8858649120793

Page 1

คูมือครู 㪌»ÃСͺ¡ÒÃÊ͹ËÇÁ¡Ñº

˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ©ºÑº Í- .

·Õè ȸ. ¨Ð»ÃСÒÈÃÒ¡Òú¹àÇçºä«µ µÑé§áµ‹ Á. ¤. ’55 ໚¹µŒ¹ä»

ภาพปกนี้มีขนาดเทากับหนังสือเรียนฉบับจริงของนักเรียน


เอกสารหลักสูตรแกนกลางฯ ’51 ปการศึกษา 2555

กลุมสาระการเรียนรู ภาษาไทย

ภาษาไทย

ู ร ค หรับ

สํา

ชั้นประถมศึกษาปที่

เอกสารหลักสูตรแกนกลางฯ ’51 ประกอบดวย ● ● ● ● ●

คําแนะนําการใชคูมือครู แถบสี/สัญลักษณที่ใชสื่อความหมายในคูมือครู ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง ภาษาไทย ชั้น ป.6 คําอธิบายรายวิชา จุดเนนการพัฒนาคุณภาพผูเรียน

ตารางแสดงความแตกตางระหวาง “ คูมือครู ” กับ “ หนังสือเรียน * ” ความแตกตาง ขนาดตัวอักษร ปกดานหลัง ระบบการจัดพิมพ สวนเสริมดานหนา เนื้อหาในเลม

* ที่ ศธ. อนุญาตใหโรงเรียนใชได

คูมือครู ยอลงจากปกติ 20%

พิมพ 4 สี เพิ่มเอกสารหลักสูตร คําอธิบายรายวิชา ใสการจัดกิจกรรมแบบ 5E และความรูเสริมสําหรับครู

หนังสือเรียน ขนาดปกติ 100% ใสใบอนุญาต/ใบประกันคุณภาพ พิมพ 4 สี

-

3


คําแนะนําการใชคูมือครู

: การจัดการเรียนรูสูหองเรียนคุณภาพ

คูมือครู รายวิชา ภาษาไทย วรรณคดีและวรรณกรรม ป.6 จัดทําขึ้นเพื่ออํานวยความสะดวกแกครูผูสอนในการวางแผน เสร�ม และเตรียมการสอนโดยใชหนังสือเรียน ภาษาไทย วรรณคดีและวรรณกรรม ป.6 ของบริษัทอักษรเจริญทัศน อจท. จํากัด 2 เปนสือ่ หลัก (Core Material) ประกอบการออกแบบกิจกรรมการเรียนรูใ หสอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรูแ ละตัวชีว้ ดั กลุม สาระ การเรียนรู ภาษาไทย ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 โดยจัดทําตามหลักการสําคัญ ดังนี้

1. ออกแบบการสอนเปนหนวยการเรียนรูอิงมาตรฐาน คูมือครู รายวิชา ภาษาไทย วรรณคดีและวรรณกรรม ป.6 จัดทําเปนหนวยการเรียนรูตามลําดับสาระการเรียนรูที่ ระบุไวในมาตรฐานการเรียนรูแ ละตัวชีว้ ดั แตละหนวยจะกําหนดเปาหมายการสอนและจุดประสงคการเรียนรู (Objective Learning) กิจกรรมการเรียนรู (Learning Activities) และแนวทางการประเมินผลการเรียนรู (Learning Evaluation) ไวชัดเจน ครูผูสอน สามารถจัดทําแผนการสอนใหครอบคลุมมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดที่เปนเปาหมายการเรียนรูของแตละหนวยการเรียนรู (ตามแผนภูมิ) และสามารถบันทึกผลการจัดการเรียนการสอนไดอยางมั่นใจ

รู

สภ

าพ

ผู

จุดป

ระส

เรีย

งค

กา

ียน รเร

มาตรฐานการเรียนรู ตัวชี้วัดชั้นป

ทักษะการคิด การวัดประเมินผล การเรียนรู

กิจกรรมการเรียนรู

เทคนิคการสอน

แผนภูมิแสดงองคประกอบของการออกแบบการเรียนรูอิงมาตรฐานและเนนผูเรียนเปนสําคัญ

2. การจัดการเรียนรูที่ยึดผูเรียนเปนสําคัญ แนวคิดในการจัดการเรียนการสอนที่ยึดผูเรียนเปนสําคัญ พัฒนามาจากปรัชญาและทฤษฎีการเรียนรู Constructivism ที่เชื่อวาการเรียนรูเปนกระบวนการที่เกิดขึ้นภายในสมองของผูเรียนแตละคน ผูเรียนเปนผูสรางความรูโดยการเชื่อมโยงระหวาง สิ่งที่ไดพบเห็นกับความรูหรือประสบการณเดิมที่มีอยู คูม อื ครู


ทฤษฎีนี้มีความเชื่อวา นักเรียนทุกคนไดเรียนรูและมีความรูความเขาใจสิ่งตางๆ ติดตัวมากอนที่จะเขาสูหองเรียน ซึ่ง เปนการเรียนรูที่เกิดจากบริบทและสิ่งแวดลอมรอบตัวนักเรียนแตละคน ดังนั้นการจัดกระบวนการเรียนรูในแตละบทเรียน ผูสอน จะตองคํานึงถึง เสร�ม 1) ความรูเดิมของนักเรียน การสอนที่ดีจึงตองเริ่มตนจากจุดที่วา นักเรียนมีความรูอะไรมาบาง แลวจึงใหความรูหรือ 3 ประสบการณใหมตอยอดจากความรูเดิม 2) ความรูเ ดิมของนักเรียนถูกตองหรือไม ผูส อนตองปรับเปลีย่ นความรูค วามเขาใจเดิมของนักเรียนใหถกู ตอง และเปน พฤติกรรมการเรียนรูใหมที่มีคุณคาตอนักเรียน เพื่อสรางเจตคติหรือทัศนคติที่ดีตอการเรียน 3) นักเรียนสรางความหมายสําหรับตนเอง ผูสอนตองสงเสริมใหนักเรียนนําขอมูลความรูไปลงมือปฏิบัติและประยุกต ใชความรูอยางถูกตอง ในบริบทที่เปนจริงของชีวิตนักเรียน เพื่อขยายความรูใหลึกซึ้งและมีคุณคาตอตัวนักเรียนมากที่สุด แนวคิด Constructivism เนนใหผเู รียนสรางความรูโ ดยผานกระบวนการคิดและความอยากรูข องตนเอง โดยมีผสู อนเปน ผูส รางบรรยากาศการเรียนรู กระตุน ความสนใจ คอยจัดสถานการณใหผเู รียนเกิดความขัดแยงทางความคิดระหวางประสบการณ เดิมกับประสบการณความรูใหม ผูเรียนจะพยายามปรับขอมูลใหมกับประสบการณที่มีอยูเดิม แลวสรางเปนความรูใหมหรือแนว คิดใหมๆ ไดดวยตนเอง

3. การบูรณาการกระบวนการคิด การเรียนรูของนักเรียนแตละคนจะเกิดขึ้นที่สมอง ซึ่งทําหนาที่รูคิด ภายใตสภาพแวดลอมที่เอื้ออํานวยและไดรับการ กระตุนจูงใจอยางเหมาะสม สอดคลองกับสภาพจิตใจและความตองการของนักเรียน การจัดกระบวนการเรียนรูและสาระ การเรียนรูท มี่ คี วามหมายตอผูเ รียน จะชวยกระตนุ ใหสมองรับรูแ ละสามารถเรียนรูไ ดอยางมีประสิทธิภาพตามขัน้ ตอนการทํางาน ของสมอง ดังนี้ 1) สมองจะเรียนรูและสืบคน โดยการสังเกต คนหา ซักถาม และทดลองปฏิบัติ จนคนพบความรูความเขาใจไดอยาง รวดเร็ว 2) สมองจะแยกแยะคุณคาสิ่งตางๆ โดยการลงมติ ตัดสินใจ วิพากษวิจารณ แสดงความคิดเห็น ยอมรับหรือตอตาน ตามอารมณความรูสึกที่เกิดขึ้นในขณะที่เรียนรู 3) สมองจะประมวลเนื้อหาสาระ โดยสรุปเปนความคิดรวบยอดจากเรื่องราวที่ไดเรียนรูใหมนําไปผสมผสานกับความรู หรือประสบการณเดิมที่ถูกจัดเก็บอยูในสมอง ผานการกลั่นกรองเพื่อสังเคราะหเปนความรูความเขาใจใหมๆ หรือเปนเหตุผล ทัศนคติใหมที่จะฝงแนนในสมองของผูเรียน การเรียนรูที่มีประสิทธิภาพจึงตองเปนการเรียนรูที่เกิดจากกระบวนการคิดของผูเรียน เพราะการเรียนรูจะเกิดขึ้นเมื่อ สมองรูคิด และตองเปนการคิดไดครบถวนตามขั้นตอนการทํางานของสมองผูเรียน โดยเริ่มตนจาก 1) ระดับการคิดขั้นพื้นฐาน ไดแก การสังเกต การจําแนก การสื่อความหมาย การคาดคะเน การรวบรวมขอมูล การสรุปผล เปนตน 2) ระดับลักษณะการคิด ไดแก การคิดกวาง คิดลึกซึ้ง คิดไกล คิดคลอง คิดหลากหลาย คิดอยางมีเหตุผล เปนตน 3) ระดับกระบวนการคิด ไดแก กระบวนการคิดอยางมีวิจารณญาณ กระบวนการแกปญหา กระบวนการคิดสรางสรรค กระบวนการคิดสังเคราะหวิจัย เปนตน คูม อื ครู


4. การใชวัฏจักรการเรียนรู 5E รูปแบบการสอนที่สัมพันธกับกระบวนการคิดและการทํางานของสมองของผูเรียนที่นิยมใชอยางแพรหลาย คือ วัฏจักร การเรียนรู 5E ซึ่งผูจัดทําคูมือครูไดนํามาใชเปนแนวทางออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนในคูมือครูฉบับนี้ตามลําดับขั้นตอน เสร�ม การเรียนรู ดังนี้

4

1) กระตุนความสนใจ (Engage) เปนขั้นที่ผูสอนนําเขาสูบทเรียน เพื่อกระตุนความสนใจของนักเรียนดวยเรื่องราว เหตุการณที่นาสนใจ โดยใชเทคนิควิธีการสอนและคําถามทบทวนความรูหรือประสบการณเดิมของผูเรียน เพื่อเชื่อมโยงเขาสู บทเรียนใหม ชวยใหนักเรียนสามารถสรุปประเด็นสําคัญที่เปนหัวขอการเรียนรูของบทเรียนได จึงเปนขั้นตอนการสอนที่สําคัญ เพราะเปนการเตรียมความพรอมและสรางแรงจูงใจใฝเรียนรูแกผูเรียน 2) สํารวจคนหา (Explore) เปนขั้นที่ผูสอนเปดโอกาสใหผูเรียนสังเกตและรวมมือกันสํารวจ เพื่อใหเห็นปญหา รวมถึง วิธีการศึกษาคนควาขอมูลความรูที่จะนําไปสูความเขาใจประเด็นปญหานั้นๆ เมือ่ นักเรียนทําความเขาใจในประเด็นหัวขอทีจ่ ะศึกษาคนควาอยางถองแทแลว ก็ลงมือปฏิบตั เิ พือ่ เก็บรวบรวมขอมูล ความรู สํารวจตรวจสอบ โดยวิธีการตางๆ เชน สัมภาษณ ทดลอง อานคนควาขอมูลจากเอกสาร แหลงขอมูลตางๆ จนไดขอมูล ความรูตามที่ตั้งประเด็นศึกษาไว 3) อธิบายความรู (Explain) เปนขั้นที่ผูสอนมีปฏิสัมพันธกับผูเรียน เชน ใหการแนะนํา ตั้งคําถามกระตุนใหคิด เพื่อ ใหผูเรียนคนหาคําตอบ และนําขอมูลความรูจากการศึกษาคนควาในขั้นที่ 2 มาวิเคราะห แปลผล สรุปผล และนําเสนอผลที่ได ศึกษาคนความาในรูปแบบสารสนเทศตางๆ เชน เขียนแผนภูมิ แผนผังแสดงมโนทัศน เขียนความเรียง เขียนรายงาน เปนตน สมองของผูเรียนจะทําหนาที่คิดวิเคราะห สังเคราะหอยางเปนระบบ 4) ขยายความเขาใจ (Expand) เปนขัน้ ทีผ่ สู อนใชเทคนิควิธกี ารสอนทีช่ ว ยพัฒนาผูเ รียนใหนาํ ความรูท เี่ กิดขึน้ ไปคิดคน ตอๆ ไป เพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรูและการทํางานรวมกันเปนกลุม ระดมสมองเพื่อคิดสรางสรรครวมกัน นักเรียนสามารถนําความรูที่สรางขึ้นใหมไปเชื่อมโยงกับประสบการณเดิมโดยนําขอสรุปที่ไดไปอธิบายเหตุการณ ตางๆ หรือนําไปปฏิบัติในสถานการณใหมๆ ที่เกี่ยวของกับชีวิตประจําวันของตนเอง เพื่อขยายความรูความเขาใจใหกวางขวาง ยิ่งขึ้น สมองของผูเรียนจะทําหนาที่คิดริเริ่มสรางสรรคอยางมีคุณภาพ เสริมสรางวิสัยทัศนใหกวางไกลออกไป 5) ตรวจสอบผล (Evaluate) เปนขั้นที่ผูสอนประเมินมโนทัศนของผูเรียน โดยตรวจสอบจากความคิดที่เปลี่ยนไปและ ความคิดรวบยอดที่เกิดขึ้นใหม ตรวจสอบทักษะ กระบวนการปฏิบัติ การแกปญหา การตอบคําถามรวบยอด และการเคารพ ความคิดหรือยอมรับเหตุผลของคนอื่นเพื่อการสรางสรรคความรูรวมกัน นักเรียนสามารถประเมินผลการเรียนรูข องตนเองเพือ่ สรุปผลวานักเรียนมีความรูอ ะไรเพิม่ ขึน้ บาง มากนอยเพียงใด และจะนําความรูเ หลานัน้ ไปประยุกตใชในการเรียนรูเรือ่ งอืน่ ๆ ไดอยางไร นักเรียนจะเกิดเจตคติและเห็นคุณคาของตนเองจากผล การเรียนรูที่เกิดขึ้น ซึ่งเปนการเรียนรูที่มีความสุขอยางแทจริง การจัดกิจกรรมการเรียนรูตามวัฏจักรการสรางความรูแบบ 5E จึงเปนรูปแบบการเรียนการสอนที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ โดยสงเสริมใหผูเรียนใชกระบวนการสรางความรูดวยตนเอง และฝกฝนใหใชกระบวนการคิดและกระบวนการกลุมอยางชํานาญ กอใหเกิดทักษะการเรียนรูและทักษะชีวิตที่มีคุณภาพ ตามเปาหมายของการปฏิรูปการศึกษาทศวรรษที่ 2 (พ.ศ. 2552-2561) ทุกประการ

คูม อื ครู

คณะผูจัดทํา


แถบสี และสัญลักษณ ที่ใชสื่อความหมายในคูมือครู 1. แถบสี

แถบสีแสดงขั้นตอนการสอนและการจัดกิจกรรม เสร�ม แบบ 5E เพื่อใหครูทราบวาเปนขั้นการสอนขั้นใด 5

กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

เปนขั้นที่ผูสอนเลือกใช เทคนิคกระตุนความ สนใจ เพื่อโยงเขาสู บทเรียน

Explain

เปนขั้นที่ผูสอนให ผูเรียนสํารวจปญหา และศึกษาขอมูล

เปนขั้นที่ผูสอนให ผูเรียนคนหาคําตอบ จนเกิดความรูเชิง ประจักษ

ขยายความเขาใจ Expand

เปนขั้นที่ผูสอนให ผูเรียนนําความรูไป คิดคนตอๆ ไป

ตรวจสอบผล Evaluate

เปนขั้นที่ผูสอน ประเมินมโนทัศน ของผูเรียน

วัตถุประสงค

สัญลักษณ

2. สัญลักษณ

เปาหมาย การเรียนรู

หลักฐาน แสดงผล การเรียนรู

• แสดงเปาหมาย

• แสดงรองรอย

การเรียนรูที่ นักเรียนตอง บรรลุตามตัวชี้วัด

หลักฐานที่แสดง ผลการเรียนรู ตามตัวชี้วัด

เกร็ดแนะครู

นักเรียนควรรู

• แทรกความรู

• ขยายความรู

เสริมสําหรับครู ขอเสนอแนะ ขอควรระวัง ขอสังเกต แนวทางการจัด กิจกรรมและอืน่ ๆ เพื่อประโยชนใน การจัดการเรียน การสอน

เพิ่มเติมจาก เนื้อหา เพื่อให นักเรียนไดมี ความรูมากขึ้น

@

NET

มุม IT

ขอสอบ

• แนะนําแหลง

• วิเคราะหแนว

คนควาจาก เว็บไซต เพื่อให ครูและนักเรียน ไดเขาถึงขอมูล ความรูที่ หลากหลาย

ขอสอบ O-NET เพื่อใหครูเนนยํ้า เนื้อหาที่มักออก ขอสอบ O-NET

• ขอสอบ O-NET พิจารณาออก ขอสอบจาก เนื้อหา ป.4, 5 และ 6

คูม อื ครู


ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง (คัดเอามาเฉพาะที่ใชกับชั้น ป.3)* เสร�ม สาระที่ 1 การอาน กระบวนการอานสรางความรูและความคิด เพื่อนําไปใชตัดสินใจแกปญหาในการดําเนินชีวิต 6 มาตรฐาน ท 1.1 ใชและมี นิสัยรักการอาน ชั้น ป. 3

ตัวชี้วัด 1. อานออกเสียงคํา ขอความ เรือ่ งสัน้ ๆ และบทรอยกรองงายๆ ไดถูกตองคลองแคลว 2. อธิบายความหมายของคํา และขอความที่อาน

3. ตั้งคําถามและตอบคําถาม เชิงเหตุผลเกี่ยวกับเรื่องที่อาน 4. ลําดับเหตุการณและคาดคะเน เหตุการณจากเรื่องที่อาน โดยระบุเหตุผลประกอบ 5. สรุปความรูและขอคิดจากเรื่อง ที่อาน เพื่อนําไปใชในชีวิต ประจําวัน 6. อานหนังสือตามความสนใจ อยางสมําเสมอและนําเสนอ เรื่องที่อาน 7. อานขอเขียนเชิงอธิบาย และปฏิบัติตามคําสั�ง หรือขอแนะนํา 8. อธิบายความหมายของขอมูล จากแผนภาพ แผนที่ และ แผนภูมิ 9. มีมารยาทในการอาน

สาระการเรียนรูแกนกลาง • การอานออกเสียงและการบอกความหมายของคํา คําคลองจอง ขอความ และบทรอยกรองงายๆ ทีป่ ระกอบดวคําพืน้ ฐานเพิม� เติม จาก ป.2 ไมนอยกวา 1,200 คํา รวมทั้งคําที่เรียนรูในสาระการเรียนรู ไอื่นประกอบดวย - คําที่มีตัวการันต - คําที่มี รร - คําที่มีพยัญชนะและสระไมออกเสียง - คําพอง - คําพิเศษอื่นๆ เชน คําที่ใช ฑ ฤ  • การอานจับใจความจากสื่อตางๆ เชน - นิทานหรือเรื่องเกี่ยวกับทองถิ�น - เรื่องเลาสั้นๆ - บทเพลงและบทรอยกรอง - บทเรียนในกลุมสาระการเรียนรูอื่น - ขาวและเหตุการณในชีวิตประจําวันในทองถิ�น และชุมชน ฯลฯ • การอานหนังสือตามความสนใจ เชน - หนังสือที่นักเรียนสนใจและเหมาะสมกับวัย - หนังสือที่ครูและนักเรียนกําหนดรวมกัน ฯลฯ • การอานขอเขียนเชิงอธิบาย และปฏิบัติตามคําสั�งหรือขอแนะนํา - คําแนะนําตางๆ ในชีวิตประจําวัน - ประกาศ ปายโฆษณา และคําขวัญ • การอานขอมูลจากแผนภาพ แผนที่ และแผนภูมิ • มารยาทในการอาน เชน - ไมอานเสียงดังรบกวนผูอื่น - ไมเลนกันขณะที่อาน - ไมทําลายหนังสือ ฯลฯ - ไมควรแยงอานหรือชะโงกหนาไปอานขณะที่ผูอื่นกําลังอาน ฯลฯ

* สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน, กระทรวงศึกษาธิการ. สาระการเรียนรูแ กนกลางฯ กลุม สาระการเรียนรู ภาษาไทย. (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย, 2551), หนา 7-59.

คูม อื ครู


สาระที่ 2 การเขียน

มาตรฐาน ท 2.1 ใชกระบวนการเขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ยอความ และเขียนเรื่องราวในรูปแบบตางๆ เขียนรายงานขอมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาคนควาอยางมีประสิทธิภาพ ระดับชั้น ป. 3

ตัวชี้วัด

เสร�ม

7

สาระการเรียนรูแกนกลาง

1. คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด

• การคัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดตามรูปแบบการเขียนตัวอักษรไทย

2. เขียนบรรยายเกี่ยวกับสิ�งใด สิ�งหนึ�ง ไดอยางชัดเจน 3. เขียนบันทึกประจําวัน

• การเขียนบรรยายเกี่ยวกับลักษณะของคน สัตว สิ�งของ สถานที่ ฯลฯ • การเขียนบันทึกประจําวัน

4. เขียนจดหมายลาครู

• การเขียนจดหมายลาครู

5. เขียนเรื่องตามจินตนาการ

• การเขียนเรื่องตามจินตนาการจากคํา ภาพ และหัวขอที่กําหนด

6. มีมารยาทในการเขียน

• มารยาทในการเขียน เชน - เขียนใหอานงาย สะอาด ไมขีดฆา - ไมขีดเขียนในที่สาธารณะ - ใชภาษาเขียนเหมาะสมกับเวลา สถานที่ และบุคคล - ไมเขียนลอเลียนผูอื่น หรือทําใหผูอื่นเสียหาย

สาระที่ 3 การฟง การดู และการพูด

มาตรฐาน ท 3.1 : สามารถเลือกฟงและดูอยางมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู ความคิด และความรูสึก ในโอกาสตางๆ อยางมีวิจารณญาณและสรางสรรค ระดับชั้น ป. 3

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

1. เลารายละเอียดเกีย่ วกับเรือ่ งทีฟ่ ง และดู ทั้งที่เปนความรูและความ บันเทิง 2. บอกสาระสําคัญจากการฟง และการดู 3. ตั้งคําถามและตอบคําถาม เกี่ยวกับเรื่องที่ฟงและการดู 4. พูดแสดงความคิดเห็นและความ รูสึกจากเรื่องที่ฟงและดู

• การจับใจความและพูดแสดงความคิดเห็นและความรูสึกจากเรื่อง ที่ฟงและดู ทั้งที่เปนความรูและความบันเทิง เชน - เรื่องเลาและสารคดีสําหรับเด็ก - นิทาน การตูน เรื่องขบขัน - รายการสําหรับเด็ก - ขาวและเหตุการณในชีวิตประจําวัน - เพลง ฯลฯ

5. พูดสื่อสารไดชัดเจนตรงตาม วัตถุประสงค

• การพูดสื่อสารในชีวิตประจําวัน เชน - การแนะนําตนเอง - การแนะนําสถานที่ในโรงเรียนและในชุมชน - การแนะนํา/เชิญชวนเกี่ยวกับการปฏิบัติตนในดานตางๆ เชน การรักษาความสะอาดของรางกาย ฯลฯ

คูม อื ครู


ระดับชั้น

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

ป. 3

- การเลาประสบการณในชีวิตประจําวัน - การพูดในโอกาสตางๆ เชน การพูดขอรอง การพูดทักทาย การกลาวขอบคุณและขอโทษ การพูดปฏิเสธ และ การพูดซักถาม ฯลฯ

เสร�ม

8

6. มีมารยาทในการฟง การดู และการพูด

• มารยาทในการฟง เชน - ตั้งใจฟง ตามองผูพูด - ไมรบกวนผูอื่นขณะที่ฟง - ไมควรนําอาหารหรือเครื่องดื่มไปรับประทานขณะที่ฟง - ไมแสดงกิริยาที่ไมเหมาะสม เชน โห ฮา หาว ฯลฯ - ใหเกียรติผูพูดดวยการปรบมือ - ไมพูดสอดแทรกขณะที่ฟง ฯลฯ • มารยาทในการดู เชน - ตั้งใจดู - ไมสงเสียงดังหรือแสดงอาการรบกวนสมาธิของผูอื่น ฯลฯ • มารยาทในการพูด เชน - ใชถอยคําและกิริยาที่สุภาพ เหมาะสมกับกาลเทศะ - ใชนําเสียงนุมนวล - ไมพูดสอดแทรกในขณะที่ผูอื่นกําลังพูด - ไมพูดลอเลียนใหผูอื่นไดรับความอับอายหรือเสียหาย ฯลฯ

สาระที่ 4 หลักการใชภาษาไทย

มาตรฐาน ท 4.1 เขาใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของภาษา ภูมิปญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไวเปนสมบัติของชาติ ระดับชั้น ป. 3

คูม อื ครู

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

1. เขียนสะกดคําและบอก ความหมายของคํา

• • • • • • • • • • •

การสะกดคํา การแจกลูก และการอานเปนคํา มาตราตัวสะกดที่ตรงตามมาตราและไมตรงตามมาตรา การผันอักษรกลาง อักษรสูง และอักษรตํา คําที่มีพยัญชนะควบกลํา คําที่มีอักษรนํา คําที่ประวิสรรชน�ยและคําที่ไมประวิสรรชน�ย คําที่มี ฤ  คําที่ใช บัน บรร คําที่ใช รร คําที่มีตัวการันต ความหมายของคํา

2. ระบุชนิดและหนาที่ของคํา ในประโยค

• ชนิดของคํา ไดแก - คํานาม - คําสรรพนาม - คํากริยา


ระดับชั้น ป. 3

ตัวชี้วัด 3. ใชพจนานุกรมคนหา ความหมายของคํา 4. แตงประโยคงายๆ

5. แตงคําคลองจองและคําขวัญ 6. เลือกใชภาษาไทยมาตรฐาน และภาษาถิ�นไดเหมาะสมกับ กาลเทศะ

สาระการเรียนรูแกนกลาง • การใชพจนานุกรม • การแตงประโยคเพื่อการสื่อสาร ไดแก - ประโยคบอกเลา - ประโยคปฏิเสธ - ประโยคคําถาม - ประโยคขอรอง - ประโยคคําสั�ง • คําคลองจอง • คําขวัญ • ภาษาไทยมาตรฐาน • ภาษาถิ�น

เสร�ม

9

สาระที่ 5 วรรณคดีและวรรณกรรม

มาตรฐาน ท 5.1 เขาใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณวรรณคดีและวรรณกรรมไทยอยางเห็นคุณคา และนํามา ประยุกตใชในชีวิตจริง ระดับชั้น ป. 3

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

1. ระบุขอคิดที่ไดจากการอาน วรรณกรรม เพื่อนําไปใชในชีวิต ประจําวัน 2. รูจักเพลงพื้นบานและเพลง กลอมเด็ก เพื่อปลูกฝงความ ชื่นชมวัฒนธรรมทองถิ�น 3. แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ วรรณคดีที่อาน

• วรรณคดี วรรณกรรม และเพลงพื้นบาน - นิทานหรือเรื่องในทองถิ�น - เรื่องสั้นงายๆ ปริศนาคําทาย - บทรอยกรอง - เพลงพื้นบาน - เพลงกลอมเด็ก - วรรณกรรมและวรรณคดีในบทเรียนและตามความสนใจ ฯลฯ

4. ทองจําบทอาขยานตามทีก่ าํ หนด และบทรอยกรองที่มีคุณคาตาม ความสนใจ

• บทอาขยานและบทรอยกรองที่มีคุณคา - บทอาขยานตามที่กําหนด - บทรอยกรองตามความสนใจ

คูม อื ครู


คําอธิบายรายวิชา

รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย (วรรณคดีและวรรณกรรม) เสร�ม ชั้นประถมศึกษาปที่ 3 10 รหัสวิชา ท………………………………… ชั่วโมง/ป

กลุมสาระการเรียนรู ภาษาไทย ภาคเรียนที่ 1-2 เวลา 60

ศึกษาการอานออกเสียงคํา คําคลองจอง ขอความ และบทรอยกรอง พรอมคําอธิบายความหมาย ของคําแลขอความที่อาน วิเคราะหเพื่อระบุขอคิดที่ไดจากการอานหรือฟงวรรณกรรมรอยแกวและ รอยกรองสําหรับเด็ก อาทิ นิทาน เรื่องสั้น บทดอกสรอย บทรองเลน บทสักวา หรือเพลง เพื่อนําไป ปรับใชในชีวิตประจําวัน และมีมารยาทในการอาน โดยการฝกทักษะกระบวนการทางภาษา ทั้งในดานการฟง การพูด การอาน และการเขียน กระบวนการคิด กระบวนการปฏิบัติ และกระบวนการกลุม เพื่อใหเกิดเจตคติที่ดีตอการเรียนวรรณคดีและวรรณกรรม เขาใจ และแสดงความคิดเห็น วิเคราะห วิจารณวรรณคดีและวรรณกรรมไทยอยางสรางสรรค และเห็นคุณคาพรอมนําประโยชนที่ไดไปประยุกต ใชในชีวิตจริง

ตัวชี้วัด ท 1.1 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/5 ท 4.1 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3, ป.3/4, ป.3/5 ท 5.1 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3, ป.3/4 รวม 7 ตัวชี้วัด

คูม อื ครู


จุดเนนการพัฒนาคุณภาพผูเรียน* การขับเคลื่อนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551 และการปฏิรูปการศึกษา ในทศวรรษที่สอง (พ.ศ. 2552-2561) ใหประสบผลสําเร็จตามจุดเนนการพัฒนาคุณภาพผูเรียน เสร�ม โดยใหทุกภาคสวนรวมกันดําเนินการ กระทรวงศึกษาธิการไดกําหนดจุดเนนการพัฒนาคุณภาพผูเรียน 11 ดังนี้

ทักษะ ความสามารถ

คุณลักษณะ จุดเนนตามชวงวัย

ม. ๔-๖

แสวงหาความรู เพื่อแกปญหา ใชเทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู ใชภาษาตางประเทศ (ภาษาอังกฤษ) มีทักษะการคิดขั้นสูง ทักษะชีวิต ทักษะการสื่อสารอยางสรางสรรคตามชวงวัย

ม. ๑-๓

แสวงหาความรูดวยตนเอง ใชเทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู มีทักษะการคิดขั้นสูง ทักษะชีวิต ทักษะการสื่อสารอยางสรางสรรคตามชวงวัย

• อยูอยางพอเพียง

ป. ๔-๖

อานคลอง เขียนคลอง คิดเลขคลอง ทักษะการคิดขั้นพื้นฐาน ทักษะชีวิต ทักษะการสื่อสารอยางสรางสรรคตามชวงวัย

• ใฝเรียนรู

ป. ๑-๓

อานออก เขียนได คิดเลขเปน มีทักษะการคิดขั้นพื้นฐาน ทักษะชีวิต ทักษะการสื่อสารอยางสรางสรรคตามชวงวัย

• ใฝดี

• มุงมั่นในการศึกษา และการทํางาน

คุณลักษณะตามหลักสูตร

• รักชาติ ศาสน กษัตริย

• ซื่อสัตยสุจริต • มีวินัย • ใฝเรียนรู • อยูอยางพอเพียง • มุง มัน่ ในการทํางาน • รักความเปนไทย • มีจิตสาธารณะ

*

สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, กระทรวงศึกษาธิการ. แนวทางการนําจุดเนนการพัฒนาผูเรียน สู  การปฏิบัติ. (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย, 2553) หนา 3-10.

คูม อื ครู


คําอธิบายจุดเนนการพัฒนาคุณภาพผูเรียน จากจุดเนนการพัฒนาผูเรียน เพื่อใหเห็นความเชื่อมโยงของจุดเนนในแตละชวงวัยที่ตอง ไดรบั การพัฒนาอยางตอเนือ่ ง เหมาะสมกับพัฒนาการของผูเ รียนสําหรับนําไปจัดการเรียนการสอนได เสร�ม อยางมีประสิทธิภาพ จึงกําหนดความสามารถ และทักษะของจุดเนนไว ดังนี้

12

ความสามารถ และทักษะ (คัดเอามาเฉพาะที่เกี่ยวกับวิชาภาษาไทย) • อานออก อานคลอง

ป.4

อานขอความ เรื่อง บทรอยกรองที่มีความยากงายใกลเคียงกับหนังสือเรียนอยางคลองแคลว สรุปใจความสําคัญ แยกแยะขอเท็จจริง ขอคิดเห็น และมีมารยาทในการอาน

ป.3

อานคําพื้นฐานและเขาใจความหมายของคําพื้นฐานเพิ่มจากชั้นประถมศึกษาปที่ 2 ไดไมนอยกวา 1,200 คํา และ อานขอความ เรือ่ ง บทรอยกรองทีม่ คี วามยากงายใกลเคียงกับหนังสือเรียน ดวยความเขาใจและมีมารยาทในการอาน

อานคําพื้นฐานและเขาใจความหมายของคําพื้นฐานเพิ่มจากชั้นประถมศึกษาปที่ 1 ไดไมนอยกวา 800 คํา และอานขอความ เรื่อง บทรอยกรองที่มีความยากงายใกลเคียงกับหนังสือเรียน และมีมารยาทในการอาน

ป.2 ป.1

อานขอความ เรื่อง บทรอยกรองที่มีความยากงายใกลเคียงกับหนังสือเรียนอยางคลองแคลว สรุปใจความสําคัญ แยกแยะขอเท็จจริง ขอคิดเห็น และมีมารยาทในการอาน

อานขอความ เรื่อง บทรอยกรองที่มีความยากงายใกลเคียงกับหนังสือเรียนอยางคลองแคลว สรุปใจความสําคัญ แยกแยะ ขอเท็จจริง ขอคิดเห็น และมีมารยาทในการอาน

ป.5

อานออก

อานคลอง

ป.6

อานคําพื้นฐานและเขาใจความหมายของคําพื้นฐานไดไมนอยกวา 600 คํา

• เขียนได เขียนคลอง ป.5 ป.4

ป.2

คูม อื ครู

เขียนแสดงความรูส กึ และความคิดเห็นอยางคลองแคลว และมีมารยาทในการเขียน

ป.3

ป.1

เขียนเรียงความอยางคลองแคลวและมีมารยาทในการเขียน

เขียนยอความอยางคลองแคลว และมีมารยาทในการเขียน

เขียนได

เขียนคลอง

ป.6

เขียนคําพื้นฐานเพิ่มจากชั้นประถมศึกษาปที่ 2 ไดไมนอยกวา 1,200 คํา เขียนเรื่องจากภาพ และมีมารยาทใน การเขียน

เขียนคําพื้นฐานเพิ่มจากชั้นประถมศึกษาปที่ 1 ไดไมนอยกวา 800 คํา เขียนบรรยายภาพ และมีมารยาทในการเขียน

เขียนคําพืน้ ฐานไดไมนอ ยกวา 600 คํา ประโยคงายๆ และมีมารยาทในการเขียน


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Engage

Explore

Explain

Elaborate

Evaluate

˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ÃÒÂÇÔªÒ¾×é¹°Ò¹

ÀÒÉÒä·Â

ÇÃó¤´ÕáÅÐÇÃó¡ÃÃÁ ».ó ªÑé¹»ÃжÁÈÖ¡ÉÒ»‚·Õè ó

¡ÅØ‹ÁÊÒÃСÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ ÀÒÉÒä·Â µÒÁËÅÑ¡ÊÙµÃ᡹¡ÅÒ§¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñé¹¾×é¹°Ò¹ ¾Ø·¸ÈÑ¡ÃÒª òõõñ

¼ÙŒàÃÕºàÃÕ§ ¹ÒÂÁÒ¹¾ Ê͹ÈÔÃÔ ÃÈ. ´Ã. ÊÔÃԾѪà à¨É®ÒÇÔâè¹ ¹Ò§à©ÅÒ ÍÃسÃѵ¹ ¼ÙŒµÃǨ

¹Ò§¸ÅÔÁÒ ¾Å;ҹԪ ¹Ò§ÊÒÇÊظҷԾ ¾Ñ¸¹ÒÇÔ¹ ¹ÒÂÍÀԪҡĵ ÍÔ¹·ËÍÁ

ºÃóҸԡÒà ¹ÒÂÈÑ¡´Ôì áÇÇÇÔÃÔÂÐ

¾ÔÁ¾ ¤ÃÑ駷Õè ñ

ʧǹÅÔ¢ÊÔ·¸ÔìµÒÁ¾ÃÐÃÒªºÑ- - ѵÔ

ÃËÑÊÊÔ¹¤ŒÒ ñóññððó ISBN : 978-616-203-243-1

¤Œ¹¤ÇÒÁÃÙŒ¢ÂÒ¤ÇÒÁ¤Ô´¨Ò¡

EB GUIDE

ที่พิมพกํากับหัวขอสําคัญในหนังสือเรียนหลักสูตรใหม ชั้น ป.๔ ขึ้นไป ผาน www.aksorn.com ไปยังแหลงความรูทั่วไทย-ทั่วโลก


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Engage

Explore

Explain

Elaborate

Evaluate

(ยอจากฉบับนักเรียน 20%)

¤íÒ¹íÒ ´ŒÇ¡ÃзÃǧÈÖ¡ÉÒ¸Ô¡ÒÃä´ŒÁÕ¤íÒÊÑè§ãˌ㪌ËÅÑ¡ÊٵáÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñé¹¾×é¹°Ò¹ ¾Ø·¸ÈÑ¡ÃÒª òõôô ã¹âçàÃÕ¹·ÑÇè ä»·Õ¨è ´Ñ ¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñ¹é ¾×¹é °Ò¹ã¹»‚¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ òõôö áÅШҡ¡ÒÃÈÖ¡ÉÒÇÔ¨ÂÑ áÅеԴµÒÁ ¼Å¡ÒÃ㪌ËÅÑ¡ÊٵáÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñ¹é ¾×¹é °Ò¹ ¾Ø·¸ÈÑ¡ÃÒª òõôô ¨Ö§¹íÒä»Ê‹¡Ù ÒþѲ¹ÒËÅÑ¡ÊÙµÃ᡹¡ÅÒ§ ¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñ¹é ¾×¹é °Ò¹ ¾Ø·¸ÈÑ¡ÃÒª òõõñ «Ö§è ÁÕ¤ÇÒÁàËÁÒÐÊÁáÅЪѴਹ à¾×Íè ãˌʶҹÈÖ¡ÉÒä´Œ¹Òí ä» ãªŒà»š¹¡Ãͺ·Ôȷҧ㹡ÒèѴËÅÑ¡ÊÙµÃʶҹÈÖ¡ÉÒáÅШѴ¡ÒÃàÃÕ¹¡ÒÃÊ͹à¾×Íè ¾Ñ²¹Òà´ç¡áÅÐàÂÒǪ¹ ·Ø¡¤¹ã¹ÃдѺ¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñ¹é ¾×¹é °Ò¹ãËŒÁ¤Õ ³ Ø ÀÒ¾´ŒÒ¹¤ÇÒÁÃÙŒ áÅзѡÉзըè Òí ໚¹ÊíÒËÃѺ¡ÒôíÒçªÕÇµÔ ã¹Êѧ¤Á·ÕèÁÕ¡ÒÃà»ÅÕè¹á»Å§ áÅÐáÊǧËÒ¤ÇÒÁÃÙŒà¾×è;Ѳ¹Òµ¹àͧÍ‹ҧµ‹Íà¹×èͧµÅÍ´ªÕÇÔµ ÊíÒËÃѺ¡Å‹ØÁÊÒÃСÒÃàÃÕ¹ÃÙŒÀÒÉÒä·Â »ÃСͺ´ŒÇ õ ÊÒÃЋ͠¤×Í ÊÒÃзÕè ñ ¡ÒÃÍ‹Ò¹ ÊÒÃзÕè ò ¡ÒÃà¢Õ¹ ÊÒÃзÕè ó ¡Òÿ˜§ ¡Òô٠áÅСÒþٴ ÊÒÃзÕè ô ËÅÑ¡¡ÒÃ㪌ÀÒÉÒä·Â ÊÒÃзÕè õ ÇÃó¤´ÕáÅÐÇÃó¡ÃÃÁ ˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ÀÒÉÒä·Â ÇÃó¤´ÕáÅÐÇÃó¡ÃÃÁ ».ó àÅ‹Á¹Õé¨Ñ´·íÒ¢Öé¹ÊíÒËÃѺ㪌 »ÃСͺ¡ÒÃàÃÕ¹¡ÒÃÊ͹ÇÃó¤´ÕáÅÐÇÃó¡ÃÃÁ¢Í§¹Ñ¡àÃÕ¹ÃдѺªÑé¹»ÃжÁÈÖ¡ÉÒ»‚·Õè ó â´Â ´íÒà¹Ô¹¡ÒèѴ·íÒãËŒÊÍ´¤ÅŒÍ§µÒÁ¡Ãͺ¢Í§ËÅÑ¡Êٵ÷ء»ÃСÒà à¾×èÍÊ‹§àÊÃÔÁ¤ÇÒÁÃÙŒ´ŒÒ¹ÇÃó¤´Õ áÅÐÇÃó¡ÃÃÁµ‹Ò§æ ˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ÀÒÉÒä·Â ÇÃó¤´ÕáÅÐÇÃó¡ÃÃÁ ».ó àÅ‹Á¹Õé ÁÕ õ º· ᵋÅк· »ÃСͺ´ŒÇ ñ. ໇ÒËÁÒ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ»ÃШíÒº· ¡íÒ˹´ÃдѺ¤ÇÒÁÃÙŒ ¤ÇÒÁÊÒÁÒö¢Í§¼ÙŒàÃÕÂ¹Ç‹Ò àÁ×èÍàÃÕ¹¨ºã¹áµ‹Åк· µŒÍ§ºÃÃÅØÁҵðҹµÑǪÕéÇÑ´·Õè¡íÒ˹´äÇŒã¹ËÅÑ¡ÊٵâŒÍã´ºŒÒ§ ò. à¹×éÍËÒ ¤ÃºµÒÁËÅÑ¡ÊÙµÃ᡹¡ÅÒ§¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñé¹¾×é¹°Ò¹ ¾Ø·¸ÈÑ¡ÃÒª òõõñ ¹íÒàÊ¹Í àËÁÒÐÊÁ¡Ñº¡ÒÃàÃÕ¹¡ÒÃÊ͹ã¹áµ‹ÅÐÃдѺªÑé¹ ó. ¡Ô¨¡ÃÃÁ ÁÕËÅÒ¡ËÅÒÂÃٻẺãËŒ¹Ñ¡àÃÕ¹»¯ÔºÑµÔ ẋ§à»š¹ (ñ) ¡Ô¨¡ÃÃÁÍ‹Ò¹ ´Ù áÅÐËÇÁ¡Ñ¹µÍº à¾×è͹íÒࢌÒÊ‹Ùº·àÃÕ¹ áÅСÃе،¹¤ÇÒÁʹã¨á¡‹ ¼ÙŒàÃÕ¹ (ò) ¡Ô¨¡ÃÃÁ½ƒ¡¤Ô´½ƒ¡·íÒ ãËŒ¼ÙŒàÃÕ¹»¯ÔºÑµÔà¾×èÍáÊ´§¾ÄµÔ¡ÃÃÁ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒÃǺÂÍ´ áÅÐ »ÃÐàÁÔ¹¼Å¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒµÒÁÁҵðҹµÑǪÕéÇÑ´»ÃШíÒº· ˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ÀÒÉÒä·Â ÇÃó¤´ÕáÅÐÇÃó¡ÃÃÁ ».ó àÅ‹Á¹Õé ¹íÒàʹ͡Òà àÃÕ¹ÃÙŒãËŒàËÁÒÐÊÁ¡ÑºÇÑ¢ͧ¼ÙŒàÃÕ¹㹪Ñé¹»ÃжÁÈÖ¡ÉÒ»‚ ÉÒ»‚·Õè ó «Öè§à»š¹¡ÒÃÈÖ¡ÉÒÊÔ觷Õèà¡ÕèÂÇ¢ŒÍ§ã¹¡Òà ´íÒà¹Ô¹ªÕÇÔµ»ÃШíÒÇѹ¢Í§¼ÙŒàÃÕ¹ â´Â㪌ÀÒ¾ª‹Ç¹íÒàʹÍà¹×éÍËÒµ‹Ò§æ «Ö觨Ъ‹ÇÂãËŒ¼ÙŒàÃÕ¹ÊÒÁÒö àÃÕ¹Ãٌ䴌§‹Ò¢Öé¹ ¤³Ð¼Ù¨Œ ´Ñ ·íÒ¨Ö§ËÇѧ໚¹Í‹ҧÂÔ§è Ç‹Ò Ë¹Ñ§Ê×ÍàÃÕ¹ ÀÒÉÒä·Â ÇÃó¤´ÕáÅÐÇÃó¡ÃÃÁ ».ó àÅ‹Á¹Õé ¨Ð໚¹Ê×èÍ¡ÒÃàÃÕ¹¡ÒÃÊ͹·ÕèÍíҹǻÃÐ⪹ µ‹Í¡ÒÃàÃÕ¹ÀÒÉÒä·Â à¾×èÍãËŒÊÑÁÄ·¸Ô¼Å µÒÁÁҵðҹµÑǪÕéÇÑ´·Õè¡íÒ˹´äÇŒã¹ËÅÑ¡ÊÙµÃ᡹¡ÅÒ§¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñé¹¾×é¹°Ò¹ ¾Ø·¸ÈÑ¡ÃÒª òõõñ ·Ø¡»ÃСÒà ¤³Ð¼ÙŒ¨Ñ´·íÒ


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Engage

Explore

Explain

Elaborate

Evaluate

คําชี้แจงในการใชสื่อ ¶ŒÒàÃÒäÁ‹ÁÕ¤ÇÒÁÃÙŒ

?

ªÕÇÔµ ¨Ð໚¹Í‹ҧäÃ

บทที่

ñ

เปาหมายการเรียนรู กําหนดระดับความรู ความสามารถของผูเรียน เมื่อเรียนจบบท มาตรฐานตัวชี้วัด ระบุตัวชี้วัดที่กําหนดไว ในแตละบท

ÇÔªÒ˹Òà¨ŒÒ ําบทที่ ๑

ยนรูประจ ท ๑.๑ ป.๓/๑) ตอง คลองแคลว (มฐ. ทรอยกรองงายๆ ไดถูก) อความ เรื่องสั้นๆ และบ ) ๑. อานออกเสียงคํา ข คําและขอความที่อาน (มฐ. ท ๑.๑ ป.๓/๒ น (มฐ. ท ๑.๑ ป.๓/๕ ) วั ยของ า ประจํ มหมา ต ิ ว นชี ใ ายควา บ อธิ ไปใช า ๒. ดจากเรื่องที่อานเพื่อนํ าวัน (มฐ. ท ๕.๑ ป.๓/๑ ๓. สรุปความรูและขอคิ อานวรรณกรรมเพื่อนําไปใชในชีวิตประจํ ท ๕.๑ ป.๓/๔) ๔. ระบุขอคิดที่ไดจากการ ) ตามที่กําหนดได (มฐ. ๕. ทองจําบทอาขยานเกี่ยวกับวรรณกรรมที่อานได (มฐ. ท ๕.๑ ป.๓/๓ ๖. แสดงความคิดเห็น

เปาหมายการเรี

กิจกรรมนําสูการเรียน นําเขาสูบทเรียนโดยใชกระตุน ความสนใจและวัดประเมินผล กอนเรียน

ออาน แล ลวรรวมกันตอบ การศึกษาหาความรู  และการเรียนหนังสื อ สําคัญอยางไร ทําใหฉลาด ทันคน

ทําใหมีความรู และนําความรูไปใช ประโยชนในชีวิตปร  ะจําวัน ของเราได ทําใหมี หนาที่การงานที่ดี ในอนาคต แลวเพื่อนๆ คิดวา การศึกษาหาความรู  และการเรียนหนังสื อ สําคัญอยางไรคะ


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Engage

Explore

Explain

Elaborate

Evaluate

(ยอจากฉบับนักเรียน 20%)

ทองอาขยาน à´ç¡àÍŽÂà´ç¡¹ŒÍ ¤ÇÒÁÃÙŒàÃÒÂѧ´ŒÍÂà˧ÈÖ¡ÉÒ àÁ×èÍàµÔºãËÞ‹àÃÒ¨Ðä´ŒÁÕÇÔªÒ à»š¹à¤Ã×èͧËÒàÅÕ駪վÊíÒËÃѺµ¹ ä´Œ»ÃÐ⪹ ËÅÒÂʶҹà¾ÃÒСÒÃàÃÕ¹ ¨§¾Ò¡à¾ÕÂÃä»à¶Ô´¨Ðà¡Ô´¼Å ¶Ö§ÅíÒºÒ¡µÃÒ¡µÃíÒ¡ç¨íÒ·¹ à¡Ô´à»š¹¤¹¤ÇÃËÁÑè¹¢ÂѹàÍÂ

เน�้อหา ครบตามหลักสูตรแกนกลางฯ ’๕๑ นําเสนอโดยใชภาพ และเน�้อหา เหมาะสมกับการเรียนการสอน

เสียงเด็กนักเรียนชัน้ ป. ๓/๑ ทองบทอาขยานดังเปน ุ ครูเพียงเพ็ญยิม้ ดวยความ จังหวะพรอมเพรียงกัน ทําใหคณ พอใจที่นักเรียนตางก็ตั้งใจเรียน ๓

คําศัพทนารู

คําศัพทนารู อธิบายคําศัพท จากวรรณคดีและวรรณกรรม เพื่อใหเขาใจเน�้อเรื่องที่อาน

คํา

กระสับกระสาย

อานวา

กระ-สับ-กระ-สาย

ความหมาย

เรารอนใจทนนงิ่ เป กระวนกระวายทุร น ปรกตไิ มได ขวนขวาย นทุราย ขวน-ขวาย หมั่นเสาะแสวงหาเพ โดยไมยอมอยูนิ่ง ิ่มเติม ขอเสนอ ขอ-สะ-เหนอ เรื่องราวที่นําเสนอเพ ื่อ พิจารณา เชี่ยว เชี่ยว อาการที่สายนํ้าไห ดอย ลแรง ดอย ตํ่ากวาโดยคุณสม บัติ รูปสมบัติ หรือตําแหนงหนา ตรากตรํา ที่ เปนตน ตราก-ตรํา ทนทําอยางไมคิด ถึงความ ยากลําบาก ปรับปรุง ปรับ-ปรุง แกไขใหเรียบรอยย ปรานี ิ่งขึ้น ปรา-นี เอ็นดูดวยความสงส เปะปะ าร เปะ-ปะ ไมตรงเปา ไมตรง พรอมเพรียง ทาง พรอม-เพรียง ครบถวน รวมใจก น ั เปนอันหนึ่งอันเดี พากเพียร ยวกัน พาก-เพียน บากบั่น พยายาม มุงทํา ไมยอทอ ๑๙


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Engage

Explore

Explain

Elaborate

Evaluate

อธิบายเพิ่มเสริมความรู

อธิบายเพิ�มเสริมความรู และ อานเสริมเติมความรู อธิบายขอมูลความรูเพิ�มเติม จากเน�้อหา โดยบูรณาการ กับกลุมสาระตางๆ

ลอนดอกสรอย บทอาขยานเด็กนอย เปนคําประพันธประเภทก ย” เชน เด็กเอยเด็กนอย วรรคแรกจะมีแค ๔ คํา คําทีส่ องเปนคําวา “เอ คสุดทายตองลงทายดวย เปนตน สวนวรรคตอ ๆ ไป มี ๗ - ๘ คํา และวรร คําวา “เอย” มีแผนผัง ดังนี้ เอย

อ่อ่าานเ นเสร สริมิมเตเติมิมคว ความ ามรูรู้ ้

ส�ำนวนไทยเกี่ย

เอย

ก ข ไม่กระ ดิก

หู

วกับกำรเรียนรู ้

หมายถึง ผู้ที่ไ ม่รู้หนังสือ อ โบราณ ก ข ห ่านไม่ออก เขียนไม่ได้ มายถึง พยัญชน ะ ก-ฮ ๑๒

ปัญญำประเส ริฐกว

่ำทรัพย์

หมายถึง การม ีความรู้ติดตั เพราะความรู้ส วไว้ ดีกว่าการมีทรัพย์สิน าม และเราสามารถ ารถช่วยให้คิดท�าสิ่งต่างๆ ไ ด้ ใช แต่หากเรามีทรั ้ปัญญาที่เรามีหาทรัพย์มาไ ด้ พ จัดการทรัพย์สนิ ย์สินแล้วไม่มีความรู้ในการ ที ส�านวนนี้มาจาก ม่ อี ยู ่ อาจทา� ใหส้ ญู เสยี ทรพั ย์ สนิ นิทานชาดกเรื่อ งง มโหสถชาดกก 13

คําถามจุดประกาย คําถามเพื่อกระตุนใหผูเรียน ไดฝกทักษะการคิดวิเคราะห เพือ่ เชือ่ มโยงกับการนํา ความรูไปใชในชีวิตประจําวัน

?

ถำมจุ มจุดดประกำ ประก ย ประกำ ค�ค�ำำถำมจุ ย

๑. ใจความส�าคัญของบทอาขยาน าขยาน เเด็ด็กน้อยย และบท และบทออาขยาน าขยาน วิวิชาหนาเจ้า คืออะไร ๒. ๒. เพร เพราะเห าะเหตุตุใดการศึกษาหาความรู้จึงมีประโยชน์ต่อ ชี วิตของคนเรา ๓. ๓. เราค เราควรป วรปฏิฏิบัติอย่างไรเมื่ออ่านหรือฟังนิทาน ๔. ๔. หาก หากเราพ เราพบว่ บว่าเพื่อนไม่ตั้งใจเรียนน เราคว เราควรป รปฏิฏิบัติอย่างไร ๕. ๕. การ การศึศึกษาเล่าเรียนน และกา และการอ รอ่​่านหนังสือ มีมีประโยชน์อย่างไร ๖. เราควรปฏิบัติตนอย่างไร งไร จึจึงจะเป็นผู้ที่มีความรู้มากๆ ๗. ๗. หาก หากเราอ เราอ่​่านหนังสือไม่ออก อก เขี เขียนหนังสือไม่ได้ จะเกิดผลอย่างไรในชีวิต กิจกรรมรวบยอด

กิจกรรมรวบยอด ใหผูเรียนฝกปฏิบัติเพื่อแสดง พฤติกรรมการเรียนรูรวบยอด และประเมินผลการเรียนรูตาม มาตรฐานตัวชี้วัดประจําบท

๑. ฝึกอ่านออกเสียงนิทานเรื่องง เม่นน้อยกั บปู่เม่นนักประดิษฐ์ ๒. อ่านค�าศัพท์แล้วคัดค�าศัพท์ลงในสมุดด้ว ยตัวบรรจง บรรจง โดยเลือกคัด ค�ายาก ยาก ๑๐ ๑๐ ค�ค�า ๓. ฝึกท่องบทอาขยาน ยาน เด็กน้อย และบทอาขยาน วิชาหนาเจ้า โดยร่วมกันท่องเป็นกลุ่ม แล้วจึงฝึกท่องคนเดี ยวให้ ๔. บทอาขยาน เด็กน้อย บทอาขยาน วิชาหนาเจ คล่อง ้า และนิ เม่นน้อยกับปู่เม่นนักประดิษฐ์ ให้ข้อคิดอะไรบ้ ทานเรื่อง าง และนักเรียน สามารถน�าข้อคิดที่ได้ไปใช้ประโยชน์ในชี วิตประจ�าวันได้อย่างไร

21


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Engage

Explore

Explain

Elaborate

Evaluate

(ยอจากฉบับนักเรียน 20%)

สารบัญ บทที่

๑ วิชาหนาเจา

บทที่

๒ นิทานของเพื่อน

๒๒

บทที่

๓ เพลงกลอมเด็กของคุณแม

๔๒

บทที่

๔ ชาดกสอนใจ

๕๕

บทที่

๕ โอรสนอยพบพระบิดา

๗๔

บรรณานุกรม

๑๐๖


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explore

Explain

Elaborate

Evaluate

กระตุนความสนใจ ¶ŒÒàÃÒäÁ‹ÁÕ¤ÇÒÁÃÙŒ

ªÕÇÔµàÃÒ ¨Ð໚¹Í‹ҧäÃ

บทที่

ñ

?

ครูถามคําถามแลวใหนักเรียน แสดงความคิดเห็นอยางอิสระ • การมีวิชาความรู มีประโยชน อยางไร • ถาเราไมมีความรู ชีวิตเรา จะเปนอยางไรบาง

ÇÔªÒ˹Ò਌Ò

เปาหมายการเรียนรูประจําบทที่ ๑

๑. อานออกเสียงคํา ขอความ เรื่องสั้นๆ และบทรอยกรองงายๆ ไดถูกตอง คลองแคลว (มฐ. ท ๑.๑ ป.๓/๑) ๒. อธิบายความหมายของคําและขอความที่อาน (มฐ. ท ๑.๑ ป.๓/๒) ๓. สรุปความรูและขอคิดจากเรื่องที่อานเพื่อนําไปใชในชีวิตประจําวัน (มฐ. ท ๑.๑ ป.๓/๕) ๔. ระบุขอคิดที่ไดจากการอานวรรณกรรมเพื่อนําไปใชในชีวิตประจําวัน (มฐ. ท ๕.๑ ป.๓/๑) ๕. ทองจําบทอาขยานตามที่กําหนดได (มฐ. ท ๕.๑ ป.๓/๔) ๖. แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับวรรณกรรมที่อานได (มฐ. ท ๕.๑ ป.๓/๓)

คูมือครู

1


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explore

Explain

Elaborate

Evaluate

เปาหมายการเรียนรู เมื่อเรียนจบ นักเรียนจะสามารถ ปฏิบัติสิ่งเหลานี้ได 1. อานออกเสียงวรรณกรรมที่ กําหนดได 2. สรุปความรูและเนื้อเรื่องยอของ วรรณกรรมที่อานได 3. บอกขอคิดของวรรณกรรมที่อาน ที่สามารถนําไปปรับใชในชีวิต ประจําวันได 4. ทองจําบทอาขยานจากวรรณกรรม ที่อานได 5. แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ วรรณกรรมที่อานได

เกร็ดแนะครู ครูจัดกระบวนการเรียนรูโดยการ ใหนักเรียน • อภิปราย • ปฏิบัติ (อานออกเสียง) • ทําความเขาใจ วิเคราะห และ สรุปความรูที่ไดจากวรรณคดี และวรรณกรรม จนไดขอคิดที่สามารถนําไป ปรับใชในชีวิตประจําวันได

กระตุนความสนใจ

(ยอจากฉบับนักเรียน 20%)

อาน แลวรวมกันตอบ การศึกษาหาความรู และการเรียนหนังสือ สําคัญอยางไร ทําใหฉลาด ทันคน

ทําใหมีความรู และนําความรูไปใช ประโยชนในชีวิตประจําวัน ของเราได ทําใหมี หนาที่การงานที่ดี ในอนาคต แลวเพื่อนๆ คิดวา การศึกษาหาความรู และการเรียนหนังสือ สําคัญอยางไรคะ

นักเรียนอานคําถามในกรอบคําพูด สีสมของเด็กชาย และอานคําตอบ ในกรอบคําพูดสีขาว ในหนังสือ หนา 2 แลวชวยกันตอบคําถามวา ๒ • การศึกษาหาความรูและการ เรียนหนังสือ สําคัญอยางไร (แนวตอบ ทําใหเรามีความรู เมื่อ มีความรูก ส็ ามารถทําสิง่ ตางๆ ได) • หากนักเรียนมีความรูแตรูเพียงเล็กนอย นักเรียนควรปฏิบัติอยางไร (แนวตอบ ควรศึกษาหาความรูจนเกิดความเชี่ยวชาญและรูอยางแตกฉาน เพื่อจะไดนําความรูไปใชประโยชนได) • เราสามารถศึกษาหาความรูไดจากที่ใดบาง (แนวตอบ จากโรงเรียน จากหนังสือ จากคุณครู จากผูรู จากอินเทอรเน็ต จากขาวสารตางๆ เปนตน)

2

คูมือครู


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา Explore

Engage

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Elaborate

Evaluate

สํารวจคนหา

ทองอาขยาน à´ç¡¹ŒÍ à´ç¡àÍŽÂà´ç¡¹ŒÍ ¤ÇÒÁÃÙŒàÃÒÂѧ´ŒÍÂà˧ÈÖ¡ÉÒ àÁ×èÍàµÔºãËÞ‹àÃÒ¨Ðä´ŒÁÕÇÔªÒ à»š¹à¤Ã×èͧËÒàÅÕ駪վÊíÒËÃѺµ¹ ä´Œ»ÃÐ⪹ ËÅÒÂʶҹà¾ÃÒСÒÃàÃÕ¹ ¨§¾Ò¡à¾ÕÂÃä»à¶Ô´¨Ðà¡Ô´¼Å ¶Ö§ÅíÒºÒ¡µÃÒ¡µÃíÒ¡ç¨íÒ·¹ à¡Ô´à»š¹¤¹¤ÇÃËÁÑè¹¢ÂѹàÍÂ

1. ครูทบทวนความรูเรื่อง อาขยาน โดยใหนักเรียนบอกวา บทอาขยาน ที่นักเรียนเคยทองคือบทอาขยาน ใดบาง และมีเนื้อหาเกี่ยวกับเรื่อง อะไร 2. นักเรียนดูภาพ ในหนังสือ หนา 3 แลวอานออกเสียงบทอาขยาน ในภาพ จากนั้นอานเนื้อเรื่อง 3. ครูสังเกตวานักเรียนสวนใหญ อานออกเสียงไดถูกตองหรือไม

เสียงเด็กนักเรียนชัน้ ป. ๓/๑ ทองบทอาขยานดังเปน จังหวะพรอมเพรียงกัน ทําใหคณ ุ ครูเพียงเพ็ญยิม้ ดวยความ พอใจที่นักเรียนตางก็ตั้งใจเรียน ๓

คูมือครู

3


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

อธิบายความรู 1. นักเรียนอานออกเสียงเนื้อเรื่อง ในหนังสือ หนา 4 2. ครูสังเกตวานักเรียนสวนใหญ อานออกเสียงไดถูกตองหรือไม 3. นักเรียนรวมกันอภิปรายแสดง ความคิดเห็นเกีย่ วกับการปฏิบตั ติ วั ของปองพลวา เหมาะสมหรือไม อยางไร 4. ครูอธิบายขอควรปฏิบัติในการ เรียน และการทํางานกลุม • ตั้งใจเรียน ตั้งใจฟงที่คุณครูพูด เพื่อจะไดเขาใจเนื้อหาของ บทเรียน • หากมีขอสงสัยใหยกมือขึ้นเพื่อ ขออนุญาต เมื่อคุณครูอนุญาต จึงถามดวยถอยคําสุภาพ • จดบันทึกขอมูลความรูตางๆ ที่คุณครูสอน • การทํางานกลุม ควรใหความ รวมมือกับสมาชิกในกลุมและ ตั้งใจทํางานที่ไดรับมอบหมาย นอกจากนี้ควรรับฟงความ คิดเห็นของสมาชิกในกลุมดวย

คูมือครู

ตรวจสอบผล

Elaborate

Evaluate

(ยอจากฉบับนักเรียน 20%)

ขณะที่เพื่อนๆ กําลังทองบทอาขยานอยางตั้งใจนั้น ปองพลกลับแอบอานหนังสือการตนู ซึง่ เขาไมเห็นวาปฐพี เพือ่ นทีน่ งั่ ติดกันกําลังมองเขาอยู หลังจากทีน่ กั เรียนทองบทอาขยานจบ คุณครูเพียงเพ็ญ บอกใหนกั เรียนแบงกลุม กันเพือ่ อภิปรายแสดงความคิดเห็น เกี่ยวกับเนื้อหาของบทอาขยาน เด็กนอย นักเรียนชั้น ป. ๓/๑ ทุกคนตางแบงกลุม แลวอภิปรายแสดงความคิดเห็น อยางตัง้ ใจ ยกเวนปองพลทีแ่ มจะเขากลุม แลว แตกย็ งั แอบ อานหนังสือการตนู อยู

4

ขยายความเขาใจ


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Elaborate

Evaluate

อธิบายความรู

ศิลาไดรับเลือกใหเปนตัวแทนของกลุม ๑ ใหออกมา นําเสนอความคิดเห็นของกลุมที่หนาชั้นเรียน สวัสดีครับ คุณครูเพียงเพ็ญ และเพื่อนๆ ชั้น ป. ๓/๑ ทุกคน กระผม เด็กชาย ศิลา เพชรมณี เปนตัวแทนของกลุม ๑ ครับ กลุมของกระผมมีความเห็นเกี่ยวกับ บทอาขยานเด็กนอยวา เด็กๆ อยางเรา ควรตั้งใจศึกษาเลาเรียน เพื่อจะไดมีความรู แลวนําความรูนั้นไปใช ประกอบอาชีพเมื่อโตขึ้นครับ

1. นักเรียนอานออกเสียงเนื้อเรื่อง ในหนังสือ หนา 5 2. ครูสังเกตวานักเรียนสวนใหญ อานออกเสียงไดถูกตองหรือไม 3. นักเรียนรวมกันอภิปรายแสดง ความคิดเห็นเกี่ยวกับเนื้อหา ในกรอบคําพูด ในหนังสือ หนา 5 วาเห็นดวยหรือไมเห็นดวย เพราะเหตุใด 4. ครูอธิบายหลักการพูดนําเสนอ ผลงาน • กลาวสวัสดีผูฟง แลวกลาว แนะนําตนเอง • พูดออกเสียงใหชัดเจน และพูด โดยใชถอยคําสุภาพ • พูดนําเสนอผลงานใหมีขอมูล ครบถวน 5. นักเรียนรวมกันอภิปรายแสดง ความคิดเห็นเกี่ยวกับการพูดของ ศิลา ในหนังสือ หนา 5 วาถูกตอง ตามหลักการพูดหรือไม อยางไร

คูมือครู

5


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

อธิบายความรู 1. นักเรียนอานออกเสียงเนื้อเรื่อง ในหนังสือ หนา 6 2. ครูสังเกตวานักเรียนสวนใหญ อานออกเสียงไดถูกตองหรือไม 3. นักเรียนรวมกันอภิปรายแสดง ความคิดเห็นวา • หากนักเรียนอยูกลุมเดียวกับ ปองพล นักเรียนจะปฏิบัติ อยางไร เพราะเหตุใด • หากนักเรียนเปนปองพล แลวถูกเลือกใหเปนตัวแทนกลุม แตนักเรียนไมมีความรู เกี่ยวกับเรื่องที่ตองออกไปพูด นักเรียนจะทําอยางไร เพราะเหตุใด 4. ครูอธิบายเพิ่มเติมขอมูลที่นักเรียน ควรรู

นักเรียนควรรู ขอโทษเมื่อทําผิด การกลาว คําขอโทษ เปนมารยาทสําคัญที่เรา ทุกคนควรพูดเมื่อทําผิด แมจะเปน การกระทําโดยไมตั้งใจ และเมื่อ กลาวคําวาขอโทษแลว ควรปรับปรุง ตัวใหมใหดีขึ้น และไมทําผิดซํ้าอีก

คูมือครู

ตรวจสอบผล

Elaborate

Evaluate

(ยอจากฉบับนักเรียน 20%)

เมือ่ ตัวแทนของกลุม ๑ พูดจบ คุณครูและเพือ่ นๆ ตาง ปรบมือใหเขา จากนั้นคุณครูเพียงเพ็ญก็เชิญตัวแทนของ กลุม ตอไป คือ กลุม ของปองพล ซึง่ เปนกลุม ๒ ออกมาพูด ปองพลอยูกลุมเดียวกับปฐพี สราวุธ และขวัญพร ปฐพีและเพือ่ นๆ ในกลุม ตองการปรับปรุงนิสยั ของปองพล ทีไ่ มตงั้ ใจเรียน พวกเขาจึงเลือกปองพลเปนตัวแทนกลุม ๒ ออกไปนําเสนอความคิดเห็นของกลุม ที่หนาชั้นเรียน ปองพลยืนที่หนาชั้นเรียน เขายืนกระสับกระสายอยู ครูหนึ่งจึงหันไปพูดกับคุณครูเพียงเพ็ญดวยเสียงออยๆ อยางสํานึกผิดวา “คุณครูครับ ผมขอโทษครับ ผมไมไดฟงเพื่อนๆ และ ผมก็ไมไดรวมแสดงความคิดเห็นดวย เพราะวาผมอาน การตูนอยูครับ” คุณครูเพียงเพ็ญยิ้มที่ปองพลรูจักขอโทษเมื่อทําผิด จากนั้นคุณครูก็ถามนักเรียนคนอื่นๆ ที่อยูในกลุมเดียวกับ ปองพลวา “พวกเราจะใหอภัยปองพลไหมคะ” ๖

6

ขยายความเขาใจ


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Elaborate

Evaluate

อธิบายความรู

“ถาปองพลสํานึกผิดและจะปรับปรุงตัวใหม คือ ตั้งใจ เรียน พวกเราก็จะใหโอกาสเขาคะคุณครู” ขวัญพรพูดแทนเพื่อนๆ ในกลุม ปองพลสัญญากับคุณครูและเพื่อนๆ วา ตอไปเขาจะ ตั้งใจเรียนและแบงเวลาใหเหมาะสม เขากลาวขอบคุณ เพื่อนๆ ที่ไมโกรธเขา จากนั้นเขาก็ตั้งใจอานบทอาขยาน เด็กนอย อยางตั้งใจ เด็กนอย

เด็กเอยเด็กนอย ความรูเรายังดอยเรงศึกษา เมื่อเติบใหญเราจะไดมีวิชา เปนเครื่องหาเลี้ยงชีพสําหรับตน ไดประโยชนหลายสถานเพราะการเรียน จงพากเพียรไปเถิดจะเกิดผล ถึงลําบากตรากตรําก็จําทน เกิดเปนคนควรหมั่นขยันเอย

1. นักเรียนอานออกเสียงเนื้อเรื่อง ในหนังสือ หนา 7 2. ครูสังเกตวานักเรียนสวนใหญ อานออกเสียงไดถูกตองหรือไม 3. ครูใหนักเรียนชวยกันสรุปลักษณะ นิสัยที่ดีของปองพล ที่ควรยึดถือ เปนแบบอยาง • นิสัยที่ดีของปองพลที่ควรยึดถือ เปนแบบอยาง คือ ขอโทษ เมื่อรูวาตนเองทําผิดและ ปรับปรุงตัวใหดีขึ้น 4. ครูใหนักเรียนอานออกเสียง บทอาขยานเด็กนอยพรอมๆ กัน แลวครูอธิบายคุณคาของ บทอาขยานเด็กนอย • บทอาขยานเด็กนอย เปนบท ประพันธที่ไพเราะ ใชคํางาย ใหคติแกเด็กในการเรงขวนขวาย ศึกษาเลาเรียน เพื่อใหมีความรู สําหรับประกอบอาชีพเมื่อโตขึ้น และใชความรูใหเปนประโยชน อื่นๆ อีก 5. ครูใหนกั เรียนรวมกันอภิปรายวา หนาที่ของเด็ก นอกจากศึกษา หาความรูแลว ควรประพฤติตน อยางไร จึงจะพัฒนาตนเองใหเปน คนดีและคนเกงอยางสมบูรณ 6. นักเรียนฝกทองจําบทอาขยาน เด็กนอย

(ไมปรากฏชื่อผูแตง)

คูมือครู

7


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Elaborate

Evaluate

อธิบายความรู 1. นักเรียนอานออกเสียงเนื้อเรื่อง ในหนังสือ หนา 8 2. ครูสังเกตวานักเรียนสวนใหญ อานออกเสียงไดถูกตองหรือไม 3. นักเรียนรวมกันอภิปรายแสดง ความคิดเห็นเกี่ยวกับความสําคัญ ของการศึกษาเลาเรียนจาก บทอาขยานวิชาหนาเจา 4. นักเรียนรวมกันสรุปคุณคาของ บทอาขยานวิชาหนาเจา ในหนังสือ หนา 8 • บทอาขยานวิชาหนาเจา มี จุดประสงคเพื่อโนมนาวใหเห็น ประโยชนของการมีวิชาความรู และโทษของการไมมีวิชาความรู

หลังจากนั้น ปองพลและตัวแทนนักเรียนทุกกลุม ออกมาพูดแสดงความคิดเห็นจนครบ คุณครูเพียงเพ็ญพอใจ ทีน่ กั เรียนรูจ กั คิด และพูดแสดงความคิดเห็นไดอยางเหมาะสม คุณครูเพียงเพ็ญตองการใหนกั เรียนเขาใจเรือ่ งความ สําคัญของการศึกษาเลาเรียนใหมากขึ้น จึงสอนนักเรียน ทองจําบทอาขยานอีกบทหนึง่ คือ บทอาขยาน วิชาหนาเจา ทองตามครูนะคะ นักเรียน

8

คูมือครู

(ยอจากฉบับนักเรียน 20%)


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Elaborate

Evaluate

อธิบายความรู 1. ครูอานบทอาขยานวิชาหนาเจา ใหนักเรียนฟง 1 เที่ยว จากนั้นให นักเรียนฝกอานตามทีละวรรค 2. นักเรียนรวมกันอานออกเสียง บทอาขยานวิชาหนาเจา พรอมๆ กัน 3. ครูใหนักเรียนอภิปรายแลกเปลี่ยน ความคิดเห็นเกี่ยวกับประโยชน ของการมีวิชาความรู และโทษของ การไมมีวิชาความรู 4. ครูอธิบายความหมายของคําศัพท ในบทอาขยานวิชาหนาเจา โดยใหนักเรียนดูขอมูล ในหนังสือ หนา 9 ประกอบ 5. ครูอธิบายเพิ่มเติมขอมูลที่นักเรียน ควรรู

วิชาหนาเจา หนังสือเปนตน ถาแมนไมรู เพื่อนฝูงเยาะเยา ไมรูวิชา ไปเปนขาเขา บางเปนคนโซ ประเสริฐหนักหนา จะไปแหงใด ยากไรไมมี

เกิดมาเปนคน วิชาหนาเจา อดสูอายเขา วาเงาวาโง ลางคนเกิดมา เคอะอยูจนโต เพราะเง เพราะเงาเพราะโง เที่ยวขอก็มี ถารูวิชา ชูหนาราศี มีคนปรานี สวัสดีมงคล

นักเรียนควรรู ไปเปนขาเขา เพราะเงาเพราะโง ปจจุบันงานรับใชในบานเรือน ถือเปนงานบริการ ผูปฏิบัติงาน เรียกวา ลูกจาง และไมถือวา ผูปฏิบัติงานเปนคนโง

(ไมปรากฏชื่อผูแตง)

ลาง เคอะ ขา เงา คนโซ

หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง

ตาง แตละ บาง เชน ลางคน มีทาทีไมแนบเนียน บาวไพร คนรับใช โง มักใชพูดกับคําวา โง เปน โงเงา ผูที่อดอยาก ยากจน

นักเรียนควรรู ชูหนาราศี ในบทอาขยาน วิชาหนาเจา หมายถึง การมีวิชา ความรูจะทําใหมีเกียรติยศ มีความสงา

นักเรียนควรรู วิชาหนาเจา เปนสวนทายของบทสอนอาน แมเกย ในหนังสือประถม ก กา หนังสือเรียนของเด็กไทยสมัยตนรัตนโกสินทร ซึ่งไมปรากฏชื่อผูแตง แตงดวยคําประพันธประเภทกาพยสุรางคนางค 28 ซึ่งมีแผนผัง ดังนี้        

   

   

   

   

   

คูมือครู

9


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Elaborate

Evaluate

อธิบายความรู 1. นักเรียนอานออกเสียงเนื้อเรื่อง ในหนังสือ หนา 10 2. ครูสังเกตวานักเรียนสวนใหญ อานออกเสียงไดถูกตองหรือไม 3. นักเรียนรวมกันบอกขอคิด ของบทอาขยานวิชาหนาเจา 4. นักเรียนชวยกันสรุปมารยาทของ การพูดตอบคําถาม • ยกมือขึ้นเพื่อขออนุญาต เมื่อ ไดรับอนุญาตแลวจึงตอบ คําถาม • ไมแยงกันพูด เพราะจะทําให ผูฟงฟงไมรูเรื่อง

เมือ่ นักเรียนทองบทอาขยานจบแลว คุณครูเพียงเพ็ญ ถามนักเรียนวา บทอาขยานวิชาหนาเจาใหขอคิดอะไร ปองพลยกมือขึ้นเพื่อจะขอตอบคําถาม เมื่อคุณครู อนุญาต ปองพลจึงตอบคุณครูวา บทอาขยานนี้ ใหขอคิดเรื่อง ประโยชนของการเรียนครับ เพราะถาเราไมรูหนังสือ หรืออานหนังสือไมออก อนาคต อาจไมประสบความสําเร็จครับ

๑๐

10

คูมือครู

(ยอจากฉบับนักเรียน 20%)


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Elaborate

Evaluate

อธิบายความรู

คุณครูเพียงเพ็ญฟงปองพลตอบคําถามแลวยิ้ม กอน จะอธิบายใหนักเรียนฟงวา “ที่ปองพลตอบมาก็ถูกตองแลวคะ เนื้อหาของบท อาขยานเด็กนอย และบทอาขยานวิชาหนาเจาจะใหขอคิด คติสอนใจแกเด็กๆ ในการเรงขวนขวายศึกษาเลาเรียน เพือ่ ใหมคี วามรูส าํ หรับประกอบอาชีพเมือ่ โตขึน้ นอกจากนี้ ยังสามารถนําความรูที่มี ไปใชประโยชนในดานอื่นๆ ได เพราะฉะนัน้ นักเรียนทุกคนจึงควรตัง้ ใจเรียนใหมากๆ นะคะ” “คะ คุณครู” “ครับ คุณครู” พวกนักเรียนรับคําดวย ใบหนาทีย่ มิ้ แยม มีความสุขทีไ่ ดเรียนเรือ่ งดีๆ มีประโยชน

นักเรียนอานเนื้อเรื่อง ในหนังสือ หนา 11 แลวชวยกันสรุปใจความสําคัญ ของเนื้อหาในบทอาขยานเด็กนอย และบทอาขยานวิชาหนาเจาที่ไดอาน ไปแลว • เนื้อหาของบทอาขยานเด็กนอย และบทอาขยานวิชาหนาเจา เปนกําลังใจและใหคติสอนใจ แกเด็กๆ ใหขยันหมั่นเพียร เรียนหนังสือ เพราะการศึกษา เลาเรียน ทําใหผูเรียนมีความรู เปนผูมีปญญา และนําไปใช ประกอบอาชีพเลี้ยงดูตนเอง ตอไปไดในอนาคต

๑๑

คูมือครู

11


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

ขยายความเขาใจ 1. ครูอธิบายลักษณะคําประพันธ ของบทอาขยานเด็กนอย โดยให นักเรียนดูแผนผังในหนังสือ หนา 12 ประกอบ 2. ครูยกตัวอยางกลอนดอกสรอย อื่นๆ เชน กลอนดอกสรอย แมวเหมียว กลอนดอกสรอยกาดํา เปนตน ใหนักเรียนฟง 3. ใหนักเรียนเปดหนังสือ หนา 7 แลวโยงเสนสัมผัสของบทอาขยาน เด็กนอย

(ยอจากฉบับนักเรียน 20%)

อธิบายเพิ่มเสริมความรู

บทอาขยานเด็กนอย เปนคําประพันธประเภทกลอนดอกสรอย วรรคแรกจะมีแค ๔ คํา คําทีส่ องเปนคําวา “เอย” เชน เด็กเอยเด็กนอย เปนตน สวนวรรคตอๆ ไป มี ๗ - ๘ คํา และวรรคสุดทายตองลงทายดวย คําวา “เอย” มีแผนผัง ดังนี้ เอย

เอย

๑๒

12

คูมือครู


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

ขยายความเขาใจ 1. ครูเขียนพุทธศาสนสุภาษิตที่ กลาวถึงคุณคาของการศึกษา บนกระดาน เชน ปญญายอมเกิด เพราะการฝกฝน พึงเปนคนชอบ ไตถามเพื่อหาความรู คนมีปญญา ถึงไรทรัพยก็ยังดํารงอยูได เปนตน แลวใหนักเรียนชวยกันบอก ความหมาย 2. นักเรียนอานสํานวนไทยเกี่ยวกับ การเรียนรู ในหนังสือ หนา 13 3. นักเรียนชวยกันแตงคําขวัญที่ เกี่ยวกับการเรียนรูหรือประโยชน ของการเรียนรู แลวนําเสนอ ที่หนาชั้นเรียน

นเสริมมเติเติมมความรู ความรู  ออาานเสริ

สํานวนไทยเกี่ยวกับการเรียนรู ก ข ไมกระดิกหู หมายถึง ผูที่ไมรูหนังสือ อานไมออก เขียนไมได โบราณ ก ข หมายถึง พยัญชนะ ก-ฮ

ปญญาประเสริฐกวาทรัพย หมายถึง การมีความรูติดตัวไว ดีกวาการมีทรัพยสิน เพราะความรูสามารถชวยใหคิดทําสิ่งตางๆ ได และเราสามารถใชปญญาที่เรามีหาทรัพยมาได แตหากเรามีทรัพยสินแลวไมมีความรูในการ จัดการทรัพยสนิ ทีม่ อี ยู อาจทําใหสญู เสียทรัพยสนิ สํานวนนี้มาจากนิทานชาดกเรื่อง มโหสถชาดก ๑๓

คูมือครู

13


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

ขยายความเขาใจ 1. นักเรียนอานออกเสียงนิทานเรื่อง เมนนอยกับปูเมนนักประดิษฐ ในหนังสือ หนา 14 เพื่อใหนักเรียน เขาใจเรือ่ งประโยชนของการเรียนรู 2. นักเรียนชวยกันคิดคาดเดา เหตุการณของนิทานที่อานวา จะเปนอยางไร

(ยอจากฉบับนักเรียน 20%)

อานและคิด

นิทานเกี่ยวกับประโยชนของการเรียน àÁ‹¹¹ŒÍ¡Ѻ»Ù†àÁ‹¹¹Ñ¡»ÃдÔÉ° ณ หมูบ า นสัตว มีเมนนักประดิษฐตวั หนึง่ มันอาศัยอยูก บั เมน หลานชายที่ไมคอยจะเอาถานเทาใดนัก วันๆ เมนนอยเอาแตเลน ซุกซนและเที่ยวเตรเทานั้น วันหนึ่ง ปูเมนตองการศึกษาเรื่องการเลนแรแปรธาตุ และ ตั้งใจจะทดลองผสมแรธาตุตางๆ เพื่อเปลี่ยนเปนทองคํา ปูเมน เอาจริงเอาจังกับการทําทองคํามาก เขานัดประชุม ฉันคิดวา... กับเหลาผูสนใจเรื่องเลนแรแปรธาตุอยูเสมอ สูตรการทําทองคํา ปูเมนมักสั่งใหเจาไขปงเมนนอยหลานชาย ของฉันจะสําเร็จ ในไมชา นี้ อยูดวยเสมอ แตเจาไขปงก็แอบ อีกไมนานๆ หนีเที่ยวทุกครั้ง มันไมเคย อยูรวมประชุมดวยเลย สักครั้งเดียว

๑๔

14

คูมือครู


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

ขยายความเขาใจ

ขณะที่ปูเมนกําลังคิดคนสูตรการทําทองคําอยางขะมักเขมน อยูนั้น เจาไขปงหลานชายกลับไมสนใจใฝรูในสิ่งที่ปูของตนทําเลย แมแตนอย เวลาผานไป ปูเมนทุมเทเวลาและแรงกายเพื่อการทดลองโดย ไมยอมหยุดพัก เขาไมคอยพูดจา ขาวปลาก็ไมคอยกิน เอาแตอาน ตําราและคิดคนการทดลองเทานั้น เอ! มันบกพรอง ตรงไหนนะ

1. นักเรียนอานออกเสียงนิทาน ในหนังสือ หนา 15 2. นักเรียนรวมกันคิดวิเคราะหวา • ปูเมนและเจาไขปงปฏิบัติตน เหมาะสมหรือไม อยางไร (แนวตอบ ไมเหมาะสม คือ ปูเมน ไมรูจักแบงเวลาในการทํา สิ่งตางๆ ใหเหมาะสม สวน เจาไขปงก็ไมสนใจใฝรูในสิ่งที่ อยูใกลตัว) 3. ครูอธิบายเพิ่มเติมขอมูลที่นักเรียน ควรรู

นักเรียนควรรู บกพรอง หมายถึง ไมครบบริบูรณ เทาที่ควรมีควรเปน เชน ขอความ บกพรอง, หยอนความสามารถ เชน ทํางานบกพรอง ในที่นี้ ปูเมนรําพึง กับตนเองวา บกพรองตรงไหน หมายถึง การทดลองของปูเมน ยังไมสมบูรณ ยังไมไดผลตามที่ ปูเมนตองการ

๑๕

คูมือครู

15


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ 1. นักเรียนดูภาพ ในหนังสือ หนา 16 แลวสังเกตกรอบคําพูดสีฟาของ ปูเมน จากนั้นบอกอารมณของ ปูเมน (ตอบ ปูเมนรูสึกดีใจมากที่ทํางาน สําเร็จ สังเกตจากคําอุทาน ไชโย!) 2. นักเรียนอานออกเสียงนิทาน ในหนังสือ หนา 16 3. นักเรียนชวยกันแสดงความคิดเห็น วา • หากเจาไขปงสนใจใฝรูเรื่อง การเลนแรแปรธาตุของปูเมน ปูเมนจะจากไปอยางกะทันหัน หรือไม เพราะเหตุใด (แนวตอบ อาจจะจากไปหรือไม จากไปก็ได เพราะปูเมนทํางาน หนักมาก แตเจาไขปง ก็จะมี ความรูเ รื่องการเลนแรแปรธาตุ ติดตัวไป)

คูมือครู

Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

(ยอจากฉบับนักเรียน 20%)

จนกระทั่งคืนหนึ่ง ปูเมน กําลังทําการทดลองอยูต ามลําพัง

!

ไชโย

สําเร็จแลว

ปูเมนดีใจมากที่คิดทําสูตร ทองคําไดสาํ เร็จ แตขณะเดียวกัน เขาก็ลม ปวยลงอยางกะทันหัน เพราะทํ า งานหนั ก มาเป น เวลานาน เมื่อเจาไขปงมา เห็นทองคําที่ปูเมนทดลอง ผสมแรธาตุสําเร็จมันก็ดีใจ มาก จึงรีบไปหา ปูท หี่ อ งนอน แตก็ สายไปเสียแลว เพราะปู ไดจากมันไปแลว ๑๖

16

ขยายความเขาใจ


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

ขยายความเขาใจ

ขาวเรื่องที่ปูเมนทําทองคําไดสําเร็จ และการจากไปของเขาแพรไปอยางรวดเร็ว บรรดาผูสนใจตางพากันเดินทางมาที่บาน ของปูเ มนเพื่อรับตัวเจาไขปงไปอยูดวย ผูสนใจเรื่องเลนแรแปรธาตุเหลานั้นตางมีขอเสนออยางงาม เพื่อใหเจาไขปงบอกสูตรการทําทองคําของปูเมน แต… อาว! ÁÕ¼ÙŒ¤Œ¹

¾ºáÃ

‹¸Òµ

ØãËÁ

เจาอยูกับปูเมน ทุกวันนะ เจานาจะ จําไดสิ

ผมไมรูหรอกวา ปูทําทองคํา ขึ้นมาไดอยางไร

1. นักเรียนอานออกเสียงนิทาน ในหนังสือ หนา 17 2. นักเรียนชวยกันบอกลักษณะนิสัย ของเจาไขปง และชวยกันบอกวา เจาไขปงควรปรับปรุงตัวเอง อยางไรบาง 3. ครูอธิบายสํานวนใกลเกลือกินดาง ใหนักเรียนฟงเพื่อขยายความรู เรื่องสํานวนที่ตรงกับเนื้อเรื่อง • ใกลเกลือกินดาง หมายถึง มองขามหรือไมรูคาของดีที่อยู ใกลตัว ซึ่งจะเปนประโยชน แกตน อยูใกลผูใหญ แตกลับ ไมไดดี

ผมไมเคย สนใจจะเรียนรู อะไรจากปูเลย

๑๗

คูมือครู

17


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

ขยายความเขาใจ 1. นักเรียนอานออกเสียงนิทาน ในหนังสือ หนา 18 2. นักเรียนชวยกันตอบคําถามวา • หากนักเรียนเปนเจาไขปง นักเรียนจะดําเนินชีวิตตอไป อยางไร เพราะเหตุใด 3. นักเรียนชวยกันสรุปความรูที่ได จากนิทานเรื่อง เมนนอยกับปูเมน นักประดิษฐ แลวบอกวาจะนํา ความรูที่ไดไปใชประโยชนใน ชีวิตประจําวันอยางไรบาง

(ยอจากฉบับนักเรียน 20%)

เฮอ!

เจาไขปงเอย... มีความรูอยูใกลตัวแทๆ ไมรูจักเรียนรู เอาเสียเลย

เมือ่ บรรดาผูส นใจทัง้ หลายรูว า เจาไขปง ไมรสู ตู รการทําทองคํา แนๆ พวกเขาก็พากันกลับไป หลังจากไมมีปูเมนแลว เจาไขปงก็ไมมีความรูประกอบอาชีพ อะไรไดเลย มันจึงไปขายไขปง และไดรบั ความลําบากมาก ดวยเหตุนี้ เจาไขปงจึงเห็นความสําคัญของการเรียนรูมันจึงขวนขวายหา ความรูในเรื่องที่มันสนใจ ในที่สุด เจาไขปงก็มีวิชาความรูติดตัว มันจึงใชความรูที่มีไปประกอบอาชีพได และมีชีวิตความเปนอยู ที่สุขสบาย เรียบเรียงจากเรื่อง เมนนอยกับปูเมนนักประดิษฐ ของ ชัยยุทธ บัวแยม

๑๘

18

คูมือครู


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

ขยายความเขาใจ

คําศัพทนารู

คํา

อานวา

ความหมาย

กระสับกระสาย

กระ-สับ-กระ-สาย เรารอนใจทนนิง่ เปนปรกติไมได กระวนกระวายทุรนทุราย

ขวนขวาย

ขวน-ขวาย

หมั่นเสาะแสวงหาเพิ่มเติม โดยไมยอมอยูนิ่ง

ขอเสนอ

ขอ-สะ-เหนอ

เชี่ยว ดอย

เชี่ยว

เรื่องราวที่นําเสนอเพื่อ พิจารณา อาการที่สายนํ้าไหลแรง

ตรากตรํา

ตราก-ตรํา

ปรับปรุง ปรานี เปะปะ พรอมเพรียง

ปรับ-ปรุง

แกไขใหเรียบรอยยิ่งขึ้น

ปรา-นี

เอ็นดูดวยความสงสาร

เปะ-ปะ

ไมตรงเปา ไมตรงทาง

พรอม-เพรียง

ครบถวน รวมใจกัน เปนอันหนึ่งอันเดียวกัน

พากเพียร

พาก-เพียน

บากบั่น พยายาม มุงทํา ไมยอทอ

ดอย

ตํ่ากวาโดยคุณสมบัติ รูปสมบัติ หรือตําแหนงหนาที่ เปนตน ทนทําอยางไมคิดถึงความ ยากลําบาก

1. นักเรียนอานออกเสียงคําศัพท และอานความหมายของคําศัพท ในหนังสือ หนา 19-20 2. ครูสังเกตวานักเรียนสวนใหญ อานออกเสียงไดถูกตองหรือไม 3. นักเรียนฝกสะกดคําพรอมๆ กัน หากเปนคําที่มากกวา 1 พยางค ใหสะกดแยกทีละพยางค 4. นักเรียนเลือกคําศัพทใหมคนละ 1 คํา แลวแตงประโยคจากคํา เพื่อตรวจสอบวานักเรียนสามารถ ใชคําในการสื่อสารไดถูกตอง ตามความหมายของคําหรือไม @

มุม IT

คนหาความหมายของคําศัพท คําอื่นๆ ไดที่ http://rirs3.royin. go.th/dictionary.asp ซึ่งเปน เว็บไซตของราชบัณฑิตยสถาน

๑๙

คูมือครู

19


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ Expand

Evaluate

ขยายความเขาใจ ครูจัดกิจกรรมเขียนตามคําบอก เพื่อยํ้าความจําดานการเขียน สะกดคําของนักเรียนใหดียิ่งขึ้น

คํา เยาะ

เยา ราศี เลนแรแปรธาตุ

เลี้ยงชีพ สูตร อนาคต อภิปราย อาขยาน เอาถาน ๒๐

20

คูมือครู

ตรวจสอบผล

อานวา

(ยอจากฉบับนักเรียน 20%)

ความหมาย

เยาะ

พูดหรือแสดงกิริยาใหเจ็บใจ ชํ้าใจโดยยํ้าถึงความเสียเปรียบ ความดอยกวา หรือความ ผิดพลาด เยา หยอก สัพยอก รา-สี ความสงางาม ลักษณะดีงาม ของคน เลน-แร-แปร-ทาด ในเรื่องนี้ หมายถึง พยายาม ทําโลหะที่มีคาตํ่า เชน ตะกั่ว ใหกลายเปนทองคําตาม ความเชื่อแตโบราณ เลี้ยง-ชีบ เลี้ยงตัว ทํามาหากิน เพื่อให ชีวิตดํารงอยูได สูด

สวนประกอบที่ปรากฏขึ้นใน การปรุงยา อาหาร เครื่องดื่ม เปนตน อะ-นา-คด ยังมาไมถึง เวลาภายหนา อะ-พิ-ปราย พูดชี้แจงแสดงความคิดเห็น อา-ขะ-หยาน หรือ บททองจํา การเลา การบอก อา-ขะ-ยาน การสวด เรื่อง นิทาน เอา-ถาน ใชการได เอาการเอางานดี รักดี


?

กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

Engage

Explore

Explain

Elaborate

ตรวจสอบผล Evaluate

ตรวจสอบผล

ถามจุดดประกาย ประกาย คํคําาถามจุ

1. ตอบคําถามจุดประกาย ในหนังสือ หนา 21 2. ทํากิจกรรมรวบยอด ในหนังสือ หนา 21

๑. ใจความสําคัญของบทอาขยาน เด็กนอย และบทอาขยาน วิชาหนาเจา คืออะไร ๒. เพราะเหตุใดการศึกษาหาความรูจึงมีประโยชนตอชีวิตของคนเรา ๓. เราควรปฏิบัติอยางไรเมื่ออานหรือฟงนิทาน ๔. หากเราพบวาเพื่อนไมตั้งใจเรียน เราควรปฏิบัติอยางไร ๕. การศึกษาเลาเรียน และการอานหนังสือ มีประโยชนอยางไร ๖. เราควรปฏิบัติตนอยางไร จึงจะเปนผูที่มีความรูมากๆ ๗. หากเราอานหนังสือไมออก เขียนหนังสือไมได จะเกิดผลอยางไรในชีวิต

หลักฐาน แสดงผลการเรียนรู 1. แบบสังเกตการอานออกเสียง นิทานเรื่อง เมนนอยกับปูเมน นักประดิษฐ 2. การทองจําบทอาขยานเด็กนอย และบทอาขยานวิชาหนาเจา 3. การคัดคําศัพท 4. บอกขอคิดของวรรณกรรมที่อาน

กิจกรรมรวบยอด

เฉลย

๑. ฝกอานออกเสียงนิทานเรื่อง เมนนอยกับปูเมนนักประดิษฐ ๒. อานคําศัพทแลวคัดคําศัพทลงในสมุดดวยตัวบรรจง โดยเลือกคัด คํายาก ๑๐ คํา ๓. ฝกทองบทอาขยาน เด็กนอย และบทอาขยาน วิชาหนาเจา โดยรวมกันทองเปนกลุม แลวจึงฝกทองคนเดียวใหคลอง ๔. บทอาขยาน เด็กนอย บทอาขยาน วิชาหนาเจา และนิทานเรื่อง เมนนอยกับปูเมนนักประดิษฐ ใหขอคิดอะไรบาง และนักเรียน สามารถนําขอคิดที่ไดไปใชประโยชนในชีวิตประจําวันไดอยางไร

๒๑

คําถามจุดประกาย 1. ตอบ เด็กๆ ควรขยันเรียนหนังสือ เพือ่ จะไดมคี วามรูส าํ หรับใช ประกอบอาชีพเมื่อโตขึ้น ซึ่งการมี ความรูจะทําใหมเี กียรติ และ มีความสงางาม 2. ตอบ ทําใหเรามีอาชีพการงานที่ดีทํา 3. ตอบ ตั้งใจอานหรือฟง แลวสรุป ใจความสําคัญของเรื่องที่อาน หรือฟง 4. แนวตอบ แนะนําใหเพื่อนสนใจเรียน ใหมากขึ้น 5. ตอบ ทําใหเรามีความรู 6. ตอบ ตั้งใจศึกษาเลาเรียน และหมั่น แสวงหาความรูใหมากๆ 7. แนวตอบ อาจถูกหลอกไดงาย กิจกรรมรวบยอด ขอ 1-3 ขึ้นอยูกับดุลยพินิจของ ครูผูสอน 4. แนวตอบ ขอคิดที่ได คือ คนเราควร หมั่นศึกษาหาความรู เพื่อจะไดนํา ความรูไปใชประโยชนในการดําเนิน ชีวิต ซึ่งนักเรียนสามารถนําขอคิดนี้ ไปใชโดยการตั้งใจเรียน ขยันเรียน หนังสือ เพื่อใหมีความรู คูมือครู

21


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.