8858649120670

Page 1

คูมือครู 㪌»ÃСͺ¡ÒÃÊ͹ËÇÁ¡Ñº

˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ©ºÑº »ÃСѹÏ

».

ภาพปกนี้มีขนาดเทากับหนังสือเรียนฉบับจริงของนักเรียน

กระบวนการสอนแบบ 5 Es ชวยสรางทักษะการเรียนรู กิจกรรมมุงพัฒนาทักษะการคิด คำถาม + แนวขอสอบเพื่อยกผลสัมฤทธิ์ O-NET กิจกรรมบูรณาการเตรียมพรอมสู ASEAN 2558


เอกสารประกอบคูมือครู

กลุมสาระการเรียนรู สุขศึกษาและพลศึกษา

สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปที่

1

สําหรับครู

คูมือครู Version ใหม

ลักษณะเดน

ขยายพื้นที่รูปเลมใหญขึ้นกวาเดิม จัดแบงพื้นที่ออกเปนโซน เพื่อคนหาขอมูลไดงาย สะดวก รวดเร็ว และดูเปนระเบียบ กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

เปาหมายการเรียนรู สมรรถนะของผูเรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค

หน า

โซน 1 กระตุน ความสนใจ

Engage

สํารวจคนหา

Explore

อธิบายความรู

Explain

ขยายความเขาใจ

Expand

ตรวจสอบผล

หน า

หนั ง สื อ เรี ย น

โซน 1

หนั ง สื อ เรี ย น

Evaluate

ขอสอบเนน การคิด ขอสอบเนน การคิด แนว NT แนว O-NET ขอสอบ

โซน 2

เกร็ดแนะครู

O-NET

บูรณาการเชื่อมสาระ

โซน 3

กิจกรรมสรางเสริม กิจกรรมทาทาย

นักเรียนควรรู

โซน 3

โซน 2 บูรณาการอาเซียน มุม IT

No.

คูมือครู

คูมือครู

No.

โซน 1 ขั้นตอนการสอนแบบ 5Es

โซน 2 ชวยครูเตรียมสอน

โซน 3 ชวยครูเตรียมนักเรียน

เพื่อใหครูเตรียมจัดกิจกรรมการเรียน การสอน โดยแนะนําขั้นตอนการสอนและ การจัดกิจกรรมแบบ 5Es อยางละเอียด เพื่อใหนักเรียนบรรลุตามตัวชี้วัด

เพื่อชวยลดภาระครูผูสอน โดยแนะนํา เกร็ดความรูสําหรับครู ความรูเสริมสําหรับ นักเรียน รวมทั้งบูรณาการความรูสูอาเซียน และมุม IT

เพือ่ ใหครูสะดวกตอการจัดกิจกรรม โดยแนะนํา กิจกรรมบูรณาการเชื่อมระหวางกลุมสาระ วิชา กิจกรรมสรางเสริม กิจกรรมทาทาย รวมถึงเนือ้ หา ที่เคยออกขอสอบ O-NET เก็งขอสอบ O-NET และแนวขอสอบเนนการคิด พรอมคําอธิบาย และเฉลยอยางละเอียด


ที่ใชในคูมือครู

แถบสีและสัญลักษณ

แถบสีแสดงขั้นตอนการสอนและการจัดกิจกรรม แบบ 5Es เพื่อใหครูทราบวาเปนขั้นการสอนขั้นใด

1. แถบสี 5Es สีแดง

สีเขียว

กระตุน ความสนใจ

เสร�ม

สํารวจคนหา

Engage

2

เปนขั้นที่ผูสอนเลือกใช เทคนิคกระตุน ความสนใจ เพื่อโยง เขาสูบทเรียน

สีสม

อธิบายความรู

Explore

เปนขั้นที่ผูสอน ใหผูเรียนสํารวจ ปญหา และศึกษา ขอมูล

สีฟา

Explain

เปนขั้นที่ผูสอน ใหผูเรียนคนหา คําตอบ จนเกิดความรู เชิงประจักษ

สีมวง

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

เปนขั้นที่ผูสอน ใหผูเรียนนําความรู ไปคิดคนตอๆ ไป

เปนขั้นที่ผูสอน ประเมินมโนทัศน ของผูเรียน

2. สัญลักษณ สัญลักษณ

วัตถุประสงค

• เปาหมายการเรียนรู

O-NET

(เฉพาะวิชา ชัน้ ทีส่ อบ O-NET O-NET)

• ชีแ้ นะเนือ้ หาทีเ่ คยออกขอสอบ

O-NET โดยยกตัวอยางขอสอบ พรอมวิเคราะหคาํ ตอบ อยางละเอียด

• เปนตัวอยางขอสอบทีม่ งุ เนน

การคิดใหครูนาํ ไปใชไดจริง รวมถึงเปนการเก็งขอสอบ O-NET ทีจ่ ะออก มีทงั้ ปรนัย - อัตนัย พรอมเฉลยอยางละเอียด

แสดงรองรอยหลักฐานตามภาระงาน ที่ครูมอบหมาย เพื่อแสดงผลการเรียนรู ตามตัวชี้วัด

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

แทรกความรูเสริมสําหรับครู ขอเสนอแนะ ขอควรระวัง ขอสังเกต แนวทางการจัด กิจกรรมและอืน่ ๆ เพื่อประโยชนในการ จัดการเรียนการสอน

ขอสอบเนน การคิด แนว NT

ขยายความรูเพิ่มเติมจากเนื้อหา เพื่อใหครู นําไปใชอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียน ไดมีความรูมากขึ้น

บูรณาการเชื่อมสาระ

• แนะนําแนวทางการจัดกิจกรรม

ความรูห รือกิจกรรมเสริม ใหครูนาํ ไปใช เตรียมความพรอมใหกบั นักเรียนกอนเขาสู ประชาคมอาเซียน 2558 โดยบูรณาการ กับวิชาทีก่ าํ ลังเรียน

กิจกรรมสรางเสริม

• แนะนําแนวทางการจัดกิจกรรม

เกร็ดแนะครู

นักเรียนควรรู

บูรณาการอาเซียน

คูม อื ครู

ขอสอบ

วัตถุประสงค

• หลักฐานแสดงผล การเรียนรู

มุม IT

แสดงเปาหมายการเรียนรูที่นักเรียน ตองบรรลุตามตัวชี้วัด ตลอดจนสมรรถนะ ที่จะตองมี และคุณลักษณะที่พึงเกิดขึ้น กับนักเรียน

สัญลักษณ

แนะนําแหลงคนควาจากเว็บไซต เพื่อใหครู และนักเรียนไดเขาถึงขอมูลความรู ที่หลากหลาย ทั้งไทยและตางประเทศ

• แนวขอสอบ NT ในระดับ

ประถมศึกษา มีทงั้ ปรนัย - อัตนัย พรอมเฉลยอยางละเอียด

(เฉพาะวิชา ชัน้ ทีส่ อบ NT)

กิจกรรมทาทาย

เชือ่ มกับกลุม สาระ ชัน้ หรือวิชาอืน่ ทีเ่ กีย่ วของ

ซอมเสริมสําหรับนักเรียน ทีย่ งั ไมเขาใจเนือ้ หา

• แนะนําแนวทางการจัดกิจกรรม ตอยอดสําหรับนักเรียนทีเ่ รียนรู เนือ้ หาไดอยางรวดเร็ว และ ตองการทาทายความสามารถ ในระดับทีส่ งู ขึน้


คําแนะนําการใชคูมือครู การออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอน คูมือครู รายวิชา สุขศึกษาฯ ป.1 จัดทําขึ้นเพื่อใหครูผูสอนนําไปใชเปนแนวทางวางแผนการสอนเพื่อพัฒนา ผลสัมฤทธิท์ างการเรียน และประกันคุณภาพผูเ รียน ตามนโยบายของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน (สพฐ.) โดยใชหนังสือเรียน สุขศึกษาฯ ป.1 ของบริษทั อักษรเจริญทัศน อจท. จํากัด เปนสือ่ หลัก (Core Material) ประกอบการสอน เสร�ม และการจัดกิจกรรมการเรียนรูใ หสอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรูแ ละตัวชีว้ ดั กลุม สาระการเรียนรู สุขศึกษาและพลศึกษา 3 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พ.ศ. 2551 โดยออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนตามหลักการสําคัญ ดังนี้ 1 ออกแบบการสอนเปนหนวยการเรียนรูอิงมาตรฐาน คูมือครู รายวิชา สุขศึกษาฯ ป.1 วางแผนการสอนโดยแบงเปนหนวยการเรียนรูตามลําดับสาระ (Standard) และ หมายเลขขอของมาตรฐานการเรียนรูแ ละตัวชีว้ ดั แตละหนวยจะกําหนดเปาหมายการสอนและจุดประสงคการเรียนรู (Objective Learning) กิจกรรมการเรียนรู (Learning Activities) และแนวทางการประเมินผลการเรียนรู (Learning Evaluation) ไวชัดเจน ครูผูสอนสามารถจัดทําแผนการสอนใหครอบคลุมมาตรฐานการเรียนรู ตัวชี้วัด สมรรถนะ และคุณลักษณะ อันพึงประสงคที่เปนเปาหมายการเรียนรูตามที่กําหนดไวในสาระแกนกลาง (ตามแผนภูมิ) และสามารถบันทึกผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนของผูเรียนแตละคนลงในเอกสาร ปพ.5 ไดอยางมั่นใจ แผนภูมิแสดงองคประกอบของการออกแบบการเรียนรูอิงมาตรฐานและเนนผูเรียนเปนสําคัญ

คก า

ส ภา

พผ

ูเ

จุ ด ป ร

ะสง

รู

รียน

น เรีย

มาตรฐานการเรียนรู ตัวชี้วัดชั้นป

ทักษะการคิด การวัดประเมินผล การเรียนรู

กิจกรรมการเรียนรู

เทคนิคการสอน

คูม อื ครู


2 การจัดการเรียนรูที่ยึดผูเรียนเปนสําคัญ แนวคิ ด ในการจั ด การเรี ย นการสอนที่ ยึ ด ผู  เ รี ย นเป น สํ า คั ญ พั ฒ นามาจากปรั ช ญาและทฤษฎี ก ารเรี ย นรู  Constructivism ที่เชื่อวาการเรียนรูเปนกระบวนการที่เกิดขึ้นภายในสมองของผูเรียนแตละคน ผูเรียนเปนผูสรางความรู โดยการเชื่อมโยงระหวางสิ่งที่ไดเรียนรูจากบทเรียนใหมกับความรูหรือประสบการณเดิมที่มีอยู ทฤษฎีนี้มีความเชื่อวา ผูเรียนทุกคนไดเรียนรูและมีการสั่งสมความรูความเขาใจเกี่ยวกับสิ่งตางๆ ติดตัวมากอน ทีจ่ ะเขาสูห อ งเรียน ซึง่ เปนการเรียนรูท เี่ กิดจากประสบการณและสิง่ แวดลอมรอบตัวผูเ รียนแตละคน ดังนัน้ การจัดกิจกรรม เสร�ม การเรียนการสอนในแตละหนวยการเรียนรู ผูสอนจะตองคํานึงถึง

4

1. ความรูเดิมของผูเรียน วิธีการสอนที่ดีจะตองเริ่มตนจากจุดที่วา ผูเ รียนมีความรูอ ะไรมาบาง แลวจึงใหความรู หรือประสบการณใหม เพื่อตอยอดจาก ความรูเดิม นําไปสูการสรางความรู ความเขาใจใหม

2. ความรูเดิมของผูเรียนถูกตองหรือไม ผูส อนตองปรับเปลีย่ นความรูค วามเขาใจเดิม ของผูเรียนใหถูกตอง และเปนพฤติกรรม การเรียนรูใ หมทมี่ คี ณุ คาตอผูเรียน เพื่อสราง เจตคติหรือทัศนคติที่ดีตอการเรียนรู สิ่งเหลานั้น

3. ผูเรียนสรางความหมายสําหรับตนเอง ผูสอนตองสงเสริมใหผูเรียนนําความรู ความเขาใจที่เกิดขึ้นไปลงมือปฏิบัติ เพื่อขยายความรูใหลึกซึ้งและมีคุณคา ตอตัวผูเรียนมากที่สุด

แนวคิด Constructivism เนนใหผูเรียนสรางความรูโดยผานกระบวนการคิดและความอยากรูของตนเอง โดยมีผูสอนเปนผูสรางบรรยากาศ

การเรียนรูและกระตุนความสนใจ คอยจัดสถานการณใหผูเรียนเกิดความขัดแยงทางความคิดระหวางประสบการณเดิมกับประสบการณ ความรูใ หม เพือ่ กระตนุ ใหผเู รียนเชือ่ มโยงความรู ความคิด กับประสบการณทมี่ อี ยูเ ดิม แลวสังเคราะหเปนความรูห รือแนวคิดใหมๆ ไดดว ยตนเอง

3 การบูรณาการกระบวนการคิด การเรียนรูของผูเรียนแตละคนจะเกิดขึ้นที่สมอง ซึ่งเปนอวัยวะที่ทําหนาที่รูคิดภายใตสภาพแวดลอมที่เอื้ออํานวย และไดรบั การกระตนุ จูงใจอยางเหมาะสม สอดคลองกับสภาพจิตใจและความตองการของผูเ รียนแตละคน การจัดกิจกรรม การเรียนรูและสาระการเรียนรูที่สอดคลองกับความสนใจและมีความหมายตอผูเรียน จะชวยกระตุนใหสมองของผูเรียน สามารถรับรูและเรียนรูไดอยางมีประสิทธิภาพตามขั้นตอนการทํางานของสมอง ดังนี้ 1. สมองจะเรียนรูและสืบคน โดยการสังเกต คนหา ซักถาม และทดลอง ปฏิบัติ จนทําใหคนพบความรูความเขาใจ ไดอยางรวดเร็ว

2. สมองจะแยกแยะคุณคาของสิ่งตางๆ โดยการตัดสินใจวิพากษวิจารณ แสดง ความคิดเห็น ยอมรับหรือตอตานตาม อารมณความรูสึกที่เกิดขึ้นในขณะที่เรียนรู

3. สมองจะประมวลเนื้อหาสาระ โดยการสรุปเปนความคิดรวบยอดจาก เรื่องราวที่ไดเรียนรูใหมนําไปผสมผสานกับ ความรูห รือประสบการณเดิมทีถ่ กู จัดเก็บอยูใ น สมอง ผานการกลัน่ กรองเพือ่ สังเคราะหเปน ความรูค วามเขาใจใหมๆ หรือเปนทัศนคติใหม ที่จะเก็บบรรจุไวในสมองของผูเรียน

การเรียนรูที่มีประสิทธิภาพจึงตองเปนการเรียนรูที่เกิดจากกระบวนการคิดของผูเรียน เพราะการเรียนรูจะเกิดขึ้น เมื่อสมองรูคิด และตองเปนการคิดไดครบถวนตามขั้นตอนการทํางานของสมองผูเรียน โดยเริ่มตนจาก 1. ระดับการคิดพื้นฐาน ไดแก การสังเกต การจําแนก การคาดคะเน การสื่อความหมาย การรวบรวมขอมูล การสรุปผล เปนตน

คูม อื ครู

2. ระดับลักษณะการคิด ไดแก การคิดกวาง คิดลึกซึ้ง คิดไกล คิดหลากหลาย คิดคลอง คิดอยางมีเหตุผล เปนตน

3. ระดับกระบวนการคิด ไดแก กระบวนการคิดอยางมีวิจารณญาณ กระบวนการแกปญหา กระบวนการ คิดสรางสรรค กระบวนการคิดสังเคราะหวิจัย เปนตน


5Es การจัดกิจกรรมตามขั้นตอนวัฏจักรการเรียนรู 5Es ขั้นตอนการสอนที่สัมพันธกับขั้นตอนการคิดและการทํางานทางสมองของผูเรียนที่นิยมใชอยางแพรหลาย คือ วัฏจักรการเรียนรู 5Es ซึ่งผูจัดทําคูมือครูไดนํามาใชเปนแนวทางออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนในแตละหนวย ตามลําดับขั้นตอนการเรียนรู ดังนี้ ขั้นที่ 1

กระตุนความสนใจ

(Engage)

เสร�ม

5

เปนขัน้ ทีผ่ สู อนนําเขาสูบ ทเรียน เพือ่ กระตุน ความสนใจของผูเ รียนดวยเรือ่ งราวหรือเหตุการณทนี่ า สนใจโดยใชเทคนิควิธกี ารสอน และคําถามทบทวนความรูหรือประสบการณเดิมของผูเรียน เพื่อเชื่อมโยงผูเรียนเขาสูความรูของบทเรียนใหม ชวยใหผูเรียนสามารถ สรุปประเด็นสําคัญที่เปนหัวขอและสาระการเรียนรูของบทเรียนได จึงเปนขั้นตอนการสอนที่สําคัญ เพราะเปนการเตรียมความพรอม และสรางแรงจูงใจใฝเรียนรูแกผูเรียน

ขั้นที่ 2

สํารวจคนหา

(Explore)

เปนขัน้ ทีผ่ สู อนเปดโอกาสใหผเู รียนลงมือศึกษา สังเกต หรือรวมมือกันสํารวจ เพือ่ ใหเห็นขอบขายของปญหา รวมถึงวิธกี ารศึกษา คนควา การรวบรวมขอมูลความรูที่จะนําไปสูการสรางความเขาใจประเด็นปญหานั้นๆ เมื่อผูเรียนทําความเขาใจในประเด็นหัวขอที่จะ ศึกษาคนควาอยางถองแทแลว ก็ลงมือปฏิบัติเพื่อเก็บรวบรวมขอมูลความรู สํารวจตรวจสอบ โดยวิธีการตางๆ เชน สัมภาษณ ทดลอง อานคนควาขอมูลจากเอกสาร แหลงขอมูลตางๆ จนไดขอมูลความรูตามที่ตั้งประเด็นศึกษาไว

ขั้นที่ 3

อธิบายความรู

(Explain)

เปนขั้นที่ผูสอนมีปฏิสัมพันธกับผูเรียน เชน ใหการแนะนํา ตั้งคําถามกระตุนใหคิด เพื่อใหผูเรียนคนหาคําตอบ และนําขอมูล ความรูจากการศึกษาคนควาในขั้นที่ 2 มาวิเคราะห สรุปผล และนําเสนอผลที่ไดศึกษาคนความาในรูปแบบสารสนเทศตางๆ เชน เขียนแผนภูมิ แผนผังแสดงมโนทัศน เขียนความเรียง เขียนรายงาน เปนตน ในขั้นตอนนี้ฝกใหผูเรียนใชสมองคิดวิเคราะหและ สังเคราะหอยางเปนระบบ

ขั้นที่ 4

ขยายความเขาใจ

(Expand)

เปนขั้นที่ผูสอนเลือกใชเทคนิควิธีการสอนตางๆ ที่สงเสริมใหผูเรียนนําความรูที่เกิดขึ้นไปคิดคนสืบคนตอๆ ไป เพื่อพัฒนาทักษะ การเรียนรูและการทํางานรวมกันเปนกลุม ระดมสมองเพื่อคิดสรางสรรครวมกัน ผูเรียนสามารถนําความรูที่สรางขึ้นใหมไปเชื่อมโยง กับประสบการณเดิมโดยนําขอสรุปทีไ่ ดไปใชอธิบายเหตุการณตา งๆ หรือนําไปปฏิบตั ใิ นสถานการณใหมๆ ทีเ่ กีย่ วของกับชีวติ ประจําวัน ของตนเอง เพื่อขยายความรูความเขาใจใหกวางขวางยิ่งขึ้น ในขั้นตอนนี้ฝกสมองของผูเรียนใหสามารถคิดริเริ่มสรางสรรคอยางมี คุณภาพ เสริมสรางวิสัยทัศนใหกวางไกลออกไป

ขั้นที่ 5

ตรวจสอบผล

(Evaluate)

เปนขัน้ ทีผ่ สู อนประเมินมโนทัศนของผูเ รียน โดยตรวจสอบจากความคิดทีเ่ ปลีย่ นไปและความคิดรวบยอดทีเ่ กิดขึน้ ใหม ตรวจสอบ ทักษะ กระบวนการปฏิบัติ การแกปญหา การตอบคําถามรวบยอด และการเคารพความคิดหรือยอมรับเหตุผลของคนอื่น เพื่อการ สรางสรรคความรูร ว มกัน ผูเ รียนสามารถประเมินผลการเรียนรูข องตนเอง เพือ่ สรุปผลวามีความรูอ ะไรเพิม่ ขึน้ มาบาง เกิดความเขาใจ มากนอยเพียงใด และจะนําความรูเหลานั้นไปประยุกตใชในการเรียนรูเรื่องอื่นๆ ไดอยางไร ผูเรียนจะเกิดเจตคติและเห็นคุณคาของ ตนเองจากผลการเรียนรูที่เกิดขึ้น ซึ่งเปนการเรียนรูที่มีความสุขอยางแทจริง

การจัดกิจกรรมการเรียนรูตามขั้นตอนวัฏจักรการสรางความรูแบบ 5Es จึงเปนรูปแบบการเรียนการสอนที่เนน ผูเ รียนเปนสําคัญอยางแทจริง เพราะสงเสริมใหผเู รียนไดลงมือปฏิบตั ติ ามขัน้ ตอนของกระบวนการสรางความรูด ว ยตนเอง และฝกฝนใหใชกระบวนการคิดและกระบวนการกลุมอยางชํานาญ กอใหเกิดทักษะชีวิต ทักษะการทํางานและทักษะการ เรียนรูที่มีประสิทธิภาพ สงผลตอการยกระดับผลสัมฤทธิ์ของผูเรียน ตามเปาหมายของการปฏิรูปการศึกษาทศวรรษที่ 2 (พ.ศ. 2552-2561) ทุกประการ คูม อื ครู


O-NET การเพิ่มผลสัมฤทธิ์ O-NET

การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามขั้นตอนวัฏจักรการเรียนรู 5Es ในแตละหนวยการเรียนรู ทางผูจัดทํา จะเสนอแนะวิธีสอนรูปแบบกิจกรรมการเรียนรู พรอมทั้งออกแบบเครื่องมือวัดผลประเมินผลที่สอดคลองกับตัวชี้วัด และสาระการเรียนรูแกนกลางไวทุกขั้นตอน โดยยึดหลักสําคัญ คือ เปาหมายของการวัดผลประเมินผล เสร�ม

6

1. การวัดผลทุกครั้งตองนําผล การวัดมาปรับปรุงพัฒนาผูเรียน เปนรายบุคคล

2. การประเมินผลมีเปาหมาย เพื่อพัฒนาการเรียนรูของผูเรียน จนเต็มศักยภาพ

3. การนําผลการวัดและประเมิน ทุกครั้งมาวางแผนปรับปรุงกิจกรรม การเรียนการสอน การเลือกเทคนิค วิธีการสอน และสื่อการเรียนรูให เหมาะสมกับสภาพจริงของผูเรียน

การทดสอบผูเรียน 1. การใชขอสอบอัตนัย เนนการอาน การคิดวิเคราะห และเขียนสรุปเพิ่มมากขึ้น 2. การใชคําถามกระตุนการคิด ควบคูกับการทําขอสอบที่เนนการคิดตลอดตอเนื่องตามลําดับกิจกรรมการเรียนรูและ ตัวชี้วัด 3. การทดสอบตองดําเนินการทั้งกอนเรียน ระหวางเรียน และเมื่อสิ้นสุดการเรียน การทดสอบระหวางเรียน ต อ งใช ข  อ สอบทั้ ง ชนิ ด ปรนั ย และอั ต นั ย และเป น การทดสอบเพื่ อ วิ นิ จ ฉั ย ผลการเรี ย นของผู  เ รี ย นแต ล ะคน เพื่อวัดการสอนซอมเสริมใหบรรลุตัวชี้วัดทุกตัว 4. การสอบกลางภาค (ถามี) ควรนําขอสอบหรือแบบฝกหัดที่นักเรียนสวนใหญทําผิดบอยๆ มาสรางเปนแบบทดสอบ อีกครัง้ เพือ่ ตรวจสอบความรูค วามเขาใจทีถ่ กู ตอง และประเมินความกาวหนาของผูเรียนแตละคน 5. การสอบปลายภาคเรียนเพื่อวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามตัวชี้วัดที่สําคัญ ควรออกขอสอบใหมีลักษณะเดียวกับ ขอสอบ O-NET โดยเนนการคิดวิเคราะห สังเคราะห เชื่อมโยงประยุกตใช เพื่อสรางความคุนเคย และฝกฝน วิธีการทําขอสอบดวยความมั่นใจ 6. การนําผลการทดสอบของผูเรียนมาวิเคราะห โดยผลการสอบกอนการเรียนตองสามารถพยากรณผลการสอบ กลางภาค และผลการสอบกลางภาคตองทํานายผลการสอบปลายภาคของผูเ รียนแตละคน เพือ่ ประเมินพัฒนาการ ความกาวหนาของผูเรียนเปนรายบุคคล 7. ผลการทดสอบปลายป ปลายภาค ตองมีคาเฉลี่ยสอดคลองกับคาเฉลี่ยของการสอบ NT ที่เขตพื้นที่การศึกษา จัดสอบ รวมทั้งคาเฉลี่ยของการสอบ O-NET ชวงชั้นที่สอดคลองครอบคลุมมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดสําคัญ เพือ่ สะทอนประสิทธิภาพของครูผสู อนในการออกแบบการเรียนรูแ ละประกันคุณภาพผูเ รียนทีต่ รวจสอบผลไดชดั เจน การจัดการเรียนการสอนในแตละหนวยการเรียนรู ตองใหผูเรียนไดสั่งสมความรู สะสมความเขาใจไปทีละเล็ก ละนอยตามลําดับขัน้ ตอนของกิจกรรมการเรียนรู 5Es เพือ่ ใหผเู รียนไดเติมเต็มองคความรูอ ยางตอเนือ่ ง จนสามารถปฏิบตั ิ ชิ้นงานหรือภาระงานรวบยอดของแตละหนวยผานเกณฑประกันคุณภาพในระดับที่นาพึงพอใจ เพื่อรองรับการประเมิน ภายนอกจาก สมศ. ตลอดเวลา คูม อื ครู


ASEAN การเรียนรูสูประชาคมอาเซียน เพื่ออํานวยความสะดวกแกครูผูสอนในการจัดกิจกรรมการเรียนรูบูรณาการอาเซียนศึกษา ผูจัดทําไดวิเคราะห มาตรฐานการเรียนรู และตัวชี้วัดที่มีสาระการเรียนรูสอดคลองกับองคความรูเกี่ยวกับประชาคมอาเซียนในแงมุมตางๆ ครอบคลุมทัง้ ประชาคมการเมืองและความมัน่ คงอาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และประชาคมสังคมและวัฒนธรรม อาเซียน เพื่อสงเสริมการเรียนรูใหผูเรียนเกิดความตระหนัก มีความรูความเขาใจเหมาะสมกับระดับชั้นและกลุมสาระ การเรียนรู โดยเสนอแนะวิธีการจัดกิจกรรมบูรณาการเนื้อหาสาระตางๆ ที่เปนประโยชนตอผูเรียนและเปนการชวย เตรียมความพรอมผูเ รียนทุกคนทีจ่ ะกาวเขาสูก ารเปนสมาชิกของประชาคมอาเซียนไดอยางมัน่ ใจตามขอตกลงปฏิญญา เสร�ม ชะอํา-หัวหิน วาดวยความรวมมือดานการศึกษาเพือ่ บรรลุเปาหมายประชาคมอาเซียนทีเ่ อือ้ อาทรและแบงปน จึงกําหนด 7 เปนนโยบายใหกระทรวงศึกษาธิการจัดการเรียนรูเตรียมความพรอมผูเรียนเขาสูประชาคมอาเซียนภายในป พ.ศ. 2558 ตามแนวปฏิบัติที่สําคัญ ดังนี้

การจัดการเรียนรูส ู ประชาคมการเมืองและความมัน่ คงอาเซียน 1. การสรางความรูความเขาใจ และตระหนักถึงความสําคัญของ กฎบัตรอาเซียน และความรวมมือ ของ 3 เสาหลัก ซึง่ กฎบัตรอาเซียน ในขณะนี้มีสถานะเปนกฎหมายที่ ประเทศสมาชิกจะตองปฏิบัติตาม หลักการที่กําหนดไวเพื่อใหบรรลุ เปาหมายของกฎบัตรมาตราตางๆ

2. การสงเสริมหลักการ ประชาธิปไตยและการสราง สิ่งแวดลอมประชาธิปไตย เพื่อการอยูรวมกันอยางกลมกลืน ภายใตวิถีชีวิตอาเซียนที่มีความ หลากหลายดานสังคมและ วัฒนธรรม

4. การตระหนักในคุณคาของ สายสัมพันธทางประวัติศาสตร และมรดกทางวัฒนธรรมที่มี พัฒนาการรวมกัน เพื่อเชื่อม อัตลักษณและสรางจิตสํานึก ในการเปนประชากรของประชาคม อาเซียนรวมกัน

3. การสงเสริมการศึกษาดาน สิทธิมนุษยชน เพื่อสรางประชาคม อาเซียนใหเปนประชาคมเพื่อ ประชาชนอยางแทจริง สามารถ อยูรวมกันไดบนพื้นฐานการเคารพ ในคุณคาของศักดิ์ศรีแหงความ เปนมนุษยเทาเทียมกัน

5. การสงเสริมสันติภาพ ความ มั่นคง และความปรองดองในสังคม ทั้งระดับประเทศและภูมิภาคของ อาเซียนบนพื้นฐานสันติวิธีและการ อยูรวมกันดวยขันติธรรม

คูม อื ครู


การจัดการเรียนรูส ู ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

เสร�ม

8

1. การพัฒนาทักษะการทํางาน เพื่อเสริมสรางผูเรียนใหมีทักษะ วิชาชีพที่จําเปนสอดคลองกับ ความตองการของตลาดแรงงาน และสถานประกอบการในอาเซียน สามารถเทียบโอนผลการเรียน และการทํางานตามมาตรฐานฝมือ แรงงานในภูมิภาคอาเซียน

2. การเสริมสรางวินัย ความรับผิดชอบ และเจตคติรักการทํางาน สามารถพึ่งพาตนเอง มีทักษะชีวิต ดํารงชีวิตอยางมีความสุข เห็นคุณคา และภูมิใจในตนเอง ในฐานะที่เปนพลเมืองไทยและ อาเซียน

3. การเรียนรูเพื่อพัฒนาตนเอง อยางตอเนื่องตลอดชีวิต ใหมี ทักษะการทํางานตามมาตรฐาน อาชีพ และคุณวุฒิของวิชาชีพสาขา ตางๆ เพื่อรองรับการเตรียมเคลื่อน ยายแรงงานมีฝมือและการเปน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนที่ เขมแข็ง เพื่อสรางขีดความสามารถ ในการแขงขันในเวทีโลก

การจัดการเรียนรูส ู ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน 1. การเสริมสรางความรวมมือ ในลักษณะสังคมที่เอื้ออาทร ของประชากรอาเซียน โดยยึด หลักการสําคัญ คือ ความงดงาม ของประชาคมอาเซียนมาจาก ความแตกตางและหลากหลายทาง วัฒนธรรมที่ลวนแตมีคุณคาตอ มรดกทางวัฒนธรรมของอาเซียน ซึ่งประชาชนทุกคนตองอนุรักษ สืบสานใหยั่งยืน

2. การเสริมสรางคุณลักษณะ ของผูเรียนใหเปนพลเมืองอาเซียน ที่มีศักยภาพในการกาวเขาสู ประชาคมอาเซียนอยางมั่นใจ เปนผูที่มีสุขภาพสมบูรณแข็งแรง มีทักษะการสื่อสาร ทักษะการ ทํางาน ทักษะทางสังคม สามารถ ทํางานรวมกับผูอื่นไดอยาง สรางสรรค และมีองคความรู เกี่ยวกับอาเซียนที่จําเปนตอการ ดํารงชีวิตอยางมีคุณภาพ

4. การสงเสริมการเรียนรูดาน ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี วิถชี วี ติ ความเปนอยูข องเพือ่ นบาน ในอาเซียน เพื่อสรางจิตสํานึกของ ความเปนประชาคมอาเซียนและ ตระหนักถึงหนาที่ของการเปน พลเมืองอาเซียนรวมกัน

3. การสงเสริมการเรียนรูภาษา อังกฤษเพื่อการสื่อสารและการ ทํางานตามมาตรฐานอาชีพที่ กําหนดและสนับสนุนการเรียนรู ภาษาอาเซียนและภาษาเพื่อนบาน เพื่อชวยเสริมสรางสัมพันธภาพทาง สังคม และการอยูรวมกันอยางสันติ ทามกลางความหลากหลายทาง วัฒนธรรม

5. การสรางความรูและความ ตระหนักเกี่ยวกับดานสิ่งแวดลอม ปญหาและผลกระทบตอคุณภาพ ชีวิตของประชากรในภูมิภาค รวมทั้งแนวทางการพัฒนาอยาง ยั่งยืน ใหเปนมรดกสืบทอดแก พลเมืองอาเซียนในรุนหลังตอๆ ไป

กระทรวงศึกษาธิการจึงประกาศนโยบายการปฏิรูปการศึกษาทศวรรษที่ 2 (พ.ศ. 2552-2561) เพื่อเรงพัฒนาเด็ก และเยาวชนไทยใหเปนทรัพยากรมนุษยของชาติที่มีทักษะและความชํานาญ พรอมเผชิญกับความเปลี่ยนแปลงและ การแขงขันทั้งในภูมิภาคอาเซียนและภูมิภาคอื่นๆ ของสังคมโลก ทั้งนี้ผูบริหารสถานศึกษา ครูผูสอน และผูปกครอง ควรรวมมือกันอยางใกลชิดในการดูแลชวยเหลือผูเรียนและจัดประสบการณการเรียนรูเพื่อพัฒนาผูเรียนจนเต็มศักยภาพ เพื่อกาวเขาสูการเปนพลเมืองอาเซียนอยางมีเกียรติภูมิและศักดิ์ศรีความเปนมนุษยของตน คณะผูจัดทํา คูม อื ครู


ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง สาระที่ 1

สุขศึกษาและพลศึกษา (เฉพาะชั้น ป.1)*

การเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย

มาตรฐาน พ 1.1 เขาใจธรรมชาติของการเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย ชั้น

ตัวชี้วัด

ป.1 1. อธิบายลักษณะและหนาที่ ของอวัยวะภายนอก

2. อธิบายวิธีดูแลรักษาอวัยวะ ภายนอก

สาระที่ 2

สาระการเรียนรูแกนกลาง

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

• ลักษณะและหนาที่ของอวัยวะภายนอกที่มี • หนวยการเรียนรูท ี่ 1 การเจริญเติบโต และพัฒนาการไปตามวัย ตัวเรา - ตา หู คอ จมูก ผม มือ เทา เล็บ ผิวหนัง บทที่ 1 รางกายของเรา ฯลฯ บทที่ 2 ฟนของเรา - อวัยวะในชองปาก (ปาก ลิ้น ฟน เหงือก)

เสร�ม

9

• การดูแลรักษาอวัยวะภายนอก - ตา หู คอ จมูก ปาก ลิ้น ผม มือ เทา เล็บ ผิวหนัง ฯลฯ - อวัยวะในชองปาก (ปาก ลิ้น ฟน เหงือก)

ชีวิตและครอบครัว

มาตรฐาน พ 2.1 เขาใจและเห็นคุณคาของตนเอง ครอบครัว เพศศึกษา และมีทักษะในการดําเนินชีวิต ชั้น

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

ป.1 1. ระบุสมาชิกในครอบครัวและ • สมาชิกในครอบครัว ความรัก ความผูกพันของ • ความรักความผูกพันของสมาชิกในครอบครัว สมาชิกที่มีตอกัน

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน • หนวยการเรียนรูท ี่ 2 ชีวติ และครอบครัว บทที่ 1 ครอบครัวของเรา

2. บอกสิ่งที่ชื่นชอบและภาคภูมิ • สิ่งที่ชื่นชอบและความภาคภูมิใจในตนเอง ในใจในตนเอง (จุดเดน จุดดอยของตนเอง)

• หนวยการเรียนรูท ี่ 2 ชีวติ และครอบครัว บทที่ 2 เขาใจตนเอง

3. บอกลักษณะความแตกตาง ระหวางเพศชาย และเพศ หญิง

• หนวยการเรียนรูท ี่ 2 ชีวติ และครอบครัว บทที่ 3 ฉันเปนใคร

สาระที่ 3

• ลักษณะความแตกตางของเพศชาย เพศหญิง - รางกาย อารมณ ลักษณะนิสัย

การเคลื่อนไหว การออกกําลังกาย การเลนเกม กีฬาไทยและกีฬาสากล

มาตรฐาน พ 3.1 เขาใจ มีทักษะในการเคลื่อนไหว กิจกรรมทางกาย การเลนเกม และกีฬา ชั้น

ตัวชี้วัด

ป.1 1. เคลื่อนไหวรางกายขณะ อยูกับที่ เคลื่อนที่ และใช อุปกรณประกอบ

สาระการเรียนรูแกนกลาง

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

• ธรรมชาติของการเคลื่อนไหวรางกายในชีวิต • หนวยการเรียนรูท ี่ 5 ประจําวัน กิจกรรมหรรษา - แบบอยูก บั ที่ เชน นัง่ ยืน กมเงย เอียงซาย-ขวา บทที่ 1 เคลื่อนไหวขณะอยูกับที่ เคลือ่ นไหวขอมือ ขอเทา แขน ขา บทที่ 2 เคลื่อนไหวแบบ - แบบเคลือ่ นที่ เชน เดิน วิง่ กระโดด กลิง้ ตัว เคลื่อนที่ - แบบใชอุปกรณประกอบ เชน จับ โยน บทที่ 3 เคลื่อนไหวประกอบ เตะ เคาะ อุปกรณ

2. เลนเกมเบ็ดเตล็ดและเขา • กิจกรรมทางกายที่ใชการเคลื่อนไหวตาม รวมกิจกรรมทางกายที่ใชการ ธรรมชาติ เคลื่อนไหวตามธรรมชาติ - การเลนเกมเบ็ดเตล็ด

• หนวยการเรียนรูท ี่ 5 กิจกรรมหรรษา บทที่ 4 บทบาทสมมุติ บทที่ 5 เกมหรรษา บทที่ 6 กิจกรรมพาเพลิน

_________________________________ * สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน, สาระการเรียนรูแ กนกลาง กลุม สาระการเรียนรูส ขุ ศึกษาและพลศึกษา. (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย, 2551), หนา 7-42.

คูม อื ครู


มาตรฐาน พ 3.2 รักการออกกําลังกาย การเลนเกม และการเลนกีฬา ปฏิบัติเปนประจําอยางสมํ่าเสมอ มีวินัย เคารพสิทธิ กฎ กติกา มี​ีนํ้าใจนักกีฬา มีจิตวิญญาณในการแขงขัน และชื่นชมในสุนทรียภาพของการกีฬา ชั้น

ตัวชี้วัด

ป.1 1. ออกกําลังกายและเลนเกม ตามคําแนะนําอยาง สนุกสนาน 2. ปฏิบัติตนตามกฎ กติกา ขอตกลงในการเลนเกม ตามคําแนะนํา

เสร�ม

10

สาระที่ 4

สาระการเรียนรูแกนกลาง

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

• การออกกําลังกายและการเลนเกมเบ็ดเตล็ด • หนวยการเรียนรูท ี่ 5 กิจกรรมหรรษา บทที่ 1 เคลื่อนไหวขณะอยูกับที่ บทที่ 2 เคลื่อนไหวแบบเคลื่อนที่ • กฎ กติกา ขอตกลงในการเลนเกมเบ็ดเตล็ด บทที่ 3 เคลื่อนไหวประกอบอุปกรณ บทที่ 4 บทบาทสมมุติ บทที่ 5 เกมหรรษา บทที่ 6 กิจกรรมพาเพลิน

การสรางเสริมสุขภาพ สมรรถภาพ และการปองกันโรค

มาตรฐาน พ 4.1 เห็นคุณคาและมีทักษะในการสรางเสริมสุขภาพ การดํารงสุขภาพ การปองกันโรค และการสรางเสริม สมรรถภาพเพื่อสุขภาพ ชั้น

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

ป.1 1. ปฏิบัติตนตามหลักสุขบัญญัติ • การปฏิบัติตนตามหลักสุขบัญญัติแหงชาติ แหงชาติตามคําแนะนํา

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน • หนวยการเรียนรูท ี่ 3 สรางเสริมสุขภาพ บทที่ 1 สุขภาพของเรา

2. บอกอาการเจ็บปวยที่เกิดขึ้น • ลักษณะอาการเจ็บปวยที่เกิดขึ้นกับตนเอง • หนวยการเรียนรูท ี่ 3 - ปวดศีรษะ ตัวรอน มีนํ้ามูก ปวดทอง ผื่นคัน สรางเสริมสุขภาพ กับตนเอง (หนังศีรษะ ผิวหนัง) ฟกชํ้า ฯลฯ บทที่ 2 อาการเจ็บปวยทีค่ วรรู 3. ปฏิบัติตนตามคําแนะนําเมื่อ • วิธีปฏิบัติตนเมื่อมีอาการเจ็บปวยที่เกิดขึ้นกับ มีอาการเจ็บปวย ตนเอง

สาระที่ 5

• หนวยการเรียนรูท ี่ 3 สรางเสริมสุขภาพ บทที่ 2 อาการเจ็บปวยทีค่ วรรู

ความปลอดภัยในชีวิต

มาตรฐาน พ 5.1 ปองกันและหลีกเลี่ยงปจจัยเสี่ยง พฤติกรรมเสี่ยงตอสุขภาพ อุบัติเหตุ การใชยา สารเสพติด และความรุนแรง ชั้น

ตัวชี้วัด

ป.1 1. ระบุสิ่งที่ทําใหเกิดอันตราย ที่บาน โรงเรียนและการ ปองกัน

คูม อื ครู

สาระการเรียนรูแกนกลาง • สิง่ ทีท่ าํ ใหเกิดอันตรายภายในบานและโรงเรียน • การปองกันอันตรายภายในบานและโรงเรียน

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน • หนวยการเรียนรูท ี่ 4 ความปลอดภัยในชีวติ บทที่ 1 ชีวิตที่ปลอดภัย

2. บอกสาเหตุและการปองกัน • อันตรายจากการเลน อันตรายที่เกิดจากการเลน - สาเหตุที่ทําใหเกิดอันตรายจากการเลน - การปองกันอันตรายจากการเลน

• หนวยการเรียนรูท ี่ 4 ความปลอดภัยในชีวติ บทที่ 2 ภัยจากการเลน

3. แสดงคําพูดหรือทาทาง • การขอความชวยเหลือเมื่อเกิดเหตุรายที่บาน ขอความชวยเหลือจากผูอ นื่ และโรงเรียน เมือ่ เกิดเหตุรา ยทีบ่ า นและ - บุคคลทีค่ วรขอความชวยเหลือ โรงเรียน - คําพูดและทาทางการขอความชวยเหลือ

• หนวยการเรียนรูท ี่ 4 ความปลอดภัยในชีวติ บทที่ 1 ชีวิตที่ปลอดภัย บทที่ 2 ภัยจากการเลน


คําอธิบายรายวิชา รายวิชา สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปที่ 1 รหัสวิชา พ…………………………………

กลุมสาระการเรียนรู สุขศึกษาและพลศึกษา ภาคเรียนที่ 1-2 เวลา 80 ชั่วโมง/ป

ศึกษา อธิบาย ระบุ ลักษณะและหนาทีข่ องอวัยวะภายนอกทีม่ กี ารเจริญเติบโตและพัฒนาการไปตามวัย เสร�ม สมาชิกในครอบครัว ความรักความผูกพันของสมาชิกในครอบครัว สิ่งที่ชื่นชอบและความภาคภูมิใจในตนเอง 11 ลักษณะและความแตกตางระหวางเพศชายและเพศหญิง อาการเจ็บปวยที่เกิดขึ้นกับตนเอง สิ่งที่ทําใหเกิด อันตรายภายในบานและโรงเรียน สาเหตุของการเกิดอันตรายจากการเลน ปฏิบัติตนในการดูแลรักษาอวัยวะภายนอก การดูแลตนเองตามหลักสุขบัญญัติแหงชาติ เมื่อมีอาการ เจ็บปวยเบื้องตน การขอความชวยเหลือจากผูอื่นเมื่อเกิดเหตุรายที่บานและโรงเรียน การปองกันอันตราย ภายในบานและโรงเรียน ที่เกิดจากการเลน มีทกั ษะในการปฏิบตั กิ จิ กรรมการเคลือ่ นไหวรางกายแบบอยูก บั ที่ แบบเคลือ่ นที่ แบบใชอปุ กรณประกอบ การเลนเกมเบ็ดเตล็ด ตามกฎ กติกา ขอตกลงในการเลนเกมตามคําแนะนํา โดยใชทักษะกระบวนการปฏิบัติ ทักษะการเคลื่อนไหวรางกาย กระบวนการคิด ในการสืบคนขอมูล การแกปญหา และการอภิปราย เพื่อใหเกิดความรู ความคิด ความเขาใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู มีความสามารถตัดสินใจและนํา ความรูไปประยุกตใชในชีวิตประจําวัน มีการพัฒนาทางดานรางกาย จิตใจ อารมณ สังคม และมีจริยธรรม คุณธรรม และคานิยมที่เหมาะสม ตัวชี้วัด พ 1.1 พ 1.2 พ 3.1 พ 3.2 พ 4.1 พ 5.1

ป.1/1 ป.1/1 ป.1/1 ป.1/1 ป.1/1 ป.1/1

ป.1/2 ป.1/2 ป.1/2 ป.1/2 ป.1/2 ป.1/2

ป.1/3

ป.1/3 ป.1/3 รวม 15 ตัวชี้วัด

คูม อื ครู


จุดเนนการพัฒนาคุณภาพผูเรียน* การขับเคลื่อนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551 และการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษ ที่สอง (พ.ศ. 2552-2561) ใหประสบผลสําเร็จตามจุดเนนการพัฒนาคุณภาพผูเรียน โดยใหทุกภาคสวน รวมกันดําเนินการ กระทรวงศึกษาธิการไดกําหนดจุดเนนการพัฒนาคุณภาพผูเรียน ดังนี้ เสร�ม

12

ทักษะ ความสามารถ

คุณลักษณะ จุดเนนตามชวงวัย

ม. 4-6

แสวงหาความรู เพื่อแกปญหา ใชเทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู ใชภาษาตางประเทศ (ภาษาอังกฤษ) มีทักษะการคิดขั้นสูง ทักษะชีวิต ทักษะการสื่อสารอยางสรางสรรคตามชวงวัย

ม. 1-3

แสวงหาความรูดวยตนเอง ใชเทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู มีทักษะการคิดขั้นสูง ทักษะชีวิต ทักษะการสื่อสารอยางสรางสรรคตามชวงวัย

• อยูอยางพอเพียง

ป. 4-6

อานคลอง เขียนคลอง คิดเลขคลอง ทักษะการคิดขั้นพื้นฐาน ทักษะชีวิต ทักษะการสื่อสารอยางสรางสรรคตามชวงวัย

• ใฝเรียนรู

ป. 1-3

อานออก เขียนได คิดเลขเปน มีทักษะการคิดขั้นพื้นฐาน ทักษะชีวิต ทักษะการสื่อสารอยางสรางสรรคตามชวงวัย

• ใฝดี

• มุงมั่นในการศึกษา และการทํางาน

คุณลักษณะตามหลักสูตร

• รักชาติ ศาสน กษัตริย • ซื่อสัตยสุจริต • มีวินัย • ใฝเรียนรู • อยูอยางพอเพียง • มุงมั่นในการทํางาน • รักความเปนไทย • มีจิตสาธารณะ

* สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, กระทรวงศึกษาธิการ. แนวทางการนําจุดเนนการพัฒนาผูเรียน สูการปฏิบัติ. (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย, 2553), หนา 3-10.

คูม อื ครู


กระตุน ความสนใจ กระตุEngage นความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Engage

Explore

Explain

Expand

Evaluate

กระตุน ความสนใจ

1. ครูสอนนักเรียนรองเพลง “วน” พรอมกับ ทํากิจกรรมประกอบการรองเพลง 2. ใหนักเรียนรวมกันบอกชื่ออวัยวะที่ปรากฏ ในเนื้อเพลง พรอมกับชี้ที่รางกายของตนเอง ใหตรงกับอวัยวะนั้นๆ โดยใหครูสังเกตวา นักเรียนชี้อวัยวะไดถูกตองหรือไม 3. ใหนักเรียนดูภาพจากหนังสือเรียน หนา 1 แลวรวมกันบอกวา เด็กในภาพกําลังทํา กิจกรรมใด และใชอวัยวะสวนใดบาง ในการทํากิจกรรม

à´ç¡æ ã¹ÀÒ¾ 㪌ÍÇÑÂÇÐÍÐäà 㹡Ò÷íÒ¡Ô¨¡ÃÃÁ àËÅ‹Ò¹Õé

หนวยการเรียนรูที่

ตัวเรา

Engage

เปาหมายการเรียนรูประจําหนวยที่ ๑ เมื่อเรียนจบหนวยน�้ ผูเรียนจะมีความรูความสามารถตอไปน�้ ๑. อธิบายลักษณะและหนาที่ของอวัยวะภายนอก (มฐ. พ ๑.๑ ป.๑/๑) ๒. อธิบายวิธีดูแลรักษาอวัยวะภายนอก (มฐ. พ ๑.๑ ป.๑/๒)

เกร็ดแนะครู ครูจัดกิจกรรมประกอบเพลง “วน” ดังนี้ 1. ครูสอนนักเรียนรองเพลง “วน” เพลง วน วน วน วน พวกเราวน วนรอบตัวเรา (ซํ้า) จับเอว จับขา จับเขา (ซํ้า) พอจับหัวเรา อุยงง อุยงง (ซํ้า) วน วน วน พวกเราวน วนรอบตัวไป (ซํ้า) จับมือ จับแขน จับไหล (ซํ้า) พอจับหูเรา อุยงง อุยงง (ซํ้า) 2. ใหนักเรียนเคลื่อนไหวรางกายตามเพลง ดังนี้ • เมื่อรองทอน “วน วน วน …” ใหนักเรียนยกแขนขึ้นเหนือศีรษะ แลวหมุน ตัวไปทางขวา 1 รอบ และหมุนตัวไปทางซาย 1 รอบ • เมื่อรองทอน “จับ…” ใหนักเรียนใชมือทั้งสองขางจับอวัยวะตามเนื้อเพลง • เมื่อรองทอน “อุยงง อุยงง” ใหนักเรียนโยกตัวและสายสะโพกไปมา 3. ใหครูเปลี่ยนชื่ออวัยวะที่ขีดเสนใตเปนอวัยวะอื่นๆ ตามตองการ แลวดําเนิน กิจกรรมนี้ตอไป คูมือครู 1


กระตุน ความสนใจ กระตุEngage นความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Engage

Explore

Explain

Expand

Evaluate

เปาหมายการเรียนรู

1. อธิบายลักษณะและหนาที่ของอวัยวะภายนอก (พ 1.1 ป.1/1) 2. อธิบายวิธีดูแลรักษาอวัยวะภายนอก (พ 1.1 ป.1/2)

º··Õè

รางกายของเรา ¡Ô¨¡ÃÃÁ¹íÒÊÙ‹¡ÒÃàÃÕ¹

สมรรถนะของผูเรียน 1. ความสามารถในการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคิด

คุณลักษณะอันพึงประสงค 1. ใฝเรียนรู 2. มุงมั่นในการทํางาน

กระตุน ความสนใจ

Engage

1. ใหนักเรียนดูภาพ หนา 2 แลวชวยกันบอกวา • จากภาพ เด็กๆ กําลังชี้ที่อวัยวะใด และอวัยวะนั้นมีความสําคัญอยางไร (ตอบ เด็กผูชายชี้ที่ตา ซึ่งตาเปนอวัยวะที่ใช ในการมองดูสิ่งตางๆ เด็กผูหญิงชี้ที่ปาก ซึ่งปากเปนอวัยวะที่ใช ในการกินอาหารและพูดคุย) • จากภาพ นักเรียนเห็นอวัยวะใดอีกบาง (แนวตอบ คําตอบขึ้นอยูกับนักเรียนแตละคน) 2. ใหนักเรียนรวมกันบอกวา ตนเองมีอวัยวะ เหมือนกับเด็กในภาพหรือไม แลวใหนักเรียนชี้ ที่อวัยวะของตนเองที่ตรงกับภาพ

í อวัยวะทุกสวนตางมีความสําคัญตอ รางกายของคนเรา ดังนั้น เราควรดูแลรักษา อวัยวะทุกสวนใหทํางานไดตามปกติ และอยูใน สภาพที่ดี

เกร็ดแนะครู ครูจัดกระบวนการเรียนรูโดยการใหนักเรียนปฏิบัติ ดังนี้ • สังเกตอวัยวะของตนเองและเพื่อน • สืบคนขอมูลเกี่ยวกับหนาที่และการดูแลรักษาอวัยวะภายนอก • อธิบายลักษณะ หนาที่ และการดูแลรักษาอวัยวะภายนอก • วิเคราะหจากประเด็นคําถามและภาพ จนเกิดเปนความรูค วามเขาใจวา อวัยวะตางๆ มีลกั ษณะและหนาทีท่ แี่ ตกตางกัน และอวัยวะทุกสวนมีความสําคัญตอรางกาย ดังนั้น จึงควรดูแลรักษาอวัยวะอยาง ถูกวิธีเพื่อใหรางกายทํางานเปนปกติ

2

คูมือครู

อวัยวะที่เด็กในภาพชี้คืออะไร มีหนาที่อะไร


กระตุนความสนใจ Engage

สํารวจคนหา สํารวจค Exploreนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explore

Explain

Expand

Evaluate

สํารวจคนหา

1. ใหนักเรียนจับคูกับเพื่อนและสํารวจวาเพื่อน มีอวัยวะใดบาง แลวบอกชื่ออวัยวะนั้น จากนั้น ครูเขียนชื่ออวัยวะเหลานั้นลงบนกระดาน 2. ครูบอกชื่ออวัยวะบนกระดาน แลวใหนักเรียน ชี้ที่อวัยวะนั้นของตนเองวามีเหมือนเพื่อน หรือไม โดยใหครูสังเกตวา นักเรียนชี้ที่อวัยวะ ไดถูกตองหรือไม 3. ครูเขียนคําวา อวัยวะภายนอก บนกระดาน แลวใหนักเรียนรวมกันอภิปรายความหมาย 4. ครูถามนักเรียนวา • อวัยวะภายนอกของนักเรียนมีลักษณะ เหมือนกับเพื่อนหรือไม อยางไร (แนวตอบ มีรูปรางคลายคลึงกัน แตอาจมี ลักษณะบางอยางแตกตางกัน เชน สี ขนาด เปนตน เชน มีตา 2 ชั้น มีตาชั้นเดียว ผมหยิก ผมตรง เปนตน) 5. ใหนักเรียนทํากิจกรรมการเรียนรู ขอ 2 หนา 7 แลวสังเกตผลการทํากิจกรรม 6. ใหนักเรียนเขียนหนังสือ ฟงเพื่อนเลานิทาน คุยกับเพื่อน และเดินไปมาโดยใชอวัยวะ ตามปกติ จากนั้นใหนักเรียนสรุปผลการทํา กิจกรรมแลวบอกเหตุผลวา เพราะเหตุใด การทํากิจกรรมขอ 5. จึงยากกวาการทํา กิจกรรมขอ 6.

1

๑ อวัยวะภายนอก

คนเราทุกคนมีอวัยวะที่เหมือนกันและอยูในตําแหนงเดียวกัน แตจะมีลักษณะที่แตกตางกันไป เชน บางคนมีผมสีดํา บางคนมีผม สีนํ้าตาล บางคนตาโต บางคนตาเล็ก เปนตน

µÒ มี ò ขาง

¼Á เสนที่ขึ้นปกคลุม

ในลูกตามีตาขาวและตาดํา มีขนตารอบดวงตา

ศีรษะ

ËÙ

¨ÁÙ¡ รูปรางคลาย

มี ò ขาง อยูขางศีรษะ มีรูไวรับฟง เสียง

ชมพูอ ยูกลางใบหนา มีรู ò รู

¤Í ลําคอรูปทรง กระบอก เชื่อมระหวาง ตัวและศีรษะ

»Ò¡ เนื้อสีชมพู ประกบกัน มีปากบน และปากลาง

Á×Í สวนที่อยูตอจาก ปลายแขน มี ò ขาง

ᢹ สวนที่ยื่นออกมา จากลําตัว อยูต อ จากหัวไหล มี ò ขาง

¹ÔÇé Á×Í สวนที่อยู

ปลายมือ แตละมือ มี õ นิว้

¢Ò สวนที่อยูตอจาก ลําตัวดานลาง มี ò ขาง

à·ŒÒ สวนลางสุดของ

¹ÔÇé à·ŒÒ สวนที่อยู

รางกาย มี ò ขาง

Explore

ปลายเทา แตละเทา มี õ นิว้

ÊÒÃй‹ÒÃÙŒ อวัยวะทีเ่ ราสามารถมองเห็นไดดว ยตาเปลา เรียกวา อวัยวะภายนอก สวนอวัยวะทีเ่ รา ไมสามารถมองเห็นไดซึ่งอยูในรางกาย เรียกวา อวัยวะภายใน

ขอใดเปนอวัยวะภายนอกทั้งหมด ก. ตา เทา ตับ ข. หู จมูก ปาก ค. ไต คอ นิ้วมือ ง. มือ ปอด แขน

ขอสอบเนนการคิด

วิเคราะหคําตอบ อวัยวะภายนอกเปนอวัยวะที่คนเราสามารถมองเห็นได เชน ตา เทา มือ แขน หู จมูก ปาก คอ นิ้วมือ เปนตน สวน ตับ ปอด ไต เปนอวัยวะที่อยูในรางกาย ซึ่งไมสามารถมองเห็นได ดังนั้น ขอ ข. เปนคําตอบที่ถูก

นักเรียนควรรู 1 อวัยวะ หมายถึง สวนของรางกาย เชน ตา หู จมูก ปอด ไต เปนตน โดยสามารถแบงอวัยวะออกเปน 2 ประเภทใหญๆ ดังนี้ • อวัยวะภายนอก คือ อวัยวะที่อยูภายนอกรางกาย ซึ่งสามารถมองเห็นได เชน ตา หู จมูก ปาก เปนตน • อวัยวะภายใน คือ อวัยวะที่อยูภายในรางกาย จึงไมสามารถมองเห็นได เชน หัวใจ ปอด ตับ ไต สมอง เปนตน อวัยวะตางๆ ไมวาจะเปนอวัยวะภายนอกหรืออวัยวะภายในลวนสําคัญตอการ ดํารงชีวิตของคนเรา เพราะอวัยวะแตละอวัยวะมีหนาที่แตกตางกัน การทําหนาที่ ของอวัยวะทําใหเราสามารถดําเนินชีวิตไดอยางเปนปกติ ดังนั้น เราตองดูแลรักษา อวัยวะของเราใหมีสภาพปกติตลอดไป

คูมือครู

3


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

Explain

1. ใหนักเรียนรวมกันสรุปวา อวัยวะที่เราสามารถ มองเห็นได เรียกวา อวัยวะภายนอก 2. ใหนักเรียนรวมกันบอกวา อวัยวะภายนอกของ คนเรามีอะไรบาง 3. ใหนักเรียนจับคูกับเพื่อน ผลัดกันสังเกต ลักษณะอวัยวะภายนอกของตนเองและเพื่อน แลวผลัดกันออกมาพูดอธิบายลักษณะของ อวัยวะภายนอกที่หนาชั้น 4. ใหนักเรียนรวมกันอภิปรายวา การทํากิจกรรม ตางๆ ตองอาศัยการทํางานของอวัยวะใดบาง เชน อานหนังสือ ฟงเพลง เปนตน 5. ใหนักเรียนรวมกันสรุปวา อวัยวะแตละอวัยวะ มีหนาที่ตางกัน จากนั้นใหนักเรียนรวมกันบอก หนาที่ของอวัยวะภายนอก โดยครูตรวจสอบวา นักเรียนบอกไดครบถวน 6. ใหนักเรียนทํากิจกรรมการเรียนรูขอ 1 หนา 7 โดยดูภาพ แลวบอกวา อวัยวะหมายเลข 1 - 10 คืออวัยวะใด มีหนาที่อะไร 7. ใหนักเรียนทํากิจกรรมการเรียนรู ขอ 3 หนา 8 โดยดูภาพ แลวบอกวา เด็กในภาพทํากิจกรรม อะไร และใชอวัยวะใด จากนั้นตรวจคําตอบ กับเพื่อน

ÍÇÑÂÇÐÀÒ¹͡ มีหนาที่แตกตางกัน เชน

¼ÔÇ˹ѧ ¤Í

ใชเปนที่ตั้ง และเคลื่อนไหว ศีรษะ

µÒ

ใชดูสิ่งตางๆ รอบตัวเรา

¼Á

ใชฟง เสียงตางๆ

ใชปกคลุม ศีรษะ

ใชหยิบจับ สิ่งของตางๆ

à·ŒÒáÅÐ ¹ÔÇé à·ŒÒ

ใชในการเคลื่อนที่ และรับนํ้าหนักตัว

การทํากิจกรรมใดกิจกรรมหนึง่ จําเปน ตองใชอวัยวะหลายๆ สวน ทําหนาทีป่ ระกอบกัน ดังนัน้ ถาเราขาดอวัยวะใดอวัยวะหนึง่ ไปจะทําให เราทํากิจกรรมตางๆ ไดยากลําบาก หรืออาจทํา กิจกรรมนัน้ ไมได

เกร็ดแนะครู ครูอธิบายเพิ่มเติมวา การทํากิจกรรมในชีวิตประจําวัน อาจไมไดเกี่ยวของ กับอวัยวะใดอวัยวะหนึ่งเพียงอยางเดียว แตอวัยวะภายนอกเหลานี้อาจทํางานไป พรอมๆ กัน จากนั้นครูยกตัวอยางกิจกรรมในชีวิตประจําวัน แลวใหนักเรียนบอกชื่อ อวัยวะภายนอกที่ใชทํากิจกรรม เชน • ฟงเพลง - หู • อานหนังสือ - ตา • ดูโทรทัศน - ตา (ดู) หู (ฟงเสียง) ครูอาจจัดเปนกิจกรรมเกม โดยใหนักเรียนออกมาทําทาทางใบวา กําลังทํา กิจกรรมอยางใดอยางหนึ่ง แลวใหเพื่อนๆ ทายวา กําลังทํากิจกรรมใด และเกี่ยวของกับอวัยวะใด

คูมือครู

ใชหายใจ และดมกลิ่น

Á×ÍáÅÐ ¹ÔÇé Á×Í

4

ใชปกคลุม รางกาย

ËÙ

¨ÁÙ¡

บูรณาการเชื่อมสาระ

ครูบูรณาการความรูในสาระสุขศึกษาฯ กับสาระวิทยาศาสตร เรื่องอวัยวะ ภายนอก โดยครูเนนใหนักเรียนสังเกตและอธิบายลักษณะ หนาที่ และความ สําคัญของอวัยวะ เพื่อใหเกิดความรูความเขาใจวา อวัยวะภายนอกของคนมี ลักษณะและหนาที่แตกตางกัน อวัยวะเหลานี้มีความสําคัญตอการดํารงชีวิต จึงตองดูแลรักษาและปองกันไมใหอวัยวะเหลานี้ไดรับอันตราย


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

อธิบายความรู

1. ครูตั้งประเด็นคําถามวา • ถาอวัยวะใดอวัยวะหนึ่งไดรับบาดเจ็บ จะสงผลตอตัวเราอยางไร (แนวตอบ ทําใหทํากิจกรรมในชีวิตประจําวัน ไดลําบาก เชน ตาเจ็บ ทําใหอานหรือมองดู สิ่งตางๆ ไดลําบาก ขาเจ็บ ทําใหเคลื่อนไหว ไดลําบาก เปนตน) 2. ใหนักเรียนแบงกลุม 8 กลุม แลวใหแตละกลุม บอกวิธีดูแลอวัยวะกลุมละ 1 อวัยวะ โดยไมซํ้ากัน 3. ใหแตละกลุมสงตัวแทนออกมารายงาน หนาชั้น แลวครูถามกลุมอื่นๆ วา มีวิธีดูแล เพิ่มเติมหรือไม จากนั้นครูจดลงบนกระดาน 4. ครูและนักเรียนรวมกันแสดงความคิดเห็นวา การดูแลอวัยวะตามที่นักเรียนบอกมานั้น เปนวิธีที่เหมาะสมหรือไม เพราะเหตุใด 5. ครูและนักเรียนสรุปวิธีดูแลรักษาอวัยวะ ภายนอกที่เหมาะสม และครูเนนยํ้าใหนักเรียน นําไปปฏิบัติในชีวิตประจําวัน

๒ การดูแลรักษาอวัยวะภายนอก

การดูแลรักษาอวัยวะของรางกาย สามารถทําได ดังนี้ µÒ ๑) ไมใชมอื ขยีต้ า เมือ่ ฝุน เขาตาใหลา งตาดวยนํา้ สะอาด ๒) อานหนังสือในบริเวณที่ที่มีแสงสวางอยางเพียงพอ และวางหนังสือหางจากระดับสายตาประมาณ ๑ ฟุต ๓) ไมใชสายตามองดวงอาทิตยโดยตรง เพราะอาจทําให ตาบอดได และไมควรจองมองสิง่ ใดเปนเวลานานๆ ๔) กินอาหารที่มีวิตามินเอ เพื่อชวยบํารุงสายตา เชน ฟกทอง ผักบงุ เปนตน

¨ÁÙ¡ ๑) ตองระวังอยาใหสิ่งใดๆ เขาไปในรูจมูก 1 ๒) ไมแคะจมูกเลน หรือไมสั่งนํ้ามูกแรงๆ ๓) หลีกเลี่ยงการอยูในที่ที่มีฝุนควันมาก

ËÙ

Explain

2

๑) ตองระวังอยาใหนํ้าหรือสิ่งใดๆ เขาไปในรูหู ๒) ใชผา สะอาดหรือสําลีชบุ นํา้ เช็ดบริเวณใบหูใหสะอาด ๓) ไมควรตะโกนใสหูกัน ๔) หลีกเลีย่ งสถานทีท่ มี่ เี สียงดังมาก เชน เขตกอสราง โรงงานอุตสาหกรรม เปนตน

¼Á

๑) สระผมอยางนอยสัปดาหละ ๒-๓ ครั้ง ๒) ไมควรหวีผมแรงๆ ๓) ในวัยของนักเรียนควรตัดผมใหสั้น เพื่อดูแลรักษา ความสะอาดไดงาย ๕

ขอสอบเนนการคิด

ใครดูแลรักษาอวัยวะภายนอกไดเหมาะสมที่สุด ก. กอยใชผาขนหนูซับนํ้าที่ใบหูหลังอาบนํ้า ข. ฝนอาบนํ้าเฉพาะเวลากอนเขานอน ค. ตนใชนิ้วเขี่ยผงที่ติดอยูในดวงตา ง. หนอยสระผมสัปดาหละ 1 ครั้ง

วิเคราะหคําตอบ การสระผมควรสระผมอยางนอยสัปดาหละ 2 - 3 ครั้ง เมื่อมีผงติดอยูในดวงตา ไมควรใชนิ้วเขี่ยผง เพราะอาจทําใหดวงตา อักเสบได แตควรใชนํ้าสะอาดลางตา การอาบนํ้า ควรอาบนํ้าอยางนอย วันละ 2 ครั้ง คือ ตอนเชาหรือหลังตื่นนอน และตอนเย็นหรือกอนเขานอน ดังนั้น ขอ ก. เปนคําตอบที่ถูก

นักเรียนควรรู 1 ไมสั่งนํ้ามูกแรงๆ เมื่อมีอาการเปนหวัด ไมควรสั่งนํ้ามูกแรงๆ เพราะอาจ ทําใหเชื้อโรคจากจมูกหรือคอถูกดันเขาไปในหูชั้นกลาง ทําใหเกิดการติดเชื้อและ เปนโรคหูนํ้าหนวกได 2 นํ้า ถามีนํ้าเขาหู ใหเอียงศีรษะขางนั้นลงตํ่า แลวดึงใบหูใหกางออกและเฉียง ไปทางดานหลังซึ่งจะทําใหชองหูอยูในแนวตรงที่จะทําใหนํ้าไหลออกมาไดงาย ถาทําวิธีนี้แลวรูสึกไมดีขึ้น ควรไปพบแพทยที่ดูแลรักษาหูโดยเฉพาะ

คูมือครู

5


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ

ขยายความเขาใจ Expand าใจ ขยายความเข

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Expand

1. ครูสมมุติสถานการณตางๆ เชน • เลนกับเพื่อนในสนามแลวมีฝุนเขาตา • ปน ดินเหนียวในชัว่ โมงศิลปะ จึงทําใหมอื เปอ น • อานหนังสือใตตนไมแลวมีแมลงบินเขาหู • เดินผานบริเวณที่มีฝุนละอองมาก แลวใหนักเรียนออกมาแสดงบทบาทสมมุติ เกี่ยวกับวิธีดูแลรักษาอวัยวะภายนอก 2. ครูและเพื่อนๆ รวมกันตรวจสอบการแสดง บทบาทสมมุติวาถูกตองหรือไม และควร ปรับปรุงแกไขอยางไร 3. ใหนักเรียนทํากิจกรรมรวบยอดที่ 1.1 จากแบบวัดฯ สุขศึกษาฯ ป.1

¤Í ๑) ไมหมุนคอแรงๆ ๒) ไมเลนรุนแรงที่อาจเปนอันตรายตอคอ ๓) ไมวางของหนักมากบนศีรษะ

¼ÔÇ˹ѧ ๑) อาบนํ้าอยางนอยวันละ ๒ ครั้ง ๒) เช็ดตัวใหแหง หลังอาบนํ้าทุกครั้ง 1 ๓) สวมใสเสื้อผาที่สะอาดและไมเปยกชื้น

✓ แบบวัดฯ ใบงาน แบบฝกฯ สุขศึกษาฯ ป.1 กิจกรรมรวบยอดที่ 1.1 แบบประเมินตัวช�้วัด พ 1.1 ป. 1/1

Á×ÍáÅÐàÅçº ๑) ลางมือใหสะอาดกอนกินอาหารและหลังขับถาย ทุกครั้ง ๒) ตัดเล็บมือใหสั้นอยูเสมอ ๓) ไมกัดเล็บหรือดูดนิ้วเลน

แบบประเมินผลการเรียนรูตามตัวชี้วัด ประจําหนวยที่ ๑ บทที่ ๑ กิจกรรมรวบยอดที่ ๑.๑ แบบประเมินตัวชี้วัด พ ๑.๑ ป.๑/๑ 

อธิบายลักษณะและหนาที่ของอวัยวะภายนอก

ชุดที่ ๑ ๑๐ คะแนน

à·ŒÒáÅÐàÅçº

ดูภาพ แลวเติมชื่ออวัยวะ ลักษณะ และหนาที่ใหถูกตอง

ผม ๑) อวัยวะ ……………………………….. เสนสีดาํ ลักษณะ ……………………………. ปกคลุมศีรษะ หนาที่ …………………………………… จมูก ๓) อวัยวะ ……………………………… มี ๒ รู ลักษณะ ……………………………. หายใจ ดมกลิ่น หนาที่ …………………………………… า ๕) อวัยวะ เท……………………………… มี ๒ ขาง มีนิ้ว ลักษณะ ……………………………. ใชเคลื่อนที่ หนาที่ ……………………………………

ตา ๒) อวัยวะ ……………………………… ยาว รี โต ลักษณะ ……………………………. มองเห็น หนาที่ ……………………………………

๑) ลางขาและเทาใหสะอาด ๒) ตัดเล็บเทาใหสั้นอยูเสมอ ๓) สวมรองเทาเมื่อตองอยูนอกบานทุกครั้ง

ฉบับ

เฉลย

หู ๔) อวัยวะ ……………………………….. ยาว รี ลักษณะ ……………………………. มีรตู รงกลาง ………………………………………………… ฟงเสียง หนาที่ …………………………………… ตัวชี้วัด พ ๑.๑ ขอ ๑ ไดคะแนน คะแนนเต็ม

ñð

ÊØ¢ÀÒ¾¹‹ ¢ÀÒ¾¹‹ÒÃÙŒ

เกณฑประเมินชิ้นงาน

(๕ ขอ ขอละ ๒ คะแนน) • บอกชื่อและลักษณะของอวัยวะไดถูกตอง • บอกหนาที่ของอวัยวะไดถูกตอง

๑ คะแนน ๑ คะแนน

เล็บ คือ อวัยวะปกคลุมรางกายชนิดหนึ่ง ที่พบบริเวณปลายนิ้วมือและนิ้วเทา เปนเซลลที่ตายแลว ประกอบดวยเคราติน ซึ่งเปนโปรตีนที่เปนสวนประกอบของ ๖ เสนผม จึงทําใหเล็บสามารถงอกไดเหมือนเสนผม

นักเรียนควรรู 1 ใสเสือ้ ผาทีส่ ะอาดและไมเปยกชืน้ จะชวยปองกันการเกิดโรคกลากและเกลื้อน โรคกลากมีลักษณะเปนผื่นแดงเปนวงกลม มีขอบชัดเจน โรคเกลื้อนมีลักษณะเปน จุดขาวขนาดเล็กบริเวณขุมขน มีขุยบางๆ

มุม IT ครูสามารถดาวนโหลดโปสเตอร เกี่ยวกับ “สุขภาพดี เริ่มตนที่ … มือสะอาด 7 ขั้นตอนการลางมือ” ไดที่ www.hed.go.th ซึ่งเปนเว็บไซตของกองสุขศึกษา กระทรวงสาธารณสุข เพื่อนํามาใชเปนสื่อประกอบการเรียนการสอนเรื่อง การลางมือใหสะอาดเพื่อปองกันโรค

6

คูมือครู

กิจกรรมสรางเสริม ใหนักเรียนวางแผนดูแลรักษาอวัยวะภายนอกเปนเวลา 1 สัปดาห แลวเขียนบันทึกวิธกี ารดูแลรักษาอวัยวะภายนอก พรอมทัง้ วาดภาพประกอบ

กิจกรรมทาทาย ครูจัดประกวด “หนูนอยสุขลักษณะดี” โดยใหนักเรียนคิดเกณฑการ ตัดสินวาพิจารณาจากผูที่มีลักษณะของอวัยวะภายนอกที่มีสุขภาพดี เชน ไมมีขี้ตา มือสะอาด ผมสะอาด เปนตน แลวครูกําหนดระยะเวลาในการให นักเรียนไปดูแลรักษาอวัยวะภายนอก จากนั้นครูตัดสินผล พรอมทั้งกลาว ชมเชยนักเรียนที่มีสุขลักษณะดี


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ Expand าใจ ขยายความเข

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

ขยายความเขาใจ

¡Ô ¨¡ÃÃÁ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ

1. ใหนักเรียนสังเกตการดูแลรักษาอวัยวะ ภายนอกของตน แลวจดบันทึกผลลงในสมุด เปนเวลา 5 วัน 2. ใหนักเรียนทํากิจกรรมการเรียนรู ขอ 4 หนา 8 โดยอานเหตุการณที่กําหนดแลวบอก วิธีปฏิบัติตนที่เหมาะสม 3. ใหนักเรียนทํากิจกรรมรวบยอดที่ 1.2 จาก แบบวัดฯ สุขศึกษาฯ ป.1

๑ ดูภาพแลวบอกวา อวัยวะหมายเลข ๑ - ๑๐ คืออวัยวะใดบาง มีหนาทีอ่ ะไร

✓ แบบวัดฯ ใบงาน แบบฝกฯ สุขศึกษาฯ ป.1 กิจกรรมรวบยอดที่ 1.2 แบบประเมินตัวช�้วัด พ 1.1 ป. 1/1

ชุดที่ ๒ ๕ คะแนน วง

กิจกรรมรวบยอดที่ ๑.๒

ฉบับ

๑๐

รอบตัวอักษรหนาคําตอบที่ถูกที่สุด

๔. คนที่เปนใบ จะเปนอยางไร ๑. หู มีหนาที่ทําอะไร ก. มองไมเห็น ก. ดู ข. ฟง ค. กิน ข. เดินไมได ๒. มือ มีหนาที่ทําอะไร ค. พูดไมได ก. หยิบจับสิ่งของ ๕. การที่เราเดินไดเพราะเรา ข. ใชพูดคุยกับผูอื่น มีอวัยวะใด ค. พาตัวเราเคลื่อนที่ ก. เทา ข. มือ ค. ตา ๓. ถาเปนหวัด จะเกิดปญหากับขอใด ตัวชี้วัด พ ๑.๑ ขอ ๑ ก. หู ข. ตา ค. จมูก ไดคะแนน คะแนนเต็ม õ

Expand

เฉลย

แบบประเมินตัวชี้วัด พ ๑.๑ ป.๑/๒ 

อธิบายวิธีดูแลรักษาอวัยวะภายนอก

ชุดที่ ๑ ๑๐ คะแนน อานเหตุการณที่กําหนดให แลวเขียนวิธีปฏิบัติตนที่เหมาะสม

๑) วันนี้มีฝุนละอองปลิวเขาดวงตาของดาว ดาวควรทําอยางไร

๒ ทดลองทํากิจกรรมตามที่กําหนดให แลวรวมกันบอกวา การทํากิจกรรม แตละของายหรือยากกวาการทํากิจกรรมตามปกติ ๑) ใชผาปดตาตนเอง แลวเขียนหนังสือ ๒) ใชสําลีอุดหูตนเอง แลวฟงเพื่อนเลานิทาน ๓) ใชผาปดปากตนเอง แลวพูดกับเพื่อน ๔) เดินเขยงเทาเดียวจากหนาหองทางดานซายไปดานขวา

ลางดวงตาดวยนํ้าสะอาด เพื่อใหสิ่งสกปรกออกมา

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

๒) วันนี้นํ้าทวม โตงจึงเดินลุยนํ้าเขาบาน เมื่อถึงบานโตงควรทําอยางไร

รีบลางเทาใหสะอาดดวยสบูและนํ้า แลวเช็ดเทาใหแหง

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

๓) ไกรูสึกคันจมูก เหมือนมีฝุนอยูในจมูก ไกควรทําอยางไร

ใชผานุมๆ เช็ดรูจมูกใหสะอาด

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ขอสอบเนนการคิด

“สายปานเห็นดอกกุหลาบสีแดงสวยปกอยูในแจกันจึงหยิบดอกกุหลาบ ขึ้นมาดม” จากขอความนี้มีการใชอวัยวะภายนอกใด ทําหนาที่อะไร และมี วิธีดูแลรักษาอวัยวะภายนอกนี้อยางไร แนวตอบ ดวงตา ใชมองดูดอกกุหลาบ วิธีดูแลรักษา เชน ไมใชมือขยี้ตา อานหนังสือในที่ที่มีแสงสวาง เพียงพอ มือ ใชหยิบดอกกุหลาบ วิธีดูแลรักษา เชน ลางมือใหสะอาดเสมอ ไมกัดเล็บหรือ ดูดนิ้วเลน จมูก ใชดมกลิ่นดอกกุหลาบ วิธีดูแลรักษา เชน ไมแคะจมูกเลน ไมสั่งนํ้ามูกแรงๆ

เฉลย กิจกรรมการเรียนรู 1. ตอบ 1) ผม - ปกคลุมศีรษะ 2) ตา - ดูหรือมองสิ่งตางๆ 3) หู - ใชฟงเสียง 4) จมูก - ใชดมกลิ่น 5) ปาก - ใชพูดหรือกินอาหาร 6) คอ - เปนที่รองรับศีรษะ และทําใหศีรษะเคลื่อนไหวได 7) ผิวหนัง - ปกคลุมอวัยวะในรางกาย 8) มือ - ใชหยิบจับสิ่งตางๆ 9) ขา - ใชพยุงรางกาย 10) เทา - ใชเคลื่อนไหว 2. แนวตอบ ผลการทํากิจกรรมขอ 1) - 4) นักเรียนจะทํากิจกรรมเหลานี้ไดยาก กวาปกติ คูมือครู

7


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Expand าใจ ขยายความเข

Evaluate ตรวจสอบผล

Expand

ใหนักเรียนแบงกลุม ใหแตละกลุมจัดทํา บัตรภาพอวัยวะภายนอก โดยใหดานหนึ่งเปน ภาพอวัยวะภายนอก และอีกดานหนึ่งเปนชื่อ ลักษณะ และหนาที่ของอวัยวะภายนอก

ตรวจสอบผล

ขยายความเขาใจ

๓ ดูภาพแลวบอกวา เด็กในภาพกําลังทําอะไร และกิจกรรมนัน้ ตองใชอวัยวะใด ๑)

๒)

๓)

๔)

Evaluate

1. ครูตรวจสอบผลการบันทึกการดูแลรักษาอวัยวะ ภายนอกของนักเรียนแตละคน 2. ครูตรวจสอบความถูกตองของการทํากิจกรรม รวบยอดที่ 1.1 และ 1.2 จากแบบวัดฯ สุขศึกษาฯ ป.1 3. ครูตรวจสอบความถูกตองของบัตรภาพอวัยวะ ภายนอก

หลักฐานแสดงผลการเรียนรู 1. แบบบันทึกการดูแลรักษาอวัยวะภายนอก 2. กิจกรรมรวบยอดที่ 1.1 และ 1.2 จากแบบวัดฯ สุขศึกษาฯ ป.1 3. บัตรภาพอวัยวะภายนอก

๔ อานเหตุการณที่กําหนดให แลวบอกวิธีปฏิบัติตนที่เหมาะสม ๑) วันนีม้ ลี มพัดแรง ฝุน จึงปลิวเขาตาของสุดา สุดาควรดูแลรักษาตา อยางไร ๒) วันนีฝ้ นตกหนัก ทําใหเกิดนํา้ ทวม ¢ÂÒ¤ÇÒÁÃÙŒ ปตจิ งึ เดินลุยนํา้ เขาบาน เมือ่ ถึงบาน ÊÙ‹¡ÒäԴ ปตคิ วรดูแลรักษาเทาอยางไร ๓) วิชาชวยพอปลูกตนไมในวันหยุด ถานักเรียนขาดอวัยวะภายนอก แลวแมกเ็ รียกเขาและพอใหมากินขนม อวั ย วะใดอวั ย วะหนึ่ ง ไป จะเกิ ด วิชาควรทําอยางไรกอนกินขนม ผลเสียตอการดําเนินชีวิตหรือไม อยางไร

๘ เฉลย กิจกรรมการเรียนรู 3. แนวตอบ 1) ดูโทรทัศน -ใชตาดูภาพ ใชหูฟงเสียง 2) แตงกาย - ใชตาดูเสื้อผา ใชมือจับเสื้อผา 3) วาดภาพระบายสี - ใชตาดูภาพ ใชมือจับพูกัน 4) เตะลูกบอล - ใชตาดูลูกบอล ใชเทาเตะลูกบอล ใชขาและเทาเคลื่อนที่ ใชแขนชวยในการทรงตัว 4. แนวตอบ 1) เธอควรลางดวงตาดวยนํ้าสะอาด แลวใชผาขนหนูที่สะอาดซับนํ้าบริเวณดวงตาใหแหง 2) เขาควรลางเทาดวยสบูและนํ้าสะอาด จากนั้นใชผาขนหนูเช็ดเทาใหแหง 3) เขาควรลางมือดวยสบูและนํ้าสะอาด จากนั้นใชผาสะอาดเช็ดมือใหแหงกอนกินขนม แนวตอบ ขยายความรูสูการคิด ถาตัวเราขาดอวัยวะใดอวัยวะหนึ่งไป จะสงผลเสียตอการดําเนินชีวิต เพราะการทํากิจกรรม ในชีวิตประจําวันตองอาศัยอวัยวะตางๆ ในรางกายทํางานประสานสัมพันธกัน ดังนั้น ถาขาดอวัยวะใดอวัยวะหนึ่งก็จะทําใหทํากิจกรรมไดลําบาก

8

คูมือครู


กระตุน ความสนใจ

º··Õè

กระตุEngage นความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Engage

Explore

Explain

Expand

Evaluate

เปาหมายการเรียนรู

1. อธิบายลักษณะและหนาที่ของอวัยวะ ภายนอก (พ 1.1 ป.1/1) 2. อธิบายวิธีดูแลรักษาอวัยวะภายนอก (พ 1.1 ป.1/2)

ฟนของเรา

สมรรถนะของผูเรียน

¡Ô¨¡ÃÃÁ¹íÒÊÙ‹¡ÒÃàÃÕ¹

1. ความสามารถในการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคิด

คุณลักษณะอันพึงประสงค 1. ใฝเรียนรู 2. มุงมั่นในการทํางาน

๑ ๓ ๔

í

จากภาพ เพื่อนๆ คิดวาอวัยวะ หมายเลขใดที่มีความสําคัญ ตอการกินอาหาร และมี ความสําคัญอยางไร

กระตุน ความสนใจ

Engage

1. ครูสอบถามนักเรียนวา • คนเราใชอวัยวะใดบางในการกินอาหาร (ตอบ ใชปากในการเปดรับอาหาร ใชฟนใน การกัด บด เคี้ยวอาหาร) 2. ใหนักเรียนสองกระจก อาปาก จากนั้นสังเกต ลักษณะฟนของตนเอง แลวผลัดกันออกมาเลา ที่หนาชั้น

อวัยวะในชองปากเปนอวัยวะภายนอก ที่มีความสําคัญตอการพูดและกินอาหาร ดังนั้นเราจึงควรดูแลรักษาใหอยูในสภาพที่ดี

เกร็ดแนะครู ครูจัดกระบวนการเรียนรูโดยการใหนักเรียนปฏิบัติ ดังนี้ • สังเกตลักษณะของอวัยวะในชองปากของตนเอง • อธิบายลักษณะของอวัยวะในชองปากของตนเอง • สาธิตการแปรงฟนที่ถูกวิธี • ปฏิบัติตนในการดูแลรักษาอวัยวะในชองปากที่ถูกวิธี จนเกิดเปนความรูความเขาใจวา อวัยวะในชองปาก ไดแก ฟน ลิ้น เหงือก เปนอวัยวะที่มีความสําคัญ เราตองดูแลรักษาอยางถูกวิธี เพื่อใหสะอาดและแข็งแรง

คูมือครู

9


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explore

Explain

Expand

Evaluate

Engage

Exploreนหา สํารวจค

สํารวจคนหา

Explore

1. ครูนําหุนฟนจําลองมาใหนักเรียนดู แลวให นักเรียนรวมกันบอกชื่ออวัยวะในชองปากและ ชนิดของฟน 2. ใหนักเรียนสืบคนหนาที่ของอวัยวะในชองปาก จากหนังสือ หนา 11

อธิบายความรู

๑ อวัยวะในชองปาก

ปาก เปนอวัยวะภายนอกชนิดหนึ่ง ซึ่งภายในปากของเรา ยังประกอบดวยอวัยวะอื่นๆ ไดแก ฟน ลิ้น เหงือก รวมเรียกวา อวัยวะในชองปาก 1 ¿˜¹¹íÒé ¹Á มี òð ซี่ ¿˜¹á·Œ มี óò ซี่

Explain

1. ครูสนทนากับนักเรียนวา อวัยวะที่เห็นอยูใน ปาก รวมเรียกวา อวัยวะในชองปาก 2. ใหนักเรียนตรวจสอบชื่อเรียกอวัยวะในชองปาก และชนิดของฟนจากหนังสือ หนา 10 3. ใหนักเรียนดูภาพฟนนํ้านมและฟนแท แลวใหสังเกตความแตกตาง จากนั้นรวมกัน สรุปความแตกตางและความสําคัญของ ฟนนํ้านมและฟนแท 4. ใหนักเรียนรวมกันบอกหนาที่ของอวัยวะใน ชองปาก 5. ครูอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับความสําคัญของ อวัยวะในชองปากที่ตองทํางานสัมพันธกัน เชน การพูด - ใชริมฝปาก ฟนและลิ้นชวยในการ ออกเสียง

(เริ่มขึ้นเมื่ออายุ ๖ ป)

(เริ่มขึ้นเมื่ออายุ ๖ เดือน)

: ฟนกราม

ฟนบน

ฟนบน

ฟนลาง

ฟนลาง

: ฟนกรามนอย

: ฟนเขีย้ ว

: ฟนตัด

: เหงือก

ฟนของคนเรามี ๒ ชุด คือ ฟนชุดแรก ที่เรียกวา ฟนนํ้านม และฟนชุดที่สอง ที่เรียกวา ฟนแท ถาฟนแทหลุดไป ก็จะไมมีฟน ชุดใดขึ้นมาแทนที่อีก

¡Ô ¨¡ÃÃÁ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè ñ ๑๐

ใหนกั เรียนสองกระจก แลวอาปาก จากนัน้ สังเกตลักษณะของอวัยวะในชองปาก ของตน แลวผลัดกันออกมาเลาใหเพื่อนฟงที่หนาชั้น

เกร็ดแนะครู ครูอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับหนาที่ของฟนแตละชนิด ดังนี้ • ฟนกราม และฟนกรามนอย มีหนาที่บดเคี้ยวอาหาร • ฟนเขี้ยว มีหนาที่ดึงหรือฉีกอาหาร • ฟนตัด มีหนาที่กัดหรือฉีกอาหาร

นักเรียนควรรู 1 ฟนนํ้านม เปนฟนชุดแรกของคนเรา มีทั้งหมด 20 ซี่ ซี่แรกจะขึ้นเมื่ออายุ ประมาณ 6 เดือน แลวจะขึ้นครบ 20 ซี่ เมื่ออายุประมาณ 2 ขวบครึ่ง เมื่อมีอายุประมาณ 6 ป ฟนนํ้านมจะเริ่มหลุด และมีฟนแทซึ่งเปนฟนชุดที่สอง ขึ้นมาทดแทน โดยฟนแทมีทั้งหมด 32 ซี่

10

คูมือครู

(ผลการปฏิบัติกิจกรรมขึ้นอยูกับดุลยพินิจของครูผูสอน)

ขอสอบเนนการคิด

นักเรียนจะบดเคี้ยวอาหารไดลําบาก ถาขาดฟนในขอใด ก. ฟนบน ข. ฟนตัด ค. ฟนเขี้ยว ง. ฟนกราม วิเคราะหคําตอบ ฟนที่ทําหนาที่ในการบดเคี้ยวอาหาร คือ ฟนกราม สวนฟนตัด มีหนาทีก่ ดั อาหาร ฟนเขีย้ วมีหนาทีด่ งึ หรือฉีกอาหาร สวนฟนบน เปนคําตอบที่ไมชัดเจน เพราะไมระบุวาเปนฟนประเภทใด ดังนั้น ขอ ง. เปนคําตอบที่ถูก


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Expand าใจ ขยายความเข

Evaluate ตรวจสอบผล

ขยายความสนใจ

Expand

1. ใหนักเรียนวาดภาพอวัยวะในชองปากของ ตนเอง แลวชี้บอกชื่อและลักษณะของอวัยวะ ในชองปาก 2. ใหนักเรียนทํากิจกรรมรวบยอดที่ 1.3 จากแบบวัดฯ สุขศึกษาฯ ป.1 โดยดูภาพ แลวเติมชื่อ ลักษณะ และหนาที่ใหถูกตอง

ÍÇÑÂÇÐ㹪‹Í§»Ò¡ มีหนาที่สําคัญ ไดแก

»Ò¡ ใชพูดคุยและกินอาหาร 1

à˧×Í¡ เปนที่ยึดเกาะของฟน

✓ แบบวัดฯ ใบงาน แบบฝกฯ สุขศึกษาฯ ป.1 กิจกรรมรวบยอดที่ 1.3 แบบประเมินตัวช�้วัด พ 1.1 ป.1/1

2

ÅÔ¹é ใชรับรสชาติอาหาร

และชวยในการออกเสียง

¿˜¹ ใชกัด บด เคี้ยวอาหาร

แบบประเมินผลการเรียนรูตามตัวชี้วัด ประจําหนวยที่ ๑ บทที่ ๒ กิจกรรมรวบยอดที่ ๑.๓

และชวยในการออกเสียง

แบบประเมินตัวชี้วัด พ ๑.๑ ป.๑/๑ 

๒ การดูแลรักษาอวัยวะในชองปาก

ดูภาพ แลวบอกชื่อ ลักษณะ และหนาที่ของอวัยวะในชองปากตามที่กําหนด

เราควรดูแลรักษาอวัยวะในชองปาก ดังนี้ ๑. แปรงฟนใหสะอาดอยางทั่วถึงและถูกวิธี ทุกซี่ ทุกดาน อยางนอยวันละ ๒ ครัง้ หรือหลังกินอาหาร และควรแปรงลิน้ ทุกครัง้ หลังแปรงฟนดวย 3 ๒. เราควรเลือกใชยาสีฟน ทีม่ สี ว นผสมของฟลูออไรด เพือ่ สราง ความแข็งแรงและปองกันฟนผุ ๓. กินอาหารทีม่ ปี ระโยชนตอ เหงือกและฟน เชน นม ฝรัง่ ชมพู มันแกว แครอต เปนตน ๔. หลังจากกินขนมหวานเหนียวแลว ตองแปรงฟนใหสะอาด ทุกครั้ง ๕. ไมใชฟนผิดวิธี เชน เปดฝาขวด ฉีกถุงขนม เปนตน ๖. ไปพบทันตแพทย (หมอฟน) เพื่อตรวจสุขภาพในชองปาก ๑๑ อยางนอยปละ ๒ ครั้ง กิจกรรมสรางเสริม ใหนักเรียนวาดภาพอวัยวะในชองปากของตนเอง พรอมทั้งชี้บอกชื่อ และหนาที่ของอวัยวะในชองปาก และระบายสีตามความเปนจริง จากนั้น ใหนักเรียนสํารวจสุขภาพในชองปากของตนเองวามีปญหาหรือไม หากนักเรียนพบปญหาสุขภาพในชองปากที่จุดใด ใหนักเรียนวงกลมจุดนั้น ไวดวยสีแดง

กิจกรรมทาทาย

อธิบายลักษณะและหนาที่ของอวัยวะภายนอก

ชุดที่ ๑ ๑๐ คะแนน ๑ ๒ ๓

ฉบับ

เฉลย

๔ ๕

ขอ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕

ชื่อ

ริมฝปาก เหงือก ………………………………………….. ฟนกราม ………………………………………….. ลิน้ ………………………………………….. ฟนหนา …………………………………………..

ลักษณะ

แผนหนา สีชมพู เนือ้ ลืน่ ๆ สีชมพู …………………………………………………………. มีสขี าว ใหญ …………………………………………………………. เปนแผน สีชมพู …………………………………………………………. เปนแทง สีขาว ………………………………………………………….

หนาที่

ใชพูดและออกเสียง เปนทีย่ ดึ เกาะของฟน ………………………………………………………….. ใชบดเคีย้ วอาหาร ………………………………………………………….. ใชรบั รสชาติของอาหาร ………………………………………………… ใชกดั อาหาร …………………………………………………………..

………………………………………….. …………………………………………………………. …………………………………………………………..

ตัวชี้วัด พ ๑.๑ ขอ ๑ ไดคะแนน คะแนนเต็ม

ñð

ตรวจสอบผล

Evaluate

1. ครูตรวจสอบความถูกตองของการวาดภาพ และบอกหนาที่ของอวัยวะในชองปาก 2. ครูตรวจสอบความถูกตองของการทํากิจกรรม รวบยอดที่ 1.3 จากแบบวัดฯ สุขศึกษาฯ ป.1

นักเรียนควรรู 1 เหงือก เหงือกที่มีสุขภาพดีจะมีลักษณะแนน มีสีชมพูออนหรือสีในโทนเดียว กับสีของเยื่อบุในปาก เชน ผูที่มีผิวคลํ้า เหงือกก็จะมีสีออกคลํ้า 2 ลิ้น การที่ลิ้นสามารถรับรูรสชาติของอาหารได เพราะมีอวัยวะในการรับรูรส เรียกวา ตุมรับรส ซึ่งตุมรับรสสวนใหญพบที่ดานหนา ดานขาง และที่โคนของลิ้น 3 ฟลูออไรด เปนสารชวยปองกันหรือลดการผุของฟน แตการใชฟลูออไรดควร ใชในปริมาณที่เหมาะสม เพราะถาไดรับฟลูออไรดมากเกินไปอาจจะเปนอันตราย ตอรางกายได โดยทําใหฟนตกกระ และมีสีขาวเปนจุดๆ

หากนักเรียนพบปญหาสุขภาพในชองปากที่จุดใด ใหนักเรียนจดบันทึก จากนั้นบอกสาเหตุวา ปญหานั้นเกิดจากอะไร และเขียนวิธีแกไข คูมือครู

11


กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Engage

Explore

Explain

Expand

Evaluate

กระตุEngage นความสนใจ

กระตุน ความสนใจ

Exploreนหา สํารวจค

Engage

ครูสอนนักเรียนรองเพลง “แปรงฟน” พรอมกับ ทําทาประกอบ

สํารวจคนหา

๓ วิธีแปรงฟนใหสะอาด

วิธีแปรงฟนใหสะอาด ควรปฏิบัติ ดังนี้

Explore

1. ครูถามวา นักเรียนเคยแปรงฟนแบบในเพลง หรือไม อยางไร จากนั้นครูสุมใหนักเรียน ออกมาแสดงวิธีแปรงฟนที่เคยปฏิบัติ 2. ครูสอบถามถึงวิธีการดูแลรักษาอวัยวะใน ชองปากของนักเรียน โดยใหนักเรียนผลัดกัน ออกมาเลาที่หนาชั้น จากนั้นใหอานวิธีดูแล รักษาอวัยวะในชองปากจากหนังสือ หนา 11

อธิบายความรู

วิธีแปรงฟนบน

๑. วางแปรงหงายขึ้น วางขนแปรง ที่รอยตอระหวางเหงือกและฟน ๒. เอียงแปรงเล็กนอย ขยับแปรง ไปมา สั้นๆ เบาๆ จากนั้นปด ขนแปรงลงดานลางผานตลอด ทั้งตัวฟน ทําเชนนี้ ๔-๕ ครั้ง ๓. ขยับแปรงไปยังฟนซี่ตอไปเพื่อ เริ่มแปรงฟนตอไปจนครบทุกซี่

Explain

ใหนักเรียนรวมกันแสดงความคิดเห็นวา • เพราะเหตุใดเราจึงตองดูแลรักษาอวัยวะใน ชองปาก (แนวตอบ เพื่อใหปากและฟนสะอาดและ แข็งแรง และสามารถพูดและกินอาหาร ไดตามปกติ)

วิธีแปรงฟนลาง

๑. วางขนแปรงควํ่าลง วางขนแปรง ที่รอยตอระหวางเหงือกและฟน ๒. เอียงแปรงเล็กนอย ขยับแปรง ไปมา สั้นๆ เบาๆ จากนั้นปด ขนแปรงขึ้นดานบนผานตลอด ทั้งตัวฟน ทําเชนนี้ ๔-๕ ครั้ง ๓. ขยับแปรงไปยังฟนซี่ตอไปเพื่อ เริ่มแปรงฟนตอไปจนครบทุกซี่ ๑๒

เกร็ดแนะครู ครูสอนนักเรียนรองเพลงแปรงฟนตามทํานองที่ครูคิดขึ้น เพลงแปรงฟน ตื่นเชาลางหนาแปรงฟน แปรงทุกๆ วัน ฟนจะสวยดี แปรงขึ้น แปรงลงเขาซี วันละ 2 ที แปรงฟน แปรงฟน

มุม IT ครูและนักเรียนดูความรูเรื่องการดูแลรักษาฟนไดที่ http://www. anamai.ecgates.com แลวคลิกที่สื่อทันตสุขภาพ ซึ่งเปนเว็บไซตของ สํานักทันตสาธารณสุข กรมอนามัย

12

คูมือครู

ขอสอบเนนการคิด

ขอใดเปนวิธีดูแลรักษาฟนที่เหมาะสมมากที่สุด ก. กินฝรั่งทุกวัน ข. เคี้ยวหมากฝรั่งหลังกินอาหาร ค. ไมกินอาหารที่มีรสหวานทุกชนิด ง. แปรงฟนหลังตื่นนอนและกอนเขานอน วิเคราะหคําตอบ การดูแลรักษาฟนที่เหมาะสมมากที่สุด คือ การ แปรงฟน เพราะชวยกําจัดเศษอาหารที่ติดอยูตามซอกฟนใหหมดไป ดังนั้น ขอ ง. เปนคําตอบที่ถูก


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

อธิบายความรู

1. ครูตั้งประเด็นคําถามวา • เพราะเหตุใดจึงควรแปรงฟนหลังกิน ขนมหวาน (ตอบ เพราะขนมหวานมีนํ้าตาลมาก ซึ่งนํ้าตาลที่กินเขาไปจะจับคลุมตัวฟน และทําปฏิกิริยากับแบคทีเรียในปากเกิด เปนกรดขึ้นในนํ้าลาย แลวทําลายฟนให เปนรู ดังนั้นจึงควรแปรงฟนหลังกินเสร็จ เพื่อชวยกําจัดคราบนํ้าตาลที่ติดตามตัวฟน) • การใชฟนผิดวิธี มีโทษอยางไร (ตอบ อาจทําใหฟนหัก หรือบิ่น แลวสงผลให กินหรือเคี้ยวอาหารไดลําบากมากขึ้น) 2. ใหนักเรียนรวมกันอภิปรายความสําคัญของ การแปรงฟนที่ถูกวิธี 3. ใหนักเรียนสืบคนขอมูลวา เพราะเหตุใดคนเรา จึงตองแปรงลิ้น จากนั้นใหนักเรียนนําขอมูล ออกมารายงานที่หนาชั้น 4. ใหนักเรียนสืบคนขอมูลในการเลือกอุปกรณ แปรงฟนที่เหมาะสม จากนั้นใหนักเรียนนํา ขอมูลออกมารายงานที่หนาชั้น 5. ใหนักเรียนคนหนึ่งออกมาสาธิตวิธีแปรงฟน ที่ถูกวิธีกับหุนฟนจําลองทีละขั้นตอน โดยครู คอยใหคําแนะนําที่ถูกตองกับนักเรียน 6. ใหนักเรียนฝกปฏิบัติการแปรงฟนกับคูของ ตนเอง 7. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปวิธีแปรงฟนที่ถูกวิธี

วิธีแปรงฟนดานบดเคี้ยว

๑. วางขนแปรงดานบนของตัวฟน ๒. ถูแปรงไปมา ๔-๕ ครั้ง จนครบ ฟนดานบดเคี้ยวทุกซี่ วิธีแปรงลิ้น

วางแปรงสีฟน ทีบ่ ริเวณกลางลิน้ จากนัน้ ปดขนแปรงออกเบาๆ ลากมา ตามความยาวของลิ้นเพียง ๑-๒ ครั้ง

การดูแลอวัยวะในชองปากอยางถูกวิธีและสมํ่าเสมอ จะทําใหเรา มีสุขภาพปากและฟนที่แข็งแรง และมีบุคลิกภาพที่ดี

¡Ô ¨¡ÃÃÁ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè ò

Explain

(ผลการปฏิบัติกิจกรรมขึ้นอยูกับดุลยพินิจของครูผูสอน)

๑ สองกระจกดูอวัยวะในชองปากของตนเอง แลววาดภาพตามทีน่ กั เรียนเห็น และชีบ้ อกชือ่ อวัยวะนัน้ ๒ จับคูกับเพื่อน แลวดูครูสาธิตการแปรงฟนที่ถูกวิธี จากนั้นฝกการแปรงฟน ที่ถูกวิธี โดยใหคูของตนตรวจสอบความถูกตอง ๑๓

ขอสอบเนนการคิด

หลังจากกินขนมหวาน หากนักเรียนไมสามารถแปรงฟนได นักเรียนควร ปฏิบัติอยางไร เพื่อไมใหฟนผุ ก. ใชไหมขัดฟนขัดฟนแรงๆ ข. รีบแปรงฟนทันทีหลังกลับถึงบาน ค. บวนปากดวยนํ้าสะอาดซํ้าหลายๆ ครั้ง ง. บวนปากดวยนํา้ ยาบวนปากทีม่ คี วามเขมขนสูง วิเคราะหคําตอบ ก. การใชไหมขัดฟนแรงๆ อาจทําใหเกิดบาดแผลที่เหงือกได ข. หลังจากเวลาที่กินขนมหวานจนถึงเวลากลับบาน อาจใชเวลานาน ซึ่งจะทําใหเกิดการหมักหมมของแบคทีเรียในชองปากได ค. การบวนปากดวยนํ้าสะอาดหลายๆ ครั้ง ชวยใหแบคทีเรีย ในชองปากลดลง ง. การบวนปากดวยนํ้ายาบวนปากที่มีความเขมขนสูง อาจทําใหเกิด การระคายเคืองกับเหงือก ดังนั้น ขอ ค. เปนคําตอบที่ถูก

เกร็ดแนะครู ครูใหนักเรียนไปแปรงฟนจริง หลังจากที่นักเรียนแปรงฟนเสร็จแลว ครูแจกเม็ด สียอมฟนใหเคี้ยว เพื่อตรวจประสิทธิภาพในการแปรงฟน ซึ่งถาฟนบริเวณใด มีสียอมฟนตกคางอยู แสดงวาบริเวณนั้นอาจเปนจุดที่แปรงฟนไดไมทั่วถึง แลวให นักเรียนแปรงฟนซํ้าบริเวณนั้นอีกครั้ง หรืออาจใชเสนใยขัดฟนจนสะอาดทั่วทั้งปาก

มุม IT ครูสืบคนขอมูลเพิ่มเติมเรื่องการแปรงฟนสําหรับเด็กที่ถูกวิธีไดจากเว็บไซต http://www.youtube.com/watch?v=1gx1_Zs-U6g

คูมือครู

13


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ

ขยายความเขาใจ Expand าใจ ขยายความเข

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Expand

1. ใหนักเรียนอานขอความในกิจกรรมฯ ขอ 4 หนา 14 แลวบอกวิธีดูแลรักษาฟน 2. ใหนักเรียนบันทึกวิธีการดูแลรักษาฟนของ ตนเองเปนเวลา 1 สัปดาห แลวนําสงครู เพื่อใหครูตรวจสอบความถูกตอง 3. ใหนักเรียนรวมกันจัดทําโปสเตอรการดูแล รักษาอวัยวะในชองปาก แลวออกมานําเสนอ ผลงานที่หนาชั้น 4. ใหนักเรียนทํากิจกรรมรวบยอดที่ 1.4 จาก แบบวัดฯ สุขศึกษาฯ ป.1

๓ อานขอความทีก่ าํ หนดให แลวบอกวิธปี ฏิบตั ทิ ถี่ กู ตอง ๑) การแปรงฟนหนา ๒) การแปรงฟนลาง ๓) การแปรงลิน้ ๔ ดูภาพแลวรวมกันแสดงความคิดเห็นวา แตละภาพมีผลอยางไรตอสุขภาพฟน ๑) ๒)

✓ แบบวัดฯ ใบงาน แบบฝกฯ สุขศึกษาฯ ป.1 กิจกรรมรวบยอดที่ 1.4 แบบประเมินตัวช�้วัด พ 1.1 ป.1/2

กินลูกอมและดืม่ นํา้ อัดลมแลวไมแปรงฟน กิจกรรมรวบยอดที่ ๑.๔

๓)

แบบประเมินตัวชี้วัด พ ๑.๑ ป.๑/๒ 

แปรงฟนอยางถูกวิธี

อธิบายวิธีดูแลรักษาอวัยวะภายนอก

ชุดที่ ๑ ๑๐ คะแนน เขียนวิธีดูแลรักษาอวัยวะในชองปากตามสถานการณที่กําหนด

๑) หลังจากตื่นนอน นักเรียนมีวิธีดูแลรักษาอวัยวะในชองปากอยางไร

แปรงฟนใหสะอาดทั่วทั้งปาก แลวแปรงลิ้นเบาๆ

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

๒) คุณปาใหช็อกโกแลตนักเรียนมารับประทาน นักเรียนมีวิธีดูแลรักษา อวัยวะในชองปากหลังรับประทานช็อกโกแลตอยางไร ………………………………………………..

บวนปากหรือแปรงฟนหลังกินช็อกโกแลตหมดแลว

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

๓) ทันตแพทยเตือนใหนักเรียนรับประทานอาหารที่มีประโยชนตอฟน เฉลย นักเรียนควรทําอยางไร ……………………………………………………………………………………………………………………………. ดื่มนมและกินผักผลไมที่มีประโยชนตอฟน ๔) หลังรับประทานอาหารกลางวัน นักเรียนมีวิธีดูแลรักษาอวัยวะในชองปาก บวนปากดวยนํ้าสะอาดและแปรงฟนใหสะอาด อยางไร ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๕) คุณแมบอกใหนกั เรียนไปแปรงฟนกอนเขานอน นักเรียนมีวธิ แี ปรงฟนอยางไร ฉบับ

๑. แปรงฟนบนโดยปดขนแปรงลง ๓. แปรงฟนกรามโดยถูแปรงไปมา

กินอาหารที่มีประโยชนตอฟน

๔)

๒. แปรงฟนลางโดยปดขนแปรงขึ้น ๔. แปรงลิ้นเบาๆ

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

¢ÂÒ¤ÇÒÁÃÙŒ ÊÙ‹¡ÒäԴ

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ตัวชี้วัด พ ๑.๑ ขอ ๒ ไดคะแนน คะแนนเต็ม

ñð

เกณฑประเมินชิ้นงาน

การตอบคําถาม (๕ ขอ ขอละ ๒ คะแนน) • ตอบไดถูกตอง ครบถวน และตรงประเด็น • ตอบไดถูกตอง แตไมครบถวน และไมตรงประเด็น

๒ คะแนน ๑ คะแนน

๑๐

ใชฟนเปดฝาขวด

๑๔ เฉลย กิจกรรมการเรียนรู 3. แนวตอบ 1) ถาแปรงฟนหนาดานบนใหปดขนแปรงลงดานลาง แตถาแปรงฟนหนา ดานลางใหปดขนแปรงขึ้นดานบน 2) ปดขนแปรงขึ้นดานบน 3) ปดขนแปรงที่บริเวณลิ้นเบาๆ 4. แนวตอบ 1) ทําใหฟนผุ 2) ทําใหฟนสะอาด 3) ทําใหฟนแข็งแรง 4) ทําใหฟนบิ่นหรือหัก แนวตอบ ขยายความรูสูการคิด 1. แนวตอบ ปฏิบัติตามที่คุณหมอแนะนํา 2. แนวตอบ ทําใหเคี้ยวอาหารไมไดและพูดไมชัด

14

คูมือครู

๑. ถาหมอฟนแนะนําใหนักเรียน กินอาหารที่มีประโยชนตอฟน นักเรียนควรทําอยางไร ๒. ถานักเรียนมีฟนหลอหลายซี่ จะเกิดผลอยางไรตอการเคี้ยว อาหาร

กิจกรรมสรางเสริม ใหนักเรียนบอกสาเหตุของปญหาสุขภาพในชองปาก วิธีการปองกัน หรือการดูแลรักษาสุขภาพในชองปากของนักเรียน โดยวางแผนการดูแล สุขภาพในชองปากเปนเวลา 3 วัน แลวนํามาเลาในชั้นเรียน

กิจกรรมทาทาย ใหนักเรียนบอกสาเหตุของปญหาสุขภาพในชองปาก วิธีการปองกันหรือ การดูแลรักษาสุขภาพในชองปากของนักเรียน โดยวางแผนการดูแลสุขภาพ ในชองปากเปนเวลา 3 วัน เขียนบรรยายแลวนํามาเลาในชั้นเรียน


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

Engage

Explore

Explain

Expand

ตรวจสอบผล Evaluate ตรวจสอบผล Evaluate

ตรวจสอบผล

สระผมสัปดาหละ ๒ ครั้ง

ดู

ไมใชสายตามาก

ฟง

ไมใชของแข็งแคะหู

ดม หายใจ

ไมสั่งนํ้ามูกแรงๆ

รับนํ้าหนักของศีรษะ

ไมวางของหนักบนศีรษะ

จับสิ่งของ

ลางมือใหสะอาด

เคลื่อนที่

สวมรองเทากอนออกนอกบาน

ปกคลุมรางกาย

อาบนํ้าวันละ ๒ ครั้ง

รางกายของเรา

µÑÇàÃÒ

    

ริมฝปาก เหงือก ฟนตัด ฟนเขี้ยว ฟนกราม

างก ตัวอย ่

ฟนของเรา

อวัยวะในชอ งปาก     

1. 2. 3. 4.

ูแล

หลักฐานแสดงผลการเรียนรู

ารด

อวัยว

1. ครูตรวจสอบความถูกตองของการดูแลรักษา อวัยวะในชองปาก 2. ครูตรวจสอบบันทึกการดูแลรักษาอวัยวะใน ชองปากวาทําไดถูกตองเหมาะสมหรือไม 3. ครูตรวจสอบความถูกตองของโปสเตอรแสดง วิธีดูแลรักษาอวัยวะในชองปาก 4. ครูตรวจสอบความถูกตองของการทํากิจกรรม รวบยอดที่ 1.4 จากแบบวัดฯ สุขศึกษาฯ ป.1

ที่

ปกคลุมศีรษะ

ห น า

ÊÒÃÐÊ íÒ¤ÑÞ ¨´¨ÓäÇŒ

การดูแล

แปรงฟน กินอาหารที่มีประโยชน ไมกินลูกอม ไมใชฟนผิดวิธี ตรวจฟนเปนประจํา

วิธีแป

   

Evaluate

ภาพวาดอวัยวะในชองปาก แบบบันทึกการดูแลอวัยวะในชองปาก โปสเตอรวิธีดูแลอวัยวะในชองปาก กิจกรรมรวบยอดที่ 1.3 และ 1.4 จากแบบวัดฯ สุขศึกษาฯ ป.1

รงฟ

น

แปรงฟนบนปดขนแปรงลง แปรงฟนลางปดขนแปรงขึ้น แปรงฟนกรามถูไปมา แปรงลิ้นปดขนแปรงเบาๆ

µÃǨÊͺµ¹àͧ นักเรียนลองสังเกตตนเองดูวา ปฏิบัติตามสิ�งตางๆ เหลาน�้ไดหรือไม ❏ บอกลักษณะของอวัยวะภายนอกได ❏ อธิบายหนาที่ของอวัยวะภายนอกได ❏ ดูแลรักษาอวัยวะภายนอกไดอยางถูกวิธี

๑๕

ขอสอบเนนการคิด

เพราะเหตุใดจึงควรใชยาสีฟนที่มีสวนผสมของฟลูออไรด ก. เพื่อชวยปองกันฟนผุ ข. เพื่อทําใหปากมีกลิ่นหอม ค. เพื่อทําใหเหงือกแข็งแรง ง. เพื่อชวยใหฟนเรียงกันเปนระเบียบ

วิเคราะหคําตอบ ฟลูออไรดเปนสารที่ชวยปองกันฟนผุ ดังนั้น การใช ยาสีฟน ทีผ่ สมฟลูออไรดจงึ ชวยปองกันฟนผุ ดังนัน้ ขอ ก. เปนคําตอบทีถ่ กู

เกร็ดแนะครู นักเรียนและครูรวมกันสรุปสิ่งที่ไดเรียนรูในหนวยนี้ โดยใหนักเรียนดูแผนผัง ความคิดสาระสําคัญ จดจําไว หนา 15 ประกอบการสรุปเนื้อหา ครูใหนักเรียนตรวจสอบตนเองหลังจบหนวยนี้ เพื่อตรวจสอบความรูความเขาใจ ของนักเรียน

คูมือครู

15


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.