โรงเรียนคาทอลิกเป็นสนามประกาศข่าวดี 1
วารสารแสงธรรมปริทัศน์
วารสาร ราย 4 เดือน ปีที่ 35 ฉบับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2011/2554 เจ้าของ วิทยาลัยแสงธรรม คณะที่ปรึกษา อธิการบดี รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ ผู้อำนวยการศูนย์ส่งเสริมและพัฒนางานวิชาการ ผู้อำนวยการศูนย์วิจัยค้นคว้าศาสนาและวัฒนธรรม คณบดีคณะมนุษยศาสตร์ คณบดีคณะศาสนศาสตร์ คณะผู้ทรงคุณวุฒิ หมวดกฎหมายพระศาสนจักร บาทหลวง ผศ.ดร.ไพยง มนิราช หมวดกระแสเรียก บาทหลวงอดิศักดิ์ พรงาม หมวดคำสอน มุขนายกวีระ อาภรณ์รัตน์ บาทหลวง ผศ.วัชศิลป์ กฤษเจริญ หมวดจริยธรรม บาทหลวง ดร.เชิดชัย เลิศจิตรเลขา, M.I หมวดชีวิตด้านจิตใจ บาทหลวงสมชัย พิทยาพงศ์พร บาทหลวงเจริญ ว่องประชานุกลู หมวดประวัติศาสตร์พระศาสนจักร บาทหลวงธีรพล กอบวิทยากุล บาทหลวง ดร.สุรชัย ชุ่มศรีพันธุ์ หมวดปรัชญา บาทหลวง ดร.ออกัสติน สุกีโย ปิโตโย, S.J. บาทหลวง ดร.วีรศักดิ์ วนาโรจน์สุวิช หมวดพระคัมภีร ์ มุขนายก ดร.ลือชัย ธาตุวิสัย บาทหลวง ผศ.ทัศไนย์ คมกฤส บาทหลวงสมเกียรติ ตรีนิกร หมวดพระสัจธรรม บาทหลวงวิรัช นารินรักษ์ บาทหลวงชาย ขันทะโฮม, C.Ss.R. บาทหลวง ดร.ฟรังซิส ไก้ส์, S.D.B. หมวดพิธีกรรม บาทหลวงเคลาดิโอ เบร์ตุชอร์, O.M.I. บาทหลวงอนุสรณ์ แก้วขจร หมวดศาสนสัมพันธ์และคริสตสัมพันธ์ มุขนายกชูศักดิ์ สิริสุทธิ์ บาทหลวงซิกมูนด์ แลส์เช็นสกี้, S.J. บรรณาธิการบริหาร บาทหลวงเจริญ ว่องประชานุกูล บรรณาธิการสร้างสรรค์ อาจารย์พีรพัฒน์ ถวิลรัตน์ กองบรรณาธิการ อาจารย์สุจิตตรา จันทร์ลอย อาจารย์พิเชษฐ รุ้งลาวัลย์ อาจารย์ทิพอนงค์ รัชนีลัดดาจิต อาจารย์ลัดดาวรรณ์ ประสูตร์แสงจันทร์ นางสุจิต เพชรแก้ว นางสาวปนัดดา ชัยพระคุณ นางสาววรัญญา สมตัว นางสาวธชวรรณ สุทธาธาร จัดพิมพ์โดย ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนางานวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเสริมสร้างความรู้ทางวิชาการในด้านเทววิทยาและปรัชญา 2. เพื่อเป็นสื่อกลางความรู้ และความสัมพันธ์อันดีทางด้านศาสนา กำหนดออก ปีละ 3 ฉบับ ประจำเดือนมกราคม-เมษายน, พฤษภาคม-สิงหาคม และกันยายน-ธันวาคม ค่าบำรุงสมาชิก สมาชิกรายปี 300 บาท จำหน่ายปลีก ฉบับละ 120 บาท สำหรับสมาชิกรายปี สามารถส่งเงินค่าบำรุงสมาชิก เป็นเงินสด, ตัว๋ แลกเงิน, ไปรษณีย,์ เช็คขีดคร่อมสัง่ จ่าย “แสงธรรมปริทศั น์”, ธนาณัติ สั่งจ่าย “บาทหลวงเจริญ ว่องประชานุกูล” ปณ.อ้อมใหญ่ 73160 หรือโอนเข้าบัญชีเงินฝากออมทรัพย์ ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน) สาขาสามพราน นครปฐม ชื่อบัญชี วารสารแสงธรรมปริทัศน์ฺ เลขที่บัญชี 366-261387-3
2
วารสารแสงธรรมปริทัศน์ ฉบัับที่ 2 พฤษภาคม - สิงหาคม 2010/2553
บทบรรณาธิการ
เมื่อวันที่ 4-7 ตุลาคม ค.ศ. 2010 ที่ผ่านมา มีการประชุมสื่อมวลชน คาทอลิกจากทั่วโลก โดยมีตัวแทนสื่อมวลชนกว่า 250 คน จาก 89 ประเทศเข้าร่วม รวมถึงตัวแทนจากประเทศไทยของเราด้วย คือ คุณพ่ออนุชา ไชยเดช คุณพ่อ ภราดร อุ่นจตุรพร และคุณวัชรี กิจสวัสดิ์ ในงานนี้ พระอัครสังฆราช เคลาดิโอ เชลลี่ ประธานสมณสภาสื่อสาร สังคม ได้กล่าวกับผู้เข้าร่วมประชุมว่า “สื่อมวลชนคาทอลิกต้องมีมุมมองที่ชัดเจน เกี่ยวกับพันธกิจและบทบาทของตนในพระศาสนจักรและสังคม เราต้องมองว่า เรา จะทำอย่างไรในการช่วยผู้คนเผชิญหน้ากับความวิตกกังวล รวมถึงช่วยให้เขาค้นพบ ความต้องการแท้จริงบนแก่นของความเป็นคาทอลิก” สื่อมวลชนถือว่า เป็นกลุ่มบุคคลหรือองค์กรที่มีอิทธิพลอย่างมากในโลกยุคปัจจุบัน หลายครั้งการ นำเสนอของสื่อมวลชนก่อให้เกิดความร่วมมือกันอย่างกว้างขวาง เช่น กรณีเหตุการณ์สึนามิที่ประเทศไทย เหตุการณ์แผ่นดินไหวที่เฮติ เป็นต้น ทว่า หลายครั้งการนำเสนอของสื่อมวลชนบางกลุ่มที่ขาดการคิดคำนึง ถึงผลที่จะตามมาจากการนำเสนอ มุ่งแสวงหาผลประโยชน์ของตนเพียงฝ่ายเดียว จนลืมบทบาทสำคัญ ของตน ที่จะต้องนำเสนอข่าวสารที่ถูกต้องและเชื่อมโยงบุคคลเข้าด้วยกัน บนพื้นฐานของความจริง ในโอกาสที่แสงธรรมปริทัศน์ก้าวสู่ปีที่ 35 จึงอยากจะขอใช้ปีนี้ เป็นปีแห่งการนำเสนอประเด็นที่ ส่งผลต่อสังคมส่วนรวม โดยเริ่มจากฉบับแรกของปีด้วยหัวเรื่อง “สื่อมวลชน” และฉบับถัดไปในหัวเรื่อง “ทุนนิยม” เพื่อเป็นการระลึกถึงบทบาทสำคัญของแสงธรรมปริทัศน์ ที่มุ่งนำเสนอบทความสร้างสรรค์สังคม อุดมด้วยคุณค่าแห่งความดีงาม 35 ปีแห่งการรับใช้ผู้อ่านทุกท่าน จากรุ่นสู่รุ่น ทางกองบรรณาธิการยังคงมุ่งมั่นสร้างสรรค์ผลงาน อย่างต่อเนื่อง ขณะเดียวกัน ก็หวังใจในการสนับสนุนจากท่านผู้อ่านทุกๆ ท่านด้วย หวังว่า เราจะก้าวย่าง สู่ปีที่ 36 และปีต่อๆ ไปร่วมกัน ในโลกที่กำลังเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงและการท้าทายนานัปการ เพื่อร่วมกัน แบ่งปันแสงธรรม แสงสว่างแห่งปัญญาและชีวิตสู่บุคคลรอบข้างและสังคม เพื่อเป็นฐานของการพัฒนาที่เข้ม แข็งสืบไป
บรรณาธิการสร้างสรรค์
ข่าวประชาสัมพันธ์... ขอเชิญชวนส่งบทความเพือ่ ตีพมิ พ์ลงในวารสารแสงธรรมปริทศั น์ฉบับต่อไปเดือน พฤษภาคม - สิ ง หาคม 2554 ในหั ว ข้ อ “ทุ น นิ ย ม” ส่ ง ต้ น ฉบั บ ได้ ที่ คุ ณ ปนั ด ดา ชั ย พระคุ ณ E-mail: panadda_mai@yahoo.com หรือ อาจารย์สุจิตตรา จันทร์ลอย E-mail:chantra3008@gmail.com ภายในวันที่ 25 มีนาคม 2554 และขอขอบคุณล่วงหน้าสำหรับทุกบทความที่ส่งมาร่วมแบ่งปัน บทความทีต่ พี มิ พ์ในวารสารแสงธรรมปริทศั น์ ขอสงวนสิทธิต์ ามกฎหมาย ในกรณีทต่ี อ้ งการบทความไปเผยแพร่ กรุณาแจ้งขออนุญาตอย่างเป็นทางการ
โรงเรียนคาทอลิกเป็นสนามประกาศข่าวดี 3
จากใจ...บรรณาธิการ กองบรรณาธิการวารสารแสงธรรมปริทัศน์ วิทยาลัยแสงธรรม ขอชี้แจงข้อผิดพลาดไป ยังสมาชิกวารสารทุกท่าน กับสิ่งที่เกิดขึ้นในการลงชื่อผู้เขียนบทความวารสารแสงธรรมปริทัศน์ ฉบับที่แล้ว คือ ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2010/2553 หน้า 85 หมวดจริยธรรม เรื่อง The Role of Moral Theology in Formation for Ministry ซึ่งผู้เขียนบทความ คือ Fr.Eric Genilo, S.J. แต่ทางคณะผู้จัดทำ ได้ลงชื่อผู้เขียนเป็นบาทหลวง ดร.ออกัสติน สุกีโย ปิโตโย, S.J. นับว่าเป็น ความผิดพลาดที่ทางกองบรรณาธิการขออภัยมายังผู้เขียนทั้ง 2 ท่าน และสมาชิกวารสารแสงธรรมปริทัศน์ทุกท่านด้วย หากผู้อ่านท่านใด นำบทความทั้ง 2 ท่านไปอ้างอิงใช้ประกอบกับ ผลงานทางวิชาการ กรุณาอ้างอิงในชือ่ บทความและชือ่ ผูเ้ ขียนทีถ่ กู ต้องสมบูรณ์ในฉบับสือ่ มวลชน เดือนมกราคม - เมษายน 2011/2554 ในการนี้ ทางกองบรรณาธิการวารสารแสงธรรมปริทศั น์ รูส้ กึ เสียใจกับเหตุการณ์ทเ่ี กิดขึน้ และขอรับรองว่า จะไม่ให้เกิดเหตุการณ์ในลักษณะนี้ขึ้นอีก พร้อมทั้งยินดีน้อมรับคำแนะนำจาก สมาชิกทุกท่าน ที่เป็นประโยชน์และสามารถแสดงความคิดเห็นได้ที่บรรณาธิการฉบับนี้และฉบับ ต่อๆ ไป กองบรรณาธิการวารสารแสงธรรมปริทัศน์
4
วารสารแสงธรรมปริทัศน์ ฉบัับที่ 2 พฤษภาคม - สิงหาคม 2010/2553
Content 1
20
28
Saengtham Journal ปีที่ 35 ฉบับที่ 1 มกราคม-เมษายน 2011/2554
1 : 10 : 20 : 28 : 41 : 50 :
บทบรรณาธิการ The Role of Moral Theology in Formation for Ministry Fr.Eric Genilo, S.J. Catholic Education and Democracy : The Role of Catholic Education in Promoting Democratic Values and Practices บาทหลวง ดร.ออกัสติน สุกีโย ปิโตโย, S.J. สื่อสาร : สื่อ (อะไรใน) สาร? แนวคิดเบือ้ งต้นเกีย่ วกับปรัชญาว่าด้วยเรือ่ งการสือ่ สาร บาทหลวงวุฒิชัย อ่องนาวา บทสัมภาษณ์ สื่อมวลชน ในทัศนะของ 2 บาทหลวง สื่อมวลชนคาทอลิก บาทหลวงวรยุทธ กิจบำรุง และบาทหลวงอนุชา ไชยเดช อิทธิพลของสื่อมวลชนที่คริสตชนควรรู ้ ศาสตราจารย์กีรติ บุญเจือ บทบาทของ ไอซีที ที่มีต่อสังคมไทยปัจจุบัน ดร.สุภาวดี นัมคณิสรณ์
โรงเรียนคาทอลิกเป็นสนามประกาศข่าวดี 5
41
50
68
90
68 : 78: 90 : 99 :
“สื่อและเทคโนโลยี” กับความเข้าใจ คือแสงไฟส่องทาง สุจิตตรา จันทร์ลอย Facebook: เครือข่ายสังคมออนไลน์ : ปฏิเสธหรือยอมรับ? พิเชษฐ รุ้งลาวัลย์ การสื่อสารเพื่อเสริมศักยภาพการอภิบาล ภุมเรศ ภูผา แนะนำหนังสือ บาทหลวงสมชัย พิทยาพงศ์พร
1
หมวดจริยธรรม
The Role of Moral Theology in Formation for Ministry Eric Genilo, S.J.
Introduction My paper is about the role of moral theology in the formation of future pastoral ministers of the Church. My paper is in two parts. The first part will discuss several ways moral theology can contribute to formation for ministry. The second part will focus on challenges for future church ministers and leaders. Although some of my
Teaching Moral Theology at Loyola School of Theology, Ateneo de Manila University.
The Role of Moral Theology in Formation for Ministry
2
วารสารแสงธรรมปริทัศน์ ฉบัับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2011/2554
examples will refer to those preparing for ordained ministry, they can also apply to those preparing to serve the Church as religious or lay persons. Part I : Contributions of Moral Theology to Formation for Ministry John Paul II, in his encyclical Veritatis Splendor, states that our moral life is our response to God’s love.1 Our relationship with God defines our moral life. In my experience as a professor of moral theology and a formator in a seminary, I believe one of the most important tasks of forma-
tion is to help people develop a healthy and loving relationship with God. A person’s image of God can influence his moral development and his future ministry as a priest or pastoral worker of a community. For example, if a seminarian sees God as a God who demands perfection, he may become a perfectionist in his moral life and when he becomes a parish priest he will also demand perfection from his parishioners. If a seminarian looks at God only as a law-giver, he may become too concerned about rules in his moral life and when he becomes a priest he may
“
One of the most important tasks of formation is to help people develop a healthy and loving relationship with God
John Paul II, Veritatis Splendor, #10.
The Role of Moral Theology in Formation for Ministry
“
1
3
become legalistic in the way he treats people. If he sees God as a strict God, he may become strict on himself and he may also become strict on his penitents when he hears their confession.2 However, if a seminarian experiences God as a forgiving Father, like the father in the parable of the prodigal son, he will be more capable of forgiving himself and he will be more compassionate to marginalized sinners in his community. If he experiences God as good shepherd, he may develop to become a caring pastor and leader of his parish. It is important therefore to ask ourselves as professors and formators what image of God do we impart to our students in formation? What image of God do we present in our courses in theology? Do we present
2
a consistent image of God? What aspects of our image of God do we need to strengthen and what aspects do we need to purify? Moral theology has a very important role in fostering a positive image of God in formation. How moral theology is taught can shape a person’s image of God. It is important that moral theology be taught in a way that is consistent with the teachings and example of Christ in the Gospels. I would like to propose three ways that moral theology can contribute to the moral and pastoral formation of our future church ministers and leaders.
Kevin O’Neil & Peter Black, The Essential Moral Handbook (Ligouri, Missouri: Ligouri, 2003), 2-22.
The Role of Moral Theology in Formation for Ministry
4
วารสารแสงธรรมปริทัศน์ ฉบัับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2011/2554
First, moral theology can contribute to formation by pointing to Christ as the model for personal morality and moral leadership. If moral theology keeps its focus on Christ and his revelation of God’s love, our distorted images of God will be healed and corrected. A Christ-centered moral theology shifts us away from a legalistic and minimalist view of the moral life and directs us to a morality that is based on discipleship and imitation of Christ. When we search for pastoral solutions to the difficult moral problems, we need to ask the important question, “What would Christ do in this situation?’ This question will ensure that our pastoral solutions are not just faithful to the Church’s teachings but also faithful to the example of Christ. To be able to point to Christ, moral theology must also have a strong link with 3 4
Scripture. The Vatican II document on Priestly Training, Optatam Totius, states that the work of moral theology must be nourished by the bible so that moral theology can fulfill its obligation to bear fruit in charity for the life of the world.3 This means that moral theology must first listen to Christ in Scripture and then teach others to imitate Christ. Hand-in-hand with Scripture, moral theology can help heal our distorted images of God and turn our hearts and minds to Christ as our true Lord and Savior and the true model for our moral life. The second way that moral theology contributes to formation is through its emphasis on the centrality of mercy in church ministry. Moral theologian James Keenan of Boston College wrote that mercy is what makes Christian morality distinctive.4 God’s mercy is at the heart of our
Second Vatican Council, Optatam Totius, #16. James Keenan, “Mercy: What Makes Catholic Morality Distinctive,” Church 16 (2000) 41-43.
The Role of Moral Theology in Formation for Ministry
5
history of salvation and the imitation of the mercy of Christ is the goal of all our moral activities. It is part of the task of moral theology to train future priests to be merciful in their ministry as confessors and as leaders of the community. When dealing with difficult moral cases in the confessional such as abortion, contraception, or irregular unions, priests need to exercise the mercy of Christ while applying moral principles and church teachings. If moral theology neglects to teach mercy in the formation of future priests and pastoral ministers, it will be doing the Church a great disservice. It is the duty of moral theology to instill the virtue of mercy in those being trained for ministry. The third way that moral theology contributes to formation is through its promotion of diague among the different areas of theological studies. When Thomas Aquinas wrote his Summa Theologiae he placed moral theology in the second part of his
three volume work. For Aquinas, moral theology was fully integrated with the rest of theology. Unfortunately, after the Council of Trent, when the seminary system of training priests was implemented by the Church, moral theology developed as a separate discipline that was focused only on the training of confessors. Moral theology became separated from Scripture, spirituality and systematic theology. Because of this separation, moral theology became too focused on sins and neglected the pursuit of perfection. It was only during Vatican II that the Church initiated the renewal of moral theology and re-integrated it with the rest of theology. Today moral theology dialogues with other areas of theology like Christology, ecclesiology, liturgy, spirituality, and church history. This interdisciplinary dialogue will help form an integrated image of God for those studying theology. Having an understanding of God that is theologically correct and complete can help
The Role of Moral Theology in Formation for Ministry
วารสารแสงธรรมปริทัศน์ ฉบัับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2011/2554
seminarians avoid distorted images of God that can negatively affect their future ministry as priests and church leaders. This interdisciplinary dialogue within theology is also necessary in order to formulate prudent pastoral responses to difficult moral cases. For example, the areas of liturgy, moral theology, and canon law need to dialogue in order to address the need for pastoral care of persons in irregular unions. The areas of ecclesiology, social ethics, canon law and holy orders have to dialogue to address cases of priests and religious being involved in politics. Such a dialogue within theology will help our Church respond to the complicated moral problems of our modern world today. Part II : Pastoral Challenges I would like to propose three pastoral challenges in the context of the formation of future church ministers and leaders.
The first challenge to formation is to train seminarians to be professional in the exercise of their ministry. Many of the scandals in our Church today are a result of unprofessional behavior of clergy. It is very important that our future church leaders be trained to be ethical pastors and administrators. Moral theology can respond to this challenge in two ways: by providing training in professional ethics and by applying virtue ethics in the formation of church ministers.
“
The first challenge to formation is to train seminarians to be professional in the exercise of their ministry.
The Role of Moral Theology in Formation for Ministry
“
6
7
Regarding professional ethics, the Church should formulate a code of ethics for its ministers similar to the code of ethics of secular professions and institutions. Lawyers and doctors, for example, follow ethical codes that are proper to their professions. The Church also needs a code of professional conduct for its ministers and administrators to prevent the abuse of power and violation of boundaries. It is unfortunate that it is only now that the Church is implementing ethical codes for the handling of cases of sexual abuse and misconduct. We can prevent many problems in the Church if we are able to train our future priests to be professional in the exercise of their future ministry. Future church leaders should be trained on how to handle church resources
with competence and transparency, and to treat God’s people with respect. They should learn how to keep their boundaries when hearing confession, giving counseling or working with lay people. They should know the limits and responsibilities of their power when they become church leaders. Moral theology can contribute by initiating the formulation of ethical codes for various ministries in the Church. But it is not enough to know ethical codes for a person to be ethical. There must also be value formation that will ensure that a person would be committed to doing what is right. Moral theology can contribute to value formation of our church ministers by integrating virtue ethics in seminary training.5 Virtue ethics emphasizes the formation of character
5
James Keenan and Joseph Kotva, Jr. ed. Practice What You Preach: Virtues, ethics, and Power in the Lives of Pastoral ministers and Their Congregations (Sheed & ward: Franklin, Wisconsin, 1999) 1-9.
The Role of Moral Theology in Formation for Ministry
8
วารสารแสงธรรมปริทัศน์ ฉบัับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2011/2554
through the regular practice of virtue. When we train persons for ministry we do not only provide them with the skills to run parishes or other church institutions, we also teach them the virtues they need to be good ministers and administrators. They need to learn and practice virtues such as honesty, transparency, humility, fairness, respect for others, openness to dialogue, and consistency. Future ministers must learn to practice what they preach and exercise prudence in their exercise of authority. The second challenge to formation is to teach our future church leaders how to dialogue with secular disciplines such as the medicine, law,
sociology, business, and politics. The Church can learn much from secular disciplines and the secular disciplines have much to learn from the Church. When our church leaders meet with doctors, politicians, or lawyers they can use ethics as the starting point for dialogue and sharing. Through the common language of ethics, the leaders of the local Church can communicate its values to different groups in society. For example, if our church leaders are able to dialogue with the medical profession, they can gain knowledge about medical developments that can affect the lives of people while at the same time they can share the values of Catholic bioethics to secular medical practitioners. If our church leaders are able to dialogue with those in business, church leaders can learn how to be good managers of the church’s resources and at the same time they can share values that can lead to more ethical business practices. This give and take of infor-
The Role of Moral Theology in Formation for Ministry
9
mation and values between the Church and the secular disciplines contributes to the growth of knowledge in the Church and the evangelization of the world. The third challenge is to prepare our future church leaders to collaborate with civil society and other religions. Catholic social teaching can help the leaders of the Church of Thailand to speak about social issues that affect all the people of the country. The Church’s social teaching, which encourages solidarity and cooperation, provides the opportunity for Catholics in Thailand to collaborate with people of other religions to work for justice in society. Even though the Church in Thailand is small compared to other religious groups, it can still have a voice to speak out for justice through the social teachings of the Church. Through social ethics the Church of Thailand can contribute to the common good of Thai society.
Moral theology is only one part of theological formation but it can provide important contributions to forming our future church ministers and leaders. I pray that the students of Lux Mundi will continue to draw from the richness of the Church’s moral tradition. May you truly encounter Christ in your journey of formation through the help of your professors and formators. May you be as merciful as Christ when you become his shepherds for the people of Thailand. May God bless the important work of Lux Mundi and may you bring the mercy and goodness of Christ to you ministry in Thailand, in Asia, and in the world. Thank you very much.
10 วารสารแสงธรรมปริทัศน์ ฉบัับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2011/2554
หมวดปรัชญา
The Role of Catholic Education in Promoting Democratic Values and Practices Agustinus Sugiyo Pitoyo, S.J.
“[Children and young people] should be so trained to take their part in social life that properly instructed in the necessary and opportune skills they can become actively involved in various community organizations, open to discourse with others and willing to do their best to promote the common good.”1
The above quotation obviously shows us the concern of the Catholic Church in promoting democratic values and practices. Democratization has undoubtedly been the great transfor-
mation of world politics in the twentieth century and it has become one of the significant issues in educational landscape. Our efforts in Catholic education should be important for the resources it
บาทหลวงสังกัดคณะเยซูอิต, อาจารย์ประจำสาขาวิชาปรัชญาและศาสนา คณะมนุษยศาสตร์ วิทยาลัยแสงธรรม 1 Paul VI, Gravissimum Educationis, 1965, #1 The Role of Catholic Education in Promoting Democratic Values and Practices
11
provides to promote democratic values and practices. There is an enormous demand for Catholic education to assist young generations to be prepared for their future responsibility in building a more democratic society which enhances greater equality, participation and healthier deliberative democracy. My intention is simply to raise this issue in our minds and to remind us that we have a duty to respond to it in accord with our consciences. Therefore, this article will first seek to present the readers with the purpose of Catholic education in general. In addition, it will address the key issues in the field of education, social justice and democracy. Finally, it will attempt to suggest some ideas to foster democratic values and practices. I. The Purpose of Catholic Education It is true that education has been viewed by many as an effort to 2
accumulate knowledge and at the same time as a means to obtain a desired job. It is also true that a worthy purpose of education is to put knowledge and wisdom in service to the world in order to better ourselves and to better the human condition. Education plays a central role as a means either to prepare individuals to put their knowledge and skills in service to the state, nation, or world, or as a means to understand ourselves and the world. It is worth noting that the Catholic school is receiving more and more attention in the Church since the Second Vatican Council. The Catholic Church believes that among all educational instruments the school has a special importance. It is designed not only to develop with special care the intellectual faculties but also to form the ability to judge rightly, to hand on the cultural legacy of previous generations, to foster a sense of values, and to prepare for professional life.2 Pope
Paul VI, Gravissimum Educationis, # 1
The Role of Catholic Education in Promoting Democratic Values and Practices
12 วารสารแสงธรรมปริทัศน์ ฉบัับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2011/2554
Paul VI stated very clearly that “a true education aims at the formation of the human person in the pursuit of his ultimate end and of the good of the societies of which, as man, he is a member, and in whose obligations, as an adult, he will share. Education should promote for all peoples the complete perfection of the human person, the good of earthly society and the building of a world that is more human.”3 Thus, Catholic education could and should be distinguished by a commitment to an education for justice and peace. Justice demands that social institutions be ordered in a way that guarantees all persons the ability to participate actively in the economic, political and cultural life of society. Catholic social teaching spells out the basic demands of justice in the human rights of every person. These fundamental rights are prerequisites for a dignified life in community.
Catholic education has been put in the center of attention in promoting the dignity of human person and building a more humane world. It is also viewed as an instrument to promote the common good which includes the rights to fulfillment of material needs, a guarantee of fundamental freedoms, and the protection of relationships that are essential to participation in the life of society. In addition, the Church expects that “the students of Catholic schools are molded into persons truly outstanding in their training, ready to undertake weighty responsibilities in society and witness to the faith in the world.”4 II. Catholic Education, Social Justice and Democracy The Catholic Church has in fact made education one of her highest priorities. Education is integral to the mission of the Church to proclaim
3 Ibid., 4
#3 Ibid., #10
The Role of Catholic Education in Promoting Democratic Values and Practices
13
the Good News and should become a powerful instrument of hope for all people in the world. Pope John Paul II encouraged us to deepen our Catholic identity, formed by Church doctrine; commitment to the equal dignity and value of all human beings. With his deep love for the world and human beings, Pope John Paul II stated that “We need to act in order to build the civilization of love and peace, in a world in which human rights are defended and the goods of the earth are everywhere distributed with justice.”5 This statement keeps reminding us that social justice and democracy are important themes that need to be engaged within today’s educational landscape. The contemporary Church has consistently called upon Catholics and all people of good will to practice social responsibility for building the civilization of love and peace through education.
Cultural pluralism leads the Church to reaffirm her mission of education to insure the strong character formation of young generations who live in society which is intrinsically related to the essential plurality of human beings and to our living in a common world. It is a real challenge to keep unity in diversity and create a harmonious society. A good education that enhances social justice and democracy is very important to prepare the young generations to take responsibility for the future of the world. Every generation should take the responsibility to transform the public space in a context in which multiplicity, heterogeneity and differences are accepted as we live in a pluralistic world. Human plurality conditions us in the sense that our very individuality only takes shape through our recognition that we share the world with others.
5
John Paul II, “The Lesson of 9/11 End Terrorism and Its Causes,” The Pope Speaks 48, no. 2 (March/April 2003): 83.
The Role of Catholic Education in Promoting Democratic Values and Practices
14 วารสารแสงธรรมปริทัศน์ ฉบัับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2011/2554
Thinking in the presence of others enables citizens to develop an “enlarged mentality”, going beyond mere self-interest and a limited point of view, to reflect on the general interest or on their common good. As Parekh puts it: “The political way of life requires not merely a willingness to participate in the conduct of public affairs, but also such political virtues as courage, moderation, insight, impartiality and a willingness to place communal well being above one’s own.6 Public realm exists wherever those who gather to discuss an event or a problem see and hear from different positions. Humanity comes to be defined as an assembly of attributes which befits us for a common life in the common realm which we share with other fellows. If we would be fully human, our humanity requires that we adopt this standpoint when we
are engaged in common deliberation with our fellow human beings.7 The first flowering of democracy was among the ancient Greeks where Athenian political life was a politics of talk and opinion, one which gave a central place to human plurality and the equality between citizens. Public life is not just an occasion for choice but also an opportunity for different human beings to make a world in common. At the bottom of politics there is a notion of freedom as public action in deed and speech between citizens. The public realm in which politics takes place is above all else a space between people, created by their discourse and mutual recognition. The common world we share as public and political agents exists only as the result of the differences we reveal in our interactions. With words and deeds we insert ourselves
6
Bhikhu Parekh, Hannah Arendt and the Search for A New Political Philosophy (London: The Macmillan Press LTD, 1981), p. 174 7 Michael G. Gottsegen, The Political Thought of Hannah Arendt (New York: State University of New York Press, 1994), p. 149.
The Role of Catholic Education in Promoting Democratic Values and Practices
15
into the human world, making it a better place for human beings. Our action in the public realm should be related to a human capacity to build, preserve, and care for the world. The relationship between education and democracy is complex, and education for democracy is much more than educating young people on the merits of representative democracy, rather it is premised on the need to form civic and ethical values in order to become free, informed and critically minded citizens. Education for democracy involves developing the ability to think critically and independently, express views, and take part in constructive actions to strengthen communities. It involves learning to live with others in a diverse society. It is a must to emphasize in our Catholic education the importance of promoting democratic values and practices to establish a democratic culture and to teach new generations to commit themselves to those values and practices. It also reflects an
integral vision of human development in which the social, economic, and political dimensions are interconnected. This vision recognizes the fight against poverty as essential for consolidation and strengthening democracy. Education can be a means of promoting the development of one’s human potential in fostering greater understanding among peoples, as a means of ensuring the continuance of democratic values, including liberty and social justice and peace; and to teach the value of all creation. By including these values, the educational system of the Church contributes to society and social justice. III. Fostering Democratic Values in Catholic Education Catholic education can serve the world by teaching the virtues on which democracy rests. Education should lead the young into the sacred space of the human person and of every person, making them aware of the inalienable human rights of every individual and group. Education by its
The Role of Catholic Education in Promoting Democratic Values and Practices
16 วารสารแสงธรรมปริทัศน์ ฉบัับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2011/2554
very nature is a transformation process, namely, changing human persons, and through them, society and its structures. Pope Benedict XVI suggests that “education is to assist young people to experience the harmony between faith, life and culture.”8 We should help the young people by broadening their cultural perspectives and giving them the conceptual tools for socio-cultural analysis. In their social analysis assignment, young people are to incorporate an ethic recognizing a standard for justice for all, giving priority to respect for human life and the quality of that life, and respect for cultural values. It is important to provide an opportunity for the young people to engage in open discussion on the whole range related topics, such as on how to promote active citizen participation and how to help them learn
and act on key concepts, such as justice, liberty, tolerance, respect for human rights and minorities, shared responsibility, gender equality, and peaceful conflict resolution. A fundamental educational ideal involves education’s generally recognized task of preparing the young generation for adulthood and their future responsibility. It must be understood to involve their self-sufficiency and self-direction. It involves the place of careful analysis, good thinking, and reasoned deliberation in democratic life. To the extent that we value democracy, we must be committed to fostering the abilities and dispositions of critical thinking in our young generations.9 The human condition is knowable and definable because it consists of the capacities and characteristics
8
Pope Benedict XVI, Address to Catholic Educators, (The Catholic University of America), April 17, 2008. 9 Sharon Bailin and Harvey Siegel, “Critical Thinking” in The Blackwell Guide to the Philosophy of Education, eds. Nigel Blake, Paul Smeyers, Richard Smith, and Paul Standish (Malden: Blackwell Publishing Company, 2005), p. 189.
The Role of Catholic Education in Promoting Democratic Values and Practices
17
that human beings have cultivated together to create a truly humanized existence. The great thing about the Greek citizens’ living together in a polis is that they conducted public affairs by means of speech, persuasion, and not by means of violence. The vital condition of life in society is not a mass to dominate or to rule, but the equality that citizenship confers on human beings and the plurality of human beings themselves. We cannot escape from the responsibility for the world or the duty to act together as citizens. The world is a world that we share with our fellow human beings which itself comes into tangible reality through care, responsibility and good deeds. Catholic social teaching is a vital resource for those who would learn how to take democratic values seriously, especially in the context of our struggle for building a “civilization of love and peace” and preserving the pluralistic character of the human world.
This is the great idea that can enhance the tradition’s call for building a world that is worth living for every human being. We are the heirs of a long history of papal encyclical letters taking a very strong stand on issues of social justice and peace. They are powerful resources in themselves and they also demand further reflection and inquiry. Catholic social teaching is perhaps most helpful when we use it as a guide for advocating gradual changes in the existing system. It is a tool that allows us to expose and correct injustices. People of faith can use the Church’s social teaching as a starting point for dialogue about how to build a more humane world so that it better reflects the values and principles of peace, justice, and compassion.10 Catholic social teaching gives us a hope, informing us how to deal with our world with care. If democracy is still valuable from the perspective of the Church teaching it is because of its concerns about the common good. Our
10
Thomas Massaro, Living Justice: Catholic Social Teaching in Action. Wisconsin: Sheed and Ward, 2000, p. 198
The Role of Catholic Education in Promoting Democratic Values and Practices
18 วารสารแสงธรรมปริทัศน์ ฉบัับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2011/2554
efforts in creating policies, programs, and practices that promote democracy through education must consider that democratic citizenship formation requires an integral approach that
encompasses all levels and subjects within the education system. Democracy is not falling from the sky. It is something to be cultivated through generations with care.
Arendt, Hannah. The Human Condition. Chicago : University of Chicago Press, 1998. Benedict XVI, Pope. “Address to Catholic Educators”, (The Catholic University of America), April 17, 2008. Blake, Nikel, and Others. The Blackwell Guide to the Philosophy of Education. Malden : Blackwell Publishing, 2005. Dunn, Sheila G. Philosophical Foundations of Education: Connecting Philosophy to Theory and Practice. New Jersey : Pearson Education, 2005. Gottsegen, Michael G. The Political Thought of Hannah Arendt. New York : State University of New York Press, 1994. Gutek, Geral L. Philosophical and Ideological Voices in Education. Boston : Pearson Education, 2004. John Paul II, Pope. “The Lesson of 9/11 End Terrorism and Its Causes,” The Pope Speaks 48, no. 2 (March/April 2003) : 83. Johnson, David M. Justice and Peace Education : Models for College and University Faculty. New York, Orbis Books, 1986.
The Role of Catholic Education in Promoting Democratic Values and Practices
19
Massaro, Thomas. Living Justice : Catholic Social Teaching in Action. Wisconsin : Sheed and Ward, 2000. Parekh, Bhikhu. Hannah Arendt and the Search for A New Political Philosophy. London : The Macmillan Press LTD, 1981. Paul VI, Pope. Gravissimum Educationis : Declaration on Christian Education, October 28, 1965.
The Role of Catholic Education in Promoting Democratic Values and Practices
20 วารสารแสงธรรมปริทัศน์ ฉบัับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2011/2554
หมวดปรัชญา
สื่อสาร : สื่อ (อะไรใน) สาร?
แนวคิดเบื้องต้นเกี่ยวกับปรัชญาว่าด้วยเรื่องการสื่อสาร
บาทหลวงวุฒิชัย อ่องนาวา ร่องรอยในประวัติศาสตร์มนุษ ยชาติ แสดงให้เห็นถึงการทีม่ นุษย์ใช้เครือ่ งหมาย สัญลักษณ์ และภาษา เป็นสือ่ แทน หรือถ่ายทอดความหมายต่างๆ เพื่อการ ติดต่อสือ่ สารในสังคม ไม่แปลกใจทีม่ หี ลาย ทฤษฎี/แนวคิดทีอ่ ธิบายความหมาย ความ สำคัญและพัฒนาการของการสือ่ สาร เนือ่ ง จากการสื่อสารเป็นปรากฏการณ์ท่มี ีพัฒนา การควบคูก่ บั ความเจริญของสังคม ทีม่ นุษย์ ดำเนินชีวติ ร่วมกัน
บทความนี้ เสนอมุมมองพืน้ ฐาน ทางปรัชญาต่อการอธิบายความหมายของ การสือ่ สาร ภายใต้โจทย์ “มนุษย์สอ่ื อะไร ในสาร?” ซึ่งเป็นแนวคิดเบื้องต้นประการ หนึง่ เกีย่ วกับปรัชญาว่าด้วยการสือ่ สาร 1. ปรัชญาว่าด้วยเรื่องการสื่อสาร (Philosophy of Communication) การสือ่ สาร คือ กระบวนการ แลกเปลีย่ นข้อมูล ข่าวสารระหว่างบุคคลต่อ บุคลหรือบุคคลต่อกลุม่ โดยใช้สญ ั ลักษณ์
บาทหลวงสังกัดมิสซังคาทอลิกเขตราชบุร,ี อาจารย์ประจำสาขาวิชาปรัชญาและศาสนา คณะมนุษยศาสตร์ วิทยาลัยแสงธรรม, อาจารย์พิเศษ ภาควิชาปรัชญาและศาสนา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน.
สื่อสาร : สื่อ (อะไรใน) สาร? แนวคิดเบื้องต้นเกี่ยวกับปรัชญาว่าด้วยเรื่องการสื่อสาร
21
สั ญ ญาณ หรื อ พฤติ ก รรมที่ เ ข้ า ใจกั น ซึ่ ง Robert N. (ไม่ระบุป)ี วิเคราะห์วา่ การสือ่ สารเป็นการสือ่ ผ่านเครือ่ งหมาย (Sign) ที่ แบ่งได้สองส่วน คือ ความหมาย (เนือ้ หา) และรูปแบบ (การแสดงออก) ทีค่ วบคูก่ นั ขาดส่วนหนึง่ ส่วนใดไม่ได้
การสือ่ สารทีม่ แี ต่ความหมาย (เนือ้ หา) แต่ไม่มรี ปู แบบ (การแสดงออก) การ สือ่ สารนัน้ คงไม่ประสบผลสำเร็จ ในทำนอง เดียวกัน การสื่อสารที่มีแต่รูปแบบ (การ แสดงออก) แต่ไม่มคี วามหมาย (เนือ้ หา) การสือ่ สารนัน้ ก็เป็นสิง่ ไร้สาระ ดังนัน้ จึงกล่าวได้วา่ การสือ่ สาร แยกได้เป็นสองส่วน คือ สาระ (ความหมาย) และวิธกี ารนำเสนอ (รูปแบบที่ใช้ถา่ ยทอด) จากแนวคิดดังกล่าว จากการแยกแยะดังกล่าว จึงสรุป ในเบื้องต้นเกี่ยวกับเนื้อหาของปรัชญาว่า
ด้วยการสื่อสารได้ว่า ปรัชญาว่าด้วยการ สือ่ สาร ให้ความสนใจสาระ (ความหมาย) ของสารทีส่ อ่ื ว่าเป็นอะไร? มีหลักการพืน้ ฐาน ตรงไหน? ในขณะทีน่ กั วิชาการด้านการสือ่ สาร จะให้ความสำคัญต่อวิธกี ารวิวฒ ั นาการ ของการสื่อสาร การสรุป ในเบื้องต้นเช่นนี้ ช่ ว ยแยกแยะความแตกต่ า งและความ สัมพันธ์ระหว่างการอธิบาย “การสือ่ สาร” ตามแนวปรัชญากับนักวิชาการแขนงอืน่ ๆ ที่ อธิบายการสือ่ สารได้ในระดับหนึง่ 2. จรรยาบรรณการสือ่ สาร เมือ่ มีการสือ่ สาร ย่อมมีคำถามที่ ตามมาว่า สารทีน่ ำเสนอนัน้ ถูกต้องหรือไม่ ซึง่ Lyoob (ไม่ระบุป)ี ให้ขอ้ สังเกตเกีย่ วกับ จรรยาบรรณการสื่อสารว่าต้องมีพ้นื ฐานอยู่ บนความรับผิดชอบต่อความจริง ความเทีย่ ง ตรง ความซือ่ สัตย์และความมีเหตุผล ใน ฐานะเป็นบูรณภาพของการสือ่ สาร ซึง่ Jean Robillard (2005) ขยายความว่าการสือ่ สาร ต้องมีพน้ื ฐานอยูบ่ นความรับผิดชอบต่อชีวติ มนุษย์ในสังคม เป็นพฤติกรรมทางสังคมที่ ต้องมีพ้ืนฐานบนความรับผิดชอบต่อข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้น เนื่องจากการสื่อสารเป็น กระบวนการแบ่งปันความคิด ข้อมูลและ ข้อความแก่คนอืน่ อาศัยรูปแบบการสือ่ สาร ทีส่ อดคล้องกับบริบทสังคม ดังนัน้ การ
สื่อสาร : สื่อ (อะไรใน) สาร? แนวคิดเบื้องต้นเกี่ยวกับปรัชญาว่าด้วยเรื่องการสื่อสาร
22 วารสารแสงธรรมปริทัศน์ ฉบัับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2011/2554
สื่ อ สารเป็ น สิ่ ง เชื่ อ มโยงและหล่ อ หลอม สมาชิกในสังคมให้เติบโตในฐานะสมาชิก ของสั ง คมมนุ ษ ย์ แน่ น อนว่ า คงไม่ มี ใ คร ปฏิเสธความสำคัญของการสือ่ สาร จนถึงกับ ให้นยิ ามว่าสังคมมนุษย์ เป็น “สังคมแห่ง การสือ่ สาร” (Communication Society) 3. โจทย์ ข องปรั ช ญาว่ า ด้ ว ยการ สือ่ สาร ปรัชญาว่าด้วยเรือ่ งการสือ่ สาร เป็น การอธิบายความหมายของการสือ่ สาร ซึง่ แสดงถึงอัตลักษณ์ของมนุษย์ ในฐานะทีเ่ ป็น ภวันต์ทางสังคม เป็นสมาชิกที่ร่วมรับผิดชอบต่อพัฒนาการชีวิตของตนและคนอื่น ในสังคม ดังที่ Bert Olivier (2009) เสนอว่า การสือ่ สารเป็นการสือ่ “สาร” ระหว่าง มนุ ษ ย์ ต่อ มนุ ษ ย์ ปั ญ หาเรื่อ งคุ ณ ค่ า และ ความหมายของการสื่อสารอันเป็นโจทย์ท่ี ปรั ช ญาว่ า ด้ ว ยการสื่อ สารให้ ค วามสนใจ ศึกษา 4. แนวทางการพิจารณา “สือ่ (อะไร ใน) สาร” มีหลายประเด็นที่ควรนำมาไตร่ตรอง อย่างไรก็ตาม ผูเ้ ขียนขอเสนอหลักการ เบือ้ งต้นบางประการ โดยประยุกต์แนวคิด ของ Lyoob (ไม่ระบุป)ี เป็นแนวทางสำหรับ
การพิจารณาองค์ประกอบพืน้ ฐานของ “สาร” ดังนี้ 1) สือ่ “ความจริง” “ความจริง” เป็นหลักการพืน้ ฐาน ของความรู้ ความกระหาย ใฝ่รู้ เป็นคุณลักษณะพืน้ ฐานของมนุษย์ โดยมีเป้าหมาย คือ ความจริง ความจริง คือ ลักษณะทีต่ รงกันของ ความคิด (มโนภาพ) กับสิง่ นัน้ เป็นความ สัมพันธ์/สอดคล้องระหว่างความเข้าใจต่อ สิ่ ง นั้ น ที่ ส อดคล้ อ งกั บ ภาวะที่ สิ่ ง นั้ น เป็ น อย่างนัน้ จริงๆ ดังนัน้ ความจริงจึงเป็นความ รูเ้ ข้าใจต่อสิง่ นัน้ ทีต่ รงกับความเป็นจริงทีส่ ง่ิ นัน้ เป็นจริงๆ ดังนัน้ องค์ประกอบพืน้ ฐานประการ แรกและสำคัญทีส่ ดุ ของสาร คือ ความจริง
สื่อสาร : สื่อ (อะไรใน) สาร? แนวคิดเบื้องต้นเกี่ยวกับปรัชญาว่าด้วยเรื่องการสื่อสาร
23
อันเป็นคุณลักษณะที่สอดคล้องกันระหว่าง สารกับความเป็นจริงหรือปรากฏการณ์ท่ี เกิดขึน้ สารทีน่ ำเสนอจึงต้องให้ความสำคัญ เป็นลำดับแรก คือ การเสนอความจริง สาร ทีน่ ำเสนอคงไม่มคี ณ ุ ค่า ถ้าสารทีน่ ำเสนอไม่ เป็นความจริง 2) “ความจริง”....แบบอัตนัยหรือ ปรนัย? ในเรือ่ งเกีย่ วกับความจริง มีสองคำ สำคั ญ ที่ ผู้ ศึ ก ษาวิ ช าปรั ช ญาผ่ า นตา คื อ ความจริงแบบอัตนัย (Subjective Truth) และความจริงแบบปรนัย (Objective Truth) ความจริงแบบอัตนัย หมายถึง ความจริงที่ ขึน้ อยูก่ บั แต่ละคน หรือความจริงทีข่ น้ึ อยูก่ บั ความคิดของแต่ละคน (กีรติ บุญเจือ, 2522) ในขณะที่ ค วามจริ ง แบบปรนั ย หมายถึ ง ความจริงในตัวของมันเอง เป็นความจริงที่ มันเป็นอย่างนั้นจริงๆ หรือความจริงนอก
ความคิ ด จะมี ใ ครคิ ด หรื อ ไม่ ก็ยัง คงเป็ น ความจริงเช่นนัน้ (กีรติ บุญเจือ, 2522: 148) ในเรือ่ งการสือ่ “ความจริง” ในสารทีส่ อ่ื ออก ไป คงไม่งา่ ยนักทีจ่ ะแยกแยะว่าเป็น “ความ จริง” แบบไหน แบบอัตนัยหรือปรนัย เนือ่ ง จากธรรมชาติมนุษย์ มีกระบวนการคิดเข้าใจ ที่ซับซ้อนในการมีประสบการณ์ต่อปรากฏการณ์หรือข้อเท็จจริงทีเ่ กิดขึน้ มีปจั จัยหลาย อย่างที่ทำมนุษ ย์คิดเข้าใจไม่ตรงกัน เช่น อคติ สภาพแวดล้อม ภูมหิ ลัง ฯลฯ ส่งผล ให้สอ่ื ไม่ตรงกัน รวมทัง้ ความเข้าใจต่อสารที่ ได้รบั ด้วยเช่นกัน 3) จำเป็นหรือไม่ทต่ี อ้ งสือ่ “ความ จริง” ทุกเรือ่ ง แม้ ห ลั ก การพื้ น ฐานของสาร ที่ เรียกร้องให้สื่อ “ความจริง” รวมทั้งการ แบ่งความจริงกว้างๆ เป็นสองประเภท คือ ความจริ ง แบบอั ต นั ย และความจริ ง แบบ ปรนัย ดังทีน่ ำเสนอข้างต้น แต่กระนัน้ มี คำถามทีน่ า่ ชวนคิด คือ จำเป็นหรือไม่ทต่ี อ้ ง สือ่ ความจริง (ทัง้ แบบอัตนัยและปรนัย) ทุก เรือ่ ง? เป็นธรรมดาที่การสื่อสาร ย่อมมี การเลือกสาร (และเลือกสือ่ ทีจ่ ะสือ่ สาร) ว่า มีความน่าสนใจหรือไม่ โดยพิจารณาจาก ความเกี่ยวข้องหรือมีผลกระทบต่อบุคคล
สื่อสาร : สื่อ (อะไรใน) สาร? แนวคิดเบื้องต้นเกี่ยวกับปรัชญาว่าด้วยเรื่องการสื่อสาร
24 วารสารแสงธรรมปริทัศน์ ฉบัับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2011/2554
หรือสังคมแค่ไหน รวมทัง้ การสือ่ นัน้ ต้องการ ให้เกิดกระแสการคล้อยตาม เพื่อนำสู่กิจกรรมหรือการกระทำตามความต้องการของ ผูส้ อ่ื โดยพิจารณาจากกาลเวลา กาลเทศะ ในบริบทของสังคม 4) สารทีส่ อ่ื .... อย่าลืม “ความรับผิดชอบ” ต่อความจริงและความดี ในเรื่องปรัชญาว่าด้วยการสื่อสาร ยังมีอกี คำหนึง่ ทีเ่ ป็นคำสำคัญด้วย คือ เสรีภาพ คำว่า เสรีภาพ หมายถึง ความสามารถ ตัดสินใจเลือก (กีรติ บุญเจือ, 2522: 264) อันเป็นคุณลักษณะพิเศษที่มีเฉพาะมนุษ ย์ ในเรื่องนี้ผู้ศึกษาปรัชญาย่อมตระหนักถึง ความสำคัญของเสรีภาพ และมีการอธิบาย ความหมายของเสรีภาพที่หลากหลายแนว คิด Levinas (1969: 84) หนึ่งในนัก ปรัชญากลุ่มบุคคลนิยมอธิบายความหมาย ของเสรีภาพว่า “มนุษย์ไม่ได้ถกู บังคับให้มี เสรีภาพ แต่ชวี ติ มนุษย์ได้รบั การเชือ้ เชิญให้ ใช้เสรีภาพ” เสรีภาพเป็นสิง่ ทีอ่ ยูค่ กู่ บั บุคคล และแสดงออกอย่างชัดเจน เมือ่ มนุษย์ตอ้ ง ตัดสินใจอะไรสักอย่างหนึ่งที่เกี่ยวข้องกับ ชีวติ ของตน เสรีภาพไม่ใช่เป็นแค่การเลือก หรือการกระทำตามใจตนเองในสิง่ ทีต่ นชอบ แต่เสรีภาพคือการกำหนดชีวิตของตนเอง
(Self–determination) “เสรีภาพหมายถึง การตัดสินใจเลือกกระทำด้วยตนเอง ด้วย เหตุผลของตนเอง” (Dantonel, 2002: 14) แต่เนือ่ งจากมนุษย์เป็น “จิตทีอ่ ยูใ่ นร่างกาย” การใช้เสรีภาพของมนุษย์คอื การตัดสินใจ เลือกการกระทำของมนุษย์ การใช้เสรีภาพ ของมนุ ษ ย์ มี พ้ื น ฐานอยู่ ท่ี ค วามเป็ นไปได้ ตามความจริ ง มนุ ษ ย์ รู้ ว่ า มี ห ลายสิ่ ง ที่ มี อิทธิพลต่อชีวติ ของตน เรายอมรับมันด้วย เหตุผลของเรา และตัดสินใจด้วยตัวของเรา เอง เสรีภาพของมนุษย์จงึ มีลกั ษณะเป็นการ ตัดสินใจตามความจริงที่เรารู้และยอมรับ ดังนั้นมนุษ ย์จึงต้องมีความรับผิดชอบต่อ การตัดสินใจและการกระทำตามการเลือก ของเรา ยิ่งกว่านั้น เสรีภาพของมนุษ ย์ยัง ไม่ ใช่เมื่อตัดสินใจไปแล้วจะเปลี่ยนแปลง ไม่ได้ แต่ชวี ติ มนุษย์ในฐานะทีเ่ ป็นจิต มนุษย์ สามารถทีจ่ ะกลับใจ (Conversion) จากสิง่ ที่ตนตัดสินใจไปแล้วไปสู่ส่ิงที่ตนเห็นว่ามี คุณค่าและเข้ากับตนมากกว่า โดย “สามารถ ที่จะเลือกใหม่และเปลี่ยนวิถีชีวิต ของตน ด้วยการรับผิดชอบเต็มที่ (Commitment) สูส่ ง่ิ ทีต่ นตัดสินใจเลือก” (Dantonel , 2001: 14)
สื่อสาร : สื่อ (อะไรใน) สาร? แนวคิดเบื้องต้นเกี่ยวกับปรัชญาว่าด้วยเรื่องการสื่อสาร
25
ดังนัน้ จึงกล่าวได้วา่ สารทีเ่ ลือก ความจริงทีส่ อ่ื ออกไปนัน้ เรียกร้องให้ใช้เสรีภาพอย่ า งถู ก ต้ อ ง กล่ า วคื อ เสรี ภ าพใน แบบมีความรับผิดชอบต่อชีวิตของตนเอง และสมาชิกในสังคม ถึงความสอดคล้อง เหมาะสมกับความเป็นมนุษย์หรือไม่ เคารพ ศักดิศ์ รีความเป็นมนุษย์ทม่ี กี ารเจริญเติบโต หรือมีพัฒนาการควบคู่/ดำเนินไปกับเพื่อน มนุษย์ในสังคมหรือไม่ สารทีส่ อ่ื ต้องมีพน้ื ฐานความสำนึกรับผิดชอบต่อพัฒนาการที่ สร้างสรรค์และส่งเสริมวิถีชีวิตที่สอดคล้อง ระหว่างความจริงและความดีของชีวติ มนุษย์ ในสังคมนัน่ เอง 5. สรุป : สือ่ (ความจริงและความดี ใน) สาร ยังมีหลายประเด็นทีป่ รัชญาว่าด้วย การสือ่ สารให้ความสนใจศึกษา ตัง้ ปัญหา และหาคำตอบ อย่างไรก็ตาม ในประเด็นที่ ผูเ้ ขียนตัง้ ขึน้ ว่า “สือ่ (อะไรใน) สาร?” ผู้ เขียนขอสรุป โดยเชิญชวนให้ ไตร่ตรองสัก นิด ก่อน “สือ่ (อะไรใน) สาร” ทีแ่ ต่ละคนจะ “สือ่ ” แก่คนอืน่
1) สือ่ ความจริงหรือไม่? เรียก ร้องให้คดิ สักนิดถึงความเป็นไปได้ของสาร 2) ความจริง.. ของใคร? เรียก ร้องให้หาข้อมูลจากสือ่ หลายๆ ด้าน 3) ต้องสือ่ ทุกเรือ่ งไหม? เรียก ร้องให้เลือกสารทีจ่ ะสือ่ ที่สุด อย่าลืมความรับผิดชอบต่อ ความจริงและความดี เนือ่ งจาก “มนุษย์จงึ ไม่ใช่แค่ปัจเจกหรือสมาชิกคนหนึ่งของกลุ่ม เท่านัน้ มนุษย์เป็นบุคคลทีม่ เี สรีภาพและมี ลักษณะทีเ่ ป็นจิต” (Copleston, 1973: 109) ที่ดำเนินชีวิตร่วมกันเป็นหมู่คณะ (Communion) ในฐานะทีเ่ ป็นบุคคลและมีความ สัมพันธ์กนั แบบบุคคลต่อบุคคล สังคมต้อง มี ลั ก ษณะเป็ น หมู่ ค ณะที่ มุ่ ง ส่ ง เสริ ม และ พัฒนามนุษ ย์สู่ความเป็นบุคคลที่สมบูรณ์ ยิง่ ๆ ขึน้ ไป อย่าคิดแต่เพียงว่าจะสือ่ อย่างไร แต่โปรดคิดด้วยว่า “สือ่ อะไร”
สื่อสาร : สื่อ (อะไรใน) สาร? แนวคิดเบื้องต้นเกี่ยวกับปรัชญาว่าด้วยเรื่องการสื่อสาร
26 วารสารแสงธรรมปริทัศน์ ฉบัับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2011/2554
กีรติ บุญเจือ. สารานุกรมปรัชญา. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช, 2522. Bunge, Mario. Finding Philosophy in Social Science. New Haven and London : Yale University Press, 1996. Dantonel, Jean Mary. Contemporary Western Philosophy. Nakhonpathom : Saengtham College, 2001. ______. Social and Political Philosophy. Nakhonpathom : Saengtham College, 2001. Dretske, F. Knowledge and the Flow of Information. Cambridge, (Mass.) : M.I.T. Press, 1981. Frederick, Copleston. Contemporary Philosophy. London : Newman Press, 1975. Jean Robillard. Philosophy of communication : what does it have to do with philosophy of social sciences. (Online). Available : www.cosmosandhistory.org/index.php/journal/article/viewFile/15/29. 2005 Hacking, Ian. The Social Construction of What?. Cambridge : Harvard University Press, 1999.
สื่อสาร : สื่อ (อะไรใน) สาร? แนวคิดเบื้องต้นเกี่ยวกับปรัชญาว่าด้วยเรื่องการสื่อสาร
27
Levinas, Emmanuel. Totallity and Infinity. Pittsburgh : Duquesne University, 1969. Olivier, Bert. Philosophy and Communication : Collected Essays. Oxford : Peter Lang, 2009. Robert N. St. Clair. Reality-Loops as Social Reality : From Structural Epistemology to Structural Hermeneutics. (Online). Available : http://structural-communication.com. n.d. Umar Mohamed Lyoob. Philosophy of communication. (Online). Available : www.scribd.com/doc/20048140/Philosophy-of-Communication. n.d.
สื่อสาร : สื่อ (อะไรใน) สาร? แนวคิดเบื้องต้นเกี่ยวกับปรัชญาว่าด้วยเรื่องการสื่อสาร
28 วารสารแสงธรรมปริทัศน์ ฉบัับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2011/2554
หมวดทั่วไป
สื่อมวลชน :
ในทัศนะของสองบาทหลวง สื่อมวลชนคาทอลิก บาทหลวงวรยุทธ กิจบำรุง และ บาทหลวงอนุชา ไชยเดช สือ่ มวลชนค่อนข้างมีอทิ ธิพลอย่างมากต่อบุคคลในสังคมปัจจุบนั ทัง้ เรือ่ งการให้ขอ้ มูล ข่าวสาร ความรูค้ วามก้าวหน้าทางวิทยาการ ฯลฯ ถึงกระนัน้ ยังมีคำถามทีเ่ ป็นข้อสังเกตของ บุคคลในสังคม ในประเด็นทีเ่ กีย่ วข้องกับความถูกต้อง เทีย่ งตรงของเรือ่ งราวต่างๆ ทีส่ อ่ื มวลชนนำเสนอ แม้โลกจะก้าวหน้าเปลีย่ นแปลงไปมากเพียงใด แต่ความจริงก็ยงั คงเป็นสิง่ ที่ มนุษย์แสวงหาอยูเ่ สมอ ในบทความนี้ ทางกองบรรณาธิการขอนำเสนอมุมมองทัศนะของบาทหลวง 2 ท่าน ผูม้ ี บทบาทสำคัญในฐานะสือ่ มวลชนคาทอลิก ทีพ่ ลิกโฉมงานสือ่ ให้มคี วามก้าวหน้าทันสมัย ให้ ความสำคัญกับการนำเสนอความจริง โดยไม่ตอ้ งแอบอิงกระแสสังคม ผ่านทางการสัมภาษณ์ ของบราเดอร์ธนายุทธ วิทยานุลักษณ์1 ผู้สัมภาษณ์กิตติมศักดิ์ของแสงธรรมปริทัศน์ ที่ ช่วยเหลือให้บทสัมภาษณ์นป้ี รากฏสูส่ ายตาของผูอ้ า่ นทุกท่าน
1
นักศึกษาสาขาปรัชญาและศาสนา คณะมนุษยศาสตร์ วิทยาลัยแสงธรรม ชั้นปีที่ 4 ปีการศึกษา 2552
สื่อมวลชน ในทัศนะของสองบาทหลวงสื่อมวลชนคาทอลิก
29
บาทหลวงวรยุทธ กิจบำรุง มุ ม มองของพระศาสนจั ก รสากลที่ มี ต่ อ สือ่ มวลชน ตั้งแต่ท่ีมนุษ ย์ ได้คิดประดิษ ฐ์แท่น พิมพ์ขน้ึ มาโดยเฉพาะในยุโรป ในศตวรรษ ที่ 16 ก็ได้ใช้แท่นพิมพ์นน้ั เพือ่ พิมพ์หนังสือ พระคัมภีร์ เมือ่ คิดประดิษฐ์วทิ ยุ ก็ได้ใช้เพือ่ เผยแพร่ขา่ วดีของพระศาสนจักร ฯลฯ เรี ย กได้ ว่ า พระศาสนจั ก รได้ เ ห็ น ความสำคัญของสือ่ มวลชน และใช้สอ่ื มวลชน เพือ่ รับใช้ประกาศข่าวดี พร้อมกับความเจริญ ก้าวหน้าของยุคสมัย หน่วยงานด้านสื่อมวลชนคาทอลิก ทีเ่ กิดขึน้ คือ 1 สหพันธ์การพิมพ์คาทอลิก (UCIP-ยูซิป) สื่อมวลชนคาทอลิกด้านวิทยุ (UNDA-อุนด้า) และแผนกภาพยนตร์และ โสตทัศนูปกรณ์(OCIC-โอซีไอซี) ซึง่ ได้กอ่ ตั้งและดำเนินงานมาก่อนหน้านี้นานแล้ว บางหน่วยงานเกือบ 80-90 ปีแล้ว
เมือ่ ค.ศ. 2001 แผนกอุนด้า และ โอซีไอซี ได้รวมตัวเป็นหน่วยงานเดียวกัน ภายใต้ชอ่ื ซิกนิส-SIGNIS เมือ่ สังคายนาวาติกนั ครัง้ ที่ 2 กฤษฎีกา ว่ า ด้ ว ยเครื่ อ งมื อ สื่ อ สารมวลชน (Inter Mirifica, 1963) ได้เปิดกว้าง และชัดเจนขึน้ ว่า เครือ่ งมือสือ่ สารมวลชนเป็นของประทาน จากพระเป็นเจ้า เป็นผลมาจากสติปัญญา ของมนุษย์ ทีส่ ำคัญถ้ามนุษย์รจู้ กั ใช้กจ็ ะมีคณ ุ มหาศาล และได้เน้นย้ำว่า “เป็นหน้าทีข่ อง พระสังฆราช พระสงฆ์ นักบวช ฆราวาส และ ผู้ ท่ี ท ำงานด้ า นสื่ อ มวลชนได้ ต ระหนั ก ถึ ง ประโยชน์ และโทษ” เอกสารฉบับนี้กำหนดให้พระสังฆราชแต่ละสังฆมณฑลจัดงาน “วันสือ่ มวลชน ขึ้นทุกปี” เพื่อปลุกจิตสำนึกของทุกคนให้ ตระหนักถึงบทบาทความสำคัญของสื่อมวลชนทีม่ ผี ลต่อสังคม และโดยเฉพาะเด็กๆ และเยาวชน
ผู้อำนวยการสื่อมวลชนคาทอลิกประเทศไทย
สื่อมวลชน ในทัศนะของสองบาทหลวงสื่อมวลชนคาทอลิก
30 วารสารแสงธรรมปริทัศน์ ฉบัับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2011/2554
ทีเ่ ห็นเป็นรูปธรรมคือ แต่ละปีสมเด็จ พระสันตะปาปา ได้มสี าส์นวันสือ่ มวลชนทุก ปีอย่างต่อเนือ่ ง เพือ่ เป็นแนวทางให้ผทู้ ำงาน อภิบาล และผูท้ ำงานสือ่ มวลชน เช่น สือ่ มวลชนเป็นเครือ่ งมือสร้างสันติ,... ส่งเสริม ความจริง,... ความยุตธิ รรม ส่งเสริมชีวติ ครอบครัว ส่งเสริมเยาวชน ฯลฯ สมณสภาสื่ อ สารมวลชน ซึ่ ง เป็ น หน่วยงานทีร่ บั ผิดชอบงานสือ่ มวลชนคาทอลิกของพระศาสนจักรระดับสูงสุด เป็นศูนย์ รวบรวมและเผยแพร่ขา่ วสาร กิจกรรมต่างๆ ของพระศาสนจักรเอง ก็พัฒนาช่องทาง วิธกี ารต่างๆ ให้ทนั สมัย มีทง้ั เว็บไซต์ และ สือ่ ใหม่ๆ อีกมากมายทีเ่ ป็นช่องทางสือ่ สาร กับคนในยุคปัจจุบนั นี้ นอกจากนี้ ระดับทวีป และระดับภูม-ิ ภาคมีการประชุม ประสานงาน แลกเปลีย่ น ข้อมูลข่าวสารกันเป็นประจำ โดยเฉพาะที่ ประเทศไทยเราเกีย่ วข้องด้วย คือ สหพันธ์ สภาพระสังฆราชแห่งเอเชีย แผนกสือ่ สาร สังคม (FABC-OSC) นอกจากนี้ ประเทศไทย เราเคยเป็น เจ้ า ภาพการประชุ ม สื่ อ มวลชนคาทอลิ ก ระดับโลกถึง 3 ครัง้ คือ ค.ศ. 1990 UNDA WORLD CONGRESS ทีม่ หาวิทยาลัยสุโขทัย ธรรมาธิราช, ค.ศ. 2004 UCIP WORLD
สื่อมวลชน ในทัศนะของสองบาทหลวงสื่อมวลชนคาทอลิก
CONGRESS ที่ กรุงเทพฯ และ ค.ศ. 2009 SIGNIS WORLD CONGRESS ที่ เชียงใหม่ บทบาทของสือ่ มวลชนคาทอลิกในอดีต ในประเทศไทย เมือ่ มิชชันนารีจาก ยุโรปที่ได้เข้ามาก็ได้นำเอาวิชาความรู้ และ ความเจริญก้าวหน้าของยุคสมัยนัน้ เข้ามา พร้อมกับการประกาศข่าวดีในประเทศไทย เช่น สมัยอยุธยาพยายามนำเทคโนโลยีดา้ น การพิมพ์ ทีจ่ ะตัง้ โรงพิมพ์ตง้ั แต่สมัยอยุธยา แรกๆ สมัยรัตนโกสินทร์รัชกาลที่ 1 มีหลักฐาน ทีเ่ ก่าทีส่ ดุ เวลานี้ คือ หนังสือคำสอนคฤศตัง (KHAMSON CHRISTANG) พิมพ์ ค.ศ. 1796 โรงพิมพ์มสิ ซัง คาทอลิก ณ วัดซางตาครูส้ (กุฎจี นี ) ต่อมาได้ยา้ ยมาอยูท่ บ่ี ริเวณวัดอัสสัมชัญ จึงได้ชอ่ื ว่า “โรงพิมพ์อสั สัมชัญ” และ ได้พฒ ั นาตัวอักษรขึน้ มา และได้สง่ั หล่อแบบ ตัวอักษรขึน้ ใช้เองเรียกกว่า “ฝศ.” (ฝรัง่ เศส) กล้องถ่ายรูป พร้อมทัง้ สอนวิชาการถ่ายภาพ เป็นครัง้ แรกในสมัยรัชกาลที่ 4 ค.ศ. 1917 ได้จดั พิมพ์หนังสือพิมพ์ สารสาสน์ แรกๆ กำหนดออกรายเดือน และ ยังพิมพ์เผยแพร่มาจนถึงวันนี้ กว่า 90 ปี แล้ว ได้เปลีย่ นชือ่ เป็น “อุดมศานต์” และ “อุดมสาร” ดังในปัจจุบนั นี้
31
นอกจากนี้ ยังมีหนังสืออืน่ ๆ ทีผ่ ลิต ขึน้ มาจากคณะนักบวชต่างๆ หน่วยงาน และ โรงเรียน ซึง่ บางแห่งได้ทำมาอย่างต่อเนือ่ ง และมีผลงานกว้างขวางเช่นกัน เช่น คณะ เซนต์ ค าเบรี ย ล คณะซาเลเซี ย น คณะ เซนต์ปอล เดอ ชาร์ตร ฯลฯ แต่สว่ นใหญ่ ยังเป็นสือ่ ภายในกลุม่ คริสตชนเป็นหลัก และเน้นศาสนพิธีกรรม เป็นงานด้านอภิบาลมากกว่า บทบาทของพระศาสนจักรในประเทศมีงานหลายอย่างทีท่ ำอยู่ เช่น การศึกษา งานด้านสังคม งานสงเคราะห์ พัฒนา ฯลฯ งานสื่อมวลชนถือว่าเป็นเพียงงานหนึ่งใน บรรดางานทั้งหลาย ซึ่งอาจจะจำกัดอยู่ใน แวดวงสือ่ มวลชนเท่านัน้ ทัศนคติในการทำงาน คือ ทำแบบ “ปิดทองหลังพระ” แต่ระยะ 20-30 ปีน้ี สังคมเปลีย่ นแปลงรวดเร็วมาก เสียงเรียก ร้องให้สอ่ื มวลชน ต้องเข้าไปรับใช้ สนับสนุน หน่วยงาน และองค์กรต่างๆ ทีท่ ำงานอยู่ เพือ่ ทำให้งานต่างๆ ได้เผยแพร่ บังเกิดผล และรับรูก้ ว้างยิง่ ขึน้
สือ่ สมัยใหม่ กับคนรุน่ ใหม่ จุดเด่น จุดดับ และจุดจบ ทุกวันนี้ เราเห็นได้ชดั ว่า เทคโนโลยี การสื่อสารได้พัฒ นาตัวเองอย่างรวดเร็ว มาก และเป็นปัจจัยการเปลีย่ นแปลงวิถชี วี ติ ของมนุษย์ทง้ั โลก ภายในเวลาอันรวดเร็ว เช่น ฟิลม์ ถ่ายภาพมาเป็นระบบดิจทิ ลั โทรศัพท์ บ้านมาเป็นโทรศัพท์มอื ถือ และระบบคอมพิวเตอร์ อินเตอร์เน็ต เป็นสือ่ ผสมผสาน หลากหลาย ทัง้ การใช้งานก็งา่ ยขึน้ รวดเร็วขึน้ คุณภาพก็ดขี น้ึ เรือ่ ยๆ ราคาถูกลง อย่างไรก็ตาม เทคโนโลยี ในตัวเอง เป็นสิง่ ทีด่ ี เป็นเครือ่ งมือ อุปกรณ์ แต่ท่ี สำคัญอยูท่ ค่ี นใช้สอ่ื คนนำเครือ่ งมือสือ่ ไปใช้ อย่างไร ปรากฏการณ์อย่างหนึง่ ของคนในยุค นี้ เรียกว่ากำลังตืน่ เต้นกับเทคโนโลยี เหมือน เด็กได้ของเล่นใหม่ และใหม่อยูเ่ รือ่ ยๆ และ มักจะสนุก และรอคอยสิง่ ใหม่อยูเ่ รือ่ ยๆ
สื่อมวลชน ในทัศนะของสองบาทหลวงสื่อมวลชนคาทอลิก
32 วารสารแสงธรรมปริทัศน์ ฉบัับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2011/2554
การใช้เครือ่ งมือสือ่ สาร ใช้กนั มาก ติดต่อพูดคุยสือ่ สารกับผูค้ นมากมาย ไม่เคย รูจ้ กั มักคุน้ หรือบุคคลไกลแสนไกล อีกมุม หนึง่ ของโลก ทำได้ดจี นไม่มเี วลาสนใจ ใส่ ใจคนใกล้ชดิ คนรอบๆ ตัว คนในครอบครัว เช่น พ่อแม่ลูกญาติพน่ี อ้ งกลับไม่คอ่ ยพูดคุย สือ่ สารหรือไม่คอ่ ยรูจ้ กั รู้จักคนอื่นได้ท่ัวโลก แต่คนใกล้ตัว กลายเป็นคนแปลกหน้า! เรือ่ งทีร่ ๆู้ รูจ้ ริง รูม้ าก รูล้ กึ แต่เป็น ความรูท้ ว่ มหัว เอาตัวไม่รอด! อีกประการหนึง่ ทีส่ ำคัญและน่ากลัว คื อ ในขณะที่ เ ทคโนโลยี เ จริ ญ ก้ า วหน้ า สะดวก สบาย ง่ายดาย ทำอะไรได้มากมาย และต่างก็เพลิดเพลินกับเครื่องมือเหล่านี้ การตกแต่งภาพ การบิดเบือนอย่างแนบ เนียน ทีแ่ ฝงเข้ามา โดยทีน่ กั สือ่ สารมวลชน ที่ไม่มจี รรยาบรรณ กำลังสร้างความสับสน ให้ กั บ สั ง คม กำลั ง ทำลายตั ว เองทำลาย ความน่าเชือ่ ถือของสือ่ เอง น่าจะเป็น “วิกฤติ ของสือ่ สารมวลชนวันนี”้ เมื่อสื่อมวลชนไม่มีความน่าเชื่อถือ คือจุดจบ!
สื่อมวลชน ในทัศนะของสองบาทหลวงสื่อมวลชนคาทอลิก
บทบาทผูร้ บั สือ่ พ่อแม่ ครูอาจารย์ และ เยาวชนกับภูมคิ มุ้ กัน วัคซีนสือ่ ทุกวันนี้ ข่าวสาร เรือ่ งราว ข้อมูล ฯลฯ มีมากมายมหาศาลทีเ่ ราสามารถเข้าถึง ได้โดยผ่านทางสื่อต่างๆ ที่มีอยู่มากมาย เช่นกัน หากจะเปรียบเหมือนห้างสรรพสินค้าขนาดใหญ่ ผูร้ บั หรือผูซ้ อ้ื แต่ละคน ต้อง เป็นคนทีร่ จู้ กั เลือกสิง่ ทีด่ ี ทีเ่ หมาะ ทีจ่ ำเป็น ที่ เ ป็ น ประโยชน์ ที่ ต นต้ อ งการมากที่ สุ ด หมายความว่า ผูร้ บั สือ่ ทุกวันนี้ ต้องเป็นคน ฉลาด รอบคอบยิง่ ขึน้ สื่อ มวลชนคาทอลิ กได้ มี โ ครงการ หนึง่ ทีส่ ำคัญและพยายามทำกันมานานแล้ว คือ สือ่ ศึกษา (Media Education) เพือ่ พยายามให้ความรู้ความเข้าใจแก่ผู้มีหน้าที่ รับผิดชอบ ตัง้ แต่พระสงฆ์นกั บวช บิดา มารดา ครูอาจารย์ ซึง่ ใกล้ชดิ กับเด็ก เยาว-
33
ชน ฯลฯ คือผูท้ เ่ี ป็นผูร้ บั สือ่ ที่ไวทีส่ ดุ ในยุคนี้ เริม่ ต้นอย่างง่ายๆ ด้วยคำถามเช่นว่า เรือ่ ง นีจ้ ริงไหม? จริงทัง้ หมดหรือบางส่วน? เรือ่ ง นีเ้ หมาะสมไหม? ดูแล้ว อ่านแล้ว แล้วได้รบั ประโยชน์อะไรบ้าง คุ้มค่ากับราคา เวลา และเงินทองทีเ่ ราต้องจ่ายไป? เป็นต้น ทำให้ ผู้ รั บ ได้ รู้ จั ก ไตร่ ต รอง คิ ด วิเคราะห์มากขึน้ ให้เด็กๆ และเยาวชนให้ ตระหนักถึงความสำคัญของสื่อที่มีต่อชีวิต เข้าใจกระบวนการผลิตสือ่ ต่างๆ การรูเ้ ท่า ทันสือ่ ต่างๆ ทีร่ บั อยูท่ กุ วัน และทีส่ ดุ รูจ้ กั ใช้สอ่ื เพือ่ พัฒนาตนเอง พัฒนาการทำงาน ของตนให้ดขี น้ึ ทุ ก วั น นี้ เราต้ อ งอยู่ กั บ สื่ อ ต่ า งๆ ตลอดวัน แต่เราต้องอยูอ่ ย่างฉลาด นัน่ คือ ทุกวันนี้ ผูร้ บั สือ่ ต่างๆ ต้อง พยายามเป็นผูร้ บั ทีฉ่ ลาด ต้องเป็นนายเหนือ สือ่ มิใช่ถกู สือ่ ใช้เป็นเครือ่ งมือ! เนือ่ งจากทุกวันนีม้ สี อ่ื มากมายทัง้ ทีด่ ี และไม่ดี รวมทัง้ สือ่ ทีด่ เู หมือนดี แต่แฝง ด้วยยาพิษ ฯลฯ การห้ามไม่ให้มี ไม่ให้รบั ก็ควรจะมีบา้ ง แต่คงทำไม่ได้เสมอไป การ จะปิดโอกาสไม่ให้รบั รูเ้ ลยก็คงทำไม่ได้เสมอ ไป เพราะเทคโนโลยีสมัยนีเ้ ปิดโอกาสเข้าถึง คนได้อย่างง่ายดายและทัว่ ถึง เป็น “โลก ไร้พรมแดน เป็นสังคมเปิด” ทางทีด่ ที ส่ี ดุ
ทีน่ า่ ช่วยกันทำอย่างเร่งด่วน และเอาจริง เอาจัง คือ ต้องช่วยกันส่งเสริม แนะนำ สือ่ ทีด่ ี มีประโยชน์ให้มากขึน้ ป้องกันไม่ให้ มีสอ่ื ที่ไม่ดี แพร่ระบาดออกมา เชือ่ ว่าสือ่ ที่ ไม่ดี มีพษิ ร้ายกว่าทีค่ ดิ ! อีกอย่างหนึง่ ทีส่ ำคัญคือ “การฉีด วัคซีนสือ่ ” คือ การสร้างภูมคิ มุ้ กันให้กบั ผู้ รับสือ่ อย่างรูเ้ ท่าทันทีจ่ ะเลือกรับสือ่ ทีเ่ กิด ประโยชน์ ให้ความรู้ ความฉลาด พัฒนา ตนเองชีวติ ตนเองให้ดขี น้ึ มีความสุขมากขึน้ กับตนเองและผูอ้ น่ื ไม่ใช่ตกเป็นทาสของสือ่ ! บทบาทสือ่ คาทอลิกไทย ส่งเสริม และสร้างสรรค์ สือ่ มวลชนคาทอลิกประเทศไทย เป็น หน่วยงานของพระศาสนจักรไทย ภายใต้ สภาพระสังฆราชฯ จุดประสงค์ไม่ยงุ่ เกีย่ ว กับเรือ่ งการเมืองแต่อย่างใด เรามุง่ เน้นด้าน ศาสนา ความรูค้ ำสอนของศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม ข่าวสาร ฯลฯ เป็นทัง้ ผูผ้ ลิต และส่งเสริม สนับสนุน สื่อที่ดีซ่ึงเป็นสิ่งที่ส่ือมวลชนคาทอลิกประเทศไทย ได้รเิ ริม่ และทำมาเกือบ 30 ปีแล้ว เพราะบางครั้งและมักจะเป็นอย่างนี้บ่อยๆ สือ่ ทีผ่ ลิตออกมาดี สำหรับเด็กและเยาวชน
สื่อมวลชน ในทัศนะของสองบาทหลวงสื่อมวลชนคาทอลิก
34 วารสารแสงธรรมปริทัศน์ ฉบัับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2011/2554
ครอบครัว เป็นเรือ่ งทีด่ มี คี ณ ุ ค่า ไม่มเี รือ่ ง ความรุนแรง ไม่มเี รือ่ งภาพด้านลบๆ มักจะ ไม่ได้รบั ความสนใจจากผูช้ มหรือขาดทุน ฯลฯ จึงได้จดั งาน “พิธมี อบรางวัลสือ่ มวลชน ดีเด่น ” ประจำปี ด้านรายการโทรทัศน์ และ ภาพยนตร์ไทย มาตัง้ แต่ ค.ศ. 1978 ได้ทำ เรือ่ ยมา และพัฒนาวิธกี ารต่างๆ เพือ่ ให้การ พิจารณารายการต่างๆ รอบคอบ กว้าง มากขึน้ โดยเฉพาะด้านวิชาการสือ่ สาร จึง ได้ร่วมมือกับคณะนิเทศศาสตร์ของมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ และมหาวิทยาลัยเซนต์จอห์น และล่าสุดร่วมกับวิทยาลัยเซนต์หลุยส์ ร่วมเป็นกรรมการพิจารณาคัดเลือก และตัดสิน นอกจากนัน้ เพือ่ ให้เกิดความตระหนักและสำนึกร่วมกันจากผูร้ บั สือ่ ต่างๆ จาก เด็กๆ เยาวชน และครอบครัว จึงได้รว่ มมือ กับสภาการศึกษาคาทอลิกแห่งประเทศไทย ส่งแบบสอบถามไปตามโรงเรียน วิทยาลัย และมหาวิทยาลัยต่างๆ ทัว่ ประเทศ เพือ่ ให้ เกิดสำนึกและไตร่ตรองจากครู เด็ก และ พ่อแม่ ผูป้ กครอง และในเวลาเดียวกัน ก็ เป็นข้อมูลส่วนหนึง่ ให้กบั คณะกรรมการ และ รับทราบความคิด ความสนใจของเด็กด้วย ว่าเด็กกำลังสนใจสือ่ อะไร ประเภทไหน?
สื่อมวลชน ในทัศนะของสองบาทหลวงสื่อมวลชนคาทอลิก
สิง่ ทีน่ า่ ส่งเสริมและสร้าง “วัฒนธรรมการรับสือ่ ” ให้เป็นชีวติ ประจำวันตัง้ แต่ เลือกรับ การรับรูอ้ ย่างมีสติ วิเคราะห์ กลัน่ กรอง และคัดเลือกสิง่ ทีด่ เี ป็นประโยชน์ตอ่ ตนเอง และผูอ้ น่ื และการแลกเปลีย่ น แบ่งปันความรูใ้ ห้แก่กนั และกัน” อย่างไรก็ตาม เรือ่ งสือ่ มวลชนมีความ หลากหลาย สลับซับซ้อน เกีย่ วข้องกับทุกคน กว้างขวาง และส่งผลกระทบรวดเร็ว ทัง้ ผู้ ผลิต และผูร้ บั ต่างต้องมีความสำนึกรับผิดชอบร่วมกัน เป้าหมายเพื่อความดีงาม ของแต่ละคน พัฒนาความเป็นคนในทุกมิติ และมนุ ษ ย์ อ ยู่ ร่ ว มกั น อย่ า งสั น ติ สุ ข และ เหมือนเป็นครอบครัวเดียวกัน คือครอบครัว มนุษยโลก “สื่ อ มวลชนคาทอลิ ก ฯ เป็ น เพี ย ง องค์กรหนึง่ เล็กๆ แต่เชือ่ มัน่ ว่า ถ้าเราช่วยกัน เป็ น แสงเที ย นเล่ ม น้ อ ยๆ เมื่ อ ช่ ว ยกั น จุ ด ขึน้ มา จะให้ความสว่างทีส่ วยงามท่ามกลาง ความมืด”
35
บาทหลวงอนุชา ไชยเดช 1) มุมมองของพระศาสนจักรสากล ทีม่ ตี อ่ สือ่ มวลชนในโลกปัจจุบนั สนามงานสื่อ มวลชนในสภาพระสังฆราชคาทอลิกแห่งประเทศไทย มีความ จำเป็นอย่างยิง่ ทีจ่ ะต้องติดตาม คอยดูทศิ ทาง และฟังเสียงของพระศาสนจักรสากล เสมอมาและเสมอไป พระศาสนจักรให้ความ สำคัญกับสื่อมวลชน แต่เป็นการให้ความ สำคัญเชิงเทววิทยา หมายความว่า พระศาสนจักรมีมุมมองเรื่องความเชื่อว่า สื่อมวลชนนั้นเป็นของขวัญจากพระเจ้า และ เราจึ ง ใช้ ข องขวั ญ นั้ น เพื่ อ เป็ น เครื่ อ งมื อ เครือ่ งมือในการนำพระวาจาของพระ สันติสขุ ความจริง และข่าวดีของพระเป็นเจ้า มาสู่มนุษย์ ผมคิดว่านี่เป็นหัวใจของท่าทีท่ี
พระศาสนจักรมองไปยังสื่อมวลชนไม่ว่าจะ ยุคตัง้ แต่กอ่ กำเนิดสิง่ พิมพ์ ยุคเมือ่ เริม่ มีการ ใช้ระบบคอมพิวเตอร์ จนการมาถึงของอินเตอร์เน็ต และโลกดิจทิ ลั นอกจากมุ ม มองนั้ น แล้ ว คำถามที่ น่าสนใจต่อไปคือ เราจะใช้อย่างไร ตอบได้ เลยว่า พระศาสนจักรใช้มนั อย่างมืออาชีพ ไม่ได้ทำกันเล่นๆ ขำๆ แต่มอี งค์กรรองรับ มีการพัฒนาทัง้ เนือ้ หา สาระ เทคนิควิธี มี การส่งเสริมและสนับสนุน มีเครือข่าย และ มี ก ารอบรมสั ม มนาในทุ ก ระดั บ แน่ น อน เหลือเกินว่า พระศาสนจักรจึงชืน่ ชมกับของ ประทานชิ้นนี้จากพระที่เราเรียกกันว่าสื่อมวลชน
รองผู้อำนวยการสื่อมวลชนคาทอลิิกประเทศไทย, บรรณาธิการบริหารอุดมสาร และอุดมศานต์
สื่อมวลชน ในทัศนะของสองบาทหลวงสื่อมวลชนคาทอลิก
36 วารสารแสงธรรมปริทัศน์ ฉบัับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2011/2554
2)มุมมองของพระศาสนจักรในประเทศไทยทีม่ ตี อ่ สือ่ มวลชนเป็นอย่างไรบ้าง ผมคิดว่าเป็นไปไม่ ได้ท่ีพระศาสนจั ก รไทยจะมี ค ำตอบแตกต่ า งจากพระศาสนจักรสากล แต่ความเฉพาะของพืน้ ที่ ข้อจำกัดต่างๆ ความพร้อมของบุคลากร งบ ประมาณ การจัดการ หรือทรัพยากร หรือ อย่างประเทศไทยของเราที่ศาสนาคริสต์ ถือว่ามีผนู้ บั ถือจำนวนน้อย (Minor People) ในประเทศ พระศาสนจักรในประเทศไทยต้อง ถือว่า สนับสนุนงานด้านสือ่ มวลชนมากที เดียว ตัง้ แต่อดีตจนถึงปัจจุบนั เริม่ ตัง้ แต่ โรงพิ ม พ์ อั ส สั ม ชั ญ ของเราก็ ถื อ ว่ า เป็ น โรงพิมพ์แห่งแรกในประเทศไทยบุคลากร ต่างๆที่ดูแลและรับผิดชอบการขยายงาน หนังสือพิมพ์ นิตยสารทีม่ รี ะยะเวลาเนิน่ นาน ถึง 90 ปีของการถือกำเนิด การจัดบุคลากร เต็มเวลา ฯลฯ ผมว่านอกจากพระศาสนจักร
สื่อมวลชน ในทัศนะของสองบาทหลวงสื่อมวลชนคาทอลิก
ในประเทศไทยจะมีมุมมองที่สนับสนุนสื่อมวลชนแล้ว บรรดาสัตบุรษุ ก็มคี วามผูกพัน และรักสือ่ มวลชนคาทอลิกฯ ด้วย เราจะ สังเกตว่าการจัดงาน จัดกิจกรรม หรือการ ผลิตสือ่ ใดๆ ก็แล้วแต่ กระแสตอบรับไม่ เคยตก นอกจากนั้ น ยั ง มี ก ารสนั บ สนุ น ใน ระดับสังฆมณฑล นักบวชชาย-หญิงคณะ ต่างๆ องค์กรฆราวาสแพร่ธรรม บ้านเณร หรือแม้กระทัง่ ระดับวัด ฯลฯ ถ้าเทียบกับ จำนวนคาทอลิกแล้วผมคิดว่าน่าภาคภูมิใจ ทีเดียวสำหรับพระศาสนจักรในเมืองไทย ที่ พาเรื่องราวของสื่อพัฒนามาได้ ไกลจนถึง ทุกวันนี้ 3) ความเชื่อแบบคาทอลิกมีผลหรือ ไม่ อย่างไร ต่อการทำงานด้านสือ่ มวลชน โดยเฉพาะในโลกปัจจุบนั ทีส่ อ่ื มวลชนต้อง นำเสนอข้อมูลความจริงควบคู่ไปกับการต้อง อาศัยกลุม่ ทุนเพือ่ การอยูร่ อดขององค์กร ผมว่าคำถามนีเ้ รามี 2 ประเด็น ประเด็นที ่ 1 คือ การนำเสนอความ จริง และประเด็นที่ 2 คือ กลุม่ ทุน ทีส่ นับสนุนสือ่ หรือพูดง่ายๆ ก็คอื พวกสปอนเซอร์ นัน่ เอง
37
ประเด็นที่ 1 การนำเสนอความจริง สื่อมวลชนนำเสนอความจริงแน่นอนครับ ไม่บดิ เบือน แต่เรือ่ งบางเรือ่ งมีความละเอียด อ่อน ก็ตอ้ งใช้เวลา หรือการนำเสนอก็ไม่ใช่ แบบหนังสือพิมพ์ทว่ั ๆ ไป สือ่ ของเรามักเป็น สือ่ แนวสีขาว คือ เน้นเรือ่ งราวในศาสนา อะไรเกิดขึน้ ที่ไหนอย่างไร มีบทสะท้อนอะไร ส่วนในแง่ของการวิเคราะห์สังคมผมมองว่า ตรงนีย้ งั พัฒนาได้อกี แต่นน่ั ย่อมหมายถึง การตอบโจทย์ท่ีใหญ่และกว้างกว่า ซึง่ ก็ตอ้ ง ถามว่า มันจำเป็น และถึงเวลาหรือยัง ประเด็นที่ 2 กลุม่ ทุน กลุม่ ทุนเรา มีความน่ารักทีก่ ลุม่ ทุนหลายๆ กลุม่ อาจจะ มีนอ้ ยกว่าเรา คือ ให้แล้วให้เลย ไม่มมี า บอกว่าอันนีล้ งให้หน่อย อันนีอ้ ย่าลง ไม่มา วุน่ วายกับเรา ดังนัน้ ผมว่าความเชือ่ คาทอลิก ก็ดำเนินต่อไปท่ามกลางการยืนยันความ
จริงทีป่ รากฏ ทุนที่ได้กม็ าด้วยใจ ทำบุญ และไม่ได้หวังมาครอบงำ แต่ถา้ มาครอบงำ คงไม่มีใครรับได้ น่ารักทีว่ ธิ คี ดิ แบบนี้ไม่มีใน สือ่ ของเราเลยแม้แต่นอ้ ย 4) คุณพ่อมีความคิดเห็นอย่างไร ต่อ ความก้าวหน้าด้านเทคโนโลยีการสื่อสารที่ เป็นไปอย่างรวดเร็วในโลกปัจจุบนั นี้ ถ้ า แยกคำว่ า เจริ ญ ออกมาเป็ น 2 ความหมาย คือ เรือ่ งเทคนิค เทคโนโลยี กับเรื่องความรู้ความเข้าใจ ผมว่าก้าวหน้า เรื่องเทคนิค แต่เรื่องความคิดเบื้องหลัง ความรู้ที่ต้องมีควบคู่ ไปด้วย ซึ่งเรามักใช้ คำว่ารูเ้ ท่าทัน อันนีผ้ มมองว่า คนยังให้ความ สำคัญน้อย ความก้าวหน้าดีครับ แต่หลาย ๆ ครัง้ ความก้าวหน้าก็ดงึ บางเรือ่ งให้ถอยหลัง เช่น ความเหลือ่ มล้ำในสังคม หรือการใช้สอ่ื เพื่อยั่วยุ หรือโน้มน้าวชักจูงให้เกิดความ เข้าใจผิด ความเสียหาย
สื่อมวลชน ในทัศนะของสองบาทหลวงสื่อมวลชนคาทอลิก
38 วารสารแสงธรรมปริทัศน์ ฉบัับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2011/2554
5) ในโลกปัจจุบนั มีสอ่ื ทีถ่ กู ผลิต ออกมาอย่างหลากหลายทั้งในเชิงสร้างสรรค์ และในเชิงพาณิชย์ โดยไม่คำนึงถึง ผลที่จะตามมาจากการเสพสื่อของประชาชน คุณพ่อคิดว่า ประชาชน โดยเฉพาะ บรรดาเด็กและเยาวชน ควรจะมีหลักในการ พิจารณาเลือกการรับชมหรือเข้าถึงสือ่ ต่างๆ อย่างไร ผมเคยแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับ นั ก สื่ อ สารมวลชนที่ ป ระสบความสำเร็ จ ตั้ ง อายุ ยั ง น้ อ ย เป็ น คนที่ ท ำรายการที วี รายการต้นๆ บนอินเตอร์เน็ต เขาเล่าให้ฟงั ว่า การปิดกัน้ ทำได้ยาก เพราะฉะนัน้ สิง่ ที่ สำคัญคือเราต้องสร้างคนของเราให้มภี มู ิ ผมขอเสนอให้เด็ก และเยาวชนของ เรามีภมู ิ 3 ประการ 1. ภู มิ คุ้ ม กั น อั น นี้ ต้ อ งช่ ว ยกั น ระหว่างครอบครัว สถานศึกษา ศาสนา ผม คิดว่าเราต้องสร้างภูมคิ มุ้ กันให้กบั เด็กๆ ของ เรา 2. ภูมปิ ญ ั ญา ผมว่าเราต้องให้ความรู้ ไปด้วย การศึกษาเรือ่ งสือ่ อย่างจริงจัง ควร ถูกทำให้เกิดขึน้ ในทุกระดับ และทุกกลุม่ คน 3. ภูมฐิ าน ผมคิดว่าฐานคิดของคน เป็นสิง่ ทีส่ ำคัญ ฐานนีค้ อื ผูใ้ หญ่ครับ สือ่ ที่ เป็นปัญหาไม่ใช่เด็กผลิต ผูใ้ หญ่ผลิตมาก
สื่อมวลชน ในทัศนะของสองบาทหลวงสื่อมวลชนคาทอลิก
กว่าครับ ถ้าฐานยังไม่แน่น ผมว่าเด็กๆ ก็ น่าเป็นห่วงขึน้ เรือ่ ยๆ 6) บทบาทของสื่อมวลชนคาทอลิก ประเทศไทยต่อการประกาศข่าวดี ให้กบั พีน่ อ้ งชาวไทย เป็นอย่างไรบ้าง มีอะไรทีน่ า่ ชืน่ ชม หรือมีอะไรทีค่ วรปรับปรุง พัฒนาบ้าง หรือไม่ อย่างไร ผมว่ า การทำงานในแต่ ล ะยุ ค ก็ มี บริ บ ทต่ า งกั น ไป คำถามนี้ เ หมื อ นจะให้ วิจารณ์ตวั เอง จริงๆ แล้วควรให้คนอืน่ พูดถึง เรามากกว่า แต่ถา้ จะตอบผมคงต้องตอบว่า สิง่ ทีน่ า่ ชืน่ ชมก็คอื เราทำงานมานานจนได้ รับการยอมรับในวงกว้าง พูดหรือขอความ ร่วมมืออะไรไม่มปี ญ ั หา ควรปรับปรุง ผมว่า ก็ควรปรับปรุง ไปเรื่อยๆ เรื่องสื่อเป็นเรื่องที่มากับยุคสมัย เหมือนกัน เรื่องบางเรื่องวางแผนรองรับได้ เรือ่ งบางเรือ่ งก็ยาก ไม่หยุดนิง่ ผมคิดว่า สื่อมวลชนคาทอลิกทำงานแบบมีพระนำ ทางครับ งานทีท่ ำอยูต่ ลอดทัง้ ปีกแ็ น่นมาก งานทีม่ าใหม่กค็ อ่ ยๆ ทำกันไป โดยส่วนตัว ในปีน้ผี มชอบงานจัดประกวดภาพยนตร์ส้นั ทีเ่ ราได้รว่ มมือกับภาครัฐ มีเด็กส่งผลงานมา มากมาย แต่เหนือไปกว่านัน้ คือเราเห็น ภาพของรัฐร่วมกับเอกชน เห็นภาพผูใ้ หญ่
39
ร่วมกับเด็ก และเห็นภาพทุกศาสนามาเจอ กันในกิจกรรมนี้ หัวข้อของงานพูดเรือ่ งสันติภาพพอดี ผมว่างานแบบนีแ้ หละทีจ่ ะทำให้ การประกาศข่าวดีกับพี่น้องชาวไทยเริ่มชัดเจนขึน้ แต่อยากบอกว่า ไม่หมูครับ 7) คุณพ่อคิดว่า สังคมออนไลน์สง่ ผล หรือไม่ อย่างไร ต่อวิถกี ารดำเนินชีวติ ของ บุคคลในสังคมโดยเฉพาะกับพวกเราคาทอลิก ผมว่าถ้าภาพรวมก็ไม่นะ มันค่อยๆ เปลีย่ นรูปแบบชีวติ ของคน แต่กค็ งอีกนาน คงคนอีกยุคหนึง่ สิง่ ทีท่ ำได้ ก็คอื เตรียม การณ์ ร องรั บ และดึ ง ส่ ว นที่ ดี ม าใช้ เช่ น ความรวดเร็วของข่าว เรือ่ งราวทีส่ ง่ ต่อกัน การรวบรวมข้อมูล ผมว่าสังคมออนไลน์ใน มุมหนึง่ มันไม่ใช่ของจริง ของจริงคือ ความ
สัมพันธ์ของคนกับคน บุคคลกับบุคคลทีม่ า พบกัน มองหน้ามองตา สนทนา ร่วมทุกข์ ร่วมสุขกันอันนีผ้ มว่าของจริง ไม่สง่ ผลถึง ขนาดไปเปลีย่ นแปลงอะไรเราได้หรอกครับ 8) จากการไปประชุมสือ่ สิง่ พิมพ์คาทอลิกโลก ร่วมกับสือ่ มวลชนคาทอลิกทัว่ โลก คุณพ่อคิดว่า การทำงานของสือ่ มวลชนคาทอลิ ก ประเทศไทยเป็ น อย่ า งไรบ้ า ง เมื่อ เปรี ย บเที ย บกั บ สื่อ ฯ จากประเทศต่ า งๆ และมีด้านใดบ้างหรือไม่ ที่เราน่าจะนำมา ปรับใช้กบั การทำงานของเราในประเทศไทย ผมคิดว่าเราเปรียบเทียบกับเขาไม่ ได้ทง้ั หมด แต่ถามว่าเป็นแนวเดียวกันไหม ใช่เลย ตรงนีเ้ ป็นจุดแข็งของพระศาสนจักร ผมสังเกตว่าเขาจะเน้น 3 กลุม่ คือ พระสงฆ์ นักบวช ฆราวาส และพวกทีท่ ำงานในสนาม งานจริงคือพวกมืออาชีพ 3 กลุม่ นีเ้ มือ่ นำมา รวมกันจะเกิดเป็นพลังในด้านบวก แต่ละ กลุ่มจะมีจุดแข็งแน่นอนพระสงฆ์นักบวชมี เทววิ ท ยา ฆราวาสคาทอลิ ก มี ค วามเป็ น อาสาสมั ค รทำอะไรบางอย่ า งที่ พ ระสงฆ์ อาจจะลงไปไม่ได้ ไม่ถงึ และมืออาชีพนีเ่ รา ต้องยอมรับว่าพวกเขาสายตรง นำมาหลอม รวมกัน พลังก็มากขึน้ จุดนีผ้ มสนใจ
สื่อมวลชน ในทัศนะของสองบาทหลวงสื่อมวลชนคาทอลิก
40 วารสารแสงธรรมปริทัศน์ ฉบัับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2011/2554
ส่วนอีกประเด็นหนึง่ คือ เวลาจะ ประชุ ม อะไรเขามั ก เริ่ม ที่ข้อ มู ล ที่เ ป็ น เชิ ง วิทยาศาสตร์คอื เห็นชัด มีตวั เลขอ้างอิง มี งานวิจยั ไม่ได้แบบว่า มีคนเขาพูดกัน คน นูน้ ว่านีน่ น่ั โน่น ข้อมูลในเชิงวิทยาศาสตร์ ผมว่ามันทำให้เรามีฐานคิดที่เขายอมรับกัน มากทีส่ ดุ ผมคิดว่าไม่เพียงสือ่ มวลชนคาทอลิกประเทศไทย งานในระดับไหนก็ตาม ของพระศาสนจักรน่าจะใช้หลักคิดแบบนี้ ด้วยเหมือนกัน
สื่อมวลชน ในทัศนะของสองบาทหลวงสื่อมวลชนคาทอลิก
9) สิ่ ง ที่ คุ ณ พ่ อ อยากจะฝากถึ ง ผูอ้ า่ นแสงธรรมปริทศั น์ ขอบคุณแสงธรรมปริทศั น์ท่ีให้เวทีได้ แสดงความคิดเห็นครับ และก็ขอให้สนับสนุนแสงธรรมปริทศั น์ตอ่ ไป เพราะจุดตัง้ ต้นเพือ่ เป็นหนังสือวารสารแนววิชาการ จน ถึ ง ปั จ จุ บั น เจตนารมณ์ ยั ง เหมื อ นเดิ ม ที่ สำคัญเราทำงานด้านสื่อศาสนาเหมือนกัน เราย่อมนึกออกว่ามีความยากง่ายอย่างไร ขอให้ทา่ นผูอ้ า่ นติดตามอย่างสม่ำเสมอ เพือ่ เพิม่ พูนความรูค้ วามเข้าใจ เพือ่ ไปเสริมความ เชื่อมั่นในศาสนา หรือความศรั ทธาในสิ่งที่ สูงสุดต่อไป
41
หมวดปรัชญา
อิทธิพล ของสื่อมวลชนที่คริสตชนควรรู้ กีรติ บุณเจือ ความนำ รูก้ นั อยูแ่ ล้วว่าสือ่ มวลชนในปัจจุบนั มีพลังขนาดไหน และเชือ่ ได้วา่ จากวันนี้ พลัง ของสื่อมวลชนกำลังเติบใหญ่ข้ึนไปอีกใน อัตราเร่งอย่างที่ไม่มีใครจะมีปญ ั ญาควบคุม ได้ เปรียบได้ดง่ั ยักษ์ทอ่ี อกจากตะเกียงอาละดินที่ ใหญ่ออกไปทุกทีเหมือนควันออก จากเตาไฟ มันขยายขอบข่ายอิทธิพลและมี พลังเพิม่ พูนทวีมากขึน้ ไม่ใช่จางหายไปอย่าง ควันไฟ โบดริยารด์นกั ปรัชญาหลังนวยุค
ชาวฝรั่งเศสคนหนึ่งกล่าวไว้ว่า การสื่อสาร เป็นผลิตผลจากน้ำมือมนุษย์กจ็ ริง แต่ครัน้ ปล่อยมันออกสูต่ ลาดการค้าแล้ว มันก็กลาย เป็นตัวของตัวเอง มันได้กำลังเพิม่ ขึน้ เรือ่ ย ๆ จากกลไกของตลาด อย่างที่ไม่มีใครจะควบ คุมมันได้ เพราะไม่มีใครสามารถหยุดกลไก ของตลาดนัน่ เอง นอกจากมันจะทำลาย ตัวเอง คือ กลไกของตลาดพังพินาศไปเอง โดยไม่มีใครกล้าทำให้มนั พัง
กีรติ บุญเจือ ศาสตราจารย์และราชบัณฑิต อดีต สนช. อดีตหัวหน้าภาควิชาปรัชญา จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย อดีตคณบดีคณะปรัชญาและศาสนา มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญและมหาวิทยาลัยเซนต์จอห์น ประธานโครงการปริญญาเอกปรัชญาและจริยศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ประธานบรรณาธิการจัดทำสารานุกรมปรัชญาของราชบัณฑิตยสถาน สอบถามเรื่องปรัชญา โทร.086-0455299.
อิทธิพลของสื่อมวลชนที่คริสตชนควรรู้
42 วารสารแสงธรรมปริทัศน์ ฉบัับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2011/2554
เรื่องของสื่อมวลชนเป็นเรื่องที่พูดเท่าไรไม่รู้ จักจบ จึงขอจำกัดขอบเขตลงเฉพาะจาก มุ ม มองของปรั ช ญาของโบดริ ย ารด์ โ ดย เฉพาะซึง่ ก็ยงั มากไปอีก จึงขอจำกัดวงให้ แคบลงเฉพาะที่คิดว่าคริสตชนในปัจจุบัน พึงรูเ้ ท่านัน้ ความสำคัญของโบดริยารด์ ฌอง โบดริยารด์ (Jean Baudrillard, 1929) เป็นนักคิดรุน่ ใหม่ทว่ี เิ คราะห์ วิจกั ษ์ และวิธานได้ทกุ เรือ่ งโดยไม่สนใจว่า เรือ่ งทีว่ จิ ารณ์นน้ั สังกัดวิชาใด และใช้วธิ คี ดิ ตามเกณฑ์ของวิชาใดหรือไม่ เขาเคยสอน วิชาสังคมวิทยาในมหาวิทยาลัยและเขียน บทความและออกโทรทั ศ น์ เ พื่อ วิ เ คราะห์ วิจกั ษ์ และวิธานเหตุการณ์ทก่ี ำลังเกิดขึน้ อยู่ เสมอ แต่ไม่ยอมรับว่าตนเป็นนักสังคมวิทยา นักประวัติปรัชญาจัดให้เขาเป็นนักปรัชญา หลังนวยุค แต่เขาเองไม่เคยศึกษาในหลักสูตรปรัชญา ไม่เคยสอนปรัชญา และไม่เคย คิดว่าตัวเองจะเป็นนักปรัชญา ข้อเท็จจริง ก็คอื เขาเขียนหนังสือ บทความ และให้ 1
สัมภาษณ์มากเกี่ยวกับปรากฏการณ์ ใหม่ๆ ของสังคมมนุษย์ และจับประเด็นได้อย่าง ถูกใจคนรุน่ ใหม่อยูเ่ ป็นประจำ ผูส้ นใจจึง คอยอ่านและคอยฟังอยูเ่ สมอว่า เขาจะมีแง่ คิดอะไรดีๆ หรือมีสำนวนอะไรดีๆ มาเสนอ อีก งานเขียนของเขาจึงมักจะมีผรู้ บั แปลเป็น ภาษาอังกฤษและภาษาอืน่ ๆ แต่รสู้ กึ ว่าผูอ้ า่ น ภาษาอังกฤษจะสนใจติดตามความคิดของ เขายิ่งกว่าผู้อ่านภาษาฝรั่งเศสซึ่งเป็นภาษา ต้นฉบับทีเ่ ขาเขียน แต่กส็ อู้ า่ นภาษาฝรัง่ เศส ตรงๆ ไม่ได้ เพราะเขาชอบใช้คำและสำนวน แปลกๆ ใหม่ๆ ทีห่ าในโปรแกรมแปลของ คอมพิวเตอร์ไม่พบ ด๊ากเกลิส เคลเนอร์ (Douglas Kellner) อาจารย์สอนปรัชญาที่ มหาวิทยาลัยเทกเสิส (U. of Texas) เป็นผู้ เขียนและบรรณาธิการหนังสือ Baudrillard : A Critical Reader, 1995 สรุปความสำคัญ ของโบดริยารด์อย่างกะทัดรัดว่า “เรือ่ งทัง้ เรือ่ งของโบดริยารด์กค็ อื ว่า เขากำลังจะเป็น ดาวดวงใหม่ของนักคิดรุน่ ใหม่ น่ากลัวว่าจะ ก่อให้เกิดกระแสความคิดใหม่เสียด้วยซ้ำ”1
อ้างอิงใน Chris Horrocks and Zoran Jevtic, Baudrillard for Beginners (Cambridge : Penguin Books, 1996. “The whole Baudrillard affair is rapidly mutating into a new idolatry of a new master thinker, and is in danger of giving rise to a new orthodoxy.”
อิทธิพลของสื่อมวลชนที่คริสตชนควรรู้
43
ชีวติ และงาน เกิดเมือ่ วันที่ 20 กรกฎาคม ค.ศ. 1929 ในเมืองแรงส์ ประเทศฝรัง่ เศส ต้น ตระกูลเป็นเกษตรกรจากตำบลอาร์เดนส์ จังหวัดชองปาญ (Ardennes/Champagne) ใกล้ประเทศเบลเยีย่ ม ช่วงนัน้ เศรษฐกิจตก ต่ำทัว่ โลก ครอบครัวจึงอพยพมาอยูท่ แ่ี รงส์ โดยบิ ด าได้ ง านเป็ น ข้ า ราชการระดั บ ล่ า ง โบดริยารด์จึงได้รับการศึกษาในเมืองแรงส์ จนจบมหาวิทยาลัยด้านวรรณคดีเน้นวรรณคดีเยอรมัน ค.ศ. 1958 จบการศึกษาและได้ ตำแหน่งอาจารย์สอนภาษาเยอรมันและ เยอรมันศึกษา ค.ศ.1966 ได้ตำแหน่งอาจารย์ สอนสังคมวิทยาทีม่ หาวิทยาลัยปารีส วิทยา เขตนองแตร์ (Nanterre) ได้รจู้ กั กับลีโอตารด์ (Fancois Lyotard) ซึง่ เป็นอาจารย์ ปรัชญา ณ ทีเ่ ดียวกันและในปีเดียวกัน ค.ศ. 1968 ได้ปริญญาสังคมศาสตรดุษฎีบณ ั ฑิต ด้วยงานวิจยั เรือ่ ง The System of Objects ต่อจากนัน้ ก็ผลิตงานและพัฒนาความคิดไป เรือ่ ยๆ จนเกษียณเมือ่ ค.ศ. 1987 วิเคราะห์มากซ์กบั สือ่ มวลชน โบดริ ย ารด์ วิ เ คราะห์ แ ละวิ จั ก ษ์ ทฤษฎีเศรษฐกิจการเมืองของมากซ์ (Marx’s Political Economy Theory) ว่าประสบความ
สำเร็จในช่วงศตวรรษที่ 20 ตอนต้นก็เพราะ เทคนิคด้านการสือ่ สารยังไม่พฒ ั นา กำแพง เบอร์ลนิ ล้มเมือ่ วันที่ 9 พฤศจิกายน 1989 เพือ่ ให้ชาวเยอรมัน 2 ประเทศ (คอมมิวนิสต์ และประชาธิปไตย) ไปมาหาสูก่ นั ดังเดิมโดย ไม่ตอ้ งฆ่ากันตายแม้แต่คนเดียว ก็ตอ้ งถือว่า เป็นผลงานของสื่อมวลชนที่ก้าวหน้าอย่าง ทีม่ ากซ์ (Karl Marx 1818 - 1883) คาดไม่ ถึงและทำให้ทฤษฎีเศรษฐกิจการเมืองของ มากซ์ซ่ึงได้กล่อมความโหยหาของชนกรรมาชีพมากว่าศตวรรษสิ้นมนต์ขลังลงอย่าง ราบคาบ แต่ทว่าสือ่ มวลชนยักษ์ใหญ่ของ โบดริยารด์ตนเดียวกันนี้ ก็แผลงฤทธิส์ ร้าง ปัญหาหนักหน่วงในด้านอืน่ ต่อไป ใครจะ สยบมันได้หรือไม่ เชิญฟังการวิเคราะห์เชิง ปรัชญาของโบดริยารด์ตอ่ ไป ทฤษฎีเศรษฐกิจการเมืองของมากซ์สู่การ สือ่ สารหลังนวยุค ในหนังสือ Das Kapital, 1867 มากซ์ ได้ชแ้ี จงไว้วา่ นักการเมืองต้องจัดการเศรษฐกิจของชาติให้เกิดความสุขแก่พลเมืองทุกคน ของชาติอย่างเสมอหน้ากันตามเกณฑ์ความ ยุตธิ รรมสังคม มากซ์ วิจารณ์การดำเนิน เศรษฐกิจทีแ่ ล้วมาจนถึงสมัยของตนว่า เดิน ตามความเชื่ อ ถื อ ที่ ผิ ด อย่ า งตรงข้ า มว่ า
อิทธิพลของสื่อมวลชนที่คริสตชนควรรู้
44 วารสารแสงธรรมปริทัศน์ ฉบัับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2011/2554
เศรษฐกิ จ นำการเมื อ งซึ่ ง หมายความว่ า เศรษฐี เ ป็ น ผู้ ว่ า จ้ า งผู้ เ ต็ ม ใจรั บ ค่ า จ้ า งให้ ดำเนินการเมืองการปกครองได้ตามใจเท่าที่ อำนาจเศรษฐกิจของตนจะสามารถว่าจ้าง ได้และซือ้ อุปกรณ์ได้ ทัง้ นีเ้ พราะเชือ่ กันมา ตั้งแต่กระบวนทรรศน์ดึกดำบรรพ์แล้วว่า ผูท้ เ่ี กิดมาแข็งแรง ฉลาด เก่ง มีทรัพย์สนิ เงินทอง ก็เพราะเบือ้ งบนประทานให้ดว้ ย ความเสน่หาเป็นพิเศษ เขาจึงมีกรรมสิทธิ์ และมีสิทธิท่ีจะเจือจานแก่ ใครหรือไม่ก็ ได้ ตามความพอใจ เขาจึงมีสทิ ธิ์ใช้เงินแลก เปลีย่ นกับสินค้าทีค่ นอืน่ มี โดยจ่ายตาม คุณค่าของสินค้าชิน้ นัน้ มากน้อยตีราคากัน ตามความประสงค์ (Need) หรือ ความ ต้องการ (Desire) ของเขาต่อสินค้าชิน้ นัน้ ซึง่ ย่อมขึน้ อยูก่ บั 2 ปัจจัย คือระดับความ ประสงค์ แ ละความต้ อ งการของเขากั บ โอกาสที่จะเลือกชิ้นอื่นแทนมีมากน้อยแค่
อิทธิพลของสื่อมวลชนที่คริสตชนควรรู้
ไหน คุณค่าของสินค้าจากการคำนวณดัง กล่าว เรียกว่า คุณค่าใช้สอย (Use Value) เศรษฐียงั อาจจะจ่ายเงินอีกทางหนึง่ คือ ซือ้ แรงงานจากผูข้ ายแรงงานมาผลิตสินค้า เพือ่ ให้ผลิตผลทัง้ หมดเป็นกรรมสิทธิข์ องเศรษฐี เงินทีเ่ ศรษฐีจา่ ยจึงเรียกว่า ค่าจ้าง (Wage) ไม่ใช่ราคา (Price) และไม่เรียกว่าการซือ้ ขาย แต่เรียกได้วา่ เป็นการแลกเปลีย่ นระหว่าง เงินกับแรงงาน (Exchange) ซึง่ จะมีอตั ราสูง ต่ำแค่ ไหนขึ้นอยู่กับความต้องการแรงงาน ของเศรษฐี ว่ า ต้ อ งการให้ ม าทำอะไรและ ต้องการผลมากน้อยแค่ไหน ทัง้ ยังขึน้ อยูก่ บั โอกาสเลือกทีเ่ ศรษฐีนน้ั มีวา่ หากไม่เลือกคน นี้ จะมีโอกาสได้แรงงานตามต้องการอย่าง ง่าย/ยากเพียงใด โบดริยารด์ชแ้ี จงให้เห็นว่า ในสภาพ เช่นนี้ ฝ่ายเศรษฐีได้เปรียบเกือบจะทุกทาง เช่น 1. ความเชือ่ ของคนทัว่ ไปว่า เจ้าของ ทรัพย์สนิ มีกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สนิ พอๆ กับ ที่ พ ระเป็ น เจ้ า ผู้ส ร้ า งเป็ น เจ้ า ของเอกภพ ทัง้ หมดทีพ่ ระองค์ได้ทรงสร้างมา และทรง มีสิทธิ์ยกให้ใครก็ ได้ท่ีทรงพอพระทัย และ เขาผู้ทรงพอพระทัยนั้นก็ย่อมมีกรรมสิทธิ์ ครบถ้วนในนามของพระองค์และเหมือน พระองค์
45
2. เศรษฐีมอี ำนาจต่อรองเต็มกำมือ เพราะมี สิ น ค้ า และมี แ รงงานให้ เ ลื อ กได้ ตามใจเหลือเฟือ ยังเลือกไม่ได้ในวันนีห้ รือ พรุง่ นีห้ รือวันต่อๆไป เศรษฐีก็ไม่อดตาย อด ใจรอไปอีกกีว่ นั ก็ได้ 3. ผู้ขายสินค้าหรือขายแรงงานไม่ อาจจะรอได้หลายวันเพราะส่วนมากหากิน วันต่อวัน มีนอ้ ยคนทีม่ พี อกินได้หลายวัน จำเป็นต้องรีบขายสินค้าหรือแรงงานเพื่อ ความอยูร่ อดของตนเองและของคนทีต่ นรัก 4. บริกรสังคมทุกระดับ คือ ลูกจ้าง ของเศรษฐี โดยปริยายพร้อมที่จะเอื้อตาม ปรารถนาของเศรษฐี ย่ิ ง กว่ า จะให้ ค วาม สะดวกประชาชน แม้จะเห็นใจแต่กพ็ ดู ได้ เพียงคำเดียวว่า “ช่วยไม่ได้” 5. แม้จะมีพระวาจาของพระเยซู ตรัสไว้ในพระคัมภีรว์ า่ “สวรรค์เป็นของคน ยากจนและของผูด้ แู ลช่วยเหลือคนจน” แต่ ชาวบ้านส่วนมากไม่มีโอกาสอ่านพระคัมภีร์ โดยตรง ส่วนมากรูจ้ ากผูอ้ ภิบาลวิญญาณ ซึ่งก็ชอบที่จะตีความตามแต่ใจจะเรียกร้อง ผูท้ ต่ี คี วามตามเจตนาของพระเยซูอย่างจริง ใจและปฏิบัติตามอย่างจริงจังก็คือนักบุญ ซึ่ง คนยากคนจนมี โ อกาสได้ รับ บริ ก ารไม่ มากนักในสมัยนัน้
ในสภาพดั ง กล่ า วข้ า งต้ น การ โฆษณาชวนเชื่อ แบบปากต่ อ ปากในโรงงานที่ ก รรมกรทุ ก คนรู้สึก ต้ อ งรั บ เงื่ อ นไข อย่างจำยอม (ซึง่ มีอยูท่ ว่ั ไปในทวีปยุโรป) และในท้องไร่ทอ้ งนา ทีผ่ เู้ ช่าต้องรับเงือ่ นไข ค่าเช่าอย่างจำยอม (ซึง่ มีทว่ั ไปในเอเชีย) เพียงแต่สอ่ื สารให้ผเู้ สียเปรียบรวมตัวกันยึด ทรั พ ย์ ม าเป็ น ของตนร่ ว มกั น เท่ า นั้ น ก็ แ ก้ ปัญหาได้ทกุ อย่าง โลกนีก้ จ็ ะเป็นสวรรค์ของ ผูใ้ ช้แรงงาน ผู้ ใ ช้ แ รงงานยึ ดได้ แ ล้ ว แต่ ไ ม่ มี ปัญญาบริหารและปกครอง เมือ่ พรรคคอมมิวนิสต์ส่อื สารจนได้รับความไว้วางใจให้จัด การบริหารและปกครองในนามของผู้ใช้แรง งานหรือชนกรรมาชีพ ก็ได้ระวังเรือ่ งการสือ่ ทางปากอย่างเข้มงวด คือ ลงโทษหนักแก่ผู้ สื่อสารทางปากชนิดให้ร้ายต่อองค์การปกครอง และบังคับให้เข้าร่วมสัมมนาเพือ่ ฟัง การสือ่ สารจากองค์การปกครองเท่านัน้ สมั ย ที่ โ บดริ ย ารด์ ก ำลั ง เป็ น นั ก วิชาการ ลัทธิมาร์กซิสม์เป็นกระแสความคิด และการปฏิบัติท่นี ักวิชาการไม่อาจมองข้าม ไม่ว่าจะชอบลั ทธิคอมมิวนิสต์หรือไม่ก็ตาม แต่โบดริยารด์ ได้ฝึกให้คิดอย่างนักปรัชญา จึ ง ได้ ใ ช้ ค วามรู้ ค วามสามารถของตน วิเคราะห์ประเด็นทีฮ่ ติ ในสมัยนัน้ โดยเฉพาะ
อิทธิพลของสื่อมวลชนที่คริสตชนควรรู้
46 วารสารแสงธรรมปริทัศน์ ฉบัับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2011/2554
อย่างยิ่งเกี่ยวกับทฤษฎีเศรษฐกิจการเมือง กับอิทธิพลของสือ่ มวลชน ได้ประเด็นทีน่ า่ สนใจดังต่อไปนี้ 1. เกิดมีคณ ุ ค่าที่ 3 ซึง่ มากซ์ไม่ได้ คิดไว้และคงจะไม่ได้คาดคิดว่ามีความสำคัญ คือ คุณค่าสัญลักษณ์ (Symbolic Value) อัน เกิดจากพลังแห่งการโฆษณาสินค้าบางชนิด ซึ่งเศรษฐีทุ่มเงินซื้อเพียงแต่เพื่อเชิดชูหน้า ตาในสังคม 2. รัฐบาลของโลกเสรี เพื่อเอาใจ พลเมืองทุกคนของตนมิให้ฝักใฝ่ลัทธิคอมมิวนิสต์ จึงพยายามขจัดความเหลื่อมล้ำ ในสังคม เปิดโอกาสให้พลเมืองทุกระดับ สามารถใช้เงินเพือ่ แลกเปลีย่ นกับคุณค่าเชิง สัญลักษณ์ ได้ในระดับหนึ่ง และเปิดโอกาส ให้ ไต่เต้าขึน้ ไปได้เรือ่ ยๆ อย่างมีความหวัง 3. ความก้าวหน้าของเทคนิคอิเล็กทรอนิกส์ ทำให้การสื่อสารกันจากปากต่อ ปากไร้ความหมาย คนเราสามารถสือ่ ข่าวถึง กันได้ตวั ต่อตัวโดยไม่จำเป็นต้องใช้เสียง ไม่ จำเป็นต้องส่งทางไปรษณีย์ เพียงแต่ใช้น้ิว จิ้มบนเครื่องสื่อสารในห้องลึกลับขนาดไหน ก็ได้ 4. กระแสความนิยมความเป็นเกิน จริง (Hyperreality) อันเป็นกระแสยกย่อง ความนิยมของคนรุน่ ใหม่ทน่ี ยิ มเหมือนๆ กัน อิทธิพลของสื่อมวลชนที่คริสตชนควรรู้
และแพร่หลายไปทั่วโลกอย่างรวดเร็วทั่ว ถึงกัน โดยไม่มีใครรู้ว่ามันเป็นไปได้อย่างไร แต่มันก็เป็นไปแล้ว และไม่มี ใครยุติมันได้ ไม่มพี รมแดนใดขวางกัน้ มันไม่เคารพพรมแดนใดๆ ทีค่ นรุน่ ก่อนขีดเส้นไว้ ไม่วา่ จะเป็น เขตแดนระหว่างประเทศ ไม่วา่ จะเป็นพรมแดนระหว่างลัทธิการเมืองเสรีกบั ลัทธิคอมมิวนิสต์ ไม่วา่ จะเป็นพรมแดนศาสนา วัฒนธรรม หรือขนบธรรมเนียมประเพณี คนรุน่ ใหม่ดูราวจะนัดกันมาเกิดเพื่อให้มีพลโลก ใหม่ทเ่ี กิดมาก็เรียกร้องหาคอมพิวเตอร์ไว้ใช้ มันเป็นโลกแห่งความเป็นเกินจริงโดยแท้ ซึง่ คนรุน่ เก่าจำต้องเรียนรูเ้ พือ่ ไม่ตกยุค แต่คน รุ่นใหม่ทุกคนรู้สึกว่าเป็นโลกของพวกเขา ตั้งแต่เกิด พวกเขาไม่แคร์ว่าคนรุ่นเก่าจะ เข้าใจพวกเขาหรือไม่ หรือว่าจะมองพวกเขา เป็นอย่างไร มันเป็นโลกของพวกเขา ในทีส่ ดุ กำแพงเบอร์ ลิน ที่ค นรุ่น เก่ า ลงทุ น ลงแรง สร้างด้วยหยาดเหงือ่ และเลือดเนือ้ ในปี ค.ศ. 1961 ก็พงั ทลายลง ณ วันที่ 9 พฤศจิกายน ค.ศ. 1989 โดยทหารรักษาการณ์เตรียม พร้อมด้วยลูกกระสุนเต็มรังปืน แต่ไม่มีใคร ยิงแม้แต่นัดเดียว ทั้งนี้เพราะพวกเขาเป็น คนรุน่ ใหม่ท่ีไม่ได้สร้างกำแพง แต่ถกู เกณฑ์ ให้มาถือปืนคอยยิงคนซึ่งพวกเขาไม่เข้าใจ ว่าทำไมจะต้องยิง และไม่เข้าใจคนรุน่ เก่าว่า
47
ทำไมถึงต้องสร้างกำแพงกัน้ กันอย่างนี้ พอ กำแพงเปิดช่องเท่านัน้ พลเมืองทัง้ 2 ฝ่าย ก็กรูเข้าหากันและกอดกันด้วยน้ำตานอง หน้าเพราะความดีใจ 5. คนเราทุกวันนี้ เกือบจะร้อยทั้ง ร้อย ดิ้นรนต่อสู้เสี่ยงตายและบางคนยอม เสี่ยงคุกตาราง มิ ใช่เพื่อการอยู่รอดเลี้ยง ปากเลีย้ งเหมือนสมัยของมากซ์ แต่ดน้ิ รน ไม่รจู้ กั พอก็เพือ่ การมีหน้ามีตาในสังคม การ ไม่ มีห วั ง ที่จ ะได้ เ ชิ ด หน้ า ชู ต าในสั ง คมนั บ เป็นความสิ้นหวังที่ร้ายกาจที่สุดสำหรับคน ยุคนี้ มากซ์มองเห็นว่าการนิยมขายแรงงาน ในสมัยของตนจะนำไปสู่การเปลี่ยนแปลง การปกครองเป็นสังคมนิยม โบดริยารด์มอง เห็นว่าการนิยมซือ้ สัญลักษณ์แห่งการมีหน้า มีตาในสังคมจะนำไปสูก่ ารเปลีย่ นแปลงการ ปกครองเป็นคอรัปชัน่ นิยม ซึง่ จะเป็นระบอบ ปกครองทีน่ า่ กลัวมาก เพราะทุกคนจะสวม หน้ากากใส่กนั เพราะ “กฎของราคามีผลต่อ ความหมายของภาษาที่ใช้” และใครตัง้ ใจทำ ดีจะต้องเสี่ยงตาย ทั้งนี้ก็เพราะว่าเอกภพ มิได้เดินตามกฎปฏิพัฒนาการอย่างที่มากซ์ คิด แต่มนั ชอบไปหาขัว้ สุดๆ และนัน่ เป็น หลักการของความชัว่ ร้าย” 6. โบดริยารด์เตือนให้ระวังอิทธิพล ของการโฆษณาสินค้า (รวมทัง้ การโฆษณา
หาเสียง) เพราะทำให้สมองมึนงงเป็นไก่ตา แตก (Ecstatic) อั น เป็ น เจตนาของการ โฆษณาทีจ่ ะทำให้ลกู ค้าเป็นอย่างนัน้ “การ โฆษณาเอาราคาประโยชน์ ใช้สอยกับราคา รักษาหน้า คลุกเคล้าปัน่ เข้าด้วยกันจนมอง ไม่ออกว่าอะไรเป็นอะไร” และในอีกหลายๆ แห่งระบุว่าเป็นตัวการที่สร้างความเป็นเกิน จริง กล่าวคือ สร้างภาพพจน์วา่ จะมีหน้ามี ตาในสังคม แม้จะต้องทุม่ เทเงินทองเท่าไรก็ คุม้ “บางคนทีย่ งั คุมสติไว้ ได้จงึ อดบ่นไม่ได้ ว่ า สื่ อ มวลชนเองแหละที่ ท ำให้ ข่ า วหมด สภาพ” รวมความว่าสือ่ มวลชนดีหรือไม่ดี โบดริยารด์ให้ความเป็นธรรมแก่สอ่ื มวลชน โดยสรุปว่าสือ่ มวลชนให้ทง้ั คุณและ โทษ มองในแง่ดี (Optimistic) ก็มแี ง่ดอี ยู่ มาก เช่น มาร์เชิล แมคลูเหิน (Marshall McLuhan) ชีแ้ จงว่าเทคโนโลยีชว่ ยให้สอ่ื สาร ถึงกันได้ทว่ั โลกภายในพริบตา ช่วยกันแก้ ปัญหาท้องถิน่ ได้ฉบั พลัน เจรจาปรองดอง กันได้ทนั ใจ เผยแพร่ตวั อย่างดีๆ และความ คิดดีๆ เตือนสติกนั ได้ทนั กาล บรรดาผูน้ ยิ ม มากซ์กก็ ล่าวเป็นเสียงเดียวกันว่า ต้องยึด สื่อทุกชนิดมาเป็นของมวลชนเพื่อช่วยการ ปฏิวตั มิ วลชนอย่างมีเอกภาพ
อิทธิพลของสื่อมวลชนที่คริสตชนควรรู้
48 วารสารแสงธรรมปริทัศน์ ฉบัับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2011/2554
คนรุ่นเก่าส่วนมากจะประณามว่า สื่อทำให้เด็กเสีย ความสะดวกที่ได้มาบ้าง ไม่คมุ้ กับการเสือ่ มคุณธรรมและศีลธรรม โบดริยารด์ ไม่อยากให้ถกเถียงกัน ให้เสียเวลา ไหนๆ มันก็เป็นไปแล้วและเอา คืนไม่ได้แล้ว เหมือนยักษ์ออกจากตะเกียง อาละดินและไม่ยอมเข้าตะเกียง ถ้าศึกษา วิเคราะห์ วิจกั ษ์ และวิธานให้ดๆี ก็จะพบว่า เทคนิคการสือ่ สารมิได้เลวอย่างทีค่ ดิ “เรา ไม่มีทางจะรู้ ได้อย่างถ่องแท้หรอกว่าการ โฆษณาและสถิติมีอิทธิพลจริงๆ ต่อเจตจำนงส่วนตัวและส่วนรวมมากแค่ไหน และ เราก็ไม่มวี นั จะรู้ ได้อย่างถ่องแท้ เช่นเดียวกัน ว่าจะมีความเสียหายอะไรเกิดขึน้ เท่าใด หาก ไม่มกี ารโฆษณาและสถิต”ิ เมื่อเป็นเช่นนี้โบดริยารด์จึงแนะนำ ให้จดุ ไม้ขดี แทนนัง่ ด่าความมืดว่า 1. ให้ส่ือพยายามลดบทบาทป้อน ข้อมูลด้านเดียวและเพิ่มลักษณะเสวนาให้ มากขึน้ 2. หาวิ ธี อ บรมผู้ รั บ สื่ อ ให้ เ ป็ น ผู้ บริ โ ภคสื่ อ อย่ า งมี ส ติ คื อ ให้ เ ป็ น อาหาร พัฒนาปัญญาให้เติบโต มิใช่รบั สือ่ แบบถัง ขยะ มีอะไรก็รบั หมดและไม่เกิดการเติบโต ในส่วนใดเลย
อิทธิพลของสื่อมวลชนที่คริสตชนควรรู้
3. ขอสือ่ บอกให้ชดั เจนสักหน่อยว่า เมือ่ ใดสือ่ ความเป็นจริง (Reality) และเมือ่ ใด สือ่ ความเป็นเกินจริง (Hyperreality) หาก ผสมกันก็ต้องถือว่าเป็นความเป็นเกินจริง เพื่ อ แสดงความบริ สุ ท ธิ์ ใจว่ า ไม่ ต้ อ งการ หลอกลวงผูบ้ ริโภคสือ่ เหมือนการขายสินค้า อย่างซือ่ สัตย์ บอกตรงๆ ว่าเป็นของแท้หรือ ของปลอม สรุป พระเยซูทรงกำชับคริสตชนทุกคนว่า ต้องประกาศข่าวดี มีอะไรดีๆ แล้วไม่บอกให้ เพือ่ นรูถ้ อื ว่าเห็นแก่ตวั คำสัง่ นีย้ อ่ มมีนยั อยู่ ในตัวว่าต้องใช้อปุ กรณ์ทกุ อย่างทีม่ ี ทีท่ นั สมัย และทีม่ ปี ระสิทธิภาพทีส่ ดุ ในการปฏิบตั ิ พันธกิจอันสูงส่งนี้
49
อย่างไรก็ตาม คริสตชนไม่พึงสัก แต่ว่าทำตามคำสั่งอย่างเครื่องจักรตาบอด แม้จะใช้อปุ กรณ์อย่างดีทนั สมัยแค่ไหนก็ตาม หากข่าวดีไม่มอี งค์ประกอบสมบูรณ์แบบ ก็ คงไม่แสดงถึงความมีน้ำใจและความพยายามเท่าทีค่ วร องค์ประกอบหนึง่ ก็คอื ตัว อย่างทีด่ ี ตัวผูส้ อ่ื ข่าวเองประพฤติตามข่าว ดีนน้ั อยูห่ รือไม่ องค์ประกอบทีส่ องก็คอื จุด เทียนให้มีแสงสว่างแล้วให้ต้ังบนเชิงเทียน
เพือ่ ให้แสงสว่างส่องออกไปได้รอบด้าน เชิง เทียนดังกล่าวได้แก่ อุดมคติท่ีอยู่ในความ สนใจของผูร้ บั ข่าว ทัง้ นี้ ตามคำแนะนำของ สมณสาสน์ Fides et Ratio (ศรัทธากับ เหตุ ผ ล) ให้ ใ ช้ ป รั ช ญาที่ ทั น สมั ย แห่ ง ยุ ค เรื่องนี้ได้ช้ีแจงในรายละเอียดแล้วในแสงธรรมปริทัศน์ฉบับที่แล้วเรื่องปรัชญากับการ อภิบาล
กีรติ บุญเจือ. ปรัชญาหลังนวยุค. กรุงเทพฯ : ดวงกมล, 2545. กีรติ บุญเจือ. ชุดปรัชญาเซนต์จอห์น. (1-9) กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเซนต์จอห์น, 2546. **หมายเหตุ : หนังสือข้างต้นขาดตลาดหมดแล้ว ผูส้ นใจอ่านโปรดติดต่อผูเ้ ขียนเพือ่ แบ่งปัน ให้เท่าทีม่ เี หลือ
อิทธิพลของสื่อมวลชนที่คริสตชนควรรู้
50 วารสารแสงธรรมปริทัศน์ ฉบัับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2011/2554
หมวดทั่วไป
บทบาทของ ไอซีที
ที่มีต่อสังคมไทยปัจจุบัน ดร.สุภาวดี นัมคณิสรณ์
บทนำ หลายท่านคงจะได้เคยอ่านผลงาน ของอัลวิน ทอฟฟเลอร์ (Alvin Toffler) นักเขียน นักวิชาการและนักวิจารณ์สงั คม ชาวอเมริกนั มากันบ้างแล้ว ทอฟฟเลอร์ ได้ วิเคราะห์สถานการณ์สังคมของโลกในอดีต ปั จจุ บัน และอนาคตไว้ในหนังสือ ชื่อ The Third Wave ซึง่ คุณสุกญ ั ญา ตีระวนิช และ คณะได้แปลเป็นภาษาไทยและได้ตีพิมพ์ใน ชื่อว่า คลื่นลูกที่สาม แม้ว่าหนังสือเรื่องนี้
ของเขาจะได้ตพี มิ พ์เผยแพร่มาตัง้ แต่ปี ค.ศ. 1980 แต่สถานการณ์ของสังคมทัง้ สามรูปแบบ ตลอดจนผลกระทบต่างๆ ทีเ่ กิดขึน้ ใน สังคมทัง้ สามนี้ ทอฟฟเลอร์กส็ ามารถชี้ให้ผู้ อ่านได้เห็นและเข้าใจถึงเหตุการณ์ท่เี กิดขึ้น ในสังคมได้อย่างชัดเจน และน่าสนใจ คลืน่ สังคมสามลูก ทอฟฟเลอร์ ไ ด้ เ ปรี ย บเที ย บการ เปลีย่ นแปลงอารยธรรมของโลกเหมือนคลืน่ สามลูกดังต่อไปนีค้ อื
อาจารย์ประจำคณะปรัชญาและศาสนา มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ กรุงเทพมหานคร
บทบาทของ ไอซีที ที่มีต่อสังคมไทยปัจจุบัน
51
“
จำนวนแหล่ ง แร่ ธ าตุ แ ละวั ต ถุ ดิ บ ที่ มี อ ยู่ ครอบครัวใหญ่ท่เี คยอยู่รวมกันเป็นปึกแผ่น ในยุคเกษตรกรรมเริ่มกลายเป็นครอบครัว ขนาดเล็กลง เพราะเมือ่ ลูกๆ เติบโตขึน้ และ มีงานทำก็จะแยกครอบครัวออกไปจากพ่อ แม่ คลืน่ ลูกทีส่ าม สังคมแห่งสารสนเทศ (Information Society) เริม่ ต้น ราว ค.ศ. 1955 จนถึงปัจจุบนั การเคลือ่ นตัว เข้ามาของคลื่นลูกนี้ไปสู่สังคมต่างๆทั่วโลก จะเป็นไปอย่างรวดเร็ว ยุคนีจ้ งึ เป็นยุคที่ ความรู้ ท างวิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี ได้ รั บ การต่ อ ยอดความรู้ อ ย่ า งสู ง มี ก าร พัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งประกอบ ด้วยเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยี สือ่ สารโทรคมนาคม คอมพิวเตอร์ชว่ ยให้ มนุษย์มีศักยภาพและความสามารถมากขึ้น ในทุกด้าน มนุษย์สามารถบันทึกข้อมูลต่างๆ ได้ เ ป็ น จำนวนมากและสามารถนำข้ อ มู ล เหล่านัน้ มาจัดประมวลให้เป็นสารสนเทศใน
“
คลืน่ ลูกทีห่ นึง่ สังคมเกษตรกรรม (Agricultural Society) เริม่ เมือ่ ประมาณ 8,000 ปี ก่อนคริสตกาล เป็นสังคมทีเ่ ป็น ผลมาจากการปฏิวตั เิ กษตรกรรม สิง่ ทีเ่ ป็น เครื่องชี้วัดถึงความยิ่งใหญ่หรือความเจริญ ก้าวหน้าของสังคมในยุคนีก้ ค็ อื การมีอาณาเขตทีก่ ว้างขวาง มีพน้ื ทีท่ ก่ี ว้างใหญ่สำหรับ การเพาะปลูกและเลีย้ งสัตว์ ประชาชนจะมี ชีวติ ที่ใกล้ชดิ กับธรรมชาติ และมีครอบครัว อยูร่ วมกันเป็นปึกแผ่น คลืน่ ลูกทีส่ อง สังคมอุตสาหกรรม (Industrial Society) เริม่ เมือ่ ประมาณ ค.ศ. 1650-1750 เป็นสังคมที่เป็นผลมาจากการ ปฏิวัติอุตสาหกรรม เป็นสังคมที่มีการใช้ เครื่ อ งจั ก รกลและมี โ รงงานขนาดใหญ่ สำหรับผลิตสินค้าจำนวนมากเพื่อมวลชน เป็นสังคมที่ใช้เวลาประมาณ 300 ปีในการ ก่อตัว สิง่ ทีเ่ ป็นเครือ่ งชีว้ ดั ถึงความยิง่ ใหญ่ และมั่งคั่งของประเทศในยุคนี้ก็คือ ความ อุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรธรรมชาติและ
เครื่องชี้วัดความยิ่งใหญ่และความมั่งคั่งสำหรับสังคมใน ยุคนี้ก็คือ ความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยีของประเทศ และ อำนาจในการเข้าถึงและการใช้ประโยชน์จากข้อมูลข่าวสาร
บทบาทของ ไอซีที ที่มีต่อสังคมไทยปัจจุบัน
52 วารสารแสงธรรมปริทัศน์ ฉบัับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2011/2554
รูปแบบต่างๆ ดังนัน้ เครือ่ งชีว้ ดั ความยิง่ ใหญ่ และความมั่งคั่งสำหรับสังคมในยุคนี้ก็คือ ความเจริ ญ ก้ า วหน้ า ทางเทคโนโลยี ข อง ประเทศ และอำนาจในการเข้าถึงและการใช้ ประโยชน์จากข้อมูลข่าวสาร เทคโนโลยีสารสนเทศคืออะไร ก่อนที่จะทำความเข้าใจว่าเทคโนโลยี กั บ ข้ อ มู ล ข่ า วสาร หรื อ ที่ เ ราเรี ย กว่ า สารสนเทศนั้น มีความสัมพันธ์กันอย่างไร เราก็จะต้องเริ่มต้นจากการพิจารณาความ หมายของเทคโนโลยี ว่ า มี ค วามหมายว่ า อย่างไรเสียก่อน พจนานุกรมไทยฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 ได้นยิ ามคำว่า เทคโนโลยี ไว้วา่ เทคโนโลยี น.วิทยาการทีน่ ำความรูท้ าง วิทยาศาสตร์มาใช้ให้เกิดประโยชน์ ในทาง ปฏิบตั แิ ละอุตสาหกรรม ส่วนพจนานุกรม Webster ค.ศ. 1994 ก็ได้ให้คำนิยาม คำว่า เทคโนโลยีไว้ ดังนี้
บทบาทของ ไอซีที ที่มีต่อสังคมไทยปัจจุบัน
1.) ก. การใช้ทางวิทยาศาสตร์ โดย เฉพาะอย่างยิ่งเพื่อวัตถุประสงค์ของด้าน อุตสาหกรรมและพานิชยกรรม ข. องค์รวมทั้งหมดของวิธีการ และวัสดุท่ีใช้เพื่อบรรลุตามวัตถุประสงค์ท่ี ตัง้ ไว้ 2.) องค์ความรูท้ ม่ี อี ยู่ในอารยธรรม เพื่อใช้ในการเพิ่มพูนฝึกหัดด้านศิลปะและ ทักษะ ความชำนาญเพือ่ ให้ ได้มาซึง่ วัสดุ หากพิจารณาคำนิยามของเทคโนโลยี ทัง้ จากพจนานุกรมไทยฉบับราชบัณฑิตยสถาน และจากพจนานุกรม Webster แล้ว ก็พอจะสรุปได้วา่ การทำงานโดยการ นำเทคโนโลยีมาใช้นน้ั ก็คอื การทำงานโดย การนำเอาความรู้ทางวิทยาศาสตร์มาประยุกต์ใช้เพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพ และประสิทธิผลในงานนั้นๆ เพื่อให้เกิดผลดีมากยิ่งขึ้น และถ้าหากเรานำเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้ ในงานด้านใด เราก็จะเรียกว่าเทคโนโลยีใน ด้านนัน้ ๆ ยกตัวอย่างเช่น หากเรานำเทคโนโลยีมาใช้ทางด้านการเกษตร เราก็จะเรียกว่า เทคโนโลยีทางการเกษตร หรือถ้าเรานำเทคโนโลยีมาใช้ทางด้านสารสนเทศ เราก็ เรียกว่า เทคโนโลยีสารสนเทศ เป็นต้น
53
เมื่อเข้าใจความหมายของเทคโนโลยีแล้ว ต่อไปเราก็จะมาพิจารณาความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศว่ามีความหมายว่าอย่างไร ในวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี ให้ ความหมายของเทคโนโลยี ส ารสนเทศ หมายถึง เทคโนโลยี สำหรับการประมวลผลสารสนเทศ ซึ่ง ครอบคลุ ม ถึ ง การรั บ การส่ง การแปลง การจัดเก็บ การประมวลผลและการสืบค้นสารสนเทศ โดยมีองค์ประกอบ 3 ส่วน คือ คอมพิวเตอร์ การสือ่ สาร และสารสนเทศ ซึง่ ต้องอาศัยการทำงาน ร่วมกัน ส่วนระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการส่งเสริม การพัฒนาเทคโนโลยี สารสนเทศ พ.ศ.2535 ได้ให้คำนิยาม เทคโนโลยีสารสนเทศไว้วา่ หมายถึง ความรู้ ในผลิตภัณฑ์ หรือในกระบวนการดำเนินงาน ใดๆ ทีอ่ าศัยเทคโนโลยีทางด้านคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์ (Software) คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ (Hardware) การติดต่อสือ่ สาร การรวบ รวมและการนำข้อมูล มาใช้อย่างทันการเพือ่ ให้เกิดประสิทธิภาพ ทั้งทางด้านการผลิต การบริการ การบริหาร และการดำเนินงาน รวมทัง้ เพือ่ การศึกษาและการเรียนรู้ ซึง่ จะ ส่งผลต่อความได้เปรียบทางด้านเศรษฐกิจ
การค้า การพัฒนาคุณภาพชีวติ และคุณภาพ ของประชาชนในสังคม ทีม่ าของคำว่า ไอซีที (ICT) I มาจาก Information สารสนเทศ, สารนิเทศ ในบางครัง้ หมายถึงข้อมูล C มาจาก Communication การสือ่ สาร T มาจาก Technology เทคโนโลยี ไอซีที จึง หมายถึง การผสมผสาน เทคโนโลยีสารสนเทศ เข้ากับระบบสือ่ สาร โทรคมนาคมทีค่ รอบคลุมระบบสือ่ สาร อัน ประกอบไปด้วย วิทยุ โทรทัศน์ โทรศัพท์ เครือ่ งมือการสือ่ สารอืน่ ๆ กับระบบคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์ ฐานข้อมูลและบริการ สารสนเทศ ตลอดจนระบบเครือข่ายโทรคมนาคมจำนวนมากที่เชื่อมโยงติดต่อกัน และใช้รว่ มกันได้ สังคมไทย : สังคมของการผสมผสานกัน ของคลืน่ สามลูก ในขณะที่ทอฟฟเลอร์ ได้วิเคราะห์ ว่ า สั ง คมโลกในขณะนี้ ก ำลั ง เข้ า สู่ ยุค ของ คลื่น ลู ก ที่ส ามหรื อ สั ง คมแห่ งโลกาภิ วัต น์ (Globalization) ถ้าหากเราวิเคราะห์ประเทศไทยของเรา เราก็จะพบว่า ประเทศของ
บทบาทของ ไอซีที ที่มีต่อสังคมไทยปัจจุบัน
54 วารสารแสงธรรมปริทัศน์ ฉบัับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2011/2554
เรานั้นกำลังเผชิญอยู่ในคลื่นสังคมทั้งสาม ลู ก ในเวลาเดี ย วกั น ประชากรของไทย ประมาณ ร้อยละ 60 อยู่ในสังคมเกษตร ในขณะเดียวกัน ก็มอี กี หลายจังหวัด เช่น ชลบุรี ระยอง สระบุรี อยุธยา ล้วนเป็นทีต่ ง้ั ของโรงงานอุตสาหกรรมจำนวนมากมาย และประชากรในย่านเหล่านั้นต่างก็เปลี่ยน จากการทำงานเกษตรไปเป็นคนงานในโรงงานอุตสาหกรรม ในขณะเดียวกัน ประเทศ ไทยก็ตอ้ งเปิดตัวรับความก้าวหน้าของเทคโนโลยีข้ันสูง ต้องเปิดกว้างด้านเครือข่าย ทางการสื่ อ สารและการเชื่ อ มสั ง คมไทย เข้ากับสังคมโลกทั้งในด้านเศรษฐกิจและ การค้า สังคมปัจจุบันจึงเป็นสังคมไร้พรม แดน เพราะเรือ่ งราวของประเทศหนึง่ สามารถ กระจายแพร่ออกไปยังประเทศต่างๆ ได้ อย่างรวดเร็ว ผูค้ นไม่วา่ จะอยูส่ ว่ นใดของโลก
“
ก็สามารถรับทราบข้อมูลข่าวสารต่างๆ ทีอ่ ยู่ ไกลออกไปได้ตลอดเวลา ถึงแม้ว่าสังคมไทยจะเป็นสังคมที่ ผสมผสานกันของคลื่นสามลูกแต่เราก็ต้อง ยอมรับว่า สังคมแห่งโลกาภิวตั น์นน้ั เป็น ยุ ค ที่ก ารเปลี่ย นแปลงทางเศรษฐกิ จ และ สังคมเป็นไปอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะการ เปลี่ยนแปลงที่เกิดจากพลังขับเคลื่อนของ เทคโนโลยีสารสนเทศกับเทคโนโลยีการ สือ่ สาร กับการผสมผสานของสือ่ มวลชนใน ลักษณะใหม่ๆ ทำให้อนิ เตอร์เน็ต (Internet) และสื่ออย่างใหม่ได้เข้ามามีอิทธิพลต่อการ ติดต่อสื่อสารของมนุษ ย์ ในสังคมปัจจุบัน เป็นอย่างมาก รวมทัง้ สังคมไทยด้วย อิทธิพลของ ไอซีที ต่อสังคมไทย การให้บริการด้านการสื่อสารของ ไทยในอดี ต ที่ ค นไทยเราถื อ ว่ า ทั น สมั ย ที่
เราก็ต้องยอมรับว่า สังคมแห่งโลกาภิวัตน์นั้น เป็นยุคที่การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคมเป็นไปอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะการเปลี่ยนแปลงที่เกิดจากพลังขับเคลื่อน ของเทคโนโลยีสารสนเทศกับเทคโนโลยีการสื่อสาร...
“
บทบาทของ ไอซีที ที่มีต่อสังคมไทยปัจจุบัน
55
สุดนัน้ คือ บริการโทรเลข โดยบริการ โทรเลขนี้ ได้เริ่มขึ้นในช่วงต้นของรัชกาลที่ 5 หรือประมาณ พ.ศ. 2418 หน่วยราชการ ที่ ไ ด้ รับ มอบหมายให้ ดูแ ลกิ จ การโทรเลข เป็นหน่วยแรกก็คอื กรมกลาโหม ซึง่ กรม กลาโหมก็ ไ ด้เริ่มต้นด้วยการก่อ สร้า งเสา โทรเลขจากกรุงเทพมหานครไปยังปากน้ำ (สมุทรปราการ) ต่อมา ในปี พ.ศ. 2426 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 5) ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า โปรดกระหม่อม ให้ตง้ั กรมโทรเลขขึน้ เพือ่ รับช่วงงานต่อจากกรมกลาโหม ทำให้กจิ การ โทรเลขของประเทศไทยพั ฒ นาขึ้น อย่ า ง รวดเร็ว เสาโทรเลขของประเทศไทยในยุค แรกๆนั้น มั ก จะสร้า งคู่กันไปกับทางรถไฟ ด้วยเหตุน้ีเองการส่งโทรเลขในยุคแรกๆจึง มักจะไปสูพ่ น้ื ทีท่ ม่ี รี ถไฟไปถึงเท่านัน้ ต่อมา ในสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้า อยูห่ วั (รัชกาลที่ 6) และพระบาทสมเด็จ พระปกเกล้าเจ้าอยูห่ วั (รัชกาลที่ 7) ได้ เปลี่ยนแปลงเป็นระบบวิทยุจึงทำให้โทรเลข ของไทยส่งได้เกือบทุกพืน้ ที่ และในปี พ.ศ. 2471 ก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครอง เพียงไม่ก่ีปี ประเทศไทยก็สามารถรับและ ส่งโทรเลขติดต่อกับทวีปยุโรปได้โดยตรง และได้หลายประเทศ โทรเลขในทรรศนะ
ของชาวบ้านในยุคก่อน ก็คอื จดหมายที่ เป็นข้อความสัน้ ๆ และอ่านพอเข้าใจ แต่ เป็นการสือ่ สารที่ไปได้ดว่ นมาก ถ้าส่งตอน เช้าอาจจะไปถึงตอนเย็นหรือเร็วกว่านั้นอีก การสื่อสารโทรเลขนั้นอยู่ค่เู มืองไทยมานาน ถึง 133 ปี แต่ตอ้ งถูกยกเลิกไป เมือ่ วันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2551 สาเหตุทต่ี อ้ งยก เลิกนัน้ ก็มหี ลายสาเหตุ แต่สาเหตุทส่ี ำคัญ ทีส่ ดุ ก็คอื ปัจจุบนั นีเ้ ทคโนโลยีนน้ั พัฒนาไป อย่างรวดเร็วจนเกิดบริการโทรคมนาคม ต่างๆ ทีม่ ปี ระสิทธิภาพ มีความสะดวก รวดเร็ว และสามารถเข้าถึงประชาชนได้หลาย ประเภทมากขึน้ เช่น โทรศัพท์มอื ถือและ อีเมล จึงทำให้ประชาชนสามารถติดต่อสือ่ สารกันได้สะดวกและคล่องตัวมากขึ้นกว่า การใช้บริการโทรเลข ดังนัน้ บริการโทรเลข จึงมีความสำคัญน้อยลงและส่งผลให้ยอด ผูใ้ ช้บริการลดลงจนเกือบหมด แม้วา่ ในปี พ.ศ. 2531 ได้มกี ารปรับปรุงระบบการส่ง โทรเลขครัง้ ใหญ่ ด้วยการใช้ระบบดาวเทียม และเชื่อมต่อทั่วประเทศได้อย่างกว้างขวาง แต่ ในที่สุดก็ต้องแพ้ให้กับสื่ออื่นๆดังที่ ได้ กล่าวมาแล้ว และก็ตอ้ งปิดตัวเองลง จากเหตุผลที่สำคัญของการที่การ สื่อสารโทรเลขของไทยเราต้องปิดตัวเอง ลง เนื่องจากมีบริการโทรคมนาคมต่างๆ ที่
บทบาทของ ไอซีที ที่มีต่อสังคมไทยปัจจุบัน
56 วารสารแสงธรรมปริทัศน์ ฉบัับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2011/2554
มีประสิทธิภาพ รวดเร็วและสะดวกกว่าเข้า มาแทนทีน่ น้ั เป็นสิง่ ทีค่ นในยุคแห่งสังคม สารสนเทศไม่อาจจะปฏิเสธได้ ทัง้ นีเ้ ราต้อง ยอมรับว่าความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศนัน้ เป็นไปอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะ เทคโนโลยีดา้ นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ทีม่ ี การพัฒนาหลายรูปแบบ มีการใช้งานครอบ คลุมพืน้ ทีแ่ ละมีจำนวนคนใช้งานมาก และ แนวโน้มเครือข่ายคอมพิวเตอร์ท่ีเรียกว่า อินเตอร์เน็ต นัน้ ก็มอี ตั ราการเจริญสูงสุด สถิตขิ องกระทรวงพาณิชย์ ในประเทศสหรัฐอเมริกาได้ระบุไว้วา่ วิทยุนน้ั ใช้ เวลา 38 ปี เพือ่ ให้คน 50 ล้านคน ได้มีโอกาส รับฟังรายการจากเครือ่ งรับวิทยุ อย่างทัว่ ถึง ส่วนโทรทัศน์นน้ั ใช้เวลาเพียง 13 ปี เพือ่ ให้ ไปถึงจุดนัน้ คอมพิวเตอร์ก็ใช้เวลา 16 ปี เพือ่ ให้คนจำนวนไม่นอ้ ยกว่า 50 ล้านคน ได้ใช้งานอย่างแพร่หลาย ในขณะที่ระบบ อินเตอร์เน็ตนัน้ ใช้เวลาเพียงแค่ 4 ปี เท่านัน้ เพือ่ ให้ ไปได้ถงึ จุดหมายดังกล่าว อินเตอร์เน็ต : พระเอก หรือ ผูร้ า้ ย? “อินเตอร์เน็ต” เป็นนวัตกรรมการ สื่อสารที่เติบโตและได้รับความนิยมอย่าง รวดเร็วมาก เนื่องจากมันทำให้ผู้ใช้ ได้รับ ความสะดวกสบาย รวดเร็วและประหยัดค่า บทบาทของ ไอซีที ที่มีต่อสังคมไทยปัจจุบัน
ใช้จา่ ยในการสือ่ สารมากกว่าสือ่ ประเภทอืน่ ๆ เช่น สือ่ บุคคล สือ่ สิง่ พิมพ์ สือ่ อิเล็กทรอนิกส์ (วิทยุ โทรทัศน์ โทรศัพท์ โทรสาร) นอก จากนี้ อินเตอร์เน็ตยังมีความสามารถทีจ่ ะ เผยแพร่ข่าวสารในลักษณะของสื่อประสม (Multimedia) นัน่ คือ สามารถสือ่ ความหมายได้ท้ังในรูปแบบของข้อความ เสียง ภาพนิง่ และภาพเคลือ่ นไหว อินเตอร์เน็ต เป็นศูนย์รวมความคิดเห็นจากทุกมุมโลก เป็นศูนย์รวบรวมและเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารที่มีขนาดใหญ่ท่สี ุดซึ่งทำให้เกิดการแลก เปลีย่ นข้อมูลระหว่างวงการต่างๆ ในสังคม เช่น วงการเศรษฐกิจ การเมือง วัฒนธรรม การศึกษา การทหาร การคมนาคม และ การสือ่ สาร เป็นต้น อินเตอร์เน็ต เป็นนวัตกรรมทีส่ ำคัญ ในการแลกเปลีย่ นข้อมูลข่าวสาร เป็นเทคโนโลยีทางการสื่อสารที่มีบทบาทในสังคม โลกอย่างกว้างขวาง และสามารถตอบสนอง วัตถุประสงค์ ในการใช้งานได้ในทุกรูปแบบ ในประเทศไทยของเราก็ ได้ใช้อินเตอร์เน็ต ในหลายๆ ด้ า น ไม่ ว่ า จะในด้ า นภาครั ฐ (e-Government) ด้านพาณิชย์ (e-Commerce) ด้านอุตสาหกรรม (e-Industry) ด้านการศึกษา (e-Education) และด้าน สังคม (e-Society)
57
ผู้เขียนจะขอยกตัวอย่างของการ นำอินเตอร์เน็ตมาใช้ในงานภาครัฐ ทีเ่ ราจะ เห็นได้ชดั เจน ก็คอื การทีห่ น่วยราชการ ต่างๆได้จัดทำฐานข้อมูลงานทะเบียนของ แต่ ล ะหน่ ว ยงานไว้ ใ นระบบคอมพิ ว เตอร์ และสามารถเชือ่ มโยงระบบข้อมูลกับหน่วยงานอื่ น ๆได้ ด้ ว ยเลขประจำตั ว ประชาชน โดยหลักการนี้หน่วยงานภาครัฐจะสามารถ แลกเปลี่ยนและใช้ประโยชน์จากข้อมูลพื้นฐานร่วมกันได้ และในการนี้ หน่วยงานต่างๆ ของภาครัฐได้มีการวางแผนกำหนดนโยบายและแผนงานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล งานทะเบียนขึน้ อย่างเป็นระบบ เพือ่ เป็นการ ลดความซ้ำซ้อนและช่วยให้ประหยัดค่าใช้ จ่าย และเป็นการให้บริการแบบเบ็ดเสร็จ การบริการแบบเบ็ดเสร็จนีจ้ งึ ช่วยให้ประชาชนได้ รั บ ความสะดวกสบายมากขึ้ น เมื่ อ ประชาชนมาติดต่อหน่วยราชการ ก็สามารถ มารับบริการจากหน่วยราชการต่างๆได้ ณ ที่แห่งเดียว โดยไม่ต้องเดินทางไปติดต่อ ส่ ว นงานราชการหลายๆแห่ ง นอกจากนี้ หากประชาชนต้องการทราบข้อมูลทางด้าน บริการภาครัฐของไทย รวมถึงข้อมูลข่าวสาร ทางการเมืองของไทย เราก็สามารถเข้าไปยัง เว็บไซต์ได้หลายเว็บไซต์ ตัวอย่างเช่น www. khonthai.com ซึง่ จัดทำและดูแลโดยกระ-
ทรวงมหาดไทย เพือ่ ให้บริการแก่ประชาชน ทัว่ ไป ในเว็บไซต์ดงั กล่าวนีเ้ ราสามารถเข้าไป ตรวจสอบข้อมูล พิมพ์คำร้อง เช่น บัตร ประจำตัวประชาชน การตัง้ ชือ่ สกุล เป็นต้น ในกระบวนการยุติธรรมของไทยใน ปัจจุบนั ก็ มีการสืบพยาน การฝากขัง การ เยีย่ มญาติผา่ นระบบออนไลน์ นอกจากนี้ ยังได้มกี ารพัฒนา ระบบเว็บคอนเฟอร์เรนซ์ มาให้บริการแก่สถานีตำรวจและศาลจังหวัด เพื่ อ ช่ ว ยในเรื่ อ งของการประชุ ม ระหว่ า ง ตำรวจ และศาล ในกรณีของการฝากขังผู-้ ต้องหาต่อก็จะได้ ไม่ต้องนำบุคคลทั้งหมด ไปทีศ่ าล วิธนี ส้ี ามารถแก้ปญ ั หาการชิงตัว นักโทษและยังเป็นการช่วยประหยัดค่าใช้ จ่ายในการเดินทางอีกด้วย ที่กล่าวมานี้เป็นเพียงตัวอย่างของ การนำเอาอินเตอร์เน็ตมาใช้ในงานภาครัฐ
บทบาทของ ไอซีที ที่มีต่อสังคมไทยปัจจุบัน
58 วารสารแสงธรรมปริทัศน์ ฉบัับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2011/2554
ของไทย ซึง่ ช่วยให้หน่วยราชการของไทย สามารถให้บริการแก่ประชาชนได้สะดวก และรวดเร็วขึน้ จากการทำงานทีม่ ปี ระสิทธิภาพของหน่วยราชการของไทย ดังตัวอย่าง ทีก่ ล่าวมานี้ ทำให้เมือ่ วันที่ 3 มิถนุ ายน 2552 สำนักข่าวต่างประเทศ ได้รายงานว่า บริษัท ทีป่ รึกษาความเสีย่ งทางการเมืองและเศรษฐกิจ (เพิรค์ ) ซึง่ มีสำนักงานใหญ่อยูท่ ฮ่ี อ่ งกง ได้ จั ด อั น ดั บ ความมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพระบบ ข้าราชการในเอเชีย ได้จดั ให้ ไทยอยูใ่ นอันดับ ที่สาม ในการจัดอันดับประสิทธิภาพของ ระบบราชการในเอเชียของเพิรค์ นัน้ ได้เรียง ตามลำดั บ จากมากไปหาน้ อ ย ดั ง นี้ คื อ สิงคโปร์ ฮ่องกง ไทย เกาหลีใต้ ญีป่ นุ่ มาเลเซีย ไต้หวัน เวียดนาม จีน ฟิลปิ ปินส์ อินโดนีเซีย และอินเดีย ในด้ านพาณิชย์เราก็จ ะพบว่า คน ไทยนิยมทำธุรกรรมออนไลน์กนั มากขึน้ เช่น การโอนเงินเข้าบัญชีเงินฝากผ่าน Internet Banking ซึง่ มีความสะดวกสบาย รวดเร็ว และประหยัดค่าใช้จา่ ยในการเดินทาง มีการ ซื้ อ ของผ่ า นอิ น เตอร์ เ น็ ต ซึ่ ง ก็ ใ ช้ เ พี ย งแค่ ข้อมูลในบัตรเครดิต ก็สามารถสัง่ ซือ้ ของได้ อย่างง่ายดาย ในด้านการศึกษา ก็ได้มกี ารนำเทคโนโลยีการสือ่ สารมาช่วยในการขยายโอกาส
บทบาทของ ไอซีที ที่มีต่อสังคมไทยปัจจุบัน
ทางการศึกษาให้กับผู้เรียนให้สามารถเรียน รู้ ได้อย่างต่อเนือ่ งตลอดชีวติ วีดีโอคอนเฟอร์เรนซ์ เป็นเทคโนโลยีการสือ่ สารทีช่ ว่ ย ให้ผสู้ อนสามารถสอนได้หลายทีพ่ ร้อมๆ กัน แบบเห็นหน้า โดยทีผ่ เู้ รียนสามารถโต้ตอบ กั บ ผู้ ส อนได้ ทั น ที รวมไปถึ ง ยั ง สามารถ ประยุกต์อปุ กรณ์การเรียนการสอน อย่าง เช่น เครือ่ งเล่นวีดีโอ และสือ่ บนคอมพิวเตอร์ตา่ งๆ เพือ่ แลกเปลีย่ นระหว่างผูเ้ รียน กับผูส้ อนได้เป็นอย่างดี นอกจากนีเ้ ทคโนโลยีอนิ เตอร์เน็ตยังเพิม่ ช่องทางการเรียนให้ กับผู้เรียนที่ไม่สะดวกในการเข้าเรียนในชั้น เรียนได้เรียนจากเว็บในการเรียนแบบออนไลน์ หรือสามารถเก็บบันทึกไว้เป็นวีดีโอ ให้ผู้เรียนสามารถเข้าไปเปิดเรียนวิชาต่างๆ ได้ทกุ เวลาอีกด้วย
59
ภัยทีม่ ากับอินเตอร์เน็ต เราได้ เ ห็ น ถึ ง บทบาทและความ สำคัญของคอมพิวเตอร์และอินเตอร์เน็ตซึ่ง ได้กลายมาเป็นส่วนหนึ่งในชีวิตประจำวัน ของคนในสังคมไทยไปแล้วและจากความ สำคั ญ และประโยชน์ ท่ี ม ากมายที่ ม ากั บ ไอซีทนี ้ี มันก็ได้แฝงภัยอันยิง่ ใหญ่ให้กบั ผู้ ที่ใช้ ไอซีที อย่างมากมาย เช่นกัน สำหรับ ผูท้ ร่ี เู้ ท่าไม่ถงึ การณ์ โดยเฉพาะอย่างยิง่ เด็ก และเยาวชนไทยที่ไม่ได้รบั การแนะนำ การใช้ ไอซีที ทีถ่ กู ต้องจากบิดามารดา หรือครูบาอาจารย์ หากเราจะกล่าวถึง ภัยทีม่ ากับ ไอซีที และส่งผลกระทบต่อบุคคลและสังคมไทย นัน้ เราสามารถจะแบ่งได้ดงั นีค้ อื 1. ภัยจากเนื้อหาในอินเตอร์เน็ต เมื่ออินเตอร์เน็ตเป็นแหล่งที่รวบรวมเนื้อหา ข้อมูล รูปภาพ และความคิดเห็นจากผูค้ น ทัว่ โลก ดังนัน้ จึงมีทง้ั ข้อมูลทีส่ ร้างสรรค์ เป็นประโยชน์และข้อมูลทีเ่ ป็นอันตราย เช่น มีการเผยแพร่ สิง่ พิมพ์ รูปภาพ หรือโฆษณา วัตถุลามก อนาจาร ผิดกฎหมาย มีเนือ้ หา ทางเพศที่โจ่งแจ้ง ผิดศีลธรรม หรืออาจจะ มีเนื้อหาที่ยุยงหรือก่อให้เกิดความแตกแยก ในสั ง คม ผู้ อ่ า นจึ ง ต้ อ งใช้ วิ จ ารณญาณ ทุกครัง้ ทีอ่ า่ นข้อความทีเ่ จอบนอินเตอร์เน็ต
2. ภัยจากการแชท (Chat) หลอก ลวง จากรายงานการวิจยั ของนักวิจยั ซึง่ ร่วมมือกันระหว่างสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัยกับคณะวิจัยจากโรงเรียนนาย ร้อยตำรวจ พบว่า รูปแบบการหายของ บุคคลนัน้ มีหลายรูปแบบ และหนึง่ ในรูปแบบ ของการหายของบุคคลนัน้ เป็นการหายที่ เกิดจากการแชททางอินเตอร์เน็ต ผลการ วิจยั ยังพบอีกว่า แนวโน้มของผูเ้ สียหาย นั้นมาจากเด็กที่มีพฤติกรรมชอบเล่นเกม อินเตอร์เน็ต เล่นแชทออนไลน์หาคู่ หรือ การเข้าไปเปิดอีเมลเพื่อหาเพื่อนต่างเพศ และเด็กทีม่ ปี ญ ั หาทางครอบครัว ซึง่ ส่วนใหญ่ จะพบว่ า เด็ ก เหล่ า นี้ จ ะเก็ บ ตั ว ไม่ ค่ อ ยมี เพือ่ น ไม่ยอมคบหากับใคร และมีโลกใน จินตนาการสูง ด้วยเหตุนเ้ี องเด็กเหล่านี้ จึงเป็นกลุ่มเป้าหมายของอาชญากรได้ง่าย โดยคนร้ายบางกลุ่มอาจจะใช้เว็บบอร์ดเป็น
บทบาทของ ไอซีที ที่มีต่อสังคมไทยปัจจุบัน
60 วารสารแสงธรรมปริทัศน์ ฉบัับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2011/2554
“
เตอร์จนไม่ยอมเรียนหนังสือ ไม่ยอมทำการ บ้าน จนผลการเรียนตกต่ำ ทำให้เกิดภาวะ เครียดจนต้องฆ่าตัวตายในทีส่ ดุ ส่วนสาเหตุ ที่ เ ด็ ก ติ ด เกมนั้ น มี ผู้ ส รุ ป ไว้ ว่ า มาจาก ปัจจัยทีส่ ำคัญสามประการ คือ ประการ แรกมาจากการที่เด็กพยายามสร้างตัวตน ขึน้ มาในโลกเสมือน (Virtual World) เพราะ ว่าในโลกเสมือนนี้ หากใครเล่นเก่งก็จะเป็น ทีย่ อมรับ จึงทำให้เด็กเกิดความภาคภูมิใจ ในตนเอง รูส้ กึ ว่าตนเองมีคณ ุ ค่า เมือ่ เล่น ไปมากๆเข้ า ก็ เ กิ ด ภาวะของการติ ด เกม ปัจจัยทีส่ องนัน้ มาจากความอบอุน่ ในครอบครัว ถ้าหากในครอบครัวมีความอบอุน่ น้อย เด็กก็จะไปแสวงหาที่พักพิงทางใจจากที่อ่ืน การเล่นเกมจึงเป็นหนทางหนึ่งที่จะทำให้ เด็กได้รับความสนุกสนานและเพลิดเพลิน จนถึงขัน้ ไม่อยากหยุดเล่น จนเกิดสภาวะ ของการติดเกม จนส่งผลให้รา่ งกายอ่อนล้า เกิดความตึงเครียด และส่งผลต่อจิตใจ คือ
“
เครื่อ งมื อ ในการโพสต์ ข้อ ความที่ห ลากหลาย เช่น “น้องมีเงินเดือนพอใช้ ไหม” หรือ “ให้พช่ี ว่ ยทำการบ้านไหม” บางคนหลง เชือ่ ยอมไปพบคนร้าย บางคนถูกข่มขืน ถูก ทำร้าย หรือถูกลักตัวไปขายบริการทางเพศ ดังปรากฏเป็นข่าวอยูเ่ สมอๆ 3. ปัญหาเด็กติดเกมจากคอมพิวเตอร์ หรืออินเตอร์เน็ต ประเทศไทยถูกจัด ให้เป็นแชมป์อนั ดับสองของเอเชีย ในการ เล่นเกมออนไลน์ เราได้เห็นข่าวอาชญากรรม และข่ า วการฆ่ า ตั ว ตายของเด็ ก วั ย รุ่ น ที่ ติ ด เกมว่ า มี อั ต ราที่ สู ง ขึ้ น ในสั ง คมไทย ตัวอย่างเช่น เราพบข่าวของเด็กวัยรุน่ สอง คนทีม่ อี ายุ 16 ปี และ 18 ปี เดินสะกดรอย ตามผู้ชายคนหนึ่งแล้วเอาไม้ฟาดชายคน นัน้ จนเลือดอาบและสลบไป เพือ่ จะกระชาก เอาสร้อยคอและพระเครื่องของชายผู้น้นั ไป ขายเพือ่ จะเอาเงินมาเล่นเกม หรือข่าวของ เด็ก ม.6 ทีย่ งิ ตัวตายเพราะติดเกมคอมพิว-
ประเทศไทยถูกจัดให้เป็นแชมป์อันดับสองของเอเชีย ในการเล่นเกมออนไลน์ และพบว่า เด็กไทยร้อยละ 43 เคยโดนรังแกผ่านโลกไซเบอร์ (Cyber World) ที่เกิดขึ้นบนอินเตอร์เน็ต
บทบาทของ ไอซีที ที่มีต่อสังคมไทยปัจจุบัน
61
ทำให้มคี วามรักในความรุนแรง ก้าวร้าว และ ในกรณีท่ีบางครั้งเด็กไม่สามารถแยกความ จริงระหว่างโลกเสมือน หรือโลกของเกมกับ โลกแห่งความจริงได้ ก็จะส่งผลให้เกิดความ สับสนทางใจ จนนำไปสูก่ ารฆ่าตัวตายได้ใน ทีส่ ดุ ส่วนปัจจัยทีส่ ามนัน้ มาจากสิง่ แวดล้อม ซึง่ ได้แก่ เพือ่ น รวมถึงพัฒนาการของเกม กลุม่ เพือ่ นทีต่ ดิ เกม มักจะชวนกันไปเล่นเกม และสรรหาเกมทีม่ คี วามโหดร้าย หรือเกม พิสดารต่างๆมาให้แก่กนั และกัน เพือ่ ทดลองเล่นและแข่งขันกัน ซึง่ ก็จะนำไปสู่ พฤติกรรมทีก่ า้ วร้าว ถ้าติดเกมมากๆ เข้าก็ อาจจะหลงผิด ก่ออาชญากรรมปล้น จี้ หรือ ทำร้ายผูอ้ น่ื เพือ่ เอาเงินมาเล่นเกมหรือถ้าเกม ที่เล่นเป็นเกมที่มีเนื้อหาเกี่ยวข้องกับเซ็กซ์ ก็จะทำให้ผทู้ เ่ี ล่นเกิดความต้องการทางเพศ และอาจจะชักชวนกันไปมั่วเซ็กซ์ ในกรณี ที่เพื่อนผู้หญิงไม่ยินยอมก็อาจจะทำให้ก่อ คดีขม่ ขืนขึน้ อีก ผูเ้ ขียนจำได้วา่ ในยุคก่อนที่
ไอซีทีจะเข้ามามีบทบาทในสังคมไทยนั้น เด็กและเยาวชนไทยส่วนใหญ่จะมี โอกาส ได้เล่นกับกลุม่ เพือ่ นมากกว่าในยุคนี้ การ ละเล่ น ของเด็ กในยุ ค นั้น ที่ตัว ของผู้เ ขี ย น เองก็ เ คยมี ป ระสบการณ์ ไ ด้ เ ล่ น มาแล้ ว ก็ ได้แก่ การเล่นมอญซ่อนผ้า การเล่นรีรขี า้ วสาร การเล่นไล่จบั กับเพือ่ นๆ การเล่นตัง้ เต เป็นต้น การละเล่นเหล่านี้ นอกจากจะทำให้ ผูเ้ ล่นได้รบั ความสนุกสนานแล้ว ยังเป็นการ ฝึกฝนตนเองให้เรียนรู้วิธีการเข้าสังคมและ เป็นการเรียนรู้วิธีท่ีท่ีจะปรับตัวให้อยู่ร่วม กับผูอ้ น่ื ได้อย่างมีความสุขอีกด้วย ผูเ้ ขียน รู้สึกเสียดายแทนเด็กรุ่นใหม่ท่ี ไม่มี โอกาส ได้สัมผัสกับความสุขและความสนุกสนาน ในการเล่นกับเพือ่ นๆ ด้วยการละเล่นทีแ่ ทบ จะไม่ มี ผ ลร้ า ยกั บ เด็ ก ๆและเยาวชนเลย ปัญหาของการติดเกมในยุคไอซีทนี ้ี มิใช่ จะเป็นปัญหาที่เกิดขึ้นกับเด็กและเยาวชน เท่านัน้ แต่ยงั เป็นปัญหาทีเ่ กิดขึน้ กับผูใ้ หญ่
บทบาทของ ไอซีที ที่มีต่อสังคมไทยปัจจุบัน
62 วารสารแสงธรรมปริทัศน์ ฉบัับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2011/2554
ด้วยเช่นกัน ดังทีเ่ ราได้รบั ทราบจากข่าวที่ ปรากฏในสือ่ ต่างๆ ว่า มีผใู้ หญ่บางคนทีต่ ดิ เกมมากและเล่นติดต่อกันทัง้ วันทัง้ คืน ส่งผล ให้ บ างคนขาดอาหารจนตาย บางคนก็ หัวใจวายตาย หรือบางคนเล่นเกมแพ้จน เกิดความเครียดจัดจนยิงตัวตาย นอกจาก ปัญหาเด็กติดเกมแล้ว เมือ่ เร็วๆ นีเ้ อง ก็มี ข่ า วพาดหั ว ในหนั ง สื อ พิ ม พ์ ห น้ า แรกของ แทบทุกฉบับว่า มีรา้ นอินเตอร์เน็ตหลายแห่ง ที่ลัก ลอบเปิ ด บ่อ นเล่น การพนัน ออนไลน์ บางแห่ ง ตั้ ง อยู่ ใ กล้ ๆ สถานศึ ก ษาโดยที่ เจ้าของร้านได้ใช้วิธีการดึงดูดใจลูกค้าโดย จัดให้มีโปรโมชัน่ บริการเครือ่ งดืม่ และอาหาร ฟรีในร้าน ตลอด 24 ชัว่ โมง โดยมีใบปลิว แจกโปรโมทไปทัว่ และถ้าลูกค้าเล่นเสียก็มี บริการจำนำมือถือหรือรถจักรยานยนต์ ไว้ ก่อนได้ ข่าวแจ้งว่า มีนกั ศึกษาผูห้ ญิงบางคน ทีต่ ดิ การพนันออนไลน์ เนือ่ งจากเล่นง่าย ได้เงินเร็ว เมือ่ ทดลองเล่นครัง้ แรกๆ ก็ได้ เงินมาบ้าง แต่เมือ่ เล่นไปนานๆ จนติด ก็ เอาเงินที่พ่อแม่ให้มาใช้เพื่อการเรียนเอามา เล่นจนหมด สุดท้ายก็ไปยืมเงินจากเพือ่ นๆ ไปจนกระทัง่ ยืมเงินนอกระบบมาและเมือ่ หา เงินมาเล่นการพนันไม่ทนั จริงๆ จึงต้องหัน มาขายบริการทางเพศ ครัง้ ละ 1000-1500 บาท เพือ่ นำเงินมาเล่นการพนัน จนปรากฏ เป็นข่าวตามสือ่ มวลชนต่างๆ บทบาทของ ไอซีที ที่มีต่อสังคมไทยปัจจุบัน
4. ภั ย จากการถู ก กลั่น แกล้ ง ทาง อินเตอร์เน็ต เช่น การเอารูปเพือ่ นไปลงใน เว็ บ หาคู่ เนื่ อ งจากโกรธเพื่ อ น จึ ง ใช้ วิ ธี ระบายความโกรธด้วยการเอารูปเพือ่ น พร้อม ทัง้ ชือ่ และนามสกุลจริง ตลอดจนทีอ่ ยู่ เบอร์ โทรศัพท์และข้อมูลส่วนตัวของเพือ่ น ไป โพสต์ตามเว็บไซต์หาคู่ หรือ ฟรีเซ็กซ์ พอ โพสต์ได้ ไม่นาน เพือ่ นผูห้ ญิงทีถ่ กู กลัน่ แกล้ง ก็ถกู คุกคาม ทัง้ ทางโทรศัพท์ จดหมาย อีเมล รวมไปถึงมีผู้ชายไปดักรอทั้งที่หน้า บ้านหรือหน้าโรงเรียนเพื่อที่จะชักชวนไป ทำกิจกรรมที่ไม่ดี ทำให้เพือ่ นทีถ่ กู แกล้งนัน้ เกิดความหวาดกลัวและเสียขวัญ หรือใน ปัจจุบันนี้วัยรุ่นบางคนก็นิยมถ่ายวีดีโอของ ตัวเองขณะกำลังมีเซ็กซ์และถูกผู้ ไม่หวังดี กลัน่ แกล้งส่งภาพดังกล่าวนีผ้ า่ นอีเมล เพือ่ กลั่นแกล้งให้ ได้รับความอับอายเสื่อมเสีย หรือใช้เพื่อเป็นการแบล็กเมล์ในการต่อรอง ผลประโยชน์จากอีกฝ่ายหนึง่ จากผลการ วิจยั พบว่า เด็กไทยร้อยละ 43 เคยโดน รังแกผ่านโลกไซเบอร์ (Cyber World) ทีเ่ กิด ขึน้ บน อินเตอร์เน็ต ไม่วา่ จะเป็นการถูกนินทา การด่าทอ การส่งข้อความมารบกวน การ นำข้อมูลส่วนตัวไปเผยแพร่ ล้อเลียน ผ่าน ช่องทางสือ่ สารอิเล็กทรอนิกส์ คือ โทรศัพท์ มือถือ และอินเตอร์เน็ตจนผูถ้ กู กระทำได้รบั ความเสียหาย และมีเยาวชนเพียงร้อยละ
63
1.9 และ 4.9 เท่านัน้ ทีน่ ำเรือ่ งนี้ไปบอกครู และผูป้ กครอง ส่วนอีก 19.8 ได้นำเรือ่ งนี้ ไปบอกกับเพือ่ น การกลัน่ แกล้งกันทางอินเตอร์เน็ตนัน้ เกิดขึน้ บ่อยๆ เพราะสามารถทำ ได้งา่ ยและรวดเร็ว และส่วนใหญ่จะมาจาก คนใกล้ตวั และส่งผลร้ายทัง้ ทางร่างกายและ จิตใจของผูท้ ถ่ี กู กลัน่ แกล้ง รวมทัง้ ครอบครัว และคนรอบข้างเป็นอย่างมาก 5. ภัยจากการทำธุรกรรมออนไลน์ ในปัจจุบันมีผู้นิยมทำธุรกรรมออนไลน์กัน มากขึน้ ทัง้ นีเ้ พราะมีความสะดวก รวดเร็ว และประหยัดค่าใช้จา่ ยในการเดินทาง ด้วย เหตุนเ้ี องจึงมีกลุม่ ผู้ ไม่หวังดี หันมาปล้นเงิน ผ่านทางระบบออนไลน์กันมากขึ้นด้วยวิธีการล่อลวงแบบต่างๆ เช่น การส่งข้อความ อีเมลมาหลอกผูใ้ ช้บริการออนไลน์ตา่ งๆ โดย แอบอ้างว่าส่งมาจากธนาคาร หรือผูข้ าย สินค้าออนไลน์ เมือ่ เราหลงเชือ่ ก็จะติดต่อ กลับไป พร้อมทัง้ ใส่ขอ้ มูล ID และ Pass-
word ทำให้กลุม่ ผู้ ไม่หวังดีได้รหัสของเรา และนำรหัสของเราเข้าสู่ระบบขององค์กร เพื่อเอาเงินของเราหรือเพื่อเข้าไปทำลาย ระบบ 6. ภัยจากเครือข่ายสังคมออนไลน์ (Social Network) เช่น เว็บไซต์ Hi5 และ Facebook วัตถุประสงค์หลักของเว็บไซต์ ทั้งสองนี้มี ไว้เพื่อสร้างเครือข่ายสังคมที่ดี ช่ ว ยให้ ผู้ท่ี ไ ม่ ส ามารถออกจากบ้ า นได้ รับ ทราบข้อมูลข่าวสารต่างๆ หรือสามารถพูด คุ ย แลกเปลี่ ย นความคิ ด เห็ น ระหว่ า งผู้ ท่ี มีความสนใจตรงกัน เป็นต้น ดังทีเ่ ราก็คง จะพอทราบกันแล้วว่า ผูท้ เ่ี ริม่ ต้นคิดค้น Facebook ก็คอื มาร์ก ซัคเกอร์เบิรก์ (Mark Zuckerberg) ชาวอเมริกนั เชือ้ สายยิว ซึง่ เคย เป็นนักศึกษาทีม่ หาวิทยาลัยฮาร์เวิรด์ และ เริ่ ม เขี ย นโปรแกรมคอมพิ ว เตอร์ ต้ั ง แต่ เรียนอยูช่ น้ั ประถมศึกษาปีท่ี 6 เมือ่ เขาเรียน ที่ ฮ าร์ เ วิ ร์ ด ก็ ไ ด้ เ ริ่ ม ต้ น โครงการวิ จั ย ชื่ อ Coursematch ร่ ว มกั บ เพื่อ นในชั้น เรี ย น โครงการนี้ได้เปิดให้นักศึกษาสามารถดูราย ชือ่ เพือ่ นในชัน้ เรียนได้ ต่อมาก็มีโครงการ Facemash.com ซึง่ เป็นเว็บไซต์โหวตรูป นักศึกษาฮาร์เวิร์ดว่าใครได้รับความนิยม ชมชอบมากหรือน้อย แต่เมือ่ โครงการนี้ ของเขาออกมาให้บริการบนออนไลน์ได้ 4
บทบาทของ ไอซีที ที่มีต่อสังคมไทยปัจจุบัน
64 วารสารแสงธรรมปริทัศน์ ฉบัับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2011/2554
ชัว่ โมง เขาก็ถกู ทางมหาวิทยาลัยระงับการ ใช้อนิ เตอร์เน็ตของเขา ต่อจากนัน้ เขาก็ได้ เขียนโปรแกรม Facebook ในห้องพักของ เขา ซึง่ คราวนี้ไม่เพียงแต่โหวตรูปเท่านัน้ แต่สามารถโพสต์ข้อมูลของตนเองได้เท่าที่ ตนเองต้องการด้วย ปรากฏว่าได้รบั ความ นิยมสูงมาก ปัจจุบนั นีเ้ ขาเป็นทัง้ นักธุรกิจ และนักเขียนโปรแกรม และดำรงตำแหน่ง ประธานบริหารเว็บไซต์เฟสบุค๊ ( Facebook. com) และนิตยสาร Forbes ได้จดั ให้เขา เป็นเศรษฐีทร่ี วยเป็นอันดับที่ 785 ของโลก วัตถุประสงค์หลักของ Facebook นัน้ ก็คอื การสร้ า งเครื อ ข่ า ยทางสั ง คมให้ กั บ ผู้ ท่ี มี ความสนใจในเรื่องเดียวกันให้ ได้มี โอกาส แบ่งปันความรู้และประสบการณ์ซ่ึงกันและ กัน หากใช้อย่างถูกวิธกี จ็ ะเป็นประโยชน์แก่ ผูใ้ ช้เป็นอย่างมาก แต่ในสังคมไทยปัจจุบนั นี้ มีคนบางกลุม่ กลับใช้ Facebook และ Hi5 ไปใช้อย่างผิดวัตถุประสงค์ เช่น ใช้เพือ่ เป็น ช่องทางในการสร้างสังคมแห่งการนินทาว่า ร้ายผูอ้ น่ื ใส่รา้ ยซึง่ กันและกัน หรือแฝงไว้ ด้วยการยัว่ ยุตา่ งๆ หากผูอ้ า่ นที่ไม่มวี ฒ ุ ภิ าวะ มากพอ หรือขาดวิจารณญาณ ในการอ่าน เมื่ออ่านแล้วหลงเชื่อก็สามารถทำให้เกิด ปัญหาตามมาได้
บทบาทของ ไอซีที ที่มีต่อสังคมไทยปัจจุบัน
ปรากฏการณ์ ท่ี ผู้ เ ขี ย นกล่ า วมา ทั้ ง หมดนี้ เ ป็ น เพี ย งตั ว อย่ า งที่ เ กิ ด ขึ้ น ใน สังคมไทยในปัจจุบนั สังคมที่ ไอซีที ได้เข้า มามีบทบาทในชีวิตประจำวันของคนไทย ซึ่ ง มี ท้ั ง คุ ณ อนั น ต์ แ ละโทษอย่ า งมหั น ต์ เช่นเดียวกัน แต่เราก็ตอ้ งยอมรับว่า ใน ปัจจุบนั นี้ ไอซีที เป็นเครือ่ งมือทีส่ ำคัญทีเ่ รา มีความจำเป็นที่จะต้องเรียนรู้ถึงประโยชน์ ของมัน เพราะการใช้ ไอซีทีให้เป็นประโยชน์ นัน้ จะนำมาสูค่ วามรูแ้ ละการพัฒนาสังคม ต่อไป ในขณะเดียวกันหากเรานำมาใช้ใน ทางที่ ผิ ด ก็ จ ะก่ อ ให้ เ กิ ด ปั ญ หาดั ง ที่ ไ ด้ กล่าวมาแล้วข้างต้น ปัจจุบันนี้ในประเทศไทยก็ได้มีการ ออกกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีชน้ั สูงแล้ว นอกจากนี้ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กระทรวง วั ฒ นธรรม กระทรวงศึ ก ษาธิ ก ารและ กระทรวงสาธารณสุ ข ก็ ก ำลั ง ร่ ว มมื อ กั น เพื่อช่วยให้เยาวชนไทยได้มีโอกาสได้เข้าถึง เทคโนโลยีตา่ งๆ และใช้ ได้อย่างปลอดภัย ซึง่ แม้วา่ จะยังไม่เพียงพอ แต่ถา้ ทุกฝ่ายที่ เกี่ย วข้ อ งไม่ ว่า จะเป็ น ในภาครั ฐ หรื อ ภาค เอกชน รวมถึงสถาบันครอบครัว สถาบัน การศึกษา สถาบันศาสนา เป็นต้น ต่างให้
65
ความร่วมมือร่วมใจกันอย่างจริงจังแล้วก็พอ จะมีความหวังว่าได้วา่ ระบบโลกอินเตอร์เน็ต นั้ น จะเป็ น ที่ ท่ี ป ลอดภั ย สำหรั บ ทุ ก คน โดยเฉพาะอย่างยิง่ สำหรับบรรดาเด็กๆ และ เยาวชนทีเ่ ป็นอนาคตของชาติ บทสรุป เมือ่ เราไม่สามารถทีจ่ ะปฏิเสธความ สำคัญของ ไอซีที ทีม่ ตี อ่ สังคมไทย และ แม้ว่าปัญหาสังคมที่เกิดตามมาจากผลของ การใช้ ไอซีที จะกำลังได้รบั การป้องกันและ แก้ ไขจากหน่วยงานที่รับผิดชอบอยู่ก็ตาม แต่สง่ิ หนึง่ ทีผ่ เู้ ขียนคิดว่าเป็นหนทางป้องกัน และแก้ ไขทีย่ ง่ั ยืนก็คอื การปลูกฝังกระบวน การคิดที่ถูกต้องในการใช้ส่ือสารสนเทศทั้ง หลาย แนวคิดทีเ่ หมาะสมสำหรับสังคมไทย ในปัจจุบนั ก็คอื แนวคิดแห่งความพอเพียง ของในหลวงของเรา พระองค์ท่านได้ทรง สรุปแนวคิดนีว้ า่ “ความพอเพียงนีก้ แ็ ปลว่า ความพอประมาณและความมีเหตุผล” จาก หลักการนี้เราสามารถนำมาประยุกต์ ใช้ใน การดำเนินชีวติ ของเราได้เป็นอย่างดี ในยุค ไอซีที ก็เช่นกัน เยาวชนควร ได้รับการปลูกฝังแนวความคิดแห่งความ พอเพียงให้เข้าใจอย่างจริงจัง เพราะด้วย กระบวนการคิดแบบพอเพียงนี้จะช่วยให้
เยาวชนสามารถใช้เหตุผลในการแยกแยะ เพื่อที่จะเลือกใช้และเลือกรับข้อมูลข่าวสาร ทีเ่ ป็นประประโยชน์โดยไม่เบียดเบียนตนเอง และผูอ้ น่ื ผู้เขียนตระหนักดีว่าไม่ใช่เรื่องง่าย ทีจ่ ะให้เยาวชนทีก่ ำลังอยู่ในยุค ไอซีที เกิด การเปลี่ยนแปลงกระบวนการคิดและพฤติกรรมทีเ่ คยปฏิบตั อิ ยู่ แล้วหันมาปรับกระบวนการคิดแบบทีค่ วรจะเป็น การปรับกระบวนการคิดนั้นเป็นสิ่งที่ต้องใช้เวลาในการ ซึมซับ ต้องใช้เวลาในการวิเคราะห์ และกว่า จะถึงขั้นที่จะสามารถนำมาสังเคราะห์เพื่อ ใช้ในชีวติ ประจำวันให้ ได้นน้ั จะต้องใช้เวลา ในการปลูกฝังทีย่ าวนาน ซึง่ ผูเ้ ขียนก็ตระหนักดีวา่ คนทีอ่ ยู่ในยุค ไอซีที ทีม่ คี วาม คุ้ น เคยกั บ การสื่ อ สารที่ มี ค วามรวดเร็ ว สูงอยูต่ ลอดเวลาอย่างอินเตอร์เน็ต อาจจะ อดทนรอไม่ไหว แต่ถา้ เราต้องการให้สงั คม ไทยของเราเป็นสังคมที่มีความสุขที่แท้จริง และเป็นความสุขทีย่ ง่ั ยืนแล้ว การรอคอยนี้ ก็เป็นการรอคอยทีค่ มุ้ ค่าสำหรับพวกเรา ผู้เขียนขอจบบทความนี้ด้วยการ อัญเชิญ พระราชดำรัชของพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวอันเป็นที่รักยิ่งของปวงชนชาว ไทย
บทบาทของ ไอซีที ที่มีต่อสังคมไทยปัจจุบัน
66 วารสารแสงธรรมปริทัศน์ ฉบัับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2011/2554
... ความพอเพียง หมายถึง ความ พอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความ จำเป็นที่จะต้องมีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี พอสมควร ต่อการมีผลกระทบใดๆ อัน เกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและ ภายใน ทัง้ นี้ จะต้องอาศัยความรู้ ความ รอบคอบและความระมัดระวังอย่างยิ่งใน การนำวิชาการต่างๆมาใช้ในการวางแผน และการดำเนินการทุกขัน้ ตอน และขณะ เดียวกันจะต้องเสริมพื้นฐานจิตใจของคน
บทบาทของ ไอซีที ที่มีต่อสังคมไทยปัจจุบัน
ในชาติ โดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ของรัฐ นัก ทฤษฎี แ ละนั ก ธุ ร กิ จในทุ ก ระดั บ ให้ มีจิต สำนึกในคุณธรรมความซื่อสัตย์สุจริต และ ให้มคี วามรอบรูท้ เ่ี หมาะสม ดำเนินชีวติ ด้วย ความอดทน ความเพียรเพียร มีสติปญ ั ญา และความรอบคอบ เพือ่ ให้สมดุล และพร้อม ต่อการรองรับการเปลีย่ นแปลงอย่างรวดเร็ว และกว้างขวางทัง้ ด้านวัตถุ สังคม สิง่ แวดล้อมและวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้เป็น อย่างดี ...
67
ทอฟฟเลอร์, อัลวิน. คลืน่ ลูกทีส่ าม. แปลโดย สุกญ ั ญา ตีระวนิช และคณะ. กรุงเทพมหานคร : นานมีบคุ๊ ส์, 2538. ธงชัย วงค์ชยั สุวรรณ. การปฏิรปู ราชการโดยการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีบริหารร่วมสมัย. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2546. สภาวิจยั แห่งชาติ สาขาเศรษฐศาสตร์, คณะกรรมการ. เศรษฐกิจพอเพียงของในหลวงกับ การวิเคราะห์ความหมายของนักเศรษฐศาสตร์. กรุงเทพมหานคร : เกษตรบลูพริน้ ต์, 2546. http:// rir3.royin.go.th/dictionary.asp http://www.webster-online-dictionary.org http://th.wikipedia.org
บทบาทของ ไอซีที ที่มีต่อสังคมไทยปัจจุบัน
68 วารสารแสงธรรมปริทัศน์ ฉบัับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2011/2554
หมวดการศึกษา
“สื่อและเทคโนโลยี” กับ ความเข้าใจ คือ แสงไฟส่องทาง สุจิตตรา จันทร์ลอย เราคงปฏิเสธไม่ได้วา่ ความเชือ่ และ ความเข้าใจ เปรียบเสมือนแสงไฟส่องทาง ให้ชีวิตดำเนินไปตามลำแสงที่ทอดไปด้าน หน้า ลำแสงทีส่ ว่าง จะทำให้เรารับรูส้ ง่ิ ต่างๆ ได้ชดั เจนถูกต้องตามความเป็นจริง แต่หาก ลำแสงอ่อนกำลังไม่สว่างเพียงพอก็จะทำให้ การรับรูผ้ ดิ พลาดไปอย่างสิน้ เชิง สังคมมนุษย์กเ็ ช่นกัน ตัง้ แต่อดีต จนถึงในปัจจุบนั เข้าสูย่ คุ โลกาภิวตั น์ จะยุค
ไหนๆ ความเชือ่ และความเข้าใจส่งผลกระทบ ต่อวิถีชีวิตทั้งในส่วนของบุคคลและสังคม ความเชือ่ ในข้อเท็จจริงบางเรือ่ ง ต้องอาศัย การเทียบเคียงองค์ความรู้กับความหมาย ของสิ่งที่เกิดขึ้นใหม่จากแหล่งความรู้ท่ีเป็น ทีย่ อมรับกันในวงวิชาการ ถึงแม้วา่ สังคมไทย จะเป็นสังคมทีผ่ สมผสาน แต่ตอ้ งยอมรับว่า สังคมแห่งโลกไร้พรมแดน สามารถที่จะ เปลีย่ นแปลงทางสังคมและเศรษฐกิจได้อย่าง
สำเร็จการศึกษาปริญญาโทสาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร ปัจจุบนั เป็นผูช้ ว่ ย ผูอ้ ำนวยการศูนย์สง่ เสริมและพัฒนางานวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม อาจารย์พเิ ศษ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏหมูบ่ า้ นจอมบึง รายวิชา นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา
“สื่อและเทคโนโลยี” กับ ความเข้าใจ คือ แสงไฟส่องทาง
69
รวดเร็ว โดยเฉพาะการเปลี่ยนแปลงที่เกิด จากพลังขับเคลือ่ นของเทคโนโลยีและเทคโนโลยีการสื่อสาร กับการผสมผสานของ สือ่ มวลชนในลักษณะใหม่ๆ ทีเ่ ลือกมานำ เสนอ พลังอำนาจของสือ่ มวลชนเหล่านี้ ยัง สามารถก่อให้เกิดการเรียนรู้และเลียนแบบ พฤติกรรม (Social Learning) ของผูร้ บั สือ่ รวมถึ ง การสร้ า งทั ศ นคติ แ ละความเชื่อ ที่ ทำให้เข้ามามีอทิ ธิพลต่อความเป็นมนุษย์ใน สังคมปัจจุบันได้เป็นอย่างมาก การสืบค้น ข้อเท็จจริง ควรให้ความหมายของสิง่ ต่างๆ เพื่อ เป็ น การพิ สูจ น์ อ งค์ ค วามรู้แ ละสร้ า ง ความเข้าใจให้ถูกต้อง จนกลายเป็นความ เชือ่ ทีจ่ ะส่งผลถึงการปฏิบตั ทิ ง้ั ในระดับบุคคล และสังคมได้ในทีส่ ดุ
โลยีได้เข้ามามีบทบาทในชีวิตประจำวันของ มนุษย์และสังคมตลอดเวลาแทบทุกหนทุก แห่งและทุกสาขาวิชาชีพ การทีส่ อ่ื และเทคโนโลยีมีอิทธิพลต่อการดำเนินกิจการและ กิจกรรม ตลอดเวลาเช่นนีทำให้ ้ เกิด “กระแส ความเชือ่ ” และ “ ความเข้าใจ ” ในความหมายของสื่อและเทคโนโลยีท่คี ลาดเคลื่อน ส่ ง ผลกระทบให้ วิ ถี ชี วิ ต ของคนในสั ง คม เปลีย่ นแปลงไปในทิศทางทีด่ แี ละไม่ดี บาง ครั้งอาจก่อให้เกิดความสับสนและทำลาย ความน่าเชือ่ ถือของตัวสือ่ เอง จึงเป็นเรือ่ งที่ ควรพิสจู น์หาข้อเท็จจริงเพือ่ เป็นแนวทางใน การแสวงหาทางเลือกทีถ่ กู ต้องและเหมาะสม โดยเฉพาะความเข้าใจในความหมายของสือ่ และเทคโนโลยี
สือ่ และเทคโนโลยีความเชือ่ และความเข้าใจ ในสังคม ปัจจุบนั คำว่า “สือ่ และเทคโนโลยี” เป็นคำที่คุ้นหูของผู้คนในสังคมอย่างแพร่ หลายทัง้ ชนบทและในเมือง นับว่าเทคโน-
ความหมายของ “สือ่ ” มีผพู้ ยายามจำแนกประเภทความหมายของคำว่า “สือ่ ” หากทว่าความหมาย ทีแ่ คบ “สือ่ ” มาจากภาษาละตินว่า “medium” แปลว่า “ระหว่าง” ตรงกับภาษา อังกฤษว่า “media” หมายถึงสิง่ ทีเ่ ป็นตัว กลางในการเชื่อมโยงหรือถ่ายทอดเนื้อหา สาระจากบุคคลหนึง่ ไปยังอีกบุคคลหนึง่ เพือ่ ให้เกิดความเข้าใจตรงกัน โดยแบ่งประเภท สือ่ ได้ 3 ประเภท คือ
การสื่อสารเพื่อเสริมศักยภาพการอภิบาล
“สื่อและเทคโนโลยี” กับ ความเข้าใจ คือ แสงไฟส่องทาง
70 วารสารแสงธรรมปริทัศน์ ฉบัับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2011/2554
1. อุปกรณ์ หรือ สือ่ ใหญ่ (Hard ware) ทำหน้าที่ในการส่งผ่านวัสดุเพือ่ ให้ เกิดการรับรู้และการเรียนรู้ โดยทั่วไปมัก ประกอบด้วยเครือ่ งยนต์กลไก ไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์ ตัวอย่างเช่น เครือ่ งฉาย เครือ่ ง คอมพิวเตอร์ เครือ่ งบันทึกเสียง กระดานดำ เป็นต้น 2. วัสดุ หรือ สือ่ น้อย (Software) ทำหน้าทีแ่ สดงผลของเนือ้ หาสาระ บางชนิด สื่อความหมายได้ด้วยตัวเอง แต่บางชนิด ต้องอาศัยเครื่องมือเป็นตัวผ่านขยายจึงจะ สามารถสื่อความหมายได้สมบูรณ์ชัดเจน ตัวอย่างเช่น แผนภูมิ (Charts) แผนภาพ (Diagrams) ภาพถ่าย (Photographs) โปสเตอร์ (Posters) ภาพเขียน (Drawing) เป็นต้น 3. วิธกี าร เทคนิค (Method Technique) เป็นการกระทำเพื่อนำเสนอวิธีการ กิจกรรมเพือ่ ให้เกิดการรับรู้ และเรียนรู้ เป็น
ผู้เขียนเห็นว่า ในวงการเทคโนโลยีการศึกษาจะก้าวหน้าหรือไม่ ขึ้นอยู่กับระบบความคิด หากคิดแบบแยกส่วนก็จะส่งผลให้ นักเทคโนโลยีการศึกษาสนใจเฉพาะด้าน ทำให้ขาดการบูรณาการประสิทธิภาพอย่างแท้จริง
“สื่อและเทคโนโลยี” กับ ความเข้าใจ คือ แสงไฟส่องทาง
“
“
สือ่ ทีค่ วามหมายกว้างครอบคลุมสือ่ อืน่ ๆ สือ่ ประเภทนี้มีประโยชน์ต่อการเรียนรู้หลาย ด้าน เช่น บทบาทสมมุติ (Role Playing) สถานการณ์จำลอง (Simulation) การสาธิต (Demonstration) การจัดนิทรรศการ (Exhibition) การเล่นแบบละคร (Dramatization) เป็นต้น แนวความเชือ่ ดังกล่าว ผูเ้ ขียนเห็น ว่า ในวงการเทคโนโลยีการศึกษาจะก้าวหน้า หรือไม่ ขึน้ อยูก่ บั ระบบความคิด หากคิด แบบแยกส่วนก็จะส่งผลให้นักเทคโนโลยี การศึกษาสนใจเฉพาะด้าน เช่น บางส่วน สนใจด้านอุปกรณ์บางส่วนสนใจด้านการ ผลิตวัสดุ และบางส่วนสนใจด้านวิธีการ ทำให้ขาดการบูรณาการประสิทธิภาพอย่าง แท้จริง ฉะนัน้ ควรจำแนกสือ่ เป็น 3 ลักษณะ และวิเคราะห์บทบาทสื่อต่อกระบวนการสื่อ ความหมาย (Communication) ดังต่อไปนี้
71
การศึกษาเป็นกระบวนการถ่ายทอด ความรู้ (Knowledge) จากผูส้ ง่ สาร (Sender) ซึ่งอาจจะเป็นพ่อแม่ ครูอาจารย์ หรือผู้ท่ี ประสงค์จะเผยแพร่ความรูส้ ผู่ รู้ บั สาร (Receiver) ซึง่ คุณภาพการส่งผ่าน (Transmission) จะดีหรือไม่ย่อมขึ้นอยู่กับการแปลง ความรู้ ซึ่งมีลักษณะเป็นนามธรรมสู่ความ เป็ น รู ป ธรรม หรื อ เรี ย กว่ า การเข้ า รหั ส สัญญาณ (Encode) โดยทีห่ วั ใจสำคัญของ การเข้ารหัสสัญญาณจะมี 2 องค์ประกอบ ได้แก่ 1. การเลือกใช้สอ่ื (Selection of media) เพือ่ ทำหน้าทีเ่ ป็นพาหะของสารให้ ตรงกับช่องทางการรับรู้ (Channel) ของผู้ รับสาร เช่น การเลือกใช้สอ่ื เสียงกับผูท้ ห่ี ไู ม่ หนวก เป็นต้น 2. การออกแบบสาร (Message Design) เพื่อให้ผู้รับสารสามารถถอดรหัส สัญญาณ (Decode) อย่างมีประสิทธิภาพ ตรงตามวัตถุประสงค์ของผูส้ ง่ สาร ดั ง นั้ น จึ ง เห็ น ได้ ว่ า หั ว ใจของ คุ ณ ภาพการสื่อ ความหมายจะอยู่ ท่ีคุ ณ ภาพในการออกแบบสาร หรือการปรุงแต่ง สารให้มีความน่าสนใจตรงตามความพอใจ (จริต) ของผูร้ บั สารให้มากทีส่ ดุ และในการ ออกแบบสารทีด่ ี ผูอ้ อกแบบจะต้องคำนึงถึง
ทัง้ ด้านเนือ้ หา (Content Design) และด้าน สุนทรียภาพ (ศิรพิ งศ์ พยอมแย้ม, 2550 : 6) ความหมายของ “เทคโนโลยี” “เทคโนโลยี” (Technology) เป็น คำทีม่ าจากรากศัพท์ภาษากรีกว่า “Techno Logia” หมายถึง การกระทำอย่างมีระบบ (Systematic Treatment) และมาจากคำว่า Texere หมายถึง การสาน เรียบเรียง ถักทอ ประกอบ ปะติดปะต่อ และ Construct แปล ว่า สร้าง ผูกเรือ่ ง ความคิดทีก่ อ่ ขึน้ (วิวรรธน์ จันทร์เทพย์, 2548) ดังนัน้ เมือ่ พิจารณา ความหมายจากรากศัพท์แล้วจะเห็นได้ว่า เทคโนโลยีทแ่ี ท้จริงมีความหมายในเชิงระบบ หรื อ วิ ธีก ารมากกว่ า สิ่ง ประดิ ษ ฐ์ ห รื อ วั ส ดุ อุปกรณ์ โดยเฉพาะเครือ่ งมือทีป่ ระกอบด้วย เครือ่ งยนต์ กลไก ไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์ นักการศึกษาบางท่านอธิบายว่า เครือ่ งมือ เหล่านี้แม้จะมีประสิทธิภาพในการใช้งาน มากเพียงใดก็ยังถือว่าเป็นเทคโนโลยีทาง เครือ่ งมือ (Tools Technology) ผูเ้ ขียนมองเห็นว่า ความหมายของ เทคโนโลยีตามความหมายของรากศัพท์ เดิมทีย่ กขึน้ มากล่าวนัน้ ช่วยให้มนุษย์เรารูจ้ กั และเข้าใจในเทคโนโลยีมากขึน้ รูส้ กึ ได้วา่ เทคโนโลยีน้ันมีประโยชน์และมีคุณค่าต่อ
“สื่อและเทคโนโลยี” กับ ความเข้าใจ คือ แสงไฟส่องทาง
72 วารสารแสงธรรมปริทัศน์ ฉบัับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2011/2554
กิจกรรมของมนุษย์ในทุกด้าน คลายกังวล เกี่ยวกับเครื่องมือที่ทันสมัยไม่ตกใจกับอุปกรณ์ ได้นำเทคโนโลยีมาใช้ในการดำเนิน ชีวิตอย่างกว้างขวางทุกระดับตั้งแต่พ้นื ฐาน จนถึงขัน้ เทคนิคชัน้ สูง แต่ละงานมีองค์ประกอบที่เกี่ยวข้องหลายอย่าง ในทางปฏิบัติ บางงานต้องอาศัยเทคโนโลยีทางเครื่องมือ เป็ น องค์ ป ระกอบสำคั ญ แต่ บ างงานไม่ จำเป็นต้องใช้เครือ่ งมือเลย แนวคิดและมุมมองของ “นักวิชาการ” นักการศึกษาทั้งชาวไทยและชาว ต่างประเทศได้ให้ความหมายไปในทำนอง เดียวกัน (ชัยยงค์ พรหมวงศ์, 2523) อธิบาย ความหมายของสื่อ ว่ า “หมายถึ ง วั ส ดุ อุปกรณ์และวิธีการที่ใช้เป็นสื่อกลางสำหรับ ส่งเสริมหรือถ่ายทอดความรู้อย่างมีประสิทธิภาพ” (ชม ภูมภิ าค, 2524) ได้อธิบาย ความหมายสื่อว่า “เป็นตัวกลางหรือตัว เชื่อมค่าระหว่างจุดหมายปลายทางทั้งสอง ข้าง” หรือแม้วา่ แชนอนและวีเวอร์ (Shanon and Weaver อ้างถึงใน ณรงค์ สมพงษ์, 2540) ได้ อ ธิ บ ายความหมายสื่ อ ในแบบ จำลองการสื่อ สารโดยกล่ า วถึ ง เครื่อ งส่ ง (Transmitter) คือ ผูท้ ท่ี ำหน้าทีถ่ า่ ยทอดสาร ให้ เ ป็ น สั ญ ญาณ และจะถู ก ส่ ง ไปยั ง ถึ ง
“สื่อและเทคโนโลยี” กับ ความเข้าใจ คือ แสงไฟส่องทาง
เครื่ อ งรั บ (Receiver) ซึ่ ง จะเป็ น ผู้ แ ปล สัญญาณเป็นสารส่งไปยังจุดหมายปลาย ทาง เช่น คาร์เตอร์ วี. กูด๊ (Cater V. Good, 1973 อ้างถึงใน วิวรรธน์ จันทร์เทพย์, 2548) นักการศึกษาชาวอเมริกันกล่าวว่า เทคโนโลยีหมายถึง การนำเอาวิทยาศาสตร์ มาประยุกต์ ใช้ในวงการต่างๆ โดยให้เกิด การเปลีย่ นแปลงทีด่ ขี น้ึ เอดการ์ เดล (Edgar Dale, 1965) ให้ความหมายว่า เทคโนโลยี ไม่ใช้เครือ่ งมือแต่เป็นแผนการวิธกี ารทำงาน อย่างเป็นระบบที่ให้ผลบรรลุตามแผนการ ส่วนไฮนิชและคณะ (Heinich, And others อ้ า งถึ ง ในวิ ว รรธน์ จั น ทร์ เ ทพย์ , 2548) อธิ บ ายถึ ง ลั ก ษณะของเทคโนโลยี ไ ว้ ว่ า เทคโนโลยีสามารถจำแนกออกได้เป็น 3 ลักษณะ ได้แก่ เทคโนโลยีในลักษณะของ กระบวนการ (Process) เป็นการใช้วิทยาศาสตร์และความรู้ต่างๆ ที่รวบรวมไว้อย่าง เป็นระบบเพือ่ นำไปสู่ในทางปฏิบตั ิ โดย
73
เชือ่ ว่า เป็นกระบวนการทีน่ า่ เชือ่ ถือและนำ ไปสูก่ ารแก้ปญ ั หาต่างๆ ได้ เทคโนโลยีใน ลักษณะของผลผลิต (Product) หมายถึง วัสดุอปุ กรณ์ทเ่ี ป็นผลมาจากการใช้กระบวนการทางเทคโนโลยี เช่น ฟิลม์ ภาพยนตร์ เป็ น ผลผลิ ต ของเทคโนโลยี เ ช่ น เดี ย วกั บ เครือ่ งฉายภาพยนตร์ หรือหนังสือก็เป็น ผลผลิตของเทคโนโลยี ในลักษณะรวมกัน และเทคโนโลยีในลักษณะผสมของกระบวนการและผลผลิต (Process and Product) ซึง่ เป็นการใช้เทคโนโลยีสองลักษณะรวมกัน เทคโนโลยี ช่ ว ยให้ ร ะบบการรั บ ส่ ง ข้ อ มู ล เป็นไปได้อย่างรวดเร็ว เทคโนโลยีชว่ ยให้ ระบบการรับส่งข้อมูลเป็นไปได้อย่างรวดเร็ว ทั้งนี้เป็นผลมาจากความก้าวหน้าของการ ประดิ ษ ฐ์ อุ ป กรณ์ เ พื่ อ การรั บ ส่ ง ข้ อ มู ล ตลอดจนเทคนิควิธีการต่างๆ เพื่อให้ระบบ การส่ ง ข้ อ มู ล เป็ นไปอย่ า งกว้ า งขวางและ รวดเร็ว นอกจากนี้ ยังมีการใช้เทคโนโลยีใน ลักษณะของกระบวนการที่ไม่สามารถแยก ออกจากผลผลิตได้ เช่น ระบบคอมพิวเตอร์ ซึ่ ง มี ก ารทำงานเป็ น ปฏิ บั ติ สั ม พั น ธ์ กั น ระหว่ า งตั ว เครื่ อ งกั บ โปรแกรม เป็ น ต้ น (กิดานันท์ มลิทอง, 2540) อธิบายว่า เทคโนโลยีนบั ว่าเป็นส่วนเสริมหรือตัวการพิเศษ ในดำรงอยูข่ องมนุษย์ เราสามารนำเทคโน-
โลยี ม าใช้ ใ นทางที่เ ป็ น ประโยชน์ เ พื่อ การ พัฒนาศักยภาพและคุณภาพชีวติ จองเราได้ เนื่ อ งจากเทคโนโลยี เ ป็ น เครื่ อ งมื อ ขยาย วิสัยแห่งอินทรีย์ของมนุษ ย์ โดยนำเอามา ใช้ในงานสาขาต่างๆ ได้มากมาย สรุปได้วา่ สือ่ เป็นตัวกลางที่ใช้ใน การถ่ายทอดข่าวสารระหว่างส่งสารกับผู้ รับสาร เพื่อให้เกิดการรับรู้และการเรียนรู้ ตลอดจนมีการแลกเปลีย่ นความคิด ความ รูส้ กึ ค่านิยม และทักษะระหว่างบุคคล กลุม่ ชุมชนและสังคม ส่วนเทคโนโลยีเป็นศาสตร์ ที่ว่าด้วยวิธีการ เป็นกระบวนการ วิธีการ หลักปฏิบตั แิ ละสิง่ ประดิษฐ์ ซึง่ อยู่ในรูปของ การจัดระบบงาน อันประกอบไปด้วยปัจจัย 3 ประการได้แก่ 1. ข้อมูลที่ใส่เข้าไป ได้แก่ การ กำหนดปัญหาหรือความต้องการ การตั้ง วัตถุประสงค์การรวบรวมข้อมูล หรือ วัตถุดิบทีเ่ กีย่ วข้องทุกแง่ทกุ มุม 2. กระบวนการ ได้แก่ การลงมือ ปฏิบตั กิ าร การแก้ปญ ั หา การจำแนกแจกแจง การวิเคราะห์และการสังเคราะห์ขอ้ มูล เพือ่ ให้การดำเนินงานบรรลุวตั ถุประสงค์ 3. ผลลัพธ์ ได้แก่ ผลผลิตต่างๆ ที่เกิดจากข้อมูลที่ป้อนเข้าไปและกระบวน การในการดำเนินงานกับข้อมูล ซึง่ การตรวจ
“สื่อและเทคโนโลยี” กับ ความเข้าใจ คือ แสงไฟส่องทาง
74 วารสารแสงธรรมปริทัศน์ ฉบัับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2011/2554
สอบคุณภาพหรือประสิทธิภาพของผลลัพธ์ สามารถทำได้โดยการตรวจสอบย้อนกลับ (Feedback) ไปยังข้อมูลและกระบวนการ ถ้าความหมายของสื่อและเทคโนโลยีเป็น เช่นนีย้ งั มีคำถามต่อไปอีกว่า... สื่อ สารมวลชนที่รุด หน้ า ไปอย่ า ง ก้าวกระโดดในช่วงเวลาสัน้ ๆ จนถูกเรียกขาน กันว่า เป็นยุคข้อมูลข่าวสาร ทีม่ ศี กั ยภาพ และคุณประโยชน์มหาศาล ทัง้ ยังช่วยสร้าง ค่านิยมและทัศนคติท่ดี ีงามแก่เยาวชนและ มีส่วนในการสร้างความสุขความบันเทิงได้ ทุกชนชัน้ ทุกระดับจริงหรือ? บางครัง้ สือ่ มัก ถูกใช้เป็นเครื่องมือจากผู้ควบคุมสื่อ เพื่อ แสวงหาผลประโยชน์ให้กบั ฝ่ายตน ทำให้ ความขั ด แย้ ง นั้น ขยายวงกว้ า งขึ้น และรุ น แรงมากขึน้ แทนทีจ่ ะใช้ศกั ยภาพของสือ่ นัน้ ในทางสร้างสรรค์และจรรโลงสังคม เพือ่ สร้างความเชือ่ และความเข้าใจ (แล้ว) นำ เสนอข้อเท็จจริง กลับใช้สอ่ื ในทางทีผ่ ดิ และ ไม่เข้าใจในบทบาทหน้าทีท่ ส่ี ำคัญในการเผย แพร่ขา่ วสาร ก็จะสร้างโทษร้ายแรงได้เช่น เดียวกัน การแพร่หลายสื่อข่าวสารและรู้จัก เลือกใช้เทคโนโลยีทถ่ี กู ต้องเหมาะสม ย่อม หมายถึงการลดอัตราของสื่อที่ผิดกฎหมาย
“สื่อและเทคโนโลยี” กับ ความเข้าใจ คือ แสงไฟส่องทาง
และสือ่ ที่ไม่เหมาะสม เช่น สือ่ ลามก สือ่ รุนแรง หรือแม้แต่สอ่ื ถูกกฎหมาย ทีเ่ ป็น หลักในการนำเสนอข่าวสารอย่างหนังสือพิมพ์ วิทยุ และโทรทัศน์ ก็มลี กั ษณะของ การเป็นธุรกิจสือ่ มวลชนอย่างเต็มที่ การ ดำเนินการเป็นไปด้วยแรงผลักดันทางธุรกิจ มากกว่าการทำหน้าทีเ่ ผยแพร่ขา่ วสาร ดังนัน้ การนำเสนอข่าวสารนัน้ มักจะมีวาระซ่อน เร้น (Hidden Agenda) ที่ไม่เปิดเผยต่อผู้ รับสาร นักวิชาการนิเทศศาสตร์ได้พบว่า สือ่ เป็นผูค้ วบคุมการไหลของข่าวสาร (Gatekeeper) และเป็ น ผู้ จั ด ตั้ ง วาระข่ า วสาร (Agenda Setter) ว่าประชาชนควรจะรับรู้ ข่าวใดๆ ในแต่ละวันบ้าง ซึง่ เป็นข่าวทีส่ อ่ื มวลชนเห็นว่าเหมาะสมแก่การนำเสนอ ทำ ให้ประชาชนรับทราบแต่เพียงสิ่งที่ส่ือเลือก มานำเสนอ (วรัชญ์ ครุจติ , 2552) นอกจาก นัน้ พลังอำนาจของสือ่ ยังสามารถก่อให้เกิด การเรียนรู้และเลียนแบบพฤติกรรมที่ผิด จนทำให้แนวคิดผิดจากความเป็นจริง สภาพปั ญ หาสั ง คมของทุ ก วั น นี้ พบว่ามีสาเหตุมาจากการใช้ส่อื และเทคโนโลยีเป็นอันดับต้นๆ ทีม่ ผี กู้ ระทำผิดและ เหยือ่ ส่วนหนึง่ ยังเป็นเยาวชนอยู่ ซึง่ เป็นสิง่ สะท้อนให้เห็นว่า กลุม่ เยาวชนยังขาดความ แข็งแรง และภูมติ า้ นทานในการใช้สอ่ื และ
75
เทคโนโลยีประเภทนี้ จึงเป็นกลุม่ ทีถ่ กู ล่อลวง ได้ง่าย และยังมีคนอีกกลุ่มหนึ่งที่ ใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีในทางผิดๆ เช่น การ เล่นเกม และการพนันทางออนไลน์และคุย โดยการแชท อันจะนำไปสูก่ ารล่อลวงและ อาชญากรรม หรือแม้กระทั่งการถ่ายหรือ เผยแพร่คลิปวีดีโอที่ไม่เหมาะสม เป็นต้น แม้แต่เครือ่ งไม้ เครือ่ งมือทางอิเล็กทรอนิกส์ ก็เช่นเดียวกัน ทีป่ ระกอบด้วย เครือ่ งยนต์ กลไก ไฟฟ้า เป็นสิง่ ประดิษฐ์ ใหม่ๆ ที่ทันสมัย ถึงขนาดที่ทำให้เกิดการ ดิน้ รน ขวนขวาย แสวงหามาใช้ เพือ่ จะได้ ชือ่ ว่าเป็นคนทันสมัย ไม่ตกรุน่ ซึง่ คนในยุค ปัจจุบนั หรือคนทัว่ ๆ ไป จะเรียกสิง่ นีว้ า่ เทคโนโลยี แสดงว่า ความหมายของเทคโนโลยี ใ นประเด็ น ดั ง กล่ า วแตกต่ า งไปจาก ความหมายของรากศัพท์เดิม หากเป็นเช่นนี้ แล้ว ยังคงจะปฏิเสธหรือยังยอมรับกันหรือ ไม่วา่ สิง่ ทีผ่ นู้ ำเสนอ สือ่ และข่าวสารทีแ่ ท้ จริ ง จะไม่ ส่ ง ผลกระทบต่ อ การพั ฒ นา ประเทศชาติและยังคงไม่ถูกกล่าวหาว่าเป็น ผูส้ ร้างปัญหากับสังคมจริงหรือ?
“
ทำอย่ า งไรผู้ค นและสั ง คมจึ ง จะสามารถ เข้ า ใจความหมายได้ อ ย่ า งถู ก ต้ อ งและ สามารถนำมาใช้ ง านให้ เ กิ ด ประโยชน์ ไ ด้ มากทีส่ ดุ ? แนวทางทีช่ ว่ ยในการแก้ปญ ั หาหรือ ตัดสินใจทีเ่ กิดขึน้ อย่างเป็นรูปธรรม คือการ ใช้ฐานความคิดหรือแนวความคิดที่ต้องใช้ สติปญ ั ญา เพราะปัญญาช่วยให้เรารับรูแ้ ละ เรียนรู้ปฏิสัมพันธ์ของสรรพสิ่งอย่างบูรณาการ สามารถมองเห็นองค์ประกอบและโครง สร้างจากการวิเคราะห์และสังเคราะห์ ไป พร้อมๆ กัน ปัญญาจึงเปรียบเสมือนหาง เสื อ คอยคั ด ท้ า ยให้ ค วามเชื่ อ และความ เข้าใจเป็นไปในทิศทางทีถ่ กู ต้อง โดยผูเ้ ขียน เห็นว่า การตระหนักและสำนึกร่วมกันจาก ผูท้ ร่ี บั สือ่ โดยเฉพาะเยาวชน บุคคล สังคม ต่างๆ ให้เขาเข้าใจและใช้ปญ ั ญา ทีจ่ ะรับรู้ เรียนรูส้ อ่ื และเทคโนโลยีอย่างมีสติ กลัน่ กรอง และคัดเลือกทีด่ ที เ่ี ป็นประโยชน์ตอ่ ตนเองในทุกมิตขิ องสือ่ จากฐานความคิดที่ สามารถพิจารณาแยกแยะโทษและประโยชน์ได้มากพอ ก็จะทำให้เป็นภูมคิ มุ้ กันได้ เป็นอย่างดี
สภาพปัญหาสังคมของทุกวันนี้ พบว่ามีสาเหตุมาจาก การใช้สื่อ และเทคโนโลยีเป็นอันดับต้น แต่ “สื่อและเทคโนโลยี” ไม่ได้สลับซับซ้อนอย่างที่คิด หากใช้สติและฐานคิดอย่างมีเป้าหมายที่ชัดเจน “สื่อและเทคโนโลยี” กับ ความเข้าใจ คือ แสงไฟส่องทาง และที่ถูกต้องแล้วละก็... จะเป็น “แสงสว่าง” ที่ช่วย “นำทาง” ความมืดให้สิ้นไป
“
76 วารสารแสงธรรมปริทัศน์ ฉบัับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2011/2554
นอกจากนี้ ผูท้ ่ีให้สอ่ื ในการเผย แพร่ขา่ วสาร ควรมีจติ สำนึกและไตร่ตรอง ผลทีต่ ามมา โดยเฉพาะบทบาทหน้าที่ นักวิชาการ ครู อาจารย์ ทีจ่ ะส่งเสริมและสรรสร้างข่าวสารข้อมูลและชี้นำสาระและคัด เลือกแต่สง่ิ ทีด่ เี ป็นประโยชน์ตอ่ เยาวชนและ สังคม และควรมีการปลูกฝังกระบวนการ คิ ด และพฤติ ก รรมที่ เ คยปฏิ บั ติ อ ยู่ ว่ า เหมาะสมกับกาลเทศะอย่างเสมอ แล้วปัญญาจะเกิดขึน้ ได้อย่างไร? ทีเ่ ป็นสูตรสำเร็จทีจ่ ะขับเคลือ่ นช่วยพาไป… ปั ญ ญาเป็ น ความรู้ ท่ี เ กิ ด จากสติ และเป็นภูมคิ มุ้ กันอย่างรูท้ นั ไม่ตอ้ งแสวงหา จากที่ใด แต่อยูท่ ต่ี วั เรา ซึง่ ต้องเรียนรูว้ ธิ กี าร ใช้หลายวิธี จากการอ่าน การฟัง การสังเกต การทดลอง และต้องใช้อย่างถูกต้องและรู้ เท่าทัน แนวคิดความเชื่อและความเข้าใจ ของสือ่ และเทคโนโลยีการศึกษาตามทีก่ ล่าว
“สื่อและเทคโนโลยี” กับ ความเข้าใจ คือ แสงไฟส่องทาง
มาแล้วนี้ อาจจะยังไม่เพียงพอ แต่สามารถ ช่วยให้นักการศึกษาและเยาวชนสามารถ เข้าใจได้อย่างถูกต้อง และยังช่วยในการ ตัดสินใจ ดำเนินการแก้ปญ ั หาอย่างมีเหตุผล อย่างเป็นระบบ ชีช้ ดั ถึงบทบาท และหน้าที่ ของนักเทคโนโลยีการศึกษา ในฐานะเป็นนัก วางแผนออกแบบ คิดค้นและพัฒนาวิธกี าร รวมถึงเครือ่ งมือ เพือ่ นำมาใช้แก้ปญ ั หาทาง การศึกษาด้านต่างๆ เราก็จะเป็นผู้นำทาง ความคิ ด โดยใช้ ห ลั ก ของ “วิ ธีก าร” มา พั ฒ นาและสร้ า งสรรค์ ส่ิ ง ดี ง ามและเป็ น ประโยชน์ อย่างกระจ่างและแท้จริง “สือ่ และเทคโนโลยี” ไม่ได้สลับซับ ซ้อนอย่างทีค่ ดิ หากใช้สติและฐานคิดอย่าง มีเป้าหมายที่ชัดเจนและที่ถูกต้องแล้วละก็.. จะเป็น “แสงสว่าง” ทีจ่ ะช่วย “นำทาง” ความมื ดให้ ส้ิ นไป ตรงกั น ข้ า มกั บ ผู้ ท่ี ไ ม่ กระจ่างกับสิง่ ใด ผูน้ น้ั ก็มดื มิดไปกับการถูก ครอบงำและความเดื อ นร้ อ นกั บ โลกยุ ค โลกาภิวตั น์อย่างแน่นอน
77
กิดานันท์ มลิทอง. เทคโนโลยีการศึกษาและนวัตกรรม. กรุงเทพฯ : ชวนพิมพ์, 2540. ชม ภูมภิ าค. เทคโนโลยีทางการสอนและการศึกษา. กรุงเทพมหานคร : ประสานมิตร, 2524. ชัยวงศ์ พรหมวงศ์. เอกสารประกอบการสอนชุดเทคโนโลยีและสือ่ การศึกษาเล่มที่ 1. กรุงเทพมหานคร, 2523. ณรงค์ สมพงษ์. สือ่ เพือ่ งานส่งเสริมเผยแพร่. กรุงเทพมหานคร : ฝ่ายสือ่ สารการศึกษา สำนักส่งเสริมฝึกอบรม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2540. วิจติ ร ศรีสอ้าน. เทคนิควิทยาทางการศึกษา. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ครุ สุ ภา, 2517. วิวรรธน์ จันทร์เทพย์. เทคโนโลยีการศึกษา. ราชบุรี : คณะครุศาสตร์ สถาบันราชภัฏ หมูบ่ า้ นจอมบึง, 2548. วรัชญ์ ครุจติ . สือ่ มวลชนกับการรับผิดชอบต่อสังคม. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยศรีปทุม, 2552. ศิรพิ งศ์ พยอมแย้ม. วารสารทางวิชาการเทคโนทับแก้ว. นครปฐม : โรงพิมพ์เพชรเกษม, 2550. Dale Edgar. Audiovisual Methods in Teaching. 3rd ed. Ohio, 1965. Good, Carter Victor. Dictionary IF Education. New Yark, 1973.
“สื่อและเทคโนโลยี” กับ ความเข้าใจ คือ แสงไฟส่องทาง
78 วารสารแสงธรรมปริทัศน์ ฉบัับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2011/2554
หมวดการศึกษา
Facebook:
เครือข่ายสังคมออนไลน์ : ปฏิเสธหรือยอมรับ? พิเชษฐ รุ้งลาวัลย์ ปี ค.ศ. 2004 นักศึกษาหนุม่ ของ มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด (Harvard) นามว่า มาร์ค ซัคเคอร์เบิรก์ (Mark Zuckerberg) ต้องการทำหนังสือรุ่นออนไลน์เพื่อให้นักศึกษาใหม่ ได้ทำความรู้จักกัน แต่เมื่อนำ โครงการนี้ ไ ปเสนอมหาวิ ท ยาลั ย กลั บ ถู ก ปฏิ เ สธด้ ว ยนโยบายที่ นั ก ศึ ก ษาไม่ มี สิ ท ธิ์ เข้าถึงฐานข้อมูล เป็นผลให้มาร์คแก้เผ็ด โดยการเจาะระบบฐานข้อมูล แล้วดึงภาพ นักศึกษาสาวมาทำเป็นเกม “Hot or Not”
ให้เพือ่ นๆ เข้ามาโหวตภาพ 2 ภาพ ว่าใคร Hot กว่ากัน ภายในเวลาเพียง 4 ชัว่ โมงของ การเปิดโหวต มีนกั ศึกษาเข้ามาคลิกกว่าสอง หมื่นครั้ง ทำให้เห็นถึงพลังของเครือข่าย สังคมออนไลน์ (Social Network) มาร์คจึง ชวนเพือ่ นร่วมห้อง (Roommate) ทีช่ อ่ื ดัสติน มอสโควิตซ์ (Dustin Moskovitz) มาร่วมทำ ความฝันให้เป็นจริงและยิง่ ใหญ่ และนีเ่ ป็น จุดเริ่มต้นของเว็บไซต์เครือข่ายสังคมออนไลน์ทห่ี ลายๆ คนรูจ้ กั ดีคอื Facebook ซึง่ มี
สำเร็จการศึกษาปริญญาโทด้านเทคโนโลยีมัลติมีเดีย ปัจจุบันเป็นรองผู้อำนวยการศูนย์วิจัยค้นคว้า ศาสนาและวัฒนธรรม วิทยาลัยแสงธรรม อาจารย์พิเศษวิทยาลัยชุมชนสมุทรสาคร รายวิชาโปรแกรม ประยุกต์ด้านมัลติมีเดีย และการออกแบบสิ่งพิมพ์ทางธุรกิจ
Facebook : เครือข่ายสังคมออนไลน์ : ปฏิเสธหรือยอมรับ?
79
จำนวนสมาชิกมากทีส่ ดุ ในขณะนี้ (กว่า 500 ล้านคนทัว่ โลก ) จึงไม่ตอ้ งแปลกใจ หากลูกหลาน ของท่าน หรือแม้แต่ตวั ท่านเองที่ “ติด” เว็บไซต์เครือข่ายสังคมออนไลน์อย่าง Facebook เข้าอย่างจัง (เพราะนัน่ ถือเป็นเรือ่ ง ปกติของคนปกติ) เหตุเพราะมนุษ ย์เป็น สัตว์สงั คมนัน่ เอง สำหรับในแวดวงคาทอลิก นั้ น มี เ ครื อ ข่ า ยสั ง คมออนไลน์ ผ่ า นทาง Facebook จำนวนมาก ซึง่ ล้วนแล้วแต่เป็น ประโยชน์สำหรับงานแพร่ธรรม โดยเฉพาะ การประชาสัมพันธ์ขา่ วสาร ซึง่ ทำได้อย่าง รวดเร็ว ขอยกตัวอย่าง Facebook ทีผ่ มมี โอกาสได้รจู้ กั ดังนีค้ รับ (ข้อมูล ณ 27 ธ.ค. 2010)
facebook.com/kaochristian เป็นส่วนขยายมาจากเว็บไซต์ข่าวคริสตชน www.KaoChristian.com ซึง่ เป็นศูนย์ขา่ ว ออนไลน์ ในแวดวงคริสตชนทุกคณะนิกาย และสังคมศาสนา เสรี อัปเดททุกวัน จึงทำ ให้มสี มาชิกคอยติดตามข่าวสารกว่า 5,001 คน
facebook.com/udomsarnfan club อุดมสารแฟนคลับ ภายใต้แนวคิดทีว่ า่ “ก้าวไปบนโลกดิจติ อล กับสิง่ พิมพ์ของพระศาสนจักรคาทอลิกไทย ที่ดำรงตนมาเนิ่น นาน นามอุดมสาร และอุดมศานต์” ซึง่ มี ข่าวสารและกิจกรรม Update อยูต่ ลอดเวลา จึงมีผตู้ ดิ ตามกว่า 1,449 คนทีถ่ กู อกถูกใจ
facebook.com/catholiclive เน้ น บอกเล่ า ข่ า วสารความเคลื่อ นไหวใน แวดวงคาทอลิกครับ มีการนำพระวาจามา ขึ้นให้ ได้ขบคิด มีภาพข่าวกิจกรรมต่างๆ ด้วยความหลากหลายนี้จึงทำให้มีสมาชิก (เพือ่ น) ทีค่ อยติดตามข่าวสาร จำนวน 860 คน Facebook ของบรรดากลุม่ เยาวชน ต่างๆ ก็มเี ป็นจำนวนมากครับ เป็นเครือข่าย สั ง คมออนไลน์ ท่ี บ รรดาเยาวชนแต่ ล ะที่ แต่ละแห่งใช้เป็นเสมือนหนึง่ ทีป่ ระชุม หารือ นัดแนะกัน เพือ่ ก่อให้เกิดกิจกรรมทีด่ แี ละ
Facebook : เครือข่ายสังคมออนไลน์ : ปฏิเสธหรือยอมรับ?
80 วารสารแสงธรรมปริทัศน์ ฉบัับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2011/2554
เป็นประโยชน์ตอ่ ส่วนรวมครับ เช่น face book.com/worldyouthday เป็น FB เครือ ข่ายวันเยาวชนโลก (World Youth Day: WYD) มีสมาชิกบน FB มากถึง 38,882 คน ทัว่ โลก facebook.com/ymph.2 เป็น FB ของเยาวชนพระมารดานิ จ จานุ เ คราะห์ คลองจัน่ มีเพือ่ นจำนวน 574 คน facebook. com/xaviercamp เป็น FB ค่ายฯบ้านเซเวียร์ ใครทีผ่ า่ นชีวติ นิสติ นักศึกษามาแล้วคง เคยได้สมั ผัส หรือได้รจู้ กั กับบ้านเซเวียร์ ซึง่ เป็นทีท่ น่ี สิ ติ นักศึกษาจากสถาบันอุดมศึกษา ต่ า งๆ มาร่ ว มทำกิ จ กรรมเพื่ อ สั ง คมกั น ปัจจุบนั มีเพือ่ นจำนวน 542 คน ซึง่ น่าจะเป็น นักศึกษาคาทอลิกที่กระจัดกระจายอยู่ตาม สถาบันอุดมศึกษาทัว่ ประเทศ พลังของกลุม่ บุคคลเหล่านี้สามารถสร้างสรรค์ส่ิงต่างๆ ทีด่ งี ามได้มากมายครับ เหล่านี้เป็นเพียงตัวอย่างของการ ใช้ประโยชน์จากเครือข่ายสังคมออนไลน์
ทีม่ าแรงทีส่ ดุ ในปัจจุบนั นี้ และหากรูจ้ กั ใช้ ให้ดีก็จะเป็นประโยชน์มากกว่าโทษอย่าง แน่นอนครับ ดังนัน้ ผูป้ กครอง หรือผูใ้ หญ่ จึงไม่ควรปิดกั้น และต้องทำความเข้าใจใน ธรรมชาติท่แี ตกต่างของคนในแต่ละช่วงวัย เพือ่ ความเข้าใจทีม่ ากขึน้ ขอกล่าวถึงระบบ นิเวศน์ของเด็กและเยาวชนในปัจจุบันดังนี้ ครับ ปัจจุบันเราเข้าสู่ระบบนิเวศน์ดิจิตอล (Digital Ecosystem) อย่างเต็มตัว เป็น การอยู่ร่วมกันของคนกับสิ่งแวดล้อมทาง ดิจติ อล (ยืน ภูว่ รวรรณ, 2553) ลองมองไป รอบตัวซิครับ ทุกวันนีเ้ ราติดต่อสือ่ สารผ่าน โทรศัพท์มอื ถือ ส่งจดหมาย และเอกสาร ต่างๆ ผ่านอีเมล ทำงานผ่านเครือ่ งคอมพิวเตอร์ ถ่ายภาพด้วยกล้องดิจิตอล ฟัง เพลงผ่านเครือ่ งเล่น mp3 ดูภาพยนตร์จาก แผ่นดีวีดี ใช้จ่ายผ่านบัตรเครดิต พูดคุย สนทนาปรับทุกข์ผ่านทางเครือข่ายสังคม
“
“
ปัจจุบันเราเข้าสู่ระบบนิเวศน์ดิจิตอล (Digital Ecosystem) อย่างเต็มตัว เป็นการอยู่ร่วมกันของคนกับสิ่งแวดล้อมทางดิจิตอล
Facebook : เครือข่ายสังคมออนไลน์ : ปฏิเสธหรือยอมรับ?
81
ออนไลน์ ไม่วา่ จะเป็น Hi5 MySpace Facebook ฯลฯ ทัง้ หมดทัง้ มวลนีล้ ะครับทีร่ วม อยู่ในระบบนิเวศน์ดจิ ติ อล ท่านผูอ้ า่ นบางท่าน อาจปฏิเสธว่า ไม่เห็นต้องใช้อเี มล ไม่ใช้โทรศัพท์มอื ถือ ไม่ใช้ Facebook แต่ปฏิเสธไม่ได้หรอกครับว่าท่าน ไม่ได้ใช้บตั รประชาชน Smart Card หรือ E-Passport ทีป่ กแข็งๆ ด้านหลังฝังชิปไว้ เก็บข้อมูลต่างๆ ปฏิเสธไม่ได้ว่าบัตรเครดิต เป็นส่วนหนึ่งของการใช้จ่ายประจำวันไป แล้ว ด้วยความสะดวก (รูดปืด๊ ๆ) ไม่ตอ้ ง กังวลเรือ่ งเงินทอน และเศษสตางค์ (แต่มา กังวลเรือ่ งหนีบ้ ตั รเครดิตแทน) ส่วนท่านที่ อ่อนวัยลงมาหน่อย 20-30 ปี ชีวติ นีค้ งขาด โทรศัพท์มือถือไม่ ได้เป็นแน่ (ไม่มีแล้วไม่ มัน่ ใจ) ชีวติ นีค้ งขาดอินเตอร์เน็ตไม่ได้เป็น แน่ (ไม่มแี ล้วไม่อยากทำงาน) และแน่นอน ว่ า เด็ ก หรื อ เยาวชนที่อ ายุ น้อ ยลงไป ซึ่ง พวกเขาเหล่านีเ้ กิดมาพร้อมกับระบบนิเวศน์ ดิจติ อลอย่างสมบูรณ์แบบ เกิดมาพร้อมกับ การแข่งขันในธุรกิจด้านเนือ้ หาดิจทิ ลั (Digital Content) ไม่วา่ จะเป็นข่าวสารข้อมูลที่ มากับโทรศัพท์มอื ถือ SMS ข่าวสาร Download ผ่านโทรศัพท์ เชือ่ มต่ออินเตอร์เน็ตไร้ สายผ่านเครือข่าย 3G (เฉพาะบางพืน้ ที)่ พูดคุยผ่าน BB Phone ชีวิตนี้สัมผัสแป้น
พิมพ์ (ทั้งบนโทรศัพท์และคอมพิวเตอร์) มากกว่าจับดินสอ ปากกา ดังนัน้ เวลาแชท กั บ เพื่อ นจึ ง พิ ม พ์ ไ ด้ ร วดเร็ ว เท่ า ความคิ ด แต่ เ วลาให้ ขี ด เขี ย นอะไรบนกระดาษจะ เขียนไม่ค่อยรู้เรื่อง กลายเป็นเด็กสมาธิสั้น ทำอะไรหลายๆ อย่างได้ในเวลาเดียวกัน (แต่ทำอย่างละนิดอย่างละหน่อย) เช่น เปิด ทีวดี ลู ะคร นัง่ ทำการบ้าน เปิดเครือ่ งคอมพิวเตอร์ อ อนไลน์ Facebook คุ ย กั บ เพื่ อ น สิ่งเหล่านี้เป็นผลมาจากการถูกหล่อหลอม ในระบบนิเวศน์ดจิ ติ อลทัง้ สิน้ ดังนัน้ การจะปิดกัน้ หรือปฏิเสธ เทคโนโลยีเหล่านี้ จึงเป็นการแก้ปญ ั หาทีผ่ ดิ อย่างมหันต์ เพราะในท่ามกลางระบบนิเวศน์ ดิจิตอลนี้ เทคโนโลยีอยู่รอบตัวเรา และ ไหลบ่าเข้ามาทุกทิศทุกทาง ปิดกั้นอย่างไร ก็ ไม่สำเร็จ ทางออกที่ดีท่ีสุดน่าจะเป็นการ สอนให้ เ ด็ ก และเยาวชนได้ ใ ช้ เ ทคโนโลยี เหล่านีอ้ ย่างฉลาด (Smart) ใช้ให้เกิดประโยชน์ และรูเ้ ท่าทันภัยทีอ่ าจเกิดจากเทคโนโลยีเหล่านี้ เด็กรุน่ ใหม่ ยุคสมัยดิจติ อลนี้ เป็น เผ่าพันธุท์ ช่ี อ่ื ว่า วงศ์ดจิ ติ อล (Digital Species) ดำรงชีวติ ในสิง่ แวดล้อมทีเ่ ต็มไปด้วย ความเปลีย่ นแปลง ดังนัน้ เพือ่ ความอยูร่ อด คนในเผ่าพันธ์นจ้ี ำเป็นต้องพัฒนาตนเองอยู่
Facebook : เครือข่ายสังคมออนไลน์ : ปฏิเสธหรือยอมรับ?
82 วารสารแสงธรรมปริทัศน์ ฉบัับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2011/2554
ตลอดเวลา การศึกษาในยุคนีจ้ งึ เปลีย่ นจาก Teaching Base ไปสู่ Learning Base โดย มีคณ ุ ครูคนสำคัญทีม่ บี ทบาทอย่างมาก 3 ท่าน คือ ท่านแรกคุณครู Google อยากรู้ อะไรถามได้ทกุ อย่าง คุณครูทา่ นนีจ้ ะสรรหา คำตอบให้ตาม “คำสำคัญ” ทีน่ กั เรียนถาม แต่คำตอบหน้าแรกๆ มักเป็นคำตอบในเชิง ธุรกิจ เพราะคุณครู Google อยู่ได้โดยอาศัย ค่าโฆษณา เป็นธุรกิจสือ่ โฆษณาทีม่ เี สิรซ์ เอ็น จิน้ เป็นหัวใจ ปัญหาของเด็กพันธ์ดจิ ติ อลคือ การคัดเลือกคำตอบที่ ได้มาว่าคำตอบใด ถูกต้อง และเหมาะสมทีจ่ ะนำไปใช้ประโยชน์ ส่วนท่านที่ 2 คือ คุณครู Wikipedia ครู ท่านนี้เปรียบเสมือนครูสอนภาษา ที่ ได้ให้ นิยาม ความหมายของคน สัตว์ สิง่ ของ ไว้ มากมายมหาศาล อยากทราบคำนิยามสิง่ ใด ขอให้เข้ามาถามคุณครู Wiki รับรองไม่ ผิดหวัง เพราะคุณครูทา่ นนี้ได้ความรูม้ าจาก มหาชนคนออนไลน์ อี ก ทอดหนึ่ ง นิ ย าม คำศัพท์ ใหม่ๆ จึงเกิดขึ้นอยู่เสมอๆ ส่วน ท่านสุดท้ายคือคุณครู Youtube เป็นคุณครู ที่ มี ส่ื อ การสอนที่ โ ดนใจวั ย รุ่ น มากที่ สุ ด เพราะสอนด้วยภาพเคลือ่ นไหว ไม่นยิ มให้ นักเรียนอ่าน คุณครูทา่ นนีม้ คี า่ ตัวสูงถึง 1.6 พันล้านเหรียญโดยถูกคุณครู Google ซือ้ เพื่ อ ให้ ม าเสริ ม ทั พ ในโลกเนื้ อ หาดิ จิ ทั ล
(Digital Content) ทีม่ อี ยูม่ ากมายมหาศาล บนอินเตอร์เน็ต และดูเหมือนคุณครู Google จะเป็นครูใหญ่ในยุคทีเ่ รียกกันว่า Web 2.0 เสียด้วย เนือ่ งจากครูใหญ่แห่งยุค Web 1.0 ซึง่ ก็คอื คุณครู Yahoo! เริม่ ล่าถอยไปเพราะ เทคโนโลยีในยุคเก่านั้นไม่ตอบสนองคนใน วงศ์ดจิ ติ อลได้อกี ต่อไป คุณครู Yahoo! นัน้ ให้ข้อมูลเพียงอย่างเดียว โดยไม่ ได้เรียนรู้ ที่จะรับข้อมูลจากผูอ้ น่ื (ซึง่ ก็คอื เว็บไซต์ใน ยุคแรกๆ ทีเ่ น้นให้ขอ้ มูล เว็บมาสเตอร์เป็น คนนำข้ อ มู ล ขึ้ น เว็ บ ไซต์ เ พื่ อ นำเสนอ) ส่วนคุณครู Google, Wikipedia และ Youtube นัน้ ในขณะที่ให้ขอ้ มูลก็รบั ข้อมูลไปด้วย ในเวลาเดียวกัน นักเรียนบางคนเข้ามาถาม คำถาม แต่นกั เรียนบางคนเข้ามาตอบ เข้า มาใส่เนือ้ หา โดยเฉพาะคุณครู Youtube รับ แต่เนือ้ หาทีเ่ ป็นภาพเคลือ่ นไหวโดยเฉพาะ คุ ณ ครู ทั้ ง หมดที่ ไ ด้ ก ล่ า วมานั้ น ทำให้เห็นสัจธรรมของโลกอยู่อย่างหนึ่งคือ การไม่เรียนรูท้ ำให้ลา้ หลัง และตามคนอืน่ ไม่ทัน เฉกเช่นเทคโนโลยี ในปัจจุบันที่เป็น แรงกดดันให้เกิดการเปลีย่ นแปลงทางสังคม มนุษ ย์ ในยุคสมัยหลังนี้จึงไม่สามารถที่จะ ปฏิเสธ หรือไม่สนใจเรียนรูเ้ ทคโนโลยีเหล่านี้ ได้ คนรุน่ ใหม่จงึ ต้องใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อประโยชน์หลาย
Facebook : เครือข่ายสังคมออนไลน์ : ปฏิเสธหรือยอมรับ?
83
ประการ คือ 1) เพือ่ ติดต่อสือ่ สาร 2) เพือ่ ร่วมมือกันทำงาน 3) เพือ่ หาและสร้างความ รู้ 4) เพือ่ ความทันสมัย และ 5) เพือ่ ให้เพือ่ น ยอมรับ (ยืน ภูว่ รวรรณ, 2553) หากแต่การ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารเพือ่ ประโยชน์ท้ังหลายทั้งมวลนั้นต้องคำนึงถึง จริยธรรมทางคอมพิวเตอร์ดว้ ย (Computer Ethics) โดยการใช้คอมพิวเตอร์ควรคำนึง ถึงสิง่ ต่างๆ ดังต่อไปนี้ (Association for Computing Machinery, 2007) 1. ใช้เพื่อสังคมและบุคคล การใช้ คอมพิวเตอร์จะต้องไม่ทำให้มผี ลทางลบกับ ผูใ้ ช้ ทัง้ ทางด้านสุขภาพ และความปลอดภัย รวมทั้งการป้องกันสิทธิมนุษยชนขั้นพื้นฐาน และจะต้องคำนึงถึงความหลากหลายทาง วัฒนธรรม 2. ไม่ ท ำร้ า ยผู้ อื่ น การทำร้ า ย หมายถึงทำให้บาดเจ็บหรือเกิดผลทางด้าน ลบ ดังนัน้ ทางด้านระบบคอมพิวเตอร์จะ ต้องไม่ทำร้ายผูใ้ ช้ การกระทำกับฐานข้อมูล การทำให้ระบบเสียหาย การปรับเปลี่ยน โปรแกรม เป็นต้น 3. ซือ่ สัตย์และเป็นที่ไว้วางใจ เนือ่ ง จากความซื่อสัตย์เป็นสิ่งสำคัญของความ เชือ่ ถือ ยอมรับไว้วางใจ ถ้าไม่มกี ารยอมรับไว้
วางใจองค์กรหรือคนในวิชาชีพก็ไม่สามารถ ทำงานได้อย่างมีประสิทธิผล 4. ยุตธิ รรม และไม่ทำการใดๆ ที่ เป็นการกีดกัน เนื่องจากสารสนเทศและ เทคโนโลยีอาจทำให้เกิดความไม่เท่าเทียม กันระหว่างกลุ่มประชากร ในสังคมที่ยุติธรรมทุกคนจะต้องมีความเท่าเทียมกันใน การเรียกใช้ทรัพยากรคอมพิวเตอร์ โดยไม่ คำนึงถึงเชือ้ ชาติ เพศ ความพิการ และอายุ 5. ให้การยอมรับสิทธิอนั ชอบธรรม ในทรั พ ย์ สิ น ทางปั ญ ญา โดยการยกย่ อ ง ไม่ขโมย ทำลาย หรือนำมาใช้โดยไม่ได้รบั อนุญาต ในหลักการนีค้ ลอบคลุมทัง้ ทรัพย์สินทางกายภาพที่เป็นสิ่งของและทรัพย์สินทางปัญญา ต้องไม่ใช้ระบบคอมพิวเตอร์ ของผูอ้ น่ื โดยไม่ได้รบั อนุญาต เช่น การใช้ เวลาของคอมพิวเตอร์ ต้องป้องกันทรัพย์สนิ ทางปัญญาโดยไม่รกุ ล้ำ หรือขโมยความคิด ของผูอ้ น่ื ต้องไม่นำผลงานของผูอ้ น่ื มาเป็น ผลงานของตนเอง ต้องไม่ละเมิดสิทธิบตั ร ลิ ข สิ ท ธิ์ หรื อ สั ญ ญาข้ อ ตกลง ต้ อ งไม่ ใ ช้ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ท่ีทำสำเนาผิดกฎหมาย ทัง้ นีร้ วมทัง้ ไม่สนับสนุนการทำสำเนา โปรแกรมคอมพิวเตอร์ทม่ี ลี ขิ สิทธิ์ 6. เคารพต่อสิทธิทางปัญญาอย่าง เหมาะสม ปกป้องความซือ่ สัตย์ตอ่ สิทธิทาง
Facebook : เครือข่ายสังคมออนไลน์ : ปฏิเสธหรือยอมรับ?
84 วารสารแสงธรรมปริทัศน์ ฉบัับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2011/2554
ปัญญา โดยเฉพาะอย่างยิง่ ต้องไม่เอาความ คิดหรืองานของผูอ้ น่ื ไปใช้ ถึงแม้ในกรณีท่ี งานหรือความคิดนั้นไม่ ได้ถูกปกป้องจาก การสงวนลิขสิทธิ์ หรือสิทธิบตั ร ฯลฯ อย่าง ชัดเจนก็ตาม 7. เคารพต่อความเป็นส่วนตัวของ ผูอ้ น่ื เนือ่ งจากเทคโนโลยีดา้ นคอมพิวเตอร์ และการสือ่ สารสามารถรวบรวมและเปลีย่ น แปลงข้อมูลส่วนตัวด้วยขอบเขตที่ไม่เคยมี มาก่อนในประวัติศาสตร์ความเจริญรุ่งเรือง ดังนัน้ มีความเป็นไปได้มากขึน้ ทีจ่ ะมีการ ละเมิดความเป็นส่วนตัวทัง้ แบบส่วนตัวและ กลุม่ เป็นความรับผิดชอบของผูใ้ ช้คอมพิวเตอร์ท่ีจะต้องรักษาความเป็นส่วนตัวและ ความซื่อสัตย์ต่อข้อมูลเรื่องความเป็นส่วน ตัวไว้ ทัง้ นีต้ อ้ งระมัดระวังและต้องแน่ใจใน ความถูกต้องของข้อมูล รวมถึงการป้องกัน (ข้อมูล) จากการเข้าหาข้อมูลโดยไม่ ได้รับ
อนุญาต หรือการเปิดเผยแบบไม่ต้ังใจต่อ ความเป็นส่วนตัวที่ไม่เหมาะสม นอกจากนี้ ขั้ น ตอนต้ อ งถู ก กำหนดให้ เ ฉพาะผู้ ไ ด้ รั บ อนุญาตในการตรวจสอบและแก้ ไขข้อมูล เท่านัน้ 8. เก็บรักษาความลับ เนื่องจาก หลักการของความซือ่ สัตย์ ขยายไปสูก่ ารพูด ถึงข้อมูลความลับ เมือ่ ใดก็ตามทีม่ ีใครกระทำ สัญญาที่ชัดเจนต่อการเก็บรักษาความลับ หรื อ แม้ แ ต่ ก ารบอกเป็ น นั ย ๆ เมื่ อ ข้ อ มู ล ส่วนตัวไม่ ได้ข้ึนอยู่ โดยตรงต่อหน้าที่ของ คนๆหนึง่ ทีแ่ สดงออกว่าสามารถใช้ ได้ จริยธรรมทีเ่ กีย่ วข้องคือ เคารพต่อสัญญาผูกมัด ทัง้ หมดของความลับ ต่อนายจ้าง ลูกค้า และ ผูใ้ ช้ เว้นเสียแต่วา่ ได้รบั อนุญาตให้ละเว้น ด้วยจริยธรรมทางคอมพิวเตอร์ท้ัง 8 ข้อทีย่ กมานี้ เป็นเหมือนมารยาททางสังคม โดยเฉพาะบนโลกออนไลน์ ทีถ่ งึ แม้จะไม่ใช่
“
การใช้หรือไม่ใช้เทคโนโลยีจึงไม่ใช่ประเด็นปัญหา หากแต่การใช้เทคโนโลยีเหล่านี้อย่างไรให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่างหาก ที่ควรเป็นสิ่งที่ต้องทบทวน ขบคิด เพื่อมิให้เทคโนโลยีเหล่านี้เป็นดาบสองคม
“
Facebook : เครือข่ายสังคมออนไลน์ : ปฏิเสธหรือยอมรับ?
85
โลกแห่งความเป็นจริง (เสมือนจริง) แต่ก็ ปฏิเสธไม่ได้วา่ นับวันโลกเสมือนจริงนี้ เข้า ใกล้ความเป็นจริงเข้ามาทุกที เพราะสิง่ ต่างๆ ทีเ่ รานำขึน้ ไปไว้ในโลกเสมือนจริงนี้ วันหนึง่ สิ่งเหล่านี้อาจสะท้อนกลับมายังเรา ผู้ซ่ึง ต้ อ งรั บ ผิ ด ชอบต่ อ การกระทำทั้ ง หลาย ทั้งปวง ดังนั้นการใช้เทคโนโลยีเหล่านี้ จึง ต้องตระหนักรู้มากขึ้นถึงผลกระทบที่อาจ ตามมา การใช้หรือไม่ใช้เทคโนโลยี อันเป็น เครื่องมือที่พระเจ้าประทานให้ผ่านทางการ สร้างสรรค์ของมนุษย์ จึงไม่ใช่ประเด็นปัญหา หากแต่การใช้เทคโนโลยีเหล่านี้อย่างไรให้ เกิดประโยชน์สูงสุดต่างหากที่ควรเป็นสิ่งที่ ต้องทบทวน ขบคิด เพื่อมิ ให้เทคโนโลยี เหล่านี้ เป็นดาบสองคม ทีด่ า้ นหนึง่ มีคณ ุ ประโยชน์ แต่อีกด้านหนึ่งเต็มไปด้วยโทษ เทคโนโลยีเครือข่ายสังคมออนไลน์ท่ีกล่าว มาก็เช่นเดียวกัน เป็นเครือ่ งมืออย่างดียง่ิ ใน การช่วยเผยแพร่ขา่ วสาร สามารถนำข่าวดี บทพระวาจา และข้อคิดต่างๆ ไปสูม่ หาชน ได้อย่างรวดเร็ว ประหยัด ด้วยความทีม่ ผี ใู้ ช้ เป็นเครือข่ายสังคมจำนวนมากมายนัน้ การ แสดงทัศนะ การพูดคุยของเรากับเพือ่ น จึง ไม่ได้เป็นเรือ่ งส่วนตัวอีกต่อไป แต่ทกุ สิง่ ทุกอย่างทีน่ ำเสนอ หรือโพสต์ขน้ึ ไปในเครือ-
ข่ า ยสั ง คมออนไลน์ เป็ น เสมื อ นข้ อ มู ล ที่ สาธารณชนสามารถเข้าถึงได้ ดังนัน้ จึงต้อง พึงระวังไว้เสมอ สำหรับทุกสิ่งทุกอย่างที่ โพสต์ขน้ึ ไปนัน้ “ไม่จำเป็นทีจ่ ะต้องโพสต์ทกุ สิง่ ทีค่ ดิ แต่จงคิดทุกสิง่ ที่โพสต์” ไม่เช่นนัน้ สิ่งเหล่านี้จะสะท้อนกลับมาเล่นงานเราใน ภายหลังได้และขอให้เราในฐานะคริสตชนที่ ดี จงช่วยกันเผยแผ่ขา่ วดีของพระเจ้าผ่าน ทางเครือข่ายสังคมออนไลน์ ดังที่ได้ทรง ตรัสไว้ ดังนี้ “จงอย่าพูดคำเลวร้ายใดๆเลย จง พูดแต่คำดีงามเพื่อช่วยกันเสริมสร้างผู้อ่ืน ตามโอกาส และเพื่อให้เกิดประโยชน์แก่ บรรดาผู้ ได้ยนิ ได้ฟงั ” (อฟ. 4: 29) “อย่าให้มที ง้ั การพูดหยาบคาย พูด ไร้สาระและตลกหยาบโลนซึ่งไม่เป็นการ สมควร แต่ให้มกี ารขอบพระคุณ” (อฟ. 5: 4) “จงหลีกเลีย่ งคำพูดเพ้อเจ้อไร้สาระ เพราะมีแต่จะทำให้หา่ งพระเจ้ามากขึน้ และ คำพู ด ของบุ ค คลเหล่ า นี้ จ ะแพร่ อ อกไป เหมือนกับเนือ้ ร้าย” (2ทธ. 2: 16-17) “อย่าให้ใครใช้คำพูดไร้สาระหลอก ลวงท่าน ผูท้ ่ีไม่ยอมเชือ่ ฟังและทำความผิด เหล่านีส้ มควรจะได้รบั โทษจากพระเจ้า จง อย่าสมาคมกับคนเหล่านีเ้ ลย” (อฟ. 5: 6-7)
Facebook : เครือข่ายสังคมออนไลน์ : ปฏิเสธหรือยอมรับ?
86 วารสารแสงธรรมปริทัศน์ ฉบัับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2011/2554
พระองค์ทรงสั่งสอนเรามากว่า 2 พันปีแล้ว และคำสอนเหล่านีส้ ามารถนำมา ประยุกต์ใช้ในปัจจุบนั ได้เป็นอย่างดี ไม่เว้น แม้ ก ระทั้ ง เครื อ ข่ า ยสั ง คมออนไลน์ ซึ่ ง หลายๆครัง้ เรามัวแต่ลมุ่ หลง มัวเมา สนุก สนานกับการแสดงความคิด และทัศนะที่ ไม่สร้างสรรค์ พูดจาด้วยคำที่ไม่เหมาะสม หยาบคาย และใช้เวลาไปกับสิง่ ต่างๆ เหล่านี้ อย่างเปล่าประโยชน์ จึงขอทิง้ ท้ายพระวาจา ของพระเจ้า ไว้สำหรับใครทีเ่ สียเวลาไปกับ สิง่ ต่างๆ เหล่านี้ “จงบังคับให้คนพวกนี้ทำงานหนัก กว่าเดิม เขาจะได้ทำงานแทนทีจ่ ะไปคอยฟัง คำหลอกลวง” (อพย. 5: 9)
สุดท้ายนี้ ขอนำเสนอเว็บไซต์ทน่ี า่ จะเป็นประโยชน์ โดยเฉพาะสำหรับท่านที่ เป็นนักวิชาการ ทีต่ อ้ งการองค์ความรูใ้ นเรือ่ ง ของปรัชญา ศาสนา และเทววิทยา จึงขอ แนะนำเว็บไซต์ของศูนย์วิจัยค้นคว้าศาสนา และวัฒนธรรม วิทยาลัยแสงธรรม http:// www.saengtham.ac.th/2008-08-0917-47-13/2009-03-15-11-45-08 ซึง่ ใน หน้าเว็บนีจ้ ะมีผลงานวิจยั ปีการศึกษา 25512552 ฉบับเต็มให้ทา่ นได้ Download ไป ศึกษา อ้างอิงได้อย่างสะดวกครับ และถ้ามี ผลงานวิจยั ใหม่ๆ ทางศูนย์วจิ ยั ฯ ก็จะนำขึน้ ให้อยูเ่ สมอๆ ครับ ดังภาพที่ 1
ภาพที่ 1 ภาพแสดงเว็บไซต์ศนู ย์วจิ ยั ฯ วิทยาลัยแสงธรรม สำหรับ Download ผลงานวิจยั ฉบับเต็ม
Facebook : เครือข่ายสังคมออนไลน์ : ปฏิเสธหรือยอมรับ?
87
นอกจากนี้ ยังมีหน้าเว็บไซต์สำหรับ Download วารสารวิชาการวิทยาลัยแสงธรรม ซึง่ ออกเผยแพร่ฉบับแรกตัง้ แต่ปกี าร ศึกษา 2551 เป็นวารสารทีร่ วบรวมผลงาน วิจยั ด้านปรัชญา ศาสนา เทววิทยา และการ ศึกษาจากทัว่ ทุกสารทิศ มีระบบการประเมิน บทความตามมาตรฐานวารสารวิ ช าการ (Peer Review) และวารสารนีจ้ ดั พิมพ์เผย แพร่ ไ ปยั ง สถาบั น อุ ด มศึ ก ษาทั้ ว ประเทศ ครับ อย่างไรก็ตามท่านสามารถเปิดดูได้ จากเว็ บ ไซต์ อี ก ทางหนึ่ ง ครั บ ตามลิ ง ค์ น้ี
http://www.saengtham.ac.th/sc-journal ดังภาพที่ 2 และหากท่านใดสนใจสื่อการสอน ในรู ป แบบของหนั ง สื อ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ (e-Book) ทีค่ ล้ายหนังสือทัว่ ไป แต่อยูใ่ นรูป ของดิจติ อลไฟล์ ทีส่ ามารถใส่ตวั อักษร ภาพ เสียง คลิปวีดี โอ เข้าไปเพื่อเพิ่มความน่า สนใจให้กบั ตัวเนือ้ หาได้ ก็ขอเชิญเข้าไปชม ได้ที่เว็บไซต์ http://www.saengtham. ac.th/ebook1.html ตัวอย่างดังภาพที่ 3
ภาพที่ 2 ภาพแสดงเว็บไซต์วารสารวิชาการวิทยาลัยแสงธรรม สำหรับดูวารสารวิชาการทุกฉบับ
Facebook : เครือข่ายสังคมออนไลน์ : ปฏิเสธหรือยอมรับ?
88 วารสารแสงธรรมปริทัศน์ ฉบัับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2011/2554
ภาพที่ 3 ภาพแสดงตัวอย่างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-Book) ทีม่ ีไว้บริการทางวิชาการ
หากท่ า นใดมี โ ทรศั พ ท์ มื อ ถื อ ที่ สามารถอ่าน QRCode ได้ พร้อมต่ออินเตอร์เน็ต เชิญนำกล้องมาทดลองส่องได้เลยครับ
1) เว็บไซต์งานวิจยั ฉบับสมบูรณ์ 2) เว็บไซต์ วารสารวิชาการ และ 3) เว็บไซต์ e-Book ตามลำดับครับ
Facebook : เครือข่ายสังคมออนไลน์ : ปฏิเสธหรือยอมรับ?
89
ยืน ภูว่ รวรรณ. 2553. Social Media กับการศึกษายุคไอซีท.ี ICTEd2010, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. เรืองโรจน์ พูนผล. 2551. บทเรียนธุรกิจร้อน ๆ จาก Silicon Valley. กรุงเทพฯ : เนชัน่ บุค๊ ส์. Association for Computing Machinery(ACM). 2007. Code of Ethics and Professional Conduct. [Online] Available from : http://www.acm.org/about/code-of ethics [2007, March 1]. DiGiacomo, J. J. 2000. Teaching Right from Wrong : The Moral Education of Today’s Youth. National Catholic Educational Association, Washington, DC.
Facebook : เครือข่ายสังคมออนไลน์ : ปฏิเสธหรือยอมรับ?
90 วารสารแสงธรรมปริทัศน์ ฉบัับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2011/2554
หมวดทั่วไป
การสื่อสาร
เพื่อเสริมศักยภาพการอภิบาล ภุมเรศ ภูผา
“การรูจ้ กั การนำเทคโนโลยีและการสือ่ สารมาใช้ในด้านงานอภิบาลและการประกาศ ข่าวดี จึงถือเป็นสิง่ สำคัญทีพ่ ระศาสนจักรต้องมุง่ สนับสนุน ส่งเสริม และพัฒนาอย่างจริงจัง เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด” (แผนอภิบาล คริสตศักราช 2010 -2015 ของพระศาสนจักรคาทอลิกแห่งประเทศไทย ข้อที่ 54)
บทนำ “การสื่อสาร” ของมนุษย์ในสังคม ปัจจุบันมีความสำคัญและความจำเป็นใกล้ เคี ย งกั บ ความต้องการทางด้านกายภาพ ที่ร่างกายของมนุษย์ต้องการอาหาร น้ำ
อากาศ และที่อยู่อาศัย มนุษย์จำเป็นต้องมี การแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารระหว่างกลุ่ม เพื่อสร้างความเข้าใจต่อกัน ช่วยในการ ดำเนินกิจกรรมต่างๆ ในชีวิต และในสังคม เนื่ อ งจากว่ า มนุ ษ ย์ ไ ม่ ส ามารถอยู่ ไ ด้ โ ดย
นักศึกษาหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาปรัชญาและศาสนา คณะมนุษยศาสตร์ วิทยาลัยแสงธรรม ชัน้ ปีท่ี 3 ปีการศึกษา 2553
การสื่อสารเพื่อเสริมศักยภาพการอภิบาล
91
ลำพัง ดังนั้นการสื่อสารของมนุษย์จึงเป็น พฤติกรรมที่จำเป็นต้องมีเพื่อความอยู่รอด เหมือนกัน การติดต่อสื่อสาร (Communication) คำว่า “การสื่อสาร” หรือ “การ ติดต่อสื่อสาร” (Communication) มาจาก คำในภาษาละตินว่า “Communis” ซึ่งมี ความหมายถึง ร่วมกัน คล้ายคลึงกัน (Common) ถ้าแปลตามรากศัพท์เดิมหมายถึง สิง่ ทีม่ งุ่ สร้างให้เกิด “ความร่วมกัน” ระหว่าง บุคคลที่เกี่ยวข้อง หรือถ้าหากว่าเราจะให้คำจำกัดความของคำว่า การติดต่อสือ่ สาร (Communication) ในความหมายทั่วๆไป หมายถึง กระบวนการในการส่งและแลกเปลี่ยนข่าว สาร ความคิดและทัศนคติจากบุคคลหนึง่ ไป ยังอีกบุคคลหนึง่ ตามความหมายการติดต่อ สื่อสารจะต้องมีคู่สื่อสารเกิดขึ้น คือ มีผู้ส่ง
การสื่อสารเพื่อเสริมศักยภาพการอภิบาล
สาร (Source) และผู้รับสาร (Receiver) โดย ผู้ส่งสารจะส่งสาร (Message) ที่ต้องการ ผ่านไปตามช่องทางหรือสื่อ (Channel) ไป ถึงผู้รับ ผู้รับสารจะต้องอาศัยการรับสัมผัส (Senses) ในหลายช่องทาง เช่น การมอง เห็น (Sight) การได้ยิน (Sound) การสัมผัส (Touch) การลิ้มรส (Taste) และการได้กลิ่น (Smell) การรับสัมผัสนีอ้ าจเกิดจากช่องทาง เดียวหรือหลายๆช่องทางก็ได้ แล้วแปลสาร ที่ได้รับ หากการแปลสารได้ผลตรงตามที่ผู้ ส่งสารต้องการ การสื่อสารนั้นก็สัมฤทธิ์ผล การสื่อสารตามหลักธรรมาภิบาลเพื่อเสริม ศักยภาพการอภิบาล ธรรมาภิบาล (Good Governance) เป็ น คำที่ นิ ย มใช้ กั น มากเมื่ อ ไม่ นานมานี้ โดยองค์การสหประชาชาติด้านการพัฒนา (UNDP) เริม่ ใช้คำนีอ้ ย่างสัมพันธ์กนั และเพือ่ เป็นเงื่อนไขสำคัญของ “การพัฒนายั่งยืน”
การสื่อสารเพื่อเสริมศักยภาพการอภิบาล
92 วารสารแสงธรรมปริทัศน์ ฉบัับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2011/2554
“
1. การมีส่วนร่วม (Participation) “จงเป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกัน”(1ปต. 3: 8-12) การสื่ อ สารเพื่ อ ให้ เ กิ ด การมี ส่วนร่วมและความเป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกัน ด้วยความรัก เป็นสิ่งที่สำคัญและจำเป็นที่ผู้ อภิบาลจะต้องสร้างให้เกิดขึน้ ในพระศาสนจักร ผู้อภิบาลจำเป็นต้องให้ความสำคัญกับ บรรดาคริสตชน เพราะพวกเขา คือ ผู้ร่วม อภิบาลที่ผู้อภิบาลควรสร้างให้มีคุณภาพ เพื่อทำงานรับใช้พระศาสนจักร บรรดา คริสตชนทั้งชายและหญิง ควรมีส่วนร่วมใน การตัดสินใจ มีการสือ่ สารกันในพระศาสน-
“
(Sustainable Development) โดยขยาย ความจากคำว่า“อภิบาล”(Governance) ซึ่งสัมพันธ์กับคำว่า รัฐบาล (Government) และผู้อภิบาล ผู้ว่าการ ผู้ว่าราชการ (Governor) ในขณะที่คำว่าอภิบาล หมายถึง กระบวนการและระบบซึ่งรัฐบาลและผู้อภิบาลนำมาใช้ เมื่อเราจะอธิบาย คำว่า ธรรมมาภิบาลอย่างกว้างๆ คือ เป็นกระบวนการ ตัดสินใจหรือการกำหนดนโยบาย เพือ่ นำไป สูก่ ารปฏิบตั ิโดยใช้สำหรับสถาบันสาธารณะ ที่ดำเนินงานเพื่อสาธารณะ บริหาร ทรัพยากรของส่วนรวม และดูแลให้เกิด ความเคารพในสิทธิมนุษยชน เพราะฉะนั้น ธรรมาภิบาลจึงเป็นการดำเนินงานที่ปลอด การคอรัปชั่น และเคารพต่อกฎหมาย ธรรมาภิบาล คือ การอภิบาลที่เป็น ธรรม มีลักษณะสำคัญ 9 ประการ คือ
การใช้สื่อควรจักต้องถือว่าเกียรติและบุคลิกภาพของตนอยู่ เหนือสิ่งใด เราทุกคนต้องเคารพความเป็นภาพลักษณ์ของ พระเจ้าที่อยู่ในร่างกายของเราแต่ละคน
การสื่อสารเพื่อเสริมศักยภาพการอภิบาล
93
จักรเพื่อเน้นให้เกิดการมีส่วนร่วมของพระวรกายที่ศักดิ์สิทธิ์ ทั้ ง นี้ เ พื่ อ ความเป็ น น้ ำ หนึ่ ง ใจ เดียวกัน การใช้สื่อควรจักต้องถือว่าเกียรติ และบุคลิกภาพของตนอยู่เหนือสิ่งใด เรา ทุกคนต้องเคารพความเป็นภาพลักษณ์ของ พระเจ้าที่อยู่ในร่างกายของเราแต่ละคน 2. หลักนิติธรรม (Rule of Law) “พระเจ้าทรงรักมนุษ ย์ที่ปฏิบัติตามพระบัญญัติของพระองค์” (ฉธบ.5: 8-10) การสื่อสารเพื่อให้เกิดหลักนิติธรรมในการดำรงชีวิต การมีกรอบของกฎหมายที่ดี และมีการบังคับใช้โดยไม่เลือก ที่รักมักที่ชัง เคารพสิทธิของมนุษย์ ถือว่า เป็นผลจากการเป็นศิษย์ของพระเยซูคริสต์ ที่ดี ซึ่งการที่จะเป็นศิษย์ของพระคริสต์ที่ดี นั้น จำเป็นที่เราต้องมีองค์ประกอบในการ ดำรงชีวิต 3 ประการด้วยกัน คือ “ดำรงชีวิต ตามคุ ณ ค่ า ของพระวรสาร มี ค วามสนิ ท สั ม พั น ธ์ กั บ ศี ล ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ใ นแต่ ล ะจั ง หวะ ของชีวิต และมีชีวิตที่ยกจิตใจของเราขึ้นหา พระเป็นเจ้าผ่านทางการภาวนาเสมอ” ซึง่ ผลของการเป็นศิษย์ทด่ี ี ทำให้ เราเป็นหนึ่งเดียวกับสังคมด้วยความยุติ-
ธรรม ปฏิบัติตามกฎของสังคมที่เราอาศัย อยู่อย่างดี โดยมีการสื่อสารที่สนองเป้าหมายของสั ง คมไทย โดยสนั บ สนุ น การ ธำรงชาติ ศาสนา สถาบันพระมหากษัตริย์ และระบอบประชาธิปไตย 3. ความโปร่งใส (Transparency) “ผลแห่งความสว่าง ก็คือ ความชอบธรรม และสัตย์จริง” (อฟ. 5: 9-11) การสื่ อ สารเพื่ อ ให้ เ กิ ด ความ โปร่งใส พระจิตเจ้าทรงเป็นผูน้ ำหนทางแห่ง ความเชื่อของเรา เปรียบเหมือนแสงสว่างที่ นำเราทุกคนให้รู้จักหนทางแห่งความสว่าง และความดี ซึง่ ผลของการเดินตามหนทางนี้ คือ ความชอบธรรมและความซื่อสัตย์ การ มีความเชื่อในพระเป็นเจ้าและวางใจในการ ดลใจของพระจิตทำให้เราสามารถเลือกใน สิ่งที่ถูกต้องในการดำรงชีวิตได้เป็นอย่างดี และทำให้เรารู้ในสิ่งที่เป็นความดีและความ ไม่ดี โดยการนำทางของพระจิตเจ้า การสื่ อ สารของผู้ อ ภิ บ าลจั ก ต้ อ งกล้ า ชี้ อันตรายในสังคมด้วยความบริสุทธิ์ใจ เพื่อ ให้สังคมเกิดความดีอย่างแท้จริงด้วยแสง แห่งรักจากองค์พระเยซูเจ้า
การสื่อสารเพื่อเสริมศักยภาพการอภิบาล
94 วารสารแสงธรรมปริทัศน์ ฉบัับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2011/2554
“
เบื อ นเจตนารมณ์ ข องการเป็ น นั ก สื่ อ สาร ของตนเอง เพื่อทำงานในการประกาศพระอาณาจักรของพระเจ้าให้กว้างไกลออกไป จนสุดปลายแผ่นดิน 5. มติร่วม (Consensus) “จงรักษาความเป็นหนึ่งเดียวกันในพระวรกาย” (อฟ. 4: 1-6) การสื่อสารเพื่อให้เกิดมติร่วม การสื่อสารด้วยความรัก ทำให้คริสตชนที่ รวมตัวกันเป็น “ชุมชนวัด” ได้เกิดการ พัฒนาไปสู่รูปแบบ “ชุมชนแห่งความรัก” เป็นพระหนึ่งเดียวในพระวรกายของพระคริ ส ตเจ้ า ทำให้ พ ระศาสนจั ก รเกิ ด การ พัฒนาไปในทิศทางเดียวกัน โดยอาศัยหลัก ธรรมาภิบาลเป็นตัวกลางประสานความสนใจ และผลประโยชน์ที่แตกต่างหลากหลาย ไป บรรลุจุดร่วมเป็นมติร่วม ให้เกิดประโยชน์ มากที่สุดเกี่ยวกับผู้เกี่ยวข้อง
“
4. การตอบสนอง (Responsiveness) “ผู้ซื่อสัตย์ ในเรื่องเล็กน้อยก็จะสื่อสัตย์ ใน เรื่องใหญ่โต” (ลก. 16: 10-12) การสื่อสารเพื่อการตอบสนอง พระศาสนจักรเรียกร้องให้มีการตอบสนอง ต่ อ การมี ป ระสบการณ์ กั บ พระเจ้ า อย่ า ง ต่อเนื่อง ซึ่งนำเราไปสู่ขั้นของการปฏิบัติใน การดำเนินชีวติ เป็นคริสตชนทีส่ มบูรณ์ ชีวติ ที่สมบูรณ์ในองค์พระเป็นเจ้า ทำให้เราเกิด การตอบสนองที่สอดคล้องต่อคำสอนของ พระคริสตเจ้า คือ การดำเนินชีวติ ด้วยความ รักและความซื่อสัตย์สุจริตเสมอ ประกอบ อาชี พ ด้ ว ยน้ ำ พั ก น้ ำ แรงของตนเองด้ ว ย ความซื่อตรงเสมอ การมี ชี วิ ต คริ ส ตชนที่ ส มบู ร ณ์ การสื่อสารของผู้อภิบาลจักต้องสุจริตต่อ หน้ า ที่ โ ดยไม่ ย อมรั บ อามิ ส สิ น จ้ า งให้ บิ ด
การสื่อสารด้วยความรัก ทำให้คริสตชนที่รวมตัวกันเป็น “ชุมชนวัด” ได้เกิดการพัฒนาไปสู่รูปแบบ “ชุมชนแห่งความรัก”
การสื่อสารเพื่อเสริมศักยภาพการอภิบาล
95
ชุมชนแห่งความรักในองค์พระคริสตเจ้า จักต้องใช้สอื่ ในการนำเสนอความ รู้ ร อบตั ว ที่ มี คุ ณ ประโยชน์ ต่ อ คนจำนวน มาก ทั้งนี้ โดยพิจารณาจากเหตุผล มิใช่ อนุ โ ลมตามความต้ อ งการของธุ ร กิ จ สื่ อ มวลชนแต่เพียงอย่างเดียว เพื่อทุกคนที่อยู่ ในพระศาสนจักรจะได้รับข่าวดีของพระเป็นเจ้า เพื่อค้นพบกับความรอด 6. ความเท่าเทียม เสมอภาค และ เป็นธรรม (Equity) “ให้ รั ก ษาพระมรรคาของพระเจ้าโดยทำ ความชอบธรรมและยุติธรรม” (ปฐก. 18: 17-19) การสื่อสารเพื่อความเท่าเทียม เสมอภาค และเป็นธรรม ความยุติธรรม คือ พื้นฐานของความรัก ผู้อภิบาลจำเป็น ต้องสร้างเอกภาพให้เกิดขึ้นในกลุ่มคริสต-
ชน ปลุกจิตสำนึกของความเสมอภาคใน สังคม เข้าใจในความยุติธรรมที่พึงจะมี โดย สร้างให้เกิดความเท่าเทียมกันในทุกระดับ เหมือนกับกลุ่มคริสตชนสมัยแรก ที่อยู่กัน ด้วยความรักและเป็นพี่น้องกัน คริสตชน ทุกคนมีส่วนร่วมไม่มี ใครถูกกีดกันออกไป จากสังคม โดยเฉพาะกลุม่ คนทีอ่ ยู่ในสภาวะ ลำบากยากแค้นและอันตราย ให้พวกเขาได้ มีโอกาสในการพัฒนาความเป็นอยู่ของตน เอง กลุ่มคริสตชนที่มีความยุติธรรม เป็นพื้นฐาน จักต้องใช้การสื่อสารเพื่อส่งเสริมให้อำนาจทุกฝ่ายตามรัฐธรรมนูญ มี เสถียรภาพในการปฏิบัติหน้าที่ของตนตาม กฎหมายอย่างถูกต้องเสมอ 7. ประสิทธิผล (Effectiveness) และ ประสิทธิภาพ (Efficiency) “เป็นผู้ชอบธรรมเพราะมีความเชื่อในพระคริสตเจ้า”(รม. 3: 21-26) การสื่อสารเพื่อประสิทธิผลและ ประสิทธิภาพ พระวาจาและชีวิตภาวนา คือ แก่นของการสร้างความเชือ่ สำหรับคริสตชน โดยให้ความเชื่อที่เราทุกคนมี หยั่งรากลึก ถึงประสบการณ์กับพระเจ้าในชีวิตประจำ วันของเราแต่ละคน ผ่านทางการปฏิบตั เิ ป็น ประจำในชีวิตของเรา โดยกระบวนการและ
การสื่อสารเพื่อเสริมศักยภาพการอภิบาล
96 วารสารแสงธรรมปริทัศน์ ฉบัับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2011/2554
สถาบั น ต่างๆ จะต้องตอบสนองความ ต้องการของสังคม โดยการจัดทรัพยากรที่ มีอยู่อย่างดีที่สุดรวมไปถึงการใช้อย่างยั่ง ยืนและคุ้มครองสิ่งแวดล้อม การสื่อสารเพื่อประสิทธิผลและ ประสิทธิภาพ จักต้องเสนอความบันเทิงที่ ไม่เป็นพิษเป็นภัย ถ้าจำเป็นพึงแยกประเภท ของผูช้ มและประกาศให้ทราบ เพือ่ ชีวติ ของ เราจะได้รับแต่สิ่งที่เกิดประโยชน์ต่อการ พัฒนาทางด้านสติปัญญาและคุณธรรมใน การดำรงชีวิต 8. ความรับผิดชอบ (Accountability) “ถ้าเราตายกับพระองค์ เราก็จะดำรงชีวิต กับพระองค์” (2ทธ. 2: 8-13) การสื่อสารเพื่อสร้างความรับผิดชอบ ในการตายกับพระองค์ เราต้องมี ความเห็นอกเห็นใจและเห็นแก่ประโยชน์ ของส่วนรวม เหมือนพระคริสตเจ้าที่ได้ทำ เพื่อพวกเราทุกคน เราจะไม่สามารถดำรง ชีวิตกับพระองค์ ได้เลยหากว่าเราไม่ตายใน รูปแบบเดียวกับทีพ่ ระองค์ทรงตาย การตาย กับพระองค์สอนให้เรามีชีวิตอยู่เพื่อผู้อื่น คือ มีความรับผิดชอบต่อสาธารณะและผู้ มีส่วนได้เสียที่เกี่ยวข้อง โดยเฉพาะผู้ที่จะ
การสื่อสารเพื่อเสริมศักยภาพการอภิบาล
ได้รบั ผลกระทบจากนโยบายหรือการปฏิบตั ิ งาน การสื่อสารเพื่อสร้างความรับผิดชอบต่อสังคม คือ จักต้องตระหนักใน ความรับผิดชอบต่อทุกเรื่องที่ออกทางสื่อมวลชนและจักต้องเสนอข่าวตามที่มีหลักฐาน ถ้าหากภายหลังพบว่าผิดพลาดพึงแก้ ข่าวด้วยความรับผิดชอบ 9. วิสัยทัศน์เชิงยุทธศาสตร์ (Strategic Vision) “เป็นผู้มีความรัก แม้กระทั่งยอมสละชีวิต ของตน” (ยน. 15: 12-17) การสื่ อ สารเพื่ อ วิ สั ย ทั ศ น์ เ ชิ ง ยุทธศาสตร์ ต้นแบบชีวิตที่มีพระเยซูคริสต์ เป็นผู้นำ สอนเราให้รจู้ กั คำสอนเรือ่ งความ รักอย่างแท้จริง พระองค์ทรงยอมสละแม้ กระทั่งชีวิตของตนเองเพื่อพวกเราทุกคน ที่เป็นคนบาป รูปแบบชีวิตของพระองค์ใน ทุกด้านจึงเป็นรูปแบบของการเป็นผู้อภิบาลที่ ส มบู ร ณ์ โดยผู้ น ำตามแบบพระคริสตเจ้าที่ควรจะเป็น คือ การมีโลกทัศน์ และวิ สั ย ทั ศ น์ ที่ ก ว้ า งไกลเกี่ ย วกั บ การ พัฒนาธรรมาภิบาล เข้าใจรากเหง้าทีม่ าของ สังคมวัฒนธรรมตามแบบอย่างของพระคริ ส ตเจ้ า อั น เป็ น รากฐานที่ ส ำคั ญ ของ
97
พวกเราทุกคนที่รวมอยู่ ในพระศาสนจักร แห่งรัก การสื่ อ สารเพื่ อ วิ สั ย ทั ศ น์ เ ชิ ง ยุทธศาสตร์ จักต้องไม่ยอมให้สื่อมวลชน เป็นเครื่องมือของผู้ใดผู้หนึ่งที่มีเป้าหมาย มิชอบ แต่ต้องมีเพื่อส่งเสริมความถูกต้อง และความดีเพื่อการพัฒนาสังคม สรุป การสื่อสาร คือ เครื่องมือที่สำคัญ ในการทำงานอภิบาลและการประกาศข่าว ดีของบรรดาผู้อภิบาล การประกาศพระ-
อาณาจักรของพระเจ้าของพระศาสนจักร โดยผ่านทางบรรดาผู้อภิบาลจำเป็นต้อง ใช้ เ ทคโนโลยี แ ละการสื่ อ สารในการ ประกาศข่าวดีของพระเจ้าอย่างรอบคอบ และด้วยความระมัดระวังเป็นอย่างยิง่ จำเป็น ต้องรู้เท่าทันสื่อ เพื่อการสื่อสารจะได้เกิด ประสิทธิภาพสูงสุดในเชิงสร้างสรรค์ ผู้ อ ภิ บ าลต้ อ งเป็ น มโนธรรมที่ ดี และสร้ า งจุ ด ยื น ที่ เ หมาะสมให้ แ ก่ สั ง คม โดยการเตือนสติเสมอ เพื่อที่จะได้ใช้เทคโนโลยีและการสื่อสารในการสร้างสรรค์ให้ โลกใบนี้น่าอยู่ยิ่งขึ้นและตลอดไป
การสื่อสารเพื่อเสริมศักยภาพการอภิบาล
98 วารสารแสงธรรมปริทัศน์ ฉบัับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2011/2554
กาญจนา แก้วเทพ. การวิเคราะห์สื่อ : แนวคิดและเทคนิค. กรุงเทพมหานคร: อินฟินิตี้เพรส, 2541. กีรติ บุญเจือ. คูม่ อื จริยศาสตร์ตามหลักวิชาการสากล. กรุงเทพมหานคร : เชน ปริน้ ติง้ , 2551. จินตนา บุญบงการ. จริยธรรมทางธุรกิจ. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย, 2547. ณรงค์ สมพงษ์. สื่อสารมวลชนเพื่องานส่งเสริม. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2543. สภาพระสังฆราชคาทอลิกแห่งประเทศไทย. แผนอภิบาล คริสตศักราช 2010-1025 ของพระศาสนจักรคาทอลิกในประเทศไทย อภิบาลชุมชนศิษย์พระคริสต์ร่วม พันธกิจแบ่งปันข่าวดี. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์อัสสัมชัญ, 2553. เสรี พงศ์พิศ. 100 คำที่ควรรู้. กรุงเทพมหานคร : พลังปัญญา, 2547. สุรัตน์ เมธีกุล. การปฏิรูปสื่อในยุคไร้พรมแดน. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2545. Childs, James M. Ethic In Business:Faith at Work. Minneapolis : Fortress, 1995. Thayer, Lee. Ethics, Morality and the Media. Newyork : Hastings House, 1980.
การสื่อสารเพื่อเสริมศักยภาพการอภิบาล
99
บาทหลวงสมชัย พิทยาพงศ์พร ชื่อหนังสือ ผู้เขียน ผูจ้ ดั พิมพ์ พิมพ์ครั้งแรก จำนวนหน้า
แสงสว่างของโลก, สมเด็จพระสันตะปาปา, พระศาสนจักร, และเครือ่ งหมาย แห่งกาลเวลา,การสนทนากับปีเตอร์ ซีวอล์ด (Light of The World,The Pope, the Church, and the Signs of the Times, A Conversation with Peter Seewald. สมเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ ที่ 16 Ignatius Press พฤศจิกายน 2010/2553 219 หน้า สมเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ ที่ 16 ผู้นำด้านจิตวิญญาณคริสตชนคาทอลิกจำนวนประมาณ 1200 ล้านคนทั่วโลก หลังจากเป็นพระสันตะปาปาได้ 5 ปี พระองค์เป็นพระสันตะปาปาองค์แรกในประวัติ ศาสตร์ ที่ให้นักหนังสือพิมพ์คาทอลิกชาว เยอรมันชื่อ ปีเตอร์ ซีวอล์ด (Peter Seewald) ใช้เวลาช่วงฤดูร้อนสัปดาห์สุดท้าย ของเดือนกรกฎาคม 2010 เป็นเวลา 6 วันๆ ละ 1 ชม. สัมภาษณ์เพื่อตอบคำถามสำคัญ
บาทหลวงสังกัดสังฆมณฑลจันทบุร,ี อาจารย์ประจำสาขาวิชาเทววิทยา คณะศาสนศาสตร์ วิทยาลัยแสงธรรม แนะนำหนังสือ
100 วารสารแสงธรรมปริทัศน์ ฉบัับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2011/2554
ในหั ว ข้ อ ต่ า งๆ ผู้ สั ม ภาษณ์ ไ ด้ ส รุ ป ว่ า พระสั น ตะปาปาต้ อ งการบอกว่ า โลกไม่ สามารถดำเนินต่อไปอย่างที่เป็น โลกได้มา ถึงทางแยก ต้องทบทวน และเปลี่ยนแปลง เกิ ด ปั ญ หามากมายที่ ต้ อ งแก้ ไ ข และจะ แก้ ไขได้ เมื่อโลกมีพระเจ้าซึ่งเป็นแสงสว่าง เป็นพลัง เป็นหลักศีลธรรม หนังสือแบ่งเป็น 3 ภาค 18 บท มีเนื้อหาสำคัญโดยสังเขปดังนี้ ภาคหนึ่ง เครื่องหมายแห่งกาลเวลา (บทที่ 1-6) บทที่ 1 พระสันตะปาปามิได้ตกมา จากท้องฟ้า พระสันตะปาปาเบเนดิกต์ชอบ เป็นอาจารย์สอนเทววิทยา แต่พระองค์กลับ ได้รับเลือกเป็นพระสังฆราช พระคาร์ดินัล และพระสันตะปาปา พระองค์ยอมรับและ อุทิศตนทำหน้าที่อย่างดีที่สุด พระสันตะปาปาไม่มีอำนาจทางโลก แต่เป็นผู้นำด้าน ความเชื่อและจิตวิญญาณ เป็นผู้แทนของ พระคริสตเจ้าร่วมกับพระสงฆ์ พระสังฆราช ฆราวาสในพระศาสนจักร พระสันตะปาปา มีอำนาจสอนอย่างไม่ผิดพลาดด้านความ เชือ่ และศีลธรรม เป็นธรรมประเพณีตอ่ เนือ่ ง ตั้งแต่สมัยพระศาสนจักรแรกเริ่ม หมายถึง ในบางเงื่อนไข พระสันตะปาปามีอำนาจ ตัดสินชี้ขาดสุดท้ายว่า อะไรเป็นความเชื่อ
แนะนำหนังสือ
ของพระศาสนจักร และอะไรไม่ใช่ พระสันตะปาปาเป็นผู้นำการเป็นมรณสักขีคือ เป็นพยานถึงพระคริสตเจ้าด้วยชีวิตในโลก พระองค์ ท ำหน้ า ที่ พ ระสั น ตะปาปาอย่ า ง เต็มที่ พระองค์มผี รู้ ว่ มงานทีด่ ีมีเวลาทำงาน มีเวลาพักผ่อน มีชีวิตหมู่คณะ มีเวลาร่วม เฉลิมฉลอง และมีเวลาสวดภาวนา บทที่ 2-3 การทำผิดทางเพศที่เป็น เรื่องอัปยศอดสูและการเปลี่ยนวิกฤติเป็น โอกาส เมือ่ พระสันตะปาปาเบเนดิกต์ได้รบั เลือกเป็นพระสันตะปาปา พระองค์ ได้รับ การต้อนรับเป็นอย่างดี จากบุคคลต่างๆ สมณสาสน์ฉบับแรกของพระองค์ “พระเจ้า คือ ความรัก” จำหน่ายได้มากกว่า 3 ล้าน เล่มในประเทศอิตาลี ในปีแรกของการเป็น พระสันตะปาปามีคริสตชนจำนวนประมาณ 4 ล้านคนมาเยี่ยมพระสันตะปาปาที่พระวิหารนักบุญเปโตร มีคริสตชนจำนวนมาก มาร่วมต้อนรับพระองค์เมื่อพระองค์เสด็จ ไปเยี่ ย มพระศาสนจั ก รในประเทศต่ า งๆ ต่อมามีปัญหาการทำผิดทางเพศต่อเด็ก และเยาวชนของพระสงฆ์จำนวนน้อยบาง คน ปัญหานีเ้ ป็นเรือ่ งอัปยศอดสูทเี่ กิดขึน้ ใน พระศาสนจักรของประเทศต่างๆ เช่น ใน อเมริกา ไอร์แลน และเยอรมัน เป็นต้น ทำให้เกิดวิกฤติทางความเชือ่ ถือต่อบุคลากร
101
ของพระศาสนจักร พระสันตะปาปาได้ให้ แนวทางที่ชัดเจนในการแก้ปัญหา พระองค์ ไม่หนีปัญหา แต่ยอมรับและแก้ปัญหาที่ เกิดขึน้ โดยกำหนดแนวทางชัดเจน ประการ แรก ต้องให้ความช่วยเหลือดูแลผูถ้ กู กระทำ ประการที่สอง ออกมาตรการเพื่อป้องกัน ไม่ให้ปัญหาเกิดขึ้นอีก ประการที่สาม ผู้ทำ ผิดต้องได้รับการลงโทษและไม่ให้มีโอกาส กระทำผิดอีก และให้มีการปฏิบัติตามกฎหมายของพระศาสนจั ก รอย่ า งเคร่ ง ครั ด เน้นความซื่อสัตย์และความจริง พระสั น ตะปาปาเบเนดิ ก ต์ ได้ เปลี่ยนวิกฤติเป็นโอกาสฟื้นฟูชีวิตพระสงฆ์ ใหม่ พระองค์ได้ประกาศให้มปี พี ระสงฆ์เพือ่ การฟื้นฟูชีวิตพระสงฆ์ ใหม่ (มิ.ย. 2009มิ.ย. 2010) บทที่ 4-5-6 ภัยพิบตั ขิ องโลก, เผด็จ การของสัมพัทธนิยม (Relativism), เวลา แห่งการกลับใจ ภั ย พิ บั ติ ข องโลกเกิ ด จากปั ญ หา ต่างๆ เช่น การทำลายสิ่งแวดล้อม การ เปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศ เป็นต้น ซึ่งส่ง ผลเสียหายต่างๆ มากมาย ปัญหามาจาก ความคิดเรื่องความก้าวหน้าและเสรีภาพ ความก้าวหน้าในความรู้ ความรู้คือ อำนาจ แต่ จ ะใช้ อ ำนาจเพื่ อ ทำลายหรื อ ใช้ เ พื่ อ
ความดีส่วนรวม ปัญหาสิ่งแวดล้อมเป็น ปัญหาด้านศีลธรรมที่ต้องนำไปสู่การปฏิบัติ เป็นรูปธรรมร่วมกัน ปัญหาเศรษฐกิจ การ ก่อหนี้สาธารณะเป็นการใช้เงินเกินตัวและ ใช้เงินของคนรุ่นอนาคต พระสมณสาสน์ “ความรักในความจริง” (Caritas in Veritate) ได้ให้แนวทางแก้ปัญหาโดยมีมุมมอง ใหม่โดยคำนึงถึงความรักต่อเพื่อนพี่น้อง เผด็จการของสัมพัทธนิยม (Relativism) ทรรศนะทีถ่ อื ว่า ความจริงหรือคุณค่า ไม่มีอยู่ ในตัวเอง แต่ขึ้นกับเหตุปัจจัยอื่น เช่น เสียงส่วนใหญ่ของประชาชน เป็นต้น ซึ่ งไม่ ส ามารถใช้ กั บ หลั ก ความดี ง ามและ ศีลธรรมได้ มนุษย์ต้องแสวงหาความจริง ความจริงจะทำให้เราเป็นอิสระ ความจริง ชี้ให้เห็นคุณค่าแท้จริง ดังตัวอย่างชีวิตของ บรรดานักบุญ เช่น นักบุญฟรังซิสอัสซีซี วินเซนต์ เดอ ปอล คุณแม่เทเรซาแห่งกัลกัตตา เป็นต้น นักบุญออกัสตินกล่าวว่า “ประวัติศาสตร์ของโลกเป็นการต่อสู้ของ ความรักสองแบบ ความรักที่เห็นแก่ตัวที่ ทำลายโลก และความรั ก ต่ อ ผู้ อื่ น ที่ ส ละ ตนเองเพื่อรักผู้อื่น” เวลาแห่งการกลับใจ มีเครือ่ งหมาย แห่ ง กาลเวลาที่ ท ำให้ เ ราตกใจ กั ง วลใจ เช่น ปัญหายาเสพติด ปัญหาการท่อง-
แนะนำหนังสือ
102 วารสารแสงธรรมปริทัศน์ ฉบัับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2011/2554
เที่ยวที่มีเพศพานิช เป็นต้น แต่ก็มีเครื่องหมายแห่งกาลเวลาแห่งความหวัง พระศาสนจักรต้องดำเนินชีวิตใหม่ตามแนวทาง ต่อเนื่องกับที่สังคายนาวาติกันที่สองได้วาง ไว้คือ การสืบสานพันธกิจการช่วยมนุษย์ให้ รอดพ้น มีชวี ติ พระเจ้า ยกศักดิศ์ รีของมนุษย์ เสริมสร้างสังคมให้เข้มแข็ง ทำงานรับใช้ ในชีวิตประจำวันอย่างมีคุณค่า และมีความ หมายมากยิ่งขึ้น (GS.40.3) ภาคสอง รัชสมัยของสมเด็จพระสันตะปาปา (บทที่ 7-12) บทที่ 7-8 Habemus Papam เรา ได้ พ ระสั น ตะปาปา, ในรองเท้ า ของชาว ประมง เมื่ อ ได้ รั บ เลื อ กเป็ น พระสั น ตะปาปา พระองค์กล่าวว่า “พระเจ้าได้ทรง เลื อ กคนงานธรรมดาที่ ต่ ำ ต้ อ ยให้ ท ำงาน ในสวนองุ่นของพระองค์” พันธกิจของ พระสันตะปาปามีมาก แต่พระองค์วางใจ ในพระเจ้า ดำเนินชีวติ ปัจจุบนั แต่ละวันวาง ใจในคณะผู้ร่วมงานที่ดี พระองค์เป็นผู้นำ พระศาสนจักร ชุมชนแห่งความเชื่อที่ต้อง ดำเนิ น ชี วิ ต เป็ น ตั ว อย่ า งแห่ ง ความเชื่ อ จนสามารถประกาศแบ่ ง ปั น ความเชื่ อ แก่ผอู้ น่ื ช่วยทำให้องค์กรอาสาสมัครอยูเ่ หนือ
แนะนำหนังสือ
วัฒนธรรม ชาติ และเวลา ไม่ขึ้นกับผล ประโยชน์ภายนอก แต่ผูกสัมพันธ์ด้านจิตวิ ญ ญาณกั บ พระคริ ส ตเจ้ า และพระเจ้ า พระองค์ติดตามข่าวสารต่างๆ ในโลก โดย เฉพาะติดตามความเป็นไปของพระศาสนจั ก รจากบรรดาพระสั ง ฆราชทั่ ว โลกที่ ม า เยี่ยมพระองค์ บรรดานักบวช ฆราวาสที่ ส่งข่าวถึงพระองค์ ในรองเท้าของชาวประมง พระสันตะปาปาเบเนดิกต์สืบต่องานของพระสันตะปาปาจอห์น ปอลที่ 2 ซึ่งในช่วง สุ ด ท้ า ยของชี วิ ต ที่ มี ค วามทุ ก ข์ ย ากจาก ความเจ็บป่วยพระองค์ ได้สัมผัสใจคนเป็น จำนวนมาก พระองค์ ได้สานความสัมพันธ์ กับพี่น้องชาวยิว ปรับปรุงการทำงานของ สมณะกระทรวง หน่วยงานต่างๆ บทที่ 9 คริสตศาสนสัมพันธ์และ การเสวนากับศาสนิกอิสลาม คริสตศาสนสัมพันธ์มีหลายมิติและหลายกลุ่มที่เกี่ยวข้อง พระองค์ ได้สานความสัมพันธ์กับผู้นำ ศาสนาคริสต์นิกายออร์ โธด็อกซ์ เพื่อจะ มีความเป็นหนึง่ ภายในจิตใจ มีความสัมพันธ์ และความร่วมมือกัน เพื่อจะสามารถเป็น พยานถึงพระคริสตเจ้าพระเจ้าผู้ทรงชีวิต ในโลก คริสตศาสนสัมพันธ์กับคริสตชน โปรเตสแตนต์ ซึ่ ง มี นิ ก ายต่ า งๆ เช่ น
103
ลูเธอลัน เมทอดิสต์ ฯลฯ เป็นต้น สภาสังคายนาวาติกันที่ 2 ใช้ศัพท์ว่า “ชุมชน พระศาสนจักร” (Ecclesial Community) ที่ มี พ ระสั ง ฆราชสื บ ต่ อ จากบรรดาอั ค รสาวก มีศีลมหาสนิทเป็นศูนย์กลาง แต่ก็มี รูปแบบของพระศาสนจักรอีกรูปแบบหนึ่ง คือ พลวัตนิยมของพระวาจาของพระเจ้า (The Dynamism of the Word) ที่รวม ประชาชนให้เป็นหมู่คณะ เราร่วมเป็นหนึ่ง เดียว เพื่อเป็นพยานถึงพระคริสตเจ้า การเสวนากับศาสนิกอิสลาม ซึ่งมี จุดร่วมกันในความเชื่อและนอบน้อมเชื่อฟัง พระเจ้า และมีประเด็นที่ร่วมเสวนา คือ ปัญหาเรื่องความรุนแรงและเรื่องเหตุผล การเปิดใจเสวนาเพื่อรับใช้ร่วมกันในโลก บทที่ 10-12 การประกาศพระวรสาร, การเดินทางของผู้เลี้ยงแกะ, กรณี ของวิลเลี่ยมสัน การประกาศพระวรสาร พระสันตะปาปาทรงเน้นสอนเรือ่ งพระคริสตเจ้า พระเจ้าผู้ทรงชีวิต ผู้ทรงรักเราและทรงช่วย รักษาเราผ่านความทุกข์ยาก และเรือ่ งความ รักซึ่งเป็นหัวใจของคริสต์ศาสนา พระองค์ ทรงเน้นให้สอนเรื่องเพศในด้านบวก เพศ เป็นของขวัญที่ดีของพระเจ้าที่ให้กับมนุษย์ มนุษ ย์มีเสรีภาพและความรับผิดชอบที่จะ
ใช้ของขวัญนี้ตามกฎเกณฑ์ของพระเจ้า ใน พิธีกรรมเราเปิดตนเองเชื่อมต่อกับพระคริสตเจ้าและประวัติศาสตร์แห่งความรอด พระสันตะปาปาปีอุสที่ 12 ได้ช่วยรักษา ชีวิตชาวยิวจำนวนมากจากการเบียดเบียน เข่นฆ่าโดยพวกนาซีระหว่างสงครามโลก การเดินทางของผู้เลี้ยงแกะ พระสันตะปาปาเบเนดิกต์บอกว่า พระองค์เป็น อย่างที่พระองค์เป็น พระองค์มีความยินดี มากกั บ การชุ ม นุ ม เยาวชนโลกที่ เ มื อ ง โคโลนญ์ เมืองซิดนีย์ พระองค์เดินทางไป เยี่ยมพระศาสนจักรในประเทศต่างๆ 20 กว่าประเทศ เพื่อพบปะให้กำลังใจ ร่วมใน ความยินดีที่เป็นคริสตชนคาทอลิก กรณีของวิลเลี่ยมสัน พระสันตะปาปาเบเนดิกต์ได้ยกบัพพาชนียกรรม (การ ตัดขาดจากพระศาสนจักร) ให้พระสังฆราช สี่องค์ตามกฎหมายของพระศาสนจักร ภาคสาม จากนี้ ไปเราจะก้าวเดินไปที่ ไหน (บทที่ 13-18) พระศาสนจักร, ความเชื่อ, และ สังคม ความเชือ่ ในวิทยาศาสตร์ทำให้มนุษย์ หลายคนในปั จ จุ บั นไม่ ส นใจเรื่ อ งศาสนา เรื่องพระเจ้า ต่อมามนุษย์เริ่มเข้าใจใหม่ถึง ขอบเขตของวิทยาศาสตร์ และเริ่มกลับมา
แนะนำหนังสือ
104 วารสารแสงธรรมปริทัศน์ ฉบัับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2011/2554
หาพระเจ้าใหม่ พระศาสนจักรต้องมีการ สอนใหม่ ต้ อ งมี ก ารประกาศข่ า วดี ใ หม่ (New Evangelization) มีการปฏิรูปมากไปไหม แนวทาง การปฏิรูปชีวิตคริสตชนคือ การดำเนินชีวิต ตามวิถีชีวิตแห่งพระวรสาร ในเรื่องการ แต่งงาน การคุมกำเนิด การถือโสดของ พระสงฆ์ การไม่บวชผู้หญิงเป็นพระสงฆ์ เรื่องรักเพศเดียวกัน ฯลฯ จะฟื้ น ฟู พ ระศาสนจั ก รอย่ า งไร มีหลายด้าน เช่น กิจการงานด้านความรัก และเมตตา งานด้านธรรมฑูต ฯลฯ เป็นต้น และในพิธีกรรมที่เราคริสตชนมาร่วมเฉลิม ฉลองความเชื่อ ในพระวาจาและศีลมหาสนิท การดำเนินชีวิตแบบพระมารดามารีย์ ผู้นำพระเยซูเจ้าไปให้ผู้อื่น ส่งเสริมบทบาท ของสตรีในพระศาสนจักร บทที่ 16-18 พระนางมารียแ์ ละสาร ฟาติมา พระนางมารีย์ยังมีบทบาทในประวั ติ ศ าสตร์ แ ห่งความรอดร่วมกับพระเจ้า สารฟาติมาเน้นให้มนุษ ย์เปลี่ยนแปลงจิต ใจด้วยความเชื่อ ความความหวัง ความรัก ความสำนึกผิดและการใช้โทษบาป และการ สวดภาวนาให้พระอาณาจักรของพระเจ้า มาถึงในชีวิตและสังคมของเรา
แนะนำหนังสือ
การเสด็จกลับมาของพระคริสตเจ้า ชี วิ ต และคำสอนของพระเยซู ค ริ ส ตเจ้ า เรี ย บง่ า ยและเป็ น จริ ง พระสั น ตะปาปา เบเนดิกต์ ได้เขียนหนังสือ “พระเยซูเจ้า ชาวนาซาเร็ธ” เพื่อแบ่งปันกับทุกคน เพื่อ เสริ ม ความเชื่ อ ในพระเยซู เ จ้ า และพระศาสนจักร สิ่งสุดท้ายของมนุษย์ ตามความ เชื่อของคริสตชน คือ ความตาย การ พิพากษา สวรรค์ และนรก คำสอนใน ปั จ จุ บั น มั ก จะเน้ น การร่ ว มมื อ เสริ ม สร้ า ง โลกนี้ ให้น่าอยู่ ให้มีคุณค่าแห่งอาณาจักร พระเจ้า แต่ก็ต้องสอนคำสอนที่สำคัญเรื่อง สิ่งสุดท้ายของมนุษย์ด้วย ภาคผนวก มีจดหมายอภิบาลถึง คริสตชนในไอร์แลนด์เรื่องบาปหนักต่อเด็ก ที่ไม่สามารถป้องกันตัวได้ คำบรรยายเรื่อง ความเชื่อและความรุนแรงที่มหาวิทยาลัย รีเยนส์เบร์ค (Regensburg) บทสัมภาษณ์ เรื่องโรคเอดส์และเรื่องเพศของมนุษย์ และ ประวัติ โดยสังเขปและลำดับเหตุการณ์ ใน รัชสมัยของพระสันตะปาปา สรุ ป เนื้ อ หาของหนั ง สื อ นี้ เป็ น การบันทึกบทสนทนาระหว่างพระสันตะปาปาเบเนดิกต์และนักหนังสือพิมพ์คาทอลิกปีเตอร์ ซีวอล์ด ด้วยหัวข้อเรื่องต่างๆ
105
มากมาย อธิบายชีวิตและพันธกิจของพระสันตะปาปา วิกฤติในพระศาสนจักร การ ทำผิ ด ทางเพศที่ เ ป็ น เรื่ อ งอั ป ยศอดสู ความต้องการฟื้นฟูพระศาสนจักร ปัญหา การรวมความเชื่อและเหตุผล ปัญหาใน ปัจจุบัน การทำแท้ง, การเปลี่ยนแปลงของ
ภูมิอากาศ, ความสัมพันธ์ของเพศเดียวกัน วิกฤติเศรษฐกิจโลก, อเทวนิยมใหม่, แนว ทางสร้างความเป็นหนึ่งเดียวของคริสตชน ความสั ม พั น ธ์ กั บ ศาสนิ ก อิ ส ลาม สาร ฟาติมา มุมมองด้านสันติภาพ การประกาศ ข่าวดีใหม่
หนังสือเล่มนี้เป็นหนังสือที่น่าอ่านอีกเล่มหนึ่งที่จะทำให้เรามีความเข้าใจใหม่ มี ทัศนคติใหม่ ช่วยเสริมสร้างความเป็นหนึ่งเดียวกัน ในการร่วมมือร่วมใจขับเคลื่อนโลกไป ในหนทางที่ดียิ่งขึ้น
แนะนำหนังสือ