8858649120892

Page 1

คูมือครู 㪌»ÃСͺ¡ÒÃÊ͹ËÇÁ¡Ñº

˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ©ºÑº »ÃСѹÏ

».

ภาพปกนี้มีขนาดเทากับหนังสือเรียนฉบับจริงของนักเรียน

กระบวนการสอนแบบ 5 Es ชวยสรางทักษะการเรียนรู กิจกรรมมุงพัฒนาทักษะการคิด คำถาม + แนวขอสอบเพื่อยกผลสัมฤทธิ์ O-NET กิจกรรมบูรณาการเตรียมพรอมสู ASEAN 2558


เอกสารประกอบคูมือครู

กลุมสาระการเรียนรู สุขศึกษาและพลศึกษา

สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปที่

4

สําหรับครู

คูมือครู Version ใหม

ลักษณะเดน

ขยายพื้นที่รูปเลมใหญขึ้นกวาเดิม จัดแบงพื้นที่ออกเปนโซน เพื่อคนหาขอมูลไดงาย สะดวก รวดเร็ว และดูเปนระเบียบ กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

เปาหมายการเรียนรู สมรรถนะของผูเรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค

หน า

โซน 1 กระตุน ความสนใจ

Engage

สํารวจคนหา

Explore

อธิบายความรู

Explain

ขยายความเขาใจ

Expand

ตรวจสอบผล

หน า

หนั ง สื อ เรี ย น

โซน 1

หนั ง สื อ เรี ย น

Evaluate

ขอสอบเนน การคิด ขอสอบเนน การคิด แนว NT แนว O-NET ขอสอบ

โซน 2

เกร็ดแนะครู

O-NET

บูรณาการเชื่อมสาระ

โซน 3

กิจกรรมสรางเสริม กิจกรรมทาทาย

นักเรียนควรรู

โซน 3

โซน 2 บูรณาการอาเซียน มุม IT

No.

คูมือครู

คูมือครู

No.

โซน 1 ขั้นตอนการสอนแบบ 5Es

โซน 2 ชวยครูเตรียมสอน

โซน 3 ชวยครูเตรียมนักเรียน

เพื่อใหครูเตรียมจัดกิจกรรมการเรียน การสอน โดยแนะนําขั้นตอนการสอนและ การจัดกิจกรรมแบบ 5Es อยางละเอียด เพื่อใหนักเรียนบรรลุตามตัวชี้วัด

เพื่อชวยลดภาระครูผูสอน โดยแนะนํา เกร็ดความรูสําหรับครู ความรูเสริมสําหรับ นักเรียน รวมทั้งบูรณาการความรูสูอาเซียน และมุม IT

เพือ่ ใหครูสะดวกตอการจัดกิจกรรม โดยแนะนํา กิจกรรมบูรณาการเชื่อมระหวางกลุมสาระ วิชา กิจกรรมสรางเสริม กิจกรรมทาทาย รวมถึงเนือ้ หา ที่เคยออกขอสอบ O-NET เก็งขอสอบ O-NET และแนวขอสอบเนนการคิด พรอมคําอธิบาย และเฉลยอยางละเอียด


ที่ใชในคูมือครู

แถบสีและสัญลักษณ

แถบสีแสดงขั้นตอนการสอนและการจัดกิจกรรม แบบ 5Es เพื่อใหครูทราบวาเปนขั้นการสอนขั้นใด

1. แถบสี 5Es สีแดง

สีเขียว

กระตุน ความสนใจ

เสร�ม

สํารวจคนหา

Engage

2

เปนขั้นที่ผูสอนเลือกใช เทคนิคกระตุน ความสนใจ เพื่อโยง เขาสูบทเรียน

สีสม

อธิบายความรู

Explore

เปนขั้นที่ผูสอน ใหผูเรียนสํารวจ ปญหา และศึกษา ขอมูล

สีฟา

Explain

เปนขั้นที่ผูสอน ใหผูเรียนคนหา คําตอบ จนเกิดความรู เชิงประจักษ

สีมวง

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

เปนขั้นที่ผูสอน ใหผูเรียนนําความรู ไปคิดคนตอๆ ไป

เปนขั้นที่ผูสอน ประเมินมโนทัศน ของผูเรียน

2. สัญลักษณ สัญลักษณ

วัตถุประสงค

• เปาหมายการเรียนรู

O-NET

(เฉพาะวิชา ชัน้ ทีส่ อบ O-NET O-NET)

• ชีแ้ นะเนือ้ หาทีเ่ คยออกขอสอบ

O-NET โดยยกตัวอยางขอสอบ พรอมวิเคราะหคาํ ตอบ อยางละเอียด

• เปนตัวอยางขอสอบทีม่ งุ เนน

การคิดใหครูนาํ ไปใชไดจริง รวมถึงเปนการเก็งขอสอบ O-NET ทีจ่ ะออก มีทงั้ ปรนัย - อัตนัย พรอมเฉลยอยางละเอียด

แสดงรองรอยหลักฐานตามภาระงาน ที่ครูมอบหมาย เพื่อแสดงผลการเรียนรู ตามตัวชี้วัด

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

แทรกความรูเสริมสําหรับครู ขอเสนอแนะ ขอควรระวัง ขอสังเกต แนวทางการจัด กิจกรรมและอืน่ ๆ เพื่อประโยชนในการ จัดการเรียนการสอน

ขอสอบเนน การคิด แนว NT

ขยายความรูเพิ่มเติมจากเนื้อหา เพื่อใหครู นําไปใชอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียน ไดมีความรูมากขึ้น

บูรณาการเชื่อมสาระ

• แนะนําแนวทางการจัดกิจกรรม

ความรูห รือกิจกรรมเสริม ใหครูนาํ ไปใช เตรียมความพรอมใหกบั นักเรียนกอนเขาสู ประชาคมอาเซียน 2558 โดยบูรณาการ กับวิชาทีก่ าํ ลังเรียน

กิจกรรมสรางเสริม

• แนะนําแนวทางการจัดกิจกรรม

เกร็ดแนะครู

นักเรียนควรรู

บูรณาการอาเซียน

คูม อื ครู

ขอสอบ

วัตถุประสงค

• หลักฐานแสดงผล การเรียนรู

มุม IT

แสดงเปาหมายการเรียนรูที่นักเรียน ตองบรรลุตามตัวชี้วัด ตลอดจนสมรรถนะ ที่จะตองมี และคุณลักษณะที่พึงเกิดขึ้น กับนักเรียน

สัญลักษณ

แนะนําแหลงคนควาจากเว็บไซต เพื่อใหครู และนักเรียนไดเขาถึงขอมูลความรู ที่หลากหลาย ทั้งไทยและตางประเทศ

• แนวขอสอบ NT ในระดับ

ประถมศึกษา มีทงั้ ปรนัย - อัตนัย พรอมเฉลยอยางละเอียด

(เฉพาะวิชา ชัน้ ทีส่ อบ NT)

กิจกรรมทาทาย

เชือ่ มกับกลุม สาระ ชัน้ หรือวิชาอืน่ ทีเ่ กีย่ วของ

ซอมเสริมสําหรับนักเรียน ทีย่ งั ไมเขาใจเนือ้ หา

• แนะนําแนวทางการจัดกิจกรรม ตอยอดสําหรับนักเรียนทีเ่ รียนรู เนือ้ หาไดอยางรวดเร็ว และ ตองการทาทายความสามารถ ในระดับทีส่ งู ขึน้


คําแนะนําการใชคูมือครู การออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอน คูมือครู รายวิชา สุขศึกษาฯ ป.4 จัดทําขึ้นเพื่อใหครูผูสอนนําไปใชเปนแนวทางวางแผนการสอนเพื่อพัฒนา ผลสัมฤทธิท์ างการเรียน และประกันคุณภาพผูเ รียน ตามนโยบายของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน (สพฐ.) โดยใชหนังสือเรียน สุขศึกษาฯ ป.4 ของบริษทั อักษรเจริญทัศน อจท. จํากัด เปนสือ่ หลัก (Core Material) ประกอบการสอน เสร�ม และการจัดกิจกรรมการเรียนรูใ หสอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรูแ ละตัวชีว้ ดั กลุม สาระการเรียนรู สุขศึกษาและพลศึกษา 3 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พ.ศ. 2551 โดยออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนตามหลักการสําคัญ ดังนี้ 1 ออกแบบการสอนเปนหนวยการเรียนรูอิงมาตรฐาน คูมือครู รายวิชา สุขศึกษาฯ ป.4 วางแผนการสอนโดยแบงเปนหนวยการเรียนรูตามลําดับสาระ (Standard) และ หมายเลขขอของมาตรฐานการเรียนรูแ ละตัวชีว้ ดั แตละหนวยจะกําหนดเปาหมายการสอนและจุดประสงคการเรียนรู (Objective Learning) กิจกรรมการเรียนรู (Learning Activities) และแนวทางการประเมินผลการเรียนรู (Learning Evaluation) ไวชัดเจน ครูผูสอนสามารถจัดทําแผนการสอนใหครอบคลุมมาตรฐานการเรียนรู ตัวชี้วัด สมรรถนะ และคุณลักษณะ อันพึงประสงคที่เปนเปาหมายการเรียนรูตามที่กําหนดไวในสาระแกนกลาง (ตามแผนภูมิ) และสามารถบันทึกผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนของผูเรียนแตละคนลงในเอกสาร ปพ.5 ไดอยางมั่นใจ แผนภูมิแสดงองคประกอบของการออกแบบการเรียนรูอิงมาตรฐานและเนนผูเรียนเปนสําคัญ

คก า

ส ภา

พผ

ูเ

จุ ด ป ร

ะสง

รู

รียน

น เรีย

มาตรฐานการเรียนรู ตัวชี้วัดชั้นป

ทักษะการคิด การวัดประเมินผล การเรียนรู

กิจกรรมการเรียนรู

เทคนิคการสอน

คูม อื ครู


2 การจัดการเรียนรูที่ยึดผูเรียนเปนสําคัญ แนวคิ ด ในการจั ด การเรี ย นการสอนที่ ยึ ด ผู  เ รี ย นเป น สํ า คั ญ พั ฒ นามาจากปรั ช ญาและทฤษฎี ก ารเรี ย นรู  Constructivism ที่เชื่อวาการเรียนรูเปนกระบวนการที่เกิดขึ้นภายในสมองของผูเรียนแตละคน ผูเรียนเปนผูสรางความรู โดยการเชื่อมโยงระหวางสิ่งที่ไดเรียนรูจากบทเรียนใหมกับความรูหรือประสบการณเดิมที่มีอยู ทฤษฎีนี้มีความเชื่อวา ผูเรียนทุกคนไดเรียนรูและมีการสั่งสมความรูความเขาใจเกี่ยวกับสิ่งตางๆ ติดตัวมากอน ทีจ่ ะเขาสูห อ งเรียน ซึง่ เปนการเรียนรูท เี่ กิดจากประสบการณและสิง่ แวดลอมรอบตัวผูเ รียนแตละคน ดังนัน้ การจัดกิจกรรม เสร�ม การเรียนการสอนในแตละหนวยการเรียนรู ผูสอนจะตองคํานึงถึง

4

1. ความรูเดิมของผูเรียน วิธีการสอนที่ดีจะตองเริ่มตนจากจุดที่วา ผูเ รียนมีความรูอ ะไรมาบาง แลวจึงใหความรู หรือประสบการณใหม เพื่อตอยอดจาก ความรูเดิม นําไปสูการสรางความรู ความเขาใจใหม

2. ความรูเดิมของผูเรียนถูกตองหรือไม ผูส อนตองปรับเปลีย่ นความรูค วามเขาใจเดิม ของผูเรียนใหถูกตอง และเปนพฤติกรรม การเรียนรูใ หมทมี่ คี ณุ คาตอผูเรียน เพื่อสราง เจตคติหรือทัศนคติที่ดีตอการเรียนรู สิ่งเหลานั้น

3. ผูเรียนสรางความหมายสําหรับตนเอง ผูสอนตองสงเสริมใหผูเรียนนําความรู ความเขาใจที่เกิดขึ้นไปลงมือปฏิบัติ เพื่อขยายความรูใหลึกซึ้งและมีคุณคา ตอตัวผูเรียนมากที่สุด

แนวคิด Constructivism เนนใหผูเรียนสรางความรูโดยผานกระบวนการคิดและความอยากรูของตนเอง โดยมีผูสอนเปนผูสรางบรรยากาศ

การเรียนรูและกระตุนความสนใจ คอยจัดสถานการณใหผูเรียนเกิดความขัดแยงทางความคิดระหวางประสบการณเดิมกับประสบการณ ความรูใ หม เพือ่ กระตนุ ใหผเู รียนเชือ่ มโยงความรู ความคิด กับประสบการณทมี่ อี ยูเ ดิม แลวสังเคราะหเปนความรูห รือแนวคิดใหมๆ ไดดว ยตนเอง

3 การบูรณาการกระบวนการคิด การเรียนรูของผูเรียนแตละคนจะเกิดขึ้นที่สมอง ซึ่งเปนอวัยวะที่ทําหนาที่รูคิดภายใตสภาพแวดลอมที่เอื้ออํานวย และไดรบั การกระตนุ จูงใจอยางเหมาะสม สอดคลองกับสภาพจิตใจและความตองการของผูเ รียนแตละคน การจัดกิจกรรม การเรียนรูและสาระการเรียนรูที่สอดคลองกับความสนใจและมีความหมายตอผูเรียน จะชวยกระตุนใหสมองของผูเรียน สามารถรับรูและเรียนรูไดอยางมีประสิทธิภาพตามขั้นตอนการทํางานของสมอง ดังนี้ 1. สมองจะเรียนรูและสืบคน โดยการสังเกต คนหา ซักถาม และทดลอง ปฏิบัติ จนทําใหคนพบความรูความเขาใจ ไดอยางรวดเร็ว

2. สมองจะแยกแยะคุณคาของสิ่งตางๆ โดยการตัดสินใจวิพากษวิจารณ แสดง ความคิดเห็น ยอมรับหรือตอตานตาม อารมณความรูสึกที่เกิดขึ้นในขณะที่เรียนรู

3. สมองจะประมวลเนื้อหาสาระ โดยการสรุปเปนความคิดรวบยอดจาก เรื่องราวที่ไดเรียนรูใหมนําไปผสมผสานกับ ความรูห รือประสบการณเดิมทีถ่ กู จัดเก็บอยูใ น สมอง ผานการกลัน่ กรองเพือ่ สังเคราะหเปน ความรูค วามเขาใจใหมๆ หรือเปนทัศนคติใหม ที่จะเก็บบรรจุไวในสมองของผูเรียน

การเรียนรูที่มีประสิทธิภาพจึงตองเปนการเรียนรูที่เกิดจากกระบวนการคิดของผูเรียน เพราะการเรียนรูจะเกิดขึ้น เมื่อสมองรูคิด และตองเปนการคิดไดครบถวนตามขั้นตอนการทํางานของสมองผูเรียน โดยเริ่มตนจาก 1. ระดับการคิดพื้นฐาน ไดแก การสังเกต การจําแนก การคาดคะเน การสื่อความหมาย การรวบรวมขอมูล การสรุปผล เปนตน

คูม อื ครู

2. ระดับลักษณะการคิด ไดแก การคิดกวาง คิดลึกซึ้ง คิดไกล คิดหลากหลาย คิดคลอง คิดอยางมีเหตุผล เปนตน

3. ระดับกระบวนการคิด ไดแก กระบวนการคิดอยางมีวิจารณญาณ กระบวนการแกปญหา กระบวนการ คิดสรางสรรค กระบวนการคิดสังเคราะหวิจัย เปนตน


5Es การจัดกิจกรรมตามขั้นตอนวัฏจักรการเรียนรู 5Es ขั้นตอนการสอนที่สัมพันธกับขั้นตอนการคิดและการทํางานทางสมองของผูเรียนที่นิยมใชอยางแพรหลาย คือ วัฏจักรการเรียนรู 5Es ซึ่งผูจัดทําคูมือครูไดนํามาใชเปนแนวทางออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนในแตละหนวย ตามลําดับขั้นตอนการเรียนรู ดังนี้ ขั้นที่ 1

กระตุนความสนใจ

(Engage)

เสร�ม

5

เปนขัน้ ทีผ่ สู อนนําเขาสูบ ทเรียน เพือ่ กระตุน ความสนใจของผูเ รียนดวยเรือ่ งราวหรือเหตุการณทนี่ า สนใจโดยใชเทคนิควิธกี ารสอน และคําถามทบทวนความรูหรือประสบการณเดิมของผูเรียน เพื่อเชื่อมโยงผูเรียนเขาสูความรูของบทเรียนใหม ชวยใหผูเรียนสามารถ สรุปประเด็นสําคัญที่เปนหัวขอและสาระการเรียนรูของบทเรียนได จึงเปนขั้นตอนการสอนที่สําคัญ เพราะเปนการเตรียมความพรอม และสรางแรงจูงใจใฝเรียนรูแกผูเรียน

ขั้นที่ 2

สํารวจคนหา

(Explore)

เปนขัน้ ทีผ่ สู อนเปดโอกาสใหผเู รียนลงมือศึกษา สังเกต หรือรวมมือกันสํารวจ เพือ่ ใหเห็นขอบขายของปญหา รวมถึงวิธกี ารศึกษา คนควา การรวบรวมขอมูลความรูที่จะนําไปสูการสรางความเขาใจประเด็นปญหานั้นๆ เมื่อผูเรียนทําความเขาใจในประเด็นหัวขอที่จะ ศึกษาคนควาอยางถองแทแลว ก็ลงมือปฏิบัติเพื่อเก็บรวบรวมขอมูลความรู สํารวจตรวจสอบ โดยวิธีการตางๆ เชน สัมภาษณ ทดลอง อานคนควาขอมูลจากเอกสาร แหลงขอมูลตางๆ จนไดขอมูลความรูตามที่ตั้งประเด็นศึกษาไว

ขั้นที่ 3

อธิบายความรู

(Explain)

เปนขั้นที่ผูสอนมีปฏิสัมพันธกับผูเรียน เชน ใหการแนะนํา ตั้งคําถามกระตุนใหคิด เพื่อใหผูเรียนคนหาคําตอบ และนําขอมูล ความรูจากการศึกษาคนควาในขั้นที่ 2 มาวิเคราะห สรุปผล และนําเสนอผลที่ไดศึกษาคนความาในรูปแบบสารสนเทศตางๆ เชน เขียนแผนภูมิ แผนผังแสดงมโนทัศน เขียนความเรียง เขียนรายงาน เปนตน ในขั้นตอนนี้ฝกใหผูเรียนใชสมองคิดวิเคราะหและ สังเคราะหอยางเปนระบบ

ขั้นที่ 4

ขยายความเขาใจ

(Expand)

เปนขั้นที่ผูสอนเลือกใชเทคนิควิธีการสอนตางๆ ที่สงเสริมใหผูเรียนนําความรูที่เกิดขึ้นไปคิดคนสืบคนตอๆ ไป เพื่อพัฒนาทักษะ การเรียนรูและการทํางานรวมกันเปนกลุม ระดมสมองเพื่อคิดสรางสรรครวมกัน ผูเรียนสามารถนําความรูที่สรางขึ้นใหมไปเชื่อมโยง กับประสบการณเดิมโดยนําขอสรุปทีไ่ ดไปใชอธิบายเหตุการณตา งๆ หรือนําไปปฏิบตั ใิ นสถานการณใหมๆ ทีเ่ กีย่ วของกับชีวติ ประจําวัน ของตนเอง เพื่อขยายความรูความเขาใจใหกวางขวางยิ่งขึ้น ในขั้นตอนนี้ฝกสมองของผูเรียนใหสามารถคิดริเริ่มสรางสรรคอยางมี คุณภาพ เสริมสรางวิสัยทัศนใหกวางไกลออกไป

ขั้นที่ 5

ตรวจสอบผล

(Evaluate)

เปนขัน้ ทีผ่ สู อนประเมินมโนทัศนของผูเ รียน โดยตรวจสอบจากความคิดทีเ่ ปลีย่ นไปและความคิดรวบยอดทีเ่ กิดขึน้ ใหม ตรวจสอบ ทักษะ กระบวนการปฏิบัติ การแกปญหา การตอบคําถามรวบยอด และการเคารพความคิดหรือยอมรับเหตุผลของคนอื่น เพื่อการ สรางสรรคความรูร ว มกัน ผูเ รียนสามารถประเมินผลการเรียนรูข องตนเอง เพือ่ สรุปผลวามีความรูอ ะไรเพิม่ ขึน้ มาบาง เกิดความเขาใจ มากนอยเพียงใด และจะนําความรูเหลานั้นไปประยุกตใชในการเรียนรูเรื่องอื่นๆ ไดอยางไร ผูเรียนจะเกิดเจตคติและเห็นคุณคาของ ตนเองจากผลการเรียนรูที่เกิดขึ้น ซึ่งเปนการเรียนรูที่มีความสุขอยางแทจริง

การจัดกิจกรรมการเรียนรูตามขั้นตอนวัฏจักรการสรางความรูแบบ 5Es จึงเปนรูปแบบการเรียนการสอนที่เนน ผูเ รียนเปนสําคัญอยางแทจริง เพราะสงเสริมใหผเู รียนไดลงมือปฏิบตั ติ ามขัน้ ตอนของกระบวนการสรางความรูด ว ยตนเอง และฝกฝนใหใชกระบวนการคิดและกระบวนการกลุมอยางชํานาญ กอใหเกิดทักษะชีวิต ทักษะการทํางานและทักษะการ เรียนรูท มี่ ปี ระสิทธิภาพ สงผลตอการยกระดับผลสัมฤทธิข์ องผูเ รียน ตามเปาหมายของการปฏิรปู การศึกษาทศวรรษที่ 2 (พ.ศ. 2552-2561) ทุกประการ คูม อื ครู


O-NET การเพิ่มผลสัมฤทธิ์ O-NET

การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามขัน้ ตอนวัฏจักรการเรียนรู 5Es ในแตละหนวยการเรียนรู ทางผูจ ดั ทํา จะเสนอแนะวิธสี อนรูปแบบกิจกรรมการเรียนรู พรอมทัง้ ออกแบบเครือ่ งมือวัดผลประเมินผลทีส่ อดคลองกับตัวชีว้ ดั และสาระการเรียนรูแกนกลางไวทุกขั้นตอน โดยยึดหลักสําคัญ คือ เปาหมายของการวัดผลประเมินผล เสร�ม

6

1. การวัดผลทุกครั้งตองนําผล การวัดมาปรับปรุงพัฒนาผูเรียน เปนรายบุคคล

2. การประเมินผลมีเปาหมาย เพื่อพัฒนาการเรียนรูของผูเรียน จนเต็มศักยภาพ

3. การนําผลการวัดและประเมิน ทุกครั้งมาวางแผนปรับปรุงกิจกรรม การเรียนการสอน การเลือกเทคนิค วิธีการสอน และสื่อการเรียนรูให เหมาะสมกับสภาพจริงของผูเรียน

การทดสอบผูเรียน 1. การใชขอสอบอัตนัย เนนการอาน การคิดวิเคราะห และเขียนสรุปเพิ่มมากขึ้น 2. การใชคําถามกระตุนการคิด ควบคูกับการทําขอสอบที่เนนการคิดตลอดตอเนื่องตามลําดับกิจกรรมการเรียนรูและ ตัวชี้วัด 3. การทดสอบตองดําเนินการทั้งกอนเรียน ระหวางเรียน และเมื่อสิ้นสุดการเรียน การทดสอบระหวางเรียน ต อ งใช ข  อ สอบทั้ ง ชนิ ด ปรนั ย และอั ต นั ย และเป น การทดสอบเพื่ อ วิ นิ จ ฉั ย ผลการเรี ย นของผู  เ รี ย นแต ล ะคน เพื่อวัดการสอนซอมเสริมใหบรรลุตัวชี้วัดทุกตัว 4. การสอบกลางภาค (ถามี) ควรนําขอสอบหรือแบบฝกหัดที่นักเรียนสวนใหญทําผิดบอยๆ มาสรางเปนแบบทดสอบ อีกครัง้ เพือ่ ตรวจสอบความรูค วามเขาใจทีถ่ กู ตอง และประเมินความกาวหนาของผูเรียนแตละคน 5. การสอบปลายภาคเรียนเพื่อวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามตัวชี้วัดที่สําคัญ ควรออกขอสอบใหมีลักษณะเดียวกับ ขอสอบ O-NET โดยเนนการคิดวิเคราะห สังเคราะห เชื่อมโยงประยุกตใช เพื่อสรางความคุนเคย และฝกฝน วิธีการทําขอสอบดวยความมั่นใจ 6. การนําผลการทดสอบของผูเรียนมาวิเคราะห โดยผลการสอบกอนการเรียนตองสามารถพยากรณผลการสอบ กลางภาค และผลการสอบกลางภาคตองทํานายผลการสอบปลายภาคของผูเ รียนแตละคน เพือ่ ประเมินพัฒนาการ ความกาวหนาของผูเรียนเปนรายบุคคล 7. ผลการทดสอบปลายป ปลายภาค ตองมีคาเฉลี่ยสอดคลองกับคาเฉลี่ยของการสอบ NT ที่เขตพื้นที่การศึกษา จัดสอบ รวมทั้งคาเฉลี่ยของการสอบ O-NET ชวงชั้นที่สอดคลองครอบคลุมมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดสําคัญ เพือ่ สะทอนประสิทธิภาพของครูผสู อนในการออกแบบการเรียนรูแ ละประกันคุณภาพผูเ รียนทีต่ รวจสอบผลไดชดั เจน การจัดการเรียนการสอนในแตละหนวยการเรียนรู ตองใหผูเรียนไดสั่งสมความรู สะสมความเขาใจไปทีละเล็ก ละนอยตามลําดับขัน้ ตอนของกิจกรรมการเรียนรู 5Es เพือ่ ใหผเู รียนไดเติมเต็มองคความรูอ ยางตอเนือ่ ง จนสามารถปฏิบตั ิ ชิ้นงานหรือภาระงานรวบยอดของแตละหนวยผานเกณฑประกันคุณภาพในระดับที่นาพึงพอใจ เพื่อรองรับการประเมิน ภายนอกจาก สมศ. ตลอดเวลา คูม อื ครู


ASEAN การเรียนรูสูประชาคมอาเซียน เพื่ออํานวยความสะดวกแกครูผูสอนในการจัดกิจกรรมการเรียนรูบูรณาการอาเซียนศึกษา ผูจัดทําไดวิเคราะห มาตรฐานการเรียนรู และตัวชี้วัดที่มีสาระการเรียนรูสอดคลองกับองคความรูเกี่ยวกับประชาคมอาเซียนในแงมุมตางๆ ครอบคลุมทัง้ ประชาคมการเมืองและความมัน่ คงอาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และประชาคมสังคมและวัฒนธรรม อาเซียน เพื่อสงเสริมการเรียนรูใหผูเรียนเกิดความตระหนัก มีความรูความเขาใจเหมาะสมกับระดับชั้นและกลุมสาระ การเรียนรู โดยเสนอแนะวิธีการจัดกิจกรรมบูรณาการเนื้อหาสาระตางๆ ที่เปนประโยชนตอผูเรียนและเปนการชวย เตรียมความพรอมผูเ รียนทุกคนทีจ่ ะกาวเขาสูก ารเปนสมาชิกของประชาคมอาเซียนไดอยางมัน่ ใจตามขอตกลงปฏิญญา ชะอํา-หัวหิน วาดวยความรวมมือดานการศึกษาเพือ่ บรรลุเปาหมายประชาคมอาเซียนทีเ่ อือ้ อาทรและแบงปน จึงกําหนด เปนนโยบายใหกระทรวงศึกษาธิการจัดการเรียนรูเตรียมความพรอมผูเรียนเขาสูประชาคมอาเซียนภายในป พ.ศ. 2558 ตามแนวปฏิบัติที่สําคัญ ดังนี้

เสร�ม

7

การจัดการเรียนรูส ู ประชาคมการเมืองและความมัน่ คงอาเซียน 1. การสรางความรูความเขาใจ และตระหนักถึงความสําคัญของ กฎบัตรอาเซียน และความรวมมือ ของ 3 เสาหลัก ซึง่ กฎบัตรอาเซียน ในขณะนี้มีสถานะเปนกฎหมายที่ ประเทศสมาชิกจะตองปฏิบัติตาม หลักการที่กําหนดไวเพื่อใหบรรลุ เปาหมายของกฎบัตรมาตราตางๆ

2. การสงเสริมหลักการ ประชาธิปไตยและการสราง สิ่งแวดลอมประชาธิปไตย เพื่อการอยูรวมกันอยางกลมกลืน ภายใตวิถีชีวิตอาเซียนที่มีความ หลากหลายดานสังคมและ วัฒนธรรม

4. การตระหนักในคุณคาของ สายสัมพันธทางประวัติศาสตร และมรดกทางวัฒนธรรมที่มี พัฒนาการรวมกัน เพื่อเชื่อม อัตลักษณและสรางจิตสํานึก ในการเปนประชากรของประชาคม อาเซียนรวมกัน

3. การสงเสริมการศึกษาดาน สิทธิมนุษยชน เพื่อสรางประชาคม อาเซียนใหเปนประชาคมเพื่อ ประชาชนอยางแทจริง สามารถ อยูรวมกันไดบนพื้นฐานการเคารพ ในคุณคาของศักดิ์ศรีแหงความ เปนมนุษยเทาเทียมกัน

5. การสงเสริมสันติภาพ ความ มั่นคง และความปรองดองในสังคม ทั้งระดับประเทศและภูมิภาคของ อาเซียนบนพื้นฐานสันติวิธีและการ อยูรวมกันดวยขันติธรรม

คูม อื ครู


การจัดการเรียนรูส ู ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

เสร�ม

8

1. การพัฒนาทักษะการทํางาน เพื่อเสริมสรางผูเรียนใหมีทักษะ วิชาชีพที่จําเปนสอดคลองกับ ความตองการของตลาดแรงงาน และสถานประกอบการในอาเซียน สามารถเทียบโอนผลการเรียน และการทํางานตามมาตรฐานฝมือ แรงงานในภูมิภาคอาเซียน

2. การเสริมสรางวินัย ความรับผิดชอบ และเจตคติรักการทํางาน สามารถพึ่งพาตนเอง มีทักษะชีวิต ดํารงชีวิตอยางมีความสุข เห็นคุณคา และภูมิใจในตนเอง ในฐานะที่เปนพลเมืองไทยและ อาเซียน

3. การเรียนรูเพื่อพัฒนาตนเอง อยางตอเนื่องตลอดชีวิต ใหมี ทักษะการทํางานตามมาตรฐาน อาชีพ และคุณวุฒิของวิชาชีพสาขา ตางๆ เพื่อรองรับการเตรียมเคลื่อน ยายแรงงานมีฝมือและการเปน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนที่ เขมแข็ง เพื่อสรางขีดความสามารถ ในการแขงขันในเวทีโลก

การจัดการเรียนรูส ู ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน 1. การเสริมสรางความรวมมือ ในลักษณะสังคมที่เอื้ออาทร ของประชากรอาเซียน โดยยึด หลักการสําคัญ คือ ความงดงาม ของประชาคมอาเซียนมาจาก ความแตกตางและหลากหลายทาง วัฒนธรรมที่ลวนแตมีคุณคาตอ มรดกทางวัฒนธรรมของอาเซียน ซึ่งประชาชนทุกคนตองอนุรักษ สืบสานใหยั่งยืน

2. การเสริมสรางคุณลักษณะ ของผูเรียนใหเปนพลเมืองอาเซียน ที่มีศักยภาพในการกาวเขาสู ประชาคมอาเซียนอยางมั่นใจ เปนผูที่มีสุขภาพสมบูรณแข็งแรง มีทักษะการสื่อสาร ทักษะการ ทํางาน ทักษะทางสังคม สามารถ ทํางานรวมกับผูอื่นไดอยาง สรางสรรค และมีองคความรู เกี่ยวกับอาเซียนที่จําเปนตอการ ดํารงชีวิตอยางมีคุณภาพ

4. การสงเสริมการเรียนรูดาน ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี วิถชี วี ติ ความเปนอยูข องเพือ่ นบาน ในอาเซียน เพื่อสรางจิตสํานึกของ ความเปนประชาคมอาเซียนและ ตระหนักถึงหนาที่ของการเปน พลเมืองอาเซียนรวมกัน

3. การสงเสริมการเรียนรูภาษา อังกฤษเพื่อการสื่อสารและการ ทํางานตามมาตรฐานอาชีพที่ กําหนดและสนับสนุนการเรียนรู ภาษาอาเซียนและภาษาเพื่อนบาน เพื่อชวยเสริมสรางสัมพันธภาพทาง สังคม และการอยูรวมกันอยางสันติ ทามกลางความหลากหลายทาง วัฒนธรรม

5. การสรางความรูและความ ตระหนักเกี่ยวกับดานสิ่งแวดลอม ปญหาและผลกระทบตอคุณภาพ ชีวิตของประชากรในภูมิภาค รวมทั้งแนวทางการพัฒนาอยาง ยั่งยืน ใหเปนมรดกสืบทอดแก พลเมืองอาเซียนในรุนหลังตอๆ ไป

กระทรวงศึกษาธิการจึงประกาศนโยบายการปฏิรูปการศึกษาทศวรรษที่ 2 (พ.ศ. 2552-2561) เพื่อเรงพัฒนาเด็ก และเยาวชนไทยใหเปนทรัพยากรมนุษยของชาติที่มีทักษะและความชํานาญ พรอมเผชิญกับความเปลี่ยนแปลงและ การแขงขันทั้งในภูมิภาคอาเซียนและภูมิภาคอื่นๆ ของสังคมโลก ทั้งนี้ผูบริหารสถานศึกษา ครูผูสอน และผูปกครอง ควรรวมมือกันอยางใกลชดิ ในการดูแลชวยเหลือผูเ รียนและจัดประสบการณการเรียนรูเ พือ่ พัฒนาผูเ รียนจนเต็มศักยภาพ เพื่อกาวเขาสูการเปนพลเมืองอาเซียนอยางมีเกียรติภูมิและศักดิ์ศรีความเปนมนุษยของตน คูม อื ครู

คณะผูจัดทํา


ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง สาระที่ 1

สุขศึกษาและพลศึกษา (เฉพาะชั้น ป.4)*

การเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย

มาตรฐาน พ 1.1 เขาใจธรรมชาติของการเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง ป.4 1. อธิบายการเจริญ• การเจริญเติบโตและพัฒนาการของรางกายและ เติบโตและพัฒนาการ จิตใจตามวัย (ในชวงอายุ 9-12 ป) ของรางกายและจิตใจ ตามวัย 2. อธิบายความสําคัญ • ความสําคัญของกลามเนื้อ กระดูกและขอ ที่มีผล ของกลามเนื้อ กระดูก ตอสุขภาพ การเจริญเติบโตและพัฒนาการ และขอที่มีผลตอ สุขภาพ การเจริญเติบโตและพัฒนาการ • วิธีดแู ลรักษากลามเนื้อ กระดูกและขอใหทํางาน 3. อธิบายวิธีดูแล อยางมีประสิทธิภาพ กลามเนื้อ กระดูก และขอ ใหทํางาน อยางมีประสิทธิภาพ

สาระที่ 2

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน • หนวยการเรียนรูที่ 1 ตัวเรา บทที่ 1 การเจริญเติบโตและ พัฒนาการของเรา

เสร�ม

9

• หนวยการเรียนรูที่ 1 ตัวเรา บทที่ 2 กลามเนื้อและ กระดูก

ชีวิตและครอบครัว

มาตรฐาน พ 2.1 เขาใจและเห็นคุณคาของตนเอง ครอบครัว เพศศึกษา และมีทักษะในการดําเนินชีวิต ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน ป.4 1. อธิบายคุณลักษณะ • คุณลักษณะของความเปนเพื่อนและสมาชิกที่ดีของ • หนวยการเรียนรูที่ 2 ของความเปนเพื่อน ครอบครัว ครอบครัวและเพื่อน และสมาชิกที่ดีของ บทที่ 1 คนดีที่ทุกคนรัก ครอบครัว 2. แสดงพฤติกรรมที่ • พฤติกรรมทีเ่ หมาะสมกับเพศของตนตาม เหมาะสมกับเพศของ วัฒนธรรมไทย ตนตามวัฒนธรรม ไทย • หนวยการเรียนรูที่ 2 ครอบครัวและเพือ่ น 3. ยกตัวอยางวิธีการ • วิธีการปฏิเสธการกระทําที่เปนอันตรายและ บทที่ 2 พฤติกรรมทางเพศ ปฏิเสธการกระทําที่ ไมเหมาะสมในเรื่องเพศ เปนอันตรายและ ไมเหมาะสมใน เรื่องเพศ _________________________________ * สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน, สาระการเรียนรูแ กนกลาง กลุม สาระการเรียนรูส ขุ ศึกษาและพลศึกษา. (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย, 2551), หนา 7- 42.

คูม อื ครู


สาระที่ 3

การเคลื่อนไหว การออกกําลังกาย การเลนเกม กีฬาไทย และกีฬาสากล

มาตรฐาน พ 3.1 เขาใจ มีทักษะในการเคลื่อนไหว กิจกรรมทางกาย การเลนเกม และกีฬา

เสร�ม

10

ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง ป.4 1. ควบคุมตนเองเมื่อใช • การเคลื่อนไหวรางกายแบบผสมผสานทั้งแบบ ทักษะการเคลื่อนไหว อยูกับที่ เชน กระโดดหมุนตัว กระโดดเหยียดตัว ในลักษณะผสมผสาน แบบเคลื่อนที่ เชน วิ่งซิกแซ็ก วิ่งเปลี่ยนทิศทาง ไดทั้งแบบอยูกับที่ ควบมา และแบบใชอุปกรณประกอบ เชน บอล เคลื่อนที่ และ เชือก ใชอุปกรณประกอบ 2. ปฏิบัติกิจกรรม • กายบริหารทามือเปลาประกอบจังหวะ กายบริหารทามือเปลา ประกอบจังหวะ 3. เลนเกมเลียนแบบ • เกมเลียนแบบและกิจกรรมแบบผลัด และกิจกรรมแบบผลัด 4. เลนกีฬาพื้นฐาน อยางนอย 1 ชนิด

• กีฬาพื้นฐาน เชน แชรบอล แฮนดบอล หวงขามตาขาย

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน • หนวยการเรียนรูที่ 5 พัฒนาการเคลื่อนไหว บทที่ 1 เคลื่อนไหวใหสัมพันธ

• หนวยการเรียนรูที่ 5 พัฒนาการเคลื่อนไหว บทที่ 2 จังหวะเพลินใจ • หนวยการเรียนรูที่ 5 พัฒนาการเคลื่อนไหว บทที่ 3 เกมหรรษา • หนวยการเรียนรูที่ 6 กีฬาเปนยาวิเศษ บทที่ 1 แฮนดบอล บทที่ 2 แชรบอล บทที่ 3 หวงขามตาขาย

มาตรฐาน พ 3.2 รักการออกกําลังกาย การเลนเกม และการเลนกีฬา ปฏิบตั เิ ปนประจําอยางสมํา่ เสมอ มีวนิ ยั เคารพสิทธิ กฎ กติกา มีนํ้าใจนักกีฬา มีจิตวิญญาณในการแขงขัน และชื่นชมในสุนทรียภาพของการกีฬา ชั้น ตัวชี้วัด ป.4 1. ออกกําลังกาย เลนเกม และกีฬา ที่ตนเองชอบ และ มีความสามารถ ในการวิเคราะหผล พัฒนาการของตนเอง ตามตัวอยางและ แบบปฏิบัติของผูอื่น 2. ปฏิบัติตามกฎ กติกา การเลนกีฬาพื้นฐาน ตามชนิดกีฬาที่เลน

คูม อื ครู

สาระการเรียนรูแกนกลาง หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน • การออกกําลังกาย เลนเกมตามความชอบของ • หนวยการเรียนรูที่ 6 ตนเอง และเลนกีฬาพื้นฐานรวมกับผูอื่น กีฬาเปนยาวิเศษ • การวิเคราะหผลพัฒนาการของตนเอง ในการออก บทที่ 1 แฮนดบอล กําลังกาย เลนเกม และเลนกีฬาตามตัวอยางและ บทที่ 2 แชรบอล แบบปฏิบัติของผูอื่น บทที่ 3 หวงขามตาขาย • คุณคาของการออกกําลังกาย เลนเกม และเลนกีฬา ที่มีตอสุขภาพ • การปฏิบัติตามกฎ กติกาการเลนกีฬาพื้นฐาน ตามชนิดกีฬาที่เลน

• หนวยการเรียนรูที่ 6 กีฬาเปนยาวิเศษ บทที่ 1 แฮนดบอล บทที่ 2 แชรบอล บทที่ 3 หวงขามตาขาย


สาระที่ 4

การสรางเสริมสุขภาพ สมรรถภาพ และการปองกันโรค

มาตรฐาน พ 4.1 เห็นคุณคาและมีทักษะในการสรางเสริมสุขภาพ การดํารงสุขภาพ การปองกันโรค และการสรางเสริม สมรรถภาพเพื่อสุขภาพ ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง ป.4 1. อธิบายความสัมพันธ • ความสัมพันธระหวางสิ่งแวดลอมกับสุขภาพ ระหวางสิ่งแวดลอม • การจัดสิ่งแวดลอมที่ถูกสุขลักษณะและเอื้อตอ กับสุขภาพ สุขภาพ 2. อธิบายสภาวะอารมณ • สภาวะอารมณและความรูสึก เชน โกรธ หงุดหงิด ความรูสึกที่มีผลตอ เครียด เกลียด เสียใจ เศราใจ วิตกกังวล กลัว สุขภาพ กาวราว อิจฉาริษยา เบื่อหนาย ทอแท ดีใจ ชอบใจ รัก ชื่นชม สนุก สุขสบาย • ผลที่มีตอสุขภาพ - ทางบวก : สดชื่น ยิ้มแยม แจมใส ราเริง ฯลฯ - ทางลบ : ปวดศีรษะ ปวดทอง เบื่ออาหาร ออนเพลีย ฯลฯ 3. วิเคราะหขอมูลบน • การวิเคราะหขอมูลบนฉลากอาหารและผลิตภัณฑ ฉลากอาหารและ สุขภาพ ผลิตภัณฑสุขภาพ เพื่อการเลือกบริโภค 4. ทดสอบและปรับปรุง • การทดสอบสมรรถภาพทางกาย สมรรถภาพทางกาย • การปรับปรุงสมรรถภาพทางกายตามผล ตามผลการทดสอบ การทดสอบสมรรถภาพทางกาย สมรรถภาพทางกาย

สาระที่ 5

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน • หนวยการเรียนรูที่ 3 ดูแลสุขภาพ บทที่ 1 สิ่งแวดลอมรอบตัว • หนวยการเรียนรูที่ 3 ดูแลสุขภาพ บทที่ 2 อารมณกับสุขภาพ

เสร�ม

11

• หนวยการเรียนรูที่ 3 ดูแลสุขภาพ บทที่ 3 อาหารและผลิตภัณฑ สุขภาพ • หนวยการเรียนรูที่ 6 กีฬาเปนยาวิเศษ บทที่ 4 สมรรถภาพทางกาย

ความปลอดภัยในชีวิต

มาตรฐาน พ 5.1 ปองกันและหลีกเลี่ยงปจจัยเสี่ยง พฤติกรรมเสี่ยงตอสุขภาพ อุบัติเหตุ การใชยา สารเสพติด และความรุนแรง ชั้น ตัวชี้วัด ป.4 1. อธิบายความสําคัญ ของการใชยาและใช ยาอยางถูกวิธี 2. แสดงวิธีปฐมพยาบาล เมือ่ ไดรบั อันตราย จากการใชยาผิด สารเคมี แมลงสัตว กัดตอย และการบาด เจ็บจากการเลนกีฬา 3. วิเคราะหผลเสียของ การสูบบุหรี่ และการ ดื่มสุราที่มีตอสุขภาพ และการปองกัน

สาระการเรียนรูแกนกลาง • ความสําคัญของการใชยา • หลักการใชยา • วิธีปฐมพยาบาล - การใชยาผิด - สารเคมี - แมลงสัตวกัดตอย - การบาดเจ็บจากการเลนกีฬา

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน • หนวยการเรียนรูที่ 4 ชีวิตปลอดภัย บทที่ 1 การใชยา • หนวยการเรียนรูที่ 4 ชีวิตปลอดภัย บทที่ 2 การปฐมพยาบาล

• ผลเสียของการสูบบุหรี่ การดื่มสุราและการปองกัน • หนวยการเรียนรูที่ 4 ชีวิตปลอดภัย บทที่ 3 โทษของบุหรี่และสุรา คูม อื ครู


คําอธิบายรายวิชา รายวิชา สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปที่ 4 รหัสวิชา พ…………………………………

เสร�ม

12

กลุมสาระการเรียนรู สุขศึกษาและพลศึกษา ภาคเรียนที่ 1-2 เวลา 80 ชั่วโมง/ป

ศึกษา วิเคราะห อธิบาย การเจริญเติบโตและพัฒนาการของรางกายและจิตใจตามวัย (ในชวงอายุ 9 - 12 ป) ความสําคัญของกลามเนื้อ กระดูกและขอที่มีผลตอการเจริญเติบโตและพัฒนาการ การดูแลรักษา กลามเนื้อ กระดูกและขอใหทํางานอยางมีประสิทธิภาพ คุณลักษณะของความเปนเพื่อนและสมาชิกที่ดีของ ครอบครัว พฤติกรรมที่เหมาะสมกับเพศของตนตามวัฒนธรรมไทย วิธีการปฏิเสธการกระทําที่เปนอันตราย และไมเหมาะสมในเรื่องเพศ ผลพัฒนาการของตนเองในดานการออกกําลังกาย เลนเกม และเลนกีฬา ความสั ม พั น ธ ร ะหว า งสิ่ ง แวดล อ มกั บ สุ ข ภาพ การจั ด สิ่ ง แวดล อ มที่ ถู ก สุ ข ลั ก ษณะและเอื้ อ ต อ สุ ข ภาพ สภาวะอารมณ และความรูสึก ผลที่มีตอสุขภาพ ขอมูลบนฉลากอาหารและผลิตภัณฑสุขภาพ ความสําคัญ ของการใชยาและหลักการใชยาอยางถูกวิธี วิธีปฐมพยาบาล ผลเสียของการสูบบุหรี่และดื่มสุรา ปฏิบัติ แสดงคําพูดหรือทาทาง พฤติกรรมที่เหมาะสมกับเพศของตนตามวัฒนธรรมไทย วิธีการ ปฐมพยาบาลเมือ่ ไดรบั อันตรายจากการใชยาผิด สารเคมี แมลงสัตวกดั ตอย และการบาดเจ็บจากการเลนกีฬา ปฏิบัติกิจกรรม ทดสอบ ควบคุมการเคลื่อนไหวในลักษณะผสมผสานไดทั้งแบบอยูกับที่ แบบเคลื่อนที่ และแบบใชอุปกรณประกอบ กายบริหารมือเปลาประกอบจังหวะ เกมเลนเลียนแบบและกิจกรรมแบบผลัด การเลนกีฬาพื้นฐาน ตามกฎ กติกาการเลน สมรรถภาพทางกาย โดยใชทักษะกระบวนการปฏิบัติ ทักษะการเคลื่อนไหวรางกาย กระบวนการคิดในการสืบคนขอมูล การแกปญหาและการอภิปราย เพื่อใหเกิดความรู ความคิด ความเขาใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู มีความสามารถตัดสินใจและ นําความรูไปประยุกตใชในชีวิตประจําวัน มีการพัฒนาทางดานรางกาย จิตใจ อารมณ สังคม และมีจริยธรรม คุณธรรม และคานิยมที่เหมาะสม ตัวชี้วัด พ 1.1 พ 2.1 พ 3.1 พ 3.2 พ 4.1 พ 5.1

ป.4/1 ป.4/1 ป.4/1 ป.4/1 ป.4/1 ป.4/1

ป.4/2 ป.4/2 ป.4/2 ป.4/2 ป.4/2 ป.4/2

ป.4/3 ป.4/3 ป.4/3 ป.4/3 ป.4/3

ป.4/4 ป.4/4 รวม 19 ตัวชี้วัด

คูม อื ครู


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ÃÒÂÇÔªÒ¾×é¹°Ò¹

ÊØ¢ÈÖ¡ÉÒáÅоÅÈÖ¡ÉÒ ».ô ªÑé¹»ÃжÁÈÖ¡ÉÒ»‚·Õè ô

¡ÅØ‹ÁÊÒÃСÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ ÊØ¢ÈÖ¡ÉÒáÅоÅÈÖ¡ÉÒ µÒÁËÅÑ¡ÊÙµÃ᡹¡ÅÒ§¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñé¹¾×é¹°Ò¹ ¾Ø·¸ÈÑ¡ÃÒª òõõñ

¼ÙŒàÃÕºàÃÕ§ ¹ÒÂªÙªÒµÔ ÃÍ´¶ÒÇà ¹ÒÂÀÒÊ¡Ã ºØÞ¹ÔÂÁ ¼ÙŒµÃǨ

¹Ò§ÊØÁÒÅÕ ¢ÍÁã¨à¾çªÃ ¹Ò§ªÞÒ´Ò ÊØ¢àÊÃÔÁ ¹Ò¾ԹԨ 褃 ÀÙ‹

ºÃóҸԡÒà ¹Ò§ÇÃÔÈÃÒ ·Ñº¾Ã

¾ÔÁ¾ ¤ÃÑ駷Õè ññ

ʧǹÅÔ¢ÊÔ·¸ÔìµÒÁ¾ÃÐÃÒªºÑÞÞÑµÔ ISBN : 978-616-203-352-0 ÃËÑÊÊÔ¹¤ŒÒ ñôñôððò

¤Œ¹¤ÇÒÁÃÙŒ¢ÂÒ¤ÇÒÁ¤Ô´¨Ò¡

¾ÔÁ¾ ¤ÃÑ駷Õè ñ ÃËÑÊÊÔ¹¤ŒÒ ñôôôðñó

EB GUIDE

ที่พิมพกํากับหัวขอสําคัญในหนังสือเรียนหลักสูตรใหม ชั้น ป.๔ ขึ้นไป ผาน www.aksorn.com ไปยังแหลงความรูทั่วไทย-ทั่วโลก

(

ดูแผนผังความคิดฯ ไดทปี่ กหลังดานใน)


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

คําชี้แจง ในการใชสื่อ หนังสือเรียน สุขศึกษาและพลศึกษา ป.๔ เลมนี้ ภายใน เล ม นํ า เสนอการจั ด การเรี ย นการสอนเป น หน ว ยการเรี ย นรู  ครบถ ว นตามมาตรฐานตั ว ชี้ วั ด ชั้ น ป และสาระการเรี ย นรู  แกนกลาง โดยเนนการออกแบบกิจกรรมใหสมั พันธกบ ั ธรรมชาติ การเรียนรูข องแตละกลุม สาระ และความสนใจของผูเ รียนแตละคน

สาระสําคัญ แกนความรูที่เปนความเขาใจคงทน ติดตัวผูเรียน

ñ ตัวเรา

หนวยการเรียนรูที่

บทที่ ÇÑ¢ͧ¹Ñ¡àÃÕ¹ ¤ÇÃã¡ÅŒà¤Õ§¡Ñº à´ç¡¤¹ã´ã¹ÀÒ¾¹Õé áÅÐᵡµ‹Ò§¨Ò¡ à´ç¡¤¹Í×è¹Í‹ҧäÃ

ñ การเจริญเติบโตและพัฒนาการของเรา สาระสําคัญ คนทุกคนมีการเจริญเติบโตและพัฒนาการ ตลอดเวลา ดังนั้นเราจึงควรดูแลตนเองใหมี การเจริญเติบโตและพัฒนาการที่สมวัย

¡Ô¨¡ÃÃÁ¹í ¨¡ÃÃÁ¹íÒÊÙ‹¡ÒÃàÃÕ¹ ๑

เปาหมายการเรียนรูประจําหนวยที่ ๑ เมือ่ เรียนจบหนวยนี้ ผูเ รียนจะมีความรูค วามสามารถตอไปนี้ ๑. อธิบายการเจริญเติบโตและพัฒนาการของรางกาย และจิตใจตามวัย (มฐ. พ ๑.๑ ป.๔/๑) ๒. อธิบายความสําคัญของกลามเนื้อ กระดูกและขอ ที่มีผลตอสุขภาพ การเจริญเติบโต และพัฒนาการ (มฐ. พ ๑.๑ ป.๔/๒) ๓. อธิบายวิธีดูแลกลามเนื้อ กระดูกและขอ ใหทํางานอยางมีประสิทธิภาพ (มฐ. พ ๑.๑ ป.๔/๓)

¹Ñ¡àÃÕ¹·ÃÒº ËÃ×ÍäÁ‹Ç‹Ò¤¹ã¹ÀÒ¾ ÍÂÙ‹ã¹ÇÑÂã´ºŒÒ§ áÅРᵋÅÐÇѤÇÃÁÕÅѡɳÐÍ‹ҧäÃ

เปาหมายการเรียนรู

¡Ô¨¡ÃÃÁ¹ÓÊÙ‹¡ÒÃàÃÕ¹

กําหนดระดับความรูความสามารถ ของผูเรียนเมื่อเรียนจบหนวย

นําเขาสูบ ทเรียนใชกระตุน ความสนใจ และวัดประเมินผลกอนเรียน


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Explore

Explain

กลามเนือ้ กระดูกและขอ เปนอวัยวะทีส่ าํ คัญ ในการเคลื่อนไหวรางกาย วัยของนักเรียนเปน วัยที่มีการเจริญเติบโตทางรางกายและมีทักษะ การเคลื่อนไหวเพิ่มมากขึ้น กลามเนื้อ กระดูก และขอ จึงเปนอวัยวะสําคัญที่จะทําใหเกิดการ เจริญเติบโตและพัฒนาการที่สมวัย

¡ÒÃÃÙŒ¨Ñ¡´Ùáŵ¹àͧ

¡ÅŒÒÁà¹×éÍËÃ×Í¡Ãд١ ·Õè·íÒãËŒ àÃÒà¤Å×è͹äËÇä´Œ¹Ð

การสงเสริมการเจริญเติบโต ¨Ð·íÒãËŒàÃÒÁÕ¡ÒÃà¨ÃÔÞàµÔºâµ áÅоѲ¹Ò¡Ò÷ÕèÊÁÇÑ และพัฒนาการของรางกายและจิตใจ เราควรปฏิบัติตนใหเหมาะสมกับ การเจริญเติบโต และพัฒนาการตามวัย โดยปฏิบัติได ดังนี้ ๑) กินอาหารครบ ๕ หมู ในปริมาณ ทีเ่ พียงพอตอความตองการของรางกาย ๒) ออกกําลังกายอยางสมํ่าเสมอ เด็กๆ ควรออกกําลังกายอยางนอย ๓) นอนหลับพักผอนใหเพียงพอ สัปดาหละ ๒-๓ ครั้ง ๔) ฝกทักษะการฟง พูด อาน และ เขียนอยางสมํ่าเสมอ ๕) ทําการบานและหมั่นทบทวน บทเรียน ๖) ฝกควบคุมอารมณของตนเอง ๗) รับฟงความคิดเห็นของผูอ นื่ การทํากิจกรรมรวมกัน ทําใหมีพัฒนาการ ๘) หมั่นพูดคุย และทํากิจกรรม ทางรางกายและจิตใจที่ดี รวมกับเพื่อนๆ

๑ กลามเนื้อ

กลามเนือ้ เปนอวัยวะสําคัญที่ใชในการเคลื่อนไหว กลามเนื้อมีหลายประเภทดังจะไดศึกษาตอไปนี้

๑. ประเภทของกลามเนือ้

กลามเนื้อ แบงออกเปน ๓ ประเภท ดังนี้

ñ. ¡ÅŒÒÁà¹×éÍÅÒ เปนกลามเนือ้ ทีม่ ขี นาดใหญทสี่ ดุ ซึง่ ยึด ติดกับโครงกระดูกสวนตางๆ ของรางกาย จึงทําใหเกิดการเคลื่อนไหว กลามเนื้อ ชนิดนี้จะอยูบริเวณแขน ขา คอ ศีรษะ

ò. ¡ÅŒÒÁà¹×éÍËÑÇ㨠เปนกลามเนือ้ ทีท่ าํ งานนอกเหนืออํานาจ จิตใจ และมีความแข็งแรงมาก เพราะ สามารถทํางานไดตลอดเวลา โดยไมมี การหยุดพักจนตลอดชีวิตของคนเรา

¡Ô¨¡ÃÃÁ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè ò

ó. ¡ÅŒÒÁà¹×éÍàÃÕº

วัดสวนสูงและชั่งนํ้าหนักของตนเอง แลวนํามาเปรียบเทียบกับเกณฑมาตรฐาน แลวบอกวา นักเรียนอยูในเกณฑใด ควรเสริมสรางพัฒนาการทางดานรางกายอยางไร

เป น กล า มเนื้ อ ที่ ทํ า งานโดยอั ต โนมั ติ เพื่อทําใหการทํางานของรางกายเปน ปกติ กลามเนื้อชนิดนี้ เชน กลามเนื้อ ของลําไส กลามเนือ้ หูรดู ของทวารหนัก กลามเนือ้ ของกระเพาะอาหาร เปนตน http://www.aksorn.com/lib/p/hed_01 (เรื่อง ระบบกลามเน�้อมนุษย)

พ ัฒ

รข อ นากา

EB GUIDE

กิจกรรมใดทีส่ ง เสริมพัฒนาการทางดานรางกาย และจิตใจที่เหมาะสมกับวัยของนักเรียน ๗

¡Ô¨¡ÃÃÁ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ มอบหมายใหผูเรียนฝกปฏิบัติ เพื่อพัฒนาความรูและทักษะประจําหนวย

ง ร  า ง ก า ย ต า ม วั ย

รของเรา นากา พฒั

µÑÇàÃÒ กลา

มเน

อ�้ แล ะกระ ดกู

นอ�้

เ กลา ม

กร ะ ด ู ก แ

ล ะ ขอ

รางกาย  นํ้าหนัก สวนสูงเพิ่ม  เคลื่อนไหวคลองแคลว  มือและสายตาประสานกันดี  ชอบเคลื่อนไหว จิตใจ  ยึดตนเองเปนหลัก  ควบคุมอารมณได  อารมณเปลี่ยนแปลงงาย  ชอบการชมเชย การสงเสริม  กินอาหารมีประโยชน  ดื่มนม  ราเริงแจมใส  พักผอนเพียงพอ

ตอ

โครงกระดูก และขอตอ ชวยพยุง รางกายใหคงรูป ทําใหเคลือ่ นไหวได และปองกันอวัยวะภายใน วิธีดูแล  ออกกําลังกาย  กินอาหารที่มีแคลเซียมสูง  ไมเลนรุนแรง

µÃǨÊͺµ¹àͧ

๑๖

¢ÂÒ¤ÇÒÁÃÙŒ ÊÙ¡‹ ÒäԴ

แหลงเรียนรูทางอินเทอรเน็ต

ประเภทของกลามเน�้อ ๑. กลามเน�้อลาย ๒. กลามเน�้อหัวใจ ๓. กลามเน�้อเรียบ วิธีดูแล  กินอาหารที่มีประโยชน โดยเฉพาะประเภทโปรตีน  ออกกําลังกาย  ไมยกของหนักอยางผิดวิธี

Evaluate

คําถามกระตุนเพื่อใหผูเรียน ใชทักษะการคิด วิเคราะห ตอยอดความรูที่ไดในบทเรียน

ครบตามหลักสูตรแกนกลางฯ พ.ศ. ๒๕๕๑ นําเสนอ เหมาะสมกับการเรียนการสอนในแตละระดับชั้น

ÊÒÃÐÊ íÒ¤ÑÞ ¨´¨íÒäÇŒ

ตรวจสอบผล

Expand

¢ÂÒ¤ÇÒÁÃÙŒ ÊÙ‹¡ÒäԴ

เนือ้ หา

EB GUIDE

ขยายความเขาใจ

นักเรียนลองสังเกตตนเองดูวา ปฏิบัติตามสิ่งตางๆ เหลานี้ไดหรือไม ❏ อธิบายการเจริญเติบโตและพัฒนาการทางรางกายและจิตใจในวัยของตนได ❏ บอกอวัยวะที่สําคัญในการเคลื่อนไหวรางกายได ❏ อธิบายประเภทและหนาที่ของกลามเนื้อได ❏ อธิบายหนาที่ของกระดูกและขอได ❏ อธิบายความสัมพันธระหวางกลามเนื้อ กระดูก และขอได ❏ รูวิธีดูแลรักษากลามเนื้อ กระดูก และขอได

เพื่อใหผูเรียนใชตรวจสอบตนเองวา เมื่อจบหนวยน�้ แลวไดบรรลุเปาหมายการเรียนรูหรือไม

¡Ô¨¡ÃÃÁ ºÙóҡÒÃàÈÃÉ°¡Ô ¨¾Íà¾Õ§

กิจกรรม

: สมุนไพรนารู

จุดประสงค

: เพื่อใหนักเรียนมีความรูเกี่ยวกับสมุนไพร สามารถนํามาใช ใหเกิดประโยชนในชีวติ ประจําวัน และสามารถแนะนําผูอ นื่ ได

ภาระงาน

: ๑. นักเรียนแบงกลุม สืบคนขอมูลยาสมุนไพรพื้นบานที่ สามารถใชรักษาโรคและหาไดงายในทองถิ่น ๒. หาสมุนไพรพื้นบานที่กลุมนักเรียนสืบคนมา แลวนํามา ปลูกในแปลงหรือกระถางตนไม พรอมทั้งทําปายบอก สรรพคุณ

เพื่อเสริมสราง พฤติกรรมและปลูกฝง คานิยมตามหลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง

¡Ô¨¡ÃÃÁ

ºÙóҡÒèԵÍÒÊÒ กิจกรรม : รักชุมชน จุดประสงค : เพื่อใหนักเรียนมีจิตสํานึกในการรักษาสิ่งแวดลอมรอบตัว โดยเริ่มจากโรงเรียนและชุมชน

ภาระงาน

: ๑. แบงกลุม กลุม ละเทาๆ กัน แตละกลุม ออกสํารวจสิง่ แวดลอม

บริเวณโรงเรียนและชุมชนรอบๆ โรงเรียน ๒. นักเรียนแตละกลุม ชวยกันทําความสะอาดบริเวณโรงเรียน และชุมชนรอบๆ โดยแบงพื้นที่รับผิดชอบของแตละกลุม ๓. แตละกลุม เขียนคําขวัญเกีย่ วกับการรักษาความสะอาดและ การอนุรกั ษสงิ่ แวดลอมติดตามบริเวณตางๆ ของโรงเรียน และชุมชน ๔. ใหนักเรียนชวยกันสืบคนขอมูลเกี่ยวกับโรคที่เกิดจาก ปญหาสิ่งแวดลอม แลวนํามาจัดทําปายนิเทศใหความรู ในโรงเรียนและชุมชน

๑๓๗

เพือ่ ปลูกฝงจิตสํานึกใน การเสียสละเพือ่ ประโยชน สวนรวมเปนกิจนิสัย


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

ห น ว ย การเรียนรูที่

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

การเรียนรูที่

การเรียนรูที่

ตัวเรา

ครอบครัวและเพื่อน

๑๗

ดูแลสุขภาพ

๒๗

ชีวิตปลอดภัย

๕๑

พัฒนาการเคลื่อนไหว

๗๓

กีฬาเปนยาวิเศษ

๙๘

บทที่ ๑ สิ�งแวดลอมรอบตัว บทที่ ๒ อารมณกับสุขภาพ บทที่ ๓ อาหารและผลิตภัณฑสุขภาพ

ห น ว ย การเรียนรูที่

บทที่ ๑ การใชยา บทที่ ๒ การปฐมพยาบาล บทที่ ๓ โทษของบุหรี่และสุรา

ห น ว ย การเรียนรูที่

บทที่ ๑ เคลื่อนไหวใหสัมพันธ บทที่ ๒ จังหวะเพลินใจ บทที่ ๓ เกมหรรษา

ห น ว ย การเรียนรูที่

บทที่ บทที่ บทที่ บทที่

๑ ๒ ๓ ๔

แฮนดบอล แชรบอล หวงขามตาขาย สมรรถภาพทางกาย

โครงงานสุขศึกษา กิจกรรมบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง กิจกรรมบูรณาการจิตอาสา บรรณานุกรม ภาคผนวก

EB GUIDE

Evaluate

บทที่ ๑ คนดีที่ทุกคนรัก บทที่ ๒ พฤติกรรมทางเพศ

ห น ว ย

ตรวจสอบผล

สารบัญ

บทที่ ๑ การเจริญเติบโตและพัฒนาการของเรา บทที่ ๒ กลามเน�้อและกระดูก

ห น ว ย

Expand

๑ ๒ ๘

๑๘ ๒๒

๒๘ ๓๕ ๔๐

๕๒ ๕๗ ๖๖

๗๔ ๘๒ ๘๙

๙๙ ๑๐๙ ๑๑๘ ๑๒๕ ๑๓๖ ๑๓๗ ๑๓๗ ๑๓๘ พิเศษ ๑

คนควาขอมูลเพิม่ เติมจากเว็บไซตทอี่ ยูใ นหนังสือเรียน หนา ๙, ๑๒, ๓๖, ๔๑, ๕๕, ๕๙, ๖๔, ๖๙, ๑๐๖, ๑๑๓


กระตุน ความสนใจ กระตุEngage นความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Engage

Explore

Explain

Expand

Evaluate

ñ ตัวเรา

กระตุน ความสนใจ

หนวยการเรียนรูที่

ÇÑ¢ͧ¹Ñ¡àÃÕ¹ ¤ÇÃã¡ÅŒà¤Õ§¡Ñº à´ç¡¤¹ã´ã¹ÀÒ¾¹Õé áÅÐᵡµ‹Ò§¨Ò¡ à´ç¡¤¹Í×è¹Í‹ҧäÃ

Engage

ครูถามคําถาม แลวใหนักเรียนแสดงความ คิดเห็นอยางอิสระ • นักเรียนมีวัยใกลเคียงกับเด็กๆ ในภาพ หรือไม (แนวตอบ คําตอบขึน้ อยูก บั นักเรียนแตละคน) • นักเรียนคิดวา ปจจัยใดบางที่ทําใหคนเรา เจริญเติบโต (แนวตอบ คนเราเจริญเติบโต เพราะมีการ เปลี่ยนแปลงทางรางกาย โดยมีปจจัยที่ทํา ใหเกิดการเจริญเติบโตที่สมวัย คือ อาหาร การออกกําลังกาย และการพักผอน) • นักเรียนคิดวา ในวัยของตนเองมีการเจริญ เติบโตอยางไรบาง (แนวตอบ ในวัยของฉันจะเปนวัยที่รางกาย มีการเจริญเติบโต โดยสังเกตไดงา ยๆ คือ รางกายมีสว นสูงและนํา้ หนักเพิม่ ขึน้ มีการ เคลือ่ นไหวของรางกายไดคลองแคลวมากขึน้ เนื่องจากกลามเนื้อทุกๆ สวนของรางกายมี พัฒนาการที่ดีขึ้น)

เปาหมายการเรียนรูประจําหนวยที่ ๑ เมือ่ เรียนจบหนวยนี้ ผูเ รียนจะมีความรูค วามสามารถตอไปนี้ ๑. อธิบายการเจริญเติบโตและพัฒนาการของรางกาย และจิตใจตามวัย (มฐ. พ ๑.๑ ป.๔/๑) ๒. อธิบายความสําคัญของกลามเนื้อ กระดูกและขอ ที่มีผลตอสุขภาพ การเจริญเติบโต และพัฒนาการ (มฐ. พ ๑.๑ ป.๔/๒) ๓. อธิบายวิธีดูแลกลามเนื้อ กระดูกและขอ ใหทํางานอยางมีประสิทธิภาพ (มฐ. พ ๑.๑ ป.๔/๓)

เกร็ดแนะครู ครูอาจสนทนากับนักเรียนเพิ่มเติมเพื่อเกริ่นนําเขาสูบทเรียน โดยครูถาม นักเรียนเกี่ยวกับพัฒนาการตางๆ ของนักเรียน ตั้งแตจําความไดจนถึงปจจุบัน เชน นักเรียนจําตอนเปนทารกไดหรือไม นักเรียนเริ่มพูดหรือเดินไดเมื่อใด ตอนเปนทารกนักเรียนมีฟนกี่ซี่ และปจจุบันมีฟนกี่ซี่ เปนตน

คูมือครู

1


กระตุน ความสนใจ กระตุEngage นความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Engage

Explore

Explain

Expand

Evaluate

เปาหมายการเรียนรู

อธิบายการเจริญเติบโตและพัฒนาการของ รางกายและจิตใจตามวัย (พ 1.1 ป.4/1)

บทที่

สมรรถนะของผูเรียน

ñ การเจริญเติบโตและพัฒนาการของเรา สาระสําคัญ คนทุกคนมีการเจริญเติบโตและพัฒนาการ ตลอดเวลา ดังนั้นเราจึงควรดูแลตนเองใหมี การเจริญเติบโตและพัฒนาการที่สมวัย

1. ความสามารถในการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการแกปญ  หา

¡Ô¨¡ÃÃÁ¹íÒÊÙ‹¡ÒÃàÃÕ¹

คุณลักษณะอันพึงประสงค 1. มีวินัย รับผิดชอบ 2. ใฝเรียนรู 3. มุงมัน่ ในการทํางาน

กระตุน ความสนใจ

Engage

ใหนักเรียนดูภาพ หนา 2 แลวตอบคําถาม • นักเรียนทราบหรือไมวา คนในภาพอยูใน วัยใดบาง (ตอบ ภาพที่ 1 วัยเรียน ภาพที่ 2 วัยชรา ภาพที่ 3 วัยแรกเกิด ภาพที่ 4 วัยผูใหญ ภาพที่ 5 วัยรุน) • นักเรียนคิดวา คนในแตละชวงวัยนั้น มีความแตกตางกันหรือไม เพราะอะไร (แนวตอบ ตางกัน เพราะรางกายของเรา เมื่อมีการเจริญเติบโตขึ้น ขนาดของรางกาย จะมีการเปลี่ยนแปลงแตกตางกันไป)

¹Ñ¡àÃÕ¹·ÃÒº ËÃ×ÍäÁ‹Ç‹Ò¤¹ã¹ÀÒ¾ ÍÂÙ‹ã¹ÇÑÂã´ºŒÒ§ áÅРᵋÅÐÇѤÇÃÁÕÅѡɳÐÍ‹ҧäÃ

เกร็ดแนะครู ครูจัดกระบวนการเรียนรูโดยการใหนักเรียนปฏิบัติ ดังนี้ • สังเกตการเจริญเติบโตของตนเองและผูอื่น • สืบคนขอมูลเกี่ยวกับการเจริญเติบโต • เปรียบเทียบขอมูลการเจริญเติบโตของตนเองและผูอื่น • วิเคราะหจากประเด็นคําถามและภาพ จนเกิดเปนความรูความเขาใจวา ทุกคนมีการเจริญเติบโต โดยลักษณะการ เจริญเติบโตของคนเรา จําแนกไดตามชวงวัย และแตละชวงวัยจะมีพัฒนาการที่ เหมาะสมกับวัยของตนเอง

2

คูมือครู


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา สํารวจค Exploreนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explore

Explain

Expand

Evaluate

Engage

¹Ñ¡àÃÕ¹ʹ·¹Ò ¡Ñºà¾×è͹æ ÊÔÇ‹Ò ¹Ñ¡àÃÕ¹ÁÕ ¡ÒÃà»ÅÕè¹á»Å§Í‹ҧäúŒÒ§ àÁ×èÍà·Õº¡Ñº»‚·Õ輋ҹÁÒ

ทุกคนมีการเจริญเติบโตและมีพัฒนาการ อยางตอเนื่องตั้งแตระยะถือกําเนิดเกิดในครรภ ของมารดา แลวคลอดออกมาเปนเด็กแรกเกิด โดยรางกายจะมีขนาดรูปรางพัฒนาขึ้นตามวัย และอวัยวะตางๆ ทําหนาที่ไดซับซอนมากยิ่งขึ้น

ááà¡Ô´ ·Òá ระยะตั้งแตปฏิสนธิ 㹤ÃÃÀ ตั ว อ อนฝงอยูในครรภของ ¢Í§ÁÒôÒ

ระยะที่ทารก 1 คลอดจากครรภ มารดาจนถึง ๓ ป

มารดา ๙-๑๐ เดือน

ระยะตั้งแตอายุ ๓ ป ถึงอายุ ๖ ป

ÇÑÂà´ç¡ µÍ¹µŒ¹ (»°ÁÇÑÂ)

ÇÑÂÃØ‹¹

สํารวจคนหา

Explore

1. ใหนักเรียนดูภาพ หนา 3 แลวบอกวา ภาพนี้สื่อถึงอะไร 2. ใหนักเรียนสํารวจตนเองวา นักเรียนอยูใน ชวงวัยใด โดยดูจากภาพ 3. ครูนําสื่อการเรียนรูบัตรคําที่แบงเปนขอความ 2 สวน คือ ขอความที่บงบอกถึงพัฒนาการ ทางดานรางกาย และพัฒนาการทางดาน จิตใจ สวนละ 5 คํา เชน สวนสูงเพิ่มขึ้น นํ้าหนักเพิ่มขึ้น เคลื่อนไหวคลองแคลว อารมณเปลี่ยนแปลงงาย ชอบการยกยอง เปนตน จากนั้นครูสุมนักเรียน 4 คน เพื่อ มาทํากิจกรรม โดยใหนักเรียน 2 คน เลือก บัตรคําที่บงบอกถึงพัฒนาการทางดานรางกาย และอีก 2 คน เลือกบัตรคําที่บงบอกถึง พัฒนาการทางดานจิตใจ แลวนํามาติดไว บนกระดานดํา 4. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปความรูที่ไดจาก กิจกรรม

ระยะตั้งแตอายุ ๑๒ ป ถึงอายุ ๒๐ ป

ÇÑÂàÃÕ¹

ÇѼٌãËÞ‹

ระยะตั้งแตอายุ ๖ ป ถึงอายุ ๑๒ ป

ระยะตั้งแตอายุ ๒๐ ป ถึงอายุ ๖๐ ป

ÇѪÃÒ ระยะตั้งแต อายุ ๖๐ ป ขึ้นไป

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

ฝนกําลังศึกษาอยูในชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ฝนอยูในวัยใด และควรมี ลักษณะรูปรางอยางไร

แนวตอบ ฝนควรจะมีอายุประมาณ 14 - 15 ป ซึ่งผูที่มีอายุ 14 - 15 ป จัดอยูในวัยรุน ฝนควรมีลักษณะรูปราง เชน หนาอกขยาย สะโพกผาย มีประจําเดือน มีขนขึ้นที่อวัยวะเพศ เปนตน

บูรณาการเชื่อมสาระ

ครูบูรณาการความรูในสาระสุขศึกษาฯ กับสาระศิลปะ วิชาทัศนศิลป เรื่อง การวาดภาพตามจินตนาการ โดยใหนักเรียนวาดภาพการเจริญ เติบโตของนักเรียนในอีก 20 ป ขางหนา ตามจินตนาการวาจะมีพัฒนาการ เปลี่ยนไปอยางไร พรอมทั้งเขียนขอความใตภาพ แลวระบายสีใหสวยงาม เพื่อตรวจสอบความเขาใจเกี่ยวกับการเจริญเติบโตและพัฒนาการของตนเอง

เกร็ดแนะครู ครูสอบถามนักเรียนเพิ่มเติมวา สมาชิกในครอบครัวของนักเรียนมีใครบาง และแตละคนอยูในวัยใด โดยเปรียบเทียบกับภาพ หนา 3

นักเรียนควรรู 1 ครรภ การตั้งครรภจะเริ่มหลังการปฏิสนธิ ซึ่งเกิดจากการที่ไขและอสุจิผสมกัน ในสภาวะและชวงเวลาที่เหมาะสม แลวไดตัวออนเกิดขึ้น หลังการปฏิสนธิ ตัวออน จะไปฝงตัวที่เยื่อบุโพรงมดลูก แลวคอยๆ เจริญเติบโตขึ้นจนกลายเปนทารก การตั้งครรภปกติจะมีอายุครรภประมาณ 40 สัปดาห หรือ 280 วัน โดยนับจาก วันแรกของการมีประจําเดือนครั้งลาสุด

คูมือครู

3


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

Explain

1. ครูอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียนเขาใจเรื่อง การเจริญเติบโตและพัฒนาการทางดาน รางกายและจิตใจ เพื่อใหเห็นลักษณะของการ เจริญเติบโตแตละชวงวัย และพัฒนาการใน ดานตาง ๆ วาแตกตางกันอยางไร เชน • พัฒนาการทางดานรางกาย สามารถมอง เห็นไดอยางชัดเจน ที่สังเกตเห็นไดชัด คือ นํ้าหนักและสวนสูงที่เปลี่ยนแปลงไป • พัฒนาการทางดานจิตใจ เราไมสามารถ มองเห็นได เนื่องจากเปนความรูสึกของ แตละคนที่อยูขางในจิตใจ เชน อารมณ เปนตน 2. ครูถามนักเรียนวา • นักเรียนจะมีพัฒนาการที่สมวัยไดอยางไร (แนวตอบ กินอาหารใหครบ 5 หมู เพื่อให รางกายไดสารอาหารตามตองการ ออกกําลังกายอยางสมํ่าเสมอ นอนหลับพักผอนใหเพียงพอ ทําจิตใจใหราเริงแจมใส)

การเจริญเติบโตและพัฒนาการทางดาน รางกาย (ชวงอายุ ๙-๑๒ ป)

ในวัยของนักเรียนที่กําลังศึกษาอยูในชั้นประถมศึกษาปที่ ๔ ซึ่งจัดอยูใน วัยเรียนนั้น จะพบวามีการเจริญเติบโตและพัฒนาการเกิดขึ้นในหลายๆ ดาน เมื่อเปรียบเทียบกับปที่ผานมา 150 140 130 120 110

ÁÕ¹Òíé ˹ѡáÅÐʋǹÊÙ§à¾ÔÁè ¢Ö¹é

¡ÒÃà¨ÃÔÞàµÔºâµ áÅоѲ¹Ò¡Òà ·Ò§´ŒÒ¹Ã‹Ò§¡Ò ÁÕ·¡Ñ ÉСÒÃà¤Å×Íè ¹äËǤŋͧá¤Å‹Ç (ª‹Ç§ÍÒÂØ ù-ñò »‚)

80 70 60 50 40

㪌ÍÇÑÂÇТͧËҧ¡Ò¤Ǻ¤ØÁÊÔ§è ¢Í§ä´Œ´Õ

¡ÒûÃÐÊÒ¹ÃÐËÇ‹Ò§Á×ÍáÅÐÊÒµҴբ¹Öé

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

เกร็ดแนะครู ครูทบทวนเกณฑมาตรฐานการเจริญเติบโตของเด็กในชวงอายุ 9 - 12 ป ดังนี้ อายุ (ป) 9 10 11 12

เพศชาย

เพศหญิง

นํ้าหนัก (กก.) สวนสูง (ซม.) นํ้าหนัก (กก.) สวนสูง (ซม.)

21.5 - 36.6 23.6 - 40.8 25.6 - 45.2 28.1 - 50.0

121.8 -138.3 126.2 -143.4 130.5 -149.4 135.1-156.9

21.2 - 37.4 23.4 - 42.1 26.1 - 46.5 29.4 - 50.2

(อางอิงจาก กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข 2543)

4

คูมือครู

121.9 -139.1 127.1-146.1 132.9 -152.6 138.8 -156.9

บุคคลใดมีพัฒนาการทางดานรางกายที่สมวัย 1. จอยมีอารมณเปลี่ยนแปลงงาย 2. ตุกวิ่งและเดินไดอยางคลองแคลว 3. กอยรูสึกดีใจเมื่อมีคนอื่นชมเชย 4. บาสเขาใจความรูสึกของเพื่อน วิเคราะหคําตอบ ขอ 1, 3, และ 4 เปนพัฒนาการทางดานจิตใจ ที่ไมสามารถมองเห็นไดอยางชัดเจน สวนการเดินและวิ่งอยางคลองแคลว เปนความสามารถของกลามเนื้อที่ทําไดดีขึ้นเมื่อเราเจริญเติบโตขึ้น ดังนั้น ขอ 2. เปนคําตอบที่ถูก


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ Expand าใจ ขยายความเข

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

ขยายความเขาใจ

1. ใหนักเรียนทํากิจกรรมการเรียนรูที่ 1 ขอ 1 หนา 5 โดยใหนักเรียนสํารวจการเจริญเติบโต และพัฒนาการดานรางกายของตนเอง โดย ชั่งนํ้าหนัก วัดสวนสูง แลวปฏิบัติตามกิจกรรม ที่กําหนดและบันทึกผลลงในสมุด 2. ใหนักเรียนทํากิจกรรมการเรียนรูที่ 1 ขอ 2 เปรียบเทียบการเจริญเติบโตและพัฒนาการ ทางดานรางกายของตนเอง ในปจจุบันและ ตอนอยูชั้น ป.1 วา มีความแตกตางกัน อยางไร แลวบันทึกผลลงในสมุด 3. ใหนักเรียนสรุปผลการทํากิจกรรมและ เปรียบเทียบตนเองกับเพื่อนๆ วา การทํา แตละกิจกรรม ผลเปนอยางไร และทําไม ถึงเปนเชนนั้น 4. ครูขยายความเขาใจวา วัยของนักเรียน เปนวัยที่มีพัฒนาการทางรางกายในการ เคลื่อนไหว ใชอวัยวะควบคุมสิ่งของไดดี และมีการทํางานประสานกันของอวัยวะ ไดดี แตบางคนอาจทํากิจกรรมไมได เพราะมี พัฒนาการที่ไมสมวัย

¡Ô¨¡ÃÃÁ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè ñ ๑ สํารวจการเจริญเติบโตและพัฒนาการทางดานรางกายของตนเอง โดยชั่งนํ้าหนัก วัดสวนสูง และปฏิบัติกิจกรรมตามที่กําหนด แลวบันทึกผล แบบบันทึก การเจริญเติบโตและพัฒนาการทางดานรางกาย ของ ด.ช./ด.ญ. ………………………………………………………………………………………………………………………………….. บันทึกเมื่อวันที่ ………………………………. เดือน …………………………………………………. พ.ศ. …………………… นํ้าหนัก …………………………………… กิโลกรัม สวนสูง …………………………………….. เซนติเมตร

กิจกรรม

ทําไดดี

๑. ยืนขาเดียวทรงตัวประมาณ ๑๕ วินาที ๒. รับลูกบอลมือเดียว ๓. เขียนหนังสือตัวบรรจงเต็มบรรทัด และครึ่งบรรทัด ๔. วาดรูปทรงกระบอก ๕. วาดรูปทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก

ผลการปฏิบัติ ทําไดพอใช

Expand

ทําไมได

ิบโต ต เ …………………………… …………………………… กาย เจริญ…………………………… ง ร า  า ึกก ดานร ท น ั บ รทาง ………………………….. บ…………………………… …………………………… บ แ าง นากา …………………………… …………………………… ัตวอย ะพัฒ…………………………… แล …………………………… ………………………….. …………………………..

…………………………… ………………………….. ……………………………

จากผลการสํารวจ นักเรียนคิดวา ตนเองมีการเจริญเติบโตและพัฒนาการดานรางกายอยูใน เกณฑใด ดี

พอใช

ควรปรับปรุง

๒ จากการสํารวจการเจริญเติบโตและพัฒนาการทางดานรางกายของตนเอง เมื่อนําไป เปรียบเทียบกับชวงวัยเมื่อนักเรียนอยูชั้น ป.๑ มีความแตกตางกันอยางไร

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

ถานักเรียนยืนขาเดียวทรงตัวประมาณ 15 วินาที ไมได แตเพื่อนๆ ทําได จะแปลความหมายไดวาอยางไร

แนวตอบ นักเรียนมีพัฒนาการทางรางกายที่ไมสมวัย เพราะการยืน ขาเดียวทรงตัวเปนพัฒนาการที่เด็กในวัยของนักเรียนควรทําได ดังนั้น นักเรียนจึงควรสรางเสริมพัฒนาการของตนเอง ดวยการฝกยืนทรงตัว จนสามารถทําได

บูรณาการเชื่อมสาระ

ครูบูรณาการความรูในสาระสุขศึกษาฯ กับสาระภาษาไทย เรื่อง การคัดลายมือ โดยใหนักเรียนคัดลายมือในวิชาภาษาไทย แลวนําผลการคัด มาตรวจสอบวา นักเรียนสามารถคัดไดถูกตอง สวยงาม หรือไม แลวนําไป เปรียบเทียบกับการคัดลายมือของตนเอง เมื่อเรียนอยูชั้น ป.3 เพื่อตรวจสอบ พัฒนาการการเจริญเติบโตของตนเอง

เกร็ดแนะครู หลังจากที่นักเรียนทํากิจกรรมการเรียนรูที่ 1 ขอ 1 เสร็จแลว ครูใหนักเรียน สํารวจตนเองวา มีพัฒนาการทางดานรางกายที่สมควรปรับปรุงในเรื่องใดบาง แลวใหนักเรียนหาวิธีปรับปรุงแกไขขอบกพรองของตนเอง จากนั้นครูแนะนําให นักเรียนนําไปปฏิบัติจริงในชีวิตประจําวัน เฉลย กิจกรรมการเรียนรูที่ 1 ขอ 2. แนวตอบ เมื่อเปรียบเทียบตอนปจจุบันกับตอนอยูชั้น ป.1 นักเรียนตอน ปจจุบันจะมีพัฒนาการทางดานรางกายที่เปลี่ยนไป คือ มีนํ้าหนักและสวนสูง เพิ่มขึ้นอยางรวดเร็ว และมีการเคลื่อนไหวคลองแคลวขึ้น สามารถใชอวัยวะ ควบคุมสิ่งตางๆ ไดดีขึ้น

คูมือครู

5


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ

ขยายความเขาใจ Expand าใจ ขยายความเข

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Expand

1. ครูถามนักเรียนวา • เมื่อนักเรียนมีอารมณโกรธ ควรทําอยางไร (แนวตอบ ควรควบคุมอารมณ และทํา กิจกรรมอื่น ๆ ที่ตนเองชื่นชอบ เพื่อผอนคลายอารมณ) 2. ใหนักเรียนทํากิจกรรมรวบยอดที่ 1.1 จาก แบบวัดฯ สุขศึกษาฯ ป.4

พัฒนาการทางดานจิตใจ (ชวงอายุ ๙-๑๒ ป) ในชวงแรกของวัย จะยึดตนเองเปนหลัก เมื่ออายุ ๑๐ - ๑๑ ป จะเริ่มควบคุมอารมณ ไดดีขึ้น

อารมณ เปลี่ยนแปลงงาย

✓ แบบวัดฯ ใบงาน แบบฝกฯ สุขศึกษาฯ ป.4 กิจกรรมรวบยอดที่ 1.1 แบบประเมินตัวช�้วัด พ 1.1 ป.4/1

เขาใจความรูสึก ของคนรอบขาง ไดหลากหลายขึ้น

แบบประเมินผลการเรียนรูตามตัวชี้วัด ประจําหนวยที่ ๑ บทที่ ๑ กิจกรรมรวบยอดที่ ๑.๑ แบบประเมินตัวชี้วัด พ ๑.๑ ป.๔/๑

ÇÑÂàÃÕ¹

การไดรับการยกยอง ชมเชยมีผลตอการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

• อธิบายการเจริญเติบโตและพัฒนาการของรางกายและจิตใจตามวัย ชุดที่ ๑

๕ คะแนน

ติดรูปภาพของตนเองในปจจุบัน แลวบอกพัฒนาการที่เปลี่ยนไป เมื่อเทียบกับชวงอายุ ๖ - ๗ ป

- เริ่มมีหนาอก ตะโพกผาย - เคลื่อนไหวไดคลองแคลวขึ้น

……………………………………………………………………………… ฉบับ

………………………………………………………………………………

เฉลย

(ติดรูปภาพ)

มีเหตุผล รูจักพิจารณาสิ่งตางๆ ดวยความเปนธรรม มากขึ้น

ยอมรับกฎเกณฑ แตมีความขัดแยงระหวาง ขอตกลงของกลุม กับกฎของผูใหญ

(ตัวอยาง)

พัฒนาการที่เปลี่ยนไป มีดังนี้ - นํ้าหนัก สวนสูงเพิ่มขึ้น ดานรางกาย ………………………………………………….. ………………………………………………………………………………

- อารมณเปลี่ยนแปลงงาย ดานจิตใจ ………………………………………………………… - ตองการเปนที่ยอมรับของเพื่อน

………………………………………………………………………………

นิยมคนเกง คนดัง

……………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………… ตัวชี้วัด พ ๑.๑ ขอ ๑ ไดคะแนน คะแนนเต็ม

õ

เกณฑประเมินชิ้นงาน

ดานรางกาย (๒.๕ คะแนน) ดานจิตใจ (๒.๕ คะแนน) • • • •

อธิบายการเปลี่ยนแปลงไดถูกตองสมบูรณ อธิบายการเปลี่ยนแปลงไดถูกตอง แตไมสมบูรณ อธิบายการเปลี่ยนแปลงไดถูกตอง แตมีผิดบาง อธิบายการเปลี่ยนแปลงไดถูกตองนอย ผิดมาก

๒.๕ ๒ ๑.๕ ๑

คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน

¤ÇÒÁÃÙŒ¤Ù‹ÊØ¢ÀÒ¾

ปจจั1ยที่มีความสําคัญตอการเจริญเติบโตและพัฒนาการของรางกายและจิตใจ คือ พันธุกรรม และสิ่งแวดลอม โดยพันธุกรรมจะเปนตัวกําหนดลักษณะรูปรางหนาตาและ พัฒนาการของเรา สวนสิ่งแวดลอม คือ อาหาร การพักผอน การออกกําลังกาย จะทําให เรามีการเจริญเติบโตและพัฒนาการที่สมวัย

นักเรียนควรรู 1 พันธุกรรม คือ การถายทอดลักษณะตางๆ ของสิ่งมีชีวิตจากรุนหนึ่งไปสูอีก รุนหนึ่ง เชน คนรุนพอแมสามารถถายทอดลักษณะตางๆ เชน สีผิว สีผม ความสูง ลงไปสูรุนลูกรุนหลานของตนได โดยในการถายทอดลักษณะทางพันธุกรรมระหวาง รุนหนึ่งสูอีกรุนหนึ่ง จะมีหนวยพันธุกรรมที่เรียกวา ยีน (Gene) ทําหนาที่ควบคุม ลักษณะตางๆ ที่ไดรับการถายทอดมา ซึ่งลักษณะทางพันธุกรรมที่ไดรับมานั้น หากปรากฎใหเห็นลักษณะดังกลาวจะเรียกวา ยีนเดน หรือลักษณะเดน และหาก ลักษณะทางพันธุกรรมที่ไดรับมาไมไดปรากฏใหเห็น ลักษณะดังกลาวจะเรียกวา ยีนดอย หรือลักษณะดอย

6

คูมือครู

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

ขอใดเปนสาเหตุสําคัญที่ทําใหเด็กมีอาการซึมเศรา 1. ปูยาเปนผูเลี้ยงเด็กเอง 2. พอแมทะเลาะกันเสมอ 3. พอแมทํางานนอกบาน 4. พอแมมีฐานะยากจน วิเคราะหคําตอบ 1. เด็กมีผูใหญที่คอยอบรมเลี้ยงดูเปนอยางดี จึงไมขาดความอบอุน 2. เด็กไมไดรับความอบอุนจากพอแมและเกิดความเครียด และทุกขใจจาก การที่เห็นพอแมทะเลาะกัน 3. พอแมมีภาระงานที่ตองทําเปนปกติ เพื่อหาเงินมาเลี้ยงดูลูก ลูกจึงควร เขาใจพอแม 4. ถาพอแมยากจน แตมีความเอาใจใสดูแลลูก ก็จะทําใหลูกไมมีปญหา ทางดานจิตใจ ดังนั้น ขอ 2. เปนคําตอบที่ถูก


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Expand าใจ ขยายความเข

Evaluate ตรวจสอบผล

ขยายความเขาใจ

1. ใหนักเรียนทํากิจกรรมการเรียนรูที่ 2 โดยการ เปรียบเทียบนํ้าหนักและสวนสูงของตนเองกับ เกณฑมาตรฐาน แลวบอกวา นักเรียนอยูใน เกณฑใด และควรเสริมสรางพัฒนาการทาง ดานรางกายอยางไร 2. ใหนักเรียนรวมกันตอบคําถามขยายความรู สูการคิด

¡ÒÃÃÙŒ¨Ñ¡´Ùáŵ¹àͧ ¨Ð·íÒãËŒàÃÒÁÕ¡ÒÃà¨ÃÔÞàµÔºâµ áÅоѲ¹Ò¡Ò÷ÕèÊÁÇÑÂ

การสงเสริมการเจริญเติบโต และพัฒนาการของรางกายและจิตใจ เราควรปฏิบัติตนใหเหมาะสมกับ การเจริญเติบโต และพัฒนาการตามวัย โดยปฏิบัติได ดังนี้ ๑) กินอาหารครบ ๕ หมู ในปริมาณ 1 ทีเ่ พียงพอตอความตองการของรางกาย ๒) ออกกําลังกายอยางสมํ่าเสมอ ๓) นอนหลับพักผอนใหเพียงพอ ๔) ฝกทักษะการฟง พูด อาน และ เขียนอยางสมํ่าเสมอ ๕) ทําการบานและหมั่นทบทวน บทเรียน ๖) ฝกควบคุมอารมณของตนเอง ๗) รับฟงความคิดเห็นของผูอ นื่ ๘) หมั่นพูดคุย และทํากิจกรรม รวมกับเพื่อนๆ

Expand

ตรวจสอบผล

Evaluate

1. ครูตรวจสอบการเปรียบเทียบการเจริญเติบโต ของนักเรียนวา นักเรียนบอกความแตกตางได ถูกตองหรือไม 2. ครูตรวจสอบผลการทํากิจกรรมรวบยอดที่ 1.1 จากแบบวัดฯ สุขศึกษาฯ ป.4

เด็กๆ ควรออกกําลังกายอยางนอย สัปดาหละ ๒-๓ ครั้ง

หลักฐานแสดงผลการเรียนรู • ผลการเปรียบเทียบการเจริญเติบโตและ พัฒนาการของตนเองในปจจุบันกับชวงวัย ที่ผานมา

การทํากิจกรรมรวมกัน ทําใหมีพัฒนาการ ทางรางกายและจิตใจที่ดี

¡Ô¨¡ÃÃÁ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè ò วัดสวนสูงและชั่งนํ้าหนักของตนเอง แลวนํามาเปรียบเทียบกับเกณฑมาตรฐาน แลวบอกวา นักเรียนอยูในเกณฑใด ควรเสริมสรางพัฒนาการทางดานรางกายอยางไร

¢ÂÒ¤ÇÒÁÃÙŒ ÊÙ¡ÒÃ¤Ô ¡‹ ÒäԴ กิจกรรมใดทีส่ ง เสริมพัฒนาการทางดานรางกาย และจิตใจที่เหมาะสมกับวัยของนักเรียน ๗

กิจกรรมสรางเสริม ใหนักเรียนชั่งนํ้าหนักและวัดสวนสูงทุกเดือน และจดบันทึกผล เพื่อดู การเจริญเติบโตของตนเอง

กิจกรรมทาทาย ใหนักเรียนชั่งนํ้าหนักและวัดสวนสูงของตนเองทุกเดือน แลวจัดทําเปน ขอมูลในรูปกราฟ หรือแผนภูมิ เพื่อดูการเจริญเติบโตของตนเอง จากนั้นให นักเรียนพิจารณาวา ตนเองอวนหรือผอมไปหรือไม ถาพบวาอวนหรือผอม ควรหาวิธีแกไขเพื่อใหมีการเจริญเติบโตที่สมวัย

นักเรียนควรรู 1 กินอาหารครบ 5 หมู ในปริมาณที่เพียงพอตอความตองการของรางกาย ในวัย ของนักเรียนทัง้ เพศชายและเพศหญิง ตองการพลังงาน 1,600 กิโลแคลอรีในแตละวัน ดังนั้นการกินอาหารใหครบ 5 หมู ในปริมาณที่เหมาะสม จึงควรกินอาหารตาม ขอแนะนําของธงโภชนาการ ดังนี้ • อาหารกลุมขาว แปง ควรกินวันละ 8 ทัพพี • อาหารกลุมผัก ควรกินวันละ 4 ทัพพี • อาหารกลุมผลไม ควรกินวันละ 3 สวน • อาหารกลุมเนื้อสัตว ควรกินวันละ 6 ชอนกินขาว และดื่มนมวันละ 2 แกว เฉลย ขยายความรูสูการคิด แนวตอบ กิจกรรมกีฬา เชน วายนํ้า เลนปงปอง เปนตน เพราะเปนการสรางเสริมการ เคลื่อนไหวและสงเสริมใหมีนํ้าใจเปนนักกีฬา เหมาะสมกับวัยของนักเรียน คูมือครู

7


กระตุน ความสนใจ กระตุEngage นความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Engage

Explore

Explain

Expand

Evaluate

เปาหมายการเรียนรู

1. อธิบายความสําคัญของกลามเนื้อ กระดูก และขอที่มีผลตอสุขภาพ การเจริญเติบโต และพัฒนาการได (พ 1.1 ป.4/2) 2. อธิบายวิธีดูแลกลามเนื้อ กระดูก และขอให ทํางานอยางมีประสิทธิภาพได (พ 1.1 ป.4/3)

สมรรถนะของผูเรียน

บทที่

ò

กลามเนื้อและกระดูก

¡Ô¨¡ÃÃÁ¹íÒÊÙ‹¡ÒÃàÃÕ¹

1. ความสามารถในการคิด 2. ความสามารถในการแกปญหา 3. ความสามารถในการใชทักษะชีวิต

คุณลักษณะอันพึงประสงค 1. มีวินัย รับผิดชอบ 2. ใฝเรียนรู

กระตุน ความสนใจ

Engage

ใหนักเรียนดูภาพในหนังสือเรียน หนา 8 แลวใหนักเรียนตอบคําถาม • นักเรียนคิดวา เด็กในภาพเคลื่อนไหวได อยางไร (แนวตอบ คําตอบขึ้นอยูกับนักเรียนแตละคน) • นักเรียนคิดวา อวัยวะใดที่ทําใหรางกาย เคลื่อนไหวได (ตอบ กลามเนื้อ กระดูก และขอ)

¹Ñ¡àÃÕ¹¤Ô´Ç‹Ò à¾ÃÒÐà˵Øã´à´ç¡ã¹ÀÒ¾ ¨Ö§·íÒ¡Ô¨¡ÃÃÁ¹Õéä´Œ

เกร็ดแนะครู ครูจัดกระบวนการเรียนรูโดยการใหนักเรียนปฏิบัติดังนี้ • สังเกตและสํารวจรางกายตนเอง • สืบคนขอมูลเรื่องกลามเนื้อ กระดูก และขอ • ปฏิบัติกิจกรรมกลุมโดยการรวมกันสืบคนขอมูลเรื่อง กลามเนื้อ กระดูก และขอ แลวนําเสนอหนาชั้นเรียน • เปรียบเทียบขอมูลจากผลการสืบคน แหลงที่มาของขอมูล รวมถึงวิธีการ นําเสนอขอมูลเรื่องกลามเนื้อ กระดูก และขอ • วิเคราะหจากประเด็นคําถามและภาพที่ใชในการกระตุนการเรียนรู และทดสอบความเขาใจ จนเกิดเปนความรูความเขาใจวา กลามเนื้อ กระดูก และขอ ทํางานสัมพันธกัน โดยกลามเนื้อและขอ ทําใหรางกายเคลื่อนไหวได สวนกระดูกจะเปนที่ใหกลามเนื้อ ยึดเกาะ ทําใหรางกายพยุงตัวอยูได

8

คูมือครู

สาระสําคัญ กลามเนือ้ กระดูกและขอ มีความสําคัญ ในการชวยพยุงรางกายใหคงรูป และทําให รางกายเคลือ่ นไหวได


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explore

Explain

Expand

Evaluate

สํารวจค Exploreนหา

Engage

สํารวจคนหา กลามเนือ้ กระดูกและขอ เปนอวัยวะทีส่ าํ คัญ ในการเคลื่อนไหวรางกาย วัยของนักเรียนเปน วัยที่มีการเจริญเติบโตทางรางกายและมีทักษะ การเคลื่อนไหวเพิ่มมากขึ้น กลามเนื้อ กระดูก และขอ จึงเปนอวัยวะสําคัญที่จะทําใหเกิดการ เจริญเติบโตและพัฒนาการที่สมวัย

¡ÅŒÒÁà¹×éÍËÃ×Í¡Ãд١ ·Õè·íÒãËŒ àÃÒà¤Å×è͹äËÇä´Œ¹Ð

1

๑ กลามเนื้อ

Explore

1. ใหนักเรียนดูภาพในหนังสือเรียน หนา 9 แลวรวมกันแสดงความคิดเห็นวา ภาพที่ นักเรียนดูนั้นมีลักษณะอยางไร 2. ใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ 3 - 4 คน แตละกลุมรวมกันสืบคนหนาที่ของกลามเนื้อ การทํางานของกลามเนื้อ และวิธีดูแลรักษา กลามเนื้อ แลวสงตัวแทนกลุม ออกมานําเสนอ ผลการสืบคนโดยการจับสลาก

อธิบายความรู

กลามเนือ้ เปนอวัยวะสําคัญที่ใชในการเคลื่อนไหว กลามเนื้อมีหลายประเภทดังจะไดศึกษาตอไปนี้

Explain

ครูจับสลากสุมหากลุมที่จะนําเสนอ เปนกลุมแรกในเรื่อง หนาที่ของกลามเนื้อ และถามคําถามเมื่อจบการนําเสนอ เชน • กลามเนื้อแตละชนิดมีหนาที่ตางกันอยางไร (ตอบ - กลามเนื้อลาย ทําใหรางกายเคลื่อนไหวได - กลามเนื้อหัวใจ ทําใหหัวใจเตนเปนปกติ - กลามเนื้อเรียบ ทําใหการทํางานของระบบ ในรางกายเปนปกติ) • กลามเนื้อชนิดใดมีความแข็งแรงมากที่สุด เพราะอะไร (ตอบ กลามเนื้อหัวใจ เพราะหัวใจตอง ทํางานตลอดเวลา ไมมีการหยุดพัก กลามเนื้อหัวใจจึงตองมีความแข็งแรงมาก)

๑. ประเภทของกลามเนือ้

กลามเนื้อ แบงออกเปน ๓ ประเภท ดังนี้

ñ. ¡ÅŒÒÁà¹×éÍÅÒ เปนกลามเนือ้ ทีม่ ขี นาดใหญทสี่ ดุ ซึง่ ยึด ติดกับโครงกระดูกสวนตางๆ ของรางกาย จึงทําใหเกิดการเคลื่อนไหว กลามเนื้อ ชนิดนี้จะอยูบริเวณแขน ขา คอ ศีรษะ

ò. ¡ÅŒÒÁà¹×éÍËÑÇ㨠เปนกลามเนือ้ ทีท่ าํ งานนอกเหนืออํานาจ จิตใจ และมีความแข็งแรงมาก เพราะ สามารถทํางานไดตลอดเวลา โดยไมมี การหยุดพักจนตลอดชีวิตของคนเรา

ó. ¡ÅŒÒÁà¹×éÍàÃÕº เป น กล า มเนื้ อ ที่ ทํ า งานโดยอั ต โนมั ติ เพื่อทําใหการทํางานของรางกายเปน ปกติ กลามเนื้อชนิดนี้ เชน กลามเนื้อ ของลําไส กลามเนือ้ หูรดู ของทวารหนัก กลามเนือ้ ของกระเพาะอาหาร เปนตน http://www.aksorn.com/lib/p/hed_01 (เรื่อง ระบบกลามเน�้อมนุษย)

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

การเคลื่อนไหวรางกายเกี่ยวของกับอวัยวะใดมากที่สุด 1. ปอด 2. หัวใจ 3. กลามเนื้อ 4. กระเพาะอาหาร

วิเคราะหคําตอบ ปอดเปนอวัยวะที่สําคัญในการหายใจ หัวใจเปนอวัยวะ สําคัญในการไหลเวียนเลือดไปเลี้ยงทั่วรางกาย กระเพาะอาหารเปน อวัยวะสําคัญในการยอยอาหาร สวนกลามเนื้อเปนอวัยวะสําคัญที่ยึดติด กับกระดูก สามารถยืดและหดได ซึ่งจะชวยทําใหการเคลื่อนไหวเปนไปได ดียิ่งขึ้น ดังนั้น ขอ 3. เปนคําตอบที่ถูก

EB GUIDE

นักเรียนควรรู 1 กลามเนื้อ มีคุณสมบัติ 4 ประการคือ 1. ความสามารถในการหดตัว (contractility) • เปนความสามารถที่ทําใหเกิดการทํางานและการเคลื่อนไหวรางกาย 2. มีความไวตอการกระตุน (excitability) • กลามเนื้อจะมีการตอบสนองตอสิ่งเรา เมื่อถูกกระตุน เชน การกระตุก เมื่อถูกเคาะที่หัวเขา เปนตน 3. ความสามารถในการยืด (extensibility) • การขยายตัวของกลามเนื้อ เปนกลไกที่ชวยลดการฉีกขาดของกลามเนื้อ 4. ความสามารถในการยืดหยุน (elasticity) • การยืดหยุนกลับสูสภาวะปกติภายหลังจากที่กลามเนื้อถูกยืดออก

คูมือครู

9


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

Explain

1. กลุมที่นําเสนอเปนกลุมแรก จับสลากเพื่อ หากลุมที่จะนําเสนอเปนกลุมตอไป โดยให กลุมตอไปออกมานําเสนอเรื่อง การทํางาน ของกลามเนื้อ 2. ครูตั้งคําถามเมื่อจบการนําเสนอของแตละกลุม เชน • กลามเนื้อทําใหรางกายเคลื่อนไหวไดอยางไร (แนวตอบ กลามเนื้อไดรับคําสั่งจากระบบ ประสาทใหมีการหดตัวและคลายตัว จึงทําให รางกายเกิดการเคลื่อนไหว) • การกระทําใดบาง ที่อาจทําใหกลามเนื้อ ไดรับบาดเจ็บและทํางานไดไมดี (แนวตอบ เชน ยกสิ่งของอยางผิดวิธี ออกกําลังกายอยางหักโหม เคลื่อนไหว รางกายไมถูกสุขลักษณะ) • ถากลามเนื้อไดรับบาดเจ็บจะสงผลตอการทํา กิจกรรมตางๆ ในชีวิตประจําวันอยางไร (แนวตอบ ทําใหใชชีวิตไดลําบากขึ้น เชน ถากลามเนื้อบริเวณมือไดรับบาดเจ็บจะทําให หยิบสิ่งของลําบากขึ้น) 3. ใหนักเรียนจับสลากกลุมที่จะนําเสนอเปนกลุม ตอไปในเรื่อง วิธีดูแลรักษาระบบกลามเนื้อ 4. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปความสําคัญของ กลามเนื้อ และวิธีดูแลรักษาโดยสรุปเปนขอๆ

๒. การทํางานของกลามเนือ้

กลามเนื้อประกอบไปดวยเสนใยกลามเนื้อขนาดเล็ก ทํางานโดยการ หดตัว จึงทําใหเกิดการเคลือ่ นไหวและการทํางานของอวัยวะภายใน ซึง่ การหดตัว 1 ของกลามเนื้อจะถูกกระตุนโดยระบบประสาท ระบบประสาท หลั่งสารเคมีออกมา

กลามเนื้อหดตัว การเคลื่อนไหว รางกาย

ตัวอยาง ขณะงอแขน

การทํางานของกลามเนือ้ แขน

ขณะเหยียดแขน

คลายตัว หดตัว

การทํางานของ อวัยวะภายใน

ตัวอยาง การทํางานของกลามเนือ้ หลอดอาหาร กล า มเนื้ อ วงแหวน หดตัว บีบใหอาหาร เคลื่อนลงสูกระเพาะอาหาร

กลามเนื้อไบเซ็ปส (เปนกลามเนื้อที่อยูทางดานหนาของตนแขน) กลามเนื้อไทรเซ็ปส (เปนกลามเนื้อที่อยูทางดานหลังของตนแขน)

กลามเนื้อจะทํางานประสานกับระบบอื่นๆ เพื่อใหรางกายสามารถ เคลื่อนไหวได เชน โครงกระดูกจะทําหนาที่ชวยพยุงรางกายไว สวนกลามเนื้อ เมื่อหดตัวจะทําใหเกิดแรงในการเคลื่อนไหว โดยอวัยวะทั้งสองสวนนี้ทําหนาที่ เคลื่อนไหวภายใตการควบคุมของสมองและระบบประสาท ๑๐

นักเรียนควรรู 1 ระบบประสาท คือ ระบบหนึ่งในรางกายที่มีหนาที่ในการออกคําสั่งการทํางาน ของกลามเนื้อ ควบคุมการทํางานของอวัยวะตางๆ ในรางกาย และประมวลขอมูล ที่ไดรับมาจากประสาทสัมผัสตางๆ และสรางคําสั่งใหอวัยวะตางๆ ทํางาน

มุม IT ครูศึกษาเรื่อง ทาบริหารเสริมสรางกลามเนื้อ ไดจากเว็บไซต http://share.psu.ac.th/blog/teddy-healthy/11838

10

คูมือครู

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

ขอใดเปนวิธีการดูแลรักษากลามเนื้อที่ถูกตอง 1. ซื้ออาหารเสริมมากินแทนอาหารมื้อเย็น 2. กินแตอาหารประเภทโปรตีนอยางเดียว 3. ออกกําลังกายอยางสมํ่าเสมอ สัปดาหละ 3 ครั้ง 4. เวลายกของหนักไมตองใชแรงขาชวย แตใหใชแรงแขนยกอยางรวดเร็ว วิเคราะหคําตอบ 1. อาหารเสริมควรกินควบคูกับอาหารจานหลักและการออกกําลังกาย 2. ไมควรกินอาหารประเภทโปรตีนอยางเดียว แตควรกินอาหารอยาง หลากหลาย เพื่อใหรางกายไดรับสารอาหารอยางครบถวน 3. ควรออกกําลังกายอยางสมํ่าเสมอเพื่อใหกลามเนื้อแข็งแรง 4. ควรใชแรงขาชวยในการยกของทุกครั้ง เพื่อไมใหกลามเนื้อหลังอักเสบ ดังนั้น ขอ 3. เปนคําตอบที่ถูก


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Expand าใจ ขยายความเข

Evaluate ตรวจสอบผล

ขยายความเขาใจ

ใหนักเรียนทํากิจกรรมรวบยอดที่ 1.2 ขอ 1 จากแบบวัดฯ สุขศึกษาฯ ป.2 โดยใหนักเรียน ทํากิจกรรมขอที่ 1) - 3)

๓. วิธีดูแลรักษาระบบกลามเนือ้ ๑

Expand

✓ แบบวัดฯ ใบงาน แบบฝกฯ สุขศึกษาฯ ป.4 กิจกรรมรวบยอดที่ 1.2 แบบประเมินตัวช�้วัด พ 1.1 ป.4/2

การกินอาหารที่มีประโยชน จะชวยสรางเสริม ความแข็งแรงของกลามเนือ้ เชน อาหารประเภท โปรตีนจะชวยสรางเสริมความเจริญเติบโตของ กลามเนื้อ

แบบประเมินผลการเรียนรูตามตัวชี้วัด ประจําหนวยที่ ๑ บทที่ ๒ กิจกรรมรวบยอดที่ ๑.๒ แบบประเมินตัวชี้วัด พ ๑.๑ ป.๔/๒ • อธิบายความสําคัญของกลามเนื้อ กระดูกและขอที่มีผลตอสุขภาพ การเจริญเติบโต และพัฒนาการ ชุดที่ ๑

ฉบับ

เฉลย

เราควรออกกําลังกายเปนประจํา อยางนอย สัปดาหละ ๓ ครั้ง เพราะจะทําใหกลามเนื้อ เจริญเติบโตและแข็งแรง

๑๐ คะแนน

๑ บอกความสําคัญของอวัยวะที่กําหนดให (๕ คะแนน) ทําใหรางกายเคลื่อนไหวได ๑) กลามเนือ้ ลาย ……………………………………………………………………………………………………………. ทําใหอวัยวะในรางกายทํางานไดเปนปกติ ๒) กลามเนื้อเรียบ …………………………………………………………………………………………………………. าใหหัวใจทํางานไดตลอดเวลา ๓) กลามเนื้อหัวใจ ทํ………………………………………………………………………………………………………… เปนโครงรางของรางกายและเปนที่ยึดเกาะของกลามเนื้อ ๔) กระดูก …………………………………………………………………………………………………………………………. เปนตัวเชื่อมระหวางกระดูก ทําใหรางกายเคลื่อนไหวได ๕) ขอตอ …………………………………………………………………………………………………………………………… ๒ ดูภาพ แลวอธิบายการทํางานของกลามเนือ้ กระดูกและขอ ที่ทําใหอวัยวะนี้เคลื่อนไหวได (๕ คะแนน)

กลามเน�้อไบเซ็ปส

กลามเนือ้ ลายยึดเกาะบริเวณกระดูกแขนทอนบน และทอนลางโดยมีขอตอเปนตัวเชื่อมกระดูกทั้งสอง เมื่อกลามเนื้อไบเซ็ปสหดตัวและกลามเนื้อไทรเซ็ปส ……………………………………………………………………………………………….. คลายตัว แขนจึงงอได ……………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………..

กลามเน�้อไทรเซ็ปส

ตัวชี้วัด พ ๑.๑ ขอ ๒ ไดคะแนน คะแนนเต็ม

ñð

เกณฑประเมินชิ้นงาน

ขอที่ ๑ (๕ คะแนน) • บอกความสําคัญของอวัยวะไดถูกตอง ขอละ

๑ คะแนน

ขอที่ ๒ (๕ คะแนน)

ไมควรยกของหนักเกินไป หรือถาจําเปน ตองยกของหนักใหใชแรงยกจากขา ไมควร ใชแรงยกจากหลัง เพราะจะทําใหกลามเนือ้ หลังอักเสบได

๓ คะแนน ๒ คะแนน

ตรวจสอบผล

Evaluate

ครูตรวจสอบความถูกตองของคําตอบ โดยพิจารณาจากเกณฑการประเมิน ดังนี้ • นักเรียนบอกความสําคัญของอวัยวะได ถูกตอง

• อธิบายการทํางานของกลามเนื้อไดถูกตองสมบูรณ • ใชภาษาที่เขาใจงาย

๑๑

ขอสอบ

O-NET

ขอสอบป ’ 52 ออกเกี่ยวกับเรื่อง การสรางเสริมสุขภาพ การเขารวมกิจกรรมที่สรางเสริมสุขภาพควรปฏิบัติตามขอใด 1. ออกกําลังกายในวันเสาร - อาทิตย ครั้งละ 2 ชั่วโมง 2. ออกกําลังกายอยางนอยสัปดาหละ 3 วัน ครั้งละประมาณ 30 นาที 3. ออกกําลังกายเฉพาะวันที่วาง ครั้งละ 30 นาที 4. ออกกําลังกายทุกวันหลังรับประทานอาหารครั้งละ 30 นาที วิเคราะหคําตอบ การออกกําลังกายควรยึดหลัก 3 ประการ คือ 1. ความบอย ควรออกกําลังกายอยางสมํา่ เสมอสัปดาหละ 3 วัน วันละครัง้ 2. ความหนัก ควรออกกําลังกายใหมีอาการเหนื่อย หอบ แตสามารถ พูดคุยได 3. ความนาน ครั้งละ 20 - 30 นาที ทั้งนี้ขึ้นอยูกับรูปแบบของการ ออกกําลังกาย รวมถึงไมควรออกกําลังกายกอนหรือหลังอาหาร อยางนอย 2 ชั่วโมง ดังนั้น ขอ 2. เปนคําตอบที่ถูก

เกร็ดแนะครู ครูอาจแนะนําวิธีการดูแลรักษากลามเนื้อดวยการเคลื่อนไหวรางกายให ถูกสุขลักษณะ เชน การยกของไมควรยกของที่หนักจนเกินไป หรือควรใชแรงขา ในการชวยยกของ เปนตน โดยครูอาจสาธิตการยกของทีผ่ ดิ วิธี และถูกวิธใี หนกั เรียนดู จากนั้นถามนักเรียนวา การยกของแบบใดถูกตอง และนักเรียนควรปฏิบัติตาม การยกแบบใด

มุม IT ครูศึกษาเรื่อง ระบบกลามเนื้อและกระดูกเพิ่มเติม ไดจากเว็บไซต http://www.youtube.com/watch?v=isysLR.O-PU

คูมือครู

11


กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Engage

Explore

Explain

Expand

Evaluate

กระตุEngage นความสนใจ

Exploreนหา สํารวจค

กระตุน ความสนใจ

Engage

ใหนักเรียน 2 คน ที่มีความสูงตางกันออกมา ยืนหนาชั้นเรียน แลวใหนักเรียนสังเกตและรวมกัน แสดงความคิดเห็นวา เพราะอะไรทั้งสองคนจึงมี รูปรางที่แตกตางกัน และทําไมคนที่ตัวสูงกวา จึงยังคงรูปรางอยูได

สํารวจคนหา

Explain

1. ใหนกั เรียนรวมกันอภิปรายจากภาพรูปรางคน บนกระดานดําวา คนเราคงรูปรางอยูได เพราะ มีกระดูกที่อยูภายในรางกายของเราชวยพยุง รางกายของเราเอาไว และกระดูกยังเปนที่ ยึดเกาะของกลามเนื้อ ทําใหรางกายสามารถ เคลื่อนไหวได 2. ใหนักเรียนชวยกันอธิบายวา รางกายของเรา มีกระดูกทั้งหมดกี่ชิ้น อะไรบาง

กระดูกและขอตอ

โครงสรางของรางกายประกอบไปดวยกระดูกที่แข็งมาตอกันดวยขอตอ มีหนาที่ในการชวยพยุงใหรางกายคงรูปและเคลื่อนไหวได แลวยังชวยปองกัน อวัยวะภายในดวย

๑. ลักษณะของกระดูกและขอตอ

Explore

1. ครูวาดรูปรางคนบนกระดานดํา แลวสุม นักเรียนออกมาวาดภาพกระดูกในรูปรางคนที่ ทําใหรา งกายสามารถคงรูปรางและเคลือ่ นไหวได แลวนักเรียนตรวจสอบกับหนังสือ หนา 13 2. ใหนักเรียนสืบคนขอมูลเกี่ยวกับกระดูกและ ขอตอจากหนังสือ หนา 12 - 14

อธิบายความรู

๑) โครงกระดูก เปนโครงสรางของรางกายที่ทําใหรางกายคงรูปราง อยูได และเปนสวนที่แข็งแรงมาก ทารกแรกเกิดมีกระดูกประมาณ ๓๐๐ ชิ้น เมื่อเจริญเติบโตเต็มที่ กระดูกจะเชื่อมตอกันจนเหลือเพียง ๒๐๖ ชิ้น ซึ่งมีความ แข็งแรงแตมนี าํ้ หนักเบา กระดูกแบงออกเปน ๒ สวน คือ แกนหรือสวนของลําตัว และรยางคหรือสวนที่ยื่นออกไป ๒) ขอตอ ขอตอเปนจุดที่กระดูก ๒ ชิ้น มาเชื่อมตอกันในรางกายมี ประโยชนในการชวยทําใหรางกายเคลื่อนไหวได ขอตอแบงออกเปน ๓ ชนิด คือ ขอตอที่เคลื่อนไหวไมได ขอตอที่เคลื่อนไหวไดบาง และขอตอที่เคลื่อนไหวได มาก

๒. หนาที่สําคัญของกระดูกและขอตอ

๑) เปนแกนยึดเพื่อใหรางกายสามารถยืนขึ้นหรือเคลื่อนไหวได ๒) ปองกันอวัยวะสําคัญที่บอบบางและอาจถูกกระทบกระเทือนหรือ ถูกทําลายไดงาย เชน สมอง ปอด หัวใจ เปนตน ¡Ãд١ ๓) เป น แหล ง ที่ เ ก็ บ สะสม แคลเซียม และผลิตเม็ดเลือดจากโพรง ᡹ËÃ×Íʋǹ¢Í§ÅíÒµÑÇ øð ªÔé¹ 1 ภายในกระดูก กะโหลกศีรษะ ๔) เปนที่ยึดเกาะกลามเนื้อ กระดูกสันหลัง กระดูกอก พังผืด และเอ็น เพื่อชวยใหเกิดการ กระดูกซี่โครง เคลื่อนไหวได ● ● ● ●

๑๒

EB GUIDE http://www.aksorn.com/lib/p/hed_01 (เรื่อง เรื่องของกระดูก)

เกร็ดแนะครู ครูอาจใหนกั เรียนอธิบายถึงสวนประกอบของกระดูกในรางกายวา มีทงั้ หมดกีช่ นิ้ อะไรบาง โดยผานการเลนเกมทายคําใบ คือใหนักเรียนผลัดกันออกมาทําทาทาง เพื่อบอกใหเพื่อนทายวา ทาทางที่นักเรียนใบนั้นหมายถึงอะไร เชน นักเรียนอาจจะ ทําทาจับขาดวยมือขางหนึ่ง แลวก็ใชมืออีกขางหนึ่งทําทาเหมือนตัดกระดาษแลวให เพื่อนทาย

นักเรียนควรรู 1 กะโหลกศีรษะ คือ กระดูกศีรษะและใบหนา รวมทั้งกระดูกขากรรไกรลาง กะโหลกศีรษะเปนโครงกระดูกที่จัดไวสําหรับเปนกลองบรรจุสมองและทําหนาที่ ปองกันสมอง มีชองทางสําหรับเปนทางผานของอาหารและอากาศ มีฟนและ ขากรรไกรสําหรับบดเคี้ยวอาหาร

12

คูมือครู

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

อารมตกตนไมจึงขาหัก จะทําใหเกิดผลเสียในขอใดมากที่สุด 1. หัวใจหยุดทํางาน 2. เสนเลือดตีบตัน 3. เชื้อโรคเขาสูรางกายไดงาย 4. เคลื่อนไหวรางกายไมสะดวก วิเคราะหคําตอบ กระดูกเปนอวัยวะสําคัญที่ใชในการเคลื่อนไหวรางกาย ดังนั้น ถากระดูกไดรับบาดเจ็บ เชน หัก ก็จะสงผลทําใหเคลื่อนไหวรางกาย ไมสะดวก โดยเฉพาะกระดูกที่ขา จะทําใหเคลื่อนที่ลําบาก ดังนั้น ขอ 4.

เปนคําตอบที่ถูก


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

อธิบายความรู กะโหลกศีรษะ

¢ŒÍµ‹Í à¤Å×è͹äËÇäÁ‹ä´Œ ● ● ●

ขากรรไกร

ขอตอในเบาฟน ขอตอรอยตอกระดูก ขอตอกะโหลกศีรษะ

กระดูกไหปลารา กระดูกตนแขน กระดูกซี่โครง

à¤Å×è͹äËÇä´ŒºŒÒ§ ●

กระดูกสันหลัง

ขอตอใน กระดูกสันหลัง

กระดูกแขน กระดูกเชิงกราน

กระดูกมือ

à¤Å×è͹äËÇä´ŒÁÒ¡ 1

● ●

2

กระดูกตนขา

ขอตอไหล ขอตอบริเวณโคนขา กับกระดูกเชิงกราน

กระดูกสะบา

ÃÂÒ§¤ ËÃ×Íʋǹ·ÕèÂ×è¹ÍÍ¡ä» ñòö ªÔé¹ ● ● ●

กระดูกไหล กระดูกแขน กระดูกมือ

● ● ●

3

กระดูกเชิงกราน กระดูกขา กระดูกเทา

กระดูกหนาแขง

Explain

1. ใหนักเรียนดูรูปภาพที่วาดบนกระดานดํา แลวถามวา • กระดูกในรางกายของเราเชื่อมตอกันได อยางไร (ตอบ เชื่อมตอกันโดยมีขอตอเปนตัวเชื่อม) 2. ใหนักเรียนรวมกันอภิปรายหนาที่ของกระดูก และขอตอ จากนั้นครูถามนักเรียนวา • ถาคนเราไมมีกระดูก เราจะเปนอยางไร (แนวตอบ รางกายไมสามารถคงรูปรางอยูได และทรงตัวอยูไมได) • นักเรียนคิดวา การกระทําใดบางที่เปน อันตรายตอกระดูกและขอตอ (แนวตอบ การที่รางกายโดนกระแทกอยาง รุนแรง เชน จากอุบัติเหตุ จากการเลน โลดโผน เปนตน) 3. ใหนักเรียนชวยกันบอกวิธีการดูแลรักษา กระดูกและขอตอ โดยครูชวยแนะนําเพิ่มเติม และตั้งคําถามใหนักเรียนชวยกันตอบ • ถานักเรียนตองกินอาหารที่เสริมสราง กระดูก นักเรียนควรกินอะไร เพราะอะไร (แนวตอบ ปลาเล็กปลานอยที่กินไดทั้งกาง นม ผักใบเขียว เชน กุยชาย กวางตุง คะนา ผักกระเฉด เปนตน เพราะอาหารเหลานี้ มีแคลเซียมสูง ซึง่ แคลเซียมเปนสวนประกอบ สําคัญของกระดูก)

กระดูกนอง

๑๓

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

การกระทําในขอใดมีความเสี่ยงที่จะเปนอันตรายตอกระดูกมากที่สุด 1. นอนดึก 2. ดื่มกาแฟ 3. ปนตนไม 4. กินของหมักดอง

วิเคราะหคําตอบ การปนตนไม อาจทําใหพลัดตกลงมากระแทกกับพื้น แลวทําใหกระทบกระเทือนถึงกระดูก ซึ่งอาจทําใหกระดูกงอ ราว แตก หรือหักได ดังนั้น ขอ 3. เปนคําตอบที่ถูก

นักเรียนควรรู 1 ขอตอไหล เปนขอตอที่ชวยใหแขนสามารถเคลื่อนไหวไดอยางเปนอิสระ ทุกทิศทุกทาง เพราะตรงปลายของกระดูกตนแขน จะมีลักษณะกลมคลายลูกบอล โดยเชื่อมติดกับโพรงกระดูกรูปถวยของกระดูกสะบัก ทําใหกระดูกหมุนไดอยางอิสระ 2 กระดูกตนขา เปนกระดูกที่ยาวและแข็งแรงที่สุดในบรรดากระดูกทั้งหมด ทอนบนของกระดูกนี้จะติดอยูกับกระดูกเชิงกราน ทอนลางจะติดอยูกับหัวเขา 3 กระดูกเชิงกราน เปนกระดูกชิ้นใหญ รูปรางไมเรียบ ประกอบเปนอุงเชิงกราน ดานหนาและดานขาง ในวัยเด็กกระดูกนี้จะแยกออกเปน 3 สวน คือ กระดูกสะโพก กระดูกกน และกระดูกหัวหนาว แตเมื่อเปนหนุมสาวกระดูกทั้งสามชิ้นนี้จะเชื่อม ติดกัน

คูมือครู

13


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ

ขยายความเขาใจ Expand าใจ ขยายความเข

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Expand

1. ใหนกั เรียนแบงกลุม ใหสมาชิกในกลุม ลองงอนิว้ กํามือ และแบมือ แลวตอบคําถามจากกิจกรรม การเรียนรู ขอ 1 หนา 14 2. ใหนักเรียนอานพฤติกรรมจากกิจกรรม การเรียนรู หนา 14 แลวบอกวาดีตอสุขภาพ หรือไม พรอมทั้งบอกเหตุผล 3. ใหนักเรียนทํากิจกรรมรวบยอดที่ 1.2 ขอ 1 และ 2 จากแบบวัดฯ สุขศึกษาฯ ป.4 เกี่ยวกับ กระดูกและขอตอตอจากกิจกรรมครั้งที่แลว 4. ใหนักเรียนแตละกลุมอานเรื่องที่กําหนด ในหนา 15 แลวตอบคําถามลงในสมุด 5. ใหนักเรียนชวยกันตอบคําถามขยายความรู สูการคิด

๓. วิธีดูแลรักษากระดูกและขอตอ

กระดู ก และข อ ต อ มี ความสํ า คั ญ ตามที่ นั ก เรี ย นได ท ราบมาแล ว ดังนั้น เราจึงควรดูแลกระดูกและขอตอของเราอยางถูกวิธี ออกกําลังกาย อยางสมํ่าเสมอ

กินผักใบเขียว เพื่อใหกระดูก แข็งแรง

ไมเลนผาดโผน หรือเลนรุนแรง

ÇÔ¸Õ´ÙáÅÃÑ¡ÉÒ ¡Ãд١áÅТŒÍµ‹Í

กินอาหารที่มี แคลเซียมสูง เชน นม ปลาตัวเล็กๆ เปนตน

✓ แบบวัดฯ ใบงาน แบบฝกฯ สุขศึกษาฯ ป.4 กิจกรรมรวบยอดที่ 1.2 แบบประเมินตัวช�้วัด พ 1.1 ป.4/2

คะนา

กวางตุง

ตําลึง

ถั่วพู

แบบประเมินผลการเรียนรูตามตัวชี้วัด ประจําหนวยที่ ๑ บทที่ ๒ กิจกรรมรวบยอดที่ ๑.๒ แบบประเมินตัวชี้วัด พ ๑.๑ ป.๔/๒ • อธิบายความสําคัญของกลามเนื้อ กระดูกและขอที่มีผลตอสุขภาพ การเจริญเติบโต และพัฒนาการ ชุดที่ ๑

ฉบับ

เฉลย

กลามเน�้อไบเซ็ปส

¡Ô¨¡ÃÃÁ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ

กลามเนือ้ ลายยึดเกาะบริเวณกระดูกแขนทอนบน และทอนลางโดยมีขอตอเปนตัวเชื่อมกระดูกทั้งสอง เมื่อกลามเนื้อไบเซ็ปสหดตัวและกลามเนื้อไทรเซ็ปส ……………………………………………………………………………………………….. คลายตัว แขนจึงงอได ……………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………..

กลามเน�้อไทรเซ็ปส

ตัวชี้วัด พ ๑.๑ ขอ ๒ ไดคะแนน คะแนนเต็ม

ñð

เกณฑประเมินชิ้นงาน

ขอที่ ๑ (๕ คะแนน) • บอกความสําคัญของอวัยวะไดถูกตอง ขอละ

๑ คะแนน

ขอที่ ๒ (๕ คะแนน) • อธิบายการทํางานของกลามเนื้อไดถูกตองสมบูรณ • ใชภาษาที่เขาใจงาย

๓ คะแนน ๒ คะแนน

๑๔

๑ แบงกลุม ใหทุกคนลองงอนิ้ว กํามือ และแบมือ จากนั้นตอบคําถามตอไปนี้ลงในสมุด ๑) สมาชิกในกลุมสามารถงอนิ้ว กํามือ และแบมือ ไดครบทุกคนหรือไม ๒) นักเรียนคิดวา นักเรียนสามารถงอนิ้ว กํามือ และแบมือได เพราะเหตุใด ๓) นักเรียนคิดวา การงอนิ้ว กํามือ และแบมือ มีประโยชนตอชีวิตประจําวันอยางไร ๒ อานพฤติกรรมที่กําหนดให แลวบอกวาดีตอสุขภาพรางกายหรือไม พรอมทั้งบอกเหตุผล ๑) ออกกําลังกายวันละ ๓๐ นาที ๒) นานๆ ครั้ง จึงกินอาหารที่มีประโยชน ๓) ยกสิ่งของที่หนักเกินกําลัง

เฉลย กิจกรรมการเรียนรู ขอ 1 2) ตอบ การที่เราสามารถงอนิ้ว กํามือ และแบมือได เปนเพราะเราสามารถบังคับนิ้วและมือของเราได โดยระบบประสาทจะ รับคําสั่งและสั่งการใหกลามเนื้อนิ้ว และกลามเนื้อมือหดตัว ทําใหเกิดการเคลื่อนไหว 3) ตอบ ทําใหเราสามารถหยิบจับสิ่งตางๆ ได ทํากิจกรรมตางๆ ไดอยางมีประสิทธิภาพ เชน ใชมือจับไมกวาดกวาดบานได อยางสะดวก ขอ 2 1) ตอบ ดีตอสุขภาพ เพราะการออกกําลังกายทําใหกลามเนื้อและกระดูกแข็งแรง 2) ตอบ ไมดีตอสุขภาพ เราควรกินอาหารที่มีประโยชนตอรางกายทุกวัน เพราะอาหารที่มีประโยชนจะมีสารอาหารที่จําเปนตอ รางกาย ชวยทําใหรางกายเจริญเติบโตสมวัย 3) ตอบ ไมดีตอสุขภาพ เพราะการยกสิ่งของที่หนักเกินกําลัง จะสงผลใหกลามเนื้อออกแรงมากเกินไปจนบาดเจ็บได

14

ปลาตัวเล็กๆ

๑๐ คะแนน

๑ บอกความสําคัญของอวัยวะที่กําหนดให (๕ คะแนน) ทําใหรางกายเคลื่อนไหวได ๑) กลามเนือ้ ลาย ……………………………………………………………………………………………………………. ทําใหอวัยวะในรางกายทํางานไดเปนปกติ ๒) กลามเนื้อเรียบ …………………………………………………………………………………………………………. าใหหัวใจทํางานไดตลอดเวลา ๓) กลามเนื้อหัวใจ ทํ………………………………………………………………………………………………………… เป น โครงร างของรางกายและเปนที่ยึดเกาะของกลามเนื้อ ๔) กระดูก …………………………………………………………………………………………………………………………. เปนตัวเชื่อมระหวางกระดูก ทําใหรางกายเคลื่อนไหวได ๕) ขอตอ …………………………………………………………………………………………………………………………… ๒ ดูภาพ แลวอธิบายการทํางานของกลามเนือ้ กระดูกและขอ ที่ทําใหอวัยวะนี้เคลื่อนไหวได (๕ คะแนน)

นม

คูมือครู


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ Expand าใจ ขยายความเข

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

ขยายความเขาใจ

Expand

ใหนักเรียนทํากิจกรรมรวบยอดที่ 1.3 จาก แบบวัดฯ สุขศึกษาฯ ป.4 โดยดูภาพแลวตอบวา เปนผลดี หรือผลเสียตอกลามเนื้อ กระดูกและ ขอตอ พรอมทั้งบอกเหตุผล และวิธีแกไข

๓ แบงกลุม ใหแตละกลุมอานเรื่องที่กําหนดให และตอบคําถามลงในสมุด

ÂÍ´Á¹ØÉ µÑÇ»ÅÍÁ

✓ แบบวัดฯ ใบงาน แบบฝกฯ สุขศึกษาฯ ป.4 กิจกรรมรวบยอดที่ 1.3 แบบประเมินตัวช�้วัด พ 1.1 ป.4/3

แกวเปนเด็กที่ซุกซนมาก เธอชอบเลนโลดโผนเปนที่สุด แมคุณแมจะคอยหาม แตเธอ ก็ไมเชื่อฟง เพราะรูสึกวาสนุก ตื่นเตน ทาทาย และทําใหเพื่อนๆ นับถือได เมื่ออยูโรงเรียน แกวมักจะชวนเพื่อนๆ ไปปนปายตนไมเลนหรือกระโดดจากที่สูง เพือ่ เลียนแบบยอดมนุษยทเี่ ธอเคยดูในภาพยนตร เพือ่ นๆ บางคนก็ทาํ ตาม แตบางคนก็เตือน วาเปนอันตราย แตเธอก็ไมเชื่อ วันหนึ่ง แกวชักชวนเพื่อนๆ ไปเลนเปนยอดมนุษยมาปราบเหลาราย เธอสมมุติให ตัวเองเปนยอดมนุษยทเี่ หาะมาจากนอกโลก เธอจึงขึน้ ไปยืนบนโตะหิน แลวทําทากระโดดเหาะ ลงมา แตเนื่องจากเมื่อคืนฝนตกจึงทําใหโตะหินเปยกเธอจึงลื่นตกลงมา ทําใหแขนและขา กระแทกพืน้ จนรูส กึ เจ็บขอมือและขอเทามาก เพือ่ นๆ รีบตามคุณครูมาดูแกว คุณครูจงึ พาแกว ไปหาหมอ หมอบอกเธอวากลามเนื้อที่บริเวณมืออักเสบและขอเทาหัก ตองเขาเฝอก และ ตองอยูเฉยๆ หามเลนจนกวาจะหายเปนปกติ

กิจกรรมรวบยอดที่ ๑.๓ แบบประเมินตัวชี้วัด พ ๑.๑ ป.๔/๓ • อธิบายวิธีดูแลกลามเนื้อ กระดูกและขอใหทํางานอยางมีประสิทธิภาพ ชุดที่ ๑ ๑๐ คะแนน ๑ ดูภาพแลววิเคราะหวา พฤติกรรมในภาพเปนผลดีหรือผลเสียตออวัยวะใด พรอมทั้งบอก เหตุผล ถาเปนผลเสียใหบอกวิธีปองกันและแกไข (๕ คะแนน) ✓ ผลดี ๑) ภาพนี้เปน ❍ ❍ ผลเสีย ✓ กลามเนื้อ ❍ ✓ กระดูกและขอ ตอ ❍ การออกกําลังกายทําใหกลามเนื้อ กระดูกและขอ เพราะ ………………………………………………………………………………..

แข็งแรง เคลื่อนไหวไดคลองแคลว ……………………………………………………………………………………………….

วิธีปองกันแกไข ………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………. ฉบับ

เฉลย

✓ ผลเสีย ๒) ภาพนี้เปน ❍ ผลดี ❍ ✓ กลามเนื้อ ❍ ✓ กระดูกและขอ ตอ ❍ อาจไดรับบาดเจ็บถาพลาดพลั้งพลัดตกลงมา เพราะ ………………………………………………………………………………..

๑) ปญหาของแกว คืออะไร ๒) เพราะเหตุใดแกวจึงกลามเนื้อมืออักเสบและขอเทาหัก ๓) นักเรียนคิดวา แกวควรปฏิบัติอยางไรจึงจะทําใหกระดูกไมหัก ๔) นักเรียนคิดวา ผลของกลามเนื้อมืออักเสบและขอเทาหักจะเปนอยางไร ๕) นักเรียนคิดวา ถาไมมีกลามเนื้อและกระดูก เราจะเปนอยางไร ๔ แบงกลุม ใหแตละกลุมสืบคนขอมูลอาหารที่มีประโยชนตอกลามเนือ้ และกระดูก จากนั้น สงตัวแทนออกมารายงาน

……………………………………………………………………………………………….

ไมเลนปนปายบนทีส่ งู หรือควรระมัดระวัง วิธีปองกันแกไข ………………………………………………………………

เวลาเลน และอยูในความดูแลของผูใหญ ……………………………………………………………………………………………….

๒ บอกวิธีการดูแลรักษากลามเนือ้ กระดูกและขอมา ๕ ขอ (๕ คะแนน) กินอาหารประเภทโปรตีน เชน เนือ้ สัตว นม ไข เพือ่ เสริมสรางการเจริญเติบโตของกลามเนือ้ ๑) …………………………………………………………………………………………………………………………………………. ดื่มนมเปนประจํา เสริมสรางความแข็งแรงใหกระดูก ๒) …………………………………………………………………………………………………………………………………………. ออกกําลังกายอยางนอยสัปดาหละ ๒ - ๓ ครั้ง ๓) …………………………………………………………………………………………………………………………………………. ไมเลนผาดโผนหรือเลนกับเพื่อนดวยความรุนแรง ๔) …………………………………………………………………………………………………………………………………………. ไมควรยกของเกินกําลัง ๕) …………………………………………………………………………………………………………………………………………. ตัวชี้วัด พ ๑.๑ ขอ ๓ ไดคะแนน คะแนนเต็ม

ñð ๗

¢ÂÒ¤ÇÒÁÃÙŒ ÊÙ¡‹ ÒäԴ การดูแลกลามเนื้อ กระดูกและขอตอ ใหทํางาน อยางมีประสิทธิภาพเปนผลดีอยางไรกับวัยของนักเรียน

๑๕

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

ตนดื่มนมทุกวัน การกระทําของตนมีประโยชนตออวัยวะใด เพราะอะไร

แนวตอบ นมเปนเครื่องดื่มที่มีแคลเซียมสูง ซึ่งแคลเซียมเปนแรธาตุที่ ชวยบํารุงกระดูกใหแข็งแรง ดังนั้น การดื่มนมทุกวันจึงเปนผลดีตอกระดูก เพราะทําใหกระดูกแข็งแรง จึงสงผลใหมีการเจริญเติบโตที่ดี และสมวัย

กิจกรรมสรางเสริม ใหนักเรียนหาภาพอาหารที่มีประโยชนตอกลามเนื้อ กระดูกและขอตอ มา 10 ชนิด แลวจัดทําเปนสมุดภาพ โดยเขียนชื่ออาหาร และประโยชน ที่ไดรับ

เฉลย กิจกรรมการเรียนรู ขอ 3. 1) แนวตอบ แกวชอบเลนซุกซนและโลดโผน จึงมักไดรับบาดเจ็บเปนประจํา 2) แนวตอบ เพราะแกวเลนอยางไมระวังจึงทําใหลื่นตกจากที่สูง จนแขนและ ขากระแทกพื้น 3) แนวตอบ แกวไมควรเลนโลดโผน 4) แนวตอบ กลามเนื้อมืออักเสบทําใหมือไดรับบาดเจ็บ หยิบจับสิ่งของได ลําบาก ขอเทาหักทําใหเคลื่อนไหวลําบาก 5) แนวตอบ รางกายจะไมสามารถคงรูปไดและไมสามารถเคลื่อนไหวได เฉลย ขยายความรูสูการคิด แนวตอบ วัยของนักเรียนเปนวัยที่มีพัฒนาการทางดานการเคลื่อนไหวไดดี คลองแคลว ถานักเรียนดูแลกลามเนื้อ กระดูก และขอไดไมดี ก็จะสงผลใหการเคลื่อนไหว ไมมีประสิทธิภาพ ทําใหมีพัฒนาการไมเปนไปตามวัย คูมือครู

15


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

Engage

Explore

Explain

Expand

Evaluate ตรวจสอบผล Evaluate

Evaluate

1. ครูตรวจสอบวานักเรียนสามารถงอนิ้ว กํามือ และแบมือได และสามารถบอกเหตุผลไดวา ทําไมถึงงอนิ้ว กํามือ และแบมือได พรอมทั้ง บอกประโยชนของการงอนิ้ว กํามือ และแบมือ ที่มีตอชีวิตประจําวันได 2. ครูตรวจสอบวานักเรียนสามารถบอกถึงเหตุผล ของพฤติกรรมที่กําหนดใหไดวาดีหรือไมดี อยางไร 3. ครูตรวจสอบวานักเรียนสามารถตอบคําถามได ถูกตอง ใหเหตุผลไดชัดเจน และบอกวิธีการ ดูแลรักษากระดูกและขอไดถูกตอง จากการทํา กิจกรรมรวบยอดที่ 1.2 4. ครูตรวจสอบความถูกตองของการตอบคําถาม จากการอานเรื่องที่กําหนด 5. ครูตรวจสอบความถูกตองของการตอบคําถาม และการบอกวิธีดูแลรักษากลามเนื้อ กระดูก และขอตอ จากการทํากิจกรรมรวบยอดที่ 1.3

ÊÒÃÐÊ íÒ¤ÑÞ ¨´¨íÒäÇŒ

นา พ ัฒ

ก ารข องร

การของเรา า น พฒั

µÑÇàÃÒ กลา

มเน

อ�้ แล ะกระ ดกู

ประเภทของกลามเน�้อ ๑. กลามเน�้อลาย ๒. กลามเน�้อหัวใจ ๓. กลามเน�้อเรียบ วิธีดูแล  กินอาหารที่มีประโยชน โดยเฉพาะประเภทโปรตีน  ออกกําลังกาย  ไมยกของหนักอยางผิดวิธี

หลักฐานแสดงผลการเรียนรู 1. กิจกรรมรวบยอดที่ 1.2 และ 1.3 จากแบบวัด สุขศึกษาฯ ป.4 2. ผลงานการบอกพฤติกรรมที่ดีตอสุขภาพ

เ กลา ม

นอ�้

ตรวจสอบผล

ตรวจสอบผล

กร ะ ด ู ก แ

ล ะ ขอ

 า ง ก า ย ต า ม วั ย

รางกาย  นํ้าหนัก สวนสูงเพิ่ม  เคลื่อนไหวคลองแคลว  มือและสายตาประสานกันดี  ชอบเคลื่อนไหว จิตใจ  ยึดตนเองเปนหลัก  ควบคุมอารมณได  อารมณเปลี่ยนแปลงงาย  ชอบการชมเชย การสงเสริม  กินอาหารมีประโยชน  ดื่มนม  ราเริงแจมใส  พักผอนเพียงพอ

ตอ

โครงกระดูก และขอตอ ชวยพยุง รางกายใหคงรูป ทําใหเคลือ่ นไหวได และปองกันอวัยวะภายใน วิธีดูแล  ออกกําลังกาย 1  กินอาหารที่มีแคลเซียมสูง  ไมเลนรุนแรง

µÃǨÊͺµ¹àͧ

๑๖

นักเรียนลองสังเกตตนเองดูวา ปฏิบัติตามสิ่งตางๆ เหลานี้ไดหรือไม ❏ อธิบายการเจริญเติบโตและพัฒนาการทางรางกายและจิตใจในวัยของตนได ❏ บอกอวัยวะที่สําคัญในการเคลื่อนไหวรางกายได ❏ อธิบายประเภทและหนาที่ของกลามเนื้อได ❏ อธิบายหนาที่ของกระดูกและขอได ❏ อธิบายความสัมพันธระหวางกลามเนื้อ กระดูก และขอได ❏ รูวิธีดูแลรักษากลามเนื้อ กระดูก และขอได

เกร็ดแนะครู ครูใหนักเรียนตรวจสอบตนเองหลังจบหนวยนี้ เพื่อตรวจสอบความรูความเขาใจ ของนักเรียน

นักเรียนควรรู 1 อาหารที่มีแคลเซียมสูง ไดแก นมและผลิตภัณฑจากนม ปลาเล็กปลานอย กุงฝอย พืชผัก เชน รําขาว มันเทศ สาคู งาดํา งาขาว ถั่วฝกยาว ถั่วพู ถั่วแขก ถั่วดํา ถั่วเหลือง เมล็ดดอกทานตะวัน เมล็ดดอกคําฝอย เปนตน

16

คูมือครู

กิจกรรมทาทาย ใหนักเรียนบันทึกกิจกรรมตาง ๆ ที่ทําในชีวิตประจําวัน และบันทึก รายการอาหารที่นักเรียนรับประทานในแตละมื้อ เปนเวลา 7 วัน จากนั้น ใหนักเรียนวิเคราะหวามีกิจกรรมใดบาง ที่อาจเปนอันตรายตอกลามเนื้อ กระดูก และขอ รวมถึงอาหารที่นักเรียนรับประทานมีอะไรบางที่ควร หลีกเลี่ยง และจากผลการวิเคราะหนั้น นักเรียนจะมีแนวทางการแกไข หรือปฏิบัติตนอยางไรในการดูแลรักษากลามเนื้อ กระดูก และขอ จากนั้น ใหนําแนวทางการแกไขที่ตนเองวิเคราะหมาปฏิบัติ เปนเวลา 7 วัน แลว เขียนรายงานบอกวา มีการเปลี่ยนแปลงอยางไรบาง และจากการปฏิบัติ ดังกลาว นักเรียนไดประโยชนอยางไรบาง


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.