8858649120809

Page 1

คูมือครู 㪌»ÃСͺ¡ÒÃÊ͹ËÇÁ¡Ñº

˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ©ºÑº Í- .

·Õè ȸ. ¨Ð»ÃСÒÈÃÒ¡Òú¹àÇçºä«µ µÑé§áµ‹ Á. ¤. ’55 ໚¹µŒ¹ä»

ภาพปกนี้มีขนาดเทากับหนังสือเรียนฉบับจริงของนักเรียน


เอกสารประกอบคูมือครู

กลุมสาระการเรียนรู คณิตศาสตร

รายวิชา

คณิตศาสตร

ู ร ค หรับ

สํา

ชั้นประถมศึกษาปที่

คูมือครูฉบับนี้ ประกอบดวย ● ● ● ● ●

คําแนะนําการใชคูมือครู แถบสี/สัญลักษณที่ใชสื่อความหมายในคูมือครู ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง คณิตศาสตร ชั้น ป.3 คําอธิบายรายวิชา คณิตศาสตร ชั้น ป.3 ตารางวิเคราะหเนื้อหากับมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัด

ตารางแสดงความแตกตางระหวาง “ คูมือครู ” กับ “ หนังสือเรียน * ” ความแตกตาง

ขนาดตัวอักษร ปกดานหลัง ระบบการจัดพิมพ สวนเสริมดานหนา

คูมือครู ยอลงจากปกติ 20%

พิมพ 4 สี มี เอกสารหลักสูตร คําอธิบายรายวิชา มี กิจกรรมแบบ 5E ความรูเสริมสําหรับครู พิมพสอดแทรกไวตลอดทั้งเลม ●

หนังสือเรียน ขนาดปกติ 100% : ตัวอักษรใหญกวา ที่พิมพในคูมือครูนี้ มีใบอนุญาต/ใบประกันคุณภาพ พิมพ 4 สี

-

เนื้อหาในเลม

● ●

* ที่ ศธ. อนุญาตใหโรงเรียนใชได

มีเฉพาะเนื้อหาสาระตามที่ ศธ. อนุญาตฯ/สนพ.ประกันคุณภาพ

3


คําแนะนําการใชคูมือครู

: การจัดการเรียนรูสูหองเรียนคุณภาพ

คูมือครู รายวิชา คณิตศาสตร ป.3 จัดทําขึ้นเพื่ออํานวยความสะดวกแกครูผูสอนในการวางแผนและ เตรียมการสอนโดยใชหนังสือเรียน คณิตศาสตร ป.3 ของบริษัท อักษรเจริญทัศน อจท.จํากัด เปนสื่อหลัก เสร�ม (Core Material) ประกอบการออกแบบกิจกรรมการเรียนรูใหสอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัด 2 กลุมสาระการเรียนรู คณิตศาสตร ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 โดยจัดทําตาม หลักการสําคัญ ดังนี้

1. ออกแบบการสอนเปนหนวยการเรียนรูอิงมาตรฐาน คูม อื ครู รายวิชา คณิตศาสตร ป.3 จัดทําเปนหนวยการเรียนรูต ามลําดับสาระการเรียนรูท รี่ ะบุไวในมาตรฐาน การเรียนรูและตัวชี้วัด แตละหนวยจะกําหนดเปาหมายการสอนและจุดประสงคการเรียนรู (Objective Learning) กิจกรรมการเรียนรู (Learning Activities) และแนวทางการประเมินผลการเรียนรู (Learning Evaluation) ไวชดั เจน ครูผสู อนสามารถจัดทําแผนการสอนใหครอบคลุมมาตรฐานการเรียนรูแ ละตัวชีว้ ดั ทีเ่ ปนเปาหมายการเรียนรู ของแตละหนวยการเรียนรู (ตามแผนภูมิ) และสามารถบันทึกผลการจัดการเรียนการสอนไดอยางมั่นใจ

สภ

าพ

ผู

จุดป

ระส

เรีย

งค

รู รียน เ ร า

มาตรฐานการเรียนรู ตัวชี้วัดชั้นป

ทักษะการคิด การวัดประเมินผล การเรียนรู

กิจกรรมการเรียนรู

เทคนิคการสอน

แผนภูมิแสดงองคประกอบของการออกแบบการเรียนรูอิงมาตรฐานและเนนผูเรียนเปนสําคัญ

2. การจัดการเรียนรูที่ยึดผูเรียนเปนสําคัญ แนวคิดในการจัดการเรียนการสอนที่ยึดผูเรียนเปนสําคัญ พัฒนามาจากปรัชญาและทฤษฎีการเรียนรู Constructivism ที่เชื่อวาการเรียนรูเปนกระบวนการที่เกิดขึ้นภายในสมองของผูเรียนแตละคน ผูเรียนเปนผูสราง ความรูโดยการเชื่อมโยงระหวางสิ่งที่ไดพบเห็นกับความรูหรือประสบการณเดิมที่มีอยู คูม อื ครู


ทฤษฎีนี้มีความเชื่อวา นักเรียนทุกคนไดเรียนรูและมีความรูความเขาใจสิ่งตางๆ ติดตัวมากอนที่จะเขาสู หองเรียน ซึง่ เปนการเรียนรูท เี่ กิดจากบริบทและสิง่ แวดลอมรอบตัวนักเรียนแตละคน ดังนัน้ การจัดกระบวนการเรียนรู เสร�ม ในแตละบทเรียน ผูสอนจะตองคํานึงถึง

3

1) ความรูเดิมของนักเรียน การสอนที่ดีจึงตองเริ่มตนจากจุดที่วา นักเรียนมีความรูอะไรมาบาง แลวจึงให ความรูห รือประสบการณใหมเพือ่ ตอยอด จากความรูเดิม

2) ความรูเ ดิมของนักเรียนถูกตอง หรือไม ผูสอนตองปรับเปลี่ยนความรู ความเขาใจเดิมของนักเรียนใหถูกตอง และเปนพฤติกรรมการเรียนรูใหมที่มี คุณคาตอนักเรียน เพื่อสรางเจตคติหรือ ทัศนคติที่ดีตอการเรียน

3) นั ก เรี ย นสร า งความหมาย สําหรับตนเอง ผูสอนตองสงเสริมให นักเรียนนําขอมูลความรูที่ไดไปลงมือ ปฏิ บั ติ และประยุ ก ต ใ ช ค วามรู  อ ย า ง ถู ก ต อ ง ในบริ บ ทที่ เ ป น จริ ง ของชี วิ ต นักเรียน เพื่อขยายความรูใหลึกซึ้งและ มีคุณคาตอตัวนักเรียนมากที่สุด

แนวคิด Constructivism เนนใหผเู รียนสรางความรูโ ดยผานกระบวนการคิดและความอยากรูข องตนเอง โดยมีผูสอนเปนผูสรางบรรยากาศการเรียนรูและกระตุนความสนใจ คอยจัดสถานการณใหผูเรียนเกิดความ ขัดแยงทางความคิดระหวางประสบการณเดิมกับประสบการณความรูใ หม ผูเ รียนจะพยายามปรับขอมูลใหม กับประสบการณที่มีอยูเดิม แลวสรางเปนความรูใหมหรือแนวคิดใหม ให ๆ ไดดวยตนเอง

3. การบูรณาการกระบวนการคิด การเรียนรูข องนักเรียนแตละคนจะเกิดขึน้ ทีส่ มอง ซึง่ ทําหนาทีร่ คู ดิ ภายใตสภาพแวดลอมทีเ่ อือ้ อํานวยและได รับการกระตนุ จูงใจอยางเหมาะสมสอดคลองกับสภาพจิตใจและความตองการของนักเรียน การจัดกระบวนการเรียนรู และสาระการเรียนรูท มี่ คี วามหมายตอผูเ รียน จะชวยกระตนุ ใหสมองรับรูแ ละสามารถเรียนรูไ ดอยางมีประสิทธิภาพ ตามขั้นตอนการทํางานของสมอง ดังนี้ 1) สมองจะเรียนรูและสืบคนโดย 2) สมองจะแยกแยะคุ ณค าของ การสังเกต คนหา ซักถาม และทดลอง สิง่ ตางๆ โดยการลงมติ ตัดสินใจ วิพากษ ปฏิบัติ จนคนพบความรูความเขาใจได วิจารณ แสดงความคิดเห็น ยอมรับหรือ อยางรวดเร็ว ตอตานตามอารมณความรูสึกที่เกิดขึ้น ในขณะที่เรียนรู

3) สมองจะประมวลเนื้อหาสาระ โดยการสรุปเปนความคิดรวบยอดจาก เรื่องราวที่ไดเรียนรูใหมนําไปผสมผสาน กับความรูหรือประสบการณเดิมที่ถูกจัด เก็บอยูในสมอง ผานการกลั่นกรองเพื่อ สังเคราะหเปนความรูความเขาใจใหมๆ หรือเปนเหตุผลทัศนคติใหมที่จะฝงแนน ในสมองของผูเรียน คูม อื ครู


เสร�ม

การเรียนรูที่มีประสิทธิภาพจึงตองเปนการเรียนรูที่เกิดจากกระบวนการคิดของผูเรียน เพราะการเรียนรู จะเกิดขึ้นเมื่อสมองรูคิด และตองเปนการคิดไดครบถวนตามขั้นตอนการทํางานของสมองผูเรียน โดยเริ่มตนจาก

4

1) ระดับการคิดขั้นพื้นฐาน ไดแก 2) ระดับลักษณะการคิด ไดแก 3) ระดับกระบวนการคิด ไดแก การสังเกต การจําแนก การคาดคะเน การคิดกวาง คิดลึกซึ้ง คิดหลากหลาย กระบวนการคิ ด อย า งมี วิ จ ารณญาณ การสื่อความหมาย การรวบรวมขอมูล คิดไกล คิดคลอง คิดอยางมีเหตุผล กระบวนการแกปญหา กระบวนการคิด การสรุปผล เปนตน เปนตน สรางสรรค กระบวนการคิดสังเคราะห วิจัย เปนตน

4. การใชวัฏจักรการเรียนรู 5E รูปแบบการสอนทีส่ มั พันธกบั กระบวนการคิดและการทํางานของสมองของผูเ รียนทีน่ ยิ มใชอยางแพรหลาย คือ วัฏจักรการเรียนรู 5E ซึ่งผูจัดทําคูมือครูไดนํามาใชเปนแนวทางออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนในคูมือครู ฉบับนี้ตามลําดับขั้นตอนการเรียนรู ดังนี้ ขั้นที่ 1 กระตุนความสนใจ (Engage) เปนขัน้ ทีผ่ สู อนนําเขาสูบ ทเรียน เพือ่ กระตุน ความสนใจของนักเรียนดวยเรือ่ งราว หรือเหตุการณทนี่ า สนใจ โดยใชเทคนิควิธกี ารสอนและคําถามทบทวนความรูห รือประสบการณเดิมของผูเ รียน เพือ่ เชือ่ มโยงผูเ รียนเขาสู บทเรียนใหม ชวยใหนักเรียนสามารถสรุปประเด็นสําคัญที่เปนหัวขอการเรียนรูของบทเรียนได จึงเปนขั้นตอน การสอนที่สําคัญ เพราะเปนการเตรียมความพรอมและสรางแรงจูงใจใฝเรียนรูแกผูเรียน ขั้นที่ 2 สํารวจคนหา (Explore) เปนขั้นที่ผูสอนเปดโอกาสใหผูเรียนสังเกต และรวมมือกันสํารวจ เพื่อใหเห็นปญหา รวมถึงวิธีการศึกษา คนควาขอมูลความรูที่จะนําไปสูความเขาใจประเด็นปญหานั้นๆ เมื่อนักเรียนทําความเขาใจในประเด็นหัวขอที่จะศึกษาคนควาอยางถองแทแลว ก็ลงมือปฏิบัติเพื่อเก็บ รวบรวมขอมูลความรู สํารวจตรวจสอบ โดยวิธกี ารตางๆ เชน สัมภาษณ ทดลอง อานคนควาขอมูลจากเอกสาร แหลงขอมูลตางๆ จนไดขอมูลความรูตามที่ตั้งประเด็นศึกษาไว ขั้นที่ 3 อธิบายความรู (Explain) เปนขั้นที่ผูสอนมีปฏิสัมพันธกับผูเรียน เชน ใหการแนะนํา ตั้งคําถามกระตุนใหคิด เพื่อใหผูเรียนไดคนหา คําตอบ และนําขอมูลความรูจากการศึกษาคนควาในขั้นที่ 2 มาวิเคราะห แปลผล สรุปผล และนําเสนอผล ที่ไดศึกษาคนความาในรูปแบบสารสนเทศตางๆ เชน เขียนแผนภูมิ แผนผังแสดงมโนทัศน เขียนความเรียง เขียนรายงาน เปนตน สมองของผูเรียนจะทําหนาที่คิดวิเคราะห สังเคราะหอยางเปนระบบ คูม อื ครู


ขั้นที่ 4 ขยายความเขาใจ (Expand) เปนขั้นที่ผูสอนไดใชเทคนิควิธีการสอนที่ชวยพัฒนาผูเรียนใหนําความรูที่เกิดขึ้นไปคิดคนตอๆ ไป เพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรูและการทํางานรวมกันเปนกลุม ระดมสมองเพื่อคิดสรางสรรครวมกัน นักเรียนสามารถนําความรูที่สรางขึ้นใหมไปเชื่อมโยงกับประสบการณเดิมโดยนําขอสรุปที่ไดไปอธิบาย ในเหตุการณตางๆ หรือนําไปปฏิบัติในสถานการณใหมๆ ที่เกี่ยวของกับชีวิตประจําวันของตนเอง เพื่อขยาย ความรูค วามเขาใจใหกวางขวางยิง่ ขึน้ สมองของผูเ รียนทําหนาทีค่ ดิ ริเริม่ สรางสรรคอยางมีคณ ุ ภาพ เสริมสราง วิสัยทัศนใหกวางไกลออกไป

เสร�ม

5

ขั้นที่ 5 ตรวจสอบผล (Evaluate) เปนขั้นที่ผูสอนประเมินมโนทัศนของผูเรียน โดยตรวจสอบจากความคิดที่เปลี่ยนไปและความคิดรวบยอด ที่เกิดขึ้นใหม ตรวจสอบทักษะ กระบวนการปฏิบัติ การแกปญหา การตอบคําถามรวบยอด และการเคารพ มน ความคิดหรือยอมรับเหตุผลของคนอื่นเพื่อการสรางสรรคความรูรวมกั นักเรียนสามารถประเมินผลการเรียนรูของตนเอง เพื่อสรุปผลวานักเรียนมีความรูอะไรเพิ่มขึ้นมาบาง มากนอยเพียงใด และจะนําความรูเหลานั้นไปประยุกตใชในการเรียนรูเรื่องอื่นๆ ไดอยางไร นักเรียนจะเกิด เปนการเรียนรูที่มีความสุขอยางแทจริง เจตคติและเห็นคุณคาของตนเองจากผลการเรียนรูที่เกิดขึ้น ซึ่งเป การจัดกิจกรรมการเรียนรูตามวัฏจักรการสรางความรูแบบ 5E จึงเปนรูปแบบการเรียนการสอนที่เนน ผูเรียนเปนสําคัญ โดยสงเสริมใหผูเรียนใชกระบวนการสรางความรูดวยตนเอง และฝกฝนใหใชกระบวนการคิดและ กระบวนการกลุมอยางชํานาญ กอใหเกิดทักษะการเรียนรูและทักษะชีวิตที่มีคุณภาพ ตามเปาหมายของการปฏิรูป การศึกษาทศวรรษที่ 2 (พ.ศ. 2552-2561) ทุกประการ คณะผูจัดทํา

คูม อื ครู


แถบสี และสัญลักษณ ที่ใชสื่อความหมายในคูมือครู 1. แถบสี

แถบสีแสดงขั้นตอนการสอนและการจัดกิจกรรม แบบ 5E เพื่อใหครูทราบวาเปนขั้นการสอนขั้นใด

เสร�ม

6

สีแดง

สีเขียว

สีสม

สีฟา

กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

เปนขั้นที่ผูสอนเลือกใช เทคนิคกระตุนความ สนใจ เพื่อโยงเขาสู บทเรียน

Explain

เปนขั้นที่ผูสอนให ผูเรียนสํารวจปญหา และศึกษาขอมูล

เปนขั้นที่ผูสอนให ผูเรียนคนหาคําตอบ จนเกิดความรูเชิง ประจักษ

สีมวง

ขยายความเขาใจ Expand

เปนขั้นที่ผูสอนให ผูเรียนนําความรูไป คิดคนตอๆ ไป

ตรวจสอบผล Evaluate

เปนขั้นที่ผูสอน ประเมินมโนทัศน ของผูเรียน

วัตถุประสงค

สัญลักษณ

2. สัญลักษณ

คูม อื ครู

เปาหมาย การเรียนรู

หลักฐาน แสดงผล การเรียนรู

• แสดงเปาหมาย

• แสดงรองรอย

การเรียนรูที่ นักเรียนตอง บรรลุตามตัวชี้วัด

หลักฐานที่แสดง ผลการเรียนรู ตามตัวชี้วัด

เกร็ดแนะครู

นักเรียนควรรู

• แทรกความรู

• ขยายความรู

เสริมสําหรับครู ขอเสนอแนะ ขอควรระวัง ขอสังเกต แนวทางการจัด กิจกรรมและอืน่ ๆ เพื่อประโยชนใน การจัดการเรียน การสอน

เพิ่มเติมจาก เนื้อหา เพื่อให นักเรียนไดมี ความรูมากขึ้น

@

NET

มุม IT

ขอสอบ

• แนะนําแหลง

• วิเคราะหแนว

คนควาจาก เว็บไซต เพื่อให ครูและนักเรียน ไดเขาถึงขอมูล ความรูที่ หลากหลาย

ขอสอบ O-NET เพื่อใหครูเนนยํ้า เนื้อหาที่มักออก ขอสอบ O-NET

• ขอสอบ O-NET พิจารณาออก ขอสอบจาก เนื้อหา ป.4, 5 และ 6


ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลางคณิตศาสตร (เฉพาะชั้น ป.3)* สาระที่ 1 จํานวนและการดําเนินการ

มาตรฐาน ค 1.1 เขาใจถึงความหลากหลายของการแสดงจํานวนและการใชจํานวนในชีวิตจริง ชั้น

ตัวชี้วัด

ป.3 1. เขียนและอานตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือ แสดงปริมาณของสิ่งของหรือ จํานวนนับที่ไมเกินหนึ่งแสน และศูนย 2. เปรียบเทียบและเรียงลําดับ จํานวนนับไมเกินหนึ่งแสน และศูนย

เสร�ม

7

สาระการเรียนรูแกนกลาง

• การเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือแสดงจํานวน • การเขียนตัวเลขฮินดูอารบิกและตัวเลขไทย • การนับเพิ่มทีละ 3 ทีละ 4 ทีละ 25 และทีละ 50 • การนับลดทีละ 3 ทีละ 4 ทีละ 5 ทีละ 25 และทีละ 50 • หลักและคาของเลขโดดในแตละหลัก และการใช 0 เพื่อยึดตําแหนงของหลัก • การเขียนตัวเลขแสดงจํานวนในรูปกระจาย • การเปรียบเทียบจํานวนและการใชเครื่องหมาย = = > < • การเรียงลําดับจํานวนไมเกินหาจํานวน

มาตรฐาน ค 1.2 เขาใจถึงผลทีเ่ กิดขึน้ จากการดําเนินการของจํานวนและความสัมพันธระหวางการดําเนินการตางๆ และสามารถใชการดําเนินการในการแกปญหา ชั้น

ตัวชี้วัด

ป.3 1. บวก ลบ คูณ หาร และบวก ลบ คูณ หารระคนของ จํานวนนับไมเกินหนึ่งแสน และศูนย พรอมทั้งตระหนักถึง ความสมเหตุสมผลของคําตอบ 2. วิเคราะหและแสดงวิธีหาคําตอบ ของโจทยปญ หา และโจทยปญ หา ระคนของจํานวนนับไมเกิน หนึ่งแสนและศูนย พรอมทั้ง ตระหนักถึงความสมเหตุสมผล ของคําตอบและสรางโจทยได

สาระการเรียนรูแกนกลาง

• การบวก การลบ • การคูณจํานวนหนึ่งหลักกับจํานวนไมเกินสี่หลัก • การคูณจํานวนสองหลักกับจํานวนสองหลัก • การหารที่ตัวตั้งไมเกินสี่หลักและตัวหารมีหนึ่งหลัก • การบวก ลบ คูณ หารระคน • โจทยปญหาการบวก • โจทยปญหาการลบ • โจทยปญหาการคูณ • โจทยปญหาการหาร • โจทยปญหาการบวก ลบ คูณ หารระคน • การสรางโจทยปญหาการบวก การลบ การคูณ การหาร

* สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, กระทรวงศึกษาธิการ. ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง

กลุมสาระการเรียนรู คณิตศาสตร. (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย, 2551), หนา 7 - 56.

คูม อื ครู


สาระที่ 2 การวัด

เสร�ม

มาตรฐาน ค 2.1 เขาใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ตองการวัด

8

ชั้น

ตัวชี้วัด

ป.3 1. บอกความยาวเปนเมตร เซนติเมตร และมิลลิเมตร เลือกเครื่องวัดที่เหมาะสม และเปรียบเทียบความยาว

สาระการเรียนรูแกนกลาง

• การวัดความยาว (เมตร เซนติเมตร มิลลิเมตร) • การเลือกเครื่องมือวัดความยาวที่เหมาะสม (ไมเมตร ไมบรรทัด สายวัดตัว สายวัดชนิดตลับ) • การเปรียบเทียบความยาว • การคาดคะเนความยาว (เมตร เซนติเมตร)

2. บอกนํ้าหนักเปนกิโลกรัม กรัม • การชั่ง (กิโลกรัม กรัม ขีด) และขีด เลือกเครื่องชั่งที่ • การเลือกเครื่องชั่งที่เหมาะสม เหมาะสม และเปรียบเทียบ (เครื่องชัง่ สปริง เครื่องชั่งนํ้าหนักตัว นํ้าหนัก เครื่องชั่งสองแขน เครื่องชั่งแบบตุมถวง) • การเปรียบเทียบนํ้าหนัก • การคาดคะเนนํ้าหนัก (กิโลกรัม) 3. บอกปริมาตรและความจุเปน • การตวง (ลิตร มิลลิลิตร) ลิตร มิลลิลิตร เลือกเครื่องตวง • การเลือกเครื่องตวง (ถัง ลิตร ชอนตวง) กระบอกตวง ที่เหมาะสม และเปรียบเทียบ ถวยตวง เครื่องตวงนํ้ามันเชื้อเพลิง และหยอดเครื่อง) ปริมาตรและความจุในหนวย • การเปรียบเทียบปริมาตรของสิ่งของและความจุของภาชนะ เดียวกัน (หนวยเดียวกัน) • การคาดคะเนปริมาตรของสิง่ ของและความจุของภาชนะ (ลิตร) 4. บอกเวลาบนหนาปดนาฬกา (ชวง 5 นาที) อานและเขียน บอกเวลาโดยใชจุด

• ทบทวนการบอกเวลาเปนนาฬกาและนาที (ชวง 5 นาที) • การเขียนบอกเวลาโดยใชจุดและการอาน

5. บอกความสัมพันธของหนวย การวัดความยาว นํ้าหนัก และเวลา

• ความสัมพันธของหนวยความยาว (มิลลิเมตรกับ เซนติเมตร เซนติเมตรกับเมตร) • ความสัมพันธของหนวยการชั่ง (กิโลกรัมกับขีด ขีดกับกรัม กิโลกรัมกับกรัม) • ความสัมพันธของหนวยเวลา (นาทีกับชั่วโมง ชั่วโมงกับวัน วันกับสัปดาห วันกับเดือน เดือนกับป วันกับป)

6. อานและเขียนจํานวนเงินโดยใช • การเขียนจํานวนเงินโดยใชจุดและการอาน จุด คูม อื ครู


มาตรฐาน ค 2.2 แกปญหาเกี่ยวกับการวัด ชั้น

ตัวชี้วัด

ป.3 1. แกปญหาเกี่ยวกับการวัดความยาว การชั่ง การตวง เงิน และเวลา

สาระการเรียนรูแกนกลาง

• โจทยปญหาเกี่ยวกับการวัดความยาว (บวก ลบ) • โจทยปญหาเกี่ยวกับการชั่ง (บวก ลบ) • โจทยปญหาเกี่ยวกับปริมาตรและความจุ (บวก ลบ) • โจทยปญหาเกี่ยวกับเงิน (บวก ลบ) • โจทยปญหาเกี่ยวกับเวลา

เสร�ม

9

2. อานและเขียนบันทึกรายรับ-รายจาย • การอานและเขียนบันทึกรายรับ-รายจาย 3. อานและเขียนบันทึกกิจกรรมหรือ เหตุการณที่ระบุเวลา

• การอานและเขียนบันทึกกิจกรรมหรือเหตุการณที่ระบุ เวลา

สาระที่ 3 เรขาคณิต

มาตรฐาน ค 3.1 อธิบายและวิเคราะหรูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ ชั้น

ตัวชี้วัด

ป.3 1. บอกชนิดของรูปเขาคณิตสองมิติ ที่เปนสวนประกอบของสิ่งของที่มี ลักษณะเปนรูปเรขาคณิตสามมิติ

สาระการเรียนรูแกนกลาง

• รูปวงกลม รูปวงรี รูปสามเหลี่ยม รูปสี่เหลี่ยม รูปหาเหลี่ยม รูปหกเหลี่ยม รูปแปดเหลี่ยม

2. ระบุรูปเรขาคณิตสองมิติที่มี แกนสมมาตรจากรูปทีก่ าํ หนดให

• รูปที่มีแกนสมมาตร

3. เขียนชื่อจุด เสนตรง รังสี สวนของ เสนตรง มุม และเขียนสัญลักษณ

• จุด เสนตรง รังสี สวนของเสนตรง จุดตัด มุม และสัญลักษณ

มาตรฐาน ค 3.2 ใชการนึกภาพ (visualization) ใชเหตุผลเกี่ยวกับปริภูมิ (spatial reasoning) และใชแบบ จําลองทางเรขาคณิต (geometric model) ในการแกปญหา ชั้น

ตัวชี้วัด

ป.3 1. เขียนรูปเรขาคณิตสองมิติที่กําหนด ใหในแบบตางๆ 2. บอกรูปเรขาคณิตตางๆ ที่อยูใน สิ่งแวดลอมรอบตัว

สาระการเรียนรูแกนกลาง

• การเขียนรูปเรขาคณิตสองมิติ • รูปเรขาคณิตสองมิติ

คูม อื ครู


สาระที่ 4 พีชคณิต

มาตรฐาน ค 4.1 เขาใจและวิเคราะหแบบรูป (pattern) ความสัมพันธ และฟงกชัน ชั้น

เสร�ม

10

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

ป.3 1. บอกจํานวนและความสัมพันธในแบบรูป • แบบรูปของจํานวนที่เพิ่มขึ้นทีละ 3 ทีละ 4 ของจํานวนที่เพิ่มขึ้นทีละ 3 ทีละ 4 ทีละ ทีละ 25 ทีละ 50 25 ทีละ 50 และลดลงทีละ 3 ทีละ 4 ทีละ • แบบรูปของจํานวนที่ลดลงทีละ 3 ทีละ 4 5 ทีละ 25 ทีละ 50 และแบบรูปซํ้า ทีละ 5 ทีละ 25 ทีละ 50 • แบบรูปซํ้า 2. บอกรูปและความสัมพันธในแบบรูปของรูป • แบบรูปของรูปที่มีรูปราง ขนาด หรือสีที่สัมพันธ กันสองลักษณะ เชน ♥ ✚ ♥ ✚ ♥ ✚ — ที่มีรูปราง ขนาด หรือสีที่สัมพันธกัน สองลักษณะ

สาระที่ 5 การวิเคราะหขอมูลและความนาจะเปน

มาตรฐาน ค 5.1 เขาใจและใชวิธีการทางสถิติในการวิเคราะหขอมูล ชั้น

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

ป.3 1. รวบรวมและจําแนกขอมูล • การเก็บรวบรวมขอมูลและการจําแนกขอมูล เกี่ยวกับตนเอง เกี่ยวกับตนเอง และสิง่ แวดลอม และสิ่งแวดลอมใกลตัวที่พบเห็นในชีวิตประจําวัน ใกลตวั ที่พบเห็นในชีวิตประจําวัน 2. อานขอมูลจากแผนภูมิรูปภาพ และแผนภูมิแทงอยางงาย

• การอานแผนภูมิรูปภาพและแผนภูมิแทง

สาระที่ 6 ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร

มาตรฐาน ค 6.1 มีความสามารถในการแกปญหา การใหเหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร และการนําเสนอ การเชื่อมโยงความรูตางๆ ทางคณิตศาสตร และเชื่อมโยง คณิตศาสตรกับ ศาสตรอื่นๆ และมีความคิดริเริ่มสรางสรรค ชั้น

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

ป.3 1. ใชวิธีการที่หลากหลายแกปญหา • กิจกรรม ปญหา สถานการณที่ เสริมสรางทักษะและกระบวนการ 2. ใชความรู ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตรในการ ทางคณิตศาสตร โดยใชในขณะ แกปญหาในสถานการณตา งๆ ไดอยางเหมาะสม 3. ใหเหตุผลประกอบการตัดสินใจ และสรุปผลไดอยางเหมาะสม ที่จั ด การเรี ย นการสอนสาระ 4. ใชภาษาและสัญลักษณทางคณิตศาสตรในการสื่อสาร การสื่อ จํ า นวน และการดํ า เนิ น การ การวัด เรขาคณิต พีชคณิต และ ความหมาย และการนําเสนอไดอยางถูกตอง การวิเคราะหขอมูลและความ 5. เชื่อมโยงความรูตางๆ ในคณิตศาสตร และเชื่อมโยง นาจะเปน คณิตศาสตรกับศาสตรอื่นๆ 6. มีความคิดริเริ่มสรางสรรค คูม อื ครู


คําอธิบายรายวิชา รายวิชา คณิตศาสตร ชั้นประถมศึกษาปที่ 3 รหัสวิชา ค…………………………………

กลุมสาระการเรียนรู คณิตศาสตร ภาคเรียนที่ 1-2 เวลา 200 ชั่วโมง/ป

การเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือแสดงจํานวน การอานตัวเลขฮินดูอารบิกและตัวเลขไทย การนับเพิ่มทีละ 3 ทีละ 4 ทีละ 25 และทีละ 50 การนับลดทีละ 3 ทีละ 4 ทีละ 5 ทีละ 25 และทีละ 50 หลักและ คาของเลขโดดในแตละหลัก และการใช 0 เพื่อยึดตําแหนงของหลัก การเขียนตัวเลขแสดงจํานวนในรูปกระจาย การเปรียบเทียบจํานวนและการใชเครื่องหมาย = = > < การเรียงลําดับจํานวนไมเกินหาจํานวน การบวก การลบ การคูณจํานวนหนึ่งหลักกับจํานวนไมเกินสี่หลัก การคูณจํานวนสองหลักกับจํานวนสองหลัก การหารที่ตัวตั้งไม เกินสี่หลักและตัวหารมีหนึ่งหลัก การบวก ลบ คูณ หารระคน โจทยปญหาการบวก การลบ การคูณ การหาร และ การบวก ลบ คูณ หารระคน การสรางโจทยปญหาการบวก การลบ การคูณ การหาร การวัดความยาว การเลือกเครือ่ งมือวัดความยาวทีเ่ หมาะสม การเปรียบเทียบความยาว การคาดคะเนนํา้ หนัก การตวง การเลือกเครื่องตวง การเปรียบเทียบปริมาตรของสิ่งของและความจุของภาชนะ การคาดคะเนปริมาตรของ สิง่ ของและความจุของภาชนะ การเขียนบอกเวลาโดยใชจดุ และการอาน ความสัมพันธของหนวยความยาว หนวยการชัง่ และหนวยเวลา การเขียนจํานวนเงินโดยใชจดุ และการอาน โจทยปญ หาเกีย่ วกับการวัดความยาว การชัง่ ปริมาตรและ ความจุ เงิน เวลา การอานและเขียนบันทึกรายรับรายจาย การอานและเขียนบันทึกกิจกรรมหรือเหตุการณทรี่ ะบุเวลา การบอกชนิดของรูปเรขาคณิตสองมิติที่เปนสวนประกอบของสิ่งของที่มีลักษณะเปนรูปเรขาคณิตสามมิติ รูปที่มีแกนสมมาตร จุด เสนตรง รังสี สวนของเสนตรง จุดตัด มุม และสัญลักษณ การเขียนรูปเรขาคณิตสองมิติ การบอกรูปเรขาคณิตตางๆ ที่อยูในสิ่งแวดลอมรอบตัว แบบรูปของจํานวนที่เพิ่มทีละ 3 ทีละ 4 ทีละ 25 ทีละ 50 แบบรูปของจํานวนที่ลดลงทีละ 3 ทีละ 4 ทีละ 5 ทีละ 25 และทีละ 50 แบบรูปซํ้า และแบบรูปของรูปที่มีรูปราง ขนาด หรือสีที่สัมพันธกันสองลักษณะ การเก็บรวบรวมขอมูลและการจําแนกขอมูลเกี่ยวกับตนเองและสิ่งแวดลอมใกลตัวที่พบเห็นในชีวิตประจําวัน การอานแผนภูมิรูปภาพและแผนภูมิแทง โดยใชวิธีการที่หลากหลายแกปญหา ใชความรู ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตรในการแกปญหา ในสถานการณตา งๆ ใหเหตุผลประกอบการตัดสินใจและสรุปผล ใชภาษาและสัญลักษณทางคณิตศาสตรในการสือ่ สาร การสื่อความหมาย และการนําเสนอ การเชื่อมโยงความรูตางๆ ในคณิตศาสตร และเชื่อมโยงคณิตศาสตรกับศาสตร อื่นๆ มีความคิดริเริ่มสรางสรรค เพื่อใหเกิดความรูความเขาใจเกี่ยวกับจํานวนนับและศูนย การดําเนินการของจํานวน การแกปญหาเกี่ยวกับ การบวก การลบ ความยาว ระยะทาง นํ้าหนัก ปริมาตร ความจุ เวลา เงิน รูปสามเหลี่ยม รูปสี่เหลี่ยม รูปวงกลม รูปวงรี ทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก ทรงกลม ทรงกระบอก จุด สวนและเสนตรง รังสี เสนตรง มุม แบบรูป และสามารถ รวบรวมขอมูล จําแนกขอมูล และอภิปรายประเด็นตางๆ จากแผนภูมิรูปภาพและแผนภูมิแทง ตัวชี้วัด ค 3.2 ป.3/1, ป.3/2 ค 1.1 ป.3/1, ป.3/2 ค 4.1 ป.3/1, ป.3/2 ค 1.2 ป.3/1, ป.3/2 ค 5.1 ป.3/1, ป.3/2 ค 2.1 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3, ป.3/4, ป.3/5, ป.3/6 ค 6.1 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3, ป.3/4, ป.3/5, ป.3/6 ค 2.2 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3 ค 3.1 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3 รวม 28 ตัวชี้วัด

เสร�ม

11

คูม อื ครู


ตาราง

ÇÔà¤ÃÒÐË Áҵðҹ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙጠÅеÑǪÕÇé ´Ñ ÃÒÂÇÔªÒ ¤³ÔµÈÒʵà ».3

คําชี้แจง : ผูสอนใชตารางน�้ตรวจสอบวา เน�้อหาสาระการเรียนรูในหนวยการเรียนรูสอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัด ชั้นปในขอใดบาง

เสร�ม

12

มาตรฐาน การเรียนรู

มฐ. ค 1.1 มฐ. ค 1.2

มฐ. ค 2.1

มฐ. ค 2.2 มฐ. ค 3.1 มฐ. ค 3.2 มฐ. ค 4.1 มฐ. ค 5.1

มฐ.ค 6.1 คูม อื ครู

ตัวชี้วัด ชั้น ป.3

หนวยที่

สาระการเรียนรู

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14

สาระที่ 1 จํานวนและการดําเนินการ 1. เขียนและอานตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือแสดง ปริมาณของสิ่งของหรือจํานวนนับที่ไมเกินหนึ่งแสนและศูนย ✓ 2. เปรียบเทียบและเรียงลําดับจํานวนนับไมเกินหนึง่ แสนและศูนย ✓ 1. บวก ลบ คูณ หารและบวก ลบ คูณ หารระคนของจํานวนนับไมเกิน ✓ ✓ หนึง่ แสน และศูนย พรอมทัง้ ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบ 2. วิเคราะหและแสดงวิธหี าคําตอบของโจทยปญ หา และโจทยปญ หาระคน ของจํานวนนับไมเกินหนึง่ แสนและศูนย พรอมทัง้ ตระหนักถึงความสมเหตุ ✓ ✓ สมผลของคําตอบและสรางโจทยได สาระที่ 2 การวัด 1. บอกความยาวเปนเมตร เซนติเมตร และมิลลิเมตร เลือกเครื่องวัด ที่เหมาะสม และเปรียบเทียบความยาว 2. บอกนํ้าหนักเปนกิโลกรัม กรัม และขีด เลือกเครื่องชั่งที่เหมาะสม และ เปรียบเทียบนํ้าหนัก 3. บอกปริมาตรและความจุเปนลิตร มิลลิลติ ร เลือกเครือ่ งตวงทีเ่ หมาะสม และเปรียบเทียบปริมาตรและความจุในหนวยเดียวกัน 4. บอกเวลาบนหนาปดนาฬกา (ชวง 5 นาที) อานและเขียนบอกเวลา โดยใชจุด 5. บอกความสัมพันธของหนวยการวัดความยาว นํ้าหนัก และเวลา 6. อานและเขียนจํานวนเงินโดยใชจุด 1. แกปญหาเกี่ยวกับการวัดความยาว การชั�ง การตวง เงิน และเวลา 2. อานและเขียนบันทึกรายรับ-รายจาย 3. อานและเขียนบันทึกกิจกรรมหรือเหตุการณที่ระบุเวลา สาระที่ 3 เรขาคณิต 1. บอกชนิดของรูปเขาคณิตสองมิติที่เปนสวนประกอบของสิ่งของที่มี ลักษณะเปนรูปเรขาคณิตสามมิติ 2. ระบุรูปเรขาคณิตสองมิติที่มีแกนสมมาตรจากรูปที่กําหนดให 3. เขียนชื่อจุด เสนตรง รังสี สวนของเสนตรง มุม และเขียนสัญลักษณ 1. เขียนรูปเรขาคณิตสองมิติที่กําหนดใหในแบบตางๆ 2. บอกรูปเรขาคณิตตางๆ ที่อยูในสิ่งแวดลอมรอบตัว

✓ ✓

✓ ✓

✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓

✓ ✓

✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓

สาระที่ 4 พีชคณิต 1. บอกจํานวนและความสัมพันธในแบบรูปของจํานวนที่เพิ่มขึ้นทีละ 3 ทีละ 4 ทีละ 25 ทีละ 50 และลดลงทีละ 3 ทีละ 4 ทีละ 5 ทีละ 25 ✓ ทีละ 50 และแบบรูปซํ้า 2. บอกรูปและความสัมพันธในแบบรูปของรูปที่มีรูปราง ขนาด หรือสี ✓ ที่สัมพันธกันสองลักษณะ สาระที่ 5 การวิเคราะหขอมูลและความนาจะเปน 1. รวบรวมและจําแนกขอมูลเกี่ยวกับตนเองและสิ่งแวดลอมใกลตัวที่ ✓ พบเห็นในชีวิตประจําวัน 2. อานขอมูลจากแผนภูมิรูปภาพและแผนภูมิแทงอยางงาย ✓ ขอ 1-6 บูรณาการลงสูการจัดการเรียนการสอน ✓✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Engage

Explore

Explain

Elaborate

Evaluate

˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ÃÒÂÇÔªÒ¾×é¹°Ò¹

¤³ÔµÈÒʵà ».ó ªÑé¹»ÃжÁÈÖ¡ÉÒ»‚·Õè ó

¡ÅØ‹ÁÊÒÃСÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ ¤³ÔµÈÒʵà µÒÁËÅÑ¡ÊÙµÃ᡹¡ÅÒ§¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñé¹¾×é¹°Ò¹ ¾Ø·¸ÈÑ¡ÃÒª òõõñ ¼ÙŒàÃÕºàÃÕ§ ¹Ò¹Եԡà ÃдÁ ¹Ò§ÊÒÇÊÔÃÔÅѡɳ Ç§È à¾ªÃ ¹Ò§´Ç§¾Ã Ááµ ÃÈ. ´Ã. ÊÔÃԾѪà à¨É®ÒÇÔâè¹ ¼ÙŒµÃǨ

¹Ò§¨ÔÃҾà ÊÁØ·¶Ò ¹Ò§ÊÒǹíéÒྪà ªÒÞ¨Ö§¶ÒÇà ¹Ò§ÃÐ¾Õ ÇѧàǪª

ºÃóҸԡÒà ÃÈ. ´Ã. ÃبÔà ÀÙ‹ÊÒÃÐ

¾ÔÁ¾ ¤ÃÑ駷Õè ñ

ʧǹÅÔ¢ÊÔ·¸ÔìµÒÁ¾ÃÐÃÒªºÑ- - ѵÔ

ÃËÑÊÊÔ¹¤ŒÒ ñóñöðñ÷ ÃËÑÊÊÔ¹¤ŒÒ ñóôöðóô

¤Œ¹¤ÇÒÁÃÙŒ¢ÂÒ¤ÇÒÁ¤Ô´¨Ò¡

EB GUIDE

ที่พิมพกํากับหัวขอสําคัญในหนังสือเรียนหลักสูตรใหม ชั้น ป.๔ ขึ้นไป ผาน www.aksorn.com ไปยังแหลงความรูทั่วไทย-ทั่วโลก


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Engage

Explore

Explain

Elaborate

Evaluate

(ยอจากฉบับนักเรียน 20%)

¤íÒ¹íÒ ´ŒÇ¡ÃзÃǧÈÖ¡ÉÒ¸Ô¡ÒÃä´ŒÁÕ¤íÒÊÑè§ãˌ㪌ËÅÑ¡ÊٵáÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñé¹¾×é¹°Ò¹ ¾Ø·¸ÈÑ¡ÃÒª 2544 ã¹âçàÃÕ¹·ÑèÇä»·Õè¨Ñ´¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñé¹¾×鹰ҹ㹻‚¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ 2546 áÅШҡ¡ÒÃÈÖ¡ÉÒÇÔ¨ÑÂáÅеԴµÒÁ ¼Å¡ÒÃ㪌ËÅÑ¡ÊٵáÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñé¹¾×é¹°Ò¹ ¾Ø·¸ÈÑ¡ÃÒª 2544 ¨Ö§¹íÒä»Ê‹Ù¡ÒþѲ¹ÒËÅÑ¡ÊÙµÃ᡹¡ÅÒ§ ¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñé¹¾×é¹°Ò¹ ¾Ø·¸ÈÑ¡ÃÒª 2551 «Öè§ÁÕ¤ÇÒÁàËÁÒÐÊÁáÅЪѴਹ à¾×èÍãˌʶҹÈÖ¡ÉÒä´Œ¹íÒä» ãªŒ à »š ¹ ¡Ãͺ·Ô È ·Ò§ã¹¡ÒÃ¨Ñ ´ ËÅÑ ¡ ÊÙ µ ÃʶҹÈÖ ¡ ÉÒ áÅÐ¨Ñ ´ ¡ÒÃàÃÕ Â ¹¡ÒÃÊ͹à¾×è Í ¾Ñ ² ¹Òà´ç ¡ áÅÐàÂÒǪ¹·Ø¡¤¹ã¹ÃдѺ¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñ¹é ¾×¹é °Ò¹ãËŒÁ¤Õ ³ Ø ÀÒ¾´ŒÒ¹¤ÇÒÁÃÙŒ áÅзѡÉзըè Òí ໚¹ÊíÒËÃѺ¡Òà ´íÒçªÕÇÔµã¹Êѧ¤Á·ÕèÁÕ¡ÒÃà»ÅÕè¹á»Å§ áÅÐáÊǧËÒ¤ÇÒÁÃÙŒà¾×è;Ѳ¹Òµ¹àͧÍ‹ҧµ‹Íà¹×èͧµÅÍ´ªÕÇÔµ ˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ¤³ÔµÈÒʵà ».3 àÅ‹Á¹Õé¨Ñ´·íÒ¢Öé¹ÊíÒËÃѺ㪌»ÃСͺ¡ÒÃàÃÕ¹¡ÒÃÊ͹ªÑé¹ »ÃжÁÈÖ¡ÉÒ»‚·Õè 3 â´Â´íÒà¹Ô¹¡ÒèѴ·íÒãËŒÊÍ´¤ÅŒÍ§µÒÁ¡Ãͺ¢Í§ËÅÑ¡Êٵà ʋ§àÊÃÔÁ¡Ãкǹ¡ÒäԴ ¡ÒÃÊ׺àÊÒÐËÒ¤ÇÒÁÃÙŒ ¡ÒÃá¡Œ»˜ÞËÒ ¤ÇÒÁÊÒÁÒö㹡ÒÃÊ×èÍÊÒà ¡ÒõѴÊԹ㨠¡ÒùíÒä»ãªŒã¹ªÕÇÔµ ÃÇÁ·Ñé§Ê‹§àÊÃÔÁãËŒ¼ÙŒàÃÕ¹Áդس¸ÃÃÁ ¨ÃÔ¸ÃÃÁ áÅФ‹Ò¹ÔÂÁ·Õè¶Ù¡µŒÍ§àËÁÒÐÊÁ µÃÐ˹ѡ㹤س¤‹ÒáÅÐ ÁÕਵ¤µÔ·Õè´Õµ‹Í¤³ÔµÈÒʵà ˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ¤³ÔµÈÒʵà ».3 àÅ‹Á¹Õé ÁÕ 14 ˹‹Ç ã¹áµ‹ÅÐ˹‹Ç»ÃСͺ´ŒÇ 1. ¨Ø´»ÃÐʧ¤ ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ»ÃШíÒ˹‹Ç ¡íÒ˹´ÃдѺ¤ÇÒÁÃÙŒ ¤ÇÒÁÊÒÁÒö¢Í§¼ÙŒàÃÕÂ¹Ç‹Ò àÁ×Íè àÃÕ¹¨ºã¹áµ‹ÅÐ˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ µŒÍ§ºÃÃÅØÁҵðҹµÑǪÕÇé ´Ñ ·Õ¡è Òí ˹´äÇŒã¹ËÅÑ¡ÊٵâŒÍã´ºŒÒ§ 2. à¹×éÍËÒ ÊÍ´¤ÅŒÍ§µÒÁËÅÑ¡ÊÙµÃ᡹¡ÅÒ§¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñé¹¾×é¹°Ò¹ ¾.È. 2551 ¹íÒàÊ¹Í àËÁÒÐÊÁ¡Ñ¡Ñº¡ÒÃàÃÕ¹¡ÒÃÊ͹ã¹áµ‹ÅÐÃдѺªÑé¹ 3. ¡Ô¨¡ÃÃÁ½ƒ¡½¹·Ñ¡ÉÐ ãËŒ¼ÙŒàÃÕ¹½ƒ¡»¯ÔºÑµÔà¾×è;Ѳ¹Ò¤ÇÒÁÃÙŒ áÅзѡÉлÃШíÒ˹‹Ç ¤³Ð¼ÙŒ¨Ñ´·íÒ¨Ö§ËÇѧ໚¹Í‹ҧÂÔè§Ç‹Ò ˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ¤³ÔµÈÒʵà ».3 àÅ‹Á¹Õé ¨Ð໚¹Ê×èÍ ¡ÒÃàÃÕ¹¡ÒÃÊ͹·ÕÍè Òí ¹Ç»ÃÐ⪹ µÍ‹ ¡ÒÃàÃÕ¹¤³ÔµÈÒʵà à¾×Íè ãËŒÊÁÑ Ä·¸Ô¼ÅµÒÁÁҵðҹµÑǪÕÇé ´Ñ ·Õè¡íÒ˹´äÇŒã¹ËÅÑ¡ÊÙµÃ᡹¡ÅÒ§¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñé¹¾×é¹°Ò¹ ¾.È. 2551 ¤³Ð¼ÙŒ¨Ñ´·íÒ


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Engage

Explore

Explain

Elaborate

Evaluate

คําชี้แจงในการใชสื่อ

เน�้อหา ครบตามหลักสูตรแกนกลางฯ ’51 นําเสนอโดยใชแผนภาพ แผนภูมิ ตาราง เหมาะสมกับการเรียนการสอน 1.1 การ อ่าน ตัว และการเข

àªÕ§ÃÒ Í. áÁ‹ÊÒ ¨.

จ�ำ เลขไทย และต ียนตัวเลขฮิน ดูอารบิก ฮินดูอำรบนวนนบั ใชบ้ อกจ�ำน ัวหนังสือ และตัวห ิก 0, 1, 2, ..., วนของสงิ่ ต่ำงๆ ส จ�ำนนังสือ ศูนย์ หนึ่ง ส100,000 ตัวเลขไท ำมำรถเขียนแทนด้ ในหลักห วน 100 ถงึ 999 อง...หนึ่งแสน เ ย ๐, ๑, ๒, ..., วยตวั เลข อยู่ในหลั นว่ ย เลขโดดทอี่ ยูต่ เปน็ ตัวเลขทมี่ สี ำมป็นสัญลักษณ์แสด ๑๐๐,๐๐๐ งจ ห รงกลำงอย 1. กร้อย ใู่ นหลักสิบลัก เลขโดดทำงขว �ำนวน ำส และเลขโ ทบทวนจ�านวนน ดดทำงซำ้ ดุ อยู่ ับ กำรเขียน ยสดุ ตัวเลขและ ไม่เกิน 1,000 ตัวหนังสือ แสดงจ�ำน จำกรูป 2 สิบ กับ วน 4 อยู่ในห 4 หน่วย ลักหน่ว เขียนแสดง 2 อยู่ในหลักสิบ ย มีค่ำ 4 ด้ มีค่ำ 20 วย ตัวเลขฮินดูอำรบ ตัวเลขไทย ิก 24 ตัวหนังสือ ๒๔ นำ�แผ่นต� ยี่ส ร�ง 10 ิบสี่ แผ่นม�ต่ อกัน

àÁ×ͧËÅǧ¢Í§ä·Â à âÅàÁµ ÁÕ¾×é¹·Õè¡ÕèµÒÃÒ§¡Ô ä»ãµŒÊØ´ áÅШҡà˹×ÍÊØ´ÔâÅàÁµÃ ÁÕÃÐÂзҧ¡Õè¡

¡Ãا෾ÁËÒ¹¤Ã

ี่ หนวยการเรียนรูท

1

Í. ີ§ ¨. ÂÐÅÒ

¹ 100,000

¨íҹǹ¹ÑºäÁ‹à¡Ô

แสดงจำ�นว

หนวยที่ 1 อไปนี้ รียนรูประจํา ถต เปาหมายการเ ผูเรียนจะมีความรคู วามสามาร งสือแสดงปริมาณของ

9

. .

MRC

6 2

.

M-

ON

OFF

3 M+

+

=

ดังนั้น แสดงจำ�นว

น 10 สิ บ หรือ 100

2

บรรณานุกรม รวบรวมบัญชีรายชื่อหนังสือ ที่ใชประกอบการคนควา

¨¡ à ÃÁ

¡Ô

8 5

1 0

เปาหมายการเรียนรู กําหนดความรูความสามารถ ของผูเรียนเมื่อเรียนจบหนวย

บรรณานุก

รม

กาญจนา ประ สพเนตร ผู้แปล. คณิตศาสตร์แ ซีเอ็ดยูเ สนสนุก ลูกบอล รุจิร์ ภู่สาระ, คชั่น จำากัด, 2530. ผจญตัวเลข. รศ.ดร. แนวหน กรุงเทพฯ : บริ ้า ชุดพัฒนาก ษัท อักษรเจริญทั ระบวนการ คณ ศ น์ อจท ิตศาสตร์ 3. พิ วิชาการและมา . จำากัด, 254 มพ์ครั้งที่ 7. 3. ตรฐานการศกึ กรุงเทพฯ : บริ ตัวชี้วัดและสาร ษา สำานักคณะกรรมการก ษัท ารศ ะกา กรุงเทพฯ: โรง รเรียนรู้แกนกลาง กลุ กึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน กระทรว งศึ ่มสาระการเร พิมพ์ชุม ศักดา บุญโต, ียนรู้คณิตศาส กษาธกิ าร, สำานัก. รศ. ผู้แปล. พจ นุมสหกรณ์การเกษตรแห ตร์. พิมพ์ครั ง ่ ประ นาน เทศ ก ุ ้ ง รมคณิตศาสตร์ ที่ 2. ไทย จำากัด, 255 อีแอลท สาำ หรับเด็ก. พิ ส่งเสรมิ การสอน ี เอ็ดยูเคชั่น (ไทยแลนด์) มพ์ครั้งที่ 1. 2. จำากัด วิทยาศาสตร์แ กรุงเทพฯ : บริ ละเทคโนโลยี , 2549. ษัท พืน้ ฐาน กระทรวงศึกษาธ ส่งเสรมิ การสอน คณติ ศาสตร์ ชัน้ ประถมศกึ กิ ษาปที ี่ 3. พิม าร, สถาบัน. หนงั สือเรียนสา วิทยาศาสตร์แ พ์ครัง้ ที่ 7. กรุ ระการเรียนรู้ ละเทคโนโลยี คณติ ศาส งเทพฯ กระ เอกรินทร์ สี่ม ตร์ ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 3. ทรวงศึกษาธกิ าร, สถาบัน : โรงพิมพ์ สกสค., 2552. . คูม่ หาศาล และคณ พิม ะ. แม่บทมาตร พ์ครัง้ ที่ 1. กรุงเทพฯ : โรง อื สาระการเรยี นรูพ้ นื้ ฐาน นนทบุร พิม ฐาน หลักสูต รแกนกลาง คณ พ์ครุ สุ ภาลาดพร้าว, 2549. Andrew Er. ี : บริษัท ไทยร่มเกล้าจำากั ด, ิตศาสตร์ ป.3 How to Imp . พิมพ์ครั้งที่ rove Your 2551. Publish 1 Mathematics Primary 3. Charlotte Col ing House, 1998. Singapore lars : Education Kho Tek Hon . Shaping Maths Course al g, Dr. Active book 3A. Sin Primary Ma gapore : Oxf Fong Ho Khe the ord University ong, Dr. Ma ths 3A. Singap matics 3A. Singapore : Pree, 2000. Fed ore : Federa l Publication eral Publications, 2003. , 2003.

23

300

กิจกรรมฝกฝนทักษะ ใหผูเรียนฝกปฏิบัติเพื่อพัฒนา ความรูและทักษะประจําหนวย

7 4

%

ัวหนั ้แลว เมื่อเรียนจบหนวยนีวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และต 1. เขียนและอานตันวนนับไมเกินหนึ่งแสนและศูนย แสนและศูนย สิ่งของหรือจํา ยงลําดับจํานวนนับไมเกินหนึ่ง ะเรี 2. เปรียบเทียบแล

ดุ ยทาํ ลงในสม ½ƒ¡½¹·Ñ¡ÉÐ ใตต อ ไปนี้ โด ขโดดทีข่ ดี เสน งเล ขอ ั ก 5 หล ํ า ,31 ะจ 64 1. บอกคา ปร 5 5) 3) 92,41 1) 6,269 1 6) 45,91 2,143 9 4) อไปนี้ 2) 11,45 นต นว า ํ งจ ะหลักขอ ขโดดในแตล กและคาของเล 2. บอกหลัลง ด ุ 1 โดยทํา ในสม 7) 76,43 4) 24,157 1) 5,392 59,132 8) 5) 49,147 3 2) 7,791 9) 66,42 น 6) 93,415 าย จากจํานว ะจ กร ป ู นร 3) 9,876 นใ และเขีย ขฮินดูอารบิุดก เล ว ตั น ป นเ ย ี 3. เข ้ โดยทําลงในสม หนวย ตอไปนี 6 สิบ กับ 0 4 สิบ กับ 3 หนวย บ บ 8 รอย กับ 1) 9 พัน กั กับ 2 พัน กับ 5 รอย กั บ 8 สิบ กับ 6 หนวย 2) 3 หมื่น กับ 6 พัน กับ 1 รอย กั บ 1 สิบ กับ 9 หนวย 3) 7 หมื่น กับ 4 พัน กับ 5 รอย กั บ 5 สิบ กับ 8 หนวย 4) 4 หมื่น กับ 3 พัน กับ 0 รอย กั 5) 9 หมื่น

น 10 สิ บ

10-5 CE


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Engage

Explore

Explain

Elaborate

Evaluate

(ยอจากฉบับนักเรียน 20%)

สารบัญ หนวยการเรียนรูที่ หนวยการเรียนรูที่ หนวยการเรียนรูที่ หนวยการเรียนรูที่ หนวยการเรียนรูที่ หนวยการเรียนรูที่ หนวยการเรียนรูที่ หนวยการเรียนรูที่ หนวยการเรียนรูที่ หนวยการเรียนรูที่ หนวยการเรียนรูที่ หนวยการเรียนรูที่ หนวยการเรียนรูที่ หนวยการเรียนรูที่

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14

จํานวนนับไมเกิน 100,000 การบวกจํานวนที่มีผลบวกไมเกิน 100,000 การลบจํานวนที่มีตัวตั้งไมเกิน 100,000 การวิเคราะหและการนําเสนอขอมูล การวัดความยาว ความสูง และระยะทาง เวลา การชั่ง การตวง การคูณ การหาร เงิน รูปเรขาคณิต แบบรูปและความสัมพันธ การบวก ลบ คูณ หารระคน

บรรณานุกรม

1 44 60 75 91 115 132 153 173 206 222 241 261 289 300


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Explore

Explain

Í. áÁ‹ÊÒ ¨. àªÕ§ÃÒÂ

àÁ×ͧËÅǧ¢Í§ä·Â ÁÕ¾×é¹·Õè¡ÕèµÒÃÒ§¡ÔâÅàÁµÃ áÅШҡà˹×ÍÊØ´ä»ãµŒÊØ´ ÁÕÃÐÂзҧ¡Õè¡ÔâÅàÁµÃ

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล Evaluate

Expand

กระตุนความสนใจ ครูถามคําถามแลวใหนักเรียน แสดงความคิดเห็นอยางอิสระ • ในชีวิตประจําวันของนักเรียน ตองเกี่ยวของกับจํานวนนับ อะไรบาง เชน จํานวนเงินที่ ไดมาโรงเรียน เลขประจําตัว จํานวนของเลน และจํานวนนับ เหลานั้นคือจํานวนอะไร • เบอรโทรศัพท จัดเปนจํานวนนับ หรือไม เพราะอะไร

¡Ãا෾ÁËÒ¹¤Ã

หนวยการเรียนรูท ี่

1

Í. ີ§ ¨. ÂÐÅÒ

¨íҹǹ¹ÑºäÁ‹à¡Ô¹ 100,000 เปาหมายการเรียนรูประจําหนวยที่ 1

เมื่อเรียนจบหนวยนี้แลว ผูเรียนจะมีความรูความสามารถตอไปนี้ 1. เขียนและอานตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือแสดงปริมาณของ สิ่งของหรือจํานวนนับไมเกินหนึ่งแสนและศูนย 2. เปรียบเทียบและเรียงลําดับจํานวนนับไมเกินหนึ่งแสนและศูนย

คูมือครู

1


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explore

Explain

Expand

Evaluate

เปาหมายการเรียนรู

1.1 การอาน และการเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือ

เมื่อเรียนจบ นักเรียนจะสามารถ ปฏิบัติสิ่งเหลานี้ได 1. เขียนและอานตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือ แสดงปริมาณของสิ่งของหรือ จํานวนนับไมเกินหนึ่งแสน และศูนย 2. เปรียบเทียบและเรียงลําดับ จํานวนนับไมเกินหนึ่งแสน และศูนย

จํานวนนับใชบอกจํานวนของสิง่ ตางๆ สามารถเขียนแทนดวยตัวเลข ฮินดูอารบิก 0, 1, 2, …, 100,000 ตัวเลขไทย ๐, ๑, ๒, …, ๑๐๐,๐๐๐ และตัวหนังสือ ศูนย หนึ่ง สอง…หนึ่งแสน เปนสัญลักษณแสดงจํานวน จํานวน 100 ถึง 999 เปนตัวเลขทีม่ สี ามหลัก เลขโดดทางขวาสุดอยู ในหลักหนวย เลขโดดทีอ่ ยูต รงกลางอยูใ นหลักสิบ และเลขโดดทางซายสุด อยูในหลักรอย

1. ทบทวนจํานวนนับไมเกิน 1,000

การเขียนตัวเลขและตัวหนังสือแสดงจํานวน จากรูป 2 สิบ กับ 4 หนวย 4 อยูในหลักหนวย มีคา 4 2 อยูในหลักสิบ มีคา 20 เขียนแสดงดวย ตัวเลขฮินดูอารบิก 24 ตัวเลขไทย ๒๔ ตัวหนังสือ ยี่สบิ สี่

เกร็ดแนะครู ครูจัดกระบวนการเรียนรูโดยการ ใหนักเรียน • อภิปราย • ยกตัวอยางประกอบ • ฝกทักษะ จนเกิดเปนความรูความเขาใจวา จํานวนนับคือ ตัวเลขที่ใชสําหรับบอก ปริมาณสิ่งของตางๆ ซึ่งสามารถ เขียนแทนดวยตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือ โดย เลขโดดแตละตัวมีหลักและคา ประจําหลักแตกตางกัน จํานวนนับ สามารถนํามาเปรียบเทียบกันได

¹íÒἋ¹µÒÃÒ§ 10 Ἃ¹ÁÒµ‹Í¡Ñ¹

10-5

กระตุนความสนใจ นักเรียนดูรูป หนา 2 ในกรอบ สีเขียว และชวยกันบอกวา • จากรูป เมื่อนํามาเขียนเปน ตัวเลขแสดงจํานวนแลว จะเปน จํานวนที่มีกี่หลัก (ตอบ 2 หลัก)

(ยอจากฉบับนักเรียน 20%)

7

CE

8

4 %

. .

9

5

ON

MRC

6

M-

1

2

3

0

.

+

OFF

M+

´Ñ§¹Ñé¹

áÊ´§¨íҹǹ 10 ÊÔº

áÊ´§¨íҹǹ 10 ÊÔº ËÃ×Í 100

=

2

นักเรียนควรรู จํานวนนับ คือ ตัวเลขที่ใชสําหรับบอกปริมาณสิ่งของตางๆ เชน หนึ่ง สอง สาม สี่ หา หก เจ็ด แปด เกา สิบ … ถาจะใหรูวามีปริมาณทั้งหมดเทาไร ใหเริ่มนับจาก “หนึ่ง” ไปเรื่อยๆ จนถึง จํานวนสุดทาย จะไดคําตอบที่ตองการ

2

คูมือครู


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

Engage

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

สํารวจคนหา 1. ครูใหนักเรียนรวมกันสนทนาแสดง ความคิดเห็นวา จากรูปในกรอบ ที่ 1 และกรอบที่ 2 เมื่อนํามาเขียน เปนจํานวนแลวมีกี่หลัก และมี หลักใดบาง 2. ใหนักเรียนชวยกันบอกวา จากรูป ในกรอบที่ 1 และกรอบที่ 2 เมื่อ เขียนเปนจํานวนแลวจํานวนใด มากกวากัน

จากรูป 1 รอย กับ 4 สิบ กับ 2 หนวย 2 อยูในหลักหนวย มีคา 2 4 อยูในหลักสิบ มีคา 40 1 อยูในหลักรอย มีคา 100 เขียนแสดงดวย ตัวเลขฮินดูอารบิก 142 ตัวเลขไทย ๑๔๒ ตัวหนังสือ หนึ่งรอยสี่สิบสอง

อธิบายความรู

จากรูป 5 รอย กับ 0 สิบ กับ 1 หนวย ¨íҹǹ·Õèŧ·ŒÒ´ŒÇ 1 Ò¹Ç‹Ò ‘‘àÍç´’’ 1 อยูในหลักหนวย มีคา 1 ¨ÐÍ‹ ઋ¹ 101 Í‹Ò¹Ç‹Ò 0 อยูในหลักสิบ มีคา 0 ˹Öè§ÃŒÍÂàÍç´ 5 อยูในหลักรอย มีคา 500 เขียนแสดงดวย ตัวเลขฮินดูอารบิก 501 ตัวเลขไทย ๕๐๑ ตัวหนังสือ หารอยเอ็ด

1. ครูทบทวนการเขียนจํานวนนับ ตามเนื้อหาในหนา 3 2. ใหนักเรียนชวยกันยกตัวอยาง จํานวนนับที่มี 3 หลัก 1 จํานวน โดยครูเขียนจํานวนนับบน กระดานและถามคําถามเพื่อให นักเรียนชวยกันตอบ • เลขโดดใดอยูในหลักหนวย และมีคาเทาใด • เลขโดดใดอยูในหลักสิบ และมีคาเทาใด • เลขโดดใดอยูในหลักรอย และมีคาเทาใด

10-5

CE

%

7

8

4

5

. .

9

MRC

6

M-

1

2

3

0

.

+

ON

OFF

M+

=

3

นักเรียนควรรู ตัวเลขฮินดูอารบิก เปนสัญลักษณที่มนุษยคิดคนขึ้นมา ในสมัยกอนที่ไมมีตัวเลข ไดมีการทํารอยบากบนทอนไมเพื่อแสดงตัวเลข เมื่อเวลาผานไป ลักษณะของตัวเลขมีการเปลี่ยนแปลงไปตามวิวัฒนาการ ปจจุบันตัวเลขฮินดูอารบิกเปนตัวเลขที่ใชกันเปนสากลทั่วโลก

คูมือครู

3


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

(ยอจากฉบับนักเรียน 20%)

อธิบายความรู

การนับเพิ่มทีละ 100

1. ใหนกั เรียนชวยกันบอกความหมาย ของการนับเพิ่ม 2. ครูทบทวนการนับเพิ่มทีละ 10 โดยนับ 10 20 30 … แลวให นักเรียนนับตอจนถึง 100 3. ใหนกั เรียนดูรปู หนา 4 แลวถามวา • แผนตาราง 1 แผน แทนคาเทาใด (ตอบ 100) 4. ใหนักเรียนนับเพิ่มทีละ 100 จนถึง 1,000 โดยชี้ที่รูปตามไปดวย 5. ครูใหนักเรียนชวยกันตอบวา • การนับเพิม่ ทีละ 100 ตัง้ แต 100 - 1,000 มี 0 อยูใ นหลักใดบาง และ 0 แตละตัวมีคา เทาใด (แนวตอบ จํานวนตัง้ แต 100 - 900 มี 0 อยูใ นหลักหนวย และหลักสิบ สวน 1,000 มี 0 อยูใ นหลักหนวย หลักสิบ และหลักรอย ซึง่ 0 ทีอ่ ยู ในแตละหลักของทุกจํานวน มีคา เทากับ 0)

รูป

4

4

คูมือครู

ตัวเลข ตัวเลข ตัวหนังสือ ฮินดูอารบิก ไทย 100

๑๐๐

หนึ่งรอย

200

๒๐๐

สองรอย

300

๓๐๐

สามรอย

400

๔๐๐

สี่รอย

500

๕๐๐

หารอย

600

๖๐๐

หกรอย

700

๗๐๐

เจ็ดรอย

800

๘๐๐

แปดรอย


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

ขยายความเขาใจ

รูป

กอนใหนักเรียนศึกษาตัวอยาง ครูถามนักเรียนวา จํานวนที่อยู ระหวาง 100 กับ 200 มีจาํ นวนใดบาง ใหยกตัวอยางมา 3 จํานวน โดยสุม เลือกนักเรียนบางคนมาเขียนคําตอบ หนากระดาน

ตัวเลข ตัวเลข ตัวหนังสือ ฮินดูอารบิก ไทย 900

๙๐๐

เการอย

1,000

๑,๐๐๐

หนึ่งพัน

µÑÇÍ‹ҧ

รูป

ตัวเลข ตัวเลข ตัวหนังสือ ฮินดูอารบิก ไทย

235 426 533 952

สองรอย ๒๓๕ สามสิ บหา ย ๔๒๖ ยีสี่ส่ริบอหก หารอย ๕๓๓ สามสิบ สาม ย ๙๕๒ หเกาสิาบรอสอง 5

คูมือครู

5


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

Engage

Explore

Explain

Expand

ตรวจสอบผล ใหนกั เรียนทํากิจกรรมฝกฝนทักษะ หนา 6 ขอ 1.- 2.

@

¡Ô ¨

¡ÃÃÁ

½ƒ¡½¹·Ñ¡ÉÐ

ตรวจสอบผล Evaluate

(ยอจากฉบับนักเรียน 20%)

(ดูเฉลยกิจกรรมที่สวนเสริมดานหนาของเลมนี้)

1. เขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือแสดงจํานวน ของรูปลงในสมุด 1)

มุม IT

นักเรียนสามารถทําแบบฝกหัด เพิ่มเติม เรื่อง การเขียนตัวเลขและ ตัวหนังสือจํานวนไมเกิน 1,000 ไดที่ https://www.myfififfiirstbrain.com แลวคลิกเลือก student และเลือก วิชาคณิตศาสตร ซึ่งเว็บไซตนี้เปน เว็บไซตที่ใหนักเรียนไดทบทวนและ ฝกทําแบบฝกหัดเพิ่มเติม

2) 3) 4) 5) 2. เขียนตัวเลขฮินดูอารบิก และตัวเลขไทย แสดงจํานวนลงในสมุด 1) 1 รอย กับ 2 สิบ กับ 8 หนวย 2) 3 รอย กับ 6 สิบ กับ 1 หนวย 3) 4 รอย กับ 0 สิบ กับ 7 หนวย 4) 5 รอย กับ 1 สิบ กับ 9 หนวย 5) 7 รอย กับ 8 สิบ กับ 5 หนวย

6

6

คูมือครู


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explore

Explain

Expand

Evaluate

กระตุนความสนใจ

2. จํานวนนับไมเกิน 10,000

ครูถามคําถามแลวใหนักเรียนแสดง ความคิดเห็นอยางอิสระ • จํานวนที่มีสี่หลัก ซึ่งแตละจํานวน ตองมีศูนยอยูสามตัวไดแก จํานวนใดบาง (ตอบ 1,000 2,000 3,000 4,000 5,000 6,000 7,000 8,000 9,000)

10-5 CE

%

7

8

4

5

. .

9

ON

MRC

6

M-

1

2

3

0

.

+

¨íҹǹ·Õè¹Ñºµ‹Í¨Ò¡ 1,000 ¤×Í 1,001 , 1,002 , 1,003 , ...

OFF

M+

=

จํานวน 1,000 ถึง 9,999 เปนตัวเลขทีม่ สี หี่ ลัก เลขโดดทีอ่ ยู ทางซายมือของหลักรอย เปนเลขโดดในหลักพัน

นักเรียนควรรู

¹íÒἋ¹µÒÃҧÌÍ 10 Ἃ¹ÁÒÇÒ§«ŒÍ¹¡Ñ¹ áÊ´§¨íҹǹ 10 ÃŒÍÂ

เลขโดด คือ 0,1,2,3,4,5,6,7,8,9 10-5 CE

%

´Ñ§¹Ñé¹

áÊ´§¨íҹǹ 10 Ì͠ËÃ×Í 1,000

การนับเพิ่มทีละ 1,000 รูป

7

8

4

5

. .

9

ON

MRC

6

M-

1

2

3

0

.

+

OFF

M+

=

ตัวเลข ตัวเลข ตัวหนังสือ ฮินดูอารบิก ไทย 1,000

๑,๐๐๐

หนึ่งพัน

2,000

๒,๐๐๐

สองพัน

3,000

๓,๐๐๐

สามพัน

4,000

๔,๐๐๐

สี่พัน 7

คูมือครู

7


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Engage

สํารวจคนหา 1. ครูใหนักเรียนรวมกันสนทนาแสดง ความคิดเห็นวา จากรูปเมื่อนํามา เขียนเปนจํานวนแลว มีกี่หลัก และ มีหลักใดบาง 2. ใหนักเรียนชวยกันบอกวาจํานวน ที่มีสี่หลักที่นอยที่สุดคือจํานวนใด และจํานวนที่มีสี่หลักที่มากที่สุด คือจํานวนใด

รูป

(ยอจากฉบับนักเรียน 20%)

ตัวเลข ตัวเลข ตัว ฮินดูอารบิก ไทย หนังสือ 5,000

๕,๐๐๐ หาพัน

6,000

๖,๐๐๐ หกพัน

7,000

๗,๐๐๐ เจ็ดพัน

8,000

๘,๐๐๐ แปดพัน

9,000

๙,๐๐๐ เกาพัน

อธิบายความรู 1. ครูอธิบายการเขียนจํานวนนับ ไมเกิน 10,000 ตามเนื้อหา ในหนา 7 - 8 2. ใหนักเรียนชวยกันยกตัวอยาง จํานวนนับที่มี 4 หลัก โดยมี 0 ยึด ตําแหนงในหลักหนวย หรือหลักสิบ หรือหลักรอยไว และเปนจํานวนที่ ไมมีในรูปที่กําหนดไวให โดยตั้ง คําถามเพื่อใหนักเรียนชวยกันตอบ • 0 ที่อยูในหลักหนวยมีคาเทาใด • 0 ที่อยูในหลักสิบมีคาเทาใด • 0 ที่อยูในหลักรอยมีคาเทาใด 3. ใหนักเรียนนับเพิ่มทีละพัน โดยชี้ ตามรูปไปดวย

หนึ่ง 10,000 ๑๐,๐๐๐ หมื ่น 8

8

คูมือครู


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

อธิบายความรู

การเขียนตัวเลขและตัวหนังสือแสดงจํานวน

1. ครูอธิบายการเขียนตัวเลขและ ตัวหนังสือแสดงจํานวน ตามเนือ้ หา ในหนา 9 2. ใหนักเรียนชวยกันยกตัวอยาง จํานวนที่มีสี่หลัก 1 จํานวน แลวครูใหนักเรียนออกมาเขียนบน กระดาน เปนตัวเลขไทย ตัวเลข ฮินดูอารบิก และตัวหนังสือ แสดง จํานวนนั้น และถามคําถามเพื่อให นักเรียนชวยกันตอบ • เลขโดดใดอยูในหลักหนวย และมีคาเทาใด • เลขโดดใดอยูในหลักสิบ และมีคาเทาใด • เลขโดดใดอยูในหลักรอย และมีคาเทาใด • เลขโดดใดอยูในหลักพัน และมีคาเทาใด

จากรูป 2 พัน กับ 3 รอย กับ 1 สิบ กับ 4 หนวย 4 อยูในหลักหนวย มีคา 4 1 อยูในหลักสิบ มีคา 10 3 อยูในหลักรอย มีคา 300 2 อยูในหลักพัน มีคา 2,000 เขียนแสดงดวย ตัวเลขฮินดูอารบิก 2,314 ตัวเลขไทย ๒,๓๑๔ ตัวหนังสือ สองพันสามรอยสิบสี่

จากรูป 4 พัน กับ 6 รอย กับ 0 สิบ กับ 0 หนวย 0 อยูในหลักหนวย มีคา 0 0 อยูในหลักสิบ มีคา 0 6 อยูในหลักรอย มีคา 600 4 อยูในหลักพัน มีคา 4,000 เขียนแสดงดวย ตัวเลขฮินดูอารบิก 4,600 ตัวเลขไทย ๔,๖๐๐ ตัวหนังสือ สี่พันหกรอย 9

คูมือครู

9


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

Explain

ตรวจสอบผล ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล Expand

Evaluate Evaluate

(ยอจากฉบับนักเรียน 20%)

ขยายความเขาใจ 1. กอนใหนักเรียนศึกษาตัวอยาง ครูอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียนใน เรื่องของการเขียนตัวเลขแทน จํานวนที่มีตั้งแตสี่หลักขึ้นไป จะ ใสเครื่องหมายจุลภาค (,) ทุกชวง สามตําแหนง นับจากหลักหนวย มาทางซาย 2. ครูถามนักเรียนวา • จํานวนใดบางที่มากกวา 5,402 แตนอยกวา 5,421 • จํานวนใดบางที่มากกวา 3,135 แตนอยกวา 3,200 • จํานวนใดบางที่นอยกวา 7,433 แตมากกวา 6,999 • จํานวนใดบางที่นอยกวา 2,222 แตมากกวา 3,472 โดยครูสุมนักเรียนออกมาเขียน คําตอบบนกระดาน แลวใหเพื่อน นักเรียนชวยกันตอบวาถูกหรือผิด

µÑÇÍ‹ҧ

รูป

10

10

คูมือครู

ตัวเลข ตัวเลข ตัว ฮินดูอารบิก ไทย หนังสือ 5,402

หาพัน ๕,๔๐๒ สี่รอย สอง

3,135

สามพัน หนึ่งรอย ๓,๑๓๕ สามสิบ หา

7,433

เจ็ดพัน สี่รอย ๗,๔๓๓ สามสิ บ สาม

2,222

สองพัน ๒,๒๒๒ สองรอย ยี่สิบสอง


Ô¨¡ à ÃÁ

¡

กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

Engage

Explore

Explain

Elaborate

ตรวจสอบผล Evaluate

ตรวจสอบผล

½ƒ¡½¹·Ñ¡ÉÐ

(ดูเฉลยกิจกรรมที่สวนเสริมดานหนาของเลมนี้)

1. เขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือแสดงจํานวน ของรูปลงในสมุด 1) 2)

ใหนกั เรียนทํากิจกรรมฝกฝนทักษะ หนา 11 ขอ 1.- 4.

@

มุม IT

นักเรียนสามารถทําแบบฝกหัด เพิม่ เติม เรือ่ ง จํานวนนับไมเกิน 10,000 ไดที่ https://www.myfiffi ifi rstbrain.com

3) 2. เขียนตัวเลขฮินดูอารบิก และตัวเลขไทย แสดงจํานวนลงในสมุด 1) 1 พัน กับ 0 รอย กับ 0 สิบ กับ 3 หนวย 2) 4 พัน กับ 6 รอย กับ 8 สิบ กับ 0 หนวย 3) 6 พัน กับ 5 รอย กับ 1 สิบ กับ 9 หนวย 3. เขียนเปนตัวเลขฮินดูอารบิก และตัวเลขไทยลงในสมุด 1) หาพันสามรอยหกสิบหก 4) สี่พันเการอยยี่สิบหก 2) สองพันสามรอยสาม 5) แปดพันเอ็ด 3) เกาพันหกรอยยี่สิบสอง 6) สามพันเจ็ดรอยหกสิบหา 4. เขียนเปนตัวหนังสือลงในสมุด 1) ๒,๗๘๔ 4) ๙,๔๓๘ 7) 6,590 2) 5,125 5) ๔,๖๔๑ 8) ๓,๒๖๕ 3) 1,876 6) 7,913 9) ๘,๓๒๙ 11

คูมือครู

11


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู ขยายความเขาใจ Explain

Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

Engage

(ยอจากฉบับนักเรียน 20%)

สํารวจคนหา 1. ครูทบทวนการใชหลักลูกคิด แสดงจํานวนไมเกินสี่หลัก โดยให นักเรียนดูรูปหลักลูกคิด แลวบอก จํานวน 2. ใหนักเรียนกําหนดจํานวนไมเกิน สี่หลัก คนละ 1 จํานวน แลวเขียน หลักลูกคิดแสดงจํานวน

พิจารณาหลักลูกคิดแสดงจํานวน

หมื่น

พัน

รอย

สิบ

หนวย

หมื่น

พัน

รอย

สิบ

หนวย

จํานวน 10 พัน คือ 1 หมื่น ตัวเลขฮินดูอารบิก 10,000 ตัวเลขไทย ๑๐,๐๐๐ ตัวหนังสือ หนึ่งหมืน่

อธิบายความรู 1. ครูอธิบายเนื้อหาตามหนา 12 2. ใหนักเรียนชวยกันยกตัวอยาง จํานวนไมเกิน 10,000 แลวเขียน หลักลูกคิดแสดงจํานวน

ขยายความเขาใจ ครูใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ เทาๆ กัน จากนั้นแจกบัตรภาพ หลักลูกคิดใหแตละกลุม กลุม ละ 5 ใบ โดยครูจะบอกจํานวนที่ตองการ แลวใหนักเรียนแตละกลุมวาดลูกคิด ในหลักตางๆ ใหถูกตอง กลุมไหน วาดลูกคิดไดถูกตองมากที่สุด เปนฝายชนะ

นักเรียนควรรู ลูกคิด เปนเครื่องมือสําหรับใชใน การคํานวณ นับเปนเครื่องคิดเลข ในยุคแรกๆ ของโลก ประกอบดวย โครงสีเ่ หลีย่ มและมีแกนรอยตัวลูกคิด กลมๆ สําหรับใชนับเลข สามารถ เลื่อนขึ้นลงได

12

คูมือครู

พัน

จากรูป

เขียนแสดงดวย

12

รอย

สิบ

หนวย

5 พัน กับ 6 รอย กับ 4 สิบ กับ 3 หนวย 3 อยูในหลักหนวย มีคา 3 4 อยูในหลักสิบ มีคา 40 6 อยูในหลักรอย มีคา 600 อยูในหลักพัน มีคา 5,000 5 ตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย ตัวหนังสือ

5,643 ๕,๖๔๓ หาพันหกรอยสี่สิบสาม


Ô¨¡ à ÃÁ

¡

กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

Engage

Explore

Explain

Elaborate

ตรวจสอบผล Evaluate

ตรวจสอบผล

½ƒ¡½¹·Ñ¡ÉÐ

(ดูเฉลยกิจกรรมที่สวนเสริมดานหนาของเลมนี้)

ใหนกั เรียนทํากิจกรรมฝกฝนทักษะ หนา 13 ขอ 1.- 3.

1. จากรูป เขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือ ลงในสมุด 1) 3)

พัน

รอย

สิบ

หนวย

2)

พัน

รอย

สิบ

หนวย

พัน

รอย

สิบ

หนวย

4)

พัน

รอย

สิบ

หนวย

2. เขียนเปนตัวหนังสือลงในสมุด 1) 1,863 3) 5,505 5) 4,789 2) ๓,๗๖๑ 4) ๒,๔๕๙ 6) ๙,๙๙๙ 3. เขียนเปนตัวเลขฮินดูอารบิก และตัวเลขไทยลงในสมุด 1) สองพันสามรอยหาสิบแปด 2) สี่พันสองรอยเจ็ดสิบ 3) เจ็ดพันสามสิบเอ็ด 4) หกพันเการอยแปดสิบสอง 5) เกาพันเจ็ดรอยเกาสิบหก 13

คูมือครู

13


กระตุน ความสนใจ สํารวจคนหา Explore

Engage

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Elaborate

Evaluate

กระตุนความสนใจ ครูถามคําถาม แลวใหนักเรียน แสดงความคิดเห็นอยางอิสระ • จํานวนใดที่ตอจาก 9,999 • จากรูปในหนานี้ หลักลูกคิด ในรูปใดมีคามากที่สุด

สํารวจคนหา ครูใหนักเรียนชวยกันบอกวา • หลักลูกคิดในรูปมีจํานวนกี่หลัก (ตอบ 5 หลัก) • จํานวนในตารางเปนการนับเพิ่ม ทีละเทาใด (ตอบ ทีละ 10,000)

(ยอจากฉบับนักเรียน 20%)

3. จํานวนนับไมเกิน 100,000

10-5 CE

¨íҹǹ·Õè¹Ñºµ‹Í¨Ò¡ 10,000 ¤×Í 10,001 , 10,002 , 10,003 , ...

%

7

8

4

5

. .

9

ON

MRC

6

M-

1

2

3

0

.

+

OFF

M+

=

จํานวน 10,000 ถึง 99,999 เปนตัวเลขทีม่ หี า หลัก เลขโดด ทีอ่ ยูท างซายมือของหลักพัน เปนเลขโดดในหลักหมื่น การนับเพิ่มทีละ 10,000 ตัวเลข ตัวเลข ตัวหนังสือ รูป ฮินดูอารบิก ไทย หมื่น

พัน

รอย

สิบ

หนวย

หมื่น

พัน

รอย

สิบ

หนวย

หมื่น

หมื่น

พัน

พัน

รอย

รอย

สิบ

สิบ

หนวย

หนวย

10,000 ๑๐,๐๐๐ หนึ่งหมื่น 20,000 ๒๐,๐๐๐ สองหมื่น 30,000 ๓๐,๐๐๐ สามหมื่น 40,000 ๔๐,๐๐๐

สี่หมื่น

50,000 ๕๐,๐๐๐ หาหมื่น หมื่น

14

14

คูมือครู

พัน

รอย

สิบ

หนวย


สํารวจคนหา

กระตุนความสนใจ

Explore

อธิบายความรู Explain

Engage

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

สํารวจคนหา

ตัวเลข ตัวเลข ฮินดูอารบิก ไทย

รูป

แสน หมื่น พัน

แสน หมื่น พัน

แสน หมื่น พัน

รอย

รอย

รอย

60,000

๖๐,๐๐๐

หกหมื่น

70,000

๗๐,๐๐๐

เจ็ดหมื่น

80,000

๘๐,๐๐๐ แปดหมื่น

สิบ หนวย

สิบ หนวย

อธิบายความรู

สิบ หนวย

90,000 แสน หมื่น พัน

รอย

สิบ หนวย

แสน หมื่น พัน

รอย

สิบ หนวย

แสน หมื่น พัน 10-5 7

CE

8

4 %

. .

9

5

ON

MRC

6

M-

1

2

3

0

.

+

OFF

M+

=

ตัวหนังสือ

รอย

1. ครูใหนักเรียนรวมกันสนทนาแสดง ความคิดเห็นวา จากรูปหลักลูกคิด เมื่อนํามาเขียนเปนตัวเลขและ ตัวหนังสือแสดงจํานวนแลวเปน จํานวนที่มีกี่หลัก และมีหลัก ใดบาง 2. ใหนักเรียนชวยกันบอกวา จํานวน ทุกจํานวนลงทายดวยเลขโดดใด 3. เมือ่ นักเรียนตอบคําถามในขอที่ 2 แลว ใหครูและนักเรียนชวยกัน สรุปวา จํานวนที่ลงทายดวย “0” เปนจํานวนคูหรือจํานวนคี่

๙๐,๐๐๐

เกาหมื่น

1. ครูอธิบายเนื้อหาในหนา 14 - 15 2. ใหนักเรียนนับจํานวนเพิ่มทีละ 10,000 โดยใชนวิ้ ชีจ้ าํ นวนไปดวย

100,000 ๑๐๐,๐๐๐ หนึ่งแสน

สิบ หนวย

¨íҹǹ µÑÇàÅ¢ÎÔ¹´ÙÍÒúԡ µÑÇàÅ¢ä·Â µÑÇ˹ѧÊ×Í

แสน หมื่น พัน

รอย

สิบ หนวย

10 ËÁ×è¹ ¤×Í 1 áʹ 100,000 ñðð,ððð ˹Öè§áʹ

15

คูมือครู

15


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

Explain

อธิบายความรู 1. ครูอธิบายการเขียนจํานวนนับตาม เนื้อหาในหนา 16 2. ใหนักเรียนชวยกันยกตัวอยาง จํานวนนับที่มีหาหลัก 1 จํานวน โดยครูเขียนจํานวนนับบนกระดาน และถามคําถาม เพื่อใหนักเรียน ชวยกันตอบ • เลขโดดใดอยูในหลักหนวย และมีคาประจําหลักเทาใด • เลขโดดใดอยูในหลักสิบ และมีคาประจําหลักเทาใด • เลขโดดใดอยูในหลักรอย และมีคาประจําหลักเทาใด • เลขโดดใดอยูในหลักพัน และมีคาประจําหลักเทาใด • เลขโดดใดอยูในหลักหมื่น และมีคาประจําหลักเทาใด

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

(ยอจากฉบับนักเรียน 20%)

การเขียนตัวเลขและตัวหนังสือแสดงจํานวน

หมื่น

พัน

รอย

สิบ

หนวย

หมื่น

พัน

รอย

สิบ

หนวย

3 หมื่น กับ 6 พัน กับ 2 รอย กับ 7 สิบ กับ 8 หนวย 8 อยูในหลักหนวย มีคา 8 7 อยูในหลักสิบ มีคา 70 2 อยูในหลักรอย มีคา 200 6 อยูในหลักพัน มีคา 6,000 3 อยูในหลักหมื่น มีคา 30,000 เขียนแสดงดวย ตัวเลขฮินดูอารบิก 36,278 ตัวเลขไทย ๓๖,๒๗๘ ตัวหนังสือ สามหมื่นหกพันสองรอยเจ็ดสิบแปด

จากรูป

6 หมื่น กับ 0 พัน กับ 1 รอย กับ 4 สิบ กับ 0 หนวย 0 อยูในหลักหนวย มีคา 0 4 อยูในหลักสิบ มีคา 40 100 1 อยูในหลักรอย มีคา 0 0 อยูในหลักพัน มีคา 6 อยูในหลักหมื่น มีคา 60,000 เขียนแสดงดวย ตัวเลขฮินดูอารบิก 60,140 ตัวเลขไทย ๖๐,๑๔๐ ตัวหนังสือ หกหมื่นหนึ่งรอยสี่สิบ

จากรูป

16

16

คูมือครู


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

ขยายความเขาใจ

ตัวเลข ตัวเลข ฮินดูอารบิก ไทย

รูป

หมื่น

พัน

หมื่น

พัน

หมื่น

พัน

10 10 10 10 10

รอย

รอย

รอย

˹‹Ç ÊÔº Ì͠¾Ñ¹ ËÁ×è¹

สิบ

สิบ

สิบ

෋ҡѺ ෋ҡѺ ෋ҡѺ ෋ҡѺ ෋ҡѺ

71,648

เจ็ดหมื่น หนึ่งพัน ๗๑,๖๔๘ หกรอย สี่สิบแปด

62,051

หกหมื่น ๖๒,๐๕๑ สองพัน หาสิบเอ็ด

84,930

แปดหมื่น ๘๔,๙๓๐ สี่พันเกา รอยสามสิบ

หนวย

หนวย

หนวย

1 1 1 1 1

ÊÔº Ì͠¾Ñ¹ ËÁ×è¹ áʹ

ตัวหนังสือ

à¢Õ¹᷹´ŒÇ à¢Õ¹᷹´ŒÇ à¢Õ¹᷹´ŒÇ à¢Õ¹᷹´ŒÇ à¢Õ¹᷹´ŒÇÂ

µÑÇàÅ¢ÎÔ¹´ÙÍÒúԡ

µÑÇàÅ¢ä·Â

10 100 1,000 10,000 100,000

ñð ñðð ñ,ððð ñð,ððð ñðð,ððð

กอนใหนักเรียนศึกษาตัวอยาง ครูถามนักเรียนวา จํานวนที่นอยกวา 71,648 แตมากกวา 62,051 มีจํานวน ใดบาง ใหยกตัวอยางมา 3 จํานวน โดยสุมเลือกนักเรียนบางคนมาเขียน คําตอบบนกระดาน

10-5 7

CE

8

4 %

. .

9

5

ON

MRC

6

M-

1

2

3

0

.

+

OFF

M+

=

17

คูมือครู

17


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

Engage

Explore

Explain

Expand

ตรวจสอบผล ใหนกั เรียนทํากิจกรรมฝกฝนทักษะ หนา 18 ขอ 1.

¡Ô ¨

¡ÃÃÁ

ตรวจสอบผล Evaluate

(ยอจากฉบับนักเรียน 20%)

½ƒ¡½¹·Ñ¡ÉÐ

(ดูเฉลยกิจกรรมที่สวนเสริมดานหนาของเลมนี้)

1. เขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือแสดงจํานวน ของรูปลงในสมุด 1) 4) หมื่น

พัน

รอย

สิบ

หนวย

2)

พัน

รอย

สิบ

หนวย

3)

คูมือครู

รอย

สิบ

หนวย

หมื่น

พัน

รอย

สิบ

หนวย

หมื่น

พัน

รอย

สิบ

หนวย

6)

หมื่น

18

พัน

5)

หมื่น

18

หมื่น

พัน

รอย

สิบ

หนวย


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

Engage

Explore

Explain

Elaborate

ตรวจสอบผล Evaluate

ตรวจสอบผล ใหนกั เรียนทํากิจกรรมฝกฝนทักษะ หนา 19 ขอ 2.- 3.

2. เขียนเปนตัวหนังสือลงในสมุด 1) 13,467

5) ๔๓,๕๙๔

2) 70,148

6) ๒๔,๓๑๕

3) 56,405

7) ๖๐,๐๐๙

4) 96,801

8) ๓๗,๙๕๓

@

มุม IT

นักเรียนสามารถทําแบบฝกหัด เพิ่มเติม เรื่อง จํานวนนับไมเกิน 100,000 ไดที่ https://www.myfififfiirfistbrain.com

3. เขียนตัวเลขฮินดูอารบิก และตัวเลขไทยลงในสมุด 1) สองหมื่นหาพันเจ็ดรอยสิบสอง 2) แปดหมื่นหาพันสาม 3) เจ็ดหมื่นสี่สิบเอ็ด 4) หาหมื่นหนึ่งพันสี่รอยหก 5) หนึ่งหมื่นแปดพันสามรอยยี่สิบสาม 6) หกหมื่นเกา 7) สี่หมื่นเกาพันแปดรอยหาสิบแปด 8) สามหมื่นสองรอยเจ็ดสิบ 9) เจ็ดหมื่นหกพันหารอยสิบสี่ 10) เกาหมื่นหนึ่งพันสาม 19

คูมือครู

19


กระตุน ความสนใจ สํารวจคนหา Explore

Engage

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Elaborate

Evaluate

กระตุนความสนใจ

(ยอจากฉบับนักเรียน 20%)

ครูตั้งประเด็นคําถามใหนักเรียน ชวยกันตอบเกี่ยวกับอุทยานแหงชาติ ดอยอินทนนท อุทยานแหงชาติดอยอินทนนท ประกาศเปนอุทยานฯ ลําดับที่ 6 ของ ประเทศไทย มีความสูงจากระดับ นํ้าทะเลปานกลาง ประมาณ 400 - 2,565 เมตร เปนภูเขาที่สูง ที่สุดในประเทศไทย • จากขอมูลขางตน เลขโดด 2 ใน 2,565 มีคาเทาใด (ตอบ 2,000) • เลขโดด 5 ทั้งสองตัว มีคา ประจําหลักเทากันหรือไม เพราะอะไร (ตอบ ไมเทากัน เพราะอยูใน หลักที่ตางกัน)

1.2 หลัก คาประจําหลัก คาของเลขโดดในแตละหลัก และการเขียนตัวเลขในรูปกระจาย 1. หลัก คาประจําหลัก และคาของเลขโดดในแตละหลัก

สํารวจคนหา

คาประจํา … 100,000 10,000 1,000 100 10 หลัก

1. ครูใหนักเรียนรวมกันสนทนา แสดงความคิดเห็นวา เลขโดดตัว เดียวกัน เมื่ออยูในหลักที่ตางกัน จะมีคาเทากันหรือไม 2. ใหนักเรียนชวยกันยกตัวอยาง จํานวนนับหาหลักที่มีเลขโดด เดียวกันซํ้ากัน 2 ตัว ในจํานวนนั้น พรอมทั้งบอกคาของเลขโดด แตละตัวเพื่อเปรียบเทียบกัน

1) หลัก และคาประจําหลัก ตัวเลขแสดงจํานวนสามารถเขียนโดยใชสญั ลักษณทเี่ รียกวา เลขโดด ซึ่งมีทั้งหมดสิบตัว คือ 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 หรือ ๐ ๑ ๒ ๓ ๔๕๖๗๘๙ การเขียนตัวเลขโดยใชเลขโดด เลขโดดจะปรากฏใน “หลัก” ซึ่งแตละหลักจะมี “คาประจําหลัก” เริม่ จากหลักหนวย มีคา เปน 1 หลักสิบ มีคา เปน 10 หลักรอย มีคาเปน 100 หลักพัน มีคาเปน 1,000 หลักหมื่น มีคาเปน 10,000 และ หลักแสน มีคาเปน 100,000 หลัก

20

คูมือครู

แสน

หมื่น

พัน รอย สิบ หนวย 1

2) คาของเลขโดดในแตละหลัก เลขโดดตัวเดียวกัน ถาอยูในหลักที่ตางกันจะมีคาไมเทากัน เลขโดดตัวนั้นจะมีคาตามหลักแสน หลักหมื่น หลักพัน หลักรอย หลักสิบ หลักหนวย เชน เลขโดด 1 ทีห่ ลักแสนจะมีคา 1 แสน เลขโดด 1 ทีห่ ลักหมืน่ จะมีคา 1 หมื่น เปนตน 10-5

àÁ×Íè àÃÒࢌÒã¨àÃ×Íè §ËÅÑ¡ ¤‹Ò»ÃШíÒËÅÑ¡ áÅФ‹Ò¢Í§àŢⴴã¹áµ‹ÅÐËÅÑ¡áÅŒÇ àÃÒä»´ÙàÃ×Íè §¡ÒÃà¢Õ¹µÑÇàÅ¢ã¹ÃÙ»¡ÃШÒ¡ѹµ‹ÍàŤÃѺ

อธิบายความรู 1. ครูอธิบายเรื่องหลัก คาประจําหลัก คาของเลขโดดในแตละหลัก ตามเนื้อหาในหนา 20 2. ใหนักเรียนชวยกันยกตัวอยาง จํานวนที่มีหาหลัก 1 จํานวน โดยครูเขียนจํานวนนั้นบนกระดาน แลวใหนักเรียนบอกคาประจําหลัก ของเลขโดดที่อยูในหลักหนวย หลักสิบ หลักรอย หลักพัน และ หลักหมื่น

20

CE

%

7

8

4

5

. .

9

ON

MRC

6

M-

1

2

3

0

.

+

OFF

M+

=


สํารวจคนหา

กระตุนความสนใจ

อธิบายความรู

Explore

Explain

Engage

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

สํารวจคนหา

2. การเขียนตัวเลขในรูปกระจาย

เปนการนําคาของเลขโดดในแตละหลักมาเขียนใหอยูใ นรูปของ

การบวก พิจารณารูป

หมื่น

พัน

รอย

สิบ

หนวย

อธิบายความรู

รูปนี้แสดงจํานวน 23,364 23,364 คือ 2 หมื่น กับ 3 พัน กับ 3 รอย กับ 6 สิบ กับ 4 หนวย เขียนตัวเลขแสดงในหลักตางๆ ไดดังนี้ หลัก หมื่น จํานวน

23,364

2

พัน

รอย

สิบ

หนวย

3

3

6

4

1. ครูใหนักเรียนรวมกันสนทนาแสดง ความคิดเห็นวา จากรูปหลักลูกคิด เมื่อนํามาเขียนเปนจํานวนแลว มีกี่หลัก และมีหลักใดบาง 2. ใหนักเรียนชวยกันบอกวาจากรูป หลักลูกคิด เมื่อเขียนจํานวนแลว เลขโดดในแตละหลักมีคาเทาใด 3. ครูทบทวนการเขียนจํานวนไมเกิน สี่หลักในรูปของการกระจาย

1. ครูสอนการเขียนตัวเลขในรูป กระจายตามเนื้อหาในหนา 21 2. ใหนักเรียนชวยกันยกตัวอยาง จํานวนที่มีหาหลัก 5 จํานวน ครูเขียนจํานวนบนกระดาน จากนั้นสุมเลือกนักเรียนออกมา เขียนตัวเลขในรูปกระจาย

คาของเลขโดดในหลักตางๆ ของจํานวน 23,364 มีดังนี้ 4 4 อยูในหลักหนวย มีคา มีคา 6 อยูในหลักสิบ 60 300 3 อยูในหลักรอย มีคา 3 อยูในหลักพัน มีคา 3,000 2 อยูในหลักหมื่น มีคา 20,000 เขียน 23,364 ในรูปกระจายได ดังนี้ 23,364 = 20,000 + 3,000 + 300 + 60 + 4 21

คูมือครู

21


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

(ยอจากฉบับนักเรียน 20%)

ขยายความเขาใจ 1. ใหนักเรียนศึกษาเรื่องการเขียน ตัวเลขในรูปกระจายในหนา 22 2. ครูถามนักเรียนวา จํานวนที่อยู ระหวาง 65,500 กับ 65,900 มี จํานวนใดบาง ใหยกตัวอยางมา 3 จํานวน จากนั้นนํามาเขียนใน รูปกระจาย โดยใหนักเรียนทําลง ในสมุด

พิจารณารูป

หมื่น

พัน

รอย

สิบ

หนวย

รูปนี้แสดงจํานวน 52,555 52,555 คือ 5 หมื่น กับ 2 พัน กับ 5 รอย กับ 5 สิบ กับ 5 หนวย เขียนตัวเลขแสดงในหลักตางๆ ไดดังนี้ หลัก หมื่น จํานวน

52,555

5

พัน

รอย

สิบ

หนวย

2

5

5

5

คาของเลขโดดในหลักตางๆ ของจํานวน 52,555 มีดังนี้ 5 อยูในหลักหนวย มีคา 5 5 มีคา อยูในหลักสิบ 50 5 อยูในหลักรอย มีคา 500 อยูในหลักพัน มีคา 2,000 2 5 อยูในหลักหมื่น มีคา 50,000 เขียน 52,555 ในรูปกระจายไดดังนี้ 52,555 = 50,000 + 2,000 + 500 + 50 + 5 àŢⴴµÑÇà´ÕÂǡѹ àÁ×Íè ÍÂÙã‹ ¹ËÅÑ¡µ‹Ò§¡Ñ¹ ¨ÐÁÕ¤Ò‹ äÁ‹à·‹Ò¡Ñ¹

10-5 7

CE

8

4 %

22

22

คูมือครู

. .

9

5

ON

MRC

6

M-

1

2

3

0

.

+

OFF

M+

=


Ô¨¡ à ÃÁ

¡

กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

Engage

Explore

Explain

Elaborate

ตรวจสอบผล Evaluate

ตรวจสอบผล

½ƒ¡½¹·Ñ¡ÉÐ

(ดูเฉลยกิจกรรมที่สวนเสริมดานหนาของเลมนี้)

1. บอกคาประจําหลักของเลขโดดทีข่ ดี เสนใตตอ ไปนี้ โดยทําลงในสมุด 1)

6,269

3)

92,415

5)

64,315

2)

11,459

4)

2,143

6)

45,911

ใหนกั เรียนทํากิจกรรมฝกฝนทักษะ หนา 23 ขอ 1.- 3. @

มุม IT

นักเรียนสามารถทําแบบฝกหัด เพิ่มเติม เรื่อง หลัก คาประจําหลัก และคาของเลขโดดในแตละหลัก ไดที่ https://www.myffiifirstbrain.com

2. บอกหลักและคาของเลขโดดในแตละหลักของจํานวนตอไปนี้ โดยทําลงในสมุด 1)

5,392

4) 24,157

7)

76,431

2)

7,791

5) 49,147

8)

59,132

3)

9,876

6) 93,415

9)

66,423

3. เขียนเปนตัวเลขฮินดูอารบิก และเขียนในรูปกระจาย จากจํานวน ตอไปนี้ โดยทําลงในสมุด 1) 9 พัน กับ 8 รอย กับ 6 สิบ กับ 0 หนวย 2) 3 หมื่น กับ 2 พัน กับ 5 รอย กับ 4 สิบ กับ 3 หนวย 3) 7 หมื่น กับ 6 พัน กับ 1 รอย กับ 8 สิบ กับ 6 หนวย 4) 4 หมื่น กับ 4 พัน กับ 5 รอย กับ 1 สิบ กับ 9 หนวย 5) 9 หมื่น กับ 3 พัน กับ 0 รอย กับ 5 สิบ กับ 8 หนวย 23

คูมือครู

23


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู ขยายความเขาใจ Explain

Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

Engage

สํารวจคนหา

(ยอจากฉบับนักเรียน 20%)

3. การใช 0 เพื่อยึดตําแหนงของหลัก

กอนใหนักเรียนศึกษาเรื่องการใช 0 เพื่อยึดตําแหนงของหลัก ครูถาม นักเรียนวา 0 เปนจํานวนที่มีคา หรือไม

1

4

3

0

หลักพัน

หลักรอย

หลักสิบ

หลักหนวย

2

5

0

6

หลักพัน

หลักรอย

หลักสิบ

หลักหนวย

3

3

0

3

2

หลักหมื่น

หลักพัน

หลักรอย

หลักสิบ

หลักหนวย

8

0

6

7

หลักหมื่น

หลักพัน

หลักสิบ

หลักหนวย

ใส 0 เพื่อยึดตําแหนง ของหลักหนวย

อธิบายความรู 1. ครูอธิบายเนื้อหาในหนานี้ 2. ใหนักเรียนยกตัวอยางจํานวนที่มี 0 เพื่อยึดตําแหนงของหลัก แลวครู เขียนบนกระดาน 3. ครูถามคําถามวา จํานวนนี้ใช 0 เพื่อยึดตําแหนงใด

ขยายความเขาใจ ครูถามคําถามวา • ถาเราไมใส 0 เพื่อยึดตําแหนง ของจํานวน จํานวนนั้นจะมีคา ตางไปจากเดิมหรือไม อยางไร (ตอบ ตางจากเดิม เชน 12,071 ถาเอา 0 ออกจะกลายเปน 1,271 ซึ่งมีคานอยกวา 12,071)

5 หลักรอย

1

0

0

0

0

หลักแสน

หลักหมื่น

หลักพัน

หลักรอย

หลักสิบ

ใส 0 เพื่อยึดตําแหนง ของหลักสิบ ใส 0 เพื่อยึดตําแหนง ของหลักรอย ใส 0 เพื่อยึดตําแหนง ของหลักพัน

0 ใส 0 เพื่อยึดตําแหนงของ หลักหมืน่ หลักพัน หลักรอย หลักหนวย หลักสิบ และหลักหนวย

10-5 CE

%

24

24

คูมือครู

7

8

4

5

. .

9

ON

MRC

6

M-

1

2

3

0

.

+

OFF

M+

=

àÃÒµŒÍ§ãÊ‹ 0 à¾×Íè ÂÖ´µíÒá˹‹§¢Í§ËÅÑ¡


Ô¨¡ à ÃÁ

¡

กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

Engage

Explore

Explain

Elaborate

ตรวจสอบผล Evaluate

ตรวจสอบผล

½ƒ¡½¹·Ñ¡ÉÐ

(ดูเฉลยกิจกรรมที่สวนเสริมดานหนาของเลมนี้)

ใหนกั เรียนทํากิจกรรมฝกฝนทักษะ หนา 25 ขอ 1.- 2.

1. จํานวนตอไปนี้ ใช 0 เพื่อยึดตําแหนงของหลักใด โดยทําลงใน สมุด 1)

1,101

7)

20,186

13)

71,180

2)

5,048

8)

71,509

14)

55,605

3)

13,470

9)

90,354

15)

38,410

4)

31,033

10)

81,609

16)

50,978

5)

48,560

11)

63,084

17)

74,601

6)

47,098

12)

81,540

18)

10,782

2. เขียนตัวเลขแสดงจํานวนที่ใช 0 เพื่อยึดตําแหนงของหลักหนวย หลักสิบ หลักรอย หลักพัน มาอยางละ 2 จํานวน และเขียน ตัวเลขแสดงจํานวนที่ใช 0 เพื่อยึดตําแหนงของหลักหมื่นมา 1 จํานวน โดยทําลงในสมุด 25

คูมือครู

25


กระตุน ความสนใจ สํารวจคนหา Explore

Engage

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

กระตุนความสนใจ ครูตั้งประเด็นคําถามใหนักเรียน ชวยกันตอบ • พื้นที่สวนใหญของอุทยานแหง ชาติแกงกระจานเปนภูเขาสลับ ซับซอน มียอดเขางะงันนิกยวงตองสูง 1,513 เมตร ยอดเขา พะเนินทุงสูง 1,207 เมตร ยอดเขาใดมีความสูงมากกวากัน ทราบไดโดยวิธีใด (ตอบ ยอดเขางะงันนิกยวงตอง ทราบไดจากการนําจํานวนมา เปรียบเทียบกัน)

1.3 การเปรียบเทียบจํานวน และการใชเครื่องหมาย =, ≠, >, <

จํานวนสองจํานวน เมื่อนํามาเปรียบเทียบกัน อาจเทากัน หรือ ไมเทากัน และถาไมเทากันอาจมากกวา หรือ นอยกวา เครื่องหมาย =, ≠, >, < เปนเครื่องหมายใชแสดงการเปรียบเทียบ à¤Ã×Íè §ËÁÒ à¤Ã×Íè §ËÁÒ à¤Ã×Íè §ËÁÒ à¤Ã×Íè §ËÁÒÂ

10-5 CE

%

สํารวจคนหา 1. ครูทบทวนความหมายของ เครื่องหมาย =, = , >, < 2. ครูยกตัวอยางจํานวนไมเกิน 10,000 มา 2 จํานวน แลวให นักเรียนเปรียบเทียบจํานวนโดยใช เครื่องหมาย =, =, >, <

(ยอจากฉบับนักเรียน 20%)

7

8

4

5

. .

9

ON

MRC

6

M-

1

2

3

0

.

+

OFF

M+

=

= = > <

á·¹ á·¹ á·¹ á·¹

෋ҡѺ äÁ‹à·‹Ò¡Ñº ÁÒ¡¡Ç‹Ò ¹ŒÍ¡NjÒ

1. การเปรียบเทียบจํานวนสองจํานวนวาเทากัน ((=) หรือ ไมเทากัน (≠)

1) การเปรียบเทียบจํานวนสองจํานวนทีม่ จี าํ นวนหลักไมเทากัน

µÑÇÍ‹ҧ·Õè 1

อธิบายความรู 1. ใหนักเรียนดูรูปหลักลูกคิดจาก ตัวอยางที่ 1 แลวถามวา • รูปใดมีจํานวนมากกวา สังเกต จากสิ่งใด (ตอบ รูปซายมือ สังเกตจาก จํานวนหลักที่มีมากกวา หลักของรูปขวามือ) 2. ครูอธิบายความรูเรื่องการเปรียบเทียบจํานวนสองจํานวนวาเทากัน หรือไมเทากัน

26

คูมือครู

กับ พัน รอย สิบ หนวย 13,142 เปนจํานวนที่มีหาหลัก 4,056 เปนจํานวนที่มีสี่หลัก เนื่องจาก 13,142 มีจํานวนหลักไมเทากับ 4,056 ดังนั้น 13,142 ไมเทากับ 4,056 หรือ 13,142 ≠ 4,056 หมื่น

26

พัน

รอย

สิบ

หนวย


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

อธิบายความรู 1. ครูอธิบายการเปรียบเทียบจํานวน ที่มีหลักไมเทากัน และการเปรียบเทียบจํานวนที่มีหลักเทากัน โดย ใชเครื่องหมาย =, = ใหนักเรียน เขาใจ 2. ใหนักเรียนรวมกันสรุปใหไดวา • จํานวนที่มีหลักไมเทากันจะมีคา ไมเทากัน • จํานวนที่มีคาเทากันจะตองเปน จํานวนเดียวกัน

µÑÇÍ‹ҧ·Õè 2

กับ หมื่น พัน รอย สิบ หนวย 5,257 เปนจํานวนที่มีสี่หลัก 28,416 เปนจํานวนที่มีหาหลัก เนื่องจาก 5,257 มีจํานวนหลักไมเทากับ 28,416 ดังนั้น 5,257 ไมเทากับ 28,416 หรือ 5,257 ≠ 28,416 พัน

รอย

สิบ

หนวย

2) การเปรียบเทียบจํานวนสองจํานวนทีม่ จี าํ นวนหลักเทากัน ใหเปรียบเทียบเลขโดดในหลักทางซายมือสุดกอน ถาเลขโดดในหลัก ดังกลาวเทากัน ใหเปรียบเทียบเลขโดดในหลักตอไปทางขวามือทีละหล ะหลัก µÑÇÍ‹ҧ·Õè 1

พัน

รอย

สิบ

หนวย

พัน

3,392 กับ เนื่องจาก 300 ไมเทากับ 500 ดังนั้น 3,392 ไมเทากับ 3,536 หรือ 3,392 ≠ 3,536

รอย

สิบ

หนวย

3,536

27

คูมือครู

27


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

(ยอจากฉบับนักเรียน 20%)

อธิบายความรู 1. ครูอธิบายความรูเ รือ่ งการเปรียบเทียบจํานวนสองจํานวนวา มากกวาหรือนอยกวาตามเนื้อหา ในหนา 28 2. ใหนักเรียนยกตัวอยาง จํานวนที่มี หาหลัก 5 จํานวน โดยครูเขียนบน กระดาน แลวเลือกจํานวนมาถาม นักเรียนครั้งละ 2 จํานวน เพื่อให นักเรียนชวยกันตอบ • จํานวนใดมากกวากัน • จํานวนใดนอยกวากัน 3. ใหนักเรียนรวมกันสรุปใหไดวา จํานวนทีม่ หี ลักไมเทากัน จํานวนทีม่ ี หลักมากกวา จะมีคา มากกวาเสมอ

µÑÇÍ‹ҧ·Õè 3

หมื่น

พัน

รอย

สิบ

หนวย

หมื่น

พัน

รอย

สิบ

หนวย

21,537 กับ 21,537 เนื่องจาก 21,537 กับ 21,537 มีจํานวนหลักและเลขโดด ในทุกหลักเทากัน ดังนั้น 21,537 เทากับ 21,537 หรือ 21,537 = 21,537

2. การเปรียบเทียบจํานวนสองจํานวนวามากกวา (>) หรือนอยกวา (<)

1) การเปรียบเทียบจํานวนสองจํานวนทีม่ จี าํ นวนหลักไมเทากัน • จํานวนใดที่มีจํานวนหลักมากกวา จํานวนนั้นจะมากกวา • จํานวนใดทีม่ จี าํ นวนหลักนอยกวา จํานวนนัน้ จะนอยกวา

µÑÇÍ‹ҧ·Õè 1

กับ หมื่น พัน รอย สิบ หนวย 2,305 เปนจํานวนที่มีสี่หลัก 23,005 เปนจํานวนที่มีหาหลัก เนื่องจาก 2,305 มีจํานวนหลักนอยกวา 23,005 ดังนั้น 2,305 นอยกวา 23,005 เขียนแทนดวย 2,305 < 23,005 หรือกลาววา 23,005 มากกวา 2,305 เขียนแทนดวย 23,005 > 2,305 พัน

28

28

คูมือครู

รอย

สิบ

หนวย


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

อธิบายความรู

µÑÇÍ‹ҧ·Õè 2

กับ พัน รอย สิบ หนวย 42,381 เปนจํานวนที่มีหาหลัก 4,765 เปนจํานวนที่มีสี่หลัก เนื่องจาก 42,381 มีจํานวนหลักมากกวา 4,765 ดังนัน้ 42,381 มากกวา 4,765 เขียนแทนดวย 42,381 > 4,765 หรือกลาววา 4,765 นอยกวา 42,381 เขียนแทนดวย 4,765 < 42,381 หมื่น

พัน

รอย

สิบ

หนวย

2) การเปรียบเทียบจํานวนสองจํานวนทีม่ จี าํ นวนหลักเทากัน การเปรียบเทียบจํานวนสองจํานวนที่มีจํานวนหลักเทากัน ใหเปรียบเทียบเลขโดดทางซายมือสุดกอน ถาเลขโดดในหลักดังกลาวของ จํานวนใดมากกวา จํานวนนั้นมากกวา ถาเลขโดดในหลักดังกลาวเทากัน ใหเปรียบเทียบเลขโดดในหลักถัดไปทางขวามือทีละหลัก

1. ครูอธิบายการเปรียบเทียบจํานวน ที่มีจํานวนหลักเทากันในหนา 29 2. ครูเขียนจํานวนที่มีหาหลัก 1 จํานวน บนกระดาน จากนั้นให นําไปเปรียบเทียบกับจํานวนแรก คือ 53,017 และเปรียบเทียบกับ จํานวนที่สอง คือ 83,017 และถาม คําถามเพื่อใหนักเรียนชวยกันตอบ • จํานวนที่กําหนดใหมากกวาหรือ นอยกวา 53,017 • จํานวนที่กําหนดใหมากกวาหรือ นอยกวา 83,017 3. จากขอ 2. ใหนักเรียนชวยกัน อธิบายวา นักเรียนมีวธิ เี ปรียบเทียบ จํานวนอยางไร

µÑÇÍ‹ҧ·Õè 1

หมื่น

พัน

รอย

สิบ

หนวย

หมื่น

พัน

รอย

สิบ

หนวย

53,017 กับ 83,017 เปรียบเทียบเลขโดดทีอ่ ยูท างซายมือสุด ซึง่ เปนเลขโดดในหลักหมืน่ พบวา 5 นอยกวา 8 เนื่องจาก 50,000 นอยกวา 80,000 ดังนั้น 53,017 นอยกวา 83,017 เขียนแทนดวย 53,017 < 83,017 หรือกลาววา 83,017 มากกวา 53,017 เขียนแทนดวย 83,017 > 53,017 29

คูมือครู

29


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

(ยอจากฉบับนักเรียน 20%)

ขยายความเขาใจ 1. ใหนักเรียนศึกษาตัวอยางที่ 2 และ ตัวอยางที่ 3 ในหนา 30 2. ครูตั้งคําถามใหนักเรียนชวยกัน ตอบวา • จํานวนใดบางที่มากกวา 15,179 แตนอยกวา 16,159 • จํานวนใดบางที่นอยกวา 43,457 แตมากกวา 43,126 3. ครูใหนักเรียนรวมกันสนทนา แสดงความคิดเห็นวา ใน หองเรียนใครสูงที่สุด และใคร เตี้ยที่สุด 4. ใหนักเรียนนําตัวเลขที่เปนความ สูงของคนที่สูงที่สุด คนที่เตี้ย ที่สุด และตัวนักเรียนเองมาเรียง ลําดับจากนอยไปหามาก

µÑÇÍ‹ҧ·Õè 2

หมื่น

พัน

รอย

สิบ

หนวย

หมื่น

พัน

รอย

สิบ

หนวย

รอย

สิบ

หนวย

หมื่น

พัน

รอย

สิบ

หนวย

16,159 กับ 15,179 เปรียบเทียบเลขโดดทีอ่ ยูท างซายมือสุด ซึง่ เปนเลขโดดในหลักหมืน่ เปน 1 เทากัน ตองพิจารณาเลขโดดในหลักพัน พบวา 6 มากกวา 5 เนื่องจาก 6,000 มากกวา 5,000 ดังนั้น 16,159 มากกวา 15,179 เขียนแทนดวย 16,159 > 15,179 หรือกลาววา 15,179 นอยกวา 16,159 เขียนแทนดวย 15,179 < 16,159 µÑÇÍ‹ҧ·Õè 3

หมื่น

พัน

43,126 กับ 43,457 เนื่องจาก เลขโดดในหลักหมื่นและหลักพันเทากัน ตองพิจารณา เลขโดดในหลักรอย พบวา 1 นอยกวา 4 เนื่องจาก 100 นอยกวา 400 ดังนั้น 43,126 นอยกวา 43,457 เขียนแทนดวย 43,126 < 43,457 หรือกลาววา 43,457 มากกวา 43,126 เขียนแทนดวย 43,457 > 43,126 30

30

คูมือครู


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

ขยายความเขาใจ ครูสรุปใหนักเรียนฟงอีกครั้งวา การเปรียบเทียบจํานวนนับสองจํานวน อาจทําไดดังนี้ • เปรียบเทียบจํานวนหลักกอน จํานวนใดมีจํานวนหลักมากกวา จํานวนนั้นจะมากกวา • ถาจํานวนหลักเทากัน ให เปรียบเทียบคาของเลขโดดใน หลักทางซายมือสุดกอน ถาคา ของเลขโดดทางซายมือสุดใด มากกวาจํานวนนั้นจะมากกวา • ถาคาของเลขโดดในหลักทาง ซายมือสุดของทั้งสองจํานวน เทากัน ก็ใหเปรียบเทียบคา ของเลขโดดในหลักถัดไปทาง ขวามือทีละหลักดวยวิธีเดียวกัน

µÑÇÍ‹ҧ·Õè 4

หมื่น

พัน

รอย

สิบ

หนวย

หมื่น

พัน

รอย

สิบ

หนวย

12,354 กับ 12,327 เนื่องจาก เลขโดดในหลักหมื่น หลักพัน และหลักรอยเทากัน ตองพิจารณาเลขโดดในหลักสิบ พบวา 5 มากกวา 2 เนื่องจาก 50 มากกวา 20 ดังนั้น 12,354 มากกวา 12,327 เขียนแทนดวย 12,354 > 12,327 หรือกลาววา 12,327 นอยกวา 12,354 เขียนแทนดวย 12,327 < 12,354 µÑÇÍ‹ҧ·Õè 5

หมื่น

พัน

รอย

สิบ

หนวย

หมื่น

พัน

รอย

สิบ

หนวย

75,164 กับ 75,169 เนื่องจาก เลขโดดในหลักหมื่น หลักพัน หลักรอย และหลักสิบ เทากัน ตองพิจารณาเลขโดดในหลักหนวย พบวา 4 นอยกวา 9 ดังนั้น 75,164 นอยกวา 75,169 เขียนแทนดวย 75,164 < 75,169 หรือกลาววา 75,169 มากกวา 75,164 เขียนแทนดวย 75,169 > 75,164 31

คูมือครู

31


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

Engage

Explore

Explain

Expand

ตรวจสอบผล ใหนกั เรียนทํากิจกรรมฝกฝนทักษะ หนา 32 ขอ 1.- 4.

@

มุม IT

นักเรียนสามารถทําแบบฝกหัด เพิม่ เติม เรือ่ ง การเปรียบเทียบจํานวน ไดที่ https://www.myfiffi ifi rfistbrain.com

¡Ô ¨

¡ÃÃÁ

½ƒ¡½¹·Ñ¡ÉÐ

ตรวจสอบผล Evaluate

(ยอจากฉบับนักเรียน 20%)

(ดูเฉลยกิจกรรมที่สวนเสริมดานหนาของเลมนี้)

1. เขียนเครื่องหมาย = หรือ = ลงใน โดยทําลงในสมุด 1) 12,341 12,341 5) 40,007 40,007 6) 68,233 68,232 2) 24,639 4,639 3) 61,782 51,782 7) 54,312 74,312 4) 35,708 35,708 8) 91,008 91,008 2. จํานวนใดมากกวา ใหตอบดวยวาจา 1) 1,208 กับ 1,567 5) 5,104 กับ 11,041 2) 3,145 กับ 5,561 6) 27,411 กับ 2,248 3) 8,159 กับ 4,916 7) 87,610 กับ 54,185 4) 5,549 กับ 8,019 8) 66,403 กับ 41,813 3. จํานวนใดนอยกวา ใหตอบดวยวาจา 1) 2,415 กับ 2,385 5) 55,918 กับ 10,415 2) 5,645 กับ 31,406 6) 10,487 กับ 38,146 3) 84,321 กับ 61,489 7) 66,435 กับ 63,176 4) 7,418 กับ 32,147 8) 63,176 กับ 48,617 4. เขียนเครื่องหมาย > หรือ < ลงใน โดยทําลงในสมุด 5) 64,977 54,988 1) 1,314 13,142 6) 83,746 83,747 2) 36,010 6,019 3) 59,715 67,556 7) 79,310 72,420 4) 58,220 48,130 8) 100,000 96,448 32

32

คูมือครู


กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

การเรียงลําดับจํานวนหลายๆ จํานวน ทําไดโดยการเปรียบเทียบ จํานวนทุกจํานวน แลวนํามาเรียงลําดับกัน การเรียงลําดับจํานวนมี 2 ลักษณะ คือ 1) เรียงลําดับจํานวนจากนอยไปมาก 2) เรียงลําดับจํานวนจากมากไปนอย

4,516

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

กระตุนความสนใจ

1.4 การเรียงลําดับจํานวน

µÑÇÍ‹ҧ·Õè 1

ขยายความเขาใจ

14,647

เรียงลําดับจํานวนจากมากไปนอย ไดดังนี้ 51,422 14,647 4,516 เรียงลําดับจํานวนจากนอยไปมาก ไดดังนี้ 4,516 14,647 51,422

51,422 วิธีคิด 4,516 มีจํานวนหลักนอยที่สุด ดังนั้น 4,516 นอยที่สุด 14,647 และ 51,422 มีจาํ นวนหลักเทากัน แต 5 > 1 ดังนั้น 51,422 มากที่สุด

ครูถามคําถามแลวใหนักเรียน แสดงความคิดเห็นอยางอิสระ • ใหนักเรียนบอกชื่อผลไมที่ชอบ รับประทานมา 3 อันดับ โดยเริ่ม จากชอบมากที่สุดไปนอยที่สุด

สํารวจคนหา 1. ครูใหนักเรียนรวมกันสนทนา แสดงความคิดเห็นวา จากจํานวน 3 จํานวน ในตัวอยางที่ 1 จํานวน แตละจํานวนมีกี่หลัก 2. ใหนักเรียนชวยกันบอกวา จาก คําตอบในขอที่ 1 จํานวนที่มีสี่หลัก กับจํานวนที่มีหาหลัก จํานวนใด มากกวากัน

อธิบายความรู

µÑÇÍ‹ҧ·Õè 2

18,901

64,200

วิธีคิด แตละจํานวนมีจํานวนหลักเทากัน เปรียบเทียบเลขโดดซายมือสุด พบวา 6 มากที่สุด ดังนั้น 64,200 มากที่สุด พบวา 1 นอยที่สุด ดังนั้น 18,901 นอยที่สุด

34,679

1. ครูใหนักเรียนศึกษาการเรียงลําดับ จํานวนตามเนื้อหาในหนา 33 - 34 2. ใหนักเรียนชวยกันยกตัวอยาง จํานวนที่มีสามหลัก 1 จํานวน มีสี่หลัก 1 จํานวน และมีหาหลัก 2 จํานวน โดยครูเขียนจํานวนนับ บนกระดาน และถามคําถาม เพื่อใหนักเรียนชวยกันตอบ • จํานวนใดนอยที่สุด • จํานวนใดมากที่สุด • เรียงลําดับจํานวนจากมาก ไปนอย และจากนอยไปมาก ไดอยางไร

23,946

เปรียบเทียบ 34,679 และ 23,946 พบวา 3 > 2 ดังนั้น 34,679 > 23,946

เรียงลําดับจํานวนจากมากไปนอย ไดดังนี้ 64,200 34,679 23,946 18,901 เรียงลําดับจํานวนจากนอยไปมาก ไดดังนี้ 18,901 23,946 34,679 64,200 33

คูมือครู

33


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

(ยอจากฉบับนักเรียน 20%)

ขยายความเขาใจ ครูตั้งประเด็นคําถามใหนักเรียน รวมกันอภิปรายวา • ถาจํานวนมีหลักเทากัน เราจะ พิจารณาการเปรียบเทียบ จํานวนอยางไร (ตอบ พิจารณาจากเลขโดดใน หลักทางซายมือสุดกอน ถาคา ของเลขโดดทางซายมือสุดใด มากกวา จํานวนนั้นจะมากกวา แตถาคาของเลขโดดในหลัก ทางซายมือสุดของทัง้ สองจํานวน เทากัน ก็ใหเปรียบเทียบคา ของเลขโดดในหลักถัดไป ทางขวามือทีละหลักดวยวิธี เดียวกัน) • ถาจํานวนมีหลักไมเทากัน เราจะ พิจารณาการเปรียบเทียบ จํานวนอยางไร (ตอบ พิจารณาวาจํานวนใดมี จํานวนหลักมากกวา แสดงวา จํานวนนั้นมีคามากกวา)

@

µÑÇÍ‹ҧ·Õè 3

23,487

81,243

วิธีคิด แตละจํานวนมีจํานวนหลักเทากัน เปรียบเทียบเลขโดดซายมือสุด พบวา 9 มากที่สุด ดังนั้น 93,919 มากที่สุด พบวา 2 นอยที่สุด ดังนั้น 23,487 นอยที่สุด

42,180

60,804

93,919

เปรียบเทียบ 81,243, 42,180 และ 60,804 พบวา 8 > 6 และ 6 > 4 ดังนั้น 81,243 > 60,804 60,804 > 42,180

เรียงลําดับจํานวนจากมากไปนอย ไดดังนี้ 93,919 81,243 60,804 42,180 23,487 เรียงลําดับจํานวนจากนอยไปมาก ไดดังนี้

23,487 42,180 60,804 81,243 93,919

มุม IT

¡ÒÃàÃÕ§ÅíҴѺ¨íҹǹãËŒ¾¨Ô ÒóҨҡ¤‹Ò¢Í§àŢⴴ ã¹áµ‹ÅÐËÅÑ¡ â´Â¾Ô¨ÒóҷÕÅÐËÅÑ¡ àÃÔÁè ¨Ò¡ËÅÑ¡·ÕÍè ÂÙ‹ «ŒÒÂÁ×ÍÊØ´¡‹Í¹ ¶ŒÒàŢⴴ·ÕÍè ÂÙã‹ ¹ËÅÑ¡·Õ¾è ¨Ô ÒóҢͧ ¨íҹǹã´ÁÒ¡¡Ç‹Ò áÊ´§Ç‹Ò¨íҹǹ¹Ñ¹é ÁÒ¡¡Ç‹Ò

ทบทวนบทเรียนและทําแบบฝกหัด เพิ่มเติม เรื่อง จํานวนนับไมเกิน 100,000 ไดที่ https://www.myfififfiirfistbrain.com

10-5 CE

%

34

34

คูมือครู

7

8

4

5

. .

9

ON

MRC

6

M-

1

2

3

0

.

+

OFF

M+

=


¡

Ô¨¡ à ÃÁ

กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

Engage

Explore

Explain

Elaborate

ตรวจสอบผล Evaluate

ตรวจสอบผล

½ƒ¡½¹·Ñ¡ÉÐ

(ดูเฉลยกิจกรรมที่สวนเสริมดานหนาของเลมนี้)

1. เรียงลําดับจํานวนจากมากไปนอย โดยทําลงในสมุด 1) 2,321 2,758 2,806 2) 5,742 57,204 5,758 3) 1,527 64,532 94,014 246 4) 42,535 6,910 2,301 76,174 5) 62,332 6,208 62,797 624 6,298 6) 3,844 69,316 882 53,099 4,108 7) 7,316 89,541 2,110 463 37,099 2. เรียงลําดับจํานวนจากนนอยยไป ยไปมาก มาก โดยทําลงในสมุด 1) 1,943 1,985 1,928 2) 3,578 23,584 35,654 3) 4,418 76,859 34,221 5,930 4) 2,196 20,144 2,745 23,581 5) 75,532 75,017 7,549 7,516 75,301 6) 51,294 6,753 4,281 747 36,166 7) 693 27,176 8,518 92,301 4,565

ใหนกั เรียนทํากิจกรรมฝกฝนทักษะ หนา 35 ขอ 1.- 2. @

มุม IT

นักเรียนสามารถทําแบบฝกหัด เพิ่มเติม เรื่อง การเรียงลําดับจํานวน ไดที่ https://www.myfiffi ifi rfistbrain.com

35

คูมือครู

35


กระตุน ความสนใจ สํารวจคนหา Explore

Engage

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Elaborate

Evaluate

(ยอจากฉบับนักเรียน 20%)

กระตุนความสนใจ ครูตั้งประเด็นคําถามใหนักเรียน ชวยกันตอบ • นักเรียนตองเดินทางโดยรถ สองแถว โดยจายคาโดยสาร คนละ 3 บาท ถานักเรียนนั่งรถ ไปกับนอง นักเรียนจะตองจาย คาโดยสารเพิ่มขึ้นอีกกี่บาท (ตอบ 3 บาท) • ถานักเรียนนั่งรถไปกับคุณแม และคุณพอจะตองจายคา โดยสารทั้งหมดกี่บาท (ตอบ 9 บาท)

1.5 การนับเพิ่มทีละ 3 ทีละ 4 ทีละ 25 และทีละ 50

การนับเพิ่มทีละ 3 ทีละ 4 ทีละ 25 หรือทีละ 50 เปนการนําจํานวน 3 4 25 หรือ 50 บวกกับจํานวนเริ่มตนแลวบวกผลบวกที่ไดจากการ นับเพิ่มในแตละครั้งดวยจํานวนเดิมตอไปตามลําดับ

1. การนับเพิ่มทีละ 3

µÑÇÍ‹ҧ·Õè 1

1,222

1,222 + 3

สํารวจคนหา 1. ดูตัวอยางการนับเพิ่มในหนา 36 2. ใหนักเรียนชวยกันตอบคําถาม • การนับเพิ่มเปนการทําให จํานวนที่อยูถัดไปจากจํานวน เริ่มตนเพิ่มขึ้นหรือลดลง (ตอบ เพิ่มขึ้น) • ในการนับเพิ่ม จํานวนเริ่มตน ตองนอยกวาหรือมากกวา จํานวนที่อยูถัดไป (ตอบ นอยกวา)

9,996

1,225 + 3

9,999

9,996 + 3

1,231 1,228 + 3

10,002

9,999 + 3

10,005

10,002 + 3

µÑÇÍ‹ҧ·Õè 3

24,604

24,607

24,604 + 3

1. ครูอธิบายการนับเพิ่มทีละ 3 ตามหนังสือหนา 36 2. ใหนักเรียนยกตัวอยางจํานวน มาจํานวนหนึ่ง แลวนับเพิ่ม ทีละ 3 ตอไปอีก 4 จํานวน

24,610

24,607 + 3

24,613

24,610 + 3

10-5 CE

%

36

คูมือครู

1,228

µÑÇÍ‹ҧ·Õè 2

อธิบายความรู

36

1,225

7

8

4

5

. .

9

ON

MRC

6

M-

1

2

3

0

.

+

OFF

M+

=

¡ÒùѺà¾ÔÁè ·ÕÅÐ 3 ໚¹¡Òúǡ´ŒÇ 3 ¡Ñº¨íҹǹàÃÔÁè µŒ¹ áŌǺǡ¼ÅºÇ¡·Õäè ´Œ¨Ò¡¡ÒùѺà¾ÔÁè ã¹áµ‹ÅФÃÑ§é ´ŒÇ 3 µ‹Í仵ÒÁÅíҴѺ


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Elaborate

Evaluate

อธิบายความรู

2. การนับเพิ่มทีละ 4

1. ครูอธิบายการนับเพิ่มทีละ 4 ตาม เนื้อหาในหนา 37 2. ครูเขียนจํานวนเริ่มตนบนกระดาน จากนั้นแจกบัตรตัวเลขใหนักเรียน คนละ 1 ใบ แลวใหปฏิบัติ ดังนี้ • นับเพิ่มตอจากจํานวนที่ครู กําหนดใหตอไปอีก 5 จํานวน โดยใหนกั เรียนทีม่ จี าํ นวนเหลานัน้ ถือบัตรตัวเลขออกมายืนเรียงกัน หนาหอง

µÑÇÍ‹ҧ·Õè 1

2,760

2,764

2,760 + 4

2,768

2,764 + 4

2,772 2,768 + 4

µÑÇÍ‹ҧ·Õè 2

5,542

5,546

5,542 + 4

5,550

5,546 + 4

5,554 5,550 + 4

µÑÇÍ‹ҧ·Õè 3

10,433

10,437

10,433 + 4

10,441

10,437 + 4

10,445

10,441 + 4

µÑÇÍ‹ҧ·Õè 4

74,115

74,119

74,115 + 4

74,123

74,119 + 4

74,127

74,123 + 4 10-5

¡ÒùѺà¾ÔÁè ·ÕÅÐ 4 ໚¹¡Òúǡ´ŒÇ 4 ¡Ñº¨íҹǹàÃÔÁè µŒ¹ áŌǺǡ¼ÅºÇ¡·Õäè ´Œ¨Ò¡¡ÒùѺà¾ÔÁè ã¹áµ‹ÅФÃÑ§é ´ŒÇ 4 µ‹Í仵ÒÁÅíҴѺ

CE

%

7

8

4

5

. .

9

ON

MRC

6

M-

1

2

3

0

.

+

OFF

M+

=

37

คูมือครู

37


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู ขยายความเขาใจ Explain

Evaluate

อธิบายความรู 1. ใหนักเรียนศึกษาเรื่องการนับเพิ่ม ในหนา 38 2. ครูถามนักเรียนวา นอกจาก จํานวนที่ยกตัวอยางมาแลว นักเรียนสามารถนับเพิม่ ทีละเทาใด ไดอีกบาง โดยสุมเลือกถามจาก นักเรียนทีละคน

ตรวจสอบผล

Expand

(ยอจากฉบับนักเรียน 20%)

3. การนับเพิ่มทีละ 25 µÑÇÍ‹ҧ·Õè 1

3,210

3,235

3,210 + 25

3,260 3,235 + 25

3,285 3,260 + 25

µÑÇÍ‹ҧ·Õè 2 ขยายความเขาใจ 1. ครูอธิบายใหนักเรียนเขาใจวา การนับเพิ่มทีละเทาๆ กัน สามารถ นําไปใชในชีวิตประจําวันได เชน ไดเงินคาขนมทั้งหมดอาทิตยละ เทาไร ถาแมใหเงินเทาๆ กันทุกวัน 2. ใหนักเรียนยกตัวอยางจํานวนใน ชีวิตประจําวัน เชน มีเงินอยู 137 บาท ถาออมเงินวันละ 3 บาท เทาๆ กันทุกวัน อีก 4 วัน ขางหนา จะมีเงินกี่บาท

48,125

48,150

48,175

48,125 + 25 48,150 + 25

48,200

48,175 + 25

¡ÒùѺà¾ÔÁè ·ÕÅÐ 25 ໚¹¡Òúǡ´ŒÇ 25 ¡Ñº¨íҹǹàÃÔÁè µŒ¹ áŌǺǡ¼ÅºÇ¡·Õäè ´Œ¨Ò¡¡ÒùѺà¾ÔÁè ã¹áµ‹ÅФÃÑ§é ´ŒÇ 25 µ‹Í仵ÒÁÅíҴѺ

10-5 7

CE

8

4 %

. .

9

5

ON

MRC

6

M-

1

2

3

0

.

+

OFF

M+

=

4. การนับเพิ่มทีละ 50 µÑÇÍ‹ҧ·Õè 1

5,132

5,182

5,132 + 50

5,232

5,182 + 50

5,282

5,232 + 50

µÑÇÍ‹ҧ·Õè 2

19,225

19,275

19,225 + 50 10-5 CE

%

38

38

คูมือครู

7

8

4

5

. .

9

ON

MRC

6

M-

1

2

3

0

.

+

OFF

M+

=

19,325

19,275 + 50

19,375

19,325 + 50

¡ÒùѺà¾ÔÁè ·ÕÅÐ 50 ໚¹¡Òúǡ´ŒÇ 50 ¡Ñº¨íҹǹàÃÔÁè µŒ¹ áŌǺǡ¼ÅºÇ¡·Õäè ´Œ¨Ò¡¡ÒùѺà¾ÔÁè ã¹áµ‹ÅФÃÑ§é ´ŒÇ 50 µ‹Í仵ÒÁÅíҴѺ


¡

Ô¨¡ à ÃÁ

กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

Engage

Explore

Explain

Elaborate

ตรวจสอบผล Evaluate

ตรวจสอบผล

½ƒ¡½¹·Ñ¡ÉÐ

(ดูเฉลยกิจกรรมที่สวนเสริมดานหนาของเลมนี้)

ใหนกั เรียนทํากิจกรรมฝกฝนทักษะ หนา 39 ขอ 1.- 3.

1. ตอบดวยวาจาวาจํานวนในแตละขอตอไปนี้ นับเพิ่มทีละเทาใด 1) 2,159 2,162 2,165 2,168 2) 13,369 13,373 13,377 13,381 3) 5,563 5,588 5,613 5,638 4) 7,854 7,904 7,954 8,004 5) 88,922 88,947 88,972 88,997 2. พิจารณาจํานวนตอไปนี้ แลวเติมจํานวนใน โดยทําลงใน สมุด 4,673 1) 4,657 4,661 4,665 2) 6,891 6,941 6,991 7,041 3) 10,084 10,109 10,134 10,184 4) 56,326 56,329 56,332 5) 9,993 9,997 10,001 3. นับเพิ่มตามที่กําหนดตอไปอีก 4 จํานวน โดยทําลงในสมุด 1) นับเพิ่มทีละ 3 จาก 1,206 2) นับเพิ่มทีละ 4 จาก 4,876 3) นับเพิ่มทีละ 25 จาก 12,363 4) นับเพิ่มทีละ 50 จาก 23,105 39

คูมือครู

39


กระตุน ความสนใจ สํารวจคนหา Explore

Engage

กระตุนความสนใจ ครูตั้งประเด็นคําถามใหนักเรียน ชวยกันตอบ • ถานักเรียนมีเงินอยู 12 บาท นํา ไปซื้อขนมชิ้นแรกราคา 4 บาท นําไปซื้อขนมชิ้นที่สองราคา 4 บาท นําไปซื้อขนมชิ้นที่สาม ราคา 4 บาท เงินของนักเรียน จะเพิม่ ขึน้ หรือลดลงครัง้ ละกีบ่ าท (ตอบ ลดลงครั้งละ 4 บาท)

อธิบายความรู Explain

Evaluate

(ยอจากฉบับนักเรียน 20%)

1. การนับลดทีละ 3

µÑÇÍ‹ҧ·Õè 1

1,250

1,247

1,250 - 3

1,244 1,247 - 3

1,241 1,244 - 3

µÑÇÍ‹ҧ·Õè 2

26,475

26,472

26,475 - 3

26,469

26,472 - 3

26,466 26,469 - 3

µÑÇÍ‹ҧ·Õè 3

81,411

81,408

81,411 - 3

1. ครูอธิบายการนับลดทีละ 3 ตามตัวอยางหนา 40 2. ครูเขียนจํานวนมาจํานวนหนึ่ง แลวใหนักเรียนชวยกันบอกจํานวน ถัดไปจากการนับลดทีละ 3

81,405

81,408 - 3

¡ÒùѺŴ·ÕÅÐ 3 ໚¹¡ÒÃź¨íҹǹàÃÔÁè µŒ¹´ŒÇ 3 áÅŒÇź¼Åź·Õäè ´Œ¨Ò¡¡ÒùѺŴã¹áµ‹ÅФÃÑ§é ´ŒÇ 3 µ‹Í仵ÒÁÅíҴѺ

81,402

81,405 - 3

10-5 CE

%

40

คูมือครู

Expand

การนับลดทีละ 3 ทีละ 4 ทีละ 5 ทีละ 25 หรือทีละ 50 เปนการนํา จํานวน 3 4 5 25 หรือ 50 ลบออกจากจํานวนเริ่มตน แลวลบผลลบที่ได จากการนับลดในแตละครั้งดวยจํานวนเดิมตอไปตามลําดับ

อธิบายความรู

40

ตรวจสอบผล

1.6 การนับลดทีละ 3 ทีละ 4 ทีละ 5 ทีละ 25 และทีละ 50

สํารวจคนหา 1. ใหนักเรียนดูตัวอยางการนับลด ในหนา 40 2. ใหนักเรียนชวยกันตอบคําถาม • การนับลดเปนการทําใหจํานวน ที่อยูถัดไปจากจํานวนเริ่มตน เพิ่มขึ้นหรือลดลง (ตอบ ลดลง) • ในการนับลด จํานวนเริ่มตน จะตองมากกวาหรือนอยกวา จํานวนที่อยูถัดไป (ตอบ มากกวา)

ขยายความเขาใจ

7

8

4

5

. .

9

ON

MRC

6

M-

1

2

3

0

.

+

OFF

M+

=


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

อธิบายความรู

2. การนับลดทีละ 4

1. ครูอธิบายวิธีการนับลดทีละ 4 ตามตัวอยางหนา 41 2. ครูเขียนจํานวนเริ่มตนบนกระดาน จากนั้นแจกบัตรตัวเลขใหนักเรียน คนละ 1 ใบ แลวใหปฏิบัติ ดังนี้ • นับลดตอจากจํานวนที่ครู กําหนดใหตอไปอีก 5 จํานวน โดยใหนกั เรียนทีม่ จี าํ นวนเหลานัน้ ถือบัตรตัวเลขออกมายืนเรียงกัน หนาหอง

µÑÇÍ‹ҧ·Õè 1

1,715

1,711

1,715 - 4

1,707 1,711 - 4

1,703 1,707 - 4

µÑÇÍ‹ҧ·Õè 2

32,149

32,145

32,149 - 4

32,141

32,145 - 4

32,137

32,141 - 4

¡ÒùѺŴ·ÕÅÐ 4 ໚¹¡ÒÃź¨íҹǹàÃÔÁè µŒ¹´ŒÇ 4 áÅŒÇź¼Åź·Õäè ´Œ¨Ò¡¡ÒùѺŴã¹áµ‹ÅФÃÑ§é ´ŒÇ 4 µ‹Í仵ÒÁÅíҴѺ

10-5 CE

%

7

8

4

5

. .

9

ON

MRC

6

M-

1

2

3

0

.

+

OFF

M+

=

3. การนับลดทีละ 5 µÑÇÍ‹ҧ·Õè 1

2,151

2,146

2,151 - 5

2,141 2,146 - 5

2,136 2,141 - 5

µÑÇÍ‹ҧ·Õè 2

18,795

18,790

18,795 - 5 10-5 CE

%

7

8

4

5

. .

9

ON

MRC

6

M-

1

2

3

0

.

+

OFF

M+

=

18,785

18,790 - 5

18,780

18,785 - 5

¡ÒùѺŴ·ÕÅÐ 5 ໚¹¡ÒÃź¨íҹǹàÃÔÁè µŒ¹´ŒÇ 5 áÅŒÇź¼Åź·Õäè ´Œ¨Ò¡¡ÒùѺŴã¹áµ‹ÅФÃÑ§é ´ŒÇ 5 µ‹Í仵ÒÁÅíҴѺ

41

คูมือครู

41


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู ขยายความเขาใจ Explain

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

(ยอจากฉบับนักเรียน 20%)

อธิบายความรู 1. ใหนักเรียนศึกษาเรื่องการนับลด ทีละ 25 และทีละ 50 ในหนา 42 2. ครูถามนักเรียนวา นอกจาก จํานวนที่ยกตัวอยางมาแลว นักเรียนสามารถนับลดจํานวนใด ไดอีกบาง โดยสุมเลือกถามจาก นักเรียนในหอง 3. ครูเขียนจํานวน 1 จํานวน บนกระดาน แลวสุมเรียกให นักเรียนออกมานับลดทีละ 25 และนับลดทีละ 50 เพื่อใหนักเรียน เขาใจยิ่งขึ้น

4. การนับลดทีละ 25 µÑÇÍ‹ҧ·Õè 1

18,795

1,935 - 25

18,770

18,795 - 25

1,885

1,910 - 25

18,745

18,770 - 25

18,720

18,745 - 25

¡ÒùѺŴ·ÕÅÐ 25 ໚¹¡ÒÃź¨íҹǹàÃÔÁè µŒ¹´ŒÇ 25 áÅŒÇź¼Åź·Õäè ´Œ¨Ò¡¡ÒùѺŴã¹áµ‹ÅФÃÑ§é ´ŒÇ 25 µ‹Í仵ÒÁÅíҴѺ

10-5 CE

%

7

8

4

5

. .

9

ON

MRC

6

M-

1

2

3

0

.

+

OFF

M+

=

5. การนับลดทีละ 50 µÑÇÍ‹ҧ·Õè 1

3,764

3,714

3,764 - 50

3,664

3,714 - 50

3,614

3,664 - 50

µÑÇÍ‹ҧ·Õè 2

16,295

16,245

16,295 - 50 10-5

%

42

คูมือครู

1,910

µÑÇÍ‹ҧ·Õè 2

CE

42

1,935

1,960 - 25

ขยายความเขาใจ 1. ครูอธิบายใหนักเรียนเขาใจวา การ นับลดทีละเทาๆ กัน สามารถนํา ไปใชในชีวิตประจําวันได เชน การ ซื้อขนมที่มีราคาเทากัน จํานวน มากกวา 1 ชิ้น ทําใหเราทราบเงิน คาขนมที่ตองจายใหแมคา 2. ใหนักเรียนยกตัวอยางจํานวนใน ชีวติ ประจําวัน แลวหาจํานวนถัดไป เมื่อมีการนับลด เชน • มีเงิน 15 บาท จายคารถทุกวัน วันละ 3 บาท • ไดรับเงินมาโรงเรียนวันละ 50 บาท จายคาอาหารเชา 25 บาท

1,960

7

8

4

5

. .

9

ON

MRC

6

M-

1

2

3

0

.

+

OFF

M+

=

16,195

16,245 - 50

16,145

16,195 - 50

¡ÒùѺŴ·ÕÅÐ 50 ໚¹¡ÒÃź¨íҹǹàÃÔÁè µŒ¹´ŒÇ 50 áÅŒÇź¼Åź·Õäè ´Œ¨Ò¡¡ÒùѺŴã¹áµ‹ÅФÃÑ§é ´ŒÇ 50 µ‹Í仵ÒÁÅíҴѺ


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

Engage

Explore

Explain

Elaborate

ตรวจสอบผล Evaluate

ตรวจสอบผล

Ô¨¡ à ÃÁ

¡

½ƒ¡½¹·Ñ¡ÉÐ (ดูเฉลยกิจกรรมที่สวนเสริมดานหนาของเลมนี้) 1. บอกดวยวาจาวาจํานวนในแตละขอตอไปนี้ นับลดทีละเทาไร 1) 3,041 3,036 3,031 3,026 2) 7,476 7,472 7,468 7,464 3) 69,615 69,612 69,609 69,606 4) 5,893 5,868 5,843 5,818 5) 81,429 81,379 81,329 81,279 2. พิจารณาจํานวนตอไปนี้ แลวเติมจํานวนลงใน โดยทําลงใน สมุด 1,964 1) 2,164 2,114 2,064 2) 9,946 9,942 9,938 9,934 3) 10,803 10,798 10,793 10,788 4) 42,119 42,094 42,069 5) 61,047 61,044 61,041 3. นับลดตามที่กําหนดตอไปอีก 4 จํานวน โดยทําลงในสมุด 1) นับลดทีละ 3 จาก 2,345 2) นับลดทีละ 4 จาก 15,718 3) นับลดทีละ 5 จาก 34,246 4) นับลดทีละ 25 จาก 51,940 5) นับลดทีละ 50 จาก 78,150

1. ใหนกั เรียนทํากิจกรรมฝกฝนทักษะ หนา 43 ขอ 1.- 3. 2. ใหนักเรียนทํากิจกรรมประยุกตใช ความรู หนา 43

หลักฐาน แสดงผลการเรียนรู • ผลการทํากิจกรรมฝกฝนทักษะ • ผลงานจากกิจกรรมประยุกตใช

ความรู

»ÃÐÂØ¡µ 㪌¤ÇÒÁÃÙŒ ãËŒ¹Ñ¡àÃÕ¹ËÒ¨íҹǹ¹ÑºäÁ‹à¡Ô¹ 100,000 ¨Ò¡áËÅ‹§¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ ઋ¹ ˹ѧÊ×;ÔÁ¾ áŌǹíÒÁÒà¢Õ¹ËÅÑ¡ ¤‹Ò»ÃШíÒËÅÑ¡ áÅФ‹Ò¢Í§àŢⴴ ã¹áµ‹ÅÐËÅÑ¡ â´Â·íÒŧã¹ÊÁØ´

43

คูมือครู

43


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.