โรงเรียนคาทอลิกเป็นสนามประกาศข่าวดี 1
วารสารแสงธรรมปริทัศน์
วารสาร ราย 4 เดือน ปีที่ 40 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2016/2559 เจ้าของ วิทยาลัยแสงธรรม คณะที่ปรึกษา อธิการบดี รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ ผู้อำ�นวยการศูนย์ส่งเสริมและพัฒนางานวิชาการ ผู้อำ�นวยการศูนย์วิจัยค้นคว้าศาสนาและวัฒนธรรม คณบดีคณะมนุษยศาสตร์ คณบดีคณะศาสนศาสตร์ คณะผู้ทรงคุณวุฒิ หมวดกฎหมายพระศาสนจักร บาทหลวง ผศ.ดร.ไพยง มนิราช หมวดกระแสเรียก บาทหลวงอดิศักดิ์ พรงาม หมวดคำ�สอน มุขนายกวีระ อาภรณ์รัตน์ บาทหลวง ผศ.วัชศิลป์ กฤษเจริญ หมวดจริยธรรม บาทหลวง ดร.เชิดชัย เลิศจิตรเลขา, M.I หมวดชีวิตด้านจิตใจ บาทหลวงสมชัย พิทยาพงศ์พร บาทหลวงเจริญ ว่องประชานุกลู หมวดประวัติศาสตร์พระศาสนจักร บาทหลวงธีรพล กอบวิทยากุล บาทหลวง ดร.สุรชัย ชุ่มศรีพันธุ์ หมวดปรัชญา บาทหลวง ดร.ออกัสติน สุกีโย ปิโตโย, S.J. บาทหลวง ดร.วีรศักดิ์ วนาโรจน์สุวิช หมวดพระคัมภีร์ มุขนายก ดร.ลือชัย ธาตุวิสัย บาทหลวง ผศ.ทัศไนย์ คมกฤส บาทหลวงสมเกียรติ ตรีนิกร หมวดพระสัจธรรม บาทหลวงวิรัช นารินรักษ์ บาทหลวงชาย ขันทะโฮม, C.Ss.R. บาทหลวง ดร.ฟรังซิส ไก้ส์, S.D.B. หมวดพิธีกรรม บาทหลวงเคลาดิโอ เบร์ตุชอร์, O.M.I. บาทหลวงอนุสรณ์ แก้วขจร หมวดศาสนสัมพันธ์และคริสตสัมพันธ์ มุขนายกชูศักดิ์ สิริสุทธิ์ บาทหลวงซิกมูนด์ แลส์เช็นสกี้, S.J. บรรณาธิการบริหาร บาทหลวงเจริญ ว่องประชานุกูล บรรณาธิการสร้างสรรค์ อาจารย์พีรพัฒน์ ถวิลรัตน์ กองบรรณาธิการ อาจารย์สุจิตตรา จันทร์ลอย อาจารย์ชวนชม อาจณรงค์ นางสาวสุกานดา วงศ์เพ็ญ จัดพิมพ์โดย ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนางานวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเสริมสร้างความรู้ทางวิชาการในด้านเทววิทยาและปรัชญา 2. เพื่อเป็นสื่อกลางความรู้ และความสัมพันธ์อันดีทางด้านศาสนา กำ�หนดออก ปีละ 3 ฉบับ ประจำ�เดือนมกราคม-เมษายน, พฤษภาคม-สิงหาคม และกันยายน-ธันวาคม ค่าบำ�รุงสมาชิก สมาชิกรายปี ปีละ 300 บาท (จำ�นวน 3 ฉบับ/ปี) จำ�หน่ายปลีก ราคาฉบับละ 120 บาท สำ�หรับสมาชิกรายปี สามารถส่งเงินค่าบำ�รุงสมาชิกเป็นเงินสดหรือโอนเข้าบัญชีเงินฝากออมทรัพย์ ธนาคารไทยพาณิชย์ จำ�กัด (มหาชน) สาขาเทสโก้ โลตัส สามพราน นครปฐม ชื่อบัญชี นายอภิสิทธิ์ กฤษเจริญ เลขที่บัญชี 403-613134-4 หรือธนาณัติ สั่งจ่าย “บาทหลวงอภิสิทธิ์ กฤษเจริญ” ปณ.อ้อมใหญ่ 73160
2
วารสารแสงธรรมปริทัศน์ ฉบัับที่ 2 พฤษภาคม - สิงหาคม 2010/2553
บ ท บ ร ร ณ า ธิ ก า ร
เมือ่ เอ่ยถึงปีศกั ดิส์ ทิ ธิแ์ ห่งเมตตาธรรม หลายท่านอาจนึกถึงเรือ่ ง พระเมตตาของพระเจ้า พระคุณการุณย์ครบบริบูรณ์ การแสวงบุญ ฯลฯ แต่สิ่งหนึ่งที่เราไม่ควรลืมคือ การส�ำนึกว่า เราเป็นคนบาป เพราะนี่คือจุดเริ่มต้นส�ำคัญ ที่ท�ำให้เราได้สัมผัสความรักความเมตตาของ พระเจ้า และความสุขความยินดีที่ได้รับการอภัย ส�ำหรับมนุษย์แล้ว การได้รบั การอภัยและได้กลับคืนดีกบั พ่อแม่ เป็นความสุขใจทีย่ งิ่ ใหญ่ มากส�ำหรับมนุษย์ทุกคน ทางฝ่ายจิตวิญญาณก็เช่นเดียวกัน เมื่อใดที่เรารู้สึกว่า เราเป็นคน บาป เราท�ำบาปผิดต่อพระเจ้า พระบิดา เราย่อมต้องการการอภัย และกลับคืนสู่อ้อมกอด แห่งความรักของพระองค์อีกครั้ง ปีศักดิ์สิทธิ์แห่งเมตตาธรรมจึงเป็นโอกาสอันดี ที่เราทุกคน จะได้กลับมามองตนเองและรับการอภัย เป็นปีที่เราจะได้สัมผัสอย่างพิเศษถึงพลังรักของพระ คริสตเจ้า ที่ทรงยอมสิ้นพระชนม์บนไม้กางเขน และกลับคืนพระชนม์ชีพ เอาชนะบาปและ ความตาย เพื่อให้เรากลับมาคืนดีกับพระเจ้า องค์แห่งความรักอย่างแท้จริง แสงธรรมปริทศั น์ฉบับนี ้ จึงขอร่วมจิตใจกับคริสตชนทัว่ โลกในโอกาสปีศกั ดิส์ ทิ ธิน์ ี้ และ ขอขอบพระคุณพระคุณเจ้าสิริพงษ์ จรัสศรี เป็นพิเศษที่กรุณามอบบทความ เพื่อตีพิมพ์ใน วารสารฉบับนี้ หวังเป็นอย่างยิ่งว่า วารสารแสงธรรมปริทัศน์ของเรา จะเป็นประโยชน์ต่อการ เพิ่มพูนความรู้ความเข้าใจ และการด�ำเนินชีวิตของผู้อ่านทุกท่านไม่มากก็น้อย
บรรณาธิการสร้างสรรค์
ข่าวประชาพันธ์... ขอเชิญชวนส่งบทความเพื่อตีพิมพ์ลงในวารสารแสงธรรมปริทัศน์ฉบับต่อไป เดือนกันยายน-ธันวาคม 2559 ในหัวข้อ “ผู้สูงอายุ” ส่งต้นฉบับได้ที่ อาจารย์พีรพัฒน์ ถวิลรัตน์ E-mail : pi_santo@yahoo.com หรือคุณสุกานดา วงศ์เพ็ญ E-mail : sukanda.1984@gmail.com ภายในวันที่ 25 พฤศจิกายน 2559 และขอขอบคุณล่วงหน้าสำ�หรับทุกบทความที่ส่งมาร่วมแบ่งปัน
บทความที่ตีพิมพ์ในวารสารแสงธรรมปริทัศน์ ขอสงวนสิทธิ์ตามกฎหมาย ในกรณีที่ต้องการบทความไปเผยแพร่ กรุณาแจ้งขออนุญาตอย่างเป็นทางการ
Content 5
13
โรงเรียนคาทอลิกเป็นสนามประกาศข่าวดี 3
SaengthamJournal ปีที่ 40 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม - สิงหาคม 2016/2559
5
THE MERCY OF GOD: Conversion, Reconciliation and Penance. Bishop Silvio Siripong Charatsri
13 23
รหัสธรรมของพระเมตตา ศ.กีรติ บุญเจือ
พระแม่ผู้ทรงเมตตากรุณา
บาทหลวง ผศ.ดร.ฟรังซิส ไก้ส์, S.D.B.
23
37 54 62
พระวรสารและการเปิดเผยความเมตตาของพระเจ้า บาทหลวง ผศ.วสันต์ พิรุฬห์วงศ์, C.S.S.
เมตตากรุณาดังพระบิดาทรงเมตตากรุณา
54
บาทหลวงปรีชา ธรรมนิยม, O.M.I.
บทสรุปพระสมณสาสน์เตือนใจชื่นชมยินดีแห่งความรัก (Amoris Laetitia)
บาทหลวงเชิดชัย เลิศจิตรเลขา, M.I.
62
76
พระเจ้า: รักนิรันดร์ ดร.สุภาวดี นัมคณิสรณ์
4
87
วารสารแสงธรรมปริทัศน์ ฉบัับที่ 2 พฤษภาคม - สิงหาคม 2010/2553
87
ปีศักดิ์สิทธิ์แห่งพระเมตตา
บาทหลวงปรีชา ธรรมนิยม, O.M.I.
93
รักและเมตตา... จรรยาบรรณครูคำ�สอน ผศ.ดร.ลัดดาวรรณ์ ประสูตร์แสงจันทร์
93
100
การเสริมสร้างคุณธรรมความรักเมตตาผ่านโครงการ ปีศักดิ์สิทธิ์แห่งเมตตาธรรม วิทยาลัยแสงธรรม
100
107
ปีศักดิ์สิทธิ์แห่งเมตตาธรรม “งานเมตตาจิตด้านร่างกายและงานเมตตาจิตด้านจิตใจ”
107
ปนัดดา ชัยพระคุณ
บาทหลวงเชษฐา ไชยเดช
112
ได้รับมาแล้วส่งต่อ: ภารกิจแห่งรัก... ค่ายอาสาพัฒนา พิเชษฐ รุ้งลาวัลย์
126
สิ่งที่ได้รับจากการฝึกสอน
112
ปวีณา ดวงประทีป
130
แนะนำ�หนังสือ บาทหลวง ผศ.สมชัย พิทยาพงศ์พร และ มงซินญอร์ อันดรูว์ วิษณุ ธัญญอนันต์
Conversion, Reconciliation and Penance. Bishop Silvio Siripong Charatsri 1. God as the Ultimate End of Man The book of Revelation reveals us that God is “the Alpha and the Omega, the Beginning and the End” (Rv. 21:6). All things begin with the Father and all things return to Him. Gaudium et Spes n. 24 says: “God, who has fatherly concern for everyone, has willed that all
men should constitute one family and treat one another in a spirit of brotherhood. For having been created in the image of God,… all men are called to one and the same goal, namely God itself.” In Christian moral theology, the concept of ‘God as the Ultimate End’ is seen evidently. Catechism portrays the Christian life; “a great pilgrimage to the house of the Father.” (TMA 49)
Reverend in Roman Catholic Church, Bishop of Chanthaburi Diocese.
( หมวดคำ�สอน )
THE MERCY OF GOD:
6 Saengtham Journal No. 2 May - August 2016/2559 2. Sin: A Rejection of the House of the Father The pilgrimage of Christian to the house of the Father is no without interruption. Our experience tells us there were many times that we turned away from the true way and chose to walk in other ways misleading us from our goal. We often lose our path. The Vatican II describes: “Man, enticed by the evil one, abused his freedom at the very start of history. He lifted himself up against God, and sought to attain his goal apart from him” (GS 23). This implies that “Sin has diminished man, blocking his path to fulfillment” (ibid.). Sin is, therefore, a negative dynamic operating within human life which continually places in jeopardy of the dignity and calling of every human person. Because of sin which is the rejection of the house of the Father, Jesus makes known the loving mercy of the Father, revealing the divine plan of salvation.
3. God, the Father of Mercy 3.1 The Mystery of the Merciful God God is ‘Mysterion’. It is the mystery of Trinitarian love: the Father loves the Son in the bond of the Holy Spirit. This is the central mystery of Christianity which is the source and the end of all of the other mysteries. The only way in which we know the eternal mystery of the Trinity is through the deed of our salvation accomplished in Jesus Christ. Our salvation consists in sharing in the very life of the Trinity. The mystery of the Trinity is extended and made known to us in the Creation of God the Father, the Incarnation and Redemption of God the Son, Jesus Christ, and Sanctification of God the Holy Spirit. The Paschal mystery (death and resurrection) of Jesus Christ is the pinnacle of the
The Mercy of God: Conversion, Reconciliation and Penance
revelation of the divine mercy. It is out of love that the Father sends the Son into the World. It is out of love that Christ offers himself to the Father for the redemption of sinful humanity. It is out of love that the Risen Christ bestows the Holy Spirit on his Church. 3.2 The God of Mercy is revealed by Jesus It is “God, who is rich in mercy” (Eph 2:4) whom Jesus Christ has revealed to us as Father (DM 1). Jesus reveals God as the God of mercy, full of love and forgiveness many times in his teaching, especially in the familiar parable of the prodigal son in Luke 15:11-32. The key personage of the parable is obviously the father, who hopes for the return of his lost son. He represents God our Father, who never discriminates among the children of God and never tires of awaiting the return of them.
3.3 “Mercy…is proper to God” St. Thomas Aquinas, in his Summa Theologiae, writes: “Mercy is accounted as being proper to God: and therein His omnipotence is declared to be chiefly manifested” (ST IIa-IIae, q. 30, a.4, c.). He is underscoring the fact that mercy does not express only an exterior attitude on God’s part, let alone one of weakness. On the contrary, mercy is a sovereign attribute of omnipotence. Besides being revealed as transcendent, holy, eternal, and omnipotent, God is revealed as merciful as well. One Opening Prayer of the Mass is said: “Father, you show your almighty power in your mercy and forgiveness.” Forgiveness and mercy are actually a sovereign act of the omnipotence of God.
7
8 Saengtham Journal No. 2 May - August 2016/2559 4. God’s Mercy: Love more powerful than Sin The love and mercy of God is the origin of the history of salvation, St. John writes that: “For God is Love; and His love was disclosed to us in this, that he sent his only Son into the world to bring us life. The love I speak of is not our love for God, but the love he showed to us in sending his Son as the remedy for the defilement of our sins” (1 Jn 4:9-10). St. John reveals us that God is love and his greatest love is giving his only Son to redeem us. St. Paul speaks about sin that came from old Adam is no more powerful than grace that came from new Adam: “But where sin was thus multiplied, grace immeasurably exceeded it, in order that, as sin established its reign by way of death, so God’s grace might establish its reign in righteousness, and issue in eternal life through Jesus Christ our Lord” (Rm 5:9-10) Salvation is an absolutely free gift of the merciful goodness of
God to humankind. Every Christian is called to live and witness the unconditional love and mercy of God revealed and fulfilled by Christ. 5. Forgiveness and Reconciliation as Gifts of God In the parable of the prodigal son, the most striking element is the father’s festive and loving welcome of the returning son. It is a sign of the mercy of God, who is always willing to forgive and reconcile. Forgivingness and reconciliation is, therefore, seen as gifts of God. They go beyond condition recompense. The parable makes itvclear that there are no limits to forgiveness and reconciliation. The gifts of forgiveness and reconciliation are initiated in the mystery of Christ, the redeemer and reconciler of man from sin all its forms. St. Paul explains this truth in his writings: “If while we were enemies we were reconciled to God by the death of his Son, much more, now that we are reconciled, shall we be saved by his life. Not only so,
The Mercy of God: Conversion, Reconciliation and Penance
but we also rejoice in God through our Lord Jesus Christ, through whom we have now received our reconciliation” (Rm 5: 10-11, cf. Col 1:20-22). Therefore since “God was in Christ reconciling the world to himself… Be reconciled to God” (2 Cor 5:18, 20). This calls for an acceptance and a response by humankind. 6. Conversion, Reconciliationvand Penance Respond to God’s Mercy -The meaning of terms a) Conversion Conversion is a central theme of Scripture. It comes from Greek word metanoia, which means “to change one’s mind or heart” and “to regret” It translates the Hebrew or Aramaic concept which suggests making an about-face after having discovered one is traveling in the wrong direction. The Old Testament term shub is an action word; it implies an actual turning away from one’s for-
mer path, correcting one’s course and heading off in a new direction. The Apostolic Exhortation Reconciliatio et Paenitentia portrays the prodigal son “represents those who areaware of the existence in their inmost hearts of longing for reconciliation at all levels and without reserve” (RP 6) b) Reconciliation In Reconciliatio et Paenitentia we read “Reconciliation becomes necessary because there has been the break of sin from which derive all the other forms of break within man and about him. Reconciliation, therefore, in order to be complete necessarily requires liberation from sin, which is to be rejected in its deepest roots.” Thus, it “implies overcoming that radical break which is sin” (RP 4). c) Penance Penance is a complex term. Reconciliatio et Paeniten-
9
10 Saengtham Journal No. 2 May - August 2016/2559 tia explains: “If we link penance with the metanoia which the synoptic refers to, it means the inmost change of heart under the influence of the word of God and in the perspective of the kingdom. But penance also means changing one’s life in harmony with the change of heart, and in this sense doing penance is completed by bringing forth fruits worthy of penance… Penance is, therefore, a conversion that passes from the heart to deeds and then to the Christian’s whole life” (RP 4). From the meaning of these terms, we see that they are synonymous and go together as a process. It is the process of the transformation of the whole person responding to God’s merciful and reconciling love. It is the desire to return to the Father with the same attitude of the prodigal son.
7. The Church and the Sacrament of Penance and Reconciliation 7.1 God’s Mercy and the Mission of the Church Conscious of God’s mercy to her from generation to generation, the Church is aware of the need to bear witness in her whole mission to God’s mercy revealed in Christ (cf. DM 12). Firstly, the Church must profess and proclaim God’s mercy in all its truth, as it is handed down tovusvby revelation. Secondly, the Church livesvan authentic life when she professes and proclaims mercy, and when she brings people close to the sources of the Savior’s mercy. Thirdly, the Church professes and proclaims conversion. Conversion to God always consists in discovering His mercy. Fourthly, the Church invites man to practice mercy: “Blessed are the merciful, for they shall obtain mercy (Mt 5:7)” (cf. DM 13-14)
The Mercy of God: Conversion, Reconciliation and Penance
7.2 The Church as the Sacrament of Reconciliation The Church, as a reconciled and reconciling community, hasvthe mission of proclaiming the reconciliation. The Church, as the sacrament, is the sign and means of reconciliation in different ways, namely; by her very existence as a reconciled community which witnesses to and represents in the world the mercy of God and the work of Christ; by her service of the proclamation of the Good News of reconciliation; by being the means of conversion to God and of reconciliation among people (cf. RP 11) 7.3 The Sacrament of Penance and Reconciliation Since Vatican II, the understanding of the sacrament of penance and reconciliation has changed. Now the major theme is not the judgment of God but the mercy of God. The Rite of Penance (1974) presents the sacrament as an aspect of the mercy of God who reconciled the world
11
in Christ. Christ’s ministry of forgiveness and reconciliation is continued in the Church whose very nature is expressed whenever it manifests itself as the sacrament of God’s mercy. It is only by the grace of the merciful God that the sinner comes back to “the Father who first love us” (cf. 1 Jn 4:19). In the sacrament, the faithful obtain from the mercy of God pardon for their sins and reconciliation with the Church. They experience and proclaim the mercy of God in their lives as they celebrate with the priest the liturgy by which the Church continually renews itself. The whole Church as a priestly people is to help the sinner to obtain the mercy of God who alone can forgive sins. The focus of the sacrament is clearly on the mercy of God. 8 Christian Living in the Dignity of the Children of God Christian, recognize your dignity and, now that you share in God’s own nature, do not return
12 Saengtham Journal No. 2 May - August 2016/2559 to your former base condition by sinning. Remember who is your head and of whose body you are a member. Never forget that you have been rescued from the power of darkness and brought into the light of the Kingdom of God. (St. Leo the Great)
BIBLIOGRAPHY Bohr David. Catholic Moral Tradition. Huntington: Our Sunday Visitor Publishing Division, 1999. Fernández Aurelio and Socías James. Our Moral Life in Christ. Princeton: Scepter Publishres, 1997. Fink Peter E. (ed.), The New Dictionary of Sacramental Worship. Collegeville: The Liturgical Press, 1990. John Paul II. Apostolic Letter Tertio Millennio Adveniente. 10 Novem ber 1994. John Paul II. Encyclical Letter Dives in Misericordia. 30 November 1980. John Paul II. Post-Synodal Apostolic Exhortation Reconciliatio et Paeni tentia. 2 December 1984. Official Catechetical Text in Preparation for the Holy Year 2000, God, the Father of Mercy. Nairobi: Paulines Publications Africa, 1998. Pastoral-Missionary Study Aid for the Year 1999, The Father of Our Lord Jesus Christ. Nairobi: Paulines Publications Africa, 1999. Second Vatican Council. Pastoral Constitution on the Church in the Modern World Gaudium et Spes. 7 December 1965.
พระแม่ผู้ทรง บาทหลวง ผศ.ดร.ฟรังซิส ไก้ส์, S.D.B.
1. บทน�ำ พระนางมารียท์ รงเป็นบุคคลส�ำคัญใน ด ว ง ใ จ ข อ ง ค ริ ส ต ช น พ ร ะ น า ม ข อ ง พระมารดาบันทึกไว้ในเอกสารส�ำคัญของ พระธรรมล�้ำลึกเกี่ยวกับความเชื่อของเรา พระนางทรงเป็นบุคคลเดียวที่ปรากฏในบท แสดงความเชื่อเพราะทรงมีบทบาทส�ำคัญ ในประวัติศาสตร์แห่งความรอดพ้น พระ วจนาตถ์นิรันดร ทรงเป็นพระเจ้าแท้และ มนุษย์แท้ ทรงเป็นองค์ความสว่างจากองค์ ความสว่าง ทรงบังเกิดร่วมพระธรรมชาติ
เดี ย วกั บ พระบิ ด า “เสด็ จ จากสวรรค์ พระองค์ทรงรับสภาพมนุษย์จากพระนาง มารียพ์ รหมจารี ด้วยพระอานุภาพของพระ จิตเจ้า” พระนางมารีย์สตรีผู้ต�่ำต้อยทรง กลายเป็นพระมารดาของพระเจ้าผู้สูงสุด อาศั ย พระนาง พระเจ้ า พอพระทั ย ทรง บั น ดาลให้ พ ระสั ญ ญาที่ จ ะช่ ว ยมนุ ษ ย์ ใ ห้ รอดพ้นส�ำเร็จไป และทรงท�ำให้แผนการ แห่งพระเมตตากรุณาของพระองค์เป็นรูป ธรรม
บาทหลวงสังกัดคณะซาเลเซียน S.D.B., อาจารย์ประจ�ำสาขาวิชาเทววิทยา คณะศาสนศาสตร์ วิทยาลัยแสงธรรม
( หมวดพระสัจธรรม )
เมตตากรุณา
24 วารสารแสงธรรมปริทัศน์ ฉบับที่ 2 พฤษภาคม - สิงหาคม 2016/2559 ในพระนาง เหตุการณ์ยงิ่ ใหญ่ทสี่ ดุ ใน ประวัติศาสตร์จึงผูกพันกับพระชนมชีพและ พระภารกิจส�ำหรับมนุษย์ทกุ คนตลอดไป ดัง นั้น มนุษย์ชายหญิงคู่แรกน�ำความตายมาสู่ ทุกคนฉันใด พระนางมารีย์ในฐานะ “นาง เอวาคนใหม่” “มารดาของผูม้ ชี วี ติ ทัง้ หลาย” ทรงร่วมงานกับ “อาดัมคนใหม่” คือพระ คริสตเจ้า ก็เพือ่ น�ำชีวติ แท้จริงมาสูท่ กุ คนฉัน นั้น ดังที่สมเด็จพระสันตะปาปา ฟรังซิส ทรงเขียนไว้ในสมณโองการ “พระพักตร์แห่ง พระเมตตา” (Misericordiae vultus) เนื่องในโอกาสเฉลิมฉลองปีศักดิ์สิทธิ์แห่ง พระเมตตา วั น ที่ 11 เมษายน ค.ศ. 2015 ว่า “หลังจากอาดัมและเอวาตกใน บาป พระเจ้าไม่ทรงปรารถนาที่จะทอดทิ้ง มนุษย์ให้ต้องตกอยู่ในวิบากกรรมแห่งบาป โดยล� ำ พั ง ดั ง นั้ น พระองค์ จึ ง ทรงหั น พระเนตรไปยังพระนางมารีย์ผู้ศักดิ์สิทธิ์ไร้ มลทินในความรัก (เทียบ อฟ 1:4) ทรง เลื อ กพระนางให้ เ ป็ น มารดาพระผู ้ ไ ถ่ ข อง มนุษย์” (ข้อ 3) ด้ ว ยเหตุ นี้ พระนางมารี ย ์ จ ะทรง ปรากฏร่ ว มเป็ น หนึ่ ง เดี ยวกั บ พระบุ ต รอยู ่ เสมอ ในพระองค์และเพราะเห็นแก่พระ ประสงค์ของพระองค์ พระนางจะทรงรับใช้ รับมนุษย์ทุกคนผู้ต้องการความรักและรับ การอภั ย หนั ง สื อ ปฐมกาลได้ เ สนอแนะ บทบาทของพระนางเมื่อพระเจ้าตรัสกับงู ว่า “เราจะท�ำให้เจ้าและหญิงเป็นศัตรูกัน ให้ลกู หลานของเจ้าและลูกหลานของนางเป็น
ศัตรูกันด้วย เขาจะเหยียบหัวของเจ้า และ เจ้าจะกัดส้นเท้าของเขา (ปฐก 3:15) นี่ นับว่าเป็นค�ำสัญญาของพระเจ้าทีจ่ ะประทาน พระเมสสิยาห์ผู้ทรงช่วยมนุษย์ให้รอดพ้น เรายั ง พบพระสั ญ ญาเดี ยวกั น นี้ ใ นหนั ง สื อ ประกาศกอิ ส ยาห์ ที่ ป ระกาศล่ ว งหน้ า ถึ ง พระนางมารียพ์ รหมจารีวา่ “หญิงสาวผูห้ นึง่ จะตั้งครรภ์และให้ก�ำเนิดบุตรชาย และนาง จะเรี ย กเขาว่ า “อิ ม มานู เ อล” แปลว่ า “พระเจ้าสถิตกับเรา” (อสย 7:14) “เมือ่ ถึงเวลาทีก่ ำ� หนดไว้ พระเจ้าทรง ส่งพระบุตรของพระองค์ให้มาบังเกิด” (กท 4:4) เป็นมนุษย์จากพระนางมารีย์ ผู้ทรง ยอมรั บ แผนการนี้ ข องพระเจ้ า เมื่ อ ตรั ส ว่า “ข้าพเจ้าเป็นผู้รับใช้ของพระเจ้า ขอให้ เป็นไปกับข้าพเจ้าตามวาจาของท่านเถิด” (ลก 1:38) ค�ำยินยอมอิสระนี้ ท�ำให้ค�ำ ท�ำนายของทูตสวรรค์เป็นความจริงว่า “ท่าน จะตั้งครรภ์และให้ก�ำเนิดบุตรชายคนหนึ่ง ท่านจะตั้งชื่อเขาว่าเยซู เขาจะเป็นผู้ยิ่งใหญ่ และพระเจ้าผู้สูงสุดจะทรงเรียกเขาเป็นบุตร ของพระองค์ พระเจ้าจะประทานพระที่นั่ง ของกษัตริยด์ าวิดบรรพบุรษุ ให้แก่เขา เขาจะ ปกครองวงศ์ ต ระกู ล ของยาโคบตลอดไป และพระอาณาจักรของเขาจะไม่สิ้นสุดเลย” (ลก 1:31-33) พระนางมารียป์ ระทับอยูใ่ นเหตุการณ์ ส�ำคัญๆ ตลอดพระชนมชีพของพระเยซูเจ้า เช่น ประทับอยู่
พระแม่ผู้ทรงเมตตากรุณา
• ทีบ่ า้ นของเศคาริยาห์เพือ่ พระบุตร ในครรภ์ทรงบันดาลให้ยอห์น ผู้ท�ำพิธี ล้างได้รับความศักดิ์สิทธิ์ • ที่ เ มื อ งเบธเลเฮม พระนางทรง แสดงว่าเป็น “พระมารดาของพระ กุมาร” (เทียบ มธ 2:11) ผู้ทรง ช่วยมนุษย์ให้รอดพ้น • ในพระวิหารทรงถวายพระบุตรแด่ พระบิดา และทรงแสดงให้ประชากร ผู้ซื่อสัตย์ของอิสราเอลรู้ว่า พระองค์ เป็นพระเมสสิยาห์ ทรง “เป็นแสง สว่ า งเปิ ด เผยให้ ค นต่ า งชาติ รู ้ จั ก พระองค์” (ลก 2:32) • ที่ เ มื อ งนาซาเร็ ธ ในช่ ว งระยะที่ พระเยซูเจ้าทรงพระชนมชีพเร้นลับ พระนางทรงช่วยพระองค์ให้ “ทรง เจริญขึ้นทั้งในพระปรีชาญาณ พระ ชนมายุ และพระหรรษทานเฉพาะ พระพั ก ตร์ พ ระเจ้ า และต่ อ หน้ า มนุษย์” (ลก 2:52) • ที่ ห มู ่ บ ้ า นคานาทรงช่ ว ยบรรดา ศิษย์ให้มีความเชื่อในพระคริสตเจ้า (เทียบ ยน 2:11) • ในช่วงระยะเวลาทีพ่ ระเยซูเจ้าทรง เทศนาสั่งสอน พระนางมารีย์ผู้เคย ตรัสว่า “ขอให้เป็นไปกับข้าพเจ้าตาม วาจาของท่ า นเถิ ด ” ทรงเป็ น แบบ อย่ า งการเป็ น ศิ ษ ย์ แ ท้ จริ ง ของพระ คริ ส ตเจ้ า คื อ “ผู ้ ใ ดท� ำ ตามพระ
25
ประสงค์ของพระเจ้า” (มก 3:35) • ที่ภูเขากัลวารีโอ พระนางมารีย์ ทรงรั บ ทุ ก คนมาเป็ น บุ ต รตามพระ ประสงค์ ข องพระผู ้ ไ ถ่ ผู ้ ก� ำ ลั ง สิ้ น พระชนม์ พระนางทรงรั บ ของ ประทานจากพระบุตรผู้ตรัสว่า “แม่ นี่คือลูกของแม่” (ยน 19:26) • ในห้องชั้นบน พระนางทรงร่วม อธิษฐานภาวนาสม�่ำเสมอกับบรรดา ศิ ษ ย์ ที่ ก� ำ ลั ง รอคอยพระจิ ต เจ้ า (เทียบ กจ 1:14) เพื่อทรงติดตาม การก�ำเนิดของพระศาสนจักรและทรง ส่ ง เสริ ม บรรดาศิ ษ ย์ ใ ห้ ไ ปประกาศ ข่าวดีทั่วโลก • ในสวรรค์ทรงร่วมพระสิริรุ่งโรจน์ นิ รั น ดรของพระบุ ต ร “สตรี มี ด วง อาทิตย์เป็นอาภรณ์ มีดวงจันทร์อยู่ ใต้ เ ท้ า มี ม งกุ ฎ ดาวสิ บ สองดวง ประดับศีรษะ” (วว 12:1) พร้อม กับพระเยซูเจ้าทรงมีชยั ชนะเหนือบาป และความตาย ทรงเป็นภาพลักษณ์ ของมนุ ษ ย์ ใ นอั น ตวิ ท ยาและเป็ น “ ค น ก ล า ง เ ยี่ ย ง ม า ร ด า ” ข อ ง มนุษยชาติที่ปรารถนาความรอดพ้น 2. พระมารดา พระธรรมล�้ำลึกเรื่อง “ความใกล้ชิด” ระหว่างพระมารดากับพระคริสตเจ้าปรากฏ ชัดเจนในกระแสเรียกการเป็นมารดาของพระ
26 วารสารแสงธรรมปริทัศน์ ฉบับที่ 2 พฤษภาคม - สิงหาคม 2016/2559 บุ ต ร เพราะในส่ ว นลึ ก ของความเป็ น อยู ่ พระนางมารียท์ รงเป็นพระมารดา ทุกสิง่ ทุก อย่างในพระนางมุ่งไปสู่การเป็นมารดาคือ ทั้งพระวรกาย พระวิญญาณ สติปัญญา ความรูส้ กึ นึกคิด ทัศนคติ และการอุทศิ ตน อย่างไม่หยุดหย่อน พระนางเป็นพระมารดา โดยหลักการ อย่างสมบูรณ์และโดยเฉพาะ พระวรสารเรี ย กพระนางเสมอๆ ว่ า “พระมารดาของพระเยซูเจ้า” และ “พระ มารดาขององค์พระผูเ้ ป็นเจ้า” ดังทีพ่ ระเยซู เจ้ า ผู ้ ท รงถู ก ตรึ ง บนไม้ ก างเขนทรงเรี ย ก พระนางว่ า “นี่ คื อ แม่ ข องท่ า น” (ยน 19:27) เพราะทรงต้องการให้เราเข้าใจว่า บทบาทนี้รวมสาระส�ำคัญของพระธรรมล�้ำ ลึกเรื่องพระนางมารีย์ ดังนั้น ในใจของ มนุษย์ผู้เป็นคนบาปและต้องการความช่วย เหลือมีความหวังแน่วแน่ฝังลึกอยู่ และเขา จับตามองพระนางด้วยความมั่นใจและไว้ วางใจในสตรี ไ ม่ ธ รรมดาผู ้ นี้ พระมารดา แท้จริงของพระผู้ไถ่ และพระมารดาแท้จริง ของมนุษย์ ผู้เป็นคนแรกที่มีประสบการณ์ พระธรรมล�้ำลึกที่ไม่อาจบรรยายได้ในเรื่อง พระเมตตาของพระเจ้า สมเด็จพระสันตะปาปานักบุญยอห์น ปอลที่ 2 ทรงเขี ย นในพระสมณสาสน์ “พระเมตตาของพระเจ้ า ” (Dives in Misericordia) ว่า “พระนางมารีย์ทรงเป็น ผูท้ ไี่ ด้รบั พระเมตตาเป็นพิเศษอย่างยิง่ และ แบบที่ไม่มีผู้ใดเคยได้รับมาก่อน ในขณะ
เดียวกัน อาศัยดวงใจที่เสียสละ พระนาง ทรงมีสว่ นร่วมอย่างพิเศษอยูเ่ สมอในการเปิด เผยพระเมตตาของพระเจ้ า ... ดั ง นั้ น พระนางมารีย์จึงเป็นบุคคลผู้มีความรู้อย่าง ลึกซึง้ เกีย่ วกับพระธรรมล�ำ้ ลึกแห่งพระเมตตา ของพระเจ้า ทรงทราบถึงสิ่งที่จะต้องแลก เปลี่ยนว่ามีคุณค่ามากเพียงใด เราจึงเรียก พระนางว่า พระมารดาแห่งพระเมตตา” (ข้อ 9) พระเยซูเจ้าพอพระทัยที่จะทรงฝาก มนุษย์ทุกคนไว้ในการดูแลของพระมารดา พระนางจึงทรงเอาพระทัยใส่ดูแลเราอย่าง ใกล้ชิดและด้วยความรักในฐานะที่เราเป็น บุ ต รของพระนาง ในบทเทศน์ วั น สมโภช พระนางมารีย์รับเกียรติเข้าสู่สวรรค์ทั้งกาย และวิญญาณ นักบุญเบอร์นาร์ดบรรยาย ความจริงดังกล่าวว่า “ข้าแต่พระนางผู้ทรง ได้รับพระพร ใครเล่าจะแลเห็นความยาว ความกว้าง ความสูงและความลึกแห่งพระ เมตตาของพระนางได้ พระเมตตาของ พระนางมีความยาวที่ช่วยเหลือทุกคนผู้วอน ขอจนถึ ง วั น สุ ด ท้ า ย มี ค วามกว้ า งที่ จ ะ แผ่ ข ยายท� ำ ให้ โ ลกเต็ ม เปี ่ ย ม มี ค วามสู ง ครอบคลุ ม การฟื ้ น ฟู โ ลกจากเบื้ อ งบน มี ความลึกน�ำความรอดพ้นแก่ผทู้ ยี่ ใู่ นความมืด และเงาแห่ ง ความตาย ดั ง นั้ น อาศั ย พระนางมารี ย ์ ส วรรค์ เ ต็ ม ไปด้ ว ยผู ้ ค น มากมาย นรกแทบจะไม่มีผู้ใดอาศัยอยู่เลย ซากปรักหักพังของกรุงเยรูซาเล็มในสวรรค์ได้
พระแม่ผู้ทรงเมตตากรุณา
รับการบูรณะซ่อมแซม ผู้เสียชีวิตและรอ คอยชีวิตใหม่ก็ได้รับชีวิตเป็นของประทาน... พระเมตตาของพระนางจงบันดาลให้โลกเข้า ใจพระหรรษทานทีพ่ ระนางได้รบั จากพระเจ้า เพื่ออาศัยค�ำอธิษฐานภาวนาศักดิ์สิทธิ์ของ พระนาง ผู้ป่วยได้รับการรักษาให้หาย ผู้ อ่อนแอได้รับพละก�ำลังให้เข้มแข็ง ผู้โศก เศร้าได้รบั การบรรเทา และผูอ้ ยูใ่ นอันตราย ได้รบั การช่วยเหลือและการปลดปล่อยให้เป็น อิสระ” ดั ง นั้ น ใจของเราอดไม่ ไ ด้ ที่ จ ะ อธิษฐานภาวนาดังที่นักบุญยอห์น ปอลที่ 2 ทรงวอนขอ “พระมารดาแห่ ง พระ เมตตา” ในตอนสุดท้ายของพระสมณสาสน์ เรื่ อ ง “ความรุ ่ ง โรจน์ แ ห่ ง ความจริ ง ” (Veritatis Splendor) ว่า “ข้าแต่พระนาง มารีย์ พระมารดาแห่งพระเมตตา โปรด ทรงดูแลมนุษย์ทุกคน เพื่อไม้กางเขนของ พระคริสตเจ้าจะได้ไม่ไร้ผล เพือ่ มนุษย์จะไม่ หลงจากทางแห่งความดี ไม่สูญเสียความ ส�ำนึกถึงบาป แต่เจริญเติบโตในความหวัง มากยิ่งขึ้นในพระเจ้าผู้ “ทรงเปี่ยมด้วยพระ เมตตา” (อฟ 2:4) สมัครใจปฏิบตั กิ จิ การ ดีซึ่งพระเจ้าทรงก�ำหนดไว้ล่วงหน้า (เทียบ อฟ 2:10) ดั ง นั้ น ชี วิ ต ทั้ ง หมดของเขา เพื่อ “จะได้สรรเสริญพระสิริรุ่งโรจน์ของ พระองค์” (อฟ 1:12)
27
3. ความเมตตาในพระคัมภีร์ ค�ำว่า “พระเมตตา” ในภาษาไทยมัก จะแปลมาจากค� ำ ภาษาฮี บ รู ว ่ า Hesed หรื อ ค� ำ ภาษากรี ก ว่ า Eleos แต่ ค� ำ ว่ า “เมตตา” ไม่ครอบคลุมความหมายทั้งหมด ของค� ำ ทั้ ง สองนี้ เมื่ อ เราพู ด ว่ า “ความ เมตตา” เราหมายถึงทัศนคติของผู้ที่ “ให้ อภัย” ความผิดที่ตนถูกล่วงเกิน หรือของ ผู้ที่ “ช่วยเหลือ” ผู้มีความต้องการทั้งฝ่าย กายหรือฝ่ายจิต แต่ในพระคัมภีรภ์ าษาฮีบรู ค�ำที่เราแปลว่าพระเมตตามีความหมายรวม ถึง “ความรัก” “ความใจดี” “ความสุภาพ อ่อนโยน” “ความสงสาร” และ “ความ บรรเทาใจ” สมเด็จพระสันตะปาปาฟรังซิส ทรงเขียนไว้ในสมณโองการ “พระพักตร์แห่ง พระเมตตา” (Misericordiae Vultus) ว่า “ค�ำว่าพระเมตตาในพระคัมภีรค์ อื กุญแจ ส� ำ คั ญ ที่ อ ธิ บ ายภารกิ จ ของพระเจ้ า ที่ ท รง กระท�ำต่อเรา” (ข้อ 9) ในพันธสัญญาเดิมค�ำว่า “Hesed” บรรยายทั ศ นคติ พื้ น ฐานของพระเจ้ า คื อ ความพระทั ย ดี ข องพระองค์ ต ่ อ ประชากร ความเอือ้ เฟือ้ เผือ่ แผ่ทที่ มุ่ เทเพือ่ ช่วยเหลือสิง่ สร้างของพระองค์ โดยไม่เรียกร้องค่าตอบ แทนใดๆ ค�ำนี้ยังใช้เพื่อชี้แจงลักษณะใด ลักษณะหนึง่ ของความสัมพันธ์ทพี่ ระเจ้าทรง มีต่อมนุษย์ เช่น ความเที่ยงธรรม การ พิ พ ากษาเพื่ อ ช่ ว ยเหลื อจ� ำ เลยให้ พ ้ น จาก ความผิด คือเสนอพระองค์เป็น ผู้ทรงปลด
28 วารสารแสงธรรมปริทัศน์ ฉบับที่ 2 พฤษภาคม - สิงหาคม 2016/2559 ปล่อยมนุษย์ให้เป็นอิสระ พระปรีชาญาณ สรรเสริญทัศนคติของ Hesed โดยเสนอว่า “ผู้แสวงหาความชอบธรรมและความเมตตา กรุณา จะพบชีวิต ความชอบธรรม และ เกียรติยศ” (สภษ 21:21) ค�ำว่า “Hesed” ยังบรรยายความรู้สึกรักผู้ที่ประสบความโชค ร้ า ย โดยเฉพาะเด็ ก ที่ ไ ม่ มี ผู ้ ป กป้ อ งดู แ ล ความรักที่มาจากความผูกพันเยี่ยงมารดา ความเห็นอกเห็นใจและความเมตตาสงสาร ต่ อ ผู ้ อื่ น ค� ำ ว่ า “Hesed” ยั ง ผู ก พั น กั บ พั น ธสั ญ ญาแม้ บ างครั้ ง ความเมตตาของ พระเจ้าดูเหมือนขึ้นอยู่กับการเชื่อฟังธรรม บัญญัติของโมเสส (เทียบ 20:6; 34:6; 1 พกษ 8:23; อสย 55:3) แต่ โ ดย ทัว่ ไป ปรากฏความส�ำนึกทีว่ า่ พระเจ้าทรง เปีย่ มด้วยความเมตตาเหลือล้น จะประทาน อภัยความไม่ซื่อสัตย์ใดๆ เพราะทรงเข้าใจ ความอ่อนแอของมนุษย์ ดังนั้น “Hesed” ของพระเจ้าอดทนมากกว่า “Hesed” ของ มนุษย์ ท�ำให้พระองค์ทรงมั่นคงในความ เมตตากรุณา แม้เมือ่ มนุษย์ทำ� ทุกอย่างเพือ่ ท�ำลายความสัมพันธ์กับพระองค์ (เทียบ อพย 34:6; กดว 14:19; ยรม 3,1213) ในทีส่ ดุ พระยาห์เวห์พระองค์เองทรง เป็น “Hesed” ค� ำ ภาษากรี กว่ า “Eleos” ในพระ คัมภีร์ภาษากรีกฉบับ 70 และโดยเฉพาะ อย่ า งยิ่ ง ในพั น ธสั ญ ญาใหม่ ยั ง คงรั ก ษา ความหมายของค�ำภาษาฮีบรูว่า “Hesed”
แต่เน้นเป็นพิเศษถึงความจ�ำเป็นที่มนุษย์จะ ต้ อ งมี ท ่ า ที เ มตตากรุ ณ าอี ก ด้ ว ย เพราะ “Eleos” บรรยายหน้าที่ต่อเพื่อนพี่น้องและ ความพร้อมทีจ่ ะต้อนรับคนบาป (เทียบ มธ 9:13) รวมทั้ ง ความเที่ ย งตรงและความ ซื่อสัตย์ต่อธรรมบัญญัติ เป็นท่าทีในแง่บวก ต่อเพื่อนพี่น้องคล้ายกับที่เราคาดหวังจะได้ รับจากพระเจ้า (เทียบ มธ 5:7; 18:33) แสดงความรั ก ต่ อ ผู ้ อื่ น โดยช่ ว ยเหลื อ เขา (เทียบ ลก 10:37) ความพร้อมเสมอทีจ่ ะ ให้อภัยผูอ้ นื่ และความรักทีผ่ ลักดันพระเจ้า ให้ ป ระทานชี วิตในพระคริ ส ตเยซู (เที ย บ อฟ 2:4; 1 ปต 1:3) สรุปแล้ว เราอาจ ยืนยันว่า ถ้าพระเมตตาของพระเจ้าแสดง ความรักสูงสุด ไม่มีเงื่อนไขต่อสรรพสิ่งทั้ง มวลที่เป็นรูปธรรมในพระประสงค์ที่จะช่วย มนุษย์ให้รอดพ้นจนถึงทีส่ ดุ คือทรงบันดาล ให้ พ ระบุ ต รเพี ย งพระองค์ เ ดี ย วทรงรั บ ธรรมชาติ ม นุ ษ ย์ แ ละสิ้ น พระชนม์ ความ เมตตาของมนุษย์หมายถึงความปรารถนาที่ จะท�ำความดี ให้อภัย เปิดตนต้อนรับและ ช่ ว ยเหลื อ ผู ้ อื่ น ไม่ เ ป็ น เพี ย งหน้ า ที่ ข อง พระเจ้าเท่านั้นที่จะทรงพระเมตตา แต่เป็น หน้าทีข่ องมนุษย์ทกุ คนทีจ่ ะด�ำเนินชีวติ โดย แสดงความเมตตากรุณา เพื่อเป็นคริสตชน ที่ แ ท้ จริ ง และโดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง เป็ น มนุษย์ที่แท้จริงเช่นเดียวกับพระนางมารีย์
พระแม่ผู้ทรงเมตตากรุณา
4. พระเมตตาของพระนางมารีย์ในพระ คัมภีร์ 4.1 พระนางมารีย์ ผู้ที่พระเจ้า โปรดปรานและสตรี ผู ้ เ มตตากรุ ณ ทูตสวรรค์ทักทายพระนางมารีย์ โดยเรี ย กว่ า “kecharitoméne” ห ม า ย ถึ ง “ ท ่ า น ผู ้ ที่ พ ร ะ เ จ ้ า โปรดปราน” (ลก 1:28) ใน บทเพลง “มั ก ญี ฟ ี กั ต ” พระนาง พรหมจารี แ สดงความชื่ น ชมยิ น ดี เพราะพระเจ้าพระผู้กอบกู้พระนาง ทอดพระเนตรผู ้ รั บ ใช่ ต�่ ำ ต้ อ ยของ พระองค์ และทรงกระท�ำกิจการยิ่ง ใหญ่ ส� ำ หรั บ พระนาง (เที ย บ ลก 1:46-49) ด้วยวิธีนี้พระนางมารีย์ พร้อมกับอิสราเอลทัง้ หมดทรงรูส้ กึ ว่า พระเมตตาของพระเจ้าผู้ทรงช่วยให้ รอดพ้นสัมผัสพระนาง พระเมตตานี้ แผ่ ไ ปตลอดทุ ก ยุ ค ทุ ก สมั ย (เที ย บ ลก 1:50, 54)ดังทีท่ รงสัญญาไว้แก่ อั บ ราฮั ม และบุ ต รหลานตลอดไป (เทียบ ลก 1:55) เมื่อพระนางมารีย์ทรงได้รับพระ เมตตาล่ ว งหน้ า จากพระเจ้ า แล้ ว พระนางพรหมจารี ท รงส� ำ นึ ก ใน สถานการณ์ ย ากล� ำ บากของเพื่ อ น มนุษย์ ทรงมีพระทัยอ่อนโยน ทรง เห็นอกเห็นใจผู้ที่ต้องเผชิญความยาก ล�ำบาก เช่น ในงานเลี้ยงที่อาจน�ำ
29
ความอับอายแก่คู่บ่าวสาว พระนาง มารี ย ์ ตรั ส กั บ พระเยซู เจ้ า ที่ ห มู ่ บ ้ า น คานาว่ า “เขาไม่ มี เ หล้ า องุ ่ น แล้ ว ” (ยน 2:3) และทรงส่งคนรับใช้ไป พบพระเยซูเจ้าโดยตรัสว่า “เขาบอก ให้ ท ่ า นท� ำ อะไรก็ จ งท� ำ เถิ ด ” (ยน 2:5) พระนางทรงเป็นผูช้ หี้ นทางทีน่ ำ� ไปสู่ความชื่นชมยินดีอย่างเต็มเปี่ยม ในที่ นี้ เราเห็ น ทั้ ง สองด้ า นแห่ ง ความเมตตากรุ ณ าหนึ่ ง เดี ย วของ พระมารดาพระเยซูเจ้าคือ ด้านหนึ่ง ทรงเป็ น ผู ้ มี ค วามรู ้ สึ ก ไวต่ อ ความ ต้องการของมนุษย์ที่ขาดปัจจัยทาง ร่างกายและจิตใจ อีกด้านหนึ่งทรง เป็น ผู้เชิญชวนเราให้ปฏิบัติตามพระ วาจาของพระคริสตเจ้า ค�ำอธิษฐาน ภานาและกิจการก็ประสานกลมกลืน เป็นหนึ่งเดียวกันอย่างดี หรือพูดอีก นั ย หนึ่ ง การอธิ ษ ฐานภาวนาเป็ น กิจการแรกทีเ่ กิดผลดีทสี่ ดุ ค�ำแนะน�ำ ที่พระนางมารีย์ทรงให้แก่คนรับใช้ใน งานมงคลสมรส สะท้ อนถ้ อยค� ำ ที่ กษัตริย์ฟาโรห์แห่งอียิปต์และถ้อยค�ำ ของอิสราเอลที่ภูเขาซีนาย เมื่อการ กันดารอาหารเริ่มเป็นปัญหาที่อียิปต์ และแผ่นดินอื่นๆ โดยรอบ กษัตริย์ ฟาโรห์เคยตรัสว่า “จงไปหาโยเซฟ เถิ ด และท� ำ ตามที่ เ ขาสั่ ง ” (ปฐก 41:55) และเมื่ออิสราเอลเดินทาง
30 วารสารแสงธรรมปริทัศน์ ฉบับที่ 2 พฤษภาคม - สิงหาคม 2016/2559 มาถึงภูเขาซีนาย เขาประกาศยืนยัน ความเชื่อพร้อมเพรียงกันว่า “เราจะ ท� ำ ทุ ก สิ่ ง ตามที่ พ ระยาห์ เ วห์ ต รั ส ” (อพย 19:8; เทียบ 24:3, 7) เมื่ อ นั ก บุ ญ ยอห์ น อั ค รสาวกเล่ า อัศจรรย์ที่พระเยซูเจ้าทรงกระท�ำที่ หมู ่ บ ้ า นคานา โดยตี ค วามหมาย อาศั ย แสงสว่ า งที่ ม าจากพระธรรม ล�้ำลึกปัสกา เขาก็ท�ำให้พระมารดา ของพระเยซูเจ้าเป็นเสียงของความ ปรารถนาลึกซึ้งที่เกิดขึ้นจากดวงใจ ของมนุษยชาติ คือทั้งชาวอิสราเอล และคนต่างศาสนา “ไม่มีเหล้าองุ่น แล้ว” เขาทั้งหลายรู้ว่า ทรัพยากร แห่ ง วั ฒ นธรรมของตนไม่ เ พี ย งพอ เพื่อตอบสนองความกระหายที่อยู่ใน ใจของมนุษย์ทุกคน ผู้แสวงหาความ จริ ง อย่ า งเต็ ม เปี ่ ย ม ดั ง นั้ น เขา ต้ อ งการพระเยซู เ จ้ า “โลกทั้ ง โลก ก�ำลังตามเขาไปแล้ว” (ยน 12:19) ทุกคนจะพูดเช่นเดียวกับชาวกรีกบาง คนที่ขึ้นไปกรุงเยรูซาเล็มเพื่อร่วมฉล องปัสกาว่า “พวกเราอยากเห็นพระ เยซูเจ้า” (ยน 12:21ข) ชาวกรีก เหล่านัน้ ฝากความปรารถนาของตนไว้ กับฟีลิป ซึ่งมาจากหมู่บ้านเบธไซดา ฉันใดพระมารดาของพระเยซูเจ้าทรง น�ำเสนอความคร�่ำครวญของโลกมอบ แก่พระบุตรที่หมู่บ้านคานาในแคว้น กาลิลี ซึ่งเป็นแคว้นของคนต่างชาติ
ฉั น นั้ น เหตุ ก ารณ์ ที่ เ กิ ด ขึ้ น หมู ่ บ ้ า น คานาสะท้อนความสากลของแคว้น กาลิลี ซึ่งเป็นเหมือนภูเขาซีนายใหม่ ถ้ า มนุ ษ ย์ ทุ ก ยุ ค ทุ ก สมั ย ยอมรั บ ค� ำ เสนอของพระมารดาพระเยซูเจ้าเพื่อ ช่ ว ยเขารอดพ้ น ชนชาติ ต ่ า งๆ ที่ กระจัดกระจายก็จะกลับมารวมเป็น หนึ่งเดียวกษัตริย์ฟาโรห์ก็จะไม่ต่อสู้ กับอิสราเอลอีกต่อไป แต่ทั้งกษัตริย์ ฟาโรห์และอิสราเอลจะเป็นครอบครัว หนึ่งเดียวในพันธสัญญากับพระเจ้า “วั น นั้ น อิ ส ราเอลจะร่ ว มเป็ น พันธมิตรกับอียิปต์และอัสซีเรีย ชน ทั้งสามชาติจะน�ำพระพรมาสู่แผ่นดิน พระยาห์ เ วห์ จ อมจั ก รวาลจะทรง อวยพรเขาว่า ‘ชาวอียปิ ต์ ประชากร ของเราจงได้รับพร อัสซีเรียผลงาน จากมือของเรา และอิสราเอลส่วน มรดกของเราจงได้รบั พรด้วย’” (อสย 19:24-25) ดังนั้น พระนางมารีย์ทรงมีพระ พั กตร์ ล ะม้ า ยคล้ า ยกั บ พระเยซู เ จ้ า มากทีส่ ดุ ทรงออกจากตนเองเพือ่ รับ ชีวิตของผู้มีความทุกข์ทรมานทั้งกาย และใจ พระนางทรงเอาใจใส่ลว่ งหน้า ด้วยพระทัยอ่อนโยน ทรงแบกความ ผิดของบุตรชายหญิงไว้ ทรงก้มลง มองดูความยากจนของผู้ที่พรากจาก หนทางพระวรสาร ทรงเป็ น “ผู ้ ชี้ ทาง” แก่ เ ราให้ เ ดิ น ไปพบพระ
พระแม่ผู้ทรงเมตตากรุณา
คริสตเจ้า จะได้ประทานแรงบันดาล ใจทุกอย่างด้วยพลังแห่งความรัก สมเด็จพระสันตะปาปาฟรังซิสทรง เขียนอย่างชัดเจนในพระสมณสาสน์ พระด�ำรัสเตือนเรื่อง “ความชื่นชม ยิ น ดี แ ห่ ง พระวรสาร” (Evangelii Gaudium) ว่า “พระนางมารีย์ทรง เป็ น ผู ้ ที่ รู ้ จั ก เปลี่ ย นถ�้ ำ เลี้ ย งสั ต ว์ ใ ห้ กลายเป็นบ้านของพระเยซูเจ้า พร้อม กับผ้าอ้อมและความรักอันอ่อนโยน ท่ ว มท้ น พระนางทรงเป็ น ผู ้ รั บ ใช้ ต�่ำต้อยของพระบิดา ทรงเปี่ยมด้วย ความชื่ น ชมยิ น ดี ใ นการสรรเสริ ญ พระเจ้ า พระนางทรงเป็ น เพื่ อ นที่ เอาใจใส่เสมอ เพือ่ มิให้เหล้าองุน่ ต้อง ขาดไปในชีวิตของเรา” (ข้อ 286) “ลักษณะของพระนางมารียป์ รากฏอยู่ ในกิจกรรมการประกาศพระวรสาร ของพระศาสนจักร เพราะแต่ละครั้ง ที่ เ รามองดู พ ระนางมารี ย ์ เรา ปรารถนาที่จะเชื่อในพลังการปฏิวัติ ของความรักและความสุภาพอ่อนโยน ในพระนางเรามองเห็นความถ่อมตน และความสุ ภ าพอ่ อ นโยนที่ มิ ใ ช่ คุ ณ ธรรมของผู ้ อ ่ อ นแอ แต่ เ ป็ น คุณธรรมของผู้เข้มแข็ง ที่ไม่ต้องการ ท�ำร้ายผู้อื่น เพื่อที่จะรู้สึกว่าตัวเอง ส�ำคัญ” (ข้อ 288)
31
4.2 พระนางมารียผ์ ทู้ รงได้รบั เกียรติ เข้าสู่สวรรค์ทั้งกายและวิญญาณทรง เป็นเครื่องหมาย “ความบรรเทาใจ” พระคริสตเจ้าผู้ทรงกลับคืนพระ ชนมชีพทรงเป็น ผู้ “บรรเทาและให้ ก� ำ ลั ง ใจ” แก่ พ ระศาสนจั ก ร โดย เฉพาะอย่ า งยิ่ ง อาศั ย การกลั บ คื น พระชนมชี พ ของพระองค์ ฉั น ใด พระนางมารีย์ทรงเป็น ผู้ “บรรเทา และให้ก�ำลังใจ” แก่พระศาสนจักร โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง อาศั ย การรั บ เกี ย รติ เ ข้ า สู ่ ส วรรค์ ทั้ ง กายและ วิญญาณฉันนั้น เพื่อจะทรงละม้าย คล้ า ยอย่ า งเต็ ม เปี ่ ย มกั บ พระบุ ต ร ผูท้ รงกลับคืนพระชนมชีพ ดังนัน้ ใน พระธรรมนูญว่าด้วยพระศาสนจักร สภาสังคายนาวาติกันที่ 2 สอนว่า “ในโลกนี้ พ ระนางก็ ยั ง ทรงส่ อ งแสง เป็นเสมือนเครือ่ งหมายของความหวัง ที่แน่นอนและความบรรเทาใจส�ำหรับ ประชากรของพระเจ้าที่ก�ำลังเดินทาง อยู่บนแผ่นดินนี้ จนกว่าวันขององค์ พระผู ้ เ ป็ น เจ้ า จะมาถึ ง ” (Lumen Gentium 68) พูดอีกนัยหนึง่ พระ นางมารีย์ผู้ทรงรับเกียรติเข้าสู่สวรรค์ ทรงมีส่วนร่วมอย่างเต็มเปี่ยมกับการ กลั บ คื น พระชนมชี พ ของพระเยซู คริสตเจ้า ทรงส่องแสงในสายตาของ เราเพื่อให้มองเห็นสัญลักษณ์ความ
32 วารสารแสงธรรมปริทัศน์ ฉบับที่ 2 พฤษภาคม - สิงหาคม 2016/2559 บรรเทาใจ ในพระนางมนุษยชาติทยี่ งั ต้ อ งเดิ น ในหนทางประวั ติ ศ าสตร์ สามารถมองเห็ น และลิ้ ม รสจุ ด มุ ่ ง หมายสุดท้ายทีก่ ารจาริกแสวงบุญของ เรามุ่งไปให้ถึง พระศาสนจักรในฐานะหัวใจของ มนุษยชาติ จึงเข้าใจว่าพระนางมารีย์ ผูท้ รงรับเกียรติเข้าสูส่ วรรค์ทงั้ กายและ วิญญาณ ไม่ทรงเป็นข้อยกเว้นแต่เป็น เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นล่วงหน้าก่อนที่จะ เป็นจริงส�ำหรับผูอ้ นื่ ในสังฆธรรมนูญ ว่ า ด้ ว ยพิ ธี ก รรมศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ สภา สังคายนาวาติกันที่ 2 ยังสอนไว้ว่า ในพระนางมารี ย ์ ผู ้ ท รงรั บ พระสิ ริ รุ ่ ง โรจน์ เ คี ย งข้ า งพระบุ ต ร “พระ ศาสนจักรชื่นชมและเทิดทูนพระนาง มารียว์ า่ เป็นผลงานประเสริฐสุดของ การไถ่กู้ เพ่งมองพระนางด้วยความ ยิ น ดี ในฐานะที่ ท รงเป็ น รู ป แบบ บริสุทธิ์ยิ่งของสภาพที่พระศาสนจักร ปรารถนาและหวั ง จะเป็ น อย่ า ง สมบูรณ์ด้วยเช่นเดียวกัน” (Sacrosanctum Concilium 103) จุดมุ่งหมายสุดท้ายของพระนาง มารียจ์ ะเป็นจุดมุง่ หมายของมนุษย์ทกุ คนด้ ว ยเช่ น กั น เนื่ อ งด้ ว ยการ ประกาศ “ข่าวดี” นี้เป็นความจริง แล้ ว ในพระนางพรหมจารี ดั ง นั้ น จึงสมควรที่พระนางทรงปฏิบัติพระ
ภารกิ จ การบรรเทาใจด้ ว ยความ เมตตากรุณาแก่มนุษย์ทุกคนซึ่งเป็น ห่ ว งกั ง วลมากยิ่ ง ขึ้ น ถึ ง ปั ญ หาที่ ว ่ า ชีวิตบนแผ่นดินนี้มีความหมายอะไร และหลังจากชีวิตนี้ยังมีอีกชีวิตหนึ่ง หรือไม่ เมื่อได้รับความบรรเทาจาก ความมั่ น ใจสงบสุ ข โดยการพิ ศ เพ่ ง พระนางมารีย์ผู้ทรงได้รับเกียรติเข้าสู่ สวรรค์ ทั้ ง กายและวิ ญ ญาณ คน จ� ำ นวนมากที่ อ ธิ ษ ฐานภาวนาและ จาริกแสวงบุญเดินทางไปขอพรจาก พระนางมารีย์ในสักการสถานต่างๆ ที่ถวายแด่พระมารดา เมื่อกลับไป ปฏิบตั หิ น้าทีป่ ระจ�ำวันทีบ่ า้ น เขาก็ได้ รับก�ำลังใจในการด�ำเนินชีวิตต่อไป พระนางมารียม์ พี ระวรกายรุง่ โรจน์ จึงไม่ขึ้นอยู่กับกาลเวลาและสถานที่ จากเบือ้ งบนคือจากทีพ่ ำ� นักในสวรรค์ เคียงข้างพระบุตรผู้ที่พระจิตเจ้าทรง เ ทิ ด ทู น ใ ห ้ ด� ำ ร ง กั บ พ ร ะ บิ ด า “พระนางยั ง ทรงมี ค วามรั ก เฉกเช่ น มารดา ทรงใส่พระทัยบรรดาพี่น้อง ของพระบุตรทีย่ งั คงเดินทางอยูใ่ นโลก นี้ แ ละยั ง ต้ อ งเผชิ ญ ภยั น ตรายและ ความยากล�ำบากต่างๆ จนกว่าจะ บรรลุถึงความสุขในสวรรค์บ้านแท้” (Lumen Gentium, 62)
พระแม่ผู้ทรงเมตตากรุณา
5. บทวั น ทาพระราชิ นี พระแม่ ผู ้ ท รง เมตตากรุณา “บทวั น ทาพระราชิ นี ” เป็ น ค� ำ อธิษฐานภาวนาที่เราหันไปพูดกับพระนาง มารีย์ และเป็นบทภาวนาที่เราคุ้นเคยเป็น อย่างดี แต่เช่นเดียวกับบทภาวนาอื่นๆ ที่ เราใช้สตู รตายตัวและสวดได้ขนึ้ ใจ บ่อยครัง้ เราไม่คำ� นึงถึงความหมายของค�ำทีพ่ ดู ออกไป ในบทภาวนานี้ เ ราใช้ ชื่ อ พระนางมารี ย ์ ว ่ า “พระแม่ผทู้ รงเมตตากรุณา” เมือ่ ใช้คำ� เหล่า นี้ เราต้องการพูดอะไรกับพระนางมารีย์ เราต้ อ งการบอกว่ า พระนางมารี ย ์ เ ป็ น พระมารดาของพระเยซูเจ้าซึ่งสมเด็จพระ สันตะปาปาฟรังซิสทรงเรียกว่า “พระพักตร์ แห่งพระเมตตาของพระบิดาเจ้า” พระนาง จึงเป็นพระมารดาของพระผูท้ รงเมตตากรุณา คือพระเยซูเจ้าผู้เสด็จมาในโลกนี้ เพื่อทรง เปิดเผยแก่เราด้วยพระชนมชีพ พระวาจา และการสิ้นพระชนม์ว่า พระเจ้าทรงร�่ำรวย เปี ่ ย มด้ ว ยพระเมตตา และทรงส� ำ แดง สรรพานุภาพของพระองค์ โดยเฉพาะอย่าง ยิ่งในพระเมตตาและการให้อภัย เราจึงขอพระนางให้อธิษฐานภาวนา แด่พระเจ้าแทนเรา เพื่อจะได้รับพระพร กลับใจไปหาพระเจ้าแห่งพระเมตตา คือให้ กลั บ ใจพบกั บ ภาพลั ก ษณ์ ที่ แ ท้ จ ริ ง ของ พระเจ้าดังที่พระเยซูเจ้าทรงสั่งสอน หมาย ถึ ง พระเจ้ า แห่ ง ความอ่ อ นโยนและความ เมตตาสงสาร พระเจ้าผูท้ รงเป็นทัง้ บิดาและ
33
มารดาร่วมกัน เราต้องการพระพรนี้เพื่อจะ ด�ำเนินชีวิตคริสตชนที่ถูกต้อง ในบทภาวนา “วันทาพระราชิน”ี เรา สวดประโยคหนึ่งว่า “โปรดทอดพระเนตร เมตตามายังลูก” สมเด็จพระสันตะปาปา ฟรังซิสทรงเขียนไว้ในสมณโองการ “พระ พั กตร์ แ ห่ ง พระเมตตา” (Misericordiae Vultus) ซึ่งเป็นเอกสารอธิบายเหตุผลที่ท�ำ ให้ทรงประกาศปีศักดิ์สิทธิ์แห่งเมตตาธรรม ว่า “ขอให้สายตาอ่อนหวานของพระนางเฝ้า รักษาเราในปีศักดิ์สิทธิ์นี้ เพื่อเราทุกคนจะ ได้คน้ พบความชืน่ ชมยินดี ในความอ่อนโยน ของพระเจ้า” (ข้อ 24) ในประสบการณ์ วัยเด็ก เรามักจะหนีห่างจากจากสายตา เคร่งครัดของผู้เป็นพ่อ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เมือ่ เราท�ำผิดหรือกลับบ้านโดยมีผลการเรียน ไม่ด ี แต่เราจะเดินไปหาแม่เพราะแม่จะมอง ลู ก ด้ ว ยสายตาอี ก แบบหนึ่ ง แม่ มี ส ายตา พิเศษมองลูกด้วยความรัก เห็นสิง่ ทีซ่ อ่ นอยู่ ในใจของลูก เข้าใจลูกมากกว่าที่จะตัดสิน ลงโทษ รู้จักให้อภัยและเข้าใจว่า บ่อยครั้ง ลูกเป็นเด็กเกเรเพราะไม่มีความสุข เมื่อ คริสตชนท�ำบาป ไม่ท�ำความดีที่อยากท�ำ แต่กลับท�ำความชัว่ ร้ายทีไ่ ม่อยากท�ำ เมือ่ เขา ระลึกถึงบาปในอดีตท�ำให้จิตใจเศร้าหมอง และอยากหนีไปซ่อนตัวจากพระเจ้าเหมือน อาดัมเพราะกลัวการตัดสินลงโทษของพระ บิดา สายตาอ่อนหวานของพระนางมารียจ์ ะ น�ำเรากลับสู่หนทางแห่งความดี
34 วารสารแสงธรรมปริทัศน์ ฉบับที่ 2 พฤษภาคม - สิงหาคม 2016/2559 พระนางมารียเ์ ป็นพระแม่ผทู้ รงเมตตา กรุณา ไม่เพียงเพราะครัง้ หนึง่ ทรงให้กำ� เนิด พระเยซูเจ้า พระผู้ทรงเมตตากรุณาเท่านั้น แต่เพราะทรงให้กำ� เนิดบรรดาบุตรผูม้ เี มตตา กรุณาอย่าต่อเนื่องต่อไป นั่นคือเราทุกคน สมเด็จพระสันตะปาปาจึงประทานคติพจน์ ของปีศักดิ์สิทธิ์นี้แก่คริสตชนว่า “จงเป็น ผู้ เมตตากรุณา ดังที่พระบิดาของท่านทรง เมตตากรุณาเถิด” (ลก 6:36) พระนาง มารีย์ทรงบันดาลให้เราเป็น ผู้เมตตากรุณา เพือ่ จะได้ปฏิบตั งิ านเมตตาจิตทัง้ ด้านร่างกาย และด้านจิตใจ สมเด็ จ พระสันตะปาปาฟรังซิสทรง เขียนไว้ในสมณโองการ “พระพักตร์แห่งพระ เมตตา” (Misericordiae Vultus) ว่ า “ด้วยความปรารถนาแรงกล้าของข้าพเจ้า อยากให้ บ รรดาคริ ส ตชน ในโอกาสปี ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ไ ด้ คิ ด ถึ ง งานเมตตาจิ ต ทั้ ง ด้ า น ร่างกายและด้านจิตใจ เป็นวิธีหนึ่งที่ช่วย ปลุกส�ำนึกมโนธรรมของเรา ที่บ่อยครั้งได้ เมินเฉยต่อความยากจน ให้เราเข้าถึงส่วน ลึกหัวใจพระวรสารที่สอนว่า คนยากจนมี ประสบการณ์ พิ เ ศษในพระเมตตาของ พระเจ้า การเทศน์สอนของพระเยซูเจ้าน�ำ เสนองานเมตตาจิตเหล่านี้แก่เรา เพื่อจะได้ เข้ า ใจว่ า เราด� ำ เนิ น ชี วิ ต เป็ น ศิ ษ ย์ ข อง พระองค์หรือไม่ เราจงค้นพบงานเมตตาจิต ด้านร่างกายอีกครั้งหนึ่งคือ ให้อาหารคน หิวโหย ให้นำ�้ ดืม่ แก่ผกู้ ระหาย ให้เสือ้ ผ้าแก่ ผู้ไม่มีนุ่งห่ม ให้ที่พักแก่ผู้ไร้ที่อยู่ เยี่ยมผู้
ป่วย เยี่ยมผู้ถูกจองจ�ำและฝังศพผู้ล่วงลับ อย่างไรก็ตาม เราไม่ควรลืมงานเมตตาจิต ด้านจิตใจด้วยคือ ให้ค�ำแนะน�ำแก่ผู้สงสัย สอนผู้ไม่รู้ ตักเตือนคนบาป บรรเทาผู้มี ความทุกข์ อดทนผู้กระท�ำผิด ให้อภัยแก่ ทุกคนที่ท�ำร้าย สวดภาวนาให้ทั้งผู้เป็นและ ผูต้ าย... ให้เรารูว้ า่ พระคริสตเจ้าพระองค์เอง ประทับอยู่กับบุคคลเหล่านี้ ผู้ต�่ำต้อยเล็ก น้อยที่สุด ร่างกายของพระองค์คือร่างกาย ของผู ้ ถู ก บดขยี้ คื อ กายของผู ้ ถู ก เฆี่ ย นตี พระองค์คอื ผูข้ าดอาหารและอยูใ่ นถิน่ เนรเทศ พระองค์ผู้ประทับในบุคคลเหล่านี้จึงสมควร ได้รับการจดจ�ำ สัม ผัสและรักษาจากพวก เรา เราต้องไม่ลืมค�ำพูดของนักบุญยอห์น แห่งไม้กางเขนที่ว่า “ในเวลาอัสดงของชีวิต เราจะถูกพิพากษาในเรื่องความรัก” (ข้อ 15) ดั ง นั้ น ในตอนสุ ด ท้ า ยของสมณ โองการ “พระพั ก ตร์ แ ห่ ง พระเมตตา” (Misericordiae Vultus) สมเด็ จ พระ สันตะปาปาฟรังซิสทรงเชิญชวนเราให้ปฏิบตั ิ ความเมตตาในชีวิตประจ�ำวันเช่นเดียวกับ พระนางมารียว์ า่ “ทีเ่ ชิงไม้กางเขน พระแม่ มารียพ์ ร้อมกับยอห์นศิษย์รกั ได้อยูเ่ ป็นพยาน พระวาจาของพระเยซู เ จ้ า ที่ ใ ห้ อ ภั ย แก่ ผู ้ ท�ำร้ายพระองค์ นี่คือพระวาจาส�ำคัญของ พระเมตตาที่แสดงต่อเราถึงจุดสูงสุด พระ แม่เป็นสักขีพยานพระเมตตาของพระเจ้า เป็นพระเมตตาที่สามารถเข้าไปถึงทุกคน อย่างไร้ขอบเขต และไม่ยกเว้นใครเลย เรา
พระแม่ผู้ทรงเมตตากรุณา
จงสรรเสริญพระนางด้วย “บทวันทาพระ ราชินี” ซึ่งเป็นบทเพลงทั้งในสมัยโบราณ และในสมั ย ใหม่ เพื่ อ พระนางจะไม่ ท รง เหน็ดเหนือ่ ยทีจ่ ะหันสายตาแห่งความเมตตา มายังเรา และทรงช่วยเราให้เหมาะสมเฝ้า ร�ำพึงถึงแบบอย่างพระเมตตาพระบุตรของ พระนาง” (ข้อ 24) 6. สรุป “วันทาพระราชิน ี พระแม่ผทู้ รงเมตตา กรุ ณ า” นี่ เ ป็ น ค� ำ ทั ก ทายที่ เ ราใช้ ใ นการ อธิษฐานภาวนาต่อพระนางมารีย ์ คริสตชน ทั่วไปที่มีความเลื่อมใสศรัทธาต่อพระนาง ก็ได้เข้าใจทันทีว่า ความเมตตากรุณาเป็น คุณลักษณะส�ำคัญแห่งพระมารดาของพระ คริสตเจ้า เพราะพระนางทรงส�ำแดงความ เมตตาสงสารและความช่วยเหลือต่อมนุษย์ หนั ง สื อ พระวรสารบรรยาย พระนางใน ฐานะเป็นสตรีที่รู้จักแบ่งปันสิ่งที่มีกับผู้อื่น หญิงสาวที่ทรงครรภ์เดชะพระอานุภาพของ พระจิตเจ้า ทรงยอมออกเดินทางไปแถบ ภูเขาแคว้นยูเดียเพื่ออยู่ใกล้นางเอลีซาเบธ ญาติของเธอ ทรงช่วยเหลือนางผูช้ ราทีก่ ำ� ลัง ตั้งครรภ์เช่นกัน เมื่อพระคริสตเจ้าประสูติ แล้ว พระนางทรงร่วมความกังวลใจและ ความทุกข์ยากกับพระองค์ เพื่อประกอบ ภารกิจยากล�ำบากและจบลงด้วยความเศร้า โศก ทรงห่วงใยร่วมกับบรรดาศิษย์ในการ ด� ำ เนิ น ชี วิ ต ที่ มี อุ ป สรรคมากมาย เช่ น ความไม่เข้าใจของชาวอิสราเอล ความสงสัย
35
ของญาติ พี่ น ้ อ ง และการถู ก เยาะเย้ ย พระนางทรงมอบองค์โดยไม่มีเงื่อนไข ทรง ยอมมองดูการสิ้นพระชนม์ของพระบุตรโดย ไม่สามารถท�ำอะไรได้เลย ทรงยอมอยูเ่ คียง ข้างบรรดาศิษย์แม้เมื่อพระเยซูเจ้าเสด็จสู่ สวรรค์แล้ว พระนางมารียท์ รงมีความเมตตากรุณา อย่างเต็มเปี่ยม เพราะทรงรับรู้พระเมตตา จากพระเจ้า ทรงร�ำพึงถึงข้อความในพระ คัมภีร์ ทรงไตร่ตรองในเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น และทรงทราบว่า พระบิดาจะไม่ทรงลืมพระ สัญญาที่ทรงให้ไว้แก่ประชากร และจะทรง ช่วยเหลือด้วยพระเมตตาอย่างไม่หยุดหย่อน (เทียบ ลก 1:46 -55) พระนางมารีย์ ทรงเข้าใจและทรงร่วมทุกข์ทรมานกับมนุษย์ เพราะพระนางเองทรงได้ รั บ ทุ ก ข์ ท รมาน อย่ า งแสนสาหั ส ที่ สุ ด อย่ า งที่ ส ตรี มี ประสบการณ์คือความตายของบุตรตนเอง เพราะเหตุนี้ คริสตชนรู้สึกเสมอว่าพระนาง มารีย์ประทับใกล้ชิดกับตนตลอดเวลา ในช่ ว งเวลาแห่ ง ความทุ ก ข์ ท รมาน คริสตชนหันไปหาพระนางมารีย์ รู้สึกว่า พระนางทรงเข้าใจตนและทรงร่วมทุกข์อย่าง แท้จริง เพราะพระนางทรงผ่านประสบการณ์ ยากล�ำบากเช่นนี้มาแล้ว ทรงเป็นบุคคลที่ ต้องเผชิญหน้ากับความสงสัย ปัญหาความ ท้อแท้และความทุกข์ยาก แต่ทรงมอบตน ด้วยความเชื่อในพระหัตถ์ของพระเจ้า โดย ไว้วางใจว่า สักวันหนึ่ง พระองค์จะทรง ตอบสนองความคาดหวังของพระนาง
36 วารสารแสงธรรมปริทัศน์ ฉบับที่ 2 พฤษภาคม - สิงหาคม 2016/2559 บรรณานุกรม พระคัมภีร์คาทอลิก ฉบับสมบูรณ์. กรุงเทพฯ: คณะกรรมการคาทอลิกเพื่อพระคัมภีร์, 2014. (Note that the conciliar documents of Vatican II, as well as the official texts of Pope John Paul II and Pope Francis can be accessed on-line at the Vatican’s website: e.g. http://www.vatican.va/ holy_father/john_paul_ii/index.htm.) Austin Flannery, ed., Vatican Council II, Vol. 1: The Conciliar and Post Conciliar Documents, new revised edition. Northport, NY: Costello Publishing Company, 1996. Autori Vari, Maria Madre di Misericordia. Monstra te esse Matrem. A cura di E. Peretto. Padova: Edizioni Messaggero, 2003. Kasper, Walter. Mercy: The Essence of the Gospel and the Key to Christian Life. Mahwah, NJ: Paulist Press, 2013. Leon-Dufour, Xavier. Dictionary of Biblical Theology. New York: Desclee Company, 1967. McKenzie, John L., S.J., Dictionary of the Bible. London: Geoffrey Chapman, 1976. Pope Francis. Evangelii Gaudium. Vatican City: Libreria Editrice Vaticana, 2014. ------------------ Misericordiae Vultus. Bull of Indiction of the Extraordinary Jubilee of Mercy. Vatican City: Libreria Editrice Vaticana, 2015. Pope John Paul II. Dives in Misericordia. Vatican City: Libreria Editrice Vaticana, 1980. -----------------------. Veritatis Splendor. Vatican City: Libreria Editrice Vaticana, 1993.
ความเมตตาของพระเจ้า บาทหลวง ผศ.วสันต์ พิรุฬห์วงศ์, C.S.S.
ในการเปิ ด เผยต่ า งๆ ของพระเจ้ า ผ ่ า น ท า ง อ ง ค ์ พ ร ะ เ ย ซู ค ริ ส ต เ จ ้ า นั้ น เรื่อง “ความเมตตาของพระเจ้า” เป็นเรื่อง หนึ่งที่ได้รับการเปิดเผยอย่างโดดเด่นและ ถูกเก็บบันทึกไว้ในพระวรสาร โดยเฉพาะ อย่างยิ่ง พระวรสารของนักบุญลูกา ที่น�ำ เสนอภาพความเมตตาของพระเจ้า ผ่านทาง องค์พระเยซูคริสตเจ้า ได้เด่นชัดมากกว่า พระวรสารฉบับอื่นๆ เป็นที่ทราบกันดีว่า พันธสัญญาใหม่ เป็ น ความต่ อ เนื่ อ งและความสมบู ร ณ์ ข อง
พั น ธสั ญ ญาเดิ ม เรื่ อ งราวเกี่ ย วกั บ ความ เมตตาของพระเจ้านีก้ เ็ ช่นกัน เมือ่ ย้อนกลับ ไปดูเรื่องราวและเหตุการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้น ในพันธสัญญาเดิม เราก็พบว่า พระเจ้าได้ ทรงเปิดเผยพระองค์เองแล้วว่าพระองค์ทรง เป็ น พระเจ้ า แห่ ง ความเมตตากรุ ณ าและ ส ง ส า ร แ ล ะ ช า ว อิ ส ร า เ อ ล ก็ ไ ด ้ มี ประสบการณ์ในการได้รับความเมตตาจาก พ ร ะ เ จ ้ า อ ยู ่ เ ส ม อ ๆ ใ น ต ล อด ร ะ ย ะ ประวัติศาสตร์ของตน การเปิดเผยความ เมตตาของพระเจ้ า ในพระวรสารจึ ง ไม่ ใ ช่
บาทหลวงสังกัดคณะรอยแผลศักดิ์สิทธิ์ C.S.S., อาจารย์สาขาเทววิทยา คณะศาสนศาสตร์ วิทยาลัยแสงธรรม
( หมวดพระคัมภีร์ )
พระวรสารและการเปิดเผย
38 วารสารแสงธรรมปริทัศน์ ฉบับที่ 2 พฤษภาคม - สิงหาคม 2016/2559 เป็นอะไรที่ใหม่ แต่เป็นการเปิดเผยที่ต่อ เนื่องมาจากพันธสัญญาเดิมและถูกท�ำให้ ส�ำเร็จและสมบูรณ์ไป ผ่านทางการเปิดเผย ขององค์พระเยซูคริสตเจ้า พระบุตรของ พระเจ้า ที่ได้ทรงลงมาบังเกิดเป็นมนุษย์ 1. ความต่อเนื่องจากพันธสัญญาเดิม ในการเรียบเรียงพระวรสาร ผู้เขียน ต้องเผชิญกับปัญหาว่าจะท�ำอย่างไรถึงจะ ถ่ายทอดธรรมล�ำ้ ลึกของพระเจ้าทีเ่ ปิดเผยใน ประวั ติ ศ าตร์ อ อกมาได้ ทั้ ง ครบภายใต้ ข ้ อ จ�ำกัดของภาษาและความเป็นมนุษย์ เหตุ เพราะว่า การเข้ามาในประวัติศาสตร์ของ พระเป็นเจ้า ผ่านทางพระเยซูแห่งนาซาเร็ธ และการไถ่ กู ้ ม นุ ษ ย์ ใ ห้ ร อดพ้ น ด้ ว ยชี วิ ต ความตายและการกลับคืนพระชนมชีพของ พระเยซูคริสตเจ้า ล้วนเป็นสิ่งใหม่ที่ผู้เขียน ไม่เคยมีประสบการณ์มาก่อน พวกเขาจึง ไม่มีค�ำที่จะใช้เพื่อถ่ายทอดธรรมล�้ำลึกของ พระเยซูเจ้าตามที่พวกเขามีประสบการณ์ได้ ทางเดียวที่พวกเขาท�ำได้คือต้องอาศัยความ คิดและค�ำจากพันธสัญญาเดิมและน�ำมาตี ความใหม่ โดยอาศัยแสงสว่างแห่งการเข้า มาในประวั ติ ศ าสตร์ ม นุ ษ ย์ ข องพระเยซู คริสตเจ้า
เรื่อง “ความเมตตาของพระเจ้า” ก็ เช่นเดียวกัน ผู้เขียนพระวรสาร “รับเอา” ความคิดและค�ำที่เกี่ยวกับความเมตตาของ พระเจ้าจากพันธสัญญาเดิมมากล่าวซ�้ำใน พระวรสารของตน และมีการเพิม่ เติมความ หมายใหม่ด้วยในบางครั้ง เรื่องนี้เห็นได้ชัด ในบทเริม่ ต้นพระวรสารของนักบุญลูกาทีเ่ น้น ซ�้ำถึงความจริงที่ว่าพระเจ้าทรงซื่อสัตย์ต่อ พันธสัญญาของพระองค์เสมอ พระองค์ทรง เคยเมตตาและเอาใจใส่พันธสัญญาที่ท�ำไว้ กั บ ชาวอิ ส ราเอลเช่ น ไร พระองค์ ก็ ท รง ซื่อสัตย์และมั่นคงในค�ำสัญญาที่มีต่อผู้รับใช้ ที่ ต�่ ำ ต้ อ ยของพระองค์ ฉั น นั้ น และดั ง นี้ บทเพลงสรรเสริญของพระนางมารีย์ (ลก 1:46-55) และบทถวายพระพรของเศคา ริยาห์ (ลก 1:68-79) ในตอนเริม่ ต้นพระ วรสารของลูกา จึงเต็มไปด้วยเรื่องความ เมตตาของพระเจ้า ซึ่งรับอิทธิพลความคิด มาจากพันธสัญญาเดิมนั่นเอง1 ยิ่งกว่านั้น จากการส�ำรวจค�ำที่พระ วรสารใช้ เ พื่ อ หมายถึ ง ความเมตตาของ พระเจ้ า ก็ เ ป็ น การยื น ยั น ได้ อ ย่ า งดี ว ่ า ความคิดเรื่องความเมตตาของพระเจ้าใน พระวรสารต่ อ เนื่ อ งความคิ ด มาจากพั น ธ สัญญาเดิม แต่ขณะเดียวกัน ผู้เขียนพระ
ดูเปรียบเทียบระหว่าง ลก 1:46 กับ 1 ซมอ 2:1-10; ลก 1:48 กับ สดด 113:5-9; ลก 1:50 กับ สดด 103:13, 17; ลก 1:51 กับ 2 ซมอ 22:28; ลก 1:52 กับ สดด 147:6; ลก 1:53 กับ สดด 107:9; ลก 1:68 กับ สดด 41:13, 72:18, 106:48, 111:9; ลก 1:69 กับ สดด 132:17, 1 ซมอ 2:10; ลก 1:71 กับ สดด 106:10; ลก 1:72 กับ สดด 105:8, ปฐก 17:7; มคา 7:20 และ ลก 1:79 กับ อสย 42:7.
1
พระวรสารและการเปิดเผยความเมตตาของพระเจ้า
วรสารก็ได้เสริมมิติใหม่ของความเมตตาของ พระเจ้าที่เปิดเผยผ่านทางการบังเกิดเป็น มนุ ษ ย์ ข องพระเยซู ค ริ ส ตเจ้ า เข้ า ไปด้ ว ย ตั ว อย่ า งค� ำ ที่ พ ระวรสารใช้ บ ่ อ ยๆ เมื่ อ ต้องการกล่าวถึงความเมตตาของพระเจ้า คือค�ำว่า Eleos, Oiktirmos และ Splanchna Eleos เป็นค�ำกรีก หมายถึง ความ เมตตา ความกรุณา ความสงสาร หรือ ความเห็นอกเห็นใจ ค�ำนี้และค�ำที่มาจาก รากเดียวกันนี้เป็นค�ำที่ผู้เขียนพระวรสารใช้ มากที่สุด เราพบมากในการเล่าเรื่องของ ลูกาและมัทธิว โดยใช้คำ� นีเ้ มือ่ ต้องการกล่าว ถึ ง ความเมตตา หรื อ ความกรุ ณ าของ พระเจ้ า 2 ค� ำ ต่ อ มาคื อ ค� ำ ว่ า oiktirmos เป็นค�ำกรีกเช่นกัน หมายถึง ความกรุณา หรือความสงสาร ค�ำนี้และค�ำที่มาจากราก เดี ย วกั น นี้ ถู ก น� ำ มาใช้ ใ นพระวรสาร สหทรรศน์3 และค�ำกรีกค�ำสุดท้ายคือค�ำว่า splanchna ซึง่ แม้ในยุคก่อนคริสตชน ค�ำนี้ ไม่ได้หมายถึงแหล่งของหัวใจที่รู้สึกเมตตา และสงสารแต่ อ ย่ า งใด แต่ ผู ้ เ ขี ย นพระ วรสารก็น�ำค�ำนี้มาใช้เพื่อหมายถึงความรู้สึก
เมตตาสงสาร โดยในเรื่ อ งเล่ า เกี่ ย วกั บ อัศจรรย์ตา่ งๆ ในพระวรสารสหทรรศน์กไ็ ด้ ใช้ค�ำนี้เพื่อหมายถึงการเข้ามาในความทุกข์ ยากของมนุษย์ด้วยความเมตตาสงสารของ พระเจ้าผ่านทางพระเยซูคริสตเจ้า4 หากเราน�ำค�ำกรีกสามค�ำนี้ไปเปรียบ เทียบกับพันธสัญญาเดิม เราก็พบว่า ใน พันธสัญญาเดิมก็มีการใช้ค�ำฮีบรูที่มีความ หมายเหมือนกับค�ำกรีกนีด้ ว้ ย เช่น ค�ำกรีก eleos มี ค วามหมายเหมื อ นกั บ ค� ำ ฮี บ รู hesed โดยใช้เมื่อต้องการพูดถึงเรื่องความ เมตตา ความกรุณาและความสงสารของ พระเจ้าเหมือนกัน5 ส่วนค�ำกรีก oiktirmos และ splanchna ก็มีความหมาย เหมือนกับรากของค�ำฮีบรู rhm และค�ำที่ มาจากรากเดียวกันซึ่งมีใช้อยู่ในพันธสัญญา เดิมด้วยเช่นกัน โดยผู้เขียนพันธสัญญาเดิม น�ำมาใช้เพื่อหมายถึงความเมตตาหรือความ สงสารของพระเจ้ า ที่ มี ต ่ อ อิ ส ราเอล ประชากรของพระองค์6
ดูใน ลก 1:50, 54, 58, 72, 78, 10:37, 18:38, 39; และ มธ 5:7, 9:13, 27, 12:7, 15:22, 18:33, 20:30, 31. ดูใน ลก 6:36, 10:33, 15:20; 16:24; 17:13; และ มธ 17:15. 4 ดูใน มธ 18:23-35 โดยเฉพาะข้อ 27; ลก 15:11-32 โดยเฉพาะข้อ 20; และ มก 6:34 5 ตัวอย่างเช่น ยรม 3:12; อสย 54:7-8; สดด 86:15; สดด 103:8 6 ตัวอย่างเช่น สดด 103:13; พคค 3:22; อพย 34:6; 2 พศด 30:9 2 3
39
40 วารสารแสงธรรมปริทัศน์ ฉบับที่ 2 พฤษภาคม - สิงหาคม 2016/2559 ดังนั้น เรื่องความเมตตาของพระเจ้า จึงเป็นเรื่องที่ได้รับการเปิดเผยแล้วในพันธ สัญญาเดิม แต่เป็นพระเยซูคริสตเจ้า พระ บุตรพระเจ้า ที่ทรงท�ำให้การเปิดเผยความ เมตตาของพระเจ้ า นี้ บ รรลุ ผ ลส� ำ เร็ จ และ สมบูรณ์ไป ผ่านทางพันธกิจแห่งการไถ่กู้ มนุษย์ให้รอดของพระองค์ 2. มาระโก: ความเมตตาคือศูนย์กลางใน การประกอบพระภารกิจของพระเยซูเจ้า พระวรสารของมาระโก เป็ น พระ วรสารฉบับแรกที่พยายามบันทึกพระวาจา และพระภารกิจของพระเยซูเจ้าแห่งนาซาเร็ธ โดยอาศั ย ข้ อ มู ล จากพยานและผู ้ ที่ มี ประสบการณ์ ที่ ไ ด้ สั ม ผั ส กั บ พระเยซู เ จ้ า โดยตรง เรื่ อ ง “ความเมตตาของพระเจ้ า ” เป็นเรื่องที่พบได้ทั่วไปตลอดพระวรสารของ มาระโกนับตั้งแต่เริ่มต้นจนจบ โดยในบท แรกๆ เราพบว่าพระเยซูเจ้าทรงรักษาคน ป่ ว ยจ� ำ นวนมาก เรื่ อ งที่ โ ดดเด่ น และ เกี่ยวข้องกับความสนใจของเรา เช่น การ รักษาคนถูกปีศาจสิงที่เมืองคาเปอรนาอุม (มก 1:21-27) การรักษาแม่ยายของเปโตร (มก 1:29-31) การรักษาคนเป็นโรคเรื้อน (มก 1:40-42) การรักษาคนอัมพาต (มก 2:3-12) และการรักษาชายมือลีบ (มก 3:1-6) ในการเล่าถึงการอัศจรรย์ทั้งหมดนี้ มาระโกได้เผยให้เห็นว่า พระเยซูเจ้าทรงท�ำ
อัศจรรย์รกั ษาพวกเขาเพราะพระองค์ “ทรง เมตตาและสงสาร” ในความทุกข์ทรมานของ มนุษย์ ในการบรรยายเรื่องพระเยซูเจ้าทรง เรี ย กเลวี ค นเก็ บ ภาษี ม าเป็ น ศิ ษ ย์ (มก 2:13-17) มาระโกต้องการแสดงให้เห็นว่า พระเยซูเจ้าทรงให้ความสนใจคนบาปเป็น พิเศษ ชาวยิวที่เคร่งครัดมองคนเก็บภาษีว่า เป็นคนบาป การที่พระเยซูเจ้าเรียกมัทธิว และไปรับประทานอาหารที่บ้านของเขาจึง เป็ น ที่ ค รหาส� ำ หรั บ พวกฟาริ สี อ ย่ า งมาก พวกเขาจึงถามหาเหตุผลจากพระองค์ และ พระเยซู เ จ้ า ก็ ต อบไปว่ า “คนสบายดี ไ ม่ ต้องการหมอ แต่คนเจ็บไข้ต้องการ” จาก นั้น พระองค์ก็ชี้แสดงถึงเป้าหมายของการ เสด็ จ มาของพระองค์ ใ นทั น ที โดยกล่ า ว ว่า “เราไม่ได้มาเพื่อเรียกคนชอบธรรม แต่ เรามาเพื่อเรียกคนบาป” (มก 2:17) ค�ำ พูดนี้เผยให้เห็นว่า “ศูนย์กลาง” ของการ ประกอบภารกิจของพระเยซูเจ้าก็คือ “การ เปิดเผยความเมตตาของพระเจ้า” นั่นเอง พระเยซูเจ้าของมาระโกยังทรงรู้สึก สงสารฝู ง ชนที่ ติ ด ตามพระองค์ เพราะ “พวกเขาเหล่านัน้ เป็นดังฝูงแกะไม่มคี นเลีย้ ง” (มก 6:34) ซึ่งเหตุการณ์ต่อมา มาระโก ก็เล่าเรือ่ งอัศจรรย์การทวีขนมปังครัง้ แรกตาม มาทันที (มก 6:35-44) นี่แสดงให้เห็น เช่นกันถึงความสงสารของพระเยซูเจ้าต่อ ฝูงชนทีต่ ดิ ตามมาเฝ้าพระองค์ เราเห็นเรือ่ ง
พระวรสารและการเปิดเผยความเมตตาของพระเจ้า
นี้ได้ชัดเจนขึ้นอีกในครั้งที่พระองค์ทรงทวี ขนมปังเป็นครั้งที่สอง โดยพระเยซูเจ้าทรง ตรัสว่า “เราสงสารประชาชนเพราะเขาอยู่ กับเรามาสามวันแล้ว และเวลานี้ไม่มีอะไร กิน ถ้าเราให้พวกเขากลับบ้านโดยไม่ได้กิน อะไร เขาจะหมดเรี่ ย วแรงขณะเดิ น ทาง เพราะมีหลายคนเดินทางมาจากทีไ่ กล” (มก 8:2-3) พระวรสารของมาระโกยังประกอบ ด้วยเรือ่ งเล่าการอัศจรรย์อกี หลายเรือ่ งทีพ่ ระ เยซู เ จ้ า ทรงกระท� ำ เพื่ อ รั ก ษาประชาชนที่ ประสบเคราะห์กรรม เจ็บป่วยและถูกปีศาจ สิง โดยแสดงให้เห็นถึงความรักเมตตาของ พระเจ้าทีม่ ตี อ่ พวกเขา เช่น เรือ่ งการรักษา หญิงตกเลือดเรื้อรัง (มก 5:25-34) การ ปลุ ก บุ ต รหญิ ง ของไยรั ส ให้ คื น ชี พ (มก 5:35-42) การรักษาผูเ้ จ็บป่วยทีเ่ มืองเยนเน ซาเร็ธ (มก 6:53-56) การรักษาบุตรหญิง ของหญิงชาวซีโรฟีนีเซีย (มก 7:25-30) การรักษาคนใบ้หูหนวก (มก 7:32-37) การรักษาคนถูกปีศาจสิง (มก 9:15-29) และการรักษาคนตาบอดที่เมืองเยริโค (มก 10:46-52) และแม้หลังการกลับคืนพระชนมชีพ แล้ ว มาระโกยั ง เล่ า ต่ อ ไปว่ า ในขณะที่ บรรดาศิษย์ของพระเยซูเจ้าออกไปเทศนา ข่าวดีของพระองค์แก่นานาชาติ พระเยซูเจ้า ก็ได้ทรงมอบอ�ำนาจในการรักษาคนเจ็บป่วย และขับไล่ผใี นนามของพระองค์ให้แก่พวกเขา
41
ด้ ว ย (มก 16:15-18) สิ่ ง ที่ เ กิ ด ขึ้ น นี้ นอกจากจะเป็นเครื่องหมายของความเที่ยง แท้ของข่าวประเสริฐที่พวกเขาไปประกาศ แล้ว ยังแสดงถึงความเมตตาของพระเจ้า ความรัก และความห่วงใยทีพ่ ระเยซูเจ้าทรง มีต่อมนุษย์ทุกคนด้วย 3. มัทธิว: พระเยซูเจ้าทรงเปีย่ มด้วยความ เมตตาของพระเจ้า มัทธิวพูดถึงความเมตตาของพระเจ้า ว่า “ได้รับการเปิดเผย” ในองค์พระเยซูเจ้า โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในการอัศจรรย์ตา่ งๆ ที่ พระเยซู เจ้ า ได้ ท รงกระท� ำ ส� ำ หรั บมั ท ธิ ว พระเยซู เ จ้ า คื อ ความสมบู ร ณ์ ข องธรรม บั ญ ญั ติ ขณะเดี ย วกั น พระองค์ ก็ ท รง เป็นการเปิดเผยความเมตตาของพระเจ้าที่มี ต่ อ มนุ ษ ย์ ที่ ส มบู ร ณ์ ที่ สุ ด ด้ ว ย และความ เมตตานี้ คื อหั วใจของธรรมบั ญ ญั ติ ทั้ ง ปวง ดังพระวาจาที่พระองค์ต�ำหนิบรรดาธรรมา จารย์และชาวฟาริสีว่า “วิบัติจงเกิดแก่ท่าน ธรรมาจารย์และฟาริสีหน้าซื่อใจคด ท่าน ถวายหนึง่ ในสิบของสะระแหน่ ผักชี ยีห่ ร่า แต่ ไ ด้ ล ะเลยธรรมบั ญ ญั ติ ใ นเรื่ อ งที่ ส� ำ คั ญ เช่ น ความยุ ติ ธ รรม ความเมตตากรุ ณ า และความซื่อสัตย์ บทบัญญัติเหล่านี้จ�ำเป็น ต้องปฏิบัติ โดยไม่ละเว้นบทบัญญัติอื่นๆ” (มธ 23:23) ในบทเทศน์บนภูเขา (มธ 5:1-7:29) พระเยซูเจ้าทรงเรียกร้องผูต้ ดิ ตามพระองค์ให้
42 วารสารแสงธรรมปริทัศน์ ฉบับที่ 2 พฤษภาคม - สิงหาคม 2016/2559 เป็ น คนมี เ มตตาต่ อ เพื่ อ นพี่ น ้ อ ง ความ เมตตานี้ ไ ด้ รั บ การประกาศเสมื อ นเป็ น “พระพร” กล่าวคือ เป็นรางวัลส�ำหรับคนที่ มีเมตตา “ใครที่มีเมตตาต่อผู้อื่นเท่านั้นถึง จะได้รับความเมตตาจากพระเจ้า” การที่ มัทธิวรวมเรื่องนี้ไว้ในบทเทศน์บนภูเขาของ พระเยซูเจ้าจึงเป็นการแสดงให้เห็นว่า ท่าน ให้ความส�ำคัญกับเรือ่ งความเมตตาอย่างมาก ซึ่งส�ำหรับมัทธิวแล้ว การเป็นคนมีเมตตาที่ เหนือกว่าข้อจ�ำกัดของกฎบัญญัตเิ ป็นเงือ่ นไข ที่จ�ำเป็นส�ำหรับการเข้าในพระอาณาจักร สวรรค์ ในค�ำสัง่ ของพระเยซูเจ้าต่อบรรดาศิษย์ ของพระองค์ ที่ ไ ม่ ใ ห้ พิ พ ากษาตั ด สิ น ผู ้ อื่ น เพื่อพวกเขาจะได้ไม่ต้องถูกตัดสินนั้น (มธ 7:1) เราพบว่า พระเยซูเจ้าก�ำลังเน้นอย่าง เป็นนัยยะส�ำคัญให้บรรดาศิษย์ของพระองค์ ด� ำ รงชี วิ ต ประจ� ำ วั น อย่ า งมี เ มตตา เหตุ เพราะว่ า หากเขาตั ด สิ น ผู ้ อื่ น อย่ า งไร พระเจ้าก็จะทรงตัดสินเขาอย่างนัน้ ด้วย (มธ 7:2) บรรดาศิษย์ของพระเยซูเจ้าจึงถูกเรียก ร้องให้เลิกเป็นคนหน้าซือ่ ใจคด พร้อมกับให้ พิจารณาทบทวนชีวติ ของตนเอง เพราะการ ท�ำดังนี้จะท�ำให้พวกเขารู้จักตัวเองอย่างที่ เป็น คือ เป็นคนบาปและอ่อนแอ และนี่ จะท�ำให้เขาเป็นคนมีเมตตาและใจกว้างต่อ เพื่อนพี่น้อง (มธ 7:3-5) พระวรสารยังได้บันทึกเรื่องการเรียก มัทธิวมาเป็นสาวกของพระเยซูเจ้าด้วย (มธ
9:9) และเรื่องนี้เป็นการแสดงอย่างชัดเจน ที่สุดถึงกิจการแห่งความเมตตาของพระเจ้า ผ่านทางพระเยซูคริสตเจ้า ทั้งนี้เพราะพระ เยซูเจ้าทรงต้องการให้พวกฟาริสีเข้าใจว่า พระเจ้าทรงพอพระทัยในคนอ่อนแอและคน บาป การนั่งโต๊ะอาหารร่วมกับคนเก็บภาษี และคนบาปของพระเยูเจ้าจึงเป็นกิจการที่ แสดงถึงความเมตตานี้ของพระเจ้า แต่การ ท�ำเช่นนั้นกลับยิ่งท�ำให้พวกฟาริสีไม่พอใจ และตั้ ง ค� ำ ถามมากมาย เมื่ อ พระเยซู เ จ้ า ได้ยินดังนั้น จึงตรัสตอบว่า “คนสบายดี ย่อมไม่ต้องการหมอ แต่คนเจ็บไข้ต้องการ จงไปเรียนรู้ความหมายของพระวาจาที่ว่า เราพอใจความเมตตากรุ ณ า มิ ใ ช่ พ อใจ เครื่องบูชา เพราะเราไม่ได้มาเพื่อเรียกคน ชอบธรรม แต่มาเพื่อเรียกคนบาป” (มธ 9:12-13) ค� ำ ตอบของพระเยซู เ จ้ า นี้ สอดคล้องกับพระวาจาของพระเจ้าที่ตรัส ผ่านประกาศกโฮเชยาในพันธสัญญาเดิมที่ ว่ า “เราต้ อ งการความรั ก มั่ น คง (ความ เมตตา) ไม่ประสงค์การถวายบูชา” (ฮชย 6:6) ดังนัน้ เช่นเดียวกับทีโ่ ฮเชยาประกาศ ชัดเจนว่าพระยาเวห์ประสงค์ความรักเมตตา พระเยซูเจ้าก็ทรงต้องการบอกกับพวกฟาริสี เช่นกันว่า การปฏิบัติต่อผู้อื่นด้วยความรัก เมตตาเป็นสิ่งที่พระเจ้าทรงต้องการ ไม่ใช่ การปฏิบัติตามจารีตพิธีหรือการถวายบูชา แต่ไม่ใช่คนป่วยทุกคนได้รับการรักษา และไม่ใช่คนบาปทุกคนได้รับการอภัย มี
พระวรสารและการเปิดเผยความเมตตาของพระเจ้า
เพียงผู้ที่มีความเชื่อในพลังอ�ำนาจของพระ เยซูเจ้า “เท่านั้น” ที่ได้รับการรักษาและได้ รับการอภัย ความเชือ่ ในพระเจ้าและในพระ บุตรเยซูจงึ เป็น “sine qua non” (เงือ่ นไข ทีข่ าดไม่ได้) ส�ำหรับการรับความเมตตาจาก พระเจ้ า ดั ง การยื น ยั น ของมั ท ธิ ว ในเรื่ อ ง ชายตาบอดสองคนที่ติดตามพระเยซูเจ้าไป พลางร้องตะโกนด้วยความหวังว่าพวกเขาจะ ได้รับการรักษาให้หาย “โอรสของกษัตริย์ ดาวิด โปรดเมตตาเราเถิด” (มธ 9:27) แต่ก่อนที่พระเยซูเจ้าจะทรงรักษาพวกเขา พระองค์ ถ ามพวกเขาก่ อ นว่ า เชื่ อ หรื อ ว่ า พระองค์ ท รงรั ก ษาพวกเขาได้ และเมื่ อ พระองค์ได้ยนิ ค�ำยืนยันในความเชือ่ ของพวก เขาแล้ว พระองค์ถึงได้รักษาพวกเขาโดย กล่ า วว่ า “จงเป็ น ไปตามที่ ท ่ า นเชื่ อ เถิ ด ” (มธ 9:29) นีแ่ สดงให้เห็นว่า ความเชือ่ ใน พระเยซูเจ้าเป็นเงื่อนไขจ�ำเป็นที่ควรต้องมี ก่อนที่จะได้รับความเมตตาจากพระเจ้า ในกรณีของคนตาบอดสองคนที่เมือง เยริโค เราสังเกตพบว่า ชายสองคนนัน้ รูว้ า่ พระเยซูเจ้าเป็นบุตรของดาวิด พวกเขาจึง ร้ อ งขอความเมตตาจากพระองค์ แม้ ประชาชนจะดุพวกเขาให้เงียบ แต่พวกเขา กลับร้องตะโกนดังขึ้นกว่าเดิมเพื่อขอให้พระ เยซูเจ้าเมตตาพวกเขา พระเยซูเจ้าทรงถาม พวกเขาว่าต้องการอะไร พวกเขาตอบว่า ต้องการมองเห็นได้ พระเยซูเจ้าทรงรู้สึก สงสารและได้ สั ม ผั ส นั ย น์ ต าของพวกเขา
43
ทันใดนั้น พวกเขาก็มองเห็นและติดตาม พระองค์ ไ ป (มธ 20:29-34) การ อ้ อ นวอนขอความเมตตาของชายตาบอด ทั้งสองคน และความปรารถนาที่พวกเขา แสดงออกมานี ้ แสดงให้เห็นว่า พวกเขาทัง้ สองยอมรับรู้ว่าพระเยซูเจ้าเป็นโอรสของ กษั ต ริ ย ์ ด าวิ ด เป็ น ผู ้ มี พ ลั ง อ� ำ นาจและ สามารถให้ในสิ่งที่พวกเขาร้องขอได้ พวก เขาจึงได้ร้องขอ และพวกเขาก็ได้รับตามที่ พวกเขาขอ ความเมตตาของพระเยซู เ จ้ า ไม่ ไ ด้ จ�ำกัดเฉพาะอยู่กับบุคคลเท่านั้น แต่ยังรวม ถึงฝูงชนทัว่ ไปด้วย พระวรสารของมัทธิวเล่า เรื่องนี้ว่า “พระเยซูเจ้าเสด็จไปตามเมือง และตามหมู ่ บ ้ า น ... ทรงรั ก ษาโรคและ ความเจ็ บ ไข้ ทุ ก ชนิ ด เมื่ อ พระองค์ ท อด พระเนตรเห็นประชาชน ก็ทรงสงสารเพราะ พวกเขาเหล่ า นั้ น เหน็ ด เหนื่ อ ยและท้ อ แท้ ประดุจฝูงแกะที่ไม่มีคนเลี้ยง” (มธ 9:3536) ค�ำพูดที่ว่า “ฝูงแกะที่ไม่มีคนเลี้ยง” ในที่ นี้ ค ล้ า ยคลึ ง กั บ เหตุ ก ารณ์ ใ นหนั ง สื อ กั น ดารวิ ถี (กดว 27:17) เมื่ อ โมเสส อ้อนวอนต่อพระยาเวห์ให้แต่งตัง้ ชายคนหนึง่ ให้เป็นผู้น�ำของชุมชน เพื่อว่าพวกเขาจะได้ ไม่ เ ป็ น เหมื อ นแกะที่ ไ ม่ มี ค นเลี้ ย ง ค� ำ อ้อนวอนของโมเสสได้รบั การตอบสนองจาก พระยาเวห์ โดยพระองค์ให้โมเสสแต่งตั้งโย ชูวาขึ้นเป็น ผู้น�ำ อย่างไรก็ดี ในบริบทขอ งมัทธิวตามทีไ่ ด้กล่าวถึงข้างต้น พระเยซูเจ้า
44 วารสารแสงธรรมปริทัศน์ ฉบับที่ 2 พฤษภาคม - สิงหาคม 2016/2559 ไม่ได้คอยให้มกี ารร้องขอก่อน แต่พระองค์มี ความสงสารฝู ง ชน จึ ง ตรั ส กั บ ศิ ษ ย์ ข อง พระองค์ว่า “ข้าวที่จะเก็บเกี่ยวมีมาก แต่ คนงานมีนอ้ ย จงวอนขอเจ้าของนาให้สง่ คน งานมาเก็บเกี่ยวข้าวของพระองค์เถิด” (มธ 9:37) ข้ อ สั ง เกตที่ น ่ า สนใจในที่ นี้ คื อ ส�ำหรับมัทธิว ความเมตตาสงสารของพระ เยซูเจ้าต่อคนที่เหน็ดเหนื่อยและท้อแท้เป็น เรือ่ งเร่งด่วนและส�ำคัญ จนพระเยซูเจ้าต้อง ด�ำเนินการในขัน้ ต่อไปทันที กล่าวคือ หลัง จากมีความรูส้ กึ เช่นนีแ้ ล้ว มัทธิวก็เล่าต่อใน ทันทีวา่ พระเยซูเจ้าได้เรียกบรรดาศิษย์ของ พระองค์มา ประทานอ�ำนาจให้เขาขับไล่ ปีศาจ ให้รักษาโรคและความเจ็บไข้ทุกชนิด (มธ 10:1) มัทธิวยังมองว่า การอภัยเป็นผลตาม ที่จ�ำเป็นของความเมตตา คนที่มีเมตตาจึง เป็นคนที่รู้จักให้อภัยคนอื่นที่หมิ่นประมาท และประทุษร้ายตนหรือแม้แต่คนทีเ่ ป็นลูกหนี้ ในนิทานเปรียบเทียบเรื่องคนใช้ที่ไร้ความ เมตตาตามการเล่าของมัทธิว (มธ 18:2334) พระเยซูเจ้าทรงก�ำลังบอกเราว่า เจ้า นายของคนใช้คนนั้นสงสารและได้ยกหนี้ให้ เขาทั้งหมด เพราะเขาไม่สามารถจะช�ำระ หนีไ้ ด้และร้องขอความเมตตา ขณะเดียวกัน คนใช้ทไี่ ด้รบั การยกหนีแ้ ล้วนีก้ ค็ วรทีจ่ ะแสดง ความเมตตาในลักษณะเดียวกันนีก้ บั เพือ่ นพี่ น้องของเขาด้วย แต่เขาไม่ได้ท�ำ เขากลับ แสดงความไร้เมตตากับเพื่อนคนใช้ด้วยกัน
เขาจึงได้รบั การลงโทษอย่างรุนแรง พระเยซู เจ้ายกตัวอย่างเรือ่ งนีเ้ พือ่ ต้องการสอนบรรดา ศิษย์ของพระองค์ว่า พระบิดาเจ้าสวรรค์ก็ จะทรงลงโทษเช่นเดียวกันส�ำหรับผู้ที่ไม่มี จิตใจเมตตายกโทษให้ผู้อื่น (มธ 18:35) เราจึงพอสรุปได้ว่า พระวรสารขอ งมั ท ธิ ว ให้ ค วามสนใจเรื่ อ งการท� ำ ให้ ก ฎ บัญญัติและค�ำท�ำนายของประกาศกในพันธ สัญญาเดิมส�ำเร็จไป โดยให้ความส�ำคัญกับ เรื่องความเมตตาเป็นพิเศษ (มธ 23:2324) เพราะส� ำ หรั บ มั ท ธิ ว ถื อ ว่ า ความ เมตตาเป็นหัวใจของกฎบัญญัต ิ และพระเยซู เจ้าก็คอื ความสมบูรณ์ของกฎบัญญัต ิ เพราะ พระองค์ทรงเปี่ยมไปด้วยความเมตตาของ พระเจ้ า และพระองค์ มี พลั ง อ� ำ นาจที่ จ ะ ประทานความเมตตานี้แก่ผู้อื่น มัทธิวยังให้ ภาพของพระเยซูเจ้าด้วยว่า พระองค์ทรง เตือนบรรดาผู้ติดตามพระองค์ว่า พวกเขา จะได้รับความเมตตาจากพระเจ้า ก็ต่อเมื่อ พวกเขาแสดงความเมตตานัน้ ต่อเพือ่ นพีน่ อ้ ง ในชีวิตประจ�ำวันของพวกเขาก่อน 4. ยอห์น: ความเมตตาคือความรักสงสาร ของพระเจ้า เราอาจพู ด ได้ ว ่ า พระวรสารของ ยอห์ น ไม่ ไ ด้ พู ด ถึ ง เรื่ อ งความเมตตาของ พระเจ้ า โดยตรง แต่ จ ากการวิ เ คราะห์ เทววิ ท ยาทั้ ง หมดของยอห์ น เราพบว่ า ยอห์ น รวมความคิ ด เรื่ องความเมตตาของ
พระวรสารและการเปิดเผยความเมตตาของพระเจ้า
พระเจ้าไว้ในหัวข้อเรือ่ ง “ความรัก” ซึง่ เป็น หั ว ข้ อ หลั ก และเป็ น พื้ น ฐานของงานเขี ย น ทั้งหมดของยอห์น เรื่องพระคุณความรักที่พระเจ้าทรงมี ต่อมนุษย์นนั้ เราพบได้ตงั้ แต่ในบทแรกของ พระวาสารของยอห์ น ในอารั ม ภบทของ ยอห์นซึ่งอาจเรียกได้ว่าเป็นพระวรสารฉบับ ย่อ ยอห์นยืนยันความจริงที่เป็นวงกลมทับ ซ้ อ นกั นว่ า พระวจนาตถ์ ข องพระเจ้ า ที่ ประทั บ อยู ่ กั บ พระเจ้ า ทรงเป็ น พระเจ้ า (ยน 1:1) และพระวจนาตถ์ ผู ้ ท รงเป็ น พระเจ้านี้ได้ทรงเสด็จมารับธรรมชาติมนุษย์ ในพระเยซูคริสตเจ้าและประทับอยูท่ า่ มกลาง เรา (ยน 1:14) หัวใจของความรักของ พระเจ้าซึ่งรวมถึงความเมตตาของพระองค์ ด้วย คือ การรับธรรมชาติมนุษย์ของพระว จนาตถ์และทรงประทับอยู่ท่ามกลางมนุษย์ นั่นเอง บางคนให้ขอ้ สังเกตว่า ในพระวรสาร ของยอห์น พระเยซูเจ้าได้แสดงความเมตตา ของพระองค์ให้ประชาชนได้เห็นประจักษ์นบั แต่ เ ริ่ ม ต้ น ในการประกอบภารกิ จ ของ พระองค์ คือ ในเหตุการณ์ที่เมืองคานา ที่พระเยซูเจ้าทรงช่วยเหลือเจ้าบ่าวด้วยการ เปลี่ ย นน�้ ำ ให้ เ ป็ น เหล้ า องุ ่ น เพราะเขา ต้ อ งการความช่ ว ยเหลื อจริ ง ๆ และเป็ น มารดาของพระองค์เองที่มาแจ้งเรื่องนี้ให้ พระองค์ ท ราบ (ยน 2:1-11) และ พระองค์ก็ได้แสดงความเมตตานี้ซ�้ำอีกครั้ง
45
ในเมืองเดียวกันนี้ เมื่อพระองค์ทรงรักษา บุตรชายของข้าราชการคนหนึ่งให้หายป่วย (ยน 4:46-54) เรื่องน�้ำทรงชีวิตที่พระเยซูเจ้าสัญญา จะประทานแก่หญิงชาวสะมาเรีย (ยน 4:10) เป็ น อี ก ตั ว อย่ า งที่ แ สดงว่ า พระเจ้ า ทรงมี เมตตาต่อมนุษย์ทกุ ชาติทกุ ภาษา การรักษา ผู ้ ป ่ ว ย ที่ ส ร ะ เ บ เ ธ ส ด า ใ น เ ย รู ซ า เ ล็ ม (ยน 5:1-15) ก็ เ ป็ น อี ก ครั้ ง หนึ่ ง ที่ พ ระ เยซูเจ้าแสดงความเมตตาสงสารของพระองค์ ต่อมนุษย์ที่ทนทุกข์ทรมาน แต่เหตุการณ์ที่ให้ภาพความเมตตา ของพระเยซู เ จ้ า ค่ อ นข้ า งชั ด เจนคื อ เมื่ อ พระองค์ทรงประทานอภัยแก่หญิงที่ท�ำผิด ประเวณี (ยน 8:1-11) ในเหตุการณ์ครั้ง นัน้ ผ่านทางค�ำตอบของพระเยซูเจ้า ไม่วา่ พระองค์จะพยายามเลี่ยงการตอบโดยตรง หรือไม่ก็ตาม ผลที่ตามมาคือสิ่งที่ให้ความ หมายอย่ า งส� ำ คั ญ นั่ น คื อ บรรดาคนที่ กล่าวโทษนางต่างรู้สึกถึงความไม่เหมาะสม ของตนที่จะนั่งลงและพิพากษาโทษของนาง เพราะพวกเขารูว้ า่ พวกเขาก็เป็นคนบาปด้วย ค�ำพูดของพระเยซูเจ้าแก่หญิงคนนั้นจึงเป็น สิง่ ทีน่ า่ สังเกตด้วย “เราก็ไม่ลงโทษท่านด้วย ไปเถิ ด และตั้ ง แต่ นี้ ไ ป อย่ า ท� ำ บาปอี ก ” (ยน 8:11) ในทีน่ ี้ เราพบทัง้ ความเมตตา ความกรุณา ความสงสารและความรักต่อ คนบาปพร้อมกับการต�ำหนิและการประณาม บาป ขณะเดียวกัน การแสดงความเมตตา
46 วารสารแสงธรรมปริทัศน์ ฉบับที่ 2 พฤษภาคม - สิงหาคม 2016/2559 ต่อคนบาปพร้อมกับความชอบธรรมในการ ต่อต้านบาป ก็เป็นสิ่งที่กลมกลืนและสม ดุลย์ด้วย ผ่านทางการตัดสินของพระเยซู เจ้าต่อหญิงคนนั้น ความเมตตาของพระเจ้ายังได้รับการ บรรยายไว้ในนิทานเปรียบเทียบเรื่องผู้เลี้ยง แกะที่ดี (ยน 10:1-21) ด้วยเพราะความ เอาใจใส่และความห่วงใยต่อฝูงแกะของตน ท�ำให้คนเลี้ยงแกะพร้อมแม้กระทั่งยอมสละ ชีวิตเพื่อฝูงแกะนั้น ซึ่งในบริบทนี้ พระเยซู เจ้าคือคนเลี้ยงแกะที่ดีคนนั้น และเป็น ผู้ที่ พระบิดาทรงรัก เพราะพระองค์ทรงยอม สละชีวิตของตนด้วยใจอิสระอย่างเต็มที่เพื่อ ฝูงแกะของพระองค์ ในการกล่าวถึงเรื่องความเมตตาของ พระเจ้าในพระวรสารของยอห์น เรายังไม่ อาจละเลยเรือ่ งทีพ่ ระเยซูเจ้าทรงท�ำให้ลาซา รั ส กลั บ คื น ชี พ (ยน 11:1-44) ใน เหตุ ก ารณ์ ค รั้ ง นั้ น พระเยซู เ จ้ า ทรงรู ้ สึ ก สะเทือนพระทัยและเศร้าโศกมาก ดังการ เล่ า ของยอห์ น ที่ ว ่ า พระเยซู เ จ้ า ถึ ง กั บ ทรง กั น แสง (ยน 11:33, 35, 38) ด้ ว ย ความสงสารและความรักทีม่ ตี อ่ ลาซารัสและ น้องสาวทั้งสองคน ซึ่งทั้งหมดเป็นเพื่อน พระเยซูเจ้า ที่สุดพระองค์ก็ทรงบันดาลให้ ลาซารัสกลับคืนชีพ การเน้นเรือ่ งความรักของยอห์นจึงเป็น สิ่งที่น่าสนใจอย่างยิ่ง ความรักเป็นบัญญัติ ใหม่ ที่ พ ระเยซู เ จ้ า มอบให้ กั บ ศิ ษ ย์ ข อง
พระองค์ เพือ่ ว่า หลังจากทีพ่ วกเขาได้เรียน รู้จากพระองค์ผู้เป็นพระอาจารย์แล้ว พวก เขาจะได้รักผู้อื่น “เราให้บทบัญญัติใหม่แก่ ท่านทั้งหลาย ให้ท่านรักกัน เรารักท่านทั้ง หลายอย่างไร ท่านก็จงรักกันอย่างนั้นเถิด” (ยน 13:34) พระเยซู เ จ้ า ได้ แ สดงแบบ อย่างการรับใช้เพือ่ แสดงถึงความรักนีโ้ ดยการ ล้างเท้าบรรดาสาวกของพระองค์ (ยน 13:5) การรักพระเยซูเจ้าจึงเป็นการถือตามบัญญัติ ของพระองค์ (ยน 14:15, 21) ใครที่ ปฏิ บั ติ ต ามวาจาของพระองค์ คื อ คนที่ รั ก พระองค์ และพระบิดาของพระองค์กจ็ ะทรง รักเขา ทัง้ พระบิดาและพระบุตรจะเสด็จมา หาเขาและพ�ำนักอยู่กับเขา (ยน 14:23) การรักกันและกันเหมือนดังที่พระเยซู เจ้าทรงรักบรรดาศิษย์ของพระองค์ จึงเป็น บัญญัตทิ สี่ งู ทีส่ ดุ และความรักทีย่ งิ่ ใหญ่ทสี่ ดุ ของพระเยซู เ จ้ า คื อ การยอมสละชี วิ ต ของ พระองค์เพื่อเรา (ยน 15:12-13) การ สิ้ น พระชนม์ ข องพระเยซู เ จ้ า เป็ น การ แสดงออกถึงความรักเมตตาอย่างที่สุดของ พระบิดาที่มีต่อเรามนุษย์ 5. ลูกา: พระวรสารแห่งความเมตตา เราคงได้เห็นแล้วว่า พระวรสารเต็ม ไปด้ ว ยเนื้ อ หาเกี่ ย วกั บ ความเมตตาของ พระเจ้าที่มีต่อมนุษยชาติ เป็นพระเมตตาที่ ทรงเปิดเผยและแสดงผ่านทางชีวิตและพระ ภารกิจของพระเยซูแห่งนาซาเร็ธ พระบุตร
พระวรสารและการเปิดเผยความเมตตาของพระเจ้า
พระเจ้า ผู้ทรงรับธรรมชาติมนุษย์ แต่ใน บรรดาหลักฐานที่พบในพระวรสารนี้ พระ วรสารของลูกาให้ภาพของพระเยซูเจ้าว่า เปี่ยมด้วยความเมตตาของพระเจ้าอย่างโดด เด่นเป็นพิเศษ จนมีบางคนเรียกพระวรสาร ของของลูกาว่าเป็น “หนังสือที่งดงามที่สุด เท่าที่เคยมีมา”7 ด้วยลีลาการเขียนทีไ่ ม่เหมือนใคร ลูก าน�ำเสนอเรื่องราวของพระเยซูเจ้าตั้งแต่ราง หญ้าไปจนถึงไม้กางเขนในฐานะเพื่อนและ ผู้ที่คอยให้ความช่วยเหลือคนต�่ำต้อยและคน ที่ถูกเกลียดชัง เราเห็นตัวอย่างเรื่องนี้ได้ชัด ใน ลก 2:7-20 ทีล่ กู าให้ภาพของคนเลีย้ ง แกะที่เรียบง่ายและสุภาพว่าเป็นผู้หวังดีและ เพือ่ นกลุม่ แรกของบิดามารดาของพระกุมาร เยซู ที่ เ พิ่ ง บั ง เกิ ด ในรางหญ้ า ในการเริ่ ม ประกอบพระภารกิจกับสาธารณชน พระ เยซูเจ้าของลูกาก็ได้ประกาศ (manifesto) เป้าหมายของพันธกิจของพระองค์ไว้อย่าง ชัดเจน (ลก 4:18-19) โดยพระองค์มุ่ง ความส�ำคัญไปทีค่ วามมีเมตตาต่อคนยากจน และคนขัดสน คนเจ็บป่วยและผู้ทนทุกข์ ทรมาน คนถูกจองจ�ำและคนถูกกดขีข่ ม่ เหง ยิ่งกว่านั้น ในอุปมาเรื่องลูกล้างผลาญและ ชาวสะมาเรียใจดี ลูกายังให้ภาพของพระ เยซูเจ้าว่าเป็นพระองค์เองด้วยที่เปี่ยมด้วย ความเมตตาของพระเจ้า นี่เป็นเอกลักษณ์ 7
47
ของลูกาและท�ำให้พระวรสารของท่านแตก ต่างจากผู้นิพนธ์ท่านอื่นๆ และที่สุด ใน ลก 23:42-43 ลู ก าก็ น� ำ เสนอภาพของ พระเยซูเจ้าในฐานะเป็นเพื่อนและผู้ไถ่กู้ของ ผูร้ า้ ยทีถ่ กู ตรึงกางเขนพร้อมกับพระองค์ทไี่ ด้ กลับใจ ในการพิจารณาเรื่องความเมตตา ของพระเจ้าในพระวรสารของลูกา เราจึง สามารถพูดได้ว่า ส�ำหรับลูกาแล้ว “ความ เมตตากรุณาและความสงสารคือลักษณะ เฉพาะของพระเยซูเจ้าของลูกา” 5.1 เริม่ ต้นด้วยเรือ่ งความรักเมตตา ของพระเจ้า เรื่องความเมตตา ความรักและการ อภัย เป็นสิง่ ทีพ่ บได้ทวั่ ไปในพระวรสารของ ลูกา นับแต่ตอนต้นของพระวรสารของลูกา เราก็พบความรักอ่อนหวานและความเมตตา ของพระเจ้ า แล้ ว โดยทรงแสดงต่ อ สามี ภรรยาคู่หนึ่งที่ไม่มีบุตรและพระองค์สัญญา จะประทานบุตรชายคนหนึ่งให้กับพวกเขา ทัง้ นี ้ เพราะค�ำภาวนาวิงวอนขอของพวกเขา ได้ รั บ การสดั บ ฟั ง ด้ ว ยพระทั ย เมตตาของ พระเจ้า (ลก 1:11-20) และด้วยพระทัย เมตตาของพระเจ้านี้ สิทธิพิเศษของการได้ เป็นมารดาของพระเจ้าก็ไม่ได้ถูกหยิบยื่นให้ กั บ เจ้ า หญิ ง หรื อ คนในตระกู ล ชั้ น สู ง คนใด แต่ถูกเสนอให้กับมารีย์ ข้ารับใช้ที่สุภาพ ธรรมดาและต�่ ำ ต้ อ ยแห่ ง นาซาเร็ ธ (ลก 1:26-38)
D. A. Hayes, The Most Beautiful Book Ever Written: Gospel According to Luke, New York: Eaton & Mains, 1913.
48 วารสารแสงธรรมปริทัศน์ ฉบับที่ 2 พฤษภาคม - สิงหาคม 2016/2559 5.2 พระเยซู เ จ้ า ประกาศพั น ธกิ จ แห่งความเมตตา การประกาศพระพันธกิจของพระเยซู เจ้าในศาลาธรรมเมืองนาซาเร็ธ (ลก 4:18-19) เป็นเหมือนแก่นหรือศูนย์กลางที่ส�ำคัญของ พระวรสารของลูกา อาจพูดได้ว่าเป็นภาพ ขนาดย่อมหรือพระวรสารฉบับย่อของลูกาก็ ว่าได้ ในการประกาศพันธกิจซึง่ เป็นการเปิด ฉากศาสนบริการของพระองค์นั้น พระเยซู เจ้าได้อ้างถึงหนังสือของประกาศกอิสยาห์ (อสย 61:1-3) ซึ่งเป็นตอนที่พูดถึงความ เมตตาของพระเจ้าและความพอใจเป็นพิเศษ ของพระเจ้าต่อบรรดาคนยากจน ท� ำ ไมลู ก าถึ ง ได้ อ ้ า งถึ ง ค� ำ พู ด ของ อิสยาห์ในเหตุการณ์ครั้งนี้? ค�ำพูดของประกาศกอิสยาห์ได้รับการ อ้ า งอิ ง และพาดพิ ง ถึ ง อยู ่ บ ่ อ ยๆ ในพระ วรสาร จนอาจกล่าวได้ว่า ในบรรดาพระ คัมภีรพ์ นั ธสัญญาเดิม หนังสือของประกาศก อิสยาห์ถูกน�ำมาอ้างอิงในพระวรสารมาก ทีส่ ดุ เพราะดูเหมือนอิสยาห์เป็นหนังสือเล่ม เดียวและดีทสี่ ดุ ในพันธสัญญาเดิมทีม่ เี นือ้ หา ช่ ว ยเหลื อ พระศาสนจั ก รในยุ ค เริ่ ม แรกให้ เข้าใจทุกเรือ่ งราวเกีย่ วกับชีวติ ศาสนบริการ การสิน้ พระชนม์และการกลับคืนพระชนมชีพ ของพระเยซูเจ้า ในเหตุการณ์ครัง้ นี ้ ลูกาสนใจทีจ่ ะน�ำ เสนอภาพพันธกิจในอนาคตของพระเยซูเจ้า ในแบบย่อๆ พันธกิจนีค้ อื การประกาศข่าวดี
แห่งความรอดผ่านทางวาจาและการกระท�ำ ต่างๆ ของพระองค์ ซึ่งเรื่องนี้ อิสยาห์ได้ เตรี ย มการไว้ แ ล้ ว อย่ า งดี ที่ พิ เ ศษคื อ ข้อความจาก อสย 61:1-2 และ อสย 58:6 ซึ่ ง เป็ น ตอนที่ อ าจดึ ง ดู ด ใจลู ก าเป็ น พิ เ ศษ เพราะมี เ นื้ อ หาเกี่ ยวพั น โดยตรงกั บ ความ เมตตาของพระเมสซียาห์ และยังเป็นตอนที่ เข้ากันได้ดที จี่ ะน�ำมาใส่ไว้เป็นบทน�ำก่อนการ เริ่มต้นศาสนบริการของพระเยซูเจ้าของลูกา ลูกาจึงได้น�ำข้อความดังกล่าวของอิสยาห์มา ใส่ไว้ในที่นี้ และดังนี้ การประกาศพระพันธกิจ ของพระเยซู เ จ้ า นี้ จึ ง มี ค วามส� ำ คั ญ และมี คุณค่าเพียงพอส�ำหรับเราทีจ่ ะกล่าวถึงในทีน่ ี้ ด้วย (ก) แผนการแห่งพันธกิจของพระ เยซู เ จ้ า ใน ลก 4:18-19 เป็ น ข้ อ ความที่ ป ระกอบด้ ว ยแผนการที่ บรรยายพันธกิจที่พระเยซูเจ้าจะทรง กระท�ำต่อไป ตามความเข้าใจของลูกา พระวาจาและการกระท�ำของพระเยซู เจ้านี้ มีความหมายเฉพาะและเป็น แบบแผนต่องานศาสนบริการทั้งหมด ของพระองค์ แต่ ก็ ไ ม่ ใ ช่ มี เ พี ย ง ข้อความของประกาศกอิสยาห์อย่าง เดี ย วที่ บ ่ ง บอกถึ ง แผนงานพั น ธกิ จ ทั้ ง หมดของพระเยซู เจ้ า สถานที่ ที่ เกิดเหตุการณ์นใี้ นพระวรสารของลูกา ก็ประกาศตัวเองถึงแผนงานดังกล่าว
พระวรสารและการเปิดเผยความเมตตาของพระเจ้า
ด้วยเหมือนกัน โดยในพระวรสารของ ลูกา พระเยซูเจ้าเริ่มประกอบศาสน บริการของพระองค์อย่างเปิดเผยครั้ง แรกในเมืองนาซาเร็ธ ขณะที่มาระโก เล่ า ถึ ง เหตุ ก ารณ์ นี้ ช ้ า กว่ า มาก คื อ มาระโกเล่าว่าพระเยซูเจ้าไปประกอบ ศาสนบริการในที่อื่นๆ ก่อนแล้วถึง กลับมาทีน่ าซาเร็ธ มัทธิวก็เช่นกัน ที่ เล่ า เรื่ อ งนี้ ใ นเกื อ บปลายๆ การ ประกอบศาสนบริการของพระเยซูเจ้า8 (ข) การเลือกท�ำงานเพื่อคนยากจน และคนถูกทอดทิง้ หากเปรียบเทียบ กับผู้นิพนธ์พระวรสารฉบับอื่นๆ จะ พบว่า ลูกาพยายามรักษาค�ำพูดของ พระเยซูเจ้าเกี่ยวกับคนรวยและคน ยากจน หรือจับค�ำพูดเหล่านี้ใส่ใน ปากของพระเยซูเจ้ามากว่าพระวรสาร ฉบับอื่น นี่แสดงถึงทัศนคติเฉพาะ ของลู ก าที่ มี ต ่ อ เรื่ อ งนี้ และลู ก าก็ ยืนยันเรื่องความยากจนว่าได้รับการ เปิดเผยก่อนเริ่มงานศาสนบริการของ พระเยซูเจ้าเสียอีก การประกาศพันธ กิจของพระเยซูเจ้าของลูกาที่เมืองนา ซาเร็ธจึงเป็นการแสดงให้เห็นลักษณะ งานศาสนบริ ก ารที่ จ ะเกิ ด ขึ้ น ใน อนาคตแบบย่อๆ ของพระองค์ และ
8
ดูเปรียบเทียบระหว่าง ลก.4:16-30; มก.6:1-6; มธ.13:53-58
49
คนกลุ่มแรกที่ได้รับประโยชน์จากงาน ศาสนบริ ก ารของพระองค์ ก็ คื อ คน ยากจนนั่นเอง ค�ำว่า “คนยากจน” มีปรากฏอยู่ 11 ครัง้ ในงานเขียนของลูกา ส่วนใน มาระโกและมัทธิวมีใช้คำ� นีเ้ พียง 4 -5 ครั้งเท่านั้น นี่พอเป็นประจักษ์พยาน ได้ว่า พระเยซูเจ้าของลูกาให้ความ สนใจเป็นพิเศษต่อคนยากจนด้วยเหตุ นี้ นั บ แต่ เ ริ่ ม ต้ น ของพระวรสาร ลู ก าจึ ง ให้ ภ าพพระเยซู เ จ้ า ว่ า ทรงมี พระทัยเมตตาและเอาใจใส่บรรดาคน ยากจนและคนถู ก กดขี่ ข ่ ม เหงเป็ น พิ เ ศษ และยั ง หมายรวมถึ ง คนที่ หิวโหย คนที่เป็นทุกข์คร�่ำครวญคน ป่ ว ย คนถู ก ทอดทิ้ ง คนรั บ ภาระ หนัก คนต�่ำต้อย หรือแม้แต่คนตาย ไปแล้วจากสายตาของคนอื่นด้วย การเลือกของพระเยซูเจ้าของลูกา ที่ จ ะประกอบพระภารกิ จ กั บ บุ ค คล ต่างๆ เหล่านี้ผ่านทางการประกาศ พระพันธกิจของพระองค์ (manifesto) ในศาลาธรรมในเมืองนาซาเร็ธ จึงเป็นการเปิดเผยให้เห็นอย่างชัดเจน ว่า พันธกิจแห่งการช่วยให้รอดของ พระเยซู เ จ้ า นั้ น เป็ น พั น ธกิ จ แห่ ง ความเมตตานั่นเอง
50 วารสารแสงธรรมปริทัศน์ ฉบับที่ 2 พฤษภาคม - สิงหาคม 2016/2559 5.3 พระเยซู เ จ้ า เทศน์ ส อนเรื่ อ ง ความเมตตาของพระเจ้า ถ้าลูกาน�ำเสนอพระเยซูเจ้า ขณะอยู่ ในศาลาธรรมเมือ งนาซาเร็ธว่า เป็นการ ประกาศพั น ธกิ จ แห่ ง ความเมตตาของ พระองค์แก่บรรดาคนยากจน เหตุการณ์การ เทศน์บนภูเขาของพระเยซูเจ้าตามการเล่า ของลูกาก็ไม่ได้มเี นือ้ หาด้อยไปกว่าเหตุการณ์ นัน้ แต่อย่างใด (ลก 6:20-49) และแท้จริง แล้ว เนื้อหาทั้งหมดของบทเทศน์ดังกล่าวมี ศู น ย์ ก ลางอยู ่ ที่ ป ระโยคที่ ว ่ า “จงเป็ น ผู ้ เมตตากรุณา ดังที่พระบิดาของท่านทรง พระเมตตากรุณาเถิด” ในความรั ก เมตตาของพระเจ้ า นี้ คริสตชนได้รับการเรียกให้เลียนแบบอย่าง จากพระบิดาเจ้าสวรรค์ผู้เปี่ยมด้วยความ เมตตากรุณาแม้ต่อผู้ที่ไม่ส�ำนึกในบุญคุณ และเห็นแก่ตัว คริสตชนยังได้รับการเรียก ร้องให้รกั แม้แต่ศตั รูของตน พระเยซูเจ้าทรง ทราบดีว่าการเรียกร้องเช่นนี้พูดง่าย แต่ท�ำ ยาก อย่างไรก็ตาม จากการประกาศแก่ บรรดาศิษย์ของพระองค์ที่ตัดสินใจติดตาม พระองค์ ว ่ า เป็ น ผู ้ “มี ค วามสุ ข ” นั้ น พระองค์ต้องการแสดงให้เห็นว่า การเรียก ร้องของพระองค์นั้น แม้จะท�ำยาก แต่ก็ ไม่ใช่เป็นสิ่งที่ท�ำไม่ได้ ผลตามของกฎเกณฑ์แห่งความเมตตา กรุณา คือ การประยุกต์ใช้หลักเกณฑ์นี้ใน ชีวติ ประจ�ำวัน ดังนี ้ พระเยซูเจ้าจึงได้เสริม
ตามมาทันทีให้ระมัดระวังในการด่วนตัดสิน ผูอ้ นื่ พร้อมกับสนับสนุนให้ปลูกฝังการรูจ้ กั ให้อภัยและมีใจกว้างต่อผู้อื่น เพื่อคริสตชน จะได้รับรางวัลตอบแทนอย่างอุดมจากพระ บิดาเจ้า ลูกาได้แนะน�ำถึงรางวัลนีแ้ ล้วตัง้ แต่ ตอนเริ่มต้นของการเล่าเรื่องความสุขแท้จริง และค�ำสาปแช่ง บรรดาศิษย์ของพระเยซูเจ้า ได้รับพระพรและเป็นสุข เพราะพวกเขา ตัดสินใจรับหลักการแห่งความรักเมตตามา ปฏิบตั ใิ นชีวติ ประจ�ำวันของพวกเขา บทสรุป ของลูกาในเรือ่ งธรรมเทศนาแรกบนภูเขาของ พระเยซูเจ้าจึงไม่ใช่สิ่งใดอื่นนอกจาก “ทุก คนที่ ม าหาเรา ย่ อ มฟั ง ค� ำ เราและน� ำ ไป ปฏิบัติ” (ลก 6:47) ค� ำ ว่ า “ความสุ ข แท้ จริ ง ” มาจาก ภาษากรีก makarios หมายถึง ได้รับพร หรือมีความสุข ในการใช้กบั วรรณกรรมทาง ฝ่ายโลก ค�ำนี้ใช้เพื่อยกย่องหรือสรรเสริญ บางคนที่ได้รับความสุขทางฝ่ายโลก เช่น ร�่ำรวย มีต�ำแหน่งฐานะที่ดีในชีวิต มีปรีชา ญาณ มี ส ติ ป ั ญ ญา มี เ กี ย รติ ย ศชื่ อ เสี ย ง ห รื อ ร อด พ ้ น จ า ก เ ค ร า ะ ห ์ ก ร ร ม ใ น พั น ธสั ญ ญาเดิ ม เราพบค� ำ ฮี บ รู ‘ashre ว่าใช้เพื่อหมายถึง ความสุข และเป็นค�ำที่ พบบ่ อ ยๆ ในหนั ง สื อ เพลงสดุ ดี เพื่ อ ใช้ หมายถึ ง ความสุ ข ยิ น ดี ที่ ไ ด้ ก ลั บ จากถิ่ น เนรเทศ แต่ ถ ้ า ใช้ ใ นรู ป แบบของความรู ้ ค� ำ นี้ ห มายถึ ง การประกาศความสั ม พั น ธ์ ระหว่างพระเจ้ากับมนุษย์ และการด�ำเนิน
พระวรสารและการเปิดเผยความเมตตาของพระเจ้า
ชีวิตตามพันธสัญญาแห่งพระคุณ และคง เป็นความหมายนี้เองที่ผู้เขียนพระวรสารน�ำ ไปใช้กับค�ำ “ความสุขแท้จริง” 5.4 พระเยซูเจ้าประกอบพันธกิจ แห่งความเมตตา ในพระภารกิจต่างๆ ของพระเยซูเจ้า ตามการน�ำเสนอของลูกานั้น เป็นภารกิจที่ เต็มไปด้วยความเมตตาและความรักที่มีต่อ คนยากจนและคนที่ต้องการความช่วยเหลือ เรือ่ งนีไ้ ด้รบั การเผยให้เห็นผ่านทางการแสดง ความเมตตาของพระองค์ต่อคนบาป เช่น กรณีของเปโตรซึ่งได้สารภาพต่อพระเยซูเจ้า ว่าตัวเองเป็นคนบาปและไม่เหมาะสมที่จะ อยูก่ บั พระองค์ แต่พระเยซูเจ้าก็ได้เรียกและ เลือกเปโตรมาเป็นอัครสาวกของพระองค์ (ลก 5:8-11) หญิงคนทีช่ โลมพระบาทพระ เยซูเจ้าด้วยน�้ำมันหอมในบ้านของซีโมนซึ่ง เป็นชาวฟาริสี ก็เป็นที่รับรู้กันทั่วไปว่านาง เป็นคนบาป แต่พระเยซูเจ้าก็ทรงปฏิบัติต่อ นางด้วยความรักและความเมตตา และใน ท้ายที่สุด พระองค์ก็ทรงอภัยบาปผิดของ นาง แม้การกระท�ำดังกล่าวจะเป็นที่สะดุด แก่พวกฟาริสีก็ตาม (ลก 7:36-50) การ ปฏิบัติตนร่วมกับคนเก็บภาษีและคนบาป เหล่านีท้ ำ� ให้พวกคัมภีราจารย์และพวกฟาริสี ไม่ชอบพระองค์ (ลก 15:1) คนเก็บภาษี ทีเ่ ข้าไปภาวนาในพระวิหารพร้อมกับยอมรับ ต่อหน้าพระเจ้าว่าตัวเองเป็นคนบาป ใน อุปมาเรื่องชาวฟาริสีกับคนเก็บภาษี (ลก
51
18:9-14) ก็ได้รบั การยืนยันจากพระเยซูเจ้า ว่าเขาเป็นคนชอบธรรม ความรักของพระ เยซูเจ้าต่อคนบาปยังได้รบั การเปิดเผยอีกครัง้ ในเรื่องของศักเคียส (ลก 19:1-10) และ ผูร้ า้ ยทีถ่ กู ตรึงกางเขนพร้อมกับพระเยซูเจ้าที่ ได้กลับใจ (ลก 23:42-43) (ก) ความเมตตาพิเศษต่อสตรี คน ยากจนและคนที่ขัดสน บรรดาสตรี ในสมัยของพระเยซูเจ้า เป็นพวกทีไ่ ด้ รับความเมตตาและความเอาใจใส่เป็น พิเศษ เพราะสถานะทางสังคมของ สตรีในสมัยนัน้ ถูกจัดอยูใ่ นพวกคนจน และเป็นภาระของสังคม พระเยซูเจ้า ทรงรู้เรื่องนี้ดี พระองค์จึงได้แสดง ความเมตตาและความสงสารต่อสตรี เหล่านั้นในหลายต่อหลายครั้งผ่าน ทางการประกอบศาสนบริ ก ารของ พระองค์ เช่น พระองค์ทรงปลุกบุตร ของหญิ ง ม่ า ยที่ เ มื อ งนาอิ น ให้ ก ลั บ คืนชีพ (ลก 7:11-15) เรายังพบใน พระวรสารของลูกาอีกว่า กลุม่ สตรีใจ ศรัทธาที่ติดตามพระเยซูเจ้าและศิษย์ ของพระองค์ ก็ได้สละทรัพย์ของพวก นางเพือ่ มาช่วยเหลืองานศาสนบริการ ของพระเยซูเจ้าและบรรดาศิษย์ (ลก 8:1-3) พระเยซูเจ้าเองก็ทรงมีเพื่อน อย่ า งมารธาและมารี ย ์ ซึ่ ง ทั้ ง สอง ต้อนรับพระองค์ในบ้านของพวกนาง และคอยปรนบัติรับใช้พระองค์ (ลก
52 วารสารแสงธรรมปริทัศน์ ฉบับที่ 2 พฤษภาคม - สิงหาคม 2016/2559 10:38-42) และอี ก เช่ น กั น เป็ น กลุม่ สตรีทเี่ ป็นเพือ่ นของพระเยซูเจ้านี้ เองที่เราพบในพระวรสารของลูกาว่า ได้ยนื ร้องไห้ขณะทีพ่ ระเยซูเจ้าทรมาน กับการแบกกางเขนไปยังที่ประหาร และพระเยซูเจ้าก็ได้หันมาปลอบพวก นาง (ลก 23:27-28) และหลั ง การกลับคืนพระชนมชีพแล้ว ก็มสี ตรี กลุ่มหนึ่งได้รับสิทธิพิเศษในการน�ำ ข่าวดีแห่งการกลับคืนพระชนมชีพของ พระเยซู เ จ้ า ไปบอกแก่ บ รรดาอั ค ร สาวก (ลก 24:10-12) โลกดูถูกคนจนและคนขัดสน แต่ พระเยซูกลับประกาศว่า คนทีถ่ กู กดขี่ ข่มเหงนี้เองที่จะได้รับพระพร นี่เป็น ค�ำประกาศยืนยันของพระองค์ในบท เทศน์บนภูเขา (ลก 6:20-22) และ บทเทศน์ของพระองค์นี้ก็ได้รับความ กระจ่ า งชั ด ในอุ ป มาเรื่ อ งเศรษฐี กั บ คนจนทีช่ อื่ ลาซารัส (ลก 16:19-31) ส� ำ หรั บ พระเยซู เ จ้ า คนยากจน และคนขัดสนนีเ้ องทีเ่ ป็นคนสุภาพและ ต�่ำต้อย นายร้อยที่สุภาพคนหนึ่งที่ ยอมรั บ ว่ า ตั ว เองไม่ เ หมาะสมที่ จ ะ ต้ อ นรั บ พระเยซู เ จ้ า ในบ้ า นของตน ก็ได้รับการยกย่องจากพระเยซูเจ้าถึง ความเชื่อที่เขามี และพระองค์ก็ได้ แสดงความเมตตาโดยทรงประทาน รางวัลแก่เขาโดยทรงรักษาผู้รับใช้คน
หนึ่งของเขาให้หายจากความป่วยไข้ (ลก 7:2-10) บรรดาศิ ษ ย์ ข อง พระองค์ ก็ ไ ด้ รั บ การแนะน� ำ ไม่ ใ ห้ แก่งแย่งกันว่าใครจะเป็นใหญ่กว่ากัน แต่ให้ด�ำรงตนอยู่เสมอในความสุภาพ บริ สุ ท ธิ์ แ ละซื่ อ เหมื อ นเด็ ก เล็ ก ๆ “เพราะผู ้ ใ ดที่ เ ล็ ก ที่ สุ ด ในพวกท่ า น ผู ้ นั้ น ย่ อ มเป็ น ผู ้ ยิ่ ง ใหญ่ ที่ สุ ด ” (ลก 9:47-48) ความคิดนี้ถูกสะท้อนให้ เห็นอีกครัง้ หนึง่ ในพระวรสารของลูกา เมือ่ พระเยซูเจ้าทรงสรรเสริญพระบิดา เจ้าสวรรค์ “ทีพ่ ระองค์ทรงปิดบังเรือ่ ง เหล่านี้จากบรรดาผู้ปรีชาและรอบรู้ แต่ทรงเปิดเผยแก่บรรดาผู้ต�่ำต้อย” (ลก 10:21) (ข) ความเมตตาต่ อ ผู ้ ที่ ห ลงทาง ภาพของพระเยซูเจ้าที่เป็น ผู้แสวงหา คนที่หลงไปจากทางที่ถูกต้อง และ ทรงปลาบปลืม้ ยินดีหลังจากได้พบเขา อีกครั้งหนึ่งตามการเล่าของลูกานั้น เป็ น เรื่ อ งที่ ทุ ก คนรู ้ จั ก กั น อย่ า งดี ค� ำ อุ ป มาสามเรื่ อ งที่ แ สดงถึ ง พระ เมตตากรุณาของพระเจ้าในลูกาบทที่ 15 ซึ่งประกอบด้วยเรื่องแกะที่พลัด หลง เรื่องเงินเหรียญที่หายไปและ เรื่องลูกล้างผลาญ เป็นเรื่องที่ลูกา เล่าอย่างมีชีวิตชีวาและท�ำให้คนฟัง เห็นภาพตามได้ นี่แสดงให้เห็นอย่าง ชัดเจนว่า ลูกาต้องการเน้นว่า ใน
พระวรสารและการเปิดเผยความเมตตาของพระเจ้า
พระเยซูเจ้า ความเมตตาของพระเจ้า ได้เกิดขึน้ จริงแล้ว เพือ่ ช่วยเหลือคนที่ ถูกทอดทิ้งจากคนทั่วไป 6. บทสรุป จากทีไ่ ด้พจิ ารณามาทัง้ หมดนี ้ เราคง พอเห็นภาพรวมของพระวรสาร โดยเฉพาะ พระวรสารของลูกาว่า เป็นดังที่ได้ตั้งชื่อไว้ แต่ตน้ ว่าเป็น “การเปิดเผยความเมตตาของ พระเจ้า” เพราะจากการเน้นถึงพันธกิจแห่ง การไถ่กู้ของพระเยซูเจ้าแห่งประวัติศาสตร์ ของบรรดาผู้เขียนพระวรสาร ได้เผยให้เห็น อย่างชัดเจนว่าความเมตตาของพระเจ้ามีมา
53
ถึงมนุษย์ผ่านทางพระบุคคลของเยซูชาวนา ซาเร็ธ พระเยซูเจ้าทรงรับความรักเมตตานี้ มาจากพระเจ้าพระบิดา และพระองค์กท็ รง เปิดเผยความรักเมตตานีแ้ ก่มนุษย์ ผ่านทาง ชีวิต พันธกิจ พระวาจาและกิจการต่างๆ ของพระองค์นั่นเอง ความรอดของมนุษยโลกจึงบรรลุจุด สมบู ร ณ์ ใ นองค์ พ ระเยซู แ ห่ ง นาซาเร็ ธ นี้ เพราะในพระองค์ พระเจ้าได้น�ำความรอด มาให้มนุษย์ด้วยวิธีการที่ก�ำหนดไว้ชัดเจน แล้วและท�ำซ�ำ้ อีกไม่ได้ ครัง้ เดียว และมีผล ตลอดไป
บรรณานุกรม Brown, R. E. The Gospel According to John. vol. I-II, (Anchor Bible 29), Garden City, New York: Doubleday & Co., 1979. Conzelmann, H. The Theology of St. Luke. English translation by G.Buswell, London: SCM, 1982. Dictionary of Biblical Theology. ed., X. L.-Dufour, London: Geoffrey Chap man, 1972. Ellis, E. E. The Gospel of Luke. London: Oliphants, 1974. Fitzmyer, J. A. The Gospel According to Luke I-IX. (Anchor Bible 28), Garden City, New York: Doubleday, 1981. The New International Dictionary of the New Testament Theology. ed., Colin Brown, vol. II, Exeter: Paternoster, 1980.
ปีศักดิ์สิทธิ์แห่งเมตตาธรรม บาทหลวงเชษฐา ไชยเดช
นอกจากการแสวงบุญซึง่ เป็นกิจกรรม ส�ำคัญประการหนึง่ ของปีศกั ดิส์ ทิ ธิแ์ ห่งเมตตา ธรรมแล้ว ในพระสมณโองการพระพักตร์ แห่งความเมตตา พระสันตะปาปาฟรังซิส ทรงมีพระประสงค์ให้คริสตชนปฏิบัติงาน เมตตาจิตด้านร่างกายและงานเมตตาจิตด้าน จิตใจ(เทียบ MV 15) และในปีศักดิ์สิทธิ์ แห่ ง เมตตาธรรมนี้ พระศาสนจั ก รยั ง ได้ ก�ำหนดด้วยว่า ทุกครั้งที่คริสตชนแต่ละคน
ท�ำงานเมตตาจิตด้านจิตใจและงานเมตตาจิต ด้ า นร่ า งกาย (spiritual and corporal works of mercy) หนึ่งอย่างหรือ มากกว่ า นั้ น และปฏิ บั ติ ต ามเงื่ อ นไขที่ พระศาสนจักรก�ำหนด เขาจะได้รบั พระคุณ การุณย์ครบบริบูรณ์ ในวารสารแสงธรรม ปริ ทั ศ น์ ฉ บั บ นี้ ผู ้ เ ขี ย นจึ ง ขอกล่ า วถึ ง งาน เมตตาจิตด้านร่างกายและงานเมตตาจิตด้าน จิตใจ ดังนี้
บาทหลวงสังกัดอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ, อาจารย์สาขาวิชาคริสตศาสนศึกษา วิทยาลัยแสงธรรม
( หมวดพิธีกรรม )
“งานเมตตาจิตด้านร่างกาย และงานเมตตาจิตด้านจิตใจ”
งานเมตตาจิตด้านร่างกายและงาน เมตตาจิตด้านจิตใจเป็นกิจการด้านเมตตาจิต ที่เรากระท�ำเพื่อน�ำความรักและพระเมตตา ของพระเจ้าไปสู่ผู้ที่ยากล�ำบากและต้องการ ความช่วยเหลือ พระเยซูเจ้าทรงสอนว่า “ผูม้ ใี จเมตตา ย่อมเป็นสุข เพราะเขาจะได้รบั พระเมตตา” (มธ 5:7) และพระองค์ทรงสอนบัญญัติ เอกสองประการก็คือ “ท่านจะต้องรักองค์ พระผู้เป็นเจ้า พระเจ้าของท่านสุดจิตใจ สุดวิญญาณ สุดสติปญ ั ญาของท่าน นีค่ อื บทบั ญ ญั ติ เ อกและเป็ น บทบั ญ ญั ติ แ รก บทบัญญัตปิ ระการทีส่ องก็เช่นเดียวกัน คือ ท่านต้องรักเพื่อนมนุษย์เหมือนรักตนเอง” (มธ 22:37-39) งานเมตตาจิตด้านร่างกาย งานเมตตาจิตด้านร่างกาย คือ การ ปฏิบัติกิจกรรมเพื่อช่วยเหลือเพื่อนพี่น้องที่ ยากล�ำบากและต้องการความช่วยเหลือด้าน ร่างกายและสิง่ ของเครือ่ งใช้ตา่ งๆ ประกอบ ด้วย 1. การให้อาหารคนหิวโหย 2. การให้น�้ำดื่มแก่ผู้กระหาย 3. การให้เสื้อผ้าแก่ผู้ไม่มีนุ่งห่ม 4. การให้ที่พักแก่ผู้ไร้ที่อยู่ 5. การเยี่ยมผู้ป่วย 6. การเยี่ยมผู้ถูกจองจ�ำ 7. การฝังศพผู้ล่วงลับ
ในพระวรสารของนักบุญมัทธิว เรา พบค� ำ สอนของพระเยซู เ จ้ า เกี่ ย วกั บ งาน เมตตาจิ ต ด้ า นร่ า งกาย 6 ประการแรก ดังนี้ “แล้วพระมหากษัตริยจ์ ะตรัสแก่ผทู้ อี่ ยู่ เบือ้ งขวาว่า ‘เชิญมาเถิด ท่านทัง้ หลายทีไ่ ด้ รับพระพรจากพระบิดาของเรา เชิญมารับ อาณาจักรเป็นมรดกที่เตรียมไว้ให้ท่านแล้ว ตัง้ แต่สร้างโลก เพราะว่า เมือ่ เราหิว ท่าน ให้เรากิน เรากระหาย ท่านให้เราดื่ม เรา เป็นแขกแปลกหน้า ท่านก็ตอ้ นรับ เราไม่มี เสื้อผ้า ท่านก็ให้เสื้อผ้าแก่เรา เราเจ็บป่วย ท่านก็มาเยี่ยม เราอยู่ในคุก ท่านก็มาหา “บรรดาผู ้ ช อบธรรมจะทู ล ถามว่ า ‘พระเจ้าข้า เมื่อใดเล่าข้าพเจ้าทั้งหลายเห็น พระองค์ทรงหิว แล้วถวายพระกระยาหาร หรือทรงกระหาย แล้วถวายให้ทรงดืม่ เมือ่ ใดเล่าข้าพเจ้าทั้งหลายเห็นพระองค์ทรงเป็น แขกแปลกหน้า แล้วต้อนรับ หรือทรงไม่มี เสื้อผ้า แล้วถวายให้ เมื่อใดเล่าข้าพเจ้าทั้ง หลายเห็นพระองค์ประชวรหรือทรงอยูใ่ นคุก แล้วไปเยี่ยม’ พระมหากษัตริย์จะตรัสตอบ ว่า ‘เราบอกความจริงแก่ท่านทั้งหลายว่า ท่านท�ำสิ่งใดต่อพี่น้องผู้ต�่ำต้อยที่สุดของเรา คนหนึ่ ง ท่ า นก็ ท� ำ สิ่ ง นั้ น ต่ อ เรา’” (มธ 25:34-40) นอกจากนั้น ในพระคัมภีร์ภาคพันธ สั ญ ญาเดิ ม เราพบงานเมตตาจิ ต ฝ่ า ยกาย ประการที่ 7 เรื่ อ ง “การฝั ง ศพผู ้ ล ่ ว ง ลับ”จากหนังสือโทบิต
“งานเมตตาจิตด้านร่างกายและงานเมตตาจิตด้านจิตใจ”
งานเมตตาจิตด้านจิตใจ งานเมตตาจิตด้านจิตใจ คือ กิจการ แห่งความรักที่เราช่วยเหลือเพื่อนพี่น้องของ เราในความต้องการด้านวิญญาณ ด้านจิตใจ ด้านอารมณ์และความรู้สึกของเขา งานเมตตาจิตด้านจิตใจประกอบด้วย 1. การสอนผู้ไม่รู้ คือ กิจการแห่ง ความรักที่เราช่วยเหลือผู้อื่นให้เรียนรู้ ถึ ง ความจริงที่พวกเขาจ�ำเป็นต้อ งรู้ เพื่อความรอดพ้นของวิญญาณ ดังที่ พระเยซู เ จ้ า ทรงสั่ ง อั ค รสาวกให้ ไ ป ประกาศข่าวดีแก่มวลมนุษย์ “ท่านทัง้ หลายจงออกไปทั่ ว โลก ประกาศ ข่าวดีให้มนุษย์ทงั้ ปวง” (มก 16:15) 2. การให้ค�ำปรึกษาแก่ผู้สงสัย คือ กิจการแห่งความรักที่เราช่วยเหลือผู้ อื่นให้มั่นใจในสิ่งที่เขาพึงปฏิบัติเพื่อ แสดงความรักต่อพระเจ้าและรับใช้ พระองค์ ในการให้ค�ำปรึกษาแก่ผู้ สงสัย เราท�ำตามที่พระเยซูเจ้าทรง สอนว่า “เรามอบสันติสขุ ไว้ให้ทา่ นทัง้ หลาย เราให้สันติสุขของเราแก่ท่าน เราให้สันติสุขแก่ท่าน ไม่เหมือนที่ โลกให้ ใจของท่านอย่าหวั่นไหวหรือ มีความกลัวเลย” (ยน 14:27) 3. การบรรเทาผู ้ มี ค วามทุ ก ข์ คื อ กิจการแห่งความรักที่เราช่วยเหลือผู้ อื่นที่ก�ำลังมีความทุกข์ให้ได้รับความ บรรเทาใจ หรืออาจเป็นการละเว้น
109
การกระท�ำบางอย่างทีจ่ ะท�ำให้ผอู้ นื่ ไม่ สบายใจ ด้วยกิจการแห่งความรักนี้ เราก�ำลังน�ำผู้ที่มีความทุกข์ไปหาพระ เยซู เ จ้ า ตามที่ พ ระองค์ ท รงสอน ว่า “ท่านทัง้ หลายทีเ่ หน็ดเหนือ่ ยและ แบกภาระหนัก จงมาพบเราเถิด เรา จะให้ท่านได้พักผ่อน” (มธ 11:28) 4. การตักเตือนคนบาป คือ กิจการ แห่งความรักทีเ่ ราช่วยเหลือพีน่ อ้ งของ เราที่ได้กระท�ำบาปให้ตระหนักถึงผล ร้ายของบาป กิจการแห่งความรักนี้ กระท�ำโดยการช่วยเพื่อนพี่น้องไม่ให้ ท�ำบาปหรือช่วยเขาให้พ้นจากโอกาส บาป หรือช่วยแนะน�ำ หรือน�ำเขาไป รับศีลอภัยบาป บางครัง้ กิจการนีอ้ าจ ท� ำ โดยการเป็ น ตั ว อย่ า งที่ ดี โดยมี เจตนาเพื่อให้เพื่อนพี่น้องผู้ท�ำบาปได้ ตระหนักถึงผลร้ายของบาป กลับใจ และส�ำนึกผิด พระเยซูเจ้าทรงสอน เราว่า “เราบอกท่านทั้งหลายว่าใน สวรรค์จะมีความยินดีเช่นนี้เพราะคน บาปคนหนึง่ กลับใจมากกว่าความยินดี เพราะคนชอบธรรมเก้าสิบเก้าคนทีไ่ ม่ ต้องการกลับใจ” (ลก 15:7) 5. ก า ร อด ท น ผู ้ ก ร ะ ท� ำ ผิ ด คื อ กิ จ การแห่ ง ความรั ก ที่ เ ราอดทนต่ อ ความทุกข์ ความไม่สะดวก หรือผล ร้ายที่ตามมาจากการกระท�ำผิดของผู้ อื่น พระเยซูเจ้าทรงเป็นแบบอย่างที่
110วารสารแสงธรรมปริทัศน์ ฉบับที่ 2 พฤษภาคม - สิงหาคม 2016/2559 ดีแก่เราในเรื่องนี้ ทั้งๆ ที่พระองค์ เป็น ผู้บริสุทธิ์แต่ก็ทรงอดทนยอมรับ ความทุกข์ทรมาน และความตายบน ไม้ ก างเขน เพื่ อ กอบกู ้ ม นุ ษ ย์ ใ ห้ รอดพ้นจากบาป พระองค์ทรงสอน เราว่า “แต่เรากล่าวกับท่านทั้งหลาย ที่ก�ำลังฟังอยู่ว่า จงรักศัตรู จงท�ำดี ต่อผู้ที่เกลียดชังท่าน จงอวยพรผู้ที่ สาปแช่งท่าน จงอธิษฐานภาวนาให้ ผู้ที่ท�ำร้ายท่าน” (ลก 6:27-28) 6. การให้อภัยแก่ทกุ คนทีท่ ำ� ร้าย คือ กิจการแห่งความรักขัน้ สูงทีเ่ ราให้อภัย แก่ ผู ้ ที่ ท� ำ ร้ า ยเราไม่ ว ่ า จะเป็ น ทาง ร่างกายหรือจิตใจ พระเยซูเจ้าทรง เป็นแบบอย่างและทรงสอนเราให้ให้ อภัยคนทีท่ ำ� ร้ายเรา ในบทข้าแต่พระ บิดาพระองค์ทรงสอนเราให้ภาวนาต่อ พระบิดาว่า “โปรดประทานอภัยแก่ ข้าพเจ้า เหมือนข้าพเจ้าให้อภัยแก่ผู้ อื่น” (มธ 6:12) 7. การสวดภาวนาให้ทั้งผู้ที่ยังมีชีวิต อยูแ่ ละผูท้ สี่ นิ้ ใจไปแล้ว เป็นกิจการที่ เราแสดงความเชื่อและความเป็นหนึ่ง เดียวกับเพือ่ นพีน่ อ้ งในสหพันธ์นกั บุญ สิง่ นีเ้ ป็นกิจการทีเ่ ราแผ่ขยายความรัก ของพระเจ้าไปยังเพือ่ นพีน่ อ้ งทัง้ ทีย่ งั มี ชีวิตอยู่และวิญญาณในไฟช�ำระที่จาก โลกนีไ้ ปแล้ว การท�ำกิจการแห่งความ รักนี้เป็นการท�ำตามพระประสงค์ของ
พระเยซูเจ้า ทีท่ รงภาวนาต่อพระบิดา ในอาหารค�ำ่ มือ้ สุดท้ายว่า “ข้าแต่พระ บิดา ผูท้ พี่ ระองค์ประทานให้ขา้ พเจ้า นั้น ข้าพเจ้าปรารถนาให้เขาอยู่กับ ข้าพเจ้าทุกแห่งทีข่ า้ พเจ้าอยู ่ เพือ่ เขา จะได้เห็นพระสิรริ งุ่ โรจน์ ซึง่ พระองค์ ประทานแก่ข้าพเจ้า” (ยน 17:24) บทส่งท้าย จะเห็นได้ว่าในปีศักดิ์สิทธิ์แห่งเมตตา ธรรมนี้ พระศาสนจั ก รมี ค วามมุ ่ ง หวั ง ให้ คริ ส ตชนได้ มี ค วามเชื่ อ และสั ม ผั ส ถึ ง พระ เมตตาของพระเจ้าในชีวิตของตน และพระ เมตตาของพระเจ้าทีค่ ริสตชนมีประสบการณ์ ในชีวิตนั้นจะต้องไม่หยุดอยู่ที่ความสุขใจใน องค์พระเจ้าเท่านั้น แต่พระเมตตาของพระ เจ้าที่คริสตชนได้รับจะผลักดันให้คริสตชน ออกจากตนเอง และด� ำ เนิ น ชี วิ ต เป็ น ประจักษ์พยานถึงความรักและพระเมตตา ของพระเจ้าในชีวิตของตน เป็นต้น โดย ผ่ า นทางการปฏิ บั ติ ง านเมตตาจิ ต ด้ า น ร่างกายและงานเมตตาจิตด้านจิตใจ สมเด็จพระสันตะปาปาฟรังซิสทรงมี พระประสงค์ให้ปีศักดิ์สิทธิ์แห่งเมตตาธรรม เป็ น ปี ที่ ค ริ ส ตชนจะเปี ่ ย มด้ ว ยความรู ้ สึ ก กตัญญู และโมทนาคุณพระเจ้าที่ประทาน เวลาพิเศษแห่งพระพรแก่เรา เราจะถวาย ชีวิตของพระศาสนจักร มนุษยชาติ และ โลกจักรวาลแด่พระคริสตเจ้า พร้อมกับวอน
ขอพระองค์โปรดประทานพระเมตตามายังเรา และเพื่อเราจะออกไปพบพี่น้องชายหญิงทุก คน เพือ่ น�ำความดีและพระเมตตากรุณาของพระเจ้าไปสูพ่ วกเขา พระองค์ทรงมีพระประสงค์ ให้ความศักดิ์สิทธิ์แห่งพระเมตตาของพระเจ้าแผ่ไปถึงทุกคน ทั้งผู้ที่มีความเชื่อและผู้ที่ยังอยู่ ห่างไกล เพื่อเป็นเครื่องหมายว่าพระอาณาจักรของพระเจ้าอยู่ท่ามกลางเราแล้ว (เทียบ MV 5)