8858649120755

Page 1

คูมือครู 㪌»ÃСͺ¡ÒÃÊ͹ËÇÁ¡Ñº

˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ©ºÑº ÍÞ.

หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน

วิทยาศาสตร

ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒

กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ศิริรัตน วงศศิริ รักซอน รัตนวิจิตตเวช ภาพปกนี้มีขนาดเทากับหนังสือเรียนฉบับจริงของนักเรียน

กระบวนการสอนแบบ 5 Es ชวยสรางทักษะการเรียนรู กิจกรรมมุงพัฒนาทักษะการคิด คำถาม + แนวขอสอบเพื่อยกผลสัมฤทธิ์ O - NET กิจกรรมบูรณาการเตรียมพรอมสู ASEAN 2558


เอกสารประกอบคูมือครู

กลุมสาระการเรียนรู วิทยาศาสตร

วิทยาศาสตร ชั้นประถมศึกษาปที่

2

สําหรับครู

คูมือครู Version ใหม

ลักษณะเดน

ขยายพื้นที่รูปเลมใหญขึ้นกวาเดิม จัดแบงพื้นที่ออกเปนโซน เพื่อคนหาขอมูลไดงาย สะดวก รวดเร็ว และดูเปนระเบียบ กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล

กระตุน ความสนใจ

Evaluate

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

เปาหมายการเรียนรู สมรรถนะของผูเรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค

หน า

โซน 1 กระตุน ความสนใจ

Engage

สํารวจคนหา

Explore

อธิบายความรู

Explain

ขยายความเขาใจ

Expand

ตรวจสอบผล

หน า

หนั ง สื อ เรี ย น

โซน 1

หนั ง สื อ เรี ย น

Evaluate

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

ขอสอบเนน การคิด แนว NT

O-NET บูรณาการเชื่อมสาระ

เกร็ดแนะครู

ขอสอบ

โซน 2

โซน 3

กิจกรรมสรางเสริม กิจกรรมทาทาย

นักเรียนควรรู

โซน 3

โซน 2 บูรณาการอาเซียน มุม IT

No.

คูมือครู

คูมือครู

No.

โซน 1 ขั้นตอนการสอนแบบ 5Es

โซน 2 ชวยครูเตรียมสอน

โซน 3 ชวยครูเตรียมนักเรียน

เพื่อใหครูเตรียมจัดกิจกรรมการเรียน การสอน โดยแนะนําขั้นตอนการสอนและ การจัดกิจกรรมแบบ 5Es อยางละเอียด เพื่อใหนักเรียนบรรลุตามตัวชี้วัด

เพื่อชวยลดภาระครูผูสอน โดยแนะนํา เกร็ดความรูสําหรับครู ความรูเสริมสําหรับ นักเรียน รวมทั้งบูรณาการความรูสูอาเซียน และมุม IT

เพือ่ ใหครูสะดวกตอการจัดกิจกรรม โดยแนะนํา กิจกรรมบูรณาการเชื่อมระหวางกลุมสาระ วิชา กิจกรรมสรางเสริม กิจกรรมทาทาย รวมถึงเนือ้ หา ทีเ่ คยออกขอสอบ NT/O-NET เก็งขอสอบ NT/O-NET และแนวขอสอบเนนการคิด พรอมคําอธิบาย และเฉลยอยางละเอียด


ที่ใชในคูมือครู

แถบสีและสัญลักษณ

แถบสีแสดงขั้นตอนการสอนและการจัดกิจกรรม แบบ 5Es เพื่อใหครูทราบวาเปนขั้นการสอนขั้นใด

1. แถบสี 5Es สีแดง

สีเขียว

กระตุน ความสนใจ

เสร�ม

สํารวจคนหา

Engage

2

เปนขั้นที่ผูสอนเลือกใช เทคนิคกระตุน ความสนใจ เพื่อโยง เขาสูบทเรียน

สีสม

อธิบายความรู

Explore

เปนขั้นที่ผูสอน ใหผูเรียนสํารวจ ปญหา และศึกษา ขอมูล

สีฟา

Explain

เปนขั้นที่ผูสอน ใหผูเรียนคนหา คําตอบ จนเกิดความรู เชิงประจักษ

สีมวง

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

เปนขั้นที่ผูสอน ใหผูเรียนนําความรู ไปคิดคนตอๆ ไป

เปนขั้นที่ผูสอน ประเมินมโนทัศน ของผูเรียน

2. สัญลักษณ สัญลักษณ

วัตถุประสงค

• เปาหมายการเรียนรู

• หลักฐานแสดง ผลการเรียนรู

• เกร็ดแนะครู

• นักเรียนควรรู

• บูรณาการอาเซียน

• มุม IT

คูม อื ครู

แสดงเปาหมายการเรียนรูที่นักเรียน ตองบรรลุตามตัวชี้วัด ตลอดจนสมรรถนะ ที่จะตองมี และคุณลักษณะที่พึงเกิดขึ้น กับนักเรียน แสดงรองรอยหลักฐานตามภาระงาน ที่ครูมอบหมาย เพื่อแสดงผลการเรียนรู ตามตัวชี้วัด แทรกความรูเสริมสําหรับครู ขอเสนอแนะ ขอควรระวัง ขอสังเกต แนวทางการจัด กิจกรรมและอืน่ ๆ เพื่อประโยชนในการ จัดการเรียนการสอน ขยายความรูเพิ่มเติมจากเนื้อหา เพื่อให ครูนําไปใชอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียน ไดมีความรูมากขึ้น ความรูห รือกิจกรรมเสริม ใหครูนาํ ไปใช เตรียมความพรอมใหกบั นักเรียนกอนเขาสู ประชาคมอาเซียนใน พ.ศ. 2558 โดย บูรณาการกับวิชาทีก่ าํ ลังเรียน แนะนําแหลงคนควาจากเว็บไซต เพื่อให ครูและนักเรียนไดเขาถึงขอมูลความรู ที่หลากหลาย ทั้งไทยและตางประเทศ

สัญลักษณ

ขอสอบ

วัตถุประสงค

O-NET

(เฉพาะวิ เฉพาะวิชา ชัน้ ทีส่ อบ O-NET O-NET)

• ชีแ้ นะเนือ้ หาทีเ่ คยออกขอสอบ

O-NET โดยยกตัวอยางขอสอบ พรอมวิเคราะหคาํ ตอบ อยางละเอียด

• เปนตัวอยางขอสอบทีม่ งุ เนน แนว  NT  O-NE T (เฉพาะวิ เฉพาะวิชา ชัน้ ทีส่ อบ NT เพือ่ เตรียมพรอมสอบ O-NET)

ขอสอบเนน การคิด แนว NT (เฉพาะวิชา ชัน้ ทีส่ อบ NT)

บูรณาการเชื่อมสาระ กิจกรรมสรางเสริม

การคิด และเปนแนวขอสอบ NT/O-NET ในระดับประถมศึกษา มีทงั้ ปรนัย - อัตนัย พรอมเฉลย อยางละเอียด

• แนวขอสอบ NT ในระดับ

ประถมศึกษา มีทงั้ ปรนัย - อัตนัย พรอมเฉลยอยางละเอียด โดยเนน - การอานออกเขียนได - การคิดเลข - ความสามารถดานการคิด และการใหเหตุผล

• แนะนําแนวทางการจัดกิจกรรม

เชือ่ มกับสาระหรือกลุม สาระ การเรียนรู ระดับชัน้ หรือวิชาอืน่ ทีเ่ กีย่ วของ

• แนะนําแนวทางการจัดกิจกรรม ซอมเสริมสําหรับนักเรียนทีค่ วร ไดรบั การพัฒนาการเรียนรู

• แนะนําแนวทางการจัดกิจกรรม กิจกรรมทาทาย

ตอยอดสําหรับนักเรียนทีเ่ รียนรู ไดอยางรวดเร็ว และตองการ ทาทายความสามารถในระดับ ทีส่ งู ขึน้


คําแนะนําการใชคูมือครู การออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอน คูมือครู รายวิชา วิทยาศาสตร ป.2 จัดทําขึ้นเพื่อใหครูผูสอนนําไปใชเปนแนวทางวางแผนการสอนเพื่อพัฒนา ผลสัมฤทธิท์ างการเรียน และประกันคุณภาพผูเ รียน ตามนโยบายของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน (สพฐ.) โดยใชหนังสือเรียน วิทยาศาสตร ป.2 ของบริษัท อักษรเจริญทัศน อจท. จํากัด เปนสื่อหลัก (Core Material) ประกอบ เสร�ม การสอนและการจัดกิจกรรมการเรียนรูใหสอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดกลุมสาระการเรียนรู วิทยาศาสตร 3 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พ.ศ. 2551 โดยออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนตามหลักการสําคัญ ดังนี้ 1 ออกแบบการสอนเปนหนวยการเรียนรูอิงมาตรฐาน คูม อื ครู รายวิชา วิทยาศาสตร ป.2 วางแผนการสอนโดยแบงเปนหนวยการเรียนรูต ามลําดับสาระ (Standard) และ หมายเลขขอของมาตรฐานการเรียนรูแ ละตัวชีว้ ดั แตละหนวยจะกําหนดเปาหมายการสอนและจุดประสงคการเรียนรู (Objective Learning) กิจกรรมการเรียนรู (Learning Activities) และแนวทางการประเมินผลการเรียนรู (Learning Evaluation) ไวชัดเจน ครูผูสอนสามารถจัดทําแผนการสอนใหครอบคลุมมาตรฐานการเรียนรู ตัวชี้วัด สมรรถนะ และคุณลักษณะ อันพึงประสงคที่เปนเปาหมายการเรียนรูตามที่กําหนดไวในสาระแกนกลาง (ตามแผนภูมิ) และสามารถบันทึกผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนของผูเรียนแตละคนลงในเอกสาร ปพ.5 ไดอยางมั่นใจ แผนภูมิแสดงองคประกอบของการออกแบบการเรียนรูอิงมาตรฐานและเนนผูเรียนเปนสําคัญ

พผ

ูเ

จุดปร

ะสง

ค ก

ส ภา

รียน

รู ีเรยน

มาตรฐานการเรียนรู ตัวชี้วัดชั้นป

ทักษะการคิด การวัดประเมินผล การเรียนรู

กิจกรรมการเรียนรู

เทคนิคการสอน

คูม อื ครู


2 การจัดการเรียนรูที่ยึดผูเรียนเปนสําคัญ แนวคิ ด ในการจั ด การเรี ย นการสอนที่ ยึ ด ผู  เ รี ย นเป น สํ า คั ญ พั ฒ นามาจากปรั ช ญาและทฤษฎี ก ารเรี ย นรู  Constructivism ที่เชื่อวาการเรียนรูเปนกระบวนการที่เกิดขึ้นภายในสมองของผูเรียนแตละคน ผูเรียนเปนผูสรางความรู โดยการเชื่อมโยงระหวางสิ่งที่ไดเรียนรูจากบทเรียนใหมกับความรูหรือประสบการณเดิมที่มีอยู ทฤษฎีนี้มีความเชื่อวา ผูเรียนทุกคนไดเรียนรูและมีการสั่งสมความรูความเขาใจเกี่ยวกับสิ่งตางๆ ติดตัวมากอน ทีจ่ ะเขาสูห อ งเรียน ซึง่ เปนการเรียนรูท เี่ กิดจากประสบการณและสิง่ แวดลอมรอบตัวผูเ รียนแตละคน ดังนัน้ การจัดกิจกรรม เสร�ม การเรียนการสอนในแตละหนวยการเรียนรู ผูสอนจะตองคํานึงถึง

4

1. ความรูเดิมของผูเรียน วิธีการสอนที่ดีจะตองเริ่มตนจากจุดที่วา ผูเ รียนมีความรูอ ะไรมาบาง แลวจึงใหความรู หรือประสบการณใหม เพื่อตอยอดจาก ความรูเดิม นําไปสูการสรางความรู ความเขาใจใหม

2. ความรูเดิมของผูเรียนถูกตองหรือไม ผูส อนตองปรับเปลีย่ นความรูค วามเขาใจเดิม ของผูเรียนใหถูกตอง และเปนพฤติกรรม การเรียนรูใ หมทมี่ คี ณุ คาตอผูเรียน เพื่อสราง เจตคติหรือทัศนคติที่ดีตอการเรียนรู สิ่งเหลานั้น

3. ผูเรียนสรางความหมายสําหรับตนเอง ผูสอนตองสงเสริมใหผูเรียนนําความรู ความเขาใจที่เกิดขึ้นไปลงมือปฏิบัติ เพื่อขยายความรูใหลึกซึ้งและมีคุณคา ตอตัวผูเรียนมากที่สุด

แนวคิด Constructivism เนนใหผูเรียนสรางความรูโดยผานกระบวนการคิดและความอยากรูของตนเอง โดยมีผูสอนเปนผูสรางบรรยากาศ

การเรียนรูและกระตุนความสนใจ คอยจัดสถานการณใหผูเรียนเกิดความขัดแยงทางความคิดระหวางประสบการณเดิมกับประสบการณ ความรูใ หม เพือ่ กระตนุ ใหผเู รียนเชือ่ มโยงความรู ความคิด กับประสบการณทมี่ อี ยูเ ดิม แลวสังเคราะหเปนความรูห รือแนวคิดใหมๆ ไดดว ยตนเอง

3 การบูรณาการกระบวนการคิด การเรียนรูของผูเรียนแตละคนจะเกิดขึ้นที่สมอง ซึ่งเปนอวัยวะที่ทําหนาที่รูคิดภายใตสภาพแวดลอมที่เอื้ออํานวย และไดรบั การกระตนุ จูงใจอยางเหมาะสม สอดคลองกับสภาพจิตใจและความตองการของผูเ รียนแตละคน การจัดกิจกรรม การเรียนรูและสาระการเรียนรูที่สอดคลองกับความสนใจและมีความหมายตอผูเรียน จะชวยกระตุนใหสมองของผูเรียน สามารถรับรูและเรียนรูไดอยางมีประสิทธิภาพตามขั้นตอนการทํางานของสมอง ดังนี้ 1. สมองจะเรียนรูและสืบคน โดยการสังเกต คนหา ซักถาม และทดลอง ปฏิบัติ จนทําใหคนพบความรูความเขาใจ ไดอยางรวดเร็ว

2. สมองจะแยกแยะคุณคาของสิ่งตางๆ โดยการตัดสินใจวิพากษวิจารณ แสดง ความคิดเห็น ยอมรับหรือตอตานตาม อารมณความรูสึกที่เกิดขึ้นในขณะที่เรียนรู

3. สมองจะประมวลเนื้อหาสาระ โดยการสรุปเปนความคิดรวบยอดจาก เรื่องราวที่ไดเรียนรูใหมนําไปผสมผสานกับ ความรูห รือประสบการณเดิมทีถ่ กู จัดเก็บอยูใ น สมอง ผานการกลัน่ กรองเพือ่ สังเคราะหเปน ความรูค วามเขาใจใหมๆ หรือเปนทัศนคติใหม ที่จะเก็บบรรจุไวในสมองของผูเรียน

การเรียนรูที่มีประสิทธิภาพจึงตองเปนการเรียนรูที่เกิดจากกระบวนการคิดของผูเรียน เพราะการเรียนรูจะเกิดขึ้น เมื่อสมองรูคิด และตองเปนการคิดไดครบถวนตามขั้นตอนการทํางานของสมองผูเรียน โดยเริ่มตนจาก 1. ระดับการคิดพื้นฐาน ไดแก การสังเกต การจําแนก การคาดคะเน การสื่อความหมาย การรวบรวมขอมูล การสรุปผล เปนตน

คูม อื ครู

2. ระดับลักษณะการคิด ไดแก การคิดกวาง คิดลึกซึ้ง คิดไกล คิดหลากหลาย คิดคลอง คิดอยางมีเหตุผล เปนตน

3. ระดับกระบวนการคิด ไดแก กระบวนการคิดอยางมีวิจารณญาณ กระบวนการแกปญหา กระบวนการ คิดสรางสรรค กระบวนการคิดสังเคราะหวิจัย เปนตน


5Es การจัดกิจกรรมตามขั้นตอนวัฏจักรการเรียนรู 5Es ขั้นตอนการสอนที่สัมพันธกับขั้นตอนการคิดและการทํางานทางสมองของผูเรียนที่นิยมใชอยางแพรหลาย คือ วัฏจักรการเรียนรู 5Es ซึ่งผูจัดทําคูมือครูไดนํามาใชเปนแนวทางออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนในแตละหนวย ตามลําดับขั้นตอนการเรียนรู ดังนี้ ขั้นที่ 1

กระตุนความสนใจ

(Engage)

เสร�ม

5

เปนขัน้ ทีผ่ สู อนนําเขาสูบ ทเรียน เพือ่ กระตุน ความสนใจของผูเ รียนดวยเรือ่ งราวหรือเหตุการณทนี่ า สนใจโดยใชเทคนิควิธกี ารสอน และคําถามทบทวนความรูหรือประสบการณเดิมของผูเรียน เพื่อเชื่อมโยงผูเรียนเขาสูความรูของบทเรียนใหม ชวยใหผูเรียนสามารถ สรุปประเด็นสําคัญที่เปนหัวขอและสาระการเรียนรูของบทเรียนได จึงเปนขั้นตอนการสอนที่สําคัญ เพราะเปนการเตรียมความพรอม และสรางแรงจูงใจใฝเรียนรูแกผูเรียน

ขั้นที่ 2

สํารวจคนหา

(Explore)

เปนขัน้ ทีผ่ สู อนเปดโอกาสใหผเู รียนลงมือศึกษา สังเกต หรือรวมมือกันสํารวจ เพือ่ ใหเห็นขอบขายของปญหา รวมถึงวิธกี ารศึกษา คนควา การรวบรวมขอมูลความรูที่จะนําไปสูการสรางความเขาใจประเด็นปญหานั้นๆ เมื่อผูเรียนทําความเขาใจในประเด็นหัวขอที่จะ ศึกษาคนควาอยางถองแทแลว ก็ลงมือปฏิบัติเพื่อเก็บรวบรวมขอมูลความรู สํารวจตรวจสอบ โดยวิธีการตางๆ เชน สัมภาษณ ทดลอง อานคนควาขอมูลจากเอกสาร แหลงขอมูลตางๆ จนไดขอมูลความรูตามที่ตั้งประเด็นศึกษาไว

ขั้นที่ 3

อธิบายความรู

(Explain)

เปนขั้นที่ผูสอนมีปฏิสัมพันธกับผูเรียน เชน ใหการแนะนํา ตั้งคําถามกระตุนใหคิด เพื่อใหผูเรียนคนหาคําตอบ และนําขอมูล ความรูจากการศึกษาคนควาในขั้นที่ 2 มาวิเคราะห สรุปผล และนําเสนอผลที่ไดศึกษาคนความาในรูปแบบสารสนเทศตางๆ เชน เขียนแผนภูมิ แผนผังแสดงมโนทัศน เขียนความเรียง เขียนรายงาน เปนตน ในขั้นตอนนี้ฝกใหผูเรียนใชสมองคิดวิเคราะหและ สังเคราะหอยางเปนระบบ

ขั้นที่ 4

ขยายความเขาใจ

(Expand)

เปนขั้นที่ผูสอนเลือกใชเทคนิควิธีการสอนตางๆ ที่สงเสริมใหผูเรียนนําความรูที่เกิดขึ้นไปคิดคนสืบคนตอๆ ไป เพื่อพัฒนาทักษะ การเรียนรูและการทํางานรวมกันเปนกลุม ระดมสมองเพื่อคิดสรางสรรครวมกัน ผูเรียนสามารถนําความรูที่สรางขึ้นใหมไปเชื่อมโยง กับประสบการณเดิมโดยนําขอสรุปทีไ่ ดไปใชอธิบายเหตุการณตา งๆ หรือนําไปปฏิบตั ใิ นสถานการณใหมๆ ทีเ่ กีย่ วของกับชีวติ ประจําวัน ของตนเอง เพื่อขยายความรูความเขาใจใหกวางขวางยิ่งขึ้น ในขั้นตอนนี้ฝกสมองของผูเรียนใหสามารถคิดริเริ่มสรางสรรคอยางมี คุณภาพ เสริมสรางวิสัยทัศนใหกวางไกลออกไป

ขั้นที่ 5

ตรวจสอบผล

(Evaluate)

เปนขัน้ ทีผ่ สู อนประเมินมโนทัศนของผูเ รียน โดยตรวจสอบจากความคิดทีเ่ ปลีย่ นไปและความคิดรวบยอดทีเ่ กิดขึน้ ใหม ตรวจสอบ ทักษะ กระบวนการปฏิบัติ การแกปญหา การตอบคําถามรวบยอด และการเคารพความคิดหรือยอมรับเหตุผลของคนอื่น เพื่อการ สรางสรรคความรูร ว มกัน ผูเ รียนสามารถประเมินผลการเรียนรูข องตนเอง เพือ่ สรุปผลวามีความรูอ ะไรเพิม่ ขึน้ มาบาง เกิดความเขาใจ มากนอยเพียงใด และจะนําความรูเหลานั้นไปประยุกตใชในการเรียนรูเรื่องอื่นๆ ไดอยางไร ผูเรียนจะเกิดเจตคติและเห็นคุณคาของ ตนเองจากผลการเรียนรูที่เกิดขึ้น ซึ่งเปนการเรียนรูที่มีความสุขอยางแทจริง

การจัดกิจกรรมการเรียนรูตามขั้นตอนวัฏจักรการสรางความรูแบบ 5Es จึงเปนรูปแบบการเรียนการสอนที่เนน ผูเ รียนเปนสําคัญอยางแทจริง เพราะสงเสริมใหผเู รียนไดลงมือปฏิบตั ติ ามขัน้ ตอนของกระบวนการสรางความรูด ว ยตนเอง และฝกฝนใหใชกระบวนการคิดและกระบวนการกลุมอยางชํานาญ กอใหเกิดทักษะชีวิต ทักษะการทํางานและทักษะการ เรียนรูท มี่ ปี ระสิทธิภาพ สงผลตอการยกระดับผลสัมฤทธิข์ องผูเ รียน ตามเปาหมายของการปฏิรปู การศึกษาทศวรรษที่ 2 (พ.ศ. 2552-2561) ทุกประการ คูม อื ครู


O-NET การเพิ่มผลสัมฤทธิ์ O-NET

การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามขัน้ ตอนวัฏจักรการเรียนรู 5Es ในแตละหนวยการเรียนรู ทางผูจ ดั ทํา จะเสนอแนะวิธสี อนรูปแบบกิจกรรมการเรียนรู พรอมทัง้ ออกแบบเครือ่ งมือวัดผลประเมินผลทีส่ อดคลองกับตัวชีว้ ดั และสาระการเรียนรูแกนกลางไวทุกขั้นตอน โดยยึดหลักสําคัญ คือ เปาหมายของการวัดผลประเมินผล เสร�ม

6

1. การวัดผลทุกครั้งตองนําผล การวัดมาปรับปรุงพัฒนาผูเรียน เปนรายบุคคล

2. การประเมินผลมีเปาหมาย เพื่อพัฒนาการเรียนรูของผูเรียน จนเต็มศักยภาพ

3. การนําผลการวัดและประเมิน ทุกครั้งมาวางแผนปรับปรุงกิจกรรม การเรียนการสอน การเลือกเทคนิค วิธีการสอน และสื่อการเรียนรูให เหมาะสมกับสภาพจริงของผูเรียน

การทดสอบผูเรียน 1. การใชขอสอบอัตนัย เนนการอาน การคิดวิเคราะห และเขียนสรุปเพิ่มมากขึ้น 2. การใชคําถามกระตุนการคิด ควบคูกับการทําขอสอบที่เนนการคิดตลอดตอเนื่องตามลําดับกิจกรรมการเรียนรูและ ตัวชี้วัด 3. การทดสอบตองดําเนินการทั้งกอนเรียน ระหวางเรียน และเมื่อสิ้นสุดการเรียน การทดสอบระหวางเรียน ต อ งใช ข  อ สอบทั้ ง ชนิ ด ปรนั ย และอั ต นั ย และเป น การทดสอบเพื่ อ วิ นิ จ ฉั ย ผลการเรี ย นของผู  เ รี ย นแต ล ะคน เพื่อวัดการสอนซอมเสริมใหบรรลุตัวชี้วัดทุกตัว 4. การสอบกลางภาค (ถามี) ควรนําขอสอบหรือแบบฝกหัดที่นักเรียนสวนใหญทําผิดบอยๆ มาสรางเปนแบบทดสอบ อีกครัง้ เพือ่ ตรวจสอบความรูค วามเขาใจทีถ่ กู ตอง และประเมินความกาวหนาของผูเรียนแตละคน 5. การสอบปลายภาคเรียนเพื่อวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามตัวชี้วัดที่สําคัญ ควรออกขอสอบใหมีลักษณะเดียวกับ ขอสอบ O-NET โดยเนนการคิดวิเคราะห สังเคราะห เชื่อมโยงประยุกตใช เพื่อสรางความคุนเคย และฝกฝน วิธีการทําขอสอบดวยความมั่นใจ 6. การนําผลการทดสอบของผูเรียนมาวิเคราะห โดยผลการสอบกอนการเรียนตองสามารถพยากรณผลการสอบ กลางภาค และผลการสอบกลางภาคตองทํานายผลการสอบปลายภาคของผูเ รียนแตละคน เพือ่ ประเมินพัฒนาการ ความกาวหนาของผูเรียนเปนรายบุคคล 7. ผลการทดสอบปลายป ปลายภาค ตองมีคาเฉลี่ยสอดคลองกับคาเฉลี่ยของการสอบ NT ที่เขตพื้นที่การศึกษา จัดสอบ รวมทั้งคาเฉลี่ยของการสอบ O-NET ชวงชั้นที่สอดคลองครอบคลุมมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดสําคัญ เพือ่ สะทอนประสิทธิภาพของครูผสู อนในการออกแบบการเรียนรูแ ละประกันคุณภาพผูเ รียนทีต่ รวจสอบผลไดชดั เจน การจัดการเรียนการสอนในแตละหนวยการเรียนรู ตองใหผูเรียนไดสั่งสมความรู สะสมความเขาใจไปทีละเล็ก ละนอยตามลําดับขัน้ ตอนของกิจกรรมการเรียนรู 5Es เพือ่ ใหผเู รียนไดเติมเต็มองคความรูอ ยางตอเนือ่ ง จนสามารถปฏิบตั ิ ชิ้นงานหรือภาระงานรวบยอดของแตละหนวยผานเกณฑประกันคุณภาพในระดับที่นาพึงพอใจ เพื่อรองรับการประเมิน ภายนอกจาก สมศ. ตลอดเวลา คูม อื ครู


ASEAN การเรียนรูสูประชาคมอาเซียน เพื่ออํานวยความสะดวกแกครูผูสอนในการจัดกิจกรรมการเรียนรูบูรณาการอาเซียนศึกษา ผูจัดทําไดวิเคราะห มาตรฐานการเรียนรู และตัวชี้วัดที่มีสาระการเรียนรูสอดคลองกับองคความรูเกี่ยวกับประชาคมอาเซียนในแงมุมตางๆ ครอบคลุมทัง้ ประชาคมการเมืองและความมัน่ คงอาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และประชาคมสังคมและวัฒนธรรม อาเซียน เพื่อสงเสริมการเรียนรูใหผูเรียนเกิดความตระหนัก มีความรูความเขาใจเหมาะสมกับระดับชั้นและกลุมสาระ การเรียนรู โดยเสนอแนะวิธีการจัดกิจกรรมบูรณาการเนื้อหาสาระตางๆ ที่เปนประโยชนตอผูเรียนและเปนการชวย เตรียมความพรอมผูเ รียนทุกคนทีจ่ ะกาวเขาสูก ารเปนสมาชิกของประชาคมอาเซียนไดอยางมัน่ ใจตามขอตกลงปฏิญญา ชะอํา-หัวหิน วาดวยความรวมมือดานการศึกษาเพือ่ บรรลุเปาหมายประชาคมอาเซียนทีเ่ อือ้ อาทรและแบงปน จึงกําหนด เปนนโยบายใหกระทรวงศึกษาธิการจัดการเรียนรูเตรียมความพรอมผูเรียนเขาสูประชาคมอาเซียนภายในป พ.ศ. 2558 ตามแนวปฏิบัติที่สําคัญ ดังนี้

เสร�ม

7

การจัดการเรียนรูส ู ประชาคมการเมืองและความมัน่ คงอาเซียน 1. การสรางความรูความเขาใจ และตระหนักถึงความสําคัญของ กฎบัตรอาเซียน และความรวมมือ ของ 3 เสาหลัก ซึง่ กฎบัตรอาเซียน ในขณะนี้มีสถานะเปนกฎหมายที่ ประเทศสมาชิกจะตองปฏิบัติตาม หลักการที่กําหนดไวเพื่อใหบรรลุ เปาหมายของกฎบัตรมาตราตางๆ

2. การสงเสริมหลักการ ประชาธิปไตยและการสราง สิ่งแวดลอมประชาธิปไตย เพื่อการอยูรวมกันอยางกลมกลืน ภายใตวิถีชีวิตอาเซียนที่มีความ หลากหลายดานสังคมและ วัฒนธรรม

4. การตระหนักในคุณคาของ สายสัมพันธทางประวัติศาสตร และมรดกทางวัฒนธรรมที่มี พัฒนาการรวมกัน เพื่อเชื่อม อัตลักษณและสรางจิตสํานึก ในการเปนประชากรของประชาคม อาเซียนรวมกัน

3. การสงเสริมการศึกษาดาน สิทธิมนุษยชน เพื่อสรางประชาคม อาเซียนใหเปนประชาคมเพื่อ ประชาชนอยางแทจริง สามารถ อยูรวมกันไดบนพื้นฐานการเคารพ ในคุณคาของศักดิ์ศรีแหงความ เปนมนุษยเทาเทียมกัน

5. การสงเสริมสันติภาพ ความ มั่นคง และความปรองดองในสังคม ทั้งระดับประเทศและภูมิภาคของ อาเซียนบนพื้นฐานสันติวิธีและการ อยูรวมกันดวยขันติธรรม

คูม อื ครู


การจัดการเรียนรูส ู ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

เสร�ม

8

1. การพัฒนาทักษะการทํางาน เพื่อเสริมสรางผูเรียนใหมีทักษะ วิชาชีพที่จําเปนสอดคลองกับ ความตองการของตลาดแรงงาน และสถานประกอบการในอาเซียน สามารถเทียบโอนผลการเรียน และการทํางานตามมาตรฐานฝมือ แรงงานในภูมิภาคอาเซียน

2. การเสริมสรางวินัย ความรับผิดชอบ และเจตคติรักการทํางาน สามารถพึ่งพาตนเอง มีทักษะชีวิต ดํารงชีวิตอยางมีความสุข เห็นคุณคา และภูมิใจในตนเอง ในฐานะที่เปนพลเมืองไทยและ อาเซียน

3. การเรียนรูเพื่อพัฒนาตนเอง อยางตอเนื่องตลอดชีวิต ใหมี ทักษะการทํางานตามมาตรฐาน อาชีพ และคุณวุฒิของวิชาชีพสาขา ตางๆ เพื่อรองรับการเตรียมเคลื่อน ยายแรงงานมีฝมือและการเปน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนที่ เขมแข็ง เพื่อสรางขีดความสามารถ ในการแขงขันในเวทีโลก

การจัดการเรียนรูส ู ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน 1. การเสริมสรางความรวมมือ ในลักษณะสังคมที่เอื้ออาทร ของประชากรอาเซียน โดยยึด หลักการสําคัญ คือ ความงดงาม ของประชาคมอาเซียนมาจาก ความแตกตางและหลากหลายทาง วัฒนธรรมที่ลวนแตมีคุณคาตอ มรดกทางวัฒนธรรมของอาเซียน ซึ่งประชาชนทุกคนตองอนุรักษ สืบสานใหยั่งยืน

2. การเสริมสรางคุณลักษณะ ของผูเรียนใหเปนพลเมืองอาเซียน ที่มีศักยภาพในการกาวเขาสู ประชาคมอาเซียนอยางมั่นใจ เปนผูที่มีสุขภาพสมบูรณแข็งแรง มีทักษะการสื่อสาร ทักษะการ ทํางาน ทักษะทางสังคม สามารถ ทํางานรวมกับผูอื่นไดอยาง สรางสรรค และมีองคความรู เกี่ยวกับอาเซียนที่จําเปนตอการ ดํารงชีวิตอยางมีคุณภาพ

4. การสงเสริมการเรียนรูดาน ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี วิถชี วี ติ ความเปนอยูข องเพือ่ นบาน ในอาเซียน เพื่อสรางจิตสํานึกของ ความเปนประชาคมอาเซียนและ ตระหนักถึงหนาที่ของการเปน พลเมืองอาเซียนรวมกัน

3. การสงเสริมการเรียนรูภาษา อังกฤษเพื่อการสื่อสารและการ ทํางานตามมาตรฐานอาชีพที่ กําหนดและสนับสนุนการเรียนรู ภาษาอาเซียนและภาษาเพื่อนบาน เพื่อชวยเสริมสรางสัมพันธภาพทาง สังคม และการอยูรวมกันอยางสันติ ทามกลางความหลากหลายทาง วัฒนธรรม

5. การสรางความรูและความ ตระหนักเกี่ยวกับดานสิ่งแวดลอม ปญหาและผลกระทบตอคุณภาพ ชีวิตของประชากรในภูมิภาค รวมทั้งแนวทางการพัฒนาอยาง ยั่งยืน ใหเปนมรดกสืบทอดแก พลเมืองอาเซียนในรุนหลังตอๆ ไป

กระทรวงศึกษาธิการจึงประกาศนโยบายการปฏิรูปการศึกษาทศวรรษที่ 2 (พ.ศ. 2552-2561) เพื่อเรงพัฒนาเด็ก และเยาวชนไทยใหเปนทรัพยากรมนุษยของชาติที่มีทักษะและความชํานาญ พรอมเผชิญกับความเปลี่ยนแปลงและ การแขงขันทั้งในภูมิภาคอาเซียนและภูมิภาคอื่นๆ ของสังคมโลก ทั้งนี้ผูบริหารสถานศึกษา ครูผูสอน และผูปกครอง ควรรวมมือกันอยางใกลชดิ ในการดูแลชวยเหลือผูเ รียนและจัดประสบการณการเรียนรูเ พือ่ พัฒนาผูเ รียนจนเต็มศักยภาพ เพื่อกาวเขาสูการเปนพลเมืองอาเซียนอยางมีเกียรติภูมิและศักดิ์ศรีความเปนมนุษยของตน คูม อื ครู

คณะผูจัดทํา


ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง สาระที่ 1

วิทยาศาสตร (เฉพาะชั้น ป.2)*

สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดํารงชีวิต

มาตรฐาน ว 1.1 เขาใจหนวยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต ความสัมพันธของโครงสราง และหนาที่ของระบบตางๆ ของสิ่งมีชีวิต ที่ทํางานสัมพันธกัน มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู สื่อสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปใชในการ ดํารงชีวิตของตนเองและดูแลสิ่งมีชีวิต ชั้น

ตัวชี้วัด

ป.2 1. ทดลองและอธิบาย นํ้า แสง เปนปจจัยที่จําเปนตอการดํารงชีวิต ของพืช

สาระการเรียนรูแกนกลาง • พืชตองการนํ้าและแสงในการเจริญเติบโต และการดํารงชีวิต

2. อธิบายอาหาร นํ้า อากาศ เปนปจจัย • พืชและสัตวตองการอาหาร นํ้า อากาศ ที่จําเปนตอการดํารงชีวิต เพื่อการดํารงชีวิต และการเจริญเติบโต และการเจริญเติบโตของพืชและสัตว • นําความรูไปใชประโยชนในการดูแลพืชและสัตว และนําความรูไปใชประโยชน เพื่อใหเจริญเติบโตไดดี 3. สํารวจและอธิบายพืชและสัตว สามารถตอบสนองตอแสง อุณหภูมิ และการสัมผัส

• พืชและสัตวมีการตอบสนองตอแสง อุณหภูมิ และการสัมผัส

4. ทดลองและอธิบายรางกายของมนุษย • รางกายของมนุษยสามารถตอบสนองตอแสง สามารถตอบสนองตอแสง อุณหภูมิ อุณหภูมิ และการสัมผัส และการสัมผัส 5. อธิบายปจจัยที่จําเปนตอ การดํารงชีวิต และการเจริญเติบโต ของมนุษย

เสร�ม

9

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน • หนวยการเรียนรูที่ 1 ชีวิตพืช ชีวิตสัตว บทที่ 1 ปจจัยในการดํารงชีวิต ของพืชและสัตว • หนวยการเรียนรูที่ 2 การดูแลพืชและสัตว บทที่ 2 มาปลูกพืช เลี้ยงสัตว • หนวยการเรียนรูที่ 1 ชีวิตพืช ชีวิตสัตว บทที่ 2 การตอบสนองตอสิ่งเราของ พืชและสัตว • หนวยการเรียนรูที่ 3 เรียนรูตนเอง บทที่ 2 การตอบสนองตอสิ่งเรา ของคนเรา

• มนุษยตองการอาหาร นํ้า อากาศ เพื่อการดํารงชีวิต • หนวยการเรียนรูที่ 3 เรียนรูตนเอง และการเจริญเติบโต บทที่ 1 ปจจัยในการดํารงชีวิต ของคนเรา

มาตรฐาน ว 1.2 เขาใจกระบวนการและความสําคัญของการถายทอดลักษณะทางพันธุกรรม วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต ความหลากหลายทางชีวภาพ การใชเทคโนโลยีชีวภาพที่มีผลกระทบตอมนุษยและสิ่งแวดลอม มีกระบวนการสืบเสาะหาความรูและจิตวิทยาศาสตร สื่อสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปใชประโยชน ชั้น

ตัวชี้วัด

ป.2 1. อธิบายประโยชนของพืชและสัตว ในทองถิ่น

สาระการเรียนรูแกนกลาง • พืชและสัตวมีประโยชนตอมนุษยในแงของปจจัยสี่ คือ เปนอาหาร ที่อยูอาศัย เครื่องนุงหม และยารักษาโรค

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน • หนวยการเรียนรูที่ 1 ชีวิตพืช ชีวิตสัตว บทที่ 3 ประโยชนของพืชและสัตว

_________________________________ * สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, สาระการเรียนรูแกนกลาง กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร. (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย, 2551), หนา 10-95.

คูม อื ครู


สาระที่ 3

สารและสมบัติของสาร

มาตรฐาน ว 3.1 เขาใจสมบัติของสาร ความสัมพันธระหวางสมบัติของสารกับโครงสรางและแรงยึดเหนี่ยวระหวาง อนุภาค มีกระบวนการสืบเสาะหาความรูและจิตวิทยาศาสตร สื่อสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปใช ประโยชน ชั้น

เสร�ม

10

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

ป.2 1. ระบุชนิดและเปรียบเทียบสมบัติของ • ของเลน ของใช อาจทําจากวัสดุตางๆ กัน เชน ไม วัสดุที่นํามาทําของเลน ของใช เหล็ก กระดาษ พลาสติก ยาง ซึ่งวัสดุตางชนิดกัน ในชีวิตประจําวัน จะมีคุณสมบัติแตกตางกัน 2. เลือกใชวัสดุและสิ่งของตางๆ ได อยางเหมาะสมและปลอดภัย

สาระที่ 4

• การเลือกวัสดุและสิ่งของตางๆ มาใชงานในชีวิต ประจําวัน เพื่อความเหมาะสมและปลอดภัย ตองพิจารณาจากสมบัติของวัสดุที่ใชทําสิ่งของนั้น

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน • หนวยการเรียนรูที่ 4 ของเลนของใชของเรา บทที่ 1 วัสดุและการเลือกใช

แรงและการเคลื่อนที่

มาตรฐาน ว 4.1 เขาใจธรรมชาติของแรงแมเหล็กไฟฟา แรงโนมถวง และแรงนิวเคลียร มีกระบวนการสืบเสาะ หาความรู สื่อสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปใชประโยชนอยางถูกตองและมีคุณธรรม ชั้น

ตัวชี้วัด

ป.2 1. ทดลองและอธิบายแรง ที่เกิดจากแมเหล็ก

สาระการเรียนรูแกนกลาง • แมเหล็กมีแรงดึงดูดหรือผลักระหวางแทงแมเหล็ก รอบแทงแมเหล็กมีสนามแมเหล็ก และสามารถ ดึงดูดวัตถุที่ทําดวยสารแมเหล็ก

2. อธิบายการนําแมเหล็กมาใชประโยชน • แมเหล็กมีประโยชนในการทําของเลน ของใช และนําไปแยกสารแมเหล็กออกจากวัตถุอื่นได 3. ทดลองและอธิบายแรงไฟฟา ที่เกิดจากการถูวัตถุบางชนิด

สาระที่ 5

• เมื่อถูวัตถุบางชนิดแลวนําเขาใกลกัน จะดึงดูด หรือผลักกันได แรงที่เกิดขึ้นนี้เรียกวาแรงไฟฟา และวัตถุนั้นจะดึงดูดวัตถุเบาๆ ได

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน • หนวยการเรียนรูที่ 5 สนุกกับแรงและพลังงาน บทที่ 1 มหัศจรรยแรงแมเหล็ก • หนวยการเรียนรูที่ 5 สนุกกับแรงและพลังงาน บทที่ 2 สนุกกับแรงไฟฟา

พลังงาน

มาตรฐาน ว 5.1 เขาใจความสัมพันธระหวางพลังงานกับการดํารงชีวิต การเปลี่ยนรูปพลังงาน ปฏิสัมพันธระหวาง สารและพลังงาน ผลของการใชพลังงานตอชีวิตและสิ่งแวดลอม มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู สื่อสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปใชประโยชน ชั้น

ตัวชี้วัด

ป.2 1. ทดลองและอธิบายไดวาไฟฟา เปนพลังงาน

สาระการเรียนรูแกนกลาง • ไฟฟาจากเซลล ไฟฟาหรือแบตเตอรี่สามารถ ทํางานได ไฟฟาจึงเปนพลังงาน

2. สํารวจและยกตัวอยางเครื่องใชไฟฟา • พลังงานไฟฟาเปลี่ยนเปนพลังงานอื่นได ในบานที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟา ซึ่งตรวจสอบไดจากเครื่องใชไฟฟาในบาน เชน เปนพลังงานอื่น พัดลม หมอหุงขาวไฟฟา

คูม อื ครู

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน • หนวยการเรียนรูที่ 5 สนุกกับแรงและพลังงาน บทที่ 3 เรียนรูเรื่องพลังงาน


สาระที่ 6

กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก

มาตรฐาน ว 6.1 เขาใจกระบวนการตางๆ ที่เกิดขึ้นบนผิวโลกและภายในโลก ความสัมพันธของกระบวนการตางๆ ที่มีผลตอการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ภูมิประเทศ และสัณฐานของโลก มีกระบวนการสืบเสาะ หาความรูและจิตวิทยาศาสตร สื่อสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปใชประโยชน ชั้น

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

ป.2 1. สํารวจและจําแนกประเภทของดิน • ดินจําแนกออกเปนประเภทใหญๆ ไดแก ดินรวน • หนวยการเรียนรูที่ 2 โดยใชสมบัติทางกายภาพเปนเกณฑ ดินเหนียว และดินทราย ตามลักษณะที่แตกตางกัน การดูแลพืชและสัตว และนําความรูไปใชประโยชน ในดานของสี เนื้อดิน การอุมนํ้า และการจับตัว บทที่ 1 สมบัติของดิน ของดิน ซึ่งนําไปใชประโยชน ไดแตกตางกัน ตามสมบัติของดิน

สาระที่ 7

เสร�ม

11

ดาราศาสตรและอวกาศ

มาตรฐาน ว 7.1 เขาใจวิวัฒนาการของระบบสุริยะ กาแล็กซีและเอกภพ การปฏิสัมพันธภายในระบบสุริยะและผลตอ สิ่งมีชีวิตบนโลก มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู สื่อสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปใชประโยชน ชั้น

ตัวชี้วัด

ป.2 1. สืบคนและอภิปรายความสําคัญ ของดวงอาทิตย

สาระที่ 8

สาระการเรียนรูแกนกลาง • ดวงอาทิตยเปนแหลงพลังงานที่สําคัญของโลก เพราะใหทั้งพลังงานความรอน และพลังงานแสง ซึ่งชวยในการดํารงชีวิตของสิ่งมีชีวิต

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน • หนวยการเรียนรูที่ 5 สนุกกับแรงและพลังงาน บทที่ 3 เรียนรูเรื่องพลังงาน

ธรรมชาติของวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

มาตรฐาน ว 8.1 ใชกระบวนการทางวิทยาศาสตรและจิตวิทยาศาสตรในการสืบเสาะหาความรู การแกปญหา รูวา ปรากฏการณทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นสวนใหญมีรูปแบบที่แนนอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได ภายใตขอมูลและเครื่องมือที่มีอยูในชวงเวลานั้นๆ เขาใจวา วิทยาศาสตร เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดลอมมีความเกี่ยวของสัมพันธกัน ชั้น

ตัวชี้วัด

ป.2 1. ตั้งคําถามเกี่ยวกับเรื่องที่จะศึกษาตามที่กําหนดให หรือตามความสนใจ 2 วางแผนการสังเกต สํารวจตรวจสอบ ศึกษา คนควา โดยใชความคิดของตนเอง ของกลุมและ ของครู 3. ใชวัสดุอุปกรณ เครื่องมือที่เหมาะสม ในการสํารวจตรวจสอบ และบันทึกขอมูล 4. จัดกลุมขอมูล เปรียบเทียบ และนําเสนอผล 5. ตั้งคําถามใหมจากผลการสํารวจตรวจสอบ 6. แสดงความคิดเห็นเปนกลุมและรวบรวมความรู 7. บันทึกและอธิบายผลสังเกต สํารวจตรวจสอบ อยางตรงไปตรงมา โดยเขียนภาพ แผนภาพ หรือคําอธิบาย 8. นําเสนอผลงานดวยวาจาใหผูอื่นเขาใจ กระบวนการและผลของงาน

สาระการเรียนรูแกนกลาง

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

บูรณาการสูการจัด การเรียนการสอน ในทุกหนวยการเรียนรู

คูม อื ครู


คําอธิบายรายวิชา รายวิชา วิทยาศาสตร ชั้นประถมศึกษาปที่ 2 รหัสวิชา ว…………………………………

เสร�ม

12

ศึกษา วิเคราะหปจจัยในการดํารงชีวิต การแสดงพฤติกรรมที่ตอบสนองตอสิ่งเราของพืช สัตว และ มนุษย ประโยชนของพืชและสัตว การจําแนกประเภทของดิน โดยใชสมบัติทางกายภาพเปนเกณฑ ชนิด สมบัติ และการเลือกใชวัสดุที่ใชทําของเลน ของใช แรงที่เกิดจากแมเหล็ก ประโยชนของแมเหล็ก การเกิด แรงไฟฟา ผลของแรงไฟฟา พลังงานไฟฟา การเปลี่ยนรูปพลังงานไฟฟา และดวงอาทิตย แหลงพลังงานโลก โดยใชกระบวนการทางวิทยาศาสตร การสืบเสาะหาความรู การสํารวจ ตรวจสอบ การสืบคนขอมูล และการอภิปราย เพื่อใหเกิดความรู ความคิด ความเขาใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู มีความสามารถในการตัดสินใจ เห็นคุณคาของการนําความรูไปใชประโยชนในชีวิตประจําวัน มีจิตวิทยาศาสตร จริยธรรม คุณธรรมและ คานิยมที่เหมาะสม ตัวชี้วัด ว 1.1 ว 1.2 ว 3.1 ว 4.1 ว 5.1 ว 6.1 ว 7.1 ว 8.1

คูม อื ครู

กลุมสาระการเรียนรู วิทยาศาสตร ภาคเรียนที่ 1-2 เวลา 80 ชั่วโมง/ป

ป.2/1 ป.2/1 ป.2/1 ป.2/1 ป.2/1 ป.2/1 ป.2/1 ป.2/1

ป.2/2

ป.2/3

ป.2/2 ป.2/2 ป.2/2

ป.2/3

ป.2/2

ป.2/3

ป.2/4

ป.2/5

ป.2/4 ป.2/5 รวม 23 ตัวชี้วัด

ป.2/6

ป.2/7

ป.2/8


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ÃÒÂÇÔªÒ¾×é¹°Ò¹

ÇÔ·ÂÒÈÒʵà ».ò

ªÑé¹»ÃжÁÈÖ¡ÉÒ»‚·Õè ò

¡ÅØ‹ÁÊÒÃСÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ ÇÔ·ÂÒÈÒʵà µÒÁËÅÑ¡ÊÙµÃ᡹¡ÅÒ§¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñé¹¾×é¹°Ò¹ ¾Ø·¸ÈÑ¡ÃÒª òõõñ

¼ÙŒàÃÕºàÃÕ§ ¹Ò§ÊÒÇÈÔÃÔÃѵ¹ Ç§È ÈÔÃÔ ´Ã. ÃÑ¡«ŒÍ¹ Ãѵ¹ ÇÔ¨Ôµµ àǪ ¼ÙŒµÃǨ

¹Ò§ÊÒÇÍÒ¹ØÃÑ¡É ÃÐÁ§¤Å ¹Ò§ÊÒÇ¢³ÔÉ°Ò ÇÃÒ¡ØÅ ¹Ò§ÊÒÇÃÒµÃÕ Êѧ¦ÇѲ¹

ºÃóҸԡÒà ¹Ò§ÇÅѾà âÍÀÒÊÇѲ¹Ò

¾ÔÁ¾ ¤ÃÑ駷Õè ö

ʧǹÅÔ¢ÊÔ·¸ÔìµÒÁ¾ÃÐÃÒªºÑÞÞÑµÔ ÃËÑÊÊÔ¹¤ŒÒ ñòñøðôð

¤Œ¹¤ÇÒÁÃÙŒ¢ÂÒ¤ÇÒÁ¤Ô´¨Ò¡ ¾ÔÁ¾ ¤ÃÑ駷Õè ñ ÃËÑÊÊÔ¹¤ŒÒ ñòôøðòö

EB GUIDE

ที่พิมพกํากับหัวขอสําคัญในหนังสือเรียนหลักสูตรใหม ชั้น ป.๔ ขึ้นไป ผาน www.aksorn.com ไปยังแหลงความรูทั่วไทย-ทั่วโลก

ตรวจสอบผล Evaluate


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

¤íÒ¹íÒ ´ŒÇ¡ÃзÃǧÈÖ¡ÉÒ¸Ô¡ÒÃä´ŒÁÕ¤íÒÊÑè§ãˌ㪌ËÅÑ¡ÊٵáÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñé¹¾×é¹°Ò¹ ¾Ø·¸ÈÑ¡ÃÒª òõôô ã¹âçàÃÕ¹·ÑèÇä» ·Õè¨Ñ´¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñé¹¾×鹰ҹ㹻‚¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ òõôö áÅШҡ¡ÒÃÈÖ¡ÉÒÇÔ¨ÑÂáÅеԴµÒÁ¼Å¡ÒÃ㪌ËÅÑ¡ÊٵáÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñé¹ ¾×é¹°Ò¹ ¾Ø·¸ÈÑ¡ÃÒª òõôô ¨Ö§¹íÒä»Ê‹Ù¡ÒþѲ¹ÒËÅÑ¡ÊÙµÃ᡹¡ÅÒ§¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñé¹¾×é¹°Ò¹ ¾Ø·¸ÈÑ¡ÃÒª òõõñ «Öè§ÁÕ ¤ÇÒÁàËÁÒÐÊÁáÅЪѴਹ à¾×Íè ãˌʶҹÈÖ¡ÉÒä´Œ¹Òí ä»ãªŒà»š¹¡Ãͺ·Ôȷҧ㹡ÒèѴËÅÑ¡ÊÙµÃʶҹÈÖ¡ÉÒ áÅШѴ¡Òà àÃÕ¹¡ÒÃÊ͹à¾×Íè ¾Ñ²¹Òà´ç¡áÅÐàÂÒǪ¹·Ø¡¤¹ã¹ÃдѺ¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñ¹é ¾×¹é °Ò¹ãËŒÁ¤Õ ³ Ø ÀÒ¾´ŒÒ¹¤ÇÒÁÃÙŒ áÅзѡÉзըè Òí ໚¹ ÊíÒËÃѺ¡ÒôíÒçªÕÇÔµã¹Êѧ¤Á·ÕèÁÕ¡ÒÃà»ÅÕè¹á»Å§ áÅÐáÊǧËÒ¤ÇÒÁÃÙŒà¾×è;Ѳ¹Òµ¹àͧÍ‹ҧµ‹Íà¹×èͧµÅÍ´ªÕÇÔµ ÊíÒËÃѺ¡Å‹ØÁÊÒÃСÒÃàÃÕ¹ÃÙŒÇÔ·ÂÒÈÒʵà »ÃСͺ´ŒÇ ø ÊÒÃЋ͠¤×Í ÊÒÃзÕè ñ ÊÔè§ÁÕªÕÇÔµ¡Ñº¡Ãкǹ¡ÒôíÒçªÕÇÔµ ÊÒÃзÕè ò ªÕÇÔµ¡ÑºÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁ ÊÒÃзÕè ó ÊÒÃáÅÐÊÁºÑµÔ¢Í§ÊÒà ÊÒÃзÕè ô áçáÅСÒÃà¤Å×è͹·Õè ÊÒÃзÕè õ ¾Åѧ§Ò¹ ÊÒÃзÕè ö ¡Ãкǹ¡ÒÃà»ÅÕè¹á»Å§¢Í§âÅ¡ ÊÒÃзÕè ÷ ´ÒÃÒÈÒʵà áÅÐÍÇ¡ÒÈ ÊÒÃзÕè ø ¸ÃÃÁªÒµÔ¢Í§ÇÔ·ÂÒÈÒʵà áÅÐà·¤â¹âÅÂÕ Ë¹Ñ§Ê×ÍàÃÕ¹ ÇÔ·ÂÒÈÒʵà ».ò àÅ‹Á¹Õé¨Ñ´·íÒ¢Öé¹ÊíÒËÃѺ㪌»ÃСͺ¡ÒÃàÃÕ¹¡ÒÃÊ͹ªÑé¹»ÃжÁÈÖ¡ÉÒ»‚·Õè ò â´Â´íÒà¹Ô¹¡ÒèѴ·íÒãËŒÊÍ´¤ÅŒÍ§µÒÁ¡Ãͺ¢Í§ËÅÑ¡Êٵ÷ء»ÃСÒà ʋ§àÊÃÔÁ¡Ãкǹ¡ÒäԴ ¡ÒÃÊ׺àÊÒÐËÒ¤ÇÒÁÃÙŒ ¡ÒÃá¡Œ»˜ÞËÒ ¤ÇÒÁÊÒÁÒö㹡ÒÃÊ×èÍÊÒà ¡ÒõѴÊԹ㨠¡ÒùíÒä»ãªŒã¹ªÕÇÔµ ÃÇÁ·Ñé§Ê‹§àÊÃÔÁãËŒ¼ÙŒàÃÕ¹ÁÕ¨ÔµÇÔ·ÂÒÈÒʵà ¤Ø³¸ÃÃÁ áÅФ‹Ò¹ÔÂÁ·Õ¶è ¡Ù µŒÍ§àËÁÒÐÊÁ¡Ñº¡ÒôíÒçªÕÇµÔ ã¹Êѧ¤Áä·Â «Ö§è à¨ÃÔÞ¡ŒÒÇ˹ŒÒ´ŒÒ¹ÇÔ·ÂÒÈÒʵà áÅÐà·¤â¹âÅÂÕ Ë¹Ñ§Ê×ÍàÃÕ¹ ÇÔ·ÂÒÈÒʵà ».ò àÅ‹Á¹Õé ÁÕ õ ˹‹Ç ã¹áµ‹ÅÐ˹‹ÇÂẋ§à»š¹º·Â‹ÍÂæ «Ö觻ÃСͺ´ŒÇ ñ. ໇ÒËÁÒ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ»ÃШíÒ˹‹Ç ¡íÒ˹´ÃдѺ¤ÇÒÁÃÙŒ ¤ÇÒÁÊÒÁÒö¢Í§¼ÙŒàÃÕ¹NjÒàÁ×èÍàÃÕ¹¨ºã¹ ᵋÅÐ˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ µŒÍ§ºÃÃÅØÁҵðҹµÑǪÕéÇÑ´·Õè¡íÒ˹´äÇŒã¹ËÅ ¹ËÅÑÑ¡ÊٵâŒÍã´ºŒÒ§ ò. á¹Ç¤Ô´ÊíÒ¤ÑÞ á¡‹¹¤ÇÒÁÃÙŒ·Õè໚¹¤ÇÒÁÃÙŒ¤ÇÒÁࢌÒ㨤§·¹µÔ´µÑǼٌàÃÕ¹ ó. à¹×éÍËÒ ¤ÃºµÒÁËÅÑ¡ÊÙµÃ᡹¡ÅÒ§¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñé¹¾×é¹°Ò¹ ¾.È. òõõñ ¹íÒàʹÍàËÁÒÐÊÁ¡Ñº¡ÒÃàÃÕ¹ ¡ÒÃÊ͹ã¹áµ‹ÅÐÃдѺªÑé¹ ô. ¡Ô¨¡ÃÃÁ ÁÕËÅÒ¡ËÅÒÂÃٻẺãËŒ¹Ñ¡àÃÕ¹»¯ÔºÑµÔ ẋ§à»š¹ (ñ) ¡Ô¨¡ÃÃÁ¹íÒÊ‹Ù¡ÒÃàÃÕ¹ ¹íÒࢌÒÊ‹Ùº·àÃÕ¹à¾×èÍ¡Ãе،¹¤ÇÒÁʹã¨á¡‹¼ÙŒàÃÕ¹ (ò) ¡Ô¨¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ ãËŒ¼ÙŒàÃÕ¹½ƒ¡»¯ÔºÑµÔà¾×è;Ѳ¹Ò¤ÇÒÁÃÙŒáÅзѡÉлÃШíÒ˹‹Ç (ó) ¡Ô¨¡ÃÃÁÃǺÂÍ´ ãËŒ¼ÙŒàÃÕ¹»¯ÔºÑµÔà¾×èÍáÊ´§¾ÄµÔ¡ÃÃÁ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒÃǺÂÍ´ áÅлÃÐàÁÔ¹¼Å¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ µÒÁÁҵðҹµÑǪÕéÇÑ´»ÃШíÒ˹‹Ç ˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ÇÔ·ÂÒÈÒʵà ».ò àÅ‹Á¹Õé ¹íÒàʹ͡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒãËŒàËÁÒÐÊÁ¡ÑºÇÑ¢ͧ¼ÙŒàÃÕ¹㹪Ñé¹»ÃжÁÈÖ¡ÉÒ »‚·Õè ò «Öè§à»š¹¡ÒÃÈÖ¡ÉÒÊÔ觷Õè¼ÙŒàÃÕ¹à¡ÕèÂÇ¢ŒÍ§ã¹¡ÒôíÒà¹Ô¹ªÕÇÔµ»ÃШíÒÇѹ â´Â㪌ÀÒ¾ á¼¹ÀÙÁÔ µÒÃÒ§¢ŒÍÁÙÅ ª‹ÇÂ㹡Òà ¹íÒàʹÍÊÒÃе‹Ò§æ «Ö觨Ъ‹ÇÂãËŒ¼ÙŒàÃÕ¹ÊÒÁÒöàÃÕ¹Ãٌ䴌§‹Ò¢Öé¹ ¤³Ð¼ÙŒ¨Ñ´·íÒ¨Ö§ËÇѧ໚¹Í‹ҧÂÔè§Ç‹Ò ˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ÇÔ·ÂÒÈÒʵà ».ò àÅ‹Á¹Õé ¨Ð໚¹Ê×èÍ¡ÒÃàÃÕ¹¡ÒÃÊ͹·Õè ÍíҹǻÃÐ⪹ µ‹Í¡ÒÃàÃÕ¹ÇÔ·ÂÒÈÒʵà à¾×èÍãËŒÊÑÁÄ·¸Ô¼ÅµÒÁÁҵðҹµÑǪÕéÇÑ´·Õè¡íÒ˹´äÇŒã¹ËÅÑ¡ÊÙµÃ᡹¡ÅÒ§¡Òà ÈÖ¡ÉÒ¢Ñé¹¾×é¹°Ò¹ ¾.È. òõõñ ·Ø¡»ÃСÒà ¤³Ð¼ÙŒ¨Ñ´·íÒ


กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

Explain

Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

ค�ำชี้แจงในกำรใช้สื่อ หนวยการเรียนรูที่

แนวคิดส�ำคัญ แก่นคว�มรู้ที่เป็นคว�มเข้�ใจ คงทนติดตัวผู้เรียน

ñ

º··Õè

»˜¨¨ÑÂ㹡Òô

ñ

íÒçªÕÇÔµ¢Í§¾

תáÅÐÊѵÇ

แนวคิดสําคั

ªÕÇÔµ¾×ª ªÕÇÔµÊѵÇ

พืชและสัต แสง ในการดํารงช วเปนสิ่งมีชีวิต จึงตองการปจจั ยในการดํารงชีว ีว ิต พื และการเจริญเติ ิตและการเจริญเติบโต สวนส ัตวก็ตองการอา ชตองการอาหาร นํ้า อากาศ บโตเชนเดียวกัน หาร นํ้า และอาก และ าศ ในการดํารงช ีวิต กิจกรรมนํา สูการเรียน

ภาพที่ ๑ นรูที่ ๑ าํ หนวยการเรีย

รียนรูประจ

เปาหมายการเ

ดังนี้ วามรูความสามารถ ป.๒/๑] เรียนรูนี้ ผูเรียนจะมีค ิตของพืช [มฐ. ว๑.๑ เมื่อเรียนจบหนวยการ ้า แสง เปนปจจัยที่จําเปนตอการดํารงชีว ารเจริญเติบโตของพืชและสัตว นํ ํารงชีวิตและก ๑. ทดลองและอธิบาย ปจจัยที่จําเปนตอการด น เป ศ อากา า ้ นํ ว๑.๑ ป.๒/๓] ป.๒/๒] ๒. อธิบายอาหาร และการสัมผัส [มฐ. ระโยชน [มฐ. ว๑.๑ และนําความรูไปใชป ตั วสามารถตอบสนองตอแสง อุณหภูมิ ชและส ๑] ๓. สํารวจและอธบิ ายพื ชและสัตวในทองถิ่น [มฐ. ว๑.๒ ป.๒/ สอน] ของพื น นการ ย ะโยช รี การเ ายปร บ อธิ กรรม จ ๔. บูรณาการสูการจัดกิ [มฐ. ว๘.๑ ป.๒/๑-๘

ภาพที่ ๒ ๑. พืชและสัตว ตอ ๒. ถาพืชในภาพข งการสิ่งใดในการดํารงชีวิตที่เหม ือนก าด เปนเวลานานๆ นํ้า หรือสัตวในภาพไมไดกินอา ัน จะเกิดผลอยางไร หาร

มำตรฐ มำตรฐำนตั มำ ตรฐำนตั นตัวชี้วัด ระบุตัวชี้วัดที่กำ�หนดไว้ ในแต่ละหน่วย

เป้ำหมำยกำรเรียนรู้ กำ�หนดระดับคว�มรู้คว�มส�ม�รถ ของผู้เรียนเมื่อเรียนจบหน่วย

กิจกรรมน�ำสู่กำรเรียนรู้ นำ�เข้�สู่บทเรียนโดยใช้กระตุ้น คว�มสนใจและประเมินผลก่อนเรียน

เนื้อหำ ครบต�มหลักสูตรแกนกล�งฯ �งฯ งฯ '๕๑ นำ�เสนอโดยใช้ภ�ษ�ที่เข้�ใจง่�ย เหม�ะสมกับก�รเรียนก�รสอน

สิ่งเราของสัตว ๒ การตอบสนองตอ ล วว า นั ก เรี ย นท รา บม าแ นอง ตอบส พืชชนิดตางๆ มีการ ารสัมผัส ะก แล ิ ู ม หภ ตอแสง อุณ ีการตอบนักเรียนคิดวา สัตวม ้หรือไม านี สนองตอสิ่งเราเหล อยางไร

กิจกรรมรวบย

อด

ตอนที่ ๑ แนวค ิดสําคั ครูใหนักเรียนช ญ ชวยกันสรุป จากนั้นใหเขียนแ วยกันพูดสรุปเกี่ยวกับประโย ชน สด พืชและชื่อสัตวป งเปนแผนผังความคิดลงในสม ของพืชและสัตวที่มีตอคน ระกอบ ุด พรอมกับยก ตัวอยางชื่อ ตอนที่ ๒ ลองท ําดู หนูทําได ๑. ดูภาพ และบ อก ว า เป นพืช มาใชประโยชนใ นดานใดบาง หรือสัตวชนิดใด คนนําพืชหรือ สัตวเหลานั้น ๑ ๒ ๓

ัตรู

ขนตั้งเมื่อตองการขูศ

แมวจะโกงตัวและทํา

Ç ÃͺµÑÇàÃÒ ÅͧÊѧࡵÊÔÇ‹Ò Êѵ Í‹ҧäúŒÒ§ ÊÔ觵‹Ò§æ ÁÕ¡Òõͺʹͧµ‹Í ักทดลอง

กิจกรรมหนูนอยน

งของแมว

ตอบสนองตอแส

กิจกรรมที่ ๓ การ

ปญหา อุปกรณ วิธีทํา

ตอแสงอยางไร แมวมีการตอบสนอง นปด แมว ๑ ตัว เกต โดยครูใหนักเรีย ธิตเพื่อใหนักเรียนสัง อยูใน ๑. ครูทําเปนกิจกรรมสา ักเรียนสังเกตลักษณะดวงตาของแมวเมื่อ น ให น ้ นั จาก ด ื หองใหม กษณะดวงตา ที่มืด และบันทึกผล ้นใหนักเรียนสังเกตลั วางเขาสักครู จากนั ๒. เปดหองใหแสงส ทึกผล น บั และ ง า ว ส ่ นที ใ  ของแมวเมื่ออยู สรุปผล ๓. รวมกันอภิปรายและ แหยสัตวใหโกรธ

เมตตาตอสัตว และไมนได ะเว นยํ้าใหนักเรียนมีความ สําหรับครู : ๑. ครูเน สะดวกในการทํากิจกรรมนี้ ครูสามารถล ๒. ถาไม

๓๖

๒๑

กิจกรรมส�ำรวจ กิจกรรมทดลอง เป็นกิจกรรมที่ให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติ เพื่อฝึกทักษะกระบวนก�รท�งวิทย�ศ�สตร์

กิจกรรมรวบยอด ให้ผู้เรียนฝึกปฏิบัติเพื่อแสดง พฤติกรรมก�รเรียนรู้รวบยอด และประเมินผลก�รเรียนรู้ต�ม ม�ตรฐ�นตัวชี้วัดประจำ�หน่วย


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ Expand

สารบัญ

● ตารางวิเคราะหมาตรฐานการเรียนรู

หนวยการเรียนรูที่

๑ ชีวิตพืช ชีวิตสัตว

บทที่ ๑ ปจจัยในก�รดำ�รงชีวิตของพืชและสัตว์ บทที่ ๒ ก�รตอบสนองต่อสิ�งเร้�ของพืชและสัตว์ บทที่ ๓ ประโยชน์ของพืชและสัตว์ หนวยการเรียนรูที่

๒ ๑๔ ๓๐

๖๔

๔ ของเลนของใชของเรา

๘๔

๕ สนุกกับแรงและพลังงาน

๑๐๐

บทที่ ๑ มหัศจรรย์แรงแม่เหล็ก บทที่ ๒ สนุกกับแรงไฟฟ� บทที่ ๓ เรียนรูเ้ รื่องพลังง�น ● บรรณานุกรม

๓ เรียนรูตนเอง

บทที่ ๑ วัสดุและก�รเลือกใช้ หนวยการเรียนรูที่

๔๐

บทที่ ๑ ปจจัยในก�รดำ�รงชีวิตของเร� บทที่ ๒ ก�รตอบสนองต่อสิ�งเร้�ของเร� หนวยการเรียนรูที่

Evaluate

๒ การดูแลพืชและสัตว

บทที่ ๑ สมบัติของดิน บทที่ ๒ ม�ปลูกพืช เลี้ยงสัตว์ หนวยการเรียนรูที่

ตรวจสอบผล

๔๑ ๕๒

๖๕ ๗๔ ๘๕

๑๐๑ ๑๑๔ ๑๒๔ ๑๓๘


กระตุน ความสนใจ Engage

ตารางวิเคราะห

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Explore

ขยายความเขาใจ

Explain

Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

Áҵðҹ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒáÅеÑǪÕéÇÑ´ ÃÒÂÇÔªÒ ÇÔ·ÂÒÈÒʵà ».๒

คําชี้แจง : ใหผูสอนใชตารางน�้ตรวจสอบวา เน�้อหาสาระการเรียนรูในหนวยการเรียนรูสอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดชั้นป ในขอใดบาง

มาตรฐาน การเรียนรู

สาระการเรียนรู ตัวชี้วัดชั้น ป.๒ สาระที่ ๑ สิ�งมีชีวิตกับกระบวนการดํารงชีวิต ๑. ทดลองและอธิบาย นํ้า แสง เปนปจจัย ที่จําเปนตอการดํารงชีวิตของพืช

๒. อธิบายอาหาร นํ้า อากาศ เปนปจจัยที่ จําเปนตอการดํารงชีวิต และการเจริญ เติบโตของพืชและสัตว และนําความรู ไปใชประโยชน มฐ. ว๑.๑ ๓. สํารวจและอธิบายพืชและสัตวสามารถ ตอบสนองตอแสง อุณหภูมิ และการ สัมผัส ๔. ทดลองและอธิบายรางกายของมนุษย สามารถตอบสนองตอแสง อุณหภูมิ และการสัมผัส ๕. อธิบายปจจัยที่จําเปนตอการดํารงชีวิต และการ เจริญเติบโตของมนุษย ๑. อธิบายประโยชนของพืชและสัตวใน มฐ. ว๑.๒ ทองถิ�น สาระที่ ๓ สารและสมบัติของสาร ๑. ระบุชนิดและเปรียบเทียบสมบัติของ วัสดุที่นํามาทําของเลนของใชในชีวิต มฐ. ว๓.๑ ประจําวัน ๒. เลือกใชวัสดุและสิ�งของตางๆ ไดอยาง เหมาะสมและปลอดภัย

หนวยที่ ๑

หนวยที่ ๒ หนวยที่ ๓ หนวย หนวยที่ ๕ ที่ ๔ บทที่ บทที่ บทที่ บทที่ บทที่ ๑ ๒ ๓ ๑ ๒ ๑ ๒ ๑ ๑ ๒ ๓ ✓

✓ ✓

สาระที่ ๔ แรงและการเคลื่อนที่ ๑. ทดลองและอธิบายแรงทีเ่ กิดจากแมเหล็ก มฐ. ว๔.๑ ๒. อธิบายการนําแมเหล็กมาใชประโยชน ๓. ทดลองและอธิบายแรงไฟฟาที่เกิดจาก การถูวัตถุบางชนิด หมายเหตุ: สาระที่ ๒ ชีวิตกับสิ่งแวดลอม มฐ.ว๒.๑ และ ว๒.๒ ในหลักสูตรแกนกลางฯ กําหนดใหเรียนในชั้น ป.๓ และ ป.๖

✓ ✓ ✓ ✓ ตอ


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

ตารางวิเคราะห มาตรฐาน การเรียนรู

อธิบายความรู

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Áҵðҹ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒáÅеÑǪÕéÇÑ´ ÃÒÂÇÔªÒ ÇÔ·ÂÒÈÒʵà ».๒ สาระการเรียนรู

ตัวชี้วัดชั้น ป.๒

สาระที่ ๕ พลังงาน ๑. ทดลองและอธิบายไดวา ไฟฟาเปนพลังงาน มฐ. ว๕.๑ ๒. สํารวจและยกตัวอยางเครื่องใชไฟฟา ในบานที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟาเปน พลังงานอื่น สาระที่ ๖ กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก ๑. สํารวจและจําแนกประเภทของดินโดยใช มฐ. ว๖.๑ สมบัติทางกายภาพเปนเกณฑ และนํา ความรูไปใชประโยชน สาระที่ ๗ ดาราศาสตรและอวกาศ มฐ. ว๗.๑ ๑. สืบคนและอภิปรายความสําคัญของ ดวงอาทิตย สาระที่ ๘ ธรรมชาติของวิทยาศาสตร และเทคโนโลยี ๑. ตั้งคําถามเกี่ยวกับเรื่องที่จะศึกษาตามที่ กําหนดใหหรือตามความสนใจ ๒. วางแผนการสังเกต สํารวจตรวจสอบ ศึกษาคนควา โดยใชความคิดของตนเอง ของกลุม และของครู ๓. ใชวัสดุ อุปกรณ เครื่องมือที่เหมาะสม ในการสํารวจตรวจสอบ และบันทึกขอมูล มฐ. ว๘.๑ ๔. จัดกลุมขอมูล เปรียบเทียบและ นําเสนอผล ๕. ตัง้ คําถามใหมจากผลการสํารวจตรวจสอบ ๖. แสดงความคิดเห็นเปนกลุมและรวบรวม เปนความรู ๗. บันทึกและอธิบายผลการสังเกต สํารวจ ตรวจสอบอยางตรงไปตรงมา โดยเขียน ภาพ แผนภาพ หรือคําอธิบาย ๘. นําเสนอผลงานดวยวาจาใหผูอื่นเขาใจ กระบวนการและผลของงาน

ขยายความเขาใจ

Explain

หนวยที่ ๑

หนวยที่ ๒ หนวยที่ ๓ หนวย หนวยที่ ๕ ที่ ๔ บทที่ บทที่ บทที่ บทที่ บทที่ ๑ ๒ ๓ ๑ ๒ ๑ ๒ ๑ ๑ ๒ ๓ ✓


กระตุน้ ความสนใจ กระตุEngage ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

อธิบายความรู้

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Engage

Explore

Explain

Expand

Evaluate

หน่วยก�รเรียนรู้ที่

ñ

ªÕÇÔµ¾×ª ªÕÇÔµÊѵÇ

กระตุน้ ความสนใจ

Engage

1. ครูทบทวนเกี่ยวกับเรื่องสิ่งมีชีวิตโดยให นักเรียนแบงกลุม กลุมละ 3 - 4 คน จากนั้น ใหแตละกลุมเขียนชื่อสิ่งมีชีวิตใหไดมากที่สุด ภายในเวลา 1 นาที 2. ครูและนักเรียนรวมกันตรวจสอบคําตอบ และปรบมือใหกับกลุมที่เขียนชื่อสิ่งมีชีวิตได มากที่สุด 3. ใหนักเรียนดูภาพในหนานี้ แลวบอกวา • จากภาพ มีสิ่งมีชีวิตกี่ชนิด อะไรบาง (ตอบ 2 ชนิด คือ นก และตนตะบองเพชร) • ทั้ง 2 ภาพนี้เปนสิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกัน หรือไม อยางไร (ตอบ ไมใชสิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกัน นกเปนสัตว สวนตะบองเพชรเปนพืช) 4. ครูเชื่อมโยงใหนักเรียนเขาใจวา ในหนวยนี้ นักเรียนจะไดเรียนรูเรื่องราวเกี่ยวกับพืช และสัตว ซึ่งจะทําใหนักเรียนเขาใจเกี่ยวกับ การดํารงชีวิตของพืชและสัตว

เปาหมายการเรียนรู้ประจําหนวยการเรียนรู้ที่ ๑ เมื่อเรียนจบหน่วยก�รเรียนรู้นี้ ผู้เรียนจะมีคว�มรู้คว�มส�ม�รถ ดังนี้ ๑. ทดลองและอธิบ�ย นำ้� แสง เป็นปัจจัยที่จำ�เป็นต่อก�รดำ�รงชีวิตของพืช [มฐ. ว๑.๑ ป.๒/๑] ๒. อธิบ�ยอ�ห�ร นำ้� อ�ก�ศ เป็นปัจจัยที่จำ�เป็นต่อก�รดำ�รงชีวิตและก�รเจริญเติบโตของพืชและสัตว์ และนำ�คว�มรู้ไปใช้ประโยชน์ [มฐ. ว๑.๑ ป.๒/๒] ๓. สำ�รวจและอธิบ�ยพืชและสัตว์ส�ม�รถตอบสนองต่อแสง อุณหภูมิ และก�รสัมผัส [มฐ. ว๑.๑ ป.๒/๓] ๔. อธิบ�ยประโยชน์ของพืชและสัตว์ในท้องถิ่น [มฐ. ว๑.๒ ป.๒/๑] [มฐ. ว๘.๑ ป.๒/๑-๘ บูรณำกำรสู่กำรจัดกิจกรรมกำรเรียนกำรสอน]

เกร็ดแนะครู กอนเริ่มการเรียนการสอน ครูอธิบายใหนักเรียนเขาใจเกี่ยวกับการเรียนวิชา วิทยาศาสตร เพื่อเปนการปลูกฝงใหนักเรียนรูจักแสวงหาความรูโดยใชวิธีการทาง วิทยาศาสตร ซึ่งเปนระบบและมีลําดับขั้นตอนที่แนนอน และชวยฝกใหนักเรียน เปนคนมีเหตุผล วิธีการทางวิทยาศาสตร มี 5 ขั้นตอน ดังนี้ 1. ตั้งปญหา เปนการตั้งปญหาในรูปคําถาม 2. ตั้งสมมติฐาน เปนการคาดเดาคําตอบที่เปนไปไดของปญหานั้น 3. ตรวจสอบสมมติฐาน หาขอพิสูจนของคําตอบ ซึ่งทําไดหลายวิธี เชน รวบรวมขอมูล สํารวจ ทดลอง เปนตน 4. วิเคราะหผล ตรวจสอบผลกับสมมติฐาน 5. สรุปผล พิจารณาผลวาสอดคลองกับสมมติฐานหรือไม ถาสอดคลองแสดงวา สมมติฐานเปนคําตอบของปญหา

คู่มือครู

1


กระตุน้ ความสนใจ กระตุEngage ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

อธิบายความรู้

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Engage

Explore

Explain

Expand

Evaluate

เปาหมายการเรียนรู

1. ทดลองและอธิบาย นํ้า แสง เปนปจจัยที่จําเปน ตอการเจริญเติบโตของพืช (ว 1.1 ป.2/1) 2. อธิบายอาหาร นํ้า อากาศ เปนปจจัยที่จําเปน ตอการดํารงชีวิตและกระบวนการเจริญเติบโต ของสัตว (ว 1.1 ป.2/2)

สมรรถนะของผูเรียน

»˜¨¨ÑÂ㹡ÒôíÒçªÕÇÔµ¢Í§¾×ªáÅÐÊѵÇ

º··Õè

ñ

แนวคิดสําคัญ พืชและสัตว์เป็นสิ่งมีชีวิต จึงต้องก�รปัจจัยในก�รดำ�รงชีวิต พืชต้องก�รอ�ห�ร นำ้� อ�ก�ศ และ แสง ในก�รดำ�รงชีวิตและก�รเจริญเติบโต ส่วนสัตว์ก็ต้องก�รอ�ห�ร นำ้� และอ�ก�ศ ในก�รดำ�รงชีวิต และก�รเจริญเติบโตเช่นเดียวกัน

1. ความสามารถในการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคิด

กิจกรรมนําสูการเรียน

คุณลักษณะอันพึงประสงค 1. ใฝเรียนรู 2. มุงมั่นในการทํางาน

กระตุน้ ความสนใจ

Engage

1. ครูใหนักเรียนชวยกันบอกลักษณะสําคัญของ สิ่งมีชีวิต 7 ประการ เพื่อเปนการทบทวน แลวครูเขียนบนกระดาน 2. ใหนักเรียนชวยกันบอกวา ตัวเราตองการสิ่งใด ในการดํารงชีวิต 3. ครูถามคําถาม แลวใหนักเรียนชวยกันตอบ • พืชและสัตวตองการสิ่งจําเปนใดในการดํารง ชีวิต (ตอบ อาหาร นํ้า และอากาศ) • ถาพืชขาดนํ้าเปนเวลานานๆ หรือสัตว ขาดอาหารเปนเวลานานๆ จะเกิดผลอยางไร (ตอบ พืชจะคอยๆ เหี่ยวเฉา และตายในที่สุด สวนสัตวจะไมเจริญเติบโตและตายในที่สุด)

ภ�พที่ ๑ ภ�พที่ ๒ ๑. พืชและสัตว์ต้องก�รสิ่งใดในก�รดำ�รงชีวิตที่เหมือนกัน ๒. ถ้�พืชในภ�พข�ดนำ้� หรือสัตว์ในภ�พไม่ได้กินอ�ห�ร เป็นเวล�น�นๆ จะเกิดผลอย่�งไร 2

เกร็ดแนะครู ครูจัดกระบวนการเรียนรูโดยใหนักเรียนปฏิบัติ ดังนี้ • ทดลองเกี่ยวกับปจจัยที่จําเปนตอการเจริญเติบโตของพืช • อภิปรายและสรุปผลจากการทดลอง • สืบคนขอมูลปจจัยที่จําเปนตอการดํารงชีวิตของพืชและสัตว • วิเคราะหหาคําตอบจากประเด็นคําถามที่กําหนด จนเกิดเปนความรูความเขาใจวา พืชและสัตวเปนสิ่งมีชีวิตจึงตองการปจจัย ในการดํารงชีวิต คือ พืชตองการอาหาร นํ้า อากาศ และแสง สวนสัตวตองการ อาหาร นํ้า และอากาศ เพื่อการดํารงชีวิตและการเจริญเติบโต

2

คู่มือครู


ส�ารวจค้นหา

กระตุ้นความสนใจ Engage

ส�ารวจค้ Exploreนหา

อธิบายความรู้

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Explore

Explain

Expand

Evaluate

ส�ารวจค้นหา

๑ ปจจัยที่จ�ำเป็นต่อกำรด�ำรงชีวิตของพืช พืชเป็นสิ่งมีชีวิตเช่นเดียวกับคนและสัตว์ ก�รที่พืชจะดำ�รง ชีวิตอยู่ได้นั้น ต้องอ�ศัยสิ่งที่จำ�เป็นในก�รดำ�รงชีวิต ¹Ñ¡àÃÕ¹·ÃÒºËÃ×ÍäÁ‹Ç‹Ò ¾×ªª¹Ô´µ‹Ò§æ àËÅ‹Ò¹Õé µŒÍ§¡ÒÃÊÔè§ã´ºŒÒ§ã¹¡ÒôíÒçªÕÇÔµ Åͧ¤Ò´¤Ð๠áÅÐ令Œ¹ËÒ¤íҵͺ¨Ò¡¡Òà ·´Åͧã¹Ë¹ŒÒµ‹Í令‹Ð

1

บัวเป็นพืชที่ขึ้นในนำ้� ▼ ทิวลิปเป็นพืชที่ชอบอ�ก�ศหน�วเย็น ▲

Explore

1. ครูสนทนากับนักเรียนวา ใครเคยปลูกตนไม บาง ปลูกตนอะไร และทําอยางไรบาง จากนั้น ใหนักเรียนผลัดกันออกมาเลาประสบการณ 2. ใหนักเรียนรวมกันอภิปรายวา พืชตองการ ปจจัยใดในการดํารงชีวิต 3. ใหนักเรียนแบงกลุม ใหแตละกลุมรวมกัน เสนอวามีวิธีตรวจสอบอยางไรที่ทําใหทราบวา พืชตองการปจจัยนั้นในการดํารงชีวิต

ตะบองเพชรเป็นพืชที่ขึ้นในทะเลทร�ย

3

ขอสอบเนน การคิด แนว NT

รดนํ้า

ไมรดนํ้า

นักเรียนควรรู 1 บัว มีหลายพันธุ แตละพันธมีดอกที่มีสีสันหลากหลายและสวยงาม เบงบาน ชูชออยูเหนือนํ้า ทําใหไดรับฉายาวาเปน “ราชินีแหงไมนํ้า” เรานิยมนําดอกบัวั ไปบูชาพระ เพือ่ ความเปนสิรมิ งคลแกชวี ติ เนือ่ งจากลักษณะ ดอกบัวตูมจะคลายกับการพนมมือไหว และถือเปนสัญลักษณของความบริสทุ ธิ์ ปจจุบนั มีผนู ยิ มปลูกบัวเปนการคากันอยางแพรหลาย

จากภาพ เปนการศึกษาเรื่องใด 1. นํ้าเปนปจจัยในการดํารงชีวิตของพืช 2. ดินเปนปจจัยในการดํารงชีวิตของพืช 3. แสงเปนปจจัยในการดํารงชีวิตของพืช 4. อากาศเปนปจจัยในการดํารงชีวิตของพืช วิเคราะหคําตอบ จากภาพ เปนภาพตนไมที่รดนํ้าและไมรดนํ้า ซึ่งใช ศึกษาเกี่ยวกับนํ้าที่เปนปจจัยในการดํารงชีวิตของพืช ดังนั้น ขอ 1.

จึงเปนคําตอบที่ถูกตอง

คู่มือครู

3


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

Engage

ส�ารวจค้นหา

Exploreนหา ส�ารวจค้

อธิบายความรู้

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Explore

Explain

Expand

Evaluate

Explore

1. ใหนกั เรียนแตละกลุม ทํากิจกรรมที่ 1 โดยปฏิบตั ิ ดังนี้ 1) ใหแตละกลุมศึกษาขั้นตอนการทดลอง โดยครูคอยแนะนําในสิ่งที่นักเรียนไมเขาใจ หรือซักถาม 2) ใหนักเรียนกําหนดปญหาเกี่ยวกับการทดลอง และตั้งสมมติฐานหรือคําตอบที่เปนไปได 3) ทําการทดลองตามขั้นตอนเพื่อตรวจสอบ สมมติฐาน 4) บันทึกผลการทดลองตามความเปนจริง 5) นําผลการทดลองมารวมกันอภิปรายในกลุม และสรุปผล 2. ครูอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับการกําหนดตัวแปร ในการทดลอง และใหนักเรียนรวมกันบอกวา ตัวแปรตน ตัวแปรตาม และตัวแปรควบคุม ในการทดลองนี้คืออะไร

กิจกรรมหนูน้อยนักทดลอง กิจกรรมที่ ๑ นํ้ากับการดํารงชีวิตของพืช

ปญหำ อุปกรณ์

นำ้�เป็นสิ่งที่จำ�เป็นในก�รดำ�รงชีวิตของพืชหรือไม่ ๑. เมล็ดถั่วเขียว ๑๕-๒๐ เมล็ด ๓. ถุงพล�สติก ๑ ใบ ๒. กระป๋องนม ๒ ใบ ๔. ดิน ๑ ถุง เตรียมล่วงหน้ำ ครูมอบหม�ยให้แต่ละกลุ่มเพ�ะเมล็ดถั่วเขียวลงในถุงพล�สติก ประม�ณ ๑๕-๒๐ เมล็ด วิธีท�ำ ๑. แต่ละกลุ่มเตรียมดินปริม�ณเท่�ๆ กัน ใส่ลงไปในกระป๋องนม ๒ ใบ และติดป้�ยใบที่ ๑ และใบที่ ๒ ๒. เลือกต้นถั่วเขียวที่มีขน�ดคว�มสูงเท่�ๆ กัน ๒ ต้น ปลูกลงในกระป๋อง ใบละ ๑ ต้น และตั้งกระป๋องทั้ง ๒ ใบ ไว้ในบริเวณที่มีแสงส่องถึง ๓. ให้รดนำ้�ต้นถั่วในกระป๋องใบที่ ๑ ทุกวัน วันละ ๒ เวล� คือ เวล�เช้� และเวล�เย็น ส่วนต้นถั่วในกระป๋องใบที่ ๒ ไม่ต้องรดนำ้� ๔. ปฏิบัติข้อ ๒-๓ เป็นเวล� ๑๐ วัน ให้สังเกตและบันทึกผลทุกๆ ๒ วัน ๕. แต่ละกลุ่มนำ�ผลก�รทดลองม�อภิปร�ยร่วมกัน และสรุปผล ตัวอย่ำงตำรำงบันทึกผล วันที่บันทึกผลกำรทดลอง

ลักษณะของต้นถั่วเขียว กระป๋องใบที่ ๑ รดนำ้� กระป๋องใบที่ ๒ ไม่รดนำ้�

วันที่ ๒ วันที่ ๔ วันที่ ๖ วันที่ ๘ วันที่ ๑๐

จ�กก�รทำ�กิจกรรมที่ ๑ ทำ�ให้นักเรียนทร�บว่� พืชต้องก�ร นำ้�ในก�รดำ�รงชีวิต ถ้�พืชไม่ได้รับนำ้�เป็นเวล�น�นๆ ต้นพืชจะ ค่อยๆ เหี่ยวเฉ�และต�ยในที่สุด 4

เกร็ดแนะครู ในการทําการทดลอง ครูเนนใหนักเรียนคํานึงถึงปจจัยตางๆ ที่จะเขามา มีอิทธิพลตอการทดลองเรียกวา ตัวแปร ซึ่งมี 3 ชนิด คือ 1. ตัวแปรตน (ตัวแปรอิสระ) คือ ปจจัยที่เปนเหตุ กลาวคือ สิ่งที่ผูทดลอง กําหนดใหแตกตางกันเพื่อติดตามดูผลที่เกิดขึ้น 2. ตัวแปรตาม คือ ผลที่เกิดจากตัวแปรตน กลาวคือ สิ่งที่ผูทดลองตองวัด และเก็บขอมูล หรือติดตามดู 3. ตัวแปรควบคุม คือ ปจจัยอื่นๆ ที่อาจมีผลตอตัวแปรตาม ดังนั้น ตองควบคุม ใหคงที่ เพื่อสรุปผลไดงายขึ้น

4

คู่มือครู

ขอสอบเนน การคิด แนว NT

มานีปลูกตนมะละกอไวที่หลังบาน แลวเดินทางไปตางจังหวัดหลายวัน พอกลับมาพบวา ตนมะละกอที่ปลูกไวเหี่ยวแหงตาย นักเรียนคิดวาเกิดจาก สาเหตุใด 1. ขาดอากาศ 2. ติดโรค 3. ขาดนํ้า 4. ไดรับสารพิษ วิเคราะหคําตอบ นํ้าเปนปจจัยที่สําคัญในการดํารงชีวิตของพืช หากพืช ขาดนํ้าเปนเวลาหลายๆ วัน จะทําใหการเจริญเติบโตหยุดชะงักได ตนพืช จะเริม่ เหีย่ วเฉาและตายในทีส่ ดุ ดังนัน้ ขอ 3. จึงเปนคําตอบทีถ่ กู ตอง


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

อธิบายความรู้ อธิบExplain ายความรู้

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Explore

Explain

Expand

Evaluate

ส�ารวจค้ Exploreนหา

Engage

ส�ารวจค้นหา

ใหนักเรียนแตละกลุมทํากิจกรรมที่ 2 โดยปฏิบัติ ดังนี้ 1) ใหแตละกลุมศึกษาขั้นตอนการทดลอง โดยครูคอยแนะนําในสิ่งที่นักเรียนไมเขาใจ หรือซักถาม 2) ใหนักเรียนกําหนดปญหาเกี่ยวกับการ ทดลอง และตั้งสมมติฐานหรือคําตอบ ที่เปนไปได 3) ทําการทดลองตามขั้นตอนเพื่อตรวจสอบ สมมติฐาน 4) บันทึกผลการทดลองตามความเปนจริง 5) นําผลการทดลองมารวมกันอภิปรายในกลุม และสรุปผล

กิจกรรมหนูน้อยนักทดลอง กิจกรรมที่ ๒ แสงกับการดํารงชีวิตของพืช

ปญหำ อุปกรณ์

แสงเป็นสิ่งที่จำ�เป็นในก�รดำ�รงชีวิตของพืชหรือไม่ ๑. กระป๋องนม ๒ ใบ ๒. กล่องทึบมีฝ�ปด ๑ ใบ ๓. ดิน ๑ ถุง วิธีท�ำ ๑. ให้แต่ละกลุ่มเตรียมดินปริม�ณเท่�ๆ กัน ใส่ลงในกระป๋องนม ๒ ใบ ติดป้�ยใบที่ ๑ และใบที ่๒ 1 ๒. ให้เลือกต้นถั่วเขียว (จ�กที่เพ�ะในกิจกรรมที่ ๑) ขน�ดสูงประม�ณ ๕ เซนติเมตร ๒ ต้น ม�ปลูกลงในกระป๋อง กระป๋องละ ๑ ต้น ๓. ตั้งต้นถั่วในกระป๋องที่ ๑ ไว้ในบริเวณที่มีแสงส่องถึง และรดนำ้� ปริม�ณเท่�กันทุกวัน วันละ ๒ ครั้ง ตั้งต้นในถั่วกระป๋องที่ ๒ ไว้ใน กล่องทึบและปดฝ�เพื่อไม่ให้แสงเข้� และรดนำ้�ปริม�ณเท่�กันทุกวัน วันละ ๒ ครั้ง ปฏิบัติเช่นนี้เป็นเวล� ๑๐ วัน ๔. เมื่อครบ ๑๐ วันแล้ว ให้สังเกตลักษณะของต้นถั่วเขียวทั้ง ๒ กระป๋อง เปรียบเทียบกัน โดยวัดคว�มสูงของลำ�ต้น สังเกตขน�ด และสีของใบ แล้วบันทึกผล ๕. แต่ละกลุ่มนำ�ผลก�รทดลองม�อภิปร�ยร่วมกัน และสรุปผล ตัวอย่ำงตำรำงบันทึกผล กำรทดลอง กระป๋องใบที่ ๑ ว�งต้นถั่วเขียวไว้ในบริเวณที่มี แสงส่องถึง กระป๋องใบที่ ๒ ว�งต้นถัว่ เขียวไว้ในกล่องทึบทีป่ ด ฝ� เพื่อไม่ให้แสงเข้�

Explore

อธิบายความรู้

Explain

1. ใหแตละกลุม สงตัวแทนออกมานําเสนอ ผลการทํากิจกรรมที่ 1 โดยนําตนพืชที่ปลูก มาแสดงประกอบการอธิบาย 2. ใหนักเรียนรวมกันอภิปรายเพื่อสรุปใหไดวา พืชที่ไดรับนํ้ากับพืชที่ไมไดรับนํ้าเปนเวลานาน มีการเจริญเติบโตแตกตางกัน โดยพืชที่ไดรับ นํ้ามีการเจริญเติบโตไดดีกวา

ลักษณะของต้นถั่วเขียว คว�มสูงของลำ�ต้น ขน�ดของใบ สีของใบ คว�มสูงของลำ�ต้น ขน�ดของใบ สีของใบ

5

ขอสอบเนน การคิด แนว NT

สุดาทดลองปลูกพืช 2 ตน โดยตนแรกรดนํ้าและตั้งไวในบริเวณที่มี แสงแดดสองถึง ตนที่ 2 รดนํ้าและตั้งไวในหองมืด เมื่อเวลาผานไป 5 วัน ตนไมตนที่ 2 จะมีลักษณะอยางไร 1. เหี่ยวเฉาตาย 2. ใบมีสีเหลืองซีด 3. ใบรวงหมดทั้งตน 4. เจริญเติบโตอยางรวดเร็ว

วิเคราะหคําตอบ เมื่อพืชไมไดรับแสงจะทําใหใบพืชมีสีเหลืองซีด เนื่องจากพืชไมสามารถสรางสารสีเขียวขึ้นมาได ดังนั้น ขอ 2. จึงเปน

คําตอบที่ถูกตอง

เกร็ดแนะครู ครูสาธิตวิธีวัดความสูงของตนถั่วเขียวในกระปอง โดยใชแถบกระดาษวัด แลวใชปากกาขีดเสนแสดงความสูง จากนั้นใชไมบรรทัดวัดความยาวของ แถบกระดาษอีกครั้ง ก็จะทราบความสูงของตนถั่วเขียว

นักเรียนควรรู 1 ตนถั่วเขียว เปนพืชลมลุก ขนาดเล็ก ลําตนตั้งตรง สูงประมาณ 40 เซนติเมตร มีขนตามลําตน กิ่งกาน และใบ เมล็ดคอนขางกลม มีสีเขียว ถั่วเขียวนับเปนอาหารที่ดีตอสุขภาพและสามารถนํามาทําอาหารไดหลากหลาย อีกทั้งยังมีคุณสมบัติเปนสมุนไพรที่ชวยรักษาโรคตางๆ ไดอีกดวย เชน เมล็ดถั่วเขียว นํามาตมกินเปนยาขับปสสาวะ เปนตน ทําใหถั่วเขียวไดรับสมญานามวาเปน “ธัญพืชพิทักษโลก” คู่มือครู

5


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

Engage

Explore

อธิบายความรู้

อธิบายความรู้ อธิบExplain ายความรู้

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

Explain

1. ใหแตละกลุมสงตัวแทนออกมานําเสนอผล การทํากิจกรรมที่ 2 โดยนําพืชที่ปลูกมาแสดง ประกอบการอธิบาย 2. ใหนักเรียนรวมกันอภิปรายเพื่อสรุปใหไดวา พืชที่ไดรับแสงแดดกับพืชที่ไมไดรับแสงแดด มีการเจริญเติบโตแตกตางกัน โดยพืชที่ไดรับ แสงแดดมีการเจริญเติบโตไดดีกวาและใบ มีสีเขียว 3. ครูตั้งประเด็นคําถามใหนักเรียนรวมกัน อภิปรายวา นอกจากนํ้าและแสงแดดแลว พืชยังตองการสิ่งใดในการดํารงชีวิตอีก 4. ใหแตละกลุมอานขอมูล หนา 6 - 7

จ�กก�รทำ�กิจกรรมที่ ๒ ทำ�ให้นกั เรียนทร�บว่� พืชต้องก�ร แสงแดดในก�รดำ�รงชีวติ เพร�ะแสงแดดจะกระต้นุ ให้พชื สร้�งส�ร สีเขียวขึน้ ม�ได้ และส�รสีเขียวนีพ้ ชื ใช้ในก�รสร้�งอ�ห�ร เพือ่ นำ� ม�เลีย้ งส่วนต่�งๆ ของลำ�ต้น ซึง่ ช่วยให้พชื เจริญเติบโตขึน้ โดยสรุปจ�กก�รทำ�กิจกรรมที่ ๑ และ ๒ ทำ�ให้นักเรียน ทร�บว่� นำ�้ และแสงแดดเป็นปัจจัยส่วนหนึง่ ในก�รดำ�รงชีวติ ของ พืช ถ้�พืชได้รบั ปัจจัยเหล่�นี้ไม่เพียงพอ พืชก็จะไม่เจริญเติบโต หรืออ�จเฉ�ต�ยได้ ปัจจัยสำ�คัญทีจ่ �ำ เป็นต่อก�รดำ�รงชีวติ ของพืชมี ๔ ประก�ร คือ อ�ห�ร นำ้� อ�ก�ศ และแสงแดด ซึ่งมีร�ยละเอียด ดังนี้ ๑. อำหำร พืชต้องก�รอ�ห�รที่มี อยู่ในดิน ได้แก่ แร่ธ�ตุต่�งๆ 1 2 เช่น ไนโตรเจน โพแทสเซียม 3 ฟอสฟอรัส เป็นต้น เพื่อใช้ ในก�รเจริญเติบโต ทำ�ให้พืช แข็ ง แรง โดยร�กพื ช ดู ด ซึ ม แร่ ธ �ตุ เ หล่ � นี้ ไ ปเลี้ ย งส่ ว น แร่ธ�ตุที่เป็นอ�ห�รของพืชเกิดจ�กซ�กพืชซ�กสัตว์ ที่เน่�เปอยอยู่ในดิน ถ้�มีอยู่ม�กจะทำ�ให้ดินมีสีดำ� ต่�งๆ ของลำ�ต้น ▲

6

นักเรียนควรรู 1 ไนไตรเจน พืชที่ไดรับธาตุไนโตรเจนอยางเพียงพอ ใบจะมีสีเขียวสด แข็งแรง โตเร็ว และออกดอกออกผลที่สมบูรณ 2 โพแทสเซียม เปนธาตุอาหารที่มีความสําคัญในการสรางอาหารพวกแปงและ นํ้าตาล แลวเก็บไวที่หัวหรือลําตนของพืช ดังนั้น พืชบางชนิด เชน ออย มะพราว มัน จึงตองการธาตุโพแทสเซียมสูงมาก 3 ฟอสฟอรัส พืชที่ไดรับธาตุฟอสฟอรัสอยางเพียงพอ จะมีระบบรากที่แข็งแรง และแพรกระจายอยูในดินอยางกวางขวาง ทําใหรากพืชสามารถดูดนํ้าและแรธาตุ ตางๆ ไดดี ซึ่งชวยใหออกดอกออกผลเร็ว

6

คู่มือครู

ขอสอบเนน การคิด แนว NT

ถานักเรียนตองการปลูกพืช นักเรียนจะเลือกปลูกในบริเวณใดตอไปนี้ 1. บริเวณที่มืดทึบ 2. บริเวณที่มีนํ้าขัง 3. บริเวณที่มีแสงสองถึง 4. บริเวณที่มีตนไมขึ้นหนาแนน วิเคราะหคําตอบ พืชตองการแสงแดดในการดํารงชีวิต โดยแสงแดดจะ เปนตัวชวยในการสรางอาหารของพืช เพื่อนําไปเลี้ยงสวนตางๆ ทําใหพืช มีการเจริญเติบโตไดดี ดังนั้น ขอ 3. จึงเปนคําตอบที่ถูกตอง


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

Engage

Explore

อธิบายความรู้ อธิบExplain ายความรู้

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

อธิบายความรู้

๒. น�้ำ พืชต้องก�รนำ�้ ในก�รดำ�รงชีวติ เพือ่ ช่วยละล�ยแร่ธ�ตุในดิน ทำ�ให้ร�กดูดและลำ�เลียงแร่ธ�ตุเหล่�นัน้ ไปยังส่วนต่�งๆ ของพืชได้ นอกจ�กนี้ พืชยังต้องก�รนำ�้ เพือ่ ใช้ในก�รสร้�งอ�ห�รอีกด้วย ๓. อำกำศ พืชต้องก�รอ�ก�ศในก�รดำ�รงชีวิต พืชต้องก�รแก๊ส ออกซิเจนสำ�หรับห�ยใจเช่นเดีย1 วกับคนและสัตว์ และพืชยัง ต้องก�รแก๊สค�ร์บอนไดออกไซด์ เพื่อใช้ในก�รสร้�งอ�ห�รของ พืชด้วย ๔. แสงแดด เนือ่ งจ�กพืชเป็นสิง่ มีชวีิ ติ ทีม่ คี ว�มพิเศษแตกต่�งจ�กคน และสัตว์ นั่นคือ พืชเป็นสิ่งมีชีวิตที่ส�ม�รถสร้�งอ�ห�รเองได้ เมื่อพืชได้รับแสงแดด 2 แสงแดดจะกระตุ้นให้พืชสร้�งส�รสีเขียว ที่เรียกว่� คลอโรฟลล์ ทำ�ให้พืชส�ม�รถสร้�งอ�ห�รได้ และมี ก�รเจริญเติบโตขึ้น

Explain

1. ครูถามคําถามใหนักเรียนชวยกันตอบ • อาหารของพืชคืออะไร และมีอยูที่ไหน (ตอบ ธาตุอาหาร ซึ่งมีอยูในดิน) • พืชดูดซึมธาตุอาหารในดินไดอยางไร (ตอบ นํ้าชวยละลายธาตุอาหารในดิน ทําใหรากพืชสามารถดูดซึมธาตุอาหารได) • พืชตองการอากาศเพื่ออะไร (ตอบ เพื่อการหายใจและการสรางอาหาร) • แสงแดดมีความจําเปนตอพืชอยางไร (ตอบ ชวยกระตุนใหพืชสรางคลอโรฟลล เพื่อใชในการสรางอาหาร) 2. ใหนักเรียนแตละกลุมรวมกันสรุปวา ปจจัยใน การดํารงชีวติ ทีจ่ าํ เปนของพืช ไดแก อาหาร นํา้ อากาศ และแสงแดด

à¾×èÍ¹æ ¤Ô´Ç‹Ò ¤¹àÃÒµŒÍ§¡Òà ᡠʤÒà ºÍ¹ä´ÍÍ¡ä«´ àËÁ×͹¡Ñº¾×ªËÃ×ÍäÁ‹ à¾ÃÒÐÍÐääÃѺ

7

ขอสอบเนน การคิด แนว NT

เพราะเหตุใด เราจึงไมควรปลูกตนไมไวในหองนอน

แนวตอบ ทั้งคนและพืชตางก็ตองการแกสออกซิเจนสําหรับใชหายใจ ซึ่งในเวลากลางคืนพืชจะมีการหายใจมากกวาในเวลากลางวัน โดยพืชจะ ดูดเอาแกสออกซิเจนเขาไปและคายแกสคารบอนไดออกไซดออกมา ทําให เรารูสึกอึดอัด หายใจไมสะดวก และสงผลเสียตอรางกายของเราได

นักเรียนควรรู 1 แกสคารบอนไดออกไซด เปนของเสียที่ออกมากับลมหายใจออกของคนและ สัตวตางๆ และแกสชนิดนี้ยังเปนแกสเรือนกระจกที่กักเก็บความรอนไวไมใหทะลุ ออกจากชั้นบรรยากาศได ทําใหอุณหภูมิพื้นผิวโลกสูงขึ้น ซึ่งเปนสาเหตุหนึ่งของ ภาวะโลกรอน 2 คลอโรฟลล เปนสารประกอบที่พบไดในสวนที่มีสีเขียวของพืช โดยพบมากที่ใบ คลอโรฟลลจะทําหนาที่เปนตัวรับแสงเพื่อนําไปใชในกกระบวนการสังคราะหแสง ซึ่งเปนกระบวนการสรางอาหารของพืช ทําใหพืชสามาถสรางอาหารเองได

คู่มือครู

7


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

อธิบายความรู้

Engage

Explore

Explain

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Expand าใจ ขยายความเข้

Evaluate ตรวจสอบผล

Expand

1. ใหนักเรียนทํากิจกรรมพัฒนาการเรียนรู ขอ 1 - 2 หนา 8 โดยทําลงในสมุด 2. ใหนักเรียนเขียนแผนผังความคิดแสดงปจจัย ที่จําเปนในการดํารงชีวิตของพืช พรอมกับ ตกแตงใหสวยงาม

ตรวจสอบผล

ขยายความเข้าใจ

กิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ที่ ๑

๑. ดูภำพ และตอบค�ำถำม

Evaluate

1. ครูตรวจสอบผลการทํากิจกรรมพัฒนาการ เรียนรู โดยพิจารณาจากการเขียนอธิบายวา มีความถูกตองชัดเจนหรือไม 2. ครูประเมินการเขียนแผนผังความคิด แสดงปจจัยที่จําเปนในการดํารงชีวิตของพืช โดยพิจารณาจากความถูกตองสมบูรณของ ขอมูล การจัดลําดับขอมูลที่ชัดเจน และความ ตั้งใจในการทํางาน

กระถำงที่ ๑

กระถำงที่ ๒

๑) จ�กภ�พ ต้นไม้ในกระถ�งที่ ๑ และกระถ�งที่ ๒ มีก�รเจริญเติบโต แตกต่�งกัน น่�จะม�จ�กส�เหตุใดบ้�ง ๒) นักเรียนคิดว่� ถ้�จะต้องดูแลต้นไม้ในกระถ�งที่ ๒ ให้เจริญเติบโต แข็งแรง จะต้องทำ�อย่�งไรบ้�ง ๒. ดูภำพ และบอกว่ำพืชได้รับปจจัยใดในกำรด�ำรงชีวิต และปจจจัยนั้นมี ประโยชน์อย่ำงไรต่อพืช

ภำพที่ ๑

ภำพที่ ๒

ภำพที่ ๓

8

เกร็ดแนะครู ครูใหนักเรียนชวยกันบอกวา ถาพืชขาดปจจัยใดปจจัยหนึ่ง จะสงผลตอ การดํารงชีวิตของพืชอยางไร โดยนําความรูที่ไดจากการเรียนมาประกอบคําอธิบาย

บูรณาการอาเซียน ครูอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียนเขาใจวา ในแตละประเทศสมาชิกอาเซียน ทั้ง 10 ประเทศ มีดอกไมประจําชาติ ดังนี้ 1. บรูไนดารุสซาลาม : ดอกสานชะวา 2. กัมพูชา : ดอกลําดวน 3. อินโดนีเซีย : ดอกกลวยไมราตรี 4. ลาว : ดอกจําปาลาว 5. มาเลเซีย : ดอกพูระหง 6. ฟลิปปนส : ดอกพุดแกว 7. สิงคโปร : ดอกกลวยไมแวนดา 8. ไทย : ดอกราชพฤกษ 9. เวียดนาม : ดอกบัว 10. พมา : ดอกประดู

8

คู่มือครู

กิจกรรมทาทาย ใหนักเรียนวางแผนดูแลตนไม โดยเขียนอธิบายแผนงานการดูแลตนไม ของตนเองวาตองทําอะไรบาง และทําอยางไร พรอมกับวาดภาพประกอบ จากนั้นผลัดกันนําเสนอผลงาน


กระตุน้ ความสนใจ

ส�ารวจค้นหา ส�ารวจค้ Exploreนหา

อธิบายความรู้

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Engage

Explore

Explain

Expand

Evaluate

กระตุEngage ้นความสนใจ

กระตุน้ ความสนใจ

๒ ปจจัยที่จ�ำเป็นต่อกำรด�ำรงชีวิตของสัตว์ นักเรียนได้เรียนรู้ไปแล้วว่� พืชต้องก�รสิ่งใดในก�รดำ�รง ชีวติ และก�รเจริญเติบโต นักเรียนคิดว่� สัตว์ตอ้ งก�รปัจจัยในก�ร ดำ�รงชีวิตและก�รเจริญเติบโตเหมือนกับพืชหรือไม่ ลองศึกษ� จ�กกิจกรรมต่อไปนี้ กิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ที่ ๒

Engage

1. ครูสนทนากับนักเรียนวา ใครชอบสัตวชนิดใด บาง จากนั้นใหนักเรียนผลัดกันเลาวาตนเอง อยากเลี้ยงสัตวชนิดใด เพราะอะไร 2. ใหนักเรียนที่มีสัตวเลี้ยงออกมาเลาวา มีวิธีดูแลสัตวเลี้ยงของตนอยางไรบาง 3. ครูตั้งประเด็นคําถามใหนักเรียนรวมกัน อภิปรายวา สัตวตองการปจจัยใดในการดํารง ชีวิตบาง

ส�ารวจค้นหา

อ่ำนเรื่องที่ก�ำหนด แล้วตอบค�ำถำม 1 ด.ช. ก้อนเมฆ อย�กเลี้ยงหนูจิงโจ้ หลังจ�กที่เข�ได้ศึกษ�ข้อมูลเกี่ยวกับ หนูจิงโจ้จนเข้�ใจดีแล้ว เข�จึงไปขออนุญ�ตพ่อแม่เพื่อขอเลี้ยงหนูจิงโจ้ โดย รับป�กกับพ่อแม่ว่�จะดูแลมันอย่�งดี พ่อแม่จึงอนุญ�ตและพ�ก้อนเมฆไป ซื้อหนูจิงโจ้ที่ตล�ดนัดสวนจตุจักร เมื่อกลับม�บ้�น เข�ได้จัดที่อ2ยู่อ�ศัยให้ หนูจิงโจ้ต�มคำ�แนะนำ�ของคนข�ย และให้หนูจิงโจ้กินเมล็ดธัญพืช ผลไม้สด และอ�ห�รสำ�เร็จรูปสลับกัน รวมทั้งจัดนำ้�สะอ�ดใส่ถ�ดไว้ด้วย หลังจ�กผ่�นไป ๓ สัปด�ห์ นำ้�ในถ�ดเริ่มแห้ง แต่ก้อนเมฆไม่ได้สังเกต เพร�ะรีบออกไปเล่นกับเพื่อน เมื่อกลับเข้�บ้�นตอนเย็น ก้อนเมฆจึงเอ� อ�ห�รม�ให้หนูจิงโจ้ แต่ว่�อ�ห�รหมด เข�จึงนำ�อ�ห�รสำ�เร็จรูปของสุนัข ม�ให้แทน หลังจ�กนั้นอีก ๒ วัน เข�จึงพบว่�หนูจิงโจ้ของเข�ต�ยแล้ว ๑. หนูจิงโจ้กินอะไรเป็นอ�ห�ร ๒. หนูจิงโจ้ต้องกินนำ้�หรือไม่ เพร�ะอะไร ๓. นักเรียนคิดว่� หนูจิงโจ้ต�ยเพร�ะอะไร ๔. หนูจิงโจ้ต้องก�รอะไรบ้�งในก�รดำ�รงชีวิต ๕. ห�กนักเรียนเป็น ด.ช. ก้อนเมฆ จะมีวิธีก�รเลี้ยงหนูจิงโจ้อย่�งไร

Explore

1. ใหนักเรียนแบงกลุม ใหแตละกลุมอานขอมูล จากกิจกรรมพัฒนาการเรียนรูที่ 2 หนา 9 แลวตอบคําถามจากกิจกรรม 2. ใหแตละกลุมสงตัวแทนออกมารายงานผล การทํากิจกรรมนี้วา ไดขอสรุปวาอยางไร 3. ใหแตละกลุมอานขอมูล หนา 10 - 11

9

ขอสอบเนน การคิด แนว NT

หากนักเรียนเลี้ยงกระตาย นักเรียนจะใหอะไรเปนอาหาร 1. ไกยาง 2. แครอต 3. เนื้อปลา 4. ขาวเปลือก

วิเคราะหคําตอบ กระตายเปนสัตวที่กินพืชเปนอาหาร เชน หญาสด ถั่วเหลือง ถั่วลิสง ผักบุง ผักโขม หัวผักกาด กะหลํ่าปลี แครอต เปนตน

นักเรียนควรรู 1 หนูจิงโจ หรือเจอรบัว เปนสัตวที่อาศัยอยูในแถบเขตรอน พบมากในแถบ ทะเลทรายทิเบต จีน และแอฟริกาใต มีขาหลังยาวและหางยาว ปลายหางมีขน เปนพู เคลื่อนไหวโดยการกระโดดสั้นๆ เหมือนกับจิงโจ 2 ธัญพืช คือ พืชจําพวกหญาที่เพาะปลูกเพื่อเก็บเกี่ยวเมล็ด ไดแก ขาวประเภทตางๆ เชน ขาวโพด ขาวเจา ขาวสาลี ขาวโอต เปนตน

ดังนั้น ขอ 2. จึงเปนคําตอบที่ถูกตอง

คู่มือครู

9


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

Engage

Explore

อธิบายความรู้

อธิบายความรู้ อธิบExplain ายความรู้

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

Explain

ครูถามคําถามวา • อาหารมีความสําคัญตอการดํารงชีวิตของ สัตวอยางไร (ตอบ ทําใหสัตวเจริญเติบโต และสามารถ ดํารงชีวิตอยูได) • ถาสัตวไมไดกินอาหารนานๆ จะเปนอยางไร (ตอบ สัตวจะคอยๆ ตายไปในที่สุด) • สัตวแตละชนิดกินอาหารแตกตางกันหรือไม อยางไร (ตอบ แตกตางกัน ขึ้นอยูกับชนิดของสัตว สัตวบางชนิดกินพืช สัตวบางชนิดกินสัตวอื่น และสัตวบางชนิดกินทั้งพืชและสัตว)

จ�กก�รทำ�กิจกรรม ทำ�ให้ทร�บว่� สัตว์ต้องก�รอ�ห�ร นำ้� และอ�ก�ศ ในก�รดำ�รงชีวิตเช่นเดียวกับพืช »˜¨¨ÑÂàËÅ‹Ò¹ÕéÁÕ¤ÇÒÁÊíÒ¤ÑÞµ‹Í¡Òà ´íÒçªÕÇÔµ¢Í§ÊÑµÇ Í‹ҧäà ÈÖ¡ÉÒä´Œ¨Ò¡ ¢ŒÍÁÙŵ‹Í仹Õé

ปัจจัยสำ�คัญทีจ่ �ำ เป็นในก�รดำ�รงชีวติ ของสัตว์มี ๓ ประก�ร คือ ๑. อำหำร สัตว์ต่�งๆ ต้องกินอ�ห�รเพื่อให้ร่�งก�ยเจริญเติบโตและ ดำ�รงชีวิตอยู่ได้ สัตว์แต่ละชนิดจะกินอ�ห�รแตกต่�งกัน สัตว์ บ�งชนิดกินพืชเป็นอ�ห�ร สัตว์บ�งชนิดกินสัตว์ด้วยกันเองเป็น อ�ห�ร และสัตว์บ�งชนิดก็กินทั้งพืชและสัตว์อื่นเป็นอ�ห�ร ถ้� สัตว์ต่�งๆ ไม่ได้กินอ�ห�รเป็นเวล�น�น มันก็จะต�ยในที่สุด

สัตว์แต่ละชนิดกินอ�ห�รแตกต่�งกันต�มธรรมช�ติ เพื่อให้ส�ม�รถดำ�รงชีวิตอยู่ได้

10

บูรณาการอาเซียน ครูอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียนเขาใจวา ประเทศไทยเรงขยายการลงทุนโรงงาน ผลิตอาหารสัตว ฟารมและโรงงานผลิตอาหารแปรรูปในประเทศเพื่อนบาน เชน เวียดนาม กัมพูชา ลาว พมา เปนตน และพบวา ลาวและกัมพูชามีนกั ลงทุนตางชาติ เขาไปลงทุนมากในชวงนี้ เนื่องจากการเมืองมีความมั่นคงและมีวัถตุดิบมาก จึงเปน โอกาสของคนไทยที่จะเขาไปลงทุนเชนกัน เพื่อรองรับการเปนประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียน (AEC) ในป 2558

10

ขอสอบเนน การคิด แนว NT

ตารางแสดงอาหารสัตว 4 ชนิด เปนดังนี้ อาหารที่สัตวกิน ชนิดของสัตว พืช สัตว ทั้งพืชและสัตว ✓ ชนิดที่ 1 ✓ ชนิดที่ 2 ✓ ชนิดที่ 3 ✓ ชนิดที่ 4 จากขอมูล หากจําแนกสัตวโดยใชการกินอาหารเปนเกณฑ ไกควรอยูใน กลุมเดียวกับสัตวชนิดใด 1. ชนิดที่ 1 2. ชนิดที่ 2 3. ชนิดที่ 3 4. ชนิดที่ 4 วิเคราะหคําตอบ อาหารของไก เชน หนอน แมลง ไสเดือน ขาวเปลือก ขาวสาร เปนตน ไกจึงเปนสัตวที่กินทั้งพืชและสัตวเปนอาหาร ดังนั้น

คู่มือครู

ขอ 4. จึงเปนคําตอบที่ถูกตอง


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

Engage

Explore

อธิบายความรู้ อธิบExplain ายความรู้

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

อธิบายความรู้

๒. น�้ำ สัตว์ทกุ ชนิดต้องก�รนำ�้ ในก�รดำ�รงชีวิต สัตว์ต้องกิน นำ�้ เพือ่ ให้ร�่ งก�ยทำ�ง�นได้ต�ม ปกติ เพร�ะนำ�้ เป็นส่วนประกอบ สัตว์ต่�งๆ ที่อยู่ต�มธรรมช�ติ จะอ�ศัยแหล่งนำ้�ต�ม สำ�คัญของร่�งก�ย ถ้�ข�ดนำ้� ธรรมช�ติ ในก�รดำ�รงชีวิต เป็นเวล�น�นๆ สัตว์กจ็ ะต�ย ๓. อำกำศ สัตว์ทกุ ชนิดต้องก�รอ�ก�ศในก�รห�ยใจ เพือ่ ให้ด�ำ รงชีวติ อยู่ได้ เพร�ะแก๊สออกซิเจนที่มีอยู่ ในอ�ก�ศมีคว�มจำ�เป็นต่อ ร่�งก�ยของสัตว์ ทำ�ให้ร่�งก�ยทำ�ง�นได้ต�มปกติ ถ้�สัตว์ไม่มี อ�ก�ศห�ยใจ สัตว์ก็จะต�ย ▲

Explain

1. ครูถามนักเรียนวา • นํ้ามีความสําคัญตอการดํารงชีวิตของสัตว อยางไร (ตอบ นํ้าชวยควบคุมอุณหภูมิในรางกาย และทําใหรางกายของสัตวทํางานได ตามปกติ) • สิ่งใดในอากาศที่สัตวตองใชในการหายใจ (ตอบ แกสออกซิเจน) • สัตวตองการแกสคารบอนไดออกไซด เชนเดียวกับพืชหรือไม เพราะอะไร (ตอบ ไมตองการ เพราะพืชตองการ แกสคารบอนไดออกไซดในการสรางอาหาร แตสัตวไมสามารถสรางอาหารไดเอง จึงไมตองการแกสชนิดนี้) 2. ใหนักเรียนรวมกันอภิปรายจนสรุปไดวา ปจจัยสําคัญในการดํารงชีวิตของสัตว ไดแก อาหาร นํ้า และอากาศ

1

ฮิปโปแม้ส�ม�รถดำ�นำ้�ได้น�น แต่ก็ต้องขึ้นม�ห�ยใจบนผิวนำ้�

11

กิจกรรมทาทาย ครูใหนักเรียนยกตัวอยางชื่อสัตวที่ตนเองรูจักใหไดมากที่สุด แลวจําแนก สัตวตามอาหารที่สัตวกินลงในแผนภาพ ดังนี้ สัตวที่กินพืช

สัตวที่กิน สัตวอื่น

นักเรียนควรรู 1 ฮิปโป หรือฮิปโปโปเตมัส เปนสัตวเลี้ยงลูกดวยนํ้านมชนิดหนึ่ง มีถิ่นกําเนิด ในทวีปแอฟริกา เชน ประเทศเคนยา อูกันดา เซเนกัล เปนตน ฮิปโป มีลักษณะรูปรางกลมใหญ เทอะทะ มีปากกวางมาก มีเขี้ยวยาวโคง ซึ่งเปนอาวุธสําคัญ กินหญา พืชนํ้า ใบไม และพืชตางๆ เปนอาหาร เด็กๆ สามารถไปดูฮิปโปไดที่สวนสัตว เชน สวนสัตวดุสิต (เขาดิน) อยูที่ กรุงเทพฯ สวนสัตวเปดเขาเขียว อยูที่ จ.ชลบุรี เปนตน

สัตวที่กิน ทั้งพืชและสัตวอื่น

คู่มือครู

11


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ

ขยายความเขาใจ Expand าใจ ขยายความเข

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Expand

1. ใหนักเรียนจัดทําบัตรภาพสัตวที่ชอบคนละ 1 ใบ โดยศึกษารายละเอียดจากกิจกรรม รวบยอด ตอนที่ 2 หนา 13 2. ใหนักเรียนเขียนแผนผังความคิดแสดงปจจัย ที่จําเปนในการดํารงชีวิตของสัตว พรอมกับ ตกแตงใหสวยงาม 3. ใหนักเรียนรวมกันคัดเลือกผลงานแผนผัง ความคิดแสดงปจจัยที่จําเปนในการดํารงชีวิต ของพืชและของสัตว จากผลงานที่นักเรียนทํา จากนั้นนํามาติดบนกระดาน และรวมกัน เปรียบเทียบวา พืชและสัตวตองการปจจัย ในการดํารงชีวิตแตกตางกันหรือไม อยางไร 4. ใหนักเรียนตอบคําถามจากกิจกรรมรวบยอด ตอนที่ 3 หนา 13 ลงในสมุด

กิจกรรมรวบยอด

ตอนที่ ๑ แนวคิดส�ำคัญ ช่วยกันสรุป ครู ให้นักเรียนช่วยกันพูดสรุปปัจจัยที่จำ�เป็นในก�รดำ�รงชีวิต และก�ร เจริญเติบโตของพืชและสัตว์ ตอนที่ ๒ ลองท�ำดู หนูท�ำได้ ๑. วำงแผนดูแลต้นไม้ ถ้�นักเรียนปลูกต้นไม้แล้วต้นไม้ไม่แข็งแรง นักเรียนจะทำ�อย่�งไรเพื่อ ให้ต้นไม้ของตนเองเจริญเติบโต จ�กสถ�นก�รณ์ที่กำ�หนด ให้นักเรียนปฏิบัติกิจกรรม ดังนี้ ๑) เขียนแผนง�นอธิบ�ยว่� ตนเองจะทำ�อะไรบ้�ง ๒) ว�ดภ�พประกอบต�มแผนง�นที่ว�งไว้ ๓) นำ�เสนอผลง�นให้เพื่อนๆ ดู และสื่อส�รสิ่งที่ได้เรียนรู้ให้เพื่อนฟัง µÑÇÍ‹ҧ¼Å§Ò¹ ¢Í§Ë¹Ù¤‹Ð

1

©Ñ¹¨Ðô¹íéÒµŒ¹äÁŒ·Ø¡Çѹ áÅШÐãÊ‹»Ø‰Â¤Í¡à¾×èͪ‹Ç ºíÒÃا´Ô¹

12

เกร็ดแนะครู ครูอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียนฟงวา ทั้งพืชและสัตวเปนสิ่งมีชีวิตที่ตองการ ปจจัยตางๆ ในการดํารงชีวิตที่คลายกัน แตพืชเปนสิ่งมีชีวิตที่สรางอาหารเองได จากกระบวนการสังเคราะหดวยแสง พืชจึงตองการแสงแดดเพื่อนํามาใชในการ สรางอาหาร ซึ่งเปนอีกปจจัยหนึ่งที่จําเปนตอการดํารงชีวิตของพืช

นักเรียนควรรู 1 ปุยคอก เปนปุยอินทรียชนิดหนึ่งที่ไดมาจากมูลสัตวและสิ่งขับถายจากสัตว เชน โค กระบือ เปด ไก แกะ แพะ หมู คางคาว เปนตน เมื่อนํามูลจากสัตวตางๆ เหลานี้มาผานกระบวนการหมัก จะไดปุยคอกที่สามารถนํามาใชในพื้นที่เพาะปลูก ทางการเกษตรไดเปนอยางดี เพราะในปุยคอกจะมีธาตุอาหารที่จําเปนตอการเจริญ เติบโตของพืช และยังชวยปรับปรุงโครงสรางของดินใหเหมาะสมตอการเจริญเติบโต ของพืชดวย

12

คูมือครู

ขอสอบเนน การคิด แนว NT

ขอใดกลาวไมถูกตอง 1. ถาสัตวขาดนํ้าจะตาย 2. ถาสัตวขาดอากาศในเวลาสั้นๆ สัตวจะตาย 3. ถาสัตวขาดอาหารเปนเวลานานๆ สัตวจะตาย 4. สัตวอยูไดโดยไมตองมีอาหาร นํ้า และอากาศ ประมาณ 2 - 3 ชั่วโมง วิเคราะหคําตอบ อาหาร นํ้า และอากาศ เปนปจจัยสําคัญในการดํารง ชีวิตของสัตว สัตวสามารถอดอาหารและนํ้าไดในเวลาเปนวันๆ แตหาก ขาดอากาศในเวลาไมกี่นาทีสัตวจะตาย ดังนั้น ขอ 4. จึงเปนคําตอบ

ที่ถูกตอง


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

อธิบายความรู้

ขยายความเข้าใจ

Engage

Explore

Explain

Expand

ตรวจสอบผล Evaluate ตรวจสอบผล Evaluate

ตรวจสอบผล

ควำมรู้เสริมพิเศษ

๒. จัดท�ำบัตรภำพสัตว์ที่ชอบมำกที่สุดคนละ ๑ ใบ โดยปฏิบัติ ดังนี้ ๑) สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับลักษณะรูปร่�ง และอ�ห�รของสัตว์ ๒) นำ�กระด�ษว�ดเขียนม�ตัดให้มีขน�ดกว้�ง ๘ เซนติเมตร ย�ว ๑๕ เซนติเมตร ๓) ว�ดภ�พหรือติดภ�พสัตว์ลงในกระด�ษ และบันทึกข้อมูล ๔) ตกแต่งบัตรภ�พให้สวยง�ม จ�กนัน้ ผลัดกันนำ�เสนอผลง�น และเก็บ รวบรวมไว้เป็นแหล่งก�รเรียนรู้ของห้อง ตัวอย่ำงผลงำน

ชื่อสัตว์ : àÊ×Íâ¤Ã‹§ ลักษณะรูปร่ำง : ÁÕÊÕèà·ŒÒ ÅíÒµÑÇÁÕÊÕ àËÅ×ͧÊÅѺÅÒÂÊÕ´íÒ à·ŒÒÁաçàÅçº áËÅÁ¤Á㪌㹡ÒõлºàËÂ×èÍ อำหำร : ÊÑµÇ 1¢¹Ò´àÅç¡ àª‹¹ ¡ÇÒ§ ËÁÙ»†Ò ¡ÃШ§ ÊÁàÊÃç¨ à¡Œ§ จัดเป็นสัตว์ประเภท : ¡Ô¹ÊÑµÇ Í×è¹

Evaluate

1. ครูตรวจสอบผลงานบัตรภาพ โดยพิจารณา จากความถูกตองของขอมูล และความตั้งใจ ในการทํางาน 2. ครูตรวจสอบการเขียนแผนผังความคิด โดยพิจารณาจากความถูกตองของขอมูล การจัดลําดับขอมูล และความตั้งใจใน การทํางาน 3. ใหนักเรียนรวมกันเฉลยคําตอบของกิจกรรม รวบยอด ตอนที่ 3 โดยครูพิจารณาความ ถูกตอง

หลักฐานแสดงผลการเรียนรู 1. ใบบันทึกผลการทํากิจกรรมหนูนอยนักทดลอง 2. แผนผังความคิดแสดงปจจัยที่สําคัญในการ ดํารงชีวิตของพืช 3. บัตรภาพสัตว 4. แผนผังความคิดแสดงปจจัยที่จําเปนตอการ ดํารงชีวิตของสัตว

ควำมรู้เสริมพิเศษ

ตอนที่ ๓ ฝึกคิด พิชิตค�ำถำม เขียนตอบค�ำถำมต่อไปนี้ลงในสมุด ๑) เร�ปลูกพืชไว้ในบริเวณที่มีแสงแดดส่องถึงเพื่ออะไร ๒) อ�ห�รของพืชคืออะไร และพืชได้อ�ห�รเหล่�นี้ม�จ�กไหน ๓) แก๊สที่พืชและสัตว์ใช้ในก�รห�ยใจ เป็นแก๊สชนิดใด ๔) อ�ห�รที่สัตว์แต่ละชนิดกินเหมือนกันหรือไม่ อย่�งไร ๕) สิง่ จำ�เป็นในก�รดำ�รงชีวติ และก�รเจริญเติบโตของพืชและสัตว์ได้แก่ อะไรบ้�ง 13

ขอสอบเนน การคิด แนว NT

สัตวตองการอากาศในการดํารงชีวิต คําวา อากาศ ในที่ีนี้หมายถึงขอใด 1. แกสหุงตม 2. แกสออกซิเจน 3. แกสไนโตรเจน 4. แกสคารบอนไดออกไซด

วิเคราะหคําตอบ อากาศที่สัตวตองการใชในการหายใจเพื่อการดํารงชีวิต คือ แกสออกซิเจน ซึ่งเปนแกสชนิดหนึ่งที่เปนสวนประกอบของอากาศ และ แกสออกซิเจนนี้ พืชสรางขึ้นจากกระบวนการสรางอาหาร ดังนั้น ขอ 2.

จึงเปนคําตอบที่ถูกตอง

เกร็ดแนะครู ครูทบทวนความรูใหกับนักเรียน โดยถามถึงปจจัยที่จําเปนในการดํารงชีวิต ของพืชและสัตววามีอะไรบาง แลวมนุษยเราตองการปจจัยใดในการดํารงชีวิตบาง เหมือนกับพืชและสัตวหรือไม เพื่อใหนักเรียนมีทักษะการคิดและสามารถเชื่อมโยง ขอมูลความรูได

นักเรียนควรรู 1 กระจง เปนสัตวเคี้ยวเอื้องขนาดเล็ก มีรูปรางหนาตาคลายกวาง แตไมมีเขา หัวเล็ก หนาแหลม ดวงตากลมโต หูเล็ก ขายาวเรียวและเล็ก กระจงถือไดวาเปน สัตวกีบที่ีขนาดเล็กที่สุดในโลก มีพฤติกรรมหากินตามลําพังในบริเวณปารกชัฏ เนื่องจากกระจงไมมีอาวุธใดๆ ปองกันตัว มันจึงตกเปนเหยื่อของสัตวอื่นไดงาย

คู่มือครู

13


กระตุน้ ความสนใจ กระตุEngage ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

อธิบายความรู้

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Engage

Explore

Explain

Expand

Evaluate

เปาหมายการเรียนรู

สํารวจและอธิบายพืชและสัตวสามารถ ตอบสนองตอแสง อุณหภูมิ และการสัมผัส (ว 1.1 ป.2/3)

º··Õè

ò

สมรรถนะของผูเรียน

แนวคิดสําคัญ

1. ความสามารถในการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคิด

พืชและสัตว์เป็นสิ่งมีชีวิตจึงมีก�รตอบสนองต่อสิ่งต่�งๆ เช่น แสง อุณหภูมิ ก�รสัมผัส เป็นต้น ก�รแสดงพฤติกรรมที่ตอบสนองสิ่งต่�งๆ ของพืชและสัตว์อ�จคล้�ยคลึงกันหรือแตกต่�งกัน

คุณลักษณะอันพึงประสงค

กิจกรรมนําสูการเรียน

1. ใฝเรียนรู 2. มุงมั่นในการทํางาน

กระตุน้ ความสนใจ

¡Òõͺʹͧµ‹ÍÊÔè§àÌҢͧ¾×ªáÅÐÊѵÇ

Engage

1. ครูทบทวนลักษณะสําคัญของสิ่งมีชีวิต โดยให นักเรียนชวยกันบอกวามีอะไรบาง 2. ใหนักเรียนดูภาพ หนา 14 แลวใหนักเรียน รวมกันอภิปรายวา การที่ตนพืชเอนลําตน ไปทางดานซาย และปลาปกเปาพองตัว ตรงกับลักษณะใดของสิ่งมีชีวิต 3. ครูเชื่อมโยงใหนักเรียนเขาใจวา ในบทเรียนนี้ จะไดเรียนเกี่ยวกับลักษณะสําคัญของสิ่งมีชีวิต นั่นคือ การตอบสนองตอสิ่งเราของพืชและสัตว

ภ�พที่ ๑

ภ�พที่ ๒

๑. เพร�ะเหตุใดต้นพืชในภ�พที่ ๑ จึงเอนไปท�งด้�นซ้�ย ๒. นักเรียนคิดว่� ทำ�ไมปล�ปักเป้�ในภ�พที่ ๒ จึงพองตัว 14

เกร็ดแนะครู ครูจัดกระบวนการเรียนรูโดยใหนักเรียนปฏิบัติ ดังนี้ • ทดลองเกี่ยวกับการตอบสนองตอสิ่งเราของพืชและสัตว • อภิปรายและสรุปผลการทดลอง • สํารวจ สังเกตการตอบสนองตอสิ่งเราของพืชและสัตว • สืบคนขอมูลการตอบสนองตอสิ่งเราของพืชและสัตว จนเกิดเปนความรูความเขาใจวา พืชและสัตวมีการตอบสนองตอสิ่งเราตางๆ ได

14

คู่มือครู


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา ส�ารวจค้ Exploreนหา

อธิบายความรู้

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Explore

Explain

Expand

Evaluate

Engage

ส�ารวจค้นหา

๑ กำรตอบสนองต่อสิ่งเร้ำของพืช พืชเป็นสิ่งมีชีวิตจึงมีก�รตอบสนองต่อสิ่งต่�งๆ เพื่อให้ ส�ม�รถดำ�รงชีวิตอยู่ได้ พืชแต่ละชนิดมีก�รตอบสนองต่อสิ่ง ต่�งๆ ไม่เหมือนกัน สิง่ ต่�งๆ ทีม่ ผี ลต่อก�รเปลี ย่ นแปลงแปลงพฤติกรรมของคน 1 สัตว์ และพืช เรียกว่� สิ่งเร้ำ ¾×ªÁÕ¡Òõͺʹͧµ‹ÍÊÔè§àÃŒÒÍ‹ҧäúŒÒ§ ÅͧÁÒÈÖ¡ÉÒ¨Ò¡¡Ò÷íÒ¡Ô¨¡ÃÃÁµ‹Í仹Õé

กิจกรรมหนูน้อยนักทดลอง กิจกรรมที่ ๑ การตอบสนองตอแสงของพืช

ปญหำ อุปกรณ์ วิธีท�ำ

พืชมีก�รตอบสนองต่อแสงอย่�งไร ๑. ต้นไม้ขน�ดเล็กที่มีขน�ดเท่�ๆ กัน ๒ ต้น ๒. กล่องกระด�ษขน�ดใหญ่ ๑ ใบ ๑. ให้แต่ละกลุ่มสังเกตลักษณะของต้นไม้ที่นำ�ม� แล้วบันทึกผล ๒. ติดป้�ยชื่อกระถ�งที่ ๑ และกระถ�งที่ ๒ ๓. เจ�ะด้�นขว�ของกล่องเป็นช่องสี่เหลี่ยมให้แสงส่องเข้�ม�ได้ ๔. ตัง้ ต้นไม้ทงั้ ๒ ต้น ในบริเวณทีม่ แี สงแดดส่องถึง จ�กนัน้ นำ�กล่องครอบ ต้นไม้กระถ�งที่ ๑ ไว้ โดยให้กระถ�งอยูช่ ดิ ท�งด้�นซ้�ยของกล่อง ส่วน กระถ�งที่ ๒ ให้ตั้งไว้ด้�นนอกกล่อง

Explore

1. ครูยกตัวอยางการตอบสนองตอสิ่งเราของพืช เชน • การเอนเขาหาแสงของตนพืช • การหุบใบของตนไมยราบ • การผลัดใบของตนไมบางชนิดเมื​ื่อถึง ฤดูหนาว แลวใหนักเรียนรวมกันอภิปรายวา สิ่งใดเปน สิ่งที่กระตุนหรือทําใหพืชมีการตอบสนอง เชนนั้น 2. ใหนักเรียนอานขอมูลหนา 15 แลวใหชวยกัน บอกวาสิ่งที่มีผลทําใหพืชและสัตวมีการ ตอบสนองเรียกวาอะไร 3. ใหนักเรียนทํากิจกรรมที่ 1 เพื่อศึกษา การตอบสนองตอแสงของพืช โดยใหนักเรียน ปฏิบัติ ดังนี้ 1) ศึกษาขั้นตอนการทํากิจกรรมที่ 1 หนา 15 - 16 โดยครูชวยแนะนําหากนักเรียน มีขอสงสัย 2) ใหแตละกลุมกําหนดปญหาเกี่ยวกับการ ทดลอง และตั้งสมมติฐานหรือหาคําตอบ ที่เปนไปได 3) ใหกําหนดตัวแปรตน ตัวแปรตาม และ ตัวแปรควบคุม ในการทดลองนี้ 4) ทําการทดลองเพื่อตรวจสอบสมมติฐาน 5) บันทึกผลการทดลอง และรวมกันอภิปราย เพื่อสรุปผล

15

ขอสอบเนน การคิด แนว NT

ถานํากลองทึบที่เจาะชองใหแสงเขาไดทั้ง 4 ดาน มาครอบตนพืช กับนํากลองทึบที่เจาะชองใหแสงเขาไดเพียงดานเดียวมาครอบตนพืช ผลการทดลองจะแตกตางกันหรือไม เพราะอะไร

แนวตอบ แตกตางกัน เพราะปริมาณแสงและทิศทางของแสงที่พืชไดรับ ตางกัน จึงทําใหการชูลําตนของพืชตางกัน ตนพืชที่ไดรับแสงทั้ง 4 ดาน จะชูลําตนตั้งตรง เนื่องจากไดรับแสงอยางเพียงพอ สวนพืชที่ไดรับแสง ทางชองที่เจาะไวดานเดียว จะเอนลําตนเขาหาดานที่มีแสง เพื่อใหไดรับ แสงสวางอยางเพียงพอ

เกร็ดแนะครู การทํากิจกรรมที่ 1 ในขั้นสํารวจคนหา ครูควรเตรียมลวงหนาโดยใหนักเรียน เริ่มทําการทดลองลวงหนากอนเรียนประมาณ 10 วัน เพื่อสามารถนําผลการทดลอง มารวมกันอภิปรายและสรุปผล เมื่อถึงเวลาเรียนเรื่องนี้ ในการเลือกตนไมมาใชในการทดลอง ควรใชตนไมชนิดเดียวกัน และมีขนาด เทาๆ กัน เพื่อจะไดเปรียบเทียบผลการทดลองไดชัดเจน

นักเรียนควรรู 1 สิ่งเรา คือ สิ่งที่มากระตุนใหเกิดการตอบสนองและมีผลตอการเปลี่ยนแปลง พฤติกรรมตางๆ ของสิ่งมีชีวิต เชน การสัมผัส แสง เสียง อุณหภูมิ ความชื้น เปนตน เพื่อชวยใหสิ่งมีชีวิตสามารถดํารงชีวิตอยูในสภาพแวดลอมนั้นๆ ได

คู่มือครู

15


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

Engage

Explore

อธิบายความรู้

อธิบายความรู้ อธิบExplain ายความรู้

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

Explain

1. ใหตัวแทนแตละกลุมออกมารายงานผลการ ทดลอง 2. ใหนักเรียนรวมกันอภิปรายผลการทดลอง จนสรุปไดวา พืชมีการตอบสนองตอแสง โดยเอนยอดและลําตนเขาหาบริเวณที่ แสงสองถึง 3. ครูถามนักเรียนวา • เพราะเหตุใด พืชจึงตอบสนองตอแสง โดยการเอนยอดและลําตนเขาหาบริเวณ ที่มีแสงสองถึง (แนวตอบ เพราะพืชตองการแสงเพื่อใชในการ สรางอาหาร)

วิธีท�ำ (ต่อ) ๕. ดูแลรดนำ้�ต้นไม้ทั้ง ๒ กระถ�ง เป็นเวล� ๒-๓ สัปด�ห์ ๖. เมื่อครบกำ�หนด ให้สังเกตลำ�ต้นของต้นไม้ทั้ง ๒ กระถ�ง เปรียบเทียบกัน และบันทึกผล ๗. แต่ละกลุ่มนำ�ผลก�รทดลองม�อภิปร�ยร่วมกัน และสรุปผล ตัวอย่ำงตำรำงบันทึกผล ผลกำรสังเกต ลักษณะล�ำต้นก่อนกำรทดลอง ลักษณะล�ำต้นหลังกำรทดลอง

กำรทดลอง กระถ�งใบที่ ๑ ครอบไว้ในกล่องทึบที่เจ�ะช่องด้�นข้�ง ●

กระถ�งใบที่ ๒ ตั้งอยู่นอกกล่อง

จ�กก�รทำ�กิจกรรมที่ ๑ นักเรียนจะเห็นว่� ยอดและลำ�ต้น ของต้นพืชที่ถูกกล่องทึบครอบเอ�ไว้ จะเบนเข้�ห�ช่องที่เจ�ะ ไว้ท�งด้�นขว�ของกล่อง ซึ่งเป็นท�งที่แสงผ่�นเข้�ม� แสดงว่� พืชมีก�รตอบสนองต่อแสง กิจกรรมหนูน้อยนักทดลอง กิจกรรมที่ ๒ การตอบสนองตอสัมผัสของพืช

ปญหำ อุปกรณ์

พืชมีก�รตอบสนองต่อสัมผัสอย่�งไร ๑. ต้นผักกระเฉด ๑ ต้น (หรือต้นไมยร�บ) ๒. ต้นผักบุ้ง ๑ ต้น

16

เกร็ดแนะครู ครูอธิบายใหนักเรียนฟงวา เนื่องจากแสงเปนปจจัยที่พืชตองการในการดํารง ชีวิต พืชจึงมีการตอบสนองตอแสง โดยการเอนยอดและลําตนเขาหาบริเวณที่มีแสง เพื่อใหพืชสามารถดํารงชีวิตอยูได ทั้งนี้ครูอาจนําภาพของตนพืชที่มีลักษณะการเอน เขาหาแสง หรือการตอบสนองตอแสงของพืชในลักษณะอื่นๆ มาใหนักเรียนดู เพื่อใหนักเรียนเกิดความเขาใจมากยิ่งขึ้น

ขอสอบเนน การคิด แนว NT

ขอมูลการตอบสนองตอแสงของยอดพืช 4 ชนิดที่อยูใตรมเงา เปนดังนี้ ชนิดของพืช

การตอบสนองตอแสงของยอดพืช

ชนิดที่ 1

ตั้งตรง

ชนิดที่ 2

เอนเขาหาแสงสวาง

ชนิดที่ 3

ตั้งตรง

ชนิดที่ 4

เอนหนีแสงสวาง

จากขอมูล พืชชนิดใดมีสวนยอดตองการแสงนอยที่สุด แนวตอบ พืชชนิดที่ 4 เพราะสวนยอดตอบสนองตอแสงโดยเอนหนี แสงสวาง แสดงวาตองการแสงนอยที่สุด

16

คู่มือครู


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา ส�ารวจค้ Exploreนหา

อธิบายความรู้

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Explore

Explain

Expand

Evaluate

Engage

ส�ารวจค้นหา วิธีท�ำ

๑. สังเกตใบของต้นผักกระเฉด และใบของต้นผักบุ้ง โดยไม่ให้มือหรือ สิ่งใดถูกที่ใบ ๒. ใช้นิ้วเขี่ยที่ใบของต้นผักกระเฉดและต้นผักบุ้ง และสังเกตก�ร เปลี่ยนแปลง ๓. ปฏิบัติต�มข้อ ๒ ซำ้�อีกครั้ง และบันทึกผล ๔. ร่วมกันอภิปร�ยและสรุปผล

ตัวอย่ำงตำรำงบันทึกผล กำรทดลอง

กำรเปลี่ยนแปลงที่สังเกตเห็น ผักกระเฉด ผักบุ้ง

๑. สังเกตใบโดยไม่ให้มอื หรือสิง่ ใดถูที่ใบ ๒. ใช้นวิ้ เขีย่ ที่ใบของต้นพืช

1

จ�กก�รทำ�กิจกรรมที่ ๒ นักเรียนจะเห็นว่� ต้นผักกระเฉดมี ก�รตอบสนองต่อสัมผัส เพร�ะเมื่อใช้นิ้วเขี่ยที่ใบต้นผักกระเฉด ใบจะหุบร�บลง ส่วนต้นผักบุง้ ไม่มกี �รเปลีย่ นแปลงเมือ่ ถูกนิว้ เขีย่ แสดงว่� ต้นผักบุ้งไม่มีก�รตอบสนองต่อสัมผัส

Explore

1. ใหนักเรียนใชมือหยิกแขนตัวเองเบาๆ แลวให ผลัดกันบอกวารูสึกอยางไร จากนั้นใหนักเรียน ชวยกันบอกวา การรูสึกเจ็บเมื่อถูกหยิก เปนการตอบสนองตอสัมผัส 2. ครูตั้งประเด็นคําถามใหนักเรียนรวมกัน อภิปรายวา พืชมีการตอบสนองตอสัมผัส หรือไม 3. ใหนักเรียนทํากิจกรรมที่ 2 เพื่อศึกษา การตอบสนองตอสัมผัสของพืช โดยให นักเรียนปฏิบัติ ดังนี้ 1) ศึกษาขั้นตอนการทํากิจกรรมที่ 2 หนา 16-17 โดยครูชวยแนะนําหากนักเรียน มีขอสงสัย 2) ใหแตละกลุมกําหนดปญหาเกี่ยวกับ การทดลองและตั้งสมมติฐาน 3) ใหกําหนดตัวแปรตน ตัวแปรตาม และตัวแปรควบคุมในการทดลอง 4) ทําการทดลองเพื่อตรวจสอบสมมติฐาน 5) บันทึกผลการทดลองและรวมกันอภิปราย เพื่อสรุปผล

ต้นไมยร�บมีก�รตอบสนองต่อสัมผัส เช่นเดียวกับต้นผักกระเฉด

17

ตนไมยราบมีการตอบสนองตอสัมผัสอยางไร 1. หุบใบลงเมื่อถูกสัมผัส 2. กางใบออกเมื่อถูกสัมผัส 3. เปลี่ยนสีใบเมื่อถูกสัมผัส 4. ไมมีการตอบสนองตอสัมผัส

ขอสอบเนน การคิด แนว NT

วิเคราะหคําตอบ เมือ่ ใบของตนไมยราบถูกสัมผัส เชน ถูกนิว้ เขีย่ ถูกมือแตะ เปนตน ใบของตนไมยราบจะหุบราบลงทันที ซึ่งเปนการตอบสนอตอสัมผัส ของพืชชนิดนี้ ดังนั้น ขอ 1. จึงเปนคําตอบที่ถูกตอง

นักเรียนควรรู 1 ตนผักกระเฉด เปนพืชนํ้าลมลุก ลําตนมีลักษณะเปนเถาเลื้อยเสมอกับผิวนํ้า ลําตนกลมสีเขียว ตามปลองแกจะมีนวมสีขาวคลายฟองนํ้าหุมอยู จึงทําให ผักกระเฉดลอยนํ้าได ผักกระเฉดเปนผักทีแ่ี คลเซียมคอนขางสูง โดยผักกระเฉด 100 กรัม มีแคลเซียม 123 มิลลิกรัม นอกจากนีย้ งั มีธาตุเหล็กและไนอะซิน ทีช่ ว ยทําใหปากและลิน้ ไมอกั เสบ ไมรอนใน

มุม IT ครูและนักเรียนศึกษาคลิปวิดีโอ เรื่อง การศึกษาพฤติกรรมของตนไมยราบ ไดจากเว็บไซต www.youtube.com โดยพิมพคาํ วา ไมยราบ ในชองคนหาแลวคลิก

คู่มือครู

17


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

Engage

Explore

อธิบายความรู้

อธิบายความรู้ อธิบExplain ายความรู้

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

Explain

1. ใหตัวแทนแตละกลุมออกมานําเสนอผล การทดลอง 2. ใหนักเรียนรวมกันอภิปรายผลการทดลอง จนสรุปไดวา พืชบางชนิดมีการตอบสนองตอ สัมผัส 3. ใหนักเรียนอานขอมูล หนา 18 - 20 เพื่อให เกิดความเขาใจ 4. ครูถามนักเรียนวา • พืชสวนใหญมีการตอบสนองตอแสงเพื่ออะไร (ตอบ กระตุนใหเกิดการสรางอาหาร เพื่อการ ดํารงชีวิตและการเจริญเติบโต) • พืชแตละชนิดตอบสนองตอแสงตางกันหรือไม อยางไร (ตอบ ตางกัน เนื่องจากพืชแตละชนิดตองการ ปริมาณแสงไมเทากัน เชน ทานตะวัน ตองการแสงมาก จึงหมุนลําตนตามทิศทาง ของแสงอาทิตย) 5. ใหนักเรียนรวมกันสรุปการตอบสนองตอแสง ของพืชอีกครั้ง

จ�กก�รทำ�กิจกรรม ทำ�ให้ทร�บว่� พืชมีก�รตอบสนองต่อ สิ่งเร้�แตกต่�งกัน สิ่งเร้�ที่พืชมีก�รตอบสนองมีหล�ยประก�ร ตัวอย่�งเช่น ๑. กำรตอบสนองต่อแสง 1 พืชจะมีก�รตอบสนองต่อแสง โดยเจริญเติบโตโน้ม เข้�ห�แสง เพร�ะพืชส่วนใหญ่ต้องก�รแสงในก�รสร้�งอ�ห�ร พืชบ�งชนิดเจริญเติบโตได้ดีในที่กล�งแจ้ง พืชบ�งชนิดเจริญ เติบโตได้ดีในที่ร่มที่มีแสงรำ�ไร นอกจ�กนี้ พืชบ�งชนิด เช่น ดอกพุดต�นจะเปลี่ยนสีเมื่อ ได้รับแสงม�กน้อยแตกต่�งกันใน ๑ วัน ดอกคุณน�ยตื่นส�ยจะ บ�นเมื่อได้รับแสง เป็นต้น

เมื่อได้รับแสง ดอกคุณน�ยตื่นส�ยจะเริ่มบ�น

18

นักเรียนควรรู 1 การตอบสนองตอแสง พืชมีการตอบสนองตอแสง เชน • การบานของดอกไม เชน ดอกคุณนายตื่นสาย ดอกบัว บานในเวลากลางวัน และหุบในเวลากลางคืน สวนดอกตะบองเพชรบานในเวลากลางคืน และ หุบในเวลากลางวัน การตอบสนองที่เกิดขึ้นนี้เนื่องจากมีแสงเปนสิ่งเรา • การหุบใบในเวลากลางคืน เชน ใบไมยราบ ใบแค ใบถั่ว ใบผักกระเฉด ใบกระถิน เปนตน เมื่อแสงลดลงใบจะหุบ กานใบจะหอยและลูลง

คู่มือครู

ท�นตะวันจะหมุนดอกต�มดวงอ�ทิตย์ เพื่อให้ได้รับ แสงอย่�งเพียงพอ

ขอสอบเนน การคิด แนว NT

เพราะเหตุใด ตนทานตะวันจึงหมุนดอกเขาหาดวงอาทิตยเสมอ 1. เปนการตอบสนองตอแสง 2. เพื่อใหลําตนมีการเจริญเติบโต 3. ปองกันแมลงตางๆ ไมใหมาเกาะ 4 ตองการความรอนจากดวงอาทิตย วิเคราะหคําตอบ ตนทานตะวันมีการตอบสนองตอแสง โดยการหมุนดอก ตามดวงอาทิตย เพื่อใหไดรับแสงอยางเต็มที่ ดังนั้น ขอ 1. จึงเปน

คําตอบที่ถูกตอง

18


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

Engage

Explore

อธิบายความรู้ อธิบExplain ายความรู้

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

อธิบายความรู้

๒. กำรตอบสนองต่ออุณหภูมิ อุณหภูมิ หม�ยถึง ระดับคว�มร้อนหรือคว�มเย็น ในทีน่ ี้ หม�ยถึง ระดับคว�มร้อนหรือเย็นของอ�ก�ศ อุณหภูมิของ อ�ก�ศมีผลต่อก�รตอบสนองของพืช เช่น เมื่ออ�ก�ศหน�ว ต้นไม้บ�งชนิด เช่น ต้นสัก ต้นรัง จะสลัดใบทิง้ เพือ่ ลดก�รสูญเสีย 1 นำ้� เรียกว่� ต้นไม้ผลัดใบ และจะแตกใบใหม่เมื่ออ�ก�ศอบอุ่น

Explain

1. ครูสนทนากับนักเรียนวา เคยเห็นตนไม ผลัดใบหรือไม ถาเปนไปไดครูควรหาภาพ ตนไมผลัดใบมาใหนักเรียนดูประกอบ การสนทนา 2. ครูถามนักเรียนวา • เพราะเหตุใด เมื่อถึงฤดูหนาว ตนไม บางชนิดจึงมีการผลัดใบ (แนวตอบ เพราะในฤดูหนาวอากาศจะแหง ตนไมจึงตองผลัดใบ เพื่อลดการคายนํ้า) 3. ครูอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียนเขาใจวา ตนไม มีการคายนํ้าออกมาทางรูปากใบ ดังนั้น เมื่อถึงฤดูหนาว ซึ่งมีสภาพอากาศแหง ปริมาณไอนํ้าในอากาศมีนอย ทําใหตนไม มีการคายนํ้าออกมาอยางตอเนื่องทําใหตนไม สูญเสียนํ้ามาก ตนไมจึงมีการตอบสนอง โดยการสลัดใบทิ้งเพื่อลดการคายนํ้า 4. ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับพืชกินแมลง ถาเปนไปไดครูควรนําพืชกินแมลง เชน ตนกาบหอยแครง ตนหมอขาวหมอแกงลิง มาใหนักเรียนดู หรือใหนักเรียนดูคลิปวิดีโอ การตอบสนองตอสัมผัสของพืช 5. ใหนักเรียนรวมกันสรุปการตอบสนองตอ อุณหภูมิและการตอบสนองตอสัมผัสของพืช

ต้นสักเริ่มผลัดใบเมื​ื่อย่�งเข้�สู่ฤดูหน�ว

19

ขอสอบเนน การคิด แนว NT

การสลัดใบทิ้งของตนไมเพื่อลดการสูญเสียนํ้า เปนการตอบสนองตอ สิ่งเราใดของพืช 1. แสง 2. สัมผัส 3. อุณหภูมิ 4. การเจริญเติบโต

นักเรียนควรรู 1 ตนไมผลัดใบ เปนการปรับตัวของตนไมเพื่อใหสามารถมีชีวิตอยูรอดไดใน สภาพแวดลอมที่เปลี่ยนไป เนื่องจากในสภาพอากาศที่หนาวเย็น ทําใหอากาศแหง ตนไมจึงระบายความชื้นทางผิวใบเพิ่มขึ้น นํ้าในใบไมก็จะระเหยไปในปริมาณมาก ดังนั้น ตนไมจึงสลัดใบทิ้งเพื่อลดการสูญเสียนํ้า ซึ่งจะเห็นไดชัดเจนในชวงอากาศ หนาว หรือที่เราเรียกวา ฤดูใบไมรวง นั่นเอง

วิเคราะหคําตอบ เมื่ออากาศหนาว อุณหภูมิของอากาศจะลดตํ่าลง สภาพอากาศจะแหง ทําใหตนไมคายนํ้าออกมามาก ตนไมบางชนิดจึงมี การปรับตัวโดยการสลัดใบทิ้งเพื่อลดการสูญเสียนํ้า เปนการตอบสนองตอ อุณหภูมิของพืช ดังนั้น ขอ 3. จึงเปนคําตอบที่ถูกตอง

คู่มือครู

19


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

อธิบายความรู้

Engage

Explore

Explain

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Expand าใจ ขยายความเข้

Evaluate ตรวจสอบผล

Expand

1. ครูมอบหมายใหนักเรียนแบงกลุมทํารายงาน เรื่องการตอบสนองตอสิ่งเราของพืช และ สงตัวแทนนําเสนอผลงานหนาชั้นเรียน 2. ใหนักเรียนดูภาพ หนา 28 แลวบอกวาพืชมีการ ตอบสนองตอสิ่งเราใด เพื่ออะไร โดยทําลง ในสมุด

ตรวจสอบผล

ขยายความเข้าใจ

Evaluate

1. ครูประเมินผลรายงานการตอบสนองตอสิง่ เรา ของพืช โดยพิจารณาจากความถูกตองของ ขอมูล ความเรียบรอยของรายงาน และการ นําเสนอผลงาน 2. ครูตรวจสอบวา นักเรียนตอบคําถามไดถูกตอง หรือไม

๓. กำรตอบสนองต่อกำรสัมผัส พืชบ�งชนิดมีก�รตอบสนองต่อก�รสัมผัส เช่น ผักกระเฉด ไมยร�บ จะหุบใบเมื่อถูกสัมผัส เพื่อป้องกันอันตร�ย เป็นต้น นอกจ�กนี้ พืชบ�งชนิดมีก�รตอบสนองต่ อสัมผัสเพื่อ 1 ก ดักจับแมลงเป็นอ�ห�รร เช่น ก�บหอยแครงจะหุบก�บใบเมื ่อมี 2 แมลงม�เก�ะะ หม้อข้�วหม้อแกงลิงเปลี่ยนใบเป็นหม้อดักแมลง เป็นต้น

เมื่อมีแมลงม�เก�ะที่ด้�นในก�บ ต้นก�บหอยแครง จะหุบใบทันที

ต้นหม้อข้�วหม้อแกงลิงมีถงุ หรือกระเป�ะดักจับแมลง

20

นักเรียนควรรู 1 กาบหอยแครง เปนพืชกินแมลงชนิดหนึ่ง ดานในกาบของตนกาบหอยแครง มีขนเสนเล็กๆ อยูประมาณ 6 - 8 เสน ซึ่งมีความไวตอการสัมผัส ถาขนเหลานี้ ถูกสัมผัสมากกวา 1 ครั้ง ติดตอกันในชวงเวลาสั้นๆ กาบใบจะหุบปดลงทันที ทําให ตนกาบหอยแครงดักจับแมลงเปนอาหารได 2 หมอขาวหมอแกงลิง เปนพืชกินแมลงชนิดหนึ่ง โดยเปลี่ยนใบเปนกระเปาะ และลอแมลงโดยใชสีสันสวยงามของใบและหลั่งสารที่เปนของเหลวออกมาที่ผิวใบ เมื่อแมลงมาเกาะจะลื่นตกลงไปในกระเปาะ ซึ่งมีของเหลวที่พืชสรางขึ้นเพื่อใชยอย แมลงที่ตกลงมาในกระเปาะ และดูดซึมสารอาหารจากเหยื่อที่ถูกยอยแลวตอไป

20

คู่มือครู

ขอสอบเนน การคิด แนว NT

พืชตอบสนองตอสิ่งเราตางๆ เพื่ออะไร 1. เพื่อใหพืชเจริญเติบโตไดเร็วขึ้น 2. เพื่อใหพืชไดเกิดการเคลื่อนไหว 3. เพื่อใหพืชมีโครงสรางที่แข็งแรง 4. เพื่อใหพืชสามารถมีชีวิตอยูรอดได วิเคราะหคําตอบ การที่พืชตอบสนองตอสิ่งเราตางๆ เปนกลไกชนิดหนึ่ง ของพืช ซึ่งเปนการปรับตัวของพืชเพื่อใหสามารถมีชีวิตอยูรอดไดในสภาวะ แวดลอมที่เปลี่ยนแปลงไป ดังนั้น ขอ 4. จึงเปนคําตอบที่ถูกตอง


กระตุน้ ความสนใจ

ส�ารวจค้นหา ส�ารวจค้ Exploreนหา

อธิบายความรู้

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Engage

Explore

Explain

Expand

Evaluate

กระตุEngage ้นความสนใจ

กระตุน้ ความสนใจ

Engage

1. ใหนักเรียนดูภาพแมว หนา 21 แลวใหนักเรียน รวมกันอภิปรายวา การที่แมวมีการตอบสนอง เชนนี้เปนเพราะอะไร 2. ครูชวนนักเรียนสนทนาเกี่ยวกับการตอบสนอง ของสัตวชนิดตางๆ ที่นักเรียนสามารถพบเห็น ไดในชีวิตประจําวัน เชน สุนัข นกกระจอก จิ้งจก ฯลฯ เพื่อกระตุนใหนักเรียนมีความ สนใจอยากเรียนรูในเรื่องนี้

๒ กำรตอบสนองต่อสิ่งเร้ำของสัตว์ นั ก เรี ย นทร�บม�แล้ วว่ � พืชชนิดต่�งๆ มีก�รตอบสนอง ต่อแสง อุณหภูมิ และก�รสัมผัส นักเรียนคิดว่� สัตว์มีก�รตอบสนองต่อสิ่งเร้�เหล่�นี้หรือไม่ แมวจะโก่งตัวและทำ�ขนตั้งเมื่อต้องก�รขู่ศัตรู อย่�งไร

ส�ารวจค้นหา

Explore

1. ครูตั้งประเด็นคําถามใหนักเรียนรวมกัน อภิปรายวา แมวมีการตอบสนองตอแสง หรือไม 2. ใหนักเรียนทํากิจกรรมที่ 3 หนา 21 โดย ครูสาธิตการทดลองและใหนักเรียนไดสังเกต และบันทึกผล

ÅͧÊѧࡵÊÔÇ‹Ò ÊÑµÇ ÃͺµÑÇàÃÒ ÁÕ¡Òõͺʹͧµ‹ÍÊÔ觵‹Ò§æ Í‹ҧäúŒÒ§

กิจกรรมหนูน้อยนักทดลอง กิจกรรมที่ ๓ การตอบสนองตอแสงของแมว

ปญหำ

แมวมีก�รตอบสนองต่อแสงอย่�งไร

อุปกรณ์

แมว ๑ ตัว

วิธีท�ำ

๑. ครูทำ�เป็นกิจกรรมส�ธิตเพื่อให้นักเรียนสังเกต โดยครูให้นักเรียนปด ห้องให้มืด จ�กนั้นให้นักเรียนสังเกตลักษณะดวงต�ของแมวเมื่ออยู่ใน ที่มืด และบันทึกผล ๒. เปดห้องให้แสงสว่�งเข้�สักครู่ จ�กนั้นให้นักเรียนสังเกตลักษณะดวงต� ของแมวเมื่ออยู่ในที่สว่�ง และบันทึกผล ๓. ร่วมกันอภิปร�ยและสรุปผล

ส�ำหรับครู : ๑. ครูเน้นยำ้�ให้นักเรียนมีคว�มเมตต�ต่อสัตว์ และไม่แหย่สัตว์ให้โกรธ ๒. ถ้�ไม่สะดวกในก�รทำ�กิจกรรมนี้ ครูส�ม�รถละเว้นได้

21

ขอสอบเนน การคิด แนว NT

พฤติกรรมใดของแมวที่ทําใหเราทราบวา แมวมีการตอบสนองตอแสง 1. แมวหลับตาเมื่อเกาคางให 2. แมวนอนหลับในเวลากลางวัน 3. แมวโกงตัวและทําขนตั้งขูศัตรู 4. แมวหรี่ตาแคบลงในเวลากลางวัน

วิเคราะหคําตอบ แมวขยายมานตากวางขึ้นเมื่ออยูในที่มืด และหรี่ตา แคบลงเมื่ออยูในที่สวาง เพื่อใหเหมาะสมกับปริมาณแสง เปนการตอบสนอง ตอแสงของแมว ดังนั้น ขอ 4. จึงเปนคําตอบที่ถูกตอง

เกร็ดแนะครู การทํากิจกรรมที่ 3 ในขัน้ สํารวจคนหา หากไมสะดวกในการใชแมวจริง ใหครู ใชรูปภาพลักษณะดวงตาของแมวเมื่ออยูในที่มืดและอยูในที่สวางมาใหนักเรียน สังเกต และรวมกันอภิปรายวาแมวมีการตอบสนองตอแสงอยางไร นอกจากนี้เมื่อเรียนเรื่อง การตอบสนองของสัตว ครูควรใหนักเรียนรูจักสังเกต พฤติกรรมการตอบสนองของสัตวตางๆ ที่สามารถพบเห็นไดทั่วไป เชน สุนัข นกกระจอก นกพิราบ จิ้งจก หอยทาก แมลงวัน ยุง เปนตน เพื่อนํามาเปนขอมูล ในการรวมอภิปราย

คู่มือครู

21


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

Engage

Explore

อธิบายความรู้

อธิบายความรู้ อธิบExplain ายความรู้

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

Explain

1. ครูสุมเรียกนักเรียน 4 - 5 คน ใหออกมา นําเสนอผลการทดลอง 2. ใหนักเรียนรวมกันอภิปรายผลการทดลอง จนสรุปไดวา แมวมีการตอบสนองตอแสง โดยสังเกตจากการขยายและหรี่ของมานตา เมื่อแมวอยูในที่มืด มานตาของแมวจะขยาย กวางขึ้น เมื่ออยูในที่สวาง มานตาของแมว จะหรี่แคบลง

ตัวอย่ำงตำรำงบันทึกผล กำรทดลอง

ลักษณะดวงตำของแมว

นำ�แมวม�ไว้ในห้อง ปดห้องให้มืดประม�ณ ๕-๑๐ น�ที เปดห้องให้สว่�งประม�ณ ๕-๑๐ น�ที ●

จ�กก�รทำ�กิจกรรมที่ ๓ นักเรียนจะเห็นว่� แมวมีพฤติกรรม 1 ก�รตอบสนองต่อแสง โดยม่�นต�ของแมวจะขย�ยและหรี่ให้ เหม�ะสมกับปริม�ณแสง กิจกรรมหนูน้อยนักทดลอง กิจกรรมที่ ๔ การตอบสนองตอสัมผัสของสัตว

ปญหำ

สัตว์มีก�รตอบสนองต่อสัมผัสอย่�งไร

อุปกรณ์

๑. หอยแครง ๓-๔ ตัว (หอยแครงที่ยังไม่ต�ย) ๒. ถ�ด ๑ ใบ

วิธีท�ำ

๑. แบ่งกลุ่ม ให้แต่ละกลุ่มค่อยๆ ว�งหอยแครงลงในถ�ดประม�ณ ๓ น�ที ๒. สังเกตลักษณะหอยแครงเมื่อไม่ถูกสัมผัส และบันทึกผล ๓. ใช้ดินสอเขี่ยที่เปลือกหอย แล้วสังเกตพฤติกรรมของหอยแครง และบันทึกผล ๔. ร่วมกันอภิปร�ยเพื่อสรุปผล

2

ส�ำหรับครู: ๑. ครูอ�จทำ�เป็นก�รทดลองส�ธิต แล้วให้นักเรียนสังเกตก็ได้ ๒. ครูอ�จเปลี่ยนเป็นสัตว์อื่นที่ห�ได้ง่�ย เช่น กิ้งกือ หรือหอยชนิดอื่น เช่น หอยท�ก ๓. ครูเน้นยำ้�ให้นักเรียนมีคว�มเมตต�ต่อสัตว์ ไม่ทำ�อันตร�ยต่อสัตว์ที่นำ�ม�ทดลอง

22

นักเรียนควรรู 1 มานตา เปนอวัยวะสวนหนึ่งของลูกตา ทําหนาที่ควบคุมใหแสงผานเขาสู ดวงตามากหรือนอยในปริมาณที่เหมาะสม 2 หอยแครง เปนหอยกาบคู อาศัยอยูบริเวณพื้นทองทะเล ชายฝงตื้นๆ ที่เปนโคลน ในไทยพบมาก เชน ที่จังหวัดชลบุรี เพชรบุรี สุราษฎรธานี ปตตานี เปนตน การสังเกตฤติกรรมของหอย ทําใหทราบวาหอยยังไมตาย ซึ่งความรูนี้สามารถ นําไปใชในการเลือกซื้อหอยมาประกอบอาหารได

22

คู่มือครู

ขอสอบเนน การคิด แนว NT

พฤติกรรมของสัตวในขอใดมีการตอบสนองตอสัมผัส 1. นกรองอยูในกรง 2. ไกขันบอกเวลาในตอนเชา 3. กิ้งกือมวนตัวเมื่อถูกไมเขี่ย 4. แมลงเมาบินเขาหาแสงไฟ วิเคราะหคําตอบ เมื่อกิ้งกือถูกสัมผัส เชน ถูกนิ้วเขี่ย ถูกจับตัว เปนตน จะเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมโดยการมวนตัว เพื่อเปนการปองกัน อันตราย ดังนั้น ขอ 3. จึงเปนคําตอบที่ถูกตอง


กระตุ้นความสนใจ Engage

ส�ารวจค้นหา ส�ารวจค้ Exploreนหา

อธิบายความรู้

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Explore

Explain

Expand

Evaluate

ส�ารวจค้นหา

1. ครูตั้งประเด็นคําถามใหนักเรียนรวมกัน อภิปรายวา สัตวมีการตอบสนองตอสัมผัส อยางไร 2. ใหนักเรียนทํากิจกรรมที่ 4 เพื่อศึกษาการ ตอบสนองตอสัมผัสของสัตว โดยใหนักเรียน ปฏิบัติ ดังนี้ 1) ศึกษาขั้นตอนการทํากิจกรรมที่ 4 หนา 22 2) ใหแตละกลุมกําหนดปญหาเกี่ยวกับ การทดลองแลวตั้งสมมติฐาน 3) ทําการทดลองเพื่อตรวจสอบสมมติฐาน 4) บันทึกผลการทดลองและรวมกันอภิปราย เพื่อสรุปผล

ตัวอย่ำงตำรำงบันทึกผล กำรทดลอง

ผลกำรสังเกต

นำ�หอยแครงว�งในถ�ด หอยแครงขณะที่ไม่ถูกสัมผัส เมื่อใช้ดินสอเขี่ยเปลือกหอยแครง ●

Explore

หอยแครงมีก�รตอบสนองต่อสัมผัส เพื่อป้องกันอันตร�ย

จ�กก�รทำ�กิจกรรมที่ ๔ จะเห็นว่� หอยแครงมีก�รตอบสนอง 1 ต่อก�รสัมผัส โดยหดตัวเข้�ในเปลือกและหุบเปลือกแน่น เพื่อ ป้องกันอันตร�ย ¤ÃÙ¨ÐÂѧäÁ‹à©Å¤íҵͺ¹Ð ¤Ø³¤ÃÙ¤ÃѺ ÊÑµÇ áµ‹ÅЪ¹Ô´ ÁÕ¡Òõͺʹͧ µ‹ÍÊÔè§àÃŒÒàËÁ×͹¡Ñ¹ äËÁ¤ÃѺ

˹ÙÇ‹ÒäÁ‹àËÁ×͹¡Ñ¹ ËÃÍ¡¤‹Ð

ãËŒ¹Ñ¡àÃÕ¹ÈÖ¡ÉÒ¢ŒÍÁÙÅà¾ÔèÁàµÔÁ áŌǹѡàÃÕ¹¡ç¨Ðä´Œ¤íҵͺ¤ÃѺ

23

ขอสอบเนน การคิด แนว NT

หากนักเรียนตองการทดลองวาหอยชนิดตางๆ มีการตอบสนองตอสัมผัส แตกตางกันหรือไม ตัวแปรตนของการทดลองนี้คืออะไร 1. การสัมผัส 2. ชนิดของหอย 3. การเคลื่อนที่ของหอย 4. การตอบสนองของหอย วิเคราะหคําตอบ ตัวแปรตน คือ ตัวแปรที่กําหนดใหแตกตางเพื่อติดตาม ดูผลที่เกิดขึ้น ดังนั้น การนําหอยชนิดตางๆ มาทําการทดลองเพื่อสังเกต พฤติกรรมการตอบสนองตอสัมผัส ชนิดของหอยจึงเปนตัวแปรตน

ดังนั้น ขอ 2. จึงเปนคําตอบที่ถูกตอง

เกร็ดแนะครู ครูอาจถามนักเรียนวา หอยที่ตายแลวจะสามารถตอบสนองตอสัมผัสได หรือไม โดยใหนักเรียนรวมกันแสดงความคิดเห็น จากนั้นใหนักเรียนทดลอง สัมผัสหอยที่ตายแลว เพื่อเปรียบเทียบผลกับหอยที่ยังมีชีวิตอยูวาเปนอยางไร แลวอภิปรายและสรุปผลรวมกันในชั้นเรียน

นักเรียนควรรู 1 หุบเปลือกแนน การเลือกซื้อหอยที่สดสังเกตไดจากเปลือกหอยจะปดสนิท หรือถาเปดอาอยู เมื่อใชมือแตะหอยจะหุบเปลือกทันที และกอนนําหอยไปประกอบ อาหาร ควรนําหอยไปแชนํ้าสักพักเพื่อใหหอยเปดฝาอาออก คายสิ่งสกปรกออกมา และในขณะที่แชนํ้า ถาหอยตัวไหนลอยตัวขึ้นมา แสดงวาหอยตัวนั้นตายแลว

คู่มือครู

23


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

Engage

Explore

อธิบายความรู้

อธิบายความรู้ อธิบExplain ายความรู้

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

Explain

1. ใหตัวแทนแตละกลุมออกมานําเสนอผล การทดลอง 2. ใหนักเรียนรวมกันอภิปรายผลการทดลอง จนสรุปไดวา หอยแครงมีการตอบสนองตอสัมผัส โดยหุบเปลือกเมื่อถูกสัมผัส 3. ใหนักเรียนรวมกันอภิปรายวา หอยแครง มีการตอบสนองตอสัมผัสเพื่ออะไร 4. ใหนกั เรียนอานขอมูล หนา 24 - 26 แลวรวมกัน สรุปใจความสําคัญของเรื่องที่อาน 5. ครูถามนักเรียนวา • สัตวแตละชนิดมีการตอบสนองตอแสงตางกัน หรือไม อยางไร (แนวตอบ ตางกัน คือ สัตวบางชนิด เชน ไสเดือนดิน คางคาว จะหนีแสงโดยเคลื่อนที่ เขาหาที่มืด สัตวบางชนิด เชน แมลงเมา จะเคลื่อนที่เขาหาแสง)

สัตว์ต่�งๆ มีก�รตอบสนองต่อสิ่งเร้�หล�ยประก�ร เช่น ๑. กำรตอบสนองต่อแสง สัตว์แต่ละชนิดจะมีก�รตอบสนองต่อแสงแตกต่ �งกัน สัตว์ 1 บ�งชนิดจะหนีแสง เช่น ไส้เดือนดิน ค้�งค�ว สัตว์บ�งชนิด เข้�ห�แสง เช่น แมลงเม่� สัตว์บ�งชนิดออกห�กินในเวล�เช้� และกลับที่อยู่อ�ศัยในเวล�เย็น เช่น นกบ�งชนิด เป็นต้น ▼

นกกระส�แดงเริ่มออกห�กินในเวล�เช้�

ฝูงค้�งค�วเริ่มออกห�กินในเวล�พลบคำ่�

24

นักเรียนควรรู 1 คางคาว เปนสัตวเลี้ยงลูกดวยนํ้านมชนิดหนึ่ง ลําตัวมีขนาดเล็ก มีลักษณะ คลายหนู แตบินไดเหมือนนก จึงทําใหไดรับฉายาวา “นกมีหู หนูมีปก” คางคาวจะออกหากินในเวลาพลบคํา่ การทีม่ นั สามารถบินออกหากินในทีม่ ดื ได เพราะวามันสามารถสงเสียงและรับเสียงสะทอนกลับได มันจึงใชคลื่นเสียงในการ นําทางและหาอาหาร โดยสามารถแปลความหมายและบอกไดวาคลื่นเสียงที่มัน เปลงออกไปนั้นไปกระทบกับอะไร เหยื่อหรือศัตรูอยูหางออกไปเทาใด ทิศทางไหน ทําใหมันสามารถหาอาหารหรือหลบหลีกศัตรูได

มุม IT ครูและนักเรียนศึกษาคลิปวิดีโอ เรื่อง ถํ้าคางคาวภูผามาน ไดจากเว็บไซต www.youtube.com โดยพิมพคําวา ถํ้าคางคาว ในชองคนหาแลวคลิก

24

คู่มือครู

ขอสอบเนน การคิด แนว NT

จากการทดลองเกี่ยวกับพฤติกรรมของสัตว เปนดังนี้ ชนิดของสัตว

พฤติกรรมของสัตว

หนอนผีเสื้อ

เคลื่อนที่เขาหาที่มืดและแหง

ไสเดือนดิน

เคลื่อนที่เขาหาที่มืดและชื้น

แมลงเมา

เคลื่อนที่เขาหาแสง

ยุง

เคลื่อนที่เขาหาที่มืดและอบอุน

จากผลการทดลอง สัตวชนิดใดมีการตอบสนองตอแสงตางจากสัตวชนิดอื่น 1. หนอนผีเสื้อ 2. ไสเดือนดิน 3. แมลงเมา 4. ยุง วิเคราะหคําตอบ แมลงเมาเคลื่อนที่เขาหาแสง สวนสัตวชนิดอื่น เคลื่อนที่หนีแสง คือ เขาหาที่มืด ดังนัน้ ขอ 3. จึงเปนคําตอบทีถ่ กู ตอง


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

Engage

Explore

อธิบายความรู้ อธิบExplain ายความรู้

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

อธิบายความรู้

๒. กำรตอบสนองต่ออุณหภูมิ สัตว์มีก�รตอบสนองต่ออุณหภูมิ แตกต่�งกัน เช่น ในช่วงฤดูหน�วเมือ่ มี อุณหภูมิลดตำ่�ลงม�ก สัตว์บ�งชนิดจะ อพยพย้�ยถิน่ เช่น นกน�งแอ่นอพยพ จ�กที่อยู่เดิม เพื่อห�แหล่งที่อยู่ใหม่ที่ อบอุ่นกว่� และมีอ�ห�รอุดมสมบูรณ์ เมือ่ ฤดูหน�วผ่�นพ้นไป ก็จะบินกลับไป ยังถิน่ เดิม ส่ ว นช่ ว งที่ มี ส ภ�พอ�ก�ศร้ อ น อุณหภูมสิ งู สัตว์บ�งชนิด เช่น สุนขั จะ ระบ�ยคว�มร้อนโดยก�รหอบห�ยใจ เพือ่ ให้น�ำ้ ระเหยออกท�งป�ก ส่วนแมวจะเลีย อุง้ เท้� เพือ่ เป็นก�รระบ�ยคว�มร้อน เมื่อถึงช่วงที่มีสภ�พอ�ก�ศเย็น1 อุณหภูมติ �ำ่ สัตว์เลือ้ ยคล�น เช่น งู กิง้ ก่� จิ้งเหลน เป็นต้น ต้องอ�ศัยพลังง�น คว�มร้อนจ�กแสงอ�ทิตย์ทำ�ให้ร่�งก�ย อบอ่นุ จึงออกม�ผึง่ แดด

ในฤดูก�ลอพยพจะมีฝูงนกเป็ดแดง ที่เข้�ม�ห�กินในบึงบอระเพ็ดเป็น จำ�นวนม�ก

Explain

1. ครูใหนักเรียนรวมกันสรุปวา สัตวตางๆ มีการ ตอบสนองตออุณหภูมิในลักษณะใดบาง 2. ครูอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียนเขาใจวา สัตวที่ อาศัยอยูในบริเวณที่มีสภาพอากาศหนาวจัด มีการตอบสนองตออุณหภูมิแตกตางกัน เชน • สัตวบางชนิดที่ไมสามารถทนความหนาว เย็นได จะอพยพยายถิ่นไปอยูในบริเวณอื่น ชั่วคราวและกลับมายังถิ่นเดิมเมื่อฤดูหนาว ผานพนไป • สัตวบางชนิดจะจําศีลอยูในที่ใดที่หนึ่ง เพื่อลดการใชพลังงานของรางกาย • สัตวบางชนิดจะปรับเปลี่ยนรางกายใหทน อากาศหนาวได เชน มีขนหนาขึ้น 3. ใหนักเรียนรวมกันสรุปวา สัตวตางๆ มีการ ตอบสนองตอสัมผัสอยางไรบาง 4. ใหนักเรียนชวยกันยกตัวอยางการตอบสนอง ตอสัมผัสที่อยูนอกเหนือจากบทเรียน เชน การลูบหัวสุนัข การเกาคางแมว

สุนัขหอบห�ยใจเพื่อลดคว�มร้อน ในร่�งก�ย

 

กิง้ ก่�ออกม�นอน ผึง่ แดด เพือ่ ปรับ อุณหภูมภิ �ยในร่�งก�ย

25

ขอสอบเนน การคิด แนว NT

ในสภาพอากาศที่รอน อุณหภูมิสูง นักเรียนคิดวากิ้งกามีการตอบสนอง ตออากาศที่รอนนี้อยางไร 1. เลียอุงเทาและผิวหนัง 2. ไปนอนแชในแองนํ้า 3. หลบอยูตามพุมไมหรือในที่รม 4. ระบายความรอนโดยการหอบ วิเคราะหคําตอบ กิ้งกาจะตอบสนองตออุณหภูมิที่สูงขึ้น โดยการไปหลบ อยูตามพุมไมหรือในที่รม เพื่อใหอุณหภูมิของรางกายเปนปกติ สามารถ อยูในสภาพแวดลอมที่อุณหภูมิเปลี่ยนไปได ดังนั้น ขอ 3. จึงเปน

คําตอบที่ถูกตอง

เกร็ดแนะครู ครูอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียนเขาใจวา สัตวเลื้อยคลาน เชน กิ้งกา จิ้งเหลน งู เปนตน เปนสัตวเลือดเย็น คือ อุณหภูมิของรางกายจะเปลี่ยนแปลงไปตาม สภาพแวดลอม ดังนั้น เมื่อสภาพอากาศรอน สัตวเหลานี้จะหลบอยูตามโพรงไมหรือในที่รม เมื่อสภาพอากาศหนาว สัตวเหลานี้ตองอาศัยพลังงานความรอนจากแสงอาทิตย ทําใหรางกายอบอุน จึงออกมานอนผึ่งแดด

นักเรียนควรรู 1 กิ้งกา เปนสัตวเลื้อยคลานชนิดหนึ่ง มีผิวหนังเปนเกล็ดปกคลุมรางกาย สําหรับปองกันตัว มีดวงตาที่สามารถมองเห็นได 360 องศา มีหางยาวและไวตอ ความรูสึก และมีเล็บที่สามารถเกาะกับตนไมได ทําใหมันสามารถไตหรือวิ่งไปได อยางคลองแคลวและวองไว คู่มือครู

25


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

อธิบายความรู้

Engage

Explore

Explain

ขยายความเข้าใจ

ขยายความเข้าใจ Expand าใจ ขยายความเข้

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Expand

1. ใหนักเรียนแบงกลุม ใหแตละกลุมนําความรู เรื่องการตอบสนองตอสิ่งเราของพืชและสัตว มาเขียนแสดงเปนแผนผังความคิด และตกแตง ใหสวยงาม 2. ใหแตละกลุมนําเสนอผลงาน และรวมกัน เปรียบเทียบขอมูลของแตละกลุม 3. ใหนักเรียนทํากิจกรรมรวบยอดที่ 1.3 ขอ 2 จากแบบวัดฯ วิทยาศาสตร ป.2 ✓ แบบวัดฯ ใบงาน แบบฝกฯ ว�ทยาศาสตร ป.2 กิจกรรรวบยอดที่ 1.3 แบบประเมินตัวช�้วัด ว 1.1 ป.2/3

๓. กำรตอบสนองต่อสัมผัส สัตว์มีก�รตอบสนองต่อสัมผัสแตกต่�งกัน สัตว์บ�งชนิด เมื่อถูกสัมผัสจะตอบสนองเพื่อเป็นก�รป้องกันอันตร�ย เช่น กิ้งกือม้วนตัวเมื่อถูกสัมผัส หอยหดตัวเข้�ในเปลือก เต่�หดหัว เข้�ในกระดอง อึ่งอ่�งพองตัวใหญ่ขึ้น ปล�ปักเป้�พองตัวให้ หน�มตั้งขึ้น เป็นต้น

2 อานขอมูลที่กําหนด และตอบคําถาม ในบริเวณที่มีอากาศหนาวเย็นจัด เมื่อถึงฤดูหนาวอันยาวนาน อาหารและนํ้า อาจมีไมเพียงพอ สัตวตา งๆ จึงตองมีการปรับตัวเพือ่ ใหมชี วี ติ รอด โดยสัตวบางชนิด อพยพยายถิ่น สัตวบางชนิดจําศีล สัตวบางชนิดปรับเปลี่ยนสวนใดสวนหนึ่งของ รูปราง สัตวบางชนิดมีการยายจากที่อยูอาศัยในฤดูรอนไปยังที่อยูอาศัยใหมในฤดูหนาว และกลับมายังถิ่นเดิมอีกครั้งในฤดูรอน สัตวบางชนิดจะเริ่มกินอาหารมากกวาปกติ เพื่อใหมีไขมันสะสมในรางกาย และเตรียมหาที่อยูอาศัย เชน ถํ้า รู โพรงไม เปนตน เพื่อเตรียมยายเขาไปอยู และเริ่มจําศีล ซึ่งเปนการอยูนิ่งๆ การทํางานตางๆ ของรางกายจะลดลง ทําใหใช พลังงานนอยมากและไมตองกินอาหาร สัตวบางชนิดจะเปลี่ยนสีขนใหเปนสีขาว ทําใหสามารถพรางตัวไดกลมกลืนกับ หิมะ และหลบซอนจากศัตรูได

ฉบับ

เฉลย

1) จากขอมูล กลาวถึงพฤติกรรมการตอบสนองของสัตวกี่ลักษณะ 3 ลักษณะ คือ การอพยพ การจําศีล และการปรับเปลีย่ นรางกาย อะไรบาง ……………………………………………………………………………………………………………………………… อุณหภูมิที่ตํ่าลง / ฤดูหนาว 2) จากขอมูล สิง่ เราคืออะไร……………………………………………………………………………………………… ใหสามารถมีชีวิต 3) จากขอมูล การตอบสนองของสัตวเปนไปเพื่อสิ่งใด …………………………………..

เมือ่ ถูกสัมผัส เต่�จะป้องกันอันตร�ยโดยหดตัวเข้�ใน กระดอง

หอยท�กจะหดตัวเข้�ในเปลือกเมื่อถูกสัมผัส

อยูรอดได

………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

ใชพลังงานจากไขมันทีส่ ะสม 4) สัตวที่จําศีลอยูไดอยางไรโดยไมกินอาหาร …………………………………………………….. ในรางกาย โดยกินอาหารใหมากกวาปกติกอนเริ่มจําศีล

………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

ยายจากที่อยูอาศัยเดิมใน 5) การอพยพยายถิน่ ของสัตวมลี กั ษณะอยางไร ……………………………………………………… ฤดูรอนไปยังที่อยูใหมในฤดูหนาว และกลับมายังถิ่นเดิมอีกครั้งในฤดูรอน

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ตัวชี้วัด ว 1.2 ขอ 3

ไดคะแนน คะแนนเต็ม

5

15

เมื่อถูกจับหรือสัมผัส กิ้งกือจะม้วนตัวโดยเอ�หัวเข้�ด้�นใน เพื่อป้องกันอันตร�ย

à¾×èÍ¹æ ·ÃÒºäËÁÇ‹Ò ÂѧÁÕÊÑµÇ ª¹Ô´ã´ÍÕ¡·ÕèÁÕ¡Òõͺʹͧµ‹ÍÊÑÁ¼ÑÊ áÅÐÁÕ¡ÒõͺʹͧÍ‹ҧäà ª‹Ç¡ѹÊ׺¤Œ¹à¾ÔèÁàµÔÁ¹Ð¤Ð 26

เกร็ดแนะครู ครูอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับพฤติกรรมของสัตวที่ตอบสนองตอสิ่งเราตางๆ นอกเหนือจาก แสง อุณหภูมิ และสัมผัส เชน • นกเพศผูจะสงเสียงรอง เพื่อเรียกรองความสนใจจากนกเพศเมีย เปนการ ตอบสนองตอสิ่งเราที่เปนเสียง • สุนัขสามารถรับกลิ่นไดดี จึงมีการนําสุนัขมาฝกดมกลิ่นยาเสพติดหรือ ของบางอยาง เปนการตอบสนองตอสิ่งเราที่เปนกลิ่น เปนตน เพื่อใหนักเรียนไดมีทักษะในการคิดเพิ่มขึ้น ทําใหสามารถวิเคราะหใชกับ เหตุการณอื่นๆ ได

26

คู่มือครู

ขอสอบเนน การคิด แนว NT

ขอใดเปนสิ่งเราที่ทําใหเตาหดหัวเขาในกระดอง 1. แสงไฟ 2. ความชื้น 3. การสัมผัส 4. สภาพอากาศ วิเคราะหคําตอบ เมื่อถูกสัมผัสเตาจะหดหัวเขาในกระดอง เพื่อปองกัน อันตราย ดังนั้น ขอ 3. จึงเปนคําตอบที่ถูกตอง


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

อธิบายความรู้

Engage

Explore

Explain

ขยายความเข้าใจ Expand าใจ ขยายความเข้

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

ขยายความเข้าใจ

จ�กก�รศึกษ�เรื่องก�รตอบสนองต่อสิ่งเร้�ของพืชและสัตว์ ทำ�ให้เร�ได้เรียนรูว้ �่ พืชและสัตว์มกี �รตอบสนองต่อสิง่ เร้�ต่�งๆ เพื่อช่วยให้มีชีวิตอยู่รอดและส�ม�รถดำ�รงพันธุ์อยู่ได้ à¾×è͹æ ÊÒÁÒö¹íÒ¤ÇÒÁÃÙŒà¡ÕèÂǡѺàÃ×èͧ¹Õé ä»ãªŒ»ÃÐ⪹ 㹡ÒèѴÊÀÒ¾áÇ´ÅŒÍÁãËŒàËÁÒÐÊÁ ¡Ñº¾×ª·Õè»ÅÙ¡ËÃ×ÍÊÑµÇ ·ÕèàÅÕé§änj䴌

Expand

1. ใหแตละกลุมรวมกันคิดวานักเรียนจะนํา ความรูจากเรื่องการตอบสนองตอสิ่งเรา ของพืชและสัตวไปใชประโยชนไดอยางไรบาง โดยใหแตละกลุมพยายามคิดใหไดมากที่สุด และเขียนลงในสมุด 2. ใหแตละกลุมสงตัวแทนออกมานําเสนอ ความคิดของกลุมตน 3. ใหทุกกลุมชวยกันรวบรวมขอมูลทั้งหมด ที่ไมซํ้ากัน และสรุปอีกครั้ง

ท�นตะวันเป็นพืชที่ชอบแสงจึงควรปลูกไว้กล�งแจ้ง

สุนัขมีก�รตอบสนองโดยเห่�คนแปลกหน้� คนจึง นิยมเลี้ยงสุนัขไว้เฝ้�บ้�น

27

ขอสอบเนน การคิด แนว NT

ถาพืชและสัตวไมมีการตอบสนองตอสิ่งเรา อาจทําใหเกิดเหตุการณในขอใด 1. สูญพันธุได 2. มีอายุยืนยาว 3. สืบพันธุตอได 4. เจริญเติบโตไดดี วิเคราะหคําตอบ พืชและสัตวตอบสนองตอสิ่งเราเพื่อใหมีชีวิตรอดและ สามารถดํารงเผาพันธุได ดังนั้น ขอ 1. จึงเปนคําตอบที่ถูกตอง

เกร็ดแนะครู ครูอาจยกตัวอยาง การนําความรูเรื่องการตอบสนองตอสิ่งเราของสัตวที่สามารถ นํามาใชประโยชนในชีวิตประจําวันได เชน การใหแสงสวางในการเลี้ยงไก เพื่อให ไกกินอาหารเปนเวลานาน จะทําใหไกเจริญเติบโตเร็วในระยะเวลาสั้นกวาปกติ หรือการเลี้ยงกบที่ตองใหในบอมีนํ้า เพื่อใหผิวหนังของกบชุมชื้นอยูเสมอ เพราะ กบเปนสัตวที่หายใจทางผิวหนัง เปนตน ซึ่งจะชวยเปนแนวทางในการแสดง ความคิดของนักเรียน

คู่มือครู

27


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

อธิบายความรู้

Engage

Explore

Explain

ขยายความเข้าใจ

ขยายความเข้าใจ Expand าใจ ขยายความเข้

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Expand

1. ใหนักเรียนดูภาพ หนา 29 แลวบอกวา สัตวมีการตอบสนองตอสิ่งเราใด เพื่ออะไร โดยทําลงในสมุด 2. ใหนักเรียนทํากิจกรรมรวบยอด ตอนที่ 3 หนา 29 โดยตอบคําถามลงในสมุด 3. ใหนักเรียนทํากิจกรรมรวบยอดที่ 1.3 จาก แบบวัดฯ วิทยาศาสตร ป.2 ✓ แบบวัดฯ ใบงาน แบบฝกฯ ว�ทยาศาสตร ป.2 กิจกรรมรอบยอดที่ 1.3 แบบประเมินตัวช�้วัด ว 1.1 ป.2/3

กิจกรรมรวบยอด

ตอนที่ ๑ แนวคิดส�ำคัญ ช่วยกันสรุป ครูให้นกั เรียนช่วยกันพูดสรุปก�รตอบสนองต่อแสง อุณหภูมิ และก�รสัมผัส ของพืชและสัตว์ พร้อมกับยกตัวอย่�งประกอบ ตอนที่ ๒ ลองท�ำดู หนูท�ำได้ ๑. ดูภำพ และบอกว่ำพืชในภำพมีกำรตอบสนองต่อสิ่งเร้ำใด เพื่ออะไร

แบบประเมินผลการเรียนรูตามตัวชี้วัด ประจําหนวยที่ 1 บทที่ 2

กิจกรรมรวบยอดที่ 1.3 แบบประเมินตัวชี้วัด ว1.1 ป.2/3 • สํารวจและอธิบายพืชและสัตวสามารถตอบสนองตอแสง อุณหภูมิ และการสัมผัส ชุดที่ 1

15 คะแนน

1 สํารวจการตอบสนองของพืชและสัตวมาอยางละ 1 ชนิด และเขียนอธิบายพรอมกับ วาดภาพหรือติดภาพประกอบ (ตัวอยาง)

พืชเอนลําตน 1) ภาพนีเ้ ปนภาพ ………………………………… เขาหาดานที่มีแสง

………………………………………………………………….. ฉบับ

แสง เปนการตอบสนองตอ ………………..

เฉลย

…………………………………………………………………..

ใหไดรับแสงไดอยาง เพือ่ ……………………………………………………… เพียงพอ

…………………………………………………………………..

อึ่งอางพองตัว 2) ภาพนีเ้ ปนภาพ ………………………………… …………………………………………………………………..

การสัมผัส เปนการตอบสนองตอ ……………….. ………………………………………………………………….

ใหดูตัวใหญขึ้น และดูนากลัว เพือ่ ……………………………………………………… ………………………………………………………………….. ตัวชี้วัด ว 1.1 ขอ 3

ไดคะแนน คะแนนเต็ม

10

14

28

เกร็ดแนะครู ครูสังเกตการทํากิจกรรมรวบยอดของนักเรียนอยางใกลชิด และใหคําแนะนํา กับนักเรียนทีย่ งั ไมเขาใจในบทเรียน เพือ่ ใหนกั เรียนสามารถบรรลุตวั ชีว้ ดั ในเรือ่ งนีไ้ ด

ขอสอบเนน การคิด แนว NT

การตอบสนองตอสิ่งเราของสัตวในขอใดแตกตางจากขออื่น 1. ไกขันบอกเวลาในตอนเชา 2. แมลงเมาบินเขาหาแสงไฟ 3. ปลาปกเปาพองตัวเมื่อถูกไมเขี่ย 4. คางคาวออกหากินในเวลาพลบคํ่า วิเคราะหคําตอบ ขอ 1., 2. และ 4. เปนการตอบสนองตอแสงของสัตว สวนขอ 3. เปนการตอบสนองตอสัมผัสของสัตว ดังนั้น ขอ 3. จึงเปน

คําตอบที่ถูกตอง

28

คู่มือครู


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

อธิบายความรู้

ขยายความเข้าใจ

Engage

Explore

Explain

Expand

ตรวจสอบผล Evaluate ตรวจสอบผล Evaluate

ตรวจสอบผล

1. ครูประเมินผลการเขียนแผนผังความคิดแสดง การตอบสนองของพืชและสัตว โดยพิจารณา จากความถูกตองสมบูรณของขอมูล การจัด ลําดับขอมูล และความสวยงาม 2. ครูตรวจสอบวา นักเรียนตอบคําถามไดถูกตอง หรือไม

๒. สังเกตพฤติกรรมของสัตว์ในแต่ละภำพ และบอกว่ำเป็นกำรตอบสนอง ต่อสิ่งเร้ำใด เพื่ออะไร ๑ ๒ ควำมรู้เสริมพิเศษ

Evaluate

หลักฐานแสดงผลการเรียนรู 1. ใบบันทึกผลการทํากิจกรรมหนูนอยนักทดลอง 2. รายงานเรื่องการตอบสนองตอสิ่งเราของพืช 3. แผนผังความคิดแสดงการตอบสนองตอสิ่งเรา ของพืชและสัตว 4. กิจกรรมรวบยอดที่ 1.3 จากแบบวัดฯ วิทยาศาสตร ป.2

ควำมรู้เสริมพิเศษ

ตอนที่ ๓ ฝึกคิด พิชิตค�ำถำม เขียนตอบค�ำถำมต่อไปนี้ลงในสมุด ๑) ต้นพืชที่ปลูกในบริเวณที่ร่ม จะเอนเข้�ห�แสงเพื่ออะไร ๒) เมื่อใช้มือแตะใบผักกระเฉด แล้วผักกระเฉดหุบใบร�บลง แสดงว่�สิ่งใด เป็นสิ่งเร้� และสิ่งใดเป็นก�รตอบสนอง ๓) เมื่อถึงฤดูหน�ว ต้นไม้บ�งชนิดมีก�รผลัดใบร่วงจ�กต้น เพื่ออะไร ๔) สุนัขร้องเมื่อถูกตี เป็นก�รตอบสนองต่อสิ่งใด ๕) เมื่อถึงช่วงฤดูหน�ว สัตว์บ�งชนิดมีก�รสร้�งขนให้หน�ขึ้น เป็นก�ร ตอบสนองต่อสิ่งใด 29

ขอสอบเนน การคิด แนว NT

พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิตในขอใด เปนการแสดงการตอบสนองตอสิ่งเรา เพื่อปองกันอันตรายใหกับตนเอง 1. สุนัขหอบ 2. ตนสักผลัดใบ 3. กิ้งกือมวนตัว 4. ดอกพุดตานเปลี่ยนสี

เกร็ดแนะครู 1. ครูอธิบายเสริมวา การที่สัตวมีพฤติกรรมตอบสนองตอสิ่งเราไดดี และ บางอยางก็มีประสาทสัมผัสที่ไวกวามนุษย นักวิทยาศาสตรไดทําการวิจัยและสังเกต พฤติกรรมสัตวชนิดตางๆ ในชวงกอนเกิดแผนดินไหว อุทกภัย หรือภัยธรรมชาติตา งๆ พบวา สัตวหลายชนิดจะมีอาการตื่นตกใจ และแสดงทาทางที่ผิดปกติ 2. ครูใหนักเรียนรวมกันพูดสรุปและอธิบายการตอบสนองของพืชและสัตวอีกครั้ง โดยครูอธิบายเสริมและใหความเขาใจ เพื่อใหนักเรียนสรุปความรูไดถูกตอง

วิเคราะหคําตอบ เมื่อกิ้งกือถูกสัมผัส กิ้งกือจะตอบสนองโดยการมวนตัว เอาหัวเขาดานในเพื่อปองกันอันตรายที่อาจเกิดขึ้นกับตัวของมัน ดังนั้น

ขอ 3. จึงเปนคําตอบที่ถูกตอง

คู่มือครู

29


กระตุน้ ความสนใจ กระตุEngage ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

อธิบายความรู้

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Engage

Explore

Explain

Expand

Evaluate

เปาหมายการเรียนรู

อธิบายประโยชนของพืชและสัตวในทองถิ่น (ว 1.2 ป.2/1)

สมรรถนะของผูเรียน

óñ

แนวคิดสําคัญ

1. ความสามารถในการคิด 2. ความสามารถในการสื่อสาร

พืชและสัตว์มีประโยชน์ต่อมนุษย์ม�กม�ย โดยเฉพ�ะในด้�นก�รเป็นปัจจัยสี่ที่มนุษย์ใช้ในก�ร ดำ�รงชีวิต ได้แก่ เป็นอ�ห�ร นำ�ม�สร้�งที่อยู่อ�ศัย ทำ�เป็นเครื่องนุ่งห่ม และทำ�ย�รักษ�โรค

คุณลักษณะอันพึงประสงค 1. ใฝเรียนรู 2. มุงมั่นในการทํางาน

กระตุน้ ความสนใจ

»ÃÐ⪹ ¢Í§¾×ªáÅÐÊѵÇ

º··Õè

กิจกรรมนําสูการเรียน

Engage

1. ครูชวนนักเรียนสนทนาเกี่ยวกับอาหารที่ นักเรียนชอบรับประทาน โดยใหนักเรียน ผลัดกันบอกวาชอบรับประทานอาหารชนิดใด 2. ใหนักเรียนรวมกันแสดงความคิดเห็นวา อาหารที่คนเรารับประทานมาจากสิ่งใด (ตอบ พืชและสัตว) 3. ครูเชื่อมโยงเขาสูเรื่องประโยชนของพืชและสัตว ที่นักเรียนจะไดเรียนรูในบทเรียนนี้

ภ�พที่ ๑

ภ�พที่ ๒

๑. อ�ห�รในภ�พที่ ๑ ได้จ�กพืชและสัตว์ชนิดใดบ้�ง ๒. เครื่องดื่มในภ�พที่ ๒ ได้จ�กพืชชนิดใด และเป็นส่วนใดของ พืชชนิดนั้น 30

เกร็ดแนะครู ครูจัดกระบวนการเรียนรูโดยการใหนักเรียนปฏิบัติ ดังนี้ • สํารวจประโยชนของพืชและสัตว • สืบคนขอมูลประโยชนของพืชและสัตว • อภิปรายประโยชนของพืชและสัตว จนเกิดความรูความเขาใจวา พืชและสัตวมีประโยชนตอการดํารงชีวิตของ มนุษยในดานการเปนปจจัยสี่

30

คู่มือครู


กระตุ้นความสนใจ Engage

ส�ารวจค้นหา ส�ารวจค้ Exploreนหา

อธิบายความรู้

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Explore

Explain

Expand

Evaluate

ส�ารวจค้นหา

ประโยชน์ของพืชและสัตว์ พืชและสัตว์มีประโยชน์ต่อก�รดำ�รงชีวิตของคนเร�ในด้�น ต่�งๆ ห�กไม่มีพืชและสัตว์ เร�คงไม่ส�ม�รถดำ�รงชีวิตอยู่ได้ Åͧª‹Ç¡ѹÊíÒÃǨNjҤ¹àÃÒ㪌»ÃÐ⪹ ¨Ò¡¾×ªáÅÐÊÑµÇ ã¹´ŒÒ¹ã´ºŒÒ§¤ÃѺ กิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้

๑. แบ่งกลุ่ม ให้แต่ละกลุ่มสำ�รวจและสืบค้นข้อมูลว่� คนเร�ใช้ประโยชน์ จ�กพืชและสัตว์ที่กำ�หนดในด้�นใดบ้�ง ๒. บันทึกผลลงในสมุด ต�มตัวอย่�ง ๓. นำ�ข้อมูลม�อภิปร�ยร่วมกันในชั้นเรียน และสรุปเป็นองค์คว�มรู้ ชนิดของพืชและสัตว์

กำรน�ำมำใช้ประโยชน์

Explore

1. ใหนักเรียนไปสํารวจและสังเกตวา ในชีวิตประจําวันของตนเองและครอบครัว ใชประโยชนจากพืชและสัตวอยางไรบาง แลวบันทึกลงในสมุด 2. ใหนักเรียนแบงกลุมทํากิจกรรม พัฒนาการเรียนรู หนา 31 โดยสํารวจและ สืบคนขอมูลวา มีการนําพืชและสัตวมาใช ประโยชนในดานใดบาง 3. ใหนักเรียนแบงเปน 4 กลุม ใหแตละกลุม สืบคนขอมูล ดังนี้ กลุมที่ 1 ประโยชนของพืชและสัตวในดาน การเปนอาหาร กลุมที่ 2 ประโยชนของพืชและสัตวในดาน การสรางที่อยูอาศัย กลุมที่ 3 ประโยชนของพืชและสัตวในดาน การทําเครื่องนุงหม กลุมที่ 4 ประโยชนของพืชและสัตวในดาน การทํายารักษาโรค

ทำ�อ�ห�ร ทำ�เครื่องนุ่งห่ม ทำ�ที่อยู่อ�ศัย ทำ�ย�รักษ�โรค ด้�นอื่นๆ สิ่งของเครื่องใช้

๑. ผักคะน้� ๒. ฝ้�ย ๓. มะกรูด ๔. มะละกอ ๕. ไผ่ ๖. ไก่ ๗. เป็ด ๘. สุกร ๙. สุนัข ๑๐. วัว

ตัวอย่ำง ข้อมูล ตำรำงบันทึก

31

พืชชนิดใดที่เราปลูกไวเพื่อกินเปนอาหาร 1. ฝาย 2. มะลิ 3. คะนา 4. กุหลาบ

ขอสอบเนน การคิด แนว NT

วิเคราะหคําตอบ คะนา เปนผักสวนครัวที่นิยมปลูกเพื่อนํามาใชในการ ประกอบอาหาร เพราะมีสารอาหารที่มีประโยชนตอรางกายหลายชนิด

ดังนั้น ขอ 3. จึงเปนคําตอบที่ถูกตอง

บูรณาการอาเซียน ครูอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียนเขาใจวา มะกรูดเปนพืชสมุนไพรชนิดหนึ่งที่มี การนํามาใชประโยชนในกลุมประเทศสมาชิกอาเซียน ไดแก ไทย ลาว กัมพูชา มาเลเซีย อินโดนีเซีย (บาหลี) และเวียดนาม นิยมใชใบมะกรูดและผิวมะกรูด เปนสวนหนึ่งของเครื่องปรุงอาหารหลายชนิด

มุม IT ครูและนักเรียนดูขอ มูลเพิม่ เติมเกีย่ วกับประโยชนของพืชและสัตว ไดจากเว็บไซต www.krukhay.in.th โดยมีวิธีการ ดังนี้ • คลิก ชีวิตพืช / ชีวิตสัตว • คลิก ประโยชนของพืช / ประโยชนของสัตว

คู่มือครู

31


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

Engage

Explore

อธิบายความรู้

อธิบายความรู้ อธิบExplain ายความรู้

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

Explain

1. ใหนักเรียนผลัดกันนําเสนอผลการสํารวจ ประโยชนของพืชและสัตวในชีวิตประจําวัน ของตนเองและครอบครัว จากนั้นครูใหนักเรียน ชวยกันรวบรวมขอมูลจากผลการสํารวจ 2. ใหนักเรียนรวมกันอภิปรายผลการทํากิจกรรม พัฒนาการเรียนรู จนสรุปไดวา พืชและสัตว มีประโยชนตอคนในดานปจจัยสี่ คือ เปนอาหาร ทําที่อยูอาศัย ทําเครื่องนุงหม และทํายารักษาโรค 3. ใหกลุมที่ 1 ออกมานําเสนอขอมูลที่ไดจากการ สืบคน 4. ใหนักเรียนชวยกันยกตัวอยางอาหารที่ไดจาก พืชและสัตวใหไดมากที่สุด 5. ใหนักเรียนยกตัวอยางชื่ออาหารที่มีขายอยู ในโรงเรียน จากนัน้ ใหชว ยกันบอกวา อาหารนัน้ มีสวนประกอบใดที่มาจากพืชหรือสัตว ชนิดใดบาง เชน ขาวมันไก สวนที่มาจากพืช คือ ขาว แตงกวา สวนที่มาจากสัตว คือ ไก เลือด ตับ

จ�กก�รทำ�กิจกรรม ทำ�ให้ทร�บว่� พืชและสัตว์มีประโยชน์ ต่อคนในด้�นปัจจัยสี่ ดังนี้

พืชและสัตว์เป็นแหล่งอ�ห�รสำ�คัญของคนเร�

1

๑. เป็นอำหำร อ�ห�รที่คนกินเป็นอ�ห�รที่ได้ม�จ�กพืชและสัตว์ต่�งๆ อำหำรจำกพืช ได้จ�กส่วนต่�งๆ ของพืช เช่น ข้�ว ผักคะน้� ดอกแค มะเขือเทศ กะหลำ�่ ปลี มันสำ�ปะหลัง หัวไชเท้� แครอต เป็นต้น อำหำรจำกสัตว์ ได้จ�กเนื้อ นม และไข่ของสัตว์ เช่น เนื้อหมู เนื้อไก่ เนื้อวัว นมวัว นมแพะ ไข่ไก่ ไข่เป็ด เป็นต้น 32

นักเรียนควรรู 1 อาหาร มนุษยตองการอาหารเพื่อใชเปนแหลงพลังงานในการประกอบกิจกรรม ตางๆ ในชีวิตประจําวัน อาหารสวนใหญมักไดมาจากพืชและสัตว ซึ่งมีสารอาหาร ที่สําคัญ ไดแก โปรตีน คารโบไฮเดรต วิตามิน เกลือแร และไขมัน เมื่อเรากินอาหาร เขาไป จะทําใหรางกายของเรามีการเจริญเติบโตและมีชีวิตอยูได

บูรณาการอาเซียน ครูอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียนเขาใจวา ประเทศไทยสงออกสินคาหลายประเภท เชน ไขมันและนํ้ามันจากพืชและสัตว เครื่องดื่ม เครื่องสําอางและผลิตภัณฑ ทําความสะอาด รวมถึงอุปกรณทางการแพทย และสินคาอื่นๆ อีกมากมาย ไปยังประเทศพมา ลาว กัมพูชา มาเลเซีย และเวียดนาม

32

คู่มือครู

ขอสอบเนน การคิด แนว NT

สัตวในขอใดสามารถใหอาหารแกมนุษยเราได โดยที่ตัวสัตวยังไมตาย 1. หมู 2. ปู 3. ไก 4. กุง วิเคราะหคําตอบ ไกเปนสัตวที่ออกลูกเปนไข ซึ่งเราสามารถนําไขไก มาทําเปนอาหารได และไกก็ยังคงมีชีวิตอยู ดังนั้น ขอ 3. จึงเปน

คําตอบที่ถูกตอง


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

Engage

Explore

อธิบายความรู้ อธิบExplain ายความรู้

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

อธิบายความรู้

๒. ท�ำที่อยู่อำศัย ลำ�ต้นของพืชบ�งชนิด นำ�ม�ใช้ในก�รก่อสร้�งบ้�นเรือนได้ เช่น สัก หว�ย ไผ่ เต็ง รัง เป็นต้น ส่วนพืชบ�งชนิด ใบมีคว�มเหนียวนำ�ม�เย็บติด กันเป็นตับใช้มงุ หลังค�ได้ เช่น ไม้สักมีคว�มสวยง�มและทนท�น สมัยก่อนคนจึง นิยมนำ�ม�สร้�งบ้�นเรือน แต่ปัจจุบันไม้สักเป็นไม้ที่ ใบจ�ก ใบตองตึง เป็นต้น มีร�ค�แพง และห�ย�ก ๓. ท�ำเครื่องนุ่งห่ม เส้นใยจ�กลำ�ต้นหรือใบของพืชบ�งชนิด นำ�ม�ใช้ทอ 1 2 เสื้อผ้�ได้ เช่น ฝ้�ย ลินิน สับปะรด เป็นต้น ส่วนขน เส้นใย และ หนังของสัตว์บ�งชนิดใช้ทำ�เครื่องนุ่งห่มได้ เช่น ขนแกะ ใยไหม หนังวัว เป็นต้น ▲

รังไหมจะถูกนำ�ไปต้มและส�วเส้นไหมออกม�เพือ่ ใช้ ทอผ้�

Explain

1. ใหกลุมที่ 2 ออกมานําเสนอขอมูลที่ไดจากการ สืบคน 2. ครูอาจนําภาพบานที่สรางจากไมมาให นักเรียนดู จากนั้นอธิบายเพิ่มเติมวา ปจจุบัน บานสวนใหญสรางดวยอิฐและปูน เพราะไมที่ ใชในการสรางที่อยูอาศัยมีจํานวนลดลงและ มีราคาแพง 3. ใหกลุมที่ 3 ออกมานําเสนอขอมูลที่ไดจากการ สืบคน 4. ครูอาจนําเสื้อผาที่ทําจากผาฝาย ผาลินิน หรือ ผาไหม มาใหนักเรียนดูและสังเกตลักษณะ 5. ครูถามนักเรียนวา • ใยไหม ไดมาจากพืชหรือสัตวชนิดใด (ตอบ ไดมาจากสัตว คือ ผีเสื้อกลางคืน ชนิดหนึ่ง ซึ่งวงจรชีวิตเปน 4 ระยะ ไดแก ไข หนอน ดักแด และผีเสือ้ เมื่อถึงชวงระยะ ที่เปนดักแด (รังไหม) คนเลี้ยงจะนําดักแด ไปตมและสาวเสนไหมออกมา)

ผ้�ไหมยกดอก หัตถกรรมที่มีชื่อเสียงของลำ�พูน

ขอสอบเนน การคิด แนว NT

ปอปลูกตนสักไวเปนจํานวนมาก อีก 10 ป ถึงจะนํามาใชประโยชนได นักเรียนคิดวาปอจะสามารถใชประโยชนจากตนสักไดในดานใด 1. ทําเปนอาหาร 2. ทําเปนที่อยูอาศัย 3. ทําเปนเครื่องนุงหม 4. ทําเปนยารักษาโรค

33

นักเรียนควรรู 1 ลินิน หรือเรียกอีกอยางวา ตนแฟลกซ เปนพืชที่ใหเสนใย โดยนําตนที่แหง ไปทําเสนใย และนําไปปนกับเสนใยสังเคราะหแลวทอเปนผาลินิน 2 สับปะรด ใบของตนสับปะรดนํามาใชในการผลิตเสนใยเพื่อผลิตเปน ผลิตภัณฑตางๆ ได ในประเทศฟลิปปนส มีการนําเสนใยจากใบสับปะรดมาทอ เปนผาบารอง ซึ่งเปนเสื้อผาประจําชาติของประเทศฟลิปปนส

วิเคราะหคําตอบ ตนสักเปนไมยืนตนขนาดใหญ มีลายสวยงาม แข็งแรง และทนทาน จึงนิยมนํามาใชสรางบานเรือน เพื่อเปนที่อยูอาศัย ดังนั้น

ขอ 2. จึงเปนคําตอบที่ถูกตอง

คู่มือครู

33


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

Engage

Explore

อธิบายความรู้

อธิบายความรู้ อธิบExplain ายความรู้

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

Explain

1. ใหกลุมที่ 4 ออกมานําเสนอขอมูลที่ไดจากการ สืบคน 2. ครูสนทนากับนักเรียนวารูจ กั พืชสมุนไพรชนิดอืน่ หรือไม ใหนกั เรียนชวยกันยกตัวอยาง 3. ครูซักถามนักเรียนวา ใครเคยรับประทาน สมุนไพรชนิดใดบาง ใหนักเรียนผลัดกันบอก 4. ครูอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียนเขาใจวา อาหารไทยเปนอาหารที่มีสวนผสมของ พืชสมุนไพรชนิดตางๆ ซึง่ มีประโยชนตอ สุขภาพ เชน ผัดกะเพรา ผัดขิง ตมยํา แกงสม เปนตน ซึ่งอาหารเหลานี้ เด็กๆ มักไมชอบรับประทาน แตอาหารที่ไดจากพืชผักตางๆ มีประโยชน และจําเปนตอรางกาย ดังนั้น นักเรียนจึงตอง รับประทานอาหารที่มีพืชผักดวย 5. ใหนักเรียนรวมกันพูดสรุปประโยชนของพืช และสัตว

๔. ท�ำยำรักษำโรค 1 พืชบ�งชนิดมีคี ณุ สมบัตเิ ป็นสมุนไพรรักษ�โรคต่�งๆ เช่น ว่�นห�งจระเข้ ขิง ข่� ตะไคร้ กะเพร� ขมิ้น เป็นต้น

มะนำว แก้อ�ก�รคันคอ ขับเสมหะ

ขิง ลดอ�ก�รจุกเสียดท้อง ไล่ลม

กระเทียม แก้กล�กเกลื้อน

ตะไคร้ แก้ท้องอืด ท้องเฟ้อ จุกเสียด

พริกไทย ช่วยในก�รไหลเวียนของ โลหิต

หอมแดง แก้หวัด คัดจมูก แก้ไข้ ขับลม

มะกรูด ขับลมในลำ�ไส้ แก้ลม จุกเสียด

ข่ำ ช่วยขับลม แก้ท้องอืด ท้องเฟ้อ ท้องเดิน

กระชำย เป็นย�บำ�รุงหัวใจ ขับปัสส�วะ

ใบบัวบก แก้อ�ก�รชำ้�ใน

มะระขี้นก แก้หวัด แก้ไอ

ทับทิม ขับพย�ธิ รักษ�บิด

นอกจ�กประโยชน์ ในด้�นปัจจัยสี่แล้ว พืชและสัตว์ยังมี ประโยชน์ในด้�นต่�งๆ อีกม�กม�ย à¾×èÍ¹æ ºÍ¡ä´ŒËÃ×ÍäÁ‹Ç‹Ò ¾×ªáÅÐÊÑµÇ ÂѧÁÕ»ÃÐ⪹ µ‹ÍàÃÒã¹´ŒÒ¹ã´ÍÕ¡ºŒÒ§ 34

นักเรียนควรรู 1 สมุนไพร หมายถึง พืชที่มีสรรพคุณในการรักษาโรค หรืออาการเจ็บปวยตางๆ มีคุณคาตอดานสุขภาพของมนุษยอยางมาก สมุนไพรนอกจากจะนํามาใชประโยชนเปนยารักษาโรคแลว ยังสามารถนํา มาใชประโยชนทางดานอื่นๆ อีก เชน นํามาบริโภคเปนอาหาร ทําเปนอาหาร เสริมสุขภาพ เครื่องดื่ม เครื่องสําอาง เปนตน

บูรณาการอาเซียน ครูอธิบายเพิม่ เติมใหนกั เรียนเขาใจวา ไมเพียงแตคนไทยเทานัน้ ทีใ่ ชสมุนไพรในการ รักษาโรค ประเทศเพือ่ นบานของเรา เชน มาเลเซีย ลาว กัมพูชา พมา ก็มกี ารใช สมุนไพรในการรักษาโรคเชนเดียวกัน ซึง่ ทีผ่ า นมาประเทศไทยเปนผูน าํ ดานการสงเสริม การใชยาสมุนไพรในงานสาธารณสุขมูลฐานของกลุม สมาชิกอาเซียน เปนการสนับสนุน การใชยาสมุนไพรในการรักษาโรคและลดการนําเขายาจากตางประเทศ

34

คู่มือครู

ขอสอบเนน การคิด แนว NT

แซมตองการเลี้ยงสัตวไวดูเลน เพื่อความเพลิดเพลิน นักเรียนควรแนะนํา ใหแซมเลี้ยงสัตวชนิดใด 1. ชาง 2. หมู 3. ปลาดุก 4. ปลาทอง วิเคราะหคําตอบ สัตวที่นิยมเลี้ยงไวดูเลน เพื่อความเพลิดเพลิน ควรเปน สัตวที่มีความสวยงาม และไมเปนอันตรายตอผูเลี้ยง ดังนั้น ขอ 4.

จึงเปนคําตอบที่ถูกตอง


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ Expand าใจ ขยายความเข

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

ขยายความเขาใจ

Expand

1. ใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ 5 - 6 คน แลวแจกกระดาษเปลาใหแตละกลุม กลุมละ 1 แผน จากนั้นใหสมาชิกในกลุมรวมกัน คิดวา พืชและสัตวมีประโยชนในดานใดอีก นอกเหนือจากดานปจจัยสี่ โดยเขียนใหได มากที่สุด พรอมกับยกตัวอยางประกอบ 2. ใหแตละกลุมผลัดกันนําเสนอผลงาน 3. ใหนักเรียนรวมกันสรุปประโยชนของพืชและ สัตวจากขอมูลของทุกกลุม 4. ครูนําภาพตนกลวยมาใหนักเรียนดู แลว ใหนักเรียนชวยกันคิดวา สวนตางๆ ของ ตนกลวยสามารถนําไปใชประโยชนได อยางไรบาง

ต้นไม้ใหญ่มีประโยชน์หล�ยด้�น เช่น ให้ร่มเง� ช่วยดูดอ�ก�ศพิษ ช่วยทำ�ให้สภ�พอ�ก�ศชุ่มชื้น

1

ลิงกังเป็นสัตว์ที่ฉลล�ด ช�วสวนมะพร้�วจึงนำ�ม�ฝึก ให้เก็บลูกมะพร้�ว

สุนขั มีประส ระส�ทรั ทรับกลิน่ ได้ดตี �ำ รวจจึงนำ�ม�ฝึกใช้คน้ ห� ย�เสพติด หรือกับระเบิด

35

ขอสอบเนน การคิด แนว NT

ตารางแสดงประโยชนของสัตว 4 ชนิด เปนดังนี้ ชนิดของสัตว

ประโยชนของสัตว ไก เปนอาหาร มา ใชเปนพาหนะ ควาย ใชไถนา สุนัข เลี้ยงไวดูเลน จากขอมูล สัตวชนิดใดมีประโยชนในดานปจจัยสี่ของคนเรา 1. ไก 2. มา 3. ควาย 4. สุนัข วิเคราะหคําตอบ ปจจัยสี่ของคนเรา ไดแก อาหาร ที่อยูอาศัย เครื่องนุงหม และยารักษาโรค ซึ่งถือเปนสิ่งจําเปนในการดํารงชีวิตของคนเรา จากขอมูล ไกเลี้ยงไวเปนอาหาร ดังนั้น ขอ 1. จึงเปนคําตอบที่ถูกตอง

เกร็ดแนะครู ครูใหนักเรียนรวมกันเสนอความคิดเห็นเกี่ยวกับประโยชนของพืชและสัตว ที่มนุษยเรานํามาในชีวิตประจําวัน เพื่อใหนักเรียนไดมีทักษะการคิดและกลา แสดงออกในการเสนอความคิดเห็นของตนเอง

นักเรียนควรรู 1 ลิงกัง เปนหนึ่งในสมาชิกครอบครัวและแรงงานสําคัญของชาวสวนมะพราว แตกอนที่จะนําลิงกังมาเก็บมะพราวไดนั้น ชาวสวนจะตองสงลิงกังไปเปนนักเรียน ที่โรงเรียนฝกการเก็บมะพราวกอน เชน ที่ศูนยฝกลิงกระแดะแจะเพื่อการเกษตร อ.กาญจนดิษฐ จ.สุราษฎรธานี คุณสมบัติของลิงนักเรียน คือ ลิงเพศผูที่มีอายุไมตํ่ากวา 2 ป แตไมเกิน 6 ป เนื่องจากมีความแข็งแรง คูมือครู

35


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

อธิบายความรู้

Engage

Explore

Explain

ขยายความเข้าใจ

ขยายความเข้าใจ Expand าใจ ขยายความเข้

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Expand

1. ใหนักเรียนเขียนแผนผังความคิดแสดง ประโยชนของพืชและสัตวที่มีตอคนลงในสมุด พรอมกับยกตัวอยางชื่อพืชและสัตวประกอบ 2. ใหนักเรียนดูภาพ หนา 36 แลวชวยกันบอกวา พืชและสัตวในภาพมีประโยชนอยางไร 3. ใหนักเรียนทํากิจกรรมรวบยอดที่ 1.4 จาก แบบวัดฯ วิทยาศาสตร ป.2 ✓ แบบวัดฯ ใบงาน แบบฝกฯ ว�ทยาศาสตร ป.2 กิจกรรมรวบยอดที่ 1.4 แบบประเมินตัวช�้วัด ว 1.2 ป.2/1 แบบประเมินผลการเรียนรูตามตัวชี้วัด ประจําหนวยที่ 1 บทที่ 3

กิจกรรมรวบยอด

ตอนที่ ๑ แนวคิดส�ำคัญ ช่วยกันสรุป ครูให้นักเรียนช่วยกันพูดสรุปเกี่ยวกับประโยชน์ของพืชและสัตว์ที่มีต่อคน จ�กนั้นให้เขียนแสดงเป็นแผนผังคว�มคิดลงในสมุด พร้อมกับยกตัวอย่�งชื่อ พืชและชื่อสัตว์ประกอบ ตอนที่ ๒ ลองท�ำดู หนูท�ำได้ ๑. ดูภำพ และบอกว่ำเป็นพืชหรือสัตว์ชนิดใด คนน�ำพืชหรือสัตว์เหล่ำนั้น มำใช้ประโยชน์ในด้ำนใดบ้ำง

กิจกรรมรวบยอดที่ 1.4 แบบประเมินตัวชี้วัด ว1.2 ป.2/1

• อธิบายประโยชนของพืชและสัตวในทองถิ่น ชุดที่ 1

20 คะแนน

1 วาดภาพหรือติดภาพพืชและสัตวในทองถิ่นที่สนใจอยางละ 1 ชนิด จากนั้นเขียนบอก ประโยชนของพืชและสัตวชนิดนั้นมา 3 ขอ (ตัวอยาง)

มะพราว 1) พืชชนิดนี้ คือ ………………………………… มีประโยชน ดังนี้

ผลนํามากินได ขูดเอาเนื้อมาคั้น เฉลย นํ้ากะทิใชทําอาหารและขนม • ใบนํามาสานเปนของเลน …………………………………………………………………. • กานใบทําไมกวาดทางมะพราว …………………………………………………………………. • ลําตนนํามาทําสิ่งของเครื่องใชได …………………………………………………………………. • …………………………………………………………………. ฉบับ ………………………………………………………………….

แมว 2) สัตวชนิดนี้ คือ ………………………………… มีประโยชน ดังนี้ เลี้ยงไวชวยจับหนู เลี้ยงไวเปนเพื่อนเลน • เลี้ยงไวเพื่อความเพลิดเพลิน …………………………………………………………………. • …………………………………………………………………. • ………………………………………………………………….

…………………………………………………………………. …………………………………………………………………. ตัวชี้วัด ว 1.2 ขอ 1 ไดคะแนน คะแนนเต็ม

10 19

36

บูรณาการอาเซียน ครูอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียนเขาใจวา ประเทศในอาเซียนถือเปนแหลงเพาะเลี้ยง สัตวนาํ้ ทีส่ าํ คัญของโลก คือ การเพาะเลีย้ งกุง โดยมีปริมาณการเพาะเลีย้ งรวมกันมาก เปนอันดับ 2 รองจากประเทศจีน และมีบทบาทในการสงออกกุงแชแข็งที่สําคัญของ โลก สําหรับประเทศไทยยังคงเปนผูสงออกปลากระปองและผลิตภัณฑจากเนื้อปลา รายใหญของโลก

มุม IT ครูและนักเรียนศึกษาคลิปวิดีโอ เรื่อง ในหลวงกับโครงการโคนมจิตรลดา ไดจากเว็บไซต www.youtube.com โดยพิมพคําวา โคนม ในชองคนหาแลวคลิก

36

คู่มือครู

ขอสอบเนน การคิด แนว NT

เราเลี้ยงมา วัว ควาย ไวใชประโยชนในขอใด 1. ใชดูเลน 2. ใชแรงงาน 3. ใชเปนอาหาร 4. ใชทําเครื่องนุงหม วิเคราะหคําตอบ มา วัว ควาย เปนสัตวที่เราเลี้ยงไวสําหรับใชแรงงาน เชน ใชในการขับขี่ บรรทุก ลากเข็นขนสง หรือใชในการทําไรไถนา เปนตน

ดังนั้น ขอ 2. จึงเปนคําตอบที่ถูกตอง


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Expand าใจ ขยายความเข

Evaluate ตรวจสอบผล

ขยายความเขาใจ

Expand

ใหนักเรียนตอบคําถามกิจกรรมรวบยอด ตอนที่ 3 หนา 37 ลงในสมุด

ตรวจสอบผล

๒. ให้วำดภำพพืชและสัตว์ที่ตนเองชอบมำอย่ำงละ ๑ ชนิด ลงในสมุด และเขียนบอกประโยชน์ที่ได้จำกพืชและสัตว์ชนิดนั้น ตัวอย่ำงผลงำน

¼Å㪌·íÒÍÒËÒÃ

ควำมรู้เสริมพิเศษ

1

àÊŒ¹ãÂ㪌·ÍàÊ×Íé

Evaluate

1. ครูประเมินผลงานแผนผังความคิด โดย พิจารณาจากความถูกตองสมบูรณของขอมูล และการจัดลําดับขอมูลที่ชัดเจน 2. ครูตรวจสอบวา นักเรียนตอบคําถามไดถูกตอง หรือไม 3. ครูตรวจสอบวา นักเรียนบอกประโยชนของพืช และสัตวที่ตนเองสนใจไดถูกตองหรือไม

หลักฐานแสดงผลการเรียนรู 1. ผลงานแผนผังความคิดแสดงประโยชนของพืช และสัตว 2. กิจกรรมรวบยอดที่ 1.4 จากแบบวัดฯ วิทยาศาสตร ป.2

¼Å㪌ÃѺ»Ãзҹ

ควำมรู้เสริมพิเศษ

ตอนที่ ๓ ฝึกคิด พิชิตค�ำถำม เขียนตอบค�ำถำมต่อไปนี้ลงในสมุด ๑) พืชชนิดใด ใบใช้ห่อของได้ ๒) ผลของพืชชนิดใด นำ�ม�คั้นแล้วให้นำ้�กะทิ ๓) ยกตัวอย่�งพืชที่ใช้ทำ�อ�ห�รได้ม� ๕ ชนิด ๔) พืชชนิดใด นำ�ม�ใช้ทำ�ย�รักษ�โรคได้ ๕) นมที่เร�ดื่มได้จ�กสัตว์ชนิดใดบ้�ง ๖) เร�เลี้ยงสุนัขไว้เพื่อประโยชน์อะไร ๗) ยกตัวอย่�งสัตว์ที่เป็นอ�ห�รของคนม� ๕ ชนิด ๘) สัตว์ชนิดใดที่คนเลี้ยงไว้เพื่อใช้แรงง�น 37

ขอใดไมใชประโยชนของพืช 1. ใหรมเงา 2. เปนอาหาร 3. ใหความอบอุน 4. ทําใหอากาศบริสุทธิ์่

ขอสอบเนน การคิด แนว NT

วิเคราะหคําตอบ พืชไมสามารถใหความอบอุนได เพราะพืชไมไดให พลังงานความรอน ดังนั้น ขอ 3. จึงเปนคําตอบที่ถูกตอง

เกร็ดแนะครู ครูอาจสุมถามนักเรียนเกี่ยวกับประโยชนของพืชและสัตวที่นักเรียนไดทําจาก กิจกรรมรวบยอด โดยใหนักเรียนพูดอธิบายใหเพื่อนในหองฟง เพื่อเปนการนําเสนอ ความรูที่ตนเองไดรับ และเปนการแลกเปลี่ยนความรูกันภายในหองเรียน

นักเรียนควรรู 1 เสนใยใชทอเสื้อ จากการสํารวจทางโบราณคดีที่บานเชียง จังหวัดอุดรธานี ซึ่งมีอายุประมาณ 5,600 -1,800 ป ไดพบเศษผาติดอยูกับเครื่องมือเครื่องใช ซึ่งเปน หลักฐานที่บงบอกไดวา ผูคนในอดีตไดรูจักนําเสนใยจากพืชมาใชทําเครื่องนุงหม มาเปนเวลานานแลว สําหรับเสนใยพืชที่มนุษยนํามาใช เชน ปาน ปอ ฝาย สับปะรด กลวย เปนตน

คูมือครู

37


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

อธิบายความรู้

Engage

Explore

Explain

ขยายความเข้าใจ

ขยายความเข้าใจ Expand าใจ ขยายความเข้

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Expand

ครูใหนักเรียนกลับไปทําการทดลองนี้ที่บาน โดยรวมกันกําหนดวันและระยะเวลา เพื่อนํา ผลการทดลองมารวมกันอภิปรายในชั้นเรียน อีกครั้งหนึ่ง

สนุกคิดวิทยาศาสตร์

รากซิกแซ็ก

ทําไมตนพืชถึงตั้งตรง เรามาสนุกกับการหาคําตอบกันดีกวา ลองปลูกพืชดวย วิธีที่แตกตางจากเดิม แลวมาดูกันวา เราจะทําใหตนพืชสับสนไดไหม

อุปกรณ ๑. เมล็ดพืชที่งอกแล้ว เชน เมล็ดถั่วเขียว ๒. หนังยาง ๒ เส้น ๓. กระดาษ ๒ แผน ๔. แผนแก้ว ๒ แผน ๕. กะละมังขนาดเล็ก ๑ ใบ

วิธีทดลอง ๑. นําเมล็ดพืชที่งอกแลววางตรงกลางระหวาง กระดาษ ๒ แผน ๒. นําแผนแกว ๒ แผน มาประกบกับกระดาษ ทั้งสองขาง แลวใชหนังยางมัดแผนแกวให ติดกัน ๓. ใสนํ้าลงในกะละมังเล็กนอย จากนั้นวาง แผนแกวตั้งลงในกะละมังที่ใสนํ้า แลวนํา กะละมังไปวางไวใกลกับหนาตาง ๔. กลับดานแผนแกวทุกวัน และสังเกตรากที่ งอกออกมา

เกิดอะไรขึ้น รากของพื ช จะเจริ ญ เติ บ โตลงด า นล า ง เสมอ สวนลําตนจะเติบโตขึ้นดานบน เพราะ พืชมีการตอบสนองตอแรงดึงดูดของโลก โดย รากเจริญเติบโตลงในดิน สวนยอดของพืช จะเจริญเติบโตขึ้นในทิศทางตรงกันขามกับ แรงดึงดูดของโลก

38

เกร็ดแนะครู การทดลองเปนสิ่งสําคัญตอการเรียนการสอนวิทยาศาสตร ครูควรกระตุนให นักเรียนไดกลับไปทําการทดลองเองที่บาน ซึ่งจะทําใหนักเรียนไดเรียนรูวิธีคิด และฝกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร

ขอสอบเนน การคิด แนว NT แสง อุณหภูมิ สัมผัส

ยอดพืชเอนเขาหาแสง แมวเลียอุงเทา A

จากความสัมพันธของสิ่งเราและพฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต A หมายถึงเหตุการณใด 1. ไมยราบหุบใบ 2. กิ้งกานอนผึ่งแดด 3. มานตาแมวขยายกวางขึ้น 4. คางคาวออกหากินในเวลาพลบคํ่า วิเคราะหคําตอบ ไมยราบจะหุบใบทันทีเมือ่ ถูกสัมผัส ซึง่ เปนการตอบสนอง ตอสัมผัสของตนไมยราบ ดังนั้น ขอ 1. จึงเปนคําตอบที่ถูกตอง

38

คู่มือครู


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

อธิบายความรู้

ขยายความเข้าใจ

Engage

Explore

Explain

Expand

ตรวจสอบผล Evaluate ตรวจสอบผล Evaluate

ตรวจสอบผล  

แร่ธ�ตุทำ�ให้พืชเติบโต ช่วยละล�ยแร่ธ�ตุ ลำ�เลียงแร่ธ�ตุไปยังส่วนต่�งๆ อ�ก�ศ แก๊สออกซิเจนใช้ห�ยใจ แก๊สค�ร์บอนไดออกไซด์ใช้ในก�รสร้�งอ�ห�ร แสงแดด ใช้ในก�รสร้�งอ�ห�ร 

ัย ใ

อ�ห�ร ทำ�ให้สัตว์เจริญเติบโตและมีชีวิตรอด นำ้� เป็นส่วนประกอบที่สำ�คัญของร่�งก�ย ทำ�ให้ร่�งก�ยทำ�ง�นได้ต�มปกติ อ�ก�ศ แก๊สออกซิเจนใช้ในก�รห�ยใจ

ข อ ง สัต ว์

ร ง ช ีวิ ต

 

ของพชื

ป จ จ

ร ด �ำ นกำ

กำรตอบสนองต่อสิ�งเร้ำ

ตัวอย่ำงเช่น แสง พืชเจริญเติบโตโดยโน้ม เข้�ห�แสง อุณหภูมิ ต้นสักผลัดใบในฤดูหน�ว ก�รสัมผัส ไมยร�บหุบใบเมื่อถูกสัมผัส 

ตั ว์ ของส 

ªÕÇÔµ¾×ª ªÕÇÔµÊѵÇ

ประโย

ช น์ 

   

ทำ�อ�ห�ร ทำ�ที่อยู่อ�ศัย ทำ�เครื่องนุ่งห่ม ทำ�ย�รักษ�โรค

   

ของ

พื ช

สั

ตัวอย่ำงเช่น แสง ไส้เดือนดินหน�แสง อุณหภูมิ นกน�งแอ่นอพยพ ลงใต้เพื่อหน� อ�ก�ศหน�ว ก�รสัมผัส อึ�งอ่�งพองตัวเมื่อถูก สัมผัส  

ตว์

ของ

เมื่อเรียนจบหนวยการเรียนรูนี้แลว ครูให นักเรียนแตละคนตรวจสอบตนเองในแตละหัวขอ ถานักเรียนสามารถปฏิบัติในแตละหัวขอได แสดงวา เกิดความรูความเขาใจในเรื่องเหลานั้น แตถาหัวขอใด นักเรียนปฏิบัติไมได ใหครูสอน ซอมเสริมหรือแนะนําเพิ่มเติม

สาระสําคัญ จดจําไว้

ของพชื

อ�ห�ร นำ้�

Evaluate

เช่น ผักชี คะน้� กะหลำ่�ปลี ตำ�ลึง เช่น สัก ไผ่ หว�ย จ�ก เช่น ฝ้�ย ลินิน เช่น ขิง ข่� ตะไคร้

  

ทำ�อ�ห�ร

เช่น กุง้ หอย เป็ด ไก่ หมู ใช้แรงง�น เช่น วัว คว�ย เป็นพ�หนะ เช่น ช้�ง ม้� เลี้ยงเพื่อคว�มเพลิดเพลิน เช่น นก ปล�ทอง กระต่�ย 

ตรวจสอบตนเอง นักเรียนลองสังเกตตนเองดูว่ำ ปฏิบัติตำมสิ�งต่ำงๆ เหล่ำน�้ได้หรือไม่ ❏ อธิบ�ยปัจจัยที่จำ�เป็นต่อก�รดำ�รงชีวิตของพืชได้ ❏ อธิบ�ยปัจจัยที่จำ�เป็นต่อก�รดำ�รงชีวิตของสัตว์ ได้ ❏ สังเกตและอธิบ�ยก�รตอบสนองต่อสิ�งเร้�ของพืชได้ ❏ สังเกตและอธิบ�ยก�รตอบสนองต่อสิ�งเร้�ของสัตว์ ได้ ❏ บอกประโยชน์ของพืชและสัตว์ ในท้องถิ�นของตนเองได้

39

ขอสอบเนน การคิด แนว NT

ขอมูลแสดงการตอบสนองตอสิ่งเราของไสเดือนดิน เปนดังนี้ สิ่งเรา

การตอบสนองตอสิ่งเรา อาหาร เคลื่อนที่เขาหา แสง เคลื่อนที่หนี กอนหิน ไมตอบสนอง นํ้า เคลื่อนที่เขาหา จากขอมูล ไสเดือนดินตองการสิ่งเราใดบางในการดํารงชีวิต 1. อาหาร และแสง 2. แสง และกอนหิน 3. กอนหิน และนํ้า 4. อาหาร และนํ้า

เกร็ดแนะครู เมื่อเรียนจบหนวยนี้แลว ครูใหนักเรียนชวยกันสรุปความรูทั้งหมดที่ไดจาก หนวยการเรียนรูนี้ โดยครูใชเทคนิคการเขียนแผนผังความคิดเปนเครื่องมือในการ ใหนักเรียนไดระดมสมองในการสรุปบทเรียน โดยใหนักเรียนผลัดกันออกมาเขียน สิ่งที่ตนเองรูในรูปแแผนผังความคิด และรวมกันตรวจสอบขอมูลในแผนผังความคิด อีกครั้ง โดยครูชวยใหคําแนะนําเพื่อใหนักเรียนสรุปความรูไดถูกตอง

วิเคราะหคําตอบ จากขอมูล ไสเดือนดินมีการตอบสนองตออาหารและนํ้า โดยการเคลื่อนที่เขาหา แสดงวา ไสเดือนดินตองการอาหารและนํ้าในการ ดํารงชีวิต ดังนั้น ขอ 4. จึงเปนคําตอบที่ถูกตอง คู่มือครู

39


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.