8858649120687

Page 1

คูมือครู 㪌»ÃСͺ¡ÒÃÊ͹ËÇÁ¡Ñº

˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ©ºÑº »ÃСѹÏ

».

หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน

ทัศนศิลป ชั้นประถมศึกษาปที่ ๑

กลุมสาระการเรียนรูศิลปะ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ องอาจ มากสิน ภาพปกนี้มีขนาดเทากับหนังสือเรียนฉบับจริงของนักเรียน

กระบวนการสอนแบบ 5 Es ชวยสรางทักษะการเรียนรู กิจกรรมมุงพัฒนาทักษะการคิด คำถาม + แนวขอสอบเพื่อยกผลสัมฤทธิ์ O-NET กิจกรรมบูรณาการเตรียมพรอมสู ASEAN 2558


เอกสารประกอบคูมือครู

กลุมสาระการเรียนรู ศิลปะ

ทัศนศิลป ชั้นประถมศึกษาปที่

1

สําหรับครู

คูมือครู Version ใหม

ลักษณะเดน

ขยายพื้นที่รูปเลมใหญขึ้นกวาเดิม จัดแบงพื้นที่ออกเปนโซน เพื่อคนหาขอมูลไดงาย สะดวก รวดเร็ว และดูเปนระเบียบ กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

เปาหมายการเรียนรู สมรรถนะของผูเรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค

หน า

โซน 1 กระตุน ความสนใจ

Engage

สํารวจคนหา

Explore

อธิบายความรู

Explain

ขยายความเขาใจ

Expand

ตรวจสอบผล

หน า

หนั ง สื อ เรี ย น

โซน 1

หนั ง สื อ เรี ย น

Evaluate

ขอสอบเนน การคิด ขอสอบเนน การคิด แนว NT แนว O-NET

O-NET บูรณาการเชื่อมสาระ

เกร็ดแนะครู

ขอสอบ

โซน 2

โซน 3

กิจกรรมสรางเสริม กิจกรรมทาทาย

นักเรียนควรรู

โซน 3

โซน 2 บูรณาการอาเซียน มุม IT

No.

คูมือครู

คูมือครู

No.

โซน 1 ขั้นตอนการสอนแบบ 5Es

โซน 2 ชวยครูเตรียมสอน

โซน 3 ชวยครูเตรียมนักเรียน

เพื่อใหครูเตรียมจัดกิจกรรมการเรียน การสอน โดยแนะนําขั้นตอนการสอนและ การจัดกิจกรรมแบบ 5Es อยางละเอียด เพื่อใหนักเรียนบรรลุตามตัวชี้วัด

เพื่อชวยลดภาระครูผูสอน โดยแนะนํา เกร็ดความรูสําหรับครู ความรูเสริมสําหรับ นักเรียน รวมทั้งบูรณาการความรูสูอาเซียน และมุม IT

เพือ่ ใหครูสะดวกตอการจัดกิจกรรม โดยแนะนํา กิจกรรมบูรณาการเชื่อมระหวางกลุมสาระ วิชา กิจกรรมสรางเสริม กิจกรรมทาทาย รวมถึงเนือ้ หา ที่เคยออกขอสอบ O-NET เก็งขอสอบ O-NET และแนวขอสอบเนนการคิด พรอมคําอธิบาย และเฉลยอยางละเอียด


ที่ใชในคูมือครู

แถบสีและสัญลักษณ

แถบสีแสดงขั้นตอนการสอนและการจัดกิจกรรม แบบ 5Es เพื่อใหครูทราบวาเปนขั้นการสอนขั้นใด

1. แถบสี 5Es สีแดง

สีเขียว

กระตุน ความสนใจ

เสร�ม

สํารวจคนหา

Engage

2

เปนขั้นที่ผูสอนเลือกใช เทคนิคกระตุน ความสนใจ เพื่อโยง เขาสูบทเรียน

สีสม

อธิบายความรู

Explore

เปนขั้นที่ผูสอน ใหผูเรียนสํารวจ ปญหา และศึกษา ขอมูล

สีฟา

Explain

เปนขั้นที่ผูสอน ใหผูเรียนคนหา คําตอบ จนเกิดความรู เชิงประจักษ

สีมวง

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

เปนขั้นที่ผูสอน ใหผูเรียนนําความรู ไปคิดคนตอๆ ไป

เปนขั้นที่ผูสอน ประเมินมโนทัศน ของผูเรียน

2. สัญลักษณ สัญลักษณ

วัตถุประสงค

• เปาหมายการเรียนรู

O-NET

(เฉพาะวิชา ชัน้ ทีส่ อบ O-NET O-NET)

• ชีแ้ นะเนือ้ หาทีเ่ คยออกขอสอบ

O-NET โดยยกตัวอยางขอสอบ พรอมวิเคราะหคาํ ตอบ อยางละเอียด

• เปนตัวอยางขอสอบทีม่ งุ เนน

การคิดใหครูนาํ ไปใชไดจริง รวมถึงเปนการเก็งขอสอบ O-NET ทีจ่ ะออก มีทงั้ ปรนัย - อัตนัย พรอมเฉลยอยางละเอียด

แสดงรองรอยหลักฐานตามภาระงาน ที่ครูมอบหมาย เพื่อแสดงผลการเรียนรู ตามตัวชี้วัด

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

แทรกความรูเสริมสําหรับครู ขอเสนอแนะ ขอควรระวัง ขอสังเกต แนวทางการจัด กิจกรรมและอืน่ ๆ เพื่อประโยชนในการ จัดการเรียนการสอน

ขอสอบเนน การคิด แนว NT

ขยายความรูเพิ่มเติมจากเนื้อหา เพื่อใหครู นําไปใชอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียน ไดมีความรูมากขึ้น

บูรณาการเชื่อมสาระ

• แนะนําแนวทางการจัดกิจกรรม

ความรูห รือกิจกรรมเสริม ใหครูนาํ ไปใช เตรียมความพรอมใหกบั นักเรียนกอนเขาสู ประชาคมอาเซียน 2558 โดยบูรณาการ กับวิชาทีก่ าํ ลังเรียน

กิจกรรมสรางเสริม

• แนะนําแนวทางการจัดกิจกรรม

เกร็ดแนะครู

นักเรียนควรรู

บูรณาการอาเซียน

คูม อื ครู

ขอสอบ

วัตถุประสงค

• หลักฐานแสดงผล การเรียนรู

มุม IT

แสดงเปาหมายการเรียนรูที่นักเรียน ตองบรรลุตามตัวชี้วัด ตลอดจนสมรรถนะ ที่จะตองมี และคุณลักษณะที่พึงเกิดขึ้น กับนักเรียน

สัญลักษณ

แนะนําแหลงคนควาจากเว็บไซต เพื่อใหครู และนักเรียนไดเขาถึงขอมูลความรู ที่หลากหลาย ทั้งไทยและตางประเทศ

• แนวขอสอบ NT ในระดับ

ประถมศึกษา มีทงั้ ปรนัย - อัตนัย พรอมเฉลยอยางละเอียด

(เฉพาะวิชา ชัน้ ทีส่ อบ NT)

กิจกรรมทาทาย

เชือ่ มกับกลุม สาระ ชัน้ หรือวิชาอืน่ ทีเ่ กีย่ วของ

ซอมเสริมสําหรับนักเรียน ทีย่ งั ไมเขาใจเนือ้ หา

• แนะนําแนวทางการจัดกิจกรรม ตอยอดสําหรับนักเรียนทีเ่ รียนรู เนือ้ หาไดอยางรวดเร็ว และ ตองการทาทายความสามารถ ในระดับทีส่ งู ขึน้


คําแนะนําการใชคูมือครู การออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอน คูม อื ครู รายวิชา ทัศนศิลป ป.1 จัดทําขึน้ เพือ่ ใหครูผสู อนนําไปใชเปนแนวทางวางแผนการสอนเพือ่ พัฒนาผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน และประกันคุณภาพผูเรียน ตามนโยบายของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) โดยใช หนังสือเรียน ทัศนศิลป ป.1 ของบริษัท อักษรเจริญทัศน อจท. จํากัด เปนสื่อหลัก (Core Material) ประกอบการสอน และการจัดกิจกรรมการเรียนรูใหสอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดกลุมสาระการเรียนรู ศิลปะ ตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 โดยออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนตามหลักการสําคัญ ดังนี้

เสร�ม

3

1 ออกแบบการสอนเปนหนวยการเรียนรูอิงมาตรฐาน คูมือครู รายวิชา ทัศนศิลป ป.1 วางแผนการสอนโดยแบงเปนหนวยการเรียนรูตามลําดับสาระ (Standard) และ หมายเลขขอของมาตรฐานการเรียนรูแ ละตัวชีว้ ดั แตละหนวยจะกําหนดเปาหมายการสอนและจุดประสงคการเรียนรู (Objective Learning) กิจกรรมการเรียนรู (Learning Activities) และแนวทางการประเมินผลการเรียนรู (Learning Evaluation) ไวชัดเจน ครูผูสอนสามารถจัดทําแผนการสอนใหครอบคลุมมาตรฐานการเรียนรู ตัวชี้วัด สมรรถนะ และคุณลักษณะ อันพึงประสงคที่เปนเปาหมายการเรียนรูตามที่กําหนดไวในสาระแ นสาระแกนกลาง (ตามแผนภูมิ) และสามารถบันทึกผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนของผูเรียนแตละคนลงในเอกสาร ปพ.5 ไดอยางมั่นใจ แผนภูมิแสดงองคประกอบของการออกแบบการเรียนรูอิงมาตรฐานและเนนผผูเรียนเปนสําคัญ

พผ

ูเ

จุดปร

ะสง

ค ก

ส ภา

รียน

รู ีเรยน

มาตรฐานการเรียนรู ตัวชี้วัดชั้นป

ทักษะการคิด การวัดประเมินผล การเรียนรู

กิจกรรมการเรียนรู

เทคนิคการสอน

คูม อื ครู


2 การจัดการเรียนรูที่ยึดผูเรียนเปนสําคัญ แนวคิ ด ในการจั ด การเรี ย นการสอนที่ ยึ ด ผู  เ รี ย นเป น สํ า คั ญ พั ฒ นามาจากปรั ช ญาและทฤษฎี ก ารเรี ย นรู  Constructivism ที่เชื่อวาการเรียนรูเปนกระบวนการที่เกิดขึ้นภายในสมองของผูเรียนแตละคน ผูเรียนเปนผูสรางความรู โดยการเชื่อมโยงระหวางสิ่งที่ไดเรียนรูจากบทเรียนใหมกับความรูหรือประสบการณเดิมที่มีอยู ทฤษฎีนี้มีความเชื่อวา ผูเรียนทุกคนไดเรียนรูและมีการสั่งสมความรูความเขาใจเกี่ยวกับสิ่งตางๆ ติดตัวมากอน ทีจ่ ะเขาสูห อ งเรียน ซึง่ เปนการเรียนรูท เี่ กิดจากประสบการณและสิง่ แวดลอมรอบตัวผูเ รียนแตละคน ดังนัน้ การจัดกิจกรรม เสร�ม การเรียนการสอนในแตละหนวยการเรียนรู ผูสอนจะตองคํานึงถึง

4

1. ความรูเดิมของผูเรียน วิธีการสอนที่ดีจะตองเริ่มตนจากจุดที่วา ผูเ รียนมีความรูอ ะไรมาบาง แลวจึงใหความรู หรือประสบการณใหม เพื่อตอยอดจาก ความรูเดิม นําไปสูการสรางความรู ความเขาใจใหม

2. ความรูเดิมของผูเรียนถูกตองหรือไม ผูส อนตองปรับเปลีย่ นความรูค วามเขาใจเดิม ของผูเรียนใหถูกตอง และเปนพฤติกรรม การเรียนรูใ หมทมี่ คี ณุ คาตอผูเรียน เพื่อสราง เจตคติหรือทัศนคติที่ดีตอการเรียนรู สิ่งเหลานั้น

3. ผูเรียนสรางความหมายสําหรับตนเอง ผูสอนตองสงเสริมใหผูเรียนนําความรู ความเขาใจที่เกิดขึ้นไปลงมือปฏิบัติ เพื่อขยายความรูใหลึกซึ้งและมีคุณคา ตอตัวผูเรียนมากที่สุด

แนวคิด Constructivism เนนใหผูเรียนสรางความรูโดยผานกระบวนการคิดและความอยากรูของตนเอง โดยมีผูสอนเปนผูสรางบรรยากาศ

การเรียนรูและกระตุนความสนใจ คอยจัดสถานการณใหผูเรียนเกิดความขัดแยงทางความคิดระหวางประสบการณเดิมกับประสบการณ ความรูใ หม เพือ่ กระตนุ ใหผเู รียนเชือ่ มโยงความรู ความคิด กับประสบการณทมี่ อี ยูเ ดิม แลวสังเคราะหเปนความรูห รือแนวคิดใหมๆ ไดดว ยตนเอง

3 การบูรณาการกระบวนการคิด การเรียนรูของผูเรียนแตละคนจะเกิดขึ้นที่สมอง ซึ่งเปนอวัยวะที่ทําหนาที่รูคิดภายใตสภาพแวดลอมที่เอื้ออํานวย และไดรบั การกระตนุ จูงใจอยางเหมาะสม สอดคลองกับสภาพจิตใจและความตองการของผูเ รียนแตละคน การจัดกิจกรรม การเรียนรูและสาระการเรียนรูที่สอดคลองกับความสนใจและมีความหมายตอผูเรียน จะชวยกระตุนใหสมองของผูเรียน สามารถรับรูและเรียนรูไดอยางมีประสิทธิภาพตามขั้นตอนการทํางงานของสมอง ดังนี้ 1. สมองจะเรียนรูและสืบคน โดยการสังเกต คนหา ซักถาม และทดลอง ปฏิบัติ จนทําใหคนพบความรูความเขาใจ ไดอยางรวดเร็ว

2. สมองจะแยกแยะคุณคาของสิ่งตางๆ โดยการตัดสินใจวิพากษวิจารณ แสดง ความคิดเห็น ยอมรับหรือตอตานตาม อารมณความรูสึกที่เกิดขึ้นในขณะที่เรียนรู

3. สมองจะประมวลเนื้อหาสาระ โดยการสรุปเปนความคิดรวบยอดจาก เรื่องราวที่ไดเรียนรูใหมนําไปผสมผสานกับ ความรูห รือประสบการณเดิมทีถ่ กู จัดเก็บอยูใ น สมอง ผานการกลัน่ กรองเพือ่ สังเคราะหเปน ความรูค วามเขาใจใหมๆ หรือเปนทัศนคติใหม ที่จะเก็บบรรจุไวในสมองของผูเรียน

การเรียนรูที่มีประสิทธิภาพจึงตองเปนการเรียนรูที่เกิดจากกระบวนการคิดของผูเรียน เพราะการเรียนรูจะเกิดขึ้น เมื่อสมองรูคิด และตองเปนการคิดไดครบถวนตามขั้นตอนการทํางานของสมองผูเรียน โดยเริ่มตนจาก 1. ระดับการคิดพื้นฐาน ไดแก การสังเกต การจําแนก การคาดคะเน การสื่อความหมาย การรวบรวมขอมูล การสรุปผล เปนตน

คูม อื ครู

2. ระดับลักษณะการคิด ไดแก การคิดกวาง คิดลึกซึ้ง คิดไกล คิดหลากหลาย คิดคลอง คิดอยางมีเหตุผล เปนตน

3. ระดับกระบวนการคิด ไดแก กระบวนการคิดอยางมีวิจารณญาณ กระบวนการแกปญหา กระบวนการ คิดสรางสรรค กระบวนการคิดสังเคราะหวิจัย เปนตน


5Es การจัดกิจกรรมตามขั้นตอนวัฏจักรการเรียนรู 5Es ขั้นตอนการสอนที่สัมพันธกับขั้นตอนการคิดและการทํางานทางสมองของผูเรียนที่นิยมใชอยางแพรหลาย คือ วัฏจักรการเรียนรู 5Es ซึ่งผูจัดทําคูมือครูไดนํามาใชเปนแนวทางออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนในแตละหนวย ตามลําดับขั้นตอนการเรียนรู ดังนี้ ขั้นที่ 1

กระตุนความสนใจ

(Engage)

เสร�ม

5

เปนขัน้ ทีผ่ สู อนนําเขาสูบ ทเรียน เพือ่ กระตุน ความสนใจของผูเ รียนดวยเรือ่ งราวหรือเหตุการณทนี่ า สนใจโดยใชเทคนิควิธกี ารสอน และคําถามทบทวนความรูหรือประสบการณเดิมของผูเรียน เพื่อเชื่อมโยงผูเรียนเขาสูความรูของบทเรียนใหม ชวยใหผูเรียนสามารถ สรุปประเด็นสําคัญที่เปนหัวขอและสาระการเรียนรูของบทเรียนได จึงเปนขั้นตอนการสอนที่สําคัญ เพราะเปนการเตรียมความพรอม และสรางแรงจูงใจใฝเรียนรูแกผูเรียน

ขั้นที่ 2

สํารวจคนหา

(Explore)

เปนขัน้ ทีผ่ สู อนเปดโอกาสใหผเู รียนลงมือศึกษา สังเกต หรือรวมมือกันสํารวจ เพือ่ ใหเห็นขอบขายของปญหา รวมถึงวิธกี ารศึกษา คนควา การรวบรวมขอมูลความรูที่จะนําไปสูการสรางความเขาใจประเด็นปญหานั้นๆ เมื่อผูเรียนทําความเขาใจในประเด็นหัวขอที่จะ ศึกษาคนควาอยางถองแทแลว ก็ลงมือปฏิบัติเพื่อเก็บรวบรวมขอมูลความรู สํารวจตรวจสอบ โดยวิธีการตางๆ เชน สัมภาษณ ทดลอง อานคนควาขอมูลจากเอกสาร แหลงขอมูลตางๆ จนไดขอมูลความรูตามที่ตั้งประเด็นศึกษาไว

ขั้นที่ 3

อธิบายความรู

(Explain)

เปนขั้นที่ผูสอนมีปฏิสัมพันธกับผูเรียน เชน ใหการแนะนํา ตั้งคําถามกระตุนใหคิด เพื่อใหผูเรียนคนหาคําตอบ และนําขอมูล ความรูจากการศึกษาคนควาในขั้นที่ 2 มาวิเคราะห สรุปผล และนําเสนอผลที่ไดศึกษาคนความาในรูปแบบสารสนเทศตางๆ เชน เขียนแผนภูมิ แผนผังแสดงมโนทัศน เขียนความเรียง เขียนรายงาน เปนตน ในขั้นตอนนี้ฝกใหผูเรียนใชสมองคิดวิเคราะหและ สังเคราะหอยางเปนระบบ

ขั้นที่ 4

ขยายความเขาใจ

(Expand)

เปนขั้นที่ผูสอนเลือกใชเทคนิควิธีการสอนตางๆ ที่สงเสริมใหผูเรียนนําความรูที่เกิดขึ้นไปคิดคนสืบคนตอๆ ไป เพื่อพัฒนาทักษะ การเรียนรูและการทํางานรวมกันเปนกลุม ระดมสมองเพื่อคิดสรางสรรครวมกัน ผูเรียนสามารถนําความรูที่สรางขึ้นใหมไปเชื่อมโยง กับประสบการณเดิมโดยนําขอสรุปทีไ่ ดไปใชอธิบายเหตุการณตา งๆ หรือนําไปปฏิบตั ใิ นสถานการณใหมๆ ทีเ่ กีย่ วของกับชีวติ ประจําวัน ของตนเอง เพื่อขยายความรูความเขาใจใหกวางขวางยิ่งขึ้น ในขั้นตอนนี้ฝกสมองของผูเรียนใหสามารถคิดริเริ่มสรางสรรคอยางมี คุณภาพ เสริมสรางวิสัยทัศนใหกวางไกลออกไป

ขั้นที่ 5

ตรวจสอบผล

(Evaluate)

เปนขัน้ ทีผ่ สู อนประเมินมโนทัศนของผูเ รียน โดยตรวจสอบจากความคิดทีเ่ ปลีย่ นไปและความคิดรวบยอดทีเ่ กิดขึน้ ใหม ตรวจสอบ ทักษะ กระบวนการปฏิบัติ การแกปญหา การตอบคําถามรวบยอด และการเคารพความคิดหรือยอมรับเหตุผลของคนอื่น เพื่อการ สรางสรรคความรูร ว มกัน ผูเ รียนสามารถประเมินผลการเรียนรูข องตนเอง เพือ่ สรุปผลวามีความรูอ ะไรเพิม่ ขึน้ มาบาง เกิดความเขาใจ มากนอยเพียงใด และจะนําความรูเหลานั้นไปประยุกตใชในการเรียนรูเรื่องอื่นๆ ไดอยางไร ผูเรียนจะเกิดเจตคติและเห็นคุณคาของ ตนเองจากผลการเรียนรูที่เกิดขึ้น ซึ่งเปนการเรียนรูที่มีความสุขอยางแทจริง

การจัดกิจกรรมการเรียนรูตามขั้นตอนวัฏจักรการสรางความรูแบบ 5Es จึงเปนรูปแบบการเรียนการสอนที่เนน ผูเ รียนเปนสําคัญอยางแทจริง เพราะสงเสริมใหผเู รียนไดลงมือปฏิบตั ติ ามขัน้ ตอนของกระบวนการสรางความรูด ว ยตนเอง และฝกฝนใหใชกระบวนการคิดและกระบวนการกลุมอยางชํานาญ กอใหเกิดทักษะชีวิต ทักษะการทํางานและทักษะการ เรียนรูที่มีประสิทธิภาพ สงผลตอการยกระดับผลสัมฤทธิ์ของผูเรียน ตามเปาหมายของการปฏิรูปการศึกษาทศวรรษที่ 2 (พ.ศ. 2552-2561) ทุกประการ คูม อื ครู


O-NET การเพิ่มผลสัมฤทธิ์ O-NET

การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามขั้นตอนวัฏจักรการเรียนรู 5Es ในแตละหนวยการเรียนรู ทางผูจัดทํา จะเสนอแนะวิธีสอนรูปแบบกิจกรรมการเรียนรู พรอมทั้งออกแบบเครื่องมือวัดผลประเมินผลที่สอดคลองกับตัวชี้วัด และสาระการเรียนรูแกนกลางไวทุกขั้นตอน โดยยึดหลักสําคัญ คือ เปาหมายของการวัดผลประเมินผล เสร�ม

6

1. การวัดผลทุกครั้งตองนําผล การวัดมาปรับปรุงพัฒนาผูเรียน เปนรายบุคคล

2. การประเมินผลมีเปาหมาย เพื่อพัฒนาการเรียนรูของผูเรียน จนเต็มศักยภาพ

3. การนําผลการวัดและประเมิน ทุกครั้งมาวางแผนปรับปรุงกิจกรรม การเรียนการสอน การเลือกเทคนิค วิธีการสอน และสื่อการเรียนรูให เหมาะสมกับสภาพจริงของผูเรียน

การทดสอบผูเรียน 1. การใชขอสอบอัตนัย เนนการอาน การคิดวิเคราะห และเขียนสรุปเพิ่มมากขึ้น 2. การใชคําถามกระตุนการคิด ควบคูกับการทําขอสอบที่เนนการคิดตลอดตอเนื่องตามลําดับกิจกรรมการเรียนรูและ ตัวชี้วัด 3. การทดสอบตองดําเนินการทั้งกอนเรียน ระหวางเรียน และเมื่อสิ้นสุดการเรียน การทดสอบระหวางเรียน ต อ งใช ข  อ สอบทั้ ง ชนิ ด ปรนั ย และอั ต นั ย และเป น การทดสอบเพื่ อ วิ นิ จ ฉั ย ผลการเรี ย นของผู  เ รี ย นแต ล ะคน เพื่อวัดการสอนซอมเสริมใหบรรลุตัวชี้วัดทุกตัว 4. การสอบกลางภาค (ถามี) ควรนําขอสอบหรือแบบฝกหัดที่นักเรียนสวนใหญทําผิดบอยๆ มาสรางเปนแบบทดสอบ อีกครัง้ เพือ่ ตรวจสอบความรูค วามเขาใจทีถ่ กู ตอง และประเมินความกาวหนาของผูเรียนแตละคน 5. การสอบปลายภาคเรียนเพื่อวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามตัวชี้วัดที่สําคัญ ควรออกขอสอบใหมีลักษณะเดียวกับ ขอสอบ O-NET โดยเนนการคิดวิเคราะห สังเคราะห เชื่อมโยงประยุกตใช เพื่อสรางความคุนเคย และฝกฝน วิธีการทําขอสอบดวยความมั่นใจ 6. การนําผลการทดสอบของผูเรียนมาวิเคราะห โดยผลการสอบกอนการเรียนตองสามารถพยากรณผลการสอบ กลางภาค และผลการสอบกลางภาคตองทํานายผลการสอบปลายภาคของผูเ รียนแตละคน เพือ่ ประเมินพัฒนาการ ความกาวหนาของผูเรียนเปนรายบุคคล 7. ผลการทดสอบปลายป ปลายภาค ตองมีคาเฉลี่ยสอดคลองกับคาเฉลี่ยของการสอบ NT ที่เขตพื้นที่การศึกษา จัดสอบ รวมทั้งคาเฉลี่ยของการสอบ O-NET ชวงชั้นที่สอดคลองครอบคลุมมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดสําคัญ เพือ่ สะทอนประสิทธิภาพของครูผสู อนในการออกแบบการเรียนรูแ ละประกันคุณภาพผูเ รียนทีต่ รวจสอบผลไดชดั เจน การจัดการเรียนการสอนในแตละหนวยการเรียนรู ตองใหผูเรียนไดสั่งสมความรู สะสมความเขาใจไปทีละเล็ก ละนอยตามลําดับขัน้ ตอนของกิจกรรมการเรียนรู 5Es เพือ่ ใหผเู รียนไดเติมเต็มองคความรูอ ยางตอเนือ่ ง จนสามารถปฏิบตั ิ ชิ้นงานหรือภาระงานรวบยอดของแตละหนวยผานเกณฑประกันคุณภาพในระดับที่นาพึงพอใจ เพื่อรองรับการประเมิน ภายนอกจาก สมศ. ตลอดเวลา คูม อื ครู


ASEAN การเรียนรูสูประชาคมอาเซียน เพื่ออํานวยความสะดวกแกครูผูสอนในการจัดกิจกรรมการเรียนรูบูรณาการอาเซียนศึกษา ผูจัดทําไดวิเคราะห มาตรฐานการเรียนรู และตัวชี้วัดที่มีสาระการเรียนรูสอดคลองกับองคความรูเกี่ยวกับประชาคมอาเซียนในแงมุมตางๆ ครอบคลุมทัง้ ประชาคมการเมืองและความมัน่ คงอาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และประชาคมสังคมและวัฒนธรรม อาเซียน เพื่อสงเสริมการเรียนรูใหผูเรียนเกิดความตระหนัก มีความรูความเขาใจเหมาะสมกับระดับชั้นและกลุมสาระ การเรียนรู โดยเสนอแนะวิธีการจัดกิจกรรมบูรณาการเนื้อหาสาระตางๆ ที่เปนประโยชนตอผูเรียนและเปนการชวย เตรียมความพรอมผูเ รียนทุกคนทีจ่ ะกาวเขาสูก ารเปนสมาชิกของประชาคมอาเซียนไดอยางมัน่ ใจตามขอตกลงปฏิญญา เสร�ม ชะอํา-หัวหิน วาดวยความรวมมือดานการศึกษาเพือ่ บรรลุเปาหมายประชาคมอาเซียนทีเ่ อือ้ อาทรและแบงปน จึงกําหนด 7 เปนนโยบายใหกระทรวงศึกษาธิการจัดการเรียนรูเตรียมความพรอมผูเรียนเขาสูประชาคมอาเซียนภายในป พ.ศ. 2558 ตามแนวปฏิบัติที่สําคัญ ดังนี้

การจัดการเรียนรูส ู ประชาคมการเมืองและความมัน่ คงอาเซียน 1. การสรางความรูความเขาใจ และตระหนักถึงความสําคัญของ กฎบัตรอาเซียน และความรวมมือ ของ 3 เสาหลัก ซึง่ กฎบัตรอาเซียน ในขณะนี้มีสถานะเปนกฎหมายที่ ประเทศสมาชิกจะตองปฏิบัติตาม หลักการที่กําหนดไวเพื่อใหบรรลุ เปาหมายของกฎบัตรมาตราตางๆ

2. การสงเสริมหลักการ ประชาธิปไตยและการสราง สิ่งแวดลอมประชาธิปไตย เพื่อการอยูรวมกันอยางกลมกลืน ภายใตวิถีชีวิตอาเซียนที่มีความ หลากหลายดานสังคมและ วัฒนธรรม

4. การตระหนักในคุณคาของ สายสัมพันธทางประวัติศาสตร และมรดกทางวัฒนธรรมที่มี พัฒนาการรวมกัน เพื่อเชื่อม อัตลักษณและสรางจิตสํานึก ในการเปนประชากรของประชาคม อาเซียนรวมกัน

3. การสงเสริมการศึกษาดาน สิทธิมนุษยชน เพื่อสรางประชาคม อาเซียนใหเปนประชาคมเพื่อ ประชาชนอยางแทจริง สามารถ อยูรวมกันไดบนพื้นฐานการเคารพ ในคุณคาของศักดิ์ศรีแหงความ เปนมนุษยเทาเทียมกัน

5. การสงเสริมสันติภาพ ความ มั่นคง และความปรองดองในสังคม ทั้งระดับประเทศและภูมิภาคของ อาเซียนบนพื้นฐานสันติวิธีและการ อยูรวมกันดวยขันติธรรม

คูม อื ครู


การจัดการเรียนรูส ู ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

เสร�ม

8

1. การพัฒนาทักษะการทํางาน เพื่อเสริมสรางผูเรียนใหมีทักษะ วิชาชีพที่จําเปนสอดคลองกับ ความตองการของตลาดแรงงาน และสถานประกอบการในอาเซียน สามารถเทียบโอนผลการเรียน และการทํางานตามมาตรฐานฝมือ แรงงานในภูมิภาคอาเซียน

2. การเสริมสรางวินัย ความรับผิดชอบ และเจตคติรักการทํางาน สามารถพึ่งพาตนเอง มีทักษะชีวิต ดํารงชีวิตอยางมีความสุข เห็นคุณคา และภูมิใจในตนเอง ในฐานะที่เปนพลเมืองไทยและ อาเซียน

3. การเรียนรูเพื่อพัฒนาตนเอง อยางตอเนื่องตลอดชีวิต ใหมี ทักษะการทํางานตามมาตรฐาน อาชีพ และคุณวุฒิของวิชาชีพสาขา ตางๆ เพื่อรองรับการเตรียมเคลื่อน ยายแรงงานมีฝมือและการเปน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนที่ เขมแข็ง เพื่อสรางขีดความสามารถ ในการแขงขันในเวทีโลก

การจัดการเรียนรูส ู ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน 1. การเสริมสรางความรวมมือ ในลักษณะสังคมที่เอื้ออาทร ของประชากรอาเซียน โดยยึด หลักการสําคัญ คือ ความงดงาม ของประชาคมอาเซียนมาจาก ความแตกตางและหลากหลายทาง วัฒนธรรมที่ลวนแตมีคุณคาตอ มรดกทางวัฒนธรรมของอาเซียน ซึ่งประชาชนทุกคนตองอนุรักษ สืบสานใหยั่งยืน

2. การเสริมสรางคุณลักษณะ ของผูเรียนใหเปนพลเมืองอาเซียน ที่มีศักยภาพในการกาวเขาสู ประชาคมอาเซียนอยางมั่นใจ เปนผูที่มีสุขภาพสมบูรณแข็งแรง มีทักษะการสื่อสาร ทักษะการ ทํางาน ทักษะทางสังคม สามารถ ทํางานรวมกับผูอื่นไดอยาง สรางสรรค และมีองคความรู เกี่ยวกับอาเซียนที่จําเปนตอการ ดํารงชีวิตอยางมีคุณภาพ

4. การสงเสริมการเรียนรูดาน ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี วิถชี วี ติ ความเปนอยูข องเพือ่ นบาน ในอาเซียน เพื่อสรางจิตสํานึกของ ความเปนประชาคมอาเซียนและ ตระหนักถึงหนาที่ของการเปน พลเมืองอาเซียนรวมกัน

3. การสงเสริมการเรียนรูภาษา อังกฤษเพื่อการสื่อสารและการ ทํางานตามมาตรฐานอาชีพที่ กําหนดและสนับสนุนการเรียนรู ภาษาอาเซียนและภาษาเพื่อนบาน เพื่อชวยเสริมสรางสัมพันธภาพทาง สังคม และการอยูรวมกันอยางสันติ ทามกลางความหลากหลายทาง วัฒนธรรม

5. การสรางความรูและความ ตระหนักเกี่ยวกับดานสิ่งแวดลอม ปญหาและผลกระทบตอคุณภาพ ชีวิตของประชากรในภูมิภาค รวมทั้งแนวทางการพัฒนาอยาง ยั่งยืน ใหเปนมรดกสืบทอดแก พลเมืองอาเซียนในรุนหลังตอๆ ไป

กระทรวงศึกษาธิการจึงประกาศนโยบายการปฏิรูปการศึกษาทศวรรษที่ 2 (พ.ศ. 2552-2561) เพื่อเรงพัฒนาเด็ก และเยาวชนไทยใหเปนทรัพยากรมนุษยของชาติที่มีทักษะและความชํานาญ พรอมเผชิญกับความเปลี่ยนแปลงและ การแขงขันทั้งในภูมิภาคอาเซียนและภูมิภาคอื่นๆ ของสังคมโลก ทั้งนี้ผูบริหารสถานศึกษา ครูผูสอน และผูปกครอง ควรรวมมือกันอยางใกลชิดในการดูแลชวยเหลือผูเรียนและจัดประสบการณการเรียนรูเพื่อพัฒนาผูเรียนจนเต็มศักยภาพ เพื่อกาวเขาสูการเปนพลเมืองอาเซียนอยางมีเกียรติภูมิและศักดิ์ศรีความเปนมนุษยของตน คณะผูจัดทํา คูม อื ครู


ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง สาระที่ 1

ทัศนศิลป (เฉพาะชั้น ป.1)*

ทัศนศิลป

มาตรฐาน ศ 1.1 สรางสรรคงานทัศนศิลปตามจินตนาการ และความคิดสรางสรรค วิเคราะห วิพากษ วิจารณ คุณคางาน ทัศนศิลป ถายทอดความรูสึก ความคิดตองานศิลปะอยางอิสระ ชื่นชม และประยุกตใชในชีวิตประจําวัน ชั้น

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

ป.1 1. อภิปรายเกี่ยวกับรูปราง • รูปราง ลักษณะ และขนาดของสิ่งตางๆ • หนวยการเรียนรูท ี่ 1 ลักษณะ และขนาดของ รอบตัว ในธรรมชาติและสิ่งที่มนุษย พืน้ ฐานงานศิลป สิ่งตางๆ รอบตัว สรางขึน้ บทที่ 1 ลักษณะของสิ่งตางๆ ในธรรมชาติและสิ่งที่ รอบตัวเรา มนุษยสรางขึ้น 2. บอกความรูสึกที่มีตอ • ความรูส ึกที่มีตอธรรมชาติและสิ่งแวดลอม • หนวยการเรียนรูท ี่ 2 ธรรมชาติและสิ่งแวดลอม รอบตัว เชน รูสึกประทับใจกับความงาม สนุกกับงานศิลป รอบตัว ของบริเวณอาคารเรียน หรือรูสึกถึงความ บทที่ 2 ภาพธรรมชาติและ ไมเปนระเบียบของสภาพภายในหองเรียน สิ่งแวดลอม 3. มีทักษะพื้นฐานในการใช • การใชวัสดุ อุปกรณ เชน ดินเหนียว • หนวยการเรียนรูท ี่ 1 วัสดุ อุปกรณ สรางงาน ดินนํ้ามัน ดินสอ พูกัน กระดาษ สีเทียน พืน้ ฐานงานศิลป ทัศนศิลป สีนํ้า ดินสอสี สรางงานทัศนศิลป บทที่ 2 วัสดุและอุปกรณ สรางงานศิลป 4. สรางงานทัศนศิลปโดย • การทดลองสีดวยการใชสีนํ้า สีโปสเตอร • หนวยการเรียนรูท ี่ 2 การทดลองใชสีดวย สนุกกับงานศิลป สีเทียน และสีจากธรรมชาติที่หาได เทคนิคงายๆ บทที่ 1 ทดลองสีสัน ในทองถิ่น 5. วาดภาพระบายสีภาพ • การวาดภาพระบายสีตามความรูสึก • หนวยการเรียนรูท ี่ 2 ธรรมชาติตามความรูสึก ของตนเอง สนุกกับงานศิลป ของตนเอง บทที่ 2 ภาพธรรมชาติและ สิ่งแวดลอม

เสร�ม

9

มาตรฐาน ศ 1.2 เขาใจความสัมพันธระหวางทัศนศิลป ประวัติศาสตร และวัฒนธรรม เห็นคุณคางานทัศนศิลปที่เปน มรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถิ่น ภูมิปญญาไทยและสากล ชั้น

ตัวชี้วัด

ป.1 1. ระบุงานทัศนศิลป ในชีวิตประจําวัน

สาระการเรียนรูแกนกลาง

• งานทัศนศิลปในชีวิตประจําวัน

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

• หนวยการเรียนรูท ี่ 3 ศิลปะกับชีวติ บทที่ 1 งานศิลปะในชีวิต ประจําวัน

_________________________________ * สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน, กระทรวงศึกษาธิการ. สาระการเรียนรูแ กนกลาง กลุม สาระการเรียนรู ศิลปะ. (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย, 2551), หนา 8, 19

คูม อื ครู


คําอธิบายรายวิชา รายวิชา ทัศนศิลป ชั้นประถมศึกษาปที่ 1 รหัสวิชา ศ…………………………………

เสร�ม

10

กลุมสาระการเรียนรู ศิลปะ ภาคเรียนที่ 1-2 เวลา 30 ชั่วโมง/ป

ศึกษา วิเคราะห รูปราง ลักษณะ และขนาดของสิ่งตางๆ รอบตัว ในธรรมชาติและสิ่งที่มนุษยสรางขึ้น ความรูสึกที่มีตอธรรมชาติและสิ่งแวดลอมรอบตัว การใชวัสดุ อุปกรณตางๆ สรางงานทัศนศิลป การทดลอง ใชสีดวยเทคนิคงายๆ การวาดภาพระบายสีตามความรูสึกของตนเอง โดยใชทักษะกระบวนการทางทัศนศิลป ในการสรางและนําเสนอผลงานทัศนศิลป การเลือกใชวัสดุ อุปกรณที่เหมาะสม การวิเคราะห การวิพากษวิจารณคุณคางานทัศนศิลป เพื่อใหเห็นคุณคางานทัศนศิลป เขาใจความสัมพันธระหวางทัศนศิลป ประวัติศาสตร และวัฒนธรรม นําความรูไปประยุกตใชในชีวิตประจําวันใหเกิดประโยชน มีจริยธรรม คุณธรรม และคานิยมที่เหมาะสม ตัวชี้วัด ศ 1.1 ศ 1.2

ป.1/1 ป.1/1

ป.1/2

ป.1/3 รวม 6 ตัวชี้วัด

คูม อื ครู

ป.1/4

ป.1/5


จุดเนนการพัฒนาคุณภาพผูเรียน* การขับเคลื่อนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551 และการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษ ที่สอง (พ.ศ. 2552-2561) ใหประสบผลสําเร็จตามจุดเนนการพัฒนาคุณภาพผูเรียน โดยใหทุกภาคสวน รวมกันดําเนินการ กระทรวงศึกษาธิการไดกําหนดจุดเนนการพัฒนาคุณภาพผูเรียน ดังนี้ เสร�ม

ทักษะ ความสามารถ

11

คุณลักษณะ จุดเนนตามชวงวัย

ม. 4-6

แสวงหาความรู เพื่อแกปญหา ใชเทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู ใชภาษาตางประเทศ (ภาษาอังกฤษ) มีทักษะการคิดขั้นสูง ทักษะชีวิต ทักษะการสื่อสารอยางสรางสรรคตามชวงวัย

ม. 1-3

แสวงหาความรูดวยตนเอง ใชเทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู มีทักษะการคิดขั้นสูง ทักษะชีวิต ทักษะการสื่อสารอยางสรางสรรคตามชวงวัย

• อยูอยางพอเพียง

ป. 4-6

อานคลอง เขียนคลอง คิดเลขคลอง ทักษะการคิดขั้นพื้นฐาน ทักษะชีวิต ทักษะการสื่อสารอยางสรางสรรคตามชวงวัย

• ใฝเรียนรู

ป. 1-3

อานออก เขียนได คิดเลขเปน มีทักษะการคิดขั้นพื้นฐาน ทักษะชีวิต ทักษะการสื่อสารอยางสรางสรรคตามชวงวัย

• ใฝดี

• มุงมั่นในการศึกษา และการทํางาน

คุณลักษณะตามหลักสูตร

• รักชาติ ศาสน กษัตริย • ซื่อสัตยสุจริต • มีวินัย • ใฝเรียนรู • อยูอยางพอเพียง • มุงมั่นในการทํางาน • รักความเปนไทย • มีจิตสาธารณะ

* สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, กระทรวงศึกษาธิการ. แนวทางการนําจุดเนนการพัฒนาผูเรียน สูการปฏิบัติ. (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย, 2553), หนา 3-10.

คูม อื ครู


คําอธิบายจุดเนนการพัฒนาคุณภาพผูเรียน ทักษะการคิด ม.4-6

เสร�ม

12

ทักษะการคิดขั้นสูง

ม.3 ม.2

ทักษะการคิดขั้นพื้นฐาน

ม.1 ป.6 ป.5 ป.4 ป.3 ป.2 ป.1

คูม อื ครู

ทักษะการคิดแกปญหาอยางสรางสรรค ทักษะกระบวนการคิดอยางมีวจิ ารณญาณ ทักษะกระบวนการคิดสรางสรรค ทักษะการสังเคราะห ทักษะการประยุกตใชความรู ทักษะการวิเคราะห ทักษะการประเมิน ทักษะการสรุป ลงความเห็น ทักษะการสรุปอางอิง ทักษะการนําความรูไปใช

ทักษะการแปลความ ทักษะการตีความ ทักษะการตั้งคําถาม ทักษะการใหเหตุผล ทักษะการรวบรวมขอมูล ทักษะการเชื่อมโยง ทักษะการเปรียบเทียบ ทักษะการจําแนกประเภท ทักษะการสังเกต ทักษะการจัดกลุม


กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Engage

Explore

Explain

Expand

Evaluate

กระตุEngage นความสนใจ

สํารวจค Exploreนหา

อธิบExplain ายความรู

Expand าใจ ขยายความเข

˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ÃÒÂÇÔªÒ¾×é¹°Ò¹

·ÑȹÈÔÅ»Š ».ñ ªÑé¹»ÃжÁÈÖ¡ÉÒ»‚·Õè ñ

¡ÅØ‹ÁÊÒÃСÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ ÈÔŻРµÒÁËÅÑ¡ÊÙµÃ᡹¡ÅÒ§¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñé¹¾×é¹°Ò¹ ¾Ø·¸ÈÑ¡ÃÒª òõõñ

¼ÙŒàÃÕºàÃÕ§ ¹ÒÂͧÍÒ¨ ÁÒ¡ÊÔ¹ ¼ÙŒµÃǨ

¹ÒÂʶԵ ǧÉÒÇ´Õ ¹Ò¸ÇѪ ÊÔ§ËÌ ¹Ò§ÊÒdzÃÔÈÃÒ ¾Ä¡ÉÐÇѹ

ºÃóҸԡÒà ¹ÒÂÇÔÊٵà ⾸Ôìà§Ô¹

¾ÔÁ¾ ¤ÃÑ駷Õè ù

ʧǹÅÔ¢ÊÔ·¸ÔìµÒÁ¾ÃÐÃÒªºÑ- - ÑµÔ ISBN : 978-616-203-247-9 ÃËÑÊÊÔ¹¤ŒÒ ñññõðóø

¤Œ¹¤ÇÒÁÃÙŒ¢ÂÒ¤ÇÒÁ¤Ô´¨Ò¡ ¾ÔÁ¾ ¤ÃÑ駷Õè ñ ÃËÑÊÊÔ¹¤ŒÒ ññôõðôò

EB GUIDE

ที่พิมพกํากับหัวขอสําคัญในหนังสือเรียนหลักสูตรใหม ชั้น ป.๔ ขึ้นไป ผาน www.aksorn.com ไปยังแหลงความรูทั่วไทย-ทั่วโลก

(

ดูแผนผังความคิดฯ ไดทปี่ กหลังดานใน)

Evaluate ตรวจสอบผล


กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Engage

Explore

Explain

Expand

Evaluate

กระตุEngage นความสนใจ

Exploreนหา สํารวจค

อธิบExplain ายความรู

Expand าใจ ขยายความเข

Evaluate ตรวจสอบผล

ค�ำน�ำ หนังสือเรียน ทัศนศิลป์ ป.๑ เล่มนี้ จัดท�ำขึ้นส�ำหรับใช้ประกอบกำรเรียนกำรสอน ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๑ โดยด�ำเนินกำรจัดท�ำให้สอดคล้องตำมกรอบของหลักสูตรแกนกลำง กำรศึกษำขัน้ พืน้ ฐำน พ.ศ. ๒๕๕๑ ทุกประกำร ส่งเสริมให้ผเู้ รียนมีควำมคิดสร้ำงสรรค์ มีจนิ ตนำกำร ทำงศิลปะ ซึง่ จะช่วยพัฒนำผูเ้ รียนทัง้ ด้ำนร่ำงกำย จิตใจ สติปญ ั ญำ อำรมณ์ สังคม นอกจำกนี้ ยังช่วยให้ผเู้ รียนเกิดควำมรูค้ วำมเข้ำใจ มีทกั ษะวิธกี ำรทำงศิลปะ และเกิดควำมซำบซึง้ ในคุณค่ำ ของงำนศิลปะแขนงต่ำงๆ หนังสือเรียน ทัศนศิลป์ ป.๑ เล่มนี้ มี ๓ หน่วย ในแต่ละหน่วยแบ่งเป็นบทย่อยๆ ซึ่งประกอบด้วย ๑. เป้าหมายการเรียนรูป้ ระจ�าหน่วย ก�ำหนดระดับคว ควำมรู้ ควำมสำมำรถของผูเ้ รียน ว่ำเมื่อเรียนจบในแต่ละหน่วยกำรเรี รเรียนรู้ ต้องบรรลุมำตรฐ ำตรฐำนตั ตรฐำ วชี้วัดที่ก�ำหนดไว้ในหลักสูตร ข้อใดบ้ำง ๒. สาระส�าคัญ แก่นควำมรู คว มรู้ที่เป็นควำมรู คว ้ควำมเข้ มเข้ำใจคงทนติดตัวผู้เรียน ๓. เนือ้ หา ครบตำมหลั มหลักสูตรแกนกล รแกนกลำงกำรศึ งกำรศึกษษำขัขัน้ พืน้ ฐำนน พ.ศ. ๒๕๕๑ น�ำเสนอเหม เสนอเหมำะสม กับกำรเรียนกำรสอนในแต่ รสอนในแต่ละระดับชั้น ๔. กิจกรรม มีหลำกหลำยรู ยรูปแบบให้นักเรียนปฏิบัติ แบ่งเป็น (๑) กิจกรรมน�ำสู่กำรเรียน น�ำเข้ำสู่บทเรียนเพื่อกระตุ้นคว ควำมสนใจแก่ผู้เรียน (๒) กิจกรรมกำรเรี ำรเรี รเรียนรู้ มอบหม มอบหมำ มอบหมำยให้ ำยให้ ยให้ผู้เรียนฝึกปฏิบัติเพื่อพัฒนนำควำมรู้และทักษะ ประจ�ำหน่วย คณะผู้จัดท�ำจึงหวังเป็นอย่ำงยิ่งว่ำ หนังสือเรียน ทัศนศิลป์ ป.๑ เล่มนี้ จะเป็นสื่อ กำรเรียนกำรสอนที่อ�ำนวยประโยชน์ต่อกำรเรียนทัศนศิลป์ เพื่อให้สัมฤทธิผลตำมมำตรฐำน ตัวชี้วัดที่ก�ำหนดไว้ในหลักสูตรแกนกลำงกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน พ.ศ. ๒๕๕๑ ทุกประกำร คณะผู้จัดท�า


กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Engage

Explore

Explain

Expand

Evaluate

กระตุEngage นความสนใจ

สํารวจค Exploreนหา

อธิบExplain ายความรู

Expand าใจ ขยายความเข

Evaluate ตรวจสอบผล

คําชี้แจงในการใชสื่อ ¡Ô¨¡ÃÃÁ¹íÒÊÙ‹¡ÒÃàÃÕ¹

ภาพหนาหนวยการเรียนรู เปนภาพประกอบขนาดใหญ ชวยกระตุนความสนใจของผูเรียน

นําเขาสูบ ทเรียนใชกระตุน ความสนใจ และวัดประเมินผลกอนเรียน º··Õè

ลักษณะของสิ่งตางๆ รอบตัวเรา ¡Ô¨¡ÃÃÁ¹ÓÊÙ‹¡ÒÃàÃÕ¹

¹ÒÌ ¡Ò

í

หนวยการเรียนรูที่

á»Ã§ÊÕ¿˜¹

àÊ×éÍ

แกนความรูที่เปนความเขาใจ คงทนติดตัวผูเรียน

¡ÃÐ້ҹѡàÃÕ¹

ÊѺ»Ðô

พื้นฐานงานศิลป

ᵧâÁ

áÁÇ ¨Ò¡ÀÒ¾ ÊÔè§ã´ºŒÒ§·Õèà¡Ô´¢Öé¹àͧ µÒÁ¸ÃÃÁªÒµÔ

í สิง่ ตางๆ รอบตัวเรา ทัง้ ทีเ่ กิดขึน้ เอง ตามธรรมชาติและสิ่งที่มนุษยสรางขึ้น ตางก็มีรูปราง ลักษณะ และขนาดที่ แตกตางกัน

เปาหมายการเรียนรูประจําหนวยที่ ๑ เมื่อเรียนจบหนวยน�้ ผูเรียนจะมีความรูความสามารถตอไปน�้ ๑. อภิปรายเกี่ยวกับรูปราง ลักษณะ และขนาดของสิ�งตางๆ รอบตัว ในธรรมชาติและสิ�งที่มนุษยสรางขึ้น (มฐ. ศ ๑.๑ ป.๑/๑) ๒. มีทักษะพื้นฐานในการใชวัสดุอุปกรณสรางงานทัศนศิลป (มฐ. ศ ๑.๑ ป.๑/๓)

เปาหมายการเรียนรู กําหนดระดับความรูค วามสามารถของผูเ รียนเมือ่ เรียนจบหนวย

¡Ô ¨¡ÃÃÁ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ

เนือ้ หา

มอบหมายผูเ รียนฝกปฏิบตั ิ เพือ่ พัฒนา ความรูและทักษะประจําหนวย

ครบตามหลักสูตรแกนกลางฯ พ.ศ. ๒๕๕๑ นําเสนอเหมาะสมกับ การเรียนการสอนในแตละระดับชั้น ¡Ô ¨¡ÃÃÁ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ

๑. แบงกลุม สังเกตลักษณะของสิ่งตางๆ ในโรงเรียนมา ๕ อยาง แลวชวยกันบอกลักษณะ ตางๆ ของสิ่งเหลานั้น และบันทึกขอมูล

๓ ขนาดของสิ่งตางๆ

ลักษณะของสิ่งตางๆ

สิ่งที่สังเกต

ธรรมชาติสิ่งแวดลอมที่พบเห็นรอบๆ ตัวเรานั้น มีขนาดที่แตกตางกันไป โดยสามารถแบงออกไดอยางงายๆ ๒ ขนาด คือ ขนาดใหญ และขนาดเล็ก การที่จะบอกวาสิ่งใดมีขนาดใหญหรือเล็กนั้น ทําไดโดยการนําสิ่ง ๒ สิ่งนั้น มาเปรียบเทียบกัน

ขนาด

รูปราง

สี

พื้นผิว

า…………………………… …มี…ข…นาดใหญ ๑. ……กระดานดํ ……………………… …………………… ……สี …่เ…หลี ………่ย…ม……… ………สี …เ…ขี…ย…ว………… ……เรี ……ย…บ ……แข็ ……ง…… ทึก ๒. ………………………………………………………… …………………………… แ…บ …………………ัน ……… …………………………… …………………………… าง บบ ๓. ………………………………………………………… ………ต……ัว…อ……ย……… …………………………… …………………………… ……………………………

๒. สังเกตลักษณะรูปรางของสิ่งที่พบเห็นในสิ่งแวดลอมรอบๆ ตัวนักเรียน ทั้งสิ่งที่เกิดจาก ธรรมชาติ และสิ่งที่คนเราสรางขึ้น จากนั้นบันทึกขอมูล ๓. เรียงลําดับสิ่งที่มีขนาดใหญไปหาสิ่งที่มีขนาดเล็กตามความเปนจริง โดยเขียนตัวอักษร ตามลําดับลงในสมุด ก ข ค

ถังขยะ รถยนต

กระดุม

ง ปากกา

รถจักรยาน

¤íÒ¶ÒÁºÙóҡÒÃÊÙ‹ªÕÇÔµ ñ ¶ŒÒµŒÍ§¡ÒÃÇÒ´ÀÒ¾·ÕèÁÕû٠ËҧÍÔÊÃÐ ¹Ñ¡àÃÕ Â¹¨Ð㪌ÊÔè§ã´à»š¹áººä´ŒºŒÒ§ ò ¶ŒÒãËŒ¹Ñ¡àÃÕ Â¹Í¸ÔºÒÂÃٻËҧ ÅѡɳРáÅТ¹Ò´¢Í§µ¹àͧ ¨Ð͸ԺÒÂÇ‹ÒÍ‹ҧäà ó ¡ÒÃÇÒ´ÀÒ¾·ÕèÁÕû٠ËҧàâҤ³Ôµ áÅСÒÃÇÒ´ÀÒ¾·ÕèÁÕû٠ËҧÍÔÊÃÐ ÀҾ㴷ÕèÊÒÁÒöÇÒ´ä´Œ§‹Ò¡Njҡѹ à¾ÃÒÐÍÐäÃ

ª‹Ç¡ѹºÍ¡Ç‹Ò ÊÔè§ã´ÁÕ ¢¹Ò´àÅç¡ ÊÔè§ã´ÁÕ¢¹Ò´ãË- ‹ ¤íÒ¶ÒÁ¨Ø´»ÃСÒ ñ ÃٻËҧÍÔÊÃÐáÅÐÃٻËҧàâҤ³Ôµ ÁÕ¤ÇÒÁᵡµ‹Ò§¡Ñ¹Í‹ҧäà ò ÃٻËҧ㹸ÃÃÁªÒµÔ ã´ºŒÒ§ ÁÕû٠ËҧàËÁ×͹ÅÙ¡¿ØµºÍÅ ó ã¹ËŒÍ§àÃÕ Â¹ÁÕÊÔè§ã´ºŒÒ§·ÕèÁÕ¢¹Ò´ãËÞ‹¡Ç‹Ò¶Ñ§¢ÂÐ Êѧࡵ¨Ò¡ÍÐäÃ

๘ ๗

ภาพประกอบเนือ้ หา

เปนภาพประกอบ ๔ สี แทรกอยูต ลอดเลม ชวยเสริมสรางความเขาใจ

¤íÒ¶ÒÁ¨Ø´»ÃСÒÂ

คําถามที่กระตุนความสนใจและ ฝกฝนการคิดวิเคราะห

¤íÒ¶ÒÁºÙóҡÒÃÊÙ‹ªÕÇÔµ คําถามที่ใหผูเรียนคิดวิเคราะห และ นําความรูไปประยุกตใชในชีวิตประจําวัน


กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Engage

Explore

Explain

Expand

Evaluate

กระตุEngage นความสนใจ

Exploreนหา สํารวจค

อธิบExplain ายความรู

Expand าใจ ขยายความเข

Evaluate ตรวจสอบผล

สำรบั ญ

ห น ว ย

กำรเรียนรูที่

ห น ว ย

กำรเรียนรูที่

ห น ว ย

กำรเรียนรูที่

พื้นฐำนงำนศิลป

บทที่ ๑ ลักษณะของสิ�งตางๆ รอบตัวเรา บทที่ ๒ วัสดุและอุปกรณสรางงานศิลป

๒ ๙

สนุกกับงำนศิลป

๒๐

บทที่ ๑ ทดลองสีสัน บทที่ ๒ ภาพธรรมชาติและสิ�งแวดลอม

๒๑ ๓๘

ศิลปะกับชีวิต

๔๙

บทที่ ๑ งานศิลปะในชีวิตประจําวัน

๕๐

โครงงำนศิลปะ กิจกรรมบูรณำกำรเศรษฐกิจพอเพียง กิจกรรมบูรณำกำรจิตอำสำ บรรณำนุกรม ภำคผนวก

๕๗ ๕๗ ๕๘ ๕๘ พิเศษ ๑


กระตุน ความสนใจ กระตุEngage นความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Engage

Explore

Explain

Expand

Evaluate

กระตุน ความสนใจ

Engage

1. ครูสนทนากับนักเรียนวา นักเรียนชอบทํางาน ศิลปะหรือไม นักเรียนเคยทํางานศิลปะอะไร บาง แลวใหนักเรียนผลัดกันออกมาเลาถึง ผลงานที่ทํา 2. ใหนักเรียนดูภาพในหนังสือ หนา 1 แลว ชวยกันตอบคําถามวา • ถาหากนักเรียนจะวาดภาพรถในฝน จะวาด แตกตางจากภาพนี้หรือไม อยางไร (ใหนักเรียนตอบตามความคิดอยางอิสระ) • หากนักเรียนจะระบายสีภาพนี้ นักเรียนจะ เลือกใชสีชนิดใด เชน สีไม สีนํ้า สีเทียน เปนตน เพราะอะไร (ใหนักเรียนตอบตามความคิดอยางอิสระ) 3. ใหนักเรียนดูภาพวาดภาพอื่นๆ ที่ครูเตรียมมา แลวสนทนาเกี่ยวกับภาพในประเด็นเกี่ยวกับ รูปราง ลักษณะ ขนาด วัสดุและอุปกรณ ที่ใช วาเปนอยางไร

หนวยการเรียนรูที่

พื้นฐานงานศิลป เปาหมายการเรียนรูประจําหนวยที่ ๑ เมื่อเรียนจบหนวยน�้ ผูเรียนจะมีความรูความสามารถตอไปน�้ ๑. อภิปรายเกี่ยวกับรูปราง ลักษณะ และขนาดของสิ�งตางๆ รอบตัว ในธรรมชาติและสิ�งที่มนุษยสรางขึ้น (มฐ. ศ ๑.๑ ป.๑/๑) ๒. มีทักษะพื้นฐานในการใชวัสดุอุปกรณสรางงานทัศนศิลป (มฐ. ศ ๑.๑ ป.๑/๓)

เกร็ดแนะครู การเรียนศิลปะจะชวยสงเสริมใหเด็กมีความคิดสรางสรรค จินตนาการ และชวยสรางพฤติกรรมที่เดนชัด 3 ประการ คือ 1. มีความเชื่อมั่นในตนเอง 2. มีนิสัยอยากรูอยากเห็น 3. ชอบแสดงออก ดังนั้นครูควรสงเสริมใหเด็กไดพัฒนาความคิดสรางสรรคและจินตนาการ

คูมือครู

1


กระตุน ความสนใจ กระตุEngage นความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Engage

Explore

Explain

Expand

Evaluate

เปาหมายการเรียนรู

อภิปรายเกี่ยวกับรูปราง ลักษณะ และขนาด ของสิ่งตางๆ รอบตัว ในธรรมชาติและสิ่งแวดลอม (ศ 1.1 ป.1/1)

º··Õè

ลักษณะของสิ่งตางๆ รอบตัวเรา

สมรรถนะของผูเรียน

¡Ô¨¡ÃÃÁ¹ÓÊÙ‹¡ÒÃàÃÕ¹

1. ความสามารถในการคิด 2. ความสามารถในการใชทักษะชีวิต

¹ÒÌ ¡Ò

คุณลักษณะอันพึงประสงค 1. มีวินัย 2. ใฝเรียนรู 3. มุงมัน่ ในการทํางาน

á»Ã§ÊÕ¿˜¹

¡ÃÐ້ҹѡàÃÕ¹ àÊ×éÍ

กระตุน ความสนใจ

Engage

ใหนักเรียนดูภาพในหนังสือ หนา 2 แลวชวยกัน บอกวา • สิ่งใดบางเปนสิ่งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ (ตอบ แตงโม สับปะรด แมว เปนตน) • สิ่งใดบางเปนสิ่งที่คนสรางขึ้น (ตอบ แปรงสีฟน กระเปานักเรียน นาฬกา เสื้อ เปนตน) • ถาจะอธิบายลักษณะของผลสับปะรด จะอธิบายวาอยางไร (ใหนักเรียนตอบตามความคิดอยางอิสระ) • ถาจะอธิบายรูปรางของกระเปานักเรียน จะอธิบายวาอยางไร (ใหนักเรียนตอบตามความคิดอยางอิสระ)

ÊѺ»Ðô

í สิง่ ตางๆ รอบตัวเรา ทัง้ ทีเ่ กิดขึน้ เอง ตามธรรมชาติและสิ่งที่มนุษยสรางขึ้น ตางก็มีรูปราง ลักษณะ และขนาดที่ แตกตางกัน

เกร็ดแนะครู ครูจัดกระบวนการเรียนรูโดยการใหนักเรียนปฏิบัติ ดังนี้ • สังเกตลักษณะของสิ่งตางๆ รอบตัวเรา • วิเคราะหจากประเด็นคําถามและภาพ • อภิปรายเกี่ยวกับรูปราง ลักษณะ และขนาดของสิ่งตางๆ รอบตัวเรา จนเกิดเปนความรูความเขาใจวา สิ่งตางๆ รอบตัวเรามีความแตกตางกัน ไมวาจะเปนรูปราง ลักษณะ และขนาด จึงทําใหสิ่งที่เราเห็นมีลักษณะเฉพาะตัว และมีความงดงามแตกตางกัน

2

คูมือครู

ᵧâÁ

áÁÇ ¨Ò¡ÀÒ¾ ÊÔè§ã´ºŒÒ§·Õèà¡Ô´¢Öé¹àͧ µÒÁ¸ÃÃÁªÒµÔ


กระตุนความสนใจ Engage

สํารวจคนหา

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explore

Explain

Expand

Evaluate

สํารวจค Exploreนหา

สํารวจคนหา

ลักษณะทั่วไปของสิ่งตางๆ

สิ่งแวดลอมรอบๆ ตัวเรา โดยทั่วไปจะมีลักษณะแตกตางกันตามประเภท และชนิดของสิ ่งนั้นๆ ซึ่งทําใหเกิดความงดงามที่แตกตางกัน นักเรียนจึงควร 1 ฝกสังเกตลักษณะของสิ่งเหลานั้น เพื่อนํามาใชในการทํางานศิลปะ ดังตัวอยาง ลักษณะของ

ÁÕ¼ÔÇàÃÕº

1. ใหนักเรียนยกตัวอยางสิ่งของใกลตัวมาคนละ 1 อยาง แลวบรรยายลักษณะของสิ่งของชิ้นนั้น 2. ครูสุมเลือกสิ่งของ 5 อยาง แลวใหนักเรียน รวมกันบรรยายเพิ่มเติมถึงลักษณะของ สิ่งของที่เลือกมา

อธิบายความรู

Explain

1. ใหนักเรียนรวมกันอภิปรายเกี่ยวกับลักษณะ ของสิ่งตางๆ ที่นักเรียนยกตัวอยางในกิจกรรม สํารวจคนหา จนไดขอสรุปวา สิ่งตางๆ มักมี ลักษณะที่แตกตางกันในดานตางๆ เชน รูปราง สีสัน พื้นผิว เปนตน 2. ครูนําสิ่งของตางๆ เชน กระปุกออมสิน แจกัน ผลไม ตุกตา เปนตน มาใหนักเรียนสังเกต และลองสัมผัสดู แลวใหชวยกันบอกวาสิ่งของ เหลานี้มีลักษณะ รูปราง และขนาดอยางไร 3. ครูอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียนเขาใจเกี่ยวกับ ทักษะการสังเกต เพื่อใหนักเรียนสังเกต สิ่งตางๆ ได 4. ครูถามนักเรียนวา • การบอกลักษณะของสิ่งตางๆ ควรบอก ลักษณะอะไรบาง (แนวตอบ เชน รูปราง สี ขนาด พื้นผิว) • การฝกสังเกตลักษณะของสิ่งตางๆ มีประโยชนตอการสรางงานศิลปะหรือไม เพราะอะไร (แนวตอบ มีประโยชน เพราะถาเราฝกสังเกต วาสิ่งของนั้นมีรูปราง รูปทรง ลักษณะเปน อยางไร จะทําใหเราถายทอดออกมาเปน ภาพวาดไดถูกตองตรงตามตนแบบและ เหมือนจริงยิ่งขึ้น)

กระปุกออมสิน

ÁÕÃÙ»·Ã§¡Ãк͡

Explore

ÁÕª‹Í§ÊíÒËÃѺãÊ‹à§Ô¹

ÅͧÊѧࡵÅѡɳР¢Í§¡ÃлءÍÍÁÊÔ¹´Ù¹Ð¤ÃѺ Ç‹ÒÁÕÅѡɳÐÍ‹ҧäÃ

ʋǹãËÞ‹ÁÕÊÕàËÅ×ͧ áÅÐÁÕÊÕá´§àÅ硹ŒÍÂ

·íÒ¨Ò¡âÅËÐ

บูรณาการเชื่อมสาระ

ครูบูรณาการความรูในสาระศิลปะ วิชา ทัศนศิลป กับสาระวิทยาศาสตร เรื่อง ทักษะการสังเกต โดยใหนักเรียนสังเกตสิ่งตางๆ แลวบอกวามีลักษณะ อยางไร

นักเรียนควรรู 1 สังเกต การสังเกตเปนการใชประสาทสัมผัส ไดแก ตา หู จมูก ลิ้น ผิวหนัง อยางใดอยางหนึ่งหรือหลายอยาง เพื่อหารายละเอียดเกี่ยวกับสิ่งนั้นๆ ซึ่งเปนทักษะ อยางหนึ่งที่นักเรียนตองฝกฝน เพราะนอกจากใชในการเรียนแลวยังสามารถนํามา ใชในชีวิตประจําวันได การสังเกตลักษณะของสิ่งตางๆ รอบตัว เพื่อถายทอดออกมาเปนผลงานศิลปะ ควรสังเกตรูปรางลักษณะ สี พื้นผิว และขนาดของสิ่งนั้น

คูมือครู

3


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

Explain

1. ครูนําสิ่งของอื่นๆ อีก 2-3 อยางมาใหนักเรียนดู และรวมกันสังเกตและอภิปรายลักษณะของ สิ่งนั้น 2. ใหนักเรียนรวมกันอภิปรายเกี่ยวกับการบอก ลักษณะของสิ่งตางๆ วา การที่เราจะบรรยาย ลักษณะของสิ่งตางๆ ไดอยางชัดเจน เราตอง มีทักษะการสังเกต เชน ใชตามองดูสิ่งตางๆ ใชมือสัมผัสพื้นผิวสิ่งนั้น เปนตน 3. ครูถามคําถามสนทนาภาษาศิลปในหนังสือ หนา 4 ใหนักเรียนชวยกันตอบ

ลักษณะของ

มังคุด

ÁÕÃÙ»·Ã§¡ÅÁ

ÁÕà»Å×Í¡ÊÕÁ‹Ç§à¢ŒÁ ¼ÔÇàÃÕº

ÅͧÊѧࡵÅѡɳР¢Í§Áѧ¤Ø´´Ù¹Ð¤ÃѺ Ç‹ÒÁÕÅѡɳÐÍ‹ҧäÃ

ÁÕ¡ŒÒ¹ÊÑé¹æ ÊÕà¢ÕÂÇ

ÁÕ¡ÅÕºàÅÕ駵ԴÃÐËÇ‹Ò§ ¡ŒÒ¹áÅмÅ

 ʹ·¹ÒÀÒÉÒÈÔÅ»Š บอกไดหรือไมวา โทรทัศนมีลักษณะ อยางไร และมีสงิ่ ใดทีม่ ลี กั ษณะคลายโทรทัศน ๔

เฉลย คําถามสนทนาภาษาศิลป แนวตอบ โทรทัศน มีลักษณะเปนรูปทรงสี่เหลี่ยม มีหนาจอเปนกระจก มีปุม สําหรับเปด-ปด เปนตน สิ่งที่มีลักษณะเปนรูปทรงคลายโทรทัศนมีหลายอยาง เชน ตูเสื้อผา เตาไมโครเวฟ เปนตน

4

คูมือครู

ขอสอบเนนการคิด

มีผิวเรียบสีเหลือง รูปทรงอิสระ กานสีเขียว เปนลักษณะของสิ่งใด ก. สม ข. กลวย ค. สับปะรด วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ ข. เพราะสมมีผิวเรียบสีสม รูปทรงกลม สวนสับปะรด มีผิวขรุขระสีเหลืองเขม รูปทรงอิสระ ขอ ข. กลวย จึงเปน คําตอบที่ถูกตอง


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

อธิบายความรู

รูปรางของสิ่งตางๆ

สิ่งตางๆ ที่อยูในธรรมชาติและสิ่งแวดลอมรอบๆ ตัวเรา มีรูปรางแตกตาง กันไป โดยแบงออกเปน ๒ ประเภท คือ รูปรางอิสระ และรูปรางเรขาคณิต ๑. รูปรางอิสระ เปนรูปรางที่พบเห็นไดทั่วไป ถูกถายทอดแบบมาจาก ธรรมชาติ มักพบไดในสิง่ มีชวี ติ หรือสิง่ ทีเ่ กิดจากธรรมชาติเปนสวนใหญ เชน คน สัตว พืช กอนหิน เปนตน

ฝรั่ง

ผีเสื้อ รูปรางของฝรั่ง

รูปรางของผีเสื้อ

ใบไม

Explain

1. ใหนักเรียนรวมกันอภิปรายเกี่ยวกับรูปรางวา รูปราง แบงเปน 2 ประเภท คือ รูปรางอิสระ และรูปรางเรขาคณิต • รูปรางอิสระ สวนใหญเกิดจากธรรมชาติและ มนุษยสรางขึ้น โดยรูปรางอิสระจะเปน รูปรางที่ไมสามารถระบุเจาะจงไดชัดเจน นั่นเอง • รูปรางเรขาคณิต เปนรูปรางที่มนุษยสรางขึ้น มีรูปแบบที่แนนอน เชน รูปรางสามเหลี่ยม รูปรางสี่เหลี่ยม รูปรางวงกลม เปนตน 2. ใหนักเรียนสังเกตสิ่งตางๆ ที่อยูในหองเรียน เชน ไมบรรทัด ดินสอ โตะเรียน เปนตน แลวบอกวาสิ่งนั้นมีรูปรางอยางไร 3. ใหนักเรียนชวยกันยกตัวอยางสิ่งที่มีรูปราง อิสระและรูปรางเรขาคณิต ที่พบเห็นในชีวิต ประจําวัน 4. ครูสุมเรียกนักเรียนใหออกมาวาดรูปรางของ สิ่งของที่ยกตัวอยางบนกระดาน 5. ใหนักเรียนชวยกันจําแนกวา สิ่งที่ยกตัวอยาง มานั้น สิ่งใดบางเกิดจากธรรมชาติ และสิ่งใด บางที่มนุษยสรางขึ้น

พริก รูปรางของพริก

รูปรางของใบไม

ขอสอบเนนการคิด

มุม IT ครูดูขอมูลเกี่ยวกับรูปรางเพิ่มเติมไดที่ http://www.cpss.ac.th/learnonline/ artonline/Art/less_1.html

(1) (2) ภาพในขอใดมีรูปรางเหมือนกัน ก. (1), (3) ข. (2), (3) ค. (2), (4)

(3)

(4)

วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ ค. เพราะภาพที่ 2 ผลสม และภาพที่ 4 ลูกแกว มีรูปรางเปนวงกลม สวนภาพที่ 1 ไขไก มีรูปรางเปนวงรี ภาพที่ 3 พริกหยวก มีรูปรางอิสระ

คูมือครู

5


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

Explain

1. ครูถามนักเรียนวา • เงินเหรียญกับธนบัตรมีรูปรางตางกันหรือไม อยางไร (ตอบ ตางกัน คือ เงินเหรียญมีรูปรางวงกลม สวนธนบัตรมีรูปรางสี่เหลี่ยม) • นักเรียนคิดวา รูปรางของสิ่งที่คนสรางขึ้นมา ขึ้นอยูกับสิ่งใดเปนสําคัญ (แนวตอบ ขึ้นอยูกับประโยชนการใชงาน เชน ลูกบอลเปนทรงกลม เพราะใชเตะ ทําให ลูกบอลกลิ้งไปได) 2. ครูวาดภาพสีเ่ หลีย่ มหลายๆ ลักษณะบนกระดาน 1

2

๒. รูปรางเรขาคณิต เปนรูปรางที่คนเรากําหนดขึ้นมาใหม มีรูปแบบ โครงสรางที่แนนอน และสามารถกําหนดชื่อเรียกได เชน รูปรางวงกลม รูปราง สี่เหลี่ยม รูปรางสามเหลี่ยม เปนตน

ธนบัตร ลูกบอล

3

จากนัน้ ใหนกั เรียนรวมกันอภิปรายวา รูปสีเ่ หลีย่ ม ทั้ง 3 รูป เทากันหรือไม อยางไร แลวครูอธิบาย เพิ่มเติมใหนักเรียนเขาใจวา 1 เรียกวา สี่เหลี่ยมจัตุรัส เปนสี่เหลี่ยมที่มีดานทุกดานยาวเทากัน 2

รูปรางวงกลม

3

เรียกวา สี่เหลี่ยมผืนผา เปนสี่เหลี่ยมที่มีดานกวางและดานยาว ภาพ 2 เปนสี่เหลี่ยมผืนผาแนวตั้ง ภาพ 3 เปนสี่เหลี่ยม ผืนผาแนวนอน 3. ครูแจกกระดาษใหนักเรียนคนละ 1 แผน แลวใหนักเรียนวาดรูปรางของสิ่งที่นักเรียนสนใจ มาคนละ 1 รูป จากนั้นผลัดกันนําเสนอผลงาน และใหเพื่อนชวยกันบอกวาเปนรูปรางของสิ่งใด

รูปรางสี่เหลี่ยม

นาฬกา ปายจราจร รูปรางหกเหลี่ยม

รูปรางสามเหลี่ยม

 ʹ·¹ÒÀÒÉÒÈÔÅ»Š จากภาพรูปราง นักเรียน คิดวาคลายกับรูปรางของสิ่งของใดบางที่อยู ในหองเรียน ๖

เฉลย คําถามสนทนาภาษาศิลป แนวตอบ ○ คลายกับกรอบแวนตา หนาปดของนาฬกา △ คลายกับผาพันคอลูกเสือ □ คลายกับผาเช็ดหนา กลองชอลก

ขอสอบเนนการคิด ผลไมชนิดใดมีรูปรางเรขาคณิต ก.

ข.

ค. วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ ข. เพราะแตงโมบางชนิดมีรูปรางวงรี บางชนิด มีรูปรางวงกลม ซึ่งเปนรูปรางเรขาคณิต สวนชมพู มะมวง มีรูปรางอิสระ

6

คูมือครู


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

อธิบายความรู

Explain

1. ใหนักเรียนลองยกตัวอยางเปรียบเทียบขนาด ของสัตว คนละ 1 คู เชน แมวมีขนาดใหญ กวาหนู แมวมีขนาดเล็กกวาเสือ เปนตน 2. ใหนักเรียนรวมกันอภิปรายเกี่ยวกับสิ่งตางๆ ที่อยูรอบตัวเราวา มีขนาดที่แตกตางกัน ซึ่ง เราแบงขนาดของสิ่งเหลานั้นเปน 2 ประเภท ไดแก ขนาดใหญและขนาดเล็ก 3. ครูถามนักเรียนวา • การฝกสังเกตลักษณะ รูปราง และขนาด ของสิ่งตางๆ สามารถนํามาใชในการ วาดภาพไดอยางไร (แนวตอบ ชวยใหวาดภาพไดสมจริง) 4. ครูชี้สิ่งของในหองเรียนครั้งละ 1 อยาง แลวสุมเรียกใหนักเรียนเปรียบเทียบขนาด ของสิ่งของที่ครูชี้กับสิ่งของอื่นในหองเรียน

ขนาดของสิ่งตางๆ

ธรรมชาติสิ่งแวดลอมที่พบเห็นรอบๆ ตัวเรานั้น มีขนาดที่แตกตางกันไป โดยสามารถแบงออกไดอยางงายๆ ๒ ขนาด คือ ขนาดใหญ และขนาดเล็ก การที่จะบอกวาสิ่งใดมีขนาดใหญหรือเล็กนั้น ทําไดโดยการนําสิ่ง ๒ สิ่งนั้น มาเปรียบเทียบกัน

ª‹Ç¡ѹºÍ¡Ç‹Ò ÊÔè§ã´ÁÕ ¢¹Ò´àÅç¡ ÊÔè§ã´ÁÕ¢¹Ò´ãË- ‹ ¤íÒ¶ÒÁ¨Ø´»ÃСÒ ñ ÃٻËҧÍÔÊÃÐáÅÐÃٻËҧàâҤ³Ôµ ÁÕ¤ÇÒÁᵡµ‹Ò§¡Ñ¹Í‹ҧäà ò ÃٻËҧ㹸ÃÃÁªÒµÔ ã´ºŒÒ§ ÁÕû٠ËҧàËÁ×͹ÅÙ¡¿ØµºÍÅ ó ã¹ËŒÍ§àÃÕ Â¹ÁÕÊÔè§ã´ºŒÒ§·ÕèÁÕ¢¹Ò´ãËÞ‹¡Ç‹Ò¶Ñ§¢ÂÐ Êѧࡵ¨Ò¡ÍÐäÃ

กิจกรรมสรางเสริม วาดภาพระบายสีสิ่งที่ตนสนใจมา 2 อยาง แลวบอกวาสิ่งใดมีขนาดใหญ สิ่งใดมีขนาดเล็ก

กิจกรรมทาทาย

เฉลย คําถามจุดประกาย 1. ตอบ - รูปรางอิสระ เปนรูปรางที่ไมมีโครงสรางแนนอน ไมสามารถระบุ ชื่อเรียกได - รูปรางเรขาคณิต เปนรูปรางที่มีโครงสรางแนนอน เกิดจากการสราง ของคน สามารถระบุชื่อเรียกได 2. แนวตอบ เชน ผลมะนาว ผลสม เปนตน 3. แนวตอบ เชน โตะนักเรียน สังเกตจากสวนสูงและความกวางของทั้ง 2 อยาง เปนตน

ใหนักเรียนสังเกตลักษณะของสิ่งตางๆ รอบตัวมา 2 อยาง แลวเขียน อธิบายลักษณะทั่วไปของสิ่งนั้น จากนั้นเปรียบเทียบความแตกตางในดาน รูปรางและขนาด พรอมกับวาดภาพประกอบ

คูมือครู

7


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Expand าใจ ขยายความเข

Evaluate ตรวจสอบผล

Expand

1. ใหนกั เรียนแบงกลุม สังเกตลักษณะของสิง่ ตางๆ ในโรงเรียน แลวอภิปรายลักษณะทีเ่ ห็นและบันทึก ขอมูลลงในสมุด 2. ใหนักเรียนยกตัวอยางลักษณะรูปรางของสิ่งที่ เห็นในสิ่งแวดลอมรอบตัวเราและเขียนบอก ลักษณะรูปรางของสิ่งนั้น 3. ใหนกั เรียนดูภาพในหนังสือ หนา 8 แลวเรียงลําดับ สิ่งที่มีขนาดใหญไปหาสิ่งที่มีขนาดเล็ก 4. ครูถามคําถามบูรณาการสูช ีวติ ในหนังสือ หนา 8 ใหนักเรียนชวยกันตอบ

¡Ô ¨¡ÃÃÁ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ

ตรวจสอบผล

๒. สังเกตลักษณะรูปรางของสิ่งที่พบเห็นในสิ่งแวดลอมรอบๆ ตัวนักเรียน ทั้งสิ่งที่เกิดจาก ธรรมชาติ และสิ่งที่คนเราสรางขึ้น จากนั้นบันทึกขอมูล ๓. เรียงลําดับสิ่งที่มีขนาดใหญไปหาสิ่งที่มีขนาดเล็กตามความเปนจริง โดยเขียนตัวอักษร ตามลําดับลงในสมุด ก ข ค

๑. แบงกลุม สังเกตลักษณะของสิ่งตางๆ ในโรงเรียนมา ๕ อยาง แลวชวยกันบอกลักษณะ ตางๆ ของสิ่งเหลานั้น และบันทึกขอมูล ลักษณะของสิ่งตางๆ

สิ่งที่สังเกต

ขนาด

รูปราง

สี

พื้นผิว

า…………………………… …มี…ข…นาดใหญ ๑. ……กระดานดํ ……………………… …………………… ……สี …่เ…หลี ………่ย…ม……… ………สี …เ…ขี…ย…ว………… ……เรี ……ย…บ ……แข็ ……ง…… ทึก ๒. ………………………………………………………… …………………………… แ…บ ……… ……บ ……ัน ……… …………………………… …………………………… บ ง า ๓. ………………………………………………………… ………ต……ัว…อ……ย……… …………………………… …………………………… ……………………………

Evaluate

1. ครูตรวจสอบความถูกตองของขอมูลลักษณะ ของสิ่งตางๆ 2. ครูตรวจสอบการอธิบายลักษณะของสิ่งตางๆ โดยพิจารณาจากความถูกตองและสมบูรณของ ขอมูล

หลักฐานแสดงผลการเรียนรู

ถังขยะ

1. การบันทึกขอมูลลักษณะของสิ่งตางๆ 2. การเขียนบอกลักษณะรูปรางของสิ่งที่เห็น รอบตัวเรา

รถยนต

กระดุม

ง ปากกา

รถจักรยาน

¤íÒ¶ÒÁºÙóҡÒÃÊÙ‹ªÕÇÔµ ñ ¶ŒÒµŒÍ§¡ÒÃÇÒ´ÀÒ¾·ÕèÁÕû٠ËҧÍÔÊÃÐ ¹Ñ¡àÃÕ Â¹¨Ð㪌ÊÔè§ã´à»š¹áººä´ŒºŒÒ§ ò ¶ŒÒãËŒ¹Ñ¡àÃÕ Â¹Í¸ÔºÒÂÃٻËҧ ÅѡɳРáÅТ¹Ò´¢Í§µ¹àͧ ¨Ð͸ԺÒÂÇ‹ÒÍ‹ҧäà ó ¡ÒÃÇÒ´ÀÒ¾·ÕèÁÕû٠ËҧàâҤ³Ôµ áÅСÒÃÇÒ´ÀÒ¾·ÕèÁÕû٠ËҧÍÔÊÃÐ ÀҾ㴷ÕèÊÒÁÒöÇÒ´ä´Œ§‹Ò¡Njҡѹ à¾ÃÒÐÍÐäÃ

เฉลย กิจกรรมการเรียนรู 3. ตอบ ก จ ข ง ค เฉลย คําถามบูรณาการสูชีวิต 1. แนวตอบ ตอบไดหลากหลาย เชน ตนไม ผีเสื้อ คน เปนตน 2. แนวตอบ เชน มีรูปรางผอม สูง มีผมสั้นสีดํา มีผิวสีขาวเหลือง เปนตน 3. แนวตอบ อาจตอบวา รูปรางเรขาคณิตหรือรูปรางอิสระวาดงายกวาก็ได ทั้งนี้ขึ้นอยูกับเหตุผลของนักเรียน เชน ภาพที่มีรูปรางอิสระวาดไดงายกวา เพราะไมตองใชไมบรรทัด

8

คูมือครู

บูรณาการเชื่อมสาระ

ครูบูรณาการความรูในสาระศิลปะ วิชา ทัศนศิลป กับสาระวิทยาศาสตร เรื่อง สิ่งมีชีวิต โดยใหนักเรียนหาภาพของสิ่งมีชีวิตตางๆ มา 5 ภาพ แลวให บอกลักษณะของสิ่งมีชีวิตในภาพ จากนั้นเรียงลําดับสิ่งที่มีขนาดเล็กไปหา สิ่งที่มีขนาดใหญตามความเปนจริง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.