ครูคำสอน..ครูผู้ประกาศข่าวดีแห่งชีวิต

Page 1

ครู คาํ สอน..ครู ผ้ ูประกาศข่ าวดีแห่ งชีวิต

ดร.ลัดดาวรรณ์ ประสูตร์ แสงจันทร์ สาขาวิชาคริ สตศาสนศึกษา คณะศาสนศาสตร์ วิทยาลัยแสงธรรม


ครู คาํ สอน..ครู ผ้ ูประกาศข่ าวดีแห่ งชีวิต ข้ อมูลทางบรรณานุกรมของหอสมุดแห่ งชาติ ลัดดาวรรณ์ ประสูตร์ แสงจันทร์ . ครู คําสอน..ครู ผ้ ปู ระกาศข่าวดีแห่งชีวิต. นครปฐม: ศูนย์สง่ เสริ มและพัฒนางานวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม, 2557. 172 หน้ า 1. ครู คําสอน 2. คําสอน I.ชือเรื อง 238.2 ISBN: 978-616-91726-6-6 พิมพ์ครังที 1: เมษายน 2556 พิมพ์ครังที 2: มีนาคม 2557 ราคา 120 บาท ปก: บาทหลวงธนายุทธ นันทพรพิสทุ ธิ รู ปเล่ม: สุกานดา วงศ์เพ็ญ พิสจู น์อกั ษร: ศรุ ตา พรประสิทธิ, ปนัดดา ชัยพระคุณ จัดพิมพ์โดย: ศูนย์สง่ เสริ มและพัฒนางานวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม 20 หมู่ 6 ตําบลท่าข้ าม อําเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม 73110 โทร. 0-2429-0100 โทรสาร 0-2429-0819 พิมพ์ที: ปิ ติพานิช 73 ซ.บางแวก 80 คลองขวาง ภาษี เจริ ญ กรุ งเทพฯ 10160



ห น้ า | ก

คํานําการจัดพิมพ์ ”ครู คําสอน...ครู ผ้ ู ประกาศข่ าวดีแห่ งชีวิต” เป็ นผลงานการ รวบรวมข้ อมูล ความรู้ ในด้ านประวัติศาสตร์ การสอนคําสอน การเผยแพร่ ศาสนาคริ ส ต์ แ ละการสอนคํ า สอนในประเทศไทย คุณ สมบัติ ข องครู คําสอน เอกลักษณ์ของครู คําสอน การศึกษาอบรม ฯลฯ โดยอาจารย์ ดร. ลัดดาวรรณ์ ประสูตรแสงจันทร์ ครู คําสอนเปรี ยบเสมือน ผู้เปิ ดประตูสู่ พระเจ้ า นํ าเพื อนมนุษย์ ให้ มารู้ จักและรั กพระเจ้ า ดังนันครู คําสอนเอง จําเป็ นต้ องเป็ นผู้ทีมีหวั ใจเปิ ดต่อทังพระเจ้ า พระศาสนจักร และสังคมโลก มีการดําเนินชีวิตอันสอดคล้ องกับข้ อคําสอน และร้ อนรนต่องานธรรมทูต คุณสมบัติอนั โดดเด่นเหล่านี ผู้อ่านสามารถศึกษาได้ จากแบบอย่างชีวิต ของบรรดาธรรมทูตและครู คําสอนจากอดีตจนถึงปั จจุบนั คณะศาสนศาสตร์ ขอขอบคุ ณ อาจารย์ ดร. ลั ด ดาวรรณ์ ประสูตร์ แสงจันทร์ ทีได้ สละเวลาเขียนหนังสือเล่ม นีขึนด้ วยภาษาทีเรี ยบ ง่ายและเป็ นไปตามหลักวิชาการ เพืออํานวยความสะดวกให้ กบั นักศึกษาและ ผู้ส นใจทัวไป หนัง สือ เล่ม นี จึ ง เป็ นคุณูป การต่อ วงการการศึก ษา และการ พัฒนาวิชาการของวิทยาลัยแสงธรรม สร้ างความรู้ ความเข้ าใจเรื องของชีวิต บทบาทหน้ าทีของครูคําสอน และทําให้ สาขาวิชาคริ สตศาสนศาสตร์ เป็ นทีรู้ จกั ในสังคมอย่างกว้ างขวางยิงขึน บาทหลวงเจริ ญ ว่องประชานุกลู ผู้อํานวยการศูนย์สง่ เสริ มและพัฒนางานวิชาการ / คณบดีคณะศาสนศาสตร์ วิทยาลัยแสงธรรม


ห น้ า | ข

คํานิยม

ครู ผ้ ูประกาศข่าวดีแห่งชี วิต คือ ...ครู คําสอน เป็ นคํานิ ยามที มี ความหมายสําหรั บผู้ทีเรี ยกตนเอง หรื อ บรรดาเด็กๆ ทังหลาย รวมทัง พีน้ องคริ สตชนเรี ยกเขาว่า “ครู คําสอน” และจากพืนฐานของครอบครั ว ทีได้ รับการถ่ายทอดความเชือถึงสิงทีพระศาสนจักรได้ สอน เป็ นคําสอน ที สื บ ทอดคํ า สอนขององค์ พ ระคริ ส ตเจ้ าอย่ า งแท้ จริ ง กลายมาเป็ น แรงบันดาลใจทําให้ อาจารย์ ดร. ลัดดาวรรณ์ ประสูตร์ แสงจันทร์ ได้ สร้ างสรรค์แหล่งเรี ยนรู้ หรื อหนังสือเล่มนีคือ ”ครู คําสอน...ครู ผ้ ูประกาศ ข่ าวดีแห่ งชีวิต ” เป็ นการถ่ายทอดเนือหาสาระเพือสร้ างแรงบันดาลใจ ให้ กบั คริ สตชนทุกคนทีสามารถปฏิบัติหน้ าทีครู คําสอน ซึงถือเป็ นหน้ าที พื นฐานของตนเองได้ และเป็ นพิ เศษ สํา หรั บผู้ทีมุ่งมัน อุทิศตนในงาน สอนคําสอน ซึงเป็ น “กระแสเรี ยก” หนึงทีสําคัญยิง ในนามของวิ ท ยาลัย แสงธรรมต้ อ งขอขอบคุ ณ อาจารย์ ดร. ลัดดาวรรณ์ ประสูต ร์ แสงจันทร์ ไว้ ณ โอกาสนี ทีเป็ นส่วนหนึงของการ ร่ ว มสร้ างสรรค์ ง านที มีคุณ ค่ า คุณ ค่ า ที เกิ ด ขึ นนี ไม่ ใ ช่ คุณ ค่ า ที เกิ ด ขึ น เฉพาะกับ วิ ท ยาลัย แสงธรรมเท่ านัน แต่เป็ นคุณ ค่าที เกิ ดขึนกับ พี น้ อ ง คริ สตชนทุกคน ทังในระดับครอบครัว ในงานอภิบาลระดับวัด ระดับสังฆมณฑล และคุณค่านีย่อมเป็ นคุณค่าของพระศาสนจักรในประเทศไทย บาทหลวง ดร.ชาติชาย พงษ์ ศริ ิ อธิการบดีวิทยาลัยแสงธรรม


ห น้ า | ค

คํานําผู้เขียน

ถ้ ากล่าวถึง “ศาสนาคริ สต์ นิกายโรมันคาทอลิก” อาจกล่าวได้ ว่า เป็ นศาสนาที ผู้ค นทัวโลกรู้ จัก ทังผู้ที นับ ถื อ ศาสนาคริ ส ต์ และผู้ที นั บ ถื อ ศาสนาอืน ต่างรู้ จัก พระเจ้ า พระเยซูคริ สตเจ้ า รู้ จักพระคัมภีร์ไบเบิล รู้ จัก พระสัน ตะปาปา พระสัง ฆราช บาทหลวง และนัก บวชชายหญิ ง หรื อ แม้ กระทังมิชชันนารี แต่คงมีผ้ ูคนจํ านวนไม่น้อยหรื ออาจรวมถึงเด็กและ เยาวชนทีนับถือศาสนาคริ สต์เองก็ตาม ทีไม่เข้ าใจ ไม่ร้ ู จกั “ครู คําสอนหรื อ ครู สอนคริ สตศาสนธรรม” ว่าเป็ นใคร มาจากไหน เกี ยวข้ องกับศาสนา คริ สต์อย่างไร หรื อมีบทบาทหน้ าทีสําคัญประการใด ในโอกาสนี ผู้เขี ย นในฐานะเป็ นคริ ส ตศาสนิ ก ชน เป็ นครู ส อน นักศึกษาผู้เข้ ารั บการศึก ษาอบรมเพื อเป็ นครู คําสอน จึงมีเจตจํ านงที จะ นําเสนอข้ อมูลทีเกียวข้ องกับครู คําสอน ซึงเป็ นดุจทหารแถวหน้ า เป็ นกองกํ าลังที สํ าคัญ ของพระศาสนจัก รในการประกาศข่ าวดี โดยได้ ร วบรวม ข้ อมูลเกียวกับ ประวัติการสอนคําสอน การเผยแพร่ ศาสนาคริ สต์และการ สอนคําสอนในประเทศไทย คุณสมบัติของครู คําสอน เอกลักษณ์ ของครู คําสอน การศึกษาอบรม การตอบแทน และความรับผิดชอบต่อครู คําสอน รวมถึงแนวทางการสร้ างแรงจูงใจ รู ปแบบการพัฒนาครู คําสอน และความ ท้ าทายของครู คําสอนในอนาคต เพือให้ เยาวชน นักศึกษา รวมถึงผู้ทีอ่าน หรื อ ผู้ ที สนใจได้ ท ราบ เข้ าใจเกี ยวกั บ ครู คํ า สอน และให้ การส่ ง เสริ ม สนับสนุนครู คําสอนได้ ดีมากยิงขึน และเพือเป็ นแรงใจให้ ครู คําสอนทุกคน


ห น้ า | ง

ผู้ เขี ย นขอกราบขอบพระคุ ณ พระสั ง ฆราชชู ศั ก ดิ สิ ริ สุ ท ธิ พระสังฆราชสิริพงษ์ จรัสศรี พระสังฆราชวีระ อาภรณ์ รัตน์ พระสังฆราช ลือชัย ธาตุวิสยั คุณพ่อ (บาทหลวง) ซิสเตอร์ ผู้อํานวยการศูนย์ คําสอน ครู คํ า สอน ผู้ ทรงคุ ณ วุ ฒิ ทุ ก ท่ า น ที กรุ ณ าให้ ข้ อคิ ด เห็ น ข้ อเสนอแนะ ขอบพระคุ ณ คณะผู้ บริ หาร ศู น ย์ ส่ ง เสริ มและพั ฒ นางานวิ ช าการ เพือนร่ วมงาน และนักศึกษาวิทยาลัยแสงธรรมทุกท่าน ทีส่งเสริ มสนับสนุน ให้ แนวคิด ให้ กําลังใจ ผู้เขียนในทุกๆ ด้ านตลอดมาอย่างดียิง ขอบพระคุ ณ คุ ณ พ่ อ ชาติ ช าย พงษ์ ศิ ริ สํ า หรั บ คํ า นิ ย มและ การเป็ นแบบอย่ างที ดี ขอบคุณ คุณ พ่ อ ธนายุท ธ นัน ทพรพิ สุท ธิ สํ าหรั บ ปกหนั ง สื อ ที สวยงาม ขอบคุ ณ คุณ ปนัด ดา ชัย พระคุณ และคุณ ศรุ ต า พรประสิทธิ ในการพิสจู น์อกั ษรอย่างดี สุดท้ ายขอขอบคุณบิดามารดาและ บุตรสาวผู้เป็ นทีรักและเป็ นพลังใจอันยิงใหญ่สําหรับผู้เขียนเสมอมา ประโยชน์ อัน พึงมีจากหนัง สือเล่มนี ขอโมทนาคุณ แด่องค์ พ ระเยซูคริ สตเจ้ า ที ทรงประทาน “คําสอน” มายังมนุษยชาติ โดยผ่านทาง “ครู คําสอน..ครู ผ้ ปู ระกาศข่าวดีแห่งชีวิต” ขอพระเยซูคริ สตเจ้ าอํานวยพระพรอันอุดมแก่ทกุ ท่าน ลัดดาวรรณ์ ประสูตร์ แสงจันทร์ สาขาวิชาคริ สตศาสนศึกษา คณะศาสนศาสตร์ วิทยาลัยแสงธรรม


สารบัญ หน้ า คํานําการจัดพิมพ์ ........................................................................ ก คํานิยม......................................................................................... ข คํานําผู้เขียน.................................................................................ค บทที 1 การสอนคําสอน..การสอนทางเดินให้ ชีวิต..................... 1 แหล่งกําเนิดการสอนคําสอน......................................... .... 2 ความหมายของการสอนคําสอน........................................ 4 รู ปแบบของการสอนคําสอนในสมัยต่างๆ.......................... 13 ความสําคัญของการสอนคําสอน................................... .. 18 จุดมุง่ หมายของการสอนคําสอน.................................... . 22 เป้าหมายของการสอนคําสอน....................................... . 23 ธรรมชาติและหน้ าทีของการสอนคําสอน.......................... 25 กฎหมายพระศาสนจักร เรื อง การเทศน์สอนพระวาจา ของพระเป็ นเจ้ า และคําแนะนําเกียวกับการ สอนคําสอน............................................................. 26 2 การเผยแผ่ คริสต์ ศาสนา และการสอนคําสอน ในประเทศไทย............................................................. 33 3 ครู คาํ สอน..ผู้ประกาศข่ าวดีแห่ งชีวิต............................ 38 ความหมายของครู คําสอน.............................................. 38


บทที

หน้ า ความสําคัญและประเภทของครู คําสอน........................... 41 บทบาทและภารกิจหลักของครูคําสอน............................. 45 คุณสมบัติและคุณลักษณะของครู คําสอน......................... 46 เอกลักษณ์ของครู คําสอน................................................ 49 จํานวนครู คําสอนในประเทศไทย..................................... 52 4 บุคคลสําคัญของครู คาํ สอน......................................... 57 นักบุญเปาโล อัครสาวกนานาชาติ พยานยืนยัน ความเชือ.................................................................. 57 นักบุญมิแกล เฟเบรส คอร์ เดโร องค์อปุ ถัมภ์ครู คําสอน...... 73 บุญราศีฟิลิป สีฟอง อ่อนพิทกั ษณ์ ต้ นแบบครู คําสอนไทย.. 78 5 การศึกษาอบรม..เส้ นทางสู่ชีวิตครู คาํ สอน.................. 84 การฝึ กอบรมครู คําสอน................................................... 85 มิติในการอบรมครู คําสอน............................................. .. 86 ขบวนการอบรมครู คําสอน............................................... 86 การอบรมทีสําคัญต่อครู คําสอน....................................... 89 ชีวิตจิตครู คําสอน........................................................... 90 สถาบันการศึกษาและหลักสูตรการศึกษาอบรมสําหรับ ครู คําสอนในประเทศไทย......................................... .. 91 หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา คริ สตศาสนศึกษา (หลักสูตรปรับปรุ ง พ.ศ. 2556) คณะศาสนศาสตร์ วิทยาลัยแสงธรรม.................... 92


บทที

หน้ า

หลักสูตรการอบรมครู คําสอน ภาคฤดูร้อน ศูนย์อบรมคริ สตศาสนธรรมระดับชาติ................. 101 6 การอภิบาล การตอบแทนและการรั บผิดชอบ ครู คาํ สอน............................................................. 107 การอภิบาลครู คําสอน..............................................107 การตอบแทนและความรับผิดชอบครู คําสอน............. 108 7 แรงจูงใจในการเข้ ารั บการศึกษาอบรมเพือเป็ น ครู คาํ สอน............................................................. 113 ปั ญหาในด้ านจํานวนครู คําสอน............................... 114 แรงจูงใจในการเข้ ารับการศึกษาอบรมเพือเป็ น ครู คําสอน ของนักศึกษาหลักสูตร ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาคริ สตศาสนศึกษา คณะศาสนศาสตร์ วิทยาลัยแสงธรรม................. 119 แรงจูงใจในการเข้ ารับการศึกษาอบรมเพือเป็ น ครู คําสอน ของนักศึกษาหลักสูตรการอบรม ครู คําสอนภาคฤดูร้อน ศูนย์อบรมคริ สตศาสนธรรม ระดับชาติ.......................................................... 121 แนวทางการเสริ มสร้ างแรงจูงใจในการเข้ ารับ การศึกษาอบรมเพือเป็ นครู คําสอน.......................125


บทที หน้ า 8 การพัฒนาครู คาํ สอนในโรงเรี ยนคาทอลิก.................138 องค์ประกอบการพัฒนาครู คําสอนในโรงเรี ยน คาทอลิก........................................................... 142 9 ความท้ าทายของงานคําสอนและครู คาํ สอน ในอนาคต............................................................. 152 ประวัตผิ ้ ูเขียน......................................................................... 161


ห น้ า | 1

บทที 1 การสอนคําสอน…การสอนทางเดินให้ ชีวิต

เ มื อ ก ล่ า ว ถึ ง “ก า ร ส อ น คํ า สอน หรื อ การสอนคริ ส ตศาสนธรรม (Catechesis) หลายคนอาจไม่ เข้ าใจว่าหมายถึงอะไร สอนคําสอน ของใคร หลายคนอาจจะพอเดาจาก คําได้ ว่าเป็ นการสอนหลัก ธรรมของ ศาสนาคริ สต์ ซึงการสอนคําสอน หรื อ การสอนคริ สตศาสนธรรมนันเป็ นการ ถ่ า ยทอดเรื องราวและพระวาจาของพระเยซู ค ริ สตเจ้ า แก่ เ หล่ า คริ สตศาสนิ กชน (ผู้ทีนับถื อศาสนาคริ สต์ ) และคนอืนๆ ที ไม่ได้ นับถื อ ศาสนาคริ สต์ เป็ นการประกาศข่าวดี (เรื องราวและพระวาจา) ขององค์ พระเยซูคริ สตเจ้ าแก่ทกุ คน เป็ นการเชือเชิญให้ ทกุ คนรับฟั งและนําคําสัง สอนของพระองค์ไปใช้ ในการดําเนินชีวิตทีถูกต้ อง มีศีลธรรม จริ ยธรรมที ดีง าม ผู้ ที ปฏิ บัติ ต ามคํา สังสอนนันย่ อมนํ า มาซึงความสุข ทังในโลก ปั จจุบันและโลกนิรันดรกับพระบิดาเจ้ า นันคือการมีชีวิตทีรอดพ้ นจาก สิงชัวร้ ายทังปวงในโลกมนุษย์ และการได้ รับรางวัลจากพระบิดาเจ้ าใน สรวงสวรรค์


ห น้ า | 2

แหล่ งกําเนิดการสอนคําสอน หัวใจสําคัญของการสอนคําสอน คือ การถ่ายทอดพระวาจา อันทรงชีวิตของพระเยซูคริ สตเจ้ าสู่ทุกคน ทุกแห่งหน แหล่งกําเนิดหรื อ จุดเริ มต้ นในการสอนคําสอน จึงเริ มเกิดขึนตังแต่พระเยซูคริ สตเจ้ ายังทรง พระชนมชีพ เป็ นภารกิจสําคัญยิงของพระองค์ ทีตังใจถ่ายทอดพระธรรม คําสังสอนหรื อพระวาจาของพระองค์ ใ ห้ มนุษยชาติทังหลาย เป็ นการ ประกาศข่ า วดี แ ห่ ง ความรอด ผู้ ที เชื อและปฏิ บัติ ต ามพระวาจาของ พระองค์ย่อมมีชีวิตทีรอดพ้ น และนอกจากการสอนด้ วยพระองค์เองแล้ ว พระองค์ ไ ด้ ท รงมอบคํ า สอนหรื อ พระวาจาของพระองค์ ต่ออัค รสาวก สานุศิษย์ ให้ ประกาศข่าวดีนีแก่ทุกคนทุกแห่งหนทุกยุคทุกสมัยตลอดไป “จงออกไปทัวโลก ประกาศข่าวดีแก่นานาชาติ ” (มก 16, 15) อันเป็ น พระราชดํารัสสุดท้ ายของพระเยซูคริ สตเจ้ าก่อนทีจะเสด็จกลับไปหาพระบิดาเจ้ าบนสวรรค์ โดยหลังจากได้ ทรงกลับคืนพระชนมชีพแล้ วได้ ทรง บัญชาให้ พวกสาวกออกไปประกาศข่าวดีแก่นานาชาติให้ มาเป็ นศิษย์ ของพระองค์ ทรงสอนพวกเขาให้ ถือตามทุกสิงทุกอย่างทีพระองค์ทรง สอนไว้ (เที ย บ มธ 28: 19-20) พระองค์ ไ ด้ ทรงมอบหมายหน้ าที และ อํานาจทีจะประกาศสิงทีพวกเขา ได้ ยิน ได้ เห็น และได้ สมั ผัสด้ วยตนเอง ในสิงทีเกียวกับพระวาจาทรงชีวิต (เทียบ 1 ยน 1: 1) ให้ แก่มวลมนุษย์ พระองค์ยงั ทรงมอบหมายหน้ าทีและอํานาจทีจะอธิบายทุกสิงทีพระองค์ ได้ ทรงสอน ทังโดยพระวาจา โดยการกระทํา ทังเครื องหมายและด้ วย พระบัญญัติของพระองค์ และสิงสําคัญอีกประการหนึง พระองค์ได้ ทรง ประทานพระจิ ตให้ แก่พวกเขา พระจิตที เป็ นพลังและแสงสว่างนํ าทาง


ห น้ า | 3

ให้ แก่พวกเขา เพือจะได้ สามารถปฏิบตั ิหน้ าทีนันให้ สําเร็ จลุล่วงไปด้ วยดี การสอนคําสอน จึงได้ ถือกําเนิดขึนมาและต่อเนืองมาจนทุกยุคทุกสมัย ตังแต่พระเยซูคริ สตเจ้ ายังมีพระชนมชีพ และสืบต่อมาด้ วย อัครสาวก สานุศิ ษย์ ศาสนบริ กรของพระองค์ ทังพระสงฆ์ (บาทหลวง) นักบวช มิชชันนารี และครู คําสอน หรื อแม้ แต่การแบ่งปั นคําสอนของคริ สตชนเอง และด้ วยความสําคัญของการสอนคําสอนนี จึง เรี ยกร้ องความพยายาม ทังหมดในพระศาสนจักรที จะนํ านานาชาติมาเป็ นศิษย์ ข องพระเยซู คริ สตเจ้ า คือ ให้ เชือว่า พระเยซูคริ สตเจ้ าเป็ นบุตรของพระเจ้ า เพือว่าโดย อาศัยความเชือนี มนุษย์จะได้ รับชีวิตในพระนามของพระองค์ (เทียบ ยน 20: 30) และมนุษย์ จะได้ รับการอบรมสังสอนให้ เจริ ญขึนในชีวิตและจะ ได้ ช่ ว ยกั น เริ มสร้ างพระกายของพระเยซู ค ริ ส ตเจ้ าให้ สมบู ร ณ์ ขึ น (ศูนย์คําสอนอัครสังฆมณฑลกรุ งเทพฯ, 1990: 4) การสอนคํ า สอนจึ ง มี กํ า เนิ ด จากพระราชดํ า รั ส และการ มอบหมายหน้ าทีและอํานาจให้ อคั รสาวก สานุศิษย์ ศาสนบริ กรทุกคนได้ อธิ บายทุกสิงที พระองค์สอนทังพระวาจา การกระทํา เครื องหมายและ พระบัญญัติ ซึงปรากฏในคู่มือแนะแนวการสอนคําสอนทัวไป ตามพระสมณฎีกาเรื อง หน้ าทีอภิบาลสัตบุรุษของพระสังฆราชในพระศาสนจักร ทีได้ ระบุถงึ แหล่งกําเนิดของงานคําสอน ไว้ ดงั นี 4 แหล่ง คือ 1) พระวาจา ของพระเป็ นเจ้ าที บัน ทึ ก เป็ นลายลัก ษณ์ อัก ษรหรื อ เล่ า สื บ ต่ อ กั น มา 2) พิธีกรรม 3) ชี วิตของผู้ชอบธรรมและนักบุญ และ 4) ระบบศีลธรรม ตามธรรมชาติซงมี ึ อยู่ในสังคมมนุษย์ กล่าวคือ เนือหาคําสอนนัน ได้ มา จากพระวาจาของพระเยซูคริ สตเจ้ า ที บันทึกเป็ นลายลักษณ์ อักษรหรื อ


ห น้ า | 4

เล่าสืบต่อกันมา พระวาจานี คริ สตชนได้ ศกึ ษาเล่าเรี ยนและมีความเข้ าใจ กว้ างขวางลึกซึงขึน ภายใต้ การนําของพระศาสนจักรซึงเป็ นผู้มีอํานาจ เทียงแท้ แต่ผ้ เู ดียวทีจะสอนหรื อถ่ายทอดพระวาจานี พระวาจานียังได้ รับ การเฉลิมฉลองในพิธีกรรมและทอแสงเจิดจ้ าในชีวิตของพระศาสนจักร โดยเฉพาะในผู้ชอบธรรมและนักบุญ และโดยอาศัยการจัดเตรี ยมการ ล่วงหน้ าของพระเป็ นเจ้ า พระวาจานียังเป็ นทียอมรั บในระบบศีลธรรม และตามธรรมชาติซึงมีอยู่ในสังคมมนุษย์ ด้ว ย (สมณกระทรวงว่าด้ วย เรื องของพระสงฆ์, 1980: 54) ความหมายของการสอนคําสอน เมือศึกษารายละเอียดถึงความหมายของการสอนคําสอนนัน พบว่า มีการให้ ความหมายทีแตกต่างกันไปบ้ างตามรากศัพท์ตามยุคตาม สมัย ซึงสรุ ปทีสําคัญได้ ดงั นี 1. การสอนคําสอน ในศัพท์ ภาษากรี กโบราณ การสอนคําสอน ในภาษาไทยนัน ไม่ปรากฏหลักฐานชัดเจน ว่ า ใครเป็ นผู้ นํ า มาใช้ เป็ นคนแรก แต่ ใ นภาษาอั ง กฤษ ใช้ คํ า ว่ า “Catechesis” ซึงมาจากภาษากรี ก ว่า “Katecheo” หรื อ “Katekin” หมายถึง “เสียงจากเบืองบน” (Sound from Above) เป็ นคําทีใช้ กนั น้ อย มาก ชาวกรี กเองใช้ เพือหมายถึง การอ่านบทประพันธ์ ให้ ผ้ ฟู ั งจากแท่นสูง แต่ตอ่ มาได้ พฒ ั นาคําคํานีให้ มีความหมายในสองลักษณะคือ 1) การเล่า เรื องใดเรื องหนึงให้ ใครคนใดคนหนึงฟั ง หรื อการแจ้ งเรื องใดเรื องหนึงให้ ใครคนใดคนหนึงรู้ (เน้ นการเล่า การบอก การแจ้ ง ชีแจง) 2) การแนะนํา


ห น้ า | 5

บุคคลให้ ร้ ู บางสิงบางอย่างหรื อการสอนให้ คนรู้ บางสิง (เน้ นการสอน การแนะนํ า การให้ ความรู้ ) ซึงตามปกติมัก จะเป็ นการสอนที เกี ยวกับ ความชํานาญเบืองต้ นในทักษะประเภทใดประเภทหนึง ซึงหากเทียบกับ ขั นตอนการอ่ า นพระวรสาร (พระวาจาของพระเจ้ า)ในพิ ธี บู ช า ขอบพระคุณในปั จจุบนั ก็ยงั คงมีลกั ษณะดังกล่าวอยู่ โดยพระสงฆ์จะยืน อยู่บนพระแท่นสูงในช่วงทีอ่านพระวรสารและเทศน์ สอนคริ สตชนให้ นํา พระวาจาของพระเจ้ าไปใช้ เป็ นหลักในการดําเนินชีวิต และคําว่า “คําสอน” นียังพบว่าพวกสโตอิค (Stoicism) ใช้ เพือหมายถึง การสอนศิษย์ ต่อมาชาวกรี กใช้ คํานีเพือหมายถึงการสังสอน การแนะนําบางสิงบางเรื องให้ กบั บางคน หรื อการสอนคนให้ ร้ ู เรื องใดเรื อง หนึงทีต้ องการ ซึงก็ยงั มีนยั ยะเดียวกับการสอนคําสอนในปั จจุบนั 2. การสอนคําสอน ในพระคัมภีร์ศาสนาคริสต์ แม้ ว่าการสอนคํา สอนจะเริ มขึนเมือครั งพระเยซูเจ้ ายังทรง พระชนมชีพ แต่ผ้ ูศกึ ษาพระคัมภีร์หรื อนักวิชาการทีศึกษาเรื องนี ระบุว่า ในพระคัมภี ร์ภ าคพัน ธสัญญาเดิม (แม้ แ ต่ พระคัมภี ร์ที มีก ารแปลเป็ น ภาษากรี ก หรื อ “Septuagint”) ไม่ ป รากฏคํ า ว่ า “คํ า สอน” นี เลย แต่พบว่ามีการใช้ คําว่า “สอน” อยู่บ้างในพระคัมภีร์ภาคพันธสัญญาใหม่ เช่น ในพระวรสารทังสีพบเพียงครังเดียวในลูกา 1: 4 ในตอนทีนักบุญลูกา พูดกับเทโอพีลสั “ทีข้ าพเจ้ าเขียนไว้ นีก็เพือจะให้ ท่านมันใจถึงเรื องทีเขา สอนท่ า น” ในที นี เป็ นการอ้ างอิ ง ถึ ง การสอนของบรรดาอั ค รส าวก ที เกี ยวกับ ความเชื อของคริ ส ตชน ไม่ไ ด้ กล่าวถึงการสอนของพระเยซู คริ สตเจ้ าโดยตรง


ห น้ า | 6

คําทีพระคัมภีร์มกั จะใช้ เพืออ้ างอิงถึงการสอนของพระเยซู คริ สตเจ้ าก็คือ Didaskein หรื อ Didache ซึงหมายถึง “การสอน” คําๆ นี มั ก ใช้ กั บ การสอนของบรรดานั ก ปรั ช ญ า หรื อบรรดาประกาศก (Prophets) ผู้ซงได้ ึ รับการเผยแสดงหรื อแรงดลใจเป็ นพิเศษจากพระเจ้ า ดังนันจึงเป็ นการสอนทีมีอํานาจและสอนอย่างเป็ นต้ นตํารั บ ในขณะที คําว่า “คําสอน” (Catechesis) นี เป็ นการสอนประเภทหนึงทีผู้สอนได้ นํา คําสอนของผู้มีอํานาจสําคัญมาสอนให้ แก่บุคคลใดบุคคลหนึง (ไม่ใช่การ สอนผู้อืนโดยใช้ คําสอนที เป็ นของตนเอง) ดังนันในความหมายของเรา การสอนคําสอนจึงเป็ นการสอนบุคคลอืนให้ ร้ ู เรื องที เกียวกับคํา สังสอน ของพระเยซูคริ สตเจ้ า ในภาษากรี กนันเรี ยก “ครู ” ว่า “Didaskalos” ซึงชาวยิวใช้ คํา ว่า “Rabbi” เมือทราบความหมายตามศัพท์ นีแล้ ว สามารถกล่าวได้ ว่า พระเยซูคริ สตเจ้ าเป็ น “ครู ” (Didaskalos) มิใช่ครู คําสอน (Catechist) หรื อผู้แนะนํา ส่วนคําทีใช้ เพืออ้ างอิงถึงกิจการสอนของพระเยซูคริ สตเจ้ า เรี ยกว่า Didaskein นี ใช้ ในความหมายทีเฉพาะเจาะจง กล่าวคือ เพื อ อ้ างอิงถึงคําสอนทีเกิดจากการเผยแสดงของพระเจ้ าหรื อแรงดลใจพิเศษ (ยน 8: 28: 14: 26, 1 ยน 2: 27) ซึง อัครสาวกเปาโล ได้ แยกแยะให้ เข้ าใจได้ อย่างชัดเจนว่า การใช้ คําว่า “Katechein” นันหมายถึง กิจการที อัครสาวกได้ สอนให้ ประชาชนได้ ทราบถึง “คําสังสอนของพระเยซูคริ สตเจ้ า”


ห น้ า | 7

3. การสอนคํ า ส อนในส มั ย ข อ ง บ ร ร ดา อั ค รส า ว ก (Apostolic) การสอนในสมัยนี ทํ าให้ เข้ าใจถึงคําว่า “การสอนคําสอน” ได้ อ ย่ า งเด่ น ชัด กล่ า วคื อ เป็ นการสอนเกี ยวกั บ คํ า สอนหรื อ กฎของ พระเยซูคริ สตเจ้ า รวมไปถึงคําสอนอืนๆ ของพระองค์ด้วย แต่ถ้าเป็ นการ สอนเกียวกับคําสังสอนของบรรดาอัครสาวกเองไม่เรี ยกว่าเป็ นการสอน คําสอน เพราะ “คําสอนแท้ ” ต้ องมาจากองค์พระเยซูคริ สตเจ้ าเท่านัน นอกจากนี อัครสาวกเปาโล ยังได้ แยกความหมายระหว่าง คําว่า “การเทศน์” (Preacing) หรื อ “การประกาศข่าวดี” (Kerygma) กับ “การสอนคําสอน” (Catechesis) ด้ วย ท่านสอนว่า ความเชือเกิดขึนโดย ผ่านการเทศน์ ซึงหมายถึง การทําให้ ผ้ ูทีไม่ใช่คริ สตชนเข้ ามามีความเชือ โดยกล่าวไว้ ในจดหมายถึงชาวโรม “เขาจะศรั ท ธาในพระองค์ อย่างไร ถ้ าเขายังไม่ได้ ยินเรื องพระองค์ (รม 10: 14) และ “ความศรัทธาก็เกิดขึน ได้ เพราะเราฟั งคําประกาศ และคําประกาศนันมีขนได้ ึ เพราะการเทศนา เรื องพระเยซูคริ สตเจ้ า” (รม 10: 17) ส่วนการสอนคําสอนนันเป็ นการสอน “คําสังสอนของพระเยซู คริ สตเจ้ า ” เพื อนํ าคริ ส ตชนหรื อผู้ทีมีความเชื อ ความศรัทธาอยู่แล้ ว ให้ เข้ าสูช่ ีวิตคริ สตชนทีสมบูรณ์ แบบมากขึน และการ ประกาศข่าวดี (Kerygma) เป็ นการแจ้ งข่าวดีเรื องพระองค์ ให้ ผ้ ทู ียังไม่ร้ ู เรื องหรื อผู้ทีไม่ใช่คริ สตชนได้ ทราบ โดยการประกาศข้ อความเชือพืนฐาน ให้ รู้ ว่ า พระเยซู ค ริ สตเจ้ า คื อ พระบุ ต รของพระเจ้ า พระองค์ ไ ด้ สินพระชนม์ เพื อมนุษยชาติ และได้ ท รงคืน พระชนมชี พ ใครที เชื อและ ปฏิบตั ิตามคําสอนของพระองค์จะมีชีวิตทีเทียงแท้ รอดพ้ น


ห น้ า | 8

4. การสอนคําสอน ในสมัยปิ ตาจารย์ (Patristic) ในสมั ย ปิ ตาจารย์ คํ า ว่ า การสอนคํ า สอน หมายถึ ง การสอนสมาชิ กใหม่เกี ยวกับความเชื อศรั ท ธาของคริ สตชน ซึงมี อยู่ 2 ระยะด้ วยกัน คื อ ก่ อนการรั บ พิ ธี ล้ างบาป และหลัง การรั บพิ ธีล้ างบาป การสอนคํ า สอนจึ ง เป็ นการให้ การอบรมเรื องความเชื อศรั ท ธา ส่วนการเทศน์ (Kerygma) หรื อการประกาศพระวรสาร (Evangelization) มุ่ ง หวั ง เพื อ ให้ เกิ ด ความเชื อในพระเยซู ค ริ ส ตเจ้ าในระยะแรกเริ ม เมือผู้สมัครยอมรับว่าพระเยซูคริ สตเจ้ าเป็ นพระผู้ไถ่ของเขาแล้ วจึง นําเข้ า สูก่ ารสอนคําสอน คือ การสอนเกียวกับคําสังสอนของพระเยซูคริ สตเจ้ า 5. การสอนคํ า สอน ในสมั ย ปฏิ รู ป ศาสนาหรื อ ปฏิ รู ป โปรเตสแตนท์ (Protestant Reformation) การสอนคําสอนได้ มีการปรับและเปลี ยนให้ เข้ ากับกาลสมัย ตลอดมา ทั งนี เพื อให้ ตรงกั บ ความต้ องการของสถานการณ์ และ สภาพแวดล้ อมในสมั ย นั นๆ โดยเฉพาะในศตวรรษที 4 หลั ง จาก พระจักรพรรดิองค์หนึงของจักรวรรดิโรมัน (คอนสแตนติน) ได้ สมัครเข้ า นับถือคริ สต์ศาสนา ก็ทําให้ ชาวโรมันหันมานับถือด้ วย การสอนคําสอนจึง ต้ องปรั บให้ เข้ ากับสถานการณ์ การปรับเปลียนปฏิรูปศาสนาในสมัยนัน เหตุผลอีกประการหนึงก็คือ การอนุญาตให้ มีการล้ างบาปเด็กๆ ได้ 6. การสอนคําสอนในเอกสารแห่ งสภาสังคายนาวาติกัน ครั งที 1 และ ครั งที 2 เอกสารแห่งสภาสังคายนาวาติกนั ครั งที 2 กล่าวไว้ ว่า การสอน คําสอน มีจดุ มุง่ หมายทีจะทําให้ ความเชือในตัวมนุษย์เข้ มแข็งและมันคง


ห น้ า | 9

อาศัยความสว่างแห่งคําสอน บรรดาพระสังฆราชต้ องสอดส่องจัดการให้ เด็กและเยาวชน ผู้ใหญ่ ทุกช่วงวัยได้ รับการสอนคําสอนแบบนีด้ วยความ เอาใจใส่อย่างดี ยิง ในการสอนคําสอนให้ ใช้ ลํ าดับ วิ ธีก ารและตํ าราที เหมาะสมทังกับเรื องที จะสอน อุปนิ สยั ความสามารถ อายุ และสภาพ ชีวิตของผู้ฟังด้ วย เพราะผู้ฟังในแต่ละกลุม่ แต่ละชุมชนย่อมมีข้อแตกต่าง กั น ไป สรุ ปได้ ว่ า การสอนที กล่ า วนี จะต้ องถื อ ตามพระคั ม ภี ร์ ธรรมประเพณี พิธีกรรม และคําสอนของพระศาสนจักรเป็ นหลัก และให้ เหมาะสมกับผู้เรี ยนทุกช่วงวัย 7. การสอนคํ า สอน ในเอกสารคู่ มื อ แนะแนวการสอน คําสอนทัวไป (General Directory for Catechesis : GDC) รั บรอง โดยพระสันตะปาปา เปาโล ที 6 คํ า สอนเป็ นรู ป แบบหนึ งแห่ ง งานอภิ บ าลด้ า นพระวาจา พระศาสนจักรได้ ถ่ายทอดความเชือ (คําสอน) สูช่ นรุ่ นถัดมาอย่างต่อเนือง โดยผ่านทางศาสนบริ ก าร 3 อย่าง คือ ศาสนบริ การด้ านการประกาศ พระวาจาของพระเจ้ า ศาสนบริ การด้ านพิธีกรรม และศาสนบริ การด้ าน การอภิบาลรับใช้ 8. การสอนคํ า สอน ในเอกสารการประกาศพระวรสาร ในโลกปั จจุบัน (Evangelii Nuntiandi : EN) โดยพระสันตะปาปา เปาโล ที 6 พระสันตะปาปา เปาโล ที 6 ได้ ให้ ความหมายของการสอน คํา สอนไว้ ว่า เป็ นงานพื นฐานของพระศาสนจัก ร กล่ า วคือ การสอน คําสอนเป็ นการประกาศพระวรสารซึงเป็ นหน้ าทีโดยตรงของพระศาสน-


ห น้ า | 10

จักร การสอนคําสอนเป็ นรู ปแบบหรื อเครื องมือทีสําคัญในงานประกาศ พระวรสารพระวาจาของพระเจ้ าต่อประชาชนทัวไป 9. การสอนคํ า สอน ในเอกสารการสอนคํ า สอนในยุ ค ปั จจุบัน (Catechesi Tradendae : CT) โดย พระสันตะปาปา ยอห์ น ปอล ที 2 เอกสารการสอนคําสอนในยุคปั จจุบนั ถือได้ ว่าเป็ นเอกสารที ทรงอิทธิพลต่อกิจการคําสอนต่างๆ อย่างมากที สุดในช่วงทศวรรษทีผ่าน มา และตราบจนปั จ จุบัน นี เอกสารฉบับ ดัง กล่าวได้ ใ ห้ ห ลัก การสอน คําสอนทีถูกต้ องโดยวางอยู่บนพืนฐานทางเทววิทยาของพระศาสนจักร บนพืนฐานจากพระคัมภีร์ คําสอนของสภาสังคายนาวาติกนั ครังที 2 และ ข้ อมู ล จากเอกสารงานคํ า สอนฉบั บ ก่ อ นๆ โดยเริ มด้ ว ยการอ้ า งอิ ง พระบัญชาสุดท้ ายทีพระเยซูคริ สตเจ้ าทรงมอบให้ กบั บรรดาอัครสาวกทีว่า “จงออกไปประกาศข่าวดีแก่นานาชาติให้ มาเป็ นศิษย์ ของพระองค์ และ ทรงสอนพวกเขาให้ ถื อ ตามทุก สิ งทุก อย่ าง ที พระองค์ ไ ด้ ท รงสอนไว้ ” (มธ 28: 19-20) คํากล่าวจากพระคัมภีร์ตอนนีถือได้ ว่า การสอนคําสอน เป็ นส่วนที สํ าคัญ ส่ วนหนึงในกระบวนการทํ า ให้ ผ้ ูอื นมาเป็ นศิษย์ ข อง พระเยซูคริ สตเจ้ า อันดับแรกก็คือ การเทศนาทีนําไปสูก่ ารกลับใจและการ รั บพิธีล้างบาป อันดับทีสองคือ การสอนคําสอนหรื อการสอนซึงนําไปสู่ ชีวิตตามพระบัญชาของพระเจ้ าและยังรวมไปถึงความหมายของการสอน คําสอนสามประการ คือ 1) เป็ นการสอนบทบัญญัติของพระเจ้ า 2) เป็ น การสอนทีให้ กบั ผู้ทีรับพิธีล้างบาปแล้ ว 3) เป็ นการสอนทีมุ่งหวังให้ ผ้ เู รี ยน ปฏิ บัติ ตามบทบัญญัติของพระเจ้ า โดยเอกสารการสอนคําสอนในยุค


ห น้ า | 11

ปั จจุบัน ให้ คําอธิ บายไว้ อย่างชัดเจนว่า การสอนคําสอนก็คือ การอบรม เด็กๆ เยาวชน และผู้ใหญ่ให้ เติบโตในความเชือ โดยการถ่ายทอดคําสอน สําหรับคริ สตชนตามลําดับ และทําอย่างเป็ นระบบ เพือให้ ผ้ เู รี ยนเติบโต ในความเชือจนถึงขันสมบูรณ์ 10. การสอนคํ า สอน ในเอกสารคํ า สอนพระศาสนจั ก ร คาทอลิก (Catechism of the Catholic Church : CCC) รั บรองโดย พระสันตะปาปายอห์ น ปอล ที 2 เอกสารคําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก ยังคงให้ ความหมาย ของการสอนคํ าสอนไว้ ตามนัย ยะของเอกสารการสอนในยุค ปั จ จุบัน (Catechesi Tradendae : CT) ว่า การสอนคําสอน คือ การให้ การศึกษา ในเรื องความเชือแก่เด็กๆ เยาวชนและผู้ใหญ่ ซึงประกอบด้ วยการสอน เรื องหลัก คํ าสอนของพระเยซู ค ริ ส ตเจ้ าเป็ นพิ เศษ และสอนอย่ างเป็ น ระบบด้ วยความมุ่งหมายที จะสอนให้ ร้ ู แนวทางไปสู่บูรณภาพแห่งชี วิต คริ สตชน ทังนี การสอนคํ า สอนได้ ถู ก จั ด ให้ เป็ นปั จ จั ย หนึ งในงาน อภิ บาลของพระศาสนจักร ซึงเป็ นปั จ จัยที ผูก พันอย่างชิ ดสนิ ทกับชี วิต ทังชี วิ ต ของพระศาสนจัก ร (วัช ศิ ล ป์ กฤษเจริ ญ , 2550:10-37) มิ ใ ช่ เพียงแต่ในเรื องของการขยายขอบเขตเชิงภูมิศาสตร์ และการเพิมพูนด้ าน จํานวนของคริ สตชน แต่รวมถึงการเจริ ญเติบโตภายในของพระศาสนจักร ด้ วย


ห น้ า | 12

กล่าวโดยรวมทังหมด การสอนคําสอน ก็คือ การอบรมผู้เรี ยน ทังเด็ก ๆ เยาวชนและผู้ใ หญ่ ให้ เติบ โตในความเชื อ โดยการถ่ ายทอด คํ าสอนของพระเยซู ค ริ ส ตเจ้ า ไปยัง คริ ส ตชน ตามลํ า ดับ ต่ อเนื องและ ทําอย่างเป็ นระบบ เพือให้ ผ้ ูเรี ยนเติบโตในความเชื อจนถึงขันสมบูรณ์ เป็ นวิธีการทีจะนําสู่การเจริ ญชีวิตด้ านจิตใจของคริ สตชนทีสมบูรณ์ และ การเจริ ญเติบใหญ่ของพระศาสนจักรอย่างเข้ มแข็ง


ห น้ า | 13

รู ปแบบของการสอนคําสอนในสมัยต่ างๆ การสอนคํ า สอนใน แต่ ล ะยุ ค แต่ ล ะสมั ย มี ก าร เปลี ยนแปลงพั ฒ นาขึ นให้ เหมาะสมกับผู้เรี ยน ช่วงเวลา ส ถ า น ก า ร ณ์ แ ล ะ บ ริ บ ท แวดล้ อม เช่นเดียวกับการสอน ในศาสตร์ ต่า งๆ ที เราพบเจอ ดังนัน พระศาสนจักรในแต่ละ ยุคสมัยจึงส่งเสริ มให้ มีการ สอนคําสอนด้ วยรู ปแบบต่างๆ ทีหลากหลาย ปั จจัยสําคัญของการเลือกแต่ละรู ปแบบการสอน คือ 1) ความ เข้ าใจในเรื องการเผยแสดง (Revelation) หมายถึง การทีพระเจ้ าทรง เปิ ดเผยความจริ งให้ มนุษย์ ได้ รับรู้ เพือช่วยมนุษย์ ถึงความรอดพ้ น และ 2) ความเชือ (Faith) (Antonio Jose Calle, S.J., 2550: 88-100) รู ป แบบวิ ธี ก ารสอนคํ า สอนในแต่ ล ะช่ ว งเวลาที ผ่ า นมาจึ ง มี หลากหลาย ตามที วัชศิลป์ กฤษเจริ ญ (2550: 10-37) ได้ พิจารณา ซึงสามารถสรุ ปรู ปแบบทีสําคัญได้ ดงั นี 1. รู ปแบบการสอนในสมัยบรรดาอัครสาวก (Apostolic) ช่ วงปี ค.ศ. 30-100 รู ปแบบการสอนในสมัยนี เรี ยกว่า เป็ นแบบ “The Original Kerygmiatic Catechesis” ใช้ วิธีการสอนโดยบอกเล่าประสบการณ์ ของ


ห น้ า | 14

ความเชือ โดยจะเน้ นไปพระเยซูคริ สตเจ้ า ในเรื องของ 1) การเผยแสดง ของพระเจ้ า (Revelation) เน้ นเรื องพระเยซู ค ริ ส ตเจ้ าเสด็ จ กลับ คื น พระชนมชี พ ผู้ เ ป็ นพระวจนะของพระบิ ด าเจ้ า 2) ความเชื อ (Faith) ให้ เปลียนทัศนคติมายอมรั บและเชือว่า พระเยซูคริ สตเจ้ าเป็ นพระผู้ไถ่ ทรงเป็ นหนึงเดีย วกับพระบิ ด า และถื อตามพระบัญ ญัติของพระองค์ ที ประทานให้ ด้วยความรัก กลุม่ เป้าหมายหลักคือ กลุม่ ผู้ใหญ่ เพือให้ ผ้ เู รี ยน หันมานับถือศาสนาคริ สต์ 2. รู ปแบบการสอนในสมั ยปิ ตาจารย์ (Patristic) ช่ วงปี ค.ศ. 100 – 590 รู ป แบบการสอนในสมั ย นี เรี ยกว่ า “Biblico-Liturgical Catechesis” ใช้ วิ ธี ก ารสอนโดยบอกเล่ า เน้ น ไปที พระเยซู ค ริ ส ตเจ้ า กิจการของพระองค์ในประวัติศาสตร์ แห่งความรอดพ้ น และให้ เข้ าใจใน พิธีกรรมซึงเป็ นกิจการอัศจรรย์ของพระเจ้ าทีเกิดขึนในปั จจุบนั ซึงจะสอน ในเรื องของ 1) การเผยแสดงของพระเจ้ า (Revelation) เป็ นองค์ ความ สว่างภายในทีเกิดจากการรํ าพึงภาวนาเกียวกับพระเยซูคริ สตเจ้ าผู้เป็ น แสงสว่ า งของโลก 2) ความเชื อ (Faith) ให้ เชื อฟั งพระจิ ต เจ้ าซึ ง ส่องสว่างภายในจิตใจ ทําให้ ผ้ เู รี ยนชิดสนิทกับพระเยซูคริ สตเจ้ าและเห็น พระเจ้ าในชี วิ ต ประจํ า วัน กลุ่ม เป้ าหมายหลัก คื อ กลุ่ม ผู้ใ หญ่ เพื อให้ ผู้เรี ยนได้ รับแสงสว่างเห็นกิจการอัศจรรย์ ของพระองค์ในประวัติศาสตร์ และธรรมลําลึกของพระองค์


ห น้ า | 15

3. รู ปแบบการสอนคําสอนในสมัยกลาง (Medieval) ช่ วงปี ค.ศ. 590-1517 รู ปแบบการสอนในสมัยนี เรี ยกว่า “Doctrinal Catechesis” ใช้ วิ ธี ก ารสอนโดยอธิ บ ายเนื อหาและค่อยๆ เพิ มรายละเอีย ดมากขึ น ตามลําดับ แต่ยงั ไม่ได้ เน้ นทางด้ านปฏิบตั ิ จะสอนในเรื องของ 1) การเผย แสดงของพระเจ้ า (Revelation) ในความจริ งทีถูกเผยแสดงในพระคัมภีร์ 2) ความเชือ (Faith) ให้ ยอมรั บและเชือความจริ งทีพระเจ้ าเผยแสดงใน พระคัมภีร์และในพระศาสนจักร กลุ่มเป้าหมายคือ ครอบครั วทังผู้ใหญ่ และเด็ก โดยเฉพาะเด็ก ๆ ที ได้ รั บศีล ล้ างบาปแล้ ว ยัง ไม่มีความรู้ ทาง ศาสนาทีลึกซึง โดยการสอนจะเริ มจากข้ อความเชือ พระบัญญัติและพิธี ศีลศักดิสิทธิต่างๆ (พิธีกรรม) 4. รู ปแบบการสอนคําสอนในสมัยปฏิรูปศาสนาหรื อปฏิรูป โปรเตสแตนท์ (Protestant Reformation) ช่ วงปี ค.ศ. 1517 – 1545 รู ปแบบการสอนในสมัยนี เรี ยกว่า “Polemical Catechesis” ใช้ วิ ธี ก ารสอนโดยการถาม-ตอบ เน้ น ในเรื อง พระบัญ ญัติ ข้ อความเชื อ การภาวนา และพิ ธีกรรม ซึงจะสอนในเรื องของ 1) การเผยแสดงของ พระเจ้ า (Revelation) ข่าวดีเพือช่วยคนบาปให้ รอด อาศัยบุญกุศลของ พระเยซูคริ สตเจ้ า 2) ความเชือ (Faith) ให้ ไว้ ใจว่าบาปของเราได้ รับการ อภัยแล้ ว และความเชือช่วยให้ รอด กลุ่มเป้าหมายหลัก คือ ครอบครัวทัง ผู้ใหญ่และเด็ก เพือการปฏิรูปศาสนา


ห น้ า | 16

5. รู ป แบบการสอนคําสอนในสมั ย สั ง คายนาเมื องเตร็ น (Tridentine) ช่ วงปี ค.ศ. 1545 – 1563 รู ปแบบการสอนในสมัยนี เรี ยกว่า “Apologetical Catechesis” ใช้ วิธีการสอนแบบการถาม-ตอบ เกียวกับคุณธรรมต่างๆ ข้ อความเชือใน ความไว้ ใจพระบิดา ความรัก พระบัญญัติ พิธีศีลศักดิสิทธิ (พิธีกรรม) การ หลีกเลียงบาป และการทําบุญต่างๆ โดยจะสอนในเรื องของ 1) การเผย แสดงของพระเจ้ า (Revelation) ข้ อความจริ ง ที พระเจ้ าเผยแสดงที พระเยซู ค ริ ส ตเจ้ าประกาศ สังสอนและถ่ า ยทอดโดยทางอัค รสาวก ซึงบรรจุ อ ยู่ ใ น พระคัม ภี ร์ แ ละขนบประเพณี ที พระศาสนจัก รสั งสอน 2) ความเชือ (Faith) ให้ เชือในความจริ งทีเผยแสดงเหมือนกับสมัยกลาง กลุม่ เป้าหมายคือ ประชาชนทัวไป 6. รู ปแบบการสอนในสมั ยสภาสังคายนาวาติกันครั งที 1 และ ครั งที 2 ช่ วงปี ค.ศ. 1930 – 1960 รู ป แ บ บ ก า ร ส อ น ใ น ส มั ย นี เ รี ย ก ว่ า Kerygmatic Catechesis” ใช้ วิ ธี ก ารสอนที หลากหลาย ทั งการถาม-ตอบ การใช้ กิ จกรรมต่างๆ โดยคํานึงถึงวัฒนธรรมและจิ ตใจของผู้เรี ยนด้ วย ซึงจะ สอนในเรื องของ 1) การเผยแสดงของพระเจ้ า (Revelation) ข้ อความจริ ง ที บ ร ร จุ อ ยู่ ใ น พ ร ะ คั ม ภี ร์ แ ล ะ ไ ด้ ถู ก ถ่ า ย ท อ ด ต่ อ ๆ กั น ม า ท า ง ขนบธรรมเนี ย มประเพณี และวิ ธี ก ารดํ า เนิ น ชี วิ ต ตามคํ าสังสอนของ พระศาสนจักร 2) ความเชือ (Faith) ให้ อธิ บายความเชือว่าเป็ นกิจกรรม ความรู้ เหนือธรรมชาติซงแตกต่ ึ างจากความรู้ ตามธรรมชาติ ซึงมีพืนฐาน อยู่บนอํานาจแห่งการเผยแสดงของพระเจ้ าและได้ รับความช่วยเหลือจาก


ห น้ า | 17

พระพรของพระองค์ ความเชือและเหตุผลรวมอยู่ในกิจกรรมของมนุษย์ ซึงเสนอต่อ การเผยแสดง ความเชื อเป็ นพระพรพิ เ ศษ เป็ นสิ งจํ า เป็ น สําหรั บมนุษย์ ทุกคนเพือจะได้ รอดพ้ น และความเชือได้ มีการพัฒนาขึน เนืองจากมีปรัชญาใหม่ๆ เกิดขึน ถือบุคคลเป็ นสําคัญในการสอนคําสอน มีการสอนคําสอนอย่างเป็ นระบบมากขึนในโรงเรี ยน กลุ่มเป้าหมายคือ เด็ก เยาวชน ผู้ใหญ่และผู้ปกครอง เพือพัฒนาในเรื องของความเชือ โดยมี การให้ ความรู้ ความเข้ าใจ ความรัก และนําเอาไปปฏิบตั ิ เป็ นการพัฒนา บุ ค คลทั งครบ โดยยึ ด พระเยซู ค ริ ส ตเจ้ าเป็ นศู น ย์ ก ลางเหมื อ นสมั ย ปิ ตาจารย์ 7. รู ปแบบการสอนคําสอนในยุคปั จจุบัน ช่ วงปี ค.ศ. 1963 เป็ นต้ นมา หลังสมัยสภาสังคายนาวาติกัน ครั งที 2 ตังแต่ ค.ศ. 1963 เป็ นต้ นมา พระศาสนจักรมีเอกสารสําคัญต่างๆ เพือเป็ นแนวทางเกียวกับ การสอนคําสอน เช่น The General Catechetical Directory (ค.ศ. 1974) The Synod of Bishops on Evangelization (ค.ศ. 1974) Evanglii Nuntiandi (ค.ศ.1975) รู ป แ บ บ ก า ร ส อ น ใ น ส มั ย นี เ รี ย ก ว่ า “Experiential Catechesis” ใช้ วิธีก ารสอนผ่ านทางเอกสารสํ าคัญ ๆ ดัง กล่าวข้ างต้ น โดยเฉพาะเอกสารของสภาสังคายนาวาติกนั ที 2 เป็ นหลัก โดยจะสอนใน 1) จุดเริ มต้ นของคําสอน คือ เครื องหมายแรกของพระเจ้ า 2) ทําความ เข้ าใจอย่างลึกซึงถึงเทววิทยาเกียวกับการเผยแสดงของพระเจ้ า เพือตอบ ความต้ องการของโลกปั จจุบัน เริ มจากประสบการณ์ ในชี วิตประจํ าวัน


ห น้ า | 18

ของผู้เรี ยนซึงใช้ วิธีอธิบายแบบนิรนัย (Deductive) และการประชุมกลุ่ม เพือประสบการณ์ แห่งความเชือ และให้ ความสนใจในด้ านชีวิตกลุ่มมาก ขึน (สอนคําสอนทีเชือมโยงกับประสบการณ์ในชีวิตของผู้เรี ยน) ความสําคัญของการสอนคําสอน การสอนคําสอนมีความสําคัญต่อพระศาสนจักรและสําคัญยิ ง ต่อคริ สตชน หากสามารถถ่ายทอดพระวาจาของพระเจ้ าและเชือเชิญผู้ฟัง ให้ สามารถเข้ าใจและเข้ าถึงพระวาจา ยิงบอกเล่าเชือเชิญได้ ดีมากเท่าใด ก็ จ ะ ส ร้ า ง ค ว า ม เ ข้ ม แ ข็ ง แ ห่ ง ค ว า ม เ ชื อ ไ ด้ ดี ม า ก เ ท่ า นั น ความเข้ มแข็งแห่งความเชือทีนําไปใช้ เป็ นหลักในการดําเนินชีวิต เป็ นสิง แสดงถึงความสําเร็ จในการสอนคําสอน ตามที พระสมณสาสน์ เตือนใจ เรื อง การสอนคําสอนในยุคปั จจุบนั ได้ ยกให้ งานคําสอนเป็ นงานสําคัญ เป็ นหน้ าทีอันดับแรก และเป็ นงานขันทีหนึงของการประกาศพระวรสาร ด้ วยว่า การสอนคําสอนในงานอภิบาลของพระศาสนจักรไม่ว่าในระดับ สากลหรื อระดับท้ องถิน ถ้ าถือว่าการสอนคําสอนเป็ นงานเอกเหนืองาน อืนๆ และทําให้ มีผลสะดุดตามากกว่าผลในด้ านอืนๆ แล้ วพระศาสนจักร ก็ ยิ งเพิ มความเข้ ม แข็ ง ให้ แ ก่ ชี วิต ภายใน ในฐานะของชุม ชนของผู้ที มี ความเชือ พระศาสนจักรหันมาสนใจและฟื นฟูการสอนคําสอนเสียใหม่ ให้ เป็ นจุดเด่นเหนือภารกิจทังปวง พระศาสนจักรต้ องทุ่มเททรัพยากรทีดี ทีสุดทังในด้ านบุคลากรและพลังงานให้ แก่การสอนคําสอนโดยไม่สงวน กําลัง ความอุตสาหะหรื อแม้ แต่วตั ถุปัจจัยในการสอนคําสอน ทังนีเพือจัด วางระบบให้ ดีขึนและจะได้ อบรมบุ คลากรที มีความรู้ ความสามารถได้


ห น้ า | 19

ที กล่าวนี มิใช่ เป็ นเพี ย งเจตจํ านงตามแบบของมนุษย์ แต่เป็ นไปตาม จิตตารมณ์ แห่งความเชือ และจิ ตตารมณ์ แห่งความเชืออ้ างอิงถึงความ ซือสัตย์ ของพระเจ้ า ผู้ไม่ทรงเคยละเลยความต้ องการของเรา การสอน คํ า สอนไม่ อ าจแยกตัว ออกไปจากงานอภิ บ าลและงานธรรมทู ต ของ พระศาสนจักรได้ ซึงนอกจากเป็ นหน้ าทีอันดับแรกและเป็ นงานขันทีหนึงของการ ประกาศพระวรสารแล้ ว งานคํ าสอนมีความสํ าคัญ ต่อ พระศาสนจัก ร คริ สตชนและครู คําสอน ดังนี 1. เป็ นงานทีต้ องศรั ทธาและอุทศิ ตน ครู คํ า สอนได้ ถู ก เรี ย กให้ มาเป็ นศาสนบริ ก รของพระเจ้ า เป็ นกองกํ าลังแถวหน้ าของพระองค์และพระศาสนจักร “พระเจ้ าทรง แต่ ง ตังบางคนให้ ทํ า หน้ า ที ต่ า งๆ ในพระศาสนจั ก ร คื อ หนึ งให้ เป็ น อัครสาวก สองให้ เป็ นประกาศก และสามให้ เป็ นครู อาจารย์ ต่อจากนัน คือ ผู้มีอํานาจทําอัศจรรย์ ผู้รักษาโรค ผู้ช่วยเหลือผู้ปกครองและผู้ทีพูด ภาษาทีไม่มีใครเข้ าใจ” (1 คร 12: 28) ให้ มาเป็ นพยานถึงข่าวดีขององค์ พระเยซู ค ริ ส ตเจ้ า และเชื อในพระองค์ ดําเนิ น ชี วิต ตามแบบพระองค์ “การทํ าให้ ชีวิตศัก ดิสิทธิ ในขณะที ดําเนิ นชี วิตเยี ยงฆราวาสแพร่ ธรรม” (LG 41) ครู คําสอนจึงต้ องมีค วามรั ก ความเชื อ และความไว้ ใจใน พระองค์ ยินดีทีจะตอบเสียงเรี ยกของพระองค์ และยินดีที จะทํ าภารกิ จ สําคัญยิงทีได้ รับมอบหมายอย่างกล้ าหาญ โดยอาศัยพระหรรษทานของ พระองค์ ใ นการดํ า เนิ น ชี วิ ต เรี ย นรู้ มิ ใ ช่ เ พื อตนเองหากเพื อคนอื นๆ “จุดหมายสูงสุดและหัวใจของการฝึ กอบรมการสอนคําสอนอยู่ทีความ


ห น้ า | 20

พร้ อมที จะเรี ย นรู้ และความสามารถที จะสื อสารสารแห่ ง พระวรสาร” (GDC 235) 2. เป็ นงานทีได้ รับแรงบันดาลใจมากทีสุด งานของครู คําสอนเป็ นงานที ต้ องได้ รั บแรงบัน ดาลใจมาก ที สุด และเป็ นงานที ต้ อ งใช้ แ รงบัน ดาลใจของตนเพื อให้ ผ้ ูอื นเกิ ดแรง บันดาลใจเฉกเช่นเดียวกัน ครู คําสอนได้ รับการเรี ยกและแรงบันดาลใจ จากพระเจ้ า พระองค์ ท รงประทานพระหรรษทานและความรั ก มายัง มนุ ษ ยชาติ โดยเฉพาะอย่ า งยิ งในครู คํ า สอน ที ได้ รั บ การเรี ย กและ พระหรรษทานให้ ส มบูรณ์ พร้ อมที จะนํ าพระวาจาของพระองค์ สู่เพื อน มนุษย์ “จงพร้ อมเสมอทีจะให้ คําอธิ บายแก่ทุกคนทีต้ องการรู้ เหตุผลแห่ง ความหวังของท่าน จงอธิ บายด้ วยความอ่อนโยนและด้ วยความเคารพ อย่างบริ สุทธิ ใจ” (เทียบ 1 ปต 3: 15-16) ทังนีโดยอาศัยต้ นแบบและ แรงบัน ดาลใจจากพระเยซู เจ้ าที ทรงเสด็จ ลงมาเพื อสอนคํา สอนด้ ว ย ความเพียร สุภาพถ่อมตน กับทุกคนและทุกแห่งหน 3. เป็ นงานทีมีความสําคัญและจําเป็ นมากทีสุด งานคํ า สอนเป็ นงานที สํ า คั ญ จํ า เป็ นมากที สุ ด ในการ หล่อเลียงจิตวิญญาณของมนุษย์ ด้ วยความรัก ความเชือและความไว้ ใจ เป็ นงานแรกทีพระศาสนจักรต้ องให้ ความสําคัญ เป็ นงานแรกทีก่อให้ เกิด ความรั กศรั ทธาภายในบุคคลและภายในกลุ่มคริ สตชน เป็ นงานทีทําให้ บุ ค คลรอบข้ า งมี ชี วิ ต ชี ว าในการรู้ จัก และรั ก พระเยซู ค ริ ส ตเจ้ า รั ก ใน คําสอนของพระองค์ เป็ นงานหลักที พระศาสนจักรต้ องให้ ความสําคัญ อย่ า งต่ อ เนื อง และต้ อ งเอาใจใส่ ใ ห้ บั ง เกิ ด ผลอย่ า งโดดเด่ น ตามที


ห น้ า | 21

พระสมณสาสน์ เตือ นใจเรื อง การสอนคําสอนในยุคปั จ จุบัน ได้ ร ะบุไ ว้ ครู คําสอนจึงเป็ นบุคคลทีสําคัญและจําเป็ นมากทีสุดเช่นเดียวกัน 4. เป็ นงานทีช่ วยให้ คนได้ มีชวิ ิตนิรันดร งานคําสอน เป็ นงานที ช่วยให้ ทุกคนได้ รับข่าวดีแห่งชี วิต อันจะนําไปสูก่ ารมีชีวิตทีรอดพ้ น ช่วยให้ บคุ คลได้ มีชีวิตนิรันดร ด้ วยความ รักและเชือในพระเจ้ า ด้ วยการน้ อมรับคําสอนของพระเยซูเจ้ าพระบุตรสุด ทีรั กของพระองค์ มาใช้ เป็ นหลักในการดําเนินชีวิต บุคคลนันย่อมมีชีวิต ที รอดพ้ น จากโลกนี สู่ชี วิตนิ รั น ดรกับพระเจ้ าในสวรรค์ ตามที พระองค์ ตรัสว่า “ชีวิตนิรันดร คือ การรู้ จกั พระองค์ พระเจ้ าแท้ จริ งแต่พระองค์เดียว และรู้ จกั ผู้ทีพระองค์ทรงส่งมาคือพระเยซูคริ สตเจ้ า” (ยน 17: 3) 5. เป็ นงานทีมีคุณค่ าขันสูงสุด และจะได้ รับรางวัลสูงสุด งานใดๆ ทีช่วยให้ คนมีความสุข รอดพ้ นจากภัยอันตรายทัง ปวงทังด้ านร่ างกายและจิตวิญญาณ ย่อมเป็ นงานทีมีคณ ุ ค่า งานคําสอน ช่วยให้ มนุษย์ได้ รับการหล่อเลียงจิตวิญญาณ ช่วยให้ มีชีวิตทีรอดพ้ น งาน คําสอนจึงเป็ นงานทีมีคา่ สูงสุด และควรได้ รับรางวัลสูงสุด ครู คําสอนควร ภาคภูมิใจในภารกิจอันทรงคุณค่าสูงสุดนี “จงรู้ ไว้ เถิดว่าผู้ทีช่วยคนบาป ให้ กลับมาจากทางผิด ก็จะช่วยวิญญาณของตนให้ รอดพ้ นจากความตาย และจะได้ รับการอภัยบาปทังปวง” (ยก 5: 20)


ห น้ า | 22

จุดมุ่งหมายของการสอนคําสอน จุ ด มุ่ ง หมายของการสอนคํ า สอน คื อ การนํ า พระวาจาของ พระเจ้ า ถ่ายทอดไปยังผู้เรี ยน ทังเด็ก เยาวชน และผู้ใหญ่ ให้ ผ้ เู รี ยนมีการ พัฒนาความเชือทีมีชีวิต ตอบรับการเรี ยกของพระเจ้ า กล่าวคือ 1. เพือพัฒนาความเชือทีเพิงเริ มต้ นโดยอาศัยความช่วยเหลือ จากพระเจ้ าให้ ม่งุ ไปสู่ความไพบูลย์ และการหล่อเลียงชีวิตคริ สตชนของ สัตบุรุษทังผู้เยาว์และผู้สูงอายุ ให้ เจริ ญงอกงามขึนทุกวั น (ศูนย์ คําสอน อัครสังฆมณฑลกรุ งเทพฯ, 1990: 29-30) 2. เพือการประกาศข่าวดีแห่งความรอดของพระเยซูคริ สตเจ้ า ด้ วยการสอนคําสอนนี มิใช่เน้ นแต่ความรู้ แต่เป็ นการเน้ นความเชื อที มี ชี วิ ต กล่ า วคื อ เน้ น ความเชื อที ผู้ เ รี ย นรู้ ได้ ตอบการเรี ย กของพระเจ้ า (สมณกระทรวงว่าด้ วยเรื องของสงฆ์, 2549: 54) 3. เพือการนําคริ ส ตชนแต่ละคน และกลุ่มคริ สตชนแต่ละกลุ่ม ให้ มามีความเชือขันสมบูรณ์ จึงจํ าเป็ นต้ องเอาใจใส่ทีจะมอบขุมทรั พย์ ทังหมดที มีบ รรจุอยู่ใ นข่ าวสารคริ ส ตังให้ สิงนี จะกระทํ าสําเร็ จ ได้ ก็ โดย อาศัยแบบการสอนของพระเป็ นเจ้ าเอง และจะต้ องคํานึงถึงเนือหาสาระที พระเป็ นเจ้ าทรงไขแสดงให้ เห็นทังหมด เพือว่าประชากรของพระเป็ นเจ้ า จะได้ รับการหล่อเลียงและได้ ชีวิตจากเนือหานัน (สมณกระทรวงว่าด้ วย เรื องของสงฆ์, 1980: 46)


ห น้ า | 23

เป้าหมายของการสอนคําสอน การสอนคําสอนมีเป้าหมาย คือ การช่วยเหลือพีน้ องคริ สตชนให้ เป็ นหนึ งเดี ย ว และสนิ ท สัมพัน ธ์ กับ พระเยซู คริ ส ตเจ้ า อย่ างแน่ น แฟ้ น ด้ วยการดําเนิ น ชี วิต ตามคํา สังสอนของพระองค์ จ นบรรลุถึง ความสุข นิรันดร ภารกิจขันพืนฐานของการสอนคําสอน (คณะกรรมการคาทอลิก เพือคริ สตศาสนธรรม, 2553: 30) มีดงั นี 1. ส่งเสริ มความรู้ ด้านความเชือโดยอาศัยพระวาจา และคําสอน พระศาสนจักร 2. ศึก ษาเรื องเกี ยวกับ พิ ธี ก รรม และศี ล ศัก ดิ สิ ท ธิ อัน เป็ นสิ ง สําคัญในการทําให้ ชีวิตคริ สตชนมีความรัก ความเชือทีสมบูรณ์ 3. ฝึ กอบรมการดําเนินชีวิตในพระคริ สตเจ้ า และตามคําสังสอน ของพระศาสนจักรปั จจุบนั 4. สอนให้ ร้ ู จกั ภาวนา 5. สอนให้ รักและรับใช้ ชมุ ชน 6. สอนให้ เป็ นธรรมทูต กล้ าแบ่งปั นความเชือแก่บคุ คลรอบข้ าง และด้ วยความสํ า คัญ ของการสอนคําสอน จุดมุ่ง หมาย และ เป้าหมายของการสอนดังกล่าวข้ างต้ น พระศาสนจักรจึงเห็นถึงความ จําเป็ นของการจัดการสอนคําสอนอย่างเป็ นระบบ ในพระดํารัสเปิ ดการ ประชุมสมัชชาพระสังฆราชทัวโลกครังที 4 สมเด็จพระสันตะปาปา ปอล ที 6 ทรงชื นชมยิ น ดีที เห็ น พระสัง ฆราชทุก องค์ มุ่ง ให้ ค วามสนใจไปที ความจํ าเป็ นอย่างยิ งของการมีการสอนคําสอนอย่างเป็ นระบบ ทังนี ก็ เพราะว่าการศึกษาพระคริ สตธรรมอย่างพินิจพิเคราะห์จะสามารถแยกให้


ห น้ า | 24

เห็นได้ ว่า การสอนคําสอนนัน มีความแตกต่างเป็ นอย่างมากจากวิธีการ ประกาศพระวาจาของพระเจ้ าในรู ปแบบอืนๆ และสืบเนืองจากข้ อยุ่งยาก ในทางปฏิ บัติ จึง จํ าต้ องสัง เกตลัก ษณะบางอย่างของการสอนคําสอน แบบนีไว้ ให้ ดี (ศูนย์ คําสอนอัครสังฆมณฑลกรุ งเทพฯ, 1990: 30-31) กล่าวคือ 1. จะต้ อ งมี ก ารจั ด อย่ า งเป็ นระบบ มิ ใ ช่ เ ป็ นแบบแก้ ปั ญ หา เฉพาะหน้ า แต่จะต้ องมีโครงการทีแน่นอน เพือมุง่ ไปสูเ่ ป้าหมายทีชัดเจน 2. จะต้ องสอนสิงทีเป็ นหัวใจหรื อเป็ นหลัก อย่าพยายามไปสอน อธิบายถึงปั ญหาทีถกเถียงกันทุกปั ญหา 3. จะต้ องมีลกั ษณะครบถ้ วนสมบูรณ์ อย่าหยุดอยู่เพียงแต่การ ประกาศข่าวดีอย่างทีกระทําในการปลุกเร้ าความเชือขันแรกเท่านัน 4. จะต้ องทําให้ มีผลต่อชีวิตในทุกด้ าน และเปิ ดทางให้ แก่การ พัฒนาชีวิตคริ สตชนทุกด้ าน


ห น้ า | 25

ธรรมชาติและหน้ าทีของการสอนคําสอน งานคําสอนเป็ นงานทีมีธรรมชาติและหน้ าทีอันเป็ นลักษณะเฉพาะ ไม่เหมือนงานสอนในศาสตร์ อืนๆ หรื อการสอนในสถานศึกษาต่างๆ การสอน

คําสอนเป็ นภารกิ จสํ าคัญยิ งที พระศาสนจัก รต้ องดํา เนิ นงานในฐานะ มารดาที บํ ารุ งความเชื อเลียงดูลูกๆ ของตน ทังพระสังฆราช พระสงฆ์ บิดามารดา มีหน้ าทีในการสอนคําสอนเช่นเดียวกัน มิใช่หน้ าทีเฉพาะของ คนใดคนหนึง โดยบุคคลแรกทีต้ องสอนคําสอนให้ แก่ลูกของตนคือ บิดา มารดา ทุกๆ คนมีหน้ าทีในการสอนและส่งเสริ มให้ มีความเชือและปฏิบตั ิ ตามความเชือนัน การสอนคําสอนต้ องมุ่งให้ ผ้ ูเรี ยนมีความรัก ความเชือ และความไว้ ใ จในพระเจ้ า เป็ นหนึงเดีย วและความสนิ ทสัมพันธ์ กับ พระเยซูคริ สตเจ้ า ด้ วยภารกิ จอันหลากหลายและสัมพันธ์ เชื อมโยงกัน และเปิ ดไปสู่มิติ ต่า งๆ ของชี วิ ต คริ ส ตชน สู่ความเชื อทังหมด ทังด้ ว ย ข้ อความเชือทีเราเชือ (โดย Doctrinal Catechesis) ข้ อความเชือทีเรา เฉลิมฉลอง (โดย Lliturgical Catechesis ข้ อความเชือทีเราดําเนินชีวิต (โดย Moral Catechesis) และ ข้ อความเชือทีเราภาวนา (โดย Ascetical Catechesis) การสอนคําสอนทีดีจงึ ต้ องเป็ นไปตามธรรมชาติและตามบทบาท หน้ าที ผู้สอนคําสอนจึงต้ องเข้ าใจในธรรมชาติของการสอนคําสอน และ นําธรรมชาตินีสูผ่ ้ เู รี ยน ทังนี ให้ เป็ นไปตามความเหมาะสมและสอดคล้ อง กับธรรมชาติของผู้เรี ยนด้ วย


ห น้ า | 26

กฎหมายพระศาสนจักร เรื อง การเทศน์ สอนพระวาจา ของพระเป็ นเจ้ า และคําแนะนําเกียวกับการสอนคําสอน

ด้ วยความสําคัญและคุณค่าของงานคําสอน พระศาสนจักรมี ความสนใจ ห่วงใย และให้ ความสําคัญต่องานคําสอนนี เพือให้ งานสอน คํ า สอนเป็ นไปตามธรรมชาติ หน้ า ที และบรรลุเ ป้ าหมายที ต้ อ งการ พระศาสนจักรจึง ให้ หลักการ แนวทาง แนวปฏิ บัติใ นการสอนคําสอน สําหรับผู้สอนและผู้เรี ยนได้ ใช้ เป็ นหลักการ และแนวทางร่ วมกัน บาทหลวงวิ ชา หิ รัญญาการ (2533: 23-25) ได้ ใ ห้ คําอธิ บาย กฎหมายพระศาสนจักรเรื องการเทศน์สอนพระวาจาของพระเป็ นเจ้ าและ คําแนะนําเกียวกับการสอนคําสอนไว้ ซึงในกฎหมายดังกล่าวมีมาตราที สําคัญเกียวกับการสอนคําสอน เป็ นต้ นมาตราทีสําคัญๆ ดังนี มาตรา 773 เป็ นหน้ าที เฉพาะและสํ าคัญ ยิ งของชุมพาบาล ผู้มีหน้ าทีดูแลวิญญาณทีจะให้ การอบรมคําสอนแก่คริ สตชน เพือความ เชื อของพวกเขาจะได้ มี ชี วิ ต ชี ว าปรากฏออกมาให้ เ ห็ น ภายนอก และ บันดาลให้ เกิดผลอย่างจริ งจัง โดยอาศัยคําสอนทีได้ รับและประสบการณ์ ในชีวิตคริ สตชน


ห น้ า | 27

มาตรา 744 -1 หน้ าทีสอนคําสอนตกเป็ นของสมาชิกทุกคนใน พระศาสนจักร ตามฐานะของแต่ละคน โดยอยู่ภายใต้ การดูแลของผู้มี อํานาจทีถูกต้ องในพระศาสนจักร -2 บิ ด ามารดามีห น้ า ที ก่ อ นใครอื นทังหมด ที จะ อบรมบุตรให้ เป็ นผู้มีความเชือและให้ ดําเนิ นชีวิตแบบคริ สตชน ทังด้ วย คํ า สั งสอนและแบบฉบั บ ที ดี ผู้ ปกครองและพ่ อ แม่ ทู น หั ว ก็ มี ห น้ าที เช่นเดียวกันนีด้ วย มาตรา 775 -1 พระสังฆราชประมุขของสังฆมณฑล มีหน้ าที รั บผิ ดชอบที จะออกกฎเกณฑ์ ต่างๆ เกี ยวกับการสอนคํ าสอน โดยยึด ข้ อกํ าหนดของสันตะสํานักเป็ นหลักและดูแล ให้ มีเครื องมือเครื องใช้ ที เหมาะสม เพือช่วยในการสอนคําสอนนัน เช่น การจัดทําหนังสือคําสอน ขึนมา ถ้ าเห็นสมควรทํ า และคอยส่งเสริ มประสานงานในกิจกรรมด้ าน คําสอนทุกชนิด -2 เป็ นหน้ าที ของสภาพระสังฆราช ทีจะจัดให้ มี หนังสือคําสอน เฉพาะสําหรับเขตในความรับผิดชอบของตนถ้ า เห็นว่าจะ เป็ นประโยชน์ ทังนีโดยรับความเห็นชอบจากสํานักวาติกนั เสียก่อน -3 สภาพระสังฆราชอาจจัดตังศูนย์ คําสอนขึนมา เพื อทํ าหน้ าที เฉพาะในการให้ ความช่วยเหลือด้ านการสอนคํ าสอนแก่ สังฆมณฑลต่างๆ มาตรา 776 พระสงฆ์เจ้ าวัด โดยหน้ าทีจะต้ องดูแลสอนคําสอน ให้ แก่ผ้ ใู หญ่ เยาวชนและเด็กๆ เพือบรรลุเป้าหมายนี จงขอความร่ วมมือ จากพระสงฆ์ ผ้ ูร่วมงาน จากนัก บวช และผู้ถือศีล ตามลัก ษณะเฉพาะ


ห น้ า | 28

ของแต่ละคณะ และจากฆราวาสเอง ซึงได้ แก่ครู คําสอน เป็ นต้ น ขอให้ บุคคลเหล่านี จงอย่าปฏิเสธที จะให้ ความร่ วมมือ แต่จงน้ อมรั บหน้ าที นี ด้ วยความเต็มใจ เว้ นแต่จะสุดวิสยั จริ งๆ เท่านัน พระสงฆ์เจ้ าวัดยังต้ อง ส่งเสริ มผู้ปกครองให้ มีบทบาทในการสอนคําสอนทีบ้ านตามมาตรา 774 วรรค 2 ด้ วย มาตรา 777 พระสงฆ์ เจ้ าวัด จะต้ อ งเอาใจใส่ สิ งเหล่า นี เป็ น พิเศษโดยให้ สอดคล้ องกับกฎเกณฑ์ของพระสังฆราช คือ 1. จัดเตรี ยมอบรมคําสอนก่อนรับศีลศักดิสิทธิต่างๆ 2. เตรี ยมเด็ก รั บ ศี ล อภัย บาป ศี ล มหาสนิ ท และศีล กํ าลัง อย่างดี โดยผ่านการอบรม คําสอนเป็ นเวลานานพอสมควร 3. จัดอบรมคําสอนแบบต่อเนืองให้ ลึกซึง และได้ ผลมากขึน สําหรับเด็กทีรับศีลมหาสนิทครังแรกแล้ ว 4. จัดอบรมคําสอนให้ คนพิการทางกายและทางสมอง เท่าที สภาพของคนเหล่านีจะอํานวยให้ 5. ให้ ความพยายามและเครื องมือต่างๆ เพือเสริ มความเชือ ของผู้ใหญ่ให้ เข้ มแข็งมีความชัดเจน และเจริ ญงอกงามยิงๆ ขึน มาตรา 778 ผู้ใหญ่คณะนักบวชและคณะผู้ถวายตัวทังหลาย จงเอาใจใส่ดแู ลให้ มีการสอนคําสอนอย่างจริ งจัง เช่น ในวัด โรงเรี ยน และ ในกิจการอืนๆ ทีมอบหมายให้ อยู่ในความรับผิดชอบของตน มาตรา 779 ในการอบรมคํ า สอนนั นจะต้ อ งใช้ เครื องช่ ว ย อุปกรณ์การสอนและสือมวลชนทีมีประสิทธิภาพ เพือช่วยสัตบุรุษในการ


ห น้ า | 29

เรี ยนคําสอนอย่างเต็มที และนําเอาไปปฏิบตั ิได้ อย่างเหมาะสมด้ วย ทังนี โดยให้ สอดคล้ องกับอุปนิสยั ใจคอ ความสามารถ วัย และสภาพของชีวิต มาตรา 780 พระสังฆราชต้ องดูแลให้ ครู สอนคําสอนได้ รับการ ฝึ กเตรี ย มอย่างเหมาะสม เพื อปฏิ บัติห น้ าที ได้ อย่างถูก ต้ อง กล่าวคือ จัดให้ มีการอบรมต่อเนืองเพือให้ มีความรู้ เรื องคําสอนของพระศาสนจักร อย่างดี และได้ เรี ยนรู้ หลักการสอนทังภาคทฤษฎีและภาคปฏิบตั ิด้วย ดั ง นั น การสอนคํ า สอนให้ ผู้ เรี ยนได้ รู้ จั ก พระเจ้ า น้ อมรั บ พระวาจาของพระองค์ และการช่ ว ยให้ ค ริ ส ตชนมี ป ระสบการณ์ กั บ พระเจ้ า จึงเป็ นสิงสําคัญทีผู้สอนทุกคนต้ องตระหนักและให้ ความสําคัญ การช่วยให้ ผ้ ูเรี ยนได้ มีประสบการณ์ กบั พระเจ้ ามากขึนเท่าใด ก็จะยิงทํา ให้ ความเชือของเขาแข็งแกร่ ง ลึกซึง มากขึนเท่านัน ตรงข้ ามกับความเชือ เพี ยงผิ วเผิ น ที พร้ อมจะละทิ ง หัน หลัง ให้ กับความเชื อ และคําสังสอน เหล่านัน การสอนคําสอนจึงเป็ นหน้ าทีของทุกคน ในการสอน อบรม และ การเป็ นตั ว อย่ า งที ดี ใ ห้ แก่ ผ้ ู เรี ยน ตามฐานะ ตามคํ า สอนของ พระศาสนจักร ไม่ละเลย ไม่เกี ยงงอน หากต้ องทํ าอย่างเต็มกํ าลังและ สติปัญญาของตน เพราะการสอนคําสอน จะบรรลุเป้าหมายทีกําหนดได้ อย่างดีต้องอาศัยบุคคลและหน่วยงานต่างๆ ทีเกียวข้ องในการส่งเสริ ม สนับ สนุน และให้ ความร่ วมมือ แก่กัน ทังในด้ านทรั พ ยากรบุคคล และ เครื องมือต่างๆ เป็ นต้ น การกํ าหนดหลักเกณฑ์ ทีเกี ยวข้ อง การจัดให้ มี หนัง สื อคํ าสอน และสื อเทคโนโลยี สารสนเทศต่างๆ รวมถึง การจัดตัง ศูนย์คําสอนเพือเป็ นกลไกสําคัญในการให้ ความช่วยเหลือและพัฒนางาน คําสอนให้ ดี มากยิ งขึน และต้ องมี ก ารวางแผนและการจัด การอบรม


ห น้ า | 30

คําสอนให้ ทุกคนอย่างลึกซึงและต่อเนือง ตังแต่เด็กหรื อตังแต่ยงั ไม่ได้ รับ ศีลล้ างบาป จนกระทังเป็ นผู้ใหญ่ทุกช่วงวัย นันคือการวางแผนและการ สร้ างคริ สตชนทีดีทีพระสงฆ์ เจ้ าวัดต้ องให้ ความสําคัญ และคริ สตชนทุก คนต้ อ งให้ ความร่ ว มมื อ โดยเฉพาะบิ ด ามารดา ประเด็ น สํ า คัญ คื อ การได้ รั บ ความสนใจและความร่ ว มมื อ กั น จากพระสงฆ์ นั ก บวช ครู คําสอน และฆราวาสทัวไป ในการดูแล ช่วยเหลือ ส่งเสริ ม สนับสนุน งานคําสอนและปฏิบตั ิหน้ าทีในการสอนคําสอนให้ แก่ผ้ เู รี ยนด้ วยใจยินดี ด้ วยการเอาใจใส่ ให้ ความสําคัญ และให้ เวลาอย่างเพียงพอ ต้ องหาเวลา หาโอกาสทีจะสอนให้ ได้ มากทีสุด ไม่รอเพียงการเข้ าค่ายคําสอน ชัวโมง เรี ยนคํ าสอนในโรงเรี ยนสัปดาห์ ล ะ 1 ครั ง (หรื อบางโรงเรี ยนไม่มีเลย) เฉพาะวันอาทิตย์ ในวัด หากต้ องสอนในทุกโอกาสทุกกิจกรรม พร้ อมกับ การมีสือสารสนเทศและสือเทคโนโลยีต่างๆ ทีเพียงพอเหมาะสมจะช่วย ส่งเสริ มการสอนคําสอนให้ มีประสิทธิ ภาพมากยิ งขึน โดยการนํ ามาใช้ อย่างเหมาะสมและใช้ อย่างเต็มศักยภาพ ทีสุด ครู คําสอนเป็ นเครื องมืออันสําคัญมากทีสุดในการสอน คําสอน หากครู คําสอนได้ รับการพัฒนาอย่างถูกต้ องเหมาะสมมากเท่าใด การสอนคําสอนก็ได้ คณ ุ ภาพมากขึนเท่านัน โดยเฉพาะภาคปฏิบตั ิทีต้ อง อาศัยการชีนํา การฝึ กฝน โอกาสและเวลาในการเพิมพูนประสบการณ์ ใน งานสอนคําสอน


ห น้ า | 31

รายการอ้ างอิง คณะกรรมการคาทอลิกเพือคริ สตศาสนธรรม แผนกคริ สตศาสนธรรม. คู่มือแนะแนวการสอนคําสอนในประเทศไทย. พิมพ์ครังที 3 กรุ งเทพฯ : โรงพิมพ์อสั สัมชัญ, 2553. แผนกคริ สตศาสนธรรม อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ. การอบรมคริสตศาสนธรรม. เข้ าถึงเมือ 23 กุมภาพันธ์ 2556, เข้ าถึงได้ จาก

http://www.kamsonbkk.com/index.php/directory-for-catechesis วัชศิลป์ กฤษเจริ ญ. การสอนคริสตศาสนธรรม. นครปฐม : โรงพิมพ์ วิทยาลัยแสงธรรม, 2550. ____. การอบรมคริสตศาสนธรรม. พิมพ์ครังที 2. กรุ งเทพฯ : ปิ ติพานิช, 2551. วิชา หิรัญญการ. คําอธิบายกฎหมายพระศาสนจักรเรื องการเทศน์ สอนพระวาจาของพระเป็ นเจ้ าและคําแนะนําเกียวกับการสอน คําสอน. กรุ งเทพฯ : โรงพิมพ์อสั สัมชัญ, 2533. ศูนย์คําสอนอัครสังฆมณฑลกรุ งเทพฯ ผู้จดั พิมพ์. พระสมณสาสน์ เตือนใจ เรื อง การสอนคําสอนในยุคปั จจุบัน. กรุ งเทพฯ : โรงพิมพ์อสั สัมชัญ, 1990. สมณกระทรวงว่าด้ วยเรื องของพระสงฆ์. คู่มือแนะแนวการสอน คําสอนทัวไป. แปลโดย ชมรมศิษย์เก่า EAPI. ราชบุรี : โรงพิมพ์ วิศวการพิมพ์. 1980.


ห น้ า | 32

สมณกระทรวงว่าด้ วยเรื องของพระสงฆ์. คู่มือแนะแนวทัวไปสําหรั บ การสอนคําสอน. แปลโดย วีระ อาภรณ์รัตน์, พิมพ์ครังที 4. กรุ งเทพฯ : โรงพิมพ์อสั สัมชัญ, 2549. Antonio Jose Calle, S.J.. การสอนคริสตศาสนธรรม. นครปฐม : โรงพิมพ์วิทยาลัยแสงธรรม, 2550. John Paul II, Pope. Catechism of the Catholic Church :CCC. 1992. ____. Catechesi Tradendae : CT. 1979. Paul VI, Pope. Evangelii Nuntiandi :EN. 1975.


ห น้ า | 33

บทที 2 การเผยแผ่ คริสต์ ศาสนา และ การสอนคําสอนในประเทศไทย

ศ า ส น า ค ริ ส ต์ นิ ก า ย โรมั น คาทอลิ ก เป็ นศาสนาที คนไทยรู้ จักและนับถื อมาช้ านาน ตังแต่ปี พ.ศ. 2056 ในรัชสมัยของ สมเด็จพระรามาธิ บดีที 2 แห่งกรุ ง ศรี อยุธยา ผู้เผยแผ่ศาสนาคริ ส ต์ ที คนไทยรู้ จั ก ดี ใ นสมั ย นั น คื อ มิชชันนารี ชาวฮอลันดา หรื อ โปรตุ เ กสที ได้ เข้ ามาในประเทศไทยพร้ อมกั บ คณะฑู ต ที มาสร้ าง ความสัมพันธ์ ทางการค้ าอย่างเป็ นทางการกับกรุ งศรี อยุธยา และได้ ตงั หลักแหล่งพํานักอยู่ในกรุ งศรี อยุธยา ทีเรี ยกกันว่า “ค่ายโปรตุเกส” และ นอกจากมิชชันนารี ชาวโปรตุเกสแล้ วยังมีมิชชันนารี ชาติอืนๆ เข้ ามาด้ วย ทังจากสเปน อังกฤษ และฝรั งเศส ซึงคณะมิชชันนารี คณะต่าง ๆ ที เดินทางเข้ ามาในประเทศไทยนีก็เพือติดตามอภิบาลคริ สตชนทีอาศัยอยู่ ในเขตประเทศไทย ซึงชาวต่างประเทศและมิชชันนารี เหล่านี มีอิทธิพล ต่อ กรุ ง ศรี อยุธยาในหลายๆ ด้ าน โดยเฉพาะทางด้ านศาสนาและ การศึกษา


ห น้ า | 34

ต่อมาในราวปี พ.ศ. 2203 ในรั ชสมัยของสมเด็จพระนารายณ์ มหาราช เป็ นยุคที ชาวฝรั งเศสมีบทบาทมากในกรุ งศรี อยุธยา พร้ อมกับ บทบาทของมิ ช ชั น นารี ชาวฝรั งเศสก็ มี บ ทบาทในสั ง คมมากด้ วย โดยเฉพาะมิ ช ชั น นารี ของคณะมิ ส ซั ง ต่ า งประเทศแห่ ง กรุ งปารี ส (Missions Etrangeres De Paris: M.E.P.) ในการดูแลของพระสังฆราช ปี แอร์ ลังแบร์ ต เดอ ลา มอตต์ (Pierre Lambert De La Motte) หรื อ มุ ข น ายก แห่ ง เบริ ธ (Berythe) ที ดํ า เ นิ นง าน ตาม นโย บาย ขอ ง สมณกระทรวงเผยแผ่ความเชือ (Propaganda Fide) ของพระศาสนจักรคาทอลิก ซึงสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ได้ มีพระบรมราชานุญาตให้ เข้ า มาเผยแผ่ศาสนาคริ สต์ นิกายโรมันคาทอลิกในกรุ งศรี อยุธยา และได้ พระราชทานทีดินทีบ้ านปลาเห็ด (Banplahet) ใกล้ กบั ค่ายญวน จังหวัด พระนครศรี อยุธยา สําหรับเป็ นทีอยู่อาศัย สามารถสร้ างโบสถ์ บ้ านพัก หรื อโรงเรี ย นได้ ดัง นัน ศาสนาคริ ส ต์ จึง เป็ นที รู้ จัก กัน อย่ า งแพร่ ห ลาย ทํ า ให้ มี ช าวไทยที นั บ ถื อ ศาสนาคริ ส ต์ ม ากขึ น และในปี พ.ศ. 2208 โรงเรี ยนเอกชนคาทอลิกแห่ง แรกในประเทศไทยได้ เริ มกํ าหนดขึ น คื อ วิทยาลัยการศึกษาทัวไป (General College) สร้ างขึนโดย พระสังฆราช ปี แอร์ ลังแบร์ ต เดอ ลา มอตต์ (Pierre Lambert De La Motte) เป็ น โรงเรี ยนสามัญสําหรับเด็กชาย มีจดุ มุง่ หมายเพือให้ การศึกษาแก่เยาวชน ไทยในกรุ งศรี อยุธยา โดยจัดการศึกษาแบบยุโรปสําหรั บคนพื นเมือ ง ซึงเรี ยกกันโดยทัวไปว่า โรงเรี ยนสามเณร เพราะเป็ นโรงเรี ยนสําหรับเด็ก ทีเตรี ยมตัวเข้ ารั บการศึกษาอบรมในบ้ านเณร และรวมไปถึงเด็กสามัญ ทัวไปด้ วย ส่วนใหญ่ เป็ นการจัดการสอนด้ านวิชาการและด้ านจริ ยธรรม


ห น้ า | 35

ในแนวทางทีปรับให้ เข้ ากับวัฒนธรรมและประเพณีของประชาชนท้ องถิน อย่างเห็นคุณค่า การศึ ก ษาคาทอลิ ก มิ ไ ด้ จํากัดเฉพาะแค่เด็กชายเท่านัน แต่ได้ ขยายตัวไปยังเด็กหญิงด้ วย โดยการ จัด ตังคณะนัก บวชหญิ ง หรื อ คณะชี มารับภารกิจหน้ าทีสอนและฝึ กอบรม เยาวชนหญิง โดยพระสังฆราช ปี แอร์ ลั ง แบร์ ต เดอ ลา มอตต์ (Pierre Lambert De La Motte) ได้ วางแผน ขอนักบวชหญิงจากฝรังเศสมาฝึ กหัดสตรี และก่อตังคณะนักบวชขึนเป็ น คณะแรกในปี พ.ศ. 2215 ใช้ ชือว่า “คณะรักไม้ กางเขน” ซึงมีภารกิจ สําคัญของคณะ คือ การทํ างานดูแลวัด ช่วยเหลือพระสงฆ์ และเป็ น ครู สอนเยาวชนหญิงและแม่บ้าน ซึงนับเป็ นจุดเริ มต้ นทีจะจัดตังโรงเรี ยน สําหรั บเยาวชนสตรี และผู้ใหญ่ ในการเรี ยนการสอนนันก็จะแบ่งเป็ น ชันเรี ยนต่าง ๆ ตามความเหมาะสมของผู้เรี ยน และทุกชันเรี ยนจะมี การสอนข้ อพระธรรมคําสอนและศาสนา การเผยแผ่คริ สต์ศาสนาในสมัยนัน จึงมี ทงการเผยแผ่ ั พระธรรม คําสอนตามหลักคริ สตศาสนาให้ กบั ประชาชนทัวไปโดยตรง และการสอน ในโรงเรี ยนที สร้ างขึน ซึงมุ่งเน้ นการสอนทางด้ านวิชาการ และสอนข้ อ พระธรรมคําสอนและศาสนา ทีปรับให้ เข้ ากับวัฒนธรรมและประเพณีของ


ห น้ า | 36

ประชาชนท้ องถิ น เป็ นการแพร่ ธรรมสํ าหรั บเยาวชนชายหญิ งที เข้ ารั บ การศึกษาในโรงเรี ยนคาทอลิก ต่อมา ในสมัยของพระสังฆราชกูร์เอวซี (พ.ศ. 2377-2384) ได้ ประกาศนโยบายจัด ตังโรงเรี ย นประถมศึกษา เป็ นภารกิ จ สํ าคัญ ที มิชชันนารี ต้องปฏิบัติในการให้ การศึกษากับคนไทยคู่กับงานแพร่ ธรรม ของศาสนา ทังนีเพืออาศัยการศึกษาช่วยป้องกันและแก้ ไขความเข้ าใจผิด เกียวกับศาสนา การจัดตังโรงเรี ยนจึงถือเป็ นหัวใจสําคัญ พระสงฆ์ไทย และมิชชันนารี จงึ พยายามทีจะเปิ ดโรงเรี ยนประถมขึนทุกวัด ในสมัย รั ช กาลของพระบาทสมเด็ จ พระจอมเกล้ า เจ้ า อยู่ หั ว มิชชันนารี ได้ รับการสนับสนุนให้ มีเสรี ภาพในการประกาศสอนศาสนา มากขึน สามารถจัดตังโรงเรี ยนได้ อย่างเสรี พระสังฆราชปั ลเลอกัว จึงได้ ทุ่มเทและสนับสนุนจัดการศึกษาอย่างเต็มความสามารถ ทําให้ การศึกษา คาทอลิกและการเผยแผ่ศาสนาฟื นฟูขนมาอย่ ึ างมาก ต่อมาในช่วงสมัยพระสังฆราชยวง นิตโย (พ.ศ. 2506 - 2516) เป็ นยุ ค สํ า คั ญ ของการเปลี ยนแปลงหลั ง สภาสั ง คายนา ครั งที 2 พระศาสนจักรคาทอลิกในประเทศไทยได้ แบ่งเขตการปกครองออกเป็ น 10 เขตการปกครอง หรื อทีเรี ยกว่า สังฆมณฑล หรื ออัครสังฆมณฑล (หมายถึงเป็ นสัง ฆมณฑลหลัก ) ดัง นี 1) อัค รสัง ฆมณฑลกรุ ง เทพฯ 2) อั ค รสั ง ฆม ณฑล ท่ า แร่ -หนองแส ง 3 ) สั ง ฆมณ ฑลจั น ทบุ รี 4) สั ง ฆมณฑลราชบุ รี 5) สั ง ฆมณฑลนครสวรรค์ 6) สั ง ฆมณฑล นครราชสี ม า 7) สังฆมณฑลเชี ย งใหม่ 8) สัง ฆมณฑลอุบ ลราชธานี 9) สังฆมณฑลอุดรธานี 10) สังฆมณฑลสุราษฎร์ ธานี ซึงแต่ละอัครสังฆ-


ห น้ า | 37

มณฑล/สังฆมณฑล จะมีพระอัครสังฆราช/พระสังฆราชเป็ นผู้ปกครอง การแพร่ ธรรมหรื อการสอนคําสอนในช่วงนี จึงเป็ นการสอนคําสอนในวัด ในแหล่ง ชุม ชน และโรงเรี ย นคาทอลิ ก ซึงสอนวิ ชาคําสอนเป็ นวิ ช าเอก โดยครู ผ้ ูชายซึงเป็ นอดีตสามเณรหรื อสามเณรที กํ าลังผ่ านการทดลอง และครู ผ้ ูหญิงซึงเป็ นอดีตภคินีหรื อภคินีคณะรั กกางเขน เวลานันรัฐบาล ได้ เริ มปฏิรูปการศึกษาในปี พ.ศ. 2414 โรงเรี ยนคาทอลิกก้ าวหน้ าอย่าง รวดเร็ ว บรรดาธรรมทูตทัวประเทศเห็นความสําคัญของโรงเรี ยน จึงทุ่มเท กําลังทรัพย์ กําลังปั ญญาในการเปิ ดสถานศึกษา ควบคู่ไปกับภารกิจการ แพร่ ธรรม รายการอ้ างอิง วิวฒ ั น์ แพร่ สิริ. “วิวฒ ั นาการและอนาคตภาพของการศึกษาคาทอลิกกับ การพัฒนาสังคมไทย” ดุษฎีนิพนธ์ครุ ศาสตร์ ดษุ ฎีบณ ั ฑิต สาขาวิชา พัฒนศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542. วัชศิลป์ กฤษเจริ ญ. การสอนคริสตศาสนธรรม. นครปฐม : โรงพิมพ์ วิทยาลัยแสงธรรม, 2550. วุฒิชยั อ่องนาวา. ศาสนาคริสต์ . นครปฐม: โรงพิมพ์วิทยาลัยแสงธรรม. 2549. สังฆมณฑลเชียงใหม่. เกร็ดความรู้ ศาสนาคริสต์ ในประเทศไทย. เข้ าถึงเมือ 25 มกราคม 2556 เข้ าถึงได้ จาก http://www.cmdiocese.org/th


ห น้ า | 38

บทที 3 ครู คาํ สอน..ผู้ประกาศข่ าวดีแห่ งชีวิต

ก่อนทีองค์พระเยซูคริ สตเจ้ าจะเสด็จสูส่ วรรค์ พระองค์ได้ ทรงกําชับ ว่า “พวกท่านจงไปสอนนานาชาติ ” (มธ 28: 20) และ “พวกท่านจงเป็ น พยานถึงเรา” (กจ 1: 8) ครู คําสอนจึงเป็ นพยานถึงองค์พระเยซูคริ สตเจ้ า พระผู้ไถ่ มนุษยชาติ และเป็ นผู้นําคํ าสังสอนของพระองค์ ไปสู่นานาชาติ เป็ นผู้ประกาศข่าวดีแห่งชีวิต อันจะนํามาซึงความรอดพ้ น ความหมายของครู คาํ สอน ครู คําสอน หรื อครู สอนคริ สตศาสนธรรม (Catechist) คือผู้ที ได้ รับ มอบหมายให้ สอนคําสอน (Catechesis) หรื อ การสอนถึงคําสังสอนของ พระเยซู ค ริ ส ตเจ้ า “พระเจ้ าทรงแต่ ง ตั งบางคนให้ ทํ า หน้ าที ต่ า งๆ ใน พระศาสนจักร คือ หนึงให้ เป็ นอัครสาวก สองให้ เป็ นประกาศก และสาม ให้ เป็ นครู อาจารย์ ต่อจากนันคือ ผู้มีอํานาจทําอัศจรรย์ ผู้รักษาโรค ผู้ช่วย เหลือผู้ปกครองและผู้ทีพูดภาษาทีไม่มีใครเข้ าใจ” (1 คร 12: 28) “การสอน ทีเกียวเนืองกับความพยายามทีจะช่วยให้ บุคคลหรื อชุมชนได้ รับและลึกซึง ในข้ อความเชือของคริ สตชนและเอกลักษณ์ โดยผ่านทางพิธีกรรมแรกเริ ม การสังสอน และการอบรมมโนธรรมทีนําเสนอและวิธีทีแสดง” (NCD: 5) ครู คําสอน เป็ นบุคคลแห่งความเชื อ และเป็ นผู้ที นํ าความเชื อมาสู่บุคคล


ห น้ า | 39

อย่างสมําเสมอและมีระบบ “ผู้สนับสนุนการบรรลุวฒ ุ ิภาวะทางความเชือ” (NCD: 33) ครู คําสอน จึงหมายถึง ผู้ทีได้ รับการมอบหมายจากพระเจ้ า และมี หน้ าทีในการสอนคําสอน ซึงเป็ นการสอน อบรม ให้ คําปรึ กษา และพัฒนา ผู้เรี ยนทังเด็ก เยาวชน และผู้ใหญ่ทกุ ช่วงวัย ให้ เติบโตในความเชือ โดยการ ถ่ายทอดคําสอนของพระเยซูค ริ ส ตเจ้ าสํ าหรั บ ผู้เรี ย นตามลํ าดับและทํ า อย่างเป็ นระบบ เพื อให้ ผ้ ูเรี ยนพัฒนาการดําเนินชีวิต พัฒนาความเชือให้ เติ บ โตจนถึ ง ขันสมบู ร ณ์ ให้ ผ้ ู เรี ย นได้ ดํ า เนิ น ชี วิ ต ตามจิ ต ตารมณ์ ข อง พระคริ สตเจ้ า และนอกจากการสอนอบรมและให้ คําปรึ กษาแล้ ว ต้ องเป็ น แบบอย่างทีดี และส่งเสริ มให้ ผ้ เู รี ยนมี ความเลือมใสศรัทธาในสัจธรรมของ ศาสนาของตนด้ วย ในพิธีมิสซาบูชาขอบพระคุณ โอกาสปี แห่งความเชือ และชุมนุม ครู คําสอนนานาชาติ 2013 ณ จัตุรัสนักบุญเปโตร นครรั ฐวาติกัน เมือ วันที 29 กันยายน 2013 มีครู คําสอนและคริ สตชนเข้ าร่ วมพิธีประมาณ 100,000 คน พระสันตะปาปา ฟรั งซิส ได้ เทศน์ ถึงความหมายและการ เป็ นครู คําสอนไว้ ดงั นี ครู คําสอน คือ คนทีรักษาความจําเกียวกับพระเจ้ าผู้ทรงชีวิต จําได้ อย่ างมีชี วิต ชี วา คือ คนที สามารถทํ า ให้ ชีวิตชี วาในคนอืนได้ จํ าพระเจ้ า เหมือนพระนางพรหมจารี มารี ย์ ผู้เห็นกิจการมหัศจรรย์ของพระเจ้ าในชีวิ ต ของพระนาง แต่มิได้ คิดถึงเกียรติ อภิสิทธิ หรื อ ความรํ ารวย แม่พระมิได้ คิดถึงตนเอง แต่หลังจากรั บสารจากทูตสวรรค์ และพระบุตรปฏิ สนธิ ใน ครรภ์ สิงทีแม่พระทํา คือ แม่พระออกไปช่วยนางเอลีซาเบ็ธ ญาติของเธอที


ห น้ า | 40

ตังครรภ์ด้วย และสิงแรกทีแม่พระได้ กระทําเมือพบนางเอลีซาเบ็ธ คือ ระลึก ถึงงานของพระเจ้ า ความซือสัตย์ ของพระเจ้ า ในชีวิตของแม่พระเอง ในประวัติศาสตร์ ของชาติ ของพระนาง ในประวัติศาสตร์ ของเรา “วิญญาณ ข้ าพเจ้ าประกาศความยิงใหญ่ของพระเจ้ า ... เพราะพระองค์ทอดพระเนตร ผู้รับใช้ ตําต้ อยของพระองค์ ... พระกรุ ณาต่อผู้ยําเกรงพระองค์แผ่ไปตลอด ทุกยุคทุกสมัย” (ลก 1: 46,48,50) บทถวายพระพรของพระนางมารี ย์ บรรจุ ความจํ าเกี ยวกับประวัติศาสตร์ ส่วนตัว ประวัติศาสตร์ ของพระเจ้ ากับ พระนาง ประสบการณ์ แห่งความเชือส่วนตัวของพระนาง ... ความเชือคือ การจํา พระวาจาของพระองค์ทีทําให้ ดวงใจของเราอบอุ่น และจํากิจการ ช่วยไถ่ก้ ูของพระองค์ซงให้ ึ ชีวิต ทําให้ เราบริ สุทธิ เอาใจใส่ดแู ล และเสริ ม กําลังเรา ครู คําสอน คือ คริ สตชนผู้ทีจําพระเจ้ าได้ และช่วยประกาศออกไป ไม่ ถื อ ว่ า ตนสํ า คั ญ ไม่ พู ด เกี ยวกั บ ตนเอง แต่ จ ะพู ด เกี ยวกั บ พระเจ้ า พูดเกียวกับความรัก และความซือสัตย์ของพระองค์ พูด และถ่ายทอดทุก สิงทีพระเจ้ าทรงเผยแสดง เช่น คําสอนของพระคริ สตเจ้ า และคําสอนของ พระศาสนจักรทังครบ โดยไม่เพิมหรื อตัดทอนอะไรออกไป ดังนัน ครู คําสอน คือ คริ สตชนผู้สนใจพระเจ้ า เป็ นผู้ระลึกถึง พระเจ้ า ให้ พระเจ้ าทรงนําเขาในชีวิต และครู คําสอนเป็ นผู้ทีปลุกการระลึก ถึงพระเจ้ าในหัวใจของคนอืน ในการทํางานฐานะครู คําสอน “จงมุ่งหน้ าหา ความชอบธรรม ความเคารพรั กพระเจ้ า ความเชือ ความรั ก ความอดทน และความอ่อนโยน” (1 ทธ 6: 11)


ห น้ า | 41

ครู คําสอน คือ บรรดาชาย – หญิง ทีจดจําพระเจ้ า ถ้ าพวกเขามี ความสัมพันธ์สมําเสมอและมีชีวิตกับพระองค์ และกับเพือนบ้ าน ถ้ าพวก เขาเป็ นบุรุษและสตรี แห่งความเชือ ผู้วางใจในพระเจ้ าจริ งๆ และมอบ ความมันคงในพระองค์ ถ้ าพวกเขาเป็ นบุรุษและสตรี แห่งความรัก เมตตา ผู้เห็นผู้อืนเป็ น พีชาย – หญิ ง ถ้ าพวกเขาเป็ นบุรุษและสตรี แห่งความ พากเพียรอดทน สามารถเผชิญความยากลําบาก การทดลอง และความ ล้ มเหลว ด้ วยความสงบ และความหวังในองค์พระผู้เป็ นเจ้ า ถ้ าพวกเขา สุภาพ สามารถเข้ าใจชีวิตและมีเมตตา (พระสันตะปาปา ฟรังซิส , 2013. อ้ างถึงใน วีระ อาภรณ์รัตน์, 2556) ดังนัน ครู คําสอน ผู้ซึงจดจํ าในพระเจ้ าและช่วยประกาศข่าวดี เกียวกับพระเจ้ า จึงเป็ นผู้ทีมีความสําคัญและมีคณ ุ ค่ายิงต่องานคําสอน ต่อพระศาสนจักร ตังแต่ในอดีตจนถึงปั จจุบนั และอนาคต ความสําคัญและประเภทของครู คาํ สอน ครู คําสอน มีความสํ าคัญยิ งในการสอนคําสอนให้ คริ สตชน ทังเด็ก เยาวชนและผู้ใหญ่ เปรี ยบเสมือนทหารหาญของกองทัพแพร่ ธรรม ดังทีพระสมณสาสน์ Redemptoris Missio : พระพันธกิจขององค์พระผู้ไถ่ โดยสมเด็จพระสันตะปาปา ยอห์ น ปอลที 2 ได้ กล่าวถึงความสําคัญ ของครู คําสอนไว้ ว่า “ในบรรดาฆราวาสทีกลายมาเป็ นผู้แพร่ พระวรสาร ผู้ทีอยู่แถวหน้ าสุดก็คือ ครู ผ้ ูสอน” และคําสอนสมณกฤษฎีกาเรื องกิจการ แพร่ ธรรมได้ พรรณนาถึงผู้สอนคําสอนไว้ ว่าเปรี ยบเสมือน “กองทัพซึง สมควรอย่างยิงทีจะได้ รับการสรรเสริ ญ สําหรั บกิจการแพร่ ธรรมซึงพวก


ห น้ า | 42

เขาได้ กระทําท่ามกลางคนต่างศาสนา... พวกเขาซึงซึบซาบอาบเอิบอยู่ ด้ วยจิ ตตารมณ์ การแพร่ ธ รรม ได้ มีส่วนช่วยเหลืออย่างน่าทึง และเป็ น ความช่ วยเหลื อที จํ าเป็ นอย่ างเด็ด ขาด ในการกระจายความเชื อและ พระศาสนจั ก รออกไป ทั งนี โดยอาศั ย การทํ า งานอย่ า งไม่ เ ห็ น แก่ เหนือยยากของพวกเขา” งานสอนคํ าสอน ศาสนบริ ก ารของผู้ส อนคํ าสอน ก็ ยังคงเป็ น สิ งจํ าเป็ นเสมอ และมีคุณ ลัก ษณะพิ เ ศษในตัวเอง ประมวลกฎหมาย พระศาสนจักรฉบับใหม่ยอมรับภาระหน้ าทีของผู้สอนคําสอน คุณสมบัติ ของพวกเขา และความจําเป็ นทีจะต้ องมีการปฏิบตั ิงานของผู้สอนคําสอน งานคําสอนมีความยุ่งยากและมีภาระใหม่ๆ เกิดขึนเสมอ ซึงจากภาระ ใหม่ๆ ที เกิดขึน สภาสังคายนาได้ เสนอแนะให้ มีการเตรี ยมตัวทางด้ าน หลักคําสอนและทางด้ านวิชาครู อย่างลึกซึง ให้ มีการฟื นฟูขนใหม่ ึ อยู่เสมอ ฝ่ ายจิ ตวิญญาณและการแพร่ ธรรม ความจํ าเป็ นที จะต้ องจัดให้ ผ้ ูสอน คําสอนได้ มีส ภาพชี วิต ความเป็ นอยู่ที ดีพ อสมควร และมีห ลัก ประกัน สัง คม เป็ นเรื องสํ า คัญ เช่ น กัน ที จะต้ อ งส่ ง เสริ ม การสร้ างและพัฒ นา โรงเรี ย นฝึ กอบรมสํ า หรั บ ผู้ สอนคํ า สอน

ซึงเมื อได้ รั บ อนุ มัติ จ าก

สภาพระสังฆราชแล้ วก็จะออกใบประกาศนียบัตร ซึงได้ รับการรับรองเป็ น ทางการจากสภาพระสังฆราช (องค์กรสนับสนุนงานแพร่ ธรรมของสันตะสํานัก, ม.ป.ป.: 75-76)


ห น้ า | 43

งานคําสอนจึงเป็ นงานทีเรี ยกร้ องความกล้ าหาญ การอุทิศตน ของครู คําสอน เพื อเป็ นพลังสําคัญของพระศาสนจักร จึงมิใช่เป็ นการ กระทําทีไร้ เหตุผลเมือพระศาสนจักรตังแต่โบราณกาลได้ ให้ ความสําคัญ กับงานคําสอนและครู คําสอน ให้ เพิมจํานวนและพัฒนาผู้สอนคําสอนขึน เป็ นอันมาก และกวดขันการสอนคําสอนกันอย่างเข้ มข้ น พระศาสนจักรคาทอลิกประเทศไทย ได้ ให้ ความสําคัญกับการ สอนคํ า สอนและการพั ฒ นาครู คํ า สอนเป็ นอย่ า งมาก มี ก ารกํ า หนด พันธกิจทีสําคัญไว้ ใน ข้ อ 11 เร่ งสรรหาและพัฒนาบุคลากรทุกระดับอย่าง เป็ นระบบและต่อเนื อง พร้ อมทังจัด สวัส ดิ ก ารให้ อย่ างเหมาะสมและ ยุติธรรม (สภาพระสังฆราชคาทอลิกแห่งประเทศไทย, 2000: 20-21, 28, 42) ทังนี ให้ มีก ารสรรหา พัฒ นา บํ ารุ งรั กษาบุค ลากรคําสอน และ ในแผนอภิ บาลคริ สตศักราช 2010-2015 ซึงมีลกั ษณะเป็ นการติดตาม และสานต่อจากแผนอภิ บาลคริ สตศักราช 2000-2010 พระศาสนจักรคาทอลิกในประเทศไทย ได้ ให้ ความสําคัญของการสอนคําสอนและการ พัฒนาครู คําสอน โดยกําหนดให้ การสอนคําสอนไว้ เป็ นส่วนหนึงของงาน อ ภิ บ า ล ห ลั ก ใ น ง า น เ ส ริ ม ส ร้ า ง ศิ ษ ย์ แ ล ะ พั ฒ น า ค ว า ม เ ชื อ (สภาพระสังฆราชคาทอลิกแห่งประเทศไทย, 2010: 16, 20) และให้ ความสําคัญต่อครู คําสอนโดยระบุว่า ครู คํา สอนเป็ นบุคลากรสําคัญกลุ่ม หนึง...พีน้ องพระสงฆ์ และนักบวช ควรส่งเสริ มกระแสเรี ยกครู คําสอน... ควรจัดการพบปะ ภาวนา ร่ วมพิธีบูชาขอบพระคุณ (Mass) เยียมเยียน ให้ กําลังใจ และฟื นฟูจิตใจ แก่ครู คําสอน (วีระ อาภรณ์รัตน์, 2555)


ห น้ า | 44

ในการเพิมจํ านวนและพัฒนาผู้สอนคําสอน เป็ นปั จจัยทีส่งผล ต่อการทํ างานคําสอน ครู คําสอนทุกคนจึงควรได้ รับ การดูแลเอาใจใส่ ส่ ง เสริ มให้ เกิ ด การพั ฒ นาในทุ ก ด้ าน และมี จํ า นวนมากเพี ย งพอ เพือประโยชน์สงู สุดทีจะเกิดแก่ผ้ เู รี ยนและพระศาสนจักร ซึงในทางปฏิบตั ิ แล้ ว การเพิมจํานวนและพัฒนาดังกล่าวต้ องมีการวางแผน เตรี ยมการ และต้ องมีสิงต่างๆ ที เกี ยวข้ องอีก มากมายหลายประการ และต้ องให้ เหมาะสมกับประเภทของครู คําสอนด้ วย ประเภทของครู คําสอน สามารถจําแนกตามลักษณะของงานได้ 3 ประเภท เพือการให้ การอบรม ช่วยเหลือ สนับสนุนให้ ครู คําสอนแต่ละ ประเภทปฏิบัติงานได้ อย่างมีประสิทธิ ภาพ ดังต่อไปนี (คณะกรรมการ คาทอลิกเพือคริ สตศาสนธรรม, 2553: 111) 1. ครู คําสอนอาชีพ (Professional/Fulltime Catechists) คือ ผู้ที ได้ รั บการอบรม และสําเร็ จ การศึกษาจากสถาบัน ที พระศาสนจัก ร รับรองและ/หรื อได้ รับการแต่งตังจากพระสังฆราช เพือทํางานด้ านคําสอน เต็มเวลา 2. ครู คําสอน (Part-Time Catechists) คือ ครู หรื อคริ สตชน ฆราวาสที ได้ รั บ การอบรมด้ านคํ า สอน ได้ รั บ การแต่ ง ตั งและได้ รั บ มอบหมายให้ ทําหน้ าทีสอนคําสอนในโรงเรี ยนหรื อวัด 3. ครู คําสอนอาสาสมัคร (Volunteer Catechists) คือ คริ สตชน ฆราวาสทีอาสาสมัครช่วยงานคําสอนหรื อสมาชิกองค์กรคาทอลิกต่างๆ แต่ถึงแม้ ครู คําสอนจะมีหลายประเภท และงานทีต้ องปฏิบตั ิก็มี ลัก ษณะที แตกต่า งกัน ไปบ้ าง แต่ ค รู คํา สอนทุ ก คนย่ อมมี บ ทบาทและ


ห น้ า | 45

ภารกิ จ หลัก ที สํ าคัญ เหมื อนกัน ซึงเป็ นภารกิ จ ที ได้ รั บ มอบหมายจาก พระเจ้ าโดยตรง บทบาทและภารกิจหลักของครู คาํ สอน ครู คําสอน มีบทบาทสําคัญในการสอนอบรมผู้เรี ยนให้ มีความ เชื อ เติ บ โตในความเชื ออย่ า งสมบู ร ณ์ และมี ห น้ า ที ในการเตรี ย มตัว ถ่ายทอดคําสอน อบรม ชีแนะ ตอบข้ อซักถามของผู้เรี ยน โดยมีหลักการ สอน เนื อหา และเครื องมือที เหมาะสม กลมกลื น เพื อบรรลุเป้าหมาย ของงานสอนคําสอนอันเป็ นภารกิจหลักของครู คําสอน ภารกิจหลักของครู คําสอน มี 2 ประการ คือ 1) การเชือเชิญให้ ผู้เรี ยนให้ เข้ ามาเชือ (to believe) และ 2) การช่วยให้ ผ้ เู รี ยนเกิดการเรี ยนรู้ เรื องของความเชือ (to learn) ทุกครังทีครู คําสอนเชิญชวนให้ ผ้ เู รี ยนมอบ ชีวิตตน ไว้ ภายใต้ คําสังสอนของพระเยซูคริ สตเจ้ าอย่างเป็ นอิสระและ เป็ นเรื องส่ ว นตัว ครู คํ า สอนก็ นํ า ผู้ เรี ย นให้ เจริ ญ เติ บ โตไปสู่ ค วามมี วุฒิภาวะในความเชื อ (วัชศิลป์ กฤษเจริ ญ , 2550: 3) ซึงในความเชือนี เป็ นมากกว่าความรู้ ความเข้ าใจ หรื อการยอมรั บ ความเชือเป็ นทังการ ยอมรั บ และตอบสนองหรื อปฏิ บัติ ตาม ซึงความเชื อในแต่ล ะคนอาจมี ไม่เท่ากันและยากทีจะวัดหรื อเปรี ยบเทียบกันได้ และการตอบสนองหรื อ ปฏิ บัติตามก็มีความแตกต่างหรื อหลากหลายกันไปตามความแตกต่าง ของบุคคล และหากผู้เรี ยนได้ เรี ยนรู้ ในเรื องหลักความเชือและไตร่ ตรองใน ความเชื อของตนก็ จะทํ าให้ เขามีความเชื ออย่ างถูก ต้ องเหมาะสมและ นําไปสู่การตอบสนองหรื อการปฏิบัติตามได้ อย่างดี ซึงเป็ นบทบาทและ


ห น้ า | 46

ภารกิจหลักของครู คําสอนทีจะคอยดูแล แนะนํา ชีชวน ชีนําให้ ผ้ ูเรี ยนมี วุฒิภาวะในความเชือดังกล่าวตามที วีระ อาภรณ์ รัตน์ ได้ ระบุถึงภารกิจ ของครู คํ า สอน ว่ า หลัง จากการฝึ กอบรมอัน เหมาะสมเพี ย งพอแล้ ว คริ สตชนฆราวาสควรได้ รับมอบหมายหน้ าทีศาสนบริ กรเท่าทีพวกเขาจะ สามารถทําได้ ความจําเป็ นพืนฐานสําหรับการกลับใจและประสบการณ์ แห่งความเชือควรได้ รับการเอาใจใส่เป็ นอันดับแรก เหนือความกังวลเรื อง ความรู้ และเนือหาของคําสอน ในการนํ าความเชื อเข้ าสู่วฒ ั นธรรมเป็ น สิ งจํ าเป็ น ต้ องเป็ นพยานถึง ข่ าวดี ที ได้ รั บ และการสอนคําสอนให้ แ ก่ ผู้เรี ยนในแต่ละช่วงวัยต้ องให้ มีความสัมพันธ์ กัน และสอดคล้ องกับการ พัฒนาของผู้เรี ยน (วีระ อาภรณ์รัตน์, 2551: 96-87) คุณสมบัตแิ ละคุณลักษณะของครู คาํ สอน คุณสมบัติและคุณลักษณะของบุคคล เป็ นเครื องหมายหรื อสิง ทีชีให้ เห็นลักษณะเฉพาะหรื อความดีเลวของบุคคลนัน บุคคลสําคัญทีดีมี คุณ ค่ าเช่ น ครู คํา สอน ก็ ควรมีแ ละ/หรื อ ควรได้ รั บ การเสริ มสร้ างให้ มี คุณสมบัติและคุณลักษณะทีดีมีคณ ุ ค่าเช่นเดียวกัน คุณสมบัตขิ องครู คาํ สอน สภาพระสัง ฆราชคาทอลิ ก แห่ ง ประเทศไทย ประกาศไว้ ใ น กฤษฎีกา 9 เรื องการให้ การอบรมศึกษาศาสนาคาทอลิกในโรงเรี ยนว่า ครู คํ าสอนฆราวาสที จะสอนเรื องศาสนาคาทอลิ ก ในโรงเรี ย นนันต้ อ ง 1) ได้ รับใบประกาศนียบัตรจากศูนย์ คําสอน 2) เด่นในเรื องข้ อคําสอนที แท้ จริ ง และ 3) มีชีวิตทีซือตรง (คณะกรรมการคาทอลิกเพือคริ สตศาสน-


ห น้ า | 47

ธรรม, 2553: 99) ซึงควรเป็ นคุณสมบัติของครู คําสอนทุกคน ไม่เฉพาะแต่ ครู คําสอนในโรงเรี ยนเท่านัน ทังนีเพือให้ ครู คําสอนสามารถปฏิบตั ิภารกิจ งานคําสอนได้ อย่างดี และในปั จจุบนั นอกจากต้ องมีคุณสมบัติดงั กล่าว แล้ ว ครู คําสอนในโรงเรี ยน (Part-Time Catechists) ยังถูกเรี ยกร้ องจาก กระทรวงศึ ก ษาธิ ก าร ถึ ง คุ ณ วุ ฒิ ท างการศึ ก ษาอย่ า งน้ อยในระดั บ ปริ ญญาตรี ในสาขาวิชาเฉพาะหรื อทีสัมพันธ์ เชือมโยงกัน และต้ องได้ รับ ประกาศนี ย บัต รวิ ช าชี พ ครู รวมไปถึง การได้ รั บ ใบประกอบวิ ช าชี พ ครู เช่ น เดี ย วกับ ครู ใ นสาขาอื นทั วไปด้ ว ย จึ ง ดู เ หมื อ นว่ า ครู คํ า สอนถู ก เรี ยกร้ องให้ มีคณ ุ สมบัติมากกว่าครู ทวไป ั คุณลักษณะของครู คาํ สอน ครู คําสอน เป็ นเครื องมือทีสําคัญของพระเจ้ า เป็ นศาสนบริ กรที สําคัญของพระศาสนจักร จึงควรมีคณ ุ ลักษณะ ดังนี 1. เป็ นบุคคลทีตอบรับการเรี ยกของพระเจ้ า ด้ วยความเสียสละ มีอุดมคติ อุทิศตนเป็ นพยานถึงข่าวดีของพระเยซูคริ สตเจ้ า อุทิศตนเพือ พระศาสนจักร และรั บใช้ ชุมชน “พระเจ้ าทรงแต่งตังบางคนให้ ทําหน้ าที ต่างๆ ในพระศาสนจักร คือ หนึงให้ เป็ นอัครสาวก สองให้ เป็ นประกาศก และสามให้ เป็ นครู อาจารย์ ต่อจากนัน คือ ผู้มีอํานาจทําอัศจรรย์ ผู้รักษา โรค ผู้ช่วยเหลือผู้ปกครองและผู้ทีพูดภาษาทีไม่มีใครเข้ าใจ” (1 คร 12: 28) 2. เป็ นบุ ค คลที แบ่ ง ปั น ความเชื อ ด้ วยความเชื ออย่ า งมันคง ด้ วยความรั ก ความยิ นดี ความกระตื อรื อร้ น และความหวัง “จงพร้ อม เสมอที จะให้ คํ า อธิ บ ายแก่ ทุ ก คนที ต้ อ งการรู้ เหตุ ผ ลแห่ ง ความหวัง


ห น้ า | 48

ของท่ า น จงอธิ บ ายด้ ว ยความอ่ อ นโยนและด้ ว ยความเคารพอย่ า ง บริ สทุ ธิใจ..” (เทียบ 1ปต 3: 15-16) 3. เป็ นบุ ค คลแบบอย่ า ง ในการดํ า เนิ น ชี วิ ต ด้ วยความเชื อ ความรัก และความหวัง มีความเพียรพยายาม กระทําตนให้ เป็ นเครื องมือ ที มี คุณ ภาพของพระเจ้ า และเป็ นเครื องหมายถึ ง การประทับ อยู่ ข อง พระจิ ต “การทํ าให้ ชี วิต ศักดิ สิท ธิ ในขณะที ดําเนิ นชี วิตเยี ยงฆราวาส แพร่ ธรรม” (LG 41) 4. เป็ นบุคคลแห่งการเรี ยนรู้ ศึกษาและพัฒนาตนเองในด้ าน ต่างๆ อย่างต่อเนือง เพือให้ มีความรู้ ทักษะ และความสามารถ มิใช่เพือ สอนคําสอนผู้อืนเท่านัน แต่เพือพัฒนาตนเองอย่างต่อเนืองในด้ านความ เชืออีกด้ วย โดยเฉพาะการแสวงหาความรู้ จากพระคัมภีร์ เพือเพิมพูน ความเชือ ความรู้ ทักษะ เป็ นผู้นําการแบ่งปั นพระวาจา มีจิตภาวนา และ เติบโตในความเชือตามวัย ในบริ บททีเหมาะสม “จุดหมายสูงสุดและ หัวใจของการฝึ กอบรมการสอนคําสอนอยู่ทีความพร้ อมทีจะเรี ยนรู้ และ ความสามารถทีจะสือสาร สารแห่งพระวรสาร” (GDC 235) 5. เป็ นบุคคลทีใช้ ความสามารถอย่างเต็มศักยภาพ มิใช่เพือสอน คําสอนผู้อืนเท่านัน แต่เพือพัฒนาตนเองอย่างต่อเนืองในด้ านความเชือ “มนุษย์มิได้ ดํารงชีวิตด้ วยอาหารเท่านัน แต่ดํารงชีวิตด้ วยพระวาจาทีออก จากพระโอษฐ์ ของพระเจ้ า” (เทียบ มธ 4:4) และในงานชุมนุมครู คําสอนนานาชาติ 2013 โอกาสปี แห่งความ เชือ ณ หอประชุมเปาโลที 6 นครรัฐวาติกนั เมือวันที 27 กันยายน 2013 พระสันตะปาปา ฟรังซิส ได้ ร่วมแบ่งปั นถึงคุณลักษณะของครู คําสอนกับ


ห น้ า | 49

การเป็ นพยานถึงความเชือในโลกปั จจุบัน โดยพระองค์ได้ ตรั สสอนว่า ครู คํ า สอนไม่ ใ ช่ เ ป็ นเพี ย งอาชี พ แต่ เ ป็ นกระแสเรี ย ก กระแสเรี ย กที กลายเป็ นส่วนหนึงในชีวิตของคนๆ นัน ครู คําสอนได้ รับการเรี ยกให้ เริ มทุก อย่างโดยมีพระเยซูคริ สตเจ้ าเป็ นศูนย์ กลาง ให้ เลียนแบบพระองค์ และ ออกจากตัวเองไปหาคนอืนๆ โดยเฉพาะผู้ทีอยู่ชายขอบของสังคม ความ เชือเป็ นพระพรซึงเราได้ รับมาเปล่าๆ ก็ให้ เรารู้ จกั แบ่งปั นกับทุกคนโดยการ เป็ นพยานด้ วยชีวิต อย่าปิ ดตัวเอง และการเป็ นครู คําสอนทีดี ต้ องมีสาม ข้ อหลักทีควรปฏิบตั ิตามคือ 1) คุ้นเคยกับพระเยซูคริ สตเจ้ า 2) เลียนแบบ พระเยซูคริ สตเจ้ า คือ การแบ่งปั นพระวรสารแก่ผ้ อู ืน 3) ต้ องไม่กลัวการ ข้ ามพ้ นความสะดวกสบายของตน (พระสันตะปาปา ฟรั งซิส , 2013. อ้ างถึงใน วีระ อาภรณ์รัตน์, 2556) เอกลักษณ์ ของครู คาํ สอน ด้ วยคุณสมบัติ และคุณลักษณะของครู คําสอนดังกล่าวข้ างต้ น ทําให้ ครู คําสอนมีเอกลักษณ์ทีโดดเด่นเฉพาะ ดังนี 1. เป็ นผู้ที พระเจ้ าเรี ยกและเลือกสรรเพื อการประกาศคําสอน ของพระเยซูคริ สตเจ้ า การเป็ นครู สอนคริ สตศาสนธรรมจึงต้ องน้ อมรั บการตรั ส เรี ยกจากพระเจ้ าอยู่เสมอ รวมถึงการวอนขอพระพรอย่างต่อเนืองจาก พระเจ้ าในการปฏิบตั ิหน้ าทีอย่างซือสัตย์ จึงจําเป็ นต้ องหล่อเลียงตนเอง ในการภาวนา เพือกลายเป็ นเครื องมือทีเหมาะสมต่อพระทัยเมตตากรุ ณา ของพระเจ้ า และจํ าเป็ นต้ องมีการเจริ ญและการพัฒนาชี วิตฝ่ ายจิ ตใจ


ห น้ า | 50

อย่างต่อเนือง เช่นเดียวกับบรรดาสาวกของพระเยซูคริ สตเจ้ า ครู คําสอน ต้ อ งใส่ ใ จฟั ง พระวาจาของพระเจ้ าด้ ว ยใจสุภ าพและรํ า พึ ง ไตร่ ต รอง นําพระวาจาของพระเจ้ าเป็ นหลักในการดําเนินชีวิต 2. เป็ นหนึงเดียวกับพระศาสนจักร การเป็ นครู คําสอนนัน เป็ นพระพรทีพระเจ้ าทรงประทาน ให้ แก่ ค ริ สตชน เช่ น เดี ย วกั บ พระพรทั งหลาย ในพระศาสนจั ก ร การประกาศพระวรสาร ต้ องไม่เป็ นภารกิ จที กระทํ าแบบโดดเดียวและ แยกตัวออกไปจากคนอืน แต่เป็ นภารกิ จทีผูกพันภายในพระศาสนจักร ครู คําสอนต้ องตระหนักถึงความสําคัญในการเป็ นเป็ นกระบอกเสียงของ พระศาสนจักร จากประสบการณ์ แห่งความเชืออันนีเองที ทําให้ พวกเขา มีความมันใจ 3. ความตังใจ คือ การรับใช้ มนุษย์เพือความรอดพ้ น นอกจากการดํ าเนิ นภารกิ จ ในการรั บใช้ พระเจ้ า ในการ ประกาศคํ า สอนของพระองค์ ในนามของพระศาสนจัก รแล้ ว บรรดา ครู คําสอนต้ องสํานึกว่า พวกเขาถูกเรี ยกและถูกส่งออกไปเพือการรั บใช้ เพื อนพี น้ อง ดังนัน ครู คําสอนต้ องดําเนิ นชี วิตอยู่เคียงข้ างเพื อนมนุษย์ เดินทางสู่ความรอดพ้ นไปพร้ อมกับพวกเขา รั บรู้ ถึงความปรารถนาของ พวกเขา โดยเฉพาะอย่างยิงความปรารถนาของบรรดาผู้ทีถูกทอดทิง คือ คนยากจนและคนพิการ 4. เป็ นอาจารย์ ผู้อบรมและการดําเนินชีวิตเป็ นตัวอย่างทีดี การดําเนินชีวิตเป็ นตัวอย่างทีดีของครู คําสอน ทีแสดงออกถึง ความเชื อนัน คือ การสอนนันเอง ดัง นัน สิ งที ครู คําสอนต้ อ งเอาใจใส่


ห น้ า | 51

ตลอดเวลา คือ การสํานึกตนที จะรั บฟั งพระวาจาของพระเจ้ าอยู่เสมอ รวมทังการศึกษาค้ นคว้ าหาความรู้ เกียวกับคําสอนของพระเยซูคริ สตเจ้ า ทีลึกซึงยิงขึน เพราะเป็ นสิงทีพวกเขาได้ รับมอบหมายหน้ าทีจากพระเจ้ า ในนามของพระศาสนจักรในการถ่ายทอดความรู้ นนแก่ ั คนอืน 5. ส่งเสริ มการเจริ ญเติบโตของทุกคน ครู คําสอนต้ องดําเนินชีวิตเป็ นตัวอย่างทีดีตามหลักคําสอน ของพระเยซูคริ สตเจ้ า เนื องจากจุดประสงค์ของการสอนคําสอน คือการ ช่วยในการดําเนินชีวิตตามความเชือในพระเยซูคริ สตเจ้ าทีสอดคล้ องกับ การดําเนินชีวิตปั จจุบนั (วีระ อาภรณ์รัตน์, 2551: 41-52)


ห น้ า | 52

จํานวนครู คาํ สอนในประเทศไทย พระศาสนจักรคาทอลิกสากล และพระศาสนจักรคาทอลิกแห่ง ประเทศไทย ได้ ใ ห้ ความสํ า คั ญ ต่ อ การเพิ มจํ า นวนและการพั ฒ นา ครู คําสอน อย่างน้ อยให้ เพียงพอต่อความต้ องการและความจําเป็ นในงาน คําสอน สําหรั บในประเทศไทย มีครู คําสอนทุกประเภท (ครู คําสอนเต็ม เวลา ครู คําสอนบางเวลา และครู คําสอนอาสาสมัคร) รวม 1,966 คน (ข้ อมูลสถิติลา่ สุด ปี พ.ศ. 2552) จําแนกตามเขตการปกครอง ได้ ดงั นี อัครสังฆมณฑล/ สังฆมลฑล กรุงเทพฯ ท่าแร่-หนองแสง จันทบุรี เชียงใหม่ นครราชสีมา นครสวรรค์ ราชบุรี สุราษฎร์ ธานี

ครูคําสอน เต็มเวลา 26 5 21 49 6 47 13

ครูคําสอน บางเวลา 542 235 101 235 55 46 150 38

ครูคําสอน อาสาสมัคร 22 2 15 20 53 38 31

รวม (คน) 590 242 137 304 114 46 235 82


ห น้ า | 53 อัครสังฆมณฑล/ สังฆมลฑล อุดรธานี อุบลราชธานี รวม

ครูคําสอน เต็มเวลา 28 195

ครูคําสอน บางเวลา 18 90 1,510

ครูคําสอน รวม อาสาสมัคร (คน) 8 54 72 162 261 1,966

ทีมา: คณะกรรมการคาทอลิกเพือคริ สตศาสนธรรม, สถิตคิ รู คาํ สอน, เข้ าถึงเมือ 23 กุมภาพันธ์ 2556, เข้ าถึงได้ จาก http://www.thaicatechesis.com/catechesis ซึงเมือเที ยบกับจํานวนของคริ สตชนในประเทศไทย และภาระ งานคําสอนทีต้ องปฏิบตั ิแล้ ว จึงมีความจําเป็ นทีจะต้ องมีการเพิมจํานวน ครู คํ า สอน และส่ ง เสริ มพั ฒ นาครู คํ า สอนที มี อ ยู่ ใ ห้ มี ศั ก ยภาพ ประสิทธิภาพมากขึน เพือคุณภาพการสอนคําสอนทีดียิงขึน โดยเฉพาะ ในสังฆมลฑลทีมีจํานวนครู คําสอนค่อนข้ างน้ อย ตามทีพระสังฆราช วีระ อาภรณ์ รัตน์ ประมุขสังฆมณฑลเชี ยงใหม่และประธานคณะกรรมการ คาทอลิกเพือคริ สตศาสนธรรม แผนกคริ สตศาสนธรรม สภาพระสังฆราช คาทอลิ ก แห่ ง ประเทศไทย ได้ ก ล่ า วไว้ ใ นสารคํ า สอนว่ า ครู คํ า สอน เป็ นบุ ค ลากรสํ า คัญ กลุ่ ม หนึ ง ไม่ ว่ า ท่ า นจะเป็ นครู คํ า สอนเต็ ม เวลา ครู คําสอนบางเวลาในโรงเรี ยน ในวัด และครู คําสอนอาสาสมัคร พีน้ อง พระสงฆ์ และนักบวช ควรส่งเสริ มกระแสเรี ยกครู คําสอนเหมือนอย่างที ท่ า นได้ รั บ การส่ ง เสริ ม โปรดคั ด เลื อ กเยาวชนให้ รั บ การอบรมเป็ น


ห น้ า | 54

ครู คํ า สอน ในโรงเรี ย นและในสั ง ฆมณฑลของตน จะได้ มี ท ายาท ครู คําสอนปฏิบัติหน้ าทีสืบไป… (วีระ อาภรณ์ รัตน์ 2553, อ้ างถึงใน ทัศนีย์ มธุรสสุวรรณ, 2555: 105)


ห น้ า | 55

รายการอ้ างอิง การสอนคําสอนในยุคปั จจุบัน. ม.ป.ท., ม.ป.ป. คณะกรรมการคาทอลิกเพือคริ สตศาสนธรรม แผนกคริ สตศาสนธรรม. สถิตคิ รู คาํ สอน, เข้ าถึงเมือ 23 กุมภาพันธ์ 2556, เข้ าถึงได้ จาก http://www.thaicatechesis.com/catechesis _____. คู่มือแนะแนวการสอนคําสอนในประเทศไทย. พิมพ์ครังที 3 กรุ งเทพฯ : โรงพิมพ์อสั สัมชัญ, 2553. ทัศนีย์ มธุรสสุวรรณ “ใครว่าครู คําสอนไม่สําคัญ,” แสงธรรมปริทศั น์ 36, 1 (มกราคม-เมษายน 2555). วัชศิลป์ กฤษเจริ ญ. การสอนคริสตศาสนธรรม. นครปฐม : โรงพิมพ์ วิทยาลัยแสงธรรม, 2550. วีระ อาภรณ์รัตน์ และคณะ. คู่มือแนะแนวการสอนคําสอนใน ประเทศไทย. พิมพ์ครังที 2. มปท., 2006. _____. ครู คาํ สอนคือใคร บทเทศน์ (ตอนหนึง) ของสมเด็จพระ สันตะปาปาฟรั งซิส มิสซาชุมนุมครู คาํ สอนนานาชาติ 2013 กรุ งโรม, เข้ าถึงเมือ 23 ธันวาคม 2556, เข้ าถึงได้ จาก http://www.thaicatechesis.com/article/article22/


ห น้ า | 56

วีระ อาภรณ์รัตน์. ต้ องการเป็ นครู คาํ สอนทีดี ทํา 3 ข้ อนี คําปราศัย ของสมเด็จพระสันตะปาปาฟรั งซิส งานชุมนุมครู คาํ สอน นานาชาติ 2013 นครรั ฐวาติกัน. เข้ าถึงเมือ 23 ธันวาคม 2556, เข้ าถึงได้ จาก http://www.thaicatechesis.com/article/article22/ _____. แนวทางและอัตลักษณ์ ครู สอนคริสตศาสนธรรม. กรุ งเทพฯ : ปิ ติพานิช, 2551. _____. 16 ธันวาคม วันครู คาํ สอนไทย, เข้ าถึงเมือ 13 ตุลาคม 2555, เข้ าถึงได้ จาก http://www.becthare.com/12December/Cateche-day/Catechis.php สภาพระสังฆราชคาทอลิกประเทศไทย. ทิศทางงานอภิบาล คริสตศักราช 2000 ของพระศาสนจักรคาทอลิก ในประเทศไทย สําหรั บ ค.ศ. 2000-2010. มปท., 2000. _____. ทิศทางงานอภิบาลคริสตศักราช 2010-1015. กรุ งเทพฯ : โรงพิมพ์อสั สัมชัญ, 2010. องค์กรสนับสนุนงานแพร่ ธรรมของสันตะสํานัก. การประกาศข่ าวดี. ม.ป.ท., ม.ป.ป.


ห น้ า | 57

บทที 4 บุคคลสําคัญของครู คาํ สอน

นอกเหนื อ จากพระเยซู ค ริ ส ตเจ้ า และพระแม่มารี ย์ แ ล้ ว ยังมี อัครสาวก สานุศิษย์ อีกมากมายที เป็ นบุคคลสําคัญในการสืบทอดงาน สอนคําสอนจนถึงปั จจุบนั และในบรรดาบุคคลเหล่านี มีบุคคลสําคัญที ผู้เขียนประทับใจเป็ นอย่างยิง คือ นักบุญเปาโล อัครสาวกพยานยืนยัน ความเชื อ นักบุญมิแกล เฟเบรส คอร์ เดโร องค์ อุปถัมภ์ ครู คําสอน และ บุญราศีฟิลิป สีฟอง อ่อนพิทกั ษ์ ต้ นแบบครู คําสอนของประเทศไทย นักบุญเปาโล อัครสาวกนานาชาติ พยานยืนยันความเชือ ประวัตนิ ักบุญเปาโล “นักบุญ เปาโล” (Saint Paul) เป็ นอัครสาวก เป็ นอัครธรรมทูตชันเยียม การกลับใจของท่านเป็ นเหตุการณ์ สําคัญ ใ น ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ พ ร ะ ศ า ส น จั ก ร โดยเฉพาะเรื องการประกาศ พระวรสาร ในหมู่ชนต่างศาสนา แต่เดิมนัน “นักบุญ เปาโล” มีชือว่า “เซาโล” เป็ นชนชาวยิว (อิสราเอล) เผ่ าเบนยามิน มีสัญชาติโรมัน เกิ ดประมาณปี ค.ศ. 10 ที เมือ งทาร์ ซัส ในแคว้ น ซี ลี เซี ย และมาเติบ โตที กรุ ง เยรู ซาเล็ม เข้ าพิ ธี


ห น้ า | 58

สุหนัตเมือเกิดมาได้ 8 วัน ครอบครัวของท่านมีอาชีพทํากระโจม ท่านเป็ น ชาวยิ วที เคร่ ง ครั ดและมีใจร้ อนรน ในช่วงเป็ นหนุ่มได้ ศึกษาพระคัมภี ร์ อย่ างละเอียดตามแบบของฟาริ สี ผ้ ูเชี ยวชาญ โดยปฎิ บัติต ามธรรม บัญญัติของโมเสส (ธรรมบัญญัติของบรรพบุรุษ) อย่างเคร่ งครัด จนทน ไม่ได้ ทีเห็นคนไปนับถื อพระเยซูคริ สตเจ้ า และที กรุ งเยรู ซาเล็ม ท่านได้ ศึกษาเล่าเรี ยนกับอาจารย์กามาลิเอล ทีมีชือเสียงโดดเด่นและเคร่ งครัดใน ด้ านธรรมบัญญัติชาวยิวมากทีสุดคนหนึงในยุคนัน ในช่ ว งต้ น ของชี วิ ต ท่ า นได้ เ ป็ นผู้ เบี ย ดเบี ย นพระศาสนจั ก ร เบียดเบียนกลุ่มชาวยิวทีพูดภาษากรี กซึงแยกตัวจากลัทธิยิว และในช่วง ปี ค.ศ. 32-33 ท่านมีส่วนรู้ เห็นในการตายเป็ นมรณสักขี ของสังฆานุกร สเทเฟน ในข้ อ กล่าวหาว่า ดูห มินโมเสสและพระเป็ นเจ้ า “เซาโลเป็ น คนหนึงทีเห็นชอบกับการทีสเทเฟนถูกฆ่า” (กจ 8: 1) แต่ขณะทีท่านเดินทางไปยังเมืองดามัสกัส ประมาณปี ค.ศ. 34 เพื อจับ กุ ม คนที ดํ า เนิ น ชี วิ ต ตามวิ ถี ท างของพระเยซู ค ริ ส ตเจ้ า มาให้ สภาซันเฮดริ กพิพากษาโทษ พระเยซูคริ สตเจ้ า (ซึงสินพระชนม์แล้ ว ในปี ค.ศ. 30) ได้ มาปรากฏพระองค์ ใ ห้ ท่านเห็น ในเวลาประมาณเที ยงวัน มีแสงสว่างจ้ าจากท้ องฟ้าล้ อมรอบตัวท่าน ท่านล้ มลงและได้ ยินเสียงพูด ว่า “เซาโล เซาโล เจ้ ามาเบียดเบียนเราทําไม เจ้ าจะต้ องเจ็บตัวเหมือนวัว ถีบปฎัก” (กจ 26: 14) และบอกว่า “เราคือเยซู ชาวนาซาเร็ ธ ซึงเจ้ ากําลัง เบียดเบียนอยู่” “จงลุกขึนเข้ าไปในเมืองดามัสกัส ทีนันจะมีคนบอกทุกสิง ทีพระเป็ นเจ้ าทรงกําหนดให้ เจ้ าทํา ” (กจ 22: 6-10) เมือลุกขึนจึงพบว่า


ห น้ า | 59

ตนเองกลายเป็ นคนตาบอด มีคนนําท่านไปพักรักษาตัวในเมืองดามัสกัส เป็ นเวลา 3 วัน แล้ วอานาเมีย หนึงในผู้นําชุมชนคริ สตชนในดามัสกัสได้ ไปพบท่าน ปกมือเหนือท่าน กล่าวว่า “เซาโลน้ องรัก พระเยซูซงทรงแสดง ึ พระองค์ แ ก่ ท่านกลางทางที ท่ านมานัน ทรงส่งข้ าพเจ้ ามาเพื อท่ า นจะ มองเห็นอีกและได้ รับพระจิตเจ้ าอย่างเต็มเปี ยม” (กจ 9: 17) แล้ วท่านก็ กลับมองเห็นได้ เมือท่านได้ รับศีลล้ างบาปแล้ ว ท่านได้ เริ มเทศน์อย่างกล้ า หาญเกียวกับเรื องของพระเยซูคริ สตเจ้ า ให้ แก่ทุกคนทีต้ องการฟั งข่าวดีนี “เขาเทศน์ สอนในศาลาธรรมทันที ประกาศว่า พระเยซูเจ้ าเป็ นบุตรของ พระเจ้ า ทุก คนที ได้ ยิ น ต่างประหลาดใจพูด ว่า คนนี มิใ ช่ ห รื อที ทํ าร้ าย ผู้เรี ยกขานพระนามนีทีกรุ งเยรู ซาเล็ม ” (กจ 9: 20-21) ซึงการได้ พบกับ พระเยซู ค ริ ส ตเจ้ า ทํ า ให้ ท่ า นเข้ า ใจถึ ง ความเชื อคริ ส ตชน

และรู้ ถึ ง

พระประสงค์ของพระเยซูคริ สตเจ้ า ทีทรงเลือกสรรเขาให้ เป็ นอัครสาวก ของคนต่างชาติ “จงไปเถิ ด ชายผู้นี (เปาโล) เป็ นเครื องมื อ ที เราเลื อกสรรไว้ เพื อนํ านามของเรา ไปประกาศแก่คนต่างศาสนา บรรดากษั ตริ ย์ และ ลูกหลานของอิสราเอล” (กจ 9: 15) นับตังแต่นนั ท่านได้ “กลับใจ” และ อุทิศชีวิตเพือรั บใช้ พระเยซูคริ สตเจ้ า โดยอยู่ในอะราเบีย ชัวระยะเวลา หนึง แล้ วกลับมายังเมืองดามัสกัส และเริ มเทศน์ ตลอดมา ในทุกแห่งหน ทีท่านไป ราวปี ค.ศ. 39 ในกรุ งเยรู ซาเล็ม ซีเรี ยและซีลิเซีย อันทิโอก ในปี


ห น้ า | 60

ค.ศ. 45-49 ไปกับบารนาบัสทีเกาะไซปรัส เมืองซาลามิส เมืองปาโฟส ซึงเป็ นเมืองหลวงของเกาะไซปรั ส ณ เมืองนี เอง ท่านเริ มใช้ ชือกรี ก ว่า “เปาโล” แทนชือยิว “เซาโล” จากเกาะไซปรัส ไปต่อที แคว้ นปั มฟี เลีย ปิ สิเดียและลิคาโอเนีย ในแต่ละเมืองท่านจะเทศน์สอนชาวยิวก่อน และ จึงเทศน์สอนคนต่างศาสนา และมีผ้ คู นกลับใจจํานวนมาก โดยเฉพาะที เมื อ งลิ ส ตราในแคว้ นลิ ค าโอเนี ย นั น ชาวเมื อ งปฏิ บั ติ ต่ อ ท่ า นและ บารนาบัสราวกับเป็ นพระเจ้ าเมือเห็นว่าท่านรั กษาคนง่อยมาแต่กําเนิด ให้ เดิ น ได้ โดยเรี ยก บารนาบั น ว่ า “พระซุ ส ” และเรี ยกท่ า นว่ า “พระเฮอร์ เมส หรื อผู้นําสารของพระซุส ” ในปี ค.ศ. 49 ทีท่านเดินทางไป กรุ งเยรู ซาเล็ม ท่านประสบความสําเร็ จอย่างงดงามในการประกาศข่าวดี ทํ าให้ คนต่างศาสนาในที ต่างๆ กลับใจจํ านวนมาก ช่วงปี ค.ศ. 50-52 ในฟิ ลิปปี ท่านเดินทางไปกับสิลาส และทิโมธีผ้ รู ่ วมงานใหม่ หลัก ความเชื อที ท่ า นยึ ด ถื อ คื อ การได้ พบกับพระเยซูคริ สตเจ้ า ท่านจึงเป็ น ผู้ประกาศข่าวดีของพระองค์อย่างสุดชีวิต สอนให้ ทุ ก คนมี ค วามเชื อในพระเยซู คริ สตเจ้ าและให้ นํ า เอาคํ า สั งสอนของ พระองค์มาปฏิบตั ิในชีวิต ทังนีท่านได้ เทศน์ ประกาศพระเยซูคริ สตเจ้ าเป็ นพระผู้ไถ่สากลโลกแต่พระองค์เดียว


ห น้ า | 61

ท่านรั บใช้ พระไถ่พระองค์นีอย่างสุดจิตสุดใจด้ วยการอุทิศตน เสียสละ ตลอดชีวิต หลังจากกลับใจท่านรู้ ดีว่าได้ รับมอบหมายให้ ทํางานใด และ ไม่ยอมให้ สิงใดมาขัดขวาง ไม่ว่าจะเป็ นความยากลําบาก ความเหน็ด เหนื อย ความทุ ก ข์ ทรมาน ความยากจน หรื อการเสี ยงตาย ความยากลํ า บากเหล่ านี มิ ไ ด้ ทํ า ให้ ค วามรั ก ที มี ต่ อ พระเจ้ า หรื อ ต่ อ พระเยซูคริ สตเจ้ าลดน้ อยลง ท่ านยิ นดีต่อ ความยากลํ าบากดังกล่าว ท่านรู้ ดีว่ากระแสเรี ยกทีได้ รับนันไม่เหมือนของผู้ใด ท่านภูมิใจในความ รับผิดชอบดูแลกลุ่มคริ สตชนหลายกลุ่ม โดยมีความถ่อมตนโดยจริ งใจ ท่ า นทํ างานธรรมทู ต อย่ า งยิ น ดี และเสนอตนเป็ นแบบฉบับ สํ า หรั บ คริ สตชนทีสอนให้ “กลับใจ” ด้ วยความทีไม่เคยลืมว่า ตนเป็ นอัครสาวก ทีไม่สมควรทีสุด เพราะเคยเบียดเบียนพระศาสนจักรของพระเยซูคริ สตเจ้ า กิจการใหญ่ทงหลายที ั ทําสําเร็ จ ท่านเห็นว่าเป็ นพระหรรษทานของ พระเจ้ าทีทํางานในตัวท่าน ในปี ค.ศ. 58 ท่านได้ รับการต้ อนรับอย่างอบอุ่นจากพระศาสนจัก ร ในกรุ ง เยรู ซ าเล็ม แต่ ย ากอบและบรรดาอาวุโ สกัง วลว่ า ชาวยิ ว จํานวนมากทีเลือมใสและปฏิบตั ิตามธรรมบัญญัติอย่างเคร่ งครั ด จะจับ ได้ วา่ ท่านเป็ นผู้เชือเชิญชาวยิวทีอาศัยอยู่ในหมู่คนต่างศาสนาให้ ติดตาม พระเยซูคริ สตเจ้ าและชักนําชาวยิวเหล่านันให้ มาอยู่ร่วมชุมชนเดียวกับ คนต่างศาสนาทีไม่ถือตามธรรมบัญญัติ จึง ได้ วางแผนช่วยท่าน แต่ก็มี ชาวยิ วบางคนจํ าท่านได้ บอกว่าท่ านเป็ นเป็ นผู้ส อนขนบธรรมเนี ยมที


ห น้ า | 62

ชาวโรมันห้ ามปฏิบตั ิ ท่านจึงถูกจับกุมไปไว้ ในคุก ทีเมืองซีซารี ยาในแคว้ น ปาเลสไตน์ และในฤดูใบไม้ ร่วงของปี ค.ศ. 60 นัน เฟสตัสซึงเป็ นผู้สําเร็ จ ราชการควบคุมท่านส่งไปกรุ งโรม ท่านถูกขังอยู่ทีกรุ งโรมเป็ นเวลา 2 ปี หลังจากนันคดีถูกยกฟ้องเพราะขาดพยานหลักฐาน ท่านจึงเดินทาง กลับไปทางตะวันออกอีกครังหนึง ภายหลังท่านถูกจองจําทีกรุ งโรมอีก ครังหนึงและถูกประหารเป็ นมรณสักขีในปี ค.ศ. 67 การกลับใจและการอุทิศตนของท่าน เป็ นแบบอย่างทีครู คําสอน และคริ สตชนทุกคนควรนํามาเป็ นแบบฉบับ โดยการรักและเชือในพระเจ้ า การเป็ นศิษย์ ทีดีข ององค์ พ ระเยซูค ริ สตเจ้ า การพร้ อมที จะกลับใจและ ดําเนินชีวิตตามคําสอนของพระองค์ และนําคําสอนเหล่านันมอบให้ แด่ ผู้อืนด้ วยใจยินดีทีจะได้ เห็นเขาเหล่านันได้ รับข่าวดีของชีวิตและนําข่าวดี นันเป็ นส่วนหนึงของชีวิต จดหมายของนักบุญเปาโล ในพระคัมภีร์ภาคพันธสัญญาใหม่ ประกอบด้ วย 1) บทจดหมาย จํ า นวน 21 ฉบั บ และ 2) ส่ ว นของ หนัง สือพระคัมภี ร์ ซึงในบทจดหมาย 21 ฉบั บ นั น เป็ นของนั ก บุ ญ ยอห์ น 3 ฉบับ นัก บุญ เปโตร 2 ฉบับ นัก บุ ญ ยากอบ 1 ฉบั บ นั ก บุ ญ ยู ด า 1 ฉบั บ และนักบุญเปาโล 14 ฉบับ จึงกล่าวได้ ว่า ท่านเป็ นทังนักเทศน์และนักเขียนทียอดเยียม


ห น้ า | 63

นอกจากการเทศน์สอนคริ สตชนโดยตรงแล้ ว นักบุญเปาโลได้ ใช้ จดหมายเป็ นเครื องมือให้ คริ สตชนมีความร้ อนรนในความรั กและความ เชื อในองค์ พ ระเยซู ค ริ ส ตเจ้ า อุทิศ ตนและเจริ ญ ชี วิตตามคําสอนของ พระองค์ โดยเฉพาะบทจดหมายถึงชาวโรมซึงเป็ นการปูพื นฐานของ “ความเชือ” และจดหมายถึงชาวโคริ นธ์สอนในเรื องของ “ความรัก” ผู้ทีได้ อ่ า นจดหมายของท่ า น และปฏิ บั ติ ต ามจะเป็ นผู้ ใหญ่ ใ นความเชื อ ยึดพระเยซูคริ สตเจ้ าเป็ นอุดมการณ์ เป็ นความเชือทีแท้ จริ ง (มีวฒ ุ ิภาวะ) และเจริ ญชีวิตด้ วยความเชือ ซึงเมือท่านรู้ จกั พระเยซูคริ สตเจ้ า ท่านได้ บอกว่า “บัดนี ไม่ใ ช่ข้าพเจ้ าที มีชีวิต แต่เป็ นพระคริ สต์ ทีดํารงชี วิตใน ตัวข้ าพเจ้ า” เนื อหาในจดหมายที ท่ า นเขี ย นจะเต็ ม ไปด้ ว ยชี วิ ต ชี ว าและ ความหมายทีหนักแน่นชัดเจน จดหมายของท่านไม่ได้ ม่งุ เป็ นตําราสอน เทววิทยา แต่เป็ นคําตอบทีท่านใช้ สอนหรื อแก้ ปัญหาเฉพาะหน้ าทีเกิดขึน ในกลุม่ คริ สตชน โดยเฉพาะการประกาศข่าวดีของพระเยซูคริ สตเจ้ า และ ถ่ายทอดพระวาจาของพระเจ้ าสู่การดํา เนิ นชี วิตของเพื อนมนุษย์ ซึงใน จดหมายของท่ า นทัง 14 ฉบับ นัน มีดัง นี (เรี ย งลํ า ดับ จดหมายจากปี คริ ส ตศัก ราชที ปรากฏในแหล่ ง อ้ า งอิ ง ต่ า งๆ มิ ใ ช่ ลํ า ดับ ในการเขี ย น จดหมายหรื อตามเส้ นทางธรรมทูตของท่าน)


ห น้ า | 64

จดหมายถึงชาวเธสะโลนิกา ฉบับที 1 และฉบับที 2 ราว ค.ศ. 50-51 จดหมายถึงชาวเธสะโลนิกา ฉบับที 1 ในจดหมายถึ ง เธสะโลนิ ก า ฉบับ ที 1 ท่ านสอนให้ ยึดมันและ ปฏิบตั ิตนตามคําสอนของพระเยซูคริ สตเจ้ า และการนําพระวาจามาใช้ เป็ นหลักในการดําเนินชีวิต เป็ นต้ น การไม่หวันเกรงต่อความทุกข์ ยาก ให้ ป ระมาณตน ละเว้ น จากการประพฤติผิ ด เช่ น “ขอให้ ท่ า นยื น หยัด มันคงในความเชือ จะได้ ไม่มีผ้ ใู ดหวันไหวต่อความทุกข์ยาก” (1 ธส 3: 23) “พระเป็ นเจ้ าทรงประสงค์ให้ ท่านเป็ นผู้ศกั ดิสิทธิ ละเว้ นจากการผิด ประเวณี ใช้ ร่างกายด้ วยความศักดิสิทธิและด้ วยความเคารพ ไม่ปล่อยตัว ตามราคะตัณหา อย่างคนไม่ร้ ู จกั พระเจ้ า” (1 ธส 4: 3-5) “พีน้ องทังหลาย อย่าดํารงชีวิตในความมืด เพราะวันนันจะมาถึงโดยไม่ร้ ู ตัวเหมือนขโมย ทุกท่านเป็ นบุตรแห่งความสว่างและบุตรแห่งทิ วากาล เรามิได้ อยู่ฝ่าย ราตรี กาลหรื อความมืด ดังนัน เราอย่าหลับใหลเช่นผู้อืน จงตืนอยู่เสมอ และจงรู้ จกั ประมาณตน” (1 ธส 5: 4-6) จดหมายถึงชาวเธสะโลนิกา ฉบับที 2 ในจดหมายถึงเธสะโลนิ กา ฉบับที 2 ท่านสอนให้ เชื อฟั งคําสัง สอนของพระเยซูคริ สตเจ้ า และการนําพระวาจามาใช้ เป็ นหลักในการ ดําเนินชีวิต เป็ นต้ น การไม่ท้อถอยในการทําความดี ไม่ยกย่องตนเอง หลีกหนีผ้ ูทีไม่มีวินยั ให้ ตกั เตือนเขาฉันพีน้ อง เช่น “พีน้ องอย่าท้ อถอยใน


ห น้ า | 65

การทําดี ถ้ าผู้ใดไม่เชือฟั งคําสังสอนในจดหมายฉบับนี จงจับตามองเขา และอย่าได้ เข้ าไปเกียวข้ องกับเขาอย่างเด็ดขาด เพือเขาจะได้ ละอายใจ แต่อย่านับเขาเป็ นศัตรู จงตักเตือนเขาฉันพีน้ อง” (2 ธส 3: 13-15) “เรากําชับท่านให้ หลีกหนีจากพีน้ องทีดําเนินชีวิตโดยไม่มีวินยั ไม่ทําตาม ธรรมประเพณีทีท่านได้ รับจากเรา” (2 ธส 3: 6) จดหมายถึงชาวฟิ ลิปปี ราว ค.ศ. 56-57 ในจดหมายถึงชาวฟิ ลิปปี ท่านสอนให้ นําหลักพระวาจามาใช้ เป็ นหลักในการดําเนินชีวิต เป็ นต้ น การเป็ นนําหนึงใจเดียวกัน การถ่อม ตน ไม่โอ้ อวด ชิงดีชิงเด่น ไม่เห็นแก่ตวั พอใจในสภาพของตน ดําเนินชีวิต อย่างอดออม การได้ ร้ ู จกั และเชือในพระเยซูคริ สตเจ้ า คือสิงทีมีค่ายิง เช่น “ท่านจงทําให้ ข้าพเจ้ ายินดีด้วยการเป็ นนําหนึงใจเดียวกัน มีความรักและ ความนึกคิดอย่างเดียวกัน อย่ากระทําสิงใดเพือชิ งดีกันหรื อเพือโอ้ อวด แต่จงถ่อมตน คิดว่าผู้อืนดีกว่าตน อย่าเห็นแก่ประโยชน์ของตนฝ่ ายเดียว จงเห็นแก่ผลประโยชน์ของผู้อืนด้ วย” (ฟป 2: 2-4) จดหมายถึงชาวโครินธ์ ฉบับที 1 และฉบับที 2 เขียนราว ค.ศ. 57 จดหมายถึงชาวโครินธ์ ฉบับที 1 ในจดหมายถึงชาวโคริ น ธ์ ฉบับที 1 ท่านสอนเกียวกับพระเยซู คริ สตเจ้ า และการนําพระวาจามาใช้ เป็ นหลักในการดําเนินชีวิต เป็ นต้ น ข้ อ ไม่ ค วรปฏิ บัติ และข้ อ ควรปฏิ บัติ ต่ า งๆ สอนเกี ยวกับ การแต่ ง งาน


ห น้ า | 66

การไม่ผิดประเวณี การเป็ นม่ายหรื อไม่ได้ แต่งงาน ซึงพระเจ้ าจะประทาน พระพรให้ กบั ทุกคน แนวการดําเนินชีวิตของแต่ละแบบ และโดยเฉพาะใน เรื องของความรัก เช่น “แม้ ข้าพเจ้ าพูดภาษาของมนุษย์และทูตสวรรค์ได้ ถ้ า ไม่ มี ค วามรั ก ข้ าพเจ้ าก็ เ ป็ นแต่ เ พี ย งฉาบหรื อ ฉิ งที ส่ ง เสี ย งอึ ก ทึ ก แม้ ข้าพเจ้ าจะประกาศพระวาจา เข้ าใจธรรมลําลึกทุกข้ อ มีความรู้ ทุก อย่าง หรื อมีความเชือพอทีจะเคลือนภูเขาได้ ถ้ าไม่มีความรัก ข้ าพเจ้ าก็ไม่ มีความสําคัญแต่อย่างใด แม้ ข้าพเจ้ าจะแจกจ่ายทรั พย์ สินทังปวงให้ แก่ คนยากจนหรื อ ยอมมอบตนเองให้ นํ า ไปเผาไฟเสี ย ถ้ าไม่ มี ค วามรั ก ข้ าพเจ้ าก็มิได้ รับประโยชน์ใด ความรั กย่อมอดทน มีใจเอือเฟื อ ไม่อิจฉา ไม่โ อ้ อ วดตนเอง ไม่ จ องหอง ไม่ห ยาบคาย ไม่เ ห็ น แก่ ตัว ความรั ก ไม่ ฉุน เฉี ย ว ไม่จ ดจํ าความผิ ด ที ได้ รับ ไม่ยิน ดีในความชัว แต่ร่ วมยิ นดีใ น ความถูกต้ อง ความรักให้ อภัยทุกอย่าง เชือทุกอย่าง หวังทุกอย่าง อดทน ทุก อย่ าง ความรั ก ไม่มี สิ นสุด แม้ การประกาศพระวาจาจะถูก ยกเลิ ก แม้ การพูดภาษาทีไม่มีใครเข้ าใจจะยุติ แม้ ความรู้ จะหมดสิน” (1 คร 131: 8) จดหมายถึงชาวโครินธ์ ฉบับที 2 ในจดหมายถึงชาวโคริ นธ์ ฉบับที 2 ท่านสอนเกียวกับพระหรรษทานของพระเป็ นเจ้ า และการนําพระวาจามาใช้ เป็ นหลักในการดําเนิ น ชีวิต เป็ นต้ น การให้ กําลังใจ การมีความหวัง การช่วยเหลือเอือเฟื อเผือแผ่ ตามกําลัง เช่น “พระองค์ประทานกําลังใจในความทุกข์ยากต่างๆ ของเรา เพราะเราได้ รับกําลังใจจากพระเป็ นเจ้ าแล้ ว เราจึงให้ กําลังใจผู้มีความ


ห น้ า | 67

ทุกข์ ทงมวลได้ ั ” (2 คร 1: 4) “เราทนทุกข์ ทรมานรอบด้ านแต่ไม่อบั จน เราจนปั ญญาแต่ก็ไม่หมดหวัง เราถูกเบียดเบียนแต่ไม่ถกู ทอดทิง เราถูกตี ล้ มลงแต่ไม่ถึงตาย เราแบกความตายของพระเยซูเจ้ าไว้ ในร่ างกายของ เราเสมอ เพือว่าชีวิตของพระเยซูเจ้ าจะปรากฏอยู่ในร่ างกายของเราด้ วย” (2 คร 4: 8-10) จดหมายถึงชาวกาลาเทียและถึงชาวโรม เขียนราว ค.ศ. 57-58 จดหมายถึงชาวกาลาเทีย ในจดหมายถึงชาวกาลาเทีย ท่านสอนเกียวกับการอภัยบาปของ พระเป็ นเจ้ า และการนํ า พระวาจามาใช้ เ ป็ นหลัก ในการดํ า เนิ น ชี วิ ต เป็ นต้ น ความรั ก ความใจดี ความซือสัตย์ การรั บใช้ กันด้ วยความรั ก การรักเพือนมนุษย์เหมือนรักตนเอง อย่าท้ อแท้ ในการทําดี เช่น “พระเป็ น เจ้ าทรงเรี ยกท่านให้ มารับอิสรภาพ ขอเพียงอย่าใช้ อิสรภาพนันเป็ นข้ อแก้ ตัว ที จะทํ า ตามใจตน แต่ จ งรั บ ใช้ ซึ งกั น และกั น ด้ วยความรั ก เพราะ ธรรมบัญญัติทงหมดสรุ ั ปได้ เป็ นข้ อเดียวว่า จงรั กเพือนมนุษย์ เหมือนรั ก ตนเอง” (กท 5: 13-14) “อย่าท้ อแท้ ในการทําความดี เพราะถ้ าเราไม่หยุด ทําความดี เราก็จะได้ เก็บเกียวเมือถึงเวลา” (กท 6: 9) จดหมายถึงชาวโรม ในจดหมายถึงชาวโรม ท่านสอนให้ นําพระวาจามาใช้ เป็ นหลัก ในการดําเนิ นชี วิตร่ วมกับผู้อืน เป็ นต้ น อย่าตัดสิ นคนอืน การยื นหยัด


ห น้ า | 68

ความดีและความเชือ ผลทีได้ รับจากการทําชัวหรื อทําดี เช่น “ไม่ว่าท่าน จะเป็ นใครก็ตามทีกล่าวคําพิพากษาผู้อืน ท่านไม่มีข้อแก้ ตวั ใดๆ เช่นกัน ท่ านเองนันแหละที กล่า วโทษตนเองเมือตัด สิ น ผู้อืน เพราะท่ านเองที พิพากษาก็ประพฤติตนในทํานองเดียวกัน” (รม 2: 1) “ผู้ทีมุง่ หาสิริรุ่งโรจน์ เกียรติยศ และความเป็ นอมตะ โดยยืนหยัดกระทําความดี จะได้ รับชีวิต นิรันดร” (รม 2: 7) จดหมายถึงชาวเอเฟซัส ถึงชาวโคโลสี และถึงชาวฟี เลโมน ราว ค.ศ. 61-63 จดหมายถึงชาวเอเฟซัส ในจดหมายถึงชาวเอเฟซัส ท่านสอนในเรื อง ความรั กความ เมตตาของพระเจ้ า การกลับใจ และการนําพระวาจามาใช้ เป็ นหลักในการ ดําเนินชีวิต เป็ นต้ น การดําเนินชีวิตอย่างมีสติ การไม่เสพสุรา การรักและ เชือฟั งบิดามารดา การสังสอนตักเตือนบุตรตามหลักธรรมของพระเป็ นเจ้ า เช่น “พระเจ้ าทรงเปี ยมด้ วยพระเมตตา ทรงแสดงความรักยิงใหญ่ต่อ เรา” (อฟ 2: 4) “จงคอยระวังว่า ท่านดําเนินชีวิตอย่ างไร จงดําเนินชีวิต อย่างผู้เฉลียวฉลาด มิใช่อย่างผู้ขาดสติปัญญา จงใช้ เวลาปั จจุบันให้ ดี ที สุด เพราะเราอยู่ใ นยุค แห่ งความเลวร้ าย อย่ าเป็ นคนโง่เ ขลา แต่จ ง พยายามเข้ าใจว่า พระเป็ นเจ้ าทรงประสงค์สิงใด อย่าเสพสุราจนเมามาย


ห น้ า | 69

เพราะสุราเป็ นสาเหตุของการปล่อยตัวเสเพล แต่จงยอมให้ พระจิตเจ้ าทรง นําชีวิตท่าน” (อฟ 5: 15-18) จดหมายถึงชาวโคโลสี ในจดหมายถึงชาวโคโลสี ท่านสอนให้ ยึดมันในคําสังสอนของ พระเยซูค ริ สตเจ้ า และนํ าพระวาจามาใช้ เป็ นหลัก ในการดําเนิ นชี วิต เป็ นต้ น การดํารงชี วิต อย่ างดี ฉลาด รอบคอบ อ่อนโยน ถูก กาลเทศะ ไม่ป ระพฤติ ห รื อ หลงมัว เมาในสิ งที ไม่ ดี เช่ น “จงปฏิ บัติ ต นด้ วยความ เฉลียวฉลาดรอบคอบ จงให้ คําพูดของท่านอ่อนโยน และถูกกาลเทศะ อยู่เสมอ” (คส 4: 5-6) “ท่านทังหลายจงปราบโลกีวิสยั ในตัวท่าน คือ การผิดประเวณี ความลามก กิเลสตัณหา ความปรารถนาในทางชัวร้ าย และความโลภ ซึงเป็ นเหมือนการกราบไหว้ รูปเคารพอย่างหนึง โลกีวิสยั เหล่านีนําการตัดสินลงโทษของพระเจ้ าลงมายังผู้ดอรั ื น” (คส 3: 5-6) จดหมายถึงชาวฟี เลโมน ในจดหมายถึงชาวฟี เลโมน ท่านสอนให้ นําพระวาจามาใช้ เป็ น หลัก ในการดําเนิ นชี วิต เป็ นต้ น

การรวมเป็ นกลุ่มคริ ส ตชนเป็ นหนึง

เดียวกันในความเชือและการทําดี การทําดีด้วยความสมัครใจ เช่น “ขอให้ ความเชือทีเรามีร่วมกัน จงบังเกิดผลแสดงให้ เห็นความดีทกุ ประการ ทีเรา ทํ าเพื อพระคริ ส ตเจ้ า ” (ฟม 6) “ข้ าพเจ้ าไม่ต้ องการทํ า สิ งใดโดยท่ า น


ห น้ า | 70

ไม่เห็ น ชอบ เพื อมิใ ห้ ท่านทํ าความดีเ พราะถูกบังคับ แต่ทํ าด้ วยความ สมัครใจ” (ฟม 14) จดหมายถึงทิโมธี ฉบับที 1 และฉบับที 2 และ จดหมายถึงทิตัส ราว ค.ศ. 65-80 เป็ นจดหมายเกี ยวกั บ การอภิ บ าล แนะนํ า เกี ยวกั บ การจั ด ระเบียบและการปกครองกลุม่ คริ สตชนทีพวกเขาได้ รับมอบหมายให้ ดแู ล จดหมายถึงทิโมธี ฉบับที 1 ในจดหมายถึงทิ โมธี ฉบับ ที 1 ท่านให้ นําพระวาจามาใช้ เป็ น หลักในการดําเนินชีวิต เป็ นต้ น การยึดมันในความเชือและมโนธรรมทีดี ให้ มคี วามสุภาพ ไม่โกรธหรื อโต้ เถียงกัน ปฏิบตั ิตนต่อผู้อืนฉันญาติพีน้ อง ด้ วยใจบริ สทุ ธิ รักในพระเจ้ า ไม่หยิงยโส ไม่โลภในทรัยพ์สมบัติ ใจกว้ าง ในการให้ พร้ อมทีจะแบ่งปั น ในส่วนของผู้ปกครองดูแลต้ องประพฤติเป็ น แบบอย่างที ดีในทุกๆ ด้ าน เช่น “จงยึดความเชื อและมโนธรรมที ดีไ ว้ บางคนจะละทิงมโนธรรมทีดี ความเชือของเขาจึงพังพินาศ” (1 ทธ 1: 19) “อย่าว่ากล่าวผู้อาวุโสอย่างรุ นแรง จงปฏิบัติต่อผู้อ่อนวัยอย่างน้ องชาย ปฏิบัติต่อสตรี อาวุโสอย่างมารดา และต่อสตรี อ่อนวัยอย่างน้ องสาวด้ วย ใจบริ สทุ ธิ” (1 ทธ 5: 1-2) จดหมายถึงทิโมธี ฉบับที 2 ในจดหมายถึงทิโมธี ฉบับที 2 ท่านให้ สอนนํ าพระวาจามาใช้ เป็ นหลักในการดําเนินชีวิต เป็ นต้ น การร่ วมทนทุกข์ กบั ผู้อืน การได้ รับ


ห น้ า | 71

การเบียดเบียนจะได้ รับการช่วยเหลือจากพระเป็ นเจ้ า เช่น “จงร่ วมทุกข์ กับผู้อืน เหมือนทหารทีดีของพระคริ สตเยซู ” (2 ทธ 2: 3) “ทุกคนที ต้ องการดําเนิ นชี วิตด้ วยความภักดีต่อพระคริ สตเยซู จะถูก เบี ย ดเบี ย น อย่างแน่นอน” (2 ทธ 4: 12) จดหมายถึงติตัส ในจดหมายถึงติตสั ท่านให้ สอนนําพระวาจามาใช้ เป็ นหลักใน การดํ า เนิ น ชี วิ ต เป็ นต้ น การประพฤติ ต นเป็ นคนดี น่ า เคารพนั บ ถื อ มีความรั บผิ ดชอบในหน้ าที การยึดมันในความเชือ ความรั กและความ อดทน การรักครอบครัว การดําเนินชีวิตอย่างมีสติ และการทํากิจการดีอยู่ เสมอ โดยเฉพาะกับผู้สงู อายุ เช่น “พระหรรษทานของพระเจ้ าปรากฏเพือ ช่วยมนุษย์ ให้ รอดพ้ น สอนให้ ละทิงอธรรมและโลกี ยตัณหา เพือดําเนิ น ชีวิตอย่างมีสติสมั ปชัญญะด้ วยความชอบธรรมและด้ วยความเคารพรั ก พระเจ้ า” (ทต 2: 11) “ผู้อาวุโสแต่ละคนต้ องประพฤติดี ไม่มีทีตําหนิ ต้ องแต่งงานเพียงครังเดียว และบุตรของเขาก็ต้องมีความเชือ“ (ทต 1: 6) จดหมายถึงชาวฮีบรู ราว ค.ศ. 70-80 ในจดหมายถึงชาวฮีบรู ท่านให้ สอนนําพระวาจามาใช้ เป็ นหลัก ในการดําเนินชี วิต เป็ นต้ น การเชือและน้ อมรั บพระวาจาของพระเจ้ า ไม่ทําบาปไม่ยินดีในบาป การรักกันฉันพีน้ อง การซือสัตย์ต่อกัน พอใจใน สิงทีมี ไม่โลภ เช่น “วันนี ถ้ าท่านได้ ยินพระสุรเสียงของพระองค์ จงอย่าทํา


ห น้ า | 72

ใจแข็งกระด้ าง” (ฮบ 3: 7) “จงตักเตือนกันทุกวัน เพือมิให้ คนใดคนหนึงมี ใจแข็งกระด้ างเพราะเล่ห์กลของบาป” (ฮบ 3: 13) “ท่านจงรักกันฉันพี น้ อง อย่าละเลยที จะต้ อนรั บแขกแปลกหน้ า จงระลึกถึงผู้ทีจองจํา สามี ภรรยาจงซือสัตย์ ต่อกัน อย่าให้ ความโลภทรั พย์สินเงินทองครอบงําชีวิต ท่านจงพอใจในสิงทีท่านมี…” (ฮบ 13: 1-6) นักบุญเปาโลเป็ นผู้มีบทบาทมากที สุดในบริ บทชี วิตคริ สตชน ของพันธสัญญาใหม่ เป็ นผู้ประกาศพระเยซูคริ สตเจ้ า ทําให้ กลุ่มคริ สตชน ช่วงแรกเจริ ญไปสู่ดินแดนต่างๆ เกิดเป็ นกลุ่มคริ สตชนต่างๆ มากมาย ชีวิตและบทจดหมายนักบุญเปาโลยังคงบันดาลใจ เป็ นแบบอย่างที มี ความสําคัญและยิงใหญ่ เป็ นแนวทางในการทํางานของครู คําสอนและ พระศาสนจักรตลอดมา ตังแต่ทศวรรษแรกของคริ สตกาลจนถึงปั จจุบัน พระศาสนจั ก รคาทอลิ ก สากลโดย พระสัน ตะปาปาเบเนดิ ก ต์ ที 16 ได้ ประกาศให้ วนั ที 28 มิถุนายน ค.ศ. 2008 – 29 มิถุนายน ค.ศ. 2009 เป็ น “ปี นักบุญเปาโล” และพระศาสนจักรคาทอลิกแห่งประเทศไทยโดย พระคาร์ ดินัลไมเกิล มีชยั กิจบุญชู ให้ มีการเปิ ดปี นักบุญเปาโลตามการ เปิ ดทีกรุ งโรม เพือเรี ยกร้ องเชิญชวนให้ เหล่าคริ สตชนระลึกถึงและดําเนิน ชี วิ ต ตามแบบอย่ า งของนั ก บุ ญ เปาโล และตามเจตนารมณ์ ข อง พระศาสนจักรคาทอลิก


ห น้ า | 73

นักบุญ มิแกล เฟเบรส คอร์ เดโร องค์ อุปถัมภ์ ครู คาํ สอน ครู คําสอนมักถูกคาดหวังจากกลุ่มคริ สตชนและบุคคลรอบข้ าง ว่า จะต้ องเป็ นผู้มีความสมบูรณ์ ครบถ้ วน ทังด้ านร่ างกายจิตใจ ความรู้ ความสามารถในการทีจะเป็ นผู้ถ่ายทอดคําสอนของพระเจ้ าได้ อย่างมี ประสิทธิภาพ ในชีวิตจริ ง บุคคลทีดูเหมือนจะเพียบพร้ อมสมบูรณ์ อาจ ไม่ส ามารถเป็ นครู คําสอนที ดีก ว่าบุค คลที ขาดความสมบูร ณ์ ใ นชี วิต ก็เป็ นได้ ทังนีเป็ นไปตามพระประสงค์และพระหรรษทานของพระเจ้ า ด้ วยพระประสงค์ของพระเป็ นเจ้ า พระองค์ไม่ได้ ทรงเลือกหรื อ เรี ย กผู้ส มบูร ณ์ ค รบ แต่ ท รงเรี ย ก เยาวชนเท้ าพิ ก ารคนหนึงให้ มาเป็ น ศาสนบริ กรรับใช้ พระองค์ ไม่ใช่ในนามพระสงฆ์ แต่ทรงประทานกระแส เรี ยกเป็ นครู ผ้ สู อนและอบรมจิตใจมนุษย์ให้ มีจิตวิญญาณทีสมบูรณ์ เส้ นทางชีวิต นักบุญ มิแกล เฟเบรส คอร์ เดโร “นักบุญมิแกล เฟเบรส คอร์ เดโร” (Saint Miguel Febres Cordero) เกิดเมือ วันที 7 พฤศจิกายน ค.ศ. 1854 ทีคูเอนซา ประเทศเอควาเดอร์ ได้ รั บ ชื อนั ก บุ ญ ศีลล้ างบาปว่า ฟรังซิสโก แม้ ท่านจะเกิดมา พิ ก ารเจ็ บ ปวดที เท้ า ทํ า ให้ เดิ น ลํ า บาก ตลอดชีวิต แต่ท่านเป็ นคนฉลาด มีไหวพริ บ ที มี ค วามกระตื อ รื อร้ น มี ค วามมานะ พยายาม มี ค วามหวั ง และซื อตรงต่ อ กระแสเรี ยกทีท่านได้ รับ


ห น้ า | 74

ตระกูล ของท่านมี ฐ านันดรศักดิ สูง ส่ง บิ ด ามี สติ ปัญ ญาฉลาด มาก มารดาอุทิศตนให้ งานสงเคราะห์คนจนและคนเจ็บป่ วย บิดามารดา หวัง จะเห็ น ท่ านเกิ ด มามีสุข ภาพดี แต่ต้องเศร้ าใจเมือท่ านเกิ ดมามี เท้ าพิ การ ต้ องเดินผิ ด ปกติตลอดชี วิต แต่ด้วยความเป็ นเด็กที ฉลาด ไหวพริ บดี พูดจาฉะฉาน จึงเป็ นที รั กใคร่ ของญาติพีน้ องและเพือนบ้ าน เมืออายุ 5 ขวบ ขณะนังเล่นในสวนกับป้า ท่านเห็นแม่พระประจักษ์ ท่านเริ มก้ าวเดินไปหาแม่พระเหมือนคนปกติเดินเป็ นครั งแรก แต่เดินได้ ไม่กีก้ าวก็ล้มลง ท่านผิดหวังจากอัศจรรย์ครังนีทีต้ องการจะเดินได้ แบบ คนเท้ าปกติ ท่ านได้ เ ข้ าศึก ษาในโรงเรี ย นซาน โจเซ่ ของคณะภราดา เดอ ลาซาล ซึ งเป็ นโรงเรี ย นคาทอลิ ก ที ประธานาธิ บ ดี การ์ เ ซี ย โมเรโน แห่งประเทศเอควาดอร์ ต้ องการให้ มีขึน ท่านมี ความประทับใจในความ เป็ นครู ของพวกบราเดอร์ อยากใส่เสือนักบวชแบบพวกบราเดอร์ ทีสุด ปรารถนาจะเป็ นนักบวชในคณะ เดอ ลาซาล บิดาเห็นว่า ถ้ าท่านเป็ น นักบวชในคณะทีทํ างานเพื อคนจนจะไม่ค่คู วรกับศักดิศรี ในวงศ์ตระกูล จึงให้ ออกจากโรงเรี ยน แล้ วส่งเข้ าสามเณราลัยของสังฆมณฑลควีโต หวังให้ ท่านเป็ นพระสงฆ์ แต่จากบันทึกของท่าน ทําให้ ทราบว่าท่านอยู่ ด้ วยความทุกข์ ใจ “อยู่ในสามเณราลัยสามเดือน เหมือนกับอยู่มาสาม ศตวรรษแล้ ว ผมเป็ นเหมือนปลาขาดนํา ทนอยู่อย่างทรมานใจ เพราะมัน ไม่ใช่สถานทีซึงพระต้ องการให้ ผมเป็ น” อธิ การบ้ านเณรทราบสาเหตุดี จึงส่งท่านกลับบ้ านและแนะนําให้ บิดามารดาส่งท่านไปเรี ยนทีซาน โจเซ่ แห่งเดิม


ห น้ า | 75

ที ซาน โจเซ่ ท่ า นอยากบวชมาก จึ ง ไปขออธิ ก ารโรงเรี ย นว่ า “เป็ นไปได้ ไหม เด็ก พิ ก ารอย่ างผมจะเป็ นบราเดอร์ สอนเรี ย น” อธิ การ พิจารณาว่า ท่านมีสติปัญญาหลักแหลม แม้ ว่าเท้ าพิการก็คงไม่มีปัญหา ต่อการจัดการเรี ยนการสอน จึงรับเข้ านวกสถาน ในวันที 24 มีนาคม ค.ศ. 1868 ท่านเป็ นภราดาชาวลาตินอเมริ กันคนแรกทีถวายตัวตลอดชีวิต ในคณะเดอ ลาซาล ท่านใช้ ศาสนนาม “ มิแกล” เมือถวายตัวเป็ นนักบวช ได้ รับชือว่า ภราดามิแกล ในการถวายตัวของท่านมีเพียงมารดาและน้ อง ทีรั บรู้ เมือบิ ดาของท่านทราบก็จะบังคับให้ ออกไปเป็ นพระสงฆ์ แต่ไม่ สําเร็ จ บิดาได้ ตดั ความสัมพันธ์กบั ท่านนานเกือบ 6 ปี จึงคืนดี เพราะบิดา จําเป็ นต้ องขอความช่วยเหลือจากท่านให้ ช่วยขอร้ องประธานาธิบดีผ้ เู คย เป็ นเพือนสนิทต่างวัยกันมาก่อน ให้ ช่วยเพือนของบิดาพ้ นจากโทษทาง การเมืองได้ สําเร็ จ ในฐานะเป็ นภราดาลาซาล ท่านทําหน้ าทีเป็ นครู สอนภาษา และ วรรณคดี ได้ เขี ย นหนัง สื อ ตําราเรี ย นไวยากรณ์ ภ าษาสเปนหลายเล่ ม สําหรั บใช้ ในโรงเรี ยน หนังสือเหล่านีเป็ นทีนิยมหลายเล่มสําหรั บใช้ ใน โรงเรี ย น ท่ า นได้ รั บ เลื อ กให้ เ ป็ นสมาชิ ก บัณ ฑิ ต ยสถานด้ านภาษา เป็ นสมาชิ ก คณะกรรมการนัก วิ ช าการแห่ ง ชาติ เ อควาดอร์ แ ละสเปน สอนในโรงเรี ยนเตรี ยมทหาร สอนพาณิ ชยการ ดํารงตําแหน่งอาจารย์ ใหญ่ แม้ จะมีเกียรติสงู แต่สิงทีภราดามิแกลภาคภูมิใจจริ งๆ คือ การสอน คําสอน โดยเฉพาะการเตรี ยมเด็กรับศีลมหาสนิทครังแรก ท่านมีความรู้ ดี ศรัทธาต่อศีลมหาสนิทและนักบุญผู้สถาปนาคณะ ท่านเป็ นคนละเอียด ถี ถ้ วน มีวินัย ไม่เคยละเลยกิ จวัตรประจํ าวัน เข้ มงวด สุขุม ถ่อมตน


ห น้ า | 76

ไม่สนใจกับคําสรรเสริ ญใดๆ ได้ รับเลือกเป็ นนวกจารย์ และเป็ นอธิ การ บ้ านพักบราเดอร์ เป็ นทีรักของบุคคลทัวไป นักเรี ยนชืนชมในความเรี ยบ ง่ายของท่าน ความตรงไปตรงมา และการเอาใจใส่ลกู ศิษย์ ท่านมีความ ศรัทธาภักดีตอ่ พระเจ้ าและพระนางมารี ย์ ใน ค.ศ. 1907 ท่านได้ รับคําสังให้ ไปอยู่ทีศูนย์กลางของคณะ ทีเบลเยียม เพือแก้ ไขตรวจทานตําราเรี ยนภาษาสเปน ในช่วงนันอากาศ หนาวเย็นทําให้ ท่านต้ องอยู่แต่ในบ้ านออกไปไหนไม่ ได้ ทุกข์ ทรมานจาก อากาศหนาวเย็นและเป็ นไข้ มาลาเรี ยถึง 8 ครัง ทีสุดท่านถูกเรี ยกกลับมา ทํางานทีสเปน เพราะต้ องการบราเดอร์ ทีพูดภาษาสเปนได้ เมือวันที 9 กุมภาพัน ธ์ ค.ศ. 1910 ท่ านเสี ยชี วิต ด้ วยโรคปอดอัก เสบ ที เปรเมีย ประเทศสเปน เมืออายุ 56 ปี ด้ วยความศรั ทธาทีมีต่อท่าน มีผ้ ูมาวิงวอนขอคําภาวนาต่อท่าน มากกว่า 20,000 คําภาวนา และล้ วนแต่ได้ รับการตอบสนองแล้ วทังสิน พระศาสนจักรโดยพระสันตะปาปาเปาโล ที 6 ประกาศแต่งตังท่านเป็ น “บุญราศี” เมือวันที 30 ตุลาคม ค.ศ. 1977 และในวันทีมีพิธีแต่งตังท่านเป็ น “บุญราศี” ท่านได้ ทําอัศจรรย์ ซึงทําให้ “บุญราศีมิแกล” ถูกนําเสนอชือเป็ นนักบุญ ด้ วยมีสามีภรรยา ชาวเอควาดอร์ ผู้ เคยศรั ท ธาบุ ญ ราศี มิ แ กล ได้ มาร่ ว มพิ ธี แ ต่ ง ตั ง ณ ลานพระวิหารนักบุญเปโตรด้ วย ในขณะทีเดินกลับจากการรั บศีล ภรรยารู้ สึกว่าตัวหายจากโรคมะเร็ งในโลหิต จึงบอกกับสามีผ้ ูเป็ นแพทย์ ว่า “ฉันรู้ สึก หายจากโรคมะเร็ งแล้ ว ” สามีไม่เชื อว่าโรคนี จะหายจริ ง พระศาสนจักรรอเวลาพิสจู น์ 7 ปี แล้ วรับรองว่าอัศจรรย์ นีเป็ นอัศจรรย์


ห น้ า | 77

ทีเชือได้ อย่างแน่นอน แล้ วเมือวันอาทิตย์ ที 21 ตุลาคม ค.ศ. 1984 ณ ลานพระวิหารนักบุญเปโตร กรุ งโรม พระสันตะปาปา ยอห์ น ปอล ที 2 ได้ ทําพิธีประกาศแต่งตังให้ ท่านเป็ นนักบุญ ให้ นามว่า “ นักบุญบราเดอร์ มิแกล เฟเบรส คอร์ เดโร” และเป็ น “นักบุญองค์ อุปถัมภ์ ของผู้สอน คําสอน” ระลึกถึงในวันที 9 กุมภาพันธ์ ข้ อ รํ า พึง “ข้ าพเจ้ าขอมอบตนอย่ างสิ นเชิ ง แด่พ ระเยซู เจ้ า เพือพระองค์ทรงใช้ ข้าพเจ้ าตามที มีพระประสงค์ ข้ าพเจ้ าปรารถนาให้ ทุกคําทีข้ าพเจ้ าเขียน ทุกสิงทีข้ าพเจ้ าอ่าน ทุกอย่างที ข้ าพเจ้ ากระทําที โต๊ ะและกิจการในโรงเรี ยน เพือพระสิริรุ่งโรจน์ของพระเจ้ า” จากประวัติชีวิตของท่านและคํารํ าพึง จะเห็นได้ อย่างชัดเจนว่า ท่านมีความรั กต่อพระเจ้ า และอุทิศตนเพือพระองค์และเพือพระศาสนจักรอย่างสุดกําลังสุดชีวิต นักบุญบราเดอร์ มิแกล เฟเบรส คอร์ เดโร จึงเป็ นต้ นแบบของ ครู คําสอนและการสอนคําสอน ที แสดงถึงพลังแห่งความตังใจ การมุ่ง มานะที จะทํ า งานรั บ ใช้ พ ระเจ้ า รั บ ใช้ พ ระศาสนจัก รอย่ า งเต็ ม กํ า ลัง ความสามารถ อย่ างถ่ อ มตน ยึด มันในจิ ต ตารมณ์ อัน แน่ ว แน่ ข องตน ตราบจนชีวิตหาไม่ มิได้ เป็ นเรื องของความสมบูรณ์พร้ อมในด้ าน ร่ างกาย ครอบครัว หรื อฐานะ หากเป็ นความสมบูรณ์ พร้ อมทางความเชือ อันเป็ น คุณสมบัติและคุณลักษณะในการเป็ นครู คําสอนทีดียิง


ห น้ า | 78

บุญราศี ฟิ ลิป สีฟอง อ่ อนพิทกั ษณ์ ต้ นแบบครู คาํ สอนไทย วันที 16 ธันวาคม ของทุกปี เ ป็ น วั น สํ า คั ญ วั น ห นึ ง สํ า ห รั บ พระศาสนจักรคาทอลิกไทย คือ เป็ น วัน ฉลองบุ ญ ราศรี ไ ทย โดยสมเด็ จ พระสั น ตะปาปา ยอห์ น ปอล ที 2 ได้ ประกาศชื อมรณสักขี ทัง 7 แห่ ง สองคอน เป็ นบุญราศี เมือวันอาทิตย์ แพร่ ธรรมสากลที 23 ตุลาคม พ.ศ. 2532 (ค.ศ.1989) ณ มหาวิหาร นัก บุ ญ เปโตร กรุ ง โรม ประเทศอิ ต าลี และเป็ นวัน ครู คํ า สอนไทย ตามประกาศของสภาพระสังฆราชคาทอลิก แห่งประเทศไทย เพราะวันที 16 ธันวาคม เป็ นวันทีบุญราศีฟิลิป สีฟอง ครู คําสอนผู้ถวายชีวิตคืนแด่ พระเจ้ าก่อนบุญราศีอืน ประวัตบิ ุญราศี ฟิ ลิป สีฟอง อ่ อนพิทกั ษ์ ครู ฟิ ลิ ป สี ฟ อง อ่อ นพิ ทัก ษ์ เกิดเมือวันที 30 กันยายน พ.ศ. 2450 ทีวัดนักบุญอันนา หนองแสง อํา เภอ เมือง จังหวัดนครพนม เป็ นบุตรของ นายอินตองและนางเพ็ง นายอินตอง ท่านแต่งงานกับมารี อาทอง ชาวบ้ าน เชียงยืน เมือปี พ.ศ. 2474 มีบุตรธิดา รวม 5 คน ชาวบ้ านเรี ยกท่านว่า “พ่อ”


ห น้ า | 79

ในช่วงของการศึกษาขันต้ น ท่านได้ ศกึ ษาทีโรงเรี ยนวัดหนองแสง เมือจบได้ เข้ าศึก ษาต่อที บ้ านสามเณรเล็กพระหฤทัย บางช้ าง จั งหวัด สมุทรสงคราม ขณะอายุได้ ประมาณ 12-13 ปี เป็ นสามเณรอยู่ประมาณ 3-4 ปี ได้ ล้มเจ็บลง ต้ องเข้ ารั บการรั กษาตัวทีโรงพยาบาลเซนต์หลุยส์ กรุ งเทพฯ ขณะรักษาตัวอยู่นนั ครู คนหนึงมาเยียม เห็นท่านเหงาจึงชวน ไปดูภาพยนตร์ ด้วยกัน ซิสเตอร์ ทีโรงพยาบาลตรวจพบว่า ท่านหนีออกไป ดูภาพยนตร์ จึงได้ รายงานผ่านคุณพ่อโชแรง ซึงเป็ นเหรั ญญิ กของมิสซัง กรุ งเทพฯ ไปถึงคุณพ่ออธิการบ้ านเณร คือคุณพ่อการ์ ตอง ท่านจึงถูกสัง ให้ พ้นสภาพสามเณร และส่งตัวกลับบ้ าน ท่านต้ องออกจากบ้ านเณร ด้ วยความเสียใจและผิดหวัง ท่านจึงสมัครเข้ าเรี ยนต่อทีโรงเรี ยนปิ ยะมหาราชาลัย โรงเรี ยน มัธยมประจําจังหวัดนครพนม เมือจบชันมัธยมศึกษาปี ที 1 ทางมิสซัง มาขอให้ ท่านไปเป็ นครู ท่านจึงลาออกจากโรงเรี ยนเพื อมาเป็ นครู อยู่ที วัด สองคอน ประมาณ ปี พ.ศ. 2469 ท่ า นเป็ นครู ใ หญ่ ข องโรงเรี ย น สองคอน เป็ นผู้ทีเลือมใสศรั ทธาในคริ สต์ศาสนา สุภาพอ่อนโยน ใจคอ เยื อกเย็น โอบอ้ อมอารี ซือตรง ตรงต่อเวลา ทุ่มเทแรงกายแรงใจให้ กับ นักเรี ยน ในช่วงระยะเวลาทีเป็ นครู นอกจากจะสอนเรี ยนแล้ ว ท่านยังสอน คําสอน สอนให้ ชาวบ้ านรู้ จกั ตัดเสือผ้ า ช่วยดูแลวัด ช่วยคุณพ่อเจ้ าอาวาส และซิสเตอร์ ด้วย ในช่วงปี พ.ศ. 2482 ระหว่างสงครามโลกครังที 2 ประเทศไทย เจรจาตกลงเรื องพรมแดนกับประเทศฝรังเศสไม่สําเร็ จ จนต้ องใช้ กําลังรบ เข้ าตัดสินปั ญหา กรณี พิพาทของไทยกับฝรั งเศสยุติลงตอนหลังปี พ.ศ.


ห น้ า | 80

2484 โดยการไกล่เกลียของประเทศญีปุ่ น คนไทยมีความเคียดแค้ นต่อ ฝรั งเศส อันเนืองจากการใช้ อํานาจยึดดินแดนสามจังหวัดคือ ศรี โสภณ เสียมราช และพระตะบอง ของประเทศไทยไปเป็ นของอินโดจีนในอาณัติ ของฝรั งเศสนัน และด้ วยบาทหลวงตามวัดคาทอลิก ในประเทศไทยส่วน ใหญ่เป็ นชาวฝรั งเศส ทําให้ ชาวไทยทัวไปทีไม่ใช่คาทอลิก คิดรวมไปว่า ศาสนาคาทอลิกเป็ นศาสนาของฝรั งเศส จึงเริ มมีการต่อต้ านเบียดเบียน เกิ ดขึน ที หมู่บ้านสองคอน การต่อต้ านเริ มต้ น เมือเจ้ าหน้ าที ตํารวจชุด คุ้มครองหมู่บ้าน จํานวน 6 คน มีนายลือ เป็ นหัวหน้ า มาประจําทีบ้ านสองคอน ได้ ประกาศห้ ามชาวบ้ านนับถือศาสนาคาทอลิก โดยคาดโทษ ผู้ฝ่าฝื นว่าจะต้ องระวางโทษสถานหนัก แต่ชาวบ้ านสองคอนก็ไม่ละทิ ง ศาสนา ต่อมาคุณพ่ อเปาโล ฟิ เก พระสงฆ์ ชาวฝรั งเศส ผู้ป ระจํ าอยู่ที สองคอน ต้ องออกจากหมู่บ้านและประเทศ ตามทีเจ้ าหน้ าทีจากอําเภอ มุกดาหารมาแจ้ ง หมู่บ้านสองคอนจึงเหลือแต่ท่านครู สีฟองและซิสเตอร์ 2 คน (ซิสเตอร์ อกั แนส พิลา ทิพสุข และ ซิสเตอร์ ลซู ี อาคําบาง สีคําพอง เป็ นซิสเตอร์ จากอารามเชียงหวาง ประเทศลาว) ซึงเป็ นผู้นําทีเข้ มแข็ง ดูแลอยู่ ท่านให้ กําลังใจชาวบ้ านให้ มนคงในความเชื ั อ เป็ นผู้ตีระฆังเรี ยก ชาวบ้ านมาสวดภาวนาในวันอาทิตย์ เมือชาวบ้ านสองคอนถูกเจ้ าหน้ าที ตํารวจชุดคุ้มครองหมูบ่ ้ านกดขีมากขึน ตลอดจนบังคับหญิงสาวชาวบ้ าน ให้ ยอมเป็ นภรรยาของตน ท่านจึงทํ าจดหมายแจ้ งพฤติการณ์ ดงั กล่าว ไปยังเจ้ าหน้ าทีของอําเภอมุกดาหาร ซึงเชือถือและไว้ ใจท่าน แต่จดหมาย ดัง กล่ า วกลั บ ไปตกอยู่ ใ นมื อ ของตํ า รวจชุ ด คุ้ มครองหมู่ บ้ าน ทํ า ให้ ตัดสินใจกําจัดท่านก่อนเป็ นคนแรก เพราะคิดว่าหากกําจัดท่านได้ ก็จะ


ห น้ า | 81

ข่มขู่ชาวบ้ านให้ ละทิงศาสนาคาทอลิกได้ สําเร็ จ โดยส่งจดหมายปลอมมา ให้ ท่านในวันที 15 ธันวาคม พ.ศ. 2483 ว่านายอําเภอมุกดาหาร สังให้ เข้ าพบพร้ อมกับ ตํารวจสองคน ในระหว่างการเดิน ทาง มีชาวบ้ านมา ทักท้ วงด้ วยความห่วงใยไม่อยากให้ ท่านไป แต่ท่านก็ยืนยันทีจะเดินทาง ไปพบนายอําเภอมุก ดาหาร วันรุ่ งขึนในวันที 16 ธันวาคม พ.ศ. 2483 ขณะกํ า ลั ง ข้ ามห้ วยตุ้ มนก ในบ้ านพาลุ ก า (ห่ า งจากบ้ านสองคอน ประมาณ 15-16 กิ โลเมตร) ตํารวจลือจึงได้ ยิงท่านจนเสียชี วิต และไป ตามชาวบ้ านพาลุกามาฝั งศพท่าน ศพของท่านจึงถูกฝั งไว้ ทีบ้ านพาลุกา ท่ า นได้ แ สดงความเชื อ ความมันคงในพระศาสนจัก รคาทอลิ ก อย่ า ง กล้ าหาญ เป็ นแบบอย่างและนําผู้อืนให้ มนคงในความเชื ั อ อันเป็ นสาเหตุ ให้ ท่านต้ องจบชีวิตลงด้ วยความโหดร้ ายในช่วงวัย 33 ปี นับเป็ นมรณสักขี ทีควรแก่การยกย่องสรรเสริ ญเป็ นอย่างยิ ง เป็ นมรณสักขี หรื อมาร์ ตีร์ (Martyr) ครังแรกของประเทศไทย ภายหลังจากท่านครู สีฟองถูกฆ่า ซิสเตอร์ 2 คน และชาวบ้ าน สองคอนก็ยงั ถูกบีบบังคับ ขู่เข็ญ และใช้ เล่ห์เพทุบาย เพือให้ ละทิงศาสนา คาทอลิ ก ทังๆ ที กลัว แต่ซิ ส เตอร์ แ ละชาวบ้ านก็ ยัง ไม่ล ะทิ งความเชื อ ความรักในพระเป็ นเจ้ า ในวันที 26 ธันวาคม พ.ศ. 2483 เวลาประมาณ บ่ายสามโมง ซิสเตอร์ และชาวบ้ านรวม 6 คน จึงถูกฆ่าโดยการใช้ ปืนยิง ผู้ทีพลีชีวิตเพือยื นยันความเชือทัง 6 คน คือ 1) ซิสเตอร์ อักแนส พิ ลา ทิพย์สุข 2) ซิสเตอร์ ลซู ีอา คําบาง สีคําพอง 3) คุณแม่อากาทา พุดทา ว่องไว 4) นางสาวเซซีลีอา บุดสี ว่องไว 5) นางสาวบีบีอานา คําไพ ว่องไว 6) เด็กหญิงมารี อา พร ว่องไว


ห น้ า | 82

หลายปี ต่อมา เหตุการณ์ ต่างๆ เริ มคลีคลายกลับสู่สภาพปกติ และในช่ ว งปี พ.ศ. 2502 คุณ พ่ อ ยัง เซน เจ้ า อาวาสวัด สองคอนและ ชาวบ้ าน 4-5 คน ได้ ไปทีบ้ านพาลุกา สืบหาหลุมฝั งศพของท่าน และขุด กระดูก ของท่ านนํ ามาบรรจุไ ว้ ใ นที บรรจุที สร้ างขึนใหม่ที ป่ าศัก ดิ สิ ท ธิ (สุสานของบ้ านสองคอน) ซึงเป็ นสถานทีทีซิสเตอร์ และคริ สตชนทัง 6 คน ได้ พลีชีพเพือยืนยันความเชือเป็ นมรณสักขี ในวันที 26 ธันวาคม พ.ศ. 2525 เวลา 10.00 น. พระศาสนจักร ได้ ทําการเคลื อนย้ ายอัฐิข องมรณสักขี ทังเจ็ ดคนอีกครั งจากที บรรจุใ น ป่ าศักดิสิทธิมายังทีบรรจุใหม่ในวัดแม่พระไถ่ทาส (วัดสองคอนทีสร้ างขึน ใหม่แทนหลังเดิมทีถูกรื อทําลายไป) และประกอบพิธีอย่างสมเกียรติ และพระศาสนจัก รคาทอลิ ก ประกาศเทิ ด พระเกี ย รติค รู ฟิ ลิ ป สีฟอง อ่อนพิทกั ษณ์ และมรณสักขีอีก 6 ท่าน เป็ น “บุญราศี” ของพระศาสนจักรทัวโลก เมือวันที 22 ตุลาคม พ.ศ. 2532 (คณะกรรมการจัดงาน เฉลิมฉลองการสถาปนาบุญราศีแห่งประเทศไทย, 2532: 2) บุญราศีสีฟอง และบุญราศีอีกหกท่าน ได้ ยินดีเสียสละชีวิตเพือ ยื น ยั น ความเชื อในองค์ พ ระเจ้ า เพื อประกาศให้ ทุ ก คนได้ ทราบถึ ง องค์พระเจ้ าด้ วยความเต็มใจ ซือตรง และห้ าวหาญ เป็ นแบบฉบับทีดีของ คริ สตชน และครู คําสอน ทีควรมีความรั ก ความเชือในพระเจ้ า มีความ ร้ อนรนในการประกาศข่าวดีและการเป็ นพยานยืนยันความเชือให้ แก่กลุ่ม คริ สตชนและผู้อืนด้ วยเพือจะได้ พบพระเป็ นเจ้ าในดินแดนนิรันดร


ห น้ า | 83 รายการอ้ างอิง

คณะกรรมการจัดงานเฉลิมฉลองการสถาปนาบุญราศีแห่งประเทศไทย. บุญราศีทงเจ็ ั ดแห่ งประเทศไทย 22 ตุลาคม 2532. มปท, 2532. คณะเซนต์ปอล เดอ ชาร์ ตร. นักบุญองค์ อุปถัมภ์ ของครู คําสอน. เข้ าถึงเมือ 25 กุมภาพันธ์ 2556, เข้ าถึงได้ จาก http://ccbkk.catholic.or.th วัชศิลป์ กฤษเจริ ญ. สรุ ปชีวติ และคําสอนของนักบุญเปาโลจากบท จดหมาย 13 ฉบับ. เข้ าถึงเมือ 10 มกราคม 2556, เข้ าถึงได้ จาก http://www.kamsondeedee.com วีระ อาภรณ์รัตน์. คําขวัญวันครู คาํ สอนไทย. เข้ าถึงเมือ 25 มีนาคม 2556, เข้ าถึงได้ จาก http://www.becthare.com วีณา โกวิทวาณิชย์. อัครสาวกเปาโล บุรุษไร้ พรมแดน. กรุ งเทพฯ : โรงพิมพ์อสั สัมชัญ, 2551. Lawrence Boadt. The Life of St. Paul (นักบุญเปาโล ผู้บุกเบิก เส้ นทางธรรมทูต). แปลโดย วีณา โกวิทวาณิชย์, กรุ งเทพฯ : โรงพิมพ์อสั สัมชัญ, 2552.


ห น้ า | 84

บทที 5 การศึกษาอบรม..เส้ นทางสู่ชีวิตครู คาํ สอน

“ครู คําสอน” ครู ทีถูกคาดหวังไว้ อย่างสูงในเรื องของคุณสมบัติ คุณลักษณะ และการสือถึงเอกลักษณ์ ทีชัดเจน กว่าทีใครคนหนึงจะก้ าว มาสู่การเป็ นครู คําสอนทีดีนนั ไม่ใช่เรื องง่าย ไม่ได้ ใช้ เวลาเพียงช่วงสันๆ ไม่ใช่แค่ความฉลาดเฉลียว การเป็ นครู คําสอนทีดี นอกเหนือจากกระแสเรี ย กที ได้ รับ (การเรี ย กจากพระเจ้ า ) แล้ ว ผู้ที จะเป็ นครู คําสอน ต้ องมี ความตังใจ ความรั กที จะเป็ นครู คําสอน พร้ อมที จะอุทิศตนเพือเพื อนพี น้ อง เพื อพระศาสนจักร และจํ าเป็ นต้ องผ่านการศึกษาอบรมเพื อให้ มี ความรู้ ทักษะ ความสามารถ และประสบการณ์ ทีเพียงพอต่อการสอน คําสอน ได้ รับ การเสริ มสร้ างเพิ มพูน การพัฒนาจิ ตใจให้ รั กในการเป็ น ครู คําสอนอย่างสมําเสมอ จนมีคุณสมบัติและคุณลักษณะของการเป็ น ครู คําสอนทีดี โดยส่วนใหญ่ผ้ ทู ีมีความสนใจทีจะเข้ ารับการศึกษาอบรมเพือ เป็ นครู คําสอน จะต้ องได้ รับการศึกษาอบรมในด้ านการสอนคําสอนอย่าง เป็ นระบบ ตามหลักสูตร ขันตอนและช่วงเวลาที หน่วยงานทีรั บผิ ดชอบ กํ า หนด แล้ วถึ ง ได้ รั บ การรั บ รองให้ เป็ นครู คํ า สอนได้ ไม่ ว่ า จะเป็ น การศึกษาอบรมที ศูนย์ อบรมคริ สตศาสนธรรมระดับชาติ ในหลักสูตร ภาคฤดูร้ อน (3 ภาคเรี ย นติดต่อกัน ภาคเรี ย นละ 1 เดือน) ที วิ ทยาลัย แสงธรรม ในหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาคริ สตศาสนศึกษา


ห น้ า | 85

(หลักสูตรปริ ญญาตรี 4 ปี ) หรื อที สถาบันการอบรมทีต่างประเทศ เช่น วิทยาลัยมารดาพระศาสนจักร (Mater rcclesiae missionary college) ทีกรุ งโรม ประเทศอิตาลี การฝึ กอบรมครู คาํ สอน การฝึ กอบรมครู คํ า สอน เป็ นเรื องสํ า คั ญ เป็ นอย่ า งมาก ครู คําสอนเปรี ยบเสมือนทหารกล้ า ทหารแถวหน้ าของพระศาสนจักรใน การประกาศข่ าวดี จึ ง จํ า เป็ นที จะต้ อ งได้ รั บ การพัฒ นาทัก ษะความรู้ ความสามารถในมิติต่างๆ ให้ เป็ นอาวุธที พร้ อมใช้ ได้ อย่างมีคุณภาพใน สนามแห่งการแพร่ ธรรม พระศาสนจักรให้ ความสําคัญต่อการฝึ กอบรม ครู คํ า สอนอย่ า งต่ อ เนื องตั งแต่ อ ดี ต จนถึ ง ปั จจุ บั น ในปี 1962 พระสันตะปาปาปี โอที 11 ในเอกสาร Rerum Ecclesiae และ ในปี 1959 พระสันตะปาปายอห์น ที 23 ในเอกสาร Princeps Pastorum ต่างได้ เรี ยกร้ องให้ มีการฝึ กอบรมครู คําสอนเป็ นการเฉพาะเจาะจง และอย่าง จริ งจัง ซึงในการประชุมสังคายนาวาติกนั ที 2 ก็ได้ มีการประชุมพิจารณา เรื องนีเป็ นพิเศษ และก่อนทีครู คําสอน จะได้ รับการรั บรองให้ เป็ นครู คําสอนได้ นัน ครู คําสอนต้ องได้ รับการศึกษาอบรมทังทางสติปัญญาและทางจิตใจ อย่างดี ซึงการฝึ กอบรมครู คําสอน มีมิติในการอบรมครู คําสอน ขบวนการ อบรมครู คําสอน และการอบรมทีสําคัญ ดังต่อไปนี


ห น้ า | 86

มิตใิ นการอบรมครู คาํ สอน จุดมุ่งหมายของการอบรมด้ านคําสอน เพือต้ องการสร้ างจาก คุณลักษณะแบบมนุษย์ เพือพัฒนาครู คําสอนและเพิมพูนทักษะทีจําเป็ น เพือให้ งานแพร่ พระวรสารเกิดผล การอบรมจึงควรประกอบด้ วยมิติต่างๆ คือ 1) มิติด้านความเป็ นบุคคล เพือให้ ครู คําสอนบรรลุวฒ ุ ิภาวะ เป็ นผู้ มีความเชื อคริ ส ตชน 2) มิ ติ ด้า นความรู้ เพื อให้ ครู คํา สอนมี ความรู้ เกียวกับ “ข่าวดี” ของพระเยซูคริ สตเจ้ า หลักคําสอน วิชาการต่างๆ รู้ จกั บุคคล วัฒนธรรม วิถีชีวิต ข่าวสารและบริ บทสังคมของผู้เรี ยน 3) มิติ ด้ านการถ่ ายทอด เพือให้ ครู คําสอนมีความสามารถในการสอน รู้ วิธีการ และสามารถถ่ายทอดได้ อย่างมีประสิทธิ ภาพ (คณะกรรมการคาทอลิก เพือคริ สตศาสนธรรม, 2553: 114) ขบวนการอบรมครู คาํ สอน สมณกระทรวงเพือการประกาศพระวรสารสู่ปวงชน ได้ กําหนด ขบวนการอบรมครู คํ า สอน สรุ ป ได้ ดัง นี 1) การอบรมที เหมาะสม เพื อที จะมี จํ า นวนครู คํ าสอนที เหมาะสมอย่ า งเพี ย งพอสํ า หรั บ ชุ ม ชน นอกจากการเลือกอย่างถีถ้ วนแล้ ว ยังต้ องเน้ นการอบรมให้ มีคณ ุ ลักษณะ ตรงตามที ต้ องการด้ วย การอบรมควรเป็ นในแนวกว้ างและแนว เฉพาะเจาะจง แนวกว้ างในการพัฒนาบุคลิกภาพและลักษณะนิสัยทัง ครบของครู คําสอน แนวเฉพาะเจาะจงในการอบรมให้ เข้ ากับงานเฉพาะ ซึงครู คําสอนต้ องรับผิดชอบและทํางานเสริ มต่างๆ เช่น การสอนพระวาจา แก่คริ สตชนและคนต่างศาสนา การนําชุมชน และการช่วยเหลือผู้ขัดสน ด้ า นวัต ถุ แ ละด้ า นจิ ต ใจด้ ว ยวิ ธี ก ารต่ า งๆ 2) เอกภาพและความ


ห น้ า | 87

กลมกลืนในเรื องบุคลิกภาพของครู คาํ สอน ซึงจะมีได้ นนั ประการแรก ครู คําสอน ต้ องเอาชนะอุปสรรคจากการผันแปรทางอารมณ์ ภูมิปัญญา และอารมณ์ความรู้ สกึ จัดระเบียบลีลาชีวิต โดยเฉพาะความสามารถทีจะ เข้ าถึงส่วนลึก ของวิ ญ ญาณ หาหลัก การและที มาของเอกลักษณ์ ข อง ครู คําสอน คือ พระบุคคลของพระเยซูคริ สตเจ้ าเอง ซึงเป็ นสิงที ต้ องทํ า อย่างจริ งจัง ประการต่อมา ครู คําสอนควรสนใจทีจะถ่ายทอดหลักการ และชีวิตของพระเยซูคริ สตเจ้ าโดยทางการสอนและความประพฤติของ เขา การทํ างานและในบุคลิ กภาพควรมีศูนย์ กลางที พระเยซูคริ สตเจ้ า ความใกล้ ชิดสนิทสัมพันธ์ กบั พระเยซูคริ สตเจ้ าและพระเจ้ า 3) วุฒภิ าวะ แบบมนุ ษย์ ตังแต่เริ มต้ น เพือพัฒนาผู้ทีจะเป็ นครู คําสอนให้ มีลกั ษณะ แบบมนุษย์ ขันพื นฐานมากขึน สิงทีต้ องเน้ นคื อเป็ นบุคคลที มีวุฒิภาวะ แบบมนุษย์ เหมาะสมที จะมีบทบาทรั บผิ ดชอบในชุมชน เช่น สมดุล ทางด้ านร่ างกายและจิ ต ใจ สุ ข ภาพที ดี ความสํ า นึ ก รั บ ผิ ด ชอบ ความซือสัตย์ มีพลัง การปฏิบตั ิตนทีดีในครอบครัว และเกียวกับวิชาชีพ จิตตารมณ์แห่งการเสียสละ มีพละกําลัง ความอุตสาหะ มีมนุษยสัมพันธ์ ความสามารถในการเสวนากับคนต่างศาสนา เข้ าใจวัฒนธรรมของตน สามารถทีจะติดต่อสือสาร ช่วยเหลือ ทํางานร่ วมกับคนอืน มีภาวะผู้นํา มองสภาพต่างๆ ตามความเป็ นจริ ง 4) ชีวิตจิตทีลึกซึง เพือทีจะให้ การ อบรมผู้อืนในเรื องความเชือ ให้ ครู คําสอนมีชีวิตจิตทีลึกซึง เพราะชีวิตจิต เป็ นแง่ มุ ม ที สํ า คัญ ที สุ ด ในการอบรม ครู คํ า สอนที แท้ จริ ง คื อ นั ก บุ ญ อุดมคติของครู คําสอนคือ การทําให้ ชีวิตศักดิสิทธิ ในขณะที ดําเนินชีวิต เยียงฆราวาสแพร่ ธรรม 5) การอบรมข้ อความเชือ เพือให้ ครู คําสอน


ห น้ า | 88

เข้ าใจแก่นแท้ ของข้ อความเชื อของคริ สต์ศาสนาอย่างเด่นชัด ก่อนทีเขา จะไปถ่ายทอดแก่ผ้ ูอืนอย่างกระจ่างชัดด้ วยวิธีทีน่าสนใจและปราศจาก ข้ อผิ ดพลาด ด้ วยการอบรมด้ านข้ อความเชื อ มานุษยวิทยา และการ อบรมวิธีการสอน 6) จิตตารมณ์ ด้านการอภิบาล เพืออบรมเกียวกับ วิธีการประกาศข่าวสารของคริ สต์ศาสนาและทําการสอนสารนัน วิธีทีจะ นําผู้อืนในชุมชนและในการประกอบวจนพิ ธีกรรม และรั บผิ ดชอบงาน บริ การด้ านอภิบาลต่างๆ 7) ความกระตือรื อร้ นแบบผู้แพร่ ธรรม มิติ ด้ านงานแพร่ ธรรมเป็ นส่วนสําคัญของเอกลักษณ์ และงานของครู คําสอน ครู คําสอนจึงต้ องได้ รับการอบรมให้ เรี ยนรู้ ภาคทฤษฎีและภาคปฏิบตั ิ วิธี อุทิศตนแก่งานแพร่ ธรรมในฐานะคริ สตชนทีเป็ นฆราวาส ทังการปรากฏ ตัวอย่างมีชีวิตชีวาในสังคม การเป็ นประจักษ์ พยานทีแท้ จริ ง การเสวนา อย่ างจริ ง ใจผู้อืน การมีส่วนร่ วมในงานสังคมสังเคราะห์ การประกาศ พระวรสารอย่างกล้ าหาญ 8) ท่ าทีต่อพระศาสนจักร เพืออบรมในเรื อง ความนอบน้ อมควบคู่ กั บ ความสํ า นึ ก รั บ ผิ ด ชอบในงานแพร่ ธ รรม ความสามารถทีจะทํางานร่ วมกับผู้อืนในทุกระดับ ความพร้ อมทีจะทน ทุกข์เพือพระศาสนจักร ยอมรับความยากลําบากของงานร่ วมกัน และทน ต่อข้ อบกพร่ องของผู้อืน และการเลียนแบบพระคริ สต์ (สํานักงานคําสอน ระดับชาติและศูนย์คําสอนอัครสังฆมณฑลกรุ งเทพฯ, 2537: 48-73) ซึงในการดํ า เนิ น การอบรมตามขบวนการอบรมดัง กล่ า วนี จําเป็ นต้ องผ่านการวางแผนในการจัดการอบรมอย่างต่อเนืองทีเหมาะสม โดยจัดโครงการอย่างเป็ นระบบ ครอบคลุมการทํางานของครู คําสอนใน แง่ ต่ า งๆ การพั ฒ นา ทั งด้ านบุ ค ลิ ก ภาพ ร่ างกาย สํ า คั ญ ยิ งคื อ


ห น้ า | 89

การเจริ ญเติบโตด้ านจิตใจ และเป็ นขบวนการทีเกิดขึนจากความร่ วมมือ ของบุคคลหรื อหน่วยงานที เกี ยวข้ องหลายๆ ฝ่ าย เป็ นต้ น สังฆมณฑล และศูนย์คําสอนต่างๆ การอบรมทีสําคัญต่ อครู คาํ สอน สมณกระทรวงว่าด้ วยเรื องพระสงฆ์ (อ้ างถึงใน วีระ อาภรณ์ รัตน์, 2549: 304-312) กล่าวถึง เนือหาการอบรมทีสําคัญต่อครู คําสอนที สํ า คัญ คื อ 1) การอบรมด้ า นพระคั ม ภี ร์และเทววิ ท ยา เพื อให้ ค รู คําสอนมีความรู้ ที เป็ นพื นฐานเกี ยวกับสารของคริ ส ตชนที ถูกสร้ างขึน โดยรอบพระธรรมลําลึกทีเป็ นศูนย์กลางแห่งความเชือคือ พระเยซู คริ สตเจ้ า 2) การอบรมด้ านศาสตร์ ต่างๆ ทีเกียวข้ องกับมนุ ษย์ โดยเฉพาะ ในสาขาต่างๆ ของจิ ตวิทยา และสังคมวิทยา เพราะแนวทางนี จะทํ าให้ คริ ส ตชนได้ รั บ การนํ า พาไปสู่ ก ารดํ า เนิ น ชี วิ ต ตามความเชื ออย่ า งมี วุฒิภาวะมากยิ งขึน 3) หลั กการต่ างๆ ทีช่ วยให้ เกิดการใช้ ศาสตร์ ทีเกียวข้ องกับมนุ ษย์ ในการอบรมครู คําสอน เช่น การเคารพในความ เป็ นอิสระของวิชาความรู้ ความสามารถในการเข้ าใจในเรื องจุดประสงค์ พิเศษหรื อหลักสูตรในวิชาจิ ตวิทยา สังคมวิทยาและวิชาครู ซึงมีความ แตกต่างกัน ตามแนวทางพระวรสาร การศึกษาศาสตร์ ที เกี ยวข้ องกับ มนุษย์ และ 4) การอบรมด้ านวิชาครู เพือพัฒนาเรื องเทคนิคการสอน ให้ ดีขนึ


ห น้ า | 90

ชีวิตจิตครู คาํ สอน ในมิ ติ ก ารอบรม และกระบวนการอบรมครู คํ า สอน จะให้ ความสําคัญในการพัฒนาจิตใจ จิตตารมณ์ หรื อการเจริ ญชีวิตฝ่ ายจิ ต ของครู คํ า สอนเป็ นอย่ า งมาก เพราะจิ ต ย่ อ มนํ า พาร่ า งกายและชี วิ ต การเจริ ญฝ่ ายจิ ต ทํ าให้ ร่ ายกายและชี วิตมีความเจริ ญเช่ นกัน ในพระคัมภี ร์ คําว่ า ชี วิต จิ ต หมายถึ ง พระจิ ต ผู้ทํ า ให้ ป ระวัติศ าสตร์ ก ารไถ่ ก้ ู มีชี วิต ชี วา และกลายเป็ นต้ น กํ าเนิ ดของชี วิตใหม่ข องพระเจ้ าในโลกนี อาจกล่ า วได้ ว่ า ชี วิ ต จิ ต คื อ การสร้ างความเชื อของแต่ ล ะคนตาม ความสามารถ ตามกระแสเรี ยก ตามพระหรรษทานทีแต่ละคนได้ รับ ครู คํ า สอนจึ ง ต้ องมี ชี วิ ต จิ ต ที ลึ ก ซึ ง โดย 1) เปิ ดใจรั บ พระวาจาของพระเจ้ า มีชีวิตทีสนิทสัมพันธ์ กับพระเจ้ า ซึงจะช่วยให้ ดําเนินภารกิจการสอนคําสอนอย่างซือสัตย์ ทังครู คําสอนทีไม่ได้ แต่งงาน หรื อแต่ ง งานแล้ วก็ ต าม การที จะมี ชี วิ ต ที สนิ ท สั ม พั น ธ์ กั บ พระเจ้ า ครู คํ าสอนต้ อ งเปิ ดใจรั บ พระวาจาของพระเจ้ าที เผยแสดง เปิ ดใจรั บ พระวาจาด้ วยความรั กและนําไปปฏิบัติ (ยน 16: 12-14) พระเจ้ าทรง ประทั บ อยู่ ใ นแต่ ล ะบุ ค คล ประทานพระพร พละกํ า ลั ง สติ ปั ญ ญา วิจารณญาณในการตัดสินใจ รวมถึงความมันใจ การประพฤติปฏิบตั ิตน 2) เปิ ดใจรั บพระศาสนจักร โดยรักษาพระวาจาทีพระศาสนจักรรับรอง อย่างซือสัตย์ เข้ าใจพระวาจาอย่างลึกซึงและถ่ายทอดได้ อย่างถูกต้ อง รั กและซือสัตย์ ต่อพระศาสนจักร ให้ เป็ นเหมือนดังพระเยซูคริ สตเจ้ าซึง “รักพระศาสนจักร และสละพระชนมชีพของพระองค์เพือพระศาสนจักร” (อฟ 5: 25) อุทิศตนในการประกาศพระวาจาของพระเจ้ าให้ กบั ทุกคนทุก


ห น้ า | 91

เวลาและโอกาส เพือช่วยเหลือเหล่าคริ สตชนและคนต่างศาสนา และเพือ ความมันคงของพระศาสนจักร 3) เปิ ดใจรั บทีจะทํางานเพือสังคมโลก โดยสํานึกว่าได้ รับเรี ยกให้ มาทํางานในโลกและเพือโลก โดยไม่เป็ นของ โลก (ยน 17: 14-21) คือ ต้ องดําเนิ น ชี วิตอยู่ท่ ามกลางสังคมโลก โดย ดําเนินชีวิตตามพระวาจา คําสอนของพระเยซูคริ สตเจ้ า เต็มใจช่วยสังคม เป็ นแบบอย่างในการดําเนินชี วิตที ดีต่อสังคม เป็ นการสอนคําสอนด้ วย ชีวิต ทีมีคุณ ค่ามากกว่าการสอนด้ วยวิธีอืนๆ 4) เป็ นผู้ประกาศข่ าวดี ด้ วยใจร้ อนรน ไม่ลืมคําสังของพระเยซูคริ สตเจ้ าทีว่า “ท่านทังหลายจง ออกไปทัวโลก ประกาศข่าวดีแก่มนุษย์ทุกคน” (มก 16: 15) มีใจร้ อนรน และมีจิต ตารมณ์ แ ห่งการประกาศข่าวดี ตระหนัก ถึงความสํ าคัญ และ คุณค่าในการสอนคําสอน ให้ เป็ นเหมือนพระเยซูเจ้ าทีเป็ น “นายชุมพาบาลทีดี” ทีตามหาแกะ “จนกว่าจะพบ” (ลก 15: 4) สถาบันการศึกษา และหลักสูตรการศึกษาอบรมสําหรั บครู คําสอน ในประเทศไทย ครู คํ า สอนมี ค วามสํ า คั ญ ต่ อ การประกาศข่ า วดี แ ละต่ อ พระศาสนจั ก รคาทอลิ ก เพี ย งใด กระบวนการสร้ างครู คํ า สอนก็ มี ความสําคัญเฉกนัน ด้ วยสภาวการณ์การสอนคําสอนและอัตรากําลังของ ครู คํ า สอนของพระศาสนจั ก รคาทอลิ ก ประเทศไทยที ผ่ า นมา ทํ า ให้ ผู้รับผิ ดชอบงานคําสอนเล็งเห็นความจําเป็ นในการสร้ างครู คําสอนที มี คุณ ภาพและเพี ย งพอต่ อความต้ อ งการของแต่ล ะหน่ ว ยงานในแต่ล ะ สั ง ฆมณฑล โดย 1) กํ า หนดให้ ศู น ย์ คํ า สอนในแต่ ล ะสั ง ฆมณฑล


ห น้ า | 92

รั บ ผิ ด ชอบการจั ด หาครู คํ า สอนให้ เพี ย งพอต่ อ ความต้ องการ และ จัดเตรี ยมความพร้ อมให้ แก่ครู คําสอนของตนด้ วยการส่งครู คําสอนรับการ อบรมในระดับประเทศ 2) กําหนดให้ วิทยาลัยแสงธรรม เปิ ดสอนหลักสูตร ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาคริ สตศาสนศึกษา (Bachelor of Arts Program in Christian Studies) ในคณะศาสนศาสตร์ ตังแต่ปีการศึกษา 2543 เพื อจั ด การเรี ย นการสอนสํ า หรั บ ผู้ เตรี ย มตั ว เป็ นครู คํ า สอน 3) กําหนดให้ ศนู ย์อบรมคริ สตศาสนธรรมระดับชาติ ส่งเสริ มให้ เป็ นแหล่ง ศึกษา ค้ น คว้ า ข้ อมูล และให้ บ ริ ก ารด้ า นสื ออุป กรณ์ ก ารสอนคําสอน จัดอบรมครู คําสอนภาคฤดูร้อน จัดการอบรมทังระยะสันและระยะยาว (คณะกรรมการคาทอลิกเพือคริ สตศาสนธรรม, 2553: 19-22, 93-99) สถาบันการศึกษาและหลักสูตรการเรี ย นการสอนสําหรั บครู คําสอนในประเทศไทย ทีสําคัญและดําเนินการอย่างเป็ นระบบในปั จจุบนั ที นักศึกษามาเข้ ารั บ การศึกษาอบรมเพื อเป็ นครู คําสอนมี 2 หลักสูตร หลักๆ คือ 1) หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาคริ สตศาสนศึกษา คณะศาสนศาสตร์ วิ ทยาลัย แสงธรรม และ 2) หลัก สูตรการอบรมครู คําสอนภาคฤดูร้อน ศูนย์อบรมคริ สตศาสนธรรมฯ ซึงมีรายละเอียด ดังนี หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาคริ สตศาสนศึกษา (หลั ก สู ต รปรั บ ปรุ ง พ.ศ. 2556) คณะศาสนศาสตร์ วิ ท ยาลั ย แสงธรรม คณะศึกษาศาสตร์ วิทยาลัยแสงธรรม เป็ นหน่วยงานสําคัญใน การจั ด การศึก ษาอบรมครู คํ า สอนใน หลัก สู ต รศิ ล ปศาสตรบั ณ ฑิ ต สาขาวิชาคริ สตศาสนศึกษา (Bachelor of Arts Program in Christian


ห น้ า | 93

Studies) (หลักสูตรปริ ญญาตรี 4 ปี ตามเกณฑ์มาตรฐาน หลักสูตรปริ ญญาตรี พ.ศ. 2548 และกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2552 ของกระทรวงศึกษาธิ การ) ภายใต้ การกํากับดูแล ของสภาพระสั ง ฆราชคาทอลิ ก แห่ ง ประเทศไทย และสํ า นั ก งาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา เปิ ดการเรี ยนการสอนตังแต่ ปีการศึกษา 2543 จนถึงปั จจุบัน โดยมีประวัติความเป็ นมา ปรั ชญา วัตถุประสงค์ หลัก สูต รการจัด การศึก ษาอบรมครู คํ าสอน และโครงสร้ างหลัก สูต ร รายละเอียดดังนี (คณะศาสนศาสตร์ วิทยาลัยแสงธรรม, 2556) ประวั ติส าขาวิ ชาคริ ส ตศาสนศึก ษา คณะศึ ก ษาศาสตร์ วิทยาลัยแสงธรรม สภาพระสังฆราชคาทอลิกแห่งประเทศไทย มีแนวความคิดใน การพัฒนาบุคลากร ครู ฆราวาสและนักบวช เพือเปิ ดโอกาสให้ ศึกษาใน ด้ านศาสนา และเทววิทยามากยิ งขึน บุคคลและหน่วยงานที เกี ยวข้ อง จึ ง ร่ วมมื อ กั น ดํ า เนิ น การเปิ ดสาขาวิ ช าคริ สตศาสนศึ ก ษาขึ น โดยทบวงมหาวิทยาลัยอนุมัติให้ ดําเนิ นการเปิ ดหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิ ต สาขาวิ ชาคริ ส ตศาสนศึกษา หลัก สูตร 4 ปี ตังแต่ปีการศึกษา 2543 และได้ รับการรับรองมาตรฐาน เมือวันที 10 ตุลาคม พ.ศ. 2545


ห น้ า | 94

ปรั ชญา การศึกษาคริ สตศาสนศึกษา คือ ระบบการศึกษาเพือพัฒนา คริ สตชนให้ เป็ นศาสนบริ กรด้ านการสอนคริ สตศาสนธรรม วัตถุประสงค์ 1. เพื อผลิต บัณฑิ ตให้ มีคุณธรรม จริ ยธรรม เป็ นแบบอย่ าง ชีวิตคริ สตชนและเป็ นผู้นําด้ านจิตวิญญาณและปั ญญา 2. เพือผลิตบัณฑิตให้ ใฝ่ รู้ ใฝ่ เรี ยน มีความรอบรู้ คําสอนของ คริ สต์ศาสนจักรคาทอลิก มีความสามารถในการสอน และมีประสิทธิภาพ ในการพัฒนารู ปแบบการสอนคริ สตศาสนธรรม 3. เพือผลิตบัณฑิตให้ สามารถนําคําสอนของคริ สต์ศาสนจักรคาทอลิ กมาปฏิ บัติและประยุก ต์ ใ ช้ ใ นการพัฒ นาชี วิต และสังคมทังต่อ ตนเองและผู้อืน 4. เพื อผลิ ต บั ณ ฑิ ต ให้ มี จิ ต สํ า นึ ก ที จะทํ า นุ บํ า รุ ง สื บ ทอด ศาสนา อนุรักษ์ และส่งเสริ มศิลปวัฒนธรรม และสภาพแวดล้ อมอย่าง เหมาะสมตามบริ บทของสังคมไทย หลักสูตรการจัดการศึกษาอบรมและโครงสร้ างหลักสูตร หลัก สูต รการจัด การศึก ษาอบรมล่า สุด คื อ หลัก สูต รศิล ปศาสตรบัณฑิ ต สาขาวิชาคริ สตศาสนศึกษา ฉบับปรั บปรุ ง พ.ศ. 2556 ซึงได้ มี ก ารปรั บ ปรุ ง พัฒ นาหลัก สูต รเพื อพัฒ นานัก ศึก ษาให้ มี ค วามรู้ ความสามารถในการสอนคําสอนได้ อย่างดี เหมาะสมกับสถานการณ์และ ยุคสมัย และช่วยให้ บัณ ฑิ ตที จบไปเป็ นครู คําสอนในโรงเรี ยนสามารถ นํ าไปใช้ ประกอบการขอใบประกาศวิ ช าชี พครู ตามเกณฑ์ ที


ห น้ า | 95

กระทรวงศึกษาธิ การกําหนดด้ วย นักศึกษาจึงต้ องเรี ยนในรายวิชาต่างๆ ตามโครงสร้ างหลักสูตร รวมทังสิน 135 หน่วยกิต รายละเอียดดังนี

1

2

3 4

หมวดวิชา หมวดวิชาศึกษาทัวไป ไม่ น้อยกว่ า ก. กลุม่ วิชามนุษยศาสตร์ และสังคมศาสตร์ ไม่น้อยกว่า ข. กลุม่ วิชาคณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ ไม่น้อยกว่า ค. กลุม่ วิชาภาษา ไม่น้อยกว่า หมวดวิชาเฉพาะ ไม่ น้อยกว่ า ก. วิชาเอก (คริ สตศาสนศึกษา) ไม่น้อยกว่า ข. วิชาโท (เทววิทยา) ไม่น้อยกว่า หมวดวิชาเลือกเสรี ไม่ น้อยกว่ า หมวดวิชาฝึ กปฏิบัติ ไม่ น้อยกว่ า 3 รายวิชา

หน่ วยกิต 32 14 6 12 97 59 38 6 -

รายวิชาทีกําหนดในหลักสูตร นอกจากจัดการเรี ยนการสอนให้ สําหรับนักศึกษาตามปกติแล้ ว ยั ง ได้ เปิ ดรั บ นั ก ศึ ก ษาสมทบ หรื อผู้ ที สนใจที จะเพิ มพู น ความรู้ ประสบการณ์ ในรายวิชาต่างๆ อีกด้ วย ผู้เขียนจึงขอเสนอรายวิชาทีบรรจุ อยู่ ใ นหลัก สูต รด้ ว ย เพื อเป็ นข้ อ มู ล ให้ ผ้ ู ที สนใจ และผู้ ที จะมาเข้ า รั บ การศึกษาอบรมตามหลักสูตร 4 ปี หรื อเฉพาะรายวิชาทีสนใจ


ห น้ า | 96 หมวดวิชา 1 หมวดวิชาศึกษาทัวไป ไม่ น้อยกว่ า 32 หน่ วยกิต ก. กลุม่ วิชามนุษยศาสตร์ และสังคมศาสตร์ ไม่น้อยกว่า วิชาบังคับ 8 หน่วยกิต คือ มน.232 หลักเศรษฐกิจพอเพียง 2 หน่วยกิต สศ.100 ระเบียบวิธีศกึ ษาขันอุดมศึกษา - หน่วยกิต สศ.101 ไทยศึกษา 3 หน่วยกิต สศ.111 จิตวิทยาทัวไป 3 หน่วยกิต วิชาเลือก ไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต จาก ปร.120 ปรัชญาเบืองต้ น 3 หน่วยกิต มน.201 อารยธรรมตะวันตกและตะวันออก 3 หน่วยกิต มน.231 สังคีตวิจกั ษ์ 2 หน่วยกิต สศ.122 มานุษยวิทยาเบืองต้ น 3 หน่วยกิต สศ.341 กฎหมายในชีวิตประจําวัน 3 หน่วยกิต สศ.151 หลักการศึกษา 3 หน่วยกิต ข. กลุม่ วิชาคณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ ไม่น้อยกว่า รายวิชาบังคับ 3 หน่วยกิต คือ คณ.121 สถิติพนฐานและหลั ื กการวิจยั 3 หน่วยกิต รายวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า 3 หน่วยกิต จาก คณ.252 บัญชี 3 หน่วยกิต วท.100 วิทยาศาสตร์ ในชีวติ ประจําวัน 3 หน่วยกิต วท.101 วิทยาศาสตร์ ชีวภาพ 3 หน่วยกิต

หน่ วยกิต 32 14

6


ห น้ า | 97 หมวดวิชา หน่ วยกิต วท.241 วิทยาศาสตร์ สขุ ภาพและสิงแวดล้ อม 3 หน่วยกิต ค. กลุม่ วิชาภาษา ไม่น้อยกว่า 12 ภษ.111 การใช้ ภาษาไทย1 3 หน่วยกิต ภษ.112 การใช้ ภาษาไทย2 3 หน่วยกิต ภษ.121 การใช้ ภาษาอังกฤษ1 3 หน่วยกิต ภษ.122 การใช้ ภาษาอังกฤษ2 3 หน่วยกิต 2 หมวดวิชาเฉพาะ ไม่ น้อยกว่ า 97 ก. วิชาเอก (คริ สตศาสนศึกษา) ไม่น้อยกว่า 59 วิชาบังคับ 54 หน่วยกิต คือ คศ.100 ประวัติศาสตร์ การสอนคริ สตศาสนธรรม 3 หน่วยกิต คศ.101 หลักคําสอนของคริ สต์ศาสนจักรคาทอลิก 3 หน่วยกิต คศ.113 คริ สตจริ ยศาสตร์ เบืองต้ น 2 หน่วยกิต คศ.121 การสอนศาสนธรรมเด็ก 3 หน่วยกิต คศ.122 การสอนศาสนธรรมเยาวชน 3 หน่วยกิต คศ.123 การสอนศาสนธรรมผู้ใหญ่ 3 หน่วยกิต คศ.124 การสอนศาสนธรรมในครอบครัว 3 หน่วยกิต คศ.131 วิชาครู 3 หน่วยกิต คศ.132 สือและเทคโนโลยีทางการศึกษา 3 หน่วยกิต คศ.201 ศาสนศึกษา 3 หน่วยกิต คศ.202 ประวัติศาสตร์ คริ สตศาสนจักร 3 หน่วยกิต


ห น้ า | 98 หมวดวิชา หน่ วยกิต คศ.215 พระคัมภีร์พนั ธสัญญาเดิม1 2 หน่วยกิต คศ.216 พระคัมภีร์พนั ธสัญญาเดิม2 2 หน่วยกิต คศ.492 การสังเกตการสอนคริ สตศาสนธรรม 3 หน่วยกิต คศ.493 ฝึ กการสอนคริ สตศาสนธรรม 3 หน่วยกิต ศษ.221 หลักการสอน 3 หน่วยกิต ศษ.222 การวัดและประเมินผลการศึกษา 3 หน่วยกิต ศษ.231 การพัฒนาหลักสูตรการเรี ยนการสอน 3 หน่วยกิต ศษ.232 การวิจยั การศึกษาและการวิจยั ในชันเรียน 3 หน่วยกิต รายวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า 5 หน่วยกิต จาก คศ.102 พระบัญญัติ 10 ประการ 3 หน่วยกิต คศ.212 จริ ยศาสตร์ 3 หน่วยกิต คศ.310 การประยุกต์พระคัมภีร์ไบเบิล ในชีวิตประจําวัน 3 หน่วยกิต คศ.490 สัมมนาความรู้ด้านคริ สตศาสนธรรม 1 1 หน่วยกิต คศ. 491 สัมมนาความรู้ด้านคริ สตศาสนธรรม 2 1 หน่วยกิต ข. วิชาโท (เทววิทยา) ไม่น้อยกว่า 38 วิชาบังคับ 32 หน่วยกิต คือ


ห น้ า | 99 หมวดวิชา ทว.110 ประวัตศิ าสนาเรื องการกอบกู้ 2 หน่วยกิต ทว.111 พระคัมภีร์ไบเบิลเบืองต้ น 2 หน่วยกิต ทว.112 เทววิทยาเบืองต้ น 2 หน่วยกิต ทว.114 พิธีกรรมเบืองต้ น 2 หน่วยกิต ทว.171 เทววิทยาเรื องจิตภาวะ1 2 หน่วยกิต ทว.213 พระวรสารสหทรรศน์ 3 หน่วยกิต ทว.214 วรรณกรรมนักบุญยอห์น 2 หน่วยกิต ทว.221 เทววิทยาเรื องคริ สตศาสนจักร 2 หน่วยกิต ทว.222 เทววิทยาเรื องพระคริสตเจ้ า 3 หน่วยกิต ทว.225 ความรู้ทวไปเรื ั องศีลศักดิสิทธิ 2 หน่วยกิต ทว.313 กิจการอัครสาวกและบทจดหมาย ในพันธสัญญาใหม่ 3 หน่วยกิต ทว.321 เทววิทยาเรื องพระตรี เอกภาพ 3 หน่วยกิต ทว.326 เทววิทยาเรื องศีลมหาสนิทและ พิธีมิสซาบูชาขอบพระคุณ 3 หน่วยกิต ทว.422 เทววิทยาเรื องพระแม่มารี ย์ 2 หน่วยกิต รายวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต จาก ทว.372 เทววิทยาเรื องจิตภาวะ2 2 หน่วยกิต ทว.376 เทววิทยาเรื องพันธกิจและการอภิบาล 2 หน่วยกิต ทว.411 หลักศาสนสัมพันธ์ 2 หน่วยกิต ทว.428 คําสอนของสภาสังคายนาวาติกนั ที 2 และของสมาพันธ์สภามุขนายกแห่งเอเชีย

หน่ วยกิต


ห น้ า | 100 หมวดวิชา หน่ วยกิต 2 หน่วยกิต ทว.461 คริ สตศาสนจักรในประเทศไทย 2 หน่วยกิต ทว.472 คริ สต์ศาสนากับงานพัฒนา 2 หน่วยกิต 3 หมวดวิชาเลือกเสรี ไม่น้อยกว่า 6 ให้ เลือกเรี ยนรายวิชาใดๆ ไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต จ า ก ร า ย วิ ช า เ ลื อ ก ใ น ห ม ว ด วิ ช า ศึ ก ษ า ทั ว ไ ป หมวดวิชาเฉพาะทังวิชาเอกและวิชาโท หรื อรายวิชาใน หลักสูตรอืน ทีวิทยาลัยเปิ ดสอนตามความสนใจ ทังนี ต้ องไม่ซํากับรายวิชาทีผ่านการเรี ยนมาแล้ ว 4 หมวดวิชาฝึ กปฏิบตั ิ ไม่น้อยกว่า 3 รายวิชา จาก ฝป.171การฝึ กปฏิบตั ิ 1: การสอนคริ สตศาสนธรรม ฝป.231 การฝึ กปฏิบตั ิ 2: การผลิตและการนําเสนอ มัลติมีเดียเพือการศึกษา ฝป.232 การฝึ กปฏิบตั ิ 3: การสร้ างสือการเรี ยนการสอน ฝป.421 การฝึ กปฏิบตั ิ 4: การวิจยั ในชันเรี ยน


ห น้ า | 101

หลักสูตรการอบรมครู คาํ สอน ภาคฤดูร้อน ศูนย์ อบรมคริ สตศาสนธรรมระดับชาติ ศูนย์ อบรมคริ สตศาสนธรรมระดับชาติ (National Catechetical Center: NCC) เป็ น หน่ ว ยงานสํ า คัญ ในการจัด การศึก ษาอบรมครู คําสอนมาตังแต่อดีตจนถึงปั จจุบนั เริ มก่อตังในปี พ.ศ. 2508 โดยมีประวัติความเป็ นมา วิสยั ทัศน์ วัตถุประสงค์ หลักสูตร การจัดการศึกษาอบรมครู คําสอนภาคฤดูร้อนและโครงสร้ างหลักสูตร รายละเอียดดังนี ประวัติศูนย์ อบรมคริ สตศาสนธรรมระดับชาติ (National Catechetical Center: NCC) ศู น ย์ อ บ ร ม ค ริ ส ต ศ า ส น ธ ร ร ม ร ะ ดั บ ช า ติ ( National Catechetical Center) หรื อศูนย์เอ็นซีซี (NCC.) นันได้ รับการก่อตังขึน โดย ชมรมนักบวชหญิงแห่งประเทศไทย เมือเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2508 (ค.ศ. 1965) โดยใช้ ชือว่า “ ศูนย์ศาสนศาสตร์ ” เปิ ดทําการสอนครังแรกที โรงเรี ยนมาแตร์ เดอีวิทยาลัย กรุ งเทพฯ ต่อมาในปี พ.ศ. 2517 จึงย้ ายทีทํา การศูนย์ฯ มาอยู่ ณ โรงเรี ยนเซนต์โยเซฟคอนเวนต์ และในปี พ.ศ. 2519 สภาพระสังฆราชาคาทอลิกแห่งประเทศไทย มีมติให้ สร้ างสร้ างศูนย์ ฯ ถาวรขึนที เลขที 82 หมู่ 6 ถนนเพชรเกษม ซอยวัดเทียนดัด ตําบลท่าข้ าม อําเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม โดยให้ ชือว่า “ศูนย์อบรมการแพร่ ธรรม แห่งประเทศไทย” และในปี พ.ศ. 2530 ได้ เปลียนชือเป็ น “ศูนย์ อบรม


ห น้ า | 102

คริ สตศาสนธรรม” ก่อนจะปรับชือมาเป็ น “ศูนย์อบรมคริ สตศาสนธรรม ระดับชาติ” ในปั จจุบนั วิสัยทัศน์ ศิษย์ พระเยซูคริ สต์ ประจักษ์ พยานชีวิตเพื อเสริ มสร้ างชุมชน แห่งความเชือ วัตถุประสงค์ 1. มุง่ ผลิตผู้อบรมคริ สตศาสนธรรม ( ครู คําสอน) ทีมีคณ ุ ภาพ ให้ มีความสํานึกในการเป็ นสานุศิษย์ของพระคริ สตเจ้ า 2. ให้ นกั ศึกษาดําเนินชีวิตตามความเชือร่ วมกันเป็ นหมู่คณะ รักและรับใช้ เพือนพีน้ องด้ วยจิตตารมณ์ของพระคริ สตเจ้ า 3. ให้ การอบรมแก่ นัก ศึ ก ษาอย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพในด้ า น คริ สตศาสนศาสตร์ และให้ ได้ รับประสบการณ์ ในงานแพร่ ธรรมเพือเป็ น ผู้ประสานงานด้ านคําสอนและเป็ นผู้นํากลุม่ คริ สตชน หลักสูตรการจัดการศึกษาอบรมครู คาํ สอน ศูนย์อบรมคริ สตศาสนธรรมระดับชาติ เปิ ดหลักสูตรการอบรม ครู คําสอนภาคฤดูร้อนขึน ในครังแรกในเดือนมีนาคม 2509 สําหรับผู้ทีไม่ สามารถเข้ ารับการอบรมตลอดปี ได้ ผู้ทีเข้ ารับการศึกษาอบรมในภาคฤดูร้ อนนี จะต้ องเข้ ารับการศึกษาอบรม 3 ภาคเรี ยนติดต่อกัน ภาคเรี ยนละ 1 เดือน นักศึกษาต้ องสอบผ่านให้ ครบ 60 หน่วยกิต ผู้ทีจบหลักสูตรตามที กําหนดนี คณะกรรมการคาทอลิกเพือการอบรมคริ สตศาสนธรรมแห่ง ประเทศไทย จะถื อ ว่ า มี สิ ท ธิ เที ย บเท่ า อนุ ป ริ ญ ญา โดยมี โ ครงสร้ าง


ห น้ า | 103

หลักสูตรการอบรมครู คําสอนภาคฤดูร้อน (ฉบับปรั บปรุ ง ค.ศ. 2010) ดังนี วงจรที 1 ชันปี 1 / หน่ วย วงจรที 2 ชันปี หน่ วย วงจรที 3 ชันปี 3 หน่ วย รายวิชา กิต 2 / รายวิชา กิต / รายวิชา กิต หมวดพระคัมภีร์ ภาคพันธสัญญาเดิม พระคัมภีร์ ภาคปั ญจบรรพ

2

หมวดพระคัมภีร์ ภาคพันธสัญญาใหม่ พระวรสาร สหทรรศน์

2

หมวดพระสัจธรรม การประกาศยืนยัน ความเชือ (CCC ข้ อ 1-197)

2

หมวดพระคัมภีร์ ภาคพันธสัญญาเดิม พระคัมภีร์ ภาคประกาศกสดุดี

2

หมวดพระคัมภีร์ภาค พันธสัญญาใหม่ กิจการอัคร สาวก

2

หมวดพระสัจธรรม ข้ าพเจ้ าเชือถึง พระเยซูคริสตเจ้ า (CCC ข้ อ 422682)

3

ข้ าพเจ้ าเชือถึงพระเป็ นเจ้ าพระบิดา (CCC ข้ อ 268-421) หมวดพิธีกรรม พิธีกรรมเบืองต้ น CCC ข้ อ 10661209

หมวดพระคัมภีร์ ภาคพันธสัญญาใหม่ วรรณกรรม นักบุญยอห์นวิวรณ์

2

หมวดพระคัมภีร์ ภาคพันธสัญญาใหม่ บทจดหมาย ในพันธสัญญา ใหม่

2

หมวดพระสัจธรรม ข้ าพเจ้ าเชือถึง พระจิต (CCC ข้ อ 683975)

2

พระศาสนจักรศักดิสิทธิสากล

หมวดพิธีกรรม 3

ศีลศักดิสิทธิ แห่งการเยียวยา รักษา

2

ประวัติศาสตร์ พระศาสนจักร สากล

2


ห น้ า | 104 วงจรที 1 ชันปี 1 / หน่ วย วงจรที 2 ชันปี หน่ วย วงจรที 3 ชันปี 3 หน่ วย รายวิชา กิต 2 / รายวิชา กิต / รายวิชา กิต ศีลศักดิสิทธิแห่งการเริ มต้ น ชีวิตคริสตชน

ศีลอภัยบาป CCC ข้ อ 1420-1498

ศีลล้ างบาป CCC ข้ อ 12101286

ศีลเจิมคนป่ วย CCC ข้ อ 1499-1535

ศีลกําลัง CCC ข้ อ 1285-1321 ศีลศักดิสิทธิแห่งการเสริมสร้ างความเป็ นหนึงเดียวกัน ศีลมหาสนิท CCC ข้ อ 13221419

ศีลบรรพชา CCC ข้ อ 1536-1600 ศีลสมรส CCC ข้ อ 1601-1690

หมวดจริยธรรม 1 จริยธรรมเบืองต้ น CCC ข้ อ 17102051

หมวดจริยธรรม 2 2

พระบัญญัติ ประการ 5 CCC ข้ อ 22582330

2

หมวดจริยธรรม 3 พระบัญญัติ ประการ 7 CCC ข้ อ 24012463

2

พระบัญญัติประการ 1 CCC ข้ อ 2052-2141

พระบัญญัติประการ 6 CCC ข้ อ 2331-2400

พระบัญญัติประการ 8 CCC ข้ อ 2464-2513

พระบัญญัติประการ 2 CCC ข้ อ 2142-2167

พระบัญญัติประการ 9 CCC ข้ อ 2514-2533

พระบัญญัติประการ 10 CCC ข้ อ 2534-2557

พระบัญญัติประการ 3 CCC ข้ อ 2168-2195 พระบัญญัติประการ 4 CCC ข้ อ 2196-2257


ห น้ า | 105 วงจรที 1 ชันปี 1 / หน่ วย วงจรที 2 ชันปี หน่ วย วงจรที 3 ชันปี 3 หน่ วย รายวิชา กิต 2 / รายวิชา กิต / รายวิชา กิต หมวดคริสตศาสนธรรม 1

หมวดคริสตศาสนธรรม หมวดคริสตศาสนธรรม 3 2

การภาวนาในชีวิต คริสตชน CCC ข้ อ 25582758

2

บทภาวนาของ องค์พระผู้เป็ น เจ้ า CCC ข้ อ 2759-2865

2

พันธกิจและ การอภิบาล

2

หลักการสอน คําสอน

3

การสอนคําสอน เด็ก

1

การจัดค่ายคํา สอน/ฝึ กปฏิบตั -ิ กิจกรรมคาทอลิก

3

การสอนคําสอน เยาวชน

1

การสอนคําสอน ผู้ใหญ่

1

การใช้ พระคัมภีร์ใน การสอนคําสอน

2

คริสต์ศาสนา ในประเทศไทย

2

วิธีการค้ นพบ ความหมาย ในพระคัมภีร์ JOD

3

วิชาครู-ครูคําสอน

2

หลักศาสนสัมพันธ์

2

ดนตรีศาสนา

2

การเข้ าเงียบฟื นฟู จิตใจ

P

การเข้ าเงียบ ฟื นฟูจิตใจ

P

การเข้ าเงียบ ฟื นฟูจิตใจ

P

รวมทังหมด

20

รวมทังหมด

20

รวมทังหมด

20


ห น้ า | 106

รายการอ้ างอิง คณะกรรมการคาทอลิกเพือคริ สตศาสนธรรม แผนกคริ สตศาสนธรรม.

คู่มือแนะแนวการสอนคําสอนในประเทศไทย. พิมพ์ครังที 3 กรุ งเทพฯ : โรงพิมพ์อสั สัมชัญ, 2553 _____. ประวัติสาขาวิชาคริสตศาสนศึกษา คณะศาสนศาสตร์ วิทยาลัย แสงธรรม, เข้ าถึงเมือ 30 มกราคม 2555, เข้ าถึงได้ จาก http://www.thaicatechesis.com _____. องค์ ประกอบสร้ างชีวิตจิตครูคาํ สอน, เข้ าถึงเมือ 30 มกราคม 2555, เข้ าถึงได้ จาก http://www.thaicatechesis.com คณะศาสนศาสตร์ วิทยาลัยแสงธรรม. หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาคริสตศาสนศึกษา (หลักสูตรปรับปรุ ง พ.ศ. 2556). นครปฐม : โรงพิมพ์แสงธรรม, 2556. วีระ อาภรณ์รัตน์. แนวทางและอัตลักษณ์ ครู สอนคริสตศาสนธรรม.

กรุ งเทพฯ : ปิ ติพานิช, 2551. สํานักงานคําสอนระดับชาติและศูนย์คําสอนอัครสังฆมณฑลกรุ งเทพฯ. คู่มือครู คาํ สอน. กรุ งเทพฯ : โรงพิมพ์อสั สัมชัญ, 2537.


ห น้ า | 107

บทที 6 การอภิบาล การตอบแทน และความรั บผิดชอบครู คาํ สอน

พระศาสนจั ก รคาทอลิ ก ประเทศไทยให้ ความสํ า คั ญ กั บ ครู คําสอนเป็ นอย่างมาก จึงกําหนดนโยบายปฏิบตั ิข้อ 11 เร่ งสรรหาและ พัฒ นาบุ ค ลากรทุ ก ระดับ อย่ า งเป็ นระบบและต่ อ เนื อง พร้ อมทั งจั ด สวัสดิการให้ อย่างเหมาะสมและยุติธรรม ทังนี ให้ มีการสรรหา พัฒนา บํารุ งรักษาบุคลากรคําสอน และด้ วยต้ องปฏิบตั ิหน้ าทีทีสําคัญยิงในนาม ของพระศาสนจักร ครู คําสอนจึงควรได้ รับการดูแลเอาใจใส่อย่างดียิง การอภิบาลครู คาํ สอน เพื อเป็ นการดูแ ลเอาใจใส่ ส่ ง เสริ ม ครู คํ า สอนในทุ ก ๆ ด้ า น จึงต้ องมีการอภิ บาลครู คําสอนทังจากบุคคลและหน่วยงานที เกี ยวข้ อง ตามทีสมณกระทรวงว่าด้ วยเรื องพระสงฆ์ ได้ กล่าวถึง ความจําเป็ นต้ องมี การอภิ บาลครู คําสอนอย่างเหมาะสมโดยคํานึงถึงองค์ ประกอบหลาย ประการ คือ 1) การส่งเสริ มกระแสเรี ยกด้ านการสอนคําสอนในวัดและ ชุม ชนคริ ส ตชนทังหลาย จึง ต้ องส่ง เสริ ม ให้ มีครู คําสอนหลายรู ป แบบ เพือให้ สอดรั บกับผู้คนและการปรับเปลียนในยุคสมัย 2) พยายามจัดหา ครู คําสอนเต็มเวลา (Professional/Fulltime Catechists) และ ครู คําสอน (Part Time Catechists) ให้ เพียงพอต่อการปฏิบัติการตามเป้าหมาย 3) จัดระบบการกระจายครู คําสอนให้ สมดุลยิ งขึน เพื อให้ มีครู คําสอน


ห น้ า | 108

ทัวทุกกลุ่ม 4) สนับสนุนให้ มีจิตตาภิ บาล (Animator) ที มีหน้ าที ใน ระดับสังฆมณฑล ในเขตต่างๆ และประจําวัดต่างๆ 5) จัดระบบการอบรม ครู คําสอนอย่างเหมาะสม ทังด้ านการอบรมขันพืนฐานและด้ านการอบรม ต่อเนือง 6) เอาใจใส่ดแู ลเรื องความต้ องการต่างๆ ของครู คําสอนทังหลาย ทังด้ านส่วนตัวและด้ านจิตใจ โดยเฉพาะจากบรรดาพระสงฆ์ตามชุมชน คริ สตชนต่างๆ 7) ให้ เกิดการประสานงานกันระหว่างครู คําสอนกับผู้ทํา งานอภิ บ าลด้ านอื นๆ ในชุ ม ชนคริ ส ตชนต่ า งๆ เพื อประโยชน์ แ ละ คุณค่าสูงสุดต่องานการประกาศพระวรสารทังหมด การตอบแทนและความรั บผิดชอบครู คาํ สอน แม้ ครู คําสอนจะเป็ นผู้ทีอุทิศตนเพืองานคําสอนอย่างไม่เห็นแก่ ความเหน็ดเหนือย หรื อเพือหวังค่าตอบแทนในเรื องวัตถุสิงของเงินทอง แต่ ข ณะเดี ย วกัน ในการดํ า เนิ น ชี วิต ฝ่ ายกายนัน ครู คํ า สอนจํ า เป็ นที จะต้ อ งได้ รั บ ค่ า ตอบแทนที เหมาะสม สามารถดํ า เนิ น ชี วิ ต ฝ่ ายกาย ได้ อย่างมีคุณภาพ ปั ญหาของการจ่ายค่าตอบแทนที เหมาะสมสําหรั บ ครู คําสอนจึงเป็ นเรื องทีแก้ ไขลําบากทีสุดเรื องหนึง ถ้ า เงินเดือนไม่สงู พอ จะมีผลในแง่ลบหลายประการ และถ้ าครู คําสอนไม่ได้ รับค่าตอบแทนทีดี ก็เสี ยงต่อ การถูก ดูห มินด้ วย แต่ห ากเป็ นค่าตอบแทนที สูงมากก็ จ ะไม่ สอดคล้ องกับธรรมชาติของงานคําสอน แนวทางการแก้ ไขปั ญหา จึงควรพิจารณาค่าตอบแทนสําหรั บ ครู คําสอนตามค่านิยมทีถูกต้ องตามระดับของวัดและระดับสังฆมณฑล โดยพิ จารณาจากสถานการณ์ ด้ านการเงิ นของพระศาสนจักรท้ องถิ น


ห น้ า | 109

(สังฆมณฑล) สถานการณ์ ด้านการเงินของครู คําสอนและของครอบครั ว ของเขาและสภาพเศรษฐกิ จ ทั วไปในปั จจุ บั น ซึ งการตอบแทนนี เป็ นค่าตอบแทนทีอยู่ในรู ปของเงินและทางด้ านจิตใจ เช่น การให้ กําลังใจ ให้ คําปรึกษา ดูแลเอาใจใส่ครู คําสอนและครอบครัว โดยเฉพาะครู คําสอน ที สู ง อายุ พิ ก าร หรื อเจ็ บ ป่ วย ดั ง นั น สั ง ฆมณฑลและวั ด ควรจั ด งบประมาณทีได้ สดั ส่วนเหมาะสมแก่ครู คําสอน และโดยเฉพาะอย่างยิง แก่การอบรมครู คําสอน คริ สตชนเองก็ควรมีส่วนร่ วมในการบริ จาคปั จจัย สนับสนุนครู คําสอน และบุคคลหรื อหน่วยงานใดๆ ก็ ไม่สมควรเบียดบัง เงินทุนสําหรับครู คําสอน เพือไปใช้ สําหรับวัตถุประสงค์อืน เงินและปั จจัย ดังกล่าวข้ างต้ นควรนํ ามาใช้ อภิ บาลครู คําสอนและช่วยทํ าให้ งานสอน คําสอนมีประสิทธิภาพและมีชีวิต สําหรั บ การตอบแทนครู คําสอน พระศาสนจั ก รไม่ลื มความ จําเป็ นจะต้ อง “จัดให้ ครู คําสอนมีสภาพชีวิตความเป็ นอยู่ทีดีพอสมควร และมีหลักประกันสังคม” (AG 17 เทียบ RM 73) และเพื อให้ เกิ ด มาตรฐานและความทัด เที ยมกัน ในเรื องค่ าตอบแทน คณะกรรมการ คาทอลิ ก เพื อคริ ส ตศาสนธรรม แผนกคริ ส ตศาสนธรรมจึ ง ประกาศ กํ าหนดการตอบแทนครู คํา สอน เมือวันที 9 ตุลาคม พ.ศ. 2552 ดังนี (คณะกรรมการคาทอลิกเพือคริ สตศาสนธรรม, 2553: 124)


ห น้ า | 110

1. ผู้ทีเรี ยนจบชันมัธยมศึกษาปี ที 6 หรื อเทียบเท่า และสําเร็ จ การศึกษาที ศูนย์อบรมคริ สตศาสนธรรมระดับชาติ หลักสูตรภาคฤดูร้อน ให้ ส ถาบั น ค าทอ ลิ ก ที เข าสั ง กั ด จ่ าย เงิ น ค่ าเ พิ ม วุ ฒิ เ ที ยบ เท่ า ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) 2. ผู้ทีเรี ยนจบชันมัธยมศึกษาปี ที 6 หรื อเทียบเท่า และสําเร็ จ การศึกษาทีศูนย์ อบรมคริ สตศาสนธรรมระดับชาติ หลักสูตรภาคปกติ (2 ปี ) ให้ สถาบั น คาทอลิ ก ที เขาสัง กั ด จ่ า ยเงิ น ค่ า เพิ มวุ ฒิ เ ที ย บเท่ า อนุปริ ญญา 3. ผู้ ที เรี ย นจบปริ ญญาตรี และไปศึ ก ษาต่ อ ที ศู น ย์ อ บรม คริ ส ตศาสนธรรมระดับชาติ ภาคฤดูร้ อนครบตามหลักสูตรโดยได้ รั บ ทุนการศึกษาจากต้ นสังกัด เมือกลับเข้ าทํางานตามทีต้ นสังกัดมอบหมาย ให้ ได้ รับค่าเพิมวุฒิ 1 ขัน ตามเกณฑ์ของสังฆมณฑลทีสังกัด 4. ผู้ ที เรี ย นจบปริ ญญาตรี และไปศึ ก ษาต่ อ ที ศู น ย์ อ บรม คริ ส ตศาสนธรรมระดับ ชาติ ภาคปกติ ค รบตามหลัก สู ต ร โดยได้ รั บ ทุนการศึกษาจากต้ นสังกัด เมือกลับเข้ าทํางานตามที ต้ นสังกัดมอบหมาย ให้ ได้ รับค่าเพิมวุฒิ 2 ขัน ตามเกณฑ์ของสังฆมณฑลทีสังกัด 5. ผู้ทีเรี ยนจบชันมัธยมศึกษาปี ที 6 หรื อเทียบเท่า เมือเรี ยน จบหลักสูตรที ศูนย์ อบรมคริ สตศาสนธรรมระดับชาติ ทังหลักสูตรภาค ปกติ ห รื อ หลัก สูต รภาคฤดูร้ อน และไปศึก ษาต่ อที วิ ท ยาลัย มารดาพระศาสนจักร (Mater Rcclesiae Missionary College) ทีกรุ งโรม จนสําเร็ จการศึกษา ให้ ได้ รับเงินเดือนเทียบเท่าวุฒิปริ ญญาตรี


ห น้ า | 111

6. ผู้ทีสําเร็ จการศึกษาระดับปริ ญญาตรี และไปศึกษาต่อด้ าน คําสอนทีวิทยาลัยมารดาพระศาสนจักร (Mater ecclesiae missionary college) ที กรุ งโรม โดยได้ รับทุนการศึกษาจากต้ นสังกัด เมือกลับเข้ า ทํางานตามทีต้ นสังกัดมอบหมายให้ ได้ รับเงินค่าเพิมวุฒิ 2 ขัน ตามเกณฑ์ ของสังฆมณฑลทีสังกัด 7. ครู ค าทอลิ ก ที ต้ น สัง กัด ส่ง ไปเรี ย นคํ าสอนภาคฤดูร้ อนที ศูนย์ อบรมคริ สตศาสนธรรมระดับชาติ ขอให้ ผ้ บู ริ หารจ่ายเงินเดือนและ เงินพิเศษเท่าทีครู ในโรงเรี ยนพึงได้ รับ 8. ผู้ ที สํ า เร็ จ การศึ ก ษาสาขาวิ ช าคริ ส ตศาสนศึ ก ษา จาก วิทยาลัยแสงธรรม ระดับปริ ญญาตรี ให้ ได้ รับเงินเดือนอัตราวุฒิปริ ญญา ตรี และขอให้ ผ้ บู ริ หารพิจารณาเพิมค่าความชํานาญพิเศษอย่างตํา 1 ขัน ตามเกณฑ์ของสังฆมณฑลทีสังกัด ทังนี เพื อส่ง เสริ มและสนับ สนุนฆราวาสให้ เข้ ารั บ การอบรม คําสอน เพือจะได้ มีความรู้ ความสามารถ ตระหนักและมีส่วนร่ วมในงาน อภิ บาลและงานธรรมทูต ของพระศาสนจักรอย่ างมีประสิ ทธิ ภาพมาก ยิงขึน ซึงสามารถสรุ ป ได้ ว่ า การตอบแทนครู คําสอน ควรมี ความ เหมาะสม โดยให้ ส ถาบัน คาทอลิ ก หรื อสัง ฆมณฑลพิ จ ารณากํ า หนด ค่า ตอบแทนครู คํ า สอน โดยพิ จารณาจาก 1) คุณ วุฒิ ท างการศึก ษา 2) ประสบการณ์ ใ นการเข้ ารั บ การอบรม ทางด้ า นการสอนคํ า สอน 3) อัต ราเงิ น เดือนตามคุณ วุฒิ ทัวไปและ/หรื อตามเกณฑ์ ข องสถาบัน คาทอลิกหรื อสังฆมณฑลทีครู คําสอนสังกัด


ห น้ า | 112

รายการอ้ างอิง คณะกรรมการคาทอลิกเพือคริ สตศาสนธรรม แผนกคริ สตศาสนธรรม. คู่มือแนะแนวการสอนคําสอนในประเทศไทย. พิมพ์ครังที 3 กรุ งเทพฯ : โรงพิมพ์อสั สัมชัญ, 2553. วัชศิลป์ กฤษเจริ ญ. ข้ อกําหนดการรั บรองครู คาํ สอน. เข้ าถึงเมือ 15 มกราคม 2556, เข้ าถึงได้ จาก http://ccbkk.catholic.or.th/prcomsorn/ccn003.html สํานักงานคําสอนระดับชาติและศูนย์คําสอนอัครสังฆมณฑลกรุ งเทพฯ, ผู้จดั พิมพ์. คู่มือครู คาํ สอน. กรุ งเทพฯ : โรงพิมพ์อสั สัมชัญ, 2537. สมณกระทรวงว่าด้ วยเรื องพระสงฆ์. คู่มือแนะแนวทัวไปสําหรั บการ สอนคําสอน. แปลโดย วีระ อาภรณ์รัตน์, พิมพ์ครังที 4. กรุ งเทพฯ : โรงพิมพ์อสั สัมชัญ, 2549.


ห น้ า | 113

บทที 7 แรงจูงใจในการเข้ ารั บการศึกษาอบรมเพือเป็ น..ครู คาํ สอน

ครู คําสอนมีความสําคัญ ต่ อ ก าร ประ กา ศข่ าวดี แล ะต่ อ พระศาสนจั ก รคาทอลิ ก เพี ย งใด กระบวนการสร้ างครู คํ า สอนก็ มี ความสําคัญมาเพียงนัน ด้ วยเพราะ สภาวการณ์การสอนคําสอนและอัตรากําลังของครู คําสอนของพระศาสนจักรคาทอลิกประเทศไทยทีผ่านมา ทําให้ คณะผู้รับผิดชอบงานคําสอน เล็ ง เห็ น ความจํ า เป็ นในการสร้ างครู คํ า สอนที มี คุณ ภาพและเพี ย งพอ ต่อความต้ องการของแต่ล ะหน่ วยงานในแต่ละสัง ฆมณฑล โดยมีการ 1) กํ าหนดให้ ศูนย์ คําสอนในแต่ละสังฆมณฑลรั บผิ ดชอบการจัดหาครู คําสอนให้ เพี ย งพอต่อความต้ องการ และจัดเตรี ยมความพร้ อมให้ แ ก่ ครู คําสอนด้ วยการส่งครู คําสอนรับการอบรมอย่างต่อเนือง 2) กําหนดให้ วิ ท ยาลัย แสงธรรม เปิ ดสอนหลัก สูต รศิ ล ปศาสตรบัณ ฑิ ต สาขาวิ ช า คริ สตศาสนศึกษา (Bachelor of Arts Program in Christian Studies) ในคณะศาสนศาสตร์ เพื อจัดการเรี ยนการสอนสําหรั บผู้เตรี ยมตัวเป็ น ครู คํ า สอน 3) กํ า หนดให้ ศู น ย์ อ บรมคริ ส ตศาสนธรรมระดั บ ชาติ เปิ ดหลักสูตรอบรมภาคฤดูร้อน จัดการอบรมต่างๆ ทังระยะสันและระยะ ยาว และเป็ นแหล่งศึกษา ค้ นคว้ า ข้ อมูล และให้ บริ การด้ านสืออุปกรณ์


ห น้ า | 114

การสอนคําสอน แต่อย่างไรก็ตาม ยังคงพบปั ญหาในเรื องอัตรากํ าลัง ครู คํ าสอน ด้ วยจํ านวนครู คําสอนที มีอยู่มีจํานวนน้ อย และโดยเฉพาะ อย่ างยิ งจํ านวนของผู้ทีเข้ ารั บ การศึก ษาอบรมเพื อเป็ นครู คํ าสอนทังที วิทยาลัยแสงธรรม และศูนย์ อบรมคริ สตศาสนธรรมระดับชาติ มีจํานวน น้ อยไม่เป็ นไปตามเป้าหมายและไม่เพียงพอต่อความต้ องการจําเป็ นใน การสอนคําสอน ปั ญหาในด้ านจํานวนครู คาํ สอน สภาพระสั ง ฆราชคาทอลิ ก ประเทศไทย ระบุ ถึ ง ปั ญหาว่ า คริ สตชนในชุมชนมีจํานวนมาก แต่บุคลากรคําสอนยังไม่เพียงพอ อีกทั ง แต่ละเขตพืนทีมีความแตกต่างกัน ทังด้ านวัฒนธรรม ประเพณีและภาษา จึงจําเป็ นต้ องสร้ างบุคลากรด้ านคําสอนในระดับชุมชนอย่างต่อเนือง โดย 1) จัดระบบการบริ หารและประสานงานของศูนย์ คําสอนระดับท้ องถิ น และระดับชาติให้ มีประสิทธิ ภาพ 2) สรรหา พัฒนา บํารุ งรั กษาบุคลากร คําสอนและผู้นําชุมชนด้ านคําสอนอย่างต่อเนือง โดยเฉพาะสนับสนุนผู้ที จบปริ ญ ญาโทและเอกสาขาใดก็ ไ ด้ ที มี ป ระสบการณ์ ด้ านคําสอนให้ ศึกษาด้ านคําสอนในหลักสูตรเร่ งรั ด (สภาพระสังฆราชคาทอลิกประเทศ ไทย, 2000: 42) คณะกรรมการคาทอลิกเพือคริ สตศาสนธรรม แผนกคริ สตศาสน ธรรม ระบุถึงปั ญหาว่า 1) สําหรั บหลายๆ โรงเรี ยนยังมีปัญหาเรื องการ ขาดแคลนครู คําสอนทีชํานาญการ และเวลาทีเหมาะสมสําหรับการเรี ยน คําสอน และ ผู้นําทางจิตวิญญาณยังมีจํานวนน้ อย ทีสามารถฝึ กอบรม คริ สตชนให้ ได้ สมั ผัสพระเจ้ า คริ สตชนส่วนใหญ่จึงยังขาดความรู้ ทีแท้ จริ ง


ห น้ า | 115

และขาดแรงบันดาลใจในการดําเนิ นชีวิตตามพระวาจา (คณะกรรมการ คาทอลิกเพือคริ สตศาสนธรรม, 2553: 14-16) และในการประชุ ม คณะกรรมาธิ ก ารฝ่ ายอภิ บ าลคริ ส ตชน สภาพระสังฆราชคาทอลิกแห่งประเทศไทย คณะกรรมการคาทอลิกเพือ คริ สตศาสนธรรม แผนกคริ สตศาสนธรรม ระบุว่า ในช่วงปี 2550-2555 พบว่ามีปัญหาและข้ อเสนอแนะเกียวกับจํานวนครู คําสอน สรุ ปได้ ดงั นี ปี 2550 พบว่ามีปัญหา การขาดบุคลากรประจําทีทํางานด้ าน คําสอน ปี 2551 พบว่ามีปัญหาในด้ าน 1) การติดตามประสานงาน ล่าช้ าและตอบสนองกับความต้ องการของสมาชิกทีจะให้ มีทีมงานอภิบาล และประกาศข่าวดีของคณะไปทํากิจกรรมตามโรงเรี ยนต่างๆไม่ได้ อย่าง ทัวถึง และ 2) บุคลากรน้ อย และงบประมาณจํากัด และมีข้อเสนอแนะใน ด้ าน 1) คณะกรรมการผู้รั บ ผิ ด ชอบงานสอนคําสอนควรช่ วยกัน ดูแ ล เอาจริ งเอาจังในการวางแผนการดําเนินงานร่ วมกัน สร้ างทีมงานทีใหญ่ เข้ มแข็งและเอาจริ งเอาจังกับงานด้ านคําสอนมากขึนกว่าเดิม และช่วยกัน ดํ า เนิ น การให้ เ ป็ นรู ป ธรรมมากยิ งขึนในแต่ล ะโครงการ และ 2) ควร ส่ ง เสริ ม บุ ค คลใหม่ ๆ เข้ ารั บ การศึ ก ษาหลัก สู ต รศิ ล ปศาสตรบั ณ ฑิ ต สาขาวิชาคริ สตศาสนศึกษา ทีวิทยาลัยแสงธรรม หรื อเข้ ารั บการอบรม คําสอนภาคฤดูร้อนทีศูนย์ อบรมคริ สตศาสนธรรมระดับชาติ ให้ มากขึ น ปี 2552 พบว่ามีปัญหาในด้ าน 1) ขาดเยาวชนทีสนใจในงาน คําสอนทีจะผลักดันส่งเสริ มให้ เขาได้ รับการฝึ กอบรมในขันสูงต่อไปเพือ เป็ นครู คําสอน 2) จํานวนนักศึกษาทีเข้ ารับการศึกษาทีวิทยาลัยแสงธรรม


ห น้ า | 116

และรับการอบรมโดยพักทีศูนย์คริ สตศาสนธรรมระดับชาติมีจํานวนลดลง ทุกปี และมีข้อเสนอแนะในด้ าน 1) แต่ละสังฆมณฑลควรเตรี ยมบุคลากร เพือทํางานด้ านคําสอนในแต่ละศูนย์ คําสอนอย่างต่อเนืองอย่างน้ อย วาระ ละ 5 ปี 2) ในแต่ละสังฆมณฑลควรสนับสนุนครู คําสอนเข้ ารั บการศึกษา อบรมต่างๆ เพิ มเติม ในวิทยาลัยแสงธรรม ศูนย์ อบรมคริ สตศาสนธรรม ระดับชาติ ศูนย์ คําสอนของแต่ละสังฆมณฑล และการอบรมหลักสูตรระยะ สันต่างๆ รวมถึงเยาวชนทีจะเตรี ยมเป็ นบุคลากรด้ านคําสอนในโรงเรี ยนหรื อ วัดต่างๆ ต่อไป 3) แต่ละสังฆมณฑลควรส่งนักศึกษามาเรี ยนทีวิทยาลัย แสงธรรม และรับ การอบรมโดยพัก อยู่ที ศูน ย์อ บรมคริ ส ตศาสนธรรม อย่างน้ อ ยสัง ฆมณฑลละ 1 คนต่อปี เพื อให้ มีน กั ศึกษาที จะเรี ย นเป็ น ครู คําสอนได้ อย่างน้ อยปี ละ 10 คน 4) ในการคัดเลือกนักศึกษาทีจะส่ง มาเรี ย นในข้ อ 3) นันขอให้ คัด เลื อ กบุ ค คลที มี พื นฐานชี วิ ตคริ ส ตชนดี พอสมควร มีความรับผิดชอบ และมีความสุภาพพอทีจะยอมรับการอบรม จากผู้ใหญ่ และสามารถปรับปรุ งเปลียนแปลงพฤติกรรมของตนได้ ปี 2554 พบว่ามีปัญหาในด้ าน จํานวนของนักศึกษาทีมาเรี ยน ทีวิทยาลัยแสงธรรม และจํานวนผู้ทีเข้ ารั บการอบรมในภาคฤดูร้อนของ ศูนย์อบรมคริ สตศาสนธรรมระดับชาติ มีจํานวนน้ อย ปี 2555 พบว่ า มี ปั ญหาในด้ าน 1) การโยกย้ ายและ เปลียนแปลงผู้รับผิดชอบงานคําสอนของสังฆมณฑล 2) ข้ อจํากัดเรื อง ระยะทางในการติ ด ตามเยี ยมเยี ย นครู คํ าสอน และมีข้ อ เสนอแนะว่ า ควรช่วยกันประชาสัมพันธ์ให้ มีนกั ศึกษามาเรี ยนทีวิทยาลัยแสงธรรม และ


ห น้ า | 117

มีผ้ มู าเข้ ารับการอบรมทีศูนย์อบรมคริ สตศาสนธรรมระดับชาติให้ มากขึน เพือให้ มีครู ฝ่ายอภิบาลสําหรับทํางานในวัดและโรงเรี ยนมากขึน จากนโยบายของพระศาสนจัก รคาทอลิ ก ประเทศไทย และ ปั ญหาทีนําเสนอข้ างต้ น โดยเฉพาะข้ อเสนอแนะในเรื องของการส่งเสริ ม สนับสนุน เตรี ยมบุคคลให้ เข้ ารับการศึกษาอบรมในหลักสูตรศิลปศาสตรบัณ ฑิ ต สาขาวิ ช าคริ ส ตศาสนศึก ษา ที วิ ท ยาลัย แสงธรรม และ/หรื อ การเข้ ารั บการศึกษาอบรมครู คําสอนภาคฤดูร้ อน ที ศูนย์ อบรมคริ สตศาสนศึกษาระดับชาติ และในฐานะหนึงทีผู้เขียนเป็ นครู ผ้ สู อนนักศึกษา สาขาวิชาคริ สตศาสนธรรมทีวิทยาลัยแสงธรรม ได้ สอน พบปะพูดคุยกับ นักศึกษาทีเข้ ามารับการศึกษาอบรมเพือเป็ นครู คําสอน จึงทําให้ มีโอกาส ได้ ทราบถึงเหตุผล แรงจูงใจ ความตังใจ และแนวคิดของการมาเข้ ารั บ การศึ ก ษาอบรมเพื อเป็ น ครู คํ า สอนของนั ก ศึ ก ษาบ้ างพอสมควร ในขณะเดี ยวกัน ก็ เห็ น ความสําคัญ ของแรงจูง ใจซึงเป็ น สิ งเร้ าหรื อสิ ง กระตุ้ นที เกิ ด จากภายใน หรื อ ภายนอกตัว นั ก ศึ ก ษาที จะช่ ว ยทํ า ให้ นักศึกษาประพฤติ ปฏิบตั ิตนไปในทิศทางและเป้าหมายทีต้ องการ นันคือ การเป็ นครู คําสอนทีดี ซึงคณะกรรมการคาทอลิกเพื อคริ สตศาสนธรรม แผนกคริ สตศาสนธรรม (2553 : 113) ระบุว่า ควรเลือกผู้ทีมีแรงจูงใจ ในเชิ ง บวก แสดงออกถึ ง ความเชื อและความศรั ท ธาในการเจริ ญ ชีวิตประจําวัน มีนําหนึงใจเดียวกับผู้อภิบาลและผู้ร่วมงาน มีจิตตารมณ์ เยียงธรรมทูต มีความกระตือรื อร้ นทีจะแพร่ ธรรม รักเพือนพีน้ อง สนใจที จะถ่ายทอดหลักการและชีวิตของพระเยซูคริ สตเจ้ า โดยการสอนและเป็ น แบบอย่างทีดีของชีวิต


ห น้ า | 118

ผู้เ ขี ย นจึ ง ทํ า การศึก ษาเกี ยวกับ แรงจูงใจในการเข้ ารั บการศึกษา อ บ ร ม เ พื อ เ ป็ น ค รู คํ า ส อ น เ พื อ ท ร า บ ถึ ง อ ง ค์ ป ร ะ ก อ บ แ ร ง จู ง ใ จ ที ส่ ง ผ ล ใ ห้ บุ ค ค ล ตัดสินใจ เข้ ารับการศึกษาอบรม เพือเป็ นครู คําสอน และทราบแนวทางการเสริ มสร้ างแรงจูงใจในการเข้ า รับการศึกษาอบรมเพือเป็ นครู คําสอน ทังนีเพือให้ หน่วยงาน องค์กรต่างๆ ของพระศาสนจัก รคาทอลิ ก ประเทศไทยนํ าไปใช้ เป็ นแนวทางในการ ส่งเสริ ม สนับสนุน เตรี ยมบุคคลเป็ นครู คําสอนที มีคุณ ภาพ มีจํ านวน เพียงพอต่อการปฏิบตั ิงานสอนคําสอน พันธกิจทีสําคัญยิงของพระศาสนจักรคาทอลิก ในการศึกษาผู้เขียนได้ สอบถามถึงแรงจูงใจของนักศึกษาทีเข้ า รั บ การฝึ กอบรมเพื อเป็ นครู คํ า สอน ในหลัก สูต รศิ ล ปศาสตรบั ณ ฑิ ต สาขาวิชาคริ สตศาสนศึกษา ชันปี ที 1-4 วิทยาลัยแสงธรรม ปี การศึกษา 2555 จํานวน 76 คน และนักศึกษาทีเข้ ารั บการฝึ กอบรมภาคฤดูร้อนที ศูนย์อบรมคริ สตศาสนธรรมระดับชาติ ในปี 2555 จํานวน 127 คน และ นํ า ข้ อ มูล มาวิ เ คราะห์ ห าองค์ ป ระกอบแรงจู ง ใจโดยใช้ การวิ เ คราะห์ องค์ประกอบเชิงสํารวจ (Exploratory Factor Analysis) ผลการศึกษา พบว่า


ห น้ า | 119

แรงจูงใจในการเข้ ารั บการศึกษาอบรมเพือเป็ นครู คําสอน ของ นักศึกษาหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาคริ สตศาสนศึกษา คณะศาสนศาสตร์ วิทยาลัยแสงธรรม มี 6 องค์ประกอบ คือ องค์ ประกอบที 1 หลักสูตรการเรี ยนการสอน ตัว แปรหลัก ในองค์ ประกอบนี ที เป็ นแรงจูง ใจในการเข้ ารั บ การศึกษาอบรม ได้ แก่ 1) หลักสูตรตรงกับความต้ องการ 2) หลักสูตรตรง กับ บุ ค ลิ ก ลัก ษณะของตนกับ งานที ต้ อ งรั บ ผิ ด ชอบ 3) เมื อเรี ย นแล้ ว สามารถนําไปใช้ ในชีวิตประจําวันได้ 4) มีการกําหนดหลักสูตรได้ อย่างดี เหมาะสม 5) เมือสําเร็ จการศึกษาแล้ วสามารถนําวุฒิการศึกษาไปศึกษา ต่อในระดับทีสูงขึนได้ และ 6) มีสือและวัสดุอปุ กรณ์ การเรี ยนการสอนทีดี และเหมาะสม องค์ ประกอบที 2 การเพิ มพู น ชี วิ ต ภายในและชี วิ ต ภายนอก ตัว แปรหลัก ในองค์ ประกอบนี ที เป็ นแรงจูง ใจในการเข้ ารั บ การศึกษาอบรม ได้ แก่ 1) ต้ องการสร้ างชีวิตภายในให้ เข้ มแข็งมากยิงขึน 2) ต้ องการความรู้ ไปพัฒนาชุมชน สังคม 3) ต้ องการเพิมพูนความรั ก ความเชือ และกระแสเรี ยกของตนให้ ดีขนึ 4) ต้ องการมีความรู้ สอดคล้ อง กับการเปลียนแปลงทางสังคม 5) ต้ องการพัฒนาตนเองตามทีคาดหวังไว้ 6) ต้ องการเพิมพูนความรู้ ทักษะ ประสบการณ์ เพือเป็ นครู คําสอนทีดี 7) ต้ องการทักษะการวิเคราะห์สงั เคราะห์แก้ ปัญหาได้ ดีขนึ 8) ต้ องการ ท้ าทายสติปัญญา ความสามารถของตน


ห น้ า | 120

องค์ ป ระกอบที 3 ความก้ าวหน้ าในหน้ า ทีการงานและ การเงิน ตัว แปรหลัก ในองค์ ประกอบนี ที เป็ นแรงจูง ใจในการเข้ ารั บ การศึกษาอบรม ได้ แก่ 1) ต้ องการยกระดับฐานะตําแหน่งหน้ าทีการงาน ของตน 2) ต้ องการยกระดับความเป็ นอยู่ของตน 3) เมือสําเร็ จการศึกษา จะทําให้ มีงานทํา มีเงินเดือน และ 4) ต้ องการมีความรู้ /วุฒิการศึกษา เพิมขึนเพือความก้ าวหน้ าในอาชีพการงาน องค์ ประกอบที 4 คุณภาพของคณาจารย์ ตัว แปรหลัก ในองค์ ประกอบนี ที เป็ นแรงจูง ใจในการเข้ ารั บ การศึกษาอบรม ได้ แก่ 1) คณาจารย์ มีความกระตือรื อร้ นในการทํางาน 2) คณาจารย์ มีวิธีสอนที มีประสิทธิ ภาพ 3) คณาจารย์ให้ ความสําคัญ แก่นักศึกษาเท่าเทียมกัน และ 4) สถาบันมีบุคลากรพร้ อมในการดูแล บริ การให้ คําแนะนํา องค์ ประกอบที 5 ทุนการศึกษา ตัว แปรหลัก ในองค์ ประกอบนี ที เป็ นแรงจูง ใจในการเข้ ารั บ การศึกษาอบรม ได้ แก่ 1) ได้ รับทุนการศึกษาอบรม 2) หลักสูตรทีเรี ยน มีค่าธรรมเนียมการศึกษาน้ อยกว่าหลักสูตรอืนๆ และ 3) มีค่าเดินทาง และมีคา่ ใช้ จ่ายในส่วนอืนๆ ในการเรี ยนน้ อย องค์ ประกอบที 6 การได้ รับคําแนะนํา ตัว แปรหลัก ในองค์ ประกอบนี ที เป็ นแรงจูง ใจในการเข้ ารั บ การศึกษาอบรม ได้ แก่ 1) การได้ รับคําแนะนําจากผู้ให้ ทนุ สนับสนุนให้ เข้ า กับการศึกษาอบรม 2) การได้ รับคําแนะนําจากบาทหลวง/นักบวชให้ เข้ า


ห น้ า | 121

รั บการศึกษาอบรม และ 3) การได้ รับคําแนะนํ าจากพ่อแม่ให้ เข้ ารั บ การศึกษาอบรม แรงจู ง ใจในการเข้ ารั บการศึ ก ษาอบรมเพื อเป็ นครู คํ า สอน ของนั ก ศึ ก ษาหลั ก สู ต รการอบรมครู คํ า สอนภาคฤดู ร้ อน ศู น ย์ อบรมคริสตศาสนธรรมระดับชาติ มี 5 องค์ประกอบ คือ องค์ ประกอบที 1 การเพิ มพู น ชี วิ ต ภายในและชี วิ ต ภายนอก ตัว แปรหลัก ในองค์ ประกอบนี ที เป็ นแรงจูง ใจในการเข้ ารั บ การศึกษาอบรม ได้ แก่ 1) ต้ องการสร้ างชีวิตภายในให้ เข้ มแข็งมากยิงขึน 2) ต้ องการเพิ มพูนความรั ก ความเชือ และกระแสเรี ยกของตนให้ ดีขึน 3) ต้ องการนําความรู้ ไปพัฒนาชุมชน สังคม 4) ต้ องการเพิมพูนความรู้ ทักษะ ประสบการณ์ เพือเป็ นครู คําสอนทีดี 5) ต้ องการพัฒนาตนเอง ตามที คาดหวังไว้ 6) ต้ องการให้ ชีวิตเปลียนไปในทางที ดีขึน และ 7) ต้ องการทีจะพัฒนางานทีทําอยู่ให้ มีประสิทธิภาพดียิงขึน องค์ ประกอบที 2 ความก้ าวหน้ าในหน้ า ทีการงานและ การเงิน ตัว แปรหลัก ในองค์ ประกอบนี ที เป็ นแรงจูง ใจในการเข้ ารั บ การศึกษาอบรม ได้ แก่ 1) ต้ องการยกระดับฐานะตําแหน่งหน้ าทีการงาน ของตน 2) เมือสํ า เร็ จ การศึก ษา จะทํ า ให้ ไ ด้ รั บ เงิ น เดือนเพิ มขึ น 3) ต้ องการยกระดับฐานะความเป็ นอยู่ของตน 4) เมือสําเร็ จการศึกษา ทําให้ มีโอกาสได้ งานใหม่ทีดีกว่าเดิม 5) ต้ องการมีคุณวุฒิการศึกษา สูงขึน 6) ต้ องการทีจะเปลียนสายงานมาเป็ นครู คําสอน 7) ต้ องการให้


ห น้ า | 122

ตนเองเป็ นทียอมรับของคนอืน และ 8) เมือสําเร็ จการศึกษาแล้ ว สามารถ หางานได้ ง่าย/มีงานรองรับ องค์ ประกอบที 3 คุณภาพของคณาจารย์ ตัว แปรหลัก ในองค์ ประกอบนี ที เป็ นแรงจูง ใจในการเข้ ารั บ การศึกษาอบรม ได้ แก่ 1) คณาจารย์ ให้ ความสําคัญและมีความเป็ น กันเองกับนักศึกษาเท่าเทียมกัน 2) คณาจารย์มีความกระตือรื อร้ นในการ ทํางาน เปิ ดโอกาสให้ นักศึกษามีส่วนร่ วมในกิ จกรรมการเรี ยนการสอน 3) คณาจารย์ มีความรู้ เป็ นที ยอมรั บในวงการศึกษา มีวิธีการสอนที มี ประสิทธิภาพ และ 4) มีสือและวัสดุอปุ กรณ์ ประกอบการเรี ยนการสอนที ดีและเหมาะสม องค์ ประกอบที 4 หลักสูตร ตัว แปรหลัก ในองค์ ประกอบนี ที เป็ นแรงจูง ใจในการเข้ ารั บ การศึกษาอบรม ได้ แก่ 1) หลักสูตรตรงกับความรู้ ทีต้ องการ 2) หลักสูตร เป็ นทีต้ องการของหน่วยงาน 3) หลักสูตรสอดคล้ องกับลักษณะงานทีต้ อง รับผิดชอบ 4) หลักสูตรตรงกับบุคลิกลักษณะของตน 5) มีการกําหนด หลักสูตรได้ อย่างดี เหมาะสม องค์ ประกอบที 5 ทุนการศึกษา ตัว แปรหลัก ในองค์ ประกอบนี ที เป็ นแรงจูง ใจในการเข้ ารั บ การศึกษาอบรม ได้ แก่ 1) ได้ รับทุนการศึกษาอบรม 2) หลักสูตรมี ค่าธรรมเนียมการศึกษาน้ อยกว่าหลักสูตรอืนๆ และ 3) มีคา่ ใช้ จ่ายในส่วน อืนๆ ในการเรี ยนน้ อย


ห น้ า | 123

จากผลทีได้ จากการสอบถามถึงแรงจูงใจในการมาเข้ ารับการศึกษา อบรมของนักศึกษาสาขาวิชาคริ สตศาสนศึกษา วิทยาลัยแสงธรรม และ นักศึกษาภาคฤดูร้อน ศูนย์ อบรมคริ สตศาสนธรรมระดับชาติ สามารถ สรุ ปองค์ประกอบแรงจูงใจดังกล่าวได้ ดงั นี องค์ ประกอบแรงจูงใจในการเข้ ารับการศึกษาอบรมเพือเป็ นครูคาํ สอน กลุ่มนักศึกษา กลุ่มนักศึกษา สาขาวิชาคริสตศาสนศึกษา ภาคฤดูร้อน 1.หลักสูตรการเรี ยนการสอน 1.การเพิ มพูน ชี วิ ต ภายในและชี วิ ต ภายนอก 2.การเพิ มพูน ชี วิ ต ภายในและชี วิ ต 2.ความก้ าวหน้ า ในหน้ า ที การงาน ภายนอก และการเงิน 3.ความก้ าวหน้ า ในหน้ า ที การงาน 3.คุณภาพของคณาจารย์ และการเงิน 4.คุณภาพของคณาจารย์ 4.หลักสูตร 5.ทุนการศึกษา 5.ทุนการศึกษา 6.การได้ รับคําแนะนํา -

จากองค์ประกอบแรงจูงใจในการมาเข้ ารับการศึกษาอบรมเพือ เป็ นครู คํ า สอนของนั ก ศึ ก ษาสาขาวิ ช าคริ ส ตศาสนศึ ก ษา วิ ท ยาลั ย แสงธรรม และนัก ศึกษาภาคฤดูร้ อน ของศูน ย์ อบรมคริ ส ตศาสนธรรม ระดับชาติ จะเห็ นได้ ว่ามีความใกล้ เคียงกัน ถึงแม้ ในรายละเอียดหรื อ บริ บทในการจัดการศึกษาอบรมของสองหลักสูตรจะมีความแตกต่างกัน


ห น้ า | 124

และเมือผู้เขียนได้ นํารายละเอียดองค์ประกอบแรงจูงใจในการ เข้ ารั บ การศึก ษาอบรมเพื อเป็ นครู คํ า สอนดั ง กล่ า วข้ างต้ น เสนอต่ อ ผู้ทรงคุณวุฒิ จํานวน 14 คน (รายละเอียดดังเอกสารภาคผนวกท้ ายบท) เพือพิจารณายืนยันองค์ประกอบและให้ แนวทางการเสริ มสร้ างแรงจูงใจ ในการเข้ ารั บการศึกษาอบรมเพื อเป็ นครู คําสอน ผู้ท รงคุณวุฒิมีความ คิดเห็น สรุ ปได้ ดงั นี ผลการยื นยัน องค์ ป ระกอบแรงจูงใจในการเข้ ารั บการศึกษา อบรมเพือเป็ นครู คําสอน ผู้ทรงคุณวุฒิสว่ นใหญ่มีความคิดเห็นสอดคล้ อง กันว่า องค์ ประกอบแรงจูงใจในการเข้ ารั บการศึกษาอบรมเพื อเป็ นครู คําสอน มีความถูกต้ องครอบคลุม (Accuracy Standards) เหมาะสม (Propriety Standards) เป็ นไปได้ (Feasibility Standards) และเป็ น ประโยชน์ (Utility Standards) โดยมีเหตุผลและข้ อคิดเห็นเพิ มเติม กล่าวคือ องค์ ประกอบแรงจูงใจในการตัดสินใจเข้ ารั บการศึกษาอบรม เพือเป็ นครู คําสอนนัน เป็ นแรงจูงใจทีครอบคลุมทุกภาคส่วนทีเกียวข้ อง สําหรับผู้เป็ นครู คําสอน มีความสัมพันธ์ กบั การตัดสินใจเข้ ารับการศึกษา อบรมเพือเป็ นครู คําสอน และตัวแปรในแต่ละองค์ ประกอบ ครอบคลุม แรงจูงใจสําหรั บครู คําสอน ทังด้ านจิตใจ ความเป็ นอยู่ในชีวิตครู คําสอน ทุน การศึกษา ที เป็ นทังแรงจูง ใจภายในตัวนัก ศึก ษาเองและแรงจูง ใจ ภายนอก ทั งนี เพราะเป็ นการเก็ บ ข้ อมู ล จากกลุ่ ม ผู้ เข้ ารั บ การอบรม โดยตรง และองค์ ป ระกอบที ได้ นั น เป็ นปั จ จัย หลัก ที ทํ า ให้ นั ก ศึ ก ษา ตัดสินใจเลือกเรี ยนเป็ นครู คําสอน โดยเฉพาะองค์ ประกอบการพัฒนา ชีวิตภายในและชี วิตภายนอก ที เห็นได้ ว่าผู้ให้ ข้อมูลให้ ความสําคัญมิติ


ห น้ า | 125

ด้ านจิ ตใจเป็ นอย่างมาก องค์ ประกอบความก้ าวหน้ าในหน้ าที การงาน และการเงิน และองค์ประกอบทุนการศึกษา องค์ประกอบแรงจูงใจในการ เข้ ารั บ การศึก ษาอบรมเพื อเป็ นครู คําสอนนี จึงเป็ นข้ อมูล ที จะช่ วยให้ 1) ทราบความต้ องการทีแท้ จริ งของนักศึกษาทีกําลังเตรี ยมตัวจะเป็ นครู คําสอนของพระศาสนจักรหรื อทีเป็ นครู คําสอนอยู่แล้ ว 2) ผู้บริ หารงาน คําสอนในระดับต่างๆ นําไปพิจารณาเสริ มสร้ างแรงจูงใจแก่เด็ก เยาวชน และนั ก ศึ ก ษา เพื อจะได้ มี ผ้ ู มาเรี ยนเป็ นครู คํ า สอนมาก ยิ งขึ น 3) ผู้ บัง คับ บัญ ชานํ า ไปใช้ เ ป็ นข้ อ มูล พื นฐานเพื อเสริ ม สร้ างแรงจู ง ใจ ทางบวกให้ ครู คําสอนมากยิงขึน และมีผ้ ูทรงคุณวุฒิบางท่าน ให้ ความ คิดเห็นเพิมเติมว่า ยังมีปัจจัยภายนอกบางประการทีควรคํานึงถึงเพราะ น่าจะมีอิทธิพลต่อการตัดสินใจเข้ ารับการศึกษาอบรมเพือเป็ นครู คําสอน เช่น 1) พ่อแม่เห็ นว่าอาชี พนี ดี ไม่มีความเสียง ลูก น่าจะมีความสุขใน อาชีพนี 2) พ่อแม่เคยเป็ น ครู คําสอนหรื อเป็ นนักบวชมาก่อนก็ชกั นําลูก ไปในทางทีตัวเองเคยทํา 3) นักศึกษาอาจเห็นว่าอาชีพนีมีเกียรติในสังคม มีความมันคง พอเพียง ไม่เสียง อยู่ใกล้ วดั ใกล้ บ้าน และองค์ประกอบที น่าจะมีอิทธิ พลสูงสุดในยุคปั จจุบัน คือ องค์ประกอบความก้ าวหน้ าใน หน้ าทีการงานและการเงิน และองค์ประกอบทุนการศึกษา แนวทางการเสริ มสร้ างแรงจูงใจในการเข้ ารั บการศึกษาอบรมเพือ เป็ นครู คาํ สอน แนวทางการเสริ มสร้ างแรงจูงใจในการเข้ ารับการศึกษาอบรม เพือเป็ นครู คําสอน เพือใช้ เป็ นแนวทางการเสริ มสร้ างแรงจูงใจให้ บุคคล


ห น้ า | 126

มาเข้ ารับการศึกษาอบรมเพือเป็ นครู คําสอนมากขึน รวมทังเป็ นแนวทาง ในการจูงใจให้ ผ้ ทู ีมาเข้ ารั บการศึกษาอบรมอยู่ในขณะนีให้ มีแรงจูงใจใน การศึกษาอบรมจนจบและไปทํางานด้ านคําสอนได้ อย่างดีด้วยความรั ก และยินดี ตามความคิดเห็นของผู้ศกึ ษาวิจยั และผู้ทรงคุณวุฒิ สรุ ปได้ ดงั นี 1. การเพิมพูนชีวิตภายในและภายนอก 1.1 ในการศึกษาอบรม ควรสร้ างความรู้ ความเข้ าใจและ ประโยชน์ทีได้ จากการศึกษาอบรมทังด้ านชีวิตภายในและชีวิตภายนอก ควรเน้ นรายวิชาทีเกียวข้ องกับชีวิตภายในมากขึน ทังในด้ านทฤษฎีและ ปฏิ บั ติ (เช่ น การเข้ าเงี ย บฟื นฟู จิ ต ใจอย่ า งสมํ าเสมอด้ วยวิ ธี ก าร ทีหลากหลาย การออกไปฝึ กสอนคําสอนทีวัดหรื อโรงเรี ยน) เสริ มสร้ าง ความเชือความศรัทธาแท้ จริ งให้ ผ้ เู รี ยน ให้ เห็นคุณค่าและได้ สมั ผัสความ สงบฝ่ ายจิตใจ ให้ ได้ ประสบการณ์ ตรงจากชีวิต ได้ สมั ผัสบุคคลตัวอย่าง และด้ วยประสบการณ์ ของตนมีความสําคัญและยังยืน ให้ เจริ ญชี วิตที สมบูรณ์ สําหรั บชีวิตภายนอกให้ ฝึกเป็ นบุคคลที เป็ นผู้นําแบบพระเยซู คริ สตเจ้ า มีความสง่างาม มีมารยาทและคุณสมบัติทีเหมาะสม 1.2 ในการเรี ย นรู้ เน้ น ให้ ส ามารถตอบโจทย์ ใ นสังคมได้ มีความรู้ ทีลึกซึงร่ วมกับวิธีการถ่ายทอดทีดีจะช่วยให้ พวกเขาสําเร็ จในการ สอนคําสอน 1.3 ผู้บริ หารส่งเสริ มชีวิตของครู คําสอนให้ เปลียนแปลงไป ในทางทีดีขนและพั ึ ฒนางาน/หน้ าทีทีทําอยู่ให้ มีประสิทธิภาพมากยิงขึน


ห น้ า | 127

1.4 ผู้บริ หารส่งเสริ มและสนับสนุนครู คาทอลิกทีต้ องการ สร้ างชีวิตภายในให้ เข้ มเข็งมากยิงขึน และสนับสนุนให้ ครู คาทอลิกมาเข้ า รับการอบรมเป็ นครู คําสอนให้ มากขึน 1.5 พระสงฆ์/นักบวช ช่วยเพิมพูนความรัก ความเชือ และ กระแสเรี ยกให้ แก่ผ้ ทู ีสมัครจะเป็ นครู คําสอนให้ ดีขนึ 1.6 ผู้มีสว่ นเกียวข้ องเปิ ดรับฟั งความคิดเห็นและให้ คณ ุ ค่า กับครู คําสอนหรื อผู้ทีจะเป็ นครู คําสอนมากขึน 1.7 จัดให้ มีคณะกรรมการคําสอนในระดับวัด และฝ่ าย จิตตาภิบาลในสถานศึกษาคาทอลิกร่ วมทํางานรับผิดชอบในเรื อง 1) การ เสริ มสร้ างจิตสํานึกรับผิดชอบร่ วมกันในการสอนคําสอน 2) วางแผนงาน คําสอนอย่างเหมาะสม โดยเน้ นการมีสว่ นร่ วมอย่างแข็งขันของครู คําสอน 3) ส่งเสริ มและสนับสนุนกระแสเรี ยกครู คําสอน 4) บูรณาการงานคําสอน เข้ าไปอยู่ในแผนอภิ บาลของวัดและสถานศึกษาและมีการติดตามงาน คําสอนอย่างต่อเนือง 1.8 กลุ่มคริ สตชนให้ การยอมรั บ ให้ เกี ยรติ และให้ ความ ร่ วมมือกับครู คําสอน 2. ความก้ าวหน้ าในหน้ าทีการงานและการเงิน 2.1 ให้ เกียรติทางสังคมในตําแหน่ง “ครู คําสอน” 2.2 จัดระบบโครงสร้ างเงิ นเดือน/ค่าตอบแทนให้ สูงกว่า ครู ทวไป/วุ ั ฒิการศึกษาทัวไป อย่างชัดเจนและให้ แต่ละหน่วยงานใช้ เป็ น แนวปฏิบตั ิทีเหมือนกัน/เท่าเทียมกันทัวประเทศ 2.3 มีสวัสดิการอืนๆ เพือครอบครัวของครู คําสอน


ห น้ า | 128

2.4 มี ก ารกํ า หนดวิ ท ยฐานะสํ า ห รั บครู คํ า สอนที มี ประสบการณ์และปฏิบตั ิงานได้ ดีเด่น 2.5 มีก ารจัด ทํ า แผนความก้ าวหน้ าของครู คํ าสอนเป็ น รายบุคคล 2.6 มี ก า ร ฝึ ก อ บ ร ม เ พื อ พั ฒ น า ค ว า ม รู้ ทั ก ษ ะ ประสบการณ์ อย่างสมําเสมอ 2.7 นํ าผลการเข้ ารั บการฝึ กอบรมเพิ มเติม มาพิ จ ารณา ตําแหน่งงานและการให้ คา่ ตอบแทน 2.8 มี ก ารกํ า หนดตํ า แหน่ ง และบทบาทหน้ าที ความ รับผิดชอบของบุคลากรด้ านคําสอนอย่างชัดเจน 2.9 หน่ วยงานให้ ความสํ าคัญ กับงานคําสอน (วัด: การ สอนคําสอน โรงเรี ยน: งานจิตตาภิบาล) 3. คุณภาพของคณาจารย์ 3.1 มีคณาจารย์ ทีมีประสบการณ์ สอนคําสอนยาวนาน/ ผู้ ที ได้ รั บ การยอมรั บ ในแวดวงคํ า สอน มาสอน แบ่ ง ปั นความรู้ ประสบการณ์ชีวิต 3.2 ส่ ง เสริ มคณาจารย์ ให้ ได้ มี โ อกาสพั ฒ นาตนเอง ศึกษาวิจยั ถึงวิธีการสอนคําสอนทีตรงกับความสนใจ ความต้ องการของ ผู้เรี ยน (ปั จจุบนั ส่วนมากผู้ใหญ่จะคิดและบังคับเขาเรี ยน) 3.3 คณาจารย์ควรมีความกระตือรื อร้ นในการทํางาน มีวิธี สอนและการใช้ สื อการเรี ย นการสอนที มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ สอนได้ อ ย่ า ง น่าสนใจ ประยุกต์เนือหาให้ ร่วมสมัย ไม่เน้ นเทวศาสตร์ มากเกินไปควรให้


ห น้ า | 129

เพี ย งพอสํ า หรั บ การนํ า ไปใช้ จ ริ ง เท่ า นัน (เรี ย นเพื อเป็ นครู ไ ม่ ใ ช่ เ ป็ น พระสงฆ์ /นั ก บวช) และให้ ความสํ า คั ญ แก่ ผ้ ู เรี ยนเท่ า เที ย มกั น มีสมั พันธภาพทีดีตอ่ ผู้เรี ยน ดูแลติดตามผู้เรี ยนอย่างต่อเนือง 3.4 ส่ ง เสริ ม การเชื อมโยงเครื อ ข่ า ยของคณาจารย์ กั บ หน่วยงานอืนๆ ทีเกียวข้ อง 3.5 สร้ างขวัญ กํ าลัง ใจให้ คณาจารย์ ทังด้ านเงิ น เดือน/ ค่าตอบแทนและสวัสดิการ 4. หลักสูตรการเรี ยนการสอน 4.1 ควรตระหนักเสมอว่า การให้ การศึกษาอบรมนี ไม่ใช่การสร้ าง นั ก คิ ด แ ต่ เ ป็ น ก า ร ส ร้ า ง บุ ค ค ล กระบวนการศึกษาอบรมจึงสํ าคัญมาก เรื องของคุณธรรม จริ ย ธรรม ความเชื อ ความศรั ท ธา ต้ อ งบ่ ม เพาะจนซึ ม ซาบ เป็ นส่วนหนึงของบุคคลนัน 4.2 ควรมีการปรั บปรุ งหรื อทบทวนหลัก สูตรเป็ นระยะ ๆ ให้ เหมาะสม สอดคล้ องกับงานคําสอนทีต้ องรับผิดชอบ การนําไปใช้ จริ ง ความต้ อ งการของผู้เรี ยน ผู้ใช้ บัณ ฑิ ต /หน่ วยงาน (วัด โรงเรี ย น ศูน ย์ คํ า สอน ฯลฯ) และชุ ม ชน/สัง คม และสามารถนํ า ไปประกอบการขอ ประกาศนียบัตรวิชาชีพครู ตามทีกระทรวงศึกษาธิการกําหนด


ห น้ า | 130

4.3 ควรเน้ นบริ บทของสังคมและวัฒนธรรมไทยมากขึน 4.4 ควรมีการเพิมชัวโมงการฝึ กปฏิบตั ิการสอนคําสอนให้ มากขึ น และไปสัม ผั ส กับ บรรยากาศจริ ง ในการสอนคํ า สอนของวัด ศูนย์คําสอน ฯลฯ ทีไม่ใช่การฝึ กสอนตามหลักสูตร 5. ทุนการศึกษา 5.1 สภาพระสังฆราชคาทอลิกแห่ งประเทศไทย จัดสรร งบประมาณเพือใช้ เป็ นทุนการศึกษาให้ มากและกว้ างขวางยิงขึน 5.2 สัง ฆมณฑล/หน่ ว ยงาน ที ต้ องการอั ต รากํ า ลั ง ครู คําสอน ควรมีทนุ ให้ แก่ผ้ ทู ีสมัครใจ/สนใจเป็ นครู คําสอน 5.3 ทุกสังฆมณฑลและทุกหน่วยงานทีเกี ยวข้ อง จัดสรร งบประมาณสําหรับงานคําสอนอย่างชัดเจนและต่อเนือง 5.4 ควรมีการขอรั บทุนสนับสนุนจากหน่วยงาน/องค์การ ในต่างประเทศ 5.5 ทุนการศึกษาทีจัดสรร ควรครอบคลุมเพียงพอสําหรับ การเรี ยน และการใช้ จ่ายขณะเรี ย นอย่างเหมาะสม รวมถึงการชดเชย โอกาสทีจะได้ รับจากการหยุดงานในช่วงทีมาเข้ ารับการศึกษาอบรม 5.6 ควรประชาสัม พัน ธ์ เ รื อง การให้ ทุ น การศึก ษาของ หน่วยงาน/องค์การทังในประเทศและต่างประเทศ รวมถึงทุนให้ ก้ ยู ื มเพือ การศึกษาของรัฐบาล (กยศ.) ในวงกว้ างอย่างทัวถึง 5.7 ในการให้ ทุ น การศึก ษา แต่ล ะหน่ ว ยงานควรมี ก าร กําหนดหลักเกณฑ์และข้ อผูกพันระหว่างผู้ให้ ทุนกับผู้รับทุนทีชัดเจนเป็ น ลายลักษณ์ อักษร เช่ น จํ านวนเงิ น ทุน การใช้ ทุน เมือสํ าเร็ จ การศึกษา


ห น้ า | 131

หรื อไม่สําเร็ จการศึกษา ความต่อเนืองของการให้ ทุนการศึกษาเมือมีการ เปลียนผู้บริ หาร 5.8 มี ก ารคั ด เลื อ กผู้ สมควรได้ รั บ ทุ น การศึ ก ษาอย่ า ง รอบคอบ ไม่ลําเอียง 6. การได้ รับคําแนะนํา 6.1 พระศาสนจักรควรให้ ความสําคัญของครู คําสอนที มี ต่องานแพร่ ธรรม งานอภิบาล และการสอนคําสอนตามหลักสูตรของวัด / โรงเรี ยน จะทําให้ มีผ้ ูสนับสนุน แนะนําบรรดาเยาวชนให้ สนใจเรี ยนเป็ น ครู คําสอนมากขึน ในอดีตบรรดามิชชันนารี เคยให้ ครู คําสอนคนไทยและ คนจีนสอนคําสอนได้ อย่างมีประสิทธิ ภาพอย่างไร ในปั จจุบันก็ยังคงให้ ครู คําสอนทํางานให้ พระศาสนจักรได้ ดีฉนั นัน 6.2 พระสงฆ์ / นั ก บวช ของวั ด หรื อโรงเรี ยน ควรให้ คําแนะนํ าสําหรั บคาทอลิกทีมีคุณสมบัติเหมาะสม ได้ เข้ ารั บการศึกษา อบรมที วิ ท ยาลั ย แสงธรรม และ/หรื อ ศู น ย์ อ บรมคริ ส ตศาสนธรรม ระดับชาติ พร้ อมหาทุนการศึกษาให้ ด้วย 6.3 หน่ ว ยงาน/บุ ค คลที ใกล้ ชิ ด (พ่ อ แม่ ญาติ พี น้ อง ผู้บริ หารต้ นสังกัด ศูนย์ คําสอน วัด โรงเรี ยน ครู ครู คําสอนรุ่ นพี ) ควรให้ คําแนะนําทีดีเพือบรรลุถงึ การตัดสินใจทีรอบคอบต่อการเข้ ารับการศึกษา อบรม 6.4 ควรมี ก ารประชาสั ม พั น ธ์ แนะนํ า หลั ก สู ต รการ ฝึ กอบรมครู คําสอน ในวงกว้ าง


ห น้ า | 132

6.5 ควรเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ ให้ พระสงฆ์ /นักบวชทราบ ถึงความสํ าคัญ และประโยชน์ ข องการให้ คําแนะนํ า เพื อให้ พ ระสงฆ์ / นักบวช ทราบถึงสิงที ทํานี จะก่อให้ เกิดประโยชน์ และผลดีอย่างมากต่อ พระศาสนจักร สังคม และบุคคลทีได้ รับการแนะนํา สรุ ป ได้ ว่ า การที จะเสริ ม สร้ างแรงจู ง ใจให้ บุ ค คลมาเข้ า รั บ การศึกษาอบรมเพื อเป็ นครู คําสอนมากขึน รวมทังเป็ นแนวทางในการ จู ง ใจให้ ผู้ ที มาเข้ ารั บ การศึ ก ษาอบรมอยู่ ใ นขณะนี ให้ มี แ รงจู ง ใจใน การศึกษาอบรมจนจบและไปทํางานด้ านคําสอนได้ อย่างดีด้วยความรั ก และยินดีนนั ควรเพิมพูนชีวิตภายในและภายนอก โดยการสร้ างความรู้ ความเข้ าใจ และประโยชน์ ที ได้ รั บ จากการเข้ ารั บ การศึ ก ษาอบรม ผู้บริ หารส่งเสริ ม สนับสนุนพัฒนาคุณภาพชีวิตครู คําสอนให้ ดีขนึ ส่งเสริ ม ความก้ าวหน้ าในหน้ าที การงานและการเงิ น ของครู คําสอน ให้ เกี ย รติ ให้ ค่าตอบแทนและสวัสดิการที ดีเหมาะสม มีการจัดอบรมพัฒนาความรู้ ทัก ษะ ประสบการณ์ อย่ างสมําเสมอ หน่ วยงานที เกี ยวข้ องเช่น ศูน ย์ คําสอน วัด โรงเรี ยน ให้ ความสําคัญต่องานคําสอนและครู คําสอน มีการ ประชาสัม พั น ธ์ และการให้ ทุ น การศึ ก ษาสํ า หรั บ ผู้ ที ต้ อ งการเข้ ารั บ การศึกษาอบรมเพื อเป็ นครู คําสอน และการปฏิ บัติงานคําสอนให้ มาก และกว้ างขวางยิงขึน ทังทุนจากสภาพระสังฆราชคาทอลิกแห่งประเทศ ไทย สัง ฆมณฑล หน่ วยงานคาทอลิ ก เป็ นทุน การศึกษาที ครอบคลุม เพี ย งพอสํ า หรั บ การเรี ย น และการใช้ จ่ า ยขณะเรี ย นอย่ า งเหมาะสม รวมถึงการชดเชยโอกาสที จะได้ รับจากการหยุดงานในช่วงที มาเข้ ารั บ


ห น้ า | 133

การศึกษาอบรม บุคคลและหน่วยงานคาทอลิก เช่น พระสงฆ์ นักบวช ของวัด โรงเรี ยน ศูนย์คําสอน พ่อแม่ ญาติพีน้ อง ครู คําสอนรุ่ นพี ควรให้ การสนับสนุน แนะนําบรรดาครู คาทอลิก เยาวชนและคริ สตชนให้ สนใจ เรี ยนเป็ นครู คําสอนมากขึน ในด้ านของหลักสูตรการเรี ยนการสอน ควรมี การปรับปรุ งพัฒนาให้ สอดคล้ องกับงานคําสอน สถานการณ์ และบริ บท ของสังคมในปั จจุบันและอนาคต มีการเพิมเติมชัวโมงการฝึ กปฏิบตั ิการ สอนคําสอนให้ มากขึน และได้ มีโอกาสเพิมพูนประสบการณ์ ในการสัมผัส กับบรรยากาศจริ งในการสอนคําสอนของวัด ศูนย์ คําสอน ฯลฯ รวมถึง การประชาสัม พัน ธ์ ห ลัก สู ต รในวงกว้ า ง มี ก ารสรรหาคณาจารย์ ที มี ประสบการณ์ ส อนคํ า สอน พั ฒ นาคณาจารย์ ใ นด้ านความรู้ และ ความสามารถในการสอน และส่ ง เสริ ม การเชื อมโยงเครื อ ข่ า ยของ คณาจารย์ กับ หน่ วยงานอืนๆ ที เกี ยวข้ อง ด้ วยสิงเหล่านี เป็ นปั จ จัย อัน สําคัญยิงทีจะช่วยให้ มีคริ สตชนทังเยาวชน ผู้ใหญ่ ครู คาทอลิก สนใจมา เข้ ารั บการศึกษาอบรมและจบไปเป็ นครู คําสอนทีเข้ มแข็งกล้ าหาญของ พระศาสนจักรได้ ตามเป้าหมายทีวางไว้ ทังนี ภายใต้ การดูแลเอาใจใส่ และความร่ วมกันของทุกบุคคลและทุกหน่วยของพระศาสนจักร


ห น้ า | 134

ภาคผนวก รายชือผู้ทรงคุณวุฒิ ยืนยันองค์ ประกอบแรงจูงใจในการเข้ ารั บการศึกษาอบรมเพือเป็ น ครู คาํ สอน และ ให้ แนวทางการสร้ างแรงจูงใจในการเข้ ารั บ การศึกษาอบรมเพือเป็ นครู คาํ สอน 1. พระสังฆราชชูศักดิ สิริสุทธ์ เลขาธิการสภาพระสังฆราชคาทอลิกแห่งประเทศไทย/ ประธานกรรมาธิการฝ่ ายธรรมทูตและการศึกษาคาทอลิก/ ประธานกรรมการศูนย์คริ สตศาสนธรรมอีสาน/ ประมุขสังฆมณฑลนครราชสีมา 2. พระสังฆราช ดร. ลือชัย ธาตุวิสัย ประธานคณะกรรมการคาทอลิกเพือเทคโนโลยีและสารสนเทศ/ ประมุขสังฆมณฑลอุดรธานี 3. บาทหลวง เดชา อาภรณ์ รัตน์ เลขาธิการสภาการศึกษาคาทอลิกแห่งประเทศไทย 4. บาทหลวง ผศ.วัชศิลป์ กฤษเจริญ ผู้อํานวยการองค์กรสนับสนุนงานแพร่ ธรรมของสันตะสํานัก (PMS)/ เลขาธิการคณะกรรมการคาทอลิกเพือการประกาศพระวรสาร สูป่ วงชน/ หัวหน้ าสาขาวิชาคริ สตศาสนศึกษา วิทยาลัยแสงธรรม 5. บาทหลวงเจริญ ว่ องประชานุกูล คณบดีคณะศาสนศาสตร์ วิทยาลัยแสงธรรม


ห น้ า | 135

6. บาทหลวงสุรินทร์ จารย์ อุปการะ ผู้อํานวยการฝ่ ายการศึกษา สังฆมณฑลราชบุรี/ ผู้อํานวยการโรงเรี ยนดรุ ณาราชบุรี/ ผู้ช่วยเจ้ าอาวาส รองอาสนวิหาร นักบุญยอห์น บอสโก 7. บาทหลวงธีรพล กอบวิทยากุล อาจารย์สาขาวิชาคริ สตศาสนศึกษา วิทยาลัยแสงธรรม/ ผู้อํานวยการโรงเรี ยนยอแซฟอุปถัมภ์ 8. บาทหลวงชีวิน สุวดินทร์ กูร อาจารย์สาขาวิชาคริ สตศาสนศึกษา วิทยาลัยแสงธรรม 9. อาจารย์ ลัดดาวัลย์ วงศ์ ภักดี อาจารย์สาขาวิชาคริ สตศาสนศึกษา วิทยาลัยแสงธรรม 10.อาจารย์ สุดหทัย นิยมธรรรม รองหัวหน้ าสาขาวิชาคริ สตศาสนศึกษา วิทยาลัยแสงธรรม/ ครู คําสอน 11. ซิสเตอร์ สุวรรณี พันธ์ วิไล ผู้อํานวยการศูนย์อบรมคริ สตศาสนธรรมระดับชาติ 12. บาทหลวงปราโมทย์ นิลเพ็ชร ผู้อํานวยการศูนย์คริ สตศาสนธรรม สังฆมณฑลราชบุรี 13. คุณครู ราตรี ช้ อยเครื อ รองผู้อํานวยการศูนย์คริ สตศาสนธรรม สังฆมณฑลราชบุรี/ ครู คําสอน 14. คุณครู ยุพา ชูลีระรั กษ์ ครู คําสอน ศูนย์คําสอนสังฆมณฑลจันทบุรี


ห น้ า | 136

รายการอ้ างอิง คณะกรรมการคาทอลิกเพือคริ สตศาสนธรรม แผนกคริ สตศาสนธรรม. คู่มือแนะแนวการสอนคําสอนในประเทศไทย. พิมพ์ครังที 3 กรุ งเทพฯ : โรงพิมพ์อสั สัมชัญ, 2553. ___. กรรมการคาทอลิกเพือคริ สตศาสนธรรม แผนกคริ สตศาสนธรรม. “รายงานการประชุมกรรมาธิการฝ่ าย ของสภาพระสังฆราชคาทอลิก แห่งประเทศไทย ครังที 2/2007.” 10 สิงหาคม 2007. ___. “รายงานการประชุมกรรมาธิการฝ่ าย ของสภาพระสังฆราชคาทอลิก แห่งประเทศ ไทย ครังที 2/2008.” 14-15 สิงหาคม 2008. ___. “รายงานการประชุมกรรมาธิการฝ่ าย ของสภาพระสังฆราชคาทอลิก แห่งประเทศไทย ครังที 1/2009.” 19-20 กุมภาพันธ์ 2009. ___. “รายงานการประชุมกรรมาธิการฝ่ าย ของสภาพระสังฆราชคาทอลิก แห่งประเทศไทย ครังที 1/2010.” 16-17 กุมภาพันธ์ 2010. ___. “รายงานการประชุมกรรมาธิการฝ่ าย ของสภาพระสังฆราชคาทอลิก แห่งประเทศไทย ครังที 2/2011.” 26-27 กรกฎาคม 2011. ___. “รายงานการประชุมกรรมาธิการฝ่ าย ของสภาพระสังฆราชคาทอลิก แห่งประเทศไทย ครังที 2/2012.” 24-25 กรกฎาคม 2012. ลัดดาวรรณ์ ประสูตร์ แสงจันทร์ . “แรงจูงใจในการเข้ ารับการศึกษาอบรม เพือเป็ นครู คําสอน.” คณะศาสนศาสตร์ วิทยาลัยแสงธรรม, นครปฐม : โรงพิมพ์วิทยาลัยแสงธรรม, 2555.


ห น้ า | 137

สภาพระสังฆราชคาทอลิกประเทศไทย. ทิศทางงานอภิบาล คริสตศักราช 2000 ของพระศาสนจักรคาทอลิกในประเทศไทย สําหรั บ คศ. 2000-2010. พิมพ์ครังที 2. มปท, 2000.


ห น้ า | 138

บทที 8 การพัฒนาครู คาํ สอนในโรงเรี ยนคาทอลิก

ก า ร เ ผ ย แ พ ร่ ค ริ ส ต์ ศาสนา และการสอนคําสอนใน ประเทศไทย ได้ เริ มมาตังแต่กรุ ง ศรี อยุธยา สมเด็จพระนารายณ์มหาราช ได้ มีพระบรมราชานุญาตให้ มิชชันนารี จากประเทศต่างๆ เข้ ามา เผยแผ่ศาสนา สามารถสร้ างโบสถ์ บ้ านพัก หรื อโรงเรี ยนได้ การสอน คําสอนในสมัยนันจึงสอนให้ กับประชาชนทัวไปโดยตรงและการสอนใน โรงเรี ย นที สร้ างขึน การสอนคําสอนจึ งอยู่ ควบคู่กับ การจัด การศึก ษา โรงเรี ยนคาทอลิกตลอดมา ในประมวลกฎหมายพระศาสนจักรคาทอลิก (Code of Cannon Law) มาตรา 794 ถือว่าเป็ นสิทธิ และหน้ าทีของ พระศาสนจักรคาทอลิก ในการจัดการศึกษา โดยได้ รับ การมอบหมาย พันธกิจช่วยเหลือมนุษย์จากพระเจ้ า พระศาสนจักรคาทอลิกจึงให้ มีการ จัดตังโรงเรี ยนคาทอลิกและให้ ความสําคัญต่อการจัดการศึกษาคาทอลิก เป็ นพิ เ ศษ “การปราศจากโรงเรี ย นคาทอลิ ก เป็ นความสูญ เสี ย อย่ า ง ใหญ่ หลวงของอารยธรรม และของเป้ าหมายทางธรรมชาติ (Natural) แ ล ะ เ ป้ า ห ม า ย เ ห นื อ ธ ร ร ม ช า ติ (Supernatural) ข อ ง ม นุ ษ ย์ ” (สมณกระทรวงเพือการศึกษาคาทอลิก , 2551: ข้ อ 15) พระศาสนจักรคาทอลิ กประเทศไทยเองก็ ให้ ความสํ าคัญ กับ ครู คํ าสอนและการสอน


ห น้ า | 139

คําสอนในโรงเรี ยนเป็ นอย่างมาก จึงกําหนดพันธกิจสําคัญประการหนึง ของโรงเรี ยนคาทอลิกก็คือ ให้ มีการสอนคําสอนในโรงเรี ยนอย่างจริ งจัง เ ป็ น ร ะ บ บ แ ล ะ ต่ อ เ นื อ ง ซึ ง ก า ร ส อ น คํ า ส อ น ใ น โ ร ง เ รี ย น นี ทางกระทรวงศึก ษาธิ ก ารได้ อ นุ มัติ ใ ห้ โ รงเรี ย นสามารถเปิ ดสอนวิ ช า คริ สตศาสตร์ เป็ นวิชาเลือกเสรี ได้ ตงแต่ ั พ.ศ. 2536 โรงเรี ยนคาทอลิกจึงเป็ นสนามแพร่ ธรรมทียิงใหญ่ ทีเป็ นสนาม แห่ ง การให้ ความรู้ ความเชื อ ความศรั ท ธา โดยเฉพาะตามหลัก ธรรม คําสังสอนขององค์พระเยซูคริ สตเจ้ า พระศาสนจักรคาทอลิกประเทศไทย กําหนดให้ จดั การศึกษาตามหลักการจัดการศึกษาคาทอลิก เพือให้ บรรลุ จุด หมายตามที ต้ อ งการ คือ 1) มุ่ง เน้ น งานอภิ บ าลและการอบรม หล่อหลอมนักเรี ยนสู่ความเป็ นมนุษย์ ทีสมบูรณ์ ทังร่ างกาย สติปัญญา จิตใจและจิตวิญญาณ ด้ วยจิตตารมณ์ แห่งพระวรสาร 2) เป็ นฐานการ ประกาศข่าวดีแห่งความรักของพระเจ้ า ซึงนําความรอดพ้ นสู่ชีวิตนิรันดร และ 3) เป็ นสนามเผยแผ่ธรรม ในโรงเรี ย นคาทอลิ ก งานคําสอนและครู คําสอนจึงเป็ นกลไก สําคัญ ในการจัดการศึกษาคาทอลิ ก งานคํ าสอนจะเกิ ดประสิ ท ธิ ภาพ ประสิทธิผลมากน้ อยเพียงใด ปั จจัยสําคัญอย่างหนึงก็คื อ ตัวครู คําสอนที มีคุณภาพ หากครู คําสอนมีข้อจํากัด ข้ อขัดข้ องหรื อปั ญหาต่างๆ เข้ ามา กระทบ ย่อมส่งผลต่อตัวครู คําสอนและประสิทธิภาพในการปฏิบตั ิหน้ าที ได้ เช่นเดียวกัน ถึงแม้ ทีผ่านมา บุคคล คณะกรรมการ หน่วยงานต่างๆ ที เกียวข้ อง ได้ พยายามแก้ ไขปรับปรุ งพัฒนางานคําสอนและครู คําสอนให้ มี


ห น้ า | 140

คุณภาพดีมากยิงขึน อย่างไรก็ตาม ยังคงพบว่า ครู คําสอนยังคงมี ปั ญหา ข้ อควรปรับปรุ งแก้ ไข และจําเป็ นทีต้ องพัฒนาต่อไปอย่างต่อเนือง สภาพระสังฆราชคาทอลิกประเทศไทย (2000: 42) ระบุถึง ปั ญ หาว่ า คริ ส ตชนในชุม ชนมี จํ านวนมาก แต่บุ ค ลากรคํ า สอนยัง ไม่ เพี ยงพอ จึงจํ าเป็ นต้ องสร้ างบุคลากรด้ านคําสอนในระดับชุมชนอย่าง ต่อเนือง โดย 1) จัดระบบการบริ หารและประสานงานของศูนย์คําสอน ระดั บ ท้ องถิ นและระดั บ ชาติ ใ ห้ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ 2) สรรหา พั ฒ นา บํ ารุ งรั กษาบุคลากรคําสอนและผู้นํ าชุมชนด้ านคําสอนอย่ างต่อเนื อง 3) จัดทีมงานคําสอนซึงประกอบด้ วย พระสงฆ์ นักบวชและฆราวาสทังใน ระดับท้ องถินและในระดับชาติ จากการประชุมคณะกรรมการคาทอลิกเพือคริ สตศาสนธรรม แผนกคริ ส ตศาสนธรรม สภาพระสัง ฆราชคาทอลิ ก แห่ ง ประเทศไทย ในช่วงปี 2550-2555 พบว่ามี ปั ญหาที สําคัญในด้ าน 1) จํานวนครู คําสอนมีน้อย 2) งบประมาณในการทํางานคําสอนและพัฒนาครู คําสอน มีน้อย 3) ครู คําสอนมีขีดจํากัดในการรับความรู้ การถ่ายทอด และเทคนิค ในการสอน 4) การโยกย้ ายและเปลียนแปลงผู้รับผิดชอบงานคําสอน ของสัง ฆมณฑล ซึงมีผ ลกระทบต่องานคําสอนและครู คํ าสอน และ มี ข้ อเสนอแนะในการพั ฒ นาครู คํ า สอนที สํ า คั ญ คื อ ควรสนั บ สนุ น ครู คํ าสอนเข้ ารั บการศึกษาอบรมต่ างๆ เพิ มเติ ม ในวิ ทยาลัยแสงธรรม ศูนย์ อบรมคริ สตศาสนธรรมระดับชาติ ศูนย์ คํ าสอนของแต่ ละเขตการ ปกครอง และการอบรมหลักสูตระยะสันต่างๆ


ห น้ า | 141

ปั ญหาดั ง กล่ า วข้ างต้ น และปั ญหาต่ า งๆ ที เกิ ด ขึ นนั น พระศาสนจักร โดยหน่วยงานต่างๆ ทีเกี ยวข้ องจึงได้ มีการวางแผนงาน และดําเนินการอย่างเป็ นระบบมากขึน และดําเนินการพัฒนาครู คําสอน ให้ มีคุณภาพดีมากยิงขึน โดย 1) จัดให้ ครู คําสอนได้ รับการอบรมทังใน ด้ านชี วิ ต จิ ต และพั ฒ นาความสามารถด้ านการสอนคํ า สอนให้ มี ประสิ ท ธิ ภ าพ มากขึน 2) ให้ โ รงเรี ย นคาทอลิ ก รั บ ผิ ด ชอบจัด ให้ มี ผ้ ู มี ความสามารถสอนคําสอนนักเรี ยนคาทอลิกอย่างสมําเสมอ 3) ให้ ศูนย์ คําสอนในแต่ละสังฆมณฑลรับผิดชอบการจัดหาครู คําสอนให้ เพียงพอต่อ ความต้ องการ และจัดเตรี ยมความพร้ อมให้ แก่ครู คําสอนของตนด้ วยการ ส่งครู คํ าสอนรั บ การอบรมในระดับ ประเทศ 4) ให้ วิท ยาลัย แสงธรรม เปิ ดสอนหลั ก สู ต รศิ ล ปศาสตรบั ณ ฑิ ต สาขาวิ ช าคริ สตศาสน ศึกษา (Bachelor of Arts Program in Christian Studies) ในคณะ ศาสนศาสตร์ ตังแต่ปีการศึกษา 2543 เพือจัดการเรี ยนการสอนสําหรั บ ผู้เตรี ยมตัวเป็ นครู คํ าสอน 3) กํ าหนดให้ ศูนย์ อบรมคริ ส ตศาสนธรรม ระดับชาติ จัดอบรมครู คําสอนภาคฤดูร้อน จัดการอบรมทังระยะสันและ ระยะยาวส่งเสริ มให้ เป็ นแหล่งศึกษา ค้ นคว้ า ข้ อมูล และให้ บริ การด้ าน สืออุปกรณ์การสอนคําสอน


ห น้ า | 142

องค์ ประกอบการพัฒนาครู คาํ สอนในโรงเรี ยนคาทอลิก ในปี การศึกษา 2555 ผู้เขียน ได้ ศกึ ษาหาแนวทางการพัฒนา ครู คํ าสอนในโรงเรี ย นคาทอลิ ก เพื อเป็ นข้ อมูล ให้ โรงเรี ย น หน่ วยงาน องค์ การของพระศาสนจักรคาทอลิกประเทศไทยพิ จารณานําไปใช้ เป็ น แนวทางในการพัฒนาครู คําสอนให้ มีคณ ุ ภาพ ประสิทธิ ภาพดีมากยิงขึน อันจะส่งผลต่อการปลูกฝั งความรักและศรั ทธาในพระเจ้ า ต่อการพัฒนา คุณภาพนักเรี ย น ให้ เติบโตเป็ นคริ สตชนที ดี ดําเนิ นชี วิตอย่างมีคุณค่า ตามพระวรสาร เป็ นอนาคตทีดีของชาติ บรรลุตามเป้าหมายของการจั ด การศึกษาของโรงเรี ยนคาทอลิกและพระศาสนจักรคาทอลิกในประเทศ ไทย โดยศึกษาองค์ประกอบการพัฒนาครู คําสอนในโรงเรี ยนคาทอลิก จากกลุ่ม ตัว อย่ า งคือ โรงเรี ย นคาทอลิ ก ในประเทศไทย จํ านวน 144 โรงเรี ยน (ผู้ให้ ข้อมูลได้ แก่ ผู้บริ หารและครู คําสอน) ได้ องค์ประกอบในการ พัฒนาครู คําสอนในโรงเรี ยนคาทอลิก จํานวน 9 องค์ประกอบ (เรี ยงตาม ความคิ ด เห็ น ของกลุ่ ม ผู้ ให้ ข้ อมู ล ) โดยมี ตั ว แปรที สํ า คั ญ ในแต่ ล ะ องค์ประกอบ ดังนี องค์ ป ระกอบที 1 ค่ า ตอบแทนและสวั ส ดิ ก าร ตัว แปร สํ า คัญ ได้ แ ก่ มี ร ะบบค่ า ตอบแทนและสวัส ดิ ก ารที ชัด เจน เหมาะสม ยุติธรรม เท่าเที ยมกัน มีค่าตอบแทนเพิ มเมือครู คําสอนผ่านการอบรม เพิมเติม องค์ ป ระกอบที 2 ปั จจั ยภายในตั ว ครู คํา สอน ตัวแปร สํ า คั ญ ได้ แ ก่ การเสริ ม สร้ างให้ ครู คํ า สอนมี ค วามซื อสั ต ย์ ความรั ก


ห น้ า | 143

ความเชื อ และวางใจในพระเจ้ า มีชีวิตจิ ตที ดี ตังใจ เสีย สละ อุทิศตน มี จิ ต วิ ญ ญาณของความเป็ นครู มี อุ ด มคติ มี ค วามมุ่ ง มั นที จะเป็ น ครู คําสอน องค์ ประกอบที 3 การจัดกิจกรรม อบรม ประชุม สัมมนา ตัวแปรสําคัญ ได้ แก่ มีการจัดอบรมทังระยะสันและระยะยาวเพือพัฒนา ครู คําสอนในด้ านต่างๆ ทังด้ านการพัฒนาบุคลิกภาพ ทัศนคติ ลักษณะ นิ สัย ด้ า นความรู้ ทัก ษะ ประสบการณ์ ส อนคํา สอน การใช้ แ ละผลิ ต สือเทคโนโลยีสารสนเทศ วิชาครู การรู้ จักบุคคล วัฒนธรรม วิถีชีวิตและ บริ บทของผู้เรี ยนแต่ละกลุม่ องค์ ประกอบที 4 ผู้บริ หารโรงเรี ยน ตัวแปรสําคัญได้ แก่ ผู้บ ริ ห ารให้ ความสําคัญ ส่ง เสริ มสนับ สนุน งานคํา สอนและครู คํ าสอน มีจิ ต ตารมณ์ ด้ านคํ าสอน มี ภ าวะผู้ นํ าที ดี มี ร ะบบการบริ ห ารงานที ดี เข้ าใจชีวิตครู คําสอน และให้ ความร่ วมมือกับศูนย์ คําสอนในการพัฒนา ครู คําสอน องค์ ประกอบที 5 การเสริ มสร้ างชีวิตจิต ตัวแปรสําคัญ ได้ แก่ การเสริ มสร้ างชีวิตจิตครู คําสอนอย่างต่อเนือง ให้ ครู คําสอนได้ เพิม ประสบการณ์ กบั พระเจ้ า พูดคุยกับพระเจ้ า ไตร่ ตรอง รํ าพึงภาวนาอย่าง สมําเสมอ ได้ เข้ าเงียบ/ฟื นฟูจิตใจอย่างสมําเสมอ องค์ ประกอบที 6 การจัดตังกลุ่มครู คําสอน ตัวแปรสําคัญ ได้ แ ก่ การจั ด ตังกลุ่ ม ครู คํ า สอนในระดับ โรงเรี ย น สัง ฆมณฑล และ ระดับชาติ และสร้ างความตระหนักถึงคุณค่า ประโยชน์ ร่วมกันภายใน กลุม่ ครู คําสอน


ห น้ า | 144

องค์ ประกอบที 7 การวางแผนพัฒนา ตัวแปรสําคัญได้ แก่ มีแผนงานคําสอน แผนอัตรากําลังครู คําสอนอย่างเป็ นระบบและต่อเนือง มีก ารพัฒ นาโครงสร้ างการบริ ห ารจัด การงานคําสอนและการพัฒ นา หลักสูตรการสอนคําสอนให้ สอดคล้ องกับความต้ องการของครู คําสอน องค์กร และการดําเนินชีวิตในสังคมไทย องค์ ประกอบที 8 สถานทีทํางาน ตัวแปรสําคัญได้ แก่ การมี สถานทีสําหรับใช้ ในการทํางานคําสอน ทีสงบ ปลอดภัย มีสือเทคโนโลยี สารสนเทศ และสิงอํานวยความสะดวกต่างๆ ทีเหมาะสมเพียงพอ องค์ ประกอบที 9 การกําหนดนโยบาย เป้าหมาย ทิศทาง งานคําสอน ตัวแปรสําคัญได้ แก่ การกําหนดนโยบาย เป้าหมาย ทิศทาง งานคําสอนที ชัดเจน และสอดคล้ องกัน ในทุก ระดับ (ระดับชาติ ระดับ สัง ฆมณฑล ระดับ โรงเรี ยน) และประกาศให้ บุค ลากรทุก ระดับ ทุก คน รับทราบร่ วมกัน ซึงองค์ประกอบการพัฒนาครู คําสอนในโรงเรี ยนคาทอลิกทัง 9 องค์ ป ระกอบนี ได้ รั บ การยื น ยั น จากผู้ ทรงคุ ณ วุ ฒิ จํ า นวน 9 ท่ า น (รายละเอียดดังเอกสารภาคผนวกท้ ายบท) และจากตัวแทนครู คําสอน จํานวน 57 ท่าน ในงานชุมนุมครู คําสอนระดับชาติ ครั งที 4 วันที 17-19 ตุล าคม 2555 ณ วิ ท ยาลัย แสงธรรม ว่ า เป็ นองค์ ป ระกอบที ถู ก ต้ อ ง ครอบคลุม เหมาะสม เป็ นไปได้ และเป็ นประโยชน์สามารถนําไปใช้ ได้ จริ ง ทังนี เพราะในการพัฒ นาครู คําสอนในโรงเรี ย นคาทอลิ ก นัน จํ าเป็ นที จะต้ องมีองค์ ป ระกอบต่างๆ ที มีความสัมพัน ธ์ เกี ยวข้ อง เชื อมโยงกัน ทังในด้ านกระบวนการ วิธีการ ปั จจัยภายในตัวครู คําสอน ปั จจัยภายใน


ห น้ า | 145

และภายนอกโรงเรี ยนคาทอลิก ซึงเป็ นไปตามที สมณกระทรวงเพือการ ประกาศพระวรสารสู่ปวงชน (อ้ างถึงใน สํานักงานคําสอนระดับชาติและ ศูนย์ คําสอนอัครสังฆมณฑลกรุ งเทพฯ, 2537: 48-73) ซึงได้ กําหนด ขบวนการอบรมครู คําสอนไว้ ว่า ต้ องให้ การอบรมครู คําสอนทีเหมาะสม ให้ ตรงกับคุณลักษณะทีต้ องการ คือการพัฒนาบุคลิกภาพและลักษณะ นิสยั ทังครบ และการอบรมให้ เข้ ากับงานเฉพาะ เป็ นต้ น การมีเอกภาพ และความกลมกลืนในเรื องบุคลิกภาพ การมีวุฒิภาวะ มีจิตตารมณ์ แห่ง การเสี ย สละ การมี ม นุ ษ ยสัม พั น ธ์ ความสามารถที จะติ ด ต่ อ สื อสาร ลัก ษณะเป็ นผู้ นํ า สมดุ ล ในเรื องวิ จ ารณญาณ การมี ชี วิ ต จิ ต ที ลึก ซึ ง การอบรมด้ านข้ อความเชื อ มานุษยวิ ท ยา และการอบรมวิ ธี ก ารสอน การมีท่าที นอบน้ อมต่อพระศาสนจักร และผู้อํานวยการศูนย์ คําสอน พระสัง ฆราชและพระสงฆ์ ต้ อ งเป็ นผู้ใ ห้ ก ารผู้อ บรม สนใจครู คําสอน จัดให้ มกี ารอบรมอย่างต่อเนือง สังฆมณฑลและวัดควรจัดหลักสูตรอบรม การประชุ มในระยะเวลาต่ า งๆ จัด หาตํา รั บ ตํ ารา โสตทัศนวัส ดุ และ อุปกรณ์การสอนต่างๆ ทีจําเป็ น มีการรวมตัวกันของครู คําสอนในรู ปแบบ ต่างๆ และเป็ นไปตามแนวทางการพัฒนาอภิบาลครู คําสอนของสมณกระทรวงว่าด้ วยเรื องพระสงฆ์ (อ้ างถึงในวีระ อาภรณ์ รัตน์ , 2549: 297298, 304-312) ทีมุ่งให้ มีการพัฒนาวุฒิภาวะ การอบรมและการดูแล อภิ บาลครู คําสอน โดยประการแรกต้ องบํ ารุ งเลี ยงชี วิตฝ่ ายจิ ตของครู คําสอน ส่งเสริ มกระแสเรี ยกด้ านการสอนคําสอน แล้ วฝึ กฝนให้ มีการ เติบโตในด้ านการมองเชิงวิเคราะห์ ความซือสัตย์ ความสามารถในการ สัมพันธ์ กับผู้อืนมีจิตใจสร้ างสรรค์และเข้ าร่ วมทํางานเป็ นกลุ่ม มีความรู้


ห น้ า | 146

ในด้ านพระคัมภีร์ เทววิทยา และศาสตร์ ต่างๆ ทีเกียวข้ อง มีการจัดระบบ การอบรมครู คําสอนอย่างเหมาะสมอย่างต่อเนือง การอบรมด้ านวิชาครู เพือให้ มีพฒ ั นาการทางด้ านเทคนิคการสอนและรู ปแบบการสอนรวมถึง การจัดกิจกรรมทีหลากหลาย การเอาใจใส่ดูแลเรื องความต้ องการต่างๆ ของครู คําสอนทังหลายทังด้ านส่วนตัวและ ด้ านจิตใจ รวมถึงการเอาใจใส่ กลุ่มครู คําสอนในลักษณะเดียวกัน นอกจากนี องค์ประกอบการพัฒนา ครู คําสอนดังกล่าวข้ างต้ นทีผู้เขียนได้ ศกึ ษานัน ถือว่า เป็ นองค์ประกอบใน การพั ฒ นาทรั พ ยากรบุ ค คล ตามแนวคิ ด ของนั ก วิ ช าการทั วไป คื อ การพัฒนารายบุคคล การพัฒนาอาชีพ และการพัฒนาองค์ การ โดยมี การวางแผนและใช้ กระบวนการศึกษาอบรมต่ างๆ ทังระยะสันและระยะ ยาว การออกแบบงานใหม่ๆ เพือเพิ มพูนความรู้ ทักษะ ความสามารถ ในการเรี ยนรู้ และการถ่ายทอดโดยอาศัยปั จจัยพื นฐานของบุคคล เช่น ค่านิยม ทัศนคติ บุคลิกภาพ สภาพแวดล้ อมภายนอกและภายในองค์กร เช่ น หน่ ว ยงานภายนอก หน่ วยงานภายในองค์ ก ร วัฒ นธรรมองค์ ก ร โครงสร้ างการบริ หารจัดการ ผู้บริ หาร เพือนร่ วมงานและทีมงาน ดังนัน เพือให้ ครู คําสอนได้ รับการพัฒนาคุณภาพในทุกด้ าน บุคคลและหน่วยงานทีเกียวข้ องจึง ควร มีการกําหนดนโยบาย เป้าหมาย ทิ ศทาง งานคําสอนที ชัดเจน เป็ นไปได้ และสอดคล้ องกันในทุกระดับ (ระดับชาติ สังฆมณฑล โรงเรี ยน) และประกาศให้ ทราบทัวกัน มีแผนงาน คําสอน แผนอัตรากําลัง และแผนพัฒนาครู คําสอนอย่างเป็ นระบบและ ต่ อ เนื อง มี ก ารเสริ ม สร้ างให้ ค รู คํ า สอนมี ค วามมันคงและเพิ มพู น ใน กระแสเรี ยก มีความซือสัตย์ ความรั ก ความเชือ และวางใจในพระเจ้ า


ห น้ า | 147

มีชีวิตจิตทีดี ตังใจ เสียสละ อุทิศตน มีอุดมคติ ให้ ครู คําสอนได้ รับการ อบรมในด้ านต่างๆ ทังระยะสันและระยะยาว มีก ารเสริ มสร้ างชี วิตจิ ต ครู คําสอนอย่างต่อเนือง มีการกําหนดระบบค่าตอบแทนและสวัสดิการที ชัดเจน เหมาะสม ยุติธรรม เท่าเที ย มกัน ดูแ ลเอาใจใส่ครู คําสอนและ ครอบครัว มีสถานทีและวัสดุอปุ กรณ์ สิงอํานวยความสะดวกทีเหมาะสม เพียงพอต่อการทํางานคําสอน และมีการจัดตังกลุ่มครู คําสอนในระดับ โรงเรี ยน สังฆมณฑล และระดับชาติ รวมทังผู้บริ หารควรให้ ความสําคัญ ส่งเสริ มสนับสนุนงานคําสอนและครู คําสอน มีจิตตารมณ์ ด้ านคําสอน ให้ ความร่ ว มมื อ กั บ ศู น ย์ คํ า สอนหรื อ หน่ ว ยงานอื นๆ ในการพั ฒ นา ครู คําสอน


ห น้ า | 148

ภาคผนวก รายชือผู้ทรงคุณวุฒยิ ืนยันองค์ ประกอบ การพัฒนาครู คาํ สอนในโรงเรี ยนคาทอลิก 1. พระสังฆราชฟรั งซิสเซเวียร์ วีระ อาภรณ์ รัตน์ ประมุขสังฆมณฑลเชียงใหม่/ ประธานคณะกรรมการคาทอลิกเพือคริ สตศาสนธรรม แผนกคริ สตศาสนธรรม สภาพระสังฆราชคาทอลิกแห่งประเทศไทย 2. พระสังฆราชยอแซฟ ชูศักดิ สิริสุทธิ ประมุขสังฆมณฑลนครราชสีมา/ เลขาธิการสภาพระสังฆราชคาทอลิกแห่งประเทศไทย/ ประธานกรรมาธิการฝ่ ายธรรมทูตและการศึกษาคาทอลิก/ ประธานกรรมการศูนย์คริ สตศาสนธรรมอีสาน 3. พระสังฆราชซีลวิโอ สิริพงษ์ จรั สศรี ประมุขสังฆมณฑลจันทบุรี/ ประธานคณะกรรมการคาทอลิกเพือคริ สตชนฆราวาส 4. พระสังฆราชยอแซฟ ลือชัย ธาตุวิสัย ประมุขสังฆมณฑลอุดรธานี/ ประธานคณะกรรมการคาทอลิกเพือเทคโนโลยีและสารสนเทศ


ห น้ า | 149

5. บาทหลวง เดชา อาภรณ์ รัตน์ เลขาธิการสภาการศึกษาคาทอลิกแห่งประเทศไทย 6. บาทหลวง ผศ.วัชศิลป์ กฤษเจริญ ผู้อํานวยการองค์กรสนับสนุนงานแพร่ ธรรมของสันตะสํานัก/ เลขาธิการคณะกรรมการคาทอลิกเพือการประกาศพระวรสาร สูป่ วงชน/ หัวหน้ าสาขาวิชาคริ สตศาสนศึกษา วิทยาลัยแสงธรรม 7. บาทหลวงอเนก ธรรมนิต ผู้อํานวยการฝ่ ายธรรมทูตและการอบรมศึกษาอบรม สังฆมณฑล จันทบุรี/ ประธานคณะกรรมการคาทอลิกเพือการศึกษา สังฆมณฑลจันทบุรี 8. บาทหลวงเปรมปรี วาปี โส ผู้อํานวยการสํ านักงานคณะกรรมการคาทอลิก เพื อคริ สตศาสนธรรม (ประเทศไทย)/ ผู้อํานวยการศูนย์คริ สตศาสนธรรมสังฆมณฑลนครราชสีมา 9. ซิสเตอร์ สุวรรณี พันธ์ วิไล ผู้อํานวยการศูนย์อบรมคริ สตศาสนธรรมระดับชาติ


ห น้ า | 150

รายการอ้ างอิง คณะกรรมการคาทอลิกเพือคริ สตศาสนธรรม แผนกคริ สตศาสนธรรม. คู่มือแนะแนวการสอนคําสอนในประเทศไทย. พิมพ์ครังที 3. กรุ งเทพฯ : โรงพิมพ์อสั สัมชัญ, 2553. ____. “รายงานการประชุมกรรมาธิการฝ่ าย ของสภาพระสังฆราชคาทอลิก แห่งประเทศไทย ครังที 2/2007.” 10 สิงหาคม 2007. ____. “รายงานการประชุมกรรมาธิการฝ่ าย ของสภาพระสังฆราชคาทอลิก แห่งประเทศ ไทย ครังที 2/2008.” 14-15สิงหาคม 2008. ____. “รายงานการประชุมกรรมาธิการฝ่ าย ของสภาพระสังฆราชคาทอลิก แห่งประเทศไทย ครังที 1/2009.” 19-20 กุมภาพันธ์ 2009. ____. “รายงานการประชุมกรรมาธิการฝ่ าย ของสภาพระสังฆราชคาทอลิก แห่งประเทศไทย ครังที 1/2010.” 16-17 กุมภาพันธ์ 2010. ____. “รายงานการประชุมกรรมาธิการฝ่ าย ของสภาพระสังฆราชคาทอลิก แห่งประเทศไทย ครังที 2/2011.” 26-27 กรกฎาคม 2011. ____. “รายงานการประชุมกรรมาธิการฝ่ าย ของสภาพระสังฆราชคาทอลิก แห่งประเทศไทย ครังที 2/2012.” 24-25 กรกฎาคม 2012. ประเสริ ฐ อินทร์ รักษ์ และ ลัดดาวรรณ์ ประสูตร์ แสงจันทร์ . “รู ปแบบการ พัฒนาครู คําสอนในโรงเรี ยนคาทอลิก” วารสารวิชาการวิทยาลัย แสงธรรม 5,1 (มกราคม-มิถนุ ายน). 2556.


ห น้ า | 151

พระสันตะปาปาเปาโลที 6. คําแถลงสภาสังคายนาวาติกนั ทีสอง เรื อง การอบรมตามหลักพระคริสตธรรม. พิมพ์ครังที 2. กรุ งเทพฯ : โรงพิมพ์อสั สัมชัญ, 2551. สภาการศึกษาคาทอลิกแห่งประเทศไทย, ก้ าวไปข้ างหน้ าด้ วยอัตลักษณ์ การศึกษาคาทอลิก ปี ค.ศ. 2012 – 2015. กรุ งเทพฯ : โรงพิมพ์ อัสสัมชัญ, 2012. สภาพระสังฆราชคาทอลิกแห่งประเทศไทย. ทิศทางงานอภิบาล คริสตศักราช 2000 สําหรั บ ค.ศ. 2000-2010. มปท., 2000. ____. ระเบียบ ข้ อบังคับ และแนวปฏิบัติ. ม.ป.ท., ม.ป.ป. สมณกระทรวงการศึกษาคาทอลิก. มิตดิ ้ านศาสนาของการศึกษาใน โรงเรี ยนคาทอลิก แนวทางเพือการพิจารณาใคร่ ครวญ และ การฟื นฟูขนใหม่ ึ . พิมพ์ครังที 2. กรุ งเทพฯ : โรงพิมพ์อสั สัมชัญ, 2531. ____. โรงเรี ยนคาทอลิก. พิมพ์ครังที 2. กรุ งเทพฯ : โรงพิมพ์อสั สัมชัญ, 2551. สมณกระทรวงว่าด้ วยเรื องพระสงฆ์, คู่มือแนะแนวทัวไปสําหรั บ การสอนคําสอน, แปลโดย วีระ อาภรณ์รัตน์, พิมพ์ครังที 4. กรุ งเทพฯ : โรงพิมพ์อสั สัมชัญ, 2549. สมณกระทรวงเพือการประกาศพระวรสารสูป่ วงชน, สํานักงานคําสอน ระดับชาติและศูนย์คําสอนอัครสังฆมณฑลกรุ งเทพฯ, ผู้จดั พิมพ์, คู่มือครู คาํ สอน. กรุ งเทพฯ : โรงพิมพ์อสั สัมชัญ, 2537.


ห น้ า | 152

บทที 9 ความท้ าทายของงานคําสอนและครู คาํ สอนในอนาคต

ทีผ่านมา พระศาสนจักรคาทอลิกประเทศไทย ให้ ความสําคัญกับ งานคําสอนและครู คําสอนตลอดมา แต่งานคําสอนและครู คําสอนเองต้ อง เผชิ ญ กั บ ความยากลํ า บาก และอุ ป สรรคในการ ทํ า งานพอสมควร ทังจากจํานวนครู คําสอนน้ อย งบประมาณในการทํางานคําสอนไม่เพียงพอ การไม่ได้ รับการส่งเสริ มสนับสนุนจากสังคมรอบข้ าง ทีเป็ นทังขีดจํากัดและ ความท้ าทายของงานคํ า สอนและครู คํ า สอน โดยเฉพาะการเผยแผ่ พระวาจาของพระเจ้ าท่ า มกลางกระแสสั ง คมโลกในปั จจุ บั น ที ให้ ความสําคัญกับวัตถุ เงินทองของมีค่า ทําให้ ม่งุ เน้ นไปทีค่าตอบแทนทีเป็ น วัต ถุ เ งิ น ทองมากกว่ า ทางด้ า นจิ ต ใจ ไม่ เ ห็ น ความสํ า คัญ ของศาสนา ให้ ค วามสนใจกับ การสร้ างและการใช้ สื อเทคโนโลยี มากกว่า การสร้ าง ความสัมพันธ์และสือสารกับบุคคลรอบข้ าง ทีเรี ยกว่า “สังคมก้ มหน้ า” และ การดําเนิ นชี วิตท่ามกลางกระแสเศรษฐกิ จที ผันผวน การฟั นฝ่ าอุปสรรค และขี ดจํ ากัดเพื อนํ าพาชีวิตครอบครั วและครอบครั วเพื อนมนุษย์ สู่ความ รอด ด้ วยความรัก ความเชือ และความไว้ ใจในพระเจ้ า การอดทน เสียสละ อุทิศตนเฉกเช่นองค์พระเยซูคริ สตเจ้ า และนอกจากมุ ม มองของผู้ เ ขี ย นเองแล้ ว ผู้ เขี ย นขอแบ่ ง ปั น มุมมองทีได้ รับความกรุ ณาให้ สัมภาษณ์ จากซิสเตอร์ สุวรรณี พันธ์ วิไ ล บาทหลวง ผศ.วัชศิลป์ กฤษเจริ ญ และ พระสังฆราชชูศกั ดิ สิริสุทธ์


ห น้ า | 153

รวมถึง มุมมองของพระคาร์ ดินัล เอ็ดวิน โอไบรอัน (Cardinal Edwin O’Brien, USA : Cardinal of the Holy Sepluchre) ทีกล่าวไว้ ในงาน ชุมนุมครู คําสอนนานาชาติ 2013 เมือวัน ที 28 กันยายน 2013 ณ วัด ซานซัลวาตอเร (San Salvatore) ดังต่อไปนี ความท้ าทายของงานคําสอนและครู คาํ สอน ในมุมมองของ ซิสเตอร์ สุวรรณี พันธ์ วิไ ล ผู้อํานวยการศูนย์ อบรม คริ สตศาสนธรรมระดับชาติ คือ การทํางานคําสอนให้ ก้าวหน้ าด้ วยใจรัก เสียสละ อุทิศตน แม้ จ ะเป็ นภาระงานที หนัก ค่ า ตอบแทนค่ อ นข้ า งน้ อ ย ขาดแรงจู ง ใจ ต้ องฟั นฟ่ าไปในกระแสโลกาภิวัตน์ ที คนส่วนใหญ่ ให้ ความสําคัญกับ เงินทองวัตถุสิงของ มองเรื องศาสนาเป็ นเรื องล้ าหลัง ด้ วยการมีชีวิตจิตที สนิทกับพระเจ้ าอย่างลุ่มลึก อันจะนําไปสู่การเกิดจิตอาสาซึงเป็ นปั จจัย หลักทีสําคัญทีสุดสําหรับครู คําสอนทุกคน ความท้ าทายของงานคําสอนและครู คาํ สอน ในมุมมองของ บาทหลวง ผศ.วัชศิลป์ กฤษเจริ ญ ผู้อํานวยการองค์กรสนับสนุนงาน แพร่ ธรรมของสันตะสํานัก (PMS) / เลขาธิการคณะกรรมการคาทอลิก เพื อการประกาศพระวรสารสู่ปวงชน / หัวหน้ าสาขาวิ ชาคริ ส ตศาสนศึกษา วิทยาลัยแสงธรรม มี 4 ด้ านสําคัญคือ 1. ด้ า นบุ คคล งานคําสอนต้ องการบุค คลหรื อครู คําสอนที มี “ความเชือศรัทธาและการอุทิศตน” แต่ด้วยกระแสสังคมทําให้ งานสอน คําสอนแผ่วเบาลงไป จํานวนของครู คําสอนมีน้อย และการหาบุคคลทีจะ เป็ นครู คําสอนทีมีคณ ุ สมบัติคณ ุ ลักษณะทีต้ องการยากมากขึน เพราะเป็ น งานทีเรี ยกร้ องความเชือศรัทธาและการอุทิศตนเป็ นอย่างมาก หากเกิด


ห น้ า | 154

ความศรั ทธาก็เกิ ดความอยากจะทํ า (สอนคําสอน) พระคัมภี ร์เรี ยกว่า “ชุมพาบาล” แต่หากทําเพราะค่าตอบแทนไม่ใช่เพราะใจ ก็คือ “ลูกจ้ าง” มีหลายคนเสนอว่า ควรมีสวัสดิการค่าตอบแทนทีจูงใจ แต่หาก กระทําดังกล่าว ก็อาจส่งผลกระทบต่อธรรมชาติของศาสนา ทีต้ องเกิ ด จากความเชือศรัทธาและอุทิศตน หากมาสอนคําสอนเพราะค่าตอบแทน เป็ นหลัก การเชื อศรั ท ธาและอุ ทิ ศ ตนเป็ นรอง ก็ จ ะทํ า ให้ ไม่ ต รงกั บ ธรรมชาติของงานสอนคําสอน ในทางกลับกัน อาจมีครู คําสอนทีมีความ เชือศรั ทธาและอุทิศตน แต่ประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานอาจไม่ดีมาก นัก ครู คําสอนทีตังใจปฏิบตั ิงานคําสอน หน่วยงานทีรับผิดชอบควร ให้ การดูแลรับผิดชอบอย่างเหมาะสมกับประเภทและขอบข่ายระดับงาน ทีทํา เช่น ครู คําสอน (Part-Time Catechists) ทีสอนคําสอนในวัดหรื อ ในโรงเรี ยน และครู คําสอนอาชีพ (Professional / Fulltime Catechists) จําเป็ นต้ องมีสวัสดิการค่าตอบแทนอย่างเป็ นระบบและเหมาะสม ให้ เขา สามารถดํารงชีวิตได้ อย่างดี โดยการพิจารณาของหน่วยงานทีรับผิดชอบ ไม่ต้องให้ ครู คําสอนเรี ยกร้ อง 2. ด้ านความรู้ และทักษะความสามารถ ครู คําสอนจําเป็ นที จะต้ องมีความรู้ ทักษะ ความสามารถในการถ่ายทอดคําสอนได้ อย่างดี ทังในด้ าน 1) สติปัญญา คือ มีความรู้ เป็ นระบบเชิงวิชาการ 2) ทักษะ และความสามารถในการถ่ายทอดคําสอน ครู คําสอนจึงต้ องได้ รับการ ฝึ กอบรมเสริ มสร้ างความรู้ ทักษะความสามารถอย่างต่อเนือง ทังในเชิ ง ธรรมชาติ คือ เรี ยนรู้ ด้วยตนเอง และเชิงวิชาการ คืออบรมอย่างเป็ นระบบ


ห น้ า | 155

และให้ เหมาะสมกับประเภทของครู คําสอนด้ วย และต้ องมีศูนย์ ผลิต บุคคลเพือเป็ นครู คําสอนทีมีความรู้ ทักษะความสามารถในเชิงวิชาการ อย่างเป็ นระบบ และเสริ มเพิมเติมด้ วยการเรี ยนรู้ หาประสบการณ์เพิมเติม 3. ด้ านหน่ วยงาน และสถานที ในการสอนคําสอนในปั จจุบนั และอนาคต จํ า เป็ นที จะต้ องมี ส ถานที /พื นที ที ใช้ ใ นการสอนได้ อ ย่ า ง เหมาะสม และหาโอกาสสอนคําสอนในทุก สถานที ที เอืออํานวย เช่ น โรงเรี ย น วัด ศูน ย์ ต่างๆ สถานสงเคราะห์ สถานเลี ยงเด็ก ฯลฯ โดยมี รู ปแบบและกิจกรรมสอนคําสอนทีหลากหลาย ทังการสอนเป็ นรายวิชาที โรงเรี ยน การสอนในวันหยุดทีวัด (Sunday School) การสอนในโอกาส สําคัญต่างๆ การจัดค่ายคําสอน ฯลฯ เพราะพระวรสารได้ ระบุว่า ต้ องให้ คําสอนในทุกสถานที 4. ด้ านการใช้ สือสารมวลชน ในสังคมปั จจุบันผู้คนต่างให้ ความสําคัญในการใช้ สื อต่างๆ การสอนคํ าสอนและครู คําสอนต้ องใช้ สือสารมวลชนต่างๆ เป็ นเครื องมือ เป็ นช่องทางในการนําคําสอนไปยัง เพื อนมนุ ษ ย์ ทั งสื อสารสนเทศ สื อวัส ดุ อุ ป กรณ์ สื ออิ เ ล็ ก ทร อนิ ก ส์ ทังเว็บไซต์ เว็บบล็อก เฟซบุคส์ ฯลฯ ความท้ า ทายของงานคํา สอนและครู คํา สอน ในมุ ม มอง ของพระสังฆราชชูศักดิ สิริสุทธ์ เลขาธิการสภาพระสังฆราชคาทอลิก แห่ ง ประเทศไทย / ประธานกรรมาธิ ก ารฝ่ ายธรรมทูต และการศึก ษา คาทอลิก / ประธานกรรมการศูนย์คริ สตศาสนธรรมอีสาน / ประมุขสังฆ มณฑลนครราชสีมา ซึงมองอนาคตข้ างหน้ าสัก 10-20 ปี แล้ วให้ มมุ มอง ข้ อคิดไว้ 4 ประเด็น คือ


ห น้ า | 156

1. ความอยากเป็ นครู คําสอน คําตอบคงเป็ นในเรื องของการ อภิบาล การตอบแทน และความรั บผิดชอบครู คําสอน ในบทที 6 และ แรงจูงใจในการเข้ ารับการฝึ กอบรมเพือเป็ นครู คําสอน ในบทที 7 รวมกัน เนื องจากเหตุ ผ ลทางจิ ต วิ ท ยา คื อ ทุ ก คนมุ่ ง หาความปลอดภั ย ความมั นคงในชี วิ ต และรวมถึ ง การยอมรั บ ในสั ง คม ถ้ าฐานะของ ครู คําสอนจัดอยู่ในระบบโครงสร้ างการบริ หารของวัดและสังฆมณฑล อย่ า งชัด เจน ก็ จ ะมี เ ยาวชนอยากเป็ นครู คํ า สอนและเป็ นอย่ า งถาวร มิฉะนันความยากจนจะเป็ นมารผจญอาชีพครู คําสอนอย่างแน่นอน 2. แรงศรั ทธาและความเชือมันคงของครู คาํ สอน ความน่ า เชื อถื อ ในสิ งที ครู ไ ด้ ส อนมี ส่ ว นอย่ า งมากที สุ ด จากสิ งที ครู มีประสบการณ์ การสอนคําสอนเป็ นการถ่ายทอดความเชือมิใช่เป็ นเพียง สอนความรู้ ดังนันการทีครู คําสอนต้ องปฏิบัติต้องมีประสบการณ์ ความ เชื อด้ วยตัวเองเป็ นสิงสํ าคัญ วุฒิการศึกษาและปริ ญญาทางคําสอนก็ สําคัญอยู่ แต่ไม่สําคัญเท่ากับครู มีประสบการณ์ เกียวกับพระในชี วิตของ ตนเอง ซึงทําให้ การถ่ายทอดมีชีวิตชีวา 3. ความยึดมันถือมัน (แนวความคิด Relativism) คือ ไม่มี ความจริ ง สูง สุด อะไรแล้ ว ถ้ า ตนเองคิ ด ว่ า เป็ นอย่ า งนี นี ก็ คื อ ถู ก ต้ อ ง แล้ ว แนวคิ ด นี ปฏิ เ สธความเป็ นอยู่ ข องพระเจ้ า ปฏิ เ สธแนวทางของ ศาสนา ดังนันการไปพูดให้ ทํา ดี หนีบาป คงยากลําบากมากขึน สังคม กําลังอยู่ในกระแสแบบนีและมากขึนทุกที ครู คําสอนจะดูคล้ ายเป็ นพวก เต่ า ล้ า นปี เป็ นพวกปฏิ เ สธความทัน สมัย ดังนัน การสอนคํ า สอนจะ


ห น้ า | 157

ถูก ต่ อต้ า นและถู ก จัด ให้ เ ป็ นเรื องไร้ สาระ ครู คํ าสอนจะต้ อ งยื น ยัน ว่ า “มีความจริ งสูงสุด มีพระเจ้ า” 4. การใช้ สือและวิธีในการสอนคําสอน ถ้ าคิดอย่างคนมอง โลกในแง่ดีก็ยังมีหวังอยู่บ้าง ทังนีขึนอยู่กบั การสือสารอย่างไรให้ โดนใจ กับ คนร่ ว มสมัย ดัง นั นการใช้ เทคโนโลยี ทัน สมัย เป็ นความจํ า เป็ นที ครู คําสอนต้ องรู้ ต้ องมีใช้ ประโยชน์ จากเทคโนโลยี สมัยใหม่มี มากมาย เหลือหลาย ครู คําสอนต้ องรู้ จกั ใช้ อย่างเต็มที ซึงมุมมองดังกล่าวข้ างต้ นนี ค่อนข้ างสอดคล้ องกับมุมมองของ พระคาร์ ดินัล เอ็ดวิน โอไบรอัน (Cardinal Edwin O’Brien, USA : Cardinal of the Holy Sepluchre) ในงานชุมนุมครู คําสอนนานาชาติ 2013 เมื อวั น ที 28 กั น ยายน 2013 ณ วั ด ซานซั ล วาตอเร (San Salvatore) (ตัวแทนครู คําสอนไทย คณะกรรมการคริ สตศาสนธรรม, 2556) ซึงท่ า นเห็ น ว่า เนื องจากสภาพการเปลี ยนแปลงของสังคมใน ปั จจุบนั ทําให้ ยากต่อการรักษาความเชือไว้ ได้ ดังนัน 1. ครู คําสอนควรทําให้ คนมาวัดด้ วยใจยินดี ทําหน้ าทีเชิญ ชวนและต้ อนรับผู้ทีมาวัด ทําให้ พิธีบชู าขอบพระคุณมีความหมายสําหรับ เขา 2. เราเป็ นศิ ษ ย์ ของพระคริ ส ตเจ้ า ไม่ ใ ช่ ศิ ษ ย์ ของไม้ กางเขน แต่การติดตามพระเยซูเจ้ าต้ องแบกกางเขน เราต้ องไม่เลือก กางเขนแต่ให้ ยอมรับกางเขน ดําเนินชีวิตตามพระวรสาร ซึงไม่ใช่เรื องง่าย แต่เราต้ องทํา การเป็ นศิษย์ ของพระเยซูเจ้ าต้ องรั บใช้ และรั บใช้ ด้วยใจ ยินดี


ห น้ า | 158

3. ครู คําสอนเป็ นเสี ยง เป็ นหัวใจ และเป็ นโฉมหน้ าของ พระศาสนจักร เราต้ องตระหนักในเรื องนี การสอนคําสอนต้ องซือสัตย์ ต่อพระเจ้ า ซือสัตย์ต่อคําสอนของพระศาสนจักร และต้ องสอนในสิงที ถูกต้ อง ครู คําสอนต้ องช่วยให้ ผ้ คู นเติบโตในความเชืออย่างแท้ จริ ง 4. พระศาสนจั ก รในฐานะพระศาสนจั ก รระดั บ บ้ าน (ครอบครัว) ครู คําสอนต้ องเห็นความสําคัญและส่งเสริ มพระศาสนจักร ระดับบ้ าน(ครอบครั ว) ต้ องพยายามทําให้ ครอบครัวพาลูก ๆ มาวัดร่ วม พิธีบชู ามิสซา ซึงเป็ นพันธกิจทีครอบครัวต้ องกระทํา 5. พระศาสนจักรต้ องเปิ ดกว้ างให้ คนเข้ ามารู้ จักพระเป็ นเจ้ า วัดควรเอาใจใส่ในเรื องเหล่านี ต้ องเปิ ดออก ทําให้ ผ้ คู นกล้ าทีจะเข้ า มา ให้ กําลังใจเขา ให้ เขาเข้ ามาในพระศาสนจักรมากขึน เป็ นการท้ าทาย เราครู คําสอน ทีจะนําคนอืนมาเข้ าวัด ซึงพันธกิจเหล่านีต้ องอาศัยความ เสียสละ พระศาสนจักรเป็ นผู้แพร่ ธรรม บรรดามิชชันนารี เป็ นผู้ทีเสียสละ เพื อประกาศพระอาณาจักรพระเจ้ า แม้ จ ะต้ องหลังเลื อด สิงเหล่านี ท้ าทายความเชือของเราในปั จจุบนั 6. พระศาสนจักรเป็ นของทุกคน ครู คําสอนต้ องทําให้ คนรู้ สกึ ว่าพระศาสนจักรเป็ นของเขา เขาเป็ นเจ้ าของ รู้ สึกว่าวัดเป็ นของเขา เขาเป็ นส่วนหนึงของวัด 7. การสอนด้ วยรู ปแบบวิธีการใหม่ หลาย ๆ ครังทีครู คําสอน ชอบใช้ คําว่า ต้ อง... อย่า... ต้ องทําโน่น อย่าทํานี ... การทีมีคําว่าต้ อง มากเกินไป เหมือนการกีดกัน เราต้ องหาวิธีการหรื อรู ปแบบใหม่บ้าง


ห น้ า | 159

8. การเห็นความสํ าคั ญและคุ ณ ค่ าของทุ กคน ครู คําสอน จําเป็ นต้ องมีความสุภาพ ถ่อมตน เห็นถึงความสําคัญของทุกคนทีมาวัด เห็นเขามีคณ ุ ค่า มีตวั ตนในวัดนัน ๆ ครู คําสอนควรตระหนักว่า เขาเป็ น กระแสเรี ยกของวัด 9. ครู คําสอนเป็ นกระแสเรี ยกและเป็ นผู้ส่งเสริ มกระแสเรี ยก ถ้ าไม่ตระหนักหรื อไม่พดู ถึงกระแสเรี ยก กระแสเรี ยกนันก็จะหายไป ความท้ าทายของงานคําสอนในอนาคตเป็ นสิงทีครู คําสอนต้ อง ฟั นฝ่ าเพือบรรลุถึงเป้าหมายสําคัญสูงสูดคือ “การเป็ นพยานยืนยันถึง พระเจ้ า การประกาศข่ าวดีแห่ งชีวิต ” ไปสู่เพือนมนุษย์ ไม่ว่าจะพบ ความยากลํ า บากหรื อ ความท้ า ทายใดๆ โดยเฉพาะ “ความท้ า ทาย ภายในตัวครู คาํ สอนเอง”


ห น้ า | 160

รายการอ้ างอิง ตัวแทนครู คําสอนไทย คณะกรรมการคริ สตศาสนธรรม. เรี ยนคําสอน และร่ วมพิธีบูชาขอบพระคุณ (Catechesis and Mass with the Cardinal). เข้ าถึงเมือ 23 ธันวาคม 2556, เข้ าถึงได้ จาก http://www.thaicatechesis.com/news


ห น้ า | 161

ประวัตผิ ้ ูเขียน

ชือ ทีทํางาน

นางสาวลัดดาวรรณ์ ประสูตร์ แสงจันทร์ วิทยาลัยแสงธรรม 20 หมู่ 6 ตําบลท่าข้ าม อําเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม 73110 ประวัติการศึกษา 2535 การศึกษาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีทางการศึกษา มหาวิทยาลัยศรี นคริ นทรวิโรฒ ประสานมิตร 2551 ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร 2556 ดุษฎีบณ ั ฑิต สาขาวิชาการบริ หารการศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.