แสงธรรมปริทัศน์ ปีที่ 36 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - เมษายน 2012/2555

Page 1


การเรียกและการตอบรับในพันธสัญญาเดิม

13

* หมวดพระสัจธรรม *

¡ÒÃàÃÕ Â¡áÅСÒõͺÃѺ

㹾ѹ¸ÊÑÞÞÒà´Ô Á “ในอดีต พระเจาตรัสกับบรรพบุรุพของเราโดยทางประกาศกหลายวาระและหลายวิธี” (ฮบ.1:1) บาทหลวงวสันต พิรุฬหวงศ อธิการเจาคณะแขวงรอยแผลศักดิ์สิทธิ์ (สติกมาติน), อาจารยสาขาวิชาปรัชญาและศาสนา คณะมนุษยศาสตร วิทยาลัยแสงธรรม


ทัศน 14 วารสารแสงธรรมปริ ฉบั​ับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2012/2555 จากข อ ความตอนนี้ เราพบว า การ ตรัสใน “หลายวาระ” และ “หลายวิธี” ของพระเจาเกิดจากความรักของพระองคที่ ตองการชวยมนุษยใหรอดพน โดยหลังจาก สรางมนุษยตามภาพลักษณของพระองคและ ใหเปนเหมือนพระองคแลว พระเจายังทรง “ประทาน” ความสามารถใหมนุษยดำเนิน ชี วิ ต ใกล ชิ ด และสนิ ท สนมกั บ พระองค ด ว ย แม ม นุ ษ ย ไ ด ท รยศพระองค ด ว ยการทำผิ ด และสูญเสียความสามารถนี้ไป พระเจาก็ยัง ทรงมีเมตตาตอพวกเขาและหาหนทางที่จะ นำเขากลับมาหาพระองคใหม ทั้งนี้ ก็ดวย “ความรักที่มั่นคง” ที่พระองคมีตอพวกเขา (Dei Verbum, 3-4) เกี่ยวกับเรื่องนี้ พระคัมภีรศักดิ์สิทธิ์ ไดใหภาพความเขาใจที่ชัดเจนมากขึ้น เมื่อ กลาววา “สิ่งที่เขียนไวกอนนั้น ก็เขียนไว สำหรับสั่งสอนเรา” (รม.15:4) นี่แสดงให เห็น “วิธีการสอน” เที่ยงแทของพระเจา การยืนยันของพระคัมภีรนี้ยังเผยใหเห็นวา พระเจาทรงมั่นคงและยืนยันความปรารถนา เดิมของพระองคที่ตองการ “เปดเผย” ให มนุษยรูถึงขอเรนลับตางๆของพระเจาผูเปน พระบิดาของมนุษยทุกคน (DV,4) พระองค ทรงเชื้ อ เชิ ญ มนุ ษ ย ทุ ก คนให ม าอยู ร ว มเป น ประชากรแทของพระองค โดยเฉพาะอยางยิง่ พระองคไดทรง “เลือกคนบางคนอยางอิสระ” ไมวาชายหรือหญิง เพื่อวา เมื่อพวกเขาได

เขาเปนประชากรของพระองคแลว พวกเขา จะไดมีสวนรวมในแผนการแหงความรักของ พระองค คือ การชวยพวกเขาใหรอดพน (เทียบ อฟ. 5:2) ในพระคัมภีรพันธสัญญาเดิม หากเรา ไตร ต รองชี วิ ต ของมหาบุ รุ ษ หรื อ ประกาศก หลายๆคน เราจะพบลักษณะวิธีการ (สอน) ของพระเจาวา - พระองคทรงกระทำกับมนุษยและ ทรงเตรียมพวกเขาอยางไร - พระองค ท รงริ เ ริ่ ม และค้ ำ จุ น ผู ที่ พระองคทรงเรียกมาอยางไร เพือ่ ใหเขาสามารถ รวมงานกับพระองคและทำใหแผนการของ พระองคเปนจริง - มีอะไรเกิดขึน้ บางในจิตใจและในชีวติ ของผูที่ตอบสนองการเรียกของพระองค แตท่สี ำคัญ คือ ผานทางการกระทำ ตางๆของพระเจานี้ ไดคอยๆเผยใหเห็นคุณ ลักษณะพื้นฐานที่สำคัญยิ่งของพระเจา นั่นคือ - การเรียกของพระเจาและการตอบรับ ของมนุษย ยังคงเปนองคประกอบ 2 ประการ ที่มีผลอยูจนถึงปจจุบันนี้ - พระเจ า ยั ง ทรงเรี ย กคนที่ พ ระองค ทรงประสงคจะเรียกอยางตอเนื่อง 1. พระเจาทรงเรียกคนที่พระองคตองการ “เราจะเลื อ กสมณะที่ ซื่ อ สั ต ย อี ก คน หนึง่ เขาจะทำตามทีเ่ ราอยากทำ (1ซมอ.2:35)


การเรียกและการตอบรับในพันธสัญญาเดิม

“ไม มี ใ ครแอบอ า งเกี ย รติ นี้ เ ป น ของตนได นอกจากผูที่พระเจาทรงเรียก” (ฮบ. 5:4) ขอความสองตอนจากพระคัมภีรขาง ตนนี้เปนตัวอยางของ “การกระทำ” ของ พระเจา และมีเพียงพระเจาเทานัน้ ทีส่ ามารถ ยื่นมือเขามาทำสิ่งนี้ได คือ “เขาไปในชีวิต ของมนุ ษ ย ” เข า ไปสั ม ผั ส ส ว นลึ ก ที่ สุ ด ใน มโนธรรมของมนุษยดว ยการกระทำทีส่ รางสรรค มีเพียงการกระทำเชนนี้เทานั้นที่สามารถทำ ใหเกิด “การเรียก” อยางแทจริง มีเพียงการ กระทำเชนนีเ้ ทานัน้ ทีเ่ ปนการใหความสามารถ ในการตอบรับการเรียกอยางอิสระแกมนุษย พระเจาจึงทรงเปน “มูลเหตุแรก” ในการเรียก พระองคไมจำเปนตองไดรับการรองขอจาก ใคร การเรียกซึง่ เปน “การเลือก” และเปน ไปตามความตองการของพระองคนั้นเปนไป อยาง “อิสระ” และ “ใหเปลา” อยางแทจริง พระองคไมไดคำนึงถึงอายุ ฐานะทางสังคม หรือความรูของคนที่พระองคทรงเลือก การ ยืนกรานที่จะเรียกใครนั้นเปนการแสดงออก ถึงความรักที่มั่นคงของพระองค และเพื่อให เขาคนนั้นไดรับความรอดจากพระองคดวย แตความรักของพระองคนี้จะเกิดผลก็ตอเมื่อ คนทีถ่ กู เรียก “ตอบรับ” การเรียกของพระองค ดวยความรักและดวยใจอิสระ ใครที่ตอบรับ การเรียกของพระองคดวยเพราะความรักตอ พระองค เขาผูนั้นก็จะกลายเปน “ทอธาร”

15

ที่จะทำใหความรักของพระเจาไหลผานไปยัง คนอื่นดวย เพื่อความรักของพระเจาจะได แผซานไปยังประชากรทุกคนของพระเจา 2. ชวงเวลาในการเรียก ในพระคัมภีรศักดิ์สิทธิ์มีขอความหลาย ตอนที่ เ ผยให เ ห็ น เกี่ ย วกั บ สถานที่ แ ละช ว ง เวลาทีไ่ มจำกัด กวาผูท ไ่ี ดรบั เรียกจากพระเจา จะตอบรั บ การเรี ย กนั้ น กระนั้ น ก็ ดี ยั ง มี ขอความหลายตอนในพระคัมภีรดวยเหมือน กันทีเ่ ผยใหเห็นถึง “ขณะเวลา” ทีบ่ คุ คลคน นั้นเริ่มรูตัววาพระเจาทรงเรียกเขา และเขาก็ ได “ตอบรับ” การเรียกนั้น ดวยการมองใน ลักษณะนี้ทำใหเราสามารถเขาใจลักษณะการ เรี ย กและการตอบรั บ การเรี ย กของบรรดา ประกาศกตางๆในอดีตไดประกาศกคนแรก ที่ เ ราจะพิ จ ารณากั น ในที่ นี้ คื อ อั บ ราฮั ม นักเดินทางและบิดาแหงความเชื่อของเรา (1) อับราฮัม ขณะทีอ่ บั ราฮัมไดยนิ เสียงพระเจาเรียก อยูในดวงใจของทานนั้น ทานก็มีอายุมากถึง 75 ป แล ว การอพยพของอั บราฮั มเริ่ มต น จากการออกจากเมืองเออร โดยทานไดละทิง้ วัฒนธรรมและศาสนาของชาวเคลเดีย และ เขาไปอาศัยอยูในเมืองฮารานซึ่งเปนบานเกิด เมืองนอนของบิดาของทาน โดยปกติแลว คนที่มีอายุขนาดนี้ แม จะยังมีไฟหรือมีความทะเยอทะยานอยากเดิน


ทัศน 16 วารสารแสงธรรมปริ ฉบั​ับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2012/2555 ทางไปแสวงโชคอยู ก็สมควรทีจ่ ะมีครอบครัว และมีที่อยูอาศัยเปนหลักแหลงมั่นคงถาวร แลว ไมควรตองเดินทางไปไหนตอไหนอีก การอพยพย า ยที่ อ ยู ข องคนในสมั ย นั้ น เป น การอพยพเพื่ อ หาแผ น ดิ น ที่ อุ ด มสมบู ร ณ และมีทุงหญาสำหรับฝูงสัตว เปนการอพยพ เพื่ อ หาความร่ ำ รวยและการครอบครอง แผ น ดิ น เป น ของตั ว เอง อั บ ราฮั ม เองก็ มี ความปรารถนาเชนนี้ดวย ทั้งยังหวังที่จะได มีผูสืบตระกูลและมีลูกหลานดวย แตความ หวั ง นี้ จ ะดู เ ลื อ นรางเต็ ม ที เนื่ อ งจากนาง ซารายภรรยาของทานเปนหมัน และอับราฮัม เองก็อายุมากแลว แลวพระเจาก็ “เขามาในชีวิต” ของ อับราฮัม ดวยการตรัสเชิงออกคำสั่งบังคับ วา “จงออกจากแผนดินของทาน จากญาติ พี่นอง จากบานของบิดา ไปยังแผนดินที่เรา จะชี้ใหทาน” (ปฐก.12:1) นี่หมายความวา พระเจาทรงรับชีวิตของอับราฮัมเขามาดูแล เองดวยพระหัตถของพระองค ฝายอับราฮัม เอง เมื่อไดยินพระเจาทรงเรียกเชนนี้ ก็ได ละทิ้ ง ทุ ก สิ่ ง ทุ ก อย า งไว ข า งหลั ง แล ว ออก เดินทางในทันที โดยเปาหมายของการเดิน ทางนั้นจะไดรับการเปดเผยก็ตอเมื่ออับราฮัม “เชื่อฟง” เสียงของพระเจา และ “เดินทาง เปนระยะๆ” (ปฐก.12:9) ตามทีพ่ ระองคทรง บอก ขอสังเกตสำคัญที่เราไมควรมองขาม เลยในที่นี้คือ อับราฮัมไดเริ่มออกเดินทาง

“ทันที” (ปฐก. 12:4) เปนการเดินทางโดยที่ ตัวอับราฮัมเองยังไมรเู ลยวาจะเดินทางไปไหน (ฮบ.11:8) จริงอยูว า ในการออกเดินทางครัง้ นี้ พระเจาทรงใหคำสัญญาไววา “เราจะทำ ใหทานเปนชนชาติใหญ” (ปฐก.12:2) แต คำสัญญานี้ก็ดูนาประหลาดใจและนาเคลือบ แคลงสงสัยอยูไมนอยวาจะเปนไปไดอยางไร เนือ่ งจากเปนทีร่ อู ยูแ ลววานางซารายเปนหมัน แตกระนัน้ ก็ดี อับราฮัมก็ “ออกเดินทางตาม ทีพ่ ระยาเวหตรัส” (ปฐก.12:4) ไปยังแผนดิน ที่พระยาเวหจะทรงชี้ใหทานรู (ปฐก.12:1) การอพยพเปนเหมือนการเริ่มตนชีวิต ใหมทง้ั หมด เพราะตอง “ละทิง้ ” สถานทีเ่ ดิม ที่ เ คยใช ชี วิ ต อยู แ ละละทิ้ ง สภาพชี วิ ต เดิ ม ที่ เคยใชชีวิตมาอยางยาวนานไป แลวเริ่มตน ออกไป “แสวงหา” ครัง้ ใหม แตในอีกดาน หนึง่ การอพยพครั้งใหมก็เปนเหมือนความฝน และเป น สิ่ ง ที่ ห ลายๆคนรอคอยเหมื อ นกั น เพราะนั่นหมายถึงอนาคตของตน ครอบครัว และลูกหลานของตนดวย แตสำหรับอับราฮัม อนาคตของทานดูเหมือนจะมีทั้งความชัดเจน และมืดมนในเวลาเดียวกัน สิ่งเดียวที่ชัดเจน สำหรับทานและดูเหมือนเปนจุดสำคัญที่สุด สำหรับทาน คือ การมี “ความไววางใจ” ในผูท ท่ี รงเรียกทาน และ “ทำตาม” ความ ประสงคของพระองค พระเจาองคนี้ไดทรง สั ญ ญากั บ ท า นก อ นจะออกเดิ น ทางว า พระองคจะทรงอวยพรทาน (ปฐก.12:2-3)


การเรียกและการตอบรับในพันธสัญญาเดิม

คำสัญญานี้ แมจะดูลกึ ลับ แตกเ็ ปนคำสัญญา ที่พระเจาทรงรักษาไวอยางซื่อสัตยเสมอ นี่ ทำใหอับราฮัมมีความมั่นคงในความไววางใจ พู ด อี ก อย า งคื อ อั บ ราฮั ม มี “ความเชื่ อ ” อยางมั่นคงตอไปนั่นเอง แลวพระเจาก็ไดทำ ใหคำสัญญาของพระองคเปนจริงในที่สุด คือ อับราฮัมไดมลี กู หลานมากมายและเปนชนชาติ ใหญ ในกรณีของอับราฮัมนี้ สิง่ ทีส่ ำคัญและ มีความหมายเหนืออื่นใด คือ - การละทิ้งทุกสิ่งที่มี - การมอบอนาคตทัง้ หมดไวในพระหัตถ ของพระเจา - และการเดินทางตามการนำทางของ พระเจา นี่หมายถึงการยอมที่จะดำเนินชีวิตใน ความเชือ่ นัน่ เอง เพราะ “ความเชือ่ คือความ มั่นใจในสิ่งที่เราหวังไว เปนขอพิสูจนถึงสิ่งที่ มองไมเห็น” (ฮบ.11:1) (2) โมเสส หลังจากไดรับการชวยชีวิตใหรอดตอน เด็ก (อพย.2:1-10) และไดเติบโตทั้งในดาน ความรูและประสบการณแลว โมเสสก็ไดพบ และเห็นความทุกขทรมานของเพื่อนพี่นอง รวมชาติ จนในทีส่ ดุ โมเสสถึงกับฆาคนอียปิ ต ที่ทำรายเพื่อนรวมชาติของตนแลวหนีไปอยู เมืองมีเดียน (อพย.2:11-15) และที่นั้นเอง ในถิ่นทุรกันดารและทามกลางความโดดเดี่ยว

17

บนภูเขาโฮเรบ ภูเขาศักดิ์สิทธิ์ของพระเจา ชี วิ ต ของโมเสสก็ เ ปลี่ ย นไปและเริ่ ม ต น ประวัติศาสตรหนาใหม ทั้งสำหรับชีวิตของ ทานและพีน่ อ งรวมชาติของทาน เมือ่ พระเจา ทรงเสด็จลงมาติดตอกับทานและ “เรียก” ทานใหมาเปนผูรับใชของพระองค บริบทของโมเสสนี้มีความชัดเจนมาก กวาบริบทของอับราฮัม แตขณะเดียวกันก็ดู ลึกลับมากกวาของอับราฮัม โดยพระเจาได เสด็จ “เขามาในชีวิตของโมเสส” พระเจา ทำให โ มเสสรู สึ ก ประหลาดใจเมื่ อ พระองค ตรัสกับเขาโดย “เอยชือ่ ” ของเขา “โมเสส โมเสส” (อพย.3:4) แลวพระเจาก็ทรงเผย ให โ มเสสรู ว า ในทั น ที ว า พระองค เ ป น ใคร “เราเป น พระเจ า ของบรรพบุ รุ ษ ของท า น เปนพระเจาของอับราฮัม พระเจาของอิสอัค และพระเจาของยาโคบ” (อพย.3:6) ดวย ทั้งความเคารพและดวยทั้งความกลัว โมเสส ก็รีบปดหนาของตนทันที จากนั้น พระเจาก็ ทรง “เปดเผย” ถึงความรักและความเมตตา สงสารที่พระองคมีตอประชากรที่ไดทรงเลือก สรรไว พรอมกับเปดเผยถึงความปรารถนา ของพระองคที่จะชวยปลดปลอยพวกเขาให เปนอิสระ ซึ่งความปรารถนาของพระเจานี้ก็ เปนสิ่งที่สงเสียงรองกองอยูในหัวใจของโมเสส อยูแลว การเรียกโมเสสครั้งนี้ นอกจากเปน การเชือ้ เชิญโมเสส “เราจะสงเจาไปเฝาพระเจา


ทัศน 18 วารสารแสงธรรมปริ ฉบั​ับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2012/2555 ฟาโรห เพื่อนำชาวอิสราเอลประชากรของ เราออกจากอียิปต” (อพย.3:10) แลวเรา ยังไดคนพบเรื่องความตอเนื่องของ “ความ ปรารถนาของมนุษย” ดวย คือ โมเสสได กลับไปในที่ที่เขารูจักและเปนที่ที่เขาเคยคิด หวังไวกอนแลว เพราะเขาเองก็อยากจะชวย เหลือเพื่อนพี่นองรวมชาติของทานใหพนจาก การถูกกดขี่ขมเหงในอียิปต แตเขาก็ทำอะไร ไมได ดวยเพราะเขาไมมีอำนาจอะไรเลยที่ จะไปตอสูกับฟาโรห การเรียกของพระเจา ครัง้ นี้จึงเปนโครงการที่นาสะพรึงกลัวอยางยิ่ง สำหรับโมเสส เปนหนาที่ที่โมเสสรูสึกวาตัว เองไมเหมาะสมและไมอาจจะทำใหสำเร็จได เลย ดังนั้น เขาจึงพยายามหลีกเลี่ยง (3) ซามูเอล หนั ง สื อ ซามู เ อลฉบั บ ที่ ห นึ่ ง นำเสนอ ภาพของอีกบุคคลหนึง่ ทีพ่ ระเจา “ทรงเลือก” และ “เรียก” ใหมาเปนเครือ่ งมือสำหรับถาย ทอดสารของพระองค

ซามู เอลเป นบุ ตรที่ พระเจ าประทาน ให ต ามคำอธิ ษ ฐานทู ล ขอของนางฮั น นาห มารดาผูเปนหมัน โดยนางสัญญาวา หาก พระเจาประทานให นางจะถวายบุตรชาย คนนี้ แ ด พ ระเจ า “ตลอดชี วิ ต ของเขา” (1ซมอ.1:11) เมื่อซามูเอลหยานมแลว นาง จึ ง พาเขาไปถวายแด พ ระเจ า ในพระวิ ห าร (1ซมอ.1:24) ณ ที่นั้น ขณะที่เอลี ปุโรหิต ประจำพระวิหารที่เมืองชิโลห ตองทนทุกข กับความประพฤติไมดีของบุตรชายทั้งสองคน แต “ซามูเอลก็เจริญเติบโตขึน้ เปนทีโ่ ปรดปราน ของพระยาเวห และเปนทีร่ กั ของคนทัง้ ปวง” (1ซมอ.2:26) และเปนเด็กหนุมคนนี้เองที่ พระเจาทรงเลือกสรร เหตุการณเกิดขึน้ ในตอนกลางคืน ขณะ ที่ “ดวงประทีปในสักการสถานของพระเจา ยังไมดับ” และพระวิหารเต็มไปดวยความ เงียบสงัด พระเจาก็ทรงตรัสเรียกซามูเอลถึง สามครั้ง ผานทางเสียงรองในดวงใจของเขา ซามูเอลก็ตอบรับดวยดวงใจที่เปดกวางและ พรอมที่จะรับใชวา “ขาพเจาอยูที่นี่” ถึง สามครั้งเชนกัน (1ซมอ.3:4-8) แตเนื่องจาก ซามูเอลยังไมเคยรูจักพระเจา และพระเจาก็ ยังไมเคยสำแดงพระดำรัสของพระองคแกเขา ซามูเอลจึงคิดวาเปนเสียงของเอลีที่เรียกหา เขา ดวยประสบการณการเปนปุโรหิตที่ได ติดตอกับพระเจามาอยางยาวนาน เอลีจึง หยัง่ รูใ นทันทีวา เปนพระเจาทีต่ รัสเรียกซามูเอล


การเรียกและการตอบรับในพันธสัญญาเดิม

เอลีจึงแนะนำใหซามูเอล “เปดหัวใจ” ของ ตนให ก ว า งกว า เดิ ม และคอยฟ ง เสี ย งของ พระเจา (1ซมอ.3:8-9) และเมือ่ พระเจาทรง เรียกซามูเอลซ้ำอีกครั้งหนึ่ง ซามูเอลก็ตอบ รับเสียงเรียกนั้นดวยความพรอมและดวยใจ บริสุทธิ์เยี่ยงเด็ ก “ขาแต พระยาเวห ตรัส มาเถิ ด ผู รั บ ใช ข องพระองค ก ำลั ง ฟ ง อยู ” (1 ซมอ.3:10) ซามูเอลเปนเด็กที่ไดเติบโตมา กับการปรนนิบัติรับใชพระเจาในพระวิหารมา ตั้ ง แต ต น บั ด นี้ เขาได รั บ การเรี ย กจาก พระเจาใหทำหนาทีเ่ ปนประกาศกของพระองค (4) เยเรมีย “ก อ นที่ เราป น ท า นในครรภ ม ารดา เราก็รูจักทานแลว กอนที่ทานจะเกิด เราก็แยกทานไว เปนของเราแลว” (ยรม.1:5) กรณีของเยเรมียน ้ี เผยใหเห็นลักษณะ “การเรียก” อีกประการหนึ่งของพระเจาวา เมื่อพระเจาจะทรงเชื้อเชิญใครบางคนใหมา เปนผูรับใชของพระองค พระองคก็ไดทรง เลื อ กสรรบุ ค คลผู นั้ น แล ว พระองค ไ ด ท รง ประทั บ ตราของพระองค เ หนื อ เขาแล ว พระองค ไ ด ท รงถั ก ทอเขาเข า ด ว ยกั น ใน ครรภมารดาของเขา (สดด.139:13) ทรง ปรุงแตงเขาอยางเงียบๆตามสถานการณและ สภาพแวดลอมที่เขาเปนอยู ทรงเตรียมเขา ใหพรอมสำหรับงานที่พระองคจะทรงมอบ หมายใหเฉพาะสำหรับเขา ดังนี้ ผูที่ไดรับ

19

เรียกจากพระเจาจึงเปนคนที่พระเจา “รูจัก แลว” พระองคจึงทรงเรียกเขา “ดวยชื่อ” และเขาคนนั้ น ก็ ไ ด “เป น ของพระองค ” ตลอดชีวิต จากตั ว อย า งทั้ ง หมดที่ ย กมาข า งต น เกี่ ย วกั บ ช ว งขณะเวลาที่ พ ระเจ า ทรงเรี ย ก คนบางคนใหมาเปนประกาศก เปนผูนำสาร หรื อ เป น ผู เ ผยพระวจนะของพระองค นั้ น เราพบวา - การเรียกของพระเจาจะเกิดขึ้นใน ขึน้ ในชวงขณะเวลาใดก็ได ตามความประสงค ของพระเจ า และตามที่ พ ระเจ า ทรงพอ พระทัย ความออนเยาว ความแกชรา การขาด ประสบการณ หรือความออนแอตามประสา มนุษย ไมไดเปนอุปสรรคตอการเรียกของ พระเจาเลย - ประกาศกเปนผูที่ถูกเรียกใหละทิ้ง ความเปนอยูท้งั หมดของเขา และมอบตัวเอง ทั้งครบไวในพระหัตถของพระเจา (ไววางใจ) ทัง้ นี้ เพือ่ เขาจะไดเปนเครือ่ งมือแทของพระเจา - การเรียกมีมิติของความตอเนื่องมา จากอดีต แตขณะเดียวกัน ก็เรียกรองใหมี การแตกหั กจากอดี ตด วย เหมื อนกั บคนที่ แตงงานกัน แตละฝายจะตองละทิ้งลักษณะ เดิม ๆ ของตัวเอง คือ จากที่เคยคิดถึงแตตัวเอง ตัดสินใจเอง ทำอะไรเอง แตบัดนี้ ตองรวม กันคิด รวมกันตัดสินใจ และทำดวยกัน - การเรียกของพระเจาจะเปนไปเพื่อ


ทัศน 20 วารสารแสงธรรมปริ ฉบั​ับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2012/2555 ประโยชนของคนอื่นทั้งสิ้น - แตกระนั้นก็ดี คนที่ไดรับเรียกเองก็ จะตองฟง ตองรูจักและตอบรับการเรียกนั้น ดวยหัวใจที่เปดกวาง ดวยเหตุนี้ พระคัมภีร จึ ง มั ก ให ภ าพบ อ ยๆเกี่ ย วกั บ ถิ่ น ทุ ร กั น ดาร สถานที่โดดเดี่ยว พระวิหาร บนภูเขาของ พระเจา ในความเงี ยบ ฯลฯ เพื่อใชเปน สถานที่ที่มนุษยไดพบปะกับพระเจา เปนที่ ที่พระเจาทรงเรียกคนบางคน และคนๆนั้นก็ ตอบรับเสียงเรียกของพระองค ดังนั้น เพื่อ จะไดยนิ เสียงเรียกของพระเจา ทาทีภายในของ เขาก็เปนสิ่งสำคัญดวย คือ ตองมีความสงบ - ประการสุ ด ท า ยคื อ เมื่ อ พระเจ า ทรงเรียกใครแลว พระองคก็ทรงรอคอยคำ ตอบรับจากเขาเสมอ เปนการตอบรับที่ออก มาจากอิสรภาพทีแ่ ทจริงของเขา เปนอิสรภาพ ที่พระเจาไดทรงประทานใหแกเขาแลว 3. การเริ่มตนตอบรับการเรียกของ พระเจา (1) อับราฮัม การเลาเรื่องของอับราฮัมในหนังสือ ปฐมกาล ได เ ผยให เ ห็ น “ท า ที เริ่ ม แรก” ในการตอบรั บ การเรี ย กของพระเจ า ของ อับราฮัม คื อ อับราฮัมไดออกเดินทางใน “ทันที” ทานเดินทางไปเรือ่ ยๆ และเดินผาน ดินแดนตางๆ พรอมกับภรรยาที่แกชราแลว และครอบครัวและทรัพยสินทั้งหมดที่มี นี่

เปนการตอบรับที่ “สมบูรณแบบ” อยางยิ่ง เพราะเปนการ “ละทิ้ง” สภาพเดิมทั้งหมด หากจะถามว าอะไรเป นแรงจู งใจในการทำ เชนนี้ของอับราฮัม เราก็อาจตอบไดดวยคำ สองคำ คือ เพราะ “อับราฮัมเชือ่ พระยาเวห” (ปฐก.15:6) และ “อั บ ราฮั ม เชื่ อ ฟ ง ” (ฮบ.11:8-17)

(2) ซามูเอล ในกรณีของซามูเอล แมทานจะมีความ พรอมในการตอบรับเสียงเรียกของพระเจา อย า งบริ สุ ท ธิ์ แ ละไร เ ดี ย งสา แต ใ นเวลา เดี ย วกั น ซามู เ อลก็ มี ค วามรู สึ ก “กลั ว ” และ “ลังเล” ในตอนแรกเหมือนกัน กอน ที่จะยอมรับงานที่พระเจาทรงมอบหมายให ในที่สุด “ซามูเอลนอนอยูจนถึงรุงเชา แลว


การเรียกและการตอบรับในพันธสัญญาเดิม

ไปเปดประตู สักการสถานของพระยาเวห” (1ซมอ.3:15) (3) เยเรมีย ประกาศกเยเรมียก็มีความรูสึกไมแตก ตางไปจากซามูเอลเทาไรนัก โดยเยเรมียเอง แมจะเปนคนที่เหตุมีผลและสุภาพออนโยน แตทานก็รูสึก “กลัว” และอยาก “ปฏิเสธ” พั น ธกิ จ ที่ พ ระเจ า ทรงมอบให โดยอ า งกั บ พระเจ า ว า “ข า แต พ ระยาเวห องค พ ระ ผูเปนเจาจะเปนไปไดอยางไร พระองคทรง เห็นแลววาขาพเจายังพูดไมเปน ขาพเจายัง เปนเด็ก” (ยรม.1:6-8) (4) โมเสส ในกรณีของโมเสสก็เชนกัน ในตอนแรก โมเสสได “คัดคาน” แผนการของพระเจา อาจพูดไดวาทานถึงกับ “ตอสู” กับพระเจา เลยทีเดียว เมือ่ กลาวกับพระเจาวา “ขาพเจา เปนผูใดเลาที่จะไปเฝาพระเจาฟาโรห”

21

- “ข า พเจ า จะไปพู ด กั บ พวกเขาว า อยางไร?” - “แตพวกเขาจะไมเชื่อขาพเจา” - “ขาพเจาพูดไมคลอง” - “โปรดสงผูอ่นื ไปเถิด” ความไมเชื่อ ของโมเสสนี้ทำใหพระเจาถึงกับทรงพระพิโรธ ทีเดียว (อพย.3:11-4:17) เพราะโมเสสตอง การเวลาสำหรับพิจารณาและตองการเครื่อง หมายตางๆเพื่อความแนใจ (อพย. 3:12,20; 4:2-17) กอนทีย่ นิ ยอมรับแผนการของพระเจา จากตัวอยางการตอบรับของบรรดา ประกาศกดังกลาวนี้ ทำใหเรามองเห็นวา ใน “การเรียก” คนบางคนมาเปนผูรับใชของ พระองค นั้ น แม พ ระเจ า จะทรงเรี ย กด ว ย อิสรภาพแทจริงของพระองค แตพระองคก็ “เคารพ” ในเสรีภาพของคนที่พระองคทรง เรียกดวย ในการเรียกแตละครั้งของพระเจา จึงเกี่ยวของกับเรื่องเสรีภาพหรือน้ำใจของ ทั้งสองฝายที่เกี่ยวพันกัน แตก็แตกตางกัน โดยในการติดตอกับคนที่พระองคทรงเลือก สรร พระองคจะทรงเรียกเขา “ดวยชื่อ” และ “ประทาน” ความสามารถในการ ตอบรับใหกับเขา จากนั้น พระองคก็ทรงรอ คอยคำตอบจากเขาดวยความเคารพในเสรีภาพ ของเขา แม จ ะเป น เสรี ภ าพที่ ก อปรด ว ย ความกลัว ความสงสัยและความลังเลใจตาม ประสามนุษยก็ตาม จากนั้น พระองคก็จะ ทรง “เขามา” สนทนากับเขา เสนอความ


ทัศน 22 วารสารแสงธรรมปริ ฉบั​ับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2012/2555 มั่นใจใหกับเขาดวยการยืนยันวา “อยากลัว เพราะเราจะอยูกับทาน” (อพย.3:12;ยรม. 1:5-9) กรณีของอิสยาหที่เสนอตัวตอพระเจา วา “ขาพเจาอยูท น่ี ่ี โปรดสงขาพเจาไปเถิด” (อสย.6:8) ดูเหมือนจะเปนกรณีเดียวที่พบ ในบรรดาประกาศกในพันธสัญญาเดิมที่แสดง ความพร อ มต อ การเรี ย กของพระเจ า การ ตอบรับของอิสยาหจึงเปนเหมือน “หัวใจ” หรือเปน “จุดศูนยกลาง” ของกระแสเรียก ของทุกคน 4. จุดศูนยกลางของการเรียกคือการ มีประสบการณในพระเจา ใครก็ตามที่ไดรับการเรียกจากพระเจา ยอมเปนคนที่พระเจาได “เขามา” สัมผัส จิตใจของเขาแลว และพระองคไดทรงประทาน ความสามารถใหแกเขา เพื่อใหเขาสามารถ นำพาแผนการของพระองค ไ ปสู จุ ด หมาย ปลายทางได บุ ค คลที่ ไ ด รั บ การเรี ย กจาก พระเจ า ไม ว า จะอายุ เ ท า ไร หรื อ มี ค วาม เป น มาเช น ไรในอดี ต จึ ง ล ว นเป น ผู ที่ ไ ด มี “ประสบการณ” พบปะกับพระเจาแลว ไม แบบใดก็แบบหนึง่ เขาไดรบั การตราดวยเครือ่ ง หมายที่ ไ ม อ าจลบเลื อ นได และได เ ปลี่ ย น แปลงชีวิตของตัวเองทั้งหมด หลังจากที่ได ตอบรับพันธกิจของพระเจาแลว ดวยเหตุนี้ บรรดาผูเขียนพระคัมภีร

พันธสัญญาเดิมจึงไดบรรยายประสบการณ ตางๆของบุคคลที่ไดรับการสัมผัสจากพระเจา นี้ไว โดยเฉพาะอยางยิ่ง ประสบการณแหง ความรักที่พระเจาทรงเผยใหพวกเขาไดรูและ เชื้อเชิญพวกเขาใหมารวมงานในแผนการแหง ความรักของพระองค ในรูปแบบและวิธีการ ที่แตกตางกันไปตามลักษณะเฉพาะของแต ละคน ในพันธสัญญาเดิม ประกาศกหลายคน ที่ ไ ด รั บ เรี ย กจากพระเจ า ยั ง สามารถจดจำ สถานที่ วัน เวลา เหตุการณ และสภาพ แวดล อ มขณะเมื่ อ เขาได รั บ การเรี ย กจาก พระเจ า ได เช น เอเศเคี ย ล ที่ เ ล า ว า “วันที่หาเดือนสี่ปที่สาม ขณะที่ขาพเจาอยู ในหมูผูที่ถูกกวาดตอนเปนเชลยที่ริมแมน้ำ เคบาร ทองฟาเปดออก และขาพเจาไดเห็น นิ มิ ต จากพระเจ า ” (อสค.1:1-3) ส ว นใน กรณี “พุ ม ไม ที่ ลุ ก เป น ไฟ” ของโมเสส (อพย.3:2-3) และอิสยาหที่เห็น “เสราฟม ที่คีมคีบถานที่ลุกอยู” (อสย.6:6) นั้น ไมใช เปนเพียงเครื่องหมายแสดงถึงการที่พวกเขา ไดมปี ระสบการณพบกับพระเจา และการถูก ดึงดูดใจจากพระเจาจนพวกเขาไมอาจตาน ทานไดเทานั้น แตยังเปนการถายทอดอะไร บางอย า งที่ พ ระเจ า ต อ งการจะเป ด เผยให พวกเขารูดว การไดพบกับพระเจานี้จึงเปน ประสบการณที่ฝงลึกอยูในจิตใจของบรรดา ประกาศกเหลานั้น เปนเหมือนมโนธรรมที่


การเรียกและการตอบรับในพันธสัญญาเดิม

อยูส ว นลึกภายในทีค่ อยกระตุน ใหเขาถายทอด สิ่งที่ไดรับมาออกไปยังผูอ่นื ดังนี้ ประกาศก จึงกลายเปน “ผูนำสาร” หรือ “ผูนำความ จริง” ไปมอบใหผอู ่นื เปนความจริงที่เขาไม อาจเก็บรักษาไวคนเดียวในตัวได ซึ่งความ จริงนั้นก็คือ ความจริงเกี่ยวกับความรักของ พระเจา ความเปนองคแหงความสัตยจริง และความศักดิ์สิทธิ์สูงสงของพระองค (1) อิสยาห การเรียกประกาศกอิสยาหเปนตัวอยาง การเรียกทีน่ า ประทับใจอยางยิง่ ในการเผชิญ หนากับพระเจาผูทรงศักดิ์สิทธิ์สูงสุด อิสยาห ตระหนั ก ในทั น ที ถึ ง การเป น “คนบาป” ของตนและต อ งการ“ชำระล า ง” ให สะอาด ทานจึงรองขึ้นวา “วิบัติจงเกิดแก ขาพเจา ขาพเจาพินาศแลว เพราะขาพเจา เป น คนริ ม ฝ ป ากมี ม ลทิ น อาศั ย อยู ใ นหมู ชนชาติ ริ ม ฝ ป ากมี ม ลทิ น ถึ ง กระนั้ น ก็ ดี นั ย น ต าของข า พเจ า ได เ ห็ น กษั ต ริ ย คื อ พระยาเวหจอมจักรวาล” (อสย.6:5) แต หลังจากที่อิสยาหกลาววา “ขาพเจาอยูที่นี่ โปรดสงขาพเจาไปเถิด” ชีวิตของอิสยาหก็ เปลี่ ย นไป การมี “ประสบการณ ” ใน ความศักดิ์สิทธิ์ ทรงอยูเหนือสรรพสิ่ง และ ทรงสรรพานุภาพของพระเจา เปนเหมือน แหล ง กำเนิ ด หรื อ จุ ด เริ่ม ต น ที่ท ำให อิส ยาห ออกประกาศเทศนาสั่งสอนขาวประเสริฐของ พระเจาอยางทุม เท และทำใหอสิ ยาหมคี วาม

23

เชื่ อ อย า งมั่ น คงในพระเจ า และไว ว างใจใน พระองคอยางมาก (2) เอเสเคียล ในกรณี ของประกาศกเอเสเคี ยล ก็ เชนกัน หลังจากไดมี “ประสบการณ” กับ พระเจ า แล ว (อสค.1:1-28) และได รั บ “พระจิ ต” ของพระเจ าแล ว เอเสเคี ยลก็ “ถูกสง” ไปยังประชากรชาวอิสราเอลที่ชอบ กบฏและมีจิตใจดื้อดาน (อสค.2:3-5) แต การไปของเอเสเคียลไมไดไปฐานะเปน “ผูน ำ” ขาวประเสริฐของพระเจาไปบอกแกพวกเขา แบบธรรมดาๆเทานั้น แตเอเสเคียลเองยัง จะตอง “ซึมซับ” ขาวประเสริฐนั้นเขามาใน ตัวทาน ทำใหขาวประเสริฐนั้นเปนสวนหนึ่ง ของชีวิตทานกอนดวย “บุตรแหงมนุษยเอย จงกินสิง่ ทีท่ า นเห็น จงกินหนังสือมวนนี้ แลว จงไปพูดกับพงศพันธุอิสราเอลเถิด” – “บุตร แหงมนุษยเอย จงรับทุกคำที่เราจะพูดกับทาน ไวในใจ และจงฟงดวยหูของทาน” (อสค.3:1,10) และเอเสเคียลก็ได “กินหนังสือมวนนั้น ซึ่ง มีรสหวานเหมือนน้ำผึ้งในปาก” ของทาน (อสค.3:3) ชี วิ ต ของเอเสเคี ย ลจึ ง เป น “เครื่องหมาย” ที่สะทอนใหเห็นพระพักตร ของพระเจา วาจาของประกาศกแมจะดูแข็ง กระดาง แตก็นำความหวังที่หอมหวานของ พระเจามาสูทุกคนที่หันกลับมาหาพระองค (อสค.34) พระเจาจะนำชีวิตใหมและจิตใจ ใหมมาสูด วงใจของประชากรทุกคนของพระองค


ทัศน 24 วารสารแสงธรรมปริ ฉบั​ับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2012/2555 (อสค.37) และจะรวมรวมพวกเขาเขาไวกับ พระองค ด ว ยพั น ธสั ญ ญาแห ง ความรั ก ของ พระองค (อสค.16) (3) โมเสส ในการเรียกโมเสสดวยการ “เอยชื่อ” และคอยๆ “โนมนาวจิตใจ” ใหคลอยตาม ณ บนภู เขาศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ข องพระเจ า ทำให โมเสสไดพบความจริงในขณะเผชิญหนากับ พระเจาวา เขาตอง “ถอดรองเทาออก” และ “ปดหนา” (อพย.3:5-6) เพราะพระองค ทรงเปนผูศักดิ์สิทธิ์สูงสุด ความรูสึกเคารพ ความยำเกรง และความเกรงกลัวพระเจา ได เข า มาครอบงำจิ ต ใจของโมเสสในทั น ที แต ไ ม น านต อ มา โมเสสก็ เริ่ ม รู ถึ ง ความรั ก เมตตาของพระเจ า ที่ มี ต อ ประชากรของ พระองค เมื่อพระองคถายทอดความรูสึกนี้ แกทานวา “เราสังเกตเห็น...เราไดยินเสียง รองเพราะความทุกขยากของประชากรของ เรา” (อพย.3:7-10) ที่จริง เปนโมเสสเอง ดวยที่ไดยินเสียงรองดวยความทุกขทรมาน ของเพื่อนรวมชาติของทาน ทานเองก็รูสึก ขุนเคืองใจในความอยุติธรรมที่พ่นี องของทาน ไดรบั และอยากจะทำอะไรบางอยางเพือ่ ชวย เหลือพวกเขา แตโมเสสไดกลายเปนเครือ่ งมือ ในการปลดปลอยพวกเขาใหเปนอิสระไดจริง ก็เพราะทานกระทำในพระนามของพระเจา โดยพระองค ท รงประทั บ อยู กั บ ท า น สอน ทานวาจะตองพูดวาอะไร ตรัสผานทางทาน

และนำประชากรของพระองคไปสูอิสรภาพ ผานทางทาน โดยเฉพาะอยางยิ่ง ทรงนำ ประชากรของพระองคไปสูก ารทำพันธสัญญาใหม ดังนี้ ผานทางโมเสส พระเจาจึงไดรับการ “รูจัก” ในฐานะเปนพระเจาแหงความรัก เปนพระเจาที่มั่นคงในความรักและมีความ อดทนนาน ทรงนำประชากรเขามามีสัมพันธ กับพระองค บันดาลใหพวกเขาศักดิ์สิทธิ์และ กลายเปนประชากรของพระองค นี่แหละคือ เป าหมายของการเรี ยกโมเสส นี่ แหละคื อ พันธกิจที่พระเจามอบใหโมเสสทำใหสำเร็จ โมเสสจึงเปนเหมือนบรรดาประกาศก คนอื่ น ๆในพั น ธสั ญ ญาเดิ ม คื อ เป น คน “เพื่อผูอ่นื ” ทานไดรับเรียกจากพระเจาไมใช เพื่อตัวทานเองแตผานทางทาน ประชากร ของพระเจาจะสามารถเขามามีความสัมพันธ รักกับพระเจาได สามารถเรียกขานพระองค ดวยพระนามได (อพย.3:14-15) และดำเนิน ชี วิ ต ในหนทางของพระองค ยิ่ ง โมเสสมี ประสบการณ ค วามสนิ ท สนมภายในกั บ พระเจามากเทาไร ทานก็ยิ่งสามารถทำให พันธกิจที่ไดรับมอบหมายมาสำเร็จลงไดมาก เทานัน้ เชนเดียวกับความสัมพันธกบั ประชากร ของทานก็เปนไปอยางแนบแนนดวย เพราะ เปนความสัมพันธรักที่พระเจาไดทรงสถาปนา ไวในจิตใจของทานและของประชากรทุกคน จนถึงขนาดวา ยามใดที่ประชาชนละทิ้งไม ยอมเดิ น ตามทางของผู ที่ พ ระเจ า ทรงเลื อ ก


การเรียกและการตอบรับในพันธสัญญาเดิม

สรรมานี้ ความสัมพันธท่เี ชื่อมตอกันระหวาง สองฝ ายก็ เริ่ มตึ งเครี ยดขึ้ น มาทั น ที (อพย. 19:4-8; 24:3) 5. การเติบโตสูว ฒ ุ ภิ าวะผานชวงเวลา แหงการทดลอง แมภาษาที่พระคัมภีรใชเลาเรื่องการ เรี ย กคนใดคนหนึ่ ง มาเป น ประกาศกของ พระเจา จะดูมีชีวิตชีวาและนาประหลาดใจ ในบางกรณี การเรียกของพระเจานี้ก็เกิดขึ้น โดยทันที ไมมีเครื่องหมาย ไมมีอะไรบอก เหตุ ล ว งหน า อย า งกรณี ข องอิ ส ยาห แ ละ เอเสเคียล เปนตน แตเราก็ไมควรมองขาม “ธรรมชาติความเปนมนุษย” ของผูท ถ่ี กู เรียก คือ ความออนแอ ความสงสัยและการมีสติ รูตัวในการตอบรับเสียงเรียกของพระเจา การที่ พ ระเจ า จะเรี ย กคนใดคนหนึ่ ง มาเปนประกาศก ไมใชวาเมื่อพระเจาทรง เรียก ประกาศกตอบรับ แลวเรื่องราวก็จบ กัน ความจริงก็คือ ผูที่พระเจาทรงเรียกให มาเปนประกาศกของพระองค นั้น เพื่อจะ บรรลุถงึ จุดทีส่ ามารถเปนผูส อ่ื สารของพระเจา ได เขาไดถูกกำหนดชะตากรรมใหเปนผูที่ ตองติดตอสัมพันธกบั พระเจาเสมอ ตองพัฒนา ตัวเองใหเติบโตในความสัมพันธกับพระเจา อยางพากเพียรและซื่อสัตย และดำเนินชีวิต สนิ ท สนมกั บ พระเจ า ให ม ากที่ สุ ด เท า ที่ จ ะ มากได นอกจากนี้ เขายังตองเผชิญหนากับ อุปสรรคตางๆมากมาย ตองไดรับการชำระ

25

ลางใหบริสุทธิ์ ตองเผชิญหนากับการตอสู ขัดขวาง และบอยครั้งเขายังตองถูกดูหมิ่น และเกลียดชังจากเพื่อนมนุษยดวยกัน สภาพ เชนนี้ดูเหมือนจะเปนชะตากรรมรวมกันของ ทุกคนที่ถูกเรียกมาเปนประกาศกของพระเจา นอกจากนี้ ขณะกำลังทำภารกิจที่ไดรับมอบ หมายจากพระเจา ประกาศกยังตองพบกับ “การทดลอง” หรืออุปสรรคตางๆมากมายที่ เกิดขึ้นอยางตอเนื่องดวย (1) อับราฮัม ใครทีต่ อบรับการเรียกของพระเจาแลว เขาก็ ต อ งดำเนิ น ชี วิ ต ตามกระแสเรี ย กนั้ น อย า งเป น ขั้ น เป น ตอน ด ว ยหั ว ใจที่ พ ร อ ม และมอบวางทุ ก สิ่ ง ไว ภ ายใต ก ารนำของ พระเจา และไปในที่ที่พระเจาตองการใหไป อย า งเช น อั บ ราฮั ม แม จ ะเดิ น ทางผ า นที่ ต า งๆไปแล ว แต อั บ ราฮั ม ก็ เ ดิ น ทางต อ ไป “ยายกระโจมเดินทางเปนระยะๆ ไปจนถึง ดิ น แดนเนเกบ” (ปฐก.12:9) โมเสสกั บ ชนชาติ อิ ส ราเอลก็ เ ช น กั น เมื่ อ ออกมา จากแผ น ดิ น อี ยิ ป ต แ ล ว ก็ “ออกจากถิ่ น ทุรกันดารศิน เดินทางเปนระยะๆ ตามที่ พระยาเวหทรงบัญชา” (อพย.17:1) คนที่ ได รั บ การสั ม ผั ส จากพระเจ า แล ว เขาจะ กลายเปนเหมือน “นักแสวงบุญ” หรือพูด งายๆ ตรงๆ ก็คือเปน นักเดินทาง” การ อพยพของอับราฮัมและโมเสส แมจะเปน การเดินทางในบริบทของภูมิศาสตร แตพวก


ทัศน 26 วารสารแสงธรรมปริ ฉบั​ับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2012/2555 เขาก็เดินทางดวยหัวใจที่เต็มเปยมดวยความ ปรารถนาและความหวังที่ไมเคยหมดสิ้น ตอ คำสัญญาของพระเจาที่ใหไวกับพวกเขาวา “เราอยูก บั ทาน เราจะพิทกั ษรกั ษาทานทุกแหง ที่ทานไป และจะนำทานกลับมายังแผนดินนี้ เราจะไมทอดทิง้ ทาน จนกวาเราจะไดทำสิง่ ที่ เราสัญญาไวกับทาน” (ปฐก.28:15) ดังนั้น เพื่อที่จะบรรลุถึงเปาหมายสุดทายตามที่หวัง ไว จึงมีหนทางเดียวทีป่ ลอดภัยทีส่ ดุ สำหรับพวก เขา คือ พวกเขาจะตองดำเนินชีวติ “ผูกติด” กับพระเจานี้เสมอ มีความเชื่อและไววางใจ ในพระองคเสมอ และเดินไปตามหนทางที่ พระองคทรงบอกใหเดิน แมวาหนทางนั้นจะ ยากลำบากและขัดตอความรูสึกของพวกเขา ก็ตาม เหตุวา “ความคิดของเราไมเปนความ คิ ด ของท า น ทางของท า นก็ ไ ม ใช ท างของ เรา” (อสย.55:8) ดังนี้ พวกเขาจึงเดินตามทางที่พาพวก เขาไปพบกั บ สิ่ ง ใหม ๆ เสมอ แต พ วกเขาก็ ได รั บ สิ่ ง ใหม ๆ ที่ ต อบสนองความต อ งการ ใหมๆของพวกเขาเสมอดวยเชนกัน เพราะ พระเจาทีท่ รงเรียกพวกเขามานัน้ เปนพระเจา ที่ ท รงกระทำ “สิ่ ง ใหม ” เสมอ นี่ เ ป น พระดำรั ส ของพระองค ที่ ต รั ส ไว แ ก อิ ส ยาห “ดูเถิด เรากำลังจะทำสิง่ ใหม” (อสย.43:19; เทียบ48:6-8) พระองคทรงปนศิษยผตู ิดตาม พระองคและนำพวกเขาไปพบสิ่งใหมในระดับ ทีล่ กึ ซึง้ กวาเดิม “พระยาเวห องคพระผูเ ปนเจา

ประทานใหขาพเจามีล้นิ เหมือนลิ้นของศิษย ที่พระองคทรงสอน เพื่อขาพเจาจะไดรูจัก พูดจาใหกำลังใจแกผูเหน็ดเหนื่อย ทุกๆเชา พระองคทรงปลุกขาพเจา ทรงปลุกขาพเจา ให ฟ ง เหมื อ นศิ ษ ย ที่ พ ระองค ท รงสอน” (อสย.50:4) ดังนี้ จากการเลาของพันธสัญญาเดิม เราจึงไมเคยพบเลยวา ในการตอบรับการ เรียกของพระเจานัน้ ประกาศกได “ตอบรับ เพียงครั้งเดียว” และ “มีผลตลอดไป” แต พวกเขาตองฟนฝาและเผชิญหนากับสิ่งตางๆ ที่ จ ะเกิ ด ขึ้ น อี ก มากมาย ทั้ ง จากฝ า ยของ พระเจา และจากฝายของเพือ่ นมนุษยดว ยกัน เมื่ อ อั บ ราฮั ม ได รั บ การเรี ย กจาก พระเจาแลว ทานจึงตองเดินทางไปเรื่อยๆ ผ า นแผ น ดิ น ต า งๆตลอดคานาอั น อี ยิ ป ต และเนเกบ ภายใตการนำทางของพระเจา และอับราฮัมก็เชือ่ ฟงการนำของพระองคเสมอ “ฮับราฮัมเชื่อพระยาเวห และพระองคทรง นับวาความเชื่อนี้เปนความชอบธรรมสำหรับ เขา” (ปฐก.15:6) แตในฐานะเปนผูสื่อสารพันธสัญญา ที่ พ ระเจ า ทรงทำไว กั บ ประชากรอิ ส ราเอล อั บ ราฮั ม ต อ งพบกั บ ทั้ ง ความผิ ด หวั ง การ ทำลายและการตอสูขัดขวางตางๆมากมาย แตทานก็ยอมรับทุกสิ่ง แมแตการยอมถวาย อิสอัค บุตรคนเดียวของตนแดพระเจา ทั้ง หมดนี้ อับราฮัมทำเพราะรูวาพระเจาทรงมี


การเรียกและการตอบรับในพันธสัญญาเดิม

อำนาจที่จะทำทุกสิ่งได รวมถึงการทำใหผู ตายกลับคืนชีพดวย “เขาเชื่อวาพระเจาทรง ฤทธานุภาพอาจปลุกคนตายใหฟนได และ ดังนั้น ก็เปรียบไดวาเขาไดรับอิสอัคคืนมา” (ฮบ.11:19)

การเดินทางของอับราฮัมจึงเปนการ ทำให สิ่ ง ที่ พ ระเจ า ทรงร อ งขอจากท า น สำเร็จไป ทานเดินไปพรอมกับการประทับ อยูของพระเจาเหมือนเพื่อนรวมทาง ตาม คำสัญญาที่พระองคทรงใหไวแกทาน “เรา คือพระเจาผูทรงสรรพานุภาพ จงดำเนินชีวิต ตามความประสงคของเรา” (ปฐก.17:1) ที่ จริ ง ในระหว า งการเดิ น ทางร ว มกั น นั้ น พระเจ า ก็ ไ ด ท รงค อ ยๆเผยพระนามของ พระองคใหอับราฮัมรูอยางเปนขั้นเปนตอน

27

ขณะเดียวกัน พระองคกค็ อ ยๆทำพันธสัญญา แหงความรักกับอับราฮัมและลูกหลานของ ทานดวย รากฐานของประชากรที่พระเจา ทรงเลือกสรรจึงตั้งอยูบนอับราฮัม บิดาของ พวกเขานี้เอง ซึ่งทีละเล็กทีละนอยก็คอยๆ เติบโตและกลายเปนศิลาทีม่ น่ั คงแหงความเชือ่ ของประชากรอิสราเอล (2) โมเสส กรณีของโมเสสก็เชนกัน ขณะกำลัง ปฏิบัติตามภารกิจที่พระเจาทรงมอบหมาย ใหสำเร็จไปนั้น “ความลมเหลว” ในการ เดินทางและการ “ถูกปฏิเสธ” ตางๆนาๆ จากประชากรชาวอิสราเอลเปนสิ่งที่โมเสส ต อ งเผชิ ญ อยู บ อ ยครั้ ง หั ว ใจของกษั ต ริ ย ฟาโรหนน้ั ดือ้ รัน้ ชาวอิสราเอลจึงมองเขาดวย ความไมไวใจและสงสัย ทั้งยังบนแสดงความ ไมพอใจในตัวเขา แตบดั นี้ พวกเขาก็เริม่ สงสัย ไม ไว ว างใจ และบ น ไม พ อใจพระเจ า และ โมเสสทีพ่ าเขาออกมาจากแดนทาสนัน้ จิตใจที่ คอยคิ ด แต ก บฏของชาวอิ ส ราเอลนี้ ท ำให โมเสสตองไปปรับทุกขคร่ำครวญกับพระยาเวห วา ทานยอมตายซะดีกวาที่จะทำหนาที่ที่ได รับมอบหมายนี้ใหตอไป “บัดนี้ ขอพระองค ทรงอภั ย บาปให เขาทั้ ง หลายเถิ ด มิ ฉ ะนั้ น ขอทรงลบชื่ อ ของข า พเจ า ออกจากหนั ง สื อ ที่ พ ระองค ท รงเขี ย นไว เ ถิ ด (อพย.32:32) แต ใ นท า มกลางสถานการณ ที่ เ ต็ ม ไปด ว ย อุปสรรคหรือ “การทดลอง” เชนนี้เองที่ทำ


ทัศน 28 วารสารแสงธรรมปริ ฉบั​ับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2012/2555 ใหโมเสสไดพบและสนทนากับพระเจามาก ขึน้ และจากการสนทนานี้ ทำใหความสัมพันธ และมิ ต รภาพของท า นกั บ พระเจ า ค อ ยๆ เติบโตขึ้น จนถึงขั้นโมเสสเขาใจและมั่นใจวา เปนพระเจาเองและเปนพระองคแตเพียงผู เดียวเทานั้นที่ทรงดำเนินงานและทำใหทุกสิ่ง เกิดขึ้น ทั้งนี้ เพื่อวา ผานทางเหตุการณ ตางๆเหลานัน้ ทุกคนจะไดรจู กั พระองคเหมือน อยางที่พระองคเปน โดย “ชาวอียิปตจะรู วาเราคือพระยาเวห เมื่อเรายกมือขึ้นตอสู กับชาวอียิปตแลวนำชาวอิสราเอลออกจาก อียิปต” (อพย.7:5) (3) เยเรมีย แตรูปแบบของการตอสูทั้งภายนอก และภายในของคนที่ถูกเรียกมาเปนประกาศก ของพระเจานั้น คงไมมีของใครที่ดูมีชีวิตชีวา เทากับของประกาศกเยเรมีย ทานถูกกำหนด และเลือกสรรจากพระเจานับตัง้ แตอยูใ นครรภ มารดา เพื่ อ ให ท ำงานที่ พ ระองค ท รงจั ด เตรียมไวให แตกระนัน้ ก็ดี เพือ่ จะทำใหแผน งานของพระเจาสำเร็จไป เยเรมียก็จำเปน จะตอง “เปลี่ยนแปลง” ตัวเองทั้งหมด โดย พระเจ า ได ท รงเข า มาตกแต ง ตั ว ท า นด ว ย พระคุณแหงพระวาจา “ดูซิ เราใสถอยคำ ของเราในปากของทานแลว ดูซิ วันนี้เรา ตั้งทานเหนือนานาชาติและเหนืออาณาจักร ตางๆ” (ยรม.1:9-10) พรอมกับทำใหเยเรมีย รูและมั่นใจในภารกิจที่ทานตองทำวา “เขา

ทั้งหลายจะตอสูกับทาน แตจะไมชนะทาน เพราะเราอยูกับทานเพื่อชวยทานใหรอดพน” (ยรม.1:19) หลังจากนั้นไมนาน เยเรมียก็ เผชิญหนากับภาระที่หนักหนวงในทันที ทั้ง อุปสรรค การเบียดเบียน ความผิดหวังใน สิ่ ง ที่ ชั่ ว ช า และการข ม ขู เ อาชี วิ ต ชี วิ ต ของ ทานกลายเปนเหมือนลูกแกะที่ถูกพาไปสูที่ ฆ า (ยรม.11:19) ท า นจึ ง หั น จิ ต ใจขึ้ น หา พระเจาแลวถามพระองควา “ทำไมวิถีชีวิต ของคนชั่วรายจึงไดเจริญขึ้น เหตุไฉนผูทรยศ ทุกคนจึงอยูอยางเปนสุข” (ยรม.12:1) – “ขาแตพระยาเวหจอมจักรวาล ขาพเจาได มอบคดี ข องข า พเจ า ไว กั บ พระองค แ ล ว ” (ยรม.11:20) – “ขาแตพระยาเวห โปรด ทรงตีสอนขาพเจาแตพอประมาณ มิใชตาม ความกริว้ ของพระองค มิฉะนัน้ ขาพเจาจะตอง สูญสลายไป” (ยรม.10:24) แตในทามกลาง ความปนปวนทางจิตใจอันเนื่องมาจากความ ทุ ก ข ย ากลำบากเช น นี้ เยเรมี ย ก็ ไ ด รั บ ประสบการณความจริงเกี่ยวกับพระสัญญา ที่พระเจาไดทรงทำไวกับทาน กระนั้ น ก็ ดี เยเรมี ย ก็ ยั ง ต อ งเผชิ ญ หนากับ “ชะตากรรม” อยางนาเวทนาตอ ไป จนทานถึงกับหมดหวังและตกอยูใ นวิกฤติ ของความทอแทใจ “แมจา วิบัติจงเกิดแก ลูก ทำไมแมจึงคลอดลูกออกมา เปนเหตุ ใหผูคนทั่วแผนดินตองแตกแยกและทะเลาะ วิวาทกัน (ยรม.15:10) ทานเดินทางมาถึง


การเรียกและการตอบรับในพันธสัญญาเดิม

การตกอยูใ นกับดักของความพายแพและความ ทอแทหมดหวัง และหันหนาเขาหาพระเจา และรองตอพระองควา “ขาแตพระยาเวห พระองคทรงทราบแลว โปรดทรงระลึกถึง ขาพเจาและเสด็จมาชวยเหลือ” (ยรม.15:15) ประสบการณเชนนี้ของเยเรมียนำทานมาสู จุ ด สำคั ญ สู ง สุ ด ของการเรี ย กท า นมาเป น ประกาศก ซึ่งไดรับการรื้อฟนใหมและไดรับ คำตอบยื น ยั น อี ก ครั้ ง จากพระเจ า ว า “ถ า ทานกลับใจ เราจะใหทานกลับมา และทาน จะยื น อยู ต อ หน า เรา ถ า ท า นรู จั ก แยกสิ่ ง ประเสริฐจากสิง่ ไรคา ทานจะเปนเหมือนปาก ของเรา” (ยรม.15:19) ประสบการณทเ่ี ยเรมีย ไดรับนี้ กอปรกับการระลึกถึงการเรียกของ พระเจ าในครั้ งเริ่ มต น ได ก ลายเป นกุ ญแจ สำคั ญ ในการสำนึ ก ได แ ละยอมกลั บ ใจของ เยเรมีย ทานจึงไดมอบตัวทัง้ ครบไวในพระหัตถ นำทางของพระเจาใหม และเริม่ ตนทำพันธกิจ ที่ทานไดรับมอบหมายมาตอไป แมจะตอง เผชิญกับการเบียดเบียนและการประทุษราย ตางๆนาๆทีจ่ ะเกิดขึน้ ในอนาคต เหตุ “เพราะ พระวาจาของพระยาเวหเปนเหตุใหขาพเจา ต อ งอั บ อายและถู ก เยาะเย ย ตลอดวั น ” (ยรม.20:8) และความจริงก็เปนไปตามนั้น ตลอดเวลาที่เยเรมียประกาศพระวาจาของ พระเจา ทานก็จะถูกเยาะเยยถากถางตลอด เวลา แตทานก็ไมเคยหยุดนิ่งหรือทอแทกับ การเยาะเยยนั้น เหตุวา เพราะถาทานไม

29

ประกาศพระวาจาของพระเจา ก็จะมีสง่ิ ในใจ เหมือนไฟอัดอยูในกระดูก ยิ่งถาเก็บเอาไวก็ ยิ่งทำใหทานออนเปลี้ย (ยรม.20:9) ในที่สุด พลังที่เขมแข็งของพระเจาก็เปดเผยใหเยเรมีย เห็น และชวยเสริมกำลังใหทานปาวประกาศ พระวาจาของพระเจาตอไป ทามกลางการเกิดขึน้ สลับไปมาระหวาง ความทุ ก ข ย ากลำบากและความสิ้ น หวั ง ที่ เกิดควบคูกับการทำพันธกิจทีไ่ ดรับมอบหมาย จากพระเจา และสันติสุขในจิตใจที่เกิดขึ้น เหมื อ นเป น ผลมาจากการมี ป ระสบการณ ในการประทับอยูของพระเจา ซึ่งเปนตาม คำสัญญาของพระเจาทีว่ า “เราจะอยูก บั เจา” นี้ ทีละเล็กทีละนอย บรรดาประกาศกของ พระเจาก็คอยๆเติบโตขึ้นในวุฒิภาวะของการ เรียก เขาไดรับการปนและจัดรูปทรงเหมือน กั บ ห ม อ ที่ เ กิ ด ขึ้ น จ า ก มื อ ข อ ง ช า ง ป น (ยรม.18:1-6) เพื่อใหพวกเขาเปนเครื่องมือ ที่ มี ค วามหมายในพระหั ต ถ ข องพระเจ า ความทุกขทรมานและการตอตานที่พวกเขา ตองเผชิญ ไดนำพวกเขาใหไดเขาไปพบและ สนทนาอยางสนิทสนมกับพระเจา ประกาศก จึงกลายเปนคนที่คอยๆถูกปรับหรือเปลี่ยน แปลงอยูเสมอในการประกาศพระวาจาของ พระเจา โดยมีเปาหมายเพื่อการสรางความ สัมพันธและมีความสนิทสนมอยางลึกซึ้งกับ พระเจา


ทัศน 30 วารสารแสงธรรมปริ ฉบั​ับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2012/2555 6. ความดื้อรั้นของประกาศก จากหลักฐานการเลาของพันธสัญญา เดิม เรายังพบเรื่องราวของประกาศกบาง ทานที่ไมคอยสรางความชื่นใจใหกับเราผูอาน เทาไรนัก โดยเฉพาะอยางยิ่ง หากเรามอง ประกาศกว า เป น ผู ที่ ถู ก เรี ย กจากพระเจ า กลาวคือ ในพระคัมภีรย งั มีกลาวถึงประกาศก บางคนที่ มี เ รื่ อ งราวชี วิ ต ค อ นข า งสั้ น มี บทบาทน อ ยและภารกิ จ ที่ ท า นได รั บ ก็ มี ไ ม มากนั ก แน น อนว า เรื่ อ งเล า เหล า นี้ ไ ม ใช เปนเรื่องจริงทางประวัติศาสตรที่มีหลักฐาน ยื น ยั น แน น อนแจ ง ชั ด แต เ ป น ตำนานการ เลาตอๆมาและก็พบไดในหนังสือของประกาศก ที่เราเรียกวาประกาศกนอย ประกาศกที่เรา กำลั งพู ดถึ งอยู นี้ คื อ โยนาห ชาวยิ ว ที่ มี ชี วิ ต ไม ค อ ยมี ส าระหรื อ แก น สารเท า ไรนั ก และพยายามหนี พ ระเจ า ที่ ต อ งการให ท า น เปนเครื่องมือนำความรอดมาสูมนุษย แตที่สุด โยนาหก็ยอมตามพระประสงคของพระเจา โยนาห ถู ก ส ง ไปประกาศข า วแก ช าว นีนะเวห เมืองของคนตางศาสนา เพื่อให พวกเขาเป น ทุ ก ข ถึ ง บาปที่ พ วกเขาทำและ กลับใจใหม การยอมเชื่อฟงของชาวนีนะเวห นั้นมีความหมายอยูมาก เพราะหมายถึงวา แม แ ต ค นที่ ไ ม ใช ช าวยิ ว ก็ เ ป น คนที่ พ ระเจ า ทรงรักดวยเหมือนกัน โดยเฉพาะอยางยิ่ง กษั ต ริ ย ข องกรุ ง นี น ะเวห เมื่ อ ได ยิ น การ ประกาศของโยนาห ก็ยอมเปลี่ยนความคิด

เปลี่ยนทัศนคติใหม และยอมกลับใจในที่สุด การกระทำของกษัตริยและชาวกรุงนีนะเวห นี้ แ ตกต า งจากชี วิ ต ของโยนาห โ ดยสิ้ น เชิ ง เพราะในครั้งที่พระวาจาของพระเจามาถึง ท า น ท า นกลั บ ดื้ อ รั้ น ปฏิ เ สธไม ย อมรั บ และหนีไปใหไกลทีส่ ดุ เทาทีจ่ ะไกลได (ยนา.1:3) โดยลงเรือ ออกไปกลางทะเล แตไมวาจะ เป นเรื อ ลู กเรื อ ทะเล พายุ หรื อแม แต ปลาตัวใหญก็ไมสามารถทำอันตรายทานได เพราะพระเจ า ได ท รงเลื อ กสรรท า นไว แ ล ว พระเจาทรงมีแผนการสำหรับทานแลว และ พระองคก็ทำใหแผนการของพระองคสำเร็จ ไป คือ ไดโยนาหมาเปนประกาศก แมจะ ไมใชดวยวิธีการที่เปยมดวยรอยยิ้มเทาไรนัก ที่ สุ ด โ ย น า ห ก็ “ ลุ ก ขึ้ น ไ ป ยั ง กรุงนีนะเวหตามพระวาจาของพระยาเวห” (ยนา.3:3) ที่ นั่ น พระวาจาของพระเจ า ไดรับการตอนรับอยางดีเยี่ยม เปนไปตาม วาจาของพระเจาที่เคยตรัสไววา “ถอยคำที่ ออกจากปากของเรา จะไมกลับมาหาเราโดย ไม เ กิ ด ผล” (อสย.55:11) จึ ง ดู เ หมื อ นว า พันธกิจของพระเจานั้นสำเร็จลงแลว เพราะ ชาวกรุงนีนะเวหทั้งหมด “ตั้งแตคนใหญที่ สุดจนถึงคนเล็กที่สุด” (ยนา.3:5) ยอมกลับ ใจจนหมด แตโยนาหกลับไมพอใจอยางยิ่ง และโกรธพระเจ า ที่ พ ระองค “ทรงเป น พระเจาผูเมตตาและกรุณา” (ยนา.4:2) ไม ยอมลงโทษชาวนี น ะเวห เ หมื อ นดั ง ที่ เ คย


การเรียกและการตอบรับในพันธสัญญาเดิม

ตรัสไว โยนาหพลุงพลานอยูกับอารมณโกรธ นี้ จนถึงกับกลาวกับพระเจาวา ทานยอม ตายเสียดีกวาที่จะหายโกรธ (ยนา.4:3) ลั ก ษณะของโยนาห จึ ง แตกต า งจาก ประกาศกคนอื่ น ๆที่ ไ ด รั บ การเรี ย กจาก พระเจ า อย า งสิ้ น เชิ ง ลั ก ษณะนิ สั ย และ พฤติกรรมของทานแตกตางจากฐานะความ เปนประกาศกอยางที่ควรจะเปน ทานเปน คนไม รู จั ก ประนี ป ระนอม มั่ น ใจแต ตั ว เอง ดื้อรั้น ยึดตัวเองเปนศูนยกลางและจองหอง โดยคุณสมบัติสวนตัวของทานแลว ทานไมมี อะไรเลยสำหรับการไปพบและติดตอกับพระเจา ไดเลย โยนาหไมสามารถแมแตปรับตัวให โอนออนและวางตัวไวในพระหัตถของพระเจา ได ดังนี้ เขาจึงไมสามารถรับแผนการ รับ พระประสงคของพระเจาเขามาในความคิด และในจิตใจของตัวเอง เพือ่ จะไดนำไปปฏิบตั ิ จนบรรลุผลสำเร็จได แตพระเจาทรงเปนผูท่ี “เมตตาและ กรุ ณ า ไม โ กรธง า ย เป ย มด ว ยความรั ก มั่นคง” (ยนา.4:2) ตอมนุษยทุกคน นี่ก็ หมายความวา พระองคก็ทรงเปนเชนนี้กับ โยนาหดวย คือ ทรงใจกวางและอดทนใน การกระทำใหโยนาหกลับใจ (ยนา.4:6-11) แตดูเหมือนโยนาหก็ไมยอมจำนนงายๆ ทั้ง นี้เพราะความดื้อรั้นและเอาแตใจตัวของเขา นั่นเอง

31

7. บทสรุป เรื่องราวการเติบโตและความกาวหนา ของการเรียกของพระเจานี้ มีจุดเริ่มตนมา อยางยาวนานในประวัติศาสตรแหงความรอด ของมนุษย นับตั้งแตการเรียกอับราฮัมเรื่อย มาจนถึงตำนานของโยนาห ซึง่ ในตลอดระยะ เวลาที่ผานมาในประวัติศาสตร ประชากร ของพระเจาตางไดรับรูและตระหนักดีเสมอ ถึ ง กิ จ ก า ร แ ห ง ก า ร ช ว ย ใ ห ร อ ด นี้ ข อ ง พระยาเวห และความสั ม พั น ธ ข องบรรดา ประกาศกกับพระยาเวห คำสอนตางๆของ บรรดาประกาศกถูกนำไปสูการรับรูและการ ยอมรั บ ว า พระเจ า ทรงรั ก ชาวอิ ส ราเอล เหมือนบุตรและเหมือนเจาสาว (เทียบ อสย. 49:15;62:5;ฮชย.11:1,4,8) พระองคทรง โอบกอดพวกเขาเหมือนมารดาโอบกอดบุตร ของนาง ทั้งคอยดูแลและปองกันเขาไวให พนจากภยันตรายตางๆ พระองคทรงปลด ปลอยพวกเขาใหเปนอิสระและชวยพวกเขา ใหรอดพน แตหลังจากที่ “ไดตรัสกับบรรพบุรุษ ของเราโดยทางประกาศก หลายวาระและ หลายวิ ธี แ ล ว ” (ฮบ.1:1) เมื่ อ เวลามาถึ ง องคพระผูเปนเจาก็ไดทรงสง “พระบุตร” ของพระองค ล งมายั ง โลก “ให ม าบั ง เกิ ด จากหญิงผูหนึ่ง” (กท.4:4) สตรีที่จะทำให การเรี ย กของพระยาเวห ไ ด รั บ คำตอบรั บ ที่ สมบูรณที่สุด


ทัศน 32 วารสารแสงธรรมปริ ฉบั​ับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2012/2555 ในการเล า เรื่ อ งนี้ ข องลู ก า ได เ น น “ความตอเนือ่ งระหวางการเรียกในพันธสัญญา เดิมกับการเรียกพระนางมารีย” ขณะเดียว กัน ลูกาก็เนนถึง “ความแตกตาง” บาง ประการที่มีความหมายและมีความสำคัญยิ่ง ดวย กลาวคือ สำหรับลูกา ในพระนางมารียนั้น การเรียกและการตอบรับเปนไปอยางคลอง จองและประเสริฐล้ำ เลิศกว าการเรียกและ การตอบรั บ ใดๆ ของประกาศกในอดี ต สำหรับลูกา การตอบรับของพระนางมารีย เป น “รู ป แบบที่ ส มบู ร ณ ที่ สุ ด ” ของฝ า ย มนุษย และเปนการเริ่มตนของชีวิตแหงการ ตอบรับทีส่ มบูรณแบบทีส่ ดุ ของพระเยซูคริสตเจา

ด ว ยเหตุ นี้ พระนางมารี ย จึ ง ได รั บ เกี ย รติ เ ป น ราชิ นี แ ห ง มหาบุ รุ ษ ราชิ นี ข อง ประกาศก มารดาของพระวจนาตถที่มารับ ธรรมชาติมนุษย และมารดาแหงพระวรกาย ของพระคริสตเจา คือ พระศาสนจักร ที่ พระนางมารียทรงเปนทุกอยางทั้งหมดนี้ ก็ ดวยเหตุของความเชื่อและการตอบรับการ เรียกของพระเจาอยางซื่อสัตยและมั่นคงนั่น เอง ฤทธิก์ ศุ ลของการยินยอมใหทกุ สิง่ “เปน ไปแกขาพเจาตามวาจาของทาน” (ลก.1:38) ทำใหการเรียกของพระเจาบังเกิดผลสูงสุด ในพระนาง คือ “องคผูทรงสรรพานุภาพ” ไดทรงกระทำสิ่งยิ่งใหญในพระนาง


การเรียกและการตอบรับในพันธสัญญาเดิม

33

คาทอลิกเพื่อพระคัมภีร, คณะกรรมการ. พระคัมภีรภาคพันธสัญญาเดิม ปญจบรรพ. กรุงเทพมหานคร: คณะกรรมการคาทอลิกเพื่อพระคัมภีร, 2006. คาทอลิกเพื่อคริสตศาสนธรรม แผนกพระคัมภีร, คณะกรรมการ. พระคัมภีรภาคพันธสัญญาเดิม ประวัติศาสตร. กรุงเทพมหานคร : คณะกรรมการคาทอลิกเพื่อคริสตศาสนธรรม แผนกพระคัมภีร, 2008. คาทอลิกเพื่อคริสตศาสนธรรม แผนกพระคัมภีร, คณะกรรมการ. พระคัมภีรภาคพันธสัญญาเดิม หมวดประกาศก. กรุงเทพมหานคร : คณะกรรมการคาทอลิกเพื่อคริสตศาสนธรรม แผนกพระคัมภีร, 2011. คาทอลิกเพื่อคริสตศาสนธรรม แผนกพระคัมภีร, คณะกรรมการ. พระคัมภีรภาคพันธสัญญาใหม. พิมพครั้งที่ 3, กรุงเทพมหานคร : คณะกรรมการคาทอลิกเพื่อคริสตศาสนธรรม แผนกพระคัมภีร, 2007. Heaton, E.W., The Old Testament Prophets. (New and Revised Edition), London: Darton, Longman & Todd, 1977. Heschel, Abraham J. The Prophets. New York : The Jewish Publication Society of America, 1962. Rowley, H.H. The Nature of Old Testament Prophecy in the Light of Present Study in The Servant of the Lord. Blackwell, (revised ed.), 1965. Scott, R.B.Y. The Relevance of the Prophets. Macmillan, (revised ed.), 1968. Von Rad, G. Old Testament Theology. vol. 2, Oliver & Boyd, 1965. Winward, Stephen F. A Guide to The Prophets. Atlanta: John Knox Press, 1976.


ทัศน 34 วารสารแสงธรรมปริ ฉบั​ับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2012/2555 * หมวดปรัชญา *

¡ÃÐáÊàÃÕ Â¡ ã¹·ÃÃȹТͧ»ÃѪÞÒ ศ.กีรติ บุญเจือ “กระแสเรี ย ก” เป น ศั พ ท บั ญ ญั ติ ข องชาว คริ ส ต ค าทอลิ ก โดยเฉพาะเพื่ อ แปลคำว า vocation ที่ ม าจากพระเป น เจ า พี่ น อ ง โปรแตสแตนตใชคำ “การทรงเรียก” ซึ่ง ผิดไวยากรณ แตใชกันชินแลวก็แลวไป คือ ถาใชเปนคำกริยาเพิ่ม “ทรง” เขาขางหนา ก็เปนราชาศัพทได เชน พระเจาทรงเรียก แตเมื่อเปนคำนามก็จะกลายเปน “การเรียก”

ใหเปนราชาศัพทตองวา “ทรงมีการเรียก” หรือ “ทรงประทานการเรียก” เปนตน นอกวงการศาสนาคริสต vocation หมายถึง อาชีพที่ทำดวยใจรัก แมจะไดคา ตอบแทนนอย หรือไมไดเลย หรือแมจะตอง เขาเนื้อก็ยินดีทำดวยความพอใจ จึงนาจะ แปลวา “ชีวิตจิตใจ” หรืออาชีพอาสา เชน “การทำลู ก ศิ ษ ย เ ป น ชี วิ ต จิ ต ใจของฉั น ”

ศาสตราจารยและราชบัณฑิต อดีต สนช.อดีตหัวหนาภาควิชาปรัชญา จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย อดีตคณบดีคณะปรัชญาและศาสนา มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญและมหาวิทยาลัยเซนตจอหน ประธานโครงการปริญญาเอกปรัชญาและจริยศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ประธานบรรณาธิการจัดทำสารานุกรมปรัชญาของราชบัณฑิตยสถาน สอบถามเรื่องปรัชญา โทร.086-0455299


กระแสเรียกในทรรศนะของปรัชญา

หมายความวาทุมเทใหทุกอยาง แมจะหวัง ผลยากก็ยังอยากจะทำ ผิดกับ profession ที่เรามีสำนวนไทยวา “มือโปร” คืออาชีพที่ มี พ รสวรรค ท ำได ถ นั ด มี คุ ณ ภาพสู ง สั ง คม ยอมรับวาเกง นาจะแปลวา “อาชีพถนัด” และผิ ด กั บ career และ earning ซึ่ ง หมายถึงการทำงานเพื่อใหไดคาตอบแทนมา ใชจายในชีวิตจึงเลือกทำที่ไดเงินมากๆเร็วๆ ไว แมไมชอบก็ฝนใจทำ แมไมเกงก็พยายาม พลิกแพลง หรือตบตาใหผูจายเงินเชื่อวาเกง ไว บทความนีจ้ ะจำกัดขอบเขตศึกษาเฉพาะ กระแสเรียกในความหมายแรกเทานั้น คือ การที่พระเปนเจาทรงเรียก หรือทรงกำหนด หรือทรงแตงตั้ง กระแสเรียกตามความหมายของชาว คาทอลิก อาจเกิดขึ้นไดหลายวิธี คือ 1. ทรงแสดงองคดว ยวิธใี ดวิธหี นึง่ เชน ทรงปรากฏเปนบุรุษ 3 คนแก อับราฮัม เพือ่ แตงตัง้ ใหเปนตนตระกูลของชาติเลือกสรร 2. ทรงแสดงเปนเสียงกึกกอง แตงตั้ง โมเสสเปนผูกอตั้งชาติอิสราเอล ทรงแตงตั้ง เปาโลเปนผูรวมกอตั้งพระศาสนจักรเริ่มแรก 3. ทรงดลใจนักบุญเทเรซาแหงอาวีลา ใหปรับปรุงอารามคารเมล ทรงดลใจนักบุญ เทเรซาแหงลีซีเออใหเปนตัวอยางแหงการทำ พลีกรรมทางใจ และทรงดลใจคุณแมเทเรซา แหงกัลกัตตาใหตั้งคณะชวยคนไรที่พึ่ง

35

4. ทรงดลใจใหเยาวชนคาทอลิกอยาก เปนนักบวชทั้งชายและหญิง ทั้งชั่วคราวและ ชั่วชีวิต 5. ทรงดลใจฆราวาสใหอยากอุทศิ เวลา สวนหนึ่งทำงานใหพระศาสนจักรตามความ ตองการขององคการบริหาร 6. ทรงดลใจผูมีพรสวรรคหรือความ สามารถพิเศษ ใหใชพรสวรรคของตนมิเพียง แตเสริมนโยบายของพระศาสนจักรตามขอ 5 แตทำการอยางอิสระโดยมิไดตั้งใจที่จะเสริม นโยบายใดของพระศาสนจักร แตทำไปแลว ก็ เ กิ ด ผลดี ต อ พระศาสนจั ก รในด า นใดด า น หนึ่งโดยมิไดตั้งใจเจาะจง หรือเกิดผลดีตอ สั ง คมในด า นใดด า นหนึ่ ง ซึ่ ง ล ว นแต เ ป น อาณาจั ก รของพระเป น เจ า ในโลกนี้ ทั้ ง สิ้ น (ตามนิยามของพระสังคายนาวาติกันที่ 2) นอกเหนื อ ไปจากนี้ ย อ มมี ป ญ หาว า จะมีกระแสเรียกไดอยูอีกหรือไม เชน การ ทำดีของผูนับถือศาสนาอื่น ที่อาจจะไมเชื่อ วามีพระเปนเจา หรือเชื่อวามีพระเปนเจา แตคิดวาการนับถือพระเปนเจาแบบคาทอลิก นั้ น ผิ ด พระประสงค ห รื อ ไม ส มบู ร ณ แ บบ การทำดีของคนดีๆเหลานี้ชาวคาทอลิกจะถือ วาเปนกระแสเรียกหรือไม ถาไมเรียกวาเปน กระแสเรียกจะเรียกวาเปนอะไร เรามาลอง วิเคราะหกันดูดวยเหตุผลเชิงปรัชญา


ทัศน 36 วารสารแสงธรรมปริ ฉบั​ับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2012/2555 วิเคราะหมนุษยจากขอเท็จจริง ทุกคนที่เกิดมาเปนคนไดรับพรสวรรค ใหมีสัญชาตญาณ 4 ระดับตามชีวิต 4 ระดับ ที่ แ ต ล ะคนมี เข ม ข น มากน อ ยต า งกั น ตาม พรสวรรค ข องแต ล ะคน ทั้ ง นี้ เ พื่ อ ช ว ย ประหยั ด เวลาและพลั ง งาน มี ม ากเกิ น ไป ก็ ดี อ ย า งเสี ย อย า ง มี น อ ยเกิ น ไปก็ ดี อ ย า ง เสียอยาง มีสมดุลกันดีแหละดีที่สุด ใครได มาไม ส มดุ ล หากรู ห ลั ก การก็ ป รั บ ได เป น สวนหนึ่งของเอกภพ ทุกคนไดรับพลังตางๆ ของเอกภพโดยผานทางกายอันเปนสวนหนึ่ง ของมวลสารของเอกภพ แสดงออกเป น สัญชาตญาณสสาร คือ ไมชอบการเปลี่ยน แปลง สัญชาตญาณนี้แสวงหาความสุขกับ ความเกียจคราน หากไมมีแรงอื่นมาผลักดัน หรือตอตานก็จะไมยอมขยับเขยื้อนออกจากที่ หรือไมยอมหยุดการกระทำที่ทำอยู ดื้อตอ การปรับเปลี่ยน คนเราทุกคนเปนสิ่งมีชีวิต (รวมกับพืชและสัตว) จึงมีสัญชาตญาณชีวิต (life instinct) เชนเดียวกับพืชทุกตนและ สัตวทุกตัว คือ ดิ้นรนเพื่อการอยูรอดของ ตน (สัญชาตญาณเห็นแกตัว) สัญชาตญาณ นี้แสดงออกเปนความโลภเพื่อเอาเปรียบทุก คนและทุกสิ่ง เชนพืชทุกชนิดและทุกตนใช รากชอนไชหาอาหารสลายทุกสิ่งที่ขวางหนา โดยไมแครวาจะทำลายอะไรหรือสรางความ เดือดรอนใหแกใคร เพียงแตขอใหชีวิตนั้น ไดมีชีวิตอยูรอดและอยูรอดไดดีกวาชีวิตอื่น

ทั้งหลายเทานั้น สัตวและมนุษยทั้งหลายที่ เดินตามสัญชาตญาณนี้ก็ปฏิบัติเชนเดียวกัน และถาเปนคนก็จะเปนคนเห็นแกตวั ทีน่ า เกลียด ที่สุด เพราะเขาจะเกณฑเอาสัญชาตญาณ เสี ย สละของสั ต ว แ ละสั ญ ชาตญาณพั ฒ นา คุณภาพชีวิตไปใชเสริมความเห็นแกตัวอยาง นาเสียดาย สัญชาตญาณระดับชีวิตคือ สัญชาต ญาณรั ก ชี วิ ต ดิ้ น รนทุ ก วิ ถี ท างเพื่ อ ความอยู รอดของชีวิตและมีชีวิตอยางดี มั่นคงและ ปลอดภั ย จากการสู ญ เสี ย ชี วิ ต ของตน สัญชาตญาณระดับนี้จะไมยอมเสี่ยงหรือเสีย ชีวิตเพื่ออะไรเลย แตจะยอมเสี่ยงหรือเสีย ทุ ก อย า งจนหมดหน า ตั ก เพื่ อ รั ก ษาชี วิ ต ให นานเทานาน และดีเทาดี สัญชาตญาณนี้ จึ ง อาจจะเอาชนะความเกี ย จคร า นของ สัญชาตญาณสสาร และอาจจะดึงเอาพลัง จากสัญชาตญาณที่สูงกวาเพื่อตอบสนองตน ก็ได คนในฐานะมีชีวิตจึงตองรวมสัญชาต ญาณความโลภกับพืชและสัตว นอกจากนั้น คนยังเปนสัตวชนิดหนึ่งจึงตองรวมสัญชาต ญาณความโกรธ(ความรุ นแรง)ร ว มกั บสั ตว ทั้ ง หลายเมื่ อ มี ค วามต อ งการสื บ พั น ธุ เ พื่ อ ยื ด อายุ พ งศ พั น ธุ ข องตั ว เองต อ ไป ความ โกรธเพื่ อ การสื บ พั น ธุ แ สดงออกเป น ความ รุ น แรงในการตอบสนองความต อ งการสื บ พันธุใหไดอยางใจ จะตองขจัดคูแขงสักเทา


กระแสเรียกในทรรศนะของปรัชญา

ใดก็ยอมสู แมตัวเองจะตองเสี่ยงชีวิตหรือ ชื่อเสียงก็ยอมเสี่ยง ถาพอจะมีหวังวาจะสูได จะชอบใชความรุนแรง (โกรธ) สักเทาใดก็จะใช จะตองทำลายสักเทาใดก็จะทำลาย สั ญ ชาตญาณระดั บ สั ต ว มี ค วาม มุ ง มั่ น ที่ จ ะรั ก ษายี น ของตนไว ยิ่ ง กว า ชี วิ ต สัญชาตญาณรักษายีนแสดงออกใน 2 ทาง คือ 1).ถายทอดยีนของตนดวยการสืบสกุล คนเราไมวาหญิงหรือชายเมื่อรางกายมีความ พรอมก็จะดิ้นรนถายเทยีนของตนใหแกลูก เพื่ อ ให ยี น ของตนสามารถมี ชี วิ ต ต อ ไปใน ตั ว ลู ก และหลาน เหลน ต อ ๆไปนานเท า นานและดี เ ท า ดี สั ญ ชาตญาณระดั บ นี้ จ ะ ดิ้ น รนเรี ย กร อ งให สั ญ ชาตญาณระดั บ พื ช ยอมสละชีวิต และทุกสิ่งทุกอยางเพื่อใหเกิด ลูก เพื่อลูกจะไดเกิดหลานสืบตอๆไป จึง สังเกตไดวา ไมวาคนหรือสัตวชนิดใดก็ตาม เมื่อรางกายพรอมที่จะสืบพันธุจะมีฮอรโมน กระตุนใหตองการสืบพันธุจนถึงกับหนามืด ตามั ว ใช พ ลั ง และศั ก ยภาพทุ ก อย า ง เห็ น ชางเทาหมู เห็นคุกตารางเปนมุงใยบัว ยอม เสี่ยงเสียชื่อและเสียทุกๆ อยางที่สะสมมา จนตลอดชีวิต เพียงแตเพื่อใหไดถายเทยีน ตามความต อ งการเฉพาะหน า คนจึ ง ร า ย กวาสัตวในแงที่วาสามารถเกณฑปญญาความ รู ทุ ก อย า งเพื่ อ เอาเปรี ย บคู แ ข ง ทุ ก คน นอกเหนื อ ไปจากการใช พ ลั ง ความโกรธ และความรุ น แรงเยี่ ย งสั ต ว อื่ น ทั้ ง หลาย

37

2).ปกปองยีนในตัวและยีนทีเ่ หมือนกับยีนในตัว สัญชาตญาณนี้แสดงออกเปนความเสียสละ ชวยเหลือลูกหลานกอนญาติ และชวยเหลือ ญาติ ก อ นคนในหมู บ า น ช ว ยเหลื อ คนใน หมูบานกอนคนในชาติ และชวยเหลือคนใน ชาติกอนพลโลก ทั้งนี้ก็เพราะลูกหลานมียีน ของตนเองที่ถายเทฝากไปไวใหธำรงอยูแม ตนจะตองตายไปกอน ทั้งนี้ดวยเหตุผลของ ยีนวาลูกหลานมียีนเหมือนยีนในตัวมากกวา ญาติ ญาติมากกวาคนอื่นในหมูบาน คนใน หมูบานมากกวาคนในชาติ คนในชาติมาก กวาพลโลกและพลโลกมากกวาสัตวเดรัจฉาน ตามลำดับ ทั้งนี้ก็เพราะสัญชาตญาณระดับ นี้ทำใหรูสึกวาทุกคนมียีน (ในความหมาย กว า งๆโดยไม จ ำเป น ต อ งเรี ย นรู เรื่ อ งยี น มา ก อ น) แต มี ค วามรู สึ ก ใกล ชิ ด ต า งกั น และ ความผูกพันตางระดับกัน หากยีนเหมือนกัน มากก็จะรูสึกโดยอัตโนมัติวาผูกพันกันมาก หากยีนเหมือนกันนอยก็รูสึกโดยอัตโนมัติวา ผูกพันกันนอย ดังที่มีกรณีใหศึกษามากมายวา พอแม/ลูก หรือพี่/นองที่พลัดพรากจากกัน มาแตเล็กแตนอย ครั้นพบกันโดยบังเอิญก็รู สึกผูกพันกันทันทีโดยอัตโนมัติและภายหลัง ก็พบวา รวมสายโลหิตกันจริงๆ ในทำนอง เดียวกันหากมีเหตุจำเปนตองเสียสละแมชีวิต ก็จะพรอมเสียสละเพื่อชวยผูมียีนรวมกันมาก นอยตามระดับความเหมือนหรือความคลาย ของยี น การรณรงค ห รื อ ปลุ ก ใจให รั ก ชาติ


ทัศน 38 วารสารแสงธรรมปริ ฉบั​ับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2012/2555 รักทองถิ่น รักวงศตระกูล ก็มีรากฐานมา จากสัญชาตญาณระดับนี้ และแมการหาม แต ง งานกั น ในวงศ ญ าติ ใ กล ชิ ด ก็ ม าจาก สั ญ ชาตญาณรั ก ษาคุ ณ ภาพของยี น ในลู ก หลานมิใหเสื่อมลงนั่นเอง แตมนุษยมีดีกวาพืชและสัตวทุกชนิด ตรงที่ มี ป ญ ญา และเพราะฉะนั้ น จึ ง มี สัญชาตญาณระดับปญญาดวย นอกเหนือ ไปจากสัญชาตญาณระดับสสาร (ความเกียจ คร า นเหนื่ อ ยหน า ยชอบอยู เฉยๆไม ยอมรั บ การเปลี่ยนแปลงใดๆ) สัญชาตญาณระดับ พื ช (เห็ น แก ตั ว ) และสั ญ ชาตญาณระดั บ สัตว (เห็นแกยีน) มนุษยยังมีสัญชาตญาณ ระดับปญญาซึ่งผูใชปญญาจะรูสึกมีความสุข และมีพลังบันดาลใจหากไดทำตามสัญชาต ญาณระดั บ นี้ และถ า หากมี ค วามขั ด แย ง ระหวางสัญชาตญาณ คือ เกิดดันทุรังแยง กั น ใช อิ ท ธิ พ ลระดั บ ของตน เจตจำนง (the will) จะเปนกลไกตัดสินใจเลือกวา จะเดิ น ตามสั ญ ชาตญาณใดมากน อ ยเพี ย ง ใด ทั้งนี้ยอมขึ้นอยูกับพรสวรรค คือโครง สรางของจิตใจที่เปนทุนมาแตเกิด และอีก ส ว นหนึ่ ง ขึ้ น อยู กั บ พรแสวงคื อ การศึ ก ษา อบรมจนเปนลักษณะนิสยั หากสัญชาตญาณ ระดับปญญาเปนเจาเรือนบุคคลนั้นจะรูสึก พอใจ ภูมิใจ และมีความสุข หากไดเลือก ทำในสิ่งที่ชวยพัฒนาคุณภาพชีวิต (quality of life) อันประกอบดวย 4 ลักษณะ คือ

สรางสรรค (creative) ปรับตัว (adaptive) ร ว มมื อ (collaborative) และแสวงหา (inquisitive)

อยางไรก็ตาม มนุษยมีสัญชาตญาณ ระดับ 4 ที่พืชและสัตวไมมี เปนสัญชาตญาณ ของมนุษยโดยเฉพาะ เปนสัญชาตญาณของ ปญญาที่แสวงหาความสุขแทตามความเปน จริง (The Authentic Happiness According to Reality) สัญชาตญาณนี้จะเบงบานก็ ต อ เมื่ อ ป ญ ญาได พั ฒ นาถึ ง ขั้ น วุ ฒิ ภ าวะ (maturity) ถาไมสามารถเห็นไดเองก็ตองมี ผูชี้แนะ ผูชี้แนะไดแกนักปรัชญาที่ทำหนาที่ เปนผูเฝาดู (watch-dog) ความเคลื่อนไหว ของปญญาจนอานออกวาปญญาของมนุษยชาติ ที่ตีความตองการของมนุษยไดดีที่สุดในสมัย ของตนนั้นเปนอยางไร ผูไมใชนักปรัชญารับ ฟงแลวก็จะเขาใจไดตามระดับปญญาของตน และนำไปปฏิบัติตามความเขาใจ นักปรัชญา พยายามศึกษาประวัติความคิดของมนุษยชาติ เพื่อจัดระดับการตีความของปญญา จนพบ ไดวา ระดับการตีความของปญญาเรียกวา


กระแสเรียกในทรรศนะของปรัชญา

กระบวนทรรศน มี ทั้ ง หมด 5 กระบวน ทรรศนถึงขณะนี้ นั ก ปรั ช ญาไม ใช ศ าสดาศาสนา แต ศาสดาอาจจะเปนนักปรัชญาดวยก็ได นัก ปรั ช ญามี ห น า ที่ ตี ค วามคำสอนของศาสดา ตามกระบวนทรรศน ที่ ต นรู ว า ทั น สมั ย ที่ สุ ด ศาสดาไมใชนักปรัชญาธรรมดา ศาสดาอยู เหนือนักปรัชญา บางครั้งดูเหมือนทานทำ หนาที่ชี้แนะสังคมเหมือนนักปรัชญา แตนั่น ไมใชบทบาทหลักของทาน ทานอาจจะชีแ้ นะ สั ง คมในสมั ย ของท า น เพื่ อ เป น ตั ว อย า ง ประกอบบทบาทหลักของทาน เมื่อสภาพ ของสังคมเปลี่ยนไป นักปรัชญาอาจจะตอง ช ว ยปรั บ คำชี้ แ นะสั ง คมที่ ศ าสดาได ชี้ ไว ใ น สมัยของทาน เพื่อปรับใหเขาใจเจตนาของ ศาสดาได ใ นบริ บ ทของสั ง คมใหม แต ท ว า บทบาทหลักของศาสดาอยูเหนือบริบท คง อยู ไ ด กั บ ทุ ก ยุ ค ทุ ก สมั ย และทุ ก บริ บ ทของ สังคม ไมตองมีการปรับเปลี่ยนและเปลี่ยน ไมได หากปรับเปลี่ยนไปก็จะไมใชศาสนา เดิม นักปรัชญากับศาสดาจึงทำหนาที่คนละ บทบาท คนละดานของปญญามนุษย ไม ซ้ ำ ซ อ นกั น แต ค วรจะส ง เสริ ม กั น ไม ใช หักดิบกัน สวนสาวกของศาสนา (disciple of religion) ไดแกผอู ทุ ศิ ตนเพือ่ เผยแผศาสนา เปนหลักในชีวิต ก็ตองมีบทบาทอีกแบบหนึ่ง คื อ จะต อ งรู ค ำสอนของศาสดาอย า งลึ ก ซึ้ ง และปฏิบัติตามอยางจริงจัง เปนตัวอยางแก

39

คนทั้ งหลายได ดว ยก็ ยิ่งดี แต นาเสี ยดายที่ หลายคนไดแตสอนแตไมปฏิบัติเปนตัวอยาง เขาควรต อ งรู ป รั ช ญาอย า งน อ ยก็ ต อ งรู กระบวนทรรศน 5 อยางดี เพื่อรูใจคนวา แบ ง เป น 5 ประเภทอย า งไร จะได ส อน คนให เข า ถึ ง ศาสนาได ใ นวิ ถี ท างที่ ถู ก ต อ ง ความรูเรื่องกระบวนทรรศน 5 จึงเรียกวา “ปรัชญาอเนกประสงค” ดวยประการฉะนี้ ที่สุดมีนักการศาสนา (religious people) ทีเ่ นนการปฏิบตั เิ ครงครัดเปนตัวอยางอางอิงให

หวนกลับมาขยายความสัญชาตญาณ ในตั ว ของมนุ ษ ย ต อ มนุ ษ ย แ ต ล ะคนมี สั ญ ชาตญาณ 4 ชนิ ด ที่ แ ย ง พื้ น ที่ ใ นตั ว มนุษยเปนเวทีแสดงพลัง ถาทั้ง 4 พลังไป ในทิศทางเดียวกันก็จะไมมีเรื่อง ไมมีปญหา แตบอยครั้งมันผลักดันไปคนละทาง มนุษย คนใดรู เ ท า ไม ถึ ง การณ ก็ ก ลายเป น อุ ป กรณ เครื่องเลนของสัญชาตญาณที่ไมไดมาตรฐาน โดยพื้นๆแลวสัญชาตญาณสสารยอมชอบอยู เฉย ๆ ไมตองทำอะไรใหเหนื่อยยาก สัญชาต ญาณชีวิตชอบแสดงตัวเปนเจาของครองเวที


ทัศน 40 วารสารแสงธรรมปริ ฉบั​ับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2012/2555 เรื อ นร า งของมนุ ษ ย อ ยู ต ลอดเวลา เพราะ กลัวตาย มนุษยจึงตองสนใจหาปจจัยทั้ง 4 ยังชีพ ใหมีชีวิตรอดและมีชีวิตอยางดีที่สุด ยิ่งกวาชีวิตอื่นทั้งหลาย เอาเปรียบใครไดก็ อยากเอาเปรียบ แยงใครไดก็อยากจะแยง สะสมไดก็อยากจะสะสม เพื่อความมั่นคง ในวันขางหนา แมชีวิตอื่นจะไมมีกินในวันนี้ ก็ ช า งชี วิ ต อื่ น ปะไร เพราะต อ งตอบสนอง สัญชาตญาณของฉันกอน ชีวิตอื่นก็เปนเรื่อง ของชีวิตอื่น รับผิดชอบตัวเองซี ทำไมฉัน จะตองรับรูปญหาของทุกชีวิตในโลกดวยเลา อยูไมไดก็ใหตายไป เพื่อมีที่ใหชีวิตที่เกงกวา ไดอยูสบายๆดังมีคำพังเพยในสมัยโรมันวา Primum manducare, deinde philosophari กินกอนแลวคอยคิดปรัชญา อยางไรก็ตาม บางคนก็ไมสนใจสะสมปจจัย ไมใชเพราะ เปนคนดีมีคุณธรรมแหงความมักนอยเสียสละ แตเปนเพราะปลอยใหสญ ั ชาตญาณเกียจคราน ของสสารเปนเจาเรือนตรงกับคำนิยามของ ไทยวา “ขี้เกียจจนตัวเปนขน” สั ญ ชาตญาณที่ 3 คื อ พลั ง สื บ พั น ธุ หรือพูดใหถูกตองและทันสมัยตรงตามหลัก วิชาการมากขึ้นวา สัญชาตญาณสืบยีนมัน เปนสัญชาตญาณที่มีพลังและอำนาจมากกวา พลังสืบชีวิตเสียอีก แตถาไมถึงเวลาของมัน มันไมพรอม ก็จะนอนหลับนิ่งเฉยทำทองไม รูรอน ครั้นไดเวลาของมันเมื่อใดมันจะลุก ขึ้นสูทุกกระบวนรบ ดับพลังชีวิตใหชิดซาย

มั น รู โ ดยตั ว ของมั น เอง (ไม จ ำเป น ต อ งพึ่ ง ปญญา) วายีนในตัวของมันอยูไดชั่วระยะ เวลาหนึ่งแลวก็ตองสลายตัวสูญหาย กอน จะถึ ง เวลานั้ น มั น จะต อ งฝากยี น ของมั น ไว กั บ ร า งอื่ น ที่ มี โ อกาสมี ชี วิ ต สื บ ต อ ไป และ ถายทอดยีนของมันสูชีวิตนั้นตอไป ดังนั้น เมื่อเรือนรางมีความพรอมถายทอดยีนเมื่อใด ทั้งเพศชายและเพศหญิงยอมกระตือรือรน ที่จะหันหนาเขาพึ่งพาอาศัยกันเพื่อใหยีนของ ตนไดมีโอกาสไปเริ่มตนชีวิตในเรือนรางใหม ของผูที่ไดชื่อวา “ลูก” พลังสำหรับดำเนิน การเพื่อตอบสนองความตองการสืบยีนมีสูง กวาพลังสืบชีวติ ของตนเองอยูม าก จึงสามารถ เกณฑ พ ลั ง สื บ ชี วิ ต มาใช เ พื่ อ สื บ ยี น ได อ ย า ง เต็ ม ที่ และพลั ง สื บ ชี วิ ต ก็ ย อมอย า งหมอบ ราบคาบแกว จนถึงยอมเสี่ยงชีวิตของเรือน รางทั้งหมดเพียงเพื่อมีโอกาสยืดชีวิตของยีน ของตน พลังสืบยีนนี้มีเหลือเฟอจนเหลือใช สวนตัว ดังนัน้ เมือ่ มีโอกาสหรือมีความจำเปน ที่จะสืบยีนที่ใกลเคียงกับยีนของตน ก็จะใช พลังทีเ่ หลือนัน้ ทำการตามสัญชาตญาณสืบยีน พลังนี้แสดงออกใหเห็นเปนสัญชาตญาณรัก และสงเสริมลูกรุนแรงที่สุด เพราะยีนของลูก คือ ยีนของตนเอง (ครึ่งหนึ่ง) ที่ตองการให ถายทอดไปสูคนรุนตอๆไปใหนานที่สุดเทาที่ จะนานได หางจากลูกของตัวเองออกไป ถา ยังมีพลังเหลือก็จะดูแลวงศาคณาญาติตาม ลำดับญาติ เพราะรูสึกโดยสัญชาตญาณวามี


กระแสเรียกในทรรศนะของปรัชญา

ยี น ที่ เ หมื อ นกั บ ของตนตามลำดั บ ชั้ น ญาติ ซึ่ ง ประเพณี จี น ได จั ด ลำดั บ ไว อ ย า งชั ด เจน เพื่อชวยการทำงานของสัญชาตญาณ หาง ไกลออกไปก็คือ คนในหมูบานเดียวกัน คน ในตำบลเดี ย วกั น ในอำเภอเดี ย วกั น ใน จั ง หวั ด เดี ย วกั น ในภาคเดี ย วกั น ในชาติ เดียวกัน คนพูดภาษาแมภาษาเดียวกัน คน ในทวีปเดียวกัน เพราะสัญชาตญาณมันบอก ว า คนเหล า นี้ มี โ อกาสที่ จ ะมี ยี น เหมื อ นของ ตนอยูบาง มากกวากลุมคนที่ไมมีคำขยาย วา “เดียวกัน” สั ญชาตญาณสื บยี น ปรากฏเป น พลั ง อั ต โนมั ติ รุ น แรงที่ สุ ด ในสั ต ว ในขณะที่ สัญชาตญาณนี้ตื่นขึ้นมาทำการ แมแตสัตว ที่ เ ลี้ ย งจนเชื่ อ งดี แ ล ว ก็ ก ลายเป น สั ต ว ดุ ร า ย คุ ม ไม อ ยู ดั ง ที่ รู ๆ กั น อยู ในพื ช ไม ป รากฏ ความรุ น แรง จึ ง ดู เ หมื อ นว า มั น เป น พลั ง ที่ นุ ม นวลน า รั ก เป น ส ว นขยายของพลั ง สื บ ชีวิตเทานั้นเอง เมื่อถึงเวลามันก็ทำหนาที่ สืบยีนไปดวยโดยไมแสดงความรุนแรง แต ใหเปนไปเองตามครรลองของธรรมชาติ ซึ่ง พื ช ก็ แ ก ป ญ หาโดยสร า งกลไกสื บ ยี น เผื่ อ ไม รอดไวมากๆ ขนาดหวังใหรอดปากเหยี่ยว ปากกาได สื บ ยี น เป น ชี วิ ต ใหม เ พี ย งหนึ่ ง ใน ล า นก็ ยั ง ไหว ส ว นในมนุ ษ ย นั้ น พลั ง นี้ ไ ม มากเท า สั ต ว เ ดรั จ ฉาน แต ม นุ ษ ย มี ป ญ ญา หากมันหลอกปญญาเอาไปเปนเครื่องมือของ มันได ปญญาจะชวยวางแผน หาเลหเ หลีย่ ม

41

นานาประการ จนกลายเปนพลังที่นากลัวยิ่ง กวาในสัตวทุกชนิด แตถาหากปญญาไมอับ จนดวยอวิชชา แตสามารถยืนหยัดทำการ ตามสั ญชาตญาณแห งป ญญาของตน เพื่ อ บรรลุความสุขแทตามความเปนจริง อันได แกการตอบสนองสัญชาตญาณปญญาอยาง ครบถวนบริบรู ณทเ่ี รียกวาดีพรอม (intergity) โดยปญญาตระหนักไดถึงสัญชาตญาณของ ตน และสามารถตะลอมใหสัญชาตญาณสืบ ยี น กั บ สั ญ ชาตญาณสื บ ชี วิ ต มาร ว มมื อ เพื่ อ ผลประโยชนรวมกันได คือความสุขแทตาม ความเปนจริง สัญชาตญาณทั้ง 4 ระดับก็ จะใช พ ลั ง อย า งเต็ ม ที่ ไ ปในทิ ศ ทางเดี ย วกั น ชี วิ ตนั้ น ก็ จะราบรื่ น เป นตั ว ของตั ว เอง มี หลักการยึดเหนี่ยวที่ชัดเจนแตไมยึดติด เรา เรียกชีวิตแบบนี้วา ชีวิตที่มีหลักยึดเหนี่ยว แตไมยึดติด (Life of discipline to hold, not to attach to) พรอมที่จะพัฒนาตัวเอง สูความดีพรอมที่จะมีคุณภาพมากขึ้นเรื่อยไป องคประกอบของสัญชาตญาณปญญามี 4 พลังรวมกันเปนกระแสความคิดเดียว คือ 1. พลังสรางสรรค (creativity) 2. พลังปรับตัว (adaptivity) 3. พลังแสวงหา (acquisitivity) 4. พลังรวมแรงแข็งขัน( solidarity) สัญชาตญาณปญญาจึงเปดตัวสำหรับทุกสิ่ง ที่ ดี ก ว า อย า งไม รู จั ก จบ หากได รั บ คำสอน ของศาสดามาเสริมดวย ความดีพรอมก็จะ


ทัศน 42 วารสารแสงธรรมปริ ฉบั​ับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2012/2555 ขยายผลถึงโลกหนา ซึ่งปรัชญาไมสามารถ เอื้อมถึง แตก็ตองรูจักรับคำสอนของศาสดา อย า งถู ก ต อ งด ว ย จึ ง จะไม เ ป น เหยื่ อ ของ เดรัจฉานวิชาที่แอบแฝงซอนตัวอยูระหวาง บรรทัดในคำสอนของศาสดา วิจารณญาณ ทีข่ จัดเดรัจฉานวิชาไดดที ส่ี ดุ คือ กาลามสูตร ของพระพุทธเจาที่ใชไดดีสำหรับมนุษยทุกคน นั่ นคื อต องอย า ทำป ญญาของตนให เหมื อน กระดานชนวนวางเปลาใหผูสอนสอนอะไร ก็ รั บ ไว ห มดทั้ ง ดุ น ตามตั ว อั ก ษร แต พึ ง ทำ สมองใหเปนสมองกาลามสูตร คือกลั่นกรอง ดวยการวิเคราะห วิจักษ และวิธาน คือ 1) แยกธาตุดูวาเปนคำสอนที่ใหพลังทั้ง 4 ขางตนหรือไม 2) ประเมินผลดูแลวไมมีแงนาตำหนิเจือปน 3) นำไปใชแลวพัฒนาคุณภาพชีวิต เมื่ อ เราได ต กลงเกณฑ พิ จ ารณาเชิ ง ปรัชญาอยางนี้แลว ก็พรอมที่จะสนทนากัน อยางสนุกถึงเรือ่ งกระแสเรียกวาควรมีบทบาท อยางไรในชีวิตของมนุษยธรรมดาๆคนหนึ่ง

ประเมินกระแสเรียกจากขอเท็จจริงของมนุษย มีบางคนอางปรัชญาแบบเขาขางตน เองวา “ฉันไมนับถือศาสนาดีกวา จะไดไม เขาขายนรกของศาสนาใดทั้งสิ้น ทำชั่วอยาง ไรก็ไมตกนรก สวนสวรรคนั้นฉันไมสนใจอยู แลว แมมีก็ไมอยากเขา เพราะไมมีสถาน เริงรมยใหเที่ยว อยูนอกสวรรคและนอกนรก ของทุกศาสนาเทกวา” ตรงขามกับทีพ่ ทุ ธทาส ผูกลาวตอบปญหาเดียวกันวา “โยมทำดีไว เถอะ คิดวาอะไรดี (ตามมโนธรรม,หิริโอต ตัปปะ) ก็ใหทำไวเถอะ มีสวรรคที่ไหนโยม โยมก็มีสิทธิ์ เขาไดทั้งนั้น โยมทำชั่วไปเถอะ ตายไปแลวมีนรกอยูท ไ่ี หนก็ถกู ดูดเขาไปทัง้ นัน้ ” สมมุ ติ ไ ม มี ส วรรค แ ละนรกใดเลย ไมมีแมกระทั่งชีวิตหลังความตาย ตามที่บาง คนเชื่อโดยคิดวามั่นใจเชื่อ เขาในฐานะที่เกิด เปนคน มีสัญชาตญาณ 4 ระดับเหมือน คนอื่นทุกคน สัญชาตญาณสสาร พืช และ สัตวมีแตพลังดึงดูดและผลักดัน ไมรูตัวเอง และไมรูจักเปรียบเทียบ มีแตสัญชาตญาณ ป ญ ญาเท า นั้ น ที่ รู ตั ว เอง สามารถเข า ใจ สั ญ ชาตญาณทั้ ง 4 ระดั บ และสามารถ เปรียบเทียบไดวา 3 สัญชาตญาณแรกให ความสุขชั่วแลน ไมใชความสุขแทตามความ เปนจริงของมนุษย มีแตสัญชาตญาณปญญา เทานั้นที่รูวา ความสุขแทตามความเปนจริง ของมนุษยก็คือพัฒนาคุณภาพชีวิต โดยการ สรางสรรค ปรับตัว แสวงหา และรวมมือ


กระแสเรียกในทรรศนะของปรัชญา

หากทำครบตามนี้ก็จะพัฒนาคุณภาพชีวิตไป เรื่อยๆ และในขณะพัฒนาคุณภาพชีวิตอยู นั้น จะไดความสุขแทตามความเปนจริงชนิด รูสึกได เปรียบเทียบไดและพิสูจนได ทุ ก คนมี ก ระแสเรี ย กที่ จ ะเดิ น ตาม ธรรมชาติอันเปนธาตุแทของความเปนมนุษย หากเขาไมเดินตาม ธรรมชาติก็ลงโทษเขา เปนเงาตามตัวเพื่อใหเขาสำนึกผิด หากไม ยอมสำนึกผิดเลยเขาก็จะเสียชาติเกิด คือ ตลอดชีวิตที่โชคดีเกิดมาเปนคน แตไมเคย ไดลิ้มรสความสุขแทของมนุษยวาเปนอยางไร นาสงสารที่สุด หากใครเดินตามธรรมชาติ ของปญญา เขาจะไดความสุขแทแหงความ

43

เปนมนุษยซึ่งเห็นผลในโลกนี้ มันเปนความ สุขแทโดยการพัฒนาคุณภาพชีวติ ในครรลอง นี้ ชี วิ ต ของเขาจะมี คุ ณ ภาพที่ พั ฒ นาขึ้ น ไป เรือ่ ยๆเปนขั้นๆ จะพบอะไรตอไป และจะมี ความสุขยิ่งๆขึ้นไปตอไป เปนเรื่องเฉพาะตัว ของเขาที่จะรับรูไดดวยตนเองตามมโนธรรม ของเขา นี่ก็คือกระแสเรียกของทุกคน แมจะ พยายามปฏิเสธศาสนา ใครที่นับถือศาสนา ศาสนาที่เขานับถือจะชวยสงเสริม (ไมตอง กลัววาจะตัดสิทธิ์ริดรอน) ใหเขาเดินมรรค แหงความสุขแทตามความเปนจริง


ทัศน 96 วารสารแสงธรรมปริ ฉบั​ับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2012/2555 * หมวดคำสอน *

“ã¤ÃÇèÒ¤ÃÙ¤ÓÊ͹äÁèÊÓ¤ÑÞ?” อ.ทัศนีย มธุรสสุวรรณ หาก “ครู” เปนบุคคลที่สำคัญรองจากพอแมในการอบรมสั่งสอนลูกหลานเยาวชน “ครูคำสอน” ก็เปนบุคคลสำคัญรองจากพระสงฆ และนักบวชในการสอนคำสอนแกเด็ก เยาวชน และผูใหญคาทอลิก และผูสนใจศาสนาคริสตของเรา ในหนังสือประวัติการเผยแพรคริสตศาสนา ในสยามและลาว บาทหลวงโรแบต โกสเต เขียน อรสา ชาวจีน แปลและเรียบเรียง (สื่อมวลชนคาทอลิกประเทศไทย กรุงเทพๆ จัดพิมพ พ.ศ.2549/2006 ,725 หนา) ได ครูคำสอนทรงคุณคา ป ค.ศ.2004 กลาวถึงครูคำสอนหลายตอน เชน โอกาสชุมนุมครูคำสอนระดับชาติ ครั้งที่ 3 “ในสมัยกรุงศรีอยุธยา ครูสอนหนังสือและครูคำสอนมักเปนคนเดียวกัน... ครูคำสอน ในฐานะเปนผูรวมงานของศาสนบริกรแหงพระวาจา มีความสำคัญเปนพิเศษ มีการกำหนด หลักเกณฑการคัดเลือก พรอมทัง้ ภาระหนาที่ ครูคำสอนตองไดรบั การอบรมจากสามเณราลัย และจะเลือกผูที่เหมาะสมบางคนจากคนเหลานี้เพื่อบวชเปนพระสงฆ” (หนา 97) พระสงฆธรรมทูตสมัยแรกที่พูดภาษาทองถิ่นยังไมได “เมื่อพระสงฆออกไปตามที่ตางๆ จะมีครูคำสอนหนึ่งหรือหลายคนติดตามไปดวยเสมอ บางครั้งจะสงครูคำสอนไปตามลำพัง ชุมชนคริสตังบางแหงที่ไมมีพระสงฆประจำอยู จะมีแตครูคำสอนเทานั้น…บางครั้งเราไมคอย เห็นความสำคัญ และคุณความดีของครูคำสอน ที่ทำงานประกาศพระวรสาร และอบรม สั่งสอนคริสตัง ดังนั้น เมื่อเห็นบทบาทของพวกเขาในมิสซัง จึงเห็นวาจำเปนตองอบรม ครูคำสอนเหลานี้อยางเหมาะสม” (หนา 434)

ผูชวยหัวหนาสาขาวิชาฯและอาจารยประจำ สาขาวิชาคริสตศาสนศึกษา วิทยาลัยแสงธรรม


ใครวาครูคำสอนไมสำคัญ ?

97

ขาพเจา (ผูเขียน) เปนครูและครูคำสอน 25 ป ตระหนักดีถึงศักดิ์ศรีของครูคำสอน ที่พระเจาทรงมอบให ขาพเจาประทับใจ บุญราศีสมเด็พระสันตะปาปายอหน ปอล ที่ 2 ที่ตรัสถึงบรรดาครูคำสอน ในสมณสาสนเตือนใจเรื่องการสอนคำสอนในปจจุบัน ไดกลาวถึง ความสำคัญของครูคำสอนวาดังนี้ “ขาพเจาขอกลาวขอบคุณบรรดาครูคำสอนตามวัดตางๆ ทัง้ ชายและหญิงจำนวนมากซึง่ ทำงานอยูท ว่ั โลกและกำลังอุทศิ ตนเพือ่ ใหการอบรมศาสนธรรม รุนตางๆ งานของพวกทานดูวาเปนงานต่ำตอยและไมมีใครเห็น แตกระนั้นก็ดี ทานก็ยัง ทำดวยความรอนรนและความยินดี นี่แหละแบบฉบับที่เดนมากของฆราวาสแพรธรรม ซึ่ง มีความสำคัญอยางยิ่งยวดสำหรับเด็กและเยาวชนที่ขาดการอบรมดานศาสนาอยางเหมาะสม ในบานของพวกเขาดวยสาเหตุตางๆมีคริสตชนจำนวนเทาใดแลวที่ไดรับความรูเบื้องตน เกี่ยวกับคำสอนคาทอลิก การเตรียมตัวรับศีลอภัยบาป ศีลมหาสนิท ครั้งแรกและศีลกำลัง จากครูคำสอน...ขาพเจารวมกับการประชุมสมัชชาพระสังฆราชครัง้ ที่ 4 มิไดลมื ความสำคัญ ของทาน ขอเปนกำลังใจแกพวกทานในการทำงานเพื่อชีวิตของพระศาสนจักรตอไป” (สมณสาสนเตือนใจฯ ขอ 66) กระแสเรียกของฆราวาสในดานการสอนคำสอน มาจากศีลลางบาปไดรบั การเสริมพลังดวยการ รับศีลกำลัง พวกเขาจึงมีสวนรวมใน “งาน ศาสนบริกรของพระคริสตเจาในฐานะสงฆ ประกาศก และกษัตริย” นอกเหนือจาก กระแสเรียกทั่วไปใหทำงานแพรธรรมแลว ฆราวาสบางคนไดรับการเรียกเปนพิเศษใหมา ครูคำสอนอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ บุ ญ ยาตราสู สองคอน (โอกาสวันครูคำสอนไทย) เปน ครูคำสอน ซึ่งไดรับการเรียกจาก เมื่อวันที่ 4-6 ธันวาคม 2552 พระจิตเจามาสูพันธกิจของพระศาสนจักร ภายใตการนำของพระสังฆราช และเปนผูประสานงานอยางพิเศษกับกิจกรรมแพรธรรมของ พระศาสนจักร (คูมือแนะแนวการสอนคำสอนในประเทศไทย ขอ 140) ครูคำสอนจึงเปน ผูที่ถูกเรียกมาเพื่อรวมงาน และติดตามองคพระเยซูเจาเปรียบเสมือนเปนประกาศก ครูและ ผู อ บรมสั่ ง สอน ประกาศข า วดี ข องพระองค (เที ย บ Orientamenti e Itinerari di Formazione dei Catechisti หนา 37) ดังนั้น “ครูคำสอนเปนผูที่ไดรับการแตงตั้ง และถูกสงไปจากพระคริสตเจา” เพือ่ ทำงานในทามกลางพระศาสนจักร (เทียบ La Formazione di Catechisti nella Comunita Cristiana Orientamenti Pastorali ขอที่ 12) ดังนั้นกระแสเรียกของครูคำสอนจึงมีคุณลักษณะ ดังนี้


ทัศน 98 วารสารแสงธรรมปริ ฉบั​ับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2012/2555 1.ครูคำสอนคือผูที่ไดรับการเรียกจากพระศาสนจักร คริสตชนทุกคนไดรับการเรียกตั้งแตรับศีลลางบาป ในการทำหนาที่แพรธรรม การ เปนครูคำสอนเปนการเรียกอยางหนึง่ ทีพ่ ระเปนเจาทรงเรียกดวยความรัก เปนพระหรรษทาน ที่พระเปนเจาประทานใหเรา เพราะฉะนั้นครูคำสอนตองตอบรับการเรียกของพระเปนเจา และรับใชพระเปนเจาโดยการดำรงชีวิตเปนพยานถึงพระคริสตเจาพระผูชวยใหรอด ครูคำสอน เป น ผู ส อนและอบรมพี่ น อ งคริ ส ตชนในความเชื่ อ โดยการประกาศพระวรสาร (เที ย บ Il Rinnovamento della Catechesi ขอที่ 185) 2.ครูคำสอนคือผูที่ไดรับการเรียกเพื่อประกาศพระวาจาของพระเปนเจา ครูคำสอนคือผูที่ไดรับการเรียกเพื่อประกาศพระวาจาของพระเปนเจา ครูคำสอนไม เพียงแตเปนผูที่ดำรงชีวิตที่สมบูรณในความเชื่อแตเพียงฝายเดียว แตตองเปนผูใหกับผูอื่น “...จงพรอมเสมอทีจ่ ะใหคำอธิบายแกทกุ คนทีต่ อ งการรูเ หตุผลแหงความหวังของทาน จงอธิบาย ดวยความออนโยน และดวยความเคารพอยางบริสุทธิ์ใจ...” ( เทียบ 1 เปโตร 3: 15-16 การประกาศพระวาจาของพระเปนเจา ก็เปนการประกาศแผนการแหงความรอดตาม เรื่องราวในพระคัมภีร ครูคำสอนตองถายทอดความเชื่อ คือ ขอความเชื่อ พระบัญญัติ พระเปนเจา พิธีกรรม การภาวนาและเปนพยานแหงความเชื่อ ความรัก และเมตตาโดย ยกตัวอยางจากนักบุญทั้งหลาย ซึ่งทานเหลานั้นไดดำรงชีวิตเปนแบบอยางที่ดีแหงความเชื่อ และครูคำสอนเปนผูท่สี อนการตีความหมายตามพระคัมภีร ซึ่งพระเปนเจาทรงเปดเผยแกมนุษย เพราะฉะนัน้ ครูคำสอนเปรียบเสมือนเปนผูส อนและผูอ บรมใหกบั ผูร บั ฟงพระวาจาของพระเจา (เทียบ Formazione Catechista in Italia negli Anni Ottanto หนา 40,50) 3.ครูคำสอนคือผูที่รับใชและปฏิบัติตามพระวาจาของพระเปนเจา พระศาสนจักรสอนใหเขากลาว พระวาจาแหงการชวยใหรอด ถายทอดคำสอนที่ไดรับ ฝากมอบอำนาจที่ไดรับและใชเขาไปเทศนสอนมิใชเรื่องตัวของเขา หรือความคิดสวนตัวของเขา (เทียบ 2 คร 4:5) แตเทศนสอนพระวาจาซึ่งเขาเองหรือพระศาสนจักรมิใชนายสูงสุดหรือ เจาหนาที่บงการสิ่งใดตามใจชอบ แตเปนผูรับใชที่จะถายทอดตอไปดวยความซื่อสัตย (เทียบ การประกาศพระวรสารในโลกปจจุบัน ขอ 15) พระเยซูเจาไดตรัสวา “ผูใดฟงทาน ผูนั้นฟงเรา” (เทียบ ลูกา 10: 16) และ “มนุษยมิไดดำรงชีวิตดวยอาหารเทานั้น แตดำรงชีวิตดวย พระวาจา ทุกคำที่ออกจากพระโอษฐของพระเจา” (เทียบ มัทธิว 4:4) อยางไรก็ดี ในการพบปะแตละ ครั้งในกลุมผูเรียนคำสอนกับครูผสู อนคำสอน ก็เหมือนกับพระเยซูเจาทรงเทศนาในโรงธรรม


ใครวาครูคำสอนไมสำคัญ ?

99

ที่นาซาเร็ธ คือ ครูคำสอนตองเปนผูประกาศขาวดีใหกับเด็กๆ และกลุมผูเรียนคำสอน เพราะฉะนั้นสำหรับครูคำสอนควรจะเปนผูท่เี รียนรูอยางลึกซึ้งเกี่ยวกับพระวจนะของพระเจา เพื่อนำพระวาจาของพระเจ านั้นเผยแพรกับคริสตชนตอไป (เทียบ Il Minister del Catechista หนา 35-35, 39-41,48) อนึ่ง ในหนังสือคูมือแนะแนวการสอนคำสอนในประเทศไทย ขอ 144 ไดกลาวถึง ครูคำสอนวาเปน ศาสนบริกรที่สำคัญของพระศาสนจักรดวยเชนกัน ดังนั้นครูคำสอนจึงควรมี คุณลักษณะ ดังตอไปนี้ ก) ครูคำสอนจะตองเปนผูมีอุดมคติ ที่วา “การทำใหชีวิตศักดิ์สิทธิ์ในขณะที่ดำเนินชีวิต เยี่ยงฆราวาส แพรธรรม” (LG 41) ตามหลักการและที่มาของเอกลักษณครูคำสอนคือ “พระบุคคลของพระคริสตเจาเอง” (คูมือครูคำสอน 20) ข) ตอบรับการเรียกของพระเจา ดวยความเสียสละ และใชความสามารถตางๆ มิใช เพื่อสอนคำสอนผูอื่นเทานั้นแตเพื่อพัฒนาตนเองอยางตอเนื่องในดานความเชื่อ ค) ครูคำสอนตองอุทศิ ตนเปนพยานถึงขาวดีของพระคริสตเจา โดยแบงปนความเชือ่ ดวย ความเชื่ออยางมั่นคง ดวยความรักความยินดี ความกระตือรือรนและความหวัง “จุดหมาย สูงสุด และหัวใจของการฝกอบรมการสอนคำสอนอยูท ค่ี วามพรอมทีจ่ ะเรียนรู และความสามารถ ที่จะสื่อสารสารแหงพระวรสาร” (GDC 235) สิ่งเหลานี้จะเกิดขึ้นไดเมื่อครูคำสอนเชื่อใน พระวรสาร และถายทอดออกมาดวยชีวิต ง) อุทิศตนเพื่อพระศาสนจักร และรับใชชุมชน เพียรพยายามกระทำตนใหเปนเครื่องมือ ที่มีคุณภาพของพระเจา และเปนเครื่องหมายถึงการประทับอยูของพระจิต จ) มีความรู ทักษะ และความสามารถ แมครูคำสอนจะไดรับการเตรียมอยางดีใน ศาสนบริกรดาน คำสอน แตถาปราศจากการกระทำของพระจิตเจา สิ่งเหลานี้ก็ไรความหมาย ดังนั้น ครูคำสอนจึงควรแสวงหาความรูจากพระคัมภีร ศึกษาพระคัมภีรเปนประจำเพื่อ ใหเกิดทักษะ เปนผูนำการแบงปนพระวาจา มีจิตภาวนา และเติบโตในความเชื่อตามวัยใน สภาพแวดลอมที่เหมาะสม อยางไรก็ดี ในหนังสือคูมือการสอนคำสอนในประเทศไทย ขอ 142-143 ยังไดกลาว ถึงครูคำสอนวาเปนบุคคลสำคัญในงานสรางชุมชนคริสตชนกลุมยอย ชวยงานคำสอนในเขตวัด และสถาบันการศึกษา ดังนั้น งานคำสอนและงานอภิบาลจะบังเกิดผลสำเร็จเพียงใด ขึ้นอยู กับการดำเนินชีวิตที่ดีของครูคำสอนมากกวาวิธีการและสื่ออุปกรณ ฉะนั้น การเปนครูคำสอน หมายถึง


ทัศน 100 วารสารแสงธรรมปริ ฉบั​ับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2012/2555 (1) การตอบรับกระแสเรียกใหเปน “พยานถึงพระวรสาร” เปนผูรวมงานในพระคริสตเจา (2) การตอบรับกระแสเรียกเปน “ธรรมทูตและผูประกาศขาวดี” โดยรวมมือและประสาน สัมพันธภายใตสายงานและการแนะนำของผูรับผิดชอบ (3) การมี “สวนรวมรับผิดชอบงานคำสอนผูใ หญ คำสอนเยาวชน คำสอนเด็ก” ทัง้ ใน ดานการอบรม การเปนพยานชีวิตศีลธรรมที่ดีงาม และมีชีวิตที่สนิทสัมพันธกับพระคริสตเจาใน การภาวนา (4) ผูท เ่ี ต็มใจ “อุทศิ ตนเพือ่ พระศาสนจักร” ดวยความซือ่ สัตย ซือ่ สัตยตอ พระเจา และ รับใชชุมชนตามจิตตารมณพระวรสาร ได จ ำแนกครู ค ำสอนตามลั ก ษณะงานคำสอนในบริ บ ทของประเทศไทยได 3 ประเภท เพื่อใหการอบรม ชวยเหลือ สนับสนุนใหครูคำสอนปฏิบัติงานไดอยางมีประสิทธิภาพ ดังตอไปนี้ 1) ครูคำสอนอาชีพ (Professional / fulltime Catechists) คือผูไดรับการอบรม และ สำเร็จการศึกษาจากสถาบันที่พระศาสนจักรรับรองและไดรับการแตงตั้งจากพระสังฆราชหรือ พระสงฆ เพื่อทำงานดานคำสอนเต็มเวลา 2) ครูคำสอน (Part-time Catechists) คือครู หรือคริสตชนฆราวาสที่ไดรับการอบรม ดานคำสอน ไดรับการแตงตั้งและไดรับมอบหมายใหทำหนาที่สอนคำสอนในโรงเรียนหรือวัด 3) ครูคำสอนอาสาสมัคร (Volunteer Catechists) คือคริสตชนฆราวาสที่อาสาสมัคร ชวยงานคำสอนหรือสมาชิกองคกรคาทอลิกตางๆฆราวาสแพรธรรม พลมารี โฟโคลาเร ผูอาน พระคัมภีร ผูนำสวดประจำหมูบานในบางสังฆมณฑล ฯลฯ อนึ่ง พระศาสนจักรในประเทศไทย ได ตระหนักถึงการพัฒนาบุคลากรครู ฆราวาส และนักบวชใหมโี อกาสศึกษาดานศาสนา และ เทววิทยามากยิ่งขึ้นดวยเชนกัน ดังนั้น สภาพระสังฆราชคาทอลิกแหง ประเทศไทย โดยมีคณะกรรมการคาทอลิก เพือ่ คริสตศาสนธรรม แผนกคริสตศาสนธรรม จึงรวมมือกับวิทยาลัยแสงธรรม ดำเนินการ เป ด หลั ก สู ต รคริ ส ตศาสนศึ ก ษาโดยทบวง


ใครวาครูคำสอนไมสำคัญ ?

101

มหาวิทยาลัยอนุมัติใหดำเนินการเปดหลักสูตรนี้ไดตั้งแต ปการศึกษา 2543 โดยเปนหลักสูตร 4 ป ผูที่จบการศึกษาจะไดรับปริญญาตรี ศิลปศาสตรบัณฑิต คณะศาสนศาสตร สาขา วิชาคริสตศาสนศึกษา (Bachelor of Arts: Christian Studies) และสำนักงานคณะกรรม การการอุดมศึกษา มีมติใหรับรองมาตรฐานการศึกษาสาขาวิชานี้ เมื่อวันที่ 10 ตุลาคม 2545 เปนตนมา ดังนั้นจึงเปนการพัฒนากระแสเรียกการเปนครูคำสอนใหมีคุณภาพทั้งในดานชีวิต จิตครูคำสอน ความรูดานเทววิทยา ดานคริสตศาสนธรรม ทักษะและวิธีการสอนในบริบท สังคมไทยดวย ซึง่ มีบณ ั ฑิต ครูคำสอน จบการศึกษาไปแลว 8 รุน จำนวน 110 คน ซึง่ ไดรบั ใช พระศาสนจักรทองถิ่นและสวนรวมในฐานะฆราวาส นักบวช จึงหวังเปนอยางยิ่งวาเราตอง ชวยกันเสริมสรางกระแสเรียกการเปนครูคำสอนใหมีคุณภาพและจำนวนมากขึ้น เพื่อรับใช พระศาสนจักรในประเทศไทยตอไป ปจจุบันมีนักศึกษา ชั้นป 1-4 จำนวน 93 คน ในบทความนี้ ขาพเจาไดสัมภาษณครูคำสอนจำนวน 5 ทาน เกี่ยวกับ “เสนทางกระแส เรียกการเปน ครูคำสอน” เพื่อแบงปนชีวิตกระแสเรียกการเปนครูคำสอนของพวกเขา ในโอกาส นี้ดวย 1. อันนา ทิพยวัลย กิจสกุล อายุ 70 ป สอนคำสอน 51 ป ปจจุบัน เปนครูคำสอนอาสาสมัคร อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ สอนคำสอนผูใ หญทว่ี ดั พระมารดานิจจานุเคราะห คลองจัน่ (ตัง้ แตป 2543 – ปจจุบนั ) สอนวิธีการสอนคำสอนอนุบาล ที่ศูนยคำสอนแมริม สังฆมณฑลเชียงใหม สอนคำสอนกลุม ชาติพนั ธุ (ผูใ หญและเยาวชน) วัดนักบุญสเตเฟน สังฆมณฑล เชียงใหม รวมเปนกลุม แพรธรรมเคลือ่ นทีอ่ อกเยีย่ มตามบานของสังฆมณฑลสุราษฎรธานี เสนทางกระแสเรียกการเปนครูคำสอน เกิดจากการเห็นแบบอยางและประทับใจการปฏิบัติตน ของบรรดามิชชันนารีที่เสียสละ อุทิศตนในการสอนคำสอน และชวยเหลือในยามเดือดรอน เชน พระสังฆราชวังกาแวร พระสังฆราชลังเยร และ คุณพอกูตัง จึงทำใหตระหนักถึงความ รักที่พระทรงมีตอเรามากมายผานทางมิชชันนารีเหลานี้ จึงพรอมที่จะประกาศความรักของ พระใหโลกรู และมีความสุขทุกครั้งที่ไดแบงปนความรักของพระใหกับผูอื่น


ทัศน 102 วารสารแสงธรรมปริ ฉบั​ับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2012/2555 2. มาการีตา กมลา สุริยพงศประไพ อายุ 46 ป สอนคำสอน 19 ป ปจจุบัน เปนครูสอนคำสอนเต็มเวลาที่วัดและโรงเรียนนักบุญเปโตร ตำแหน ง ผู ช ว ยผู อ ำนวยการฝ า ยจิ ต ตาภิ บ าล โรงเรี ย นนั ก บุ ญ เปโตร อัครสังฆมณฑล กรุงเทพฯ เสนทางกระแสเรียกการเปนครูคำสอน กอนอื่นใด ขอขอบพระคุณพระเจา ที่พระองคได ทรงเลือกขาพเจาใหเปนครูคำสอน จากครูคนหนึ่งที่ไมไดมีความรูมากมาย ไมไดมีโอกาสได สอนคำสอน เนื่องจากมีหนาที่อื่นในโรงเรียนที่ตองรับผิดชอบ แตมีโอกาสไดชวยกลุมกิจกรรม พลศีล ที่ไดมาเริ่มกอตั้งเปนครั้งแรกที่โรงเรียน กระแสเรียกการเปนครูคำสอนจึงไดเริ่มตน อยางชัดเจน เมื่อมีโอกาสไปศึกษาตอดานคำสอนที่กรุงโรม จึงสัมผัสไดวาพระทรงเตรียมตัว ขาพเจาในหลายๆดานสำหรับงานของพระองค เมื่อจบการศึกษาแลว ก็ไดทำหนาทีค่ รูคำสอน เต็มเวลา ไดรับการสนับสนุนอยางดีจากคุณพอเจาวัดทุกองค มีเพื่อนรวมงานที่ดี ที่ชวยกัน ทำงานในดานการสอนคำสอนและงานอภิบาลทั้งที่วัดและโรงเรียน ทำงานกันแบบไมรูจัก เหน็ดเหนื่อย สิ่งที่ภูมิใจและดีใจก็คือ ไดมีโอกาสทำงานอภิบาลพี่นอง คริสตชนในวัดและ หมูบานของตนเอง โดยแฉพาะกับบรรดาเด็กและเยาวชนในเรื่องจิตวิญญาณ เมื่อเราอุทิศตน อยางเต็มกำลังของเรา เพื่องานของพระองคแลว พระพรของพระจะเต็มที่สำหรับชีวิตของเรา เชนกัน ชีวติ ทีม่ คี วามสุข มีพระพรสูส มาชิกในครอบครัว บางครัง้ มีปญ  หาบางแตกม็ คี วามมัน่ ใจ อยูเสมอวาพระจะทรงดูแลเรา “พระเจาทรงบันดาลใหทุกสิ่งกลับเปนประโยชนแกผูที่รัก พระองค” (รม 8:28) และก็เปนเชนนั้นจริง ๆ 3. เปโตร ทรงพล ศรีวิโรจน อายุ 53 ป สอนคำสอน 14 ป ปจจุบัน เปนครูคำสอน โรงเรียนเซนตโยเซฟเพชรบุรี สังฆมณฑลราชบุรี เสนทางกระแสเรียกการเปนครูคำสอน เริ่มจากการเรียนคำสอน และมีความรักพระตั้งแต เด็ก วัยรุน และผูใหญ ดังนั้น ความรักจึงเปนอันดับหนึ่ง ตามดวยความสนิทสัมพันธกับ พระเจา คือ การสวดภาวนา รวมพิธีบูชาขอบพระคุณ อานหนังสือศรัทธา และหนังสือที่ ดีที่สุดในชีวิตของผมก็คือพระคัมภีร ในชีวิตการเปนครูคำสอนยังคงมีปญหาและอุปสรรค ดังนั้นจึงตองมีความอดทนดวย และการเปนแบบอยางที่ดี (ดวยความคิด คำพูด และการ กระทำ) ความเสียสละ (ทุกเวลาเชา เทีย่ ง เย็น ในวันทีม่ เี วลาผมตองหาชองทางสอนคำสอน


ใครวาครูคำสอนไมสำคัญ ?

103

เหนื่อยแตมีความสุข) สิ่งเหลานี้ชวยหลอหลอมทำใหผมทำหนาที่ในการเปนครูคำสอนที่ดี ผม ยังคงกาวเดินตอไปไมรูวาขางหนาจะเปนอยางไร ขอฝากไวกับ องคพระผูเปนเจา พระบิดา ผูใจดี ขอขอบพระคุณพระเจา 4.ฟลิป (อัครสาวก) ถาวร กัมพลกูล อายุ 48 ป ทำงานดานคำสอน 25 ป สังฆมณฑลเชียงใหม ปจจุบัน เปนเจาหนาที่ศูนยประสานงานแพรธรรมสังฆมณฑลเชียงใหม ป พ.ศ. 2539 – ปจจุบัน ( ฝกอบรมดานคำสอนแกครูคำสอน ผูนำคริสตชน ประจำหมูบานและเยาวชนศูนยคาทอลิก สอนภาษาทองถิน่ (ปกาเกอะญอ) แกผรู บั การฝกอบรมเปนครูคำสอน ศูนย คำสอนสังฆมณฑลเชียงใหม (แมริม) ป พ.ศ. 2530-2533 เปนผูชวยผูอำนวยการศูนยคำสอนสังฆมณฑลเชียงใหม ป พ.ศ. 2534-2538 เปนผูประสานงานคณะกรรมการคาทอลิกเพื่อกลุม ชาติพันธุ สภาพระสังฆราชแหงประเทศไทย ป พ.ศ. 2539 –2550 เปนครูผูสอนพระคัมภีรภาคพันธสัญญาเดิมที่ศูนย คำสอนสังมณฑลเชียงใหม (แมริม) เส น ทางกระแสเรี ย กการเป น ครู ค ำสอน ผมเชื่ อ ว า กระแสเรี ย กมาจากพระประสงค ข อง พระผูเปนเจา โดยผานทางบุคลลตางๆ อันดับแรกคือบิดามารดาที่อนุญาตใหผมออกจาก หมูบานไปศึกษาที่ศูนยแมปอน ซึ่งมีอายุเพียง 8 ป บุคคลตอมาคือคุณพอโยเซฟ เซกีน็อต และคุณพอยอหนบัปติสต โบนาต ทีค่ ดั เลือกผมไปศึกษาตอทีเ่ ชียงใหม และคุณพอนิพจน เทียนวิหาร ที่ แ นะนำให ไ ปเรี ย นต อ ที่ ศู น ย ฝ ก อบรม ผู สื บ ทอดเจตนารมณ (ศู น ย ค ำสอนสั ง ฆมณฑล เชียงใหม) และจากการศึกษาอบรมเรื่องศาสนา วัฒนธรรม และสังคม มาตั้งแตเด็กจนเปน ผู ใ หญ ทำให ผ มเห็ น ว า สั ง คมชนเผ า สั ง คมชนบท ยั ง ถู ก เอารั ด เอาเปรี ย บ ถู ก ทอดทิ้ ง ไมไดรับการเอาใจใสเทาที่ควร ถูกดูถูกเหยียดหยาม ไรการศึกษา ฯลฯ ดวยเหตุนี้ ในฐานะ ที่ผมไดมีโอกาสไดเรียนหนังสือและพระธรรมคำสอนมากกวาคนอื่นๆ ดังนั้นผมจึงเลือกที่จะ เปนครูคำสอนเพื่อการทำงานประกาศขาวดี หรือ การสอนคำสอน ชวยเหลือเพื่อนพี่นองให อยูระดับที่เหมาะสมกับการเปนบุตรขององคพระผูเปนเจาอยางแทจริง


ทัศน 104 วารสารแสงธรรมปริ ฉบั​ับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2012/2555 5.มารีอา กฤติยา อุตสาหะ อายุ 29 ป สังฆมณฑลราชบุรี ปจจุบนั เจาหนาทีศ่ นู ยคริสตศาสนธรรม สังฆมณฑลราชบุรี (ตัง้ แต ป 2547ปจจุบนั ) และกำลังศึกษาตอดานงานอภิบาลและงานคำสอนธรรมทูต คณะการแพรธรรม มหาวิทยาลัยอูรบาเนียนา กรุงโรม ประเทศอิตาลี เสนทางกระแสเรียกการเปนครูคำสอน เริ่มจากพื้นฐานครอบครัวที่แมพาไปวัดทุกวัน จึงทำ ใหมีความผูกพันกับวัดตั้งแตตอนเปนเด็ก ชอบเรียนคำสอนเพราะรูสึกวาเปนวิชาที่เขาใจงาย และมีความสุขทุกครั้งที่ไดเรียน หลังจากจบมัธยมศึกษาชั้นปที่ 6 ก็ไดรับแรงบันดาลใจอยาก ทำงานคำสอน เพราะคิดวา ถาทำงานดานนี้ เราก็ไดพูดในสิ่งที่เราเชื่อ ซึ่งเปนสิ่งอยากทำอยู ลึกๆในใจ ตอมาในป 2543 (ค.ศ. 2000) วิทยาลัยแสงธรรมไดเปดสาขาศึกษาคริสตศาสน ศึกษา จึงไดรับทุนการศึกษาจากสังฆมณฑลราชบุรี ไปศึกษาในสาขาวิชาฯนี้ ในระดับปริญญาตรี ซึ่งเปนบัณฑิ ตครู คำสอนรุ นแรก ป พ.ศ. 2547 และเขาทำงานที่ศูนยคริสตศาสนธรรม สังฆมณฑลราชบุรี ฝายงานวิชาการและฝายงานยุวธรรมทูต เปนเวลา 4 ปหลังจากนั้นไดไป ศึกษาตอที่ประเทศอินเดีย ดานเทววิทยาเบื้องตน 3 เดือน และไปศึกษาตอระดับปริญญา โทดานคำสอนและการแพรธรรมที่กรุงโรม ประเทศอิตาลี ตั้งแตปการศึกษา 2552-2554 และจะกลับมารับใชพระศาสนจักรในงานคำสอนและการแพรธรรม ตามที่ผูใหญมอบหมาย ตอไป จากบทสัมภาษณครูคำสอนเหลานี้ จะเห็นวาครูคำสอนแตละทาน ไดรบั กระแสเรียก ในการเปน ครูคำสอนที่แตกตางกันไป ไดรับแรงบันดาลใจและการสนับสนุนจากครอบครัว บรรดามิชชันนารี พระสังฆราชพระสงฆและบุคคลตางๆ และแตละคนก็นอ มรับในการทำหนาที่ ครูคำสอนดวยใจยินดี และพรอมที่จะติดตามพระองคตลอดไป แมวาจะมีความยากลำบากบาง แตก็มีพระเจาอยูเคียงขางเสมอ ครูคำสอนแตละทานก็พรอมที่จะทำหนาที่ในการประกาศ พระวาจาของพระองค สอนคำสอน แบงปนความเชื่อ ความรักของพระเจา เอาใจใสดาน จิ ต วิ ญ ญาณ ศั ก ดิ์ ศ รี ค วามเป น มนุ ษ ย ช ว ยเหลื อ เพื่ อ นพี่ น อ ง ฯลฯ ให กั บ คริ ส ตชนและ ผูสนใจในชุมชน เขตวัด โรงเรียนและในทุกหนทุกแหง ทำงานดวยความเสียสละ อดทน เปนแบบอยางที่ดี และไมรูจักเหน็ดเหนื่อย และกาวเดินตอไปเพื่องานของพระองคเสมอ ขาพเจาขอเปนกำลังใจใหกบั ครูคำสอนทุกทาน ทีท่ ำหนาทีใ่ นกระแสเรียกครูคำสอน ที่ไดรับดวยความเสียสละ และขอพระเปนเจาโปรดตอบแทนน้ำใจดีของครูคำสอนทุกทาน เสมอ


ใครวาครูคำสอนไมสำคัญ ?

105

ดังนั้น ขาพเจาขอสรุปบทความนี้ดวย “คำขวัญวันครูคำสอนไทย” ซึ่งพระสังฆราช วีระ อาภรณรัตน ประมุขสังฆมณฑลเชียงใหมและประธานคณะกรรมการคาทอลิกเพื่อคริสต ศาสนธรรม แผนกคริสตศาสนธรรม สภาพระสังฆราชฯ ไดกลาวไวในสาร คำสอน ป ที่ 22 ฉบั บ ที่ 51 วั น ที่ 16 ธั น วาคม 2553 (โอกาสวั น ครูคำสอนไทย) วา “ครูคำสอน เปนบุคลากรสำคัญกลุมหนึ่ง ไมวาทานจะ เปนครูคำสอนเต็มเวลา ครูคำสอน (บางเวลา) ในโรงเรียน ในเขตวัด และครูคำสอน อาสาสมัคร พี่นองพระสงฆและนักบวช ควรสงเสริมกระแสเรียก ครูคำสอนเหมือนอยาง ที่ทานไดรับการสงเสริม โปรดคัดเลือกเยาวชนใหรับการอบรมเปนครูคำสอน ในโรงเรียน และในสังฆมณฑลของตน จะไดมีทายาทครูคำสอนปฏิบัติหนาที่สืบไป ทานควรจัดการ พบปะ ภาวนา รวมมิสซา เยี่ยมเยียน ใหกำลังใจ และฟนฟูจิตใจ แกครูคำสอนเปน พิเศษ เพราะพวกเขาเปนฆราวาส มีครอบครัว ตองการความเขาใจ กำลังใจ การให เกียรติ และความเอาใจใสจากพระศาสนจักร เพือ่ รวมงานกับเรา พอขอขอบใจทีท่ า นเลือก และสมัครใจเปนครูคำสอน ขอพระเปนเจาโปรดอวยพรใหทานกลาเปนครูคำสอนแบบอยาง ที่ดีแกเด็กและเยาวชนยุคปจจุบัน” ในเมื่อ “ครูคำสอนเปนกระแสเรียกหนึ่ง” ที่ถูกเรียกมาเพื่อรวมงานและติดตาม องค พ ระเยซู เจ า เปรี ย บเสมื อ นเป น ประกาศก ครู แ ละผู อ บรมสั่ ง สอน ประกาศข า วดี ข อง พระองค และอุทิศตนเพื่อพระศาสนจักรแลว ทานละ “คิดวาครูคำสอนสำคัญหรือไม”


ทัศน 106 วารสารแสงธรรมปริ ฉบั​ับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2012/2555 ประชาสัมพันธงานชุมนุมครูคำสอนระดับชาติ ครั้งที่ 4 ในโอกาสที่ สมเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกตที่ 16 ทรงประกาศ ปแหงความเชื่อ (Year of Faith) ซึ่งเริ่มตั้งแตวันที่ 11 ตุลาคม 2012 โอกาสครบ 50 ป ของการเปด สภาสังคายนาวาติกนั ที่ 2 และครบ 20 ป การพิมพหนังสือคำสอนพระศาสนจักรคาทอลิก (CCC) ถึงวันที่ 24 พฤศจิกายน 2013 สมโภชพระเยซูเจากษัตริยแ หงสากลจักรวาลนัน้ คณะกรรมการคาทอลิกเพื่อคริสตศาสนธรรม แผนกคริสตศาสนธรรม มีมติรวมกัน ในการ “จัดงานชุมนุมครูคำสอนระดับชาติ ครั้งที่ 4” และเปน “ปแหงความเชื่อใน ชีวิตครูคำสอนไทย” ดวย ในวันที่ 17-19 ตุลาคม 2012/2555 ณ วิทยาลัยแสงธรรม จึงขอประชาสัมพันธเพื่อกราบเรียนเชิญบรรดาพระสังฆราช พระสงฆ ผูบริหารโรงเรียน เขารวมงานชุมนุมครูคำสอนฯ และสนับสนุนครูคำสอนเขารวมงานชุมนุมครูคำสอนฯในครั้ง นี้ดวย ขอขอบคุณ !!! โดยติ ด ต อ ได ที่ ศู น ย ค ริ ส ตศาสนธรรมของแต ล ะสั ง ฆมณฑล หรื อ ดู ข อ มู ล เพิ่ ม เติ ม ได ที่ www.thaicatechesis.com


107

ใครวาครูคำสอนไมสำคัญ ?

สถิติครูคำสอนในประเทศไทย ป พ.ศ. 2552 / ค.ศ. 2009

สังฆมณฑล

ครูคำสอน เต็มเวลา

ครูคำสอนบางเวลา (ในโรงเรียน/วัด)

ครูคำสอน อาสาสมัคร

รวม

ชาย

หญิง

ชาย

หญิง

ชาย

หญิง

กรุงเทพฯ

3

23

93

449

6

16

590

จันทบุรี

6

15

32

69

14

1

137

เชียงใหม

37

12

170

65

14

6

304

ทาแร-หนองแสง

-

5

45

190

-

2

242

นครราชสีมา

-

6

13

42

15

38

114

นครสวรรค

-

-

30

16

-

-

46

ราชบุรี

14

33

22

128

12

26

235

สุราษฎรธานี

3

10

14

24

11

20

82

อุดรธานี

15

13

5

13

6

2

54

อุบลราชธานี

-

-

13

77

18

54

162

รวม

78

117

437

1073

96

165

1966


ทัศน 108 วารสารแสงธรรมปริ ฉบั​ับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2012/2555

คริสตศาสนธรรมกรุงเทพฯ, แผนก. คูมือแนะแนวทั่วไปสำหรับการสอนคำสอน. (General Directory for Catechesis (GDC ), กรุงเทพฯ : โรงพิมพอัสสัมชัญ. 1997. คาทอลิกเพื่อคริสตศาสนธรรม แผนกคริสตศาสนธรรม, คณะกรรมการ. คูมือแนะแนวการสอน คำสอนในประเทศไทย. กรุงเทพฯ : โรงพิมพอัสสัมชัญ. 2010. การประกาศพระวรสารในโลกปจจุบัน. (Evangelii Nuntiandi ), 1975. คำสอนอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ, ศูนย. พระสมณสาสนเตือนใจเรื่องการสอนคำสอนในยุค ปจจุบัน. กรุงเทพฯ : โรงพิมพอัสสัมชัญ. 1990. คำสอนระดับชาติและศูนยคำสอนอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ, สำนักงาน. คูมือครูคำสอน. กรุงเทพฯ : โรงพิมพอัสสัมชัญ. 1994. โกสเต, โรแบต. บาทหลวง. หนังสือประวัติการเผยแพรคริสตศาสนาในสยามและลาว. กรุงเทพฯ : สื่อมวลชนคาทอลิกประเทศไทย Ufficio Catechistico Nazionale, Orientamenti e Itinerari di Formazione dei Catechisti, EDB, Bologna 1991, หนา 37) Conferenza Episcopale Italiana, La Formazione di Catechisti nella Comunita Cristiana Orientamenti Pastorali, EDB, Bologna 1982, ขอ 12 Conferenza Episcopale Italiana, Il Rinnovamento della Catechesi , ขอที่ 185, Formazione Catechista in Italia negli Anni Ottanto, LDC ,Torino 1982, หนา 40,50) Gatti Gaetano, Il Minister del Catechista, EDB, Bologna, 1978 หนา 35-35, 39-41,48


ทัศน 118 วารสารแสงธรรมปริ ฉบั​ับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2012/2555 * หมวดพิธีกรรม *

¡ÒÃãªé¤ÓàÃÕ Â¡ ¾ÃйÒÁ¢Í§¾ÃÐà¨éÒ

หลายๆท า นอาจจะสงสั ย ว า ทำไม บางวัดเวลาที่ขับรองเพลงบทสรอยตอบรับ บทสดุ ดี นั้ น ขั บ ร อ งคำว า “องค พ ระเจ า ” แทนคำวา “พระยาหเวห” ที่เราเคยขับรอง กันมานาน ยกตัวอยางเชน เมื่อกอนเราเคย ขับรองเพลงบทสรอยที่ 15 วา “พระยาหเวห เปนความสวางและเปนความรอดของขาพเจา” เราขับรองเปน “องคพระเจาเปนความสวาง และเปนความรอดของขาพเจา”

ã¹¾Ô ¸¡Õ ÃÃÁ บาทหลวงบุญชรัสมิ์ สุขสวาง

บาทหลวงสังกัดอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ และคณะกรรมการดนตรีศักดิ์สิทธิ์ในพิธีกรรม


การใชคำเรียกพระนามของพระเจาในพิธีกรรม

พี่ น อ งบางท า นสอบถามผมในฐานะ ที่ทำงานเกี่ยวกับดนตรีศักดิ์สิทธิ์ วาทำไมถึง ตองเปลี่ยน ทั้งๆที่บทสรอยเหลานั้นเราก็รอง กันมานานแลว เหตุผลที่ตองเปลี่ยนก็เพราะวา สมณ กระทรวงพิ ธี ก รรมและศี ล ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ได มี จดหมายถึ ง สภาพระสั ง ฆราชต า งๆทั่ ว โลก ลงวันที่ 28 มิถุนายน 2008 เรื่องการใช คำเรียก “พระนามของพระเจา” มีใจความ ว า การถ า ยทอดพระวาจาของพระเจ า จาก ภาษาต น ฉบั บ จำเป น ต อ งถ า ยทอดอย า ง ซื่ อ สั ต ย รวมทั้ ง การอ า งอิ ง หรื อ การกล า ว ถึ ง พระนามของพระเจ า ในรู ป อั ก ษรสี่ ตั ว (tetragrammaton) “hwhy” (YHWH -

1

119

ภาษาไทยออกเสียงวา “ยาหเวห”) ตองได รับความเคารพดวย ดังนั้นจึงใหคำแนะนำใน ภาคปฏิบัติวาขอใหงดการออกเสียงพระนาม ของพระเจาอยางตรงตัว และใชคำที่มีความ หมายเทียบเทาแทน พระนามของพระเจาในพระคัมภีร1 พระนามของพระเจ า ในพระคั ม ภี ร เขียนดวยอักษรสี่ตัว “YHWH” ซึ่งเปนรูป โบราณรูปหนึ่งของกริยา “เปน” (to be) ในภาษาฮี บ รู นั ก วิ ช าการบางคนเข า ใจว า เปนรูปบอกสาเหตุ (causative form) ของ กริยานี้ จึงมีความหมายวา “พระองคทรง บันดาลใหเปน” “พระองคทรงใหความเปน

เรียบเรียงจาก New Jerusalem Bible อพยพ 3 เชิงอรรถ g


ทัศน 120 วารสารแสงธรรมปริ ฉบั​ับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2012/2555 อยู” แตดเู หมือนวานาจะเปนรูปของกริยาใน นิเทศมาลา ปจจุบนั กาล (present indica tive) หมายความวา “พระองคทรงเปนอยู” (He is) ในหนั ง สื อ อพยพ พระเจ า เป ด เผย พระนามศักดิ์สิทธิ์นี้แกโมเสสเมื่อโมเสสถาม ว า “เมื่ อ ข า พเจ า ไปหาชาวอิ ส ราเอลแล ว บอกเขาวา พระเจาของบรรพบุรุษของทาน ทรงสงขาพเจามาหาทาน” ถาพวกเขาถาม ขาพเจาวา “พระองคทรงพระนามวาอะไร เลา” ขาพเจาจะตอบเขาอยางไร” (อพย3:13) คำตอบของพระเจา คือ “’ehyeh ’asher ’ehyeh (เราเปนผูซึ่งเปน)” ซึ่ง ยังเปนที่ถกเถียงอยูวาวลีนี้มีความหมายวา อยางไร เพราะพระเจาทรงกลาวถึงพระองค เองโดยใชกริ ยาในบุ รุษที่หนึ่ งเอกพจน ซึ่ง อาจหมายความวา “เราคือเราไงละ” คือ พระองคไมทรงตองการจะเปดเผยพระนาม ใหรู แตการเขาใจเชนนี้ใชไมไดที่นี่ เพราะ พระองค ท รงต อ งการบอกให โ มเสสรู จั ก พระนาม ซึ่ ง ตามความคิ ด ของชาวเซมิ ติ ค ต อ งอธิ บ ายลั ก ษณะพระองค บ า งด ว ย วลี ภาษาฮีบรูนี้ยังแปลไดอีกวา “เราเปนผูซึ่ง เปน”จึงมีความหมายวา “เราเปนผูมีความ เปนอยู” ผูแปลพระคัมภีรเปนภาษากรีกก็ดู เหมือนจะเขาใจเชนนี้ จึงแปลวา ‘ego eimi ho on’ - พระเจาเทานั้นทรงเปนผูที่ทรงมี “ความเปนอยู” อยางแทจริง ซึ่งหมายความ วา พระองคทรงมีความเปนอยูเหนือทุกสิ่ง

และทรงเปนความลึกลับอยูเ สมอสำหรับมนุษย นอกจากนั้น ตามความเขาใจของชาวเซมิติค ความเปนอยูจะตองมี “ผูอยูดวย” เสมอ “ผูมีความเปนอยู” ในที่นี้จึงมีความหมายวา พระองค ท รงอยู กั บ ชาวอิ ส ราเอล และยั ง ทรงกระทำกิ จ การในประวั ติ ศ าสตร ข อง ประชากรของพระองค และในประวัตศิ าสตร ของมนุ ษ ยชาติ โดยทรงเป น ผู น ำประวั ติ ศาสตรดังกลาวไปสูจุดหมาย คำวา “ยาหเวห” จึงเปนคำที่ถูกเขียน เพื่อหมายถึงพระเจา เพื่อแสดงถึงราชศักดิ์ และความยิ่ ง ใหญ อั น หาขอบเขตมิ ไ ด ข อง พระเจา ซึง่ ตามธรรมประเพณีของพระคัมภีร พันธสัญญาเดิม พระนามที่ไดรับการเปดเผย นี้ จ ะไม มี ก ารออกเสี ย งแบบตรงตั ว (ว า “ยาหเวห”)แตจะเลี่ยงไปใชคำที่มีความหมาย เทียบเทากันคือคำวา “Adonai” (องคพระ ผู เ ป น เจ า /เจ า นาย) แม เวลาชาวยิ ว อ า น พระคั ม ภี ร เมื่ อ พวกเขาเจออั ก ษรสี่ ตั ว นี้ พวกเขาก็จะอานอักษรสี่ตัวนี้วา “Adonai” ไม ค วรแปลกใจที่ ผู อ า นพระคั ม ภี ร เลี่ยงไมออกพระนามของพระเจาแมจะเห็น คำวา “YHWH” ไมใชเพราะกลัวจะออก พระนามของพระองคโดยไมสมเหตุแตเปน เพราะพวกเขาตองการแสดงความเคารพอยาง สูงสุด แมกระทั่งในภาษาไทยของเราก็ตาม พระนามของพระมหากษั ต ริ ย ก็ ถู ก สงวนไว สำหรั บพระองค เท านั้ น รวมถึ งเวลาเขี ยน


การใชคำเรียกพระนามของพระเจาในพิธีกรรม

พ ร ะ น า ม ข อ ง พ ร ะ อ ง ค เร า ก็ มั ก เขี ย น “พระบาทสมเด็ จ พระเจ า อยู หั ว ฯ” ซึ่ ง ข อ ความในเครื่องหมายไปยาลนอยนั้นละการ เขีย (หรืออาน พระนามของพระมหากษัตริย แบบตรงตั ว เพื่ อ ให เ กี ย รติ แ ละแสดงความ เคารพพระนามของพระองคทานนั่นเอง ทำไมจึงตองเปน “องคพระผูเปนเจา” ในหนังสือพระคัมภีรภาษาตนฉบับนั้น เมื่อกลาวถึงพระเจาก็เขียนดวย tetragram maton แตดูเหมือนวาผูแปลพระคัมภีรเปน ภาษาอื่นก็เขาใจธรรมประเพณีในพระคัมภีร เกี่ ย วกั บ พระนามของพระเจ า ดั ง นั้ น ด ว ย ความซื่อสัตยท้งั แตธรรมประเพณีและซื่อสัตย ตอการถายทอดพระวาจาของพระเจาดวย ความเคารพ เราจึงพบวาในพระคัมภีรภาษา กรี ก ฉบั บ เจ็ ด สิ บ (Septuagint) ใช ค ำว า Kyrios ซึ่ ง มี ค วามหมายว า “องค พ ระผู เปนเจา” พระคัมภีรภาษากรีกฉบับเจ็ดสิบนี้เกิด ขึ้นกอนหนายุคคริสตกาล และพระคัมภีร ฉบับเจ็ดสิบยังเปนพระคัมภีรของคริสตชน ยุคแรกเริ่มที่ใชภาษากรีก และเราจะเห็นได ว า ในพระคั ม ภี ร พั น ธสั ญ ญาใหม นั้ น บรรดา คริสตชนไมเคยออกเสียงอักษรสี่ตัวนี้เลย คริสตชนที่พูดภาษาลาตินก็ถือปฏิบัติ เชนนี้เชนกัน ในพระคัมภีรภาษาลาตินฉบับ Vulgate นักบุญเยโรมก็ใชคำวา Dominus

121

แทนอักษรสี่ตัวนี้ ซึ่งคำนี้มีความหมายเทียบ เทา “Adonai” ซึ่งชาวยิวใชเรียกพระนาม พระเจาแทนการออกเสียง “ยาหเวห” และ เทียบเทาคำวา “Kyrios” ในภาษากรีก เมื่ อ นั ก บุ ญ เปาโลกล า วถึ ง การตรึ ง กางเขนนัน้ ทานกลาววา (ฟป2:9) ทานไมได หมายถึ ง นามอื่ น นอกจาก “องค พ ระผู เปนเจา” และทานก็ยังกลาวตอไปวา (ฟป 2:11 เทียบ อสย 42:8) การเรียกพระเยซู คริสตเจาผูทรงกลับคืนพระชนมชีพวา เปน องค พ ระผู เ ป น เจ า จึ ง เป น การประกาศถึ ง พระเทวภาพของพระองค ดังนั้น “องคพระ ผู เ ป น เจ า ” จึ ง เป น การเชื่ อ มโยงระหว า ง พระเจ า ของอิ ส ราเอลกั บ พระเมสสิ ย าห ใ น ความเชื่ อ ของคริ ส ตชน ดั ง ที่ เราเห็ น ได ใ น รม 10:9 1คร 2:8 12:3 การหลีกเลี่ยงออกเสียงอักษรสี่ตัวซึ่ง เป น พระนามของพระเจ า นี้ จึ ง เป น ธรรม ประเพณีของพระศาสนจักรมาตั้งแตเริ่มแรก และมีเหตุผลทางเทววิทยารองรับ การออก เสียงพระนามของพระเจาอยางตรงตัว ไมวา จะเปน “ยาหเวห” รวมถึง “ยะโฮวาห” ไมใช ธรรมประเพณี ของพระศาสนจั กรหรื อของ คริสตชน ดังที่เราไมพบการออกเสียงอักษร สี่ตัวนี้ในการอานหรือแปลพระคัมภีรภาษา ใดเลย แตพบวาในชวงหลังๆ มีการออกเสียง อักษรสี่ตัวนี้ในภาษาตางๆ เชน Yahweh,


ทัศน 122 วารสารแสงธรรมปริ ฉบั​ับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2012/2555 Jahweh, Jave, Yehovah ฯลฯ รวมถึง “ยาหเวห” ในภาษาไทย ดังนั้นการออกเสียง พระนามของพระเจาโดยตรงโดยเฉพาะใน การฉลองพิ ธี ก รรมซึ่ ง ต อ งซื่ อ สั ต ย ต อ ธรรม ประเพณีนน้ั จึงไมสอดคลองกับสิง่ ทีพ่ ระศาสนจักร ปฏิบัติมาชานาน ทางสมณกระทรวงพิ ธี ก รรมและศี ล ศักดิ์สิทธิ์ จึงไดกำหนดแนวทาง ซึ่งพอสรุป ไดดังนี้ 1 . ใ น ก า ร เ ฉ ลิ ม ฉ ล อ ง พิ ธี ก ร ร ม (พิ ธี มิ ส ซาฯ และศี ล ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ต า งๆ) ใน บทเพลง บทภาวนาต า งๆ พระนามของ พระเจาในรูปของ YHWH (Tetragrammaton) จะตองไมอานตรงตัว (วา “ยาหเวห” หรือ “ยะโฮวาห”) เลย 2.ในคำแปลพระคั ม ภี ร เ ป น ภาษา ป จ จุ บั น ส ำ ห รั บ ใ ช ใ น พิ ธี ก ร ร ม ข อ ง พระศาสนจั ก รให ป ฏิ บั ติ ต ามที่ ก ำหนดไว ในข อ 41 ของคำแนะนำ Liturgiam Authenticam คือ พระนามของพระเจา ในรู ป ของ Tetragrammaton (YHWH) ตองแปลใหเทากับคำวา Adonai/Kyrios (Lord, Signore, Seigneur, etc.) [ที่ภาษาไทยเราไดใชวลี “องคพระผูเปนเจา” หรือบางที “พระเจา” อยูแลวดวย] 3.ในกรณี ที่ ใ นภาษาฮี บ รู มี ค ำว า Adonai ตามหลั ง Tetragrammaton (YHWH) ก็ใหแปลคำ Adonai วา Lord

และ YHWH ว า God [นั่ น คื อ แปลว า “พระเจาองคพระผูเปนเจา หรือ “องคพระ ผูเปนเจาพระเจา”] ตามที่ชาวยิวอานภาษา ฮี บ รู และพระคั ม ภี ร ทั้ ง ฉบั บ LXX และ Vulgata ปฏิบัติอยูแลว ก า ร ป รั บ แ ก ไ ข บ ท เ พ ล ง ที่ มี ค ำ ว า “พระยาหเวห” ปรากฏ ในการประชุ ม สมั ย สามั ญ ของสภา พระสังฆราชฯ แหงประเทศไทย ป 2009 ได มี ก ารพิ จ ารณาจดหมายฉบั บ นี้ พร อ ม กั บ มอบหมายให ค ณะกรรมการคาทอลิ ก เพื่ อ พิ ธี ก รรมดำเนิ น การตามแนวทางของ สมณกระทรวงฯ โดยในเบื้องตนตองหาคำที่ เหมาะสมแทนคำว า “พระยาห เวห ” ที่ ปรากฏอยูในบทสรอย และบทเพลงบางบท ทางคณะกรรมการพิ ธี ก รรมได ม อบ หมายให ค ณะอนุ ก รรมการดนตรี ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ สามเณราลัยแสงธรรมชวยดำเนินการและ ทดลองใช ซึ่งทางคณะอนุกรรมการดนตรี ศักดิ์สิทธิ์ สามเณราลัยแสงธรรมไดพิจารณา และปรึ ก ษาอาจารย วิ ช าพระคั ม ภี ร และ วิชาพิธกี รรม ไดรบั คำแนะนำวาคำภาษาไทย ที่ ใช แ ทนคำว า “พระยาห เวห ” คื อ คำว า “องคพระผูเปนเจา” (หรือคำวา “พระเจา” ในบางกรณี) ป ญ หาที่ พ บคื อ คำว า “องค พ ระ ผู เ ป น เจ า ” ออกเสี ย งเป น 5 พยางค


การใชคำเรียกพระนามของพระเจาในพิธีกรรม

123

และคำว า “พระเจ า ” ออกเสี ย งเป น 2 พยางค ไม เ ท า กั บ คำว า “พระยาห เวห ” ซึ่งมีปรากฏอยูในบทเพลงตางๆ ที่ออกเสียง 3 พยางค ดั ง นั้ น ทางผู รั บ ผิ ด ชอบจึ ง เสนอใชคำวา “องคพระเจา” แทนคำวา “พระยาหเวห” ที่ปรากฏอยูในคำรองของ บทสรอย และบางบทเพลง โดยไมเปลี่ยน ทำนอง แต ส ามารถเอื้ อ นคำร อ งนี้ ไ ด เ พื่ อ ออกเสียงใหชัดเจนตามหลักภาษาไทย “องคพระเจา” ในบทสรอยตางๆ ในบทสรอยตอบรับบทเพลงสดุดีทั้ง 83 บทนั้น มีบทสรอยที่มีคำวา “พระยาหเวห” ปรากฏไไอยูเพียงไมกี่บทเทานั้น (บทที่ 1, 7, 9, 10, 12, 15, 24, 28, 34, 39, 41, 58, 72) ซึ่ ง ในทางปฏิ บั ติ นั้ น สามารถใช ค ำว า “องคพระเจา” แทนคำวา “พระยาหเวห” ไดเลย

อย า งไรก็ ต ามการใช ค ำว า “องค พ ระเจ า ” แทนคำวา “พระยาหเวห” นี้ มีขอบเขต เฉพาะเจาะจงกั บ บทสร อ ย และบทเพลง เดิมที่มีคำวา “พระยาหเวห” ปรากฏอยู เท า นั้ น สำหรั บ บทภาวนา และข อ ความ จากพระคั ม ภี ร ที่ ใช ใ นพิ ธี ก รรมจะใช ค ำว า “องค พ ระผู เ ป น เจ า ” (หรื อ “พระเจ า ”) ตามที่คณะกรรมการพิธีกรรมกำหนด แนวทางสำหรับการประพันธเพลง เมื่ อ เป น เช น นี้ ใ นการประพั น ธ เ พลง ใหม ๆ ต อ งหลี ก เลี่ ย งการออกพระนาม พระเจ า โดยตรง โดยใช ค ำว า องค พ ระ ผูเ ปนเจา, พระเจา, องคพระเจา แทน ซึ่ง วลีตางๆเหลานี้สามารถเลือกใชไดตามความ เหมาะสมตามวิธีการของนักประพันธเพลง แตละทาน


ทัศน 124 วารสารแสงธรรมปริ ฉบั​ับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2012/2555 ดั ง นั้ น การเปลี่ ย นการขั บ ร อ งคำว า “พระยาหเวห” เปน “องคพระเจา” จึงไม ใช ก ารที่ จ ะเลื อ กปฏิ บั ติ ห รื อ ไม ป ฏิ บั ติ ก็ ไ ด แตตองปฏิบัติเพราะนี่เปนธรรมประเพณีของ พระศาสนจั ก รและเป น คำแนะนำที่ ส ภา พระสังฆราชฯ รับมาจากสมณกระทรวงพิธี กรรมและศีลศักดิ์สิทธิ์ บทเพลงศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ โ ดยเฉพาะอย า ง ยิ่ ง บทเพลงในพิ ธี ก รรมเป น เครื่ อ งช ว ยให สัตบุรุษสรรเสริญพระเจาอยางเปนน้ำหนึ่ง

ใจเดียวกัน (เทียบ SC 112) ดังนั้นการเลี่ยง ออกพระนามพระเจาแบบตรงตัวไปใชคำที่มี ความหมายเทาเทียมกันนัน้ จึงชวยใหคริสตชน ไทยเราเปนหนึง่ เดียวกับพระศาสนจักรทัว่ โลก ไดมากขึน้ และยังชวยใหเราเขาใจความหมาย ทางเทววิทยาไดอีกวา “พระคริสตเจาทรง เป น องค พ ระผู เ ป น เจ า ผู ท รงดำรงอยู ใ น ปจจุบัน ทรงดำรงอยูในอดีต และจะเสด็จ มาในอนาคต” (เทียบ วว 1:8)



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.