ปลาโต้เกิดในช่วงเวลาทีร่ ฐั เอเธนส์อยูใ่ น สภาพที่ ไ ม่ มี ค วามหวั ง ใด แพ้ ส งครามและ ประชาชนด�ำเนินชีวติ แบบไม่มที ศิ ทาง ปลาโต้ ปรารถนาจะสร้างรัฐใหม่ให้ที่มีความเป็นธรรม และเสถียรภาพ ปัญหาใหญ่คอื การขาดความ รู้ สิ่งแรกที่ต้องท�ำคือ การให้การศึกษาแก่ ประชาชน เขาจึงตั้งส�ำนักที่ชื่อ Academy นีค่ อื ความพยายามทีจ่ ะแก้ปญ ั หาทีม่ อี ยูข่ องเขา จะสังเกตเห็นได้วา่ การเมืองของปลาโต้นนั้ ได้ ทฤษฏีจากประสบการณ์ในชีวติ ของท่านทีต่ อ้ ง ประสบอันตราย การฉ้อโกง การขาดความรู้ และความอธรรมของนักการเมือง ทฤษฏีนจี้ งึ ตั้งอยู่บนพื้นฐานของความคิดมากกว่าความ เป็นจริงสาระการเมืองของท่านเป็นแบบความ ฝันที่อยากให้เป็นจริงที่เอเธนส์นี้ ต่อมาลูกศิษย์ คือ อริสโตเติล (384 –322 ก่อน ค.ศ.) เคยศึกษาอยูใ่ น Academy ของปลาโต้ ได้เดินทางศึกษาระบบการเมือง ในรั ฐ ต่ า งๆ มากกว่ า 100 รั ฐ จึ ง สร้ า ง ทฤษฏีการเมืองของท่านเอง นั่นคือ ไม่ว่า ชนชาติ ใ ดหรื อ กลุ ่ ม ใดที่ เ ติ บ โตมากพอแล้ ว นักการเมืองมีหน้าทีต่ รารัฐธรรมนูญทีเ่ หมาะสม แก่ประชาชนของตน ซึ่งรวมถึงรัฐธรรมนูญนี้
ที่มีความเหมาะสมทั้งในด้านกฎหมาย ด้าน วัฒนธรรมและสอดคล้องกับความเป็นอยู่ของ คนในชาตินั้น นี่แสดงว่าทฤษฏีการเมืองของ อริสโตเติลเกิดจากประสบการณ์อันยาวนาน นัน่ หมายถึงว่าแต่ละรัฐและแต่ละชนชาติตอ้ งมี รัฐธรรมนูญที่เหมาะสมกับประชาชนของตน (ประวัติปรัชญาการเมือง เล่มที่ 1, 174) นีค่ อื ภาพพอสังเขปของปรัชญาการเมือง ยุคกรีกที่ได้ส่งมอบเป็นมรดกให้เราได้เรียนรู้ และดูเหมือนว่าต่อจากนี้ไป ปรัชญาการเมือง สมัยต่อๆ มาก็ได้น�ำทฤษฏีเหล่านี้มาใช้ จน เกิดประสบการณ์ แต่ถงึ กระนัน้ วิวฒ ั นาการ ของปรัชญาการเมืองยังคงด�ำเนินต่อมาเรื่อยๆ เพราะมนุษย์ตอ้ งการแสวงหาธรรมชาติของตน ในฐานะเป็นสัตว์สังคมนี้ให้บรรเจิดและส่อง ประกายมากขึ้นบนโลกใบนี้ ปรัชญาการเมืองสมัยใหม่ ต่ อ มาในช่ ว งสมั ย ใหม่ มี นั ก ปรั ช ญา วัตถุนิยมคนหนึ่งชื่อ Thomas Hobbes (1588-1679) เราลองจินตนาการดูว่า หาก สังคมหนึ่ง ไม่มีผู้น�ำและไม่มีกฎหมาย และ ไม่มีการจัดการควบคุมใดๆ ความเป็นมนุษย์ น่าจะออกมาแบบไร้ระเบียบ ทุกคนก็จะมีชวี ติ เพื่อตนเอง Hobbes ได้กล่าวว่า สภาพ เช่นนี้เป็นสภาพธรรมชาติ ซึ่งในความคิดของ เขานั้น สภาพธรรมชาติของมนุษย์นั้น เอา
ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2016/2559
3
ความคาดหวังของประชาชนคนไทยจากนักการเมืองไทยในอนาคต
แน่นอนไม่ได้เพราะมนุษย์ชอบความรุนแรง นัน่ คือ คนหนึง่ ต่อต้านคนอืน่ เรือ่ ยไป ผลทีจ่ ะ ตามมาคือ ความกลัวและอันตรายจะอยู่รอบ ด้ า น มนุ ษ ย์ จ ะรู ้ สึ ก โดดเดี่ ย ว น่ า รั ง เกี ย จ ก้าวร้าวและอ่อนแอ (ประวัตปิ รัชญาการเมือง เล่มที่ 2, 157) มีองค์ประกอบ 4 อย่างทีท่ ำ� ให้มนุษย์ ในสังคมนี้ไม่สามารถด�ำรงชีวิตอย่างมีความสุข ได้คือ 1. ทุกคนต้องการในสิ่งเดียวกัน 2. มีความกลัวในสิ่งที่เขาต้องการ 3. ไม่มีใครควบคุมใครได้ 4. ทุ ก คนยึ ด ประโยชน์ ส ่ ว นตนเป็ น ส�ำคัญ นี่คือหนทางที่ไร้ความชื่นชมยินดีใดๆ เพราะไม่มีผู้น�ำ ไม่มีกฎหมายที่จะชี้บอกว่า อะไรดี อะไรยุตธิ รรม อะไรไม่ยตุ ธิ รรม แล้ว จะหาทางออกได้ อ ย่ า งไร Hobbes ได้ เสนอแนวทางไว้ 2 ทางที่จะช่วยแก้ปัญหานี้ นัน่ คือ สัญญาประชาคม (Social Contract Theory) คือ 1. ทุกคนต้องสัญญาว่าจะไม่ทำ� ร้ายคน อื่น 2. ทุกคนต้องสัญญาว่าจะรักษาสัญญา เมือ่ ทุกคนได้รกั ษาสัญญา 2 ประการ นี้แล้ว ก็สามารถจะท�ำสัญญาและรักษาชีวิต ของตนไว้ได้ ซึง่ เรียกว่าสัญญาประชาคม คือ
4
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
ทุกคนตกลงกันว่าจะวางอิสรภาพของตนภาย ใต้เงื่อนไขเช่นเดียวกับคนอื่นๆ อิสรภาพนี้ได้ วางไว้ในมือของคนๆ หนึ่งหรือชนกลุ่มหนึ่ง คนนี้หรือชนกลุ่มนี้จะใช้อ�ำนาจที่ได้รับนี้เพื่อ ประโยชน์ของทุกคน เราเรียกกลุ่มชนที่ท�ำ ประชาคมกันนี้ว่า "รัฐ" ซึ่งหากเกิดกรณีการ ละเมิดกฎหมาย รัฐจะเป็นผู้ลงโทษ มิใช่ใคร คนใดคนหนึ่ง เช่น กรณีที่มีใครคนหนึ่งฆ่า สมาชิ ก คนหนึ่ ง ในครอบครั วของผม ผมไม่ สามารถจะเอาคืนได้ด้วยตนเองเพราะผมได้ มอบอ�ำนาจนี้ให้รัฐจัดการไปแล้ว ดังนั้น รัฐ จะต้องท�ำงานเพือ่ ทุกคนและท�ำในนามของทุก คน รัฐมีอำ� นาจทีจ่ ะออกกฎหมายและลงโทษ ผู้ที่ละเมิดกฎหมาย ส�ำหรับ Hobbes แล้ว กฎหมายที่ปราศจากบทลงโทษ ก็ไม่มีความ หมายอะไร สิ่งส�ำคัญที่สุดที่รัฐควรจะมีคือ ความ เข้มแข็งทีม่ เี หนือกลุม่ ใดๆ ในประเทศ จะต้อง มี อ� ำ นาจบั ง คั บ และลงโทษทุ ก คนที่ ล ะเมิ ด กฎหมาย ดังนั้น สิ่งส�ำคัญ คือ ต้องเคารพ กฎหมาย สิ่งที่อยู่ลึกๆ ในใจของ Hobbes คือ ประชาชนเริ่มเบื่อกับการเมืองที่วุ่นวาย และไร้หลักยึดเหนี่ยว ที่จริงเขาเตรียมที่จะ ยอมรับผู้น�ำที่สามารถจัดการบางสิ่งบาง ยังดี กว่ามีชีวิตอยู่ในสังคมที่ไม่ปลอดภัย ผู้น�ำใน ความคิดของ Hobbes คือ ผู้มีอ�ำนาจมาก และผู้น�ำนี้เองที่สามารถตัดสินได้เลยว่า ที่ดิน
อภิสิทธิ์ กฤษเจริญ
ทีใ่ ดเป็นของใคร ทีด่ นิ ใดเป็นของรัฐ หรือของ ใครคนใดคนหนึ่ง ผู้น�ำเป็นผู้ควบคุมการเก็บ ภาษีและก�ำหนดศาสนา และหากผู้น�ำที่ทรง อ� ำ นาจนี้ ไ ม่ ส ามารถปกป้ อ งหรื อ อ� ำ นวย ประโยชน์แก่คนส่วนใหญ่ได้ต่อไป เขาต้อง ออกจากต�ำแหน่งนี้ไป John Locke (1632-1704) งานที่ มีชอื่ เสียงทีส่ ดุ ของท่านคือ An Essay Concerning Human Understanding ท่าน พบว่า ความเข้าใจของมนุษย์นั้นมีข้อจ�ำกัด ไม่สามารถรู้ทุกอย่าง และท่านได้ให้ความ หมายของความเข้าใจของมนุษย์นนั้ ว่าต้องผ่าน ทางประสาทสัมผัส มนุษย์เมื่อเกิดมา ความ คิดของมนุษย์เป็นเหมือน tabula rasa คือ กระดานเขียนว่างเปล่า สิ่งที่สร้างความแตก ต่างระหว่างบุคคลกับบุคคลคือ การศึกษา ถึงกระนั้น การเรียนรู้ของมนุษย์ไม่สามารถ ท� ำ ได้ ร ้ อ ยเปอร์ เซ็ น ต์ เ พราะข้ อ จ� ำ กั ด ทาง ประสาทสัมผัสของมนุษย์นนั่ เอง ด้วยขีดจ�ำกัด ของการรับรูข้ องเรามนุษย์นเี่ อง มนุษย์จำ� เป็น ต้องอดทนต่อกันและกัน ไม่ว่าจากทางด้าน ความเชื่ อ หรื อ วั ฒ นธรรม เพราะความรู ้ ที่ มนุษย์มตี อ่ สิง่ ต่างๆ นัน้ รูไ้ ด้แค่ ความน่าจะ เป็น หรือ มีความเป็นไปได้เท่านั้น (ประวัติ ปรัชญาการเมือง เล่มที่ 2, 282) ในปรั ช ญาการเมื อ ง John Locke กล่าวถึงสภาพธรรมชาติของมนุษย์ว่าดีในตัว
ซึ่งตรงกันข้ามความคิดของ Hobbes ที่เห็น ว่า สภาพธรรมชาติของมนุษย์นนั้ ไม่ดซี งึ่ จะน�ำ ความวุน่ วายมาสูส่ งั คม Locke เห็นว่าสภาพ ธรรมชาติ ข องมนุ ษ ย์ นั้ น ถู ก สร้ า งตามภาพ ลักษณ์ของพระเจ้า ดังนัน้ สภาพธรรมชาตินี้ จึงสอดคล้องกับกฎธรรมชาติที่ทุกคนที่เกิดมา นั้นต่างเท่าเทียมกันและมีสิทธิเท่าเทียมกัน สัญญาประชาคมของ Locke จึงถูกสร้าง บนพื้นฐานที่ว่า ทุกคนที่ฐานะเท่าเทียมกัน ทุ ก คนตกลงกั น เพื่ อ ประโยชน์ ข องทุ ก คน (Commonwealth) อ�ำนาจจึงมาจากประชาชน ที่มอบให้กับผู้น�ำซึ่งจะเป็นผู้บริหารจัดการเพื่อ ประโยชน์ของทุกคน หากผู้น�ำไม่ได้รับความ วางใจหรือถูกสงสัยจากประชาชน ประชาชน สามารถขจัดผูน้ ำ� ออกไปได้เลย เหตุผลในการ ท�ำสัญญาประชาคมของ Locke คือ ปกป้อง ชี วิ ต (Life) อิ ส รภาพ (Liberty) และ ทรัพย์สิน (Property) นั่นคือ ก ) ป ก ป ้ อ ง ทุ ก ชี วิ ต ที่ อ ยู ่ ใ น รั ฐ ประชากรด�ำเนินชีวิตในสังคมปราศจากความ กลัวซึ่งอาจจะเกิดจากใครคนใดคนหนึ่งที่อาจ จะท�ำร้ายหรือฆ่าเขา ข) ให้อสิ รภาพแก่ประชาชน อิสรภาพ ที่ Locke หมายถึงนี้มิใช่ท�ำอะไรได้ตามใจ แต่หมายถึงประชาชนมีอสิ รภาพท�ำอะไรได้เท่า ที่กฎหมายอนุญาตให้ท�ำเท่านั้น กฎหมายจะ ปกป้ อ งประชาชนจากผู ้ ที่ ท� ำ ร้ า ย หรื อ ผู ้ ที่ ปฏิบัติตนอย่างอยุติธรรม
ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2016/2559
5
ความคาดหวังของประชาชนคนไทยจากนักการเมืองไทยในอนาคต
ค) การป้องกันทรัพย์สินถือเป็นความ คิดส�ำคัญมากของ Locke นัน่ คือ ประชาชน มีสิทธิในทรัพย์สินของตนซึ่งไม่มีใครมีสิทธิเอา จากเขาไปอย่างอยุติธรรมได้ ในสั ญ ญาประชาคมของ Locke นี้ ผู้น�ำมีหน้าที่ออกกฎหมาย จึงมีเงื่อนไขส�ำคัญ ดังนี้ คือ ก) กฎหมายต้องใช้ได้กับทุกคน ข) กฎหมายจะต้องมีไว้เพื่อประโยชน์ของ ประชาชน ค) การเสียภาษีจะต้องได้รับการ ชีแ้ จงให้กบั ประชาชนถึงเหตุผลในการเก็บภาษี อย่างเป็นที่ยอมรับได้ เมื่อมองดูปรัชญาการเมืองไม่ว่าสัญญา ประชาคมของ Habbes หรือของ Locke สิง่ ส�ำคัญคือ มนุษย์เป็นสัตว์สงั คมทีต่ อ้ งการมี ชี วิ ต ร่ ว มกั บ ผู ้ อื่ น เพราะธรรมชาติ นี้ เ อง มนุษย์ต้องการรูปแบบที่มีคุณภาพเพื่อจะได้ใช้ ชีวติ อยูร่ ว่ มกันได้ จากการแสวงหาหนทางเพือ่ ทุกมีชีวิตจะได้มีพื้นที่ในการด�ำรงชีวิตอยู่ด้วย กันนีเ่ องที ่ ความเป็นบุคคลของปัจเจกจะต้อง ไม่ ล ดทอนชี วิ ต ของสั ง คม ดั ง นั้ น สั ญ ญา ประชาคมจึ ง เป็ น ข้ อ ตกลงที่ ม าจากใจของ ปัจเจกเพื่อพัฒนาปัจเจกไปสู่ความสมบูรณ์ซึ่ง พบได้ในสังคมเท่านั้น ปราศจากสังคมมนุษย์ ไม่ ส ามารถบรรลุ ค วามเป็ น มนุ ษ ย์ ไ ด้ อ ย่ า ง สมบูรณ์
6
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
ปรัชญาการเมืองไทย การเมืองไทยมีความเป็นมายาวนานซึ่ง มี ห ลายรู ป แบบที่ เ หมาะกั บ ยุ ค สมั ย ของ ประชาชนในแต่ละยุคสมัย คนไทยมองดูอดีต ด้วยความภาคภูมิใจที่เรามีพระมหากษัตริย์ ชาติ และศาสนา อีกทั้งมีวัฒนธรรม และมี ภาษาเป็นของตนเอง การปกครองของไทยมี ประวัติสังเขปดังนี้ 1. สมัยกรุงสุโขทัย เป็นการปกครอง แบบ “พ่อปกครองลูก” 2. สมัยกรุงศรีอยุธยา มีการปกครอง แบบเทวสิ ท ธิ์ ซึ่ ง มี ค วามเชื่ อ ว่ า พระเจ้าแผ่นดินมีฐานะเป็นเทพเจ้าที่ อวตาร (แบ่งภาค) มาจากสวรรค์ 3. สมัยกรุงธนบุรี เนื่องด้วยอยู่ในช่วง ภาวะสงครามและเศรษฐกิจตกต�ำ ่ การ ปกครองจึงไม่เปลี่ยนแปลงไปจากสมัย กรุงศรีอยุธยา นอกจากปรับเรือ่ งทหาร คือจัดมีก�ำลังรบทางเรือขึ้นมา 4. สมัยกรุงรัตนโกสินทร์ การเปลี่ยน ระบบจตุ ส ดมภ์ ม าเป็ น การจั ด ตั้ ง กระทรวง ทบวง กรม มาแทนตาม แบบอย่างประเทศในยุโรป มีทั้งหมด 12 กระทรวง 5. การเปลี่ ย นแปลงระบอบการ ปกครองของไทย หลั ง พ.ศ.2475 จากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มา
อภิสิทธิ์ กฤษเจริญ
เป็นระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหา กษัตริย์ทรงเป็นประมุข 6. การปกครองของไทยปั จ จุ บั น เป็นการปกครองระบอบประชาธิปไตย ซึ่ ง หมายถึ ง อ� ำ นาจสู ง สุ ด ของการ ปกครองประเทศมาจากประชาชน (www.http://dnfe5.nfe.go.th/ilp/ so02/so20_6.html) จากล�ำดับการเมืองการปกครองของไทย ข้างต้น ต้องยอมรับบรรดาพระมหากษัตริย์ ไทยทุกพระองค์ทรงพระปรีชาเป็นเลิศในการ ปรับและพัฒนาการเมืองไทยให้ก้าวหน้าและ เหมาะกับวิถชี วี ติ ของคนไทยได้อย่างลงตัวและ น่าชื่นชมบรรดาผู้ปกครองทั้งหลายได้มองดู อารยธรรมของประเทศอื่นๆ น�ำมาปรับใช้กับ เมืองไทย ไม่ต้องสงสัยเลยว่า เมืองไทย ณ วันนี้ที่มีอยู่และเป็นอยู่ ได้ผ่านประสบการณ์ มากมายมาแล้ว สิ่งที่คนไทยเฝ้ามองและเข้า มามีส่วนร่วมกับบรรดานักการเมืองไทย ณ ปั จ จุ บั น คื อ พวกเขาต้ อ งการการเมื อ งที่ มี เสถี ย รภาพและมี บ ้ า นเมื อ งอยู ่ เ ย็ น เป็ น สุ ข อาศัยผู้น�ำที่มีวิสัยทัศน์ไกลและท�ำหน้าที่เพื่อ ประโยชน์สูงสุดของประชาชน มิใช่เพื่อบ้าน ของตนเอง แต่เพื่อประชาชน แล้วบ้านเมือง จะดีขึ้นมาเอง
อนาคตของการเมืองไทย จากแนวความคิ ด เกี่ ย วกั บ ปรั ช ญา การเมืองของยุโรปสู่การเมืองไทย มีความ สัมพันธ์ใกล้ชิดจนสามารถกล่าวได้ว่า การ เมืองไทยมีรูปแบบและพัฒนาการตลอดเวลา ตลอดจนรับเอาแนวปรัชญาการเมืองที่ดีจาก ประเทศตะวันตกจนท�ำให้เมืองไทยได้ตงั้ อยูบ่ น ฐานที่มันคง ถ้าจะถามต่อไปว่า จากนี้ไป ปรัชญาการเมืองไทยจะเดินไปอย่างไร ผูเ้ ขียน ปรารถนาจะไตร่ตรองกับผู้อ่าน ถึงความเป็น ไปได้ที่ปรัชญาการเมืองไทยจะสามารถเดินไป ทางนี้ได้ ดังนี้ 1. พระมหากษั ต ริ ย ์ เป็ น ศู น ย์ ร วม จิตใจของคนไทย มีประชาธิปไตยที่มี การพัฒนาตลอดเวลา และมีประชาชน ซึ่ ง มี ศ าสนาประจ� ำ ใจที่ พ ร้ อ มที่ จ ะให้ ความร่วมมือกับบรรดานักการเมืองใน การพัฒนาประเทศ ปรัชญาการเมือง เฉพาะของไทย อยู่บนฐานของหลัก การนี้ ฉะนั้น บรรดานักการเมืองทั้ง หลาย จะต้องใช้ฐานความคิดนี้เป็น หลักและเริม่ จากจุดนีเ้ พือ่ วางนโยบายที่ จะขับเคลื่อนประเทศต่อไป 2. รั ฐ ธรรมนู ญ เป็ น เสมื อ นสั ญ ญา ประชาคม (Social Contract Theory) ที่ประชาชนทุกคนต้องรู้และรู้ว่าหน้าที่ ของแต่ละคนนั้นคืออะไร ดังนั้น การ
ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2016/2559
7
ความคาดหวังของประชาชนคนไทยจากนักการเมืองไทยในอนาคต
ให้การศึกษาอย่างทัว่ ถึงจึงเป็นทางออก ที่เร่งด่วน และศึกษาเชิงลึกถึงวิธีการ เรียนรู้ของคนไทยว่า ต้องใช้วิธีการใด จึงจะเหมาะสม 3. คุณภาพการศึกษาของผู้น�ำ คน ตาบอดน�ำทางคนตาบอด ทั้งสองจะ ตกลงไปในคูด้วยกัน นักการเมืองหรือ ผูน้ ำ � มิใช่ทกุ คนท�ำได้ มีบางคนเท่านัน้ ที่ เ หมาะสม ผู ้ ที่ เ หมาะสมคื อ คนที่ มี คุณธรรมจริยธรรม มีการศึกษาที่จะ แสวงหาความรู ้ ทั้ ง ไทยและอั ง กฤษ และมีครอบครัวที่อบอุ่น พร้อมที่จะ เสียสละตนเองเพื่อความสุขของส่วน รวม 4. คลื่นลูกใหม่ ถึงเวลาแล้วหรือยังที่ คนรุ่นใหม่จะต้องช่วยกันสร้างความ พร้อมอย่างเหมาะสมและมีคณ ุ ภาพเพือ่ พร้อมรับการดูแลบ้านเมืองได้ทันทีที่ ชาติ ต ้ อ งการ โดยเก็ บ เกี่ ย วประสบการณ์ในอดีตที่ดีงามและมุ่งมั่นพัฒนา ประเทศให้ มี เ สถี ย รภาพและมี ค วาม มั่นคงยั่งยืนให้กับลูกหลานต่อไป 5. John Fitzgerald “Jack” Kennedy ประธานาธิบดีคนที่ 35 ของสหรั ฐ ได้ ก ล่ า วกั บ ประชาชนชาว อเมริกันว่า “อย่าคิดว่าประเทศจะให้ อะไรแก่ท่าน แต่จงคิดว่า ท่านจะให้ อะไรแก่ประเทศ” "For the problems 8
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
are not all solved and the battles are not all won—and we stand today on the edge of a New Frontier..... But the New Frontier of which I speak is not a set of promises—it is a set of challenges. It sums up not what I intend to offer the American people, but what I intend to ask of them. (www. https://en.wikipedia.org/wiki/John_F._Kennedy)" “เราคนไทยทุกคนต้องคิดถึงประเทศ ให้มากขึน้ ท�ำเพือ่ ประเทศมากขึน้ และ รักประเทศมากขึ้น บรรณานุกรม ฟื้น ดอกบัว. ปวงปรัชญากรีก. กรุงเทพฯ: ศยาม เขตพระนคร, 2555. ลีโอ สเตร๊าส์ และโจเซ็ฟ คร็อปซีย.์ ประวัต ิ ป รั ช ญ า ก า ร เ มื อ ง . เล่ ม 1-3. กรุงเทพฯ: คมไฟ, 2552. Forrest H. Peterson. A Philosophy of Man and Society. New York: Philosophy Library, 1970. Martin Buber. I and Thou. New York: T.&T. Clark. Edinburgh, 1966.
อภิสิทธิ์ กฤษเจริญ
Anne Rooney. The Story of Phi losophy. London: Arcturus Publishing Limited, 2013. Bryan Magee. The Story of Phi losophy. London: Dorling Kindersley Limited, 2010. Stephen Trombley. A History of Western Thought. London: Atlantic Books, 2011. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://www. dnfe5.nfe.go.th/ilp/so02/so20_6.html [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: https://www. en.wikipedia.org/wiki/John_F._Kennedy
ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2016/2559
9
ปัญหาเรือ่ งความทุกข์ในหนังสือโยบ
และความหมายโดยนัยต่อเทววิทยา เรือ่ งความทุกข์ในบริบทพุทธศาสนาในประเทศไทย
TandheItsProblem of Suffering in Job Implications for a Theology
of Suffering in a Thai Buddhist Context. ศาสนาจารย์ ผศ.ดร.สาธนัญ บุณยเกียรติ * คณบดีวิทยาลัยพระคริสต์ธรรมแมคกิลวารี มหาวิทยาลัยพายัพ Rev.Asst.Prof.Dr.Satanun Boonyakiat * Dean, McGilvary College of Divinity, Payap University.
สาธนัญ บุณยเกียรติ
บทคัดย่อ
บทความนีม้ เี ป้าหมายเพือ่ ศึกษาว่าหนังสือโยบมีประโยชน์ตอ่ การ สร้างเทววิทยาเรื่องความทุกข์อย่างไร โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การสร้าง เทววิทยาเรือ่ งความทุกข์ในบริบทพุทธศาสนาในประเทศไทย บทความ นีเ้ ริม่ จากการศึกษาว่าปัญหาเรือ่ งความทุกข์ในหนังสือโยบทีผ่ เู้ ขียนกล่าว ถึงคืออะไร จากนั้นจะพิจารณาว่าผู้เขียนหนังสือโยบตอบปัญหานั้น อย่างไรในบทน�ำ บทกวีสนทนาระหว่างโยบและเพือ่ นๆ การตอบสนอง ของพระยาห์เวห์ และบทสรุป ในตอนท้าย บทความนี้จะศึกษาว่า ปัญหาเรื่องความทุกข์ในหนังสือโยบมีความหมายโดยนัยต่อเทววิทยา เรื่องความทุกข์ในบริบทพุทธศาสนาในประเทศไทยอย่างไรบ้าง บทความนีเ้ ชือ่ ว่าปัญหาเรือ่ งความทุกข์ทสี่ ำ� คัญทีส่ ดุ ในหนังสือโยบ คือ มนุษย์จะตอบสนองอย่างไรต่อความจริงเรือ่ งความทุกข์ทไี่ ม่สามารถ อธิบายได้ บทน�ำ บทกวีสนทนาระหว่างโยบกับเพื่อนๆ การตอบ สนองของพระยาห์เวห์ และบทสรุปของหนังสือโยบชี้ให้เห็นว่าความ ทุกข์อาจเป็นสิง่ ทีไ่ ม่สามารถอธิบายได้แต่มนุษย์สามารถเผชิญความทุกข์ ได้โดยมีความเชื่อในพระเจ้า ความทุกข์บางประการอาจไม่ได้เป็นผล ของบาป ผู้เชื่ออาจพบกับความทุกข์แม้ด�ำเนินชีวิตด้วยความสัตย์จริง ดังนัน้ ผูเ้ ชือ่ ควรตอบสนองต่อความทุกข์ทไี่ ม่สามารถอธิบายได้ดว้ ยการ ยึดมั่นใจความสัตย์จริงและความเชื่อในพระเจ้า การศึกษาปัญหาเรื่องความทุกข์ในหนังสือโยบมีความหมายโดย นั ย ต่ อ การสร้ า งเทววิ ท ยาเรื่ อ งความทุ ก ข์ ใ นบริ บ ทพุ ท ธศาสนาใน ประเทศไทย คือ แสดงให้เห็นถึงความส�ำคัญของการเสวนา ความ จ�ำกัดของเทววิทยาเรื่องผลของบาป และความส�ำคัญของการตอบ สนองต่อความทุกข์อย่างเหมาะสม ค�ำส�ำคัญ:
1) ปัญหาเรื่องความทุกข์ 2) หนังสือโยบ 3) เทววิทยาเรื่องความทุกข์ 4) บริบทพุทธศาสนาในประเทศไทย ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2016/2559
11
ปัญหาเรือ่ งความทุกข์ในหนังสือโยบและความหมายโดยนัยต่อเทววิทยาเรือ่ งความทุกข์ในบริบทพุทธศาสนา ในประเทศไทย
Abstract
This article aims to explore the contributions of the Book of Job to a theology of suffering in general and to examine its relevance to a Thai theology of suffering in particular. It will begin by identifying the problem of suffering according to the author. Then, it will explore the author’s answers to this problem as seen in the prologue, the three-circle dialogue, Yahweh’s response, and the epilogue. Finally, it will consider the implications of the problem of suffering in the Book of Job for a theology of suffering in a Thai Buddhist context. This article argues that the fundamental problem of suffering in the Book of Job is how one should respond to the reality of inexplicable suffering in this world. The prologue, the three-circle dialogue, Yahweh’s speeches, and the epilogue of the Book of Job reveal that suffering can remain a mystery, but one can go through it by faith in God. Not all suffering can be attributed to the result of sin and one may be afflicted despite one’s integrity. Therefore, one should respond to the incomprehensible suffering by holding on to one’s integrity and faith in God. The study of the problem of suffering in the Book of Job has three significant implications for a theology of suffering in a Thai Buddhist context: the significance of dialogue, limitation of retribution theology, and importance of proper responses to suffering. Keywords:
12
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
1) Problem of Suffering 3) Theology of Suffering 4) Thai Buddhist Context
2) Book of Job
สาธนัญ บุณยเกียรติ
Introduction The Book of Job, as wisdom literature, addresses the universal problem of suffering by focusing on the particular suffering of Job. Consequently, it is important to ask, “What exactly is the problem of suffering that the author addresses?” and “What are the answers that he has suggested in his masterwork?” This article aims to explore the contributions of the Book of Job to a theology of suffering in general and to examine its relevance to a Thai theology of suffering in particular. It will begin by identifying the problem of suffering according to the author. Then, it will explore the author’s answers to this problem as seen in the prologue, the three-circle dialogue, Yahweh’s response, and the epilogue. Finally, it will consider the implications of the problem of suffering in the Book of Job for a theology of suffering in a Thai Buddhist context.
Identifying the Problem of Suffering in the Book of Job While it is generally agreed that the Book of Job is about the problem of suffering, it is not easy to determine the specific problem of suffering raised by the author because various aspects of suffering are discussed and many insights can be found. In fact, some scholars argue that the chief concern of the Book of Job is not about suffering. For example, Andrew E. Steinmann argues that the Book of Job’s main theme revolves around the subject of faith and integrity. It is about “How a righteous person’s faith and integrity come through a crisis” (Andrew E. Steinmann, 1996:99). It is correct that the author moves beyond the issue of the problem of suffering to that of faith and integrity. Nevertheless, we can still hold that the problem of suffering is the fundamental theme of the book because it is this problem that greatly challenges one’s faith
ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2016/2559
13
ปัญหาเรือ่ งความทุกข์ในหนังสือโยบและความหมายโดยนัยต่อเทววิทยาเรือ่ งความทุกข์ในบริบทพุทธศาสนา ในประเทศไทย
and integrity. In other words, the author does not merely talk about faith, but he emphasizes faith in the context of severe and incomprehensible suffering. I will argue that the fundamental problem of suffering in the Book of Job is “How should one respond to the reality of inexplicable suffering in this world?” The author, however, guides the readers to this core question by beginning with a more famous question: “Why does suffering happen?” In other words, the Book of Job moves from the problem of the origin of suffering to the problem of the ways to respond to suffering. In the final analysis, the readers will realize that the second question is far more important than the first. The first question, “Why does suffering happen?” is an intellectual quest for the origin or cause of affliction in one’s life. Closely related to this question is whether there is such a thing as innocent suffering. While Job insisted on his piety, the friends firmly
14
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
proclaimed that his anguish came about because of his sin. Their disputes, however, revolve around the cause of suffering. It seems that the Book of Job gives no answer to the why question; thus, it should not be regarded as the focus of the author. After all, the answers of Job’s friends were rejected by Job and, more importantly, by Yahweh (42:7). The speeches of Yahweh contained nothing about Job’s predicament or its reason. At the end, Job remained ignorant of the reason for his calamities. However, a closer look at the Book of Job reveals that the author does answer the intellectual question about suffering in two manners. First, the rejection of the advice of Job’s friends demonstrates the author’s refusal of the rigid understanding of retribution. He is saying that sin is not always the reason for suffering. Second, the absence of the explanation for Job’s suffering in Yahweh’s speeches shows that the cause of suffering can remain a mystery.
สาธนัญ บุณยเกียรติ
The second question, “How should one respond to the reality of inexplicable suffering?” is a more existential question concerning the proper attitude and response to one’s misery. This is the primary question that the Book of Job tries to answer (David J. A. Clines, 2002: xxxviii.). This question, however, cannot be disconnected from the previous one. It is precisely within the milieu of inexplicable affliction that the Book of Job offers hope to the readers and teaches us how we should respond to that situation. Therefore, both questions are vital and we must pay attention to what the author has to say about the answers. Answers to the Problem of Suffering in the Book of Job This section will study the author’s answers to the problem of suffering as found in the prologue, the three-circle dialogue, Yahweh’s speeches, and the epilogue.
1. The Prologue The prose prologue (Job 1-2) introduces the main characters and the setting and initiates the plot by raising the problem that needs a solution: Job’s innocent suffering. It also takes the readers behind the scenes into the council of Yahweh (1:6-12; 2:1-6). The readers know what the reason behind Job’s misery is while the characters do not. Thus, the issue which appears to Job and the readers are different. For Job, the major question is why he intensely suffered despite his innocence. For the readers it is how a righteous person is to conduct when he or she is undeservedly afflicted. While Job did not know the answer, the readers can see both answers in the prologue. What is the reason for Job’s suffering? At the very beginning, the author makes clear that Job was “blameless and upright; he feared God and shunned evil” (1:1) and the reason for his severe affliction was the Satan’s questions about his
ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2016/2559
15
ปัญหาเรือ่ งความทุกข์ในหนังสือโยบและความหมายโดยนัยต่อเทววิทยาเรือ่ งความทุกข์ในบริบทพุทธศาสนา ในประเทศไทย
integrity (1:6-12; 2:1-6). The point that the author wants to stress here is not the trial caused by the Satan, but it is the fact that Job’s suffering was not caused by his sin. He was truly an innocent sufferer. He is proclaiming that that there is such a thing as innocent suffering. Therefore, right at the beginning of his work, the author courageously challenges the common and long established belief of his time, the notion that one suffered because of one’s sins. For the Israelites, the covenant of Yahweh with them brought about two things: life through obedience, or death through disobedience. The relation of these causes and their effects is clearly seen in the cursing and blessing recited with the covenant (Lv. 26; Dt. 27-30). In other words, you reap what you sow (Gal. 6:7; Ps. 34:11-22; 1Pet. 3:10). The author, however, argues : “the connection is not often obvious, and life is much more complex than this simple formula. Human suffering
16
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
is more than a system of rewards and punishments” (Francis I. Andersen, 1976: 67). As we will see later, his argument is developed more fully in the poetic section of the book. How should one respond to one’s undeserved afflictions? Job’s reactions are prime examples for all innocent sufferers. When the first trial struck, Job’s response was remarkable: At this, Job got up and tore his robe and shaved his head. Then he fell to the ground in worship and said: "Naked I came from my mother's womb, and naked I will depart. The Lord gave and the Lord has taken away; may the name of the Lord be praised." In all this, Job did not sin by charging God with wrongdoing (1:20-22). After the second trial came and Job’s wife told him to curse God and die, his feedback indicated that he still held on to his integrity. He replied, “You are talking like a foolish woman. Shall we accept good from God, and not trouble?” (2:10). Moreover, the
สาธนัญ บุณยเกียรติ
author reaffirms, “In all this, Job did not sin in what he said” (2:10). He not only emphasizes Job’s piety but also shows the readers that when they are facing unjust suffering, they can and should hold on to their integrity. They must learn to trust God and give him glory in all things—what he gave and what he has taken away—and all circumstances—good and bad. As Clines says, “Sufferers who can identify with Job’s acceptance of his suffering, neither ignoring the reality of suffering by escaping into the past, nor so preoccupied with present grief as to ignore past blessing, are fortunate indeed” (David J. A. Clines, 2002: xxxviii). Nevertheless, this is not the only response to suffering that the author suggests. He has more to offer in the remaining parts of the book. 2. The Three-circle Dialogue The lengthy dialogue between Job and his friends indicates the significance that the author attaches to it. Its purpose is to allow the author
to develop fully the discussion of proper responses to misery as well as the cause of suffering, particularly the limitation of retribution and reality of innocent suffering. The structure is quite simple. It begins with Job’s lament and is followed by three cycles of the friends’ speeches and Job’s responses. Through Job’s lament in the monologue and his arguments in the dialogues that follow, the author suggests another response to suffering: we must let suffering direct us towards God. Before the friends spoke, Job began with the monologue in the form of a radical lament. With bitterness and anger, he cursed the day of his birth and preferred death to life (chapter 3). This lament sprang from a very profound and unbearable suffering, but it directed Job to God, not drove him away from God. This is another example that innocent sufferers can follow. Clines says: There are not two Jobs, but there is more than one right way of coping
ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2016/2559
17
ปัญหาเรือ่ งความทุกข์ในหนังสือโยบและความหมายโดยนัยต่อเทววิทยาเรือ่ งความทุกข์ในบริบทพุทธศาสนา ในประเทศไทย
with innocent suffering: when Job cannot bow in pious submission to the divine theft of his children, his property and his reputation he can still, with a piety equal but different, assert that it is with God and no other that he must treat and demand that from God and no other his innocence be vindicated, since not even his own complete assurance of his innocence can satisfy him (David J. A. Clines, 2002: 66). Moreover, Job’s cry echoes the prayers of lament found in other passages of the Old Testament, for example, Psalms 13, 22, 88, 137, Jeremiah 20:14-18, and the book of Lamentations. The prayers of the afflicted may be filled with resentment, reproach, questions, and protest, but they actually draw the afflicted closer to God whom they addressed. It shows the personal relationship of Israel with their God and indicates that “in prayer, Israel is completely, even stunningly, honest with God” (Kathleen D. Billman and
18
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
Daniel L. Migliore, 1999: 26). Gustavo Gutiérrez similarly argues, “This manifestation of irrepressible feeling expresses, even if in an unconventional form, a profound act of selfsurrender and hope in God” (Gustavo Gutiérrez, 1987: 10). In his lament, it is clear that Job cursed the day of his birth, but he did not curse God. His lament did not destroy his faith in the Lord but it helped him sustain his faith in the Lord. In the dialogues that follow, it can be seen that Job did not give up his faith and hope in God in spite of all his calamities and protests. It is interesting that, throughout the dialogues, the three friends spoke to Job, but they never spoke to God. Job responded to them, but he often turned from them to address God directly (Roland E. Murphy, 2002: 38). For instance, in his reply to Eliphaz’s first speech (chapters 6-7), Job addressed his comforter only in the first half of his talk, and then he changed his attention to God. Though
สาธนัญ บุณยเกียรติ
he began to speak to God directly in 7:7, verses 1-6 should be understood as an introduction to his speech to God. They are spoken in the direction of God, not the friend (David J. A. Clines, 2002: 183). He briefly responded to Bildad’s first argument and turned to God for the rest of chapters 9 and 10. Perhaps the most well-know speech that Job directed to God is in 19:25-27. Job says: I know that my Redeemer lives, and that in the end he will stand upon the earth. And after my skin has been destroyed, yet in my flesh I will see God; I myself will see him with my own eyes—I, and not another. How my heart yearns within me! (19:25-27) Furthermore, Job admitted that it was hopeless to compel God to vindicate him (Chapter 9), but he constantly appealed to God for vindication. In chapter 9, he imagined himself with God in court. He recognized that he could not prove his innocence before God; therefore, he wished that there were a mediator or
arbiter to mediate between him and God. In chapter 13, he called upon God to enter into a lawsuit with him and asked God to show him his offense and sin. Finally, in chapter 23:3-7, he said: If only I knew where to find him; if only I could go to his dwelling! I would state my case before him and fill my mouth with arguments. I would find out what he would answer me, and consider what he would say. Would he oppose me with great power? No, he would not press charges against me. There an upright man could present his case before him, and I would be delivered forever from my judge (23:3-7). Consequently, in spite of his grumble and protest, Job did not forsake his faith and hope in God. In contrast, suffering directed him towards God whom he presented his case. Apart from giving the answer for the question how one should respond to a severe and incomprehen-
ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2016/2559
19
ปัญหาเรือ่ งความทุกข์ในหนังสือโยบและความหมายโดยนัยต่อเทววิทยาเรือ่ งความทุกข์ในบริบทพุทธศาสนา ในประเทศไทย
sible suffering, the author discusses more fully the question, “Why does suffering happen?” He argues that all suffering cannot be attributed to the result of sin and one may be afflicted despite one’s integrity. Since dialogue is at the heart of the Book of Job, the author does not simply mention the reality of innocent suffering and totally disregard the traditional retribution theology. In contrast, he describes the conventional view with unsurpassed eloquence and fairness, notably in the speeches of Eliphaz, Bildad, and Zophar. The basic premise is “If the person sins, then he or she will be suffered.” It must be admitted that there is truth in this principle and that the Scripture affirms that obedience and sin have consequences. The three friends, nonetheless, reversed the cause and effect and said “If the person suffers, he or she must have sin.” In doing this, they went beyond the general idea of retribution and asserted that all suffering is caused by sin (Raymond
20
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
B. Dillard and Tremper Longman, 1994: 209). At the very beginning, Eliphaz presented this point of view clearly. He declared, “Consider now: Who, being innocent, has ever perished? Where were the upright ever destroyed? As I have observed, those who plow evil and those who sow trouble reap it (4:7-8). Bildad’s first speech also supported this view. He believed that the death of Job’s children is the evidence of their sin (8:4) and if Job was truly innocent and upright, God would restore him to his rightful place (8:6). He supported his argument by saying that there was no effect without a cause as the fate of the wicked showed (8:8-19) (David J. A. Clines, 2002: 466). In his second speech, after his address to Job, he resumed his description of the horrible fate of evildoers. This issue was also asserted clearly in the second speeches of both Eliphaz (chapter 15) and Zophar (chapter 20).
สาธนัญ บุณยเกียรติ
Even before the author proves that the friends were wrong through Job’s responses, he signifies the inadequacies of their arguments through their structure and contents. First, while the order of the friends’ speeches is always Eliphaz, Bildad, and Zophar, it is interesting that their speeches get shorter in the third cycle and Zophar did not speak at all. It may be true that this is a result of an error in textual transmission, but it is likely that the author purposely conveys that the three friends have run out of arguments against Job (Raymond B. Dillard and Tremper Longman, 1994: 203). Second, they kept on repeating the same arguments through the several series of speeches. It is possible that the author is trying to tell us by this tiresome repetition that their orthodoxy is “an exhausted mine and that it keeps turning in place like a serpent biting its own tail. The only thing that changes in their speech is the tone, which becomes steadily more hostile and intolerant” (Gustavo Gutiérrez, 1987: 28).
Job’s arguments against his friends clearly reject an overstated retribution doctrine that they firmly maintained. While the friends continually accused him of his sin, Job asked them to point it out for him specifically. He said: Teach me, and I will be quiet; show me where I have been wrong. How painful are honest words! But what do your arguments prove? Do you mean to correct what I say, and treat the words of a despairing man as wind? You would even cast lots for the fatherless and barter away your friend. "But now be so kind as to look at me. Would I lie to your face? Relent, do not be unjust; reconsider, for my integrity is at stake. Is there any wickedness on my lips? Can my mouth not discern malice? (6:24-30) Of course, his friends were unable to fulfill Job’s request. They constantly returned to a general principle of retribution or merely told him that he had a secret sin (e.g., 11:6). In addition, Job argued that, in
ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2016/2559
21
ปัญหาเรือ่ งความทุกข์ในหนังสือโยบและความหมายโดยนัยต่อเทววิทยาเรือ่ งความทุกข์ในบริบทพุทธศาสนา ในประเทศไทย
numerous cases, the wicked were not punished, but prospered (Job 21 and 24). Eventually, Job rebuked them with strong utterances. For example, Doubtless you are the people, and wisdom will die with you! (12:2) I have heard many things like these; miserable comforters are you all! Will your long-winded speeches never end? What ails you that you keep on arguing? (16:2-3) So how can you console me with your nonsense? Nothing is left of your answers but falsehood! (21:34) In the final analysis, Job’s situation and real life experiences prove that human suffering is much more complex than a simplistic system of rewards and punishments. 3. Yahweh’s Speeches The divine reply from the whirlwind is the climax of the Book of Job (chapters 38-41). Through its
22
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
contents and its occurrence in the book, the author clearly provides answers to the why and how questions concerning the problem of suffering. In terms of the contents, even though God did not explicitly mention anything concerning Job’s suffering, he implicitly answered Job’s quest for the reason behind his suffering and, at the same time, he indirectly led Job to a proper response to incomprehensible suffering. Here, God shows that the cause of suffering can remain a mystery and one can go through it by faith in him. For its presence, God’s conversation with Job clearly indicates that the appeal of Job, though characterized by complaints and protests, was indeed heard and replied by God. In addition, it reveals that innocent sufferers need not feel that they were expelled from God’s presence and when they need the sustaining presence of God, they will still have it (H. H. Rowley, 1969: 125). Strictly speaking, the author offers no justification for suffering
สาธนัญ บุณยเกียรติ
from a human point of view, but he has done far more. He helps us move beyond a rigid system of retribution to embrace a mystery of life. More importantly, he presents us with a new point of view of human life and reality of suffering that God, not any human or power, is the true center of all things. He is the Creator whose “wise and loving purpose guides all things to their final consummation, so that those who endure in faith while within the human situation, share in the ultimate triumph of the Living God Who is working out His gracious purpose in the world of [human]” (James Wood, 1966: 21). In his speeches, Yahweh neither blamed Satan nor gave the reason for Job’s suffering. In contrast, he proclaimed the mystery and complexity of the creation which is beyond human comprehension in order to remind Job that humankind has no right to accuse God as unjust. He acclaimed that he structured the world according to his blueprints
(Job 38:4-8) in order to show that justice was also in the structure of the universe. He declared that the whole creation is under his control (Job 38:16-39:30); as a result, he wisely and caringly watches over people just as he wisely manages the entire universe and caringly provides for creatures (John E. Hartley, 1988: 49). These speeches, therefore, affirm God’s graciousness and kindness to all the works of his hands. Through his encounter with God, Job found a new power which was able to sustain him in the midst of his predicament. He did not discover any explanation for his suffering, but he gained a new attitude to life. Turning from his concern to a larger world and wider providence, Job eventually realized that God is the true center of all things and nothing is beyond his concern. All things are created by him and dependent on him. In all circumstances, God is still fully present at the center, directing and sustaining all things,
ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2016/2559
23
ปัญหาเรือ่ งความทุกข์ในหนังสือโยบและความหมายโดยนัยต่อเทววิทยาเรือ่ งความทุกข์ในบริบทพุทธศาสนา ในประเทศไทย
seen and unseen. Consequently, human destiny is in the hand of God (James Wood, 1966: 20). Human life is within the divine cosmic purpose. God’s purpose, however, is far beyond what human could ever comprehend. Responding to God’s speeches, Job admitted: I am unworthy—how can I reply to you? I put my hand over my mouth. I spoke once, but I have no answer—twice, but I will say no more. (40:4-5) I know that you can do all things; no plan of yours can be thwarted. You asked, ‘Who is this that obscures my counsel without knowledge?’ Surely I spoke of things I did not understand, things too wonderful for me to know. (42:2-3) Throughout the dialogues, Job was confident that he knew the answers to the questions in life. Here, God’s reply from the whirlwind made
24
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
him aware that he overstepped the boundary between God and human. The confidence in his own knowledge was an insult to the true owner of knowledge, Yahweh (Nahum N. Glatzer, 1969: 7). It is this that is brought out in Job’s closing remarks. He said: My ears had heard of you but now my eyes have seen you. Therefore, I despise myself and repent in dust and ashes (42:5-6). Though there are differences in rendering the word ( מאסdespise, reject, abase, or retract) and the phrase ( על ונחמחיI repent upon…, I am comforted concerning…, or I have changed my mind about…), the context suggests that Job’s final statement should be rendered, “Therefore, I abase myself and I am comforted concerning dust and ashes” (H. H. Rowley, 1969: 125) or “So I submit, and I accept consolation for my dust and ashes” (David J. A. Clines, 2011: 1205). Here, Job humbled himself before the Lord. He withdrew
สาธนัญ บุณยเกียรติ
his lawsuit against the Lord. He declared that he was comforted even in his present suffering. Rowley concludes: More significant is his recognition that, with all the loss and the pain he had suffered, he had gained something even from his agony. In his prosperity he thought he had known God. Now he realizes that compared with his former knowledge his present knowledge is as the joy of seeing compared with a mere rumor. All his past experience of God was nothing compared with the experience he had now found. He therefore, no longer cries out to God to be delivered from his suffering. He rests in God even in his pain (H. H. Rowley, 1969: 125-126). 4. The Epilogue The epilogue (42:7-17) returns to the style of the prologue. It can be divided into two parts: the condemnation and restoration of the three friends (42:7-9), and Job’s restoration
and God’s blessings for him (42:10 -17). The author brings the story to a conclusion as well as reinforces the answers to the problem of suffering that he has proposed throughout the book. In the first part, the disapproval of uncritical retribution theology is clearly reaffirmed in Yahweh’s approval of Job and his wrath for the friends. In 42:7-8, he called Job, “my servant,” four times. This is the same title that the Lord referred to Job in 1:8 and 2:3. Hence, Job’s integrity was also confirmed at the end of the story. In contrast to Job, in the same verses, the Lord told the three friends twice that “you have not spoken of me what is right, as my servant Job has.” Because of their rigid understanding of retribution, they could only explain Job’s affliction as the result of sin and the only solution is repentance. Since they urged Job to repent in order to get away from suffering and receive God’s blessing, they were ironically tempting Job to use God for his own benefits. If
ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2016/2559
25
ปัญหาเรือ่ งความทุกข์ในหนังสือโยบและความหมายโดยนัยต่อเทววิทยาเรือ่ งความทุกข์ในบริบทพุทธศาสนา ในประเทศไทย
Job followed their advice, he would confirm the Satan’s accusation that he was self-serving in his fear of God (John E. Hartley, 1988: 48-49). Hence, Job was right when he declared to his friends: You, however, smear me with lies; you are worthless physicians, all of you! If only you would be altogether silent! For you, that would be wisdom. Hear now my argument; listen to the plea of my lips. Will you speak wickedly on God's behalf? Will you speak deceitfully for him? Will you show him partiality? Will you argue the case for God? Would it turn out well if he examined you? Could you deceive him as you might deceive men? He would surely rebuke you if you secretly showed partiality (13:4-10). In the final part of the epilogue, the author points out that God, in his freedom and through his grace, will also rescue those who trust and hope in him. Thus far, the Book
26
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
of Job asserts that when innocent sufferers endure an inexplicable suffering with faith and hope in God and when they bring their agony to his throne, even with anger and protest, they will surely find God who has never forsaken them, but always loves and cares for them. Here, the author adds that the afflicted who do not give up their faith and hope in God will receive his blessings. Job’s restoration and God’s abundant blessings for him clearly indicate his point. Nevertheless, the author does not suggest these are God’s rewards for Job’ endurance of his suffering or God will always bless those who trust in him. What the writer is saying is God delights in bestowing blessings upon those who believe in him. It is God’s act of grace, not what he is compelled to do (David J. A. Clines, 2002: 484). Many scholars disregard this final part because it is anticlimactic and unrealistic. It seems to support the traditional understanding of
สาธนัญ บุณยเกียรติ
retribution which contradicts the message of the book. However, this is not the case. It is important to note that the author discards the naive retribution theology, not retribution theology itself. He argues that this doctrine cannot be inserted into a narrow system of rewards and punishments, but it still contains a valid principle for believers. For the three friends, they insisted that the righteous always prosper and the wicked are always promptly punished. Job’s experience does not support this argument because he was a righteous person who suffered greatly but he was finally restored and blessed by God. Therefore, this final part should be perceived as integral part of the Book of Job as a whole. In any case, Job’s restoration is his public vindication from God that he has longed for. It is a divine approval of his faith and integrity in the midst of brutal and unfathomable suffering.
Implications for A Theology of Suffering in A Thai Buddhist Context Many lessons can be drawn from the discussion of the problem of suffering in the Book of Job. However, there are three significant implications for a theology of suffering in a Thai Buddhist context: the significance of dialogue, limitation of retribution theology, and importance of proper responses to suffering. The Significance of Dialogue This implication is rooted in the notion that dialogue is at the center of the Book of Job and the fact that the writer makes use of resources outside the boundaries of Israelite tradition, i.e. ancient Near Eastern texts. As discussed earlier, the author purposely uses both prose and poetic style in the story of Job. He also presents both retribution theology and his own understanding of suffering in the dialogues between Job and his friends although he rejects the traditional doctrine. Through his
ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2016/2559
27
ปัญหาเรือ่ งความทุกข์ในหนังสือโยบและความหมายโดยนัยต่อเทววิทยาเรือ่ งความทุกข์ในบริบทพุทธศาสนา ในประเทศไทย
creativity, the complex issue of human suffering together with two opposite approaches are clearly and accurately presented to the readers. In the final analysis, the readers can grasp a clearer picture of the issue and they will be ready to make a decision based on a sufficient amount of information given to them. The use of the texts from other religions also enables the author to highlight God’s truth found elsewhere and, at the same time, draw attention to the uniqueness of the Bible (see Francis I. Andersen, 1976: 23-32). For this reason, the use o dialogue in the Book of Job can be the model in constructing a theology of suffering. I believe that dialogue between different approaches to a theology of suffering and interreligious dialogue, particularly the Buddhist-Christian dialogue, are vital in constructing a theology of suffering in general and Thai theology of suffering in particular. Although different theologies of suffering, e.g.,
28
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
the classic Christian theodicy, liberation theology, or theology of the cross, may seem to be contradictory, they can complement each other by providing a more comprehensive approach to the perplexing problem of suffering. Moreover, they enable one to take the appropriate reaction to the particular kinds of suffering that are threatening people in the present generation. Hence, one’s understanding of suffering will be greatly enriched by dialogue between these different theologies of suffering. For the Buddhist-Christian dialogue, if all truth is God’s truth, we certainly can find God’s truth in the teachings of the Buddha. The Buddhist understanding may also help us better comprehend the reality of suffering in this world. On the other hand, engaging with Buddhism can help us see the uniqueness of the Christian message clearer and it will open the door for us to share the gospel with the Buddhists. Thus, the Buddhist concept of suffering must be taken into
สาธนัญ บุณยเกียรติ
consideration in order to provide a theology of suffering that can effectively connect with the Thai people. The Limitation of Retribution Theology The second major implication of the problem of suffering in the Book of Job to a Thai theology of suffering is the idea of the limitation of retribution theology. While the retribution doctrine of the three friends is in accordance with other biblical passages, the Book of Job as a whole indicates its limitation of being the sole reason for suffering. The idea that suffering is the result of sin is based on the story of Creation as well as various passages in the Bible. The entire universe was created by God and it was originally “very good” (Gen 1:31). The first appearance of suffering in this world can be traced back to the disobedience of Adam and Eve in Genesis 3. When sin entered the world through
the disobedience of humankind (Gen 3: 6-7), suffering also entered in the form of conflict, pain, depravity, toil and death (Gen 3: 15-19). In Deuteronomy, prosperity and long life were rewards for people’s faithfulness to God. Disaster and turmoil were the consequences of their sins. Suffering was clearly understood as retribution for sin. This may be the main understanding of the cause of suffering until the time of the exile (Daniel J. Simundson, 1992: 220). Several passages in 1 and 2 Kings point out that the disobedience of the kings and the people led to the destruction of Samaria and Jerusalem (e.g., 2 Kings 17: 7-8). In Isaiah as well as other prophetic books, the prophets consistently warned the people to turn back from their sin because it would bring about disaster for the whole nation. In the Gospels and Revelation, the concept of retribution is still common but the new dimension is introduced. The evil will be punished and the good
ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2016/2559
29
ปัญหาเรือ่ งความทุกข์ในหนังสือโยบและความหมายโดยนัยต่อเทววิทยาเรือ่ งความทุกข์ในบริบทพุทธศาสนา ในประเทศไทย
will be rewarded but this may not happen within this life (e.g., Mt 24-25; Rev 20:11-15) (Daniel J. Simundson, 1992: 224). It is correct that suffering can be caused by sin. Nevertheless, some manifestations of suffering are obviously beyond this explanation, for example, infants who die because of sickness and people who die or face hardship from natural disasters. As mentioned above, the Book of Job strongly challenges the rigid understanding of retribution that the righteous are always blessed and the wicked always suffered. In contrast, the author argues that the cause of suffering can remain a mystery which no one could explain. It is very interesting that the Book of Job not only challenges the traditional Christian understanding but also the traditional Buddhist concept of suffering. In the Christian worldview, origin of suffering is often attributed to sin; therefore, the solution is repentance. In the Buddhist tradition,
30
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
the Buddha teaches that desire or craving is the real cause of suffering; hence, the resolution is quenching one’s own desire. Moreover, the Buddhists believe in the law of kamma (the Law of Cause and Effect) and often regard one’s affliction as the result of one’s own actions either in the previous birth or during this life-time. While both traditions try to explain human suffering in a simple formula of cause and effect, the author of the Book of Job proclaimed that human suffering is much more complex than the simple system of reward and punishment. More importantly, suffering can remain a mystery which is beyond human comprehension. Therefore, a theology of suffering in a Thai Buddhist context must listen to the message of the Book of Job and recognize this limitation in both traditions. Moreover, it must deal with this issue more comprehensively in order to help the people in both religions deal with this problem more realistically and effectively.
สาธนัญ บุณยเกียรติ
The Importance of Proper Responses to Suffering The final key implication of the problem of suffering in the Book of Job to a Thai theology of suffering concerns the importance of the question “How should one respond to the reality of inexplicable suffering in this world?” Throughout the history of the theological discussion of the problem of evil and suffering, most theologians primarily focused on the intellectual quest for the reason behind evil and suffering in this world. They often ask, “Why does suffering happen?” Unfortunately, all theological explanations about this issue seem to fall short in addressing its perplexity. Moreover, this intellectual exercise often puts theologians in the position of Job’s three friends whose counsel only added pain to Job’s suffering. At the same time, it could be said that such statements are nothing but a blasphemy against the Creator (Kenneth Surin, 1993; 197).
As stated earlier, while both questions concerning suffering are vital, the Book of Job moves fromthe question of the origin of suffering to the question of the ways to respond to suffering because the latter is far more important than the former. History also shows that there is another approach towards the problem of suffering: the practical approach, which concerns more about the question “How?” For example, liberation theology directly confronts the concrete form of suffering caused by exploitation and oppression. The theology of the cross emphasizes God’s solution to the problem of suffering as well as his solidarity with the suffering humanity. While the theoretical question about evil and suffering cannot be neglected, a relevant theology of suffering must primarily emphasize the practical question about how one should respond to the reality of unfathomable suffering in this world. According to the Book of Job, it was Job’s encounter
ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2016/2559
31
ปัญหาเรือ่ งความทุกข์ในหนังสือโยบและความหมายโดยนัยต่อเทววิทยาเรือ่ งความทุกข์ในบริบทพุทธศาสนา ในประเทศไทย
with God, not the understanding of his affliction, that brought comfort and transformation to his life. In the same way, these practice-oriented theologies of suffering are more beneficial than the theoretical approach because they will bring the sufferers to the presence of the Lord, where they can find comfort in their suffering. The Book of Job indeed provides worthwhile implications for developing a theology of suffering that is relevant to the Thai. It is hoped that one day, a theology of suffering will not simply be something to be known, but it will be something to be experienced by the Thai people. In the meaningless world, it will help the Thai see that kamma is not the center of all things because there is a creator God who is in control. He has a good and eternal purpose for all human beings. In this suffering world, it will assist the Thai to experience that it is not the individual who control one’s own destiny because
32
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
there is a merciful God who watches over humankind. He is the only person who can help them from the problem of suffering in this world. Conclusion While the Book of Job addresses suffering in various aspects, the fundamental problem of suffering in the Book of Job is how one should respond to the reality of inexplicable suffering. The author guides the readers to this problem by beginning with a problem of the cause of suffering. However, he argues that suffering can remain a mystery which is beyond human comprehension, but one can go through it by faith in God. The Book of Job reveals that not all suffering can be attributed to the result of sin and one may be afflicted despite one’s integrity. Therefore, one should respond to incomprehensible suffering by holding on to one’s integrity and faith in God. However, faith does not require that we deny our feelings when we come to God.
สาธนัญ บุณยเกียรติ
On the contrary, those who suffer can honestly protest and complain to their Lord. Our honest cry to God may be filled with anger and protest, but it does not destroy our faith and hope because it actually draws us closer to God. The study of the problem of suffering in the Book of Job has three significant implications for a theology of suffering in a Thai Buddhist context: the significance of dialogue, limitation of retribution theology, and importance of proper responses to suffering. It is hoped that this study will be useful for Thai theologians in developing a theology of suffering that is more relevant to a Thai Buddhist context. References Andersen, Francis I. Job: An Introduc tion and Commentary. Vol. 13 Tyndale Old Testament Com mentaries. Downers Grove, Ill.: Inter-Varsity Press, 1976. Billman, Kathleen D., and Daniel L. Migliore. Rachel’s Cry: Prayer of
Lament and Rebirth of Hope. Cleveland: United Church Press, 1999. Clines, David J. A. Job Word Biblical Commentary; V. 17-18. Waco, TX: Word Books, 1989. ________. Job Word Biblical Com- mentary; V. 18A. Waco, TX: Word Books, 2006. ________. Job Word Biblical Com- mentary; V. 18B. Waco, TX: Word Books, 2011. Dillard, Raymond B., and Tremper Longman. An Introduction to the Old Testament. Grand Rapids, Mich.: Zondervan, 1994. Glatzer, Nahum N. The Dimensions of Job: A Study and Selected Readings. New York: Schocken Books, 1969. Gutiérrez, Gustavo. On Job: God-Talk and the Suffering of the Inno cent. Maryknoll, N.Y.: Orbis Books, 1987. Hartley, John E. The Book of Job New International Commentary on the Old Testament. Grand
ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2016/2559
33
ปัญหาเรือ่ งความทุกข์ในหนังสือโยบและความหมายโดยนัยต่อเทววิทยาเรือ่ งความทุกข์ในบริบทพุทธศาสนา ในประเทศไทย
Rapids, Mich.: Eerdmans, 1988. Murphy, Roland E. The Tree of Life: An Exploration of Biblical Wisdom Literature. 3rd ed. Grand Rapids, Mich.: Eerdmans, 2002. Newsom, Carol A. "The Book of Job." In The New Interpreter's Bible, Vol. 4. Nashville, Tenn.: Abingdon Press, 1996. Rowley, H. H. "The Intellectual Versus the Spiritual Solution." In The Dimensions of Job: A Study and Selected Readings, ed. Nahum N. Glatzer. New York: Schocken Books, 1969. Simundson, Daniel J. "Suffering." In Anchor Bible Dictionary, ed. David Noel Freedman, Vol. 6. New York, N.Y.: Doubleday, 1992.
34
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
Steinmann, Andrew E. "The Structure and Message of the Book of Job." Vetus Testamentum 46 (1996): 85-100. Surin, Kenneth. "Problem of Evil." In The Blackwell Encyclopedia of Modern Christian Thought, ed. Alister E. McGrath. Cambridge, Mass.: Blackwell, 1993. Ven. Nyanatiloka, ed. Buddhist Dic tionary: Manual of Buddhist Terms and Doctrines. Kandy, Sri Lanka: Buddhist Publication Society, 1980. Waters, Larry J. "Reflections on Suffering from the Book of Job." Biblio theca sacra 154 (1997): 436-451. Wood, James. Job and the Human Situation. London: Geoffrey Bles, 1966.
การบริหารโรงเรียนคาทอลิกในเครือ สังฆมณฑลเชียงใหม่
The Administration Of The Catholic Schools In Chiangmai Diocese. บาทหลวงไพศาล เต็มอรุณรุ้ง
* ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
ผศ. ว่าที่ พ.ต.ดร.นพดล เจนอักษร
* อาจารย์ประจำ�ภาควิชาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
Rev.Phaisan Temarunroong * Master of Education Department of Management Studies Faculty of Education Silpakorn University.
Asst.Prof.Maj.Nopadol Chenaksara, RTAR.
* Assistant Professor, Department of Education Administration, Faculty of Education, Silapakorn University.
การบริหารโรงเรียนคาทอลิกในเครือสังฆมณฑลเชียงใหม่
บทคัดย่อ
การวิจยั ครัง้ นีม้ วี ตั ถุประสงค์ เพือ่ ทราบ 1. การบริหารโรงเรียน คาทอลิกในเครือสังฆมณฑลเชียงใหม่ตามทัศนะของบุคลากรทีเ่ กีย่ วข้อง 2. ความแตกต่างของความคิดเห็นของบุคลากรทีเ่ กีย่ วข้องเกีย่ วกับการ บริหารโรงเรียนคาทอลิกในเครือสังฆมณฑลเชียงใหม่ 3. แนวทางการ แก้ ไขปั ญ หาและอุ ป สรรคในการบริ ห ารโรงเรี ย นคาทอลิ ก ในเครื อ สังฆมณฑลเชียงใหม่ ประชากรทีใ่ ช้ในการวิจยั เป็นโรงเรียนคาทอลิกใน เครือสังฆมณฑลเชียงใหม่ จ�ำนวน 7 โรงเรียน ผู้ให้ข้อมูล คือ ผู้ อ�ำนวยการ หัวหน้าฝ่ายวิชาการ หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ ครู ประธานคณะกรรมการสถานศึกษา และกรรมการสถานศึกษาซึ่งเป็น บุคคลภายนอก รวมทั้งสิ้น 42 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็น แบบสอบถามเกี่ยวกับการบริหารงาน 4 ด้าน ตามแนวทางของ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ ดังนี้ 1) การบริหารงานวิชาการ 2) การบริ ห ารงานงบประมาณ 3) การบริ ห ารงานบุ ค คล และ 4) การบริหารงานทัว่ ไป สถิตทิ ใ่ี ช้ในการวิเคราะห์ขอ้ มูล ประกอบด้วย ความถี่ ร้อยละ ค่ามัชฌิมเลขคณิต และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า 1. การบริหารโรงเรียนคาทอลิกในเครือสังฆมณฑลเชียงใหม่ตาม ทัศนะของบุคลากรทีเ่ กีย่ วข้อง พบว่าโดยภาพรวมอยูใ่ นระดับมาก ซึง่ สูงกว่าสมมติฐานที่ตั้งไว้ เมื่อพิจารณารายด้านของภาระงาน 4 ด้าน พบว่า การบริหารงานบุคคลและการบริหารงานทัว่ ไป อยูใ่ นระดับมาก ทีส่ ดุ ส่วนการบริหารงานงบประมาณและการบริหารงานวิชาการ อยู่ ในระดับมาก ตามล�ำดับ 2. การบริหารโรงเรียนคาทอลิกในเครือสังฆมณฑลเชียงใหม่ตาม ความคิดเห็นของบุคลากรที่เกี่ยวข้อง พบว่า มีความแตกต่างกันทุก กลุ่มทุกด้าน ยกเว้นด้านการบริหารงานบุคคลตามความคิดเห็นของ ผู้อ�ำนวยการและหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้มีความคิดเห็นไม่แตกต่าง กัน
36
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
ไพศาล เต็มอรุณรุ้ง และนพดล เจนอักษร
3. แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรคในการบริหารโรงเรียน คาทอลิกในเครือสังฆมณฑลเชียงใหม่ ในงานวิชาการ ฝ่ายการศึกษา ของสังฆมณฑลต้องจัดเตรียมบุคลากรในฝ่ายให้ดูแลรับผิดชอบงาน วิชาการทั่วทั้งโรงเรียนในเครือสังฆมณฑล การบริหารงานงบประมาณ จะต้องขอความร่วมมือจากผูป้ กครองในการวางแผนการจ่ายค่าเล่าเรียน ตามช่วงเวลาทีก่ ำ� หนดให้ งานบริหารบุคคล บุคลากรครูตอ้ งได้รบั การ ดูแลเอาใจใส่ให้มีขวัญและก�ำลังใจ และการบริหารงานทั่วไป แต่ละ โรงเรียนจัดเตรียมบุคลากรผู้มีความรู้ความสามารถทางด้านสารสนเทศ มารับผิดชอบดูแล ค�ำส�ำคัญ: Abstract
1) การบริหารโรงเรียนคาทอลิก 2) สังฆมณฑลเชียงใหม่
The purposes of this research were to identify 1) The administration of the catholic schools in Chiangmai Diocese according to the perspectives of the persons concerned; 2) The differences of the administration of the Catholic schools in Chiangmai Diocese according to the opinions of the persons concerned; and 3) The ways to solve the problems of the administration of the Catholic schools in Chiangmai Diocese. The samples of the research were 7 schools of the Catholic schools in Chiangmai Diocese. The respondents consisted of school administrators or vice school administrators, teachers and education committees, with the total number of 42. The research instrument was questionnaire about the administration of schools. The data collected were
ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2016/2559
37
การบริหารโรงเรียนคาทอลิกในเครือสังฆมณฑลเชียงใหม่
analyzed by using frequency, percentage, arithmetic mean and standard deviation. The results of the research revealed that: 1. The study on the administrations of the Catholic schools in Chiang Mai Diocese in the view of the persons involved in the school system that the overall level is higher than expected. The four tasks of the schools are considered as follows: Human administration and general administration were found in the highest levels. The budget administration and academic management were found in the high levels. 2. The administrations of the Catholic schools in Chiang Mai Diocese in the opinions of the persons in the school system varied, the opinions of the human administration, the directors and the head of each subject were found no difference. 3. The guidelines to solve problems and difficulties of the Catholic schools in Chiang Mai Diocese showed that The Academic Department of Chiang Mai Diocese should assign specialists to take care of each school in the diocese. In terms of the budget management, parents are requested to pay school fees within designated time. As for the human management, teachers need to be well cared by the schools, and in terms of the general management, schools are to prepare persons who have good knowledge of Information and Communications Technology (ICT) to help the schools. 38
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
ไพศาล เต็มอรุณรุ้ง และนพดล เจนอักษร
Keyword:
1) The Administration Of The Catholic Schools 2) Chiangmai Diocese
ความเป็นมาและความส�ำคัญของปัญหา โรงเรี ย นคาทอลิ ก ของสั ง ฆมณฑล เชียงใหม่ เริ่มก่อตั้งโดยคณะบาทหลวงมิชชัน นารีที่เข้ามาเผยแพร่ศาสนาเมื่อ 75 ปีที่แล้ว เริ่มต้นด้วยโรงเรียนขนาดเล็ก จนพัฒนาและ เจริญเติบโต ซึ่งการพัฒนาให้โรงเรียนมีความ เจริญตามการเปลี่ยนแปลงของแต่ละยุคสมัย นั้น จ�ำเป็นต้องมีการเปลี่ยนแปลง ปรับปรุง พัฒนาการบริหารจัดการภายในโรงเรียนเช่น เดียวกัน ทั้งระบบการบริหารจัดการภายใน แต่ ล ะงาน ผู ้ บ ริ ห ารและบุ ค ลากรภายใน โรงเรียนด้วย ที่ผ่านมาการบริหารโรงเรียน คาทอลิก มีความเป็นเอกเทศ การบริหาร จัดการศึกษาเป็นไปตามนโยบายของผู้บริหาร และความเหมาะสมสอดคล้องกับบริบทของ โรงเรียนแต่ละแห่ง เมื่อสภาพสังคม สภาพ แวดล้ อ มมี ก ารเปลี่ ย นแปลงไป จึ ง ท� ำ ให้ ผู ้ บ ริ ห ารจ� ำ เป็ น ต้ อ งปรั บ ตั ว ปรั บ แนวคิ ด นโยบายให้ทันต่อสิ่งที่เปลี่ยนแปลงด้วยและ ด้วยผู้บริหารของโรงเรียนคาทอลิกที่เป็นพระ สงฆ์หรือนักบวชนัน้ ได้รบั การศึกษาอบรมเพือ่ มีหน้าที่หลักในการรักและรับใช้ในฐานะเป็น ศาสนบริกรของพระเจ้า เมื่อต้องมีภารกิจใน การเป็นศาสนบริกรและมีภาระหน้าที่ในการ เป็นผูบ้ ริหารโรงเรียน จึงมีขอ้ จ�ำกัด อุปสรรค
ปัญหาต่างๆ หลายประการและส่งผลต่อการ จัดการศึกษาในภาพรวมและการด�ำเนินงาน ภายในของโรงเรี ย น ทั้ ง การบริ ห ารงาน วิชาการ การบริหารงานงบประมาณ การ บริหารงานบุคคลและการบริหารงานทั่วไป เป็ น ไปอย่ า งไม่ ต ่ อ เนื่ อ งกั น การเปลี่ ย น ผู้บริหารไปตามวาระบ่อยเกิดผลกระทบต่อ การปรับตัวของบุคลากรในโรงเรียนกับผูบ้ ริหาร ส่ ง ผลต่ อ คุ ณ ภาพการพั ฒ นาของนั ก เรี ย น คุ ณ ภาพของโรงเรี ย นและขวั ญ ก� ำ ลั ง ใจของ บุคลากรในโรงเรียนด้วย ผูว้ จิ ยั จึงมีความสนใจ ที่ จ ะศึ ก ษาแนวทางการบริ ห ารโรงเรี ย น คาทอลิกของสังฆมณฑลเชียงใหม่ เพื่อความ เป็นเอกภาพในการจัดการศึกษาและใช้เป็น แนวทางในการพั ฒ นาการบริ ห ารโรงเรี ย น คาทอลิกต่อไป วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่ อ ทราบการบริ ห ารโรงเรี ย น คาทอลิ ก ในเครื อ สั ง ฆมณฑลเชี ย งใหม่ ต าม ทัศนะของบุคลากรที่เกี่ยวข้อง 2. เพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นของ บุ ค ลากรที่ เ กี่ ย วข้ อ งเกี่ ย วกั บ การบริ ห าร โรงเรียนคาทอลิกในเครือสังฆมณฑลเชียงใหม่
ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2016/2559
39
การบริหารโรงเรียนคาทอลิกในเครือสังฆมณฑลเชียงใหม่
3. เพื่อทราบแนวทางการแก้ปัญหา และอุปสรรคในการบริหารโรงเรียนคาทอลิกใน เครือสังฆมณฑลเชียงใหม่ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ใช้แบบสอบถามเกีย่ วกับการบริหารงาน 4 ด้าน จ�ำนวน 1 ฉบับ มี 3 ตอน คือ 1. สอบถามเกีย่ วกับสถานภาพส่วนตัว ของผู้ให้ข้อมูล มีลักษณะเป็นแบบตรวจสอบ รายการ(Check list) จ�ำนวน 5 ข้อ สอบ ถามเกี่ยวกับ 1) เพศ 2) อายุ 3) ระดับ ก า ร ศึ ก ษ า 4 ) ต� ำ แ ห น ่ ง ห น ้ า ที่ 5 ) ประสบการณ์ในการท�ำงาน 2 สอบถามเกีย่ วกับความคิดเห็นในการ บริหารโรงเรียนคาทอลิกในเครือสังฆมณฑล เชียงใหม่ ตามขอบข่ายและภารกิจการด�ำเนิน งานบริหารจัดการสถานศึกษา ส�ำนักงานคณะ กรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน มี 4 ด้าน คื อ 1)การบริ ห ารงานวิ ช าการ 2) การ บริหารงานงบประมาณ 3) การบริหารงาน บุคคล 4) การบริหารงานทั่วไป มีลักษณะ เป็ น แบบสอบถามชนิ ด จั ด อั น ดั บ คุ ณ ภาพ 5 ระดับของลิเคิรท์ (Likert’s Five Rating Scale) 3 เป็ น แบบสอบถามปลายเปิ ด (Opened End) เกี่ยวกับแนวทางการแก้ไข ปั ญ หาและอุ ป สรรคในการบริ ห ารโรงเรี ย น คาทอลิกในเครือสังฆมณฑลเชียงใหม่ 40
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
สรุปผลการวิจัย 1. การบริหารโรงเรียนคาทอลิกในเครือ สังฆมณฑลเชียงใหม่ตามทัศนะของบุคลากรที่ เกี่ยวข้อง พบว่าการบริหารโรงเรียนคาทอลิกใน เครื อ สั ง ฆมณฑลเชี ย งใหม่ ต ามทั ศ นะของ บุคลากรที่เกี่ยวข้องโดยภาพรวมอยู่ในระดับ มาก ( X =4.48, S.D.=0.51) เมื่อพิจารณารายด้านพบว่าการบริหาร ง า น บุ ค ค ล มี ค ่ า มั ช ฌิ ม เ ล ข ค ณิ ต สู ง สุ ด ( X =4.54, S.D.=0.53) รองลงมาเป็นการ บริ ห ารงานทั่ ว ไปมี ค ่ า มั ช ฌิ ม เลขคณิ ต (=4.51, S.D.0.55) และการบริหารงานงบ ประมาณมี ค ่ า มั ช ฌิ ม เลขคณิ ต ( X =4.46, S.D.=0.53) ที่ มี ค ่ า มั ช ฌิ ม เลขคณิ ต ต�่ ำ กว่ า ด้านอื่น คือ การบริหารงานวิชาการ ( X =4.44, S.D.=0.54) เมื่ อ พิ จ ารณารายกลุ ่ ม พบว่ า กลุ ่ ม ผู ้ อ� ำ นวยการมี ทั ศนะเกี่ ย วกั บการบริ ห ารงาน บุ ค คลมากที่ สุ ด มี ค ่ า มั ช ฌิ ม เลขคณิ ต สู ง สุ ด ( X =5.00,S.D.=0.00) รองลงมาเป็นการ บริ ห ารงานทั่ ว ไปมี ค ่ า มั ช ฌิ ม เลขคณิ ต ( X =4.86, S.D.=0.37) และการบริ ห าร งานวิ ช าการมี ค ่ า มั ช ฌิ ม เลขคณิ ต ต�่ ำ สุ ด ( X =4.41, S.D.=0.48) กลุ่มหัวหน้าฝ่ายวิชาการมีทัศนะเกี่ยว กับการบริหารงานทั่วไปมากที่สุดมีค่ามัชฌิม
ไพศาล เต็มอรุณรุ้ง และนพดล เจนอักษร
เลขคณิ ต สู ง สุ ด ( X =4.45,S.D.=0.73) รองลงมาเป็นการบริหารงานบุคคลมีคา่ มัชฌิม เลขคณิต ( X =4.43, S.D.=0.97) และการ บริหารงานวิชาการมีค่ามัชฌิมเลขคณิตต�่ำสุด ( X =4.20, S.D.=0.62) กลุม่ หัวหน้ากลุม่ สาระการเรียนรูม้ ที ศั นะ เกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลมากที่สุดมีค่า มัชฌิมเลขคณิตสูงสุด ( X =5.00,S.D.=0.00) รองลงมาเป็นการบริหารงานทั่วไปมีค่ามัชฌิม เลขคณิต ( X =4.71, S.D.=0.48) และการ บริหารงานวิชาการมีค่ามัชฌิมเลขคณิตต�่ำสุด ( X =4.36, S.D.=0.37) กลุ่มครูมีทัศนะเกี่ยวกับการบริหารงาน งบประมาณมากทีส่ ดุ มีคา่ มัชฌิมเลขคณิตสูงสุด ( X =86,S.D.=0.37) รองลงมาเป็ น การ บริหารงานบุคคลมีค่ามัชฌิมเลขคณิต ( X =4.71, S.D.=0.48) และการบริหารงานวิชา การมีค่ามัชฌิมเลขคณิตต�่ำสุด ( X =4.60, S.D.=0.66) กลุม่ ประธานคณะกรรมการสถานศึกษา มีทศั นะเกีย่ วกับการบริหารงานบุคคลมากทีส่ ดุ มีค่ามัชฌิมเลขคณิตสูงสุด ( X =4.71,S.D. =0.48) รองลงมาเป็นการบริหารงานทั่วไปมี ค่ามัชฌิมเลขคณิต ( X =4.62, S.D.=0.62) และการบริ ห ารงานวิชาการมีค่ามัชฌิมเลข คณิตต�่ำสุด ( X =4.34, S.D.=0.48)
กลุ่มคณะกรรมการสถานศึกษาซึ่งเป็น บุคคลภายนอกมีทศั นะเกีย่ วกับการบริหารงาน บุคคลมากทีส่ ดุ มีคา่ มัชฌิมเลขคณิตสูงสุด ( X =4.86,S.D.=0.37) รองลงมาเป็นการบริหาร งานงบประมาณมี ค ่ า มั ช ฌิ ม เลขคณิ ต ( X =4.71,S.D.=0.75) และการบริหารงานทั่วไป มีค่ามัชฌิมเลขคณิตต�่ำสุด ( X =4.57, S.D. =0.53) 2. ความแตกต่างของความคิดเห็นของ บุ ค ลากรที่ เ กี่ ย วข้ อ งเกี่ ย วกั บ การบริ ห าร โรงเรียนคาทอลิกในเครือสังฆมณฑลเชียงใหม่ การเปรียบเทียบความคิดเห็นเกี่ยวกับ การบริ ห ารโรงเรี ย นคาทอลิ ก ในเครื อ สังฆมณฑลเชียงใหม่ตามทัศนะของบุคลากรที่ เกี่ ย วข้ อ งเมื่ อ จ� ำ แนกตามกลุ ่ ม ผู ้ ต อบ แบบสอบถาม ได้แก่ ผู้อ�ำนวยการ หัวหน้า ฝ่ายวิชาการหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ ครู ประธานคณะกรรมการสถานศึ ก ษาและ กรรมการสถานศึกษาซึ่งเป็นบุคคลภายนอก มีความคิดเห็นความแตกต่างกัน เมือ่ พิจารณา เป็นรายด้านตามภาระงานพบว่าการบริหาร โรงเรียนโรงเรียนคาทอลิกในเครือสังฆมณฑล เชียงใหม่ตามทัศนะของบุคลากรที่เกี่ยวข้อง โดยภาพรวมแตกต่างกันทุกกลุ่มทุกด้าน เมื่อ พิ จ ารณารายกลุ ่ ม พบว่ า ความคิ ด เห็ น ของ บุคลากรที่เกี่ยวข้องแต่ละกลุ่มมีความแตกต่าง กันทุกกลุม่ ทุกด้านยกเว้น ด้านการบริหารงาน
ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2016/2559
41
การบริหารโรงเรียนคาทอลิกในเครือสังฆมณฑลเชียงใหม่
บุคคลทีผ่ อู้ ำ� นวยการและหัวหน้ากลุม่ สาระการ เรียนรู้มีความคิดเห็นไม่แตกต่างกัน 3. แนวทางการแก้ ไ ขปั ญ หาและ อุ ป สรรคในการบริห ารโรงเรียนคาทอลิกใน เครือสังฆมณฑลเชียงใหม่ ด้ า นการบริ ห ารงานวิ ช าการ บาง โรงเรียนมีการเปลีย่ นแปลงหัวหน้าฝ่ายวิชาการ ตามเหมาะสมและตามความต้ อ งการของ ผูบ้ ริหาร แนวทางแก้ไขปัญหาการบริหารงาน วิ ช าการ ฝ่ า ยการศึ ก ษาของสั ง ฆมณฑล เชียงใหม่ต้องจัดเตรียมบุคลากรในฝ่ายให้ดูแล รับผิดชอบโดยตรงด้านวิชาการทั่วโรงเรียน คาทอลิ ก ในเครื อ สั ง ฆมณฑลและจั ด เตรี ย ม พั ฒ นาบุ ค ลากรหั ว หน้ า ฝ่ า ยวิ ช าการแต่ ล ะ โรงเรียนให้ดำ� เนินการจัดการงานวิชาการอย่าง ต่ อ เนื่ อ งและเป็ น ไปตามกฎระเบี ย บของ สังฆมณฑล ด้ า นการบริ ห ารงานงบประมาณ มี ปั ญ หาด้ า นการขาดแคลนงบประมาณ แนวทางการแก้ไขปัญหาด้านการขาดแคลน งบประมาณ คื อ การขอความร่ ว มมื อ ให้ ผู้ปกครองวางแผนการช�ำระค่าใช้จ่ายในการ เรียนตามช่วงเวลา ในส่วนโรงอาหารให้มีการ พัฒนาคุณภาพอาหารและปรับราคาอาหารให้ เหมาะสม การขายสินค้าในร้านค้าสหการของ โรงเรี ย น ให้ ไ ด้ ร าคาที่ ถู ก และมี คุ ณ ภาพ นอกจากนัน้ ยังมีกจิ กรรมต่างๆ ในช่วงเทศกาล
42
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
เพื่ อ ให้ ชุ ม ชมมี ส ่ ว นร่ ว มและหารายได้ เข้ า โรงเรียน ด้านการบริหารงานบุคคล มีปญ ั หาการ เปลีย่ นบุคลากรบ่อย การลาออกไปบรรจุเป็น ข้าราชการ แนวทางการแก้ไขปัญหาบุคลากร ครู ให้ครูได้มสี วัสดิการทีเ่ หมาะสม ได้รบั เงิน เดือนตามเกณฑ์ ได้รบั ค่าสอนพิเศษทีเ่ พียงพอ ได้รบั ค่าตอบแทนเมือ่ ท�ำงานครบจ�ำนวนปีทไี่ ด้ สอน เพือ่ สร้างขวัญและก�ำลังใจ และให้รสู้ กึ มั่นใจถึงความมั่นคงในชีวิตการเป็นครู ด้านการบริหารงานทั่วไป ในปัญหา ด้านระบบข้อมูลและสารสนเทศ แนวทางการ แก้ ไ ขปั ญ หาการพั ฒ นาระบบข้ อ มู ล และ สารสนเทศ ให้ แ ต่ ล ะโรงเรี ย นจั ด เตรี ย ม บุคลากรผูม้ คี วามรูท้ างด้านสารสนเทศเพือ่ ดูแล งานด้ า นนี้ โ ดยเฉพาะ เพื่ อ พั ฒ นาปรั บ ปรุ ง ข้อมูลในสถานศึกษาให้ทนั สมัยเสมอและให้อยู่ ในการก�ำกับดูแลของฝ่ายงานธุรการโดยตรง การอภิปรายผลการวิจัย 1. การบริหารโรงเรียนคาทอลิกในเครือ สังฆมณฑลเชียงใหม่ตามทัศนะของบุคลากรที่ เกี่ ย วข้ อ ง โดยภาพรวมทั้ ง 4 ด้ า นอยู ่ ใ น ระดั บ มาก เมื่ อ พิ จ ารณารายด้ า นพบว่ า การบริหารงานบุคคล และการบริหารงาน ทั่วไปอยู่ในระดับมากที่สุด ส่วนการบริหาร งานงบประมาณและการบริหารงานวิชาการอยู่
ไพศาล เต็มอรุณรุ้ง และนพดล เจนอักษร
ในระดับมาก ตามล�ำดับ ซึ่งผลการวิจัยสูง กว่าที่สมมติฐานเอาไว้ ทั้งนี้อาจเนื่องมาจาก การบริหารโรงเรียนคาทอลิกมีรากฐานมาจาก ค�ำสอนของศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิก ที่ เ น้ น ถึ ง การให้ คุ ณ ค่ า และความส� ำ คั ญ ของ ความเป็นบุคคลและการเอาใจใส่ตอ่ การด�ำเนิน ชีวิตให้สมศักดิ์ศรี จึงท�ำให้การบริหารงาน บุคคลและการบริหารงานทัว่ ไปอยูใ่ นระดับมาก ที่ สุ ด และในระยะเวลา 5 ปี ที่ ผ ่ า นมานี้ ฝ่ายการศึกษาสังฆมณฑลเชียงใหม่พยายาม ปรับปรุงโครงสร้างการบริหารและจัดท�ำคู่มือ ครูและบุคลากรทางการศึกษาของสังฆมณฑล เชี ย งใหม่ เพื่ อ เป็ น แนวทางให้ กั บ โรงเรี ย น คาทอลิกทีอ่ ยูใ่ นเครือสังฆมณฑลเชียงใหม่และ ได้ ใช้ เ ป็ น แนวทางในการบริ ห ารจั ด การใน โรงเรียนของตน เพือ่ ให้บคุ ลากรครู บุคลากร ทางการศึ ก ษา ตลอดจนถึ ง พนั ก งาน เจ้ า หน้ า ที่ ทุ ก คนในโรงเรี ย นคาทอลิ ก ในเครื อ สังฆมณฑลเชียงใหม่ ให้ประพฤติปฏิบัติไปใน ทิศทางเดียวกัน จึงท�ำให้เกิดการเปลีย่ นแปลง ในทางที่ดี ในเวลาเดียวกันการบริหารจัดการ ในโรงเรียนคาทอลิกในเครือของสังฆมณฑล เชียงใหม่เป็นไปตามกฎระเบียบทีต่ งั้ ไว้จงึ ท�ำให้ บุคลากรที่มีส่วนเกี่ยวข้องมีความรู้สึกมั่นใจถึง การเอาใจใส่ตอ่ บุคลากรและการบริหารจัดการ ในจั ด การศึ ก ษาของฝ่ า ยการศึ ก ษาของ สั ง ฆมณฑล จึ ง ท� ำ ให้ ย กระดั บ การบริ ห าร
โรงเรียนคาทอลิกในเครือสังฆมณฑลเชียงใหม่ เกิ ดประสิ ท ธิ ภาพและประสิ ท ธิ ผ ลมากที่ สุ ด ส่วนการบริหารงานวิชาการมีความคิดเห็นของ ผูท้ เี่ กีย่ วข้องอยูล่ ำ� ดับสุดท้าย ทีเ่ ป็นเช่นนีอ้ าจ เป็ น เพราะว่ า ที่ ผ ่ า นมาการบริ ห ารโรงเรี ย น คาทอลิกในเครือสังฆมณฑลเชียงใหม่มีการ เปลี่ยนแปลงผู้บริหารบ่อยและแต่ละโรงเรียน บริหารตามเอกเทศ ผู้บริหารที่มาจากคณะ นักบวชทีแ่ ตกต่างกันก็มแี นวความคิดและแนว ปฏิบัติที่แตกต่างกัน อาจจะมีสาเหตุที่ท�ำให้ ผู้บริหารพิจารณาเปลี่ยนหัวหน้าฝ่ายวิชาการ บ่อยจึงส่งผลต่อการบริหารงานวิชาการในภาพ รวม แต่เมือ่ พิจารณาดูคณ ุ ภาพงานวิชาการใน โรงเรียนคาทอลิกเครือสังฆมณฑลเชียงใหม่ตาม ความคิดเห็นของบุคลากรที่เกี่ยวข้องยังอยู่ใน ระดับมากคงเป็นเพราะว่าทุกคนมีความมุ่งมั่น ถึงแม้วา่ เปลีย่ นผูบ้ ริหารบ่อยก็ยงั มีนโยบายการ ขับเคลือ่ นอย่างมีประสิทธิภาพซึง่ สอดคล้องกับ งานวิจัยของกล้อง ไชยเผือก ได้ศึกษาการ บริหารจัดการสถานศึกษาในเครือมูลนิธลิ าซาล ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ยังสอดคล้องกับ งานวิจัยของอิทธิพล ศรีรัตนะ ได้ศึกษาการ บริหารงานโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานในโรงเรียน คาทอลิ ก สั ง กั ด อั ค รสั ง ฆมณฑลกรุ ง เทพฯ โดยภาพรวมและรายด้ า นอยู ่ ใ นระดั บ มาก และนอกจากนี้ยังสอดคล้องกับงานวิจัยของ บราวน์ (Brow) ได้ศึกษาเรื่องการประเมิน
ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2016/2559
43
การบริหารโรงเรียนคาทอลิกในเครือสังฆมณฑลเชียงใหม่
ผลของการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานเกีย่ ว กับประสิทธิผลของโรงเรียนมัธยมศึกษาและ การรับรู้ของผู้บริหารโรงเรียน ผลวิจัยพบว่า มีสหสัมพันธ์ทางสถิตริ ะหว่างการบริหารโดยใช้ โรงเรี ย นเป็ น ฐานกั บ การรั บ รู ้ ข องผู ้ บ ริ ห าร โรงเรี ย นและประสิ ท ธิ ผ ลของโรงเรี ย นการ บริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานท�ำให้ผู้บริหาร โรงเรียนได้รับรู้หรือเรียนรู้การบริหารโรงเรียน เพิม่ ขึน้ และท�ำให้ประสิทธิผลของโรงเรียนสูงขึน้ สอดคล้องกับไอเวอร์สัน(Iverson) ท�ำการ วิจัยเรื่องการศึกษารายกรณีการบริหารโดยใช้ โรงเรียนเป็นฐาน ผลการวิจยั พบว่าการบริหาร โดยใช้โรงเรียนเป็นฐานไม่ได้เกิดขึน้ จากภายใน โรงเรียนแต่ถกู สัง่ การลงมาจากรัฐบาล โดยใน เบื้ อ งต้ น โรงเรี ย นเพี ย งรั บ รู ้ ว ่ า ให้ โรงเรี ย น ตัดสินใจแบบมีส่วนร่วม ครูใหญ่ของโรงเรียน มีความเข้าใจดีว่าผู้บริหารและคณะกรรมการ โรงเรียนมีอ�ำนาจหน้าที่ตามกฎหมายมากขึ้น จ�ำนวนผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการบริหารเพิ่ม ขึ้น การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานที่จะ ประสบความส� ำ เร็ จ ต้ อ งมี ก ารปรั บ เปลี่ ย น วัฒนธรรมในโรงเรียนต้องออกกฎหมายทีท่ ำ� ให้ เกิ ด การกระจายอ� ำ นาจอย่ า งจริ ง จั ง และมี ธรรมนูญหรือแผนแม่บทในระดับโรงเรียนอย่าง ชัดเจน 2. การบริหารโรงเรียนคาทอลิกในเครือ สังฆมณฑลเชียงใหม่ ตามความคิดเห็นของ
44
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
บุ ค ลากรที่ เ กี่ ย วข้ อ ง ได้ แ ก่ ผู ้ อ� ำ นวยการ หัวหน้าฝ่ายวิชาการ หัวหน้ากลุ่มสาระการ เรี ย นรู ้ ครู ประธานคณะกรรมการสถาน ศึกษา และกรรมการสถานศึกษาซึง่ เป็นบุคคล ภายนอก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านมีความ แตกต่างกัน และเมื่อพิจารณารายกลุ่มพบว่า ความคิดเห็นของบุคลากรทีเ่ กีย่ วข้องแต่ละกลุม่ มีความแตกต่างกันทุกกลุ่มทุกด้าน ยกเว้น ด้านการบริหารงานบุคคลที่ผู้อ�ำนวยการและ หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้มีความคิดเห็นไม่ แตกต่างกัน กลุ่มคณะกรรมการสถานศึกษา ซึ่ ง เป็ น บุ ค คลภายนอกและครู มี ค ่ า มั ช ฌิ ม เลขคณิตมากที่สุด ซึ่งผลการวิจัยออกมาตรง ตามสมมติฐานทีก่ ำ� หนดไว้ ทัง้ นี ้ อาจเนือ่ งมา จากฝ่ า ยการศึ ก ษาสั ง ฆมณฑลเชี ย งใหม่ พยายามปรับปรุงโครงสร้างการบริหารและจัด ท� ำ คู ่ มื อ ครู แ ละบุ ค ลากรทางการศึ ก ษาของ สั ง ฆมณฑลเชี ย งใหม่ โดยมี ค ณะกรรมการ สถานศึกษาซึ่งเป็นบุคคลภายนอกเป็นผู้มีส่วน ร่วมในการบริหารจัดการในโรงเรียนคาทอลิก ในเครือสังฆมณฑลเชียงใหม่ แนวทางการ บริหารร่วมกันสร้างความมั่นใจให้กับบุคลากร ทีท่ ำ� งานในโรงเรียน และบุคคลทีเ่ กีย่ วข้องกับ โรงเรียนคาทอลิกในเครือสังฆมณฑลเชียงใหม่ เห็นถึงการพัฒนาและความก้าวหน้าในการ บริหารจัดการในโรงเรียนของสังฆมณฑลเป็นไป อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลมาก
ไพศาล เต็มอรุณรุ้ง และนพดล เจนอักษร
ขึน้ ท�ำให้เกิดความเชือ่ มัน่ และมีทศั นคติทดี่ ตี อ่ การบริ ห ารจั ด การของโรงเรี ย นคาทอลิ ก ใน เครือสังฆมณฑลเชียงใหม่และเป็นไปตามหลัก การบริหารงานทั่วไปของกระทรวงศึกษาธิการ 2546 เป็นงานที่เกี่ยวข้องกับการจัดระบบ บริ ห ารองค์ ก ร ให้ บ ริ ก ารบริ ห ารงานอื่ น ๆ บรรลุผลตามมาตรฐาน คุณภาพและเป้าหมาย ทีก่ ำ� หนดไว้ โดยมีบทบาทหลักในการประสาน ส่งเสริมสนับสนุนและการอ�ำนวยการความ สะดวกต่างๆ ในการบริหารการศึกษาทุกรูป แบบ มุ่งพัฒนาสถานศึกษาให้ใช้นวัตกรรม และเทคโนโลยีอย่างเหมาะสม ส่งเสริมการ บริหารและการจัดการการศึกษาของสถาน ศึกษา ตามหลักการบริหารงานที่มุ่งเน้นผล สัมฤทธิ์ของงานเป็นหลักโดยเน้นความโปร่งใส ความรับผิดชอบที่ตรวจสอบได้ตลอดจนการมี ส่ ว นร่ ว มของบุ ค คล ชุ ม ชนและองค์ ก รที่ เกี่ ย วข้ อ ง เพื่ อ ให้ ก ารจั ด การศึ ก ษามี ประสิทธิภาพและประสิทธิผล จึงสอดคล้อง กับงานวิจัยของวีระ ผังรักษ์ (Vira Phangruk) ได้ศึกษาวิจัยเรื่อง การศึกษาเหตุผลที่ ท�ำให้ผปู้ กครองเลือกโรงเรียนสังกัดสังฆมณฑล เขตพื้ น ที่ ช ายฝั ่ ง ทะเลของจั ง หวั ด ชลบุ รี ประเทศไทย จากการวิเคราะห์พบสาเหตุของ การเลื อ กส่ ง บุ ต รหลานเข้ า เรี ย นในโรงเรี ย น คาทอลิกสังฆมณฑล โดยเหตุผลหลัก ได้แก่ ด้านศาสนาหรือจิตวิญญาณ (Religion or
Spiritual) ด้านวิชาการ (Academic) ด้าน ระเบี ย บวิ นั ย (Discipline) ผู ้ ป กครอง คาทอลิกเลือกโรงเรียนด้วยเหตุผลด้านศาสนา หรือจิตวิญญาณ ส่วนผู้ปกครองพุทธศาสนา เลื อ กโรงเรี ย นด้ ว ยเหตุ ผ ลทางด้ า นวิ ช าการ ผู้ปกครองที่มีฐานะทางเศรษฐกิจและสังคมสูง เน้นความส�ำคัญด้านวิชาการ ส่วนผู้ปกครอง ฐานะทางเศรษฐกิจและสังคมระดับรองลงมา เน้ น ความส� ำ คั ญ ด้ า นความเอาใจใส่ ที่ มี ต ่ อ นักเรียน เหตุผลทางด้านวิชาการและการดูแล เอาใจใส่อย่างดีเป็นเหตุผลส�ำคัญของการเลือก โรงเรี ย นของผู ้ ป กครองใหม่ เกี่ ย วข้ อ งกั บ เหตุผลทางด้านศาสนาและจิตวิญญาณ ความ มีชื่อเสียงของโรงเรียนส�ำคัญ ผู้ปกครองพุทธ ศาสนาไม่ได้กังวลใจในการที่บุตรหลานที่เรียน ในโรงเรียนคาทอลิกต้องมีสว่ นร่วมกิจกรรมทาง ศาสนาคาทอลิกในโรงเรียน ผู้ปกครองส่วน มากทีส่ ง่ บุตรหลานมาเรียนในโรงเรียนคาทอลิก สังฆมณฑลมีความพึงพอใจ สอดคล้องกับงาน วิจยั ของวรสิทธิ ์ รัตนสิทธิโรจน์ ได้ศกึ ษาวิจยั เรือ่ งโรงเรียนเอกชนคาทอลิก : การพัฒนารูป แบบการบริหารการศึกษาตาม ปรัชญาการ ศึกษาคาทอลิกในเขตภาคกลาง ผลการวิจัย พบว่า การบริหารการศึกษาตามปรัชญาการ ศึกษาคาทอลิกนั้นเป็นไปตาม พระศาสนจักร และการสังคายนาวาติกัน ครั้งที่ 2 ที่มุ่งให้ โรงเรียนจัดการศึกษาให้เด็กและเยาวชน ให้มี
ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2016/2559
45
การบริหารโรงเรียนคาทอลิกในเครือสังฆมณฑลเชียงใหม่
ความรักในพระเจ้า รักเพื่อน และรักผู้คนทั้ง ปวง มี ค วามเสมอภาคให้ ค วามเคารพใน ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์มีความรู้ทางวิชาการ และมีคุณธรรมประจ�ำใจ สภาพปัจจุบันและ ปัญหา การบริหารการศึกษาตามปรัชญาการ ศึ ก ษาคาทอลิ ก ในเขตภาคกลาง มี ก าร จัดการศึกษาที่หลากหลายตั้งแต่ก่อนประถม ศึกษา จนถึงระดับอุดมศึกษา ทั้งโรงเรียน ขนาดเล็ก ขนาดกลาง และขนาดใหญ่ มี สภาพปัญหาคล้ายๆ กัน คือ ปัญหาด้าน คุณภาพในการบริหารงานการศึกษา ในการ พัฒนานักเรียนและคุณภาพของนักเรียน การ พั ฒ นารู ป แบบการบริ ห ารการศึ ก ษาตาม ปรัชญาการศึกษาคาทอลิก ผู้บริหารจะต้อง ด�ำเนินการผ่านครู ผ่านผูป้ กครอง และชุมชน ไปสู่เด็กนักเรียนโดยพัฒนานักเรียนให้มีความ รัก ความเสมอภาค ความรู้ และคุณธรรม เป็นภูมคิ มุ้ กันในการด�ำรงชีวติ อยูใ่ นสังคมอย่าง มี ค วามสุ ข ตามหลั ก ปรั ช ญาการศึ ก ษา คาทอลิกเป็นแนวทางในการด�ำเนินงาน น�ำ พลังจากครูผปู้ กครอง และชุมชนช่วยเหลือท�ำ กิจกรรมต่างๆ ยึดเด็กนักเรียนเป็นส�ำคัญและ ติดตามตรวจสอบคุณภาพอย่างสม�่ำเสมอและ ต่อเนื่อง และยังสอดคล้องกับงานวิจัยของ คอนเวน์ (Convey) วิจยั เรือ่ ง แรงจูงใจและ ความพึงพอใจต่องานของครูโรงเรียนคาทอลิก การวิจัยความสัมพันธ์ระหว่างแรงจูงใจและ
46
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
ความพึงพอใจในงานของครูโรงเรียนคาทอลิก ข้อมูลจากการส�ำรวจครูจ�ำนวน 716 คนใน สามสั ง ฆมณฑล (Atlanta, Biloxi and Cheyenne) ปรัชญาการศึกษาของโรงเรียน และสภาพแวดล้อมของโรงเรียนมีอิทธิพลต่อ ความพึงพอใจของครูตอ่ การท�ำงานกับนักเรียน และความสั ม พั น ธ์ กั บ ผู ้ บ ริ ห ารและครู อื่ น ๆ แรงจูงใจในการสอนในโรงเรียนเนื่องจากเป็น โรงเรียนคาทอลิก ซึ่งส่งผลต่อความความพึง พอใจต่อโรงเรียน การวิจยั นีย้ นื ยันความส�ำคัญ ของปัจจัยด้านศาสนาเป็นแรงจูงใจที่ส�ำคัญ (Importance of a Religious Factor) ส�ำหรับครูในการเลือกสอนในโรงเรียนคาทอลิก และมีอิทธิพลต่อความพึงพอใจในงานของครู พบว่ากลุม่ ครูมคี า่ มัชฌิมเลขคณิตของความคิด เห็นรองลงมาอาจเนือ่ งมาจากภาระหน้าทีห่ ลัก ของครูคือการจัดการเรียนการสอนให้เป็นไป ตามหน้าทีข่ องผูส้ อนและเมือ่ การบริหารจัดการ ในโรงเรียนเข้าสูร่ ะบบตามระเบียบกฎเกณฑ์จงึ ท�ำให้ครูได้มีความคิดเห็นและความรู้สึกที่ดีต่อ การบริหารในภาพรวมของโรงเรียน ด้านการ บริหารงานบุคคลที่ผู้อ�ำนวยการและหัวหน้า กลุ่มสาระการเรียนรู้มีความคิดเห็นไม่แตกต่าง กัน ทั้ง 2 กลุ่ม มีค่ามัชฌิมเลขคณิตของ คว่มคิดเห็นสูงสุดทัง้ นีอ้ าจเนือ่ งมาจากการเห็น การพัฒนาของการบริหารงานบุคคลในโรงเรียน คาทอลิกในเครือสังฆมณฑลเชียงใหม่ได้เป็นไป
ไพศาล เต็มอรุณรุ้ง และนพดล เจนอักษร
ตามระเบียบกฎเกณฑ์แนวทางปฏิบัติฝ่ายการ ศึกษาของสังฆมณฑลเชียงใหม่และสอดคล้อง กั บ การบริ ห ารงานบุ ค คลของกระทรวง ศึกษาธิการ 2546 เป็นภารกิจส�ำคัญที่มุ่งส่ง เสริมให้สถานศึกษาสามารถปฏิบัติงานเพื่อ ตอบสนองภารกิจของสถานศึกษาเพื่อด�ำเนิน การด้านการบริหารบุคคลให้เกิดความคล่องตัว อิสระภายใต้กฎหมาย ระเบียบ เป็นไปตาม หลักธรรมาภิบาลข้าราชการครูและบุคลากร ทางการศึ ก ษาได้ รั บ การพั ฒ นา มี ค วามรู ้ ความสามารถ มี ข วั ญ ก� ำ ลั ง ใจ ได้ รั บ การ ยกย่องชูเกียรติ มีความมั่นคงและก้าวหน้าใน อาชี พ ซึ่ ง จะส่ ง ผลต่ อ การพั ฒ นาคุ ณ ภาพ ทางการศึกษาของผู้เรียนเป็นส�ำคัญ และพบ ว่ากลุม่ หัวหน้าฝ่ายวิชาการมีคา่ มัชฌิมเลขคณิต ของความคิดเห็นต�่ำสุดและพบว่าเป็นกลุ่มที่มี ค่ามัชฌิมเลขคณิตความคิดเห็นต�่ำสุดทุกด้าน อาจเนือ่ งมาจากการเปลีย่ นแปลงผูบ้ ริหารบ่อย ตามวาระของคณะนักบวชหรือพระสงฆ์ส่งผล ต่ อ การเปลี่ ย นแปลงต� ำ แหน่ ง หั ว หน้ า ฝ่ า ย วิ ช าการซึ่ ง ท� ำ ให้ ข าดความต่ อ เนื่ อ งในการ บริหารจัดการเพราะการเปลีย่ นแปลงต�ำแหน่ง นี้ขึ้นอยู่กับดุลพินิจผู้บริหารเอง 3. แนวทางการแก้ ไ ขปั ญ หาและ อุ ป สรรคในการบริห ารโรงเรียนคาทอลิก ใน เครือสังฆมณฑลเชียงใหม่ ในงานวิชาการทาง ฝ่ายการศึกษาของสังฆมณฑลเชียงใหม่ต้องจัด
เตรียมบุคลากรในฝ่ายให้ดูแลรับผิดชอบด้าน วิ ช าการโดยตรงให้ ทั่ ว โรงเรี ย นทั้ ง 7 โรง ในเครือสังฆมณฑล ให้ดำ� เนินการต่อเนือ่ ง ไม่ ควรเปลีย่ นแปลงบุคลากรบ่อย จัดให้บคุ ลากร มีโอกาสพัฒนาตนเองและความรู้ให้ทันสมัย เสมอ และมีอ�ำนาจในการจัดเตรียมพัฒนา บุคลากรหัวหน้าฝ่ายวิชาการแต่ละโรงเรียนให้ ด�ำเนินการจัดการงานวิชาการและเป็นไปตาม กฎระเบียบของสังฆมณฑลเพื่อให้การด�ำเนิน งานด้านวิชาการพัฒนาไปในแนวทางเดียวกัน ตามเป้าหมายของโรงเรียน ส�ำหรับการบริหาร งานงบประมาณ จะต้องขอความร่วมมือจาก ผูป้ กครองในการวางแผนการจ่ายค่าเทอมตาม ช่วงเวลาทีก่ ำ� หนดให้ รวมทัง้ ค่าใช้จา่ ยเพิม่ เติม ในการจั ด การเรี ย นการสอน ในส่ ว นของ โรงอาหารให้มีการพัฒนาคุณภาพอาหารและ ปรับราคาอาหารให้เหมาะสม การขายสินค้า ในร้านค้าสหการของโรงเรียน ให้ได้ราคาทีถ่ กู และมีคณ ุ ภาพ นอกจากนัน้ ยังมีกจิ กรรมต่างๆ ในช่วงเทศกาล เช่น เทศกาลคริสต์มาสและ ปีใหม่ให้ทกุ ฝ่ายทีเ่ กีย่ วข้องกับโรงเรียนมีโอกาส ร่วมกันท�ำบุญเพื่อสมทบทุนให้แก่เด็กนักเรียน ทีย่ ากจนหรือปรับปรุงการบริหารจัดการภายใน โรงเรียน ส่วนงานบริหารบุคคล บุคลากรครู เป็นกลุ่มบุคคลที่ส�ำคัญในการบริหารโรงเรียน จึงจ�ำเป็นต้องได้รับการดูแลเอาใจใส่ให้มีขวัญ และก�ำลังใจ มีความรู้สึกความมั่นคงในชีวิต
ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2016/2559
47
การบริหารโรงเรียนคาทอลิกในเครือสังฆมณฑลเชียงใหม่
การเป็นครู สนับสนุนและให้โอกาสพัฒนา ตนเอง ให้ครูได้มสี วัสดิการทีเ่ หมาะสม ได้รบั เงินเดือนตามเกณฑ์ ได้รบั ค่าสอนพิเศษทีเ่ พียง พอ ได้รับค่าตอบแทนเมื่อท�ำงานครบจ�ำนวน ปีที่ได้สอน และสร้างความภาคภูมิใจในการ เป็นครูในโรงเรียนคาทอลิก และส�ำหรับการ บริหารงานทัว่ ไป การพัฒนาระบบข้อมูลและ สารสนเทศมีความส�ำคัญมากในยุคสมัยนี้ ให้ แต่ละโรงเรียนจัดเตรียมบุคลากรผู้มีความรู้ ความสามารถทางด้านสารสนเทศมารับผิดชอบ ดูแลงานด้านนีโ้ ดยเฉพาะ สนับสนุนให้พฒ ั นา ตนเองและความรู้อย่างต่อเนื่องเพื่อให้เกิด พัฒนาปรับปรุงข้อมูลในสถานศึกษาให้ทนั สมัย เสมอและให้อยูใ่ นการก�ำกับดูแลฝ่ายงานธุรการ โดยตรง ข้อเสนอแนะ การบริหารโรงเรียนคาทอลิกในเครือ สังฆมณฑลเชียงใหม่ ควรพัฒนาการบริหาร งาน 4 งานต่อไป โดยเฉพาะอย่างยิ่งการ บริหารงานวิชาการที่จะต้องปรับปรุงแก้ไขโดย การเตรียมบุคลากรที่มีความสามารถโดยตรง และต่อเนือ่ ง และควรจัดเตรียมและสนับสนุน บุ ค ลากรในการพั ฒ นาตนเองเพื่ อ มาเป็ น ผู ้ ด� ำ เนิ น การ บริห าร จัดการ งานแต่ละ ฝ่ายในโรงเรียนให้เป็นไปตามกฎระเบียบของ
48
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
ฝ่ายการศึกษาและสอดคล้องพระราชบัญญัติ การศึกษาแห่งชาติ ให้มปี ระสิทธิภาพและเกิด ประสิทธิผลให้มากกขึ้น ข้อเสนอแนะเพื่อการวิจัยครั้งต่อไป ตามที่ผู้วิจัยได้มีข้อเสนอแนะของการ วิ จั ย ข้ า งต้ น เพื่ อ ให้ ง านวิ จั ย เกี่ ย วกั บ การ บริหารโรงเรียนคาทอลิกในเครือสังฆมณฑล เชี ย งใหม่ ไ ด้ แ พร่ ห ลายออกไป และเป็ น ประโยชน์ในการศึกษาค้นคว้าของผู้บริหาร นักวิชาการ และผู้สนใจทั่วไป จึงขอเสนอ แนะเพื่อการวิจัยครั้งต่อไป ดังนี้ 1. ควรศึกษาปัจจัยและแนวทางการ บริหารโรงเรียนคาทอลิกในเครือสังฆมณฑล เชี ย งใหม่ ที่ ส ่ ง ผลต่ อ ประสิ ท ธิ ภ าพการเกิ ด ประสิ ท ธิ ผ ลในจั ด การศึ ก ษาในสั ง ฆมณฑล เชียงใหม่ 2. การวิจัยครั้งนี้เป็นการศึกษาการ บริหารโรงเรียนคาทอลิกในเครือสังฆมณฑล เชียงใหม่เพียงสังฆมณฑลเดียวเท่านัน้ ดังนัน้ ใน การวิจัยครั้งต่อไปควรมีการเปรียบเทียบการ บริหารโรงเรียนคาทอลิกในเครือนักบวชที่มี สถานศึ ก ษาในสั ง ฆมณฑลเชี ย งใหม่ ห รื อ โรงเรียนคาทอลิกในเครือสังฆมณฑลอื่นๆใน ประเทศไทย
ไพศาล เต็มอรุณรุ้ง และนพดล เจนอักษร
บรรณานุกรม กล้อง ไชยเผือก, “การบริหารจัดการสถาน ศึ ก ษ า ใ น เ ค รื อ มู ล นิ ธิ ล า ซ า ล ” วิ ท ยานิ พ นธ์ ค รุ ศ าสตร์ ม หาบั ณ ฑิ ต ส า ข า วิ ช า ก า ร บ ริ ห า ร ก า ร ศึ ก ษ า มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม, 2553. ฝ่ายการศึกษาสังฆมณฑลเชียงใหม่, คู่มือครู และบุคลากรทางการศึกษาฝ่ายการ ศึกษา สังฆมณฑลเชียงใหม่ พ.ศ. 2556, (ม.ม.ท.: ม.ป.ป.), 31-48. วรสิทธิ์ รัตนสิทธิโรจน์, “โรงเรียนเอกชน คาทอลิ ก : การพั ฒ นารู ป แบบการ บริหารการศึกษาตาม ปรัชญาการ ศึ ก ษาคาทอลิ ก ในเขตภาคกลาง” ปริ ญ ญาศึ ก ษาศาสตรมหาบั ณ ฑิ ต สาขาวิชาวัฒนธรรมศาสตร์ บัณ ฑิต วิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 2554. ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ, แผนกการศึ ก ษาแห่ ง ชาติ (พ.ศ. 2545-2559):ฉบับสรุป (กรุงเทพฯ: บริ ษั ท พริ ก หวานกราฟฟิ ก จ� ำ กั ด , 2545), 2.
อิ ท ธิ พ ล ศรี รั ต นะ, “การบริ ห ารโดยใช้ โรงเรี ย นเป็ น ฐานกั บ บรรยากาศ องค์การในโรงเรียนคาทอลิก สังกัด อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ” ปริญญา ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการ บริ ห ารการศึ ก ษา บั ณ ฑิ ต วิ ท ยาลั ย มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2550. Brown B.R., “An Analysis of the Perceived Effectiveness of School-Based Management by School and Community Stakeholders” (Dissertation Abstract International, 1998), 237. John Convey, “Motivation and Job Satisfaction of Catholic School Teacher,” The Catholic University of America, 2010, accessed February 5, 2012, available from www.eric.ed.gov/ ERICWebPortal/recordDetail Iverson C.J.,“School-Based Manage ment : A Case Study” (Dis sertation Abstract International, 2001),192.
ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2016/2559
49
การบริหารโรงเรียนคาทอลิกในเครือสังฆมณฑลเชียงใหม่
Rensis Likert, อ้างถึงใน พวงรัตน์ ทวีรตั น์, วิ ธี วิ จั ย ท า ง พ ฤ ติ ก ร ร ม ศ า ส ต ร ์ (กรุ ง เทพฯ: โรงพิ ม พ์ แ ละท� ำ ปก เจริญผล, 2531) Phangrak Vira, “Catholic school enrollment, A study on reasons why parent choose diocesan school in the coastal area of Chonburi Province, Thailand.” Disserta tion for the Doctoral degree of Education, University of California, Los Angeles, 1992.
50
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
การประชุมสภาสังคายนาวาติกนั ครัง้ ที่ 2
และกิจกรรมด้านศาสนสัมพันธ์ ของพระศาสนาจักรคาทอลิกในประเทศเวียดนาม
TheInterreligious Second Vatican Council and Activities of the Catholic Church in Vietnam.
บาทหลวง ฮว่าง โด บา O.P. * บาทหลวงในคริสต์ศาสนจักรโรมันคาทอลิก คณะโดมีนีกัน
มิชชันนารี ประจ�ำบ้านเณรฟาติมา อัครสังฆมณฑลท่าแร่-หนองแสง
ดร.วีรชาติ นิ่มอนงค์ * คณะปรัชญาและศาสนา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ Rev.Hoang Do Ba, O.P. * Reverend in Roman Catholic Church, the Order of Preachers (O.P). Missionary, Fatima Seminary, Archdiocese of Thare-Nongseng.
Dr.Veerachart Nimanong * Professor at Graduate School of Philosophy and Religion, Assumption University of Thailand.
การประชุมสภาสังคายนาวาติกนั ครัง้ ที่ 2 และ กิจกรรมด้านศาสนสัมพันธ์ของพระศาสนาจักรคาทอลิก ในประเทศเวียดนาม
บทคัดย่อ
ในประวั ติ ศ าสตร์ ข องพระศาสนจั ก รคาทอลิ ก การประชุ ม สั ง คายนาวาติ กั น ครั้ ง ที่ 2 เป็ น สั ง คายนาหนึ่ ง ที่ ท� ำ ให้ เ กิ ด การ เปลีย่ นแปลงมากมายในโลกคาทอลิก การเปลีย่ นแปลงทีเ่ ด่นชัดอันเป็น ผลจากการประชุมสังคายนาครั้งนี้ก็คือ การเริ่มมีสัมพันธ์กับศาสนนิกชนต่างศาสนา การเปลีย่ นแปลงครัง้ นีก้ ม็ ผี ลกระทบต่อความสัมพันธ์ ระหว่างพระศาสนจักรคาทอลิกในประเทศเวียดนามกับศาสนาอื่นๆ ในประเทศด้วย บทความนีศ้ กึ ษาการปฏิบตั มิ าจากสังคายนาวาติกนั ครัง้ ที่ 2 ที่มีต่อความสัมพันธ์ของพระศาสนาจักรคาทอลิกในประเทศ เวียดนามกับศาสนาอืน่ ๆ พระศาสนาจักรคาทอลิกในเวียดนามริเริม่ การ มีศาสนสัมพันธ์กบั ศาสนาอืน่ ๆโดยการท�ำกิจกรรมต่างๆ ร่วมกัน จาก การเริม่ มีศาสนสัมพันธ์กบั ศาสนาอืน่ ๆนีเ่ องท�ำให้เกิดความหวังว่า ความ เข้าใจต่อกันระหว่างพระศาสนาจักรคาทอลิกเวียดนามกับศาสนาอื่นๆ จะได้พัฒนาดียิ่งๆขึ้นไป ค�ำส�ำคัญ
Abstract
52
1) ศาสนสัมพันธ์ 2) สังคายนาวาติกันครั้งที่ 2 3) เวียดนาม
In the entire history of the Catholic Church, the Second Vatican Council is considered as one of the Councils that made great changes in the Catholic World. This Council made a significant change in the field of interreligious dialogue. This change had an influence on the Catholic Church in Vietnam in its relation to members of other religious traditions. This paper examines interreligious activities that have been carried out by the Catholic Church in Vietnam. Inspired by the teachings of the Second
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
ฮว่าง โด บา และ วีรชาติ นิ่มอนงค์
Vatican Council, the Catholic Church in Vietnam has initiated many interreligious activities that contributed to better understanding between Catholics and followers of other faiths. With these beginnings, there is hope for a much better understanding between the Catholic Church in Vietnam and other religious traditions. Keywords:
1) Interreligious dialogue 2) The Second Vatican Council 3) Vietnam
Introduction Throughout the history of the Catholic Church inVietnam, the relation between the Church and other religious traditions has not been good. Historically, for a long time, there had been little contact or cooperation among them. There had been doubt, misunderstanding, or even confrontation among members of different religions. Even though there were no religious wars, the relations among religions in the long history of Vietnam may be considered as negative.
The teaching of the Second Vatican Council on other religions has greatly influenced the attitude of the Catholic Church in Vietnam towards other religions. Under the inspiration of the Council, both leaders and lay people of the Catholic Church in Vietnam have acquired a different attitude. There are changes in the ways of thought and in the behaviour of Vietnamese Catholics toward followers of other religious traditions. These changes have led to concrete actions of the Catholic Church in Vietnam.
ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2016/2559
53
การประชุมสภาสังคายนาวาติกนั ครัง้ ที่ 2 และ กิจกรรมด้านศาสนสัมพันธ์ของพระศาสนาจักรคาทอลิก ในประเทศเวียดนาม
The Second Vatican Council The Second Vatican Council is seen as open and positive to other religions. This Council made a significant change in the field of interreligious dialogue. Through its official documents, it guides all the Catholics on the matter of interreligious relations. Its own members, the Church encourages to accept others as they are in their religious traditions. The followers of other faiths, the Church invites to a sincere and open dialogue. The Second Vatican Council was a turning point that marked the change of the Catholic Church towards other religions. Reading the official documents of the Council, one can easily see the positive attitude of the Church towards other religions. In its Nostra Aetate, Declaration of the Relation of the Church to NonChristian Religions, the Second Vatican Council stated clearly that: “The Catholic Church rejects nothing that is true and holy in these religions. She regards with sincere
54
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
reverence those ways of conduct and of life, those precepts and teachings which, though differing in many aspects from the ones she holds and sets forth, nonetheless often reflect a ray of that Truth which enlightens all men” (Nostra Aetate 2). Interfaith dialogue is the definite choice of Vatican II. Instead of rejecting or confronting, now the Catholic Church made a bold step to communicate with other religions. In a world that is more global and interdependent, relations among religions play an important part in building peace of the world. The Vatican II is committed to interreligous dialogue as a way to join hand with followers of other religions to build peace and to enrich itself. The choice for dialogue of the Second Vatican Council can be seen in its call the faithful to enter dialogue with adherents of other faiths: “The Church, therefore, exhorts her sons, that through dialogue and collaboration with the followers of
ฮว่าง โด บา และ วีรชาติ นิ่มอนงค์
other religions, carried out with prudence and love and in witness to the Christian faith and life, they recognize, preserve and promote the good things, spiritual and moral, as well as the socio-cultural values found among these men” (Nostra Aetate 2). The Second Vatican Council saw in other religions spiritual values and thus urging the faithful to respect and foster those values. The Council also recognized God’s plan in these religious traditions. The main reason that the Catholic Church chose interfaith dialogue is that it recognized positive values in other religions. These values have been the ways of life, the experiences, and the wisdom of the people. They have really been the great treasure of humanity. Analyzing this, Francis Arinze writes that: “These religions are the ways of life of a greater part of humanity. They are the living expressions of the souls of vast group of people. They carry
with them the echo of thousands of years of searching for God. They possess an impressive patrimony of deeply religious texts. They have taught generations of people how to live, how to pray and how to die. The Catholic Church therefore cannot afford to ignore them.” (Arinze, 1990, p.166) The Second Vatican Council chose interfaith dialogue as the way to cooperate with believers of other religions and she demands the faithful to follow that way. That open and positive attitude of Vatican II has much influence on its local churches; among those is the Catholic Church in Vietnam. Interreligious Activities of the Catholic Church in Vietnam Inspired by the Second Vatican Council, the Catholic Church in Vietnam is more and more open to other religions and their followers. There has been a change in the
ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2016/2559
55
การประชุมสภาสังคายนาวาติกนั ครัง้ ที่ 2 และ กิจกรรมด้านศาสนสัมพันธ์ของพระศาสนาจักรคาทอลิก ในประเทศเวียดนาม
attitude of the local church towards other religions and their members. This can be seen clearly both in official documents of the Catholic Church in Vietnam and in the attitude of the faithful. The choice for dialogue can be seen in many documents of the Catholic Bishops’ Conference of Vietnam, among which, some main documents are worth mentioning here: Pastoral Letter in the year 1964, the Common Letter in the year 1980, the Common Letter in the year 2001, the Pastoral Letter in the year 2003, etc. Through these documents, Vietnamese Catholics are encouraged to respect, cooperate and to enter into dialogue with the adherents of other religions for a fraternal society. Following the pattern of the Pontifical Council for Inter-religious Dialogue, in its document Dialogue And Proclamation, the writer will present intereligious activities of the Catholic Church in Vietnam in four forms: dialogue of life, dialogue of action, dialogue of religious experiences, and dialogue of beliefs. 56
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
Dialogue of Life Vietnam is a multireligious country. Members of different religions are required to dialogue to understand and to respect one another. This dialogue firstly happens in daily life of members of different religions, who may live in a village, or in a quarter, through their communicating, working and supporting one another. Religions should be the foundation for people to get close to one another (Catholic Bishops’ Conference, 2011, p. 60). Being aware of this, Catholic Church in Vietnam encouraged the faithful to visit members of other religions, to share with them in time of joy or sorrow. Both Catholic leaders and lay people consider visiting followers of other religions as the first step to build friendship and to begin interreligious dialogue. Gradually, special feastdays of each religion as Christmas of Christianity, Vesak of Buddhism, have really become a day that draw followers of different faiths together, particularly between Catholics and Buddhists.
ฮว่าง โด บา และ วีรชาติ นิ่มอนงค์
In 2010, the Catholic bishops of Vietnam, in an open letter to the faithful, proposed a "heart to heart dialogue" with other religions, with the poor and with people of no religious belief. In order to put this into practice, Catholics are especially invited to be open and sincere to brothers and sisters of other religions as a lack of openness can easily lead to defensive or aggressive attitude; while a sincere attitude can help one accept others even though there are still differences. Besides, Catholics are also urged to visit and to share their beliefs and practices with friends from other religious traditions. This is to help them have a right understanding of Catholic beliefs and practices (Catholic Bishops’ Conference, 2011, pp. 98-99). Following the instruction of Catholic Bishops in Vietnam, a Pastoral Commission for Interfaith Dialogue was established in the Archdiocese of Ho Chi Minh City, on 5 December 2009. The aims of the organization are as follows: (1) to encourage all
Christians to make the first step in going out to meet adherents of other religions according to the instructions of Vatican II, especially the Nostra Aetate, (2) to learn the teachings and experiences of the Church in the field of Interfaith Dialogue. At the same time, to learn the teachings and practices of other religions in order to to have a right understanding of them, (3) to join hands with brothers and sisters of other religions in social activities, (4) to organize interreligious meetings and exchanges on issues of common concern, (5) to open trainning courses specially in interfaith dialogue with professors from different religions (Catholic Bishops’ Conference, 2011, pp.112-113). From then, the Commission has organized many activities to establish contact with other religions. The Commission has become the meeting place of people of different faiths. It really gives support and inspiration to those who are concerned with interfaith dialogue. Sharing the joy of being a member of
ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2016/2559
57
การประชุมสภาสังคายนาวาติกนั ครัง้ ที่ 2 และ กิจกรรมด้านศาสนสัมพันธ์ของพระศาสนาจักรคาทอลิก ในประเทศเวียดนาม
the Commission of Interfaith Dialogue, one Christian faithful said that: “When we started a group of interfaith dialogue, we were very happy to be able to dialogue with religious tolerance. When we were able to achieve a good relationship with other religions through dialogue, we could catch up with the rest of the Church which has been seriously engaged in interfaith dialogue for 50 years and also with the Church in South East Asia through FABC.” (Ai Thien, 2016) Dialogue of Action: Common Social Activities There are many social activities which are the result of cooperation from followers of different religions. In Ho Chi Minh City, some so-called “interfaith charity clinics” were opened. These clinics are the result of the cooperation of Catholics and followers of other religions aiming at serving the poor. There are doctors, nurses, and volunteers who come from many
58
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
different religions, such as Buddhism, Catholicism, Caodaism, Protestantism, and Hoahaoism. Patients are welcomed without any discrimination. Through these social activities, members of different religions not only can join hands to care for the sick, but also to become witnesses to their own faith. They also have chance to have a better understanding of one another’s religions (Ai Thien, 2016). In Hue, the central of Vietnam, for a long time, there has been cooperation among followers of different religions to care for HIV patients. Kim Long charity clinic is a center founded by the Catholic Sisters, now witnessing the joint participation of many physicians, nurses, and volunteers of different religions, particularly Catholics and Buddhists. They are charitable activities that bring members of different religions together (Ai Thien, 2015). Being aware of the differences in religion, the members of different faiths come together to serve the poor and the needy with the motto:
ฮว่าง โด บา และ วีรชาติ นิ่มอนงค์
“many religions–one heart” (BHHV, 2011). Also in Hue, the central of Vietnam, there is a special group named ‘Doing good”, initially founded by a Buddhist, the group has now become a meeting place of followers of different religions. Among its members, are the Catholic priests, Brothers and Sisters, the Buddhist monks and nuns; a large number of lay people from other religions also participates in the activities of this “Doing good” group. Aiming at helping the poor with food and taking care of street children, the group has become a home for compassionate souls to meet (Mai Thanh, 2010, pp. 88-89). Through all these, one can see that those who join hands in serving others are aware of their religious differences; however, these differences are not obstacle to their collaboration. With the encouragement and support from religious leaders, other social activities have been carried out with the collaboration by followers
of different religions. Some organizations accept membership of different beliefs for certain areas of activities like: arts and letters, music and singing. Persons of different faiths, particularly those who are willing to serve the poor and the aged, have been welcomed. These social activities become an opportunity that uniting people of different faiths. Sharing this experience, Venerable Thich Thien Chieu, who cares for 75 poor blind children, in a charitable center, said: “Common concern for disadvantaged children has united Catholics and Buddhists” (Tran xuan Chieu, 2000, p.129). From the viewpoint of the Catholic Church in Vietnam, social activities are seen as a bridge to unite members of different religions. Through charitable works, Catholics can join hands with compassionate souls of other faiths in serving the poor and the needy; at the same time, they can meet one another at the religious level.
ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2016/2559
59
การประชุมสภาสังคายนาวาติกนั ครัง้ ที่ 2 และ กิจกรรมด้านศาสนสัมพันธ์ของพระศาสนาจักรคาทอลิก ในประเทศเวียดนาม
Dialogue of Religious Experiences In order to encourage exchange of religious experiences among Catholics and followers of other religions in Ho Chi Minh City, following the spirit of the interfaith encounter in Assisi initiated by Pope John Paul II, the Commision of Interfaith Dialogue of the Archdiocese of Ho Chi Minh City organized in the year 2011 the so-called ‘Interfaith Encounter Day’. This attracted a lot of people from different religions: both religious leaders and lay people. They came to join activities and shared spiritual experiences. Representatives from each religion had chances to share their experiences in living and witnessing faith. They also had opportunity to pray for peace. This activity has been organised yearly under different themes: Together We Build Peace (2011), Together We Overcome Sufferings (2012), Together We Cultivate Harmony (2013), Together We Share Spiritual Joy (2014), and Cultivating the Encounter of Culture (2015). These
60
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
days have become opportunities for members of different religions to come to meet one another, to share their religious experiences, and to enrich their religious life. In Vietnam, even though there are no official center or organization for this form of dialogue, there are still meetings and sharing of experiences among Catholics and members of other religions, particularly Buddhists. Hue Khai, a Caodaist member, shares such an experience of dialogue with Catholic partners that: “A real religious life is not limited to daily praying and offering; it consists in experimenting one’s own faith through relating to people of different religion. These are the chances for members of different religion to enrich their religious experiences” (Catholic Bishops’ Conference, 2011, p. 165). Dialogue of Beliefs Another form of interfaith dialogue is the dialogue of beliefs.
ฮว่าง โด บา และ วีรชาติ นิ่มอนงค์
This is the dialogue in which Christians meet the followers of other religious traditions in order to walk together toward truth and work together in projects of common concern (Gioa, 1994, p. 566). In Vietnam, this kind of dialogue is not strong; according to the way of thinking of the common Vietnamese people, they care more about real life affairs than theological discourse. However, there are efforts from the Catholics to establish relations among religious scholars of other faiths. The first initiative of the Catholic Church to foster dialogue of beliefs among religions was made right after Vatican II. In 1964, Catholic bishops in the South of Vietnam founded an organization named Interreligious Conference. The aim of the organization is to encourage all religions to join hands to alleviate sufferings and to build peace during the time of civil war. This organization was well responded by many religious leaders. On 15 September 1966,
Pope Paul VI sent this organization a message of encouragement. Unfortunately, being founded during the time of civil war, this organization could not contribute much to the interreligious dialogue as it was expected (Commision of Interfaith Dialogue, 2011, p. 110). In order to help its members get rid of ignorance and misunderstanding about other religions, the Commision of Interfaith Dialogue often opens courses such as The Practice of Inter-Religious Dialogue. These courses are not only for Catholics but also for followers of any religion who wish to have basic knowledge about other religions. The courses aim to provide learners with basic knowledge of doctrines, teachings, and practices of different religions. It also provides participants chances to have new religious experience through organizing visits to different religious places of worship. Attending these courses, learners have the opportunity to communi-
ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2016/2559
61
การประชุมสภาสังคายนาวาติกนั ครัง้ ที่ 2 และ กิจกรรมด้านศาสนสัมพันธ์ของพระศาสนาจักรคาทอลิก ในประเทศเวียดนาม
cate with people of faiths, to understand their religious practices, and to share experiences in living and witnessing their faith. At the end of the courses, learners are expected to to have a better understanding of doctrines and practices of other religions and to be able to collaborate with brothers and sisters from other faiths in common activities (Vu, 2009). With the aim of encouraging dialogue of beliefs, the Interfaith Dialogue Commision of the Archdiocese of Ho Chi Minh City also started to publish a quarterly magazine titled The Bridge of Heart (Nhip Cau Lien Ton in Vietnamese). With the vision that Together We Build a Harmonic and a Peaceful World, the magazine really gives scholars of different religions opportunities to share their theological writings. Besides, a special website Nhipcautamgiao.net (bridge of hearts) for interreligious dialogue was also established. In this website, readers are provided with basic elements of religious beliefs: doctrine,
62
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
cult and practice. With the aim of building friendship among members of different religions, and enriching their knowledge and understanding about one another’s faith and practices, those who founded the website stated its vision clearly that: “Nhipcautamgiao.net heartily wishes to become a home for interreligious dialogue between religious friends or those who are seeking for human and spiritual values in order to cultivate the friendship, sympathy and lead a tolerant life which directs the heart to the source of Truth-Goodness-Beauty.” (BBT, 2010, p. 3) Moreover, the Church in Vietnam also includes Religious Study in its program to train priests to prepare them for theological exchange with members of other religions. In this course, experts of other religions have often been invited to explain doctrines, teachings, and practices of their religious traditions to Catholic religious brothers and sisters in
ฮว่าง โด บา และ วีรชาติ นิ่มอนงค์
Religious Study Centers or to future priests in seminaries.
to the contrymen and to contribute to building peace for the country.
Conclusion The Second Vatican Council really paved the way for the Catholic Church in Vietnam to have a new beginning in interreligious dialogue with followers of other faiths. Under the influence of the Second Vatican Council, there are changes in the ways of thought and in the behaviour of Vietnamese Catholics towards followers of other religious traditions. These changes have led to concrete actions in the Catholic Church of Vietnam. Step by step, interreligious dialogue plays a significant role in the pastoral activities of the Catholic Church in Vietnam. The Catholic Church in Vietnam chooses to enter interreligious dialogue with all brothers and sisters from other religions in the spirit of openness and sincerity because they are convinced that only through dialogue can members of different religions join hands in their services
References Arinze, Cardinal Francis. 1990. Church in Dialogue–Walking with Other Believers. San Francisco: Ignatius Press. Catholic Bishops’ Conference of Vietnam. 2011. Hiep Thong- Doi Thoai Lien Ton (Communion–Interrelgious Dialogue). HCM City. Chieu, Tran Xuan. 2000. Interreligious Dialogue–The Case of Buddhism and Christianity. Manila: Sta. Monica Printing Press. Commision of Interfaith Dialogue. 2011. Tinh Than Assisi–Chung Tay Xay Dung Binh An (Assisi’s Spirit–Joining Hands in Building Peace). Ho Chi Minh City: Conference. Gioia, Francesco. 1997. Interreligious Dialogue: The Official Teaching of the Catholic Church: 1963-1965. Boston: Pauline. Thanh, Mai. 2001. Cau Vong Lien Ton (Interreligous Rainbow). HCM City: Ton Giao Pulishing House.
ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2016/2559
63
การเปลีย่ นแปลงทางประวัตศิ าสตร์ของ Kami:
จากเทพเจ้าในศาสนาชินโตสูพ่ ระเจ้าในศาสนาคริสต์
T he Historical Change of Kami: From Kami of Shinto Into God of Christianity. Hideo Maruyama * Student, PhD in Religious Study, Graduate School of Philosophy and Religion, Assumption University of Thailand.
Dr. John Thomas Giordano * Lecturer in Philosophy, Graduate School of Philosophy and Religion, Assumption University of Thailand.
Hideo Maruyama and Dr. John Thomas Giordano
Abstract
God of Christianity was rendered into Kami in Japanese. However, Kami has the traditional concept of Shinto in it. Kami of Shinto is polytheistic and earthly. Thus it is not an appropriate translation for God. However, due to the efforts of Christian people, Christianity’s Kami could be added to the traditional Shinto Kami, expanding to its meaning of transcendence. At this present time Kami of Christianity is more popular than Kami of Shinto. Now the understanding of Kami in a Japanese context has both monotheistic and polytheistic meanings. No one feels the contradiction. Although the Japanese understanding of Kami of Christianity is not the same as in Western Christianity, this is the way of acceptance of Kami. It is according to the Japanese religious perspective of inclusiveness. Keywords:
1) Kami of Shinto and Christianity 2) Semantic change of Kami 3) Inclusiveness as the Japanese perspective
ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2016/2559
65
การเปลี่ยนแปลงทางประวัติศาสตร์ของ Kami: จากเทพเจ้าในศาสนาชินโตสู่พระเจ้าในศาสนาคริสต์
Introduction When we look up the word ‘Kami’ in the dictionary, there are mainly two meanings: one is Shinto Kami and the other is Christianity Kami. Ten Japanese dictionaries were chosen at random. The result was that seven dictionaries out of ten adopted Christianity’s Kami for the primary meaning and three dictionaries adopted Shinto Kami for the primary meaning. The sample number might not be enough. However, it could be said that overall at least half of the dictionaries adopted Christianity’s Kami for the primary meaning. Christianity’s Kami came to Japan only at the beginning of the 20th Century. Kami in Christianity and Kami in Shinto are different. Christianity’s Kami is monotheistic but Shinto Kami ispolytheistic. However these are contradictory concepts. The word of Kami is accepted in the Japanese context. How can it be accepted? It is because of the inclusiveness of the Japanese religious perspective. Japanese inclusiveness can accept everything in it.
66
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
There is no contradiction. Everything is integrated in the Japanese perspective of inclusiveness. Furthermore, the order of meanings of the word in the dictionaries has changed. In the beginning days of Christianity in Japan, the meaning of Kami accepted only the Kami of Shinto. The Christian meaning of Kami was unfamiliar. In that situation there was only one meaning of Kami: Kami of Shinto. Christianity’s Kami was added to the traditional Kami. It came to be the secondary meaning of the word of Kami. Contrary to the beginning days, Kami of Christianity became the primary meaning in Japanese dictionaries. As we have seen above, the word Kami is a polysemic word. Thus, the order of meanings is important. The order is according to the frequencies of use. Usually in a dictionary, the more frequent meaning comes first in the entries. The dictionaries show that the meaning of Christianity’s God is more frequent than that of the Shinto God in present-time Japan.
Hideo Maruyama and Dr. John Thomas Giordano
In this essay, Kami of Shinto and its religious perspective will be considered first, then the historical change of translation of God into Kami will be considered, and lastly we will discuss how Kami of Christianity is settled into the Japanese context, adding a new meaning of transcendence to an earthly Kami. As conclusion, as Kami of Shinto is inclusive and earthly, Kami of Christianity, even if it was an improper translation, could add new Christian meaning and expand the traditional word of Kami. The understanding of Japanese people might not be the same as that of Western Christianity. However, this is the understanding of Kami in the Japanese context. This improper translation became positively effective due to the effort of the Christians. What is Shinto and What is Kami? The definitions of Shinto are various. Shinto is the ethnic spirituality of the people of Japan. It emerged spontaneously. It is the basis of the
Japanese world perspective. Although Japan has accepted foreign religions, Shinto roots deep in the Japanese people’s mind from the beginning of the Japanese history up to the present day. Japanese life is a reflection of Shinto. Ueda suggests that, for the Japanese, ‘Shinto is the fact that they find their subjective reverence for life and essence of value in particular existences’ (Ueda, 2000, p.37). Shinto is to find spiritual reverences everywhere. This definition reflects the typical religious attitude of Japanese people. Shinto is as a form of life. It is more of a life perspective than a religion. Shinto is the practice of life. Everyday life is religion for the Japanese. It is the subconscious. The Japanese do not recognize it as religion in the Western sense, i.e. distinct from earthly life; it is their world perspective. It is embedded in, or rather woven into, the life of the Japanese, and it is a part of life. Thus it can be called a ‘life perspective’ instead of a ‘religious perspective’ as classically found in
ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2016/2559
67
การเปลี่ยนแปลงทางประวัติศาสตร์ของ Kami: จากเทพเจ้าในศาสนาชินโตสู่พระเจ้าในศาสนาคริสต์
monotheistic cultures. They do not divide the world into realms of the sacred and the profane but include religious practice in everyday life. This unity includes everything, and harmonization, as a result, is the world perspective of the Japanese. It is embedded in life and it is difficult to be classified as a religion. People find holiness in everything and accept it as a type of spiritual reliance. This is found in an attitude of inclusiveness and anearthly perspective. Cultural encounters with Chinese worship have contributed towards the development of Shinto. Shinto developed through various encounters with foreign perspectives and practices of worship. Japanese people, however, did not leave their primitive perspectives; they accepted these new influences inclusively and fostered their Shinto according to their earthly views. The syncretism with other religions has been repeated at many different times as Shintoism was transformed. Thus such encounters were central to the develop-
68
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
ment of Shinto, and much of this development occurred without any conflict. This is the defining characteristic of inclusive Shinto. The historical selection of other cultures’ religious attributes fundamentally formed the Japanese perspective. Maruyama, who is a representative of the Japanese philosophers in this field, describes it in his publication as an ‘Unlimited Embrace’. It includes every matter of Japanese life although these matters are often contradictory (Maruyama, 2009, p.14). They - the Japanese - do not think of them as opposed to something, such as in the sacred / profane opposition found in Western monotheism. As we have just discussed, Shinto originates from a particular ethnic belief. Specifically, what do people believe in, though? The answer is Kami. Kami is not transcendent. It is the worship for this world’s benefits. Its concept is inclusiveness. What is Kami? To answer this question, Motoori’s definition has been
Hideo Maruyama and Dr. John Thomas Giordano
accepted with authority, to this day. Kami is an eccentric and extraordinary power found within invisible nature. Motoori defines Kami through analyzing Kojiki, the oldest extant chronicle in Japan. According to the definition of Motoori, the concept of Kami includes humans, animals, trees and grasses, seas and mountains. Anything which is extraordinary or which strikes people with awe is Kami. Extraordinary refers to not only good but bad things as well. Kami, in the context of humans, is related to the role of emperors. Animals that are mysterious are called kami. Nature and natural phenomena arealso forms of Kami. Conclusively, something far beyond human intelligence belongs to the concept of Kami (Motoori, 1996, pp.172-174). Thus Kami is an inclusive concept with diverse contexts. This concept is basically different from that of the Western concept of religion. This Japanese concept is the basis of Japanese perspectives which last to the present day.
According to the definition of Motoori, Kami is an inclusive concept and includes two sorts of Kami. One is nature and another is human. Natural Kami is uncontrollable. People are in awe of, and pray to, nature and natural phenomena. Human beings who have unusual powers are also included in Kami. The emperor’s ancestor is thought to be Amaterasu, a female Kami. Further, the concept of Kami of the human realm also expands to ordinary people. As is seen above, the perspective of Kami includes various concepts and develops over time. Kami includes spirits and ancestors’ souls that have been turned into Kami (Miyata, 1985, pp.613-616). People pass away but their spirits survive, inhabiting the spaces around living people; and these sprits protect the living from evils. This is the essential idea of Shinto. Especially people who worship in devotion, their spirits are worshipped as deities. The Emperor, as we discussed, was also worshipped as a deity. Not only the Emperor, but also people
ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2016/2559
69
การเปลี่ยนแปลงทางประวัติศาสตร์ของ Kami: จากเทพเจ้าในศาสนาชินโตสู่พระเจ้าในศาสนาคริสต์
whose positions were authoritative were called ‘Kami’. At this point, the concept of God, who, in the Western monotheistic tradition is an absolute, super-human being, became incorporated alongside with Japanese traditional Kami. We are going to trace the word Kami was settled in Japanese. The early Japanese already had the word Kami. However, as they had no writing system, the word of Kami was recognized merely by sound. ‘Kami’ is written by the Chinese character 神. In Chinese it is read ‘shen’ and the meaning is soul. When Chinese characters were imported to Japan, people read the character 神 ‘Kami’ as well as ‘shin’ (Ch. ‘Shen’). ‘Kami’ means spirit of nature. Thus 神 includes two similar yet different meanings: spirit and soul. This means soul and spirit are understood inclusively in the character of 神 , and it brought about an amalgamated understanding of this character.
70
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
The concept of Kami does not have a clear borderline between persons and non-persons, nor between spirits and souls. Kami includes both natural powers and dead people. Further, Kami includes Good Kami and Bad Kami. It includes this world and the after world. It includes all visibles and invisibles. Thus Kami has an omnipresent existence; it is not an ultimate reality that confronts people upon death, as in Western Christianity, but Kami is integrated into everyday life. It includes everything good and bad. Nature includes Kami and people are thus wrapped within nature in Kami. Nature is unstable. There are sometimes disasters. But people accept this and adapt themselves in obeying the natural order (Yamaori, 2007, p.11). This was the Shinto of the early Japanese and it had already amalgamated these aspects before it encountered Buddhism.
Hideo Maruyama and Dr. John Thomas Giordano
The Way Christianity’s God Was Translated Officially, the story of Christianity in Japan started in the 16th Century. Francis Xavier (1551-1587), a Jesuit, arrived in Japan as the first Christian missionary to Japan in 1549. At the beginning he used the word ‘Dainichi (Mahavairocana in Buddhism)’ for God. He was aware of the danger of mistranslation so he gave up a Japanese word, rather he used phonetically based neologism from the Latin word ‘Deus’. Deus was thus modified into Japanese ‘de-u-su’. Two years after Xavier had travelled to China for mission, another Jesuit Matteo Ricci arrived in China in 1582. He rendered God into Tienzhu in Chinese. Tienzhu means Lord of Heaven. He accepted Chinese culture for his work. However, this mission policy of the Jesuits caused a dispute known as the ‘Rite Controversy’. Niccolo Longobardi, an antiaccommodationist, resisted this policy. He asserted that metaphors found in
the Bible should not be translated into allegory. For the Chinese, their understanding is based on earthly things. He was afraid of misunderstanding through mistranslation, for instance through the use of terms of Confucianism. Thus Longobardi resisted the translation from transcendent into earthly terms. This resistance to the missionary policy caused the so-called ‘Rite Controversy’, and Longobardi’s resistance to the translation developed into the ‘Term Question’. Due to the rite controversy, Clement XI banned the Jesuit policy and the missionaries in China disappeared in 1720. In 1807, Robert Morrison (17821834), a first Protestant missionary, arrived in Canton, China. He translated the Bible into Chinese and published it in Macau in 1823. One of the problems in the translation work was how to translate ‘God’ into Chinese. He rendered the word into ‘Shen (神Jp. Kami). However, he knew that this word was not a clear synonym. He understood
ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2016/2559
71
การเปลี่ยนแปลงทางประวัติศาสตร์ของ Kami: จากเทพเจ้าในศาสนาชินโตสู่พระเจ้าในศาสนาคริสต์
that the primary meaning of ‘Shen’ was spirit. He knew that there was no appropriate equivalent for God. Thus he sometimes translated God by the word Shentien, 神天, meaning spirit in heaven. This word was adopted by Matteo Ricci. In China at that time, there were several words for God. According to Kuriyama, various nouns were used for ‘God’. They were, apart from Shentien 神天, Shen 神, Tienzhu 天主, and Shangdi 上帝 (Kuriyama, 2000). Term Question started from Protestant translations. In 1847, there was an argument between Protestant ministers about translation: Should God be rendered into Shangdi 上帝 or Shen 神? American ministers insisted on the adoption of the word ‘Shen 神’ for God, or in Japanese reading, ‘Kami’. On the other hand, ministers from England insisted on ‘Shangdi 上帝’ for God. This debate led to the socalled ‘Term Question’.
72
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
The Term Question was discussed around the 1840s to the 1850s, after Morrison’s death. However, this problem continued in China. Walter H. Medhurst, who worked in China as an English Congregationalist missionary, asserted that Shangdi 上帝, meaning ‘Supreme Being’, should stand for God. On the other hand, Elijah Coleman Bridgman (1801-1861), an American Protestant Christian missionary in China, and Michael Simpson Culbertson (18191862), an American Presbyterian clergyman and missionary to China, use ‘Shen (神)’ for ‘God’. Shangdi 上帝 means ‘Supreme Being’, but this concept is worldly and relates more specifically to the head of the state or powerful person. The common perception of the word is thus comparable to ‘ruler’, and it is therefore not an appropriate word for ‘God’. On the other hand, 神 (Shen) means spirit, but this is not an object of worship. Furthermore, in the Catholic version, 神 is used for spirit and thus can easily be confused.
Hideo Maruyama and Dr. John Thomas Giordano
This conflict could not reach an agreement, and this led to the publication of two different versions. In 1852, the ‘Shangdi’ 上帝 version was published followed by the ‘Shen’ 神 version in 1859. Importantly for the study at hand, this American version came into Japan with American ministers (Yanabu, 2001, p.190). In Japan, Culbertson’s American Protestant version was brought to the country because the ministers were mainly from America – a then bastion of Protestantism. Japanese Bible translation had begun using this ‘Shen’ version. The Term Question was a controversy about the choice of the translation for ‘God’, which greatly influenced Japanese Bible translation. The first Japanese translation was completed in 1837, by Gutzlaff (1803-1851). He had worked in China, thus he used the Chinese version for his Japanese translation work. Although he worked with Medhurst to revise Morrison’s Bible, which adopted ‘Shen’ for God, he adopted ‘Shangdi’ for God
and ‘Shen’ for spirits. This might have been influenced by a Japanese coworker, Otokichi. Otokichi’s selection of equivalence stems from typical Japanese understanding. He was a fisherman and might not have had knowledge of Confucianism. His understanding was based on the traditional idea of Kami. Thus Otokichi rendered ‘spirit’ into Kami. This word selection shows the translator’s primitive understanding of the Western ‘God’ in the eyes of ordinary Japanese people in the mid-19th Century. Although the common people’s understanding of Kami was different from God. The word Kami for God became the majority in Japanese translations. When Japan opened its borders in 1857, Protestant missionaries came to Japan. At that time, the Meiji era, Bible translation was conducted mainly by Protestant ministers. The first acceptable translation was done in 1872 by James C. Hepburn, M.D. who arrived in Japan from America in 1859. Hiscon-
ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2016/2559
73
การเปลี่ยนแปลงทางประวัติศาสตร์ของ Kami: จากเทพเจ้าในศาสนาชินโตสู่พระเจ้าในศาสนาคริสต์
tribution and influence on the Japanese Bible translation was substantial. Whose judgment is it that it’s acceptable? Since Bridgman and Culbertson’s Chinese version, ‘Shen’ as a translation of God, was brought to America, and Hepburn brought this Chinese version to Japan, where he used it for his translation into Japanese. Although the terms of Chinese ‘Shen’ and Japanese Kami are not entirely the same (Yanabu, 2001, p.123), the lettering is the same: 神, so that foreign translators ignored the difference (Yanabu, 2001, p.121). Hepburn adopted Chinese ‘Shen’ and turned it into Japanese Kami, and the Japanese accepted the word Kami without criticism. Kami was adopted not only for the Protestant version, but also for the Catholic one. The Meiji version, which was translated by Hepburn and his coworkers, became widespread and was used by both Protestants and Catholics. This version was influential to commonly literate Japanese people as well.
74
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
The Way Christianity’s God Settles with Christianity’s Kami We have overviewed the historical background of Kami for God. Although it was a improper translation, Kami gained new meaning and became a concept adding to new ideas to the old Kami. It was not driving the old meaning of Kami out, but added new ideas from Christianity. How did Christianity Kami come to share the meaning with traditional Kami of Shinto? The success was due to the activities of Christian people, not only priests but also common people. How did Christian Kami come to share its new meaning with the traditional Kami? It is simply due to the effort of Christian people including the Catholic Church and Protestants. On the other hand, the nature of the Japanese played an important role. One feature of the Japanese nature is curiosity, especially intellectual one. It is known that in the Edo era, the literacy rate of people was high.
Hideo Maruyama and Dr. John Thomas Giordano
These factors worked mutually, and finally Christianity succeeded in adding new transcendent meaning to the concept of Kami of Shinto, although the concept of traditional Kami is polytheistic and earthly. The endeavors have lasted for over one hundred years since the beginning of the 20th Century. It is interesting to notice that the new meaning of Kami did not sweep off the old meaning. Two contradictory meanings can exist together. At the time when Christian missionary activity was permitted for their mission, the Chinese Bible was spread and read by educated people who were interested in this new religion, which was new thought for the Japanese. For this translation, words were transferred from the Chinese version and then used in the Japanese version without much critical interrogation as to their appropriateness. It meant that 神 in the Chinese version was transferred into the Japanese version as 神, although the meaning
was different. This is how the intellectual leaders understood God as Kami. At the moment, when Bible translation started, the use of this term in translation was inclusive. The Chinese 神 and the Japanese 神 were not the same (Yanabu, 2001, p.123), but translators added new meaning to 神, and this meaning was ‘God’ in its Western and monotheistic sense. This was an expansion of the meaning, and the meaning was identified in this context. The expansion of the meaning in Japanese was strongly influenced by Robert Morrison. Although, at the beginning of the Meiji era, the word ‘Shangdi’ was also accepted, in the Catholic translation ‘Tianzhu 天主)’ was still used until recent times. However, nowadays, Morrison’s term is ubiquitous. Yanabu asserts that fo foreigners, the written character 神 is the same in Chinese and in Japanese. They therefore ignored the different nuance between them (Yanabu, 2001, p.121), and the Japanese also ignored the differences in the word. They
ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2016/2559
75
การเปลี่ยนแปลงทางประวัติศาสตร์ของ Kami: จากเทพเจ้าในศาสนาชินโตสู่พระเจ้าในศาสนาคริสต์
accepted the word and its meaning without criticism. In the Meiji era, acceptance of Christianity was a means to progress toward modernization. Stephen C. Neill describes how the number of Christians in Japan is small but Christianity’s influence is strong (Neill, 1987, p.418). Actually, in Japan, the number of Christians is below one percent. However, Christian influence is immense. For this reason, Western ideologies were imported. Since the Japanese nature is curious of outside matters, people are eager to acquire new Western ideologies. Thus a large number of Western ideas have come to settle among the Japanese people. Christianity is one of them. With their intellectual curiosity, people pay attention to the new religion. The first generation of Christians was mainly educated people. For them, Christianity was a source of Western thoughts that was mined to fulfill their intellectual curiosity. At that point the tendency of the
76
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
Japanese people’s approach to Christianity was the same as at present, that is, the Japanese imported its cultural aspects, although religion is the root of culture and culture is an expression of religion (Imai and Shiono, 2005, p.iii-v). This influence of Christianity is due to enlightening movements of Christianity. They are, for instance, social activities, education, and literary activities. For the common people, the influences of Christianity on the Japanese are innumerable as well. In social work, especially social welfare, Christians devote themselves to assisting weak people. The Christians’ social work gave a favorable impression and greatly influenced the common people. Christians devoted themselves to social service. The activities of Christians were manifest in social welfare institutions, infancy institutions, and institutions for handicapped children. People who used those services were largely non-Christians. People found the Christians were devoted to
Hideo Maruyama and Dr. John Thomas Giordano
their work and were impressed. Their activities toward the weak in society were surprising to common people. Common people were curious of these activities. Why could they devote themselves? What made them devote themselves? What is Christianity? They wanted to know what the Christian beliefs were. These activities which the Japanese common people witnessed were mainly conducted by Protestant Christians. One influential and well-known name is Kagawa Toyohiko, who worked for the labor union movement. In this way the name of Christianity spread among the Japanese, and a large number of people enjoyed the benefits of Christianity. Thus gradually, through the social activities, people came to know Christianity, and they started to want to know what Christianity was. Schools belonging to Christianity played an important role for the Japanese to understand Christianity. In Japan, currently, the number of Christian educational institutions is
over two hundred and they are mainly secondary and higher institutions. As for the universities, the number affiliated with Christianity is seventy-six. The majority who study there are nonChristians. This is an opportunity for them to get into contact with Christian thought. A number of students can understand what Christianity is and who God of Christianity is, although it might be too superficial understanding. Christian literature plays a large role of influence with common people. Christian literatures such as novels are popular amongst common people. This movement started at the beginning of the 20th Century. In the middle of the 20 th Century, Christian literatures flourished. Among the writers were Christian writers as well as non-Christian ones. Non-Christian writers were also interested in the topic of Christianity. People rushed to read novels and this played a role in enlightenment of ordinary people through Christianity. To attest the influence of Christianity on the common people,
ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2016/2559
77
การเปลี่ยนแปลงทางประวัติศาสตร์ของ Kami: จากเทพเจ้าในศาสนาชินโตสู่พระเจ้าในศาสนาคริสต์
Takano describes the number of printed Bibles. In Japan, although the number of Christian believers is below one percent, the number of printed Bibles is enormous. According to Takano, one million Bibles are distributed every year (Takano, 2008, p.106). Moreover publishers that are non-Christian also publish the Bible. There are various versions of translation. This demonstrates that the Bible is in demand with the Japanese general public as well as with professing Christians. In this way, the word Kami gained a new meaning beyond the old Kami: Christian Kami was added to Kami of Shinto, without discarding the old meaning. Actually, monotheism was added to polytheism. In other words, the transcendent perspective was added to the worldly perspective. The Japanese do not have a problem with the contradiction. Since the traditional Japanese perspective is inclusive, people can accept the dichotomy and integrated the concepts into one. This is
78
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
the historical change and development of Japanese Kami. Conclusion The influence of Christianity is immense. Especially at the time of modernization, the Japanese imported and accepted European advanced ideology through Christianity. Eventually, the Meiji government tried not to import Christianity; however, European ideology and religion were inseparable. Furthermore, according to the nature of the Japanese, people were interested in foreign religion. The Bible was translated and non-Christians read it to understand Christianity. In Bible translation, God was rendered into ‘Kami’. The choice of equivalence was by chance. The choice of the word Kami was influenced by the Chinese version. Since there is no equivalent in Japanese, the similarity of characters between the Chinese and the Japanese languages made people accept the character of Kami without criticism, although it was an improper
Hideo Maruyama and Dr. John Thomas Giordano
translation. Christian transcendence could not be reflected in the word Kami, because the concept of Kami is earthly and inclusive. The two contradictory concepts were combined. How could they be accepted? It was due to the efforts of the Christians for over one hundred years. Not only the Christians, but also the Japanese traditional inclusive perspective was an important factor in the acceptance of the new idea of Kami. In other words, the new idea of Kami was joined with the traditional idea of Kami. Two different and contradictory ideas were sharing the word of Kami. What does it mean? We have considered this question. The Japanese understanding of the Christian God is based on the Shinto perspective. The Japanese world perspective is based on Shinto. Shinto is rooted in Japanese life and thought. The religious perspective of Shinto is inclusive. This perspective of the Japanese changed the understanding of Kami. It is not sure that Japanese
people understand God in the same way as the Western people do. However, it can be said that at least the understanding of Kami has changed. It was due to the great efforts of missionaries, priests, including lay Christians. Christianity involves not only religious instruction but social activities such as social work on art and novel writing instructs people to understand the new idea of Kami. Through these activities Kami has changed in meaning. The influence is also evident in dictionaries. The meaning of Kami has changed in Japanese dictionaries. If we study the historical change in Japanese dictionaries, it might lead to an interesting result. In the word of Kami, there are two different and contradictory meanings. People are still ignoring this. Their understanding is inclusive. This inclusive perspective holds traditional Kami and Christian Kami together. This study should make it clear that the understanding of the Christian God in the West and in Japanese is different. The Japanese understanding
ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2016/2559
79
การเปลี่ยนแปลงทางประวัติศาสตร์ของ Kami: จากเทพเจ้าในศาสนาชินโตสู่พระเจ้าในศาสนาคริสต์
is based on the Shinto perspective. Christianity was understood through the Japanese perspective and this results a new understanding of Kami for the Japanese. References Imai, Naoki and Kazuo Shiono. (2005). God to Kindai Nihon Kirisutokyo no Juyoto Henyu. Fukuoka: Kushu University Press. Kuriyama, Yoshihisa. (2000). TendoSo gen (天 道 溯 原 ) ni miru Kirisutokyoshiso to Jukyo shiso no Yugo. Retrieved February 2, 2011, from Nanzan University Web site: http://office.nanzan-u. ac.jp/TOSHOKAN/publication/bul letin/kiyo7/kiyou11.htm Maruyama, Masao. (2009). Nihon no shiso. Tokyo: Iwanamishoten. Miyata, Noboru. (1985). Kami Kannen. In Yasuhiro Ono et al. (Ed.). Nihon Shukyo Jiten.Tokyo: Kobundo. pp.612-623.
80
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
Motoori, Norinaga, (1996), Kojiki den (1), Annotated by Kenji Kurano. Tokyo, Iwanamishoten. Neill, Stephen C. (1987). Christianity in Asia. In The Encyclopedia of Religion. Editor in chief, Mircea Eliade. pp.418-423. Takano, Susumu. (2008). The Current Trends of Bible Translations. Retrieved March 13, 2009, from Kanto Gakuin University Web site: http://library.kanto-gakuin.ac.jp/e Lib/bdyview.do?bodyid=NI20000 212&elmid=Body&lfname=takano. html Ueda, Kenji. (2000). Matsubi no Kami and Motoori Norinaga’s Theology. Retrieved March 13, 2013, from Kokugakuin University Web site: http://www2.kokugakuin.ac.jp/ ijcc/wp/cpjr/kami/ueda.html Yamaori, Tetsuo. (2007). Kindai Nihonjin no shukyoishiki. Tokyo: Iwana mishoten. Yanabu, Akira. (2001). Goddo wa Kami ka Jotei ka. Tokyo: Iwanamisho ten.
แนวทางการอบรมคุณธรรมในครอบครัว
เพือ่ ส่งเสริมกระแสเรียกเยาวชน กรณีศกึ ษา วัดนักบุญเปโตร สามพราน นครปฐม
C atholic Familie's Role in Instilling Virtues in Youths to Promote Vocation for Priesthood. Case Study: Saint Peter's Church, Samphran, Nakhon Pathom.
ปัตทวี วงศ์ศรีแก้ว * มหาบัณฑิตสาขาวิชาเทววิทยาจริยธรรม วิทยาลัยแสงธรรม
มุขนายก ดร.ลือชัย ธาตุวิสัย * ประมุขแห่งสังฆมณฑลอุดรธานี
* อาจารย์ประจ�ำหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทววิทยาจริยธรรม วิทยาลัยแสงธรรม
บาทหลวง เชษฐา ไชยเดช * บาทหลวงในคริสต์ศาสนจักรโรมันคาทอลิก สังกัดสังฆมณฑลกรุงเทพฯ * อาจารย์ประจ�ำวิทยาลัยแสงธรรม
ผศ.ดร.ลัดดาวรรณ์ ประสูตร์แสงจันทร์ * อาจารย์ประจ�ำหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาคริสตศาสนศึกษา วิทยาลัยแสงธรรม
Pattawee Wongsrikaew * Master of Arts Program in Moral Theology, Saengtham College.
Bishop Dr.Joseph Luechai Thatwisai
* Bishop of Udonthani Diocese. * Lecturer of The Master of Arts in Moral Theology, Saengtham College. Rev.Chedtha Chaiyadej * Reverend in Roman Catholic Church, Bangkok Archdiocese. * Lecturer at Saengtham College.
Asst.Prof.Laddawan Prasootsaengchan, Ph.D.
* Lecturer, Christian Studies Faculty of Religious, Saengtham College.
แนวทางการอบรมคุณธรรมในครอบครัวเพื่อส่งเสริมกระแสเรียกเยาวชน กรณีศึกษา วัดนักบุญเปโตร สามพราน นครปฐม
บทคัดย่อ
82
การวิจยั นีม้ จี ดุ ประสงค์เพือ่ ศึกษา (1) สภาพการอบรมคุณธรรม เพือ่ ส่งเสริมกระแสเรียกเยาวชนของครอบครัว (2) แนวทางการอบรม คุณธรรมในครอบครัวเพื่อส่งเสริมกระแสเรียกเยาวชน ใช้วิธีวิจัยเชิง คุณภาพ กลุ่มผู้ให้ข้อมูลมี 2 กลุ่ม คือ 1) ผู้ปกครองที่ส่งบุตรเข้า รับการอบรมในสามเณราลัย จ�ำนวน 7 คน จาก 7 ครอบครัว และ 2) กลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิ จ�ำนวน 6 คน เครื่องมือที่ใช้ในการ ศึกษา คือ แบบสัมภาษณ์แบบกึง่ โครงสร้าง และประเด็นการสนทนา กลุ่ม ผลการวิจัยพบว่า 1. สภาพการอบรมคุณธรรมเพือ่ ส่งเสริมกระแสเรียกเยาวชนของ ครอบครัว ครอบครัวคริสตชนส่วนใหญ่ มีการอบรมคุณธรรมเพื่อส่งเสริม กระแสเรียกให้เยาวชนในครอบครัว โดยมีการอบรมสั่งสอนและการ เป็ น แบบอย่ า งที่ ดี ใ นเรื่ อ ง 1) ความเชื่ อ ความหวั ง ความรั ก 2) ความซือ่ สัตย์ 3) การนอบน้อม เคารพเชือ่ ฟัง 4) ความกตัญญู 5) การมีวินัย รับผิดชอบ และขยันหมั่นเพียร 6) ความอดทน อดกลั้น 7) ความเรียบง่าย 8) ความเมตตากรุณา 9) การรับใช้ เสี ย สละ 10) ความเหมาะสมในเรื่ อ งเพศ และ 11) การมี ส ติ มโนธรรม 2. แนวทางการอบรมคุณธรรมในครอบครัวเพื่อส่งเสริมกระแส เรียกเยาวชน 2.1 ครอบครัว ต้องสร้างบรรยากาศที่ดีในครอบครัว ให้เวลา อบรมสัง่ สอนบุตรหลานและปฏิบตั ติ วั เป็นแบบอย่าง เพือ่ หล่อหลอมให้ เป็นคนดีมีคุณธรรมตามหลักค�ำสอนของศาสนาตั้งแต่ยังเด็ก กระแส เรียกมาจากครอบครัวดี ควรส่งเสริมการเตรียมตัวเป็นคริสตชนอย่างดี สอนให้มีความเชื่อต่อพระเจ้า มีสติ มโนธรรม โดยการอบรมสั่งสอน ให้เด็กรูจ้ กั คิดอย่างมีวจิ ารณญาณ สามารถจ�ำแนกว่า สิง่ ใดถูกหรือผิด รู้ถึงบาปบุญคุณโทษ และเลือกปฏิบัติในทางที่ถูกต้องได้ รวมทั้งต้อง
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
ปัตทวี วงศ์ศรีแก้ว, ลือชัย ธาตุวิสัย, เชษฐา ไชยเดช และ ลัดดาวรรณ์ ประสูตร์แสงจันทร์
อบรมให้มคี วามเหมาะสมในการคบเพือ่ นและการวางตัวต่อผูห้ ญิง การ ละเว้นสื่อไม่ดี และควรส่งเสริมให้ท�ำกิจกรรมที่สร้างสรรค์ 2.2 วั ด ควรเป็ น ที่ ห ล่ อ หลอมคุ ณ ธรรมตามหลั ก ศาสนา พระสงฆ์เมื่อให้ค�ำสอนแล้วต้องเป็นแบบอย่างที่ดี พระสงฆ์ส่งเสริม บทบาทเด็ ก ในกิ จ กรรมของวั ด พิ ธี ก รรม ดนตรี และกี ฬ า ประชาสัมพันธ์เชิญชวนเรื่องกระแสเรียก เชิญชวนเด็กเข้าร่วมค่าย กระแสเรี ย ก เชิ ญ พระสงฆ์ ใ นสามเณราลั ย มาถวายมิ ส ซาบู ช า ขอบพระคุณในบางโอกาส พร้อมกับสนับสนุนหน่วยงานด้านกระแส เรียกในระดับวัด ร่วมกับครอบครัวและโรงเรียนในการสอนเรือ่ งศีลธรรม ค�ำสอนเรือ่ งศีลอภัยบาป ให้ไตร่ตรองมโนธรรมและมีโอกาสรับศีลอภัย บาปบ่อยๆ เพื่อให้รู้จักบาป และพัฒนาตนเองสู่การเป็นคริสตชนที่ สมบูรณ์ พระสงฆ์สอนให้คุณค่าของชีวิตโสดด้วยแบบอย่างชีวิตที่อุทิศ ตน 2.3 โรงเรียน ต้องมุ่งเน้นการส่งเสริมด้านจริยธรรม และให้ ความส�ำคัญกับการอบรม เรื่องเพศให้เด็กตามช่วงวัย ส�ำหรับครู จิตตาภิบาลต้องอบรมคุณธรรมตามหลักศาสนา เผยแผ่ข้อความเชื่อ และส่งเสริมกระแสเรียก 2.4 ชุมชน สมาชิกทุกคนในชุมชนควรให้ความร่วมมือในการ สร้างบรรยากาศ และตระหนักในการหล่อหลอมคุณธรรมร่วมกัน ช่วย กันสอดส่องดูแล เฝ้าระวังภัยทั้งเรื่องมโนธรรมและเรื่องเพศ ที่อาจ ท�ำให้สมาชิกชุมชนถูกชักจูงในทางไม่ดี 2.5 การจัดค่ายกระแสเรียก ควรให้ความรูแ้ นะแนวเงือ่ นไขของ ชีวิตพระสงฆ์ในเรื่องการถือโสด และคุณธรรมความบริสุทธิ์ และ สามเณราลัยควรเปิดโอกาสให้สามเณรกลับบ้าน และมีส่วนร่วมใน กิจกรรมของวัดเพื่อเป็นแบบอย่างที่ดี และดึงดูดกระแสเรียก ค�ำส�ำคัญ:
1) การอบรม 2) คุณธรรม 3) ครอบครัว 4) กระแสเรียก ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2016/2559
83
แนวทางการอบรมคุณธรรมในครอบครัวเพื่อส่งเสริมกระแสเรียกเยาวชน กรณีศึกษา วัดนักบุญเปโตร สามพราน นครปฐม
Abstract
84
The purposes of this research were to study: (1) the living situation of the Catholic families in instilling virtues in youths and (2) the pastoral guidelines for Catholic families in instilling virtues to promote vocation for priesthood. The data analysis used quantitative research methodology. The respondents were in two groups. The first were seven Catholic parents of seminarians and the second were six experts. The data were collected by using semi-structured interviews, and topics for focus group. The findings were as follows: 1. The living situation of the Catholic families in instilling virtues in youths. Most Catholic families instill virtues in their young to promote vocations. Parents impart the proper teachings and were also good models for their children in matters such as 1) Faith, Hope and Love 2) Honesty 3) Respect and Obedience to Parents 4) Gratitude 5) Discipline, Responsibility and Perseverance 6) Tolerance 7) Simplicity 8) Compassion 9) Sacrifice and Service 10) Sexual Propriety and 11) Awareness and Good Conscience 2. Guidelines for instilling virtues in youths within families to promote vocation. 2.1 Family: All members of the family should create a good atmosphere in the family. Parents should give time to teach their children and act as
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
ปัตทวี วงศ์ศรีแก้ว, ลือชัย ธาตุวิสัย, เชษฐา ไชยเดช และ ลัดดาวรรณ์ ประสูตร์แสงจันทร์
role models, in order to form them as persons of moral principles according to the teaching of the Church since they are still young. Vocation comes from good families, so Christians are encouraged to raise their children well. Parent should catechize them and lead them to believe in God. They should raise their awareness and conscience and teach them to think critically, to discern what is right or wrong, good or bad, and to choose the right option. Training should include the appropriate relationships with friends, and women, avoiding the use of inappropriate media, and the promotion of creative activities. 2.2 The parish: Parishes should have programs to form the youth in moral virtues. Pastors, after having taught the children, should be good models for everyone. They should promote the role of the youth in activities of the parish, like participating in the liturgy, in the choir and sports. They should recount and promote the beauty of vocation to the priesthood, and invite children to attend vocation’s camps. Sometimes they should invite priests from the seminary to celebrate Mass at the parish. Priests should support associations that foster vocations in their parish. They should work together with families and schools to teach moral virtues. They should teach the youth about the sacrament
ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2016/2559
85
แนวทางการอบรมคุณธรรมในครอบครัวเพื่อส่งเสริมกระแสเรียกเยาวชน กรณีศึกษา วัดนักบุญเปโตร สามพราน นครปฐม
of penance, help them to examine their conscience and provide opportunities for frequent confession, and help them in their self-development towards becoming an authentic Christian. Pastors should be examples of a dedicated life. 2.3 School: All members of the school should instill moral virtues in students. They should teach students about sexual propriety and respecting boundaries according to their age. Teachers in charge of spirituality should instill religious virtues according to sound moral doctrines. They should catechize them and promote their vocation. 2.4 Community: All members of the community should collaborate to create a good atmosphere. They should be aware of their duty to promote proper behavior regarding, among other things, a proper sexual control and an awareness of danger. 2.5 Vocation camps: Priests should guide the youth toward better understanding of priesthood, and the virtue of chastity. The seminary should allow seminarians to go back home and participate in the activities of their parishes to be good role models to attract vocations. Key Word: 1) Religious Formation 2) Virtues 3) Family 4) Vocation
86
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
ปัตทวี วงศ์ศรีแก้ว, ลือชัย ธาตุวิสัย, เชษฐา ไชยเดช และ ลัดดาวรรณ์ ประสูตร์แสงจันทร์
ที่มาและความส�ำคัญของปัญหา กระแสเรียกของคริสตชนเป็นวิถีชีวิตที่ คริสตชนคนหนึ่งเลือกตามความถนัด และ ความเหมาะสมของตน เพื่อการด�ำรงอยู่และ ความก้าวหน้าของชีวิตทั้งส่วนตัวและส่วนรวม คริสตชนแต่ละคนเชือ่ ว่าพระเจ้าทรงเรียกแต่ละ คนให้มาท�ำภารกิจของพระองค์ ทรงเรียกให้ เราเป็นคริสตชนที่ดีตามพันธกิจที่เกิดจากศีล ล้างบาป อาศัยการเจริญรอยตามพระเยซู คริสตเจ้าทีจ่ ะประกาศข่าวดีในโลกนี ้ ซึง่ ข่าวดี ก็คือ ความรักของพระเจ้า นอกเหนือจาก กระแสเรียก การเป็นคริสตชนทีด่ แี ล้วพระเจ้า ทรงประทานกระแสเรี ย กพิ เ ศษในการเป็ น พระสงฆ์ เพื่อจะเป็นผู้ซึ่งเสียสละตัวเองและ อุทิศชีวิตทั้งครบเพราะเห็นแก่ความรักของ พระเจ้าโดยการสวดภาวนา และรับใช้ผอู้ นื่ ใน ฐานะพระสงฆ์ตลอดชีวิต กระแสเรี ย กของการเป็ น พระสงฆ์ ใ น คริสต์ศาสนา มีแนวทางการอบรมที่ต้องใช้ เวลาเตรี ย มตั ว ฝึ ก ฝนตนเองพอสมควร สภาพระสังฆราชคาทอลิกแห่งประเทศไทย กล่าวว่า สามเณราลัยเล็กเป็นสถาบันที่จัดตั้ง ขึ้นโดยมีจุดมุ่งหมายให้การฝึกอบรมเยาวชน ชายที่จบการศึกษาระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ขึ้นปี มีคุณสมบัติเหมาะสมและมีแนวโน้ม ที่อยากเป็นพระสงฆ์ในอนาคต เยาวชนที่มี คุณสมบัติเหมาะสมทั้งฝ่ายกายและฝ่ายจิต
มีความประพฤติดี มีความเชื่อศรัทธา และมี ความสนใจต่อกระแสเรียกเป็นพระสงฆ์นั้น โดยส่วนมาก จะได้รับการอบรมเสริมสร้าง คุณธรรมตัง้ แต่ยงั เป็นเด็กในครอบครัว ซึง่ เป็น สถาบันพื้นฐานที่ส�ำคัญของคริสต์ศาสนจักร และของสังคมมนุษย์ กระทั่งพระศาสนจักร เรียกครอบครัวว่า “คริสต์ศาสนจักรภายใน บ้าน (Ecclesia Domestica)” และยังเป็น โรงเรียนในบ้าน ก่อนที่บุตรจะเข้าเรียนใน โรงเรียนด้วย ฉะนั้น ในครอบครัว “บิดา มารดาต้องเป็นคนแรกที่ประกาศความเชื่อให้ แก่ บุ ต รของตน ด้ ว ยวาจาและแบบอย่ า ง บิดามารดาจ�ำต้องสนับสนุนกระแสเรียกเฉพาะ ของบุตรแต่ละคน เฉพาะอย่างยิง่ ต้องเอาใจใส่ เป็นพิเศษต่อกระแสเรียกนักบวช” (คริสต์ ศาสนจักร ข้อ 11) นอกจากนี ้ การเข้าร่วม กิจกรรมต่างๆ ที่วัดหรือโรงเรียนจัดขึ้น เช่น ค่ายสัมผัสชีวิตกระแสเรียก เพื่อเข้าใจและ ตระหนักถึงคุณค่าของกระแสเรียก หรือการ แนะแนวต่อของชีวิตการเป็นพระสงฆ์ หลัง จากทีเ่ ยาวชนมีกระแสเรียกหรือมีความสนใจที่ จะเป็นสามเณร เยาวชนจะได้รับการรับรอง จากพระสงฆ์ในเขตวัดที่ตนสังกัดเพื่อเข้าสู่การ ศึกษาอบรมในสามเณราลัยตามล�ำดับต่อไป ส� ำ หรั บ สามเณราลั ย ในประเทศไทย มี 3 ระดับ ดังนี ้ 1) บ้านเณรเล็ก: สามเณราลัย ของทุกสังกัดสังฆมณฑล 2) บ้านเณรกลาง:
ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2016/2559
87
แนวทางการอบรมคุณธรรมในครอบครัวเพื่อส่งเสริมกระแสเรียกเยาวชน กรณีศึกษา วัดนักบุญเปโตร สามพราน นครปฐม
สามเณราลัยพระวิสุทธิวงศ์ ตั้งอยู่ที่จังหวัด นครราชสีมาและ 3) บ้านเณรใหญ่: สาม เณราลัยแสงธรรม ตั้งอยู่ที่จังหวัดนครปฐม โดยกระบวนการศึกษาอบรมทัง้ ครบตามระดับ ขั้นมาตรฐานใช้เวลาเป็นอย่างน้อย 16 ปี เมื่ อ พิ จ ารณาในอั ต ราการคงอยู ่ ข อง จ�ำนวนของสามเณรที่ได้รับกระแสเรียกให้เข้า มาเป็นสามเณรตั้งแต่อายุยังน้อย คือ เป็น สามเณรเล็ก (ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-6) แล้วเป็นมาสเตอร์ (ใช้ระยะเวลาเวลา 1 ถึง 2 ปี) แล้วเป็นสามเณรกลาง (ใช้ระยะเวลา 1 ปี) จนเป็นสามเณรใหญ่ (ระดับอุดมศึกษา ชั้นปีที่ 1-7) ในปีการศึกษา 2556-2557 พบว่า จ�ำนวนสามเณรเล็กที่มีกระแสเรียกที่ มั่นคงในการเข้ารับการศึกษาอบรมจนกระทั่ง เป็นสามเณรใหญ่นั้นมีอัตราคงอยู่ลดน้อยลง โดยสามารถเปรี ย บเที ย บอั ต ราคงอยู ่ จ าก สามเณรเล็กเป็นสามเณรกลางและอัตราการคง อยู่จากสามเณรเล็กเป็นสามเณรใหญ่ ได้ดังนี้ ตารางแสดงอัตราการคงอยู่ของสามเณร ปีการศึกษา 2556-2557
ถึงแม้จำ� นวนสามเณรเล็กอาจไม่ลดลง แต่เมือ่ พิจารณาอัตราคงอยู่ พบว่า ทั้งอัตราการคง อยู่ของสามเณรเล็กไปสู่สามเณรกลาง และ ของสามเณรเล็กไปสู่สามเณรใหญ่ในปี 2557 จะลดลงเมื่อเทียบกับปี 2556 ซึ่งอัตราการ คงอยู่นี้ เป็นตัวชี้วัดตัวหนึ่งที่แสดงให้เห็นถึง ความมั่นคงในกระแสเรียกที่จะเป็นพระสงฆ์ ของสามเณร ซึ่งอาจเกิดได้จากหลายสาเหตุ หลายปัจจัยที่ท�ำให้สามเณรเหล่านั้นเปลี่ยน กระแสเรียกไปเป็นฆราวาสมากขึน้ ซึง่ จ�ำนวน สามเณรที่น้อยลงนี้ส่งผลให้จ�ำนวนของผู้ที่จะ บวชเป็นพระสงฆ์ลดน้อยลงด้วย ท�ำให้การ ดูแลอภิบาลสัตบุรุษของพระสงฆ์ไม่เพียงพอ หรือมีประสิทธิภาพไม่เต็มที่ ดังนั้น แต่ละ สังฆมณฑลจึงต้องจัดหาพระสงฆ์เพือ่ ดูแลวัดใน เขตปกครอง เพื่ อ งานอภิ บ าลอย่ า งมี ประสิ ท ธิ ภ าพต่ อ ไป อย่ า งไรก็ ดี ก็ ยั ง มี เยาวชนทีม่ กี ระแสเรียกเข้าเป็นสามเณรเล็กอยู่ จ� ำ นวนพอสมควร โดยเฉพาะเยาวชนวั ด นักบุญเปโตร ซึ่งเป็นกลุ่มคริสตชนที่ก่อตั้งมา
อัตราคงอยู่ อัตราคงอยู่ สามเณรใหญ่ (%) (%) 2556 538 12 2.23 91 16.91 2557 553 12 2.17 80 14.47 ที่มา: คณะกรรมการคาทอลิกเพื่อสามเณราลัยและกระแสเรียก ปีการศึกษา สามเณรเล็ก สามเณรกลาง
88
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
ปัตทวี วงศ์ศรีแก้ว, ลือชัย ธาตุวิสัย, เชษฐา ไชยเดช และ ลัดดาวรรณ์ ประสูตร์แสงจันทร์
นานถึง 175 ปี (ค.ศ. 1840–2015) และ มีความเชื่อเข้มแข็ง ได้ส่งเด็กและเยาวชนเข้า บ้านเณรเพือ่ เตรียมตัวเป็นพระสงฆ์คอ่ นข้างต่อ เนื่อง ซึ่งเป็นความน่าสนใจว่า เยาวชนที่มี กระแสเรี ย กและตั ด สิ น ใจเข้ า รั บ การศึ ก ษา อบรมเป็นสามเณร โดยความยินยอมพร้อมใจ ของครอบครัวนั้น ได้รับการอบรม แนะน�ำ หรือมีสิ่งจูงใจใดที่ท�ำให้เขามุ่งมั่นที่จะด�ำเนิน ชีวติ ตามกระแสเรียกทีไ่ ด้รบั เป็นต้นการอบรม จากครอบครั ว สถาบั น ที่ รั ก และใกล้ ชิ ด เยาวชนเหล่านั้นมากที่สุด หากพระศาสนจักรมีแนวทางในการส่ง เสริมกระแสเรียกให้แก่เยาวชนตั้งแต่พื้นฐาน แรก คือ ครอบครัว ย่อมส่งผลให้เยาวชนมี กระแสเรียกพื้นฐานที่ดี ส่งผลดีต่อการเสริม สร้างกระแสเรียกของเยาวชนให้เข้มแข็งมากยิง่ ขึน้ เมือ่ มาเข้ารับการศึกษาอบรมเป็นสามเณร กลางและสามเณรใหญ่ก็จะมีกระแสเรียกที่ มั่นคง และมีความพร้อมความเหมาะสมที่จะ เป็นพระสงฆ์ได้ในอนาคต หรือหากมิได้เป็น พระสงฆ์ เยาวชนดั ง กล่ า วก็ จ ะเติ บ โตเป็ น คริสตชนทีด่ ขี องพระศาสนจักรและสังคมต่อไป วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพือ่ ศึกษาสภาพการอบรมคุณธรรม เพือ่ ส่งเสริมกระแสเรียกเยาวชนของครอบครัว
2. เพื่ อ ศึ ก ษาแนวทางการอบรม คุณธรรมในครอบครัวเพื่อส่งเสริมกระแสเรียก เยาวชน กลุ่มผู้ให้ข้อมูล กลุ่มผู้ให้ข้อมูลมี 2 กลุ่ม คือ 1) กลุ่มผู้ให้ข้อมูล คือ ผู้ปกครองที่ ส่งบุตรเข้ารับการอบรมเป็นสามเณรของสาม เณราลัยนักบุญยอแซฟ จ�ำนวน 7 คน จาก 7 ครอบครัว 2) กลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิ ในการสนทนา กลุม่ (Focus group) ประกอบด้วยตัวแทน พระสงฆ์วัดนักบุญเปโตร หัวหน้าฝ่ายจิตตา ภิ บ าลโรงเรี ย นวั ด นั ก บุ ญ เปโตร ตั ว แทน ผู้ปกครองสามเณรวัดนักบุญเปโตร ตัวแทน ผู ้ ใ ห้ ก ารอบรมสามเณราลั ย นั ก บุ ญ ยอแซฟ ตัวแทนสามเณรใหญ่วัดนักบุญเปโตร และ ตัวแทนกลุ่มสภาอภิบาลวัดที่ดูแลเรื่องกระแส เรียก รวมจ�ำนวนทั้งสิ้น 6 คน ได้มาโดย การเลือกแบบเจาะจง ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. ได้ทราบสภาพการอบรมคุณธรรม เพือ่ ส่งเสริมกระแสเรียกเยาวชนของครอบครัว 2. ได้แนวทางการอบรมคุณธรรมใน ครอบครัวเพื่อส่งเสริมกระแสเรียกเยาวชน
ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2016/2559
89
แนวทางการอบรมคุณธรรมในครอบครัวเพื่อส่งเสริมกระแสเรียกเยาวชน กรณีศึกษา วัดนักบุญเปโตร สามพราน นครปฐม
นิยามศัพท์เฉพาะ คุ ณ ธรรม หมายถึ ง ความดี ง าม ความถูกต้อง อันเป็นคุณลักษณะภายในของ บุคคลที่ได้รับการฝึกฝนจนเป็นนิสัยแสดงออก ในรูปแบบของการกระท�ำ การอบรมคุณธรรม หมายถึง การให้ ความรู้ ค�ำแนะน�ำและฝึกฝนตัดสินใจเลือก ด�ำเนินชีวิตเพื่อให้เป็นคนดี กระแสเรียก หมายถึง ทางเลือกของ คริสตชนในกิจการและการงานที่ถูกเรียกโดย พระเจ้ า ทั้ ง ฆราวาส และพระสงฆ์ ห รื อ นักบวช ในงานวิจัยนี้ กระแสเรียกหมายถึง ทางเลือกชีวิตของเยาวชนคาทอลิกที่ยินดีเข้า รับการศึกษาอบรมเพื่อการเป็นพระสงฆ์ใน คริสตศาสนา เยาวชน ในงานวิจยั นีห้ มายถึงคริสตชน คาทอลิกที่มีอายุมากกว่าสิบสองปีบริบูรณ์แต่ ยั ง ไม่ ค รบสิ บแปดปีบริบูร ณ์ ที่อาศัยอยู่ใน ชุ ม ชนวั ด นั ก บุ ญ เปโตร อ� ำ เภอสามพราน จังหวัดนครปฐม และปัจจุบันเป็นสามเณรที่ สามเณราลัย นักบุญยอแซฟ สามพราน ครอบครัว หมายถึง กลุม่ ของบุคคลที่ สืบเชือ้ สายมาจากบรรพบุรษุ เดียวกัน มีความ เกี่ยวพันใกล้ชิดกัน ในงานวิจัย ครอบครัว หมายถึ ง ครอบครั ว คริ ส ตชนคาทอลิ ก วั ด นักบุญเปโตรที่มีบุตรเป็นสามเณรเล็ก
90
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
แนวทางการอบรมคุ ณ ธรรมใน ครอบครัว เพื่อส่งเสริมกระแสเรียกเยาวชน หมายถึง วิธกี ารทีค่ รอบครัวใช้หรือสามารถน�ำ ไปใช้ในการให้ความรู้ ค�ำแนะน�ำและฝึกฝน ตัดสินใจเลือกด�ำเนินชีวิตของเยาวชนเพื่อให้ เป็นเยาวชนทีด่ แี ละยินดีเข้ารับการศึกษาอบรม เพื่อเป็นพระสงฆ์ในคริสตศาสนา วิธีด�ำเนินการวิจัย การวิ จั ย เรื่ อ ง แนวทางการอบรม คุณธรรมในครอบครัวเพื่อส่งเสริมกระแสเรียก เยาวชน กรณีศกึ ษาวัดนักบุญเปโตร สามพราน นครปฐมนี ้ เป็นการวิจยั เชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ซึง่ มีขนั้ ตอนการวิจยั และ รายละเอียดต่างๆ ดังนี้ ขั้นตอนการวิจัย ขั้นตอนการวิจัย มี 3 ขั้นตอน คือ ขั้นตอนที่ 1 การจัดเตรียมโครงร่าง การวิจัย ขัน้ ตอนที ่ 2 การด�ำเนินการวิจยั และ ขั้นตอนที่ 3 การรายงานผลการวิจัย รายละเอียดดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 การจัดเตรียมโครงร่าง การวิจัย ขั้ น ตอนนี้ เป็ น ขั้ น ตอนการเตรี ย ม โครงร่ า งการวิ จั ย ตามระเบี ย บวิ ธี วิ จั ย โดย
ปัตทวี วงศ์ศรีแก้ว, ลือชัย ธาตุวิสัย, เชษฐา ไชยเดช และ ลัดดาวรรณ์ ประสูตร์แสงจันทร์
ผู้วิจัยท�ำการศึกษา ที่มาและความส�ำคัญของ ปัญหา ศึกษา วิเคราะห์ สังเคราะห์ หลัก การ แนวคิด ทฤษฎีตา่ งๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง จาก ต� ำ รา หนั ง สื อ เอกสารวิ ช าการ ข้ อ มู ล สารสนเทศ งานวิจัยต่างๆ จากสื่อสิ่งพิมพ์ และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อน�ำมาเป็นกรอบ แนวคิ ด การวิ จั ย จั ด ท� ำ โครงร่ า งการวิ จั ย นอกจากนี ้ ผูว้ จิ ยั ได้สง่ โครงร่างการวิจยั เพือ่ ขอรั บ ทุ น สนั บ สนุ น งานวิ จั ย จากศู น ย์ วิ จั ย ค้นคว้าศาสนาและวัฒนธรรม วิทยาลัยแสง ธรรม ขั้นตอนที่ 2 การด�ำเนินการวิจัย ขั้นตอนนี้ เป็นขั้นตอนของ 1) การ ศึกษาวิเคราะห์เอกสารและงานวิจยั ทีเ่ กีย่ วข้อง เพื่อน�ำไปใช้ในการสร้างเครื่องมือ 2) การ สร้ า งและพั ฒ นาเครื่ อ งมื อ ได้ แ ก่ แบบ สัมภาษณ์แบบกึง่ โครงสร้าง และประเด็นการ สนทนากลุ ่ ม เสนอต่ อ อาจารย์ ที่ ป รึ ก ษา พิ จ ารณา ปรั บ ปรุ ง แก้ ไข แล้ ว เสนอต่ อ ผู ้ เชีย่ วชาญจ�ำนวน 3 คน เพือ่ พิจารณา และ ปรั บ ปรุ ง แก้ ไขตามค� ำ แนะน� ำ 3) การน� ำ เครื่องมือที่พัฒนาแล้วไปเก็บข้อมูลโดยการ สั ม ภาษณ์ ก ลุ ่ ม ผู ้ ใ ห้ ข ้ อ มู ล ที่ เ ป็ น ผู ้ ป กครอง สามเณร จ� ำ นวน 7 คน 4) วิ เ คราะห์ สั ง เคราะห์ ข ้ อ มู ล ที่ ไ ด้ จ ากการสั ม ภาษณ์ 5) จัดสนทนากลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิ จ�ำนวน 6 คน และ 6) การน�ำข้อมูลที่ได้มาตรวจทาน ความครบถ้ ว นของข้ อ มู ล วิ เ คราะห์
สังเคราะห์ เรียบเรียงข้อมูล และสรุปผลการ ศึกษา ขั้นตอนที่ 3 การรายงานการวิจัย ขั้ น ตอนนี้ เป็ น ขั้ น ตอนการจั ด ท� ำ รายงานการวิจัยเพื่อเผยแพร่ และจัดส่งให้ ศู น ย์ วิ จั ย ค้ น คว้ า ศาสนาและวั ฒ นธรรม วิทยาลัยแสงธรรม ตามเงื่อนไขในการรับทุน วิจัย ผลการวิจัย 1. สภาพการอบรมคุ ณ ธรรมใน ครอบครัว ครอบครั ว คริ ส ตชนส่ ว นใหญ่ มี ก าร อบรมคุ ณ ธรรมเพื่ อ ส่ ง เสริ ม กระแสเรี ย กให้ เยาวชนในครอบครัว โดยมีการอบรมสั่งสอน และการเป็นแบบอย่างที่ดีในเรื่อง 1) ความเชื่อ ความหวัง ความรัก 2) ความซื่อสัตย์ 3) การนอบน้อม เคารพเชื่อฟัง 4) ความกตัญญู 5) การมีวินัย รับผิดชอบ และขยัน หมั่นเพียร 6) ความอดทนอดกลั้น 7) ความเรียบง่าย 8) ความเมตตากรุณา 9) การเสียสละ รับใช้ 10) ความเหมาะสมในเรื่องเพศ และ 11) การมีสติ มโนธรรม
ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2016/2559
91
แนวทางการอบรมคุณธรรมในครอบครัวเพื่อส่งเสริมกระแสเรียกเยาวชน กรณีศึกษา วัดนักบุญเปโตร สามพราน นครปฐม
2. แนวทางการอบรมคุ ณ ธรรมใน ครอบครัวเพื่อส่งเสริมกระแสเรียกเยาวชน ครอบครั ว เป็ น พื้ น ฐานแรกในการส่ ง เสริมคุณธรรม เพื่อให้บุตรเติบโตในความเชื่อ และสนใจในกระแสเรียกการเป็นพระสงฆ์ ใน ขณะเดี ย วกั น ผู ้ วิ จั ย พบว่ า การส่ ง เสริ ม กระแสเรียกเยาวชนเป็นการส่งเสริมจากปัจจัย อื่น ได้แก่ โรงเรียน วัดและชุมชน มีความ ส�ำคัญและช่วยส่งเสริมร่วมกันให้มกี ระแสเรียก เยาวชนเพิ่มขึ้น ดังนี้ 1. ครอบครัว ต้องสร้างบรรยากาศที่ ดี ใ นครอบครั ว ให้ เวลาอบรมสั่ ง สอนบุ ต ร หลานและปฏิบัติตัวเป็นแบบอย่าง เพื่อหล่อ หลอมให้เป็นคนดีมีคุณธรรมตามหลักค�ำสอน ของศาสนาตั้งแต่ยังเด็ก กระแสเรียกมาจาก ครอบครัวดี ควรส่งเสริมการเตรียมตัวเป็น คริสตชนอย่างดี สอนให้มคี วามเชือ่ ต่อพระเจ้า มีสติ มโนธรรม โดยการอบรมสั่งสอนให้เด็ก รู ้ จั ก นึ ก คิ ด อย่ า งมี วิ จ ารณญาณ สามารถ จ� ำ แนกว่ า สิ่ ง ใดถู ก หรื อ ผิ ด รู ้ ถึ ง บาปบุ ญ คุณโทษ และเลือกปฏิบัติในทางที่ถูกต้องได้ รวมทั้ง ต้องอบรมให้มีความเหมาะสมในการ คบเพื่อนและการวางตัวต่อผู้หญิง การละเว้น สื่อไม่ดี ส่งเสริมให้ท�ำกิจกรรมที่สร้างสรรค์ 2. วัด ควรเป็นทีห่ ล่อหลอมคุณธรรม ตามหลักศาสนา พระสงฆ์เมื่อให้ค�ำสอนแล้ว ต้ อ งเป็ น แบบอย่ า งที่ ดี พระสงฆ์ ส ่ ง เสริ ม
92
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
บทบาทเด็ ก ในกิ จ กรรมของวั ด พิ ธี ก รรม ดนตรี และกีฬา ประชาสัมพันธ์เชิญชวนเรือ่ ง กระแสเรียก เชิญชวนเด็กเข้าร่วมค่ายกระแส เรียก เชิญพระสงฆ์ในบ้านเณรมาร่วมกิจกรรม ในบางโอกาส พร้อมกับสนับสนุนหน่วยงาน ด้านกระแสเรียกในระดับวัด ร่วมกับครอบครัว และโรงเรียนในการสอนเรือ่ งศีลธรรม ค�ำสอน เรือ่ งศีลอภัยบาป ให้ไตร่ตรองมโนธรรม และ มีโอกาสรับศีลอภัยบาปบ่อยๆ เพือ่ ให้รจู้ กั บาป และพัฒนาตนเองสูก่ ารเป็นคริสตชนทีส่ มบูรณ์ พระสงฆ์สอน และให้คุณค่าของชีวิตโสดด้วย แบบอย่างชีวิตที่อุทิศตน 3. โรงเรียน ต้องมุ่งเน้นการส่งเสริม ด้ า นจริ ย ธรรม และให้ ค วามส� ำ คั ญ กั บ การ อบรมเรื่องเพศให้เด็กตามช่วงวัย ส�ำหรับครู จิ ต ตาภิ บ าลต้ อ งอบรมคุ ณ ธรรมตามหลั ก ศาสนา เผยแผ่ ข ้ อ ความเชื่ อ และส่ ง เสริ ม กระแสเรียก 4. ชุมชน สมาชิกทุกคนในชุมชนควร ให้ความร่วมมือในการสร้างบรรยากาศและ ตระหนักในการหล่อหลอมคุณธรรมร่วมกัน ช่ ว ยกั น สอดส่ อ งดู แ ล เฝ้ า ระวั ง ภั ย ทั้ ง เรื่ อ ง มโนธรรมและเรื่องเพศ ที่อาจท�ำให้สมาชิก ชุมชนถูกชักจูงในทางไม่ดี 5. การจัดค่ายกระแสเรียก ควรให้ ความรู้แนะแนวเงื่อนไขของชีวิตพระสงฆ์ ใน เรื่ อ งการถื อ โสด และคุ ณ ธรรมการถื อ โสด
ปัตทวี วงศ์ศรีแก้ว, ลือชัย ธาตุวิสัย, เชษฐา ไชยเดช และ ลัดดาวรรณ์ ประสูตร์แสงจันทร์
และบ้านเณรควรเปิดโอกาสให้สามเณรกลับ บ้าน และมีส่วนร่วมในกิจกรรมของวัดเพื่อ เป็นแบบอย่างดี และดึงดูดกระแสเรียก อภิปรายผล 1. สภาพการอบรมคุ ณ ธรรมใน ครอบครัว ผลการศึกษาพบว่า ครอบครัวคริสตชน ส่วนใหญ่ มีการอบรมคุณธรรมเพื่อส่งเสริม กระแสเรียกให้เยาวชนในครอบครัว โดยมีการ อบรมสัง่ สอนและการเป็นแบบอย่างทีด่ ใี นเรือ่ ง 1) ความเชื่อ ความหวัง ความรัก 2) ความซื่อสัตย์ 3) การนอบน้อม เคารพเชื่อฟัง 4) ความกตัญญู 5) การมีวินัย รับผิดชอบ และขยัน หมั่นเพียร 6) ความอดทนอดกลั้น 7) ความเรียบง่าย 8) ความเมตตากรุณา 9) การเสียสละ รับใช้ 10) ความเหมาะสมในเรื่องเพศ และ 11) การมีสติ มโนธรรม ที่เป็นเช่นนี้ เพราะ ครอบครัวเป็นปัจจัยส�ำคัญ และเป็น พื้นฐานแรกของการอบรม ให้บุตรหลานของ ตนเติบโต ทัง้ ด้านร่างกายและด้านจิตใจ เป็น ไปตามที่ นั ก บุ ญ สมเด็ จ พระสั น ตะปาปา
ยอห์นปอล ที่ 2 (สมณสาร:45 “พระผู้ไถ่ มนุษย์”) ได้พระด�ำรัสเรือ่ งครอบครัวคาทอลิก ว่า ครอบครัวคาทอลิกเป็นความรักระหว่าง ชายและหญิงในชีวิตสมรสเป็นรากฐานและ ความรักระหว่างสมาชิกของครอบครัวหนึ่ง ได้แก่ ความรักระหว่างพ่อแม่กบั ลูก ระหว่าง พี่ ๆ น้ อ งๆ และญาติ พี่ น ้ อ ง รวมถึ ง วงศ์ ตระกูลทั้งหมด ความรักจะเป็นแรงบันดาลใจ อย่ า งลึ ก ซึ้ ง และพลั ง ชี วิ ต สม�่ ำ เสมอซึ่ ง จะน� ำ ครอบครัวไปสู่ความสัมพันธ์ที่แน่นแฟ้น และ แรงกล้ า ซึ่ ง นั บ วั น จะทวี ม ากยิ่ ง ขึ้ น ดั ง นั้ น ครอบครัวจึงเกิดจากความรักซึ่งเป็นคุณธรรม ส�ำคัญในการสร้างครอบครัว สู่การเสริมสร้าง พระอาณาจั ก รของพระเจ้ า ในโลกนี้ คื อ อาณาจักรแห่งความรัก ความสงบสุข ความ ยุตธิ รรมหล่อหลอมให้สมาชิกทุกคนเติบโตเป็น คริสตชนที่สมบูรณ์ และนอกจากการอบรม แล้ว การเป็นแบบอย่างที่ดีก็เป็นสิ่งส�ำคัญยิ่ง เพราะเป็นการช่วยให้บตุ รหลานเข้าใจอย่างลึก ซึ้งพร้อมกับสามารถน�ำไปปฏิบัติตามจนกลาย เป็นนิสยั ทีด่ ไี ด้ สอดคล้อง กับ ภณิดา คูสกุล (2516:340) ที่ระบุว่า ลักษณะส�ำคัญของ การปลูกฝังคุณธรรมให้ครอบครัวไว้ว่า 1) การเป็นตัวอย่างที่ดี 2) การแนะน�ำอย่างเหมาะสมและมี ความสัมพันธ์กับชีวิตจริง
ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2016/2559
93
แนวทางการอบรมคุณธรรมในครอบครัวเพื่อส่งเสริมกระแสเรียกเยาวชน กรณีศึกษา วัดนักบุญเปโตร สามพราน นครปฐม
3) มีความต่อเนื่องและมีการวางแผน ล่วงหน้าที่ดี และ 4) จริยธรรมที่ควรปลูกฝังให้กับเด็ก ควรเป็นจริยธรรมที่สอดคล้องกับหลักศาสนา และหลั ก การด� ำ รงชี วิ ต ในสั ง คม โดยเน้ น จริ ย ธรรมที่ ใช้ ป ั ญ หาปั จ จุ บั น ได้ เ ป็ น ส� ำ คั ญ และที่ ผู ้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ ที่ ใ ห้ สั ม ภาษณ์ ก ล่ า วว่ า “แนวทางที่ ดี ที่ สุ ด ในการอบรมคุ ณ ธรรมใน ครอบครั ว คื อ แบบอย่ า งของคนใน ครอบครั ว ” โดยเฉพาะพ่ อ และแม่ ซึ่ ง ธรรมชาติของเด็กจะเลียนแบบและเริ่มเรียนรู้ ดังนัน้ ความส�ำคัญต่อการอบรมคุณธรรมของ ลูกจึงเกิดจากแบบอย่างของครอบครัวอย่าง แท้จริง” 2. แนวทางการอบรมคุ ณ ธรรมใน ครอบครัวเพื่อส่งเสริมกระแสเรียกเยาวชน ผลการศึกษาพบว่า การส่งเสริมกระแส เรียกเยาวชนเป็นการส่งเสริมจากปัจจัยอื่น ได้แก่ โรงเรียน วัดและชุมชน มีความส�ำคัญ และช่ ว ยส่ ง เสริ ม ร่ ว มกั น ให้ มี ก ระแสเรี ย ก เยาวชนเพิ่มขึ้น ทั้งนี้เพราะ โรงเรียน วัด และชุมชน เป็นหน่วยงาน องค์กรที่อยู่ใกล้ ชิดกับเยาวชน การหล่อหลอมเสริมสร้างให้ เยาวชนมีคุณธรรม รวมถึงมีกระแสเรียกนั้น จ� ำ เป็ น ที่ จ ะต้ อ งมี ค รอบครั ว หน่ ว ยงาน องค์กร หรือบุคคลต่างๆ ให้ความร่วมมือช่วย เหลือซึ่งกันและกัน ประกอบด้วย
94
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
1) ครอบครั ว ที่ ต ้ อ งมี ค วามรั ก มี บรรยากาศที่ดี ให้เวลาอบรมสั่งสอน ปฏิบัติ ตัวเป็นแบบอย่าง ครอบครัวควรจัดกิจกรรม ต่างๆ เช่น จัดกิจกรรมให้มีความสัมพันธ์ ระหว่างพ่อหรือแม่กับลูกๆ เพื่อสร้างความ แน้ น แฟ้ น มากยิ่ ง ขึ้ น ส่ ง เสริ ม สมาชิ ก ใน ครอบครัวสร้างบรรยากาศครอบครัวอบอุ่น เป็นอย่างที่ดี และช่วยเหลือซึ่งกันและกันให้ พาบุตรหลานไปร่วมพิธีบูชาขอบพระคุณอย่าง ต่อเนื่อง และช่วยให้สมาชิกครอบครัวได้เข้า ร่วมกิจกรรมทีท่ างวัด โรงเรียน หรือชุมชนจัด ขึ้น สอดคล้องกับใน Christian Family (1990) คือ เป็นการเสริมสร้างอาณาจักร พระเจ้าแรกเริม่ ในครอบครัว เพราะเป้าหมาย สุดท้ายของครอบครัวก็คือความรัก 2) วัด ทีต่ อ้ งช่วยหล่อหลอมคุณธรรม ตามหลักศาสนา พระสงฆ์เมื่อให้ค�ำสอนแล้ว ต้ อ งเป็ น แบบอย่ า งที่ ดี พระสงฆ์ ส ่ ง เสริ ม บทบาทเด็กในกิจกรรมของวัด ประชาสัมพันธ์ เชิญชวนเรื่องกระแสเรียก โดยเฉพาะในเรื่อง ของการจัดค่ายกระแสเรียกนั้น ควรมีการให้ ความรู้แนะแนวเงื่อนไขของชีวิตพระสงฆ์ ใน เรื่ อ งการถื อ โสด และคุ ณ ธรรมการถื อ โสด และบ้านเณรควรเปิดโอกาสให้สามเณรกลับ บ้าน และมีส่วนร่วมในกิจกรรมของวัดเพื่อ เป็ น แบบอย่ า งดี และดึ ง ดู ด กระแสเรี ย ก ส�ำหรับกิจกรรมอืน่ ๆ วัดควรมีการจัดกิจกรรม
ปัตทวี วงศ์ศรีแก้ว, ลือชัย ธาตุวิสัย, เชษฐา ไชยเดช และ ลัดดาวรรณ์ ประสูตร์แสงจันทร์
เสริมสร้างความเข้มแข็งให้ครอบครัว อาศัย การจัดการอบรม ให้ความรู้ในมิติด้านต่างๆ ทั้ ง ด้ า นศาสนาและทางโลก เน้ น มิ ติ ศี ล ศักดิ์สิทธิ์แห่งการคืนดี ในด้านของศีลอภัย บาปอย่างเข้มข้นต่อบรรดาเยาวชน เพื่อส่ง เสริมให้ได้หล่อหลอมมโนธรรมและรับพระ เมตตาของพระเจ้า ส่งเสริมบทบาทเด็กใน กิจกรรมของวัด ด้วยว่า พระสงฆ์ควรปลูกฝัง คุณธรรมต่างๆ ในความเป็นมนุษย์ และการ ตระหนักถึงความเป็นจริงของตนเองเพื่อมุ่งไป สู่ศาสนบริการการเป็นสงฆ์ของพระคริสตเจ้า (เทียบ PDV ข้อ 43) และ กฤษฎีกาเรื่อง การอบรมพระสงฆ์ของสภาสังคายนาวาติกัน ครัง้ ที ่ 2 ได้กำ� หนดไว้อย่างชัดเจน เมือ่ กล่าว ถึงสามเณรใหญ่ว่า “การอบรมทั้งครบให้กับ สามเณร ควรมีจดุ มุง่ หมายทีจ่ ะกระท�ำให้พวก เขาเป็นผูอ้ ภิบาลวิญญาณอย่างแท้จริงตามพระ ฉบับของพระเยซูคริสตเจ้า...” 3) โรงเรียน ต้องมุ่งเน้นการส่งเสริม ด้ า นจริ ย ธรรม และให้ ค วามส� ำ คั ญ กั บ การ อบรม เรือ่ งเพศให้เด็กตามช่วงวัย ส�ำหรับครู จิ ต ตาภิ บ าลต้ อ งอบรมคุ ณ ธรรมตามหลั ก ศาสนา เผยแผ่ ข ้ อ ความเชื่ อ และส่ ง เสริ ม กระแสเรียก ด้วยเหตุวา่ โรงเรียนเป็นสถาบัน หลักในการเสริมสร้างสติปญ ั ญาแก่เยาวชน ดัง นั้นการอบรมด้านสติปัญญาของพระสงฆ์ใน อนาคต จะต้องตั้งอยู่บนรากฐานของปรัชญา
และการศึ ก ษาข้ อ ค� ำ สอนศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ข อง เทววิทยา คุณค่าและความถูกต้องแท้จริงของ การอบรม ด้ า นเทววิ ท ยาต้ อ งขึ้ น อยู ่ ค วาม เคารพต่ อ ธรรมชาติ ข องเทววิ ท ยาที่ ป ระชุ ม สมัชชาฯ ได้สรุปเรื่องนี้ว่า “เทววิทยาที่แท้ จริ ง นั้ น เริ่ ม ต้ น จากความเชื่ อ และมุ ่ ง ไปที่ การน�ำสู่ความเชื่อ” (เทียบ PDV ข้อ 53) และ 4) สมาชิกทุกคนในชุมชนควรให้ความ ร่วมมือในการสร้างบรรยากาศและตระหนักใน การหล่อหลอมคุณธรรมร่วมกัน ช่วยกันสอด ส่องดูแล เฝ้าระวังภัยทั้งเรื่องมโนธรรมและ เรือ่ งเพศ ทีอ่ าจท�ำให้สมาชิกชุมชนถูกชักจูงใน ทางไม่ดี รวมถึงกิจกรรมต่างๆ ที่ครอบครัว วั ด โรงเรี ย น และชุ ม ชน สามารถจั ด กิจกรรมทีช่ ว่ ยเสริมสร้างให้เยาวชนมีคณ ุ ธรรม อาทิ กิจกรรมบ�ำเพ็ญประโยชน์ต่อสังคมและ ชุมชนเพื่อสร้างโอกาสให้เด็กพัฒนาในด้านมิติ แห่งความเป็นมนุษย์ จัดให้มีการท�ำงานร่วม กันอย่างเป็นระบบกับความสัมพันธ์ตา่ งๆ ด้วย ความเป็นหนึ่งเดียวกันอย่างดี ซึ่งทั้งหมดนี้ เป็นหน้าที่ของบรรดาครูค�ำสอน สังฆมณฑล และชุมชนของวัด กลุม่ ขบวนการและสมาคม ต่างๆที่จะต้องส่งเสริมกระแสเรียกให้เจริญ เติบโตของพระศาสนจักร ซึ่งพวกเขามีส่วน ร่วมในการพัฒนางานอภิบาลและด้านการส่ง เสริมกระแสเรียก (เทียบ PDV ข้อ 41)
ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2016/2559
95
แนวทางการอบรมคุณธรรมในครอบครัวเพื่อส่งเสริมกระแสเรียกเยาวชน กรณีศึกษา วัดนักบุญเปโตร สามพราน นครปฐม
ข้อเสนอแนะในการน�ำผลการวิจัยไปใช้ 1. ครอบครั ว ต้ อ งร่ ว มกั น สร้ า ง บรรยากาศที่ดีในครอบครัว ให้เวลาอบรม สัง่ สอนบุตรหลานและปฏิบตั ติ วั เป็นแบบอย่าง เพือ่ หล่อหลอมให้เป็นคนดีมคี ณ ุ ธรรมตามหลัก ค�ำสอนของศาสนาตั้งแต่ยังเด็ก 2. วัด ควรเป็นที่หล่อหลอมคุณธรรม ตามหลักศาสนา บาทหลวงเมือ่ ให้คำ� สอนแล้ว ต้ อ งเป็ น แบบอย่ า งที่ ดี บาทหลวงส่ ง เสริ ม บทบาทเด็ ก ในกิ จ กรรมของวั ด พิ ธี ก รรม ดนตรี และกีฬา ประชาสัมพันธ์เชิญชวนเรือ่ ง กระแสเรียก เชิญชวนเด็กเข้าร่วมค่ายกระแส เรียก เชิญบาทหลวงในสามเณราลัยมาร่วม กิจกรรมในบางโอกาส พร้อมกับสนับสนุน หน่วยงานด้านกระแสเรียกในระดับวัด ร่วม กับครอบครัวและโรงเรียนในการสอนเรื่องศีล ธรรม 3. โรงเรียน ต้องมุ่งเน้นการส่งเสริม ด้ า นจริ ย ธรรม และให้ ค วามส� ำ คั ญ กั บ การ อบรมเรื่องเพศให้เด็กตามช่วงวัย ส�ำหรับครู จิ ต ตาภิ บ าลต้ อ งอบรมคุ ณ ธรรมตามหลั ก ศาสนา เผยแผ่ ข ้ อ ความเชื่ อ และส่ ง เสริ ม กระแสเรียก
96
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
4. ชุมชน สมาชิกทุกคนในชุมชนควร ให้ความร่วมมือในการสร้างบรรยากาศและ ตระหนักในการหล่อหลอมคุณธรรมร่วมกัน ช่ ว ยกั น สอดส่ อ งดู แ ล เฝ้ า ระวั ง ภั ย ทั้ ง เรื่ อ ง มโนธรรมและเรื่องเพศ ที่อาจท�ำให้สมาชิก ชุมชนถูกชักจูงในทางไม่ดี 5. การจัดค่ายกระแสเรียก ควรให้ ความรูแ้ นะแนวเงือ่ นไขของชีวติ บาทหลวง ใน เรื่ อ งการถื อ โสด และคุ ณ ธรรมการถื อ โสด และสามเณราลัยควรเปิดโอกาสให้สามเณร กลับบ้าน และมีส่วนร่วมในกิจกรรมของวัด เพื่อเป็นแบบอย่างดี และดึงดูดกระแสเรียก ข้อเสนอแนะในการศึกษาวิจัยครั้งต่อไป 1. ควรจะมีการศึกษาถึงปัจจัยที่มีผล ต่อการปลูกฝังคุณธรรมแก่เยาวชน โดยศึกษา เชิ ง คุ ณ ภาพในบริ บ ทเชิ ง สั ง คม วั ฒ นธรรม เศรษฐกิจ เพื่อให้ได้ข้อมูลเชิงลึกส�ำหรับเป็น แนวทางในการส่งเสริมคุณธรรมแก่เยาวชนต่อ ไป 2. ควรศึกษาปัจจัยอืน่ ทีน่ อกเหนือจาก เรื่องการอบรมคุณธรรมที่จะท�ำให้กระแสเรียก การเป็นพระสงฆ์มีจ�ำนวนเพิ่มขึ้น เพื่อจะได้ เป็ น แนวทางที่ ดี ยิ่ ง ขึ้ น ส� ำ หรั บ การส่ ง เสริ ม คุณธรรมในครอบครัวและปัจจัยอื่นต่อไป
ปัตทวี วงศ์ศรีแก้ว, ลือชัย ธาตุวิสัย, เชษฐา ไชยเดช และ ลัดดาวรรณ์ ประสูตร์แสงจันทร์
บรรณานุกรม คณะกรรมการคาทอลิกเพื่อสามเณราลัยและ กระแสเรียก, ธรรมนูญการอบรมเณร สามเณรเล็ ก ค.ศ.2000. มปท, มปป. ค� ำ สอนพระศาสนจั ก รคาทอลิ ก (Cate chism of the Catholic Church). ภาค 3 ชีวติ ในพระคริสตเจ้า. พิมพ์ ครั้ ง ที่ 4. กรุ ง เทพฯ: โรงพิ ม พ์ อัสสัมชัญ, 2003. พระสันตะปาปา ยอห์น ปอล ที ่ 2. ครอบ ครัวคริสตชนในโลกปัจจุบัน. คณะ กรรมการส่ ง เสริ ม ชี วิ ต ครอบครั ว , ผูแ้ ปล. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์อสั สัมชัญ, 2527.
ภณิ ด า คู ส กุ ล . จริ ย ศึ ก ษา. นนทบุ รี : มหาวิ ท ยาลั ย สุ โ ขทั ย ธรรมาธิ ร าช, 2516. John Paul II, Pope. Apostolic Exhortation “Familaris Consortio” (On the Role of the Family in the Modern World). Wash ington, DC: US Catholic Con ference, 1982.
ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2016/2559
97
แนวทางการอภิบาลเยาวชนในด้านจริยธรรม การใช้เทคโนโลยีตามพระสมณสาส์น “ขอสรรเสริญองค์พระผูเ้ ป็นเจ้า” (Encyclical Letter Laudato Si’)
Y outh Pastoral Guidelines in The Ethical Use of Technology
According to Encyclical Letter Laudato Si’ เจริญโชค สันดี
* สามเณรใหญ่ในคริสต์ศาสนจักรคาทอลิก สังกัดอัครสังฆมลฑลท่าแร่ – หนองแสง * มหาบัณฑิตสาขาวิชาเทววิทยาจริยธรรม วิทยาลัยแสงธรรม
บาทหลวง ดร.ออกัสติน สุกิโย ปิโตโย
* บาทหลวงในคริสต์ศาสนจักรโรมันคาทอลิก สังกัดคณะเยสุอิต * อาจารย์ประจำ�หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทววิทยาจริยธรรม วิทยาลัยแสงธรรม
ผศ.ดร.ลัดดาวรรณ์ ประสูตร์แสงจันทร์ * อาจารย์ประจ�ำหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาคริสตศาสนศึกษา วิทยาลัยแสงธรรม
Jarernchok Sundee
* Major Seminarian in Roman Catholic Church, Tharae-Nongsaeng Archdiocesc. * Master of Arts Program in Moral Theology, Saengtham College.
Rev.Dr.Augstinus Sugiyo Pitoyo, S.J., Ph.D.
* Reverend in Roman Catholic Church, Jesuit. * Lecturer of The Master of Arts Program in Moral Theology, Saengtham College.
Asst.Prof.Laddawan Prasootsaengchan, Ph.D.
* Lecturer, Christian Studies Faculty of Religious, Saengtham College.
เจริญโชค สันดี, ออกัสติน สุกีโย ปิโตโย และลัดดาวรรณ์ ประสูตร์แสงจันทร์
บทคัดย่อ
การวิ จั ย นี้ มี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ 1) ศึ ก ษาจริ ย ธรรมการใช้ เทคโนโลยีของเยาวชนคาทอลิกในปัจจุบัน และ 2) ศึกษาแนวทาง การอภิบาลเยาวชนคาทอลิกในด้านจริยธรรมการใช้เทคโนโลยีตาม พระสมณสาส์น “ขอสรรเสริญองค์พระผู้เป็นเจ้า” เป็นการวิจัยแบบ ผสมผสาน กลุ่มตัวอย่าง คือ เยาวชนในวัดนักบุญอันนา ท่าจีน จังหวัดสมุทรสาคร ที่มีอายุ 15-25 ปี จ�ำนวน 60 คน ได้มาโดย วิธีการสุ่มอย่างง่าย กลุ่มผู้ให้สัมภาษณ์ คือ ผู้ทรงคุณวุฒิ 7 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม และแบบสัมภาษณ์ ผลการศึกษาพบว่า 1. ในภาพรวมเยาวชนมีจริยธรรมการใช้เทคโนโลยีอยู่ในระดับ มาก ( X =3.68 S.D.=.431)โดยเยาวชนมีคุณธรรมความยุติธรรมอยู่ ในระดั บ มาก ( X =3.76 S.D.=.542) และมี คุ ณ ธรรมความ รอบคอบอยู่ในระดับมาก ( X =3.65 S.D.=.419) 2. แนวทางการอภิบาลเยาวชนคาทอลิกในด้านจริยธรรมการใช้ เทคโนโลยี มีดงั นี ้ 1) โรงเรียน วัด ควรจัดกิจกรรมอบรมเยาวชนใน ด้านคุณธรรมต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งคุณธรรมความรอบคอบและ ความยุตธิ รรม 2) ผูอ้ ภิบาลและผูป้ กครองเยาวชน ควรอบรมเยาวชน ด้วยการเป็นแบบอย่างทีด่ ใี นการปลูกฝังจิตส�ำนึกด้านความรอบคอบและ ยุติธรรมในการใช้เทคโนโลยี 3) วัดควรจัดกิจกรรมให้กับเยาวชนได้ สัมผัสประสบการณ์จริงๆ เกีย่ วกับคุณค่าและประโยชน์อนั ยิง่ ใหญ่จาก ธรรมชาติทไี่ ด้มอบให้บรรดาประชากรของพระเจ้า เพือ่ ให้เกิดการกลับ ใจ เปลีย่ นแนวคิดมุมมอง ทีเ่ กีย่ วกับนิเวศวิทยา ให้มคี วามรัก ความ รับผิดชอบ และให้ความส�ำคัญกับธรรมชาติสงิ่ แวดล้อม คุณค่าและผล ของการใช้เทคโนโลยีทสี่ ง่ ผลต่อธรรมชาติอนั เป็นสิง่ สร้างของพระเป็นเจ้า 4) โรงเรียน ชุมชน ควรจัดกิจกรรมให้เยาวชนมีส่วนร่วมกันในการ ลดมลพิษทางอากาศ ลดภาวะโลกร้อน ในสิ่งที่พวกเขาสามารถท�ำได้ 5) บ้าน วัด และโรงเรียน ควรทีจ่ ะร่วมมือกันในการปลูกฝังจิตส�ำนึก
ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2016/2559
99
แนวทางการอภิบาลเยาวชนในด้านจริยธรรมการใช้เทคโนโลยีตามพระสมณสาส์น “ขอสรรเสริญองค์พระผู้เป็นเจ้า” (Encyclical Letter Laudato Si’)
เยาวชนในด้านคุณธรรมความรอบคอบและความยุตธิ รรมในด้านการใช้ เทคโนโลยีในชีวิตประจ�ำวันของเขา ค�ำส�ำคัญ: Abstract
1) เยาวชน 2) เทคโนโลยี 3) คุณธรรมจริยธรรม 4) พระสมณสาส์นขอสรรเสริญองค์พระผู้เป็นเจ้า
This research aims: 1) To understand the ethical use of technology among Catholic youth today. 2) To propose guidelines for the pastoral care of Catholic youth in the ethical use of technology according to the Encyclical Letter Laudato Si’. Is Mixed Methodology Research. The samples Youth in Saint Anna Tha-Chin Samut-Sakhon aged 15-25 years, 60 have come by way of simple random sampling. The group interview is 7 qualified people. Tools used in research questionnaires and interviews. The results show that 1. The overall ethical use of technology among the youth is at the high level ( X = 3.68 S.D.= .431). The virtue of justice is at the high level. ( X = 3.76 S.D.= .542) and prudence at the high level ( X = 3.65 S.D.= .419). 2. Guidelines for the pastoral care of Catholic youth in the ethical use of technology include 1) Schools and churches should train the youth in various virtues, especially the virtues of prudence and justice. 2) Pastors
100 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
เจริญโชค สันดี, ออกัสติน สุกีโย ปิโตโย และลัดดาวรรณ์ ประสูตร์แสงจันทร์
and parents with young children should be trained in how to be a good role model to be the first to instill prudence and justice in the use of technology. 3) Churches should provide activities for youth to experience th value and immense benefits that nature has given to all of God's people, to repent, to change the perspective on ecological responsibility to love and to focus on the nature and value of the technology that affect the nature of God’s creation. 4) Schools and local communities should provide activities for youth participation in reducing air pollution and global warming in whatever way they can do 5) Families, churches and schools should work together to instill in the youth the virtues of prudence and justice in the use of technology in their daily lives. Keywords:
1) Youth 2) Technology 3) Virtue Ethics 4) Encyclical Letter Laudato Si’
ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2016/2559 101
แนวทางการอภิบาลเยาวชนในด้านจริยธรรมการใช้เทคโนโลยีตามพระสมณสาส์น “ขอสรรเสริญองค์พระผู้เป็นเจ้า” (Encyclical Letter Laudato Si’)
ความเป็นมาและความส�ำคัญของปัญหา ในสถานการณ์ ข องโลกปั จ จุ บั น เรื่ อ ง สิง่ แวดล้อมนัน้ มีความส�ำคัญอย่างมากต่อสังคม โดยรวม ซึ่ ง ในแต่ ล ะประเทศทั่ ว โลกต่ า ง ประสบกับปัญหาสิ่งแวดล้อมอย่างมากมาย สาเหตุ ห ลั ก ก็ ม าจากการที่ ม นุ ษ ย์ ไ ด้ ใ ช้ ทรัพยากรธรรมชาติแบบไม่คิดถึงผลกระทบ ที่ตามมาถึงขั้นท�ำลายสิ่งแวดล้อมไปโดยไม่ ค�ำนึงถึงหลักจริยธรรมที่จะช่วยกันรักษาสิ่ง แวดล้อมได้เท่าทีค่ วร พระศาสนจักรคาทอลิก จึงได้กล่าวถึงปัญหาที่เกิดขึ้นกับมนุษย์และสิ่ง แวดล้อมว่า เมือ่ มนุษย์เผชิญหน้ากับความเสีย หายของสิ่ ง แวดล้ อ มอย่ า งกว้ า งขวางแล้ ว ประชาชนในทุกหนแห่งจึงเริม่ เข้าใจว่า มนุษย์ ไม่อาจใช้ทรัพยากรของโลก ดังเช่นอดีตที่เรา เคยท� ำ อี ก ต่ อ ไป สาธารณชนโดยส่ ว นรวม รวมทั้งผู้น�ำทางการเมืองก�ำลังห่วงใยปัญหานี้ และผู้เชี่ยวชาญสาขาต่างๆ ก�ำลังศึกษาถึง สาเหตุ ข องมั น อยู ่ นอกจากนั้ น ในสมั ย นี้ เริ่มมีความส�ำนึกถึงภาวะสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้น ซึง่ แทนทีจ่ ะเพิกเฉย มนุษย์กลับต้องพัฒนาให้ เกิดกิจกรรมรูปธรรม และความคิดริเริ่มมาก ขึ้นเกี่ยวกับคุณค่าทางจริยธรรม ซึ่งเป็นพื้น ฐานต่ อ การพั ฒ นาสั ง คมให้ มี สั น ติ สุ ข เพื่ อ สอดคล้องอย่างยิง่ กับปัญหาสิง่ แวดล้อมบนพืน้ ฐานของโลกทั ศ น์ ที่ มี ศี ล ธรรม การท� ำ ลาย ทรั พ ยากรธรรมชาติ ร วมถึ ง ภั ย พิ บั ติ ท าง
102 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
ธรรมชาติและที่เกิดขึ้นจากน�้ำมือของมนุษย์ จึ ง ท� ำ ให้ ทั่ ว โลกรวมถึ ง ประเทศไทยพบกั บ ปัญหาสิง่ แวดล้อม ในระดับรุนแรงมากถึงมาก ที่ สุ ด หลายฝ่ า ยจึ ง หั น มาสนใจปั ญ หาสิ่ ง แวดล้อมและเสริมสร้างจริยธรรมอย่างจริงจัง พระศาสนจักรคาทอลิกได้ให้ความสนใจ ต่อปัญหาสิ่งแวดล้อมและเสริมสร้างพัฒนา มนุษย์ด้วยจริยธรรมทางศาสนาที่ปรากฏใน เอกสารทางการที่เป็นหลักค�ำสอนของพระ ศาสนจั ก รด้ ว ย นั บ ตั้ ง แต่ พ ระสมณสาสน์ Rerum Novarum โดยพระสั น ตะปาปา เลโอที่ 13 และค� ำ สอนจากการประชุ ม สั ง คายนาวาติ กั น ที่ 2 (ค.ศ.1962-1965) เช่น สารส่วนพระองค์ Octogesima Adveniens โดยพระสั น ตะปาปา ปอล ที่ 6 ข้อที่ 21 ที่ว่า “ผู้คนมีความส�ำนึกว่าการใช้ ประโยชน์จากธรรมชาติโดยขาดความยั้งคิด เสี่ยงต่อการท�ำลายธรรมชาติและตัวมนุษย์ เอง ด้วยปัญหาสิ่งแวดล้อมเป็นปัญหาสังคม ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ ครอบครั ว มนุ ษ ย์ ท้ั ง หมด คริ ส ตชนและทุ ก คนต้ อ งร่ ว มมื อ กั น รั ก ษา สิ่งแวดล้อม” และในที่สุดปี 2015 สมเด็จ พระสันตะปาปา ฟรังซิส ได้ตระหนักถึงเรือ่ ง จริ ย ธรรมสิ่ ง แวดล้ อ มอย่ า งจริ ง จั ง ได้ อ อก พระสมณสาส์น “ขอสรรเสริญองค์พระผู้เป็น เจ้า” (Laudato Si’) ซึ่งได้มุ่งความสนใจ และเอาใจใส่ในเรือ่ งเกีย่ วกับปัญหาสิง่ แวดล้อม โดยเฉพาะ
เจริญโชค สันดี, ออกัสติน สุกีโย ปิโตโย และลัดดาวรรณ์ ประสูตร์แสงจันทร์
พระสมณสาส์ น ของสมเด็ จ พระ สันตะปาปา ฟรังซิส มุง่ ประเด็นไปทีก่ ารดูแล เอาใจใส่ “บ้ า นส่ ว นรวมของเรา” (Our Common Home) คื อ ผื น แผ่ น ดิ น โลก ใบนี้ ซึ่ ง เราจะเห็ น ในสถานการณ์ ข องโลก ปัจจุบันว่าทรัพยากรธรรมชาติได้ถูกท�ำลายไป เป็ น อั น มาก ซึ่ ง รากเหง้ า ของปั ญ หานี้ ก็ คื อ มนุษย์เองที่เป็นต้นเหตุ พระองค์ท่านทรง ไตร่ตรองและตัง้ ค�ำถามทีท่ า้ ทายมาก ในวิกฤต ที่มีต่อสิ่งแวดล้อมในปัจจุบัน ด้วยความรัก และห่วงใยต่อมนุษย์ว่า “โลกชนิดไหนกันที่ พวกเราจะส่งมอบต่อให้กบั ผูท้ จี่ ะตามภายหลัง และลูกหลานที่ก�ำลังเจริญเติบโตตามมา” ค�ำตอบทีพ่ ระองค์เสนอนัน้ เรียกร้องให้มี การเปลีย่ นแปลงอย่างจริงจังในระบบการเมือง เศรษฐกิจ วัฒนธรรม และสังคม รวมถึงวิถี ชีวิตของเราแต่ละคนด้วย ในสมณสาส์นฉบับ นี้ได้มีเนื้อหาสาระหลากหลายประเด็นที่น่า สนใจเป็นอันมากเกีย่ วกับวิกฤตของสิง่ แวดล้อม ในปั จ จุ บั น โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง ในบทที่ 3 ของสมณสาส์นฉบับนี้ได้เสนอประเด็นที่น่า สนใจและลึกซึ้งมากเกี่ยวกับต้นเหตุหรือราก เหง้ า ของปั ญ หาของวิ ก ฤติ ที่ เ กิ ด ขึ้ น กั บ สิ่ ง แวดล้อมในปัจจุบนั โดยชีป้ ระเด็นไปทีอ่ ำ� นาจ ของเทคโนโลยีที่ครอบง�ำระบบความคิดของ มนุษย์ในปัจจุบนั การพัฒนาเกือบทุกอย่างใน ชีวิตของมนุษย์ขึ้นกับเทคโนโลยี มนุษย์ให้
ความส�ำคัญและน�ำเทคโนโลยีมาใช้เป็นเครื่อง มือ เป็นเครื่องชี้น�ำในการด�ำเนินชีวิตประจ�ำ วัน จนละเลยหรือไม่ค�ำนึงถึง “จริยธรรม” ในบทที ่ 3 พระสมณสาส์นได้พจิ ารณา ถึงรากเหง้าของปัญหาที่แท้จริงที่เป็นสาเหตุ ของวิกฤติทกี่ ำ� ลังทวีเพิม่ ขึน้ ทุกวัน ซึง่ พระองค์ กล่ า วไว้ ใ นข้ อ 15 ว่ า “ไม่ ใช่ เ พี ย งการ พิ จ ารณาถึ ง อาการที่ เ ห็ น ได้ เ ท่ า นั้ น แต่ พิจารณาเข้าไปถึงสาเหตุของวิกฤติที่ลึกซึ้งกว่า นั้ น อี ก ” โดยเกิ ด จากการเสวนากั บ บรรดา นั ก คิ ด และนั ก วิ ท ยาศาสตร์ ด ้ า นสั ง คมที่ เชีย่ วชาญทัว่ ทุกมุมโลกเพือ่ ท�ำให้เห็นและได้ยนิ เสี ย งคร�่ ำ ครวญของโลกในปั จ จุ บั น นี้ แม้ เทคโนโลยีต่างๆ จะเป็นเครื่องมือที่มักก่อให้ เกิดประโยชน์ในด้านต่างๆ เช่น ด้านการ สื่อสาร การแพทย์ การศึกษา การเกษตร กรรม การประมง ฯลฯ แต่ในคุณอนันต์กย็ งั มีโทษมหันต์ให้ได้พบเห็นอยู่เสมอทางสื่อต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิง่ ส�ำหรับกลุม่ เยาวชน ทีเ่ ปิด รับและให้ความส�ำคัญกับเทคโนโลยี โดยอาจ จะขาดความคิดไตร่ตรอง ไม่รอบคอบในการ ใช้มากกว่ากลุ่มคนในวัยผู้ใหญ่ ผู้สูงอายุ เมื่อมองเห็นปัญหาสิ่งแวดล้อมรอบตัว ทัง้ สภาพทีเ่ ป็นผลดีและผลร้ายทีต่ ามมาและได้ ศึกษาเรียนรู้ว่าพระศาสนจักรนั้นมีความเอาใจ ใส่ ต ่ อ ปั ญ หานี้ อ ย่ า งจริ ง จั ง ผู ้ วิ จั ย จึ ง มี แ นว ความคิดว่าควรจะมีการน�ำความรู้ความเข้าใจ
ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2016/2559 103
แนวทางการอภิบาลเยาวชนในด้านจริยธรรมการใช้เทคโนโลยีตามพระสมณสาส์น “ขอสรรเสริญองค์พระผู้เป็นเจ้า” (Encyclical Letter Laudato Si’)
ในการเอาใจใส่ของพระศาสนจักรต่อปัญหาที่ เกิดขึน้ ในสถานการณ์โลกปัจจุบนั นีไ้ ปประยุกต์ ใช้ในงานอภิบาลผู้คนบนโลกนี้ โดยเฉพาะ อย่างยิ่งบรรดาเยาวชนที่เป็นอนาคตของชาติ และพระศาสนจักร เพื่อเขาจะได้เข้าใจและ ตระหนักถึงสิ่งที่ก�ำลังเกิดขึ้นและเป็นรากเหง้า ของปัญหาในสถานการณ์โลกปัจจุบันที่ก�ำลัง ด�ำเนินไป ดังนัน้ ผูว้ จิ ยั จึงมีความสนใจศึกษา เรื่ อ ง แนวทางการอภิ บ าลเยาวชนด้ า น จริ ย ธรรมการใช้เ ทคโนโลยี ตามพระสมณ สาส์ น “ขอสรรเสริ ญ องค์ พ ระผู ้ เ ป็ น เจ้ า ” (Encyclical Letter Laudato Si’) เพื่อ ประโยชน์ในการช่วยในงานอภิบาลให้เยาวชน ตระหนักรู้ เข้าใจมุมมองของพระศาสนจักร คาทอลิ ก ในการเสริ ม สร้ า งจริ ย ธรรมการใช้ เทคโนโลยีในการพัฒนาชีวิตทั้งครบให้เข้าใจ อย่ า งถ่ อ งแท้ เ พื่ อ อนาคตในการสร้ า งสรรค์
แนวคิดเกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยี ตามพระสมณสาส์น “ขอสรรเสริญองค์พระผู้เป็นเจ้า” (Encyclical Letter Laudato Si’)
104 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
สังคมทีด่ แี ละดูแลสิง่ แวดล้อมให้ดตี อ่ ไปในภาย ภาคหน้า วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1 . เ พื่ อ ศึ ก ษ า จ ริ ย ธ ร ร ม ก า ร ใช ้ เทคโนโลยีของเยาวชนในปัจจุบัน 2. เพื่ อ ศึ ก ษาแนวทางการอภิ บ าล เยาวชนในด้ า นจริ ย ธรรมการใช้ เ ทคโนโลยี ตามพระสมณสาส์น “ขอสรรเสริญองค์พระ ผู้เป็นเจ้า” (Laudato Si’) ขอบเขตของการวิจัย ผู ้ วิ จั ย มุ ่ ง ศึ ก ษาเรื่ อ ง แนวทางการ อภิ บ าลเยาวชนในด้ า นจริ ย ธรรมการใช้ เทคโนโลยี ตามพระสมณสาส์ น “ขอ สรรเสริญองค์พระผูเ้ ป็นเจ้า” (Laudato Si’) โดยมีขอบเขตที่จะศึกษา ดังนี้ ศึกษาจริยธรรมการใช้เทคโนโลยี ของเยาวชนในปัจจุบัน แนวทางการอภิบาลเยาวชนในด้าน จริยธรรมการใช้เทคโนโลยี ตามพระสมณสาส์น “ขอสรรเสริญองค์พระผู้เป็นเจ้า” (Encyclical Letter Laudato Si’)
เจริญโชค สันดี, ออกัสติน สุกีโย ปิโตโย และลัดดาวรรณ์ ประสูตร์แสงจันทร์
1. กรอบแนวคิดของการวิจัย 2. ประชากร กลุ่มตัวอย่าง และกลุ่มผู้ให้ข้อมูล 1) ประชากร คือ เยาวชนในเขตวัด นั ก บุ ญ อั น นา ต� ำ บลท่ า จี น อ� ำ เภอเมื อ ง จั ง หวั ด สมุ ท รสาคร ที่ มี อ ายุ 15-25 ปี จ�ำนวน 70 คน 2) กลุ่มตัวอย่าง คือ เยาวชนในเขต วัดนักบุญอันนา ต�ำบลท่าจีน อ�ำเภอเมือง จั ง หวั ด สมุ ท รสาคร ที่ มี อ ายุ 15-25 ปี จ�ำนวน 60 คนได้มาโดยวิธีการสุ่มอย่างง่าย (Simple Random Sampling) ผู ้ วิ จั ย ก�ำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่าง จากการใช้ ตาราง เครจซี่และมอร์แกน (Krejcie and Morgan, 1970:608–609) 3) กลุม่ ผูใ้ ห้ขอ้ มูลในการศึกษาแนวทาง การอภิ บ าลเยาวชนด้ า นจริ ย ธรรมการใช้ เทคโนโลยี คือ ผูท้ รงคุณวุฒ ิ จ�ำนวน 7 คน ได้มาโดยวิธีการเลือกแบบเจาะจง นิยามศัพท์เฉพาะ เยาวชน (Youth) หมายถึง บุคคลที่ อยูใ่ นช่วงอายุทพี่ น้ จากวัยเด็กและก�ำลังเริม่ เข้า สู่วัยผู้ใหญ่ที่นับถือศาสนาคริสต์นิกายโรมัน คาทอลิก ในงานวิจยั นี ้ หมายถึง บุคคลทีอ่ ยู่ ในช่วงอายุที่พ้นจากวัยเด็กและก�ำลังเริ่มเข้า สู ่ วั ย ผู ้ ใ หญ่ ที่ นั บ ถื อ ศาสนาคริ ส ต์ นิ ก าย โรมันคาทอลิกทีม่ อี ายุ 15-25 ปี ทีอ่ ยูใ่ นเขต การดูแลของวัดนักบุญอันนา ท่าจีน จังหวัด สมุทรสาคร
การอภิบาลเยาวชน (Youth Ministry) หมายถึง การดูแลประชากรของพระเจ้าทีเ่ ป็น คนรุ่นเยาว์ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของประชากรของ พระเจ้า ซึง่ เป็นงานทีล่ ะเลยมิได้ ด้วยเหตุผล 3 ประการ คือ 1) เป็นค�ำสั่งของพระเยซู คริสตเจ้า 2) มาจากน�้ำพระทัยของพระเยซู คริสตเจ้าเอง และ 3) เยาวชนเป็นปัจจุบัน และอนาคตของสังคม และของพระศาสนจักร เทคโนโลยี (Technology) หมายถึง การน�ำเอาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ไปใช้ เพื่อ ให้บังเกิดผลในทางปฏิบัติให้เป็นไปตามความ มุ ่ ง หมายที่ ไ ด้ ว างไว้ เทคโนโลยี นั้ น มี 2 ลักษณะ คือ เป็น 1) เครื่องมือ 2) วิธี การ หรือ กระบวนการ ทีเ่ กิดจากธรรมชาติ หรือความคิดสร้างสรรค์ของมนุษย์ ทั้งหมด โดยอาศัยพระพรของพระเจ้าด้วย คุ ณ ธรรมจริ ย ธรรม (Virtue and Ethic) หมายถึง หลักปฏิบัติแห่งคุณความดี ที่ พ ระศาสนจั ก รคาทอลิ ก ยึ ด ถื อ เป็ น หลั ก ปฏิ บั ติ ที่ เ น้ น ความดี ภ ายใน สู ่ ก ารกระท� ำ ภายนอก เพื่อบรรลุถึงเป้าหมายสุดท้ายของ มนุษย์ อันได้แก่ ความสุขแท้ คือ การที่ มนุษย์ได้เห็นพระเจ้าเหมือนพระองค์ทรงอยู่ ต่อหน้า คุณธรรมแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ 1) คุณธรรมด้านเทววิทยา เป็นคุณธรรมที่ พระเจ้าประทานให้แก่เรา ได้แก่ ความเชื่อ ความหวัง และความรัก และ 2) คุณธรรม
ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2016/2559 105
แนวทางการอภิบาลเยาวชนในด้านจริยธรรมการใช้เทคโนโลยีตามพระสมณสาส์น “ขอสรรเสริญองค์พระผู้เป็นเจ้า” (Encyclical Letter Laudato Si’)
หลัก 4 ประการ เป็นคุณธรรมทีเ่ ราสามารถ แสวงหาได้เอง ได้แก่ ความรอบคอบ ความ ยุ ติ ธ รรม ความกล้ า หาญ และความรู ้ จั ก ประมาณการ ในงานวิจยั นี ้ คุณธรรมชีเ้ ฉพาะเจาะจง ไปที่คุณธรรมความรอบ และคุณธรรมความ ยุติธรรม พระสมณสาส์น (Encyclical Letter) หมายถึง เอกสารทีพ่ ระสันตะปาปาเขียนอย่าง เป็ น ทางการถึ ง สมาชิ ก ของพระศาสนจั ก ร คาทอลิกสากล ส�ำหรับสั่งสอนความจริงบาง ประการ ด้วยอ�ำนาจการสัง่ สอนตามปกติ ซึง่ แนวคิดในพระสมณสาส์น อาจเปลี่ยนแปลง ได้ในภายหลัง ในงานวิจัยนี้หมายถึง พระสมณสาส์น หมายถึง พระสมณสาส์น “ขอสรรเสริญองค์ พระผู ้ เ ป็ น เจ้ า ” (Laudato Si’) ของ พระสันตะปาปาฟรังซิส แนวทางการอภิบาลเยาวชนในด้าน จริยธรรมการใช้เทคโนโลยี ตามพระสมณ สาส์น “ขอสรรเสริญองค์พระผู้เป็นเจ้า” (Laudato Si’) หมายถึง การดูแล อบรม ให้ค�ำแนะน�ำแก่ประชากรรุ่นเยาว์ของพระเจ้า ให้ มี คุ ณ ธรรมความรอบคอบ และความ ยุติธรรม เพื่อให้เป็นผู้มีจริยธรรมในด้านการ ใช้เทคโนโลยีต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม ตาม แนวคิดของของพระสันตะปาปาฟรังซิส ใน
106 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
พระสมณสาสน์ “ขอสรรเสริญองค์พระผู้เป็น เจ้า” (Laudato Si’) ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ: 1. ได้ ท ราบถึ ง จริ ย ธรรมการใช้ เทคโนโลยีของเยาวชนในยุคปัจจุบัน 2. ได้แนวทางการอภิบาลเยาวชนใน ด้านจริยธรรมการใช้เทคโนโลยี สรุปผลการวิจัย 1. จริ ย ธรรมการใช้ เ ทคโนโลยี ข อง เยาวชนคาทอลิกในปัจจุบัน ในภาพรวม เยาวชนมีจริยธรรมการใช้ เทคโนโลยี อยู่ในระดับ มาก ( X =3.68 S.D.=.431) โดยเยาวชนมี คุ ณ ธรรมความ ยุ ติ ธ รรมอยู ่ ใ นระดั บ มาก ( X =3.76 S.D.=.542) และมีคณ ุ ธรรมความรอบคอบอยู่ ในระดับมาก ( X =3.65 S.D.=.419) 2. แนวทางการอภิ บ าลเยาวชน คาทอลิกในด้านจริยธรรมการใช้เทคโนโลยี 2.1 โรงเรียน วัดควรจัดกิจกรรมอบรม เยาวชนในด้ า นคุ ณ ธรรมต่ า งๆ โดยเฉพาะ อย่ า งยิ่ ง คุ ณ ธรรมความรอบคอบและความ ยุติธรรม 2.2 ผู้อภิบาลและผู้ปกครองเยาวชน ควรอบรมเยาวชนด้วยวิธีการในการเป็นแบบ อย่ า งที่ ดี ใ นการปลู ก ฝั ง จิ ต ส� ำ นึ ก ด้ า นความ
เจริญโชค สันดี, ออกัสติน สุกีโย ปิโตโย และลัดดาวรรณ์ ประสูตร์แสงจันทร์
รอบคอบและยุตธิ รรมในการใช้เทคโนโลยีกอ่ น เสมอ 2.3 วัดควรจัดกิจกรรมให้กับเยาวชน ได้สัมผัสประสบการณ์จริงๆ เกี่ยวกับคุณค่า และประโยชน์อันยิ่งใหญ่จากธรรมชาติที่ได้ มอบให้บรรดาประชากรของพระเจ้า เพื่อให้ เกิดการกลับใจ เปลี่ยนแนวคิดมุมมองที่เกี่ยว กั บ นิ เวศวิ ท ยา รั ก และให้ ค วามส� ำ คั ญ แก่ ธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม ให้เห็นคุณค่าและผล ของการใช้เทคโนโลยี 2.4 โรงเรียน ชุมชน ควรจัดกิจกรรม ให้เยาวชนมีสว่ นร่วมกันในการลดมลพิษ ทาง อากาศ ลดภาวะโลกร้อน ในส่วนที่พวกเขา สามารถท�ำได้ เช่น กิจกรรมปัน่ จักรยานร่วม กันในการช่วยลดมลพิษทางอากาศ 2.5 บ้าน วัด และโรงเรียน ควรทีจ่ ะ ร่วมมือกันในการปลูกฝังจิตส�ำนึกเยาวชนใน ด้านคุณธรรมความรอบคอบและความยุตธิ รรม ในด้านการใช้เทคโนโลยีในชีวิตประจ�ำวันของ เขา อภิปรายผล 1. จากการศึกษาพบว่า จริยธรรม การใช้เทคโนโลยีของเยาวชนคาทอลิกใน ปัจจุบนั ในภาพรวม เยาวชนมีจริยธรรมการ ใช้เทคโนโลยี อยูใ่ นระดับมาก ( X =3.68 S . D . = . 4 3 1 ) ที่ เ ป ็ น เ ช ่ น นี้ เ พ ร า ะ
เยาวชนในยุคปัจจุบันใช้เทคโนโลยีได้ดีในการ แสวงหาความรู้และประโยชน์ด้านอื่นๆ ซึ่ง สร้างความสะดวกสบายแก่เขาเองและสามารถ ควบคุมมันได้งา่ ยแต่ไม่คอ่ ยจะมีความรอบคอบ ในการใช้เทคโนโลยีมากเท่าที่ควร เน้นความ สะดวกสบายเพื่ อ ตั ว เองมากจนเกิ น ไป ไม่ ค� ำ นึ ง ถึ ง ผลกระทบที่ ต ามมาจากการใช้ เทคโนโลยี และยังไม่มีความรู้ดีเท่าที่ควรใน การใช้เทคโนโลยีของตนเองว่ามันส่งผลกระทบ ต่ อ สั ง คมและสิ่ ง แวดล้ อ มมากขนาดไหน สอดคล้องกับพระสมณสาส์น“ขอสรรเสริญองค์ พระผู้เป็นเจ้า” ข้อ 105 พระสันตะปาปา ทรงเห็นว่ามนุษย์เราทุกวันนีม้ คี วามโน้มเอียงที่ จะเชือ่ ว่า การมี “อ�ำนาจ” เพิม่ พูนขึน้ ถือ เป็ น ความก้ า วหน้ า ในตั ว เอง ซึ่ ง หมาย ถึ ง “ความปลอดภั ย ระดั บ สู ง สุ ด เป็ น ประโยชน์ มีการกินดีอยูด่ ี เป็นพลังทีเ่ ข้มแข็ง และเป็นคุณค่าที่สมบูรณ์พร้อม” ราวกับว่า ความเป็นจริง และความดี สามารถเกิดขึน้ ได้ ทันทีจากอ�ำนาจทางเทคโนโลยีและเศรษฐกิจ แต่ในความเป็นจริงแล้วพระองค์ได้ทรงเห็นถึง ความไม่รอบคอบของมนุษย์ปัจจุบันโดยกล่าว ว่า “มนุษย์สมัยใหม่ไม่ได้รับการศึกษาอบรม ที่ จ� ำ เป็ น ในการใช้ อ� ำ นาจของตนอย่ า งดี ” เพราะความก้าวหน้าอันยิ่งใหญ่ทางเทคโนโลยี มิได้ด�ำเนินไปพร้อมกับการพัฒนามนุษย์ใน เรื่องความรับผิดชอบคุณค่า และมโนธรรม
ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2016/2559 107
แนวทางการอภิบาลเยาวชนในด้านจริยธรรมการใช้เทคโนโลยีตามพระสมณสาส์น “ขอสรรเสริญองค์พระผู้เป็นเจ้า” (Encyclical Letter Laudato Si’)
พระองค์ได้อภิปรายเกี่ยวกับเรื่องนี้ว่ายุคสมัย แต่ละช่วงมีการพัฒนาความตระหนักรู้ในข้อ จ�ำกัดตัวเองน้อยมากด้วยเหตุน ี้ จึงเป็นไปได้ที่ ในปัจจุบันมนุษยชาติไม่ตระหนักถึงความร้าย แรงของข้อท้าทายที่เกิดขึ้น พระองค์ทรงเห็น ถึงแนวโน้มทีม่ นุษย์จะไม่มคี วามยุตธิ รรมต่อกัน และกันโดยกล่าวว่า “เป็นไปได้ตลอดเวลาที่ มนุษย์จะใช้อ�ำนาจของตนในทางที่ผิด เมื่อ ไม่มกี ฎเกณฑ์เรือ่ งเสรีภาพ แต่เป็นการอ้างถึง ความจ�ำเป็น เช่น ประโยชน์และความมัน่ คง ปลอดภัย” แต่ความจริงแล้วพระองค์มองว่า มนุ ษ ย์ ไ ม่ มี อิ ส ระในการเลื อ กอย่ า งเต็ ม ที่ อิสรภาพของเขาถูกจ�ำกัด เมือ่ เขาปล่อยตนเอง ให้ กั บ อ� ำ นาจมื ด ของความไม่ รู ้ ตั ว ความ ต้องการทันทีทันใด ความเห็นแก่ตัว และ ความรุนแรง ในความหมายนีม้ นุษย์จงึ เปลือย เปล่าต่อหน้าอ�ำนาจของตนเองนับวันแต่จะมาก ขึ้น โดยปราศจากปัจจัยที่จะควบคุม มนุษย์ มีกลไกที่ผิวเผิน แต่เราสามารถยืนยันได้ว่า ในปั จ จุ บั น มนุ ษ ย์ ข าดจริ ย ธรรมที่ เข้ ม แข็ ง ขาดวั ฒ นธรรมและจิ ต วิ ญ ญาณที่ จ ะจ� ำ กั ด มนุษย์ได้อย่างแท้จริง และท�ำให้มนุษย์รู้จัก การปฏิเสธอย่างรู้ตัว 2. แนวทางการอภิ บ าลเยาวชน คาทอลิกในด้านจริยธรรมการใช้เทคโนโลยี 2.1 โรงเรียน วัด ควรจัดกิจกรรม อบรมเยาวชนในด้ า นคุ ณ ธรรมต่ า งๆ โดย
108 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
เฉพาะอย่างยิ่งคุณธรรมความรอบคอบและ ความยุตธิ รรม ทีเ่ ป็นเช่นนีเ้ พราะเขาจะได้เห็น คุณค่าและความหมายของคุณธรรมนัน้ ๆ เพือ่ เป็นประโยชน์ต่อการด�ำเนินชีวิตและการใช้ เทคโนโลยีในชีวิตประจ�ำวันของเขาด้วย ให้ สอดคล้องกับพระสมณสาส์น “ขอสรรเสริญ องค์ พ ระผู ้ เ ป็ น เจ้ า ” ข้ อ 210 บรรดา ผู้ให้การศึกษาอบรมยังต้องพิจารณาทบทวน แนวทางการสอนจริ ย ธรรมด้ า นนิ เวศวิ ท ยา ในลักษณะทีพ่ ฒ ั นาความเป็นน�ำ้ หนึง่ ใจเดียวกัน ในความรับผิดชอบ และในการปกป้องที่มี ความเห็นอกเห็นใจกัน 2.2 ผู้อภิบาลและผู้ปกครองเยาวชน ควรอบรมเยาวชนด้วยวิธีการในการเป็นแบบ อย่ า งที่ ดี ใ นการปลู ก ฝั ง จิ ต ส� ำ นึ ก ด้ า นความ รอบคอบและยุตธิ รรมในการใช้เทคโนโลยีกอ่ น เสมอ ที่เป็นเช่นนี้เพราะการให้ค�ำสอนด้วย แบบอย่างทีเ่ ห็นได้นนั้ เยาวชนจะรับรูไ้ ด้ดแี ละ น่ า เชื่ อ ถื อ กว่ า การที่ จ ะอบรมแต่ เ พี ย งวาจา เท่านัน้ สอดคล้องกับที ่ สุขสันต์ ชาวปากน�ำ้ (2006:31) ได้ชี้แนะไว้ในเรื่องความต้องการ พืน้ ฐานของเยาวชน ในด้านความต้องการแรง บั น ดาลใจซึ่ ง เป็ น เรื่ อ งส� ำ คั ญ ในหมู ่ เ ยาวชน เพราะวัยนีเ้ ป็นวัยแห่งความคิดสร้างสรรค์ ถ้า เราสามารถสร้ า งแรงบั น ดาลใจให้ พ วกเขา พวกเขาจะกลายเป็นพลังส�ำคัญในการสร้าง สังคม แรงบันดาลใจอาจเกิดจากบางสิ่งบาง
เจริญโชค สันดี, ออกัสติน สุกีโย ปิโตโย และลัดดาวรรณ์ ประสูตร์แสงจันทร์
อย่างที่ท้าทาย แบบอย่างการมีส่วนร่วมและ การยอมรับจากผูใ้ หญ่ ซึง่ ผูว้ จิ ยั มีความคิดเห็น ว่าการเป็นแบบอย่างที่ดีนั้นมีความสัมพันธ์ เชื่อมโยงกันกับการเป็นแรงบันดาลใจ เพราะ เยาวชนทั่ ว ไปมั ก มี แ บบอย่ า ง (Idol) ของตนเอง และหากได้ เ ห็ น บุ ค คลใกล้ ตั ว ทีป่ ระพฤติปฏิบตั ติ นเป็นคนดี เป็นทีน่ า่ เคารพ นับถือ น่าชื่นชม บุคคลนั้นก็จะกลายเป็น บุคคลต้นแบบ (Idol) ของเขา เยาวชนก็จกั เกิดความต้องการที่จะเป็นให้ได้ตามบุคคลนั้น สิ่งนี้เป็นสิ่งส�ำคัญที่จะช่วยสร้างแรงจูงใจขึ้น ภายในตัวของเยาวชน ให้มีแนวคิดและหลัก ในการประพฤติปฏิบตั ทิ ดี่ ี ตามแบบอย่างทีเ่ ขา เห็นและนิยมชมชอบ 2.3 วัดควรจัดกิจกรรมให้กับเยาวชน ได้สัมผัสประสบการณ์จริงๆ เกี่ยวกับคุณค่า และประโยชน์อันยิ่งใหญ่จากธรรมชาติที่ได้ มอบให้บรรดาประชากรของพระเจ้า และแฝง ความรู้เรื่องเกี่ยวกับนิเวศวิทยาและเทววิทยา การสร้ า ง เพื่ อ ให้ เ กิ ด การกลั บ ใจ เปลี่ ย น แนวคิดมุมมอง ที่เกี่ยวกับนิเวศวิทยา ให้มี ความรั ก ความรั บ ผิ ด ชอบ และให้ ค วาม ส�ำคัญกับธรรมชาติสิ่งแวดล้อม เพราะได้เห็น ผลของการที่ เขาใช้ เ ทคโนโลยี ที่ ข าดความ รอบคอบและความยุติธรรมของพวกเขาเองที่ ได้ส่งผลร้ายต่อธรรมชาติที่เป็นสิ่งสร้างของ พระเจ้าเป็นอย่างมาก สอดคล้องกับพระสมณ
สาส์น “ขอสรรเสริญองค์พระผู้เป็นเจ้า” ข้อ 217 ที่ พ ระสั น ตะปาปาได้ ท รงมองเห็ น ว่ า วิกฤตนิเวศวิทยาที่เกิดจากความไม่รอบคอบ และไม่ยุติธรรมของมนุษย์ในการใช้เทคโนโลยี นี้ ท�ำให้เกิดเสียงเรียกให้มีการกลับใจภายใน อย่างลึกซึ้ง ถึงแม้ว่าคริสตชนบางคนที่ปฏิบัติ ศาสนกิจและภาวนา กลับเคยชินทีจ่ ะไม่สนใจ ห่วงใยสิ่งแวดล้อม โดยอ้างสัจนิยม (realism) เช่น คริสตชนจะมอบทุกอย่างไว้กับ พระเป็นเจ้า เพราะระเบียบต่างๆ ในจักรวาล นั้นมาจากพระองค์ทั้งสิ้นเพียงแค่เชื่อก็เพียง พอแล้ ว และปฏิ บั ติ นิ ย ม (pragmatism) เช่น การมาปฏิบตั ศิ าสนกิจต่างๆ ตามกฏของ ศาสนาเพียงเท่านีพ้ ระเป็นเจ้าก็ทรงพอพระทัย อย่างแน่นอน ส่วนคนอื่นๆ ก็เพิกเฉย ไม่ ตัดสินใจที่จะเปลี่ยนความเคยชินของตนเอง และปฏิบตั ติ นไม่สอดคล้องกัน ดังนัน้ พระองค์ ท่ า นจึ ง เสนอความคิ ด ว่ า คริ ส ตชนทุ ก คน ต้องการ “การกลับใจทางนิเวศวิทยา” ซึ่ง เรียกร้องให้บังเกิดผลจากการได้พบพระเยซู คริสตเจ้าในความสัมพันธ์กบั โลกทีล่ อ้ มรอบตัว คริสตชนเอง การด�ำเนินชีวิตกระแสเรียกของ ผู้ปกป้องผลงานของพระเจ้า เป็นส่วนส�ำคัญ ในชีวิตที่เปี่ยมด้วยคุณธรรม สิ่งนี้มิใช่เป็นทาง เลือกหรือเป็นเพียงมิติรองของประสบการณ์ คริสตชน
ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2016/2559 109
แนวทางการอภิบาลเยาวชนในด้านจริยธรรมการใช้เทคโนโลยีตามพระสมณสาส์น “ขอสรรเสริญองค์พระผู้เป็นเจ้า” (Encyclical Letter Laudato Si’)
2.4 โรงเรียน ชุมชนควรจัดกิจกรรมให้ เยาวชนมี ส ่ ว นร่ ว มกั น ในการลดมลพิ ษ ทาง อากาศ ลดภาวะโลกร้อน ในสิ่งที่พวกเขา สามารถท� ำ ได้ ที่ เ ป็ น เช่ น นี้ เ พราะมี บ าง กิจกรรมทีเ่ ยาวชนท�ำเป็นกลุม่ ได้ในการช่วยกัน อนุรักษ์ธรรมชาติ เช่น กิจกรรมเพาะต้นไม้ แจกจ่ายให้กับหมู่บ้าน กิจกรรมปั่นจักรยาน ร่วมกันในโอกาสต่างๆ หรือปั่นจักรยานร่วม กันเป็นกลุ่มไปโรงเรียนหรือไปแสวงบุญในวัด ต่ า งๆสอดคล้ อ งกั บ พระสมณสาส์ น “ขอ สรรเสริญองค์พระผู้เป็นเจ้า” ข้อ 211 ที่ กล่าวว่า การท�ำหน้าที่ดูแลรักษาสิ่งสร้างด้วย กิจกรรมเล็กๆน้อยๆ ในชีวิตประจ�ำวันเป็น เรื่องงดงามมาก และเป็นเรื่องน่าอัศจรรย์ที่ การศึกษาสามารถกระตุ้นให้เกิดขึ้นได้ จน กลายเป็นวิถีการด�ำเนินชีวิต การปลูกฝังให้มี ความรับผิดชอบด้านสิ่งแวดล้อม สามารถส่ง เสริมพฤติกรรมที่รอบคอบและยุติธรรมซึ่งมี ความส�ำคัญและส่งผลโดยตรงต่อการรักษาสิ่ง แวดล้อม เช่น หลีกเลี่ยงการใช้พลาสติกและ กระดาษ ลดการใช้ น�้ ำ คั ด แยกขยะ ท� ำ อาหารในปริมาณทีส่ ามารถรับประทานได้หมด ปฏิบัติต่อสิ่งมีชีวิตอื่นๆ ด้วยความใส่ใจ ใช้ การคมนาคมขนส่ ง สาธารณะหรื อ ใช้ ย าน พาหนะเดียวกัน ทางเดียวกันไปด้วยกัน ปลูก ต้นไม้ ปิดไฟที่ไม่จ�ำเป็น ทั้งหมดนี้เป็นส่วน หนึ่ ง ของความคิ ด สร้ า งสรรค์ ที่ มี น้� ำ ใจและ
110 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
เหมาะสม ซึง่ แสดงถึงส่วนทีด่ ที สี่ ดุ ในตัวมนุษย์ การน�ำสิ่งใดสิ่งหนึ่งกลับมาใช้แทนที่จะทิ้งไป ทันที เพราะเรามีแรงจูงใจที่ลึกซึ้ง นี่คือการ กระท�ำด้วยความรักที่แสดงออกถึงศักดิ์ศรีของ เรา 2.5 บ้าน วัด และโรงเรียน ควรทีจ่ ะ ร่วมมือกันในการปลูกฝังจิตส�ำนึกเยาวชนให้มี คุณธรรมความรอบคอบและความยุติธรรมใน ด้านการใช้เทคโนโลยีในชีวิตประจ�ำวันของเขา ที่เป็นเช่นนี้เพราะสิ่งนี้เป็นประโยชน์มากที่สุด ต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม ทั้งด้านการอบรม แบบอย่างและกิจกรรมต่างๆ เพื่อให้พวกเขา ได้มีจิตใจที่เปี่ยมไปด้วยคุณธรรมจริยธรรมใน การด�ำเนินชีวิตและการใช้เทคโนโลยีอย่างถูก ต้องและเหมาะสม สอดคล้องกับพระสมณ สาส์น “ขอสรรเสริญองค์พระผู้เป็นเจ้า” ข้อ 213 ทีก่ ล่าวว่า พระสันตะปาปาทรงมองเห็น ว่า สถานที่ส�ำคัญที่ให้การศึกษาอบรม เช่น โรงเรียน ครอบครัว วิธกี ารสือ่ สาร การสอน ค�ำสอน ฯลฯ การศึกษาอบรมทีด่ ใี นโรงเรียน ตั้งแต่วัยเด็กที่สุด เป็นการหว่านเมล็ดพันธุ์ ที่สามารถบังเกิดผลตลอดชีวิต พระองค์ท่าน นั้นต้องการเน้นถึงความส�ำคัญของครอบครัว เพราะ “ครอบครัวเป็นสถานที่ซึ่งชีวิตอันเป็น พระพรของพระเจ้า ด�ำรงอยู่อย่างเหมาะสม และได้รับการปกป้องจากการโจมตีที่เกิดขึ้น มากมายเป็นสถานทีท่ คี่ รอบครัวสามารถพัฒนา
เจริญโชค สันดี, ออกัสติน สุกีโย ปิโตโย และลัดดาวรรณ์ ประสูตร์แสงจันทร์
ขึน้ ตามข้อเรียกร้องของการเจริญเติบโตแบบ มนุษย์ได้อย่างแท้จริง ตรงกันข้ามกับสิง่ ทีเ่ รียก ว่าวัฒนธรรมแห่งความตายครอบครัวนั้นเป็น สถานทีข่ องวัฒนธรรมแห่งชีวติ ” ในครอบครัว เราปลูกฝังปฏิกริ ยิ าตอบสนองแรกของความรัก และการเคารพชีวติ เช่น การใช้สงิ่ ต่างๆ อย่าง ถูกต้อง ความเป็นระเบียบ และการรักษา ความสะอาด ความเคารพต่ อ ระบบนิ เวศ ท้ อ งถิ่ น และการปกป้ อ งสิ่ ง สร้ า งทุ ก ชนิ ด ครอบครัวเป็นสถานทีแ่ ห่งการอบรมทีส่ มบูรณ์ ซึ่ ง มี มิ ติ ที่ แ ตกต่ า งและสั ม พั น ธ์ เชื่ อ มโยงกั น จนถึงการบรรลุวุฒิภาวะในครอบครัวเราเรียน รู ้ ที่ จ ะขออนุ ญ าตด้ ว ยความเคารพ รู ้ จั ก พู ด “ขอบคุ ณ ” ในสิ่ ง ที่ ไ ด้ รั บ สามารถ ควบคุมความก้าวร้าวหรือความรุนแรงได้ และ รู ้ จั ก ขอโทษเมื่อตนเป็นต้นเหตุให้เ กิดความ เสี ย หาย ท่ า ที เ ล็ ก ๆ น้ อ ยๆ เหล่ า นี้ ซึ่ ง แสดงถึงความสุภาพอย่างจริงใจเป็นการสร้าง วัฒนธรรมแห่งชีวิตร่วมกันแสดงความเคารพ ต่อผู้ที่อยู่ล้อมรอบเรา ข้อเสนอแนะในการน�ำผลวิจัยไปใช้ 1. โรงเรียน วัดควรจัดกิจกรรมอบรม เยาวชนในด้านคุณธรรมต่างๆโดยเฉพาะอย่าง ยิ่งคุณธรรมความรอบคอบและความยุติธรรม 2. ผูอ้ ภิบาลและผูป้ กครองเยาวชนควร อบรมเยาวชนด้วยวิธีการในการเป็นแบบอย่าง
ที่ดีในการปลูกฝังจิตส�ำนึกด้านความรอบคอบ และยุติธรรมในการใช้เทคโนโลยีก่อนเสมอ 3. วั ด ควรจั ด กิ จ กรรมให้ เ ยาวชนได้ สัมผัสประสบการณ์จริงๆ เกีย่ วกับคุณค่าและ ประโยชน์อันยิ่งใหญ่จากธรรมชาติที่ได้มอบให้ บรรดาประชากรของพระเจ้า เพื่อให้เกิดการ กลับใจ เปลี่ยนแนวคิดมุมมอง ที่เกี่ยวกับ นิเวศวิทยาให้มคี วามรัก ความรับผิดชอบและ ให้ความส�ำคัญกับธรรมชาติสิ่งแวดล้อมคุณค่า และผลของการใช้ เ ทคโนโลยี ที่ ข าดความ รอบคอบและความยุติธรรมของพวกเขาเองที่ ได้ส่งผลร้ายต่อธรรมชาติที่เป็นสิ่งสร้างของ พระเจ้าเป็นอย่างมาก 4. โรงเรียน ชุมชน ควรจัดกิจกรรม ให้เยาวชนมีส่วนร่วมกันในการลดมลพิษทาง อากาศ ลดภาวะโลกร้อน ในสิ่งที่พวกเขา สามารถท�ำได้ 5. บ้าน วัด และโรงเรียน ควรที่จะ ร่วมมือกันในการปลูกฝังจิตส�ำนึกเยาวชนใน ด้านคุณธรรมความรอบคอบและความยุตธิ รรม ในด้านการใช้เทคโนโลยีในชีวิตประจ�ำวันของ เขา ข้อเสนอแนะส�ำหรับการวิจัยครั้งต่อไป 1. ควรวิจยั เกีย่ วกับ รูปแบบความร่วม มือในด้านจริยธรรมของโรงเรียน และหน่วย งาน องค์กรต่างๆ ในการอบรมเด็กๆ และ
ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2016/2559 111
แนวทางการอภิบาลเยาวชนในด้านจริยธรรมการใช้เทคโนโลยีตามพระสมณสาส์น “ขอสรรเสริญองค์พระผู้เป็นเจ้า” (Encyclical Letter Laudato Si’)
เยาวชน ให้เกิดการกลับใจ เปลีย่ นแนวคิดมุม มอง ที่ เ กี่ ย วกั บ นิ เ วศวิ ท ยา เพื่ อ ช่ ว ยให้ ตระหนั ก ว่ า ผลกระทบจากการกระท� ำ ของ มนุษย์ทไี่ ร้จริยธรรมและไม่ใส่ใจต่อสิง่ แวดล้อม รอบข้ า งนั้ น ได้ ท� ำ ลายธรรมชาติ ซึ่ ง เป็ น สิ่งสร้างของพระเจ้าเป็นอย่างมาก โดยไม่ ก�ำหนดเฉพาะที่เป็นของศาสนาคริสต์เท่านั้น เพราะในพระสมณสาส์น “ขอสรรเสริญองค์ พระผู้เป็นเจ้า” (Laudato Si’) พระสันตะ ปาปาฟรังซิสได้เขียนถึงคนทัง้ โลก ห่วงใยผูค้ น ทั้งโลก เพราะพระองค์ทรงมองโลกนี้เหมือน บ้านส่วนรวมของคนทั้งโลก 2. ควรวิจัยเรื่อง ปัจจัยที่ส่งเสริมให้ เยาวชนมีคุณธรรมในการใช้เทคโนโลยีเพื่อสิ่ง แวดล้อม เนือ่ งจากเยาวชนมีความรูบ้ า้ งในการ ใช้เทคโนโลยีเพื่ออนุรักษ์สิ่งแวดล้อมอยู่ แต่ บางครั้งอาจขาดแรงจูงใจที่จะกระท�ำจึงควรมี การศึกษาเรื่องนี้เพื่อส่งเสริมให้เยาวชนให้มี คุ ณ ธรรมในการใช้ ส่ิ ง ของต่ า งๆ ให้ เ ป็ น ประโยชน์มากที่สุดเพื่อสังคมและสิ่งแวดล้อม และกลับใจมารักและเห็นความส�ำคัญของสิ่ง แวดล้อมมากยิ่งขึ้น อันเป็นสิ่งส�ำคัญที่พระ สั น ตะปาปาฟรั ง ซิ ส ระบุ ไว้ ใ น พระสมณ สาส์ น “ขอสรรเสริ ญ องค์ พ ระผู ้ เ ป็ น เจ้ า ” (Laudato Si’)
112 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
บรรณานุกรม แผนกคริ ส ตศาสนธรรม อั ค รสั ง มลฑล กรุ ง เทพฯ. ค� ำ สอนพระศาสนจั ก ร คาทอลิก ภาค 3: ชีวติ ในพระคริสตเจ้า. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์อสั สัมชัญ, 2542. พระสันตะปาปา ฟรังซิส. พระสมณสาสน์ ขอสรรเสริญองค์พระผูเ้ ป็นเจ้า. (เซอร์ มารี หลุยส์ พรฤกษ์งาม, ผู้แปล). พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ อัสสัมชัญ, 2015. สมสุ ข แดงเดช. เอกสารค� ำ แนะน� ำ ด้ า น อภิบาลสัตบุรุษ ชื่อ “โลกยุคใหม่” (Aetatis Novae) ว่าด้วยเรื่องสื่อ มวลชน โอกาสครบรอบปี ที่ 20 ของพระสมณสาสน์ ชือ่ “ความเป็น หนึ่ ง เดี ย วและความก้ า วหน้ า ” (Communio et Progressio). พิมพ์ครัง้ ที ่ 2. กรุงเทพฯ: สือ่ มวลชน ประเทศไทย. โรงพิ ม พ์ อั ส สั ม ชั ญ . 1996. สี ล ม ไชยเผื อ ก. ค� ำ สอนด้ า นสั ง คมของ พระศาสนจักร. กรุงเทพฯ: การพิมพ์ คาทอลิกประเทศไทย, 2002. สุ ข สั น ต์ ชาวปากน�้ ำ . คู ่ มื อ การอภิ บ าล เยาวชน. กรุ ง เทพฯ: ส� ำ นั ก พิ ม พ์ โอเดียนสโตร์, 2006.
เจริญโชค สันดี, ออกัสติน สุกีโย ปิโตโย และลัดดาวรรณ์ ประสูตร์แสงจันทร์
Best, John W. Research in Education. 2nd. ed. New Jersey: Prentice Hall Inc., 1997. Cronbach, Lee J. Essentials of psychological Testing. 4th ed. New York: Harper & Row Publishers, 1984. Krejcie, R.V., and P.W. Morgan. Educational and Psychological Measurement. New York: Harper & Row Publishers, 1970. Micheal V. Murray. S. J. Problems in Ethics. New York: Henry Holt and Company. Inc, 1959.
ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2016/2559 113
บทบาทของซิสเตอร์คณะภคินแี พร่ธรรมแห่ง
พระนางมารียผ์ ปู้ ฏิสนธินริ มลในการส่งเสริมคุณธรรม ความเชือ่ ให้เด็กและเยาวชนชาวปกาเกอะญอ: กรณีศกึ ษาศูนย์อบรมเด็กชาวไทยภูเขา แม่ปอน
TImmaculate he Roles of Missionary Sisters of Mary Conception in Strengthening
Faith of The Karen Children and Youth: A Case Study of The Hill Tribes Formation Centre, Mae-Pon. ศรศักดิ์ เจริญสุขทวีพูน * มหาบัณฑิตสาขาวิชาเทววิทยาจริยธรรม วิทยาลัยแสงธรรม
บาทหลวง ดร.ออกัสติน สุกิโย ปิโตโย
* บาทหลวงในคริสต์ศาสนจักรโรมันคาทอลิก สังกัดคณะเยสุอิต * อาจารย์ประจำ�หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทววิทยาจริยธรรม วิทยาลัยแสงธรรม
บาทหลวงวีรศักดิ์ ยงศรีปณิธาน * บาทหลวงในคริสต์ศาสนจักรโรมันคาทอลิก สังกัดสังฆมณฑลเชียงใหม่ * อาจารย์ประจ�ำวิทยาลัยแสงธรรม
ผศ.ดร.ลัดดาวรรณ์ ประสูตร์แสงจันทร์ * อาจารย์ประจ�ำหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาคริสตศาสนศึกษา วิทยาลัยแสงธรรม
Sorasak Chareonsukthawiphun * Master of Arts Program in Moral Theology, Saengtham College.
Rev.Dr.Augstinus Sugiyo Pitoyo, S.J., Ph.D.
* Reverend in Roman Catholic Church, Jesuit. * Lecturer of The Master of Arts Program in Moral Theology, Saengtham College. Rev.Werasak Yongsripanithan * Reverend in Roman Catholic Church, Chiang Mai Diocese * Lecturer at Saengtham College.
Asst.Prof.Laddawan Prasootsaengchan, Ph.D.
* Lecturer, Christian Studies Faculty of Religious, Saengtham College.
ศรศักดิ์ เจริญสุขทวีพูน, ออกัสติน สุกีโย ปิโตโย, วีรศักดิ์ ยงศรีปณิธาน และลัดดาวรรณ์ ประสูตร์แสงจันทร์
บทคัดย่อ
การวิจยั นีม้ วี ตั ถุประสงค์เพือ่ 1) ศึกษาบทบาทของซิสเตอร์คณะ ภคินแี พร่ธรรมแห่งพระนางมารียผ์ ปู้ ฏิสนธินริ มลในการส่งเสริมคุณธรรม ความเชื่อให้เ ด็ก และเยาวชนชาวปกาเกอะญอ โดยการสั ม ภาษณ์ ซิสเตอร์คณะภคินีแพร่ธรรมแห่งพระนางมารีย์ผู้ปฏิสนธินิรมลที่ท�ำงาน ที่ศูนย์อบรมเด็กชาวไทยภูเขา แม่ปอน จ�ำนวน 5 คน และคุณพ่อ เจ้าอาวาสวัดแม่พระรับเกียรติยกขึ้นสวรรค์ เครื่องมือที่ใช้คือ แบบ สัมภาษณ์แบบไม่มีโครงสร้าง 2) ศึกษาแนวทางการส่งเสริมคุณธรรม ความเชือ่ ให้กบั เด็กและเยาวชนชาวปกาเกอะญอ โดยการสนทนากลุม่ ผู้ทรงคุณวุฒิ เครื่องมือที่ใช้คือ ประเด็นการสนทนากลุ่ม ผลการวิจัยพบว่า: 1. ซิสเตอร์คณะภคินแี พร่ธรรมแห่งพระนางมารียผ์ ปู้ ฏิสนธินริ มล มีบทบาทในการส่งเสริมคุณธรรมความเชื่อให้เด็กและเยาวชนชาวปกา เกอะญอ ดังนี้ 1) การวางแผนการส่งเสริมพัฒนาความเชื่อและการ อภิบาลดูแล 2) ด�ำเนินการส่งเสริมพัฒนาความเชื่อและการอภิบาล ดูแล โดยการสอนค�ำสอน การอภิบาลดูแลการเป็นประจักษ์พยานและ เป็นตัวอย่างด้วยการด�ำเนินชีวิตที่เรียบง่ายการสวดภาวนาและอุทิศตน ในการท�ำงาน และการเข้าถึงผูค้ นด้วยการอยูร่ ว่ มกับผูอ้ นื่ สิง่ ส�ำคัญใน การส่งเสริมคุณธรรมความเชื่อ คือ การด�ำเนินชีวิตตามความเชื่อ 2. แนวทางในการส่ ง เสริ ม คุ ณ ธรรมความเชื่ อ คื อ การเป็ น ประจักษ์พยานและเป็นแบบอย่างในสิ่งที่เชื่อ สอนในสิ่งที่เชื่อ มีส่วน ร่วมและมีประสบการณ์ทางความเชือ่ ด้วยกันทางพิธกี รรมและกิจศรัทธา ให้ครอบครัวมีส่วนร่วมในการส่งเสริมความเชื่อ ส่งบุคลากรศึกษาเพิ่ม เติมทางด้านค�ำสอนและพัฒนาสือ่ การสอน และส่งเสริมการเรียนภาษา ปกาเกอะญอ เพื่อให้ความเชื่อนี้เข้าสู่ชีวิตและวัฒนธรรมให้เด็กและ เยาวชนชาวปกาเกอะญออย่างยั่งยืน ค�ำส�ำคัญ: บทบาท/ซิสเตอร์คณะภคินีแพร่ธรรมแห่งพระนางมารีย์ ผู้ปฏิสนธินิรมล/คุณธรรมความเชื่อ/ชาวปกาเกอะญอ/ศูนย์อบรมเด็ก ชาวไทยภูเขา แม่ปอน ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2016/2559 115
บทบาทของซิสเตอร์คณะภคินีแพร่ธรรมแห่งพระนางมารีย์ผู้ปฏิสนธินิรมลในการส่งเสริมคุณธรรมความเชื่อ ให้เด็กและเยาวชนชาวปกาเกอะญอ : กรณีศึกษาศูนย์อบรมเด็กชาวไทยภูเขา แม่ปอน
Abstract
The objectives of this study were: 1) To research the role of the Missionary sisters of Mary Immaculate Conception in strengthening the faith of Karen children and youth by studying the information provided by the unstructured interviews. The interviews were done with five sisters who are engaged in the role of strengthening faith and supporting the faith of the children, youth in their care at the Centre in Mae-Pon and the parish priest of Mary Assumption Mae-pon church. 2) To study for ways of strengthening the faith of the Karen children and youth through organization of discussion groups. The results were as follows: 1. The Missionary Sisters strengthen the faith of Karen children and youth in these ways 1) Planning to strengthen the faith and the pastoral care and 2) Developing the faith by catechism, pastoral care witnessing and being an example by leading a simple lifestyle, praying, dedicating oneself at work, and reaching out to others by sharing lives with them. The principle factor in developing the virtue of faith is living one’s life according to that faith. 2. The principal way of strengthening faith is by being a witness to and being an example of faith, teaching what one believes and experiencing faith together through the liturgy and piety. The family has a role in strengthening faith. Missionaries need
116 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
ศรศักดิ์ เจริญสุขทวีพูน, ออกัสติน สุกีโย ปิโตโย, วีรศักดิ์ ยงศรีปณิธาน และลัดดาวรรณ์ ประสูตร์แสงจันทร์
the support of ongoing formation in catechesis and in the use of mass media. There is a need for a greater teaching through Karen language and promotion of it so that the faith would permeate the life and culture of Karen children and youth in the year to come. Key Word: Role/Missionary Sisters of Mary Immaculate Conception/the virtue of faith/Karen people/ The Hill Tribes’ Formation Centre, Mae-Pon. ความเป็นมาและความส�ำคัญของปัญหา ศูนย์อบรมเด็กชาวไทยภูเขาบ้านแม่ปอน เป็นศูนย์ฯ แรกแห่งการแพร่ธรรมสู่ชนเผ่า ปกาเกอะญอ จุดประสงค์คอื เพือ่ หว่านเมล็ด พั น ธุ ์ แ ห่ ง ความเชื่ อ ลงในจิ ต ใจของเด็ ก และ เยาวชนชาวปกาเกอะญอทีม่ าจากหมูบ่ า้ นต่างๆ ในปี ค.ศ.1954 เริ่มมีการเรียนการสอนที่ โรงเรียนบ้านแม่ปอน หลังจากนั้น 11 ปี พระสังฆราชแบร์นาร์ด ลูเซียน ลากอสต์ ได้ ตั้งคณะซิสเตอร์พื้นเมืองขึ้นที่หมู่บ้านแม่ปอน ในปี ค.ศ.1965 คือซิสเตอร์คณะธรรมทูต แห่งแม่พระผู้ปฏิสนธินิรมล (แม่ปอน) Catechist Sisters of Mary Immaculate (C.A.M.I.) ซึ่งภายหลังสมัชชาของคณะในปี ค.ศ.2009 มีมติให้เปลี่ยนชื่อของคณะอย่าง เป็ น ทางการเป็ น คณะภคิ นี แ พร่ ธ รรมแห่ ง
พระนางมารีย์ผู้ปฎิสนธินิรมล (Missionary Sisters of Mary Immaculate Conception) ในปี ค.ศ.2013 ทางคณะได้ย้ายบ้าน ศูนย์กลางจากหมู่บ้านแม่ปอน มาที่บ้านแม่ เตี๊ ย ะ ต� ำ บลดอยแก้ ว อ� ำ เภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่) ซิสเตอร์คณะนี้ได้ท�ำงาน แพร่ธรรมและสอนค�ำสอนทีศ่ นู ย์อบรมเด็กชาว ไทยภูเขาแม่ปอนเป็นเวลา 50 ปีแล้ว ส�ำหรับหมู่บ้านแม่ปอน ณ เวลานี้ก็มี ปัญหาทางด้านจริยธรรมเกิดขึ้นด้วยเช่นกัน จากการสัมภาษณ์ซิสเตอร์แม่ปอน 3 คน เมื่อวันที่ 20-21 สิงหาคม พ.ศ.2558 ถึง ปัญหาต่างๆ ของเด็กและเยาวชนบริเวณบ้าน แม่ปอน ซิสเตอร์สชุ าดา รักพงไพร กล่าวว่า ปั จ จุ บั น นี้ ป ั ญ หาที่ เ กิ ด ขึ้ น ในหมู ่ เ ยาวชนใน หมู่บ้านนี้คือการติดสุรา การด�ำเนินชีวิตด้าน
ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2016/2559 117
บทบาทของซิสเตอร์คณะภคินีแพร่ธรรมแห่งพระนางมารีย์ผู้ปฏิสนธินิรมลในการส่งเสริมคุณธรรมความเชื่อ ให้เด็กและเยาวชนชาวปกาเกอะญอ : กรณีศึกษาศูนย์อบรมเด็กชาวไทยภูเขา แม่ปอน
ศีลธรรมเริ่มเสื่อมลง และการใช้สื่อจนเกิน ความจ�ำเป็น ซึ่งส่งผลต่อการอบรมเด็กศูนย์ฯ เหมือนกัน สอดคล้องกับความคิดเห็นของซิส เตอร์ เซซีลอี า ลาวา ปูลอื เจ้าคณะฯ ระบุ ว่าปัญหาที่เกิดขึ้นเป็นปัญหาทางด้านศีลธรรม ความไม่ซื่อสัตย์ในชีวิตสมรส สาเหตุมาจาก การไม่อยู่ด้วยกัน ต่างคนต่างท�ำงานหาเงิน อย่างเดียว และที่ส�ำคัญไม่มีเวลาไปวัด และ ซิสเตอร์นฤมล กระบวนศิร ิ อธิการบ้านกล่าว ถึงปัญหาที่เกิดขึ้นว่า มีปัญหาใหม่ๆ บาง อย่างซึ่งไม่เคยเกิดขึ้น เช่น ปัญหาจากการมี พฤติ ก รรมรั ก ร่ ว มเพศ ปั ญ หาเรื่ อ งชู ้ ส าว ปัญหาการอยูด่ ว้ ยกันก่อนแต่ง การไม่เอาใจใส่ ในเรื่องศาสนา ซึ่งจากที่ได้สัมภาษณ์ซิสเตอร์ ทั้ง 3 คน ให้ค�ำตอบสอดคล้องกันว่า ใน หมู ่ บ ้ า นแม่ ป อน สมาชิ ก ของหมู ่ บ ้ า นมี พฤติกรรมทีไ่ ม่เหมาะสมอันเกิดจากปัญหาด้าน ศีลธรรมของสมาชิก หากไม่มกี ารปลูกฝังหรือ เฝ้าระวังในสภาพสังคมแวดล้อมทีม่ ปี ญ ั หาด้าน ศีลธรรมเช่นนี ้ เด็กและเยาวชนดังกล่าว ก็คง มีแนวโน้มที่จะได้รับผลกระทบจากปัญหาที่มี อยู่รอบตัว หรือเป็นผู้ก่อให้เกิดปัญหาด้านศีล ธรรมนั้นเสียเอง “ความเชือ่ คือการตัดสินใจว่าจะเลือกสิง่ ใดสิง่ หนึง่ ความเชือ่ ไม่ใช่เครือ่ งประดับชีวติ ให้ ชีวิตดูเก๋ๆ ความเชื่อไม่ใช่เค้กที่โรยหน้าด้วย น�้ำตาลให้ดูสวยงาม แต่เป็นความซื่อสัตย์ต่อ ความรักและความจริง” (วศิน มานะสุราง 118 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
กุ ล , 2014:285) “เมื่ อ ความเชื่ อ เป็ น สิ่ ง ที่ ส�ำคัญ และมีผลต่อการตัดสินใจของผู้คนการ ส่งเสริมความเชื่อให้ทุกๆ คน โดยเฉพาะใน เด็กและเยาวชนจึงเป็นสิ่งส�ำคัญ (Lumen Fidei #38) เมื่อเด็กและเยาวชนมีคุณธรรม ความเชื่อแล้ว ย่อมก่อให้เกิดผลดีต่อพวกเขา แต่ ล ะคนเองในเรื่ อ งการตั ด สิ น ใจเลื อ กวิ ถี ด�ำเนินชีวิต หรือการกระท�ำ ความเชื่อจะ ท�ำให้พวกเขาอยู่ในหลักศีลธรรมของศาสนา เป็นลูกที่ดีของพ่อแม่ เป็นอนาคตและความ หวังทั้งของชาติและพระศาสนจักรคาทอลิก ผู้วิจัยจึงสนใจที่จะศึกษาเรื่อง บทบาท ของซิสเตอร์คณะภคินีแพร่ธรรมแห่งพระนาง มารีย ์ ผูป้ ฏิสนธินริ มลในการส่งเสริมคุณธรรม ความเชื่อให้เด็กและเยาวชนชาวปกาเกอะญอ กรณีศกึ ษา: ศูนย์อบรมเด็กชาวไทยภูเขา แม่ ปอน เพื่อประโยชน์ในการอภิบาลคริสตชน ชาวปกาเกอะญอต่อไป วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพือ่ ศึกษาบทบาทของซิสเตอร์คณะ ภคินีแพร่ธรรมแห่งพระนางมารีย์ผู้ปฏิสนธิ นิรมลในการส่งเสริมคุณธรรมความเชื่อให้เด็ก และเยาวชนชาวปกาเกอะญอ 2. เพื่ อ ศึ ก ษาแนวทางการส่ ง เสริ ม คุณธรรมความเชื่อให้กับเด็กและเยาวชนชาว ปกาเกอะญอ
ศรศักดิ์ เจริญสุขทวีพูน, ออกัสติน สุกีโย ปิโตโย, วีรศักดิ์ ยงศรีปณิธาน และลัดดาวรรณ์ ประสูตร์แสงจันทร์
ขอบเขตการศึกษา
กรอบแนวความคิดการวิจัย
คุณธรรมความเชื่อ บทบาทของซิสเตอร์คณะภคินีแพร่ธรรม แห่งพระนางมารีย์ผู้ปฏิสนธินิรมล ในการส่งเสริมคุณธรรมความเชื่อ ให้เด็กและเยาวชนชาวปกาเกอะญอ
คุณธรรมความเชื่อของ เด็กและเยาวชนชาวปกาเกอะญอ
แนวทางการส่งเสริมคุณธรรมความเชื่อ ให้เด็กและเยาวชนชาวปกาเกอะญอ ขอบเขตด้านกลุ่มผู้ให้ข้อมูล 1) กลุม่ ผูใ้ ห้ขอ้ มูลในการศึกษาบทบาท ของซิสเตอร์คณะภคินีแพร่ธรรมแห่งพระนาง มารีย์ผู้ปฏิสนธินิรมลในการส่งเสริมคุณธรรม ความเชื่อให้เด็กและเยาวชนชาวปกาเกอะญอ คือ ซิสเตอร์คณะแพร่ธรรมแห่งพระนางมารีย์ ผูป้ ฏิสนธินริ มล จ�ำนวน 5 คน ได้มาโดยวิธี การเลือกแบบเจาะจง 2) กลุ ่ ม ผู ้ ใ ห้ ข ้ อ มู ล ในการศึ ก ษา แนวทางส่งเสริมคุณธรรมความเชื่อให้เด็กและ เยาวชนชาวปกาเกอะญอคือ ผู้เชี่ยวชาญ/ ผู้ทรงคุณวุฒิ จ�ำนวน 9 คน โดยวิธีการ
เลือกแบบเจาะจง ประกอบด้วย 2.1) คุณ พ่อเจ้าอาวาสวัดแม่พระรับเกียรติยกขึน้ สวรรค์ แม่ปอน 2.2) ซิสเตอร์คณะภคินีแพร่ธรรมฯ จ�ำนวน 2 คน 2.3) ผู้ปกครองจ�ำนวน 2 คน 2.4) เด็กและเยาวชนจ�ำนวน 2 คน และ 2.5) ครูค�ำสอน จ�ำนวน 2 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล คือ 1. แบบสัมภาษณ์แบบไม่มีโครงสร้าง (Non-Structured interview) จ� ำ นวน 1 ชุด ส�ำหรับสัมภาษณ์ซิสเตอร์ เพื่อศึกษา
ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2016/2559 119
บทบาทของซิสเตอร์คณะภคินีแพร่ธรรมแห่งพระนางมารีย์ผู้ปฏิสนธินิรมลในการส่งเสริมคุณธรรมความเชื่อ ให้เด็กและเยาวชนชาวปกาเกอะญอ : กรณีศึกษาศูนย์อบรมเด็กชาวไทยภูเขา แม่ปอน
บทบาทในการอบรมคุณธรรมความเชื่อให้กับ เด็ ก และเยาวชนชาวปกาเกอะญอ ที่ ศู น ย์ อบรมเด็กชาวไทยภูเขา แม่ปอน 2. ประเด็ น การสนทนากลุ ่ ม เพื่ อ ศึกษาแนวทางส่งเสริมคุณธรรมความเชือ่ ให้กบั เด็กและเยาวชนชาวปกาเกอะญอ นิยามศัพท์เฉพาะ บทบาท หมายถึง การปฏิบตั ติ ามสิทธิ หน้ า ที่ อัน เนื่ อ งมาจากสถานภาพของบุคคล เนื่ อ งจากบุ ค คลใดบุ ค คลหนึ่ ง นั้ น มี ห ลาย สถานภาพในคนคนเดียวกัน ดังนั้น บทบาท ของบุ ค คลจึ ง ต้ อ งปฏิ บั ติ ต ามสถานภาพใน สถานการณ์ตามสถานภาพนั้นๆ ซิสเตอร์ หมายถึง ค�ำเรียกนักบวช หญิงของศาสนาคริสต์นกิ ายโรมันคาทอลิก ใน งานวิจัยนี้ซิสเตอร์ หมายถึง ซิสเตอร์คณะ ภคินีแพร่ธรรมแห่งพระนางมารีย์ผู้ปฏิสนธิ นิรมล คณะภคินแี พร่ธรรมแห่งพระนางมารีย์ ผู้ปฏิสนธินิรมล หมายถึง กลุ่มนักบวชสตรี คริสตชนคาทอลิกปกาเกอะญอทีส่ มัครใจเข้ามา ใช้ชีวิตร่วมกัน ตามข้อปฏิญาณและถือตาม พระวินัยและจิตตารมณ์ของคณะ คุณธรรมความเชือ่ หมายถึง คุณงาม ความดีทางเทววิทยาที่ช่วยให้เชื่อในพระเจ้า เชือ่ ในทุกสิง่ ทีพ่ ระองค์ตรัสและเผยแสดงแก่เรา
120 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
และสิ่งที่พระศาสนจักรสั่งสอน ในงานวิจัยนี้ คุณธรรมความเชื่อ หมายถึง คุณงามความดี ทางเทววิทยาที่ช่วยให้เชื่อในพระเจ้า ตามที่ ปรากฏในหนั ง สื อ ค� ำ สอนพระศาสนจั ก ร คาทอลิก (Catechism of the Catholic Church) เด็ ก และเยาวชนชาวปกาเกอะญอ หมายถึง บุคคลสัญชาติไทยเป็นกลุม่ ชาติพนั ธุ์ ชนเผ่า ปกาเกอะญอ (ซึ่งบางทีค�ำในภาษา ไทยใช้ เรี ย กชนเผ่ า นี้ ว ่ า กะเหรี่ ย ง) ที่ มี อ ายุ ระหว่าง 7-18 ปี ที่อาศัยอยู่ในบริเวณศูนย์ อบรมเด็กชาวไทยภูเขา แม่ปอน ศูนย์อบรมเด็กชาวไทยภูเขา แม่ปอน หมายถึง หน่วยงานคาทอลิกที่คุณพ่อโจเซฟ เซกีนอต (Joseph Seguinotte) มิชชันนารี ชาวฝรั่งเศสได้ก่อตั้งขึ้นในปี ค.ศ.1954 เพื่อ จั ด การเรี ย นการสอน อบรมความเชื่ อ และ คุณธรรมต่างๆ ให้กบั คริสตชนคาทอลิกชนเผ่า ปกาเกอะญอซึ่งตั้งอยู่ในเขตหมู่บ้านแม่ปอน ต�ำบลบ้านหลวง อ�ำเภอจอมทอง จังหวัด เชียงใหม่ แพร่ ธ รรม หมายถึ ง การประกาศ ข่าวดี สอนเรื่องราวของพระเยซูเจ้า ข้อค�ำ สอนและคุ ณ ธรรมต่ า งๆ ที่ จ� ำ เป็ น ในการ ด�ำเนินชีวิต และการเป็นประจักษ์พยานถึง ค�ำสอนของพระองค์ด้วยชีวิต
ศรศักดิ์ เจริญสุขทวีพูน, ออกัสติน สุกีโย ปิโตโย, วีรศักดิ์ ยงศรีปณิธาน และลัดดาวรรณ์ ประสูตร์แสงจันทร์
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. ได้ทราบถึงบทบาทของซิสเตอร์คณะ ภคินีแพร่ธรรมแห่งพระนางมารีย์ผู้ปฏิสนธิ นิรมลในการส่งเสริมคุณธรรมความเชื่อให้เด็ก เยาวชนชาวปกาเกอะญอ 2. ได้แนวทางในการส่งเสริมคุณธรรม ความเชื่อให้เด็กและเยาวชนชาวปกาเกอะญอ สรุป 1. ซิสเตอร์คณะภคินีแพร่ธรรมแห่ง พระนางมารีย์ผู้ปฏิสนธินิรมลมีบทบาทในการ ส่งเสริมคุณธรรมความเชื่อให้เด็กและเยาวชน ชาวปกาเกอะญอ ดังนี ้ 1) การวางแผนการ ส่งเสริมพัฒนา ความเชือ่ และการอภิบาลดูแล 2) การส่งเสริมพัฒนาความเชื่อและอภิบาล ดูแล โดยการสอนค�ำสอน อภิบาลดูแล การ เป็นประจักษ์พยาน และเป็นตัวอย่างด้วยการ ด�ำเนินชีวิตที่เรียบง่าย การสวดภาวนาและ อุทศิ ตนในการท�ำงาน และการเข้าถึงผูค้ นด้วย การอยูร่ ว่ มกับผูอ้ นื่ และด�ำเนินชีวติ ตามความ เชื่อ 2. แนวทางในการส่งเสริมคุณธรรม ความเชื่อ คือ การเป็นประจักษ์พยาน และ เป็นแบบอย่างในสิ่งที่เชื่อ สอนในสิ่งที่เชื่อ มี ส่วนร่วมและมีประสบการณ์ทางความเชือ่ ด้วย กั น ผ่ า นทางพิ ธี ก รรมและกิ จ ศรั ท ธา ให้ ครอบครัวมีส่วนร่วมในการส่งเสริมความเชื่อ ส่งบุคลากรศึกษาเพิ่มเติมทางด้านค�ำสอนและ
พั ฒ นาสื่ อ การสอน และส่ ง เสริ ม การเรี ย น ภาษาปกาเกอะญอ เพื่อให้ความเชื่อนี้ เข้าสู่ ชีวติ และวัฒนธรรมให้เด็กและเยาวชนชาวปกา เกอะญออย่างยั่งยืน อภิปรายผล ผลการศึกษาบทบาทของซิสเตอร์คณะ ภคินีแพร่ธรรมแห่งพระนางมารีย์ผู้ปฏิสนธิ นิรมล มีบทบาทในการส่งเสริมคุณธรรมความ เชื่อให้กับเด็กและเยาวชนปกาเกอะญอ ดังนี้ 1. การวางแผนการส่งเสริมพัฒนา ความเชื่อและการอภิบาลดูแล มี ก ารวางแผนเกี่ ย วกั บ การส่ ง เสริ ม คุณธรรมความเชื่อให้เด็กและเยาวชนชาวปกา เกอะญอ โดยการแบ่ ง หน้ า ที่ ใ นการสอน ค�ำสอนให้กบั เด็กและเยาวชน ในแต่ระดับชัน้ ซึง่ สอดคล้องกับงานวิจยั ของวิลาวรรณ์ จินดา ธรรมรัตน์ เรือ่ ง กระบวนการจัดการโครงการ คุณธรรมจริยธรรมส�ำหรับเยาวชนของคณะ ภคินีแพร่ธรรมฯ ศูนย์คาทอลิกสังฆมณฑล เชียงใหม่ ผลการศึกษาพบว่ามีการวางแผน (lanning) ในการท�ำงานของคณะซิสเตอร์โด ยรวมมีการปฏิบัติตามอยู่ในระดับมาก และ สอดคล้องกับหลักค�ำสอนคริสตศาสนานิกาย โรมันคาทอลิก นอกจากนีค้ ณะซิสเตอร์ฯ ยัง มีการประเมินผลร่วมกับบุคลากรของศูนย์ฯ ทุกๆ ภาคเรียนด้วย
ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2016/2559 121
บทบาทของซิสเตอร์คณะภคินีแพร่ธรรมแห่งพระนางมารีย์ผู้ปฏิสนธินิรมลในการส่งเสริมคุณธรรมความเชื่อ ให้เด็กและเยาวชนชาวปกาเกอะญอ : กรณีศึกษาศูนย์อบรมเด็กชาวไทยภูเขา แม่ปอน
มีการส่งเสริมความเชื่อในรูปแบบของ พิ ธี ก รรมและพระวาจามี ก ารจั ด ให้ เ ด็ ก และ เยาวชนมีโอกาสร่วมพิธบี ชู าขอบพระคุณทุกวัน ซึ่ ง เป็ น การหล่ อ เลี้ ย งความเชื่ อ ในท� ำ นอง เดี ย วกั น ยั ง เป็ น ส่ ง เสริ ม ความเชื่ อ อี ก ด้ ว ย โดยน�ำกระบวนการของพิธีกรรมศักดิ์สิทธิ์เป็น สนามในการปฏิบัติโดยมีเรื่องของการจัดเวลา และสถานที่ เพื่อเตรียมความพร้อมให้ผู้เข้า ร่ ว มรั บ การอบรม สามารถซึ ม ซั บ รั บ เอา คุณธรรมจากค�ำสอนของคริสตศาสนาได้มาก ที่สุด (ปรานอม มณี, 2555) มีการส่งเสริมคุณธรรมความเชื่อในรูป แบบของกิจศรัทธาต่างๆ เปิดโอกาสให้เด็ก และเยาวชนไปร่วมสวดภาวนาตามบ้านช่วง เดื อ นตุ ล าคม และเดิ น ทางไปร่ ว มพิ ธี บู ช า ขอบพระคุ ณ ตามหมู ่ บ ้ า นในแต่ ล ะอาทิ ต ย์ ความเชื่อจึงเป็นมิติของชีวิตหมู่คณะในพระ ศาสนจักรด้วย การภาวนาเพื่อมวลชนมิได้ ท�ำให้จิตภาวนาที่แท้จริงห่างไกลจากตัวเพราะ จิตภาวนาทีก่ ระท�ำโดยปราศจากการคิดถึงผูอ้ นื่ นัน้ ย่อมเป็นการโกหกหลอกลวง ดังนัน้ ท่าที นี้เปลี่ยนให้กลายเป็นการขอบพระคุณพระเจ้า เพื่อผู้อื่น (EG #281-282) 2. การส่งเสริมพัฒนาความเชื่อและอภิบาล ดูแล 2.1) จากการศึกษาพบว่าบทบาทแรก ของซิสเตอร์คณะภคินีแพร่ธรรมแห่งพระนาง
122 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
มารีย์ผู้ปฏิสนธินิรมลในการส่งเสริมคุณธรรม ความเชื่ อ ให้ กั บ เด็ ก และเยาวชนชาวปกา เกอะญอ คือ การเป็นประจักษ์พยานและ เป็นตัวอย่างของผู้มีความเชื่อด้วยการด�ำเนิน ชีวิตที่เรียบง่าย “โดยการเป็นประจักษ์พยาน ซึ่งเป็นรูปแบบแรกและมีความส�ำคัญอย่างยิ่ง มนุษย์ร่วมสมัยของเราเชื่อในประจักษ์พยาน มากกว่าในตัวศาสดา” (RM #7) “เชื่อใน ประสบการณ์มากกว่าหลักค�ำสอน เชือ่ ในชีวติ และข้อเท็จจริงมากกว่าในทฤษฎี” (ยอห์น ปอล ที่ 2, สมเด็ จ พระสั น ตะปาปา, 1991; 45) 2.2) การสวดภาวนา ส่งผลให้การ อุทิศตนในการท�ำงานเกิดดอกออกผล และ เป็นพลังในการท�ำงาน ความซื่อสัตย์ในการ ภาวนาจึงท�ำให้บรรดาซิสเตอร์ทำ� งานและอุทศิ ตนอย่างเต็มเปีย่ มและเกิดผล ผลก็คอื การดูแล เอาใจใส่เด็กและเยาวชนด้วยความรัก แม้มี อุปสรรค ข้อจ�ำกัด และปัญหาต่างๆ ในการ ท�ำงานก็ตาม ท�ำให้ซิสเตอร์เข้าใจว่า ความ เชื่ อ มั ก ประกอบด้ ว ยมิ ติ ข องกางเขน การ ท� ำ งานจากมุ ม มองการประกาศพระวรสาร พระศาสนจั ก รไม่ ส ามารถด� ำ รงอยู ่ ไ ด้ โ ดย ปราศจากปอดแห่งการภาวนา (EG #262) 2.3) การท�ำงานอุทศิ ตน งานทุกอย่าง ของศูนย์อบรมเด็กชาวไทยภูเขา แม่ปอนนี้ เป็นงานอุทิศตน
ศรศักดิ์ เจริญสุขทวีพูน, ออกัสติน สุกีโย ปิโตโย, วีรศักดิ์ ยงศรีปณิธาน และลัดดาวรรณ์ ประสูตร์แสงจันทร์
2.4) การสอนค�ำสอนและงานอภิบาล พระวิ นั ย ฉบั บ แรก ในข้ อ ที่ 4 ระบุ ว ่ า “คณะธรรมทูตแพร่ธรรมอุทิศชีวิตในการสอน ค�ำสอน เฉพาะอย่างยิ่งในการสอนค�ำสอนให้ กับเด็กๆ และบรรดาผู้สูงอายุ พร้อมทั้งการ เอาใจใส่ดูแลคนเจ็บคนป่วย ต้องดูแลโบสถ์ หลักและโบสถ์นอ้ ย ให้ความช่วยเหลือบรรดา พระสงฆ์ในที่ ที่ถูกส่งไปในความจ�ำเป็นของ ท้องถิน่ ทัง้ ทางด้านวัตถุปจั จัยและจิตวิญญาณ” 2.5) การเข้าถึงผูค้ นด้วยการอยูร่ ว่ มกับ ผูอ้ นื่ ผูต้ งั้ คณะฯ ได้วางรูปแบบทีช่ ดั เจนเกีย่ ว กับลักษณะเฉพาะของคณะนี้ และท่านเองก็ ด� ำ เนิ น ชี วิ ต เป็ น ประจั ก ษ์ พ ยานรู ป แบบการ ด�ำเนินชีวิตดังกล่าว คือ 1) อยู่ท่ามกลาง ประชากรของพระเจ้า 2) ท�ำงานที่ต�่ำต้อย ด้ ว ยความสุ ภ าพ 3) ใช้ ชี วิ ต ท่ า มกลาง ประชากรเสมื อ นเป็ น คนหนึ่ ง ในพวกเขา 4) ให้พวกเขารับรู้ได้ว่า เราเป็นหนึ่งในพวก เขาและใช้ชีวิตเพื่อพวกเขา แนวทางในการส่งเสริมคุณธรรมความ เชื่อ จากการสัมภาษณ์ซิสเตอร์ทั้ง 5 คน และประเด็นการสนทนากลุม่ ให้คำ� ตอบตรงกัน ว่า การเป็นประจักษ์พยานและเป็นแบบอย่าง มี ค วามส� ำ คั ญ และเป็ น แนวทางหลั ก ในการ ส่ ง เสริ ม คุ ณ ธรรมความเชื่ อ ให้ กั บ เด็ ก และ
เยาวชน ดังนัน้ แนวทางแรกของการส่งเสริม คุณธรรมความเชื่อ คือ การเป็นประจักษ์ พยานและเป็นแบบอย่างด้วยการด�ำเนินชีวติ ที่ เรียบง่าย การมีส่วนร่วมและมีประสบการณ์ทาง ความเชื่อร่วมกันผ่านทางพิธีกรรม และกิจ ศรัทธา การร่วมบูชาขอบพระคุณ การฟัง พระวาจาของพระเจ้ า การแก้ บ าปรั บ ศี ล และการสวดภาวนาต่างๆ เป็นการหล่อหลอม และหล่อเลี้ยงชีวิตจิตคริสตชนให้เติบโตทาง ความเชื่อ และเพื่อการส่งเสริมความเชื่อ ผล จากข้อเสนอในประเด็นสนทนากลุ่มก็คือ รูป แบบการสวดภาวนา หรือกิจกรรมทางความ เชื่อ ให้มีความหลากหลาย ให้ครอบครัวมีส่วนร่วมในการส่งเสริม ความเชื่อให้ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการอบรม ลู ก ในด้ า นความเชื่ อ เป็ นแนวทางเดี ย วกั น ระหว่างครอบครัวและศูนย์ฯความเชื่อเป็น เพือ่ นร่วมทางในทุกช่วงอายุของชีวติ (LF #53) ผลจากการสนทนากลุม่ ลงความเห็นว่าแนวทาง นี้มีความส�ำคัญ ครอบครัวต้องเป็นที่บ่มเพาะ ความเชื่อ เป็นสถานที่แรกของการด�ำรงชีวิต และครอบครั ว ของเด็ ก และเยาวชนต้ อ งให้ ความร่วมมือกับทางศูนย์ฯ ในการส่งเสริม คุณธรรมความเชื่อ เพื่อให้การอบรมหรือการ ส่งเสริมความเชื่อนั้นด�ำรงต่อไปอย่างต่อเนื่อง และบังเกิดผลในชีวิต
ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2016/2559 123
บทบาทของซิสเตอร์คณะภคินีแพร่ธรรมแห่งพระนางมารีย์ผู้ปฏิสนธินิรมลในการส่งเสริมคุณธรรมความเชื่อ ให้เด็กและเยาวชนชาวปกาเกอะญอ : กรณีศึกษาศูนย์อบรมเด็กชาวไทยภูเขา แม่ปอน
การส่งบุคลากรศึกษาเพิ่มเติมทางด้าน ค� ำ สอนและพั ฒ นาสื่ อ การสอนให้ ทั น กั บ เหตุการณ์และช่วงอายุของเด็กและเยาวชนใน ธรรมนู ญ ฉบั บ แรกของคณะฯ ข้ อ ที่ 22 ใจความว่า “ภคินจี งึ ไม่หยุดยัง้ ทีจ่ ะศึกษาและ อ่านหนังสือต่างๆ เพื่อเพิ่มพูนความรู้ด้าน ค�ำสอนและพระคัมภีรใ์ ห้ลกึ ซึง้ ยิง่ ๆ ขึน้ เสมอ” ส่งเสริมการเรียนภาษาปกาเกอะญอเพือ่ ให้ความเชื่อนี้เข้าสู่ชีวิตของเด็กและเยาวชน รวมทั้งวัฒนธรรมของชาวปกาเกอะญออย่าง ยั่งยืน เพราะการสื่อข่าวดีด้วยภาษาที่เป็น วัฒนธรรมของกลุม่ นัน้ ๆ มีความส�ำคัญ ปรับ ให้ เข้ า กั บ มนุ ษ ย์ ใ นยุ ค ปั จ จุ บั น (EG #41) ดังนั้นความจ�ำเป็นของภาษาเป็นเรื่องส�ำคัญที่ จะต้องตระหนักว่าพระเจ้าตรัสกับมนุษยชาติ ด้วยภาษา ข้อเสนอแนะ ข้อเสนอแนะส�ำหรับการน�ำผลการวิจัยไปใช้ 1. ควรมีการส่งเสริมพัฒนาด้านความ เชื่อให้เด็กและเยาวชน โดยใช้กิจกรรมทาง ความเชือ่ เช่น พิธกี รรม การภาวนา พร้อม กับการส่งเสริมวัฒนธรรมปกาเกอะญอ เช่น ภาษา การทอผ้า เป็นต้น 2. การมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆ ที่ จัดขึ้น โดยให้เด็กและเยาวชนมีส่วนร่วมใน กิจกรรมต่างๆ มากที่สุด
124 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
3. การเป็ นประจั ก ษ์ พ ยานและเป็ น แบบอย่างในสิ่งที่เชื่อ สอนในสิ่งที่เชื่อ เป็น ตัวอย่างให้พวกเขา ท�ำงานร่วมกับเขา อยูก่ บั เด็กเพือ่ ดูแลเอาใจใส่และคอยช่วยเหลือ ไม่ใช่ เพื่อควบคุม 4. ควรส่งเสริมการมีส่วนร่วมและมี ประสบการณ์ทางความเชื่อร่วมกัน ผ่านทาง พิธีกรรมและกิจศรัทธาต่างๆ 5. ควรส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนมี ส่วนร่วมและมีบทบาทในแต่ละกิจกรรม ให้ ลงมือปฏิบัติจริง 6. ควรอภิบาลดูแลส่งเสริมให้ก�ำลังใจ เข้าใจ เอาใจใส่ พูดคุย และในฐานะผู้สอน ความเชื่อให้กับเด็กและเยาวชน โดยไม่ด่วน ตัดสินผู้อื่น สอนด้วยชีวิต 7. การส่งบุคลากรไปอบรมศึกษาเพิ่ม เติมทางด้านค�ำสอนเพื่อพัฒนาความรู้เรื่องค�ำ สอนของพระศาสนจักร 8. ส่งเสริมให้เรียนภาษาปกาเกอะญอ ต่อ ให้ซาบซึง้ ถึงนัยยะลึกซึง้ ของภาษาของตน ข้อเสนอแนะส�ำหรับคณะภคินแี พร่ธรรมแห่ง พระนางมารีย์ผู้ปฏิสนธินิรมล 1.ควรศึ ก ษาประวั ติ ภารกิ จ ของ พระคุ ณ เจ้ า แบร์ น าร์ ด ลู เซี ย น ลากอสต์ และธรรมนู ญ ฉบั บแรกที่ พ ระคุ ณ เจ้ า ลู เซี ย น ลากอสต์ได้เขียนขึ้น เพื่อให้เข้าใจที่มาและ รากเหง้าของคณะอย่างแท้จริง
ศรศักดิ์ เจริญสุขทวีพูน, ออกัสติน สุกีโย ปิโตโย, วีรศักดิ์ ยงศรีปณิธาน และลัดดาวรรณ์ ประสูตร์แสงจันทร์
2. โดยอาจให้ ผู ้ เชี่ ย วชาญทางด้ า น ภาษา ที่ มี ค วามเข้ า ใจในบริ บ ทของชนเผ่ า ปกาเกอะญอและซิสเตอร์คณะภคินีแพร่ธรรม แห่ ง พระนางมารี ย ์ ผู ้ ป ฏิ ส นธิ นิ ร มล แปล ธรรมนูญฉบับแรกและตรวจทานในส่วนของชือ่ คณะเพื่อใช้เป็นทางการอย่างถูกต้องตรงกัน ข้อเสนอแนะส�ำหรับการวิจัยครั้งต่อไป 1. ศึ ก ษาวิ จั ย เรื่ อ งรู ป แบบการเป็ น ประจักษ์พยานและแบบอย่างชีวิตที่ส่งผลต่อ การส่ ง เสริ ม คุ ณ ธรรมความเชื่ อ ให้ เ ด็ ก และ เยาวชนชาวปกาเกอะญอ 2. ศึกษาวิจยั เรือ่ งปัจจัยทีเ่ กีย่ วข้องกับ การส่ ง เสริ ม คุ ณ ธรรมความเชื่ อ ให้ เ ด็ ก และ เยาวชนชาวปกาเกอะญอ บรรณานุกรม คณะภคิ นี แ พร่ ธ รรมแห่ ง พระนางมารี ย ์ ผู ้ ป ฏิ ส นธิ นิ ร มล (ฉบั บ ผ่ า นสมั ช ชา 2007). พระวินัยคณะภคินีแพร่ธรรม แห่ ง พระนางมารี ย ์ ผู ้ ป ฏิ ส นธิ นิ ร มล. เชียงใหม่: มานพการพิมพ์, 2550. ____. ระเบียบปฏิบตั คิ ณะภคินแี พร่ธรรมแห่ง พระนางมารีย์ผู้ปฏิสนธินิรมล (ฉบับ ผ่านสมัชชา 2012). เชียงใหม่: มานพ การพิมพ์, 2555.
ปรานอม มณี. กระบวนการอมรมคุณธรรม แก่ นั ก เรี ย นของโบสถ์ ค าทอลิ ก พระ คริสต์แสดงองค์ ฝาง จังหวัดเชียงใหม่. วิทยานิพนธ์ ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2555. ยอด พิมพิสาร, พระสังฆราช (แปล). พระสมณ สาสน์ ห ลั ง การประชุ ม สมั ช ชาพระ ศาสนจักรในเอเชีย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ อัสสัมชัญ, 2543. วิ ล าวรรณ์ จิ น ดาธรรมรั ต น์ . กระบวนการ จั ด การโครงการคุ ณ ธรรมจริ ย ธรรม ส� ำ หรั บ เยาวชนของคณะภคิ นี แ พร่ ธรรม ศู น ย์ ค าทอลิ ก สั ง ฆมณฑล เชียงใหม่. ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยฟาร์อีสเทอร์น, 2558. ศรศักดิ์ เจริญสุขทวีพูน. บทบาทของภาษา ปกาเกอะญอในการอนุรกั ษ์วฒ ั นธรรม ปกาเกอะญอ. สารนิ พ นธ์ ป ริ ญ ญา บัณฑิต สาขาปรัชญาและศาสนา คณะ มนุษยศาสตร์วทิ ยาลัยแสงธรรม, 2556. ศูนย์แม่ปอน. 50 ปี ศูนย์แม่ปอนการแพร่ธรรม สู่ชาวปกาเกอะญอ. ปมท., 2004. สุวิชาน พัฒนาไพรวัลย์. การด�ำรงความเป็น ชุ ม ชนปกาเกอะญอท่ า มกลางการ เปลี่ ย นแปลงในด้ า นทรั พ ยากร เศรษฐกิจและความสัมพันธ์ทางสังคม. วิทยานิพนธ์ (ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (สาขาวิ ช าการศึ ก ษานอกระบบ) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2550.
ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2016/2559 125
บทบาทของซิสเตอร์คณะภคินีแพร่ธรรมแห่งพระนางมารีย์ผู้ปฏิสนธินิรมลในการส่งเสริมคุณธรรมความเชื่อ ให้เด็กและเยาวชนชาวปกาเกอะญอ : กรณีศึกษาศูนย์อบรมเด็กชาวไทยภูเขา แม่ปอน
Francis, Pope. Evangelii Gaudium. Vatican city: Vatican press, 2013. John Paul II, Pope. Encyclical Letter Redemtoris Missio. Vatican City: Libreria Editrice Vaticana, 1990. ____. Ecclesia in Asia. Vatican City: Libreria Editrice Vaticana, 1999.
126 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
พฤติกรรมการเสริมสร้างความเข้มแข็ง
ในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม ของผูน้ ำ� ชุมชนอ�ำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่
ENatural mpowerment Promotion Behavior in Resource and Environment
Management Among The Community Leaders in Maecham District, Chiang Mai Province. นิพนธ์ สมบูรณ์พูลเพิ่ม * นักศึกษาปริญญามหาบัณฑิต คณะศึกษาศาสตร์ ภาควิชาจิตวิทยาและการแนะแนว สาขาวิชาจิตวิทยาชุมชน มหาวิทยาลัยศิลปากร
ดร.กมล โพธิเย็น * อาจารย์ประจ�ำคณะศึกษาศาสตร์ ภาควิชาจิตวิทยาและการแนะแนว สาขาวิชาจิตวิทยาชุมชน มหาวิทยาลัยศิลปากร
Nipon Somboonpulperm * Student's Department of Psychology and Guidance Major: Community Silpakorn University. Dr.Kamol Phoyen, Ed.D. * Department of Psychology and Guidance Major: Community Silpakorn University.
พฤติกรรมการเสริมสร้างความเข้มแข็งในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ของผู้นำ�ชุมชนอำ�เภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่
บทคัดย่อ
การวิจยั ครัง้ นีม้ วี ตั ถุประสงค์เพือ่ ศึกษา 1) ระดับพฤติกรรมการ เสริ ม สร้ า งความเข้ ม แข็ ง ด้ า นการจั ด การทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละ สิ่งแวดล้อม ความผูกพันต่อชุมชน การได้รับแรงสนับสนุนทางสังคม จากบุคคลภายในครอบครัว การได้รับแรงสนับสนุนทางสังคมจาก องค์กรท้องถิ่น และการมีเอกลักษณ์ทางสังคมของผู้น�ำชุมชนอ�ำเภอ แม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ 2) เปรียบเทียบพฤติกรรมการเสริมสร้าง ความเข้มแข็งด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของ ผูน้ ำ� ชุมชนอ�ำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ จ�ำแนกตามอายุ ระดับการ ศึกษา อาชีพ รายได้ และระยะเวลาการเป็นผู้น�ำชุมชน 3) ความ ผูกพันต่อชุมชน การได้รับแรงสนับสนุนทางสังคมจากบุคคลภายใน ครอบครัว การได้รับแรงสนับสนุนทางสังคมจากองค์กรท้องถิ่น และ การมีเอกลักษณ์ทางสังคม เป็นปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการเสริม สร้างความเข้มแข็งด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ของผู้น�ำชุมชนอ�ำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้นำ� ชุมชนในเขตอ�ำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ จ�ำนวน 227 คน ได้ มาโดยการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบ สอบถามที่ ผู ้ วิ จั ย สร้ า งขึ้ น สถิ ติ ที่ ใช้ ใ นการวิ เ คราะห์ ข ้ อ มู ล ได้ แ ก่ ร้อยละ (%) ค่าเฉลีย่ ส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน (S.D.) การทดสอบค่าที (t-test) การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One – Way ANOVA) และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณตามล�ำดับความส�ำคัญของ ตัวแปรทีน่ ำ� เข้าสมการ (Stepwise Multiple Regression Analysis) ผลการวิจัยพบว่า 1. ความผูกพันต่อชุมชน การได้รบั แรงสนับสนุนทางสังคมจาก บุคคลภายในครอบครัว การมีเอกลักษณ์ทางสังคม อยู่ในระดับมาก การได้รับแรงสนับสนุนทางสังคมจากองค์กรท้องถิ่นและพฤติกรรมการ เสริมสร้างความเข้มแข็งด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ง แวดล้อมในชุมชนอยู่ในระดับปานกลาง
128 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
นิพนธ์ สมบูรณ์พูลเพิม และ กมล โพธิเย็น
2. พฤติ ก รรมการเสริ ม สร้ า งความเข้ ม แข็ ง ด้ า นการจั ด การ ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมในชุมชนของผูน้ ำ� ชุมชน เมือ่ จ�ำแนก ตามระดับการศึกษา ความพอเพียงของรายได้พบว่าแตกต่างกันอย่าง มีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เมื่อจ�ำแนกตามอายุ อาชีพ ระยะ เวลาการเป็นผู้น�ำ พบว่าไม่แตกต่างกัน 3. การได้รับแรงสนับสนุนจากบุคคลภายในครอบครัว การได้ รับแรงสนับสนุนจากองค์กรท้องถิ่น ความผูกพันต่อชุมชน การมี เอกลักษณ์ทางสังคม สามารถร่วมกันท�ำนายพฤติกรรมการเสริมสร้าง ความเข้มแข็งด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของ ผู้น�ำชุมชนอ�ำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ ได้ร้อยละ 42.9 อย่างมี นัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 ค�ำส�ำคัญ: Abstract
1) การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2) ความผูกพันต่อชุมชน 3) การมีเอกลักษณ์ทางสังคม
The purposes of this research were to 1) study the level of empowerment promotion behavior in natural resource and environment management, obligation to the community, social support from families, social support from local organization, social uniqueness. 2) compare the empowerment promotion behavior in natural resource and environment management as classified by, age, educational level, career, family annual income and duration of being community leader 3) determine obligation to the community, social support from families, social support from
ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2016/2559 129
พฤติกรรมการเสริมสร้างความเข้มแข็งในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ของผู้นำ�ชุมชนอำ�เภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่
local organization, social uniqueness as predictors of the empowerment promotion behavior in natural resource and environment management of community leaders. Samples were 227 community leaders of Maecham district, Chiang Mai province derived by a multi-stage random sampling technique. The Instruments used to collect data were questionnaires constructed by the researcher. Data were analysed for percentage, mean ( X ), standard deviation (S.D.), t-test, One – Way ANOVA and the Stepwise Multiple Regression Analysis. The results found that: 1. Obligation to the community, social support from families, social uniqueness were at a high level, social support from local organization and empowerment promotion behavior in natural resource and environment management were at a moderate level. 2. Empowerment promotion behavior in natural resource and environment management among the community leaders as classified by, educational level, family’s annual income was different with statistical significance at .05. However, when it was classified by age, career and duration of being community leader was not significantly different. 3. social support from families, social support from local organization, Obligation to the community, social uniqueness, predicted the empowerment promotion behavior in natural resource and environ-
130 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
นิพนธ์ สมบูรณ์พูลเพิม และ กมล โพธิเย็น
ment management among the community leaders in Maecham district, Chiang Mai province at the percentage of 42.9, with a statistical significance level of .001. Keywords:
1) the environment and resource management 2) Obligation to the community 3) social uniqueness
ความเป็นมาและความส�ำคัญของปัญหา ปั จ จุ บั น ทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล้อมมีความจ�ำเป็นและมีความส�ำคัญอย่าง ยิ่งต่อการด�ำรงชีวิตของมนุษย์ อัตราความ ต้องการใช้ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม เพิ่มขึ้นตามอัตราการเกิดของประชากรมนุษย์ ท� ำ ให้ เ กิ ด การแก่ ง แย่ ง ชิ ง ดี กั น ในการใช้ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม อีกทั้ง มนุษย์ใช้ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม อย่ า งสิ้ น เปลื อ ง ขาดการจั ด การอย่ า งเป็ น ระบบ ซึ่ ง เป็ น สาเหตุ ส� ำ คั ญ ที่ ใ ห้ เ กิ ด ความ ขาดแคลนทรัพยากรธรรมชาติรวมทัง้ ก่อให้เกิด ปัญหาสิ่งแวดล้อม สภาพชุมชนของอ�ำเภอแม่แจ่ม จังหวัด เชียงใหม่ เป็นชุมชนหนึ่งที่ได้รับผลกระทบ จากการพัฒนาเศรษฐกิจที่มุ่งเน้นการพัฒนาที่ เป็นระบบทุนนิยม ซึง่ ก่อให้เกิดปัญหาตามมา
ในลักษณะชุมชนขาดความเข้มแข็งในหลายๆ ด้าน โดยเฉพาะทางด้านการจัดการทรัพยากร ธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล้ อ ม ชุ ม ชนอ� ำ เภอ แม่แจ่ม เป็นชุมชนที่มีกลุ่มหลายชาติพันธุ์ กระจายตามชุมชนต่างๆ ซึ่งในแต่ละชุมชนมี อาณาบริเวณทีห่ า่ งไกลกัน การติดต่อประสาน งานกับทางราชการมีความยากล�ำบาก การ กระจายอ�ำนาจในการพัฒนาชุมชนจ�ำกัดอยู่ ในวงแคบ ฐานะประชาชนมี ค วามยากจน ประกอบอาชีพการเกษตรเป็นหลัก ด้วยเหตุนี้ ท�ำให้เกิดปัญหาในเรื่องของการบุกรุกที่ดินท�ำ กิน ปัญหามลพิษ ซึ่งสามารถสรุปประเด็น หลักตามที่ศิรินันท์ ช้างน้อยอ�ำไพ (2553) ได้ศกึ ษาพบว่าปัญหาสภาพแวดล้อมของอ�ำเภอ แม่แจ่ม เกิดจากการเผาพืน้ ทีท่ ำ� กินเพือ่ เตรียม การเพาะปลูกในช่วงหน้าฝน ชาวบ้านบนดอย ก็จะเผาไร่เพื่อเตรียมปลูกข้าวไร่ ส่วนคนพื้น
ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2016/2559 131
พฤติกรรมการเสริมสร้างความเข้มแข็งในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ของผู้นำ�ชุมชนอำ�เภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่
ราบหรือไทยเหนือจะเผาที่ไร่เพื่อเตรียมปลูก ข้าวโพด และเกิดจากการหาของป่าโดยการ จุดไฟเผาป่าเพื่อล่าสัตว์ หรือความเชื่อว่าเผา ป่าเพื่อให้เห็ดออก แล้วไม่มีการจัดการที่ดี ส่งผลให้ไฟได้ลุกลามเข้าในพื้นที่ป่า เป็นต้น แต่ในขณะเดียวกันพื้นที่ของอ�ำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ ก็มจี ดุ เด่นทีน่ า่ สนใจและเอือ้ ต่ อ การจั ด การทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล้อมได้ เนื่องจากคนในชุมชนจะมีคนใน พืน้ ทีท่ เี่ ป็นชนเผ่าดัง้ เดิมทีย่ งั คงมีวถิ ชี วี ติ ชุมชน เคร่ ง ครั ด และยึ ด ถื อ แบบแผนของการมี เอกลักษณ์ดั้งเดิมได้แก่ การไหว้ผีประจ�ำป่า ผีประจ�ำน�้ำ การฝังสายสะดือเด็กทารกไว้กับ ต้นไม้ ซึ่งส่งผลให้คนในชุมชนมีวิถีปฎิบัติใน การด�ำเนินชีวติ ทีจ่ ะอนุรกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมไปโดยปริยาย กา รด� ำ เ นิ น งานด้ า นก ารจั ด ก าร ทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล้ อ มที่ ช ่ ว ย ป้องกันไม่ให้สมาชิกในชุมชนเกิดความรู้สึกว่า ถูกพรากจากทรัพยากรธรรมชาติ ซึ่งทั้งหมด จะบรรลุเป้าหมายได้หรือไม่นั้น ผู้น�ำชุมชน เป็นกลุม่ บุคคลกลุม่ หนึง่ ทีจ่ ะเป็นผูน้ ำ� ขับเคลือ่ น กระบวนการดั ง กล่ า ว เอนก นาคะบุ ต ร (2546) ได้กล่าวถึงบทบาทผูน้ ำ� ท้องถิน่ ว่าเป็น ผู้ประสานงานการเรียนรู้ ท�ำหน้าที่ให้เกิด กิ จ กรรมการเรี ย นรู ้ ใ นชุ ม ชน เป็ น ผู ้ มี ประสบการณ์ในชุมชน การทีบ่ คุ คลคนหนึง่ จะ
132 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
สามารถปฎิบตั พิ นั ธกิจต่างๆ ตามบทบาทของ ผู้น�ำชุมชนที่ดีได้นั้นจ�ำเป็นจะต้องอาศัยปัจจัย หลายประการด้วยกัน ซึ่งแต่ละปัจจัยต่างมี ความสัมพันธ์ซงึ่ กันและกันและเชือ่ มโยงต่อกัน เพื่ อ การด� ำ เนิ น งานเป็ น ไปอย่ า งบั ง เกิ ด ผล ความเข้มแข็งผู้น�ำท้องถิ่น และการได้ท�ำตาม บทบาทอย่างเต็มความสามารถของผูน้ ำ� ท้องถิน่ มีความส�ำคัญในการด�ำเนินงานในด้านการเสริม สร้างให้ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมให้ มีความเข้มแข็งอย่างยั่งยืนเพื่อส่งผลให้แต่ละ พืน้ ทีส่ ามารถเป็นชุมชนทีม่ ที รัพยากรธรรมชาติ และสิง่ แวดล้อมทีด่ แี ละสมบูรณ์ ผูว้ จิ ยั คาดว่า ปัจจัยต่อไปนี้น่าจะส่งผลต่อพฤติกรรมการ เสริ ม สร้ า งความเข้ ม แข็ ง ด้ า นการจั ด การ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของผู้น�ำ ชุมชน คือ ความผูกพันต่อชุมชน เป็นคุณลักษณะ ส�ำคัญที่ผู้น�ำชุมชนควรจะมีอยู่ในตัวเนื่องจาก ผู ้ น� ำ ชุ ม ชนที่ มี ค วามผู ก พั น ต่ อ ชุ ม ชนสู ง จะมี ความสามารถทีจ่ ะชีแ้ นะ สัง่ การ หรืออ�ำนวย การ เพือ่ ให้มงุ่ ไปสูจ่ ดุ หมายทีก่ ำ� หนดไว้ อมร สุวรรณนิมิตร (2546) กล่าวว่าความผูกพัน ต่อชุมชนหมายถึง การที่บุคคลมีความเชื่อ ความศรัทธา ความรักและความผูกพันต่อสิ่ง หนึ่งสิ่งใดจนน�ำไปสู่การคิด การกระท�ำด้วย ความบริสุทธิ์ใจ เกื้อกูลต่อชุมชนสังคม และ ธรรมชาติ แวดล้ อ ม นอกจากนี้ นั ย น์ ป พร
นิพนธ์ สมบูรณ์พูลเพิม และ กมล โพธิเย็น
สุภากรณ์ (2550) ยังได้กล่าวไว้ว่า ปัจจัยที่ มี ผ ลต่ อ การปฎิ บั ติ ห น้ า ที่ ใ นชุ ม ชนของผู ้ น� ำ ชุมชนได้แก่ความผูกพันต่อชุมชน ผู้น�ำชุมชน ทีม่ คี วามผูกพันต่อชุมชนสูงจะมีความรูส้ กึ ภาค ภูมใิ จและห่วงใยในอนาคตของชุมชน มีความ เต็มใจและใช้ความพยายามอย่างเต็มที่ในการ ปฎิบัติงาน การได้รับแรงสนับสนุนทางสังคมจาก บุคคลภายในครอบครัวน่าจะเป็นอีกปัจจัยหนึง่ ทีจ่ ะส่งผลต่อพฤติกรรมการเสริมสร้างความเข้ม แข็งด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมในชุมชนได้ เนือ่ งจากหากผูน้ ำ� ชุมชน ได้รับแรงสนับสนุนทางสังคมในด้านความช่วย เหลื อ ทางด้ า นข้ อ มู ล ข่ า วสาร หรื อ การ สนั บ สนุ น ทางด้ า นจิ ต ใจจากบุ ค คลภายใน ครอบครัวจะเป็นผลให้ผู้รับได้ปฏิบัติหน้าที่ ในการจั ด การทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล้อมในชุมชนอย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่ง ไวส์ (Weiss, 1983) กล่าวถึงแรงสนับสนุน ทางสังคมจากบุคคลภายในครอบครัวว่า เป็น ความผูกพันและรักใคร่สนิทสนม เป็นความ สัมพันธ์ทเี่ กิดจากความใกล้ชดิ ซึง่ ท�ำให้บคุ คล เกิดความรู้สึกว่าตนเป็นที่รัก และได้รับความ เอาใจใส่ดูแล เกิดความรู้สึกมั่นคงทางจิตใจ ซึง่ มักจะได้รบั จากบุคคลใกล้ชดิ เช่น คูส่ มรส ญาติพี่น้อง สมาชิกในครอบครัวเดียวกัน
นอกจากนี้การได้รับแรงสนับสนุนทาง สังคมจากองค์กรท้องถิ่น ก็มีความส�ำคัญด้วย เช่นกัน หากผูน้ ำ� ชุมชนได้รบั แรงสนับสนุนจาก องค์กรท้องถิ่นก็จะท�ำให้ผู้น�ำชุมชนมีแนวทาง ในการเสริมสร้างความเข้มแข็งด้านการจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่หลาก หลายเพิ่มมากขึ้นเช่นเดียวกัน เนื่องจากการ ได้รับการสนับสนุนจากองค์กรท้องถิ่นมีความ ส�ำคัญที่จะช่วยให้ผู้น�ำชุมชนสามารถปฎิบัติ ตามหน้าทีไ่ ด้อย่างเหมาะสม เพราะมนุษย์ตอ้ ง พึ่งพาอาศัยช่วยเหลือกันโดยการแลกเปลี่ยน ความคิ ด เห็ น ความรู ้ สึ ก และสิ่ ง ของต่ า งๆ เพื่อน�ำไปสู่ความต้องการของตนเองโดยผู้น�ำ ชุ ม ชนจ� ำ เป็ น ต้ อ งได้ รั บ การช่ ว ยเหลื อ จาก องค์กรท้องถิ่นในด้านต่างๆ เช่น การให้การ สนับสนุนทางด้านก�ำลังเงิน ก�ำลังงบประมาณ ก� ำ ลั ง คน ก� ำ ลั ง ความสามารถของอุ ป กรณ์ เครื่องมือ เครื่องใช้ ที่เป็นประโยชน์ต่อการ ท�ำงานของผู้น�ำชุมชน ในขณะเดียวกันหากผู้น�ำชุมชนมีการ ยึดเหนี่ยวตามเอกลักษณ์ทางสังคมที่มีอยู่ใน ชุมชนก็จะสามารถสร้างสรรค์ผลักดันกิจกรรม ที่บังเกิดพลังในการด�ำเนินงานการเสริมสร้าง ความเข้ ม แข็ ง ด้ า นการจั ด การทรั พ ยากร ธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมในชุมชน โดยเฉพาะ การมีเอกลักษณ์ทางสังคมของชุมชนทีเ่ กีย่ วกับ การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม
ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2016/2559 133
พฤติกรรมการเสริมสร้างความเข้มแข็งในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ของผู้นำ�ชุมชนอำ�เภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่
เช่น การนับถือผีประจ�ำต้นไม้ ผีประจ�ำสถาน ที่แต่ละแห่ง ดังที่สมเกียรติ มีธรรม (2553) ได้กล่าวว่า การมีเอกลักษณ์ทางสังคมด้านการ บริหารจัดการน�ำ้ ของแต่ละกลุม่ ชาติพนั ธุ ์ ล้วน ให้ความส�ำคัญกับภูมินิเวศวัฒนธรรมที่เป็นไป ตามภูมินิเวศวัฒนธรรมจ�ำเพาะของตน เช่น คนเมืองหรือคนไต ก็มุ่งบริหารจัดการน�้ำเพื่อ น�ำมาใช้ประโยชน์ร่วมกันอย่างทั่วถึงเป็นธรรม โดยมีความเชื่อเรื่องผีสางเทวดาผูกโยงผู้คน เข้าหากัน ให้เคารพและปฏิบัติตามข้อตกลง ร่วมกัน ขณะที่ชนเผ่าปกาเกอะญอ มุ่งเน้น การบริหารจัดการน�้ำที่ให้ความส�ำคัญกับป่า ต้นน�ำ้ ผ่านความเชือ่ เรือ่ งขวัญและพิธกี รรมทีผ่ กู โยงคนกับป่าเข้าด้วยกันอย่างงดงาม ดังนั้น ผู้วิจัยคาดว่าความผูกพันต่อ ชุมชน การได้รับแรงสนับสนุนทางสังคมจาก บุ ค คลภายในครอบครั ว การได้ รั บ แรง สนับสนุนทางสังคมจากองค์กรท้องถิ่น และ การมีเอกลักษณ์ทางสังคมเป็นปัจจัยที่ส่งผล ให้การด�ำเนินงานตามบทบาทของผูน้ ำ� ชุมชนใน ด้ า นการเสริ ม สร้ า งความเข้ ม แข็ ง ด้ า นการ จัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมใน ชุมชนเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพได้เป็นอย่าง ดี จากการศึ ก ษาทบทวนวรรณกรรมที่ เกี่ ย วข้ อ ง ผู ้ วิ จั ย จึ ง สนใจที่ จ ะศึ ก ษาระดั บ พฤติกรรมการเสริมสร้างความเข้มแข็งด้านการ
134 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
จัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมใน ชุมชนของผู้น�ำชุมชนอ�ำเภอแม่แจ่ม จังหวัด เชียงใหม่ เปรียบเทียบพฤติกรรมการเสริม สร้างความเข้มแข็งด้านการจัดการทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในชุมชน จ�ำแนก ตาม อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ รายได้ ระยะเวลาการเป็นผู้น�ำชุมชน และศึกษาว่า ความผูกพันต่อชุมชน การได้รบั แรงสนับสนุน ทางสังคมจากบุคคลภายในครอบครัว การได้ รับแรงสนับสนุนทางสังคมจากองค์กรท้องถิ่น และการมีเอกลักษณ์ทางสังคม เป็นปัจจัยทีส่ ง่ ผลต่อพฤติกรรมการเสริมสร้างความเข้มแข็ง ด้ า นการจั ด การทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล้ อ มของผู ้ น� ำ ชุ ม ชน อ� ำ เภอแม่ แ จ่ ม จังหวัดเชียงใหม่ หรือไม่ อย่างไรบ้าง ซึง่ ผล ของการวิจัยในครั้งนี้จะน�ำไปเป็นข้อมูลในการ พัฒนาชุมชนให้เข้มแข็งอย่างยั่งยืน อีกทั้งน�ำ ไปสู ่ ก ารแก้ ไขปั ญ หาของชุ ม ชนทางด้ า น ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ได้ตรง กั บ สภาพของปั ญ หาท� ำ ให้ เ กิ ด การจั ด การ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่เข้มแข็ง ต่อไป วัตถุประสงค์การวิจัย 1. เพือ่ ศึกษาระดับพฤติกรรมการเสริม สร้างความเข้มแข็งด้านการจัดการทรัพยากร ธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล้ อ มในชุ ม ชน ความ
นิพนธ์ สมบูรณ์พูลเพิม และ กมล โพธิเย็น
ผูกพันต่อชุมชน การได้รับแรงสนับสนุนทาง สังคมจากบุคคลภายในครอบครัว การได้รับ แรงสนับสนุนทางสังคมจากองค์กรท้องถิน่ และ การมี เ อกลั ก ษณ์ ท างสั ง คมของผู ้ น� ำ ชุ ม ชน อ�ำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ 2. เพือ่ เปรียบเทียบพฤติกรรมการเสริม สร้างความเข้มแข็งด้านการจัดการทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในชุมชนของผู้น�ำ ชุ ม ชน จ� ำ แนกตามอายุ ระดั บ การศึ ก ษา อาชีพ รายได้ และระยะเวลาการเป็นผู้น�ำ ชุมชนของผู้น�ำชุมชนอ�ำเภอแม่แจ่ม จังหวัด เชียงใหม่ 3. เพือ่ ศึกษาว่า ความผูกพันต่อชุมชน การได้รับแรงสนับสนุนทางสังคมจากบุคคล ภายในครอบครัว การได้รบั แรงสนับสนุนทาง สังคมจากองค์กรท้องถิน่ และการมีเอกลักษณ์ ทางสังคม เป็นปัจจัยทีส่ ง่ ผลต่อพฤติกรรมการ เสริ ม สร้ า งความเข้ ม แข็ ง ด้ า นการจั ด การ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในชุมชน ของผูน้ ำ� ชุมชนอ�ำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ ขอบเขตการวิจัย ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ผูน้ ำ� ชุมชนของอ�ำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ จ�ำนวนทั้งสิ้น 561 คน (ข้อมูล ณ วันที่ 18 มีนาคม 2555)
กลุม่ ตัวอย่างทีใ่ ช้ในการศึกษาวิจยั ครัง้ นี้ ได้แก่ ผู้น�ำชุมชนของอ�ำเภอแม่แจ่ม จังหวัด เชียงใหม่ จ�ำนวน 227 คน ซึ่งได้มาจาก การค�ำนวณขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตรของ ยามาเน่ (Yamané 1973) ที่ระดับความ เชื่อมั่นร้อยละ 95 ยอมให้คลาดเคลื่อนได้ ร้อยละ 5 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ตอนที ่ 1 แบบสอบถามเกีย่ วกับข้อมูล ส่ ว นบุ ค คล ได้ แ ก่ อายุ ระดั บ การศึ ก ษา อาชีพ ความพอเพียงของรายได้ ระยะเวลา การเป็นผู้น�ำชุมชน ตอนที่ 2 แบบสอบถามเกี่ยวกับการ ให้ความรู้แก่สมาชิกในชุมชน ตอนที่ 3 แบบสอบถามเกี่ยวกับการ สร้างพลังสมาชิกในชุมชน ตอนที่ 4 แบบสอบถามเกี่ยวกับการ ประสานงานให้กับสมาชิกในชุมชน ตอนที ่ 5 แบบสอบถามเกีย่ วกับความ ผูกพันต่อชุมชน ตอนที่ 6 แบบสอบถามเกี่ยวกับการ ได้รบั แรงสนับสนุนทางสังคมจากบุคคลภายใน ครอบครัว ตอนที่ 7 แบบสอบถามเกี่ยวกับการ ได้รับแรงสนับสนุนทางสังคมจากองค์กรท้อง ถิ่น
ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2016/2559 135
พฤติกรรมการเสริมสร้างความเข้มแข็งในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ของผู้นำ�ชุมชนอำ�เภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่
ตอนที ่ 8 แบบสอบถามเกีย่ วกับ การ มีเอกลักษณ์ทางสังคม สรุปผลการวิจัย ตอนที่ 1 การวิ เ คราะห์ ข ้ อ มู ล ส่ ว น บุคคล ของกลุ่มตัวอย่าง จ�ำนวน 227 คน พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนมากมีอายุ 31-40 ปี คิดเป็นร้อยละ 49.8 จบการศึกษาระดับ มัธยมศึกษา/ปวช. หรือเทียบเท่า คิดเป็น ร้อยละ 40.1 ประกอบอาชีพเกษตรกรรม คิดเป็นร้อยละ 81.1 มีรายได้อยู่ในระดับพอ เพียง คิดเป็นร้อยละ 92.5 และส่วนใหญ่มี ระยะเวลาในการเป็นผู้น�ำชุมชน 4-6 ปี คิด เป็นร้อยละ 47.1 ตอนที่ 2 การวิเคราะห์ระดับความ ผูกพันต่อชุมชน การได้รับแรงสนับสนุนจาก บุ ค คลภายในครอบครั ว การได้ รั บ แรง สนับสนุนจากองค์กรท้องถิน่ การมีเอกลักษณ์ ทางสั ง คมของกลุ ่ ม ตั ว อย่ า ง พบว่ า กลุ ่ ม ตัวอย่าง มีความผูกพันต่อชุมชน การได้รับ แรงสนั บ สนุ น จากครอบครั ว และการมี เอกลักษณ์ทางสังคม อยูใ่ นระดับมาก ( X = 3.74, X =3.62 และ X =3.62 ตาม ล�ำดับ) ส่วนพฤติกรรมการเสริมสร้างความเข้ม แข็ ง ด้ า นการจั ด การทรั พ ยากรธรรมชาติ สิ่ ง แวดล้ อ มในชุ ม ชนและการได้ รั บ แรง สนับสนุนจากองค์กรท้องถิน่ อยูใ่ นระดับปาน
136 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
กลาง ( X =3.31 และ X =3.00 ตาม ล�ำดับ) ตอนที่ 3 การวิเคราะห์เปรียบเทียบ พฤติกรรมการเสริมสร้างความเข้มแข็งด้านการ จัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมใน ชุมชนของกลุ่มตัวอย่าง จ�ำแนกตาม อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ ความพอเพียงของ รายได้ ระยะเวลาการเป็นผู้น�ำชุมชน 3.1 จ�ำแนกตาม อายุ พบว่า กลุ่ม ตัวอย่าง ทุกกลุม่ มีคา่ เฉลีย่ ของพฤติกรรมการ เสริ ม สร้ า งความเข้ ม แข็ ง ด้ า นการจั ด การ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในชุมชน อยูใ่ นระดับปานกลาง โดยทีก่ ลุม่ อายุ 41 ปี ขึ้นไปมีพฤติกรรมการเสริมสร้างความเข้มแข็ง ด้ า นการจั ดการทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล้อมในชุมชนมากทีส่ ดุ ( X =3.31) และ พบว่ า กลุ ่ ม ตั ว อย่ า ง ที่ มี อ ายุ ต ่ า งกั น มี พฤติกรรมการเสริมสร้างความเข้มแข็งด้านการ จัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมใน ชุมชน ไม่แตกต่างกัน 3.2 จ� ำ แนกตาม ระดั บ การศึ ก ษา พบว่า กลุ่มตัวอย่าง ทุกกลุ่มมีค่าเฉลี่ยของ พฤติกรรมการเสริมสร้างความเข้มแข็งด้านการ จัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมใน ชุมชนอยู่ในระดับปานกลาง โดยกลุ่มระดับ ปวส.หรือเทียบเท่า/ปริญญาตรี/ปริญญาโท มีระดับของพฤติกรรมการเสริมสร้างความเข้ม
นิพนธ์ สมบูรณ์พูลเพิม และ กมล โพธิเย็น
แข็งด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมในชุมชนมากที่สุด ( X =3.409) และพบว่า กลุ่มตัวอย่างที่มีระดับการศึกษา ต่างกัน มีพฤติกรรมการเสริมสร้างความเข้ม แข็งด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมในชุมชน แตกต่างกัน อย่างมีนัย ส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3.3 จ�ำแนกตาม อาชีพ กลุม่ ตัวอย่าง ทุกกลุม่ มีคา่ เฉลีย่ ของพฤติกรรมการเสริมสร้าง ความเข้ ม แข็ ง ด้ า นการจั ด การทรั พ ยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในชุมชนอยู่ในระดับ ปานกลาง โดยกลุ่มที่มีอาชีพรับราชการ มี ระดับของพฤติกรรมการเสริมสร้างความเข้ม แข็งด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมในชุมชน มากที่สุด ( X =3.452) และพบว่า กลุ่มตัวอย่างที่มีอาชีพต่างกัน มี พฤติกรรมการเสริมสร้างความเข้มแข็งด้านการ จัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมใน ชุมชน ไม่แตกต่างกัน 3.4 จ�ำแนกตาม ความพอเพียงของ รายได้ พบว่า กลุ่มตัวอย่าง ที่มีความพอ เพียงของรายได้ต่างกัน มีพฤติกรรมการเสริม สร้างความเข้มแข็งด้านการจัดการทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในชุมชนแตกต่างกัน อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยที่ กลุม่ ตัวอย่าง ทีม่ รี ายได้พอเพียงและเหลือเก็บ มีพฤติกรรมการเสริมสร้างความเข้มแข็งด้าน
การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม ในชุ ม ชนมากกว่ า ผู ้ น� ำ ชุ ม ชนอ� ำ เภอแม่ แจ่ ม จังหวัดเชียงใหม่ที่มีรายได้ไม่พอเพียง ( X = 3.33 และ X =2.97 ตามล�ำดับ) 3.5 จ�ำแนกตาม ระยะเวลาการเป็น ผู้น�ำชุมชน พบว่า กลุ่มตัวอย่าง ทุกกลุ่มมี ค่าเฉลีย่ ของพฤติกรรมการเสริมสร้างความเข้ม แข็งด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมในชุมชน อยูใ่ นระดับปานกลาง โดย กลุ่มที่มีระยะเวลาการเป็นผู้น�ำ 4-6 ปี มี ระดับของพฤติกรรมการเสริมสร้างความเข้ม แข็งด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมในชุมชน มากที่สุด ( X =3.370) และพบว่ากลุ่มตัวอย่างที่มีระยะเวลาการเป็น ผู้น�ำต่างกัน มีพฤติกรรมการเสริมสร้างความ เข้มแข็งด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมในชุมชน ไม่แตกต่างกัน ตอนที ่ 4 การวิเคราะห์คา่ สัมประสิทธิ์ สหสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า ง ความผู ก พั น ต่ อ ชุ ม ชน (X1) การได้รบั แรงสนับสนุนจากบุคคลภายใน ครอบครัว (X2) การได้รับแรงสนับสนุนจาก องค์ ก รท้ อ งถิ่ น (X 3) การมี เ อกลั ก ษณ์ ท าง สังคม (X4) และพฤติกรรมการเสริมสร้าง ความเข้ ม แข็ ง ด้ า นการจั ด การทรั พ ยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในชุมชน (Y) ของ กลุ่มตัวอย่าง พบว่า การได้รับแรงสนับสนุน จากบุคคลภายในครอบครัว การได้รับแรง
ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2016/2559 137
พฤติกรรมการเสริมสร้างความเข้มแข็งในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ของผู้นำ�ชุมชนอำ�เภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่
สนับสนุนจากองค์กรท้องถิ่น ความผูกพันต่อ ชุมชน การมีเอกลักษณ์ทางสังคม มีความ สัมพันธ์ทางบวกกับพฤติกรรมการเสริมสร้าง ความเข้ ม แข็ ง ด้ า นการจั ด การทรั พ ยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในชุมชนอย่างมีนัย ส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (r=.549 .548 .504 .378 ตามล�ำดับ) การวิเคราะห์ตวั แปร ทีส่ ามารถท�ำนาย พฤติกรรมการเสริมสร้างความเข้มแข็งด้านการ จัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมใน ชุมชนของผู้น�ำชุมชนอ�ำเภอแม่แจ่ม จังหวัด เชียงใหม่ โดยสถิตวิ เิ คราะห์การถดถอยพหุคณ ู ตามล� ำ ดั บ ความส� ำ คั ญ ของตั ว แปรที่ น� ำ เข้ า สมการ (Stepwise Multiple Regression Analysis) พบว่า ตัวแปรทีม่ ปี ระสิทธิภาพใน การท�ำนายพฤติกรรมการเสริมสร้างความเข้ม แข็งด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมในชุมชน (Y) ได้แก่ การได้รับ แรงสนั บ สนุ น จากบุ ค คลภายในครอบครั ว (X2) การได้รับแรงสนับสนุนจากองค์กรท้อง ถิ่น (X3) ความผูกพันต่อชุมชน (X1) และ การมีเอกลักษณ์ทางสังคม (X4) ตามล�ำดับ การอภิปรายผล 1. ผลการวิเคราะห์ระดับความผูกพัน ต่อชุมชน การได้รับแรงสนับสนุนทางสังคม จากบุคคลภายในครอบครัว การได้รับแรง
138 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
สนับสนุนทางสังคมจากองค์กรท้องถิ่น และ การมีเอกลักษณ์ทางสังคม และพฤติกรรมการ เสริ ม สร้ า งความเข้ ม แข็ ง ด้ า นการจั ด การ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในชุมชน มีรายละเอียดดังนี้ 1.1. ผลการวิเคราะห์ระดับความผูกพัน ต่อชุมชนของกลุ่มตัวอย่างผู้น�ำชุมชน พบว่า อยู่ในระดับมาก ( X =3.74) ทั้งนี้เนื่องจาก กลุ่มตัวอย่างผู้น�ำชุมชน ส่วนมากมีอายุเฉลี่ย 31-40 ปี คิดเป็นร้อยละ 49.8 แสดงว่า กลุ่มตัวอย่างผู้น�ำชุมชนเป็นช่วงอายุที่มีพลัง ของความคิดสร้างสรรค์ มีความสุขที่ได้เป็น ส่วนหนึ่งในชุมชน จึงท�ำให้กลุ่มตัวอย่างผู้น�ำ ชุมชน มีความรักความผูกพันต่อชุมชนของตน จากข้ อ มู ล ส่ ว นบุ ค คลยั ง พบอี ก ว่ า กลุ ่ ม ตัวอย่าง ส่วนมากมีระยะเวลาการเป็นผู้น�ำ 4-6 ปี คิดเป็นร้อยละ 47.1 แสดงให้เห็น ว่ า กลุ ่ ม ตั ว อย่ า ง ส่ ว นใหญ่ อุ ทิ ศ ตนในการ ปฎิบตั หิ น้าทีถ่ งึ 2 สมัย ซึง่ กลุม่ ตัวอย่างผูน้ ำ� ชุมชนเหล่านีร้ บั รูแ้ ละสัมผัสถึงความส�ำคัญของ ชุมชนของตนเป็นเหตุผลให้กลุ่มตัวอย่างผู้น�ำ ชุมชน เหล่านีม้ คี วามผูกพันต่อชุมชนจนน�ำไป สู ่ ก ารคิ ด การพู ด การกระท� ำ ด้ ว ยความ บริ สุ ท ธิ์ ใจเพื่ อ ปกป้ อ งดู แ ลรั ก ษาทรั พ ยากร ธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมภายในชุมชนของตน ในระดับทีส่ งู ด้วยลักษณะความเป็นอยู ่ ทีต่ งั้ ของถิ่นฐานเอื้อให้ผู้น�ำชุมชนได้เล็งเห็นคุณค่า
นิพนธ์ สมบูรณ์พูลเพิม และ กมล โพธิเย็น
เห็นความส�ำคัญของท้องถิ่นที่ตนอาศัย ไม่ เพี ย งแค่ เ ป็ น สถานที่ เ พื่ อ อาศั ย เพี ย งชั่ ว ครั้ ง ชั่วคราวเท่านั้น แต่เป็นมรดกที่จะส่งมอบต่อ ให้กับบุตรหลานในอนาคต จึงเป็นเหตุผลให้ กลุ ่ ม ตั ว อย่ า งรู ้ สึ ก รั ก ผู ก พั น ต่ อ ชุ ม ชน สอดคล้ อ งกั บ การศึ ก ษาของนั ย น์ ป พร สภากรณ์ (2550) ศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการ ปฎิ บั ติ ห น้ า ที่ ใ นชุ ม ชนของผู ้ น� ำ ในชุ ม ชน แขวงวัดกัลยา เขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร พบว่ากลุ่มตัวอย่างที่ศึกษามีความผูกพันต่อ ชุมชนในระดับมาก 1.2 ผลการวิเคราะห์ระดับการได้รับ แรงสนั บ สนุ น ทางสั ง คมจากบุ ค คลภายใน ครอบครัว พบว่า อยู่ในระดับมาก ( X = 3.62) ทัง้ นีเ้ นือ่ งจาก กลุม่ ตัวอย่างผูน้ ำ� ชุมชน ส่วนมากมีรายได้พอเพียงและเหลือเก็บ คิด เป็ น ร้ อ ยละ 93.4 แสดงให้ เ ห็ น ว่ า กลุ ่ ม ตัวอย่างผูน้ ำ� ชุมชน สามารถปฎิบตั หิ น้าทีข่ อง ตนได้อย่างมีประสิทธิภาพเนือ่ งจากผูน้ ำ� เหล่านี้ ไม่ต้องพะวงหรือกังวลกับความเป็นอยู่ของ สมาชิกในครอบครัวเพราะจากรายได้ทพี่ อเพียง และเหลือเก็บของผู้น�ำย่อมส่งผลให้สมาชิกใน ครอบครัวมีสภาพความเป็นอยู่ที่ดี มีสุขภาพ กายใจที่ ดีซึ่ง จะส่งผลดีต่อการปฎิบัติห น้าที่ อีกทั้งบุคคลภายในครอบครัวไม่เป็นอุปสรรค ในการปฎิบัติหน้าที่ของผู้น�ำ ทั้งยังสนับสนุน การท�ำงานของผูน้ ำ� โดยการให้กำ� ลังใจและเห็น
ความส�ำคัญของงานที่ผู้น�ำเหล่านั้นปฎิบัติอยู่ ซึ่งการได้รับแรงสนับสนุนจากบุคคลภายใน ครอบครัวทีด่ ี เช่น พ่อแม่ ญาติพนี่ อ้ ง เป็น สิ่งที่ผู้น�ำชุมชนได้รับ ซึ่งอาจเป็นทางข่าวสาร ก�ำลังใจ หรือทางอารมณ์เพือ่ ให้ผนู้ ำ� ได้ปฎิบตั ิ หน้าทีไ่ ด้อย่างมีประสิทธิภาพ จากผลการวิจยั แสดงให้ เ ห็ น ว่ า ผู ้ น� ำ ชุ ม ชนได้ รั บ ความรั ก ความเอาใจใส่ ได้รับการช่วยผ่อนคลายทาง ด้ า นอารมณ์ พร้ อ มทั้ ง มี บุ ค คลภายใน ครอบครัวคอยรับฟังปัญหาต่างๆ เพื่อช่วยลด ความเครียดที่เกิดจากการท�ำงาน สอดคล้อง กั บ การศึ ก ษาของกนกทอง สุ ว รรณบู ล ย์ (2545) พบว่า อาสาสมัครสาธารณสุขประจ�ำ หมูบ่ า้ นได้รบั การสนับสนุนทางสังคมจากบุคคล ภายในครอบครัวอยู่ในระดับมาก 1.3 ผลการวิเคราะห์ระดับการได้รับ แรงสนั บ สนุ น ทางสั ง คมจากองค์ ก รท้ อ งถิ่ น พบว่าอยูใ่ นระดับปานกลาง ( X =3.00) ทัง้ นี้ อาจเนื่ อ งมาจากภาระหน้ า ที่ ห รื อ ความรั บ ผิดชอบขององค์กรท้องถิ่นมีมาก อีกทั้งเป็น หน่วยงานราชการ องค์กรปกครองส่วนท้อง ถิ่นมีหน้าที่หลักในการพัฒนาชุมชนทั้งในด้าน เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม รวมทั้งหน้าที่ ในการบริการประชาชน ยังไม่มเี จ้าหน้าทีจ่ าก ส่วนท้องถิ่นที่รับผิดชอบเกี่ยวกับทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมโดยตรง อีกทั้งมีงบ ประมาณในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ
ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2016/2559 139
พฤติกรรมการเสริมสร้างความเข้มแข็งในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ของผู้นำ�ชุมชนอำ�เภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่
สิ่ ง แวดล้ อ มอย่ า งจ� ำ กั ด และการคมนาคม ติดต่อกับทางราชการมีความยากล�ำบากเพราะ ที่ตั้งของแต่ละชุมชนมีระยะห่างไกล รวมถึง ความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งผู ้ น� ำ ในชุ ม ชนกั บ เจ้ า หน้ า ที่ ข องภาครั ฐ ยั ง ขาดความใกล้ ชิ ด เนื่องจากผู้น�ำชุมชนมองว่าเจ้าหน้าที่ภาครัฐ เป็นบุคคลทีม่ อี ำ� นาจ เวลาติดต่อประสานงาน จะมี ค วามยุ ่ ง ยากล� ำ บาก แสดงให้ เ ห็ น ว่ า องค์กรท้องถิ่นยังขาดการให้การสนับสนุนแก่ ผูน้ ำ� ชุมชน สอดคล้องกับการศึกษาของโสภณ นุชเจริญ พบว่าการได้รับแรงสนับสนุนทาง สังคมจากองค์การบริหารส่วนท้องถิ่น (อบต. หรื อ เทศบาล) อยู ่ ใ นระดั บ ปานกลางและ สอดคล้ อ งกั บ งานวิ จั ย ของพระมหาชาคริ ต บ�ำเพ็ญ พบว่า พระสงฆ์ส่วนใหญ่ได้รับการ สนับสนุนด้านทุนทรัพย์ วัสดุ อุปกรณ์ ใน ระดับปานกลาง 1.4 ผลการวิ เ คราะห์ ร ะดั บ การมี เอกลักษณ์ทางสังคม พบว่าอยู่ในระดับมาก ( X =3.62) ทั้งนี้อาจเป็นเพราะที่ตั้งถิ่นฐานมี ลักษณะเป็นเทือกเขา สลับกับที่ราบ มีวิถี ชีวิตและขนบธรรมเนียมเป็นของตนเอง มี วัฒนธรรมเก่าแก่ทเี่ ป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัว มี ความเชื่อในเรื่องการนับถือผีตั้งแต่เดิมโดยเชื่อ ว่าสถานที่แทบทุกแห่ง มีผีให้ความคุ้มครอง รั ก ษาอยู ่ ความเชื่ อ นี้ จึ ง มี อิ ท ธิ พ ลต่ อ การ ด� ำ เนิ น ชี วิ ต ประจ� ำ วั น เห็ น ได้ จากขนบ ธรรมเนี ย ม ประเพณี และพิ ธี ก รรมต่ า งๆ 140 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
มี ค วามผู ก พั น เกี่ ย วเนื่ อ งอยู ่ กั บ การนั บ ถื อ ผี สามารถพบเห็น ได้จากการด�ำเนินชีวติ ประจ�ำ วัน เช่น เมื่อเวลาที่ต้องเข้าป่าไปหาอาหาร หรือต้องค้างพักแรมอยู่ในป่า มักจะต้องบอก กล่าวเจ้าที่เจ้าทางเสมอ และเมื่อเวลาที่กิน ข้าวในป่า ก็มักจะแบ่งอาหารให้เจ้าที่ด้วย เช่นกัน สิ่งเหล่านี้แสดงให้เห็นว่าวิถีชีวิตของ คนในชุมชนผูกผันอยู่กับการนับถือผี รวมถึง มี วั ฒ นธรรมประเพณี ที่ ยึ ด ถื อ ปฎิ บั ติ กั น มา ตั้งแต่สมัยบรรพบุรุษ จากข้อมูลส่วนบุคคล ของผูน้ ำ� ชุมชนอ�ำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ พบว่ า ส่ ว นมากประกอบอาชี พ เกษตรกรรม คิดเป็นร้อยละ 81 ซึ่งการประกอบอาชีพ เกษตรกรรมนี้ เ องได้ ก ่ อ ให้ เ กิ ด วั ฒ นธรรม ประเพณี ที่ เ ป็ น เอกลั ก ษณ์ เ ฉพาะของตน โดยเฉพาะวัฒนธรรมประเพณีที่เกี่ยวข้องกับ การประกอบอาชีพเกษตรกรรมซึ่งเกี่ยวข้อง โดยตรงกั บ ธรรมชาติ แสดงให้ เ ห็ น ว่ า ผู ้ น� ำ ชุมชนด�ำเนินชีวิตท่ามกลางธรรมชาติ และ ด้วยวิถชี วี ติ ทีม่ คี วามสัมพันธ์กบั ธรรมชาตินเี่ อง ได้ก่อให้เกิดวัฒนธรรม ประเพณี และความ เชือ่ ต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับธรรมชาติ ความเชือ่ ต่างๆ เหล่านี้ได้หล่อหลอมพวกเขาให้กลาย เป็นกลุ่มคนที่มีความเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตน สอดคล้องกับงานวิจยั ของตุลวัตร พานิชเจริญ (2536) พบว่า ผูน้ ำ� ชุมชนชาวเขาเผ่ากระเหรีย่ ง มีเอกลักษณ์ทางสังคม อยู่ในระดับมาก
นิพนธ์ สมบูรณ์พูลเพิม และ กมล โพธิเย็น
2. การวิเคราะห์เปรียบเทียบพฤติกรรม การเสริมสร้างความเข้มแข็งด้านการจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของกลุ่ม ตัวอย่าง จ�ำแนกตาม อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ ความพอเพียงของรายได้ และระยะ เวลาการเป็ น ผู ้ น� ำ ที่ แ ตกต่ า งกั น มี ร าย ละเอียดดังนี้ 2.1 อายุ ผลการวิเคราะห์พบว่า ผูน้ ำ� ชุมชนที่มีอายุต่างกัน มีพฤติกรรม ไม่แตก ต่างกัน จึงไม่ยอมรับสมมติฐานข้อที ่ 1 ทีว่ า่ ผูน้ ำ� ชุมชนทีม่ อี ายุตา่ งกัน มีพฤติกรรม ทีแ่ ตก ต่างกัน ทั้งนี้อธิบายได้ว่า แม้อายุ จะเป็น เครื่ อ งบ่ ง ชี้ ถึ ง ความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ หน้ า ที่ วุฒภิ าวะในการตัดสินใจกระท�ำการต่างๆ รวม ทั้ ง เป็ น เครื่ อ งบอกลั ก ษณะของบุ ค คลนั้ น ๆ ตามอายุ ตามวั ย ของตน แต่ ผู ้ น� ำ ชุ ม ชน เป็นกลุ่มบุคคลที่เติบโตในพื้นที่ใช้ชีวิตอยู่ใน ชุมชนของตนท�ำให้พวกเขาเข้าใจสภาพและ บริบทของชุมชนเป็นอย่างดี รวมทัง้ เป็นคนใน พื้นที่ซึ่งเติบโตมาในสภาพเดียวกัน ได้รับรู้ มองเห็ น รู ป แบบการปฎิ บั ติ ห น้ า ที่ แ ละการ ท�ำงานของผู้น�ำชุมชนรุ่นก่อนตนเอง ช่วยให้ ผู้น�ำชุมชนได้พัฒนาคุณลักษณะเฉพาะช่วงวัย ตนเองขึ้นมา จึงท�ำให้มีความสามารถที่หลาก หลาย สอดคล้องกับที่ประสงค์ ลีลา พบว่า อายุ ไม่มผี ลต่อพฤติกรรมการเสริมสร้างความ เข้มแข็งของชุมชน
2.2 ระดับการศึกษา ผลการวิเคราะห์ พบว่า ผู้น�ำชุมชนที่มีระดับการศึกษาต่างกัน มีพฤติกรรม แตกต่างกัน จึงยอมรับสมมติ ฐานข้อที่ 2 ที่ว่า ผู้น�ำชุมชนที่มีระดับการ ศึกษาต่างกัน มีพฤติกรรม แตกต่างกัน โดย ผูน้ ำ� ชุมชนทีม่ กี ารศึกษาระดับปวส. หรือเทียบ เท่ า /ปริ ญ ญาตรี / ปริ ญ ญาโท มี พ ฤติ ก รรม มากกว่าผู้น�ำชุมชนที่มีการศึกษาระดับประถม ศึกษาหรือต�ำ่ กว่าและมัธยมศึกษา/ปวช. หรือ เทียบเท่า ( X =3.409, 3.254 และ 3.230 ตามล�ำดับ) ทั้งนี้อธิบายได้ว่า ผู้น�ำชุมชนที่มี การศึ ก ษาที่ สู ง กว่ า ปฎิ บั ติ ง านได้ ดี ก ว่ า ผู ้ น� ำ ชุมชนทีม่ กี ารศึกษาทีต่ ำ�่ กว่า ซึง่ การเสริมสร้าง ความเข้ ม แข็ ง ด้ า นการจั ด การทรั พ ยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเป็นการแสดงออก หรือเป็นพฤติกรรมทีผ่ นู้ ำ� จะต้องปฎิบตั โิ ดยเป็น ผู้น�ำทั้งภาคปฎิบัติและภาคทฤษฎี ด้วยเหตุนี้ จึ ง จ� ำ เป็ น ต้ อ งอาศั ย ความรู ้ ประสบการณ์ เป็นปัจจัยที่ส�ำคัญที่ผู้น�ำต้องมีมากกว่าสมาชิก ในชุ ม ชนคนอื่ น ๆ สอดคล้ อ งกั บ ที่ สุ พ รรณี สุขสมกิจ (2546) พบว่า ระดับการศึกษา มีผลต่อการปฎิบัติงานตามบทบาทหน้าที่ของ คณะกรรมการพัฒนาสตรีต�ำบล แตกต่างกัน อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ.05 2.3 อาชี พ ผลการวิ เ คราะห์ พ บว่ า ผู้น�ำชุมชนที่มีอาชีพต่างกัน มีพฤติกรรม ไม่ แตกต่างกัน จึงไม่ยอมรับสมมติฐานข้อที่ 3
ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2016/2559 141
พฤติกรรมการเสริมสร้างความเข้มแข็งในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ของผู้นำ�ชุมชนอำ�เภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่
ที่ ว ่ า ผู ้ น� ำ ชุ ม ชน ที่ มี อ าชี พ ต่ า งกั น มี พฤติกรรม ที่แตกต่างกัน ทั้งนี้อธิบายได้ว่า จากการทีผ่ นู้ ำ� ชุมชนทุกคนยังท�ำงานและอาศัย อยูใ่ นชุมชนช่วยท�ำให้พวกเขามองเห็นแนวทาง ในการท�ำงานที่เหมาะสมกับบริบทและสภาพ แวดล้อมของชุมชน เนือ่ งด้วยการอุทศิ ตนเพือ่ ท�ำหน้าที่ในการเป็นผู้น�ำชุมชนเป็นสิ่งที่มาจาก ความตั้งใจ การเสียสละตนโดยปราศจากการ บั ง คั บ ใดๆ จากสมาชิ ก ในชุ ม ชน เพื่ อ ท� ำ หน้าที่ในการพัฒนาชุมชนของตนแม้ว่าผู้น�ำ เหล่านี้จะประกอบอาชีพที่แตกต่างกันก็ไม่มี ผลกระทบต่ อ หน้ า ที่ ที่ ต นต้ อ งรั บ ผิ ด ชอบ สอดคล้องกับที่กิตติคม อินทะวุธ (2553) พบว่า อาชีพไม่มคี วามสัมพันธ์กบั บทบาทของ ผูน้ ำ� ชุมชนทีม่ ตี อ่ การส่งเสริมเศรษฐกิจพอเพียง อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิตที่ระดับ .05 2.4 ความพอเพียงของรายได้ ผลการ วิเคราะห์พบว่า ผู้น�ำชุมชนที่มีความพอเพียง ของรายได้ ต่างกัน มีพฤติกรรม แตกต่างกัน จึงยอมรับสมมติฐานข้อที่ 4 ที่ว่าผู้น�ำชุมชน ที่ มี ค วามพอเพี ย งของรายได้ ต ่ า งกั น มี พฤติกรรมที่แตกต่างกัน โดยผู้น�ำชุมชนที่มี รายได้ พอเพียงและเหลือเก็บมีพฤติกรรม มากกว่าผู้น�ำชุมชนที่มีรายได้ไม่พอเพียง ( X =3.33 และ X =2.97 ตามล�ำดับ) เนื่อง ด้ ว ยว่ า ผู ้ น� ำ ชุ ม ชนที่ มี ร ายได้ พอเพี ย งและ เหลื อ เก็ บ ไม่ ต ้ อ งพะวงกั บ การท� ำ มาหากิ น
142 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
ขณะทีผ่ นู้ ำ� ชุมชนทีม่ รี ายได้ไม่พอเพียงต้องแบก รับความรับผิดชอบต่อครอบครัว ภาระค่าใช้ จ่ายต่างๆ ภายในครอบครัว ซึง่ ท�ำให้พวกเขา ไม่สามารถทุ่มเทต่อหน้าที่ที่ต้องรับผิดชอบใน ด้ า นการเสริ ม สร้ า งความเข้ ม แข็ ง ด้ า นการ จัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมได้ อย่างเต็มที ่ สอดคล้องกับทีส่ พุ รรณี สุขสมกิจ (2546) พบว่า รายได้ มีผลต่อการปฎิบัติ งานตามบทบาทหน้ า ที่ ข องคณะกรรมการ พัฒนาสตรีต�ำบลแตกต่างกันอย่างมีนัยส�ำคัญ ทางสถิติที่ระดับ 0.05 2.5 ระยะเวลาการเป็นผู้น�ำ ผลการ วิเคราะห์พบว่า ผู้น�ำชุมชนที่มีระยะเวลาการ เป็นผู้น�ำต่างกัน มีพฤติกรรม ไม่แตกต่างกัน จึงไม่ยอมรับสมมติฐานข้อที่ 4 ที่ว่า ผู้น�ำ ชุมชน ที่มีระยะเวลาการเป็นผู้น�ำชุมชนต่าง กั น มี พ ฤติ ก รรมที่ แ ตกต่ า งกั น เนื่ อ งจาก การปฎิบัติหน้าที่การเป็นผู้น�ำชุมชนเป็นภาระ หน้าทีท่ ที่ กุ คนต้องใช้ความรูค้ วามสามารถและ ประสบการณ์ เ ฉพาะส่ ว นบุ ค คล มี ค วาม เกีย่ วข้องกับภาวะความเป็นผูน้ ำ� มากกว่าระยะ เวลาในการเป็นผู้น�ำ สอดคล้องกับที่ประสงค์ ลีลา พบว่า กลุม่ ตัวอย่างทีม่ รี ะยะเวลาในการ ด�ำรงต�ำแหน่งแตกต่างกันมีพฤติกรรมการเสริม สร้างความเข้มแข็งของชุมชนไม่แตกต่างกัน แต่ ทั้ ง นี้ ไ ม่ ส อดคล้ อ งกั บ ที่ พ ระมหาชาคริ ต บ�ำเพ็ญ พบว่า ระยะเวลาในการปฎิบัติงาน
นิพนธ์ สมบูรณ์พูลเพิม และ กมล โพธิเย็น
มีผลต่อการปฎิบตั งิ านในเครือข่ายองค์การพระ ผู้น�ำพัฒนาแผ่นดินธรรม แผ่นดินทอง แตก ต่างกันอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. ผลการวิ เ คราะห์ ตั ว แปร ได้ แ ก่ ความผู ก พั น ที่ มี ต ่ อ ชุ ม ชน การได้ รั บ แรง สนับสนุนทางสังคมจากบุคคลภายในครอบครัว การได้รับแรงสนับสนุนทางสังคมจากองค์กร ท้ อ งถิ่ น และการมี เ อกลั ก ษณ์ ท างสั ง คมที่ สามารถท� ำ นายพฤติ ก รรมของผู ้ น� ำ ชุ ม ชน อ�ำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ สรุปผลดังนี้ การวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณตามล�ำดับ ความส�ำคัญของตัวแปรทีน่ ำ� เข้าสมการ พบว่า การได้ รั บ แรงสนั บ สนุ น จากบุ ค คลภายใน ครอบครัว มีอ�ำนาจในการท�ำนายพฤติกรรม มากทีส่ ดุ รองลงมาคือการได้รบั แรงสนับสนุน จากองค์กรท้องถิ่น ความผูกพันที่มีต่อชุมชน การมีเอกลักษณ์ทางสังคม โดยสามารถร่วม กันท�ำนายพฤติกรรมได้รอ้ ยละ 42.9 ผลการ ศึกษาครัง้ นีจ้ งึ ยอมรับสมมติฐานข้อที ่ 6 ทีว่ า่ ความผู ก พั น ที่ มี ต ่ อ ชุ ม ชน การได้ รั บ แรง สนับสนุนทางสังคมจากบุคคลภายในครอบครัว การได้รับแรงสนับสนุนทางสังคมจากองค์กร ท้องถิน่ และการมีเอกลักษณ์ทางสังคม เป็น ปั จ จั ย ที่ ส ่ ง ผลต่ อ พฤติ ก รรมของผู ้ น� ำ ชุ ม ชน สามารถอภิปรายผลได้ดังนี้ การได้รบั แรงสนับสนุนจากบุคคลภายใน ครอบครัว เป็นตัวแปรทีไ่ ด้รบั การคัดเลือกเข้า
สมการเป็ น อั น ดั บ แรกและสามารถท� ำ นาย พฤติ ก รรมได้ ร ้ อ ยละ 30.2 เมื่ อ พิ จ ารณา ความสัมพันธ์ พบว่า การได้รบั แรงสนับสนุน จากบุคคลภายในครอบครัวมีความสัมพันธ์ทาง บวกกับพฤติกรรมอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .01 (r=.549) แสดงว่า เมื่อผู้น�ำ ชุ ม ชนได้ รั บแรงสนั บสนุ นจากบุ คคลภายใน ครอบครัวมากก็จะสามารถท�ำให้ผู้น�ำชุมชนมี พฤติกรรมการเสริมสร้างความเข้มแข็งด้านการ จัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมมาก ขึน้ เช่นเดียวกัน เพราะการได้รบั แรงสนับสนุน จากบุ ค คลภายในครอบครั ว เป็ น แหล่ ง ให้ ก�ำลังใจระดับต้นๆ ไม่ว่าจะด้วยค�ำแนะน�ำ การให้ค�ำปรึกษา และคอยให้ก�ำลังใจในด้าน ต่างๆ ซึง่ คอยเอือ้ อ�ำนวยให้ผนู้ ำ� ชุมชนได้แสดง ความสามารถ รั บ ผิ ด ชอบต่ อ หน้ า ที่ และ ท� ำ งานด้ ว ยความสบายใจ ไม่ ก ่ อ ให้ เ กิ ด ความเครียด ซึ่งการท�ำงานในชุมชนจะต้อง เผชิญกับปัญหาอุปสรรค ต้องรับรู้เรื่องราวที่ บางครัง้ อาจเป็นไปในทางทีไ่ ม่สร้างสรรค์ เช่น การติฉินนินทา การใส่ร้ายป้ายสี ด้วยเหตุนี้ เมื่อผู้น�ำชุมชนได้รับก�ำลังใจ การสนับสนุน จากบุ ค คลภายในครอบครั ว จะช่ ว ยให้ ผู ้ น� ำ ชุ ม ชนมี ก� ำ ลั ง ใจในการท� ำ งานและก้ า วผ่ า น ปัญหาและอุปสรรคต่างๆ ได้อย่างเข้มแข็ง สอดคล้ อ งกั บ ที่ ก นกทอง สุ ว รรณบู ล ย์ (2545) พบว่า การสนับสนุนทางสังคมจาก
ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2016/2559 143
พฤติกรรมการเสริมสร้างความเข้มแข็งในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ของผู้นำ�ชุมชนอำ�เภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่
บุ ค คลภายในครอบครั ว และค่ า นิ ย มทาง จริยธรรม สามารถร่วมกันท�ำนายการปฏิบัติ งานของอาสาสมั ค รสาธารณสุ ข (อสม.) จังหวัดระยอง ได้ร้อยละ 39 อย่างมีนัย ส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ.001 การได้รับแรงสนับสนุนจากองค์กรท้อง ถิ่ น ถู ก เลื อ กเข้ า สมการเป็ น อั น ดั บ 2 สามารถร่วมกับการได้รับแรงสนับสนุนจาก บุคคลภายในครอบครัว ท�ำนายพฤติกรรมได้ ร้ อยละ 37.7 เมื่อพิจ ารณาความสัมพันธ์ พบว่า การได้รบั แรงสนับสนุนจากองค์กรท้อง ถิ่นมีความสัมพันธ์ทางบวกกับพฤติกรรมอย่าง มีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (r=.549) แสดงว่า เมื่อผู้น�ำชุมชนได้รับแรงสนับสนุน จากองค์กรท้องถิ่นมากก็จะสามารถท�ำให้ผู้น�ำ ชุมชนมีพฤติกรรมการเสริมสร้างความเข้มแข็ง ด้ า นการจั ด การทรัพ ยากรธรรมชาติและสิ่ง แวดล้อมมากขึน้ เช่นเดียวกัน เนือ่ งจากการได้ รับการสนับสนุนจากองค์กรท้องถิ่นมีความ ส�ำคัญที่จะช่วยให้ผู้น�ำชุมชนสามารถปฎิบัติ ตามหน้าที่ได้อย่างเหมาะสม เพราะมนุษย์มี การด�ำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้ ต้องพึ่งพาอาศัย พึง่ พาช่วยเหลือกัน โดยผูน้ ำ� ชุมชนจ�ำเป็นต้อง ได้รับการช่วยเหลือจากองค์กรท้องถิ่นในด้าน ต่ า งๆโดยการให้ ก ารสนั บ สนุ น ทางด้ า นงบ ประมาณ ก�ำลังคน อุปกรณ์ เครื่องมือ ที่ เป็นประโยชน์ต่อการท�ำงานของผู้น�ำชุมชน
144 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
ซึ่งสอดคล้องกับที่พยุทน์ นิยม (2545) พบ ว่า มีปัจจัยหลายประการที่มีผลต่อบทบาท ของผู้น�ำชุมชนต่อการมีส่วนร่วมในการจัดการ อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ได้แก่ การรับรูข้ า่ วสาร การได้รบั การยอมรับ ในการเป็นผู้น�ำ การได้รับการสนับสนุนจาก ประชาชนและ อบต. ความผูกพันต่อชุมชน เป็นตัวแปรทีถ่ กู เลือกเข้าสมการเป็นอันดับ 3 สามารถร่วมกับ การได้ รั บ แรงสนั บ สนุ น จากบุ ค คลภายใน ครอบครัว การได้รบั แรงสนับสนุนจากองค์กร ท้องถิ่น ท�ำนายพฤติกรรมได้ร้อยละ 41.8 เมื่ อ พิ จ ารณาความสั ม พั น ธ์ พบว่ า ความ ผู ก พั นต่ อ ชุ ม ชนมี ความสั ม พั นธ์ ท างบวกกั บ พฤติ ก รรม อย่ า งมี นั ย ส� ำ คั ญ ทางสถิ ติ ที่ ระดับ .01 (r=.299) แสดงว่า เมื่อผู้น�ำ ชุมชนมีความผูกพันต่อชุมชนมากก็จะสามารถ ท�ำให้ผู้น�ำชุมชนมีพฤติกรรมการเสริมสร้าง ความเข้ ม แข็ ง ด้ า นการจั ด การทรั พ ยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมมากขึ้นเช่นเดียวกัน ซึ่งความผูกพันต่อชุมชนเป็นการแสดงออกที่ เพียบพร้อมไปด้วยความจริงใจ บุคคลพร้อม อุทศิ ชีวติ เพือ่ ความก้าวหน้าของชุมชน มีความ ตัง้ ใจและมุง่ มัน่ ทีจ่ ะปกป้องทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่ ง แวดล้ อ มของชุ ม ชนของตน อมร สุวรรณนิมิตร (2542) กล่าวว่าความผูกพัน ต่อชุมชนคือ การที่บุคคลมีความเชื่อ ความ
นิพนธ์ สมบูรณ์พูลเพิม และ กมล โพธิเย็น
ศรัทธา ความรักและความผูกพันต่อสิ่งหนึ่ง สิ่งใดจนน�ำไปสู่การคิด การพูด การกระท�ำ ด้ ว ยความบริ สุ ท ธิ์ ใจ ซึ่ ง สอดคล้ อ งกั บ การ ศึกษาของนัยน์ปพร สุภากรณ์ (2550) พบ ว่าปัจจัยที่มีผลต่อการปฎิบัติหน้าที่ในชุมชน ของผู้น�ำชุมชนได้แก่ความผูกพันต่อชุมชน การมีเอกลักษณ์ทางสังคมเป็นตัวแปรที่ ถูกเลือกเข้าสมการเป็นอันดับ 4 สามารถร่วม กับการได้รับแรงสนับสนุนจากบุคคลภายใน ครอบครัว การได้รบั แรงสนับสนุนจากองค์กร ท้องถิ่น และความผูกพันต่อชุมชน ท�ำนาย พฤติ ก รรมได้ ร ้ อ ยละ 42.9 เมื่ อ พิ จ ารณา ความสัมพันธ์ พบว่า การมีเอกลักษณ์ทาง สังคมมีความสัมพันธ์ทางบวกกับพฤติกรรม อย่างมีนยั ส�ำคัญทางสถิตทิ รี่ ะดับ .01 (r=.302) แสดงว่า เมือ่ ผูน้ ำ� ชุมชนมีเอกลักษณ์ทางสังคม มากก็จะสามารถท�ำให้ผู้น�ำชุมชนมีพฤติกรรม การเสริมสร้างความเข้มแข็งด้านการจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมมากขึน้ เช่น เดียวกัน ซึง่ ผูน้ ำ� ชุมชนมีเอกลักษณ์เฉพาะทาง สังคมที่เกี่ยวข้องกับวิถีการด�ำรงชีวิต ที่เกิด จากการผสมผสาน ระหว่างความเชื่อที่เกี่ยว กับธรรมชาติกบั การนับถือผี ท�ำให้มปี ระเพณี ที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะ ท�ำให้การด�ำเนินชีวิต ประจ�ำวัน หรือการท�ำหน้าที่ย่อมให้ความ ส�ำคัญกับธรรมชาติเป็นอย่างยิ่ง นอกจากนั้น แล้วการที่มีผู้น�ำที่เคร่งครัดในเรื่องความเชื่อ
ความศรัทธาต่อสิ่งเหนือธรรมชาติย่อมเป็น เหตุผลให้ผนู้ ำ� ชุมชนรักษาเอกลักษณ์ทางสังคม เป็นอย่างดี ซึ่งเอกลักษณ์ทางสังคมนี้เองช่วย ให้พวกเขายึดมั่นถือมั่นและมุ่งมั่นที่จะรักษา ทรัพยากรธรรมและสิง่ แวดล้อมไม่ให้ถกู ท�ำลาย เพราะเชื่อว่าทรัพยากรธรรมชาติหรือป่าไม้มี ชีวติ เหมือนมนุษย์นนั้ เอง ซึง่ สอดคล้องกับการ ศึกษาของตุลวัตร์ พานิชเจริญ (2536) พบ ว่า ผู้น�ำชุมชนชาวเขาเผ่ากระเหรี่ยงมีวิถีชีวิต และการผลิตแบบยังชีพ มีระบบความเชื่อที่ สัมพันธ์กบั ธรรมชาติ ดิน น�ำ ้ ป่า มีการร่วม พิธีกรรมที่ส�ำคัญของส่วนรวม คือ การเลี้ยง ผีขุนห้วย การเลี้ยงผีเจ้าเมือง หรือการเลี้ยง ผีฝาย และเชือ่ ว่าทรัพยากรธรรมชาติ ดิน น�ำ้ ป่าไม้ พืชพันธุ์ธัญญาหารต่างๆ ทุกสิ่งทุก อย่างมีเจ้าของ ข้อเสนอแนะของการวิจัย 1. ข้อเสนอแนะเพื่อการน�ำไปใช้ 1.1 จากการวิจยั พบว่า การได้รบั แรง สนับสนุนจากบุคคลภายในครอบครัว เป็น ตั ว แปรที่ ไ ด้ รั บ การคั ด เลื อ กเข้ า สมการเป็ น อั น ดั บ แรกและสามารถท� ำ นายพฤติ ก รรม มากกว่ า ตั ว แปรอื่ น ๆ ดั ง นั้ น เพื่ อ ให้ ก าร ปฎิบัติงานที่มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นควรส่ง เสริมแนะน�ำให้สมาชิกในครอบครัวรับรู้และ เข้าใจบทบาทหน้าที่ของผู้น�ำที่ชัดเจน เพื่อ
ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2016/2559 145
พฤติกรรมการเสริมสร้างความเข้มแข็งในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ของผู้นำ�ชุมชนอำ�เภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่
คอยเอื้ออ�ำนวยช่วยเหลือให้ผู้น�ำได้ท�ำหน้าที่ ของตนได้อย่างมีประสิทธิภาพ 1.2 จากการวิจยั พบว่า การได้รบั แรง สนับสนุนจากองค์กรท้องถิ่น เป็นตัวแปรที่ ท�ำนายพฤติกรรม โดยพบว่า ผู้น�ำชุมชนได้ รับแรงสนับสนุนจากองค์กรท้องถิ่น ระดับ ปานกลาง ดังนัน้ ควรมีการติดต่อประสานงาน ให้มากขึน้ ระหว่างองค์กรท้องถิน่ กับผูน้ ำ� ชุมชน ควรได้รบั การสนับสนุนจากองค์กรท้องถิน่ อย่าง สม�่ำเสมอ 1.3 จากการวิจัยพบว่า ความผูกพัน ต่ อ ชุ ม ชน เป็ น ตั ว แปรที่ ส ามารถท� ำ นาย พฤติ ก รรม โดยพบว่ า ผู ้ น� ำ ชุ ม ชนมี ค วาม ผูกพันต่อชุมชน ระดับมาก ซึ่งแสดงให้เห็น ว่าผู้น�ำชุมชนปฎิบัติภารกิจทุกอย่างด้วยความ เต็ ม ใจ ภาคภู มิ ใจ ด้ ว ยเหตุ นี้ จึ ง จ� ำ เป็ น ที่ ต้ อ งเตรี ย มผู ้ น� ำ รุ ่ น ใหม่ ใ ห้ มี ค วามผู ก พั น ต่ อ ชุมชน 1.4 จากการวิ จั ย พบว่ า การมี เอกลักษณ์ทางสังคม เป็นตัวแปรที่สามารถ ท�ำนายพฤติกรรม โดยพบว่า ผู้น�ำชุมชน มี เอกลักษณ์ทางสังคม ระดับมาก โดยเฉพาะ การมี เ อกลั ก ษณ์ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ ธรรมชาติ ความเชือ่ เกีย่ วกับพิธกี รรมทีเ่ กีย่ วข้องกับวิถกี าร ด�ำรงชีวิต ดังนั้นควรส่งเสริมเอกลักษณ์ทาง สังคมเหล่านี้ให้คงอยู่กับชุมชนอย่างยั่งยืน
146 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
บรรณานุกรม กนกทอง สุวรรณบูลย์. 2545. อิทธิพลทาง จริ ย ธรรม สิ่ ง จู ง ใจ การสนั บ สนุ น ทางสังคมต่อการปฎิบัติงานของอาสา สมั ค รสาธารณสุ ข (อสม.)จั ง หวั ด ระยอง. ปริ ญ ญานิ พ นธ์ ศิ ล ปศาสตร มหาบั ณ ฑิ ต สาขาจิ ต วิ ท ยาชุ ม ชน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร. กิตติคม อินทะวุธ. 2553. บทบาทของผูน้ ำ� ชุมชนที่มีต่อการส่งเสริมเศรษฐกิจพอ เพี ย ง ต� ำ บลหนองเหล็ ก อ� ำ เภอ โกสุมพิสยั จังหวัดมหาสารคาม. สาร นิพนธ์ปริญญาศาสนศาตรมหาบัณฑิต สาขารัฐศาสตร์การปกครอง บัณฑิต วิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหามกุฎราช วิทยาลัย. ตุลวัตร พานิชเจริญ. 2536. การกล่อมเกลา ทางสังคมในด้านการจัดการทรัพยากร ธรรมชาติของผู้น�ำชุมชนชาวเขาเผ่า กระเหรีย่ ง. ปริญญาศึกษาศาสตรมหา บัณฑิต สาขาวิชาการศึกษานอกระบบ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. นัยน์ปพร สุภากรณ์. 2550. ปัจจัยที่ส่งผล ต่อการปฎิบัติหน้าที่ในชุมชนของผู้น�ำ ชุมชนในชุมชนแขวงวัดกัลยาณ์ เขต ธนบุรี กรุงเทพมหานคร. ปริญญา นิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขา
นิพนธ์ สมบูรณ์พูลเพิม และ กมล โพธิเย็น
วิ ช าสั ง คมวิ ท ยาประยุ ก ต์ บั ณ ฑิ ต วิทยาลัย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. ประสงค์ ลีลา. 2554. พฤติกรรมการเสริม สร้างความเข้มแข็งของชุมชน: กรณี ศึกษาผู้น�ำชุมชนในเขตอ�ำเภอชะอ�ำ จั ง หวั ด เพชรบุ รี . ปริ ญ ญานิ พ นธ์ ศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาจิตวิทยา ชุมชน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย ศิลปากร. พระมหาชาคริต บ�ำเพ็ญ. 2549. การปฎิบตั ิ งานในเครื อ ข่ า ยองค์ ก ารพระผู ้ น� ำ พัฒนาแผ่นดินธรรม แผ่นดินทองของ พระสงฆ์นักพัฒนา. ปริญญานิพนธ์ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาจิตวิทยา ชุมชน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย ศิลปากร. พยุทน์ นิยม. 2545. บทบาทของผู้น�ำท้อง ถิ่นต่อการจัดการอนุรักษ์ทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม: ศึกษาใน พืน้ ทีก่ งิ่ อ�ำเภอกรงปีนงั จังหวัดยะลา. วิ ท ยานิ พ นธ์ ศิ ล ปศาสตรมหาบั ณ ฑิ ต สาขาพัฒนาสังคม สถาบันบัณฑิตพัฒน บริหารศาสตร์. สุพรรณี สุขสมกิจ. 2546. การปฎิบัติงาน ตามบทบาทหน้ า ที่ ข องกรรมการ พัฒนาสตรีต�ำบลในจังหวัดนครปฐม. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหา
บั ณ ฑิ ต สาขาสั ง คมศาสตร์ เ พื่ อ การ พั ฒ นา บั ณ ฑิ ต วิ ท ยาลั ย สถาบั น ราชภัฎนครปฐม. ศิรินันท์ ช้างน้อยอ�ำไพ. (2553,2 มีนาคม). สมาชิกองค์การแคร์นานาชาติ มูลนิธิ รั ก ษ์ ไ ทย งานด้ า นสิ่ ง แวดล้ อ มและ ทรัพยากรธรรมชาติ ส�ำนักงานแม่แจ่ม เชียงใหม่, สัมภาษณ์. สมเกียรติ มีธรรม. 2553. ภูมิปัญญาพื้น บ้าน เพือ่ ปฏิรปู การบริหารจัดการน�ำ้ โดยชุมชน.[ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://www.orphya.org/index. php/th/features (วันที่ค้นข้อมูล: 2 สิงหาคม 2556). โสภณ นุชเจริญ. 2551. การปฎิบัติงาน ตามบทบาทหน้ า ที่ ใ นชมรมสร้ า ง เสริ ม สุ ข ภาพ ของอาสาสมั ค ร สาธารณสุขประจ�ำหมู่บ้าน อ�ำเภอ ชะอ� ำ จั ง หวั ด เพชรบุ รี . ปริ ญ ญา นิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขา จิ ต วิ ท ยาชุ ม ชน บั ณ ฑิ ต วิ ท ยาลั ย มหาวิทยาลัยศิลปากร. อมร สุวรรณนิมติ . 2546. รูปแบบการเสริม สร้างพลังอ�ำนาจองค์การบริหารส่วน ต� ำ บลเพื่ อ การพั ฒ นาชุ ม ชนน่ า อยู ่ . วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรดุษฎี บั ณ ฑิ ต สาขาการพั ฒ นาศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2016/2559 147
พฤติกรรมการเสริมสร้างความเข้มแข็งในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ของผู้นำ�ชุมชนอำ�เภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่
เอนก นาคะบุ ต ร. 2546. เอกสารการ ประชุ ม วิ ช าการครั้ ง ที่ 5 เรื่ อ ง ประชาธิปไตยกับการบรรเทาความ ยากจน. (15-17) พฤศจิ ก ายน. มหาวิทยาลัยขอนแก่น. Yamane,T,. 1973. Statistics: An Introductory Analysis. 3rd ed. New York : Harper and Row International. Weiss, R. S. 1974. The provision of social relationships. New Jersey: Prentice Hall.
148 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
ระบบการพัฒนาสมรรถนะส�ำหรับผูบ้ ริหาร ในสถานศึกษาคาทอลิก ในเครือสังฆมณฑล
Sforystems for Competency Development Administrators in Catholic Diocesan Schools.
บาทหลวงอิทธิพล ศรีรัตนะ * ศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต สาขาการจัดการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ รองศาสตราจารย์ ดร.อุทัย บุญประเสริฐ * ผู้อ�ำนวยการหลักสูตรดุษฎีบัณฑิต Reverend Dr.Itthipon Srirattana * Degree of Doctor of Philosophy Program in Education Management Department of Education Management Collage of Education Sciences, Dhurakij Pundit University.
Associate Professor Uthai Boonpraser * Associate Professor Uthai Boonpraser Ph.D. Director of the Doctoral Program.
ระบบการพัฒนาสมรรถนะสำ�หรับผู้บริหารในสถานศึกษาคาทอลิก ในเครือสังฆมณฑล
บทคัดย่อ
การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเพื่อน�ำเสนอระบบการพัฒนาสมรรถนะ ส�ำหรับผู้บริหารในสถานศึกษาคาทอลิกในเครือสังฆมณฑล วิธีการ ด�ำเนินการวิจยั มี 4 ขัน้ ตอน คือ 1) ศึกษาสภาพ ปัญหาและความ ต้ อ งการในการคั ด เลื อ ก สรรหา พั ฒ นา สนั บ สนุ น บาทหลวง มาเซอร์ ซิสเตอร์ ให้เป็นผูบ้ ริหารส�ำหรับด�ำรงต�ำแหน่งผูบ้ ริหารสถาน ศึกษาคาทอลิกในเครือสังฆมณฑล 2) ศึกษาเส้นทางบันไดอาชีพและ ต�ำแหน่งงานของผู้บริหารในสถานศึกษา ศึกษาสมรรถนะที่สอดคล้อง กั บ มาตรฐานวิ ช าชี พ ทางการบริ ห ารสถานศึ ก ษา สมรรถนะหลั ก สมรรถนะด้านการบริหารและสมรรถนะเฉพาะต�ำแหน่งทีเ่ หมาะสมและ จ�ำเป็นส�ำหรับผู ้ บริหาร 3) ออกแบบเส้นทางบันไดอาชีพและก�ำหนด ต�ำแหน่งการบริหารในสถานศึกษาคาทอลิกในเครือสังฆมณฑล และ 4) น�ำเสนอระบบการพัฒนาสมรรถนะและแนวการพัฒนาที่เหมาะสม ส�ำหรับผู้บริหารในสถานศึกษาคาทอลิกในเครือสังฆมณฑล ผลการวิจัย พบว่า 1. การคัดเลือก สรรหาบาทหลวง มาเซอร์ ซิสเตอร์ ให้เป็น ผูบ้ ริหารส�ำหรับด�ำรงต�ำแหน่ง และบริหารสถานศึกษาคาทอลิกในเครือ สั ง ฆมณฑล ในอดี ต ผู ้ มี บ ทบาทส� ำ คั ญ ในการคั ด เลื อ ก แต่ ง ตั้ ง บาทหลวง มาเซอร์ ซิสเตอร์ ด�ำรงต�ำแหน่งผู้บริหารในสถานศึกษา คือ ผู้มีต�ำแหน่งสูงสุดของคณะ ซึ่งส่วนใหญ่จะพิจารณาร่วมกับคณะ ทีป่ รึกษา ในปัจจุบนั ผูม้ บี ทบาทส�ำคัญในการคัดเลือก ประกอบด้วย พระสังฆราช (ประมุขสูงสุดของแต่ละสังฆมณฑล) เป็นผูพ้ จิ ารณาร่วม กับที่ปรึกษาหรือคณะกรรมการบริหาร บางสังฆมณฑลพระสังฆราช สามารถเชิญทีป่ รึกษาพิเศษจากภายนอกมาเพือ่ ให้ขอ้ มูลเพิม่ เติมได้ การ คัดเลือกมาเซอร์ ผูม้ บี ทบาทส�ำคัญได้แก่อธิการิณเี จ้าคณะแขวงร่วมกับ ที่ปรึกษาหรือผู้ช่วย 4 ท่าน ที่ได้รับการหยั่งเสียงมาจากสมัชชาของ คณะ (สภาแขวง) และได้รบั การแต่งตัง้ จากคุณแม่มหาอธิการริณ ี เป็น
150 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
อิทธิพล ศรีรัตนะ และ อุทัย บุญประเสริฐ
ผู้พิจารณา ส่วนซิสเตอร์ ผู้มีบทบาทส�ำคัญ คือ คุณแม่อธิการิณี (เจ้าคณะ) และคณะที่ปรึกษา มาจากการคัดเลือกตัวแทนในคณะ กรรมการสมัชชา แต่ทุกกรณีคุณแม่อธิการิณีเจ้าคณะจะเป็นผู้ตัดสิน สุดท้าย การพัฒนา ส่งเสริมสนับสนุน บาทหลวง มาเซอร์ ซิสเตอร์ ให้เป็นผู้บริหารส�ำหรับด�ำรงต�ำแหน่ง ผู้บริหารสถานศึกษาคาทอลิกใน เครือสังฆมณฑล เป็นหน้าที่ของฝ่ายการศึกษาและฝ่ายบุคลากรของ แต่ละสังฆมณฑล ส่ ว นความต้ อ งการในการพั ฒ นาด้ า นการคั ด เลื อ ก สรรหา สนับสนุน พัฒนา ยังเป็นไปตามประเพณีนิยม 2. เส้นทางบันไดอาชีพและต�ำแหน่งงานของผู้บริหารในสถาน ศึกษาคาทอลิกในเครือสังฆมณฑล แบ่งตามขนาดของสถานศึกษา คือ สถานศึ ก ษาคาทอลิ ก ขนาดใหญ่ พิ เ ศษและสถานศึ ก ษาขนาดใหญ่ ประกอบด้วยต�ำแหน่งการบริหาร คือ 1. ต�ำแหน่งผูอ้ ำ� นวยการสถาน ศึกษา 2. ต�ำแหน่งรองผู้อ�ำนวยการสถานศึกษาฝ่ายต่างๆ และ 3. ต�ำแหน่งผู้ช่วยผู้อ�ำนวยการฝ่ายต่างๆ ส่วนสถานศึกษาขนาดกลาง ประกอบด้วย 1. ต�ำแหน่งผู้อ�ำนวยการสถานศึกษา 2. ต�ำแหน่ง ผู้ช่วยผู้อ�ำนวยฝ่ายต่างๆ 3. ระบบการพัฒนาสมรรถนะส�ำหรับผู้บริหารในสถานศึกษา คาทอลิกในเครือสังฆมณฑล ประกอบด้วย ระบบย่อย 3 ระบบที่ ต้องด�ำเนินงานเกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน คือ ระบบย่อยที่ 1 ระบบต�ำแหน่งและเส้นทางบันไดอาชีพการ บริหารในสถานศึกษาคาทอลิกในเครือสังฆมณฑล (Position Classification and Career Ladder Pattern) ระบบย่อยที่ 2 ระบบย่อยสมรรถนะหลัก สมรรถนะทางการ บริหาร สมรรถนะเฉพาะตามระดับต�ำแหน่งทางการบริหารในสถาน ศึกษา (Competency System Classifications and Career
ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2016/2559 151
ระบบการพัฒนาสมรรถนะสำ�หรับผู้บริหารในสถานศึกษาคาทอลิก ในเครือสังฆมณฑล
Ladder) ระบบย่อยที ่ 3 ระบบย่อยทีว่ า่ ด้วย นโยบายและทิศทางในการ พัฒนาทรัพยากรมนุษย์แผนสืบทอด-สืบต่อในระบบบริหารจัดการศึกษา (Succession Development Planning System) ของสถาน ศึกษาคาทอลิก
Abstract
ค�ำส�ำคัญ: สมรรถนะ การพัฒนาสมรรถนะ ระบบการพัฒนา สมรรถนะผู ้ บ ริ ห าร ผู ้ บ ริ ห ารสถานศึ ก ษาคาทอลิ ก สถานศึ ก ษา คาทอลิก สังฆมณฑล สถานศึกษาคาทอลิกในเครือสังฆมณฑล This research was to present systems for competency development for administrators in Catholic Diocesan schools. Four steps in the study process were; 1. To study problem conditions and requirement in selecting, recruiting, developing, and supporting Father, Master or Sister to the position in administration in Catholic Diocesan schools, 2. To study career path and position classification for Catholic Diocesan schools administrators and to study competency relevant to career standard in educational institute administration, core competency, management competency, and functional competency, specified for each position of administrator, 3. To design career path and system for competency development for administrators in Catholic Diocesan schools, and 4. To present a system for competency development and a development guideline suitable for administra-
152 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
อิทธิพล ศรีรัตนะ และ อุทัย บุญประเสริฐ
tors in Catholic Diocesan schools. The results of the study found that: 1. In selecting or recruiting Father, Master or Sister to the administrative positions in Catholic Diocesan schools in the past, the key person was the top position of diocesan and usually worked with his group of advisors. At present, the key person in selecting is Cardinal and his advisors or administrative committee In some Diocesans, the Cardinal may invite special advisors from outside to provide information. In selecting of Master, the key person is Rector Sister and with her advisors group of four assistants, elected from congregation assembly and appointed by Rector Mother. For Sister, the key person is Rector Mother and her advisors selected from representatives of congregations. In overall, the final decision depends on the Rector Mother. In development and supporting Father, Master and Sister to be competent administrators in Catholic Diocesan schools were the duty of administrators in education and personnel of each congregation. The requirement in development of selecting, searching, and supporting still followed the old tradition. 2. Career path and position classification of administrators in Catholic Diocesan schools depended
ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2016/2559 153
ระบบการพัฒนาสมรรถนะสำ�หรับผู้บริหารในสถานศึกษาคาทอลิก ในเครือสังฆมณฑล
on the school size; in extra large schools and large schools, the administrative positions as designee were.: 1. Director, 2. Deputy Directors, and 3. Director Assistants. The positions in medium size-schools were Director and Director Assistants. 3. The system for competency development program for administrators in Catholic Diocesan schools was consisted of three sub-systems; System 1: Position classification and career path ladder patterns, System 2: Competency system classification and career ladder, and System 3: Succession development planning system. Key words: Competency, Competency Development, System of competency development, Administrator in Catholic School, Catholic School, Diocesan, Catholic Diocesan School บทน�ำ สถานศึกษาคาทอลิกในประเทศไทย มี บทบาทด้านการศึกษาในสังคมไทยมาเป็นเวลา ช้านาน ในด้านการศึกษา คือ การให้การ ศึกษาอบรมทีม่ คี ณ ุ ภาพแก่เยาวชนไทย ท�ำให้ เยาวชนไทยเติ บ โตเป็ น ผู ้ มี ค วามรู ้ ความ สามารถ และเพียบพร้อมไปด้วยคุณธรรม
154 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
จริยธรรม ซึ่งสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของ พระราชบั ญ ญั ติ ก ารศึ ก ษาแห่ ง ชาติ ฯ ที่ ต้องการพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ ทั้งร่างกายและจิตใจ สติปัญญา ความรู้คู่ คุณธรรม พร้อมทัง้ มีจริยธรรมและวัฒนธรรม ในการด�ำรงชีวิต แนวทางการศึกษาคาทอลิก การสอนเน้นด้านวิชาการและจริยธรรมเป็น
อิทธิพล ศรีรัตนะ และ อุทัย บุญประเสริฐ
หลั ก มี อุ ด มการณ์ ข องการให้ ก ารศึ ก ษาที่ พัฒนาทั้งร่างกาย สติปัญญา จิตใจและจิต วิญญาณ (เชษฐา ไชยเดช, 2550: 72-73) มีระบบการบริหารจัดการศึกษาทีเ่ ป็นแบบของ คณะสงฆ์ คณะนักบวช และของฆราวาสที่ อุทิศตนเพื่อพัฒนาการศึกษา ซึ่งในปัจจุบัน โรงเรี ย นและสถาบั น การศึ ก ษาคาทอลิ ก ใน ประเทศไทยมีจ�ำนวนทั้งสิ้น 314 แห่ง เป็น โรงเรี ย นคาอลิ ก ในเครื อ สั ง ฆมณฑล 118 โร ง เรี ย น เ ป ิ ด ส อ น ใ น ร ะ ดั บ อ นุ บ า ล มัธยมศึกษาตอนต้น และมัธยมศึกษาตอน ปลาย (สภาการศึ ก ษาคาทอลิ ก แห่ ง ประเทศไทย, 2554-2555:164-192) สถานศึ ก ษาคาทอลิ ก ในประเทศไทย จะมีคุณภาพได้ดีเพียงใด ผู้ที่มีบทบาทส�ำคัญ ยิ่ ง ในการขั บ เคลื่ อ นและพั ฒ นาสถานศึ ก ษา ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษาที่ต้องมีความเป็น มืออาชีพทางการบริหารการศึกษา มีวสิ ยั ทัศน์ ทางการศึกษาและสามารถก�ำหนดนโยบายใน การบริหารงานที่ชัดเจน เป็นแบบอย่างที่ดีใน ด้านคุณธรรมจริยธรรม มีจติ ตารมณ์คาทอลิก มุง่ มัน่ และความเสียสละ มีความรอบรูใ้ นด้าน วิทยาการต่างๆ แต่ยังคงไว้ซึ่งอุดมการณ์แห่ง การรั ก และรั บ ใช้ (บทความทางวิ ช าการ: ธรรมชาติ ข องระบบการศึ ก ษาคาทอลิ ก , 2550: 1-2)
จากการศึกษาสภาพปัจจุบันในสถาน ศึกษาคาทอลิกในเครือสังฆมณฑล พบว่า ใน การด�ำรงต�ำแหน่งผู้บริหารสถานศึกษาในอดีต ที่ ผ ่ า นมา ผู ้ บ ริ ห ารสถานศึ ก ษาที่ เ ป็ น บาทหลวง มาเซอร์ และซิ ส เตอร์ การ สรรหาคัดเลือกให้มาด�ำรงต�ำแหน่งผู้บริหาร สถานศึ ก ษา ส่ ว นใหญ่ เ ป็ น ไปตามแบบ ประเพณีนิยม คือ มีการคัดสรรและแต่งตั้ง มาจากผู้ที่มีอ�ำนาจสูงสุดของแต่ละสังฆมณฑล คือ มุขนายก หรือพระสังฆาราชของแต่ละ สั ง ฆมณฑล ในการอนุ ญ าตให้ บ าทหลวง มาเซอร์และซิสเตอร์ ไปด�ำรงต�ำแหน่งเป็นผู้ บริหารสถานศึกษา ซึ่งประเพณีนี้ได้สืบทอด กันมาก่อนที่จะมีวิวัฒนาการในวิชาการที่เป็น แนวคิดเกีย่ วกับสมรรถนะ ซึง่ เป็นแนวคิดใหม่ ในยุคใหม่อันที่เป็นที่ยอมรับในองค์กรต่างๆ รวมทั้ ง ในเรื่ อ งการพั ฒ นาทรั พ ยากรมนุ ษ ย์ ทางการศึกษา แนวคิดเรื่องสมรรถนะเป็นแนวทางใน การพัฒนาบุคลากรทางการศึกษา และน�ำมา ใช้เป็นวิธีปฏิบัติในการพัฒนาสมรรถนะของ ผู ้ บ ริ ห ารสถานศึ ก ษา และการพั ฒ นา สมรรถนะที่ เ หมาะสมของผู ้ ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง ผู้บริหารสถานศึกษาคาทอลิก และจากการ วิเคราะห์ข้อมูลจากเอกสารการสัมมนาประจ�ำ ปีของสภาการศึกษาคาทอลิก (ประเทศไทย) (ม.ป.ป.) ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันมีทั้งหมด
ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2016/2559 155
ระบบการพัฒนาสมรรถนะสำ�หรับผู้บริหารในสถานศึกษาคาทอลิก ในเครือสังฆมณฑล
44 ครัง้ พบว่า ในการประชุมสัมมนาประจ�ำ ปีแต่ละครั้ง ได้มีการอบรมในเรื่องเกี่ยวกับ วิสัยทัศน์และ พันธกิจ อัตลักษณ์การศึกษา คาทอลิ ก แต่ ยั ง ไม่ ป รากฏโครงการหรื อ กิ จ กรรมที่ เ กี่ ย วกั บ การฝึ ก อบรมเพื่ อ พั ฒ นา สมรรถนะส�ำหรับผู้บริหารสถานศึกษาที่เป็น ระบบที่ชัดเจน ตามราชกิจจานุเบกษา พ.ศ. 2556 หมวด 1 ข้อ 7, 12,14) ก�ำหนด ว่า ผู้บริหารสถานศึกษาจะต้องมีมาตรฐาน วิชาชีพทางการศึกษา มาตรฐานความรู้และ ประสบการณ์วิชาชีพ มาตรฐานการปฏิบัติ งานและมาตรฐานการปฏิ บั ติ ต น และได้ ก�ำหนดมาตรฐานความรู้และสมรรถนะของ ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาของผู้บริหาร สถานศึกษา (ราชกิจจานุเบกษา, 2556:6770) ก�ำหนดไว้ 7 ด้าน คือ 1) การพัฒนา วิชาชีพ 2) ความเป็นผู้น�ำทางวิชาการ 3) การบริหารสถานศึกษา 4) หลักสูตรการสอน การวัดและประเมินผลการเรียนรู ้ 5) กิจการ และกิจกรรมนักเรียน 6) การประกันคุณภาพ การศึ ก ษา 7) คุ ณ ธรรม จริ ย ธรรมและ จรรยาบรรณ ในอนาคตเรือ่ งสมรรถนะจะเป็นเรือ่ งทีม่ ี ความส�ำคัญยิ่งต่อการพัฒนาผู้บริหารสถาน ศึกษายุคใหม่ เพื่อให้ผู้บริหารสถานศึกษามี สมรรถนะตามต�ำแหน่งและมาตรฐานวิชาชีพ สามารถจัดการศึกษาให้เกิดผลตามมาตรฐาน
156 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
การศึกษาของชาติ ซึ่งได้ก�ำหนดมาตรฐาน ความรู้ ความสามารถ ทักษะและสมรรถนะ ที่จ�ำเป็นส�ำหรับต�ำแหน่งผู้บริหารสถานศึกษา เพื่อการปฏิบัติงานในต�ำแหน่งประเภททั่วไป ต�ำแหน่งประเภททางวิชาการ และทางด้าน การอ�ำนวยการ ประกอบด้วย 3 สมรรถนะ คือ 1) สมรรถนะหลัก (Core Competency) หรือที่เรียกว่า ศักยภาพหลักหรือ พฤติกรรมที่พึงประสงค์ 2) สมรรถนะด้าน บริหาร (Managerial Competency) คือ ความสามารถหรือศักยภาพด้านบริหารจัดการ และ 3) สมรรถนะเฉพาะ (Functional Competency) ซึ่งหมายถึง ความสามารถ ในงานเฉพาะด้ า น หรื อ พฤติ ก รรมที่ พึ ง ประสงค์ในงานเฉพาะ ซึ่งถือได้ว่าเป็นปัจจัย ส�ำคัญที่จะช่วยให้บุคลากรสามารถปฏิบัติงาน ในหน้าที่และความรับผิดชอบ ให้บรรลุตาม วัตถุประสงค์ขององค์การอย่างมีประสิทธิภาพ (ส�ำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน, 2552:205-206) ผู้วิจัยเห็นว่า การที่ได้น�ำ แนวคิดเรื่องสมรรถนะมาเป็นแนวทางในการ พัฒนาบุคลากรทางการศึกษา และน�ำมาใช้ เป็นวิธปี ฏิบตั ใิ นระบบการพัฒนาสมรรถนะของ ผู ้ บ ริ ห ารสถานศึ ก ษา และการพั ฒ นา สมรรถนะที่เหมาะสมส�ำหรับผู้ด�ำรงต�ำแหน่ง ผู้บริหารสถานศึกษาคาทอลิก จะท�ำให้สถาน ศึ ก ษาคาทอลิ ก ได้ พั ฒ นาบุ ค คลที่ มี คุ ณ ภาพ
อิทธิพล ศรีรัตนะ และ อุทัย บุญประเสริฐ
เหมาะสม และสามารถเป็นผู้พัฒนาคุณภาพ การศึกษาและสถานศึกษาในเครือสังฆมณฑล ให้มปี ระสิทธิภาพยิง่ ขึน้ ได้ทงั้ ในปัจจุบนั และใน อนาคต จึ ง ได้ ส นใจและท� ำ การวิ จั ย เพื่ อ พั ฒ นาระบบการพั ฒ นาสมรรถนะส� ำ หรั บ ผู ้ บ ริ ห ารสถานศึ ก ษาคาทอลิ ก ในเครื อ สั ง ฆมณฑลขึ้ น เพื่ อ ช่ ว ยให้ ส ถานศึ ก ษา คาทอลิ ก มี ร ะบบและแบบแผนที่ เ ป็ น ระบบ ทีช่ ดั เจนในการพัฒนาสมรรถนะผูบ้ ริหารสถาน ศึกษาคาทอลิกในเครือสังฆมณฑล โดยเฉพาะ ระบบส�ำหรับผู้ที่ด�ำรงต�ำแหน่งผู้บริหารสถาน ศึกษาทีเ่ ป็นระบบทีช่ ดั เจน เป็นรูปธรรม รวม ทัง้ สามารถน�ำไปปฏิบตั ใิ ห้เกิดการพัฒนาตนเอง ของผูบ้ ริหารสถานศึกษาคาทอลิกในโอกาสต่อ ไป วัตถุประสงค์การวิจัย 1. เพื่อศึกษาสภาพ ปัญหาและความ ต้ อ งการในการคั ด เลื อ ก สรรหา พั ฒ นา สนับสนุนบาทหลวง มาเซอร์ ซิสเตอร์ ให้ เป็นผู้บริหารส�ำหรับด�ำรงต�ำแหน่ง ผู้บริหาร สถานศึกษาคาทอลิกในเครือสังฆมณฑล 2. เพือ่ ศึกษาและก�ำหนดเส้นทางบันได อาชีพผู้บริหารในสถานศึกษา สมรรถนะที่ สอดคล้องกับมาตรฐานวิชาชีพทางการศึกษา สมรรถนะหลัก สมรรถนะด้านการบริหารและ สมรรถนะเฉพาะต� ำ แหน่ ง ที่ เ หมาะสมและ จ�ำเป็นส�ำหรับผู้บริหาร
3 . เ พื่ อ เ ส น อ ร ะ บ บ ก า ร พั ฒ น า สมรรถนะ และแนวทางการพัฒนาทีเ่ หมาะสม ทีส่ อดคล้องกับบริบทของสถานศึกษาคาทอลิก ในเครื อ สั ง ฆมณฑล ในการปฏิ บั ติ ง านใน ต� ำ แหน่ ง ผู ้ บ ริ ห ารในสถานศึ ก ษาในเครื อ สังฆมณฑล แนวคิดและวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง งานวิจยั นีเ้ ป็นงานวิจยั เชิงแนวคิดหลักที่ ใช้ ใ นการศึ ก ษาประกอบด้ ว ย การจั ด การ ศึกษาคาทอลิกในเครือสังฆมณฑล แนวคิด หลักการและแนวปฏิบตั เิ กีย่ วกับสมรรถนะและ การบริหารสถานศึกษา แนวคิดเกี่ยวกับเส้น ทางอาชีพและการพัฒนาบันไดอาชีพ แนวคิด และหลักการพันฐานเกีย่ วกับการวิเคราะห์และ การพัฒนาระบบ วิธีการด�ำเนินการวิจัย การด�ำเนินการวิจัยได้แบ่งออกเป็น 3 ขั้นตอน ดังต่อไปนี้ ขัน้ ตอนที ่ 1 การศึกษาสภาพ ปัญหา และความต้ อ งการในการคั ด เลื อ ก สรรหา พั ฒ นา สนั บ สนุ น บาทหลวง มาเซอร์ ซิสเตอร์ ให้เป็นผูบ้ ริหารส�ำหรับด�ำรงต�ำแหน่ง ผู ้ บ ริ ห ารสถานศึ ก ษาคาทอลิ ก ในเครื อ สังฆมณฑล
ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2016/2559 157
ระบบการพัฒนาสมรรถนะสำ�หรับผู้บริหารในสถานศึกษาคาทอลิก ในเครือสังฆมณฑล
การด�ำเนินการวิจยั และการเก็บรวบรวม ข้ อ มู ล ศึ ก ษาบั น ทึ ก เอกสาร การศึ ก ษา รายงานที่เกี่ยวข้องกับสถานศึกษาคาทอลิก และเอกสารของสังฆมณฑล เฉพาะกรณีที่มี ส่วนเกีย่ วข้องในการแต่งตัง้ และพัฒนาผูบ้ ริหาร สถานศึกษาคาทอลิก และสัมภาษณ์บาทหลวง มาเซอร์ ซิสเตอร์ อาวุโสผู้ทรงคุณวุฒิ ที่มี ส่ ว นเกี่ ย วข้ อ งในการแต่ ง ตั้ ง ผู ้ บ ริ ห ารสถาน ศึกษาในสภาการศึกษาคาทอลิก รวมจ�ำนวน ทั้งสิ้น 12 ท่าน เพื่อได้ทราบสภาพปัญหา และความต้ อ งการในการคั ด เลื อ ก สรรหา พั ฒ นา สนั บ สนุ น บาทหลวง มาเซอร์ ซิสเตอร์ ให้เป็นผูบ้ ริหารส�ำหรับด�ำรงต�ำแหน่ง ผู ้ บ ริ ห ารสถานศึ ก ษาคาทอลิ ก ในเครื อ สังฆมณฑล บทบาทหน้าที่ และสมรรถนะ ส�ำหรับกลุ่มการจัดการสถานศึกษาสายสามัญ เครื่ อ งมื อ การวิ จั ย ในขั้ น ตอนนี้ คื อ แบบบันทึกเอกสาร และแบบน�ำสัมภาษณ์ เกี่ ย วกั บ การคั ด เลื อ ก สรรหา พั ฒ นา ส่ ง เสริ ม สนั บ สนุ น บาทหลวง มาเซอร์ ซิ สเตอร์ ให้เ ป็นผู้บริห ารส�ำหรับการด�ำรง ต�ำแหน่งผู้บริหารในสถานศึกษา สภาพการ พัฒนาของผู้บริหารสถานศึกษา การวิเคราะห์ข้อมูลทั้งจากเอกสารและ แบบสั ม ภาษณ์ ใช้ วิ ธี ก ารวิ เ คราะห์ เ นื้ อ หา (Content Analysis)
158 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
ขั้นตอนที่ 2 การศึกษาเส้นทางบันได อาชีพผู้บริหารในสถานศึกษา สมรรถนะที่ สอดคล้องกับมาตรฐานวิชาชีพทางการศึกษา และสมรรถนะหลัก สมรรถนะด้านการบริหาร และสมรรถนะเฉพาะต�ำแหน่งที่เหมาะสมและ จ�ำเป็นส�ำหรับผู้บริหาร การด�ำเนินการวิจยั และการเก็บรวบรวม ข้ อ มู ล ท� ำ การส� ำ รวจจากโรงเรี ย นและ สัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญในการบริหารโรงเรียน คาทอลิกระดับดีเด่นจ�ำนวน 10 ท่าน เพื่อ ได้ทราบแนวคิดเกี่ยวกับเส้นทางบันไดอาชีพที่ เหมาะสมของผูบ้ ริหารในสถานศึกษาคาทอลิก และต�ำแหน่งและสมรรถนะที่จ�ำเป็นส�ำหรับ แต่ละต�ำแหน่งงานของผู้บริหารในสถานศึกษา คาทอลิกในเครือสังฆมณฑล เครื่องมือการวิจัยในขั้นตอนนี้ คือ 1) แบบส�ำรวจแผนภูมโิ ครงสร้างการบริหาร และ ต�ำแหน่งผู้บริหารในสถานศึกษา ที่ท�ำหน้าที่ ในต�ำแหน่งต่างๆในสถานศึกษาคาทอลิกใน ปัจจุบัน 2) แบบสัมภาษณ์ สอบถามความ คิ ด เห็ น เกี่ ย วกั บ การก� ำ หนดบั น ไดอาชี พ ผูบ้ ริหารและสมรรถนะส�ำหรับงานแต่ละระดับ แต่ละต�ำแหน่งในสถานศึกษาคาทอลิกในเครือ สังฆมณฑล การวิ เ คราะห์ ข ้ อ มู ล ใช้ วิ ธี วิ เ คราะห์ เนือ้ หา (Content Analysis) วิเคราะห์สาระ จากแบบส�ำรวจและจากการสัมภาษณ์
อิทธิพล ศรีรัตนะ และ อุทัย บุญประเสริฐ
ขั้นตอนที่ 3 การออกแบบเส้นทาง บันไดอาชีพการบริหารในสถานศึกษาคาทอลิก ในเครือสังฆมณฑล และน�ำเสนอร่างระบบ การพัฒนาสมรรถนะและแนวทางการพัฒนาที่ เหมาะสม ที่สอดคล้องกับบริบทของสถาน ศึ ก ษาคาทอลิ ก ในเครื อ สั ง ฆมณฑล ในการ ปฏิบัติงานในต�ำแหน่งผู้บริหารในสถานศึกษา ในเครือสังฆมณฑล การด�ำเนินการวิจยั และการเก็บรวบรวม ข้ อ มู ล ออกแบบเส้ น ทางบั น ไดอาชี พ และ ต�ำแหน่งการบริหารในสถานศึกษาคาทอลิก ก�ำหนดสมรรถนะที่เหมาะสม และแนวทาง การพัฒนาสมรรถนะส�ำหรับแต่ละต�ำแหน่งการ บริหารในสถานศึกษา มีกระบวนการท�ำดังนี้ 1) ร่ า งเส้ น ทางบั น ไดอาชี พ ส� ำ หรั บ ต�ำแหน่งการบริหารในสถานศึกษา 2) ก�ำหนดลักษณะที่ส�ำคัญและโดด เด่น สมรรถนะหลัก สมรรถนะการบริหาร และสมรรถนะเฉพาะต�ำแหน่งในแต่ละต�ำแหน่ง การบริหาร 3) ก�ำหนดแนวทางการพัฒนาส�ำหรับ แต่ละต�ำแหน่งการบริหารในสถานศึกษา 4) น� ำ เสนอร่ า งระบบการพั ฒ นา สมรรถนะ ที่สอดคล้องกับบริบทการบริหาร สถานศึกษาคาทอลิกในเครือสังฆมณฑล โดย การจัดประชุมกลุ่มเฉพาะ (Focus Group) บุ ค คลที่ เข้ า ร่วมการประชุม ประกอบด้วย
บุ ค คล 2 กลุ ่ ม คื อ กลุ ่ ม ตั ว แทนผู ้ ท รง คุ ณ วุ ฒิ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บการคั ด เลื อ ก สรรหา พัฒนา ผูบ้ ริหารส�ำหรับด�ำรงต�ำแหน่งผูบ้ ริหาร สถานศึ ก ษาคาทอลิ ก ในเครื อ สั ง ฆมณฑล จ�ำวนวน 5 ท่าน ซึ่งเป็นผู้ที่มีความรู้ความ ความเชี่ยวชาญด้านการบริหารงานบุคคลและ การบริหารการศึกษา เป็นที่ยอมรับจากสภา การศึกษาคาทอลิก เป็นผู้มีประสบการณ์ใน การบริ ห ารการศึ ก ษาคาทอลิ ก เป็ น ผู ้ ที่ มี บทบาทและหน้าที่ในการก�ำหนดนโยบายทาง ด้ า นการศึ ก ษาของสั ง ฆมณฑล หรื อ มี ส ่ ว น เกี่ยวข้องในการแต่งตั้งผู้บริหารสถานศึกษาใน ส ภ า ก า ร ศึ ก ษ า ค า ท อ ลิ ก แ ล ะ ก ลุ ่ ม ผู ้ เชี่ ย วชาญทางการบริ ห ารในสถานศึ ก ษา คาทอลิ ก ในเครื อ สั ง ฆมณฑล ซึ่ ง เป็ น ผูเ้ ชีย่ วชาญระดับดีเด่น ด�ำรงต�ำแหน่งผูบ้ ริหาร สถานศึ ก ษาคาทอลิ ก ในเครื อ สั ง ฆมณฑล ในปัจจุบัน ซึ่งมีความรู้ความเชี่ยวชาญ ด้าน การบริหารงานบุคคลและการบริหารสถาน ศึ ก ษา เป็ น ที่ ย อมรั บ จากสภาการศึ ก ษา คาทอลิก รวม 5 ท่าน เพื่อพิจารณาความ เหมาะสมและความเป็นไปได้ รับข้อคิดความ เห็น และข้อเสนอแนะ 5) สรุปผลและน�ำเสนอเป็นระบบการ พัฒนาสมรรถนะฯ และแนวทางการด�ำเนิน งานการพั ฒ นาสมรรถนะตามต� ำ แหน่ ง ของ ผูบ้ ริหารสถานศึกษาฯ ทีม่ คี วามเหมาะสมเป็น
ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2016/2559 159
ระบบการพัฒนาสมรรถนะสำ�หรับผู้บริหารในสถานศึกษาคาทอลิก ในเครือสังฆมณฑล
ไปได้ ส� ำ หรั บ สถานศึ ก ษาคาทอลิ ก ในเครื อ สังฆมณฑล เครื่องมือการวิจัยในขั้นตอนนี้ คือ แบบร่างระบบและแนวทางการพัฒนา สมรรถนะส�ำหรับผูบ้ ริหารสถานศึกษาคาทอลิก ในเครือสังฆมณฑล แบบค�ำถามการจัดประชุม กลุ่มเฉพาะ การวิเคราะห์ข้อมูล ใช้วิธีการ วิเคราะห์เนื้อหา Content Analysis สรุป สาระส�ำคัญตามประเด็นในระบบบันไดอาชีพ การบริหารในสถานศึกษาคาทอลิกสายสามัญ ระบบการพั ฒนา สมรรถนะฯ และกรอบ แนวทางการด�ำเนินงานการพัฒนาสมรรถนะ ส�ำหรับผู้บริหารสถานศึกษา แต่ละต�ำแหน่ง แต่ละระดับในเส้นทางอาชีพสายการบริหารใน สถานศึกษา ผลการศึกษา การวิ จั ย เรื่ อ ง ระบบการพั ฒ นา สมรรถนะส�ำหรับผูบ้ ริหารสถานศึกษาคาทอลิก ในเครือสังฆมณฑล เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ การวิจยั ครัง้ นี ้ ผลการวิจยั สามารถสรุปได้ดงั นี้ 1. ผลการศึกษาสภาพ ปัญหา และ ความต้องการในการคัดเลือก สรรหา พัฒนา ส่ ง เสริ ม สนั บ สนุ น บาทหลวง มาเซอร์ ซิสเตอร์ ให้เป็นผูบ้ ริหารส�ำหรับด�ำรงต�ำแหน่ง ผู ้ บ ริ ห ารสถานศึ ก ษาคาทอลิ ก ในเครื อ สังฆมณฑล สรุปได้ดังนี้
160 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
การคั ด เลื อ กสรรหาในอดี ต ส� ำ หรั บ บาทหลวงนั้น พระสังฆราชจะเป็นผู้พิจารณา ร่วมกับที่ปรึกษาหรือคณะกรรมการบริหาร ในการคั ด เลื อ กมาเซอร์ ผู ้ มี บ ทบาทส� ำ คั ญ ได้แก่อธิการิณีเจ้าคณะแขวงร่วมกับที่ปรึกษา หรือผู้ช่วย 4 และคุณแม่มหาอธิการริณีเป็น ผู ้ พิ จ ารณา ส่ ว นซิ ส เตอร์ นั้ น ผู ้ มี บ ทบาท ส�ำคัญคือ คุณแม่อธิการิณี (เจ้าคณะ) และ คณะที่ปรึกษา แต่ทุกกรณีคุณแม่อธิการิณี เจ้าคณะจะเป็นผู้ตัดสินสุดท้าย ในปัจจุบัน บาทหลวงมาเซอร์ และซิสเตอร์ ที่ได้รับการ คัดเลือกมาด�ำรงต�ำแหน่งบริหารในสถานศึกษา จะต้ อ งจบปริ ญ ญาโทสาขาการบริ ห ารการ ศึ ก ษาเท่ า นั้ น ต้ อ งมี ใ บประกอบวิ ช าชี พ ผู ้ บริหารสถานศึกษาด้วย และต้องบวชเป็น บาทหลวงมาแล้วอย่างน้อย 1-2 ปี ส�ำหรับ มาเซอร์ จ ะเลื อ กจากผู ้ มี ค วามสามารถด้ า น บริหารโรงเรียนและเคยฝึกงานด้านการบริหาร กับโรงเรียนของคณะมาก่อน และรวมทั้งการ เป็ น ผู ้ ที่ ส ามารถปฏิ บั ติ ง านด้ า นการบริ ห าร โรงเรียนร่วมกับสังฆมณฑลได้เป็นอย่างดี ส่วน ซิสเตอร์นั้นคณะต้นสังกัดพิจารณารายชื่อที่จะ เข้าท�ำงานในโรงเรียนของสังฆมณฑล ส่ ว นวิ ธี ก ารเตรี ย มตั ว เข้ า สู ่ ต� ำ แหน่ ง บาทหลวงยังไม่มีการด�ำเนินการที่เป็นระบบ ชัดเจน ทีผ่ า่ นมาเตรียมความพร้อมโดยการให้ ฝึกงานในต�ำแหน่งครู ให้เรียนรู้งานบริหาร
อิทธิพล ศรีรัตนะ และ อุทัย บุญประเสริฐ
โรงเรียน รับการอบรมวิชาชีพครู ส่วนมา เซอร์และซิสเตอร์ ฝึกให้เรียนรูง้ านในต�ำแหน่ง ครูหัวหน้าระดับชั้น แล้วก้าวไปสู่ต�ำแหน่ง ผูช้ ว่ ยผูอ้ ำ� นวยการฝ่าย และงานด้านบริหารได้ ในทุ ก ๆ ต� ำ แหน่ ง และรั บ การอบรมจาก ภายนอกและภายในโรงเรียน หรือเข้าอบรม ตามที่คณะต้นสังกัดจัดให้ ด้ า นการส่ ง เสริ ม สนั บ สนุ น และ พั ฒ นาจากส่ ว นกลางในแต่ ล ะสั ง ฆมณฑล ส�ำหรับทัง้ บาทหลวง มาเซอร์ ซิสเตอร์ เป็น หน้าทีข่ องฝ่ายการศึกษาและฝ่ายบุคลากรของ แต่ละสังฆมณฑล และเอื้ออ�ำนวยให้ผู้บริหาร สามารถปฏิบัติงานได้อย่างเต็มที่ ช่วยให้การ บริหารโรงเรียนมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล และตามอัตลักษณ์การศึกษาคาทอลิก ส่วนความต้องการในการพัฒนาด้านการ คัดเลือก สรรหา สนับสนุน พัฒนา ยังเป็น ไปตามประเพณีนิยม คือ จากผู้ที่มีอ�ำนาจ ของแต่ละสังฆมณฑล 2. ผลการศึกษาเพื่อก�ำหนดเส้นทาง บันไดอาชีพผูบ้ ริหารในสถานศึกษาคาทอลิกใน เครือสังฆมณฑล การก�ำหนดสมรรถนะหลัก สมรรถนะด้ า นการบริ ห าร และสมรรถนะ เฉพาะต�ำแหน่งที่เหมาะสมและจ�ำเป็นส�ำหรับ ผู้บริหาร จากการศึกษาวิเคราะห์ระบบปัจจุบัน ปรากฏว่า การก�ำหนดต�ำแหน่งในสายงานการ
บริหารภายในสถานศึกษาคาทอลิกในเครือ สังฆมณฑลในปัจจุบนั มีลกั ษณะทีห่ ลากหลาย ไม่เป็นระบบทีม่ มี าตรฐานชัดเจน แตกต่างกัน ไปในแต่ละสถานศึกษา และแตกต่างกันไป ตามขนาดของสถานศึกษา จากผลการวิจัย การจัดเส้นทางบันได อาชีพที่เหมาะสมกับธรรมชาติ บริบทและ ระบบการบริ ห ารของสถานศึ ก ษาคาทอลิ ก เพือ่ ให้สอดคล้องกับแนวการพัฒนาวิชาชีพด้าน การบริหารในสถานศึกษา ได้จัดแบ่งสถาน ศึกษาออกเป็น 2 กลุม่ คือกลุม่ สถานศึกษา ขนาดใหญ่พิเศษและสถานศึกษาขนาดใหญ่ กับกลุ่มสถานศึกษาขนาดกลาง และก�ำหนด เส้ น ทางบั น ไดอาชี พ ตามต� ำ แหน่ ง บริ ห ารที่ ก�ำหนดตามล�ำดับ ที่เหมาะสมส�ำหรับระบบ การบริหารในสถานศึกษา คือ สถานศึกษา คาทอลิ ก ขนาดใหญ่ พิ เ ศษและสถานศึ ก ษา ขนาดใหญ่ ประกอบด้วยต�ำแหน่งการบริหาร ภายใน ตามล�ำดับดังนี ้ 1. ต�ำแหน่งผูอ้ ำ� นวย การสถานศึกษา 2. ต�ำแหน่งรองผูอ้ ำ� นวยการ สถานศึกษาฝ่ายต่างๆ และ 3. ต�ำแหน่ง ผูช้ ว่ ยผูอ้ ำ� นวยการฝ่ายต่างๆ ส่วนสถานศึกษา ขนาดกลาง จัดต�ำแหน่งการบริหารตามแนว เส้ น ทางบั น ไดอาชี พ ให้ ป ระกอบด้ ว ย 1) ต� ำ แหน่ ง ผู ้ อ� ำ นวยการสถานศึ ก ษา 2) ต�ำแหน่งผู้ช่วยผู้อ�ำนวยฝ่ายต่างๆ
ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2016/2559 161
ระบบการพัฒนาสมรรถนะสำ�หรับผู้บริหารในสถานศึกษาคาทอลิก ในเครือสังฆมณฑล
การก�ำหนดสมรรถนะหลัก สมรรถนะ ด้ า นการบริ ห าร และสมรรถนะเฉพาะ ต� ำ แหน่ ง ที่ เ หมาะสมและจ� ำ เป็ น ส� ำ หรั บ ผูบ้ ริหารนัน้ ก�ำหนดโดยค�ำนึงถึงกรอบงานใน หน้ า ที่ ขอบเขตงานและความรั บ ผิ ด ชอบ แต่ ล ะต� ำ แหน่ ง ในเส้ น ทางวิ ช าชี พ สายงาน บริ ห ารในสถานศึ ก ษา ที่ แ ตกต่ า งกั น ตาม ขนาดของสถานศึกษา 3. ผลการออกแบบ ระบบการพัฒนาสมรรถนะฯ และแนวทาง การด� ำ เนิ น งานการพั ฒ นาสมรรถนะตาม ต� ำ แหน่ ง ของผู ้ บ ริ ห ารสถานศึ ก ษาฯ ที่ สอดคล้องกับบริบทการบริหารสถานศึกษา คาทอลิกในเครือสังฆมณฑล ประกอบด้วย ระบบย่อย ทีต่ อ้ งด�ำเนินงานเกีย่ วข้องสัมพันธ์ กัน 3 ส่วน หรือ 3 ระบบย่อยควบคู่กัน คือ
ระบบย่อยที่ 1 ระบบต�าแหน่งและเส้นทาง บันไดอาชีพการบริหาร ในสถานศึกษาคาทอลิก ในเครือสังฆมณฑล (Position Classification And Career Ladder Pattern)
ระบบย่อยที่ 1 ระบบต�ำแหน่งและ เส้นทางบันไดอาชีพการบริหารในสถานศึกษา คาทอลิ ก ในเครื อ สั ง ฆมณฑล (Position Classification and Career Ladder Pattern) ระบบย่อยที่ 2 ระบบย่อยสมรรถนะ หลัก สมรรถนะทางการบริหาร สมรรถนะ เฉพาะตามระดับต�ำแหน่งทางการบริหารใน สถานศึ ก ษา (Competency System Classifications and Career Ladder) ระบบย่อยที่ 3 ระบบย่อยที่ว่าด้วย นโยบายและทิศทางในการพัฒนาทรัพยากร มนุ ษ ย์ กั บ แผนสื บ ทอด สื บ ต่ อ ในระบบ บริหารจัดการศึกษา (Succession Development Planning System) ของสถาน ศึกษาคาทอลิก ดังแผนภาพสัมพันธ์ต่อไปนี้
ระบบย่อยที่ 2 สมรรถนะผู้น�าและสมรรถนะ เฉพาะประจ�าต�าแหน่งต่างๆ ตามแนวบันไดอาชีพ (Competency Systems Classification and Career Ladder Pattern)
ระบบย่อยที่ 3 ระบบนโยบายและทิศทางการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์กับแผนสืบทอด-สืบต่อในระบบบริหารจัดการศึกษา ของสถานศึกษาคาทอลิกในเครือสังฆมณฑล (Succession Development Planning System)
162 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
อิทธิพล ศรีรัตนะ และ อุทัย บุญประเสริฐ
อภิปรายผล 1. เส้ น ทางสายวิ ช าชี พ ในด้ า นการ บริหารสถานศึกษา เส้นทางอาชีพ (Career Path) เส้นทางก้าวหน้าในงานอาชีพหรือใน สายงานอาชีพหรือบันไดอาชีพ หมายถึง ทาง เดินของต�ำแหน่ง หน้าที่การงาน และความ รั บ ผิ ด ชอบในต� ำ แหน่ ง งานที่ บุ ค ลากรคนใด คนหนึ่งถือครองอยู่ เช่น งานราชการ สาย ทางก้าวหน้าในอาชีพจะเริ่มที่ข้าราชการชั้น ผูน้ อ้ ยตัง้ แต่ระดับ 1, 2, 3, 4, 5 และ 6 สูงกว่านี้คือ ต�ำแหน่งผู้บริหารระดับต้นหรือ หัวหน้างาน (ระดับ 7) สูงกว่าระดับ 7 คือ ต�ำแน่งผู้บริหารระดับกลางคือ ผู้อ�ำนวยการ กอง (ระดับ 8 และ 9) และสุดท้ายคือ ผูบ้ ริหารระดับสูงคือ อธิบดีหรือปลัดกระทรวง (ระดับ 10 และ 11) ซึง่ เส้นทางอาชีพจะมี มากหรือน้อย ขึ้นอยู่กับโครงสร้างขององค์กร คือ ถ้าองค์กรมีระดับสายการบังคับบัญชามาก ต�ำแหน่งงานที่ต้องเลื่อนไปโดยล�ำดับจะมีมาก แต่ ถ ้ า องค์ ก รมี โ ครงสร้ า งแนวราบ (Flat Organization) ขั้ น ของต� ำ แหน่ ง งานจะมี น้อยลง ซึ่งผู้ที่มีความสามารถจะก้าวหน้าไป สู่ต�ำแหน่งสูงสุดได้เร็วขึ้นตามเส้นทางอาชีพ (วิลาวรรณ รพีพศิ าล, 2554:165) นอกจาก นีย้ งั แสดงให้เห็นแผนภูมทิ ศิ ทางทีเ่ ป็นได้ และ โอกาสทางอาชีพที่มีให้ในองค์กร เส้นทาง อาชี พ ทุ ก เส้ น ทางมี ก ารคงที่ การคงที่ ท าง
อาชีพคือ ต�ำแหน่งทีบ่ คุ คลไม่สามารถขยับขึน้ ไปยั ง หน้ า ที่ รั บ ผิ ด ชอบในงานระดั บ สู ง ขึ้ น (ชาญชัย อาจินสมาจาร, ม.ป.ป.: 152) ซึง่ ถือเป็นเส้นทางความก้าวหน้าในการท�ำงานที่ บุคคลจะสามารถก้าวหน้าขึ้นไปได้อีกภายใน องค์กร จะแสดงให้เห็นถึงแนวทางการเลื่อน ต� ำ แหน่ ง ไปสู ่ ร ะดั บ ต่ า งๆ ไปจนถึ ง ระดั บ ต�ำแหน่งที่สูงสุดในองค์กร เส้นทางสายอาชีพ นี ้ เป็นสิง่ ทีช่ ว่ ยสร้างเป้าหมายและแรงจูงใจใน การท�ำงาน ในการพัฒนาสมรรถนะของบุคคล และเป็นเป้าหมายความก้าวหน้าให้กบั บุคลากร ได้ โดยบุคลากรจะรูถ้ งึ แนวทางความก้าวหน้า ของตนเองในองค์กร จะมีบทบาทช่วยกระตุน้ ให้บคุ ลากรตัง้ ใจท�ำงาน รวมทัง้ ยังสามารถน�ำ มาใช้ เ ป็ น ประโยชน์ ใ นการออกแบบพั ฒ นา บุคลากรให้เหมาะสมกับงานแต่ละระดับขั้นได้ เป็นอย่างดี องค์กรใดที่จัดเส้นทางสายอาชีพ ชัดเจน ก็จะง่ายต่อการพัฒนาทรัพยากรบุคคล ต่อการจัดฝึกอบรม ให้การศึกษาและพัฒนาที่ ช่วยให้บุคลากรสามารถพัฒนาตนเองให้เจริญ ก้าวหน้าตามสายงานได้อย่างเหมาะสม 2. สมรรถนะที่ส�ำคัญและจ�ำเป็นของ ผู้ด�ำรงต�ำแหน่งผู้บริหารสถานศึกษา ในการ ก�ำหนดสมรรถนะส�ำหรับผู้บริหารสถานศึกษา จึงมีจ�ำเป็นยิ่งที่องค์กรจะต้องมีผู้บริหารที่มี สมรรถนะเพื่ อ ขั บ เคลื่ อ นให้ อ งค์ ก รบรรลุ สู ่ วัตถุประสงค์ที่ก�ำหนดไว้ การจะได้และรักษา
ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2016/2559 163
ระบบการพัฒนาสมรรถนะสำ�หรับผู้บริหารในสถานศึกษาคาทอลิก ในเครือสังฆมณฑล
ผูบ้ ริหารทีม่ สี มรรถนะให้คงไว้ โดยให้ผบู้ ริหาร เหล่านี้ทราบว่าองค์กรคาดหวังให้เขาบริหาร เรือ่ งใดและใช้ประโยชน์บคุ คลและทรัพยากรใน องค์กรให้เกิดประโยชน์สูงสุดได้อย่างไร และ ใช้รปู แบบการบริหารทีม่ คี วามหลากหลาย ซึง่ อาจก� ำ หนดจากภารกิ จ งานหรื อ ความรั บ ผิดชอบที่พึงมีหรือที่น�ำไปสู่ความเป็นผู้บริหาร ที่มีสมรรถนะ ซึ่งรูปแบบการบริหารพื้นฐาน พิจารณาจากองค์ประกอบอันได้แก่ ภาระงาน งานบริหาร บรรยากาศองค์กรและสมรรถนะ ของแต่ ล ะบุ ค คล ทุ ก คนมี ส มรรถนะติ ด ตั ว อั น ประกอบด้ ว ยแรงจู ง ใจ คุ ณ ลั ก ษณะ ทักษะ บทบาททางสังคม หรือองค์ความรู้ ซึ่งสมรรถนะบางเรื่องอยู่ใต้จิตส�ำนึก ที่บุคคล นั้นอาจทราบหรือไม่ทราบว่าตนมี สมรรถนะ บางเรื่ อ งเป็ น คุ ณ ลั ก ษณะที่ สั ม พั น ธ์ กั บ การ ปฏิบตั งิ านทีม่ ปี ระสิทธิภาพ หรือทีเ่ หนือระดับ สมรรถนะติดตัวจึงหมายรวมถึงความรู้ทั่วไป แรงจู ง ใจ เจตคติ บ ทบาททางสั ง คม หรื อ ทักษะ ซึ่งมีความส�ำคัญในการปฏิบัติภารกิจ แต่ไม่ได้เกีย่ วข้องกับการปฏิบตั งิ านเหนือระดับ ยกตัวอย่างเช่น การพูดภาษาท้องถิ่นนับเป็น สมรรถนะที่ติดตัวบุคคลนั้น ในทางกลับกัน คุณลักษณะใดๆ ที่ก่อให้เกิดการปฏิบัติการ เหนือระดับ ซึ่งแตกต่างจากการปฏิบัติการ ทั่วๆ ไป คือ สมรรถนะนั่นเอง นอกจากนี้ พบว่า สมรรถนะส�ำคัญส�ำหรับผู้บริหารเพื่อ
164 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
การบริหารที่มีประสิทธิภาพ ประกอบด้วย สมรรถนะในระดับสูง 7 ประเด็นส�ำคัญ คือ ได้แก่ 1) การนิเทศทีม่ ปี ระสิทธิผล 2) การ ท�ำงานเชิงรุก 3) การวินิจฉัย 4) การน�ำ หลักคิดมาปฏิบัติ 5) การเกี่ยวข้องกับผล กระทบความมัน่ ใจในตนเอง 6) การน�ำเสนอ ด้วยวาจา และ 7) การเข้าใจหลักการและ หลั ก คิ ด สมรรถนะในระดั บ กลาง 4 ประเด็นส�ำคัญ ได้แก่ 8) การใช้พลังทาง สั ง คม 9) กระบวนการบริ ห ารกลุ ่ ม 10) การส� ำ เหนี ย กวั ต ถุ ป ระสงค์ ห ลั ก และ 11) การควบคุมตนเองและสมรรถนะในระดับปกติ ประกอบด้วย 12) ความอดทนและการปรับ ตัว (Boyatzis, 1982:1-9, 12-14, 2021, 229) ในการวิ จั ย นี้ ไ ด้ นิ ย ามไว้ ว ่ า สมรรถนะการบริหาร (Managerial Competency) หมายถึง ความสามารถในการจัด การซึ่ ง เป็ น ทั ก ษะส� ำ คั ญ ในการบริ ห ารและ จัดการในด้านต่างๆ เป็นความสามารถที่จะ แตกต่างกันตามบทบาทและหน้าที่ความรับ ผิดชอบ เป็นความสามารถเชิงบริหารจัดการ ที่มุ่งเน้นสมรรถนะทางการบริหารและความ สามารถในการพัฒนาตนเอง เช่น วิสัยทัศน์ เชิ ง กลยุ ท ธ์ การวางแผน การบริ ห ารการ เปลี่ยนแปลง ความสามารถในการสร้างเครือ ข่าย ฯลฯ ดังนั้นผู้บริหารสถานศึกษาที่เป็น บุคคลส�ำคัญในการพัฒนาองค์กรทางการศึกษา
อิทธิพล ศรีรัตนะ และ อุทัย บุญประเสริฐ
โดยเฉพาะในสถานศึกษา การพัฒนาผูบ้ ริหาร สถานศึกษาจึงเป็นสิ่งจ�ำเป็นอย่างยิ่งในโลกยุค ปัจจุบันที่มีการเปลี่ยนแปลงทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม เทคโนโลยีและข้อมูลข่าวสารตลอดจน ภาวะที่ไร้พรมแดนที่เข้าถึงกันอย่างรวดเร็ว มีความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี สามารถท�ำให้ รูปแบบการเรียนรู้และวิธีการแสวงหาความรู้ ถู ก ปรั บ เปลี่ ย นไปจากระบบการเรี ย นแบบ ดั้งเดิม ไปสู่รูปแบบของการเรียนรู้ด้วยตนเอง ทีน่ กั เรียนสามารถแสวงหาความรูแ้ ละสามารถ สร้ า งองค์ ค วามรู ้ ไ ด้ ด ้ ว ยตนเองเพิ่ ม มากขึ้ น เป็นสิง่ ท้าทายส�ำหรับผูบ้ ริหารสถานศึกษา ใน การจัดการศึกษาเพือ่ พัฒนาสถานศึกษาให้เป็น สถานศึกษาที่มีคุณภาพ ส่งผลต่อการพัฒนา คุ ณ ภาพของนั ก เรี ย น รวมทั้ ง การพั ฒ นา บุ ค ลากรทางการศึ ก ษาที่ มี ส ่ ว นร่ ว มในการ ปฏิบตั งิ านทางการศึกษา ให้มคี วามรู ้ มีความ ช� ำ นาญต่ อ วิ ช าชี พ มากขึ้ น ผู ้ บ ริ ห ารเองก็ จ� ำ เป็ น ต้ อ งได้ รั บ การพั ฒ นาสมรรถนะให้ สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว เพื่อ ให้เป็นผู้น�ำทางการศึกษา เป็นผู้บริหารสถาน ศึกษาที่มีความรู้ ความสามารถในการปฏิบัติ งาน รวมทั้ ง การพั ฒ นาตนเองและพั ฒ นา บุคลากรทางการศึกษา ให้มปี ระสิทธิภาพตาม ความต้องการของการบริหารการศึกษา ตัง้ แต่ สถานศึกษา เขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาและกระทรวง
ศึกษาธิการ (ส�ำนักงานเลขาธิการสภาการ ศึกษา, 2551:1-2) การพั ฒ นาสมรรถนะส� ำ หรั บ แต่ ล ะ ต�ำแหน่งในแต่ละขั้นบันไดอาชีพจะผูกติดกับ ต� ำ แหน่ ง หน้ า ที่ ผู ก กั บ ลั ก ษณะและขอบเขต หน้าที่และความรับผิดชอบกับลักษณะงานที่ ปฏิบัติ และคุณภาพของการปฏิบัติงานเป็น ส�ำคัญ ข้อเสนอแนะ 1.สภาการศึ ก ษาคาทอลิ ก ควรมี หลั ก สู ต รที่ ชั ด เจนในการจั ด อบรม ในเรื่ อ ง อัตลักษณ์ของสังฆมณฑล คุณสมบัต ิ ความรู้ ความสามารถ เกณฑ์หรือขั้นตอนการเข้าสู่ ต�ำแหน่งของผู้บริหารที่เป็นสายนักบวช 2. ฝ่ายการศึกษาสังฆมณฑลควรมีหลัก เกณฑ์หรือขั้นตอนในการประเมินคุณสมบัติ ความรู ้ ความสามารถ ที่ ชั ด เจนที่ จ ะ ก�ำหนดการเข้าสู่ต�ำแหน่งของผู้บริหารภายใน สถานศึกษาทุกระดับต�ำแหน่ง 3. สถานศึ ก ษาคาทอลิ ก ในเครื อ สังฆมณฑล ควรก�ำหนดโครงสร้างการบริหาร สถานศึ ก ษาที่ ชั ด เจน ตามขนาดโรงเรี ย น คาทอลิกใหญ่พิเศษ ขนาดใหญ่ ขนาดกลาง หรือขนาดเล็ก เหมาะสมตามบริบทของแต่ละ โรงเรียน
ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2016/2559 165
ระบบการพัฒนาสมรรถนะสำ�หรับผู้บริหารในสถานศึกษาคาทอลิก ในเครือสังฆมณฑล
บรรณานุกรม เชษฐา ไชยเดช. (2550). คุณภาพชีวติ การ ท�ำงานของครูที่ส่งผลต่อการปฏิบัต ิ งานตามมาตรฐานวิชาชีพครูในสถาน ศึกษาคาทอลิก สังกัดอัครสังฆมณฑล กรุงเทพฯ. นครปฐม: มหาวิทยาลัย ศิลปากร. สภาการศึ ก ษาคาทอลิ ก (ประเทศไทย). (2554, 21-24 สิ ง หาคม). “สถิ ติ จ� ำ นวนนั ก เรี ย น นั ก ศึ ก ษา ครู อาจารย์ โรงเรียน และสถาบันการ ศึกษาคาทอลิก ปีการศึกษา 2554.” สภาการศึกษาคาทอลิกแห่งประเทศ ไทย รายปี, ปีที่ 42. ฉบับเดือน สิงหาคม 2554-กรกฎาคม 2555. 163-192. วิศิษฐ์ ศรีวิชัยรัตน์. (2550). การประชุม สั ม มนาประจ� ำ ปี ก ารศึ ก ษา 2550 ของสภาการศึ ก ษาคาทอลิ ก (แห่ ง ประเทศไทย) ครั้ ง ที่ 37 หั ว ข้ อ “การศึกษาเพือ่ ชีวติ คุณธรรมและการ พัฒนาทีย่ งั่ ยืน” วันอาทิตย์ท ี่ 26 ถึง วั น พุ ธ ที่ 29 สิ ง หาคม 2550 ณ โรงแรมเอเชียพัทยา ชลบุร ี กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ. ราชกิจจานุเบกษา. (2556). ข้อบังคับคุร ุ สภาว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพ พ.ศ.
166 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
2556. เล่มที ่ 130 ตอนพิเศษ 130 ง 4 ตุลาคม 2556. สวัสดิการส�ำนักงาน ก.พ. (2552). คูม่ อื การ บริ ห ารทรั พ ยากรบุ ค คลในราชการ พลเรื อ น ความรู ้ ความสามารถ ทักษะและสมรรถนะที่จ�ำเป็นส�ำหรับ ต� ำ แหน่ ง พิ ม พ์ ค รั้ ง ที่ 1 .กรุ ง เทพ มหานคร: พี.เอ.ลีฟวิ่ง. วิลาวรรณ รพีพิศาล. (2554). การบริหาร ท รั พ ย า ก ร ม นุ ษ ย ์ พิ ม พ ์ ค รั้ ง ที่ 3 .กรุงเทพมหานคร: วิจิตรหัตถกร. ชาญชัย อาจินสมาจาร (ม.ป.ป.). การพัฒนา ทรั พ ยากรมนุ ษ ย์ (Human Re source Development). กรุงเทพมหานคร: ม.ป.ท. Boyatzis, Richard E. (1982). The Competent Manager. New York: John Wiley & Sone. Spencer, M and Spencer, M.S. (1993). Competence at work: Models for Superiors Performance. New York: John Wiley & Sons. Whitten, J.L., Bentley, L.D. and Ho, Thomas I.M. (1986). Systems Analysis & Design Method. St. Louis: Times Mirror.
ศึกษาความคิดเห็นและความต้องการการนิเทศ
ของครูคำ� สอน เพือ่ พัฒนาการจัดการเรียนการสอน และการจัดกิจกรรมในโรงเรียนคาทอลิก
A Study of catechists’ Opinions and Needs for
Supervision for Instructional Development and Organizing Classroom Activities in Catholic Schools. บาทหลวง ผศ.ดร.วัชศิลป์ กฤษเจริญ
* บาทหลวงในคริสต์ศาสนจักรโรมันคาทอลิก สังกัดสังฆมณฑลราชบุรี * หัวหน้าสาขาวิชาคริสตศาสนศึกษา วิทยาลัยแสงธรรม สามพราน
บาทหลวง ผศ.สมชัย พิทยาพงศ์พร
* บาทหลวงในคริสต์ศาสนจักรโรมันคาทอลิก สังกัดสังฆมณฑลจันทบุรี * ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประจำ�สาขาวิชาเทววิทยา คณะศาสนศาสตร์ วิทยาลัยแสงธรรม
บาทหลวง ดร.ออกัสติน สุกิโย ปิโตโย
* บาทหลวงในคริสต์ศาสนจักรโรมันคาทอลิก สังกัดคณะเยสุอิต * อาจารย์ประจำ�หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทววิทยาจริยธรรม วิทยาลัยแสงธรรม
บาทหลวงธรรมรัตน์ เรือนงาม
* อาจารย์ประจำ�หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาปรัชญาและศาสนา วิทยาลัยแสงธรรม
น.ส.สุดหทัย นิยมธรรม
* อาจารย์ประจำ�หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาคริสตศาสนศึกษา วิทยาลัยแสงธรรม
บาทหลวง เอกรัตน์ หอมประทุม
* อาจารย์ประจำ�หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาคริสตศาสนศึกษา วิทยาลัยแสงธรรม
น.ส.ลลิตา กิจประมวล
* ผู้ช่วยวิจัย ศูนย์วิจัยค้นคว้าศาสนา และวัฒนธรรม วิทยาลัยแสงธรรม
Rev.Asst.Dr.Watchasin Kritjaroen
* Reverend in Roman Catholic Church, Ratchaburi Diocese. * Assistant Professor, Christian Studies Faculty of Religious, Saengtham College.
Rev.Asst.Somchai Phitthayaphongphond
* Reverend in Roman Catholic Church, Chanthaburi Diocese. * Assistant Professor, Theology Faculty of Religious, Saengtham College.
Rev.Dr.Augstinus Sugiyo Pitoyo, S.J.
* Reverend in Roman Catholic Church, Jesuit. * Lecturer of The Master of Arts Program in Moral Theology, Saengtham College.
Rev.Thamarat Ruanngam
Rev.Aekaratn Hompratum
* Lecturer, Philosophy and Religious, Saengtham College.
* Lacturer, Christian Studies Faculty of Religious, Saengtham College.
Sudthathai Niyomtham
Lalita Kitpramuan
* Lecturer, Christian Studies Faculty of Religious, Saengtham College.
* Researcher of Religious and Cultural Research Centre, Saengtham College.
ศึกษาความคิดเห็นและความต้องการการนิเทศของครูคำ�สอนเพื่อพัฒนาการจัดการเรียนการสอน และการจัดกิจกรรมในโรงเรียนคาทอลิก
บทคัดย่อ
การวิจยั ครัง้ นี ้ มีวตั ถุประสงค์เพือ่ ศึกษาความคิดเห็น และความ ต้องการการนิเทศของครูค�ำสอน เพื่อพัฒนาการจัดการเรียนการสอน และการจัดกิจกรรมในโรงเรียนคาทอลิก ใน 4 ด้านได้แก่ ด้าน การน�ำหลักสูตรไปใช้ ด้านการจัดการเรียนการสอน ด้านการผลิตและ การใช้สื่อ และด้านการวัดผลและประเมินผล กลุ่มตัวอย่างเป็นครู ค�ำสอนซึ่งปฏิบัติหน้าที่ในโบสถ์ โรงเรียนคาทอลิก และส�ำนักงาน ศูนย์คริสตศาสนธรรมของทุกสังฆมลฑล ผลการวิจัยความคิดเห็นและ ความต้องการการนิเทศของครูคำ� สอนเรียงล�ำดับจากมากทีส่ ดุ ไปถึงน้อย ที่สุดพบว่า 1. ความต้องการการนิเทศด้านการน�ำหลักสูตรไปใช้ ภาพรวม อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่าอยู่ในระดับมากทุกข้อ ได้แก่ 1) เรือ่ งเนือ้ หาหลักสูตรการสอนค�ำสอนให้มคี วามเหมาะสมกับ สภาพในปัจจุบนั 2) เรือ่ งความรู ้ และทิศทางใหม่ๆ ในด้านการสอน ค�ำสอน 3) การใช้เทคโนโลยีทเี่ หมาะสมในกระบวนการเรียนการสอน และการจัดกิจกรรม) 4) เรื่องการวิเคราะห์หลักสูตรการสอนค�ำสอน เพื่ อ เป็ น แนวทางในการพั ฒ นาหลั ก สู ต รค� ำ สอนให้ เ หมาะสมยิ่ ง ขึ้ น 5) การวางแผนการน�ำหลักสูตรการสอนค�ำสอนไปใช้ 6) การปรับ สร้าง และพัฒนาหลักสูตรการสอนค�ำสอน 7) การก�ำหนดเนื้อหา สาระการสอนค�ำสอนร่วมกับผู้บริหาร และ 8) เรื่องการประเมินผล การใช้หลักสูตรค�ำสอน 2. ความต้องการการนิเทศด้านการจัดการเรียนการสอน ภาพ รวมอยูใ่ นระดับมาก เมือ่ พิจารณาเป็นรายข้อพบว่าอยูใ่ นระดับมากทุก ข้อ ได้แก่ 1) การจัดการเรียนการสอนและการจัดกิจกรรมให้เหมาะ สมกับผูเ้ รียนค�ำสอนในแต่ละวัย 2) การจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์ ด้านคุณธรรม และจริยธรรม 3) การเรียนรู้เรื่องเทคนิควิธีสอนการ สอนแบบใหม่ๆ 4) การใช้เทคนิควิธสี อนทีเ่ หมาะสมกับเนือ้ หาค�ำสอน 5) การจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการไปใช้ในชีวิตประจ�ำวัน
168 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
วัชศิลป์ กฤษเจริญ, สมชัย พิทยาพงศ์พร, ออกัสติน สุกิโย ปิโตโย, ธรรมรัตน์ เรือนงาม, เอกรัตน์ หอมประทุม, สุดหทัย นิยมธรรม และ ลลิตา กิจประมวล
6) การเสริมสร้างความเข้มแข็งทางด้านวิชาการ เช่น การศึกษาดูงาน การอบรมทางด้ า นวิ ช าการอื่ น ๆ 7) การจั ด สภาพแวดล้ อ มและ บรรยากาศให้เอื้อต่อการเรียนค�ำสอน และ 8) การจัดท�ำวิจัยในชั้น เรียน เพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนางานสอนต่อไป 3. ความต้องการการนิเทศด้านการผลิตและการใช้สอื่ ภาพรวม อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่าอยู่ในระดับมากทุกข้อ ได้แก่ 1) เรือ่ งการผลิตสือ่ การสอนค�ำสอนทีส่ อดคล้องกับประสบการณ์ ในแต่ละวัย 2) การเปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการผลิตสื่อการ เรียนการสอน 3) เทคนิคการเลือกใช้สอื่ สิง่ พิมพ์ 4) เทคนิคการเลือก ใช้สื่อเทคโนโลยี 5) เทคนิ คการเลื อ กใช้ สื่ อ วั ส ดุ / เครื่ อ งมื อ และ อุ ป กรณ์ 6) การจั ด ท� ำ แหล่ ง การเรี ย นรู ้ ภ ายในและภายนอก 7) นวัตกรรมการผลิตสื่อแบบใหม่ๆ และ 8) การประเมินผลการใช้ สื่อการเรียนการสอน 4. ความต้อการการนิเทศด้านการวัดและการประเมินผล ภาพ รวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่าอยู่ในระดับมาก 6 ข้อ ได้แก่ 1) การประเมินตามสภาพจริง 2) การจัดเก็บข้อมูล การวัดและประเมินผลอย่างมีระบบ 3) เทคนิควิธีการวัดและการ ประเมินผลให้เหมาะสมกับผูเ้ รียนตามวัยต่างๆ 4) แนวปฏิบตั เิ กีย่ วกับ การวัดและการประเมินผลผู้เรียน 5) การเลือกใช้เทคนิควิธีการวัดผล ให้สอดคล้องกับจุดประสงค์ 6) การสร้างเครือ่ งมือการวัดและประเมิน ผลที่หลากหลาย และ 2 ข้อสุดท้ายอยู่ในระดับปานกลางได้แก่ 7) การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือการวัดและการประเมินผล และ 8) การตัดสินผลการเรียน ค�ำส�ำคัญ:
1) ครูค�ำสอน 2) ความต้องการการนิเทศการสอน
ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2016/2559 169
ศึกษาความคิดเห็นและความต้องการการนิเทศของครูคำ�สอนเพื่อพัฒนาการจัดการเรียนการสอน และการจัดกิจกรรมในโรงเรียนคาทอลิก
Abstract
The objectives of this study were to study about catechists’ opinions and needs for supervision for instructional development and organizing classroom activities in Catholic Schools consisted of 4 areas with the areas of curriculum implementation, the areas of instruction management, the areas of teaching aids and the areas of measurement and evaluation. 1. The areas of curriculum implementation whole was at a high level when classified for individual factors are high level: doctrinal content in the curriculum, knowledge of subjects and new directions, use of teaching aids, analyzing doctrine and improvement of curriculum, curriculum implementation, creating and developing doctrinal course, checking teaching doctrine with administrators and evaluating the course. 2. The areas of instruction management whole were at a high level when classified for individual factors are high level: the instruction management suitable for each level, moral and ethics improvement activities, the new techniques and processes in teaching, techniques of teaching suitable for the content, integration teaching in daily life, strengthening academic such as excursions and trainings, Classroom environment and atmosphere management and classroom research for the instructional development.
170 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
วัชศิลป์ กฤษเจริญ, สมชัย พิทยาพงศ์พร, ออกัสติน สุกิโย ปิโตโย, ธรรมรัตน์ เรือนงาม, เอกรัตน์ หอมประทุม, สุดหทัย นิยมธรรม และ ลลิตา กิจประมวล
3. The areas of teaching aids whole was at a high level when classified for individual factors are high level: production materials suitable for each level, opportunity for students to join in producing teaching materials, technique of applying printed media in the teaching, technique in choosing teaching materials and teaching technology, technique in choosing materials/equipment and accessories, preparing learning resources within and outside the classrooms, innovation of new media and evaluating teaching materials. 4. The areas of measurement and evaluation whole were at a high level when classified for individual factors are high level 6 areas: authentic assessment, measurement and evaluation systems, techniques of measurement and evaluation in all levels, creating a various tools for measurement and evaluation, chooses the technique of assessment appropriate, and the last two are at moderate level: examining the quality of measurement and evaluation and results of the exams Keywords: 1) The catechists 2) Supervisions
ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2016/2559 171
ศึกษาความคิดเห็นและความต้องการการนิเทศของครูคำ�สอนเพื่อพัฒนาการจัดการเรียนการสอน และการจัดกิจกรรมในโรงเรียนคาทอลิก
ที่มาและความส�ำคัญของปัญหา หลั ก การส� ำ คั ญ ที่ ท� ำ ให้ ก ารศึ ก ษา คาทอลิกมีความชัดเจน และพัฒนามาอย่าง ต่อเนื่องเพราะมีการด�ำเนินงานตามประมวล กฎหมายคริสต์ศาสนจักรคาทอลิก เรือ่ งหน้าที่ การสอนของพระศาสนจั ก ร มาตรา 794 วรรค 1 ว่า “พระศาสนจักรมีหน้าที่และ สิทธิให้การศึกษาด้วยเหตุผลพิเศษ เพราะพระ ศาสนจักรได้รับมอบพันธกิจจากพระเจ้า ให้ ช่วยเหลือเพือ่ นมนุษย์ให้สามารถบรรลุถงึ ความ สมบูรณ์แห่งชีวิตคริสตชน” สอดคล้องกับ หลั ก ปรั ช ญาการศึ ก ษาคาทอลิ ก ในปั จ จุ บั น เพื่อเป็นกระบวนการพัฒนาคนให้เป็นบุคคลที่ สมบูรณ์ บรรลุสัจธรรมและมีพัฒนาการที่ดี ทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สติปัญญา อารมณ์ และสังคม ในกระบวนการพัฒนาความเป็น มนุษย์ให้สมบูรณ์นนั้ ครูเป็นบุคลากรทีห่ น้าที่ ส�ำคัญนี้ เพราะครูเป็นผู้แนะน�ำความรู้ และ แนวทางในการแก้ไขปัญหาต่างๆ ของผู้เรียน นอกจากครูผสู้ อนด้านวิชาการทัว่ ไปแล้ว ยังมี ครูอีกจ�ำนวนหนึ่งปฏิบัติหน้าที่ในโรงเรียนและ โบสถ์คาทอลิกทั่วประเทศนั่นคือ ครูค�ำสอน ซึ่งท�ำหน้าที่พิเศษหลายอย่าง นั่นคือการสอน ความเชื่อทางศาสนา ถ่ายทอดความรู้ทาง วิชาการ และการท�ำงานเพือ่ การพัฒนาสังคม ร่วมกับพระศาสนจักรคาทอลิก
172 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
เพื่ อ ให้ ภ ารกิ จ ของพระศาสนจั ก ร คาทอลิกได้ส�ำเร็จลุล่วงไปด้วยดี การจัดการ เรี ย นการสอนและการจั ด กิ จ กรรมของครู ค� ำ สอน เป็ น ส่ ว นส� ำ คั ญ ในอี ก หลายๆ ประเด็นที่ต้องอาศัยความสามารถอย่างพิเศษ ของครูค�ำสอน เพราะการน�ำเสนอความเชื่อ ทางศาสนา ผ่านกระบวนการเรียนการสอน และการจัดกิจกรรมเหล่านี ้ ส่งผลต่อการเรียน รู้ และการเติบโตทางความเชื่อของปวงชน หากครู ค� ำ สอนยั ง ไม่ ส ามารถพั ฒ นาความ สามารถของตนให้ มี ทั ก ษะในการถ่ า ยทอด ความรูค้ ริสตศาสนธรรมเป็นอย่างดี มีความรับ ผิดชอบต่องานสอน ด�ำเนินชีวติ เป็นแบบอย่าง ปฏิบัติคุณธรรมของคริสตชนอย่างเข้มแข็ง มี คุณธรรม-จริยธรรม มีจรรยาบรรณวิชาชีพ มี น�้ ำ ใจดี และมี จิ ต อาสา ซึ่ ง เป็ น สิ่ ง ที่ สั ง คม ปัจจุบันต้องการอย่างมาก ประสิทธิภาพใน งานแพร่ธรรมของพระศาสนจักรคาทอลิกผ่าน ทางครูคำ� สอนนีค้ งเกิดขึน้ ไม่ได้ จากพระด�ำรัส ของพระเยซูเจ้าทีว่ า่ “ข้าวในนามีมาก แต่คน งานมีน้อย” (ลก. 10:2) ซึ่งเป็นการยืนยัน ว่างานแพร่ธรรมของพระศาสนจักรคาทอลิกมี อยู่มากมาย เนื่องจากผู้ที่ท�ำงานด้านนี้มีไม่ เพียงพอ ครูค�ำสอนจึงจ�ำเป็นที่จะต้องพัฒนา ความสามารถให้เกิดประโยชน์อย่างสูงสุดใน งานแพร่ธรรมทีม่ อี ยูอ่ ย่างหลากหลาย ให้พระ ศาสนจั ก รคาทอลิ ก แผ่ ข ยายไปสู ่ ป วงชนใน
วัชศิลป์ กฤษเจริญ, สมชัย พิทยาพงศ์พร, ออกัสติน สุกิโย ปิโตโย, ธรรมรัตน์ เรือนงาม, เอกรัตน์ หอมประทุม, สุดหทัย นิยมธรรม และ ลลิตา กิจประมวล
อนาคตต่ อ ไป การศึ ก ษาความคิ ด เห็ น และ ความต้องการการนิเทศของครูค�ำสอน เพื่อ พัฒนาการจัดการเรียนการสอน และการจัด กิ จ กรรมในโรงเรี ย นคาทอลิ ก เพื่ อ ใช้ เ ป็ น แนวทางในการพัฒนาความสามารถของครู ค�ำสอนให้เป็นผู้มีประสิทธิภาพโดยเฉพาะใน ด้านการน�ำหลักสูตรไปใช้ ด้านการจัดการ เรียนการสอน ด้านการผลิตและการใช้สื่อ และด้านการวัดและประเมินผล วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาความคิดเห็นและความ ต้ อ งการการนิ เ ทศของครู ค� ำ สอนเกี่ ย วกั บ การน�ำหลักสูตรไปใช้ การจัดการเรียนการ สอน การผลิตและการใช้สื่อ และการวัดผล และประเมินผล 2. เพื่ อ ส่ ง เสริ ม และสนั บ สนุ น ความ ต้ อ งการในการนิ เ ทศของครู ค� ำ สอนในการ จัดการเรียนการสอน และการจัดกิจกรรมใน โรงเรียนคาทอลิก 3. เพื่อวางแผนการพัฒนาแนวทางใน การด�ำเนินงานบริการวิชาการแก่สังคมของ วิทยาลัยแสงธรรมในอนาคต ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. ได้ รู ้ แ ละเข้ า ใจปั ญ หาและความ ต้องการในการนิเทศของครูค�ำสอน ในการ
จัดการเรียนการสอน และการจัดกิจกรรมใน โรงเรียนในด้านการน�ำหลักสูตรไปใช้ ด้านการ จัดการเรียนการสอน ด้านการผลิตและการใช้ สื่อ และด้านการวัดผลและประเมินผล 2. สารสนเทศที่ได้จาการวิจัยในครั้งนี้ น�ำไปสู่การพัฒนาครูค�ำสอน ส�ำหรับโบสถ์ โรงเรียนคาทอลิก และส�ำนักงานศูนย์คริสต ศาสนธรรมต่างๆ ทั่วประเทศ 3. เพื่อวางแผนการพัฒนาแนวทางใน การด�ำเนินงานบริการวิชาการแก่สังคมของ วิทยาลัยแสงธรรมในอนาคต ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากรที่ใช้ในการศึกษาวิจัยครั้งนี้ เป็นครูค�ำสอนซึ่งปฏิบัติหน้าที่ในโบสถ์และ โรงเรียนคาทอลิก และส�ำนักงานศูนย์คริสต ศาสนธรรมของสั ง ฆมณฑล จ� ำ นวน 409 คน ใน 10 เขตสั ง ฆมณฑลของพระ ศาสนจั ก รคาทอลิ ก ในประเทศไทย กลุ ่ ม ตัวอย่างเป็นครูค�ำสอนที่สอนในโบสถ์ และ โรงเรี ย นคาทอลิ ก ทั้ ง ของนั ก บวช โรงเรี ย น เอกชนและโรงเรี ย นของทุ ก สั ง ฆมณฑล จ�ำนวน 254 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เป็นแบบสอบถามจ�ำนวน 1 ฉบับ ผูว้ จิ ยั เก็บ ข้อมูลตั้งแต่วันที่ 4 มกราคม 2559 ถึงวัน ที่ 30 พฤษภาคม 2559
ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2016/2559 173
ศึกษาความคิดเห็นและความต้องการการนิเทศของครูคำ�สอนเพื่อพัฒนาการจัดการเรียนการสอน และการจัดกิจกรรมในโรงเรียนคาทอลิก
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เครื่ อ งมื อ ที่ ใช้ ใ นการวิ จั ย ครั้ ง นี้ เ ป็ น แบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น โดยแบ่งออก เป็น 3 ตอน ดังนี้คือ ตอนที่ 1 แบบสอบถามเกี่ ย วกั บ สถานภาพส่วนตัวของผู้ให้ข้อมูล มีลักษณะ เป็นแบบตรวจสอบรายการ (Check List) จ�ำนวน 6 ข้อ สอบถามเกีย่ วกับ เพศ อายุ การปฏิบตั กิ ารสอนค�ำสอน สถานภาพ ระดับ การศึ ก ษา สถานที่ ป ฏิ บั ติ ง าน และสั ง กั ด สังฆมณฑล ตอนที ่ 2 แบบสอบถามแบบปลายปิด เกีย่ วกับความคิดเห็น ความต้องการการนิเทศ ของครู ค� ำ สอน จ� ำ นวน 32 ข้ อ ใน 4 ด้าน ได้แก่ ด้านการน�ำหลักสูตรไปใช้ ด้าน การจัดการเรียนการสอน ด้านการผลิตและ การใช้สื่อ และด้านการวัดผลและประเมินผล มี ลั ก ษณะเป็ น มาตราส่ ว นประมาณค่ า 5 ระดับ คือ มากทีส่ ดุ มาก ปานกลาง น้อย และน้อยที่สุด ตอนที ่ 3 แบบสอบถามแบบปลายเปิด เกีย่ วกับความคิดเห็น ความต้องการการนิเทศ ของครูคำ� สอน จ�ำนวน 4 ข้อ ใน 4 ด้าน ได้แก่ ด้านการน�ำหลักสูตรไปใช้ ด้านการ จัดการเรียนการสอน ด้านการผลิตและการใช้ สื่อ และด้านการวัดผลและประเมินผล
174 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
สรุปผลการวิจัย ความคิดเห็นเกีย่ วกับความต้องการการ นิเทศของครูค�ำสอน เพื่อพัฒนาการจัดการ เรียนการสอน และการจัดกิจกรรมในโรงเรียน คาทอลิก โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( X =3.75 S.D.=0.67) จ�ำแนกตามรายด้านทั้ง 4 ด้าน พบว่า 1. ความต้องการการนิเทศด้านการน�ำ หลักสูตรไปใช้ ภาพรวมอยูใ่ นระดับมาก ( X =4.02 S.D.=0.67) เมือ่ พิจารณาเป็นรายข้อ พบว่าอยู่ในระดับมากทุกข้อ โดยครูค�ำสอน มี ค วามต้ อ งการการนิ เ ทศเกี่ ย วกั บ เนื้ อ หา หลักสูตรการสอนค�ำสอนให้มีความเหมาะสม กับสภาพในปัจจุบนั ( X =4.23 S.D.=0.86) รองลงไปได้แก่ความต้องการการนิเทศเกีย่ วกับ ความรู้ และทิศทางใหม่ๆ ในด้านการสอน ค� ำ สอน ( X =4.19 S.D.=0.84) การใช้ เทคโนโลยีที่เหมาะสมในกระบวนการเรียน การสอนและการจั ด กิ จ กรรม ( X =4.10 S.D.=0.86) การวิเคราะห์หลักสูตรการสอน ค� ำ สอน เพื่ อ เป็ น แนวทางในการพั ฒ นา หลั ก สู ต รค� ำ สอนให้ เ หมาะสมยิ่ ง ขึ้ น ( X =4.05 S.D.=0.80) การวางแผนการน�ำหลัก สูตรการสอนค�ำสอนไปใช้ ( X =3.99 S.D. =0.78) การปรับ สร้าง และพัฒนาหลักสูตร การสอนค� ำ สอน ( X =3.96 S.D.=0.76) การก�ำหนดเนื้อหาสาระการสอนค�ำสอนร่วม
วัชศิลป์ กฤษเจริญ, สมชัย พิทยาพงศ์พร, ออกัสติน สุกิโย ปิโตโย, ธรรมรัตน์ เรือนงาม, เอกรัตน์ หอมประทุม, สุดหทัย นิยมธรรม และ ลลิตา กิจประมวล
กับผู้บริหาร ( X =3.86 S.D.=0.89) และ ล�ำดับสุดท้ายเป็นความต้องการการนิเทศเรื่อง การประเมิ น ผลการใช้ ห ลั ก สู ต รค� ำ สอน ( X =3.73 S.D.=0.85) 2. ความต้องการการนิเทศด้านการ จัดการเรียนการสอน ภาพรวมอยู่ในระดับ มาก ( X =4.01 S.D.=0.71) เมื่อพิจารณา เป็นรายข้อพบว่าอยู่ในระดับมากทุกข้อ โดย ครูค�ำสอนมีความต้องการการนิเทศเกี่ยวกับ การจัดการเรียนการสอนและการจัดกิจกรรม ให้ เ หมาะสมกั บ ผู ้ เรี ย นค� ำ สอนในแต่ ล ะวั ย ( X =4.20 S.D.=0.80) รองลงไปได้ แ ก่ ความต้ อ งการการนิ เ ทศเกี่ ย วกั บ การจั ด กิจกรรมเสริมประสบการณ์ด้านคุณธรรมและ จริยธรรม ( X =4.17 S.D.=0.85) การเรียน รู ้ เรื่ อ งเทคนิ ค วิ ธี ส อนการสอนแบบใหม่ ๆ ( X =4.11 S.D.=0.93) การใช้เทคนิควิธสี อน ที่ เ หมาะสมกั บ เนื้ อ หาค� ำ สอน ( X =4.10 S.D.=0.84) การจัดการเรียนการสอนแบบ บูรณาการไปใช้ในชีวิตประจ�ำวัน ( X =4.08 S.D.=0.86) การเสริมสร้างความเข้มแข็งทาง ด้านวิชาการ เช่นการศึกษาดูงาน การอบรม ทางด้านวิชาการอืน่ ๆ ( X =3.89 S.D.=0.94) การจัดสภาพแวดล้อมและบรรยากาศให้เอื้อ ต่อการเรียนค�ำสอน ( X =3.86 S.D.=0.86) และล�ำดับสุดท้ายเป็นความต้องการการนิเทศ เรื่ อ งการจั ด ท� ำ วิ จั ย ในชั้ น เรี ย น เพื่ อ เป็ น
แนวทางในการพัฒนางานสอนต่อไป ( X = 3.69 S.D.=0.97) 3. ความต้องการการนิเทศด้านการ ผลิตและการใช้สื่อ ภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( X =3.83 S.D.=0.79) เมื่อพิจารณาเป็น รายข้อพบว่าอยู่ในระดับมากทุกข้อ โดยครู ค�ำสอนมีความต้องการการนิเทศเกี่ยวกับการ ผลิ ต สื่ อ การสอนค� ำ สอนที่ ส อดคล้ อ งกั บ ประสบการณ์ในแต่ละวัย ( X =4.00 S.D.= 0.87) รองลงไปได้แก่ความต้องการการนิเทศ เกี่ยวกับการเปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมใน การผลิ ต สื่ อ การเรี ย นการสอน ( X =3.98 S.D.=2.66) เทคนิคการเลือกใช้สื่อสิ่งพิมพ์ ( X =3.89 S.D.=0.86) เทคนิคการเลือกใช้ สื่ อ เทคโนโลยี ( X =3.89 S.D.=0.94) เทคนิคการเลือกใช้สื่อ วัสดุ/เครื่องมือ และ อุปกรณ์ ( X =3.85 S.D.=0.78) การจัดท�ำ แหล่งการเรียนรู้ภายในและภายนอก ( X = 3.82 S.D.=0.85) นวัตกรรมการผลิตสื่อแบบ ใหม่ๆ ( X =3.68 S.D.=1.27) และล�ำดับ สุดท้ายเป็นความต้องการการนิเทศเรื่องการ ประเมินผลการใช้สื่อการเรียนการสอน ( X =3.54 S.D.=1.24) 4. ความต้องการการนิเทศด้านการวัด และการประเมินผล ภาพรวมอยูใ่ นระดับมาก ( X =3.59 S.D.=1.16) เมื่อพิจารณาเป็น รายข้อพบว่าอยู่ในระดับมาก 6 ข้อ โดยครู
ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2016/2559 175
ศึกษาความคิดเห็นและความต้องการการนิเทศของครูคำ�สอนเพื่อพัฒนาการจัดการเรียนการสอน และการจัดกิจกรรมในโรงเรียนคาทอลิก
ค�ำสอนมีความต้องการการนิเทศเกี่ยวกับการ ประเมินตามสภาพจริง ( X =3.72 S.D.= 1.25) รองลงไปได้แก่ความต้องการการนิเทศ เกี่ยวกับการจัดเก็บข้อมูลการวัดและประเมิน ผลอย่ า งมี ร ะบบ ( X =3.71 S.D.=2.12) เทคนิควิธีการวัดและการประเมินผลให้เหมาะ สมกับผู้เรียนตามวัยต่างๆ ( X =3.65 S.D. =1.23) แนวปฏิบัติเกี่ยวกับการวัดและการ ประเมินผลผู้เรียน ( X =3.64 S.D.=1.19) การเลือกใช้เทคนิควิธีการวัดผลให้สอดคล้อง กั บ จุ ด ประสงค์ ( X =3.63 S.D.=1.18) การสร้างเครื่องมือการวัดและประเมินผลที่ หลากหลาย ( X =3.62 S.D.=1.24) และ 2 ล�ำดับสุดท้ายเป็นความต้องการการนิเทศใน ระดับปานกลางเรื่องการตรวจสอบคุณภาพ เครื่องมือการวัดและการประเมินผล ( X = 3.49 S.D.=1.22) และการตั ด สิ น ผลการ เรียน ( X =3.36 S.D.=1.22) อภิปรายผล ผลการวิจัย พบว่า ด้านการน�ำหลักสูตรไปใช้ พบว่า ครู ค�ำสอนมีความต้องการการนิเทศในระดับมาก ทุกตัวชี้วัด โดยเรียงล�ำดับจากมากไปหาน้อย ดังนี้ ล�ำดับที่ 1 ความต้องการการนิเทศใน เรือ่ งเนือ้ หาหลักสูตรการสอนค�ำสอนให้มคี วาม เหมาะสมกับสภาพในปัจจุบัน ทั้งนี้อาจเป็น
176 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
เพราะครูค�ำสอนได้ตระหนักถึงหน้าที่ และ ใส่ใจต่อการอบรมและการสอนอย่างจริงจัง จึงมีการเปลีย่ นแปลง/ปรับปรุงการสอนค�ำสอน ของตนเองให้ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพมากยิ่ ง ขึ้ น สอดคล้องกับทฤษฎีการเปลี่ยนแปลงในการ นิ เ ทศ (Change Theories) ทฤษฎี ก าร เปลี่ยนแปลงแบบ Non-Confict ของชิน และเบนนิส (Chin and Bennis 1969: 34-35) อ้างถึงใน วัชรา เล่าเรียนดี (2556: 34) โดยชิน ได้เสนอยุทธวิธีทั่วไปของการ เปลีย่ นแปลงใน 3 ยุทธวิธ ี คือ 1) ยุทธวิธี การใช้ ห ลั ก เหตุ ผ ลและข้ อ มู ล เชิ ง ประจั ก ษ์ (Rational-Empirical) 2) ยุทธวิธีการให้ ค�ำปรึกษาใหม่หรือให้ความรู้ใหม่ (Normative Re-Education Strategy) และ 3) ยุทธวิธกี ารใช้อำ� นาจและการควบคุม (Power Coercive Strategy) ซึ่งยุทธวิธีการให้ค�ำ ปรึ ก ษาใหม่ ห รื อ ให้ ค วามรู ้ ใ หม่ การ เปลี่ยนแปลงในแบบดังกล่าวจึงเกี่ยวข้องกับ การที่ จ ะต้ อ งเปลี่ ย นแปลงเจตคติ ค่ า นิ ย ม และทักษะการมีความสัมพันธ์ที่ดี โดยการให้ ความรู ้ ข่ า วสาร หรื อ เหตุ ผ ลที่ ดี เ พื่ อ การ ปฏิบัติเท่านั้น ครูทั่วไปในปัจจุบันมุ่งพัฒนา ความสามารถในการน�ำหลักสูตรไปพัฒนาเพื่อ ให้การเรียนการสอนประสบความส�ำเร็จ ครู ค�ำสอนจะหยุดพัฒนาความรู้แห่งวิชาการและ ความรู้ทางศาสนาควบคู่กันไปไม่ได้ เพราะ
วัชศิลป์ กฤษเจริญ, สมชัย พิทยาพงศ์พร, ออกัสติน สุกิโย ปิโตโย, ธรรมรัตน์ เรือนงาม, เอกรัตน์ หอมประทุม, สุดหทัย นิยมธรรม และ ลลิตา กิจประมวล
หน้าที่ส�ำคัญของครูค�ำสอนซึ่งวีระ อาภรณ์ รั ต น์ (2551:50) กล่ า วไว้ คื อ ครู ค� ำ สอน มีหน้าที่ให้การอบรมแบบคริสตชน เนื่องจาก การสอนคริสตศาสนธรรมมุง่ ทีจ่ ะสอนผูเ้ รียนให้ เข้าถึงการอบรมแบบคริสตชนที่แท้จริง ครู ค�ำสอนได้ตระหนักถึงความส�ำคัญในกระแส เรียกของตนเองนี้ ซึ่งเป็นกระแสเรียกพิเศษ ในการท�ำหน้าทีส่ อนและอบรม สอดคล้องกับ ผลการวิจัยของ ลลิตา กิจประมวล (2556: 137) เรื่องอนาคตภาพหลักสูตรศิลปศาสตร บัณฑิต สาขาวิชาคริสตศาสนศึกษา วิทยาลัย แสงธรรม ในทศวรรษหน้ า (พ.ศ.25572566) พบว่าบัณฑิตทีท่ ำ� หน้าทีเ่ ป็นครูคำ� สอน ควรมีความรู้ ความเข้าใจอย่างถ่องแท้ ใน ความรู้ที่สอน ชัดเจนและเชี่ยวชาญในศาสตร์ ของการศึกษาที่ตนส�ำเร็จ มีความสามารถใช้ สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ มีบุคลิกภาพที่ดี มี มนุษย์สัมพันธ์ดี รู้จักน�ำความรู้มาประยุกต์ใช้ กับชีวิตประจ�ำวัน และพัฒนาตนเองอย่างไม่ หยุดยัง้ เสียสละ ทุม่ เท เอาใจใส่ตอ่ การสอน และรักการสอน ล�ำดับที่ 2 ความต้องการ การนิเทศในเรื่องความรู้ และทิศทางใหม่ๆ ในด้านการสอนค�ำสอน ทั้งนี้อาจเป็นเพราะ ทิศทางการศึกษาแนวใหม่ สื่อให้ครูได้เห็น แนวทางการพัฒนาความรูค้ วบคูไ่ ปกับการสอน วิ ธี ส อนใหม่ ๆ ชี้ ใ ห้ เ ห็ น ถึ ง การท� ำ ให้ บ รรลุ ศักยภาพของความเป็นมนุษย์ด้วยการพัฒนา
อย่างต่อเนื่อง วิจารณ์ พาณิช อ้างถึง ศิริ วรรณ วณิชวัฒนวรชัย (2558:24) ได้กล่าว ถึงความส�ำคัญของการเปลี่ยนแปลงรูปแบบ การจั ด การเรี ย นรู ้ ไว้ ว ่ า ในยุ ค เดิ ม ครู ส อน ผูเ้ รียนให้สอบผ่าน แนวคิดนีเ้ ป็นของศตวรรษ ที่ 19-20 แต่ เ ป้ า หมายของการเรี ย นใน ศตวรรษที่ 21 คือการปูพื้นฐานความรู้และ ทักษะเอาไว้ส�ำหรับการมีชีวิตที่ดีในภายหน้า ครูต้องเรียนรู้ทักษะใหม่ในวิชาชีพการเป็นครู เปิดโลกกว้างทางความคิดและพัฒนาตนเองอยู่ เสมอ เดวิ ด ดั บ เบิ ล ยู จอห์ น สั น และ โรเจอร์ ที จอห์นสัน ได้เสนอแนวคิดการ เรี ย นการสอนเพื่ อ แก้ ป ั ญ หาและการสร้ า ง ภูมิคุ้มกันที่ดีให้กับผู้เรียนไว้ในหนังสือทักษะ แห่งอนาคตใหม่: การศึกษาแห่งศตวรรษที่ 21 (2554:306-326) ไว้ว่า การเรียนรู้แบบ ร่วมมือคือการสอนทีแ่ บ่งนักเรียนออกเป็นกลุม่ เล็กๆ ให้ทำ� งานร่วมกัน เพือ่ ขยายการเรียนรู้ ของตนและผูอ้ นื่ ให้มากทีส่ ดุ งานทีม่ อบหมาย เป็นงานที่สามารถท�ำร่วมกันได้ เมื่อแต่ละคน ร่วมมือกันพวกเขาจะช่วยกันท�ำงานจนบรรลุ เป้าหมาย และเกิดความรู้สึกรับผิดชอบร่วม กันในความส�ำเร็จของพวกเขา แนวทางการ ศึกษาใหม่นี้ครูมิใช่เป็นครูผู้สอนอีกต่อไป แต่ เป็ น ผู ้ ชี้ แ นะ แนะน� ำ แนวทางการแสวงหา ความรูแ้ ละวิธกี ารแก้ไขปัญหาอย่างถูกต้อง สิง่ ท้าทายครูค�ำสอนคือจะสอนอย่างไรให้ทุกคน
ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2016/2559 177
ศึกษาความคิดเห็นและความต้องการการนิเทศของครูคำ�สอนเพื่อพัฒนาการจัดการเรียนการสอน และการจัดกิจกรรมในโรงเรียนคาทอลิก
มองเห็นพระเจ้าในความขัดแย้งต่างๆ ที่เกิด ขึ้นของมนุษย์ ทั้งด้านความคิด ความเชื่อ ทัศนคติ ศีลธรรม จริยธรรมและวัฒนธรรม สังคมอยูบ่ นเส้นด้ายบางๆ ของความแตกต่าง ระหว่ า งผู ้ มี ศ าสนาและไม่ มี ศ าสนา ใน สถานการณ์ เช่ น นี้ ครู ค� ำ สอนจึ ง ควรฉวย โอกาสให้แรงผลักดันทางสังคมเหล่านี ้ กระตุน้ ให้ทกุ คนหันมาหาพระเจ้า พึง่ พาความรักจาก พระองค์ ล� ำ ดั บ ที่ 3 ความต้ อ งการการ นิเทศในเรื่องการใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมใน กระบวนการเรียนการสอนและการจัดกิจกรรม แม้ดูแบบผิวเผินจะเป็นเรื่องล�ำดับสุดท้ายของ การน�ำหลักสูตรไปใช้ คือการใช้เทคโนโลยีใน โลกของการศึกษาอย่างผู้เชี่ยวชาญ นั่นอาจ เป็นเพราะครูคำ� สอนก�ำลังตระหนักดีถงึ มหาภัย ของการใช้เทคโนโลยีอย่างไม่คล่องตัว เมือ่ จะ จัดการเรียนการสอนและจะจัดกิจกรรมให้กับ ผู ้ เ รี ย น ครู ค� ำ สอนก็ จ ะยั ง ไม่ ส ามารถใช้ เทคโนโลยีสมัยใหม่ไปพัฒนาฝีมอื การสอนของ ตนเอง และพัฒนาความสามารถให้เท่าทัน ผูเ้ รียนได้ การจัดการเรียนการสอนและการจัด กิ จ กรรมที่ พึ ง พาชอล์ ก กระดานด� ำ ไวท์ บอร์ด หรือการสอนแบบบรรยายเพียงอย่าง เดียว อาจไม่เพียงพอต่อการอยากรูอ้ ยากเห็น ของผู้เรียน และบทบาทของสิ่งเหล่านั้นก�ำลัง จ ะ ห ม ด ไ ป เ พ ร า ะ นั ก เรี ย น ใ น ยุ ค นี้ มี ประสบการณ์ที่แตกต่างไปจากผู้สอนของเขา
178 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
เป็นการย�้ำเตือนว่าเทคโนโลยีทางการศึกษา สามารถเปลีย่ นแปลงการสอนได้ ครูคำ� สอนจึง ต้องศึกษาหาความรูใ้ นด้านวิธกี ารสอนโดยการ ใช้ เ ทคโนโลยี ใ หม่ ๆ ที่ ส ามารถตอบสนอง ผู้เรียนให้มากยิ่งขึ้น เพื่อว่ากิจกรรมด้านการ เรียนการสอนที่น�ำเสนอให้ผู้เรียนนั้น จะได้ เป็นกิจกรรมทีช่ ว่ ยส่งเสริมและพัฒนาผูเ้ รียนได้ อย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ด้านการจัดการเรียนการสอน พบว่า ครูค�ำสอนมีความต้องการการนิเทศในระดับ มากทุกตัวชี้วัด โดยเรียงล�ำดับจากมากไปหา น้อยดังนี้ ล�ำดับที่ 1 การจัดการเรียนการ สอนและการจัดกิจกรรมให้เหมาะสมกับผูเ้ รียน ค�ำสอนในแต่ละวัย ครูคำ� สอนซึง่ ปฏิบตั หิ น้าที่ การสอนตามโบสถ์ โรงเรียน และส�ำนักงาน ศูนย์คริสตศาสนธรรมอยูแ่ ล้วนัน้ คงได้พบกับ ปัญหาหรือความจ�ำเป็นในการสอนและการจัด กิ จ กรรมให้ เ หมาะสมกั บ ผู ้ เรี ย นในแต่ ล ะวั ย และทราบดีว่าการสอนจะประสบความส�ำเร็จ ได้นั้นต้องสอดคล้องกับความสนใจในแต่ละวัย ด้วยเช่นเดียวกัน ซึ่งในคู่มือแนะแนวการสอน ค�ำสอนในประเทศไทย (2557:39) ได้แนะน�ำ ครูค�ำสอนไว้ว่า เพื่อให้การสอนคริสตศาสน ธรรมบรรลุ ผ ลตามจุ ด มุ ่ ง หมายอย่ า งมี ประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ครูค�ำสอนไม่เพียงแต่มุ่ง เน้นเนือ้ หาค�ำสอนเพือ่ ให้ผเู้ รียนมีความรูเ้ ท่านัน้ แต่จำ� เป็นต้องสนใจผูเ้ รียนเป็นส�ำคัญ กล่าวคือ
วัชศิลป์ กฤษเจริญ, สมชัย พิทยาพงศ์พร, ออกัสติน สุกิโย ปิโตโย, ธรรมรัตน์ เรือนงาม, เอกรัตน์ หอมประทุม, สุดหทัย นิยมธรรม และ ลลิตา กิจประมวล
ต้องมีความรู้ด้านจิตวิทยาความต้องการของ แต่ละวัย สอดคล้องการงานวิจยั ของวราภรณ์ แสงพลสิทธิ์ (2554:บทคัดย่อ) เรื่องความ ต้องการการนิเทศการสอนของครูเครือข่ายโรง เรียนอัสสัมชัญแผนกประถม ด้านการจัดการ เรียนการสอน พบว่า โดยรวมความต้องการ การนิเทศการสอนของครูเครือข่ายโรงเรียน อัสสัมชัญแผนกประถม ด้านการจัดการเรียน การสอน อยู่ในระดับมาก ล�ำดับที่ 2 การ จัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์ด้านคุณธรรม และจริยธรรม ครูค�ำสอนคงได้ตระหนักถึง ความส� ำ คั ญ และความจ� ำ เป็ น ของการจั ด กิจกรรมเสริมประสบการณ์ดา้ นคุณธรรม และ จริยธรรม การจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์ ในด้านเหล่านีจ้ งึ มีสว่ นช่วยพัฒนาคุณภาพของ คนให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ข้ึน ตามแบบอย่าง พระเยซูเจ้า ในคู่มือแนะแนวการสอนค�ำสอน ในประเทศไทย (2557:35) ได้ให้หลักเกณฑ์ ในการน�ำเสนอเนื้อหาการสอนค�ำสอนไว้ว่า เนื้อหาคริสตศาสนธรรมเป็นการประกาศเรื่อง ความรอดพ้น กล่าวคือการสอนเกี่ยวกับพระ อาณาจั ก รของพระเจ้ า คื อ ความยุ ติ ธ รรม ความรัก และสันติสขุ ข่าวดีนยี้ อ่ มรวมหมาย ถึงการประกาศเรื่องความรอดพ้น การปลด ปล่ อ ยให้ เ ป็ น อิ ส ระจากความทุ ก ข์ ความ ยากจน ความอยุ ติ ธ รรม ยาเสพติ ด ฉ้ อ ราษฎร์บงั หลวง ซึง่ สอดคล้องกับงานวิจยั ของ
สุภทั รา จิตร์เพ่ง (2549:บทคัดย่อ) เรือ่ งการ นิเทศแบบคลินกิ เพือ่ พัฒนาสมรรถภาพการจัด กิจกรรมแนะแนวของครูประถมศึกษาพบว่า ครูระดับประถมศึกษาที่ได้รับการนิเทศแบบ คลิ นิ ก มี ค วามรู ้ เ กี่ ย วกั บ การจั ด กิ จ กรรม แนะแนวก่อนและหลังการนิเทศแบบคลินิก แตกต่างกันอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 โดยครู ร ะดั บ ประถมศึ ก ษามี ค วาม สามารถในการเขี ย นแผนการจั ด กิ จ กรรม แนะแนวอยูใ่ นระดับดีและสามารถจัดกิจกรรม แนะแนวได้ ครูระดับประถมศึกษามีความคิด เห็นทางบวกต่อการนิเทศแบบคลินิก โดยครู ประถมศึกษามีความคิดเห็นว่าการนิเทศแบบ คลินิกท�ำให้ครูสามารถจัดกิจกรรมแนะแนวได้ ดี และกิจกรรมแนะแนวสามารถน�ำมาใช้เพื่อ พัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียน ได้ ล�ำดับที่ 3 การเรียนรู้เรื่องเทคนิควิธี สอนการสอนแบบใหม่ๆ ครูมีส่วนส�ำคัญใน การช่วยพัฒนาระบบความคิดของผูเ้ รียน งาน วิจัยในปัจจุบันเรียกร้องให้มีการปรับปรุงรูป แบบและเทคนิควิธีสอนแบบใหม่ๆ อยู่เสมอ เพื่อส่งเสริมและพัฒนาทักษะทางความคิดให้ แก่ผู้เรียน ครูค�ำสอนร้อยละ 88.20 ในผล งานวิจยั ฉบับนีไ้ ด้ผา่ นกระกวนการศึกษาระดับ อุดมศึกษา คงได้รับรู้ถึงประโยชน์ของการ นิเทศเพื่อน�ำมาปรับปรุงการสอนแบบใหม่ๆ สอดคล้องกับงานวิจยั ของสมศักดิ ์ ศรีสมบูรณ์
ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2016/2559 179
ศึกษาความคิดเห็นและความต้องการการนิเทศของครูคำ�สอนเพื่อพัฒนาการจัดการเรียนการสอน และการจัดกิจกรรมในโรงเรียนคาทอลิก
(2548:บทคัดย่อ) เรื่องการนิเทศแบบเพื่อน ช่วยเพื่อนเพื่อพัฒนาสมรรถภาพการจัดการ เรียนรูด้ ว้ ยวิธสี อนแบบร่วมมือกันเรียนรูข้ องครู ประถมศึกษา ทีพ่ บว่าผลสัมฤทธิท์ างการเรียน ด้านการเขียนเรียงความของนักเรียนหลังการ จัดการเรียนรูด้ ว้ ยวิธสี อนแบบร่วมมือกันเรียนรู้ สูงกว่าก่อนการจัดการเรียนรูใ้ นทุกชัน้ เรียนและ นักเรียนมีความคิดเห็นว่าวิธีสอนแบบร่วมมือ กันเรียนรูช้ ว่ ยส่งเสริมและพัฒนาการเขียนเรียง ความได้เป็นอย่างดี ท�ำให้เข้าใจบทเรียนได้ดี ขึ้น ท�ำงานได้อย่างเป็นระบบและรอบคอบ มากขึ้น ด้ า นการผลิ ต และการใช้ สื่ อ พบว่า ครูค�ำสอนมีความต้องการการนิเทศในระดับ มากทุกตัวชี้วัด โดยเรียงล�ำดับจากมากไปหา น้อยดังนี้ ล�ำดับที่ 1 การผลิตสื่อการสอน ค�ำสอนที่สอดคล้องกับประสบการณ์ในแต่ละ วัย ศิริวรรณ วณิชวัฒนวรชัย (2558:261263) ได้กล่าวถึงสือ่ การสอนทัว่ ไป การจัดท�ำ สื่อการสอนมีอยู่หลายรูปแบบด้วย การที่จะ น� ำ สื่ อ การสอนมาใช้ ใ ห้ ส อดคล้ อ งกั บ ประสบการณ์ในแต่ละวัยนัน้ ครูผสู้ อนคงต้อง ก�ำหนดจุดประสงค์ และขั้นตอนการน�ำไปใช้ และพัฒนาความสามารถในการใช้สอื่ ให้เหมาะ สม สอดคล้องการงานวิจัยของ วราภรณ์ แสงพลสิทธิ์ (2554:บทคัดย่อ) เรื่องความ ต้องการการนิเทศการสอนของครูเครือข่าย
180 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
โรงเรียนอัสสัมชัญแผนกประถม พบว่า โดย รวมความต้องการการนิเทศการสอนของครู เครือข่ายโรงเรียนอัสสัมชัญแผนกประถม ด้าน สื่อการเรียนการสอน อยู่ในระดับมาก โดย รายการที่ มี ค ่ า เฉลี่ ย สู ง สุ ด 3 อั น ดั บ แรก ได้แก่ ครูตอ้ งการท�ำนวัตกรรมและเทคโนโลยี ที่สอดคล้องและเหมาะสมกับเนื้อหาเพื่อเสริม ประสบการณ์การเรียนรู้แก่นักเรียน และครู ต้องการจัดเตรียมสื่อการเรียนการสอนและ ก�ำหนดสื่อการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับ กิจกรรมการเรียนรู้เพื่อให้การจัดการเรียนการ สอนบรรลุตามจุดประสงค์ ครูต้องการพัฒนา ศักยภาพของตนเองในการจัดท�ำสื่อการเรียน การสอนโดยเฉพาะสื่อการเรียนการสอนทาง คอมพิวเตอร์ และครูตอ้ งการผลิตสือ่ การเรียน การสอนที่สอดคล้องและเหมาะสมกับเนื้อหา โดยเฉพาะสื่อการเรียนการสอนคอมพิวเตอร์ ล�ำดับที่ 2 การเปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีส่วน ร่วมในการผลิตสื่อการเรียนการสอน ในการ จ�ำแนกประเภทของสื่อการเรียนรู้ ศิริวรรณ วณิชวัฒนวรชัย (2558:255-257) ได้กล่าว ว่าหากครูผสู้ อนต้องการให้ผเู้ รียนเกิดการเรียน รูใ้ นระดับคงทนถาวร ควรเลือกสือ่ ทีผ่ เู้ รียนได้ ใช้ประสบการณ์มากกว่าที่จะใช้สื่อประเภทที่ เป็นนามธรรม อีกทั้งสื่อบางกลุ่มสามารถให้ ผู้เรียนร่วมกันผลิตร่วมกับครูผู้สอนได้ สื่อ ต่างๆ เหล่านี้ ครูค�ำสอนก็สามารถเลือกให้
วัชศิลป์ กฤษเจริญ, สมชัย พิทยาพงศ์พร, ออกัสติน สุกิโย ปิโตโย, ธรรมรัตน์ เรือนงาม, เอกรัตน์ หอมประทุม, สุดหทัย นิยมธรรม และ ลลิตา กิจประมวล
ตรงกั บ วั ย ของผู ้ เ รี ย นได้ อ ย่ า งเหมาะสม สามารถน� ำ มาประยุ ก ต์ ใช้ กั บ บทเรี ย นและ เนื้อหาการสอนค�ำสอน เพียงแต่อาจจะต้องมี ผู้เชี่ยวชาญ มาแนะน�ำวิธีการผลิตให้ตรงกับ วัตถุประสงค์ในการสอนค�ำสอนอย่างจริงจัง ซึ่งอาจต้องมีการวางแผนส�ำหรับการสอนและ เนื้อหาค�ำสอนให้เหมาะสมร่วมกันทั้งระดับ โรงเรียนและระดับสังฆมณฑล ล�ำดับที่ 3 เทคนิคการเลือกใช้สอื่ สิง่ พิมพ์ และเทคนิคการ เลือกใช้สื่อเทคโนโลยี ในคู่มือแนะแนวการ สอนค�ำสอนในประเทศไทย (2557:217) ได้ แนะน�ำครูค�ำสอนเกี่ยวกับการใช้สื่อไว้ว่าเพื่อที่ จะสามารถใช้สื่อมวลชนได้อย่างดี ครูค�ำสอน ต้องทุ่มเทอย่างหนักในการหาความรู้ ความ สามารถ มีการฝึกหัดและการใช้สื่อมวลชน อย่างทันสมัย มีงานวิจัยหลายเรื่องที่ส่งเสริม และสนับสนุนให้ครูผู้สอนน�ำเอาเทคโนโลยี สารสนเทศไปใช้ในการเรียนการสอนสอดคล้อง กับงานวิจยั ของสายสุดา ปัน้ ตระกูลและคณะ (2555:บทคัดย่อ) เรือ่ งการศึกษาสภาพการใช้ เทคโนโลยี ส ารสนเทศในการเรี ย นการสอน ระดั บ อนุ บ าล ในโรงเรี ย นสั ง กั ด กรุ ง เทพมหานคร ผลการวิจัย พบว่า หลักในการ เลือกใช้เทคโนโลยี สารสนเทศในการจัดการ เรียนการสอน ส่วนใหญ่เลือกตามเนื้อหาของ หน่ ว ยการเรี ย นการสอน ครู จั ด กิ จ กรรมที่ ค� ำ นึ ง ถึ ง ระยะเวลาที่ เ หมาะสมกั บ วั ย และ
สามารถยื ด หยุ ่ น ได้ ต ามความสนใจของเด็ ก จั ด เตรี ย มและคั ด เลื อ กสื่ อ และอุ ป กรณ์ เทคโนโลยีสารสนเทศทีม่ ใี นโรงเรียน โดยเลือก ใช้ สื่ อ จากเครื่ อ งเล่ น ซี ดี ห รื อ ดี วี ดี ม ากที่ สุ ด การประยุกต์ใช้เทคโนโลยี สารสนเทศในการ เรียนการสอนระดับอนุบาลโดยรวมอยูใ่ นระดับ มาก โดยมี ก ารประยุ ก ต์ ใช้ ใ นการส่ ง เสริ ม พัฒนาการของเด็กและการสร้างสื่อการเรียน การสอน ด้านการวัดและการประเมินผล พบว่า ครูคำ� สอนมีความต้องการการนิเทศภาพรวมอยู่ ในระดับมาก มีเพียง 2 ตัวชี้วัดเท่านั้นที่ ความต้องการการนิเทศอยู่ในระดับปานกลาง ซึ่งเป็นล�ำดับท้ายๆ ของความต้องการด้านนี้ โดยเรียงล�ำดับจากมากไปหาน้อยดังนี้ ล�ำดับ ที่ 1 การประเมินตามสภาพจริง การที่ครู ค�ำสอนมีความต้องการทีจ่ ะได้รบั การนิเทศเรือ่ ง การประเมินตามสภาพจริงอยู่ในระดับมากนั้น เป็นเพราะครูเคยมีประสบการณ์การประเมิน ในแบบต่ า งๆ มาแล้ ว และเห็ น ว่ า การ ประเมิ น ตามสภาพจริ ง จะช่ ว ยให้ เ ห็ น ผล สัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ของผู้เรียนได้อย่างถูก ต้อง ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของ สุรินดา บรรจงรั ก ษา (2548:บทคั ด ย่ อ ) เรื่ อ ง ประสิทธิผลของการประเมินตามสภาพจริงใน กระบวนการเรียนรู้วิชาภาษาไทยของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ที่พบว่านักเรียนที่ได้
ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2016/2559 181
ศึกษาความคิดเห็นและความต้องการการนิเทศของครูคำ�สอนเพื่อพัฒนาการจัดการเรียนการสอน และการจัดกิจกรรมในโรงเรียนคาทอลิก
รับการเรียนรู้ภาษาไทยโดยวิธีธรรมชาติบูรณา การกับการประเมินตามสภาพจริงมีความเข้าใจ ในการอ่านภาษาไทยหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ส่วน นักเรียนที่ได้รับการเรียนรู้ภาษาไทยโดยวิธี ธรรมชาติบรู ณาการกับการประเมินตามสภาพ จริงมีความสามารถในการเขียนหลังเรียนสูง กว่ า ก่ อ นเรี ย นอย่ า งมี นั ย ส� ำ คั ญ ทางสถิ ติ ที่ ระดับ .01 และนักเรียนที่ได้รับการเรียนรู้ ภาษาไทยแบบธรรมชาติ บู ร ณาการกั บ การ ประเมินตามสภาพจริงมีความพึงพอใจในการ เรียนภาษาไทยอยู่ในระดับมาก ล�ำดับที่ 2 การจัดเก็บข้อมูลการวัดและประเมินผลอย่างมี ระบบ ในงานสอนค�ำสอนครูค�ำสอนค�ำนึงถึง การจัดเก็บข้อมูลของผู้เรียน ซึ่งเป็นส่วนที่ ส�ำคัญของขัน้ ตอนการเจริญเติบโตฝ่ายวิญญาณ ของผูเ้ รียนตลอดชีวติ และเป็นส่วนทีส่ ำ� คัญต่อ ผู้เรียนและผู้สอนในการปรับปรุงประสิทธิภาพ การเรี ย นการสอนต่ อ ไปในอนาคตด้ ว ย สอดคล้องการงานวิจยั ของ วราภรณ์ แสงพล สิทธิ์ (2554:บทคัดย่อ) เรื่องความต้องการ การนิเทศการสอนของครูเครือข่ายโรงเรียนอัส สัมชัญแผนกประถม พบว่า ครูต้องการการ นิ เทศด้ า นการวัดและการประเมินผลอยู่ใน ระดับมาก ล�ำดับที ่ 3 เทคนิควิธกี ารวัดและ การประเมินผลให้เหมาะสมกับผู้เรียนตามวัย ต่างๆ ในการสอนค�ำสอน ครูคำ� สอนต้องพบ
182 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
กั บ ผู ้ เรี ย นหลายวั ย ด้ ว ยกั น อาจท� ำ ให้ เ กิ ด ค� ำ ถามว่ า จะใช้ เ ทคนิ ควิ ธีใดในการประเมิ น ผู้เรียนให้เหมาะสมกับผู้เรียนตามวัยต่าง ครู ค�ำสอนและผูเ้ กีย่ วข้องในการท�ำหน้าทีก่ ารสอน ค�ำสอนควรมีประสบการณ์ความรู/้ อบรม เพือ่ ให้ เข้ า ใจวิ ธี ก ารต่ า งๆ ในด้ า นการวั ด และ ประเมินผล และเทคนิควิธีวัดที่จะช่วยให้เกิด การพัฒนาทั้งในด้านครูค�ำสอนเอง ผู้เรียน และยังได้ปรับปรุงกระบวนการในการวัดและ ประเมินผลอีกด้วย สอดคล้องกับงานวิจยั ของ สุวิมล จิตฟุ้ง (2553:บทคัดย่อ) เรื่องการ พัฒนาบุคลากรเกีย่ วกับการวัดและประเมินผล ตามสภาพจริง โรงเรียนหนองแสงวิทยาเสริม อํ า เภอสมเด็ จ จั ง หวั ด กาฬสิ น ธุ ์ พบว่ า 1) หลังจากทีบ่ คุ ลากรครูได้พฒ ั นาตนเองตาม ความสมัครใจ ด้วยกลยุทธ์การฝึกอบรมการ ประชุมกลุ่มย่อยและการนิเทศแบบมีส่วนร่วม ในวงรอบที่ 1 ผลการดําเนินการด้านการฝึก อบรม ทําให้ผู้ร่วมวิจัยมีความรู้ ความเข้าใจ ในหลักการวัดและประเมินผลตามสภาพจริง ซึ่งพิจารณาจากการสังเกตและการทดสอบ ความรู้ที่ได้จากการฝึกอบรมของบุคลากรผ่าน เกณฑ์การประเมินทุกคน แต่ยงั มีบางขัน้ ตอน ทีก่ ลุม่ ผูร้ ว่ มวิจยั ยังไม่บรรลุจดุ มุง่ หมายของการ วิจยั คือ การสร้างและวิเคราะห์ แบบทดสอบ การสร้างตารางรูบริคสําหรับประเมินผู้เรียน การใช้แฟ้มสะสมงาน การส่งเสริมผู้เรียนใน
วัชศิลป์ กฤษเจริญ, สมชัย พิทยาพงศ์พร, ออกัสติน สุกิโย ปิโตโย, ธรรมรัตน์ เรือนงาม, เอกรัตน์ หอมประทุม, สุดหทัย นิยมธรรม และ ลลิตา กิจประมวล
การรวบรวม และคั ด เลื อ กผลงานในแฟ้ ม สะสมงานอย่างเป็นระบบ 2) กลุม่ ผูร้ ว่ มวิจยั จึงได้ประชุมปรึกษาหารือกันมติที่ประชุมให้ ดําเนินการพัฒนาบุคลากรในวงรอบที่ 2 ต่อ ไป กลุ ่ ม ผู ้ ร ่ ว มวิ จั ย จึ ง ร่ ว มกั น วางแผนการ พัฒนาในวงรอบที่ 2 โดยนํากิจกรรมเดิมใน วงรอบที่ 1 มาพั ฒ นาซ�้ ำ อี ก ครั้ ง เพื่ อ ให้ ผู้ร่วมศึกษาค้นคว้ามีผลการพัฒนาที่ดีขึ้นผล ปรากฏว่า ในวงรอบที ่ 2 นี ้ กลุม่ ผูร้ ว่ มวิจยั มีความรู้ความเข้าใจ มีทักษะ ในการปฏิบัติ งาน สามารถสร้างเครื่องข่ายความร่วมมือ สําหรับประเมินผู้เรียนและใช้เครื่องมือในการ วัดและประเมินผลตามสภาพจริงได้เป็นอย่างดี ข้อเสนอแนะ ข้อเสนอแนะจากการวิจัยในครั้งนี้ 1. ด้านการน�ำหลักสูตรไปใช้ ผูบ้ ริหาร ครูสอนค�ำสอน และผู้เกี่ยวข้องกับการสอน ค�ำสอนระดับสังฆมณฑล ร่วมกันวิเคราะห์ วิพากษ์ และประเมินผลการใช้หลักสูตรเพื่อ หาแนวทางการพัฒนาการสอนค�ำสอนให้บรรลุ เป้าหมาย สนับสนุนและส่งเสริมในการจัดท�ำ แผนการจัดการเรียนรู้อย่างเป็นระบบและรูป แบบเดียวกัน จัดท�ำหลักสูตรกลางทุกระดับ ชั้น พัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรให้มีความ ชัดเจน ง่ายต่อความเข้าใจ และน�ำไปใช้ใน ชีวิตประจ�ำวันได้จริง มีความทันสมัยเหมาะ
สมกับสังคมในยุคปัจจุบนั และเหมาะสมกับเด็ก ในช่วงวัยต่างๆ ตรงตามวัตถุประสงค์ 2. ด้ า นการจั ด การเรี ย นการสอน โรงเรียนคาทอลิกควรให้เวลาการสอนค�ำสอน ให้ ม ากขึ้ น บริ ห ารจั ด การเรื่ อ งเวลาเรี ย น ค�ำสอนให้สอดคล้องกับสภาพปัจจุบนั เพือ่ จะได้ จัดให้เด็กเตรียมตัวรับศีลศักดิ์สิทธิ์ต่างๆ ได้ อย่างดี จัดอบรมการสอนค�ำสอนแบบใหม่ๆ (เทคนิควิธีสอนแบบต่างๆ) ให้สอดคล้องกับ สภาพในปัจจุบนั และเหมาะสมกับผูเ้ รียนตาม วัย เพื่อบูรณาการไปใช้ในชีวิตได้ 3. ด้านการผลิตและการใช้สื่อ โดย ผู ้ บ ริ ห ารควรส่ ง เสริ ม และสนั บ สนุ น ให้ ค รู ค�ำสอนพัฒนาศักยภาพของตนเองในการจัดท�ำ สื่อการเรียนการสอนและก�ำหนดสื่อการเรียน การสอนให้สอดคล้องกับกิจกรรมการเรียนรู้ เพื่ อ ให้ ก ารจั ด การเรี ย นการสอนบรรลุ ต าม วัตถุประสงค์ โดยเฉพาะการน�ำนวัตกรรมและ เทคโนโลยีทางคอมพิวเตอร์ที่สอดคล้องและ เหมาะสมกับเนื้อหา เพื่อเสริมประสบการณ์ การเรียนรู้แก่ผู้เรียน 4. ด้ า นการวั ด และการประเมิ น ผล จั ด หาแนวทางหรื อ รู ป แบบในการวั ด และ ประเมินผลเป็นระบบอย่างชัดเจนให้เหมาะสม กับผู้เรียนในแต่ละวัยและกับท้องถิ่นอย่างมี คุณภาพ ควรใช้เครื่องมือวัดผลและประเมิน ผลทีห่ ลากหลายและประเมินผลตามสภาพจริง
ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2016/2559 183
ศึกษาความคิดเห็นและความต้องการการนิเทศของครูคำ�สอนเพื่อพัฒนาการจัดการเรียนการสอน และการจัดกิจกรรมในโรงเรียนคาทอลิก
โดยพิจารณาจากพัฒนาการของผูเ้ รียน และที่ ส�ำคัญครูควรน�ำผลจากการวัดและประเมินผล การเรียนรู้ของผู้เรียนไปปรับปรุง เพื่อพัฒนา กระบวนการจัดการเรียนการสอนในโอกาสต่อ ไป 5. วิทยาลัยแสงธรรม ควรมีการน�ำผล การวิจัยนี้ไปปรับปรุงและพัฒนารูปแบบการ ด�ำเนินการบริการวิชาการร่วมกับผู้ที่เกี่ยวข้อง กับงานค�ำสอนของแต่ละสังฆมณฑล ในการ จัดการนิเทศครูคำ� สอนในด้านต่างๆ เพือ่ ตอบ สนองต่อความต้องการของพระศาสนจักรให้ มากที่สุดและตรงตามวัตถุประสงค์ของผู้เข้า ร่วมบริการวิชาการอย่างแท้จริง รายการอ้างอิง คณะกรรมการที่ ป รึ ก ษาด้ า นกฎหมายพระ ศาสนจัก ร ภายใต้สภาพระสังฆราช คาทอลิกแห่งประเทศไทย. (2543). ประมวลกฎหมายพระศาสนจั ก ร บรรพ 3 หน้ า ที่ ก ารสอนของพระ ศ า ส น จั ก ร . กรุ ง เทพมหานคร: โรงพิมพ์อัสสัมชัญ. คณะกรรมการคาทอลิกเพื่อคริสตศาสนธรรม แผนกคริสตศาสนธรรม ภายใต้สภา พระสังฆราชคาทอลิกแห่งประเทศไทย. (2549). คู่มือแนะแนวทั่วไปส�ำหรับ การสอนค�ำสอน. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์อัสสัมชัญ. 184 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
_________. (2553). คู่มือแนะแนวการ ส อ น ค� ำ ส อ น ใ น ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย . กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์อัสสัมชัญ. ประวัติการศึกษาคาทอลิกในประเทศไทย. [ออนไลน์ ] . เข้ า ถึ ง เมื่ อ วั น ที่ 16 กั น ยายน 2558. เข้ า ถึ ง ได้ จ าก: http://haab.catholic.or.th/history/ education/edu1/edu1.html. ปัญหาการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทางการ ศึกษาของครู. [ออนไลน์]. เข้าถึงเมือ่ วันที่ 11 กรกฎาคม 2559. เข้าถึง ได้จาก: https://amtasanee.word press.com. ลลิตา กิจประมวล. (2556). อนาคตภาพ หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขา วิชาคริสตศาสนศึกษา วิทยาลัยแสง ธรรม ในทศวรรษหน้า (พ.ศ. 2557 -2566). วิทยานิพนธ์ศกึ ษาศาสตรมหา บั ณ ฑิ ต สาขาวิ ช าหลั ก สู ต รและการ นิเทศ มหาวิทยาลัยศิลปากร นครปฐม. วรพจน์ วงศ์กิจรุ่งเรืองและอธิป จิตตฤกษ์. (2554). ทักษะแห่งอนาคตใหม่: การ ศึกษาเพื่อศตวรรษที่ 21 แปลจาก 21st Century Skills: Rethinking How Students Learn. กรุงเทพฯ ส�ำนักพิมพ์ openworlds.
วัชศิลป์ กฤษเจริญ, สมชัย พิทยาพงศ์พร, ออกัสติน สุกิโย ปิโตโย, ธรรมรัตน์ เรือนงาม, เอกรัตน์ หอมประทุม, สุดหทัย นิยมธรรม และ ลลิตา กิจประมวล
วราภรณ์ แสงพลสิ ท ธิ์ . (2555). ความ ต้องการการนิเทศการสอนของครูเครือ ข่ายโรงเรียนอัสสัมชัญแผนกประถม. กรุงเทพฯ. โรงเรียนอัมสัมชัญ. วัชรา เล่าเรียนดี. (2556). นิเทศการสอน. พิมพ์ครั้งที่ 5. นครปฐม: โครงการ ส่งเสริมการผลิตต�ำราและเอกสารการ สอน คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัย ศิลปากร. วีระ อาภรณ์รัตน์. (2551). แนวทางและ อัตลักษณ์ครูสอนคริสตศาสนธรรม. กรุงเทพฯ: ปิติพานิช. ศิรวิ รรณ วณิชวัฒนวรชัย. (2558). วิธสี อน ทัว่ ไป. นครปฐม: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัย ศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนาม จันทร์. สมณกระทรวงว่าด้วยเรื่องพระสงฆ์. (2540). คู่มือแนะแนวทั่วไปส�ำหรับการสอน ค�ำสอน. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ อัสสัมชัญ. สายสุดา ปั้นตระกูล และคณะ. (2555). การศึ ก ษาสภาพการใช้ เ ทคโนโลยี สารสนเทศในการเรียนการสอนระดับ อนุบาล ในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพ- มหานคร. กรุงเทพฯ. มหาวิทยาลัย ราชภัฏสวนดุสิต.
สุภัทรา จิตร์เพ่ง. (2549). การนิเทศแบบ คลิ นิ ก เพื่ อ พั ฒ นาสมรรถภาพการจั ด กิจกรรมแนะแนวของครูประถมศึกษา. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิ ช าหลั ก สู ต รและการนิ เ ทศ มหาวิทยาลัยศิลปากร นครปฐม. สุรนิ ดา บรรจงรักษา. (2548). ประสิทธิผล ของการประเมิ น ตามสภาพจริ ง ใน กระบวนการวิ ช าภาษาไทยของ นั ก เรี ย นชั้ น ประถมศึ ก ษาปี ที่ 5. กรุ ง เทพฯ: บั ณ ฑิ ต วิ ท ยาลั ย มหา วิทยาลัยศรีนครินทรวีโรฒ. สุวมิ ล จิตฟุง้ . (2553). การพัฒนาบุคลากร เกี่ยวกับการวัดและประเมินผลตาม สภาพจริง โรงเรียนหนองแสงวิทยา เ ส ริ ม อํ า เ ภ อ ส ม เ ด็ จ จั ง ห วั ด กาฬสิ น ธุ ์ . บั ณ ฑิ ต วิ ท ยาลั ย มหา วิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ. กรุงเทพฯ Burton William and Bruckner. L.J, (1955). Supervision. New York: Appleton-Century Century Crofits. Carl D.Gilckman, Stephen P.Gordon, Jovita M.Ross-Gordon. (2001). Supervision and Instructional Leadership A Development Approach.
ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2016/2559 185
ศึกษาความคิดเห็นและความต้องการการนิเทศของครูคำ�สอนเพื่อพัฒนาการจัดการเรียนการสอน และการจัดกิจกรรมในโรงเรียนคาทอลิก
Glatthorn, Allan A. (1984). Differen tiate Abstract International. Washington D.C.: Association of Supervision and Curriculum Development. Glickman, Carl D. Stephen, P.Gordon, and Jovita, M. Ross-Gordon. (1990). Supervision of Instruc tion: A Developmental Ap proach. 2nd ed. Massachusetts: Allyn and BaconInc. _________. (2004). Supervision and Instructional Leadership : A Developmental Approach. 6th ed. Boston: Allyn and Bacon, Inc Spear, Harold. (1967). Improving the Supervision Of Instruction. New York: Prentice-Hall Inc.
186 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
วารสารวิชาการ
วิทยาลัยแสงธรรม
Saengtham College Journal
ใบสมัครสมาชิก วารสารวิชาการวิทยาลัยแสงธรรม สมาชิกในนาม............................................................................................................................ ที่อยู่ (สำ�หรับจัดส่งวารสารวิชาการ) เลขที่.................................ถนน......................................... แขวง/ตำ�บล......................................เขต/อำ�เภอ......................................................................... จังหวัด..............................................................รหัสไปรษณีย์.................................................... โทรศัพท์........................................................................โทรสาร............................................... มีความประสงค์สมัครเป็นสมาชิก วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม 1 ปี (2 ฉบับ) อัตราค่าสมาชิก 200 บาท วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม 2 ปี (4 ฉบับ) อัตราค่าสมาชิก 400 บาท วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม 3 ปี (6 ฉบับ) อัตราค่าสมาชิก 500 บาท ชำ�ระเงินโดยวิธี ธนาณัติ (สั่งจ่าย “บาทหลวงอภิสิทธิ์ กฤษเจริญ”) ปณ.อ้อมใหญ่ 73160 โอนเงินเข้าบัญชีออมทรัพย์ ธนาคารกรุงไทย สาขาสามพราน ชื่อบัญชี “วารสารวิชาการวิทยาลัยแสงธรรม” เลขที่บัญชี 734-0-27562-2 (พร้อมส่งเอกสารการโอนมาที่ โทรสาร 02-429-0819) ที่อยู่ที่ต้องการให้ออกใบเสร็จรับเงิน ตามที่อยู่ที่จัดส่ง ที่อยู่ใหม่ในนาม........................................................................................................... เลขที่.........................ถนน..............................................แขวง/ตำ�บล........................... เขต/อำ�เภอ.............................จังหวัด................................รหัสไปรษณีย์......................
.............................................(ลงนามผู้สมัคร) วันที่...............................................
ส่งใบสมัครมาที่ : ศูนย์วิจัยค้นคว้าศาสนาและวัฒนธรรม วิทยาลัยแสงธรรม 20 หมู่ 6 ต.ท่าข้าม อ.สามพราน จ.นครปฐม 73110 หรือที่โทรสาร 02-429-0819
รูปแบบและเงื่อนไขการส่งต้นฉบับบทความ
www.saengtham.ac.th/journal
1. เป็นบทความวิชาการ บทวิจารณ์หนังสือ และบทความปริทัศน์ ด้านปรัชญา ศาสนา เทววิทยา และการศึกษาคาทอลิก ที่ยังไม่เคยเผยแพร่ในเอกสารใดๆ 2. การพิมพ์ผลงานทางวิชาการควรจัดพิมพ์ด้วย Microsoft Word for Windows หรือซอฟท์แวร์ อื่นที่ใกล้เคียงกัน พิมพ์บนกระดาษขนาด A4 หน้าเดียว ประมาณ 28 บรรทัด ต่อ 1 หน้า TH SarabunPSK ขนาดของตัวอักษรเท่ากับ 16 และใส่เลขหน้าตั้งแต่ต้นจนจบบทความ 3. ต้องมีชื่อเรื่องบทความทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 4. ให้ข้อมูลเกี่ยวกับผู้เขียนบทความทุกคน ได้แก่ ชื่อ-นามสกุลของผู้เขียน หน่วยงานที่สังกัด ต�ำแหน่ง ทางวิชาการ (ถ้ามี) E-mail หรือโทรศัพท์ หากเป็นวิทยานิพนธ์ ต้องมีชื่อและสังกัดของอาจารย์ ที่ปรึกษาด้วย ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 5. ทุ ก บทความจะต้ อ งมี บ ทคั ด ย่ อ ภาษาไทย และ Abstract จะต้ อ งพิ ม พ์ ค� ำ ส� ำ คั ญ ในบทคั ด ย่ อ ภาษาไทย และพิมพ์ Keywords ใน Abstract ของบทความด้วย 6. บทความวิจัยความยาวไม่เกิน 12 หน้า บทความวิชาการความยาวไม่เกิน 8 หน้า (รวมบรรณานุกรม แล้ว) 7. เชิงอรรถอ้างอิง (ถ้ามี) 8. บรรณานุกรมตามมาตรฐาน APA แยกผลงานภาษาไทยและภาษาอังกฤษ (เรียงตามล�ำดับตัวอักษร) 9. บทความวิจัยควรมีหัวข้อดังนี้ ชื่อเรื่องบทความวิจัย (ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ) ชื่อผู้เขียนพร้อม ข้อมูลส่วนตัวของทุกคน (รายละเอียดตามข้อ 4) บทคัดย่อภาษาไทย และ Abstract ความส�ำคัญ ของเนื้อหา วัตถุประสงค์ สมมติฐานของการวิจัย ประโยชน์ที่ได้รับ ขอบเขตการวิจัย นิยามศัพท์ (ถ้ามี) วิธีการด�ำเนินการ ผลการวิจัย ข้อเสนอแนะ และบรรณานุกรรม/References 10. ค่ า ใช้ จ ่ า ยในการตรวจประเมิ น จ� ำ นวน 2,400 บาท โดยโอนเงิ น เข้ า บั ญ ชี อ อมทรั พ ย์ ธนาคาร กรุงไทย สาขาสามพราน ชื่อบัญชี “วารสารวิชาการวิทยาลัยแสงธรรม” เลขที่บัญชี 734-0-27562-2 (พร้อมส่งเอกสารการโอนมาที่ Fax. 02-429-0819) หรือที่ E-mail: rcrc.saengtham2016@ gmail.com) ทั้งนี้ค่าใช้จ่ายดังกล่าวผู้ส่งบทความเป็นผู้รับผิดชอบ และจะไม่ได้รับคืนในทุกกรณี 11. กองบรรณาธิ ก ารน� ำ บทความที่ ท ่ า นส่ ง มาเสนอต่ อ ผู ้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ เ พื่ อ ประเมิ น คุ ณ ภาพความ เหมาะสมของบทความก่อนการตีพิมพ์ ในกรณีที่ผลการประเมินระบุให้ต้องปรับปรุงหรือแก้ไข ผู้เขียน จะต้องด�ำเนินการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลา 15 วัน นับจากวันที่ได้รับผลการประเมินบทความ หากท่ า นต้ อ งการสอบถามกรุ ณ าติ ด ต่ อ กั บ กองบรรณาธิ ก ารวารสารวิ ช าการ โทร. 02-429-0100 โทรสาร 02-429-0819 หรือ E-mail: rcrc.saengtham2016@gmail.com
ขั้นตอนการจัดทำ�
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม Saengtham College Journal
เริ่มต้น ประกาศรับบทความต้นฉบับ รับบทความต้นฉบับ แก้ไข กองบก. ตรวจรูปแบบทั่วไป
ไม่ผ่าน
แจ้งผู้เขียน
ผ่าน ส่งผู้ทรงคุณวุฒิ ข
ก้ไ อ้ งแ
ผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาบทความ ผ่าน กองบรรณาธิการแจ้งยืนยัน การรับบทความ จัดพิมพ์เผยแพร่ จบ
ไม่ผ่าน
แจ้งผู้เขียน
ไม่ต
แก้ไ
ข
แจ้งผู้เขียน แก้ไข
จบ