ผังการจัดแสดงองค์ความรู้อาคารพลังงานไบโอดีเซล หลักการผลิตไบโอดีเซล วัตถุดิบที่ใช้ผลิตไบโอดีเซล กระบวนกรรมวิ ธี ป ฏิ กิ ริ ย าเคลื่ อ นย้ า ย หมู่เกิดเอสเทอร์(Transesterification)
1 2 3 4-5
สารบัญ กระบวนการผลิตไบโอดีเซล การเตรียมวัตถุดิบและขั้นตอนการผลิตไบโอดีเซล
6-7 8-14
อาคารพลังงานไบโอดีเซล อาคารที่แสดงองค์ความรู้ด้านพลังงานไบโอดีเซล(Biodiesel)เป็นพลังงานทดแทนเชื้อ
เพลิงดีเซลที่ผลิตจากแหล่งทรัพยากรหมุนเวียน เช่น น�้ำมันพืช ไขมันสัตว์ หรือสาหร่าย ไบโอดีเซล เป็นเชื้อเพลิงดีเซลทางเลือก ซึ่งภายในอาคารน�ำเสนอวัตถุดิบส่วนประกอบเพื่อผลิตน�้ำมัน นอกเหนือจากดีเซลที่ผลิตจากปิโตรเลียมโดยมีคุณสมบัติการเผาไหม้เหมือนกับดีเซล จากปิโตรเลียมมากและสามารถใช้แทนกันได้คุณสมบัติส�ำคัญของไบโอดีเซลคือสามารถย่อยสลาย ได้เองตามกระบวนการชีวภาพในธรรมชาติ(biodegradable)และไม่เป็นพิษ (non-toxic)
ผังการจัดแสดงองค์ความรู้ อาคารพลังงานไบโอดีเซล
1. จัดแสดงวัตถุดิบการท�ำน�้ำมันไบโอดีเซล 2. เครื่องมือการสาธิตการท�ำน�้ำมันไบโอดีเซล 3. บอร์ดนิทรรศการแสดงกระบวนการผลิตน�้ำมัน 4. บอร์ดนิทรรศการแสดงกระบวนการผลิตน�้ำมัน 5. ห้องเครื่องกลั่นน�้ำมันไบโอดีเซล 6. บอร์ดนิทรรศการแสดงภาพจริงวัตถุดิบที่น�ำมาผลิตน�้ำมัน
1
หลักการผลิตไบโอดีเซล
ไบโอดีเซล (Biodiesel) เป็นชื่อที่ใช้ เรียกเชื้อเพลิงที่เป็นสาร เอสเตอร์(Ester)ที่ได้มา จากน�้ำมันพืชหรือไขมันสัตว์โดยผ่านกระบวนการ ที่ ท� ำ ให้ โ มเลกุ ล เล็ ก ลงให้ อ ยู ่ ใ นรู ป ของเอทิ ล เอส เตอร์(EthylEsters)หรือเมทิลเอสเตอร์ (MethylEsters)ซึ่งมีคุณสมบัติใกล้เคียงกับน�้ำมันดีเซล มากสามารถใช้ ท ดแทนน�้ ำ มั น ดี เ ซลได้ โ ดยตรง กระบวนการนี้เรียกว่าทรานเอสเตอร์เทอริฟิเคชั่น (Transesterification)
น�ำ้ มันพื ช หรือน�ำ้ มัน สัตว์
แอลกอฮอล์ มีด่างเป็นตัว เร่งปฏิกิริยา
ภาพแสดงส่ วนประกอบการผลิตน�้ำมันไบโอดีเซล
หลั ก การผลิ ต ไบโอดี เ ซลโดยใช้ น�้ ำ มั น พื ช หรื อ น�้ำมันสัตว์ผสมกับเมทานอลหรือเอทานอลมีด่างเป็นตัว เร่งปฏิกิริยาจะได้สารประกอบเอสเตอร์ ซึ่งก็คือไบโอดีเซล และได้กลีเซอรอลเป็นผลพลอยได้
ประเภทของกระบวนการผลิต ไบโอดีเซล ประเภทของกระบวนการผลิตไบโอดีเซล แบ่งออก เป็น 4 ประเภทด้วยกัน การผลิตไบโอดีเซลแบบกะ (Batch Technology) 2 แบบต่อเนื่อง-ทรานเอสเทอริฟิเคชั่น (Continuous Trans-Esterification) 3 แบบต่อเนื่อง-2 ขั้นตอน (2 Step Reaction) 4 ไมโครเวฟ เทคโนโลยี (Micro Wave Technology) 1
ไบโอดีเซล หรือ สารประกอบ เอสเตอร์
กลีเซอรอล หรือ กลีเซอรีน
2
2 แบบต่อเนื่อง-ทรานเอสเทอริฟิเคชั่น (ContinuousTrans-Esterification) เป็นกระบวนการผลิตที่ต้องใช้เงินลงทุนสูงกว่าแบบ แรกแต่ให้ผลผลิตที่มีคุณภาพดีกว่าและมีก�ำลังการ ผลิตสูงกว่า
1 การผลิตไบโอดีเซลแบบกะ (BatchTechnology) เป็นการผลิตแบบไม่ต่อเนื่องท�ำให้ผลิตได้คราวละ ไม่ ม ากและผลผลิ ต มี คุ ณ ภาพไม่ ส ม�่ ำ เสมอแต่ มี ข้อดีคือใช้เงินลงทุนต�่ำ
4 ไมโครเวฟ เทคโนโลยี (Micro Wave Technology) เป็นกระบวนการผลิตที่สามารถท�ำปฏิกิริยาได้เร็ว ขึ้นด้วยการใช้คลื่นไมโครเวฟและใช้พื้นที่ในการติด ตั้งน้อยอย่างไรก็ตามปัจจุบันยังคงมีเฉพาะ Pilot Plant และใช้เงินลงทุนสูงมาก
แบบต่อเนื่อง - 2 ขั้นตอน 3 (2 Step Reaction) เป็ น กระบวนการที่ ส ามารถใช้ ไ ด้ กั บ วั ต ถุ ดิ บ หลายชนิดรวมถึงน�้ำมันที่กรดไขมันอิสระสูงโดย การท�ำปฏิกิริยาเอสเทอริฟิเคชั่ นในขั้ นแรกและ ผ่ า นกระบวนกาทรานเอสเทอริ ฟ ิ เ คชั่ น อี ก ครั้ ง ท�ำให้ได้ผลผลิตที่มากกว่า 2 ประเภทแรก แต่ อย่างไรก็ตามเงินลงทุนก็สูงขึ้นเช่นเดียวกัน
วัตถุดิบที่ใช้ผลิตไบโอดีเซล
ไบโอดี เ ซลเป็ น เชื้ อ เพลิ ง เหลวที่ ผ ลิ ต ได้ จาก น�้ำมันพืชและไขมันสัตว์เช่น ปาล์ม มะพร้าว ถั่วเหลือง ทานตะวัน สบู่ด�ำ หรือน�้ำมันพืชที่ใช้แล้ว ซึ่งพืชน�้ำมันเหล่านี้เป็นแหล่ง ทรัพยากรที่สามารถ ผลิตทดแทนได้ในธรรมชาติ ภาพแสดงวัตถุดิบการผลิตน�้ำมันไบโอดีเซล
3
ถั่วเหลือง
ปาล์ม
สบู่ด�ำ
มะพร้าว น�้ำมันพื ช ไขมันสัตว์ ที่ใช้แล้ว
ทานตะวัน
กระบวนกรรมวิธีปฏิกิริยา เคลื่ อ นย้ า ยหมู่ เ กิ ด เอสเทอร์ (Transesterification) กระบวนกรรมวิ ธี ป ฏิ กิ ริ ย าเคลื่ อ นย้ า ย หมู่เกิดเอสเทอร์บางครั้งนิยมเรียกว่าAlcoholysis นิยามโดยทั่วไปหมายถึง กระบวนการของปฏิกิริยา เคมีที่มีการแทนที่หมู่แอลกอฮอล์ในเอสเทอร์ด้วย แอลกอฮอล์ อี ก ชนิ ด หนึ่ ง ดั ง ปรากฏสมการของ ปฏิกิริยาเคมี ดังนี้ RCOOR’ + R” OH Ester Alcohol
RCOOR” + R’ OH Ester Alcohol
สมการทางเคมี ข องปฏิ กิ ริ ย าเคลื่ อ น ย้ายหมู่เกิดเอสเทอร์ ปฏิกิริยาทรานเอสเทอริฟิเคชั่นคือปฏิกิริยา ระหว่างไตรกลีเซอไรด์กับแอลกอฮอล์และเปลี่ยนรูปไป เป็นเอสเทอร์ (ไบโอดีเซล) โดยมีผลพลอยได้คือกลีเซ อรอล กระบวนการนี้นิยมใช้อย่างกว้างขวางหมายถึง กระบวนการของปฏิกิริยาเคมีระหว่างไตรกลีเซอไรด์ใน ไขมันหรือน�้ำมันกับแอลกอฮอล์ ดังสมการปฏิกิริยาเคมีที่แสดงดังนี้
4
ข้อดีของไบโอดีเซลแบบเอสเทอร์ ได้แก่ มีจุดวาบไฟสูง ( Flash point )สูงกว่าน�้ำมันดีเซล และลุกติดไฟได้ยากกว่าในสภาพบรรยากาศสามารถ ย่ อ ยสลายได้ ง ่ า ยในธรรมชาติ ช ่ ว ยลดมลพิ ษ ทาง อากาศซึ่งเป็นผลจากการเผาไหม้ในเครื่องยนต์ โดย คณะกรรมการไบโอดีเซลแห่งชาติ (National Biodiesel Board) และส�ำนักงานป้องกันสิ่งแวดล้อม (USEnvironmentalAgency)ของประเทศ สหรัฐอเมริกาได้ท�ำการทดลองวิจัยใช้ไบโอดีเซลสูตร ต่างๆกับเครื่องยนต์ดีเซล และรายงานได้ว่า ไบโอดีเซล สูตร B100 และ B20 สามารถลดเขม่าและควันด�ำ จากการเผาไหม้ได้ ในส่วนของกรมอู่ทหารเรือ กองทัพเรือ ก็ได้ รายงานผลการทดลองใช้ น�้ ำ มั น ไบโอดี เ ซลกั บ เครื่องยนต์ดีเซลขนาด145 แรงม้า ว่าสามารถลดควัน ด�ำได้มากกว่าร้อยละ 40
5
นอกจากนั้ น การใช้ ไ บโอดี เ ซลยั ง สามารถลดการปล่อยแก๊สเรือนกระจกเพราะ ผลิตจากน�้ำมันพืชที่ใช้แล้ว ซึ่งช่วยลดการน�ำ น�้ำมันที่ใช้แล้วไปประกอบอาหารซ�้ำแล้ว (ซึ่งมีสารไดออกซินที่เป็นสารก่อมะเร็ง) ไบโอดี เ ซลยั ง ใช้ เ ป็ น สารเติ ม แต่ ง ใน น�้ำมันดีเซลได้โดยผสมในระดับต่างๆซึ่งจะช่วย เพิ่มประสิทธิภาพของการเผาไหม้และการปล่อย ไอเสีย ทางด้านค่าความร้อน ไบโอดีเซลมีค่า ความร้อนต�่ำกว่าดีเซล แม้มีปริมาณของไบโอ ดีเซลเพียงเล็กน้อยในดีเซลปกติก็จะช่วยเพิ่ม ประสิทธิภาพการหล่อลื่นให้น�้ำมันดีเซลได้อย่าง มาก
กระบวนการผลิตไบโอดีเซล
ขั้นตอนที่ 1 ขั้นตอนที่ 2 ขั้นตอนที่ 3 ขั้นตอนที่ 4 ขั้นตอนที่ 5 ขั้นตอนที่ 6
กระบวนการผลิ ต ไบโอดี เ ซล ตามทฤษฎี มีอยู่ 6 ขั้นตอน ดังนี้
ภาพแสดงเครื่องผลิตไบโอดีเซลจากน�้ำมันพืชใช้แล้ว
6
การปรับอุณหภูมิของวัตถุดิบ การเตรียมแอลกอฮอล์ กับสารเร่ง ปฏิกิริยา การท�ำปฏิกิริยา การตกตะกอน และ/หรือ การแยก สารเอสเทอร์ กับ กลีเซอรีน การช�ำระล้างสารตกค้างออกจากสาร เอสเทอร์ด้วยน�้ำ การแยกน�้ำออกจากสารเอสเทอร์
กระบวนการผลิตไบโอดีเซลจากน�้ำมันพื ชใช้แล้ว
น�้ำมันพืชใช้แล้ว
ให้ความร้อนที่ อุณหภูมิ 65 องศา
กระบวนการ แยกกลีเซอลีน
กระบวนการท�ำปฏิกิริยา ทรานส์เอสเตอริฟิเคชั่น เติมสารละลาย เมทานอล+โปแตสเซียม
กระบวนการล้าง ไบโอดีเซล
ได้น�้ำมันไบโอดีเซลที่บริสุทธิ์ ให้ความร้อนที่อุณหภูมิ 110 องศา
7
ไบโอดีเซลพร้อมใช้
การเตรียมวัตถุดิบ และขั้นตอนการผลิต ไบโอดีเซล 1. น�้ำมันพืช/สัตว์ ในการคัดเลือก และควบคุมคุณภาพวัตถุดิบนั้น จะต้องจัดเตรียมน�้ำมันพืชใช้แล้ว ซึ่งมีค่า PH ประมาณ 5- 7 และท�ำการตกตะกอน เพื่อก�ำจัดน�้ำ และสิ่งสกปรกที่เจือปนออก โดยทั่วไปน�้ำมันพืช ใช้แล้วทุกชนิด สามารถน�ำมาผลิตเป็นไบโอดีเซลได้ คุณสมบัติของน�้ำมันพืชที่สามารถใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตไบโอดีเซล จะต้องมีคุณสมบัติดังนี้ - ค่าไอโอดีน สูงสุด 115 g/100 g - ค่า Peroxide สูงสุด 2 - Specification number 170 – 195 mg KOH/g - กรดไขมันอิสระ ปกติ 1%, สูงสุด 2% - Fibril as P สูงสุด 20 ppm - สิ่งปนเปื้อนและน�้ำ สูงสุด 0.25 % - ซัลเฟอร์ทั้งหมด สูงสุด 0.02 % - Organic chloridesnone 2. เมทานอล (Methanol) เมทานอล ที่ใช้ในการผลิตไบโอดีเซลจะต้องมีคุณสมบัติดังนี้ - Customary in trade, Technical quality - อุณหภูมิ > 25 °C - Specification > 98 wt-% 3. โปแตสเซียมไฮดรอกไซด์ (Potassium Hydroxide, KOH) โปแตสเซียมไฮดรอกไซด์ ที่ใช้ในการผลิตไบโอดีเซลจะต้องมีคุณสมบัติดังนี้ - Customary in trade, Technical quality - Specification > 95 wt-% - รูปทรง เป็นเม็ดแข็ง - การบรรจุ และการเก็บรักษาอยู่ในถุงหรือภาชนะป้องกันความชื้น
8
1. การเตรียมวัตถุดิบส�ำหรับผลิตน�้ำมันไบโอดีเซล ขนาด 50 ลิตร -วัตถุดิบน�้ำมันพืช/สัตว์ 50 ลิตร -โปแตสเซียมไฮดรอกไซด์ 0.6 กก. - เมทานอล 12 ลิตร ขั้นตอนการผลิตน�้ำมันไบโอดีเซลจะมีกระบวนการหลักในการผลิตอยู่ทั้งหมด 6 ขั้น ตอน ขั้นตอนที่ 1 การปรับอุณหภูมิของวัตถุดิบ และไล่ความชื้นในวัตถุดิบ วัตถุดิบจะได้รับการสูบหรือเติมจากถังเก็บ เข้าไปยังถังปฏิกิริยา (Reactor Tank) เพื่อ เตรียมการท�ำปฏิกิริยา โดยจะต้องปรับอุณหภูมิให้เหมาะสมกับการท�ำปฏิกิริยา โดยให้ ความร้อนเพื่อเพิ่มอุณหภูมิที่เหมาะสม (65 องศาเซลเซียส)
9
วิธีปฏิบัติในขั้นตอนที่ 1
ใส่วัตถุดิบที่ผ่านการกรอง ลงในถังปฏิกิริยา T-2001 ตามที่ก�ำหนดไว้ แล้วเปิดวาล์ว หมายเลข v-1001 ,v-1002 , v-1004 , v-1005, v-1007 ตามล�ำดับ จากนั้นเปิด ปั้ม P-1001 จากนั้นปรับอุณหภูมิ โดยเปิด Heater (H-1001) ให้อุณหภูมิประมาณ 65 องศา เซลเซียส เมื่ออุณหภูมิได้ตามที่ก�ำหนด เทอร์โมคับเปิ้ลจะสั่งให้ Heater (H-1001) ปิดท�ำงาน โดยอัตโนมัติ แล้วจึงปิดสวิตซ์ Heater (H-1001) , Pump (P -1001) แล้วปิดวาล์ว หมายเลข v-1001 ,v-1002 , v-1004 , v-1005, v-1007 ตามล�ำดับ เป็นอันจบขั้นตอน ที่ 1 ขั้นตอนที่ 2 การเตรียมเมทานอล กับสารเร่งปฏิกิริยาโปแตสเซียมไฮดรอกไซด์ใน ขั้นตอนนี้เป็นขั้นตอนการเตรียมสารเคมีที่เตรียมน�ำไปท�ำปฏิกิริยากับน�้ำมันวัตถุดิบ โดยสาร เคมีที่เตรียมนี้ จะมีส่วนประกอบของโปแตสเซียมไฮดรอกไซด์ (KOH) ที่ใช้จะมีความเข้มข้น 90% โดยประมาณ ซึ่งอยู่ในรูปเกล็ดหรือผงของแข็งสีขาว จะถูกน�ำไปผสมกับเมทานอล โดยสารทั้งสองจะต้องผสมจนกลายเป็นสารละลายเนื้อเดียวกัน ในขั้นตอนนี้ ควรระมัดระวัง เพราะว่า เมทานอลเป็นแอลกอฮอล์ที่มีความไวไฟ วิธีปฏิบัติในขั้นตอนที่ 2 ในล�ำดับแรกเปิดฝาด้านบนของถังสารเคมี T-1001 น�ำ เมทานอลใส่ลงไปในถังตามปริมาณที่ก�ำหนดไว้ จากนั้น ให้น�ำโปแตสเซียมไฮดรอกไซด์ (KOH) ใส่ตามลงไปในถัง อย่างช้าๆ แล้วใช้มือหมุนใบกวน เมื่อผ่านไปประมาณ 5-10 นาทีเมทานอลและโปแตสเซียมไฮดรอกไซด์ จะ ละลายเข้าผสมกันเป็นเนื้อเดียว ข้อควรระวัง ต้องใส่ โปแตสเซียมไฮดรอกไซด์ลงในเมทานอลเท่านั้น ไม่ควร ใส่เมทานอลลงบนโปแตสเซียมไฮดรอกไซด์อาจท�ำให้ เกิดอันตรายได้
10
ขั้นตอนที่ 3
การท�ำปฏิกิริยา
สารละลาย KOH และเมทานอล จะถูกพ่นลงในน�้ำมันพืชที่ผ่านการปรับสภาพ และปรับ อุณหภูมิแล้วในถังปฏิกิริยา (Reactor Tank) โดยภายในถังปฏิกิริยาจะใช้การผสมโดยใช้ ปั้มเพื่อท�ำปฏิกิริยา โดยใช้เวลาประมาณ 30 นาที เพื่อให้ท�ำปฏิกิริยาสมบูรณ์ที่สุด วิธีปฏิบัติในขั้นตอนที่ 3 เมื่อสารเคมีกับเมทานอลละลายหมดแล้วและวัตถุดิบได้อุณหภูมิที่ก�ำหนดไว้ ให้ เปิดวาล์วหมายเลข v-2001 ,v-1004, v-1005, v-1007 และปั้ม P-1001 เพื่อป้อน สารละลายเข้าถังปฏิกิริยา T-2001 เมื่อดูดสารละลายจนหมด ให้ปิดวาล์วหมายเลข v-2001 และเปิดวาล์วหมายเลข v-1001 ,v-1002 ท�ำให้สารเคมีท�ำปฏิกิริยากับวัตถุดิบ สมบูรณ์ที่สุด ส�ำหรับขั้นตอนนี้จะใช้เวลาประมาณ 30 นาที แล้วจึงปิดวาล์วหมายเลข v-2001 ,v-1004, v-1005, v-1007, v-1001 , v-1002 และปั้ม P-1001 เพื่อตก ตะกอนหรือแยกชั้นระหว่างเอสเทอร์กับกลีเซอรีน ต่อไป
11
ขั้นตอนที่ 4 ‘
การตกตะกอน และ/หรือ การแยก สารเอสเทอร์ (ไบโอดีเซล) กับกลีเซอรีนเมื่อเกิด ปฏิกิริยาสมบูรณ์ ในถังปฏิกิริยาแล้ว ให้รอการ แยกชั้ น ระหว่ า งเอสเทอร์ กั บ กลี เ ซอรี น ตาม ธรรมชาติ กระบวนการนี้ใช้เวลา 1 ชั่งโมง วิธีปฏิบัติในขั้นตอนที่ 4 เมื่อเกิดการแยกชั้นระหว่างไบโอดีเซล กับกลีเซอรีน ให้แยกกลีเซอรีนออกจากไบโอ ดีเซล โดยเปิดวาล์วหมายเลข v-1001 ,v-4001 กลี เ ซอรี น จะไหลไปอยู ่ ใ นถั ง เก็ บ กลี เ ซอรี น T-4001 เมื่อปล่อยกลีเซอรีนออกจากไบโอ ดีเซลจนหมด ให้ปิดวาล์วหมายเลข v-1001 ,v-4001
ขั้นตอนที่ 4.1
จากนั้นให้ดูดน�้ำมันไบโอดีเซลเข้าถัง T-2001 เพื่อเข้ากระบวนการล้าง โดยเปิดวาล์วหมายเลข v-1001 ,v-1002,v-1004 , v-1005, v-3001 และ ปั้ม P-1001เมื่อดูดน�้ำมันไบโอดีเซลหมดให้ปิดปั้ม P-1001 และปิด วาล์วหมายเลข v-1001 ,v-1002,v-1004 , v-1005, v-3001 และปั้ม P-1001ตามล�ำดับ
12
ขั้นตอนที่ 5
กระบวนการช�ำระล้าง (Washing Process) การช�ำระล้างสารตกค้างออกจากไบโอดีเซล คือการเติมน�้ำลงไปในไบโอดีเซล โดยปริมาณน�้ำ ที่เติมเข้าไปจะเท่ากับปริมาณไบโอดีเซล ที่ต้องการล้าง นั่นคืออัตราส่วน 1:1 จากนั้นก็แยกเอา น�้ำที่ตกตะกอนแล้วออกไปสู่กระบวนการบ�ำบัดน�้ำเสียต่อไป
เมื่อปล่อยน�้ำออกจนหมด ให้ปิดวาล์วหมายเลข v-3002,V-3010 เป็นการจบ การล้างครั้งที่ 1 ขั้นตอนต่อไปท�ำซ�้ำด้วยการปล่อยน�้ำเข้าในอัตราส่วนเท่าเดิม แล้วเปิดวาล์ว หมายเลข v-3002 , v-3009,v-3004 , v-3006, v-3007 และปั้ม P-3001 ท�ำให้น�้ำกับ น�้ำมันผสมจนเป็นเนื้อเดียวกัน ใช้เวลา 20 นาที แล้วจึงปิดปั้ม P-3001 และวาล์วหมายเลข v-3002 , v-3009,v-3004 , v-3006, v-3007 จะสังเกตเห็นในการล้างครั้งที่2 ว่าน�้ำ จะไม่ขุ่นเหมือนการล้างครั้งแรกจากนั้นเปิดวาล์วหมายเลข v-3002,V-3010 ตามล�ำดับ เพื่อปล่อยน�้ำออก
13
เมื่อปล่อยน�้ำออกจนหมด ให้ปิดวาล์วหมายเลข v-3002,V-3010 เป็นการจบการล้างครั้งที่ 2 ขั้นตอนต่อไปท�ำซ�้ำด้วยการปล่อยน�้ำเข้าในอัตราส่วนเท่าเดิม แล้วเปิดวาล์วหมายเลข v-3002 , v-3009, v-3004 , v-3006, v-3007 และปั้ม P-3001 ท�ำให้น�้ำกับน�้ำมัน ผสมจนเป็นเนื้อเดียวกัน ใช้เวลา 20 นาที แล้วจึงปิดปั้ม P-3001 และวาล์วหมายเลข v-3002 , v-3009,v-3004 , v-3006, v-3007 จะสังเกตเห็นในการล้างครั้งที่2 ว่าน�้ำจะใสมาก จากนั้นเปิดวาล์วหมายเลข v-3002,V-3010 เมื่อปล่อยน�้ำออกจนหมด ให้ปิดวาล์วหมายเลข v-3002,V-3010 เป็นการจบการล้างครั้งที่ 3
ขั้นตอนที่ 6
การแยกน�้ำที่ตกค้างออกจากสารเอสเทอร์ ในกระบวนการช�ำระล้างสารตกค้างออก จากไบโอดีเซลนั้น จะท�ำให้มีน�้ำปะปนอยู่ในสารเอสเทอร์อยู่จ�ำนวนหนึ่ง ซึ่งจะต้องถูกก�ำจัด ออก โดยการแยกน�้ำออกจากสารเอสเทอร์นั้น จะมีการให้ความร้อนภายในถังด้วยขดความ ร้อนไฟฟ้า เพื่อช่วยเร่งให้การแยกชั้นระหว่างน�้ำและไบโอดีเซลเป็นไปอย่างรวดเร็วและสมบูรณ์ ความร้อนก็จะท�ำให้น�้ำกลายเป็นไอ และแยกตัวจากไบโอดีเซล จากนั้นเมื่อแยกชั้นสมบูรณ์แล้ว จึงสูบส่วนบนซึ่งก็คือไบโอดีเซล ไปเก็บไว้ในถังเก็บ ซึ่งไบโอดีเซลที่ได้สามารถน�ำไปใช้งานได้ ทันที วิธีปฏิบัติในขั้นตอนที่ 6 ขั้นตอนนี้เป็นการแยกน�้ำออกจากน�้ำมันไบโอดีเซล โดยการเปิด Heater ( H 3001) ให้ได้ Temp. จนถึง 110 vองศา พื่อไล่อนูภาคของน�้ำให้ระเหยออกไป เมื่อได้ Temp. ที่ก�ำหนด ให้ปิด Heater (H-3001) จากนั้นดูดน�้ำมันไบโอดีเซลเข้าถังเก็บ (T-3001) โดย เปิดวาล์วหมายเลข v-3002 , v-3009,v-3004 , v-5001 และ ปั้ม (P-3001) เมื่อ ดูดหมดให้ปิดปั้ม (P-3001) และวาล์วหมายเลข v-3002 , v-3009,v-3004 , v-5001 และเปิดวาล์วหมายเลข V-5002 เพื่อน�ำน�้ำมันไบโอดีเซลไปใช้งานต่อไป
13
14
อาจารย์ผู้ควบคุมวิทยานิพนธ์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์วินัย หมั่นคติธรรม อาจารย์ท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ์ อาจารย์นราทัศน์ ประมวลสุ ข คณะกรรมการ อาจารย์กันยพั ชร์ ธนกุลวุฒิโรจน์ อาจารย์วิสุทธิ์ ศิริพรนพคุณ อาจารย์ดวงใจ ลิม ์ รี ้ ศักดิศ ออกแบบหนังสื อโดย นางสาว ภารดี พึ่ งเกษม
อ้างอิงข้อมูลโดย หัวหน้าศูนย์การเรียนรู้พลังงานทดแทนกองทัพอากาศ น.ท. สั ญญา แสนทวี เจ้าหน้าทีศ ่ ูนย์การเรียนรู้พลังงานทดแทนกองทัพอากาศ