8858649120717

Page 1

คูมือครู 㪌»ÃСͺ¡ÒÃÊ͹ËÇÁ¡Ñº

˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ©ºÑº »ÃСѹÏ

».

ภาพปกนี้มีขนาดเทากับหนังสือเรียนฉบับจริงของนักเรียน

กระบวนการสอนแบบ 5 Es ชวยสรางทักษะการเรียนรู กิจกรรมมุงพัฒนาทักษะการคิด คำถาม + แนวขอสอบเพื่อยกผลสัมฤทธิ์ O-NET กิจกรรมบูรณาการเตรียมพรอมสู ASEAN 2558


เอกสารประกอบคูมือครู

กลุมสาระการเรียนรู การงานอาชีพและเทคโนโลยี

เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ชั้นประถมศึกษาปที่ 1

สําหรับครู

คูมือครู Version ใหม

ลักษณะเดน

ขยายพื้นที่รูปเลมใหญขึ้นกวาเดิม จัดแบงพื้นที่ออกเปนโซน เพื่อคนหาขอมูลไดงาย สะดวก รวดเร็ว และดูเปนระเบียบ กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

เปาหมายการเรียนรู สมรรถนะของผูเรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค

หน า

โซน 1 กระตุน ความสนใจ

Engage

สํารวจคนหา

Explore

อธิบายความรู

Explain

ขยายความเขาใจ

Expand

ตรวจสอบผล

หน า

หนั ง สื อ เรี ย น

โซน 1

หนั ง สื อ เรี ย น

Evaluate

ขอสอบเนน การคิด ขอสอบเนน การคิด แนว NT แนว O-NET

O-NET บูรณาการเชื่อมสาระ

เกร็ดแนะครู

ขอสอบ

โซน 2

โซน 3

กิจกรรมสรางเสริม กิจกรรมทาทาย

นักเรียนควรรู

โซน 3

โซน 2 บูรณาการอาเซียน มุม IT

No.

คูมือครู

คูมือครู

No.

โซน 1 ขั้นตอนการสอนแบบ 5Es

โซน 2 ชวยครูเตรียมสอน

โซน 3 ชวยครูเตรียมนักเรียน

เพื่อใหครูเตรียมจัดกิจกรรมการเรียน การสอน โดยแนะนําขั้นตอนการสอนและ การจัดกิจกรรมแบบ 5Es อยางละเอียด เพื่อใหนักเรียนบรรลุตามตัวชี้วัด

เพื่อชวยลดภาระครูผูสอน โดยแนะนํา เกร็ดความรูสําหรับครู ความรูเสริมสําหรับ นักเรียน รวมทั้งบูรณาการความรูสูอาเซียน และมุม IT

เพือ่ ใหครูสะดวกตอการจัดกิจกรรม โดยแนะนํา กิจกรรมบูรณาการเชื่อมระหวางกลุมสาระ วิชา กิจกรรมสรางเสริม กิจกรรมทาทาย รวมถึงเนือ้ หา ทีเ่ คยออกขอสอบ NT/O-NET เก็งขอสอบ NT/O-NET และแนวขอสอบเนนการคิด พรอมคําอธิบาย และเฉลยอยางละเอียด


ที่ใชในคูมือครู

แถบสีและสัญลักษณ

แถบสีแสดงขั้นตอนการสอนและการจัดกิจกรรม แบบ 5Es เพื่อใหครูทราบวาเปนขั้นการสอนขั้นใด

1. แถบสี 5Es สีแดง

สีเขียว

กระตุน ความสนใจ

เสร�ม

สํารวจคนหา

Engage

2

เปนขั้นที่ผูสอนเลือกใช เทคนิคกระตุน ความสนใจ เพื่อโยง เขาสูบทเรียน

สีสม

อธิบายความรู

Explore

เปนขั้นที่ผูสอน ใหผูเรียนสํารวจ ปญหา และศึกษา ขอมูล

สีฟา

Explain

เปนขั้นที่ผูสอน ใหผูเรียนคนหา คําตอบ จนเกิดความรู เชิงประจักษ

สีมวง

ขยายความเขาใจ Expand

เปนขั้นที่ผูสอน ใหผูเรียนนําความรู ไปคิดคนตอๆ ไป

ตรวจสอบผล Evaluate

เปนขั้นที่ผูสอน ประเมินมโนทัศน ของผูเรียน

2. สัญลักษณ สัญลักษณ

วัตถุประสงค

• เปาหมายการเรียนรู

• หลักฐานแสดงผล การเรียนรู

• เกร็ดแนะครู

แทรกความรูเสริมสําหรับครู ขอเสนอแนะ ขอควรระวัง ขอสังเกต แนวทางการจัด กิจกรรมและอืน่ ๆ เพื่อประโยชนในการ จัดการเรียนการสอน ขยายความรูเพิ่มเติมจากเนื้อหา เพื่อให ครูนําไปใชอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียน ไดมีความรูมากขึ้น

ความรูหรือกิจกรรมเสริม ใหครูนําไปใช เตรียมความพรอมใหกบั นักเรียนกอนเขาสู ประชาคมอาเซียนใน พ.ศ. 2558 โดย บูรณาการกับวิชาที่กําลังเรียน

บูรณาการอาเซียน

คูม อื ครู

แสดงรองรอยหลักฐานตามภาระงาน ที่ครูมอบหมาย เพื่อแสดงผลการเรียนรู ตามตัวชี้วัด

• นักเรียนควรรู

มุม IT

แสดงเปาหมายการเรียนรูที่นักเรียน ตองบรรลุตามตัวชี้วัด ตลอดจนสมรรถนะ ที่จะตองมี และคุณลักษณะที่พึงเกิดขึ้น กับนักเรียน

แนะนําแหลงคนควาจากเว็บไซต เพื่อให ครูและนักเรียนไดเขาถึงขอมูลความรู ที่หลากหลาย ทั้งไทยและตางประเทศ

สัญลักษณ

ขอสอบ

วัตถุประสงค

O-NET

ชีแ้ นะเนือ้ หาทีเ่ คยออกขอสอบ O-NET โดยยกตัวอยางขอสอบ พรอมวิเคราะหคําตอบ อยางละเอียด

เปนตัวอยางขอสอบที่มุงเนน การคิดใหครูนําไปใชไดจริง รวมถึงเปนการเก็งขอสอบ O-NET ที่จะออก มีทั้งปรนัย - อัตนัย พรอมเฉลยอยางละเอียด

แนวขอสอบ NT ในระดับ ประถมศึกษา มีทงั้ ปรนัย - อัตนัย พรอมเฉลยอยางละเอียด

แนะนําแนวทางการจัดกิจกรรม เชื่อมกับสาระหรือกลุมสาระ การเรียนรู ระดับชัน้ หรือวิชาอืน่ ที่เกี่ยวของ

แนะนําแนวทางการจัดกิจกรรม ซอมเสริมสําหรับนักเรียนที่ควร ไดรับการพัฒนาการเรียนรู

แนะนําแนวทางการจัดกิจกรรม ตอยอดสําหรับนักเรียนที่เรียนรู ไดอยางรวดเร็ว และตองการ ทาทายความสามารถในระดับ ที่สูงขึ้น

(เฉพาะวิชา ชัน้ ทีส่ อบ O-NET O-NET)

แนว

แนว

O-NET

NT

(เฉพาะวิชา ชัน้ ทีส่ อบ NT)

บูรณาการเชื่อมสาระ

กิจกรรมสรางเสริม

กิจกรรมทาทาย


คําแนะนําการใชคูมือครู การออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอน คูมือครู รายวิชา เทคโนโลยีฯ ป.1 จัดทําขึ้นเพื่อใหครูผูสอนนําไปใชเปนแนวทางวางแผนการสอนเพื่อพัฒนา ผลสัมฤทธิท์ างการเรียน และประกันคุณภาพผูเ รียน ตามนโยบายของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน (สพฐ.) โดยใชหนังสือเรียน เทคโนโลยีฯ ป.1 ของบริษัท อักษรเจริญทัศน อจท. จํากัด เปนสื่อหลัก (Core Material) ประกอบ เสร�ม 3 การสอนและการจัดกิจกรรมการเรียนรูใ หสอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรูแ ละตัวชีว้ ดั กลุม สาระการเรียนรู การงานอาชีพฯ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พ.ศ. 2551 โดยออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนตามหลักการสําคัญ ดังนี้ 1 ออกแบบการสอนเปนหนวยการเรียนรูอิงมาตรฐาน คูมือครู รายวิชา เทคโนโลยีฯ ป.1 วางแผนการสอนโดยแบงเปนหนวยการเรียนรูตามลําดับสาระ (Standard) และหมายเลขขอของมาตรฐานการเรียนรูแ ละตัวชีว้ ดั แตละหนวยจะกําหนดเปาหมายการสอนและจุดประสงคการเรียนรู (Objective Learning) กิจกรรมการเรียนรู (Learning Activities) และแนวทางการประเมินผลการเรียนรู (Learning Evaluation) ไวชัดเจน ครูผูสอนสามารถจัดทําแผนการสอนใหครอบคลุมมาตรฐานการเรียนรู ตัวชี้วัด สมรรถนะ และคุณลักษณะ อันพึงประสงคที่เปนเปาหมายการเรียนรูตามที่กําหนดไวในสาระแกนกลาง (ตามแผนภูมิ) และสามารถบันทึกผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนของผูเรียนแตละคนลงในเอกสาร ปพ.5 ไดอยางมั่นใจ แผนภูมิแสดงองคประกอบของการออกแบบการเรียนรูอิงมาตรฐานและเนนผูเรียนเปนสําคัญ

พผ

ูเ

จุดปร

ะสง

คก

ส ภา

รียน

รู ีเรยน

มาตรฐานการเรียนรู ตัวชี้วัดชั้นป

ทักษะการคิด การวัดประเมินผล การเรียนรู

กิจกรรมการเรียนรู

เทคนิคการสอน คูม อื ครู


2 การจัดการเรียนรูที่ยึดผูเรียนเปนสําคัญ แนวคิ ด ในการจั ด การเรี ย นการสอนที่ ยึ ด ผู  เ รี ย นเป น สํ า คั ญ พั ฒ นามาจากปรั ช ญาและทฤษฎี ก ารเรี ย นรู  Constructivism ที่เชื่อวาการเรียนรูเปนกระบวนการที่เกิดขึ้นภายในสมองของผูเรียนแตละคน ผูเรียนเปนผูสรางความรู โดยการเชื่อมโยงระหวางสิ่งที่ไดเรียนรูจากบทเรียนใหมกับความรูหรือประสบการณเดิมที่มีอยู ทฤษฎีนี้มีความเชื่อวา ผูเรียนทุกคนไดเรียนรูและมีการสั่งสมความรูความเขาใจเกี่ยวกับสิ่งตางๆ ติดตัวมากอน ทีจ่ ะเขาสูห อ งเรียน ซึง่ เปนการเรียนรูท เี่ กิดจากประสบการณและสิง่ แวดลอมรอบตัวผูเ รียนแตละคน ดังนัน้ การจัดกิจกรรม เสร�ม การเรียนการสอนในแตละหนวยการเรียนรู ผูสอนจะตองคํานึงถึง

4

1. ความรูเดิมของผูเรียน วิธีการสอนที่ดีจะตองเริ่มตนจากจุดที่วา ผูเ รียนมีความรูอ ะไรมาบาง แลวจึงใหความรู หรือประสบการณใหม เพื่อตอยอดจาก ความรูเดิม นําไปสูการสรางความรู ความเขาใจใหม

2. ความรูเดิมของผูเรียนถูกตองหรือไม ผูส อนตองปรับเปลีย่ นความรูค วามเขาใจเดิม ของผูเรียนใหถูกตอง และเปนพฤติกรรม การเรียนรูใ หมทมี่ คี ณุ คาตอผูเรียน เพื่อสราง เจตคติหรือทัศนคติที่ดีตอการเรียนรู สิ่งเหลานั้น

3. ผูเรียนสรางความหมายสําหรับตนเอง ผูสอนตองสงเสริมใหผูเรียนนําความรู ความเขาใจที่เกิดขึ้นไปลงมือปฏิบัติ เพื่อขยายความรูใหลึกซึ้งและมีคุณคา ตอตัวผูเรียนมากที่สุด

แนวคิด Constructivism เนนใหผูเรียนสรางความรูโดยผานกระบวนการคิดและความอยากรูของตนเอง โดยมีผูสอนเปนผูสรางบรรยากาศ

การเรียนรูและกระตุนความสนใจ คอยจัดสถานการณใหผูเรียนเกิดความขัดแยงทางความคิดระหวางประสบการณเดิมกับประสบการณ ความรูใ หม เพือ่ กระตนุ ใหผเู รียนเชือ่ มโยงความรู ความคิด กับประสบการณทมี่ อี ยูเ ดิม แลวสังเคราะหเปนความรูห รือแนวคิดใหมๆ ไดดว ยตนเอง

3 การบูรณาการกระบวนการคิด การเรียนรูข องผูเ รียนแตละคนจะเกิดขึน้ ทีส่ มอง ซึง่ เปนอวัยวะทีท่ าํ หนาทีร่ คู ดิ ภายใตสภาพแวดลอมทีเ่ อือ้ อํานวย และไดรบั การกระตนุ จูงใจอยางเหมาะสม สอดคลองกับสภาพจิตใจและความตองการของผูเ รียนแตละคน การจัดกิจกรรม การเรียนรูและสาระการเรียนรูที่สอดคลองกับความสนใจและมีความหมายตอผูเรียน จะชวยกระตุนใหสมองของผูเรียน สามารถรับรูและเรียนรูไดอยางมีประสิทธิภาพตามขั้นตอนการทํางานของสมอง ดังนี้ 1. สมองจะเรียนรูและสืบคน โดยการสังเกต คนหา ซักถาม และทดลอง ปฏิบัติ จนทําใหคนพบความรูความเขาใจ ไดอยางรวดเร็ว

2. สมองจะแยกแยะคุณคาของสิ่งตางๆ โดยการตัดสินใจวิพากษวิจารณ แสดง ความคิดเห็น ยอมรับหรือตอตานตาม อารมณความรูสึกที่เกิดขึ้นในขณะที่เรียนรู

3. สมองจะประมวลเนื้อหาสาระ โดยการสรุปเปนความคิดรวบยอดจาก เรื่องราวที่ไดเรียนรูใหมนําไปผสมผสานกับ ความรูห รือประสบการณเดิมทีถ่ กู จัดเก็บอยูใ น สมอง ผานการกลัน่ กรองเพือ่ สังเคราะหเปน ความรูค วามเขาใจใหมๆ หรือเปนทัศนคติใหม ที่จะเก็บบรรจุไวในสมองของผูเรียน

การเรียนรูที่มีประสิทธิภาพจึงตองเปนการเรียนรูที่เกิดจากกระบวนการคิดของผูเรียน เพราะการเรียนรูจะเกิดขึ้น เมื่อสมองรูคิด และตองเปนการคิดไดครบถวนตามขั้นตอนการทํางานของสมองผูเรียน โดยเริ่มตนจาก 1. ระดับการคิดพื้นฐาน ไดแก การสังเกต การจําแนก การคาดคะเน การสื่อความหมาย การรวบรวมขอมูล การสรุปผล เปนตน

คูม อื ครู

2. ระดับลักษณะการคิด ไดแก การคิดกวาง คิดลึกซึ้ง คิดไกล คิดหลากหลาย คิดคลอง คิดอยางมีเหตุผล เปนตน

3. ระดับกระบวนการคิด ไดแก กระบวนการคิดอยางมีวิจารณญาณ กระบวนการแกปญหา กระบวนการ คิดสรางสรรค กระบวนการคิดสังเคราะหวจิ ยั เปนตน


5Es การจัดกิจกรรมตามขั้นตอนวัฏจักรการเรียนรู 5Es ขั้นตอนการสอนที่สัมพันธกับขั้นตอนการคิดและการทํางานทางสมองของผูเรียนที่นิยมใชอยางแพรหลาย คือ วัฏจักรการเรียนรู 5Es ซึ่งผูจัดทําคูมือครูไดนํามาใชเปนแนวทางออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนในแตละหนวย ตามลําดับขั้นตอนการเรียนรู ดังนี้ ขั้นที่ 1

กระตุนความสนใจ

(Engage)

เปนขัน้ ทีผ่ สู อนนําเขาสูบ ทเรียน เพือ่ กระตุน ความสนใจของผูเ รียนดวยเรือ่ งราวหรือเหตุการณทนี่ า สนใจโดยใชเทคนิควิธกี ารสอน และคําถามทบทวนความรูหรือประสบการณเดิมของผูเรียน เพื่อเชื่อมโยงผูเรียนเขาสูความรูของบทเรียนใหม ชวยใหผูเรียนสามารถ สรุปประเด็นสําคัญที่เปนหัวขอและสาระการเรียนรูของบทเรียนได จึงเปนขั้นตอนการสอนที่สําคัญ เพราะเปนการเตรียมความพรอม และสรางแรงจูงใจใฝเรียนรูแกผูเรียน

ขั้นที่ 2

สํารวจคนหา

เสร�ม

5

(Explore)

เปนขัน้ ทีผ่ สู อนเปดโอกาสใหผเู รียนลงมือศึกษา สังเกต หรือรวมมือกันสํารวจ เพือ่ ใหเห็นขอบขายของปญหา รวมถึงวิธกี ารศึกษา คนควา การรวบรวมขอมูลความรูที่จะนําไปสูการสรางความเขาใจประเด็นปญหานั้นๆ เมื่อผูเรียนทําความเขาใจในประเด็นหัวขอที่จะ ศึกษาคนควาอยางถองแทแลว ก็ลงมือปฏิบัติเพื่อเก็บรวบรวมขอมูลความรู สํารวจตรวจสอบ โดยวิธีการตางๆ เชน สัมภาษณ ทดลอง อานคนควาขอมูลจากเอกสาร แหลงขอมูลตางๆ จนไดขอมูลความรูตามที่ตั้งประเด็นศึกษาไว

ขั้นที่ 3

อธิบายความรู

(Explain)

เปนขั้นที่ผูสอนมีปฏิสัมพันธกับผูเรียน เชน ใหการแนะนํา ตั้งคําถามกระตุนใหคิด เพื่อใหผูเรียนคนหาคําตอบ และนําขอมูล ความรูจากการศึกษาคนควาในขั้นที่ 2 มาวิเคราะห สรุปผล และนําเสนอผลที่ไดศึกษาคนความาในรูปแบบสารสนเทศตางๆ เชน เขียนแผนภูมิ แผนผังแสดงมโนทัศน เขียนความเรียง เขียนรายงาน เปนตน ในขั้นตอนนี้ฝกใหผูเรียนใชสมองคิดวิเคราะหและ สังเคราะหอยางเปนระบบ

ขั้นที่ 4

ขยายความเขาใจ

(Expand)

เปนขั้นที่ผูสอนเลือกใชเทคนิควิธีการสอนตางๆ ที่สงเสริมใหผูเรียนนําความรูที่เกิดขึ้นไปคิดคนสืบคนตอๆ ไป เพื่อพัฒนาทักษะ การเรียนรูและการทํางานรวมกันเปนกลุม ระดมสมองเพื่อคิดสรางสรรครวมกัน ผูเรียนสามารถนําความรูที่สรางขึ้นใหมไปเชื่อมโยง กับประสบการณเดิมโดยนําขอสรุปทีไ่ ดไปใชอธิบายเหตุการณตา งๆ หรือนําไปปฏิบตั ใิ นสถานการณใหมๆ ทีเ่ กีย่ วของกับชีวติ ประจําวัน ของตนเอง เพื่อขยายความรูความเขาใจใหกวางขวางยิ่งขึ้น ในขั้นตอนนี้ฝกสมองของผูเรียนใหสามารถคิดริเริ่มสรางสรรคอยางมี คุณภาพ เสริมสรางวิสัยทัศนใหกวางไกลออกไป

ขั้นที่ 5

ตรวจสอบผล

(Evaluate)

เปนขัน้ ทีผ่ สู อนประเมินมโนทัศนของผูเ รียน โดยตรวจสอบจากความคิดทีเ่ ปลีย่ นไปและความคิดรวบยอดทีเ่ กิดขึน้ ใหม ตรวจสอบ ทักษะ กระบวนการปฏิบัติ การแกปญหา การตอบคําถามรวบยอด และการเคารพความคิดหรือยอมรับเหตุผลของคนอื่น เพื่อการ สรางสรรคความรูร ว มกัน ผูเ รียนสามารถประเมินผลการเรียนรูข องตนเอง เพือ่ สรุปผลวามีความรูอ ะไรเพิม่ ขึน้ มาบาง เกิดความเขาใจ มากนอยเพียงใด และจะนําความรูเหลานั้นไปประยุกตใชในการเรียนรูเรื่องอื่นๆ ไดอยางไร ผูเรียนจะเกิดเจตคติและเห็นคุณคาของ ตนเองจากผลการเรียนรูที่เกิดขึ้น ซึ่งเปนการเรียนรูที่มีความสุขอยางแทจริง

การจัดกิจกรรมการเรียนรูตามขั้นตอนวัฏจักรการสรางความรูแบบ 5Es จึงเปนรูปแบบการเรียนการสอนที่เนน ผูเ รียนเปนสําคัญอยางแทจริง เพราะสงเสริมใหผเู รียนไดลงมือปฏิบตั ติ ามขัน้ ตอนของกระบวนการสรางความรูด ว ยตนเอง และฝกฝนใหใชกระบวนการคิดและกระบวนการกลุมอยางชํานาญ กอใหเกิดทักษะชีวิต ทักษะการทํางานและทักษะการ เรียนรูท มี่ ปี ระสิทธิภาพ สงผลตอการยกระดับผลสัมฤทธิข์ องผูเ รียน ตามเปาหมายของการปฏิรปู การศึกษาทศวรรษที่ 2 (พ.ศ. 2552-2561) ทุกประการ คูม อื ครู


O-NET การเพิ่มผลสัมฤทธิ์ O-NET

การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามขั้นตอนวัฏจักรการเรียนรู 5Es ในแตละหนวยการเรียนรู ทางผูจัดทํา จะเสนอแนะวิธีสอนรูปแบบกิจกรรมการเรียนรู พรอมทั้งออกแบบเครื่องมือวัดผลประเมินผลที่สอดคลองกับตัวชี้วัด และสาระการเรียนรูแกนกลางไวทุกขั้นตอน โดยยึดหลักสําคัญ คือ เปาหมายของการวัดผลประเมินผล เสร�ม

6

1. การวัดผลทุกครั้งตองนําผล การวัดมาปรับปรุงพัฒนาผูเรียน เปนรายบุคคล

2. การประเมินผลมีเปาหมาย เพื่อพัฒนาการเรียนรูของผูเรียน จนเต็มศักยภาพ

3. การนําผลการวัดและประเมิน ทุกครั้งมาวางแผนปรับปรุงกิจกรรม การเรียนการสอน การเลือกเทคนิค วิธีการสอน และสื่อการเรียนรูให เหมาะสมกับสภาพจริงของผูเรียน

การทดสอบผูเรียน 1. การใชขอสอบอัตนัย เนนการอาน การคิดวิเคราะห และเขียนสรุปเพิ่มมากขึ้น 2. การใชคําถามกระตุนการคิด ควบคูกับการทําขอสอบที่เนนการคิดตลอดตอเนื่องตามลําดับกิจกรรมการเรียนรูและ ตัวชี้วัด 3. การทดสอบตองดําเนินการทั้งกอนเรียน ระหวางเรียน และเมื่อสิ้นสุดการเรียน การทดสอบระหวางเรียน ต อ งใช ข  อ สอบทั้ ง ชนิ ด ปรนั ย และอั ต นั ย และเป น การทดสอบเพื่ อ วิ นิ จ ฉั ย ผลการเรี ย นของผู  เ รี ย นแต ล ะคน เพื่อวัดการสอนซอมเสริมใหบรรลุตัวชี้วัดทุกตัว 4. การสอบกลางภาค (ถามี) ควรนําขอสอบหรือแบบฝกหัดที่นักเรียนสวนใหญทําผิดบอยๆ มาสรางเปนแบบทดสอบ อีกครัง้ เพือ่ ตรวจสอบความรูค วามเขาใจทีถ่ กู ตอง และประเมินความกาวหนาของผูเรียนแตละคน 5. การสอบปลายภาคเรียนเพื่อวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามตัวชี้วัดที่สําคัญ ควรออกขอสอบใหมีลักษณะเดียวกับ ขอสอบ O-NET โดยเนนการคิดวิเคราะห สังเคราะห เชื่อมโยงประยุกตใช เพื่อสรางความคุนเคย และฝกฝน วิธีการทําขอสอบดวยความมั่นใจ 6. การนําผลการทดสอบของผูเรียนมาวิเคราะห โดยผลการสอบกอนการเรียนตองสามารถพยากรณผลการสอบ กลางภาค และผลการสอบกลางภาคตองทํานายผลการสอบปลายภาคของผูเ รียนแตละคน เพือ่ ประเมินพัฒนาการ ความกาวหนาของผูเรียนเปนรายบุคคล 7. ผลการทดสอบปลายป ปลายภาค ตองมีคาเฉลี่ยสอดคลองกับคาเฉลี่ยของการสอบ NT ที่เขตพื้นที่การศึกษา จัดสอบ รวมทั้งคาเฉลี่ยของการสอบ O-NET ชวงชั้นที่สอดคลองครอบคลุมมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดสําคัญ เพือ่ สะทอนประสิทธิภาพของครูผสู อนในการออกแบบการเรียนรูแ ละประกันคุณภาพผูเ รียนทีต่ รวจสอบผลไดชดั เจน การจัดการเรียนการสอนในแตละหนวยการเรียนรู ตองใหผูเรียนไดสั่งสมความรู สะสมความเขาใจไปทีละเล็ก ละนอยตามลําดับขัน้ ตอนของกิจกรรมการเรียนรู 5Es เพือ่ ใหผเู รียนไดเติมเต็มองคความรูอ ยางตอเนือ่ ง จนสามารถปฏิบตั ิ ชิ้นงานหรือภาระงานรวบยอดของแตละหนวยผานเกณฑประกันคุณภาพในระดับที่นาพึงพอใจ เพื่อรองรับการประเมิน ภายนอกจาก สมศ. ตลอดเวลา คูม อื ครู


ASEAN การเรียนรูสูประชาคมอาเซียน เพื่ออํานวยความสะดวกแกครูผูสอนในการจัดกิจกรรมการเรียนรูบูรณาการอาเซียนศึกษา ผูจัดทําไดวิเคราะห มาตรฐานการเรียนรู และตัวชี้วัดที่มีสาระการเรียนรูสอดคลองกับองคความรูเกี่ยวกับประชาคมอาเซียนในแงมุมตางๆ ครอบคลุมทัง้ ประชาคมการเมืองและความมัน่ คงอาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และประชาคมสังคมและวัฒนธรรม อาเซียน เพื่อสงเสริมการเรียนรูใหผูเรียนเกิดความตระหนัก มีความรูความเขาใจเหมาะสมกับระดับชั้นและกลุมสาระ การเรียนรู โดยเสนอแนะวิธีการจัดกิจกรรมบูรณาการเนื้อหาสาระตางๆ ที่เปนประโยชนตอผูเรียนและเปนการชวย เตรียมความพรอมผูเ รียนทุกคนทีจ่ ะกาวเขาสูก ารเปนสมาชิกของประชาคมอาเซียนไดอยางมัน่ ใจตามขอตกลงปฏิญญา เสร�ม ชะอํา-หัวหิน วาดวยความรวมมือดานการศึกษาเพือ่ บรรลุเปาหมายประชาคมอาเซียนทีเ่ อือ้ อาทรและแบงปน จึงกําหนด 7 เปนนโยบายใหกระทรวงศึกษาธิการจัดการเรียนรูเตรียมความพรอมผูเรียนเขาสูป ระชาคมอาเซียนภายในป พ.ศ. 2558 ตามแนวปฏิบัติที่สําคัญ ดังนี้

การจัดการเรียนรูส ู ประชาคมการเมืองและความมัน่ คงอาเซียน 1. การสรางความรูความเขาใจ และตระหนักถึงความสําคัญของ กฎบัตรอาเซียน และความรวมมือ ของ 3 เสาหลัก ซึง่ กฎบัตรอาเซียน ในขณะนี้มีสถานะเปนกฎหมายที่ ประเทศสมาชิกจะตองปฏิบัติตาม หลักการที่กําหนดไวเพื่อใหบรรลุ เปาหมายของกฎบัตรมาตราตางๆ

2. การสงเสริมหลักการ ประชาธิปไตยและการสราง สิ่งแวดลอมประชาธิปไตย เพื่อการอยูรวมกันอยางกลมกลืน ภายใตวิถีชีวิตอาเซียนที่มีความ หลากหลายดานสังคมและ วัฒนธรรม

4. การตระหนักในคุณคาของ สายสัมพันธทางประวัติศาสตร และมรดกทางวัฒนธรรมที่มี พัฒนาการรวมกัน เพื่อเชื่อม อัตลักษณและสรางจิตสํานึก ในการเปนประชากรของประชาคม อาเซียนรวมกัน

3. การสงเสริมการศึกษาดาน สิทธิมนุษยชน เพื่อสรางประชาคม อาเซียนใหเปนประชาคมเพื่อ ประชาชนอยางแทจริง สามารถ อยูรวมกันไดบนพื้นฐานการเคารพ ในคุณคาของศักดิ์ศรีแหงความ เปนมนุษยเทาเทียมกัน

5. การสงเสริมสันติภาพ ความ มั่นคง และความปรองดองในสังคม ทั้งระดับประเทศและภูมิภาคของ อาเซียนบนพื้นฐานสันติวิธีและการ อยูรวมกันดวยขันติธรรม

คูม อื ครู


การจัดการเรียนรูส ู ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

เสร�ม

8

1. การพัฒนาทักษะการทํางาน เพื่อเสริมสรางผูเรียนใหมีทักษะ วิชาชีพที่จําเปนสอดคลองกับ ความตองการของตลาดแรงงาน และสถานประกอบการในอาเซียน สามารถเทียบโอนผลการเรียน และการทํางานตามมาตรฐานฝมือ แรงงานในภูมิภาคอาเซียน

2. การเสริมสรางวินัย ความรับผิดชอบ และเจตคติรักการทํางาน สามารถพึ่งพาตนเอง มีทักษะชีวิต ดํารงชีวิตอยางมีความสุข เห็นคุณคา และภูมิใจในตนเอง ในฐานะที่เปนพลเมืองไทยและ อาเซียน

3. การเรียนรูเพื่อพัฒนาตนเอง อยางตอเนื่องตลอดชีวิต ใหมี ทักษะการทํางานตามมาตรฐาน อาชีพ และคุณวุฒิของวิชาชีพสาขา ตางๆ เพื่อรองรับการเตรียมเคลื่อน ยายแรงงานมีฝมือและการเปน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนที่ เขมแข็ง เพื่อสรางขีดความสามารถ ในการแขงขันในเวทีโลก

การจัดการเรียนรูส ู ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน 1. การเสริมสรางความรวมมือ ในลักษณะสังคมที่เอื้ออาทร ของประชากรอาเซียน โดยยึด หลักการสําคัญ คือ ความงดงาม ของประชาคมอาเซียนมาจาก ความแตกตางและหลากหลายทาง วัฒนธรรมที่ลวนแตมีคุณคาตอ มรดกทางวัฒนธรรมของอาเซียน ซึ่งประชาชนทุกคนตองอนุรักษ สืบสานใหยั่งยืน

2. การเสริมสรางคุณลักษณะ ของผูเรียนใหเปนพลเมืองอาเซียน ที่มีศักยภาพในการกาวเขาสู ประชาคมอาเซียนอยางมั่นใจ เปนผูที่มีสุขภาพสมบูรณแข็งแรง มีทักษะการสื่อสาร ทักษะการ ทํางาน ทักษะทางสังคม สามารถ ทํางานรวมกับผูอื่นไดอยาง สรางสรรค และมีองคความรู เกี่ยวกับอาเซียนที่จําเปนตอการ ดํารงชีวิตอยางมีคุณภาพ

4. การสงเสริมการเรียนรูดาน ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี วิถชี วี ติ ความเปนอยูข องเพือ่ นบาน ในอาเซียน เพื่อสรางจิตสํานึกของ ความเปนประชาคมอาเซียนและ ตระหนักถึงหนาที่ของการเปน พลเมืองอาเซียนรวมกัน

3. การสงเสริมการเรียนรูภาษา อังกฤษเพื่อการสื่อสารและการ ทํางานตามมาตรฐานอาชีพที่ กําหนดและสนับสนุนการเรียนรู ภาษาอาเซียนและภาษาเพื่อนบาน เพื่อชวยเสริมสรางสัมพันธภาพทาง สังคม และการอยูรวมกันอยางสันติ ทามกลางความหลากหลายทาง วัฒนธรรม

5. การสรางความรูและความ ตระหนักเกี่ยวกับดานสิ่งแวดลอม ปญหาและผลกระทบตอคุณภาพ ชีวิตของประชากรในภูมิภาค รวมทั้งแนวทางการพัฒนาอยาง ยั่งยืน ใหเปนมรดกสืบทอดแก พลเมืองอาเซียนในรุนหลังตอๆ ไป

กระทรวงศึกษาธิการจึงประกาศนโยบายการปฏิรูปการศึกษาทศวรรษที่ 2 (พ.ศ. 2552-2561) เพื่อเรงพัฒนาเด็ก และเยาวชนไทยใหเปนทรัพยากรมนุษยของชาติที่มีทักษะและความชํานาญ พรอมเผชิญกับความเปลี่ยนแปลงและ การแขงขันทั้งในภูมิภาคอาเซียนและภูมิภาคอื่นๆ ของสังคมโลก ทั้งนี้ผูบริหารสถานศึกษา ครูผูสอน และผูปกครอง ควรรวมมือกันอยางใกลชิดในการดูแลชวยเหลือผูเรียนและจัดประสบการณการเรียนรูเพื่อพัฒนาผูเรียนจนเต็มศักยภาพ เพื่อกาวเขาสูการเปนพลเมืองอาเซียนอยางมีเกียรติภูมิและศักดิ์ศรีความเปนมนุษยของตน คณะผูจัดทํา คูม อื ครู


ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง สาระที่ 1

การงานอาชีพฯ (เฉพาะชั้น ป.1)*

การดํารงชีวิตและครอบครัว

มาตรฐาน ง 1.1 เขาใจการทํางาน มีความคิดสรางสรรค มีทกั ษะกระบวนการทํางาน ทักษะการจัดการ ทักษะกระบวนการ แกปญหา ทักษะการทํางานรวมกัน และทักษะการแสวงหาความรู มีคุณธรรม และลักษณะนิสัยในการ ทํางาน มีจิตสํานึกในการใชพลังงาน ทรัพยากรและสิ่งแวดลอม เพื่อการดํารงชีวิตและครอบครัว ชั้น

ตัวชี้วัด

ป.1 1. บอกวิธีการทํางาน เพื่อชวยเหลือตนเอง

สาระการเรียนรูแกนกลาง

• วิธีการทํางานเพื่อชวยเหลือตนเอง เปนการลงมือทํางานที่มุงเมน • การฝกทํางานอยางสมํ่าเสมอ เชน - การแตงกาย - การเก็บของใช - การหยิบจับใชของใชสวนตัว - การจัดโตะ ตู ชั้น

• การใชวัสดุ อุปกรณ และเครื่องมืองายๆ 2. ใชวัสดุ อุปกรณ ในการทํางานอยางปลอดภัย เชน และเครื่องมืองายๆ ในการทํางานอยางปลอดภัย - การทําความคุนเคยกับการใช เครื่องมือ - การรดนํ้าตนไม - การถอนและเก็บวัชพืช - การพับกระดาษเปนของเลน 3. ทํางานเพื่อชวยเหลือตนเอง อยางกระตือรือรน และตรงเวลา

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

เสร�ม

9

สาระที่ 1 ตัวชี้วัดที่ 1-3 นี้ จะปรากฎ ในหนังสือเรียน การงาน อาชีพและเทคโนโลยี ป.1

• ความกระตือรือรนและตรงเวลา เปนลักษณะนิสัยในการทํางาน

หมายเหตุ : หนังสือเรียน เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ป.1 เรียนเฉพาะสาระที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารเทานั้น

* สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, กระทรวงศึกษาธิการ. ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี. (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย, 2551), หนา 6 - 50. คูม อื ครู


สาระที่ 3

เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

มาตรฐาน ง 3.1 เขาใจ เห็นคุณคา และใชกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบคนขอมูล การเรียนรู การสื่อสาร การแกปญหา การทํางาน และอาชีพอยางมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และมีคุณธรรม ชั้น

เสร�ม

10

ตัวชี้วัด

ป.1 1. บอกขอมูลที่สนใจและ แหลงขอมูลที่อยูใกลตัว

2. บอกประโยชนของอุปกรณ เทคโนโลยีสารสนเทศ

คูม อื ครู

สาระการเรียนรูแกนกลาง

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

• หนวยการเรียนรูที่ 1 • ขอมูลของสิ่งตางๆ ที่สนใจอาจเปน ขอมูลนารู ขอมูลเกี่ยวกับบุคคล สัตว สิ่งของ บทที่ 1 รับรูขอมูล เรื่องราว และเหตุการณตางๆ บทที่ 2 แหลงขอมูลนารู • แหลงขอมูลที่อยูใกลตัว เชน บาน หองสมุด ผูปกครอง ครู หนังสือพิมพ รายการโทรทัศน • หนวยการเรียนรูที่ 2 • อุปกรณเทคโนโลยีสารสนเทศ เชน อุปกรณเทคโนโลยี คอมพิวเตอร กลองดิจิทัล โทรทัศน สารสนเทศ วิทยุ โทรศัพทมือถือ บทที่ 1 รูจ ักอุปกรณ • ประโยชนของอุปกรณเทคโนโลยีเทคโนโลยี สารสนเทศ เชน ใชในการเรียน สารสนเทศ ใชวาดภาพ ใชติดตอสื่อสาร บทที่ 2 คอมพิวเตอรนารู


คําอธิบายรายวิชา รายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ชั้นประถมศึกษาปที่ 1 รหัสวิชา ง…………………………………

กลุมสาระการเรียนรู การงานอาชีพและเทคโนโลยี ภาคเรียนที่ 1-2 เวลา 20 ชั่วโมง/ป

ศึกษาขอมูลที่นาสนใจและแหลงขอมูลที่อยูใกลตัว เชน ผูปกครอง ครู อุปกรณเทคโนโลยีสารสนเทศ เสร�ม 11 ตางๆ บอกหนาที่และประโยชนของอุปกรณเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยใชกระบวนการการทํางาน กระบวนการปฏิบตั ิ กระบวนการคิดวิเคราะหและกระบวนการทํางานกลมุ เพื่อใหเกิดความรู ความคิด ความเขาใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรูและเห็นคุณคาของการทํางาน และนํา ความรูที่เรียนไปประยุกตใชในชีวิตประจําวัน มีความสามารถในการตัดสินใจ มีจริยธรรม คุณธรรม คานิยม ที่เหมาะสม และมีจิตสํานึกในการอนุรักษสิ่งแวดลอม ตัวชี้วัด ง 3.1

ป.1/1

ป.1/2 รวม 2 ตัวชี้วัด

คูม อื ครู


จุดเนนการพัฒนาคุณภาพผูเรียน* การขับเคลื่อนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551 และการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษ ที่สอง (พ.ศ. 2552-2561) ใหประสบผลสําเร็จตามจุดเนนการพัฒนาคุณภาพผูเรียน โดยใหทุกภาคสวน รวมกันดําเนินการ กระทรวงศึกษาธิการไดกําหนดจุดเนนการพัฒนาคุณภาพผูเรียน ดังนี้ เสร�ม

12

ทักษะ ความสามารถ

คุณลักษณะ จุดเนนตามชวงวัย

ม. 4-6

แสวงหาความรู เพื่อแกปญหา ใชเทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู ใชภาษาตางประเทศ (ภาษาอังกฤษ) มีทักษะการคิดขั้นสูง ทักษะชีวิต ทักษะการสื่อสารอยางสรางสรรคตามชวงวัย

ม. 1-3

แสวงหาความรูดวยตนเอง ใชเทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู มีทักษะการคิดขั้นสูง ทักษะชีวิต ทักษะการสื่อสารอยางสรางสรรคตามชวงวัย

• อยูอยางพอเพียง

ป. 4-6

อานคลอง เขียนคลอง คิดเลขคลอง ทักษะการคิดขั้นพื้นฐาน ทักษะชีวิต ทักษะการสื่อสารอยางสรางสรรคตามชวงวัย

• ใฝเรียนรู

ป. 1-3

อานออก เขียนได คิดเลขเปน มีทักษะการคิดขั้นพื้นฐาน ทักษะชีวิต ทักษะการสื่อสารอยางสรางสรรคตามชวงวัย

• ใฝดี

• มุงมั่นในการศึกษา และการทํางาน

คุณลักษณะตามหลักสูตร

• รักชาติ ศาสน กษัตริย • ซื่อสัตยสุจริต • มีวินัย • ใฝเรียนรู • อยูอยางพอเพียง • มุงมั่นในการทํางาน • รักความเปนไทย • มีจิตสาธารณะ

* สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, กระทรวงศึกษาธิการ. แนวทางการนําจุดเนนการพัฒนาผูเรียน สูการปฏิบัติ. (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย, 2553), หนา 3-10.

คูม อื ครู


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ÃÒÂÇÔªÒ¾×é¹°Ò¹

à·¤â¹âÅÂÕÊÒÃʹà·ÈáÅСÒÃÊ×èÍÊÒà ».ñ ªÑé¹»ÃжÁÈÖ¡ÉÒ»‚·Õè ñ ¡ÅØ‹ÁÊÒÃСÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ ¡ÒçҹÍÒªÕ¾áÅÐà·¤â¹âÅÂÕ µÒÁËÅÑ¡ÊÙµÃ᡹¡ÅÒ§¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñé¹¾×é¹°Ò¹ ¾Ø·¸ÈÑ¡ÃÒª òõõñ

¼ÙŒàÃÕºàÃÕ§ ¹Ò§¼¡ÒÁÒÈ ºØÞà¼×Í¡ ¼ÙŒµÃǨ

¹Ò§¾ÃóÇÅÕ ©ÔÁ´Í¹·Í§ ¹Ò§ÍÒ·ÔµÂÒ ªíÒ¹Òި، ¹Ò§ÊÒÇÇÕÃÐÇÃó ÇÕÃо§É

ºÃóҸԡÒà ¹Ò¹ѵµÔÇѲ¹ ÈÃÕºØÉÂ

¾ÔÁ¾ ¤ÃÑ駷Õè ÷

ʧǹÅÔ¢ÊÔ·¸ÔìµÒÁ¾ÃÐÃÒªºÑÞÞÑµÔ ISBN : 978-616-203-064-2 ÃËÑÊÊÔ¹¤ŒÒ ñññ÷ðñõ

¤Œ¹¤ÇÒÁÃÙŒ¢ÂÒ¤ÇÒÁ¤Ô´¨Ò¡

¾ÔÁ¾ ¤ÃÑ駷Õè ñ ÃËÑÊÊÔ¹¤ŒÒ ññô÷ðóô

EB GUIDE

ที่พิมพกํากับหัวขอสําคัญในหนังสือเรียนหลักสูตรใหม ชั้น ป.๔ ขึ้นไป ผาน www.aksorn.com ไปยังแหลงความรูทั่วไทย-ทั่วโลก

(

ดูแผนผังความคิดฯ ไดทปี่ กหลังดานใน)


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

คํานํา ˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ à·¤â¹âÅÂÕÊÒÃʹà·ÈáÅСÒÃÊ×èÍÊÒà ».ñ àÅ‹Á¹Õé¨Ñ´·íÒ¢Öé¹ ÊíÒËÃѺ㪌»ÃСͺ¡ÒÃàÃÕ¹¡ÒÃÊ͹ªÑé¹»ÃжÁÈÖ¡ÉÒ»‚·Õè ñ â´Â´íÒà¹Ô¹¡ÒèѴ·íÒãËŒ ÊÍ´¤ÅŒÍ§µÒÁ¡Ãͺ¢Í§ËÅÑ¡ÊÙµÃ᡹¡ÅÒ§¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñ¹é ¾×¹é °Ò¹ ¾.È. òõõñ ·Ø¡»ÃСÒà ʋ§àÊÃÔÁ¡Ãкǹ¡ÒäԴ ¡ÒÃÊ׺àÊÒÐËÒ¤ÇÒÁÃÙŒ ¡ÒÃá¡Œ»Þ ˜ ËÒ ¤ÇÒÁÊÒÁÒö 㹡ÒÃÊ×Íè ÊÒà ¡ÒõѴÊԹ㨠¡ÒùíÒä»ãªŒã¹ªÕÇµÔ Ê‹§àÊÃÔÁãËŒ¼àÙŒ ÃÕ¹ࢌÒã¨áÅÐÁÕ·¡Ñ ÉÐ㹡Ò䌹ËÒ¢ŒÍÁÙÅ Í‹ҧÁÕ¢¹Ñé µÍ¹ ÃÙ¨Œ ¡Ñ ¹íÒ»ÃÐ⪹ ¢Í§ÍØ»¡Ã³ à·¤â¹âÅÂÕÊÒÃʹà·ÈÁÒ»ÃÐÂØ¡µ 㪌㹡Òà ·íҧҹ͋ҧÁդس¸ÃÃÁ ˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ à·¤â¹âÅÂÕÊÒÃʹà·ÈáÅСÒÃÊ×Íè ÊÒà ».ñ àÅ‹Á¹Õé ÁÕ·§Ñé ËÁ´ ò ˹‹Ç ã¹áµ‹ÅÐ˹‹ÇÂẋ§à»š¹º·Â‹ÍÂæ «Ö觻ÃСͺ´ŒÇ ñ. ໇ÒËÁÒ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙ»Œ ÃШíÒ˹‹Ç ¡íÒ˹´ÃдѺ¤ÇÒÁÃÙŒ ¤ÇÒÁÊÒÁÒö ¢Í§¼ÙàŒ ÃÕ¹NjÒàÁ×Íè àÃÕ¹¨ºã¹áµ‹ÅÐ˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ µŒÍ§ºÃÃÅØÁҵðҹµÑǪÕÇé ´Ñ ·Õ¡è Òí ˹´ äÇŒã¹ËÅÑ¡ÊٵâŒÍã´ºŒÒ§ ò. ÊÒÃÐÊíÒ¤ÑÞ á¡‹¹¤ÇÒÁÃÙŒ·Õè໚¹¤ÇÒÁÃÙŒ¤ÇÒÁࢌÒ㨤§·¹µÔ´µÑǼٌàÃÕ¹ ó. à¹×éÍËÒ ¤ÃºµÒÁËÅÑ¡ÊÙµÃ᡹¡ÅÒ§¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñé¹¾×é¹°Ò¹ ¾.È. òõõñ ¹íÒàʹÍàËÁÒÐÊÁ¡Ñº¡ÒÃàÃÕ¹¡ÒÃÊ͹ã¹áµ‹ÅÐÃдѺªÑé¹ ô. ¡Ô¨¡ÃÃÁ ÁÕËÅÒ¡ËÅÒÂÃٻẺãËŒ¹Ñ¡àÃÕ¹»¯ÔºÑµÔ ẋ§à»š¹ (ñ) ¡Ô¨¡ÃÃÁ¹íÒÊ‹Ù¡ÒÃàÃÕ¹ ¹íÒࢌÒÊ‹Ùº·àÃÕ¹à¾×èÍ¡Ãе،¹¤ÇÒÁʹ㨠ᡋ¼ÙŒàÃÕ¹ (ò) ¡Ô¨¡ÃÃÁ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ ÁͺËÁÒÂãËŒ¹Ñ¡àÃÕ¹½ƒ¡»¯ÔºÑµÔà¾×è;Ѳ¹Ò ¤ÇÒÁÃÙŒ áÅзѡÉлÃШíÒ˹‹Ç ¤³Ð¼ÙŒ¨Ñ´·íÒËÇѧ໚¹Í‹ҧÂÔè§Ç‹Ò ˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ à·¤â¹âÅÂÕÊÒÃʹà·È áÅСÒÃÊ×èÍÊÒà ».ñ àÅ‹Á¹Õé ¨Ð໚¹Ê×èÍ¡ÒÃàÃÕ¹¡ÒÃÊ͹·ÕèÍíҹǻÃÐ⪹ µ‹Í¡Òà àÃÕ¹෤â¹âÅÂÕáÅÐÊÒÃʹà·È à¾×èÍãËŒÊÑÁÄ·¸Ô¼ÅµÒÁÁҵðҹµÑǪÕéÇÑ´·Õè¡íÒ˹´änj㹠ËÅÑ¡ÊÙµÃ᡹¡ÅÒ§¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñé¹¾×é¹°Ò¹ ¾.È. òõõñ ·Ø¡»ÃСÒà ¤³Ð¼ÙŒ¨Ñ´·íÒ


กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

เปาหมายการเรียนรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

คําชี้แจงในการใชสื่อ

กําหนดระดับความรูความสามารถ ของผูเรียนเมื่อเรียนจบหนวย

¡Ô¨¡ÃÃÁ¹�ÊÙ‹¡ÒÃàÃÕ¹ นําเขาสูบทเรียนใชกระตุนความสนใจ และวัดประเมินผลกอนเรียน

ÊÔè§ã´ ໚¹áËÅ‹§¢ŒÍÁÙÅ ºŒÒ§¹Ð

º··Õè

๑๑

รับรูขอมูล ¡Ô¨¡ÃÃÁ¹ÓÊÙ‹¡ÒÃàÃÕ¹

หนวยการเรียนรูที่

ขอมูลนารู เปาหมายการเรียนรูประจําหนวยที่ ๑

เมื่อเรียนจบหนวยน�้ ผูเรียนจะมีความรูความสามารถตอไปน�้ บอกขอมูลที่สนใจและแหลงขอมูลที่อยูใกลตัว (มฐ. ง ๓.๑ ป.๑/๑) ●

à¾×èÍ¹æ ¤Ô´Ç‹Ò à´ç¡ã¹ÀÒ¾ ¨Ðä´ŒÃѺ¢ŒÍÁÙÅÍÐäúŒÒ§¨ Ð

í

เน�้อหา

ครบตามหลักสูตรแกนกลางฯ พ.ศ. ๒๕๕๑ นําเสนอเหมาะสม กับการเรียนการสอนในแตละระดับชั้น

ขอมูลเปนเรื่องราวหรือสิ่งตางๆ ที่เรา สามารถรับรูไดจากแหลงขอมูลตางๆ

í

แกนความรูที่เปนความเขาใจ คงทนติดตัวผูเรียน

¡Ô ¨¡ÃÃÁ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ มอบหมายผูเรียนฝกปฏิบัติ เพื่อพัฒนา ความรูและทักษะประจําหนวย

๓ ประโยชนของขอมูล

ขอมูลในชีวิตประจําวันมีมากมาย ซึ่งคนเรานําขอมูลเหลานี้ มาใชประโยชน เชน การนําขอมูลสภาพอากาศมาประมวลผล แลวใชในการพยากรณอากาศ การนําขอมูลประชากรมาวางแผน การพัฒนาประเทศ เปนตน ¢ŒÍÁÙÅÁÕ»ÃÐ⪹ ã¹´ŒÒ¹µ‹Ò§æ ´Ñ§¹Õé ñ

ÇѤ«Õ¹»‡Í§¡Ñ¹ 䢌ËÇÑ´ãËÞ‹

2009

ò

¤íÒ¶ÒÁ¨Ø´»ÃСÒ ¡ÒÃÃѺÃÙŒ¢ŒÍÁÙÅ´ŒÒ¹µ‹Ò§æ ઋ¹ ¢ŒÍÁÙÅ à¡ÕèÂǡѺºØ¤¤Å ¢ŒÍÁÙÅà¡ÕèÂǡѺʶҹ·Õè ໚¹µŒ¹ ÁÕ»ÃÐ⪹ µ‹Í¡ÒôíÒà¹Ô¹ªÕÇÔµ »ÃШíÒÇѹÍ‹ҧäÃ

ó

ª‹ÇÂ㹡ÒõѴÊÔ¹ã¨ËÃ×Íᡌ䢻˜ÞËÒ

เพือ่ ใหตดั สินใจหรือแกไขปญหาไดถกู ตอง เชน • เมื่อเรารูขอมูลวาคะแนนสอบวิชา ภาษาไทยของตนเองไมคอยดี เราจึง ควรขยันและตั้งใจเรียนใหมากขึ้น • เมือ่ เรารูข อ มูลเกีย่ วกับโรคไขหวัดใหญ ๒๐๐๙ เราจึงควรหาวิธีปองกันตัวเอง เพื่อไมใหเปนโรคนี้ได เปนตน ª‹Ç¾Ѳ¹Òµ¹àͧ

ทําใหเราเปนคนฉลาด รอบรู สามารถ วางแผนการทํางาน การเรียนและการ ปฏิบตั งิ านตามหนาทีท่ ี่ไดรบั มอบหมาย ไดเปนอยางดี ª‹Ç¾Ѳ¹ÒªØÁª¹áÅÐÊѧ¤Á

เชน ผูด แู ลชุมชนมีขอ มูลวามีเด็กๆ ในชุมชน เพิ่มขึ้นจํานวนมาก จึงสรางสนามเด็กเลน เพือ่ ใหเด็กๆ ใชเปนทีอ่ อกกําลังกาย เปนตน

๑๖

¡Ô ¨¡ÃÃÁ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙ·Œ Õè ó ๑ เขียนแผนผังความคิดสรุปประโยชนของขอมูลลงในสมุด ๒ อานเรื่องที่กําหนด แลวตอบคําถาม หางของแมว…บอกอารมณของแมว ภาษาที่ใชในการสือ่ สารทัง้ มนุษยและสัตวแบงออกเปน ๒ อยาง คือ ภาษาพูด (ใชเสียง) และภาษาทาทาง (ใชอวัยวะในการสือ่ สาร) ซึง่ แมวจะใชหางในการสือ่ สารเพือ่ บงบอกถึงอารมณของมัน ดังนี้ ลักษณะของหางแมว

อารมณของแมว

หางและปลายหาง ตั้งตรงในแนวดิ่ง

อารมณดี รูสึกเปนมิตร เมื่อไดพบกับแมวตัวอื่น

หางอยูนิ่งๆ แตมีการ กระตุกเปนครั้งคราว

รูสึกวาถูกรบกวน หรือมีความกังวล

หางเหยียดตรงชี้ขึ้น และขนที่หางลุกชัน

ดุราย กาวราว

๑) นักเรียนอานเรื่อง “หางของแมว…บอกอารมณของแมว” แลวรูสึกอยางไร ๒) การอานเรื่องนี้ใหประโยชนตอนักเรียนอยางไร

¡Ô¨¡ÃÃÁºÙóҡÒÃÊÙ‹ªÕÇÔµ ¶ŒÒ¤Ø³¤ÃپҹѡàÃÕ Â¹ä»·ÑȹÈÖ¡ÉÒ·ÕÊè ǹÊÑµÇ ¹Ñ¡àÃÕ Â¹¤Ô´Ç‹Ò¨Ðä´Œ¢ÍŒ ÁÙÅÍÐäúŒÒ§ áŌǢŒÍÁÙÅ àËÅ‹Ò¹ÑÑ鹨ѴÍÂÙ‹ ã¹»ÃÐàÀ·ã´ áÅÐä´Œ»ÃÐ⪹ Í‹ҧäèҡ¢ŒÍÁÙŹÑé¹

๑๗

¤íÒ¶ÒÁ¨Ø´»ÃСÒ คําถามที่กระตุนความสนใจ และฝกฝน การคิดวิเคราะห

¤íÒ¶ÒÁºÙóҡÒÃÊÙ‹ªÕÇÔµ คําถามที่ใหผูเรียนคิดวิเคราะห และนํา ความรูไปประยุกตใชในชีวิตประจําวัน


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

สารบั ญ

ห น ว ย การเรียนรูที่

๑ ขอมูลนารู บทที่ ๑ รับรูขอมูล

บทที่ ๒ แหลงขอมูลนารู

ห น ว ย การเรียนรูที่

๒ อุปกรณเทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ ๑ รูจักอุปกรณเทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ ๒ คอมพิวเตอรนารู

บรรณานุกรม ภาคผนวก

๑ ๒ ๑๘

๓๓ ๓๔ ๔๗

๖๘ พิเศษ ๑


กระตุน ความสนใจ กระตุEngage นความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Engage

Explore

Explain

Expand

Evaluate

กระตุน ความสนใจ ÊÔè§ã´ ໚¹áËÅ‹§¢ŒÍÁÙÅ ºŒÒ§¹Ð

หนวยการเรียนรูที่

Engage

ใหนักเรียนดูภาพ หนา 1 แลวตอบคําถาม อยางอิสระ • จากภาพ มีแหลงขอมูลใดบาง (ตอบ หนังสือพิมพ ดอกไม แม) • นักเรียนคิดวา แหลงขอมูลนีจ้ ะใหขอ มูล อะไรบาง และขอมูลนี้จัดเปนขอมูล ประเภทใด (แนวตอบ • หนังสือพิมพ ใหขอมูลขาวสารเหตุการณ ในปจจุบัน ความรู ความบันเทิง จัดเปน ขอมูลตัวอักษร ตัวเลข และภาพ • ดอกไม ใหขอมูลเกี่ยวกับลักษณะ รูปราง สีสนั ของดอกไมชนิดนัน้ จัดเปนขอมูลภาพ • แมใหขอมูลความรูตางๆ คําสั่งสอน จัดเปนขอมูลเสียง)

ขอมูลนารู เปาหมายการเรียนรู้ประจําหนวยที่ ๑

เมื่อเรียนจบหน่วยน�้ ผู้เรียนจะมีความรู้ความสามารถต่อไปน�้ บอกข้อมูลที่สนใจและแหล่งข้อมูลที่อยู่ใกล้ตัว (มฐ. ง ๓.๑ ป.๑/๑) ●

เกร็ดแนะครู ในหนวยการเรียนที่ 1 มีเนื้อหา ดังนี้ • ความหมายของขอมูล • ประเภทของขอมูล • ประโยชนของขอมูล • แหลงขอมูล • การรวบรวมขอมูล

คูมือครู

1


กระตุน ความสนใจ กระตุEngage นความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Engage

Explore

Explain

Expand

Evaluate

เปาหมายการเรียนรู

บอกขอมูลที่สนใจและแหลงขอมูลที่อยูใกลตัว (ง 3.1 ป.1/1)

º··Õè

สมรรถนะของผูเรียน 1. 2. 3. 4.

๑๑

รับรูขอมูล

ความสามารถในการสื่อสาร ความสามารถในการใชเทคโนโลยี ความสามารถในการคิด ความสามารถในการใชทักษะชีวิต

¡Ô¨¡ÃÃÁ¹ÓÊÙ‹¡ÒÃàÃÕ¹

คุณลักษณะอันพึงประสงค 1. ใฝเรียนรู 2. มุงมั่นในการทํางาน

กระตุน ความสนใจ

Engage

1. ใหนักเรียนดูภาพ หนา 2 แลวครูถามคําถาม นักเรียน ดังนี้ • เด็กในภาพกําลังทําอะไร และจะไดรับขอมูล อะไร (ตอบ เด็กหญิงอานหนังสือพิมพ จะไดรับ ขอมูลขาวสารเหตุการณที่เกิดขึ้นในปจจุบัน ไดรับสาระ ความรูตางๆ เด็กชายดูโทรทัศน จะไดรับขอมูลความรู ความบันเทิง) 2. ครูชวนนักเรียนสนทนาวา • ใครเคยอานหนังสือพิมพบาง และอาน เรื่องอะไร เพราะอะไร • ใครเคยดูโทรทัศนบาง และดูอะไร เพราะอะไร (แนวตอบ ตอบไดหลากหลาย ขึ้นอยูกับ นักเรียนแตละคน)

à¾×èÍ¹æ ¤Ô´Ç‹Ò à´ç¡ã¹ÀÒ¾ ¨Ðä´ŒÃѺ¢ŒÍÁÙÅÍÐäúŒÒ§¨ Ð

í ข้อมูลเป็นเรื่องราวหรือสิ่งต่างๆ ที่เรา สามารถรับรู้ได้จากแหล่งข้อมูลต่างๆ

เกร็ดแนะครู ครูจัดกระบวนการเรียนรูโดยการใหนักเรียนปฏิบัติ ดังนี้ • สํารวจ สังเกตเกี่ยวกับขอมูลตางๆ • สืบคนขอมูลตางๆ • วิเคราะหขอมูลตางๆ • จําแนกขอมูลตามประเภทของขอมูล • วิเคราะหจากประเด็นคําถามและภาพเกี่ยวกับขอมูล จนเกิดเปนความรูความเขาใจวาขอมูลเปนเรื่องราว เหตุการณ หรือสิ่งตางๆ ทั้งที่เกี่ยวของกับตัวเรา และไมเกี่ยวของกับตัวเรา ซึ่งเราสามารถรับรูไดจาก แหลงขอมูลตางๆ

2

คูมือครู


สํารวจคนหา

กระตุนความสนใจ Engage

สํารวจค Exploreนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explore

Explain

Expand

Evaluate

สํารวจคนหา

1. ใหนักเรียนสังเกตสิ่งตางๆ ที่อยูรอบตัวเรา วามีอะไรบาง โดยครูเขียนตามคําบอกของ นักเรียนลงบนกระดาน 2. ใหนกั เรียนผลัดกันบรรยายลักษณะของสิง่ ตางๆ ที่เขียนไวบนกระดาน 3. ครูแบงกระดานอีกฝง แลวเขียนหัวขอ ดังนี้ • ขอมูลเกี่ยวกับบุคคล • ขอมูลเกี่ยวกับสถานที่ • ขอมูลเกี่ยวกับสิ่งของ • ขอมูลเกี่ยวกับสัตว • ขอมูลเกี่ยวกับพืช • ขอมูลเกี่ยวกับธรรมชาติ • ขอมูลเกี่ยวกับเหตุการณตางๆ 4. ใหนักเรียนชวยกันจําแนกวา สิ่งที่เขียน บนกระดานจัดเปนขอมูลเกี่ยวกับอะไร โดยดูจากหัวขอที่ครูเขียนไวบนกระดาน

๑ ความหมายของขอมูล

ข้อมูล หมายถึง ข้อเท็จจริงหรือเหตุการณ์ที่เกี่ยวกับสิ่งต่างๆ ได้แก่ คน สัตว์ สิ่งของ สถานที่ รวมถึงสิ่งต่างๆ ที่เรารับรู้ได้โดยการ ดู ฟง ดมกลิ่น สัมผัส และชิมรสชาติ ๑. ข้อมูลรอบตัว ในแต่ละวันเราจะพบเห็นสิ่งต่างๆ มากมาย สิ่งที่เราพบเห็นนี้คือข้อมูลนั่นเอง ได้แก่ ๑) ข้อมูลเกีย่ วกับบุคคล เช่น ข้อมูลของนักเรียน ข้อมูลของ คุณพ่อคุณแม่ เป็นต้น ตัวอย่าง ข้อมูลเกี่ยวกับบุคคล ●

ข้อมูลของคุณแม นางดารา รักวงษา เกิดเมื่อวันที่ ๙ เมษายน พ.ศ. ๒๕๑๗ ประกอบอาชีพช่างตัดเย็บ เสื้อผ้าอยู่ที่บ้าน มีภูมิล�าเนาเดิมอยู่ที่จังหวัด ชลบุรี ข้อมูลของลูกสาว เด็กหญิงมีนา รักวงษา เกิดเมื่อวันที่ ๑๑ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๔๙ เรียนอยู่ชั้น ป. ๑/๒ 1 โรงเรียนวัดมหรรณพ์ ชอบเรียนวิชาศิลปะ

Explore

ข้อมูลของคุณพอ นายพิธา รักวงษา เกิดเมื่อวันที่ ๓ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๑๕ ประกอบอาชีพครู สอนอยูท่ ี่โรงเรียนวัดมหรรณพ์ ทีอ่ ยู่ ๒๖๑/๑ ถ. ตะนาว เขตพระนคร กรุงเทพฯ

ขอสอบเนนการคิด

ขอมูลเกี่ยวกับโทรศัพทเคลื่อนที่ จัดเปนขอมูลประเภทใด ก. ขอมูลเกี่ยวกับสิ่งของ ข. ขอมูลเกี่ยวกับสถานที่ ค. ขอมูลเกี่ยวกับเหตุการณ

วิเคราะหคําตอบ โทรศัพทเคลื่อนที่เปนอุปกรณเทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ใชพูดคุยติดตอสื่อสารกับผูอื่น ซึ่งในปจจุบันโทรศัพทเคลื่อนที่บางชนิด ยังสามารถใชถายภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว ใชดูโทรทัศน ฟงเพลง ใชเชื่อมตอ เครือขายอินเทอรเน็ตไดอีกดวย ขอมูลเกี่ยวกับโทรศัพทเคลื่อนที่จึงเปนขอมูล เกี่ยวกับสิ่งของ ดังนั้น ขอ ก. จึงเปนคําตอบที่ถูก

เกร็ดแนะครู ครูอาจนําขอมูลเกี่ยวกับบุคคลที่มีความสามารถ หรือทําคุณประโยชนในดาน ตางๆ มาใหนักเรียนศึกษาขอมูล เพื่อใหนักเรียนเกิดแรงบันดาลใจในการปฏิบัติตน ในสิ่งที่ดีงามตามแบบอยางของบุคคลสําคัญ

นักเรียนควรรู 1 โรงเรียนวัดมหรรณพ เดิมชื่อ โรงเรียนวัดมหรรณพาราม เปนโรงเรียนสําหรับ ราษฎรแหงแรกของไทย ตั้งอยูที่วัดมหรรณพาราม ถ.ตะนาว แขวงเสาชิงชา เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร โดยในป พ.ศ. 2427 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหสมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ ตั้งโรงเรียนหลวงเพิ่มขึ้นตามวัดหลายแหงทั้งในกรุงเทพมหานคร และหัวเมืองตางๆ คูมือครู

3


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

Explain

1. ใหนักเรียนรวมกันอภิปรายวาขอมูลหมายถึง อะไร และมีขอมูลเกี่ยวกับอะไรบาง 2. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปความหมายของขอมูล จากนัน้ ใหนกั เรียนดูภาพ หนา 3 และรวมกันอาน เรื่องขอมูลรอบตัวเรา และขอมูลเกีย่ วกับบุคคล แลวรวมกันแสดงความคิดเห็นวา ขอมูลนี้ เปนขอมูลเกี่ยวกับอะไร 3. ครูชวนนักเรียนสนทนาวา ขอมูลเกี่ยวกับบุคคล ยังมีขอมูลอะไรอีกบางนอกจากในหนังสือ 4. ใหนักเรียนแตละคนบอกขอมูลเกี่ยวกับตนเอง ใหเพื่อนๆ ฟง 5. ใหนักเรียนดูภาพ หนา 4 แลวใหชวยกันบอกวา สถานที่ในภาพคือที่ใด 6. ครูนําภาพพระปฐมเจดียที่เปนภาพจริงมาให นักเรียนดู แลวครูเลาประวัติพระปฐมเจดีย อยางสั้นๆ ใหนักเรียนฟง 7. ใหนักเรียนชวยกันบอกวา สถานที่รอบๆ ตัวเรา มีอะไรบาง เชน วัด โรงเรียน สถานีอนามัย เปนตน 8. ใหนักเรียนรวมกันอภิปรายวา ถาตองการรู ขอมูลเกี่ยวกับสถานที่ตางๆ ควรทําอยางไร 9. ใหนักเรียนแบงกลุม แลวใหแตละกลุมหาขอมูล เกี่ยวกับสถานที่ที่อยูรอบตัวเรา แลวออกมาเลา ใหเพื่อนฟงที่หนาชั้น

๒) ข้อมูลเกี่ยวกับสถานที่ เช่น ข้อมูลของโรงเรียน ข้อมูล ของร้านค้า ข้อมูลของวัด ข้อมูลของห้องสมุด เป็นต้น ตัวอย่าง ข้อมูลเกีย่ วกับสถานที่

พระปฐมเจดีย ตั้งอยู่ที่ต�าบลพระปฐมเจดี1ย์ อ�าเภอเมือง จังหวัดนครปฐม พระปฐมเจดีย์เป็นที่ประดิษฐานพระบรมสารีริก2ธาตุของพระพุทธเจ้า สันนิษฐานว่า พระปฐมเจดีย์สร้างขึ้นเมื่อ3คราวที่พระสมณทูตในพระเจ้าอโศกมหาราชเดินทางมา เผยแผ่ศาสนายังสุวรรณภูมิ เพราะองค์พระเจดีย์เดิมมีลักษณะทรงระฆังคว�่า หรือทรง มะนาวผ่าซีก ซึ่งมีลักษณะแบบเดียวกับสถูปในประเทศอินเดีย

นักเรียนควรรู 1 พระบรมสารีริกธาตุ คือ กระดูกของพระพุทธเจาซึ่งเปนศาสดาของพระพุทธศาสนา ซึ่งชาวพุทธเชื่อวาพระบรมสารีริกธาตุเปนวัตถุแทนองคพระบรมศาสดา จึงนิยมทําการบูชาองคพระบรมสารีริกธาตุ เชน การสรางองคพระสถูปเจดีย เพื่อประดิษฐานไวสักการะ โดยเชื่อวามีอานิสงสเหมือนการไดบูชาพระพุทธเจา เมื่อยังทรงมีพระชนมอยู เปนตน 2 พระสมณทูต (พระ-สะ-มะ-นะ-ทูด) คือ พระภิกษุที่เดินทางไปเผยแผ พระพุทธศาสนาในที่ตางๆ 3 สุวรรณภูมิ (สุ-วัน-นะ-พูม) หมายถึง ดินแดนแหลมทองซึ่งเชื่อกันวามีอาณา บริเวณครอบคลุมประเทศพมา ไทย ลาว เขมร เวียดนาม มาเลเซีย และสิงคโปร

4

คูมือครู

ขอสอบเนนการคิด การรดนํ้ากะหลํ่าปลี ใหใชบัวรดนํ้ารดทุกเชาและเย็น โดยรดที่โคนตน เพื่อไมใหนํ้าเขาปลี จากขอความ จัดเปนขอมูลเกี่ยวกับอะไร ก. ขอมูลเกี่ยวกับธรรมชาติ ข. ขอมูลเกี่ยวกับสิ่งของ ค. ขอมูลเกี่ยวกับพืช วิเคราะหคําตอบ กะหลํ่าปลีเปนพืชผักสวนครัวชนิดหนึ่ง ที่มีใบหอแนน เปนปลี รับประทานไดทั้งดิบและสุก จากขอความจึงเปนขอมูลเกี่ยวกับพืช ดังนั้น ขอ ค. จึงเปนคําตอบที่ถูก


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

อธิบายความรู

Explain

1. ใหนักเรียนดูภาพ หนา 5 แลวรวมกันบอกวา คืออะไร จากนั้นครูชวนนักเรียนสนทนา เกี่ยวกับสิ่งของนั้น เชน ลักษณะ ประโยชน เปนตน 2. ใหนักเรียนอานเรื่องขอมูลเกี่ยวกับสิ่งของ หนา 5 3. ครูอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียนเขาใจวา สิ่งของ แตละชนิด จะมีลกั ษณะทีแ่ ตกตางกัน ซึง่ แตละ ชนิดจะมีรูปราง ลักษณะ และคุณสมบัติที่เปน เอกลักษณบงบอกใหรูวาเปนสิ่งของชนิดนั้นๆ 4. ครูสุมเรียกนักเรียน 4-5 คน ใหแตละคน เลือกสิ่งของที่อยูรอบตัวมา 1 อยาง โดยที่ไมตองบอกวาสิ่งของนั้นคืออะไร แลวใหนักเรียนบอกขอมูลเกี่ยวกับสิ่งของนั้นๆ ใหเพื่อนๆ ฟง จากนั้นใหเพื่อนๆ ชวยกัน ทายวา สิ่งของนั้นคืออะไร

๓) ข้อมูลเกี่ยวกับสิ่งของ ของ เช่ น ข้อมูลเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ 1 ข้อมูลเกี่ยวกับเครื่องใช้ไฟฟา ข้อมูลเกี่ยวกับหนังสือเรียน ข้อมูล เกี่ยวกับอุปกรณ์เครื่องใช้ ข้อมูลเกี่ยวกับอาหาร เป็นต้น ตัวอย่าง ข้อมูลเกี่ยวกับสิ่งของ

คอมพิวเตอร เป็นอุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างหนึ่ง ท�างานตามโปรแกรมค�าสั่ง ใช้จัดเก็บข้อมูลต่างๆ ใช้ดูหนังและฟงเพลงได้ เชื่อมต่อเครือข่ายอินเทอร์เน็ตได้ ● ● ● ●

หนังสือเรียน วิชาภาษาไทย ป.๑ มีจ�านวนหน้า ๑๒๘ หน้า พิมพ์ที่บริษัท อักษรเจริญทัศน์ อจท.จ�ากัด ผู้แต่งหนังสือนี้ คือ เอกรินทร์ สี่มหาศาล และคณะ ● ● ●

ขอใดไมใช ขอมูลเกี่ยวกับธรรมชาติทั้งหมด ก. แรธาตุ ดิน ภูเขา ข. ปาดงดิบ ฤดูหนาว ดินเหนียว ค. สวนสม ไรชา ทุงทานตะวัน

ขอสอบเนนการคิด

วิเคราะหคําตอบ ก. และ ข. เปนขอมูลเกี่ยวกับธรรมชาติทั้งหมด ค. เปนขอมูลเกี่ยวกับพืชทั้งหมด ดังนั้น ขอ ค. จึงเปนคําตอบที่ถูก

นักเรียนควรรู 1 เครื่องใชไฟฟา มีมากมายหลายชนิด เชน เตารีด ตูเย็น โทรทัศน เครื่องซักผา เปนตน เราควรใชงานใหถูกวิธี เพื่อใหเครื่องใชไฟฟาใชงานไดยาวนานและเปนการ ประหยัดพลังงาน เชน • โทรทัศน เมือ่ ไมไดใชงานโทรทัศนแลว ใหกดปดทีร่ โี มต แลวจึงกดปุม เปด-ปด ที่ตัวเครื่องและอยาเสียบปลั๊กทิ้งไว เพราะโทรทัศนจะมีไฟฟาหลอเลี้ยงระบบภายใน อยูตลอดเวลา ทําใหสิ้นเปลืองไฟ นอกจากนั้นอาจกอใหเกิดอันตรายในขณะที่เกิด ฟาผาได • พัดลม หมั่นทําความสะอาดอยูเสมอ โดยเฉพาะใบพัดและตะแกรงครอบ ใบพัด และหมั่นทําความสะอาดชองลมตรงฝาครอบมอเตอร ซึ่งเปนชองระบาย ความรอน อยาใหมีคราบนํ้ามันหรือฝุนละอองเกาะจับ เพราะจะทําใหประสิทธิภาพ ของมอเตอรลดลง ซึ่งจะทําใหเปลืองไฟมากขึ้น

คูมือครู

5


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

Explain

1. ครูสนทนาซักถามนักเรียนวา ใครมีสตั วเลีย้ งบาง 2. ใหนกั เรียนที่มีประสบการณออกมาเลาเกี่ยวกับ สัตวเลี้ยงของตนเองที่หนาชั้น โดยครูเขียนตาม ที่นักเรียนบอกบนกระดาน 3. ใหนักเรียนอานขอความที่ครูเขียนบนกระดาน แลวรวมกันอภิปรายวา ขอความบนกระดานนี้ เปนขอมูลหรือไม เพราะอะไร 4. ครูและนักเรียนรวมกันอานตัวอยางขอมูล เกี่ยวกับสัตว หนา 6 5. ใหนักเรียนวาดภาพหรือนําภาพสัตวมาติด ลงในสมุด แลวเขียนขอมูลเกี่ยวกับสัตวชนิดนั้น จากนั้นออกมานําเสนอที่หนาชั้น

๔) ข้ อมูลเกีย่ วกับสัตว เช่น ข้อมูลของแมวพันธุต์ า่ งๆ ข้อมูล 1 ของนกแก้ว ข้อมูลของปลาหางนกยูง เป็นต้น ตัวอย่าง ข้อมูลเกี่ยวกับสัตว แมว เป็นสัตว์ที่เลี้ยงลูกด้วย น�้านม มี ๔ เท้า เป็นสัตว์กินเนื้อ สายตา สามารถมองเห็นได้อย่างดีในที่มืด แมว บางชนิดมีขนยาว บางชนิดมีขนสัน้ หรือ บางชนิดไม่มีขนเลย ปลาทอง เป็นปลาน�้าจืดที่มี ถิ่นก�าเนิดอยู่ในประเทศจีน และญี่ปุ่น ปลาทองมีรูปร่างอ้วน ปอม มีเกล็ดบาง และเรียบ ครีบอกกลมแบน ครีบหาง เป็นรูปพัด มักนิยมเลีย้ งเป็นปลาสวยงาม เตา จัดเป็นสัตว์เลื้อยคลาน มี ๔ เท้า เคลือ่ นไหวและเคลือ่ นทีเ่ ชือ่ งช้า เป็นสัตว์ทมี่ อี ายุยนื นานมากทีส่ ดุ ชนิดหนึง่ มีกระดองหุม้ ล�าตัว เต่าบางชนิดสามารถ หดหัว ขา และหางเข้าข้างในกระดองได้ เพื่อปองกันอันตราย เช่น เต่าด�า เต่านา เป็นต้น แต่กม็ เี ต่าบางชนิดที่ไม่สามารถ ท�าเช่นนั้นได้ เช่น เต่าทะเล เป็นต้น

นักเรียนควรรู 1 นกแกว นกแกวมีหัวกลมโต ลําตัวมีขนอุยปกคลุมหนาแนน มีจะงอยปากที่ สั้นหนา และงอเปนตะขอหุมปากลาง มีความคมและแข็งแรง ซึ่งจะงอยปากนี้ เปนลักษณะเดนของนกแกวทีแ่ ตกตางจากนกอืน่ ๆ เทามีนวิ้ ขางหลังสองนิว้ และขางหนาสองนิ้ว ทุกนิ้วมีเล็บที่แหลมคม สามารถใชเทาจับกิ่งไมไดเหนียวแนน ปนปายตนไมไดเกงเปนพิเศษ และในบางครั้งยังสามารถจับฉีกอาหารไดอีกดวย นกแกวมักอยูอาศัยและหากินบนตนไม โดยกิน ผลไมและเมล็ดพืช ชอบทํารังตามโพรงตนไม ซึ่งใน ปจจุบันคนนิยมนํานกแกวมาเลี้ยงเปนสัตวเลี้ยงกันมาก

6

คูมือครู

ขอสอบเนนการคิด

ขอใดเปนขอมูลเกี่ยวกับสัตว ก. ฝายมีนิสัยออนโยน รักสัตว จึงเลี้ยงแมวสีขาว 2 ตัว ข. กระตายของจอยขนปุกปุยสีขาว มีหางสัน้ มีใบหูยาว ชอบกินพืชผักตางๆ ค. หญิงไปเที่ยวสวนสัตว หญิงเดินดูสัตวตางๆ เชน ยีราฟ มาลาย เสือ เปนตน วิเคราะหคําตอบ ก. เปนขอมูลเกี่ยวกับบุคคล ค. เปนขอมูลเกี่ยวกับ เหตุการณ ดังนั้น ขอ ข. จึงเปนคําตอบที่ถูก


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

อธิบายความรู

Explain

1. ใหนักเรียนอานเรื่องขอมูลเกี่ยวกับพืช หนา 7 2. ใหนักเรียนแบงกลุม จากนั้นครูนําบัตรภาพพืช มาใหนักเรียนดู แลวใหแตละกลุมแขงกัน บอกขอมูลที่นักเรียนรูเกี่ยวกับพืชชนิดนั้น ใหมากที่สุด โดยกลุมที่บอกขอมูลไดถูกตอง และมากที่สุดเปนผูชนะ 3. ครูบอกขอมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับบัตรภาพพืชที่ นํามาใหนักเรียนดู เพื่อใหนักเรียนมีความรู เกี่ยวกับพืชนั้นๆ มากขึ้น 4. ใหนักเรียนเลือกพืชที่ปลูกในโรงเรียนหรือ ในบานมา 1 ชนิด แลวบันทึกขอมูลเกี่ยวกับ พืชชนิดนั้นลงในสมุด จากนั้นออกมานําเสนอ ที่หนาชั้น

๕) ข้อมูลเกี่ยวกับพืช เช่น ข้อมูลเกี่ยวกับป่าไม้ ข้อมูล เกี่ยวกับการท�านาท�าไร่ ข้อมูลเกี่ยวกับพันธุ์ข้าว ข้อมูลเกี่ยวกับ พันธุ์ข้าวโพด เป็นต้น ตัวอย่าง ข้อมูลเกี่ยวกับพืช 1 ข้าว เป็นพืชล้มลุกในตระกูลหญ้าที่เราสามารถน�าเมล็ดมากินได้ ต้นข้าว มีลักษณะภายนอกบางอย่าง เช่น ใบ กาบใบ ล�าต้น ราก เป็นต้น คล้ายกับต้นหญ้า ข้าวเป็นอาหารหลักของคนไทย และการปลูกข้าวก็เป็นอาชีพหลักอย่างหนึง่ ของคนไทย

7

ขอสอบเนนการคิด

ทินไปเที่ยวที่จังหวัดหนองคายในชวงวันออกพรรษา ทินจึงไดชม ปรากฏการณบั้งไฟพญานาค ซึ่งเปนลูกไฟสีแดงอมชมพูที่พุงขึ้นจาก แมนํ้าโขง จากขอความ จัดเปนขอมูลเกี่ยวกับอะไร ก. ขอมูลเกี่ยวกับบุคคล ข. ขอมูลเกี่ยวกับสถานที่ ค. ขอมูลเกี่ยวกับเหตุการณ

วิเคราะหคําตอบ จากขอความเปนการบอกขอมูลเกี่ยวกับการเดินทาง ทองเที่ยวของทิน ซึ่งเปนขอมูลเกี่ยวกับเหตุการณ ดังนั้น ขอ ค. จึงเปน

คําตอบที่ถูก

เกร็ดแนะครู ในขั้นอธิบายครูอาจนําภาพเคลื่อนไหวเกี่ยวกับวิธีการปลูกขาวมาใหนักเรียนดู และอธิบายขั้นตอนการทํานา ปลูกขาว ใหนักเรียนเกิดความเขาใจ นอกจากนี้ครูชวนนักเรียนสนทนาเกี่ยวกับผูที่มีอาชีพปลูกขาว คือ ชาวนา เพื่อใหนักเรียนเห็นคุณคา และใหความสําคัญกับอาชีพนี้

นักเรียนควรรู 1 พืชลมลุก เปนพืชที่ปลูกแลวเจริญเติบโต และใหผลผลิตภายใน หนึ่งฤดูกาลปลูก หลังจากเก็บเกี่ยวแลวก็จะตาย พืชลมลุกมักมีอายุประมาณ 3-4 เดือน ถึง 1 ป เชน ขาว ขาวโพด มันเทศ ออย เปนตน

คูมือครู

7


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

Explain

1. ใหนักเรียนอานเรื่องขอมูลเกี่ยวกับธรรมชาติ และขอมูลเกี่ยวกับเหตุการณตางๆ หนา 8 2. ครูอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียนเขาใจวา ธรรมชาติเปนสิ่งที่เกิดขึ้นเอง เชน ดิน นํ้า อากาศ เปนตน 3. ครูพานักเรียนเดินรอบๆ โรงเรียน หรือพาไป สวนสาธารณะใกลๆ โรงเรียน เพื่อใหนักเรียน สังเกต และจดบันทึกขอมูลเกี่ยวธรรมชาติที่อยู รอบตัว 4. ใหนักเรียนชวยกันบอกวา ธรรมชาติรอบตัวเรา มีอะไรบาง และมีลักษณะอยางไร 5. ครูสุมเรียกนักเรียน 4-5 คน ใหออกมาเลา เหตุการณขณะเดินทางมาโรงเรียน 6. ครูชวนนักเรียนสนทนาวา เหตุการณที่เพื่อน ออกมาเลาใหฟง เปนขอมูลไดหรือไม เพราะอะไร และขอมูลนั้นมีประโยชนอยางไร 7. ครูอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียนเขาใจวา เหตุการณตางๆ ที่เกิดขึ้นกับตนเองหรือผูอื่น จะทําใหทราบเรื่องราวที่เกิดขึ้น และนํามา ใชประโยชนได ซึ่งสิ่งเหลานี้เปนขอมูลเกี่ยวกับ เหตุการณ 8. ใหนกั เรียนออกมาเลาเหตุการณทตี่ นเองประทับใจ พรอมบอกวา เหตุการณนั้นนํามาใชประโยชน กับตนเองไดอยางไร

๖) ข้อมูลเกี่ยวกับธรรมชาติ เช่น ข้อมูลเกี่ยวกับดิน น�้า อากาศ แร่ธาตุ1 ป่าไม้ ภัยธรรมชาติ เป็นต้น ตัวอย่าง ข้อมูลเกี่ยวกับปาไม้

ปาไม้ เป็นทีท่ มี่ ตี น้ ไม้ตา่ งๆ ขึน้ มาก ป่าไม้ในประเทศไทยมีอยู่ ๒ ประเภท คือ ป่าไม้ผลัดใบ และป่าไม้ไม่ผลัดใบ

๗) ข้อมูลเกี่ยวกับเหตุการณตางๆ งๆ เช่น ข้อมูลการเดินทาง ท่องเที่ยว ข้อมูลการคมนาคม เป็นต้น ตัวอย่าง ข้อมูลเกี่ยวกับการเดินทางทองเที่ยว

ป พ.ศ. ๒๕๕๕ คุณพ่อพาชาลีและมีนาไปเที่ยวอุทยานแห่งชาติเ ขาใหญ่ จังหวัดนครราชสีมา ซึง่ เป็นประสบการณ์ไปเทีย่ วต่างจังหวัดครัง้ แรกของชาลีและมีนา

นักเรียนควรรู 1 แรธาตุ คือ ธาตุและสารประกอบที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ ซึ่งแรที่มนุษย นํามาใชประโยชน แบงเปน 3 ประเภท ไดแก 1) แรโลหะ เปนแรที่มีความเหนียว ทนความรอน และนําไฟฟาไดดี หลอมตัวได และมีความทึบแสง เชน เหล็ก ทองแดง ตะกั่ว เงิน วุลแฟรม เปนตน 2) แรอโลหะ เปนแรที่ไมเปนตัวนําความรอน มีลักษณะโปรงแสง เปราะ แตกหักงาย เชน แรเกลือหิน แรกํามะถัน เปนตน 3) แรพลังงาน หรือแรเชื้อเพลิง เปนแรที่สําคัญถูกนํามาใชมาก เกิดจาก ซากสิ่งมีชีวิตในอดีต แรเชื้อเพลิง เชน ถานหิน นํ้ามันดิบ กาซธรรมชาติ เปนตน มนุษยนําแรธาตุมาใชประโยชนในดานตางๆ มากมาย เชน แรวุลแฟรม นํามาทําไสหลอดไฟฟา รัตนชาตินํามาทําเครื่องประดับ เปนตน ในปจจุบันมีการ รณรงคใหชวยกันอนุรักษแรธาตุตางๆ เชน การนําแรธาตุที่ใชแลวกลับมาใชอีก เปนการใชประโยชนอยางเต็มที่ อาทิ ภาชนะเครื่องใชที่เปนอะลูมิเนียมบางอยาง ที่หมดสภาพการใชงานแลว สามารถนํากลับมาหลอมใชใหมไดอีก เปนตน

8

คูมือครู

ขอสอบเนนการคิด

ขอมูลเกี่ยวกับวัดพระศรีรัตนศาสนาราม (วัดพระแกว) จัดเปนขอมูลใด ก. ขอมูลเกี่ยวกับสิ่งของ ข. ขอมูลเกี่ยวกับสถานที่ ค. ขอมูลเกี่ยวกับธรรมชาติ วิเคราะหคําตอบ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม (วัดพระแกว) สรางขึ้นตั้งแต สมัยรัชกาลที่ 1 เปนวัดที่สรางขึ้นในเขตพระบรมมหาราชวัง ตามแบบ วัดพระศรีสรรเพชญ สมัยอยุธยา วัดพระแกวนี้เปนที่ประดิษฐานพระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร หรือพระแกวมรกต พระพุทธรูปคูบานคูเมืองของไทย ดังนั้น ขอ ข. จึงเปนคําตอบที่ถูก


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

อธิบายความรู

1. ครูนําสิ่งของตางๆ เชน ลูกบอลยาง หนังสือ นํ้าแข็ง เปนตน มาใหนักเรียนสํารวจโดยใช อวัยวะรับสัมผัสทั้ง 5 2. ใหนักเรียนรวมกันบอกรายละเอียดของสิ่งของ ตางๆ ที่ครูนํามาใหดู โดยครูเขียนตามที่ นักเรียนบอกบนกระดาน 3. ครูชวนนักเรียนสนทนาวา นักเรียนสามารถ รับรูขอมูลตางๆ ไดอยางไร 4. ใหนักเรียนอานเรื่องการรับรูขอมูล หนา 9 5. ครูนําสิ่งของตางๆ มาใหนักเรียนสํารวจ โดยใชอวัยวะรับสัมผัสทั้ง 5 อีกครั้ง จากนั้น ใหรวมกันบอกวา สิ่งของแตละชนิดใชอวัยวะ รับสัมผัสใดรับรูขอมูลบาง 6. ครูอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียนเขาใจวา สิ่งของ บางสิ่งอาจทําใหรับรูขอมูลไดหลายทาง เชน • โทรทัศน นอกจากใชตามองดูภาพ ตัวหนังสือ และตัวเลขแลว ยังสามารถ ใชหูฟงเสียงไดอีกดวย • อาหาร นอกจากใชลิ้นรับรูรสชาติแลว ยังใช ตามองสีสันของอาหาร และใชจมูกรับกลิ่น ของอาหารไดอีกดวย 7. ใหนักเรียนอานตัวอยางการรับรูขอมูล หนา 10 8. ใหนักเรียนรวมกันอภิปรายวา ชาลีและมีนา ไดรับขอมูลเกี่ยวกับอะไรบาง เชน ขอมูลเรื่อง ปูเปนขอมูลเกี่ยวกับสัตว และรับรูขอมูลวา ปูมี 8 ขา จากการมองดวยตา เปนตน

๒. การรับรูขอมูล 1เราสามารถรั บรูขอมูลต5างๆ ผานอวัยวะ 2 3 4 รับสัมผัสทั้ง ๕ ไดแก ตา หู จมูก ลิ้น และผิวหนัง เรามองดูสิ่งตางๆ โดยใชตา

เราฟงเสียงตางๆ โดยใชหู

เราดมกลิน่ ตางๆ โดยใชจมูก

เรารับรูรสชาติอาหารโดยใชลิ้น

Explain

เรารูลักษณะพื้นผิวของสิ่งตางๆ โดยใชมือสัมผัส

ขอสอบเนนการคิด

จูนถูกหนามกุหลาบตํามือจนเลือดไหล นักเรียนคิดวาจูนรับรูขอมูลผาน อวัยวะใด ก. ตา ข. จมูก ค. ผิวหนัง วิเคราะหคําตอบ จากขอมูลที่กําหนด แสดงวาจูนรับรูผานผิวสัมผัส ดังนั้น ขอ ค. จึงเปนคําตอบที่ถูก

นักเรียนควรรู 1 ตา เปนอวัยวะรับความรูสึกเกี่ยวกับการมองเห็น ประกอบดวยลูกตา แกวตา หรือเลนสตา เปลือกตา และตอมนํ้าตา 2 หู เปนอวัยวะรับความรูส กึ เกีย่ วกับการไดยนิ แบงออกเปน 3 สวน คือ หูชนั้ นอก หูชั้นกลาง และหูชั้นใน 3 จมูก เปนอวัยวะรับความรูสึกเกี่ยวกับกลิ่น ซึ่งมีเซลลรับกลิ่นอยูที่ผนังดานบน ของชองจมูก และสงสัญญาณตอไปยังสมอง 4 ลิ้น เปนอวัยวะรับรส มีตัวรับรสอยูที่ปุมรับรส ซึ่งฝงอยูบนเยื่อบุของลิ้น เชน ปลายลิ้นรับรสหวาน โคนลิ้นรับรสขม เปนตน และตัวรับรสจะสงสัญญาณ ตอไปยังสมอง 5 ผิวหนัง เปนอวัยะรับสัมผัสโดยตรง เชน ความรอน ความแข็ง เปนตน ซึ่งความรูสึกตางๆ จะถูกสงตอไปตามเสนประสาทสูสมอง คูมือครู

9


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ

ขยายความเขาใจ Expand าใจ ขยายความเข

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Expand

1. ครูตั้งประเด็นคําถามวา • ขอมูลมีประโยชนอยางไร (แนวตอบ ทําใหทราบเรื่องราวและลักษณะของ สิ่งตางๆ และสามารถนําขอมูลมาใชใหเกิด ประโยชนในดานตางๆ) • การรับรูขอมูลรอบตัวมีประโยชนตอการเรียน หรือไม อยางไร (แนวตอบ มี คือ ทําใหมีความรูรอบตัว และ นําความรูที่เรียนมาประยุกตใชได) 2. ใหนักเรียนแบงกลุม แลวใหแตละกลุมสืบคน ขอมูล ดังนี้ กลุมที่ 1 ขอมูลเกี่ยวกับบุคคล กลุมที่ 2 ขอมูลเกี่ยวกับสถานที่ กลุมที่ 3 ขอมูลเกี่ยวกับสิ่งของ กลุมที่ 4 ขอมูลเกี่ยวกับสัตว กลุมที่ 5 ขอมูลเกี่ยวกับพืช กลุมที่ 6 ขอมูลเกี่ยวกับธรรมชาติ กลุมที่ 7 ขอมูลเกี่ยวกับเหตุการณตางๆ 3. ใหแตละกลุมออกมานําเสนอขอมูลของกลุม ตนเองที่หนาชั้น พรอมบอกวา ขอมูลนี้ มีประโยชนอยางไร 4. ครูถามคําถามจุดประกาย หนา 11 แลวให นักเรียนรวมกันตอบคําถาม 5. ใหนักเรียนเขียนขอมูลของตนเองลงในสมุด พรอมติดรูปประกอบ แลวนํามาแลกกันดู กับเพื่อน 6. ใหนักเรียนอานขอมูลที่กําหนดในกิจกรรม การเรียนรูที่ 1 ขอ 2 หนา 11 แลวจับคู ใหตรงกับภาพ จากนั้นเขียนชื่อและขอมูล ของเด็กในภาพลงในสมุด

ตัวอย่าง การรับรู้ข้อมูล ชาลีและมีนาไปเที่ยวทะเล ชาลีและมีนาได้รับรู้ข้อมูล ดังนี้

เวลาเพื่อนๆ ไปเที่ยว ที่ไหน อยาลืมสังเกต ขอมูลตางๆ ที่อยูรอบตัว ดวยนะคะ...

ชาลีและมีนาเห็นปูสดี า� ตัวโต ๑ ตัว ท�าให้รวู้ า่ ปูมี ๘ ขา และมีก้าม ๒ ก้าม ชาลีและมีนายืนอยูบ่ ริเวณชายหาด ท�าให้รวู้ า่ ทรายเป็นเม็ดเล็กๆ มีสีน�้าตาล ชาลีและมีนาทดลองชิ 1 มน�้าทะเล ท�าให้รู้ว่า น�้าทะเลมีรสเค็ม ชาลีและมีนายืนที่กลางแจ้ง มีแสงแดดส่อง 2 ซึ่งน่าจะร้อนมาก แต่ก็มีลมทะเลพัดตลอด เวลา ท�าให้ไม่รสู้ กึ ร้อน

๑๐

นักเรียนควรรู 1 นํ้าทะเลมีรสเค็ม ในนํ้าทะเลมีสวนประกอบของเกลืออยูอยางเขมขน คนจึงนํา นํ้าทะเลมาไวในพื้นที่ราบใหแสงอาทิตยสอง เพื่อใหนํ้าทะเลระเหยกลายเปนไอ จนหมดเหลือแตเกลือ ซึ่งการทําเชนนี้ เรียกวา การทํานาเกลือ 2 ลมทะเล เกิดจากความรอนซึ่งแตกตางกันระหวางบริเวณทะเลและพื้นดิน ตามชายฝง ในเวลากลางวันพื้นดินไดรับความรอนจากดวงอาทิตย จึงทําใหมี อุณหภูมิสูงกวาบริเวณทะเล ดังนั้น เปนผลใหอากาศเหนือนํ้ามีความกดอากาศ สูงกวาเคลื่อนที่เขาหาพื้นดิน หรือเกิดลมพัดจากทะเลเขาหาฝงในเวลากลางวัน ลมทะเลมีประโยชนกับชาวประมง คือ ชาวประมงมักจะออกไปหาปลา ในตอนกลางคืน และมักจะกลับเขาฝงในตอนเชา โดยจะอาศัยลมทะเลชวยพัดเรือ ใหเขาฝง

10

คูมือครู

ขอสอบเนนการคิด

ขอใดรับขอมูลผานทางตา และลิ้น ก. หนังสือพิมพฉบับนี้มีแตขาวการศึกษา ข. ดอกกุหลาบชอนี้มีสีสวย และมีกลิ่นหอม ค. ขนมหวานถวยนี้สีสันนารับประทาน และมีรสชาติกลมกลอม วิเคราะหคําตอบ ก. การรูวาหนังสือพิมพมีขาวการศึกษาโดยการอาน ซึ่งเปนการรับรูขอมูลผานทางตาเพียงอยางเดียว ข. การรูวากุหลาบมีสีสวย โดยการมอง ซึ่งเปนการรับรูขอมูลผานทางตา และรูวามีกลิ่นหอมโดยการ ดมกลิ่น ซึ่งเปนการรั​ับขอมูลผานทางจมูก ค. การรูวาขนมหวานมีสีสัน นารับประทานโดยการมอง ซึ่งเปนการรับขอมูลผานทางตา และรูวารสชาติ กลมกลอมโดยการชิมรส ซึ่งเปนการรับขอมูลผานทางลิ้น ดังนั้น ขอ ค.

จึงเปนคําตอบที่ถูก


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Expand าใจ ขยายความเข

Evaluate ตรวจสอบผล

ขยายความเขาใจ

ใหนักเรียนทํากิจกรรมรวบยอดที่ 1.1 ขอ 2 จากแบบวัดฯ เทคโนโลยีฯ ป.1

¤íÒ¶ÒÁ¨Ø´»ÃСÒ ñ. ¹Ñ¡àÃÕ Â¹¤Ô´Ç‹Ò ÍÇÑÂÇÐã´ÁÕ¤ÇÒÁÊíÒ¤ÑÞ·ÕèÊش㹡ÒÃÃѺÃÙŒ¢ŒÍÁÙÅ à¾ÃÒÐÍÐäà ò. ÊÔ觷ÕèÍÂÙ‹ÃͺµÑǹѡàÃÕ Â¹ÁÕÊÔè§ã´ºŒÒ§·Õè¨Ñ´à»š¹¢ŒÍÁÙÅà¡ÕèÂǡѺʶҹ·Õè áÅÐÊÔ觹Ñé¹ãËŒ¢ŒÍÁÙÅÍÐäÃ

✓ แบบวัดฯ ใบงาน แบบฝกฯ เทคโนโลยีฯ ป.1 กิจกรรมรวบยอดที่ 1.1 แบบประเมินตัวช�้วัด ง 3.1 ป.1/1

¡Ô ¨¡ÃÃÁ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙ·Œ Õè ñ

๒ สืบคนขอมูลตามหัวขอที่กําหนด แลวเขียนบันทึกขอมูล พรอมติดรูปลงในกรอบ (ตัวอยางคําตอบ)

๑) ขอมูลเกี่ยวกับบุคคลที่ชื่นชอบ เบิรด บุคคลที่ชื่นชอบนี้ คือ............................ • ธงไชย แมคอินไตย

๑ เขียนข้อมูลของตนเองลงในสมุด พร้อมทั้งติดรูปประกอบ จากนั้น แลกกันดูกับเพื่อน ๒ อ่านข้อมูลแล้วจับคู่ให้ตรงกับภาพ จากนัน้ บอกชือ่ และข้อมูลของเด็ก ในภาพลงในสมุด ก. มีนาเป็นเด็กผู้หญิง ค. ก้องเป็นเด็กผู้ชาย จ. ชาลีสวมเสือ้ สีเขียว ๑)

Expand

...........................................................................................

เกิดวันที่ ๘ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๐๑

...........................................................................................

• ประกอบอาชีพ นักรอง นักแสดง • เปนศิลปนนักรองที่ประสบความ ........................................................................................... ...........................................................................................

สําเร็จสูงสุดในประเทศไทย

...........................................................................................

• เปนผูบ าํ เพ็ญประโยชนตอ สวนรวม จนเปนทีย่ อมรับของสังคม และไดรบั

............................................................................................................................................................................................

รางวัลตางๆ มากมาย

............................................................................................................................................................................................

๒) ขอมูลเกี่ยวกับสถานที่ชอบ สวนสัตวดุสิต สถานที่ที่ชอบ คือ ......................................

แขวงจิตรลดา เขตดุสิต กรุงเทพฯ

ข. ก้องมีรูปร่างอ้วน ง. มีนาสวมชุดกระโปรงสีฟา ฉ. ชาลีเป็นเด็กผู้ชาย

๒)

ฉบับ

เฉลย

• ตั้งอยูเลขที่ ๗๑ ถนนพระรามที่ ๕ ........................................................................................... ...........................................................................................

• พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา-

...........................................................................................

เจาอยูหัวทรงโปรดใหจัดสราง สวนสัตวนี้ขึ้น • เปนสวนสัตวและสวนสาธารณะแหงแรกของประเทศไทย ............................................................................................................................................................................................ สวนสัตวดุสิต เรียกอีกชื่อหนึ่งวา “เขาดิน” ............................................................................................................................................................................................ • สวนสัตวดุสิตเปนสวนสัตวเปดตั้งอยูใจกลางกรุงเทพฯ ซึ่งภายใน ............................................................................................................................................................................................ สวนสัตวประกอบไปดวยสัตวปานานาชนิด เชน สัตวประเภทที่ใกลจะ ............................................................................................................................................................................................ สูญพันธุ ............................................................................................................................................................................................ ........................................................................................... ...........................................................................................

๓)

ตัวชี้วัด ง ๓.๑ ขอ ๑ ไดคะแนน คะแนนเต็ม

ñð

ตรวจสอบผล

๑๑

Evaluate

1. ครูตรวจสอบวานักเรียนบอกขอมูลของ สิ่งตางๆ ไดอยางถูกตอง 2. ครูตรวจผลการทํากิจกรรมรวบยอดที่ 1.1 ขอ 2 จากแบบวัดฯ เทคโนโลยีฯ ป.1 3. ครูตรวจสอบวานักเรียนเขียนขอมูลเกี่ยวกับ ตนเองไดอยางถูกตอง

๑๑

ขอสอบเนนการคิด

ใครใชอวัยวะรับสัมผัสในการรับขอมูลแตกตาง จากคนอื่น ก. ผิงดูภาพถายงานกิจกรรมของโรงเรียน ข. ดิษฐอานหนังสือเรื่องวิธีขยายพันธุพืช ค. ปอฟงขาวนํ้าทวมจากวิทยุ

วิเคราะหคําตอบ ก. และ ข. รับขอมูลผานอวัยวะรับสัมผัส คือ ตา ค. รับขอมูลผานอวัยวะรับสัมผัส คือ หู ดังนั้น ขอ ค. จึงเปนคําตอบ

ที่ถูก

เฉลย คําถามจุดประกาย 1. แนวตอบ ทุกอวัยวะมีความสําคัญเทากันหมด เพราะอวัยวะแตละอวัยวะจะรับรู ขอมูลที่แตกตางกันไป หากขาดอวัยวะใดอวัยวะหนึ่ง อาจทําใหการรับรูขอมูล ตางๆ บกพรองได 2. แนวตอบ ขึ้นอยูกับคําตอบของนักเรียนแตละคน เชน สถานีอนามัย ใหขอมูล เกี่ยวกับการดูแลรักษาโรคตางๆ เปนตน เฉลย กิจกรรมการเรียนรูที่ 1 2. ตอบ 1) จ., ฉ. ชาลีเปนเด็กผูชาย สวมเสื้อสีเขียว 2) ค., ข. กองเปนเด็กผูชาย มีรูปรางอวน 3) ก., ง. มีนาเปนเด็กผูหญิง สวมชุดกระโปรงสีฟา

คูมือครู

11


กระตุนความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Exploreนหา สํารวจค

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explore

Explain

Expand

Evaluate

สํารวจคนหา

Explore

1. ครูเปดขาวจากโทรทัศนหรือคอมพิวเตอรที่ เชื่อมตอเครือขายอินเทอรเน็ตใหนักเรียนดู 2. ครูเขียนประเภทขอมูลบนกระดาน ดังนี้ • ขอมูลภาพ • ขอมูลตัวอักษร • ขอมูลตัวเลข • ขอมูลอื่นๆ เชน ขอมูลเสียง ขอมูลสี ขอมูลกลิ่น เปนตน 3. ครูชวนนักเรียนสนทนาวา จากขาวที่ครูเปดใหดู นักเรียนไดรับขอมูลประเภทใดบาง โดยให นักเรียนดูประเภทของขอมูลจากที่ครูเขียน บนกระดาน 4. ใหนักเรียนชวยกันยกตัวอยางขอมูลในชีวิตประจําวัน แลวบอกวาขอมูลนัน้ มีลกั ษณะอยางไร และขอมูลนั้นจัดเปนขอมูลประเภทใด

๒ ประเภทของขอมูล

ข้อมูลแบ่งออกเป็นหลายประเภท ดังนี้ ๑. ข้อมูลภาพ หมายถึง ข้อมูลที่เป็นรูปภาพในลักษณะต่างๆ ที่เรามองเห็น อาจเป็นภาพนิ่งหรือภาพเคลื่อนไหว เช่น

1

ภาพจากภาพถ่าย จัดเป็นข้อมูลภาพนิ่ง

ภาพจากโทรทัศน์ จัดเป็นข้อมูลภาพเคลื่อนไหว

ภาพจากภาพวาด จัดเป็นข้อมูลภาพนิ่ง

นอกจากนี้ ข้อมูลภาพยังรวมไปถึงภาพของสิ่งต่างๆ ทั้งสิ่งที่ มีชีวิตและสิ่งที่ไม่มีชีวิตที่เรามองเห็นได้ด้วย ๑๒

นักเรียนควรรู 1 ภาพถาย การถายภาพครั้งแรกของประเทศไทยเริ่มในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ 3) โดยมีสังฆราชชาวฝรั่งเศส ชื่อ บาทหลวง ปาเลอกัวซ ซึ่งเปนชางถายภาพที่เขามาเผยแพรการถายภาพ สวนคนไทยที่เปน ชางถายภาพคนแรก คือ พระยากระสาปนกิจโกศล หรือนายโหมด อมาตยกุล ซึ่งเปนศิษยของบาทหลวงปาเลอกัวซนั่นเอง ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ 5) การถายภาพ เจริญกาวหนาขึ้นมาก เพราะพระองคทรงโปรดการถายภาพ โดยพระองคทรงมี กลองถายภาพประจําพระองค และทรงบันทึกภาพเหตุการณตางๆ ในพระราชกรณียกิจเปนประจํา ตอมาในสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ 6) การ ถายภาพไดเปลี่ยนไปจากการใชฉากหลังเรียบๆ มาใชฉากรูปวิวทิวทัศน และมี การนําไฟแฟลชมาใช ทําใหการถายภาพไมจํากัดเวลาเฉพาะเวลากลางวันเทานั้น นับแตนั้นมาการถายภาพจึงเปนที่นิยมแพรหลาย และเจริญกาวหนาไปอยางรวดเร็ว

12

คูมือครู

ขอสอบเนนการคิด รุจถายภาพนํ้าตกที่ไหลแรง และมีเสียงดัง จากขอความ รุจจะไดขอมูลประเภทใดจากการถายภาพ ก. ขอมูลเสียง ข. ขอมูลภาพ ค. ขอมูลตัวอักษร วิเคราะหคําตอบ ภาพที่ไดจากการถายภาพจัดเปนภาพนิ่ง จึงเปนขอมูล ภาพ ดังนั้น ขอ ข. จึงเปนคําตอบที่ถูก


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

อธิบายความรู

1. ใหนักเรียนรวมกันสรุปวาขอมูลมีกี่ประเภท อะไรบาง พรอมยกตัวอยางประกอบ ตามความเขาใจของนักเรียน 2. ครูนําภาพถาย และภาพวาดมาใหนักเรียนดู เชน ภาพถายกิจกรรมของโรงเรียน ภาพถาย เหตุการณสาํ คัญตางๆ ภาพวาดการตนู เปนตน แลวใหนักเรียนชวยกันบอกวา นักเรียนไดรับ ขอมูลอะไรบาง 3. ใหนักเรียนดูภาพจากโทรทัศนที่ครูเตรียมไวให เชน ภาพสารคดีสัตว ภาพขาวเหตุการณ เปนตน แลวใหนักเรียนรวมกันบอกวา นักเรียนไดรับขอมูลอะไรบาง 4. ใหนกั เรียนเปรียบเทียบขอมูลภาพจากภาพถาย ภาพวาด และภาพจากโทรทัศนวาแตกตางกัน อยางไร 5. ใหนักเรียนอานเรื่องขอมูลภาพ หนา 12 6. ครูนํานิทานมาใหนักเรียนอาน แลวสนทนา ซักถามนักเรียนวา นักเรียนไดรับขอมูล อะไรบาง และขอมูลนี้จัดเปนขอมูลประเภทใด 7. ใหนักเรียนอานเรื่องขอมูลตัวอักษร หนา 13 8. ใหนักเรียนสํารวจภายในหองเรียน แลวบอกวา สิ่งใดเปนขอมูลภาพ และสิ่งใดเปนขอมูล ตัวอักษรบาง

๒. ขอมูลตัวอักษร หมายถึง ขอมูลที่ประกอบดวยตัวอักษร1 ทั้งภาษาไทย ภาษาตางประเทศ และตัวเลขที่ไมใชในการคํานวณ เชน ÀÕÃÐ äµÃÄ¡É ▲

ชื่อ - นามสกุล

Explain

2

ทะเบียนรถยนต

สื่อสิ่งพิมพตางๆ เชน หนังสือพิมพ หนังสือเรียน

ปายประกาศตางๆ

๑๓

ขอสอบเนนการคิด

สิ่งใดที่สามารถใหขอมูลไดทั้งขอมูลภาพและเสียง ก. นิตยสาร ข. โทรทัศน ค. วิทยุ

วิเคราะหคําตอบ ก. ใหขอมูลภาพ ตัวอักษร และตัวเลข ข. ใหขอมูลภาพ และเสียง ค. ใหขอมูลเสียงอยางเดียว ดังนั้น ขอ ข. จึงเปนคําตอบที่ถูก

นักเรียนควรรู 1 ตัวเลขที่ไมใชในการคํานวณ เปนตัวเลข 0-9 แตไมมีจุดประสงคที่ใชในการ คิดคํานวณ (บวก ลบ คูณ หาร) หาผลลัพธตางๆ เชน บานเลขที่ หมายเลขโทรศัพท เปนตน 2 ทะเบียนรถยนต เปรียบเสมือนบัตรประจําตัวรถยนตแตละคัน โดยทะเบียน รถยนตแตละประเภทจะมีสี และหมวดอักษรที่แตกตางกัน ซึ่งขึ้นอยูกับการใชงาน เชน • รถยนตสวนบุคคล ปายทะเบียนเปนปายขาว ตัวอักษรดํา • รถโดยสารรับจาง ปายทะเบียนเปนปายเหลือง ตัวอักษรดํา

รถยนตสวนบุคคล

รถโดยสารรับจาง

คูมือครู

13


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

Explain

1. ครูนําใบปลิวราคาสินคามาใหนักเรียนดู แลวให นักเรียนเปรียบเทียบราคาสินคาตางๆ เชน สินคาเหมือนกัน แตคนละยี่หอ มีราคาตางกัน เทาไหร เปนตน จากนั้นครูสนทนาซักถาม นักเรียนวาไดขอมูลอะไรบาง และขอมูลนั้น เปนขอมูลประเภทใด 2. ใหนักเรียนอานเรื่องขอมูลตัวเลข หนา 14 3. ใหนักเรียนรวมกันอภิปรายวา ขอมูลตัวอักษร กับขอมูลตัวเลขแตกตางกันอยางไร 4. ใหนักเรียนรวมกันบอกวา มีอะไรอีกบางที่เปน ขอมูลตัวเลข 5. ใหนักเรียนรวมกันอภิปรายวา ในชีวิตประจําวัน ของนักเรียนไดรับขอมูลอะไรอีกบาง นอกจาก ขอมูลภาพ ขอมูลตัวอักษร ขอมูลตัวเลข โดยครูเขียนตามที่นักเรียนบอกบนกระดาน 6. ใหนักเรียนอานเรื่องขอมูลอื่นๆ หนา 14 7. ใหนักเรียนดูขอความบนกระดาน แลวชวยกัน จัดประเภทของขอมูล 8. ใหนักเรียนพิจารณาขอมูลของตนเองจาก กิจกรรมการเรียนรูที่ 1 ขอ 1 แลวบอกวา มีขอมูลประเภทใดบาง 9. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปประเภทของขอมูล

๓. ข้อมูลตัวเลข หมายถึง ข้อมูลที่ประกอบด้วยตัวเลข ๐ ถึง ๙ ซึ่งใช้ในการคิดค�านวณได้ เช่น MT14-3 ๑,๕๗๕ บาท ▲

๐.๓ กิโลกรัม 1 ▲ น�้าหนัก

จ�านวนเงิน

๒,๔๒๐ กิโลกรัม ▲

ราคาสินค้า

๔. ข้อมูลอื่นๆ เป็นข้อมูลที่ไม่ใช่ข้อมูลภาพ ข้อมูลตัวอักษร หรือข้อมูลตัวเลข เช่น ข้อมูลเกี่ยวกับเสียง สี ความร้อนหรือเย็น ความมืดหรือสว่าง กลิ่น เป็นต้น

การฟงเพลงจากวิทยุ ท�าให้รู้ ข้อมูลเสียง

การกินอาหาร ท�าให้รู้รสชาติ ของอาหาร

การสัมผัสสิ่งต่างๆ ท�าให้รู้ ลักษณะพื้นผิว

! โฮง ง! โฮ

การสัมผัสลมที่พัดในฤดูหนาว ท�าให้รู้ถึงอากาศ ที่เย็นลง

การฟงเสียงของสัตว์ต่างๆ ท�าให้รู้ว่าเป็นเสียงของ สัตว์ชนิดใด

๑๔

ขอสอบเนนการคิด

นักเรียนควรรู 1 นํ้าหนัก เปนสิ่งที่บอกถึงความอวนและความผอมของตัวเรา การตรวจสอบ นํ้าหนัก เพื่อใหรูคานํ้าหนักวาอยูในเกณฑที่เหมาะสมหรือไม สามารถทําได โดยการชั่งนํ้าหนัก แลวนํามาเปรียบเทียบกับเกณฑมาตรฐานการเจริญเติบโต ดังนี้ อายุ (ป) 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11

14

คูมือครู

เพศชาย

นํ้าหนัก (กก.)

10.5 -14.4 12.1-17.2 13.6 -19.9 15.0 -22.6 16.6 -25.4 18.3 -28.8 20.0 -32.2 21.5 -36.6 23.6 - 40.8 25.6 - 45.2

เพศหญิง

นํ้าหนัก (กก.)

9.7 -13.7 11.5 -16.5 13.0 -19.2 14.4 - 21.7 16.1 - 24.7 17.7 - 28.7 19.3 - 32.5 21.2 - 37.4 23.4 - 42.1 26.1- 46.5

(อางอิงจาก กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข 2543)

ขอใดไมใช ขอมูลตัวเลข ก. หมายเลขโทรศัพท ข. จํานวนเงินฝาก ค. สวนสูง

วิเคราะหคําตอบ ขอมูลตัวเลข เปนขอมูลที่เปนตัวเลข ซึ่งใชในการ คํานวณได ซึ่งหมายเลขโทรศัพทไมสามารถนํามาคํานวณได เปนขอมูล ตัวอักษร ดังนั้น ขอ ก. จึงเปนคําตอบที่ถูก

บูรณาการเชื่อมสาระ

ครูบูรณาการความรูในสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี วิชาเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร กับสาระคณิตศาสตร เรื่อง การบวกและการลบ จํานวนที่มีผลลัพธและตัวตั้งไมเกิน 20 เพื่อใหเกิดทักษะดานการคิดคํานวณ และเขาใจเกี่ยวกับขอมูลตัวเลขมากยิ่งขึ้น


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ Expand าใจ ขยายความเข

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

อธิบExplain ายความรู

อธิบายความรู

Explain

1. ครูชวนนักเรียนสนทนาวา ขอมูลที่นักเรียน ไดรับในชีวิตประจําวัน มีประโยชนตอนักเรียน อยางไรบาง 2. ใหนักเรียนอานเรื่องประโยชนของขอมูล หนา 16 3. ใหนักเรียนแบงกลุม แลวใหแตละกลุมอาน ขอมูลที่ครูแจกให จากนั้นชวยกันวิเคราะหวา ขอมูลนี้ใหประโยชนอยางไร 4. ใหแตละกลุมออกมาอานขอมูลของกลุมตนเอง ใหเพื่อนฟง พรอมกับบอกประโยชน ของขอมูลนั้นๆ ที่หนาชั้น 5. ใหนักเรียนเขียนแผนผังความคิดสรุปเรื่อง ประโยชนของขอมูลลงในสมุด

¤íÒ¶ÒÁ¨Ø´»ÃСÒ ñ. ã¹áµ‹ÅÐÇѹ ¹Ñ¡àÃÕ Â¹ä´ŒÃѺ¢ŒÍÁÙÅÍÐäúŒÒ§ ¨Ò¡áËÅ‹§¢ŒÍÁÙÅã´ áÅТŒÍÁÙŹÑ鹨Ѵ໚¹¢ŒÍÁÙÅ

»ÃÐàÀ·ã´ ò. ¶ŒÒ¹Ñ¡àÃÕ Â¹Í‹Ò¹Ë¹Ñ§Ê×;ÔÁ¾ ¹Ñ¡àÃÕ Â¹¤Ô´Ç‹Ò ¨Ðä´Œ¢ŒÍÁÙÅ»ÃÐàÀ·ã´ºŒÒ§

¡Ô ¨¡ÃÃÁ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙ·Œ Õè ò ๑ ดูภาพต่อไปนี้ แล้วบอกว่าการปฏิบัติตนของเด็กในภาพท�าให้ได้รับ ข้อมูลประเภทใด จากนั้นเขียนบันทึกลงในสมุดตามหัวข้อที่ก�าหนด ๑) ๒) ๓)

ขยายความเขาใจ

Expand

1. ครูถามคําถามจุดประกาย หนา 15 และ หนา 16 จากนั้นใหนักเรียนชวยกันตอบ คําถาม 2. ใหนักเรียนดูภาพในกิจกรรมการเรียนรูที่ 2 ขอ 1 หนา 15 แลวบันทึกขอมูลตามหัวขอ ที่กําหนด 3. ใหนักเรียนอานเรื่องที่กําหนดในกิจกรรม การเรียนรูที่ 3 ขอ 2 หนา 17 แลวตอบคําถาม

ภาพ ข้อมูลที่คาดว่าจะได้รับ เป็นข้อมูลประเภท

๒ พิจารณาข้อมูลของตนเองจากการท�ากิจกรรมการเรียนรู้ที่ ๑ ข้อ ๑ แล้วบอกว่า มีข้อมูลประเภทใดบ้าง ÃÙ»ÀÒ¾ ໚¹¢ŒÍÁÙÅ...... ª×èÍ - ¹ÒÁÊ¡ØŠ໚¹¢ŒÍÁÙÅ..........

๑๕ เฉลย คําถามจุดประกาย 1. แนวตอบ ขึ้นอยูกับคําตอบของนักเรียนแตละคน เชน • สาระความรูตางๆ จากหนังสือเรียน จัดเปนขอมูลตัวอักษร ขอมูลตัวเลข ขอมูลภาพ • รสชาติของอาหาร จากอาหารที่รับประทาน จัดเปนขอมูลรสชาติ 2. แนวตอบ ขอมูลเกี่ยวกับขาวสารเหตุการณในปจจุบัน ความรู ความบันเทิง ซึ่งเปนขอมูลภาพ ขอมูลตัวอักษร และขอมูลตัวเลข เฉลย กิจกรรมการเรียนรูที่ 2 1. แนวตอบ 1) • ภาพ เด็กดมดอกไม • ขอมูลที่คาดวาจะไดรับ กลิ่นของดอกไม • เปนขอมูลประเภท ขอมูลกลิ่น 2) • ภาพ เด็กรับประทานอาหาร • ขอมูลที่คาดวาจะไดรับ รสชาติของอาหาร • เปนขอมูลประเภท ขอมูลรสชาติ

3) • ภาพ เด็กกําลังอุมและเลนกับแมว • ขอมูลที่คาดวาจะไดรับ ลักษณะของแมว ขนของแมวมีลักษณะนุม • เปนขอมูลประเภท ขอมูลอื่นๆ เชน ขอมูลลักษณะของแมว เปนตน 2. แนวตอบ ขึ้นอยูกับคําตอบของนักเรียนแตละคน เชน • รูปภาพ เปนขอมูลภาพ • ชื่อ-นามสกุล บานเลขที่ หมายเลขโทรศัพท อาหารที่ชอบ วิชาที่ชอบ เปนขอมูลตัวอักษร • วันเกิด นํ้าหนัก สวนสูง เปนขอมูลตัวเลข

คูมือครู

15


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ

ขยายความเขาใจ Expand าใจ ขยายความเข

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Expand

1. ใหนักเรียนสืบคนขอมูลสั้นๆ 1 เรื่อง จากนั้น ออกมานําเสนอขอมูล พรอมกับบอกวาขอมูลนัน้ เปนขอมูลเกี่ยวกับอะไร มีขอมูลประเภทใดบาง และมีประโยชนกับตนเองอยางไร 2. ครูถามคําถามบูรณาการสูชีวิต หนา 17 แลวให นักเรียนชวยกันตอบคําถาม 3. ใหนักเรียนดูภาพที่กําหนดในกิจกรรมรวบยอดที่ 1.1 ขอ 4 จากแบบวัดฯ เทคโนโลยีฯ ป.1 แลว เขียนบันทึกขอมูล

๓ ประโยชนของขอมูล

ข้อมูลในชีวิตประจ�าวันมีมากมาย ซึ่งคนเราน�าข้อมูลเหล่านี้ มาใช้ประโยชน์ เช่น การน�า1ข้อมูลสภาพอากาศมาประมวลผล แล้วใช้ในการพยากรณ์อากาศ การน�าข้อมูลประชากรมาวางแผน การพัฒนาประเทศ เป็นต้น ¢ŒÍÁÙÅÁÕ»ÃÐ⪹ ã¹´ŒÒ¹µ‹Ò§æ ´Ñ§¹Õé

✓ แบบวัดฯ ใบงาน แบบฝกฯ เทคโนโลยีฯ ป.1 กิจกรรมรวบยอดที่ 1.1 แบบประเมินตัวช�้วัด ง 3.1 ป.1/1

ñ

๔ ดูภาพที่กําหนดให แลวเขียนบอกวาใหขอมูลเรื่องใด และเปนขอมูลประเภทใด

• ขอมูลที่คาดวาจะไดรับ ขาวสารตางๆ เสียงเพลง • เปนขอมูลประเภท ขอมูลเสียง

๑)

...................................

..................................................................................................... ...............................................

ÇѤ«Õ¹»‡Í§¡Ñ¹

.....................................................................................................

• ขอมูลที่คาดวาจะไดรับ เรื่องราว ความรูตางๆ ขาวสาร • เปนขอมูลประเภท ขอมูลภาพ

๒)

䢌ËÇÑ´ãËÞ‹

...................................

2009

..................................................................................................... ...............................................

ขอมูลตัวอักษร

.....................................................................................................

• ขอมูลที่คาดวาจะไดรับ เลขทะเบียน ของรถ และจังหวัดที่จดทะเบียนรถ • เปนขอมูลประเภท ขอมูลตัวอักษร • ขอมูลที่คาดวาจะไดรับ ขาวสาร ความรูตางๆ และความบันเทิง • เปนขอมูลประเภท ขอมูลภาพ

๓)

...................................

ò

..................................................................................................... ฉบับ

เฉลย

...............................................

.....................................................................................................

๔)

...................................

..................................................................................................... ...............................................

ขอมูลเสียง

.....................................................................................................

• ขอมูลที่คาดวาจะไดรับ ราคาสินคา • เปนขอมูลประเภท ขอมูลตัวเลข

๕)

...................................

..................................................................................................... ...............................................

¤íÒ¶ÒÁ¨Ø´»ÃСÒÂ

..................................................................................................... ตัวชี้วัด ง ๓.๑ ขอ ๑ ไดคะแนน คะแนนเต็ม

ñð

¡ÒÃÃѺÃÙŒ¢ŒÍÁÙÅ´ŒÒ¹µ‹Ò§æ ઋ¹ ¢ŒÍÁÙÅ à¡ÕèÂǡѺºØ¤¤Å ¢ŒÍÁÙÅà¡ÕèÂǡѺʶҹ·Õè ໚¹µŒ¹ ÁÕ»ÃÐ⪹ µ‹Í¡ÒôíÒà¹Ô¹ªÕÇÔµ »ÃШíÒÇѹÍ‹ҧäÃ

๑๓

๑๖

ó

ª‹ÇÂ㹡ÒõѴÊÔ¹ã¨ËÃ×Íᡌ䢻˜ÞËÒ

เพือ่ ใหตดั สินใจหรือแกไขปญหาไดถกู ตอง เชน • เมื่อเรารูขอมูลวาคะแนนสอบวิชา ภาษาไทยของตนเองไมคอยดี เราจึง ควรขยันและตั้งใจเรียนใหมากขึ้น • เมือ่ เรารูข อ มูลเกีย่ วกับโรคไขหวัดใหญ 2 ๒๐๐๙ เราจึงควรหาวิธีปองกันตัวเอง เพื่อไมใหเปนโรคนี้ได เปนตน ª‹Ç¾Ѳ¹Òµ¹àͧ

ทําใหเราเปนคนฉลาด รอบรู สามารถ วางแผนการทํางาน การเรียนและการ ปฏิบตั งิ านตามหนาทีท่ ี่ไดรบั มอบหมาย ไดเปนอยางดี ª‹Ç¾Ѳ¹ÒªØÁª¹áÅÐÊѧ¤Á

เชน ผูด แู ลชุมชนมีขอ มูลวามีเด็กๆ ในชุมชน เพิ่มขึ้นจํานวนมาก จึงสรางสนามเด็กเลน เพือ่ ใหเด็กๆ ใชเปนทีอ่ อกกําลังกาย เปนตน

๓. ลางมือใหสะอาดกอนกินอาหารและหลังการขับถาย มือ เปนอวัยวะทีใ่ ชทาํ กิจกรรมตางๆ จึงทําใหมโี อกาสสัมผัส กับสิง่ สกปรกไดงา ย มือทีส่ กปรกจึงเปนแหลงแพรเชือ้ โรค ดังนัน้ เรา จึงตองรักษาความสะอาดของมือ โดยลางมือใหสะอาดดวยสบูอยาง ถูกวิธที กุ ครัง้ กอนกินอาหาร หลังหยิบจับสิง่ สกปรก หรือหลังขับถาย ¢Ñ鹵͹¡ÒÃŌҧÁ×ÍÍ‹ҧ¶Ù¡ÇÔ¸Õ ควรปฏิบัติ ดังนี้

นักเรียนควรรู 1 พยากรณอากาศ เปนการใชขอมูลทํานายสภาพทองฟาอากาศลวงหนา หรือในระยะเวลา อันใกล 2 ไขหวัดใหญ 2009 เปนไขหวัดสายพันธุใหมที่มีชื่อเรียกตางๆ หลายชื่อ เชน ไขหวัดใหญ 2009 ไขหวัดใหญสายพันธุเอชวันเอ็นวัน (H1N1) เปนตน ซึ่งโรคนี้จะติดตอกันระหวางมนุษยกับ มนุษย โดยเชื้อโรคจะอยูในเสมหะ นํ้ามูก นํ้าลาย ที่เกิดจากการไอ การจาม การหายใจรดกัน ในระยะใกลชิด ทั้งนี้เชื้อโรคจะเขาสูรางกายทางตาและจมูก หากเรานํามือไปสัมผัสสิ่งที่มีเชื้อโรค ปนอยู แลวใชมือหยิบจับอาหารเขาปาก เชื้อโรคก็จะเขาสูรางกายได การปองกันไขหวัดใหญ 2009 สามารถทําไดอยางงายๆ คือ การรักษาสุขภาพใหแข็งแรง อยูเสมอ หลีกเลี่ยงการไปในสถานที่แออัด ควรลางมืออยางถูกวิธีอยูเสมอๆ ควรสวมหนากาก อนามัย เพื่อชวยปองกันละอองเชื้อโรคที่ฟุงกระจายในอากาศ นอกจากนี้อาจฉีดวัคซีนเพื่อชวย ปองกันได

16

ฝามือถูหลังมือ และนิ้วถูซอกนิ้ว

ฝามือถูกนั เทนํ้ายาลางมือ ลงบนมือ

õ5

ô4

ถูนิ้วหัวแมมือ โดยรอบดวยฝามือ หลังนิว้ มือถูฝา มือ

ö6 ปลายนิ้ว ถูขวางฝามือ

๔๐

คูมือครู

ò2

ñ1

÷7 ถูรอบขอมือ

ขั้นตอนการลางมืออยางถูกวิธี

ó3 ฝามือถูฝามือ และนิ้วถูซอกนิ้ว


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

Engage

Explore

Explain

Expand

ตรวจสอบผล Evaluate ตรวจสอบผล Evaluate

ตรวจสอบผล

1. ครูตรวจสอบวานักเรียนบอกขอมูล และ จําแนกประเภทขอมูลไดถูกตองและเหมาะสม 2. ครูตรวจสอบวานักเรียนสามารถบอกขอมูล จําแนกประเภทของขอมูล บอกประโยชนของ ขอมูลไดอยางถูกตองและเหมาะสม 3. ครูตรวจผลการทํากิจกรรมรวบยอดที่ 1.1 ขอ 4 จากแบบวัดฯ เทคโนโลยีฯ ป.1

¡Ô ¨¡ÃÃÁ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙ·Œ Õè ó ๑ เขียนแผนผังความคิดสรุปประโยชน์ของข้อมูลลงในสมุด ๒ อ่านเรื่องที่ก�าหนด แล้วตอบค�าถาม หางของแมว…บอกอารมณของแมว ภาษาที่ใช้ในการสือ่ สารทัง้ มนุษย์และสัตว์แบ่งออกเป็น ๒ อย่าง คือ ภาษาพูด (ใชเสียง) และภาษาทาทาง (ใชอวัยวะในการสือ่ สาร) ซึง่ แมวจะใช้หางในการสือ่ สารเพือ่ บ่งบอกถึงอารมณ์ของมัน ดังนี้ ลักษณะของหางแมว

หลักฐานแสดงผลการเรียนรู 1. 2. 3. 4. 5.

ผลการบอกขอมูลของสิ่งตางๆ ผลการทํากิจกรรมรวบยอดที่ 1.1 ขอ 2 ผลการบันทึกขอมูลเกี่ยวกับตนเอง ผลการบอกขอมูล และจําแนกขอมูล ผลการบอกขอมูล จําแนกขอมูล และบอก ประโยชนของขอมูล 6. ผลการทํากิจกรรมรวบยอดที่ 1.1 ขอ 4

อารมณของแมว

หางและปลายหาง ตั้งตรงในแนวดิ่ง

อารมณ์ดี รู้สึกเป็นมิตร เมื่อได้พบกับแมวตัวอื่น

หางอยู่นิ่งๆ แต่มีการ กระตุกเป็นครั้งคราว

รู้สึกว่าถูกรบกวน หรือมีความกังวล

หางเหยียดตรงชี้ขึ้น และขนที่หางลุกชัน

ดุร้าย ก้าวร้าว

Evaluate

๑) นักเรียนอ่านเรื่อง “หางของแมว…บอกอารมณของแมว” แล้วรู้สึกอย่างไร ๒) การอ่านเรื่องนี้ให้ประโยชน์ต่อนักเรียนอย่างไร

¡Ô¨¡ÃÃÁºÙóҡÒÃÊÙ‹ªÕÇÔµ ¶ŒÒ¤Ø³¤ÃپҹѡàÃÕ Â¹ä»·ÑȹÈÖ¡ÉÒ·ÕÊè ǹÊÑµÇ ¹Ñ¡àÃÕ Â¹¤Ô´Ç‹Ò¨Ðä´Œ¢ÍŒ ÁÙÅÍÐäúŒÒ§ áŌǢŒÍÁÙÅ àËÅ‹Ò¹ÑÑ鹨ѴÍÂÙ‹ ã¹»ÃÐàÀ·ã´ áÅÐä´Œ»ÃÐ⪹ Í‹ҧäèҡ¢ŒÍÁÙŹÑé¹

๑7 เฉลย คําถามจุดประกาย

(หนา 16) แนวตอบ ทําใหเกิดความรูความเขาใจเกี่ยวกับขอมูลที่ไดรับรู แลวนําความรู ที่ไดไปใชใหเกิดประโยชนทั้งในดานการเรียน การดําเนินชีวิต เชน ถาเรารูขอมูลเรื่องไขหวัดใหญ 2009 เราสามารถดูแลตนเอง และหาวิธีปองกันไมใหเปนไขหวัดใหญ 2009 ได เปนตน เฉลย กิจกรรมการเรียนรูที่ 3

เฉลย กิจกรรมบูรณาการสูชีวิต แนวตอบ • ไดขอมูลเกี่ยวกับลักษณะของสัตว และชีวิตความเปนอยูของสัตวตางๆ ที่อยูในสวนสัตว • จัดเปนขอมูลภาพ ขอมูลตัวอักษร ขอมูลตัวเลข ขอมูลเสียง • สามารถนําขอมูลไปใชประโยชนในการเรียนได

2. แนวตอบ 1) แมวมีการแสดงอารมณและความรูสึกเชนเดียวกับคน 2) ทําใหเราสามารถบอกอารมณของแมว โดยดูจากหางของแมวได ซึ่งสามารถนําความรูไปใชได เชน ในการเลี้ยงแมว การเลนกับแมว อาจดูไดจากลักษณะของหางแมว หากแมวอยูในอารมณดุราย ก็ไมควร ไปเลนกับมัน ทําใหเกิดความปลอดภัยกับตนเอง เปนตน

คูมือครู

17


กระตุน ความสนใจ กระตุEngage นความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Engage

Explore

Explain

Expand

Evaluate

เปาหมายการเรียนรู

บอกขอมูลที่สนใจและแหลงขอมูลที่อยูใกลตัว (ง 3.1 ป.1/1)

º··Õè

สมรรถนะของผูเรียน 1. 2. 3. 4.

แหลงขอมูลนารู

ความสามารถในการสื่อสาร ความสามารถในการใชเทคโนโลยี ความสามารถในการคิด ความสามารถในการใชทักษะชีวิต

¡Ô¨¡ÃÃÁ¹ÓÊÙ‹¡ÒÃàÃÕ¹

คุณลักษณะอันพึงประสงค 1. ใฝเรียนรู 2. มุงมั่นในการทํางาน

กระตุน ความสนใจ

Engage

1. ใหนักเรียนดูภาพ หนา 18 แลวครูถามคําถาม ดังนี้ • จากภาพ สิ่งใดเปนแหลงขอมูลบาง และแหลงขอมูลนั้นใหขอมูลอะไร (แนวตอบ • คอมพิวเตอร ใหขอมูล สาระความรู ความบันเทิง ขาวสารตางๆ • หนังสือ ใหขอมูลความรูตางๆ) 2. ครูชี้ไปยังแหลงขอมูลตางๆ ในหองเรียน เชน ครู นักเรียน ปายนิเทศ ตนไม เปนตน ใหนักเรียนชวยกันบอกวา เปนแหลงขอมูลได หรือไม และถาเปนแหลงขอมูลได จะให ขอมูลอะไร

í แหล่งข้อมูล เป็นที่มาของข้อมูลต่างๆ ซึ่งมี ทั้งแหล่งข้อมูลที่เป็นบุคคล และแหล่งข้อมูลที่ ไม่ใช่บุคคล

๑๘

เกร็ดแนะครู ครูจัดกระบวนการเรียนรูโดยใหนักเรียนปฏิบัติ ดังนี้ • อภิปรายเกี่ยวกับแหลงขอมูล • สืบคนขอมูลที่สนใจ • จําแนกประเภทของแหลงขอมูล จนเกิดเปนความรูความเขาใจวา แหลงขอมูลเปนที่มาของขอมูลตางๆ ซึ่งมีทั้ง แหลงขอมูลที่เปนบุคคล และแหลงขอมูลที่ไมใชบุคคล

18

คูมือครู

ª‹Ç¡ѹºÍ¡Ç‹Ò ÁÕáËÅ‹§¢ŒÍÁÙÅÍÐäúŒÒ§


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

สํารวจค Exploreนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explore

Explain

Expand

Evaluate

สํารวจคนหา

1. ครูสนทนาซักถามนักเรียน ดังนี้ • ถาตองการขอมูลเกี่ยวกับประวัติของ ครอบครัวตนเอง จะคนหาขอมูลจาก แหลงขอมูลใด และดวยวิธีการใด (แนวตอบ ตอบไดหลากหลาย เชน ถามจากพอ แม ปู ยาย เปนตน) • ถาตองการขอมูลเกี่ยวกับการเลี้ยงสัตว จะตองคนหาขอมูลจากแหลงขอมูลใด และดวยวิธีการใด (แนวตอบ ตอบไดหลากหลาย เชน ถามจากสัตวแพทย คนหาจากเว็บไซต ในอินเทอรเน็ต เปนตน) • ถาตองการขอมูลเกี่ยวกับการทํางานบาน จะตองคนหาขอมูลจากแหลงขอมูลใด และดวยวิธีการใด (แนวตอบ ตอบไดหลากหลาย เชน ถามจากแม เปนตน) • ถาตองการขอมูลเกี่ยวกับการปลูกคะนา จะตองคนหาขอมูลจากแหลงขอมูลใด และดวยวิธีการใด (แนวตอบ ตอบไดหลากหลาย เชน ถามจากเกษตรกร อานจากหนังสือ ที่เกี่ยวกับการปลูกผักสวนครัว เปนตน) 2. ครูชวนนักเรียนสนทนาวา รอบตัวเรายังมี แหลงขอมูลอะไรอีกบาง โดยครูเขียนตามที่ นักเรียนบอกบนกระดาน 3. ใหนักเรียนจําแนกแหลงขอมูลบนกระดานวา แหลงขอมูลใดเปนแหลงขอมูลที่เปนบุคคล และแหลงขอมูลที่ไมใชบุคคล

๑ แหล่งขอมูล

แหลงข้อมูล หมายถึง ที่มาของข้อมูล ซึ่งมีความแตกต่างกัน ตามประเภทของข้อมูลที่เราได้รับ ๑. ประเภทของแหลงข้อมูล แหล่งข้อมูลแบ่งออกเป็น ๒ ประเภท ได้แก่ ๑) แหลงข้อมูลชั้นต้น เป็นแหล่งข้อมูลที่เราสอบถาม หรือ สัมภาษณ์จากแหล่งข้อมูลโดยตรง หรือที่เราพบเห็นด้วยตนเอง แล้วจดบันทึกไว้ เช่น การสอบถามข้อมูลจากเพื่อน การสังเกตการ เจริญเติบโตของพืช เป็นต้น ʶҹ·Õ 1 è¹Õé¤×Í Ê¹ÒÁËÅǧ¹Ð¤Ð¹Ñ¡àÃÕ¹

Explore

การไปทัศนศึกษาตามสถานที่ส�าคัญต่างๆ จะได้ข้อมูลที่เป็นข้อมูลชั้นต้น

๑๙

ขอสอบเนนการคิด

ถาตองการทราบราคาสินคา ควรหาขอมูลจากแหลงขอมูลใด จึงจะเหมาะสมที่สุด ก. แมคาในตลาด ข. ครูประจําชั้น ค. ตํารวจ

วิเคราะหคําตอบ แมคาในตลาดเปนผูขายสินคา จึงรูขอมูลเกี่ยวกับราคา สินคาตางๆ ไดดีกวาบุคคลในขออื่นๆ ดังนั้น ก. จึงเปนคําตอบที่ถูก

นักเรียนควรรู 1 สนามหลวง เดิมเรียกวา ทุงพระเมรุ (ทุง-พระ-เมน) เพราะใชเปนที่ถวาย พระเพลิงพระบรมศพของพระมหากษัตริยและพระบรมวงศานุวงศ ในปจจุบัน มีการใชสนามหลวงเปนที่ประกอบพระราชพิธีสําคัญๆ เชน พระราชพิธีพืชมงคลจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ สมโภชกรุงรัตนโกสินทร รวมทั้ง งานพระเมรุมาศเจานายระดับสูง เปนตน นอกจากนี้ สนามหลวงยังใชจัดกิจกรรม ตางๆ อาทิ การปราศรัยใหญในการหาเสียงเลือกตั้งในแตละครั้ง หรือการชุมนุม ทางการเมืองตางๆ รวมถึงใชเปนสถานที่จัดกิจกรรมทางกีฬา การละเลนตางๆ เชน ฟุตบอล การเลนวาว เปนตน หากไมมีพระราชพิธี หรือกิจกรรมตางๆ สนามหลวงยังเปนที่พักผอนหยอนใจของประชาชนทั่วไปอีกดวย สนามหลวงเปนโบราณสถานสําคัญของชาติ ซึ่งกรมศิลปากรไดประกาศ ขึ้นทะเบียนเปนโบราณสถานในราชกิจจานุเบกษา เลมที่ 94 ตอนที่ 126 ลงวันที่ 13 ธันวาคม พ.ศ. 2520 คูมือครู

19


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

Explain

1. ใหนักเรียนรวมกันอภิปรายวา แหลงขอมูล คืออะไร ควรเลือกแหลงขอมูลอยางไร 2. ครูอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียนเขาใจวา • แหลงขอมูล คือ ที่มาของขอมูล ที่ให รายละเอียดตางๆ ของขอมูล อาจเปนบุคคล เชน พอแม ครู เพื่อน เจาหนาที่พิพิธภัณฑ เกษตรกร เปนตน อาจไมใชบุคคล เชน หนังสือ โทรทัศน พิพิธภัณฑ หองสมุด เปนตน ในการเลือกแหลงขอมูลที่ใชคนหาขอมูลนั้น ควรเลือกแหลงมูลที่นาเชื่อถือ มีการรวบรวม ขอมูลอยางมีหลักเกณฑ และมีการอางอิง เชน การสอบถามจากผูรู และผูชํานาญ เกี่ยวกับขอมูลนั้น การอานจากหนังสือที่มี การรวบรวมและตรวจสอบขอมูลแลว เปนตน 3. ใหนักเรียนชวยกันบอกแหลงขอมูลที่นาเชื่อถือ ตามความคิดของนักเรียน 4. ครูอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียนเขาใจวา แหลงขอมูลแบงเปน 2 ประเภท ไดแก 1) แหลงขอมูลชั้นตน คือ แหลงขอมูลที่เรา รวบรวมขอมูลดวยตนเอง เชน การสอบถาม การสัมภาษณ การสังเกตจากแหลงขอมูล โดยตรง แลวจดบันทึกขอมูล เปนตน 2) แหลงขอมูลชั้นรอง คือ แหลงขอมูลที่มีผูอื่น รวบรวมหรือบันทึกไวแลว เชน การอาน หนังสือ การฟงจากวิทยุ การดูจากโทรทัศน การอานขอมูลจากอินเทอรเน็ต แลวจดบันทึก เปนตน 5. ใหนักเรียนอานขอมูลเรื่องประเภทแหลงขอมูล หนา 19-20

๒) แหลงข้อมูลชั้นรอง เป็นแหล่งข้อมูลที่ได้จากการอ่าน การฟง หรือการดูขอ้ มูลทีม่ ผี อู้ นื่ รวบรวมหรือบันทึกไว้แล้ว เช่น การ ค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต การอ่านจากหนังสือ แล้วจดบันทึก เป็นต้น

1

การดูรายการสารคดีต่างๆ ในโทรทัศน์

2

การชมนิทรรศการ

การอ่านหนังสือในห้องสมุด

๒๐

นักเรียนควรรู 1 สารคดี (สา-ระ-คะ-ดี) เปนเรื่องที่เขียนขึ้นจากเคาความจริงที่เกี่ยวของกับ เรื่องราวชีวิตจริงของคนหรือสัตว เหตุการณที่เกิดจริง โดยมีจุดมุงหมายเพื่อให ความรูและขอเท็จจริง นอกจากนี้ทําใหผูอาน ฟง หรือดู ไดรับความรู และไดรับ ความเพลิดเพลินไปในขณะเดียวกัน 2 นิทรรศการ (นิ-ทัด-สะ-กาน) เปนการแสดงผลงานสินคาผลิตภัณฑ หรือ กิจกรรมใหคนทั่วไปชม

20

คูมือครู

ขอสอบเนนการคิด ขอใดเปนแหลงขอมูลชั้นตน ก. เจาหนาที่พิพิธภัณฑ ข. รายการสารคดี ค. แผนพับโฆษณา

วิเคราะหคําตอบ ข. และ ค. เปนแหลงขอมูลชั้นรองที่มีผูอื่นรวบรวม หรือบันทึกไวแลว ก. เปนแหลงขอมูลชั้นตน ซึ่งผูตองการขอมูลจะตอง สอบถาม สัมภาษณ หรือสังเกตดวยตนเอง ดังนั้น ขอ ก. จึงเปน

คําตอบที่ถูก


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

อธิบายความรู

1. ใหนักเรียนอานเรื่องแหลงขอมูลที่อยูใกลตัว หนา 21-22 2. ครูอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียนเขาใจวา แหลงขอมูลที่เปนบุคคล มักจะรวบรวม ขอมูลได โดยการสอบถาม การสัมภาษณ แลวจดบันทึกขอมูล สวนแหลงขอมูลที่ไมใช บุคคล มักจะรวบรวมขอมูลได โดยการฟง การสังเกต แลวจดบันทึกขอมูล 3. ใหนักเรียนชวยกันยกตัวอยางแหลงขอมูล ที่เปนบุคคล และแหลงขอมูลที่ไมใชบุคคล เพิ่มเติมจากในหนังสือ 4. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปเรื่องแหลงขอมูล

๒. แหลงข้อมูลที่อยูใกล้ตัว ในชีวิตประจ�าวันของนักเรียน สามารถหาข้อมูลต่างๆ ได้จากแหล่งข้อมูลที่อยู่ใกล้ตัว ได้แก่ ๑) แหลงข้อมูลที่เปนบุคคล เช่น พ่อแม่ ผู้ปกครอง คุณครู ผู้เชี่ยวชาญด้านดนตรี แพทย์ เป็นต้น

พ่อแม่

ญาติผู้ใหญ่

คุณครู

เพื่อน

Explain

¡ÒÃÃѺÃÙŒ¢ŒÍÁÙŨҡáËÅ‹§¢ŒÍÁÙÅ·Õè໚¹ºØ¤¤Å ¨Ð㪌ÇÔ¸Õ¡ÒÃÊͺ¶ÒÁáÅСÒÿ˜§¹Ð¤ÃѺ

๒๑

ขอใดจัดเปนแหลงขอมูลชั้นรอง ก. ผูประกาศขาวในรายการโทรทัศน ข. นักดนตรีพื้นบาน ค. ครูสอนวิชาศิลปะ

ขอสอบเนนการคิด

วิเคราะหคําตอบ แหลงขอมูลชั้นรอง เปนแหลงขอมูลที่มีผูรวบรวมขอมูล และประมวลผลไวแลว ก. จัดเปนแหลงขอมูลชั้นรอง ข. และ ค. จัดเปน แหลงขอมูลชั้นตน ดังนั้น ขอ ก. จึงเปนคําตอบที่ถูก

บูรณาการอาเซียน ครูใหนักเรียนดูการตูนเกี่ยวกับอาเซียน ซึ่งเปนแหลงขอมูลชั้นรอง เพื่อให นักเรียนเกิดความรูและความเขาใจเกี่ยวกับอาเซียนมากยิ่งขึ้น โดยเขาเว็บไซต www.youtube.com แลวพิมพคําวา การตูนทองอาเซียน ที่ชองคนหา จากนั้น จึงเลือกการตูนทองอาเซียน 1-5 ตามลําดับ

คูมือครู

21


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ

ขยายความเขาใจ Expand าใจ ขยายความเข

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Expand

1. ครูถามคําถามจุดประกาย หนา 23 แลวให นักเรียนชวยกันตอบคําถาม 2. ใหนักเรียนคิด เขียน และวาดภาพแหลงขอมูล ที่อยูใกลตัว 1 แหลงขอมูล ลงในสมุด แลวเขียน อธิบายสั้นๆ วา จะไดรับขอมูลอะไรบาง จากแหลงขอมูลนั้น 3. ครูสมุ เรียกนักเรียนใหออกมานําเสนอแหลงขอมูล ของตนเองที่หนาชั้นเรียน 4. ใหนกั เรียนอานสถานการณในกิจกรรมการเรียนรู ที่ 1 ขอ 2 หนา 23 แลวตอบคําถาม

๒) แหล 1 งข้อมูลที่ไมใชบุคคล เช่น ห้องสมุด คอมพิวเตอร์ วัด พิพิธภัณฑ์ เป็นต้น

ห้องสมุด ▲

ห้องสมุด

แท็บเล็ต

คอมพิวเตอร์

โทรทัศน์

๒๒

เกร็ดแนะครู ครูอาจแนะนําขอมูลเกี่ยวกับหองสมุด เชน การคนหาหนังสือในหองสมุด มารยาทการใชหองสมุด เปนตน เพื่อใหนักเรียนใชหองสมุดที่เปนแหลงขอมูล ไดอยางถูกตองและเหมาะสม

นักเรียนควรรู 1 พิพิธภัณฑ เปนแหลงขอมูลที่สําคัญ ซึ่งการเขาชม นักเรียนควรปฏิบัติตาม กฎระเบียบ เชน • ไมสงเสียงดังขณะเขาชม • ไมนําอาหารและเครื่องดื่มทุกชนิดเขาไปในพิพิธภัณฑ • ไมหยิบ จับ หรือเคลื่อนยายสิ่งของในพิพิธภัณฑ

22

คูมือครู

ขอสอบเนนการคิด

ใครเลือกใชแหลงขอมูลไมเหมาะสม ก. ชะเอมถามวิธีทําอาหารจากแมครัว ข. บัวถามประวัติโรงเรียนจากแมคาที่เพิ่งมาขายอาหารในโรงเรียน ค. กุยอานหนังสือเรื่องการปลูกผักสวนครัว เพื่อเตรียมปลูกคะนา วิเคราะหคําตอบ การเลือกแหลงขอมูลเพื่อคนหาขอมูล จะตองเลือก แหลงขอมูลที่นาเชื่อถือ เหมาะสม และตรงกับขอมูลที่ตองการ เพื่อใหได ขอมูลที่ถูกตอง และนํามาใชประโยชนได หากตองการขอมูลเกี่ยวกับประวัติของโรงเรียน ควรสอบถามจากครู ในโรงเรียน หรืออานจากหนังสือประวัติโรงเรียน ซึ่งการถามจากแมคา ที่เพิ่งมาขายอาหารในโรงเรียน อาจไดขอมูลที่ไมถูกตอง เพราะแมคา เพิ่งจะมาขายอาหารในโรงเรียน อาจไมรูขอมูลเกี่ยวกับประวัติโรงเรียน ดังนั้น ขอ ข. จึงเปนคําตอบที่ถูก


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

Engage

Explore

Explain

Expand

ตรวจสอบผล Evaluate ตรวจสอบผล Evaluate

ตรวจสอบผล

Evaluate

1. ครูตรวจสอบวานักเรียนเขียนขอมูลจาก แหลงขอมูลทีอ่ ยูใ กลตวั ไดอยางถูกตอง และเหมาะสม 2. ครูตรวจสอบวานักเรียนบอกแหลงขอมูล ที่ใชคนหาขอมูลที่กําหนดใหไดอยางถูกตอง และเหมาะสม

¤íÒ¶ÒÁ¨Ø´»ÃСÒ ñ. ¹Ñ¡àÃÕ Â¹¤Ô´Ç‹Ò áËÅ‹§¢ŒÍÁÙÅÁÕ¤ÇÒÁÊíÒ¤ÑÞ㹡ÒÃËÒ¢ŒÍÁÙÅÍ‹ҧäà ò. à¾ÃÒÐàËµØ ã´ àÃÒ¤ÇÃàÅ×Í¡áËÅ‹§¢ŒÍÁÙÅãËŒµÃ§¡Ñº¢ŒÍÁÙÅ·ÕèàÃÒµŒÍ§¡ÒÃ

¡Ô ¨¡ÃÃÁ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙ·Œ Õè ñ ๑ คิด เขียน และวาดภาพแหล่งข้อมูลที่อยู่ใกล้ตัว ๑ แหล่งข้อมูล ลงในสมุด แล้วเขียนอธิบายสั้นๆ ว่า จะได้รับข้อมูลอะไรบ้าง จากแหล่งข้อมูลนั้น ๒ อ่านสถานการณ์ที่ก�าหนด แล้วตอบค�าถาม ๑) มดกับแกมตองการทราบขอมูลเกีย่ วกับการ ปลูกผักสวนครัว มดกับแกมควรหาขอมูล จากแหลงขอมูลใด

๒)

จอยกับตน นตตองการทราบ งการทราบขขอมูลเกี่ยวกับ การเลนฟุตบอล จอยกับตนควรหาขอมูล จากแหลงขอมูลใด

๓)

ตู  กั บ อ อ ดต อ งการทราบขข อ มู ล เกี่ ย วกั บ การอานออกเสียงคําควบกลํ้า ตูกับออด ควรหาขอมูลจากแหลงขอมูลใด

๒๓

กิจกรรมทาทาย ใหนักเรียนสํารวจแหลงขอมูลที่อยูใกลตัวนักเรียน แลวจดบันทึก ลงในสมุด จากนั้นเขียนบอกวาแหลงขอมูลนั้นใหขอมูลอะไรกับนักเรียน แหลงขอมูล • หนังสือพิมพ

แหลงขอมูล ที่เปนบุคคล

แหลงขอมูล ที่ไมใชบุคคล

ขอมูลที่ไดรับ

• ใหขอมูลขาวสาร เหตุการณตางๆ ใน ปจจุบัน สาระความรู และความบันเทิง

เฉลย คําถามจุดประกาย 1. แนวตอบ แหลงขอมูลเปนแหลงที่ใหรายละเอียดตางๆ ของขอมูล ถาหาก แหลงขอมูลนั้นไมมีความนาเชื่อถือ จะทําใหขอมูลที่ไดมานั้นใชประโยชนไมได 2. แนวตอบ เพราะจะไดรับขอมูลที่ตรงตามความตองการ ทําใหใชเวลาในการ คนหาขอมูลไมนานเกินไป และขอมูลที่ไดสามารถนําไปใชประโยชนได เฉลย กิจกรรมการเรียนรูที่ 1 2. แนวตอบ 1) เชน ครูสอนวิชาเกษตร หนังสือเกี่ยวกับการปลูกพืชสวนครัว เปนตน 2) เชน ครูวิชาพลศึกษา อินเทอรเน็ต เปนตน 3) เชน ครูวิชาภาษาไทย หองสมุด เปนตน

คูมือครู

23


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Exploreนหา สํารวจค

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explore

Explain

Expand

Evaluate

สํารวจคนหา

Explore

1. ครูสนทนาซักถามนักเรียนวา ถาตองการคนหา ขอมูลเรื่องมะลิ นักเรียนมีวิธีรวบรวมขอมูล อยางไรบาง โดยครูเขียนตามที่นักเรียนบอกไว บนกระดาน 2. ใหนักเรียนดูวิธีรวบรวมขอมูลที่ครูเขียน บนกระดานตามที่นักเรียนบอก แลวใหนักเรียน ชวยกันพิจารณาวาการรวบรวมขอมูลแบบใด ถูกตองและเหมาะสม 3. ครูชวนนักเรียนสนทนาวา เมื่อรวบรวมขอมูล จนไดขอมูลพอประมาณแลว นักเรียนมีวิธีการ จัดการขอมูลอยางไรบาง 4. ครูสุมเรียกนักเรียนที่จัดการขอมูลอยางเปน ขั้นตอน กับนักเรียนที่จัดการขอมูลไมเปน ขั้นตอนออกมา แลวใหนักเรียนคนอื่นๆ ชวยกันเปรียบเทียบวา ควรปฏิบัติตามคนใด เพราะอะไร

๒ การรวบรวมขอมูล

การรวบรวมข้อมูล หมายถึง การค้นหาข้อมูลที่ต้องการจาก แหล่งข้อมูลต่างๆ มาเก็บรวมกันไว้ ๑. วิธีการรวบรวมข้อมูล มีดังนี้ ๑) การสังเกต เป็นวิธกี าร รวบรวมข้อมูลโดยการดูข้อมูล ที่สนใจอย่างละเอียด และจดจ�า รายละเอียดข้อมูลที่สังเกต เช่น สังเกตว่า ดอกไม้ชนิดนี้มีสีอะไร มีกลีบกี่กลีบ เป็นต้น ÊÇÑÊ´Õ¤‹Ð ¢ÍÊÑÁÀÒɳ àÃ×èͧ¡Òà àµÃÕÂÁµÑÇÊͺ˹‹Í¹ФР▲

ä´Œ¤ÃѺ

การดูและสังเกตสิ่งต่างๆ เป็นการรวบรวมข้อมูล วิธีหนึ่ง

๒) การสัมภาษณ เป็นการ สอบถามหรือพูดคุยระหว่างบุคคล ๒ ฝ่าย โดยที่ฝ่ายหนึ่งต้องการ ทราบเรื่ อ งราวจากอี ก ฝ่ า ยหนึ่ ง แล้ ว จดบั น ทึ ก ข้ อ มู ล ที่ ไ1ด้ หรื อ อาจจะใช้ วิ ธี บั น ทึ ก เสี ย งในขณะ สัมภาษณ์ก็ได้ ▲

การสอบถามข้อมูล ควรใช้ถ้อยค�าที่สุภาพเสมอ

๒๔

เกร็ดแนะครู ครูอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียนเขาใจวา การสังเกต เปนขั้นตอนหนึ่งในระเบียบ วิธีทางวิทยาศาสตร ดังนี้ 1. การสังเกตปรากฏการณที่เกิดขึ้น 2. การตั้งสมมติฐานในปรากฏการณที่เกิดขึ้น 3. การทดสอบสมมติฐาน 4. การทบทวนเพื่อหาขอบกพรอง

นักเรียนควรรู 1 วิธีบันทึกเสียง ตองบันทึกผานเครื่องบันทึกเสียง แลวจัดเก็บขอมูลไวใน แถบบันทึกเสียง ซึ่งในการบันทึกเสียงนั้น ผูบันทึกจะตองขออนุญาต หรือ บอกกลาวผูที่ถูกสัมภาษณกอนเสมอ เพื่อเปนการไมละเมิดสิทธิสวนบุคคล และเปนมารยาททางสังคม

24

คูมือครู

ขอสอบเนนการคิด

แหลงขอมูลใดที่ใชคนหาขอมูลไดสะดวกรวดเร็ว และไดขอมูลที่หลากหลาย ก. อินเทอรเน็ต ข. หนังสือพิมพ ค. วิทยุ วิเคราะหคําตอบ คอมพิวเตอรที่เชื่อมตอเครือขายอินเทอรเน็ต เปนแหลงขอมูลที่มีขอมูลหลากหลาย มีการปรับปรุงขอมูลอยูตลอดเวลา ซึ่งสามารถคนหาขอมูลไดทันทีที่เริ่มเชื่อมตอเครือขายอินเทอรเน็ต จึงทําใหสะดวกรวดเร็วในการคนหาขอมูล ดังนั้น ขอ ก. จึงเปน

คําตอบที่ถูก


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

อธิบายความรู

1. ใหนักเรียนรวมกันสรุปวา การรวบรวมขอมูล มีวิธีการอยางไร และการจัดการขอมูลที่ รวบรวมไดควรปฏิบัติอยางไร 2. ใหนักเรียนอานขอมูลเรื่องการรวบรวมขอมูล หนา 24-25 3. ครูตั้งคําถามใหนักเรียนชวยกันตอบ • ตั้มดูสารคดีชีวิตชางจากโทรทัศน แลวจดบันทึกขอมูลลงในสมุด นักเรียน คิดวา ตั้มรวบรวมขอมูลดวยวิธีใด (แนวตอบ รวบรวมขอมูลโดยการดูและฟง จากโทรทัศน) • ฝายขอใหครูที่สอนวิชาศิลปะแนะนําวิธีการ วาดภาพดวยสีนํ้า จากนั้นฝายจึงจดบันทึก คําแนะนําของครูลงในสมุด นักเรียนคิดวา ฝายรวบรวมขอมูลดวยวิธีใด (ตอบ รวบรวมขอมูลโดยการสอบถาม)

๓) การสืบค้นข้อมูลจากแหลงข้อมูลตางๆ เป็นการค้นคว้า ข้อมูลจากแหล่งข้อมูลชั้นรอง เช่น การอ่านหนังสือ การฟงจาก ผู้รู้ การอ่านข้อมูลในอินเทอร์เน็ต เป็นต้น แล้วจดบันทึกข้อมูลที่ ต้องการ

Explain

อินเทอร์เน็ตและห้องสมุด เป็นแหล่งข้อมูล ทีม่ ขี อ้ มูลมากมายหลายประเภท เราต้องรูจ้ กั เลือกใช้ข้อมูลที่มีประโยชน์ ให้เหมาะสมกับ ความต้องการ

๒๕

ขอสอบเนนการคิด

ถาเราอยากทราบประวัติของพอแมเรา เราควรรวบรวมขอมูลดวยวิธีใด ก. สังเกตจากพฤติกรรมของพอแม ข. สอบถามจากพอแม ค. คนหาจากหองสมุด

วิเคราะหคําตอบ พอแมเปนบุคคลที่อยูใกลตัวเรา หากตองการทราบ ประวัติของพอแม ควรสอบถามจากทาน ซึ่งจะทําใหไดขอมูลที่ถูกตอง ดังนั้น ขอ ข. จึงเปนคําตอบที่ถูก

เกร็ดแนะครู ครูอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียนเขาใจวา ปจจุบันคนนิยมสืบคนขอมูลจาก อินเทอรเน็ต เพราะสามารถคนหาขอมูลไดรวดเร็ว และสะดวก แตขอมูลที่ได จากการสืบคนทางอินเทอรเน็ต ก็มีทั้งเชื่อถือได และเชื่อถือไมได ดังนั้น หากจะ นําขอมูลที่ตองการไปใชงาน ตองเลือกใชขอมูลจากแหลงขอมูลที่สามารถอางอิงได เชน ขอมูลจากหนวยงานราชการ องคกรตางๆ เปนตน

มุม IT ศึกษาและบริการหองสมุดออนไลน ไดที่ http://www.nlt.go.th/th_index.htm ซึ่งเปนเว็บไซตของหอสมุดแหงชาติ

คูมือครู

25


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

Explain

1. ครูยกตัวอยางขอมูล ดังนี้ • พยัญชนะไทย มี 44 ตัว • คนไทยสวนใหญนับถือพระพุทธศาสนา • ดินเนื้อหยาบมักนํามาใชในการทํางานปน • ผูใหกําเนิดลูกเสือคือ ลอรด เบเดน โพเอลล • ปาไมจัดเปนสิ่งแวดลอมทางธรรมชาติ 2. ครูใหนักเรียนอภิปรายรวมกันวาขอมูลใด เปนขอมูลที่ถูกตอง และนักเรียนทราบได อยางไร 3. ใหนักเรียนตรวจสอบความนาเชื่อถือของขอมูล โดยการสืบคนขอมูลจากแหลงขอมูลตางๆ แลวใหนักเรียนชวยกันบอกวาขอมูลใดถูกตอง และขอมูลใดไมถูกตอง 4. ใหนักเรียนอานเรื่องตรวจสอบความนาเชื่อถือ ของขอมูล หนา 26 5. ครูถามคําถามนักเรียนวา • นักเรียนจะตรวจสอบความนาเชื่อถือของ ขอมูลไดโดยวิธีการใด (แนวตอบ สอบถามจากบุคคลที่เกี่ยวของกับ เหตุการณ หรือสืบคนขอมูลจากแหลงขอมูล หลายๆ แหลง วาใหขอมูลตรงกันหรือไม) • เพราะเหตุใดในการรวบรวมขอมูล เราจึงตอง ตรวจสอบขอมูล (แนวตอบ เพื่อใหขอมูลที่เรารวบรวมมีความ นาเชื่อถือ และนําไปใชประโยชนได)

๒. วิธีการจัดการข้อมูล เมื่อรวบรวมข้อมูลได้พอสมควรแล้ว ควรปฏิบัติ ดังนี้ ๑) ตรวจสอบความนาเชื่อถือของข้อมูล โดยการน�าข้อมูล ที่ได้มาเปรียบเทียบกัน แล้วเลือกข้อมูลที่เหมือนกัน หรือตรวจสอบ ข้อมูลจากหลักฐานทีเ่ ป็นตัวหนังสือ นอกจากนี้ การเลือกข้อมูลจะต้อง ดูจากแหล่งข้อมูลที่ได้มาด้วย ว่ามีความน่าเชื่อถือมากน้อยเพียงใด เช่น หากเราสอบถามข้อมูลเรื่องการสร้างอาคารเรียนหลังใหม่จาก คุณครูใหญ่แล้ว เราควรขออนุญาตคุณครูใหญ่ดูหนังสือหรือเอกสาร ที่กล่าวถึงเรื่องนี้ จากนั้นจึงตรวจสอบข้อมูลที่ได้ว่าตรงกันหรือไม่ หากข้อมูลตรงกัน แสดงว่าข้อมูลนั้นมีความน่าเชื่อถือ ¤Ø³¤ÃÙãËÞ‹¤ÃѺ ä´ŒÊÔ¨ Ð ¾Ç¡¼ÁÍÂÒ¡·ÃÒº¢ŒÍÁÙÅ ¡ÒÃÊÌҧÍÒ¤ÒÃàÃÕ¹¤ÃѺ

๒๖

ครูอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียนเขาใจวา นอกจากการสอบถามขอมูลโดยวิธี พูดคุยแลว การสอบถามขอมูลโดยใชแบบสอบถามที่ฝายหนึ่งเขียนคําถาม เพื่อให อีกฝายเขียนคําตอบ ก็เปนการรวบรวมขอมูลโดยการสอบถามอีกวิธหี นึง่ ซึง่ การ ตัง้ คําถามในแบบสอบถามนั้น ควรมีลักษณะ ดังนี้ • ตั้งคําถามใหนาสนใจ ตรงประเด็น • ใชถอยคําที่สุภาพ ไมทําลายชื่อเสียงของผูอื่น • เขียนสะกดคําใหถูกตอง เพราะการเขียนสะกดคําผิด อาจทําใหความหมาย ของคําถามนั้นเปลี่ยนไปได ดังนั้น กอนที่จะนําแบบสอบถามไปใหผูอื่นทํา ควรตรวจสอบความถูกตอง กอนเสมอ

คูมือครู

ในการรวบรวมข้อมูล ควรตรวจสอบข้อมูลทุกครั้ง

ในการสอบถามข้อมูลนี้ เราควรเลือกถามจากคุณครูใหญ่ ซึ่งคุณครู ใหญ่ย่อมให้ข้อมูลที่น่าเชื่อถือกว่าแม่ค้าที่ขายของ ายของอยู่ใน โรงเรียน เพราะคุณครูใหญ่มีหน้าที่ดูแลเรื่องต่างๆ ภายในโรงเรียน จึงมีเอกสารเป็นหลักฐาน เพื่อใช้ยืนยันความถูกต้องของข้อมูล แต่ แม่ค้าอาจเล่าเรื่องราวต่างๆ จากความทรงจ�า จึงอาจท�าให้จ�าข้อมูล คลาดเคลื่อน หรือบอกข้อมูลที่ผิดพลาดได้

เกร็ดแนะครู

26

¹Õèä§ ¢ŒÍÁÙÅã¹Ë¹Ñ§Ê×͵ç¡Ñº·Õè ¤Ø³¤ÃÙãËÞ‹ºÍ¡àÅÂ

ขอสอบเนนการคิด

ขอใดเปนการสัมภาษณที่ทําใหไดขอมูลที่ครบถวนที่สุด ก. จดบันทึกเฉพาะที่จําได ข. บันทึกเสียงในการสัมภาษณ ค. ถามคําถามทุกคําถามที่อยากรู วิเคราะหคําตอบ การสัมภาษณเปนการสอบถาม พูดคุยระหวางบุคคล 2 ฝาย โดยผูสัมภาษณจะตองถามคําถามที่ตรงประเด็น แลวบันทึกขอมูล ที่ได หรืออาจบันทึกเสียงในขณะสัมภาษณ ดังนั้น ขอ ข. จึงเปน

คําตอบที่ถูก


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

อธิบายความรู

1. ครูเขียนตัวอยางขอมูลบนกระดาน ดังนี้ 1) มนุษย พืช และสัตวจัดเปนสิ่งมีชีวิต 2) พระพุทธศาสนาเปนศาสนาประจําชาติไทย 3) กรุงศรีอยุธยาเปนเมืองหลวงของ ประเทศไทยเปนเวลา 417 ป 4) จอภาพเปนอุปกรณคอมพิวเตอรที่ใช แสดงผลขอมูล 2. ครูและนักเรียนรวมกันอานขอมูลที่ครูเขียน บนกระดาน แลวครูถามคําถามนักเรียนวา • ขอมูลใดเปนขอมูลเกี่ยวกับศาสนา (ตอบ ขอมูลที่ 2) • ขอมูลใดเปนขอมูลเกี่ยวกับประวัติศาสตร (ตอบ ขอมูลที่ 3) • ขอมูลใดเปนขอมูลเกี่ยวกับวิทยาศาสตร (ตอบ ขอมูลที่ 1) • ขอมูลใดเปนขอมูลเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ (ตอบ ขอมูลที่ 4) 3. ใหนักเรียนอานเรื่องจําแนกขอมูลเปนหมวดหมู อยางเหมาะสม หนา 27

๒) จําแนกข้อมูลเปนหมวดหมูอยางเหมาะสม ซึ่งอาจดู จากหัวข้อ หรือเนื้อหาของข้อมูล เช่น ข้อมูลเรื่องงานบ้าน ข้อมูล เรื่องงานเกษตร ข้อมูลเรื่องงานประดิษฐ์ เป็นต้น งานประดิษฐ การพับกระดาษ การประดิษฐ์สิ่งต่างๆ ● ●

งานเกษตร การปลูลูกต้นไม้ การเลียงสั การเ ย้ งสัตว์ 1 การท�าประมง ● ● ●

งานบ้าน การปดฝุ่น การกวาดบ้าน การถูบ้าน

Explain

● ● ●

๒7

ขอสอบเนนการคิด

เพราะเหตุใดเราตองตรวจสอบความนาเชื่อถือของขอมูล ก. เพื่อใหไดขอมูลที่ไมซํ้ากับคนอื่น ข. เพื่อใหไดขอมูลที่แปลกที่สุด ค. เพื่อใหไดขอมูลที่ถูกตอง

วิเคราะหคําตอบ เมื่อไดขอมูลมาทั้งหมดตามที่ตองการแลว เราควร เปรียบเทียบขอมูลที่ตรงกัน เพื่อใหไดขอมูลที่ถูกตองและนาเชื่อถือ ดังนั้น

นักเรียนควรรู 1 ประมง เปนการเพาะเลี้ยงสัตวนํ้าทุกชนิด แบงได 2 ประเภท ดังนี้ • ประมงนํ้าจืด เปนการเพาะเลี้ยงหรือจับสัตวนํ้าในแมนํ้า ลําคลอง บึง • ประมงนํ้าเค็ม เปนการเพาะเลี้ยงหรือจับสัตวนํ้าในทะเล

ขอ ค. จึงเปนคําตอบที่ถูก

คูมือครู

27


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

Explain

1. ครูกําหนดหมวดหมูของขอมูล เพื่อใหนักเรียน สืบคนขอมูลตามความสนใจของตนเอง และให สอดคลองกับหมวดหมูของขอมูลที่กําหนดให • วิทยาศาสตร • สุขศึกษาและพลศึกษา • ศิลปะ ดนตรี นาฏศิลป • ประวัติศาสตร • เทคโนโลยีสารสนเทศ 2. ครูจัดกลุมนักเรียนตามหมวดหมูของขอมูลที่ นักเรียนสืบคน ครูสุมเรียกตัวแทนของแตละ กลุมออกมานําเสนอขอมูล โดยเรียงตาม หมวดหมูของขอมูล กลุมละ 2-3 คน 3. ใหนักเรียนอานขอมูล หนา 28 แลวรวมกัน สรุปวา การจดบันทึกขอมูลและจัดขอมูลเปน หมวดหมูจะทําใหสะดวกในการนําขอมูลมา ใชงาน โดยยกตัวอยางจากการทํากิจกรรม ประกอบ เชน ถาครูอยากรวบรวมขอมูลเกี่ยวกับ เทคโนโลยีสารสนเทศ ก็จะเรียกสมาชิกในกลุม เทคโนโลยีสารสนเทศมานําเสนอขอมูล เปนตน

๓) จดบั น ทึ ก ข้ อ มู ล ที่ ไ ด้ และเก็ บ ไว้ ตามประเภทหรื อ หมวดหมู่ของข้อ1 มูลนั้นๆ เพื่อให้น�ามาใช้ได้สะดวก จากนั้นจัดเก็บ ข้อมูลไว้ในแฟมและเก็บไว้ในที่ที่เหมาะสม เช่น เก็บบนชั้นวางของ หรือเก็บในตู้ให้เรียบร้อย เป็นต้น

รวบรวมข้อมูลที่ได้มา แล้วจดบันทึกลงในสมุด

จัดเก็บข้อมูลให้เป็นหมวดหมู่และเป็นระเบียบ เพื่อให้สะดวกในการหยิบใช้งาน

๒๘

เกร็ดแนะครู ครูอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียนเขาใจวา การจัดเก็บขอมูลตางๆ โดยแบงหมวดหมู ใสในแฟมอยางเรียบรอยแลว ควรเขียนระบุหมวดหมูของขอมูลที่หนาแฟม หรือที่ สันแฟม เชน ขอมูลเกี่ยวกับสัตว ขอมูลเกี่ยวกับสถานที่ เปนตน เพื่อชวยใหสะดวก ในการหยิบขอมูลมาใชงาน

นักเรียนควรรู 1 แฟม เปนที่สําหรับเก็บแผนกระดาษ มีปกหนา ปกหลังทําดวยกระดาษแข็ง แฟมมีหลายชนิด เชน ชนิดเจาะขาง ชนิดมีซองสําหรับใสเอกสาร ชนิดมีสปริง สําหรับหนีบกระดาษ เปนตน ขึ้นอยูกับความตองการในการเลือกใชงาน

28

คูมือครู

ขอสอบเนนการคิด

การจําแนกขอมูลเปนหมวดหมู มีประโยชนอยางไร ก. ทําใหเกิดความสวยงาม ข. ทําใหขอมูลนาเชื่อถือมากขึ้น ค. ทําใหนําขอมูลไปใชงานไดสะดวก วิเคราะหคําตอบ เมื่อตรวจสอบขอมูลที่รวบรวมจนไดขอมูลที่ถูกตอง และนาเชื่อถือแลว จากนั้นควรจําแนกขอมูลเปนหมวดหมู และจดบันทึก ตามหมวดหมู เพื่อใหสะดวกในการนําขอมูลมาใชงาน ดังนั้น ขอ ค.

จึงเปนคําตอบที่ถูก


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ Expand าใจ ขยายความเข

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

ขยายความเขาใจ

ใหนักเรียนอานขอมูล หนา 29 แลวถาม คําถามนักเรียนวา • ชาลีและมีนาสืบคนขอมูลเกี่ยวกับอะไร (ตอบ แมวไทย) • แหลงขอมูลของชาลีและมีนาคืออะไร (ตอบ แหลงขอมูลที่เปนบุคคล คือ ผูปกครองและคุณครู) • เพราะเหตุใด ชาลีและมีนาจึงตองตรวจสอบ ความถูกตองของขอมูล (ตอบ เพื่อยืนยันวา ขอมูลที่ตนเองไดรับ จากแหลงขอมูลถูกตอง และนํามาใช ประโยชนได)

ตัวอย่าง การรวบรวมข้อมูล คุณครูมอบหมายให้ชาลีและมีนาจับคู่กันเพื่อสืบค้นข้อมูลที่น่าสนใจ ทั้งคู่สนใจ ข้อมูลเรื่อง “แมวไทย” เด็กทั้งสองจึงรวบรวมข้อมูลและด�าเนินการ ดังนี้ (๑) สอบถามข้อมูลจากคุณครู และผู้ปกครอง แล้วจดบันทึกข้อมูลที่ได้

Expand

ข้อมูลที่ได้จากการสอบถาม จัดเป็นข้อมูลชั้นต้น

ตรวจสอบความน่าเชื่อถือของข้อมูลก่อนน�า ข้อมูลไปใช้

(๒) ตรวจสอบความนาเชื่อถือของ ข้อมูล โดยน�าข้อมูลที่ได้มาเปรียบเทียบกัน ถ้าข้อมูลที่ได้จากคุณครูและผู้ปกครองนั้น ตรงกัน แสดงว่าข้อมูลนัน้ มีความน่าเชือ่ ถือ นอกจากนี้ชาลีและมีนายังตรวจสอบข้อมูล จากหนังสือเรื่อง “แมวไทย” ในห้องสมุด อีกด้วย พบว่าข้อมูลตรงกัน จึงสรุปได้ว่า ข้ อ มู ล ที่ ช าลี แ ละมี นาได้ ม านั้ น มี ความ ถูกต้อง และเชื่อถือได้

๒๙

ขอสอบเนนการคิด

จอยอานหนังสือเรื่องการปลูกผัก จัดเปนการรวบรวมขอมูลดวยวิธีการใด ก. การสังเกต ข. การสัมภาษณ ค. การสืบคนจากแหลงขอมูล วิเคราะหคําตอบ การอานหนังสือ เปนการคนควาขอมูลจากแหลงขอมูล ชั้นรอง ดังนั้น ค. จึงเปนคําตอบที่ถูก

เกร็ดแนะครู ครูอาจนําขอมูลที่ผานวิธีการจัดการขอมูลมาใหนักเรียนดู กับขอมูลในเรื่อง เดียวกัน แตไมผานวิธีการจัดการขอมูลมาใหนักเรียนดู แลวใหนักเรียนรวมกัน อภิปรายวา ขอมูลใดนาเชื่อถือ และสามารถนําขอมูลไปใชประโยชนไดมากกวากัน เพราะอะไร

กิจกรรมทาทาย ครูใหนักเรียนสืบคนขอมูลเรื่องสัตวเลี้ยง จากแหลงขอมูลตางๆ แลวให นักเรียนแตละคนออกมานําเสนอผลงานที่หนาชั้นเรียน จากนั้นนําขอมูล ของนักเรียนทั้งหองมารวมกันจัดทําปายนิเทศเรื่องสัตวเลี้ยง

คูมือครู

29


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ

ขยายความเขาใจ Expand าใจ ขยายความเข

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Expand

1. ใหนักเรียนอานขอมูล หนา 30 2. ครูถามคําถามนักเรียนวา • ชาลีและมีนาจําแนกขอมูลไดอยางไรบาง (ตอบ แมวไทยมีหลายชนิด ไดแก แมวขาวมณี แมววิเชียรมาศ และแมวสีสวาท) • นักเรียนจะมีวิธีการจดบันทึกขอมูลอยางไร (แนวตอบ เรียงลําดับความสําคัญของหัวขอ ใหถูกตอง และใชภาษาที่เขาใจงาย)

(๓) จําแนกข้อมูล โดยน�าข้อมูลมาจ�าแนกเป็นหัวข้อต่างๆ (๔) เขียนบันทึกข้อมูลที่ได้ โดยเรียงตามล�าดับความส�าคัญของหัวข้อ ใช้ภาษา ที่สั้น กระชับ และเข้าใจง่าย ตัวอย่าง ข้อมูลเรื่อง “แมวไทย” ที่ชาลีและมีนาค้นคว้ามา

áÁÇä·Â ¤¹ä·ÂàÅÕé§áÁÇÁÒµÑé§áµ‹ÊÁÑÂâºÃÒ³ 2 1 áÅÐÁÕ¡ÒÃᵋ§µíÒÃÒáÁÇä·ÂäÇŒã¹ÊÁØ´¢‹Í´ŒÇ áÁÇä·Â·Õ辺àËç¹ã¹»˜¨¨ØºÑ¹ 䴌ᡋ

3

ñ. áÁÇ¢ÒÇÁ³Õ ÁÕ¢¹ÊÕ¢ÒÇ·Ñ駵ÑÇ ¢¹Í‹Í¹¹Ø‹Á ËÒ§ÂÒÇ áÅлÅÒÂáËÅÁ ¢ÒÂÒÇàÃÕÂÇ

๓๐

บูรณาการเชื่อมสาระ

นักเรียนควรรู 1 ตําราแมวไทย เปนตําราที่อธิบายลักษณะของแมวที่ดี และแมวที่ไมดี แตงขึ้น ในสมัยอยุธยา 2 สมุดขอย หนังสือโบราณที่นําเอาเปลือกของตนขอย มาทําเปนแผนกระดาษ แลวกลับดานมาตอกัน จากนั้นทากาว ใหติดกันเปนพืด นํามาใชบันทึกขอมูล แลวพับทบไปมาเปน เลมสมุด เรียกอีกอยางวา สมุดไทย 3 แมวขาวมณี เรียกอีกชื่อวา แมวขาวปลอด เพราะมีขน สีขาวตลอดทั้งตัว สมุดขอย

30

คูมือครู

ครูบูรณาการสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร กับสาระคณิตศาสตร เรื่องขอมูลและการจําแนกขอมูล โดยการนําวิธีการจําแนกขอมูล การจัดการขอมูลใหเปนหมวดหมู หรือ เรียงลําดับในลักษณะตางๆ ของวิชาคณิตศาสตรมาประยุกตใช เพื่อให นักเรียนเกิดความรูความเขาใจมากยิ่งขึ้น


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ Expand าใจ ขยายความเข

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

ขยายความเขาใจ

Expand

1. ครูถามคําถามจุดประกาย หนา 31 แลวให นักเรียนตอบคําถาม 2. ใหนักเรียนดูภาพในกิจกรรมการเรียนรูที่ 2 ขอ 1 หนา 32 แลวอานขอมูลในภาพ จากนั้นรวมกันแสดงความคิดเห็นตามประเด็น ที่กําหนด 3. ใหนักเรียนทํากิจกรรมการเรียนรูที่ 2 ขอ 2 หนา 32 4. ครูสุมเรียกนักเรียนใหออกมานําเสนอ ผลการสืบคนขอมูลของตนเองที่หนาชั้นเรียน

1

ò. áÁÇÇÔàªÕÂÃÁÒÈ ÁÕ¢¹ÊÕ¹íéÒµÒÅ áÅÐÁÕᵌÁ ÊÕ¹íéÒµÒÅäËÁŒÍÂÙ‹ ù áË‹§ ¤×Í ·Õè»ÅÒÂËÙ·Ñé§Êͧ¢ŒÒ§ ·Õè»ÅÒ¨ÁÙ¡ ·Õè»ÅÒÂ෌ҷÑé§ÊÕè ·ÕèÍÇÑÂÇÐà¾È áÅзÕèËÒ§

ó. áÁÇÊÕÊÇÒ´ ÁÕ¢¹ÊÕà·Ò ËÙµÑé§à´‹¹ ´Ç§µÒãËÞ‹ ËÃ×ÍàÃÕÂ¡Ç‹Ò 2 áÁÇâ¤ÃÒª áËÅ‹§¢ŒÍÁÙÅ : ¤Ø³áÁ‹´ÒÃÒ ÃѡǧÉÒ ¤Ø³¤ÃÙ¹Õùت à¨ÃÔÞâµ

(๕) นําเสนอผลงาน โดยพู โดยพูดอธิบายข้อมูลพร้อมภาพประกอบที่ได้สืบค้นมา ¤íÒ¶ÒÁ¨Ø´»ÃСÒ ñ. àÁ×èÍä´Œ¢ŒÍÁÙÅÁÒáÅŒÇ àÃÒµŒÍ§µÃǨÊͺ¢ŒÍÁÙÅ¡‹Í¹¹íÒä»ãªŒ§Ò¹ à¾ÃÒÐÍÐäà ò. ¹Ñ¡àÃÕ Â¹¤Ô´Ç‹Ò ¨íÒ໚¹ËÃ× ÍäÁ‹·Õ赌ͧ»¯ÔºÑµÔµÒÁ¢Ñ鹵͹¡ÒÃÃǺÃÇÁ¢ŒÍÁÙÅ à¾ÃÒÐÍÐäÃ

๓๑

เกร็ดแนะครู ครูอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับการนําเสนอผลงาน เพื่อใหนักเรียนเกิดความเขาใจมากยิ่งขึ้น การนําเสนอผลงาน แบงเปน 2 ลักษณะใหญๆ ดังนี้ • การนําเสนอผลงานอยางเปนแบบแผน เปนการนําเสนอผลงานที่มีเกณฑ ซึ่งจะตองปฏิบัติตามมาตรฐานที่กําหนดไว เปนแบบอยาง ที่นิยมใช คือ การนําเสนอในรูปแบบตาราง กราฟ และแผนภูมิ • การนําเสนอผลงานอยางไมเปนแบบแผน เปนการนําเสนอผลงานที่ไมมีการกําหนดเกณฑไวตายตัว เชน บทความ หรือเรียงความ การนําเสนอแบบบทความกึ่งตาราง เปนตน

นักเรียนควรรู 1 แมววิเชียรมาศ เปนแมวไทยพันธุแรกที่คนตางชาติรูจัก เรียกอีกชื่อวา แมวแกว ตามชื่อวิเชียรมาศ ซึ่งหมายถึง เพชร แกวแหวนเงินทอง เพราะเชื่อวาเมื่อเลี้ยงแมวพันธุนี้แลวจะมีโชคลาภ ไดทรัพยสมบัติเปนแกวแหวนเงินทองมากมาย 2 แมวโคราช เรียกตามถิ่นกําเนิด คือ ที่อําเภอพิมาย จังหวัดนครราชสีมา (โคราช) สวนชื่อสีสวาด เนื่องจากมีสีขน เหมือนสีเมล็ดของตนสวาด (สีเทาอมเขียว) ซึ่งเปนไมเถาชนิดหนึ่ง คูมือครู

31


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

Engage

Explore

Explain

Expand

ตรวจสอบผล

ตรวจสอบผล Evaluate ตรวจสอบผล Evaluate

Evaluate

1. ครูตรวจสอบวานักเรียนบอกแหลงขอมูลที่ นาเชื่อถือไดอยางถูกตองและเหมาะสม 2. ครูตรวจสอบวานักเรียนสืบคนขอมูลไดนาสนใจ รูจักเลือกแหลงขอมูลไดอยางเหมาะสม และ ปฏิบัติตามวิธีการรวบรวมขอมูล จัดการขอมูล ไดอยางถูกตองและเหมาะสมตามขั้นตอน

¡Ô ¨¡ÃÃÁ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙ·Œ Õè ò ๑ ดูภาพแลวอานขอมูลในภาพ จากนั้นรวมกันแสดงความคิดเห็น ตามประเด็นที่กําหนด ¡ÃÁÍصعÔÂÁÇÔ·ÂÒᨌ§Ç‹Ò Çѹ¾ÃØ‹§¹Õé¨ÐÁÕ½¹µ¡Ë¹Ñ¡ ºÒ§¾×é¹·Õ褋Ð

Çѹ¹Õé½¹¹‹Ò¨Ðµ¡ à¾ÃÒзŒÍ§¿‡ÒÁ×´ÁÒ¡

หลักฐานแสดงผลการเรียนรู

คุณตาว

Çѹ¹Õé½¹µ¡á¹‹àÅ à¾ÃÒÐàÁ×èͤ׹½˜¹Ç‹Ò½¹µ¡

1. ผลบันทึกการอธิบายเกี่ยวกับแหลงขอมูล และขอมูลที่ไดจากแหลงขอมูลนั้น 2. ผลการบอกแหลงขอมูลที่ใชคนหาขอมูล 3. ผลการเลือกใชแหลงขอมูลที่มีความนาเชื่อถือ 4. ผลบันทึกการสืบคนขอมูลที่นาสนใจ จากแหลงขอมูลที่ถูกตองและเหมาะสม

พี่ตู

พอตั้ม

Çѹ¾ÃØ‹§¹Õé½¹¨Ðµ¡Ë¹Ñ¡ à¾ÃÒТ‹ÒÇã¹Ë¹Ñ§Ê×;ÔÁ¾ ºÍ¡àÍÒäÇŒ

นองเตย

นักเรียนคิดวา ขอมูลของใครนาเชื่อถือมากที่สุด เพราะอะไร ๒ สืบคนขอมูลที่ตนสนใจ แลวบันทึกขอมูลสั้นๆ ลงในสมุด และวาดรูป ประกอบ จากนั้นนําเสนอผลงานที่หนาชั้นเรียน ●

¡Ô¨¨¡ÃÃÁºÙ ¡ÃÃÁºÙóҡÒÃÊÙ‹ªÕÇÔµ ñ. 㹪ÕÇÔ µÔ »ÃШíÒÇѹ¢ŒÍÁÙŵ‹Ò§æ ·Õ¹è ¡Ñ àÃÕ Â¹ä´ŒÃºÑ ÁÒ¨Ò¡áËÅ‹§¢ŒÍÁÙÅã´ºŒÒ§ áÅÐ໚¹áËÅ‹§¢ŒÍÁÙÅ »ÃÐàÀ·ã´ ò. ¹Ñ¡àÃÕ Â¹ÁÕÇ¸Ô ¡Õ ÒÃà¡çºÃÑ¡ÉÒ¢ŒÍÁÙÅ·ÕÁè ÍÕ ÂÙá‹ ÅŒÇ áÅÐÇÔ¸¡Õ ÒÃÃÑ¡ÉÒáËÅ‹§¢ŒÍÁÙŵ‹Ò§æ Í‹ҧäúŒÒ§

๓๒ เฉลย คําถามจุดประกาย

(หนา 31) 1. แนวตอบ เพราะเปนการตรวจสอบความถูกตองของขอมูล ขอมูลที่ไดมานั้น บางขอมูลอาจจะไมใชขอมูลที่ถูกตอง ดังนั้น จะตองมีการตรวจสอบขอมูล กอนนําไปใชทุกครั้ง 2. แนวตอบ จําเปน เพราะการปฏิบัติตามขั้นตอนการรวบรวมขอมูล จะทําให ทํางานไดอยางสะดวก รวดเร็ว ไดขอมูลตามที่ตองการ และเปนขอมูลที่ถูกตอง นาเชื่อถือ

เฉลย กิจกรรมบูรณาการสูชีวิต

เฉลย กิจกรรมการเรียนรูที่ 2

2. แนวตอบ • การเก็บรักษาขอมูล เชน จดบันทึกขอมูลลงในสมุด หรือเก็บขอมูลที่บันทึก ลงในกระดาษใสในแฟมเอกสาร • วิธีการรักษาแหลงขอมูล เชน เปดอานหนังสือ สมุดตางๆ อยางเบามือ เมื่อใชแหลงขอมูลเสร็จแลว ใหจัดเก็บเขาที่ใหเรียบรอย เปนตน

1. แนวตอบ คุณตาว เพราะคุณตาวนําขอมูลจากกรมอุตุนิยมวิทยามารายงาน ซึ่งกรมอุตุนิยมวิทยาเปนหนวยงานที่มีหนาที่ใหขอมูลเกี่ยวกับอากาศและปรากฏการณ ธรรมชาติ ซึ่งมีการวิเคราะหจนไดขอมูลที่มีความนาเชื่อถือ

32

คูมือครู

1. แนวตอบ แหลงขอมูล

ประเภทของแหลงขอมูล

• หนังสือเรียน

• แหลงขอมูลชั้นรอง

• ครู

• แหลงขอมูลชั้นตน

• โทรทัศน

• แหลงขอมูลชั้นรอง


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.