ผังการจัดแสดงองค์ความรู้ อาคารพลังงานแสงอาทิตย์
1
การผลิตพลังงานไฟฟ้าจาก พลังงานแสงอาทิตย์
ศั ก ย ภ า พ พ ลั ง ง า น แ ส ง อาทิตย์ของประเทศไทย
2-3
อุปกรณ์การใช้งาน แผงโซล่าเซลล์
ชนิดของเซลล์ แสงอาทิตย์
4-5
ประเภทของเทคโนโลยี พลังงานแสงอาทิตย์
เซลล์แสงอาทิตย์ที่นิยมใช้ใน ประเทศไทย
6-7
เทคโนโลยี ก ารผลิ ต น�้ ำ ร้ อ น จากพลังงานแสงอาทิตย์
สารบัญ
8-9 10-11 12 13-15
เทคโนโลยี ก ารผลิ ต ไฟฟ้ า จาก พลังงานความร้อนแสงอาทิตย์ จุดชมการติดตั้งและการ ใช้งานแผงโซล่าเซลล์
16-18 19
อาคารพลังงานแสงอาทิตย์
เป็นการจัดแสดงองค์ความรู้ของพลังงานที่ได้จากแสงอาทิตย์โดยจัดแสดงบอร์ดนิทรรศการ เกี่ยวกับกระบวนการท�ำงานและการน�ำพลังงานมาใช้ในชีวิตประจ�ำวันประกอบกับการจัด แสดงหุ่นจ�ำลองและอุปกรณ์ใช้งานจริงที่เกี่ยวข้องกับพลังงานแสงอาทิตย์อาทิแผงโซล่าเซลล์ หุ่นจ�ำลองการผลิตกระแสไฟฟ้าและน�้ำร้อนพลังงานจากดวงอาทิตย์
ผังการจัดแสดงองค์ความรู้ อาคารพลังงานแสงอาทิตย์
1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9.
บอร์ดนิทรรศการแสดง ศักยภาพพลังงานแสงอาทิตย์ของประเทศไทย จัดแสดงหุ่นจ�ำลองการการใช้แผงโซล่าเซลล์เพื่อผลิตไฟฟ้า บอร์ดนิทรรศการแสดง เทคโนโลยีของเซลล์แสงอาทิตย์เพื่อผลิตไฟฟ้า เซลล์แสงอาทิตย์ที่นิยมใช้ จัดแสดงแผงโซล่าเซลล์ที่ใช้งานจริง 3 ประเภท บอร์ดนิทรรศการแสดงการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ บอร์ดนิทรรศการแสดง ประเภทของเทคโนโลยีพลังงานแสงอาทิตย์ เทคโนโลยีการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานความร้อนแสงอาทิตย์ จัดแสดงหุ่นจ�ำลองการผลิตกระแสไฟฟ้าและการผลิตน�้ำร้อน จุดชมการติดตั้งและการใช้งานแผงโซล่าเซลล์ ห้องเก็บประจุไฟฟ้าด้วยแบตเตอร์รี่และแปลงกระแสไฟฟ้า 1
ศั ก ย ภ า พ พ ลั ง ง า น แ ส ง อาทิตย์ของประเทศไทย ศักยภาพพลังงานแสงอาทิตย์และ จัดท�ำแผนที่ศักยภาพพลังงานแสงอาทิ ตย์ จากข้ อ มู ล ดาวเที ย มของประเทศไทยโดย การวิ เ คราะห์ ข ้ อ มู ล ดาวเที ย มประกอบกั บ ข้อมูลที่ได้จากการตรวจวัดภาคพื้นดินพบ ว่าการกระจายของความเข้มรังสีดวงอาทิตย์ ตามบริเวณต่างๆ ในแต่ละเดือนของประเทศ ได้ รั บ อิ ท ธิ พ ลส� ำ คั ญ จากลมมรสุ ม ตะวั น ออกเฉียงเหนือและลมมรสุมตะวันตกเฉียง ใต้และพื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศได้รับรังสี ดวงอาทิตย์สูงสุดระหว่างเดือนเมษายนและ พฤษภาคม โดยมีค่าอยู่ในช่วง 20 ถึง 24 MJ/m2-day และเมื่อพิจารณาแผนที่ ศักยภาพพลังงานแสงอาทิตย์รายวันเฉลี่ย ต่อปีพบว่าบริเวณที่ได้รับรังสีดวงอาทิตย์ สู ง สุ ด เฉลี่ ย ทั้ ง ปี อ ยู ่ ที่ ภ าคตะวั น ออกเฉี ย ง เหนื อ ครอบคลุ ม บางส่ ว นของจั ง หวั ด นครราชสีมาบุรีรัมย์ สุรินทร์ ศรีสะเกษ ร้อยเอ็ดยโสธร อุบลราชธานี อุดรธานีและ บางส่วนของภาคกลางที่จังหวัดสุพรรณบุรี ชัยนาทอยุธยาและจังหวัดลพบุรี โดยได้รับ รังสีดวงอาทิตย์เฉลี่ยทั้งปีที่ 19ถึง20MJ/ m2-day พื้นที่ ดังกล่าวคิดเป็น 14.3%
แผนที่ศักภาพพลังงานแสงอาทิตย์ของ ประเทศไทยความเข้มรังสีดวงอาทิตย์ เฉลี่ยรายวันต่อปี
จากแผนที่ความเข้มรังสีอาทิตย์ จะท�ำให้ทราบ ศักยภาพของพลังงานแสงอาทิตย์ในประเทศไทย ซึ่งจะ เห็นได้ว่าบริเวณที่มีความเข้มรังสีดวงอาทิตย์สูงแผ่เป็น บริ เ วณกว้ า งตอนล่ า งของภาคและตอนบนของภาค ตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ นอกจากนี้ ยั ง มี บ ริ เ วณที่ มี ศั ก ยภาพสู ง ในพื้ น ที่ บ างส่ ว นของภาคกลางที่ จั ง หวั ด สุพรรณบุรี ชัยนา อยุธยาและลพบุรี ส�ำหรับเปอร์เซ็นต์ ของพื้นที่เทียบกับพื้นที่ทั้งหมดของประเทศที่ได้รับรังสี ดวงอาทิตย์ในระดับต่างๆแสดงไว้ในตารางที่1-2และแสดง ความเข้มรังสีรวมของประเทศเปรียบเทียบกับของประ เทศอื่ น ๆตารางที่ 1 -3จะเห็ น ได้ ว ่ า ครึ่ ง หนึ่ ง พื้ น ที่ ข อง ประเทศไทยได้รับรังสีดวงอาทิตย์มากกว่า 18 MJ/m2day ซึ่งถือว่าอยู่ในระดับค่อนข้างสูง
2
ของพื้ น ที่ ทั้ ง หมดของประเทศนอกจากนี้ ยั ง พบว่ า 50.2% ของพื้นที่ทั้งหมดได้รับรังสีดวงอาทิตย์เฉลี่ย ทั้งปีในช่วง 18-19 MJ/m2-day จากการค�ำนวณรังสี รวมของดวงอาทิ ต ย์ ร ายวั น เฉลี่ ย ต่ อ ปี ข องพื้ น ที่ ทั่ ว ประเทศพบว่ามีค่าเท่ากับ 18.2MJ/m2-dayจากผลที่ไ ด้นี้แสดงให้เห็นว่าประเทศไทยมีศักยภาพพลังงานแสง อาทิตย์ค่อนข้างสูงและได้จัดท�ำเป็นแผนที่เรียกแผนที่ ดังกล่าวว่า “แผนที่ศักยภาพพลังงานแสงอาทิตย์ของประเทศไทย” ในแผนที่จะแสดงความเข้มรังสีรวมของดวงอาทิตย์ที่ บริเวณต่างๆ ของประเทศไทยได้รับในรูปของค่าราย วันเฉลี่ยต่อปีในหน่วย MJ/m2-day และภายหลังน�ำ ผลที่วิเคราะห์ความเข้มรังสีดวงอาทิตย์จากภาพถ่าย ดาวเทียมไปตรวจสอบกับสถานีวัดความเข้มรังสีดวง อาทิตย์ของ พพ. ที่ได้จัดตั้งไว้ 25 แห่ง
ช่วงความเข้มรังสีรวมของดวงอาทิตย์รายวัน เฉลี่ยต่อปี (MJ/m2-day)
รูปแสดงภายในการจัดแสดงอุปกรณ์และเครื่องผลิตกระแสไฟฟ้า
3
15-16 16-17 17-18 18-19 19-20 ร้อยละของพื้นที่เมื่อเปรียบเทียบกับ พื้นที่ทั้งหมดของประเทศ 0.5 7.1 27.9 50.2 14.3
ชนิดของเซลล์ แสงอาทิตย์
ชนิดของเซลล์แสงอาทิตย์แบ่งตามวัสดุที่ใช้ เป็น 3 ชนิดหลัก
1.การผลิตเซลล์แสงอาทิตย์แบบผลึกเดี่ยว ขบวนการผลิ ต เริ่ ม จากการน� ำ เอาซิ ลิ ค อนซึ่ ง ผ่ า นการท� ำ ให้ เ ป็ น ก้ อ นที่ มี ค วามบริ สุ ท ธิ์ สู ง มาก (99.999%)ไปหลอมละลายที่อุณหภูมิสูงถึง 1,500 C เพื่อท�ำการสร้างแท่งผลึกเดี่ยวขนาดใหญ่ (เส้น ผ่านศูนย์กลาง 6-8 นิ้ว) จากต้นผลึก (seed crystal) ด้วยการดึงผลึก คุณภาพของผลึกเดี่ยวจะ ส�ำคัญมากต่อคุณสมบัติของเซลล์แสงอาทิตย์ ต่อไปก็จะน�ำแท่งผลึกเดี่ยวนี้ไปตัดเป็นแผ่นๆ เรียกว่า เวเฟอร์ หนาประมาณ 300 ไมโครเมตร และขัดความเรียบของผิว จาก นั้นก็จะน�ำไปเจือสารที่จ�ำเป็นใน การท�ำให้เกิดเป็น p-n junction ขึ้นบนแผ่นเวเฟอร์ ด้วยวิธีการ Diffusion ที่อุณหภูมิระดับ 1,000 C หลังจากนั้นเป็นขั้นตอนการท�ำขั้วไฟฟ้าเพื่อน�ำกระแสไฟออกใช้จากนั้นเป็นการเคลือบฟิล์มผิวหน้าเพื่อ ป้องกันการสะท้อนแสงให้น้อยที่สุด ในขั้นตอนนี้จะได้เซลล์ที่พร้อมใช้งาน แต่เนื่องจากในการใช้งานจริง เราจะน�ำเซลล์แต่ละเซลล์มาต่ออนุกรมกันเพื่อเพิ่มแรงเคลื่อนไฟฟ้าให้ได้ตามต้องการหลังจากนั้นก็น�ำไป ประกอบเข้าแผงโดยใช้กระจกเป็นเกราะป้องกันแผ่นเซลล์และใช้ซิลิโคนและอีวีเอ(EtheleleVinyl Acetate) ช่วยป้องกันความชื้น
รูปแสดงขบวนการผลิตเซลล์แสงอาทิตย์ แบบผลึกเดี่ยว ( Single Crystalline )
4
2.การผลิตเซลล์แสงอาทิตย์แบบผลึกรวม เซลล์แสงอาทิตย์แบบผลึกรวมได้ถูก พัฒนาขึ้นเพื่อแก้ปัญหาต้นทุนสูงของแบบผลึก เดี่ ย วซิ ลิ ค อนแบบผลึ ก รวมก็ คื อ การน� ำ เอา ซิลิคอนบริสุทธิ์ รวมถึงซิลิคอนที่เหลือทิ้งจาก การผลิ ต เซลล์ แ สงอาทิ ต ย์ แ บบผลึ ก เดี่ ย วมา หลอมในเบ้าให้เป็นแท่ง แล้วปล่อยให้เย็นตัวลงช้า ๆหลังจากนั้นน�ำมาตัดเป็นแผ่นๆเรียกว่า เวเฟอร์ หนาประมาณ 300-400 ไมโครเมตรแล้วน�ำไป ท�ำ p-n junction ต่อไป
รูปแสดงขบวนการผลิตเซลล์แสงอาทิตย์ แบบผลึกรวม ( Poly Crystalline )
3.การผลิตเซลล์แสงอาทิตย์แบบอะมอร์ฟัส เซลล์แสงอาทิตย์แบบอะมอร์ฟัส มีวิธีการผลิตที่ต่างจากแบบผลึกโดยสิ้นเชิงโดยจะเป็นลักษณะ ของแผ่นฟิล์มบาง ไม่ใช่เวเฟอร์ โดยจะสร้างแผ่นฟิล์มบางของซิลิคอนบนแผ่นฐานรอง โดยใช้เทคนิคที่ใช้ใน การผลิตมีหลายเทคนิค ที่นิยมใช้กันมากคือเทคนิคที่มีชื่อเรียกว่า CVD (Chemical Vapor Deposition) ซึ่งจะมี ระบบน�ำก๊าซที่เป็นสารประกอบประเภทซิลิคอน เช่นก๊าซไซเลน (SiH4) ผ่านเข้าไปในท่อสุญญากาศ ก๊าซจะถูกท�ำการกระตุ้นด้วยวิธีต่างๆเช่น โดยพลาสมาเพื่อส่งพลังงานให้ก๊าซสารประกอบซิลิคอนแยกตัว และซิลิคอนเข้าไปจับตัวกันบนแผ่นฐานรองที่ถูกให้ความร้อนที่อุณหภูมิประมาณ 200-300 ºC โดยแผ่น ฐานรองส่วนใหญ่จะเป็น แก้ว สเตนเลส หรือพลาสติกซึ่งได้ท�ำการเคลือบชั้นตัวน�ำโปร่งแสงไว้ก่อน ซิลิคอน จะทับถม สะสมบนแผ่น ด้วยอุณหภูมิการผลิตที่ไม่สูงมากซิลิคอนที่เกิดจึงเป็นแบบอะมอร์ฟัสซิลิคอน ใน ขั้นตอนนี้หากเราใส่ก๊าซที่มี Boron เช่น B2H6เข้าไปด้วยเราก็จะได้แผ่นฟิล์มที่เป็นอะมอร์ฟัสซิลิคอนชนิด p และถ้าหากใส่ก๊าซที่มี phosphorus เช่น PH3 เราก็จะได้แผ่นฟิล์มที่เป็นอะมอร์ฟัสซิลิคอนชนิด n ซึ่งจะ เห็นได้ว่า ด้วยวิธีนี้จะสามารถควบคุมการไหลของก๊าซเพื่อสร้างให้เกิดชั้นของ pin อะมอร์ฟัสซิลิคอนขึ้นได้ อย่างง่าย หลังจากได้ โครงสร้าง pin แล้วก็จะสร้างส่วนของขั้วไฟฟ้า ให้เสร็จเป็นเซลล์แสงอาทิตย์ 5
เซลล์แสงอาทิตย์ที่นิยมใช้ใน ประเทศไทย
1.เซลล์แสงอาทิตย์แบบ Amorphous เป็นแผงเซลล์แสงอาทิตย์ท่ีไวแสงมาก ที่สุดสามารถรับแสงที่อ่อนๆได้รวมทั้งแสงจาก หลอดไฟฟ้าต่างๆจึงท�ำงานได้ในพื้นที่ที่มีเมฆ หมอกฝุ ่ น ละอองมี ฝ นตกชุ ก สามารถท� ำ งาน ภายใต้อุณหภูมิสูงได้ดี แต่ก็มีผลเสียคือผลิต พลังงานไฟฟ้าได้ไม่สูงมากนั กจึ งท� ำ ให้ ต้ อ งใช้ พื้นที่มากแผงนิยมน�ำ ไปใช้กับอุปกรณ์ไฟฟ้า ต่ า งๆเช่ น เครื่ อ งคิ ด เลขนาฬิ ก าหรื อ อุ ป กรณ์ ไฟฟ้าขนาดเล็กๆ เป็นต้น
รูปแสดงแบบ Amorphous
2.เซลล์แสงอาทิตย์ Crystalline เป็นแผงเซลล์แสงอาทิตย์ที่อยู่ในรูป ของผลึกที่ท�ำให้เป็นแผนฟิล์มชั้นบางๆสามารถ แบ่งออกได้เป็น 2 แบบคือแบบ Mono crystalline หรือแผงชนิดผลึกเดี่ยวและแบบ Poly crystalline หรือผลึกผสมหรืออาจมีชื่อเป็น อย่างอื่นเช่น Single Crystalline และ Multi Crystalline เป็นแผงเซลล์แสงอาทิตย์ที่ใช้งาน มากที่สุดแผงแบบ Mono crystalline จะมี ประสิทธิภาพดีกว่าและราคาแพงกว่าแบบPoly crystalline เล็กน้อย
รูปแสดงแบบ Poly crystalline
รูปแสดงแบบ Mono crystalline
6
3.เซลล์แสงอาทิตย์แบบ Super amorphous หรืออาจเรียกว่าเป็นแบบAmorphous Triple Junction แผงเซลล์แสงอาทิตย์ชนิดนี้จะรวมเอา ข้อดีของทั้ง Amorphous และ Crystalline มาไว้ด้วย กันโดยมีประสิทธิภาพสูงกว่าแบบ Amorphous และ สามารถใช้อุปกรณ์ต่อพ่วงร่วมกับแบบCrystalline บางชนิดยังมีคุณสมบัติพิเศษที่สามารถบิดตัวม้วน ได้ เนื่องจากการปลูกเซลล์ท�ำบนฐานรองประเภท พลาสติกท�ำให้มีน�้ำหนักเบาการขนส่งสะดวกสามารถ ติดตั้งตามพื้นผิวของวัสดุต่างๆได้หลากหลายแต่มีข้อ เสียคือมีราคาแพงกว่าชนิดอื่นๆ30-40%ในอนาคต เมื่อมีการแข่งขันทางตลาดที่สูงขึ้นราคาจะถูกลงก็จะ ได้รับความนิยมน�ำมาใช้งานอย่างแพร่หลายต่อไป ส่ ว นกลุ ่ ม เซลล์ แ สงอาทิ ต ย์ ที่ ท� ำ จากสาร ประกอบอื่นๆที่ไม่ใช่ท�ำมาจากซิลิคอนรวมถึงประเภท ซิ ลิ ค อนแบบฟิ ล ์ ม บางซึ่ ง เป็ น เซลล์ แ สงอาทิ ต ย์ ที่ มี ประสิทธิภาพสูงถึง 25 เปอร์เซ็นต์ขึ้นไปซึ่งปัจจุบันยัง คงมี ร าคาแพงจึ ง ไม่ นิ ย มน� ำ มาใช้ ทั่ ว ไปบนพื้ น โลก เซลล์ ป ระเภทดั ง กล่ า วจึ ง เหมาะส� ำ หรั บ ใช้ ง านบน ดาวเทียมหรืออวกาศ บนการติดตั้งบนพื้นที่ที่จ�ำกัด มากๆ และมีข้อจ�ำกัดเรื่องน�้ำหนักการติดตั้ง ปัจจุบัน มี ก ารพั ฒ นาด้ ว ยกระบวนการผลิ ต ที่ ทั น สมั ย เพื่ อ ท�ำให้มีราคาถูกลงและคาดว่าจะมีการน�ำมาใช้งานมาก ขึ้นในอนาคต Silicon
รูปแสดงแผงเซลล์แสงอาทิตย์แบบ Super amorphous
เ ท ค โ น โ ล ยี ข อ ง เ ซ ล ล์ แ ส ง อาทิตย์เพื่ อผลิตไฟฟ้า
Crystalline Group Amorphous Group
Single Crystal Thin Film Bulk
Poly - Crystal Single Crystal Poly - Crystal u - Crystal
Solar Cells Compound
Semiconductor
7
การผลิตพลังงานไฟฟ้าจาก พลังงานแสงอาทิตย์
1.เทคโนโลยีผลิตไฟฟ้าด้วยเซลล์แสงอาทิตย์(Photovoltaic) การใช้เซลล์แสงอาทิตย์เพื่อผลิตพลังงานไฟฟ้าจากดวงอาทิตย์โดยตรงจะประกอบด้วยอุปกรณ์ ต่างๆอาทิแผงเซลล์แสงอาทิตย์เครื่องควบคุมการชาร์จประจุแบตเตอรี่เครื่องปรับระบบไฟฟ้าและแบตเตอรี่ โดยพลังงานไฟฟ้าที่ผลิตได้จากแผงเซลล์แสงอาทิตย์ จะต้องมีการออกแบบเพื่อให้เพียงพอต่อการใช้งานใน บ้านพักอาศัยซึ่งในการออกแบบระบบจึงต้องมีความรู้ความเข้าใจในอุปกรณ์ต่างๆเพื่อสามารถใช้งานได้ อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพที่สุดในการออกแบบระบบไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์จากเซลล์แสงอาทิตย์ จะต้องใช้ส่วนประกอบที่ส�ำคัญดังนี้
รูปแสดงการผลิตไฟฟ้าด้วยเซลล์แสงอาทิตย์
เซลล์แสงอาทิตย์ (Solar Cell) เป็นสิ่งประดิษฐ์ที่สร้างขึ้นให้เป็นอุปกรณ์ที่สามารถ เปลี่ยนพลังงานจากแสงอาทิตย์เป็นพลังงานไฟฟ้า ถูกสร้างขึ้นครั้งแรกในปีค.ศ. 1954 โดยแซปปิน (Chapin) ฟูลเลอร์ (Fuller) และเพียสัน (Pearson) ซึ่งได้ค้นพบเทคโนโลยีการสร้างรอยต่อ P-N ของผลึกซิลิคอนจนได้เซลล์แสงอาทิตย์ขึ้นมาเป็น ครั้งแรกในโลกซึ่งมีประสิทธิภาพเพียง 6% โดยใน ระยะเวลาต่อมามีการวิจัยและพัฒนาให้มี
ประสิทธิภาพสูงกว่า 15 % โดยในระยะเริ่มต้น ได้น�ำ เซลล์แสงอาทิตย์ไปใช้งานในการผลิตพลังงานไฟฟ้า ทางด้านอวกาศดาวเทียมระบบสื่อสารต่างๆจนใน ปัจจุบันมีการผลิตใช้งานอย่างแพร่หลายเนื่องจาก ความต้องการการผลิตไฟฟ้าด้วยเทคโนโลยีสะอาด ที่เพิ่มสูงขึ้นและการพัฒนาเทคโนโลยีส่งผลให้เซลล์ แสงอาทิตย์มีราคาถูกลงและประสิทธิภาพสูงขึ้น
8
จัดแสดงแผงโซล่าเซลล์ที่ใช้งานจริง
บาง (Layer) เมื่อมีอนุภาคโฟตอน (Photon) มาตกกระทบแผ่ น ชั้ น ซิ ลิ ค อนอิ เ ล็ ก ตรอนที่ ไ ด้ รั บ พลั ง งานจะเกิ ด การไหลความไม่ ส มดุ ล ของประจุ ระหว่างชั้นเซลล์เมื่อมีการต่อเชื่อมขั้วไฟฟ้าออกไปก็ จะเกิดการความต่างศักย์ไฟฟ้าขึ้นที่ขั้วไฟฟ้านั้นเมื่อ น�ำมาต่อเชื่อมกันเป็นวงจรไฟฟ้าก็จะเกิดการถ่ายเท อิ เ ล็ กตรอนระหว่ า งขั้ วเกิ ด มี ก ระแสไฟฟ้ า ไหลผ่ า น วงจรท�ำให้เกิดพลังงานไฟฟ้าขึ้นมาได้
เซลล์ แ สงอาทิ ต ย์ ท� ำ จากซิ ลิ ค อนซึ่ ง เป็ น วัสดุเช่นเดียวกับ Transistors และวงจรรวม (Integrated Circuit :IC)โดยผลึกซิลิคอนจะถูกท�ำให้ ไม่ บ ริ สุ ท ธิ์ ( Dope)โดยการเติ ม ธาตุ ใ นกลุ ่ ม 3และ 5ของตารางธาตุซึ่งจะได้ผลึกซิลิคอนที่มีคุณสมบัติ ทางไฟฟ้าต่างกัน(P-Type และ N-type) เมื่อน�ำมา ต่อเชื่อมกันด้วยกรรมวิธีการแพร่สารระหว่างผลึก ท�ำให้ระหว่างรอยต่อมีสภาวะที่เป็นกลาง (Depletion Region) ผลึกซิลิคอนจะวางซ้อนกันเป็นชั้น 9
อุ ป กรณ์ ก ารใช้ ง านแผง โซล่าเซลล์
1.Charge controller เป็ น อุ ป กรณ์ ที่ ท� ำ หน้ า ที่ ช าร์ ป ระจุ ไฟฟ้าที่ได้รับจากแผงเซลล์แสงอาทิตย์มาประจุ ให้กับแบตเตอรี่ซึ่งการประจุนี้จะต้องไม่ให้มีการ ประจุมากเกินไป (Over charge)ซึ่งจะมีผล ท�ำให้แบตเตอรี่ร้อนจัดท�ำให้เสื่อมสภาพเร็วและ เมื่อแบตเตอรี่มีประจุเต็มแล้วก็จะต้องตัดการ ชาร์ จ ทั น ที ก ระแสไฟฟ้ า ที่ ช าร์ จ แบตเตอรี่ เ ป็ น ไฟฟ้ า กระแสตรงที่ มี รู ป สั ญ ญาณเป็ น พั ล ล์ (Pulse)และมีแรงเคลื่อนไฟฟ้าสูงกว่าแบตเตอรี่ ประมาณ 15-20% เนื่องจากมีค่าตัวแปรที่มา เกี่ ย วข้ อ งในกระบวนการชาร์ จ แบตอรี่ ไ ด้ แ ก่ อุณหภูมิของแบตเตอรี่ความไม่คงที่ของกระแส ไฟฟ้ า จากแหล่ ง จ่ า ยที่ ป ้ อ นให้ โ ดยเฉพาะจาก แหล่ ง พลั ง งานทดแทนอื่ น ๆเช่ น แผงเซลล์ แ สง อาทิตย์
2.แบตเตอรี่ (Battery) แบตเตอรี่ที่ใช้ในระบบพลังงานแสงอาทิตย์เพื่อ ใช้จัดเก็บพลังงานไฟฟ้าก็สามารถใช้งานได้ท้ังสองแบบ แต่จะมีการพัฒนาให้มีความเหมาะสมในการใช้งานมาก ขึ้นโดยที่จะออกแบบให้สามารถจัดเก็บประจุได้มากๆ และจ่ายกระแสไฟฟ้าได้นานๆยิ่งขึ้นที่เรียกว่าเป็นแบบ Deep cycle โดยการออกแบบให้แผ่นธาตุตะกั่วมี ความหนาเป็นพิเศษการใช้งานของแบตเตอรี่การใช้งาน จนพลังงานไฟฟ้าหมดจะเป็นผลท�ำให้อายุการใช้งานของ แบตเตอรี่สั้นลงอย่างมากๆดังนั้นการใช้งานจึงไม่ควรใช้ ประจุไฟฟ้าที่ต�่ำกว่าระดับ 60 เปอร์เซ็นต์
10
3.อินเวอร์เตอร์ (Inverter) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ปรับ เปลี่ ย นพลั ง งานไฟฟ้ า กระแสตรงจากแบตเตอรี่ เ ป็ น ไฟฟ้ากระแสสลับ 220 V ส�ำหรับใช้งานกับอุปกรณ์ ไฟฟ้าที่อยู่ในบ้านโดยทั่วไปอินเวอร์เตอร์จะออกแบบ วงจรภายในโดยใช้วงจร Switching แปลงระบบ ไฟฟ้ า กระแสตรงเป็ น กระแสสลั บ โดยมี สั ญ ญาณ ความถี่ไฟฟ้า 50 Hz ในระบบที่มีขนาดเล็กๆผู้ผลิตอาจ จะรวมวงจรอินเวอร์เตอร์ เข้ า เป็ น ชุ ด เดี ย วกั บ วงจรควบคุ ม การประจุ ไ ฟฟ้ า แบตเตอรี่ (Battery Charger and Controller) ใน การใช้งานต้องมีค่าก�ำลังงานที่สูงกว่าก�ำลังวัตต์ที่ใช้งาน 15-20 % ทั้งนี้เนื่องจากอินเวอร์เตอร์จะมีประสิทธิภาพ ประมาณ 80-85 % เช่นก�ำลังวัตต์ที่ต้องการใช้งาน 800 วัตต์ต้องใช้อินเวอร์เตอร์ขนาด 1 กิโลวัตต์เป็นต้น
รูปแสดงหุ่นจำ�ลองการการใช้แผงโซล่าเซลล์เพื่อผลิตไฟฟ้า
11
ประเภทของเทคโนโลยี พลังงานแสงอาทิตย์
พลังงานแสงอาทิตย์เป็นพลังงานทดแทนประเภท หมุ น เวี ย นที่ ใ ช้ แ ล้ ว เกิ ด ขึ้ น ใหม่ ไ ด้ ต ามธรรมชาติ เ ป็ น พลังงานที่สะอาด ปราศจากมลพิษ และเป็นพลังงานที่มี ศักยภาพสูง ในการใช้พลังงานแสงอาทิตย์สามารถจ�ำแนก ออกเป็น 2 รูปแบบคือ การใช้พลังงานแสงอาทิตย์เพื่อ ผลิตกระแสไฟฟ้า การใช้พลังงานแสงอาทิตย์เพื่อผลิต ความร้อน และการใช้พลังงานแสงอาทิตย์เพื่อผลิตความ เย็นส�ำหรับเอกสารฉบับนี้จะน�ำเสนอเฉพาะเทคโนโลยีที่มี การใช้งานในประเทศไทยอย่างแพร่หลาย และมีความคุ้มค่า ในปัจจุบัน ได้แก่ เทคโนโลยีการใช้พลังงานแสงอาทิตย์เพื่อ ผลิตกระแสไฟฟ้า และความร้อน ในรูปแบบของการผลิต น�้ำร้อนและการอบแห้งดังนี้ เทคโนโลยีพลังงานแสงอาทิตย์ เพื่อผลิตกระแสไฟฟ้า ได้แก่ ระบบผลิตกระแสไฟฟ้าด้วย เซลล์แสงอาทิตย์ แบ่งออกเป็น 3 ระบบ คือ 1.เซลล์แสงอาทิตย์แบบอิสระ (PVStandalone system) เป็ น ระบบผลิ ต ไฟฟ้ า ที่ ไ ด้ รั บ การออกแบบ ส� ำ หรั บ ใช้ ง านในพื้ น ที่ ช นบทที่ ไ ม่ มี ร ะบบสายส่ ง ไฟฟ้ า อุปกรณ์ระบบที่ส�ำคัญประกอบด้วยแผงเซลล์แสงอาทิตย์ อุ ป กรณ์ ค วบคุ ม การประจุ แ บตเตอรี่ แ บตเตอรี่ แ ละ อุปกรณ์เปลี่ยนระบบไฟฟ้ากระแสตรงเป็นไฟฟ้ากระแส สลับแบบอิสระ
12
2.เซลล์แสงอาทิตย์แบบต่อกับระบบจ�ำหน่าย (PV Grid connected system) เป็นระบบผลิตไฟฟ้าที่ถูกออกแบบ ส�ำหรับผลิตไฟฟ้าผ่านอุปกรณ์เปลี่ยนระบบ ไฟฟ้ า กระแสตรงเป็ น ไฟฟ้ า กระแสสลั บ เข้ า สู ่ ระบบสายส่งไฟฟ้าโดยตรงใช้ผลิตไฟฟ้าในเขต เมืองหรือพื้นที่ที่มีระบบจ�ำหน่ายไฟฟ้าเข้าถึง อุ ป กรณ์ ร ะบบที่ ส� ำ คั ญ ประกอบด้ ว ยแผง เซลล์ แ สงอาทิ ต ย์ อุ ป กรณ์ เ ปลี่ ย นระบบ ไฟฟ้ากระแสตรงเป็นไฟฟ้ากระแสสลับชนิดต่อ กับระบบจ�ำหน่ายไฟฟ้า 3.เซลล์แสงอาทิตย์แบบผสมผสาน (PV Hybrid system) เป็นระบบผลิตไฟฟ้าที่ถูกออกแบบ ส� ำ หรั บ ท� ำ งานร่ ว มกั บ อุ ป กรณ์ ผ ลิ ต ไฟฟ้ า อื่นๆ เช่น ระบบเซลล์แสงอาทิตย์กับพลังงาน ลมและเครื่ อ งยนต์ ดี เ ซลระบบเซลล์ แ สง อาทิ ต ย์ กั บ พลั ง งานลมและไฟฟ้ า พลั ง น�้ ำ เป็ น ต้ น โดยรู ป แบบระบบจะขึ้ น อยู ่ กั บ การ ออกแบบตามวั ต ถุ ป ระสงค์ โ ครงการเป็ น กรณีเฉพาะ
เทคโนโลยีการผลิตพลังงานความร้อน จากพลังงานแสงอาทิตย์ ประเทศไทยใช้เทคโนโลยีการผลิตความร้อนจากพลังงานแสงอาทิตย์มาเป็นระยะเวลายาวนาน ทั้งในรูปแบบ การผลิตน�้ำร้อน การอบแห้ง การผลิตความเย็นการสูบน�้ำปัจจุบันมีกิจกรรมหลายประเภท ที่จ�ำเป็นต้องใช้น�้ำร้อน เช่น โรงพยาบาล โรงแรม ร้านอาหาร ร้านเสริมสวย เป็นต้น ส�ำหรับการผลิตน�้ำ ร้อนได้มีการใช้พลังงานหลายรูปแบบซึ่งส่วนใหญ่จะใช้วิธีการต้มโดยใช้พลังงานจากก๊าซ และไฟฟ้า หรือ หากเป็นกิจกรรมขนาดใหญ่จะใช้หม้อต้ม (Boiler) ที่ใช้น�้ำมันเตา หรือ น�้ำมันดีเซลเป็นเชื้อเพลิงถึงแม้ว่า ระบบผลิตน�้ำร้อนด้วยพลังงานแสงอาทิตย์จะมีความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ในระดับหนึ่งแล้ว แต่ทั้งนี้ การติดตั้งจะต้องมีความรู้ความเข้าใจในด้านเทคนิคเพื่อให้การใช้งานระบบฯ สามารถใช้ได้อย่างเกิด ประโยชน์สูงสุด
เทคโนโลยี ก ารผลิ ต น�้ ำ ร้ อ น จากพลังงานแสงอาทิตย์
การผลิ ต น�้ ำ ร้ อ นจากพลั ง งานแสง อาทิตย์ (Solar Water Heating) หรือ การน� ำ ความร้ อ นจากแสงอาทิ ต ย์ ม าใช้ ประโยชน์เป็นเทคโนโลยีที่ใช้กันมาอย่างแพร่ หลายโดยเฉพาะประเทศเมืองหนาวที่มีความ ต้องการใช้น�้ำร้อนในแต่ละวันในปริมาณที่สูง ในขณะที่ ป ระเทศไทยเครื่ อ งท� ำ น�้ ำ ร้ อ นด้ ว ย แสงอาทิตย์เป็นการใช้พลังงานในรูปความร้อน รูปจัดแสดงแบบจำ�ลองเครื่องทำ�น้ำ�ร้อน พลังงานแสงอาทิตย์
13
โดยตัวรับรังสีแสงอาทิตย์ (Solar Collector) เป็นตัวแปลงและเก็บพลังงานความร้อน แล้วถ่ายเทความร้อนให้แก่น�้ำท�ำให้น�้ำที่มีอุณหภูมิ ต�่ำเป็นน�้ำร้อนที่มีอุณหภูมิประมาณ 40-70 องศา ซึ่งส่วนใหญ่จะใช้ส�ำหรับการอาบน�้ำ การซักล้างซึ่ง เป็นการท�ำน�้ำร้อนเพื่อรองรับการใช้งานทั้งในบ้าน พักอาศัย โรงแรม โรงพยาบาลหรือโรงงาน อุตสาหกรรมที่ส่วนใหญ่ยังใช้ไฟฟ้า แก๊ส เป็นเชื้อ เพลิง เนื่องจากความสะดวกสบายในการใช้งานและ มีค่าใช้จ่ายไม่สูงมากนัก แต่ทั้งนี้ ภายใต้ สถานการณ์ ร าคาพลั ง งานที่ เ พิ่ ม สู ง ขึ้ น อย่ า ง รวดเร็ ว ในปั จ จุ บั น รวมไปถึ ง ราคาเทคโนโลยี ท่ี มี แนวโน้ ม ถู ก ลงการท� ำ น�้ ำ ร้ อ นด้ ว ยพลั ง งานแสง อาทิ ต ย์ จึ ง นั บ เป็ น ทางเลื อ กที่ น ่ า สนใจเพื่ อ น� ำ มา 1) แผ่นรับแสงแบบรวมแสง (Focusing Solar Collector) ทดแทนพลังงานเชิงพาณิชย์ เ ป ็ น แ บ บ ที่ ส า ม า ร ถ ผ ลิ ต น�้ ำ ร ้ อ น ที่ เครื่องท�ำน�้ำร้อนพลังงานแสงอาทิตย์ตาม อุณหภูมิสูงเทคโนโลยีการผลิตน�้ำร้อนโดยใช้แผ่น บ้านพักอาศัยและโรงงานอุตสาหกรรม รั บ แสงดั ง กล่ า วข้ า งต้ น นี้ จ ะมี ก ารท� ำ งานของ เครื่ อ งท� ำ น�้ ำ ร้ อ นพลั ง งานแสงอาทิ ต ย์ อุปกรณ์ให้เคลื่อนที่ตามดวงอาทิตย์ ซึ่งจะมีผล มีส่วนประกอบอยู่ 2 ส่วน คือ ตัวรับรังสีแสง ท�ำให้แผ่นรับแสงสามารถรับแสงอาทิตย์ได้เต็มที่ อาทิตย์ และถังเก็บน�้ำร้อน ซึ่งการออกแบบเครื่อง ตลอดเวลาช่วงกลางวันท�ำให้มีอุณหภูมิสูงมาก ท�ำน�้ำร้อนขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ของการใช้งาน ความต้องการของผู้ใช้ โดยทั่วไปเครื่องท�ำน�้ำร้อน 2) แผ่นรับแสงแบบแผ่นเรียบ พลั ง งานแสงอาทิ ต ย์ มี ส ่ ว นประกอบที่ ส� ำ คั ญ คื อ (Flat Plate Solar Collector) แผงรั บ ความร้ อ นจากแสงอาทิ ต ย์ เ ป็ น อุ ป กรณ์ เป็นแบบทีส่ ามารถผลิตน�ำ้ ร้อนทีอ่ ณ ุ หภูมติ ำ�่ ส�ำหรับรับรังสีแสงอาทิตย์เพื่อเพิ่มอุณหภูมิให้แก่ แผ่นรับแสงแบบนี้จะไม่มีอุปกรณ์ให้เคลื่อนที่ตามดวง น�้ำ การผลิตน�้ำร้อนด้วยพลังงานแสงอาทิตย์ที่ใช้ อาทิตย์ (non-tracking solar collector) ได้แก่ กั น โดยทั่ ว ไปในปั จ จุ บั น มี ก ารผลิ ต น�้ ำ ร้ อ นที่ แผ่นรับแสงแบบแผ่นเรียบชนิดมีแผ่นปิดใส (single อุณหภูมิสูงและอุณหภูมิต�่ำ ซึ่งมีเทคโนโลยีการ glazed) และแผ่นรับแสงแบบแผ่นเรียบชนิดไม่มีแผ่น ผลิตน�้ำร้อน 3 แบบ ดังนี้ ปิด (unglazed) เป็นต้น แผ่นรับแสงแบบนี้จะ แผง รั บ ความร้ อ นจากแสงอาทิ ต ย์ แ บบแผ่ น เรี ย บใน ประเทศไทยมีที่นิยมอยู่ 2 แบบ คือ
14
2.1 แผ่นรับแสงแบบแผ่นเรียบ (Flat Plate Solar Collector) เ ป ็ น แ บ บ ที่ ส า ม า ร ถ ผ ลิ ต น�้ ำ ร ้ อ น ที่ อุณหภูมิต�่ำแผ่นรับแสงแบบนี้จะไม่มีอุปกรณ์ให้ เคลื่อนที่ตามดวงอาทิตย์ (Non-tracking solar collector) ได้แก่ แผ่นรับแสงแบบแผ่นเรียบชนิด ที่แผ่นปิดใส(single glazed) และแผ่นรับแสง แบบแผ่ น เรี ย บชนิ ด ไม่ มี แ ผ่ น ปิ ด (unglazed) เป็นต้น
3. แผ่นรับแสงแบบหลอดแก้วสุญญากาศ สระแสงอาทิตย์ (Solar Pond) เป็นแบบที่ สามารถผลิ ต น�้ ำ ร้ อ นที่ อุ ณ หภู มิ ต�่ ำ และไม่ มี อุ ป กรณ์ บังคับให้เคลื่อนที่ตามดวงอาทิตย์ได้แก่ชนิดตื้น (shallow solar pond) และชนิดลึก (deep or salt gradient solar pond) เป็นต้น แผ่นรับแสงแบบนี้จะ สามารถรับแสงอาทิตย์เป็นความร้อนที่ระดับอุณหภูมิ
2.2แผ่นรับแสงแบบหลอดแก้วสุญญากาศ (Evacuated Tube Solar Collector) เป็ น อุ ป กรณ์ ที่ เ ปลี่ ย นพลั ง งานแสง อาทิตย์ให้เป็นพลังงานความร้อนอีกรูปแบบหนึ่ง มีลักษณะเป็นหลอดแก้วสองชั้น ระหว่างชั้นเป็น สุญญากาศ ภายในเคลือบด้วยสารดูดกลืนรังสี มีประสิทธิภาพสูงเหมาะกับการใช้งานที่ต้องการ น�้ำร้อนอุณหภูมิสูง
15
เทคโนโลยี ก ารผลิ ต ไฟฟ้ า จากพลังงานความร้อนแสง อาทิตย์ (Solar Thermal) เป็ น เทคโนโลยี ที่ จ ะท� ำ การรวมแสงจากดวงอาทิ ต ย์ ไ ว้ ที่ วั ต ถุ รั บ แสงโดยใช้ ก ระจกหรื อ วั ส ดุ สะท้อนแสงและหมุนตามดวงอาทิตย์ เพื่อสะท้อนและส่งไปยังตัวรับแสงซึ่งจะท�ำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงเป็น พลังงานความร้อนที่มีอุณหภูมิสูงความร้อนที่ได้สามารถน�ำไปใช้ประโยชน์ได้โดยตรงกับชุดเครื่องยนต์ (Cycle Heat Engine) ซึ่งติดตั้งอยู่บนตัวรับความร้อนหรือน�ำความร้อนที่ได้ไปท�ำให้ของเหลวร้อน ก่อนแล้วน�ำไปใช้กับเครื่องยนต์ (Central Engine)
การใช้พลังงานความร้อนจากแสงอาทิตย์มาผลิตกระแสไฟฟ้าที่มีการใช้งานในปัจจุบันใช้ทั้งวิธี การสะท้อนแสงดวงอาทิตย์มาใช้งานโดยตรงและการใช้โดยอ้อมโดยการใช้ไอน�้ำหรือการใช้ลมร้อนเพื่อ หมุนเจเนอเรเตอร์ (Generator) มีลักษณะต่างๆกันดังนี้
16
Solar Thermal Tower เป็นวิธีการผลิตพลังงานไฟฟ้าโดยใช้วิธีรวม ความร้อนที่ได้จากการสะท้อนของแผ่นสะท้อนแสง หลายๆแผ่นมารวมกันที่จุดรับแสงบนหอสูง (Tower) แผ่นสะท้อนแสงแต่ละแผ่นก็จะถูกควบคุมให้เคลื่อนที่ ท� ำ มุ ม กั บ ดวงอาทิ ต ย์ โ ดยให้ มี ก ารสะท้ อ นแสงมา ตกกระทบกับจุดรับแสงบนหอสูงตลอดเวลาซึ่งภายใน หอสู ง จะมี ท ่ อ น�้ ำ ร้ อ นซึ่ ง เมื่ อ น�้ ำ ได้ รั บ ความร้ อ นก็ จ ะ เดือดกลายเป็นไอ (Stream) ที่มีความดันสูงมาก ไอ น�้ำนี้จะถูกน�ำไปใช้เพื่อไปหมุนสตรีมเทอร์ไบน์และเจน เนอเรเตอร์ท�ำการผลิตกระแสไฟฟ้าออกมาได้วิธีนี้ต้อง มีการสร้างเป็นโครงการขนาดใหญ่มีปริมาณรังสีแสง อาทิตย์ตรงมาก
Parabolic Trough
เป็นวิธีการรวมแสงรูปแบบคล้ายจานพารา โบลิคเช่นกันแต่จะออกแบบจะให้จานสะท้อนแสงวาง ยาวเป็นรางการควบคุมการหมุนรางตามแสงอาทิตย์ ท�ำได้สะดวกขึ้นมีการใช้พลังงานในการขับเคลื่อนราง สะท้อนแสงต�่ำกว่า เนื่องจากเป็นระบบขับเคลื่อนแบบ 1 แกน การน�ำพลังงานความร้อนออกมาใช้ก็สะดวก โดยการวางท่อน�้ำร้อนไปตามแนวจุดโฟกัสของจาน ความร้อนที่ได้มีค่าความร้อนสูงมากจนน�้ำร้อนกลาย เป็นไอน�้ำ (Stream) และมีความดันที่สูงมากสามารถ น�ำไปหมุนสตรีมเทอร์ไบน์และหมุนเจอเนอเรเตอร์เพื่อ ผลิ ต กระแสไฟฟ้ า ได้ ไ อน�้ ำ ที่ ผ ่ า นเทอร์ ไ บน์ แ ล้ ว อุณหภูมิก็จะลดลงกลั่นตัวเป็นน�้ำร้อนที่สามารถปั้ม หมุนวนไปรับพลังงานความร้อนที่จานได้อีกท�ำให้ได้ ประสิทธิภาพสูงยิ่งขึ้นพลังงานที่ได้จากระบบนี้จึงนิยม ใช้งานมากขึ้น
17
Parabolic dish
เป็ น ระบบรวมแสงอาทิ ต ย์ เ พื่ อ ให้ ไ ด้ ค วาม ร้ อ นที่ ม ากเพี ย งพอส� ำ หรั บ การผลิ ต พลั ง งานไฟฟ้ า จากแสงอาทิตย์ได้การเพิ่มพลังงานความร้อนให้กับ จุ ด ศู น ย์ ร วมของแสงท� ำ โดยการใช้ แ ผ่ น สะท้ อ นแสง ด้ ว ยจานสะท้ อ นแสงรู ป พาราโบลิ ก ตามรู ป เรี ย กว่ า ระบบ Solar parabolic dishซึ่งจะได้ค่าพลังงานควา มร้อนที่สูงมากตรงบริเวณจุดโฟกัสของแสงแผ่นจาน สะท้ อ นแสงจะท� ำ การหมุ น รั บ แสงตามดวงอาทิ ต ย์ ตลอดเวลา การน�ำความร้อนมาใช้งานวิธีการที่สะดวก และนิยมใช้คือการใช้เครื่องยนต์ความร้อน (Sterling Engine) หมุนเจเนอเรเตอร์เพื่อผลิตกระแสไฟฟ้า โดยตรง แต่ก็ยังมีข้อจ�ำกัดเรื่องของพลังงานแสง อาทิตย์ท่ีไม่คงที่ท�ำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ อย่างฉับพลัน( thermal shock) ของอุปกรณ์แต่ละ ชนิด และมักจะเกิดปัญหาในระบบตามมา เหตุนี้จึง ท�ำให้ระบบการผลิตไม่เสถียร ท�ำให้การผลิตพลังงาน ไฟฟ้ า วิ ธี ก ารไม่ ต ่ อ เนื่ อ งจึ ง ไม่ เ ป็ น ที่ นิ ย มมากนั ก แนวทางการแก้ ไ ขทางหนึ่ ง คื อ การใช้ เ ป็ น ระบบผสม
18
Solar Chimney Tower เป็นวิธีการผลิตพลังงานไฟฟ้าจากการหมุน ของเทอร์ไบน์ที่ติดตั้งอยู่ในปล่องท่อที่มีลมร้อนไหล ผ่านตามหลักการเทอร์โมไดนามิกส์ของอากาศเมื่อ อากาศได้รับความร้อนจากแผงรับความร้อน (Solar Collector)ที่ อ ยู ่ ร อบๆของฐานปล่ อ งลมอากาศจะ ไหลสูงขึ้นเมื่อมีพื้นที่รับแสงมากปริมาณอากาศที่ไหล เวียนก็จะมากขึ้นก็จะเกิดแรงดูดอากาศที่เย็นกว่าเข้า มาที่ฐานอากาศที่ร้อนก็จะไหลรวมกันเข้าไปในปล่อง ภายในจะมีการออกแบบให้กระแสลมเร่งความเร็วสูง ขึ้นโดยใช้จมูกรีดลม (Nuzzle)ท�ำไห้ได้พลังงานมาก ขึ้นหมุนใบพัดกังหันลมภายในท่อซึ่งติดตั้งเจเนอเร เตอร์ เ พื่ อ ท� ำ การผลิ ต ไฟฟ้ า ออกมาได้ วิ ธี ก ารผลิ ต ไฟฟ้ า วิ ธี นี้ เ พื่ อ ให้ ไ ด้ พ ลั ง งานมากๆจึ ง ต้ อ งสร้ า งเป็ น โครงการที่มีขนาดใหญ่มากๆจึงมีการลงทุนสูงและมี การใช้ พื้ น ที่ ๆ ในบริ เ วณที่ ก ว้ า งมากจึ ง เหมาะสมกั บ ประเทศที่ มี แ สงแดดมากมี พื้ น ที่ ก ว้ า งขวางเช่ น อ อ ส เ ต ร เ ลี ย ส ห รั ฐ อ เ ม ริ ก า ห รื อ ป ร ะ เ ท ศ แ ถ บ ตะวันออกกลางเป็นต้น
จุดชมการติดตั้งและการ ใช้งานแผงโซล่าเซลล์
ขมการติ ด ตั้ ง แผง โซล่าเซลล์ด้านบน ห ลั ง ค า อ า ค า ร พ ลั ง ง า น แ ส ง อาทิตย์
ขมการติ ด ตั้ ง แผง โซล่าล่าเซลล์ บริเวณโซนแผงโซ ล่ า ล่ า เซลล์ ด ้ า น ห ลั ง อ า ค า ร พ ลั ง ง า น แ ส ง อาทิตย์
19
อาจารย์ผู้ควบคุมวิทยานิพนธ์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์วินัย หมั่นคติธรรม อาจารย์ท่ป ี รึกษาวิทยานิพนธ์ อาจารย์นราทัศน์ ประมวลสุ ข คณะกรรมการ อาจารย์กันยพั ชร์ ธนกุลวุฒิโรจน์ อาจารย์วิสุทธิ์ ศิริพรนพคุณ อาจารย์ดวงใจ ลิม ์ รี ้ ศักดิศ ออกแบบหนังสื อโดย นางสาว ภารดี พึ่ งเกษม อ้างอิงข้อมูลโดย หัวหน้าศูนย์การเรียนรู้พลังงานทดแทนกองทัพอากาศ น.ท. สั ญญา แสนทวี เจ้าหน้าทีศ ่ ูนย์การเรียนรู้พลังงานทดแทนกองทัพอากาศ