8858649120816

Page 1

คูมือครู 㪌»ÃСͺ¡ÒÃÊ͹ËÇÁ¡Ñº

˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ©ºÑº ÍÞ.

·Õè ȸ. ¨Ð»ÃСÒÈÃÒ¡Òú¹àÇçºä«µ µÑé§áµ‹ Á. ¤. ’55 ໚¹µŒ¹ä»

». หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน

วิทยาศาสตร

ชั้นประถมศึกษาปที่ ๓

กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ตนวิจสถานศึ ิตตเวชกษาสามารถเลือกใชได วงศศิริ รักซอน ตรัรวจฯ หนังศิสืรอิรนีัต้ผนานการตรวจโดยคณะผู


เอกสารประกอบคูมือครู

กลุมสาระการเรียนรู วิทยาศาสตร

รายวิชา

วิทยาศาสตร

ู ร ค หรับ

สํา

ชั้นประถมศึกษาปที่

คูมือครูฉบับนี้ ประกอบดวย ● ● ● ● ●

คําแนะนําการใชคูมือครู แถบสี/สัญลักษณที่ใชสื่อความหมายในคูมือครู ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง วิทยาศาสตร ชั้น ป.3 คําอธิบายรายวิชา วิทยาศาสตร ชั้น ป.3 ตารางวิเคราะหเนื้อหากับมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัด

ตารางแสดงความแตกตางระหวาง “ คูมือครู ” กับ “ หนังสือเรียน * ” ความแตกตาง

ขนาดตัวอักษร ปกดานหลัง ระบบการจัดพิมพ สวนเสริมดานหนา

คูมือครู ยอลงจากปกติ 20%

พิมพ 4 สี มี เอกสารหลักสูตร คําอธิบายรายวิชา มี กิจกรรมแบบ 5E ความรูเสริมสําหรับครู พิมพสอดแทรกไวตลอดทั้งเลม ●

หนังสือเรียน ขนาดปกติ 100% : ตัวอักษรใหญกวา ที่พิมพในคูมือครูนี้ มีใบอนุญาต/ใบประกันคุณภาพ พิมพ 4 สี

-

เนื้อหาในเลม

● ●

* ที่ ศธ. อนุญาตใหโรงเรียนใชได

มีเฉพาะเนื้อหาสาระตามที่ ศธ. อนุญาตฯ/สนพ.ประกันคุณภาพ

3


คําแนะนําการใชคูมือครู

: การจัดการเรียนรูสูหองเรียนคุณภาพ

คูมือครู รายวิชา วิทยาศาสตร ป.3 จัดทําขึ้นเพื่ออํานวยความสะดวกแกครูผูสอนในการวางแผนและเตรียม การสอนโดยใชหนังสือเรียน วิทยาศาสตร ป.3 ของบริษทั อักษรเจริญทัศน อจท. จํากัด เปนสือ่ หลัก (Core Material) เสร�ม ประกอบการออกแบบกิจกรรมการเรียนรูใหสอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดกลุมสาระการเรียนรู 2 วิทยาศาสตร ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 โดยจัดทําตามหลักการสําคัญ ดังนี้

1. ออกแบบการสอนเปนหนวยการเรียนรูอิงมาตรฐาน คูม อื ครู รายวิชา วิทยาศาสตร ป.3 จัดทําเปนหนวยการเรียนรูต ามลําดับสาระการเรียนรูท รี่ ะบุไวในมาตรฐาน การเรียนรูและตัวชี้วัด แตละหนวยจะกําหนดเปาหมายการสอนและจุดประสงคการเรียนรู (Objective Learning) กิจกรรมการเรียนรู (Learning Activities) และแนวทางการประเมินผลการเรียนรู (Learning Evaluation) ไวชดั เจน ครูผสู อนสามารถจัดทําแผนการสอนใหครอบคลุมมาตรฐานการเรียนรูแ ละตัวชีว้ ดั ทีเ่ ปนเปาหมายการเรียนรูข องแตละ หนวยการเรียนรู (ตามแผนภูมิ) และสามารถบันทึกผลการจัดการเรียนการสอนไดอยางมั่นใจ

สภ

าพ

ผู

จุดป

ระส

เรีย

งค

รู รียน เ ร า

มาตรฐานการเรียนรู ตัวชี้วัดชั้นป

ทักษะการคิด การวัดประเมินผล การเรียนรู

กิจกรรมการเรียนรู

เทคนิคการสอน

แผนภูมิแสดงองคประกอบของการออกแบบการเรียนรูอิงมาตรฐานและเนนผูเรียนเปนสําคัญ

2. การจัดการเรียนรูที่ยึดผูเรียนเปนสําคัญ แนวคิดในการจัดการเรียนการสอนที่ยึดผูเรียนเปนสําคัญ พัฒนามาจากปรัชญาและทฤษฎีการเรียนรู Constructivism ที่เชื่อวาการเรียนรูเปนกระบวนการที่เกิดขึ้นภายในสมองของผูเรียนแตละคน ผูเรียนเปนผูสราง ความรูโดยการเชื่อมโยงระหวางสิ่งที่ไดพบเห็นกับความรูหรือประสบการณเดิมที่มีอยู คูม อื ครู


ทฤษฎีนี้มีความเชื่อวา นักเรียนทุกคนไดเรียนรูและมีความรูความเขาใจสิ่งตางๆ ติดตัวมากอนที่จะเขาสู หองเรียน ซึง่ เปนการเรียนรูท เี่ กิดจากบริบทและสิง่ แวดลอมรอบตัวนักเรียนแตละคน ดังนัน้ การจัดกระบวนการเรียนรู เสร�ม ในแตละบทเรียน ผูสอนจะตองคํานึงถึง

3

1) ความรูเดิมของนักเรียน การสอนที่ดีจึงตองเริ่มตนจากจุดที่วา นักเรียนมีความรูอะไรมาบาง แลวจึงให ความรูห รือประสบการณใหมเพือ่ ตอยอด จากความรูเดิม

2) ความรูเ ดิมของนักเรียนถูกตอง หรือไม ผูสอนตองปรับเปลี่ยนความรู ความเขาใจเดิมของนักเรียนใหถูกตอง และเปนพฤติกรรมการเรียนรูใหมที่มี คุณคาตอนักเรียน เพื่อสรางเจตคติหรือ ทัศนคติที่ดีตอการเรียน

3) นั ก เรี ย นสร า งความหมาย สําหรับตนเอง ผูสอนตองสงเสริมให นักเรียนนําขอมูลความรูที่ไดไปลงมือ ปฏิ บั ติ และประยุ ก ต ใ ช ค วามรู  อ ย า ง ถู ก ต อ ง ในบริ บ ทที่ เ ป น จริ ง ของชี วิ ต นักเรียน เพื่อขยายความรูใหลึกซึ้งและ มีคุณคาตอตัวนักเรียนมากที่สุด

แนวคิด Constructivism เนนใหผเู รียนสรางความรูโ ดยผานกระบวนการคิดและความอยากรูข องตนเอง โดยมีผูสอนเปนผูสรางบรรยากาศการเรียนรูและกระตุนความสนใจ คอยจัดสถานการณใหผูเรียนเกิดความ ขัดแยงทางความคิดระหวางประสบการณเดิมกับประสบการณความรูใ หม ผูเ รียนจะพยายามปรับขอมูลใหม กับประสบการณที่มีอยูเดิม แลวสรางเปนความรูใหมหรือแนวคิดใหมๆ ไดดวยตนเอง

3. การบูรณาการกระบวนการคิด การเรียนรูข องนักเรียนแตละคนจะเกิดขึน้ ทีส่ มอง ซึง่ ทําหนาทีร่ คู ดิ ภายใตสภาพแวดลอมทีเ่ อือ้ อํานวยและได รับการกระตนุ จูงใจอยางเหมาะสมสอดคลองกับสภาพจิตใจและความตองการของนักเรียน การจัดกระบวนการเรียนรู และสาระการเรียนรูท มี่ คี วามหมายตอผูเ รียน จะชวยกระตนุ ใหสมองรับรูแ ละสามารถเรียนรูไ ดอยางมีประสิทธิภาพ ตามขั้นตอนการทํางานของสมอง ดังนี้ 1) สมองจะเรียนรูและสืบคนโดย 2) สมองจะแยกแยะคุ ณค าของ การสังเกต คนหา ซักถาม และทดลอง สิง่ ตางๆ โดยการลงมติ ตัดสินใจ วิพากษ ปฏิบัติ จนคนพบความรูความเขาใจได วิจารณ แสดงความคิดเห็น ยอมรับหรือ อยางรวดเร็ว ตอตานตามอารมณความรูสึกที่เกิดขึ้น ในขณะที่เรียนรู

3) สมองจะประมวลเนื้อหาสาระ โดยการสรุปเปนความคิดรวบยอดจาก เรื่องราวที่ไดเรียนรูใหมนําไปผสมผสาน กับความรูหรือประสบการณเดิมที่ถูกจัด เก็บอยูในสมอง ผานการกลั่นกรองเพื่อ สังเคราะหเปนความรูความเขาใจใหมๆ หรือเปนเหตุผลทัศนคติใหมที่จะฝงแนน ในสมองของผูเรียน คูม อื ครู


เสร�ม

การเรียนรูที่มีประสิทธิภาพจึงตองเปนการเรียนรูที่เกิดจากกระบวนการคิดของผูเรียน เพราะการเรียนรูจะ เกิดขึ้นเมื่อสมองรูคิด และตองเปนการคิดไดครบถวนตามขั้นตอนการทํางานของสมองผูเรียน โดยเริ่มตนจาก

4

1) ระดับการคิดขั้นพื้นฐาน ไดแก 2) ระดับลักษณะการคิด ไดแก 3) ระดับกระบวนการคิด ไดแก การสังเกต การจําแนก การคาดคะเน การคิดกวาง คิดลึกซึ้ง คิดหลากหลาย กระบวนการคิ ด อย า งมี วิ จ ารณญาณ การสื่อความหมาย การรวบรวมขอมูล คิดไกล คิดคลอง คิดอยางมีเหตุผล กระบวนการแกปญหา กระบวนการคิด การสรุปผล เปนตน เปนตน สรางสรรค กระบวนการคิดสังเคราะห วิจัย เปนตน

4. การใชวัฏจักรการเรียนรู 5E รูปแบบการสอนที่สัมพันธกับกระบวนการคิดและการทํางานของสมองของผูเรียนที่นิยมใชอยางแพรหลาย คือ วัฏจักรการเรียนรู 5E ซึ่งผูจัดทําคูมือครูไดนํามาใชเปนแนวทางออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนในคูมือครู ฉบับนี้ตามลําดับขั้นตอนการเรียนรู ดังนี้ ขั้นที่ 1 กระตุนความสนใจ (Engage) เปนขัน้ ทีผ่ สู อนนําเขาสูบ ทเรียน เพือ่ กระตุน ความสนใจของนักเรียนดวยเรือ่ งราว หรือเหตุการณทนี่ า สนใจ โดยใชเทคนิควิธกี ารสอนและคําถามทบทวนความรูห รือประสบการณเดิมของผูเ รียน เพือ่ เชือ่ มโยงผูเ รียนเขาสู บทเรียนใหม ชวยใหนักเรียนสามารถสรุปประเด็นสําคัญที่เปนหัวขอการเรียนรูของบทเรียนได จึงเปนขั้นตอน การสอนที่สําคัญ เพราะเปนการเตรียมความพรอมและสรางแรงจูงใจใฝเรียนรูแกผูเรียน ขั้นที่ 2 สํารวจคนหา (Explore) เปนขั้นที่ผูสอนเปดโอกาสใหผูเรียนสังเกต และรวมมือกันสํารวจ เพื่อใหเห็นปญหา รวมถึงวิธีการศึกษา คนควาขอมูลความรูที่จะนําไปสูความเขาใจประเด็นปญหานั้นๆ เมื่อนักเรียนทําความเขาใจในประเด็นหัวขอที่จะศึกษาคนควาอยางถองแทแลว ก็ลงมือปฏิบัติเพื่อเก็บ รวบรวมขอมูลความรู สํารวจตรวจสอบ โดยวิธกี ารตางๆ เชน สัมภาษณ ทดลอง อานคนควาขอมูลจากเอกสาร แหลงขอมูลตางๆ จนไดขอมูลความรูตามที่ตั้งประเด็นศึกษาไว ขั้นที่ 3 อธิบายความรู (Explain) เปนขั้นที่ผูสอนมีปฏิสัมพันธกับผูเรียน เชน ใหการแนะนํา ตั้งคําถามกระตุนใหคิด เพื่อใหผูเรียนไดคนหา คําตอบ และนําขอมูลความรูจากการศึกษาคนควาในขั้นที่ 2 มาวิเคราะห แปลผล สรุปผล และนําเสนอผล ที่ไดศึกษาคนความาในรูปแบบสารสนเทศตางๆ เชน เขียนแผนภูมิ แผนผังแสดงมโนทัศน เขียนความเรียง เขียนรายงาน เปนตน สมองของผูเรียนจะทําหนาที่คิดวิเคราะห สังเคราะหอยางเปนระบบ คูม อื ครู


ขั้นที่ 4 ขยายความเขาใจ (Expand) เปนขั้นที่ผูสอนไดใชเทคนิควิธีการสอนที่ชวยพัฒนาผูเรียนใหนําความรูที่เกิดขึ้นไปคิดคนตอๆ ไป เพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรูและการทํางานรวมกันเปนกลุม ระดมสมองเพื่อคิดสรางสรรครวมกัน นักเรียนสามารถนําความรูที่สรางขึ้นใหมไปเชื่อมโยงกับประสบการณเดิมโดยนําขอสรุปที่ไดไปอธิบาย ในเหตุการณตางๆ หรือนําไปปฏิบัติในสถานการณใหมๆ ที่เกี่ยวของกับชีวิตประจําวันของตนเอง เพื่อขยาย ความรูค วามเขาใจใหกวางขวางยิง่ ขึน้ สมองของผูเ รียนทําหนาทีค่ ดิ ริเริม่ สรางสรรคอยางมีคณ ุ ภาพ เสริมสราง วิสัยทัศนใหกวางไกลออกไป

เสร�ม

5

ขั้นที่ 5 ตรวจสอบผล (Evaluate) เปนขั้นที่ผูสอนประเมินมโนทัศนของผูเรียน โดยตรวจสอบจากความคิดที่เปลี่ยนไปและความคิดรวบยอด ที่เกิดขึ้นใหม ตรวจสอบทักษะ กระบวนการปฏิบัติ การแกปญหา การตอบคําถามรวบยอด และการเคารพ ความคิดหรือยอมรับเหตุผลของคนอื่นเพื่อการสรางสรรคความรูรวมกัน นักเรียนสามารถประเมินผลการเรียนรูของตนเอง เพื่อสรุปผลวานักเรียนมีความรูอะไรเพิ่มขึ้นมาบาง มากนอยเพียงใด และจะนําความรูเหลานั้นไปประยุกตใชในการเรียนรูเรื่องอื่นๆ ไดอยางไร นักเรียนจะเกิด เจตคติและเห็นคุณคาของตนเองจากผลการเรียนรูที่เกิดขึ้น ซึ่งเปนการเรียนรูที่มีความสุขอยางแทจริง การจัดกิจกรรมการเรียนรูตามวัฏจักรการสรางความรูแบบ 5E จึงเปนรูปแบบการเรียนการสอนที่เนน ผูเรียนเปนสําคัญ โดยสงเสริมใหผูเรียนใชกระบวนการสรางความรูดวยตนเอง และฝกฝนใหใชกระบวนการคิดและ กระบวนการกลุมอยางชํานาญ กอใหเกิดทักษะการเรียนรูและทักษะชีวิตที่มีคุณภาพ ตามเปาหมายของการปฏิรูป การศึกษาทศวรรษที่ 2 (พ.ศ. 2552-2561) ทุกประการ คณะผูจัดทํา

คูม อื ครู


แถบสี และสัญลักษณ ที่ใชสื่อความหมายในคูมือครู 1. แถบสี

แถบสีแสดงขั้นตอนการสอนและการจัดกิจกรรม แบบ 5E เพื่อใหครูทราบวาเปนขั้นการสอนขั้นใด

เสร�ม

6

สีแดง

สีเขียว

สีสม

กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

เปนขั้นที่ผูสอนเลือกใช เทคนิคกระตุนความ สนใจ เพื่อโยงเขาสู บทเรียน

Explain

เปนขั้นที่ผูสอนให ผูเรียนสํารวจปญหา และศึกษาขอมูล

เปนขั้นที่ผูสอนให ผูเรียนคนหาคําตอบ จนเกิดความรูเชิง ประจักษ

สีฟา

สีมวง

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

เปนขั้นที่ผูสอนให ผูเรียนนําความรูไป คิดคนตอๆ ไป

เปนขั้นที่ผูสอน ประเมินมโนทัศน ของผูเรียน

2. สัญลักษณ สัญลักษณ เปาหมาย การเรียนรู หลักฐาน แสดงผล การเรียนรู เกร็ดแนะครู นักเรียนควรรู @

NET

มุม IT ขอสอบ บูรณาการ สูอาเซียน

คูม อื ครู

วัตถุประสงค • แสดงเปาหมายการเรียนรูที่นักเรียนตองบรรลุตามตัวชี้วัด •

แสดงรองรอยหลักฐานที่แสดงผลการเรียนรูตามตัวชี้วัด

แทรกความรูเสริมสําหรับครู ขอเสนอแนะ ขอควรระวัง ขอสังเกต แนวทางการจัด กิจกรรมและอืน่ ๆ เพื่อประโยชนในการจัดการเรียนการสอน

ขยายความรูเพิ่มเติมจากเนื้อหา เพื่อใหนักเรียนไดมีความรูมากขึ้น

แนะนําแหลงคนควาจากเว็บไซต เพื่อใหครูและนักเรียนไดเขาถึงขอมูลความรู ที่หลากหลาย

วิเคราะหแนวขอสอบ O-NET เพื่อใหครูเนนยํ้าเนื้อหา ที่มักออกขอสอบ O-NET

ขยายความรู แนะนํากิจกรรมเพื่อพัฒนานักเรียนใหมีความพรอม สําหรับเขาสูประชาคมอาเซียน

• ขอสอบ O-NET พิจารณาออก ขอสอบจากเนื้อหา ป.4, 5 และ 6


ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง (เฉพาะชั้น ป.3)* สาระที่ 1 สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดํารงชีวิต

มาตรฐาน ว 1.1 เขาใจกระบวนการและความสําคัญของการถายทอดลักษณะทางพันธุกรรม วิวัฒนาการของ สิ่งมีชีวิต ความหลากหลายทางชีวภาพ การใชเทคโนโลยีชีวภาพที่มีผลกระทบตอมนุษยและ สิ่งแวดลอมมีกระบวนการสืบเสาะหาความรูและจิตวิทยาศาสตร สื่อสารสิ่งที่เรียนรู และนํา ความรูไปใชประโยชน ชั้น

ตัวชี้วัด

ป.3 1. อภิปรายลักษณะตางๆ ของ สิ่งมีชีวิตใกลตัว

เสร�ม

7

สาระการเรียนรูแกนกลาง • สิ่งมีชีวิตแตละชนิดจะมีลักษณะแตกตางกัน

2. เปรียบเทียบและระบุลักษณะที่ คลายคลึงกันของพอแมกับลูก

• สิ่งมีชีวิตทุกชนิดจะมีลักษณะภายนอกที่ปรากฏคลายคลึงกับ

3. อธิบายลักษณะที่คลายคลึงกัน ของพอแมกับลูกวาเปนการ ถายทอดลักษณะทางพันธุกรรม และนําความรูไปใชประโยชน

• ลักษณะภายนอกที่คลายคลึงกันของพอแมกับลูกเปน

4. สืบคนขอมูลและอภิปราย เกี่ยวกับสิ่งมีชีวิตบางชนิดที่ สูญพันธุไปแลว และที่ดํารงพันธุ มาจนถึงปจจุบัน

• สิ่งมีชีวิตที่ไมสามารถปรับตัวใหเขากับสภาพแวดลอม

พอแมของสิ่งมีชีวิตชนิดนั้น

การถายทอดลักษณะทางพันธุกรรม • มนุษยนําความรูที่ไดเกี่ยวกับการถายทอดลักษณะทาง พันธุกรรมมาใชประโยชนในการพัฒนาสายพันธุข องพืชและสัตว ที่เปลี่ยนแปลงไปไดก็จะสูญพันธุ ไปในที่สุด • สิ่งมีชีวิตที่สามารถปรับตัวเขากับสภาพแวดลอมที่ เปลี่ยนแปลงไปไดจะสามารถอยูรอดและดํารงพันธุตอไป

สาระที่ 2 สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดํารงชีวิต

มาตรฐาน ว 2.1 เขาใจสิ่งแวดลอมในทองถิ่น ความสัมพันธระหวางสิ่งแวดลอมกับสิ่งมีชีวิต ความสัมพันธระหวาง สิ่งมีชีวิตตางๆ ในระบบนิเวศ มีกระบวนการสืบเสาะหาความรูและจิตวิทยาศาสตร สื่อสารสิ่งที่ เรียนรูและนําความรูไปใชประโยชน ชั้น

ตัวชี้วัด

ป.3 1. สํารวจสิ่งแวดลอมในทองถิ่น ของตนและอธิบายความ สัมพันธของสิ่งมีชีวิตกับ สิ่งแวดลอม

สาระการเรียนรูแกนกลาง • สิ่งแวดลอมหมายถึงสิ่งที่อยูรอบๆ ตัวเรา มีทั้งสิ่งมีชีวิตและ

สิ่งไมมีชีวิต สิ่งมีชีวิตมีความสัมพันธกับสิ่งแวดลอมทั้งกับ สิ่งมีชีวิตดวยกันและกับสิ่งไมมีชีวิต

*สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, กระทรวงศึกษาธิการ. ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร. (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย, 2551), หนา 1๐-1๐๐.

คูม อื ครู


มาตรฐาน ว 2.2 เขาใจความสําคัญของทรัพยากรธรรมชาติ การใชทรัพยากรธรรมชาติในระดับทองถิ่น ประเทศ และโลก นําความรูไปใชในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในทองถิ่นอยางยั่งยืน ชั้น

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

• ดิน หิน นํ้า อากาศ ปาไม สัตวปาและแร จัดเปน ทรัพยากรธรรมชาติที่มีความสําคัญ • มนุษยใชทรัพยากรธรรมชาติในทองถิ่น เพื่อประโยชนตอการดํารงชีวิต 2. ระบุการใชทรัพยากรธรรมชาติที่กอ • มนุษยนําทรัพยากรธรรมชาติมาใชอยางมากมาย จึง ใหเกิดปญหาสิ่งแวดลอมในทองถิ่น สงผลกระทบตอสิ่งแวดลอมในทองถิ่น • มนุษยตองชวยกันดูแลและรูจักใชทรัพยากรธรรมชาติ 3. อภิปรายและนําเสนอการใช อยางประหยัดและคุมคา เพื่อใหมีการใชไดนานและ ทรัพยากรธรรมชาติอยางประหยัด ยั่งยืน คุมคา และมีสวนรวมในการปฏิบัติ

ป.3 1. สํารวจทรัพยากรธรรมชาติ และ อภิปรายการใชทรัพยากรธรรมชาติ ในทองถิ่น

เสร�ม

8

สาระที่ 3 สารและสมบัติของสาร

มาตรฐาน ว 3.1 เขาใจสมบัติของสาร ความสัมพันธระหวางสมบัติของสารกับโครงสรางและแรงยึดเหนี่ยว ระหวางอนุภาค มีกระบวนการสืบเสาะหาความรูและจิตวิทยาศาสตร สื่อสารสิ่งที่เรียนรูและ นําความรูไปใชประโยชน ชั้น

ตัวชี้วัด

ป.3 1.จําแนกชนิดและสมบัตขิ องวัสดุทเี่ ปน สวนประกอบของของเลน ของใช 2. อธิบายการใชประโยชนของวัสดุ แตละชนิด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

• ของเลนของใชอาจมีสวนประกอบหลายสวน และอาจ ทําจากวัสดุหลายชนิดซึ่งมีสมบัติแตกตางกัน • วัสดุแตละชนิดมีสมบัติแตกตางกัน จึงใชประโยชนได ตางกัน

มาตรฐาน ว 3.2 เขาใจหลักการและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะของสาร การเกิดสารละลาย การเกิด ปฏิกิริยา มีกระบวนการสืบเสาะหาความรูและจิตวิทยาศาสตร สื่อสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไป ใชประโยชน ชั้น

ตัวชี้วัด

ป.3 1. ทดลองและอธิบายผลของการ เปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกับวัสดุ เมื่อ ถูกแรงกระทํา หรือทําใหรอนขึ้น หรือทําใหเย็นลง 2. อภิปรายประโยชนและอันตราย ที่อาจเกิดขึ้น เนื่องจากการ เปลี่ยนแปลงของวัสดุ คูม อื ครู

สาระการเรียนรูแกนกลาง

• เมื่อมีแรงมากระทํา เชน การบีบ บิด ทุบ ดัด ดึง ตลอด จนการทําใหรอนขึ้นหรือทําใหเย็นลงจะทําใหวัสดุเกิด การเปลี่ยนแปลงรูปรางลักษณะ หรือมีสมบัติแตกตางไป จากเดิม • การเปลี่ยนแปลงของวัสดุอาจนํามาใชประโยชนหรือ ทําใหเกิดอันตรายได


สาระที่ 4 แรงและการเคลื่อนที่

มาตรฐาน ว 4.1 เขาใจธรรมชาติของแรงแมเหล็กไฟฟา แรงโนมถวง และแรงนิวเคลียร มีกระบวนการสืบเสาะ หาความรู สื่อสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปใชประโยชนอยางถูกตองและมีคุณธรรม ชั้น

ตัวชี้วัด

ป.3 1. ทดลองและอธิบายผลของการ ออกแรงที่กระทําตอวัตถุ 2. ทดลองการตกของวัตถุสูพื้นโลก และอธิบายแรงที่โลกดึงดูดวัตถุ

สาระการเรียนรูแกนกลาง

เสร�ม

9

• การออกแรงกระทําตอวัตถุแลวทําใหวัตถุเปลี่ยนแปลงการ เคลื่อนที่ โดยวัตถุที่หยุดนิ่งจะเคลื่อนที่ และวัตถุที่กําลัง เคลื่อนที่จะเคลื่อนที่เร็วขึ้นหรือเคลื่อนที่ชาลง หรือหยุด เคลื่อนที่ หรือเปลี่ยนทิศทาง • วัตถุตกสูพ นื้ โลกเสมอเนือ่ งจากแรงโนมถวงหรือแรงดึงดูด ของโลกกระทําตอวัตถุ และแรงนี้คือนํ้าหนักของวัตถุ

สาระที่ 5 พลังงาน

มาตรฐาน ว 5.1 เขาใจความสัมพันธระหวางพลังงานกับการดํารงชีวิต การเปลี่ยนรูปพลังงาน ปฏิสัมพันธระหวาง สารและพลังงาน ผลของการใชพลังงานตอชีวิตและสิ่งแวดลอม มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู สื่อสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปใชประโยชน ชั้น

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

ป.3 1. บอกแหลงพลังงานธรรมชาติที่ใช • การผลิตไฟฟาใชพลังงานจากธรรมชาติ ซึ่งบางแหลงเปน ผลิตไฟฟา แหลงพลังงานทีม่ จี าํ กัด เชน นํา้ มัน แกสธรรมชาติ บางแหลง เปนแหลงพลังงานหมุนเวียน เชน นํ้า ลม 2. อธิบายความสําคัญของพลังงาน • พลังงานไฟฟามีความสําคัญตอชีวิตประจําวัน เชน เปน แหลงกําเนิดแสงสวาง จึงตองใชไฟฟาอยางประหยัด เชน ไฟฟาและเสนอวิธีการใชไฟฟา ปดไฟเมื่อไมใชงาน รวมทั้งใชไฟฟาอยางปลอดภัย เชน อยางประหยัดและปลอดภัย เลือกใชอุปกรณตางๆ ที่มีมาตรฐาน

สาระที่ 6 กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก

มาตรฐาน ว 6.1 เขาใจกระบวนการตางๆ ที่เกิดขึ้นบนผิวโลกและภายในโลก ความสัมพันธของกระบวนการตางๆ ที่มีผลตอการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ภูมิประเทศ และสัณฐานของโลก มีกระบวนการสืบเสาะ หาความรูและจิตวิทยาศาสตร สื่อสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปใชประโยชน ชั้น

ตัวชี้วัด

ป.3 1. สํารวจและอธิบายสมบัติทาง กายภาพของนํ้าจากแหลงนํ้า ในทองถิ่น และนําความรูไปใช ประโยชน

สาระการเรียนรูแกนกลาง

• นํ้าพบไดทั้งที่เปนของเหลว ของแข็ง และแกส นํ้าละลาย สารบางอยางได นํ้าเปลี่ยนแปลงรูปรางตามภาชนะที่บรรจุ และรักษาระดับในแนวราบ • คุณภาพของนํ้าพิจารณาจาก สี กลิ่น ความโปรงใสของนํ้า • นํ้าเปนทรัพยากรธรรมชาติที่มีความจําเปนตอชีวิต ทั้งใน การบริโภค อุปโภค จึงตองใชอยางประหยัด คูม อื ครู


มาตรฐาน ว 6.1 (ตอ) เสร�ม

ชั้น

10

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

• อากาศประกอบดวย แกสไนโตรเจน แกสออกซิเจน แกสคารบอนไดออกไซด และแกสอื่นๆ รวมทั้งไอนํ้า และฝุนละออง • อากาศมีความสําคัญตอการดํารงชีวิต สิ่งมีชีวิตทุกชนิด ตองใชอากาศในการหายใจ และอากาศยังมีประโยชนใน ดานอื่นๆ อีกมากมาย 3. ทดลองและอธิบายการเคลื่อนที่ของ • อากาศจะเคลื่อนจากบริเวณที่มีอุณหภูมิตํ่าไปยังบริเวณ อากาศที่มีผลจากความแตกตางของ ที่มีอุณหภูมิสูงกวา โดยอากาศที่เคลื่อนที่ในแนวราบ อุณหภูมิ ทําใหเกิดลม

ป.3 2. สืบคนขอมูลและอภิปราย สวนประกอบของอากาศ และ ความสําคัญของอากาศ

สาระที่ 7 ดาราศาสตรและอวกาศ

มาตรฐาน ว 7.1 เขาใจวิวัฒนาการของระบบสุริยะ กาแล็กซีและเอกภพ การปฏิสัมพันธภายในระบบสุริยะและ ผลตอสิ่งมีชีวิตบนโลก มีกระบวนการสืบเสาะหาความรูและจิตวิทยาศาสตร การสื่อสารสิ่งที่ เรียนรูและนําความรูไปใชประโยชน ชั้น

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

• โลกหมุนรอบตัวเองทําใหเกิดปรากฏการณตอไปนี้ ป.3 1. สังเกต และอธิบายการขึ้นตกของ ดวงอาทิตย ดวงจันทร การเกิดกลาง • ปรากฏการณขึ้นตกของดวงอาทิตยและดวงจันทร • เกิดกลางวันและกลางคืน โดยดานที่หันรับแสงอาทิตย วันกลางคืน และการกําหนดทิศ เปนเวลากลางวัน และดานตรงขามที่ไมไดรับแสงอาทิตย เปนเวลากลางคืน • กําหนดทิศโดยสังเกตจากการขึน้ และการตกของดวงอาทิตย ใหดา นทีเ่ ห็นดวงอาทิตยขนึ้ เปนทิศตะวันออก และดานทีเ่ ห็น ดวงอาทิตยตกเปนทิศตะวันตก เมือ่ ใชทศิ ตะวันออกเปนหลัก โดยใหดา นขวามืออยูท างทิศตะวันออก ดานซายมืออยูท าง ทิศตะวันตก ดานหนาจะเปนทิศเหนือและดานหลังจะเปน ทิศใต

คูม อื ครู


สาระที่ 8 ธรรมชาติของวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

มาตรฐาน ว 8.1 ใชกระบวนการทางวิทยาศาสตรและจิตวิทยาศาสตรในการสืบเสาะหาความรู การแกปญหา รูวาปรากฏการณทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นสวนใหญมีรูปแบบที่แนนอน สามารถอธิบายและ ตรวจสอบได ภายใตขอมูลและเครื่องมือที่มีอยูในชวงเวลานั้นๆ เขาใจวา วิทยาศาสตร เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดลอมมีความเกี่ยวของสัมพันธกัน ชั้น

ตัวชี้วัด

ป.3 1. ตั้งคําถามเกี่ยวกับเรื่องที่จะศึกษาตามที่กําหนดใหหรือตาม ความสนใจ 2. วางแผนการสังเกต เสนอวิธีสํารวจตรวจสอบ ศึกษาคนควา โดย ใชความคิดของตนเอง ของกลุมและคาดการณสิ่งที่จะพบจาก การสํารวจตรวจสอบ 3. เลือกใชวัสดุอุปกรณ เครื่องมือที่เหมาะสมในการสํารวจ ตรวจสอบ และบันทึกขอมูล 4. จัดกลุมขอมูล เปรียบเทียบกับสิ่งที่คาดการณ ไว และ นําเสนอผล 5. ตั้งคําถามใหมจากผลการสํารวจตรวจสอบ 6. แสดงความคิดเห็นและรวบรวมขอมูลจากกลุมนําไปสูการสราง ความรู 7. บันทึกและอธิบายผลการสังเกต สํารวจตรวจสอบตาม ความเปนจริง มีแผนภาพประกอบคําอธิบาย 8. นําเสนอ จัดแสดงผลงาน โดยอธิบายดวยวาจา และเขียนแสดง กระบวนการและผลของงานใหผูอื่นเขาใจ

เสร�ม

11

สาระการเรียนรูแกนกลาง

-

คูม อื ครู


คําอธิบายรายวิชา เสร�ม

12

รายวิชา วิทยาศาสตร ชั้นประถมศึกษาปที่ 3 รหัสวิชา ว…………………………………

กลุมสาระการเรียนรู วิทยาศาสตร ภาคเรียนที่ 1-2 เวลา 80 ชั่วโมง/ป

สืบคนขอมูล สํารวจ อภิปราย เปรียบเทียบ และอธิบาย ลักษณะตางๆ ของสิ่งมีชีวิตใกลตัว ลักษณะที่คลายคลึงกัน ของพอแมกับลูก การถายทอดลักษณะทางพันธุกรรม และนําความรูไปใชประโยชน สิ่งมีชีวิตบางชนิดที่สูญพันธุ ไปแลว และที่ ดํารงพันธุมาจนถึงปจจุบัน สิ่งแวดลอมในทองถิ่นตน ความสัมพันธของสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติและการใช ทรัพยากรธรรมชาติในทองถิ่น การใชทรัพยากรธรรมชาติที่กอใหเกิดปญหาสิ่งแวดลอมในทองถิ่น การใชทรัพยากรธรรมชาติ อยางประหยัด คุม คาและมีสว นรวมในการปฏิบตั ิ แหลงพลังธรรมชาติที่ใชผลิตไฟฟา ความสําคัญของพลังงานไฟฟา การใชไฟฟา อยางประหยัดและคุมคา จําแนก สํารวจ ทดลอง อภิปราย และอธิบาย ชนิดและสมบัติของวัสดุที่เปนสวนประกอบของของเลน ของใช การใช ประโยชนของวัสดุแตละชนิด ผลของการเปลีย่ นแปลงทีเ่ กิดขึน้ กับวัสดุเมือ่ ถูกกระทํา หรือทําใหรอ นขึน้ หรือทําใหเย็นลง ประโยชน และอันตรายทีเ่ กิดขึน้ เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงของวัสดุ ผลของการออกแรงทีก่ ระทําตอวัตถุ การตกของวัตถุสูพื้นโลก แรงที่โลก ดึงดูดวัตถุ สมบัติทางกายภาพของนํ้าจากแหลงนํ้าในทองถิ่น และนําความไปใชประโยชน สวนประกอบของอากาศ ความสําคัญ ของอากาศ และการเคลื่อนที่ของอากาศที่มีผลจากความแตกตางของอุณหภูมิ การขึ้น-ตกของดวงอาทิตย ดวงจันทร การเกิด กลางวัน กลางคืน และการกําหนดทิศ โดยใชกระบวนการทางวิทยาศาสตร และจิตวิทยาศาสตรในการสืบเสาะหาความรู การสํารวจตรวจสอบ การสืบคนขอมูล บันทึก จัดกลุมขอมูล การอภิปราย และการแกปญหาเพื่อใหเกิดความรู ความคิด ความเขาใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรูและเห็น คุณคาของการนําความรูไ ปประยุกตใชในชีวติ ประจําวันมีความสามารถในการตัดสินใจ มีจติ วิทยาศาสตร จริยธรรม คุณธรรม และ คานิยมที่ดีตอวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และสิ่งแวดลอม ตัวชี้วัด ว 1.2 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3, ป.3/4 ว 2.1 ป.3/1 ว 2.2 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3 ว 3.1 ป.3/1, ป.3/2 ว 3.2 ป.3/1, ป.3/2 ว 5.1 ป.3/1, ป.3/2 ว 6.1 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3 ว 7.1 ป.3/1 ว 8.1 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3, ป.3/4, ป.3/5, ป.3/6, ป.3/7, ป.3/8 รวม 28 ตัวชี้วัด

คูม อื ครู


ตาราง

ÇÔà¤ÃÒÐË Áҵðҹ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙጠÅеÑǪÕÇé ´Ñ ÃÒÂÇÔªÒ ÇÔ·ÂÒÈÒʵà ».3

คําชี้แจง : ใหผสู อนใชตารางน�ต้ รวจสอบวา เน�อ้ หาสาระการเรียนรูใ นหนวยการเรียนรูส อดคลองกับมาตรฐานการเรียนรูแ ละตัวชีว้ ดั ชั้นปในขอใดบาง

มาตรฐาน การเรียนรู

สาระการเรียนรู ตัวชี้วัด ชั้น ป.3 สาระที่ 1 สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดํารงชีวิต 1. อภิปรายลักษณะตางๆ ของสิ่งมีชีวิต ใกลตัว

มฐ. ว 1.2

มฐ. ว 2.2 มฐ. ว 3.1 มฐ. ว 3.2 มฐ. ว 4.1

1

2

1

2

หนวยที่ 3 บทที่ 1

2

หนวยที่ หนวยที่ หนวยที่ หนวยที่ 4 5 6 7 บทที่ บทที่ บทที่ บทที่ 3

1

2

1

2

1

2

1

เสร�ม

13

2

2. เปรียบเทียบและระบุลกั ษณะทีค่ ลายคลึงกัน ✓ ของพอแมกับลูก 3. อธิบายลักษณะที่คลายคลึงกันของพอแม กับลูกวา เปนการถายทอดลักษณะทาง ✓ พันธุกรรม และนําความรูไปใชประโยชน 4. สืบคนขอมูลและอภิปรายเกี่ยวกับ สิ่งมีชีวิตบางชนิดที่สูญพันธุ ไปแลว และที่ดํารงพันธุมาจนถึงปจจุบัน

มฐ. ว 2.1

หนวยที่ หนวยที่ 1 2 บทที่ บทที่

สาระที่ 2 ชีวิตกับสิ่งแวดลอม 1. สํารวจสิ่งแวดลอมในทองถิ่นของตน และ อธิบายความสัมพันธของสิ่งมีชีวิตกับ สิ่งแวดลอม

1. สํารวจทรัพยากรธรรมชาติ และอภิปราย การใชทรัพยากรธรรมชาติในทองถิ่น

2. ระบุการใชทรัพยากรธรรมชาติทกี่ อ ใหเกิด ปญหาสิ่งแวดลอมในทองถิ่น

3. อภิปรายและนําเสนอการใชทรัพยากร ธรรมชาติอยางประหยัด คุมคา และ มีสวนรวมในการปฏิบัติ สาระที่ 3 สารและสมบัติของสาร 1. จําแนกชนิดและสมบัติของวัสดุที่เปน สวนประกอบของของเลน ของใช 2. อธิบายการใชประโยชนของวัสดุ แตละชนิด 1. ทดลองและอธิบายผลของการเปลีย่ นแปลง ทีเ่ กิดขึน้ กับวัสดุ เมือ่ ถูกแรงกระทํา หรือ ทําใหรอ นขึน้ หรือทําใหเย็นลง 2. อภิปรายประโยชนและอันตรายทีอ่ าจเกิดขึน้ เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงของวัสดุ สาระที่ 4 แรงและการเคลื่อนที่ 1. ทดลองและอธิบายผลของการออกแรงที่ กระทําตอวัตถุ 2. ทดลองการตกของวัตถุสูพื้นโลก และ อธิบายแรงที่โลกดึงดูดวัตถุ

✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓

คูม อื ครู


สาระการเรียนรู

มาตรฐาน เสร�ม การเรี ยนรู ตัวชี้วัด ชั้น ป.3 14

มฐ. ว 5.1

มฐ. ว 6.1 มฐ. ว 7.1

มฐ. ว 8.1

หนวยที่ หนวยที่ 1 2 บทที่ บทที่ 1

2

1

2

หนวยที่ 3 บทที่ 1

2

หนวยที่ หนวยที่ หนวยที่ หนวยที่ 4 5 6 7 บทที่ บทที่ บทที่ บทที่ 3

1

2

สาระที่ 5 พลังงาน 1. บอกแหลงพลังงานธรรมชาติที่ใชผลิต ไฟฟา 2. อธิบายความสําคัญของพลังงานไฟฟา และเสนอวิธีการใชไฟฟาอยางประหยัด และปลอดภัย สาระที่ 6 กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก 1. สํารวจและอธิบายสมบัติทางกายภาพ ของนํ้าจากแหลงนํ้าในทองถิ่น และนํา ความรูไปใชประโยชน 2. สืบคนขอมูลและอภิปรายสวนประกอบ ของอากาศ และความสําคัญของอากาศ 3. ทดลองและอธิบายการเคลื่อนที่ของ อากาศที่มีผลจากความแตกตางของ อุณหภูมิ สาระที่ 7 ดาราศาสตรและอวกาศ 1. สังเกต และอธิบายการขึ้นตกของ ดวงอาทิตย ดวงจันทร การเกิดกลางวัน กลางคืน และการกําหนดทิศ สาระที่ 8 ธรรมชาติของวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยี 1. ตั้งคําถามเกี่ยวกับเรื่องที่จะศึกษาตามที่ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ กําหนดใหหรือตามความสนใจ 2. วางแผนการสังเกต เสนอวิธีสํารวจ ตรวจสอบ ศึกษาคนควา โดยใชความคิด ของตนเอง ของกลุมและคาดการณสิ่งที่ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ จะพบจากการสํารวจ ตรวจสอบ 3. เลือกใชวสั ดุอปุ กรณ เครือ่ งมือทีเ่ หมาะสม ในการสํารวจตรวจสอบ และบันทึกขอมูล ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓

1

2

1

2

1

2

✓ ✓

✓ ✓ ✓

✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓

4. จัดกลุมขอมูล เปรียบเทียบกับสิ่งที่ คาดการณ ไวและนําเสนอผล

✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓

5. ตั้งคําถามใหมจากผลการสํารวจ ตรวจสอบ

✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓

6. แสดงความคิดเห็นและรวบรวมขอมูล จากกลุมนําไปสูการสรางความรู

✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓

7. บันทึกและอธิบายผลการสังเกต สํารวจ ตรวจสอบตามความเปนจริง มีแผนภาพ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ประกอบคําอธิบาย 8. นําเสนอ จัดแสดงผลงาน โดยอธิบายดวย วาจา และเขียนแสดงกระบวนการและผล ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ของงานใหผูอื่นเขาใจ

คูม อื ครู


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Engage

Explore

Explain

Elaborate

Evaluate

˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ÃÒÂÇÔªÒ¾×é¹°Ò¹

ÇÔ·ÂÒÈÒʵà ».ó

ªÑé¹»ÃжÁÈÖ¡ÉÒ»‚·Õè ó

¡ÅØ‹ÁÊÒÃСÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ ÇÔ·ÂÒÈÒʵà µÒÁËÅÑ¡ÊÙµÃ᡹¡ÅÒ§¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñé¹¾×é¹°Ò¹ ¾Ø·¸ÈÑ¡ÃÒª òõõñ

¼ÙŒàÃÕºàÃÕ§ ¹Ò§ÊÒÇÈÔÃÔÃѵ¹ Ç§È ÈÔÃÔ ´Ã. ÃÑ¡«ŒÍ¹ Ãѵ¹ ÇÔ¨Ôµµ àǪ ¼ÙŒµÃǨ

¹Ò§ÊÒÇÍÒ¹ØÃÑ¡É ÃÐÁ§¤Å ¹Ò§ÊÒÇ¢³ÔÉ°Ò ÇÃÒ¡ØÅ ¹Ò§ÊÒÇÃÒµÃÕ Êѧ¦ÇѲ¹

ºÃóҸԡÒà ¹Ò§ÇÅѾà âÍÀÒÊÇѲ¹Ò

¾ÔÁ¾ ¤ÃÑ駷Õè ñ

ʧǹÅÔ¢ÊÔ·¸ÔìµÒÁ¾ÃÐÃÒªºÑÞÞÑµÔ : 978-616-203-245-5

ISBN

ÃËÑÊÊÔ¹¤ŒÒ ñóñøðóö

¤Œ¹¤ÇÒÁÃÙŒ¢ÂÒ¤ÇÒÁ¤Ô´¨Ò¡

EB GUIDE

ที่พิมพกํากับหัวขอสําคัญในหนังสือเรียนหลักสูตรใหม ชั้น ป.๔ ขึ้นไป ผาน www.aksorn.com ไปยังแหลงความรูทั่วไทย-ทั่วโลก


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Engage

Explore

Explain

Elaborate

Evaluate

(ยอจากฉบับนักเรียน 30%)

¤íÒ¹íÒ ´ŒÇ¡ÃзÃǧÈÖ¡ÉÒ¸Ô¡ÒÃä´ŒÁÕ¤íÒÊÑè§ãˌ㪌ËÅÑ¡ÊٵáÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñé¹¾×é¹°Ò¹ ¾Ø·¸ÈÑ¡ÃÒª òõôô ã¹âçàÃÕ¹·ÑèÇä» ·Õè¨Ñ´¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñé¹¾×鹰ҹ㹻‚¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ òõôö áÅШҡ¡ÒÃÈÖ¡ÉÒÇÔ¨ÑÂáÅеԴµÒÁ¼Å¡ÒÃ㪌ËÅÑ¡ÊٵáÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñé¹ ¾×é¹°Ò¹ ¾Ø·¸ÈÑ¡ÃÒª òõôô ¨Ö§¹íÒä»Ê‹Ù¡ÒþѲ¹ÒËÅÑ¡ÊÙµÃ᡹¡ÅÒ§¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñé¹¾×é¹°Ò¹ ¾Ø·¸ÈÑ¡ÃÒª òõõñ «Öè§ÁÕ ¤ÇÒÁàËÁÒÐÊÁáÅЪѴਹ à¾×Íè ãˌʶҹÈÖ¡ÉÒä´Œ¹Òí ä»ãªŒà»š¹¡Ãͺ·Ôȷҧ㹡ÒèѴËÅÑ¡ÊÙµÃʶҹÈÖ¡ÉÒ áÅШѴ¡Òà àÃÕ¹¡ÒÃÊ͹à¾×Íè ¾Ñ²¹Òà´ç¡áÅÐàÂÒǪ¹·Ø¡¤¹ã¹ÃдѺ¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñ¹é ¾×¹é °Ò¹ãËŒÁ¤Õ ³ Ø ÀÒ¾´ŒÒ¹¤ÇÒÁÃÙŒ áÅзѡÉзըè Òí ໚¹ ÊíÒËÃѺ¡ÒôíÒçªÕÇÔµã¹Êѧ¤Á·ÕèÁÕ¡ÒÃà»ÅÕè¹á»Å§ áÅÐáÊǧËÒ¤ÇÒÁÃÙŒà¾×è;Ѳ¹Òµ¹àͧÍ‹ҧµ‹Íà¹×èͧµÅÍ´ªÕÇÔµ ÊíÒËÃѺ¡Å‹ØÁÊÒÃСÒÃàÃÕ¹ÃÙŒÇÔ·ÂÒÈÒʵà »ÃСͺ´ŒÇ ø ÊÒÃЋ͠¤×Í ÊÒÃзÕè ñ ÊÔè§ÁÕªÕÇÔµ¡Ñº¡Ãкǹ¡ÒôíÒçªÕÇÔµ ÊÒÃзÕè ò ªÕÇÔµ¡ÑºÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁ ÊÒÃзÕè ó ÊÒÃáÅÐÊÁºÑµÔ¢Í§ÊÒà ÊÒÃзÕè ô áçáÅСÒÃà¤Å×è͹·Õè ÊÒÃзÕè õ ¾Åѧ§Ò¹ ÊÒÃзÕè ö ¡Ãкǹ¡ÒÃà»ÅÕè¹á»Å§¢Í§âÅ¡ ÊÒÃзÕè ÷ ´ÒÃÒÈÒʵà áÅÐÍÇ¡ÒÈ ÊÒÃзÕè ø ¸ÃÃÁªÒµÔ¢Í§ÇÔ·ÂÒÈÒʵà áÅÐà·¤â¹âÅÂÕ Ë¹Ñ§Ê×ÍàÃÕ¹ ÇÔ·ÂÒÈÒʵà ».ó àÅ‹Á¹Õé¨Ñ´·íÒ¢Öé¹ÊíÒËÃѺ㪌»ÃСͺ¡ÒÃàÃÕ¹¡ÒÃÊ͹ªÑé¹»ÃжÁÈÖ¡ÉÒ»‚·Õè ó â´Â´íÒà¹Ô¹¡ÒèѴ·íÒãËŒÊÍ´¤ÅŒÍ§µÒÁ¡Ãͺ¢Í§ËÅÑ¡Êٵ÷ء»ÃСÒà ʋ§àÊÃÔÁ¡Ãкǹ¡ÒäԴ ¡ÒÃÊ׺àÊÒÐËÒ¤ÇÒÁÃÙŒ ¡ÒÃá¡Œ»˜ÞËÒ ¤ÇÒÁÊÒÁÒö㹡ÒÃÊ×èÍÊÒà ¡ÒõѴÊԹ㨠¡ÒùíÒä»ãªŒã¹ªÕÇÔµ ÃÇÁ·Ñé§Ê‹§àÊÃÔÁãËŒ¼ÙŒàÃÕ¹ÁÕ¨ÔµÇÔ·ÂÒÈÒʵà ¤Ø³¸ÃÃÁ áÅФ‹Ò¹ÔÂÁ·Õ¶è ¡Ù µŒÍ§àËÁÒÐÊÁ¡Ñº¡ÒôíÒçªÕÇµÔ ã¹Êѧ¤Áä·Â «Ö§è à¨ÃÔÞ¡ŒÒÇ˹ŒÒ´ŒÒ¹ÇÔ·ÂÒÈÒʵà áÅÐà·¤â¹âÅÂÕ Ë¹Ñ§Ê×ÍàÃÕ¹ ÇÔ·ÂÒÈÒʵà ».ó àÅ‹Á¹Õé ÁÕ ÷ ˹‹Ç ã¹áµ‹ÅÐ˹‹ÇÂẋ§à»š¹º·Â‹ÍÂæ «Ö觻ÃСͺ´ŒÇ ñ. ໇ÒËÁÒ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ»ÃШíÒ˹‹Ç ¡íÒ˹´ÃдѺ¤ÇÒÁÃÙŒ ¤ÇÒÁÊÒÁÒö¢Í§¼ÙŒàÃÕ¹NjÒàÁ×èÍàÃÕ¹¨ºã¹ ᵋÅÐ˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ µŒÍ§ºÃÃÅØÁҵðҹµÑǪÕéÇÑ´·Õè¡íÒ˹´äÇŒã¹ËÅÑ¡ÊٵâŒÍã´ºŒÒ§ ò. á¹Ç¤Ô´ÊíÒ¤ÑÞ á¡‹¹¤ÇÒÁÃÙŒ·Õè໚¹¤ÇÒÁÃÙŒ¤ÇÒÁࢌÒ㨤§·¹µÔ´µÑǼٌàÃÕ¹ ó. à¹×éÍËÒ ¤ÃºµÒÁËÅÑ¡ÊÙµÃ᡹¡ÅÒ§¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñé¹¾×é¹°Ò¹ ¾.È. òõõñ ¹íÒàʹÍàËÁÒÐÊÁ¡Ñº¡ÒÃàÃÕ¹ ¡ÒÃÊ͹ã¹áµ‹ÅÐÃдѺªÑé¹ ô. ¡Ô¨¡ÃÃÁ ÁÕËÅÒ¡ËÅÒÂÃٻẺãËŒ¹Ñ¡àÃÕ¹»¯ÔºÑµÔ ẋ§à»š¹ (ñ) ¡Ô¨¡ÃÃÁ¹íÒÊ‹Ù¡ÒÃàÃÕ¹ ¹íÒࢌÒÊ‹Ùº·àÃÕ¹à¾×èÍ¡Ãе،¹¤ÇÒÁʹã¨á¡‹¼ÙŒàÃÕ¹ (ò) ¡Ô¨¡ÃÃÁÊíÒÃǨ ¡Ô¨¡ÃÃÁ·´Åͧ ໚¹¡Ô¨¡ÃÃÁãËŒ¼ÙŒàÃÕ¹䴌ŧÁ×Í»¯ÔºÑµÔà¾×èͽƒ¡·Ñ¡ÉСÃкǹ¡Ò÷ҧ ÇÔ·ÂÒÈÒʵà (ó) ¡Ô¨¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ ãËŒ¼ÙŒàÃÕ¹½ƒ¡»¯ÔºÑµÔà¾×è;Ѳ¹Ò¤ÇÒÁÃÙŒáÅзѡÉлÃШíÒ˹‹Ç (ô) ¡Ô¨¡ÃÃÁÃǺÂÍ´ ãËŒ¼ÙŒàÃÕ¹»¯ÔºÑµÔà¾×èÍáÊ´§¾ÄµÔ¡ÃÃÁ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒÃǺÂÍ´ áÅлÃÐàÁÔ¹¼Å¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ µÒÁÁҵðҹµÑǪÕéÇÑ´»ÃШíÒ˹‹Ç ˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ÇÔ·ÂÒÈÒʵà ».ó àÅ‹Á¹Õé ¹íÒàʹ͡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒãËŒàËÁÒÐÊÁ¡ÑºÇÑ¢ͧ¼ÙŒàÃÕ¹㹪Ñé¹»ÃжÁÈÖ¡ÉÒ »‚·Õè ó «Öè§à»š¹¡ÒÃÈÖ¡ÉÒÊÔ觷Õè¼ÙŒàÃÕ¹à¡ÕèÂÇ¢ŒÍ§ã¹¡ÒôíÒà¹Ô¹ªÕÇÔµ»ÃШíÒÇѹ â´Â㪌ÀÒ¾ á¼¹ÀÙÁÔ µÒÃÒ§¢ŒÍÁÙÅ ª‹ÇÂ㹡Òà ¹íÒàʹÍÊÒÃе‹Ò§æ «Ö§è ¨Ðª‹ÇÂãËŒ¼àŒÙ ÃÕ¹ÊÒÁÒöàÃÕ¹ÃÙäŒ ´Œ§Ò‹ Â¢Ö¹é ¤³Ð¼Ù¨Œ ´Ñ ·íÒ¨Ö§ËÇѧ໚¹Í‹ҧÂÔ§è Ç‹Ò Ë¹Ñ§Ê×ÍàÃÕ¹ àÅ‹Á¹Õé ¨Ð໚¹Ê×Íè ¡ÒÃàÃÕ¹¡ÒÃÊ͹·ÕÍè Òí ¹Ç»ÃÐ⪹ µÍ‹ ¡ÒÃàÃÕ¹ÇÔ·ÂÒÈÒʵà à¾×Íè ãËŒÊÁÑ Ä·¸Ô¼ÅµÒÁÁҵðҹµÑǪÕÇé ´Ñ ·Õ¡è Òí ˹´ äÇŒã¹ËÅÑ¡ÊÙµÃ᡹¡ÅÒ§¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñé¹¾×é¹°Ò¹ ¾.È. òõõñ ·Ø¡»ÃСÒà ¤³Ð¼ÙŒ¨Ñ´·íÒ


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Engage

Explore

Explain

Elaborate

Evaluate

คําชี้แจงในการใชสื่อ บทที่

การ¶‹ายทอดÅักɳТอ§สÔ่§ÁีªีวÔต กิจกรรมน�าสูก่ ารเรียน

?

หน่วยการเรียนรู้ที่

ภาพที่ ๑

สิ่งมีชีวิตในภาพ มีลักษณะเหมือนหรื อ แตกต่างกันหรื อไม่ อย่างไร

¨Ò¡ÀÒ¾·Õè ñ ภาพที่ ๒ áÅÐÀÒ¾·Õè ò ÊÔè§ÁÕªÕÇÔµã¹ÀÒ¾ ¨Ñ´à»š¹ÊÔè§ÁÕªÕÇÔµª¹Ô´à´ÕÂǡѹ ÊÔè§ÁÕªÕÇÔµã¹ÀÒ¾ÁÕÅѡɳРËÃ×ÍäÁ‹ à¾ÃÒÐÍÐäà ·ÕèàËÁ×͹¡Ñ¹ËÃ×Íᵡµ‹Ò§¡Ñ¹ Í‹ҧäÃ

ชีวิตสัมพันธ์

เป้าหมายการเรียนรู้ประจ�าหน่วยที่ ๑

แนวคิดส�าคัญ

เมื่อเรียนจบหน่วยนี้ ผู้เรียนจะมีความรู้ความสามารถ ดังนี้ ๑. อภิปรายลักษณะต่างๆ ของสิ่งมีชีวิตใกล้ตัว [มฐ. ว๑.๒ ป.๓/๑] ๒. เปรียบเทียบและระบุลักษณะที่คล้ายคลึงกันของพ่อแม่กับลูก [มฐ. ว๑.๒ ป.๓/๒] ๓. อธิบายลักษณะที่คล้ายคลึงกันของพ่อแม่กับลูกว่าเป็นการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและน�าความรู้ไปใช้ประโยชน์ [มฐ. ว๑.๒ ป.๓/๓] ๔. สืบค้นข้อมูลและอภิปรายเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิตบางชนิดที่สูญพันธุ์ ไปแล้วและที่ด�ารงพันธุ์มาจนถึงปัจจุบัน [มฐ. ว๑.๒ ป.๓/๔] ๕. ส�ารวจสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่นของตนและอธิบายความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม [มฐ. ว๒.๑ ป.๓/๑] [มฐ. ว๘.๑ ป.๓/๑-๘ บูรณาการสู่การจัดการเรียนการสอน]

สิง่ มีชวี ติ แต่ละชนิดจะมีลกั ษณะแตกต่างกัน สิง่ มีชวี ติ ชนิดเดียวกันจะมีลกั ษณะภายนอกทีป่ รากฏ คล้ายคลึงกับพ่อแม่ของสิ่งมีชีวิตชนิดนั้นๆ ซึ่งลักษณะภายนอกที่คล้ายคลึงกันของพ่อแม่กับลูกเกิดจาก การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม และมนุษย์ได้น�าความรู้เกี่ยวกับการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม มาใช้ประโยชน์ในการพัฒนาสายพันธุ์ของพืชและสัตว์ 2

กิจกรรมนําสูการเรียน นําเขาสูบทเรียนโดยใชกระตุน ความสนใจและประเมินผลกอนเรียน

มาตรฐานตัวชี้วัด ระบุตัวชี้วัดที่กําหนดไว ในแตละหนวย

เปาหมายการเรียนรู กําหนดระดับความรูความสามารถ ของผูเรียนเมื่อเรียนจบหนวย เน�้อหา ครบตามหลักสูตรแกนกลางฯ '๕๑ นําเสนอโดยใชภาษาที่เขาใจงาย เหมาะสมกับการเรียนการสอน

กิจกรรมพัฒนาการเรียนรู ใหผูเรียนฝกปฏิบัติเพื่อพัฒนาความรู และทักษะประจําหนวย

บทที่

จากแผนภาพการผลิตนํ้าประปา นักเรียนจะเห็นวา นํ้าประปาผลิต มาจากแหลงนํา้ ตามธรรมชาติ แลวนํามาผานกระบวนการผลิตหลายขัน้ ตอน ดังนั้นเราจึงตองใชนํ้าอยางประหยัดและรูคุณคา การใชนํ้าอยางประหยัด สามารถปฏิบัติได ดังนี้ การใชนํ้าอยางประหยัด

๒) ปดกอกนํ้าใหสนิทเมื่อไมใชงาน ๓) ตรวจสอบรอยรั่วของทอนํ้าภายในบาน ถาหากพบเห็นใหแจงชางประปาเพื่อซอมแซมทันที ๔) นํานํา้ ที่ใชแลวกลับมาใชอกี เชน นํานํา้ สุดทายจากการซักผา ไปรดตนไม เปนตน

นํา้ เปนสิง่ จําเปนตอการดํารงชีวติ ของคน ดังนัน้ เราจึงควรใชนาํ้ อยาง ประหยัด เพื่อลดคาใชจายในครอบครัว และปองกันภาวะการขาดแคลนนํ้า กิจกรรมพัฒนาการเรียนรูท  ี่ ๓

แบงกลุม ใหแตละกลุมสืบคนขอมูลเรื่องวิธีการใชนํ้าอยางประหยัด แลวจัดทํา แผนพับ เพื่อสรางจิตสํานึกในการใชนํ้าอยางประหยัดและรูคุณคา คําถามจุดประกาย

๑. นํ้ามีความสําคัญตอการดํารงชีวิตของคน สัตว และพืชอยางไร ๒. นักเรียนคิดวาแหลงนํ้าตามธรรมชาติจะหมดไปจากโลกไดหรือไม เพราะเหตุใด

กิจกรรมรวบยอด

ตอนที่ ๑ แนวคิดส�ำคัญ ช่วยกันสรุป ครูให้นักเรียนช่วยกันพูดสรุปการถ่ายทอดลักษณะจากพ่อแม่ไปสู่ลูก และการ น�าความรู้เกี่ยวกับการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมไปใช้ประโยชน์ว่ามีอะไรบ้าง จากนั้นบันทึกลงในสมุด ตอนที่ ๒ ลองท�ำดู หนูท�ำได้ ๑) จัดท�าแผนภาพครอบครัวของตนเองลงในกระดาษวาดเขียน และตกแต่ง ให้สวยงาม แล้วเขียนบอกลักษณะภายนอกของตนเองว่ามีลักษณะใดบ้าง ที่คล้ายคลึงกับพ่อแม่ ๒) แบ่งกลุ่ม ให้แต่ละกลุ่มสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับการน�าความรู้เรื่องการถ่ายทอด ลักษณะทางพันธุกรรมไปใช้ประโยชน์ เช่น การปรับปรุงพันธุ์พืชหรือสัตว์ แล้วน�าข้อมูลที่ได้มาน�าเสนอหน้าชั้นเรียน ตอนที่ ๓ ฝึกคิด พิชิตค�ำถำม ตอบค�ำถำมต่อไปนี้ลงในสมุด ๑) เพราะเหตุใด กระต่ายกับเต่าจึงมีลักษณะแตกต่างกัน ๒) ลักษณะใดบ้างของคนที่สามารถถ่ายทอดจากพ่อแม่ไปสู่ลูกได้ ๓) ถ้าผสมพันธุ์สุนัขสีขาวกับสุนัขสีด�า ปรากฏว่าได้ลูกสุนัขสีขาวทั้งหมด ลักษณะเด่นของลูกสุนัขคืออะไร ๔) มนุษย์นา� ความรูเ้ รือ่ งการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมไปใช้ประโยชน์ดา้ นใด

๑) ใชนํ้าทํากิจกรรมตางๆ อยางประหยัด เชน ใชภาชนะรองนํ้า ขณะแปรงฟนไมเปดนํ้าทิ้งไว ใชฝกบัวอาบนํ้าแทนการใชขันตัก เปนตน

?

กิจกรรมรวบยอด ใหผูเรียนฝกปฏิบัติเพื่อแสดงพฤติกรรม การเรียนรูรวบยอด และประเมินผลการเรียนรู ตามมาตรฐานตัวชี้วัดประจําหนวย

ค�ำถำมบูรณำกำรสู่ชีวิต

๑. ถ้ามีคนมาล้อเลียนว่า นักเรียนมีลักษณะไม่เหมือนพ่อแม่หรือพี่น้อง นักเรียนจะ อธิบายอย่างไรให้เข้าใจว่า สิ่งนี้ไม่ใช่เรื่องผิดปกติ ๒. คุณพ่อของนักเรียนเป็นนักฟุตบอล นักเรียนก็ชอบเล่นฟุตบอลเหมือนคุณพ่อ การชอบเล่นฟุตบอลเป็นการถ่ายทอดลักษณะจากคุณพ่อหรือไม่ เพราะอะไร ๓. นักเรียนได้รับประโยชน์จากการพัฒนาสายพันธุ์พืชและสัตว์อย่างไร

๑๑๘

คําถามจุดประกาย เปนคําถามกระตุนใหผูเรียน ฝกทักษะการคิด

คําถามบูรณาการสูชีวิต เปนคําถามกระตุนใหผูเรียน รูจักคิด นําความรูมาประยุกตใช ในชีวิตประจําวันหรือแกปญหา


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Engage

Explore

Explain

Elaborate

Evaluate

(ยอจากฉบับนักเรียน 30%)

สารบัญ หนวยการเรียนรูที่

๑ ชีวิตสัมพันธ

บทที่ ๑ การถายทอดลักษณะของสิ�งมีชีวิต บทที่ ๒ ชีวิตทีร่ อดมาได บทที่ ๓ สิ�งมีชีวติ กับสิ�งแวดลอม

๒ ๑๓ ๒๐

๒ ทรัพยากรที่รัก บทที่ ๑ ทรัพยากรในทองถิ�น บทที่ ๒ รวมใจกัน…อนุรักษทรัพยากร

๒๙

๓ วัสดุรอบตัวเรา บทที่ ๑ ชนิด สมบัติ และประโยชนของวัสดุ บทที่ ๒ การเปลี่ยนแปลงของวัสดุ

๕๒

๔ แรงและการเคลื่อนที่ บทที่ ๑ วัตถุกับแรงกระทํา บทที่ ๒ แรงโนมถวงของโลก

๗๕

๕ ไฟฟาในบานเรา บทที่ ๑ การผลิตไฟฟา บทที่ ๒ การใชไฟฟาในบาน

๘๙

หนวยการเรียนรูที่

หนวยการเรียนรูที่

หนวยการเรียนรูที่

หนวยการเรียนรูที่

หนวยการเรียนรูที่

๗๖ ๘๑ ๙๐ ๙๙

๑๐๗

๗ ปรากฏการณบนโลก

๑๓๑

บทที่ ๑ ปรากฏการณในทองฟา ● บรรณานุกรม

๕๓ ๖๕

๖ นํ้าและอากาศบนโลก

บทที่ ๑ นํ้าเพื่อชีวิต บทที่ ๒ อากาศรอบตัวเรา หนวยการเรียนรูที่

๓๐ ๔๖

๑๐๘ ๑๒๐

๑๓๒ ๑๔๐


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล Evaluate

Expand

กระตุนความสนใจ ครูถามคําถามแลวใหนักเรียน แสดงความคิดเห็นอยางอิสระ • สิ่งมีชีวิตในภาพมีลักษณะใดที่ คลายคลึงกับพอแมบาง • เพราะเหตุใด สิ่งมีชีวิตในภาพ จึงมีลักษณะคลายคลึงกับพอแม

?

หนวยการเรียนรูที่

ñ

ÊÔè§ÁÕªÕÇÔµã¹ÀÒ¾ ÁÕÅѡɳÐàËÁ×͹ËÃ× Í áµ¡µ‹Ò§¡Ñ¹ËÃ× ÍäÁ‹ Í‹ҧäÃ

ªÕÇÔµÊÑÁ¾Ñ¹¸

เปาหมายการเรียนรูประจําหนวยที่ ๑

เมื่อเรียนจบหนวยนี้ ผูเรียนจะมีความรูความสามารถ ดังนี้ ๑. อภิปรายลักษณะตางๆ ของสิ่งมีชีวิตใกลตัว [มฐ. ว๑.๒ ป.๓/๑] ๒. เปรียบเทียบและระบุลักษณะที่คลายคลึงกันของพอแมกับลูก [มฐ. ว๑.๒ ป.๓/๒] ๓. อธิบายลักษณะที่คลายคลึงกันของพอแมกับลูกวาเปนการถายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและนําความรูไปใชประโยชน [มฐ. ว๑.๒ ป.๓/๓] ๔. สืบคนขอมูลและอภิปรายเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิตบางชนิดที่สูญพันธุ ไปแลวและที่ดํารงพันธุมาจนถึงปจจุบัน [มฐ. ว๑.๒ ป.๓/๔] ๕. สํารวจสิ่งแวดลอมในทองถิ่นของตนและอธิบายความสัมพันธของสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดลอม [มฐ. ว๒.๑ ป.๓/๑] [มฐ. ว๘.๑ ป.๓/๑-๘ บูรณาการสูการจัดการเรียนการสอน]

คูมือครู

1


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explore

Explain

Expand

Evaluate

(หนาพิมพและตัวอักษรในกรอบนี้มีขนาดเล็ กวาฉบับนักเรียน 30%) (ยอกจากฉบั

เปาหมายการเรียนรู

º··Õè

เมื่อเรียนจบ นักเรียนจะสามารถ ปฏิบัติสิ่งเหลานี้ได 1. อภิปรายลักษณะตางๆ ของสิ่งมี ชีวิตใกลตัว (ว 1.2 ป.3/1) 2. เปรียบเทียบและระบุลักษณะที่ คลายคลึงกันของพอแมกับลูก (ว 1.2 ป.3/2) 3. อธิบายลักษณะที่คลายคลึงกันของ พอแมกับลูกวาเปนการถายทอด ลักษณะทางพันธุกรรม และนํา ความรูไปใชประโยชน (ว 1.2 ป.3/3)

ñ

กิจกรรกิมจนกํารสูรก มานราํ เสูรีกยานรเรียน

เกร็ดแนะครู ครูจัดกระบวนการเรียนรูโดยการ ใหนักเรียน • สํารวจ สังเกต • สืบคนขอมูล • เปรียบเทียบขอมูล • วิเคราะหจากประเด็นคําถาม และภาพ จนเกิดเปนความรูความเขาใจวา สิ่งมีชีวิตแตละชนิดจะมีลักษณะที่ แตกตางกัน สิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกัน จะมีลักษณะคลายคลึงกับพอแม ของสิ่งมีชีวิตชนิดนั้น เพราะสิ่งมีชีวิต จะไดรับการถายทอดลักษณะจาก พอแม เรียกวา การถายทอดลักษณะ ทางพันธุกรรม

กระตุนความสนใจ

¡Òö‹Ò·ʹÅѡɳТͧÊÔè§ÁÕªÕÇÔµ

ภาพที่ ๑ ¨Ò¡ÀÒ¾·Õè ñ ภาพที่ ๒ áÅÐÀÒ¾·Õè ò ÊÔè§ÁÕªÕÇÔµã¹ÀÒ¾ ¨Ñ´à»š¹ÊÔè§ÁÕªÕÇÔµª¹Ô´à´ÕÂǡѹ ÊÔè§ÁÕªÕÇÔµã¹ÀÒ¾ÁÕÅѡɳРËÃ×ÍäÁ‹ à¾ÃÒÐÍÐäà ·ÕèàËÁ×͹¡Ñ¹ËÃ×Íᵡµ‹Ò§¡Ñ¹ Í‹ҧäÃ

แนวคิดสําคัญ สิง่ มีชวี ติ แตละชนิดจะมีลกั ษณะแตกตางกัน สิง่ มีชวี ติ ชนิดเดียวกันจะมีลกั ษณะภายนอกทีป่ รากฏ คลายคลึงกับพอแมของสิ่งมีชีวิตชนิดนั้นๆ ซึ่งลักษณะภายนอกที่คลายคลึงกันของพอแมกับลูกเกิดจาก การถายทอดลักษณะทางพันธุกรรม และมนุษย ไดนําความรูเกี่ยวกับการถายทอดลักษณะทางพันธุกรรม มาใชประโยชนในการพัฒนาสายพันธุของพืชและสัตว ๒

นักเรียนดูภาพหนา 2 และชวยกัน บอกวา • จากภาพ จัดเปนสิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกันหรือไม เพราะอะไร (ตอบ ไมใช เพราะสิ่งมีชีวิตดังกลาวมีลักษณะแตกตางกัน) • สิ่งมีชีวิตในภาพมีลักษณะที่เหมือนกันหรือแตกตางกันอยางไร (แนวตอบ เหมือนกัน เชน วัวและควายมี 4 ขา มีเขา มีขนปกคลุมลําตัว แตกตางกัน เชน ควายมีเขายาวและใหญกวาวัว และสีของลําตัว คือ วัวมีสีขาวปนกับนํ้าตาลออน สวนควายมีสีเทา)

2

คูมือครู


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

Engage

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล Evaluate

Expand

สํารวจคนหา

๑ ลักษณะภายนอกของสิ่งมีชีวิต

สิ่งมีชีวิตบนโลกมีมากมายหลายชนิด สิ่งมีชีวิตแตละชนิดจะมีลักษณะ ทีแ่ ตกตางกัน แมวา สิง่ มีชวี ติ นัน้ จะเปนสิง่ มีชวี ติ ชนิดเดียวกันก็ตาม เราก็ยงั สังเกตเห็นความแตกตางไดเชนเดียวกัน ซึ่งนักเรียนสามารถศึกษาไดจาก กิจกรรมตอไปนี้ กิจกรรมหนูนอยนักสํารวจ

(ดูเฉลยกิจกรรมที่สวนเสริมดานหนาของเลมนี้)

กิจกรรมที่ ๑ พืชรอบตัวเรา

ปญหา

พืชแตละชนิดมีลักษณะเหมือนกันหรือแตกตางกันอยางไร

อุปกรณ

๑. กระดาษ ๑ แผน ๒. ดินสอและยางลบ

วิธที าํ

๑. สํารวจพืชทีต่ นเองสนใจในบริเวณโรงเรียนมาคนละ ๒ ชนิด แลววาดภาพ ของพืชที่สังเกตไดลงบนกระดาษ ๒. เปรียบเทียบลักษณะภายนอกของพืชทีส่ งั เกตไดวา มีลกั ษณะทีเ่ หมือนกัน หรือแตกตางกันอยางไร โดยสรุปเปนขอๆ ๓. นําขอมูลที่ไดมาอภิปรายรวมกันในชั้นเรียน

หมายเหตุ : ครูอาจใหนักเรียนหาภาพพืชที่นักเรียนสนใจจากอินเทอรเน็ตก็ได

ภาพที่ ๑.๑ ตนตําลึง มีลําตนเปนเถาเลื้อย และมีลําตนขนาดเล็ก

ภาพที่ ๑.๒ ตนมะมวง มีลําตนตั้งตรง และมี ขนาดสูงใหญ

จากการทํากิจกรรม นักเรียนจะเห็นไดวา พืชแตละชนิดจะมี ลักษณะที่แตกตางกัน เชน ตําลึงเปนพืชที่มีลําตนขนาดเล็ก และเปนเถาเลื้อย ลักษณะของใบเปนรูปคอนขางเหลี่ยม สวนตนมะมวงเปนพืชทีม่ ลี าํ ตนสูงใหญและตัง้ ตรง ใบเรียวยาว เปนตน

1. ครูใหนักเรียนยกตัวอยางพืชที่ นักเรียนรูจัก แลวรวมกันอภิปราย เกี่ยวกับลักษณะของพืชที่เพื่อน ยกตัวอยางมาวามีลักษณะอยางไร 2. ครูใหนักเรียนทํากิจกรรมที่ 1 โดยใหนกั เรียนสํารวจพืชทีน่ กั เรียน สนใจมา 2 ชนิด พรอมทั้งวาดภาพ ประกอบ แลวระบุลักษณะของพืช ชนิดนั้น 3. ครูใหนักเรียนนําผลการสํารวจมา อภิปรายรวมกันในชั้นเรียน และ สังเกตวา นักเรียนระบุลักษณะที่ แตกตางกันของพืชไดถูกตอง หรือไม

อธิบายความรู ครูและนักเรียนรวมกันสรุปผลการ สํารวจและระบุลักษณะที่แตกตางกัน ของพืชแตละชนิดวามีอะไรบาง โดย ครูอาจยกตัวอยางจากผลการสํารวจ ของนักเรียนประกอบ

บูรณาการสูอาเซียน ครูอธิบายเกี่ยวกับดอกไม ประจําชาติของแตละประเทศ ในกลุมอาเซียน ใหนักเรียนฟง ดังนี้ บรูไน-ดอกสันชวา กัมพูชา-ดอกลําดวน อินโดนีเซีย-ดอกกลวยไมราตรี ลาว-ดอกลีลาวดี มาเลเซีย-ดอกพูระหง เมียนมาร-ดอกประดู ฟลิปปนส-ดอกมะลิ สิงคโปร-ดอกกลวยไมแวนดา ไทย-ดอกราชพฤกษ เวียดนาม-ดอกบัว

คูมือครู

3


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

Engage

(ยอจากฉบับนักเรียน 30%)

สํารวจคนหา 1. ครูใหนักเรียนชวยกันยกตัวอยาง สัตวทนี่ กั เรียนรูจ กั มา 4 - 5 ตัวอยาง แลวใหนกั เรียนชวยกันระบุลกั ษณะ ของสัตววามีลักษณะแตกตางกัน อยางไร 2. ครูใหนักเรียนทํากิจกรรมที่ 2 โดยใหนักเรียนวาดภาพสัตวที่มี ลักษณะแตกตางกัน และสัตวชนิด เดียวกันที่มีลักษณะแตกตางกัน พรอมทัง้ ระบุลกั ษณะทีแ่ ตกตางกัน 3. ครูใหนักเรียนนําผลการสํารวจมา อภิปรายรวมกันในชั้นเรียน

ส ว นพื ช ชนิ ด เดี ย วกั น ก็ จ ะมี ลั ก ษณะ ที่ปรากฏคลายคลึงกัน เชน ตนทานตะวัน จะมีใบสีเขียวเขม มีรปู รางกลมรี ขอบใบหยัก โคนใบโคงเวาเปนรูปหัวใจ มีดอกสีเหลือง และกลีบดอกเรียงซอนกัน เปนตน ▲

ภาพที่ ๑.๓ ตนทานตะวัน สายพันธุเดียวกัน จะมีลกั ษณะ ภายนอกคลายคลึงกัน

กิจกรรมหนูนอ ยนักสํารวจ

บูรณาการสูอาเซียน

กิจกรรมที่ ๒ สัตวที่ฉันชอบ

ครูอธิบายเกีย่ วกับสัตวประจําชาติ ของแตละประเทศในกลุมอาเซียน ใหนักเรียนฟง ดังนี้ • กัมพูชา-กูปรี • อินโดนีเซีย-มังกรโคโมโด • ลาว-ชาง • มาเลเซีย-เสือโครงมลายู • เมียนมาร-นกแวนสีเทา • ฟลิปปนส-ควาย • สิงคโปร-สิงโต • ไทย-ชาง • เวียดนาม-ควาย • บรูไน-ไมมีสัตวประจําชาติ

(ดูเฉลยกิจกรรมที่สวนเสริมดานหนาของเลมนี้)

ปญหา

สัตวแตละชนิดมีลักษณะเหมือนกันหรือแตกตางกันอยางไร

อุปกรณ

๑. กระดาษวาดเขียน ๒ แผน ๒. ดินสอ ๑ แทง

วิธีทํา

๑. ใหนักเรียนแตละคนวาดภาพสัตวตางชนิดกันอยางละ ๑ ภาพ ลงบน กระดาษวาดเขียนแลวเปรียบเทียบลักษณะภายนอกวามีลักษณะ แตกตางกันอยางไร ๒. ใหนกั เรียนวาดภาพสัตวชนิดเดียวกัน เชน สุนขั ไทยกับสุนขั ตางประเทศ แมวไทยกับแมวตางประเทศ เปนตน ลงบนกระดาษวาดเขียนอีก หนึ่งแผน แลวเปรียบเทียบลักษณะของสัตวทั้งสองตัววามีลักษณะ เหมือนกันและแตกตางกันอยางไรบาง ๓. นําผลงานของตนเองมาอภิปรายรวมกันในชั้นเรียน

หมายเหตุ : ครูอาจใหนักเรียนหาภาพสัตวที่นักเรียนสนใจจากอินเทอรเน็ตก็ได

4

คูมือครู


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

Explain

ตรวจสอบผล Evaluate

Expand

อธิบายความรู

จากการทํากิจกรรม นักเรียนจะเห็นไดวา สัตวแตละชนิดจะมีลักษณะ ภายนอกที่แตกตางกัน สวนสัตวชนิดเดียวกันมีลกั ษณะภายนอกทีค่ ลายคลึงกัน แตจะมีลกั ษณะ เฉพาะตัวแตกตางกัน เชน µÑÇÍ‹ҧÅѡɳТͧÊÔè§ÁÕªÕÇÔµ

เปด กับหาน เปดจะมีขนาดลําตัวเล็กกวาหาน มีคอและขา สั้นกวาหาน ปากของเปดจะมีลักษณะ แบนและไมมีโหนกจมูก สวนปากของหานจะมีโหนกจมูก ●

เปด

หาน

1. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปผลการ อภิปรายลักษณะที่แตกตางกันของ สัตวแตละชนิด โดยยกตัวอยาง จากผลการสํารวจของนักเรียน 2. ครูอธิบายใหนักเรียนเขาใจวา สัตวแตละชนิดจะมีลักษณะที่ แตกตางกัน 3. ใหนักเรียนดูภาพและอานขอมูล หนา 5 และรวมกันบอกลักษณะ ที่แตกตางกันของสัตวในภาพ 4. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปวา สิ่งมีชีวิตที่มีลักษณะใกลเคียงกัน ก็จะมีลกั ษณะทีแ่ ตกตางกันเชนกัน

แมววิเชียรมาศ กับเสือโครง แมววิเชียรมาศจะมีขนาดลําตัวเล็กกวาเสือโครง สีขนของแมวจะมีสีนํ้าตาลออน สวน เสือโครงจะสีเหลืองสมและมีลายสีนํ้าตาล ใบหนาของแมววิเชียรมาศจะมี สีนํ้าตาลเขม สวนใบหนาของเสือโครงจะมี สีเหลืองสมและสีขาว และมีลายสีนํ้าตาล แมววิเชียรมาศ ●

เสือโครง

สุนัขพันธุไทย กับสุนัขพันธุตางประเทศ สุนัขพันธุปอมเมอเรเนียนจะมีขนาดเล็กกวาสุนัข พันธุไทยหลังอาน สุนัขพันธุปอมเมอเรเนียนมีขนยาวและฟู สวนสุนัขพันธุไทยหลังอานจะมีขนสั้นเกรียน ●

สุนัขพันธุปอมเมอเรเนียน

สุนัขพันธุไทยหลังอาน

คูมือครู

5


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล Expand

Evaluate

(ยอจากฉบับนักเรียน 30%)

ขยายความเขาใจ 1. ครูใหนกั เรียนดูภาพสุนขั ในหนา 6 แลวใหนักเรียนระบุลักษณะของ สุนัขในภาพวามีลักษณะใดบางที่ คลายคลึงกัน 2. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปวา สิง่ มีชวี ติ แตละชนิดยอมเกิดจาก สิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกันและมี ลักษณะคลายคลึงกับพอหรือแม ของสิ่งมีชีวิตชนิดนั้น 3. ครูถามคําถามจุดประกายและให นักเรียนชวยกันตอบ

สิ่งมีชีวิตทุกชนิดตองเกิดมาจากสิ่งมี ชีวิตชนิดเดียวกัน และลูกของสิ่งมีชีวิต ก็จะมีลักษณะคลายคลึงกับพอแม เชน ลูกสุนัขจะมีสขี น ลักษณะเสนขน เหมือนกับพอแมของมัน ซึ่งลักษณะ ดังกลาวสามารถถายทอดจากพอแม ไปสูล กู และรุนตอไปได

ตรวจสอบผล

?

ครูใหนักเรียนเลือกพืชและสัตว มาอยางละ 2 ชนิดแลวเปรียบเทียบ ลักษณะที่แตกตางกัน พรอมกับติด ภาพประกอบ

ภาพที่ ๑.๔ ลูกสุนัขจะมีลักษณะรูปราง หนาตา และสีขนคลายคลึงกับแมของมัน (ดูเฉลยกิจกรรมที่สวนเสริมดานหนาของเลมนี้) ▲

คําถามจุดประกาย

๑. เพราะเหตุใด สิ่งมีชีวิตแตละชนิดจึงมีลักษณะแตกตางกัน ๒. สุนขั พันธุบ างแกวและสุนขั พันธุพ ดุ เดิล มีลกั ษณะทีเ่ หมือนกันและแตกตางกันอยางไร ๓. นักเรียนมีลกั ษณะคลายคลึงกับใคร เพราะเหตุใด

๒ การถายทอดลักษณะจากพอแมไปสูลูก นักเรียนเคยสังเกตสิง่ มีชวี ติ รอบๆ ตัวหรือไมวา ทําไมตัวเราหรือพีน่ อ งเรา จึงมีลักษณะคลายคลึงกับพอแม ทําไมลูกสุนัขจึงมีสี ขนเหมือนกับพอแมของมัน นักเรียนคิดวาสิง่ มีชวี ติ ไดรับลักษณะตางๆ มาจากใคร

ภาพที่ ๑.๕ คนแตละคนจะมีลักษณะ แตกตางกัน เพราะไดรับการถายทอด ลักษณะจากพอและแมของตนเอง

6

คูมือครู


กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

กระตุนความสนใจ

กิจกรรมหนูนอยนักสํารวจ

(ดูเฉลยกิจกรรมที่สวนเสริมดานหนาของเลมนี้)

กิจกรรมที่ ๓ ฉันเหมือนใคร

ปญหา

นักเรียนมีลักษณะคลายคลึงกับพอแมของตนเองอยางไรบาง

วิธีทํา

๑. ใหนักเรียนสํารวจลักษณะตางๆ ของตนเอง เปรียบเทียบกับพอแม (หรือรูปถายของพอแม) วามีลักษณะใดบางที่คลายคลึงกับพอแม ๒. บันทึกผลลงในสมุด และนําขอมูลมารวมกันอภิปราย µÑÇÍ‹ҧµÒÃÒ§ºÑ¹·Ö¡

ลักษณะของฉัน ๑. เสนผม ๒. หนังตา ๓. สีผิว ๔. ลักยิ้ม

ลักษณะของฉันคลายคลึงกับ

พอ

แม

ลักษณะที่ปรากฏ

ารวจ บันทึกผลการสํ นักเรียน ว ั ต า จํ ระ ป ด ุ ลงในสม

ครูสุมเรียกนักเรียนออกมา 2 คน แลวใหเพื่อนๆ ชวยกันสังเกตวา ลักษณะของนักเรียนทั้ง 2 คน แตกตางกันอยางไรบาง จากนั้น ใชคําถามถามนักเรียนวา • เพราะเหตุใด ลักษณะของเพื่อน ทั้ง 2 คน จึงแตกตางกัน (ตอบ เพราะทั้ง 2 คน ตางไดรับ การถายทอดลักษณะจากพอแม ของตนเอง) • เพื่อนทั้ง 2 คน มีลักษณะใดที่ แตกตางกันบาง (ตอบ ขึ้นอยูกับขอมูลของ นักเรียนแตละคน)

สํารวจคนหา

จากการทํากิจกรรม นักเรียนจะเห็นไดวา ตัวนักเรียนมีลกั ษณะบางอยาง ที่คลายคลึงกับพอแม เพราะนักเรียนไดรับการถายทอดลักษณะบางอยาง จากพอและยังไดรับการถายทอดลักษณะบางอยางจากแม เชน นักเรียนมี ผิวสีขาวเหมือนพอ และมีผมเหยียดตรงเหมือนแม เปนตน การถายทอด ลักษณะตางๆ จากพอแมไปสูลูก เราเรียกวา การถายทอดลักษณะทาง พันธุกรรม Åѡɳе‹Ò§æ ·ÕèÊÒÁÒö¶‹Ò·ʹ ¨Ò¡¾‹ÍáÁ‹ÊÙ‹ÅÙ¡ÁÕÍÐäúŒÒ§ Åͧ´ÙµÑÇÍ‹ҧ䴌ã¹Ë¹ŒÒ¶Ñ´ä»¹Ð¤ÃѺ

ครูใหนักเรียนทํากิจกรรมที่ 3 โดยเปรียบเทียบลักษณะของตนเอง วา มีลักษณะใดบางที่คลายคลึงกับ พอแม และคลายคลึงกันอยางไร

อธิบายความรู 1. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปผล การทํากิจกรรมวาตัวนักเรียนจะมี ลักษณะบางอยางที่คลายคลึงกับ พอแมของนักเรียน 2. ครูอธิบายใหนักเรียนเขาใจวา นักเรียนจะไดรับการถายทอด ลักษณะบางอยางจากพอแม เรียกวา การถายทอดลักษณะทาง พันธุกรรม

คูมือครู

7


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู ขยายความเขาใจ Expand

Explain

ตรวจสอบผล Evaluate

(ยอจากฉบับนักเรียน 30%)

อธิบายความรู 1. ครูใหนักเรียนดูภาพตัวอยางการ ถายทอดลักษณะทางพันธุกรรม ในหนานี้วามีอะไรบาง แลวให นักเรียนเปรียบเทียบลักษณะ ดังกลาวกับลักษณะของตนเองวา มีลักษณะใดบางที่ตรงกับลักษณะ ของนักเรียน 2. ครูใหนักเรียนยกตัวอยางลักษณะ อื่นๆ ที่สามารถถายทอดจากพอ แมไปสูลูกไดมา 4-5 ตัวอยาง

ลักษณะที่ถายทอดจากพอแมไปสูลูก ๑. ลักษณะหนาผาก ๒. ลักษณะเสนผม ๓. ลักษณะติ่งหู

ตัวอยาง

หนาผาก มีรอยหยัก

ขยายความเขาใจ

หนาผากกวาง

๔. ลักษณะสีผิว

ครูอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับประวัติ ของเกรเกอร โยฮันน เมนเดล บิดาแหงวิชาพันธุศาสตร

ผิวขาว

ผิวดํา

ผมตรง

ผมหยักศก

๕. ลักษณะลิ้น

หอลิ้นได

มีติ่งหู

๖. ลักษณะนิ้วมือ

หอลิ้นไมได

วิทยาศาสตร ทยาศาสตรฉลาดรู เกรเกอร โยฮันน เมนเดล (๒๒ กรกฎาคม ค.ศ. ๑๘๒๒ ๖ มกราคม ค.ศ. ๑๘๘๔) เกิดทีเ่ มืองไฮนเซนดรอฟ ประเทศออสเตรีย เขาได ท ดลองผสมพั น ธุ  ต  น ถั่ ว ลั น เตา เพื่ อ ศึ ก ษาการถ า ยทอด ลักษณะทางพันธุกรรมของพืชและไดคนพบวาตนถั่วลันเตามีการ ถายทอดลักษณะจากพอแมไปสูลูก ทําใหเขาไดรับการยกยองให เปน บิดาแหงวิชาพันธุศาสตร

8

คูมือครู

ไมมีติ่งหู

หัวแมมือ งอน

หัวแมมือ ตั้งตรง


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล Expand

Evaluate

ขยายความเขาใจ 1. ครูอธิบายใหนักเรียนเขาใจวา ลักษณะทางพันธุกรรมสามารถ แบงออกเปน 3 ลักษณะ คือ ลักษณะเดน ลักษณะดอย และ ลักษณะที่แปรผัน โดยยกตัวอยาง จากผลการสํารวจลักษณะของ ตนเองในกิจกรรมหนูนอ ยนักสํารวจ กิจกรรมที่ 3 ประกอบ 2. ครูใหนักเรียนดูภาพหนา 10 แลวอธิบายใหนักเรียนเขาใจวา สิ่งมีชีวิตชนิดอื่นตางก็มีการ ถายทอดลักษณะจากพอแมสลู กู ได เชนเดียวกันกับคน 3. ครูถามคําถามจุดประกายในหนา 10 แลวใหนักเรียนชวยกันตอบคําถาม

แผนภาพ การถายทอดลักษณะทางพันธุกรรม

ปู

ยา

ตา

พอ

ยาย

แม

ตรวจสอบผล

ลูก

ภาพที่ ๑.๖ สมาชิกในครอบครัวอาจมีลักษณะบางอยางที่แตกตางกัน เพราะบุคคลนั้นอาจไดรับการถายทอด ลักษณะบางอยางจาก ปู ยา ตา ยาย หรือเกิดลักษณะบางอยางที่แปรผันไป

การถายทอดลักษณะทางพันธุกรรม เราสามารถสรุปได ๓ ลักษณะ ดังนี้

ทําแผนภาพครอบครัวของตนเอง โดยศึกษารายละเอียดจากกิจกรรม รวบยอด ตอนที่ 2 ขอ 1 หนา 12

๑. ลักษณะเดน คือ ลักษณะที่ปรากฏในทุกรุนของสิ่งมีชีวิต ๒. ลักษณะดอย คือ ลักษณะทีป่ รากฏใหเห็นในบางรุน เทานัน้ เพราะ ถูกลักษณะเดนขมเอาไว ๓. ลักษณะที่แปรผัน คือ ลักษณะที่แตกตางจากลักษณะของสมาชิก ในครอบครัว และสามารถถายทอดไปยังรุนตอๆ ไปได ๙

คูมือครู

9


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

Engage

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Elaborate

Evaluate

(ยอจากฉบับนักเรียน 30%)

สํารวจคนหา ครูตั้งประเด็นใหนักเรียนอภิปราย รวมกันวา เราสามารถนําความรู เกี่ยวกับการถายทอดลักษณะทาง พันธุกรรมไปใชประโยชนอยางไรบาง

สิ่งมีชีวิตอื่นๆ ก็มีการถายทอดลักษณะทางพันธุกรรมไดเชนเดียวกับคน เชน ลูกแมวมีลักษณะที่คลายคลึงกับพอและแมของแมว เมล็ดทานตะวัน ที่นํามาปลูกก็จะเจริญเติบโตเปนตนทานตะวันไดเชนเดียวกัน เปนตน

อธิบายความรู 1. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปผล การอภิปรายการนําความรูเ กีย่ วกับ การถายทอดลักษณะทาง พันธุกรรมไปใชประโยชน 2. ครูอธิบายใหนักเรียนเขาใจวา ใน การปรับปรุงพันธุพืชและพันธุสัตว มีขั้นตอนอยางไรบาง 3. ใหนักเรียนอานขอมูลหัวขอที่ 3 หนา 10 - 11 เพื่อใหเกิดความ เขาใจ

ภาพที่ ๑.๗ ลูกแมวจะมีลักษณะคลายกับพอแม ของมัน

?

คําถามจุดประกาย

ภาพที่ ๑.๘ ตนทานตะวันที่เจริญเติบโตขึ้นมาใหม มีลักษณะใกลเคียงกับตนเดิม

(ดูเฉลยกิจกรรมที่สวนเสริมดานหนาของเลมนี้)

๑. ถาเรามีลักษณะแตกตางจากพอแม เราอาจมีลักษณะคลายกับใครบาง ๒. สมาชิกในครอบครัวของนักเรียนมีผิวขาวเปนสวนใหญ ลักษณะเดนคืออะไร ๓. ถาผสมถั่วตนสูงกับถั่วตนเตี้ย แลวไดถั่วตนสูงทั้งหมด ลักษณะเดนคืออะไร

๓ การนําความรูเกี่ยวกับการถายทอดลักษณะทางพันธุกรรม ไปใชประโยชน

มนุษยนําความรูเกี่ยวกับการถายทอดลักษณะทางพันธุกรรมมาใชใน การพัฒนาสายพันธุของพืชและสัตว เพื่อใหมีลักษณะตรงตามตองการ เชน ใหผลผลิตสูง มีความตานทานโรค เปนตน ๑๐

10

คูมือครู


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล Expand

Evaluate

ขยายความเขาใจ

มนุษย ไดนําความรูเกี่ยวกับการถายทอดลักษณะทางพันธุกรรมมาใช ประโยชนในดานเศรษฐกิจและการผลิตอาหาร ตัวอยางเชน ขาวโพดพันธุน ครสวรรค ๓ เปนพันธุ ผสมระหวางพันธุต ากฟา ๑ (พันธุแ ม) และ พันธุตากฟา ๓ (พันธุพอ) มีลักษณะเดน คือ ใหผลผลิตสูง มีความตานทานตอ โรครานํา้ คาง และโรคราสนิม และทนตอ สภาพอากาศแหงแลงไดดี

1. ครูอธิบายตัวอยางการนําความรู เกี่ยวกับการถายทอดลักษณะ ทางพันธุกรรมมาใชประโยชน ใหนักเรียนเขาใจวา มนุษยนํา ความรูเกี่ยวกับการถายทอด ลักษณะทางพันธุกรรมมาใชใน ดานเศรษฐกิจและการผลิตอาหาร เพือ่ ชวยลดตนทุนในการดูแลพืช และสัตว และใหผลผลิตเพิ่มขึ้น 2. ครูถามคําถามจุดประกายในหนานี้ และใหนักเรียนชวยกันตอบ

ตรวจสอบผล

โคนมสายพันธุหลักของไทยมีชื่อวา โคนมพันธุท เี อ็มแซด (TMZ : Thai Milking Zebu) โดยไดจากการผสมพันธุระหวาง โคนมพันธุยุโรปกับโคนมเขตรอนพันธุซีบู (Zebu) เพือ่ ใหเลีย้ งภายในประเทศไทยได ใหปริมาณนํ้านมดิบมาก และยังทนตอ สภาพอากาศรอนไดดี

?

คําถามจุดประกาย

(ดูเฉลยกิจกรรมที่สวนเสริมดานหนาของเลมนี้)

๑. การปรับปรุงและพัฒนาสายพันธุพืชและสัตว มีผลทางดานเศรษฐกิจอยางไร ๒. ถาตองการเลี้ยงสัตวพันธุยุโรปในประเทศไทย นักเรียนจะทําอยางไร ๓. นักเรียนจะมีวิธีในการคัดเลือกพันธุพืชและสัตวในการนํามาผสมพันธุกันอยางไร

สืบคนขอมูลการนําความรูเ กีย่ วกับ การนําการถายทอดลักษณะทาง พันธุกรรมไปใชประโยชน โดยศึกษา รายละเอียดจากกิจกรรมรวบยอด ตอนที่ 2 ขอ 2) หนา 12

นักเรียนควรรู โคนมพันธุทีเอ็มแซด (TMZ : Thai Milking Zebu) เปนโคนมลูกผสม สายพันธุหลักของประเทศไทย และ มีการเลี้ยงและศึกษาที่ศูนยวิจัย และบํารุงพันธุสัตวลําพญา จังหวัด นครราชสีมา

๑๑

คูมือครู

11


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

Engage

Explore

Explain

Expand

หลักฐาน แสดงผลการเรียนรู 1. ใบบันทึกผลการทํากิจกรรม หนูนอยนักสํารวจ 2. แผนภาพครอบครัว และการ เปรียบเทียบลักษณะของตนเองกับ สมาชิกในครอบครัว 3. ขอมูลเกี่ยวกับการนําความรู เรื่องการถายทอดลักษณะ ทางพันธุกรรมไปใชประโยชน

Evaluate

(ยอจากฉบับนักเรียน 30%)

ตรวจสอบผล 1. ทํากิจกรรมรวบยอดตอนที่ 1 และ 3 2. ครูถามคําถามบูรณาการสูชีวิต และใหนักเรียนชวยกันตอบ

ตรวจสอบผล

º··Õè

กิจกรรมรวบยอด (ดูเฉลยกิจกรรมที่สวนเสริมดานหนาของเลมนี้)

ตอนที่ ๑ แนวคิดสําคัญ ชวยกันสรุป ครูใหนักเรียนชวยกันพูดสรุปการถายทอดลักษณะจากพอแมไปสูลูก และการ นําความรูเกี่ยวกับการถายทอดลักษณะทางพันธุกรรมไปใชประโยชนวามีอะไรบาง จากนั้นบันทึกลงในสมุด ตอนที่ ๒ ลองทําดู หนูทําได ๑) จัดทําแผนภาพครอบครัวของตนเองลงในกระดาษวาดเขียน และตกแตง ใหสวยงาม แลวเขียนบอกลักษณะภายนอกของตนเองวามีลักษณะใดบาง ที่คลายคลึงกับพอแม ๒) แบงกลุม ใหแตละกลุมสืบคนขอมูลเกี่ยวกับการนําความรูเรื่องการถายทอด ลักษณะทางพันธุกรรมไปใชประโยชน เชน การปรับปรุงพันธุพืชหรือสัตว แลวนําขอมูลที่ไดมานําเสนอหนาชั้นเรียน ตอนที่ ๓ ฝกคิด พิชิตคําถาม ตอบคําถามตอไปนี้ลงในสมุด ๑) เพราะเหตุใด กระตายกับเตาจึงมีลักษณะแตกตางกัน ๒) ลักษณะใดบางของคนที่สามารถถายทอดจากพอแมไปสูลูกได ๓) ถาผสมพันธุสุนัขสีขาวกับสุนัขสีดํา ปรากฏวาไดลูกสุนัขสีขาวทั้งหมด ลักษณะเดนของลูกสุนัขคืออะไร ๔) มนุษยนาํ ความรูเ รือ่ งการถายทอดลักษณะทางพันธุกรรมไปใชประโยชนดา นใด คําถามบูรณาการสูชีวิต

(ดูเฉลยกิจกรรมที่สวนเสริมดานหนาของเลมนี้)

๑. ถามีคนมาลอเลียนวา นักเรียนมีลักษณะไมเหมือนพอแมหรือพี่นอง นักเรียนจะ อธิบายอยางไรใหเขาใจวา สิ่งนี้ไมใชเรื่องผิดปกติ ๒. คุณพอของนักเรียนเปนนักฟุตบอล นักเรียนก็ชอบเลนฟุตบอลเหมือนคุณพอ การชอบเลนฟุตบอลเปนการถายทอดลักษณะจากคุณพอหรือไม เพราะอะไร ๓. นักเรียนไดรับประโยชนจากการพัฒนาสายพันธุพืชและสัตวอยางไร

12

คูมือครู


กระตุน ความสนใจ Engage

º··Õè

ò

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explore

Explain

Expand

Evaluate

เปาหมายการเรียนรู

ªÕÇÔµ·ÕèÃÍ´ÁÒä´Œ ภาพที่ ๑

เมื่อเรียนจบหนวยนี้ นักเรียนจะ สามารถปฏิบัติสิ่งเหลานี้ได • สืบคนขอมูลและอภิปราย เกี่ยวกับสิ่งมีชีวิตบางชนิดที่ สูญพันธุไปแลวและที่ดํารงพันธุ มาจนถึงปจจุบัน (ว 1.2 ป.3/4)

กิจกรรมนําสูก ารเรียน

เกร็ดแนะครู ครูจัดกระบวนการเรียนการสอน โดยการใหนักเรียน • สํารวจสังเกต • สืบคนขอมูล • วิเคราะหจากประเด็นคําถาม และภาพ จนเกิดเปนความรูความเขาใจวา สิ่งมีชีวิตตางๆ บนโลก บางชนิดได สูญพันธุไ ปแลว และสิง่ มีชวี ติ บางชนิด ยังคงดํารงพันธุอยูจนถึงปจจุบัน เพราะสิง่ มีชวี ติ มีการปรับตัวใหเขากับ สิ่งแวดลอมที่เปลี่ยนแปลงไปได

ÊÔè§ÁÕªÕÇÔµª¹Ô´ã´·ÕèàÃÒÊÒÁÒö ¾ºàËç¹ä´Œã¹»˜¨¨ØºÑ¹

กระตุนความสนใจ

ภาพที่ ๒ แนวคิดสําคัญ สิ่งมีชีวิตตางๆ ที่เกิดขึ้นบนโลก บางชนิดไดสูญพันธุ ไปแลว เนื่องจากไมสามารถปรับตัว ใหเขากับสภาพแวดลอมที่เปลี่ยนแปลงไปได สวนสิ่งมีชีวิตที่สามารถปรับตัวใหเขากับสภาพแวดลอม ที่เปลี่ยนแปลงไปไดก็จะสามารถอยูรอดและดํารงเผาพันธุมาจนถึงปจจุบัน ๑๓

นักเรียนดูภาพหนา 13 แลวชวยกัน บอกวา • สิ่งมีชีวิตในภาพที่ 1 และภาพที่ 2 เปนสิ่งมีชีวิตชนิดใด (ตอบ • ภาพที่ 1 ไดโนเสาร • ภาพที่ 2 ชาง) • นักเรียนเคยพบเห็นสิ่งมีชีวิต ชนิดใดหรือไมเคยพบเห็นสิ่งมี ชีวิตใด (ตอบ เห็นชาง แตไมเคยพบเห็น ไดโนเสาร) • สิ่งมีชีวิตในภาพใดที่เรายัง พบเห็นไดในปจจุบัน (ตอบ ชาง)

คูมือครู

13


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

Engage

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

(ยอจากฉบับนักเรียน 30%)

สํารวจคนหา 1. ครูใหนักเรียนสนทนาแสดงความ คิดเห็นเกี่ยวกับปญหาสิ่งแวดลอม ตางๆ วาสงผลกระทบตอการดํารง ชีวิตของสิ่งมีชีวิตอยางไรบาง 2. ครูใหนักเรียนทํากิจกรรมพัฒนา การเรียนรู โดยใหนักเรียนสืบคน ขอมูลเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิตชนิดตางๆ แลวบอกวาสิ่งมีชีวิตชนิดใดบาง ที่สูญพันธุไปแลว

๑ สิ่งมีชีวิตที่เคยมีอยูและสูญพันธุไปแลว

สิ่งแวดลอมที่เราอาศัยอยูมีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นตลอดเวลา ซึ่ง อาจเกิดจากการเปลีย่ นแปลงตามธรรมชาติ และเกิดขึน้ จากการเปลีย่ นแปลง ของมนุษย นักเรียนคิดวาปญหาสิ่งแวดลอมจะสงผลกระทบตอการดําเนิน ชีวิตของสิ่งมีชีวิตอยางไร สืบคนขอมูลของสัตวที่กําหนดใหวาสัตวชนิดใดที่ยังไมสูญพันธุ และสัตวชนิดใด ที่สูญพันธุไปแลว

อธิบายความรู 1. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปผล การทํากิจกรรมพัฒนาการเรียนรู 2. ใหนักเรียนรวมกันอภิปรายวา นักเรียนจะทราบไดอยางไรวา ไดโนเสารเคยมีชีวิตอยูบนโลกนี้

หมีขั้วโลก

บูรณาการสูอาเซียน ครูอธิบายใหนักเรียนฟงวา สัตวที่อาศัยอยูในกลุมประเทศ อาเซียน และไดสูญพันธุไปแลว ไดแก เสือโครงชวา ซึ่งอาศัยอยูใน ประเทศอินโดนีเซีย และสมันซึ่ง อาศัยอยูในประเทศไทย ครูเนนยํ้าใหนักเรียนเขาใจวา พืชและสัตวตางๆ ที่มีอยูในแตละ ประเทศถือเปนสิ่งแวดลอมทาง ธรรมชาติที่พลเมืองในประเทศ ตองชวยกันอนุรักษ

คูมือครู

ตัวนิ่ม

ไดโนเสาร

นกโดโด โลมา

กระซู

ยีราฟ

จากการทํากิจกรรมนักเรียนจะเห็นไดวา สัตวบางชนิดเคยมีชีวิตอยูบน โลกนี้แตไดสูญพันธุ ไปแลว สวนสัตวบางชนิดยังมีชีวิตอยูและสามารถ พบเห็นไดในปจจุบัน ¹Ñ¡àÃÕ¹¨Ð·ÃҺ䴌Í‹ҧäÃÇ‹Ò ÊÔè§ÁÕªÕÇÔµª¹Ô´ã´à¤ÂÁÕªÕÇÔµÍÂÙ‹º¹âÅ¡¹Õé ᵋ㹻˜¨¨ØºÑ¹ä´ŒÊÙ޾ѹ¸Ø ä»áÅŒÇ

๑๔

14

(ดูเฉลยกิจกรรมที่สวนเสริมดานหนาของเลมนี้)

กิจกรรมพัฒนาการเรียนรู


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล Expand

Evaluate

อธิบายความรู

เราสามารถศึกษาสิ่งมีชีวิต ที่สูญพันธุไปแลวไดโดยดู จากหลั ก ฐานต า งๆ เช น ซากฟอสซิลของไดโนเสาร โครงกระดูกของสัตว ภาพวาด ภาพที่ ๑.๙ ซากฟอสซิลและโครงกระดูกของสัตว หรือภาพถายของสัตวชนิดนัน้ เปนหลักฐานที่ใชแสดงวาสัตวชนิดนั้นเคยมีชีวิตอยู เปนตน ปจจัยที่ทําใหสิ่งมีชีวิตสูญพันธุหรือใกลสูญพันธุ การที่สิ่งมีชีวิตบางชนิดสูญพันธุ ไป หรือใกลสูญพันธุ มีสาเหตุ ดังนี้ ▲

๑) ภัยธรรมชาติ เชน แผนดินไหว ๒) โครงสรางทางรางกาย รูปราง ไฟปา ภูเขาไฟปะทุอยางรุนแรง เปนตน ของสัตวมีสวนทําใหสัตวสูญพันธุ เชน ทําใหสิ่งแวดลอมเปลี่ยนแปลงไปอยาง สมันมีเขาแตกกิ่งกานสาขา จึงหลบหนี รวดเร็ว สิง่ มีชวี ติ อาจลมตายและสูญพันธุ การลาของผูลาไดยาก เปนตน ในที่สุด เชน ไดโนเสาร เปนตน ๓) การกระทําของมนุษ ย เชน มนุษยลาสัตวเพื่อทําการคาหรือความ เพลิดเพลิน และการตัดไมทําลายปาซึ่ง เปนที่อยูอาศัยของสัตวปาหลายชนิด ทําใหสตั วปา มีจาํ นวนลดนอยลง เปนตน

?

คําถามจุดประกาย

๔) ลั ก ษณะที่ อ ยู  อ าศั ย สั ตว ที่ อาศัยอยูในบริเวณที่มักพบเห็นไดงาย จะมีโอกาสถูกลาไดงา ย เชน สมันอาศัย อยูในปาโปรง เปนตน

ขยายความเขาใจ 1. ครูนําขอมูลเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิตอื่นๆ ที่เคยมีชีวิตอยูและสูญพันธุไปแลว มาเลาใหนักเรียนฟง เชน ชางแมมมอธ เสือเขี้ยวดาบ นกโดโด เปนตน 2. ครูถามคําถามจุดประกายในหนานี้ และใหนักเรียนชวยกันตอบ

ตรวจสอบผล ใหนักเรียนทํากิจกรรมรวบยอด ตอนที่ 2 หนา 19

(ดูเฉลยกิจกรรมที่สวนเสริมดานหนาของเลมนี้)

นักเรียนควรรู

๑. นักเรียนคิดวา สาเหตุสําคัญที่สุดที่ทําใหสิ่งมีชีวิตสูญพันธุคืออะไร ๒. นักเรียนสามารถศึกษาลักษณะของไดโนเสารชนิดตางๆ ไดอยางไร ๓. สิ่งแวดลอมมีผลตอการสูญพันธุหรือการดํารงพันธุของสิ่งมีชีวิตอยางไร ๑๕

@

1. ครูอธิบายใหนักเรียนเขาใจวา เราสามารถศึกษาสิ่งมีชีวิตที่จะ สูญพันธุไปแลว โดยดูจากซาก ฟอสซิลโครงกระดูก ภาพวาดหรือ ภาพถายของสิ่งมีชีวิตชนิดนั้น 2. ครูตั้งประเด็นใหนักเรียนรวมกัน อภิปรายเกี่ยวกับสาเหตุที่ทําให สิ่งมีชีวิตสูญพันธุหรือใกลสูญพันธุ วามีอะไรบาง 3. ครูสังเกตการอภิปรายของนักเรียน และรวมกันสรุปผลการอภิปราย

มุม IT

ครูสืบคนเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิตที่สูญพันธุไปแลวไดจากเว็บไซต www.komkid.com ซึ่งเปนเว็บไซตที่รวบรวมขอมูลเกี่ยวกับความรูรอบตัวโดยมีวิธีการดังนี้ 1. ชี้เมาสที่ ธรรมชาติวิทยา 2. คลิก สัตวสูญพันธุ

ซากฟอสซิล คือ รองรอยของสิ่งมี ชีวิตซึ่งอาจเปนชิ้นสวนของสิ่งมีชีวิต ที่ยอยสลายไดยาก เชน กระดูก ฟน เขีย้ ว เปนตน หรืออาจเปนรองรอย ขณะที่สิ่งมีชีวิตชนิดนั้นยังมีชีวิตอยู เชน รอยเทา รอยคลาน เปนตน แหลงที่มีการขุดพบซากฟอสซิล ไดโนเสารขนาดใหญ และมีการจัด แสดงซากฟอสซิลของไดโนเสาร และโครงกระดูกของไดโนเสาร ในประเทศไทย ตั้งอยูที่แหลง ไดโนเสารภูกุมขาว จังหวัดกาฬสินธุ คูมือครู

15


กระตุน ความสนใจ สํารวจคนหา Explore

Engage

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

(ยอจากฉบับนักเรียน 30%)

กระตุนความสนใจ ครูและนักเรียนสนทนาแสดง ความคิดเห็นวา เพราะอะไรสิ่งมีชีวิต บางชนิดจึงสามารถดํารงพันธุอยู จนถึงปจจุบัน

สํารวจคนหา 1. ครูยกตัวอยางการปรับตัวของ สิ่งมีชีวิตตางๆ ดังนี้ • การหุบใบของไมยราบ • การเปลี่ยนสีลําตัวของจิ้งจก • การขดตัวเปนวงกลมของกิ้งกือ • การหดหัวและเทาเขาในกระดอง ของเตา 2. ครูใหนักเรียนรวมกันอภิปราย ตัวอยางการปรับตัวของสิ่งมีชีิวิต วามีประโยชนอยางไร และลักษณะ ของการปรับตัวเปนอยางไร 3. ครูยกตัวอยางการปรับตัวของ สิ่งมีชีวิตตางๆ ดังนี้ • ผักบุงมีลําตนกลวง • ตะบองเพชรเปลีย่ นใบเปนหนาม • ปลามีรูปรางเพรียว • ยีราฟมีคอยาว • นกมีปากแหลมคม 4. ครูใหนักเรียนอภิปรายตัวอยาง การปรับตัวของสิ่งมีชีวิตวามี ประโยชนอยางไร และลักษณะ ของการปรับตัวเปนอยางไร 5. ครูใหนักเรียนเปรียบเทียบลักษณะ การปรับตัวในขอ 1 กับขอ 3 และ สรุปผล

อธิบายความรู 1. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปผล การอภิปรายวา การปรับตัว ชั่วคราวของพืชและสัตว เปนการ เปลี่ยนแปลงรูปรางหรือลักษณะ ภายนอกในชวงเวลาสั้นๆ และ สามารถเปลี่ยนกลับมาเปน ลักษณะเดิมได 2. ใหนักเรียนอานขอมูลในหนานี้

16

คูมือครู

๒ การปรับตัวของสิ่งมีชีวิต

สิ่งมีชีวิตที่สามารถอยูรอดมาไดจะมีการปรับตัวใหเหมาะสมกับสภาพ แวดลอม เพือ่ การอยูร อด เชน การปรับเปลีย่ นโครงสรางของรางกาย การพรางตา ศัตรู เปนตน ซึ่งแบงออกไดเปน ๒ ลักษณะ ดังนี้ ๑. การปรับตัวชั่วคราว การปรับตัวชั่วคราว เปนการเปลี่ยนแปลงรูปรางลักษณะภายนอก ของสิง่ มีชวี ติ ในชวงเวลาสัน้ ๆ และสามารถเปลีย่ นกลับมาเปนลักษณะเดิมได เชน ตนไมที่ปลูกบริเวณที่รมจะโนมลําตนเขาหาแสงแดด กิ้งกาจะเปลี่ยนสี ลําตัวใหกลมกลืนกับสิ่งแวดลอม เปนตน

ภาพที่ ๑.๑๐ ตนไมเอนลําตนเขาหาแสงเพื่อการ สรางอาหาร

ภาพที่ ๑.๑๑ กิ้งกาเปลี่ยนสีลําตัวใหกลมกลืนกับ สิ่งแวดลอมเพื่อพรางตัวจากศัตรู และเพื่อลาเหยื่อ

๒. การปรับตัวถาวร การปรับตัวถาวร เปนการเปลี่ยนแปลงรูปรางลักษณะที่เกิดจากการ ถายทอดลักษณะทางพันธุกรรม การปรับตัวถาวรของสิ่งมีชีวิต มีดังนี้ ๑) การปรับตัวถาวรของพืช พืชแตละชนิดมีการปรับตัวใหเขากับ สภาพแวดลอมแตกตางกัน ซึ่งนักเรียนสามารถศึกษาไดจากกิจกรรมนี้ ๑๖


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล

Engage

Evaluate

สํารวจคนหา (ดูเฉลยกิจกรรมที่สวนเสริมดานหนาของเลมนี้)

กิจกรรมหนูนอยนักทดลอง กิจกรรมเรื่อง การปรับตัวของพืชนํ้า

ปญหา

พืชนํ้ามีการปรับตัวใหเหมาะสมตอการดํารงชีวิตอยางไร

อุปกรณ

๑. ผักบุงหรือผักกระเฉด ๑ ตน ๒. ตนถั่วหรือพืชบกชนิดอื่นๆ ๑ ตน ๓. ตูเลี้ยงปลาหรือกะละมัง ๑ ใบ

วิธีทํา

๑. สังเกตลักษณะของผักบุงและตนถั่ววามีลักษณะแตกตางกันอยางไร แลวบันทึกผล ๒. เติมนํ้าลงในภาชนะที่เตรียมไวประมาณ ๓ ใน ๔ ของความจุภาชนะ ๓. นําตนผักบุงไปแชลงในนํ้า ใชมือกดผักบุงใหจมนํ้า แลวปลอยมือ จากนั้นสังเกต แลวบันทึกผล ๔. ทําการทดลองซํ้าขอ ๓ โดยเปลี่ยนจากตนผักบุงเปนตนถั่ว สังเกต แลวบันทึกผล

จากการทดลอง นักเรียนจะเห็นไดวา พืชบกและพืชนํา้ จะมีลกั ษณะ แตกตางกัน โดยพืชนํา้ บางชนิดจะมีทนุ ชวยพยุงลําตนใหลอยอยูบ นผิวนํา้ ได เชน ผักกระเฉด เปนตน หรือมีลําตนกลวงเพื่อชวยในการลอยนํ้า เชน ผักบุง เปนตน ภาพที่ ๑.๑๒ พืชนํ้าบางชนิด เชน ผักตบชวา บัว

1. ครูใหนักเรียนสนทนาแสดงความ คิดเห็นวา พืชนํ้าและพืชบก มีลักษณะใดแตกตางกันบาง 2. ครูใหนักเรียนทํากิจกรรมเรื่อง การปรับตัวของพืชนํ้า

อธิบายความรู 1. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปผล การทดลองการปรับตัวของพืชนํ้า 2. ครูอธิบายใหนักเรียนเขาใจวา ลักษณะของพืชบกและพืชนํ้า แตกตางกันอยางไรบาง

ขยายความเขาใจ ครูใหนกั เรียนรวบรวมขอมูลเพิม่ เติม เกี่ยวกับการปรับตัวถาวรแบบตางๆ ของพืชแลวบันทึกขอมูลไว และนํามา แลกเปลี่ยนกันในชั้นเรียน

ลําตนมีรูพรุน เพื่อใหลอยนํ้าได

คูมือครู

17


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู ขยายความเขาใจ Explain

Expand

Evaluate

(ยอจากฉบับนักเรียน 30%)

อธิบายความรู 1. ครูอธิบายใหนักเรียนเขาใจวา การปรับตัวถาวรของสัตวสามารถ แบงออกได 3 ลักษณะ คือ • การปรับตัวทางดานรูปราง • การปรับตัวทางดาน โครงสราง • การปรับตัวทางดานพฤติกรรม 2. ใหนกั เรียนอานขอมูลในหนานี้ และรวมกันสรุปลักษณะการปรับตัว ถาวรของสัตว 3. ครูตงั้ ประเด็นคําถามแลวให นักเรียนชวยกันตอบ • เพราะอะไรสิ่งมีชีวิตจึงตองมี การปรับตัวใหเขากับ สภาพแวดลอมที่อาศัยอยู (ตอบ เพื่อใหสามารถดํารงชีวิต อยูรอดได) • การที่เปดมีเทาเปนพังผืด เปนการปรับตัวลักษณะใด เพราะอะไร (ตอบ เปนการปรับตัวดานรูปราง เพราะเปนการปรับลักษณะ ของเทา ซึ่งเปนอวัยวะภายนอก เพื่อชวยในการวายนํ้า)

๒) การปรับตัวถาวรของสัตว แบงออกเปน ๓ ลักษณะ ดังนี้ (๑) การปรับตัวทางดานรูปราง เปนการปรับลักษณะของสัตว เพื่อใหเหมาะสมกับสิ่งแวดลอม เชน ตั๊กแตนใบไม จะมีรูปราง คลายกับใบไม ชวยในการ พรางตัว

สุนขั ในเขตอากาศหนาว จะมีขนยาวและมีชนั้ ไขมันหนาเพือ่ ใหรา งกาย อบอุน เชน สุนัขพันธุ เซนตเบอรนารด เปนตน

คูมือครู

สุนขั ในเขตอากาศรอน จะมีขนสั้นเกรียน และไมมี ชัน้ ไขมันหนาใตผวิ หนัง เชน สุนัขพันธุไทยหลังอาน เปนตน

(๓) การปรับตัวทางดานพฤติกรรม เปนการปรับพฤติกรรมดาน การดําเนินชีวิตของสัตว เชน สัตวที่จําศีลในฤดูหนาว เชน หมีขั้วโลก จะไมเคลื่อนไหว รางกาย เพื่อ ลดการใช พลังงาน

?

๑๘

18

ตั๊กแตนกิ่งไม จะมีรูปรางและสีของ ลําตัวคลายกับกิ่งไม ชวยในการพรางตัว

(๒) การปรับตัวทางดานโครงสราง เปนการปรับการทํางานของ อวัยวะภายในของรางกายของสัตว เชน

ขยายความเขาใจ 1. ใหนักเรียนสืบคนขอมูลเพิ่มเติม เกี่ยวกับการปรับตัวแบบตางๆ ของสัตว แลวบันทึกขอมูลไว และ นํามาแลกเปลี่ยนกันในชั้นเรียน 2. ครูถามคําถามจุดประกายในหนานี้ แลวใหนักเรียนชวยกันตอบ

ตรวจสอบผล

คําถามจุดประกาย

คางคาวเปนสัตวที่ไมชอบแสง จึงตองออกหากิน ในเวลา กลางคืน

(ดูเฉลยกิจกรรมที่สวนเสริมดานหนาของเลมนี้)

๑. เพราะเหตุใด สิ่งมีชีวิตบางชนิดจึงสามารถดํารงเผาพันธุอยูไดจนถึงปจจุบัน ๒. สัตวที่อยูในเขตอากาศรอนกับสัตวที่อยูในเขตอากาศหนาวมีลักษณะแตกตางกัน อยางไร ๓. ลําตนของพืชนํ้ามีลักษณะที่แตกตางจากลําตนของพืชบกอยางไร


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

Engage

Explore

Explain

Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

ตรวจสอบผล º··Õè

กิจกรรมรวบยอด (ดูเฉลยกิจกรรมที่สวนเสริมดานหนาของเลมนี้)

ตอนที่ ๑ แนวคิดสําคัญ ชวยกันสรุป ครูใหนักเรียนชวยกันพูดสรุปสาเหตุที่ทําใหสิ่งมีชีวิตบางชนิดสูญพันธุหรือใกล สูญพันธุ และการปรับตัวของสิ่งมีชีวิตวามีลักษณะใดบาง จากนั้นบันทึกลงในสมุด ตอนที่ ๒ ลองทําดู หนูทําได จัดทําบัตรภาพสิ่งมีชีวิตที่นักเรียนสนใจมาคนละ ๑ ชนิด แลวบันทึกขอมูล ตามตัวอยาง ชือ่ สัตว : …………………………………………………………………………………………………………… ลักษณะรูปราง : ………………………………………………………………………………………… ติดภาพ

ึกขอมูลลงใน ีย าพ รภ บัต ที่นักเร

บันท …………………………………………………………………………………………. นจัดทํา

1. ทํากิจกรรมรวบยอดตอนที่ 1 และ 3 2. ครูถามคําถามบูรณาการสูชีวิต และใหนักเรียนชวยกันตอบ

หลักฐาน แสดงผลการเรียนรู 1. การตอบคําถามในกิจกรรม พัฒนาการเรียนรู 2. ใบบันทึกผลกิจกรรมหนูนอย นักทดลอง 3. บัตรภาพสิ่งมีชีวิต

อาหาร : ………………………………………………………………………………………………………… ที่อยูอาศัย : …………………………………………………………………………………………………. สูญพันธุไปแลว

ยังไมสูญพันธุ

ตอนที่ ๓ ฝกคิด พิชิตคําถาม ตอบคําถามตอไปนี้ลงในสมุด ๑) นักเรียนทราบไดอยางไรวา ไดโนเสารเคยมีชีวิตอยูบนโลก ๒) สาเหตุสําคัญที่ทําใหสมันสูญพันธุคืออะไร ๓) ยกตัวอยางการปรับตัวของสิ่งมีชีวิตมา ๓ ตัวอยาง พรอมทั้งบอกสาเหตุ ที่ทําใหสิ่งมีชีวิตมีการปรับตัว ๔) การปรับตัวของสิ่งมีชีวิตมีผลตอการดํารงพันธุอยางไร คําถามบูรณาการสูชีวิต

(ดูเฉลยกิจกรรมที่สวนเสริมดานหนาของเลมนี้)

๑. นักเรียนคิดวา การเปลี่ยนแปลงสภาพแวดลอมในปจจุบันในลักษณะใดบาง ที่เปนสาเหตุสําคัญที่อาจทําใหสิ่งมีชีวิตบางชนิดตองสูญพันธุไป ๒. นักเรียนคิดวา การชวยกันดูแลรักษาสิ่งแวดลอม มีสวนชวยไมใหสัตว บางชนิดสูญพันธุไดหรือไม อยางไร

คูมือครู

19


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explore

Explain

Expand

Evaluate

เปาหมายการเรียนรู เมื่อเรียนจบ นักเรียนจะสามารถ ปฏิบัติสิ่งเหลานี้ได • สํารวจสิ่งแวดลอมในทองถิ่น ของตนและอธิบายความสัมพันธ ของสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดลอม (ว 2.1 ป.3/1)

(ยอจากฉบับนักเรียน 30%)

º··Õè

ó

ÊÔè§ÁÕªÕÇÔµ¡ÑºÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁ ภาพที่ ๑ ผึ้งกับดอกไม

กิจกรรมนําสูก ารเรียน กิจกรรมนําสูก ารเรียน

เกร็ดแนะครู ครูจัดกระบวนการเรียนการสอน โดยการใหนักเรียน • สํารวจ สังเกต • อภิปราย • อธิบาย • วิเคราะหจากประเด็นคําถาม และภาพ จนเกิดเปนความรูความเขาใจวา สิ่งตางๆ ที่อยูรอบตัวเราทั้งสิ่งมีชีวิต และสิ่งไมมีชีวิตจะมีความสัมพันธ กับสิ่งแวดลอมและกับสิ่งมีชีวิต ดวยกันเอง

กระตุนความสนใจ

¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ ¢Í§¼Ö駡Ѻ´Í¡äÁŒ ภาพที่ ๒ สิงโตกับวัวกระทิง áÅÐÊԧⵡѺÇÑÇ¡Ãзԧ ÁÕ¤ÇÒÁᵡµ‹Ò§¡Ñ¹Í‹ҧäà ¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ ¢Í§ÊÔè§ÁÕªÕÇÔµã¹ÀÒ¾ ÁÕÅѡɳÐÍ‹ҧäÃ

นักเรียนดูภาพหนา 20 แลวชวยกัน บอกวา • ความสัมพันธของผึ้งกับดอกไม แนวคิดสําคัญ และสิงโตกับวัวกระทิงมีความ แตกตางกันอยางไร สิ่งตางๆ ที่อยูรอบตัวเรามีทั้งสิ่งมีชีวิตและสิ่งไมมีชีวิต เรียกวา สิ่งแวดลอม ซึ่งสิ่งมีชีวิตตางๆ (ตอบ ความสัมพันธของผึ้งกับ จะมีความสัมพันธกับสิ่งแวดลอมทั้งกับสิ่งมีชีวิตและสิ่งไมมีชีวิต ดอกไม เปนความสัมพันธที่ผึ้ง และดอกไมไดรับประโยชน ๒๐ รวมกัน เพราะผึ้งกินนํ้าหวาน จากดอกไม และดอกไมอาศัย ผึ้งในการผสมเกสร สวนสิงโต กับวัวกระทิง เปนความสัมพันธที่สิงโตไดประโยชนแตเพียงฝายเดียว เพราะสิงโตกินวัวกระทิงเปนอาหาร) • ความสัมพันธของสิ่งมีชีวิตในภาพมีลักษณะอยางไร (ตอบ ผึ้งกับดอกไมจะไดรับประโยชนรวมกัน สวนสิงโตกับวัวกระทิง สิงโตจะไดรับประโยชนฝายเดียว)

20

คูมือครู


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

กระตุนความสนใจ

๑ ความสัมพันธระหวางสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดลอม

ลองสังเกตรอบๆ ตัวเรา นักเรียนจะพบสิ่งตางๆ มากมาย ซึ่งมีทั้ง สิ่งที่มีชีวิต เชน คน สุนัข ตนไม เปนตน และสิ่งไมมีชีวิต เชน นํ้า ทราย กอนหิน บาน ถนน เปนตน สิ่งตางๆ เหลานี้เรียกวา สิ่งแวดลอม นักเรียนเคยสังเกตไหมวา สิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยูรวมกับสิ่งไมมีชีวิต มีความสัมพันธกันอยางไรบาง นักเรียนสามารถศึกษาไดจากกิจกรรมนี้ กิจกรรมหนูนอยนักสํารวจ

(ดูเฉลยกิจกรรมที่สวนเสริมดานหนาของเลมนี้)

กิจกรรมเรื่อง สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดลอม

ปญหา

สิง่ มีชวี ติ ตางๆ มีความสัมพันธกบั สิง่ แวดลอมอยางไรบาง

วิธีทํา

๑. แบงกลุม ใหแตละกลุม สํารวจสิง่ มีชวี ติ ในบริเวณสวนของโรงเรียนวา มีความสัมพันธกบั สิง่ แวดลอมอยางไร แลวบันทึกผล ๒. นําผลการสํารวจมาอภิปรายรวมกันในชัน้ เรียน และหาขอสรุปวา สิง่ มีชวี ติ มีความสัมพันธกบั สิง่ แวดลอมอยางไร โดยมีครูเปนผูน าํ การอภิปราย

1. ครูใหนักเรียนสํารวจสิ่งตางๆ รอบตัววามีอะไรบางที่เปน สิ่งมีชีวิต และสิ่งไมมีชีิวิต 2. ครูถามคําถามนักเรียนวา • นักเรียนมีความสัมพันธกับสิ่งที่ นักเรียนยกตัวอยางอยางไรบาง (แนวตอบ ขึ้นอยูกับขอมูลของ นักเรียนแตละคน)

สํารวจคนหา 1. ครูใหนักเรียนทํากิจกรรมหนูนอย นักสํารวจ แลวนําผลการสํารวจมา อภิปรายรวมกันวา สิ่งมีชีวิตตางๆ มีความสัมพันธกับสิ่งแวดลอม อยางไร 2. ครูสังเกตการอภิปรายรวมกัน ภายในกลุมของนักเรียน

µÑÇÍ‹ҧµÒÃÒ§ºÑ¹·Ö¡

สิ่งมีชีวิตที่พบ

ความสัมพันธกับสิ่งแวดลอม ารวจ บันทึกผลการสํ นักเรียน ว ั ต า จํ ระ ป ด ุ ลงในสม

จากการทํากิจกรรม นักเรียนจะเห็นไดวา สิ่งมีชีวิตมีความสัมพันธกับ สิ่งแวดลอมในดานตางๆ ซึ่งสามารถสรุปได ดังนี้ ๒๑

คูมือครู

21


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

(ยอจากฉบับนักเรียน 30%)

อธิบายความรู 1. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปผลการ ทํากิจกรรมหนูนอยนักสํารวจ 2. ครูอธิบายใหนักเรียนเขาใจวา สิ่งมีชีวิตตางๆ จะมีความสัมพันธ กับสิ่งแวดลอม คือ เปนแหลงที่อยู อาศัย เปนแหลงอาหาร เปนแหลง สืบพันธุ และเปนแหลงหลบภัย 3. ใหนักเรียนอานขอมูลหนา 22 และรวมกันสรุปความสัมพันธ ของสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดลอม

นักเรียนควรรู ปะการัง เปนสัตวไมมีกระดูกสันหลังชนิดหนึ่ง อาศัยอยูบริเวณ ชายฝงทะเลนํ้าตื้น และอยูรวมกัน เปนกลุม สืบพันธุไ ดทงั้ แบบอาศัยเพศ และแบบไมอาศัยเพศ

๑. เปนแหลงที่อยูอาศัย ๑) บริเวณปาไมเปนแหลงทีอ่ ยูอ าศัยของพืช เชน เต็ง รัง สัก สน เปนตน และสัตวบก เชน เสือ กวาง ลิง ชาง เปนตน ๒) บริเวณแหลงนํ้าเปนที่อยูอาศัยของพืชนํ้า เชน ผักบุง สาหราย ผักตบชวา เปนตน และสัตวนํ้า เชน กุง หอย ปู ปลา เปนตน ๒. เปนแหลงอาหาร แหลงอาหารของสิง่ มีชวี ติ จะมีอยูท วั่ ไปตามธรรมชาติ เชน ทุงหญาเปนแหลงอาหารของวัว หนองนํ้าเปนแหลงอาหาร ของนกนํ้าชนิดตางๆ เปนตน สวนพืชจะไดรับอาหารจาก ธาตุอาหารตางๆ ที่อยูในดิน ๓. เปนแหลงสืบพันธุและเลี้ยงดูลูกออน สิ่งมีชีวิตอาศัยสิ่งแวดลอมเปนแหลงสืบพันธุและเลี้ยงดู ลูกออน เชน สัตวนาํ้ ออกลูกเปนไขหรือเปนตัวในนํา้ สัตวบก จะใชแหลงทีอ่ ยูอ าศัยเปนแหลงสืบพันธุแ ละเลีย้ งดูลกู ออนจน เจริญเปนตัวเต็มวัย

นักเรียนควรรู ปาชายเลน เปนปาไมไมผลัดใบ ที่อยูบริเวณชายฝงทะเล ซึ่งสัตวนํ้า บางชนิดจะอาศัยปาชายเลน เปนสถานที่สําหรับวางไขและ เปนแหลงหลบภัย พืชที่พบบริเวณ ปาชายเลน เชน โกงกาง แสม ตะบูน ปรง เปนตน

๔. เปนแหลงหลบภัย แหลงหลบภัยที่สําคัญของสิ่งมีชีวิต เชน ๑) ปะการังและปาชายเลน เปนแหลงหลบภัยของสัตวนาํ้ ๒) ดิน เปนแหลงหลบภัยของสัตวที่อาศัยอยูใตดิน เชน ไสเดือน ตัวตุน เปนตน ๓) ปาไม เปนแหลงหลบภัยของสัตวปา เชน เสือ ชาง หมี กวาง เปนตน ๒๒

22

คูมือครู


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล Expand

Evaluate

ขยายความเขาใจ

กิจกรรมพัฒนาการเรียนรูท  ี่ ๑ (ดูเฉลยกิจกรรมที่สวนเสริมดานหนาของเลมนี้)

พิจารณาความสัมพันธจากภาพที่กําหนดให แลวบอกความสัมพันธระหวางสิ่งมีชีวิต กับสิ่งแวดลอม ๑ ๒

?

ตรวจสอบผล

คําถามจุดประกาย

1. ครูใหนักเรียนทํากิจกรรมพัฒนา การเรียนรูที่ 1 โดยใหนักเรียน ดูภาพแลวบอกความสัมพันธ ของสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดลอม 2. ครูสังเกตการตอบคําถามของ นักเรียนวา นักเรียนสามารถตอบ คําถามไดถูกตองหรือไม 3. ครูถามคําถามจุดประกายใน หนานี้แลวใหนักเรียนชวยกันตอบ

ครูใหนักเรียนวาดภาพแสดงความ สัมพันธของสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดลอม ใหครบทั้ง 4 ลักษณะ คือ เปนแหลง ทีอ่ ยูอ าศัย เปนแหลงอาหาร เปนแหลง สืบพันธุ และเปนแหลงหลบภัย

(ดูเฉลยกิจกรรมที่สวนเสริมดานหนาของเลมนี้)

๑. เพราะเหตุใด สิ่งแวดลอมที่มีความอุดมสมบูรณจึงมีสิ่งมีชีวิตอาศัยอยูมากมาย ๒. ถาความสัมพันธของสิ่งมีชีิวิตกับสิ่งแวดลอมในดานเปนแหลงอาหารขาดหายไป สิ่งมีชีวิตจะดํารงชีวิตอยูไดหรือไม เพราะเหตุใด ๓. จากคํากลาวที่วา “สิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดลอมมีความสัมพันธกัน โดยไมสามารถ แยกออกจากกันได” นักเรียนเห็นดวยหรือไม เพราะอะไร

๒ ความสัมพันธระหวางสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิต สิง่ มีชวี ติ ตางๆ นอกจากจะมีความสัมพันธ กับสิ่งแวดลอมแลว ยังมีความสัมพันธกับ สิ่งมีชีวิตดวยกันเองอีกดวย

Åͧ·íÒ¡Ô¨¡ÃÃÁã¹Ë¹ŒÒµ‹Íä» à¾×èÍÈÖ¡ÉÒ¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ ÃٻẺµ‹Ò§æ ¢Í§ÊÔè§ÁÕªÕÇÔµ ¡ÑºÊÔè§ÁÕªÕÇÔµ ๒๓

คูมือครู

23


กระตุน ความสนใจ สํารวจคนหา Engage

Explore

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

(ยอจากฉบับนักเรียน 30%)

กระตุนความสนใจ ครูใหนักเรียนชวยกันยกตัวอยาง สิ่งมีชีวิตที่มีความสัมพันธกันมา ประมาณ 4 - 5 ตัวอยาง แลวชวยกัน บอกวา สิ่งมีชีวิตที่ยกตัวอยางมา มีความสัมพันธกันอยางไร

กิจกรรมพัฒนาการเรียนรูท  ี่ ๒ (ดูเฉลยกิจกรรมที่สวนเสริมดานหนาของเลมนี้)

ดูภาพ แลวบอกรูปแบบความสัมพันธระหวางสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตของแตละภาพ รูปแบบความสัมพันธของสิ่งมีชีวิต เหยื่อกับผูลา พึ่งพากันแบบไมสามารถแยกจากกันได ตางฝายตางไดประโยชนรวมกัน ฝายหนึ่งไดประโยชนแตอีกฝายไมเสียประโยชน ฝายหนึ่งไดประโยชนโดยเบียดเบียนและอาจทําลายอีกฝายหนึ่ง ●

สํารวจคนหา

1. ครูตั้งประเด็นใหนักเรียนรวมกัน อภิปรายเกี่ยวกับความสัมพันธ ระหวางสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิต ที่นักเรียนเคยพบเห็นวามีอะไรบาง 2. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปผล การอภิปรายวา นอกจากสิ่งมีชีวิต จะมีความสัมพันธกับสิ่งแวดลอม แลว ยังมีความสัมพันธกับสิ่งมีชีวิตดวยกันเองดวย 3. ครูใหนักเรียนทํากิจกรรม พัฒนาการเรียนรูที่ 2 โดยให นักเรียนดูภาพแลวบอกความ สัมพันธของสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิต 4. ครูสังเกตการตอบคําถามของ นักเรียนวา สามารถบอกความ สัมพันธของสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิต ไดถูกตองหรือไม

นกกับปลา

ผึ้งกับดอกไม

๒๔

คูมือครู

งูกับกบ

รากับสาหราย (ไลเคน)

24

พลูดางกับตนไมใหญ

เห็บกับสุนัข


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

อธิบายความรู

จากการทํากิจกรรม ทําใหสามารถจําแนกลักษณะความสัมพันธระหวาง สิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตเปน ๕ ลักษณะ ดังนี้ ๑. ภาวะลาเหยื่อ สิง่ มีชวี ติ ฝายหนึง่ ไดประโยชนจากการจับ สิ่งมีชีวิตอีกฝายหนึ่งกินเปนอาหาร เราเรียก ฝายที่ถูกกินวา เหยื่อ และเรียกฝายที่กินวา ผูลา เชน นกกินหนอน เสือกินกวาง เปนตน

ภาพที่ ๑.๑๔ ไลเคนเกิดจากการ อยูรวมกันของรากับสาหรายโดยที่ ไมสามารถแยกออกจากกันได

ภาพที่ ๑.๑๓ ผูลาจะไดรับประโยชน จากการไดกินเหยื่อเปนอาหาร ผูลา จึงสามารถดํารงชีวิตอยูได

๒. ภาวะพึ่งพากัน เปนความสัมพันธของสิ่งมีชีวิตที่อาศัย อยูรวมกันและไดรับประโยชนรวมกัน โดยไม สามารถแยกออกจากกันได เชน รากับสาหราย ที่อยูรวมกัน เรียกวา ไลเคน

1. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปผล จากการทํากิจกรรมพัฒนาการเรียนรู ที่ 2 วา ความสัมพันธระหวาง สิง่ มีชวี ติ กับสิง่ มีชวี ติ แบงออกเปน 5 ลักษณะ 2. ครูอธิบายใหนกั เรียนเขาใจเกีย่ วกับ ความสัมพันธแบบเหยื่อกับผูลา และความสัมพันธแบบพึ่งพากัน 3. ครูอธิบายขอมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับ ไลเคน 4. ครูตั้งประเด็นคําถามใหนักเรียน ชวยกันตอบ • ตอไทรเปนแมลงชนิดหนึ่งที่ อาศัยอยูในลูกไทรตลอดชีวิต ตนไทรสืบพันธุตอไปไดเพราะ ตอไทรทําหนาที่ผสมเกสร ความสัมพันธของตอไทรกับ ตนไทรเปนแบบใด (ตอบ แบบพึ่งพาอาศัยกัน)

วิทยาศาสตรฉลาดรู ไลเคน เปนสิง่ มีชวี ติ ชนิดหนึง่ ทีเ่ กิดจากการอยู รวมกันของรากับสาหราย โดยราไดรับอาหารจาก การสรางอาหารของสาหราย และสาหรายจะอาศัย ราเปนที่ยึดเกาะ ไลเคนจะเจริญงอกงามไดดีในฤดูฝน เกาะอยู ตามลําตนของพืชและพบมากในบริเวณทีท ่ ม ี่ อี ากาศ บริสุทธิ์

๒๕

คูมือครู

25


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู ขยายความเขาใจ Explain

Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

(ยอจากฉบับนักเรียน 30%)

อธิบายความรู 1. ครูอธิบายใหนกั เรียนเขาใจเกีย่ วกับ ความสัมพันธอกี 3 รูปแบบในหนานี้ 2. ครูตั้งประเด็นคําถามใหนักเรียน ชวยกันตอบ • ความสัมพันธแบบไดประโยชน รวมกัน และความสัมพันธแบบ พึ่งพากันเหมือนกันอยางไร (ตอบ สิ่งมีชีวิตที่มีความสัมพันธกัน ตางฝายตางไดประโยชน) • ความสัมพันธแบบไดประโยชน รวมกัน และความสัมพันธแบบ พึ่งพากันแตกตางกันอยางไร (ตอบ ความสัมพันธแบบได ประโยชนรวมกัน สิ่งมีชีวิต สามารถแยกจากกันได สวนความ สัมพันธแบบพึ่งพากัน สิ่งมีชีวิตจะ ไมสามารถแยกจากกันได ตอง พึ่งพากันไปตลอดการดํารงชีวิต) • ความสัมพันธแบบใดบางที่สิ่งมี ชีวิตฝายหนึ่งไดประโยชน แตอีก ฝายหนึ่งเสียประโยชน (ตอบ ความสัมพันธแบบเหยื่อกับ ผูลา และแบบปรสิต)

ขยายความเขาใจ 1. ครูและนักเรียนรวมกันสนทนา แสดงความคิดเห็นวา ความ สัมพันธของสิ่งมีชีวิตในรูปแบบ ตางๆ กอใหเกิดผลดีและผลเสีย ตอสิ่งมีชีวิตอยางไร 2. ครูถามคําถามจุดประกายในหนานี้ และใหนักเรียนชวยกันตอบ

๓. ภาวะการไดประโยชนรวมกัน ความสัมพันธของสิ่งมีชีวิตที่ตางฝาย ตางก็ ใหประโยชนซึ่งกันและกัน เชน ผีเสื้อ กับดอกไม โดยผีเสื้อดูดนํ้าหวานจากดอกไม และดอกไมอาศัยผีเสื้อชวยผสมเกสร เปนตน

ภาพที่ ๑.๑๖ กลวยไมอาศัยตนไมใหญ เปนทีพ่ กั พิงเพือ่ สรางอาหาร

๒๖

นักเรียนควรรู ตนกาฝาก เปนพืชที่อาศัยอยูตาม ราก ลําตน หรือกิ่งไมของพืชชนิดอื่น เพื่อแยงนํ้าและอาหาร โดยจะงอก รากทะลุเขาไปในเปลือกของตนไม เรียกวา รากเบียน

26

คูมือครู

คําถามจุดประกาย

ภาพที่ ๑.๑๕ สีสันของดอกไม จะชวยลอผีเสื้อมาชวยผสมเกสร

๔. ภาวะอิงอาศัย ความสัมพันธของสิ่งมีชีวิตที่ฝายหนึ่ง ไดรับประโยชน แตอีกฝายหนึ่งก็ไมไดรับและ ไมเสียประโยชน เชน กลวยไมเกาะอยูบน ตนไมใหญเพื่อรับแสงแดด เปนตน

๕. ภาวะปรสิต ความสัมพันธของสิง่ มีชวี ติ ทีฝ่ า ยหนึง่ ได รับประโยชน แตอีกฝายหนึ่งเสียประโยชน เชน เห็บอาศัยอยูบนตัวสุนัข เพื่อดูดเลือดจากสุนัข ตนกาฝากเกาะบนตนไมใหญ เพื่อดูดนํ้าและ อาหารจากตนไม เปนตน

?

ภาพที่ ๑.๑๗ กาฝากจะอาศัยอยู ตามราก กิง่ ไม หรือลําตนของพืช เพือ่ แยงนํา้ และอาหารจากพืช

(ดูเฉลยกิจกรรมที่สวนเสริมดานหนาของเลมนี้)

๑. คน พืช และสัตว จะมีความสัมพันธกันในลักษณะใดบาง ๒. สิ่งมีชีวิตทุกชนิดสามารถดํารงชีวิตอยูไดดวยตนเองหรือไม เพราะอะไร ๓. ความสัมพันธของสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิต กอใหเกิดผลดีตอสิ่งแวดลอมอยางไร


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

Engage

Explore

Explain

Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

ตรวจสอบผล º··Õè

กิจกรรมรวบยอด (ดูเฉลยกิจกรรมที่สวนเสริมดานหนาของเลมนี้)

ตอนที่ ๑ แนวคิดสําคัญ ชวยกันสรุป ครูใหนกั เรียนชวยกันพูดสรุปความสัมพันธของสิง่ มีชวี ติ กับสิง่ แวดลอม และความสัมพันธระหวางสิง่ มีชวี ติ กับสิง่ มีชวี ติ จากนัน้ บันทึกลงในสมุด ตอนที่ ๒ ลองทําดู หนูทําได ๑) วาดภาพหรือติดภาพความสัมพันธระหวางสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดลอมที่นักเรียน สนใจ แลวบันทึกขอมูลวาสิ่งมีชีวิตชนิดนั้นมีความสัมพันธกับสิ่งแวดลอม อยางไร จากนั้นผลัดกันนําเสนอผลงานหนาชั้นเรียน ๒) เขียนแผนผังความคิดแสดงความสัมพันธระหวางสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิต พรอมทั้งยกตัวอยางความสัมพันธของสิ่งมีชีวิตที่ไมซํ้ากับในบทเรียน ตอนที่ ๓ ฝกคิด พิชิตคําถาม ตอบคําถามตอไปนี้ลงในสมุด ๑) สิ่งมีชีวิตมีความสัมพันธกับสิ่งแวดลอมอยางไรบาง ๒) เตาทะเลขึ้นมาวางไขบนหาดทราย แสดงวาเตาทะเลมีความสัมพันธกับ หาดทรายอยางไร ๓) เห็บบนตัวสุนัข พลูดางบนตนไมใหญ เปนความสัมพันธแบบเดียวกันหรือไม เพราะอะไร ๔) ความสัมพันธแบบภาวะอิงอาศัย และความสัมพันธแบบภาวะพึ่งพากัน เปนความสัมพันธที่เหมือนกันหรือแตกตางกันอยางไร คําถามบูรณาการสูชีวิต

1. ทํากิจกรรมรวบยอดตอนที่ 1 - 3 2. ครูถามคําถามบูรณาการสูชีวิต และใหนักเรียนชวยกันตอบ

หลักฐาน แสดงผลการเรียนรู 1. ใบบันทึกผลกิจกรรมหนูนอย นักสํารวจ 2. ภาพความสัมพันธของสิ่งมีชีวิต กับสิ่งแวดลอม 3. แผนผังความคิดแสดงความสัมพันธ ระหวางสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิต

(ดูเฉลยกิจกรรมที่สวนเสริมดานหนาของเลมนี้)

๑. ถาตนไมของนักเรียนมีตนกาฝากมาเกาะอยู ตนไมของนักเรียนจะเจริญเติบโต ไดดีหรือไม เพราะอะไร ๒. การศึกษาความสัมพันธของสิ่งมีชีวิตระหวางคน สัตว และพืช สามารถนํามา ใชในชีวิตประจําวันไดอยางไรบาง

คูมือครู

27


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

Engage

Explore

Explain

Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

(ยอจากฉบับนักเรียน 30%)

ตรวจสอบผล

สาระสําคัญ จดจําไว 

การถายทอดลักษณะจากพอแมไปสูลูก เรียกวา การถายทอดลักษณะทางพันธุกรรม การถา ยทอ ดลกั ษ ณ ะจ ากพ ลัก ษ ณ ะ ภ า อ แ ม ยน อ ก ข องสิ�ง ส ลู ม ี ช ีว ิต สิ่งมีชีวิตตางชนิดกัน จะมีลักษณะภายนอก ี ช ีว ิต แตกตางกัน งสิ�งม

ชน ะโย

ใชสําหรับพัฒนาสายพันธุพืชและสัตว เพื่อการผลิตอาหาร 

การนาํ ไ ป ใช ป ร

เมื่อเรียนจบหนวยแลว ครูให นักเรียนแตละคนตรวจสอบตนเอง ในแตละหัวขอ ถานักเรียนสามารถ ปฏิบัติในแตละหัวขอได แสดงวา เกิดความรูความเขาใจติดตัวคงทน แตถาหัวขอใด นักเรียนปฏิบัติ ไมได ใหครูสอนซอมเสริม

กู

เกร็ดแนะครู ครูแนะนําใหนักเรียนใชแผนผัง ความคิดนี้ในการทบทวนสาระสําคัญ ในบทเรียน

ี่รอ ช ีว ิต ท

ดม าไ ด

การปรบั

 

ปแลว

 

ตวั ของสง�ิ มชี วี ติ

การปรับตัวชั่วคราว การปรับตัวถาวร

กา

ยท ร ถ า

ัก ษ อด ล

ะขอ

่สี

ส�งิ มีช ีวิตท

ันธไุ ูญ พ

ªÕÇÔµÊÑÁ¾Ñ¹¸

ส ิ � งม ี ช

ีวิตกับสิ�ง อม แวดล

วี ติ ความสมั พนั ธระหวา งสงิ� มชี วี ติ กบั สงิ� มชี   

ปจจัยที่ทําใหสิ่งมีชีวิตสูญพันธุ ภัยธรรมชาติ โครงสรางทางรางกาย การลาของมนุษย ลักษณะที่อยูอาศัย

 

ตนไมโนมลําตนเขาหาแสง ตั๊กแตนใบไมมีรูปรางเหมือน ใบไม

ชี วี ติ กบั สง�ิ แวดลอ ม ะหวา งสง�ิ ม  ร ธ ั น พ มสมั ควา    

เปนแหลงที่อยูอาศัย เปนแหลงอาหาร เปนแหลงสืบพันธุและเลี้ยงดูลูกออน เปนแหลงหลบภัย

ภาวะลาเหยื่อ  ภาวะอิงอาศัย ภาวะพึ่งพากัน  ภาวะปรสิต ภาวะการไดประโยชนรวมกัน

ตรวจสอบตนเอง นักเรียนลองสังเกตตนเองดูวา ปฏิบัติตามสิ�งตางๆ เหลาน�้ ไดหรือไม อภิปรายเกี่ยวกับลักษณะตางๆ ของสิ�งมีชีวิตใกลตัวได เปรียบเทียบและระบุลักษณะที่คลายคลึงกันของพอแมกับลูกได อธิบายลักษณะที่คลายคลึงกันของพอแมกับลูกวาเปนการถายทอดลักษณะทางพันธุกรรมได สืบคนขอมูลและอภิปรายเกี่ยวกับสิ�งมีชีวิตที่สูญพันธุไปแลว และดํารงพันธุมาจนถึงปจจุบันได สํารวจสิ�งแวดลอมและอธิบายความสัมพันธของสิ�งมีชีวิตกับสิ�งแวดลอมได

๒๘

28

คูมือครู


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.