โรงเรียนคาทอลิกเป็นสนามประกาศข่าวดี 1
วารสารแสงธรรมปริทัศน์
วารสาร ราย 4 เดือน ปีที่ 39 ฉบับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2015/2558 เจ้าของ วิทยาลัยแสงธรรม คณะที่ปรึกษา อธิการบดี รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ ผู้อำ�นวยการศูนย์ส่งเสริมและพัฒนางานวิชาการ ผู้อำ�นวยการศูนย์วิจัยค้นคว้าศาสนาและวัฒนธรรม คณบดีคณะมนุษยศาสตร์ คณบดีคณะศาสนศาสตร์ คณะผู้ทรงคุณวุฒิ หมวดกฎหมายพระศาสนจักร บาทหลวง ผศ.ดร.ไพยง มนิราช หมวดกระแสเรียก บาทหลวงอดิศักดิ์ พรงาม หมวดคำ�สอน มุขนายกวีระ อาภรณ์รัตน์ บาทหลวง ผศ.วัชศิลป์ กฤษเจริญ หมวดจริยธรรม บาทหลวง ดร.เชิดชัย เลิศจิตรเลขา, M.I หมวดชีวิตด้านจิตใจ บาทหลวงสมชัย พิทยาพงศ์พร บาทหลวงเจริญ ว่องประชานุกลู หมวดประวัติศาสตร์พระศาสนจักร บาทหลวงธีรพล กอบวิทยากุล บาทหลวง ดร.สุรชัย ชุ่มศรีพันธุ์ หมวดปรัชญา บาทหลวง ดร.ออกัสติน สุกีโย ปิโตโย, S.J. บาทหลวง ดร.วีรศักดิ์ วนาโรจน์สุวิช หมวดพระคัมภีร์ มุขนายก ดร.ลือชัย ธาตุวิสัย บาทหลวง ผศ.ทัศไนย์ คมกฤส บาทหลวงสมเกียรติ ตรีนิกร หมวดพระสัจธรรม บาทหลวงวิรัช นารินรักษ์ บาทหลวงชาย ขันทะโฮม, C.Ss.R. บาทหลวง ดร.ฟรังซิส ไก้ส์, S.D.B. หมวดพิธีกรรม บาทหลวงเคลาดิโอ เบร์ตุชอร์, O.M.I. บาทหลวงอนุสรณ์ แก้วขจร หมวดศาสนสัมพันธ์และคริสตสัมพันธ์ มุขนายกชูศักดิ์ สิริสุทธิ์ บาทหลวงซิกมูนด์ แลส์เช็นสกี้, S.J. บรรณาธิการบริหาร บาทหลวงเจริญ ว่องประชานุกูล บรรณาธิการสร้างสรรค์ อาจารย์พีรพัฒน์ ถวิลรัตน์ กองบรรณาธิการ อาจารย์สุจิตตรา จันทร์ลอย อาจารย์พิเชษฐ รุ้งลาวัลย์ นางสุจิต เพชรแก้ว นางสาวสุกานดา วงศ์เพ็ญ จัดพิมพ์โดย ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนางานวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเสริมสร้างความรู้ทางวิชาการในด้านเทววิทยาและปรัชญา 2. เพื่อเป็นสื่อกลางความรู้ และความสัมพันธ์อันดีทางด้านศาสนา กำ�หนดออก ปีละ 3 ฉบับ ประจำ�เดือนมกราคม-เมษายน, พฤษภาคม-สิงหาคม และกันยายน-ธันวาคม ค่าบำ�รุงสมาชิก สมาชิกรายปี 300 บาท จำ�หน่ายปลีก ฉบับละ 120 บาท สำ�หรับสมาชิกรายปี สามารถส่งเงินค่าบำ�รุงสมาชิกเป็นเงินสด, ตัว๋ แลกเงินไปรษณีย,์ ธนาณัติ สั่งจ่าย “บาทหลวงอภิสิทธิ์ กฤษเจริญ” ปณ.อ้อมใหญ่ 73160 หรือโอนเข้าบัญชีเงินฝากออมทรัพย์ ธนาคารไทยพาณิชย์ จำ�กัด (มหาชน) สาขาเทสโก้ โลตัส สามพราน นครปฐม ชื่อบัญชี นายอภิสิทธิ์ กฤษเจริญ เลขที่บัญชี 403-613134-4
2
วารสารแสงธรรมปริทัศน์ ฉบัับที่ 2 พฤษภาคม - สิงหาคม 2010/2553
บ ท บ ร ร ณ า ธิ ก า ร
นับตัง้ แต่วนั ทีส่ มเด็จพระสันตะปาปาฟรังซิสทรงประกาศให้ ปี 2015 นีเ้ ป็นปีนกั บวช ผมเริ่มคิดถึงนักบวชหลายๆ ท่านที่ผมรู้จัก แต่ละท่านล้วนแสดงให้เราเห็นถึงความรักของ พระเจ้า ที่มีต่อพวกท่านเหล่านั้น และที่มีต่อพวกเราทุกคนด้วยเช่นกัน ทัง้ นีเ้ พราะการเป็นนักบวชเป็นรูปแบบชีวติ ทีอ่ ทุ ศิ ตนแด่พระเจ้า ออกจากตัวเองไปสูก่ าร ด�ำเนินชีวติ ตามจิตตารมณ์พระวรสาร ปฏิญาณตนว่าจะถือความยากจน ความบริสทุ ธิแ์ ละการ นบนอบเชื่อฟัง ตลอดจนการรับใช้ผู้อื่นตามภารกิจที่ได้รับมอบหมายจากหมู่คณะ ชีวิตการ เป็นนักบวชจึงเป็นตัวอย่างทีด่ สี �ำหรับเรา คริสตชน ในการด�ำเนินชีวติ ทวนกระแสสังคมทีต่ รง ข้ามกับคุณค่าแห่งพระวรสาร มีความเชื่อและความหวัง ด้วยดวงใจที่เปี่ยมด้วยความรักใน พระเจ้า ในการเพียรพยายามก้าวเดินในหนทางสู่ความศักดิ์สิทธิ์ ในโลกที่ไม่สมบูรณ์พร้อม แสงธรรมปริทัศน์ฉบับนี้จึงขอน�ำเสนอสาระความรู้เกี่ยวกับชีวิตนักบวช ทั้งในด้าน ปรัชญา เทววิทยา หลักค�ำสอน และประสบการณ์ชวี ติ ของนักบวชทีอ่ ทุ ศิ ตนเพือ่ พระเจ้านาน หลายสิบปี ที่ส�ำคัญ เราได้รับเกียรติจากบาทหลวงซิกมุนด์ แลส์เช็นสกี้ S.J. อาจารย์ ประจ�ำวิทยาลัยแสงธรรม ผูใ้ ห้การอบรมด้านชีวติ ฝ่ายจิตวิญญาณ ซึง่ เป็นทีร่ กั และเคารพอย่าง ยิง่ ของชาวแสงธรรม ทีก่ รุณาให้เราน�ำภาพมาขึน้ ปก และให้สมั ภาษณ์ถงึ ประสบการณ์ชวี ติ การ เป็นนักบวชกว่าค่อนชีวิตในคณะเยซูอิตของคุณพ่อ นักบวชหลายท่านทีผ่ มรูจ้ กั ท�ำให้ผมรับรูว้ า่ ความสุขทีส่ ดุ ในชีวติ อาจจะไม่ได้มาจากการ มีสงิ่ ทีด่ ที สี่ ดุ ในชีวติ แต่มาจากการท�ำในสิง่ ทีต่ อ้ งท�ำในแต่ละขณะของชีวติ อย่างดีทสี่ ดุ เพราะ เห็นแก่พระเจ้าผู้ทรงสร้างและรักเราอย่างถึงที่สุด สวัสดีปีใหม่และสุขสันต์ปัสกาแด่ทุกท่านครับ
บรรณาธิการสร้างสรรค์
ข่าวประชาพันธ์... ขอเชิญชวนส่งบทความเพื่อตีพิมพ์ลงในวารสารแสงธรรมปริทัศน์ฉบับต่อไป เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม 2558 ในหัวข้อ “การทำ�งาน” ส่งต้นฉบับได้ท่ี อาจารย์พรี พัฒน์ ถวิลรัตน์ E-mail : pi_santo@yahoo.com หรือ คุณสุกานดา วงศ์เพ็ญ E-mail : sukanda.1984@gmail.com ภายในวันที่ 12 มิถุนายน 2558 และขอขอบคุณล่วงหน้าสำ�หรับทุกบทความที่ส่งมาร่วมแบ่งปัน บทความที่ตีพิมพ์ในวารสารแสงธรรมปริทัศน์ ขอสงวนสิทธิ์ตามกฎหมาย ในกรณีที่ต้องการบทความไปเผยแพร่ กรุณาแจ้งขออนุญาตอย่างเป็นทางการ
โรงเรียนคาทอลิกเป็นสนามประกาศข่าวดี 3
Content
SaengthamJournal
5
บท
20
ปีที่ 39 ฉบับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2015/2558
บรรณาธิการ
5
พื้นฐานจากพระคัมภีร์เกี่ยวกับพระพรพิเศษ ของชีวิตผู้รับเจิมถวายตนในพระศาสนจักร บาทหลวง ผศ.ดร.ฟรังซิส ไก้ส์ S.D.B.
20 31
นักบวชการกลับสู่คำ�แนะนำ�ของพระวรสาร
31
บาทหลวง วสันต์ พิรุฬห์วงศ์ C.S.S.
แลส์เช็นสกี้ : ชีวิตที่อุทิศแด่พระเป็นเจ้าในฐานะนักบวชเยสุอิต
42
อ.พีรพัฒน์ ถวิลรัตน์
42
ชีวิตตามน้ำ�พระทัย ซ.สมปอง ทับปิง
49
49 59
คือนักบวชคาทอลิก ศ.กีรติ บุญเจือ
ชีวิตนักบวชคือชีวิตที่เป็นของพระเจ้าแล้วจนสุดกู่ บาทหลวง ปรีชา ธรรมนิยม
4
วารสารแสงธรรมปริทัศน์ ฉบัับที่ 2 พฤษภาคม - สิงหาคม 2010/2553
74
74
81
81
นักบวช : ชีวิตนักบวชมีพื้นฐานมาจากชีวิตครอบครัว บาทหลวง เฉลิม กิจมงคล
ชีวิตของบุคคลที่ถูกเรียก ดร.สุภาวดี นัมคณิสรณ์
91
พิธีสถาปนาพระคาร์ดินัลและความหมาย บาทหลวง เชษฐา ไชยเดช
91
93
นักบวชกับการศึกษาคาทอลิก ดร.ลัดดาวรรณ์ ประสูตร์แสงจันทร์
93
108
ระแสเรียก ชีวิต อุทิศตน เส้นทางความสุขแท้ ซ.วิมลรัตน์ พัสดุ
108
116
รายชื่อคณะนักบวชในประเทศไทย ปรียาพร พึ่งยนต์
139
แนะนำ�หนังสือ
บาทหลวง สมชัย พิทยาพงศ์พร
เกี่ยวกับพระพรพิเศษของชีวิตผู้รับเจิมถวายตนในพระศาสนจักร บาทหลวง ผศ.ดร.ฟรังซิส ไก้ส์
1. ความหมายของพระพรพิเศษ ค�ำว่า “พระพรพิเศษ” เป็นการแปล ค�ำภาษากรีกว่า “charisma” ซึ่งเป็นค�ำ นามมาจากค� ำ กริ ย าว่ า “charizomai” หมายถึง “แสดงตนเป็นผูม้ ใี จกว้าง” ดังนัน้
พระพรพิเศษจึงหมายถึงผลของการให้เปล่า ซึ่งท�ำให้ผู้รับจะต้องมีคุณลักษณะของการ มอบแก่ผู้อื่นด้วยใจกว้างเช่นกัน ในพันธ สัญญาใหม่ค�ำว่า “charisma” ใช้เฉพาะ
บาทหลวงสังกัดคณะซาเลเซียน S.D.B., อาจารย์สาขาเทววิทยา คณะศาสนศาสตร์ วิทยาลัยแสงธรรม
[ หมวดสัจธรรม ]
…พื้นฐานจากพระคัมภีร… ์
6
วารสารแสงธรรมปริทัศน์ ฉบับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2015/2558
ส�ำหรับของประทานจากพระเจ้า และยังรักษา ความหมายที่พระองค์ประทานด้วยพระทัย เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ในจดหมายของนักบุญเปาโลเราพบ ค�ำนีถ้ งึ 16 ครัง้ โดยเน้นความสัมพันธ์กบั พระจิตเจ้าอย่างชัดเจน เช่น “พระพรพิเศษ ทั้งมวลเป็นผลงานจากพระจิตเจ้าพระองค์ เดียวผูท้ รงแจกจ่ายพระพรต่างๆ ให้แต่ละคน ตามที่ พ อพระทั ย ” (1 คร 4:11) โดย แท้จริงแล้ว นักบุญเปาโลยังแสดงความเป็น มาของพระพรพิเศษในรูปแบบต่างๆ เช่น มาจากพระเจ้า พระจิตเจ้า พระคริสตเจ้า แม้พระพรพิเศษเป็นของประทานจากพระเจ้า ก็ตาม แต่ถ้าไม่มีความรักก็ไม่เป็นประโยชน์ ใดเลย (เทียบ 1 คร 13:1-3) เพียงใน กรณีทพี่ ระพรพิเศษกลับกลายเป็นรูปธรรมใน ชีวิตเท่านั้นจึงจะเกิดผล เมื่อเราน�ำความคิด นีม้ าประยุกต์กบั ชีวติ ผูร้ บั เจิมถวายตนพระพร พิเศษก็หมายถึงการแสดงออกตามลักษณะ เฉพาะของตนถึง “ของประทานที่ให้เปล่า และด้วยพระทัยเอื้อเฟื้อ” จากพระจิตเจ้า เพื่อวิถีชีวิตของเราจะละม้ายคล้ายกันอย่าง แน่นแฟ้นกับการเป็นอยู่ พระชนมชีพและ การกระท�ำของพระเยซูเจ้าผู้ทรงรับเจิมถวาย องค์แด่พระบิดาเจ้าส�ำหรับพี่น้องทั้งหลาย พระธรรมนูญว่าด้วยพระศาสนจักร Lumen Gentium ในบทที่ 6 น�ำเสนอ ชีวิตผู้รับเจิมถวายตนว่า เป็นพระพรพิเศษ ในพระศาสนจั ก รเพราะเป็ น ผลหรื อ ของ
ประทานจากพระจิตเจ้า มีพื้นฐานในพระ วาจาและพระฉบั บ ของพระเยซู เ จ้ า แต่ เอกสารนี้ไม่บันทึกอย่างเจาะจงว่าเป็นพระ วาจาประโยคใด เราจึ ง ควรถามตนเองว่ า พระเยซูเจ้าตรัสโดยตรงถึงชีวิตผู้รับเจิมถวาย ตนหรือไม่ พระองค์ทรงด�ำเนินพระชนมชีพ แบบผู้รับเจิมถวายตนบ้างหรือไม่ 2. พื้ นฐานจากพระคั มภี ร ์ เ กี่ ย วกั บ ชี วิ ต ผู้รับเจิมถวายตน เป็ น เวลานานแล้ ว ที่ นั ก เทววิ ท ยา พยายามค้นหาพืน้ ฐานจากพระคัมภีรเ์ กีย่ วกับ ชีวิตผู้รับเจิมถวายตนในกิจการและพระวาจา บางประโยคที่ พ ระเยซู เจ้ า ตรั ส โดยเลื อ ก ข้อความบางตอนจากพระวรสารที่เขาคิดว่า เกี่ยวข้องกับชีวิตผู้รับเจิมถวายตนราวกับว่า พระเยซูเจ้าทรงต้องการก่อตั้งวิถีชีวิตเช่นนี้ ส�ำหรับบรรดาศิษย์ รวมทั้งการปฏิญาณตน จะถือพรหมจรรย์ ความยากจนและความ นอบน้ อ มเชื่ อ ฟั ง แม้ เ ป็ น ความจริ ง ที่ ว ่ า ข้อความบางตอนในพระคัมภีร์ โดยเฉพาะ อย่างยิง่ ในพระวรสารเคยเป็นพืน้ ฐานส�ำหรับ การเริ่มต้นและการพัฒนาชีวิตผู้รับเจิมถวาย ตน แต่วิธีการศึกษาพระคัมภีร์ดังกล่าวก็ไม่ ยังถูกต้อง เพราะวิถีชีวิตที่พระเยซูเจ้าทรง เรียกร้องให้บรรดาศิษย์ปฏิบตั นิ นั้ ก็ตอ้ งเป็นวิถี ชีวิตของทุกคน ไม่เป็นเพียงเฉพาะกลุ่มใด กลุ่มหนึ่ง เท่านั้น
พื้นฐานจากพระคัมภีร์เกี่ยวกับพระพรพิเศษของชีวิตผู้รับเจิมถวายตนในพระศาสนจักร
“ชีวิตผู้รับเจิมถวายตน เป็นของประทานจากพระเจ้า
แก่พระศาสนจักรและแก่ประชากรของพระองค์” ตัวอย่างเช่น กระแสเรียกของนักบุญ อันตน อธิการเป็นที่รู้จักกันดี เมื่อยังเป็น หนุ ่ ม เขาเข้ า ไปร่ ว มพิ ธี บู ช าขอบพระคุ ณ ขณะทีส่ งั ฆนุกรอ่านพระวรสารตามค�ำบอกเล่า ของนักบุญมาระโก เขาได้ฟังค�ำแนะน�ำของ พระเยซูเจ้าผู้ตรัสแก่เศรษฐีหนุ่มว่า “ท่านยัง ขาดสิง่ หนึง่ จงไปขายทุกสิง่ ทีม่ ี มอบเงินให้ คนยากจน แล้วท่านจะมีขุมทรัพย์ในสวรรค์ แล้ ว จงติ ด ตามเรามาเถิ ด ” (มก 10:21) เมื่อนักบุญอันตนได้ยินเช่นนี้ก็สรุปว่า พระ เยซู เจ้ า ตรั ส กั บ ตนเอง จึ ง ปฏิ บั ติ ต ามค� ำ แนะน� ำ ทุ ก ประการ และปลี ก ตั ว ไปในถิ่ น ทุรกันดารเพือ่ ด�ำเนินชีวติ ถวายตนแด่พระเจ้า อย่างสิ้นเชิง โดยแท้จริงแล้ว ค�ำเชื้อเชิญของพระ เยซูเจ้าต่อเศรษฐีหนุ่มไม่เป็นค�ำแนะน�ำให้ ด�ำเนินชีวติ ครบครันดังทีพ่ ระองค์ตรัสแก่บาง คนเท่านั้น แต่เป็นกระแสเรียกสามัญของ ศิษย์ทกุ คน ผูใ้ ดได้รบั เรียกจากพระวาจาของ พระเยซูเจ้าก็ต้องสละสิ่งที่มี แสดงตนเป็น อิสระจากความสัมพันธ์ใดๆ ที่ครอบง�ำเขา อยู่และเป็นอุปสรรคในการติดตามพระองค์
โดยละทิ้งสิ่งที่เขายึดมั่น แล้วท�ำให้พระองค์ ทรงเป็นศูนย์กลางในชีวติ ของตน มีสว่ นร่วม ในภารกิจและชะตากรรมในพระชนมชีพของ พระองค์ (เทียบ มก 20-1:16) เมื่อพระเยซูเจ้าทรงเรียกบรรดาอัคร สาวกให้อยูก่ บั พระองค์ ก็ไม่ทรงพระประสงค์ ที่จะรวบรวมบุคคลที่ร่วมมือกับพระองค์ใน เหตุการณ์เฉพาะกิจ ไม่ทรงเรียกร้องให้เขาท�ำ กิจการยิ่งใหญ่ แต่ทรงริเริ่มวิถีชีวิตใหม่ ซึ่ง มีพนื้ ฐานในการประทับอยูข่ องพระองค์ผทู้ รง เปิดยุคของพระอาณาจักรพระเจ้า วิถีชีวิต เช่นนีก้ ลายเป็นรูปแบบทีส่ ร้างแรงบันดาลใจให้ บรรดาศิษย์ทุกยุคทุกสมัยของพระเยซูเจ้าน�ำ วิถีชีวิตนี้มาเป็นของตน 3. การเจิมถวายตนในพันธสัญญาเดิม ค�ำว่า “การเจิมถวาย” หมายถึงการ ท�ำให้ศักดิ์สิทธิ์ไป คือท�ำให้บางสิ่งบางอย่าง หรือบางคนผ่านจากสถานะอยู่ในโลกไปสู่ สถานะเป็นกรรมสิทธิข์ องพระเจ้า ผูใ้ ดได้รบั เจิมถวายตนหมายความว่า พระเจ้าทรงเรียก เขาให้มาเป็นกรรมสิทธิ์ทั้งหมดของพระองค์
7
8
วารสารแสงธรรมปริทัศน์ ฉบับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2015/2558
และให้เป็นเครือ่ งมือในการแสดงความรักของ พระองค์ การที่พระเจ้าทรงเจิมผู้ใดเช่นนี้ สร้างความผูกพันแน่นแฟ้นกับพระองค์จน ท�ำให้ผนู้ นั้ พ้นจากสถานภาพของตน และเข้า สู่แวดวงของพระเจ้าจนกลายเป็นกรรมสิทธิ์ ของพระองค์อย่างสิ้นเชิง ผู้มีความคิดริเริ่ม การเจิมถวายตนคือพระเจ้าอยู่เสมอ ผู้ทรง เลื อ กบุ ค คลที่ พ อพระทั ย เพราะความรั ก เท่ า นั้ น “พระยาห์ เ วห์ ต รั ส กั บ ข้ า พเจ้ า ว่า ‘ก่อนที่เราปั้นท่านในครรภ์มารดา เราก็ รู้จักท่านแล้ว ก่อนที่ท่านจะเกิด เราก็แยก ท่านไว้เป็นของเราแล้ว เราแต่งตัง้ ท่านให้เป็น ประกาศกส�ำหรับนานาชาติ” (ยรม 1:4-5) เราจะค้นหารูปแบบชีวิตรับเจิมถวาย ตนในพันธสัญญาเดิมตามความเข้าใจของเรา ในสมัยนี้ไม่ได้ แต่จะค้นหาวิวัฒนาการของ ความสัมพันธ์ซง่ึ กันและกันระหว่างพระเจ้ากับ ประชากรของพระองค์ได้ ซึง่ เป็นคุณลักษณะ พืน้ ฐานของชีวติ รับเจิมถวายตน พระเจ้าทรง เรียกประชากรทีท่ รงเลือกสรรว่า “กรรมสิทธิ์ ของเรา” และประชากรเรียกขานพระองค์ ว่า “พระเจ้าของเรา” ดังที่อ่านในหนังสือ เฉลยธรรมบัญญัติว่า “ท่านเป็นประชากร ศักดิ์สิทธิ์ถวายแด่พระยาห์เวห์ พระเจ้าของ ท่ า น พระยาห์ เวห์ ท รงเลื อ กท่ า นไว้ เ ป็ น ประชากรพิเศษของพระองค์ จากชนชาติทงั้ ปวงบนพื้นพิภพ” (ฉธบ 14:2) ความสั ม พั น ธ์ ที่ เ รี ย กร้ อ งให้ เ ป็ น
กรรมสิทธิซ์ งึ่ กันและกัน ก�ำหนดให้ประชากร ต้องเชือ่ ฟังและติดตามองค์พระผูเ้ ป็นเจ้าของ ตนเพี ย งพระองค์ เ ดี ย ว โดยด� ำ เนิ น ชี วิ ต เฉพาะพระพักตร์อยู่เสมอ ดังที่พันธสัญญา ระหว่างพระเจ้ากับประชากรเป็นหลักประกัน ว่า พระเจ้าผู้ทรงซื่อสัตย์ทรงมุ่งมั่นที่จะอยู่ เคียงข้างประชากร และประชากรก็ผกู มัดตน ที่จะเชื่อฟังพระวาจาของพระองค์ พระวาจา นี้จะเป็นผู้น�ำเพียงหนึ่งเดียวในการเดินทาง ของประชากร พันธสัญญาจึงไม่เป็นภาระ หนั ก ที่ ต ้ อ งแบก แต่ เ ป็ น โอกาสส� ำ หรั บ ประชากรที่ จ ะรั ก ษาสถานภาพการเป็ น ประชากรของพระเจ้า และยอมให้พระเจ้าทรง น�ำทางแก่เขา ชีวิตทั้งหมดของประชากรใน ฐานะที่เป็นกรรมสิทธิ์ของพระเจ้าก็ด�ำเนินไป โดยสอดคล้องกับพระประสงค์ ถ้าประชากร ขจัดพระเจ้าออกจากชีวิตของตน บาปก็จะ เข้ามาท�ำลายความสัมพันธ์ที่ท�ำให้อิสราเอล เป็นประชากรของพระเจ้า รวมทั้งท�ำลาย พระพรต่ า งๆ ที่ พ ระเจ้ า ประทานเมื่ อ ทรง กระท�ำพันธสัญญา ในพันธสัญญาเดิมเราพบมุมมองทาง เทววิทยา 2 ประการทีพ่ ฒ ั นาความสัมพันธ์ ระหว่ า งพระเจ้ า กั บ ประชากรผู ้ รั บ เจิ ม เป็ น กรรมสิทธิ์ของพระเจ้าคือ »» ก) การรั บ เจิ ม ถวายตนแด่ พระเจ้ า ในมุ ม มองความแตกแยก มุมมองนี้มาจากธรรมประเพณีต�ำนาน
พื้นฐานจากพระคัมภีร์เกี่ยวกับพระพรพิเศษของชีวิตผู้รับเจิมถวายตนในพระศาสนจักร
สงฆ์ เช่นหนังสือเลวีนิติ ประกาศก เอเสเคี ย ลและส่ ว นหนึ่ ง ของหนั ง สื อ อพยพ ซึ่งมองการรับเจิมถวายตนใน ลั ก ษณะของพิธีก รรม และเน้น การ แตกแยกระหว่างสิ่งที่เป็นของโลกกับ สิ่ ง ที่ เ ป็ น ของพระเจ้ า ประชากรที่ พระองค์ทรงเลือกสรรแยกตัวออกจาก ชนชาติต่างศาสนา ตระกูลเลวีก็แยก ออกจากตระกู ล อื่ น ๆ ในระหว่ า ง บรรดาสมณะด้วยกันก็แยกมหาสมณะ คนหนึ่งให้มีสิทธิ์เข้าในห้องศักดิ์สิทธิ์ ที่ สุ ด ของพระวิ ห ารปี ล ะครั้ ง ชาว อิสราเอลต้องมีสถานที่ เวลา และ บุ ค คลพิ เ ศษโดยเฉพาะผู ้ ที่ เ ป็ น สั ญ ลั ก ษณ์ แ ละสื่ อ สารพิ เ ศษเพื่ อ เข้ า สั ม ผั ส กั บ พระเจ้ า เขาจึ ง สร้ า งพระ วิหารให้เป็นสถานที่ประกอบคารวกิจ พระเจ้าประทับในพระวิหารและยังเป็น สถานที่ ซึ่ ง พบกั บ ประชากรของ พระองค์ ไม่ใช่สถานทีแ่ ห่งอืน่ แน่นอน เหตุการณ์ที่อิสราเอลพบกับพระเจ้าไม่ เกิดขึน้ โดยอัตโนมัต ิ แต่เพียงมนุษย์มี ใจพร้อมที่ฟังพระวาจาและกลับใจ มี เวลาศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ เช่ น วั น สั บ บาโต เทศกาลต่างๆ ปีปีติมหาการุณย์ ซึ่ง มีจดุ มุง่ หมายทีจ่ ะรับรองว่า ถ้ามนุษย์ ปฏิบัติอย่างจริงใจก็จะมีความสัมพันธ์ ถูกต้องกับพระเจ้า
»» ข) การรั บ เจิ ม ถวายตนแด่ พระเจ้าในมุมมองความสนิทสัมพันธ์ เป็นหนึง่ เดียว มุมมองนีม้ าจากธรรม ประเพณี ต� ำ นานยาวิ ส ต์ และจาก บรรดาประกาศก ซึง่ เน้นว่าการรับเจิม ถวายตน เป็นความสนิทสัมพันธ์กับ พระเจ้ามากกว่าการแยกระหว่างสิ่งที่ เป็นของโลกกับสิ่งที่เป็นของพระเจ้า เช่ น หนั ง สื อ ปฐมกาลเริ่ ม ต้ น โดย บรรยายการสร้างโลกในแง่ที่เป็นการ แตกแยก (เที ย บ ปฐก 2:4-1:1) ต่อจากนั้นก็เล่าการสร้างโลกอีกครั้ง หนึ่ ง ในแง่ ที่ เ ป็ น ความสนิ ท สั น พั น ธ์ ระหว่างมนุษย์กบั พระเจ้า (เทียบ ปฐก 2:4ก 2:4ข-25) เรายังพบความคิด นี้ ใ นเรื่ อ งกระแสเรี ย กของประกาศก เยเรมีย ์ การเรียกของผูร้ บั เจิมถวายแด่ ของพระเจ้า ฯลฯ เราจะสรุปค�ำสอนของพันธสัญญาเดิม ได้ ว ่ า ประชากรที่ พ ระเจ้ า ทรงเลื อ กสรร “เป็นกรรมสิทธิ์เฉพาะของพระองค์” และ พระองค์ ท รงมี ค วามสั ม พั น ธ์ พิ เ ศษกั บ ประชากร ประชากรนี้จะรักษาและเติบโตใน ความสัมพันธ์ทเี่ ป็นกรรมสิทธิข์ องพระเจ้า ก็ ต่อเมือ่ เขาด�ำเนินชีวติ ตามพระประสงค์ของ พระองค์ หลีกเลี่ยงการประกอบศาสนกิจ เพียงภายนอก เลือกที่จะด�ำเนินชีวิตทวน กระแสสังคมโลก และพยายามปรับตัวให้
9
10
วารสารแสงธรรมปริทัศน์ ฉบับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2015/2558
เหมาะสมกับความสัมพันธ์ของพระเจ้าโดย ผ่านทางคารวกิจ 4. การเจิมถวายตนในพันธสัญญาใหม่ 4.1 พระเยซูเจ้าทรงเป็นแบอย่าง ยอดเยีย่ มของการรับเจิมถวายตน การรับ เจิมถวายตนเกีย่ วข้องกับบุคคลทีพ่ ระเจ้าทรง เลื อ กสรรเพื่ อ จะเป็ น “กรรมสิ ท ธิ์ ข อง พระองค์ ” และเป็ น เครื่ อ งหมายแสดงถึ ง พระองค์ในประวัตศิ าสตร์มนุษย์ และเพือ่ น�ำ ประชากรถวายแด่พระเจ้าเฉพาะพระพักตร์ พระองค์ สิง่ ศักดิส์ ทิ ธิไ์ ม่ใช่สงิ่ ของ วัสดุหรือ สถานที ่ แต่เป็นบุคคลทีพ่ ระเจ้าทรงเลือกสรร ให้แสดงพระองค์ในชีวติ ของตน ดังนัน้ การ รั บ เจิ ม ถวายตนในพั น ธสั ญ ญาใหม่ จึ ง เกี่ยวข้องกับ * ของประทานจากพระเจ้ า ผู ้ ท รง เลือกสรรและเรียกมนุษย์ มิใช่เพือ่ การ ตอบแทน แม้คนต่างศาสนาก็ได้รับ การเลือกจากพระเจ้า * การมีส่วนร่วมในความศักดิ์สิทธิ์ ของพระบิดาเจ้า มนุษย์ถูกเรียกให้ เป็นคนศักดิ์สิทธิ์ * โดยทางพระคริ ส ตเจ้ า ผู ้ ท รงเป็ น คนกลางคือ การรับศีลล้างบาปในพระ คริสตเยซู * ของประทานจากพระจิตเจ้าผู้ทรง บั น ดาลความศั ก ดิ์ สิ ท ธ์ แ ละทรงส่ ง
มนุษย์ไปประกอบภารกิจ (เทียบ 1 คร 6:19; กจ 3-13:2) ภารกิจของผู้รับเจิมถวายตน »» ก) ต้อง “เป็นจดหมายจากพระ คริสตเจ้า เป็นจดหมายที่...เขียนด้วย พระจิตของพระเจ้าผูท้ รงชีวติ ...จารึกไว้ ในดวงใจของมนุษย์” (2 คร 3:3) »» ข) ต้องเป็นพยานถึงความแปลก ใหม่ของชีวิต “ศักดิ์สิทธิ์” ของตน (เทียบ รม 6:13; ฟป 16-2:14) »» ค) ต้องเป็นผูป้ ระกาศความหมาย ประวั ติ ศ าสตร์ ม นุ ษ ย์ เพราะเขา ตีความหมายโดยใช้แสงสว่างจากพระ วาจาของพระเจ้า การรับเจิมถวายตนในพันธสัญญาใหม่ รวมทั้งความคิดเรื่องการท�ำให้ศักดิ์สิทธิ์ไป ซึง่ ชีใ้ ห้เห็นการเป็นกรรมสิทธิข์ องพระเจ้าและ ความสัมพันธ์กับพระองค์ และกับความคิด เรือ่ งการเจิมถวายตนซึง่ เน้นภารกิจเฉพาะทีจ่ ะ ต้องปฏิบัติ พันธสัญญาใหม่อ้างถึงพระเยซู เจ้าว่าทรงเป็น “ผู้ศักดิ์สิทธิ์” และ “ผู้รับ เจิ ม ” อย่ า งชั ด เจน พระองค์ ท รงเป็ น ผู ้ ศักดิ์สิทธิ์ของพระเจ้า (เทียบ มก 24: 1; ลก 4:34; ยน 6:69) ทรงเป็นผู้รับเจิม ถวายตน (เทียบ ยน 17:19)เพือ่ ประชากร อิสราเอลใหม่ (เทียบ ยน 10:36) ค�ำว่า “พระคริสตเจ้า” ซึง่ หนังสือพระวรสารใช้เรียก พระเยซูเจ้า (เทียบ ยน 4.25-26) มาจาก
พื้นฐานจากพระคัมภีร์เกี่ยวกับพระพรพิเศษของชีวิตผู้รับเจิมถวายตนในพระศาสนจักร
ภาษากรี ก หมายถึ ง “ผู ้ รั บ เจิ ม ถวายตน” คือ “พระเมสสิยาห์” ในภาษาฮีบรู เป็นค�ำ อ้างถึงการรับเจิมของกษัตริย์ บรรดาสมณะ และบรรดาประกาศกเป็นบุคคลที่พระเจ้าทรง เลือกและทรงเจิมไว้ให้ปฏิบัติภารกิจเฉพาะ เจาะจงเพื่อ “พระจิตของพระยาห์เวห์องค์ พระผูเ้ ป็นเจ้าทรงอยูเ่ หนือข้าพเจ้า เพราะพระ ยาห์เวห์ทรงเจิมข้าพเจ้าไว้ให้ประกาศข่าวดีแก่ คนยากจน” (อสย 61:1) พระเยซูเจ้าทรง ใช้ถอ้ ยค�ำของประกาศกอิสยาห์เหล่านีใ้ นพระ วรสารตามค�ำบอกเล่าของนักบุญลูกาเมือ่ ทรง เริ่มปฏิบัติศาสนบริการของพระองค์ (เทียบ ลก 21-4:14) 4.2 ตั้งแต่ทรงรับธรรมชาติมนุษย์ พระเยซูเจ้าทรงรับเจิมถวายองค์แด่พระ บิดา คุณลักษณะที่อธิบายความแปลกใหม่ ของการรับเจิมถวายองค์ของพระเยซูเจ้าอย่าง ดี ที่ สุ ด คื อ การรั บ ธรรมชาติ ม นุ ษ ย์ ข อง พระองค์ อาศัยการนีพ้ ระองค์ทรงเป็นมนุษย์ เหมือนเรา ทรงพระชนมชีพในสถานทีเ่ จาะจง และในกาลเวลาที่ค�ำนวณได้ในประวัติศาสตร์ พระเยซูเจ้าทรงรับการเจิมถวายองค์เมื่อทรง รับพิธีล้างจากนักบุญยอห์น เพราะเวลานั้น พระองค์ ท รงแต่ ง ตั้ ง ให้ เ ป็ น พระเมสสิ ย าห์ คริสตชนสมัยแรกๆ เข้าใจว่าพระวาจาทีพ่ ระ บิดาตรัสกับพระเยซูเจ้าว่า “ท่านเป็นบุตร ทีร่ กั ของเรา เป็นทีโ่ ปรดปรานของเรา” (มก 1:11) ท�ำให้พระคัมภีรท์ งั้ สามภาคเป็นความ จริงในพระเยซูเจ้า เพราะข้อความนี้ชวนให้
11
ระลึกถึงเพลงสดุดีในพระราชพิธีราชาภิเษก ของกษัตริย์ว่า “พระองค์ตรัสกับข้าพเจ้า ว่า ‘ท่านเป็นบุตรของเรา วันนี้เราให้ก�ำเนิด ท่านแล้ว’” (สดด 2:7) ดังนั้น พระเยซูเจ้าจึงทรงเป็นกษัตริย์ ข้อความนี้ยังชวนให้ระลึกถึงการถวายอิสอัค เป็นเครือ่ งบูชา (เทียบ ปฐก 22:2,12:16) พระเยซูเจ้าจึงเป็นพระบุตรเพียงพระองค์เดียว ของพระเจ้า และยังชวนใช้ระลึกถึงผู้รับใช้ ของพระยาห์เวห์คือ มนุษย์ที่ยอมรับบาป ของโลกเพื่ อ ท� ำ ลายบาป (เที ย บ อสย 2-42:1) พระเยซูเจ้าจึงทรงเป็นผู้รับใช้ของ พระเจ้า พระคัมภีร์ฮีบรูทั้งหมดคือภาคธรรม บัญญัติ ประกาศกและเพลงสดุดีเป็นความ จริงในพระองค์ นักบุญเปโตรในค�ำปราศรัยที่ บ้านของโครเนลีอัสเข้าใจแล้วว่า การรับพิธี ล้างของพระเยซูเจ้าจากนักบุญยอห์นเป็นการ รับเจิมถวายองค์ เมื่อพูดว่า “ท่านทั้งหลาย รูเ้ หตุการณ์ทเี่ กิดขึน้ ทัว่ แคว้นยูเดีย เริม่ ต้นที่ แคว้นกาลิลี หลังจากที่ยอห์นได้เทศน์สอน และท�ำพิธลี า้ ง พระเจ้าทรงเจิมพระเยซูเจ้า ชาวนาซาเร็ธด้วยพระอานุภาพเดชะพระ จิตเจ้า พระเยซู เจ้ า เสด็ จ ผ่ า นไปที่ ใ ด ทรง กระท�ำความดีและทรงรักษาทุกคนที่อยู่ใต้ อ� ำ นาจของปี ศ าจ เพราะพระเจ้ า สถิ ต กั บ พระองค์” (กจ 10:37-38) ตั้งแต่ทรงรับ ธรรมชาติมนุษย์ พระเยซูเจ้าทรงรับเจิมถวาย องค์แด่พระบิดา แต่การเจิมนี้เป็นลักษณะ
12
วารสารแสงธรรมปริทัศน์ ฉบับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2015/2558
เฉพาะในพระชนมชีพทัง้ หมดของพระเยซูเจ้า และจะสมบูรณ์เมื่อพระองค์สิ้นพระชนม์และ ทรงกลั บ คื น พระชนมชี พ พระองค์ ท รง ด�ำเนินพระชนมชีพด้วยจิตส�ำนึกว่าทรงเป็น กรรมสิ ท ธิ์ ข องพระบิ ด า และในความ สมานฉันท์กับบรรดาพี่น้องที่พระบิดาทรงส่ง พระองค์ จิตส�ำนึกนี้ท�ำให้พระชนมชีพและ พระภารกิจของพระองค์เต็มเปี่ยม พระเยซู เจ้าเสด็จไปในหมู่คนโดยปราศจากความกลัว ที่จะสัมผัสกับความด่างพร้อย พระองค์ทรง รูจ้ กั ชีวติ ประจ�ำวันของผูป้ ว่ ย คนยากจนและ สตรี เสวยพระกระยาหาร ทรงพระกันแสง ทรงสัมผัสผู้อื่น ฯลฯ เดชะพระเยซูเจ้า การรับเจิมถวายตน ของคริสตชนไม่เป็นพิธีหรือสถานการณ์ แต่ เป็ น พระองค์ เ อง ไม่ มี ผู ้ ใ ดที่ คิ ด ได้ ว ่ า ตน เป็น “ผู้รับเจิมถวายตน” ถ้าเขาไม่มีส่วน ร่วมในการเจิมถวายองค์ของพระเยซูเจ้าที่ ด� ำ เนิ น ในความถ่ อ มตนของพระองค์ จดหมายถึ ง ชาวฮี บ รู แ สดงอย่ า งชั ด เจนว่ า สังฆภาพ “ใหม่” ที่พระเยซูเจ้าทรงได้รับ แต่งตั้งและทรงด�ำเนินชีวิตในฐานะพระเมส- สิยาห์และ “ผู้ศักดิ์สิทธิ์ของพระเจ้า” มีกฎ เกณฑ์ แ ละเงื่ อ นไขที่ จ ะต้ อ งเสี ย สละการ แสวงหาเกียรติยศของตน ในกระบวนการ อุ ทิ ศ ตนและการยอมเป็น เหมือนผู้อื่น เพื่อ ความสนิทสัมพันธ์เป็นหนึ่งเดียวกัน
4.3 ชีวติ ผูร้ บั เจิมถวายตนเรียกร้อง การด� ำ เนิ น ชี วิ ต ตามแบบฉบั บ ของพระ คริสตเจ้า พระด�ำรัสเตือนหลังการประชุม สภาสมัชชาพระสังฆราชเรือ่ ง “ชีวติ ผูร้ บั เจิม” (Vita Consecrata) ของสมเด็ จ พระ สันตะปาปานักบุญยอนห์ ปอลที ่ 2 อธิบาย ชัดเจนว่า การรับศีลล้างบาปของคริสตชน ทุกคนเป็นการรับเจิมถวายตนแด่พระเจ้า แต่ ชีวิต “การรับเจิม” ของบรรดานักบวชและ ผู้ปฏิญาณตนในสถาบันฆราวาสเป็นการรับ เจิมถวายตนแบบใหม่และพิเศษสุด ดังที่มี เขียนในข้อ 14 ว่า »» “พืน้ ฐานของชีวติ ผูร้ บั เจิมถวายตน จากพระวรสารพบได้ในความสัมพันธ์ พิเศษที่พระเยซูเจ้าทรงสร้างกับศิษย์ บางคนในพระชนมชีพของพระองค์บน แผ่นดิน โดยทรงเชื้อเชิญเขาไม่เพียง ให้ตอ้ นรับพระอาณาจักรของพระเจ้าไว้ ในชีวิตของตนเท่านั้น แต่ยังให้อุทิศ ชีวิตความเป็นอยู่ เพื่อรับใช้ภารกิจนี้ สละทุกสิ่งทุกอย่างและเลียนแบบการ ด�ำเนินชีวิตของพระองค์อย่างใกล้ชิด การด�ำเนินชีวิต “ตามแบบพระคริสต เจ้า” เช่นนี ้ ซึง่ ผูร้ บั ศีลล้างบาปหลาย คนได้รับการเสนอในประวัติศาสตร์จะ เป็นไปได้ ก็ตอ่ เมือ่ ตัง้ อยูบ่ นรากฐาน ของกระแสเรียกพิเศษ และในลักษณะ ที่เป็นของประทานโดยเฉพาะจากพระ
พื้นฐานจากพระคัมภีร์เกี่ยวกับพระพรพิเศษของชีวิตผู้รับเจิมถวายตนในพระศาสนจักร
จิตเจ้า ในชีวิตดังกล่าวนี้ การรับเจิม เมื่ อ รั บ ศี ล ล้ า งบาปจะบรรลุ ก ารตอบ สนองอย่างเด็ดขาดในการติดตามพระ คริสตเจ้า โดยปฏิบัติตามค�ำแนะน�ำ ทางพระวรสาร ซึง่ ประการแรกและยิง่ ใหญ่ที่สุดคือ การถือพรหมจรรย์เพื่อ พระอาณาจั ก รของพระเจ้ า ” (Vita Consecrata 14) สมเด็ จ พระสั น ตะปาปาฟรั ง ซิ ส ทรง เตือนความทรงจ�ำของคริสตชนในค�ำปราศรัย ก่อนสวดบททูตสวรรค์แจ้งข่าวแก่พระนาง มารีย์ เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2014 ว่า »» “การถวายตนเองแด่พระเจ้าเช่นนี้ เกี่ยวข้องกับคริสตชนทุกคน เพราะ ทุกคนได้รบั เจิมถวายแด่พระองค์ โดย อาศัยศีลล้างบาปเราทุกคนได้รับเรียก ให้ถวายตนแด่พระบิดาพร้อมกับพระ เยซูเจ้าและเหมือนพระเยซูเจ้า ท�ำให้ ชีวิตของเราเป็นของประทานด้วยใจ กว้าง ในครอบครัว ในที่ท�ำงาน ใน การรั บ ใช้ พ ระศาสนจั ก รและในการ ปฏิบตั เิ มตตากิจ อย่างไรก็ตามบรรดา นั ก บวช ฤษี แ ละฆราวาสผู ้ รั บ เจิ ม ถวายตน ด�ำเนินชีวิตผู้รับเจิมถวาย ตนเพราะอาศัยการปฏิญ าณตนเป็น กรรมสิทธิ์ของพระเจ้าอย่างเต็มเปี่ยม และโดยเฉพาะ การเป็นกรรมสิทธิข์ อง พระเจ้าเช่นนี้ท�ำให้ผู้ด�ำเนินชีวิตผู้รับ เจิ ม ถวายตนอย่างแท้จ ริงเป็น พยาน
13
พิเศษถึงพระวรสารแห่งพระอาณาจักร ของพระเจ้า เขาได้รบั เจิมถวายตนแด่ พระเจ้าโดยสิ้นเชิง พระองค์ทรงมอบ เขาทัง้ หมดแก่บรรดาพีน่ อ้ งเพือ่ น�ำแสง สว่างของพระคริสตเจ้าไปในสถานทีซ่ งึ่ ยังมืดมิดทีส่ ดุ และเพือ่ แผ่ขยายความ หวังลงในจิตใจที่ผิดหวัง... เมื่อเข้าใจ และด�ำเนินชีวติ ผูร้ บั เจิมถวายตนเช่นนี้ ก็จะเห็นชัดว่า ชีวติ นีเ้ ป็นจริงดังทีค่ วร เป็นคือ เป็นของประทานจากพระเจ้า เป็นของประทานจากพระเจ้าแก่พระ ศาสนจั ก ร เป็ น ของประทานจาก พระเจ้าแก่ประชากรของพระองค์ การ รั บ เจิ ม ถวายตนแต่ ล ะคนก็ เ ป็ น ของ ประทานเพื่อประชากรที่ก�ำลังเดินทาง อยู่ของพระเจ้า” ผู้ถูกเรียกให้ด�ำเนินชีวิตผู้รับเจิมถวาย ตนจึงไม่เพียงต้องติดตามพระคริสตเจ้าด้วย สิ้นสุดจิตใจ โดยรักพระองค์มากกว่าผู้ใด “ผูท้ รี่ กั บิดามารดามากกว่ารักเรา ก็ไม่คคู่ วร กับเรา ผูท้ รี่ กั บุตรชายหญิงมากกว่ารักเรา ก็ ไม่คคู่ วรกับเรา” (เทียบ มธ 10:37) ดังที่ จ�ำเป็นส�ำหรับศิษย์ทุกคนเท่านั้น แต่ยังต้อง มีจิตความส�ำนึกเร่งด่วนที่จะด�ำเนินชีวิตและ แสดงออกถึงการเป็นศิษย์ของพระเยซูเจ้าโดย ด�ำเนินชีวติ ทัง้ หมดให้สอดคล้องกับพระคริสต เจ้าผูท้ รงรับเจิมถวายองค์แด่พระบิดาและทรง ถูกส่งมาเพื่อความรอดพ้นของโลก
14
วารสารแสงธรรมปริทัศน์ ฉบับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2015/2558
4.4 นักบุญเปาโลเป็นตัวอย่างของ ชี วิ ต รั บ เจิ ม ถวายตน นั ก บุ ญ เปาโลเป็ น ตั ว อย่ า งของผู ้ ด� ำ เนิ น ชี วิ ต ทั้ ง หมดให้ สอดคล้องกับพระคริสตเจ้าผูร้ บั เจิมถวายองค์ แด่พระบิดา พระคริสตเจ้าทรงเป็นชีวิตของ เขา (เทียบ ฟป 1:21) พระเยซูเจ้าเป็น องค์พระผูเ้ ป็นเจ้าของเขา (เทียบ ฟป 3:7) ด� ำ เนิ น ชี วิ ต ในพระคริ ส ตเจ้ า (เที ย บ กท 2:20) “มีรอยประทับตราของพระเยซูเจ้าอยู่ ในร่างกาย” (กท 6:17) “ความรักของพระ คริสตเจ้าผลักดันเรา” ( 2 คร 5:14)ใน ความหมายที่ว่าความรักของพระคริสตเจ้า เป็ น พละก� ำ ลั ง ของชี วิ ต เรา นั ก บุ ญ เปาโล เช่นเดียวกับในหนังสือพระวรสารไม่กล่าวถึง ชีวิตรับเจิมถวายตนดังที่เป็นในสมัยปัจจุบัน เพราะคริสตชนสมัยแรกๆ ยังไม่มปี ระสบการณ์ เช่นนี ้ อย่างไรก็ตาม ประสบการณ์ชวี ติ ของ นั ก บุ ญ เปาโลดั ง ที่ ป รากฏในจดหมายเป็ น ตัวอย่างที่สร้างแรงบันดาลใจแก่ผู้ด�ำเนินชีวิต รับเจิมถวายตนในเวลาต่อมา ให้เรามาพิจารณาข้อความตอนหนึ่ง จากจดหมายถึงชาวฟิลิปปี นักบุญเปาโล ยื น ยั น ว่ า ทุ ก สิ่ ง ทุ ก อย่ า งที่ เขาได้ ตี คุ ณ ค่ า จนถึงปัจจุบัน ไม่ว่าคุณค่าทางศาสนาและ ทางสังคมว่าเป็นปฏิกูล “ข้าพเจ้าเห็นว่าทุก สิ่งไม่มีประโยชน์อีกเมื่อเปรียบกับประโยชน์ ล�้ ำ ค่ า คื อ การรู ้ จั ก พระคริ ส ตเยซู องค์ พ ระ ผูเ้ ป็นเจ้าของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าจึงยอมสูญเสีย
ทุกสิง่ ข้าพเจ้าเห็นว่าทุกสิง่ เป็นปฏิกลู เพือ่ จะ ได้ อ งค์ พ ระคริ ส ตเจ้ า มาเป็ น ก� ำ ไร” (ฟป 3:8)นักบุญเปาโลเรียกพระเยซูเจ้าว่า “องค์ พระผู ้ เ ป็ น เจ้ า ของข้ า พเจ้ า ” ซึ่ ง แสดง ประสบการณ์มจี ติ ส�ำนึกว่า เป็นของพระองค์ เพราะได้รับเจิมถวายตนแด่พระเยซูเจ้า น่า สังเกตว่านักบุญเปาโลพร้อมที่จะสละทุกสิ่ง เพื่อพระคริสตเจ้าโดยไม่เสียใจและไม่หวังการ ตอบแทนเลย เขาต้องการพระเยซูเจ้าและเมือ่ พระองค์ทรงครอบครองเขาก็เพียงพอแล้ว ส�ำหรับนักบุญเปาโลพระเยซูเจ้าทรงเป็นไข่มกุ ล�ำ้ ค่า(เทียบ มธ 13:44-46) ทีเ่ ขายอมขาย ทุกสิ่งที่มีเพื่อซื้อไข่มุกเม็ดนั้น พระเยซูเจ้า ทรงเป็นจุดศูนย์กลางทีร่ วมพละก�ำลังและการ ตัดสินใจของเขา นักบุญเปาโลอธิบายขบวนการนี้ด้วย ถ้อยค�ำที่มีความหมายลึกซึ้งว่า “ข้าพเจ้ายัง มุ่งหน้าวิ่งต่อไป เพื่อจะช่วงชิงรางวัลให้ได้ ดังทีพ่ ระเยซูเจ้าทรงช่วงชิงข้าพเจ้าไว้ได้แล้ว” (ฟป 3:12) ค� ำ ว่ า “มุ ่ ง หน้ า วิ่ ง ต่ อ ไป” หมายถึงการวิ่งไล่ตาม ไม่ว่าจะต้องลงทุน สักเท่าใด ต้องการบรรลุสงิ่ ทีใ่ จปรารถนาเป็น ค�ำที่แสดงความตั้งใจแน่วแน่ ความซื่อสัตย์ และความปรารถนาที่ไม่ท้อแท้ แม้ว่าจะต้อง ออกแรงสักเพียงใด นักบุญเปาโล “มุ่งหน้า วิ่งต่อไป” ในความหมายที่ว่า เขารวมพลัง ทัง้ หมดและมอบชีวติ ของตนเพือ่ จะมุง่ หน้าไป พบกับพระคริสตเจ้า โดยไม่เสียใจทีต่ อ้ งยอม
พื้นฐานจากพระคัมภีร์เกี่ยวกับพระพรพิเศษของชีวิตผู้รับเจิมถวายตนในพระศาสนจักร
สละทุกอย่าง ทุกลมหายใจของเขาก็เพือ่ พระ คริสตเจ้า หรือพูดอีกนัยหนึ่งว่า พระเยซู คริ ส ตเจ้ า คื อ ลมหายใจของเขานั่ น เอง ประสบการณ์ของนักบุญเปาโลชวนให้ระลึก ถึงการด�ำเนินชีวิตรับเจิมถวายตนในฐานะที่ เป็นขบวนการปรับตัวอย่างค่อยเป็นค่อยไป จนสิ้นชีวิตเพื่อให้ละม้ายคล้ายกับธรรมล�้ำลึก ปั สกาของพระคริส ตเจ้า ในแง่นี้ชีวิตของ นักบุญเปาโลชวนให้คิดถึงชีวิตรับเจิมถวาย ตนของเราในปัจจุบัน นักบุญเปาโลด�ำเนินชีวติ มอบถวายตน แด่พระคริสตเจ้าในเหตุการณ์ต่างๆ ประจ�ำ วั น โดยมี ค วามพยายามและความมุ ่ ง มั่ น ลักษณะต่างๆ ในชีวติ ไม่วา่ จะเป็นความยินดี ความเจ็บปวด ความเมื่อยล้าหรือความกลัว เป็ น ประสบการณ์ ชี วิ ต กั บ พระคริ ส ตเจ้ า (เทียบ กท 2:20) “ข้าพเจ้าคิดว่าการมี ชี วิ ต อยู ่ คื อ พระคริ ส ตเจ้ า ” (ฟป 1:21) ส�ำหรับนักบุญเปาโลชีวิตไม่มีเวลาของโลก และเวลาศักดิ์สิทธิ์ ไม่มีสถานที่ของโลกและ สถานที่ศักดิ์สิทธิ์ เพราะทุกอย่างที่เขาเป็น และกระท�ำมีไว้เพือ่ พระเจ้า และแสดงออกถึง พระคริสตเจ้าผูท้ รงชีวติ ในตัวเขา การทีช่ วี ติ ทั้งหมดของตนเป็นกรรมสิทธิ์ของพระเจ้า ท�ำให้เป็นคารวกิจถวายแด่พระองค์ “เป็น ผู ้ ป ระกอบศาสนพิ ธี ด ้ ว ยจิ ต ของพระเจ้ า ” (ฟป 3:3) “เป็นคารวกิจด้วยจิตใจของตน” (รม 12:1)
15
นั ก บุ ญ เปาโลประยุ ก ต์ ภ าษาทาง พิธีกรรมของพันธสัญญาเดิมมาใช้กับชีวิต คริสตชน ส�ำหรับคริสตชนทีม่ ชี วี ติ อยูใ่ นพระ เยซูเจ้าไม่มีการแตกแยกระหว่างเครื่องบูชา วิหาร และสมณะ คริสตชนเป็นเครื่องบูชา เพราะเป็นผู้ถวายตน เป็นวิหารเพราะเขาท�ำ เช่นนีใ้ นชีวติ รูปธรรมซึง่ เป็นทีป่ ระทับของพระ จิตเจ้าตลอดเวลา เป็นสมณะเพราะถวายตน และบรรดาพี่น้องแก่พระเจ้า ชีวิตทั้งหมด ของผู ้ รั บ เจิ ม ถวายตนซึ่ ง แสดงออกในการ อธิษฐานภาวนาและกิจการต่างๆ ยกเว้นบาป ก็เป็นกรรมสิทธิ์ของพระเจ้า จึงเป็นคารวกิจ ต่อพระองค์ 4.5 รูปแบบชีวิตที่ถือพรหมจรรย์ ความยากจนและความนอบน้อมเชื่อฟัง พระด�ำรัสเตือนหลังการประชุมสภาสมัชชา พระสังฆราชเรื่อง “ชีวิตผู้รับเจิม” (Vita Consecrata) ของสมเด็จพระสันตะปาปา นักบุญยอห์ ปอลที่ 2 บันทึกไว้ว่า »» “ค�ำแนะน�ำทางพระวรสารซึ่งอาศัย ค�ำแนะน�ำดังกล่าวพระคริสตเจ้าทรง เชิญชวนบางคนให้เข้ามามีสว่ นแบ่งปัน ประสบการณ์ของพระองค์ ในการถือ พรหมจรรย์ ความยากจน ความ นอบน้ อ มเชื่ อ ฟั ง นั้ น เรี ย กร้ อ งและ ส�ำแดงให้เป็นที่ประจักษ์ในตัวบุคคลที่ ยอมรับค�ำแนะน�ำเหล่านี ้ ซึง่ ปรารถนา อย่างชัดเจนทีจ่ ะด�ำเนินชีวติ ในรูปแบบ
16
วารสารแสงธรรมปริทัศน์ ฉบับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2015/2558
ละม้ายคล้ายกับพระองค์โดยสิน้ เชิง ... รูปแบบการด�ำเนินชีวติ ของพระองค์ใน ความบริสทุ ธิ ์ ความยากจนและความ นอบน้อมเชื่อฟังปรากฏเป็นระเบียบที่ ลึ ก ซึ้ ง ถึ ง แก่ น แท้ ที่ สุ ด ในการด� ำ เนิ น ชีวติ ตามพระวรสารบนแผ่นดินนี ้ เป็น ระเบี ย บซึ่ ง เรี ย กได้ ว ่ า “มาจาก พระเจ้ า ” เพราะเป็ น แบบอย่ า งซึ่ ง พระองค์ทรงรับไว้ พระองค์ผทู้ รงเป็น ทั้งมนุษย์และพระเจ้า เพื่อแสดงให้ เห็ น ความสั ม พั น ธ์ แ ห่ ง ความเป็ น เอกภาพของพระบุตร กับพระบิดา และพระจิตเจ้า นีค่ อื เหตุผลทีว่ า่ เหตุใด ในธรรมประเพณีของคริสตศาสนาเรา จึงได้พูดกันเสมอถึงวัตถุประสงค์เลิศ เลอของชีวติ ผูร้ บั เจิมถวายตน” (Vita Consecrata 18) 4.5.1 นักบุญเปาโลถือพรหมจรรย์ นักบุญเปาโลคิดว่า การถือพรหมจรรย์เป็น พระพรพิเศษเช่นเดียวกับชีวิตสมรส เขามี ประสบการณ์ถอื พรหมจรรย์เพือ่ พระคริสตเจ้า เป็นของประทานส่วนตัวที่ได้รับจากพระองค์ ไม่ใช่ความว่างเปล่าทางจิตวิทยาหรือการเสีย สละและปฏิเสธตนเอง แต่เป็นความรักที่มี พลังอย่างเต็มเปี่ยมมุ่งไปสู่ “สิ่งที่เป็นของ พระคริ ส ตเจ้ า ” เมื่ อ เขาเปรี ย บเที ย บชี วิ ต สมรสกับการถือพรหมจรรย์กค็ ดิ ว่า การเลือก ที่ จ ะถื อ พรหมจรรย์ ส อดคล้ อ งกั บ ความ
ต้องการของตนเพราะเขาได้รับพระพรพิเศษ นี้ แร ง บั น ด า ล ใจ สุ ด ท ้ า ย ที่ เข า ถื อ พรหมจรรย์คอื พระเยซูเจ้าทัง้ ในพระองค์เอง และภารกิจของพระองค์ ในสมัยของนักบุญ เปาโล สั ง คมของชาวโคริ นธ์ ที่ มี ทัศนะว่ า สุขารมณ์เป็นสิง่ ประเสริฐทีส่ ดุ หรือเป็นความดี สูงสุดของชีวิต การถือพรหมจรรย์เพื่อพระ อาณาจักรของพระเจ้าเป็นเครื่องหมายทวน กระแสทัศนคติดังกล่าว เพราะเป็นพยานถึง การอุทิศตนอย่างอิสระด้วยความรักที่ไม่หวัง ผลตอบแทน นั ก บุ ญ เปาโลเข้ า ใจพระพร พิเศษการถือพรหมจรรย์วา่ ไม่เป็นการหนีจาก โลกหรือความว่างเปล่าทางจิตวิทยา แต่เป็น ความเต็มเปีย่ ม เป็นสมรรถภาพของความรัก ที่ไม่อาจคาดคะเนได้ ตัวอย่างของความสัมพันธ์ที่นักบุญ เปาโลมีกับผู้อื่นแสดงถึงความร�่ำรวยในการมี ความสัมพันธ์กบั ผูอ้ นื่ มีใจกว้างทีจ่ ะรักผูอ้ นื่ นักบุญเปาโลจึงเป็นบิดา “ข้าพเจ้าให้ก�ำเนิด ท่ า นในพระคริ ส ตเยซู โ ดยประกาศข่ า วดี ” (1คร 4:14; เทียบ ฟป 2:22; ฟม 10) เป็นมารดา “ลูกๆ ที่รัก ข้าพเจ้ามีความ เจ็บปวดประหนึ่งว่าก�ำลังคลอดท่านทั้งหลาย อีกครั้งหนึ่ง จนกว่าพระคริสตเจ้าจะปรากฏ ในท่านอย่างชัดเจน” (กท 4:19) เป็นพี่ น้อง “พี่น้องทั้งหลาย จงชื่นชมในองค์พระ คริสตเจ้าเถิด” (ฟป 3:1; เทียบ 3:17;
พื้นฐานจากพระคัมภีร์เกี่ยวกับพระพรพิเศษของชีวิตผู้รับเจิมถวายตนในพระศาสนจักร
4:8; ฟม 7) เป็นผู้รับใช้ “ส่วนเราเป็น เพียงผู้รับใช้ท่านทั้งหลายเพราะความรักต่อ พระเยซูเจ้า” (2 คร 4:5) เป็นเพื่อนเดิน ทาง “ทิตัสนั้นเป็นทั้งเพื่อนและผู้ร่วมงาน ของข้ า พเจ้ า เพื่ อ ท่ า นทั้ ง หลาย” (2 คร 8:23) เป็ น มิ ต ร “ถ้ า ท่ า นยั ง ยอมรั บ ว่ า ข้าพเจ้าเป็นมิตรกับท่าน ก็จงต้อนรับเขาเช่น เดียวกับที่ท่านจะต้อนรับข้าพเจ้า ถ้าเขาท�ำ ผิดต่อท่านเรื่องใดหรือเป็นหนี้ท่านเท่าใด ก็ จงจดลงในบัญชีของข้าพเจ้า” (ฟม 17-18) เป็นผู้ร่วมงาน “ขอฝากความคิดถึงปริสสิล และอาควิลลา ผู้ร่วมงานกับข้าพเจ้าในพระ คริสตเยซู เขาเสีย่ งต่อการถูกตัดคอเพือ่ ช่วย ชีวิตข้าพเจ้ามาแล้ว” (รม 16:3; เทียบ ฟป 4:3) นักบุญเปาโลไม่กลัวที่จะระลึกถึง สตรีคริสตชนทีไ่ ด้พบในแคว้นอาเซียคือมารีย์ ตรีเฟนาและตรีโฟสา (เทียบ รม 16:1-16) ซึ่งเขาเรียกว่า “ที่รักของข้าพเจ้า” 4.5.2 นักบุญเปาโลเป็นผู้ยากจน ทั ศ นคติ ข องนั ก บุ ญ เปาโลเกี่ ย วกั บ ความ ยากจนเป็นทีโ่ ดดเด่น เพราะไม่เป็นเพียงการ เลือกด�ำเนินชีวติ ภายนอกทีย่ ากจนและขัดสน แต่เป็นทัศนคติพื้นฐานของความเป็นอยู่ใน พระคริสตเจ้า นักบุญเปาโลได้จดั การเงินเป็น จ�ำนวนมากเพื่อการเดินทางประกาศข่าวดี และเพื่อช่วยเหลือกลุ่มคริสตชนยากจนที่กรุง เยรูซาเล็มด้วยเงินบริจาคที่มาจากกลุ่มคริสต ชนต่างชาติ
17
เช่นเดียวกับพระเยซูเจ้านักบุญเปาโล ยอมสละทุกอย่างที่อาจจ�ำกัดการอุทิศตนแก่ ผู้อื่น ทุกอย่างที่กีดขวางให้มีความรักเต็ม เปี ่ ย ม ให้ มี ค วามสั ม พั น ธ์ แ ท้ จ ริ ง กั บ ผู ้ อื่ น และในการปฏิบัติภารกิจโดยรับใช้ผู้อื่นอย่าง โปร่งใสโดยไม่หวังผลประโยชน์ใดๆ (เทียบ 2 คร 2 4:1-2) นักบุญเปาโลด�ำเนินชีวติ ยากจนเพื่อมอบตนเองอย่างอิสระเป็นของ ขวัญเช่นเดียวกับพระเยซูเจ้า พระเยซูเจ้าทรง เป็นความร�ำ่ รวยหนึง่ เดียวเพราะพระองค์ทรง บันดาลให้เขามีหัวใจที่เต็มเปี่ยม “ข้าพเจ้า รูจ้ กั มีชวี ติ อยูอ่ ย่างอดออม และรูจ้ กั มีชวี ติ อยู่ อย่างอุดมสมบูรณ์ ข้าพเจ้าได้เรียนรู้ที่จะ เผชิญกับทุกสิ่งทุกกรณี เผชิญกับความอิ่ม ท้องและความหิวโหย เผชิญกับความมั่งคั่ง และความขั ด สน ข้ า พเจ้ า ท� ำ ทุ ก สิ่ ง ได้ ใ น พระองค์ ผู ้ ป ระทานพละก� ำ ลั ง แก่ ข ้ า พเจ้ า ” (ฟป 4:12-13) นั ก บุ ญ เปาโลยื น ยั น ว่า “เหมือนกับเป็นคนยากจน แต่เราก็ทำ� ให้ คนจ� ำ นวนมากมั่ ง มี เหมื อ นกั บ คนที่ ไ ม่ มี อะไรเลย แต่ เ ราก็ มี ทุ ก สิ่ ง ” (2 คร 6:10) นั ก บุ ญ เปาโลได้ เรี ย นรู ้ ที่ จ ะได้ เ ห็ น พระเจ้าทรงท�ำงานทุกอย่าง ทีจ่ ะขอบพระคุณ พระองค์เสมอเพราะทุกอย่างที่เราเป็นและมี เป็นของพระองค์ (เทียบ 1 คร 4:7) 4.5.3 นักบุญเปาโลนอบน้อมเชือ่ ฟัง ต่ อ พระเยซู เจ้ า นั ก บุ ญ เปาโลปฏิ บั ติ ต น
18
วารสารแสงธรรมปริทัศน์ ฉบับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2015/2558
ละม้ า ยคล้ า ยกั บ พระเยซู เ จ้ า เพื่ อ เป็ น ผู ้ นอบน้อมเชือ่ ฟังพระเจ้าเช่นเดียวกับพระองค์ การกระท�ำเช่นนี้มุ่งมั่นในการปฏิบัติภารกิจ เป็ น ประหนึ่ ง การถวายตนเป็ น เครื่ อ งบู ช า (เทียบ ฟป 2:17) และมอบตนเองแด่พระ บิดาเช่นเดียวกับพระเยซูเจ้า “ขณะทีเ่ รายังมี ชีวติ อยูเ่ ราเสีย่ งกับความตายอยูเ่ สมอ เพราะ ความรักต่อพระเยซูเจ้า เพือ่ ให้ชวี ติ ของพระ เยซูเจ้าปรากฏชัดในธรรมชาติที่ตายได้ของ เรา” (2 คร 4:11) นักบุญเปาโลพยายาม ด�ำเนินชีวิตเป็นภาพลักษณ์ของพระคริสตเจ้า ผู้ถวายองค์เป็นเครื่องบูชา เพื่อตอบสนอง ความรักต่อพระบิดาและบรรดาพี่น้อง ความนอบน้อมเชื่อฟังต่อกระแสเรียก ทีไ่ ด้รบั ท�ำให้นกั บุญเปาโลรับใช้ผอู้ นื่ อย่างถ่อม ตนเพือ่ ประกาศข่าวดีแก่คนต่างชาติ นักบุญ เปาโลเป็นผูน้ อบน้อมเชือ่ ฟัง แสวงหาและส่ง เสริมความสนิทสัมพันธ์เป็นหนึ่งเดียวของ พระศาสนจักร เมื่อเขาเดินทางครั้งแรกเพื่อ ประกาศข่ า วดี จ บแล้ ว ก็ ย อมขึ้ น กั บ นั ก บุ ญ เปโตร เพื่อให้ทดสอบความถูกต้องของงาน ธรรมทูต จะได้ซื่อสัตย์ต่อพระเจ้าและพี่น้อง คริสตชน ความนอบน้อมเชือ่ ฟังของนักบุญ เปาโลเป็ น การร่ ว มงานกั บ ผู ้ อื่ น เพราะเป็ น ภารกิจของพระเจ้า และบรรดาธรรมทูตเป็น เพียงผูร้ บั ใช้พระองค์ ความนอบน้อมเชือ่ ฟัง และความยากจนต้ อ งควบคู ่ กั น อยู ่ เ สมอ เพราะคุณธรรมทัง้ สองมาจากบ่อเกิดเดียวกัน คือความรัก
5. สรุป ชีวิตผู้รับเจิมถวายตนเกิดจากการฟัง พระวาจาของพระเจ้า และยอมรับพระวรสาร ทั้งหมดเป็นหลักเกณฑ์ของชีวิต ดังที่พระ ด�ำรัสเตือนหลังการประชุมสภาสมัชชาพระ สั ง ฆราชเรื่ อ ง “ชี วิ ต ผู ้ รั บ เจิ ม ” (Vita Consecrata) ของสมเด็จพระสันตะปาปา นักบุญยอห์ ปอลที่ 2 บันทึกไว้ว่า »» “ทั้งในชีวิตนักบวชพิศเพ่งภาวนา และชีวิตผู้เผยแผ่ข่าวดี บุรุษและสตรี ผู้อธิษฐานภาวนานั่นเองที่บรรลุความ ส�ำเร็จเสมอในกิจการที่ยิ่งใหญ่ โดย เป็นเสมือนล่ามผู้แปลความหมายพระ ประสงค์ของพระเจ้าได้อย่างถูกต้อง และน�ำไปปฏิบัติตาม จากการคุ้นเคย อยู ่ เ สมอกั บ พระวาจาของพระเจ้ า บุคคลเหล่านี้ได้รับความสว่างที่จ�ำเป็น แก่การพินิจพิเคราะห์เป็นการส่วนตัว และร่วมกันภายในหมูค่ ณะ ซึง่ ได้ชว่ ย เขาในการแสวงหาหนทางของพระเจ้า ในเครื่องหมายแห่งกาลเวลา ดังนั้น เขาทั้ ง หลายจึ ง เหมื อ นมี ญ าณพิ เ ศษ เหนือธรรมชาติที่ช่วยให้เขาสามารถ หลีกเลี่ยงการท�ำตัวให้สอดคล้องกับ ความคิ ด ของโลก และฟื ้ น ฟู จิ ต ตา รมณ์ของตนขึ้นมาใหม่ “เพื่อจะได้ รู้จักวินิจฉัยว่าสิ่งใดเป็นพระประสงค์ ของพระเจ้า สิ่งใดดี สิ่งใดเป็นที่พอ พระทัยและสมบูรณ์พร้อม (รม 12:2)” (Vita Consecrata 94)
พื้นฐานจากพระคัมภีร์เกี่ยวกับพระพรพิเศษของชีวิตผู้รับเจิมถวายตนในพระศาสนจักร
19
คณะกรรมการคาทอลิกเพื่อคริสตศาสนธรรม แผนกพระคัมภีร์. พระคัมภีร์คาทอลิก ฉบับ สมบูรณ์. (Thai Catholic Bible Complete Version) กรุงเทพฯ : คณะกรรม การคาทอลิกเพื่อพระคัมภีร์, 2014. Balthasar, Hans Urs Von. “Gospel as Norm”, Concilium 1 (1965), pp.715 22. Dalbesio, Anselmo. E lasciato tutto lo seguirono. I fondamenti biblici della vita consacrata. Bologna : EDB, 1993. John Paul II, Pope. The consecrated life. Post‐Synodal Apostolic Exhortation Vita Consecrata. Boston, MA : Pauline Books & Media, 1996. Leon-Dufour, Xavier. Dictionary of Biblical Theology. New York : Desclee Company, 1967. Matura, Thaddee. E lasciato tutto lo seguirono. Fondamenti biblici della vita religiosa. Magnano : Qiqaion, 1999. McKenzie, John L. Dictionary of the Bible. London : Geoffrey Chapman, 1976. Poli, Gian Franco (ed.), Supplemento al Dizionario Teologico della Vita Consacrata. Milano : Àncora Editrice, 2003. Rahner, Karl. Theological Investigations. Vol. 3 : The Theology of the Spiritual Life. New York : The Crossroad Publishing Company, 1982. Ubaldo, Terrinoni. Parola di Dio e voti religiosi. Icone Bibliche. Bologna : EDB, 2004.
[ หมวดสัจธรรม ]
…นักบวช… การกลับสู่ค�ำแนะน�ำของพระวรสาร บาทหลวงวสันต์ พิรุฬห์วงศ์ เรื่ อ ง “เอกลั ก ษณ์ ” (identity) ของนักบวชเป็นหนึง่ ในปัญหาต่างๆ มากมาย ที่พวกนักบวชในช่วงหลายสิบปีที่ผ่านมาพูด ถึงกันมากและมีความวิตกกังวลกันอย่างมาก ด้วย นักบวชบางคนให้ความส�ำคัญกับเรื่อง เอกลักษณ์นมี้ ากจนถึงกับมองว่าเอกลักษณ์นี้ เป็นเหมือน “บรรทัดฐาน” และ “แนวทาง”
ส�ำหรับพิจารณาและตัดสินความเป็นนักบวช กั น เลยที เ ดี ย ว แต่ เ มื่ อ ใดที่ มี ก ารแสวงหา ความกระจ่างชัดหรือความหมายทีช่ ดั เจนของ เอกลักษณ์ของนักบวชนี ้ ก็มกั จะไปสูท่ างตัน เสมอ บรรดานักบวชคณะต่างๆ เอง แม้จะ จัดให้มีการประชุมสมัชชา มีการสัมมนากัน อยู ่ บ ่ อ ยครั้ ง แต่ เ อกสารที่ อ อกมาจากที่
บาทหลวงสังกัดคณะรอยแผลศักดิ์สิทธิ์ C.S.S., อาจารย์สาขาเทววิทยา คณะศาสนศาสตร์ วิทยาลัยแสงธรรม
นักบวช : การกลับสู่ค�ำแนะน�ำของพระวรสาร
ประชุมส่วนใหญ่กลับยิง่ สร้างความสับสนและ งุนงงมากขึ้นกว่าเดิมเสียอีก ยิ่งศึกษาลงลึก ไปมากเท่าไร ผลที่ได้กลับมากลับยิ่งเปราะ บางและก�ำกวมมากขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ความไม่สอดคล้องกับความเป็นจริงที่ก�ำลัง เป็นอยู่ในปัจจุบัน 1. กระแสเรียกนักบวช นักบวชเป็นผู้ที่ถูกเรียกมาเพื่อฝึกฝน ตน โดยมีเป้าหมายเพื่อความรอดของจิต วิญญาณ โดยในช่วงปีทอี่ ยูใ่ นนวกสถานและ เรื่ อ ยมาตลอดช่ ว งเวลาของการฝึ ก ฝนตน นักบวชจะได้รับการส่งเสริมให้หาค�ำแนะน�ำ จากพระวรสารทีม่ คี วามชัดเจนและสามารถน�ำ มาเป็นต้นแบบในการถือปฏิบัติได้ มาฝึก ปฏิบัติในชีวิตแห่งการฝึกฝนของตน เรื่อง หนึ่งที่นิยมน�ำมาเป็นแบบอย่างคือ “เรื่อง เศรษฐีหนุม่ ” ต่อจากนัน้ ก็เริม่ มีขอ้ ก�ำหนด บางอย่างที่ชัดเจนและแน่นอนส�ำหรับปฏิบัติ และด�ำเนินชีวิต เช่น มีกฎเกณฑ์ กฎพระ วินัย และเรื่องการใช้สิ่งของต่างๆ ในที่สุด เมือ่ เวลาผ่านไป คนกลุม่ นีก้ ไ็ ด้กลายเป็นส่วน หนึ่งของค�ำจ�ำกัดความของ “นักบวช” นี่ คือกรอบความเข้าใจกว้างๆ ของความหมาย ของนักบวช ในเวลาต่อมา นักวิชาการด้านพระ คัมภีรก์ ส็ ามารถท�ำให้คำ� จัดความของนักบวช แคบลงมาได้ โดยมองชีวิตนักบวชว่าเป็น
ชีวิตที่มี “พื้นฐาน” หรือ “ต้นแบบ” มา จากพระวรสารนัน่ เอง แม้บางคนจะปฏิเสธไม่ ยอมรับความคิดนี้ แต่อย่างน้อย ดูเหมือน ไม่มีใครปฏิเสธว่าชีวิตนักบวชเป็นชีวิตที่ได้ รับ “แรงบันดาลใจ” มาจากพระวรสารนั่น เอง ทีส่ ดุ ธรรมประเพณีของพระศาสนจักร ก็ รั บ รู ้ ค วามมี อ ยู ่ ข องชี วิ ต นั ก บวชว่ า เป็ น “กระแสเรี ย กสู ่ ค วามศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ผ ่ า น ทางการปฏิบตั ติ ามค�ำแนะน�ำของพระวรสาร” (Evangelical Councils) ซึง่ ในเวลาต่อมา พระสังคายนาวาติกันที่ 2 ก็ได้ท�ำให้เกิด ความกระจ่างขึ้นอีก เมื่อมองกระแสเรียก ของคริ ส ตชนทุ ก คนว่ า เป็ น การมุ ่ ง หน้ า สู่ “ความศักดิ์สิทธิ์” ด้วยเหมือนกัน ด้วยการอุทิศตนอย่างทุ่มเทเพื่อท�ำให้ ค�ำแนะน�ำของพระวรสารเกิดขึ้นจริงในพระ ศาสนจักรนี้ ท�ำให้นักบวชมอบชีวิตทั้งหมด ของตนเพื่อจุดมุ่งหมายนี้ นักบวชจะถวาย ตัว (รับเจิม) เพือ่ จุดมุง่ หมายนี ้ และใช้ชวี ติ ทั้งหมดของตนที่มีอยู่เพื่อท�ำให้สิ่งนี้เกิดขึ้น จริงในชีวติ ของตน ความสนใจในตัวเอง ใน ทรัพย์สนิ ส่วนตัว ในครอบครัวและในอนาคต ค่อยๆ กลายเป็นสิง่ ทีม่ คี วามส�ำคัญรองลงมา และหมดความส�ำคัญไปในที่สุด ทั้งนี้ เป็น ผลมาจากการมองว่าพระเจ้าเท่านั้นที่เป็นสิ่ง ส�ำคัญสูงสุดส�ำหรับนักบวช ซึ่งต่อมา รูป แบบการด� ำ เนิ น ชี วิ ต เช่ น นี้ ก็ เ ป็ น ที่ รู ้ จั ก กั น ทั่วไปและได้รับการยอมรับในพระศาสนจักร
21
22
วารสารแสงธรรมปริทัศน์ ฉบับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2015/2558
โดยรูจ้ กั กันในชือ่ ทีเ่ รียกว่า “การปฏิญาณศีล บน” ซึ่งพบว่า ก่อนปีค.ศ.1202 ก็ได้มี การปฏิญาณศีลบนนีก้ นั แล้วในพระศาสนจักร ศีลบนนี้ได้รับการรับรองจากพระศาสนจักร และก็ได้กลายมาเป็นชือ่ เรียกเฉพาะส�ำหรับคน ที่ด�ำเนินชีวิตในรูปแบบเช่นนั้นด้วย ดังนัน้ ตามหลักฐานทางประวัตศิ าสตร์ ของพระศาสนจักร ชีวิตนักบวชจึงเป็นชีวิต ทีเ่ กิดขึน้ ในภายหลัง แต่กระนัน้ ก็ด ี เราก็พบ ด้วยว่า ในท่ามกลางบุคคลต่างๆ ทีเ่ ราเรียก กันว่า “นักบวช” นั้น ก็มีความแตกต่าง กันในแรงบันดาลใจและในประสบการณ์การ ด�ำเนินชีวิตด้วย 2. นักบวชกับงานอภิบาล ในตลอดทุกยุคทุกสมัยของช่วงเวลา ของประวั ติ ศ าสตร์ นั ก บวชมั ก จะพบกั บ ค�ำถามทีท่ ำ� ให้หนักใจอยูเ่ สมอ นัน่ คือค�ำถาม ทีว่ า่ “พวกเราท�ำงานอะไรในพระศาสนจักร?” และค�ำถามนี้ก็มีความเกี่ยวพันชนิดที่แยก ออกจากกันไม่ได้กับค�ำถามที่ว่า “พวกเรา เป็นใคร?” ด้ ว ยที่ ยั ง ไม่ ส ามารถหาค� ำ ตอบที่ แน่ น อนและชั ด เจนได้ ผสมผสานกั บ ปรากฏการณ์ของชีวติ นักบวชทีเ่ กิดขึน้ ในช่วง สมัยหลังๆ ท�ำให้สถานการณ์ความเข้าใจใน ชีวติ นักบวชยิง่ เลวร้ายหนักลงไปอีก นักบวช ชายจ�ำนวนมาก รวมถึงนักบวชที่เป็นพระ
สงฆ์ด้วย ต่างได้รับการอบรมโดยมุ่งเตรียม ตัวเป็น “พระสงฆ์ศาสนบริกร” มากกว่าจะ มุง่ อบรมให้มคี วามรูแ้ ละเติบโตในความเข้าใจ เกี่ยวกับกระแสเรียกการเป็นนักบวชของตน ยิ่งเมื่อได้รับการบวชเป็นพระสงฆ์แล้ว งาน อภิบาลสัตบุรุษก็ดูดกลืนเวลาและก�ำลังของ เขาไปจนหมดสิ้น ท�ำให้พวกเขาไม่มีเวลา พอที่จะเอาใจใส่ต่อชีวิตการเป็นนักบวชของ ตนและท� ำ ให้ พ วกเขาลื ม มิ ติ ชี วิ ต การเป็ น นักบวชของเขาไปในที่สุด แต่สถานการณ์ ของนักบวชหญิงกลับเป็นไปในอีกแบบหนึ่ง เพราะพวกเธอจะถู ก จ� ำ กั ด ให้ ใช้ ชี วิ ต ร� ำ พึ ง ภาวนาอยู่แต่ในรั้วของอารามและลดจ�ำนวน กิจกรรมภายนอกลงให้เหลือแค่งานบางอย่าง ทีเ่ จาะจงลงไป พวกเธอยังต้องใช้ชวี ติ ร่วมกัน กั บ สมาชิ ก จ� ำ นวนหนึ่ ง ในอารามอย่ า ง เคร่งครัด ตัดขาดการติดต่อกับโลกภายนอก โดยสิ้นเชิง นักบวชหญิงเหล่านี้จึงได้รับการ มองว่าเป็นเหมือนพวกที่อยู่ใน “อีกวรรณะ หนึง่ ” ทีแ่ ยกตัวออกมาอยูต่ า่ งหาก นักบวช หญิงจะมีพระสังฆราชหรือพระสงฆ์เป็นผู้น�ำ หรือเป็นประธานในการประชุมใหญ่และในการ สัมมนาเสมอๆ นีห่ มายความว่านักบวชหญิง เหล่านี้ยังมี “ผู้ชาย” เป็นผู้น�ำอยู่เสมอ ถ้า มองในด้ า นดี ก็ ถื อ ว่ า เป็ น การช่ ว ยเหลื อ นักบวชหญิงในการตัดสินใจด้านการอบรม การแพร่ธรรมและการบริหารจัดการเรื่องราว ต่างๆ แม้น่ีจะเป็นการปกป้องพวกเธอ แต่
นักบวช : การกลับสู่ค�ำแนะน�ำของพระวรสาร
ขณะเดียวกัน นักบวชหญิงก็ไม่ค่อยได้รับ การเอาใจใส่ในการเรื่องการแสวงหาความรู้ และการแสดงความคิดเห็นใดๆ เท่าไรนัก แต่ ต ่ อ มา ด้ ว ยเหตุ ที่ พ ระสงฆ์ ล ด จ� ำ นวนลง อั น มี เ หตุ ม าจากความเจริ ญ ก้าวหน้าของโลก การขาดการสนับสนุนและ เหตุปจั จัยอืน่ ๆ หลายอย่าง นักบวชหญิงซึง่ เคยถู ก ละเลย ถู ก มองข้ า มและถู ก จ� ำ กั ด ขอบเขตมาตลอด ก็ เริ่ ม ถู ก เรี ย กให้ เข้ า มี บทบาทช่วยเหลืองานอภิบาลของพระสงฆ์ มากขึ้น และดูเหมือนจะเป็นงานทุกอย่างที่ เป็นการ “ออกหน้า” เสียด้วย นี่เป็นผลดี ที่เกิดขึ้นแก่พระศาสนจักร แต่หากพิจารณา กันในอีกแง่มุมหนึ่งแล้ว สภาพการณ์เช่นนี้ กลับเป็นการท�ำลายและน�ำไปสู่ความขัดแย้ง ในชีวิตนักบวชหญิงมากกว่า จริงอยู่ว่า ใน หลายสิบปีที่ผ่านมา นักบวชหญิงได้เริ่มเปิด มิ ติ ใ หม่ ข องชี วิ ต การเป็ น นั ก บวชของตน เป็น “มิตทิ สี่ อง” ทีแ่ ตกต่างไปจากชีวติ เดิม ที่อยู่แต่ในอารามเหมือนในยุคก่อน นั่นคือ การออกมาท�ำงานอภิบาลมากขึน้ แต่นกี่ ก็ อ่ ให้เกิดความสับสนและความยุง่ ยากอย่างมาก ในชีวติ ของนักบวชหญิงเอง โดยเฉพาะอย่าง ยิ่ ง การจั ด สรรงานให้เข้ากับชีวิตการเป็น นักบวชของตน บางคนท�ำงานประจ�ำมากถึง 8-10 ชั่วโมงต่อวัน ก่อให้เกิดปัญหาและ ความยากล� ำ บากในการอุ ทิ ศ ตนเพื่ อ การ ภาวนาและร� ำ พึ ง แม้ แ ต่ เวลาส� ำ หรั บ ร่ ว ม
มิสซาประจ�ำวันก็เริม่ ลดน้อยลง จนถึงกับไม่ ร่วมทุกวัน นั่นคือ ชีวิตนักบวชแบบเดิมๆ ได้ค่อยๆ สูญหายไป โดยพืน้ ฐานของการดลใจดัง้ เดิมในการ เริ่มต้นของหมู่คณะนักบวช ทั้งนักบวชชาย และนั ก บวชหญิ ง ไม่ ไ ด้ ถู ก ผู ก มั ด กั บ งาน อภิบาลซึ่งเป็นธรรมชาติโดยพื้นฐานของพระ สงฆ์ศาสนบริกร นักบวชไม่ได้ถกู มัดกับการ ประกาศพระวาจาและการบริการศีลศักดิส์ ทิ ธิ์ และนักบวชไม่ได้ถูกผูกมัดกับการท�ำงานวัด และการสอนค�ำสอน แต่ตลอดประวัตศิ าสตร์ อันยาวนาน พวกเขาได้ท�ำทุกอย่างที่กล่าว มานี ้ และพวกเขาก็ไม่เคยถูกคัดค้านหรือถูก ท้วงติงใดๆ จากฝ่ายของพระศาสนจักรเลย ทีส่ ดุ เป็นพระสังคายนาวาติกนั ครัง้ ที่ 2 ได้ ใ ห้ ค วามกระจ่ า งชั ด ในเรื่ อ งนี้ ว่ า “ชี วิ ต นั ก บวชไม่ ไ ด้ เป็ นส่ ว นหนึ่ ง ของ โครงสร้ า งในพระฐานานุ ก รมของพระ ศาสนจั ก ร” หากถื อ ตามความหมายนี้ ก็ หมายความว่านักบวชเป็นผู้ที่อยู่ใกล้ชิดน้อย มากกั บ ต� ำ แหน่ ง ในโครงสร้ า งของพระ ศาสนจักร ซึ่งได้แก่ ฐานานุกรมและพระ สงฆ์ ผลตามมาคือ นักบวชเป็นผู้ที่มีชีวิต และความเป็นอยู่ใกล้ชิดกับฆราวาสมากกว่า นักบวชเป็นผู้ที่อยู่ใกล้ชิดกับผู้มีความเชื่อ ธรรมดาๆ ทั่วไปมากกว่า ซึ่งเป็นกลุ่มชน รากฐานของประชากรของพระเจ้า ด้วยเหตุ นี้ นักบวชส่วนใหญ่ ทั้งชายและหญิง โดย
23
24
วารสารแสงธรรมปริทัศน์ ฉบับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2015/2558
ธรรมชาติของกระแสเรียกเฉพาะของตน จึง ไม่ ไ ด้ ผู ก มั ด ตั ว กั บ การเป็ น พระสงฆ์ ศ าสน บริกร ไม่เพียงเท่านัน้ คณะนักบวชบางคณะ ยังถึงกับริเริม่ มิตใิ หม่ของกระแสเรียกทีไ่ ม่เน้น การเป็นพระสงฆ์ อย่างเช่นกรณีของคณะ ฟรังซิสกัน เป็นต้น ดังนี ้ เราจึงพูดได้อย่าง สบายใจว่า “ไม่มี” ทั้งในประวัติศาสตร์และ ในโครงสร้ า งของพระศาสนจั ก รที่ ร ะบุ ว ่ า กระแสเรี ย กนั ก บวชหรื อ กระแสเรี ย กการ ด�ำเนินชีวิตของนักบวช หมายถึง ความ จ�ำเป็นที่จะต้องมุ่งเพื่อท�ำงานอภิบาลในแบบ เดียวกับกระแสเรียกของพระสงฆ์และพระ สังฆราช แต่กระนั้นก็ดี ความพยายามศึกษา พระคัมภีร์เพื่อค้นหารากฐานการเริ่มต้นและ ที่มาของชีวิตนักบวช ก็ได้เปิดช่องทางใหม่ ในการหาความเข้าใจเกีย่ วกับกระแสเรียกของ ชีวติ นักบวชว่า มีรากฐานเดียวกับ “กระแส เรียกของคริสตชน” นัน้ เอง นัน่ คือ กระแส เรียกที่มาจาก “ศีลล้างบาป” ซึ่งตามความ หมายนี ้ กระแสเรียกนักบวชซึง่ แยกต่างหาก อย่างชัดเจนออกจากกระแสเรียกการเป็นพระ สังฆราชและพระสงฆ์ จึงไม่อาจแยกออกจาก กระแสเรียกของคริสตชนผู้มีความเชื่อทั่วไป ได้ คริสตชนผูม้ คี วามเชือ่ และนักบวช ไม่ ได้ ถู ก เรี ย กมาสู ่ ค วามศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ผ ่ า นทาง ประสบการณ์ การด�ำเนิน ชีวิตการเป็น สงฆ์
บริกรแบบพระสงฆ์ หรือผ่านทางสงฆ์บริกร ที่สมบูรณ์สูงสุดแบบพระสังฆราช โดยพลัง ของกระแสเรียกที่ได้รับผ่านทางศีลล้างบาป ผู ้ มี ค วามเชื่ อ และนั ก บวชเป็ น ผู ้ ที่ ถู ก เรี ย ก มา “เพื่อท�ำให้แผนการของพระวรสารเป็น จริงอย่างครบสมบูรณ์ที่สุด” (Evangelical Project) และในพระวรสารก็ไม่มีอะไรที่ระบุ ไว้อย่างเจาะจงและชัดเจนหรือสงวนไว้เพื่อ หมายถึงเฉพาะนักบวชเท่านัน้ (เหมือนอย่าง ที่เคยเรียกร้องกันในอดีตว่าข้อแนะน�ำของ พระวรสารเป็นเฉพาะของนักบวชเท่านั้น) เมื่ อ เป็ น เช่ น นี้ จึ ง เป็ น เรื่ อ งยากที่ เ ราจะ ก�ำหนด “เอกลักษณ์” เฉพาะของนักบวช เพราะโดยทางศีลล้างบาป ทั้งพระสังฆราช พระสงฆ์ นักบวชและผู้มีความเชื่อทุกคน ล้วนเป็นผูท้ ถี่ กู เรียกมาเพือ่ ท�ำให้แผนการของ พระวรสารเป็นจริงทั้งสิ้น ซึ่งก็คือ “การติด ตามพระคริสตเจ้า” (Sequela di Cristo) และการพยายามอย่างไม่ลดละทีจ่ ะท�ำให้พนั ธ กิจของพระองค์สำ� เร็จไปในท่ามกลางโลกเพือ่ ประโยชน์ของมนุษย์ทกุ คน เป็นพระสังฆราช และพระสงฆ์ที่เป็นผู้ที่ถูกหมายถึง ถูกกล่าว ถึ ง และถู ก ก� ำ หนดไว้ อ ย่ า งชั ด เจนด้ ว ย ถ้อยค�ำในพันธสัญญาใหม่ แต่สำ� หรับนักบวช ไม่มีถ้อยค�ำใดๆ ที่เจาะจงถึงเลย 3. การเปิดสู่คนรอบข้าง เป็นที่รับรู้กันทั่วไปว่า ชีวิตนักบวช
นักบวช : การกลับสู่ค�ำแนะน�ำของพระวรสาร
เป็นรูปแบบการด�ำเนินชีวิตที่เกิดขึ้นภายหลัง และได้ รั บ การยอมรั บ จากฝ่ า ยของพระ ศาสนจักรมาโดยตลอด โดยนักบวชได้ถือ ก�ำเนิดขึ้นในช่วงเวลาที่พระสังฆราช พระ สงฆ์และสัตบุรษุ ผูม้ คี วามเชือ่ ด�ำเนินชีวติ ออก ห่างจากความซื่อสัตย์ และออกห่างจากการ เอาจริงเอาจังในการถือตามข้อแนะน�ำของ พระวรสาร ดังนัน้ จึงเกิดกลุม่ ชายและหญิง จ�ำนวนหนึง่ ภายใต้แรงผลักดัน แรงบันดาล ใจ หรือการดลใจของพระจิตเจ้า ให้อุทิศ ตัวเอง ไม่ใช่ด้วยค�ำพูดหรือวาจา แต่ด้วย “การด�ำเนินชีวิต” ของตน เพื่อยืนยันถึง สถานภาพดัง้ เดิมของพระศาสนจักร ด�ำเนิน ชีวิตเหมือนเป็นการ “เตือนความจ�ำ” ให้ พระศาสนจักรและเรียกร้องพระศาสนจักร ให้ ก ลั บ มาสู ่ ก ระแสเรี ย กดั้ ง เดิ ม ของตน คือ “การติดตามพระคริสตเจ้า” นักบวช เหล่านี้มุ่งมั่นด�ำเนินชีวิตตามเจตนารมณ์ของ พระวรสาร (ตามความเข้าใจที่ได้รับจากการ ร�ำพึงพระวรสาร) อย่างเคร่งครัด โดยให้ ความส�ำคัญอันดับแรกทีพ่ ระเจ้า คือ ด�ำเนิน ชีวิต “เพื่อพระเจ้า” เป็นพระเจ้าที่ทรงเปิด เผยพระองค์เอง ผ่านทางพระเยซูคริสตเจ้า ด้วยความปรารถนาอย่างจริงจังทีจ่ ะน�ำ แบบอย่างที่ได้จากพระวรสารมาสู่การปฏิบัติ จริ ง ในชี วิ ต บรรดานัก บวชเหล่านั้น จึงได้ อุทิศและทุ่มเทตนทั้งหมดเพื่อพระเจ้า ส่วน การอุทศิ ตนเพือ่ ผูอ้ นื่ หรือเพือ่ นพีน่ อ้ งรอบข้าง
เพราะความรักทีม่ ตี อ่ พระเจ้านัน้ เป็นสิง่ รองลง มา ดังนั้น ในหมู่นักบวชนับแต่สมัยเริ่มต้น นี้ พวกเขาจึงไม่ได้จัดสรรตัวเองหรือสลวน อะไรเกี่ ย วกั บ การท� ำ งานอภิ บ าลในพระ ศาสนจักรซึ่งถือเป็นหน้าที่โดยตรงของพระ สงฆ์ เ ลย แต่ ส่ิ ง ที่ พ วกนั ก บวชมุ ่ ง แสวงหา อย่ า งพากเพี ย รคื อ การด� ำ เนิ น ชี วิ ต ตามค� ำ แนะน�ำของพระวรสาร และได้ด�ำเนินชีวิต เช่นนั้นอย่างจริงจังและเคร่งครัดที่สุดด้วย จากประวั ติ ศ าสตร์ ข องชี วิ ต นั ก บวช เราจึงพบความสนใจหลักของพวกนักบวชว่า เป็นความสนใจที่มุ่งเน้นที่ “ตัวเอง” เน้นที่ ธรรมชาติของแต่ละคน และเน้นทีค่ วามรอด ของแต่ละคน นี่เป็นรูปแบบที่อาจเรียกว่า เป็ น “ปั จ เจกนิ ย ม” (Individualism) ก็ว่าได้ แต่ลักษณะชีวิตจิตเช่นนี้ก็มีอิทธิพล แพร่หลายทั่วไปเป็นเวลาหลายศตวรรษใน ธรรมประเพณีของพระศาสนจักรและยังคงมี หลงเหลือมาจนถึงทุกวันนี้ด้วย แต่ทีละเล็ก ทีละน้อย พวกนักบวชก็สามารถผ่านชีวติ จิต แบบปัจเจกนิยมนีม้ าสู ่ “การเปิดตัวสูเ่ พือ่ นพี่ น้องรอบข้าง” ได้ในที่สุด พระศาสนจั ก รสากล โดยมี พ ระ สั ง ฆราชและพระสงฆ์ เ ป็ น ตั ว แทน ได้ ตระหนักรู้ตั้งแต่เริ่มต้นแล้วถึงการด�ำรงอยู่ ของพวกนักบวชเหล่านี้ และตลอดเวลาที่ ผ่านมา พวกเขาก็ค่อยๆ ยอมรับรูปแบบ การด� ำ เนิ น ชี วิ ต เช่ น นี้ ทั้ ง คอยให้ ก� ำ ลั ง ใจ
25
26
วารสารแสงธรรมปริทัศน์ ฉบับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2015/2558
นักบวชบางคน บางคณะ และรับรองการ ด�ำรงอยู่ของพวกเขา โดยแรกๆ ก็ท�ำแบบ เป็นนัยๆ และด้วยความระมัดระวัง แต่ต่อ มาก็ ย อมรั บ รู ป แบบการด� ำ เนิ น ชี วิ ต ของ นักบวชอย่างเปิดเผยและเป็นทางการ การยอมรับรูปแบบการด�ำเนินชีวติ ของ นักบวชอย่างเป็นทางการของพระศาสนจักร นี้ ถื อ เ ป ็ น สิ่ ง ที่ “ ส� ำ คั ญ ที่ สุ ด ” ใ น ประวัติศาสตร์ของชีวิตนักบวช ท่านนักบุญ ผู้ตั้งคณะ รวมถึงคนที่เป็นพวกนอกรีตด้วย เป็นบุคคลทีม่ ญ ี าณหยัง่ รูถ้ งึ สิง่ ทีข่ าดไปในพระ ศาสนจักร หยั่งรู้ถึงข้อจ�ำกัดในการติดตาม พระคริสตเจ้าของพระศาสนจักร หยัง่ รูถ้ งึ การ ทรยศและความหน้าไหว้หลังหลอกของพระ ศาสนจักร และหยั่งรู้ถึงความอ่อนแอในการ ติดใจกับประโยชน์สว่ นตัวมากกว่าพระวรสาร ของพระศาสนจักร แต่พวกนอกรีตได้เลือก ทุ่มเทต่อสู้เพื่อเอาชนะข้อจ�ำกัดต่างๆ เหล่า นัน้ โดยแยกตัวออกมาจากความขัดแย้งทีม่ ใี น พระศาสนจั ก รและต่ อ สู ้ เ พื่ อ การแก้ ไขหรื อ ปฏิรูปขึ้นใหม่ ซึ่งในการท�ำเช่นนั้น เขาจึง ต้องถึงกับถูกตัดขาดออกจากหมู่คณะของ พระศาสนจักร แต่บรรดานักบุญผู้ตั้งคณะ นักบวชทั้งหลายนั้นตรงกันข้าม พวกเขา ส่วนใหญ่ยังคงยึดมั่นอยู่กับหมู่คณะของพระ ศาสนจักร โดยค่อยๆ สร้างการเติบโตขึ้น จากภายในพระศาสนจักร สิ่งที่บรรดาผู้ตั้ง คณะนักบวชให้ความส�ำคัญและยึดถือไว้อย่าง
ซื่ อ สั ต ย์ ยิ่ ง ก็ คื อ “ความซื่ อ สั ต ย์ ต ่ อ พระ ศาสนจักร” ดังนั้น การเติบโตใดๆ ก็ตาม ของคณะนักบวชจึงต้องเป็นการเติบโตของ พระศาสนจักรทั้งครบ แม้ในการท�ำเช่นนั้น จะต้องถึงกับแลกด้วยชีวิตตนเองก็ตาม 4. เอกลักษณ์การท�ำงานของนักบวชใน พระศาสนจักร จากทีไ่ ด้พดู ถึงในตอนต้นว่า นักบวช ในสมัยแรกๆ จะเน้นการด�ำเนินชีวิตในโลก กับพระเจ้าและเพื่อพระเจ้าเท่านั้น โดยมีจุด มุ่งหมายเพื่อความรอดของตัวเอง นี่ท�ำให้ เกิดการปฏิรูปชีวิตทางศาสนาในสมัยกลาง (ราว ศ.ต. 13) โดยได้หันมาเน้น “การ ด�ำเนินชีวิตเพื่อผู้อื่น” มากขึ้น โดยเฉพาะ คนยากจนและผู้ถูกทอดทิ้ง เพื่อตอบสนอง พระวาจาของพระเจ้าที่เรียกร้องว่า “เมื่อเรา หิว ท่านให้เรากิน เราเจ็บป่วย ท่านก็มา เยี่ยม ... ท่านท�ำสิ่งใดต่อพี่น้องผู้ต�่ำต้อย ที่สุดของเราคนหนึ่ง ท่านก็ท�ำสิ่งนั้นต่อเรา” (มธ 25:31-46) โดยพระจิตเจ้าได้ทรงน�ำ บรรดาผู้ตั้งคณะนักบวชต่างๆ ให้ตั้งคณะ นักบวชและคณะธรรมทูต “เพื่ออุทิศตนรับ ใช้เพื่อนมนุษย์” ผ่านทางพันธกิจต่างๆ ที่ แตกต่างกันไปในแต่ละคณะ นี่จึงเป็นที่มา ของพันธกิจของการประกาศพระวาจาของ พระเจ้าเพื่อช่วยผู้อื่นให้ได้รับความรอดด้วย และยิ่งเมื่อรูปแบบการด�ำเนินชีวิตเช่นนี้ได้รับ
นักบวช : การกลับสู่ค�ำแนะน�ำของพระวรสาร
การยอมรั บ และได้ รั บ การรั บ รองจากพระ ศาสนจักร กระแสเรียกการเป็นนักบวชจึง กลายเป็นหนึ่งใน “กระแสเรียกของการเป็น ผู้เผยแผ่ธรรม” ด้วย แต่ อ ย่ า งไรก็ ต าม กระแสเรี ย กของ นักบวชก็ไม่ใช่มีจุดหมายปลายทางหรือมีเป้า หมายมุง่ สูค่ วามศักดิส์ ทิ ธิใ์ นแบบทีเ่ หมือนกัน หรือในแบบเดียวกับคริสตชนทั่วๆ ไป แต่ นักบวชมีเป้าหมายเฉพาะของตน และถือเป้า หมายนี้ เ ป็ น เหมื อ นเป้ า หมายแรกของการ ด� ำ เนิ น ชี วิ ต นั ก บวชของตนด้ ว ย นั่ น คื อ “การมีชีวิตปฏิญาณตนอย่างเปิดเผยต่อหน้า สาธารณชนว่า ปรารถนาจะด�ำเนินชีวิตตาม ค�ำแนะน�ำของพระวรสารร่วมกันเป็นหมู่คณะ ในแบบที่จริงจังและถึงรากถึงโคน” และมี เพียงการด�ำเนินชีวติ เช่นนีเ้ ท่านัน้ ทีจ่ ะแสดงให้ เห็นถึง “เอกลักษณ์” ของนักบวชที่แยก ออกจากบริบทของกระแสเรียกอื่นๆ ที่มีอยู่ ในพระศาสนจักร อย่างไรก็ตาม เป็นที่ชัดเจนว่า ชีวิต นักบวชไม่อาจถูกจ�ำแนกแยกแยะออกได้หรือ ถูกมองออกได้จากการปฏิบัติของพวกเขา จากรูปแบบวิธีการที่พวกเขาท�ำ หรือจาก บุคลิกลักษณะการกระท�ำของพวกเขา แต่เรา แยกออกได้โดยดูจาก “ลักษณะการด�ำรงอยู่ ของพวกเขา ที่ด�ำรงอยู่ร่วมกันเป็นหมู่คณะ เพือ่ เป็นพยานยืนยันถึงพระเจ้าอย่างเปิดเผย” เมือ่ เป็นเช่นนี ้ รูปแบบหนึง่ ทีช่ ดั เจนของชีวติ
นักบวชทีเ่ กิดตามมาคือ “การเปิดตัวท�ำงาน ในทุกรูปแบบ” กับนักบวชคนอื่นๆ ทั้งใน พระศาสนจักรและทั่วไปในโลก โดยยังคง รักษาคุณลักษณะพืน้ ฐานของการด�ำเนินชีวติ แบบนักบวชของตนไว้อย่างเหนียวแน่น คือ การติดตามพระคริสตเจ้าอย่างใกล้ชดิ และการ อุทิศตนทั้งครบเพื่อโครงการของพระวรสาร ด้วยเหตุนี้ ดังที่เราเห็นได้ในประวัติศาสตร์ มีคณะนักบวชต่างๆ เกิดขึน้ มากมายในพระ ศาสนจักร และแต่ละคณะก็มีคุณลักษณะ เฉพาะและกิจการงานทีแ่ ตกต่างกันไปเหมือน กิ่งก้านที่แตกต่างกัน แต่ก็แตกออกมาจาก ล�ำต้นเดียวกัน บรรดานักบุญผู้ตั้งคณะนักบวชต่างๆ โดยเฉพาะผู้ท่ีด�ำเนินชีวิตอย่างเข้มงวดตาม ข้อเรียกร้องของพระวรสาร ยังได้ชักน�ำคน อื่นๆ ให้มาด�ำเนินชีวิตในแบบเดียวกับตน พวกเขาสามารถผ่านชีวติ การอยูอ่ ย่างสันโดษ (ฤษี) มาสู่มิติใหม่ของ “การอยู่ร่วมกันเป็น หมู่คณะ” (Community) โดยได้รับแรง บันดาลใจภายใต้จิตตารมณ์เดียวกัน และ ด�ำเนินชีวติ มุง่ หน้าไปสูเ่ ป้าหมายเดียวกัน แต่ ด้วยความแตกต่างและความหลากหลายกัน ทั้งในความคิด ในความเข้าใจเรื่องหมู่คณะ เรื่องความหมายของการเป็นสมาชิกในพระ ศาสนจักร ความหมายของการเป็นหมู่คณะ พิเศษและมีความครบครันมากกว่าด้วยการ ปฏิญาณตัวอย่างเปิดเผย ฯลฯ นี่จึงก่อให้
27
28
วารสารแสงธรรมปริทัศน์ ฉบับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2015/2558
เกิ ด นั ก บวชคณะต่ า งๆ ที่ มี รู ป แบบการ ด�ำเนินชีวติ และเอกลักษณ์ทแี่ ตกต่างกันไปใน พระศาสนจักร อย่างไรก็ตาม บรรดาผู้ตั้งคณะและ ผูส้ บื ทอดต�ำแหน่งต่อมาต่างก็มองเห็น (หยัง่ รู ้ ) ล่ ว งหน้ า ถึ ง ความเป็ น ไปไม่ ไ ด้ ที่ ชี วิ ต นักบวชของตนจะด�ำรงอยูแ่ ละสามารถด�ำเนิน การต่อไปได้โดยอาศัยแรงผลักดันจากพระจิต เจ้าแต่เพียงอย่างเดียวโดยไม่มีโครงสร้างพื้น ฐานตามแบบมนุ ษ ย์ ร องรั บ ดั ง นั้ น พวก ท่ า นเหล่ า นั้ น จึ ง ได้ เริ่ ม วางโครงสร้ า งแบบ มนุษย์ให้กับชีวิตนักบวชของตน เช่น การ จ�ำกัดเรื่องระยะเวลาในการท�ำงาน และการ สลับสับเปลี่ยนบุคลากรกันระหว่างหมู่คณะ เป็นต้น แต่ปญ ั หาของคณะนักบวช คือการ มี ค วามพยายามที่ จ ะท� ำ ให้ โ ครงการหรื อ แผนการของชีวิตนักบวชได้เป็นจริงอย่าง สมบูรณ์ทสี่ ดุ และมีความต้องการให้แผนการ นี้ด�ำรงอยู่ตลอดไปโดยไม่มีการไปแตะต้อง หรือเปลีย่ นแปลง เป็นต้นในช่วงเวลาทีโ่ ลกมี การเปลี่ยนแปลงอย่างรวดอย่างในช่วงหลาย ศตวรรษทีผ่ า่ นมา และโดยเฉพาะอย่างยิง่ ใน ยุคสมัยของเรานี ้ โดยหลงลืมไปว่า สิง่ ต่างๆ เหล่ า นั้ น ไม่ อ าจท� ำ ให้ ส มบู ร ณ์ ทุ ก อย่ า งได้ นอกจากใช้เพื่อเป็นเครื่องมือและเครื่องช่วย เหลือเท่านั้น แต่การก�ำหนดให้มีโครงสร้างและกฎ เกณฑ์ปฏิบัติในชีวิตของนักบวชก็ได้ท�ำให้ การรับรูแ้ ละความส�ำนึกในบทบาทการน�ำทาง
ของพระจิตเจ้าซึ่งเคยยึดถือเป็นเรื่องหลักใน อดีตนัน้ ค่อยๆ ลดน้อยลงไปด้วย กล่าวคือ แทนที่กฎเกณฑ์จะเป็นเครื่องมือช่วย แต่ กลายเป็นว่า กฎเกณฑ์ต่างๆ เหล่านั้นเป็น สิ่งที่ท�ำให้เสรีภาพในการริเริ่มสร้างสรรค์ของ พระจิตเจ้าถูกจ�ำกัดและสิ้นสุดไป กฎเกณฑ์ จึงกลายเป็นเพียงหลักประกันของจิตตารมณ์ ที่ว่างเปล่าและแห้งแล้ง นั บ จากปี ค.ศ.1202 เป็ น ต้ น มา คณะนักบวชได้เริม่ มีการถือปฏิบตั ิ “ศีลบน” แห่งการถวายตัวแด่พระเจ้า ผ่านทางการ ปฏิญาณตัวถือศีลบน 3 ประการ คือความ บริสุทธิ์ ความยากจนและความนบนอบ และยังคงถือปฏิบตั สิ บื ต่อกันเรือ่ ยมาจนถึงทุก วันนี ้ การพัฒนาและการเติบโตก้าวหน้าของ ชีวติ นักบวชคณะต่างๆ ทีแ่ บ่งแยกสาขาออก ไปมากมายจนนับไม่ถว้ น ท�ำให้นกั บวชมอง เห็นถึงความจ�ำเป็นอย่างมากทีจ่ ะท�ำให้ศลี บน ดังกล่าวเป็นกฎเกณฑ์ทไี่ ด้รบั การรับรองอย่าง เป็นทางการ นี่ท�ำให้เห็นภาพของการเดิน ทางของชีวิตฝ่ายจิตของนักบวช กล่าวคือ ในด้านหนึ่ง เป็นความรู้สึกถึงความจ�ำเป็น อย่างมากที่จะระบุรายละเอียดและให้ความ หมายที่ชัดเจนของศีลบนนักบวช แต่ในอีก ด้านหนึ่ง ความพยายามเช่นนี้กลับเป็นการ ก�ำหนดขอบเขตของผู้ให้ก�ำเนิดชีวิตนักบวช โดยให้ขึ้นอยู่กับการจัดการของคนธรรมดา สามัญที่อ่อนแอและเปราะบางเท่านั้น
นักบวช : การกลับสู่ค�ำแนะน�ำของพระวรสาร
5. บทสรุ ป : กลั บ สู ่ ค� ำ แนะน� ำ ของพระ วรสาร เมื่ อ ศี ล บนนั ก บวชได้ รั บ การรั บ รอง อย่างเป็นทางการในพระศาสนจักร ก็เกิดมิติ หนึ่งของสถานการณ์ที่ไม่อาจหลีกเลี่ยงได้ คือ ในด้านหนึ่งการเกิดความรู้สึกถึงความ จ�ำเป็นอย่างยิ่งที่สถาบันนักบวชจะแสดงออก ถึ ง สิ ท ธิ ข องพวกตน ซึ่ ง นี่ ก็ เ ป็ น เหมื อ นๆ กับสถาบันอื่นๆ ทางสังคมทั่วไป แต่ในอีก ด้ า นหนึ่ ง นั ก บวชก็ ไ ด้ พ บเห็ น และมี ประสบการณ์ถึงความล่อแหลมอันตรายใน ความพยายามที่จะระบุหรือก�ำหนดรูปแบบ ชีวิตอย่างเป็นทางการและถาวรตลอดไปใน ท่ า มกลางความหลากหลาย ความเจริ ญ ก้าวหน้า และการเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็วของ ชีวิต ทั้งในโลกและในพระศาสนจักร มีการ เรียกร้องนักบวชให้มีรากฐานและมาตรการที่ ลึกซึง้ ในการด�ำเนินชีวติ แต่ขณะเดียวกัน ก็ ต้องเป็นในแบบที่เข้ากันได้และสามารถปรับ ประยุ ก ต์ ใ ห้ เ ข้ า กั บ สิ่ ง รอบข้ า งที่ มี ก าร เปลีย่ นแปลงอย่างรวดเร็วและไม่เคยหยุดยัง้ ได้ นีห่ มายความว่า นักบวชต้องอาศัย “ค�ำแนะน�ำ” และ “บรรทัดฐาน” ในการประยุกต์ศีลบน นักบวชและชีวติ นักบวชให้เข้ากับโลกทีม่ กี าร เปลี่ ย นแปลงตลอดเวลาด้ ว ย ซึ่ ง มี เ พี ย ง “การหันกลับ” มายังพระวรสารใหม่อีกครั้ง กลั บ มาพิ จ ารณาข้ อ ความที่ ร ะบุ ไว้ ใ นพระ วรสารใหม่ และกลับมาพิจารณาแบบอย่าง
การด�ำเนินชีวติ ทีพ่ บในพระวรสารใหม่เท่านัน้ ถึงจะท�ำให้นกั บวชพบความเป็นจริงทีส่ ามารถ เป็นองค์ประกอบส�ำคัญและขาดไม่ได้ในการ วางแผนการอนาคตชีวิตนักบวชของตนได้ การพิจารณาเรือ่ งศีลบนนักบวช ทัง้ ใน การอบรมและในการด�ำเนินชีวติ ทีผ่ า่ นมา ได้ ให้น�้ำหนักกับมิติของการท�ำให้ถูกต้องตาม กฎหมายมากเกิ น ไปจนขาดความสมดุ ล กล่าวคือ มีทฤษฎีต่างๆ ออกมามากมาย เพือ่ ยืนยันเรือ่ งศีลบนนักบวชว่าเป็นสิง่ มีความ หมายถูกต้องในตัวของมันอยู่แล้ว ในช่วงปี หลังๆ นี้ยังได้มีการเผยแพร่กฎเกณฑ์ต่างๆ ที่ได้จัดท�ำขึ้นมาเพื่อแสดงถึงข้อผูกมัดของ ชีวิตที่จะต้องปฏิบัติต่อพระเจ้าและต่อเพื่อน พีน่ อ้ ง ทัง้ ในระดับส่วนตัวและการปฏิบตั ริ ว่ ม กันในหมู่คณะนักบวช โดยไม่ได้หันกลับไป มองและกลับไปพิจารณาถึงศีลบนที่รู้จักกันดี 3 ประการของความบริสุทธิ์ ความยากจน และความนบนอบ ในแบบเดิมเลย ดังนั้น จึงมีเพียงการกลับไปยังพระ วรสารและหาความหมายของค�ำแนะน�ำตามที่ ได้กล่าวถึงไว้ในพระวรสารใหม่เท่านัน้ ถึงจะ ท�ำให้นักบวชสามารถประยุกต์ศีลบนนักบวช และชี วิ ต นั ก บวชให้ เ ข้ า กั บ โลกที่ มี ก าร เปลี่ ย นแปลงอยู ่ ต ลอดเวลาได้ และยั ง จะ สามารถวางโครงการชีวิตแห่งการเป็นคณะ นักบวชของตนต่อไปได้ด้วย
29
30
วารสารแสงธรรมปริทัศน์ ฉบับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2015/2558
John Paul II, Pope. Post-Synodal Apostolic Exhortation on the Conse crated Life and its Mission in the Church and in the World n.p. : Vita consacrata, 1996. Hereford, Amy. Religious Life at the Crossroads: A School for Mystics and Prophets. Maryknoll, New York : Orbis Books, 2013.
ในฐานะนักบวชเยสุอิต
พีรพัฒน์ ถวิลรัตน์
“เพราะความรักของพระคริสตเจ้า ผลักดันเรา” (2 คร 5:14)
[ หมวดทั่วไป ]
แลส์เช็นสกี้ : ชีวิตที่อุทิศ แด่พระเจ้า
เมื่ อ วั น ที่ 11 เมษายนที่ ผ ่ า นมา สมเด็จพระสันตะปาปาฟรังซิส ทรงต้อนรับ บรรดานั ก บวชชายหญิ ง ที่ ท� ำ หน้ า ที่ เ ป็ น ผู้ให้การอบรมมากกว่า 1,300 คน ซึ่งมา เข้าเฝ้าในหอประชุมเปาโล ที่ 6 นครรัฐ วาติกัน โอกาสนี้ พระสันตะปาปาตรัสให้ ข้อคิดกับพวกเขาว่า “พี่น้องนักบวชซึ่งเป็น ผู ้ ใ ห้ ก ารอบรมสั่ ง สอน พวกท่ า นได้ รั บ กระแสเรียกให้ถ่ายทอดความงดงามของ
นักจิตวิทยาการปรึกษา, รองผู้อ�ำนวยการศูนย์ส่งเสริมและพัฒนางานวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม, อาจารย์พิเศษด้าน จิตวิทยาในสถาบันอุดมศึกษา, วิทยากรฝึกอบรมและบรรยายด้าน Counseling Psychology, Family Counseling, Balance of Life, Congruent Communication และ Self-empowerment
32
วารสารแสงธรรมปริทัศน์ ฉบับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2015/2558
ชี วิ ต นั ก บวชผ่ า นทางการเป็ น ประจั ก ษ์ พยานถึงพระคริสตเจ้านี่คืองานอภิบาลของ พวกท่าน นี่คือพันธกิจของพวกท่าน” กระแสเรียกแห่งการเป็นนักบวช ที่ ต้องเป็นประจักษ์พยานถึงพระคริสตเจ้า จน ทุกคนทีพ่ บเห็นสามารถสัมผัสถึงความงดงาม ของชีวิตนักบวช คงไม่ใช่เรื่องง่ายจนเกินไป นัก ถึงกระนั้น สิ่งนี้ก็เป็นพระพร ที่ผสม ผสานกับความตั้งใจมุ่งมั่นอย่างแท้จริงของ บรรดานักบวชชายหญิง ที่จะยึดมั่นในค�ำ สัญญาที่ได้ให้ไว้ในโอกาสปฏิญาณตน เพื่อ อุทิศตนแด่พระเจ้าในฐานะนักบวช อย่างไรก็ดี ดูเหมือนว่า มีนักบวช ท่านหนึ่งด�ำเนินชีวิตเรียบง่าย สวดภาวนา อุทศิ ตนรับใช้พระเจ้าด้วยการท�ำหน้าทีข่ องตน อย่างดีตลอดระยะเวลา 73 ปี แห่งการเป็น นั ก บวช วิ ถี ชี วิ ต ของท่ า นท� ำ ให้ บุ ค คลที่
พบเห็ น ประทั บ ใจ และสั ม ผั ส ได้ ถึ ง ความ แตกต่างกับบุคคลโดยทั่วไปในมุมมอง วิธี คิดและแนวทางการด�ำเนินชีวติ นักบวชท่าน นี้ คื อ คุ ณ พ่ อ ซิ ก มู น ด์ แลส์ เ ช็ น สกี้ บาทหลวงในคณะแห่ ง พระเยซู เจ้ า (The Society of Jesus) หรือที่เรียกขานกัน โดยทั่วไปว่า “คณะเยสุอิต” 1. ประวัติครอบครัว คุ ณ พ่ อ ซิ ก มู น ด์ แลส์ เช็ น สกี้ หรื อ ที่ ห ลายคนเรี ย กท่ า นว่ า คุ ณ พ่ อ กี้ หรื อ พ ่ อ กี้ เ กิ ด เ มื่ อ วั น พ ฤ หั ส บ ดี ที่ 3 1 กรกฎาคม ค.ศ.1924 (พ.ศ. 2467) ที่ เมืองฟิลาเดลเฟีย (Philadelphia) เมือง หลวงแห่ ง แรกของประเทศสหรั ฐ อเมริ ก า และเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดในรัฐเพนซิลเวเนีย มี พ ลเมื อ งหนาแน่ น เป็ น อั น ดั บ 6 ของ ประเทศ รั บ ศี ล ล้ า งบาปหลั ง เกิ ด 2 วั น บิดาเป็นสถาปนิก มารดาเป็นแม่บ้าน คุณ พ่อเป็นบุตรชายคนโต มีน้องอีก 3 คน เป็นผู้หญิง 2 คนและคนสุดท้องเป็นผู้ชาย น้องสาวคนที่ 2 ต่อมาได้เป็นซิสเตอร์ใน คณะ Sister of Notre Dame (SND) น้องสาวคนทีส่ ามเสียชีวติ หลังเกิดไม่นานและ ได้ไปคอยเราในสวรรค์แล้ว 2. เข้าคณะเยสุอิต ขณะที่ เรี ย นในระดั บ มั ธ ยมปลายใน โรงเรียนของคณะเยสุอิต ช่วงปีสุดท้ายคุณ พ่อที่ปรึกษาฝ่ายจิตวิญญาณ (Spiritual
แลส์เช็นสกี้ : ชีวิตที่อุทิศแด่พระเป็นเจ้าในฐานะนักบวชเยสุอิต
father) ได้ ใ ห้ คุ ณ พ่ อ กี้ ถ ามตั ว เองว่ า พระเจ้าทรงเรียกหรือเปล่า ซึ่งท่านได้ถาม ตนเอง ใช้เวลานานและคิดว่า พระเจ้าไม่ได้ เรียก หลังจากนั้นได้เข้าเงียบ 3 วัน คุณ พ่อที่น�ำเข้าเงียบได้เทศน์เกี่ยวกับเรื่องกระแส เรียก แต่พระเจ้าก็ยงั คงเงียบ ไม่มเี สียงเรียก ใดๆ ซึ่งท่านก็ดีใจ แสดงว่า ไม่มีกระแส เรียก ต่อมาทางคณะได้พาไปเยีย่ มนวกสถาน เพือ่ ดูชวี ติ ของนวกชนว่าเป็นอย่างไร ซึง่ บาง คนท่านรู้จักด้วย เพราะเคยเรียนที่โรงเรียน เดียวกัน ตอนนัน้ รูส้ กึ สนุก รูส้ กึ ดี กลับมา แล้วรู้สึกว่า ไม่มีกระแสเรียก เวลานั้นจึงเริ่ม มองหางานท�ำเพื่อเก็บเงินส�ำหรับการศึกษา ต่ อ ในระดั บ มหาวิ ท ยาลั ย ด้ า นวิ ศ วกรรม การบิน (Aeronautical Engineering) โดยมี คุ ณ แม่ ข องเพื่ อ นคนหนึ่ ง ซึ่ ง เป็ น เจ้าหน้าที่ของรัฐบาลในเมืองฟิลาเดลเฟียได้
33
ช่วยหางานให้ ท�ำให้คุณพ่อได้ท�ำงานเกี่ยว กับผู้อพยพ วันหนึ่ง เพื่อนที่มาจากห้องเดียวกัน บอกคุณพ่อว่า ครอบครัวของเพื่อนผู้หญิง คนหนึ่งในชมรมโต้วาทีอยากเลี้ยงพวกเราที่ บ้ า นของเขา หลั ง จากที่ ท� ำ งานเสร็ จ แล้ ว เพื่อนคนนั้นได้ขับรถพาคุณพ่อไปงานเลี้ยง โดยในระหว่างทางเพือ่ นถามว่า “ทราบมัย้ ว่า จะมีเพือ่ นร่วมห้องของเราจะไปเป็น เยสุอติ ” เมื่อได้ยินท่านตกใจ เพราะดูเหมือนว่า ใน ห้องเรียนของท่านไม่มีใครมีกระแสเรียกที่จะ ไปเข้าคณะเยสุอิตเพื่อนยังกล่าวต่อไปอีกว่า อันที่จริง มีอีกคนที่จะเข้าคณะเยสุอิต และ ยังมีอกี คนเป็นคนทีส่ ามทีจ่ ะเข้าคณะด้วยเช่น กัน และยังมีอีกคนเป็นคนที่สี่ และเมื่อถึง บ้านทีจ่ ดั งานเลีย้ ง เขาก็บอกคุณพ่อว่า “เขา ก็จะไปเข้าคณะเยสุอติ ด้วยเช่นกัน” ...ว้าว!!! หลั ง จากเสร็ จ งานเลี้ ย งที่ ส นุ ก และ ด�ำเนินไปด้วยดี คุณพ่อกี้ได้เดินทางกลับ พร้อมเพือ่ น เมือ่ ถึงบ้าน ขณะก�ำลังจะนอน หลับเหมือนมีเสียงหนึง่ บอกว่า “ท�ำไมเธอไม่ ไปด้วยกันกับเขา” ซึ่งท่านคิดว่า เหตุผลที่ จะไปเข้าคณะเพราะมีเพื่อนไปเข้านั้น ใช้ไม่ ได้ จึงนอนหลับโดยไม่คิดอะไรต่อ แต่หลัง จากนั้ น ตลอดสั ป ดาห์ ทุ ก วั น ก่ อ นจะนอน เสียงนี้จะกลับมาตลอดว่า ท�ำไมเธอไม่ไป ด้วยกันกับเพือ่ นๆ ตอนนัน้ คุณพ่อจึงเริม่ คิด ว่า อาจจะมีอะไรเกี่ยวกับกระแสเรียกของ พระเจ้า ที่ยังไม่เข้าใจ และอาจจะมีกระแส
34
วารสารแสงธรรมปริทัศน์ ฉบับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2015/2558
เรียกก็เป็นไปได้ จึงเริม่ สวดภาวนา และทีส่ ดุ ได้ไปเข้าเงียบ ภายหลังการเข้าเงียบท่านจึง ตัดสินใจเข้าคณะเยสุอิตในขณะนั้นคุณพ่อกี้ อายุ 18 ปี (ค.ศ.1942) และเสียงที่คอย ถามท่านในตอนกลางคืนก็หายไป ไม่มมี าอีก คุ ณ พ่ อ กี้ จึ ง กลายเป็ น คนที่ 6 ในกลุ ่ ม เพือ่ นๆ รุน่ เดียวกันทีเ่ ข้าคณะเยสุอติ ตัง้ แต่ วันที่ไปสมัครและเข้าคณะเยสุอิตแล้ว ท่าน บอกว่า “พ่อมีความสงบสุขยิ่งวันยิ่งมาก
ขึ้นนับจากวันที่สมัครเข้าคณะจนถึงวันนี้ เป็นเวลา 73 ปีแล้ว” 3. ก้าวหน้าในกระแสเรียกสู่การปฏิญาณ ตนตลอดชีพและเป็นพระสงฆ์ หลังจากเข้าฝึกอบรมตนในบ้านนวก สถานเป็นเวลา 2 ปี อาศัยการด�ำเนินชีวิต เช่ น เดี ย วกั บ การเป็ น นั ก บวช.... ภาวนา ท�ำงาน ศึกษาเล่าเรียนคุณพ่อกี้จ�ำได้ว่าเวลา นั้นไม่มีปัญหาอะไร แม้จะมีผู้หญิงคนหนึ่ง ที่คุณพ่อชอบมาก แต่ท่านสามารถถวายเขา กับพระเจ้า คุณพ่อจึงตัดสินใจปฏิญาณตน ตลอดชีพ ขณะนั้นอายุ 20 ปี จากนัน้ มีการฝึกอบรมอีก 2 ปีเพือ่ เ ต รี ย ม เข ้ า เรี ย น ส า ข า วิ ช า ป รั ช ญ า ใ น มหาวิทยาลัย 4 ปีต่อมาคุณพ่อกี้จบการ ศึกษาด้านปรัชญาเมื่ออายุ 26 ปี แล้วจึง ไปเป็นอาจารย์สอนด้านวิทยาศาสตร์ ซึง่ เป็น วิชาที่ท่านชอบ สอนอยู่ 3 ปีในโรงเรียน ของคณะเยสุอิต
“ขณะก�ำลังจะนอนหลับเหมือนมีเสียงหนึ่งบอกว่า “ท�ำไมเธอไม่ไปด้วยกันกับเรา” หลังจากนั้น ทุกวันก่อนจะนอนเสียงนี้ก็กลับมาตลอด”
แลส์เช็นสกี้ : ชีวิตที่อุทิศแด่พระเป็นเจ้าในฐานะนักบวชเยสุอิต
4. ด่านทดสอบกระแสเรียก การสอนด้านวิทยาศาสตร์ในโรงเรียน เป็นโอกาสให้คุณพ่อกี้ได้พบผู้หญิงอีกครั้ง หลังจากที่ไม่ค่อยได้พบในระหว่างฝึกอบรม ตนในนวกสถาน เพราะว่า ในนวกสถานมี แต่เพื่อนผู้ชาย ในโรงเรียนท่านได้พบผู้หญิงสองคนที่ ท่านสนใจ คนหนึ่งเป็นบรรณารักษ์ห้องสมุด เป็นผู้หญิงที่น่ารัก อีกคนเป็นพี่สาวของเด็ก
นักเรียนในโรงเรียนที่ท่านสอน ซึ่งน่ารักและ สวยมาก ระหว่างที่สอนจึงเป็นช่วงเวลาที่ได้ พบผูห้ ญิงทีไ่ ม่ได้พบมาตลอดช่วงเวลาทีอ่ ยูใ่ น บ้านนวกสถาน หลังจากครบ 3 ปีคุณพ่อ จะต้องกลับไปเรียนต่อด้านเทววิทยา ท่านจึง คิดว่า ตนเองไม่มกี ระแสเรียก และอยากจะ ลาออก อยากจะอยู่ในโลกและแต่งงาน
“เพียงครั้งเดียวที่สงสัยในกระแสเรียก เพราะ หลังจากนี้ไม่มีการทดลองใดๆ ที่ท�ำให้สงสัยอีก เป็นพระพรของพระเจ้าจริงๆ”
35
36
วารสารแสงธรรมปริทัศน์ ฉบับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2015/2558
เมือ่ กลับเข้าบ้านอบรมอีกครัง้ คุณพ่อ กี้จึงบอกคุณพ่อที่ปรึกษาด้านจิตวิญญาณว่า อยากจะขอลาออก คุ ณ พ่ อ จึ ง บอกให้ ไ ป พิจารณาดีๆ ให้สวดภาวนาอีกสัก 2 สัปดาห์ แล้วจึงค่อยกลับมาคุยกันใหม่ หลังจากเวลา ผ่านไป 2 สัปดาห์ ที่ได้ไตร่ตรองและสวด ภาวนาอย่างดี ท่านจึงกลับไปรายงานคุณพ่อ ทีป่ รึกษาด้านจิตวิญญาณว่า ท่านไม่สงสัยใน เรื่องกระแสเรียกอีกแล้ว แต่จะเดินหน้าต่อ ไป..... นี่เป็นเพียงครั้งเดียว ที่คุณพ่อสงสัย ในกระแสเรียก เพราะหลังจากนี ้ ไม่มกี ารทด ลองใดๆ ที่ท�ำให้ไขว้เขวหรือสงสัยอีก มี เพียงแต่พระพรทีท่ า่ นได้รบั คุณพ่อรูส้ กึ ว่าเป็น พระพรของพระเจ้าจริงๆ ชีวติ เพือ่ การเตรียม ตัวสู่การเป็นพระสงฆ์จึงด�ำเนินต่อไป โดย การศึกษาต่อด้านเทววิทยาอีก 4 ปี จน กระทัง่ ในปี ค.ศ.1955 จึงได้รบั ศีลบรรพชา เป็นพระสงฆ์ ในวันรับศีลบรรพชาเป็นพระสงฆ์ คุณ แม่ของคุณพ่อป่วยหนักไม่สามารถมาร่วมพิธี ได้ มีเพียงคุณพ่อ น้องสาว น้องชายและ คุณป้าที่มาร่วมพิธี ถึงกระนั้น คุณพ่อบอก ว่ า พ่ อ ก็ มี ค วามสุ ข ลึ ก ๆ เงี ย บๆ ใน พระพรที่ได้รับจากพระเจ้า จนกระทั่งในวัน อาทิตย์ถัดไป ที่คุณพ่อได้ถวายมิสซาแรกที่ วัดที่บ้านของคุณพ่อคุณแม่ คุณแม่ซึ่งก�ำลัง จะหายป่ ว ยได้ ม าร่ ว มมิ ส ซาในวั น นั้ น ด้ ว ย ท�ำให้ท่านมีความสุขลึกซึ้งมากขึ้น
5. ความประทั บ ใจที่ ได้ รั บ จากการเป็ น นักบวช คุณพ่อกีเ้ ล่าว่า “พ่อรูส้ กึ ประทับใจการ ด� ำ เนิ น ชี วิ ต ตามแนวทางของท่ า นนั ก บุ ญ อิกญาซีโอ ผู้ก่อตั้งคณะเยสุอิต นอกจากนี้ พ่อยังชอบเรียนปรัชญา เทววิทยา แต่ที่มี อิทธิพลมากๆ คือ การเป็นพระสงฆ์เพราะ เมื่อบวชเป็นพระสงฆ์แล้ว ท�ำให้มีโอกาสใน การช่วยเหลือผู้อื่นได้อย่างอิสระ โดยไม่มี พันธะหรือข้อผูกมัดจากครอบครัว แล้วแต่ ผู้ใหญ่จะสั่งให้ไปท�ำงานที่ไหน” 1 ปีหลังจากบวชเป็นพระสงฆ์แล้ว ผู ้ ใ หญ่ ใ ห้ คุ ณ พ่ อ ไปท� ำ งานในโรงพยาบาล คาทอลิก ไปสวดภาวนา โปรดศีลศักดิส์ ทิ ธิ์ ให้กับผู้ป่วย เป็นงานที่ท่านชอบ หลังจาก นัน้ คุณพ่อเข้า Tertianship (คือ ช่วงเวลา ที่สมาชิกของคณะที่ส�ำเร็จการศึกษาหรือการ อบรมตน (formation) ได้หันกลับมามอง ตนเอง ไตร่ตรอง ทบทวนประสบการณ์ชวี ติ และการท�ำงานในคณะ ที่ได้รับการเรียกจาก พระเยซูคริสต์ ตลอดจนได้ศกึ ษาเอกสารของ คณะอย่างละเอียดโดยทั่วไป สมาชิกของ คณะจะได้มีโอกาสเข้าเงียบตามแนวทางของ นั ก บุ ญ อิ ก ญาซี โ อเป็ น เวลา 30 วั น – ผู ้ เขี ย น) ในช่ ว งปี สุ ด ท้ า ยของการอบรม วั น หนึ่ ง มี ป ้ า ยติ ด ประกาศที่ โ บสถ์ จ ากทาง อธิการเจ้าคณะทีก่ รุงโรมว่า ต้องการหาอาสา สมัครเป็นมิชชันนารี เพื่อไปเปิดบ้านเณร
แลส์เช็นสกี้ : ชีวิตที่อุทิศแด่พระเป็นเจ้าในฐานะนักบวชเยสุอิต
ใหญ่ที่ประเทศพม่า คุณพ่อเห็นแล้วสนใจ มาก จึงสมัครเป็นมิชชันนารี ผ่านไปสอง อาทิตย์มตี ดิ ประกาศผูท้ ไี่ ด้รบั เลือกให้ไปพม่า จ�ำนวน 4 คน ปรากฏว่า มีชอื่ ของคุณพ่อ ด้ ว ย คุ ณ พ่ อ กี้ เ ล่ า ให้ ฟ ั ง ว่ า “โอ้ โ ห พ่ อ ประหลาดใจและดีใจทีไ่ ด้รบั เลือก เพราะก่อน หน้านี้เคยสมัครเป็นมิชชันนารี แต่ไม่เคยได้ รับเลือก จนคิดว่า พ่อไม่มีกระแสเรียกด้าน นี้” ตอนนัน้ ท่านไม่ทราบอะไรเกีย่ วกับพม่า ต้องศึกษาเกีย่ วกับประเทศพม่า ต้องท�ำเรือ่ ง ขอวีซา่ แต่ขณะนัน้ ประเทศพม่าไม่ให้วซี า่ แก่ 1
มิชชันนารี พอดีคุณพ่อที่อยู่ในพม่ารู้จักกับ นอ ยง เจ้าของหนังสือพิมพ์ภาษาอังกฤษใน พม่า ซึ่งเป็นเพื่อนกับอู นุ1 นายกรัฐมนตรี ของพม่า ได้ช่วยให้บรรดามิชชันนารีได้เข้า ประเทศพม่า โดยมีขอ้ ตกลงว่า พวกท่านจะ ไม่ไปเผยแพร่ศาสนากับชาวพม่า จะเข้าไป อบรมให้ความรูเ้ ฉพาะชาวพม่าทีเ่ ป็นคาทอลิก แล้ ว และต้ อ งการเตรี ย มตั ว เป็ น พระสงฆ์ เท่านั้น ที่สุดก็ได้วีซ่าระยะเวลา 1 ปี การเดินทางขณะนั้นยังไม่มีเครื่องบิน เจ็ท ยังคงเป็นเครื่องบินแบบใบพัด ท�ำให้ การเดินทางใช้เวลานานกว่าสมัยปัจจุบันมาก
อู นุ มีชีวิตอยู่ในช่วงปี ค.ศ.1907 – 1995 เคยเป็นนายกรัฐมนตรีของประเทศพม่าหรือเมียนมาร์ 3 สมัย
37
38
วารสารแสงธรรมปริทัศน์ ฉบับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2015/2558
ใช้เวลาเดินทางประมาณ 1 เดือน ขณะนัน้ คุ ณ พ่ อ อายุ 38 ปี เมื่ อ ไปถึ ง ท่ า นรู ้ สึ ก ประทับใจมาก มีชาวพม่าทั้งคริสต์และพุทธ มาต้อนรับทีส่ นามบิน ทีส่ ดุ ก็ได้เปิดบ้านเณร ใหญ่คือ บ้านเณรนักบุญยอแซฟ พร้อมกับ เพือ่ นพระสงฆ์อกี 3 ท่านคือ คุณพ่อเมอร์ ฟี ่ คุ ณ พ่ อ ฟาร์ เรน และคุ ณ พ่ อ แมคครี ช งานทีค่ ณ ุ พ่อท�ำคือ เป็นคุณพ่อทีป่ รึกษาฝ่าย จิตวิญญาณ สอนภาษาอังกฤษและวิชาอืน่ ๆ เป็นบรรณารักษ์และผูน้ ำ� การเข้าเงียบ ท�ำงาน ที่พม่า 8 ปีจนท่านรู้สึกรักพม่า รักเอเชีย ในปี ค.ศ.1966 หรือในอีก 8 ปีตอ่ มา รัฐบาลทหารภายใต้การน�ำของนายพล เนวิ น ที่ เข้ า ยึ ด อ� ำ นาจจากนายกรั ฐ มนตรี อู นุ เมือ่ ปีค.ศ.1962 มีคำ� สัง่ ให้คณ ุ พ่อและ บรรดามิชชันนารีคนอื่นๆ อีก 275 คน ออกจากประเทศพม่า ท�ำให้ท่านต้องกลับ บ้านที่ประเทศสหรัฐอเมริกา ช่วงนี้คุณพ่อ มีโอกาสได้ท�ำหน้าที่เป็นคุณพ่อที่ปรึกษาฝ่าย จิ ต วิ ญ ญาณที่ Woodstock College ขณะเดียวกัน ท่านก็ท�ำเรื่องขออนุญาตจาก อธิการทีก่ รุงโรมเพือ่ กลับมาท�ำงานทีเ่ อเชียอีก ครัง้ เป็นทีญ ่ ปี่ นุ่ ก็ได้ ถ้าเป็นไปได้กอ็ ยากมา ประเทศไทย เพราะมีพรมแดนติดกับพม่า ทั้งที่จริงๆ ก็ไม่รู้จักประเทศไทย ขณะนั้น ทางคณะเยสุอิตมีสมาชิกของคณะที่ท�ำงาน เกีย่ วกับนักศึกษาในประเทศไทยอยูก่ อ่ นหน้า แล้ว
6. งานอภิบาลในประเทศไทย หลังจากกลับมาประเทศสหรัฐอเมริกา 1 ปี คุณพ่อได้รับมอบหมายให้มาประเทศ ไทยในปีค.ศ.1967 ท�ำให้ได้กลับมาทวีป เอเชียอีกครัง้ คุณพ่อชอบงานทีป่ ระเทศไทย เช่ น กั น ขณะนั้ น จ� ำ นวนคาทอลิ ก ยั ง มี ไม่มากและอยู่รวมกัน ไม่ค่อยเปิดตัวต่อ สังคมว่าเป็นคาทอลิก เมือ่ มาท่านได้รบั มอบ หมายให้ไปท�ำงานที่สวนเจ็ดริน จ.เชียงใหม่ ซึง่ เพิง่ เปิด โดยไปร่วมงานกับคุณพ่อโกมาน ที่ นี่ ท ่ า นได้ เรี ย นภาษาไทยและท� ำ งานกั บ นักศึกษาคาทอลิก ที่ศึกษาในมหาวิทยาลัย เชียงใหม่เป็นเวลา 2 ปี คุณพ่อกี้เล่าให้ฟัง ว่า “การเรียนภาษาในครัง้ นีร้ สู้ กึ ง่ายกว่ามาก ไม่ชอ็ คเหมือนการเรียนภาษาพม่า เพราะครัง้ นั้นเป็นครั้งแรกที่ต้องเรียนภาษาที่แตกต่าง จากภาษายุโรปเป็นอย่างมาก ทีเ่ มืองไทยพ่อ เรี ย นภาษาไทยที่ โรงเรี ย นสอนภาษาของ คริ ส เตี ย น นี่ ท� ำ ให้ พ ่ อ เป็ น ลู ก หนี้ ข อง คริสเตียนในประเทศไทย” คุณพ่อเล่าให้ฟัง ด้วยความรู้สึกขอบคุณต่อพี่น้องคริสเตียน ทีช่ ว่ ยให้ทา่ นพูด อ่านและเขียนภาษาไทยได้ อย่างดี ช่ ว งที่ อ ยู ่ เชี ย งใหม่ คุ ณ พ่ อ กี้ ไ ด้ มี โอกาสท�ำงานด้านศาสนสัมพันธ์กับพี่น้อง ต่างศาสนาร่วมกับพระคุณเจ้ารัตน์ บ�ำรุง ตระกูล ประมุขสังฆมณฑลเชียงใหม่ในขณะ นั้ น มี โ อกาสสอนค� ำ สอนให้ กั บ ผู ้ ที่ ส นใจ ศาสนาคริสต์
แลส์เช็นสกี้ : ชีวิตที่อุทิศแด่พระเป็นเจ้าในฐานะนักบวชเยสุอิต
39
“ชีวิตที่พม่า ที่ไทย ที่เอเชียเป็นไฮไลท์ รู้สึกพระเจ้าอวยพร... พ่อรู้สึกมีประสบการณ์ที่ดีกับการเป็นเยสุอิต” ในปี ค.ศ.1969 คุ ณ พ่ อ กี้ ย ้ า ยมา ท�ำงานอภิบาลทีบ่ า้ นเซเวียร์ กรุงเทพมหานคร ท�ำให้มโี อกาสสอนหนังสือด้านการละคร การ ปกครองทีม่ หาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ประมาณ 2 ปีครึง่ ในปีค.ศ.1971 ได้รบั เลือกให้เป็น เจ้ า คณะแขวงคนแรกของคณะเยสุ อิ ต ใน ประเทศไทย คุณพ่อท�ำงานในประเทศไทย จนถึงปีค.ศ.1976 จึงเดินทางกลับประเทศ สหรัฐอเมริกา เพื่อเข้ารับการอบรมเพิ่มเติม ด้ า นพระคั ม ภี ร ์ เทววิ ท ยาและการให้ ค�ำแนะน�ำด้านชีวิตฝ่ายจิตวิญญาณ ขณะ เดียวกัน ก็เป็นช่วงเวลาแห่งความสุข ที่ได้ กลับมาพบกับครอบครัวของท่าน ในปีค.ศ.1977 (พ.ศ.2520) หรือ อีก1 ปีต่อมา คุณพ่อกี้กลับมาท�ำงานใน ประเทศไทยอีกครั้งที่บ้านเซเวียร์ ขณะนั้น คุณพ่ออายุ 53 ปี งานที่ท่านท�ำในช่วงนี้ ได้แก่ งานอภิบาลสัตบุรุษ เทศน์เข้าเงียบ สอนหนั ง สื อ ในมหาวิ ท ยาลั ย ระหว่ า งนี้ มี เหตุการณ์ที่ส�ำคัญอย่างหนึ่งของคณะเยสุอิต ในประเทศไทยคือ การเปิด บ้า นโลโยลา เพื่อเป็นบ้านส�ำหรับการฝึกอบรมผู้ที่เตรียม
ตัวเป็นนักบวชของคณะ โดยช่วงแรกทาง คณะเช่าบ้านหลังหนึ่งในซอยหมอศรี เมื่อ ปีค.ศ.1982 (พ.ศ.2525) ทางคณะใช้บ้าน หลั ง นี้ เ ป็ น สถานที่ ฝ ึ ก อบรมจนถึ ง ปี ค.ศ. 1991(พ.ศ.2534) จึงได้มีบ้านบนที่ดินของ ทางคณะในซอยเที ย นดั ด ส� ำ หรั บ การฝึ ก อบรมผู้สนใจจะเป็นสมาชิกของคณะเรื่อยมา จนกระทั่งปัจจุบัน ต่อมา ในปีค.ศ.1998 (พ.ศ.2541) จนกระทัง่ ปัจจุบนั คุณพ่อกีไ้ ด้มาเป็นคุณพ่อ ที่ ป รึ ก ษาฝ่ า ยจิ ต วิ ญ ญาณของบรรดาผู ้ ที่ เตรียมตัวเป็นบาทหลวงที่สถาบันแสงธรรม นอกจากนี้ ท่ า นยั ง สอนให้ กั บ นั ก ศึ ก ษา วิทยาลัยแสงธรรม และเป็นผูท้ มี่ บี ทบาทหลัก ในงานด้านคริสตสัมพันธ์กับพี่น้องโปรเตส แตนท์ 7. มั่นคงไม่เปลี่ยนแปลง คุณพ่อกี้อุทิศตนรับใช้พระเป็นเจ้าใน ฐานะนักบวชอย่างต่อเนื่องยาวนาน เป็น เวลา 73 ปี โ ดยมี ค วามรู ้ สึ ก สงสั ย ลั ง เล อยากเปลี่ยนกระแสเรียกเพียงแค่ครั้งเดียว ในช่วงก่อนเรียนเทววิทยา ทว่าหลังจากนั้น
40
วารสารแสงธรรมปริทัศน์ ฉบับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2015/2558
มี แ ต่ ค วามมั่ น ใจ มั่ น คงในกระแสเรี ย กไม่ เปลี่ยนแปลง “สิ่งที่เกิดขึ้นเช่นนี้ได้ อาจเกิดจาก หลายเหตุ ผ ล” คุ ณ พ่ อ กี้ ชี้ แ จงให้ ฟ ั ง ว่ า “เพราะพ่อเป็นคริสตชนคาทอลิก เพราะถ้า ไม่เป็นก็จะไม่บวชเป็นพระสงฆ์ ไม่มาเอเชีย ไม่มาไทยและพม่า เพราะพ่อเป็นพระสงฆ์ การบวชเป็นพระสงฆ์ท�ำให้มีประสบการณ์ ชีวิตที่ดี ได้ถวายมิสซา ฟังแก้บาป โปรด ศีลศักดิ์สิทธิ์ต่างๆ รวมถึงการเป็นพยานใน พิธีสมรส ทุกครั้งที่ท�ำพ่อรู้สึกซาบซึ้ง ลึก ซึ้ง... นอกจากนี้ การเป็นเยสุอิต ท�ำให้ได้ เป็ น ครู ได้ ท� ำ งานอภิ บ าล ได้ เ ป็ น พ่ อ ที่ ปรึกษาฝ่ายจิตวิญญาณ ได้มาทีน่ ี่ รูส้ กึ ชอบ ได้ เ ป็ น อธิ ก ารเจ้ า คณะแขวงคนแรกของ ประเทศไทย เพราะฉะนั้นเป็นประสบการณ์ ใหม่ ชี วิ ต ที่ พ ม่ า ที่ ไ ทย ที่ เ อเชี ย เป็ น ไฮไลท์ รู้สึกพระเจ้าอวยพร ตอนที่ออกจาก พม่า เป็นความทุกข์จริงๆ แต่กเ็ ป็นพระพร ของพระ พ่อรูส้ กึ มีประสบการณ์ทดี่ กี บั การ เป็นเยสุอิต” นอกจากนี้ คุณพ่อยังรักการภาวนา สวดท�ำวัตรอย่างสม�่ำเสมอ เฝ้าศีลมหาสนิท
และโดยเฉพาะอย่างยิง่ ท่านมีความศรัทธาต่อ พระแม่มารีเป็นพิเศษ แทบทุกเย็นภายหลัง จากการปั่นจักรยานออกก�ำลังกาย คุณพ่อ มักจะแวะหน้าพระรูปแม่พระเพือ่ ร�ำพึงภาวนา เป็นเวลานานพอสมควร จนอาจกล่าวได้ว่า การกระท�ำของท่านเป็นแบบอย่างที่ดีให้กับ พวกเราชาวแสงธรรมและคริสตชนทุกคน ใน การด�ำเนินรอยตามในเรือ่ งของความรักความ ศรัทธา ที่พวกเราพึงมีต่อพระเป็นเจ้าและ พระแม่มารี 8. มองบวกเสมอ คุณพ่อกี้เป็นผู้ที่มองบวก หรือมอง โลกในด้านดีเสมอ ไม่ว่าสถานการณ์ที่ก�ำลัง เผชิญจะเป็นเช่นไร หรือไม่ว่าคุณพ่อจะไป พบเจอสิง่ ใด คุณพ่อจะมองเห็นด้านทีด่ ใี นตัว บุคคล สถานที่หรือเหตุการณ์ที่ท่านประสบ พบเจอเสมอ เมื่อถามว่า ท่านท�ำเช่นนี้ได้ อย่ า งไร ท่ า นยิ้ ม และตอบว่ า “พ่ อ รู ้ สึ ก ประเทศไทยเป็นเหมือนสรวงสวรรค์บน โลกอาจจะรู้สึกเหมือนกันที่พม่า พ่อรู้สึก ซาบซึ้งจริงๆ รู้สึกขอบคุณพระเจ้า พ่อ รูส้ กึ ว่า พ่อมีแต่ความสุข เป็นพระพรจาก พระเจ้า เป็นสิ่งลึกลับจริงๆ”
แลส์เช็นสกี้ : ชีวิตที่อุทิศแด่พระเป็นเจ้าในฐานะนักบวชเยสุอิต
41
9. บทสรุป “พ่อรูส้ กึ กตัญญูตอ่ พระเป็นเจ้าส�ำหรับพระพรต่างๆ ทีไ่ ด้รบั ส�ำหรับชีวติ ทีย่ นื ยาวจนถึง วันนี ้ 91 ปีแล้ว และส�ำหรับพระพรต่างๆ ทีไ่ ด้รบั ในฐานะนักบวชเยสุอติ ตลอดระยะเวลา 73 ปีรู้สึกกตัญญูต่อคณะเยสุอิตต่อชาวไทย ต่อชาวพม่า ต่อทุกๆ คนที่พ่อพบ รู้สึกดีที่ได้มา ท�ำงานกับคนไทย ได้รจู้ กั พระมหากษัตริยพ์ ระเจ้าอยูห่ วั ตลอดจนขนบธรรมเนียมประเพณีและ วัฒนธรรมไทยชื่นชอบพระศาสนจักรไทย พ่อได้รับความสุขลึกซึ้งมากแค่ไหนพูดไม่ถูกจริงๆ ในชีวิตของพ่อเคยมีความทุกข์ เคยมีมากๆ ด้วยแต่สิ่งที่ช่วยคือ ชีวิตภาวนาและการรักงาน ที่ส�ำคัญคือ พระเจ้าไม่เคยทอดทิ้ง พ่อขอบคุณและรู้สึกกตัญญูต่อพระองค์จริงๆ.... กระแสเรี ย กของเราส� ำ คั ญ มากต่ อ ยุ ค สมั ย นี้ เราต้ อ งสวดภาวนาเพื่ อ ให้ พ ระเยซู คริสตเจ้าเป็นแสงสว่าง ความเข้มแข็ง ปรีชาญาณและความรักของเรา...”
[ หมวดทั่วไป ]
ชีวิตตามน�้ำพระทัย ซิสเตอร์มารีอา สมปอง ทับปิง
ซิสเตอร์มารีอา สมปอง ทับปิง คณะภคินีผู้รับใช้ดวงหทัยนิรมลของพระแม่มารีย์ ข้อมูลส่วนตัว เกิด 28 มีนาคม 1946 อ.ด�ำเนินสะดวก จ.ราชบุรี เป็นบุตรคนที่ 9 ในจ�ำนวนพี่น้องทั้งหมด 12 คน เป็นบุตรสาวคนแรกและน้องสาวอีกหนึ่งคน นอกนั้นเป็นชาย พี่ชายคนที่สองเป็นพระสงฆ์-พระสังฆราชโยเซฟ เอก ทับปิง มรณะปี 1985 รองอธิการิณีเจ้าคณะภคินีผู้รับใช้ดวงหทัยนิรมลของพระแมามารีย์ อธิการิณีและผู้รับใบอนุญาตโรงเรียนนารีวิทยา ราชบุรี
บทสัมภาษณ์ซิสเตอร์มารีอา สมปอง ทับปิง
เข้าอารามที่ราชบุรี ปี 1959 เข้านวกภาพ ปี 1963 ปฏิญาณครั้งแรก ปี 1965 ปฏิญาณตลอดชีพ ปี 1975
การศึกษา ระดับประถมศึกษา โรงเรียนด�ำเนินวิทยา โคกมดตะนอย และโรงเรียนอรุณวิทยา บ้านแสงอรุณ จ.ประจวบคีรีขันธ์
ระดับมัธยมศึกษา โรงเรียนนารีวิทยา ราชบุรี และ โรงเรียนมาแตร์เดอีวิทยาลัย กรุงเทพฯ
วิชาครู พ.ม. (สมัครสอบ)
ปริญญาตรี BSE (การศึกษา) เอกวิทยาศาสตร์ทั่วไป และ ภาษาอังกฤษ โดยรับทุนของมหาวิทยาลัยเซนต์หลุยส์ ฟีลิปปินส์ อบรมพิเศษ ประกาศนียบัตรชีวิตจิต (ซาเลเซียน) มหาวิทยาลัยซาเลเซียน (2 ปี) โรม อิตาลี
หน้าที่การงาน ครู สอนเรียน ดูแลนักเรียนประจ�ำ สอนค�ำสอน รวม 3ปี ผู้อบรมระดับต่างๆ และอธิการบ้านอบรม รวม 8 ปี รองอธิการิณีเจ้าคณะและที่ปรึกษาฝ่ายการอบรม 3 สมัย (15 ปี) อธิการิณีเจ้าคณะ 2 สมัย (10 ปี) ปัจจุบัน รองอธิการิณีเจ้าคณะ อธิการิณีและผู้รับใบอนุญาตโรงเรียนนารีวิทยา ราชบุรี
43
44
วารสารแสงธรรมปริทัศน์ ฉบับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2015/2558
หลั ก การหรื อ วิ ธี คิ ด ในการด� ำ เนิ น ชี วิ ต นักบวช เมื่อย้อนกลับไปดูชีวิตที่ผ่านมาหลัง จาก 50 ปี ในชีวิตนักบวช ก็มองเห็นว่า พระเจ้าได้ทรงน�ำตนเองผ่านประสบการณ์ มากมาย ทั้งสุขและทุกข์ ได้เรียนรู้ความ หมายของชีวติ และค่อยๆ เข้าใจชีวติ แห่งการ ติดตามพระคริสตเจ้าชัดเจนขึน้ ดังทีน่ กั บุญ เปาโลกล่ า วว่ า “เมื่ อ ข้ า พเจ้ า ยั ง เป็ น เด็ ก ข้าพเจ้าก็พดู จาเหมือนเด็กๆ คิดเหมือนเด็กๆ ใช้เหตุผลเหมือนเด็กๆ แต่เมื่อข้าพเจ้าเป็น ผูใ้ หญ่ ข้าพเจ้าก็เลิกประพฤติเหมือนเด็กๆ” (1คร.13:11) แม้จะไม่เป็นดังนั้นทั้งหมด เพราะต้องเรียนรู้ต่อๆ ไป จากวันทีเ่ ข้าอาราม โดยการสนับสนุน ของบิดามารดาและอิทธิพลของพี่ๆ ที่เข้า บ้ า นเณรถึ ง 3 คน รวมทั้ ง บรรยากาศ ครอบครัวทีอ่ บอุน่ แม้จะยากจนแต่มคี วามเชือ่ ศรัทธามั่นคง ดิฉันตอบรับเสียงเรียกของ พระเจ้าที่ยังไม่ชัดเจนนัก เมื่ออยู่และรับการ อบรมในอารามระยะหนึ่ ง ก็ ค ่ อ ยๆ เห็ น ชั ด เจนขึ้ น ว่ า นี่ คื อ ทางที่ พ ระเจ้ า เตรี ย ม ส�ำหรับตนเอง แม้จะมีอุปสรรคและความ สงสัยเกิดขึ้นเป็นระยะๆ จ�ำได้ว่า ในช่วง เวลาประมาณ 13 ปี แรกของชีวติ นักบวช ดิฉนั รูส้ กึ และมองว่า ชีวติ ค่อนข้างจะราบรืน่ แม้จะพบกับการท้าทายเล็กบ้าง ใหญ่บ้าง ตลอดการเดินทางดิฉนั บอกกับพระเจ้าว่า จะ
ไม่ขอหรือปฏิเสธอะไรกับพระเจ้า คงเป็น เพราะยังเยาว์ในชีวิตและประสบการณ์ในการ ท�ำงานยังน้อย จนกระทั่งปี 1978 จึงเริ่ม รู้สึกว่า สิ่งที่บอกกับพระเจ้าไว้นั้นเรียกร้อง อะไรบ้าง ปีนั้น เหมือนถูกลูกระเบิด ทั้งๆ ที่ ได้ รั บ การเตรี ย มใจมาพอสมควร และถู ก ทาบทามล่วงหน้า แต่มคี วามหวังและภาวนา ว่า “ขอโปรดให้แคล้วเถิดพระเจ้าข้า” ครั้ง นั้น ผู้ใหญ่ขอให้รับหน้าที่นวกาจารย์ จ�ำได้ ว่ า เป็ น ครั้ ง แรกที่ ไ ม่ ส ามารถขั บ ร้ อ งบท สร้ อ ย “ข้ า พเจ้ า พร้ อ มแล้ ว พระเจ้ า ข้ า ข้ า พเจ้ า ยิ น ดี ท� ำ ตามน�้ ำ พระทั ย ” มั น จุ ก ที่ คอหอย แต่เนื่องจากได้เคยบอกกับพระเจ้า ไว้วา่ จะไม่ขอและไม่ปฏิเสธอะไรกับพระองค์ ก็ท�ำใจยอมน้อมรับด้วยความหวาดหวั่นใน ขอบเขตของตนเอง อย่างไรก็ตาม พระเจ้า ทรงน� ำ ในภารกิ จ ที่ ท รงมอบให้ ใ นแบบของ พระองค์ ทรงค่อยๆ สอนด้วยประสบการณ์ ต่างๆ ตลอดมา เพราะเป็นงานของพระองค์ บุคคลรอบข้าง เฉพาะอย่างยิ่งบรรดาผู้ใหญ่ ช่วยเป็นพี่เลี้ยงและแนะน�ำเสมอ จากคนที่มี นิสัยขี้อาย พูดน้อย ชอบเก็บตัวและชอบ ท�ำงานคนเดียว ก็ถูกผลักดันให้ต้องอยู่กับ กลุ่มคน และในฐานะเป็นผู้อบรมก็ต้องพูด ต้องฟังคนอื่นเป็นงานหลัก ซึ่งตรงข้ามกับ ลักษณะนิสัยของตนเอง ที่สุด ก็ค่อยๆ มี ความกล้า มีความมัน่ ใจมากขึน้ เรือ่ ยๆ กล้า
บทสัมภาษณ์ซิสเตอร์มารีอา สมปอง ทับปิง
ที่จะแบ่งปันชีวิตกับคนอื่น โดยคิดว่า หาก เราเอาแต่เป็นผู้รับอย่างเดียว เราก็เป็นคน เห็นแก่ตัว ต้องหัดเป็นผู้ให้ด้วย ในเวลา เดียวกัน ยิง่ ให้กย็ งิ่ ได้รบั มากขึน้ จึงพร้อมที่ จะแบ่งปัน พร้อมที่จะเริ่มก้าวออกไปหาคน อื่นก่อน เมือ่ มีความรับผิดชอบมากขึน้ ปัญหา ก็มากขึ้นตามส่วน และตามความจริงที่ว่า ท�ำมากก็มีโอกาสผิดมาก ก็พร้อมจะเรียนรู้ จากความผิดพลาด แม้จะเจ็บปวด มากบ้าง น้อยบ้าง จากประสบการณ์พบว่า อุปสรรค ปัญหาทีห่ นักๆ คือโอกาสและบทเรียนทีม่ คี า่ ยิ่ง เป็นของขวัญที่พระเจ้าประทานให้เพื่อ เรียนรู้ชีวิต เข้าใจตนเอง เข้าใจผู้อื่นและมี มุมมองที่กว้างไกล สามารถยอมรับและอยู่ กับความเป็นจริง ความเจ็บปวดและปัญหา ต่างๆ เป็นเรื่องๆ ไปด้วยใจสงบ วางแผน แต่ไม่วติ กกังวล ท�ำแต่ละวัน แต่ละงานให้ดี ที่สุด โดยจัดล�ำดับงานตามความส�ำคัญและ ความเร่งด่วน ก็สามารถท�ำทุกอย่างให้สำ� เร็จ ไปตามก�ำลังความสามารถและอาศัยความ ร่ วมมื อ จากผู ้ ร ่วมงานหรือร่วมอุดมการณ์ ตามปกติจะมีความคิดริเริ่ม มีความคิดที่จะ พัฒนางานที่ทำ� อยู่เสมอ สมองไม่ค่อยอยู่นิ่ง ทั้งนี้เพื่อความดีของส่วนรวมเป็นที่ตั้ง และ เชื่อว่า พระเจ้าประสงค์เช่นนั้นด้วย เพราะ จะปรึกษากับผู้ใหญ่หรือผู้ร่วมทีมเสมอ มี ความสุขในการอยูแ่ ละท�ำงานกับผูอ้ นื่ แม้จะ
ยังชอบท�ำบางอย่างตามล�ำพัง ตามอุปนิสัย เดิม เช่น ชอบอ่าน ชอบเขียน ชอบแปล บทความ หนังสือ เพียงเพราะอยากแบ่งปัน อะไรที่ดีๆ ที่พบเจอกับคนอื่นๆ เท่าที่เวลา จะอ�ำนวยให้ ปั ญ หาและอุ ป สรรคในการด� ำ เนิ น ชี วิ ต นักบวช ส�ำหรับดิฉันปัญหาและอุปสรรคอันดับ แรก มักจะมาจากการยึดตัวตน (อัตตา) ของตนเอง เอาตัวเองเป็นศูนย์กลาง พบกับ ความไม่พอใจ ความผิดหวัง การไม่ได้รับ การยอมรับ (ในบางเรื่อง) ก็เพราะคาดหวัง จากผู ้ อื่ น ไม่ ไ ด้ ส� ำ รวจตั ว ตนและพั ฒ นา ตนเองเท่ า ที่ ควร หวั ง จะให้ คนอื่ นเปลี่ ย น อย่างที่ตนต้องการ ที่สุดถึงขั้นพบกับวิกฤติ มองว่าตนเองไม่มีคุณค่า…เหมือนตนเองถูก ท�ำร้ายจนกระทั่งได้เข้าใจว่า หากใจฉันเป็น แก้วที่มีน�้ำใส ไม่มีตะกอน ไม่ว่าใครหรือ เหตุการณ์ใดจะมากวนสักเท่าไร ก็ไม่มีทาง ท�ำให้ขุ่น (ใจ) ได้ สาเหตุอยู่ที่ตัวตนของ ฉันเอง มีตะกอนอยูม่ ากมาย (ความเห็นแก่ ตัว เบือ้ งหลัง บาดแผลชีวติ ฯลฯ) ดังนัน้ เมื่อมีใครหรือเหตุการณ์บางอย่างมากระทบ เหมือนกับมีอะไรมากวน ก็ท�ำให้อารมณ์ขุ่น หมองไปง่ า ยๆ แล้ ว จะไปโทษคนอื่ น ได้ อย่างไร ยอมรับว่าสาเหตุอยูท่ ตี่ น อย่างน้อย ครึ่ ง หนึ่ ง ก็ ช ่ ว ยให้ ส งบลง และในเวลา
45
46
วารสารแสงธรรมปริทัศน์ ฉบับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2015/2558
เดียวกัน ก็พยายามก�ำจัดตะกอนต่างๆ ใน ชีวิตให้น้อยลงเท่าที่จะท�ำได้ อุปสรรคปัญหาที่ส�ำคัญอีกอย่างหนึ่ง ซึ่ ง ในเวลาเดี ย วกั น ก็ เ ป็ น เครื่ อ งมื อ ช่ ว ยให้ ก้าวหน้าในชีวิตนักบวช คือ ชีวิตร่วมหมู่ คณะ การอยูแ่ ละท�ำงานด้วยกันตัง้ แต่สองคน ขึ้นไป ซึ่งมีพื้นฐานชีวิตจากครอบครัวและ วัฒนธรรมของท้องถิน่ ทีแ่ ตกต่างกัน เหมือน ลิ้นกับฟัน ย่อมมีความขัดแย้งในด้านความ คิ ด และอุ ป นิ สั ย อยู ่ บ ่ อ ยๆ นั ก บุ ญ ยอห์ น บอสโกบอกเราว่า “การพลีกรรมที่ดีที่สุดคือ การด�ำเนินชีวิตร่วมหมู่คณะ” เป็นโอกาสที่ จะช่วยปรับปรุงแก้ไขกันและกัน และเป็น ประจักษ์พยานแก่สงั คมโลกว่า ความรักและ ความเป็นหนึ่งเดียวในความแตกต่างนั้นเป็น ไปได้ พร้อมทั้งยืนยันการเป็นศิษย์ของพระ เยซูเจ้าในความรักซึง่ กันและกันดังทีพ่ ระองค์ ทรงรักเรา (เทียบ ยน.13:34-35) สามารถ ที่จะรัก รับใช้และให้อภัยด้วยเต็มใจ ตาม จิตตารมณ์ของคณะที่ตนเองสังกัด ซึ่งมิใช่ เรื่องง่าย จะต้องเรียนรู้และปรับตัวอยู่เสมอ เพือ่ อยูแ่ ละท�ำงานร่วมกันให้สำ� เร็จและมีความ สุขด้วย ในเรื่องนี้จิตตารมณ์ความนอบน้อม เชื่อฟังเป็นตัวช่วยส�ำคัญ นั่นคือ หากเรา แต่ละคนต่างแสวงหาและท�ำตามพระประสงค์ ของพระเจ้าทั้งในชีวิตส่วนตัว ชีวิตร่วมหมู่ คณะ เราก็สามารถพบค�ำตอบหนึ่งเดียวเพื่อ เป็นจิตหนึ่งใจเดียวกันในการด�ำเนินชีวิตและ
การประกอบพั นธกิ จ ร่ ว มกั น แม้ จ ะมี ก าร โต้ เ ถี ย งกั น ระหว่ า งการเสวนา เพื่ อ แลก เปลีย่ นความคิดเห็นกัน ทีส่ ดุ ค�ำถามสุดท้าย ว่า “แล้วพระเจ้าต้องการอะไรจากเรา” รวม ทั้ ง ค� ำ สุ ด ท้ า ยของผู ้ ใ หญ่ ที่ จ ะแสดงพระ ประสงค์ของพระเจ้า ท�ำให้สรุปร่วมกันได้และ ทุ ก คนพบสั น ติ สุ ข ดั ง ที่ พ ระสั น ตะปาปา นักบุญยอห์นที่ 23 ตรัสว่า “นบนอบและ สันติสุข” สิ่งที่ช่วยให้ด�ำเนินชีวิตซื่อสัตย์ต่อพระเจ้า จนถึงปัจจุบัน หลังจาก 50 ปี แห่งการถวายตัวแด่ พระเจ้าในคณะภคินีผู้รับใช้ดวงหทัยนิรมล ของพระแม่มารีย์ ดิฉันขอสรุปสิ่งที่ช่วยให้ ด�ำเนินชีวติ ซือ่ สัตย์ตอ่ พระเจ้าในฐานะนักบวช ได้ 3 เรื่องใหญ่ๆ คือ 1. ชี วิ ต ภาวนา ความสั ม พั น ธ์ กั บ พระเจ้า ซึ่งไม่ได้หมายถึงเฉพาะ ”การสวด ภาวนาหรือการร่วมพิธีกรรม” แต่หมายถึง ความส�ำนึกว่า ฉันต้องการพระเจ้าปราศจาก พระเจ้าฉันท�ำอะไรดีไม่ได้ เพราะชีวติ นักบวช เรี ย กร้ อ งให้ ตั ด สละสิ่ ง ที่ ดี ๆ หลายอย่ า ง เฉพาะอย่างยิ่ง สิ่งที่โลกปัจจุบันเสนอให้เพื่อ เป็นของพระเจ้าทั้งครบและอย่างมีความสุข เพือ่ มีพระองค์เท่านัน้ ก็เพียงพอ ดังนัน้ หาก ชีวิตไม่เต็มด้วยพระเจ้า ก็จะแสวงหาสิ่งอื่น หรือใครอื่นมาเติมเต็มหัวใจซึ่งไม่ใช่วิถีแห่ง ชีวิตนักบวช
บทสัมภาษณ์ซิสเตอร์มารีอา สมปอง ทับปิง
2. ความปรารถนาที่ จ ะตอบแทน ความรักมากมายของพระเจ้าด้วยการอุทศิ ตน ท� ำ งานที่ ท รงมอบหมายให้ ท� ำ อย่ า งเต็ ม ที ่ ชี วิ ต ภาวนาส่ ง แรงบั น ดาลใจให้ อ อกไปหา เพื่อนพี่น้อง เฉพาะอย่างยิ่งผู้รอคอยโอกาส ในรูปแบบต่างๆ “ความรักของพระคริสตเจ้า ผลักดันเรา” (2 คร.5:14) ให้ออกไปเพื่อ พาพวกเขามาหาพระเจ้ า มารู ้ จั ก และรั ก พระองค์ และเมื่อพบอุปสรรคในการท�ำงาน ก็กลับมาหาพระเจ้า รับพละก�ำลังและการ ทรงน�ำของพระองค์ เป็นวัฏจักรของชีวติ จิต เลยไม่ว่างที่จะวอกแวกไปแสวงหาสิ่งอื่น 3. บรรดาผูใ้ หญ่และเพือ่ นสมาชิกเป็น ก�ำลังใจ เป็นเพื่อนร่วมเดินทาง ทั้งในยาม สุขและยามทุกข์ มีจติ ตารมณ์ครอบครัวแห่ง ความเชือ่ และความรัก ทีพ่ ยายามมองให้เห็น พระคริสตเจ้าในกันและกันเพื่อยอมรับและ สนับสนุนกันและกันในชีวิตประจ�ำวันและใน การท�ำภารกิจต่างๆ กระแสโลกในปัจจุบันส่งผลต่อการด�ำเนิน ชีวิตนักบวชอย่างไรบ้าง กระแสโลกาภิวตั น์ ซึง่ ย่อโลกให้เล็กลง เฉพาะอย่างด้วยอิทธิพลของสื่อต่างๆ ใน ด้านหนึ่งส่งผลดีต่อการด�ำเนินชีวิตและการ ท� ำ งานของนั ก บวช มี ค วามสะดวกและ
รวดเร็วในการสือ่ สาร ช่วยเสริมความสัมพันธ์ ใกล้ชิดระหว่างสมาชิกในคณะ และระหว่าง องค์กรต่างๆ สามารถร่วมมือกันเป็นเครือ ข่าย ท�ำให้ชวี ติ และพันธกิจของคณะนักบวช และของพระศาสนจักรมีชีวิตชีวาและเข้มข้น ขึ้ น สามารถเข้ า ถึ ง ข้ อ มู ล ข่ า วสารที่ เ ป็ น ประโยชน์ทั้งส�ำหรับการด�ำเนินชีวิตและการ ท�ำงานของนักบวชเป็นอย่างมาก ในเวลาเดียวกันเครื่องมือสื่อสารต่างๆ รวมถึงความสามารถและความรวดเร็วทีจ่ ะเข้า ถึงข้อมูลข่าวสารทีห่ ลากหลาย หากไม่มกี าร เลือกและวินยั ในการใช้เวลาให้ด ี สือ่ เหล่านัน้ ก็กลับเป็นอุปสรรคต่อชีวติ ต่อความสัมพันธ์ กับพระเจ้าและเพื่อนพี่น้อง เช่นเดียวกับที่ เป็นปัญหากับเด็กและเยาวชนปัจจุบันที่ใช้ เวลาส่วนใหญ่อยู่กับโลกของสื่อ และติดอยู่ กับการเป็นปัจเจกบุคคลมากขึน้ หากไม่ระวัง ตัว นักบวชก็จะตกในสภาพเดียวกัน ซึ่งมี แนวโน้มที่จะลดเวลาที่จะให้กับพระเจ้าและ เพื่อนพี่น้องเพื่ออยู่กับตนเองโดยทางสื่อมาก ขึน้ เป็นสภาพทีน่ า่ เป็นห่วง เพราะนอกจาก มีอันตรายที่จะมีชีวิตฟุ้งเฟ้อและหละหลวม มากขึ้นเรื่อยๆ แล้ว นักบวชจะไม่สามารถ เป็นประจักษ์พยานทีเ่ ด่นชัดตามทีค่ วรจะเป็น และการอุทศิ ตนในงานของพระเจ้าตามทีค่ วร จะท�ำในฐานะนักบวชย่อมจะลดน้อยลง
47
48
วารสารแสงธรรมปริทัศน์ ฉบับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2015/2558
ข้อคิดในการด�ำเนินชีวิตนักบวชส�ำหรับ นักบวชรุ่นน้องและฆราวาส โดยส่วนตัวแล้วรู้สึกชื่นชมกับนักบวช รุ่นน้องๆ ที่ตัดสินใจติดตามพระเยซูเจ้าใน ปัจจุบัน เพราะต้องทวนกระแสโลกที่มาแรง ในหลายๆ ด้าน เป็นการเลือกเยี่ยงวีรสตรี/ วีรบุรุษ อาศัยแรงบันดาลใจของพระจิตเจ้า เมื่ อ ได้ ตั ด สิ น ใจเลื อ กหลั ง จากได้ ผ ่ า น กระบวนการไตร่ตรองมาอย่างดี และเชือ่ มัน่ ว่าพระเจ้าทรงเลือกแล้ว ก็ขอให้มั่นคงและ ยึดมัน่ ในพระองค์ ไม่วา่ อะไรจะเกิดขึน้ เพราะ พระเจ้าจะทรงติดตามดูแลคนของพระองค์ อย่างซื่อสัตย์เสมอฝ่ายเรา ขอเพียงระลึกว่า เราเป็นของพระเจ้า เราได้เลือกพระเจ้าแล้ว ไม่มีใครหรือสิ่งใดจะมาแทนที่พระองค์ได้
ส� ำ หรั บ ฆราวาส พวกท่ า นมี ค วาม ส� ำ คั ญ มากในสั ง คมและในพระศาสนา นักบวชมีจำ� นวนน้อยมาก เมือ่ เทียบกับพวก ท่านทีเ่ ป็นประชากรส่วนใหญ่ของสังคม หาก พวกท่ า นรวมพลั ง กั น ยึ ด มั่ น ในศาสนา ประพฤติปฏิบัติตนเป็นศาสนิกชนที่ดี ท่าน สามารถช่ ว ยกั น สร้ า งสรรค์ สั ง คม ให้ เ ป็ น สังคมทีม่ สี นั ติ ความหวังและความรัก แบบ พี่น้องในครอบครัวและเอื้ออาทรต่อกันมาก ขึน้ ในเวลาเดียว สภาพครอบครัวและสังคมที่ เข้มแข็ง เป็นบรรยากาศทีส่ ง่ เสริมกระแสเรียก พระสงฆ์นกั บวชด้วย อนาคตของสังคมโลก จะเป็นอย่างไร ขึน้ อยูก่ บั เราแต่ละคนไม่วา่ จะ อยู่ในฐานะใด และขึ้นอยู่กับความร่วมมือ ระหว่างเราด้วย