8858649120762

Page 1

คูมือครู 㪌»ÃСͺ¡ÒÃÊ͹ËÇÁ¡Ñº

˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ©ºÑº Í- .

ภาพปกนี้มีขนาดเทากับหนังสือเรียนฉบับจริงของนักเรียน

กระบวนการสอนแบบ 5 Es ชวยสรางทักษะการเรียนรู กิจกรรมมุงพัฒนาทักษะการคิด คำถาม + แนวขอสอบเพื่อยกผลสัมฤทธิ์ O-NET กิจกรรมบูรณาการเตรียมพรอมสู ASEAN 2558


เอกสารประกอบคูมือครู

กลุมสาระการเรียนรู สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

สังคมศึกษาฯ ชั้นประถมศึกษาปที่

2

สําหรับครู

คูมือครู Version ใหม

ลักษณะเดน

ขยายพื้นที่รูปเลมใหญขึ้นกวาเดิม จัดแบงพื้นที่ออกเปนโซน เพื่อคนหาขอมูลไดงาย สะดวก รวดเร็ว และดูเปนระเบียบ กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

เปาหมายการเรียนรู สมรรถนะของผูเรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค

หน า

โซน 1 กระตุน ความสนใจ

Engage

สํารวจคนหา

Explore

อธิบายความรู

Explain

ขยายความเขาใจ

Expand

ตรวจสอบผล

หน า

หนั ง สื อ เรี ย น

โซน 1

หนั ง สื อ เรี ย น

Evaluate

ขอสอบเนน การคิด ขอสอบเนน การคิด แนว NT แนว O-NET ขอสอบ

โซน 2

เกร็ดแนะครู

O-NET

บูรณาการเชื่อมสาระ

โซน 3

กิจกรรมสรางเสริม กิจกรรมทาทาย

นักเรียนควรรู

โซน 3

โซน 2 บูรณาการอาเซียน มุม IT

No.

คูมือครู

คูมือครู

No.

โซน 1 ขั้นตอนการสอนแบบ 5Es

โซน 2 ชวยครูเตรียมสอน

โซน 3 ชวยครูเตรียมนักเรียน

เพื่อใหครูเตรียมจัดกิจกรรมการเรียน การสอน โดยแนะนําขั้นตอนการสอนและ การจัดกิจกรรมแบบ 5Es อยางละเอียด เพื่อใหนักเรียนบรรลุตามตัวชี้วัด

เพื่อชวยลดภาระครูผูสอน โดยแนะนํา เกร็ดความรูสําหรับครู ความรูเสริมสําหรับ นักเรียน รวมทั้งบูรณาการความรูสูอาเซียน และมุม IT

เพือ่ ใหครูสะดวกตอการจัดกิจกรรม โดยแนะนํา กิจกรรมบูรณาการเชื่อมระหวางกลุมสาระ วิชา กิจกรรมสรางเสริม กิจกรรมทาทาย รวมถึงเนือ้ หา ที่เคยออกขอสอบ O-NET เก็งขอสอบ O-NET และแนวขอสอบเนนการคิด พรอมคําอธิบาย และเฉลยอยางละเอียด


ที่ใชในคูมือครู

แถบสีและสัญลักษณ

แถบสีแสดงขั้นตอนการสอนและการจัดกิจกรรม แบบ 5Es เพื่อใหครูทราบวาเปนขั้นการสอนขั้นใด

1. แถบสี 5Es สีแดง

สีเขียว

กระตุน ความสนใจ

เสร�ม

สํารวจคนหา

Engage

2

เปนขั้นที่ผูสอนเลือกใช เทคนิคกระตุน ความสนใจ เพื่อโยง เขาสูบทเรียน

สีสม

อธิบายความรู

Explore

เปนขั้นที่ผูสอน ใหผูเรียนสํารวจ ปญหา และศึกษา ขอมูล

สีฟา

Explain

เปนขั้นที่ผูสอน ใหผูเรียนคนหา คําตอบ จนเกิดความรู เชิงประจักษ

สีมวง

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

เปนขั้นที่ผูสอน ใหผูเรียนนําความรู ไปคิดคนตอๆ ไป

เปนขั้นที่ผูสอน ประเมินมโนทัศน ของผูเรียน

2. สัญลักษณ สัญลักษณ

วัตถุประสงค

• เปาหมายการเรียนรู

O-NET

(เฉพาะวิชา ชัน้ ทีส่ อบ O-NET O-NET)

• ชีแ้ นะเนือ้ หาทีเ่ คยออกขอสอบ

O-NET โดยยกตัวอยางขอสอบ พรอมวิเคราะหคาํ ตอบ อยางละเอียด

• เปนตัวอยางขอสอบทีม่ งุ เนน

การคิดใหครูนาํ ไปใชไดจริง รวมถึงเปนการเก็งขอสอบ O-NET ทีจ่ ะออก มีทงั้ ปรนัย - อัตนัย พรอมเฉลยอยางละเอียด

แสดงรองรอยหลักฐานตามภาระงาน ที่ครูมอบหมาย เพื่อแสดงผลการเรียนรู ตามตัวชี้วัด

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

แทรกความรูเสริมสําหรับครู ขอเสนอแนะ ขอควรระวัง ขอสังเกต แนวทางการจัด กิจกรรมและอืน่ ๆ เพื่อประโยชนในการ จัดการเรียนการสอน

ขอสอบเนน การคิด แนว NT

ขยายความรูเพิ่มเติมจากเนื้อหา เพื่อใหครู นําไปใชอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียน ไดมีความรูมากขึ้น

บูรณาการเชื่อมสาระ

• แนะนําแนวทางการจัดกิจกรรม

ความรูห รือกิจกรรมเสริม ใหครูนาํ ไปใช เตรียมความพรอมใหกบั นักเรียนกอนเขาสู ประชาคมอาเซียน 2558 โดยบูรณาการ กับวิชาทีก่ าํ ลังเรียน

กิจกรรมสรางเสริม

• แนะนําแนวทางการจัดกิจกรรม

เกร็ดแนะครู

นักเรียนควรรู

บูรณาการอาเซียน

คูม อื ครู

ขอสอบ

วัตถุประสงค

• หลักฐานแสดงผล การเรียนรู

มุม IT

แสดงเปาหมายการเรียนรูที่นักเรียน ตองบรรลุตามตัวชี้วัด ตลอดจนสมรรถนะ ที่จะตองมี และคุณลักษณะที่พึงเกิดขึ้น กับนักเรียน

สัญลักษณ

แนะนําแหลงคนควาจากเว็บไซต เพื่อใหครู และนักเรียนไดเขาถึงขอมูลความรู ที่หลากหลาย ทั้งไทยและตางประเทศ

• แนวขอสอบ NT ในระดับ

ประถมศึกษา มีทงั้ ปรนัย - อัตนัย พรอมเฉลยอยางละเอียด

(เฉพาะวิชา ชัน้ ทีส่ อบ NT)

กิจกรรมทาทาย

เชือ่ มกับกลุม สาระ ชัน้ หรือวิชาอืน่ ทีเ่ กีย่ วของ

ซอมเสริมสําหรับนักเรียน ทีย่ งั ไมเขาใจเนือ้ หา

• แนะนําแนวทางการจัดกิจกรรม ตอยอดสําหรับนักเรียนทีเ่ รียนรู เนือ้ หาไดอยางรวดเร็ว และ ตองการทาทายความสามารถ ในระดับทีส่ งู ขึน้


คําแนะนําการใชคูมือครู การออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอน คูมือครู รายวิชา สังคมศึกษาฯ ป.2 จัดทําขึ้นเพื่อใหครูผูสอนนําไปใชเปนแนวทางวางแผนการสอนเพื่อพัฒนา ผลสัมฤทธิท์ างการเรียน และประกันคุณภาพผูเ รียน ตามนโยบายของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน (สพฐ.) โดยใชหนังสือเรียน สังคมศึกษาฯ ป.2 ของบริษัท อักษรเจริญทัศน อจท. จํากัด เปนสื่อหลัก (Core Material) ประกอบ เสร�ม การสอนและการจัดกิจกรรมการเรียนรูใหสอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดกลุมสาระการเรียนรู สังคมศึกษา 3 ศาสนา และวัฒนธรรม ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 โดยออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอน ตามหลักการสําคัญ ดังนี้ 1 ออกแบบการสอนเปนหนวยการเรียนรูอิงมาตรฐาน คูม อื ครู รายวิชา สังคมศึกษาฯ ป.2 วางแผนการสอนโดยแบงเปนหนวยการเรียนรูต ามลําดับสาระ (standard) และ หมายเลขขอของมาตรฐานการเรียนรูแ ละตัวชีว้ ดั แตละหนวยจะกําหนดเปาหมายการสอนและจุดประสงคการเรียนรู (Objective Learning) กิจกรรมการเรียนรู (Learning Activities) และแนวทางการประเมินผลการเรียนรู (Learning Evaluation) ไวชัดเจน ครูผูสอนสามารถจัดทําแผนการสอนใหครอบคลุมมาตรฐานการเรียนรู ตัวชี้วัด สมรรถนะ และคุณลักษณะ อันพึงประสงคที่เปนเปาหมายการเรียนรูตามที่กําหนดไวในสาระแกนกลาง (ตามแผนภูมิ) และสามารถบันทึกผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนของผูเรียนแตละคนลงในเอกสาร ปพ.5 ไดอยางมั่นใจ แผนภูมิแสดงองคประกอบของการออกแบบการเรียนรูอิงมาตรฐานและเนนผูเรียนเปนสําคัญ

พผ

ูเ

จุดปร

ะสง

ค ก

ส ภา

รี ย น

รู ีเรยน

มาตรฐานการเรียนรู ตัวชี้วัดชั้นป

ทักษะการคิด การวัดประเมินผล การเรียนรู

กิจกรรมการเรียนรู

เทคนิคการสอน คูม อื ครู


2 การจัดการเรียนรูที่ยึดผูเรียนเปนสําคัญ แนวคิ ด ในการจั ด การเรี ย นการสอนที่ ยึ ด ผู  เ รี ย นเป น สํ า คั ญ พั ฒ นามาจากปรั ช ญาและทฤษฎี ก ารเรี ย นรู  Constructivism ที่เชื่อวาการเรียนรูเปนกระบวนการที่เกิดขึ้นภายในสมองของผูเรียนแตละคน ผูเรียนเปนผูสรางความรู โดยการเชื่อมโยงระหวางสิ่งที่ไดเรียนรูจากบทเรียนใหมกับความรูหรือประสบการณเดิมที่มีอยู ทฤษฎีนี้มีความเชื่อวา ผูเรียนทุกคนไดเรียนรูและมีการสั่งสมความรูความเขาใจเกี่ยวกับสิ่งตางๆ ติดตัวมากอน ทีจ่ ะเขาสูห อ งเรียน ซึง่ เปนการเรียนรูท เี่ กิดจากประสบการณและสิง่ แวดลอมรอบตัวผูเ รียนแตละคน ดังนัน้ การจัดกิจกรรม เสร�ม การเรียนการสอนในแตละหนวยการเรียนรู ผูสอนจะตองคํานึงถึง

4

1. ความรูเดิมของผูเรียน วิธีการสอนที่ดีจะตองเริ่มตนจากจุดที่วา ผูเ รียนมีความรูอ ะไรมาบาง แลวจึงใหความรู หรือประสบการณใหม เพื่อตอยอดจาก ความรูเดิม นําไปสูการสรางความรูความ เขาใจใหม

2. ความรูเดิมของผูเรียนถูกตองหรือไม ผูส อนตองปรับเปลีย่ นความรูความเขาใจ เดิ ม ของผู  เ รี ย นให ถู ก ต อ ง และเป น พฤติ ก รรมการเรียนรูใหมที่มีคุณคาตอ ผูเ รียน เพือ่ สรางเจตคติหรือทัศนคติทดี่ ตี อ การเรียนรูสิ่งเหลานั้น

3. ผูเรียนสรางความหมายสําหรับตนเอง ผูสอนตองสงเสริมใหผูเรียนนําความรูความ เขาใจที่เกิดขึ้นไปลงมือปฏิบัติ เพื่อขยาย ความรูใหลึกซึ้งและมีคุณคาตอตัวผูเรียน มากที่สุด

แนวคิด Constructivism เนนใหผูเรียนสรางความรูโดยผานกระบวนการคิดและความอยากรูของตนเอง โดยมีผูสอนเปนผูสรางบรรยากาศ

การเรียนรูและกระตุนความสนใจ คอยจัดสถานการณใหผูเรียนเกิดความขัดแยงทางความคิดระหวางประสบการณเดิมกับประสบการณ ความรูใ หม เพือ่ กระตนุ ใหผเู รียนเชือ่ มโยงความรู ความคิด กับประสบการณทมี่ อี ยูเ ดิม แลวสังเคราะหเปนความรูห รือแนวคิดใหมๆ ไดดว ยตนเอง

3 การบูรณาการกระบวนการคิด การเรียนรูข องผูเ รียนแตละคนจะเกิดขึน้ ทีส่ มอง ซึง่ เปนอวัยวะทีท่ าํ หนาทีร่ คู ดิ ภายใตสภาพแวดลอมทีเ่ อือ้ อํานวย และไดรบั การกระตนุ จูงใจอยางเหมาะสม สอดคลองกับสภาพจิตใจและความตองการของผูเ รียนแตละคน การจัดกิจกรรม การเรียนรูและสาระการเรียนรูที่สอดคลองกับความสนใจและมีความหมายตอผูเรียน จะชวยกระตุนใหสมองของผูเรียน สามารถรับรูและเรียนรูไดอยางมีประสิทธิภาพตามขั้นตอนการทํางานของสมอง ดังนี้ 1. สมองจะเรียนรูและสืบคน โดยการสังเกต คนหา ซักถาม และทดลอง ปฏิบัติ จนทําใหคนพบความรูความเขาใจ ไดอยางรวดเร็ว

2. สมองจะแยกแยะคุณคาของสิ่งตางๆ โดยการตัดสินใจวิพากษวิจารณ แสดง ความคิดเห็น ยอมรับหรือตอตานตาม อารมณความรูสึกที่เกิดขึ้นในขณะที่เรียนรู

3. สมองจะประมวลเนื้อหาสาระ โดยการสรุปเปนความคิดรวบยอดจาก เรื่องราวที่ไดเรียนรูใหมนําไปผสมผสานกับ ความรูห รือประสบการณเดิมทีถ่ กู จัดเก็บอยูใ น สมอง ผานการกลัน่ กรองเพือ่ สังเคราะหเปน ความรูค วามเขาใจใหมๆ หรือเปนทัศนคติใหม ที่จะเก็บบรรจุไวในสมองของผูเรียน

การเรียนรูที่มีประสิทธิภาพจึงตองเปนการเรียนรูที่เกิดจากกระบวนการคิดของผูเรียน เพราะการเรียนรูจะเกิดขึ้น เมื่อสมองรูคิด และตองเปนการคิดไดครบถวนตามขั้นตอนการทํางานของสมองผูเรียน โดยเริ่มตนจาก

คูม อื ครู

1. ระดับการคิดพื้นฐาน

2. ระดับลักษณะการคิด

3. ระดับกระบวนการคิด

ไดแก การสังเกต การจําแนก การคาดคะเน การสื่อความหมาย การรวบรวมขอมูล การสรุปผล เปนตน

ไดแก การคิดกวาง คิดลึกซึ้ง คิดไกล คิดหลากหลาย คิดคลอง คิดอยางมีเหตุผล เปนตน

ไดแก กระบวนการคิดอยางมี วิจารณญาณ กระบวนการแกปญหา กระบวนการคิดสรางสรรค กระบวนการ คิดสังเคราะหวิจัย เปนตน


5Es การจัดกิจกรรมตามขั้นตอนวัฏจักรการเรียนรู 5Es ขั้นตอนการสอนที่สัมพันธกับขั้นตอนการคิดและการทํางานทางสมองของผูเรียนที่นิยมใชอยางแพรหลาย คือ วัฏจักรการเรียนรู 5Es ซึ่งผูจัดทําคูมือครูไดนํามาใชเปนแนวทางออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนในแตละหนวย ตามลําดับขั้นตอนการเรียนรู ดังนี้ ขั้นที่ 1

กระตุนความสนใจ

(Engage)

เสร�ม

5

เปนขัน้ ทีผ่ สู อนนําเขาสูบ ทเรียน เพือ่ กระตุน ความสนใจของผูเ รียนดวยเรือ่ งราวหรือเหตุการณทนี่ า สนใจโดยใชเทคนิควิธกี ารสอน และคําถามทบทวนความรูหรือประสบการณเดิมของผูเรียน เพื่อเชื่อมโยงผูเรียนเขาสูความรูของบทเรียนใหม ชวยใหผูเรียนสามารถ สรุปประเด็นสําคัญที่เปนหัวขอและสาระการเรียนรูของบทเรียนได จึงเปนขั้นตอนการสอนที่สําคัญ เพราะเปนการเตรียมความพรอม และสรางแรงจูงใจใฝเรียนรูแกผูเรียน

ขั้นที่ 2

สํารวจคนหา

(Explore)

เปนขัน้ ทีผ่ สู อนเปดโอกาสใหผเู รียนลงมือศึกษา สังเกต หรือรวมมือกันสํารวจ เพือ่ ใหเห็นขอบขายของปญหา รวมถึงวิธกี ารศึกษา คนควา การรวบรวมขอมูลความรูที่จะนําไปสูการสรางความเขาใจประเด็นปญหานั้นๆ เมื่อผูเรียนทําความเขาใจในประเด็นหัวขอที่จะ ศึกษาคนควาอยางถองแทแลว ก็ลงมือปฏิบัติเพื่อเก็บรวบรวมขอมูลความรู สํารวจตรวจสอบ โดยวิธีการตางๆ เชน สัมภาษณ ทดลอง อานคนควาขอมูลจากเอกสาร แหลงขอมูลตางๆ จนไดขอมูลความรูตามที่ตั้งประเด็นศึกษาไว

ขั้นที่ 3

อธิบายความรู

(Explain)

เปนขั้นที่ผูสอนมีปฏิสัมพันธกับผูเรียน เชน ใหการแนะนํา ตั้งคําถามกระตุนใหคิด เพื่อใหผูเรียนคนหาคําตอบ และนําขอมูล ความรูจากการศึกษาคนควาในขั้นที่ 2 มาวิเคราะห สรุปผล และนําเสนอผลที่ไดศึกษาคนความาในรูปแบบสารสนเทศตางๆ เชน เขียนแผนภูมิ แผนผังแสดงมโนทัศน เขียนความเรียง เขียนรายงาน เปนตน ในขั้นตอนนี้ฝกใหผูเรียนใชสมองคิดวิเคราะหและ สังเคราะหอยางเปนระบบ

ขั้นที่ 4

ขยายความเขาใจ

(Expand)

เปนขั้นที่ผูสอนเลือกใชเทคนิควิธีการสอนตางๆ ที่สงเสริมใหผูเรียนนําความรูที่เกิดขึ้นไปคิดคนสืบคนตอๆ ไป เพื่อพัฒนาทักษะ การเรียนรูและการทํางานรวมกันเปนกลุม ระดมสมองเพื่อคิดสรางสรรครวมกัน ผูเรียนสามารถนําความรูที่สรางขึ้นใหมไปเชื่อมโยง กับประสบการณเดิมโดยนําขอสรุปทีไ่ ดไปใชอธิบายเหตุการณตา งๆ หรือนําไปปฏิบตั ใิ นสถานการณใหมๆ ทีเ่ กีย่ วของกับชีวติ ประจําวัน ของตนเอง เพื่อขยายความรูความเขาใจใหกวางขวางยิ่งขึ้น ในขั้นตอนนี้ฝกสมองของผูเรียนใหสามารถคิดริเริ่มสรางสรรคอยางมี คุณภาพ เสริมสรางวิสัยทัศนใหกวางไกลออกไป

ขั้นที่ 5

ตรวจสอบผล

(Evaluate)

เปนขัน้ ทีผ่ สู อนประเมินมโนทัศนของผูเ รียน โดยตรวจสอบจากความคิดทีเ่ ปลีย่ นไปและความคิดรวบยอดทีเ่ กิดขึน้ ใหม ตรวจสอบ ทักษะ กระบวนการปฏิบัติ การแกปญหา การตอบคําถามรวบยอด และการเคารพความคิดหรือยอมรับเหตุผลของคนอื่น เพื่อการ สรางสรรคความรูร ว มกัน ผูเ รียนสามารถประเมินผลการเรียนรูข องตนเอง เพือ่ สรุปผลวามีความรูอ ะไรเพิม่ ขึน้ มาบาง เกิดความเขาใจ มากนอยเพียงใด และจะนําความรูเหลานั้นไปประยุกตใชในการเรียนรูเรื่องอื่นๆ ไดอยางไร ผูเรียนจะเกิดเจตคติและเห็นคุณคาของ ตนเองจากผลการเรียนรูที่เกิดขึ้น ซึ่งเปนการเรียนรูที่มีความสุขอยางแทจริง

การจัดกิจกรรมการเรียนรูตามขั้นตอนวัฏจักรการสรางความรูแบบ 5Es จึงเปนรูปแบบการเรียนการสอนที่เนน ผูเ รียนเปนสําคัญอยางแทจริง เพราะสงเสริมใหผเู รียนไดลงมือปฏิบตั ติ ามขัน้ ตอนของกระบวนการสรางความรูด ว ยตนเอง และฝกฝนใหใชกระบวนการคิดและกระบวนการกลุมอยางชํานาญ กอใหเกิดทักษะชีวิต ทักษะการทํางานและทักษะการ เรียนรูท มี่ ปี ระสิทธิภาพ สงผลตอการยกระดับผลสัมฤทธิข์ องผูเ รียน ตามเปาหมายของการปฏิรปู การศึกษาทศวรรษที่ 2 (พ.ศ. 2552-2561) ทุกประการ คูม อื ครู


O-NET การเพิ่มผลสัมฤทธิ์ O-NET

การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามขัน้ ตอนวัฏจักรการเรียนรู 5Es ในแตละหนวยการเรียนรู ทางผูจ ดั ทํา จะเสนอแนะวิธสี อนรูปแบบกิจกรรมการเรียนรู พรอมทัง้ ออกแบบเครือ่ งมือวัดผลประเมินผลทีส่ อดคลองกับตัวชีว้ ดั และสาระการเรียนรูแกนกลางไวทุกขั้นตอน โดยยึดหลักสําคัญ คือ เปาหมายของการวัดผลประเมินผล เสร�ม

6

1. การวัดผลทุกครั้งตองนําผล การวัดมาปรับปรุงพัฒนาผูเรียน เปนรายบุคคล

2. การประเมินผลมีเปาหมาย เพื่อพัฒนาการเรียนรูของผูเรียน จนเต็มศักยภาพ

3. การนําผลการวัดและประเมิน ทุกครั้งมาวางแผนปรับปรุงกิจกรรม การเรียนการสอน การเลือกเทคนิค วิธีการสอน และสื่อการเรียนรูให เหมาะสมกับสภาพจริงของผูเรียน

การทดสอบผูเรียน 1. การใชขอสอบอัตนัย เนนการอาน การคิดวิเคราะห และเขียนสรุปเพิ่มมากขึ้น 2. การใชคําถามกระตุนการคิด ควบคูกับการทําขอสอบที่เนนการคิดตลอดตอเนื่องตามลําดับกิจกรรมการเรียนรูและ ตัวชี้วัด 3. การทดสอบตองดําเนินการทั้งกอนเรียน ระหวางเรียน และเมื่อสิ้นสุดการเรียน การทดสอบระหวางเรียน ต อ งใช ข  อ สอบทั้ ง ชนิ ด ปรนั ย และอั ต นั ย และเป น การทดสอบเพื่ อ วิ นิ จ ฉั ย ผลการเรี ย นของผู  เ รี ย นแต ล ะคน เพื่อวัดการสอนซอมเสริมใหบรรลุตัวชี้วัดทุกตัว 4. การสอบกลางภาค (ถามี) ควรนําขอสอบหรือแบบฝกหัดที่นักเรียนสวนใหญทําผิดบอยๆ มาสรางเปนแบบทดสอบ อีกครัง้ เพือ่ ตรวจสอบความรูค วามเขาใจทีถ่ กู ตอง และประเมินความกาวหนาของผูเรียนแตละคน 5. การสอบปลายภาคเรียนเพื่อวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามตัวชี้วัดที่สําคัญ ควรออกขอสอบใหมีลักษณะเดียวกับ ขอสอบ O-NET โดยเนนการคิดวิเคราะห สังเคราะห เชื่อมโยงประยุกตใช เพื่อสรางความคุนเคย และฝกฝน วิธีการทําขอสอบดวยความมั่นใจ 6. การนําผลการทดสอบของผูเรียนมาวิเคราะห โดยผลการสอบกอนการเรียนตองสามารถพยากรณผลการสอบ กลางภาค และผลการสอบกลางภาคตองทํานายผลการสอบปลายภาคของผูเ รียนแตละคน เพือ่ ประเมินพัฒนาการ ความกาวหนาของผูเรียนเปนรายบุคคล 7. ผลการทดสอบปลายป ปลายภาค ตองมีคาเฉลี่ยสอดคลองกับคาเฉลี่ยของการสอบ NT ที่เขตพื้นที่การศึกษา จัดสอบ รวมทั้งคาเฉลี่ยของการสอบ O-NET ชวงชั้นที่สอดคลองครอบคลุมมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดสําคัญ เพือ่ สะทอนประสิทธิภาพของครูผสู อนในการออกแบบการเรียนรูแ ละประกันคุณภาพผูเ รียนทีต่ รวจสอบผลไดชดั เจน การจัดการเรียนการสอนในแตละหนวยการเรียนรู ตองใหผูเรียนไดสั่งสมความรู สะสมความเขาใจไปทีละเล็ก ละนอยตามลําดับขัน้ ตอนของกิจกรรมการเรียนรู 5Es เพือ่ ใหผเู รียนไดเติมเต็มองคความรูอ ยางตอเนือ่ ง จนสามารถปฏิบตั ิ ชิ้นงานหรือภาระงานรวบยอดของแตละหนวยผานเกณฑประกันคุณภาพในระดับที่นาพึงพอใจ เพื่อรองรับการประเมิน ภายนอกจาก สมศ. ตลอดเวลา คูม อื ครู


ASEAN การเรียนรูสูประชาคมอาเซียน เพื่ออํานวยความสะดวกแกครูผูสอนในการจัดกิจกรรมการเรียนรูบูรณาการอาเซียนศึกษา ผูจัดทําไดวิเคราะห มาตรฐานการเรียนรู และตัวชี้วัดที่มีสาระการเรียนรูสอดคลองกับองคความรูเกี่ยวกับประชาคมอาเซียนในแงมุมตางๆ ครอบคลุมทัง้ ประชาคมการเมืองและความมัน่ คงอาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และประชาคมสังคมและวัฒนธรรม อาเซียน เพื่อสงเสริมการเรียนรูใหผูเรียนเกิดความตระหนัก มีความรูความเขาใจเหมาะสมกับระดับชั้นและกลุมสาระ การเรียนรู โดยเสนอแนะวิธีการจัดกิจกรรมบูรณาการเนื้อหาสาระตางๆ ที่เปนประโยชนตอผูเรียนและเปนการชวย เตรียมความพรอมผูเ รียนทุกคนทีจ่ ะกาวเขาสูก ารเปนสมาชิกของประชาคมอาเซียนไดอยางมัน่ ใจตามขอตกลงปฏิญญา ชะอํา-หัวหิน วาดวยความรวมมือดานการศึกษาเพือ่ บรรลุเปาหมายประชาคมอาเซียนทีเ่ อือ้ อาทรและแบงปน จึงกําหนด เปนนโยบายใหกระทรวงศึกษาธิการจัดการเรียนรูเตรียมความพรอมผูเรียนเขาสูประชาคมอาเซียนภายในป พ.ศ. 2558 ตามแนวปฏิบัติที่สําคัญ ดังนี้

เสร�ม

7

การจัดการเรียนรูส ู ประชาคมการเมืองและความมัน่ คงอาเซียน 1. การสรางความรูความเขาใจ และตระหนักถึงความสําคัญของ กฎบัตรอาเซียน และความรวมมือ ของ 3 เสาหลัก ซึง่ กฎบัตรอาเซียน ในขณะนี้มีสถานะเปนกฎหมายที่ ประเทศสมาชิกจะตองปฏิบัติตาม หลักการที่กําหนดไวเพื่อใหบรรลุ เปาหมายของกฎบัตรมาตราตางๆ

2. การสงเสริมหลักการ ประชาธิปไตยและการสราง สิ่งแวดลอมประชาธิปไตย เพื่อการอยูรวมกันอยางกลมกลืน ภายใตวิถีชีวิตอาเซียนที่มีความ หลากหลายดานสังคมและ วัฒนธรรม

4. การตระหนักในคุณคาของ สายสัมพันธทางประวัติศาสตร และมรดกทางวัฒนธรรมที่มี พัฒนาการรวมกัน เพื่อเชื่อม อัตลักษณและสรางจิตสํานึก ในการเปนประชากรของประชาคม อาเซียนรวมกัน

3. การสงเสริมการศึกษาดาน สิทธิมนุษยชน เพื่อสรางประชาคม อาเซียนใหเปนประชาคมเพื่อ ประชาชนอยางแทจริง สามารถ อยูรวมกันไดบนพื้นฐานการเคารพ ในคุณคาของศักดิ์ศรีแหงความ เปนมนุษยเทาเทียมกัน

5. การสงเสริมสันติภาพ ความ มั่นคง และความปรองดองในสังคม ทั้งระดับประเทศและภูมิภาคของ อาเซียนบนพื้นฐานสันติวิธีและการ อยูรวมกันดวยขันติธรรม

คูม อื ครู


การจัดการเรียนรูส ู ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

เสร�ม

8

1. การพัฒนาทักษะการทํางาน เพื่อเสริมสรางผูเรียนใหมีทักษะ วิชาชีพที่จําเปนสอดคลองกับ ความตองการของตลาดแรงงาน และสถานประกอบการในอาเซียน สามารถเทียบโอนผลการเรียน และการทํางานตามมาตรฐานฝมือ แรงงานในภูมิภาคอาเซียน

2. การเสริมสรางวินัย ความรับผิดชอบ และเจตคติรักการทํางาน สามารถพึ่งพาตนเอง มีทักษะชีวิต ดํารงชีวิตอยางมีความสุข เห็นคุณคา และภูมิใจในตนเอง ในฐานะที่เปนพลเมืองไทยและ อาเซียน

3. การเรียนรูเพื่อพัฒนาตนเอง อยางตอเนื่องตลอดชีวิต ใหมี ทักษะการทํางานตามมาตรฐาน อาชีพ และคุณวุฒิของวิชาชีพสาขา ตางๆ เพื่อรองรับการเตรียมเคลื่อน ยายแรงงานมีฝมือและการเปน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนที่ เขมแข็ง เพื่อสรางขีดความสามารถ ในการแขงขันในเวทีโลก

การจัดการเรียนรูส ู ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน 1. การเสริมสรางความรวมมือ ในลักษณะสังคมที่เอื้ออาทร ของประชากรอาเซียน โดยยึด หลักการสําคัญ คือ ความงดงาม ของประชาคมอาเซียนมาจาก ความแตกตางและหลากหลายทาง วัฒนธรรมที่ลวนแตมีคุณคาตอ มรดกทางวัฒนธรรมของอาเซียน ซึ่งประชาชนทุกคนตองอนุรักษ สืบสานใหยั่งยืน

2. การเสริมสรางคุณลักษณะ ของผูเรียนใหเปนพลเมืองอาเซียน ที่มีศักยภาพในการกาวเขาสู ประชาคมอาเซียนอยางมั่นใจ เปนผูที่มีสุขภาพสมบูรณแข็งแรง มีทักษะการสื่อสาร ทักษะการ ทํางาน ทักษะทางสังคม สามารถ ทํางานรวมกับผูอื่นไดอยาง สรางสรรค และมีองคความรู เกี่ยวกับอาเซียนที่จําเปนตอการ ดํารงชีวิตอยางมีคุณภาพ

4. การสงเสริมการเรียนรูดาน ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี วิถชี วี ติ ความเปนอยูข องเพือ่ นบาน ในอาเซียน เพื่อสรางจิตสํานึกของ ความเปนประชาคมอาเซียนและ ตระหนักถึงหนาที่ของการเปน พลเมืองอาเซียนรวมกัน

3. การสงเสริมการเรียนรูภาษา อังกฤษเพื่อการสื่อสารและการ ทํางานตามมาตรฐานอาชีพที่ กําหนดและสนับสนุนการเรียนรู ภาษาอาเซียนและภาษาเพื่อนบาน เพื่อชวยเสริมสรางสัมพันธภาพทาง สังคม และการอยูรวมกันอยางสันติ ทามกลางความหลากหลายทาง วัฒนธรรม

5. การสรางความรูและความ ตระหนักเกี่ยวกับดานสิ่งแวดลอม ปญหาและผลกระทบตอคุณภาพ ชีวิตของประชากรในภูมิภาค รวมทั้งแนวทางการพัฒนาอยาง ยั่งยืน ใหเปนมรดกสืบทอดแก พลเมืองอาเซียนในรุนหลังตอๆ ไป

กระทรวงศึกษาธิการจึงประกาศนโยบายการปฏิรูปการศึกษาทศวรรษที่ 2 (พ.ศ. 2552-2561) เพื่อเรงพัฒนาเด็ก และเยาวชนไทยใหเปนทรัพยากรมนุษยของชาติที่มีทักษะและความชํานาญ พรอมเผชิญกับความเปลี่ยนแปลงและ การแขงขันทั้งในภูมิภาคอาเซียนและภูมิภาคอื่นๆ ของสังคมโลก ทั้งนี้ผูบริหารสถานศึกษา ครูผูสอน และผูปกครอง ควรรวมมือกันอยางใกลชดิ ในการดูแลชวยเหลือผูเ รียนและจัดประสบการณการเรียนรูเ พือ่ พัฒนาผูเ รียนจนเต็มศักยภาพ เพื่อกาวเขาสูการเปนพลเมืองอาเซียนอยางมีเกียรติภูมิและศักดิ์ศรีความเปนมนุษยของตน คูม อื ครู

คณะผูจัดทํา


ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง สาระที่ 1

สังคมศึกษาฯ (เฉพาะชั้น ป.2)*

ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม

มาตรฐาน ส 1.1 รูและเขาใจประวัติ ความสําคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือ และศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ถูกตอง ยึดมั่นและปฏิบัติตามหลักธรรมเพื่ออยูรวมกันอยางสันติสุข ชั้น ป. 2

ตัวชี้วัด 1. บอกความสําคัญของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือ 2. สรุปพุทธประวัติตั้งแตประสูติ จนถึงการออกผนวช หรือประวัติ ศาสดาที่ตนนับถือตามที่กําหนด

สาระการเรียนรูแกนกลาง • พระพุทธศาสนาเปนเอกลักษณของชาติไทย ➤

3. ชื่นชมและบอกแบบอยาง การดําเนินชีวิตและขอคิดจาก ประวัติสาวก ชาดก เรื่องเลา และศาสนิกชนตัวอยางตาม ที่กําหนด

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

สรุปพุทธประวัติ • ประสูติ - เหตุการณหลังประสูติ - แรกนาขวัญ - การศึกษา - การอภิเษกสมรส - เทวทูต 4 - การออกผนวช • • • • •

สามเณรราหุล วรุณชาดก วานรินทชาดก สมเด็จพระญาณสังวร (สุก ไกเถื่อน) สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช (เจริญ สุวฑฺฒโน)

• หนวยการเรียนรูที่ 1 ศาสนาของเรา บทที่ 3 เราตองทําดี

• หนวยการเรียนรูที่ 1 ศาสนาของเรา บทที่ 2 หลักธรรมนําความสุข

5. ชื่นชมการทําความดีของตนเอง บุคคลในครอบครัว และในโรงเรียน ตามหลักศาสนา

• ตัวอยางการกระทําความดีของตนเองและบุคคลในครอบครัว และในโรงเรียน (ตามสาระในขอ 4)

• หนวยการเรียนรูที่ 1 ศาสนาของเรา บทที่ 3 เราตองทําดี

6. เห็นคุณคาและสวดมนต แผเมตตา มีสติที่เปนพื้นฐานของสมาธิ ในพระพุทธศาสนา หรือ การพัฒนาจิตตามแนวทางของ ศาสนาที่ตนนับถือตามที่กําหนด

• • • • •

• หนวยการเรียนรูที่ 1 ศาสนาของเรา บทที่ 4 ชาวพุทธที่ดี

➤ ➤

7. บอกชื่อศาสนา ศาสดา และความ สําคัญของคัมภีรของศาสนาที่ตน นับถือและศาสนาอื่นๆ

9

• หนวยการเรียนรูที่ 1 ศาสนาของเรา บทที่ 1 ศาสนานารู

พระรัตนตรัย • ศรัทธา โอวาท 3 • ไมทําชั่ว - เบญจศีล • ทําความดี - เบญจธรรม - หิริ-โอตตัปปะ - สังคหวัตถุ 4 - ฆราวาสธรรม 4 - กตัญูกตเวทีตอครู อาจารย และโรงเรียน - มงคล 38 - กตัญู - สงเคราะหญาติพี่นอง • ทําจิตใหบริสุทธิ์ (บริหารจิตและเจริญปญญา) พุทธศาสนสุภาษิต • นิมิตฺตํ สาธุรูปานํ กตฺู กตเวทิตา ความกตัญูกตเวทีเปนเครื่องหมายของคนดี • พฺรหฺมาติ มาตาปตโร มารดาบิดาเปนพรหมของบุตร

4. บอกความหมาย ความสําคัญ และเคารพพระรัตนตรัย ปฏิบัติตามหลักธรรมโอวาท 3 ในพระพุทธศาสนา หรือหลักธรรม ของศาสนาที่ตนนับถือตามที่ กําหนด

เสร�ม

ฝกสวดมนตไหวพระและแผเมตตา รูความหมายและประโยชนของสติและสมาธิ ฝกสติเบื้องตน ฝกสติเบื้องตนดวยกิจกรรมการเคลื่อนไหวอยางมีสติ ฝกใหมีสมาธิในการฟง การอาน การคิด การถาม และการเขียน

ชื่อศาสนา ศาสดา และคัมภีรของศาสนาตางๆ • พระพุทธศาสนา - ศาสดา : พระพุทธเจา - คัมภีร : พระไตรปฎก • ศาสนาอิสลาม - ศาสดา : มุฮัมมัด - คัมภีร : อัลกุรอาน • คริสตศาสนา - ศาสดา : พระเยซู - คัมภีร : ไบเบิล • ศาสนาฮินดู - ศาสดา : ไมมีศาสดา - คัมภีร : พระเวท พราหมณะ อุปนิษัท อารัณยกะ

• หนวยการเรียนรูที่ 1 ศาสนาของเรา บทที่ 1 ศาสนานารู

_________________________________ * สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, กระทรวงศึกษาธิการ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง กลุมสาระ การเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม. (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย, 2551), หนา 6-130.

คูม อื ครู


มาตรฐาน ส 1.2 เขาใจ ตระหนักและปฏิบัติตนเปนศาสนิกชนที่ดี และธํารงรักษาพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือ ชั้น ป. 2

1. ปฏิบัติตนอยางเหมาะสมตอสาวก ของศาสนาที่ตนนับถือตามที่ กําหนดไดถูกตอง 2. ปฏิบัติตนในศาสนพิธี พิธีกรรม และวันสําคัญทางศาสนาตามที่ กําหนดไดถูกตอง

เสร�ม

10

ตัวชี้วัด

สาระที่ 2

สาระการเรียนรูแกนกลาง ➤

การฝกปฏิบัติมรรยาทชาวพุทธ • การพนมมือ • การนั่ง • การไหว • การยืน • การกราบ • การเดิน

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน • หนวยการเรียนรูที่ 1 ศาสนาของเรา บทที่ 4 ชาวพุทธที่ดี

• การเขารวมกิจกรรมและพิธีกรรมที่เกี่ยวเนื่องกับวันสําคัญทางพุทธศาสนา • ระเบียบพิธีการบูชาพระรัตนตรัย • การทําบุญตักบาตร

หนาที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดําเนินชีวิตในสังคม

มาตรฐาน ส 2.1 เขาใจและปฏิบัติตนตามหนาที่ของการเปนพลเมืองดี มีคานิยมที่ดีงามและธํารงรักษาประเพณี และวัฒนธรรมไทย ดํารงชีวิตอยูรวมกันในสังคมไทยและสังคมโลกอยางสันติสุข ชั้น ป. 2

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน • หนวยการเรียนรูที่ 2 คนดีของชุมชน บทที่ 1 กฎของการอยูรวมกัน

1. ปฏิบัติตนตามขอตกลง กติกา กฎ ระเบียบและหนาที่ที่ตอง ปฏิบัติในชีวิตประจําวัน

• ขอตกลง กติกา กฎ ระเบียบ หนาที่ที่ตองปฏิบัติในครอบครัว โรงเรียน สถานที่สาธารณะ เชน โรงภาพยนต โบราณสถาน ฯลฯ

2. ปฏิบัติตนตามมรรยาทไทย

• มรรยาทไทย เชน การแสดงความเคารพ การยืน การเดิน การนั่ง การนอน • หนวยการเรียนรูที่ 2 การทักทาย การรับประทาน คนดีของชุมชน บทที่ 2 เด็กดีมีมรรยาท

3. แสดงพฤติกรรมในการยอมรับ ความคิด ความเชื่อ และการปฏิบัติ ของบุคคลอื่นที่แตกตางกัน โดยปราศจากอคติ

• การยอมรับความแตกตางของคนในสังคม ในเรื่องความคิด ความเชื่อ ความสามารถ และการปฏิบัติตนของบุคคลอื่นที่แตกตางกัน เชน - บุคคลยอมมีความคิดที่มีเหตุผล - การปฏิบัติตนตามพิธีกรรมตามความเชื่อของบุคคล - บุคคลยอมมีความสามารถแตกตางกัน - ไมพูดหรือแสดงอาการดูถูกรังเกียจผูอื่น ในเรื่องของรูปรางหนาตา สีผม สีผิวที่แตกตางกัน

4. เคารพในสิทธิ เสรีภาพของผูอื่น

• สิทธิสวนบุคคล เชน - สิทธิแสดงความคิดเห็น - สิทธิเสรีภาพในรางกาย - สิทธิในทรัพยสิน

• หนวยการเรียนรูที่ 2 คนดีของชุมชน บทที่ 1 กฎของการอยูรวมกัน

มาตรฐาน ส 2.2 เขาใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปจจุบัน ยึดมั่น ศรัทธาและธํารงรักษาไวซึ่งการปกครอง ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข ชั้น ป. 2

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

1. อธิบายความสัมพันธของตนเอง และสมาชิกในครอบครัวในฐานะ เปนสวนหนึ่งของชุมชน

• ความสัมพันธของตนเอง และสมาชิกในครอบครัวกับชุมชน เชน การชวยเหลือกิจกรรมของชุมชน

2. ระบุผูมีบทบาท อํานาจในการ ตัดสินใจในโรงเรียน และชุมชน

• ผูมีบทบาท อํานาจในการตัดสินใจในโรงเรียน และชุมชน เชน ผูบริหาร สถานศึกษา ผูนําทองถิ่น กํานัน ผูใหญบาน

สาระที่ 3

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน • หนวยการเรียนรูที่ 2 คนดีของชุมชน บทที่ 3 ชุมชนของเรา

เศรษฐศาสตร

มาตรฐาน ส 3.1 เขาใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลิตและการบริโภค การใชทรัพยากรที่มีอยูจํากัดได อยางมีประสิทธิภาพและคุมคา รวมทั้งเขาใจหลักการของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อการดํารงชีวิตอยางมี ดุลยภาพ ชั้น ป. 2

คูม อื ครู

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

1. ระบุทรัพยากรที่นํามาผลิตสินคา และบริการที่ใชในชีวิตประจําวัน

• ทรัพยากรที่นํามาใชในการผลิตสินคาและบริการที่ใชในครอบครัว และโรงเรียน เชน ดินสอและกระดาษที่ผลิตจากไม รวมทั้งเครื่องจักร และแรงงานการผลิต • ผลของการใชทรัพยากรในการผลิตที่หลากหลายที่มีตอราคา คุณคา และประโยชนของสินคาและบริการ รวมทั้งสิ่งแวดลอม

2. บอกที่มาของรายไดและรายจาย ของตนเองและครอบครัว

• • • •

การประกอบอาชีพของครอบครัว การแสวงหารายไดที่สุจริตและเหมาะสม รายไดและรายจายในภาพรวมของครอบครัว รายไดและรายจายของตนเอง

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน • หนวยการเรียนรูที่ 3 เศรษฐศาสตรนารู บทที่ 1 สินคาและบริการกับการใชจาย อยางเหมาะสม


ชั้น ป. 2 (ตอ)

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

3. บันทึกรายรับรายจายของตนเอง

• วิธีการทําบัญชีรายรับรายจายของตนเองอยางงายๆ • รายการของรายรับที่เปนรายไดที่เหมาะสมและไมเหมาะสม • รายการของรายจายที่เหมาะสมและไมเหมาะสม

4. สรุปผลดีของการใชจายที่เหมาะสม กับรายไดและการออม

• • • • •

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน • หนวยการเรียนรูที่ 3 เศรษฐศาสตรนารู บทที่ 1 สินคาและบริการกับการใชจาย อยางเหมาะสม

ที่มาของรายไดที่สุจริต การใชจายที่เหมาะสม ผลดีของการใชจายที่เหมาะสมกับรายได การออมและผลดีของการออม การนําเงินที่เหลือมาใชใหเกิดประโยชน เชน การชวยเหลือสาธารณกุศล

มาตรฐาน ส 3.2 เขาใจระบบและสถาบันทางเศรษฐกิจตางๆ ความสัมพันธทางเศรษฐกิจและความจําเปนของการรวมมือกัน เสร�ม 11 ทางเศรษฐกิจในสังคมโลก ชั้น ป. 2

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

1. อธิบายการแลกเปลี่ยนสินคา และบริการโดยวิธีตาง ๆ

• ความหมายและความสําคัญของการแลกเปลี่ยนสินคาและบริการ • ลักษณะของการแลกเปลีย่ นสินคาและบริการโดยไมใชเงิน รวมทั้ง การแบงปน การชวยเหลือ • ลักษณะการแลกเปลี่ยนสินคาและบริการโดยการใชเงิน

2. บอกความสัมพันธระหวางผูซื้อ และผูขาย

• ความหมายและบทบาทของผูซื้อและผูขาย ผูผลิตและผูบริโภคพอสังเขป • ความสัมพันธระหวางผูซื้อและผูข ายในการกําหนดราคาสินคาและบริการ • ความสัมพันธระหวางผูซื้อและผูข าย ทําใหสังคมสงบสุข และประเทศมั่นคง

สาระที่ 5

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน • หนวยการเรียนรูที่ 3 เศรษฐศาสตรนารู บทที่ 2 การแลกเปลี่ยนสินคาและบริการ

ภูมิศาสตร

มาตรฐาน ส 5.1 เขาใจลักษณะของโลกทางกายภาพ และความสัมพันธของสรรพสิ่งซึ่งมีผลตอกันและกัน ในระบบของ ธรรมชาติ ใชแผนทีแ่ ละเครือ่ งมือทางภูมศิ าสตรในการคนหา วิเคราะห สรุป และใชขอ มูลภูมสิ ารสนเทศ อยางมีประสิทธิภาพ ชั้น ป. 2

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน • หนวยการเรียนรูที่ 4 ภูมิศาสตรนาศึกษา บทที่ 1 สิ่งแวดลอมรอบตัว

1. ระบุสิ่งตางๆ ที่เปนธรรมชาติ กับที่มนุษยสรางขึ้น ซึ่งปรากฏ ระหวางโรงเรียนกับบาน

• สิ่งตางๆ ที่เปนธรรมชาติกับที่มนุษยสรางขึ้น ซึ่งปรากฏระหวางโรงเรียน กับบาน

2. ระบุตําแหนงอยางงายและลักษณะ ทางกายภาพของสิ่งตางๆ ที่ปรากฏ ในลูกโลก แผนที่ แผนผัง และภาพถาย

• ตําแหนงอยางงายและลักษณะทางกายภาพของสิ่งตางๆ ที่ปรากฏในลูกโลก • หนวยการเรียนรูที่ 4 แผนที่ แผนผัง และภาพถาย เชน ภูเขา ที่ราบ แมนํ้า ตนไม อากาศ ภูมิศาสตรนาศึกษา ทะเล บทที่ 2 ตําแหนงและลักษณะทางกายภาพ

3. อธิบายความสัมพันธ ของปรากฏการณระหวางโลก ดวงอาทิตย และดวงจันทร

• ความสัมพันธของปรากฏการณระหวางโลก ดวงอาทิตย และดวงจันทร เชน ขางขึ้น - ขางแรม ฤดูกาลตางๆ

• หนวยการเรียนรูที่ 4 ภูมิศาสตรนาศึกษา บทที่ 3 ความสัมพันธของโลก ดวงอาทิตย และดวงจันทร

มาตรฐาน ส 5.2 เขาใจปฏิสัมพันธระหวางมนุษยกับสภาพแวดลอมทางกายภาพที่กอใหเกิดการสรางสรรควัฒนธรรม มีจิตสํานึกและมีสวนรวมในการอนุรักษทรัพยากรและสิ่งแวดลอม เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน ชั้น ป. 2

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน • หนวยการเรียนรูที่ 4 ภูมิศาสตรนาศึกษา บทที่ 1 สิ่งแวดลอมรอบตัว

1. อธิบายความสําคัญและคุณคา ของสิ่งแวดลอมทางธรรมชาติ และทางสังคม

• คุณคาของสิ่งแวดลอมทางธรรมชาติ เชน การประกอบอาชีพ • คุณคาของสิ่งแวดลอมทางสังคม เชน สิ่งปลูกสรางเพื่อการดํารงชีพ

2. แยกแยะและใชทรัพยากร ธรรมชาติที่ใชแลวไมหมดไป และที่ใชแลวหมดไปไดอยางคุมคา

• ความหมายของทรัพยากรธรรมชาติ • ประเภททรัพยากรธรรมชาติ - ใชแลวหมดไป เชน แร - ใชแลวไมหมด เชน บรรยากาศ นํ้า - ใชแลวมีการเกิดขึ้นมาทดแทนหรือรักษาไวได เชน ดิน ปาไม สัตวปา - วิธีใชทรัพยากรอยางคุมคา

3. อธิบายความสัมพันธของฤดูกาล กับการดําเนินชีวิตของมนุษย

• ความสัมพันธของฤดูกาลกับการดําเนินชีวิตของมนุษย

• หนวยการเรียนรูที่ 4 ภูมิศาสตรนาศึกษา บทที่ 3 ความสัมพันธของโลก ดวงอาทิตย และดวงจันทร

4. มีสวนรวมในการฟนฟู ปรับปรุง สิ่งแวดลอมในโรงเรียนและชุมชน

• การเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดลอม • การรักษาและฟนฟูสิ่งแวดลอม

• หนวยการเรียนรูที่ 4 ภูมิศาสตรนาศึกษา บทที่ 1 สิ่งแวดลอมรอบตัว

หมายเหตุ : สาระที่ 4 ประวัติศาสตร แยกเลมอยูในหนังสือเรียนประวัติศาสตร ป.2

คูม อื ครู


คําอธิบายรายวิชา รายวิชา สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปที่ 2 รหัสวิชา ส…………………………………

เสร�ม

12

ศึกษา วิเคราะห เรือ่ งความสําคัญของพระพุทธศาสนาในฐานะเปนเอกลักษณของชาติไทย ประวัตศิ าสนา คัมภีรแ ละหลักธรรมของศาสนาตางๆ การปฏิบตั ติ นในพิธกี รรมทางศาสนา การทําความดีตามหลักธรรมของ ศาสนา ขอตกลง กฎ ระเบียบ ในครอบครัว โรงเรียน และชุมชน การยอมรับความแตกตางของบุคคลในสังคม สิทธิสว นบุคคล การมีสว นรวมในกิจกรรมของชุมชน บทบาทอํานาจของบุคคล มรรยาทไทย เชน การแสดง ความเคารพ การเดิน การยืน การนัง่ การนอน เปนตน อาชีพในชุมชน รายรับ-รายจายของครอบครัวและ ตนเอง การออมเงิน การซือ้ ขายแลกเปลีย่ น ผูผ ลิต ผูบ ริโภค ผูซ อื้ ผูข าย ทรัพยากรการผลิต สิง่ แวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติ ความสําคัญ การเปลี่ยนแปลงการรักษาและฟนฟูสิ่งแวดลอม ตําแหนงของสิ่งตางๆ เครือ่ งมือทางภูมศิ าสตร โลกและปรากฏการณทางธรรมชาติ โดยใชกระบวนการคิด กระบวนการสืบคนขอมูล กระบวนการปฏิบตั ิ กระบวนการทางสังคม กระบวน การกลุม กระบวนการแกปญ หา เพือ่ ใหเกิดความรู ความเขาใจ สามารถนําไปปฏิบตั ใิ นการดําเนินชีวติ มีคณุ ธรรมจริยธรรม มีคณุ ลักษณะ อันพึงประสงคในดานรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย มีหลักธรรมในการดําเนินชีวิต รักความเปนไทย มีจติ สาธารณะ และสามารถดําเนินชีวติ ในสังคมไดอยางสันติสขุ ตัวชี้วัด ส 1.1 ส 1.2 ส 2.1 ส 2.2 ส 3.1 ส 3.2 ส 5.1 ส 5.2

คูม อื ครู

กลุมสาระการเรียนรู สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ภาคเรียนที่ 1-2 เวลา 50 ชั่วโมง/ป

ป.2/1 ป.2/1 ป.2/1 ป.2/1 ป.2/1 ป.2/1 ป.2/1 ป.2/1

ป.2/2 ป.2/2 ป.2/2 ป.2/2 ป.2/2 ป.2/2 ป.2/2 ป.2/2

ป.2/3

ป.2/4

ป.2/3

ป.2/4

ป.2/3

ป.2/4

ป.2/3 ป.2/3

ป.2/4 รวม 28 ตัวชี้วัด

ป.2/5

ป.2/6

ป.2/7


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ÃÒÂÇÔªÒ¾×é¹°Ò¹

Êѧ¤ÁÈÖ¡ÉÒ ÈÒÊ¹Ò áÅÐÇѲ¹¸ÃÃÁ ».ò ªÑé¹»ÃжÁÈÖ¡ÉÒ»‚·Õè ò

¡ÅØ‹ÁÊÒÃСÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ Êѧ¤ÁÈÖ¡ÉÒ ÈÒÊ¹Ò áÅÐÇѲ¹¸ÃÃÁ µÒÁËÅÑ¡ÊÙµÃ᡹¡ÅÒ§¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñé¹¾×é¹°Ò¹ ¾Ø·¸ÈÑ¡ÃÒª òõõñ

¼ÙŒàÃÕºàÃÕ§ ¹Ò§ÊÒÇàÂÒÇÅѡɳ ÍÑ¡Éà ¹Ò§Êؾ¹ ·ÔÁÍíèÒ ¹Ò§ÊÒÇÇÔÃÔÂÐ ºØÞÂйÔÇÒʹ ¼ÙŒµÃǨ

¹Ò§ÊÒÇÊÃÑʹѹ· ÈÃÕ»ÃÐ·Ñ¡É ¹Ò§ÍÁÃÒÀó ¤§ÊíÒÃÒÞ ¹ÒÂÇÑÅÅÀ àÅÔÈÈÃÕ

ºÃóҸԡÒà ¹Ò§ÇÅѾÃó ºØÞÁÕ

¾ÔÁ¾ ¤ÃÑ駷Õè õ

ʧǹÅÔ¢ÊÔ·¸ÔìµÒÁ¾ÃÐÃÒªºÑ- - ÑµÔ ISBN : 978-616-203-259-2 ÃËÑÊÊÔ¹¤ŒÒ ñòñóðõñ

¤Œ¹¤ÇÒÁÃÙŒ¢ÂÒ¤ÇÒÁ¤Ô´¨Ò¡

¾ÔÁ¾ ¤ÃÑ駷Õè ñ ÃËÑÊÊÔ¹¤ŒÒ ñòôóðó÷

EB GUIDE

ที่พิมพกํากับหัวขอสําคัญในหนังสือเรียนหลักสูตรใหม ชั้น ป.๔ ขึ้นไป ผาน www.aksorn.com ไปยังแหลงความรูทั่วไทย-ทั่วโลก


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

¤íÒ¹íÒ ´ŒÇ¡ÃзÃǧÈÖ¡ÉÒ¸Ô¡ÒÃä´ŒÁÕ¤íÒÊÑè§ãˌ㪌ËÅÑ¡ÊٵáÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñé¹¾×é¹°Ò¹ ¾Ø·¸ÈÑ¡ÃÒª òõôô ã¹âçàÃÕ¹·ÑÇè ä»·Õ¨è ´Ñ ¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñ¹é ¾×¹é °Ò¹ã¹»‚¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ òõôö áÅШҡ¡ÒÃÈÖ¡ÉÒÇÔ¨ÂÑ áÅеԴµÒÁ ¼Å¡ÒÃ㪌ËÅÑ¡ÊٵáÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñ¹é ¾×¹é °Ò¹ ¾Ø·¸ÈÑ¡ÃÒª òõôô ¨Ö§¹íÒä»Ê‹¡Ù ÒþѲ¹ÒËÅÑ¡ÊÙµÃ᡹¡ÅÒ§ ¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñ¹é ¾×¹é °Ò¹ ¾Ø·¸ÈÑ¡ÃÒª òõõñ «Ö§è ÁÕ¤ÇÒÁàËÁÒÐÊÁáÅЪѴਹ à¾×Íè ãˌʶҹÈÖ¡ÉÒä´Œ¹Òí ä» ãªŒà»š¹¡Ãͺ·Ôȷҧ㹡ÒèѴËÅÑ¡ÊÙµÃʶҹÈÖ¡ÉÒáÅШѴ¡ÒÃàÃÕ¹¡ÒÃÊ͹à¾×Íè ¾Ñ²¹Òà´ç¡áÅÐàÂÒǪ¹ ·Ø¡¤¹ã¹ÃдѺ¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñ¹é ¾×¹é °Ò¹ãËŒÁ¤Õ ³ Ø ÀÒ¾´ŒÒ¹¤ÇÒÁÃÙŒ áÅзѡÉзըè Òí ໚¹ÊíÒËÃѺ¡ÒôíÒçªÕÇµÔ ã¹Êѧ¤Á·ÕèÁÕ¡ÒÃà»ÅÕè¹á»Å§ áÅÐáÊǧËÒ¤ÇÒÁÃÙŒà¾×è;Ѳ¹Òµ¹àͧÍ‹ҧµ‹Íà¹×èͧµÅÍ´ªÕÇÔµ ˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ Êѧ¤ÁÈÖ¡ÉÒÏ ».ò àÅ‹Á¹Õé¨Ñ´·íÒ¢Öé¹ÊíÒËÃѺ㪌»ÃСͺ¡ÒÃàÃÕ¹¡ÒÃÊ͹ ªÑé¹»ÃжÁÈÖ¡ÉÒ»‚·Õè ò â´Â´íÒà¹Ô¹¡ÒèѴ·íÒãËŒÊÍ´¤ÅŒÍ§µÒÁ¡Ãͺ¢Í§ËÅÑ¡Êٵ÷ء»ÃСÒà ʋ§àÊÃÔÁ ¡Ãкǹ¡ÒäԴ ¡ÒÃÊ׺àÊÒÐËÒ¤ÇÒÁÃÙŒ ¡ÒÃá¡Œ»˜ÞËÒ ¤ÇÒÁÊÒÁÒö㹡ÒÃÊ×èÍÊÒà ¡ÒõѴÊԹ㨠¡ÒùíÒä»ãªŒã¹ªÕÇÔµ ÃÇÁ·Ñé§Ê‹§àÊÃÔÁãËŒ¼ÙŒàÃÕ¹ÁÕ¤‹Ò¹ÔÂÁ·Õè´Õ§ÒÁ ¾Ñ²¹Òµ¹àͧÍÂÙ‹àÊÁÍ ÃÇÁ·Ñ駺íÒà¾çÞ »ÃÐ⪹ µ‹ÍÊѧ¤ÁáÅÐʋǹÃÇÁ ˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ Êѧ¤ÁÈÖ¡ÉÒÏ ».ò àÅ‹Á¹Õé ÁÕ ô ˹‹Ç ã¹áµ‹ÅÐ˹‹ÇÂẋ§à»š¹º·Â‹ÍÂæ «Ö觻ÃСͺ´ŒÇ ñ. ໇ÒËÁÒ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ»ÃШíÒ˹‹Ç ¡íÒ˹´ÃдѺ¤ÇÒÁÃÙŒ ¤ÇÒÁÊÒÁÒö¢Í§¼ÙŒàÃÕ¹ Ç‹ÒàÁ×èÍàÃÕ¹¨ºã¹áµ‹ÅÐ˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ µŒÍ§ºÃÃÅØÁҵðҹµÑǪÕéÇÑ´·Õè¡Òí ˹´äÇŒã¹ËÅÑ¡ÊٵâŒÍã´ºŒÒ§ ò. á¹Ç¤Ô´ÊíÒ¤ÑÞ á¡‹¹¤ÇÒÁÃÙŒ·Õè໚¹¤ÇÒÁÃÙŒ¤ÇÒÁࢌÒ㨤§·¹µÔ´µÑǼٌàÃÕ¹ ó. à¹×Íé ËÒ ¤ÃºµÒÁËÅÑ¡ÊÙµÃ᡹¡ÅÒ§ ¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñ¹é ¾×¹é °Ò¹ ¾.È. òõõñ ¹íÒàʹÍàËÁÒÐ àʹÍàËÁÒÐÊÁ ¡Ñº¡ÒÃàÃÕ¹¡ÒÃÊ͹ã¹áµ‹ÅÐÃдѺªÑé¹ ô. ¡Ô¨¡ÃÃÁ ÁÕËÅÒ¡ËÅÒÂÃٻẺãËŒ¹Ñ¡àÃÕ¹»¯ÔºÑµÔ ẋ§à»š¹ (ñ) ¡Ô¨¡ÃÃÁ¹íÒÊ‹Ù¡ÒÃàÃÕ¹ ¹íÒࢌÒÊ‹Ùº·àÃÕ¹à¾×èÍ¡Ãе،¹¤ÇÒÁʹã¨á¡‹¼ÙŒàÃÕ¹ (ò) ¡Ô¨¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ ãËŒ¼àŒÙ ÃÕ¹½ƒ¡»¯ÔºµÑ àÔ ¾×Íè ¾Ñ²¹Ò¤ÇÒÁÃÙጠÅзѡÉлÃШíÒ˹‹Ç (ó) ¡Ô¨¡ÃÃÁÃǺÂÍ´ ãËŒ¼ÙŒàÃÕ¹»¯ÔºÑµÔà¾×èÍáÊ´§¾ÄµÔ¡ÃÃÁ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒÃǺÂÍ´ áÅлÃÐàÁÔ¹¼Å¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒµÒÁÁҵðҹµÑǪÕéÇÑ´»ÃШíÒ˹‹Ç ¤³Ð¼ÙŒ¨Ñ´·íÒ¨Ö§ËÇѧ໚¹Í‹ҧÂÔè§Ç‹Ò ˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ Êѧ¤ÁÈÖ¡ÉÒÏ ».ò àÅ‹Á¹Õé ¨Ð໚¹Ê×èÍ ¡ÒÃàÃÕ¹¡ÒÃÊ͹·ÕÍè Òí ¹Ç»ÃÐ⪹ µÍ‹ ¡ÒÃàÃÕ¹Êѧ¤ÁÈÖ¡ÉÒ à¾×Íè ãËŒÊÁÑ Ä·¸Ô¼ÅµÒÁÁҵðҹµÑǪÕÇé ´Ñ ·Õè¡íÒ˹´äÇŒã¹ËÅÑ¡ÊÙµÃ᡹¡ÅÒ§¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñé¹¾×é¹°Ò¹ ¾.È. òõõñ ·Ø¡»ÃСÒà ¤³Ð¼ÙŒ¨Ñ´·íÒ


กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

คําชี้แจงในการใชสื่อ มาตรฐานตัวชี้วัด ระบุตัวชี้วัดตามที่ หลักสูตรกําหนด

ñ

Expand

กิจกรรมนําสูการเรียน นําเขาสูบทเรียนโดยใชกระตุน ความสนใจและวัดประเมินผลกอนเรียน

แนวคิดสําคัญ แกนความรูที่เปนความเขาใจ คงทนติดตัวผูเรียน

หนวยการเรียนรูท ี่

ขยายความเขาใจ

Explain

º··Õè

ñ

ÈÒʹҹ‹ÒÃÙŒ แนวคิดสําคัญ

ÈÒʹÒ໚¹à¤Ã×Íè §ÂÖ´à˹ÕÂè ǨԵ㨢ͧ¤¹ãËŒ»¯ÔºµÑ ´Ô Õ ¡Òû¯ÔºµÑ µÔ ¹µÒÁËÅÑ¡¸ÃÃÁ ·Ò§ÈÒÊ¹Ò ¡‹ÍãËŒà¡Ô´à»š¹àÍ¡Åѡɳ ¢Í§ªÒµÔ ઋ¹ ¾Ãоط¸ÈÒʹÒÊ͹ãËŒ¤¹ä·ÂÃÙŒ¨Ñ¡ áÊ´§¤ÇÒÁà¤Òþ´ŒÇ¡ÒáÃÒº ¡ÒÃäËÇŒ áÅÐÁÕÇѲ¹¸ÃÃÁ »ÃÐླյ‹Ò§æ ·Õèà¡Ô´¢Ö鹨ҡ ¾Ãоط¸ÈÒʹÒÍÕ¡ÁÒ¡ÁÒ «Ö§è ÊÔ§è àËÅ‹Ò¹ÕÅé ÇŒ ¹à»š¹àÍ¡Åѡɳ ·ÊÕè Òí ¤ÑޢͧªÒµÔä·Â ໚¹µŒ¹

พระพุทธรูปวัดมวง จังหวัดอางทอง

กิจกรรมนําสูการเรียน

ÈÒʹҢͧàÃÒ

เปาหมายการเรียนรูประจําหนวยที่ ๑

เมื่อเรียนจบหนวยนี้ ผูเรียนจะมีความรูความสามารถตอไปนี้ ๑. บอกความสําคัญของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือ (มฐ. ส ๑.๑ ป.๒/๑) ๒. สรุปพุทธประวัติตั้งแตประสูติจนถึงการออกผนวชหรือประวัติศาสดาที่ตนนับถือตามที่กําหนด (มฐ. ส ๑.๑ ป.๒/๒) ๓. ชื่นชมและบอกแบบอยางการดําเนินชีวิตและขอคิดจากประวัติสาวก ชาดก เรื่องเลาและศาสนิกชนตัวอยาง ตามที่กําหนด (มฐ. ส ๑.๑ ป.๒/๓) ๔. บอกความหมาย ความสําคัญ และเคารพพระรัตนตรัย ปฏิบัติตามหลักธรรมโอวาท ๓ ในพระพุทธศาสนาหรือ หลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือตามที่กําหนด (มฐ. ส ๑.๑ ป.๒/๑) ๕. ชื่นชมการทําความดีของตนเอง บุคคลในครอบครัวและในโรงเรียนตามหลักศาสนา (มฐ. ส ๑.๑ ป.๒/๕) ๖. เห็นคุณคาและสวดมนต แผเมตตา มีสติที่เปนพื้นฐานของสมาธิในพระพุทธศาสนาหรือการพัฒนาจิต ตามแนวทางของศาสนาที่ตนนับถือตามที่กําหนด (มฐ. ส ๑.๑ ป.๒/๖) ๗. บอกชื่อศาสนา ศาสดา และความสําคัญของคัมภีรของศาสนาที่ตนนับถือและศาสนาอื่นๆ (มฐ. ส ๑.๑ ป.๒/๗) ๘. ปฏิบัติตนอยางเหมาะสมตอสาวกของศาสนาที่ตนนับถือตามที่กําหนดไดถูกตอง (มฐ. ส ๑.๒ ป.๒/๑) ๙. ปฏิบัติตนในศาสนพิธี พิธีกรรม และวันสําคัญทางศาสนาที่กําหนดไดถูกตอง (มฐ. ส ๑.๒ ป.๒/๒)

เปาหมายการเรียนรู กําหนดระดับความรูความสามารถ ของผูเรียนเมื่อเรียนจบหนวย

เน�้อหา ครบตามหลักสูตรแกนกลางฯ ’๕๑ นําเสนอโดยใชภาษาที่เขาใจงาย เหมาะสมกับการเรียนการสอน

๒. ศาสนาอิสลาม ศาสนาอิสลามเปนศาสนาที่มีคนไทยนับถือมากเปนอันดับ ที่สองรองจากพระพุทธศาสนา สถานที่ เ กิ ด ศาสนาอิ ส ลามได ถื อ กํ า เนิ ด ขึ้ น ในประเทศ ซาอุดีอาระเบีย ประวัติศาสดา ศาสดาของศาสนาอิสลาม คือ นบีมุฮัมมัด พระองคทรงเปนชาวอาหรับ ประสูติที่เมืองเมกกะ ในประเทศ ซาอุดอี าระเบีย พระองคมคี วามสนใจในเรือ่ งศาสนามาตัง้ แตวยั เยาว วันหนึง่ พระองคไปบําเพ็ญสมาธิในถํา้ แลวไดรบั โองการจากพระเจา คือ อัลเลาะห ใหพระองคประกาศศาสนา คัมภีรท างศาสนา คัมภีร ของศาสนาอิสลาม เรียกวาคัมภีร อัลกุรอาน เปนคัมภีรที่รวบรวม คําสอนของศาสนาอิสลาม เพื่อ ใหผูที่นับถือศาสนาอิสลามไดนาํ ไปประพฤติปฏิบัติ การละหมาด เปนหนึ่งในหลักปฏิบัติ ๕ ประการ ▲

?

ที่มุสลิมตองกระทําทุกวัน

คําถามจุดประกาย

๑. พระพุทธศาสนามีความเกี่ยวของกับวิถีชีวิตของนักเรียนอยางไรบาง ๒. การศึกษาเรียนรูพุทธประวัติมีผลดีอยางไร ๓. เพราะเหตุใดเราจึงตองเรียนรูเกี่ยวกับศาสนาอิสลาม

กิจกรรมพัฒนาการเรียนรูท  ี่ ๑ ๑. แบงกลุม รวมกันอภิปรายวาศาสนามีความสําคัญอยางไร ๒. ใหแตละกลุม รวมกันสรุปสาระสําคัญของพระพุทธศาสนาและศาสนาอิสลาม จากนั้นสงตัวแทนออกมารายงานหนาชั้น ๙

คําถามจุดประกาย คําถามที่กระตุนความสนใจ และฝกฝนการคิดวิเคราะห

จากภาพ นักเรียนคิดวา คนในภาพนับถือศาสนาใด และสังเกตจากสิ่งใด

กิจกรรมรวบยอด ใหผูเรียนฝกปฏิบัติเพื่อแสดงพฤติกรรม การเรียนรูรวบยอดและประเมินผล การเรียนรูตามมาตรฐานตัวชี้วัดประจําหนวย กิจกรรมพัฒนาการเรียนรูท ้ ี่ ๒ แบ่งกลุ่ม ให้แต่ละกลุ่มร่วมกันสรุปสาระส�าคัญของศาสนาคริสต์และศาสนา พราหมณ์-ฮินดู จากนั้นส่งตัวแทนออกมารายงานหน้าชั้น

กิจกรรมรวบยอด

กิจกรรมพัฒนาการเรียนรู ใหผูเรียนฝกปฏิบัติเพื่อพัฒนา ความรูและทักษะประจําหนวย

๑. แบ่งกลุ่ม ให้แต่ละกลุ่มร่วมกันอภิปรายว่า ศาสนามีความส�าคัญต่อผู้นับถือ อย่างไร จากนั้นผลัดกันน�าเสนอผลการอภิปรายหน้าชั้น ๒. ให้นักเรียนจับคู่กัน จากนั้นช่วยกันอธิบายเกี่ยวกับชื่อต่อไปนี้ แล้วครูสุ่ม เรียกนักเรียนตอบทีละคู่ ไบเบิล พระพุทธเจ้า พระพรหม พระไตรปิฎก นบีมุฮัมมัด อัลกุรอาน พระเยซู พระเวท พระนารายณ์ ๓. ให้นกั เรียนเขียนสรุปประวัตศิ าสดาของศาสนาทีน่ กั เรียนนับถือมาพอเข้าใจ ๔. ให้นักเรียนสรุปสาระส�าคัญของศาสนาที่ได้เรียนมาลงในสมุดตามหัวข้อ ต่อไปนี้ ศาสนา ศาสดา คัมภีร์ ค�าถามบูรณาการสู่ชีวิต

๑. ยกตัวอย่างประเพณีที่เกี่ยวข้องกับพระพุทธศาสนาที่นักเรียนเคยปฏิบัติ ๒. ถ้ามีคนอยากทราบเกี่ยวกับพุทธประวัติ นักเรียนจะอธิบายได้หรือไม่ อย่างไร ๓. นักเรียนควรปฏิบัติตนอย่างไรต่อผู้ที่นับถือศาสนาต่างจากนักเรียน

12

คําถามบูรณาการสูชีวิต คําถามที่ใหผูเรียนคิดวิเคราะห และนําความรูไปประยุกตใชในชีวิตประจําวัน

ตรวจสอบผล Evaluate


กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

สารบัญ หนวยการเรียนรูที่

บทที่ ๑ บทที่ ๒ บทที่ ๓ บทที่ ๔ หนวยการเรียนรูที่

๑ ศาสนาของเรา

ศาสนานารู หลักธรรมนําความสุข เราตองทําดี ชาวพุทธที่ดี

๒ ๑๓ ๒๖ ๓๙

๒ คนดีของชุมชน

๕๔

๓ เศรษฐศาสตรนารู

๘๑

๔ ภูมิศาสตรนาศึกษา

๑๐๔

บทที่ ๑ กฎของการอยูรวมกัน บทที่ ๒ เด็กดีมีมรรยาท บทที่ ๓ ชุมชนของเรา หนวยการเรียนรูที่

บทที่ ๑ สินคาและบริการกับการใชจายอยางเหมาะสม บทที่ ๒ การแลกเปลี่ยนสินคาและบริการ หนวยการเรียนรูที่

บทที่ ๑ สิ�งแวดลอมรอบตัว บทที่ ๒ ตําแหนงและลักษณะทางกายภาพ บทที่ ๓ ความสัมพันธของโลก ดวงอาทิตย และดวงจันทร ● ●

บรรณานุกรม ภาคผนวก

๕๕ ๗๐ ๗๕ ๘๒ ๙๗

๑๐๕ ๑๑๖ ๑๒๗

๑๓๘ พิเศษ ๑


กระตุน้ ความสนใจ Engage

ส�ารวจค้นหา

อธิบายความรู้

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Expore

Explain

Expand

Evaluate

กระตุน้ ความสนใจ

หน่วยการเรียนรูท ี่

ñ

Engage

ครูถามคําถาม แลวใหนักเรียนตอบคําถาม • จากภาพ หนา 1 เปนภาพอะไร และเกี่ยวของกับศาสนาใด (แนวตอบ พระพุทธรูป ซึ่งเปนศาสนวัตถุ ของพระพุทธศาสนา) • สิง่ ทีป่ รากฏในภาพมีความสําคัญตอชาวพุทธ อยางไร (แนวตอบ พระพุทธรูปเปนรูปเคารพที่แทน องคพระพุทธเจา จึงเปนทีเ่ คารพบูชาของ ชาวพุทธ) • ในหมูบานหรือชุมชนของนักเรียน มีศาสนวัตถุหรือศาสนสถานอะไรบาง และมีความสําคัญอยางไร (แนวตอบ ขึ้นอยูกับคําตอบของนักเรียน แตละคน เชน ในชุมชนของโตงมี พระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ คือ หลวงพอโสธร ซึ่งเปนที่เคารพสักการะของคนในชุมชน และเปนที่เคารพสักการะของชาวพุทธทั่วไป)

พระพุทธรูปวัดม่วง จังหวัดอ่างทอง

ÈÒʹҢͧàÃÒ

เปาหมายการเรียนรูประจําหนวยที่ ๑

เมื่อเรียนจบหน่วยนี้ ผูเรียนจะมีความรูความสามารถต่อไปนี้ ๑. บอกความสําคัญของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือ (มฐ. ส ๑.๑ ป.๒/๑) ๒. สรุปพุทธประวัติตั้งแต่ประสูติจนถึงการออกผนวชหรือประวัติศาสดาที่ตนนับถือตามที่กําหนด (มฐ. ส ๑.๑ ป.๒/๒) ๓. ชื่นชมและบอกแบบอย่างการดําเนินชีวิตและขอคิดจากประวัติสาวก ชาดก เรื่องเล่าและศาสนิกชนตัวอย่าง ตามที่กําหนด (มฐ. ส ๑.๑ ป.๒/๓) ๔. บอกความหมาย ความสําคัญ และเคารพพระรัตนตรัย ปฏิบัติตามหลักธรรมโอวาท ๓ ในพระพุทธศาสนาหรือ หลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือตามที่กําหนด (มฐ. ส ๑.๑ ป.๒/๑) ๕. ชื่นชมการทําความดีของตนเอง บุคคลในครอบครัวและในโรงเรียนตามหลักศาสนา (มฐ. ส ๑.๑ ป.๒/๕) ๖. เห็นคุณค่าและสวดมนต แผ่เมตตา มีสติที่เปนพื้นฐานของสมาธิในพระพุทธศาสนาหรือการพัฒนาจิต ตามแนวทางของศาสนาที่ตนนับถือตามที่กําหนด (มฐ. ส ๑.๑ ป.๒/๖) ๗. บอกชื่อศาสนา ศาสดา และความสําคัญของคัมภีรของศาสนาที่ตนนับถือและศาสนาอื่นๆ (มฐ. ส ๑.๑ ป.๒/๗) ๘. ปฏิบัติตนอย่างเหมาะสมต่อสาวกของศาสนาที่ตนนับถือตามที่กําหนดไดถูกตอง (มฐ. ส ๑.๒ ป.๒/๑) ๙. ปฏิบัติตนในศาสนพิธี พิธีกรรม และวันสําคัญทางศาสนาที่กําหนดไดถูกตอง (มฐ. ส ๑.๒ ป.๒/๒)

เกร็ดแนะครู ครูนําภาพศาสนสถานในทองถิ่นหรือภาพศาสนสถานที่สําคัญในประเทศไทย เชน วัดพระศรีรตั นศาสดาราม (วัดพระแกว) กรุงเทพฯ วัดเบญจมบพิตรฯ กรุงเทพฯ วัดรองขุน เชียงราย เปนตน มาใหนักเรียนดูเพิ่มเติม แลวสนทนาพูดคุยในประเด็น ตางๆ เชน • ศาสนสถานเหลานี้มีลักษณะอยางไร • ศาสนสถานเหลานี้มีความสําคัญอยางไร

คู่มือครู

1


กระตุน้ ความสนใจ Engage

ส�ารวจค้นหา

อธิบายความรู้

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Expore

Explain

Expand

Evaluate

เปาหมายการเรียนรู

1. บอกความสําคัญของพระพุทธศาสนาหรือ ศาสนาที่ตนนับถือได (ส 1.1 ป.2/1) 2. สรุปพุทธประวัติตั้งแตประสูติจนถึงการออก ผนวช หรือประวัติศาสดาที่ตนนับถือตามที่ กําหนดได (ส 1.1 ป.2/2) 3. บอกชื่อศาสนา ศาสดา และความสําคัญ ของคัมภีรของศาสนาที่ตนนับถือ และศาสนาอื่นๆ ได (ส 1.1 ป.2/7)

สมรรถนะของผูเรียน 1. 2. 3. 4.

ความสามารถในการสื่อสาร ความสามารถในการคิด ความสามารถในการใชทักษะชีวิต ความสามารถในการแกปญหา

º··Õè

ñ

ÈÒʹҹ‹ÒÃÙŒ แนวคิดสําคัญ

ÈÒʹÒ໚¹à¤Ã×Íè §ÂÖ´à˹ÕÂè ǨԵ㨢ͧ¤¹ãËŒ»¯ÔºµÑ ´Ô Õ ¡Òû¯ÔºµÑ µÔ ¹µÒÁËÅÑ¡¸ÃÃÁ ·Ò§ÈÒÊ¹Ò ¡‹ÍãËŒà¡Ô´à»š¹àÍ¡Åѡɳ ¢Í§ªÒµÔ ઋ¹ ¾Ãоط¸ÈÒʹÒÊ͹ãËŒ¤¹ä·ÂÃÙŒ¨Ñ¡ áÊ´§¤ÇÒÁà¤Òþ´ŒÇ¡ÒáÃÒº ¡ÒÃäËÇŒ áÅÐÁÕÇѲ¹¸ÃÃÁ »ÃÐླյ‹Ò§æ ·Õèà¡Ô´¢Ö鹨ҡ ¾Ãоط¸ÈÒʹÒÍÕ¡ÁÒ¡ÁÒ «Ö§è ÊÔ§è àËÅ‹Ò¹ÕÅé ÇŒ ¹à»š¹àÍ¡Åѡɳ ·ÊÕè Òí ¤ÑޢͧªÒµÔä·Â ໚¹µŒ¹

กิจกรรมนําสูการเรียน

คุณลักษณะอันพึงประสงค 1. รักชาติ ศาสน กษัตริย 2. ใฝเรียนรู 3. มุงมัน่ ในการทํางาน

กระตุน้ ความสนใจ

Engage

ใหนักเรียนดูภาพ หนา 2 และชวยกันบอกวา • คนในภาพนับถือศาสนาใด สังเกตไดจาก สิ่งใด (แนวตอบ - คนในภาพดานซาย นับถือพระพุทธศาสนา สังเกตไดจากการกราบไหวพระพุทธรูป - คนในภาพดานขวา นับถือศาสนาอิสลาม สังเกตไดจากการแตงกายวาเปนมุสลิม)

จากภาพ นักเรียนคิดว่า คนในภาพนับถือศาสนาใด และสังเกตจากสิ่งใด ๒

เกร็ดแนะครู ครูจัดกระบวนการเรียนรูโดยการใหนักเรียนปฏิบัติ ดังนี้ • สํารวจขอมูลเกี่ยวกับประวัติ ความสําคัญของศาสนา ศาสดา และคัมภีร ของศาสนาที่ตนนับถือ • สรุปขอมูลเกี่ยวกับประวัติ ความสําคัญของศาสนา ศาสดา และคัมภีร ของศาสนาที่ตนนับถือ • อธิบายและอภิปรายเกี่ยวกับประวัติ ความสําคัญของศาสนา ศาสดา และคัมภีรของศาสนาที่ตนนับถือ • วิเคราะหจากประเด็นคําถามและภาพเกี่ยวกับประวัติ ความสําคัญ ของศาสนา ศาสดา และคัมภีรของศาสนาที่ตนนับถือ จนเกิดเปนความรูความเขาใจวา การดําเนินชีวิตของศาสนิกชนเปนผล มาจากการยึดมั่นในหลักธรรมของศาสนา การศึกษาพุทธประวัติหรือประวัติศาสดาของศาสนาที่ตนนับถือ กอใหเกิดความเลื่อมใสศรัทธาในศาสนายิ่งขึ้น

2

คู่มือครู


กระตุน้ ความสนใจ Engage

ส�ารวจค้นหา Explore

อธิบายความรู้ Explain

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

กระตุน้ ความสนใจ

๑ พระพุทธศาสนากอใหเกิดเอกลักษณของชาติไทย

พระพุทธศาสนา เปนศาสนาที่มีความเกี่ยวของกับคนไทย มาชานานแลว ในอดีตตั้งแต่สมัยสุโขทัย คนไทยส่วนใหญ่นับถือ พระพุทธศาสนาและนับถือเรื่อยมาจนถึงปจจุบัน ทําใหพระพุทธศาสนามีอทิ ธิพลต่อวิถชี วี ติ ของคนไทย และก่อใหเกิดเอกลักษณของ ชาติไทยในหลายๆ ดาน เช่น ดานนิสัย คําสอนของพระพุทธศาสนามีอิทธิพลต่อคนไทย เพราะสอนใหคนไทยมีนิสัยอ่อนโยน โอบออมอารี กตัญูกตเวที และมีเมตตา ดานประเพณี ส่วนใหญ่1มักเกี่ยวของกับพระพุทธศาสนา เช่น การทําบุญตักบาตร การบวช การแห่เทียนพรรษา เปนตน

Engage

1. ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับความหมาย ของเอกลักษณของชาติไทย จากนั้นใหรวมกัน ยกตัวอยางสิ่งที่เปนเอกลักษณของชาติไทย เชน ภาษาไทย การแสดงความเคารพ เปนตน 2. ใหนักเรียนดูภาพจากหนังสือ หนา 3 แลวครูสนทนาซักถามนักเรียนวา • พฤติกรรมของเด็กในภาพเปนเอกลักษณ ของชาติไทยหรือไม และเกิดจากการนับถือ ศาสนาใด (แนวตอบ เปน และเกิดจากหลักคําสอนของ พระพุทธศาสนา) 3. ครูนําภาพประเพณีที่เกี่ยวกับพระพุทธศาสนา มาใหนักเรียนดู พรอมกับเลาขอมูลให นักเรียนฟง เพื่อกระตุนความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

พระพุทธศาสนาช่วยหล่อหลอมจิตใจใหคนไทย มีความเคารพและนอบนอมต่อผูใหญ่

๒ ศาสนาตางๆ

การทําบุญตักบาตร เปนพิธีกรรมอย่างหนึ่งของ พระพุทธศาสนา ทีอ่ ยูใ่ นชีวติ ประจําวันของคนไทย

ประเทศไทยเปนประเทศที่ประชาชนมีอิสระในการเลือกนับถือ ศาสนา ดังนั้นในประเทศไทยจึงมีผูคนนับถือศาสนาต่างๆ อยู่หลาย ศาสนา เช่น พระพุทธศาสนา ศาสนาคริสต ศาสนาอิสลาม เปนตน และเราควรศึกษาเกี่ยวกับศาสนาเหล่านั้นใหมีความเขาใจ เพื่ออยู่ ร่วมกันอย่างมีความสุข

ขอสอบเนนการคิด

เพราะเหตุใด พระพุทธศาสนาจึงเปนเอกลักษณของชาติไทย

แนวตอบ เพราะคนไทยสวนใหญนับถือพระพุทธศาสนามาตั้งแตอดีต จนถึงปจจุบัน ซึ่งคําสอนทางพระพุทธศาสนามีผลตอการดําเนินชีวิต ของคนไทย ทั้งทางดานนิสัยและวัฒนธรรมประเพณี จนทําใหเกิดเปน เอกลักษณหลายอยางของชาติไทย

Explore

1. ใหนักเรียนแบงกลุม ใหแตละกลุมสืบคน เอกลักษณของชาติไทยที่ไดรับอิทธิพลมาจาก พระพุทธศาสนามาใหมากที่สุด เพื่อรายงาน หนาชั้น 2. ใหนักเรียนศึกษาขอมูลเรื่องพระพุทธศาสนา จากหนังสือ หนา 3-8

อธิบายความรู้

Explain

1. ใหนักเรียนรวมกันบอกความสําคัญของ พระพุทธศาสนาที่มีตอวิถีชีวิตของชาวพุทธ 2. ใหนักเรียนรวมกันยกตัวอยางประเพณีไทย ที่เกิดจากอิทธิพลของพระพุทธศาสนา 3. ใหนักเรียนรวมกันสรุปวา พระพุทธศาสนา มีความสําคัญและมีอิทธิพลตอวิถีชีวิตของ คนไทย และกอใหเกิดเอกลักษณของชาติไทย ในหลายๆ ดาน

นักเรียนควรรู 1 การบวช ชายไทยที่นับถือพระพุทธศาสนาจะเขาพิธีอุปสมบทไดเมื่อมีอายุครบ 20 ป ชาวพุทธนิยมใหลูกหลานเขาพิธีอุปสมบท เพื่อกลอมเกลาจิตใจ และถือเปน การตอบแทนพระคุณของพอแม

บูรณาการอาเซียน ครูสืบคนขอมูลเกี่ยวกับประเพณีของพระพุทธศาสนาของประเทศในกลุมอาเซียน เชน ประเพณีทําบุญในวันสําคัญทางพระพุทธศาสนาในประเทศไทย ลาว พมา กัมพูชา ซึ่งมีลักษณะที่คลายกัน คือจะมีการทําบุญตักบาตรพระสงฆ มีการฟงธรรม รักษาศีล เปนตน แลวนํามาเลาใหนักเรียนฟง เพื่อใหนักเรียนทราบวา ประเทศที่ นับถือพระพุทธศาสนาตางก็มีเอกลักษณที่ไดรับอิทธิพลจากพระพุทธศาสนา เชนเดียวกับไทย คู่มือครู

3


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

Engaae

Expore

อธิบายความรู้

อธิบายความรู้ Explain

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Explain

1. ใหนักเรียนบอกวา ตนเองนับถือศาสนาใด และเพราะอะไรจึงนับถือศาสนานั้น 2. ครูตั้งประเด็นคําถามใหนักเรียนชวยกันตอบ • พระพุทธศาสนาเกิดขึ้นที่ใด (ตอบ ที่ประเทศอินเดีย) • ศาสดาของพระพุทธศาสนา มีพระนามวา อะไร และมีพระนามเดิมวาอะไร (ตอบ พระพุทธเจา มีพระนามเดิมวา เจาชายสิทธัตถะ) • ศาสนาที่มีผูนับถือในประเทศไทยมีศาสนา อะไรบาง (แนวตอบ เชน พระพุทธศาสนา ศาสนาคริสต ศาสนาอิสลาม เปนตน) • เพราะอะไรในประเทศไทยจึงมีผูที่นับถือ ศาสนาตางๆ หลายศาสนา (แนวตอบ เพราะคนไทยมีเสรีภาพในการเลือก นับถือศาสนา) • เพราะเหตุใดเราจึงตองศึกษาเกี่ยวกับศาสนา ตางๆ ในประเทศไทย (แนวตอบ เพื่อใหมีความรูและความเขาใจใน ศาสนาตางๆ ยอมรับในความคิดเห็น และ ความเชื่อของผูที่นับถือศาสนาตางจากเรา เพื่อจะไดอยูรวมกันอยางสันติสุข) 3. ใหนักเรียนอธิบายเหตุการณคราวๆ เกี่ยวกับ พุทธประวัติ โดยใชภาพลําดับเหตุการณจาก หนังสือ หนา 4 ประกอบการอธิบาย

๑. พระพุทธศาสนา พระพุทธศาสนาถือเปน ศาสนาที่คนไทยส่วนใหญ่นับถือ ในฐานะที่ เ ราเป น คนไทยและ นับถือพระพุทธศาสนา เราจึง ควรศึกษาเกี่ยวกับประวัติของ พระพุทธศาสนาเปนส่วนหนึ่งของวิถีชีวิตของ ชาวไทยส่วนใหญ่ พระพุทธศาสนา สถานที่เกิด พระพุทธศาสนาเกิดขึ้นในประเทศอินเดีย ประวัติศาสดา ศาสดาของพระพุทธศาสนา คือ พระพุทธเจา พระองคมีพระนามเดิมว่า เจาชายสิทธัตถะ เปนพระราชโอรสของ1 พระเจาสุทโธทนะและพระนางสิริมหามายาผูผูปกครองกรุงกบิลพัสดุ ประวั ติ ข องพระพุ ท ธเจ า ตั้ ง แต่ ป ระสู ติ จ นถึ ง ออกผนวช มีเหตุการณที่น่าสนใจ ดังนี้ ▲

เหตุการณสําคัญบางสวนในพุทธประวัติ พระพุทธเจาเผยแผ พระพุทธศาสนา เปนเวลา ๔๕ ป

พระพุทธเจา ประสูติกอน พุทธศักราช ๘๐ ป

เจาชายสิทธัตถะ เสด็จออกผนวช

เจาชายสิทธัตถะ ทอดพระเนตรเห็นเทวทูต ๔

๕ ป

๑๐ ป

๑๕ ป

๒๐ ป

พระพุ ท ธเจ า เสด็ จ ดั บ ขั น ธ ปรินิพพาน

เจ า ชายสิ ท ธั ต ถะตรั ส รู  เ ป น พระพุทธเจา

๒๕ ป

๓๐ ป

๓๕ ป จนถึง ๘๐ ป

พ.ศ. ๑

นักเรียนควรรู 1 กรุงกบิลพัสดุ คือ เมืองหลวงของแควนสักกะในสมัยพุทธกาล เปนเมือง ของพระเจาสุทโธทนะผูเปนพระราชบิดาของเจาชายสิทธัตถะ รวมทั้งยังเปนเมือง ที่พระพุทธเจาทรงเจริญเติบโตและประทับอยูจนกระทั่งพระชนมายุ 29 พรรษา ปจจุบันอยูในเขตประเทศเนปาล ตามประวัติไดกลาวไววา เจาศากยะไดจับจองที่บริเวณแหงนี้และตั้งเมืองขึ้น และตั้งชื่อเมืองใหมนี้วา กบิลพัสดุ เพื่อเปนอนุสรณแกกบิลดาบส เพราะบริเวณ ที่ตั้งเมืองนี้เคยเปนที่อยูอาศัยของดาบสชื่อกบิลมากอน

มุม IT ครูและนักเรียนคนหาวีดทิ ศั นการตนู พุทธประวัติ ไดที่ http://www.youtube.com แลวพิมพคําวา “การตูนพุทธประวัติ” ลงในชองคนหา จากนั้นสนทนาแลกเปลี่ยน ความรูเกี่ยวกับเรื่องที่ดู

4

คู่มือครู

ขอสอบเนนการคิด

การกระทําในขอใด ไมถือเปนการแสดงออกถึงความกตัญูกตเวที ก. การบวช ข. การใสบาตร ค. การนั่งสมาธิ ง. การรดนํ้าผูใหญ วิเคราะหคําตอบ การบวชเปนการทดแทนบุญคุณของบิดามารดา การรดนํ้าผูใหญเปนการแสดงความกตัญูตอผูใหญ การนั่งสมาธิเปน การฝกจิตใหสงบ การใสบาตรเปนการแสดงความกตัญูตอพระสงฆ ดังนั้น ขอ ค. จึงเปนคําตอบที่ถูก


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

Engaae

Expore

อธิบายความรู้ Explain

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

อธิบายความรู้

การประสูติ เมื่อพระนางสิริมหามายาผูเปนมารดาทรง มีพระครรภแก่มาก และใกลถึงเวลาที่จะประสูติ จึงไดขอทูลลา พระสวามีเพื่อจะกลับไปยังเมืองเทวทหะ ซึ่งเปนบานเมืองเดิมของ พระนาง แต่เมื1อ่ พระนางเสด็จไปถึงสวนลุมพินวี นั ไดประสูตพิ ระโอรส ณ ใตตนสาละนั่นเอง เหตุ ก ารณ ห ลั ง ประสู ติ เมื่ อ พระโอรสประสูติได ๕ วัน พระเจาสุทโธทนะก็ไดเชิญพราหมณจํานวน ๑๐๘ คน เพื่อมาร่วม ทําพิธีขนานพระนามแก่พระโอรส ที่ประชุมของพราหมณ ไดขนาน พระนามพระโอรสว่า “สิทธัตถะ” แปลว่า “ผูส าํ เร็จตามความประสงค”

Explain

1. ใหนักเรียนรวมกันสรุปประเด็นหรือเหตุการณ สําคัญตอนประสูติและเหตุการณหลังประสูติ โดยใชขอมูลจากหนังสือ หนา 5 2. ครูอธิบายเพิ่มเติมเหตุการณตอนประสูติและ เหตุการณหลังประสูติเพื่อใหนักเรียนเขาใจ ยิ่งขึ้น 3. ครูถามคําถามวา • เพราะเหตุใดพระนางสิริมหามายาจึงเสด็จ กลับเมืองเทวทหะ เมื่อใกลประสูติพระโอรส (ตอบ เพราะเปนธรรมเนียมของสมัยโบราณ ที่ผูหญิงตองกลับไปคลอดบุตรที่บานเกิด) • เพราะเหตุใดพระเจาสุทโธทนะจึงเชิญ พราหมณมาที่พระราชวัง (ตอบ เพื่อเขารวมพิธีขนานพระนามแก พระโอรส)

พระเจาสุทโธทนะไดเชิญพราหมณมาทําพิธีขนานพระนามพระโอรส

ลําดับ

หลังจาก ๗ ปผ่านไป เจาชายสิทธัตถะไดเจริญวัยมาตาม ๕

ขอสอบเนนการคิด

พระนามของเจาชายสิทธัตถะที่แปลวา ผูสําเร็จตามความประสงค มีความหมายวาอยางไร

แนวตอบ มีความหมาย 2 นัย คือ นัยหนึ่ง หมายความวา ผูปรารถนาสิ่งใด ยอมไดสิ่งนั้น และอีกนัยหนึ่ง หมายความวา พระราชบิดาทรงปรารถนาที่จะไดพระโอรส เปนพระองคแรก ก็ไดตามที่ตองการ

นักเรียนควรรู 1 ตนสาละ เปนไมยืนตนชนิดหนึ่ง ออกดอกตามลําตน ดอกมีสีชมพูอมแดง กลิ่นหอม และออกดอกตลอดทั้งป ตนสาละมีความเกี่ยวของกับพุทธประวัติ คือ พระพุทธเจาประสูติที่ใตตนสาละ ในเขตสวนลุมพินีวัน และเสด็จดับขันธปรินิพพานที่ใตตนสาละในเขตเมืองกุสินารา ของมัลละกษัตริย

กิจกรรมทาทาย ใหนักเรียนสืบคนขอมูลเกี่ยวกับเหตุการณตอนขนานพระนามแก พระโอรสของพระเจาสุทโธทนะจากแหลงเรียนรูอื่นๆ เพิ่มเติม แลวบันทึก ลงในสมุดและออกมาเลาหนาชั้นเรียน คู่มือครู

5


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

Engaae

Expore

อธิบายความรู้

อธิบายความรู้ Explain

Expand

Evaluate

1

พิธีแรกนาขวัญ ครั้งหนึ่งในช่วงเขาสู่ฤดูทํานา พระเจา สุทโธทนะไดเสด็จไปในพิธีแรกนาขวัญ และไดโปรดใหเจาชาย สิทธัตถะเสด็จไปดวย โดยมีพระพี่เลี้ยง นางสนมทั้งหลายคอย เฝาปรนนิบัติ ครั้นพิธีแรกนาขวัญเริ่มขึ้น พระเจาสุทโธทนะจึง ไดเขาประกอบพิธี ส่วนพระพี่เลี้ยง นางสนมทั้งหลายต่างพากัน ออกไปชมพิธีแรกนาขวัญกันหมด ปล่อยใหเจาชายสิทธัตถะประทับ อยู่ใตตนหวาลําพังพระองคเดียว เจาชายสิทธัตถะจึงไดนั่งสมาธิ ใตตนหวาอย่างสงบ และเกิดสมาธิขั้นแรกที่เรียกว่า ปฐมฌาน* ภายใตตนหวานั่นเอง ครั้นพอตกบ่ายพิธีแรกนาขวัญไดเสร็จสิ้นลง พระพี่เลี้ยง และนางสนมต่างนึกไดว่าเจาชายสิทธัตถะอยู่ลําพังพระองคเดียว จึงพากันรีบวิ่งมาหาเจาชายสิทธัตถะ และไดเห็นเงาของตนหวา ยังคงอยู่เหมือนเดิมเสมือนหนึ่งเปนเวลาเที่ยงวัน มิไดเอนเอียง ไปตามแสงตะวันดังตนไมอื่นๆ ก็เกิดอัศจรรย ใจเปนยิ่งนัก จึงนํา ความไปกราบทูลพระเจาสุทโธทนะใหทรงทราบ พระเจาสุทโธทนะ เห็นความมหัศจรรยเช่นนั้น จึงยกพระหัตถนมัสการ การศึกษา เมือ่ เจาชายสิทธัตถะทรงมีพระชนมายุได ๗2 พรรษา พระบิดาทรงใหศึกษาศิลปวิทยาในสํานักของครูวิศวามิตร เจาชาย สิทธัตถะทรงมีความขยันหมัน่ เพียร มีสติปญ ญาเฉลียวฉลาด สามารถ ศึกษาวิชาต่างๆ เช่น ยิงธนู ขี่มา ฟนดาบ เปนตน ไดอย่างรวดเร็ว การอภิเษกสมรส เมื่อเจาชายสิทธัตถะทรงมีพระชนมายุ ได ๑๖ พรรษา พระบิดาทรงใหอภิเษกสมรสกับ3พระนางพิมพาหรือ ยโสธรา พระราชธิดาของพระเจาสุปปพุทธะและพระนางอมิตา กษัตริยกรุงเทวทหะ ๖

*ปฐมฌาน อานวา ปะ-ถม-มะ-ชาน

นักเรียนควรรู 1 พิธีแรกนาขวัญ พิธีเริ่มไถนาเพื่อเปนสิริมงคลแกขาวในนา ในประเทศไทย มีการจัดพิธีจรดพระนังคัลแรกนาขวัญเปนประจําทุกปในวันพืชมงคล ตรงกับเดือน พฤษภาคม ซึ่งเริ่มยางเขาสูฤดูฝน 2 ครูวิศวามิตร เปนพระอาจารยของเจาชายสิทธัตถะ และเปนผูสอน ศิลปศาสตร 18 ประการ (ซึ่งเปนวิชาของผูที่เปนกษัตริยและนักปกครอง) ใหแกเจาชายสิทธัตถะ 3 พระเจาสุปปพุทธะ เปนกษัตริยโกลิยวงศแหงกรุงเทวทหะ เปนพระราชบุตร องคที่ 1 ของพระเจาอัญชนะ เปนพระราชบิดาของพระเทวทัตและพระนางพิมพา หรือยโสธรา

คู่มือครู

ตรวจสอบผล

Explain

1. ครูถามนักเรียนวา • พิธีแรกนาขวัญคืออะไร จะกระทําในชวง เวลาใด (แนวตอบ เปนพิธีเริ่มไถนา เพื่อเปนสิริมงคล แกขาวในนา จะกระทําในชวงเขาสูฤดูทํานา) • มีเหตุการณสําคัญอะไรเกิดขึ้นในตอน พิธีแรกนาขวัญ (แนวตอบ เจาชายสิทธัตถะเกิดสมาธิขั้นแรก (ปฐมฌาน) ที่ใตตนหวา) • นักเรียนควรปฏิบัติตามแบบอยางของเจาชาย สิทธัตถะในดานการศึกษาอยางไร (แนวตอบ ควรมีความขยันหมั่นเพียรในดาน การศึกษาเลาเรียน) 2. ใหนกั เรียนรวมกันสรุปขอมูลเกีย่ วกับพุทธประวัติ ตอนพิธีแรกนาขวัญ ตอนการศึกษา และตอน อภิเษกสมรส

6

ขยายความเข้าใจ

ขอสอบเนนการคิด

ขอใดคือสาเหตุสําคัญที่ทําใหเจาชายสิทธัตถะออกผนวช ก. ทรงตองการขึ้นสวรรค ข. ทรงอยากเปนใหญในโลก ค. ทรงเบื่อหนายในราชสมบัติ ง. ทรงตองการหาทางพนทุกข วิเคราะหคําตอบ สาเหตุสําคัญที่ทําใหเจาชายสิทธัตถะออกผนวช คือ พระองคทรงเห็นวา ทุกชีวิตถูกความทุกขครอบงํา จึงทรงตองการคนหา หนทางในการหลุดพนจากความทุกข ดังนั้น ขอ ง. จึงเปนคําตอบที่ถูก


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

Engaae

Expore

อธิบายความรู้ Explain

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

อธิบายความรู้

การพบเทวทูต ๔ ในวันหนึ่ง เมื่อเจาชายสิทธัตถะเสด็จ ประพาสนอกพระนคร พระองค ไดทอดพระเนตรเห็นเทวทูต ๔ ไดแก่ คนแก ซึ่งมีผมหงอกขาวโพลน มีร่างกายเหี่ยวย่น ถือไมเทา เดินงกๆ เงิ่นๆ เปนที่น่าเวทนา คนเจ็บ ซึ่งปวยหนักนอนรอง ครวญคราง คนตาย ซึ่งญาติพี่นองกําลังเศราโศกเสียใจ และนํา ศพไปเผา และนักบวช ที่มีกิริยาสงบ สํารวม ดูน่าเลื่อมใสยิ่งนัก ทําใหพระองคเรียนรูว า่ มนุษยทกุ คนเกิดมาแลวย่อมตองแก่ เจ็บปวย และตาย ไม่มีใครที่จะหลีกเลี่ยงหรือพนไปได ซึ่งถือเปนความทุกข พระองคทรงคิดว่า การเปนนักบวชน่าจะเปนหนทางที่ทําใหพนจาก ความทุกขเหล่านี้ได

เจาชายสิทธัตถะทอดพระเนตรเห็นเทวทูต ๔ ทําใหเกิดความคิดที่จะหาทางพนทุกข

ขอสอบเนนการคิด

เทวทูต 4 มีผลตอการตัดสินใจของเจาชายสิทธัตถะอยางไร

แนวตอบ เทวทูต 4 ไดแก คนแก คนเจ็บ คนตาย และนักบวช ซึ่งเจาชาย สิทธัตถะทอดพระเนตรเห็นคนแก คนเจ็บ และคนตาย ทําใหทราบวา ทุกคน ที่เกิดมาตองพบกับความทุกข พระองคจึงตองการหาวิธีที่ทําใหพนทุกข สวนนักบวชที่เจาชายสิทธัตถะทอดพระเนตรเห็นมีกิริยาสงบ สํารวม ดูนาเลื่อมใสยิ่งนัก และทรงคิดวาการเปนนักบวชนาจะเปนหนทางที่ทําให พนจากความทุกขได ดังนั้น พระองคจึงตัดสินพระทัยออกผนวช

Explain

1. ครูตั้งประเด็นคําถามใหนักเรียนชวยกันตอบ เชน • เหตุการณสําคัญเหตุการณใด ที่ทําให เจาชายสิทธัตถะออกผนวช (แนวตอบ การไดพบเทวทูต 4) • เทวทูต 4 คืออะไร (แนวตอบ เทวทูต 4 คือ สัญญาณที่เตือน ใหระลึกถึงคติธรรมของชีวิต มิใหมีความ ประมาท ไดแก คนแก คนเจ็บ คนตาย และนักบวช) • หลังจากที่เจาชายสิทธัตถะไดพบเทวทูต 4 ทําใหพระองคมีความเห็นอยางไร (แนวตอบ มนุษยทุกคนเกิดมาแลวยอม ตองแก เจ็บปวย และตาย ไมมีใครที่จะ หลีกเลี่ยงหรือพนไปได ซึ่งถือเปนความทุกข การออกบวชนาจะเปนหนทางพนทุกขได) • หลังจากออกผนวชแลว เพราะเหตุใด เจาชายสิทธัตถะทรงเปลี่ยนจากการ ทรมานรางกายดวยวิธีตางๆ มาเปน การบําเพ็ญเพียร โดยการนั่งสมาธิแทน (แนวตอบ เพราะทรงเห็นวา การทรมาน รางกายไมใชหนทางที่ทําใหพนทุกขได) 2. ใหนักเรียนรวมกันแสดงความคิดเห็นวา เพราะเหตุใดเจาชายสิทธัตถะจึงทรงคิดวา การบวชนาจะเปนหนทางพนทุกขได 3. ใหนักเรียนรวมกันวิเคราะหแนวทางการ ดําเนินชีวิตของพระพุทธเจาวามีลักษณะ อยางไร สามารถนํามาประยุกตใชในชีวิต ของเราไดหรือไม อยางไร

เกร็ดแนะครู ครูเลาเพิ่มเติมเพื่อใหนักเรียนเขาใจวา ทําไมเจาชายสิทธัตถะจึงทรงตกพระทัย เมื่อพบเห็นคนแก คนเจ็บ และคนตาย ที่เปนเชนนี้เพราะวา กอนที่เจาชายสิทธัตถะ จะเสด็จประพาสพระนคร พระองคทรงอยูแตในพระราชวัง และพบเห็นแตสิ่งสวยงาม เพราะพระเจาสุทโธทนะ ซึ่งเปนพระบิดาตองการใหเจาชายเพลิดเพลิน และไมคิด ออกบวช แตอยูมาวันหนึ่ง เจาชายสิทธัตถะทรงอยากเห็นวาโลกภายนอกเปนอยางไร จึงเสด็จประพาสพระนคร และพบเทวทูต 4 ซึ่งเปนสิ่งที่กระทบความรูสึกของพระองค อยางรุนแรง และทรงนํากลับมาครุนคิด ทําใหพระองคเขาใจสัจธรรมของชีวิต และเห็นวาเปนความทุกขที่มนุษยทุกคนตองประสบ ไมสามารถหลีกหนีพนได

คู่มือครู

7


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

อธิบายความรู้

Engaae

Expore

Explain

ขยายความเข้าใจ

✓ แบบวัดฯ ใบงาน แบบฝกฯ สังคมศึกษาฯ ป.2 กิจกรรมรวบยอดที่ 1.2 แบบประเมินตัวชี้วัด ส 1.1 ป.2/2

กิจกรรมรวบยอดที่ ๑.๒ แบบประเมินตัวชี้วัด ส ๑.๑ ป.๒/๒ สรุปพุทธประวัติตั้งแตประสูติจนถึงการออกผนวชหรือประวัติศาสดาที่ตนนับถือตามที่กําหนด

ชุดที่ ๑ ๕ คะแนน เลือกภาพที่กําหนด ๑ ภาพ แลวเขียนสรุปพุทธประวัติประกอบภาพ

ฉบับ

เฉลย

ต…ิ ……. ภาพที่เลือก คือ ……(ตั……ว…อย……า…ง)………ภาพที ……………่ …๑ ……เป ……น ……เหตุ ………ก ……ารณ ……………ประสู …………… ธั…ต…ถะประสู ่า.. พุทธประวัติที่เกี่ยวกับภาพน�้ มีดังน�้ ……เจ……า…ชายสิ ……………ท …… …………………ต ……ิใ…นวั ……น ……ขึ…้น ………๑๕ …………คํ …… เดือน ๖ ณ สวนลุมพินี พระองคทรงมีพระนามวา “สิทธัตถะ” แปลวา ผูส าํ เร็จตาม ความประสงค พระองคทรงเปนพระราชโอรสของพระเจาสุทโธทนะ และพระนางิ …หามายา ป …กครองกรุ …สิ…ร …ม … …………………ผู …… ………………………ง…กบิ ………ล…พั ……ส…ด ……ุ ……………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ตัวชี้วัด ส ๑.๑ ขอ ๒ ไดคะแนน คะแนนเต็ม

õ

เเกณฑประเมินชิ้นงาน

การเขียนอธิบาย (๔ คะแนน)

• เขียนอธิบายเนื้อเรื่องถูกตอง ตรงกับภาพที่เลือก และมีใจความสําคัญครบถวน

๔ คะแนน

• ผลงานมีความสะอาดและเรียบรอย

๑ คะแนน

ความสะอาด (๑ คะแนน)

ตรวจสอบผล

Evaluate

1. ครูตรวจสอบความถูกตองของการเขียนแผนผัง ความคิดแสดงเหตุการณสําคัญของพุทธประวัติ 2. ครูตรวจสอบความถูกตองของการทํากิจกรรม รวบยอดที่ 1.2 จากแบบวัดฯ สังคมศึกษาฯ ป.2

Evaluate

1 บําเพ็ญเพียร คือ ความพยายามหรือความตั้งใจทําสิ่งที่ดีๆ ใหสําเร็จ ซึง่ ในทีน่ ี้ พระพุทธเจาทรงตัง้ ใจคนหาทางดับทุกข จึงบําเพ็ญเพียรทางจิตโดยการนั่งสมาธิ 2 เสด็จดับขันธปรินิพพาน วันที่พระพุทธเจาเสด็จดับขันธปรินิพพาน ตรงกับวันเพ็ญ ขึ้น 15 คํ่า เดือน 6 ซึ่งในวันนี้จะตรงกับวันประสูติ และวันตรัสรูของพระพุทธเจาดวย ซึ่งในปจจุบันเราเรียกวันนี้วา วันวิสาขบูชา

มุม IT ครูศึกษาขอมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับพุทธประวัติ ไดที่ http://www.onab.go.th ของ สํานักงานพระพุทธศาสนาแหงชาติ โดยคลิกเลือกที่แถบองคความรู (พุทธประวัติ)

คู่มือครู

ตรวจสอบผล

การออกผนวช หลังจากทีเ่ จาชายสิทธัตถะไดทอดพระเนตร เห็นเทวทูตทั้ง ๔ ไม่นาน เจาชายสิทธัตถะจึงไดตัดสินพระทัยเสด็จ ออกผนวช เมื่อพระชนมายุ ๒๙ พรรษา เพื่อหาทางที่จะใหหลุดพน จากความทุกข และในวันนั้นเองพระนางพิมพาไดประสูติพระโอรส พระองคหนึ่ง มีพระนามว่า ราหุล เมื่อเจาชายสิทธัตถะทรงทราบ เรื่อง ทรงอุทานขึ้นว่า “บวงเกิดแลวหนอ” หลังจากที่ออกผนวชแลว เจาชายสิทธัตถะไดไปศึกษาอยู่ ในสํานักอาจารย แต่ยังไม่คนพบหนทางพนทุกข จึงทําการทรมาน 1 ร่างกายดวยวิธีต่างๆ ต่อมาพระองคจึงทรงเปลี่ยนไปบําเพ็ญเพียร โดยการนั่งสมาธิ ซึ่งวิธีนี้ทําใหพระองคตรัสรูเปนพระพุทธเจา เมื่อ พระองคมีพระชนมายุ ๓๕ พรรษา หลั ง จากได ต รั ส รู  แ ล ว พระพุทธเจาเสด็จไปตามทีต่ า่ งๆ เพื่อแสดงธรรมโปรดประชาชน ทั้งปวง เปนระยะเวลายาวนาน ถึง ๔๕ ป พระองค เสด็จดับขันธ 2 ปรินิพพาน เมื่อพระชนมายุ ๘๐ พระพุทธเจาทรงแสดงธรรมโปรดประชาชน พรรษา ทั้งปวง โดยไม่เลือกชนชั้นวรรณะ คัมภีรทางศาสนา คัมภีรที่ใชบันทึกหลักธรรมคําสอนของ พระพุทธเจา เรียกว่า คัมภีรพระไตรปฎก ซึ่งในคัมภีรพระไตรปฎก จะรวบรวมหลักคําสอนของพระพุทธเจาไว และหลักคําสอนที่ถือ เปนหัวใจสําคัญของพระพุทธศาสนา คือ โอวาท ๓ ไดแก่ การไมทํา ความชัว่ ทัง้ ปวง การทําความดีใหถงึ พรอม และการทําจิตใจใหบริสทุ ธิ์

นักเรียนควรรู

8

Expand

Expand

1. ใหนักเรียนเขียนแผนภาพแสดงลําดับเหตุการณ สําคัญของพุทธประวัติตั้งแตประสูติจนถึง การออกผนวช พรอมทัง้ อธิบายเหตุการณ แลวนําเสนอผลงานหนาชั้น 2. ใหนักเรียนทํากิจกรรมรวบยอดที่ 1.2 จากแบบวัดฯ สังคมศึกษาฯ ป.2 โดยเขียนสรุป พุทธประวัติ

ขยายความเข้าใจ

ขอสอบเนนการคิด

เพราะเหตุใดพระสิทธัตถะจึงทรงเปลี่ยนไปบําเพ็ญเพียรโดยการนั่งสมาธิ แทนการทรมานรางกายดวยวิธีตางๆ แนวตอบ พระองคทรงเห็นวา การทรมานรางกายไมใชวิธีที่จะทําให พนทุกขได เพราะวาการทําทุกรกิรยิ า เปนแคการทําใหรา งกายสกปรก ซูบผอม และออนลา แตไมไดทําใหเกิดปญญาที่จะหาหนทางดับทุกข จึงทรงเปลี่ยน วิธีมาบําเพ็ญเพียรทางจิตและไดตรัสรูเปนพระสัมมาสัมพุทธเจาในที่สุด

กิจกรรมทาทาย ใหนกั เรียนรวมกันนําแผนภาพแสดงลําดับเหตุการณสาํ คัญในพุทธประวัติ ตั้งแตประสูติจนถึงออกผนวชไปจัดปายนิเทศ เพื่อเผยแพรความรู


กระตุน้ ความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

Engage

Explore

อธิบายความรู้ Explain

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

กระตุน้ ความสนใจ

๒. ศาสนาอิสลาม ศาสนาอิสลามเปนศาสนาที่มีคนไทยนับถือมากเปนอันดับ ที่สองรองจากพระพุทธศาสนา สถานที่ เ กิ ด ศาสนาอิ ส ลามได ถื อ กํ า เนิ ด ขึ้ น ในประเทศ ซาอุดีอาระเบีย ประวัติศาสดา ศาสดาของศาสนาอิสลาม คือ นบีมุฮัมมัด พระองคทรงเปนชาวอาหรับ ประสูติที่เมืองเมกกะ ในประเทศ ซาอุดอี าระเบีย พระองคมคี วามสนใจในเรือ่ งศาสนามาตัง้ แต่วยั เยาว วันหนึง่ พระองคไปบําเพ็ญสมาธิในถํา้ แลวไดรบั โองการจากพระเจา คือ อัลเลาะห ใหพระองคประกาศศาสนา คัมภีรท างศาสนา คัมภีร ของศาสนาอิสลาม เรียกว่าคัมภีร อัลกุรอาน เปนคัมภีรที่รวบรวม คําสอนของศาสนาอิสลาม เพื่อ ใหผูที่นับถือศาสนาอิสลามไดนาํ ไปประพฤติปฏิบัติ การละหมาด เปนหนึ่งในหลักปฏิบัติ ๕ ประการ ▲

?

ที่มุสลิมตองกระทําทุกวัน

คําถามจุดประกาย

๑. พระพุทธศาสนามีความเกี่ยวของกับวิถีชีวิตของนักเรียนอย่างไรบาง ๒. การศึกษาเรียนรูพุทธประวัติมีผลดีอย่างไร ๓. เพราะเหตุใดเราจึงตองเรียนรูเกี่ยวกับศาสนาอิสลาม

กิจกรรมพัฒนาการเรียนรูท  ี่ ๑ (ผลการปฏิบัติกิจกรรม ขอ 2. ขึ้นอยูกับดุลยพินิจของครูผูสอน) ๑. แบ่งกลุ่ม ร่วมกันอภิปรายว่าศาสนามีความสําคัญอย่างไร ๒. ใหแต่ละกลุม่ ร่วมกันสรุปสาระสําคัญของพระพุทธศาสนาและศาสนาอิสลาม จากนั้นส่งตัวแทนออกมารายงานหนาชั้น ๙

ขอสอบเนนการคิด

ตนสวดมนตวันละ 5 เวลา แสดงวาตนนับถือศาสนาใด เขาประกอบ ศาสนพิธีใด และศาสดาของศาสนานี้คือใคร

แนวตอบ การสวดมนตวนั ละ 5 เวลา คือ การทําละหมาด ซึง่ เปนศาสนพิธี ของศาสนาอิสลาม เพือ่ แสดงความภักดีตอ พระเจา (อัลเลาะห) และศาสดา ของศาสนาอิสลาม คือ ทานนบีมุฮัมมัด ทานไดรับโองการจากพระเจา แลวนํามาเผยแผแกประชาชนเพื่อใหปฏิบัติตาม

Engage

ครูนําภาพเกี่ยวกับศาสนาอื่นๆ เชน ภาพ วันคริสตมาส ภาพการบําเพ็ญฮัจญ ภาพเทพเจา เปนตน มาใหนักเรียนดู แลวใหบอกวาเปนภาพ เกี่ยวกับศาสนาใด ทราบไดอยางไร

ส�ารวจค้นหา

Explore

1. ใหนักเรียนสืบคนขอมูลเรื่องศาสดา คัมภีร และหลักคําสอนที่สําคัญของศาสนาอื่นๆ 2. ใหนักเรียนอานขอมูลเกี่ยวกับศาสนาอิสลาม ศาสนาคริสต และศาสนาพราหมณ-ฮินดู จากหนังสือ หนา 9-12

อธิบายความรู้

Explain

1. ครูตั้งประเด็นคําถามใหนักเรียนชวยกันตอบ เชน • ศาสนาอิสลามถือกําเนิดขึ้นที่ใด (ตอบ ประเทศซาอุดีอาระเบีย) • ศาสดาของศาสนาอิสลามคือใคร (ตอบ นบีมุฮัมมัด) • พระคัมภีรของศาสนาอิสลามชื่ออะไร และมีความสําคัญอยางไร (แนวตอบ พระคัมภีรอัลกุรอาน เปนคัมภีร ที่รวบรวมคําสอนของศาสนาอิสลาม เพื่อให ผูที่นับถือศาสนาอิสลามนําไปประพฤติ ปฏิบัติ) 2. ใหนักเรียนรวมกันแสดงความคิดเห็นและ ตอบคําถามจุดประกาย หนา 9 3. ใหนักเรียนแบงกลุม แลวรวมกันอภิปรายวา ศาสนามีความสําคัญอยางไร 4. ใหนักเรียนแตละกลุมรวมกันสรุปสาระสําคัญ ของศาสนาอิสลาม จากนั้นสงตัวแทนออกมา รายงานหนาชั้น

เฉลย คําถามจุดประกาย 1. แนวตอบ เชน เปนหลักปฏิบัติในการดําเนินชีวิต เปนที่ยึดเหนี่ยวใจ เปนตน 2. แนวตอบ ทําใหเขาใจและเห็นแบบอยางที่ดีของพระพุทธเจาและสาวกของ พระองคในการปฏิบัติตน ทําใหเกิดความศรัทธาในพระพุทธศาสนามากขึ้น เปนตน 3. แนวตอบ เพื่อใหเกิดความเขาใจและยอมรับในความแตกตางของผูที่นับถือ ศาสนาตางกัน เฉลย กิจกรรมพัฒนาการเรียนรูที่ 1 1. แนวตอบ เปนที่ยึดเหนี่ยวใจของศาสนิกชน เปนบอเกิดของวัฒนธรรม ประเพณี ที่เปนเอกลักษณของชาติ

คู่มือครู

9


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

Engaae

Expore

อธิบายความรู้

อธิบายความรู้ Explain

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Explain

1. ครูตั้งประเด็นคําถามใหนักเรียนชวยกันตอบ เชน • ศาสนาคริสตถือกําเนิดขึ้นที่ใด (ตอบ ประเทศอิสราเอล) • ศาสดาของศาสนาคริสตคือใคร (ตอบ พระเยซู) • พระคัมภีรของศาสนาคริสตชื่ออะไร (ตอบ คัมภีรไบเบิล) • ศาสนาพราหมณ-ฮินดู ถือกําเนิดขึ้นที่ใด (ตอบ ประเทศอินเดีย) • ศาสนาพราหมณ-ฮินดู มีศาสดาหรือไม (ตอบ ไมมีศาสดา แตมีเทพเจาสูงสุด 3 องค คือ พระพรหม พระนารายณ (พระวิษณุ) และพระศิวะ) • คัมภีรสําคัญของศาสนาพราหมณ-ฮินดู มีอะไรบาง (ตอบ คัมภีรพระเวท คัมภีรพราหมณะ คัมภีรอุปนิษัท และคัมภีรอารัณยกะ) 2. ใหนักเรียนรวมกันแสดงความคิดเห็นและ ตอบคําถามจุดประกาย หนา 11 3. ใหนักเรียนแบงกลุม ใหแตละกลุมรวมกัน สรุปสาระสําคัญของศาสนาคริสตและศาสนา พราหมณ-ฮินดู จากนั้นสงตัวแทนออกมา รายงานหนาชั้น

๓. ศาสนาคริสต ศาสนาคริสต เปนศาสนาที่มีคนไทยจํานวนหนึ่งนับถือ สถานที่เกิด ศาสนาคริสตถือกําเนิดในดินแดนปาเลสไตน ซึ่งปจจุบันดินแดนบางส่วนอยู่ในประเทศอิสราเอล ประวั ติ ศ าสดา ศาสดาของศาสนาคริ ส ต คื อ พระเยซู พระองคทรงเปนชาวยิว ประสูติที่เมืองเบธเลเฮม ในแควนยูดาย เมื่อวันที่ ๒๕ ธันวาคม พ.ศ. ๕๔๓ มีบิดาชื่อโยเซฟ มารดาชื่อ มาเรีย พระเยซูมีความสนใจในเรื่องศาสนาและไดศึกษาจนมีความรู แตกฉานในหลักธรรม จากนั้นพระองคไดรวบรวมสาวกออกเผยแผ่ คําสอนและไดรับความศรัทธาจากชาวยิวเปนอย่างมาก คัมภีรท างศาสนา คัมภีร สําคัญของศาสนาคริ สต ไดแก่ 1 คัมภีร ไบเบิล ซึ่งเปนคัมภีรที่ รวบรวมหลักคําสอนของศาสนา คริสต เพื่อใหผูที่นับถือศาสนา คริสต ไดนําไปประพฤติปฏิบัติ เพื่อประสบกับความสุขในการ ดําเนินชีวติ และชาวคริสตเชือ่ ว่า เป น คั ม ภี ร  ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ที่ พ ระเจ า พระเยซูทรงสอนใหชาวคริสตรักผูอื่นเหมือนกับ ประทานมาให รักตัวเราเอง ▲

ความรูเสริม

วันที่ ๒๕ ธันวาคม เปนวันประสูติของพระเยซู ซึ่งเราคนไทยรูกันว่าเปนวันคริสตมาส ในวันนี้ ชาวคริสตจะจัดงานเฉลิมฉลองครั้งใหญ่ เพื่อระลึกถึงความรักของพระเจาที่มีต่อมวลมนุษย

๑๐

นักเรียนควรรู 1 คัมภีรไบเบิล เปนหนังสือที่บันทึกหลักธรรมคําสอนของศาสนาคริสต ชาวคริสตเรียกคัมภีรไบเบิลในชื่ออื่นๆ อีกหลายชื่อ เชน พระวจนะของพระเจา คัมภีรศักดิ์สิทธิ์ เปนตน

บูรณาการอาเซียน ประชากรในประเทศสมาชิกอาเซียนมีการนับถือศาสนาทีห่ ลากหลาย ซึง่ ศาสนา คริสตเปนศาสนาหนึง่ ทีม่ ปี ระชากรในประเทศสมาชิกอาเซียนใหความเคารพนับถือ ประเทศสมาชิกอาเซียนทีม่ ปี ระชากรสวนใหญนบั ถือศาสนาคริสต คือ ฟลปิ ปนส

10

คู่มือครู

ขอสอบเนนการคิด

ขอใดคือจุดมุงหมายหลักในการศึกษาศาสนาตางๆ ก. เพื่อใหรูวาศาสนาตางๆ เกิดขึ้นที่ใด ข. เพื่อใหรูประวัติศาสดาของศาสนาตางๆ ค. เพื่อใหมีขอมูลโตแยงกับผูที่นับถือศาสนาตางจากตนได ง. เพื่อใหเขาใจและยอมรับในความแตกตางของผูที่นับถือศาสนาตางจากตน วิเคราะหคําตอบ การศึกษาศาสนาตางๆ เพื่อใหเกิดความรูความเขาใจ และยอมรับในความแตกตางของผูที่นับถือศาสนาตางจากตน และสามารถ อยูรวมกันไดอยางสงบสุข ดังนั้น ขอ ง. จึงเปนคําตอบที่ถูก


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

อธิบายความรู้

Engaae

Expore

Explain

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

ขยายความเข้าใจ

๔. ศาสนาพราหมณ-ฮินดู ศาสนาพราหมณ-ฮินดู เปนศาสนาที่เก่าแก่ที่สุดในโลกและ เปนอีกศาสนาหนึ่งที่มีชาวไทยจํานวนหนึ่งนับถือ สถานทีเ่ กิด ศาสนาพราหมณ-ฮินดู ถือกําเนิดขึน้ ในประเทศ อินเดีย ประวัติความเปนมา ศาสนาพราหมณ-ฮินดู เปนศาสนา ที่ไมมีศาสดา ผูที่นับถือศาสนานี้นับถือเทพเจาสูงสุด ๓ องค ไดแก่ พระพรหม พระนารายณ และพระศิวะ คัมภีรท างศาสนา คัมภีรส าํ คัญ ของศาสนาพราหมณ-ฮินดู ไดแก่ คั มภี ร  พ ระเวท คั มภี ร  พ ราหมณะ คัมภีรอุปนิษัท และคัมภีรอารัณยกะ คัมภีรเหล่านี้เปนที่รวบรวม หลั ก คํ า สอนที่ สํ า คั ญ ของศาสนา พราหมณ-ฮินดู เพื่อใหผูที่นับถือ ศาสนาพราหมณ - ฮิ น ดู ได นํ า ไป ประพฤติปฏิบตั ิ เพือ่ ประสบกับความ สุขในการดําเนินชีวิต และชาวฮินดู เชื่อว่าเปนพระคัมภีรศักดิ์สิทธิ์ ▲

?

พระพรหม เปนเทพเจาสูงสุดองคหนึ่ง ของศาสนาพราหมณ-ฮินดู

คําถามจุดประกาย

Expand

1. ใหนักเรียนแบงกลุม และใหแตละกลุมรวมกัน อภิปรายวา ศาสนามีความสําคัญตอผูนับถือ อยางไร แลวบันทึกผลลงในสมุด 2. ใหนกั เรียนเขียนสรุปประวัตศิ าสดาของศาสนา ที่นักเรียนนับถือมาพอเขาใจ โดยเขียนลง ในสมุด 3. ใหนักเรียนจัดทําตารางแสดงขอมูลเกี่ยวกับ ศาสนา ศาสดา และคัมภีรของศาสนาตางๆ ที่คนไทยนับถือ 4. ใหนักเรียนทํากิจกรรมรวบยอดที่ 1.3 จากแบบวัดฯ สังคมศึกษาฯ ป.2 โดยเติมขอมูล เกี่ยวกับศาสนาตางๆ ✓ แบบวัดฯ ใบงาน แบบฝกฯ สังคมศึกษาฯ ป.2 กิจกรรมรวบยอดที่ 1.3 แบบประเมินตัวชี้วัด ส 1.1 ป.2/7

กิจกรรมรวบยอดที่ ๑.๓ แบบประเมินตัวชี้วัด ส ๑.๑ ป.๒/๗ 

บอกชื่อศาสนา ศาสดา และความสําคัญของคัมภีรของศาสนาที่ตนนับถือและศาสนาอื่นๆ

ชุดที่ ๑ ๑๕ คะแนน เติมขอมูลเกี่ยวกับศาสนาตางๆ ลงในตาราง แลวตอบคําถาม

ศาสนา

แหลงกําเนิดศาสนา อินเดีย

ศาสดา

คัมภีร

พระพุทธเจา

พระไตรปฎก

(๑) พุทธ

………………………………….. ………………………………….. …………………………………..

(๒) คริสต

………………………………….. ………………………………….. …………………………………..

(๓) อิสลาม

………………………………….. ………………………………….. …………………………………..

ดินแดนปาเลสไตน พระเยซู

ไบเบิล

ซาอุดีอาระเบีย

อัลกุรอาน

นบีมุฮัมมัด

ฉบับ

เฉลย

อินเดีย ไมมี พระเวท (๔) พราหมณ-ฮินดู ………………………………….. ………………………………….. …………………………………..

๑) ศาสนาใดที่มีแหลงกําเนิดเหมือนกัน

พระพุทธศาสนา และศาสนาพราหมณ-ฮินดู

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

๒) ศาสนาใดที่ไมมีศาสดา และเปนศาสนาที่เกาแกมากที่สุด ศาสนาพราหมณ-ฮินดู

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

๓) คัมภีรของแตละศาสนามีความสําคัญอยางไร

๑. การที่ศาสนาคริสตสอนใหรักผูอื่นเหมือนกับรักตนเอง ส่งผลดีต่อสังคมอย่างไร ๒. เพราะเหตุใดเราจึงตองเรียนรูเกี่ยวกับศาสนาพราหมณ-ฮินดู ๓. พระพุทธศาสนามีการนับถือเทพเจาเหมือนกับศาสนาพราหมณ-ฮินดูหรือไม่ อย่างไร

เปนแหลงบันทึกและรวบรวมคําสอนของศาสนานั้นๆ

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

ตัวชี้วัด ส ๑.๑ ขอ ๗ ไดคะแนน คะแนนเต็ม

ñõ

๑๑

ขอสอบเนนการคิด

คัมภีรพระเวทมีความสําคัญอยางไร ก. เปนคําสอนของพระเจา ข. เปนบันทึกตํานานของศาสนา ค. เปนบันทึกประวัติของเทพเจา ง. เปนแหลงรวบรวมคําสอนสําคัญของศาสนา

วิเคราะหคําตอบ คัมภีรพระเวทเปนคัมภีรที่รวบรวมคําสอนสําคัญของ ศาสนาพราหมณ-ฮินดู เพื่อใหผูที่นับถือนําไปปฏิบัติตาม คัมภีรพระเวทนั้น ถือเปนแหลงอันสูงสุดในการพิจารณาตัดสินปญหาในทางปรัชญาและศาสนา ชาวอารยันไดรวบรวมบทสวดออนวอนเทวะที่ใชกันมาขึ้นเปนหมวดหมู คัมภีร เหลานี้เรียกวา “เวท” หรือ “วิทยา” ไดแกความรูที่พระผูเปนเจาแสดงให ปรากฏ โดยบรรดาฤษีรับการถายทอดมาโดยตรง แลวนํามาเผยแผดวยการ ทองจําแบบปากเปลาในเฉพาะหมูของพวกพราหมณ ความรูเชนนี้จะเรียนกัน เฉพาะหมูของบุคคลที่เลือกสรรแลว ดังนั้น ขอ ง. จึงเปนคําตอบที่ถูก

เฉลย คําถามจุดประกาย 1. แนวตอบ ทําใหสังคมสงบสุขและทุกคนรวมมือรวมใจกันพัฒนาสังคม ใหเจริญกาวหนา 2. แนวตอบ เพื่อใหเขาใจและยอมรับการปฏิบัติตนของผูที่นับถือ ศาสนาพราหมณ-ฮินดู ซึ่งอาจแตกตางจากศาสนาที่เรานับถือ 3. แนวตอบ ไมมี เพราะพุทธศาสนิกชนมีความเคารพศรัทธาในหลักคําสอน ของพระพุทธเจา แตศาสนาพราหมณ-ฮินดู เชื่อในเทพเจา

คู่มือครู

11


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

อธิบายความรู้

ขยายความเข้าใจ

Engaae

Expore

Explain

Elaborate

ตรวจสอบผล

ตรวจสอบผล Evaluate

Evaluate

1. ครูตรวจสอบการเขียนสรุปความสําคัญของ ศาสนาวาเขียนไดถูกตอง ชัดเจน และครบถวน ตามหัวขอที่กําหนดใหหรือไม 2. ครูตรวจสอบความถูกตองของแผนภาพแสดง ลําดับเหตุการณสําคัญของพุทธประวัติและ ความตอเนื่องกันของเหตุการณที่กําหนดให 3. ครูตรวจสอบความถูกตองของตารางแสดง ขอมูลของศาสนาตางๆ 4. ครูตรวจสอบความถูกตองของการทํากิจกรรม รวบยอดที่ 1.2 จากแบบวัดฯ สังคมศึกษาฯ ป.2

หลักฐานแสดงผลการเรียนรู 1. ผลงานการเขียนสรุปความสําคัญของศาสนา 2. ผลงานการเขียนสรุปประวัติศาสดาของศาสนา ที่นักเรียนนับถือ 3. แผนภาพแสดงลําดับเหตุการณสําคัญของ พุทธประวัติ 4. ตารางแสดงขอมูลของศาสนาตางๆ 5. กิจกรรมรวบยอดที่ 1.2 และ 1.3 จากแบบวัดฯ สังคมศึกษาฯ ป.2

กิจกรรมพัฒนาการเรียนรูท  ี่ ๒ (ผลการปฏิบัติกิจกรรมขึ้นอยูกับดุลยพินิจของครูผูสอน) แบ่งกลุ่ม ใหแต่ละกลุ่มร่วมกันสรุปสาระสําคัญของศาสนาคริสตและศาสนา พราหมณ-ฮินดู จากนั้นส่งตัวแทนออกมารายงานหนาชั้น

กิจกรรมรวบยอด

(ผลการปฏิบัติกิจกรรมขึ้นอยูกับดุลยพินิจของครูผูสอน)

๑. แบ่งกลุ่ม ใหแต่ละกลุ่มร่วมกันอภิปรายว่า ศาสนามีความสําคัญตอผูนับถือ อยางไร จากนั้นผลัดกันนําเสนอผลการอภิปรายหนาชั้น ๒. ใหนักเรียนจับคู่กัน จากนั้นช่วยกันอธิบายเกี่ยวกับชื่อต่อไปนี้ แลวครูสุ่ม เรียกนักเรียนตอบทีละคู่ ไบเบิล พระพุทธเจา พระพรหม พระไตรปฎก นบีมุฮัมมัด อัลกุรอาน พระเยซู พระเวท พระนารายณ ๓. ใหนกั เรียนเขียนสรุปประวัตศิ าสดาของศาสนาทีน่ กั เรียนนับถือมาพอเขาใจ ๔. ใหนักเรียนสรุปสาระสําคัญของศาสนาที่ไดเรียนมาลงในสมุดตามหัวขอ ต่อไปนี้ ศาสนา ศาสดา คัมภีร คําถามบูรณาการสูชีวิต

๑. ยกตัวอย่างประเพณีที่เกี่ยวของกับพระพุทธศาสนาที่นักเรียนเคยปฏิบัติ ๒. ถามีคนอยากทราบเกี่ยวกับพุทธประวัติ นักเรียนจะอธิบายไดหรือไม่ อย่างไร ๓. นักเรียนควรปฏิบัติตนอย่างไรต่อผูที่นับถือศาสนาต่างจากนักเรียน

๑๒

เฉลย คําถามบูรณาการสูชีวิต 1. แนวตอบ เชน การทําบุญตักบาตร การเวียนเทียนที่วัด การกราบไหวพระสงฆ เปนตน 2. แนวตอบ ได โดยอาจเขียนเปนเสนเวลา (Time Line) แสดงเหตุการณสําคัญ ของพุทธประวัติ แลวอธิบายรายละเอียดของเหตุการณสําคัญๆ 3. แนวตอบ เชน • ไมดูถูกเหยียดหยามผูที่นับถือศาสนาตางจากตน • ไมนําหลักคําสอนของศาสนาอื่นๆ มาลอเลียน

12

คู่มือครู

ขอสอบเนนการคิด

ขอใดคือประโยชนสูงสุดในการนับถือศาสนา ก. ความเชื่อ ข. ความสุข ค. ความรู ง. ความมีอิสระ วิเคราะหคําตอบ ศาสนาทุกศาสนามุงสอนใหศาสนิกชนของตนเปนคนดี ไมเบียดเบียนกัน สงผลใหผูที่นับถือมีความสุขในการดําเนินชีวิต ดังนั้น ขอ ข. จึงเปนคําตอบที่ถูก


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.