8858649120786

Page 1

คูมือครู 㪌»ÃСͺ¡ÒÃÊ͹ËÇÁ¡Ñº

˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ©ºÑº Í- .

·Õè ȸ. ¨Ð»ÃСÒÈÃÒ¡Òú¹àÇçºä«µ µÑé§áµ‹ Á. ¤. ’55 ໚¹µŒ¹ä»

ภาพปกนี้มีขนาดเทากับหนังสือเรียนฉบับจริงของนักเรียน


เอกสารประกอบคูมือครู

กลุมสาระการเรียนรู ภาษาไทย

รายวิชา

ภาษาไทย

ู ร ค หรับ

สํา

หลักภาษาและการใชภาษา ชั้นประถมศึกษาปที่ คูมือครูฉบับนี้ ประกอบดวย

● ● ● ● ●

คําแนะนําการใชคูมือครู แถบสี/สัญลักษณที่ใชสื่อความหมายในคูมือครู ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง ภาษาไทย ชั้น ป.3 คําอธิบายรายวิชา ภาษาไทย หลักภาษาและการใชภาษา ชั้น ป.3 ตารางวิเคราะหเนื้อหากับมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัด

ตารางแสดงความแตกตางระหวาง “ คูมือครู ” กับ “ หนังสือเรียน * ” ความแตกตาง

ขนาดตัวอักษร ปกดานหลัง ระบบการจัดพิมพ สวนเสริมดานหนา

คูมือครู ยอลงจากปกติ 20%

พิมพ 4 สี มี เอกสารหลักสูตร คําอธิบายรายวิชา มี กิจกรรมแบบ 5E ความรูเสริมสําหรับครู พิมพสอดแทรกไวตลอดทั้งเลม ●

หนังสือเรียน ขนาดปกติ 100% : ตัวอักษรใหญกวา ที่พิมพในคูมือครูนี้ มีใบอนุญาต/ใบประกันคุณภาพ พิมพ 4 สี

-

เนื้อหาในเลม

● ●

* ที่ ศธ. อนุญาตใหโรงเรียนใชได

มีเฉพาะเนื้อหาสาระตามที่ ศธ. อนุญาตฯ/สนพ.ประกันคุณภาพ

3


คําแนะนําการใชคูมือครู

: การจัดการเรียนรูสูหองเรียนคุณภาพ

คูมือครู รายวิชา ภาษาไทย หลักภาษาและการใชภาษา ป.3 จัดทําขึ้นเพื่ออํานวยความสะดวกแกครูผูสอน ในการวางแผนและเตรียมการสอนโดยใชหนังสือเรียน ภาษาไทย หลักภาษาและการใชภาษา ป.3 ของบริษัท เสร�ม อักษรเจริญทัศน อจท. จํากัด เปนสื่อหลัก (Core Material) ประกอบการออกแบบกิจกรรมการเรียนรูใหสอดคลอง 2 กับมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดกลุมสาระการเรียนรู ภาษาไทย ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 โดยจัดทําตามหลักการสําคัญ ดังนี้

1. ออกแบบการสอนเปนหนวยการเรียนรูอิงมาตรฐาน คูมือครู รายวิชา ภาษาไทย หลักภาษาและการใชภาษา ป.3 จัดทําเปนหนวยการเรียนรูตามลําดับสาระ การเรียนรูที่ระบุไวในมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัด แตละหนวยจะกําหนดเปาหมายการสอนและจุดประสงค การเรียนรู (Objective Learning) กิจกรรมการเรียนรู (Learning Activities) และแนวทางการประเมินผลการเรียนรู (Learning Evaluation) ไวชดั เจน ครูผสู อนสามารถจัดทําแผนการสอนใหครอบคลุมมาตรฐานการเรียนรูแ ละตัวชีว้ ดั ทีเ่ ปนเปาหมายการเรียนรูข องแตละหนวยการเรียนรู (ตามแผนภูม)ิ และสามารถบันทึกผลการจัดการเรียนการสอน ไดอยางมั่นใจ สภ

าพ

ผู

จุดป

ระส

เรีย

งค

รู รียน เ ร า

มาตรฐานการเรียนรู ตัวชี้วัดชั้นป

ทักษะการคิด การวัดประเมินผล การเรียนรู

กิจกรรมการเรียนรู

เทคนิคการสอน

แผนภูมิแสดงองคประกอบของการออกแบบการเรียนรูอิงมาตรฐานและเนนผูเรียนเปนสําคัญ

2. การจัดการเรียนรูที่ยึดผูเรียนเปนสําคัญ แนวคิดในการจัดการเรียนการสอนที่ยึดผูเรียนเปนสําคัญ พัฒนามาจากปรัชญาและทฤษฎีการเรียนรู Constructivism ที่เชื่อวาการเรียนรูเปนกระบวนการที่เกิดขึ้นภายในสมองของผูเรียนแตละคน ผูเรียนเปนผูสราง ความรูโดยการเชื่อมโยงระหวางสิ่งที่ไดพบเห็นกับความรูหรือประสบการณเดิมที่มีอยู คูม อื ครู


ทฤษฎีนี้มีความเชื่อวา นักเรียนทุกคนไดเรียนรูและมีความรูความเขาใจสิ่งตางๆ ติดตัวมากอนที่จะเขาสู หองเรียน ซึง่ เปนการเรียนรูท เี่ กิดจากบริบทและสิง่ แวดลอมรอบตัวนักเรียนแตละคน ดังนัน้ การจัดกระบวนการเรียนรู เสร�ม ในแตละบทเรียน ผูสอนจะตองคํานึงถึง

3

1) ความรูเดิมของนักเรียน การสอนที่ดีจึงตองเริ่มตนจากจุดที่วา นักเรียนมีความรูอะไรมาบาง แลวจึงให ความรูห รือประสบการณใหมเพือ่ ตอยอด จากความรูเดิม

2) ความรูเ ดิมของนักเรียนถูกตอง หรือไม ผูสอนตองปรับเปลี่ยนความรู ความเขาใจเดิมของนักเรียนใหถูกตอง และเปนพฤติกรรมการเรียนรูใหมที่มี คุณคาตอนักเรียน เพื่อสรางเจตคติหรือ ทัศนคติที่ดีตอการเรียน

3) นั ก เรี ย นสร า งความหมาย สําหรับตนเอง ผูสอนตองสงเสริมให นักเรียนนําขอมูลความรูที่ไดไปลงมือ ปฏิ บั ติ และประยุ ก ต ใ ช ค วามรู  อ ย า ง ถู ก ต อ ง ในบริ บ ทที่ เ ป น จริ ง ของชี วิ ต นักเรียน เพื่อขยายความรูใหลึกซึ้งและ มีคุณคาตอตัวนักเรียนมากที่สุด

แนวคิด Constructivism เนนใหผเู รียนสรางความรูโ ดยผานกระบวนการคิดและความอยากรูข องตนเอง โดยมีผูสอนเปนผูสรางบรรยากาศการเรียนรูและกระตุนความสนใจ คอยจัดสถานการณใหผูเรียนเกิดความ ขัดแยงทางความคิดระหวางประสบการณเดิมกับประสบการณความรูใ หม ผูเ รียนจะพยายามปรับขอมูลใหม กับประสบการณที่มีอยูเดิม แลวสรางเปนความรูใหมหรือแนวคิดใหมๆ ไดดวยตนเอง

3. การบูรณาการกระบวนการคิด การเรียนรูข องนักเรียนแตละคนจะเกิดขึน้ ทีส่ มอง ซึง่ ทําหนาทีร่ คู ดิ ภายใตสภาพแวดลอมทีเ่ อือ้ อํานวยและได รับการกระตนุ จูงใจอยางเหมาะสมสอดคลองกับสภาพจิตใจและความตองการของนักเรียน การจัดกระบวนการเรียนรู และสาระการเรียนรูท มี่ คี วามหมายตอผูเ รียน จะชวยกระตนุ ใหสมองรับรูแ ละสามารถเรียนรูไ ดอยางมีประสิทธิภาพ ตามขั้นตอนการทํางานของสมอง ดังนี้ 1) สมองจะเรียนรูและสืบคนโดย 2) สมองจะแยกแยะคุ ณค าของ การสังเกต คนหา ซักถาม และทดลอง สิง่ ตางๆ โดยการลงมติ ตัดสินใจ วิพากษ ปฏิบัติ จนคนพบความรูความเขาใจได วิจารณ แสดงความคิดเห็น ยอมรับหรือ อยางรวดเร็ว ตอตานตามอารมณความรูสึกที่เกิดขึ้น ในขณะที่เรียนรู

3) สมองจะประมวลเนื้อหาสาระ โดยการสรุปเปนความคิดรวบยอดจาก เรื่องราวที่ไดเรียนรูใหมนําไปผสมผสาน กับความรูหรือประสบการณเดิมที่ถูกจัด เก็บอยูในสมอง ผานการกลั่นกรองเพื่อ สังเคราะหเปนความรูความเขาใจใหมๆ หรือเปนเหตุผลทัศนคติใหมที่จะฝงแนน ในสมองของผูเรียน คูม อื ครู


เสร�ม

การเรียนรูที่มีประสิทธิภาพจึงตองเปนการเรียนรูที่เกิดจากกระบวนการคิดของผูเรียน เพราะการเรียนรูจะ เกิดขึ้นเมื่อสมองรูคิด และตองเปนการคิดไดครบถวนตามขั้นตอนการทํางานของสมองผูเรียน โดยเริ่มตนจาก

4

1) ระดับการคิดขั้นพื้นฐาน ไดแก 2) ระดับลักษณะการคิด ไดแก 3) ระดับกระบวนการคิด ไดแก การสังเกต การจําแนก การคาดคะเน การคิดกวาง คิดลึกซึ้ง คิดหลากหลาย กระบวนการคิ ด อย า งมี วิ จ ารณญาณ การสื่อความหมาย การรวบรวมขอมูล คิดไกล คิดคลอง คิดอยางมีเหตุผล กระบวนการแกปญหา กระบวนการคิด การสรุปผล เปนตน เปนตน สรางสรรค กระบวนการคิดสังเคราะห วิจัย เปนตน

4. การใชวัฏจักรการเรียนรู 5E รูปแบบการสอนที่สัมพันธกับกระบวนการคิดและการทํางานของสมองของผูเรียนที่นิยมใชอยางแพรหลาย คือ วัฏจักรการเรียนรู 5E ซึ่งผูจัดทําคูมือครูไดนํามาใชเปนแนวทางออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนในคูมือครู ฉบับนี้ตามลําดับขั้นตอนการเรียนรู ดังนี้ ขั้นที่ 1 กระตุนความสนใจ (Engage) เปนขัน้ ทีผ่ สู อนนําเขาสูบ ทเรียน เพือ่ กระตุน ความสนใจของนักเรียนดวยเรือ่ งราว หรือเหตุการณทนี่ า สนใจ โดยใชเทคนิควิธกี ารสอนและคําถามทบทวนความรูห รือประสบการณเดิมของผูเ รียน เพือ่ เชือ่ มโยงผูเ รียนเขาสู บทเรียนใหม ชวยใหนักเรียนสามารถสรุปประเด็นสําคัญที่เปนหัวขอการเรียนรูของบทเรียนได จึงเปนขั้นตอน การสอนที่สําคัญ เพราะเปนการเตรียมความพรอมและสรางแรงจูงใจใฝเรียนรูแกผูเรียน ขั้นที่ 2 สํารวจคนหา (Explore) เปนขั้นที่ผูสอนเปดโอกาสใหผูเรียนสังเกต และรวมมือกันสํารวจ เพื่อใหเห็นปญหา รวมถึงวิธีการศึกษา คนควาขอมูลความรูที่จะนําไปสูความเขาใจประเด็นปญหานั้นๆ เมื่อนักเรียนทําความเขาใจในประเด็นหัวขอที่จะศึกษาคนควาอยางถองแทแลว ก็ลงมือปฏิบัติเพื่อเก็บ รวบรวมขอมูลความรู สํารวจตรวจสอบ โดยวิธกี ารตางๆ เชน สัมภาษณ ทดลอง อานคนควาขอมูลจากเอกสาร แหลงขอมูลตางๆ จนไดขอมูลความรูตามที่ตั้งประเด็นศึกษาไว ขั้นที่ 3 อธิบายความรู (Explain) เปนขั้นที่ผูสอนมีปฏิสัมพันธกับผูเรียน เชน ใหการแนะนํา ตั้งคําถามกระตุนใหคิด เพื่อใหผูเรียนไดคนหา คําตอบ และนําขอมูลความรูจากการศึกษาคนควาในขั้นที่ 2 มาวิเคราะห แปลผล สรุปผล และนําเสนอผล ที่ไดศึกษาคนความาในรูปแบบสารสนเทศตางๆ เชน เขียนแผนภูมิ แผนผังแสดงมโนทัศน เขียนความเรียง เขียนรายงาน เปนตน สมองของผูเรียนจะทําหนาที่คิดวิเคราะห สังเคราะหอยางเปนระบบ คูม อื ครู


ขั้นที่ 4 ขยายความเขาใจ (Expand) เปนขั้นที่ผูสอนไดใชเทคนิควิธีการสอนที่ชวยพัฒนาผูเรียนใหนําความรูที่เกิดขึ้นไปคิดคนตอๆ ไป เพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรูและการทํางานรวมกันเปนกลุม ระดมสมองเพื่อคิดสรางสรรครวมกัน นักเรียนสามารถนําความรูที่สรางขึ้นใหมไปเชื่อมโยงกับประสบการณเดิมโดยนําขอสรุปที่ไดไปอธิบาย ในเหตุการณตางๆ หรือนําไปปฏิบัติในสถานการณใหมๆ ที่เกี่ยวของกับชีวิตประจําวันของตนเอง เพื่อขยาย ความรูค วามเขาใจใหกวางขวางยิง่ ขึน้ สมองของผูเ รียนทําหนาทีค่ ดิ ริเริม่ สรางสรรคอยางมีคณ ุ ภาพ เสริมสราง วิสัยทัศนใหกวางไกลออกไป

เสร�ม

5

ขั้นที่ 5 ตรวจสอบผล (Evaluate) เปนขั้นที่ผูสอนประเมินมโนทัศนของผูเรียน โดยตรวจสอบจากความคิดที่เปลี่ยนไปและความคิดรวบยอด ที่เกิดขึ้นใหม ตรวจสอบทักษะ กระบวนการปฏิบัติ การแกปญหา การตอบคําถามรวบยอด และการเคารพ ความคิดหรือยอมรับเหตุผลของคนอื่นเพื่อการสรางสรรคความรูรวมกัน นักเรียนสามารถประเมินผลการเรียนรูของตนเอง เพื่อสรุปผลวานักเรียนมีความรูอะไรเพิ่มขึ้นมาบาง มากนอยเพียงใด และจะนําความรูเหลานั้นไปประยุกตใชในการเรียนรูเรื่องอื่นๆ ไดอยางไร นักเรียนจะเกิด เจตคติและเห็นคุณคาของตนเองจากผลการเรียนรูที่เกิดขึ้น ซึ่งเปนการเรียนรูที่มีความสุขอยางแทจริง การจัดกิจกรรมการเรียนรูตามวัฏจักรการสรางความรูแบบ 5E จึงเปนรูปแบบการเรียนการสอนที่เนน ผูเรียนเปนสําคัญ โดยสงเสริมใหผูเรียนใชกระบวนการสรางความรูดวยตนเอง และฝกฝนใหใชกระบวนการคิดและ กระบวนการกลุมอยางชํานาญ กอใหเกิดทักษะการเรียนรูและทักษะชีวิตที่มีคุณภาพ ตามเปาหมายของการปฏิรูป การศึกษาทศวรรษที่ 2 (พ.ศ. 2552-2561) ทุกประการ คณะผูจัดทํา

คูม อื ครู


แถบสี และสัญลักษณ ที่ใชสื่อความหมายในคูมือครู 1. แถบสี

แถบสีแสดงขั้นตอนการสอนและการจัดกิจกรรม แบบ 5E เพื่อใหครูทราบวาเปนขั้นการสอนขั้นใด

เสร�ม

6

สีแดง

สีเขียว

สีสม

สีฟา

กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

เปนขั้นที่ผูสอนเลือกใช เทคนิคกระตุนความ สนใจ เพื่อโยงเขาสู บทเรียน

Explain

เปนขั้นที่ผูสอนให ผูเรียนสํารวจปญหา และศึกษาขอมูล

เปนขั้นที่ผูสอนให ผูเรียนคนหาคําตอบ จนเกิดความรูเชิง ประจักษ

สีมวง

ขยายความเขาใจ Expand

เปนขั้นที่ผูสอนให ผูเรียนนําความรูไป คิดคนตอๆ ไป

ตรวจสอบผล Evaluate

เปนขั้นที่ผูสอน ประเมินมโนทัศน ของผูเรียน

วัตถุประสงค

สัญลักษณ

2. สัญลักษณ

คูม อื ครู

เปาหมาย การเรียนรู

หลักฐาน แสดงผล การเรียนรู

• แสดงเปาหมาย

• แสดงรองรอย

การเรียนรูที่ นักเรียนตอง บรรลุตามตัวชี้วัด

หลักฐานที่แสดง ผลการเรียนรู ตามตัวชี้วัด

เกร็ดแนะครู

นักเรียนควรรู

• แทรกความรู

• ขยายความรู

เสริมสําหรับครู ขอเสนอแนะ ขอควรระวัง ขอสังเกต แนวทางการจัด กิจกรรมและอืน่ ๆ เพื่อประโยชนใน การจัดการเรียน การสอน

เพิ่มเติมจาก เนื้อหา เพื่อให นักเรียนไดมี ความรูมากขึ้น

@

NET

มุม IT

ขอสอบ

• แนะนําแหลง

• วิเคราะหแนว

คนควาจาก เว็บไซต เพื่อให ครูและนักเรียน ไดเขาถึงขอมูล ความรูที่ หลากหลาย

ขอสอบ O-NET เพื่อใหครูเนนยํ้า เนื้อหาที่มักออก ขอสอบ O-NET

• ขอสอบ O-NET พิจารณาออก ขอสอบจาก เนื้อหา ป.4, 5 และ 6


ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง (คัดเอามาเฉพาะที่ใชกับชั้น ป. 3)* สาระที่ 1 การอาน

มาตรฐาน ท 1.1 ใชกระบวนการอานสรางความรูและความคิด เพื่อนําไปใชตัดสินใจแกปญหาในการดําเนินชีวิต และมีนิสัยรักการอาน ชั้น ตัวชี้วัด ป.3 1. อานออกเสียงคํา ขอความ เรื่องสั้นๆ และบทรอยกรอง งายๆ ไดถูกตอง คลองแคลว 2. อธิบายความหมายของคํา และขอความที่อาน

สาระการเรียนรูแกนกลาง • การอานออกเสียงและการบอกความหมายของคํา คําคลองจอง ขอความ และบทรอยกรองตางๆ ที่ประกอบดวยคําพื้นฐาน เพิ่มเติมจาก ป.2 ไมนอยกวา 1,200 คํา รวมทั้งคําที่เรียนรู ในกลุมสาระการเรียนรูอื่น ประกอบดวย - คําที่มีตัวการันต - คําที่มี รร - คําที่มีพยัญชนะและสระไมออกเสียง - คําพอง - คําพิเศษอื่นๆ เชน คําที่ใช ฑ ฤ  • การอานจับใจความจากสื่อตางๆ เชน - นิทานหรือเรื่องเกี่ยวกับทองถิ่น - เรื่องเลาสั้นๆ - บทเพลงและบทรอยกรอง - บทเรียนในกลุมสาระการเรียนรูอื่น - ขาวและเหตุการณในชีวิตประจําวันในทองถิ่นและชุมชน

เสร�ม

7

3. ตั้งคําถามและตอบคําถาม เชิงเหตุผลเกี่ยวกับเรื่องที่อาน 4. ลําดับเหตุการณและคาดคะเน เหตุการณจากเรื่องที่อาน โดยระบุเหตุผลประกอบ 5. สรุปความรูและขอคิดจากเรื่อง ที่อาน เพื่อนําไปใชในชีวิต ประจําวัน 6. อานหนังสือตามความสนใจ • การอานหนังสือตามความสนใจ เชน - หนังสือที่นักเรียนสนใจและเหมาะสมกับวัย อยางสมํ่าเสมอ และนําเสนอ - หนังสือที่ครูและนักเรียนกําหนดรวมกัน เรื่องที่อาน 7. อานขอเขียนเชิงอธิบาย และ • การอานขอเขียนเชิงอธิบาย และปฏิบัติตามคําสั่งหรือขอแนะนํา ปฏิบัติตามคําสั่งหรือขอแนะนํา - คําแนะนําตางๆ ในชีวิตประจําวัน - ประกาศ ปายโฆษณา และคําขวัญ 8. อธิบายความหมายของขอมูล • การอานขอมูลจากแผนภาพ แผนที่ และแผนภูมิ จากแผนภาพ แผนที่ และ แผนภูมิ 9. มีมารยาทในการอาน • มารยาทในการอาน เชน - ไมอานเสียงดังรบกวนผูอื่น - ไมเลนกันขณะที่อาน - ไมทําลายหนังสือ - ไมควรแยงอานหรือชะโงกหนาไปอานขณะที่ผูอื่นกําลังอาน

* สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, กระทรวงศึกษาธิการ. ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลางฯ กลุมสาระการเรียนรู ภาษาไทย. (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย, 2551), หนา 7 - 59. คูม อื ครู


สาระที่ 2 การเขียน

มาตรฐาน ท 2.1 ใชกระบวนการเขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ยอความ และเขียนเรื่องราวในรูปแบบตางๆ เขียน รายงานขอมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาคนควาอยางมีประสิทธิภาพ เสร�ม

ชั้น

8

ป.3

ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง 1. คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด • การคัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดตามรูปแบบการเขียน ตัวอักษรไทย 2. เขียนบรรยายเกี่ยวกับสิ่งใด • การเขียนบรรยายเกี่ยวกับลักษณะของคน สัตว สิ่งของ สถานที่ สิ่งหนึ่งไดอยางชัดเจน 3. เขียนบันทึกประจําวัน • การเขียนบันทึกประจําวัน 4. เขียนจดหมายลาครู • การเขียนจดหมายลาครู 5. เขียนเรื่องตามจินตนาการ • การเขียนเรื่องตามจินตนาการจากคํา ภาพ และหัวขอที่กําหนด 6. มีมารยาทในการเขียน • มารยาทในการเขียน เชน - เขียนใหอานงาย สะอาด ไมขีดฆา - ไมขีดเขียนในที่สาธารณะ - ใชภาษาเขียนเหมาะสมกับเวลา สถานที่ และบุคคล - ไมเขียนลอเลียนผูอื่น หรือทําใหผูอื่นเสียหาย

สาระที่ 3 การฟง การดู และการพูด

มาตรฐาน ท 3.1 สามารถเลือกฟงและดูอยางมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู ความคิด และความรูสึก ในโอกาสตางๆ อยางมีวิจารณญาณและสรางสรรค ชั้น

ป.3

คูม อื ครู

ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง 1. เลารายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องที่ • การจับใจความและพูดแสดงความคิดเห็นและความรูสึกจากเรื่อง ที่ฟงและดู ทั้งที่เปนความรูและความบันเทิง เชน ฟงและดู ทั้งที่เปนความรูและ - เรื่องเลาและสารคดีสําหรับเด็ก ความบันเทิง 2. บอกสาระสําคัญจากการฟงและ - นิทาน การตูน เรื่องขบขัน - รายการสําหรับเด็ก การดู - ขาวและเหตุการณในชีวิตประจําวัน 3. ตั้งคําถามและตอบคําถาม - เพลง เกี่ยวกับเรื่องที่ฟงและดู 4. พูดแสดงความคิดเห็นและความ รูสึกจากเรื่องที่ฟงและดู 5. พูดสื่อสารไดชัดเจนตรงตาม • การพูดสื่อสารในชีวิตประจําวัน เชน วัตถุประสงค - การแนะนําตนเอง - การแนะนําสถานที่ในโรงเรียนและในชุมชน - การแนะนํา เชิญชวนเกี่ยวกับการปฏิบัติตนในดานตางๆ เชน การรักษาความสะอาดของรางกาย


ชั้น ป.3

ตัวชี้วัด

6. มีมารยาทในการฟง การดู และการพูด

สาระการเรียนรูแกนกลาง - การเลาประสบการณในชีวิตประจําวัน - การพูดในโอกาสตางๆ เชน การพูดขอรอง การพูดทักทาย การกลาวขอบคุณและขอโทษ การพูดปฏิเสธ และการพูดซักถาม • มารยาทในการฟง เชน - ตั้งใจฟง ตามองผูพูด - ไมรบกวนผูอื่นขณะที่ฟง - ไมควรนําอาหารหรือเครื่องดื่มไปรับประทานขณะที่ฟง - ไมแสดงกิริยาที่ไมเหมาะสม เชน โห ฮา หาว - ใหเกียรติผูพูดดวยการปรบมือ - ไมพูดสอดแทรกขณะที่ฟง • มารยาทในการดู เชน - ตั้งใจดู - ไมสงเสียงดังหรือแสดงอาการรบกวนสมาธิของผูอื่น • มารยาทในการพูด เชน - ใชถอยคําและกิริยาที่สุภาพ เหมาะสมกับกาลเทศะ - ใชนํ้าเสียงนุมนวล - ไมพูดสอดแทรกในขณะที่ผูอื่นกําลังพูด - ไมพูดลอเลียนใหผูอื่นไดรับความอับอายหรือเสียหาย ฯลฯ

เสร�ม

9

สาระที่ 4 หลักการใชภาษาไทย

มาตรฐาน ท 4.1 เขาใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของภาษา ภูมิปญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไวเปนสมบัติของชาติ ชั้น ตัวชี้วัด ป.3 1. เขียนสะกดคําและบอก ความหมายของคํา

• • • • • • • • • • •

สาระการเรียนรูแกนกลาง การสะกดคํา การแจกลูก และการอานเปนคํา มาตราตัวสะกดที่ตรงตามมาตราและไมตรงตามมาตรา การผันอักษรกลาง อักษรสูง และอักษรตํ่า คําที่มีพยัญชนะควบกลํ้า คําที่มีอักษรนํา คําที่ประวิสรรชนียและคําที่ไมประวิสรรชนีย คําที่มี ฤ  คําที่ใช บัน บรร คําที่ใช รร คําที่มีตัวการันต ความหมายของคํา

คูม อื ครู


ชั้น ตัวชี้วัด ป.3 2. ระบุชนิดและหนาที่ของคํา ในประโยค

เสร�ม

10

สาระการเรียนรูแกนกลาง • ชนิดและหนาที่ของคํา ไดแก - คํานาม - คําสรรพนาม - คํากริยา

3. ใชพจนานุกรมคนหา ความหมายของคํา

• การใชพจนานุกรม

4. แตงประโยคงายๆ

• การแตงประโยคเพื่อการสื่อสาร ไดแก - ประโยคบอกเลา - ประโยคปฏิเสธ - ประโยคคําถาม - ประโยคขอรอง - ประโยคคําสั่ง

5. แตงคําคลองจองและคําขวัญ

• คําคลองจอง • คําขวัญ

6. เลือกใชภาษาไทยมาตรฐาน และภาษาถิ่นไดเหมาะสมกับ กาลเทศะ

• ภาษาไทยมาตรฐาน • ภาษาถิ่น

สาระที่ 5 วรรณคดีและวรรณกรรม

มาตรฐาน ท 5.1 เขาใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณวรรณคดีและวรรณกรรมไทยอยางเห็นคุณคา และนํามา ประยุกตใชในชีวิตจริง ชั้น ตัวชี้วัด ป.3 1. ระบุขอคิดที่ไดจากการอาน วรรณกรรมเพื่อนําไปใชใน ชีวิตประจําวัน 2. รูจักเพลงพื้นบานและเพลง กลอมเด็ก เพื่อปลูกฝงความ ชื่นชมวัฒนธรรมทองถิ่น 3. แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ วรรณคดีที่อาน 4. ทองจําบทอาขยานตามที่ กําหนด และบทรอยกรองที่มี คุณคาตามความสนใจ คูม อื ครู

สาระการเรียนรูแกนกลาง • วรรณคดี วรรณกรรม และเพลงพื้นบาน - นิทานหรือเรื่องในทองถิ่น - เรื่องสั้นงายๆ ปริศนาคําทาย - บทรอยกรอง - เพลงพื้นบาน - เพลงกลอมเด็ก - วรรณกรรมและวรรณคดีในบทเรียนและตามความสนใจ • บทอาขยานและบทรอยกรองที่มีคุณคา - บทอาขยานตามที่กําหนด - บทรอยกรองตามความสนใจ


คําอธิบายรายวิชา รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย (หลักภาษาและการใชภาษา) ชั้นประถมศึกษาปที่ 3 รหัสวิชา ท…………………………………………………….

กลุมสาระการเรียนรู ภาษาไทย ภาคเรียนที่ 1-2 เวลา 140 ชั่วโมง/ป เสร�ม

11

อานออกเสียงคํา ขอความ เรื่องสั้นๆ และบทรอยกรองงายๆ อธิบายความหมายของคําและขอความที่อาน คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด เขียนสะกดคําและบอกความหมายของคํา ตั้งคําถามและตอบคําถามเชิงเหตุผล เกี่ยวกับเรื่องที่อาน มีมารยาทในการอาน เขียนบรรยายเกี่ยวกับสิ่งใดสิ่งหนึ่งไดชัดเจน เขียนเรื่องตามจินตนาการ เขียนจดหมายลาครู มีมารยาทในการเขียน พูดสื่อสารไดชัดเจนตามวัตถุประสงค มีมารยาทในการฟง การดู และ การพูด ระบุชนิดและหนาที่ของคําในประโยค แตงประโยคงายๆ รูจักเพลงพื้นบานและเพลงกลอมเด็ก อานหนังสือ ตามความสนใจอยางสมํ่าเสมอและนําเสนอเรื่องที่อาน อานขอเขียนเชิงอธิบายและปฏิบัติตามคําสั่งหรือขอแนะนํา แตงคําคลองจองและคําขวัญ แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับวรรณคดีที่อาน ทองจําบทอาขยานตามที่กําหนดและบท รอยกรองตามความสนใจ ลําดับเหตุการณและคาดคะเนเหตุการณจากเรือ่ งทีอ่ า นโดยระบุเหตุผลประกอบ สรุปความรู และขอคิดจากเรื่องที่อาน เลารายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องที่ฟงและดูทั้งที่เปนความรูและความบันเทิง บอกสาระสําคัญ จากการฟงและดู ตั้งคําถามและตอบคําถามเกี่ยวกับเรื่องที่ฟงและดู พูดแสดงความคิดเห็นและความรูสึกจากเรื่อง ที่ฟงและดู เลือกใชภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถิ่นไดเหมาะสมกับกาลเทศะและโอกาส อานขอเขียนเชิงอธิบาย และปฏิบัติตามคําสั่งหรือขอแนะนํา เขียนบันทึกประจําวัน และใชพจนานุ จ กรมคนหาความหมายของคํา โดยใชกระบวนการทางภาษา ไดแก กระบวนการอาน กระบวนการเขียน กระบวนการฟง กระบวนการพูด และการดู การคิด เพื่อใหเกิดความรู ความคิด ความเขาใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปประยุกต ใชในชีวิตประจําวัน มีจิตสํานึกรักภาษาไทย และมีคานิยมที่ดีตอภภาษาไทย ตัวชี้วัด ท 1.1 ป.3/1 ท 2.1 ป.3/1 ท 3.1 ป.3/1 ท 4.1 ป.3/1 ท 5.1 ป.3/2

ป.3/2 ป.3/2 ป.3/2 ป.3/2 ป.3/4

ป.3/3 ป.3/3 ป.3/3 ป.3/3

ป.3/4 ป.3/4 ป.3/4 ป.3/4

ป.3/5 ป.3/5 ป.3/5 ป.3/5

ป.3/6 ป.3/7 ป.3/8 ป.3/9 ป.3/6 ป.3/6 ป.3/6

รวม 29 ตัวชี้วัด

คูม อื ครู


ตาราง

ÇÔà¤ÃÒÐË Áҵðҹ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙጠÅеÑǪÕÇé ´Ñ ÃÒÂÇÔªÒ ÀÒÉÒä·Â ËÅÑ¡ÀÒÉÒáÅСÒÃ㪌ÀÒÉÒ ».3

คําชี้แจง : ใหผสู อนใชตารางน�ต้ รวจสอบวา เน�อ้ หาสาระการเรียนรูใ นหนวยการเรียนรูส อดคลองกับมาตรฐานการเรียนรูแ ละตัวชีว้ ดั

เสร�ม

12

ชั้นปในขอใดบาง

ตัวชี้วัด ชั้น ป.3 สาระที่ 1 การอาน 1. อานออกเสียงคํา ขอความ เรื่องสั้นๆ และบทรอยกรองงายๆ ไดถูกตอง คลองแคลว 2. อธิบายความหมายของคํา และขอความที่อาน

มฐ. ท 1.1

3. ตั้งคําถามและตอบคําถามเชิงเหตุผลเกี่ยวกับเรื่องที่อาน 4. ลําดับเหตุการณและคาดคะเนเหตุการณจากเรื่องที่อานโดยระบุเหตุผลประกอบ 5. สรุปความรูและขอคิดจากเรื่องที่อาน เพื่อนําไปใชในชีวิตประจําวัน 6. อานหนังสือตามความสนใจอยางสมํ่าเสมอ และนําเสนอเรื่องที่อาน 7. อานขอเขียนเชิงอธิบาย และปฏิบัติตามคําสั่งหรือขอแนะนํา 8. อธิบายความหมายของขอมูลจากแผนภาพ แผนที่ และแผนภูมิ 9. มีมารยาทในการอาน

สาระที่ 2 การเขียน

มฐ. ท 2.1

1. 2. 3. 4. 5. 6.

คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด เขียนบรรยายเกี่ยวกับสิ่งใดสิ่งหนึ่งไดอยางชัดเจน เขียนบันทึกประจําวัน เขียนจดหมายลาครู เขียนเรื่องตามจินตนาการ มีมารยาทในการเขียน

สาระที่ 3 การฟง การดู และการพูด

มฐ. ท 3.1

1. 2. 3. 4. 5. 6.

เลารายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องที่ฟงและดู ทั้งที่เปนความรูและความบันเทิง บอกสาระสําคัญจากการฟงและการดู ตั้งคําถามและตอบคําถามเกี่ยวกับเรื่องที่ฟงและดู พูดแสดงความคิดเห็นและความรูส กึ จากเรือ่ งทีฟ่ ง และดู พูดสื่อสารไดชัดเจนตรงตามวัตถุประสงค มีมารยาทในการฟง การดู และการพูด

สาระที่ 4 หลักการใชภาษาไทย

มฐ. ท 4.1

1. 2. 3. 4. 5.

เขียนสะกดคําและบอกความหมายของคํา ระบุชนิดและหนาที่ของคําในประโยค ใชพจนานุกรมคนหาความหมายของคํา แตงประโยคงายๆ แตงคําคลองจองและคําขวัญ

6. เลือกใชภาษาไทยมาตรฐาน และภาษาถิ่นไดเหมาะสมกับกาลเทศะ

สาระที่ 5 วรรณคดีและวรรณกรรม

มฐ. ท 5.1

1. ระบุขอคิดที่ไดจากการอานวรรณกรรมเพื่อนําไปใชในชีวิตประจําวัน 2. รูจ กั เพลงพืน้ บานและเพลงกลอมเด็ก เพือ่ ปลูกฝงความชืน่ ชมวัฒนธรรมทองถิน่ 3. แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับวรรณคดีที่อาน 4. ทองจําบทอาขยานตามที่กําหนด และบทรอยกรองที่มีคุณคาตามความสนใจ

คูม อื ครู

หนวยที่

สาระการเรียนรู

มาตรฐาน การเรียนรู

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ สาระที่ 5 ขอ 1 น�้ จะปรากฏในหนังสือเรียนภาษาไทย วรรณคดีและวรรณกรรม ป. 3 ✓ สาระที่ 5 ขอ 3 น�้ จะปรากฏในหนังสือเรียนภาษาไทย วรรณคดีและวรรณกรรม ป. 3 ✓


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Explore

Explain

?

ñ

ตรวจสอบผล Evaluate

Expand

¶ŒÒàÃÒàÃÕ Â¹Ë¹Ñ§Ê×Í à¾Õ§Í‹ҧà´ÕÂÇ â´ÂäÁ‹áº‹§àÇÅÒä»·íÒ Í‹ҧÍ×è¹àÅ ¨Ðà¡Ô´¼Å Í‹ҧäùÐ

หนวยการเรียนรูท ี่

ขยายความเขาใจ

กระตุนความสนใจ ครูถามคําถามแลวใหนักเรียน แสดงความคิดเห็นอยางอิสระ • การแบงเวลาเพื่อทําสิ่งตางๆ อยางเหมาะสม จะกอใหเกิด ผลดีอยางไร • ถาเราเรียนหนังสืออยางเดียว โดยไมแบงเวลาทําอยางอื่นเลย จะเกิดผลอยางไร

àÇÅÒÁդس¤‹Ò

เปาหมายการเรียนรูประจําหนวยที่ ๑

เมื่อเรียนจบหนวยนี้ ผูเรียนจะมีความรูความสามารถตอไปนี้ ๑. อานออกเสียงคํา ขอความ เรื่องสั้นๆ และบทรอยกรองงายๆ ไดถูกตอง (มฐ. ท ๑.๑ ป.๓/๑) ๒. บอกความหมายของคํา และขอความจากเรื่องที่อานได (มฐ. ท ๑.๑ ป.๓/๒) ๓. สะกดคํา และบอกความหมายของคําได (มฐ. ท ๔.๑ ป.๓/๑) ๔. อานเรื่องสั้นๆ แลวตั้งคําถาม ตอบคําถาม และสรุปความรูจากเรื่องที่อานอยางมีมารยาทในการอาน (มฐ. ท ๑.๑ ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๙)

คูมือครู

1


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explore

Explain

Expand

Evaluate

(ยอจากฉบับนักเรียน 20%)

เปาหมายการเรียนรู เมื่อเรียนจบ นักเรียนจะสามารถ ปฏิบัติสิ่งเหลานี้ได 1. อานออกเสียงคํา ขอความ เรื่องสั้นๆ และบทรอยกรอง งายๆ ได โดยสะกดคํา และ บอกความหมายของคําได 2. อานเรื่องแลวตั้งคําถาม ตอบคําถาม และสรุปความรู จากเรื่องที่อานได 3. มีมารยาทในการอาน

กิจกรรมนาํ สูก ารเรียน เขียนคําจากภาพ ที่กําหนดลงในสมุด แลวเขียนสะกดคํา

๓)

๒)

เกร็ดแนะครู

๔)

ครูจัดกระบวนการเรียนรูโดยการ ใหนักเรียน • อภิปราย • ปฏิบัติ (อานออกเสียง ฟง พูด และดู) • ทําความเขาใจจนเกิดความรู เรื่องการสะกดคํา แลวสะกดคํา และอานออกเสียงคํา ขอความ หรือเรื่องสั้นๆ ที่พบในชีวิต ประจําวันได

๕)

สม สอ-.....

แนวคิดสําคัญ 

กระตุนความสนใจ 

๑)

การฝกสะกดคํา และแจกลูกคํา จะทําใหอาน หรือเขียนคําไดอยางถูกตอง

การฝกอานออกเสียงวรรณกรรมเรื่อง เวลามีคุณคา จะทําใหอานคํา ขอความ เรื่องสั้นๆ และบทรอยกรองงายๆ ไดอยางถูกตองและคลองแคลว การสะกดคําและแจกลูกคํา จะทําใหอานและเขียนคําตางๆ ได อยางถูกตอง คลองแคลว การอานเรื่องตางๆ ควรฝกตั้งคําถาม ตอบคําถาม ลําดับเหตุการณ และควรสรุปความรู และใจความสําคัญของเรือ่ ง เพือ่ นําไปใชประโยชน ในชีวิตประจําวัน โดยอานอยางมีมารยาท

นักเรียนดูภาพในหนังสือ หนา 2 และชวยกันบอกวา  • จากภาพตรงกับคําวาอะไร (ตอบ ภาพที่ 1-สม ภาพที่ 2-แมว ภาพที่ 3-เสื้อ ๒ ภาพที่ 4-โตะ ภาพที่ 5-โซ) • คําที่ไดจากภาพทั้ง 5 ภาพ สะกดอยางไร (ตอบ สม สะกดวา สอ-โอะ-มอ-สม-ไมโท-สม แมว สะกดวา มอ-แอ-วอ-แมว เสื้อ สะกดวา สอ-เอือ-เสือ-ไมโท-เสื้อ โตะ สะกดวา ตอ-โอะ-โตะ-ไมตรี-โตะ โซ สะกดวา ซอ-โอ-โซ-ไมเอก-โซ) • การฝกอานสะกดคําอยูเสมอมีประโยชนอยางไร (แนวตอบ ทําใหอานและเขียนคําไดถูกตอง)

2

คูมือครู


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา Explore

Engage

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

สํารวจคนหา

วรรณกรรมนาอาน

เวลามีคุณคา วันนี้เปนวันแรกของการเปดภาคเรียนที่ ๑ เด็กๆ ดีใจที่ไดเรียน ชั้นใหม ไดพบเพื่อนๆ และคุณครูประจําชั้นคนใหม เด็กๆ ทักทายไตถามความเปนไปของเพื่อนๆ แตละคนเสียงดัง เซ็งแซ จนกระทั่งถึงเวลาเขาแถวเคารพธงชาติ นักเรียนทุกคน จึงเดินไปเขาแถว ซึ่งหลังจากเขาแถวเคารพธงชาติและสวดมนต เสร็จแลวตางเดินอยางเปนระเบียบ แยกยายกันไปเขาหองเรียน

1. นักเรียนอานชื่อเรื่องในหนังสือ หนา 3 แลวชวยกันบอกวา • เวลามีคุณคาอยางไร และเรา ควรปฏิบัติตนอยางไร จึงจะ เปนการใชเวลาอยางมีคุณคา (แนวตอบ เวลาเปนสิ่งที่ไมตอง ซื้อหา และเวลาไมเคยยอนกลับ มาได เราจึงควรแบงเวลา ในวันหนึ่งๆ เพื่อทําสิ่งตางๆ อยาง มีประโยชน เชน แบงเวลา ที่นอกเหนือจากเวลาเรียน ไปทําการบาน ชวยพอแม ทํางานบาน อานหนังสือ ดูแลสัตวเลี้ยง ออกกําลังกาย เลนกับเพื่อน เปนตน ซึ่งการ ทําสิ่งตางๆ เพื่อใชเวลาอยางมี คุณคา ควรวางแผนการลวงหนา และไมควรผัดวันประกันพรุง) 2. นักเรียนรวมกันอานออกเสียง เนื้อเรื่องในหนังสือ หนา 3 3. ครูสังเกตวานักเรียนสวนใหญ อานออกเสียงถูกตองหรือไม

คูมือครู

3


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

อธิบายความรู 1. นักเรียนอานออกเสียงเนื้อเรื่อง ในหนังสือ หนา 4 2. ครูสังเกตวานักเรียนสวนใหญ อานออกเสียงถูกตองหรือไม 3. นักเรียนรวมกันอภิปรายแสดง ความคิดเห็นเกี่ยวกับการพูด ทักทายวา • การพูดทักทายคุณครูกับ การพูดทักทายเพื่อน มีลักษณะเหมือนกันหรือไม และควรพูดทักทายอยางไร จึงจะเหมาะสม (แนวตอบ การพูดทักทายคุณครู ควรพูดคําทักทายวา สวัสดี แลวใชคําลงทายวา ครับ หรือ คะ ดังนี้ "สวัสดีครับคุณครู" "สวัสดีคะคุณครู" ซึ่งการพูด ทักทายเชนนี้ สามารถใชพูด ทักทายเพื่อนไดเหมือนกัน โดยไมตองพูดคําวาคุณครู ในตอนทาย เชน "สวัสดีครับนิด" "สวัสดีคะโตง" "สวัสดีจะ" เปนตน ซึ่งการพูดทักทาย ควรพูดโดยใชภาษาสุภาพ) 4. นักเรียนรวมกันสรุปใจความสําคัญ ของเนื้อเรื่องในหนังสือ หนา 4 • คุณครูประจําชั้น ป. 3/1 คนใหม ชื่อคุณครูเพียงเพ็ญ ตองการ ทําความรูจักนักเรียนชั้น ป. 3/1 จึงใหนักเรียนเขียนประวัติ สวนตัว พรอมทั้งบอกลักษณะ นิสัยและติดรูปภาพมาสงคุณครู ในวันรุงขึ้น

คูมือครู

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

(ยอจากฉบับนักเรียน 20%)

ในปการศึกษาใหมนี้ นักเรียนชั้น ป. ๓/๑ มีคุณครูประจําชั้น คนใหมดว ย นักเรียนทุกคนกลาวสวัสดีคณุ ครูคนใหมอยางพรอมเพรียง กั น คุ ณ ครู ก ล า วทั ก ทายนั ก เรี ย นตอบ แล ว พู ด แนะนํ า ตั ว เอง ใหนักเรียนรูจักวา เธอชื่อ เพียงเพ็ญ ประสมสุข คุณครูเพียงเพ็ญตองการทําความรูจักกับนักเรียนชั้น ป. ๓/๑ ทุกคน เธอจึงบอกใหนักเรียนเขียนประวัติสวนตัว พรอมทั้งบอก ลักษณะนิสัยของตนเองและติดรูปภาพของนักเรียน แลวนํามาสง คุณครูในวันรุงขึ้น หลังจากทีค่ ณ ุ ครูเพียงเพ็ญสัง่ งานเสร็จแลว เธอแนะนํานักเรียน วา เมื่อไดรับมอบหมายใหทํางานอะไร ควรรีบทําใหเสร็จเรียบรอย ตรงตามเวลาที่กําหนด เพื่อไมใหมีงานติดคาง

4

ขยายความเขาใจ


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

อธิบายความรู

คุณครูเพียงเพ็ญอยากใหนกั เรียนเขาใจประโยชนของการทํางาน สงใหตรงเวลาทีก่ าํ หนดมากขึน้ จึงติดแผนภูมกิ ลอนดอกสรอย “เวลา” ใหนักเรียนอาน เวเอย เวลา ใครผัดวันประกันพรุงยุงทุกที กิจการงานใดใหเรงคิด ไมเปนดินพอกหางหมูรูระวัง

หากเราชาแชเชือนจะเลือนหนี อางพรุงนี้เรื่อยไปไมอยากฟง อยาเบือนบิดคางไวทาํ ภายหลัง เมือ่ งานเสร็จก็นอนนัง่ ดัง่ ใจเอย จตุภูมิ วงษแกว

เมื่อนักเรียนอานกลอนดอกสรอยจบแลว คุณครูเพียงเพ็ญ พูดขึ้นวา “ถาเราทํางานเสร็จตามเวลาที่กําหนด เราก็จะมีเวลาทํา สิ่งอื่นๆ ที่มีประโยชน ไดอีก เขาใจไหมคะนักเรียน” “เขาใจครับ” “เขาใจคะ” พวกนักเรียนตางรับคําพรอมๆ กันดวยใบหนายิ้มแยม มีความสุขที่ไดเรียนรูเรื่องดีๆ และมีประโยชน

?

คําถามจุดประกาย

๑. เพราะเหตุใด นักเรียนจึงควรทํางานใหเสร็จตามกําหนดเวลา ๒. นักเรียนมีวิธีการอยางไรที่จะทํางานไดเสร็จตามกําหนดเวลา

1. นักเรียนอานออกเสียงเนื้อเรื่อง และกลอนดอกสรอยในหนังสือ หนา 5 2. ครูสังเกตวานักเรียนสวนใหญ อานออกเสียงไดถูกตองหรือไม 3. นักเรียนรวมกันอภิปรายแสดง ความคิดเห็นเกี่ยวกับการใชเวลา อยางเหมาะสมจากกลอนดอกสรอย 4. นักเรียนรวมกันสรุปใจความสําคัญ ของกลอนดอกสรอยเวลา • กลอนดอกสรอยเวลามีใจความ สําคัญ คือ ในการทําสิ่งตางๆ ควรเรงทําใหเสร็จตามเวลาที่ กําหนด ไมควรผัดวันประกันพรุง ไปเรื่อยๆ เพราะจะกลายเปน ดินพอกหางหมู คือมีงานคั่งคาง อยูมาก

ขยายความเขาใจ 1. ครูอธิบายลักษณะคําประพันธ ของกลอนดอกสรอย โดยครูเขียน แผนผังกลอนดอกสรอยให นักเรียนดู • คําประพันธประเภทกลอน ดอกสรอย วรรคแรกจะมี 4 คํา คําที่สองเปนคําวา "เอย" เชน เวเอย เวลา สวนวรรคตอๆ ไป มี 7-8 คํา และวรรคสุดทาย ลงทายดวยคําวา "เอย" 2. ใหนักเรียนโยงเสนสัมผัสของ กลอนดอกสรอยเวลา ในหนังสือ หนา 5 3. นักเรียนรวมกันตอบคําถาม จุดประกายในหนังสือ หนา 5

เฉลย คําถามจุดประกาย 1. ตอบ เพื่อไมใหมีงานคั่งคาง เพราะหากมีงานคางมากๆ อาจทํางานไมเสร็จเลยก็ได 2. แนวตอบ แบงเวลาในการทําสิ่งตางๆ อยางเหมาะสม และตั้งใจทํางานใหเสร็จ

คูมือครู

5


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

(ยอจากฉบับนักเรียน 20%)

ขยายความเขาใจ 1. นักเรียนอานออกเสียงคําศัพท และอานความหมายของคําศัพท ในหนังสือ หนา 6 2. ครูสังเกตวานักเรียนสวนใหญ อานออกเสียงไดถูกตองหรือไม 3. นักเรียนเลือกคําศัพทใหมคนละ 1 คํา แลวแตงประโยคจากคํา เพื่อตรวจสอบวานักเรียนสามารถ ใชคําในการสื่อสารไดถูกตอง ตามความหมายของคําหรือไม

@

คําศัพทนารู

คํา

มุม IT

คนหาความหมายของคําศัพท คําอื่นๆ ไดที่ http://rirs3.royin. go.th/dictionary.asp ซึ่งเปน เว็บไซตของราชบัณฑิตยสถาน

6

คูมือครู

อานวา

ความหมาย

กิจการ

กิด-จะ-กาน

งานที่ประกอบ ธุระ

แชเชือน

แช-เชือน

ไถล เถลไถลไมตรงไปตรงมา เชือนแช ก็วา

เซ็งแซ

เซ็ง-แซ

ดังอื้ออึงแซไปหมด

ดินพอกหางหมู

ดิน-พอก-หาง-หมู

ที่คั่งคางพอกพูนขึ้นเรื่อยๆ (เปนสํานวน)

ประวัติ

ประ-หวัด

เรื่องราววาดวยความเปนไปของ คน สถานที่ หรือสิ่งใดสิ่งหนึ่ง

ผัดวันประกันพรุง

ผัด-วัน-ประ-กัน-พรุง ขอเลื่อนเวลาออกไปครั้งแลว ครั้งเลา (เปนสํานวน)

พรอมเพรียง

พรอม-เพรียง

ครบถวน รวมใจกัน เปนอันหนึ่งอันเดียวกัน

มอบหมาย

มอบ-หมาย

กําชับสั่งเสีย กะให กําหนดให

เลือน

เลือน

มัวๆ ไมแจมแจง


สํารวจคนหา

กระตุนความสนใจ

Explore

อธิบายความรู Explain

Engage

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

สํารวจคนหา

หลักภาษานารู

การสะกดคํา การสะกดคํา เปนการอานออกเสียงพยัญชนะ สระ ตัวสะกด (ถามี) และวรรณยุกต (ถามี) ๑. การสะกดคําที่ไมมีตัวสะกด มีขั้นตอน ดังนี้

1. ครูทบทวนความรูเรื่องการสะกดคํา และการอานเปนคํา 2. นักเรียนสํารวจสิ่งของตางๆ ที่อยูในหองเรียน แลวรวมกันบอก ชื่อสิ่งของเหลานั้น เชน โตะ เกาอี้ แปรงลบกระดาน เปนตน แลวครู เขียนคําบนกระดาน 3. นักเรียนฝกสะกดคําพรอมๆ กัน หากเปนคําที่มากกวา 1 พยางค ใหสะกดแยกทีละพยางค

๑ อานออกเสียงพยัญชนะ อธิบายความรู

๒ อานออกเสียงสระ

1. ครูอธิบายขั้นตอนการสะกดคํา ที่ไมมีตัวสะกด โดยใหนักเรียนดู ขอมูลในหนังสือ หนา 7 ประกอบ 2. นักเรียนรวมกันสะกดคําที่ไมมี ตัวสะกดที่ครูเขียนบนกระดาน ในขั้นตอนสํารวจคนหาอีกครั้งหนึ่ง 3. ครูสังเกตวานักเรียนสวนใหญ สะกดคําไดถูกตองหรือไม

๓ อานออกเสียงคําที่ไดจากเสียงพยัญชนะประสมกับเสียงสระ ๔ อานออกเสียงชื่อวรรณยุกต (ถามี) ๕ อานคําที่ไดจากเสียงพยัญชนะประสมกับเสียงสระและวรรณยุกต

เชน ตอ - เอา - เตา - ไมเอก - เตา

ต เ-า

-่

เตา ๗

คูมือครู

7


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

อธิบายความรู 1. นักเรียนดูภาพในหนังสือ หนา 8 แลวฝกสะกดคํา ฝกอานคํา อานขอความและประโยค 2. ครูสังเกตวานักเรียนสวนใหญ สะกดคํา อานคํา อานขอความ และประโยคถูกตองหรือไม 3. นักเรียนรวมกันอภิปรายแสดง ความคิดเห็นวา • การอานออกเสียงคําถูกตอง มีประโยชนอยางไร (แนวตอบ การอานออกเสียงคํา ถูกตอง จะทําใหผูฟงเขาใจวา ผูพูดตองการสื่อสารอะไร และ การอานออกเสียงถูกตองจะทําให เขียนคําถูกตอง เชน ลํ่าลา ไมเขียนผิดเปน รํ่ารา เปนตน)

ฝกสะกดคํา ฝกอานคํา อานขอความและประโยค

กอไผ

กาแฟ

ตะกรอ

บะหมี่

สําลี

ระกํา

กระแต กําไล เตาหู ผาไหม ปูมา เรือสําเภา ๘

8

คูมือครู

(ยอจากฉบับนักเรียน 20%)

ดูกระแต กําไลสีฟา เตาหูยี้ ทอผาไหม ปูมาตัวโต เรือสําเภาลําใหญ

พี่ดูกระแต แมมีกําไลสีฟา ปาซื้อเตาหูยี้ ยาทอผาไหม อาใหปูมาตัวโตแกพอ เรือสําเภาลําใหญ อยูในทะเล


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

อธิบายความรู

๒. การสะกดคําที่มีตัวสะกด มีขั้นตอน ดังนี้

1. นักเรียนดูภาพเด็กถือปาย ในหนังสือ หนา 9 แลวสะกดคํา ตามตัวอักษรในปาย 2. ครูอธิบายขั้นตอนการสะกดคําที่มี ตัวสะกด โดยใหนักเรียนดูขอมูล ในหนังสือ หนา 9 ประกอบ 3. นักเรียนรวมกันสะกดคําที่มี ตัว สะกดจากคําที่ครูเขียน บนกระดานในขั้นตอนสํารวจคนหา อีกครั้งหนึ่ง 4. ครูสังเกตวานักเรียนสวนใหญ สะกดคําที่มีตัวสะกดไดถูกตอง หรือไม

๑ อานออกเสียงพยัญชนะตน ๒ อานออกเสียงสระ ๓ อานออกเสียงตัวสะกด ๔ อานออกเสียงคําที่ไดจากเสียงพยัญชนะตน ประสมกับเสียงสระและตัวสะกด ๕ อานออกเสียงชื่อวรรณยุกต (ถามี) ๖ อานคําที่ไดจากเสียงพยัญชนะประสมกับ เสียงสระ เสียงตัวสะกด และเสียงวรรณยุกต

เชน มอ - แอ - วอ - แมว

ม แ-

แม

ว ๙

คูมือครู

9


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

อธิบายความรู 1. นักเรียนดูภาพในหนังสือ หนา 10 แลวฝกสะกดคํา ฝกอานคํา อานขอความและประโยค 2. ครูสังเกตวานักเรียนสวนใหญ สะกดคํา อานคํา อานขอความ และประโยคถูกตองหรือไม 3. ครูอธิบายเพิ่มเติมขอมูลที่นักเรียน ควรรู

(ยอจากฉบับนักเรียน 20%)

ฝกสะกดคํา ฝกอานคํา อานขอความและประโยค

นกยูง

เขียด

คิงคอง

ตําลึง

ตั๊กแตน

กลองดินสอ

นักเรียนควรรู ตาล รถ เปนคําที่มีตัวสะกด ไมตรงตามมาตรา เพราะเปนคําที่ รับมาจากภาษาตางประเทศ เชน นํ้าตาล คําวา ตาล มี ล เปนตัวสะกด อยูในมาตราแมกน รถ มี ถ เปน ตัวสะกด อยูในมาตราแมกด เปนตน ซึ่งการสะกดคําเหลานี้จะสะกดตาม รูปที่เขียนแลวจึงออกเสียงตาม มาตราตัวสะกดนั้นๆ เชน • ตาล สะกดวา ตอ-อา-ลอ อานวา ตาน • รถ สะกดวา รอ-โอะ-ถอ อานวา รด นักเรียนจึงควรสังเกต และจดจํา คําเหลานี้ และอานออกเสียงให ถูกตอง

กลวย ขาว นํ้าตาล พริก รถ สมุด ๑๐

10

คูมือครู

กลวยหอม ขาวเปลือก นํ้าตาลทราย พริกไทย รถโดยสาร สมุดบันทึก

ลุงกินกลวยหอม ไกจิกขาวเปลือก นองซื้อนํ้าตาลทราย พริกไทยมีรสเผ็ด นักเรียนขึ้นรถโดยสาร พีเ่ ขียนบันทึกในสมุดบันทึก


กระตุนความสนใจ Engage

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Explore

Explain

การสะกดคําที่มีตัวสะกดนี้ สระบางรูป เมื่อประสมกับพยัญชนะ และตัวสะกดแลว จะเปลี่ยนรูปหรือลดรูปหายไป Í‹Ò¹¤íÒáÅÐÊѧࡵÊÃкҧÃÙ»àÁ×èÍäÁ‹ÁÕµÑÇÊС´ áÅÐÁÕµÑÇÊС´µ‹Í仹Õ餋Ð

คําที่ไมมีตัวสะกด

-ะ

สระอะ ใชรูป กะ ขะ คะ

จะ ฉะ งะ

คําที่มีตัวสะกด

ดะ ถะ ซะ

ตะ ผะ ทะ

- ือ

สระอือ ใชรูป ดือ ตือ ปือ ขือ ผือ ฝือ ชือ ฟือ ยือ สระเอะ ใชรูป เกะ เขะ เคะ

เจะ เผะ เชะ

อือือ สสื​ือ ลือ

เ- ะ

เดะ เสะ เมะ

เตะ เหะ เระ

สระอะ เปลี่ยนรูปเปน (ไมหันอากาศ)

-ั

กัด ขัง คัน

จัน ฉับ งงับ

ตัก ผัก ทับ

ดัง ถัด ซัซก

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

ขยายความเขาใจ 1. ครูเขียนคําที่ประสมสระ -ะ, สระ -ือ, สระ เ-ะ, สระ แ-ะ, สระ เ-อ, สระ- เ-าะ, สระ โ-ะ และ สระ -ัว ที่มีตัวสะกดบนกระดาน 2. นักเรียนรวมกันบอกวา คําที่ครูเขียน ประสมกับสระใด และนักเรียนมีวิธี สังเกตอยางไร 3. ครูอธิบายเรื่องคําที่มีตัวสะกดแลว สระบางตัวจะเปลี่ยนรูป หรือลดรูป โดยใหนักเรียนดูขอมูลในหนังสือ หนา 11-13 ประกอบ

-ื

สระอือ ลดรูป อ เปน ตต่ตื่นื ดืดด่​่มื ปืปปนน อ่อื่นื ขืขนืน ผืผนืน ฝืฝดด สืสบบื ฟน ยืยมมื ชืช่​่นื ฟืฟน ลืม

เ -็ (- เรียกวา ไมไตคู)

สระเอะ เปลี่ยนรูปเปน เก็บ เข็น เค็ม

เจ็บ เด็ก เต็ง เผ็ด เส็ง เห็ด เช็ด เม็ด เร็ว ๑๑

คูมือครู

11


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

(ยอจากฉบับนักเรียน 20%)

ขยายความเขาใจ นักเรียนแบงกลุมเปน 2 กลุม กลุมแรกอานออกเสียงสะกดคําที่ไมมี ตัวสะกด กลุมที่สองอานออกเสียง สะกดคําที่มีตัวสะกดควบคูกัน ในหนังสือ หนา 11-13 เชน • กลุมที่ 1 กอ-อะ-กะ จอ-อะ-จะ • กลุมที่ 2 กอ-อะ-ดอ-กัด จอ-อะ-นอ-จัน เปนตน เพื่อใหนักเรียนจําและเขาใจเรื่องการ เปลี่ยนรูป และลดรูปของสระในคําที่ มีตัวสะกดดียิ่งขึ้น

คําที่ไมมีตัวสะกด

สระแอะ ใชรูป

แ- ะ

แกะ แขะ แผละ แยะ สระเออ ใชรูป เกอ เจอ เนอ เผออ

เขอ เชอ เบออ เมมอ เมอ

เ- อ

เคอ เดอ เปอ ปอ เรอ

เงอ เตอ เ เพอ เล ลอ เลอ

คําที่มีตัวสะกด

สระแอะ เปลี่ยนรูปเปน

แ -็

แกร็น แข็ง แผล็ว แย็บ สระเออ เปลี่ยนรูป อ เปน เกิด เขิน เงิน เจิม เชิญ เดิน เติม เนิน เบิก เปิด เพิ่ง เมิน เริ่ม เลิก

-ิ

สระเออ มี ย สะกด ลดรูป อ เปน เกย เขย เคย เงย เชย เตย เนย เผย เลย

เ-

สระเอาะ ใชรูป เชาะ ๑๒

12

คูมือครู

เบาะ

เ - าะ เลาะ

สระเอาะ เปลี่ยนรูปเปน ช็อก

- อ็

บล็อก

ล็อก


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

Explain

ขยายความเขาใจ

คําที่ไมมีตัวสะกด

สระโอะ ใชรูป โกะ โดะ โปะ กัว ดัว พัว สัว

โจะ โตะ โมะ

โ- ะ

โงะ โธะ โยะ

- วั

สระอัว ใชรูป ขัว งัว ตัว ทัว มัว ยัว หัว

โชะ โบะ โละ ชัว บัว รัว

1. นักเรียนฝกอานสะกดคําที่มี ตัวสะกดในหนังสือ หนา 13 2. ครูสังเกตวานักเรียนสวนใหญ อานสะกดคําที่มีตัวสะกดได ถูกตองหรือไม

คําที่มีตัวสะกด

สระโอะ ลดรูปทั้งหมด ไมมีรูปสระปรากฏ กบ จม งง ชน ดม ตก ธง บก ปด มด ยก ลด สระอัว ลดรูป กวน ขวด ดวงง ตตว ตวง วงง พววงง มวย มย สวยย หหวย

-ว

-ั เปน งวด ชวน ท บบวก ทวด ยวบบ รวม

ฝกอานสะกดคําที่มีตัวสะกด

กํานัน เกยตื้น งดงาม ปกคลุม

ฉุกเฉิน ดื่มนม นํ้าอัดลม สงคราม

ดําเนิน มะเส็ง รวบรวม ช็อกโกแลต

ประทัด คัดลายมือ แข็งแกรง หนังสือเรียน ๑๓

คูมือครู

13


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

ขยายความเขาใจ 1. นักเรียนดูภาพในหนังสือ หนา 14 แลวอานชื่อภาพ โดยไมตองอาน สะกดคํา 2. ครูสังเกตวานักเรียนสวนใหญ อานเปนคําไดถูกตองหรือไม 3. ครูอธิบายเรื่องการอานเปนคํา ใหนักเรียนฟง แลวใหนักเรียน อานชื่อภาพในหนังสือ หนา 14 อีกครั้งหนึ่ง

การอานเปนคํา การอานเปนคํา เปนการอานโดยไมตอ งสะกดคํา แตจะอานเปนคํา หรือพยางคเลย ซึ่งการอานเปนคํา จะตองฝกอานอยางสมํ่าเสมอ จึงจะอานไดอยางถูกตอง

ตัวอยาง การอานเปนคํา

เกร็ดแนะครู

ตะเกียง อานวา ตะ-เกียง

ครูควรเนนสอนการอานฝกสะกดคํา เพื่อใหนักเรียนสามารถอานไดคลอง และควรมีแบบฝกทักษะการอาน สะกดคําเพิ่มเติมสําหรับนักเรียน ที่อานสะกดคําไมคลอง กอนเริ่ม สอนอานเปนคํา เพราะเปนพื้นฐาน ที่สําคัญที่จะชวยทําใหนักเรียน สามารถอานเปนคําไดอยางถูกตอง

กอกนํ้า อานวา กอก-นํ้า

นกอินทรี อานวา นก-อิน-ซี

ของขวัญ อานวา ของ-ขวัน ๑๔

14

คูมือครู

(ยอจากฉบับนักเรียน 20%)


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

Explain

ขยายความเขาใจ 1. นักเรียนดูภาพในหนังสือ หนา 15 แลวอานคําใตภาพ 2. นักเรียนอานคําในหนังสือ หนา 15 โดยอานเปนคํา 3. ครูสังเกตวานักเรียนสวนใหญ อานเปนคําถูกตองหรือไม 4. นักเรียนรวมกันตอบคําถาม จุดประกายในหนังสือ หนา 15

ฝกอานเปนคํา

คนโท

?

ดินสอสี

สะพาน

ชอนสอม

ทองคํา

แท็กซี่

รถไฟ

กระรอก

กลองขาว คุณครู ซอมแซม พุมไม

กานํ้า จดหมาย ตักเตือน แวนตา

ไกโตง เจ็บไข ทองฟา เสือดาว

ไขเจียว เชิงเขา ใบตอง วงกลม

เฉลย คําถามจุดประกาย 1. ตอบ ทําใหอานขอมูลความรูใน หนังสือเรียน และหนังสือตางๆ ไดอยางคลองแคลว 2. ตอบ การอานสะกดคํา เปนการ อานออกเสียงพยัญชนะ สระ ตัวสะกด (ถามี) และวรรณยุกต (ถามี) เปนตัวๆ แลวจึงผสมเปนคํา สวนการอานเปนคํา จะอานคํา หรือพยางคเลยโดยไมตองจําแนก ตัวอักษรเปนตัวๆ

คําถามจุดประกาย

๑. การฝกอานสะกดคําใหถูกตอง จะทําใหเกิดผลดีตอการเรียนของนักเรียน อยางไรบาง ๒. การอานสะกดคํากับการอานเปนคํา แตกตางกันอยางไร ๑๕

คูมือครู

15


กระตุน ความสนใจ สํารวจคนหา Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

กระตุนความสนใจ 1. ครูเลานิทานอีสป หรือนิทานสั้นๆ ใหนักเรียนฟง 2. ครูสุมเรียกนักเรียนสรุปเนื้อเรื่อง นิทานที่ฟง 3. นักเรียนชวยกันบอกวา • หากนักเรียนอานหรือฟงนิทาน หรือเรื่องราวตางๆ แตยังสรุป ใจความสําคัญของเรื่องไมได จะเกิดผลอยางไร (แนวตอบ จะทําใหไมเขาใจ เรื่องที่อานหรือฟง สงผลให ไมสามารถนําความรูไปใช ประโยชนได)

สํารวจคนหา 1. นักเรียนรวมกันบอกรายชื่อหนังสือ ที่นักเรียนเคยอาน หรือชอบอาน แลวบอกใจความสําคัญของเรื่อง ที่อาน 2. นักเรียนรวมกันวิเคราะห และ ตอบคําถามวา • การจับใจความสําคัญของเรื​ื่อง ที่อาน ควรจับใจความในหัวขอ ใดบาง จึงจะไดใจความ ครบถวน (แนวตอบ การจับใจความสําคัญ ควรตั้งคําถามและตอบคําถาม เพื่อจับใจความวา ใคร ทําอะไร ที่ไหน อยางไร เมื่อใด จึงจะได ใจความครบถวน)

การใชภาษา

การอานจับใจความสําคัญ การอานจับใจความสําคัญ เปนการอานที่มุงคนหาสาระสําคัญ หรือใจความสําคัญของเรือ่ งทีอ่ า น หลักในการอานจับใจความสําคัญ มีดังนี้ ๑. อานโดยตลอดทั้งเรื่อง เพื่อใหรูวาเรื่องที่อานเปนเรื่องอะไร จุดใดเปนจุดสําคัญของเรื่อง ๒. อานใหละเอียด เพือ่ ทําความเขาใจเรือ่ งราวทีอ่ า นอีกครัง้ หนึง่ ๓. ตั้งคําถามและตอบคําถามจากเรื่องที่อานวาใคร ทําอะไร ที่ไหน เมื่อไร อยางไร แลวเรียบเรียงคําตอบที่ไดหรือเรียงลําดับ เหตุการณจากเรื่องที่อาน เพื่อจับใจความสําคัญของเรื่อง

ตัวอยาง การตัง้ คําถามและตอบคําถามจากการอาน วาฬพนนํ้า วาฬเปนสัตวเลีย้ งลูกดวยนํา้ นม ดังนัน้ มันจึงมีปอดแทนที่ จะมีเหงือกสําหรับหายใจใตนํ้าเหมือนปลาธรรมดา วาฬตอง โผลขึ้นมาสูดลมหายใจทุกๆ ๒๐ นาที

อธิบายความรู 1. ครูอธิบายใหนักเรียนเขาใจหลัก ในการอานจับใจความสําคัญ 2. นักเรียนชวยกันตอบคําถามวา • หากนักเรียนอานเรื่องราว ขาวสารตางๆ แลวไมจับใจความ ของเรื่องที่อาน จะเกิดผลอยางไร (แนวตอบ จะทําใหไมเขาใจ เรื่องราวที่อาน)

16

คูมือครู

(ยอจากฉบับนักเรียน 20%)

๑๖


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

Explain

ขยายความเขาใจ

จมูกของวาฬอยูตอนสวนบนของหัว เพื่อความสะดวก ในการสูดอากาศเมื่อโผลขึ้นบนผิวนํ้า ในขณะดํานํ้า วาฬจะมี กลามเนือ้ พิเศษปดรูจมูกของมันไวเพือ่ ปองกันไมใหนาํ้ เขา จมูก ของวาฬติดตอกับปอดโดยตรง สวนปากของมันไมมีทางติดตอ กับปอดและจมูกเลย ทั้งนี้เพื่อจะกันไม ใหนํ้าไหลเขาสูปอด ในขณะที่มันอาปากใตนํ้า เนือ่ งจากวาฬตองโผลขนึ้ มาหายใจบนผิวนํา้ เสมอๆ ทําให นักลาวาฬสามารถติดตามหาแหลงที่อยูของมันได ขณะที่วาฬ โผลขนึ้ มาบนผิวนํา้ จะมีนาํ้ พุง ขึน้ มาเปนฝอยคลายนํา้ พุ อันทีจ่ ริง วาฬไมไดพน นํา้ ออกมาตามทีค่ นสวนมากเขาใจกัน แตลมหายใจ ของวาฬนั้นมีไอนํ้าปนอยูดวย เมื่อไอนํ้านี้กระทบกับความเย็น ของอากาศบริเวณนัน้ จึงรวมตัวกันเปนหยดนํา้ เล็กๆ พุง ออกมา เปนฝอยคลายนํ้าพุ

1. นักเรียนอานออกเสียงเรื่อง วาฬพนนํ้าในหนังสือ หนา 16-17 2. ครูสังเกตวานักเรียนสวนใหญ อานออกเสียงไดถูกตองหรือไม 3. นักเรียนฝกจับใจความสําคัญเรื่อง วาฬพนนํ้า โดยผลัดกันตั้งคําถาม และตอบคําถามจากเรื่อง แลวสรุป ใจความสําคัญจากคําตอบที่ได

จากหนังสือ ๑๐๘ ซองคําถาม เลม ๖ เรื่องวาฬพนนํ้า หนา ๘๑-๘๒

๑๗

คูมือครู

17


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ 1. นักเรียนแบงเปน 2 กลุม กลุมแรกอานคําถามในกรอบสีสม กลุมที่สองอานคําตอบในกรอบ สีเขียวในหนังสือ หนา 17 สลับกัน ไปจนครบทุกขอ 2. นักเรียนรวมกันสรุปใจความสําคัญ ของเรื่องวาฬพนนํ้า จากคําตอบ ที่อาน 3. ครูอธิบายเพิ่มเติมขอมูลที่นักเรียน ควรรู

ตรวจสอบผล Evaluate

ÇÒÌ໚¹ÊÑµÇ ¨íҾǡ㴠¨ÁÙ¡¢Í§ÇÒÌ ÍÂÙ‹·Õèã´

(ยอจากฉบับนักเรียน 20%)

ÇÒÌ໚¹ÊÑµÇ àÅÕé§ÅÙ¡´ŒÇ¹íéÒ¹Á Áѹ¨Ö§ ÁջʹÊíÒËÃѺËÒÂ㨠áÅеŒÍ§â¼Å‹¢Öé¹ÁÒ ÊÙ´ÅÁËÒÂ㨷ءæ òð ¹Ò·Õ

¨ÁÙ¡¢Í§ÇÒÌÍÂÙ‹ºÃÔàdzµÍ¹º¹¢Í§ËÑÇ à¾×èͤÇÒÁÊдǡ㹡ÒÃÊÙ´ÍÒ¡ÒÈ Ê‹Ç¹ã¹¢³Ð´íÒ¹íéÒ ÇǪ̀ÐÁÕ ¡ÅŒÒÁà¹×é;ÔàÈÉ» ´ÃÙ¨ÁÙ¡¢Í§ÁѹäÇŒ à¾×èÍ»‡Í§¡Ñ¹äÁ‹ãËŒ¹íéÒà¢ŒÒ ·íÒäÁÇÒÌ ¨Ö§¾‹¹¹íéÒä´Œ

วาฬเปนสัตวจําพวกใด วาฬ เปนสัตวเลี้ยงลูกดวยนํ้านม ชนิดหนึ่ง หายใจทางปอด และมี ตอมนํ้านมสําหรับเลี้ยงลูก วาฬจึง ไมใชปลา สวนปลาจะหายใจทาง เหงือก และไมมีตอมนํ้านมสําหรับ เลี้ยงลูก เราจึงไมควรเรียกวาฬวา ปลาวาฬ เพราะไมถูกตอง

๑๘

คูมือครู

Expand

คําถามและคําตอบจากเรื่อง วาฬพนนํ้า

นักเรียนควรรู

18

ขยายความเขาใจ

Íѹ·Õè¨ÃÔ§ÇÒÌäÁ‹ä´Œ¾‹¹¹íéÒ áµ‹àÇÅÒ·ÕèÇÒÌâ¼Å‹¢Öé¹ÁÒËÒÂ㨹Ñé¹ ã¹ÅÁËÒÂã¨ÍÍ¡¢Í§ÇÒÌÁÕä͹íéÒ»¹ÍÂÙ‹´ŒÇ àÁ×èÍä͹íéÒ¹Õé¡Ãзº¡Ñº¤ÇÒÁàÂ繺ÃÔàdz¹Ñé¹ ¨Ö§ÃÇÁµÑǡѹ໚¹Ë´¹íéÒàÅç¡æ ¾Ø‹§ÍÍ¡ÁÒ໚¹½Í¤ŌÒ¹íéÒ¾Ø


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

Explain

ขยายความเขาใจ

มารยาทในการอานหนังสือ ควรปฏิบัติ ดังนี้ ๑. ขณะทีผ่ อู นื่ อานหนังสืออยู ไมควรรบกวนดวยการพูดคุย หรือเดินเสียงดัง โดยเฉพาะการอานหนังสือในหองสมุด และไมควร ยื่นศีรษะเขาไปอานดวย ๒. อยาพับหรือฉีกหนังสือหนาที่ตองการ ควรคัดลอกหรือ ถายสําเนาแทน ๓. เมือ่ ขอยืมหนังสือจากหองสมุดหรือจากบุคคลอืน่ มาอาน ตองรีบคืนทันทีที่อานจบ และไมขีดเขียนอะไรบนหนังสือ

1. นักเรียนชวยกันบอกมารยาท ในการอาน 2. ครูอธิบายการปฏิบัติตนอยางมี มารยาทในการอาน 3. นักเรียนดูภาพในหนังสือ หนา 19 แลวชวยกันบอกวา • จากภาพคือสถานที่ใด และเรา ควรปฏิบัติตนอยางไร เมื่อใช บริการสถานที่นี้ (ตอบ สถานที่ในภาพ คือ หองสมุด โดยสังเกตจากปาย คําวา บรรณารักษ ซึ่งเปนผูที่ให คําแนะนําเกี่ยวกับการใชหนังสือ ในหองสมุด เมื่อเราเขาไปใช บริการในหองสมุด เราควร แตงกายใหสุภาพเรียบรอย ไมพูดคุยหรือสงเสียงดังรบกวน ผูอื่น และไมนําอาหารหรือ เครื่องดื่มเขามารับประทาน ในหองสมุด) 4. นักเรียนรวมกันตอบคําถาม จุดประกายในหนังสือ หนา 19

เฉลย

?

คําถามจุดประกาย 1. ตอบ เพื่อใหเขาใจเรื่องที่อาน เพื่อใหนําความรูจากเรื่องที่อาน ไปใชประโยชนไดอยางถูกตอง และเหมาะสม 2. ตอบ เพราะจะไดไมรบกวนผูอื่น

คําถามจุดประกาย

๑. เมือ่ อานหนังสือจบ เราควรสรุปใจความสําคัญของเรือ่ งทีอ่ า นเพือ่ อะไร และ การสรุปใจความสําคัญของเรื่อง มีประโยชนอยางไร ๒. เพราะเหตุใด การอานหนังสือในหองสมุด ควรอานในใจ ไมควรอานออกเสียง ๑๙

คูมือครู

19


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

Engage

Explore

Explain

Expand

ตรวจสอบผล 1. ทํากิจกรรมรวบยอดในหนังสือ หนา 20 2. ครูถามคําถามบูรณาการฯ ในหนังสือ หนา 20 และใหนักเรียน รวมกันตอบคําถาม

หลักฐาน แสดงผลการเรียนรู 1. แบบสังเกตการอานออกเสียง บทอานเรื่อง เวลามีคุณคา 2. การแตงเรื่องสั้นเกี่ยวกับสํานวน ผัดวันประกันพรุง หรือดินพอก หางหมู 3. การเขียนคําที่มีตัวสะกด และไมมี ตัวสะกดจากบทอาน 4. การเขียนสรุปใจความสําคัญของ หนังสือที่อาน

เฉลย กิจกรรมรวบยอด ชวนกันอาน ชวยกันตอบคําถาม และแตงเรื่อง ขอ 1, 3 ขึ้นอยูกับดุลยพินิจของ ครูผูสอน 2. ตอบ ใหขอคิดเรื่องเวลามีคุณคา ไมควรปลอยเวลาใหผานไป ซึ่ง การทํางานใดๆ ก็ตาม ควรเรง ทํางานใหเสร็จตามที่กําหนด มิฉะนั้น อาจมีงานคั่งคาง สงผลใหทํางานไมสําเร็จได คําถามบูรณาการสูชีวิต 1. ตอบ ทําใหอานไมถูกตอง หรืออาน ไมได สงผลใหไมเขาใจสิ่งที่อาน หรืออาจเขาใจผิดไปได 2. ตอบ เพื่อไมใหเกิดความสับสน วุนวายในการใชบริการ 3. แนวตอบ ทําใหมีความรูมาก เขาใจ เรื่องราวที่อานไดดี

20

คูมือครู

ตรวจสอบผล Evaluate

(ยอจากฉบับนักเรียน 20%)

กิจกรรมรวบยอด

ชวนกันอาน ชวยกันตอบคําถาม และแตงเรื่อง

๑. รวมกันอานออกเสียงบทอานพรอมๆ กัน ๒. ชวยกันบอกวา บทดอกสรอย เวลา ใหขอคิด อยางไรบาง ๓. รวมกลุมกันคิดและแตงเรื่องสั้นๆ เกี่ยวกับสํานวน ผัดวันประกันพรุง หรือ ดินพอกหางหมู กลุม ละ ๑ เรือ่ ง ชวนกันหา หาคําที่ไมมีตัวสะกด และคําที่มีตัวสะกด จากบทอาน อยางละ ๑๐ คํา แลวเขียนคํา เขียนสะกดคํา พรอมทัง้ เขียนคําอานลงในสมุด ชวนกันอาน อานหนังสือทีส่ นใจจากหองสมุด ๑ เรือ่ ง จากนัน้ ตัง้ คําถามและตอบคําถามจากเรือ่ งทีอ่ า น แลวเขียนสรุปเรือ่ ง และบอกขอคิดทีไ่ ด ●

คําถามบูรณาการสูชีวิต

๑. หากนักเรียนอานสะกดคําไมถูกตองขณะอานหนังสือเรียน นักเรียนคิดวา จะเกิดผลอยางไร ๒. เพราะเหตุใด นักเรียนตองปฏิบัติตามกฎระเบียบของหองสมุดอยาง เครงครัด ๓. ผลดีของการตัง้ ใจอานหนังสือ จะทําใหผอู า นไดรบั ประโยชนในดานใดบาง

๒๐


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.