วารสารวิชาการวิทยาลัยแสงธรรม ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน 2560

Page 1


วารสารวิชาการ

วิทยาลัยแสงธรรม

Saengtham College Journal

ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2017/2560

วัตถุประสงค์ 1. เป็นเวทีเผยแพร่ผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการของคณาจารย์ทั้งในและนอก วิทยาลัย ตลอดจนนักวิชาการอิสระ 2. เชื่อมโยงโลกแห่งวิชาการ และเผยแพร่องค์ความรู้ทางปรัชญา ศาสนา เทววิทยา และการศึกษา ให้เกิดประโยชน์แก่ชุมชนและสังคมส่วนรวม 3. ส่งเสริมและกระตุ้นให้เกิดการวิจัย และพัฒนาองค์ความรู้ทางด้านปรัชญา ศาสนา เทววิทยา และการศึกษา เพิ่มมากขึ้น เจ้าของ บาทหลวง ผศ.ดร.ชาติชาย พงษ์ศริ ิ บาทหลวง เดชา อาภรณ์รัตน์ บรรณาธิการ บาทหลวง ผศ.ดร.อภิสิทธิ์ กฤษเจริญ กองบรรณาธิการ รศ.ดร.ไพศาล หวังพานิช รศ.ดร.สมเจตน์ ไวยาการณ์ ผศ.ประเสริฐ วิเศษกิจ ดร.อาทิพย์ สอนสุจิตรา ผศ.ดร.ลัดดาวรรณ์ ประสูตร์แสงจันทร์ อาจารย์พรี พัฒน์ ถวิลรัตน์ อาจารย์สุดหทัย นิยมธรรม นางสาวสุกานดา วงศ์เพ็ญ

ในนามอธิการบดีวิทยาลัยแสงธรรม ในนามเลขาธิการสภาการศึกษาคาทอลิก แห่งประเทศไทย ในนามผู้อ�ำนวยการศูนย์วิจัยค้นคว้าศาสนา และวัฒนธรรม วิทยาลัยแสงธรรม มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล วิทยาลัยเซนต์เทเรซา ฝ่ายการศึกษา อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ มูลนิธิเซนต์คาเบรียล ดร.ทิพอนงค์ รัชนีลัดดาจิต อาจารย์ศรัญญู พงศ์ประเสริฐสิน นางสาวจิตรา กิจเจริญ

ก�ำหนดเผยแพร่ : ปีละ 2 ฉบับๆ ละ 100 บาท (ฉบับที่ 1 ม.ค.-มิ.ย. ฉบับที่ 2 ก.ค.-ธ.ค.) สถานที่ออกแบบและจัดพิมพ์ : ศูนย์วิจัยค้นคว้าศาสนาและวัฒนธรรม วิทยาลัยแสงธรรม ออกแบบปก/รูปเล่ม : นางสาวสุกานดา วงศ์เพ็ญ พิสูจน์อักษร : อาจารย์สุดหทัย นิยมธรรม

วารสารวิชาการวิทยาลัยแสงธรรม

ได้ผ่านการประเมินคุณภาพวารสาร จากศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (TCI) รอบที่ 3 (ปีพ.ศ.2558-2562)

โดยจัดอยู่ในกลุ่ม 1

เป็นวารสารที่ผ่านการรับรองคุณภาพของ TCI และอยู่ในฐานข้อมูล TCI และจะถูกคัดเลือกเข้าสู่ฐานข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI) ต่อไป


รายนามคณะที่ปรึกษากองบรรณาธิการ

Editorial Advisory Board

ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก 1. บาทหลวง ศ.ดร.วชิระ น�ำ้ เพชร, S.J. 2. ศ.กีรติ บุญเจือ 3. ศ.ดร.เดือน ค�ำดี 4. ศ.ดร.สมภาร พรมทา 5. รศ.ดร.สุมาลี จันทร์ชะลอ 6. รศ.ดร.มณฑา เก่งการพานิช 7. ผศ.ดร.ชาญณรงค์ บุญหนุน 8. ผศ.ดร.วรยุทธ ศรีวรกุล

Sophia University, Japan ราชบัณฑิต คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร คณะปรัชญาและศาสนา มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ

ผู้ทรงคุณวุฒิภายใน 1. มุขนายก ดร.ลือชัย ธาตุวิสัย 3. บาทหลวง ดร.ออกัสติน สุกีโย ปิโตโย, S.J. 5. บาทหลวง ดร.เชิดชัย เลิศจิตรเลขา, M.I. 7. บาทหลวง ดร.สุรชัย ชุ่มศรีพันธ์ุ 9. ผศ.ดร.ลัดดาวรรณ์ ประสูตร์แสงจันทร์

2. บาทหลวง ผศ.ดร.ชาติชาย พงษ์ศริ ิ 4. บาทหลวง ผศ.ดร.ฟรังซิส ไกส์, S.D.B. 6. บาทหลวง ผศ.ดร.ไพยง มนิราช 8. ภคินี ดร.ชวาลา เวชยันต์ 10. ดร.ทิพอนงค์ รัชนีลัดดาจิต

ลิขสิทธิ์ ต้นฉบับทีไ่ ด้รบั การตีพมิ พ์ในวารสารวิชาการวิทยาลัยแสงธรรม  ถือเป็นกรรมสิทธิข์ องวิทยาลัย แสงธรรม ห้ามน�ำข้อความทัง้ หมดไปตีพมิ พ์ซำ  �้ ยกเว้นได้รบั อนุญาตจากวิทยาลัยแสงธรรม ความรับผิดชอบ เนือ้ หาและข้อคิดเห็นใดๆ ทีต่ พี มิ พ์ในวารสารวิชาการวิทยาลัยแสงธรรม  ถือเป็นความรับผิดชอบ ของผูเ้ ขียนเท่านัน้


รายนามผู้ทรงคุณวุฒิผู้ประเมินบทความ

(Peer Review) ประจำ�ฉบับ

ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2017/2560 ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก 1. ศ.กีรติ บุญเจือ 2. รศ.ดร.สุมาลี จันทร์ชะลอ 3. รศ.ดร.มณฑา เก่งการพานิช 4. รศ.ดร.ประเวศ อินทองปาน 5. ผศ.ดร.ประเสริฐ อินทรักษ์ 6. ผศ.ดร.ไชยยศ ไพวิทยศิริธรรม 7. ผศ.สุวดิ า ธรรมมณีวงศ์ 8. ดร.สุภาวดี นัมคณิสรณ์ 9. ดร.ประทีป ฉัตรสุภางค์

ผู้ทรงคุณวุฒิภายใน 1. บาทหลวง ผศ.ดร.ชาติชาย พงษ์ศิริ 2. บาทหลวง ผศ.ดร.อภิสิทธิ์ กฤษเจริญ 3. บาทหลวง ผศ.ดร.ฟรังซิส ไก้ส์ 4. บาทหลวง ผศ.ดร.วุฒิชัย อ่องนาวา 5. บาทหลวง ดร.พิเชฐ แสงเทียน 6. บาทหลวง เจริญ ว่องประชานุกูล 7. บาทหลวงสมเกียรติ ตรีนิกร 8. บาทหลวงเชษฐา ไชยเดช 9. ผศ.ดร.ลัดดาวรรณ์ ประสูตร์แสงจันทร์

ราชบัณฑิต คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร คณะปรัชญาและศาสนา มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

คณะมนุษยศาสตร์ วิทยาลัยแสงธรรม คณะมนุษยศาสตร์ วิทยาลัยแสงธรรม คณะศาสนศาสตร์ วิทยาลัยแสงธรรม คณะมนุษยศาสตร์ วิทยาลัยแสงธรรม คณะมนุษยศาสตร์ วิทยาลัยแสงธรรม คณะมนุษยศาสตร์ วิทยาลัยแสงธรรม คณะศาสนศาสตร์ วิทยาลัยแสงธรรม คณะศาสนศาสตร์ วิทยาลัยแสงธรรม คณะศาสนศาสตร์ วิทยาลัยแสงธรรม

วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม มีความยินดีรับบทความวิจัย บทความวิชาการ บทวิจารณ์หนังสือ และบทความปริทัศน์ด้านปรัชญา ศาสนา เทววิทยา และการศึกษาคาทอลิก ที่ยังไม่เคยเผยแพร่ในเอกสารใดๆ โดยส่งบทความมาที่ ผู้อ�ำนวยการศูนย์วิจัยค้นคว้าศาสนาและ วัฒนธรรม วิทยาลัยแสงธรรม เลขที่ 20 ม.6 ต.ท่าข้าม อ.สามพราน จ.นครปฐม 73110 กองบรรณาธิการวารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม จะส่งบทความให้แก่ผทู้ รงคุณวุฒทิ าง วิชาการเพือ่ ประเมินคุณภาพบทความว่าเหมาะสมส�ำหรับการตีพมิ พ์หรือไม่ หากท่านสนใจกรุณา ดูรายละเอียดรูปแบบการส่งต้นฉบับได้ท่ี www.saengtham.ac.th/journal


บทบรรณาธิ ก าร Saengtham college Journal วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน 2017/2560

วารสารวิชาการวิทยาลัยแสงธรรมฉบับนี้  ขอน�ำเสนอบทความในด้านปรัชญา  ศาสนา  เทววิทยา

และการศึกษา  ประกอบไปด้วย บทความวิชาการจ�ำนวน  3  บทความได้แก่  เรือ่ งการสานเสวนาตามแนวคิดของกาดาเมอร์: การศึกษาเชิงวิพากษ์  โดย  ดร.สมบัต ิ พรศิรเิ จริญพันธ์  เรือ่ งความเร่งด่วนทีเ่ รียกร้องการส่งเสริม จิตภาวนาของคริสตชน  และการตอบสนองของพระศาสนจักรคาทอลิกในประเทศไทย  ในสมัย ปัจจุบัน  โดย  บาทหลวง  ผศ.สมชัย  พิทยาพงศ์พร  และเรื่องลักษณะและงานของบุคคลใน พระธรรมเอสเธอร์  โดย  ศาสนาจารย์  ดร.โฟลเรียน  เฟอร์ก  และศาสนาจารย์  ดร.ซิง  ซึง  ยอม บทความวิจัยจากบุคคลภายนอกจ�ำนวน  4  เรื่อง  ได้แก่  งานวิจัยเรื่องการจัดกิจกรรมการ เรียนรูแ้ บบร่วมมือ  โดยบูรณาการนิทานสร้างสานคุณธรรม  ในรายวิชาจริยศึกษา  เพือ่ ส่งเสริม พฤติกรรมความซื่อสัตย์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่  1  โดย  จินตนา  ศรีดาวเดือน  และ ดร.สุทธิพงศ์  บุญผดุง  เรื่องการตั้งถิ่นฐานและพัฒนาการของชุมชนคาทอลิกหัวไผ่  โดย  วิสัณห์ วงษ์แก้ว  รศ.ภารดี  มหาขันธ์  และบาทหลวง  ดร.สุรชัย  ชุ่มศรีพนั ธุ์  เรือ่ งคุณธรรมการบริหารงาน บุคคลของผู้บริหารโรงเรียนคาทอลิก  สังกัดอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ  โดย  รดีพร  ลพสัตถยุทธ ผศ.ดร.พิมพ์ประภา  อมรกิจภิญโญ  และบาทหลวง  ดร.วิทยา  คู่วริ ตั น์  และเรือ่ งอัตลักษณ์โรงเรียน คาทอลิกในอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ  ที่เป็นพลวัตร  ตามนโยบายของสภาการศึกษาคาทอลิก แห่งประเทศไทย  โดย  บาทหลวง  ฉลองรัฐ  สังขรัตน์  บาทหลวง  ดร.ออกัสติน  สุกิโย  ปิโตโย, S.J.  ผศ.ดร.สิทธิพร  นิยมศรีสมศักดิ์  และ  ผศ.ดร.สมโภชน์  อเนกสุข  และบทความวิจัยจากภายใน จ�ำนวน  3  เรื่องได้แก่  เรื่องความเป็นไปได้ที่จะประยุกต์ใช้จริยศาสตร์เชิงกรณี  เพื่อการอภิบาล ด้ า นศี ล ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์   ส� ำ หรั บ คู ่ แ ต่ ง งานคาทอลิ ก ที่ ห ย่ า ร้ า งและแต่ ง งานใหม่   โดย  อุ ด มศั ก ดิ์ ว่องประชานุกูล  บาทหลวง  ดร.เชิดชัย  เลิศจิตรเลขา,  M.I.  และ  ผศ.ดร.ลัดดาวรรณ์  ประสูตร์แสงจันทร์  เรือ่ งปัจจัยทีเกีย่ วข้องกับการอบรมเรือ่ งเพศของคูแ่ ต่งงานคาทอลิก  ชาวปกาเกอะญอ โดย  ชูพงษ์  เชวงชาติตระกูล  บาทหลวง  ดร.พิเชฐ  แสงเทียน,  S.J.  และ  ผศ.ดร.ลัดดาวรรณ์ ประสูตร์แสงจันทร์  และเรือ่ งระบบและกลไกการบริหารจัดการหลักสูตรการพัฒนาภาวะผูน้ ำ� การ ศึกษาคาทอลิก  โดย  บาทหลวง  ผศ.ดร.ชาติชาย  พงษ์ศิริ  บาทหลวง  ผศ.ดร.วัชศิลป์  กฤษเจริญ บาทหลวง  ผศ.วสันต์  พิรฬุ วงศ์,  C.S.S.  บาทหลวง  ดร.พิเชฐ  แสงเทียน,  S.J.  และ  อาจารย์ศรัญญู พงศ์ประเสริฐ กองบรรณาธิการ  วารสารวิชาการวิทยาลัยแสงธรรม  ขอขอบพระคุณผู้ทรงคุณวุฒิทุกท่าน ที่กรุณาให้ความอนุเคราะห์ประเมินบทความต่างๆ  ท�ำให้วารสารของเราเป็นเวทีเผยแพร่ผลงานที่ได้ คุณภาพ  และหวังว่า  บทความต่างๆ  ภายในเล่มนี้จะก่อเกิดประโยชน์ส�ำหรับผู้อ่านทุกท่าน บรรณาธิการ มิถุนายน 2560



การสานเสวนาตามแนวคิดของกาดาเมอร์: การศึกษาเชิงวิพากษ์

Gadamer on Dialogue: A Critical Study.

1

ดร.สมบัติ พรศิริเจริญพันธ์ * อาจารย์วิทยาลัยแสงธรรม Dr.Sombat Pornsiricharoenpan * Lecturer at Saengtham College.

This academic paper is a partial summary of the researcher’s Ph.D. Dissertation, “Gadamer on Dialogue: A Critical Study” that has submitted the final version on the 8th August 2014 to the Assumption University, Bangkok in partial fulfilment of the requirement for the degree of Doctor of Philosophy in Philosophy. Advisor: Dr. Roman Meinhold and Co-advisor: Prof. Dr. Gerhold K. Becker. Contact mobile number of researcher: 08-4321-6222. 1


การสานเสวนาตามแนวคิดของกาดาเมอร์: การศึกษาเชิงวิพากษ์

บทคัดย่อ

แม้ว่าทัศนะคติตามแนวประเพณีปฏิบัติที่มองการสานเสวนา เป็น  “เทคนิค”  (มีคณ ุ ค่าในฐานะเป็นเครือ่ งมือ)  ยังเป็นส่วนส�ำคัญอยู่ แต่ถอื ว่าไม่เพียงพอ  เนือ่ งจากการสานเสวนาอาจถูกปฏิเสธได้หากผูร้ ว่ ม เสวนาไม่ไว้วางใจเจตนาของผู้ใช้กิจกรรมสานเสวนาเป็นเครื่องมือ  การ สานเสวนาตามแนวคิดของฮันส์กอี อร์ก  กาดาเมอร์ทเี่ น้นเฮอร์เมนูตกิ ส์ เชิงปรัชญาช่วยให้หยัง่ รูภ้ าวะมิตขิ องการสานเสวนาและการเข้าใจทีม่ ตี อ่ ชีวิตและประสบการณ์ของมนุษย์ในโลก  ซึ่งแตกต่างจากทัศนะคติและ แนวทางตามประเพณีปฏิบัติ  ผู้วิจัยได้ใช้ความหยั่งรู้นี้เป็นพื้นฐาน ก�ำหนดลักษณะของการสานเสวนาที่แท้จริงซึ่งมีคุณค่าในตัวมันเอง (คุณค่าภายในแก่นแท้)  ตามบริบทนี้ภารกิจส�ำคัญล�ำดับแรกของการ ปฏิบัติสานเสวนาได้ย้ายจากการท�ำหน้าที่เป็นเทคนิคหรือเครื่องมือ ไปสู่การแสวงหาเพื่อเข้าใจความหมายส�ำคัญและความจริงที่หัวข้อ สานเสวนากล่าวอ้างโดยผ่านทางความสัมพันธ์เกี่ยวข้องระหว่างบุคคล ค�ำส�ำคัญ:

Abstract

2

1)  วิธีวิทยานิยม 2)  เฮอร์เมนูติกส์เชิงปรัชญา 3)  ปุจฉา - วิสัชนาแนวโสกราติส

Engaging in dialogue with traditional attitude and perceiving it as a technique (or having instrumental value) is required, but not sufficient, because dialogue itself may be denied if one distrusts the other interlocutors who intentionally use dialogue according to his/her own will (subjectivity) alone. The notion of dialogue according to philosophical hermeneutics of Hans-Georg Gadamer (1900-2002) illuminates an alternative insight, apart from traditional attitude and approach, upon the ontological

วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม


สมบัติ พรศิริเจริญพันธ์

mode of dialogue and understanding toward human life and experience in the world. The researcher uses this insight as a platform to construct the essential characteristics of genuine dialogue that has value in itself (or having intrinsic value). In this context, the primary task of practicing dialogue has shifted from functioning as a technique under the influence of certain methodologies (methodical approach) to seeking for understanding of the substantive meaning and truth that is claimed by the subject matter of dialogue through inter-subjective involvement. Keywords:

1)  Methodologism 2)  Philosophical Hermeneutics 3)  Socratic Dialectic

I. The Characteristics of Inauthentic Dialogue and Its Negative Consequences 1.1 Background: We can observe a rapid increasing attention and a constant calling for sincere and constructive dialogue among its proponents as a means of conflict resolution. All around the world, hatred and distrust for each other is not the only root that devalues dialogical movement, but also fundamentalism, exclu-

sivism, radicalism and fanaticism which lead its followers to stand against and refute dialogical participation. Why? Because each one holds on to one’s own assumption, belief and opinion as a necessity; each necessity creates powerful impulse till it becomes an absolute necessity, and finally it ends up with a conflict of different absolute necessities among each other (Cf. Bohm, 1996: 22).

ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2017/2560

3


การสานเสวนาตามแนวคิดของกาดาเมอร์: การศึกษาเชิงวิพากษ์

From a hermeneutical point of view, absolute necessities are quite similar to “the fixity of opinions” as called by Gadamer (TM 361) which is a crucial obstacle to practicing the genuine dialogue. This fixity of opinion is rooted in the use of methodologism of modern sciences and its primary emphasis on epistemological mode/ methodical approach more than on the importance of ontological mode of dialogue, understanding and the linguisticality of human life. 1.2 The meaning of methodo- logism and the foundation of its methodical approach: The term methodologism signifies the modern faith in methodical consciousness and approaches toward the objects of perceiving and examination that have shaped the human attitude, expectation and technological application. The foundation of methodologism is based on the existential separation from each other between the subject [the knower] and the object [the known], hence the object has its

4

วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

own independent autonomy of being. Thus its methodical approaches are based on the subject-object dichotomy or the knower-known relation. This methodical procedure would guarantee that the subject obtains an objective knowledge. In this sense, its way of thinking emphasizes “static conceptualizing, lack of an historical sense, love of analysis” (Palmer, 1969: 6). This technological thinking is rooted in ‘subjectivism,’ that is, in taking the human subjective consciousness, and the certainties of reason based on it, as the ultimate point of reference for human knowledge and understanding (Cf. Ibid.). In regard to the traditional hermeneutics, Friedrich Schleiermacher (1768-1834) has shifted the task of interpretation and understanding from discussing the meaning of texts to how understanding the meaning of texts is possible (Cf. Ibid., p. 40; Klemm, 1986: 56). The task of the traditional hermeneutics is to imitate a similar attitude of the natural sciences which searching


สมบัติ พรศิริเจริญพันธ์

for objective knowledge and understanding. Through this hermeneutical approach, the subject can grasp the objective meaning of the written text/ spoken discourse by re-experiencing the mental process of the author’s intention and re-producing an original act that gave rise to the author’s ex-pression in the first place (Cf. Klemm, 1986: 57; Thiselton, 1992: 204). 1.3 Philosophical hermeneutics [PH] of Gadamer as opposing to modern methodologism (a) Gadamer’s standpoint: Gadamer affirms that the starting point of his development of PH is based on “understanding” (RMPJ 26). He doubts whether the knowing process and understanding through subject-object dichotomy can lead us to objective knowledge and truth, as he questions, “So I sought in my hermeneutics to overcome the primacy of self-consciousness…In how far is method a guarantor of truth?” (RMPJ 27). Gadamer does not only criticize the methodologism of natural sciences, but also

disagrees with that of human sciences which has firmly hold the attitude of methodologism, as he writes, “Human sciences too is concerned with establishing similarities, regularities, and conformities to law which would make it possible to predict individual phenomena and processes” (TM 3). In order to interpret and understand the subject matter of dialogue, it is unavoidable to deal with the hermeneutical problem which belongs to “human experience of the world in general,” rather than being limited within “the concept of method as set by modern sciences” (TM xx). Gadamer’s PH is different from the traditional hermeneutics because it does not serve as the methodical foundation for all human sciences, but as “hermeneutic praxis. Hermeneutics is above all a practice, the art of understanding and of making something understood to someone else” (RMPJ 17). (b) Methodologism causes human alienation: Methodologism

ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2017/2560

5


การสานเสวนาตามแนวคิดของกาดาเมอร์: การศึกษาเชิงวิพากษ์

values method [epistemological mode] as of primary importance, and perceives human life and experience of the world [ontological mode] as secondary. Methodologism does abstract certain definable regions of human relation with the world from the whole human experience, and then submits the abstraction to the rules of analysis. In this approach, the modern method of explanation and understanding loses sight of the whole human experience of the world (Cf. RMPJ 29; Klemm, 1986: 174). Hence Gadamer raises his crucial concern by saying “all the modern sciences possess a deeply rooted alienation that they impose on the natural consciousness and of which we need to be aware” (SF 39). How and why does it cause a problem of alienation? Gadamer has found that we have inherited this alienation from the Enlightenment, which emphasizes self-consciousness and insists on the essential importance of reason and freedom [as oppose to

6

วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

the authority and tradition]. The Enlightenment sets a distance between the subject and object and poses the subject standing against the object. This became the root of human alienation because “our concept of what it is to be human does not correspond to our lived experience as humans” (Johnson, 2000:16-7) which means the modern sciences and technology manipulate human beings to think that we can objectively stand free of all traditions and cultures, and be able to understand and make judgment of things studied and experienced in a detached way (Cf. Ibid., p.56; Sokolowski, in Hahn, 1997: 224). (c) The crisis of Western civilization and the manipulation of public opinion: A basic characteristic of Western civilization is rooted in the “conceptual thinking” and required n “the rigorous mathematical and natural science” and has been supported by “scientific method” (WC 1, 2, 4, 5). This is the crisis of Western civilization because, “Our own century


สมบัติ พรศิริเจริญพันธ์

too has felt the one-sidedness of this scientific methodologism” (RMPJ 115) and “Now the expert is an indispensable figure in the technical mastery of process. He has replaced the old-man craftsman,” which means the technical expert is not only being “the mastery of the forces of nature” but also transferable to be the mastery of “social life” (RAS 72). This is the situation where the expert does simply “hearing from” the voice of the other interlocutors, but the expert is not “listening to” the substantive meaning and the truth that is claimed by the subject matter in which other interlocutors have tried to convey. It means the voice of the experts dominates dialogues and manipulates public opinion (Cf. RAS 73), whereas the marginal voices of other interlocutors are being ignored or oppressed. II. The Notion of Gadamer on Genuine Dialogue 2.1 Genuine dialogue must firstly create a common language

(a) Dialogue as the linguisticality of human life: Gadamer describes the interrelation of dialogue, understanding and language by saying, “Conversation is a process of coming to an understanding” (TM 387). Reaching an understanding in dialogue is concerned with a subject matter that “must take the form of language” (TM 370); while the subject matter is placed at the centre of dialogue, “a common language must first be worked out in the conversation” (TM 371), in order to obtain the understanding of the subject matter. This notion derives from Gadamer’s basic assumption that, “Language is the fundamental mode of operation of our being-in-the-world and the all-embracing form of the constitution of the world” (UHP 3). Gadamer supports his conviction on the model of dialogue as the linquisticality of human life by affirming, “Every conversation presupposes, or better, creates a common language” (TM 371), since language is the universal medium in which substantive understanding

ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2017/2560

7


การสานเสวนาตามแนวคิดของกาดาเมอร์: การศึกษาเชิงวิพากษ์

about the subject matter emerges and agreement occurs between the interlocutors of dialogue (TM 386-7, 389). (b) The meaning of common language: Gadamer does not perceive common language as a fixed given language/object in our hands in which we can grasp and determine its objectivity through a narrow concept of logic and scientific proposition. Rather, “it is the reservoir of tradition and the medium in and through which we exist and perceive our world” (SF 29), or in other words, it is “a world-horizon which encloses us and within which we live our lives” (RMPJ 29, 37). Hence in a successful dialogue, reaching the understanding of common language does not derive from “an external matter of simply adjusting our tools,” nor is it that “the partners adapt themselves to one another,” but rather because of all partners “come under the influence of the truth of the object [subject matter/ common language, added by the research-er] and thus bound to one

8

วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

another in a new community”; it is not “a matter of… successfully asserting one’s own point of view, but being transformed into a communion in which we do not remain what we were” (TM 371). 2.2 Socratic docta ignorantia: An important idea Gadamer has learnt from Plato’s Dialogues is “Socratic docta ignorantia,” a Latin expression which is defined as “the knowledge of not knowing” (TM 356), or “a knowledge that one does not know” (TM 359). We have to perceive docta ignorantia in an ontological sense which means that having or not having knowledge about the subject matter is less important than being aware that “we do not have absolute knowledge in Hegelian sense.” Since human beings are “finite creatures” and have been placed in an historical setting, we have to recognize “our own fallibility” So to ask a question would require an interlocutor to admit in some degree his/ her ignorance and willing to learn (Warnke, 1987: 100, 102).


สมบัติ พรศิริเจริญพันธ์

2.3 Socratic dialectic (a) The meaning of Socratic dialectic: How does the “self-sublation of all dogmatism” (Gadamer, “Reply to Thomas Prufer,” in Hahn, 1997, p.553) become possible? The possibility lies in practicing the Socratic dialectic, “the art of seriously questioning what one really means when one thinks or says this or that” (RMPJ 33) in which it “makes the object,” as well as the fixity of opinions “and all its possibilities fluid” (TM 361). Dialectic, however, does not aim at deconstruction of dogmatism or fundamental belief for its own sake; rather, it is “the art of seeing things in the unity of an aspect – i.e., it is the art of forming concepts through working out the common meaning” (TM 361). Socratic dialectic is a key characteristic of Gadamer’s notion of dialogue, for he affirms, “It is called dialectic because it is the art of conducting a real dialogue” (TM 360). Dialectic is “the art of questioning and of seeking truth” which “proceeds by way of question

and answer” (TM 357) and functions by “play back and forth” (RMPJ 43). Human beings cannot have experiences without asking questions (Cf. TM 356). To comprehend a statement of either spoken or written language, we have to understand it “as an answer to a question” (RAS 46); and in order to reveal something which a discourse intends to convey, we have to break it up by the question (Cf. TM 357). It is not simply to understand “what is there or said there but goes back to our guiding interests and questions” that has “a far less degree of certainty than that attained by the methods of the natural sciences” (RAS 110). (b) Openness as the essence of the art of questioning: When the interlocutor asks a question about a discussed subject matter, it presupposes “the openness of being” because the questioning itself opens the possibility of the answer either being this or being that (Cf. TM 356) in which “the answer is not settled” and “awaiting a

ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2017/2560

9


การสานเสวนาตามแนวคิดของกาดาเมอร์: การศึกษาเชิงวิพากษ์

decisive answer.” “The openness of a question is not boundless,” however, but “It is limited by the horizon of the question. A question that lacks this horizon is…floating. It becomes a question only when its fluid indeterminacy is concretized in a specific ‘this or that’…Posing a question implies openness but also limitation” (TM 357). Therefore it does not signify the relativistic attitude as proposed by Protagoras (490-420 BC) who gave a famous formula “Man is the measure of all things, of things that are, that they are, and of things that are not, that they are not” (Fr. 1, see citation in Craig, Routledge Encyclopaedia of Philosophy, Vol. 7, 1998: 788). Hence questioning does not totally depend on anyone’s desire to raise any questions unrelated to the subject matter. (c) The purpose of dialectic: The very purpose of dialectic “is not the art of resisting the pressure of opinion” (TM 360), but it is “the art of strengthening, for in this process what is said is continually transformed into

10

วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

the utmost possibilities of its rightness and truth, and overcomes all opposition that tries to limit its validity” (TM 361) and leading to “an equilibrium between pro and contra” (TM 357). Gadamer asserts, “The speaker is put to the question until the truth of what is under discussion finally emerges” (TM 361). 2.4 Ensuring that the other interlocutor is with us: Gadamer says: “The first condition of the art of conversation is ensuring that the other person is with us” (TM 360). The failure of some conversations are caused by the other persons who walk away, distrust, and are uncomfortable to participate in dialogical process. So it is important to examine what kind of relationship we have tried to establish. Gadamer writes: “In human relations the important thing is…to experience the Thou truly as a Thou” (TM 355). In regard to I-Thou relationship, the listener (I, self-consciousness) perceives and treats not only the speaker (other interlocutor) but also


สมบัติ พรศิริเจริญพันธ์

the subject matter of dialogue, neither as an object nor a thing of the external world (It) which can be manipulated, but as a person. Genuine listening uniquely occurs in the present moment, and not in the past; the listener does not know ahead of time what he/she will hear. One has to listen to the speaker without filtering or colouring the speech/discourse through one own illegitimate prejudices and uncritical prejudgment; but one focuses on substantive meaning and truthcontent which the speaker intends to communicate. As Gadamer said in an interview, when we engage in a dialogue and try to understand something, this requires not “hearing from” another but “listening to” another (Dostal, in Dostal, 2002: 257), by allowing his/ her whole being to disclose and share, then it will ensure that the other person is with us in dialogue. 2.5 The attitude of openness to the other: Another sense of openness Gadamer mentions is the openness of the listener, “this openness does not

exist only for the person who speaks; rather, anyone who listens is fundamentally open.” A genuine human bond requires such openness to one another for “Belonging together always also means being able to listen to one another” (TM 355) in which it puts more demand upon the listener. • In every true conversation “each person opens himself to the other, truly accepts his point of view as valid and transposes himself into the other to such an extent that he understands not the particular individual but what he says” (TM 387). • The interlocutor is involved in recognizing that “I myself must accept some things that are against me, even though no one else forces me to do so,” or in other words “not to overlook” the speaker’s claim, but to let the speaker really say something to the listener (TM 355).

ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2017/2560

11


การสานเสวนาตามแนวคิดของกาดาเมอร์: การศึกษาเชิงวิพากษ์

2.6 Allowing oneself to be conducted by the subject matter of dialogue rather than being led by the will/intention of either interlocutor. Gadamer describes an important role of the subject matter, “We say that we ‘conduct’ a conversation, but the more genuine a conversation, the less its conduct lies within the will of either partner. Thus a genuine conversation is never the one that we wanted to conduct. Rather, it is generally more correct to say that…we become involved in it…the partners conversing are far less the leaders of it than the led” (TM 361, 385). In dialogue, the subject matter exists independently from the selfconsciousness of interlocutors, being the common ground that has united all interlocutors, and having its own essential priority and normative authority over interlocutors because it raises a truth claim of subject matter upon the interlocutors. Thus the subject matter should not be perceived as a mute object of examination and scrutinizing according to 12

วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

the intention of either interlocutor. Through the art of dialectic, the subject matter reserves its openness to question the interlocutors’ standpoint and opinion about the subject matter, as well as requesting the interlocutors’ response. Thus the to-and-fro movement of genuine dialogue is less conducted by the will of either partner, but each interlocutor has “to allow oneself to be conducted by the subject matter to which the partners in the dialogue are oriented…until the truth of what is under discussion… finally emerges” (TM 360-1). As opposed to the attitude and approach of methodologism, Gadamer emphasizes the ontological aspect of the subject matter of dialogue over the self-consciousness. The interpretation and understanding of the subject matter of dialogue is grounded upon the intersubjectivity, not only between the speaker and listener, but also between each of them and the subject matter of dialogue itself.


สมบัติ พรศิริเจริญพันธ์

2.7 The truth of human sciences in contrast to the truth of natural sciences: Gadamer neither denies the truth of natural sciences, nor rejects scientific observation and experiment. However he does not primarily search for the truth of natural sciences, but illustrates the truth of human sciences of which he specifically calls hermeneutical truth. The experience of truth in human sciences – i.e. the experience of philosophy, of art, and of history itself – “transcends the domain of scientific method” (TM xxi; Cf. Schmidt, 2006: 95). If one is using the methodical approach in searching for the truth of human sciences, Gadamer affirms, “We miss the whole truth of the phenomenon – when we take its immediate appearance as the whole truth” (TM 300). Thus we can infer that the truth of human sciences is in “contrast with the rigid form of statements that demand to be set down in writing” (TM 361).

The hermeneutical truth which directly communicates with the spectators in the experience of art work, etc., can never be fully comprehensible by the independent subjects standing in front of and trying to investigate and verify the aesthetic object. It is not a mere truth statement but the experience of truth-like, as Jean Grondin beautifully expresses, “an event of meaning that takes us into its play…and in which we are only participants… When confronted with a work of art, something overcomes us, strikes us, discloses some truth about the world, yet we cannot perfectly say what it is...The work of art does not really argue, but it makes sense, it opens our eyes” (Grondin, in Glendinning, 1999: 225-6). 2.8 Reaching an understanding of truth claimed by the subject matter: The following characteristics of hermeneutical truth will be significant criteria to assure that the interlocutors in dialogical process are on the right

ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2017/2560

13


การสานเสวนาตามแนวคิดของกาดาเมอร์: การศึกษาเชิงวิพากษ์

path for reaching the understanding of the truth as claimed by the subject matter. (a) Understanding is a historically affected consciousness: Gadamer disagrees with the attitude of methodologism because it does not recognize “the constant operativeness of history” upon human consciousness in a hermeneutical situation. “The very idea of a situation means that we are not standing outside it and hence are unable to have any objective knowledge of it” (TM 301) in the absolute sense according to Hegelian view. This is not because of the deficiency of human reflection, but “the essence of the historical being that we are” (TM 301). Thus, whether we are aware of it or not, “our inherited prejudices always constitute the background and the basis from which we understand” (Schmidt, 2006: 105). (b) Understanding is always a fusion of horizons (Cf. TM 305). Gadamer differentiates the consequen-

14

วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

ces between a person who has and has no horizon. For example, the claim of historical consciousness perceives the past in terms of contemporary criteria, according to Gadamer, is a person who has no horizon and does not see far enough, hence overvalues what is nearest [his present horizon] to him. Whereas Gadamer insists that we must try “to see the past in its own terms” and “within its own historical horizon” [horizon of the past], this means that a person who has a horizon is “not being limited to what is nearby but being able to see beyond it” (TM 301 -2). Gadamer calls this: “to transpose ourselves into a situation” (TM 304). The task of historical understanding involves acquiring the particular historical horizon or the right historical horizon so that we can understand its true dimensions, as well as avoid misunderstanding the significance of what the tradition has said to us (Cf. TM 302-4).


สมบัติ พรศิริเจริญพันธ์

What does the right historical horizon mean and how does transposing ourselves into a situation function? The right historical horizon refers to the fusion of horizons between the past and the present. Transposing ourselves or “to put ourselves in someone else’s shoes” (TM 304, 305) does not mean that we disregard our own horizon, otherwise we have no horizon; in fact we already have a horizon [the present] in order to be able to transpose ourselves into the past horizon (Cf. TM 303-4). (c) Prejudices as conditions of human understanding. The task of the Enlightenment, in which modern methodologism is grounded, is to free human understanding from all prejudices that have derived from what the authority has handed down to us. Gadamer criticizes this approach which requires that understanding must overcome all prejudices. He also holds the Enlightenment responsible for the negative connotation of the word “prejudice” (Cf. TM

273). In German usage a prefix “vor” denotes “pre-” and “Urteil” means “judgment”; thus “Vorurteil” would mean “prejudgment” (Cf. Schmidt, 2006: 100). Gadamer provocatively selects the word Vorurteil to mean prejudices in order to react against the one-sidedness of negative connotation that has been imposed by the Enlightenment. According to Gadamer, “Prejudices are biases of our openness to the world. They are simply conditions whereby we experience something…” (PH 9), hence “All understanding inevitably involves some prejudice” (TM 272). The analogy of putting together a jigsaw puzzle illustrates the interrelation or to-and-fro movement between prejudices [fore-structure of understanding] and understanding. At the beginning we hold a jigsaw piece (Cf. Thiselton, 2009, pp.13-4). Prejudices, therefore, are not simply subjective understanding within the closed circuit of self-consciousness; or in other words, understanding in a

ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2017/2560

15


การสานเสวนาตามแนวคิดของกาดาเมอร์: การศึกษาเชิงวิพากษ์

primordial sense is never a subjective relation of the knower towards a given object. Rather, it belongs to an historical effected event and inter-subjective nvolvement, as Gadamer clearly states, “In fact history does not belong to us; we belong to it. Long before we understand ourselves through the process of self-examination, we understand ourselves in a self-evident way in the family, society, and state in which we live…That is why the prejudices of the individual, far more than his judgments, constitute the historical reality of his being” (TM 278). III. Conclusion By giving primary importance to the ontological aspect of dialogue and human understanding and only secondary importance to methodologism, the dialogical partners will be able to recognize the intrinsic value of genuine dialogue. This means that although the function of dialogue as

16

วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

an instrumental value may fail, people still continue to practice genuine dialogue as part of their way of life. By emphasizing an essentialness of the substantive meaning and the truth that is claimed by the subject matter of dialogue over the intention/will of the individual interlocutor, openness would be fairly provided to all interlocutors, including the minority and marginal voices. Hence reaching an understanding on the subject matter of a dialogue is not merely a matter of putting oneself forward and successfully asserting one’s own point of view, nor is it even right to say that the partners adapt themselves to one another, but, rather, all dialogical partners come under the influence of the truth of the subject matter, being transformed into a communion in which we do not remain what we were, and finally are bound to one another into a new community (Cf. TM 371).


สมบัติ พรศิริเจริญพันธ์

IIII บทสรุป โดยการจัดล�ำดับให้ภาวะมิติของการ สานเสวนาและการเข้าใจของมนุษย์มีความ ส�ำคัญหลัก  และท�ำให้วิธีวิทยานิยมกลายเป็น สิ่งที่มีความส�ำคัญรองนั้น  น่าจะช่วยให้ผู้ร่วม สานเสวนาสามารถตระหนักรู้คุณค่าภายใน ตั ว มั น เองของการสานเสวนาที่ แ ท้ จ ริ ง หมายความว่าถึงแม้บทบาทของการสานเสวนา ในฐานะมีคุณค่าเป็นเครื่องมืออาจล้มเหลวที่ จะบรรลุเป้าหมาย  ผู้คนจะยังคงปฏิบัติสาน เสวนาทีแ่ ท้จริงต่อไปในฐานะเป็นส่วนหนึง่ แห่ง วิถีชีวิตตน  โดยการมุ่งเน้นที่สาระส�ำคัญของ ความหมายแก่นและความจริงที่หัวข้อ/เนื้อหา ของการสานเสวนา  มากกว่าการมุ่งเน้นไปที่ ความตั้งใจ/เจตจ�ำนงของปัจเจกบุคคลที่ร่วม เสวนา  เช่นนี้ความเปิดกว้างอย่างเป็นธรรม เท่าเทียมจะกระจายสู่ผู้ร่วมสานเสวนาทุกคน ซึ่งรวมถึงเสียงของชนกลุ่มน้อยและคนชาย ขอบด้ ว ย  ดั ง นั้ น การบรรลุ ค วามเข้ า ใจใน เนื้อหาของการสานเสวนาจึงมิใช่สักแต่ว่ามุ่ง เน้ น ตั ว เองเป็ น หลั ก   ยื น กรานมุ ม มองของ ตนเองให้สำ� เร็จจงได้  อีกทัง้ มิใช่เป็นสิง่ ถูกต้อง ด้ ว ยที่ จ ะพู ด ว่ า ให้ ผู ้ ร ่ ว มสานเสวนาปรั บ ตั ว เข้าหากันและกัน  ตรงกันข้ามผูร้ ว่ มสานเสวนา ทั้ ง หมดด� ำ เนิ น ไปภายใต้ สั จ จะอิ ท ธิ พ ลของ เนือ้ หา  ถูกปรับเปลีย่ นไปสูส่ ภาวะร่วมทีซ่ งึ่ เรา แต่ละคนมิได้คงสภาพเดิมดังทีไ่ ด้เคยเป็น  และ ที่ สุ ด ถู ก เชื่ อ มโยงเข้ า ด้ ว ยกั น เป็ น ชุ ม ชนใหม่ (Cf. TM 371)

Bibliography Primary Sources Gadamer, Hans-Georg. Philosophical Hermeneutics (PH). Trans. and ed. David E. Linge. Berkeley: University of California Press, 1977. ______. Reason in the Age of Science (RAS). Trans. Frederick G. Law rence. Cambridge: The MIT Press, 1998. ______. “Reflections on My Philosophi cal Journey” (RMPJ). Trans. Richard E. Palmer. The Philosophy of Hans-Georg Gadamer. Lewis E. Hahn, ed., Chicago and La Salle: Open Court, 1997. 3-55. ______. “On the Scope and Function of Hermeneutical Reflection (1967)” (SF). Trans. G. B. Hess and R. E. Palmer. Philosophical Herme- neutics. Trans. and ed. David E. Linge. Berkeley: University of California Press, 1977. 18-42. ______. Truth and Method (TM). 2nd rev. ed. Trans. Joel Weinsheimer and Donald G. Marshall. London & New York: Continuum, 2004.

ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2017/2560

17


การสานเสวนาตามแนวคิดของกาดาเมอร์: การศึกษาเชิงวิพากษ์

______. “From Word to Concept: The Task of Hermeneutics as Philo sophy” (WC). Trans. Richard E. Palmer. Gadamer’s Repercus- sions: reconsidering Philoso- phical Hermeneutics. Ed. Bruce Krajewski. Berkeley, CA: University of California Press, 2004. 1-11. ______. “The Universality of the Her meneutical Problem (1967” (UHP). Philosophical Hermeneutics. Trans. and Ed. David E. Linge. Berkeley: University of California Press, 1977. 3-17. Secondary Sources Bohm, David. On Dialogue. Ed. Lee Nichol. New York: Routledge, 1996. Questia.Web. 17 June 2010. Borchert, Donald M., Editor in Chief. Encyclopedia of Philosophy, Vol 1. 2nd rev. ed. USA: Thomas* Gale, 2006. Chisholm, Roderick M. “Gadamer and Realism: Reaching an Under standing.” The Philosophy of Hans-Georg Gadamer: The

18

วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

Library of Living Philosophers Vol. XXIV. Ed. Hahn, Lewis Edwin. Chicago and La Salle, Illinois: Open Court Publishing Company, 1997. 99-106. Craig, Edward. General Editor. Routledge Encyclopaedia of Philosophy, Vol. 7. London and New York: Routledge, 1998. Davey, Nicholas. Unquiet Under- standing: Gadamer’s Philoso- phical Hermeneutics. Albany, New York: State University of New York Press, 2006. Dostal, Robert J., ed. The Cambridge Companion to Gadamer. New York: Cambridge University Press, 2002. Dostal, Robert J. “Gadamer’s Relation to Heidegger and Phenomeno logy.” The Cambridge Compa- nion to Gadamer. Ed. Dostal, Robert J. New York: Cambridge University Press, 2000. 247-263. Gadamer, Hans-Georg. “Reply to Thomas Pruffer.” The Philosophy of Hans-Georg Gadamer: The


สมบัติ พรศิริเจริญพันธ์

Library of Living Philosophers Vol. XXIV. Ed. Hahn, Lewis Edwin. Chicago and La Salle, Illinois: Open Court Publishing Company, 1997. 552-554. Grondin, Jean. Introduction to Philo- sophical Hermeneutics. USA: Yale University Press, 1994. ______. “Understanding as Dialogue: Gadamer.” The Edinburgh Encyclo- pedia of Continental Philoso- phy. Ed. Glendinning, Simon. Edinburgh: Edinburgh University Press, 1999. 222-230. Johnson, Patricia A. On Gadamer. USA: Wadsworth, 2000. Klemm, David E. Hermeneutical In- quiry, Vol. I: The Interpretation of Texts. Atlanta, Georgia: Schol ars Press, 1986. Nicholson, Graeme. “Truth in Meta physics and in Hermeneutics.” The Philosophy of Hans-Georg Gadamer: The Library of Living Philosophers Vol. XXIV. Ed. Hahn, Lewis Edwin. Chicago and La Salle, Illinois: Open Court

Publishing Company, 1997. 309 319. Palmer, Richard E. Hermeneutics: Interpretation Theory in Schlei- ermacher, Dilthey, Heidegger, and Gadamer. USA: Northwes tern University Press, 1969. Schmidt, Lawrence K. Understanding Hermeneutics. UK: Acumen, 2006. Sokolowski, Robert. “Gadamer’s Theory of Hermeneutics.” The Philoso phy of Hans-Georg Gadamer: The Library of Living Philoso- phers Vol. XXIV. Ed. Hahn, Lewis Edwin. Chicago and La Salle, Illi nois: Open Court Publishing Company, 1997. 224-233. Thiselton, Anthony C. New Horizons in Hermeneutics: The Theory and Practice of Transforming Biblical Reading. Michigan: ZondervanPublishingHouse, 1992. ______. Hermeneutics: An Introduc- tion. Michigan: Wm. B. Eerdmans Publishing Co., 2009.

ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2017/2560

19


การสานเสวนาตามแนวคิดของกาดาเมอร์: การศึกษาเชิงวิพากษ์

Warnke, Georgia. Hermeneutics, Tradi- tion and Reason. Stanford, Cali fornia: Stanford University Press, 1987

20

วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม


ความเร่งด่วนที่เรียกร้องการส่งเสริมจิตภาวนา

ของคริสตชนและการตอบสนองของพระศาสนจักร คาทอลิกในประเทศไทยในสมัยปัจจุบัน

Hresponded ow the Catholic Church in Thailand has to the urgent call for a more contemplative spirituality in our time.

บาทหลวง ผศ.สมชัย พิทยาพงศ์พร

* บาทหลวงในคริสต์ศาสนจักรโรมันคาทอลิก สังกัดสังฆมณฑลจันทบุรี * ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประจ�ำสาขาวิชาเทววิทยา คณะศาสนศาสตร์ วิทยาลัยแสงธรรม

Rev. Asst. Somchai Phitthayaphongphond

* Reverend in Roman Catholic Church, Chanthaburi Diocese. * Assistant Professor, Theology Faculty of Religious, Saengtham College.


ความเร่งด่วนทีเ่ รียกร้องการส่งเสริมจิตภาวนาของคริสตชนและการตอบสนองของพระศาสนจักรคาทอลิก ในประเทศไทยในสมัยปัจจุบนั

บทคัดย่อ

บทความนี้   มี เ ป้ า หมายเพื่ อ ตอบสนองการเรี ย กร้ อ งของ สมเด็ จ พระสั น ตะปาปาฟรั ง ซิ ส   และนั ก บุ ญ ยอห์ น   ปอล  ที่ 2 พระสันตะปาปา  ทีเ่ ปิดเผยให้เห็นถึงความจ�ำเป็นเร่งด่วนในการส่งเสริม ฟื้นฟูจิตภาวนา  และนักบุญยอห์น  ปอล  ที่  2  พระสันตะปาปา ได้ทรงให้ค�ำแนะน�ำไว้  5  ประการ  คือ  การเรียนรู้และฝึกศิลปะแห่ง การภาวนา  ก�ำหนดให้ความส�ำคัญกับการศึกษาอบรมเรื่องการภาวนา ในแผนอภิ บ าลทุ ก รู ป แบบและทุ ก ระดั บ หรื อ ในแนวปฏิ บั ติ ข อง คณะนักบวช  การให้มีผู้แนะน�ำและสอนภาวนา  การปรับให้เข้ากับ วัฒนธรรม  และการที่พระสงฆ์ต้องเป็นบุคคลแห่งการภาวนา  รวมถึง นักบวชชายหญิงที่ต้องเป็นพยานชีวิตและผู้น�ำฝ่ายจิตที่สามารถสอน ภาวนาแก่ ผู ้ อื่ น   บทความนี้ ก ล่ า วถึ ง   จิ ต ภาวนาที่ มี ก ารปฏิ บั ติ ใ น พระศาสนจักรคาทอลิกสากล  ได้ถา่ ยทอดมายังพระศาสนจักรคาทอลิก ในประเทศไทย  นับตั้งแต่ปี  ค.ศ.  1664  จนถึงปัจจุบัน  ซึ่งมีการ ปฏิบัติในหลากหลายวิธีให้เหมาะสมกับวัฒนธรรมและบริบทของแต่ละ คนกลุ ่ ม แต่ ล ะบุ ค คล  ทั้ ง ยั ง ก่ อ ให้ เ กิ ด ความหวั ง ในเรื่ อ งการปฏิ บั ติ จิตภาวนา  ที่จะมีแนวทางที่ชัดเจน  จริงจัง  และลึกซึ้งมากขึ้นใน อนาคต

Abstract

This article aims to respond to the urgent calls of Pope Francis and Pope St.John Paul II which reveal the necessity and urgency of promoting for a more contemplative spirituality in our time. Pope St.John Paul II gave some guideline for renewal in the life of prayer. They are: to learn and to practice the art of prayer; the education in prayer should become in some way a key-point of all pastoral planning; to have teachers or guides for prayer; the inculturation of Christian contemplation in an Eastern

22

วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม


สมชัย พิทยาพงศ์พร

way; priests should be men of prayer and religious men and women should be witnesses and spiritual directors who can teach prayer. This article outlines the place of contemplative prayer in the Catholic Church .There are the practice of contemplative prayer in the Universal Catholic Church. They are practiced in the Catholic Church in Thailand from 1664 to the present. There are many ways of contemplative prayer which are suitable for a culture and the context of groups and individuals. That brings hope and some expectations for renewal and development of clearer guideline and more serious and profound practice in the future.

ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2017/2560

23


ความเร่งด่วนทีเ่ รียกร้องการส่งเสริมจิตภาวนาของคริสตชนและการตอบสนองของพระศาสนจักรคาทอลิก ในประเทศไทยในสมัยปัจจุบนั

1.  บทน�ำ สมเด็จพระสันตะปาปาฟรังซิสได้ตรัส ว่ า   “ในวั น เปนเตกอสเต  วั น นี้ เราวอนขอ พระจิตเจ้าให้ชวี ติ ของเราหยัง่ รากในการภาวนา หากปราศจากการภาวนา  กิจการทุกอย่างของ เราก็เสี่ยงที่จะไร้ผล  และข่าวดีที่เราประกาศ ก็จะว่างเปล่า  พระเยซูเจ้าทรงมีพระประสงค์ ให้ประกาศข่าวดี  มิใช่ด้วยค�ำพูดเท่านั้น  แต่ ด้วยชีวติ ทีเ่ ปลีย่ นแปลงจากการประทับอยูข่ อง พระเจ้ า .  ผู ้ ป ระกาศข่ า วดี ที่ เ ต็ ม เปี ่ ย มด้ ว ย พระจิตเจ้าคือ  ผูป้ ระกาศพระวรสารซึง่ ภาวนา และท�ำงานประกาศข่าวดี”1 การประกาศพระวรสารด้วยจิตวิญญาณ เป็ น การประกาศพระวรสาร  ด้ ว ยความ กระตือรือร้น  ความชืน่ ชมยินดี  ความใจกว้าง ความกล้าหาญ  ความรักที่ไม่มีขอบเขต  และ การสัมผัสลงลึกที่ใจ  แตกต่างจากการกระท�ำ เพราะท�ำตามหน้าที ่ “การขาดจิตวิญญาณที่ ลุ่มลึกของผู้ประกาศข่าวดีนั้น  เกิดจากหรือ ท� ำ ให้ เ กิ ด การมองโลกในแง่ ร ้ า ย  ความคิ ด หัวรุนแรง  ความหวาดระแวงไม่ไว้ใจกัน  การ ไม่อุทิศตนเพื่อพันธกิจเพราะขาดความหวัง

ขั ง ตนเองในความสะดวกสบาย  ความ เกียจคร้าน  ความโศกเศร้าจากความไม่พอใจ ความว่างเปล่าที่เห็นแก่ตัว  แสวงหาตนเอง นิยมความส�ำเร็จในอาชีพการงาน  (careerism) เพราะกระหายทีจ่ ะได้การยอมรับ  เสียงปรบมือ รางวัลตอบแทน  และสถานภาพในหน้าที่การ งานในสั ง คม  การกระท� ำ เช่ น นี้ ย ่ อ มจะพบ ความเหนือ่ ยล้า  สภาพจิตแห้งแล้ง  แม้เขาจะ ยังคงท�ำงานต่อไป  แต่ก็ไม่มีพลัง  และไม่มี การกลับคืนชีพ”2 นักบุญยอห์น  ปอลที ่ 2  พระสันตะ- ปาปา  ได้ตรัสว่า  “จากประสบการณ์ของชีวติ สงฆ์ของข้าพเจ้า  การที่ข้าพเจ้าได้สัมผัสกับ ประเพณี ฝ ่ า ยจิ ต เก่ า แก่ ข องศาสนาอื่ น โดย เฉพาะในเอเซีย  ได้ท�ำให้ข้าพเจ้าเชื่อมั่นว่า อนาคตของงานแพร่ธรรมขึน้ อยูก่ บั จิตภาวนา (contemplation)  เป็นส่วนใหญ่  ในเอเซีย ซึ่ ง เป็ น ที่ ก� ำ เนิ ด ของศาสนาที่ ยิ่ ง ใหญ่ ห ลาย ศาสนา  ซึ่งมีบุคคลมากมายและประชาชน หลากหลายกระหายหาพระเจ้ า   พระ ศาสนจั ก รได้ รั บ กระแสเรี ย กให้ เ ป็ น พระ ศาสนจักรที่อธิษฐานภาวนา  มีชีวิตจิตที่ลึกซึ้ง

ดูฟรังซิส,  สมเด็จพระสันตะปาปา,  สมณสาสน์เตือนใจ  “ความชื่นชมยินดีแห่งพระวรสาร”  (Evangelii  Gaudium  E.G.  259,  262)  2014. 2   ดูฟรังซิส,  สมเด็จพระสันตะปาปา,  สมณสาสน์เตือนใจ  “ความชื่นชมยินดีแห่งพระวรสาร”  (Evangelii  Gaudium  E.G.  261,  275,  277)  2014. 1

24

วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม


สมชัย พิทยาพงศ์พร

แม้ในขณะทีก่ ำ� ลังท�ำงานเกีย่ วกับความต้องการ ที่เร่งรัดของผู้คนและสังคม  คริสตชนทุกคน ต้องมีชีวิตจิตแห่งการภาวนาและจิตภาวนา (Spirituality  of  prayer  and  contemplation)  ของผูแ้ พร่ธรรม”3  “ธรรมทูตหาก ไม่ เ ป็ น ผู ้ ป ฏิ บั ติ จิ ต ภาวนาย่ อ มไม่ ส ามารถ ประกาศพระคริสตเจ้าอย่างน่าเชื่อถือ  ธรรม ทูต  คือ  ประจักษ์พยานถึงประสบการณ์ พระเจ้ า จะต้ อ งสามารถกล่ า วเช่ น เดี ย วกั บ บรรดาอัครสาวกว่า  “สิง่ ทีเ่ ราได้เห็น…เกีย่ วกับ พระวจนาตถ์แห่งชีวิต…เราประกาศให้ท่าน ทั้งหลายรู้ด้วย”  (1  ยน  1:1-3) 2.  แนวทางการฟื ้ น ฟู วิ ถี ชี วิ ต จิ ต แห่ ง การ ภาวนาตามค� ำ แนะน� ำ ของนั ก บุ ญ ยอห์ น ปอลที่  2  พระสันตะปาปา นั ก บุ ญ ยอห์ น   ปอลที่   2  พระ สั น ตะปาปาได้ ต รั ส ในสมณสาสน์   เริ่ ม ต้ น สหัสวรรษใหม่ว่า  “พระศาสนจักรควรฟื้นฟู ชีวิตตามแผนการแห่งพระวรสาร  อันได้แก่ การเดินตามกระแสเรียกสู่ความศักดิ์สิทธิ์โดย อาศัย

1).  การภาวนา 2).  พิธีบูชาขอบพระคุณโดยเฉพาะใน วันอาทิตย์ 3).  ศีลศักดิ์สิทธิ์แห่งการคืนดี 4).  ความเป็นเอกของพระหรรษทาน 5-6).  การรั บ ฟั ง และการประกาศ พระวาจาของพระเจ้า  และ 7).  การเจริ ญ ชี วิ ต จิ ต แห่ ง ความเป็ น หนึ่ ง เดียว”4  พระองค์ได้ทรงเน้นว่า “เครือ่ งหมายแห่งกาลเวลา”  ประการ หนึ่งในโลกปัจจุบันคือ  การแสวงหา ชี วิ ต ฝ่ า ยจิ ต โดยการรื้ อ ฟื ้ น ความ ต้ อ งการการภาวนา  พระองค์ ท รง ให้ แ นวทางการฟื ้ น ฟู ก ารภาวนา ในประเด็นต่อไปนี้ 2.1  ส่งเสริมการเรียนรู้และฝึกศิลปะ แห่งการภาวนา  คริสตชนต้องภาวนาและ ฝึกศิลปะแห่งการภาวนาเหมือนบรรดาศิษย์ รุ ่ น แรกของพระเยซู เ จ้ า ที่ ข อพระองค์ ว่า  “พระเจ้าข้าโปรดสอนให้เราอธิษฐานภาวนา” (ลก  11:1)  การภาวนาเป็นการพัฒนาความ สัมพันธ์กบั พระคริสตเจ้า  ซึง่ ท�ำให้เราเป็นมิตร

ยอห์น  ปอลที ่ 2,  สมเด็จพระสันตะปาปา.  สมณสาสน์หลังการประชุมสมัชชาพระศาสนจักรในเอเซีย.  (Ecclesia in  Asia  E.A  23)  1999. 4   ดูยอห์น  ปอลที่  2,  สมเด็จพระสันตะปาปา.  สมณสาสน์เริ่มต้นสหัสวรรษใหม่.  (Novo  MiIIiennio  Ineunte NMI  29-45)  2000. 3

ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2017/2560

25


ความเร่งด่วนทีเ่ รียกร้องการส่งเสริมจิตภาวนาของคริสตชนและการตอบสนองของพระศาสนจักรคาทอลิก ในประเทศไทยในสมัยปัจจุบนั

สนิทกับพระองค์  “ท่านทัง้ หลายจงด�ำรงอยูใ่ น เราเถิดดังที่เราด�ำรงอยู่ในท่าน”  (ยน  15:4) การตอบรับโดยอาศัยพระจิตเจ้านี ้ คือแก่นแท้ และจิตวิญญาณคริสตชน  และเป็นเงือ่ นไขของ ชี วิ ต การอภิ บ าลที่ แ ท้ จ ริ ง   โดยอาศั ย พระ คริ ส ตเจ้ า เราเรี ย นรู ้ ที่ จ ะเพ่ ง พิ ศ พระพั ก ตร์ พระบิ ดาเป็ นการภาวนาในพระตรีเ อกภาพ ทั้งในพิธกี รรม  และในชีวติ ส่วนตัว ท�ำให้ชวี ติ คริสตชนมีชีวิตชีวา  ไม่กลัวอนาคต  เพราะ เรากลับไปสู่แหล่งก�ำเนิด  และพบชีวิตใหม่ ในแหล่งก�ำเนิดนี้อยู่เสมอ5 กลุม่ คริสตชนต้องเป็นโรงเรียนแห่งการ ภาวนาอย่างแท้จริง  สามารถแสดงออกถึง การพบกับพระคริสตเจ้าด้วยการภาวนา  การ มีจิตใจใหม่  มีความรักพระเจ้า  และเพื่อน พี่น้อง  ช่วยท�ำให้ประวัติศาสตร์สอดคล้องกับ แผนการของพระเจ้ า   “เมื่ อ วางแผนงาน อภิบาลหรือแนวปฏิบัติของหมู่คณะนักบวช

ต้ อ งให้ ค วามส� ำ คั ญ เป็ น อย่ า งมาก  กั บ การ ศึกษาและการปฏิบัติการภาวนา”6  พระองค์ ได้ ต รั ส ว่ า   “หนทางสู ่ ค วามศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ข อง คริสตชนมีหลายหนทาง  แล้วแต่กระแสเรียก ของแต่ ล ะคน” 7   การภาวนาก็ มี ห ลายวิ ธี คริสตชนแต่ละคนต้องแสวงหาวิธีการ  และ การปฏิบัติการภาวนาที่เหมาะสมกับชีวิตของ ตนเอง  แต่ในสภาพสังคมปัจจุบัน  “บรรดา คริสตชนทุกวันนีม้ งุ่ มาดปรารถนาทีจ่ ะเรียนรูว้ ธิ ี การภาวนาเพื่อที่จะท�ำให้เกิดประสบการณ์ ภาวนาอย่ า งลึ ก ซึ้ ง และแท้ จ ริ ง   ทั้ ง ๆ  ที่ มี อุ ป สรรคมิ ใช่ น ้ อ ยจากวั ฒ นธรรมสมั ย ใหม่ ซึง่ ในช่วงหลังนีว้ ฒ ั นธรรมดังกล่าวไม่เปิดโอกาส ให้พบความเงียบสงบ  การส�ำรวมจิต  และ จิตภาวนาได้ง่ายนัก”8  ดังนั้น  จึงจ�ำเป็นต้อง มี ก ารส่ ง เสริ ม การเรี ย นรู ้ แ ละฝึ ก ศิ ล ปะแห่ ง การภาวนา

ยอห์น  ปอลที่  2,  สมเด็จพระสันตะปาปา.  สมณสาสน์เริ่มต้นสหัสวรรษใหม่.  (Novo  MiIIiennio  Ineunte NMI  32)  2000. 6   ดูยอห์น  ปอลที่  2,  สมเด็จพระสันตะปาปา.  สมณสาสน์เริ่มต้นสหัสวรรษใหม่.  (Novo  MiIIiennio  Ineunte NMI  32-34)  2000. 7   ยอห์น  ปอลที่  2,  สมเด็จพระสันตะปาปา.  สมณสาสน์เริ่มต้นสหัสวรรษใหม่.  (Novo  MiIIiennio  Ineunte NMI  31)  2000. 8   On  Some  aspects  of  Christian  Meditation:  Congregation  for  the  doctine  of  Faith  1989 No.1. 5

26

วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม


สมชัย พิทยาพงศ์พร

2.2  ส่งเสริมให้มีผู้แนะน�ำและสอน ภาวนา  ในหนังสือ  “ค�ำสอนพระศาสนจักร คาทอลิก”9  ภาคสี ่ กล่าวถึงเรือ่ ง  “การภาวนา ของคริสตชน”  มีเนื้อหาเรื่องการภาวนาของ คริสตชนอย่างครบถ้วน  และกล่าวถึงผูแ้ นะน�ำ และสอนภาวนาคื อ   ครอบครั ว คริ ส ตชน พระสงฆ์  นักบวช  ครูสอนคริสตศาสนธรรม กลุม่ ภาวนา  เป็นต้น  นักบุญยอห์น  ปอลที ่ 2 พระสันตะปาปาได้ตรัสว่า  “เป็นความเข้าใจ ผิดที่คิดว่า  บรรดาคริสตชนพึงพอใจกับการ ภาวนาแบบตื้นๆ  ซึ่งไม่ซึมซาบเข้าไปในชีวิต ของเขา  โดยเฉพาะเมื่อพวกเขาต้องเผชิญกับ การทดลองความเชื่อของพวกเขา  อันที่จริง บรรดาคริสตชนเรียกร้อง  และแสวงหาการ ภาวนาที่ลึกซึ้ง  และซึมซาบเข้าไปในชีวิต  ซึ่ง ในปัจจุบันมีศาสนาต่างๆ  จ�ำนวนมาก  ที่ได้ แผ่เข้าสูด่ นิ แดนคริสตศาสนาดัง้ เดิม  พร้อมกับ การน�ำเสนอรูปแบบการภาวนาที่สัมผัสได้จริง และตอบสนองการเรียกร้อง  และการแสวงหา ดังกล่าว  จนท�ำให้คริสตชนบางคนทีไ่ ม่มจี ดุ ยืน ที่มั่นคงในความเชื่อของตน  อาจจะหลงไปได้ แต่เราผู้ได้รับพระหรรษทานให้มีความ เชื่อในพระคริสตเจ้า  ผู้ทรงเปิดเผยพระบิดา

และทรงเป็นผู้ไถ่กู้โลก  จึงเป็นหน้าที่ของเรา ที่จะแสดงให้เห็นว่า  ความสัมพันธ์กับพระ คริสตเจ้าสามารถน�ำเราไปสู่ความสัมพันธ์อัน ลึกซึ้งกับพระเจ้ามากเพียงใด  ธรรมประเพณี แห่งธรรมล�้ำลึกฝ่ายจิตของพระศาสนจักรทั้ง ตะวันออกและตะวันตก  ได้แสดงให้เห็นว่า การภาวนาของคริสตชนมีขั้นตอนสามารถ ก้าวหน้าได้  ในรูปแบบการเสวนาแห่งความรัก ซึง่ น�ำสูค่ วามเป็นหนึง่ เดียวกับพระเจ้าพระบิดา อาศัยพระจิตเจ้า  นี่เป็นประสบการณ์ที่พระ คริสตเจ้าทรงสัญญาไว้ว่า  “ผู้ที่รักเรา  พระ บิดาของเราจะทรงรักเขา  และเราเองก็จะรัก เขา  และจะแสดงตนแก่เขา”  (ยน  14:21) เป็นการเดินทางฝ่ายจิตอาศัยพระหรรษทาน ทั้งหมด  แต่ต้องมีการอุทิศตนฝ่ายจิตอย่าง เข้มข้น  และผ่านการช�ำระล้างให้บริสุทธิ์ที่ เจ็บปวด  (ผ่านคืนมืดของวิญญาณ)  ด้วยวิธี การต่างๆ  ในที่สุดจะน�ำเราไปสู่ความปิติยินดี ที่ไม่สามารถอธิบายได้  ผู้มีประสบการณ์เรียก ว่า  “การวิวาห์ฝ่ายจิต  (nuptial  union)” ตามค�ำสอนของนักบุญยอห์นแห่งไม้กางเขน และนักบุญเทเรซาแห่งอาวีลา”10

แผนกค�ำสอนอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ.  ค�ำสอนพระศาสนจักรคาทอลิก  (CCC)  ภาคสี ่ การภาวนาของคริสตชน. 1999. 10   ดูยอห์น  ปอลที่  2,  สมเด็จพระสันตะปาปา.  สมณสาสน์เริ่มต้นสหัสวรรษใหม่.  (Novo  MiIIiennio  Ineunte NMI.33-34)  2000.  การวิวาห์ฝ่ายจิต  (nuptial  union)  หรือการภาวนาขั้นเปลี่ยนแปลงสู่ความเป็นหนึ่งเดียว กับพระเจ้า  (the  transforming  union)  เป็นการภาวนาระดับสูงสุด  ตามค�ำสอนของนักบุญเทเรซาแห่งอาวีลา และดูสมชัย  พิทยาพงศ์พร.  พัฒนาการวิถชี วี ติ จิตคริสตชน  ประวัตคิ วามเป็นมาของวิถชี วี ติ คริสตชนตัง้ แต่สมัย แรกเริ่ม...จนถึงปัจจุบัน.  หน้า  124-129) ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2017/2560 27 9


ความเร่งด่วนทีเ่ รียกร้องการส่งเสริมจิตภาวนาของคริสตชนและการตอบสนองของพระศาสนจักรคาทอลิก ในประเทศไทยในสมัยปัจจุบนั

2.3  ส่ ง เสริ ม การปรั บ ให้ เ ข้ า กั บ วัฒนธรรม  บรรดาพระสังฆราชผู้ร่วมประชุม สมัชชาพระสังฆราชในหัวข้อ  “พระศาสนจักร ในเอเชี ย ”  ได้ ส นั บ สนุ น ให้ บ รรดาผู ้ อ บรม ผู้ประกาศพระวรสาร  อาจารย์  หรือผู้อบรม ในบ้านเณร  บ้านอบรม  แสวงหาความเข้าใจ และประสบการณ์อย่างลึกซึง้   ถึงส่วนประกอบ ของชีวิตจิตและการภาวนา  ที่ใกล้ชิดกับจิต วิญญาณของชาวเอเชีย  ประชาชนชาวเอเชียมี ความภูมิใจในคุณค่าศาสนา  และวัฒนธรรม เช่น  ความรักความเงียบ  จิตภาวนา  (contemplation)  ความเรียบง่าย  ความกลมกลืน (harmony)  การไม่ยึดติด  (detachment) การไม่ชอบความรุนแรง  มีจิตวิญญาณการ ท� ำ งานหนั ก   มี ร ะเบี ย บวิ นั ย   มี ชี วิ ต สมถะ กระหายหาความรู้  และแสวงหาปรัชญา  มี ความเคารพต่อชีวติ   มีความเมตตาต่อสิง่ มีชวี ติ มีความใกล้ชิดกับธรรมชาติ  มีความกตัญญู การนั บ ถื อ บิ ด ามารดา  ผู ้ อ าวุ โ ส  และ บรรพบุรุษ  มีความส�ำนึกในชีวิตหมู่คณะสูง ให้ความส�ำคัญกับครอบครัว  มีความอดกลั้น และการอยู ่ ร ่ ว มกั น อย่ า งสั น ติ   การเปิ ด ใจ

ยอมรับผู้อื่น  ในท่ามกลางความหลากหลาย ของศาสนาและวัฒนธรรม  เป็นต้น11  การ ภาวนาที่มีบูรณาการ  ทั้งกาย  จิตใจ  สังคม และจิ ต วิ ญ ญาณ  น� ำ สู ่ ก ารเชื่ อ มชี วิ ต กั บ สิ่งสูงสุดคือ  การเป็นหนึ่งเดียวกับพระจ้าและ เพื่อนมนุษย์ในชีวิตปัจจุบัน 2 . 4   ส� ำ ห รั บ พ ร ะ ศ า ส น จั ก ร ใ น ประเทศไทย  นักบุญยอห์น  ปอลที ่ 2  พระ สั น ตะปาปาได้ ต รั ส กั บ บรรดาพระสั ง ฆราช คาทอลิกไทย  โอกาสการเข้าเฝ้าถวายรายงาน พระสันตะปาปาทุกห้าปี  (The  Ad  Limina)12 ในปี  ค.ศ.  1985  หลังจากพระองค์ได้เสด็จ เยือนประเทศไทยในปี  ค.ศ.  1984  ได้ตรัส ว่ า   “พระองค์ ไ ด้ พ บปะกั บ ชุ ม ชนคริ ส ตชน ต่างๆ  ในประเทศไทย  พระองค์รู้สึกได้ถึง ความหวังที่มีชีวิตชีวาของพระศาสนจักรใน ประเทศไทย  พระองค์ขอให้อภิบาลครอบครัว ให้เห็นคุณค่าแห่งการภาวนาโดยครอบครัว และเพื่อครอบครัว  และในปี  ค.ศ.  1996 พระองค์ได้ตรัสถึงช่วงเวลาปีแรกๆ  หลังจาก บวชเป็นพระสงฆ์  ต้องช่วยพระสงฆ์ให้รักษา นิ สั ย การมี ร ะเบี ย บวิ นั ย   การภาวนา  และ

ดูยอห์น  ปอลที ่ 2,  สมเด็จพระสันตะปาปา.  สมณสาสน์หลังการประชุมสมัชชาพระศาสนจักรในเอเซีย.  (Ecclesia in  Asia  E.A  22,6)  1999. 12   ดูยอห์น  ปอล  ที่  2,  สมเด็จพระสันตะปาปา.  เส้นทางแห่งรักและความทรงจ�ำ.  หน้า  248-298,  2552. The  Ad  Limina  หมายถึง  การเข้าเฝ้าคารวะสมเด็จพระสันตะปาปาอย่างเป็นทางการของพระสังฆราชคาทอลิก ทั่วโลกในวาระ  5  ปีครั้ง 11

28

วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม


สมชัย พิทยาพงศ์พร

ความกระตือรือร้นในงานอภิบาลและประกาศ พระวรสาร  ส�ำหรับนักบวชหญิงที่อุทิศตน ทั้ ง ครบเพื่ อ ชี วิ ต จิ ต ภาวนา  (contemplative  life)  ในประเทศไทย  ต้องเป็นพยาน ตามประเพณีคริสตชน  เรื่องการบ�ำเพ็ญพรต และจิตภาวนาและหวังให้มีการประยุกต์การ ปฏิบตั คิ วามเชือ่ นี ้ ให้เข้ากับวัฒนธรรมท้องถิน่ ด้วย และครัง้ สุดท้ายหลังปี  “ปีตมิ หาการุญ” ในปี  ค.ศ.  2001  พระองค์ตรัสว่า  พระสงฆ์ ต้องเป็นบุคคลแห่งการภาวนา  และเรียกร้อง นักบวชชายหญิงเป็นพยานชีวิต  เป็นผู้น�ำ ฝ่ายจิต  และการประกาศพระวรสารแห่งการ ภาวนา  เป็นเคล็ดลับที่ท�ำให้คริสตศาสนามี ชีวิตชีวาอย่างแท้จริง  นักบวชผู้อุทิศตนเพื่อ ชี วิ ต จิ ต ภาวนา  ควรที่ จ ะเป็ น อาจารย์ ส อน ภาวนาส�ำหรับผู้อื่นด้วย  สังคายนาวาติกันที่ 2  ให้ความส�ำคัญอย่างมากและเตือนใจเราว่า นั ก บวชผู ้ ด� ำ เนิ น ชี วิ ต จิ ต ภาวนาในอาราม ท�ำให้พระศาสนจักรเติบโต  โดยการประกาศ พระวรสารอย่างเร้นลับ  และท�ำให้เกิดผลดี13 ในโอกาสเริ่ ม ต้ น สหั ส วรรษใหม่ นี้   พระ

ศาสนจั ก รในประเทศไทยได้ รั บ การท้ า ทาย ให้ เ ปิ ด เผยธรรมล�้ ำ ลึ ก ของพระคริ ส ตเจ้ า ให้สอดคล้องกับวัฒนธรรม  และวิถีความ นึกคิดของประชาชน  ให้มีความพยายามต่อ ไป  เพื่ อ ความจริ ง และคุ ณ ค่ า พระวรสาร จะได้เห็นชัดเจนสอดคล้องกับความต้องการ และการแสวงหาฝ่ายจิตวิญญาณที่แท้จริงของ ประชาชน 3.  การส่งเสริมจิตภาวนาของคริสตชนใน พระศาสนจักรคาทอลิก 3.1.  การส่งสริมของคณะธรรมทูตใน สมัยกรุงศรีอยุธยาในปี  ค.ศ.  166414 คณะธรรมทูตให้ความส�ำคัญกับชีวติ จิต ผูป้ ระกาศข่าวดีตอ้ งมีความศรัทธา  และความ กระตือรือร้น  การไม่ยึดติด  ความสุภาพถ่อม ตน  มี ก ารอ่ า นและร� ำ พึ ง ถึ ง แบบอย่ า งและ ค� ำ สอนของพระเยซู ค ริ ส ต์ จ ากพระวรสาร การบ�ำเพ็ญพรต  และการภาวนา  โดยเฉพาะ จิตภาวนา  (contemplative  prayer)  เป็น รูปแบบการภาวนาทีส่ อดคล้องกับงานประกาศ ข่าวดี  ชีวติ จิตทีส่ นิทกับพระเจ้ามีลกั ษณะดังนี้

เอกสารสังคายนาวาติกนั ครัง้ ที ่ 2  พระสมณกฤษฎีกา  เรือ่ งการปรับปรุงและฟืน้ ฟูชวี ติ นักบวช  (Perfectae  Caritatis P.C.7) 14   โกสเต  โรแบต์,  บาทหลวง.  ประวัตกิ ารเผยแพร่คริสต์ศาสนาในสยามและลาว.  หน้า  93-97.  ข้อตกลงส�ำหรับ ธรรมทูตเกี่ยวกับชีวิตฝ่ายจิต 13

ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2017/2560

29


ความเร่งด่วนทีเ่ รียกร้องการส่งเสริมจิตภาวนาของคริสตชนและการตอบสนองของพระศาสนจักรคาทอลิก ในประเทศไทยในสมัยปัจจุบนั

ความสุขจงบังเกิดแก่ผู้ภาวนาที่ท�ำให้เจตจ�ำนง เป็ น อิ ส ระจากสิ่งสร้างทั้งปวง  ไม่ยึดมั่นใน ตนเอง  และมอบตนทั้ ง ครบในพระหั ต ถ์ พระเจ้า  ฉะนั้น  ไม่ใช่ตัวเขาที่มีชีวิต  แต่เป็น พระคริ ส ต์ ที่ มี ชี วิ ต ในตั ว เขา  ไม่ ใช่ ตั ว เขาที่ กระท�ำ  แต่เป็นพระเป็นเจ้าที่กระท�ำในตัวเขา ฉะนั้ น   เขาจะไม่ ก ระท� ำ การใดๆ  ด้ ว ยแรง กระตุน้ ตามประสามนุษย์  แต่จะยอมจ�ำนนต่อ แรงกระตุ้นที่มาจากสวรรค์ แม้บรรดาธรรมทูตที่น่าเคารพเหล่านี้ จะให้ ภ าพพจน์ ก ารเป็ น ผู ้ ป ระกาศข่ า วดี ที่ กระตื อ รื อ ร้ น   แต่ จ ากประสบการณ์ ก าร ประกาศข่าวดีของพวกท่าน  พวกท่านได้ย�้ำ อย่างหนักแน่นว่า  การประกาศข่าวดีจะเกิด ผลดี  หากผูป้ ระกาศข่าวดีได้รบั การเสริมสร้าง และการหล่ อ เลี้ ย งชี วิ ต จิ ต คริ ส ตชนที่ ลึ ก ซึ้ ง ด้วยการภาวนา  การร�ำพึงภาวนา  และการ ปฏิ บั ติ จิ ต ภาวนา  เมื่ อ คณะธรรมทู ต มาถึ ง กรุงศรีอยุธยา  ก่อนอื่นพวกท่านได้เข้าเงียบ 40  วัน  พวกท่านให้ความส�ำคัญกับชีวิตจิต มากจึงเป็นการท้าทาย  และให้แนวทางการ ส่งเสริมชีวิตจิตแห่งการภาวนาของผู้ประกาศ ข่าวดีในสมัยปัจจุบัน

3.2  การส่ ง เสริ ม ชี วิ ต จิ ต แห่ ง การ ภาวนาและจิตภาวนาของคริสตชนในพระ ศาสนจักรคาทอลิกสากลสมัยปัจจุบัน หลั ง จากสั ง คายนาวาติ กั น ครั้ ง ที่ ส อง พระศาสนจักรคาทอลิกได้มกี ารส่งเสริมชีวติ จิต แห่งการภาวนา  และจิตภาวนาของคริสตชน ตลอดมา  บรรดาคริสตชนมีความสนใจ  และ แสวงหาการภาวนาแบบลึ ก มากยิ่ ง ขึ้ น มีขบวนการชีวติ จิตเกิดขึน้ มากมาย15  ในความ เป็นจริงทุกขบวนการชีวิตจิตเป็นโรงเรียนและ ขบวนการทีเ่ น้นการภาวนา  เพราะเป็นผลงาน ของพระจิตเจ้าเพื่อฟื้นฟูชีวิตและสังคม มีขบวนการฟื้นฟูการภาวนาในรูปแบบ ต่างๆ  และมีกลุ่มภาวนาต่างๆ  เกิดขึ้น  เช่น การภาวนาในพิธีกรรม  การสวดสายประค�ำ การภาวนาต่อหน้าศีลมหาสนิท  การภาวนา แบบเทเซ่  การร�ำพึงภาวนาอาศัยพระคัมภีร์ (Lectio  Divina)  การฟืน้ ฟูการปฏิบตั จิ ติ ภาวนา แบบนักบุญอิกญาซีโอ  (Spiritual  Exercises) การภาวนาตามแนวของนักบุญฟรังซิส  แห่ง อัสซีซ ี ตามแนวของนักบุญเทเรซา  แห่งอาวีลา และนักบุญยอห์น  แห่งไม้กางเขน  การภาวนา อาศัยพระจิตเจ้า  และจิตภาวนา  (Contem-

สมชัย  พิทยาพงศ์พร.  พัฒนาการวิถีชีวิตจิตคริสตชน  ประวัติความเป็นมาของวิถีชีวิตคริสตชนตั้งแต่สมัยแรก เริ่ม...จนถึงปัจจุบัน.  หน้า  195-196.  15

30

วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม


สมชัย พิทยาพงศ์พร

plative  Prayer)  เป็นต้น  ขบวนการจิตภาวนา ได้ มี ก ารฟื ้ น ฟู ใ นคณะนั ก พรตต่ า งๆ  เช่ น คุ ณ พ่ อ โทมั ส   เมอร์ ตั น   (Fr.Thomas Merton,  OCSO  ค.ศ. 1915-1968)  พระสงฆ์ นักพรตคณะแทร็ปปีสต์  (Trappist)  ผู้เขียน หนั ง สื อ แนะน� ำ จิ ต ภาวนา  และฌานนิ ย ม (Mysticism)  ท่ามกลางโลกวัตถุนยิ มทีเ่ ปลีย่ น แปลงอย่างรวดเร็ว  ต่อมามีผนู้ ำ� ด้านจิตภาวนา หลายท่าน  เช่น  คุณพ่อวิลเลีย่ ม  ยอห์นสตัน (Fr.William  Johnston  SJ.)  คุณพ่อบีด กริฟฟิธส์  (Fr.Bede  Griffiths)  และฌอง วานีเอร์  (Jean  Vanier)  เป็นต้น คุณพ่อยอห์น  เมน  (Fr.John  Main, OSB  1928-1982)  พระสงฆ์คณะเบเนดิกติน ได้ตั้งกลุ่มภาวนากลุ่มแรกในอารามของท่าน ในกรุงลอนดอนตั้งแต่ปี  ค.ศ. 1975  ปัจจุบัน กลายเป็นขบวนการกลุม่ ภาวนา  (The  World Community  for  Christian  Meditation) คุ ณ พ่ อ ลอเร็ น ซ์   ฟรี แ มน  (Fr.Laurence Freeman,  OSB.)  ศิ ษ ย์ ข องท่ า นได้ เ ป็ น จิ ต ตาธิ ก ารแทน  กลุ ่ ม ภาวนาได้ ข ยายไป มากกว่ า   100  ประเทศ  (http://www. wccm.org)  และคุ ณ พ่ อ โทมั ส   คิ ท ติ้ ง

16

(Fr.Thomas  Keating,  OCSO)  พระสงฆ์ นั ก พรตคณะแทร็ ป ปี ส ต์ ไ ด้ ส ่ ง เสริ ม และ ตั้งขบวนการภาวนา  (Centering  Prayer Movement)  และมี ก ารภาวนาอาศั ย พระคัมภีร์แบบ  Lectio  Divina  มีคุณพ่อ วิลเลี่ยม  มีนนิ่ง  คุณพ่อบาซิล  เพนนิงตัน (Fr.William  Meaning,  OCSO,  Fr.Basil Pennington,  OCSO.)  ช่วยเป็นจิตตาธิการ ด้ ว ย  มี ก ลุ ่ ม ภาวนาขยายไปหลายประเทศ (http:///www.swomass.org/keating.htm) 3.3  ในพระศาสนจักรในประเทศไทย มีการส่งเสริมจิตภาวนาดังนี้ 3.3.1  กลุ่มจิตภาวนาตามแนวทาง ของคุ ณ พ่ อ จอห์ น เมน  และ  คุ ณ พ่ อ ลอว์เรนซ์  ฟรีแมน,  OSB16  คุณพ่อยอห์น เมนและคุ ณ พ่ อ ลอเร็ น ซ์   ฟรี แ มน  ได้ ม า แบ่ ง ปั น และได้ มี ก ารตั้ ง กลุ ่ ม ภาวนาใน พระศาสนจักรต่างๆ  รวมทั้งในประทศไทย ปัจจุบันมีการพบปะร่วมภาวนากันที่วัดพระ มหาไถ่กรุงเทพฯ  และทีบ่ า้ นเซเวียร์อนุสาวรีย์ ชัยสมรภูมิ  (WCCM-The  World  Community  for  Christian  Meditation)

ดูคุณพ่อลอเร็นซ์  ฟรีแมน,  O.S.B.  การฝึกจิตภาวนาแบบคริสต์ในชีวิตประจ�ำวัน.  2013.

ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2017/2560

31


ความเร่งด่วนทีเ่ รียกร้องการส่งเสริมจิตภาวนาของคริสตชนและการตอบสนองของพระศาสนจักรคาทอลิก ในประเทศไทยในสมัยปัจจุบนั

3.3.2  กลุม่ จิตภาวนาแบบมีสติตนื่ รู้ อยูป่ จั จุบนั   7  ระดับของนักบุญเทเรซาแห่ง อาวี ล า  เป็ น กลุ ่ ม จิ ต ภาวนาที่ ส ่ ง เสริ ม การ ปฏิบตั กิ ารส�ำรวมจิต  และจิตภาวนาเพือ่ ความ เป็นหนึ่งเดียวกับพระเจ้าตามแนวของนักบุญ เทเรซาแห่งอาวีลา  มีการปฏิบตั จิ ติ ภาวนาร่วม กันของคริสตชนผูส้ นใจและสมัครใจตามเวลาที่ ก� ำ หนด  โดยการน� ำ ของภราดาชุ ม พล ดีสุดจิต  และผู้ร่วมงาน 3.3.3  กลุ ่ ม จิ ต ภาวนาแบบการ ภาวนาด้ ว ยดวงพระหฤทั ย พระเยซู เ จ้ า (Jesu-Maum  Prayer)17  เป็นแนวทางจิต ภาวนาตามแนวทางของนักบุญเทเรซาแห่ง อาวีลา  นักบุญยอห์นแห่งไม้กางเขน  และ แนวทางของนั ก พรตคริ ส ตชนสมั ย แรกเริ่ ม โดยการน� ำ ของซิ ส เตอร์ ก วอน  มิ น   จา ชาวเกาหลี   ซึ่ ง ได้ รั บ การรั บ รองจาก พระศาสนจักรคาทอลิกในประเทศเกาหลีใต้ และมีการแบ่งปันเผยแผ่ให้บรรดาคริสตชน ผู ้ ส นใจในประเทศไทย  โดยพระสงฆ์ แ ละ นักบวชที่มีประสบการณ์จิตภาวนาแบบนี้

3.3.4  กลุ่มภาวนาอาศัยพระคัมภีร์ แบบเลคซีโอดิวนี า  (Lectio  Divina)  การ ภาวนาอาศั ย พระคั ม ภี ร ์ แ บบเลคซี โ อดิ วี น า (Lectio  Divina)  มีตั้งแต่สมัยนักพรตสมัย แรกเริ่ม  โดยเฉพาะนักพรตคณะเบเนดิกติน และมีการปฏิบัติสืบต่อกันมา  ปัจจุบันพระ สังฆราชประธาน  ศรีดรุณศีล  และผู้ร่วมงาน ได้นำ� บรรดาคริสตชนผูส้ นใจปฏิบตั ริ ว่ มกันตาม เวลาที่ก�ำหนด 3.3.5  การปฏิ บั ติ จิ ต ภาวนาตาม แบบนักบุญอิกญาซีโอ  (The  Spiritual Exercises)18  เป็นการปฏิบัติจิตภาวนาตาม แบบของนักบุญอิกญาซีโอ  (ค.ศ. 1491-1556) ผู้ก่อตั้งคณะเยสุอิต  เป็นการปฎิบัติจิตภาวนา เพื่อฟื้นฟูและปฏิรูปชีวิตใหม่  และน�ำไปสู่การ พบพระเจ้า  ใช้ระยะเวลา  8  วัน  ถึง  30  วัน ให้ บ ริ ก ารที่ ศู น ย์ ป ฏิ บั ติ จิ ต ภาวนาของคณะ นักบวชเยสุอิต

ดูกวอน  มิน  จา  RSCJ.  การภาวนาด้วยพระหฤทัยพระเยซูเจ้า:  จิตภาวนาแบบตะวันออกในคริสตศาสน.  2555.   ดูสมชัย  พิทยาพงศ์พร.  พัฒนาการวิถชี วี ติ จิตคริสตชน  ประวัตคิ วามเป็นมาของวิถชี วี ติ คริสตชนตัง้ แต่สมัยแรก เริ่ม...จนถึงปัจจุบัน.  หน้า  115,  2008. 17

18

32

วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม


สมชัย พิทยาพงศ์พร

4.  สรุปแนวทางปัจจุบันและความคาดหวัง ในอนาคตต่อการส่งเสริมชีวิตจิตแห่งการ ภาวนาและจิตภาวนาของคริสตชน ในสังคมปัจจุบันที่มีการเปลี่ยนแปลง อย่างรวดเร็ว  มนุษย์ยังคงแสวงหาแนวทาง การปฏิ บั ติ จิ ต ภาวนาที่ จ ะช่ ว ยให้ พ วกเขา เปลีย่ นแปลงสูส่ ภาพชีวติ ใหม่  ส�ำหรับคริสตชน ก็เช่นกัน  ยังมีความพยายามแสวงหาชีวิตจิต แห่งการภาวนา  และส�ำหรับจิตภาวนาทีล่ กึ ซึง้ นั้ น   จะเป็ น การบู ร ณาการกั บ ชี วิ ต ทั้ ง กาย จิตใจ  สังคม  และจิตวิญญาณ  ท�ำให้สามารถ เชือ่ มชีวติ กับสิง่ สูงสุดคือ  การเป็นหนึง่ เดียวกับ พระจ้ า   เพื่ อ นมนุ ษ ย์   และสิ่ ง สร้ า งในโลก ปัจจุบัน ดังนั้น  พระศาสนจักรซึ่งเผชิญหน้ากับ ความท้าทายในการตอบสนองความต้องการนี้ จึงมีความเร่งด่วนในการส่งเสริมชีวิตจิตแห่ง การภาวนาและจิตภาวนาของคริสตชนใน สมัยปัจจุบัน  เหตุด้วย 4.1  การส่งเสริมชีวติ จิตแห่งการภาวนา และจิตภาวนาเป็นการตอบสนองและรับมือกับ สภาพความเป็นจริงในโลกปัจจุบันและสังคม ไทย  เนื่ อ งจากลัท ธิวัตถุนิยม  บริโภคนิยม ปั จ เจกนิ ย ม  และสั ม พั ท ธนิ ย มซึ่ ง น� ำ ไปสู ่ โลกียน์ ยิ ม  และการพัฒนาด้านเทคโนโลยีโดย เฉพาะสือ่ ออนไลน์ได้สง่ ผลต่อสภาพการด�ำเนิน ชีวิตของคนในสังคมปัจจุบัน  ส่งผลให้วิถีชีวิต

ศีลธรรมและจริยธรรมเสือ่ มลง  ขาดความใส่ใจ ด้านศาสนา  การพัฒนาชีวติ จิตแห่งการภาวนา และจิตภาวนาจะช่วยให้รู้จักตนเอง  รู้เท่าทัน และปฏิบัติอย่างถูกต้องเมื่อเผชิญกับความคิด ความรูส้ กึ   อารมณ์  ความอยาก  กิเลสตัณหา แรงผลักดันต่างๆ  รวมถึงบาดแผลในใจ  และ บาป  ฯลฯ  การรู้จักตนด้านบวกและด้านลบ จะน� ำ ไปสู ่ ก ารเปิ ด ตนให้ พ ระเจ้ า ช่ ว ยช� ำ ระ รักษา  อาศัยพระวาจา  ศีลศักดิ์สิทธิ์และการ อธิษฐานภาวนาสม�่ำเสมอโดยไม่หยุดหย่อน (ลก  18:1;1  ธส  5:17)  จนมีสภาพจิตใหม่ คือใจบริสุทธิ์  เป็นอิสระ  รู้เท่าทัน  สามารถ แยกแยะวินิจฉัย  สิ่งที่เป็นพระประสงค์ของ พระเจ้า  เปี่ยมด้วยสันติสุขและความรัก และการที่เราจะรู้เท่าทันสภาพสังคม สามารถด�ำเนินชีวิตคริสตชนอย่างเต็มเปี่ยมใน โลกปัจจุบนั อย่างมีสติ  มีความเข้มแข็งสามารถ ต่อสู้การประจญต่างๆ  จะน�ำไปสู่การพัฒนา ชีวิตให้มีบูรณาการในมิติต่างๆ  ทั้งกาย  จิต วิญญาณและสังคมอย่างมีความสุข  มีสว่ นร่วม ในการเสริมสร้างสังคมแห่งความรักความเป็น หนึ่งเดียวกัน 4.2  การส่งเสริมชีวติ จิตแห่งการภาวนา และจิตภาวนาเป็นการตอบสนองต่อการเรียก ร้องของผู้น�ำพระศาสนจักรโดยเฉพาะนักบุญ ยอห์ น   ปอลที่   2  พระสั น ตะปาปา  และ สมเด็ จ พระสั น ตะปาปาฟรั ง ซิ ส ให้ ค ริ ส ตชน

ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2017/2560

33


ความเร่งด่วนทีเ่ รียกร้องการส่งเสริมจิตภาวนาของคริสตชนและการตอบสนองของพระศาสนจักรคาทอลิก ในประเทศไทยในสมัยปัจจุบนั

ทุ ก คนเรี ย นรู ้  ฝึก ปฏิบัติ  ให้ก ้าวหน้าจนมี ประสบการณ์ชีวิตภาวนาอย่างลึกซึ้ง  มีความ รั ก เป็ น หนึ่ ง เดี ย วกั บ พระเจ้ า   เพื่ อ นมนุ ษ ย์ และสิ่ ง สร้ า งตามแบบอย่ า งของนั ก บุ ญ ที่ ก้ า วหน้ า ในชี วิ ต จิ ต ในยุ ค ต่ า งๆ  ของพระ ศาสนจักร  เช่น  นักบุญแอนโทนี่แห่งอิยิปต์ นั ก บุ ญ เบเนดิ ก ต์ แ ห่ ง เนอร์ เ ซี ย   นั ก บุ ญ ฟรังซิสแห่งอัสซีซี  นักบุญเทเรซาแห่งอาวีลา นั ก บุ ญ ยอห์ น แห่ ง ไม้ ก างเขน  และนั ก บุ ญ อิกญาซีโอแห่งโลโยลา  ฯลฯ 3.3  การส่งเสริมชีวติ จิตแห่งการภาวนา และจิตภาวนาเป็นการตอบสนองต่อการเรียก ร้ อ งของกฤษฎี ก าสมั ช ชาใหญ่ ข องพระ ศาสนจักรคาทอลิกในประเทศไทยคริสตศักราช 2015  (ข้อ  36)  ให้มีการศึกษาอบรมและ ฝึกปฏิบตั กิ ารภาวนาโดยเฉพาะจิตภาวนาให้กบั บรรดาคริสตชนโดยเฉพาะฆราวาส 4.4  การส่งเสริมชีวติ จิตแห่งการภาวนา และจิ ต ภาวนาเป็ น การปรั บ ตนให้ เข้ า กั บ วั ฒ นธรรมและจิ ต วิ ญ ญาณของชาวเอเซี ย

34

วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

ในคุ ณ ค่ า ความรั ก   ความเงี ย บ  จิ ต ภาวนา ความเรี ย บง่ า ย  ความพอเพี ย ง  ความ กลมกลืน  การไม่ยึดติด  ไม่ชอบความรุนแรง การท�ำงานหนัก  มีระเบียบวินัย  ชีวิตสมถะ กระหายหาความรู ้   และแสวงหาปรั ช ญา มี ค วามเคารพต่ อ ชี วิ ต   มี ค วามเมตตาต่ อ สิ่งมีชีวิต  มีความใกล้ชิดกับธรรมชาติ  รักษา สิ่งแวดล้อมและระบบนิเวศ  มีความกตัญญู การนั บ ถื อ บิ ด ามารดา  ผู ้ อ าวุ โ ส  และ บรรพบุรุษ  มีความส�ำนึกในชีวิตหมู่คณะสูง ให้ความส�ำคัญกับครอบครัว  มีความอดกลั้น และการอยู ่ ร ่ ว มกั น อย่ า งสั น ติ   การเปิ ด ใจ ยอมรับผูอ้ นื่ ในท่ามกลางความหลากหลายของ ศาสนาและวัฒนธรรม  เป็นต้น  การภาวนา ที่ มี บู ร ณาการทั้ ง กาย  จิ ต ใจ  สั ง คม  และ จิตวิญญาณ  น�ำสูก่ ารเชือ่ มชีวติ กับสิง่ สูงสุดคือ การเป็ น หนึ่ ง เดี ย วกั บ พระจ้ า   เพื่ อ นมนุ ษ ย์ และสิ่งสร้างทั้งมวล  ทั้งชีวิตในโลกปัจจุบัน และน�ำไปสู่ชีวิตนิรันดรในโลกหน้า


สมชัย พิทยาพงศ์พร

บรรณานุกรม แผนกค� ำ สอนอั ค รสั ง ฆมณฑลกรุ ง เทพฯ. ค� ำ สอนพระศาสนจั ก รคาทอลิ ก (CCC)  ภาคสี ่ การภาวนาของคริสตชน. กทม.:  ศูนย์หนังสือฝ่ายอภิบาลและ ธรรมทูต,  1999. ฟรังซิส,  สมเด็จพระสันตะปาปา.  สมณสาสน์ เตื อ น  “ความชื่ น ชมยิ น ดี แ ห่ ง พระ วรสาร”.  (Evangelii  Gaudium E.G)  2014. ฟรังซิส,  สมเด็จพระสันตะปาปา.  สมณสาสน์ “ขอสรรเสริ ญ องค์ พ ระผู ้ เ ป็ น เจ้ า ”. (Laudato  Si)  2015. ฟรังซิส,  สมเด็จพระสันตะปาปา.  สมณสาสน์ เตือน  “ความปิติยินดีแห่งความรัก เกี่ ย วกั บ ความรั ก ในครอบครั ว ” (Amoris  Laetitia)  2016. กวอน  มิ น   จา  RSCJ.  การภาวนาด้ ว ย พระหฤทัยพระเยซูเจ้า:  จิตภาวนา แบบตะวั น ออกในคริ ส ตศาสนา สื่ อ มวลชนคาทอลิ ก ประเทศไทย. กรุงเทพฯ,  2555. ยอห์น  ปอล  ที ่ 2,  สมเด็จพระสันตะปาปา. เส้ น ทางแห่ ง รั ก และความทรงจ� ำ . กรุ ง เทพฯ:  อมริ น ทร์ พ ริ้ น ติ้ ง แอนด์ พับลิชชิ่ง,  2552.

ยอห์น  ปอลที่  2,  สมเด็จพระสันตะปาปา. สมณสาสน์  “เริ่มต้นสหัสวรรษใหม่”. (Novo  MiIIiennio  Ineunte  NMI) 2000. ยอห์น  ปอลที่  2,  สมเด็จพระสันตะปาปา, สมณสาสน์   “พั น ธกิ จ ขององค์ พ ระ ผูไ้ ถ่”.  (Redemptoris  Missio  RM) 1990. ยอห์น  ปอลที่  2,  สมเด็จพระสันตะปาปา. สมณสาสน์ ห ลั ง การประชุ ม สมั ช ชา “พระศาสนจักรในเอเซีย”.  (Ecclesia in  Asia  E.A)  1999. โรแบต์  โกสเต,  บาทหลวง.  “ประวัติการ เผยแพร่ ค ริ ส ต์ ศ าสนาในสยามและ ลาว”  สือ่ มวลชนคาทอลิกประเทศไทย กรุงเทพฯ  2006. ลอเร็นซ์  ฟรีแมน,  บาทหลวง.  O.S.B. “การ ฝึกจิตภาวนาแบบคริสต์ในชีวติ ประจ�ำ วัน”  ศูนย์สื่อมวลชนคณะพระมหาไถ่ กรุงเทพฯ,  2013. สภาพระสังฆราชคาทอลิกแห่งประเทศไทย, กฤษฎีกาสมัชชาใหญ่ของพระศาสนจักร คาทอลิกในประเทศไทยคริสตศักราช 2015  “ศิ ษ ย์ พ ระคริ ส ต์ เจริ ญ ชี วิ ต ประกาศข่าวดีใหม่”  2017. สมชัย  พิทยาพงศ์พร.  พัฒนาการวิถชี วี ติ จิต คริสตชน  ประวัตคิ วามเป็นมาของวิถี

ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2017/2560

35


ความเร่งด่วนทีเ่ รียกร้องการส่งเสริมจิตภาวนาของคริสตชนและการตอบสนองของพระศาสนจักรคาทอลิก ในประเทศไทยในสมัยปัจจุบนั

ชี วิ ต คริ ส ตชนตั้ ง แต่ ส มั ย แรกเริ่ ม ... จนถึงปัจจุบัน,  นครปฐม:  วิทยาลัย แสงธรรม,  2008. สมชัย  พิทยาพงศ์พร.  วิถีชีวิตจิตคริสตชน แนวทางการด�ำเนินชีวิตตามคุณค่า พระวรสาร  นครปฐม:  วิ ท ยาลั ย แสงธรรม,  2007. สมชัย  พิทยาพงศ์พร.  วิถชี วี ติ จิตและวิถชี วี ติ จิ ต นั ก พรตคริ ส ตชนสมั ย แรกเริ่ ม : สวรรค์เริม่ แล้วในใจของคุณ  นครปฐม: วิทยาลัยแสงธรรม,  2013. สมชัย  พิทยาพงศ์พร.  ข่าวดีเรื่องอาณาจักร พระเจ้า:  แสงธรรมปริทศั น์  ปีท ี่ 16 ฉบับที่  2,  2002. สมชัย  พิทยาพงศ์พร.  ชีวิตแห่งการภาวนา ส� ำ หรั บ คริ ส ตชนในสมั ย ปั จ จุ บั น นครปฐม:  วิทยาลัยแสงธรรม,  2015 เอกสารสั ง คายนาวาติ กั น ครั้ ง ที่   2  พระ ธรรมนูญเรือ่ ง  พระศาสนจักร.  (Lumen Gentium  LG)  1964.

36

วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

เอกสารสั ง คายนาวาติ กั น ครั้ ง ที่   2  พระ ธรรมนูญเรื่อง  งานธรรมทูตของพระ ศาสนจักร.  (Ad  gentes  divinitus AGD) เอกสารสังคายนาวาติกันครั้งที่  2  พระสมณ กฤษฎีกาเรื่อง  การปรับปรุงและฟื้นฟู ชีวิตนักบวช.  (Perfectae  Caritatis P.C.) Congregation  for  the  Doctrine  of the  faith.  Letter  to  the  Bishops of  the  Catholic  Church  on some  aspects  of  Christian meditation.  Boston,  t.Paul  Book, 1989. Downey,  Michael.  The  New  Dictionary of  Spirituality.  Minnesota: Liturgical  Press,  1993.


ลักษณะและงานของบุคคล ในพระธรรมเอสเธอร์

Cin areers and Characters the Book of Esther. ศาสนาจารย์ ดร.โฟลเรียน เฟอร์ก * อาจารย์ประจ�ำวิทยาลัยพระคริสต์ธรรมแมคกิลวารี มหาวิทยาลัยพายัพ ศาสนาจารย์ ดร.ซิน ซึง ยอม * อาจารย์ประจ�ำวิทยาลัยพระคริสต์ธรรมแมคกิลวารี มหาวิทยาลัยพายัพ Rev.Dr.Florian Foerg * Lecturer, McGilvary College of Divinity, Payap University. Rev.Dr.Sin Seung Yeom * Lecturer, McGilvary College of Divinity, Payap University.


ลักษณะและงานของบุคคลในพระธรรมเอสเธอร์

บทคัดย่อ

บทความนีม้ จี ดุ มุง่ หมายเพือ่ น�ำเสนอลักษณะของสองบุคคลส�ำคัญ ในพระธรรมเอสเธอร์  พร้อมทัง้ หนทางขึน้ สูค่ วามส�ำเร็จรวมทัง้ การตกต�ำ่ ของพวกเขาทัง้ สอง  สิง่ ทีไ่ ด้จากการค้นคว้ามีดงั นี ้ โมรเดคัย  ผูอ้ า่ นจะ ได้เห็นชีวิตภายใน  ความสัตย์ซื่อและความภักดีที่มีต่อกษัตริย์เซอร์ซีส (อสธ.  2:21-23)  เขาเป็นแบบอย่างของความประพฤติอนั ดีให้กบั ผูอ้ า่ น ในยุคยิวพลัดถิ่น  โมรเดคัยก้าวขึ้นสู่อ�ำนาจตามล�ำดับขั้นสี่ช่วงด้วยกัน (8:1-2;  8:15;  9:3-4;  10:1-3)  มีเหตุการณ์ดีๆ  ที่เข้ามามีบทบาท ส�ำคัญยิ่งยวดในความก้าวหน้าของเขา  (2:21;  23;  6:1  เป็นต้นไป) อีกด้านหนึ่ง  ผู้อ่านจะได้เห็นอารมณ์ความรู้สึก  ความคิด  แผนการ อีกทั้งชีวิตในโลกส่วนตัวของฮามาน  รวมทั้งความกระหายอ�ำนาจและ ใจร้อน  เขาเป็นคนอับโชคในนาทีวิกฤติของชีวิต  (6:1;  7:8)  ในพระ ธรรมเอสเธอร์  ฮามานเป็นผูเ้ ดียวทีม่ ชี วี ติ ด้านการงานทีผ่ กผัน  อ�ำนาจ ของเขามีทั้งช่วงที่ทะยานขึ้นและด�ำดิ่งลงในสี่ล�ำดับขั้น  (7:10;  8:1; 8:2;  9:14)  ผู้บรรยายได้ดึงเอาลักษณะนิสัยของบุคคลเหล่านี้ออกมา อย่างประณีตพร้อมทัง้ อาศัยศิลปะการสือ่ สารในการเล่าเรือ่ งได้อย่างชาญ ฉลาด ค�ำส�ำคัญ:

Abstract

38

พระธรรมเอสเธอร์ โมรเดคัย ฮามาน ลักษณะและงานของบุคคล

This study about the Book of Esther aims at bringing out the character of two main figures and their way to success or their downfall. The results are as follows: Concerning Mordecai the reader gets little insight into his inner life. Being loyal and committed to King Xerxes (Est. 2:21-23), he rises to power in four steps (8:1f; 8:15;

วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม


โฟลเรียน เฟอร์ก และ ซิน ซึง ยอม

9:3f; 10:1-3), happy circumstances playing an important role in that (2:21, 23; 6:1ff). Haman is overambitious, greedy for power and hot-headed, and simply has bad luck in crucial moments (6:1; 7:8). We have reports of both Haman’s rise to power and his downfall in four stages (7:10; 8:1; 8:2; 9:14). Keywords:

Book of Esther Mordecai Haman Career and Character

1. Introduction The personality traits of the main characters of the Book of Esther have often experienced neglect in the history of interpretation. They seemed too blurry and too simple. Besides that, they have been criticized for moral failings (like Est 9:5-10) or sexism (Fox, 1991, p. 1). But does this give them a fair reputation? This encourages a closer look at two main figures that are usually perceived as protagonists: Mordecai and Haman. I have chosen these two, because I wanted to have one Jew (Mordecai)

and one Persian (Haman) in this study. Besides that (as we will see), their characters and careers correspond to each other. The writer seems to contrast them on purpose. For the representation of the character traits and routes of these two, this study will start with Mordecai’s character (chapter 2.1) and his fourfold way up (chapter 2.2). He will be followed by Haman (hischaracter: chapter 3.1, his way up and fourfold way down: chapter 3.2 and 3.3). At the end there is a summary of results (Chapter 4).

ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2017/2560

39


ลักษณะและงานของบุคคลในพระธรรมเอสเธอร์

2. Mordecai the Jew 2.1 The silent ideal figure – Mordecai’s personality Mordecai is a Jew, abducted from Jerusalem in 597 BC, who then lives in Susa in the diaspora (Est 2:6). As a main character of the book (2:5; 10:3 inclusio) he represents an ideal figure of a faithful Israelite who keeps the Torah (Fox, 1991: p. 185). M. V. Fox has compiled his character traits (Fox, 1991: p. 185-191): As a devout Jew he understands the development of events, and always knows what advice to give (e.g. Est 4:12-14). Mordecai is brave (2:21-23; 3:1f) and behaves with loyalty to the King (2:2123). Towards his people he occupies a leading position and seeks the best for the Jews (10:3). He pursues his plans and goals directly, honestly and without manipulation (4:8). The narrator tells nothing about Mordecai‘s piety, but noted his belief in the salvation of the Jews (4:14a). “Mordecai is the type of the Jewish courtier in the diaspora, the ideal court Jew.” (Fox, 1991: p. 191) 40

วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

However, despite this wealth of traits, the reader gets barely a glimpse into the inner life of Mordecai: “Whereas the author violates Haman‘s privacy, he respects Mordecai‘s; even when Mordecai‘s motivation, reasoning, and responses call for explanation” (Fox, 1991: p. 191). 2.2 Mordecai’s fourfold way up 2.2.1 Est 8:1-2 In Est 8:1-2 the elevation of Mordecai is described briefly: Initially v.1b notes that Mordecai comes before King Xerxes, and encounters him for the first time in an official audience (Berlin, 2001: p. 73). This is due to his relationship with the queen (v.1b). The phrase bāʾ lipnēh hammelek points back to Est 1:11f, 17, 19: Mordecai is granted the privilege to enter into the King’s presence – an invitation that Queen Vashti had refused. That approaching the King is a special privilege, is shown by the fact that it is only allowed under special conditions, namely only if the King extends his scepter toward the person requesting access (Est 4: 11; 5:2; 8:4).


โฟลเรียน เฟอร์ก และ ซิน ซึง ยอม

Est 8:2a says that as a further step upwards Mordecai is given the royal seal ring (tabaʿat). The possession of this ring gives Mordecai royal authority and Mordecai may act in the name of the King. The second decree, sealed with the King‘s ring should not be revoked (8:8, 10). The handover of the ring to Haman (Est 3:10) is thus undone, and thus, as the owner of the ring, “Mordecai is replacing Haman at court” (Berlin, 2001: p.73). Another stage of Mordecai’s rise is reported in Est 8:2b: Esther appoints her relative and foster father Mordecai as custodian over Haman’s possessions. Since Mordecai replaces Haman, the rise of Mordecai runs exactly parallel with the fall of Haman (Wahl 2000a: p.67). 2.2.2 Second step (Est 8:15) In connection with the rise of Mordecai there is still something to mention about Est 8:15. After v.9-14 reported about drafting the second decree and its contents (the permission to the Jews of the Persian Empire, to defend themselves on Adar 13th),

v.15 describes how Mordecai, after his audience with the King, enters the public in special clothing. The royal robe (lĕbūš malkūt) reminds the reader of Est 6:7-10, in which Mordecai (as proposed by Haman) is clothed with lĕbūš malkūt (v. 8) and rode out on a horse through the city of Susa. This even had been a temporary honor for Mordecai, but now he gets royal robes permanently (Levenson, 1997: p.116). He thus can ultimately put away the sackcloth (lĕbūš śāq; Est 4:2). Accordingly, the great golden crown (ʿăṭeret zāhāb gĕdôlāh), as a sign of royal dignity (Bardtke, 1963: p. 374), replaces the ashes on the head of Mordecai (Est 4:1; Loader, 1992, p.268; Levenson, 1997: p.116). The word ʿăṭeret (crown) is found in the book of Esther only at this point, but it reminds the reader of the royal crown which Vashti (1:11) and Esther (2:17) carried. Thirdly, Est 8:15b mentions a coat besides the royal robe and the crown.

ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2017/2560

41


ลักษณะและงานของบุคคลในพระธรรมเอสเธอร์

Taken together, Mordecai’s clothing includes a blue-white robe, the golden crown, and the white-red coat, a sign of the highest recognition by the King (Meinhold, 1983: p.77; Dan 5:7, 29; 1Ma 10:20, 62-66). The names of the colors are reminiscent of the precious features of the royal banquet-hall (Est 1:6) and make it clear that Mordecai now finally went into the King‘s entourage. The city of Susa is responsive to the counter decree and to Mordecai‘s appearance with frenetic jubilation (8:15b); the former dismay after the first edict (3:15b) is thereby eliminated. 2.2.3 Third step (Est 9:3f) The brief interim memo Est 9:3f con-tains another note about Mordecai’s rise. V.3 tells that at the decisive day, the 13 th of Adar, many potentates of various provinces of the empire take the side of the Jews: The fear of Mordecai fell upon them. Mordecai thus plays a crucial role in the rescue of the Jews. Then v.4 underlines this fear before Mordecai by referring to

42

วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

Mordecai´s constantly increasing power. That he is called “the man Mordecai” (haʾīš mordokay; a redundant wording) in V.4b, recalls how he was introduced in Est 2:5 (ʾīš yĕhūdī; Levenson, 1997: p.121). The reader comprehends just how powerful the previously expelled Mordecai has become now. 2.2.4 Fourth step (Est 10:1-3) The end of the book of Esther brings at last possible place an indication of the position of Mordecai (Est 10:1-3). The fact that Xerxes can impose taxes respectively compulsory labor on the country and the coasts of the sea (v.1) – the formulation means the whole inhabited earth (Berlin, 2001: p.94) - does highlight Mordecai’s power. In v.2a Mordecai stands next to Xerxes, which suggests that King Xerxes owes his power to Mordecai’s merits (Est 2:21-23): The King would be not what he should, had he not the Jew Mordecai by his side (Mein- hold, 1983: p.96). However, it is clearly underlined that Mordecai is subor-dinate to the King: Xerxes


โฟลเรียน เฟอร์ก และ ซิน ซึง ยอม

appears in the first place, and the (simple) greatness of Mordecai is compared with the (twofold) strength and power of the King. Moreover, the last part of v.2a says that the King has lifted Mordecai into this position of power. According to v.3a Mordecai is the second man (mišneh lammelek) after the King. This title is an official name for a very high state post in the government (Meinhold, 1983: p.97). Nevertheless, their power is nearly equal, considering that Mordecai owes his position to King Xerxes and the King owes his power (v.1f) and his life (Est 2:21ff) to the Mordecai. They therefore need each other. According to the interpretation in Josephus Ant 11:295 Mordecai and Xerxes (Josephus: Artaxerxes) are on the same level, “Mordecai [...] reigned together with him” (Wahl, 1999: p.208). 3. Rise and Fall: Haman 3.1 Haman, a transparent and overambitious man

M. V. Fox has found that Haman is described as a transparent character by the narrator: “No character, not even Xerxes, is ever subjected to such direct, deep, and extensive exposure.” (Fox, 1991: p.179 and p.178f for the following). This is especially true for Haman’s emotions (rage: Est 3:5b;5: 9b; joy: Est 5:9a.14b; mourning: Est 6:12b; fear: Est 7:6b), for his thoughts (Est 6:6; 7:7b) and his plans (Est 3:6; 6:7ff). Moreover, Haman is trying to get his power and status constantly confirmed: That is why he cannot accept that Mordecai refuses to fall down before him (3:5; 5:9) and that is why Haman is determined to exterminate the Jews in all Persia (3:12-15). This fits well with Haman’s boasting in front of his friends (5:9ff) and with his firm belief that King Xerxes would honor him (6:7ff). The Esther narrative shaped Haman’s character as quite awkward (Fox, 1991: p.182f): The gallows for Mordecai were erected hastily, and only after the erection Haman asks

ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2017/2560

43


ลักษณะและงานของบุคคลในพระธรรมเอสเธอร์

the King for the execution of Mordecai (Est 6:4). These gallows turn out to be a piece of evidence in Haman’s trial (7:9f). The high honors, which Haman proposes for itself, rather turn out to promote the honors of his opponent Mordecai (6:6ff). By finally prostrating at Esther’s bed Haman only accelerates his sentencing (7:8). Nevertheless, the foolish Haman may be very clever, when it comes to the defamation of Jews (3:8f), which he builds from truths and half-truths (Fox, 1991: p.182f). A. BERLIN is right, when she writes: Haman “is an egocentric buffoon, concerned with his image and consumed by his emotions.” (Berlin, 2001: p. 33). 3.2 Haman’s rapid rise to success The ascent of Haman has its origin in Est 3:1f. Without any apparent justification Xerxes expands the powers of Haman. It stands in sharp contrast to Mordecai’s justified rise to power (Est 2:21-23) that no reasons are given that led Xerxes to promote

44

วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

Haman. Est 3:10 adds another aspect of Haman’s promotion: He is given the seal ring (tabaʿat) that King Xerxes wore on his hand a few minutes earlier. As Haman is the new owner of this ring, the power of jurisdiction is bestowed on him (Wahl, 2000a: p.65f; Bardtke, 1963: p.323). This enables Haman to authorize the edict on the destruction of the Jews (v.12). In receiving the ring, the short and steep rise of Haman comes to an end. His position as governor, as the second man in the Kingdom after the King, appears in the following chapters in the fact that Haman is sometimes mentioned next to King Xerxes: Est 3:15 shows the King and Haman drinking and according to 5:4f.8; 7:1 (see 6:12), both the King and Haman (in this order) participate in the feasts organized by Esther. 3.3 The Fall of Haman The immense power of Haman is clouded by the persistent behavior of Mordecai who refuses to fall down before Haman and in doing so evades


โฟลเรียน เฟอร์ก และ ซิน ซึง ยอม

the power of Haman. Although Haman prevails in front of King Xerxes in enforcing the decree on the destruction of the Jews (Est 3:811), and thus demonstrates his power over Mordecai, Haman nevertheless reacts with anger (Est 3:5; see 5:9) and in doing so shows his emotional vulnerability to Mordecai and his behavior. The descent of Haman that has already begun in these events is only evident in Est 6:6-11. However, Haman tries one last time in the circle of his friends and his wife to assert his high position (Est 5:10-12). In addition to the edict of the extermination of the Jews (3:12f), Haman decides to kill Mordecai (5:14) on gallows erected for that purpose. Immediately after this verse however, the developments take a very different course and the decline of Haman is accelerating. As King Xerxes is sleepless in this night, he finds out that Mordecai (Est 6:1-3) has not been honored yet for saving the King’s life. After that night,

Xerxes commands Haman to honor Mordecai publicly (6:10ff). Certainly, this does not yet mean a loss of Haman’s position as governor. Nevertheless, Haman must serve Mordecai whom he hated so much by bringing him royal robes and a horse. When he leads him through the city, Mordecai may sit up high (on the horse), while Haman must walk on the street. The fact that Mordecai sits, is an indication of his special high dignity. In addition, it must have been very humiliating for Haman to proclaim publicly about Mordecai that the King wants to honor Mordecai (6:11b). This hits Haman so hard, because up to that time he thought he himself would receive such an honor (6:6), and because after the Mordecai’s ride all the public knows that the King apparently has no interest in giving a special award to Haman. Haman is again internally controlled by events, when he rushes home mourning and with his head veiled (Est 6:12b). A. BERLIN writes

ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2017/2560

45


ลักษณะและงานของบุคคลในพระธรรมเอสเธอร์

that Haman is “ashamed and dejected” and “mourning for his lost honor.” (Berlin, 2001: p. 62) Haman in his mourning recalls the mourning of the Jews (Est 4:3): Will Haman once be delivered to death like the Jewish people? Surely, in the veiling of the head as an expression of being dishonored (see Exo 3:6; 2Sa 15:30; 19: 5; 1Ki 19:13; Jer 14:4; Eze 24:22; Mic 3: 7) the decline of Haman begins to emerge clearly. At the same time, the wrapping of the head of Haman anticipates his death, because shortly before his execution, his head is again veiled (Est 7:8). Haman’s advisors and his wife Zeresh correctly interpret the course of recent past events: Haman already started to fall against Mordecai (6:13b). At the same time, their words indicate the rest of the story: If Mordecai is a Jew (in this point, the reader is one step ahead of Zeresh and Haman), Haman will fall completely before Mordecai.

46

วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

At Esther’s (second) supper for the King and Haman (Est 7:1-10), the decline of Haman takes dramatic dimensions. H. Wahl has shown that the events reported in Est 7:1-8:1 are to be understood as a lawsuit against Haman with Xerxes as the highest judge (Wahl, 2000b: p.107-110). The judgment announced by Xerxes corresponds to Persian customs: Two indictments have recently been registered against Haman (attempted murder of the Queen, 7:4 and of Mordecai, 7:9) and after the hearing of two independent witnesses (Esther, 7:6 and Harbona, 7:9) Haman is sentenced to death. Because Haman has already admitted his guilt by his double plea for clemency (7:7-8), Haman’s defense speech seems to be unnecessary. Because Haman is standing his first plea for clemency (ʿāmad v. 7b), but falling on his knees in the second (nopēl; v.8a), the downfall of Haman is foreshadowed here clearly. The fair trial of Haman ends in carrying out the sentence of death (v.10).


โฟลเรียน เฟอร์ก และ ซิน ซึง ยอม

However, the narrator of the Book of Esther is not content with the death of Haman yet: Est 8:1 reports that the possessions of Haman fall to the crown. As v.2a shows, the signet was taken from Haman before his execution; thus right before his death, Haman had lost royal authority. Finally, Esther installs Mordecai as administrator of the property of Haman’s family (v.2b). To Haman’s threefold loss of (1) royal power, (2) life and (3) property Est 9:7-10a,13f add as a fourth point the death of his ten sons with whom Haman boasted in 5:11 in the presence of his friends and his wife. A. BERLIN points out that “their deaths assure the readers that Haman’s lineage is now ended forever and the family will present no further threat.” (Berlin, 2001: p.85). Finally, the very fact that Haman and his family fall in four stages corresponds to the rise of Mordecai that is also narrated in four stages (Est 8:1f; 8:15; 9:4; 10:1–3).

4. Summary This article has the aim of identifying the nature of two of the main characters of the Book of Esther: Mordecai and Haman. The investigation of these two individuals gave the following results: As for Mordecai, the reader gets little insight into his inner life. His faithfulness (Est 3:1ff) and his commitment to the foreign King (2:21-23) show the reader a model of exemplary life in the diaspora. Nevertheless, the book of Esther traces his rise back to favorable coincidences of different circumstances (2:21-23; 6:1ff). His ascent in four stages (Est 8,1f; 8:15; 9:3f; 10:1-3) is doubly impressive by the anticipation in 6:6-11. The reader gets strikingly significant insights into the inner life of Haman, his feelings, thoughts and plans. Haman appears as overambitious, obsessed with power and hotheaded. He is most likely shown as a negative example (see Pro 25:28; 29: 8). Nevertheless: Haman has also just bad luck at crucial moments (Est 6:1;

ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2017/2560

47


ลักษณะและงานของบุคคลในพระธรรมเอสเธอร์

7:8). His is the only career in the Book of Esther that has a curve: Both his rise and his downfall are reported; the latter, as Mordecai’s rise, is in four stages. Like with Mordecai, his downfall is anticipated in 6:6-11. This suggests that Haman and Mordecai are juxtaposed. 5. Bibliography Bardtke, H. (1963). Das Buch Esther (Kommentar zum Alten Testa- ment XVII 5). Gütersloh: G. Mohn. Berlin, A. (2001). Esther: The tradi- tional Hebrew text with the new JPS translation and com- mentary (JPS Bible Commen tary). Philadephia : Jewish Publi cation Society. Fox, M.V. (1991). Character and Ideo- logy in the Book of Esther, Studies on Personalities of the Old Testament. Columbia, S.C.: University of South Carolina Press. Herodotus. Histories I and II (www. gutenberg.org/ebooks/search/? query=herodotus; May 17, 2016)

48

วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

Levenson, J.D. (1997). Esther. A Com mentary (Old Testament Li- brary). Louisville, Ky. : Westmins ter John Knox Press. Meinhold, A. (1983). Das Buch Esther (Zürcher Bibel Kommentare 13) Zürich: Theologischer Verlag. Wahl, H.M. (1999). Ester, das adop- tierte Waisenkind. Zur Adoption im Alten Testament. Biblica 80, 78–99. Wahl, H.M. (2000a). Das Motiv des ''Aufstiegs" in der Hofgeschich- te. Am Beispiel von Joseph, Esther und Daniel. Zeitschrift für die Alttestamentliche Wissenschaft 112, 59–74. Wahl, H.M. (2000b). Der Prozess Ha- mans (ESTHER 7,1–8,1). Zur königlichen Gerichtsbarkeit im Alten Testament. Ephemerides theologicae Lovanienses 76, 105–112. Wahl, H.M. (2001). "Glaube ohne Gott?" Zur Rede vom Gott Israels im hebräischen Buch Esther. Bibli sche Zeitschrift 45, 37–45.


โฟลเรียน เฟอร์ก และ ซิน ซึง ยอม

Wahl, H.M. (2009). Das Buch Esther. Übersetzung und Kommentar. Berlin / New York:  Walter de Gruyter.

ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2017/2560

49


การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือ

โดยบูรณาการนิทานสร้างสานคุณธรรม ในรายวิชาจริยศึกษาเพื่อส่งเสริมพฤติกรรม ความซื่อสัตย์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1

Cooperative Learning and Virtue Tales for Promoting Integrity of Pratom Suksa 1 Students.

จินตนา ศรีดาวเดือน * อาจารย์ประจ�ำโรงเรียนเซนต์ฟรังซีสเซเวียร์ ดร.สุทธิพงศ์ บุญผดุง * อาจารย์ประจ�ำคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา Jintana Sridaoduen * Lecturer, St.Francis Xavier School. Dr.Suttipong Boonphadung *  Lecturer, Faculty of Education, Rajabhat Suansunandha University.


จินตนา ศรีดาวเดือน และ สุทธิพงศ์ บุญผดุง

บทคัดย่อ

การวิ จั ย ครั้ ง นี้ มี วั ต ถุ ป ระสงค์   1)  เพื่ อ ศึ ก ษาและวิ เ คราะห์ พฤติกรรมความซื่อสัตย์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่  1  หลังจัด กิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือโดยบูรณาการนิทานสร้างสานคุณธรรม ในรายวิชาจริยศึกษา  2)  เพื่ อ ศึ ก ษาความคิ ด เห็ นของนั ก เรี ย นชั้ น ประถมศึ ก ษาปี ที่   1  ที่ มี ต ่ อ กิ จ กรรมการเรี ย นรู ้ แ บบร่ ว มมื อ โดย บูรณาการนิทานสร้างสานคุณธรรมในรายวิชาจริยศึกษา  กลุม่ ตัวอย่าง ได้ แ ก่ นั ก เรี ย นชั้ น ประถมศึ ก ษาปี ที่ 1 โรงเรี ย นเซนต์ ฟ รั ง ซี ส เซเวี ย ร์ ภาคเรี ย นที่   2  ปี ก ารศึ ก ษา  2556  ได้ ม าโดยการสุ ่ ม แบบกลุ ่ ม จ�ำนวน  1  ห้องเรียน  มีนักเรียน  35  คน  เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่แผนการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือโดยบูรณาการนิทานสร้างสาน คุณธรรม  แบบวัดสถานการณ์ความซือ่ สัตย์  แบบสอบถามความคิดเห็น ของนักเรียนทีม่ ตี อ่ การจัดกิจกรรมการเรียนรูแ้ บบร่วมมือโดยบูรณาการ นิทานสร้างสานคุณธรรม  ที่มีความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหาที่  0.05  และ ความเชื่อมั่นในระดับที่  0.67-1.00  การวิเคราะห์ข้อมูลใช้ค่าเฉลี่ย ( X )  ค่าเบีย่ งเบนมาตรฐาน  (S.D.)  และการทดสอบค่าที  ผลการวิจยั พบว่า 1.  พฤติกรรมความซื่อสัตย์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่  1 ก่อนการจัดกิจกรรมการเรียนรูแ้ บบร่วมมือโดยบูรณาการนิทานสร้างสาน คุณธรรม  อยู่ในระดับปานกลาง  ส่วนหลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ แบบร่วมมือโดยบูรณาการนิทานสร้างสานคุณธรรม  อยู่ในระดับมาก 2.  พฤติกรรมความซื่อสัตย์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่  1 หลังจัดการเรียนรูแ้ บบร่วมมือโดยบูรณาการนิทานสร้างสานคุณธรรมใน รายวิชาจริยศึกษามีพฤติกรรมความซื่อสัตย์สูงกว่าก่อนการจัดกิจกรรม แบบร่วมมือโดยบูรณาการนิทานสร้างสานคุณธรรมอย่างมีนยั ส�ำคัญทาง สถิติที่  0.05 3.  ความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ แบบร่ ว มมื อ อยู ่ ใ นระดั บ เห็ น ด้ ว ยมาก  ( X =2.87,  S.D.=0.18)

ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2017/2560

51


การจัดกิจกรรมการเรียนรูแ้ บบร่วมมือโดยบูรณาการนิทานสร้างสานคุณธรรมในรายวิชาจริยศึกษา เพือ่ ส่งเสริมพฤติกรรมความซือ่ สัตย์ของนักเรียนชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 1

โดยนั ก เรี ย นสามารถปฏิ บั ติ กิ จ กรรมได้ ทุ ก ขั้ น ตอนช่ ว ยเสริ ม สร้ า ง พฤติกรรมความซือ่ สัตย์ได้เป็นอย่างดี  เกิดความสนุกสนานในการเรียน รู้มีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นส่งผลให้นักเรียนมีพฤติกรรมความ ซื่อสัตย์ดีขึ้น ค�ำส�ำคัญ: Abstract

52

1)  พฤติกรรมความซื่อสัตย์ 2)  การเรียนรู้แบบร่วมมือ 3)  นิทานสร้างสานคุณธรรม

The  purpose  of  this  study  was  1)  to  study  and analyze  integrity  of  Pratom  suksa  1  students  after learning  by  using  cooperative  learning  and  virtue tales  2  )  to  study  the  Pratom  suksa  1  students’ opinions towards the cooperative learning and virtue tales. The  sample  group  was  Pratom  suksa  1  students of  ST.Francis  Xavier  School,  in  the  second  semester of  the  academic  year  2013.  It  was  selected  from the  classroom  with  thirty-five  students  by  using  cluster random  sampling  method.  Lesson  plans,  integrity tests, and the students’ opinions towards the cooperative learning and virtue tales questionnaires with  a  content  validity  value  of  0.05  and  reliability range  between  0.67  to  1.00  were  used  as  instruments. The  data  analysis  used  mean ( X ),  standard  deviation (S.D.),  and  t-test.  The  results  of  the  study  were  discovered  as  follow:

วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม


จินตนา ศรีดาวเดือน และ สุทธิพงศ์ บุญผดุง

1.  The  integrity  of  Pratom  suksa  1  students  before learning  by  using  cooperative  learning  and  virtue tales  can  be  measured  at  medium  level.  After  conducting the  activity,  the  students  showed  the  high  level  of integrity. 2.  After  conducting  learning  by  using  cooperative learning  and  virtue  tales,  Pratom  suksa  1  students had  more  integrity  with  statistically  significant  value at  0.05. 3.  The  opinions  of  the  students  toward  learning by  using  cooperative  learning  and  virtue  tales  can  be measured  as  strongly  agree  ( X =  2.87,  S.D.  =  0.18). Besides,  the  students  could  participate  in  every step  of  the  activity.  They  were  enjoyable  and  had a  chance  to  express  their  opinions  which  made  them had  more  integrity. Keywords:

1)  Integrity 2)  Cooperative  Learning 3)  Virtue  Tales

ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2017/2560

53


การจัดกิจกรรมการเรียนรูแ้ บบร่วมมือโดยบูรณาการนิทานสร้างสานคุณธรรมในรายวิชาจริยศึกษา เพือ่ ส่งเสริมพฤติกรรมความซือ่ สัตย์ของนักเรียนชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 1

ความเป็นมาและความส�ำคัญของปัญหา การเปลี่ ย นแปลงทางเศรษฐกิ จ และ สังคมยุคศตวรรษที่  21  มาพร้อมกับความ เจริ ญ ก้ า วหน้ า ทางด้ า นเทคโนโลยี แ ละการ สือ่ สารทีส่ ามารถสือ่ สารกันได้ทวั่ ทัง้ โลกภายใน เวลาอันสั้น  ส่งผลให้ประชาชนและเยาวชน เกิดการรับรู้ข้อมูลข่าวสาร  ศิลปวัฒนธรรม รู ป แบบการด� ำ เนิ น ชี วิ ต ของเพื่ อ นร่ ว มโลก และยึดถือเป็นแบบอย่างในการด�ำเนินชีวติ ของ ตน  โดยขาดการค�ำนึงถึงความเป็นมาและ เหตุผลที่ถูกต้องที่ควรกระท�ำตาม  รวมไปถึง แนวโน้มการมีคา่ นิยมทางด้านวัตถุทสี่ งู ขึน้ ของ ประชาชนและเยาวชนไทย  ซึง่ ท�ำให้วถิ ดี ำ� เนิน ชีวิตเปลี่ยนแปลงไปจากความเรียบง่ายไม่เร่ง ร้ อ นไปสู ่ ค วามซั บ ซ้ อ น  เกิ ด การแข่ ง ขั น ประชาชนต่ า งประกอบอาชี พ การงานเพื่ อ เศรษฐกิจของตนเองและครอบครัว  ผู้ใหญ่ ไม่มเี วลาให้การอบรมดูแลเด็กทีจ่ ะเป็นเยาวชน ของชาติ  ท�ำให้เด็กส่วนหนึ่งขาดความรู้ความ เข้ า ใจในการด� ำ เนิ น ชี วิ ต ในทางที่ ถู ก ที่ ค วร ในขณะทีแ่ ผนการศึกษาแห่งชาติ  (พ.ศ.25452559)  ฉบั บ ปรั บ ปรุ ง   ได้ ก ล่ า วถึ ง แนว พ ร ะ ร า ช ด� ำ รั ส ข อ ง พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ พระเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที ่ 9  ทีย่ ดึ ทางสายกลาง บนพืน้ ฐานของความสมดุลพอดี  รูจ้ กั ประมาณ อย่ า งมี เ หตุ ผ ล  มี ค วามรอบรู ้ เ ท่ า ทั น โลก เป็นแนวทางในการด�ำเนินชีวิตเพื่อมุ่งให้เกิด

54

วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

การพัฒนาที่ยั่งยืนและความอยู่ดีมีสุขของคน ไทยและยึดคนเป็นศูนย์กลางการพัฒนา  เพื่อ ให้คนไทยมีความสุข  พึ่งตนเองและก้าวทัน โลกโดยยังรักษาเอกลักษณ์ความเป็นไทยไว้ สามารถเลือกใช้ความรู้และเทคโนโลยีได้อย่าง คุ ้ ม ค่ า เหมาะสม  มี ภู มิ คุ ้ ม กั น ที่ ดี   มี ค วาม ยืดหยุ่นพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงควบคู่ไปกับ การมีคุณธรรมและพฤติกรรมความซื่อสัตย์ สุจริต ความซื่อสัตย์สุจริตเป็นความอยู่รอด และความสงบสุ ข ของสั ง คม  บ้ า นเมื อ ง ประเทศชาติ   เพราะความซื่ อ สั ต ย์ เ ป็ น จริ ย ธรรมที่ จ� ำ เป็ น ต้ อ งมี ใ นตั ว บุ ค คล  ดั ง ที่ กระทรวงศึ ก ษาธิ ก ารได้ ใ ห้ ค วามส�ำ คั ญ ของ จริยธรรมด้านความซื่อสัตย์สุจริตของนักเรียน ว่าเป็นจริยธรรมหนึ่งที่ส�ำคัญ  ซึ่งบุคคลพึงจะ มีไว้เป็นสมบัตขิ องตน  ผูท้ มี่ คี วามซือ่ สัตย์สจุ ริต เป็ น ผู ้ มี เ กี ย รติ เชื่ อ ถื อ ได้   ในปั จ จุ บั น พบว่ า ปัญหาต่างๆ  ที่เกิดจากการกระท�ำของเด็ก และเยาวชนที่แสดงถึงความไม่ซื่อสัตย์  อาทิ ลอกงานเพื่ อ น  ทุ จริ ตในการสอบ  พู ดเท็ จ ลั ก ขโมย  เอาเปรี ย บผู ้ อื่ น   ไม่ ต รงต่ อ เวลา ไม่ รั บ ผิ ด ชอบต่ อ งานที่ ไ ด้ รั บ มอบหมาย ดังปรากฏในผลการส�ำรวจของ  “สวนดุสิต โพล”  ในวาระวันเด็กแห่งชาติ  มหาวิทยาลัย ราชภัฏสวนดุสิต  (5-11  มกราคม,  2556) พบว่า  “การทุจริต  คอร์รัปชั่น  ฉ้อราษฏร์


จินตนา ศรีดาวเดือน และ สุทธิพงศ์ บุญผดุง

บังหลวง”  เป็นปัญหาอันดับแรกในสังคมไทย ทีข่ าดการปลูกคุณธรรมด้านความซือ่ สัตย์ตงั้ แต่ วัยเยาว์  ขาดแบบอย่างทีด่  ี การเปลีย่ นแปลง ของสังคม  มีเทคโนโลยี  สิ่งยั่วยุต่างๆ  มาก ขึ้น ดังนัน้ โรงเรียนในฐานะสถาบันการศึกษา ซึ่งมีบทบาทในด้านการให้การศึกษาอบรมบ่ม นิสยั ให้นกั เรียนเป็นคนดีของประเทศและสังคม จึงต้องตระหนักโดยหาแนวทางการปลูกฝัง ความซือ่ สัตย์สจุ ริตทีจ่ ะต้องให้การเอาใจใส่ดแู ล ไม่ น ้ อยกว่ า การท�ำให้ผู้เรียนมีความรู้และมี ลักษณะที่พึงประสงค์อื่นๆ  ทุกกิจกรรมที่จัด จะต้องเน้นการส่งเสริมให้เกิดความซื่อสัตย์ สุจริต  (ฟาฏินา  วงศ์เลขา,  2556,)  แต่ความ ซือ่ สัตย์ยงั เป็นประเด็นทีน่ า่ สนใจส�ำหรับคนไทย ในปัจจุบัน  โดยดูจากผลส�ำรวจความคิดเห็น ของประชาชน  พบว่ า คุ ณ ธรรมพื้ น ฐานที่ เยาวชนควรได้รับการปลูกฝังมากที่สุดอันดับ แรกคือ  “ความซื่อสัตย์”  (นิด้าโพล,  2555) ซึง่ สอดคล้องกับสถานการณ์ในปัจจุบนั และเมือ่ ปี 2 555  ทางกรุ ง เทพมหานครจึ ง ได้ จั ด ตั้ ง โครงการโรงเรี ย นสี ข าวและจั ด หลั ก สู ต ร “โตไปไม่โกง”  (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์,  2555)  ประกอบด้วยคุณลักษณะ ได้แก่  การมีจิตสาธารณะ  ความเป็นธรรม ทางสั ง คมกระท� ำ อย่ า งรั บ ผิ ด ชอบ  เป็ น อยู ่ อย่างพอเพียงและ  ความซือ่ สัตย์  จุดมุง่ หมาย

ของโครงการนี้เพื่อให้เกิดจริยธรรมขึ้นในจิตใจ ท�ำให้การทุจริตคอร์รัปชั่นเป็นพฤติกรรมที่ไม่ สามารถยอมรับได้และเกิดความกล้าหาญทาง จริยธรรมต่อสูก้ บั ความไม่ถกู ต้อง  โดยให้นกึ ถึง ผลประโยชน์ของส่วนรวมเป็นส�ำคัญ  ทั้งนี้ โรงเรี ย นจึ ง เป็ น สถาบั น หลั ก ทางสั ง คมที่ มี บทบาทอย่างยิ่งในการหล่อหลอมให้เยาวชน ไทยเติบโตเป็นคนที่มีศักดิ์ศรี  เชื่อมั่นในความ สุจริต  และต่อต้านการทุจริตคอรัปชั่น ดังนั้นกิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อ ปลูกฝังความซือ่ สัตย์สจุ ริต  ผูท้ มี่ บี ทบาทส�ำคัญ ยิ่ ง คงเป็ น ของโรงเรี ย นและสถานศึ ก ษา ซึ่ ง มี ห น้ า ที่ ห ลั ก คื อ การพั ฒ นาผู ้ เรี ย นให้ เ กิ ด ความงอกงามในทุกๆ  ด้านอย่างมีดุลยภาพ คื อ ต้ อ งให้ เ ด็ ก ได้ พั ฒ นาทั้ ง ทางด้ า นจิ ต ใจ ปัญญาร่างกายและทางสังคม  ความซื่อสัตย์ สุจริตเป็นคุณลักษณะทางจิตใจประการหนึ่ง ที่พึงปลูกฝังพัฒนาให้เกิดกับเด็กทุกคน  แต่ การพัฒนาคุณลักษณะด้านความซือ่ สัตย์สจุ ริต ก็ตอ้ งพัฒนาไปพร้อมๆ  กับการพัฒนาทางด้าน ปัญญาคือความรู้ความเข้าใจและการพัฒนา ทางร่างกายและสังคมเช่นเดียวกัน  จึงน่าจะมี กระบวนการจัดการเรียนการสอนทีช่ ว่ ยกระตุน้ ให้นักเรียนเกิดความสนใจเรื่องความซื่อสัตย์ สุจริต  เช่น  การเล่านิทานหรือการเล่าข่าว การยกย่องสรรเสริญผู้ท�ำความดี  โดยการยก ตั ว อย่ า งและให้ นั ก เรี ย นแสดงความคิ ด เห็ น

ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2017/2560

55


การจัดกิจกรรมการเรียนรูแ้ บบร่วมมือโดยบูรณาการนิทานสร้างสานคุณธรรมในรายวิชาจริยศึกษา เพือ่ ส่งเสริมพฤติกรรมความซือ่ สัตย์ของนักเรียนชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 1

โดยผ่านกระบวนการจัดการเรียนรูแ้ บบร่วมมือ ที่ นั ก เรี ย นสามารถมี ส ่ ว นร่ ว มในการเรี ย น และช่วยส่งเสริมให้ผู้เรียนได้เกิดการเรียนรู้ ในกระบวนการเรียนรู้ทุกขั้นตอนด้วยการช่วย เหลือ  พึ่งพาซึ่งกันและกัน  ทั้งนี้เห็นได้จาก นโยบายการจัดการศึกษาตามแผนการศึกษา แห่งชาติ  พ.ศ.2545-2559  ได้ระบุเป้าหมาย อย่ า งชั ด เจนว่ า ต้ อ งบู ร ณาการ  การศึ ก ษา ศาสนาศิลปะและวัฒนธรรม  ทั้งเนื้อหาและ กระบวนการจัดการเรียนรู้  เพื่อสร้างศีลธรรม คุ ณ ธ ร ร ม   จ ริ ย ธ ร ร ม   ค ่ า นิ ย ม   แ ล ะ คุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ ง ประสงค์ ข องผู ้ เ รี ย น (ส� ำ นั ก งานคณะกรรมการการการศึ ก ษา แห่ ง ชาติ   ส� ำ นั ก นายกรั ฐ มนตรี ,   2545) โดยก� ำ หนดคุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ ง ประสงค์ ไ ว้ 8  ประการ  คุ ณ ลั ก ษณะอั น หนึ่ ง คื อ ความ ซื่อสัตย์ซึ่งจะต้องได้รับการปลูกฝังให้กับเด็ก และนักเรียน  ซึ่งสอดคล้องกับค�ำกล่าวของ (พนมพงษ์ ไ พบู ล ย์ ,   2552)  ว่ า   “การจะ ปลูกฝังค่านิยมเรือ่ งความซือ่ สัตย์ตอ้ งอาศัยการ ศึกษาเป็นส�ำคัญโดยผ่านการอบรมเรื่องความ ซื่อสัตย์สุจริตแต่เยาว์วัย  และต้องปลูกฝังให้ ลึกเข้าไปในจิตใจเพือ่ ให้เด็กและเยาวชนเป็นคน ดีตามที่ประเทศชาติต้องการ” จากการศึกษาผลการส�ำรวจและสภาพ ปัญหาทีเ่ กีย่ วข้องกับความซือ่ สัตย์ของนักเรียน ดังทีก่ ล่าวมา  โรงเรียนเซนต์ฟรังซีสเซเวียร์  ใน ฐานะทีเ่ ป็นโรงเรียนทีอ่ ยูใ่ นกลุม่ โรงเรียนคาทอลิก 56

วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

ทีม่ ชี อื่ เสียงในเรือ่ งของการส่งเสริมคุณลักษณะ ในด้านคุณธรรมของนักเรียน  จึงมีนโยบายที่ จะพัฒนาและต่อยอดให้นักเรียนเป็นคนดีตาม วิสัยทัศน์ของโรงเรียนที่ว่า  บุคคลแห่งการ เรี ย นรู ้   เชิ ด ชู คุ ณ ธรรม  ก้ า วล�้ ำ เทคโนโลยี มีความเอือ้ อาทรต่อผูอ้ นื่   ยัง่ ยืนวัฒนธรรมไทย รักษ์ห่วงใยสิ่งแวดล้อม  พร้อมสู่อนาคต  ทาง โรงเรียนจึงต้องยกระดับความซือ่ สัตย์  รวมทัง้ แนวคิ ด ของการจั ด การเรี ย นการสอนที่ จ ะ สามารถนํามาใช้ในการช่วยส่งเสริมให้ดีย่ิงขึ้น ตามนโยบายดังกล่าว  ผู้วิจัยจึงมีความสนใจ ศึกษาแนวทางการส่งเสริมความซื่อสัตย์ของ นั ก เรี ย นชั้ น ประถมศึ ก ษาปี ที่   1  โดยใช้ กระบวนการจั ด การเรี ย นรู ้ แ บบร่ ว มมื อ โดย บู ร ณาการนิ ท านสร้ า งสานคุ ณ ธรรมมาเป็ น เครื่ อ งมื อ ในการส่ ง เสริ ม ความซื่ อ สั ต ย์ ข อง นักเรียน วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1.  เพื่อศึกษาและวิเคราะห์พฤติกรรม ความซื่อสัตย์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1  หลังจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือโดย บูรณาการนิทานสร้างสานคุณธรรมในรายวิชา จริยศึกษา 2.  เพือ่ ศึกษาความคิดเห็นของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่  1  ที่มีต่อกิจกรรมการ เรียนรู้แบบร่วมมือโดยบูรณาการนิทานสร้าง สานคุณธรรมในรายวิชาจริยศึกษา


จินตนา ศรีดาวเดือน และ สุทธิพงศ์ บุญผดุง

ขอบเขตของการวิจัย การวิ จั ย นี้ เ ป็ น งานวิ จั ย กึ่ ง ทดลอง (Quasi  Experimental  Research)  ซึ่งมี รูปแบบการวิจัยคือศึกษาวิเคราะห์และเปรียบ เทียบพฤติกรรมความซือ่ สัตย์ของกลุม่ ตัวอย่าง และศึ ก ษาความคิ ด เห็ น ของกลุ ่ ม ตั ว อย่ า ง ท�ำการทดสอบจากแบบวัดสถานการณ์ความ ซื่อสัตย์และแบบประเมินความคิดเห็น 1.  ขอบเขตด้านประชากร ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้  เป็น นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่  1  ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา  2556  โรงเรียนเซนต์ฟรัง ซีสเซเวียร์  จ�ำนวน  6  ห้องเรียน  จ�ำนวนทัง้ สิ้ น   201  คน  นั ก เรี ย นแต่ ล ะห้ อ งมี ก าร จั ด ชั้ น เรี ย นแบบคละความสามารถ  เก่ ง ปานกลาง  และอ่อน 2.  ตัวแปรที่ศึกษา ตัวแปรอิสระ  (Independent  Variable) ได้แก่  การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือ โดยบูรณาการนิทานสร้างสานคุณธรรม ตัวแปรตาม  (Dependent  Variable) ได้แก่  พฤติกรรมความซื่อสัตย์ของนักเรียน 3.  เนื้อหา เนื้อหาที่ใช้ในการทดลองเป็นเรื่องเกี่ยว กับความซือ่ สัตย์โดยบูรณาการนิทานสร้างสาน คุณธรรมของกระทรวงศึกษาธิการ  ในกลุ่ม สาระสังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมรายวิชา

จริ ย ศึ ก ษาตามนโยบายการจั ด การเรี ย น การสอนของโรงเรียนเซนต์ฟรังซีสเซเวียร์โดย การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือโดยบูรณาการ นิ ท านสร้ า งสานคุ ณ ธรรมที่ เ กี่ ย วกั บ ความ ซื่อสัตย์  6  เรื่อง  ประกอบไปด้วยเรื่องเด็ก ชายมะลิวัลย์พันท้ายนรสิงห์  เทพารักษ์กับ คนตั ดต้ นไม้ ส าวิ ต รี   พระลั ก ษณวงศ์   และ พระทินวงศ์ ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1.  ได้ แ นวทางการจั ด การเรี ย นรู ้ ท่ี สามารถส่ ง เสริ ม ความซื่ อ สั ต ย์ ข องนั ก เรี ย น ระดับชั้นประถมศึกษา 2.  นักเรียนมีความเข้าใจและเห็นความ ส�ำคัญของความซื่อสัตย์และพร้อมที่จะปฏิบัติ ตนให้มีความซื่อสัตย์เพื่อประโยชน์ต่อตนเอง ครอบครัว  สังคมและประเทศชาติ 3.  เป็นการส่งเสริมให้นกั เรียนมีนสิ ยั รัก ความซื่อสัตย์และความรู้สึกที่ดีต่อการปฏิบัติ ตนเป็นผูท้ มี่ คี วามซือ่ สัตย์และสามารถน�ำความ รู้ที่ได้รับไปปรับใช้ในการด�ำเนินชีวิตประจ�ำวัน ได้ นิยามศัพท์เฉพาะ การเรี ย นรู ้ แ บบร่ ว มมื อ   หมายถึ ง การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ยึดนักเรียนเป็น ศูนย์กลาง  โดยการแบ่งกลุ่มเล็กๆ  ตามขั้น

ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2017/2560

57


การจัดกิจกรรมการเรียนรูแ้ บบร่วมมือโดยบูรณาการนิทานสร้างสานคุณธรรมในรายวิชาจริยศึกษา เพือ่ ส่งเสริมพฤติกรรมความซือ่ สัตย์ของนักเรียนชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 1

ตอนการสอนของงานวิจัยฉบับนี้คือ  ขั้นที่  1 ขั้นเตรียมการ  ขั้นที่  2  ขั้นตอนการกระตุ้น ความสนใจ  ขัน้ ที ่ 3  ขัน้ ตอนการท�ำกิจกรรม กลุ ่ ม   ขั้ น ที่   4  ขั้ น ตรวจสอบและสั ง เกต ขั้นที่  5  ขั้นสรุปบทเรียน  ในการเรียนรู้ร่วม กันแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกัน  เป็นก�ำลังใจ ให้กนั ช่วยเหลือกัน  ยอมฟังความเห็นของผูอ้ นื่ ซึ่งความส�ำเร็จของสมาชิกจะเป็นความส�ำเร็จ ของกลุ่มด้วย  และความรู้ที่นักเรียนได้เรียนรู้ ไปท�ำให้นักเรียนเข้าใจและสามารถน�ำไปปรับ ใช้ได้ นิ ท านส่ ง เสริ ม คุ ณ ธรรมด้ า นความ ซื่อสัตย์  หมายถึง  เรื่องที่เล่าต่อกันมา  จาก คนรุน่ หนึง่ สูอ่ กี รุน่ หนึง่   มักมีเนือ้ หาทีเ่ กีย่ วข้อง กับ  คุณธรรม  จริยธรรม  ความดี  ความงาม และบางเรื่องอาจมีการสอดแทรก  คุณธรรม จริยธรรม  เพื่อให้เป็นข้อคิด  คติสอนใจเตือน ใจและสามารถน�ำไปปรับใช้ได้  การศึกษาใน ครั้งนี้ผู้วิจัยได้น�ำนิทานสร้างสานคุณธรรมของ กระทรวงศึ ก ษาธิ ก าร  ซึ่ ง ประกอบด้ ว ย  6 เรื่ อ ง  ได้ แ ก่   เด็ ก ชายมะลิ วั ล ย์   พั น ท้ า ย นรสิงห์  เทพารักษ์กับคนตัดต้นไม้  สาวิตรี ลักษณวงศ์  และพระทินวงศ์ พฤติ ก รรมความซื่ อ สั ต ย์   หมายถึ ง พฤติกรรมการปฏิบัติตนทางกาย  วาจา  ใจ ที่ไม่หลอกลวง  การพอใจในของของตนเอง การปฏิบัติตนตามระเบียบและรู้จักหน้าที่ของ ตนเอง 58

วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

แบบวั ด สถานการณ์ ค วามซื่ อ สั ต ย์ หมายถึง  แบบวัดที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นตามกรอบ พฤติกรรมความซื่อสัตย์เรื่องละ  5  ข้อ  รวม 30  ข้อ  เพื่อใช้ในการประเมินพฤติกรรมด้าน ความซื่อสัตย์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1  ที่เข้าร่วมกิจกรรม ความคิดเห็นของนักเรียนทีม่ ตี อ่ กิจกรรม การเรียนรู้แบบร่วมมือโดยบูรณาการนิทาน สร้ า งสานคุ ณ ธรรม  หมายถึ ง   ความรู ้ สึ ก นึกคิดของนักเรียนทีม่ ตี อ่ การจัดการเรียนรูแ้ บบ ร่ ว มมื อ เกี่ ย วกั บ บรรยากาศในการเรี ย นรู ้ กิจกรรมการเรียนการสอนและประโยชน์ที่ได้ รับ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือ โดยบู ร ณาการนิ ท านสร้ า งสานคุ ณ ธรรม หมายถึ ง   การน� ำ เนื้ อ เรื่ อ งของนิ ท านมา สอดแทรกและเชื่อมโยงให้เข้ากับเนื้อหาเรื่อง ความซื่อสัตย์ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากรที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้  เป็น นักเรียนที่ก�ำลังศึกษาอยู่ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1  ภาคเรียนที ่ 2  ปีการศึกษา  2556  โรงเรียน เซนต์ ฟ รั ง ซี ส เซเวี ย ร์   จ� ำ นวนทั้ ง หมด  6 ห้ อ งเรี ย น  มี จ� ำ นวนทั้ ง สิ้ น   201  คน  ซึ่ ง แต่ละห้องจัดนักเรียนแบบคละความสามารถ เก่ง  ปานกลาง  และอ่อน


จินตนา ศรีดาวเดือน และ สุทธิพงศ์ บุญผดุง

กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นนักเรียน โรงเรียนเซนต์ฟรังซีสเซเวียร์ระดับชั้นประถม ศึกษาปีที่  1  ภาคเรียนที่  2  ปีการศึกษา 2556  ซึ่ ง ได้ จ ากการสุ ่ ม ตั ว อย่ า งแบบกลุ ่ ม (Cluster  Random  Sampling)  จ�ำนวน 1  ห้อง  คือ  นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1/5  ภาคเรี ย นที่   2  ปี ก ารศึ ก ษา  2556 จ�ำนวน  35  คน เครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยมีดังนี้ 1.  แผนการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ โดยบูรณาการนิทานสร้างสานคุณธรรมใช้ใน รายวิชาจริยศึกษา  ระดับชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 1  จ�ำนวน  6  แผน  รวม  14  คาบ 2.  แบบวัดสถานการณ์ความซื่อสัตย์ที่ ก�ำหนดสถานการณ์ที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับความ ซื่ อ สั ต ย์ แ ละให้ นั ก เรี ย นเลื อ กตอบค� ำ ถาม ซึ่งเป็นแบบวัดที่มีจ�ำนวน  1  ตอน  ทั้งหมด 6  เรื่อง  เรื่องละ  5  ข้อ  รวม  30  ข้อ 3.  แบบสอบถามความคิ ด เห็ น ของ นักเรียนที่มีต่อกิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือ เป็นแบบสอบถามทีท่ มี่ ลี กั ษณะเป็นมาตราส่วน ประมาณค่ า แบ่ ง ออกเป็ น   3  ระดั บ ซึง่ ประกอบด้วยประโยคข้อค�ำถามความคิดเห็น ของนักเรียน  แบ่งออกเป็น  3  ด้าน  ได้แก่

-  ด้านบรรยากาศการจัดการเรียนการสอน   -  ด้านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้   -  ด้านประโยชน์ที่ได้รับ สถิติที่ใช้ในการวิจัย การวิเคราะห์ข้อมูลส�ำหรับการวิจัยครั้ง นี ้ ใช้โปรแกรมทางสถิตใิ นการวิเคราะห์ขอ้ มูล ผู้วิจัยด�ำเนินการดังนี้ 1.  วิ เ คราะห์ ค ะแนนจากแบบวั ด สถานการณ์ความซื่อสัตย์  ใช้การวิเคราะห์ค่า เ ฉ ลี่ ย   ( X )   ค ่ า เ บี่ ย ง เ บ น ม า ต ร ฐ า น (S.D.)  และการทดสอบค่าที 2.  วิเคราะห์ความคิดเห็นของนักเรียน ทีม่ ตี อ่ การจัดการเรียนรูแ้ บบร่วมมือโดยบูรณา การนิทานสร้างสานคุณธรรม  โดยการหาค่า เฉลี่ ย ของคะแนน  ( X )  ค่ า เบี่ ย งเบน มาตรฐาน  (S.D.)  และแปลผลค่าเฉลี่ยตาม แนวคิ ด ของเบสท์   (Best  1981:182) เป็นค�ำถามเกี่ยวกับความคิดเห็นที่มีต่อการจัด กิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือโดยบูรณาการ นิทานสร้างสานคุณธรรมลักษณะค�ำถามเป็น มาตราส่ ว นประเมิ น ค่ า   (Rating  Scale) ประกอบด้ ว ยข้ อ ค� ำ ถามจ� ำ นวน  6  ข้ อ ซึ่งมีตัวเลือก  3  ค�ำตอบ  คือ  เห็นด้วยมาก เห็นด้วยปานกลาง  เห็นด้วยน้อย  โดยมีเกณฑ์ การให้คะแนนดังนี้

ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2017/2560

59


การจัดกิจกรรมการเรียนรูแ้ บบร่วมมือโดยบูรณาการนิทานสร้างสานคุณธรรมในรายวิชาจริยศึกษา เพือ่ ส่งเสริมพฤติกรรมความซือ่ สัตย์ของนักเรียนชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 1

ข้อความที่ตอบ เห็นด้วยน้อย ให้คะแนน  1  คะแนน เห็นด้วยปานกลาง ให้คะแนน  2  คะแนน เห็นด้วยมาก ให้คะแนน  3  คะแนน และการแปลความหมาย  โดยใช้ คะแนนสูงสุด–ต�่ำสุด  แล้วแบ่งคะแนนออก เป็น  3  ช่วงเท่าๆ  กัน  แบ่งความหมายดังนี้ คะแนนเฉลี่ย  1.00–1.66  หมายถึง ความคิดเห็นอยู่ในระดับเห็นด้วยน้อย คะแนนเฉลี่ย  1.67–2.33  หมายถึง ความคิดเห็นอยู่ในระดับเห็นด้วยปานกลาง คะแนนเฉลี่ย  2.34–3.00  หมายถึง ความคิดเห็นอยู่ในระดับเห็นด้วยมาก 3.  วิเคราะห์หาความเชื่อมั่นของแบบ วัดสถานการณ์ความซื่อสัตย์และหาค่าอ�ำนาจ จ�ำแนกโดยใช้สูตรสัมประสิทธิ์อัลฟาคอนบาค 4.  หาค่าคะแนนเฉลีย่ และค่าเบีย่ งเบน มาตรฐานของแบบสอบถามความคิดเห็น สรุปผลการวิจัย การวิจัยเรื่องการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ แบบร่ ว มมื อ โดยบู ร ณาการนิ ท านสร้ า งสาน คุ ณ ธรรมเพื่ อ ส่ ง เสริ ม ความซื่ อ สั ต ย์ ส� ำ หรั บ นั ก เรี ย นระดั บ ชั้ น ประถมศึ ก ษาปี ที่   1 โรงเรียนเซนต์ฟรังซีสเซเวียร์  สรุปผลการวิจัย ดังนี้ 60

วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

1.  การศึกษาพฤติกรรมความซื่อสัตย์ ของนักเรียนชัน้ ประถมศึกษาปีท ี่ 1  ก่อนการ จัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือโดยบูรณา การนิทานสร้างสานคุณธรรมอยู่ในระดับปาน กลางหลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วม มือโดยบูรณาการนิทานสร้างสานคุณธรรมอยู่ ในระดับมาก 2.  การเปรียบเทียบพฤติกรรมความ ซื่อสัตย์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่  1 หลังการจัดกิจกรรมการเรียนรูแ้ บบร่วมมือโดย บูรณาการนิทานสร้างสานคุณธรรมในรายวิชา จริ ย ศึ ก ษาสรุ ป ได้ ว ่ า คะแนนการใช้ แ บบวั ด สถานการณ์กอ่ นเรียนของกลุม่ ตัวอย่างจ�ำนวน 35  คนที่ ใ ช้ วิ ธี ก ารจั ด การเรี ย นรู ้ ด ้ ว ย กระบวนการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วย นิ ท านสร้ า งสานคุ ณ ธรรม  มี ค ะแนนเฉลี่ ย เท่ากับ  ( X =8.71)  ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ า กั บ   (S.D.=0.72)  และหลั ง เรี ย น (posttest)  มี ค ะแนนเฉลี่ ย เท่ า กั บ   ( X =13.86)  ค่าเบีย่ งเบนมาตรฐานเท่ากับ(S.D.= 0.51)  ผลการทดสอบความแตกต่ า ง ของค่าเฉลีย่ การใช้แบบวัด  พบว่าค่า  t  เท่ากับ 55.574  อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่  0.05 สรุปได้ว่า  ผลการศึกษาวิเคราะห์พฤติกรรม ความซื่อสัตย์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1  หลังบูรณาการนิทานสร้างสานคุณธรรมใน กระบวนการจั ด การเรี ย นรู ้ แ บบร่ ว มมื อ มี


จินตนา ศรีดาวเดือน และ สุทธิพงศ์ บุญผดุง

ความแตกต่างกัน  ซึ่งแสดงให้เห็นว่าหลังการ ทดลองโดยวิธีการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ โดยบู ร ณาการนิ ท านสร้ า งสานคุ ณ ธรรม นักเรียนที่เป็นกลุ่มตัวอย่างมีพฤติกรรมความ ซือ่ สัตย์สงู ขึน้ กว่าก่อนการใช้วธิ กี ารจัดการเรียน รู้แบบร่วมมือโดยบูรณาการนิทานสร้างสาน คุณธรรม  อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่  0.05 3.  เพือ่ ศึกษาความคิดเห็นของนักเรียน ทีม่ ตี อ่ การจัดการเรียนรูแ้ บบร่วมมือโดยบูรณา การนิ ท านสร้ า งสานคุ ณ ธรรมในรายวิ ช า จริยศึกษาโดยภาพรวมอยูใ่ นระดับเห็นด้วยมาก โดยมีค่าเฉลี่ย  ( X   = 2.87,  S.D.=0.18) เมือ่ พิจารณารายด้านพบว่า  มีคา่ คะแนนเฉลีย่ อยู่ในระดับที่เห็นด้วยมากทุกด้าน  เรียงตาม ล�ำดับ  ค่าคะแนนเฉลีย่   ด้านประโยชน์ทไี่ ด้รบั นักเรียนมีความคิดเห็นอยู่ในระดับที่เห็นด้วย มากเป็นล�ำดับทีห่ นึง่ โดยมีคา่ เฉลีย่   ( X =  2.89, S.D.  0.15)  รองลงมาได้แก่ด้านบรรยากาศ ในการเรียนรูน้ กั เรียนมีความคิดเห็นอยูใ่ นระดับ เห็ น ด้ ว ยมาก  โดยมี ค ่ า เฉลีย่   ( X =2.88, S.D.=0.19)  และด้านการจัดกิจกรรมการเรียน รู้มีค่าเฉลี่ย  ( X =2.85,  S.D.=0.19)  นักเรียน มีความคิดเห็นอยู่ในระดับเห็นด้วยมากเป็น ล�ำดับสุดท้าย

การอภิปรายผล 1.  พฤติกรรมด้านความซื่อสัตย์ของ นักเรียนก่อนการจัดการเรียนรูแ้ บบร่วมมือโดย บูรณาการนิทานสร้างสานคุณธรรมและหลัง การจัดการเรียนรู้แตกต่างกันอย่างมีนัยส�ำคัญ ทางสถิติที่ระดับ  0.05  โดยคะแนนแบบวัด สถานการณ์ด้านความซื่อสัตย์หลังการจัดการ เรียนรู้สูงกว่าคะแนนแบบวัดสถานการณ์ด้าน ความซื่อสัตย์ก่อนการจัดการเรียนรู้แบบร่วม มือโดยการบูรณาการนิทานสร้างสานคุณธรรม ทัง้ นีอ้ าจเนือ่ งมาจากการจัดการเรียนรูแ้ บบร่วม มือโดยการบูรณาการนิทานสร้างสานคุณธรรม เป็นการจัดการเรียนรู้ที่เน้นให้นักเรียนได้ฝึก การคิดอย่างเป็นระบบ  มีล�ำดับขั้นตอนการ สอนที่ชัดเจน  โดยผู้วิจัยได้จัดการเรียนรู้แบบ ร่วมมือโดยบูรณาการนิทานสร้างสานคุณธรรม ดังที่  แบนดูรา  (Bandara,  1977)  ซึ่งมี ความเชื่อว่าพฤติกรรมมนุษย์  นอกเหนือจาก ปฏิกิริยาสะท้อนเบื้องต้นแล้ว  เกิดจากการ เรียนรูท้ งั้ สิน้ และการเรียนรูพ้ ฤติกรรมใหม่เหล่า นัน้ สามารถเรียนรูไ้ ด้โดยประสบการณ์ตรงหรือ ไม่กโ็ ดยการสังเกต  องค์ประกอบทางชีววิทยา มี บ ทบาทส� ำ คั ญ ในกระบวนการเรี ย นรู ้ โ ดย พฤติกรรม  นั้นก็คือองค์ประกอบในตัวบุคคล มีบทบาทส�ำคัญในการเรียนรู้พฤติกรรมในการ อธิบายกระบวนการเกิดพฤติกรรมของมนุษย์ การมีปฏิสัมพันธ์ซึ่งกันและกันอย่างต่อเนื่อง

ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2017/2560

61


การจัดกิจกรรมการเรียนรูแ้ บบร่วมมือโดยบูรณาการนิทานสร้างสานคุณธรรมในรายวิชาจริยศึกษา เพือ่ ส่งเสริมพฤติกรรมความซือ่ สัตย์ของนักเรียนชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 1

ระหว่างพฤติกรรม  องค์ประกอบส่วนบุคคล และองค์ ป ระกอบทางสิ่ ง แวดล้ อ มโดยที่ องค์ประกอบทั้ง  3  นี้จะมีปฏิสัมพันธ์ซึ่งกัน และกั น   นอกจากนี้   สลาวิ น   (Slavin, 1995)  กล่าวว่า  การเรียนแบบร่วมมือคือ การสอนแบบหนึ่งซึ่งนักเรียนทํางานร่วมกัน เป็นกลุ่มเล็กๆ  ปกติกลุ่มละ  4-6  คน  และ การจั ด กลุ ่ ม ต้ อ งคํ า นึ ง ถึ ง ความสามารถของ นักเรียนจาํ แนกเป็นนักเรียนทีม่ คี วามสามารสูง 1  คนความสามารถปานกลาง  2  คน  ความ สามารถต�่ำ  1  คน  หน้าที่ของนักเรียนใน กลุ่มจะต้องช่วยกันทํางาน  รับผิดชอบและ ช่วยเหลือเกีย่ วกับการเรียนซึง่ กันและกัน  เช่น เดียวกับส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษา เอกชน  กระทรวงศึกษาธิการ  (2541)  ให้ ความหมายว่าการเรียนรูแ้ บบร่วมมือ  เป็นการ จัดการเรียนรู้ที่แบ่งผู้เรียนออกเป็นกลุ่มเล็กๆ เพือ่ ให้ผเู้ รียนได้ทำ� งานร่วมกัน  โดยคละความ สามารถของสมาชิก  มีการปฏิสมั พันธ์และช่วย เหลือซึง่ กันละกัน  แต่ละคนมีความรับผิดชอบ ในงานของตนและกลุ่ม  ฝึกฝนทักษะพื้นฐาน ด้วยกัน  เพื่อให้ผู้เรียนทุกคนเกิดการเรียนรู้ที่ เต็มตามศักยภาพ  เป็นการสรุปกระบวนการ ใช้เทคนิคการจัดการเรียนแบบร่วมมือโดยใช้ นิทานสร้างสานคุณธรรม  ประโยชน์  และ คุณค่าของเทคนิคการจัดการเรียนแบบร่วมมือ โดยใช้นิทานสร้างสานคุณธรรม  ที่นักเรียนได้

62

วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

รับ  โดยให้นักเรียนเป็นผู้อภิปรายสรุปเพื่อน�ำ ไปใช้ประโยชน์ต่อไป จากการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือโดย บูรณาการนิทานสร้างสานคุณธรรม  จะพบว่า ทุกขั้นตอนนักเรียนจะได้เรียนรู้วิธีคิดวิเคราะห์ เหตุการณ์ตา่ งๆ  อย่างเป็นระบบและมีเหตุผล จนท�ำให้นกั เรียนมีพฤติกรรมด้านความซือ่ สัตย์ มากขึ้นด้วย  ดังที่  กลุ่มนีโอ  ฮิวแมนนิสต (Neo-Humanistic)  ได้ให้ความสําคัญกับ นิ ท านเป็ น อย่ า งยิ่ ง ถึ ง กั บ กล่ า วว่ า   ข้ อ คิ ด คุณธรรม  ความรู้  และประสบการณ์ต่างๆ จากนิทานจะถูกเก็บไว้ในจิตใต้สํานึก  (SubConcious)  ของเด็กไปตลอดชีวิตและกลาย เป็นความทรงจําทีล่ ำ�้ ลึก  (เกียรติวรรณ  อมาตยกุล, 2536) จากเหตุผลและข้ออ้างอิงดังกล่าวจึง สรุปได้ว่าการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วม มือโดยบูรณาการนิทานสร้างสานคุณธรรมเพือ่ ส่งเสริมความซื่อสัตย์สำ� หรับนักเรียนระดับชั้น ประถมศึ ก ษาปี ที่   1  โรงเรี ย นเซนต์ ฟ รั ง ซีสเซเวียร์  ส่งผลให้นักเรียนกลุ่มตัวอย่างมี พัฒนาการทางด้านความซื่อสัตย์สูงขึ้นหลัง เข้าร่วมการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือ โดยใช้นทิ านสร้างสานคุณธรรม  ซึง่ สอดคล้อง กับผลการวิจัยของ  นันท์นภัส  อยู่ประยงค์ (2555)  ในระดับอุดมศึกษาการใช้นิทานใน การน�ำบทเรียนนิทานภาษาอังกฤษมาใช้ใน


จินตนา ศรีดาวเดือน และ สุทธิพงศ์ บุญผดุง

การจัดการเรียนการสอน  พบว่า  บทเรียนการ ใช้นทิ านภาษาอังกฤษทีน่ ำ� มาใช้ในการวิจยั และ การเรี ย นการสอนนี้ ท� ำ ให้ นั ก ศึ ก ษาผู ้ เรี ย น สามารถวิเคราะห์คุณธรรมจริยธรรมจากเนื้อ เรื่องได้หลากหลายมากกว่าการระบุซึ่งท�ำให้ผู้ เรียนเกิดการซึมซับเหตุและผลของการมีและ การขาดคุณธรรมนั้นๆ  ด้วย  บทเรียนนิทาน ภาษาอังกฤษนีถ้ อื เป็นบทเรียนทีท่ ำ� ให้นกั ศึกษา ตระหนั ก ในเรื่ อ งคุ ณ ธรรมจริ ย ธรรมได้ จ ริ ง นอกจากนั้นยังช่วยพัฒนาทักษะการเขียนและ อ่ า นภาษาอั ง กฤษจากการคิ ด วิ เ คราะห์ ที่ สอดคล้องกับค�ำถามส�ำหรับนักศึกษาส่วนมาก ถึ ง แม้ ว ่ า นั ก ศึ ก ษาจะไม่ ไ ด้ มี พื้ น ฐานภาษา อั ง กฤษในระดั บ สู ง แต่ ก็ ส ามารถที่ จ ะเข้ า ใจ เนื้อหาในนิทาน  รวมทั้งคุณธรรมจริยธรรมได้ และสามารถคิ ด วิ เ คราะห์ แ ละน� ำ คุ ณ ธรรม จริยธรรมไปใช้ได้จริงและยังสามารถเชื่อมโยง คุณธรรมในเนือ้ เรือ่ งและวิเคราะห์ได้สอดคล้อง กับข่าวและประสบการณ์จริง  และ  เจริญศรี บุญสว่าง  (2543)  พบว่า  นักเรียนที่เรียน ภาษาไทยด้วยวิธีสอนที่ใช้นิทานพื้นบ้านและ เพลงกล่อมเด็กมีระดับความซื่อสัตย์สุจริตสูง กว่านักเรียนที่เรียนภาษาไทยด้วยวิธีสอนปกติ และ  วิจติ รา  พันดุสะ  (2551)  กล่าวว่าการ จัดประสบการณ์เรียนรู้โดยใช้นิทานคุณธรรม ควบคู่กับการใช้ค�ำถามหมวกความคิด  6  ใบ จึ ง มี ผ ลต่ อ การพั ฒ นาจริ ย ธรรมด้ า นความมี ระเบียบวินัย  ความซื่อสัตย์สุจริต  ด้านความ

เอือ้ เฟือ้ เผือ่ แผ่  ด้านความสามัคคีและด้านการ ประหยัด  ซึ่งคุณสมบัติดังกล่าวมีความส�ำคัญ ยิ่งและสมควรได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง เพราะผู้ที่มีพฤติกรรมจริยธรรมดังกล่าวจะน�ำ ไปสูก่ ารพัฒนาตนเอง  สามารถอยูร่ ว่ มกับผูอ้ นื่ ได้อย่างมีความสุข  ตลอดจนมีสว่ นร่วมทีจ่ ะท�ำ ประโยชน์ให้กบั สังคมและประเทศชาติได้ตอ่ ไป 2.  ผลการวิจัยพบว่าความคิดเห็นของ นั ก เรี ย นชั้ น ประถมศึ ก ษาปี ที่   1  ที่ มี ต ่ อ กิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือโดยบูรณาการ นิทานสร้างสานคุณธรรม  โดยภาพรวมอยู่ใน ระดับเห็นด้วยมากในทุกด้าน  ทั้งนี้  อาจเป็น เพราะว่าการจัดการเรียนรู้ร่วมมือโดยบูรณา การนิทานสร้างสานคุณธรรม  ท�ำให้นักเรียน ทุกคนมีโอกาสได้แสดงความคิดเห็นอย่างเป็น อิสระ  ท�ำให้นักเรียนกล้าคิด  กล้าแสดงออก ในเรื่องที่เกี่ยวกับความซื่อสัตย์และน�ำเสนอ ความคิดในมุมมองอื่นที่มากขึ้น  เมื่อพิจารณา เป็นด้านพบว่าด้านประโยชน์ที่ได้รับนักเรียน เ ห็ น ด ้ ว ย ม า ก   อี ก ทั้ ง จ า ก ก า ร ต ร ว จ แบบสอบถามปลายเปิดพบว่า  นักเรียนมีความ คิดเห็นและข้อเสนอแนะดังนี ้ การเรียนรูแ้ บบ ร่วมมือโดยบูรณาการนิทานสร้างสานคุณธรรม เกิดความสนุก  ได้รับความรู้  ได้ฝึกความคิด คิ ด เป็ น ระบบรอบคอบและถู ก ต้ อ ง  ขอให้ จัดการเรียนรู้แบบร่วมมือโดยบูรณาการนิทาน สร้ า งสานคุ ณ ธรรมในการเรี ย นรู ้ เรื่ อ งอื่ น ๆ ต่อไป

ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2017/2560

63


การจัดกิจกรรมการเรียนรูแ้ บบร่วมมือโดยบูรณาการนิทานสร้างสานคุณธรรมในรายวิชาจริยศึกษา เพือ่ ส่งเสริมพฤติกรรมความซือ่ สัตย์ของนักเรียนชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 1

จึงอาจสรุปได้ว่าการเรียนรู้แบบร่วมมือ โดยบูรณาการนิทานสร้างสานคุณธรรม  มีขั้น ตอนการใช้ที่ไม่ยาก  จึงท�ำให้นักเรียนสนุกกับ การใช้ ก ระบวนการคิ ด ดั ง กล่ า ว  สามารถ พัฒนาและส่งเสริมปลูกฝังพฤติกรรมด้านความ ซื่อสัตย์ของนักเรียนได้  เพื่อท�ำให้ลดปัญหา ต่าง  ๆ  อันอาจจะเกิดจากความไม่ซื่อสัตย์ได้ ดังนัน้ การเรียนการสอนทีเ่ น้นแนวคิดแบบนีจ้ งึ เป็นวิธีสอนที่สามารถพัฒนาพฤติกรรมความ ซื่อสัตย์ของนักเรียนได้ ข้อเสนอแนะในการน�ำผลการวิจัยไปใช้ 1.  การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือโดย บูรณาการนิทานสร้างสานคุณธรรมครูควรท�ำ อย่างต่อเนื่องในระดับชั้นอื่นๆ  อีกเนื่องจาก การพัฒนาพฤติกรรมอันพึงประสงค์ของผูเ้ รียน ด้านความซื่อสัตย์ควร  มีการท�ำความเข้าใจ กระบวนการใช้อย่างถ่องแท้  และมีการพูดคุย และแนะน�ำถึงประโยชน์ที่ได้รับ  เพื่อจะได้จัด กิจกรรมการเรียนรู้อย่างเหมาะสม  รวมทั้งมี การสร้างบรรยากาศทีด่ ใี นการจัดการเรียนรูใ้ ห้ แก่นักเรียน  ดังนั้นโรงเรียนควรส่งเสริมการ จัดการเรียนรู้โดยบูรณาการนิทานสร้างสาน คุณธรรมที่เกี่ยวข้องกับคุณธรรมด้านอื่นๆ

64

วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

2.  การจั ด การเรี ย นรู ้ เรื่ อ งคุ ณ ธรรม ต่ า งๆ  ควรที่ จ ะเลื อ กเรื่ อ งและควรมี ก าร วิเคราะห์เนื้อหารายละเอียดของนิทานสร้าง สานคุณธรรมว่ามีความเหมาะสมกับนักเรียน ระดับชั้นใดเพื่อจัดกลุ่มนิทานให้เหมาะสมกับ ระดับชั้น  ที่ตรงกับความสนใจของนักเรียน และเหตุ ก ารณ์ ที่ ทั น สมั ย   โดยใช้ ห ลั ก การ พิจารณาจากระดับช่วงชัน้ ว่าแต่ละช่วงชัน้ นัน้ ๆ สนใจหรือมีปญ ั หาเรือ่ งใดอยูข่ ณะนัน้   และควร เลือกเรื่องที่คาดว่าเป็นประโยชน์และส่งเสริม ต่อยอดได้ 3.  ควรให้ครูในกลุ่มสาระอื่นๆ  มีส่วน ร่วมกันจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยบูรณาการ ระหว่ า งกลุ ่ ม สาระพร้ อ มเชื่ อ มโยงนิ ท าน สร้างสานคุณธรรมเข้าไปในรายวิชาของทุก กลุ่มสาระ ข้อเสนอแนะในการวิจัยครั้งต่อไป ควรมีการศึกษาผลการจัดการเรียนรูโ้ ดย บู ร ณาการนิ ท านสร้ า งสานคุ ณ ธรรมกั บ พฤติ ก รรมด้ า นอื่ น ๆเพิ่ ม เติ ม เพื่ อ พั ฒ นา พฤติ ก รรมด้ า นอื่ น ๆอี ก เช่ น   ด้ า นความรั บ ผิดชอบ  ด้านความมีนำ�้ ใจ  ความสุภาพ  ด้าน ความกล้ า หาญ  ด้ า นความประหยั ด  ด้ า น ความสะอาด  ด้านความกตัญญู  ด้านความ สามัคคี  ฯลฯ


จินตนา ศรีดาวเดือน และ สุทธิพงศ์ บุญผดุง

บรรณานุกรม กระทรวงศึกษาธิการ  กรมวิชาการ.  (2541). กรอบความคิดเพือ่ ส่งเสริมและพัฒนา คุ ณ ธรรมจริ ย ธรรมที่ เ น้ น ความมี ระเบียบวินยั และความเป็นประชาธิปไตย. กรุ ง เทพมหานคร:  โรงพิ ม พ์ คุ รุ ส ภา ลาดพร้าว. เกียรติวรรณ  อมาตยกุล.  (2536).  ชีวติ การ แต่งงานและความสุข.  กรุงเทพมหานคร: สายส่งศึกษิต. เจริ ญ ศรี   บุ ญ สว่ า ง.  (2543).  การศึ ก ษา ความซื่อสัต ย์สุจริต ของนักเรีย นชั้น ประถมศึ ก ษาปี ที่   5  ด้ ว ยการใช้ นิทานพื้นบ้านและเพลงกล่อมเด็กใน การสอนกลุม่ ทักษะภาษาไทย.  ศึกษา ศาสตร์มหาบัณฑิต  (หลักสูตรและการ สอน)  มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. นันท์นภัส  อยู่ประยงค์.  (2555).  การใช้ นิทานคุณธรรมภาษาอังกฤษเพือ่ เสริม สร้ า งคุ ณ ธรรมจริ ย ธรรมส� ำ หรั บ นั ก ศึ ก ษา  มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฎ อุบลราชธานี.  รายงานการวิจัยคณะ มนุ ษ ยศาสตร์ แ ละสั ง คมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี.

พนม  พงษ์ไพบูลย์.  (2540).  การศึกษากับ การเสริ ม สร้ า งความซื่ อ สั ต ย์ สุ จ ริ ต . วารสาร ฟาฏิมา  วงศ์เลขา.  (2556,  มกราคม  1). จิตส�ำนึกที่ต้องเร่งปลูกฝังแก่เด็กไทย. เดลินิวส์.  หน้า19.  แนะแนว  (40), 5-8. วิ จิ ต รา  พั น ดุ ส ะ.  (2551).  ผลการจั ด ประสบการณ์การเรียนรู้โดยใช้นิทาน คุณธรรมควบคูก่ บั การใช้คำ� ถามหมวก 6  ใบที่มีต่อพฤติกรรมจริยธรรมของ เด็กปฐมวัย.  ปริญญาการศึกษามหา บัณฑิต  สาขาหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยทักษิณ. Bandura,  Albert.  (2001).  Social Cog- nitive Theor: An Agentic Per- spective.  Annu.Rev.Psychol. Slavin, R.E.  (1995).  Cooperative Learning:  Theory,  Research. And  practice.  (2nd ed.)  Boston: Allym & Bacon.

ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2017/2560

65


การตั้งถิ่นฐานและพัฒนาการ ของชุมชนคาทอลิกหัวไผ่

TheHuaSettlement and Development of Pai Catholic Community. วิสัณห์ วงษ์แก้ว * นิสิตระดับปริญญาเอก สาขาไทยศึกษา  คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์  มหาวิทยาลัยบูรพา รศ.ภารดี  มหาขันธ์ * รองศาสตราจารย์  สาขาไทยศึกษา  คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์  มหาวิทยาลัยบูรพา ดร.สุรชัย ชุ่มศรีพันธ์ * บาทหลวงในคริสต์ศาสนจักรโรมันคาทอลิก สังกัดอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ * อาจารย์ด้านประวัติศาสตร์คริสตจักรโรมันคาทอลิก วิทยาลัยแสงธรรม

Vissan Wongkeew * Doctoral students in Thai Studies, Faculty of Humanities and Social Sciences, Burapha University.

Assoc.Paradee MahaKhan * Associate Professor of Thai Studies, Faculty of Humanities and Social Sciences, Burapha University.

Dr.Surachai Chumsripan * Reverend in Roman Catholic Church, Archdiocese of Bangkok. * Professor of History, Roman Catholic Church, Saengtham College.


วิสัณห์ วงษ์แก้ว, ภารดี มหาขันธ์ และ สุรชัย ชุ่มศรีพันธ์

บทคัดย่อ

การวิจยั นีม้ วี ตั ถุประสงค์  1)  ศึกษาการตัง้ ถิน่ ฐานและพัฒนาการ ของชุ ม ชนคาทอลิ ก หั ว ไผ่   ตลอดจนปั จ จั ย ที่ มี อิ ท ธิ พ ลต่ อ การ เปลี่ยนแปลงที่ส�ำคัญของชุมชนคาทอลิกหัวไผ่  2)  ศึกษาทั้งในด้าน วัฒนธรรมชุมชน  โครงสร้างทางสังคมและเศรษฐกิจ  การปรับตัวด้าน วั ฒ นธรรมและเศรษฐกิ จ   การรั ก ษาอั ต ลั ก ษณ์ ท างวั ฒ นธรรมและ เศรษฐกิจของชุมชนคาทอลิกหัวไผ่  3)  ศึกษาสถานภาพปัจจุบันและ แนวทางการพัฒนาชุมชนคาทอลิกหัวไผ่  ซึ่งการศึกษาเน้นระยะเวลา ตั้งแต่  พ.ศ.  2415-2557  (ค.ศ.  1872-2014)  โดยใช้วิธีการวิจัย เชิงคุณภาพในการเก็บรวบรวมข้อมูลทั้งจากเอกสารชั้นต้น  เอกสาร ชัน้ รอง  การสังเกตและการสัมภาษณ์แบบประวัตศิ าสตร์จากค�ำบอกเล่า (Oral  History)  น�ำมาวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล  แล้วน�ำเสนอ ด้วยวิธีพรรณนาวิเคราะห์ ผลการวิจยั พบว่าชุมชนคาทอลิกหัวไผ่  เป็นชุมชนทีเ่ กิดจากการ ไถ่ทาสและการจับจองที่ดินระหว่างเมืองฉะเชิงเทราและเมืองพนัสนิคม ของบาทหลวงมิชชันนารีเพื่อให้ทาสเก่าได้มีถิ่นที่อยู่อาศัยรวมถึงการมี ทีด่ นิ ในการประกอบอาชีพเพือ่ จะได้เลีย้ งตนเองได้  โดยมีภมู หิ ลังมาจาก งานเผยแผ่ศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิกในสังคมไทย  ซึ่งชุมชน คาทอลิกหัวไผ่ได้มีพัฒนาการในด้านต่างๆ  เช่น  ด้านศาสนา  การ ศึกษา  ด้านสังคม  และเศรษฐกิจ  มานานนับศตวรรษ  แม้จะต้อง ประสบกับปัญหาการพิพาทเรื่องที่ดินและการเบียดเบียนคริสตชนใน ชุมชน  แต่ชุมชนก็สามารถปรับตัวได้อย่างมีประสิทธิภาพและสามารถ ด� ำ รงอยู ่ ม าได้ จ นถึ ง ปั จ จุ บั น   ชุ ม ชนคาทอลิ ก หั ว ไผ่ เ ป็ น ชุ ม ชนที่ มี อัตลักษณ์ชดั เจนในการนับถือศาสนาทีม่ คี วามเป็นท้องถิน่ และอยูร่ ว่ มกับ ชุมชนพุทธใกล้เคียงได้อย่างดี  รวมถึงมีการประกอบอาชีพเพาะเลี้ยง ปลาและจ�ำหน่ายพันธุ์ปลาน�้ำจืดที่มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักในระดับประเทศ สามารถพึ่งพาตนเองได้ตามวัตถุประสงค์การก่อตั้งชุมชน  ทั้งนี้การ ศึกษาวิจัยนี้ยังแสดงให้เห็นถึงลักษณะความสัมพันธ์ทางสังคมและ

ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2017/2560

67


การตัง้ ถิน่ ฐานและพัฒนาการของชุมชนคาทอลิกหัวไผ่

วัฒนธรรมทีเ่ กีย่ วโยงชาวชุมชนคาทอลิกหัวไผ่เข้าด้วยกันคือ  การนับถือ ศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิกที่มีบาทหลวงเป็นผู้น�ำ  มีแนวทาง พัฒนาตลอดจนมีความสัมพันธ์เชิงอ�ำนาจในการปฏิบัติและจัดการ ภายในชุมชนมาถึงปัจจุบัน ค�ำส�ำคัญ: Abstract

68

ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น ชุมชนคาทอลิก ชุมชนหัวไผ่

This study attempted 1) to study the settlement and development of Hua-Pai Catholic Community including factors contributing to major changes of Hua-Pai Catholic Community, 2) to study community culture, social and economic structure, social and economic adjustment, social and economic identity maintenance of Hua-Pai Catholic Community, 3) to study current conditions and guideline to develop Hua-Pai Catholic Community during B.E. 24152557 (A.D. 1872-2014). This qualitative research study collected the data from primary document, secondary document, observation and interview from oral history. Then, the data were analyzed and synthesized and presented with descriptive analysis. The findings revealed that Hua-Pai Catholic Community was established from redemption of Captives and land preemption between Chachongsao City and Panatnikom City of the missionary. This was for old slaves to reside together including to earn their own living from background

วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม


วิสัณห์ วงษ์แก้ว, ภารดี มหาขันธ์ และ สุรชัย ชุ่มศรีพันธ์

of evangelism for Roman Catholic denomination in Thai society. Hua-Pai Catholic Community has developed in several aspects, for example, religion, education, society and, economics for century. Even it sometimes encountered the attribution of land and exploitation of Christian in the community, it could adjust efficiently and was be able to survive up until now. It can be seen that Hua-Pai Catholic Community obviously had its identity to respect to local religion and was be able to live with nearby Buddhist community well. Moreover, the community was nationally well-known for raising aquatic animals and distributing freshwater fish species. It was independent as it was stipulated in the objectives of community establishment. In fact, it can be seen in this study that social and cultural relationships to link Hua-Pai Catholic Community together were profession in Roman Catholic Denomination under the leading of priest as well as there have been the developing guideline and power relation in practice and management in the community up to the present. Keywords:

Local History Catholic Community HUA-PAI Community

ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2017/2560

69


การตัง้ ถิน่ ฐานและพัฒนาการของชุมชนคาทอลิกหัวไผ่

ความน�ำ ชุมชนคาทอลิกหัวไผ่เป็นชุมชนคาทอลิก ทีเ่ กิดขึน้ ในสมัยรัชกาลที ่ 5  ทีเ่ กิดขึน้ จากการ ไถ่ทาสและการจัดหาที่ดินจ�ำนวนมากท�ำเป็น นิคมเพื่อให้ทาสเก่าได้อยู่อาศัยและมีที่ดินท�ำ กินแห่งแรกๆ  ในสังคมไทยอันมีภมู หิ ลังมาจาก งานเผยแผ่ศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิก ของบาทหลวงมิชชันนารี  ซึ่งชุมชนคาทอลิก หัวไผ่นั้นได้มีพัฒนาการมาเป็นชุมชนคาทอลิก ที่ส�ำคัญและมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่  2  ใน ภาคตะวั น ออก  โดยมี ที่ ดิ น จ� ำ นวนมากถึ ง 10,819  ไร่  เพื่อให้ชาวชุมชนได้เช่าอยู่อาศัย และประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นต้นการ เพาะเลีย้ งปลาและจ�ำหน่ายพันธุป์ ลาจนกระทัง่ มี ชื่ อ เสี ย งในหมู ่ ผู ้ เ ลี้ ย งปลาระดั บ ประเทศ ในทุกวันนี ้ และสร้างรายได้ให้กบั ชาวชุมชนได้ อย่างดี  ดังนั้นการศึกษาวิจัยชุมชนคาทอลิก หั ว ไผ่ จึ ง มี ค วามส� ำ คั ญ และมี ค วามน่ า สนใจ ทั้ ง ในด้ า นการไถ่ ท าสและการจั บ จองที่ ดิ น จ�ำนวนมากของบาทหลวงมิชชันนารีให้ทาสเก่า ได้มีถิ่นที่อยู่อาศัยและมีแหล่งท�ำมาหากินใน ช่วงก่อตัง้ ชุมชน  การผ่านปัญหาและอุปสรรค ต่างๆ  ที่เกิดขึ้นของชุมชนเป็นต้นในเรื่องที่ดิน ที่มีมาตลอดตั้งแต่ก่อตั้งชุมชนตลอดจนการ เบียดเบียนกลุม่ คริสตชนในชุมชนในช่วงพิพาท อินโดจีน  พัฒนาการด้านต่างๆ  ของชุมชน การปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงของชาวชุมชน

70

วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

คาทอลิ ก หั ว ไผ่   จนเป็ น ชุ ม ชนคาทอลิ ก ที่ มี อัตลักษณ์ชัดเจนทั้งในด้านการนับถือศาสนา และการประกอบอาชีพเกษตรกรรมเพราะเลีย้ ง ปลาและจ� ำ หน่ า ยพั น ธุ ์ ป ลาที่ มี ชื่ อ เสี ย งใน ปัจจุบัน วัตถุประสงค์การวิจัย 1.  ศึกษาการตัง้ ถิน่ ฐานและพัฒนาการ ของชุมชนคาทอลิกหัวไผ่  เริม่ ตัง้ แต่การเผยแผ่ ศาสนาและการไถ่ทาสของมิชชันนารี  การตั้ง ถิน่ ฐานของชาวชุมชนในปี  พ.ศ.  2415  (ค.ศ. 1872)  เป็นต้นมา 2.  ศึ ก ษาปั จ จั ย ที่ มี อิ ท ธิ พ ลต่ อ การ เปลี่ ย นแปลงทั้ ง ในด้ า นวั ฒ นธรรมชุ ม ชน โครงสร้างทางสังคมและเศรษฐกิจของชุมชน การปรับตัวด้านวัฒนธรรมและเศรษฐกิจ  การ รักษาอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมและเศรษฐกิจ ของชุมชนคาทอลิกหัวไผ่ 3.  ศึ ก ษาสถานภาพปั จ จุ บั น และ แนวทางการพัฒนาเพือ่ การด�ำรงอยูอ่ ย่างยัง่ ยืน ของชุมชนคาทอลิกหัวไผ่ กรอบแนวคิด 1.  ชุมชนคาทอลิกหัวไผ่เกิดขึ้น  ในปี พ.ศ.  2414  (ค.ศ.  1872)  จากการไถ่ทาส ตลอดจนการจับจองที่ดินจ�ำนวนมากโดยบาท หลวงมิชชันนารีชาวฝรั่งเศส  เพื่อให้ทาสเก่า


วิสัณห์ วงษ์แก้ว, ภารดี มหาขันธ์ และ สุรชัย ชุ่มศรีพันธ์

ได้มถี นิ่ ทีอ่ ยูอ่ าศัยรวมถึงมีอาชีพท�ำนาปลูกข้าว ส�ำหรับเลีย้ งตัวเองได้  อันมีภมู หิ ลังมาจากงาน เผยแผ่ ศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิกใน ประเทศไทย 2.  ปั ญ หาและอุ ป สรรคที่ ส� ำ คั ญ ของ ชุมชนคาทอลิกหัวไผ่  คือปัญหาพิพาทในเรื่อง ที่ดินที่มีมาตลอดตั้งแต่การตั้งถิ่นฐานของชาว ชุมชน  อันเนื่องมาจากการมีพ้ืนที่จ�ำนวนมาก ของโบสถ์  กับปัญหาการเบียนเบียนคริสตชน ในชุ ม ชนในช่ ว งพิ พ าทอิ น โดจี น และผลจาก นโยบายชาตินยิ ม  ทีส่ ง่ ผลให้มจี ำ� นวนคริสตชน ลดลง  บาทหลวงและชาวชุ ม ชนถู ก จั บ กุ ม โบสถ์และโรงเรียนถูกปิด 3.  ชุมชนคาทอลิกหัวไผ่มีการปรับตัว ครั้งส�ำคัญ  คือ  ในด้านวัฒนธรรมความเชื่อ ของชุมชนหลังการเกิดสภาสังคายนาวาติกัน ครั้ ง ที่   2  ที่ มี ก ารปรั บ อั ต ลั ก ษณ์ แ ละ วัฒนธรรมด้านการความเชื่อและพิธีกรรมทาง ศาสนาภายในชุมชน  รวมถึงมีการปรับตัวใน ด้านการประกอบอาชีพจากท�ำนาปลูกข้าวมา เป็นการเพาะเลีย้ งปลารวมถึงการจ�ำหน่ายพันธุ์ ปลาน�้ำจืดที่ให้ผลตอบแทนที่ดีกว่า 4.  ความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งชาวชุ ม ชน คาทอลิ ก หั ว ไผ่ กั บ ภู มิ ศ าสตร์   และความ สัมพันธ์ระหว่างบาทหลวงกับส่วนราชการและ ชาวชุมชนน�ำมาสูก่ ารมีบทบาทพัฒนาการด้าน ต่างๆ  ของชุมชน  ตลอดจนน�ำมาซึง่ การด�ำรง อยู่ของอัตลักษณ์ชุมชนคาทอลิกหัวไผ่ทั้งใน

การถื อ ศาสนาและการประกอบอาชี พ เกษตรกรรมการเพาะเลี้ยงปลา  รวมถึงการ เป็นแหล่งจ�ำหน่ายพันธุ์ปลาที่ส�ำคัญและมีชื่อ เสียงในประเทศไทย ขอบเขตการวิจัย ในการศึกษาวิจยั ได้กำ� หนดขอบเขตของ การศึกษาวิจัย  ดังนี้ 1.  ขอบเขตด้านเนือ้ หา  มีเนือ้ หาตัง้ แต่ การเผยแผ่ศาสนาคริสต์นกิ ายโรมันคาทอลิกใน สังคมไทยจนมาสู่การไถ่ทาส  การตั้งถิ่นฐาน และพัฒนาการของชุมชนคาทอลิกหัวไผ่ด้าน ต่างๆ  ตลอดจนศึกษาด้านอัตลักษณ์ชุมชน โครงสร้ า งทางสั ง คมและเศรษฐกิ จ ชุ ม ชน ปัญหาและอุปสรรครวมถึงการปรับตัวในด้าน ต่างๆ  ของชุมชนคาทอลิกหัวไผ่จนสามารถ ด�ำรงอยู่ถึงปัจจุบัน 2.  ขอบเขตด้านเวลา  เน้นระยะเวลา ตั้งแต่ปี  พ.ศ.  2415  (ค.ศ.  1872)  ซึ่งเป็น ปี ที่ บ าทหลวงมิ ช ชั น นารี ไ ด้ น� ำ ทาสเก่ า ที่ ไ ด้ ไถ่ตัวไว้มาตั้งถิ่นฐานเป็นชุมชนคาทอลิกหัวไผ่ จนถึงปี  พ.ศ.  2557  (ค.ศ.  2014) 3.  ขอบเขตด้ า นพื้ น ที่   คื อ   ชุ ม ชน คาทอลิกหัวไผ่  ทีค่ ลอบคลุมพืน้ ที ่ 2  จังหวัด 3  อ�ำเภอ  4  ต�ำบล  ประกอบด้วย 1. หมู่  1  หมู่  2  ในเขตต�ำบลโคก ขี้ ห นอน  อ� ำ เภอพานทอง  จั ง หวั ด ชลบุรี

ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2017/2560

71


การตัง้ ถิน่ ฐานและพัฒนาการของชุมชนคาทอลิกหัวไผ่

2. หมู ่   2  หมู ่   7  ต� ำ บลท่ า ข้ า ม อ�ำเภอพานทอง  จังหวัดชลบุรี 3. บางส่ ว นของหมู ่   3  และหมู ่   6 ต� ำ บลโคกเพลาะ  อ� ำ เภอพนั ส นิ ค ม จังหวัดชลบุรี 4. บางส่วนของหมู่  3  ต�ำบลสิบเอ็ด ศอก  อ�ำเภอบ้านโพธิ ์ จังหวัดฉะเชิงเทรา 5. บางส่ ว นของหมู ่   2  และหมู ่   4 ต� ำ บลหนองตี น นก  อ� ำ เภอบ้ า นโพธิ์ จังหวัดฉะเชิงเทรา ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1.  ได้องค์ความรูเ้ กีย่ วกับการตัง้ ถิน่ ฐาน และพั ฒ นาการของชุ ม ชนคาทอลิ ก หั ว ไผ่ ตั้ ง แต่ ก ารเผยแพร่ ศ าสนาและการไถ่ ท าส ของมิชชันนารี  ตั้งถิ่นฐานในปี  พ.ศ.  2415 (ค.ศ.  1872)  เป็นต้นมา 2.  ได้ความเข้าใจเกี่ยวกับวัฒนธรรม ของชุ ม ชน  โครงสร้ า งทางสั ง คมและการ พัฒนาด้านเศรษฐกิจการปรับตัวทางวัฒนธรรม และเศรษฐกิจ  ตลอดจนการรักษาอัตลักษณ์ ทางวั ฒ นธรรม  และเศรษฐกิ จ ของชุ ม ชน คาทอลิกหัวไผ่ 3.  ได้องค์ความรูเ้ กีย่ วกับสถานภาพใน ปัจจุบันของชุมชน  และแนวทางการพัฒนา ชุมชนที่มีอัตลักษณ์และมีความเป็นสถาบัน ชุมชนคาทอลิกเพื่อการด�ำรงอยู่อย่างยั่งยืน ของชุมชนคาทอลิกหัวไผ่ 72

วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

4.  ได้ ต ้ น แบบการพั ฒ นาชุ ม ชนที่ สามารถน� ำ ไปปรั บ ใช้ กั บ ชุ ม ชนในลั ก ษณะ เดียวกันต่อไป ระเบียบวิธีวิจัย เ ป ็ น ก า ร ศึ ก ษ า ใ ช ้ วิ ธี ก า ร ท า ง ประวัติศาสตร์  ในการเก็บรวบรวมข้อมูลทั้ง จากเอกสารชั้ น ต้ น   เอกสารชั้ น รอง  การ สั ง เกตจากการร่ ว มอยู ่ ใ นชุ ม ชน  และการ สัมภาษณ์แบบประวัติศาสตร์จากค�ำบอกเล่า (Oral  History)  มาวิเคราะห์และสังเคราะห์ขอ้ มูล โดยตีความตามหลักฐานทางประวัติศาสตร์ ผลการวิจัย ชุ ม ชนคาทอลิ ก หั ว ไผ่ เ ป็ น ชุ ม ชนใน ศาสนาคริ ส ต์ นิ ก ายโรมั น คาทอลิ ก ที่ ส� ำ คั ญ ชุมชนหนึง่ ในภาคตะวันออกและของสังคมไทย ซึ่ ง มี พื้ น ที่ ค าบเกี่ ย วอยู ่ ร ะหว่ า งรอยต่ อ ของ อ�ำเภอพนัสนิคมและอ�ำเภอพานทองในเขต จั ง หวั ด ชลบุ รี   และอ� ำ เภอบ้ า นโพธิ์ ใ นเขต จังหวัดฉะเชิงเทรา  มีพัฒนาการการเกิดขึ้น ของชุ ม ชนมาจากการท� ำ งานเผยแผ่ ศ าสนา คริ ส ต์ นิ ก ายโรมั น คาทอลิ ก ของบรรดา บาทหลวงมิ ช ชั น นารี ใ นสั ง คมไทย  โดยใน สมั ย รั ช กาลที่   5  บาทหลวงมิ ช ชั น นารี ทั้ ง บาทหลวงชมิตต์  (Schmitt)  อธิการโบสถ์ เซนต์ปอลที่เมืองฉะเชิงเทรา  และบาทหลวง


วิสัณห์ วงษ์แก้ว, ภารดี มหาขันธ์ และ สุรชัย ชุ่มศรีพันธ์

มาธื อ แรง  เกโก  (Mathurin  Guego) อธิการโบสถ์ที่เมืองบางปลาสร้อย  (ชลบุรี) ได้เริ่มท�ำการเผยแผ่ศาสนาด้านการไถ่ทาส ในสังคมไทย  ซึ่งเป็นการเผยแผ่ศาสนาโดย อาศัยแนวคิดความต้องการพื้นฐานทั้งในด้าน สรีระร่างกายและความมั่นคงปลอดภัยของ มนุษย์  และเมื่อทาสเก่าเหล่านั้นหันมานับถือ ศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิกแล้ว  พวก เขาจะมีความต้องการที่สูงกว่าคือ  การปฏิบัติ ตนเป็นคริสตชนที่ดี เมื่อทาสเก่าที่ได้รับการไถ่ไว้มีจ�ำนวน มากขึ้ น   ท� ำ ให้ บ าทหลวงมาธื อ แรง  เกโก อธิการโบสถ์เมืองบางปลาสร้อยจึงได้มองหา ที่ดินส�ำหรับให้ทาสเก่าเหล่านั้นจะได้มีที่อยู่ อาศัยถาวรรวมถึงมีอาชีพเกษตรกรรมในการ เลี้ยงตนเอง  โดยท่านได้ส�ำรวจและจับจอง ที่ดินรกร้างไม่มีคนอาศัยจ�ำนวนมากระหว่าง เมืองฉะเชิงเทราและเมืองพนัสนิคม  และได้นำ� ทาสเก่าเข้ามาตั้งถิ่นฐานรวมถึงปรับพื้นที่ป่า รกร้างมาเป็นพื้นทีท่ ำ� นาปลูกข้าว  ซึง่ ต่อมาได้ มีการสร้างโบสถ์ถาวรบริเวณเนินไผ่ตรงกลาง พื้นที่ส�ำหรับประกอบศาสนกิจของชุมชน  ใช้ ชื่อว่า  “โบสถ์นักบุญฟิลิปและยาก๊อบ”  รวม ถึงได้มีการเรียกชื่อชุมชนว่า  “ชุมชนหัวไผ่” ตามสภาพบริเวณตรงกลางพืน้ ที ่ ทีม่ ตี น้ ไผ่ขนึ้ อยูม่ ากและเป็นพืน้ ทีต่ งั้ โบสถ์  ทัง้ นีเ้ มือ่ การไถ่ ทาสและการหาพื้นที่เพื่อท�ำนิคมส�ำหรับทาส

เก่าทีช่ มุ ชนคาทอลิกหัวไผ่ได้เกิดผลดีจากการที่ มีผู้มาขออยู่อาศัยในชุมชนคาทอลิกหัวไผ่มาก ขึ้น  ทั้งทาสที่ได้รับการไถ่ตัวใหม่  ญาติพี่น้อง ของทาส  กลุ ่ ม คนจี น   ตลอดจนผู ้ ที่ รู ้ ข ่ า ว เป็นต้น  ท�ำให้งานด้านการไถ่ทาสรวมถึงการ ตั้งชุมชนทาสเก่าจึงได้กลายมาเป็นงานเผยแผ่ ศาสนาที่ ส� ำ คั ญ ของบาทหลวงมิ ช ชั น นารี ใ น สังคมไทยในเวลาต่อมาเป็นต้นทางภาคตะวัน ออกเฉียงเหนือของประเทศไทย พืน้ ทีต่ งั้ ของชุมชนคาทอลิกหัวไผ่  อยูใ่ น บริเวณที่มีสภาพภูมิอากาศแบบร้อนชื้นสลับ แล้ง  รวมถึงพื้นที่ตั้งอยู่ในบริเวณที่ดินมีความ สมบู ร ณ์   เนื่ อ งจากอยู ่ ใ นบริ เวณที่ เรี ย กว่ า ที่ ร าบลุ ่ ม แม่ น�้ ำ บางปะกง  พื้ น ที่ ใ นชุ ม ชนมี ลักษณะดินที่เป็นดินละเอียดหรือดินเหนียว เป็นส่วนใหญ่  รวมถึงภายในชุมชนมีล�ำคลอง อยู่หลายสาย  มีน�้ำอุดมสมบูรณ์  ซึ่งมีความ เหมาะสมในด้านการท�ำการเกษตรกรรมเป็น อย่างมากทั้งการปลูกพืชและการเพาะเลี้ยง สั ต ว์ น�้ ำ  ท� ำ ให้ ชุ ม ชนแห่ ง นี้ มี ลั ก ษณะนิ เวศ วัฒนธรรมในการประกอบอาชีพทีโ่ ดดเด่น  คือ มีการท�ำการเกษตรกรรมตัง้ แต่แรกเริม่ ของการ ตั้งถิ่นฐานและก่อตั้งชุมชนเป็นต้นมา  ทั้งการ ท�ำนาปลูกข้าวในระยะเริ่มแรกของชุมชนจน กระทั่งมีการปรับเปลี่ยนมาเป็นการเพาะเลี้ยง ปลารวมถึ ง สั ต ว์ น�้ ำ อื่ น ๆ  เช่ น   กุ ้ ง มาจนถึ ง ปัจจุบัน  ทั้งนี้การที่ชาวชุมชนส่วนใหญ่มีที่ดิน

ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2017/2560

73


การตัง้ ถิน่ ฐานและพัฒนาการของชุมชนคาทอลิกหัวไผ่

ท�ำกินและมีอาชีพเกษตรกรรมในการเพาะเลีย้ ง ปลา  เลี้ยงกุ้งรวมถึงอาชีพที่เกี่ยวเนื่องกับการ เพาะเลีย้ งสัตว์นำ�้ เหล่านี ้ เช่น  ผูจ้ ำ� หน่ายพันธุ์ ปลา  ผู ้ ค ้ า ปลา-กุ ้ ง   แรงงานลากปลา-กุ ้ ง เป็ น ต้ น   ซึ่ ง สร้ า งงานและรายได้ ใ ห้ กั บ ชาว ชุมชนอย่างเพียงพอ  ท�ำให้ชาวชุมชนคาทอลิก หัวไผ่ส่วนใหญ่จะประกอบอาชีพอยู่ในชุมชน และไม่ค่อยให้ความส�ำคัญกับการศึกษาเท่าใด นัก ในด้านภูมิทัศน์วัฒนธรรมนั้น  ชุมชน คาทอลิกหัวไผ่ยังเป็นภูมิทัศน์วัฒนธรรมแบบ ชนบท  ทีพ่ นื้ ชุมชนส่วนใหญ่เป็นบ่อเพาะเลีย้ ง ปลาและสัตว์น�้ำจืด  มีการเรียกชื่อชุมชน  ชื่อ หมู่บ้าน  ชื่อล�ำคลอง  เป็นต้น  ตามลักษณะ ของพื้นที่ภายในชุมชนตั้งแต่อดีตเป็นต้นมา เช่น  บ้านหัวไผ่  เนินโมกมัน  ถนนรถ  นาล่าง ฯลฯ  ลักษณะภูมิทัศน์วัฒนธรรมการตั้งบ้าน เรือนของชาวชุมชนคาทอลิกหัวไผ่ส่วนใหญ่ยัง เป็นบ้านที่สร้างด้วยไม้  หรือบ้านที่สร้างด้วย คอนกรีตผสมการสร้างด้วยไม้  ส่วนบ้านทีเ่ ป็น คอนกรีตโครงสร้างเหล็กนั้นมีอยู่ในชุมชนไม่ มากนัก  โดยการตัง้ บ้านเรือนส่วนใหญ่ของชาว ชุมชน  นั้นจะตั้งอยู่ห่างๆ  กันและอยู่ในพื้นที่ ดินของตนเอง  จะมีการตัง้ บ้านเรือนหนาแน่น ขึน้ มาบ้าง  เฉพาะบริเวณโดยรอบโบสถ์  และ บริเวณถนนสายหลักของชุมชนทีม่ กี ารตัง้ ฟาร์ม จ�ำหน่ายพันธุ์ปลา  รวมถึงแพรับซื้อปลา-กุ้ง

74

วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

เท่านั้น  ทั้งนี้ภายในชุมชนมีโบสถ์ที่โดดเด่น เป็ น ทั้ ง สถานที่ ส� ำ คั ญ ทางศาสนา  เป็ น ศู น ย์ ก ลางของชุ ม ชนและเป็ น อั ต ลั ก ษณ์ เชิ ง ประจักษ์ที่ส�ำคัญของชุมชน  มีโรงเรียนอยู่ใน บริเวณโบสถ์  มีสถานทีร่ าชการคือโรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพประจ�ำต�ำบล  และป้อมต�ำรวจ ในชุมชน  มีพื้นที่สาธารณะที่ชาวชุมชนและ ทางราชการใช้ประโยชน์ในการท�ำกิจกรรม คือ  บริเวณพื้นที่โดยรอบโบสถ์ใหญ่และโบสถ์ น้อยประจ�ำชุมชนและศาลาอเนกประสงค์ของ แต่ละหมู่บ้านในชุมชน  นอกจากนี้ยังมีถนน และล�ำคลองเป็นพื้นที่สาธารณะที่ชาวชุมชนมี การใช้ประโยชน์ร่วมกัน ชุมชนคาทอลิกหัวไผ่ได้ผ่านอุปสรรค และปัญหาหลักๆ  คือปัญหาในเรื่องที่ดินกับ ปัญหาในเรื่องการเบียดเบียนชาวชุมชน  โดย ปัญหาในเรื่องที่ดินนั้นมีมาตลอดตั้งแต่ก่อตั้ง ชุมชน  ทัง้ การพิพาทแย่งชิงทีด่ นิ และทรัพย์สนิ ในช่วงระยะก่อตั้งชุมชน  คือสมัยบาทหลวง มาธือแรง  เกโก  และ  บาทหลวงจืลล์  กียู อธิการโบสถ์คนต่อมา  ต่อมาจึงมีการพิพาท แย่งชิงที่ดินเกิดขึ้นอีกในช่วงเหตุการณ์การ เบี ย ดเบี ย นศาสนาในชุ ม ชนช่ ว งปี   พ.ศ. 2483-2487  (ค.ศ.  1940-1944)  และการ พิพาทจากการมีแนวคิดปรับเปลี่ยนเศรษฐกิจ ชุมชนในการตั้งโรงงานอุตสาหกรรมในชุมชน ของมิสซังโรมันคาทอลิกจันทบุรีที่เกิดขึ้นในปี


วิสัณห์ วงษ์แก้ว, ภารดี มหาขันธ์ และ สุรชัย ชุ่มศรีพันธ์

พ.ศ.  2553  (ค.ศ.  2010)  ทั้งนี้บาทหลวง อธิการโบสถ์และชาวชุมชนได้ชว่ ยกันในการแก้ ปั ญ หา  โดยอาศั ย ทั้ ง ความมี อิ ท ธิ พ ลของ บาทหลวงที่เป็นชาวฝรั่งเศสในการแก้ปัญหา รวมถึงการใช้กฎหมายในการแก้ปัญหาในช่วง ต้นของการพิพาทเรื่องที่ดินและทรัพย์สินใน ระยะก่อตั้งของชุมชนในสมัยบาทหลวงมาธือ แรง  เกโกและบาทหลวงจืลล์  กียู  และใน เวลาต่อมายังมีใช้กฎหมายตลอดจนอาศัยความ สามัคคีรว่ มแรงร่วมใจกันของชาวชุมชนในการ แก้ปัญหาทั้งในช่วงเบียดเบียนศาสนาและใน ช่วงการมีแนวคิดปรับเปลี่ยนเศรษฐกิจชุมชน จนท�ำให้มีการแก้ปัญหาเรื่องที่ดินของชุมชน ส�ำเร็จลุล่วงไปในที่สุด  ส่วนปัญหาการเบียน เบียนศาสนาที่เกิดขึ้นในชุมชนคาทอลิกหัวไผ่ ในช่วงปี  พ.ศ.  2483-2487  (ค.ศ.  18401844)  นั้นชาวชุมชนคาทอลิกหัวไผ่ได้ใช้การ ปรับตัวโอนอ่อนต่อสถานการณ์  ความอดทน อดกลั้น  และอาศัยการร่วมแรงร่วมใจช่วย เหลือกันจนผ่านเหตุการณ์มาได้ดว้ ยดี  น�ำมาสู่ การฟื้นตัวและการพัฒนาของชุมชนจนเป็น สถาบันชุมชนคาทอลิกต่อไปได้ ในการพัฒนาของชุมชนคาทอลิกหัวไผ่ ในด้านต่างๆ  เช่น  ด้านการศึกษา  ศาสนา สาธารณสุข  และระบบสาธารณูปโภค  ฯลฯ นั้น  ชาวชุมชนได้มีบทบาทร่วมแรงร่วมใจกัน พั ฒ นาชุ ม ชนมาโดยตลอด  โดยในช่ ว งแรก

ตัง้ แต่การก่อตัง้ ชุมชน  บาทหลวงอธิการโบสถ์ มีบทบาทเป็นผูน้ ำ� ในงานพัฒนาและชาวชุมชน มีบทบาทสามัคคีทั้งการร่วมกันลงแรงในการ พัฒนา  ตลอดจนการช่วยเหลือด้านสิ่งของ ฯลฯ  ต่ อ มาในการพั ฒ นาชุ ม ชนโดยเฉพาะ ตั้ ง แต่ ส มั ย บาทหลวงสุ เ ทพ  นามวงษ์ ท�ำหน้าที่อธิการโบสถ์ตั้งแต่ปี  พ.ศ.  2509 (ค.ศ.  1966)  เป็นต้นมา  ชาวชุมชนคาทอลิก หัวไผ่โดยเฉพาะผูน้ ำ� ชุมชน  เช่นก�ำนัน  ผูใ้ หญ่ บ้าน  ฯลฯ  ตลอดจนทางส่วนราชการได้มี บทบาทมากขึ้นร่วมกับบาทหลวงอธิการโบสถ์ เป็นต้นการติดต่อและการจัดสรรงบประมาณ ในการพัฒนาชุมชนให้มีความเจริญก้าวหน้า เป็นต้นในด้านสาธารณูปโภคและสาธารณะสุข ของชุมชนจนถึงปี  พ.ศ.  2537  (ค.ศ.  1994) เมือ่ มีการเกิดขึน้ ขององค์การบริหารส่วนต�ำบล ท�ำงานพัฒนาชุมชนคาทอลิกหัวไผ่เป็นต้นด้าน สาธารณูปโภค  ทีช่ าวชุมชนเป็นต้นผูน้ ำ� ชุมชน ที่เป็นผู้บริหารและสมาชิกสภาองค์การบริหาร ส่ ว นต� ำ บลมี บ ทบาทน� ำ และมี ก ารท� ำ งานที่ ประสานกันระหว่างบาทหลวงอธิการโบสถ์ใน การพัฒนาชุมชนคาทอลิกหัวไผ่ ส่วนในการปกครองชุมชนคาทอลิกหัว ไผ่ นั้ น   ในช่ ว งระยะเริ่ ม แรกของการก่ อ ตั้ ง ชุมชนตั้งแต่ปี  พ.ศ.  2415  (ค.ศ.  1872) จากการเป็ น ชุ ม ชนชายขอบในสั ง คมไทย ประกอบกับการที่ฝรั่งเศสที่มีอิทธิพลในยุคล่า

ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2017/2560

75


การตัง้ ถิน่ ฐานและพัฒนาการของชุมชนคาทอลิกหัวไผ่

อาณานิ ค มและบุ ค ลิ ก นิ สั ย ส่ ว นตั ว ของ บาทหลวงมาธือแรงเกโกชาวฝรั่งเศสผู้ก่อตั้ง ชุ ม ชน  ที่ ไ ม่ เ กรงข้ า ราชการของรั ฐ และ กฎหมายไทย  ท�ำให้การปกครองในชุมชนหัว ไผ่  เป็นไปในลักษณะกึง่ อิสระจากการปกครอง ของรัฐ  โดยบาทหลวงเป็นผูน้ ำ� ในการปกครอง ชุมชนทัง้ ทางศาสนาและทางโลก  แต่หลังจาก ปี  พ.ศ.  2437  (ค.ศ.  1894)  ทีม่ กี ารปฏิรปู การบริหารราชการส่วนภูมิภาคในสมัยรัชกาล ที่   5  ท� ำ ให้ ใ นสมั ย บาทหลวงจิ ล ล์   กี ยู ท�ำหน้าที่อธิการโบสถ์ที่ชุมชนคาทอลิกหัวไผ่ เป็นต้นมา  การปกครองแบบกึง่ อิสระทีม่ จี งึ ได้ ค่อยๆ  เข้ามาอยู่ภายใต้การปกครองของรัฐ แทนโดยฆราวาสมีบทบาทมากขึ้นในแง่การ ปกครองจากรัฐ  แต่ในขณะเดียวกันชาวชุมชน คาทอลิกหัวไผ่ยังอยู่ภายใต้การปกครองของค ริสตจักรโรมันคาทอลิกด้วยโดยอาศัยความเชือ่ ทางศาสนา  ซึ่งตั้งแต่อดีตมาจนถึงปัจจุบันนั้น ชาวชุมชนยังให้ความส�ำคัญกับบาทหลวงใน การปกครองดูแลชุมชน  ซึ่งมีพื้นฐานมาจาก ความเชือ่ ทีว่ า่ บาทหลวงเป็นผูแ้ ทนของพระเจ้า ในการปกครองดูแลคริสตชนรวมถึงการที่ทาง โบสถ์เป็นของที่ีิดินภายในชุมชนด้วย  ทั้งนี้ พัฒนาการของชุมชนด้านต่างๆ  เช่น  ด้าน ศาสนา  อาชีพ  การศึกษาเป็นต้น  ยังขึ้นกับ วิสัยทัศน์ของบาทหลวงเป็นส�ำคัญ

76

วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

ชุมชนคาทอลิกหัวไผ่นนั้ มีชวี ติ วัฒนธรรม ในการเป็ น ชุ ม ชนคริ ส ต์ ศ าสนานิ ก ายโรมั น คาทอลิกที่ประกอบอาชีพเกษตรกรรมมาโดย ตลอด  การด� ำ รงความเป็ น ชุ ม ชนคาทอลิ ก หั ว ไผ่ ท่ี ยั่ ง ยื น ท่ า มกลางยุ ค สมั ย ที่ มี ก าร เปลีย่ นแปลงได้นนั้   ท�ำให้ชมุ ชนคาทอลิกหัวไผ่ จึงมีการปรับตัว  เป็นต้นในด้านวัฒนธรรม ความเชือ่ และการประกอบอาชีพของชาวชุมชน ซึ่งชุมชนคาทอลิกหัวไผ่มีการปรับตัวในด้าน วัฒนธรรมศาสนาตามแนวคิดสภาสังคายนา วาติกันครั้งที่  2  ในที่เกิดขึ้นปี  พ.ศ.  2505 (ค.ศ.  1962)  โดยมีการปรับวัฒนธรรมศาสนา คริสต์นิกายโรมันคาทอลิกที่มีจากแรกเริ่มที่มี ความเป็น  “ฝรั่ง”  มาสู่ความเป็น  “ไทย” และความเป็นท้องถิ่นของชุมชน  ทั้งในด้าน พิธกี รรม  เช่น  ภาษา  การแสดงออกเช่นการ ไหว้ในพิธีกรรม  ฯลฯ  ด้านศิลปศาสนสถาน ดังจะเห็นได้จากอาคารโบสถ์ที่เป็นศิลปะไทย ประยุกต์  การปรับบุคลากรให้เป็นคนท้องถิ่น รวมถึงมีการสานเสวนากับศาสนาอื่นๆ  โดย เคารพในคุณค่าความเชื่อนั้นๆ  จนอยู่ร่วมกับ ชุมชนที่นับถือศาสนาอื่นๆ  ได้อย่างดี  และมี การท�ำกิจกรรมสานเสวนาร่วมกันอยู่เสมอๆ ซึ่ ง มี ค วามโดดเด่ น เป็ น อย่ า งมากในจั ง หวั ด ชลบุรีและในภาคตะวันออก  ส่วนในด้านการ ประกอบอาชีพนัน้   จากตัง้ แต่แรกเริม่ ของการ ก่อตัง้ ชุมชน  ชาวชุมชนคาทอลิกหัวไผ่ได้มกี าร


วิสัณห์ วงษ์แก้ว, ภารดี มหาขันธ์ และ สุรชัย ชุ่มศรีพันธ์

ประกอบอาชีพท�ำนาปลูกข้าว  จนกระทัง่ ถึงปี พ.ศ.  2519  (ค.ศ.  1976)  ชาวชุ ม ชน คาทอลิกหัวไผ่รวมถึงส่วนราชการต่างๆ  จึงได้ มี บ ทบาทร่ ว มแรงร่ ว มใจกั น ในพั ฒ นาและ ค่ อ ยๆปรั บ เปลี่ ย นวิ ถี อ าชี พ ของชาวชุ ม ชน มาเป็ น การเพาะเลี้ ย งปลาและสั ต ว์ น�้ ำ อื่ น ๆ ต่อมาชุมชนคาทอลิกหัวไผ่จงึ ได้กลายเป็นแหล่ง เพาะพันธ์ุปลาน�้ำจืดจ�ำหน่ายที่มีชื่อเสียงใน ระดับประเทศส่งผลให้ชาวชุมชนมีรายได้และ มีเศรษฐกิจชุมชนที่ดีขึ้น  และเป็นอาชีพหลัก ของชาวชุ ม ชนถึ ง ทุ ก วั น นี้   ทั้ ง นี้ ใ นวิ ถี ก าร ด�ำเนินชีวิตและการประกอบอาชีพของชาว ชุมชนยังมีความผูกพันกับความเชื่อในศาสนา คริสต์นิกายโรมันคาทอลิก  เป็นต้นการสวด ภาวนาขอพรการขอความช่วยเหลือ  และการ ขอบคุ ณ พระเจ้าในการด�ำเนินชีวิตและการ ประกอบอาชีพที่มีมาตลอดถึงทุกวันนี้ การที่ชุมชนคาทอลิกหัวไผ่  ด�ำรงอยู่ และมีพัฒนาการมาจนถึงปัจจุบันได้นั้น  ชาว ชุมชนคาทอลิกหัวไผ่ได้อาศัยคุณธรรมอันเป็น อัตลักษณ์ของชาวชุมชน  คือ  ความสามัคคี ร่ ว มแรงร่ ว มใจกั น ในการพั ฒ นาชุ ม ชนและ ฝ่าฟันปัญหาอุปสรรคต่างๆ  ทีเ่ กิดขึน้ ในชุมชน รวมถึงการมีน�้ำใจช่วยเหลือเกื้อกูลกันของชาว ชุมชน  ทั้งที่มีต่อส่วนรวมคือโบสถ์และชุมชน และการช่วยเหลือเกื้อกูลระหว่างชาวชุมชน ด้ ว ยกั น เอง  อั น มี ที่ ม าจากค� ำ สอนในด้ า น “ความรัก”  อันเป็นอัตลักษณ์ส�ำคัญที่สุดของ ค�ำสอนในศาสนาคริสต์  ท�ำให้ชุมชนคาทอลิก

หัวไผ่เป็นสถาบันชุมชนที่มีพัฒนาการ  ด�ำรง อยู ่ แ ละมี อั ต ลั ก ษณ์ เ ป็ น ชุ ม ชนคริ ส ตศาสนา นิ ก ายโรมั น คาทอลิ ก ที่ ป ระกอบอาชี พ เกษตรกรรมการเพาะเลี้ยงปลาและจ�ำหน่าย พันธุ์ปลาที่ส�ำคัญและมีชื่อเสียงในภาคตะวัน ออกของประเทศไทย ชุมชนคาทอลิกหัวไผ่เป็นชุมชนคาทอลิก แรกๆ  ที่เกิดจากการไถ่ทาสและการจับจอง ทีด่ นิ ของบาทหลวงมิชชันนารีเพือ่ ให้ทาสเก่าได้ อยู่อาศัยและมีที่ดินในการประกอบอาชีพเพื่อ จะได้เลี้ยงตนเองได้  โดยมีภูมิหลังมาจากงาน เผยแผ่ศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิกของ บาทหลวงมิชชันนารี  ซึง่ ชุมชนได้มพี ฒ ั นาการ ในด้านต่างๆ  เช่น  ด้านศาสนา  การศึกษา ด้ า นสั ง คม  และเศรษฐกิ จ มาถึ ง ปั จ จุ บั น ชุมชนคาทอลิกหัวไผ่ได้ประสบกับปัญหาใหญ่ๆ ทั้ ง การพิ พ าทเรื่ อ งที่ ดิ น และการเบี ย ดเบี ย น คริสตชนภายในชุมชน  แต่ชาวชุมชนก็สามารถ ปรับตัวได้อย่างดีด�ำรงอยู่มาได้จนถึงทุกวันนี้ ชุ ม ชนคาทอลิ ก หั ว ไผ่ นั้ น เป็ น ชุ ม ชนที่ มี อัตลักษณ์ชัดเจนในการนับถือศาสนาที่มีความ เป็นท้องถิน่ และอยูร่ ว่ มกับชุมชนพุทธใกล้เคียง ได้อย่างดี  รวมถึงมีการประกอบอาชีพเพาะ เลี้ยงปลาและจ�ำหน่ายพันธุ์ปลาน�้ำจืดที่มีชื่อ เสี ย งเป็ น ที่ รู ้ จั ก ในระดั บ ประเทศ  สามารถ พึ่ ง พาตนเองได้ ต ามวั ต ถุ ป ระสงค์ ก ารก่ อ ตั้ ง ชุมชน  ทั้งนี้ศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิก เป็นสิง่ ทีเ่ ชือ่ มโยงสังคมและวัฒนธรรมของชาว ชุมชนเข้าด้วยกันโดยมีบาทหลวงเป็นผู้น�ำ

ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2017/2560

77


การตัง้ ถิน่ ฐานและพัฒนาการของชุมชนคาทอลิกหัวไผ่

บรรณานุกรม กองจดหมายเหตุ แ ห่ ง ชาติ .   (จ.ศ.1236). เอกสารกระทรวงต่างประเทศ  ม  กต (ล)9/78,  เลขที่  13  เรื่องคดีความที่ เกีย่ วข้องกับบาทหลวงเคโค.  เอกสาร เลขที่  ม  กต(ล)9/78. กองจดหมายเหตุ แ ห่ ง ชาติ .   (จ.ศ.1239). เอกสารกระทรวงต่างประเทศ  กต(ล) 9/79.  เลขที่   11  เรื่ อ งบาทหลวง เคโคจับบ่าวขุนวิเสศษาครล่ามโซ่ไว้. เอกสารเลขที่  ม.กต(ล)9/79. กองจดหมายเหตุ แ ห่ ง ชาติ .   (จ.ศ.1251). เอกสารรั ช กาลที่   5.  หลั ก ฐานตรา น ้ อ ย / 2 1 .   เรื่ อ ง ที่   2 8   เ มื อ ง ฉะเชิ ง เทราให้ ว ่ า กล่ า วบาทหลวง สิทบาทหลวงให้หลวงจักรานุกิจเดิน วัดนาเกบเงินค่านาโดยสดวกได้ส่งต้น หนั ง สื อ กรมท่ า ออกมาด้ ว ยแล้ ว . เอกสารเลขที ่ ก-ร5  รล-ตราน้อย/21. กองจดหมายเหตุ แ ห่ ง ชาติ .   (พ.ศ. 2448). เอกสารแผนที่เมืองพนัสนิคม  พ.ศ. 2448.  เอกสารเลขที่   ผ.  ร5  กษ 10. กองจดหมายเหตุ แ ห่ ง ชาติ .   (พ.ศ.2458). เอกสารแผนที่ ก ารบิ น เฉพาะถิ่ น บ้านโพธิ์  จังหวัดฉะเชิงเทรา  พ.ศ. 2458.  เอกสารเลขที่   ผ.  กบค. 3-(12-25). 78

วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

ประวัต ิ -  ย่อ  พระสงฆ์ทมี่ าปกครอง  “วัด หั ว ไผ่ ” .  บั น ทึ ก คั ด ลายมื อ ในสมุ ด โรงเรียนประชาสงเคราะห์  หัวไผ่. ภารดี  มหาขันธ์.  (2555).  การตั้งถิ่นฐาน และพัฒนาการของภาคตะวันออกยุค ปรับปรุงประเทศตามแบบสมัยใหม่ถงึ ปัจจุบนั .  ชลบุร:ี   สาขาวิชาไทยศึกษา คณะมนุ ษ ย์ ศ าสตร์ แ ละสั ง คมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา. รายงานการด�ำเนินงานวัดนักบุญฟิลิปและ ยาก๊อบ  หัวไผ่  ค.ศ. 2006-2008. ม.ป.ท.  2552. รายงานประจ�ำปีระหว่างวันที่  1  มกราคม ถึงวันที่  31  ธันวาคม  ค.ศ. 2013 (พ.ศ. 2556)  ของวัดนักบุญฟิลปิ และ ยาก๊อบหัวไผ่. โรแบต์  โกสเต.  (2549).  ประวัติการเผย แพร่ ค ริ ส ต์ ศ าสนาในสยามและลาว (อรสา  ชาวจีน,  แปลและเรียบเรียง). กรุ ง เทพฯ:  สื่ อ มวลชนคาทอลิ ก ประเทศไทย. วิ ก ตอร์   ลาร์ เ ก.  (2539).  ประวั ติ พ ระ ศาสนจั ก รคาทอลิ ก ในประเทศไทย. กรุงเทพฯ:  ส�ำนักพิมพ์แม่พระยุคใหม่. วิทยาลัยแสงธรรม.  (2533).  ประวั ติพระ ศาสนจั ก รคาทอลิ ก ไทย  สมั ย กรุ ง ศรีอยุธยา  –  สังคายนาวาติกนั ครัง้ ที่ 2  (พ.ศ. 2098-2508).  ม.ป.ท.


วิสัณห์ วงษ์แก้ว, ภารดี มหาขันธ์ และ สุรชัย ชุ่มศรีพันธ์

สุรชัย  ชุ่มศรีพันธุ์(ก).  (2543).  งานศึกษา กรณีคณ ุ พ่อนิโคลาส  บุญเกิด  กฤษบ�ำรุง เป็ น บุ ญ ราศี .   กรุ ง เทพฯ:  แผนก ประวัติศาสตร์  หอจดหมายเหตุอัคร สังฆมณฑลกรุงเทพฯ. สุรชัย  ชุ่มศรีพันธุ์(ข).  (2543).  นักโทษ.. นักบุญ.  กรุงเทพฯ:  แผนกประวัตศิ าสตร์ หอจดหมายเหตุ อั ค รสั ง ฆมณฑล กรุงเทพฯ. อนุสรณ์  ศตสมโภช  110  ปี  วัดนักบุญ ฟิ ลิ ป และยากอบ  หั ว ไผ่   1880- 1990.  (ม.ป.ป.).  ม.ป.ท. หอจดหมายเหตุ อั ค รสั ง ฆมณทลกลุ ง เทพฯ. (ม.ป.ป.).  รายงานประจ�ำปีของมิสซัง กรุงสยามและ  มิสซังกรุงเทพฯ  ถึง ศูนย์มิสซังต่างประเทศแห่งกรุงปารีส ตัง้ แต่  ค.ศ. 1873-ค.ศ. 1982.  ม.ป.ท.

ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2017/2560

79


คุณธรรมการบริหารงานบุคคลของผู้บริหาร

โรงเรียนคาทอลิก สังกัดอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ

M orals of Personal Management for Catholic Schools Administrators under Bangkok Archdiocese.

รดีพร ลพสัตถยุทธ * โรงเรียนอ�ำนวยศิลป์ ผศ.ดร.พิมพ์ประภา อมรกิจภิญโญ * อาจารย์ประจ�ำคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเซนต์จอห์น บาทหลวง ดร.วิทยา คู่วิรัตน์ * สภามหาวิทยาลัยเซนต์จอห์น Radeeporn Lopsathayoodh * Amnuaysilpa School, Bangkok. Asst. Prof. Dr.Pimprapa Amornkitpinyo * Faculty of Education, Saint John University, Bangkok. Rev. Dr.Witthaya Khuwirat * Saint John University's Council, Bangkok.


รดีพร ลพสัตถยุทธ, พิมพ์ประภา อมรกิจภิญโญ และวิทยา คู่วิรัตน์

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาคุณธรรมในการบริหารงาน บุคคลของผู้บริหารโรงเรียนคาทอลิกสังกัดอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ และเปรียบเทียบคุณธรรมในการบริหารงานบุคคลของผูบ้ ริหารจากการ ประเมินของผู้บริหารและครู  กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้บริหารและครูใน โรงเรียนคาทอลิกสังกัดอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ  ภาคเรียนที ่ 2  ปีการ ศึกษา  2557  จ�ำนวน  210  คน  โดยเครือ่ งมือทีใ่ ช้ในการเก็บรวบรวม ข้อมูลคือ  แบบสอบถามวิเคราะห์ขอ้ มูลด้วยค่าความถี ่ ร้อยละค่าเฉลีย่ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน  และเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยด้วยค่าสถิติ  t–test ผลการวิจัยพบว่า 1.  คุ ณ ธรรมในการบริ ห ารงานบุ ค คลของผู ้ บ ริ ห ารโรงเรี ย น คาทอลิกสังกัดอัครสังฆมณฑลกรุงเทพ  ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก 2.  ผลการเปรียบเทียบคุณธรรมในการบริหารงานบุคคลของ ผู้บริหารจาการการประเมินของผู้บริหารและครู  สรุปได้ว่า  ผู้บริหาร และครูประเมินคุณธรรมของผู้บริหารในการบริหารงานบุคคล  ในภาพ รวม  ไม่แตกต่างกันอย่างมีนยั ส�ำคัญทางสถิต ิ แต่เมือ่ พิจารณาเป็นราย ด้านและรายข้อพบว่า  ผู้บริหารและครูประเมินคุณธรรมในการบริหาร งานบุคคล  แตกต่างกันอย่างมีนยั ส�ำคัญทางสถิตทิ รี่ ะดับ  0.05  อยู ่ 2 ด้าน  ได้แก่  1)  การฝึกอบรมและพัฒนา  และ  2)  การประเมินผล การปฏิบตั งิ าน  การจ่ายค่าตอบแทนและผลประโยชน์  ส่วนการเปรียบ เทียบเป็นรายข้อพบว่าผู้บริหารและครูประเมินคุณธรรมในการบริหาร งานบุคคล  แตกต่างกันอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ  0.05  รวม 14  ข้อ  จากทั้งหมด  40  ข้อ ค�ำส�ำคัญ:

1)  การบริหารงานบุคคล 2)  คุณธรรม 3)  โรงเรียนคาทอลิก

ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2017/2560

81


คุณธรรมการบริหารงานบุคคลของผูบ้ ริหารโรงเรียนคาทอลิก สังกัดอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ

Abstract

This research has the purposes to learn about the Morals of Personal Management for Catholic Schools Administrators under Bangkok Archdiocese and to compare the administration of personal of the Administration Department to evaluate between the Administrators and the Teachers’ group example of the 2nd Education Semester year 2014 with numbers of teachers and admisitrator at 210 persons. By the method that is used to colect the data to be evaluated is the questionaire paper to analize data of frequecy in percentage and to find the result’s adverage Stadard Deviation and Comparation of Statistics for analyzing technic with using t-test. The results of reserch are 1.  Morals of Personal Administration of Administrators those manage the Catholic Schools of Bangkok Diocese are in the level of very good. 2.  The result of comparation’s evaluation between administrators and teachers with the method of statistics can be summarized as the morals of teachers and the administrator at the level that concerned to statistics at 0.05 are about 1) training and development and 2) Evalation of working, outcome of working as salary, also the results can be concerned to the level of statistics at 0.05 are 14 numbers from 40 numbers of susgestions. Keywords:

82

วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

1)  Personal Management 2)  Morality 3)  Catholic School


รดีพร ลพสัตถยุทธ, พิมพ์ประภา อมรกิจภิญโญ และวิทยา คู่วิรัตน์

ความเป็นมาและความส�ำคัญของปัญหา บุคคลเป็นทรัพยากรทีส่ ำ� คัญขององค์กร บุคคลซึง่ เต็มเปีย่ มด้วยศักยภาพ  มีความพร้อม มีความจริงใจในการท�ำงานสามารถสร้างมูลค่า เพิม่   สร้างโอกาสในการแข่งขันและสร้างความ มั่นคงให้กับองค์กรเพื่อน�ำไปสู่ความส�ำเร็จตาม เป้ า หมายสู ่ อ งค์ ก ร  ดั ง นั้ น การบริ ห ารงาน บุคคลจึงเป็นหัวใจของการบริหารเพือ่ ใช้บคุ คล ในองค์กรให้เกิดประสิทธิผลสูงสุด  (Ivancevich, 2004)  งานบริหารบุคคลมีภารกิจในการจัดหา คนทีม่ คี ณ ุ สมบัตเิ หมาะสมกับงาน  ใช้บคุ คลให้ เกิ ด ประโยชน์สูงสุดพัฒนาทัก ษะและความ สามารถของบุคคลให้มปี ระสิทธิภาพและมีหน้า ที่สื่อสารนโยบายขององค์กร  การบริหารงาน บุคคลที่ดีจะช่วยให้สามารถหลีกเลี่ยงความผิด พลาดในการบริหารงาน  เช่น  การถูกพนักงาน ฟ้ อ งร้ องในความไม่เ ป็นธรรมในการว่าจ้าง อัตราการลาออกสูง  พนักงานขาดแรงจูงใจใน การท�ำงานเป็นต้น  การไหลบ่าของวัฒนธรรม ต่างชาติได้น�ำค่านิยมหรือคุณค่าทางสังคมที่ แตกต่างเข้ามาสู่สังคมไทย  ท�ำให้เกิดความ เสื่อมโทรมทางด้านคุณธรรม  สถานศึกษาจึง เป็นความหวังและทางออกของการปลูกฝัง คุณธรรมเพือ่ เป็นพืน้ ฐานในการด�ำรงชีวติ แก่คน รุ่นต่อไป  ดังที่ได้ระบุไว้ในหลักสูตรการศึกษา ขั้นพื้นฐาน  พ.ศ.2544  และหลักสูตรแกน กลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน  พ.ศ.2551  ให้

สถานศึ ก ษาทุ ก แห่ ง ทั่ ว ประเทศมี ก ารสอน คุณธรรมและจริยธรรมในทุกกลุ่มสาระและ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนโดยสอดแทรกเข้าไปทุก รายวิ ช า  มุ ่ ง พั ฒ นาผู ้ เ รี ย นให้ มี คุ ณ ธรรม จริยธรรม  และค่านิยมทีพ่ งึ ประสงค์เห็นคุณค่า ของตนเอง  มี วิ นั ย และปฏิ บั ติ ต นตามหลั ก ธรรมค� ำ สอนของศาสนาที่ ต นนั บ ถื อ   (กรม วิชาการ,  2546)  การสร้างสถานศึกษาให้เป็น แบบอย่างและผูถ้ า่ ยทอดคุณธรรมให้กบั ผูเ้ รียน นั้น  บุคลากรของสถานศึกษาทุกระดับต้อง เป็นผูม้ คี ณ ุ ธรรมในการปฏิบตั หิ น้าทีแ่ ละในการ ด�ำเนินชีวิต  ตามที่มีการก�ำหนดจรรยาบรรณ ในการปฏิ บั ติ ง านทั้ ง ของผู ้ บ ริ ห าร  ครู บุคลากรทางการศึกษา  และเจ้าหน้าที่ของ สถานศึกษา  หากในการบริหารงานบุคคลมี การปฏิบัติงานอย่างมีคุณธรรมก็จะสะท้อน จุดยืนขององค์กร  กลายเป็นต้นแบบและส่งผล ต่อการสร้างค่านิยมวัฒนธรรมและได้รับความ เชื่ อ ถื อ จากผู ้ ป กครองและชุ ม ชน  (คุ รุ ส ภา, 2548) เมือ่ พิจารณาปัญหาพฤติกรรมผิดจรรยา บรรณของครูและบุคลากรทางการศึกษาซึ่ง สะท้อนถึงประสิทธิภาพของการบริหารงาน บุ ค คลในโรงเรี ย น  อาจจ� ำ แนกได้ เ ป็ น   2 ประเด็นคือ  1)  ปัญหาการครองตน  ได้แก่ การเล่ น การพนั น   ติ ด สุ ร า  แต่ ง กายและ วางตัวไม่เหมาะสม  ครูที่อยู่ในวัยใกล้เคียงกับ

ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2017/2560

83


คุณธรรมการบริหารงานบุคคลของผูบ้ ริหารโรงเรียนคาทอลิก สังกัดอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ

นักเรียนวางตัวใกล้ชิดเกินขอบเขตจนน�ำไปสู่ ปัญหาชู้สาว  การล่วงละเมิดทางเพศ  มีการ ท�ำร้ายร่างกายเด็ก  การลงโทษที่เกินกว่าเหตุ ใช้คำ� พูดรุนแรงก้าวร้าว  และ  2)  ปัญหาการ ครองงานมีปัญหาเกี่ยวกับการที่ครูไม่มีเวลา สอนในห้ อ งเรี ย นเพราะมี ภ าระงานอื่ น   ครู ทุม่ เทกับการสอนพิเศษ  กอบโกยผลประโยชน์ จากอาชีพของตน  บางคนไม่ค่อยสนใจการ สอนในชั้นเรียนเพราะมุ่งสร้างผลงานวิจัยใน การเลื่อนวิทยฐานะของตนเองหรือวิ่งเต้นเพื่อ ย้ า ยเข้ า มาอยู ่ โรงเรี ย นประจ� ำ จั ง หวั ด หรื อ โรงเรียนดัง  (ธัญลักษณ์  รุจิภักดิ์,  เอมม่า อาสนจินดา,  2557) ผูว้ จิ ยั ได้ศกึ ษาการจัดการศึกษาคาทอลิก ในประเทศไทย  และกลุ่มโรงเรียนคาทอลิก สังกัดอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ  พบว่าทุกชั้น เรียนจะมีการสอนข้อพระธรรมค�ำสอนและ ศาสนา  โดยมีอดุ มการณ์ของการจัดการศึกษา ที่พัฒนาทั้ง  ร่างกาย  สติปัญญา  จิตใจและ จิตวิญญาณ  ตามแนวทางการศึกษาคาทอลิก ที่มุ่งเป้าหมายสัจธรรมและการพัฒนามนุษย์ ตามศักยภาพ  โรงเรียนคาทอลิกเติบโตอย่าง รวดเร็วและมีประสิทธิภาพเป็นที่ยอมรับของ ผู ้ ป กครองในด้ า นการเรี ย นการสอนและ คุ ณ ธรรมอย่ า งชั ด เจน  โรงเรี ย นคาทอลิ ก มี ลักษณะจ�ำเพาะคือคุณภาพทีเ่ ป็นคาทอลิก  ซึง่ หมายถึงมโนทัศน์ทางคริสต์เกี่ยวกับชีวิตที่มี

84

วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

ศูนย์กลางในองค์พระเยซูคริสตเจ้า  พระคริสต์ เป็นรากฐานของการศึกษาทั้งปวงในโรงเรียน คาทอลิ ก   สภาพระสั ง ฆราชคาทอลิ ก แห่ ง ประเทศไทยเรียกร้องให้มีการปฏิรูปโรงเรียน คาทอลิกอย่างจริงจังและสร้างความชัดเจนใน ด้ า นอั ต ลั ก ษณ์ ก ารศึ ก ษาคาทอลิ ก ตามแผน อภิ บาลฯ  ค.ศ.2010-2015  ทั้ ง นี้ ส ภาการ ศึ ก ษาคาทอลิ ก ได้ ต อบรั บ ด้ ว ยการก� ำ หนด อัตลักษณ์ของการศึกษาของคาทอลิกให้เป็น ความหวังและทางเลือกของสังคมไทย  โดยมี อัตลักษณ์  6  ประการคือ 1)  ความรัก  เมตตา  รับใช้ 2)  ซื่อตรง  ซื่อสัตย์ 3)  กตัญญูรู้คุณ 4)  พอเพียง  มีภูมิคุ้มกัน 5)  รักกันฉันพี่น้อง  และ 6)  มุ่งความเป็นเลิศ การจัดการศึกษาแบบคาทอลิกนั้นมุ่ง เน้นงานอภิบาลและการอบรมเพื่อหล่อหลอม ให้ ผู ้ เรี ย นสู ่ ค วามเป็ น มนุ ษ ย์ ที่ ส มบู ร ณ์ ทั้ ง ร่างกาย  สติปัญญา  จิตใจและจิตวิญญาณ ด้วยจิตตารมณ์แห่งพระวรสารน�ำไปสูค่ วามเป็น หนึง่ เดียวกันกับผูอ้ นื่ และสร้างสันติสขุ ในสังคม ไทยและสังคมโลก  ด้วยรากฐานการประกาศ ข่ า วดี แ ห่ ง ความรั ก ของพระเจ้ า ซึ่ ง น� ำ ความ รอดพ้ นสู ่ ชี วิตนิ รั นดรและเป็ นสนามเผยแผ่ ธรรมด้วยกระบวนการสร้างผูเ้ รียนให้มจี ติ อาสา


รดีพร ลพสัตถยุทธ, พิมพ์ประภา อมรกิจภิญโญ และวิทยา คู่วิรัตน์

และเป็นผู้น�ำการเปลี่ยนแปลงในสังคม  (สภา การศึกษาคาทอลิกแห่งประเทศไทย,  2555) พระเยซูเจ้าทรงเป็นครูผู้ยิ่งใหญ่ตามข้อความ ในพระวรสารนั ก บุ ญ มาระโก  10:13,14 พระเยซู เจ้ า ตรั ส ว่ า   “จงยอมให้ เ ด็ ก เล็ ก ๆ เข้ามาหาเราอย่าห้ามเขาเลย”  พระเยซูเจ้า ทรงสอนผูค้ นทุกหนแห่งทีพ่ ระองค์ทรงพบตาม ชายทะเลและบนเรือ  ทรงสอนพวกเขาในบ้าน และในระหว่างที่เดินทาง  พระองค์ทรงรู้วิธี ท� ำ ให้ สิ่ ง ต่ า งๆ  เป็ น ที่ น ่ า สนใจส� ำ หรั บ ผู ้ ค น ทรงอธิ บ ายสิ่ ง ต่ า งๆ  ในวิ ธี ที่ เรี ย บง่ า ยและ ชัดเจนเพื่อช่วยให้ผู้คนเข้าใจเกี่ยวกับความ สัมพันธ์และความรักระหว่างพระเป็นเจ้าทีม่ ตี อ่ มนุษย์โรงเรียนคาทอลิกจึงมุ่งเป้าหมายที่จะ สร้างคริสตชนให้มคี ณ ุ ธรรมเฉพาะต่างๆ  ซึง่ จะ สามารถท�ำให้เขาเจริญชีวิตใหม่ในพระคริสต เจ้าและช่วยเขาให้มีความซื่อสัตย์ในการสร้าง อาณาจักรของพระเจ้า  ความส�ำเร็จของจุดมุ่ง หมายของโรงเรียนคาทอลิกไม่ได้ขึ้นอยู่กับวิชา หรือวิธีการสอนมากเท่ากับบุคลากรที่ท�ำงาน อยู่ในองค์กรนี้  โรงเรียนจึงมีพันธกิจในการ พัฒนาบุคลากรให้ครบครัน  เพราะในพระค ริสตเจ้านั้นมนุษย์เป็นผู้สมบูรณ์แบบ  คุณค่า ของมนุษย์ทั้งมวลจะพบกับความบริบูรณ์และ ความเป็นหนึ่งเดียวกัน  งานอภิบาลบุคลากร จึ ง เป็ น การด� ำเนินงานเพื่อพัฒนาความเป็น มนุ ษ ย์ ใ นบริ บ ทสถาบั น การศึ ก ษาเพื่ อ ให้

บุคลากรในโรงเรียนมีชีวิตที่สมบูรณ์  เข้าถึง หลั ก ธรรมทางศาสนาพร้ อ มทั้ ง ปฏิ บั ติ แ ละ ถ่ายทอดไปสู่ผู้อื่น วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1.  เพื่อศึกษาคุณธรรมในการบริหาร งานบุ ค คลของผู ้ บ ริ ห ารโรงเรี ย นคาทอลิ ก สังกัดอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ 2.  เพื่อเปรียบเทียบคุณธรรมในการ บริ ห ารงานบุ ค คลของผู ้ บ ริ ห ารโรงเรี ย น คาทอลิ ก   สั ง กั ด อั ค รสั ง ฆมณฑลกรุ ง เทพฯ จากการประเมินของผู้บริหารและครู ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการวิจัย ผลการวิจัยครั้งนี้จะเป็นข้อมูลเพื่อใช้ เป็นแนวทางในการพัฒนาในการใช้คณ ุ ธรรมใน การบริหารงานบุคคลของผู้บริหารโรงเรียน คาทอลิก  สังกัดอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ  ต่อ ไป ขอบเขตด้านประชากร ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้  ได้แก่ ผูบ้ ริหารโรงเรียน  จ�ำนวน  175  คน  และครู จ�ำนวน  3,667  คน  ในโรงเรียนคาทอลิก สังกัดอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ  ปีการศึกษา 2557  จ�ำนวน  35  โรงเรียน

ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2017/2560

85


คุณธรรมการบริหารงานบุคคลของผูบ้ ริหารโรงเรียนคาทอลิก สังกัดอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ

ตัวแปรที่ศึกษา ตัวแปรต้น  คือ  ต�ำแหน่งงาน ตัวแปรตาม  คือ  ความคิดเห็นต่อการ ใช้ คุ ณ ธรรมในการบริ ห ารงานบุ ค คลของผู ้ บริ ห ารโรงเรี ย นคาทอลิ ก   สั ง กั ด อั ค ร สังฆมณฑลกรุงเทพฯ  6  ด้าน  คือ 1)  การวางแผนบุคลากร 2)  การสรรหา  บรรจุและแต่งตั้ง 3)  การท� ำ นุ บ� ำ รุ ง รั ก ษาบุ ค คลและ แรงงานสัมพันธ์ 4)  การประเมินผลการปฏิบัติงานการ จ่ายค่าตอบแทนและผลประโยชน์ 5)  การฝึกอบรมและพัฒนา  และ 6)  การเลิกจ้างและให้พ้นจากงาน ตัวแปรต้น

มติฐานการวิจัย คุณธรรมในการบริหารงานบุคคลของ ผู ้ บ ริ ห ารโรงเรี ย นคาทอลิ ก   สั ง กั ด อั ค ร สังฆมณฑลกรุงเทพฯ  จากการประเมินของ ผู้บริหารและครูแตกต่างกัน

ต�ำแหน่งงาน

การบริหารงานบุคคล 6 ด้าน ของโรงเรียนคาทอลิก 1.  การวางแผนบุคลากร 2.  การสรรหา บรรจุและแต่งตั้ง 3.  การท�ำนุบ�ำรุงและแรงงานสัมพันธ์ 4.  การประเมินผลการปฏิบัติงาน  การจ่าย ค่าตอบแทนและผลประโยชน์ 5.  การฝึกอบรมและพัฒนา 6.  การเลิกจ้างและให้พ้นจากงาน

1. ผู้บริหาร 2. ครู

กรอบแนวคิดในการวิจัย ตัวแปรตาม

แผนภูมิที่ 1 แสดงกรอบแนวคิดการวิจัย 86

วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม


รดีพร ลพสัตถยุทธ, พิมพ์ประภา อมรกิจภิญโญ และวิทยา คู่วิรัตน์

วิธีด�ำเนินการวิจัย 1.  ประชากรและตัวอย่าง 2.  เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 3.  การสร้างเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 4.  การเก็บรวบรวมข้อมูล 5.  การวิเคราะห์ข้อมูล ประชากรและตัวอย่าง ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้  ได้แก่ ผูบ้ ริหารโรงเรียน  จ�ำนวน  175  คน  และครู จ�ำนวน  3,667  คน  ในโรงเรียนคาทอลิก สังกัดอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ  ปีการศึกษา 2557  จ�ำนวน  35  โรงเรียน กลุ ่ ม ตั ว อย่ า งที่ ใช้ ใ นการวิ จั ย ครั้ ง นี้ ประกอบด้วย  กลุ่มผู้บริหารและครูโรงเรียน คาทอลิ ก   สั ง กั ด อั ค รสั ง ฆมณฑลกรุ ง เทพฯ ปีการศึกษา  2557  จ�ำนวน  210  คน  กลุม่ ละ  105  คน  การก�ำหนดขนาดกลุม่ ตัวอย่าง ผู้วิจัยใช้โปรแกรม  G*Power  3.1.9.2  โดย เลือกใช้ค่าสถิติ  t-test  เพื่อทดสอบความ แตกต่างของค่าเฉลี่ย  (Means:  Difference between two independent means (two groups)) ก�ำหนดค่าอ�ำนาจการทดสอบ ( power of test)  ที ่ 0.90  ค่าระดับนัยส�ำคัญ ทางสถิ ติ   (  )  ที่   0.05  และค่ า ขนาด อิทธิพล  (effect size)  ที่  0.5  ได้ขนาด ตัวอย่างกลุ่มละ  105  คน  รวมตัวอย่างทั้ง

สิ้น  210  คน  ผู้วิจัยปรับขนาดตัวอย่างเป็น 260  คน  เพื่ อ ชดเชยกรณี ที่ ไ ด้ รั บ แบบ สอบถามกลับคืนมาไม่ครบการเลือกตัวอย่าง ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างหลายขั้น  (Multistage sampling)  โดยมีขั้นตอน  ดังนี้  สุ่มเลือก โรงเรียนในแต่ละเขต  เขตละ  3  โรงเรียน ใช้วธิ กี ารสุม่ แบบชัน้ ภูม ิ (Stratified  Random Sampling)  ได้ โ รงเรี ย นที่ เ ป็ น ตั ว อย่ า ง จ�ำนวน  18  โรงเรียน สรุปผลการวิจัย  อภิปรายผล  และข้อเสนอ แนะ จากการศึ ก ษาระดั บ คุ ณ ธรรมในการ บริ ห ารงานบุ ค คลของผู ้ บ ริ ห ารโรงเรี ย น คาทอลิก  ฯ  ตามการประเมินของผู้บริหาร และครู  พบว่าสถานภาพของผู้บริหารและครู ที่เป็นตัวอย่างมีประสบการณ์ท�ำงานในสถาน ศึกษานี้  มากกว่า  3-5  ปี  ร้อยละ  43.80 มี ป ระสบการณ์   มากกว่ า   5  ถึ ง   10  ปี ร้อยละ  21.40  ประสบการณ์มากกว่า  10 ปี  ร้อยละ  18.10  และประสบการณ์  1-3 ปี  ร้อยละ  16.70 1.  สรุปผลการประเมินระดับคุณธรรม ในการบริหารงานบุคคลของผู้บริหารโรงเรียน คาทอลิกฯ  ตามการประเมินของผูบ้ ริหารและ ครู   ในภาพรวมอยู ่ ใ นระดั บ มาก  ผลการ เปรียบเทียบคุณธรรมในการบริหารงานบุคคล

ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2017/2560

87


คุณธรรมการบริหารงานบุคคลของผูบ้ ริหารโรงเรียนคาทอลิก สังกัดอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ

ของผูบ้ ริหารโดยการประเมินของผูบ้ ริหารและ ครู  พบว่าผูบ้ ริหารและครูประเมินคุณธรรมใน การบริหารงานบุคคลของผู้บริหารในภาพรวม ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ  เมื่อ พิจารณาเป็นรายด้านพบว่า  ผู้บริหารและครู ประเมินคุณธรรมในการบริหารงานบุคคลของ ผูบ้ ริหาร  แตกต่างกันอย่างมีนยั ส�ำคัญทางสถิติ ที่ระดับ  .05  มี  2  ด้าน  ได้แก่  การฝึก อบรมและพัฒนา  และการประเมินผลการ ปฏิ บั ติ ง าน  การจ่ า ยค่ า ตอบแทน  และผล ประโยชน์   โดยผู ้ บ ริ ห ารประเมิ น คุ ณ ธรรม 2  ด้านนี ้ สูงกว่าครู  เมือ่ พิจารณาเป็นรายข้อ พบว่าผู้บริหารและครูประเมินคุณธรรมในการ บริหารงานบุคคลของผู้บริหาร  แตกต่างกัน อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ  .05  รวม 14  ข้อ  โดยผูบ้ ริหารประเมินคุณธรรมในการ บริหารงานบุคคล  สูงกว่า  ครู  12  ข้อ  และ ต�่ ำ กว่ า   2  ข้ อ   ผู ้ บ ริ ห ารและครู ป ระเมิ น คุณธรรมในการบริหารงานบุคคล  แตกต่างกัน อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ  .05  ใน  5 ด้าน  กล่าวคือ 1.1  ด้านการวางแผนบุคลากร  ได้แก่ ผูบ้ ริหารจัดโครงสร้างอัตราก�ำลังค�ำนึงถึงความ เป็นเลิศขององค์กร 1.2  ด้านการสรรหา  บรรจุ  และ แต่งตั้ง  ได้แก่  ผู้บริหารได้ประชาสัมพันธ์ อย่างทั่วถึงและเปิดโอกาสอย่างโปร่งใสให้แก่

88

วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

ผูส้ มัครทีม่ คี ณ ุ สมบัตปิ ระสบการณ์  และความ รู้ตรงตามที่ระบุไว้ผู้บริหารมีขั้นตอนการรับ สมัครวิธีการสรรหาและคัดเลือกเป็นไปอย่าง ซื่ อ ตรงผู ้ บ ริ ห ารคั ด เลื อ กผู ้ ที่ มี ค วามรู ้ ค วาม สามารถให้เหมาะสมกับต�ำแหน่งด้วยความ ซือ่ ตรงและโปร่งใส  และผูบ้ ริหารบรรจุแต่งตัง้ โดยมีการท�ำสัญญาจ้างอย่างซื่อตรง 1.3  ด้านการท�ำนุบ�ำรุงรักษาบุคคล และแรงงานสัมพันธ์  ได้แก่  ผู้บริหารจัดให้มี สวั ส ดิ ก ารและการสงเคราะห์ ด ้ ว ยความรั ก และเมตตา  ผูบ้ ริหารรับฟังความคิดเห็นและมี ระบบการร้องทุกข์  ร้องเรียนจากบุคลากรด้วย ความจริงใจและปกป้องบุคคลในการเก็บรักษา ข้อมูลเป็นความลับและผู้บริหารมุ่งเน้นแรง จูงใจที่แท้จริงและยั่งยืน  มากกว่าแรงจูงใจที่ เป็นเงิน 1.4  ด้านการประเมินผลการปฏิบัติ งาน  การจ่ายค่าตอบแทน  และผลประโยชน์ ได้แก่ผู้บริหารได้ระบุแนวทางและระเบียบใน การประเมินผลอย่างเที่ยงตรง  ถูกต้องและ โปร่งใสผู้บริหารจ่ายค่าตอบแทน  สวัสดิการ และค่าชดเชยในการท�ำงานอย่างพอเพียงและ เป็นธรรม  ผูบ้ ริหารมีกระบวนการพิจารณาขึน้ ค่าจ้าง  เลื่อนต�ำแหน่งหรือให้ผลประโยชน์ที่ โปร่งใสตามผลของการท�ำงาน  และ  ผูบ้ ริหาร ใช้ผลการประเมินการปฏิบัติงานสอดคล้องกับ ความก้าวหน้าในหน้าที่และมุ่งเน้นความเป็น เลิศขององค์กร


รดีพร ลพสัตถยุทธ, พิมพ์ประภา อมรกิจภิญโญ และวิทยา คู่วิรัตน์

1.5  ด้ า นการฝึ ก อบรมและพั ฒ นา ได้แก่  ผู้บริหารเปิดโอกาสให้พนักงานทุกคน ได้เข้าอบรมพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่องเพื่อ ความก้ า วหน้ า ในอาชี พ อย่ า งเท่ า เที ย มกั น ผู ้ บ ริ ห ารจั ด การพั ฒ นาบุ ค ลากรในระดั บ หั ว หน้ า งาน  ให้ เ ป็ น ผู ้ น� ำ ที่ มี คุ ณ ธรรมตาม อัตลักษณ์ของคาทอลิกและเป็นแบบอย่างที่ดี ทัง้ นี ้ ผูบ้ ริหารประเมินคุณธรรมในการ บริหารงานบุคคลของผู้บริหาร  สูงกว่าครูทุก ข้อ  ยกเว้นข้อที่ว่าด้วยผู้บริหารคัดเลือกผู้ที่มี ความรู้ความสามารถให้เหมาะสมกับต�ำแหน่ง ด้วยความซื่อตรงและโปร่งใส  และผู้บริหาร มุ่งเน้นแรงจูงใจที่แท้จริงและยั่งยืน  มากกว่า แรงจูงใจที่เป็นเงินที่ผู้บริหารประเมินคุณธรรม ต�่ำกว่าครู 2.  สรุปผลการเปรียบเทียบคุณธรรมใน การบริ ห ารงานบุ ค คลของผู ้ บ ริ ห ารโดยการ ประเมินของผู้บริหารและครู  พบว่าผู้บริหาร และครู ป ระเมิ น คุ ณ ธรรมในการบริ ห ารงาน บุคคลของผู้บริหารในภาพรวมไม่แตกต่างกัน อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ  ซึ่งไม่เป็นไปตาม สมมติฐานของการวิจยั   จากผลการวิจยั พบว่า 2.1  ผูบ้ ริหารและครูได้ประเมินระดับ การปฏิบัติคุณธรรมในการวางแผนบุคลากรมี ภาพรวมอยู่ในระดับมากและไม่แตกต่างกัน เนือ่ งจากผูบ้ ริหารแสดงออกถึง  อัตลักษณ์ของ โรงเรียนคาทอลิกในการก�ำหนดนโยบายเกี่ยว

กั บ เป้ า หมาย  หลั ก เกณฑ์   วิ ธี ป ฏิ บั ติ ด ้ า น คุณธรรมแก่บคุ ลากรอย่างชัดเจน  ได้สอื่ สารถึง นโยบายให้บุคลากรทราบเพื่อความเข้าใจและ เสริ ม สร้ า งความรั ก   ความเป็ น น�้ ำ หนึ่ ง ใจ เดียวกัน  ผูบ้ ริหารได้วางขอบเขต  อ�ำนาจและ ความรับผิดชอบของภาระงานของบุคลากร อย่างรอบคอบ  ชัดเจน  วางแผนอัตราก�ำลัง คนด้วยความเที่ยงตรงและเคารพศักดิ์ศรีใน ความเป็ น มนุ ษ ย์ ข องแต่ ล ะบุ ค คล  จั ด ให้ มี ปริมาณคนพอเพียงกับงานโดยค�ำนึงถึงการ พัฒนาเพื่อก้าวไปสู่ความเป็นเลิศของสถาน ศึกษา 2.2  ผูบ้ ริหารและครูได้ประเมินระดับ การปฏิ บั ติ คุ ณ ธรรมในการสรรหา  บรรจุ และแต่ ง ตั้ ง มี ภ าพรวมอยู ่ ใ นระดั บ มากและ ไม่แตกต่างกัน  เนื่องจากผู้บริหารได้มีการ ประชาสัมพันธ์และเปิดโอกาสให้แก่ผสู้ มัครงาน ที่มีคุณสมบัติประสบการณ์  และความรู้ตรง ตามทีร่ ะบุอย่างเท่าเทียมกัน  มีขนั้ ตอนการรับ สมัคร  มีการสัมภาษณ์หรือการทดสอบอย่าง โปร่งใสยุตธิ รรม  มีการพิจารณาคุณสมบัตดิ า้ น คุณธรรมเพื่อคัดเลือกบุคลากรเข้าท�ำงานส่วน การบรรจุแต่งตั้งได้จัดให้มีการท�ำสัญญาจ้าง อย่างซือ่ ตรงและเป็นธรรม  มีการจัดปฐมนิเทศ บุ ค ลากรใหม่   และมี ก ารทดลองงาน  การ ปฏิบตั เิ ป็นไปตามข้อกฎหมาย  ส่วนทีผ่ บู้ ริหาร มีผลการประเมินรายข้อต�่ำกว่าครูคือ  ด้านวิธี

ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2017/2560

89


คุณธรรมการบริหารงานบุคคลของผูบ้ ริหารโรงเรียนคาทอลิก สังกัดอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ

การสรรหาและคัดเลือกบุคคลที่มีความรู้ความ สามารถเหมาะสมกับต�ำแหน่งหน้าทีด่ ว้ ยความ ซื่ อ ตรงและโปร่ ง ใส  โดยผลประเมิ น อยู ่ ใ น ระดับปานกลาง  แต่ครูประเมินให้อยูใ่ นระดับ มาก  ซึง่ ผูบ้ ริหารยอมรับว่าการสรรหาบุคลากร จากภายนอกมักเป็นไปได้ยากจึงต้องใช้การ แนะน� ำ ผู ้ ส มั ค รจากบุ ค ลากรภายในมาสู ่ กระบวนการคัดเลือกที่ซื่อตรงและโปร่งใสเพื่อ ให้ได้บุคคลที่มีความรู้ความสามารถเหมาะสม กับต�ำแหน่งหน้าที่ทันเวลา 2.3  ผูบ้ ริหารและครูได้ประเมินระดับ การปฏิ บั ติ คุ ณ ธรรมในการท� ำ นุ บ� ำ รุ ง และ แรงงานสัมพันธ์มภี าพรวมอยูใ่ นระดับมากและ ไม่แตกต่างกัน  เนื่องจากผู้บริหารในโรงเรียน คาทอลิกท�ำหน้าที่จิตตาภิบาลให้แก่บุคลากร และเป็นผู้ที่มีคุณลักษณะด้านคุณธรรมตาม อัตลักษณ์ของโรงเรียนคาทอลิกด้วย  บุคลากร จึงเข้าถึงได้ง่ายและมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ โดยผูบ้ ริหารยอมรับและความเคารพในศักดิศ์ รี ความเป็ น มนุ ษ ย์ ข องแต่ ล ะบุ ค คล  จั ด ให้ มี สวัสดิการด้วยความรัก  และเมตตา  สร้างช่อง ทางการสือ่ สารให้บคุ ลากรรับรูแ้ ละเข้าใจสถาน ศึกษา  ผูบ้ ริหารสร้างแรงจูงใจแก่บคุ ลากรโดย เน้นความส�ำเร็จของกลุ่มหรือองค์กร  อาศัย ความมีสว่ นร่วม  มีนำ�้ ใจแบ่งปัน  เสียสละและ มีจิตอาสา  เพื่ออยู่ร่วมกันด้วยความรักกันฉัน พีน่ อ้ งและมีความสุขร่วมกัน  มีกจิ กรรมพัฒนา

90

วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

ความสัมพันธ์กับบุคลากรเพื่อเสริมสร้างการ ท�ำงานเป็นทีม  มีระบบการร้องทุกข์  ร้อง เรียนจากบุคลากรอย่างจริงใจและเก็บรักษา ข้ อ มู ล เป็ น ความลั บ   ผู ้ บ ริ ห ารจั ด สภาพ แวดล้อมในการท�ำงานให้ถกู ต้องและปลอดภัย รวมทั้งจัดอุปกรณ์ป้องกันด้านความปลอดภัย ไว้อย่างเพียงพอในสถานศึกษาเพื่อดูแลรักษา บุคลากร 2.4  ด้ า นการบ� ำ รุ ง รั ก ษาบุ ค ลากร ควรส่งเสริมสนับสนุนให้น�ำความคิดเห็นของ บุคคลมาใช้ในการบริหารบุคคลเพื่อเป็นการ บ�ำรุงขวัญและก�ำลังใจพนักงาน ส่วนผู้บริหารที่มีผลการประเมินราย ข้อต�ำ่ กว่าครูคอื   ด้านผูบ้ ริหารมุง่ เน้นแรงจูงใจ ที่แท้จริงและยั่งยืน  มากกว่าแรงจูงใจที่เป็น ทรัพย์ปจั จัย  โดยมีผลประเมินอยูใ่ นระดับปาน กลาง  แต่ครูประเมินให้อยู่ในระดับมาก  ซึ่ง ผู้บริหารโรงเรียนคาทอลิกฯ  ยอมรับว่าการ ด�ำเนินงานของโรงเรียนเป็นไปในรูปแบบของ องค์ กรศาสนาและมู ลนิธิที่มิ ได้หวัง ผลก�ำ ไร จึงไม่สามารถเรียกเก็บค่าเทอมหรือค่าใช้จ่าย จากผู้ปกครองในอัตราที่สูงได้  ส่งผลให้การ จ่ายค่าตอบแทนแก่บุคลากรอยู่ในอัตราปาน กลางไม่สามารถแข่งขันในตลาดแรงงานได้ การประเมินผลการปฏิบัติงาน  การ จ่ายค่าตอบแทนและผลประโยชน์  จากผลการ วิจัยพบว่า  ผู้บริหารและครูได้ประเมินระดับ


รดีพร ลพสัตถยุทธ, พิมพ์ประภา อมรกิจภิญโญ และวิทยา คู่วิรัตน์

การปฏิ บั ติ คุ ณ ธรรมในการประเมิ น ผลการ ปฏิ บั ติ ง าน  การจ่ า ยค่ า ตอบแทนและผล ประโยชน์  มีภาพรวมอยู่ในระดับมากและไม่ แตกต่างกัน  เนือ่ งจากผูบ้ ริหารได้ระบุแนวทาง และระเบียบในการประเมินผลอย่างเที่ยงตรง และถู ก ต้ อ ง  มี ร ะบบการประเมิ น ที่ มี ประสิทธิภาพและน�ำมาซึ่งการพัฒนาสู่ความ เป็นเลิศของสถานศึกษา  มีการให้ค�ำแนะน�ำ นิเทศ  ติดตามการพัฒนางานด้วยความเคารพ นั บ ถื อ   ให้ เ กี ย รติ   และให้ โ อกาสในความ ก้าวหน้า  ผูบ้ ริหารจ่ายค่าตอบแทน  สวัสดิการ และค่าชดเชยในการท�ำงานอย่างพอเพียงและ เป็นธรรม  มีกระบวนการพิจารณาขึ้นค่าจ้าง เลื่อนต�ำแหน่งหรือให้ผลประโยชน์ที่โปร่งใส ตามผลของการท�ำงาน 2.5  ผูบ้ ริหารและครูได้ประเมินระดับ การปฏิ บั ติ คุ ณ ธรรมในการประเมิ น ผลการ ฝึกอบรมและพัฒนา  ผูบ้ ริหารได้ประเมินภาพ รวมอยู่ในระดับมากที่สุด  ส่วนครูได้ประเมิน ระดับมาก  เมื่อเปรียบเทียบการประเมินของ ผู้บริหารและครูพบว่าแตกต่างกัน  เนื่องด้วย ผู ้ บ ริ ห ารมี ค วามคิ ด เห็ น ว่ า เปิ ด โอกาสให้ บุคลากรทุกคนได้เข้าอบรมพัฒนาตนเองอย่าง ต่อเนื่องเพื่อความก้าวหน้าในวิชาชีพอย่างเท่า เทียมกันแต่ครูคิดเห็นว่าบุคลากรส่วนมากได้ เข้ า อบรมพั ฒ นาตนเองแต่ ไ ม่ ใ ช่ ทุ ก คน สนับสนุนให้บุคลากรไปศึกษาต่อหรือดูงาน

ภายนอกสถาบัน  มีขอ้ มูลข่าวสารทีท่ นั สมัยถูก ต้องเป็นปัจจุบัน  ส่วนผู้บริหารประเมินการ พัฒนาบุคลากรอยู่ในระดับหัวหน้าฝ่ายให้เป็น ผูน้ ำ� จิตตาภิบาลทีม่ คี ณ ุ ธรรมตามอัตลักษณ์ของ โรงเรียนคาทอลิกและเป็นแบบอย่างที่ดีนั้น ในระดับมากที่สุด  ส่วนครูมีผลการประเมิน การพัฒนาหัวหน้างานให้เป็นผู้น�ำด้านจิตตาภิ บ าลและมี คุ ณ ธรรมตามอั ต ลั ก ษณ์ ข อง โรงเรี ย นคาทอลิ ก อยู ่ ใ นระดั บ มากซึ่ ง มี ผ ล การประเมินแตกต่างกัน  ดังนั้นหัวหน้างาน ควรได้รบั การพัฒนาด้านจิตตาภิบาลให้มากขึน้ เพื่อจะเป็นแบบอย่างที่ดี 2.6  ผูบ้ ริหารและครูได้ประเมินระดับ การปฏิบัติคุณธรรมในการประเมินผลการเลิก จ้างและให้พ้นจากงานมีภาพรวมอยู่ในระดับ มากและไม่ แ ตกต่ า งกั น   ผลการวิ จั ย พบว่ า การโยกย้ายและพ้นจากงานเป็นไปตามความ เหมาะสมและความจ�ำเป็นของหน่วยงานด้วย ความเทีย่ งธรรมและโปร่งใส  ตามระเบียบของ สถานศึกษา  โดยค�ำนึงถึงความสามารถของ บุคคลและผลงานเป็นส�ำคัญ  ส่วนด้านวินัย ผูบ้ ริหารมีการชีแ้ จงเกีย่ วกับกฎ  ระเบียบ  วินยั ข้อบังคับ  และข้อปฏิบัติต่างๆ  อย่างชัดเจน ต่อบุคลากรทุกคนให้เข้าใจ

ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2017/2560

91


คุณธรรมการบริหารงานบุคคลของผูบ้ ริหารโรงเรียนคาทอลิก สังกัดอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ

บรรณานุกรม กรมวิชาการ.  (2546).  พระราชบัญญัติการ ศึ ก ษาแห่ง ชาติ  พ.ศ.2542  และที่ แก้ ไ ขเพิ่ ม เติ ม   พ.ศ.2545  และ 2553.  กรุงเทพมหานคร:  อักษรภาษา คุรุสภา  (2548).  พระราชบัญญัติระเบียบ ข้าราชการครูและบุคคลากรทางการ ศึกษา  พ.ศ.2547.  กรุงเทพมหานคร: คุรุสภาลาดพร้าว. ธัญลักษณ์  รุจิภักดิ์,  เอมม่า  อาสนจินดา, (2557).  การรั บ รู ้ แ ละเจตคติ ต ่ อ แนวทางการปฏิบัติตามจรรยาบรรณ วิ ช าชี พ ที่ ส ่ ง ผลต่ อ พฤติ ก รรมเชิ ง จริ ย ธรรมวิ ช าชี พ ครู .   วารสารสุ ท ธิ ปริ ทั ศ น์   ปี ที่   28  ฉบั บ ที่   88. กรุงเทพมหานคร:  มหาวิทยาลัยธุรกิจ บัณฑิตย์.

92

วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

สภาการศึ ก ษาคาทอลิ ก แห่ ง ประเทศไทย. 2555.  ก้าวไปข้างหน้าด้วยอัตลักษณ์ การศึกษาคาทอลิก  ปี  ค.ศ.2012- 2015.  กรุงเทพมหานคร:  สภาการ ศึกษาคาทอลิกแห่งประเทศไทย. Ivancevich,  F.  (2004).  Human  Resource Management  (9thed),  Boston: McGraw-Hill/Irwin


ความเป็นไปได้ที่จะประยุกต์ใช้จริยศาสตร์

เชิงกรณี เพื่อการอภิบาลด้านศีลศักดิ์สิทธิ์ สำ�หรับคู่แต่งงานคาทอลิกที่หย่าร้างและแต่งงานใหม่

TheonPossibility of Applying Casuistry Sacramental Pastoral Care

for Divorced and Remarried Catholic Couples. ภราดา อุดมศักดิ์ ว่องประชานุกูล * ภราดาในคริสต์ศาสนจักรโรมันคาทอลิก สังกัดคณะภราดาน้อยฟรันซิสกัน * มหาบัณฑิตสาขาวิชาเทววิทยาจริยธรรม วิทยาลัยแสงธรรม

บาทหลวง ดร.เชิดชัย เลิศจิตรเลขา * บาทหลวงในคริสต์ศาสนจักรโรมันคาทอลิก สังกัดคณะคามิลเลียน

* อาจารย์ประจ�ำหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทววิทยาจริยธรรม วิทยาลัยแสงธรรม

ผศ.ดร.ลัดดาวรรณ์ ประสูตร์แสงจันทร์ * อาจารย์ประจ�ำหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาคริสตศาสนศึกษา วิทยาลัยแสงธรรม Friar Udomsak Wongprachanukul, O.F.M. * Friar in Roman Catholic Church, Order of Friars Minor. * Master of Arts Program in Moral Theology, Saengtham College. Rev.Cherdchai Lertjitlekha, M.I., Ph.D. * Reverend in Roman Catholic Church, Camillian. * Lecturer of Master of Arts Program in Moral Theology, Saengtham College. Asst.Prof.Laddawan Prasutsaengchan, Ph.D * Lecturer, Christian Studies Faculty of Religious, Saengtham College.


ความเป็นไปได้ทจี่ ะประยุกต์ใช้จริยศาสตร์เชิงกรณี เพือ่ การอภิบาลด้านศีลศักดิส์ ทิ ธิ์ ส�ำหรับคูแ่ ต่งงานคาทอลิกทีห่ ย่าร้างและแต่งงานใหม่

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษา  ความเป็นไปได้ที่จะประยุกต์ ใช้จริยศาสตร์เชิงกรณี  เพื่อการอภิบาลด้านศีลศักดิ์สิทธิ์  ส�ำหรับ คู่แต่งงานคาทอลิกที่หย่าร้างและแต่งงานใหม่  โดยศึกษาค�ำสอนของ พระศาสนจักรคาทอลิก  และแนวทางของพระสมณสาส์นเตือนใจ  เรือ่ ง ความชื่ น ชมยิ น ดี แ ห่ ง ความรั ก   และการประยุ ก ต์ ใช้ วิ ธี ก ารของ จริยศาสตร์เชิงกรณี ผลการวิจัยพบว่า ในการอภิบาลคู่แต่งงานที่หย่าร้างและแต่งงานใหม่  วิธีการของ จริยศาสตร์เชิงกรณีสามารถใช้พิจารณาไตร่ตรองในการอภิบาลด้าน ศีลศักดิ์สิทธิ์  แต่ควรระวังการใช้จริยศาสตร์เชิงกรณีที่มากเกินจะรับได้ ค�ำส�ำคัญ:

Abstract

The purpose of this research was to find out the possibility of applying casuistry in sacramental pastoral care for divorced and remarried Catholic couples by studying the Catholic Church’s teaching and the guidelines of The Apostolic Exhortation “Amoris Laetitia” and applying the method of casuistry. The results of the study were : In the pastoral care of couples who are divorced and remarried, the method of casuistry can be used to discern if they may receive sacraments. Caution should be used to avoid intolerable casuistry in this matter. Keywords:

94

1)  จริยศาสตร์เชิงกรณี 2)  การอภิบาลด้านศีลศักดิ์สิทธิ์ 3)  คู่แต่งงานคาทอลิกที่หย่าร้างและแต่งงานใหม่

วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

1) Casuistry 2) Sacramental Pastoral Care 3) Divorced and Remarried Catholic Couples


อุดมศักดิ์ ว่องประชานุกูล, เชิดชัย เลิศจิตรเลขา, และ ลัดดาวรรณ์ ประสูตร์แสงจันทร์

ความเป็นมาและความส�ำคัญของปัญหา พระศาสนจั ก รคาทอลิ ก ยึ ด ถื อ แนว ปฏิ บั ติ ซึ่ ง มี พื้ น ฐานอยู ่ ที่ พ ระคั ม ภี ร ์ ที่ ว ่ า พระศาสนจักรคาทอลิกไม่อนุโลมให้คริสตชน ที่หย่าร้างกันและแต่งงานใหม่รับศีลมหาสนิท เช่นเดียวกันกับศีลอภัยบาป  ซึ่งเปิดทางไปยัง ศี ล มหาสนิ ท   ในกรณี ที่ ช ายและหญิ ง ไม่ สามารถแยกทางกันได้  เพราะมีเหตุผลส�ำคัญ เช่น  มีลูกที่จะต้องเลี้ยงดูด้วยกันนั้น  ในภาค ปฏิบตั  ิ “การเป็นทุกข์ถงึ บาปดังกล่าวเรียกร้อง ให้เขารับรองว่า  เขาจะด�ำเนินชีวติ ด้วยกันโดย ยกเว้นเรือ่ งเพศสัมพันธ์อย่างเด็ดขาด  กล่าวคือ งดเว้ น กิ จ กรรมเฉพาะของสามี ภ รรยา” (พระสมณลิขติ เตือนใจ  เรือ่ งครอบครัวคริสตชน ในโลกปัจจุบัน  (Familiaris  Consortio), 1981:  ข้อ  84) ด้ ว ยในสั ง คมปั จ จุ บั น   มี คู ่ แ ต่ ง งาน คาทอลิกทีห่ ย่าร้างและแต่งงานใหม่หรือมีความ ต้องการที่จะแต่งงานใหม่มากขึ้น  ด้วยเหตุผล และบริบทแวดล้อมที่แตกต่างกันไป  ซึ่งใน การน�ำหลักจริยศาสตร์มาใช้ในการดูแลอภิบาล คู่แต่งงานเหล่านี้ย่อมแตกต่างกันไปในแต่ละ กรณี  หลายๆ  คูอ่ าจใช้แนวทางแบบเดียวกัน หรือคล้ายคลึงกันได้  บางคูอ่ าจแตกต่างไปจาก คู่อื่น  แล้วแต่แนวโน้มหรือความเป็นได้ที่เห็น ว่าแนวทางนัน้ เหมาะสมกับกรณีของคูแ่ ต่งงาน

ดังกล่าว  ดังนั้น  ผู้วิจัยจึงมีความสนใจที่จะ ศึกษาวิจัยเรื่อง  ความเป็นไปได้ที่จะประยุกต์ ใช้จริยศาสตร์เชิงกรณี  เพือ่ การอภิบาลด้านศีล ศักดิส์ ทิ ธิ ์ ส�ำหรับคูแ่ ต่งงานคาทอลิกทีห่ ย่าร้าง และแต่งงานใหม่ วัตถุประสงค์ของการวิจัย เพื่อศึกษาความเป็นไปได้ที่จะประยุกต์ ใช้จริยศาสตร์เชิงกรณี  ส�ำหรับการอภิบาลด้าน ศีลศักดิ์สิทธิ์ส�ำหรับคู่แต่งงานคาทอลิกที่หย่า ร้างและแต่งงานใหม่ ขอบเขตของการวิจัย 1.  ศึกษาค�ำสอนของพระศาสนจักร คาทอลิ ก เกี่ ย วกั บ แนวทางการอภิ บ าลด้ า น ศีลศักดิ์สิทธิ์  ส�ำหรับคู่แต่งงานคาทอลิกที่ได้ หย่าร้างและแต่งงานใหม่  ตามผลการลงมติ รับรองการประชุมสมัชชาพระสังฆราชคาทอลิก เรื่องครอบครัว  ปี  ค.ศ.2014  และ  ค.ศ. 2015  และพระสมณลิขติ เตือนใจ  เรือ่ งความ ปีติยินดีแห่งความรัก  ปี  ค.ศ.2016 2.  ศึกษาวิธกี ารทางจริยศาสตร์เชิงกรณี ในแง่ของประวัติศาสตร์  ความนิยมในการใช้ วิธกี ารทางจริยศาสตร์แบบนี ้ ความเข้าใจผิดที่ นักจริยศาสตร์มตี อ่ จริยศาสตร์เชิงกรณี  ทีก่ ลับ เข้ามามีบทบาทในจริยศาสตร์ปัจจุบัน

ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2017/2560

95


ความเป็นไปได้ทจี่ ะประยุกต์ใช้จริยศาสตร์เชิงกรณี เพือ่ การอภิบาลด้านศีลศักดิส์ ทิ ธิ์ ส�ำหรับคูแ่ ต่งงานคาทอลิกทีห่ ย่าร้างและแต่งงานใหม่

นิยามศัพท์เฉพาะ คูแ่ ต่งงานคาทอลิก  (Catholic  Couple) หมายถึง  คูแ่ ต่งงานทีเ่ ป็นคาทอลิกทัง้ สองฝ่าย ได้ เข้ า พิ ธี แ ต่ ง งานอย่ า งถู ก ต้ อ งตามหลั ก พระศาสนจักรคาทอลิก การอภิบาลด้านศีลศักดิ์สิทธิ์  (Sacramental  Pastoral  Care)  หมายถึง  งาน อันเป็นหน้าที่ของผู้อภิบาลที่จะดูแลเอาใจใส่ ชีวติ ของคาทอลิกในความดูแล  โดยเฉพาะฝ่าย จิตวิญญาณ  ในทีน่  ี้ หมายถึง  การบริการศีล ศักดิ์สิทธิ์  โดยเน้นที่  ศีลอภัยบาป  ศีลมหา สนิท  และศีลเจิมคนไข้  (ศีลเสบียง) การหย่าร้าง  (Divorce)  หมายถึง ความสิ้นสุดความสัมพันธ์ของการสมรสของ คู่แต่งงานคาทอลิกที่แต่งงานอย่างถูกต้องทั้ง ทางพระศาสนจักรคาทอลิกและทางบ้านเมือง แล้วท�ำการหย่าร้างตามกฎหมายบ้านเมือง การแต่ ง งานใหม่   (Remarriage) หมายถึง  คู่แต่งงานคาทอลิกที่หย่าร้างตาม กฎหมายบ้านเมือง  แล้วไปแต่งงานใหม่ตาม กฎหมายบ้านเมือง  โดยทีก่ ารแต่งงานครัง้ แรก อาจมีขอ้ ขัดขวางใดๆ  ทีท่ ำ� ให้การแต่งงานครัง้ แรกนั้นเป็นโมฆะ สภาพการณ์ไม่ปกติ  (Irregular  Situation)  หมายถึง  สถานการณ์ของคู่แต่ง งานคาทอลิกที่หย่าร้างและแต่งงานใหม่ก�ำลัง

96

วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

ประสบอยู่  ซึ่งมีความยุ่งยากซับซ้อนมากกว่า ปกติ  มีความจ�ำเป็นต้องได้รบั การอภิบาลเป็น พิเศษ การไตร่ ต รองแยกแยะ  (Discernment)  หมายถึง  การพิจารณาเพื่อให้เกิด ความเข้าใจตามหลักศีลธรรมอย่างลึกซึง้   ตาม หลักทางเทววิทยา  คือ  การไตร่ตรองการ ดลใจของพระเจ้า การเป็นเพื่อนร่วมทาง  (Accompaniment)  หมายถึง  วิธกี ารอภิบาลแบบหนึง่ ส�ำหรับผูท้ อี่ ยูใ่ นสภาพการณ์ทไี่ ม่ปกติ  โดยการ อภิบาลช่วยเหลืออย่างใกล้ชดิ เหมือนเป็นเพือ่ น ร่วมทาง การสนทนาส่วนตัว  (Internal  Forum) ในทีน่ ี้  หมายถึง  การสนทนาส่วนตัวในระดับ มโนธรรม  เช่น  การสนทนากับพระสงฆ์ใน ศีลอภัยบาป กฎแห่งการค่อยเป็นค่อยไป  (Law of Gradualness)  หมายถึ ง   ขั้ น ตอนต่ า งๆ ของการเจริญเติบโต  เป็นการค่อยเป็นค่อยไป ในการฝึกฝนความรอบคอบที่จะกระท�ำการ โดยอิสระในส่วนของผู้ที่ไม่อยู่ในสถานะที่จะ เข้ า ใจเห็ น คุ ณ ค่ า   หรื อ สามารถปฏิ บั ติ ต าม วั ต ถุ ป ระสงค์ ที่ ก� ำ หนดไว้ ต ามกฎได้   อนึ่ ง พระสมณลิขติ เตือนใจ  เรือ่ งครอบครัวคริสตชน ในโลกปัจจุบัน  ใช้ค�ำว่ากฎเกณฑ์แห่งขั้นตอน


อุดมศักดิ์ ว่องประชานุกูล, เชิดชัย เลิศจิตรเลขา, และ ลัดดาวรรณ์ ประสูตร์แสงจันทร์

ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ได้ แ นวทางของความเป็ น ไปได้ ที่ จ ะ ประยุ ก ต์ ใช้ จ ริ ย ศาสตร์ เชิ ง กรณี   เพื่ อ การ อภิบาลด้านศีลศักดิ์สิทธิ์  ส�ำหรับคู่แต่งงาน คาทอลิกทีไ่ ด้หย่าร้างและแต่งงานใหม่ทเี่ หมาะ สม  ถูกต้องและสอดคล้องกับค�ำสอนของพระ ศาสนจักร  ด้วยท่าทีในการอภิบาลรูปแบบใหม่ ตามพระสมณลิขิตเตือนใจ  เรื่อง  ความปีติ ยินดีแห่งความรัก  โดยการไตร่ตรองแยกแยะ (discernment)  เป็นรายกรณีเฉพาะ  (particular  cases)  ของผู้ท�ำหน้าที่อภิบาล วิธีด�ำเนินการวิจัย การวิ จั ย เรื่ อ ง  ความเป็ น ไปได้ ที่ จ ะ ประยุ ก ต์ ใช้ จ ริ ย ศาสตร์ เชิ ง กรณี   เพื่ อ การ อภิบาลด้านศีลศักดิ์สิทธิ์  ส�ำหรับคู่แต่งงาน คาทอลิกที่หย่าร้างและแต่งงานใหม่น้ี  เป็น การวิจัยเชิงเอกสาร  (Documentary  Research)  มีขั้นตอนด�ำเนินการดังนี้ 1)  รวบรวมเอกสารที่เกี่ยวข้อง 2)  ศึกษาวิเคราะห์เอกสาร 3)  สังเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากเอกสาร และ 4)  สรุปผลการศึกษา

ความรูเ้ กีย่ วกับวิธกี ารทางจริยศาสตร์เชิงกรณี “จริยศาสตร์เชิงกรณี  เป็นวิธกี ารเฉพาะ ทางจริยศาสตร์  ซึ่งใช้วิธีการวิเคราะห์ปัญหา เป็นรายกรณี  (particular  cases)  โดยการ ศึกษาถึงความเกีย่ วข้องสอดคล้องในแต่ละกรณี ตามกระบวนทัศน์  (paradigm)  เปรียบเทียบ กั บ หลั ก การทั่ ว ไป”  (Gula,  1989:11) “มุ่งเน้นแก้ไขปัญหาแบบส�ำเร็จรูปที่สามารถ ยึ ด ถื อ เป็ น แนวทางปฏิ บั ติ ต ่ อ ไป  ในกรณี เหมื อ นกั น หรื อ ใกล้ เ คี ย งกั น ”  (เชิ ด ชั ย เลิ ศ จิ ต รเลขา,2548:116)  แท้ ที่ จ ริ ง แล้ ว “จริ ย ศาสตร์ เชิ ง กรณี   เป็ น กระบวนการ ประยุกต์ใช้ตวั อย่างทีเ่ คยใช้แก้ไขปัญหาเก่าหรือ ปัญหาในครัง้ ก่อนทีเ่ คยท�ำมาแล้ว  น�ำมาใช้กบั ปัญหาใหม่ที่เกิดขึ้นเพื่อค้นหาแนวทางแก้ไข เมื่อปัญหาใหม่นั้นสอดคล้องหรือคล้ายคลึง กับปัญหาเก่าในเนื้อหาหรือประเด็นที่ส�ำคัญ เพื่อให้หลักการแก้ปัญหา  หรือกระบวนทัศน์ มีขอบเขตทีเ่ หมือนกันทัง้ แบบเก่าและแบบใหม่ นอกจากนี้  ยังเป็นการรวบรวมตัวอย่างของ การประยุกต์ใช้ที่เคยแก้ไขปัญหาแล้วเกิดผลดี โดยมี ห ลั ก การที่ เ ฉพาะเจาะจง  (particular  principle)  ตามแต่ ล ะกรณี อี ก ด้ ว ย” (Jonsen,  Toulmin,  1989:46)  โดยไม่ จ�ำเป็นว่าหลักการที่ประยุกต์ใช้นั้นจะต้องเป็น หลั ก การสากล  (universal  principle) ซึ่งท�ำให้เกิดข้อสงสัยเคลือบแคลงใจน้อยลง

ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2017/2560

97


ความเป็นไปได้ทจี่ ะประยุกต์ใช้จริยศาสตร์เชิงกรณี เพือ่ การอภิบาลด้านศีลศักดิส์ ทิ ธิ์ ส�ำหรับคูแ่ ต่งงานคาทอลิกทีห่ ย่าร้างและแต่งงานใหม่

ต่ อ การประยุ ก ต์ ใช้ วิ ธี ก ารในการแก้ ป ั ญ หา กั บ สถานภาพแวดล้ อ มปกติ   (normal circumstance)  และโดยเฉพาะ อย่ า งยิ่ ง กั บ สถานภาพเฉพาะ  (particular circumstance)  เมื่ อ มี ก ารพิ จ ารณากรณี ต่างๆ  ท�ำให้ได้กรณีที่เคยศึกษาแล้วหลายๆ กรณี เ กิ ด ขึ้ น   ด้ ว ยเหตุ นี้   Jonsen  และ To u l m i n   ( 1 9 8 9 : 3 0 6 )   เรี ย ก ก ร ณี มาตรฐาน  (standard  cases)  หลายๆ กรณีที่สามารถใช้เปรียบเทียบกับกรณีใหม่ๆ ว่าเป็นกระบวนทัศน์  (paradigm) ก ร ะ บ ว น ก า ร ต า ม ห ลั ก ก า ร ข อ ง จริยศาสตร์เชิงกรณี  ดังแนวคิดของมิลเลอร์ (Miller,  1996)  คื อ   พยายามแยกแยะ สถานการณ์ตา่ งๆ  โดยการตัง้ ค�ำถาม  จากนัน้ ร่างภาพความคิดแบบกระบวนทัศน์  ซึ่งจะน�ำ ไปสู่การใช้เหตุผลเพื่อการเปรียบเทียบ  เมื่อมี กรณีที่คล้ายคลึงกันที่เคยติดสินไปแล้วก่อน หน้านั้น  ซึ่งบ่อยครั้ง  จะพิจารณาไตร่ตรอง เหตุการณ์และแสดงความคิดเห็นจากปัจจัยทีม่ ี อิทธิพล  จากเหตุการณ์ที่เคยเกิดขึ้นก่อนหน้า ซึ่งอาจจะช่วยประเมินจริยธรรมของกรณีที่ ก�ำลังติดสินอยูน่ นั้   สุดท้าย  ตัดสินโดยการให้ ความคิดเห็นหลังการพิจารณาไตร่ตรองแล้ว จากองค์ประกอบต่างๆ  นอกจากนี ้ หลักการ ของจริยศาสตร์เชิงกรณียงั มีจดุ เด่นตามแนวคิด ของ  Jonsen  และ  Toulmin  (1989:

98

วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

307)  คือ  จริยศาสตร์เชิงกรณีเป็นแบบแผน ทางศี ล ธรรมในประวั ติ ศ าสตร์ ข องสั ง คม และวัฒนธรรม  แสดงให้เห็นว่า  การยกเว้น สามารถแก้ ไขปั ญ หาให้ ก ระจ่ า ง  และอาจ เป็นการพิสูจน์แย้งกับสมมติฐานทางศีลธรรม ที่เคยเชื่อว่าเป็นจริงในตอนแรก  นอกจากนี้ กรณีต่างๆ  แม้จะใช้กระบวนทัศน์ที่อยู่บน พื้นฐานของข้อเท็จจริงก็อาจเปลี่ยนแปลงได้ อย่ า งสมเหตุ ส มผล  อย่ า งไรก็ ดี   Keenan (n.d.:138)  ผู ้ เ ขี ย นเรื่ อ ง  Return  of Casuistry  ได้ แ สดงความเห็ น ด้ ว ยว่ า “ผู้สนใจที่จะประยุกต์ใช้จริยศาสตร์เชิงกรณี ต้องค�ำนึงถึงคุณธรรม  คือ  ต้องตั้งค�ำถามที่ แสดงถึงการให้ความส�ำคัญเกี่ยวกับคุณธรรม” สอดคล้องกับคริสตจริยศาสตร์ทใี่ ห้ความส�ำคัญ กั บ จริ ย ศาสตร์ แ ห่ ง การกระท� ำ ในแง่ ข อง กฎเกณฑ์ แ ล้ ว   ยั ง เน้ น ให้ ค วามส� ำ คั ญ กั บ จริ ย ศาสตร์ แ ห่ ง การเป็ น บุ ค คล  ซึ่ ง ก็ คื อ ลั ก ษณะของบุ ค คลต้ อ งดู ที่ คุ ณ ธรรมของ บุคคลด้วยนั่นเอง ผลการวิเคราะห์ข้อมูล จากการศึกษาทฤษฎีทั่วไปของวิธีการ ของจริยศาสตร์เชิงกรณี  และพระสมณลิขิต เตือนใจ  เรื่อง  ความปีติยินดีแห่งความรัก สามารถพบค�ำศัพท์เฉพาะหลายค�ำที่มีความ เหมือนกันหรือคล้ายคลึงกัน  ซึ่งช่วยยืนยัน


อุดมศักดิ์ ว่องประชานุกูล, เชิดชัย เลิศจิตรเลขา, และ ลัดดาวรรณ์ ประสูตร์แสงจันทร์

ถึงวิธีการเข้าใจในการประยุกต์ใช้จริยศาสตร์ เชิงกรณี  ดังต่อไปนี้ 1.  กรณี เ ฉพาะ  (particular/ specific  case) จริยศาสตร์เชิงกรณีมลี กั ษณะทีเ่ ป็นหลัก การเด่ น เพื่ อ ใช้ ใ นการแก้ ไขปั ญ หาศี ล ธรรม กล่าวคือ  “เนื่องจากจริยศาสตร์เชิงกรณีเป็น จริยศาสตร์ที่ใช้จัดการกับเรื่องที่เฉพาะเจาะจง (particular)”  (Gula,  1989:13)  ซึง่ จะเห็น ได้วา่   “มีประเด็นทางศีลธรรมทีเ่ ฉพาะเจาะจง (specific  issue)  โดยพิ จ ารณาเป็ น ราย กรณี   และสถานการณ์ แ วดล้ อ มเฉพาะ” (Jonsen,  Toulmin,  1989:306)  นอกจากนี้ ยังระบุในกระบวนการตามขัน้ ตอนทีเ่ ป็นวิธกี าร ของจริยศาสตร์เชิงกรณีอีกด้วยว่า  ส�ำหรับ กรณี เ ฉพาะ  สิ่ ง แรกที่ ต ้ อ งท� ำ คื อ พิ จ ารณา ตัดสินว่ากระบวนทัศน์  (paradigm)  ใดที่มี ความสัมพันธ์ตรงกับประเด็นที่ถูกหยิบยกขึ้น มา  (Jonsen, Toulmin,  1989:307)  จะเห็น ได้ ว ่ า   ค� ำ ศั พ ท์ เ ฉพาะที่ ถู ก ใช้ เ ป็ น ค� ำ ส� ำ คั ญ และเป็ น หลั ก การในการแก้ ไขปั ญ หาของ จริยศาสตร์เชิงกรณี  ปรากฏอยู่ในพระสมณ ลิขิตเตือนใจ  เรื่องความปีติยินดีแห่งความรัก ในหลายข้อด้วยกัน  ได้แก่  ในข้อที่  300, 304,  305  และในฟุตโน้ต  (footnote)  ที่ 336  สอดคล้องกับความคิดเห็นของ  Gula (1989:13)  ที่ว่า  เนื่องจากจริยศาสตร์เชิง

กรณี เ ป็ น จริ ย ศาสตร์ ที่ ใช้ จั ด การกั บ เรื่ อ งที่ เฉพาะเจาะจง  บางครัง้   อาจท�ำให้ผปู้ ระยุกต์ ใช้จริยศาสตร์แบบนี้  สูญเสียมุมมองในภาพ รวม  และเป้าหมายทางศีลธรรมที่แท้จริงซึ่ง ก�ำลังแสวงหาอยู่  ด้วยเหตุนี้  ผู้ประยุกต์ใช้ จริยศาสตร์เชิงกรณีจ�ำเป็นต้องเป็นบุคคลที่มี ประสบการณ์  มีความรอบคอบ  และมีความ ละเอี ย ดอ่ อ นในการไตร่ ต รองแยกแยะ (discerning  sensibility)  อย่างเหมาะสม 2.  กรณี ที่ มี ค วามยุ ่ ง ยากซั บ ซ้ อ น (difficulty/complexity  of  various cases) ในกระบวนการตามขัน้ ตอนทีเ่ ป็นวิธกี าร ของจริยศาสตร์เชิงกรณี  ตามความคิดของ Jonsen  และ  Toulmin  (1989:307) และหนึ่งในขั้นตอนการแก้ไขปัญหานั้น  คือ เมื่อเกิดความยุ่งยากซับซ้อนของเนื้อหาหรือ ปัญหา  สิ่งแรกที่ต้องค�ำนึงคือ  ถ้ากระบวน ทัศน์เหมาะสมกับกรณีทพี่ จิ ารณาอยู ่ เพียงแต่ มีความคลุมเครือ  ก็ให้สันนิษฐานว่า  อาจจะ เกิดกรณีท่ีท้าทายใหม่ๆ  เพราะความยุ่งยาก ซั บ ซ้ อ นของปั ญ หานั้ น เอง  สอดคล้ อ งกั บ พระสมณลิ ขิ ต เตื อ นใจ  เรื่ อ งความปิ ติ ยิ น ดี แห่งความรักซึ่งกล่าวถึงการอภิบาลที่เน้นให้ ผู ้ อ ภิ บ าลใช้ วิ ธี ก ารไตร่ ต รองแยกแยะ เนื่องจากพระศาสนจักรเข้าใจถึงสถานการณ์ ของครอบครั ว ในปั จ จุ บั น ที่ มี ค วามยุ ่ ง ยาก

ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2017/2560

99


ความเป็นไปได้ทจี่ ะประยุกต์ใช้จริยศาสตร์เชิงกรณี เพือ่ การอภิบาลด้านศีลศักดิส์ ทิ ธิ์ ส�ำหรับคูแ่ ต่งงานคาทอลิกทีห่ ย่าร้างและแต่งงานใหม่

ซั บ ซ้ อ นไปด้ ว ยกรณี ต ่ า งๆ  ที่ ห ลากหลาย ในพระสมณลิขิต  กล่าวยืนยันหลายครั้งใน เรื่องนี้  เริ่มตั้งแต่ในช่วงต้นๆ  ข้อที่  2,  32, 79  แสดงให้ เ ห็ น ว่ า พระศาสนจั ก รยอมรั บ ในเรื่องความซับซ้อนยุ่งยากของสถานการณ์ ของครอบครัวในทุกวันนีแ้ ละมีทา่ ทีทเี่ ข้าใจและ ใส่ใจในการแก้ไขปัญหาด้วยความละเอียดอ่อน มากขึน้   ไม่สามารถประยุกต์ใช้กฎเกณฑ์เพียง อย่างเดียวอีกต่อไป 3.  กรณีที่ต้องใช้วิธีการสนทนาส่วน ตัวในระดับมโนธรรม  (internal/private forum) “ในศตวรรษที่   16  วิ ธี ก ารทาง จริยศาสตร์เชิงกรณีถกู ใช้ในการสนทนาส่วนตัว ในระดับมโนธรรม  (private  forum)  โดย เฉพาะอย่ า งยิ่ง  ในการสารภาพบาป  เมื่อ พระสงฆ์ผู้ฟังการสารภาพบาปเข้าใจถึงหน้าที่ ของตนว่าเป็นเหมือนนายแพทย์  ผูร้ กั ษาคนที่ ตกอยู ่ ใ นสภาพบาป  และเป็ น เหมื อ น ผู้พิพากษา  พิจารณาความบาปผิดของคนที่ ตกอยู่ในบาป  และก�ำหนดกิจใช้โทษบาปที่ เหมาะสม”  (Keenan, n.d.: 126)  ทั้งนี้ ในพระสมณลิขติ เตือนใจ  เรือ่ ง  ความปีตยิ นิ ดี แห่งความรัก  ได้แนะน�ำถึงวิธกี ารหนึง่ ทีเ่ หมาะ สมส�ำหรับกระบวนการอภิบาลโดยการเป็น เพื่อนร่วมทาง  และการไตร่ตรองแยกแยะ เพื่อช่วยเหลือและสร้างความเข้าใจถึงปัญหา และความยุง่ ยากล�ำบากในการด�ำเนินชีวติ ของ 100 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

คู่แต่งงานคาทอลิกที่หย่าร้างและแต่งงานใหม่ ซึง่ เป็นวิธกี ารเดียวกันกับจริยศาสตร์เชิงกรณีที่ เคยได้รับความนิยมใช้ในอดีต  นั่นคือ  การ สนทนาส่วนตัวในระดับมโนธรรม  (internal forum)  เพือ่ ใช้ในการสารภาพบาป  นอกจาก นี้  การอภิบาลด้วยบริการด้านข้อมูล  การให้ ค�ำปรึกษา  และการเจรจาไกล่เกลี่ยเกี่ยวกับ เรื่ อ งครอบครั ว ควรจะกระท� ำ เป็ น การส่ ว น บุคคล  ผู้ซึ่งแยกกันอยู่หรือคู่แต่งงานที่อยู่ใน สถานการณ์ วิ ก ฤต  งานบริ ก ารเหล่ า นี้ ต ้ อ ง เป็นการพบเพือ่ พูดคุยเป็นการส่วนตัว  เพือ่ ให้ เห็ น ถึ ง มุ ม มองที่ แ ท้ จ ริ ง ในเบื้ อ งต้ น ของ กระบวนการที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การแต่ ง งาน เนื้ อ หาเหล่ า นี้ ถู ก กล่ า วในพระสมณลิ ขิ ต ข้อ  244,  300 ในกรณีของผูท้ อี่ ยูใ่ นสถานการณ์ไม่ปกติ ซึง่ ปรากฏในฟุตโน้ตที ่ 351  ในพระสมณลิขติ เตื อ นใจ  เรื่ อ งความปี ติ ยิ น ดี แ ห่ ง ความรั ก ที่ ก ล่ า วว่ า   “ในบางกรณี   สามารถให้ ก าร อภิบาลด้านศีลศักดิ์สิทธิ์ได้”  (In  certain cases, this can include the help of  the  sacraments)  เนื่องจากพระสมณ ลิ ขิ ต เตื อ นใจ  มิ ไ ด้ ก ล่ า วไว้ อ ย่ า งชั ด เจนว่ า กรณีใดบ้าง  อย่างไรก็ดี  แน่นอนว่า  ต้องมี บางกรณีทมี่ คี วามเป็นไปได้  เราจะประยุกต์วธิ ี การจริยศาสตร์เชิงกรณีในการรับทั้งศีลอภัย บาปและศีลมหาสนิทได้อย่างไร  ทั้งนี้  “การ พิจารณาไตร่ตรองถึงสถานการณ์เฉพาะที่เป็น


อุดมศักดิ์ ว่องประชานุกูล, เชิดชัย เลิศจิตรเลขา, และ ลัดดาวรรณ์ ประสูตร์แสงจันทร์

ไปได้ในทางปฏิบัตินั้น  ต้องไม่ถูกยกให้อยู่ใน ระดับของกฎเกณฑ์  และไม่นำ� ไปสูก่ ารใช้หลัก การทางจริ ย ศาสตร์ เชิ ง กรณี ที่ เ กิ น จะรั บ ได้ (intolerable  casuistry)”  (พระสมณ ลิขิตเตือนใจ  เรื่องความปีติยินดีแห่งความรัก ข้อ  304)  ด้วยเหตุนี้  ผู้วิจัยจึงได้ศึกษาเพื่อ น�ำเสนอตัวอย่างกรณีของความเป็นไปได้ที่จะ ประยุกต์ใช้จริยศาสตร์เชิงกรณีในการอภิบาล ด้ า นศี ล ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ข องคู ่ แ ต่ ง งานคาทอลิ ก ที่ หย่าร้างและแต่งงานใหม่ สรุปและอภิปรายผล กรณี ดั ง ที่ พ ระศาสนจั ก รแนะน� ำ และ ให้การรับรองไว้แล้ว  เราต้องท�ำความเข้าใจใน กรณีที่พระศาสนจักรได้สอน  และน�ำเสนอ แนวทางที่จะให้การอภิบาลด้านศีลศักดิ์สิทธิ์ ส� ำ หรั บ คู ่ แ ต่ ง งานคาทอลิ ก ที่ ห ย่ า ร้ า งและ แต่งงานใหม่  อ้างอิงจากพระสมณลิขิตเตือน ใจ  เรื่องครอบครัวคริสตชนในโลกปัจจุบัน เกี่ยวกับงานอภิบาลในบางกรณีที่นอกลู่นอก ทางในกรณี ที่   5  คื อ   ผู ้ ที่ ห ย่ า ร้ า งและ แต่งงานใหม่  มีใจความเกี่ยวกับการอภิบาล ศีลศักดิส์ ทิ ธิ ์ ด้วยการกลับคืนดีกบั พระเจ้าโดย ทางศีลอภัยบาป  ซึง่ เปิดทางไปยังศีลมหาสนิท นัน้   ผูท้ จี่ ะรับสิทธิน์ นั้   คือ  ผูท้ สี่ ามารถปฏิบตั ิ ได้ตามหลักเกณฑ์ของพระศาสนจักร  ซึง่ มีองค์ ประกอบของหลั ก เกณฑ์   อั น จะเป็ น กรณี ตัวอย่างที่น�ำมาใช้เป็นกระบวนทัศน์ที่สามารถ แยกแยะได้  ดังต่อไปนี้

1)  ผู ้ ที่ เ ป็ น ทุ ก ข์ ถึ ง บาป  (เพราะได้ ฝ่าฝืนสัญลักษณ์แห่งพันธสัญญาและแห่งความ ซื่อสัตย์ของพระคริสตเจ้า) 2)  พวกเขาพร้อมทีจ่ ะด�ำเนินชีวติ ในรูป แบบซึ่งไม่ขัดแย้งกับการสมรสที่ยกเลิกมิได้ 3)  ด้ ว ยในกรณี ที่ ช ายและหญิ ง ไม่ สามารถแยกทางกันได้เพราะมีเหตุผลส�ำคัญ เช่น  มีลูกที่จะต้องดูด้วยกัน 4)  ในภาคปฏิบตั  ิ การเป็นทุกข์ถงึ บาป ดั ง กล่ า วเรี ย กร้ อ งให้ เขารั บ รองว่ า   เขาจะ ด� ำ เนิ น ชี วิ ต ด้ ว ยกั น   โดยยกเว้ น เรื่ อ งเพศ สั ม พั น ธ์ อ ย่ า งเด็ ด ขาด  กล่ า วคื อ   งดเว้ น กิจกรรมเฉพาะของสามีภรรยาจะเห็นได้ว่า นี่เป็นจุดอ่อนของหลักเกณฑ์ที่พระศาสนจักร ได้คดิ และน�ำมาให้ใช้ปฏิบตั  ิ อันมีลกั ษณะเป็น เพียงหลักเกณฑ์เชิงทฤษฎี  ไม่ใช่ในเชิงปฏิบัติ ซึ่งแตกต่างจากวิธีการของจริยศาสตร์เชิงกรณี กล่าวคือ  มีลักษณะสามารถใช้ได้จริงในทาง ปฏิบัติ  ไม่ใช่แต่เชิงทฤษฎีเท่านั้น  ทั้งนี้ทั้งนั้น ก็ต้องถือว่า  องค์ประกอบของหลักเกณฑ์ตาม ค�ำสอนของพระศาสนจักรนี้เป็นกระบวนทัศน์ เพื่อใช้ในการเปรียบเทียบกับกรณีอื่นๆ  ถึง ความเป็นไปได้ที่จะประยุกต์ใช้จริยศาสตร์เชิง กรณีสำ� หรับกรณีทมี่ คี วามเป็นไปได้อนื่ ๆ  นอก เหนือจากกรณีที่ต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่ พระศาสนจักรก�ำหนดขึ้นมา

ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2017/2560 101


ความเป็นไปได้ทจี่ ะประยุกต์ใช้จริยศาสตร์เชิงกรณี เพือ่ การอภิบาลด้านศีลศักดิส์ ทิ ธิ์ ส�ำหรับคูแ่ ต่งงานคาทอลิกทีห่ ย่าร้างและแต่งงานใหม่

ผูว้ จิ ยั ขอสรุป  และอภิปรายผลการวิจยั ในครั้งนี้ไปพร้อมๆ  กัน  เพื่อให้การสรุปผล และอภิ ป รายสามารถอธิ บ ายรายละเอี ย ด ท�ำให้เกิดความเข้าใจที่ชัดเจน  ด้วยการน�ำ เสนอตั ว อย่ า งจากกรณี ที่ มี ค วามเป็ น ไปได้ ดังต่อไปนี้ 1.  กรณีทอี่ ยูใ่ นดุลพินจิ   (discretion) ของการท� ำ เรื่ อ งการแต่ ง งานให้ เ ป็ น โมฆะ (annulment) ก่อนอืน่   เราต้องทราบว่า  การแต่งงาน ครั้งแรกนั้น  อาจเป็นโมฆะได้ในหลายกรณี ด้วยกัน  ดังทีก่ ล่าวไว้ในหนังสือสัญญา...ทีเ่ ป็น ยิ่งกว่าสัญญา:  การสมรสตามกฎหมายคริสต์ ศาสนจักรคาทอลิก  โดย  บาทหลวง  สุเทพ วนพงศ์ทิพากร  (2553)  ในหัวข้อการให้การ ยินยอมในการแต่งงานตามกฎหมายของพระ ศาสนจักร  (canon  law)  ด้วยว่า  หากการ แต่งงานขาดการให้การยินยอม  เพราะขาด การใช้เหตุผล  ขาดการตัดสินใจที่ดี  และขาด ความสามารถที่จะปฏิบัติตามข้อเรียกร้องของ การสมรส  ย่อมถือว่า  การแต่งงานนั้นเป็น โมฆะ  ทั้ ง นี้   การยิ น ยอมในการแต่ ง งานนี้ รวมไปถึงการแลกสิทธิแ์ ละหน้าทีต่ า่ งๆ  ต่อกัน และกันด้วย  เช่น  สิทธิ์ของการมีชีวิตอันเป็น หนึ่งเดียวกัน  สิทธิ์ของการมีเพศสัมพันธ์ที่จะ ก่อให้เกิดบุตร  คูท่ ยี่ นิ ยอมแต่งงานย่อมรูด้ แี ละ เข้าใจดีในเรื่องเหล่านี้  จะกลับค�ำไม่ได้  นั่น

102 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

หมายความว่า  หากผู้ที่จะแต่งงานไม่เข้าใจใน เรือ่ งการยินยอมนี ้ เพราะความโง่เขลา  เข้าใจ ผิด  ถูกหลอกลวงฉ้อฉล  ถูกบังคับ  และไม่มี อิสระ  ด้วยเหตุเหล่านีท้ ำ� ให้ขาดการยินยอมใน การแต่งงาน  หรือการยินยอมนั้นบกพร่องไป ไม่ว่าด้วยเหตุผลใดๆ  ก็ตาม  ย่อมถือว่าการ แต่งงานนั้นเป็นโมฆะ นอกจากนี ้ การแต่งงานยังถือเป็นโมฆะ อันเนื่องมาจากการปิดบังอ�ำพรางข้อเท็จจริง เกี่ยวกับข้อขัดขวางเฉพาะของการแต่งงาน (diriment  impediment)  ได้แก่  สภาพไร้ ความสามารถของบุ ค คล  คื อ   ความไม่ สามารถมีความสัมพันธ์ทางเพศตามธรรมชาติ เช่น  ฝ่ายชายไม่มีอวัยวะเพศ  อวัยวะเพศไม่ สามารถแข็งตัวเพือ่ การร่วมเพศ  หรือฝ่ายหญิง ไม่มีช่องคลอด  ช่องคลอดปิด  เป็นต้น  และ การขาดรูปแบบการสมรสทีถ่ กู ต้อง  เช่น  อายุ ไม่ถงึ เกณฑ์ทกี่ ำ� หนด  การมีพนั ธะแต่งงานเดิม การมีพันธะของพระสงฆ์  นักบวช  ความเป็น ญาติพี่น้องร่วมสายโลหิต  เป็นต้น ข้อขัดขวางเหล่านี ้ ไม่เพียงแต่ทำ� ให้การ แต่ ง งานนั้ น จะไม่ ช อบด้ ว ยกฎหมายของ พระศาสนจักรเท่านั้น  แต่ยังเป็นเหตุให้การ แต่งงานนั้นเป็นโมฆะอีกด้วย  จะเห็นได้ว่า มีข้อขัดขวางมากมายท�ำให้การแต่งงานเป็น โมฆะ  ซึง่ มีความเป็นไปได้ทคี่ แู่ ต่งงานคาทอลิก จ�ำนวนมาก  ไม่มคี วามรูใ้ นเรือ่ งเหล่านี ้ ท�ำให้


อุดมศักดิ์ ว่องประชานุกูล, เชิดชัย เลิศจิตรเลขา, และ ลัดดาวรรณ์ ประสูตร์แสงจันทร์

พวกเขาไม่คิดที่จะเข้าสู่กระบวนการทางศาล พระศาสนจักรเพือ่ ขอท�ำเรือ่ งท�ำให้การแต่งงาน เป็ น โมฆะ  พวกเขาจึ ง ไม่ ส ามารถรั บ การ อภิบาลด้านศีลศักดิ์สิทธิ์ได้  ผู้อภิบาลมีหน้าที่ ที่ จ ะต้ อ งติ ด ตามและให้ ค วามรู ้ เ กี่ ย วกั บ เรื่ อ งเหล่ า นี้ ด ้ ว ย  จากการประชุ ม สมั ช ชา พระสั ง ฆราช  จนถึ ง พระสมณลิ ขิ ต เตื อ นใจ เรื่องความปีติยินดีแห่งความรัก  ดังปรากฏใน ข้อ  244  ได้มกี ารอภิปรายโดยให้ความส�ำคัญ กับกระบวนการในการเดินเรือ่ งของกรณีทกี่ าร แต่งงานครั้งแรกเป็นโมฆะ  ให้คู่แต่งงานที่มี ความเป็นไปได้ที่ว่า  การแต่งงานในครั้งแรก ของพวกเขานั้นอาจจะเป็นโมฆะ  สามารถเข้า สู่กระบวนการทางศาลได้ง่ายขึ้น  และใช้เวลา ในแต่ละขัน้ ตอนลดน้อยลง  และหากเป็นไปได้ จะไม่มีค่าใช้จ่ายที่ต้องช�ำระในกรณีดังกล่าว พระศาสนจักรเองก็ยอมรับว่า  ขัน้ ตอน ในกระบวนการของศาลพระศาสนจั ก รนั้ น ยุ่งยากและใช้เวลายาวนานในการพิจารณา ตัดสินคดีทำ� ให้คแู่ ต่งงานหลายคูไ่ ม่ตอ้ งการหรือ ไม่สามารถเข้าสูก่ ระบวนการทางศาลได้โดยง่าย ด้วยเหตุน ี้ ส�ำหรับกรณีทผี่ อู้ ภิบาลร่วมกับพระ สังฆราชผูม้ อี ำ� นาจเห็นชอบว่าการแต่งงานทาง พระศาสนจักรในครั้งแรกนั้น  ถือเป็นโมฆะ แต่ยงั ไม่มปี ระกาศของศาลพระศาสนจักรอย่าง เป็นทางการ  ควรที่จะอนุโลมด้วยวิธีการทาง จริยศาสตร์เชิงกรณี  ให้พวกเขาสามารถรับ

ศีลมหาสนิทได้  โดยไม่ต้องรอผลการตัดสิน และประกาศโดยศาลพระศาสนจักรอย่างเป็น ทางการ  เช่น  ในกรณีที่ไม่ยุ่งยากซับซ้อน สามารถเห็นถึงความเป็นโมฆะของการแต่งงาน ครั้งแรกได้อย่างชัดเจน  เช่น  กรณีที่ฝ่ายใด ฝ่ายหนึ่งมิได้ยินยอมที่จะแต่งงานตั้งแต่แรก เพราะถูกบังคับจากบิดามารดา  ทีเ่ รียกว่าการ คลุมถุงชน  เป็นต้น  ด้วยเหตุทพี่ ระศาสนจักร เข้าใจดีวา่ ความล่าช้าของกระบวนการทางศาล ของพระศาสนจักรนั้นเป็นสาเหตุของความ ทุกข์และความกดดันในการทนอยูด่ ว้ ยกันต่อไป ของคู่แต่งงาน  เป็นหน้าที่ของพระสังฆราช ประจ�ำท้องถิ่นที่จะต้องเอาใจใส่เป็นพิเศษใน เรื่องนี้ 2.  กรณีที่ได้รับการยกเว้นจากการ ไตร่ตรองแยกแยะ  (discernment) กรณีทไี่ ด้รบั การยกเว้นจากการไตร่ตรอง แยกแยะ  กรณีเช่นนี้นั้น  จ�ำเป็นต้องมีการ ประยุกต์ใช้หลักการทางจริยศาสตร์เชิงกรณี มากที่สุด  ในทางกลับกัน  ก็เป็นวิธีการที่มี ความเป็นไปได้ที่จะประยุกต์ใช้จริยศาสตร์เชิง กรณีนอ้ ยเช่นเดียวกัน  เนือ่ งจากต้องพิจารณา ไตร่ตรองอย่างสมเหตุสมผล  และสอดคล้อง กับค�ำสอนของพระศาสนจักรทีไ่ ม่ตอ้ งการให้มี การประยุกต์ใช้  จริยศาสตร์เชิงกรณีทมี่ ากเกิน ไปจนไม่สามารถรับได้  กรณีตัวอย่างเช่น  ใน กรณีของผู้ที่หย่าร้างและแต่งงานใหม่  ซึ่งพบ

ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2017/2560 103


ความเป็นไปได้ทจี่ ะประยุกต์ใช้จริยศาสตร์เชิงกรณี เพือ่ การอภิบาลด้านศีลศักดิส์ ทิ ธิ์ ส�ำหรับคูแ่ ต่งงานคาทอลิกทีห่ ย่าร้างและแต่งงานใหม่

ข้อเท็จจริงอันเป็นองค์ประกอบของหลักเกณฑ์ ที่ว่า  1)  การแต่งงานครั้งแรกถูกต้อง  และ เป็นไปไม่ได้ที่จะกลับไปใช้ชีวิตกับคู่แต่งงานใน ครั้ ง แรก  2)  ด� ำ เนิ น ชี วิ ต เป็ น คาทอลิ ก ที่ มี ความศรัทธามาตลอด  3)  ส�ำนึกในความผิดที่ จ�ำเป็นต้องหย่าร้างและแต่งงานใหม่  และ  4) ต้องการรับศีลมหาสนิทอย่างร้อนรนและจริงใจ เป็นต้น  ด้วยองค์ประกอบเท่าทีม่ ใี นกรณีนตี้ อ้ ง พิจารณาจากหลายองค์ประกอบอย่างละเอียด เพื่อให้การไตร่ตรองแยกแยะถูกต้องเหมาะสม มากที่ สุ ด   จึ ง เห็ น ได้ ว ่ า   ในแต่ ล ะกรณี นั้ น ประกอบขึน้ ด้วยสถานการณ์ทยี่ งุ่ ยากซับซ้อนที่ เป็นปัจจัย  มีความจ�ำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องอาศัย ความเชี่ยวชาญในการพิจาณาไตร่ตรองด้วย ความรอบคอบ จากกรณีตัวอย่างดังทีก่ ล่าวมา  จะเห็น ได้ ว ่ า   มี ค วามเป็ น ไปได้ ที่ จ ะประยุ ก ต์ ใช้ จริ ย ศาสตร์ เชิ ง กรณี   เพื่ อ การอภิ บ าลด้ า น ศี ล ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ส� ำ หรั บ คู ่ แ ต่ ง งานคาทอลิ ก ที่ หย่ า ร้ า งและแต่ ง งานใหม่   จากการศึ ก ษา หลักการและวิธีการของจริยศาสตร์เชิงกรณี ท�ำให้เราทราบถึงจุดเด่นของวิธีการนี้  ได้แก่ 1.  จริยศาสตร์เชิงกรณีเป็นวิธีการที่ เหมาะสมส�ำหรับปัญหาทางจริยศาสตร์ที่เป็น กรณีเฉพาะ  (particular  cases)  โดยการ เปรี ย บเที ย บกั บ กระบวนทั ศ น์ ใ ดที่ มี ค วาม สั ม พั น ธ์ ต รงกั บ ประเด็ น ที่ ถู ก หยิ บ ยกขึ้ น มา กล่ า วคื อ   การอภิ บ าลศี ล ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ส� ำ หรั บ 104 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

คู่แต่งงานคาทอลิกที่หย่าร้างและแต่งงานใหม่ ซึ่ ง ในที่ นี้   กระบวนทั ศ น์ ที่ ใช้ ใ นการเปรี ย บ เทียบ  ก็คือ  กรณีดังที่พระศาสนจักรแนะน�ำ และให้การรับรองไว้แล้ว 2.  เพือ่ การโต้แย้งทางศีลธรรม  สิง่ แรก ที่ต้องท�ำคือ  สร้างสมมติฐานทางศีลธรรมที่ เชื่ อ ว่ า เป็ น จริ ง ในตอนแรก  (initial  presumptions)  ซึ่ ง มี น�้ ำ หนั ก มากพอ  ในที่ นี้ คือ  กรณีที่อยู่ในดุลพินิจของการท�ำเรื่องการ แต่งงานให้เป็นโมฆะ  ทีจ่ ะพิจารณาติดสินเพือ่ สรุป  โดยยังไม่คำ� นึงถึงสถานการณ์แวดล้อมที่ จะน�ำไปสู่การยกเว้น 3.  เมื่อเกิดความยุ่งยากซับซ้อนของ เนื้อหาหรือปัญหา  สิ่งแรกที่ต้องค�ำนึงคือ  ถ้า กระบวนทัศน์เหมาะสมกับกรณีที่พิจารณาอยู่ เพี ย งแต่ มี ค วามคลุ ม เครื อ   เช่ น นี้   ในหลั ก เกณฑ์ของกระบวนทัศน์ตวั อย่าง  (ซึง่ เป็นกรณี ที่ ไ ด้ รั บ การรั บ รองจากพระศาสนจั ก ร)  ได้ ก�ำหนดองค์ประกอบหนึ่ง  คือ  การห้ามเรื่อง เพศสัมพันธ์อย่างเด็ดขาด  ก็ให้สันนิษฐานว่า อาจจะเกิดกรณีที่น�ำไปสู่การยกเว้น  ในที่นี้ คือ  กรณีที่ได้รับการยกเว้นจากการไตร่ตรอง แยกแยะ  เนื่องจากความยุ่งยากซับซ้อนเกิด ขึ้ น   แต่ มี ก ระบวนทั ศ น์ ที่ ส ามารถน� ำ มา ประยุกต์ใช้กับกรณีดังกล่าวมีความขัดแย้งกัน ดังนั้น  จึงจ�ำเป็นต้องพิจารณาไกล่เกลี่ยให้ได้ กระบวนทัศน์ใหม่ที่เหมาะสม


อุดมศักดิ์ ว่องประชานุกูล, เชิดชัย เลิศจิตรเลขา, และ ลัดดาวรรณ์ ประสูตร์แสงจันทร์

4.  จริยศาสตร์เชิงกรณีเปลีย่ นแปลงให้ สามารถสอดคล้องกับแบบแผนทางศีลธรรมใน ประวัตศิ าสตร์ของสังคมและวัฒนธรรม  แสดง ให้เห็นว่า  การยกเว้นสามารถแก้ไขปัญหาให้ กระจ่ า ง  และอาจเป็ น การพิ สู จ น์ แ ย้ ง กั บ สมมติฐานทางศีลธรรมที่เคยเชื่อว่าเป็นจริงใน ตอนแรก 5.  กรณีต่างๆ  แม้จะใช้กระบวนทัศน์ ที่ อ ยู ่ บ นพื้ น ฐานของข้ อ เท็ จ จริ ง   (พระ ศาสนจักรรับรอง)  ก็อาจเปลีย่ นแปลงได้อย่าง สมเหตุสมผล  ในกรณีน ี้ ขึน้ อยูก่ บั การสนทนา ส่วนตัวในระดับมโนธรรม  ระหว่างผู้ที่อยู่ใน สถานการณ์ไม่ปกติกบั ผูอ้ ภิบาล  อย่างไรก็ตาม ความสมเหตุ ส มผลนั้ น มาจากเนื้ อ หาของ พระสมณลิขติ   เรือ่ งความปีตยิ นิ ดีแห่งความรัก ซึ่งพยายามอธิบายให้ผู้อภิบาลเข้าใจถึงการ อภิบาลด้วยรูปแบบทีใ่ ช้ความรัก  ความเมตตา มาเป็ น เครื่ อ งมื อ โดยอาศั ย การไตร่ ต รอง แยกแยะ  การอภิบาลให้ความช่วยเหลืออย่าง ใกล้ชิด  หรือแม้แต่การให้ก�ำลังใจด้วยความ ประนีประนอมจากความเคารพมโนธรรมส่วน บุ ค คลด้ ว ยกฎแห่ ง การค่ อ ยเป็ น ค่ อ ยไป เป็นการสนับสนุนฝึกฝนให้พิจารณามโนธรรม ส่วนบุคคล  เพื่อการพัฒนาด้านมโนธรรม 6.  เห็ น ได้ ว ่ า วิ ธี ก ารของจริ ย ศาสตร์ เชิ ง กรณี ส อดคล้ อ งและสนั บ สนุ น สิ่ ง ที่

พระศาสนจั ก รพยายามสอน  นอกจาก พระศาสนจักรจะให้ความส�ำคัญกับจริยศาสตร์ แห่งการกระท�ำ  (Ethic  of  doing)  แล้ว ก็ยังให้ความส�ำคัญกับจริยศาสตร์แห่งการเป็น บุคคล  (Ethic  of  being)  มุ่งเน้นสนใจที่ ลั ก ษณะนิ สั ย ที่ เราเป็ น   (habit)  มุ ม มอง เกีย่ วกับการใช้ชวี ติ   คุณค่า  ความเชือ่   เจตนา และนิสัยใจคอ  ปัจจัยเหล่านั้นจะผลักดันให้ เชื่อว่าก�ำลังท�ำให้สิ่งที่ถูกต้อง  ซึ่งถูกเรียกว่า คุ ณ ธรรม  เพราะว่ า โดยหลั ก การของ จริ ย ศาสตร์ เ ชิ ง กรณี นั้ น   เอื้ อ ประโยชน์ สอดคล้องในการพิจารณาไตร่ตรองส�ำหรับ การอภิ บ าล  โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง   ในการ พิจารณาไตร่ตรองเพื่อแก้ไขปัญหาในประเด็น ที่มีความเฉพาะเจาะจง  (specific  cases) และในสถานการณ์แวดล้อมเฉพาะ  เช่น  ใน กรณี  การกลับมารับศีลมหาสนิทของผู้ที่หย่า ร้างและแต่งงานใหม่นี้เอง จากข้ อ สรุ ป ข้ า งต้ น   ย่ อ มเห็ น ได้ ว ่ า หลักการและวิธีการของจริยศาสตร์เชิงกรณี มี ค วามสอดคล้ อ งกั บ พระสมณลิ ขิ ต   เรื่ อ ง ความปีติยินดีแห่งความรักอย่างมีนัยส�ำคัญจึง มีความเป็นไปได้ทจี่ ะประยุกต์ใช้จริยศาสตร์เชิง กรณี  เพือ่ การอภิบาลด้านศีลศักดิส์ ทิ ธิส์ ำ� หรับ คู่แต่งงานคาทอลิกที่หย่าร้างและแต่งงานใหม่ แต่ต้องไม่ใช้ในทางที่ผิด  (abuse)  หรือมาก เกินจะรับได้

ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2017/2560 105


ความเป็นไปได้ทจี่ ะประยุกต์ใช้จริยศาสตร์เชิงกรณี เพือ่ การอภิบาลด้านศีลศักดิส์ ทิ ธิ์ ส�ำหรับคูแ่ ต่งงานคาทอลิกทีห่ ย่าร้างและแต่งงานใหม่

ข้อเสนอแนะ การวิจัย  เรื่อง  ความเป็นไปได้ที่จะ ประยุ ก ต์ ใช้ จ ริ ย ศาสตร์ เชิ ง กรณี   เพื่ อ การ อภิบาลด้านศีลศักดิ์สิทธิ์  ส�ำหรับคู่แต่งงาน คาทอลิกที่หย่าร้างและแต่งงานใหม่ในครั้งนี้ อาจเป็ น แนวทางส� ำ หรั บ ผู ้ อ ภิ บ าลในการ พิจารณาไตร่ตรองกรณีตา่ งๆ  เนือ่ งจาก  ดังที่ ก ล ่ า ว ม า   ใ น พ ร ะ ส ม ณ ลิ ขิ ต เ ตื อ น ใจ เรื่ อ งความปี ติ ยิ น ดี แ ห่ ง ความรั ก นั้ น   พระ สันตะปาปามิได้ทรงกล่าวถึงวิธีการอภิบาลไว้ โดยละเอียดเกี่ยวกับวิธีการหรือขั้นตอนใดๆ ผู ้ วิ จั ย จึ ง มี ค วามคิ ด ที่ จ ะน� ำ เสนอเพื่ อ การ ประยุกต์ใช้จริยศาสตร์เชิงกรณี  โดยชี้ให้เห็น ถึงความสอดคล้องกัน  และเห็นถึงความเป็น ไปได้ที่จะประยุกต์ใช้ดังกล่าว บรรณานุกรม คณะกรรมการคาทอลิกเพื่อคริสตศาสนธรรม แผนกพระคัมภีร.์   พระคัมภีรภ์ าคพันธ สัญญาใหม่.  กรุงเทพฯ:  บริษัท  จูน พับลิชชิ่ง  จ�ำกัด,  2550. บาทหลวง  ดร.เชิดชัย  เลิศจิตรเลขา.  คริสต จริ ย ศาสตร์ พื้ น ฐาน.  กรุ ง เทพฯ: แผนกการพิมพ์  โรงเรียนดอนบอสโก, 2548.

106 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

บาทหลวง  สุเทพ  วนพงศ์ทพิ ากร.  สัญญา... ที่เป็นยิ่งกว่าสัญญา:  การสมรสตาม กฎหมายคริ ส ต์ ศ าสนจั ก รคาทอลิ ก . กรุงเทพฯ:  ปิติพานิช,  2553. Gula,  Richard  M.  Normative  Methods in  Ethics:  Surveying  the Landscape  of  Ethical  Pluralism. (Mimeographed) Gula,  Richard  M.  Reason  Informed by  Faith.  Mahwah:  Paulist Press,  1989. Jonsen,  Albert.,  and  Toulmin  Stephen. The  Abuse  of  Casuistry: A  History  of  Moral  Reasoning. Los  Angeles:  University  of California  Press,  1989. Keenan,  James  F.  Return  of  Casuistry. (Mimeographed) LongdoDict.  Casuistry.  Accessed August  15,  2016.  Available from  https://dict.longdo.com/ search/casuistry Miller,  Richard  B.  Casuistry  and Modern  Ethics.  Chicago:  Uni versity  of  Chicago  Press.  1996.


อุดมศักดิ์ ว่องประชานุกูล, เชิดชัย เลิศจิตรเลขา, และ ลัดดาวรรณ์ ประสูตร์แสงจันทร์

Pope  Francis.  Amoris  Laetitia.  Accessed May  1,  2016.  Available  from https://w2.vatican.va/content/ francesco/en/apost_exhortations/ documents/papa-francesco_esor tazione-ap_20160319_amoris-lae titia.html Pope  John  Paul  II.  Familiaris Consortio.  Accessed  June  15, 2016.  Available  from  http:// w2.vatican.va/content/john-paul- ii/en/apost_exhortations/docu ments/hf_jp-ii_exh_19811122_ familiaris-consortio.html Townsley,  Jeramy.  Casuistry: A  Summary.  Accessed  November 12,  2015.  Available  from http://www.jeramyt.org/papers/ casuistry.html Wikipedia.  Casuistry.  Accessed August  5,  2016.  Available from  https://en.wikipedia.org/ wiki/Casuistry

ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2017/2560 107


ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการอบรมเรื่องเพศ

ของคู่แต่งงานคาทอลิก ชาวปกาเกอะญอ

Relevant Factors in instructing Karen Catholic Couples on Sexuality. ชูพงษ์ เชวงชาติตระกูล * มหาบัณฑิตสาขาวิชาเทววิทยาจริยธรรม วิทยาลัยแสงธรรม บาทหลวง ดร.พิเชฐ แสงเทียน, S.J. * บาทหลวงในคริสต์ศาสนจักรโรมันคาทอลิก สังกัดคณะเยสุอิต

* อาจารย์ประจ�ำประจ�ำหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทววิทยาจริยธรรม วิทยาลัยแสงธรรม

ผศ.ดร.ลัดดาวรรณ์ ประสูตร์แสงจันทร์ * อาจารย์ประจ�ำหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาคริสตศาสนศึกษา วิทยาลัยแสงธรรม Choopong Chaveacharttrakool * Master of Arts Program in Moral Theology, Saengtham College. Rev.Pichet Saengthien, S.J., Ph.D. * Reverend in Roman Catholic Church, Jesuit. * Lecturer of The Master of Arts Program in moral Theology, Saengtham College. Asst.Prof.Laddawan Prasutsaengchan, Ph.D * Lecturer, Christian Studies Faculty of Religious, Saengtham College.


ชูพงษ์ เชวงชาติตระกูล, พิเชฐ แสงเทียน, และลัดดาวรรณ์ ประสูตร์แสงจันทร์

บทคัดย่อ

การวิจยั นีม้ จี ดุ ประสงค์เพือ่ ศึกษา  1)  ปัจจัยทีส่ ง่ เสริมและปัจจัย ที่เป็นอุปสรรคต่อการอบรมเรื่องเพศ  ของคู่แต่งงานคาทอลิกชาว ปกาเกอะญอ  และ  2)  แนวทางการอบรมเรื่องเพศของ  คู่แต่งงาน คาทอลิกชาวปกาเกอะญอ กลุ่มผู้ให้ข้อมูลในศึกษาปัจจัยที่เกี่ยวข้องการอบรมเรื่องเพศของ คูแ่ ต่งงานคาทอลิก  ชาวปกาเกอะญอ  ได้แก่  1)  บาทหลวงเจ้าอาวาส วัดนักบุญยอห์นบัปติสต์  แม่โถ  จ�ำนวน  2  คน  2)  ผู้น�ำชุมชนด้าน ประเพณีวฒ ั นธรรมชาวปกาเกอะญอ  จ�ำนวน  1  คน  3)  ครูคำ� สอน จ� ำ นวน  1  คน  และ  4)  คู ่ แ ต่ ง งานคาทอลิ ก ชาวปกาเกอะญอ ที่แต่งงานกันมาในช่วงระยะมากกว่า  5  ปี  จ�ำนวน  7  คู่  ได้มาโดย การเลือกแบบเจาะจง กลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิในการตรวจสอบแนวทางการอบรมคู่แต่งงาน คาทอลิ ก ชาวปกาเกอะญอ  ได้ แ ก่   บาทหลวงที่ เข้ า ร่ ว มประชุ ม บาทหลวงของสังฆมณฑลเชียงใหม่  เขต  5 ผลการวิจัยพบว่า 1.  ปัจจัยที่ส่งเสริมการอบรมเรื่องเพศของคู่แต่งงานคาทอลิก ได้แก่ 1.1  ค�ำสอนตามวัฒนธรรมท้องถิน่ ของชาวปกาเกอะญอ  ทีไ่ ด้ รั บ จากพ่ อ แม่   ปู ่ ย ่ า   ตายาย  สอดคล้ อ งกั บ หลั ก ค� ำ สอนของ พระศาสนจักร  เช่น  ความรัก  ความซื่อสัตย์  มั่นคง  ฯลฯ 1.2  ในการด�ำเนินชีวิตประจ�ำวัน  ชาวปกาเกอะญอ  อยู่ร่วม กันแบบเป็นพี่น้องกัน  เข้าร่วมกิจกรรมทางศาสนา  ให้ความเคารพรัก บาทหลวง  ครูคำ� สอน  ยินดีทจ่ี ะเข้ารับการอบรมก่อนแต่งงาน  เชือ่ ฟัง น�ำข้อค�ำสอน  ข้อแนะน�ำไปปฏิบัติ 1.3  คูแ่ ต่งงานเริม่ เห็นความส�ำคัญของการอบรมเรือ่ งเพศ  ว่า มีความส�ำคัญและจ�ำเป็นส�ำหรับโลกปัจจุบนั ทีว่ ฒ ั นธรรมทีด่ งี ามบางอย่าง เริ่มหมดไป  เช่น  การรักนวลสงวนตัว

ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2017/2560 109


ปัจจัยทีเ่ กีย่ วข้องกับการอบรมเรือ่ งเพศของคูแ่ ต่งงานคาทอลิก ชาวปกาเกอะญอ

2.  ปัจจัยที่เป็นอุปสรรคต่อการอบรมเรื่องเพศของคู่แต่งงาน คาทอลิก  ได้แก่ 2.1  อาจมีคู่แต่งงานที่มีเพศสัมพันธ์ก่อนเข้าพิธีแต่งงานแบบ คาทอลิก  ซึ่งเป็นสิ่งส�ำคัญที่บาทหลวงเจ้าอาวาสวัดหรือครูค�ำสอน ต้องเอาใจใส่ในรายละเอียดด้วย 2.2  คูแ่ ต่งงานทีท่ ำ� งานอยูใ่ นเมือง  มีความล�ำบากในด้านระยะ ทางและเวลาที่มาอบรม 2.3  เมื่อกล่าวถึงเรื่องเพศ  จะมีความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องของ เพศในขอบเขตทีแ่ คบ  คือ  มองว่าเป็นเรือ่ งของการมีเพศสัมพันธ์เท่านัน้ จึงเห็นว่าเป็นสิ่งที่ไม่น่าจะน�ำมาพูดกัน 2.4  ระยะเวลาในการอบรมคู่แต่งงานในกลุ่มคริสตชนชาว ปกาเกอะญอค่อนข้างน้อย  เมือ่ เทียบกับแนวปฏิบตั สิ ว่ นใหญ่ของทีอ่ นื่ ๆ ถึงแม้จะมีประเพณีวัฒนธรรมเกี่ยวกับการแต่งงาน  การอยู่ร่วมกันแล้ว ก็ตาม 3.  แนวทางการอบรมเรื่ อ งเพศของคู ่ แ ต่ ง งานคาทอลิ ก ชาว ปกาเกอะญอ  มีดังนี้ 3.1  พ่อแม่  ปู่ย่าตายาย  ควรอบรมสั่งสอน  และเป็นแบบ อย่างทีด่ ตี อ่ ลูกหลาน  ในเรือ่ งของเพศ  ทีค่ วรจะให้ความส�ำคัญ  ให้ถอื ความบริสทุ ธิจ์ นกว่าจะแต่งงาน  ปฏิบตั ติ ามวัฒนธรรมประเพณีอนั ดีงาม ของชาวปกาเกอะญอต่อไป 3.2  บาทหลวงเจ้าอาวาส  ครูคำ� สอน  และผูน้ ำ� ชุมชน  ผูห้ ลัก ผู้ใหญ่ในชุมชน  ควรมาระดมความคิด  มาฟื้นฟูและหาแนวทางการ อบรมเรื่องเพศของคู่แต่งงานคาทอลิกชาวปกาเกอะญอ  ให้เหมาะสม กับสภาพแวดล้อม  สถานการณ์ในปัจจุบัน  และเข้ากับวัฒนธรรม ประเพณีของชาวปกาเกอะญอกับข้อค�ำสอนของพระศาสนจักรคาทอลิก อย่างถูกต้อง

110 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม


ชูพงษ์ เชวงชาติตระกูล, พิเชฐ แสงเทียน, และลัดดาวรรณ์ ประสูตร์แสงจันทร์

3.3  บาทหลวงผู้ให้การอบรมควรให้ความส�ำคัญในการอบรม การจัดการอบรม  โดยอาจเชิญผู้เชี่ยวชาญ  เช่น  แพทย์  พยาบาล เจ้าหน้าทีอ่ นามัย  นักจิตวิทยา  ฯลฯ  มาร่วมให้ความรูค้ วามเข้าใจเรือ่ ง เพศในมุมมองต่างๆ  ทางทั้งวิทยาศาสตร์  จิตวิทยา  เทววิทยา  และ ตามหลักค�ำสอนพระศาสนจักรคาทอลิก 4.  ผลการตรวจสอบแนวทางการอบรมเรื่องเพศของคู่แต่งงาน คาทอลิกชาวปกาเกอะญอ ผูท้ รงคุณวุฒมิ คี วามคิดเห็นสอดคล้องกันว่าแนวทางทางการอบรม เรื่องเพศของคู่แต่งงานคาทอลิกชาวปกาเกอะญอที่เสนอมาทั้ง  3  ข้อ นั้นมีความถูกต้อง  เหมาะสม  และเป็นไปได้ ค�ำส�ำคัญ:

คู่แต่งงาน การอบรมเรื่องเพศ ชาวปกาเกอะญอ วัดนักบุญยอห์นบัปติสต์  แม่โถ

ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2017/2560 111


ปัจจัยทีเ่ กีย่ วข้องกับการอบรมเรือ่ งเพศของคูแ่ ต่งงานคาทอลิก ชาวปกาเกอะญอ

Abstract

The objectives of this research were to study: 1) Relevant factors supporting and obstructing to instructing Karen Catholic couples on Sexuality. 2) Guidelines of instruction for Karen Catholic Couples on Sexuality. The informants of studying relevant factors in instructing Karen Catholic couples on sexuality were 1) two priests of Saint John Baptist Church, Maetho 2) one community leader of Karen traditional and cultural division 3) one catechist and 4) seven Keren Catholic couples by specific selection criteria. Professionals for examining the guidelines of instruction for Karen Catholic couples were the priest attending in the cleric conference of the Diocese of ChiangMai Region The results of the research were : 1.  The factors supporting to instructing Karen Catholic couples on Sexuality as follows: 1.1 The teachings throughout culture of Keren which were inherited from the ancestors according to the teaching of the Church such as love, honesty, endurance etc. 1.2 In the daily life, Karen live together with fraternity, attend the religious activities, respect for the priests and catechist, voluntarily attend the pre-marriage instruction, obey and practice the teachings and suggestions. 1.3 The couples began to realize the importance of instruction on sexuality that was necessary in the present day when some fine cultures started to clear off such as maintain celibacy

112 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม


ชูพงษ์ เชวงชาติตระกูล, พิเชฐ แสงเทียน, และลัดดาวรรณ์ ประสูตร์แสงจันทร์

2. The factors obstructing to instructing Karen Catholic couples on Sexuality as follows: 2.1 There are some couples may have premarital sex before Catholic wedding ceremony. This situation is very essential that parish preist of catechists have to pay attention. 2.2 The couples those who work in the city have difficulty of distance and time to provide the instruction. 2.3 When saying about sex, the couples have limited understanding. That is to understand the sexuality meant only sexual intercourse which is not appropriate to speak. 2.4 The period for instructing the couples among Catholic Karen is rather short, when comparing with major practices of other places. Even the culture of marriage and living exist. 3. Guidelines of instruction for Karen Catholic couples on sexuality as follows: 3.1 The elderly parents should instruct and be the role model for the descendants about sexuality which is significant, to keep virginity until marriage, to obey the fine culture of Karen people. 3.2 The parish preist, catechists and community leaders should brainstorm to reform and find the suitable guideline of instruction for Karen Catholic couples on sexuality for present circumstances according to tradition and culture of Keren including the teaching of the Church.

ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2017/2560 113


ปัจจัยทีเ่ กีย่ วข้องกับการอบรมเรือ่ งเพศของคูแ่ ต่งงานคาทอลิก ชาวปกาเกอะญอ

3.3 The preists as pastors should pay attention for managing instruction, to invite the experts as medical doctor, nurse, health carer, psychologist, etc. to educate about sexuality in various dimensions as science, psychology, theology and Church’s techings. 4. The result of examination on guidelines of instruction for Karen Catholic couples on sexuality The professionals have the comments cohering that the three proposals of guidelines of instruction for Karen Catholic couples on sexuality are precise, proper and possible. Key Words:

114 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

Married Couples Instruction on sexuality Karen Saint John Baptist church, Maetho.


ชูพงษ์ เชวงชาติตระกูล, พิเชฐ แสงเทียน, และลัดดาวรรณ์ ประสูตร์แสงจันทร์

ความเป็นมาและความส�ำคัญของปัญหา “ชีวิตการแต่งงานทั้งหมดเป็นพระพร” ความรักแท้จริงของการแต่งงานเข้าใกล้สคู่ วาม รักของพระเจ้าและได้รับการก�ำหนดทิศทาง และท�ำให้เพิม่ พูนขึน้ โดยอ�ำนาจการไถ่บาปของ พระคริสตเจ้าและการกระท�ำให้รอดของพระ ศาสนจักรด้วยผลที่ว่า  คู่สามีภรรยานั้นถูกน�ำ ไปหาพระเจ้าอย่างมีประสิทธิภาพและได้รับ การช่วยเหลือและได้รับพละก�ำลังเข้มแข็งใน บทบาท  สง่ างามของเขาในฐานะบิดาและ มารดา  (พระสั น ตะปาปาเปาโล  ที่   6, 1695) “คู ่ แ ต่ ง งาน  ร่ ว มชี วิ ต สั ม พั น ธ์ แ ละมี ความรั ก ที่ พ ระผู ้ ส ร้ า งได้ ส ถาปนาขึ้ น   และ ก�ำหนดให้  มีกฎเกณฑ์เป็นพันธสัญญาต่อกัน กล่าวคือ  เกิดจากความสมัครใจของแต่ละฝ่าย ซึ่งเพิกถอนไม่ได้”  (คณะกรรมการคาทอลิก เพือ่ พระคัมภีร ์ ว่าด้วยบทบาทครอบครัวคริสตชน ในโลกปัจจุบนั ,  1990:ข้อ  48:1)  ทัง้ สองต่าง มอบตนเองให้แก่กนั และกันอย่างครบครัน  ไม่ เป็นสองอีกต่อไป  แต่เป็นเนื้อเดียวกันและ หย่าร้างไม่ได้  (ประมวลกฎหมายพระศาสนจักร, มาตรา  1056)  สิ่งที่พระเจ้าทรงรวมไว้แล้ว มนุ ษ ย์ อ ย่ า ได้ แ ยกเลย  (มธ  10:9)  การ แต่งงานนัน้ ต้องเกิดจากการยินยอมของทัง้ สอง ฝ่ า ย  ซึ่ ง แสดงออกโดยชอบด้ ว ยกฎหมาย ระหว่ า งบุ ค คลที่ ส ามารถแต่ ง งานได้ ต าม

กฎหมาย  การยินยอมนี้ไม่สามารถทดแทนได้ ด้วยอ�ำนาจของมนุษย์ใดๆ  (ประมวลกฎหมาย พระศาสนจั ก ร,  มาตรา  1057  ข้ อ   1) บทบาทและหน้าที่ของบาทหลวงผู้อภิบาลมี ความส�ำคัญอย่างมาก  ในการเอาใจใส่งาน อภิ บ าล  ผู ้ อ ภิ บ าลมี ห น้ า ที่ ต ้ อ งเอาใจใส่ ใ ห้ ชุมชนวัดจัดให้ความช่วยเหลือแก่บรรดาคริสตชน เพือ่ รักษาสถานภาพการแต่งงานให้มจี ติ ตารมณ์ คริสตชนและพัฒนาไปสูค่ วามครบครัน  (ประมวล กฎหมายพระศาสนจั ก ร,  มมตรา.1063) ดังนั้น  “มนุษย์ทุกคนทั้งชายและหญิง  ควร ยอมรับรูแ้ ละยอมรับเอกลักษณ์ทางเพศของตน ความแตกต่างกัน  พึ่งพาอาศัยกันทั้งร่างกาย ศีลธรรมและฝ่ายจิตใจนั้น  มุ่งสู่ผลประโยชน์ ของการแต่งงานและการพัฒนาชีวติ ครอบครัว ความกลมกลืนกันความต้องการและการช่วย เหลือกันระหว่างเพศ”  (ค�ำสอนพระศาสนจักร คาทอลิก,  1992:ข้อ  2332) “เรือ่ งเพศ  (Sexuality)  มีอทิ ธิพลเหนือ มนุษย์ทุกแง่ทุกมุมในความเป็นหนึ่งเดียวของ ร่างกายและวิญญาณ  เกีย่ วข้องโดยเฉพาะกับ ความรู้สึก  ความสามารถที่จะรักและด�ำรง เผ่าพันธุ์และในลักษณะทั่วๆ  ไปกว่านั้น  คือ เจตคติทจี่ ะสร้างความสัมพันธ์มชี วี ติ ร่วมกันคน อืน่ ”  (ค�ำสอนพระศาสนจักรคาทอลิก,  1992: ข้อ  2332)  ซึ่งเรื่องเพศนั้น  “แต่ละเพศเป็น ภาพลักษณ์แห่งอานุภาพและความอ่อนโยน

ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2017/2560 115


ปัจจัยทีเ่ กีย่ วข้องกับการอบรมเรือ่ งเพศของคูแ่ ต่งงานคาทอลิก ชาวปกาเกอะญอ

ของพระเจ้า  มีศักดิ์ศรีเท่าเทียมกัน  ถึงแม้ว่า จะในวิธที แี่ ตกต่างกันความผูกพันของชายและ หญิงในการแต่งงาน  เป็นวิธีการเลียนแบบ ความมี ใจกว้ า งและความสมบู ร ณ์ ข องพระ ผูส้ ร้างในเนือ้ หนัง  “ชายจะละบิดามารดาของ ตนไปผูกพันกับภรรยา  และทัง้ สองจะเป็นเนือ้ เดี ย วกั น ”  มนุ ษ ย์ ทั้ ง ชายและหญิ ง มี ภ าพ ลักษณ์ของพระเจ้าอยู่ในตัวตน  ทั้งสองจึงมี ศักดิศ์ รี  มีความส�ำคัญ  และมีความเสมอภาค กัน  ทั้งสองจึงต้องเคารพให้เกียรติ  ให้ความ ส�ำคัญซึ่งกันและกัน  ทั้งสองนั้นต้องไม่ละเมิด สิทธิของกันและกัน  “ไม่ควรที่ชายผู้นี้จะอยู่ คนเดียว  เราจะสร้างคูอ่ ปุ ถัมภ์ทสี่ มกับเขาขึน้ ” (ปฐม  2:18)  พระเจ้านั้นทรงมีพระประสงค์ ให้ชายและหญิงนัน้   มีความแตกต่างกันในด้าน ทางเพศ  เพื่อให้ทั้งสองเติมเต็มให้แก่กันและ กัน  ทัง้ สองต้องแสดงความสนิทสัมพันธ์ทแี่ ยก ออกจากกันไม่ได้  เพราะเพศของมนุษย์และ ความสัมพันธ์ทางเพศจึงต้องอยู่ในแผนการ สร้างของพระเจ้า  มนุษย์จะบิดเบือนแผนการ ของพระเจ้าน�ำมาเป็นแผนการของตน  และน�ำ มาเป็นประโยชน์ของตนเองไม่ได้  เพศสัมพันธ์ ที่ศักดิ์สิทธิ์และมีศักดิ์ศรีจะถูกลดคุณค่าลงมา เป็นเพียงแค่เพศบันเทิง  เพศตลกลามก  เพศ และเพศสัมพันธ์มีบทบาทเฉพาะ  มนุษย์ไม่ อาจฝื น แผนการของพระเจ้าได้  การมีเ พศ สัมพันธ์นอกเหนือจากแผนการของพระเจ้าจึง

116 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

ถือว่าผิดและเป็นบาป  พระศาสนจักรคาทอลิก จึงให้ความส�ำคัญต่อการอบรมคูแ่ ต่งงานในเรือ่ ง ต่างๆ  รวมไปถึงเรื่องของเพศด้วย  แต่ในการ อบรมเรื่องเพศนั้น  เป็นเรื่องที่ละเอียดอ่อน และมีตวั แปรต่างๆ  เข้ามาเกีย่ วข้องทีแ่ ตกต่าง กันไปในแต่ละท้องถิ่น วั ด นั ก บุ ญ ยอห์ น   บั ป ติ ส ต์   แม่ โ ถ อ� ำ เภอแม่ ล าน้ อ ย  จั ง หวั ด แม่ ฮ ่ อ งสอน เป็นวัดซึง่ อยูใ่ นสังฆมณฑลเชียงใหม่  มีจำ� นวน คริสตชนที่ล้างบาปแล้ว  2,742  คน  เป็น คริสตชนส�ำรอง  403  คน  (ข้อมูลทะเบียน ศีลล้างบาปของวัดนักบุญยอห์น  บัปติสต์แม่โถ 2016)  ทั้ ง หมดเป็ น ชนเผ่ า ปกาเกอะญอ อาชี พ ส่ ว นใหญ่   คื อ   การท� ำ เกษตรกรรม คริสตชนส่วนใหญ่มีความเชื่อศรัทธาตามหลัก ค�ำสอนของคริสต์ศาสนา  แต่อย่างไรก็ตาม ก็ยังมีความเชื่อตามประเพณีวัฒนธรรมและ ความเชื่อดั้งเดิมที่สืบทอดกันมา  โดยเฉพาะ ความเชื่ อ เกี่ ย วกั บ เรื่ อ งของเพศ  ชนเผ่ า ปกาเกอะญอ  มีมุมมองหรือทัศนคติเรื่องเพศ ทีม่ งุ่ ไปในเรือ่ งของเพศสัมพันธ์และมีความโน้ม เอียงไปในด้านลบมากกว่าบวก  มองว่าเพศ เป็นเรื่องที่ต�่ำหรือเรื่องลับเฉพาะที่ไม่สมควรที่ จะน�ำมาพูดมาสอนในที่สาธารณะ  เรื่องเพศ นั้ น จะเป็ น เรื่ อ งของคู ่ แ ต่ ง งานที่ จ ะเป็ น สามี ภรรยาเท่านัน้   รวมไปถึงข้อพึงปฏิบตั  ิ หรือข้อ ห้ามต่างๆ  ตามความเชื่อดั้งเดิม  การอบรม


ชูพงษ์ เชวงชาติตระกูล, พิเชฐ แสงเทียน, และลัดดาวรรณ์ ประสูตร์แสงจันทร์

คู่แต่งงานคาทอลิกที่เป็นชนเผ่าปกาเกอะญอ ของวัดนี้  จึงไม่ค่อยได้มีการสอนหรือแนะน�ำ เรื่องเพศที่ส�ำคัญคือ  เรื่องเพศทางเทววิทยา ตามหลักค�ำสอนของพระศาสนจักรเท่าที่ควร ซึ่งหากได้ทราบถึงปัจจัยที่เป็นอุปสรรคหรือ ปัจจัยที่จะช่วยส่งเสริมเกี่ยวกับการอบรมเรื่อง เพศให้แก่คู่แต่งงานคาทอลิกชาวปกาเกอะญอ ได้มากขึ้น  ก็จะช่วยให้การอบรมเตรียมตัว คู่แต่งงานได้อย่างสมบูรณ์ดีมากยิ่งขึ้น  ผู้วิจัย จึ ง มี ค วามสนใจที่ จ ะศึ ก ษาเรื่ อ ง  ปั จ จั ย ที่ เกี่ ย วข้ อ งการอบรมเรื่ อ งเพศของคู ่ แ ต่ ง งาน คาทอลิกชาวปกาเกอะญอ  วัดนักบุญยอห์น บัปติสต์  แม่โถ  สังฆมณฑลเชียงใหม่ วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1.  เพือ่ ศึกษาปัจจัยทีส่ ง่ เสริมและปัจจัย ที่เป็นอุปสรรคต่อการอบรมเรื่องเพศ  ของ คู่แต่งงานคาทอลิกชาวปกาเกอะญอ 2.  เพื่อศึกษาแนวทางการอบรมเรื่อง เพศของคู่แต่งงานคาทอลิกชาวปกาเกอะญอ นิยามศัพท์เฉพาะ การอบรมคูแ่ ต่งงาน  หมายถึง  การให้ ความรู ้ ข้อแนะน�ำ  ในเบือ้ งต้น  เกีย่ วกับเรือ่ ง ต่างๆ  ทีเ่ กีย่ วข้องกับการเตรียมตัวเพือ่ เข้าสูพ่ ธิ ี แต่งงาน  และการด�ำเนินชีวิตคู่ตามแนวทาง ค� ำ สอนของพระศาสนจัก รคาทอลิก   โดยมี

บาทหลวง  และ/หรือสังฆานุกร  ครูค�ำสอน เป็นผูใ้ ห้การอบรมแก่บคุ คลทีจ่ ะเข้าพิธแี ต่งงาน แบบคาทอลิก  ในงานวิจัยนี้  มุ่งศึกษาเฉพาะ เรื่ อ ง  การอบรมเรื่ อ งเพศของคู ่ แ ต่ ง งาน คาทอลิกชาวปกาเกอะญอ การอบรมเรื่องเพศ  หมายถึง  การให้ ความรูค้ วามเข้าใจ  ข้อแนะน�ำในเบือ้ งต้นเกีย่ ว กับเรื่องเพศในมุมมองทางเทววิทยา  เป็นต้น การเคารพให้เกียรติในเพศตรงข้าม  และการ มี เ พศสั ม พั น ธ์ เ พื่ อ ให้ ก� ำ เนิ ด บุ ต รที่ ม าจาก ความรั ก อย่ า งถู ก ต้ อ งตามหลั ก ค� ำ สอนของ พระศาสนจักร ปั จ จั ย ที่ ส ่ ง เสริ ม หรื อ ปั จ จั ย ที่ เ ป็ น อุ ป สรรคต่ อ การอบรมเรื่ อ งเพศ  หมายถึ ง สิ่งที่ช่วยหรือสิ่งที่ขัดขวางต่อการอบรมเรื่อง เพศของคูแ่ ต่งงานคาทอลิกชาวปกาเกอะญอใน ด้านต่างๆ  เช่น  กระบวนการจัดการอบรม เนื้อหาการอบรม ชาวปกาเกอะญอ  หมายถึง  ชนเผ่า หนึง่ ในประเทศไทย  ทีม่ คี วามเชือ่   วัฒนธรรม ประเพณี เ ฉพาะของตนเอง  ในงานวิ จั ย นี้ มุ่งศึกษาเฉพาะชาวปกาเกอะญอ  ที่นับถือ ศาสนาคริ ส ต์ นิ ก ายโรมั น คาทอลิ ก และได้ แต่ ง งานอย่ า งถู ก ต้ อ งตามค� ำ สอนของพระ ศาสนจักรคาทอลิกในการดูแลของวัดนักบุญ ยอห์ น บั ป ติ ส ต์   แม่ โ ถสั ง ฆมณฑลเชี ย งใหม่ ซึ่ ง เป็ น ชุ ม ชนคริ ส ตชนชาวปกาเกอะญอ มากกว่า  50  ปี

ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2017/2560 117


ปัจจัยทีเ่ กีย่ วข้องกับการอบรมเรือ่ งเพศของคูแ่ ต่งงานคาทอลิก ชาวปกาเกอะญอ

วัดนักบุญยอห์นบัปติสต์  แม่โถ  หมายถึง องค์กรทางศาสนาคริสต์  นิกายโรมันคาทอลิก ตัง้ อยูเ่ ลขที ่ 46  หมู ่ 3  ต�ำบลแม่โถ  อ�ำเภอ แม่ลาน้อย  จังหวัดแม่ฮ่องสอน  58120 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1.  ได้ทราบถึงศึกษาปัจจัยที่ส่งเสริม และปัจจัยทีเ่ ป็นอุปสรรคต่อการอบรมเรือ่ งเพศ ของคู่แต่งงานคาทอลิกชาวปกาเกอะญอ 2.  ได้ทราบถึงแนวทางการอบรมเรื่อง เพศของคู่แต่งงานคาทอลิกชาวปกาเกอะญอ ขอบเขตของการวิจัย เป็นการศึกษาเรื่องปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับ การอบรมเรื่ อ งเพศของคู ่ แ ต่ ง งานคาทอลิ ก ชาวปกาเกอะญอ  วัดนักบุญยอห์นบัปติสต์ แม่โถ  สังฆมณฑลเชียงใหม่ วิธีด�ำเนินการวิจัย การวิจยั นีเ้ ป็นการวิจยั เชิงคุณภาพ  โดย ใช้วธิ กี ารสัมภาษณ์บคุ คลทีเ่ กีย่ วข้องโดยตรงกับ การอบรมเรื่องเพศของคู่แต่งงานคาทอลิกชาว ปกาเกอะญอ  ได้แก่ 1)  บาทหลวงเจ้าอาวาสวัดนักบุญยอห์น บัปติสต์  แม่โถ  จ�ำนวน  2  คน 2)  ผู้น�ำชุมชนด้านประเพณีวัฒนธรรม ชาวปกาเกอะญอ  จ�ำนวน  1  คน

118 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

3)  ครูค�ำสอน  จ�ำนวน  1  คน  และ 4)  คูแ่ ต่งงานคาทอลิกชาวปกาเกอะญอ ที่แต่งงานกันมาในช่วงระยะมากกว่า  5  ปี จ� ำ นวน  7  คู ่   ซึ่ ง ได้ ม าโดยการเลื อ กแบบ เจาะจง ขั้นตอนการวิจัย  มี  3  ขั้นตอน  คือ 1)  ขั้ น ตอนการจั ด เตรี ย มโครงร่ า ง การวิจัย 2)  ขั้นตอนการด�ำเนินการวิจัย ประกอบด้วย 2.1)  การศึกษาวิเคราะห์เอกสารและ งานวิจัยที่เกี่ยวข้องเพื่อน�ำไปใช้ในการสร้าง แบบสัมภาษณ์ที่ใช้เป็นเครื่องมือในการเก็บ ข้อมูล 2.2)  การสร้างและพัฒนาเครื่องมือ ปรั บ ปรุ ง คุ ณ ภาพเครื่ อ งมื อ   โดยน� ำ แบบ สัมภาษณ์ที่สร้างขึ้นเสนอผู้เชี่ยวชาญจ�ำนวน 3  คน  และปรับปรุงแก้ไขตามค�ำแนะน�ำของ ผู้เชี่ยวชาญ 2.3)  การน�ำแบบสัมภาษณ์ไปเก็บ ข้อมูลจากกลุ่มผู้ให้ข้อมูล 2.4)  การน�ำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ เรียบเรียงอย่างเป็นระบบ 2.5)  น�ำผลการวิเคราะห์ข้อมูลจาก กลุ่มผู้ให้ข้อมูลมาสังเคราะห์แล้วสร้างเป็น แนวทางในการอบรมคู่แต่งงานคาทอลิกชาว ปกาเกอะญอ


ชูพงษ์ เชวงชาติตระกูล, พิเชฐ แสงเทียน, และลัดดาวรรณ์ ประสูตร์แสงจันทร์

2.6)  น�ำแนวทางการอบรมคูแ่ ต่งงาน คาทอลิ ก ชาวปกาเกอะญอ  เสนอต่อผู้ท รง คุ ณ วุ ฒิ   เพื่ อ ตรวจสอบแนวทางการอบรม ดังกล่าว  แล้วปรับปรุงแก้ไขตามค�ำแนะน�ำของ ผู้ทรงคุณวุฒิ  และ 2.7)  สรุปผลการศึกษา  และ 3)  ขั้นตอนการรายงานผลการวิจัย สรุปผลการวิจัย 1.  ปัจจัยทีส่ ง่ เสริมการอบรมเรือ่ งเพศ ของคู่แต่งงานคาทอลิก  ได้แก่ 1.1  ค�ำสอนตามประเพณีวัฒนธรรม ท้องถิ่นของชาวปกาเกอะญอ  ที่ได้รับจากพ่อ แม่  ปู่ย่าตายาย  สอดคล้องกับหลักค�ำสอน ของพระศาสนจัก ร  เช่น  ความรัก   ความ ซื่อสัตย์  การร่วมทุกข์ร่วมสุข  การมีบุตรและ การดูแลบุตรอย่างดี  การประกอบอาชีพที่ สุจริต  มั่นคง 1.2  ในการด� ำ เนิ น ชี วิ ต ประจ� ำ วั น ชาวปกาเกอะญอ  อยู่ร่วมกันแบบเป็นพี่น้อง กัน  ให้ความร่วมมือกับครอบครัวอื่นๆ  ใน ชุ ม ชน  และเข้ า ร่ ว มกิ จ กรรมทางศาสนา กิจกรรมของชุมชนและพระศาสนจักรมาอย่าง สม�่ ำ เสมอ  ให้ ค วามเคารพรั ก บาทหลวง ครูคำ� สอน  เมือ่ ต้องมีการเข้ารับการอบรมก่อน พิ ธี แ ต่ ง งงาน  ก็ ยิ น ดี ที่ จ ะเข้ า รั บ การอบรม และให้ ค วามเคารพเชื่ อ ฟั ง   น� ำ ข้ อ ค� ำ สอน ข้อแนะน�ำไปปฏิบัติ

1.3  คู่แต่งงานเริ่มเห็นความส�ำคัญ ของการอบรมเรื่องเพศ  ว่ามีความส�ำคัญและ จ�ำเป็นส�ำหรับโลกปัจจุบันที่วัฒนธรรมที่ดีงาม บางอย่างเริ่มหมดไป  เช่น  การรักนวลสงวน ตัว 2.  ปัจจัยที่เป็นอุปสรรคต่อการอบรม เรื่องเพศของคู่แต่งงานคาทอลิก  ได้แก่ 2.1  คู่สามีภรรยาที่เข้าพิธีแต่งงาน แบบชาวปกาเกอะญอมาก่ อ น  เข้ า พิ ธี ก าร แต่งงานแบบคาทอลิก  หากมีระยะเวลาห่าง กั น หลายวั น   หรื อ หากเป็ น คู ่ แ ต่ ง งานที่ ไ ป ท�ำงานและใช้ชีวิตอยู่ร่วมกันในเมืองมาก่อน อาจมีประเด็นเกี่ยวกับการมีเพศสัมพันธ์ก่อน เข้าพิธแี ต่งงานแบบคาทอลิก  ซึง่ เป็นสิง่ ส�ำคัญ ที่บาทหลวงเจ้าอาวาสวัดหรือครูค�ำสอน  ต้อง เอาใจใส่ในรายละเอียดด้วย 2.2  คู ่ แ ต่ ง งานที่ ไ ปพั ก อาศั ย และ ท�ำงานอยู่ในเมือง  มีข้อจ�ำกัดด้านเวลาและมี ความยากล�ำบากในการเดินทางเพือ่ จะกลับมา รั บ การอบรมที่ เขตวั ด ตั ว เอง  เพราะตาม ธรรมเนียมปฏิบัติที่ผ่านมาการอบรมเรื่องการ แต่งงานของชาวปกาเกอะญอนั้น  ต้องอบรม และประกอบพิธีแต่งงานที่วัดที่ฝ่ายหญิงสังกัด อยู่เท่านั้น 2.3  เมือ่ กล่าวถึงเรือ่ งเพศ  จะมีความ เข้าใจเกี่ยวกับเรื่องของเพศในขอบเขตที่แคบ คื อ   มองว่ า เป็ นเรื่อ งของการมี เ พศสั ม พั นธ์

ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2017/2560 119


ปัจจัยทีเ่ กีย่ วข้องกับการอบรมเรือ่ งเพศของคูแ่ ต่งงานคาทอลิก ชาวปกาเกอะญอ

เท่านัน้   ซึง่ เรือ่ งของเพศสัมพันธ์ชาวปกาเกอะญอ จะให้ ค วามเคารพและไม่ น� ำ มาพู ด ในที่ สาธารณชน  หรือท�ำลายให้เสียหายแต่เป็น สิ่งที่ต้องสงวนไว้  เพราะเป็นสิ่งที่ลึกลับและ ศักดิ์สิทธิ์ 2.4  ระยะเวลาในการอบรมคูแ่ ต่งงาน ในกลุม่ คริสตชนชาวปกาเกอะญอค่อนข้างน้อย เมื่ อ เที ย บกั บ แนวปฏิ บั ติ ส ่ ว นใหญ่ ข อง สั ง ฆมณฑลอื่ น ๆ  ถึ ง แม้ จ ะมี ป ระเพณี วัฒนธรรมเกีย่ วกับการแต่งงาน  การอยูร่ ว่ มกัน แล้วก็ตาม 3.  แนวทางการอบรมเรื่องเพศของ คู่แต่งงานคาทอลิกชาวปกาเกอะญอ  มีดังนี้ 3.1  พ่อแม่  ปูย่ า่ ตายาย  ควรอบรม สั่งสอน  และเป็นแบบอย่างที่ดีต่อลูกหลาน ในเรื่องของเพศ  ที่ควรจะให้ความส�ำคัญ  ให้ ถือความบริสทุ ธิจ์ นกว่าจะแต่งงาน  ปฏิบตั ติ าม วัฒนธรรมประเพณีอนั ดีงามของชาวปกาเกอะญอ ต่อไป 3.2  บาทหลวง  ครู ค� ำ สอน  ผู ้ น� ำ หมูบ่ า้ น  และคูแ่ ต่งงาน  ควรมาพูดคุย  ระดม สมอง  เพือ่ หาแนวทางการอบรมเรือ่ งเพศของ คูแ่ ต่งงานคาทอลิกปกาเกอะญอ  ให้สอดคล้อง กั บ วั ฒ นธรรม  และเหมาะสมกั บ สภาพ แวดล้อม  สถานการณ์ในปัจจุบัน  เช่น  เพื่อ ความสะดวกในการอบรม  คูแ่ ต่งงาน  อาจจะ ไปขอรับการอบรมจากวัดอืน่ ทีอ่ ยูใ่ กล้ทพี่ กั หรือ

120 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

ที่ท�ำงานของคู่แต่งงาน  แล้วมาประกอบพิธี แต่งงานที่วัดของฝ่ายหญิง  ตามธรรมเนียม ปฏิบตั ขิ องชาวปกาเกอะญอ  ทีต่ อ้ งพิธแี ต่งงาน ที่วัดที่ฝ่ายหญิงสังกัดอยู่ 3.3  บาทหลวง  ควรให้ความส�ำคัญ ในการอบรม  การจั ด การอบรม  โดยอาจ เชิ ญ ผู ้ เชี่ ย วชาญ  เช่ น   แพทย์   พยาบาล เจ้าหน้าทีอ่ นามัย  นักจิตวิทยา  ฯลฯ  มาร่วม ให้ความรู้ความเข้าใจเรื่องเพศในมุมมองต่างๆ ทางทั้ ง วิ ท ยาศาสตร์   จิ ต วิ ท ยา  เทววิ ท ยา และตามค�ำสอนพระศาสนจักรซึ่งการอบรม โดยบาทหลวงหรือครูค�ำสอนนั้น  จะเป็นการ อบรมเรื่องเพศที่ไม่ได้มุ่งไปในเรื่องของเพศ สัมพันธ์  แต่จะมุ่งให้ท�ำความเข้าใจเรื่องของ การมีชวี ติ คูส่ มรส  ศักดิศ์ รีของมนุษย์  ศักดิศ์ รี ของเพศและเทววิทยาเรือ่ งเพศ  เน้นเรือ่ งความ รักของคู่สมรส  ความรักในครอบครัว  การ เลี้ยงดูบุตร  และการดูแลเอาใจใส่  ซึ่งมนุษย์ ทั้งชายและหญิง  ควรยอมรับรู้และยอมรับ เอกลักษณ์ทางเพศของตน  ความแตกต่างและ กานพึ่ ง พาอาศั ย กั น ทั้ ง ร่ า งกายและจิ ต ใจ ศีลธรรมและฝ่ายจิตใจนั้น  มุ่งสู่ผลประโยชน์ ของการแต่งงานและการพัฒนาชีวติ ครอบครัว ความกลมกลืนกันความต้องการและช่วยเหลือ กันระหว่างเพศนั้น  รวมไปถึงการยืนยันหลัก ค�ำสอนของพระศาสนจักรต่างๆ  เช่น  ในเรือ่ ง การคุ ม ก� ำ เนิ ด   การท� ำ หมั น   ที่ ไ ม่ ส ามารถ


ชูพงษ์ เชวงชาติตระกูล, พิเชฐ แสงเทียน, และลัดดาวรรณ์ ประสูตร์แสงจันทร์

ท� ำ ได้   แม้ แ พทย์ ห รื อ เจ้ า หน้ า ที่ อ นามั ย จะ แนะน�ำให้ท�ำ  ก็ตาม  ฉะนั้นการอบรมเป็น เรื่องส�ำคัญมากที่จะต้องร่วมมือทั้งสองฝ่าย ทั้งผู้ให้และผู้รับการอบรม 4.  ผลการตรวจสอบแนวทางการ อบรมเรื่องเพศของคู่แต่งงานคาทอลิกชาว ปกาเกอะญอ ผู้ทรงคุณวุฒิมีความคิดเห็นสอดคล้อง กันว่า  แนวทางทางการอบรมเรื่องเพศของ คู่แต่งงานคาทอลิกชาวปกาเกอะญอ  ที่เสนอ ทั้ง  3  ข้อนั้น  มีความถูกต้อง  เหมาะสม และเป็นไปได้ อภิปรายผล 1.  ปัจจัยทีส่ ง่ เสริมการอบรมเรือ่ งเพศ ของคู่แต่งงานคาทอลิก  ได้แก่  1)  ค�ำสอน ตามวัฒนธรรมท้องถิ่นของชาวปกาเกอะญอ ทีไ่ ด้รบั จากพ่อแม่  ปูย่ า่ ตายาย  สอดคล้องกับ หลักค�ำสอนของพระศาสนจักร  2)  ในการ ด� ำ เนิ น ชี วิ ต ประจ� ำ วั น   ชาวปกาเกอะญอ อยูร่ ว่ มกันแบบเป็นพีน่ อ้ งกัน  เข้าร่วมกิจกรรม ทางศาสนา  กิ จ กรรมของชุ ม ชนและพระ ศาสนจั ก ร  ให้ ค วามเคารพรั ก บาทหลวง ครูค�ำสอน  และ  3)  คู่แต่งงานเริ่มเห็นความ ส� ำ คั ญ ของการอบรมเรื่ อ งเพศ  ว่ า มี ค วาม ส� ำ คั ญ และจ� ำ เป็ น ส� ำ หรั บ โลกปั จ จุ บั น ที่ วัฒนธรรมที่ดีงามบางอย่างเริ่มหมดไป  เช่น

การรักนวลสงวนตัว  ที่เป็นเช่นนี้  อาจเป็น เพราะ  ชาวปกาเกอะญอ  มีวัฒนธรรมความ เป็นอยู่กันแบบพี่แบบน้อง  รักใคร่  ใกล้ชิด สนิทสนมกัน  ยึดถือยึดมั่นในขนบธรรมเนียม วั ฒ นธรรมที่ บ รรพบุ รุ ษ สั่ ง สอนอบรมกั น มา รุ ่ น สู ่ รุ ่ น   ไม่ ว ่ า จะเป็ น ในเรื่ อ งของความรั ก ความซื่ อ สั ต ย์   สุ จ ริ ต   มั่ น คง  การรั ก นวล สงวนตัว  การสัตย์สื่อต่อสามีภรรยา  การท�ำ สิ่งที่ไม่ขัดต่อจารีตประเพณี  ฯลฯ ความรัก  ความซือ่ สัตย์  เป็นค�ำสอนใน วัฒนธรรมประเพณีของชาวปกาเกอะญอ  ทีไ่ ด้ รั บ จากพ่ อ แม่ ปู ่ ย ่ า ตายายมาช้ า นานนั้ น สอดคล้องกับหลักค�ำสอนของพระศาสนจักร พระสันตะปาปาตรัสว่า  “ความรักท�ำให้บงั เกิด ชีวติ เสมอ”  กล่าวคือ  จุดหมายปลายทางของ ชีวติ ครอบครัวคือการให้กำ� เนิดบุตรและพ่อแม่ ต้องเลี้ยงดูบุตรด้วยความรัก  “ครอบครัวเป็น สถานทีม่ บี รรยากาศซึง่ ไม่เพียงแต่จะก่อให้เกิด ชีวติ ใหม่เท่านัน้   แต่ตอ้ งต้อนรับชีวติ ทีเ่ กิดใหม่ ในฐานะทีเ่ ป็นของขวัญจากพระเจ้าด้วย”  และ บทบาทหน้าทีข่ องครอบครัว  “ครอบครัวใหญ่ จึงเป็นความชืน่ ชมยินดีสำ� หรับพระศาสนจักร” และ  “ความรักระหว่างชายและหญิง”  เป็น สัญลักษณ์ของความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์ กับพระเจ้าเสมอ  ความรักอันซื่อสัตย์ก็เป็น สัญลักษณ์ของความซื่อสัตย์อย่างสม�่ำเสมอ ที่เต็มไปด้วยชีวิตชีวาของพระเจ้าที่มีต่อมนุษย์ (พระสันตะปาปา  ยอห์น  ปอล  ที ่ 2,  1981)

ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2017/2560 121


ปัจจัยทีเ่ กีย่ วข้องกับการอบรมเรือ่ งเพศของคูแ่ ต่งงานคาทอลิก ชาวปกาเกอะญอ

คู่แต่งงานเริ่มเห็นความส�ำคัญของการ อบรมเรื่องเพศ  ว่ามีความส�ำคัญและจ�ำเป็น ส�ำหรับโลกปัจจุบันที่วัฒนธรรมที่ดีงามบาง อย่างเริ่มหมดไป  เช่น  การรักนวลสงวนตัว ซึ่ ง ในค� ำ สอนของพระศาสนจั ก รคาทอลิ ก ได้กล่าวว่า  “มนุษย์ทุกคนทั้งชายและหญิง ควรยอมรับรู้และยอมรับเอกลักษณ์ทางเพศ ของตนความแตกต่างและการพึ่งพาอาศัยกัน ทั้งร่างกายศีลธรรมและฝ่ายจิตใจนั้น  มุ่งสู่ผล ประโยชน์ของการแต่งงานและการพัฒนาชีวิต ครอบครัวความกลมกลืนกันของคู่สามีภรรยา และสังคมขึ้นอยู่กับวิธีซึ่งมีการพึ่งพาอาศัยกัน ความต้องการและการช่วยเหลือกันระหว่าง เพศ”  (ค� ำ สอนพระศาสนจั ก รคาทอลิ ก , 1992:  ข้อ  2332)  เพศเป็นบ่อเกิดแห่งชีวิต ฉะนั้นพระศาสนจักรจึงให้ความส�ำคัญและให้ ความเคารพเรือ่ งเพศมาก  เพศเป็นสิง่ ทีต่ อ้ งรัก และเคารพซึง่ กันและกัน  เพศมีความแตกต่าง กันระหว่างเพศชายกับเพศหญิงซึง่ เรือ่ งเพศนัน้ มิได้สร้างความแตกแยกหรือท�ำลายกัน  แต่ เพศนัน้ ต่างมีบทบาทหน้าทีข่ องมันเองตลอดจน น�ำไปสู่บุคลิกภาพที่แตกต่างกัน  และความ แตกต่างกันนั้นจะน�ำไปสู่ความรัก  ความเป็น หนึ่งเดียวกัน 2.  ปัจจัยที่เป็นอุปสรรคต่อการอบรม เรื่ อ งเพศของคู ่ แ ต่ ง งานคาทอลิ ก   ได้ แ ก่ 1)  อาจมีเรื่องของการมีเพศสัมพันธ์ก่อนเข้า

122 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

พิธแี ต่งงานแบบคาทอลิก  2)  คูแ่ ต่งงานอาศัย และท�ำงานอยู่ในเมือง  มีความล�ำบากในด้าน ระยะทางและเวลา  3)  เมื่อกล่าวถึงเรื่องเพศ จะความเข้าใจเกีย่ วกับเรือ่ งของเพศในขอบเขต ที่แคบ  คือ  มองว่าเป็นเรื่องของการมีเพศ สัมพันธ์เท่านั้น  และ  4)  ระยะเวลาในการ อบรมคูแ่ ต่งงานในกลุม่ คริสตชนชาวปกาเกอะญอ ค่อนข้างน้อย  ที่เป็นเช่นนี้  อาจเป็นเพราะ ชีวติ ความเป็นอยูข่ องชาวปกาเกอญะ  ให้ความ เคารพในเรื่องของเพศ  ไม่น�ำมากล่าวถึงในที่ สาธารณะ  จะเป็นเรื่องของพ่อแม่ที่ให้การ อบรมสั่งสอนให้ประพฤติปฏิบัติในสิ่งที่ถูกต้อง เมื่อจะเข้าร่วมพิธีแต่งงานก็ยินดีที่จะมาเข้ารับ การอบรมตามที่วัดก�ำหนด  หากแต่ด้วยการ ด�ำเนินชีวิตประจ�ำวันของบางคู่  เช่น  คู่ที่เดิน ทางไปพั ก อยู ่ ใ นเมื อ งเพื่ อ ท� ำ งาน  เพราะที่ ท�ำงานห่างไกลจากบ้าน  เวลาต้องมาเข้ารับ การอบรมก็ตอ้ งใช้เวลาในการเดินทางทีม่ ากพอ สมควร  เวลาในการอบรมจึงท�ำได้น้อยกว่า หรือคู่สามีภรรยาที่เข้าพิธีแต่งงานแบบชาว ปกาเกอะญอมาก่อนเข้าพิธีการแต่งงานแบบ คาทอลิก  หากมีระยะเวลาห่างกันหลายวัน อาจมีประเด็นเกี่ยวกับการมีเพศสัมพันธ์ก่อน เข้าพิธแี ต่งงานแบบคาทอลิก  ซึง่ เป็นสิง่ ส�ำคัญ ที่บาทหลวงเจ้าอาวาสวัดหรือครูค�ำสอน  ต้อง เอาใจใส่ในรายละเอียดด้วย  ซึ่งสอดคล้องกับ พระสมณสาสน์เตือนใจ  (Amoris  Laetitia)


ชูพงษ์ เชวงชาติตระกูล, พิเชฐ แสงเทียน, และลัดดาวรรณ์ ประสูตร์แสงจันทร์

ความชื่ น ชมยิ น ดี แ ห่ ง ความรั ก ในบทที่   4 มุ ม มองและเป้ า หมายของการอภิ บ าลเพื่ อ เสริมสร้างครอบครัวให้เข้มแข็งและเกิดผลที่ สอดคล้ อ งกั บ แผ่ น ของพระเจ้ า   และชี วิ ต ครอบครัวนั้นมีความซับซ้อนตามที่ครอบครัว ก�ำลังเผชิญหน้าอยู่ในปัจจุบัน  (ข้อ  202) การมีมมุ มองเรือ่ งเพศในขอบเขตทีแ่ คบ เฉพาะเรือ่ งเพศสัมพันธ์  ทีช่ าวปกาเกอะญอให้ ความเคารพ  และน�ำมาพูด  หรือท�ำลายให้ เสียหาย  ในพระสมณสาสน์เตือนใจ  (Amoris Laetitia)  ความชื่ น ชมยิ น ดี แ ห่ ง ความรั ก ข้อที ่ 280,283  ในการยอมรับเรือ่ งเพศศึกษา สมเด็จพระสันตะปาปาทรงกล่าวว่า  ความ จ�ำเป็นเรือ่ งนีค้ งมีอยู ่ และเราควรถามตัวเองว่า ถ้าสถาบันการศึกษาต่างๆ  ของเราน้อมรับการ ท้าทายนี ้ ในยุคทีเ่ รือ่ งเพศถูกถือว่าเป็นเรือ่ งไร้ สาระและต�่ำช้า  เราควรจะด�ำเนินการอบรม ตนเรือ่ งเพศศึกษาทีด่  ี ในบริบททีก่ ว้างกว่าของ การอบรมเพือ่ ความรักและเพือ่ การมอบตนเอง ซึ่งกันและกัน ระยะเวลาในการอบรมค่อนข้างน้อย ซึ่งในการอบรมเตรียมให้พร้อมที่จะเข้าสู่ชีวิต สมรสและชีวิตครอบครัวเป็นสิ่งที่จ�ำเป็นและ ส�ำคัญยิ่ง  ในบางที่บางแห่งครอบครัวต่างๆ นั้น  ยังรักษาวัฒนธรรมประเพณีโบราณเกี่ยว กับชีวิตสมรสและชีวิตครอบครัว  การพัฒนา ความเจริญต่างๆ  น�ำมาสู่การเปลี่ยนแปลง

ต่างๆ  ที่เกิดขึ้น  ในสังคมสมัยใหม่แทบทุก แห่ ง เรี ย กร้ อ งให้ ค รอบครั ว   สั ง คม  และ พระศาสนจักร  ต้องมีความพยายามที่จะต้อง เตรียมในการเข้าสู่ชีวิตคู่สมรสอย่างเป็นระบบ เป็นขั้นเป็นตอนอย่างต่อเนื่อง  (พระสมณสาสน์   Familiaris  Consortio,1984: ข้อ  66) 3.  แนวทางการอบรมเรื่องเพศของ คูแ่ ต่งงานคาทอลิกชาวปกาเกอะญอ  ซึง่ เป็น แนวทางที่ต้องเกิดจากความช่วยเหลือส่งเสริม สนับสนุนกันทุกฝ่าย  ทั้งด้าน  1)  ครอบครัว พ่ อ แม่   ปู ่ ย ่ า   ตายาย  2)  บาทหลวง เจ้ า อาวาส  ครู ค� ำ สอน  ผู ้ น� ำ ชุ ม ชน  และ 3)  บาทหลวงผู้อภิบาล  และผู้เชี่ยวชาญใน ด้านต่างๆ  ที่จะช่วยส่งเสริมให้ความรู้ความ เข้ า ใจในเรื่ อ งเพศในมุ ม มองต่ า งๆ  ได้ ดี ขึ้ น ทั้งด้านการแพทย์จิตวิทยา  เทววิทยา  และ ตามค�ำสอนของพระศาสนจักร  ทั้งนี้อาจเป็น เพราะครอบครัวนั้นเป็นรากฐานส�ำคัญในการ อบรม  ต่อมาจึงเป็นหน้าทีข่ องวัด  และหน่วย งานอื่ น ๆ  ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง  มาช่ ว ยส่ ง เสริ ม สนั บ สนุ น   เติ ม เต็ ม ความรู ้   ความเข้ า ใจ ทัศนคติที่ดี  ที่ถูกต้องตรงกัน  เป็นแนวทาง การอบรมเรื่ อ งเพศของคู ่ แ ต่ ง งานคาทอลิ ก ปกาเกอะญอ  ทีส่ อดคล้องกับวัฒนธรรม  และ เหมาะสมกับสภาพแวดล้อม  สถานการณ์ใน ปัจจุบัน  และอนาคตสอดคล้องกับข้อค�ำสอน

ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2017/2560 123


ปัจจัยทีเ่ กีย่ วข้องกับการอบรมเรือ่ งเพศของคูแ่ ต่งงานคาทอลิก ชาวปกาเกอะญอ

ของพระศาสนจั ก รคาทอลิ ก   ตามที่ พ ระ สมณสาสน์   Familiaris  Consortio ในโลกสั ง คมปั จ จุ บั น   สภาพสั ง คม  สภาพ แวดล้อม  สภาพครอบครัว  และวัฒนธรรม ประเพณี ต ่ า งๆ  ที่ ห ลากหลายมี ก ารพั ฒ นา เจริ ญ เติ บ โตอย่ า งรวดเร็ ว   ซึ่ ง การพั ฒ นา สิง่ ต่างๆ  เหล่านีส้ ง่ ผลกระทบมาถึงการด�ำเนิน ชีวิตของมนุษย์อย่างมาก  โดยเฉพาะสถาบัน ครอบครั ว   ชี วิ ต สมรสและชี วิ ต ครอบครั ว พระศาสนจักรจึงให้ความส�ำคัญและตระหนัก อยู่เสมอว่า  การสมรสและสถาบันครอบครัว เป็ น คุ ณ ค่ า สู ง สุ ด อย่ า งหนึ่ ง ของมนุ ษ ยชาติ พระศาสนจั ก รมี ค วามห่ ว งใยเป็ น พิ เ ศษต่ อ เยาวชน  ผูซ้ งึ่ ก�ำลังย่างเข้าสูก่ ารสมรสและชีวติ ครอบครัว  ในทีน่ คี้ รอบครัวคริสตชนพร้อมกับ ชุมชนของพระศาสนจักรก็ตอ้ งตระหนักด้วยว่า ตนเองต้ อ งมี พั น ธะผู ก พั น ในการเตรี ย มการ สมรสทุกขั้นตอน  ในงานอภิบาลครอบครัว ต้องค�ำนึงถึงบทบาทหน้าที่พิเศษแห่งภารกิจ ของคูส่ มรสและครอบครัวคริสตชนเนือ่ งมาจาก อานุ ภ าพของพระหรรษทานที่ไ ด้รับจากศีล สมรส  (พระสมณสาสน์  Familiaris  Consortio,  ข้อ  69) ข้อเสนอแนะ ข้อเสนอแนะในการน�ำผลวิจัยไปใช้ 1.  พ่ อ แม่  ปู่ย่าตายาย  ควรอบรม

124 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

สั่งสอน  และเป็นแบบอย่างที่ดีต่อลูกหลาน ในเรื่ อ งของเพศ  ที่ ค วรจะให้ ค วามส� ำ คั ญ ให้ถือความบริสุทธิ์จนกว่าจะแต่งงาน  ปฏิบัติ ตามวั ฒ นธรรมประเพณี อั น ดี ง ามของชาว ปกาเกอะญอ  ต่อไป 2.  บาทหลวงเจ้าอาวาส  ครูค�ำสอน และผู้น�ำชุมชน  ผู้หลักผู้ใหญ่  ควรมาระดม ความคิด  มาฟื้นฟูและหาแนวทางการอบรม เรื่ อ งเพศของคู ่ แ ต่ ง งานคาทอลิ ก ชาว ปกาเกอะญอให้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อม สถานการณ์ในปัจจุบัน  และเข้ากับวัฒนธรรม ประเพณีของชาวปกาเกอะญอกับข้อค�ำสอน ของพระศาสนจักรคาทอลิกอย่างถูกต้อง  เช่น เพื่อความสะดวกในการอบรมคู่แต่งงาน  อาจ จะไปขอรับการอบรมจากวัดอื่นที่อยู่ใกล้ที่พัก หรือที่ท�ำงานของคู่แต่งงาน  แล้วมาประกอบ พิธแี ต่งงานทีว่ ดั ของฝ่ายหญิง  ตามธรรมเนียม ปฏิ บั ติ ข องชาวปกาเกอะญอ  ที่ ต ้ อ งท� ำ พิ ธี แต่งงานที่วัดของฝ่ายหญิงสังกัดอยู่ 3.  บาทหลวง  ควรให้ความส�ำคัญใน การอบรม  การจัดการอบรม  โดยอาจเชิญ ผู ้ เ ชี่ ย วชาญ  เช่ น   แพทย์   พยาบาล เจ้าหน้าทีอ่ นามัย  นักจิตวิทยา  ฯลฯ  มาร่วม ให้ความรู้ความเข้าใจเรื่องเพศในมุมมองต่างๆ ทางทั้ ง วิ ท ยาศาสตร์   จิ ต วิ ท ยา  เทววิ ท ยา และตามค�ำสอนพระศาสนจักรซึ่งการอบรม โดยบาทหลวงหรือครูค�ำสอนนั้น  จะเป็นการ


ชูพงษ์ เชวงชาติตระกูล, พิเชฐ แสงเทียน, และลัดดาวรรณ์ ประสูตร์แสงจันทร์

อบรมเรื่องเพศที่ไม่ได้มุ่งไปในเรื่องของเพศ สัมพันธ์  แต่จะมุ่งให้ท�ำความเข้าใจเรื่องของ การมีชวี ติ คูส่ มรส  ศักดิศ์ รีของมนุษย์  ศักดิศ์ รี ของเพศและเทววิทยาเรือ่ งเพศ  เน้นเรือ่ งความ รักของคู่สมรส  ความรักในครอบครัว  การ เลี้ยงดูบุตร  และการดูแลเอาใจใส่  ซึ่งมนุษย์ ทั้งชายและหญิง  ควรยอมรับรู้และยอมรับ เอกลั ก ษณ์ ท างเพศของตน  ความแตกต่ า ง และกันพึ่งพาอาศัยกันทั้งร่างกายและจิตใจ ศีลธรรมและฝ่ายจิตใจนั้น  มุ่งสู่ผลประโยชน์ ของการแต่งงานและการพัฒนาชีวติ ครอบครัว ความกลมกลืนกันความต้องการและช่วยเหลือ กันระหว่างเพศนั้น  รวมไปถึงการยืนยันหลัก ค�ำสอนของพระศาสนจักรต่างๆ  เช่น  ในเรือ่ ง การคุ ม ก� ำ เนิ ด   การท� ำ หมั น   ที่ ไ ม่ ส ามารถ ท� ำ ได้   แม้ แ พทย์ ห รื อ เจ้ า หน้ า ที่ อ นามั ย จะ แนะน�ำให้ท�ำก็ตาม  ฉะนั้นการอบรมเป็นเรื่อง ส� ำ คั ญ มากที่ จ ะต้องร่วมมือทั้งสองฝ่ายทั้งผู ้ ให้การอบรมและผู้รับการอบรม

ข้อเสนอแนะในการวิจัยครั้งต่อไป 1.  ควรจะมีการศึกษาวิจัย  รูปแบบ การอบรมเรือ่ งเพศทางเทววิทยาของคูแ่ ต่งงาน คาทอลิกชาวปกาเกอะญอ  ทั้งคู่แต่งงานชาว ปกาเกอะญอทีเ่ ป็นคาทอลิกทัง้ สองคน  หรือที่ มีคู่แต่งงานนับถือศาสนาอื่นๆ  หรือคู่แต่งงาน มาจากชนเผ่าอืน่   เช่น  ลาฮู  อาข่า  ม้ง  คน เมือง  ฯลฯ  เป็นต้นควรศึกษาในเรื่องของ เนื้ อ หา  กิ จ กรรม  วิ ธี ก าร  ระยะเวลา  ที่ เหมาะสมสอดคล้องกับบริบทและวัฒนธรรม ประเพณีของชาวปกาเกอะญอ 2.  ควรศึ ก ษาเปรี ย บเที ย บ  หลั ก ค� ำ สอนเรื่ อ งเพศทางเทววิ ท ยาของพระ ศาสนจักรคาทอลิกประเทศไทย  และของชน เผ่าปกาเกอะญอที่ถ่ายทอดกันมา  เพื่อน�ำมา ใช้ประโยชน์ในด้านการเสริมสร้างเนือ้ หาในการ อบรมคู่แต่งงานในเรื่องเพศได้ดีมากยิ่งขึ้น

ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2017/2560 125


ปัจจัยทีเ่ กีย่ วข้องกับการอบรมเรือ่ งเพศของคูแ่ ต่งงานคาทอลิก ชาวปกาเกอะญอ

บรรณานุกรม เปาโลที ่ 6,  พระสันตะปาปา.  พระสมณสาสน์ เรื่ อ งชี วิ ต มนุ ษ ย์ .   แปลโดย  คณะ กรรมการส่งเสริมชีวติ ครอบครัว,  1968. พระศาสนจั ก รโรมั น คาทอลิ ก .  ประมวล กฎหมายพระศาสนจักรโรมันคาทอลิก. Code of law, 2526. แปลโดย  คณะ กรรมการที่ปรึกษาด้านกฎหมายพระ ศานจั ก รภายใต้ ส ภาพระสั ง ฆราช คาทอลิกแห่งประเทศไทย.  กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์อัสสัมชัญ, 2541. ฟรังซิส,  พระสันตะปาปา.  พระสมณลิขิต เตือนใจ  ความปีติยินดีแห่งความรัก Amoris  Laetitia.  จัดพิมพ์โดยสภา ประมุขบาทหลวงโรมันคาทอลิกแห่ง ประเทศไทย สื่ อ มวลชลคาทอลิ ก ประเทศไทย. กรุงเทพฯ: 2017. ยอห์น ปอลที่ 2, พระสันตะปาปา.  ค�ำสอน พระศาสนจั ก รคาทอลิ ก .  ประคิ ณ ชุมสาย  ณ อยุธยา ผู้แปล. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์อัสสัมชัญ, 2558. _____, พระสมณสาสน์เรือ่ งครอบครัวในโลก ปั จ จุ บั น . Familiaris Consortio, 2524. แปลโดยแบร์ น าร์ ด กิ ล แม็ ง และคณะ. นครปฐม: วิทยาลัยแสงธรรม, 2527.

126 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม


ระบบและกลไกการบริหารจัดการหลักสูตร การพัฒนาภาวะผู้นำ�การศึกษาคาทอลิก

Catholic Education Leadership Development. บาทหลวง ผศ.ดร.ชาติชาย พงษ์ศิริ

* บาทหลวงในคริสต์ศาสนจักรโรมันคาทอลิก สังกัดสังฆมณฑลจันทบุรี * อธิการบดี วิทยาลัยแสงธรรม

บาทหลวง ผศ.ดร.วัชศิลป์ กฤษเจริญ

* บาทหลวงในคริสต์ศาสนจักรโรมันคาทอลิก สังกัดสังฆมณฑลราชบุรี * หัวหน้าสาขาวิชาคริสตศาสนศึกษา วิทยาลัยแสงธรรม

บาทหลวง ผศ.วสันต์ พิรุฬห์วงศ์

* บาทหลวงในคริสต์ศาสนจักรโรมันคาทอลิก สังกัดคณะรอยแผลศักดิ์สิทธิ์ * อาจารย์ประจ�ำหลักสูตรศาสนศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทววิทยา วิทยาลัยแสงธรรม

บาทหลวง ดร.พิเชฐ แสงเทียน

* บาทหลวงในคริสต์ศาสนจักรโรมันคาทอลิก สังกัดคณะเยสุอิต * อาจารย์ประจ�ำหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทววิทยาจริยธรรม วิทยาลัยแสงธรรม

อ.ศรัญญู พงศ์ประเสริฐสิน

* อาจารย์ประจ�ำหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาคริสตศาสนศึกษา วิทยาลัยแสงธรรม

Rev. Asst. Prof. Dr.Chatchai Phongsiri

* Reverend in Roman Catholic Church, Chanthaburi Diocese. * President of Saengtham College.

Rev. Asst. Prof. Dr.Watchasin Kritjaroen

* Reverend in Roman Catholic Church, Ratchaburi Diocese. * Assistant Professor, Christian Studies Faculty of Religious, Saengtham College.

Rev. Asst. Prof. Wasan Pirulhwong, C.S.S.

* Reverend in Roman Catholic Church, Stigmatine. * Lecturer of The Bachelor of Divinity Program in Thology, Saengtham College.

Rev. Dr.Pichet Saengthien, S.J.

* Reverend in Roman Catholic Church, Jesuit. * Lecturer of The Master of Arts Program in Moral Theology, Saengtham College.

Saranyu Pongprasertsin

* Lacturer, Christian Studies Faculty of Religious, Saengtham College.


ระบบและกลไกการบริหารจัดการหลักสูตรการพัฒนาภาวะผูน้ ำ� การศึกษาคาทอลิก

บทคัดย่อ

การพัฒนาภาวะผู้น�ำ  (Leadership  Development)  หรือ ความเป็นผู้น�ำ  เป็นองค์ประกอบและปัจจัยส�ำคัญยิ่งที่จะช่วยให้ผู้น�ำมี ความสามารถในการด�ำเนินการหรือด�ำเนินงานต่างๆ  ให้บรรลุเป้าหมาย ที่ได้ตั้งไว้  ปัจจุบันการพัฒนาภาวะผู้น�ำทางการศึกษาโดยเฉพาะอย่าง ยิ่ง  “การจัดการศึกษาคาทอลิก”  จึงมีความจ�ำเป็นอย่างยิ่งที่ผู้รับ ผิดชอบด้านการศึกษาคาทอลิกจะต้องเอาใจใส่  พัฒนาบุคลากรทางการ ศึกษาให้มีภาวะผู้น�ำที่มีองค์ความรู้  ความสามารถในการจัดการศึกษา ตามหลักปรัชญาการศึกษาคาทอลิกมุ่งเน้นการพัฒนาคนให้บุคคล ที่สมบูรณ์ทางด้านร่างกาย  จิตใจอารมณ์  สังคม  และด้านสติปัญญา ดังนั้นการสร้างและพัฒนาหลักสูตรการพัฒนาภาวะผู้น�ำการศึกษา คาทอลิก  (Catholic  Education  Leadership  Development) อย่างมีประสิทธิภาพรวมทัง้ การสร้างระบบ  (System)  กลไก  (Mechanism)  การบริหารจัดการหลักสูตรให้เกิดประสิทธิผลจึงเป็นองค์ ประกอบคุณภาพที่ส�ำคัญยิ่งในการที่จะสามารถพัฒนาบุคลากรที่ได้ รับมอบหมายให้ร่วมกันรับผิดชอบการจัดการศึกษาคาทอลิกได้เข้า สูก่ ระบวนการพัฒนาตนเอง  และจะสามารถน�ำเอาผลการพัฒนาตนเอง ซึ่งผ่านทางการเข้าร่วมกิจกรรมตามระบบและกลไกการบริหารจัดการ หลักสูตรการพัฒนาภาวะผู้น�ำการศึกษาคาทอลิกที่ได้ก�ำหนดไว้  ท�ำให้ ตนเองกลายเป็นบุคคลที่เกิดองค์ความรู้  ความเข้าใจ  และทักษะการ บริหารจัดการการศึกษาคาทอลิกให้บรรลุตามเป้าหมายของการจัดการ ศึกษาคาทอลิกอย่างแท้จริง ค�ำส�ำคัญ:

128 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

ภาวะผู้น�ำ หลักสูตรการพัฒนาภาวะผู้น�ำการศึกษาคาทอลิก ระบบและกลไกการบริหารจัดการ


ชาติชาย พงษ์ศิริ, วัชศิลป์ กฤษเจริญ, วสันต์ พิรุฬห์วงศ์, พิเชฐ แสงเทียน และ ศรัญญู พงศ์ประเสริฐสิน

Abstract

Leadership development is the one of the important function for those one who have been assigned to take their responsibilities. The leadership development especially in the field of Catholic Education or Catholic Educators, it must be considered for making them to have the knowledge mapping and their capacity to run the Catholic school through the Catholic philosophy of education, focusing on the human being development as a whole, physical, mental, social, and intellectual dimension. So that, for making and developing the Catholic Education Leadership Development program, need the good system and mechanism on it., for reaching the objection of the program. The Catholic educators, those one who join the program, as the ongoing formation and education, can become the good Catholic Educators, capable and taking their own responsibility, getting their succession of Catholic Education. Important words:

- Leadership - The Catholic Education Leadership Development Program - System and Mechanism.

ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2017/2560 129


ระบบและกลไกการบริหารจัดการหลักสูตรการพัฒนาภาวะผูน้ ำ� การศึกษาคาทอลิก

ความหมายของหลักสูตร นั ก การศึ ก ษาหลายท่ า นได้ ใ ห้ ค วาม หมายของค�ำว่า  “หลักสูตร”  แตกต่างกัน ออกไป  วิชยั   วงษ์ใหญ่  (2554)  ได้กล่าวถึง ความหมายของหลักสูตรว่า  เป็นเส้นทางที่ใช้ วิง่ แข่งขัน  เนือ่ งมาจากเป้าหมายของหลักสูตร ที่มุ่งหวังให้ผู้เรียนสามารถเจริญเติบโตเป็น ผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพและประสบความส�ำเร็จใน การด� ำ รงชี วิ ต อยู ่ ใ นสั ง คมแห่ ง อนาคต  ที่ ก�ำหนดไว้ในรายวิชา  กลุ่มวิชา  เนื้อหาสาระ รวมทั้งกิจกรรมต่างๆ  ที่ได้ด�ำเนินการจัดการ เรียนรู้ให้กับผู้เรียนอย่างมีประสิทธิภาพ  อาจ จะเป็นแผนประสบการณ์การเรียน  แผนการ เรียนหรือรายวิชาต่างๆ  กิจกรรมการเรียนการ สอน  และการประเมินผล ทาบา  (Taba,  1962)  กล่ า วว่ า หลักสูตร  หมายถึงเอกสารที่จัดท�ำขึ้น  เพื่อ ระบุ เ ป้ า หมายและวั ต ถุ ป ระสงค์ ก ารเรี ย นรู ้ เนือ้ หาสาระ  กิจกรรมหรือประสบการณ์เรียน รู ้ การประเมินผลการเรียนรู ้ และการพัฒนา หลักสูตรเป็นการเปลี่ยนแปลงและปรับปรุง หลักสูตรอันเดิมให้ได้ผลดียงิ่ ขึน้ ในด้านการวาง จุดมุ่งหมาย  การจัดเนื้อหาการเรียนการสอน การวัดและประเมินผล  เพือ่ บรรลุจดุ มุง่ หมาย ใหม่ที่วางไว้  ซึ่งอาจจัดขึ้นได้ทั้งในและนอก ชั้นเรียน  ภายใต้การบริหารและด�ำเนินงาน ของสถานศึกษา  (สุเทพ  อ่วมเจริญ,  2557)

130 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

และผลลัพธ์ของการจัดการเรียนการสอนและ เป็นผลผลิตของระบบเทคโนโลยี  (Sowell, 1996)  โดยบี น และคนอื่ น ๆ  (Beane  & others,  1986)  ให้ความหมายเพิ่มเติมว่า เป็นการใช้เกณฑ์ความเป็นรูปธรรม  (Concrete)  ไปสูน่ ามธรรม  (Abstract)  และจาก การยึดโรงเรียนเป็นศูนย์กลาง  (School  centered)  ไปสู่การยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง (Learner  -  centered) ความหมายและความส�ำคัญของภาวะผู้น�ำ มีผู้ได้ให้ความหมายของ  “ภาวะผู้น�ำ” ไว้อย่างหลากหลายมุมมอง  แต่อย่างไรก็ตาม หากจะพิจารณาโดยภาพรวมของเรือ่ งดังกล่าว นี้  อาจสรุปแนวคิดส�ำคัญได้ว่า  ภาวะผู้น�ำ (Leadership)  หรื อ ความเป็ น ผู ้ น� ำ  ซึ่ ง หมายถึ ง   ความสามารถในการน� ำ  (The American  Heritage  Dictionary,  1985: 719)  จึงเป็นสิ่งส�ำคัญยิ่งส�ำหรับความส�ำเร็จ ของผู้น�ำ  ภาวะผู้น�ำได้รับความสนใจ  และมี การศึกษามาเป็นเวลานานแล้ว  เพื่อให้รู้ว่า อะไรเป็ น องค์ ป ระกอบที่ จ ะช่ ว ยให้ ผู ้ น� ำ มี ความสามารถในการน�ำ  หรือมีภาวะผู้น�ำที่มี ประสิทธิภาพ  การศึกษานั้นได้ศึกษาตั้งแต่ คุ ณ ลั ก ษณะ  (Traits)  ของผู ้ น� ำ  อ� ำ นาจ (Power)  ของผู ้ น� ำ  พฤติ ก รรม  ต่ า งๆ และอืน่ ๆ  ในปัจจุบนั นี ้ ก็ยงั มีการศึกษาภาวะ


ชาติชาย พงษ์ศิริ, วัชศิลป์ กฤษเจริญ, วสันต์ พิรุฬห์วงศ์, พิเชฐ แสงเทียน และ ศรัญญู พงศ์ประเสริฐสิน

ผู้น�ำอยู่ตลอดเวลา  และพยายามจะหาภาวะ ผู ้ น� ำ ที่ มีป ระสิท ธิภาพในแต่ละองค์ก ารและ ในสถานการณ์ต่างๆ  กัน เมื่ อ กล่ า วถึ ง ผู ้ น� ำ  เราจะพบว่ า   ใน สังคมเราจ�ำมีโครงสร้าง  และประเภทของงาน ด้ า นต่ า งๆ  จ� ำ แนกออกเป็ น หลายๆ  ด้ า น เช่น  งานด้านเศรษฐกิจ  การเมือง  รวมทั้ง ด้านการจัดการศึกษา  ซึ่งในแต่ละด้านอาจมี การพัฒนาภาวะผูน้ ำ� ให้สอดคล้องกับด้านนัน้ ๆ อย่างไรก็ตาม  หากพิจารณาถึงภาวะผูน้ ำ� แบบ องค์ ร วมแล้ ว   อาจจ� ำ แนกคุ ณ ลั ก ษณะและ ความส�ำคัญของภาวะผู้น�ำตามมุมมอง  (Perspective)  ต่ า งๆ  ออกเป็ น ประเด็ น ส�ำคัญๆ  ได้ดังต่อไปนี้ • ภาวะผู้น�ำคือความริเริ่มและธ�ำรงไว้ ซึ่ ง โครงสร้ า งของความคาดหวั ง และ ความสัมพันธ์ระหว่างกันของสมาชิก ของกลุ่ม  (Stogdill,  1974:411) • ภาวะผู ้ น� ำ คื อ ความสามารถที่ จ ะ ชี้แนะ  สั่งการ  หรืออ�ำนวยการ  หรือ มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมของผู้อื่นเพื่อให้ มุ่งไปสู่จุดหมายที่ก�ำหนดไว้  (McFarland,  1979:303) • ภาวะผู้น�ำคือศิลปในการชี้แนะลูก น้อง  หรือผู้ร่วมงานให้ปฏิบัติหน้าที่ ด้ ว ยความกระตื อ รื อ ร้ น และเต็ ม ใจ (Schwartz,  1980:491)

• ภาวะผู ้ น� ำ  เป็ น กระบวนการที่ บุคคลใช้อิทธิพลต่อกลุ่ม  เพื่อให้บรรลุ ความต้ อ งการของกลุ ่ ม   หรื อ จุ ด มุ ่ ง หมายขององค์การ  (Mitchell  and Larson,  Jr.,  1987:435) • ภาวะผูน้ ำ� เป็นเรือ่ งของศิลปของการ ใช้อิทธิพลหรือกระบวนการใช้อิทธิพล ต่อบุคคลอื่น  เพื่อให้เขามีความเต็มใจ และกระตือรือร้นในการปฏิบัติงานจน ประสบความส�ำเร็จตามจุดมุง่ หมายของ กลุ ่ ม   (Koontz  and  Weihrich, 1988:437) • ภาวะผู้น�ำเป็นความสามารถในการ ใช้ อิ ท ธิ พ ลต่ อ กลุ ่ ม   เพื่ อ ให้ ป ระสบ ความส� ำ เร็ จ ตามเป้ า หมายที่ ตั้ ง ไว้ (Robbins,  1989:302) • ภาวะผู้น�ำเป็นกระบวนการของการ ชี้ แ นะและอิ ท ธิ พ ลต่ อ กิ จ กรรมต่ า งๆ ของสมาชิกของกลุ่ม  (Stoner  and Freeman,  1989:459) ภาวะผูน้ ำ� เป็นกระบวนการทีบ่ คุ คลหนึง่ (ผู้น�ำ)  ใช้อิทธิพลและอ�ำนาจของตนกระตุ้น ชี้ น� ำ ใ ห ้ บุ ค ค ล อื่ น   ( ผู ้ ต า ม )   มี ค ว า ม กระตือรือร้น  เต็มใจท�ำในสิ่งที่เขาต้องการ โดยมีเป้าหมายขององค์การเป็นจุดหมายปลาย ทาง  (พยอม  วงศ์สารศรี,  2534:196)

ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2017/2560 131


ระบบและกลไกการบริหารจัดการหลักสูตรการพัฒนาภาวะผูน้ ำ� การศึกษาคาทอลิก

การพัฒนาภาวะผู้น�ำการศึกษาคาทอลิก สภาพการจั ด การศึ ก ษาคาทอลิ ก ใน ปัจจุบนั :  วิสยั ทัศน์  (Vision)  และพันธกิจ (Mission)  ของการศึกษาคาทอลิก “บุคคลแห่งการเรียนรู ้ ชุมชนทีร่ กั และ เอื้ออาทร  มุ่งสู่ความเป็นเลิศแห่งความเป็น มนุ ษ ย์ ต ามหลั ก คริ ส ตธรรม”  (Learning Persons,  Loving  and  Caring  Community Reaching  for  Human  Excellence, according  to  Chistian  Principles) และได้ก�ำหนดพันธกิจที่มุ่งเน้น  สร้างสังคม แห่ ง การเรี ย นรู ้ ใ นบรรยากาศแห่ ง ความรั ก เอือ้ อาทร  ยุตธิ รรม  สันติและความจริง  เป็น ประจักษ์พยานแห่งชีวิตอย่างสมศักดิ์ศรีความ เป็นมนุษย์  จัดการศึกษาอย่างมีคณ ุ ภาพ  โดย เน้นนักเรียนเป็นส�ำคัญ  เชื่อมโยงความรู้กับ วัฒนธรรม  และภูมิปัญญาท้องถิ่น  ให้เกิด ความหมายที่ แ ท้ จ ริ ง สู ่ ก ารปฏิ บั ติ ใ นชี วิ ต ให้ผู้ยากไร้และด้อยโอกาส  เข้ารับการศึกษา ตามความเหมาะสม  ให้การอภิบาลเพื่อเพิ่ม คุณค่าของชีวิตครอบครัว  ส่งเสริมการมีส่วน ร่วมระหว่างบ้าน  วัด  สถานศึกษาและชุมชน ในการพัฒนาบุคคลให้มีคุณภาพ ขอบเขตของการจัดการศึกษาในปัจจุบัน การจัดการศึกษาคาทอลิกปัจจุบนั อยูใ่ น ก า ร ดู แ ล ข อ ง ส ภ า ก า ร ศึ ก ษ า ค า ท อ ลิ ก

132 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

(ประเทศไทย)  ภายใต้ ก ารควบคุ ม ของ ส� ำ นั ก งานคณะกรรมการการศึ ก ษาเอกชน และทบวงมหาวิทยาลัย  ด�ำเนินการจัดการ ศึกษาครอบคลุมทั้ง  3  รูปแบบ  คือ  การ ศึกษาในระบบ  การศึกษานอกระบบ  และ การศึกษาตามอัธยาศัย  ในทุกระดับการศึกษา คือ  การศึกษาก่อนปฐมวัย  การศึกษาขั้นพื้น ฐาน  การศึ ก ษาก่ อ นอุ ด มศึ ก ษา  และการ ศึกษา จากประเด็นพื้นฐานดังกล่าว  ส่งผลให้ เห็ น ความส� ำ คั ญ ของการพั ฒ นาบุ ค ลากรใน ระดั บ ผู ้ บ ริ ห ารการศึ ก ษา  และผู ้ บ ริ ห ารที่ ปฎิ บั ติ ห น้ า ที่ ใ นโรงเรี ย นคาทอลิ ก ปั จ จุ บั น การพัฒนาภาวะผู้น�ำการศึกษาคาทอลิกจึงมี ความส�ำคัญเป็นอย่างยิ่ง  เพื่อมุ่งเน้นให้เกิด การพัฒนาคุณภาพการศึกษาคาทอลิกให้บรรลุ เป้าหมายตามวิสัยทัศน์  (Vision)  พันธกิจ (Mission)  ของการจัดการศึกษาคาทอลิกทีไ่ ด้ ก�ำหนดไว้  จึงส่งผลให้เกิดกระบวนการพัฒนา บุคลากรในระดับผูน้ ำ� การศึกษาคาทอลิกอย่าง ต่อเนื่องอย่างเป็นรูปธรรม  สภาพระสังฆราช คาทอลิกแห่งประเทศไทยซึง่ หน่วยงานทีร่ บั ผิด ชอบหลั ก   ได้ ม อบหมายให้ ส ภาการศึ ก ษา คาทอลิ ก   และวิ ท ยาลั ย แสงธรรม  ซึ่ ง เป็ น สถาบันอุดมศึกษาภายใต้การดูแลรับผิดชอบ ของสภาพระสังฆราชฯ  ได้จดั ท�ำหลักสูตรเพือ่ พั ฒ นาภาวะผู ้ น� ำ การศึ ก ษาคาทอลิ ก   และ


ชาติชาย พงษ์ศิริ, วัชศิลป์ กฤษเจริญ, วสันต์ พิรุฬห์วงศ์, พิเชฐ แสงเทียน และ ศรัญญู พงศ์ประเสริฐสิน

ด�ำเนินการบริหารจัดการหลักสูตรดังกล่าวให้ เกิดผลอย่างเป็นรูปธรรม  ซึ่งปรากฎดังนี้ ชือ่ หลักสูตร:  การพัฒนาภาวะผูน้ ำ� การศึกษา คาทอลิก  Catholic  Education  Leadership  Development หน่วยงานที่รับผิดชอบ สภาพระสังฆราชคาทอลิกแห่งประเทศไทย :เจ้าของ สภาการศึ ก ษาคาทอลิ ก แห่ ง ประเทศไทย :ประสานงาน/ด�ำเนินการ/บริหารจัดการ วิทยาลัยแสงธรรม :ประสานงาน/ด�ำเนินการ/บริหารจัดการ กลุ่มเป้าหมาย ผู้บริหาร  ผู้ช่วยผู้บริหาร  บุคลากรครู (Potential  Leader)  ในสถาบันการศึกษา คาทอลิก ภูมิหลัง/ความเป็นมา สืบเนื่องจากสภาพระสังฆราชคาทอลิก แห่งประเทศไทยได้เล็งเห็นความส�ำคัญของการ จั ด การศึ ก ษาคาทอลิ ก ตามพั น ธกิ จ และเป้ า หมายที่ก�ำหนดไว้ในแผนอภิบาลคริสตศักราช 2010–2015  ของพระศาสนจักรคาทอลิกแห่ง ประเทศไทย  “สถานศึ ก ษาคาทอลิ ก   คื อ สนามแห่งการศึกษาอบรมความเชื่อเพื่อการ

ประกาศข่าวดี  เป็นองค์ประกอบส่วนหนึง่ ของ การไถ่กู้ของพระศาสนจักร”  ทั้งนี้ได้ก�ำหนด จุ ด เน้ น ให้   สถานศึ ก ษาคาทอลิ ก ได้ รั บ การ ปฏิรูปอย่างจริงจัง  และเปิดใจให้เป็นสนาม แห่งการอบรม  เป็นฐานแห่งการประกาศข่าวดี ในบริบทของสังคมไทยโดยการสร้างอัตลักษณ์ ของการศึกษาอบรมในสถานศึกษาคาทอลิกให้ เด่ น ชั ด   มี เ อกภาพ  การพั ฒ นาทรั พ ยากร มุนษย์โดยเฉพาะอย่างยิ่งทรัพยากรบุคคลใน ระดับผู้บริหารในโรงเรียนคาทอลิก  ปัจจุบันมี จ�ำนวนสถาบันการศึกษาคาทอลิกทัง้ สิน้ จ�ำนวน 345  แห่ง  ซึ่งนับว่าสถานศึกษาเหล่านี้เป็น สถานที่ ข องการประกาศข่ า วดี ใ ห้ กั บ เด็ ก เยาวชนได้เป็นอย่างดี  และปัจจัยส�ำคัญที่จะ ขับเคลือ่ นให้พนั ธกิจดังกล่าวสามารถด�ำเนินไป ได้ อ ย่ า งเป็ น รู ป ธรรม  ทั้ ง นี้ เ พื่ อ ตอบสนอง ทิ ศ ทางการด� ำ เนิ น งานที่ ก� ำ หนดไว้ ใ นแผน อภิบาลดังกล่าว  การให้การศึกษาอบรมแก่ ผู้บริหาร  ครู  และบุคลากรทางการศึกษาให้ เห็นคุณค่าและความหมายที่แท้จริงของการ เป็นสถานศึกษาคาทอลิกจึงเป็นกระบวนการที่ ส�ำคัญในการขับเคลือ่ นให้  “การจัดการศึกษา คาทอลิ ก เป็ น การจั ด การศึ ก ษาคาทอลิ ก ที่ แท้จริง”  ท่ามกลางสังคมโลกและสังคมไทย ที่ก�ำลังเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว  ท�ำให้การ จัดการศึกษาอบรมดังกล่าวเป็นเครือ่ งมือส�ำคัญ ที่ จ ะน� ำ ไปสู ่ ก ารผสมผสานวั ฒ นธรรมกั บ

ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2017/2560 133


ระบบและกลไกการบริหารจัดการหลักสูตรการพัฒนาภาวะผูน้ ำ� การศึกษาคาทอลิก

ความเชื่ อ และความเชื่ อ กั บ ชี วิ ต ได้ อ ย่ า งดี ก้ า วไปสู ่ ค วามเข้ ม แข็ ง   และยั่ ง ยื น ต่ อ ไป (เที ย บ  แผนอภิ บ าลคริ ส ตศั ก ราช  2010– 2015  ของพระศาสนจั ก รคาทอลิ ก แห่ ง ประเทศไทย:  หน้า  39) ปรัชญา  วัตถุประสงค์ของหลักสูตร ปรัชญา บุ ค ลากรในระดั บ สถาบั น การศึ ก ษา คาทอลิกเป็นผูม้ บี ทบาทส�ำคัญในการสร้างและ พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ตามหลักปรัชญาและ ทิศทางการจัดการศึกษาคาทอลิกท่ามกลาง สั ง คมที่ ก� ำ ลั ง เปลี่ ย นแปลงอยู ่ ต ลอดเวลา ดังนั้น  หลักสูตรที่จัดขึ้นนี้มีความเชื่อว่าการ พั ฒ นาภาวะผู ้ น� ำ  จิ ต ตารมณ์   วิ สั ย ทั ศ น์ องค์ความรู้  ศักยภาพ  และทักษะของการ บริหารจัดการศึกษาในโรงเรียนคาทอลิกตาม หลักปรัชญาและทิศทางทีก่ ำ� หนดไว้จะสามารถ น�ำไปสู่การพัฒนาคุณภาพการศึกษาคาทอลิก ของพระศาสนจั ก รในประเทศไทยบรรลุ เป้ า หมายที่ ก� ำ หนดไว้ ใ นแผนอภิ บ าลของ พระศาสนจักรคาทอลิกในประเทศไทยได้อย่าง มีประสิทธิภาพ วัตถุประสงค์ของหลักสูตร 1.  เพื่อพัฒนาบุคลากรในสถานศึกษา คาทอลิกให้เป็นผู้มีจิตวิญญาณของความเป็น ผู ้ น� ำ ตามอั ต ลั ก ษณ์   เอกลั ก ษณ์ ก ารศึ ก ษา คาทอลิก 134 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

2.  เพือ่ บุคลากรในสถานศึกษาคาทอลิก มีความรู ้ ความเข้าใจ  ปรัชญา  และหลักการ จัดการศึกษาคาทอลิก  มีทักษะในการบริหาร โรงเรียนคาทอลิกท่ามกลางการเปลีย่ นแปลงใน สังคมปัจจุบัน 3.  เพื่อเสริมสร้างเครือข่ายและความ เป็นเอกภาพในการจัดการศึกษาคาทอลิกร่วม กัน ผลสัมฤทธิ์ของหลักสูตร ผู้บริหาร  ผู้ช่วยผู้บริหาร  บุคลากรครู (Potential  Leader)  ในสถาบั น การ ศึกษาคาทอลิก  ได้รับการศึกษาอบรมอย่าง ต่อเนื่อง  (Ongoing  Formation)  สามารถ น� ำ ผลการด� ำ เนิ น การตามวั ต ถุ ป ระสงค์ ข อง หลักสูตรไปใช้ประโยชน์ในการจัดการศึกษา คาทอลิก  มุ่งเน้นการพัฒนาจิตวิญญาณของ ความเป็นผู้น�ำตามอัตลักษณ์  เอกลักษณ์การ ศึกษาคาทอลิกของบุคลากรที่จะน�ำไปสู่การ เปลี่ยนแปลง  (Transform)  มีทักษะในการ บริหารจัดการ  สามารถบริหารจัดการศึกษาใน สถาบันการศึกษาคาทอลิกท่ามกลางสังคมที่ ก� ำ ลั ง เปลี่ ย นแปลงอย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ เกิดประสิทธิผล


ชาติชาย พงษ์ศิริ, วัชศิลป์ กฤษเจริญ, วสันต์ พิรุฬห์วงศ์, พิเชฐ แสงเทียน และ ศรัญญู พงศ์ประเสริฐสิน

โครงสร้างของหลักสูตร การศึกษาในหลักสูตรการพัฒนาภาวะ ผูน้ ำ� กับการบริหารการศึกษาคาทอลิก  มุง่ เน้น การพัฒนาองค์ความรู้และทักษะทั้ง  3  ด้าน ได้แก่  ด้านจิตวิญญาณของความเป็นผูน้ ำ� ตาม อั ต ลั ก ษณ์   เอกลั ก ษณ์ ก ารศึ ก ษาคาทอลิ ก ด้านการวางแผนและการก�ำหนดนโยบายการ บริหารจัดการศึกษาคาทอลิก  และด้านการ บริ ห ารจริ ย ธรรมในโรงเรี ย นคาทอลิ ก โดย จ�ำแนกออกเป็น  5  รายวิชา  และจัดกิจกรรม การเรียนรู้/ฝึกทักษะ  จ�ำนวน  180  ชั่วโมง ดังนี้ จ�ำนวนรายวิชาตลอดหลักสูตร จ�ำนวน  5  รายวิชา  ดังนี้ 1.  ด้านการพัฒนาจิตวิญญาณของ ความเป็นผูน้ ำ� ตามอัตลักษณ์  เอกลักษณ์การ ศึกษาคาทอลิก 1.1  ภาวะผู้น�ำแบบพระเยซูคริสต์ (Christ’s  Leadership)  จ�ำนวน  36  ชัว่ โมง 1.2  สัมมนาจิตวิญญาณนักการศึกษา คาทอลิก  (Seminar  in  Spirituality  of Catholic  Educator)  จ�ำนวน  36  ชั่วโมง 2.  ด้านการพัฒนาทักษะการก�ำหนด แผนและนโยบายการจัดกการศึกษาคาทอลิก 2.1  ปรั ช ญาการศึ ก ษาคาทอลิ ก (Philosophy  of  Catholic  Education) จ�ำนวน  36  ชั่วโมง

2.2  การวิเคราะห์นโยบายและการ วางแผนกลยุทธ์การจัดการศึกษาตามอัตลักษณ์ การศึกษาคาทอลิก  (Analysis  of  policy and  Strategic  Planning  in  Identity of  Catholic  Education)  จ� ำ นวน  36 ชั่วโมง 3.  ด้านการพัฒนาทักษะการบริหาร จริยธรรมในโรงเรียคาทอลิก 3.1  การบริหารจริยธรรมในโรงเรียน คาทอลิ ก   (Ethics  Management  in Catholic  School)  จ�ำนวน  36  ชั่วโมง การบริหารจัดการการน�ำหลักสูตรไปใช้และ ปีการศึกษา  2559 ภ า ว ะ ผู ้ น� ำ แ บ บ พ ร ะ เ ย ซู ค ริ ส ต ์ (Christ’s  Leadership)  จ� ำ นวน  36 ชั่ ว โมง/หลั ก สู ต ร  (2  หน่ ว ยกิ ต )  (18 ชั่ ว โมง/สั ป ดาห์ )   เริ่ ม เรี ย นวั น ที่   8-10 กั น ยายน  และวั น ที่   15–17  กั น ยายน 2559  อาจารย์ผสู้ อน  บาทหลวง  ดร.ออกัสติน สุกีโย  ปีโตโย  และคณะเยสุอิต ปรั ช ญาการศึ ก ษาคาทอลิ ก   (Philosophy of  Catholic  Education) จ�ำนวน  36  ชัว่ โมง/หลักสูตร  (2  หน่วยกิต) (18  ชั่วโมง/สัปดาห์)  เริ่มเรียนวันที่  22–24 กันยายน  และวันที่  29-30  กันยายน  และ 1  ตุลาคม  2559  อาจารย์ผสู้ อน  บาทหลวง

ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2017/2560 135


ระบบและกลไกการบริหารจัดการหลักสูตรการพัฒนาภาวะผูน้ ำ� การศึกษาคาทอลิก

ผศ.ดร.ชาติ ช าย  พงษ์ ศิ ริ   และวิ ท ยาลั ย แสงธรรม  การบริ ห ารจริ ย ธรรมในโรงเรี ย น คาทอลิ ก   (Ethics  Management  in Catholic  School)  จ�ำนวน  36  ชั่วโมง/ หลั ก สู ต ร  (2  หน่ ว ยกิ ต )  (18  ชั่ ว โมง/ สัปดาห์)  เริ่มเรียนวันที่  6–8  ตุลาคม  และ วั น ที่   13–15  ตุ ล าคม  2559  อาจารย์ ผูส้ อน  บาทหลวง  ดร.พิเชฐ  แสงเทียน  และ คณะเยสุอิต การวิเคราะห์นโยบายและการวางแผน กลยุ ท ธ์ ก ารจั ด การศึ ก ษาตามอั ต ลั ก ษณ์ การศึกษาคาทอลิก  (Analysis  of  policy and  Strategic  Planning  in  Identity of  Catholic  Education)  จ�ำนวน  36 ชั่ ว โมง/หลั ก สู ต ร  (2  หน่ ว ยกิ ต )  (18 ชั่ ว โมง/สั ป ดาห์ )   เริ่ ม เรี ย นวั น ที่   20–22 ตุลาคม  และวันที่  27–29  ตุลาคม  2559 อาจารย์ผู้สอน  บาทหลวง  เดชา  อาภรณ์ รัตน์  และสภาการศึกษาคาทอลิก สั ม มนาจิ ต วิ ญ ญาณนั ก การศึ ก ษา คาทอลิก  (Seminar  in  Spirituality  of Catholic  Educator)  จ�ำนวน  36  ชัว่ โมง /หลั ก สู ต ร  (2  หน่ ว ยกิ ต )  (18  ชั่ ว โมง/ สัปดาห์)  เริ่มเรียนวันที่  3–5  พฤศจิกายน และวั น ที่   10–12  พฤศจิ ก ายน  2559 อาจารย์ผู้สอน  บาทหลวง  ผศ.ดร.ชาติชาย

136 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

พงษ์ศริ  ิ บาทหลวง  เดชา  อาภรณ์รตั น์  และ สภาการศึกษาคาทอลิก การประเมินผลการใช้หลักสูตร  ปีการศึกษา 2559 หลังจากด�ำเนินการจัดกิจกรรมการเรียน รู้ตามรายวิชาตามก�ำหนดการแต่ละรายวิชา แล้ว  ได้ดำ� เนินการประเมินผลการใช้หลักสูตร ดังนี้ แบบประเมินผลการใช้หลักสูตร ใช้ แ บบประเมิ น คุ ณ ภาพและความ พึ ง พอใจที่ ส ร้ า งขึ้ น แบบ  Check  list ก�ำหนด  Rating  Scale  จ�ำแนก  5  ระดับ คือ  คุณภาพระดับ  ดีเยีย่ ม  ดีมาก  ดี  พอใช้ และปรับปรุง  ระดับความพึงพอใจ  5  ระดับ เช่นเดียวกัน  คือ  มากทีส่ ดุ   มาก  ปานกลาง น้ อ ย  น้ อ ยที่ สุ ด   ครอบคลุ ม ประเด็ น การ ประเมินดังนี้คือ  1.  ด้านเนื้อหาสาระส�ำคัญ ของหลักสูตร  2.  ด้านความรู้/ความเข้าใจ/ การน�ำไปสูก่ ารประยุกต์ใช้  3.  ความรู/้ ทักษะ และเทคนิ ค การถ่ า ยทอดของผู ้ ส อนหรื อ วิ ท ยากร  4.  ปั จ จั ย การสนั บ สนุ น การจั ด กิจกรรมการเรียนรู้ตามหลักสูตร  และค�ำถาม ปลายเปิ ด แนบท้ า ยแบบประเมิ น   เพื่ อ ให้ ผู้ประเมินสามารถแสดงความคิดเห็นได้อย่าง หลากหลาย


ชาติชาย พงษ์ศิริ, วัชศิลป์ กฤษเจริญ, วสันต์ พิรุฬห์วงศ์, พิเชฐ แสงเทียน และ ศรัญญู พงศ์ประเสริฐสิน

ผู้ประเมิน ผู้เข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้แต่ละ รายวิชาตามโครงสร้างหลักสูตร  จ�ำนวน  28 คน

ระยะเวลา ประเมินเมื่อสิ้นสุดการจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แต่ละรายวิชา

สรุปผลการประเมินการใช้หลักสูตร สรุปผลการประเมินคุณภาพหลักสูตร และความพึ่งพอใจ จ�ำแนกรายวิชาดังต่อไปนี้ รายวิชา

ค่าเฉลี่ย

1. ภาวะผู้น�ำแบบพระเยซูคริสต์ 2. ปรัชญาการศึกษาคาทอลิก 3. การบริหารจริยธรรมในโรงเรียนคาทอลิก 4. การวิเคราะห์นโยบายและการวางแผน กลยุ ท ธ์ ก ารจั ด การศึ ก ษาตามอั ต ลั ก ษณ์ การศึกษาคาทอลิก 5. สัมมนาจิตวิญญาณนักการศึกษาคาทอลิก ภาพรวมของหลักสูตร

4.54 4.66 4.21

ส่วนเบี่ยงเบน ระดับคุณภาพ อันดับที่ มาตรฐาน 0.59 ดีมาก 3 0.50 ดีมาก 2 0.66 ดี 4

3.93

0.81

ดี

5

4.67 4.40

0.52 0.61

ดีมาก ดี

1 -

ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2017/2560 137


ระบบและกลไกการบริหารจัดการหลักสูตรการพัฒนาภาวะผูน้ ำ� การศึกษาคาทอลิก

จากตารางสรุปผลการประเมินคุณภาพ หลักสูตร  และความพึงพอใจ  จ�ำแนกรายวิชา พบว่า  รายวิชาภาวะผู้น�ำแบบพระเยซูคริสต์ (Christ’s  Leadership)  มีค่าเฉลี่ย  0.54 ส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน  0.54  ระดับคุณภาพ ดีมาก  มีคณ ุ ภาพอันดับที ่ 3  รายวิชาปรัชญา การศึ ก ษาคาทอลิ ก   (Philosophy  of Catholic  Education)  มีค่าเฉลี่ยที่  4.66 ส่ ว นเบี่ ย งเบนมาตรฐานที่   0.50  ระดั บ คุ ณ ภาพ  ดี ม าก  มี คุ ณ ภาพอั น ดั บ ที่   2 รายวิ ช าการบริ ห ารจริ ย ธรรมในโรงเรี ย น คาทอลิ ก   (Ethics Management in Catholic  School)  มี ค ่ า เฉลี่ ย ที่   0.42 ส่ ว นเบี่ ย งเบนมาตรฐานที่   0.66  ระดั บ คุณภาพ  ดี  มีคุณภาพอันดับที่  4  รายวิชา การวิเคราะห์นโยบายและการวางแผนกลยุทธ์ การจั ด การศึ ก ษาตามอั ต ลั ก ษณ์ ก ารศึ ก ษา คาทอลิ ก   (Analysis  of  policy  and Strategic  Planning  in  Identity  of Catholic  Education)  มีค่าเฉลี่ยที่  3.93 ส่ ว นเบี่ ย งเบนมาตรฐานที่   0.81  ระดั บ คุณภาพดี  มีคุณภาพอันดับที่  5  รายวิชา สั ม มนาจิ ต วิ ญ ญาณนั ก การศึ ก ษาคาทอลิ ก (Seminar  in  Spirituality  of  Catholic Educator)  มี ค ่ า เฉลี่ ย ที่   4.67  ส่ ว น เบีย่ งเบนมาตรฐานที ่ 0.52  ระดับคุณภาพ  ดี มาก  มีคณ ุ ภาพอันดับที ่ ดีมาก  เมือ่ สรุปภาพ

138 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

รวมของการประเมินคุณภาพหลักสูตร  พบว่า มีค่าเฉลี่ยที่  4.40  มีส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ที่  0.61  และระดับคุณภาพ  ดี นอกจากนั้ น ยั ง รวบรวมข้ อ มู ล จาก ค� ำ ถามปลายเปิ ด แนบท้ า ยแบบประเมิ น ในแต่ละรายวิชา  น�ำมาสังเคราะห์ข้อมูลใน ภาพรวมปรากฏข้อมูลผลการประเมิน  ดังนี้ 1. เป็นหลักสูตรที่ท�ำให้เข้าใจบทบาท ในการท� ำ งานโรงเรี ย นมากขึ้ น   โดย เฉพาะโรงเรียนคาทอลิกของเรา  โดย การน�ำเอาพระเยซูเป็นแบบอย่างในการ เป็น  Model  ของเรา  เพราะงานที่ เราท� ำ อาจจะยั ง ไม่ เข้ า ใจชั ด เจนใน ทิ ศ ทางที่ เราท� ำ  หลั ก สู ต รนี้ ไ ด้ ต อบ โจทย์ผู้บริหารอย่างดี  ในการเป็นผู้รับ ใช้ 2. ความเป็ น หนึ่ ง เดี ย วของผู ้ เ รี ย น ความเป็นพี่น้องดีมาก 3. ข้อคิดเห็น  การพัฒนาภาวะผู้น�ำ ทางการศึ ก ษาคาทอลิ ก   เป็ น สิ่ ง ที่ ดี และมี ป ระโยชน์ ที่ ค วรมี ต ่ อ ไป  เพื่ อ พัฒนาผู้น�ำทางการศึกษา 4. ข้ อ เสนอแนะ  ในเรื่ อ งของเวลา ควรค�ำนึงถึงบุคลากรทีม่ าเรียน  เพราะ จากประสบการณ์ที่ผ่านมา  จะเห็นว่า มี ห ลายคนขาดเรี ย น  น่ า เสี ย ดาย เสนอให้พิจารณา


ชาติชาย พงษ์ศิริ, วัชศิลป์ กฤษเจริญ, วสันต์ พิรุฬห์วงศ์, พิเชฐ แสงเทียน และ ศรัญญู พงศ์ประเสริฐสิน

5. วันศุกร์ต้นเดือน  อาจจะขอเลื่อน เป็ น วั น อื่ น   เพราะพระสงฆ์ ต ้ อ งไป ท�ำหน้าที่สงฆ์ 6. เนื้อหา  หลักสูตรในการสอนดีมาก แต่อาจจะปรับเปลี่ยนวิทยากรให้เกิด ความรู้  การจุดประกายมากขึ้น 7. มีการติดตามการท�ำงาน  เพื่อใช้ใน การบริหารงานในโรงเรียน  ว่ามีการ เปลี่ ย นแปลงในทิ ศ ทางที่ ดี ม ากน้ อ ย ขนาดไหน 8. บางเนือ้ หาใช้เวลาในการจัดการสอน มากเกินไป 9. ประทั บ ใจในการบริ ก าร  การ ประสานงานของมิสซังสภาการศึกษา 10. โ ด ย ภ า พ ร ว ม   ทุ ก วิ ช า มี ประโยชน์และส�ำคัญ  สามารถน�ำไปใช้ ในการท�ำงานได้อย่างดี 11. ได้มีโอกาสพบปะ  แลกเปลี่ยน เรี ย นรู ้ ป ระสบการณ์   กั บ ผู ้ มี ค วามรู ้ มีประสบการณ์ 12. ท�ำให้มีมิตรภาพใหม่  เพื่อช่วย เหลือ  และแบ่งปันได้ดีในการท�ำงาน 13. อยากให้ มี ก ารจั ด อบรมอย่ า ง ต่อเนื่อง 14. มี ก ารฟื ้ น ฟู   พบปะ  และ สัมมนาของศิษย์เก่าฯ

15. ในแต่ ล ะรายวิ ช า  ควรจั ด ให้ วั น สุ ด ท้ า ยของวิ ช านั้ น ๆ  เป็ น การ สัมมนาแลกเปลีย่ นความรู ้ และการน�ำ ไปใช้ 16. เสนอแนะให้ ป รั บ ปรุ ง บางวิ ช า โดยเฉพาะวิทยากรที่ถ่ายทอดความรู้ เนื้อหาวิชาดี  แต่ผู้ถ่ายทอดไม่ช่วยให้ เข้าใจก็ไม่มีประโยชน์ 17. ควรจัดหลักสูตรนีต้ อ่ ไป  และต่อ เนื่อง 18. ควรมีการทัศนศึกษาดูงานนอก สถานที่ 19. ระยะเวลาในการจัดสัมมนาน่า จะต่อเนื่อง  อาจจะตลอด  1  เดือน เต็ม 20. ควรให้ผู้ที่ท�ำงานในโรงเรียนมา เข้าอบรมโดยตรง  จะมีประโยชน์ต่อ การบริหารงานในโรงเรียน 21. ควรจะให้ผู้เข้ารับการอบรมพัก จากงานทีท่ ำ� จะดีกว่า  จะสามารถเรียน ได้อย่างเต็มที่ สรุป การสร้างและพัฒนาระบบและกลไกการ บริหารจัดการหลักสูตรการพัฒนาภาวะผู้น�ำ การศึกษาคาทอลิก  (Catholic  Education Leadership  Development)  ดังกล่าวเป็น

ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2017/2560 139


ระบบและกลไกการบริหารจัดการหลักสูตรการพัฒนาภาวะผูน้ ำ� การศึกษาคาทอลิก

องค์ ป ระกอบส� ำ คั ญ อย่ า งยิ่ ง ที่ ส ่ ง ผลต่ อ การ ขับเคลื่อนให้การจัดการศึกษาคาทอลิกไปสู่ ทิศทาง  และบรรลุเป้าหมายตามวิสัยทัศน์ (Vision)  พันธกิจ  (Mission)  ที่ได้ก�ำหนดไว้ การประเมินผลการใช้หลักสูตรที่ได้ด�ำเนินการ ตามรายงานข้อมูลที่น�ำเสนอไปนั้น  ส่งผลให้ เกิดมุมมองในการแก้ไข  ปรับปรุง  เพื่อการ พั ฒ นาระบบและกลไกดั ง กล่ า ว  พั ฒ นา ปรั บ ปรุ ง   ทั้ ง เนื้ อ หาสาระของหลั ก สู ต ร รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้  การจัด สภาพแวดล้อมและองค์ประกอบส�ำคัญของ การด�ำเนินการเพื่อให้การน�ำหลักสูตรไปใช้ ในอนาคตอย่ า งต่ อ เนื่ อ งให้ เ กิ ด ผลอย่ า งมี ประสิ ท ธิ ภ าพ  และเกิ ด ประสิ ท ธิ ผ ลอย่ า ง แท้จริงในอนาคตต่อไป

140 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

รายการอ้างอิง วิชยั   วงศ์ใหญ่.  (2554)  การพัฒนาหลักสูตร ระดั บ อุ ด มศึ ก ษา.  (พิ ม พ์ ค รั้ ง ที่   2). กรุงเทพฯ:  อาร์  แอนด์  ปริ้นท์. ความหมายของภาวะผู้น�ำ.  http://www. baanjomyut.com/library/leader ship/02.html:  เข้าถึงเมือ่   5  มิถนุ ายน 2560. บทบาทการจั ด การศึ ก ษาเอกชนในเครื อ คาทอลิ ก ตามพระราชบั ญ ญั ติ ก าร ศึกษาแห่งชาติ.  พ.ศ.2542.  http:// www.iras.au.edu/index.php/ research/33--2542.html:  เข้าถึง เมื่อ  4  มิถุนายน  2560. ภาวะผู้น�ำทางการศึกษา:  นางสาวศิริรัตน์ แฝงกระโทก.  http://www.google. ca/url?sa=t&rct=j&q=&esrc=s& source=web&cd=2&sqi=2&ved=0 ahUKEwizyvbesK3UAhXHxLwKHf OQBpoQFggpMAE&url=http%3A% 2F%2Fwww.kruinter.com%2Ffile% 2F48020140730163448-%255B kruinter.com%255D.pdf&usg=AFQ jCNGJutTdql3D2eZvzxfRQ92_ ZyFXBw:  เข้าถึงเมื่อ  6  มิถุนายน 2560.


ชาติชาย พงษ์ศิริ, วัชศิลป์ กฤษเจริญ, วสันต์ พิรุฬห์วงศ์, พิเชฐ แสงเทียน และ ศรัญญู พงศ์ประเสริฐสิน

สุ เ ทพ  อ่ ว มเจริ ญ .  (2557).  การพั ฒ นา หลั ก สู ต ร:  ทฤษฎี แ ละการปฏิ บั ติ . นครปฐม:  โรงพิ ม พ์ ม หาวิ ท ยาลั ย ศิลปากร Beane,  James  A,  Toepler,  Jr.Conrad F.  and  Alessi,  Jr.  Samuel  J. (1986)  Curriculum  Planning and  Development.  Massachu sette:  Allyn  and  Bacon Sowell,  Evelys  J.  (1996)  Curriculum An  Integrative  Introduction. New  Jersey:  Prentice  Hall Taba,  Hilda.  (1962)  Curriculum Development:  Theory  and Practice.  New  York:  Harcourt Brace  and  World.

ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2017/2560 141


อัตลักษณ์โรงเรียนคาทอลิกในอัครสังฆมณฑล กรุงเทพฯ ที่เป็นพลวัตร ตามนโยบายของ สภาการศึกษาคาทอลิกแห่งประเทศไทย

TDiocese he Identity of Catholic Schools in Bangkok Dynamically toward the Policy of Catholic Educational Council of Thailand.

บาทหลวงฉลองรัฐ  สังขรัตน์

* การศึกษาดุษฎีบัณฑิต  สาขาวิชาบริหารการศึกษา  คณะศึกษาศาสตร์  มหาวิทยาลัยบูรพา

บาทหลวง ดร.ออกัสติน  สุกิโย  ปิโตโย,  S.J.

* บาทหลวงในคริสต์ศาสนจักรโรมันคาทอลิก  สังกัดคณะเยสุอิต * อาจารย์ประจ�ำหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต  สาขาวิชาเทววิทยาจริยธรรม วิทยาลัยแสงธรรม

ผู้ช่วยศาสตราจารย์  ดร.สิทธิพร  นิยมศรีสมศักดิ์

* อาจารย์ประจ�ำศูนย์นวัตกรรมการบริหารและผู้น�ำทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์  มหาวิทยาลัยบูรพา

ผู้ช่วยศาสตราจารย์  ดร.สมโภชน์  อเนกสุข

* อาจารย์ประจ�ำภาควิชาการวิจัยและจิตวิทยาประยุกต์  คณะศึกษาศาสตร์  มหาวิทยาลัยบูรพา

Rev.Charlongrat Sangkarat

* Doctor of Philosophy Program in Education Administration Faculty of Education, Burapha University.

Rev. Dr.Agustinus Sugiyo Pitoyo, S.J.

* Reverend in Roman Catholic Church, Jesuit. * Lecturer of the Master of Arts Program in Moral Theology, Saengtham College.

Asst. Prof. Dr.Sittiporn Niyomsrisomsak

* Lecturer of Department of Innovative Administration and Educational Leadership Center Faculty of Education, Burapha University.

Asst. Prof. Dr.Sompoch Anegasukha

* Lecturer of Department of Research and Applied Psychology Faculty of Education, Burapha University.


ฉลองรัฐ สังขรัตน์, ออกัสติน สุกิโย ปิโตโย, สิทธิพร นิยมศรีสมศักดิ์, และสมโภชน์ อเนกสุข

บทคัดย่อ

การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการให้ความหมาย ของอัตลักษณ์โรงเรียนคาทอลิก  แบบแผนความสัมพันธ์ของอัตลักษณ์ และวิ ธี ก ารบริ ห ารของผู ้ บ ริ ห ารโรงเรี ย นคาทอลิ ก   แนวโน้ ม การ เปลี่ ย นแปลงอั ต ลั ก ษณ์   และวิ ธี ก ารบริ ห ารของผู ้ บ ริ ห ารโรงเรี ย น คาทอลิ ก ในบริ บ ทสั ง คมไทย  ศึ ก ษาจุ ด แข็ ง จุ ด อ่ อ นของอั ต ลั ก ษณ์ โรงเรียนคาทอลิกในอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ  ทีเ่ ป็นพลวัตตามนโยบาย ของสภาการศึกษาคาทอลิกแห่งประเทศไทย  เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative  research)  โดยอาศัยการวิจยั เอกสาร  (Documentary Research) ผลการวิจัยพบว่า 1.  อัตลักษณ์การศึกษาโรงเรียนคาทอลิก  หมายถึง  ลักษณะ อั น แสดงถึ ง การด� ำ เนิ น งานของโรงเรี ย นตามหลั ก การศึ ก ษาของ พระศาสนจักรคาทอลิก  และเหมาะสมกับบริบทของการจัดการศึกษา โรงเรียนคาทอลิกในประเทศไทย  โดยมีคุณลักษณะคือ 1)  วิธีการบริหารแบบคาทอลิกได้แก่  ใช้แนวทางค�ำสอนของ พระเยซูคริสต์  การบูรณาการการเรียนการสอนโดยใช้ค�ำสอนของ พระเยซูคริสต์สู่การปลูกฝังคุณธรรม  จริยธรรมแก่เยาวชน  โดยผ่าน กระบวนการจัดการศึกษา 2)  การเผยแพร่ธรรมะ  ทีเ่ ป็นค�ำสอนของพระเยซูคริสต์  ผ่าน กิจกรรมและบรรยากาศความเชื่อ  ความศรัทธา  และพิธีกรรม 3)  เป็นโรงเรียนที่ให้โอกาสทางการศึกษาส�ำหรับทุกคน  เพื่อ บ่มเพาะคุณลักษณะอันพึงประสงค์และคุณลักษณะการเป็นศาสนิกที่ดี 4)  มีระบบความช่วยเหลือโรงเรียนทีต่ า่ งระดับ  โรงเรียนขนาด ใหญ่ช่วยเหลือโรงเรียนที่ยังช่วยเหลือตนเองไม่ได้  หรือช่วยเหลือ โรงเรียนทีจ่ ดั การศึกษาแบบสงเคราะห์  ภายใต้นโยบายในฝ่ายการศึกษา อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ

ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2017/2560 143


อัตลักษณ์โรงเรียนคาทอลิกในอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ ทีเ่ ป็นพลวัตรตามนโยบายของ สภาการศึกษาคาทอลิกแห่งประเทศไทย

2.  แบบแผนความสัมพันธ์ของอัตลักษณ์โรงเรียนคาทอลิกใน อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ  ตามนโยบายของสภาการศึกษาคาทอลิกแห่ง ประเทศไทย  ได้มีการด�ำเนินการ  4  ด้าน  คือ  ด้านวิธีการบริหาร แบบคาทอลิก  การเผยแพร่ธรรมะทีเ่ ป็นค�ำสอนของพระเยซูคริสต์  การ เป็นโรงเรียนทีใ่ ห้โอกาสทางการศึกษาส�ำหรับทุกคน  มีระบบความช่วย เหลือโรงเรียนที่ต่างระดับ  และใช้วิธีการบริหารตามนโยบายฝ่ายการ ศึ ก ษาของอั ค รสั ง ฆมณฑลกรุ ง เทพฯและหลั ก เกณฑ์ ข องกระทรวง ศึกษาธิการตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ  พ.ศ.  2542  และ ที่แก้ไขเพิ่มเติม  (ฉบับที่  2)  พ.ศ.  2545  เพื่อแนวคิดหล่อหลอม มนุษย์ให้เป็นบุคคลที่สมบูรณ์  โดยใช้วิธีการบริหารตามนโยบายการ ศึกษาคาทอลิกและการก�ำหนดตัวบ่งชีโ้ ดยพระราชบัญญัตกิ ารศึกษาแห่ง ชาติ 3.  แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงอัตลักษณ์  และวิธีการบริหารของ ผู้บริหารโรงเรียนคาทอลิกในอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ  ตามนโยบาย ของสภาการศึกษาคาทอลิกแห่งประเทศไทย  ที่เป็นพลวัตตามบริบท ของสังคมไทย  พบว่ามี  4  ด้าน 1)  พลวัตด้านสังคม  การเปลี่ยนแปลงทางสังคมท�ำให้คนมี ความต้องการแตกต่างกัน  และต้องการให้โอกาสทางการศึกษาส�ำหรับ ทุกคน  การบริหารจึงมีเป้าหมายให้คนเป็นคนดีของสังคม  ลดปัญหา สังคม  สร้างแนวทางที่ถูกต้องในการด�ำเนินชีวิตในสังคม 2)  พลวัตด้านสิ่งแวดล้อม  การบริหารมุ่งเน้นบรรยากาศแห่ง การเรียนรู้ที่มีความสงบ  และเน้นการไตร่ตรอง  กระตุ้น  หล่อหลอม ให้ผู้เรียนมีการยกระดับความรู้  ความคิด  สติปัญญา  และคุณธรรม แก่ผู้เรียน 3)  พลวัตด้านเศรษฐกิจ  การบริหารใช้นโยบายของสภาการ ศึกษาคาทอลิกแห่งประเทศไทย  โดยหยิบยื่นโอกาสแก่ผู้ด้อยโอกาส โดยผ่านทางการจัดการศึกษา  เพื่อสร้างอนาคต  ความมั่นคงในชีวิต และมีรายได้เพียงพอต่อการด�ำรงชีพ 144 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม


ฉลองรัฐ สังขรัตน์, ออกัสติน สุกิโย ปิโตโย, สิทธิพร นิยมศรีสมศักดิ์, และสมโภชน์ อเนกสุข

4)  พลวัตด้านเทคโนโลยี  การบริหารเน้นการเรียนรู้ให้ใช้ เทคโนโลยีอย่างมีสติ  รอบคอบ  และมีคณ ุ ธรรม  เพือ่ ให้เกิดประโยชน์ แก่ตนเองและสังคม 4.  จุดแข็งของอัตลักษณ์โรงเรียนคาทอลิกในอัครสังฆมณฑล กรุงเทพฯ  คือ  งานบริหารวิชาการ  เรื่องการบูรณาการวิชาต่างๆ ซึง่ ผูบ้ ริหารโรงเรียนคาทอลิกมีการด�ำเนินงานแบบบูรณาการระหว่างแนว โน้มทั้ง  4  ด้าน  บนจุดยืนของฝ่ายการศึกษาโรงเรียนอัครสังฆมณฑล กรุงเทพฯ  และงานบริหารงบประมาณมีการบริหารจัดการที่ดี  ส่วน จุดอ่อน  มีระบบการประกันคุณภาพที่มีรายละเอียดมากท�ำให้เกิด ปัญหาและความยุง่ ยากในทางปฎิบตั ใิ ห้เกิดคุณภาพ  และ  สภาพสังคม ที่มีแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงตามกระแสโลก  มีผลต่อการน�ำนโยบาย พระศาสนจักรมาด�ำเนินการให้เกิดผลตามเป้าหมายที่ก�ำหนดไว้ ค�ำส�ำคัญ:

อัตลักษณ์โรงเรียนคาทอลิก อัครสังฆมณฑลกรุงเทพ นโยบายพระศาสนจักร สมณกระทรวงการศึกษาคาทอลิก

ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2017/2560 145


อัตลักษณ์โรงเรียนคาทอลิกในอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ ทีเ่ ป็นพลวัตรตามนโยบายของ สภาการศึกษาคาทอลิกแห่งประเทศไทย

Abstract

This study aimed to investigate the Identity of the Catholic school. Schemes of identity and relationship to the administration of the Catholic school. Trends change the identity transformation and the Catholic administration method in the Thai Catholic schools. Learn the strengths and weaknesses of the identity of Catholic schools in the Archdiocese of Bangkok. The dynamics of the policy of the Catholic Education Council of Thailand. The Qualitative Research (Qualitative research) through research papers (Documentary Research) The study found. 1. Identity of Catholic school education represents the characteristic which indicates that the implementation of the principles of the Catholic Church. And appropriate to the context of education in Catholic schools. Features: 1) The method of administration are Catholic. Using the teachings of Jesus Christ. Integrating teaching with the teachings of Jesus Christ to cultivate virtue. Morality for Youth Through the education process 2) Dissemination of Dharma. The teachings of Jesus Christ. Through the activities and atmosphere of faith and rituals 3) Is to provide educational opportunities for everyone. To nurture desirable characteristics and features of a good four congregations 4) with the help of the school. Large schools also help schools help themselves not. Or help schools providing

146 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม


ฉลองรัฐ สังขรัตน์, ออกัสติน สุกิโย ปิโตโย, สิทธิพร นิยมศรีสมศักดิ์, และสมโภชน์ อเนกสุข

education allowance. Under the policy, the Department of Education of the Archdiocese of Bangkok. 2. The pattern of the identity of Catholic schools in the Archdiocese of Bangkok. According to the policy of the Catholic Education Council of Thailand. Has conducted four aspects: how to manage a Catholic. Publication of the Dharma teachings of Jesus Christ. A school that provides educational opportunities for everyone. With the help of the school. And using policy-based management education department of the Archdiocese of Bangkok and the guidelines of the Ministry of Education under the Education Act of 2542, as amended (No. 2) Act 2545. to development of innate potentials of the students as intended by God, the Creator. By using administrative policies for Catholic Education and the indicator is set by the National Education Act. 3. The dynamics of a trend to change the identity and the Catholic administration method of the Catholic identity of Catholic schools in the Archdiocese of Bangkok. According to the policy of the Catholic Education Council of Thailand. That is dynamic by nature study in Thailand found that four aspects: 1) A dynamic society. Social change makes people want to be different. Providing educational opportunities for everyone. The goal is to be the good of society, reducing social problems created guidance in life in society,

ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2017/2560 147


อัตลักษณ์โรงเรียนคาทอลิกในอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ ทีเ่ ป็นพลวัตรตามนโยบายของ สภาการศึกษาคาทอลิกแห่งประเทศไทย

2) Dynamic environment. The educational administration have focus of the learning atmosphere is peaceful. And highlight the deliberate stimulation preach to the students to leverage the knowledge, wisdom and moral thinking to students 3) Dynamic economy. The educational administration policy of the Catholic Education Council of Thailand. An opportunity for the disadvantaged. Through education To build a future Security in life And have sufficient income to live 4) Dynamic technology. The educational administration focuses on learning to use the technology consciously and scrupulously careful to benefit themselves and society. 4.  The strengths of the identity of Catholic schools in the Archdiocese of Bangkok's Management Department. The integration of various subjects. The Catholic school is operating integrated international trends and top four positions of the graduate school of the Archdiocese of Bangkok. Management and Budget has good management. The weaknesses is quality assurance system has that are very detailed and cause difficulties in operating the quality and social conditions that are likely to change as the world. Influence the policy of the Church's action to achieve the goals set forth by the results. Keywords: The Identity of Catholic School,  Bangkok Archdiocese,  The Policies of Roman Catholic Church, Congragretion for Catholic Education for Educational Institutions. 148 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม


ฉลองรัฐ สังขรัตน์, ออกัสติน สุกิโย ปิโตโย, สิทธิพร นิยมศรีสมศักดิ์, และสมโภชน์ อเนกสุข

ความเป็นมาและความส�ำคัญของปัญหา พระราชบั ญ ญั ติ ก ารศึ ก ษาแห่ ง ชาติ พ.ศ.  2542  และทีแ่ ก้ไขเพิม่ เติม  (ฉบับที ่ 2) พ.ศ.  2545  มาตรา  6  (ส� ำ นั ก งานคณะ กรรมการการศึ ก ษาแห่ ง ชาติ   ส� ำ นั ก นายก รัฐมนตรี,  2545)  ได้กล่าวถึงความมุ่งหมาย และหลักการจัดการศึกษาว่า“การจัดการศึกษา ต้องเป็นไปเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่ สมบูรณ์ทั้งร่างกายจิตใจ  สติปัญญา  ความรู้ และคุณธรรม  มีจริยธรรมและวัฒนธรรมใน การด�ำรงชีวติ   สามารถอยูร่ ว่ มกับผูอ้ นื่ ได้อย่าง มี ค วามสุ ข ”แสดงให้ เ ห็ น ถึ ง เจตนาของการ จั ด การศึ ก ษาว่ า เป็ น การให้ ก ารอบรมกั บ ประชากรในชาติทุกเพศ  ทุกวัย  ให้มีความรู้ ความสามารถ  เป็ น บุ ค คลที่ มี คุ ณ ภาพ มีคุณธรรมความดี  เพื่อด�ำรงชาติให้มีความ เจริ ญ ก้ า วหน้ า อยู ่ ไ ด้ อ ย่ า งมี ค วามสงบสุ ข และสันติภาพ การจัดการศึกษาคาทอลิกได้มีบทบาท ในการสร้างคุณภาพชีวิต  และให้การบริการ การศึ ก ษาเพื่ อ แบ่ ง เบาภาระของภาครั ฐ มาตั้ ง แต่ ส มั ย สมเด็ จ พระนารายณ์ ม หาราช ในพ.ศ.  2208  มีการจัดตั้งโรงเรียนคาทอลิก แห่งแรกเกิดขึ้น  มุ่งเน้นวิชาการและคุณธรรม จนเป็นที่ยอมรับ  และให้ความมั่นใจกับสังคม มาถึงปัจจุบัน  รุ่ง  แก้วแดง  (2544,  หน้า 61)  ได้กล่าวถึงจุดแข็งและความส�ำเร็จของ

โรงเรียนคาทอลิกว่า  การศึกษาคาทอลิกใช้ การบูรณาการระหว่างการศึกษากับศาสนา คุ ณ ธรรมให้ เ ป็ น เรื่ อ งเดี ย วกั น   และการให้ ความช่วยเหลือคนยากจน  ซึ่งเป็นหน้าที่หลัก ของการศึกษาคาทอลิก  ในสาส์นของสมณ กระทรวงเพื่อการอบรมคาทอลิกเรื่องโรงเรียน คาทอลิ ก   ข้ อ   35  ก� ำ หนดว่ า   โรงเรี ย น คาทอลิ ก ต้ อ งมุ ่ ง พั ฒ นาคนทุ ก ด้ า นให้ บ รรลุ ความส�ำเร็จในพระเยซูคริสตเจ้าผู้เป็นมนุษย์ที่ ดีพร้อม  (สมณกระทรวงการศึกษาคาทอลิก, 2531,  หน้ า   12)  ใน  พ.ศ.  2543 พระศาสนจั ก รคาทอลิ ก ในประเทศไทยได้ ก� ำ หนดทิ ศ ทางงานอภิ บ าลคริ ส ตศั ก ราช 2000  โดยก�ำหนดให้มนี โยบายด้านการศึกษา ให้ ส ถานศึ ก ษาเป็ น สนามแพร่ ธ รรมมากขึ้ น ให้การอบรมและฟื้นฟูชีวิตนักเรียน  เยาวชน และบุคคลทีเ่ กีย่ วข้อง  พร้อมทัง้ การศึกษาต้อง เป็นกระบวนการส่งเสริมศักดิ์ศรีมนุษย์  สร้าง คุณธรรม  จริยธรรม  และสันติในสังคมตาม ระบอบประชาธิปไตย  ให้โอกาสแก่นักเรียน คาทอลิ ก และผู ้ ย ากไร้   (สภาพระสั ง ฆราช คาทอลิกประเทศไทย,  2553,  หน้า  50-51) โรงเรียนคาทอลิกเป็นสถานศึกษาที่มี อัตลักษณ์เกิดขึ้นในประเทศไทยมานานกว่า 340  ปี  มีพันธกิจและมีปรัชญาการศึกษา แบบคาทอลิ ก เพื่ อ พั ฒ นาให้ เ ป็ น บุ ค คลที่ สมบูรณ์ดงั ทีส่ มณกระทรวงการศึกษาคาทอลิก

ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2017/2560 149


อัตลักษณ์โรงเรียนคาทอลิกในอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ ทีเ่ ป็นพลวัตรตามนโยบายของ สภาการศึกษาคาทอลิกแห่งประเทศไทย

(2540)  ได้ออกเอกสารเกีย่ วกับอัตลักษณ์ของ การศึกษาคาทอลิกว่าจ�ำเป็นต้องมีโรงเรียน คาทอลิ ก   ซึ่ ง มี พั น ธกิ จ เฉพาะของการเป็ น โรงเรียนคาทอลิก  มีวตั ถุประสงค์ให้เป็นสถาน ทีพ่ เิ ศษทีก่ อ่ ให้เกิดการอบรมแบบบริบรู ณ์  ใน รูปแบบของการยอมรับคุณค่าสูงสุดในชีวติ จริง และแสวงหาการสอดแทรกคุณค่าวัฒนธรรมที่ ดีงามในกิจกรรมทุกอย่างของชีวิต  นอกจาก นั้ น ในสมณสาสน์ ยั ง ได้ ก ล่ า วถึ ง จุ ด ประสงค์ ทั่วไปของโรงเรียนคาทอลิกในกระบวนการที่ เกิดขึน้ ในโรงเรียนตอนหนึง่ ว่า  “วัฒนธรรมจะ กลายเป็นการศึกษาได้กต็ อ่ เมือ่ เยาวชนสามารถ เชื่อมโยงการเล่าเรียนของตนกับสภาพการณ์ ต่างๆของชีวติ จริงทีต่ นคุน้ เคย  โรงเรียนจะต้อง กระตุ้นให้นักเรียนฝึกฝนสติปัญญาอาศัยความ เข้าใจ  เพือ่ ทีจ่ ะเข้าใจสิง่ ต่างๆ  ได้อย่างชัดเจน รวมถึงรู้จักมีจินตนาการในการสร้างสรรค์ด้วย โรงเรียนจะต้องพร�่ำสอนให้นักเรียนรู้จักหา ความหมายแห่งประสบการณ์และความจริงที่ อยู่เบื้องหลังประสบการณ์เหล่านั้น  โรงเรียน ใดที่ ล ะเลยหน้ า ที่ นี้ แ ละสอนเฉพาะข้ อ สรุ ป ต่างๆ  ที่ส�ำเร็จรูปมาแล้ว  ถือว่าเป็นอุปสรรค ต่อการพัฒนาส�ำหรับเด็กนักเรียนของตนแต่ละ คน”  โดยบุ ค คลที่ ส� ำคั ญ ที่ จ ะท� ำให้ พั น ธกิ จ ส�ำเร็จไป  จากเอกสารสภาสังคายนาวาติกันที่ 2  (อัตลักษณ์การศึกษาคาทอลิก,  2551,  หน้า 63)  คื อ   “ผู ้ อ� ำ นวยการ  ผู ้ แ นะแนว  ครู

150 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

ผูส้ อน  รวมทัง้ ผูท้ มี่ สี ว่ นเกีย่ วข้องในการศึกษา หรือช่วยในการบริหาร  ซึ่งลักษณะพิเศษของ ครูคาทอลิกคือ  การสอนความจริง  ถ่ายทอด ความจริงในฐานะทางวิชาการ  ให้การอบรม อย่างครบครันในทุกๆ  ด้าน  เป็นการเตรียม ไปสู่อาชีพการท�ำงาน  รวมทั้งการศึกษาทาง ด้ า นวิ ช าการ  ทางด้ า นศี ล ธรรมและสั ง คม รวมทั้งทางด้านศาสนาด้วย  โดยมีจุดประสงค์ ว่าจะอบรมบุคคลให้เป็นคนทีม่ คี วามมัน่ คง  มี ความรับผิดชอบ  สามารถจะมี  การวินจิ ฉัยที่ ดี  ตระเตรียมให้เยาวชนไปสู่โลกกว้าง  สอน เขาให้รู้จักความหมายของชีวิต” ตั้งแต่  พ.ศ.  2554  อัครสังฆมณฑล กรุงเทพฯ  ได้ให้ความส�ำคัญกับอัตลักษณ์การ ศึ ก ษาคาทอลิ ก มากขึ้ น   โดยได้ จั ด อบรม บุคลากรทางการศึกษาและยังได้จัดกิจกรรม หลายครั้งเพื่อสะท้อนอัตลักษณ์ของการศึกษา คาทอลิก  อาทิ  การอบรมหลักสูตร  “โตไป ไม่โกง”  ณ  หอประชุม  จีระบุญมากสถาบัน บั ณ ฑิ ต พั ฒ นบริ ห ารศาสตร์   เมื่ อ วั น ที่   27 มีนาคม  พ.ศ.  2555  โดยวิทยากรในการ อบรมดังกล่าวได้กล่าวถึงอัตลักษณ์การศึกษา คาทอลิกว่า  “โรงเรียนคาทอลิกก�ำลังก้าวต่อ ไปในการท�ำให้อัตลักษณ์การศึกษามั่นคงโดย เฉพาะอย่างยิ่งในการรับภารกิจ  การให้การ ศึ ก ษาอบรมบุ ค คล  ทั้ ง ครบ  ให้ ยึ ด มั่ น ใน คุ ณ ธรรม  เพื่ อ ให้ ทุ ก ฝ่ า ยมี ส ่ ว นร่ ว มให้ ก าร


ฉลองรัฐ สังขรัตน์, ออกัสติน สุกิโย ปิโตโย, สิทธิพร นิยมศรีสมศักดิ์, และสมโภชน์ อเนกสุข

ศึ ก ษ า อ บ ร ม ที่ ดี แ ก ่ เ ด็ ก แ ล ะ เ ย า ว ช น ในโรงเรียนคาทอลิก  บนพื้นฐานของความรัก และอิ ส รภาพ  อั น เป็ น แก่ น ส� ำ คั ญ ของ ศาสนธรรม”  และฝ่ายอัตลักษณ์การศึกษา ค า ท อ ลิ ก   ส ภ า ก า ร ศึ ก ษ า ค า ท อ ลิ ก (ประเทศไทย)  ได้สรุปหลัก  10  ประการของ อัตลักษณ์การศึกษาคาทอลิกไว้ดังนี้ (1)  มี แ นวทางการศึ ก ษาตามแบบ พระเยซูคริสต์ (2)  มี จุ ด หมายทางการศึ ก ษาที่ จ ะ หล่อหลอมให้นักเรียนมุ่งสู่ความเป็นมนุษย์ ที่สมบูรณ์ (3)  มุ่งพัฒนานักเรียนเป็นรายบุคคล (4)  ให้นักเรียนมีส่วนร่วมนใกระบวน การเรียนการสอน (5)  มี ป ลายทางที่ เข้ า ถึ ง คุ ณ ค่ า และ ความจริงอย่างเป็นองค์รวม (6)  บูรณาการองค์ความรู้และคุณค่า ขององค์ความรู้  เข้ากับคุณค่าพระวรสารจน เป็นหนึ่งเดียว (7)  มีหลักสูตรทีเ่ สนอภาพองค์รวมของ ความเป็ น มนุ ษ ย์ เ พื่ อ ให้ เข้ า ถึ ง คุ ณ ค่ า ที่ มี บูรณาการ (8)  มีกระบวนการเรียนการสอนที่เน้น การไตร่ตรอง (9)  มีครูเป็นแบบอย่างผูเ้ อือ้ ให้เกิดการ เรียนรู้และเป็นเพื่อนร่วมทางชีวิตและ

(10)  มีความเป็นชุมชน  (Community) และการเสริมสร้างจิตวิถีแห่งความเป็นหนึ่ง เดียวกัน  (Spirituality  of  communion) สภาการศึกษาคาทอลิกแห่งประเทศไทย ได้สรุปเป็นเอกสารเผยแพร่ชอื่ ว่า  “ก้าวไปข้าง หน้าด้วยอัตลักษณ์การศึกษาคาทอลิก  ปีค.ศ. 2012-2015”  และได้จัดการประชุมในวันที่ 15-16  มิ ถุ น ายน  พ.ศ.  2555  เพื่ อ สั ง เคราะห์ ภ าพรวมอั ต ลั ก ษณ์ ก ารศึ ก ษา คาทอลิกโดยให้ชื่อการประชุมว่า  “มองไป ข้ า งหน้ า ...อั ต ลั ก ษณ์ ก ารศึ ก ษาคาทอลิ ก สภาการศึ ก ษาคาทอลิ ก (ประเทศไทย)” ณ  ห้ อ งประชุ ม   2  ศู นย์ ฝ ึ ก อบรมอภิ บาล บ้านผู้หว่าน  อ.สามพรานจ.นครปฐม  ข้อมูล ตามที่เผยแพร่สามารถแบ่งออกเป็น  9  เรื่อง คือ (1)  ข้อสรุปในการด�ำเนินการก้าวไป ข้างหน้าด้วยอัตลักษณ์การศึกษาคาทอลิก (2)  ความท้าทายในปัจจุบัน (3)  เป้าหมายของโรงเรียน (4)  พันธกิจของโรงเรียนคาทอลิก (5)  พันธกิจและแผนงานตามอัตลักษณ์ การศึกษาคาทอลิก (6)  ชุมชนการศึกษาว่าด้วยบทบาทของ โรงเรียนกับครูโรงเรียนกับพ่อแม่  โรงเรียนต่อ รัฐและชุมชนและโรงเรียนต่อพระศาสนจักร

ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2017/2560 151


อัตลักษณ์โรงเรียนคาทอลิกในอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ ทีเ่ ป็นพลวัตรตามนโยบายของ สภาการศึกษาคาทอลิกแห่งประเทศไทย

(7)  หลั ก การเบื้ อ งต้ น ของการจั ด กิจกรรมการเรียนรู้ตามอัตลักษณ์การศึกษา คาทอลิก (8)  การด� ำ เนิ น การเพื่ อ มาตรฐาน คุณภาพตามเจตนารมณ์ของพระราชบัญญัติ การศึกษาแห่งชาติว่าด้วยอัตลักษณ์การศึกษา คาทอลิก  และ (9)  คุณค่าพระวรสาร  21  ประการ ส�ำหรับอัตลักษณ์การศึกษาคาทอลิก ซึง่ ผูว้ จิ ยั ได้สงั เคราะห์แล้วพบว่า  สามารถสรุป เป็ น เนื้ อ หาที่ ส� ำ คั ญ ได้ ส องเรื่ อ ง  คื อ   เรื่ อ ง อัตลักษณ์การศึกษาคาทอลิกตามแนวทางการ บริหารจัดการองค์กรว่าด้วยวิสยั ทัศน์  พันธกิจ และยุทธศาสตร์  และเรือ่ งอัตลักษณ์การศึกษา คาทอลิ ก ตามมาตรฐานการศึ ก ษาแห่ ง ชาติ ผู ้ วิ จั ย จึ ง ได้ ท บทวนเอกสารและงานวิ จั ย ที่ เกี่ยวข้องเพิ่มเติม  พบว่ายังขาดการศึกษาถึง อัตลักษณ์การศึกษาคาทอลิกว่าด้วยภารกิจการ บริหารสถานศึกษา  ซึง่ เป็นปัจจัยส�ำคัญในการ ขับเคลื่อนให้สถานศึกษาบรรลุตามวิสัยทัศน์ พันธกิจ  และยุทธศาสตร์  และให้บรรลุตาม มาตรฐานคุณภาพการศึกษา ดังนัน้   ผูว้ จิ ยั จึงมีความสนใจทีจ่ ะศึกษา ถึ ง อั ต ลั ก ษณ์ โ รงเรี ย นคาทอลิ ก ในอั ค ร สั ง ฆมณฑลกรุ ง เทพฯ  ที่ เ ป็ น พลวั ต   ตาม นโยบายของสภาการศึ ก ษาคาทอลิ ก แห่ ง ประเทศไทย  โดยเฉพาะอย่างยิ่งความหมาย

152 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

อัตลักษณ์โรงเรียนคาทอลิก  ตามนโยบายของ สภาการศึ ก ษาคาทอลิ ก แห่ ง ประเทศไทย แบบแผนความสัมพันธ์ของอัตลักษณ์โรงเรียน คาทอลิก  นโยบายของสภาการศึกษาคาทอลิก แห่ ง ประเทศไทย  และวิ ธี ก ารบริ ห ารของ ผู้บริหารโรงเรียนคาทอลิกในบริบทสังคมไทย แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงอัตลักษณ์โรงเรียน คาทอลิ ก ตามนโยบายของสภาการศึ ก ษา คาทอลิกแห่งประเทศไทย  และวิธีการบริหาร ของผู้บริหารโรงเรียนคาทอลิกในบริบทของ สั ง คมไทย  รวมทั้ ง จุ ด แข็ ง จุ ด อ่ อ นของ อัตลักษณ์โรงเรียนคาทอลิกตามนโยบายของ สภาการศึกษาคาทอลิกแห่งประเทศไทยเพื่อ น� ำ ข้ อ ค้ น พบไปก� ำ หนดเป็ น แนวทางในการ เสริ ม สร้ า งอั ต ลั ก ษณ์ โรงเรี ย นคาทอลิ ก ใน อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ  ต่อไป วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1.  เพื่ อ ศึ ก ษาการให้ ค วามหมาย อัตลักษณ์โรงเรียนคาทอลิกในอัครสังฆมณฑล กรุงเทพฯ  ตามนโยบายของสภาการศึกษา คาทอลิกแห่งประเทศไทย 2.  เพื่อศึกษาแบบแผนความสัมพันธ์ ของอั ต ลั ก ษณ์ โ รงเรี ย นคาทอลิ ก ในอั ค ร สังฆมณฑลกรุงเทพฯ  ตามนโยบายของสภา การศึกษาคาทอลิกแห่งประเทศไทย  และวิธี การบริหารของผู้บริหารโรงเรียนคาทอลิกใน บริบทสังคมไทย


ฉลองรัฐ สังขรัตน์, ออกัสติน สุกิโย ปิโตโย, สิทธิพร นิยมศรีสมศักดิ์, และสมโภชน์ อเนกสุข

3.  เพือ่ ศึกษาแนวโน้มการเปลีย่ นแปลง อัตลักษณ์โรงเรียนคาทอลิกในอัครสังฆมณฑล กรุ ง เทพฯตามนโยบายของสภาการศึ ก ษา คาทอลิกแห่งประเทศไทย  และวิธีการบริหาร ของผู้บริหารโรงเรียนคาทอลิกในบริบทของ สังคมไทย 4.  เพื่อศึกษาจุดแข็งและจุดอ่อนของ อัตลักษณ์โรงเรียนคาทอลิกในอัครสังฆมณฑล กรุ ง เทพฯตามนโยบายของสภาการศึ ก ษา คาทอลิกแห่งประเทศไทย

กรอบแนวคิดในการวิจัย การวิจยั ครัง้ นี ้ ผูว้ จิ ยั มุง่ ศึกษาอัตลักษณ์ โรงเรียนคาทอลิกในอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ ที่เป็นพลวัต  ตามนโยบายของสภาการศึกษา คาทอลิกแห่งประเทศไทย  จากสมณสาสน์มติ ิ ด้านศาสนาของการศึกษาในโรงเรียนคาทอลิก (The  Religious  Dimension  of  Education in  a  Catholic  School)  (2556)  ซึง่ ผูว้ จิ ยั ได้ก�ำหนด

ปัจจัยแนวโน้มที่เป็นพลวัตรของอัตลักษณ์ การศึกษาคาทอลิก 1.  คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของนักเรียน 2.  กระบวนการการพัฒนานักเรียน 3.  บรรยากาศทางการศึกษา 4.  การให้ความกระจ่างของความรู้ด้วยแสงแห่งความเชื่อ 5.  การบูรณาการความเชื่อ วัฒนธรรม และชีวิต 6.  สภาพแวดล้อมทางการศึกษา 7.  ครู พ่อแม่ ผูป้ กครอง นักบวชหรือฆราวาสทีเ่ ป็นผูบ้ ริหาร

กรอบแนวคิดในการวิจัยดังภาพที่  1 นโยบายของสภาการศึกษาคาทอลิก แห่งประเทศไทย 1.  เป้าหมายและพันธกิจ 2.  การจัดการศึกษา - การบริหารงานวิชาการ งบประมาณ บุคคล และบริหารทั่วไป - การจัดการเรียนการสอน

อัตลักษณ์โรงเรียนคาทอลิกในอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ มุง่ เน้นงานอภิบาลและการหล่อหลอมนักเรียนสูค่ วามเป็นมนุษย์ทสี่ มบูรณ์ทงั้ ร่างกายและจิตใจ  เพือ่ การ ด�ำเนินชีวิตอยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างมีสันติสุข  และด้วยการเปลี่ยนแปลงตัวบุคคลให้ผู้น�ำการเปลี่ยนแปลงด้วย คุณธรรม  จริยธรรม  โดยจิตตารมณ์แห่งพระวรสาร

แผนภาพที่ 1 กรอบแนวคิดการวิจัย ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2017/2560 153


อัตลักษณ์โรงเรียนคาทอลิกในอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ ทีเ่ ป็นพลวัตรตามนโยบายของ สภาการศึกษาคาทอลิกแห่งประเทศไทย

นิยามศัพท์เฉพาะ 1.  อั ต ลั ก ษณ์ ก ารศึ ก ษาโรงเรี ย น คาทอลิก  หมายถึง  ลักษณะอันแสดงถึงการ ด�ำเนินงานของโรงเรียนตามหลักการศึกษาของ พระศาสนจั ก รคาทอลิ ก   ให้ เ หมาะสมกั บ บริบทของการจัดการศึกษาโรงเรียนคาทอลิก ในประเทศไทย  และสภาการศึกษาคาทอลิก แห่งประเทศไทย 2.  นโยบายของสภาการศึกษาคาทอลิก หมายถึ ง   การอบรมและการศึ ก ษาแบบ คาทอลิกที่ด�ำเนินการในสถานศึกษาคาทอลิก อยู่ภายใต้อ�ำนาจของพระศาสนจักรคาทอลิก โดยสภาพระสังฆราชคาทอลิก  ที่มีแนวทาง ค�ำสอน  ระเบียบ  กฎเกณฑ์  ที่เป็นนโยบาย ด้ า นการศึ ก ษาส� ำ หรั บ การศึ ก ษาคาทอลิ ก ทีเ่ ป็นลายลักษณ์อกั ษร  ภายใต้การรับรองของ พระศาสนจักรคาทอลิก 3.  แนวทางการส่งเสริมอัตลักษณ์การ ศึกษาคาทอลิกของโรงเรียนคาทอลิก  อัคร สั ง ฆมณฑลกรุ ง เทพฯ  หมายถึ ง   วิ ธี ก าร วางแผนงานเพื่อการบริหารภาระงานทั้ง  4 ด้ า น  ตามราชบั ญ ญั ติ ก ารศึ ก ษาแห่ ง ชาติ พ.ศ.  2542  และทีแ่ ก้ไขเพิม่ เติม  (ฉบับที ่ 2) พ.ศ.  2545  มาตราที่  39  ที่กล่าวถึงการ บริหารงานโรงเรียน  อันมีผลต่อการส่งเสริม อั ต ลั ก ษณ์ ก ารศึ ก ษาคาทอลิ ก ในโรงเรี ย น คาทอลิกอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ

154 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

4.  สภาการศึ ก ษาคาทอลิ ก แห่ ง ประเทศไทย  หมายถึ ง   หน่ ว ยงานของ พระศาสนจักรคาทอลิก  ที่มีหน้าที่ด้านการ ศึ ก ษาคาทอลิ ก ในประเทศไทย  เป็ น หน่ ว ย งานการบริ ห ารส� ำ หรั บ สถาบั น การศึ ก ษา คาทอลิ ก ทุ ก ระดั บ ในประเทศไทย  ภายใต้ โครงสร้างของสภาพระสังฆราชคาทอลิกแห่ง ประเทศไทย 5.  อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ  หมายถึง เขตการปกครองของพระศาสนจักรคาทอลิกใน ประเทศไทยที่ มี ฐ านะเป็ น อั ค รสั ง ฆมณฑล มีลักษณะเป็นสังฆมณฑลที่ได้รับการแต่งตั้งให้ มีลักษณะเป็น  Metropolitan  ภายใต้การ ปกครองของพระอัครสังฆราชคาทอลิกที่ได้รับ การแต่งตั้งจากพระสันตะปาปา 6.  พลวั ต ตามนโยบายของสภาการ ศึ ก ษาคาทอลิ ก แห่ ง ประเทศไทย  หมายถึ ง แบบแผนความสัมพันธ์ของอัตลักษณ์โรงเรียน คาทอลิก  แนวโน้มการเปลีย่ นแปลงอัตลักษณ์ โรงเรี ย นคาทอลิ ก   และวิ ธี ก ารบริ ห ารของ ผู้บริหารโรงเรียนคาทอลิกในบริบทของสังคม ไทย  และจุ ด แข็ ง   จุ ด อ่ อ นของอั ต ลั ก ษณ์ โรงเรี ย นคาทอลิ ก ตามมุ ม มองของผู ้ บ ริ ห าร โรงเรียนคาทอลิก 7.  โรงเรียนอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ หมายถึ ง   โรงเรี ย นเอกชนคาทอลิ ก ที่ อั ค ร สังฆมณฑลกรุงเทพฯ  เป็นเจ้าของและบริหาร ประกอบไปด้วยโรงเรียนเอกชนจ�ำนวนทั้งสิ้น 35  โรงเรียน


ฉลองรัฐ สังขรัตน์, ออกัสติน สุกิโย ปิโตโย, สิทธิพร นิยมศรีสมศักดิ์, และสมโภชน์ อเนกสุข

ประโยชน์ที่ได้รับ 1.  อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ  ได้การ บริ ห ารการศึ ก ษาตามอั ต ลั ก ษณ์ ก ารศึ ก ษา คาทอลิ ก ของโรงเรี ย นคาทอลิ ก ในอั ค ร สังฆมณฑลกรุงเทพฯ 2.  สภาการศึ ก ษาคาทอลิ ก แห่ ง ประเทศไทยได้แนวทางการบริหารการศึกษา เพื่อเสริมสร้างอัตลักษณ์การศึกษาคาทอลิก การด�ำเนินการวิจัย การวิ จั ย ครั้ ง นี้   ใช้ ร ะเบี ย บวิ จั ย เชิ ง คุ ณ ภาพ  (Qualitative  research)  โดย อาศั ย การวิ จั ย เอกสาร  (Documentary research)  ผู้วิจัยใช้การศึกษาและวิเคราะห์ ข้อมูลจากเอกสารเพื่อศึกษาความหมายของ อัตลักษณ์โรงเรียนคาทอลิก  1)  เพื่อศึกษา การให้ ค วามหมาย  อั ต ลั ก ษณ์ โ รงเรี ย น คาทอลิกในอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ  ตาม นโยบายของสภาการศึ ก ษาคาทอลิ ก แห่ ง ประเทศไทย  2)  เพื่อศึกษาแบบแผนความ สัมพันธ์ของอัตลักษณ์โรงเรียนคาทอลิกในอัคร สังฆมณฑลกรุงเทพฯ  นโยบายของสภาการ ศึกษาคาทอลิกแห่งประเทศไทย  และวิธีการ บริหารของผูบ้ ริหารโรงเรียนคาทอลิกในบริบท สั ง คมไทย  3)  เพื่ อ ศึ ก ษาแนวโน้ ม การ เปลี่ยนแปลงอัตลักษณ์โรงเรียนคาทอลิกใน อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ  ตามนโยบายของ

สภาการศึกษาคาทอลิกแห่งประเทศไทย  และ วิธกี ารบริหารของผูบ้ ริหารโรงเรียนคาทอลิกใน บริบทของสังคมไทย  4)  เพื่อศึกษาจุดแข็ง และจุดอ่อนของอัตลักษณ์โรงเรียนคาทอลิกใน อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ  ตามนโยบายของ สภาการศึกษาคาทอลิกแห่งประเทศไทย  และ การสัมภาษณ์เชิงลึก  (In-depth  interview) ตามแนวคิดของสก๊อต  (Scotts,  2006)  ซึ่ง ใช้วธิ เี ลือกตัวอย่างแบบสโนว์บอล  (Snowball sampling)  เพื่อศึกษาถึงอัตลักษณ์โรงเรียน คาทอลิกในอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ  ที่เป็น พลวั ต   ตามนโยบายของสภาการศึ ก ษา คาทอลิ ก แห่ ง ประเทศไทย  แหล่ ง ข้ อ มู ล เอกสารทีน่ ำ� มาใช้ในการศึกษาค้นคว้าวิเคราะห์ และสังเคราะห์แบ่งตามประเภทของเอกสารไว้ เป็นสองประเภท  ได้แก่เอกสารชั้นต้นและ เอกสารชั้นรอง  ซึ่งมีรายละเอียดสรุปได้ดังนี้ (Bailey,  1994,  p.194) เอกสารชั้ น ต้ น หรื อ เอกสารปฐมภู มิ (Primary  document)  หมายถึง  เอกสารที่ เขียนขึ้นโดยบุคคลที่เรียกว่า  ประจักษ์พยาน (Eye-witness)  ที่อยู่ในเหตุการณ์  ณ  ขณะ ที่เหตุการณ์นั้นก�ำลังเกิดขึ้นจริงๆหรือบันทึก ส่วนตัว  (Diary)  ที่ผู้เขียนแสดงความคิดและ ความรูส้ กึ ของตนเองในบันทึกนัน้   ในทีน่ หี้ มาย ถึงเอกสารเกี่ยวกับการจัดการศึกษาคาทอลิก ของพระศาสนจักรคาทอลิก  ได้แก่

ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2017/2560 155


อัตลักษณ์โรงเรียนคาทอลิกในอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ ทีเ่ ป็นพลวัตรตามนโยบายของ สภาการศึกษาคาทอลิกแห่งประเทศไทย

1.  ค�ำแถลงของสภาสังคายนาวาติกัน ที่  2  เรื่องการศึกษาแบบคริสต์  (Declaration  of  Christian  Education)  ประกาศ ปี  ค.ศ.  1965 2.  สมณสาสน์ของสมณกระทรวงการ ศึกษาคาทอลิก  (Congregation  for  Catholic Education)  ได้แก่ - โรงเรียนคาทอลิก  (The  Catholic School)  ประกาศปี  ค.ศ.  1977 - ฆราวาสคาทอลิ ก ในโรงเรี ย น: พยานยืนยันความเชือ่   (Lay  Catholic in  Schools:  Witnessed  to  Faith) ประกาศปี  ค.ศ.  1982 - มิ ติ ด ้ า นศาสนาของการศึ ก ษาใน โรงเรียนคาทอลิก  (The  Religious Dimension  of  Education  in  a Catholic  School)  ประกาศปี ค.ศ.  1988 - โรงเรียนคาทอลิกสู่สหัสวรรษที่สาม (The  Catholic  School  on  the Threshold  of  the  Third  Millennium)  ประกาศปี  ค.ศ.  1997 - นั ก บวชและพั น ธกิ จ ในโรงเรี ย น (Consecrated  Persons  and their  Mission  in  Schools) ประกาศปี  ค.ศ.  2002

156 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

- การให้การศึกษาร่วมกันในโรงเรียน คาทอลิ ก   (Education  Together in  Catholic  Schools)  ประกาศปี ค.ศ.  2007 และเอกสารเกีย่ วกับแนวคิดการจัดการ ศึกษาคาทอลิกของพระศาสนจักรคาทอลิกแห่ง ประเทศไทย  ตามแผนอภิบาล  ค.ศ.  20102015  ได้แก่ -  ระเบียบข้อบังคับและแนวปฏิบตั ขิ อง สภาการศึกษาคาทอลิกแห่งประเทศไทย - แผนงานของสภาการศึกษาคาทอลิก แห่งประเทศไทย - เอกสารก้าวไปข้างหน้าด้วยอัตลักษณ์ การศึกษาคาทอลิก  ปี  ค.ศ.  20102015  เป็นต้น เอกสารชั้ น รองหรื อ เอกสารทุ ติ ย ภู มิ (Secondary  document)  หมายถึงเอกสาร ที่เขียนขึ้นโดยบุคคลที่มิได้เป็นประจักษ์พยาน ในเหตุการณ์ใดเหตุการณ์หนึ่ง  ซึ่งอาจจะเป็น ผู้ที่รับทราบข้อมูลจากประจักษ์พยานด้วยการ สนทนาหรือการบอกเล่าสืบต่อๆ  กันมา  หรือ ได้เคยอ่านผลงานการเขียนของประจักษ์พยาน ข้อมูลจากเอกสารชั้นรองนี้จึงอาจะมีข้อมูลที่ คลาดเคลือ่ นมากกว่าเอกสารชัน้ ต้นในทีน่ หี้ มาย ถึง  เอกสารประกอบการประชุมหรือสัมมนา ต่ า งๆ  ได้ แ ก่   สภาการศึ ก ษาคาทอลิ ก (ประเทศไทย).  (2539).  ปรั ช ญา  และ


ฉลองรัฐ สังขรัตน์, ออกัสติน สุกิโย ปิโตโย, สิทธิพร นิยมศรีสมศักดิ์, และสมโภชน์ อเนกสุข

นโยบายของการศึกษาคาทอลิก:  มติและข้อ เสนอแนะ.  ในการประชุมและการสัมมนา ประจ�ำปีระหว่างปี  ค.ศ.  1969-1995  (หน้า 20).  กรุ ง เทพฯ:  มหาวิ ท ยาลั ย อั ส สั ม ชั ญ , สภาการศึ ก ษาคาทอลิ ก   (ประเทศไทย). (2542).  ถ้อยแถลงการประชุมสัมมนาประจ�ำ ปีการศึกษา  2542  ครั้งที่  29  เรื่อง  การ ศึกษาคาทอลิกกับการปฏิรูปการศึกษา.  การ ศึกษาคาทอลิกในประเทศไทย,  สภาการศึกษา คาทอลิ ก   (ประเทศไทย).  (2544  ก). ถ้ อ ยแถลงของสภาการศึ ก ษาคาทอลิ ก แห่ ง ประเทศไทย  ในการสั ม มนา  ครั้ ง ที่   31 หัวข้อพันธกิจแห่งความรักและการรับใช้ใน บริบทของการปฎิรูปการศึกษา.  การศึกษา คาทอลิ ก ในประเทศไทย,สภาการศึ ก ษา คาทอลิ ก   (ประเทศไทย).  (2544  ข). เอกลั ก ษณ์ ข องสถาบั น การศึ ก ษาคาทอลิ ก , คุณลักษณะของผู้บริหาร  ครู  และนักเรียนที่ พึ ง ป ร ะ ส ง ค ์ .   ก า ร ศึ ก ษ า ค า ท อ ลิ ก ใ น ประเทศไทย,  สภาการศึ ก ษาคาทอลิ ก (ประเทศไทย).  (2545  ก).  การศึ ก ษา คาทอลิกรับใช้ประเทศชาติเป็นเวลา  336  ปี. การศึกษาคาทอลิกในประเทศไทย,  33,  6670.  สภาการศึกษาคาทอลิก  (ประเทศไทย). (2545  ค).  ปาฐกถาพิ เ ศษ  การเปิ ด งาน มหกรรมการศึ ก ษาคาทอลิ ก .  การศึ ก ษา คาทอลิ ก ในประเทศไทย,  สภาการศึ ก ษา

ค า ท อ ลิ ก ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย .   ( 2 5 4 6   ก ) . องค์ประกอบที่ส�ำคัญของการศึกษาคาทอลิก. การศึกษาคาทอลิกในประเทศไทย,  34,  8990.  สภาการศึกษาคาทอลิก(ประเทศไทย). (2546  ข).  อนุสรณ์  336  ปี  การศึ ก ษา คาทอลิกไทย  50  ปี  สภาการศึกษาคาทอลิก (ประเทศไทย).  (2548).  ถ้ อ ยแถลงการ ประชุมสัมมนาประจ�ำปีการศึกษา  พ.ศ.  2548 ของสภาการศึกษาคาทอลิก  (ประเทศไทย) ครัง้ ที ่ 35  เรือ่ งวิกฤติศลี ธรรมท้าทายบทบาท การศึกษาคาทอลิก.  การศึกษาคาทอลิกใน ประเทศไทย,  สภาการศึ ก ษาคาทอลิ ก (ประเทศไทย).  (2550).  ถ้อยแถลงของสภา การศึกษาคาทอลิกแห่งประเทศไทยในการ สั ม มนา  ครั้ ง ที่   37  หั ว ข้ อ   เรี ย นที่ จ ะรั ก และรั ก ที่ จ ะเรี ย นรู ้ .   การศึ ก ษาคาทอลิ ก ใน ประเทศไทย,  หรื อ รายงานการวิ จั ย   และ เอกสารต่ า งๆ  ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ อั ต ลั ก ษณ์ โรงเรียนคาทอลิกในอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ เครือ่ งมือในการวิจยั   ใช้แบบสัมภาษณ์ เชิงลึก  (In-depth  interview)  สัมภาษณ์ ผู ้ ใ ห้ ข ้ อ มู ล ส� ำ คั ญ   (Key  Performance) จ�ำนวน  3  ท่าน  ได้แก่  พระอัครสังฆราช จ�ำเนียร  สันติสุขนิรันดร์  ประธานสภาการ ศึกษาคาทอลิกแห่งประเทศไทย  บาทหลวง เดชา  อาภรณ์รตั น์  เลขาธิการสภาการศึกษา คาทอลิกแห่งประเทศไทย  อาจารย์สุมิตรา

ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2017/2560 157


อัตลักษณ์โรงเรียนคาทอลิกในอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ ทีเ่ ป็นพลวัตรตามนโยบายของ สภาการศึกษาคาทอลิกแห่งประเทศไทย

พงศ์ธร  ผู้เชี่ยวชาญด้านการศึกษาคาทอลิก ต่อจากนั้นใช้วิธีเลือกตัวอย่างแบบสโนว์บอล (Snowball  sampling)  ที่ผู้ให้ข้อมูลส�ำคัญ เลือกผู้ให้สัมภาษณ์เชิงลึกต่อไป  จนถึงจุดที่ ข้อมูลอิ่มตัว  หรือประเด็นต่างๆ  ที่ต้องการ ครบถ้วนแล้ว  หรือไม่มีข้อมูลใหม่เกิดขึ้นอีก หรือมีค�ำอธิบายความเกี่ยวข้องกันของปรากฎ การณ์ที่ศึกษาเพียงพอแล้ว การวิเคราะห์ข้อมูล  โดยน�ำข้อมูลสาม ส่วน  (Triangulation)  คือ  ข้อมูลจากเอกสาร ด้ า นการศึ ก ษาคาทอลิ ก จากเอกสารของ พระศาสนจักรโรมันคาทอลิก  ข้อมูลที่ได้จาก การสัมภาษณ์เชิงลึก  ข้อมูลที่ได้จากงานวิจัย ทีเ่ กีย่ วข้อง  มาจ�ำแนกและจัดระบบ  หาความ หมาย  แยกแยะองค์ประกอบ  รวมทั้งเชื่อม โยงหาความสัมพันธ์ของข้อมูล  น�ำมาเขียน รายงานวิจัย ผลการศึกษา ผลการศึกษาพบว่า  อัตลักษณ์โรงเรียน คาทอลิกในอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ  แบ่ง การน�ำเสนอออกเป็น  4  ส่วน  ดังนี้ 1.  การให้ ค วามหมาย  อั ต ลั ก ษณ์ โรงเรียนคาทอลิกในอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ

158 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

ตามนโยบายของสภาการศึกษาคาทอลิกแห่ง ประเทศไทย  สรุปได้ว่า  อัตลักษณ์การศึกษา โรงเรียนคาทอลิกเป็นลักษณะการด�ำเนินงาน ของโรงเรียนตามหลักการของพระศาสนจักร คาทอลิก  ที่มุ่งเน้นงานอภิบาลและการหล่อ หลอมนั ก เรี ย นสู ่ ค วามเป็ น มนุ ษ ย์ ที่ ส มบู ร ณ์ ทั้งร่างกายและจิตใจ  เพื่อการด�ำเนินชีวิตอยู่ ร่ ว มกั บ ผู ้ อื่ น อย่ า งมี สั น ติ สุ ข   และด้ ว ยการ เปลี่ยนแปลงตัวบุคคลให้ผู้น�ำการเปลี่ยนแปลง ด้วยคุณธรรม  จริยธรรม  โดยจิตตารมณ์แห่ง พระวรสาร 2.  แบบแผนความสั ม พั น ธ์ ข อง อัตลักษณ์โรงเรียนคาทอลิกในอัครสังฆมณฑล กรุ ง เทพฯ  นโยบายของสภาการศึ ก ษา คาทอลิกแห่งประเทศไทย  และวิธีการบริหาร ของผู้บริหารโรงเรียนคาทอลิกในบริบทสังคม ไทย  สามารถสรุ ป ได้ ว ่ า   นโยบายของ พระศาสนจั ก รโรมั น คาทอลิ ก มี แ นวทางที่ ชั ด เจนในเรื่ อ งการจั ด การศึ ก ษาคาทอลิ ก โดยที่สถานศึกษาคาทอลิกได้น�ำนโยบายมา ปฏิบัติตามพันธกิจ  และวิสัยทัศน์ของสถาน ศึกษาคาทอลิก  ด้วยการบริหารจัดการแบบ กระจายอ�ำนาจมายังท้องถิ่น  มุ่งเน้นให้สถาน ศึกษาเป็นสนามแห่งการแพร่ธรรมและอภิบาล


ฉลองรัฐ สังขรัตน์, ออกัสติน สุกิโย ปิโตโย, สิทธิพร นิยมศรีสมศักดิ์, และสมโภชน์ อเนกสุข

แผนภาพที่ 2 แบบแผนการจัดการศึกษาคาทอลิกในอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ ร่างกาย/อารมณ์/สังคม

มิติความเป็นมนุษย์

หลักสูตร/การเรียนรู้/กิจกรรม

1. พัฒนาตัวบุคคลมนุษย์ในมิติของผู้เรียน พัฒนาจิตใจ

มิติด้านศาสนา

ความสัมพันธ์กับเพื่อนมนุษย์

การศึกษาคาทอลิก

งานอภิบาล จากค�ำสอนของพระเยซูคริสตเจ้า 2. ฐานแห่งการประกาศข่าวดี

การสอนคริสตศาสนธรรม ความสัมพันธ์กับพระเจ้า ความสัมพันธ์กับมนุษย์

พระวาจาของพระเจ้า พระเยซูคริสตเจ้า = บรมครู

แสงแห่งความเชื่อ

3. การสร้างสภาพแวดล้อมทางการศึกษา

ครู/อาจารย์

สภาพแวดล้อมแบบใหม่

สอน/ให้การศึกษา

วัตถุแสดงมิติทางศาสนา จิตตารมณ์พระวรสาร บรรยากาศทางการศึกษา ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2017/2560 159


อัตลักษณ์โรงเรียนคาทอลิกในอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ ทีเ่ ป็นพลวัตรตามนโยบายของ สภาการศึกษาคาทอลิกแห่งประเทศไทย

3.  แนวโน้ ม การเปลี่ ย นแปลงเป็ น พลวั ต รอั ต ลั ก ษณ์ โรงเรี ย นคาทอลิ ก ในอั ค ร สั ง ฆมณฑลกรุ ง เทพฯ  ตามนโยบายของ สภาการศึกษาคาทอลิกแห่งประเทศไทย  และ วิธีการบริหารของผู้บริหารโรงเรียนคาทอลิก ในบริ บ ทของสั ง คมไทย  สรุ ป ว่ า   การ เปลี่ยนแปลงอัตลักษณ์โรงเรียนคาทอลิกใน อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ  เพราะลักษณะเป็น พลวัตของอัตลักษณ์  ทีเ่ ป็นไปตามค�ำสอนของ พระศาสนจักรโรมันคาทอลิก  และตามบริบท ของสังคม  ในประเทศไทยการบริหารสถาน ศึ ก ษาคาทอลิ ก เป็ น ไปตามค� ำ สอนด้ า นการ ศึ ก ษาคาทอลิ ก และบริ บ ทของสั ง คมไทย โดยมุ ่ ง ที่ เ ป้ า หมายของการศึ ก ษา  พั ฒ นา คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน  พัฒนา นักเรียน  สร้างเสริมบรรยากาศทางการศึกษา ให้ความสว่างของความรูด้ ว้ ยแสงแห่งความเชือ่ จัดการบูรณาการความเชื่อ  วัฒนธรรมและ ชีวติ ด้วยกัน  ท�ำให้เกิดสภาพแวดล้อมแห่งการ เรี ย นรู ้   โดยการมี ส ่ ว นร่ ว มของพ่ อ แม่   ครู ผู้บริหาร  ผู้ปกครอง 4.  จุดแข็งและจุดอ่อนของอัตลักษณ์ โรงเรียนคาทอลิกในอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ ตามนโยบายของสภาการศึกษาคาทอลิกแห่ง ประเทศไทย  สรุปว่า  การบริหารงานวิชาการ มีจุดแข็งในการบูรณาการวิชาต่างๆ  ด้วยกัน เพราะรวมมิติด้านศาสนาเข้ามาด้วย  ในขณะ

160 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

ที่จุดอ่อน  คืองานบริหารงานวิชาการมีระบบ ประกันคุณภาพมากมายส่งผลต่อความอ่อนแอ ด้านวิชาการ  การบริหารงบประมาณมีรปู แบบ การบริหารจัดการทีด่  ี (Good  Governance) จุ ด อ่ อ นคื อ ระบบค่ า ตอบแทน  สวั ส ดิ ก าร ไม่สอดคล้องกับสภาพปัจจุบันท�ำให้ส่งผลต่อ ประสิทธิภาพงาน  การบริหารบุคคล  จุดแข็ง เป็นเรือ่ งการหล่อหลอมให้เป็นมนุษย์ทสี่ มบูรณ์ ในตั ว ผู ้ ส อนและผู ้ เรี ย นมี เ ป้ า หมายร่ ว มกั น ส่วนจุดอ่อนการเปลี่ยนทัศนคติ  ปรับเปลี่ยน วิถีชีวิตที่สังคมภายนอกเปลี่ยนไปกระแสโลก ส่วนงานบริหารทั่วไปมีจุดเด่นด้านการมีส่วน ร่วมของชุมชน  สังคม  และจุดอ่อนก็เป็นด้าน การน�ำนโยบายของพระศาสนจักรคาทอลิกมา ด�ำเนินการให้เกิดผล อภิปรายผล 1.  อัตลักษณ์การศึกษาคาทอลิกจะเป็น ไปตาม  ค�ำสอนของพระศาสนจักรคาทอลิก หรือศาสนาคริสต์นกิ าย  โรมันคาทอลิกว่าด้วย การจั ด การศึ ก ษาคาทอลิ ก   และโรงเรี ย น คาทอลิกในประเทศไทยในฐานะที่เป็นสถาน ศึกษา  ยังเป็นเครื่องมือส�ำหรับงานอภิบาล ด้วยภาระงาน  ด้านการจัดการศึกษา  รวมทัง้ ภารกิจในความสนใจชีวิตมนุษย์  เพื่อหล่อม หลอมบุคคลให้เป็นคนดีมีศีลธรรม  ด้วยมิติ ทางศาสนาและตามแนวทางแห่งพระวรสาร


ฉลองรัฐ สังขรัตน์, ออกัสติน สุกิโย ปิโตโย, สิทธิพร นิยมศรีสมศักดิ์, และสมโภชน์ อเนกสุข

อั ต ลั ก ษณ์ โรงเรี ย นคาทอลิ ก   ยั ง ก่ อ ให้ เ กิ ด โครงสร้างทางสังคมที่มีการบูรณาการระหว่าง สังคม  ความเชื่อ  วัฒนธรรม  และกิจกรรม ทางการศึ ก ษา  ภายใต้ โ ครงสร้ า งพระ ศาสนจักรคาทอลิก  และการกระจายอ�ำนาจ จึงปรากฏมีองค์กรระดับนโยบายด้านการศึกษา คาทอลิก  ชื่อว่า  สมณกระทรวงการศึกษา คาทอลิก  (The Secred Congregation for Education – for Educational Institutions) อยู่ภายใต้การบริหารของสันตะส�ำนัก  โดยมี สมเด็ จ พระสั น ตะปาปาเป็ น ประมุ ข   ซึ่ ง สอดคล้ อ งกั บ   สุ ริ น ทร์   จารย์ อุ ป การะ (2557,  หน้า  251-252)  ได้สรุปว่า  การ วางแผนและก� ำ หนดเป้ า หมายเป็ น ตั ว แปร ส�ำคัญประการหนึง่ ในการจัดการศึกษาโรงเรียน คาทอลิ ก ในประเทศไทยตามอั ต ลั ก ษณ์ ก าร ศึกษาคาทอลิกเช่นเดียวกับองค์ประกอบอื่นๆ ทั้ ง นี้ เ พราะการวางแผนและการก� ำ หนด เป้าหมาย  เป็นสิ่งที่ช่วยให้ผู้บริหารโรงเรียน และบุคลากรและผู้เกี่ยวข้องสามารถก�ำหนด เป้าหมาย  วางแผนพัฒนา  ก�ำหนดกลยุทธ์ และมาตรการเพื่อน�ำไปปฏิบัติให้บรรลุตาม เป้ า หมายที่ ก� ำ หนดไว้   และสอดคล้ อ งกั บ สมณกระทรวงการศึกษาคาทอลิก  ในเอกสาร โรงเรียนคาทอลิก  ข้อ  69  (2556,  หน้า 51)  ที่ ก ล่ า วว่ า   การจั ด องค์ ก รและการ วางแผน  การมุ ่ ง มั่ น ให้ โรงเรี ย นคาทอลิ ก มี

คุณสมบัติเป็นโรงเรียนคาทอลิกอย่างแท้จริง และในเอกสารก้าวต่อไปด้วยอัตลักษณ์การ ศึกษาคาทอลิก  (2557,  หน้า  45  )  ได้ เสนอว่า  ความคาดหวังของสังคม  รวมถึง ผู้ปกครอง  ที่มีต่อโรงเรียนคาทอลิก  ดังนั้น ก)  โรงเรียนคาทอลิกควรจะยึดมัน่ และ มั่นคงในการจัดการศึกษาตามอัตลักษณ์การ ศึกษาคาทอลิกทีม่ พี ระเยซูคริสต์เป็นศูนย์กลาง ต่ อ ไปโดยเฉพาะมุ ่ ง เน้ น การสอนคุ ณ ค่ า พระวรสาร  (จริยธรรม  คุณธรรม)  ควบคู่ไป กับความเป็นเลิศทางวิชาการ  ทัง้ นี ้ เป้าหมาย ที่ชัดเจนในการสร้างพลเมืองที่พร้อมรับใช้  มี จิตอาสาและรับผิดชอบต่อสังคม  ด้วยความ ซื่อสัตย์ ข)  โรงเรียนคาทอลิกควรรักษาจุดแข็ง ในด้านการทุม่ เทและเอาใจใส่ตอ่ นักเรียนอย่าง เสมอภาค  ความปลอดภัยในทรัพย์สินและ ร่างกาย  และความปลอดภัยจากยาเสพติด และอบายมุข  ดังผลการศึกษาของ  อภิสิทธิ์ กฤษเจริ ญ   (2551,  หน้ า   210)  พบว่ า รู ป แบบโรงเรี ย นเอกชนคาทอลิ ก   “การ ประกาศข่าวดี”  พันธกิจของโรงเรียนคาทอลิก คื อ การประกาศข่ า วดี ใ ห้ กั บ มนุ ษ ย์ ทุ ก คน โรงเรี ย นคาทอลิ ก จึ ง เป็ น สถานที่ แ ห่ ง การ ปลู ก ฝั ง และเสริ ม สร้ า งศี ล ธรรม  คุ ณ ธรรม จริยธรรม  ด้วยการสร้างกระบวนการเรียนรู้ โดยมีพื้นฐานอยู่บนแนวทางของพระวรสาร

ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2017/2560 161


อัตลักษณ์โรงเรียนคาทอลิกในอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ ทีเ่ ป็นพลวัตรตามนโยบายของ สภาการศึกษาคาทอลิกแห่งประเทศไทย

หลักค�ำสอนทางศาสนา  โดยมีการวางแผนจัด หลักสูตรที่มุ่งเน้นคุณธรรมจริยธรรม  จัดการ ศึ ก ษาอบรมเสริ ม สร้ า งคุ ณ ธรรมจริ ย ธรรม บูรณาการคุณธรรมจริยธรรม  จัดการศึกษา อบรมเสริ ม สร้ า งคุ ณ ธรรมจริ ย ธรรมเข้ า สู ่ หลักสูตร  จัดบรรยากาศการเรียนรู้ให้เอื้อต่อ การสร้างคุณธรรมจริยธรรม  เน้นการอภิบาล โดยผ่ า นทางจิ ต ตาภิ บ าลประจ� ำ โรงเรี ย น มีมาตรฐานด้านคุณธรรม  การจัดองค์การโดย มี ค ณะกรรมการที่ ไ ด้ รั บ การแต่ ง ตั้ ง จาก สั ง ฆมณฑลซึ่ ง มี ผู ้ อ� ำ นวยการคื อ พระสงฆ์ นั ก บวช  และก� ำ หนดกลุ ่ ม งานที่ เ น้ น งาน จิ ต ตาภิ บ าล  ผู ้ น� ำ เป็นแบบ  “ผู้อภิบาลที่ดี (Good  Shepherd)" นอกจากนี้   McLaughlin  (2000, pp.31-55)  ที่เห็นว่าการศึกษาคาทอลิกต้อง หันกลับมาพิจารณารากเหง้าของตนเองตาม แสงสว่างแห่งค�ำสอนของพระศาสนจักร  ทัง้ นี้ เพราะปัจจุบนั กระแสโลกาภิวฒ ั น์ทำ� ให้โรงเรียน คาทอลิกจ�ำนวนหนึ่งหันออกไปจากแนวทาง ของพระศาสนจักร  จ�ำเป็นทีโ่ รงเรียนคาทอลิก ต้ อ งหั น กลั บ มาพิ จ ารณาการจั ด การศึ ก ษา ปรัชญาการศึกษาคาทอลิกเพือ่ พัฒนามนุษย์ให้ เป็ น คนที่ ส มบู ร ณ์   โรงเรี ย นคาทอลิ ก โดย ธรรมชาติ เ กิ ด จากพระศาสนจั ก รและต้ อ ง ตระหนั ก ถึ ง การแพร่ ธ รรมอั น เป็ น สิ่ ง ที่ พ ระ ศาสนจั ก รรั บ ผิ ด ชอบโดยผ่ า นทางโรงเรี ย น

162 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

คาทอลิ ก   ดั ง นั้ น โรงเรี ย นคาทอลิ ก ต้ อ ง ตระหนักในภาระรับผิดชอบทีต่ นเองได้รบั มอบ หมายจากพระศาสนจักรและมุ่งเน้นถึงชีวิตใน โลกปัจจุบันมากขึ้น 2.  แนวโน้ ม การเปลี่ ย นแปลงเป็ น พลวัตรของการศึกษาคาทอลิกได้รับความร่วม มือระหว่างฐานันดรสงฆ์และผู้ที่ท�ำงานแพร่ ธรรม  ผลของหลักการความร่วมมือและความ รับผิดชอบร่วมกัน  กลุ่มต่างๆ  ที่ร่วมกันเป็น ชุมชนแห่งการศึกษา  โดยอาศัยความสามารถ เฉพาะตัวต่างๆ  และหลากหลายจะรวมตัวกัน ท� ำ การตั ด สิ น ใจเกี่ ย วกั บ โรงเรี ย นคาทอลิ ก และน�ำการตัดสินใจร่วมกันนั้นลงสู่การปฏิบัติ ให้ เ ป็ น รู ป ธรรมด้ ว ย  แนวทางของพระ ศาสนจักรนั้น  ต้องการให้เกิดความร่วมมือ ระหว่ า งผู ้ บ ริ ห ารโรงเรี ย นคาทอลิ ก กั บ ผู้เกี่ยวข้องเพื่อให้การศึกษาคาทอลิกได้รับการ สนองตอบต่ อ เป้ า หมายการศึ ก ษาคาทอลิ ก และเป็นการตอบสนองต่อความต้องการของ ชุมชน  สังคม  มีการปกครองพระศาสนจักร ด้ ว ยนั ก บวชชาวไทย  ท� ำ ให้ เ กิ ด โครงสร้ า ง สภาการศึกษาคาทอลิกแห่งประเทศไทยเป็น องค์กรปกครองฝ่ายพระศาสนจักรคาทอลิก ด้านการศึกษา  อยูใ่ นโครงสร้างพระศาสนจักร สากล  และเป็นสมาชิกสภาการศึกษาเอกชน แห่งประเทศไทย  ส�ำนักงานคณะกรรมการ ส่ ง เสริ ม การศึ ก ษาเอกชน  กระทรวง


ฉลองรัฐ สังขรัตน์, ออกัสติน สุกิโย ปิโตโย, สิทธิพร นิยมศรีสมศักดิ์, และสมโภชน์ อเนกสุข

ศึกษาธิการสอดคล้องกับแนวคิดของ  กษมา วรวรรณ  ณ  อยุธยา  (2558,  หน้า  216) โรงเรียนเครือคาทอลิกคนเชือ่ ทันทีวา่ มีคณ ุ ภาพ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูง  จึงเห็นได้ว่าการ พัฒนาคุณธรรมควบคู่กับความโดดเด่นทาง วิชาการเป็นสิ่งที่ผู้บริหารโรงเรียนต้องให้ความ ส� ำ คั ญ ต่ อ การพั ฒ นาให้ ส อดคล้ อ งกั บ ความ เปลี่ยนแปลงของกระแสโลกาภิวัฒน์  ในการ พั ฒ นานั้ น จึ ง ต้ อ งอาศั ย ความร่ ว มมื อ จาก ทุกฝ่ายในการพัฒนาการศึกษา  ต้องอาศัยการ บริหารจัดการที่เป็นทีม  หรืออีกนัยหนึ่งคือ การบริหารเป็นทีมงาน  ต้องอาศัยทีมบริหาร จัดการด้านการศึกษา  และจิรภา  พฤกษ์ภาดี (2556,  หน้า  356)  ได้สรุปว่า  ทฤษฎีการ พั ฒ นาของคาทอลิ ก ไทยหลั ง สภาสั ง คายนา วาติกนั ครัง้ ที ่ 2  คือแนวคิดการพัฒนาคนบน พืน้ ฐานคุณค่าศาสนาและวัฒนธรรม  ซึง่ มีทมี่ า จากการประยุกต์ใช้หลักความคิดและแนวทาง ปฎิบัติของสภาสังคายนาสากลฯ  ได้แก่  การ ให้ความส�ำคัญทางประวัติศาสตร์  ประชากร ของพระเจ้า  อ�ำนาจในการบริหารของพระ สั ง ฆราชร่ ว มกั บ พระสั น ตะปาปา  การอ่ า น สัญญาณกาลเวลา  การปรับตัวเข้าสู่ท้องถิ่น และการเสวนา  โดยการเสวนานั้ น ได้ รั บ อิทธิพลจากแนวทางปฎิบัติของสหพันธ์สภา พระสังฆราชแห่งเอเซีย  นัน่ คือ  การเสวนากับ คนจน  ศาสนา  และวัฒนธรรม  จนท�ำให้ได้ พบแนวทางการพัฒนาคนทั้งครบบนพื้นฐาน

คุณค่าศาสนาและวัฒนธรรมชุมชนทีเ่ น้นให้คน มีความสัมพันธ์ที่ดีทั้งสามด้าน  ได้แก่ความ สัมพันธ์กับสิ่งเหนือธรรมชาติ  หรือสิ่งสูงสุด ความสัมพันธ์กบั ธรรมชาติ  และความสัมพันธ์ กับมนุษย์ด้วยกัน  ความสัมพันธ์ทั้งสามด้านนี้ ได้สะท้อนให้เห็นหลักความเชือ่ เรือ่ งมนุษย์ของ พระศาสนจักรคาทอลิกที่ชัดเจนคือมนุษย์เป็น สิ่งสร้างหรือภาพลักษณ์ของพระเจ้า  (Image of  God) นอกจากนี้  ผลการศึกษาของ  สุรินทร์ จารย์อปุ การะ  (2556,  หน้า  237)  ได้พบว่า องค์ ป ระกอบการจั ด การศึ ก ษาโรงเรี ย น คาทอลิ ก ในประเทศไทยตามอั ต ลั ก ษณ์ ก าร ศึ ก ษาคาทอลิ ก   ประกอบด้ ว ย  9  องค์ ประกอบเรียงตามน�้ำหนักองค์ประกอบที่ได้ จากมากไปน้อย  คือ 1)  การเงิ น และงบประมาณตาม อัตลักษณ์การศึกษาคาทอลิก 2)  การจั ด การเรี ย นการสอนแบบ บูรณาการคุณค่าพระวรสาร 3)  การบริหารจัดการตามนโยบายการ จัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วม 4)  การอภิบาลและบริหารบุคคล 5)  การจัดกิจกรรมตามหลักอภิบาล 6)  งานจิตตาภิบาล 7)  การก� ำ หนดหลั ก สู ต รบนพื้ น ฐาน คุณค่าพระวรสาร

ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2017/2560 163


อัตลักษณ์โรงเรียนคาทอลิกในอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ ทีเ่ ป็นพลวัตรตามนโยบายของ สภาการศึกษาคาทอลิกแห่งประเทศไทย

8)  การก� ำ หนดเนื้ อ หารายวิ ช าตาม แนวคิดของพระศาสนจักรคาทอลิก  และ 9)  การวางแผนและก� ำ หนดเป้ า หมายตามนโยบายของพระศาสนจักรคาทอลิก ซึ่ ง การจั ด การศึ ก ษาโรงเรี ย นคาทอลิ ก ใน ประเทศไทยตามอัตลักษณ์การศึกษาคาทอลิก และ  จินตนา  มณเฑียรวิเชียรฉาย  (2553, หน้า  90  )  ให้ข้อเสนอแนะจากผลการวิจัย ไว้วา่   ค่านิยมทีพ่ งึ ประสงค์เกิดขึน้ จากบ่มเพาะ และปลูกฝัง  ดังนั้นเพื่อให้บุคลากรในสถาน ศึ ก ษาสั ง กั ด สภาการศึ ก ษาคาทอลิ ก แห่ ง ประเทศไทย  มีคุณลักษณะที่สอดคล้องกับ ค่านิยมดังกล่าว  หน่วยงานที่เกี่ยวข้องจะต้อง สร้ า งความตระหนั ก ในการมี ค ่ า นิ ย มที่ พึงประสงค์ของบุคลากรในสังกัดจ�ำเป็นต้องมี การอบรมด้านอัตลักษณ์การศึกษาคาทอลิก การจัดกิจกรรมทางศาสนา  และทางสังคม เป็นต้น 3.  จุ ด แข็ ง   จุ ด อ่ อ นของอั ต ลั ก ษณ์ โรงเรียนคาทอลิกในอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ ตามนโยบายของสภาการศึกษาคาทอลิกแห่ง ประเทศไทย  ดังต่อไปนี้ 3.1  งานบริหารงานวิชาการ  ค้นพบ ว่ า   จุ ด แข็ ง   คื อ   การพั ฒ นาแผนการสอน ที่ บู ร ณาการเนื้ อ หาวิ ช าต่ า งๆ  วิ ช าด้ า น มานุษยวิทยา  ชีววิทยา  จิตวิทยา  สังคมวิทยา และปรั ช ญา  ที่ เ ป็ น ที่ ม าของประมวลวิ ช า

164 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

ทั้งหลาย  ถูกบูรณาการในวิชาการสาขาต่างๆ ในโรงเรียนคาทอลิก  เพราะวิชาเหล่านี้  รวม มิ ติ ท างศาสนาเข้ า ด้ ว ยกั น   และนั บ เป็ น นโยบายส� ำ คั ญ ของการศึ ก ษาคาทอลิ ก สอดคล้องกับ  งานวิจยั ของ  นิตยาพร  วรพร ทัศนา  (2546,  หน้า  125-126)  เสนอแนะ ความคิดเกี่ยวกับงานบริหารวิชาการว่า  การ จัดการเรียนการสอนเพื่อการน�ำคุณค่าชีวิต สู่ความเป็นมนุษย์ที่มีคุณธรรม  จริยธรรมและ มีคุณภาพ  เพื่อให้ผู้เรียนกลายเป็นมนุษย์ที่ สมบูรณ์ทั้งกายและจิตใจ  ทั้งนี้การฝึกปฏิบัติ เพื่อช่วยให้มนุษย์มุ่งสู่ความเป็นผู้มีคุณธรรม จริยธรรม  ควรได้รับการฝึกที่สานต่อทุกวิชา เพื่อช่วยให้นักเรียนได้ฝึกฝนและปฏิบัติคุณค่า เพื่ อ ชี วิ ต ในด้ า นต่ า งๆ  ได้ ด ้ ว ยความเข้ า ใจ สม�่ำเสมอและเห็นคุณค่าอย่างแท้จริง  และ นันทวิชช์  ฉัตรบรรยงค์  (2554,  หน้า  282) ได้เสนอความผลการวิจัย  พบว่า  เป้าหมาย ของ  (goals)  คือ  ให้นกั เรียนจากสถานศึกษา คาทอลิก  มีคา่ นิยมสากล  เป็นศาสนิกทีด่ ขี อง แต่ละศาสนา  เป็นผู้ใฝ่เรียน  ใฝ่รู้  คิดเป็น วิเคราะห์เป็น  เจริญชีวิตท่ามกลางโลกที่แปร เปลี่ยนโดยมีภูมิคุ้มกันต่อแรงเสียดทานได้และ รู้เท่าทันมันได้  ผู้เชี่ยวชาญยังเสนอเพิ่มเติมว่า เป้ า หมายของสถานศึ ก ษาคาทอลิ ก   คื อ สถานศึกษาคาทอลิกจะต้องเคารพและปฏิบัติ ตามกฎเกณฑ์ทกี่ ำ� หนด  วิธกี ารสอน  แผนวิชา


ฉลองรัฐ สังขรัตน์, ออกัสติน สุกิโย ปิโตโย, สิทธิพร นิยมศรีสมศักดิ์, และสมโภชน์ อเนกสุข

ที่จะสอน  โครงสร้าง  ฯลฯ  ในเวลาเดียวกัน ก็จะต้องให้บรรลุความส�ำเร็จตามเป้าหมาย ทางการศึกษาตามทีก่ ำ� หนดไว้  โดยผสมผสาน วั ฒ นธรรมของมนุ ษ ย์   จุ ด อ่ อ น  พบว่ า   ผู ้ บริหารที่เป็นนักบวชในศาสนาคริสต์  ด�ำรง ต� ำ แหน่ ง ไม่ ย าวนาน  ขาดการต่ อ เนื่ อ ง ติดตามนโยบายด้านการศึกษา  จึงไม่สามารถ เป็ น ตั ว อย่ า งด้ า นการน� ำ ปรั ช ญาการศึ ก ษา คาทอลิ ก มาใช้ ใ นสถานศึ ก ษาให้ ไ ด้ ผ ล สอดคล้องกับ  สมจิตร  พึ่งหรรษพร  (2552, หน้า  231)  ประสิทธิผลด้านกระบวนการ ภายใน  คือ  สถานศึกษามีแผนกลยุทธ์และใช้ แผนกลยุทธ์ในการบริหารจัดการ  รองลงมาคือ สถานศึกษามีระบบประกันคุณภาพภายในที่มี คุณภาพ  เข้มแข็งและต่อเนื่อง  และสถาน ศึ ก ษามี บุ ค ลากรที่ มี ค วามรู ้ ค วามสามารถ มีทักษะและจริยธรรมในการท�ำงาน 3.2  งานบริหารงานงบประมาณ  ค้น พบว่ า   จุ ด แข็ ง   ผู ้ บ ริ ห ารและครู โรงเรี ย น คาทอลิ ก มี ก ารบริ ห ารจั ด การที่ ดี   (good governance)  มาจากความรั ก   การ หล่อหลอมอบรมท�ำงานร่วมกัน  ซึ่งมาจาก แรงบันดาลใจคริสต์ศาสนา  ท�ำให้สมาชิกได้มี ส่วนรับผิดชอบต่อองค์กรและสังคม  มีความ สุ จ ริ ต   โปร่ ง ใส  มี ค วามชอบธรรม  และมี ระเบียบกฎเกณฑ์ที่ชัดเจน  รวมทั้งให้สมาชิก มีโอกาสร้องเรียนความไม่เป็นธรรมด้วย  และ

ผู้บริหารควรมีผู้ร่วมบริหารที่มีความรู้  ความ สามารถ  ซื่อสัตย์  ขยัน  รักการบริการ  มี ประสิทธิภาพ  มีคุณธรรม  ยุติธรรม  และคง เส้นคงวา  สอดคล้องกับวีณา  อ่องแสงคุณ (2549,  หน้า  438)  และธนิก  คุณเมธีกุล (2552,  หน้ า   162)  พบว่ า   โรงเรี ย น คาทอลิ ก   สั ง กั ด อั ค รสั ง ฆมณฑลกรุ ง เทพฯ มีการบริหารงบประมาณส่วนใหญ่ประสบความ ส� ำ เร็ จ ในด้ า นการบริ ห ารงบประมาณที่ มี คุณภาพ  โปร่งใส  ตรวจสอบได้  และมีการ จัดสรรงบประมาณสินทรัพย์  และรายได้เพื่อ ลงทุนด้านการพัฒนาการศึกษาอย่างถูกต้อง ตามแผนงาน  กิจกรรมที่วางไว้อย่างต่อเนื่อง จุดอ่อน  พบว่า  โรงเรียนคาทอลิกต้องมีการ จัดระบบค่าตอบแทน  และสวัสดิการ  โดยมี ระบบค่าตอบแทนที่ชัดเจน  เหมาะสม  และ ยุติธรรมส�ำหรับบุคลากรในทุกระดับ  ซึ่งเป็น ปัญหาส�ำคัญ  เป้าหมายของโรงเรียนคาทอลิก ต้องมุ่งที่ตัวเด็กให้เป็นอันดับแรกรายได้น้อย ก็จะไม่เพียงพอต่อการจ่ายเงินเดือน  ประสิทธิภาพ ก็จะลดลง  สอดคล้องกับ  วีณา  อ่องแสงคุณ (2549,  หน้ า   452)  ที่ ก ล่ า วว่ า   มิ ติ ด ้ า น งบประมาณและทรัพยากรนั้น  วัตถุประสงค์ เชิงกุลยุทธ์ส่วนใหญ่เป็นการให้ความส�ำคัญ เกี่ ย วกั บ คุ ณ ภาพด้ า นประสิ ท ธิ ภ าพและ ประสิทธิผลของการใช้งบประมาณ  โดยการ จั ด สรรงบประมาณให้ เ กิ ด ประโยชน์ สู ง สุ ด

ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2017/2560 165


อัตลักษณ์โรงเรียนคาทอลิกในอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ ทีเ่ ป็นพลวัตรตามนโยบายของ สภาการศึกษาคาทอลิกแห่งประเทศไทย

แก่โรงเรียนและผู้เรียน  และให้สอดคล้องกับ ผลลั พ ธ์ แ ละผลผลิ ต ที่ ก� ำ หนด  มุ ่ ง เน้ น การ วัดผลส�ำเร็จของงาน  เชื่อมโยงกับการบริหาร จัดการทรัพยากรให้มีความคล่องตัว  คุ้มค่า โปร่งใส  และตรวจสอบได้  และสอดคล้องกับ ดิเรก  วรรณเศียร  (2545,  หน้า  198)  ที่ พบว่า  ปัญหาด้านงบประมาณของโรงเรียน ปั จ จุ บั น ได้ แ ก่   การที่ โ รงเรี ย นมี ก ารหา ประโยชน์จากสินทรัพย์นอ้ ยมาก  งบประมาณ ที่ได้รับจัดสรรไม่ตรงตามความต้องการและ ไม่ เ พี ย งพอ  ในขณะที่ โรงเรี ย นส่ ว นใหญ่ มี ความต้ อ งการให้ มี ก ารจั ด สรรงบประมาณ มีความยืดหยุ่น  การบัญชีการเงินและพัสดุ มีระบบทีต่ รวจสอบง่ายและเบ็ดเสร็จทีโ่ รงเรียน 3.3  ด้านการบริหารงานบุคคล  พบ ว่า  จุดแข็งคือ  โรงเรียนมีภารกิจในการดึงมิติ ทางจริยธรรมออกมา  ในการกระตุ้นพลวัตร ของจิตวิญญาณภายใน  และช่วยให้นักเรียนมี อิสรภาพทางศีลธรรม  สอดคล้องกับ  วีณา อ่องแสงคุณ  (2549,  หน้า  438)  ทีก่ ล่าวถึง การทีโ่ รงเรียนมีระบบการบริหารงานบุคคลทีม่ ี ประสิทธิภาพ  มีการพัฒนาและการวางแผน ก�ำลังคนอย่างต่อเนื่อง  โดยเฉพาะการจัดให้ บุคลากรได้รบั การอบรมทางวิชาชีพอย่างเพียง พอและสม�่ำเสมอ  อันจะน�ำไปสู่การพัฒนา บุ ค ลากรตามมาตรฐานวิ ช าชี พ   ซึ่ ง การที่ บุ ค ลากรเป็ น ผู ้ มี ค วามรู ้   ความสามารถสู ง

166 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

ย่อมเป็นผลดีต่อการบริหารจัดการขององค์กร และถื อ ว่ า เป็ น การพั ฒ นาขั บ เคลื่ อ นผลการ ด�ำเนินงานขององค์กร  (Driven  Performance Measures)  ซึง่ จะส่งผลต่อความเจริญก้าวหน้า ขององค์กรในระยะยาว  และสอดคล้องกับ สมจิตร  พึ่งหรรษพร  (2552,  หน้า  221) พบว่าสถานศึกษาสามารถดึงดูดคนเก่ง  คนดี มีความสามารถเป็นเลิศ  มีใจรักวิชาชีพครูมา เป็นครู  รองลงมาคือสถานศึกษามีการระดม ทรัพยากรบุคคลที่พรั่งพร้อมด้วยภูมิปัญญา ท้องถิ่น  ปราชญ์ชาวบ้าน  และผู้ทรงคุณวุฒิ ในชุมชน  ท้องถิน่   จุดอ่อน  พบว่าการจัดการ ศึกษาคาทอลิกในปัจจุบนั จะลดคุณค่าของการ ศึกษาให้เป็นเพียงความเจริญทางด้านเทคนิค และการปฏิบัติ  เน้นการเรียนการสอนที่ไม่ ค�ำนึงค่านิยมและวิสยั ทัศน์ทลี่ กึ ซึง้ หลงลืมความ จริ ง ของชี วิ ต มนุ ษ ย์   ซึ่ ง จะต้ อ งหั น กลั บ มา ทบทวนใหม่   การให้ เ คารพต่ อ ผู ้ เ รี ย น สอดคล้องกับงานวิจัยของ  นิชาภา  ประสพอารยา  (2543)  ศึกษาวิจัย  การศึกษาการ บริ ห ารงานบุ ค คลในโรงเรี ย นประถมศึ ก ษา สั ง กั ด ส� ำ นั ก งานคณะกรรมการการศึ ก ษา เอกชนกรุ ง เทพ-มหานคร  โรงเรี ย นมี ก าร บริ ห ารงานบุ ค คล  มี ค วามจ� ำ เป็ น ต่ อ ความ ส� ำ เร็ จ ของการจั ด การศึ ก ษาของโรงเรี ย น วิศิษฐ์  ศรีวิชัยรัตน์  (2543,  หน้า  76-81) ที่เสนอความคิดเห็นที่เป็นอุดมการณ์ส�ำหรับ


ฉลองรัฐ สังขรัตน์, ออกัสติน สุกิโย ปิโตโย, สิทธิพร นิยมศรีสมศักดิ์, และสมโภชน์ อเนกสุข

บุคคลในองค์กรคาทอลิกทีเ่ ป็นอุดมการณ์สงู ส่ง ที่อาจเรียกร้องบุคคลสมบูรณ์แบบ  ดังนี้คือ ต้องมีผู้ร่วมบริหารที่ดีมีความสามารถมาร่วม สร้ า งวิ สั ย ทั ศ น์ ร ่ ว มกั น ตระหนั ก ถึ ง ความรั บ ผิดชอบที่ต้องท�ำงานให้ส�ำเร็จ  มีเป้าหมาย อันเดียวกัน 3.4  ด้านการบริหารงานทั่วไป  พบ ว่า  จุดแข็ง  คือ  งานด้านการศึกษาเป็นงาน รับใช้สังคม  หล่อหลอมผู้คนให้เป็นพลเมืองดี การให้พลเมืองมีส่วนร่วมและรับผิดชอบต่อ งานการศึกษาคาทอลิก  ส่งเสริมให้พลเมือง ด�ำเนินชีวติ อย่างสงบสันติ  เคารพสิทธิ  โดยมี จุดหมายที่ประโยชน์สุขร่วมกัน  งานด้านการ ศึกษาเป็นการเตรียมคนทีจ่ ะเข้าร่วมรับผิดชอบ ต่อสังคม  อุทศิ ตนเพือ่ สังคม  มีภราดรภาพอยู่ ร่วมกันเป็นชุมชนอย่างสันติสุข  งานด้านการ ศึ ก ษาเป็ น การสร้างเครือข่ายความสัมพันธ์ ความร่วมมือ  ชุมชนมมีส่วนร่วมในกิจกรรม ของโรงเรียน  และโรงเรียนเป็นศูนย์กลางใน การประสานงาน  สอดคล้องกับ  วีณา  อ่องแสงคุณ  (2549,  หน้า  438)  ได้อภิปรายผล ไว้วา่   ในด้านการบริหารทัว่ ไป  ประเด็นทีเ่ ป็น สิ่งที่โรงเรียนประสบความส�ำเร็จอย่างมากคือ การที่ โ รงเรี ย นมี ส ภาพแวดล้ อ มที่ ดี   มี บรรยากาศภายในโรงเรียนที่ได้มาตรฐาน  ซึ่ง สอดคล้องกับงานวิจัยของบาทหลวงวิวัฒน์ แพร่สิริ  (2543,  หน้า  298)  ที่กล่าวถึงการ

จัดบรรยากาศของสถานศึกษาว่า  โรงเรียน คาทอลิกเป็นแบบอย่างของบรรยากาศที่เน้น การส่งเสริมจิตส�ำนึกสาธารณะ  การอนุรักษ์ สิ่ ง แวดล้ อ ม  ตลอดจนความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สังคม  จุดอ่อน  งานบริหารงานทัว่ ไป  พบว่า การเปิดโอกาสให้ผเู้ กีย่ วเนือ่ งกับโรงเรียนมีสว่ น ร่วมในการบริหารตามบทบาทอย่างเหมาะสม ซึ่งสภาพความเป็นจริงและความคิดเห็นของ ผู้ทรงคุณวุฒิโรงเรียนคาทอลิกมีการเปลี่ยน ผูบ้ ริหารระดับสูงบ่อย  ท�ำให้การบริหารงานไม่ ต่อเนื่องทั้งสืบเนื่องจากตัวบุคคลและนโยบาย ที่มีการเปลี่ยนแปลง  รูปแบบวิธีการคิดเก่าๆ ไม่เป็นเครือ่ งประกันความส�ำเร็จในปัจจุบนั ของ โรงเรียนคาทอลิกได้  ต้องปรับเปลีย่ น  พัฒนา รูปแบบวิธีคิดให้เกิดการสร้างสรรค์งานใหม่ มียทุ ธศาสตร์ใหม่  เพือ่ น�ำมาปฏิบตั งิ านให้เกิด ประสิ ท ธิ ภ าพ  เนื่ อ งจากในปั จ จุ บั น ภาวะ ผันผวนของเศรษฐกิจก่อปัญหาต่อ  การด�ำเนิน งานของโรงเรียนเอกชนทัว่ ๆไปรวมทัง้ โรงเรียน คาทอลิกด้วยทีจ่ ำ� เป็นต้องปรับเพิม่ ค่าใช้จา่ ยใน การเข้าศึกษาค่อนข้างมาก  ท�ำให้ผปู้ กครองไม่ สามารถส่งบุตรหลานเข้าเรียนได้มากเหมือน ก่อน  สอดคล้องกับ  ภัสรา  เอมโกษา  (2545) ได้อภิปรายผลการบริหารงานด้านต่างๆ  ใน งานวิ จั ย เกี่ ย วกั บ การบริ ห ารงานโรงเรี ย น คาทอลิก  พบว่า  งานด้านการบริหารทั่วไป ควรมีการน�ำเทคโนโลยีมาใช้ในบรรยากาศของ

ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2017/2560 167


อัตลักษณ์โรงเรียนคาทอลิกในอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ ทีเ่ ป็นพลวัตรตามนโยบายของ สภาการศึกษาคาทอลิกแห่งประเทศไทย

การเรียนรู ้ การน�ำสือ่ นวัตกรรมมาช่วยส่งเสริม การเรียนรู ้ และสอดคล้องกับ  วรสิทธิ ์ รัตนสิทธิโรจน์  (2554,  หน้า  307)  จากการ ศึกษาวิจัย  พบว่า  ผู้บริหาร  ครู  ผู้ปกครอง บางคนไม่ปฎิบัติหน้าที่ของตนตามกฎระเบียบ ต่างๆของโรงเรียน  เช่น  ไม่มีความรักความ เอาใจใส่  ไม่ให้ความยุติธรรมหรือความเสมอ ภาคแก่นกั เรียน  มีการละเมิดสิทธิของนักเรียน เช่น  การลงโทษที่รุนแรง  ไม่เหมาะสมกับ ความผิด  การสอนไม่ทนั ไม่เป็นไปตามหลักสูตร หรือมีความรู้ไม่ลึก  ไม่กว้าง  ผลการเรียนไม่ ได้มาตรฐานการศึกษาในระดับชาติ  (สมศ. ส� ำ นั ก งานรั บ รองมาตรฐานและประเมิ น คุณภาพการศึกษา)  ตลอดจนไม่มคี ณ ุ ธรรมใน การปฏิบตั งิ านหรือการปฏิบตั ติ นเป็นแบบอย่าง ตามฐานะที่ตนรับผิดชอบ  ท�ำให้โรงเรียนหรือ หน่วยงานมีความเสื่อมและเกิดปัญหาได้ ข้อเสนอแนะจากการน�ำผลการวิจัยไปใช้ 1.  ควรน� ำ อั ต ลั ก ษณ์ ข องโรงเรี ย น คาทอลิกในอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ  ตาม นโยบายของสภาการศึ ก ษาคาทอลิ ก แห่ ง ประเทศไทย  ไปเผยแพร่ให้แก่โรงเรียนในเครือ คาทอลิกน�ำไปประยุกต์ใช้ในการจัดการศึกษา อย่างมีประสิทธิผล 2.  ควรน�ำผลการศึกษาเรือ่ งการบริหาร จัดการงานวิชาการที่เป็นจุดอ่อน  เรื่องการ

168 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

ด�ำรงต�ำแหน่งที่ขาดการต่อเนื่อง  ระยะยาวที่ ส่ ง ผลต่ อ การบริ ห ารวิ ช าการ  ในด้ า นการ บริหารนโยบายการศึกษาในรูปแบบการศึกษา คาทอลิ ก ที่   เน้ น การบู ร ณาการคุ ณ ค่ า พระวรสารเข้ า สู ่ ห ลั ก สู ต ร  ศึ ก ษาปั จ จั ย ที่ ส่งผลการต่อเนื่อง  การก�ำกับติดตามนโยบาย การด�ำเนินตามนโยบาย  การติดตามประเมิน ผลทีเ่ ป็นการบริหารวิชาการการศึกษาคาทอลิก 3.  ควรน� ำ ผลการศึ ก ษา  เรื่ อ งการ บริหารงานงบประมาณ  การบริหารบุคคลและ การบริหารทั่วไป  ที่เป็นจุดอ่อน  เรื่องระบบ ค่าตอบแทน  และสวัสดิการ  การเน้นคุณค่า ของบุคคลเพื่อความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์และ การมีสว่ นร่วมในการท�ำงานทุกฝ่ายทีเ่ กีย่ วข้อง ทบทวนนโยบาย  ปรั บ ปรุ ง กระบวนการ สร้างสรรค์งาน  ปรับยุทธศาสตร์ที่เป็นปัจจัย ส� ำ คั ญ ของการเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพของการ บริหารในองค์กร  เพื่อคงอัตลักษณ์การศึกษา คาทอลิกมีความเด่นชัดและมีประสิทธิภาพ อันส่งผลต่อผู้เรียนอย่างแท้จริง 4.  ควรพิจารณาทบทวนศึกษา  เรื่อง อภิ บ าลและบริ ห ารทรั พ ยากรมนุ ษ ย์   ทั้ ง นี้ ทรัพยากรมนุษย์เป็นสมรรถนะทางกายและจิต ของโรงเรียนเป็นทรัพยากรบุคคลที่ท�ำให้การ ศึกษาคาทอลิกบรรลุเป้าหมายตามอัตลักษณ์ การศึกษาคาทอลิก  เพือ่ ให้เกิดแนวทางในการ อภิ บ าลและบริ ห ารทรั พ ยากรมนุ ษ ย์ ข อง โรงเรียนคาทอลิก


ฉลองรัฐ สังขรัตน์, ออกัสติน สุกิโย ปิโตโย, สิทธิพร นิยมศรีสมศักดิ์, และสมโภชน์ อเนกสุข

รายการอ้างอิง กษมา  วรวรรณ  ณ  อยุธยา.  (2548).  การ ศึกษาเอกชน:  คุณธรรม  จริยธรรม วิชาการทีด่ เี ด่นและมีคณ ุ ภาพ.  ในการ ศึกษาคาทอลิกในประเทศไทย,  36, สิงหาคม  2548 – กรกฎาคม  2549, 216,.  กรุงเทพฯ:  จูนพับลิชชิ่ง. คณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ  ส�ำนักนายก รัฐมนตรี,  ส�ำนักงาน.  (2545).  พระ ราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ  พ.ศ. 2542  และที่แก้ไขเพิ่มเติม  (ฉบับที่ 2)  พ.ศ. 2545.  กรุงเทพฯ:  คุรุสภา. จิราภา  พฤกษ์ภาดี.  (2556).  ทฤษฎีการ พัฒนาของคาทอลิกไทยหลังสังคายนา วาติ กั น ครั้ ง ที่ ส อง.  วิ ท ยานิ พ นธ์ รัฐศาสตรดุษฎีบณ ั ฑิต,  คณะรัฐศาสตร์, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. จิ น ตนา  มณเฑี ย รวิ เ ชี ย รฉาย.  (2553). ค่านิยมของบุคลากรในสถานศึกษา สั ง กั ด สภาการศึ ก ษาคาทอลิ ก แห่ ง ประเทศไทย.  วิ ท ยานิ พ นธ์ ป ริ ญ ญา ศึ ก ษาศาสตรมหาบั ณ ฑิ ต ,  สาขา วิชาการบริหารการศึกษาและภาวะผูน้ ำ� มหาวิทยาลัยเซนต์จอห์น. ดิเรก  วรรณเศียร.  (2545).  การพัฒนาแบบ จ�ำลองแบบสมบูรณ์ในการบริหารโดย ใช้ โรงเรี ย นเป็ น ฐาน  ส� ำ หรั บ สถาน

ศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน.  วิ ท ยานิ พ นธ์ ค รุ ศาสตรดุษฎีบัณฑิต,  สาขาวิชาบริหาร การศึกษา,  จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ธนิก  คุณเมธีกลุ .  (2552).  การพัฒนาตัวบ่งชี้ คุ ณ ภาพการบริ ห ารการศึ ก ษาเพื่ อ ความเป็นเลิศของสถานศึกษาเอกชน. วิ ท ยานิ พ นธ์ คุ รุ ศ าสตรดุ ษ ฎี บั ณ ฑิ ต , สาขาวิชาการบริหารการศึกษา,  ภาค วิชานโยบาย  การจัดการและความเป็น ผู้น�ำทางการศึกษา,  คณะคุรุศาสตร์, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. นิชาภา  ประสพอารยา.  (2543).  การศึกษา การบริ ห ารงานบุ ค คลในโรงเรี ย น ประถมศึกษา  สังกัดส�ำนักงานคณะ กรรมการศึ ก ษาเอกชน  กรุ ง เทพ- มหานคร.  วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหา บัณฑิต,  สาขาวิชาบริหารการศึกษา, ค ณ ะ ค รุ ศ า ส ต ร ์ ,   จุ ฬ า ล ง ก ร ณ ์ มหาวิทยาลัย. นิตยาพร  วรพรทัศนา.  (2546).  กระบวน การเรียนรู้เพื่อน�ำคุณค่าชีวิตสู่ความ เป็นมนุษย์ที่มีคุณธรรม  จริยธรรม และมีคณ ุ ภาพ.  ในการศึกษาคาทอลิก ในประเทศไทย  33.  (หน้า  125-126) สิงหาคม  2545  –  กรกฎาคม  2546.

ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2017/2560 169


อัตลักษณ์โรงเรียนคาทอลิกในอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ ทีเ่ ป็นพลวัตรตามนโยบายของ สภาการศึกษาคาทอลิกแห่งประเทศไทย

นันทวิชญ์  ฉัตรบรรยงค์.  (2554).  รูปแบบ การพั ฒ นาสถานศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน คาทอลิ ก   สั ง กั ด สั ง ฆมณฑลใน ประเทศไทย  เพื่ อ ส่ ง เสริ ม การเป็ น องค์กรแห่งการเรียนรู้.  วิทยานิพนธ์ ศึกษาศาสตรดุษฏีบัณฑิต,  สาขาวิชา การบริ ห ารการศึ ก ษาและผู ้ น� ำ การ เปลี่ ย นแปลง,  บั ณ ฑิ ต วิ ท ยาลั ย , มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย. ภัสสร  เอมโกษา.  (2545).  การสังเคราะห์ งานวิ จั ย เกี่ ย วกั บ การบริ ห ารงาน โรงเรี ย นคาทอลิ ก .  วิ ท ยานิ พ นธ์ ปริ ญ ญามหาบั ณ ฑิ ต ,  สาขาวิ ช าการ บริหารการศึกษา,  คณะศึกษาศาสตร์, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. รุ่ง  แก้วแดง.  (2544).  การศึกษาคาทอลิก ในประเทศไทยข้อเสนอด้วยความตัง้ ใจ และเจตนาดี อ ย่ า งยิ่ ง ต่ อ การศึ ก ษา คาทอลิ ก   หน้ า  59-67  ในคณะ กรรมการฝ่ า ยอภิ บ าล  คู ่ มื อ งาน อภิ บ าลในโรงเรี ย นสภาการศึ ก ษา คาทอลิก  (ประเทศไทย)  ปี 2544. กรุ ง เทพฯ:  สภาการศึ ก ษาคาทอลิ ก (ประเทศไทย). วรสิทธิ์  รัตนสิทธิโรจน์.  (2554).  โรงเรียน คาทอลิ ก   การพั ฒ นารู ป แบบการ บริ ห ารการศึ ก ษาตามปรั ช ญาการ

170 วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม

ศึ ก ษาคาทอลิ ก ในเขตภาคกลาง. วิทยานิพนธ์ปริญญาปรัชญาดุษฏีบณ ั ฑิต, สาขาวิชาวัฒนธรรมศาสตร์,  มหาวิทยาลัย มหาสารคาม. วิวัฒน์  แพร่สิริ.  (2543).  วิวัฒนาการและ อนาคตภาพของการศึกษาคาทอลิกกับ การพั ฒ นาสั งคมไทย.  วิทยานิพนธ์ ครุ ศ าสตรดุ ษ ฎี บั ณ ฑิ ต ,  สาขาวิ ช า พั ฒ นศึ ก ษา,  ภาควิ ช านโยบายการ จัดการและความเป็นผูน้ ำ� ทางการศึกษา, คณะคุรุศาสตร์,  จุฬาลงกรณ์ลงกรณ์ มหาวิทยาลัย วีณา  อ่องแสงคุณ.  (2549).  การพัฒนารูป แบบการประเมินองค์การแบบสมดุล ส� ำ หรั บ โรงเรี ย นคาทอลิ ก สั ง กั ด อั ค ร สังฆมณฑลกรุงเทพฯ.  วิทยานิพนธ์ ครุศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต,  สาขาวิชาการ บริหารการศึกษา,  ภาควิชานโยบาย การจัดการและความเป็นผู้น�ำทางการ ศึกษา,  คณะคุรุศาสตร์,  จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. สภาพระสังฆราชคาทอลิกแห่งประเทศไทย. (2553).  ทิศทางงานอภิบาลคริสตศักราช 2010-2015.  กรุงเทพฯ:  โรงพิมพ์ อัสสัมชัญ.


ฉลองรัฐ สังขรัตน์, ออกัสติน สุกิโย ปิโตโย, สิทธิพร นิยมศรีสมศักดิ์, และสมโภชน์ อเนกสุข

สมณกระทรวงการศึกษาคาทอลิก.  (2531). มิ ติ ด ้ า นศาสนาของการศึ ก ษาใน โรงเรียนคาทอลิก  The  Religious dimension  of  Education  in  a Catholic  school.  ในอัตลักษณ์ การศึ ก ษาคาทอลิ ก   ฉบั บ ปรั บ ปรุ ง ค.ศ. 2013  (หน้ า  127-201). กรุงเทพฯ:  โรงพิมพ์อัสสัมชัญ. สมณกระทรวงการศึกษาคาทอลิก.  (2540). โรงเรี ย นคาทอลิ ก ขณะก� ำ ลั ง เข้ า สู ่ สหั ส วรรษที่ ส าม  The  Catholic school  on  the  threshold  of The  third  millennium.  ใน อัตลักษณ์การศึกษาคาทอลิก  ฉบับ ปรุงปรุง  ค.ศ. 2013  (หน้า  209- 227).  กรุงเทพฯ:  โรงพิมพ์อัสสัมชัญ. สุรนิ ทร์  จารย์อปุ การะ.  (2556)  การจัดการ ศึกษาโรงเรียนคาทอลิกในประเทศไทย ตามอั ต ลั ก ษณ์ ก ารศึ ก ษาคาทอลิ ก . วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบณ ั ฑิต  สาขา วิชาการบริหารการศึกษา,  ภาควิชาการ บริ ห ารการศึ ก ษา,  มหาวิ ท ยาลั ย ศิลปากร.

วิศิษฐ์  ศรีวิชัยรัตน์.  (2543).  สถาบันการ ศึกษาคาทอลิกในสหัสวรรษที ่ 3.  ใน การศึ ก ษาคาทอลิ ก ในประเทศไทย, 30,  สิงหาคม  2542  –  กรกฎาคม 2543,  77.  กรุงเทพฯ:  จูนพับลิชชิง่ . สมจิตร  พึง่ หรรษพร.  (2552).  การวิเคราะห์ ปัจจัยเชิงระบบในการบริหารที่ส่งผล ต่อประสิทธิผลของสถานศึกษาเครือ ข่ายคาทอลิกสังกัดสังฆมณฑลจันทบุร.ี วิ ท ยานิ พ นธ์ ค รุ ศ าสตรดุ ษ ฎี บั ณ ฑิ ต , สาขาวิชาบริหารการศึกษา,  ภาควิชา นโยบาย  การจัดการและความเป็นผูน้ ำ� ทางการศึกษา, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. อภิสทิ ธิ ์ กฤษเจริญ.  (2551).  การพัฒนารูป แบบการบริ ห ารโรงเรี ย นเอกชน คาทอลิกสังกัดสังฆมณฑลในทศวรรษ หน้ า .  วิ ท ยานิ พ นธ์ ก ารศึ ก ษาดุ ษ ฏี บั ณ ฑิ ต ,  สาขาวิ ช าการบริ ห ารการ ศึกษา,  มหาวิทยาลัยบูรพา. McLaughlin, D. (2000). The Catholic school:  Paradoxes and challen- ges. NSW: St. Paul.

ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2017/2560 171


วารสารวิชาการ

วิทยาลัยแสงธรรม

Saengtham College Journal

ใบสมัครสมาชิก วารสารวิชาการวิทยาลัยแสงธรรม สมาชิกในนาม............................................................................................................................ ที่อยู่ (สำ�หรับจัดส่งวารสารวิชาการ) เลขที่.................................ถนน......................................... แขวง/ตำ�บล......................................เขต/อำ�เภอ......................................................................... จังหวัด..............................................................รหัสไปรษณีย์.................................................... โทรศัพท์........................................................................โทรสาร............................................... มีความประสงค์สมัครเป็นสมาชิก วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม 1 ปี (2 ฉบับ) อัตราค่าสมาชิก 200 บาท วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม 2 ปี (4 ฉบับ) อัตราค่าสมาชิก 400 บาท วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม 3 ปี (6 ฉบับ) อัตราค่าสมาชิก 500 บาท ชำ�ระเงินโดยวิธี โอนเงินเข้าบัญชีออมทรัพย์ ธนาคารกรุงไทย สาขาสามพราน ชื่อบัญชี “วารสารวิชาการวิทยาลัยแสงธรรม” เลขที่บัญชี 734-0-27562-2 (พร้อมส่งเอกสารการโอนมาที่ โทรสาร 02-429-0819) ที่อยู่ที่ต้องการให้ออกใบเสร็จรับเงิน ตามที่อยู่ที่จัดส่ง ที่อยู่ใหม่ในนาม........................................................................................................... เลขที่.........................ถนน..............................................แขวง/ตำ�บล........................... เขต/อำ�เภอ.............................จังหวัด................................รหัสไปรษณีย์......................

.............................................(ลงนามผู้สมัคร) วันที่...............................................

ส่งใบสมัครมาที่ : ศูนย์วิจัยค้นคว้าศาสนาและวัฒนธรรม วิทยาลัยแสงธรรม 20 หมู่ 6 ต.ท่าข้าม อ.สามพราน จ.นครปฐม 73110 หรือที่โทรสาร 02-429-0819


รูปแบบและเงื่อนไขการส่งต้นฉบับบทความ

www.saengtham.ac.th/journal

1. เป็นบทความวิชาการ  บทวิจารณ์หนังสือ  และบทความปริทัศน์  ด้านปรัชญา  ศาสนา  เทววิทยา และการศึกษาคาทอลิก  ที่ยังไม่เคยเผยแพร่ในเอกสารใดๆ 2. การพิมพ์ผลงานทางวิชาการควรจัดพิมพ์ด้วย  Microsoft  Word  for  Windows  หรือซอฟท์แวร์ อื่นที่ใกล้เคียงกัน  พิมพ์บนกระดาษขนาด  A4  หน้าเดียว  ประมาณ  28  บรรทัด  ต่อ  1  หน้า TH  SarabunPSK  ขนาดของตัวอักษรเท่ากับ  16  และใส่เลขหน้าตั้งแต่ต้นจนจบบทความ 3. ต้องมีชื่อเรื่องบทความทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 4. ให้ข้อมูลเกี่ยวกับผู้เขียนบทความทุกคน  ได้แก่  ชื่อ-นามสกุลของผู้เขียน  หน่วยงานที่สังกัด  ต�ำแหน่ง ทางวิชาการ  (ถ้ามี)  E-mail  หรือโทรศัพท์  หากเป็นวิทยานิพนธ์  ต้องมีชื่อและสังกัดของอาจารย์ ที่ปรึกษาด้วย  ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 5. ทุ ก บทความจะต้ อ งมี บ ทคั ด ย่ อ ภาษาไทย  และ  Abstract  จะต้ อ งพิ ม พ์ ค� ำ ส� ำ คั ญ ในบทคั ด ย่ อ ภาษาไทย  และพิมพ์  Keywords  ใน  Abstract  ของบทความด้วย 6. บทความวิจัยความยาวไม่เกิน  12  หน้า  บทความวิชาการความยาวไม่เกิน  8  หน้า  (รวมบรรณานุกรม แล้ว) 7. เชิงอรรถอ้างอิง  (ถ้ามี) 8. บรรณานุกรมตามมาตรฐาน  APA  แยกผลงานภาษาไทยและภาษาอังกฤษ  (เรียงตามล�ำดับตัวอักษร) 9. บทความวิจัยควรมีหัวข้อดังนี้  ชื่อเรื่องบทความวิจัย  (ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ)  ชื่อผู้เขียนพร้อม ข้อมูลส่วนตัวของทุกคน  (รายละเอียดตามข้อ  4)  บทคัดย่อภาษาไทย  และ  Abstract  ความส�ำคัญ ของเนื้อหา  วัตถุประสงค์  สมมติฐานของการวิจัย  ประโยชน์ที่ได้รับ  ขอบเขตการวิจัย  นิยามศัพท์ (ถ้ามี)  วิธีการด�ำเนินการ  ผลการวิจัย  ข้อเสนอแนะ  และบรรณานุกรรม/References 10. ค่ า ใช้ จ ่ า ยในการตรวจประเมิ น   จ� ำ นวน  2,400  บาท  โดยโอนเงิ น เข้ า บั ญ ชี อ อมทรั พ ย์   ธนาคาร กรุงไทย  สาขาสามพราน  ชื่อบัญชี  “วารสารวิชาการวิทยาลัยแสงธรรม”  เลขที่บัญชี  734-0-27562-2 (พร้อมส่งเอกสารการโอนมาที่  Fax.  02-429-0819)  หรือที่  E-mail:  rcrc.saengtham2016@ gmail.com)  ทั้งนี้ค่าใช้จ่ายดังกล่าวผู้ส่งบทความเป็นผู้รับผิดชอบ  และจะไม่ได้รับคืนในทุกกรณี 11. กองบรรณาธิ ก ารน� ำ บทความที่ ท ่ า นส่ ง มาเสนอต่ อ ผู ้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ เ พื่ อ ประเมิ น คุ ณ ภาพความ เหมาะสมของบทความก่อนการตีพิมพ์  ในกรณีที่ผลการประเมินระบุให้ต้องปรับปรุงหรือแก้ไข  ผู้เขียน จะต้องด�ำเนินการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลา  15  วัน  นับจากวันที่ได้รับผลการประเมินบทความ หากท่ า นต้ อ งการสอบถามกรุ ณ าติ ด ต่ อ กั บ กองบรรณาธิ ก ารวารสารวิ ช าการ  โทร.  02-429-0100 โทรสาร  02-429-0819  หรือ  E-mail:  rcrc.saengtham2016@gmail.com


ขั้นตอนการจัดทำ�

วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม Saengtham College Journal

เริ่มต้น ประกาศรับบทความต้นฉบับ รับบทความต้นฉบับ แก้ไข กองบก. ตรวจรูปแบบทั่วไป

ไม่ผ่าน

แจ้งผู้เขียน

ผ่าน ส่งผู้ทรงคุณวุฒิ ข

ก้ไ อ้ งแ

ผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาบทความ ผ่าน กองบรรณาธิการแจ้งยืนยัน การรับบทความ จัดพิมพ์เผยแพร่ จบ

ไม่ผ่าน

แจ้งผู้เขียน

ไม่ต

แก้ไ

แจ้งผู้เขียน แก้ไข

จบ



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.