8858649120953

Page 1

คูมือครู 㪌»ÃСͺ¡ÒÃÊ͹ËÇÁ¡Ñº

˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ©ºÑº Í- .

ภาพปกนี้มีขนาดเทากับหนังสือเรียนฉบับจริงของนักเรียน

กระบวนการสอนแบบ 5 Es ชวยสรางทักษะการเรียนรู กิจกรรมมุงพัฒนาทักษะการคิด คำถาม + แนวขอสอบเพื่อยกผลสัมฤทธิ์ O-NET กิจกรรมบูรณาการเตรียมพรอมสู ASEAN 2558


เอกสารประกอบคูมือครู

กลุมสาระการเรียนรู ภาษาไทย

ภาษาไทย

วรรณคดีและวรรณกรรม ชั้นประถมศึกษาปที่

5

สําหรับครู

คูมือครู Version ใหม

ลักษณะเดน

ขยายพื้นที่รูปเลมใหญขึ้นกวาเดิม จัดแบงพื้นที่ออกเปนโซน เพื่อคนหาขอมูลไดงาย สะดวก รวดเร็ว และดูเปนระเบียบ กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล

กระตุน ความสนใจ

Evaluate

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

เปาหมายการเรียนรู สมรรถนะของผูเรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค

หน า

โซน 1 กระตุน ความสนใจ

Engage

สํารวจคนหา

Explore

อธิบายความรู

Explain

ขยายความเขาใจ

Expand

ตรวจสอบผล

หน า

หนั ง สื อ เรี ย น

โซน 1

หนั ง สื อ เรี ย น

Evaluate

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

ขอสอบ

โซน 2

ขอสอบเนน การคิด แนว NT

เกร็ดแนะครู

O-NET

บูรณาการเชื่อมสาระ

โซน 3

กิจกรรมสรางเสริม กิจกรรมทาทาย

นักเรียนควรรู

โซน 3

โซน 2 บูรณาการอาเซียน มุม IT

No.

คูมือครู

คูมือครู

No.

โซน 1 ขั้นตอนการสอนแบบ 5Es

โซน 2 ชวยครูเตรียมสอน

โซน 3 ชวยครูเตรียมนักเรียน

เพื่อใหครูเตรียมจัดกิจกรรมการเรียน การสอน โดยแนะนําขั้นตอนการสอนและ การจัดกิจกรรมแบบ 5Es อยางละเอียด เพื่อใหนักเรียนบรรลุตามตัวชี้วัด

เพื่อชวยลดภาระครูผูสอน โดยแนะนํา เกร็ดความรูสําหรับครู ความรูเสริมสําหรับ นักเรียน รวมทั้งบูรณาการความรูสูอาเซียน และมุม IT

เพือ่ ใหครูสะดวกตอการจัดกิจกรรม โดยแนะนํา กิจกรรมบูรณาการเชื่อมระหวางกลุมสาระ วิชา กิจกรรมสรางเสริม กิจกรรมทาทาย รวมถึงเนือ้ หา ทีเ่ คยออกขอสอบ NT/O-NET เก็งขอสอบ NT/O-NET และแนวขอสอบเนนการคิด พรอมคําอธิบาย และเฉลยอยางละเอียด


ที่ใชในคูมือครู

แถบสีและสัญลักษณ

แถบสีแสดงขั้นตอนการสอนและการจัดกิจกรรม แบบ 5Es เพื่อใหครูทราบวาเปนขั้นการสอนขั้นใด

1. แถบสี 5Es สีแดง

สีเขียว

กระตุน ความสนใจ

เสร�ม

สํารวจคนหา

Engage

2

เปนขั้นที่ผูสอนเลือกใช เทคนิคกระตุน ความสนใจ เพื่อโยง เขาสูบทเรียน

สีสม

อธิบายความรู

Explore

เปนขั้นที่ผูสอน ใหผูเรียนสํารวจ ปญหา และศึกษา ขอมูล

สีฟา

Explain

เปนขั้นที่ผูสอน ใหผูเรียนคนหา คําตอบ จนเกิดความรู เชิงประจักษ

สีมวง

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

เปนขั้นที่ผูสอน ใหผูเรียนนําความรู ไปคิดคนตอๆ ไป

เปนขั้นที่ผูสอน ประเมินมโนทัศน ของผูเรียน

2. สัญลักษณ สัญลักษณ

วัตถุประสงค

• เปาหมายการเรียนรู

• หลักฐานแสดง ผลการเรียนรู

• เกร็ดแนะครู

• นักเรียนควรรู

• บูรณาการอาเซียน

• มุม IT

คูม อื ครู

แสดงเปาหมายการเรียนรูที่นักเรียน ตองบรรลุตามตัวชี้วัด ตลอดจนสมรรถนะ ที่จะตองมี และคุณลักษณะที่พึงเกิดขึ้น กับนักเรียน แสดงรองรอยหลักฐานตามภาระงาน ที่ครูมอบหมาย เพื่อแสดงผลการเรียนรู ตามตัวชี้วัด แทรกความรูเสริมสําหรับครู ขอเสนอแนะ ขอควรระวัง ขอสังเกต แนวทางการจัด กิจกรรมและอืน่ ๆ เพื่อประโยชนในการ จัดการเรียนการสอน ขยายความรูเพิ่มเติมจากเนื้อหา เพื่อให ครูนําไปใชอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียน ไดมีความรูมากขึ้น ความรูห รือกิจกรรมเสริม ใหครูนาํ ไปใช เตรียมความพรอมใหกบั นักเรียนกอนเขาสู ประชาคมอาเซียนใน พ.ศ. 2558 โดย บูรณาการกับวิชาทีก่ าํ ลังเรียน แนะนําแหลงคนควาจากเว็บไซต เพื่อให ครูและนักเรียนไดเขาถึงขอมูลความรู ที่หลากหลาย ทั้งไทยและตางประเทศ

สัญลักษณ

ขอสอบ

วัตถุประสงค

O-NET

(เฉพาะวิ เฉพาะวิชา ชัน้ ทีส่ อบ O-NET O-NET)

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T (เฉพาะวิ เฉพาะวิชา ชัน้ ทีส่ อบ NT เพือ่ เตรียมพรอมสอบ O-NET)

ขอสอบเนน การคิด แนว NT (เฉพาะวิชา ชัน้ ทีส่ อบ NT)

บูรณาการเชื่อมสาระ กิจกรรมสรางเสริม

• ชีแ้ นะเนือ้ หาทีเ่ คยออกขอสอบ

O-NET โดยยกตัวอยางขอสอบ พรอมวิเคราะหคาํ ตอบ อยางละเอียด

• เปนตัวอยางขอสอบทีม่ งุ เนน

การคิด และเปนแนวขอสอบ NT/O-NET ในระดับประถมศึกษา มีทงั้ ปรนัย - อัตนัย พรอมเฉลย อยางละเอียด

• แนวขอสอบ NT ในระดับ

ประถมศึกษา มีทงั้ ปรนัย - อัตนัย พรอมเฉลยอยางละเอียด โดยเนน - การอานออกเขียนได - การคิดเลข - ความสามารถดานการคิด และการใหเหตุผล

• แนะนําแนวทางการจัดกิจกรรม

เชือ่ มกับสาระหรือกลุม สาระ การเรียนรู ระดับชัน้ หรือวิชาอืน่ ทีเ่ กีย่ วของ

• แนะนําแนวทางการจัดกิจกรรม ซอมเสริมสําหรับนักเรียนทีค่ วร ไดรบั การพัฒนาการเรียนรู

• แนะนําแนวทางการจัดกิจกรรม กิจกรรมทาทาย

ตอยอดสําหรับนักเรียนทีเ่ รียนรู ไดอยางรวดเร็ว และตองการ ทาทายความสามารถในระดับ ทีส่ งู ขึน้


คําแนะนําการใชคูมือครู การออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอน คูมือครู รายวิชา ภาษาไทย วรรณคดีและวรรณกรรม ป.5 จัดทําขึ้นเพื่อใหครูผูสอนนําไปใชเปนแนวทางวางแผน การสอนเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และประกันคุณภาพผูเรียน ตามนโยบายของสํานักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) โดยใชหนังสือเรียน ภาษาไทย วรรณคดีและวรรณกรรม ป.5 ของบริษัท อักษรเจริญทัศน เสร�ม อจท. จํากัดเปนสื่อหลัก (Core Material) ประกอบการสอนและการจัดกิจกรรมการเรียนรูใหสอดคลองกับมาตรฐาน 3 การเรียนรูและตัวชี้วัดของกลุมสาระการเรียนรู ภาษาไทย ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 โดยออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนตามหลักการสําคัญ ดังนี้ 1 ออกแบบการสอนเปนหนวยการเรียนรูอิงมาตรฐาน คูมือครู รายวิชา ภาษาไทย วรรณคดีและวรรณกรรม ป.5 วางแผนการสอนโดยแบงเปนหนวยการเรียนรู ตามลําดับสาระ (Standard) และหมายเลขขอของมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัด แตละหนวยจะกําหนดเปาหมาย การสอนและจุดประสงคการเรียนรู (Objective Learning) กิจกรรมการเรียนรู (Learning Activities) และแนวทาง การประเมินผลการเรียนรู (Learning Evaluation) ไวชัดเจน ครูผูสอนสามารถจัดทําแผนการสอนใหครอบคลุมมาตรฐาน การเรียนรู ตัวชี้วัด สมรรถนะ และคุณลักษณะอันพึงประสงคที่เปนเปาหมายการเรียนรูตามที่กําหนดไวในสาระแกนกลาง (ตามแผนภูมิ) และสามารถบันทึกผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผูเรียนแตละคนลงในเอกสาร ปพ.5 ไดอยางมั่นใจ แผนภูมิแสดงองคประกอบของการออกแบบการเรียนรูอิงมาตรฐานและเนนผูเรียนเปนสําคัญ

พผ

ูเ

จุดปร

ะสง

ค ก

ส ภา

รี ย น

รู ีเรยน

มาตรฐานการเรียนรู ตัวชี้วัดชั้นป

ทักษะการคิด การวัดประเมินผล การเรียนรู

กิจกรรมการเรียนรู

เทคนิคการสอน คูม อื ครู


2 การจัดการเรียนรูที่ยึดผูเรียนเปนสําคัญ แนวคิ ด ในการจั ด การเรี ย นการสอนที่ ยึ ด ผู  เ รี ย นเป น สํ า คั ญ พั ฒ นามาจากปรั ช ญาและทฤษฎี ก ารเรี ย นรู  Constructivism ที่เชื่อวาการเรียนรูเปนกระบวนการที่เกิดขึ้นภายในสมองของผูเรียนแตละคน ผูเรียนเปนผูสรางความรู โดยการเชื่อมโยงระหวางสิ่งที่ไดเรียนรูจากบทเรียนใหมกับความรูหรือประสบการณเดิมที่มีอยู ทฤษฎีนี้มีความเชื่อวา ผูเรียนทุกคนไดเรียนรูและมีการสั่งสมความรูความเขาใจเกี่ยวกับสิ่งตางๆ ติดตัวมากอน ทีจ่ ะเขาสูห อ งเรียน ซึง่ เปนการเรียนรูท เี่ กิดจากประสบการณและสิง่ แวดลอมรอบตัวผูเ รียนแตละคน ดังนัน้ การจัดกิจกรรม เสร�ม การเรียนการสอนในแตละหนวยการเรียนรู ผูสอนจะตองคํานึงถึง

4

1. ความรูเดิมของผูเรียน วิธีการสอนที่ดีจะตองเริ่มตนจากจุดที่วา ผูเ รียนมีความรูอ ะไรมาบาง แลวจึงใหความรู หรือประสบการณใหม เพื่อตอยอดจาก ความรูเดิม นําไปสูการสรางความรู ความเขาใจใหม

2. ความรูเดิมของผูเรียนถูกตองหรือไม ผูส อนตองปรับเปลีย่ นความรูค วามเขาใจเดิม ของผูเรียนใหถูกตอง และเปนพฤติกรรม การเรียนรูใ หมทมี่ คี ณุ คาตอผูเรียน เพื่อสราง เจตคติหรือทัศนคติที่ดีตอการเรียนรู สิ่งเหลานั้น

3. ผูเรียนสรางความหมายสําหรับตนเอง ผูสอนตองสงเสริมใหผูเรียนนําความรู ความเขาใจที่เกิดขึ้นไปลงมือปฏิบัติ เพื่อขยายความรูใหลึกซึ้งและมีคุณคา ตอตัวผูเรียนมากที่สุด

แนวคิด Constructivism เนนใหผูเรียนสรางความรูโดยผานกระบวนการคิดและความอยากรูของตนเอง โดยมีผูสอนเปนผูสรางบรรยากาศ

การเรียนรูและกระตุนความสนใจ คอยจัดสถานการณใหผูเรียนเกิดความขัดแยงทางความคิดระหวางประสบการณเดิมกับประสบการณ ความรูใ หม เพือ่ กระตนุ ใหผเู รียนเชือ่ มโยงความรู ความคิด กับประสบการณทมี่ อี ยูเ ดิม แลวสังเคราะหเปนความรูห รือแนวคิดใหมๆ ไดดว ยตนเอง

3 การบูรณาการกระบวนการคิด การเรียนรูของผูเรียนแตละคนจะเกิดขึ้นที่สมอง ซึ่งเปนอวัยวะที่ทําหนาที่รูคิดภายใตสภาพแวดลอมที่เอื้ออํานวย และไดรบั การกระตนุ จูงใจอยางเหมาะสม สอดคลองกับสภาพจิตใจและความตองการของผูเ รียนแตละคน การจัดกิจกรรม การเรียนรูและสาระการเรียนรูที่สอดคลองกับความสนใจและมีความหมายตอผูเรียน จะชวยกระตุนใหสมองของผูเรียน สามารถรับรูและเรียนรูไดอยางมีประสิทธิภาพตามขั้นตอนการทํางานของสมอง ดังนี้ 1. สมองจะเรียนรูและสืบคน โดยการสังเกต คนหา ซักถาม และทดลอง ปฏิบัติ จนทําใหคนพบความรูความเขาใจ ไดอยางรวดเร็ว

2. สมองจะแยกแยะคุณคาของสิ่งตางๆ โดยการตัดสินใจวิพากษวิจารณ แสดง ความคิดเห็น ยอมรับหรือตอตานตาม อารมณความรูสึกที่เกิดขึ้นในขณะที่เรียนรู

3. สมองจะประมวลเนื้อหาสาระ โดยการสรุปเปนความคิดรวบยอดจาก เรื่องราวที่ไดเรียนรูใหมนําไปผสมผสานกับ ความรูห รือประสบการณเดิมทีถ่ กู จัดเก็บอยูใ น สมอง ผานการกลัน่ กรองเพือ่ สังเคราะหเปน ความรูค วามเขาใจใหมๆ หรือเปนทัศนคติใหม ที่จะเก็บบรรจุไวในสมองของผูเรียน

การเรียนรูที่มีประสิทธิภาพจึงตองเปนการเรียนรูที่เกิดจากกระบวนการคิดของผูเรียน เพราะการเรียนรูจะเกิดขึ้น เมื่อสมองรูคิด และตองเปนการคิดไดครบถวนตามขั้นตอนการทํางานของสมองผูเรียน โดยเริ่มตนจาก 1. ระดับการคิดพื้นฐาน ไดแก การสังเกต การจําแนก การคาดคะเน การสื่อความหมาย การรวบรวมขอมูล การสรุปผล เปนตน

คูม อื ครู

2. ระดับลักษณะการคิด ไดแก การคิดกวาง คิดลึกซึ้ง คิดไกล คิดหลากหลาย คิดคลอง คิดอยางมีเหตุผล เปนตน

3. ระดับกระบวนการคิด ไดแก กระบวนการคิดอยางมีวิจารณญาณ กระบวนการแกปญหา กระบวนการ คิดสรางสรรค กระบวนการคิดสังเคราะหวิจัย เปนตน


5Es การจัดกิจกรรมตามขั้นตอนวัฏจักรการเรียนรู 5Es ขั้นตอนการสอนที่สัมพันธกับขั้นตอนการคิดและการทํางานทางสมองของผูเรียนที่นิยมใชอยางแพรหลาย คือ วัฏจักรการเรียนรู 5Es ซึ่งผูจัดทําคูมือครูไดนํามาใชเปนแนวทางออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนในแตละหนวย ตามลําดับขั้นตอนการเรียนรู ดังนี้ ขั้นที่ 1

กระตุนความสนใจ

(Engage)

เสร�ม

5

เปนขัน้ ทีผ่ สู อนนําเขาสูบ ทเรียน เพือ่ กระตุน ความสนใจของผูเ รียนดวยเรือ่ งราวหรือเหตุการณทนี่ า สนใจโดยใชเทคนิควิธกี ารสอน และคําถามทบทวนความรูหรือประสบการณเดิมของผูเรียน เพื่อเชื่อมโยงผูเรียนเขาสูความรูของบทเรียนใหม ชวยใหผูเรียนสามารถ สรุปประเด็นสําคัญที่เปนหัวขอและสาระการเรียนรูของบทเรียนได จึงเปนขั้นตอนการสอนที่สําคัญ เพราะเปนการเตรียมความพรอม และสรางแรงจูงใจใฝเรียนรูแกผูเรียน

ขั้นที่ 2

สํารวจคนหา

(Explore)

เปนขัน้ ทีผ่ สู อนเปดโอกาสใหผเู รียนลงมือศึกษา สังเกต หรือรวมมือกันสํารวจ เพือ่ ใหเห็นขอบขายของปญหา รวมถึงวิธกี ารศึกษา คนควา การรวบรวมขอมูลความรูที่จะนําไปสูการสรางความเขาใจประเด็นปญหานั้นๆ เมื่อผูเรียนทําความเขาใจในประเด็นหัวขอที่จะ ศึกษาคนควาอยางถองแทแลว ก็ลงมือปฏิบัติเพื่อเก็บรวบรวมขอมูลความรู สํารวจตรวจสอบ โดยวิธีการตางๆ เชน สัมภาษณ ทดลอง อานคนควาขอมูลจากเอกสาร แหลงขอมูลตางๆ จนไดขอมูลความรูตามที่ตั้งประเด็นศึกษาไว

ขั้นที่ 3

อธิบายความรู

(Explain)

เปนขั้นที่ผูสอนมีปฏิสัมพันธกับผูเรียน เชน ใหการแนะนํา ตั้งคําถามกระตุนใหคิด เพื่อใหผูเรียนคนหาคําตอบ และนําขอมูล ความรูจากการศึกษาคนควาในขั้นที่ 2 มาวิเคราะห สรุปผล และนําเสนอผลที่ไดศึกษาคนความาในรูปแบบสารสนเทศตางๆ เชน เขียนแผนภูมิ แผนผังแสดงมโนทัศน เขียนความเรียง เขียนรายงาน เปนตน ในขั้นตอนนี้ฝกใหผูเรียนใชสมองคิดวิเคราะหและ สังเคราะหอยางเปนระบบ

ขั้นที่ 4

ขยายความเขาใจ

(Expand)

เปนขั้นที่ผูสอนเลือกใชเทคนิควิธีการสอนตางๆ ที่สงเสริมใหผูเรียนนําความรูที่เกิดขึ้นไปคิดคนสืบคนตอๆ ไป เพื่อพัฒนาทักษะ การเรียนรูและการทํางานรวมกันเปนกลุม ระดมสมองเพื่อคิดสรางสรรครวมกัน ผูเรียนสามารถนําความรูที่สรางขึ้นใหมไปเชื่อมโยง กับประสบการณเดิมโดยนําขอสรุปทีไ่ ดไปใชอธิบายเหตุการณตา งๆ หรือนําไปปฏิบตั ใิ นสถานการณใหมๆ ทีเ่ กีย่ วของกับชีวติ ประจําวัน ของตนเอง เพื่อขยายความรูความเขาใจใหกวางขวางยิ่งขึ้น ในขั้นตอนนี้ฝกสมองของผูเรียนใหสามารถคิดริเริ่มสรางสรรคอยางมี คุณภาพ เสริมสรางวิสัยทัศนใหกวางไกลออกไป

ขั้นที่ 5

ตรวจสอบผล

(Evaluate)

เปนขัน้ ทีผ่ สู อนประเมินมโนทัศนของผูเ รียน โดยตรวจสอบจากความคิดทีเ่ ปลีย่ นไปและความคิดรวบยอดทีเ่ กิดขึน้ ใหม ตรวจสอบ ทักษะ กระบวนการปฏิบัติ การแกปญหา การตอบคําถามรวบยอด และการเคารพความคิดหรือยอมรับเหตุผลของคนอื่น เพื่อการ สรางสรรคความรูร ว มกัน ผูเ รียนสามารถประเมินผลการเรียนรูข องตนเอง เพือ่ สรุปผลวามีความรูอ ะไรเพิม่ ขึน้ มาบาง เกิดความเขาใจ มากนอยเพียงใด และจะนําความรูเหลานั้นไปประยุกตใชในการเรียนรูเรื่องอื่นๆ ไดอยางไร ผูเรียนจะเกิดเจตคติและเห็นคุณคาของ ตนเองจากผลการเรียนรูที่เกิดขึ้น ซึ่งเปนการเรียนรูที่มีความสุขอยางแทจริง

การจัดกิจกรรมการเรียนรูตามขั้นตอนวัฏจักรการสรางความรูแบบ 5Es จึงเปนรูปแบบการเรียนการสอนที่เนน ผูเ รียนเปนสําคัญอยางแทจริง เพราะสงเสริมใหผเู รียนไดลงมือปฏิบตั ติ ามขัน้ ตอนของกระบวนการสรางความรูด ว ยตนเอง และฝกฝนใหใชกระบวนการคิดและกระบวนการกลุมอยางชํานาญ กอใหเกิดทักษะชีวิต ทักษะการทํางานและทักษะการ เรียนรูท มี่ ปี ระสิทธิภาพ สงผลตอการยกระดับผลสัมฤทธิข์ องผูเ รียน ตามเปาหมายของการปฏิรปู การศึกษาทศวรรษที่ 2 (พ.ศ. 2552-2561) ทุกประการ คูม อื ครู


O-NET การเพิ่มผลสัมฤทธิ์ O-NET

การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามขั้นตอนวัฏจักรการเรียนรู 5Es ในแตละหนวยการเรียนรู ทางผูจัดทํา จะเสนอแนะวิธีสอนรูปแบบกิจกรรมการเรียนรู พรอมทั้งออกแบบเครื่องมือวัดผลประเมินผลที่สอดคลองกับตัวชี้วัด และสาระการเรียนรูแกนกลางไวทุกขั้นตอน โดยยึดหลักสําคัญ คือ เปาหมายของการวัดผลประเมินผล เสร�ม

6

1. การวัดผลทุกครั้งตองนําผล การวัดมาปรับปรุงพัฒนาผูเรียน เปนรายบุคคล

2. การประเมินผลมีเปาหมาย เพื่อพัฒนาการเรียนรูของผูเรียน จนเต็มศักยภาพ

3. การนําผลการวัดและประเมิน ทุกครั้งมาวางแผนปรับปรุงกิจกรรม การเรียนการสอน การเลือกเทคนิค วิธีการสอน และสื่อการเรียนรูให เหมาะสมกับสภาพจริงของผูเรียน

การทดสอบผูเรียน 1. การใชขอสอบอัตนัย เนนการอาน การคิดวิเคราะห และเขียนสรุปเพิ่มมากขึ้น 2. การใชคําถามกระตุนการคิด ควบคูกับการทําขอสอบที่เนนการคิดตลอดตอเนื่องตามลําดับกิจกรรมการเรียนรูและ ตัวชี้วัด 3. การทดสอบตองดําเนินการทั้งกอนเรียน ระหวางเรียน และเมื่อสิ้นสุดการเรียน การทดสอบระหวางเรียน ต อ งใช ข  อ สอบทั้ ง ชนิ ด ปรนั ย และอั ต นั ย และเป น การทดสอบเพื่ อ วิ นิ จ ฉั ย ผลการเรี ย นของผู  เ รี ย นแต ล ะคน เพื่อวัดการสอนซอมเสริมใหบรรลุตัวชี้วัดทุกตัว 4. การสอบกลางภาค (ถามี) ควรนําขอสอบหรือแบบฝกหัดที่นักเรียนสวนใหญทําผิดบอยๆ มาสรางเปนแบบทดสอบ อีกครัง้ เพือ่ ตรวจสอบความรูค วามเขาใจทีถ่ กู ตอง และประเมินความกาวหนาของผูเรียนแตละคน 5. การสอบปลายภาคเรียนเพื่อวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามตัวชี้วัดที่สําคัญ ควรออกขอสอบใหมีลักษณะเดียวกับ ขอสอบ O-NET โดยเนนการคิดวิเคราะห สังเคราะห เชื่อมโยงประยุกตใช เพื่อสรางความคุนเคย และฝกฝน วิธีการทําขอสอบดวยความมั่นใจ 6. การนําผลการทดสอบของผูเรียนมาวิเคราะห โดยผลการสอบกอนการเรียนตองสามารถพยากรณผลการสอบ กลางภาค และผลการสอบกลางภาคตองทํานายผลการสอบปลายภาคของผูเ รียนแตละคน เพือ่ ประเมินพัฒนาการ ความกาวหนาของผูเรียนเปนรายบุคคล 7. ผลการทดสอบปลายป ปลายภาค ตองมีคาเฉลี่ยสอดคลองกับคาเฉลี่ยของการสอบ NT ที่เขตพื้นที่การศึกษา จัดสอบ รวมทั้งคาเฉลี่ยของการสอบ O-NET ชวงชั้นที่สอดคลองครอบคลุมมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดสําคัญ เพือ่ สะทอนประสิทธิภาพของครูผสู อนในการออกแบบการเรียนรูแ ละประกันคุณภาพผูเ รียนทีต่ รวจสอบผลไดชดั เจน การจัดการเรียนการสอนในแตละหนวยการเรียนรู ตองใหผูเรียนไดสั่งสมความรู สะสมความเขาใจไปทีละเล็ก ละนอยตามลําดับขัน้ ตอนของกิจกรรมการเรียนรู 5Es เพือ่ ใหผเู รียนไดเติมเต็มองคความรูอ ยางตอเนือ่ ง จนสามารถปฏิบตั ิ ชิ้นงานหรือภาระงานรวบยอดของแตละหนวยผานเกณฑประกันคุณภาพในระดับที่นาพึงพอใจ เพื่อรองรับการประเมิน ภายนอกจาก สมศ. ตลอดเวลา คูม อื ครู


ASEAN การเรียนรูสูประชาคมอาเซียน เพื่ออํานวยความสะดวกแกครูผูสอนในการจัดกิจกรรมการเรียนรูบูรณาการอาเซียนศึกษา ผูจัดทําไดวิเคราะห มาตรฐานการเรียนรู และตัวชี้วัดที่มีสาระการเรียนรูสอดคลองกับองคความรูเกี่ยวกับประชาคมอาเซียนในแงมุมตางๆ ครอบคลุมทัง้ ประชาคมการเมืองและความมัน่ คงอาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และประชาคมสังคมและวัฒนธรรม อาเซียน เพื่อสงเสริมการเรียนรูใหผูเรียนเกิดความตระหนัก มีความรูความเขาใจเหมาะสมกับระดับชั้นและกลุมสาระ การเรียนรู โดยเสนอแนะวิธีการจัดกิจกรรมบูรณาการเนื้อหาสาระตางๆ ที่เปนประโยชนตอผูเรียนและเปนการชวย เตรียมความพรอมผูเ รียนทุกคนทีจ่ ะกาวเขาสูก ารเปนสมาชิกของประชาคมอาเซียนไดอยางมัน่ ใจตามขอตกลงปฏิญญา เสร�ม ชะอํา-หัวหิน วาดวยความรวมมือดานการศึกษาเพือ่ บรรลุเปาหมายประชาคมอาเซียนทีเ่ อือ้ อาทรและแบงปน จึงกําหนด 7 เปนนโยบายใหกระทรวงศึกษาธิการจัดการเรียนรูเตรียมความพรอมผูเรียนเขาสูประชาคมอาเซียนภายในป พ.ศ. 2558 ตามแนวปฏิบัติที่สําคัญ ดังนี้

การจัดการเรียนรูส ู ประชาคมการเมืองและความมัน่ คงอาเซียน 1. การสรางความรูความเขาใจ และตระหนักถึงความสําคัญของ กฎบัตรอาเซียน และความรวมมือ ของ 3 เสาหลัก ซึง่ กฎบัตรอาเซียน ในขณะนี้มีสถานะเปนกฎหมายที่ ประเทศสมาชิกจะตองปฏิบัติตาม หลักการที่กําหนดไวเพื่อใหบรรลุ เปาหมายของกฎบัตรมาตราตางๆ

2. การสงเสริมหลักการ ประชาธิปไตยและการสราง สิ่งแวดลอมประชาธิปไตย เพื่อการอยูรวมกันอยางกลมกลืน ภายใตวิถีชีวิตอาเซียนที่มีความ หลากหลายดานสังคมและ วัฒนธรรม

4. การตระหนักในคุณคาของ สายสัมพันธทางประวัติศาสตร และมรดกทางวัฒนธรรมที่มี พัฒนาการรวมกัน เพื่อเชื่อม อัตลักษณและสรางจิตสํานึก ในการเปนประชากรของประชาคม อาเซียนรวมกัน

3. การสงเสริมการศึกษาดาน สิทธิมนุษยชน เพื่อสรางประชาคม อาเซียนใหเปนประชาคมเพื่อ ประชาชนอยางแทจริง สามารถ อยูรวมกันไดบนพื้นฐานการเคารพ ในคุณคาของศักดิ์ศรีแหงความ เปนมนุษยเทาเทียมกัน

5. การสงเสริมสันติภาพ ความ มั่นคง และความปรองดองในสังคม ทั้งระดับประเทศและภูมิภาคของ อาเซียนบนพื้นฐานสันติวิธีและการ อยูรวมกันดวยขันติธรรม

คูม อื ครู


การจัดการเรียนรูส ู ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

เสร�ม

8

1. การพัฒนาทักษะการทํางาน เพื่อเสริมสรางผูเรียนใหมีทักษะ วิชาชีพที่จําเปนสอดคลองกับ ความตองการของตลาดแรงงาน และสถานประกอบการในอาเซียน สามารถเทียบโอนผลการเรียน และการทํางานตามมาตรฐานฝมือ แรงงานในภูมิภาคอาเซียน

2. การเสริมสรางวินัย ความรับผิดชอบ และเจตคติรักการทํางาน สามารถพึ่งพาตนเอง มีทักษะชีวิต ดํารงชีวิตอยางมีความสุข เห็นคุณคา และภูมิใจในตนเอง ในฐานะที่เปนพลเมืองไทยและ อาเซียน

3. การเรียนรูเพื่อพัฒนาตนเอง อยางตอเนื่องตลอดชีวิต ใหมี ทักษะการทํางานตามมาตรฐาน อาชีพ และคุณวุฒิของวิชาชีพสาขา ตางๆ เพื่อรองรับการเตรียมเคลื่อน ยายแรงงานมีฝมือและการเปน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนที่ เขมแข็ง เพื่อสรางขีดความสามารถ ในการแขงขันในเวทีโลก

การจัดการเรียนรูส ู ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน 1. การเสริมสรางความรวมมือ ในลักษณะสังคมที่เอื้ออาทร ของประชากรอาเซียน โดยยึด หลักการสําคัญ คือ ความงดงาม ของประชาคมอาเซียนมาจาก ความแตกตางและหลากหลายทาง วัฒนธรรมที่ลวนแตมีคุณคาตอ มรดกทางวัฒนธรรมของอาเซียน ซึ่งประชาชนทุกคนตองอนุรักษ สืบสานใหยั่งยืน

2. การเสริมสรางคุณลักษณะ ของผูเรียนใหเปนพลเมืองอาเซียน ที่มีศักยภาพในการกาวเขาสู ประชาคมอาเซียนอยางมั่นใจ เปนผูที่มีสุขภาพสมบูรณแข็งแรง มีทักษะการสื่อสาร ทักษะการ ทํางาน ทักษะทางสังคม สามารถ ทํางานรวมกับผูอื่นไดอยาง สรางสรรค และมีองคความรู เกี่ยวกับอาเซียนที่จําเปนตอการ ดํารงชีวิตอยางมีคุณภาพ

4. การสงเสริมการเรียนรูดาน ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี วิถชี วี ติ ความเปนอยูข องเพือ่ นบาน ในอาเซียน เพื่อสรางจิตสํานึกของ ความเปนประชาคมอาเซียนและ ตระหนักถึงหนาที่ของการเปน พลเมืองอาเซียนรวมกัน

3. การสงเสริมการเรียนรูภาษา อังกฤษเพื่อการสื่อสารและการ ทํางานตามมาตรฐานอาชีพที่ กําหนดและสนับสนุนการเรียนรู ภาษาอาเซียนและภาษาเพื่อนบาน เพื่อชวยเสริมสรางสัมพันธภาพทาง สังคม และการอยูรวมกันอยางสันติ ทามกลางความหลากหลายทาง วัฒนธรรม

5. การสรางความรูและความ ตระหนักเกี่ยวกับดานสิ่งแวดลอม ปญหาและผลกระทบตอคุณภาพ ชีวิตของประชากรในภูมิภาค รวมทั้งแนวทางการพัฒนาอยาง ยั่งยืน ใหเปนมรดกสืบทอดแก พลเมืองอาเซียนในรุนหลังตอๆ ไป

กระทรวงศึกษาธิการจึงประกาศนโยบายการปฏิรูปการศึกษาทศวรรษที่ 2 (พ.ศ. 2552-2561) เพื่อเรงพัฒนาเด็ก และเยาวชนไทยใหเปนทรัพยากรมนุษยของชาติที่มีทักษะและความชํานาญ พรอมเผชิญกับความเปลี่ยนแปลงและ การแขงขันทั้งในภูมิภาคอาเซียนและภูมิภาคอื่นๆ ของสังคมโลก ทั้งนี้ผูบริหารสถานศึกษา ครูผูสอน และผูปกครอง ควรรวมมือกันอยางใกลชดิ ในการดูแลชวยเหลือผูเ รียนและจัดประสบการณการเรียนรูเ พือ่ พัฒนาผูเ รียนจนเต็มศักยภาพ เพื่อกาวเขาสูการเปนพลเมืองอาเซียนอยางมีเกียรติภูมิและศักดิ์ศรีความเปนมนุษยของตน คณะผูจัดทํา คูม อื ครู


ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง สาระที่ 1

ภาษาไทย (เฉพาะชั้น ป.5)*

การอาน

มาตรฐาน ท 1.1 ใชกระบวนการอานสรางความรูและความคิด เพื่อนําไปใชตัดสินใจแกปญหาในการดําเนินชีวิต และมีนิสัยรักการอาน ชั้น

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

เสร�ม

9

ป.5 1. อานออกเสียงบทรอยแกว • การอานออกเสียงและการบอกความหมายของบทรอยแกว และบทรอยกรองที่ประกอบดวย และบทรอยกรอง - คําที่มพี ยัญชนะควบกลํ้า ไดถูกตอง 2. อธิบายความหมายของคํา - คําที่มอี ักษรนํา - คําที่มตี ัวการันต ประโยคและขอความ - อักษรยอและเครื่องหมายวรรคตอน ที่เปนการบรรยาย - ขอความทีเ่ ปนการบรรยายและพรรณนา และการพรรณา 3. อธิบายความหมายโดยนัย - ขอความทีม่ ีความหมายโดยนัย • การอานบทรอยกรองเปนทํานองเสนาะ จากเรื่องที่อานอยาง หลากหลาย • การอานจับใจความจากสื่อตางๆ เชน 4. แยกขอเท็จจริง - วรรณคดีในบทเรียน และขอคิดเห็นจากเรื่อง - บทความ ที่อาน 5. วิเคราะหและแสดงความ - บทโฆษณา - งานเขียนประเภทโนมนาวใจ คิดเห็นเกี่ยวกับเรื่อง - ขาวและเหตุการณประจําวัน ที่อานเพื่อนําไปใช 6. อานงานเขียนเชิงอธิบาย • การอานงานเขียนเชิงอธิบาย คําสั่ง ขอแนะนํา และปฏิบัติตาม เชน คําสั่ง ขอแนะนํา - การใชพจนานุกรม และปฏิบัติตาม - การใชวัสดุอุปกรณ - การอานฉลากยา - คูมือและเอกสารของโรงเรียนที่เกี่ยวของกับนักเรียน - ขาวสารทางราชการ ฯลฯ

สาระที่ 1 นี้ จะปรากฏใน หนังสือเรียนภาษาไทย หลักภาษาและการใชภาษา ป.5

• การอานหนังสือตามความสนใจ เชน 7. อานหนังสือที่มีคุณคา - หนังสือที่นักเรียนสนใจและเหมาะสมกับวัย ตามความสนใจอยาง - หนังสือที่ครูและนักเรียนกําหนดรวมกัน ฯลฯ สมํ่าเสมอ และแสดง ความคิดเห็นเกี่ยวกับเรือ่ ง ที่อาน 8. มีมารยาทในการอาน

สาระที่ 2

• มารยาทในการอาน

การเขียน

มาตรฐาน ท 2.1 ใชกระบวนการเขียนเขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ยอความ และเขียนเรื่องราวในรูปแบบตางๆ เขียนรายงานขอมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาคนควาอยางมีประสิทธิภาพ ชั้น

ตัวชี้วัด

ป.5 1. คัดลายมือตัวบรรจงเต็ม บรรทัดและครึง่ บรรทัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง • การคัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด ตามรูปแบบการเขียนตัวอักษรไทย

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน สาระที่ 2 นี้ จะปรากฏใน หนังสือเรียนภาษาไทย หลักภาษาและการใชภาษา ป.5

_________________________________ *สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, กระทรวงศึกษาธิการ. ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย. (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย, 2551), หนา 7-59.

คูม อื ครู


ตัวชี้วัด

ชั้น

ป.5 2. เขียนสื่อสารโดยใชคํา (ตอ) ไดถูกตอง ชัดเจน และเหมาะสม

สาระการเรียนรูแกนกลาง

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

• การเขียนสื่อสาร เชน - คําขวัญ - คําอวยพร - คําแนะนําและคําอธิบายแสดงขั้นตอน ฯลฯ

3. เขียนแผนภาพโครงเรื่อง • การนําแผนภาพโครงเรื่องและแผนภาพความคิดไปพัฒนา งานเขียน และแผนภาพความคิด เพื่อใชพัฒนางานเขียน

เสร�ม

10

4. เขียนยอความจาก เรื่องที่อาน

• การเขียนยอความจากสื่อตางๆ เชน นิทาน ความเรียง ประเภทตางๆ ประกาศแจงความ แถลงการณ จดหมาย คําสอน โอวาท คําปราศรัย ฯลฯ

5. เขียนจดหมายถึง ผูปกครองและญาติ

• การเขียนจดหมายถึงผูปกครองและญาติ

6. เขียนแสดงความรูสึก และความคิดเห็นไดตรง ตามเจตนา

• การเขียนแสดงความรูสึกและความคิดเห็น

7. กรอกแบบรายการตางๆ

• การกรอกแบบรายการ - ใบฝากเงินและใบถอนเงิน - ธนาณัติ - แบบฝากสงพัสดุไปรษณียภัณฑ

สาระที่ 2 นี้ จะปรากฏใน หนังสือเรียนภาษาไทย หลักภาษาและการใชภาษา ป.5

8. เขียนเรือ่ งตามจินตนาการ • การเขียนเรื่องตามจินตนาการ 9. มีมารยาทในการเขียน

สาระที่ 3

• มารยาทในการเขียน

การฟง การดู และการพูด

มาตรฐาน ท 3.1 สามารถเลือกฟงและดูอยางมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู ความคิด และความรูสึกในโอกาสตางๆ อยางมีวิจารณญาณและสรางสรรค ชั้น

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

• การจับใจความ และการพูดแสดงความรู ความคิดในเรื่อง ป.5 1. พูดแสดงความรู ที่ฟงและดูจากสื่อตางๆ เชน ความคิดเห็น และความ - เรื่องเลา รูส กึ จากเรือ่ งทีฟ่ ง และดู 2. ตัง้ คําถามและตอบคําถาม - บทความสั้นๆ - ขาวและเหตุการณประจําวัน เชิงเหตุผลจากเรือ่ งทีฟ่ ง - โฆษณา และดู - สื่ออิเล็กทรอนิกส ฯลฯ 3. วิเคราะหความนาเชือ่ ถือ จากเรือ่ งทีฟ่ ง และดูอยางมี • การวิเคราะหความนาเชื่อถือจากเรื่องที่ฟงและดู ในชีวิตประจําวัน เหตุผล

คูม อื ครู

4. พูดรายงานเรือ่ งหรือ ประเด็นทีศ่ กึ ษาคนควา จากการฟง การดู และการสนทนา

• การรายงาน เชน - การพูดลําดับขั้นตอนการปฏิบัติงาน - การพูดลําดับเหตุการณ ฯลฯ

5. มีมารยาทในการฟง การดู และการพูด

• มารยาทในการฟง การดู และการพูด

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

สาระที่ 3 นี้ จะปรากฏใน หนังสือเรียนภาษาไทย หลักภาษาและการใชภาษา ป.5


สาระที่ 4

หลักการใชภาษาไทย

มาตรฐาน ท 4.1 เขาใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของภาษา ภูมิปญญา ทางภาษา และรักษาภาษาไทยไวเปนสมบัติของชาติ ชั้น

ตัวชี้วัด

ป.5 1. ระบุชนิดและหนาที่ ของคําในประโยค

สาระการเรียนรูแกนกลาง

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

• ชนิดของคํา - คําบุพบท - คําสันธาน - คําอุทาน

เสร�ม

11

2. จําแนกสวนประกอบ ของประโยค

• ประโยคและสวนประกอบของประโยค

3. เปรียบเทียบภาษาไทย มาตรฐานกับภาษาถิ่น

• ภาษาไทยมาตรฐาน • ภาษาถิ่น

4. ใชคําราชาศัพท

• คําราชาศัพท

สาระที่ 4 นี้ จะปรากฏใน หนังสือเรียนภาษาไทย หลักภาษา และการใชภาษา ป.5

5. บอกคําภาษาตางประเทศ • คําที่มาจากภาษาตางประเทศ ในภาษาไทย 6. แตงบทรอยกรอง

• กาพยยานี 11

7. ใชสํานวนไดถูกตอง

• สํานวนที่เปนคําพังเพยและสุภาษิต

สาระที่ 5

วรรณคดีและวรรณกรรม

มาตรฐาน ท 5.1 เขาใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณวรรณคดีและวรรณกรรมไทยอยางเห็นคุณคาและนํามาประยุกตใช ในชีวิตจริง ชั้น

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

ป.5 1. สรุปเรื่องจากวรรณคดี • วรรณคดีและวรรณกรรม เชน - นิทานพื้นบาน หรือวรรณกรรมที่อาน - นิทานคติธรรม 2. ระบุความรูและขอคิด - เพลงพื้นบาน จากการอานวรรณคดี และวรรณกรรมที่สามารถ - วรรณคดีและวรรณกรรมในบทเรียนและตามความสนใจ ฯลฯ นําไปใชในชีวิตจริง 3. อธิบายคุณคาของ วรรณคดีและวรรณกรรม

4. ทองจําบทอาขยาน ตามที่กําหนด และบทรอยกรอง ที่มีคุณคาตามความ สนใจ

• บทอาขยานและบทรอยกรองที่มีคุณคา - บทอาขยานตามที่กําหนด - บทรอยกรองตามความสนใจ

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน • หนวยการเรียนรูที่ 1 นิทานพื้นบานไทย • หนวยการเรียนรูที่ 2 นอมรําลึกพระคุณครู • หนวยการเรียนรูที่ 3 เพลินอานงานพระราชนิพนธ • หนวยการเรียนรูที่ 4 กระเชาใบนอยของนางสีดา • หนวยการเรียนรูที่ 5 แมโพสพ • หนวยการเรียนรูที่ 6 มิตรแท • หนวยการเรียนรูที่ 7 พระสังขพบพระบิดาพระมารดา • หนวยการเรียนรูที่ 8 บัวนอยคอยคลี่บาน สาระที่ 5 ขอ 4 นี้ จะปรากฏใน หนังสือเรียนภาษาไทย หลักภาษา และการใชภาษา ป.5

คูม อื ครู


คําอธิบายรายวิชา รายวิชา ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปที่ 5 รหัสวิชา ท…………………………………

เสร�ม

12

กลุมสาระการเรียนรู ภาษาไทย ภาคเรียนที่ 1-2 เวลา 160 ชั่วโมง/ป

ศึกษาและฝกปฏิบัติการอานออกเสียงบทรอยแกวและบทรอยกรอง งานเขียนเชิงอธิบาย คําสั่ง ขอแนะนําวรรณคดีและวรรณกรรมที่อาน และหนังสือที่มีคุณคาตามความสนใจ พรอมอธิบายความหมาย ของคํา ประโยค และขอความที่อาน อธิบายความหมายโดยนัย แสดงความคิดเห็นจากเรื่องที่อาน การเขียนสื่อสาร เขียนยอความ เขียนจดหมาย เขียนแผนภาพ โครงเรื่องและแผนภาคความคิด และเขียนเรื่องราวในรูปแบบตางๆ รวมถึงการกรอกแบบรายการตางๆ สามารถเลือกฟงและดูอยางมี วิจารณญาณและพูดแสดงความรู ความคิด และความรูสึกในโอกาสตางๆ อยางสรางสรรค พรอมสามารถ เขาใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย อาทิ การระบุชนิดและหนาที่ของคําในประโยค จําแนก สวนประกอบของประโยค การเปรียบเทียบภาษาไทยมาตรฐานกับภาษาถิ่น สามารถบอกคําภาษาตาง ประเทศในภาษาไทย การใชคาํ ราชาศัพท และสํานวนไดถกู ตอง ไดอยางมีมารยาทในการฟง การพูด การดู และการเขียน ศึกษาวรรณคดีและวรรณกรรมเรื่อง นิทานพื้นบานไทย นอมรําลึกพระคุณครู เพลินอานงาน พระราชนิพนธ กระเชาใบนอยของนางสีดา แมโพสพ มิตรแท พระสังขพบพระบิดามารดา บัวนอยคอย คลีบ่ าน ใหสรุปเรือ่ งระบุความรู และขอคิดทีไ่ ด อธิบายคุณคาของเรือ่ งทีอ่ า น ทองบทอาขยานตามทีก่ าํ หนด และบทรอยกรองที่มีคุณคาตามความสนใจ โดยใชการฝกทักษะกระบวนการทางภาษา ทั้งในดานการฟง การพูด การอาน และการเขียน ผานกระบวนการคิด กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการกลุม เพื่อใหเกิดเจตคติที่ดีตอการเรียนวิชาภาษาไทย ตั้งใจเรียนและมีสวนรวมในกิจกรรมการเรียน คนควา หาความรูจากแหลงการเรียนรูตางๆ อยางสมํ่าเสมอ ซักถามและสืบคนเพื่อหาขอมูล ใชภาษาไทยได อยางถูกตองเหมาะสม และนํามาประยุกตใชในชีวิตจริง พรอมรักษาภาษาไทยไวเปนสมบัติของชาติ ตัวชี้วัด ท 1.1 ท 2.1 ท 3.1 ท 4.1 ท 5.1

ป.5/1 ป.5/1 ป.5/1 ป.5/1 ป.5/1

ป.5/2 ป.5/2 ป.5/2 ป.5/2 ป.5/2

ป.5/3 ป.5/3 ป.5/3 ป.5/3 ป.5/3

ป.5/4 ป.5/4 ป.5/4 ป.5/4

ป.5/5 ป.5/5 ป.5/5 ป.5/5

ป.5/6 ป.5/6

ป.5/7 ป.5/7

ป.5/6

ป.5/7

รวม 32 ตัวชี้วัด

คูม อื ครู

ป.5/8 ป.5/8

ป.5/9


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ÃÒÂÇÔªÒ¾×é¹°Ò¹

ÀÒÉÒä·Â

ÇÃó¤´ÕáÅÐÇÃó¡ÃÃÁ ».õ ªÑé¹»ÃжÁÈÖ¡ÉÒ»‚·Õè õ

¡ÅØ‹ÁÊÒÃСÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ ÀÒÉÒä·Â µÒÁËÅÑ¡ÊÙµÃ᡹¡ÅÒ§¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñé¹¾×é¹°Ò¹ ¾Ø·¸ÈÑ¡ÃÒª òõõñ

¼ÙŒàÃÕºàÃÕ§ ¹Ò¢ѳ¸ ªÑ ͸Ôà¡ÕÂÃµÔ ÃÈ. ´Ã. ÊÔÃԾѪà à¨É®ÒÇÔâè¹ ¼ÙŒµÃǨ

¹Ò§¸ÅÔÁÒ ¾Å;ҹԪ ¹Ò§ÊÒÇÊظҷԾ ¾Ñ¸¹ÒÇÔ¹ ¹ÒÂÍÀԪҡĵ ÍÔ¹·ËÍÁ

ºÃóҸԡÒà ¹ÒÂÈÑ¡´Ôì áÇÇÇÔÃÔÂÐ

¾ÔÁ¾ ¤ÃÑ駷Õè ô

ʧǹÅÔ¢ÊÔ·¸ÔìµÒÁ¾ÃÐÃÒªºÑ- - ÑµÔ ISBN : 978-616-203-158-8 ÃËÑÊÊÔ¹¤ŒÒ ñõññððó

¤Œ¹¤ÇÒÁÃÙŒ¢ÂÒ¤ÇÒÁ¤Ô´¨Ò¡

¾ÔÁ¾ ¤ÃÑ駷Õè ñ ÃËÑÊÊÔ¹¤ŒÒ ñõôñðóö

EB GUIDE

ที่พิมพกํากับหัวขอสําคัญในหนังสือเรียนหลักสูตรใหม ชั้น ป.๔ ขึ้นไป ผาน www.aksorn.com ไปยังแหลงความรูทั่วไทย-ทั่วโลก


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

¤íÒ¹íÒ ´ŒÇ¡ÃзÃǧÈÖ¡ÉÒ¸Ô¡ÒÃä´ŒÁÕ¤íÒÊÑè§ãˌ㪌ËÅÑ¡ÊٵáÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñé¹¾×é¹°Ò¹ ¾Ø·¸ÈÑ¡ÃÒª òõôô ã¹âçàÃÕ¹·ÑÇè ä»·Õ¨è ´Ñ ¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñ¹é ¾×¹é °Ò¹ã¹»‚¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ òõôö áÅШҡ¡ÒÃÈÖ¡ÉÒÇÔ¨ÂÑ áÅеԴµÒÁ ¼Å¡ÒÃ㪌ËÅÑ¡ÊٵáÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñ¹é ¾×¹é °Ò¹ ¾Ø·¸ÈÑ¡ÃÒª òõôô ¨Ö§¹íÒä»Ê‹¡Ù ÒþѲ¹ÒËÅÑ¡ÊÙµÃ᡹¡ÅÒ§ ¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñ¹é ¾×¹é °Ò¹ ¾Ø·¸ÈÑ¡ÃÒª òõõñ «Ö§è ÁÕ¤ÇÒÁàËÁÒÐÊÁáÅЪѴਹ à¾×Íè ãˌʶҹÈÖ¡ÉÒä´Œ¹Òí ä» ãªŒà»š¹¡Ãͺ·Ôȷҧ㹡ÒèѴËÅÑ¡ÊÙµÃʶҹÈÖ¡ÉÒáÅШѴ¡ÒÃàÃÕ¹¡ÒÃÊ͹à¾×Íè ¾Ñ²¹Òà´ç¡áÅÐàÂÒǪ¹ ·Ø¡¤¹ã¹ÃдѺ¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñé¹¾×é¹°Ò¹ãËŒÁդسÀÒ¾´ŒÒ¹¤ÇÒÁÃÙŒ áÅзѡÉзÕè¨íÒ໚¹ÊíÒËÃѺ¡ÒôíÒçªÕÇÔµ ã¹Êѧ¤Á·ÕèÁÕ¡ÒÃà»ÅÕè¹á»Å§ áÅÐáÊǧËÒ¤ÇÒÁÃÙŒà¾×è;Ѳ¹Òµ¹àͧÍ‹ҧµ‹Íà¹×èͧµÅÍ´ªÕÇÔµ ÊíÒËÃѺ¡Å‹ØÁÊÒÃСÒÃàÃÕ¹ÃÙŒÀÒÉÒä·Â »ÃСͺ´ŒÇ õ ÊÒÃЋ͠¤×Í ÊÒÃзÕè ñ ¡ÒÃÍ‹Ò¹ ÊÒÃзÕè ô ËÅÑ¡¡ÒÃ㪌ÀÒÉÒä·Â ÊÒÃзÕè ò ¡ÒÃà¢Õ¹ ÊÒÃзÕè õ ÇÃó¤´ÕáÅÐÇÃó¡ÃÃÁ ÊÒÃзÕè ó ¡Òÿ˜§ ¡Òô٠áÅСÒþٴ ˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ÀÒÉÒä·Â ÇÃó¤´ÕáÅÐÇÃó¡ÃÃÁ ».õ àÅ‹Á¹Õé¨Ñ´·íÒ¢Öé¹ÊíÒËÃѺ㪌 »ÃСͺ¡ÒÃàÃÕ¹¡ÒÃÊ͹ÇÃó¤´ÕáÅÐÇÃó¡ÃÃÁ¢Í§¹Ñ¡àÃÕ¹ÃдѺªÑé¹»ÃжÁÈÖ¡ÉÒ»‚·Õè õ â´Â ¨Ñ´·íÒãËŒÊÍ´¤ÅŒÍ§µÒÁ¡Ãͺ¢Í§ËÅÑ¡Êٵ÷ء»ÃСÒà ʋ§àÊÃÔÁ¤ÇÒÁÃÙ´Œ ÒŒ ¹ÇÃó¤´ÕáÅÐÇÃó¡ÃÃÁµ‹Ò§æ ˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ÀÒÉÒä·Â ÇÃó¤´ÕáÅÐÇÃó¡ÃÃÁ ».õ àÅ‹Á¹Õé ÁÕ ø ˹‹Ç ᵋÅÐ˹‹Ç »ÃСͺ´ŒÇ ñ. ໇ÒËÁÒ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ»ÃШíÒ˹‹Ç ¡íÒ˹´ÃдѺ¤ÇÒÁÃÙŒ ¤ÇÒÁÊÒÁÒö¢Í§¼ÙŒàÃÕÂ¹Ç‹Ò àÁ×èÍàÃÕ¹¨ºáµ‹ÅÐ˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ µŒÍ§ºÃÃÅØÁҵðҹµÑǪÕéÇÑ´·Õè¡íÒ˹´äÇŒã¹ËÅÑ¡ÊٵâŒÍã´ºŒÒ§ ò. à¹×éÍËÒ ¤ÃºµÒÁËÅÑ¡ÊÙµÃ᡹¡ÅÒ§¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñé¹¾×é¹°Ò¹ ¾Ø·¸ÈÑ¡ÃÒª òõõñ ¹íÒàÊ¹Í àËÁÒÐÊÁ¡Ñº¡ÒÃàÃÕ¹¡ÒÃÊ͹ã¹áµ‹ÅÐÃдѺªÑé¹ ó. ¡Ô¨¡ÃÃÁ ÁÕËÅÒ¡ËÅÒÂÃٻẺãËŒ¹Ñ¡àÃÕ¹»¯ÔºÑµÔ ẋ§à»š¹ (ñ) ¡Ô¨¡ÃÃÁ¹íÒÊ‹Ù¡ÒÃàÃÕ¹ ¹íÒࢌÒÊ‹Ùº·àÃÕ¹ à¾×èÍ¡Ãе،¹¤ÇÒÁʹ㨢ͧ¼ÙŒàÃÕ¹ (ò) ¡Ô¨¡ÃÃÁ¤íÒ¶ÒÁ·ŒÒÊÁͧ ¡Ô¨¡ÃÃÁ·ŒÒ½‚Á×Í ¡Ô¨¡ÃÃÃÁ½ƒ¡¤Ô´·ŒÒ»ÃÐʺ¡Òó ãËŒ ¼ÙŒàÃÕ¹»¯ÔºÑµÔà¾×Íè áÊ´§¾ÄµÔ¡ÃÃÁ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙÃŒ ǺÂÍ´ áÅлÃÐàÁÔ¹¼Å¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙµŒ ÒÁÁҵðҹµÑǪÕÇé ´Ñ »ÃШíÒ˹‹Ç ˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ÀÒÉÒä·Â ÇÃó¤´ÕáÅÐÇÃó¡ÃÃÁ ».õ àÅ‹Á¹Õé ¹íÒàʹ͡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ ãËŒàËÁÒÐÊÁá¡‹ÇÑ¢ͧ¼ÙŒàÃÕ¹㹪Ñé¹»ÃжÁÈÖ¡ÉÒ»‚·Õè õ «Öè§à»š¹¡ÒÃÈÖ¡ÉÒÊÔ觷Õèà¡ÕèÂÇ¢ŒÍ§¡Ñº¡ÒôíÒà¹Ô¹ ªÕÇµÔ »ÃШíÒÇѹ¢Í§¼ÙàŒ ÃÕ¹ â´Â㪌ÀÒ¾¹íÒàʹÍà¹×Íé ËÒµ‹Ò§æ «Ö§è ¨Ðª‹ÇÂãËŒ¼àŒÙ ÃÕ¹ÊÒÁÒöàÃÕ¹ÃÙäŒ ´Œ§Ò‹ Â¢Ö¹é ¤³Ð¼Ù¨Œ ´Ñ ·íÒËÇѧ໚¹Í‹ҧÂÔ§è Ç‹Ò Ë¹Ñ§Ê×ÍàÃÕ¹ ÀÒÉÒä·Â ÇÃó¤´ÕáÅÐÇÃó¡ÃÃÁ ».õ àÅ‹Á¹Õé ¨Ð໚¹Ê×èÍ¡ÒÃàÃÕ¹¡ÒÃÊ͹·ÕèÍíҹǻÃÐ⪹ µ‹Í¡ÒÃàÃÕ¹ÀÒÉÒä·Â à¾×èÍãËŒà¡Ô´ÊÑÁÄ·¸Ô¼Å µÒÁÁҵðҹµÑǪÕéÇÑ´·Õè¡íÒ˹´äÇŒã¹ËÅÑ¡ÊÙµÃ᡹¡ÅÒ§¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñé¹¾×é¹°Ò¹ ¾Ø·¸ÈÑ¡ÃÒª òõõñ ·Ø¡»ÃСÒà ¤³Ð¼ÙŒ¨Ñ´·íÒ


กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

อธิบายความรู

Explore

ขยายความเขาใจ

Explain

ตรวจสอบผล

Expand

คําชี้แจงในการใชสื่อ

Evaluate

แนวคิดสําคัญ แกนความรูที่เปนความเขาใจ คงทนติดตัวผูเรียน แนวคิดสําคัญ 

การอานวรรณกรร สรุปใจความสําคัญ มเรอื่ ง พระเจาสายนํา้ ผึง้ และพระนาง ขอ สร และสามารถนําควา งเรื่อง และบอกขอคิดที่ได จะทําให อยดอกหมาก แลว มรูและขอคิดที่ไ เขาใจเนื้อเรื่องที  นิทานพ ื้นบาน คือ เรื่องเล ดไปใชประโยชนในชีวิตประจําวันได ่อาน าที่มนุษย เลาปากตอปาก เนื้อเรื่องมีความหล ผูกเรื่องขึ้น แลวถายทอดกันมาดว ยกา ากหลายตามแตส ทองถิ่น ภาพแวดลอมของแ ร ตละ กิจกรรมนําสู

การเรียน

หนวยการเรียนรูที่

 ¹Ô·Ò¹¾×鹺ŒÒ¹ä·

¹Ô·Ò¹¾×鹺ŒÒ¹ÁÕÅÑ¡ ɳÐàËÁ×Í ¨Ò¡¹Ô·Ò¹·ÑèÇä»Í‹ ¹ËÃ×Íᵡµ‹Ò§ Ò§äúŒÒ§¤ÃѺ

ñ

¹Ô·Ò¹¾×鹺ŒÒ¹ÁÑ¡¶‹ Ò· â´Â¡Òú͡àÅ‹Ò»Ò¡ Í´ µ‹Í»Ò¡

......

¹Ô·Ò¹¾×鹺ŒÒ¹¨ÐáÊ ´§ ¤ÇÒÁàª×èͧ͢ªÒǺŒÒ ¹

ที่ ๑ ียนรูประจําบท เปาหมายการเร /๑) ี้ ตอไปน วามทสาม๕.๑ารถป.๕

ค านรู(มฐ. ถือในฐานะเปนศูนย เรื่อมีงทีค่อวาม รียนจะ นนับ/๒) ําคั้ ญผูเจาก วยนี ามส ๕.๑ี่ตป.๕ อศาสท นาท ใจควหน เรียปนจบ เมื ๑. ่อสรุ ธศา่กสนา ําหนดหรื(มฐ. านเรืพุท่องที ญของ ารอพระ ดที่ไสํดาจคัากก /๓) /๑] ขอคิวาม ป.๕ ป.๔ บถือ ๑. บอกบายค ๕.๑ ๑.๑ ท ส ๒. อธิ ื้นบานได (มฐ.ประกาศธรรม หรือประวัตศิ าสดาทีต่ นนั านพ[มฐ. ตใจขอ าของสนินิกทชน ุณคงศา อธิบจิายค ๓. รวม งั้ แตบรรลุธรรมจนถงึ ๒. สรุปพุทธประวัตติ ส ๑.๑ ป.๔/๒] /๘] ป.๔ ๑.๑ ส [มฐ. ังเขป [มฐ. ตามที่กําหนด าของศาสนาอื่นๆ โดยส ๓. อธิบายประวัติศาสด

มาตรฐานตัวชี้วัด ระบุตัวชี้วัดที่กําหนดไว เน�้อหา ในแตละบท ครบตามหลักสูตรแกนกลางฯ ’๕๑ นําเสนอโดยใชภาพ และเน�้อหา เหมาะสมกับการเรียนการสอน

เปาหมายการเรียนรู กําหนดระดับความรูความสามารถ ของผูเรียนเมื่อเรียนจบบท

นารู

นิทานพื้นบาน ญ น้ ดวยภูมปิ ญ ญา สวนให อ่ งเลา ทีม่ นุษยผกู เรือ่ งขึ ลักษณอ กั ษร เนือ้ เรือ่ ง เรื อ คื น า นิทานพนื้ บ ลาย น เป ก ทึ น ปากตอปาก ไมไดจดบั แวดลอม จะถา ยทอดดวยการเลา งๆ ตามโอกาสและสภาพ ชเลาเพือ่ จุดประสงคต า มีความหลากหลายและใ ของแตละทองถิ่น

กิจกรรมนําสูการเรียน นําเขาสูบทเรียนโดยใชกระตุน ความสนใจและวัดประเมินผล กอนเรียน

¡Ô¨¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃ

Õ¹ÃÙŒ

๑. อานในใจเรื่อง พระเจา และสรุปใจความสํ สายนํ้าผึ้ง และพระนางสรอยดอก หมาก าคัญแลวเขียนลงใน สมุด ๒. เขียนแสดงคว ามคิดเห็ พระเจาสายนํ้าผึ้ง นของนกั เรียนเกยี่ วกบั ตัวละครในนิท าน และพระนางสรอยด อกหมาก ลงในสมุ เรือ่ ง ๓. ชวยกันแตงนิ ด ทาน ๑ เรื ตอเนื่องกัน แลวตั ่อง โดยพูดคนละ ๑ ประโยค ใหม ้งชื่อเรื่อง ีเนื้อหา

¡ÒŤÃÑé§Ë¹Öè§ ¹Ò¹ÁÒáÅŒÇ...

¡ÒŤÃÑé§Ë¹Öè§ ¹Ò¹ÁÒáÅŒÇ

Í×Á ...

.........

.........

๔. รวบรวมนิทาน พื้นบานท ๑) สอบถามพอแม ี่มีในทองถิ่นสําคัญโดยปฏิบัติ ดัง นี้  ผูป ๒) จดบันทึกสาระสํ กครอง หรือบุคคลอื่นๆ าคัญขอ และภูมิลําเนาของผ งนิทานที่ฟง พรอมระบุชื่อ-สกุล อายุ ๓) เขียนสรุปขอคิ ูเลา ดที่ไ ๔) รวบรวมนิทาน ดจากนิทาน ที่ไดมาจัดทําเปนรู ปเลมใหสวยงาม om/lib/p/tha_05 (เรื่อง

http:// www.aksorn.c

นิทานพื้นบาน)

EB GUIDE

๑๓

๑๗

Web Guide แหลงเรียนรูทางอินเทอรเน็ต

กิจกรรมพัฒนาการเรียนรู ใหผูเรียนฝกปฏิบัติเพื่อแสดงพฤติกรรม การเรียนรูรวบยอดและประเมินผล การเรียนรูตามมาตรฐานตัวชี้วัดประจําหนวย


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

สารบัญ ●

ตารางวิเคราะหมาตรฐานการเรียนรู

หนวยการเรียนรูที่ หนวยการเรียนรูที่ หนวยการเรียนรูที่ หนวยการเรียนรูที่ หนวยการเรียนรูที่ หนวยการเรียนรูที่ หนวยการเรียนรูที่ หนวยการเรียนรูที่

บรรณานุกรม EB GUIDE

๑ นิทานพื้นบานไทย ๒ นอมรําลึกพระคุณครู

๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘

๑ ๑๘ เพลินอานงานพระราชนิพนธ ๓๔ กระเชาใบนอยของนางสีดา ๖๐ แมโพสพ ๗๗ มิตรแท ๙๓ พระสังขพบพระบิดาพระมารดา ๑๑๐ บัวนอยคอยคลี่บาน ๑๓๔ ๑๕๔

คนควาขอมูลเพิ่มเติม จากเว็บไซตที่อยูในหนังสือเรียน หนา ๘, ๑๓, ๒๔, ๓๙, ๔๖, ๕๒, ๙๐, ๑๑๒


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

ตารางวิเคราะห

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

Áҵðҹ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙጠÅеÑǪÕÇé ´Ñ ÃÒÂÇÔªÒ ÀÒÉÒä·Â ».๕

คําชี้แจง : ใหผูสอนใชตารางน�้ตรวจสอบวา เน�้อหาสาระการเรียนรูในหนวยการเรียนรูสอดคลองกับมาตรฐาน การเรียนรูและตัวชี้วัดชั้นปในขอใดบาง

มาตรฐาน การเรียนรู

สาระการเรียนรู ตัวชี้วัด ชั้น ป.๕

หนวยที่ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘

สาระที่ ๑ การอาน ๑. อานออกเสียงบทรอยแกว และบทรอยกรองไดถูกตอง ๒. อธิบายความหมายของคํา ประโยค และขอความที่เปนการ บรรยายและการพรรณนา ๓. อธิบายความหมายโดยนัยจากเรื่องที่อานอยางหลากหลาย

มฐ. ท ๑.๑

๔. แยกขอเท็จจริง และขอคิดเห็นจากเรื่องที่อาน ๕. วิเคราะหและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่อานเพื่อนํา ไปใช ๖. อานงานเขียนเชิงอธิบาย คําสั่ง ขอแนะนํา และปฏิบัติตาม ๗. อานหนังสือที่มีคุณคาตามความสนใจอยางสมํ่าเสมอ และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่อาน ๘. มีมารยาทในการอาน สาระที่ ๒ การเขียน ๑. คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด

สาระที่ ๑-๒ นี้ จะปรากฏใน หนังสือเรียน ภาษาไทย หลักภาษาและการใชภาษา ป.๕

๒. เขียนสือ่ สารโดยใชคาํ ไดถกู ตอง ชัดเจน และเหมาะสม

มฐ. ท ๒.๑

๓. เขียนแผนภาพโครงเรื่อง และแผนภาพความคิด เพื่อใชพัฒนางานเขียน ๔. เขียนยอความจากเรื่องที่อาน ๕. เขียนจดหมายถึงผูปกครองและญาติ ๖. เขียนแสดงความรูสึกและความคิดเห็นไดตรงตามเจตนา ๗. กรอกแบบรายการตางๆ ๘. เขียนเรื่องตามจินตนาการ ๙. มีมารยาทในการเขียน

µ‹Í


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

ตารางวิเคราะห มาตรฐาน การเรียนรู

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Áҵðҹ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙጠÅеÑǪÕÇé ´Ñ ÃÒÂÇÔªÒ ÀÒÉÒä·Â ».๕ (ตอ) หนวยที่

สาระการเรียนรู ตัวชี้วัด ชั้น ป.๕

สาระที่ ๓ การฟง การดู และการพูด ๑. พูดแสดงความรู ความคิดเห็น และความรูสึก จากเรื่องที่ฟงและดู

มฐ. ท ๓.๑

๒. ตัง้ คําถามและตอบคําถามเชิงเหตุผลจากเรือ่ งทีฟ่ ง และดู ๓. วิเคราะหความนาเชือ่ ถือจากเรือ่ งทีฟ่ ง และดู อยางมีเหตุผล ๔. พูดรายงานเรื่องหรือประเด็นที่ศึกษาคนควาจาก การฟง การดู และการสนทนา ๕. มีมารยาทในการฟง การดู และการพูด สาระที่ ๔ หลักการใชภาษาไทย ๑. ระบุชนิดและหนาที่ของคําในประโยค

สาระที่ ๓-๔ นี้ จะปรากฏใน หนังสือเรียน ภาษาไทย หลักภาษาและการใชภาษา ป.๕

๒. จําแนกสวนประกอบของประโยค

มฐ. ท ๔.๑

๓. เปรียบเทียบภาษาไทยมาตรฐานกับภาษาถิ�น ๔. ใชคําราชาศัพท ๕. บอกคําภาษาตางประเทศในภาษาไทย ๖. แตงบทรอยกรอง ๗. ใชสาํ นวนไดถกู ตอง สาระที่ ๕ วรรณคดีและวรรณกรรม

มฐ. ท ๕.๑

๑. สรุปเรือ่ งจากวรรณคดีหรือวรรณกรรมทีอ่ า น

✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓

๒. ระบุความรูและขอคิดจากการอานวรรณคดีและ วรรณกรรมที่สามารถนําไปใชในชีวิตจริง

✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓

๓. อธิบายคุณคาของวรรณคดีและวรรณกรรม

✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓

๔. ทองจําบทอาขยานตามทีก่ าํ หนด และบทรอยกรอง ที่มีคุณคาตามความสนใจ

สาระที่ ๕ ตัวชีว้ ดั ขอ ๔ น�้ จะปรากฏในหนังสือเรียน ภาษาไทย วรรณคดีและวรรณกรรม ป.๕


กระตุน้ ความสนใจ Engage

ส�ารวจค้นหา

อธิบายความรู้

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Expore

Explain

Expand

Evaluate

เปาหมายการเรียนรู

1. สรุปใจความสําคัญจากเรื่องที่อาน 2. บอกขอดีจากเรื่องที่อาน 3. บอกคุณคาของนิทานพื้นบาน

สมรรถนะของผูเรียน 1. ความสามารถในการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการใชทกั ษะชีวิต

คุณลักษณะอันพึงประสงค

หนวยการเรียนรูที่

¹Ô·Ò¹¾×鹺ŒÒ¹ä·Â

ñ

าหมายการเรียยนรู นรูปประจํ ระจําบทที าบทที่ ๑่ ๑ เปเปาหมายการเรี นจบหน่วายนี ผูเรียนจะมี อไปนี้ ๑.เมืสรุ่อเรีปยใจความสํ คัญ้ จากเรื ่องที่อค่าวามรู น (มฐ.ความสามารถต่ ท ๕.๑ ป.๕/๑) ๑. อธิ บ ายความสํ า คั ญ ของพระพุ ท ธศาสนา หรื อ ศาสนาที ่ตนนับถือในฐานะเปนศูนย ๒. บอกขอคิดที่ไดจากการอ่านเรื่องที่กําหนด (มฐ. ท ๕.๑ ป.๕/๒) กชน้น[มฐ. ส ๑.๑ ๓. อธิรวมจิ บายคุตณใจของศาสนิ ค่าของนิทานพื บานได (มฐ.ป.๔/๑] ท ๕.๑ ป.๕/๓) ๒. สรุปพุทธประวัตติ งั้ แต่บรรลุธรรมจนถึงประกาศธรรม หรือประวัตศิ าสดาทีต่ นนับถือ ตามที่กําหนด [มฐ. ส ๑.๑ ป.๔/๒] ๓. อธิบายประวัติศาสดาของศาสนาอื่นๆ โดยสังเขป [มฐ. ส ๑.๑ ป.๔/๘]

1. ใฝเรียนรู 2. มุงมั่นในการทํางาน 3. มีความรับผิดชอบ

กระตุน้ ความสนใจ

Engage

1. ใหนักเรียนดูภาพและอานชื่อเรื่องในหนังสือ หนา 1 แลวรวมกันคาดเดาวา นักเรียนนาจะ ไดเรียนรูเกี่ยวกับเรื่องอะไร (แนวตอบ นิทานพื้นบานที่มีเรื่องราวเกี่ยวของ กับวัด) 2. ครูอธิบายใหนักเรียนทราบวา ในหนวย การเรียนรูที่ 1 นี้ จะไดเรียนรูเรื่องอะไรบาง

เกร็ดแนะครู ในหนวยการเรียนรูที่ 1 มีเนื้อหา ดังนี้ 1. วรรณกรรม เรื่อง นิทานพื้นบานไทย (นิทานพื้นบานเรื่อง พระเจาสายนํ้าผึ้ง และพระนางสรอยดอกหมาก) 2. คําศัพทนารูจากเนื้อเรื่อง 3. นารู เรื่อง นิทานพื้นบาน 4. กุญแจไขความรู เรื่อง วัดพนัญเชิง

คู่มือครู

1


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา Explore

Engaae

ส�ารวจค้นหา

อธิบายความรู้

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Elaborate

Evaluate

Explore

1. ครูสนทนาซักถามนักเรียนวา นิทานที่นักเรียน เคยเรียนผานมากับนิทานพื้นบาน มีความ แตกตางกันหรือไม อยางไร เพือ่ เปนการทบทวน ความรูเดิมของนักเรียน และประเมินความรู เบื้องตนของนักเรียน 2. ครูแบงนักเรียนเปนกลุม กลุมละ 5-6 คน ใหนักเรียนแตละกลุมชวยกันอภิปรายคําถาม ที่ครูถาม และชวยกันยกตัวอยางนิทาน และนิทานพื้นบานมาอยางละ 1 เรื่อง 3. ใหนักเรียนแตละกลุมออกมานําเสนอผลการ อภิปรายที่หนาชั้นเรียน โดยครูและเพื่อน กลุมอื่นคอยตรวจสอบความถูกตอง และแสดงความคิดเห็นเพิ่มเติม 4. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปสาระสําคัญเรื่อง ความแตกตางระหวางนิทานทั่วไป และนิทาน พื้นบาน • นิทานพื้นบานแตกตางจากนิทานทั่วไป ตรงที่เปนเรื่องที่สืบทอดกันมาปากตอปาก และไมทราบวาผูใดแตง

แนวคิดสําคัญ การอ่านวรรณกรรมเรือ่ ง พระเจาสายนํา้ ผึง้ และพระนางสรอยดอกหมาก แลว สรุปใจความสําคัญของเรื่อง และบอกขอคิดที่ได จะทําใหเขาใจเนื้อเรื่องที่อ่าน และสามารถนําความรูและขอคิดที่ไดไปใชประโยชนในชีวิตประจําวันได  นิทานพื้นบาน คือ เรื่องที่เล่ากันมา แลวถ่ายทอดดวยการเล่าปากต่อปาก เนื้อเรื่องมีความหลากหลายตามแต่สภาพแวดลอมของแต่ละทองถิ่น 

กิจกรรมนําสูการเรียน ¹Ô·Ò¹¾×鹺ŒÒ¹ÁÕÅѡɳÐàËÁ×͹ËÃ×Íᵡµ‹Ò§ ¨Ò¡¹Ô·Ò¹·ÑèÇä»Í‹ҧäúŒÒ§¤ÃѺ

¹Ô·Ò¹¾×鹺ŒÒ¹ÁÑ¡¶‹Ò·ʹ â´Â¡Òú͡àÅ‹Ò»Ò¡µ‹Í»Ò¡

¹Ô·Ò¹¾×鹺ŒÒ¹áÅйԷҹ·ÑèÇä»ÁÑ¡ ãËŒ¢ŒÍ¤Ô´´Õæ á¡‹¼ÙŒÍ‹Ò¹ËÃ×ͼٌ¿˜§ ¹Ô·Ò¹¾×鹺ŒÒ¹¨ÐáÊ´§ ¤ÇÒÁàª×èͧ͢ªÒǺŒÒ¹

เกร็ดแนะครู ครูจัดกระบวนการเรียนรู โดยการใหนักเรียนปฏิบัติ ดังนี้ • อานออกเสียงและอานในใจขอความและเรื่องที่กําหนด • สรุปใจความสําคัญของเรื่องที่อาน • วิเคราะหและสรุปขอคิดที่ได แลวนําไปประยุกตใชในชีวิตประจําวัน

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T นิทานในขอใด ไมใชนิทานพื้นบาน 1. เมขลารามสูร 2. กระตายกับเตา 3. ปลาบูทอง 4. ศรีธนญชัย

วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 2. เพราะกระตายกับเตาเปนนิทานที่แตงโดย อีสป จึงไมใชนิทานพื้นบานที่ไมทราบวาผูแตงคือใคร

2

คู่มือครู


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

Engaae

Expore

อธิบายความรู้ Explain

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

อธิบายความรู้

Explain

1. ใหนักเรียนดูภาพและรวมกันอานออกเสียง เรื่อง นิทานพื้นบานไทย ในหนังสือ หนา 3 พรอมๆ กัน 2. ใหนักเรียนรวมกันเปรียบเทียบเรื่อง การทําเวร ประจําวันในการทําความสะอาดหองเรียน ของนักเรียนกับของปญญา วาเหมือนหรือ แตกตางกันอยางไรบาง โดยอาจทําเปนตาราง เชน

¹Ô·Ò¹¾×鹺ŒÒ¹ä·Â กริ๊ง…กริ๊ง… เสียงสัญญาณบอกเวลาเลิกเรียนดังขึ้น สันติเก็บหนังสือและ อุปกรณใส่กระเปานักเรียนแลวเดินไปหาปญญาที่หอง ป. ๕/๑ “ปญญา ปญญาอยูไหมครับ” สันติถามเพื่อนนักเรียนคนหนึ่งที่ กําลังทําเวรประจําวันอยู่ “ฉันอยูนี่ สันติ” ปญญาเดินออกมาหาสันติ แลวบอกใหสันติรอที่ ระเบียงหนาหองก่อน เพราะเขาจะตองทําความสะอาดหองเรียนร่วมกับ 1 เพื่อนๆ ที่เปนเวรประจําวันก่อน

หัวขอ

โรงเรียนของ ปญญา

โรงเรียนของ นักเรียน

1. เวลา

ทําหลังเลิกเรียน

ทํากอนเขาเรียน

2. การแบงงาน

แบงงานกันทํา

ชวยกันทํา

3. ...................

............................

...........................

เปนตน

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T “ฉันอยูนี่ สันติ” ปญญาเดินออกมาหาสันติแลวบอกใหสันติรอที่ระเบียง หนาหองกอน เพราะเขาจะตองทําความสะอาดหองเรียนรวมกับเพื่อนๆ ที่เปนเวรประจําวันกอน จากขอความที่กําหนด ปญญามีลักษณะนิสัยอยางไร 1. รับผิดชอบในงานที่ทํา 2. ซื่อสัตยสุจริต 3. มีนํ้าใจตอผูอื่น 4. เปนหวงผูอื่น

นักเรียนควรรู 1 เวรประจําวัน เวร หมายถึง รอบผลัดในหนาที่การงาน ซึ่งเวรประจําวัน หมายถึง รอบผลัดในการทําความสะอาดหองเรียนในแตละวันของนักเรียน

มุม IT ศึกษานิทานพื้นบานเพิ่มเติม ไดที่ http://thaiarc.tu.ac.th/folktales ซึ่งมีทั้ง นิทานพื้นบานภาคเหนือ นิทานพื้นบานภาคอีสาน นิทานพื้นบานภาคกลาง และนิทานพื้นบานภาคใต

วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 1. จากขอความแสดงใหเห็นวา ปญญามีความ รับผิดชอบในการทําความสะอาดหองเรียนที่เขาเปนเวรประจําวันอยู

คู่มือครู

3


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

Engaae

Expore

อธิบายความรู้

อธิบายความรู้ Explain

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Explain

1. ใหนักเรียนรวมกันอานออกเสียงวรรณกรรม ในหนังสือ หนา 4 พรอมๆ กัน 2. ใหนักเรียนรวมกันตอบคําถามวา • ถานักเรียนไมชวยกันทําความสะอาด หองเรียนตามเวรที่ไดรับมอบหมาย จะเกิดผลอยางไร (แนวตอบ อาจทําใหหองเรียนสกปรก และเดือดรอนเพื่อนนักเรียนคนอื่น ตองทําความสะอาดแทน) • นักเรียนคิดวา วิธีการทําเวรประจําวัน ของปญญา และของสันติ วิธีใดดีกวากัน เพราะเหตุใด (แนวตอบ ตอบไดหลากหลาย เชน วิธีของ ปญญาดีกวา เพราะทุกคนจะไดกลับบาน พรอมกัน เปนตน)

ปญญาเดินออกมาหาสันติหลังจากทําเวรประจําวันเสร็จ และเก็บ อุปกรณเรียบรอยแลว เด็กทั้งสองเดินกลับบานพรอมกันเพราะบานของ ทั้งคู่อยู่เสนทางเดียวกัน และไม่ไกลจากโรงเรียน “ทําไมหองเธอไมแบงหนาทีท่ าํ เวรเหมือนหองฉันละ คือ ใครกวาด ก็กวาด ใครถูก็ถู พอทําเสร็จจะไดกลับบานกอน” ปญญาอธิบายใหสันติฟงว่า “พวกฉันคิดวา ถาใหทุกคนที่เปนเวร ประจําวันชวยกันทํา งานก็จะเสร็จเร็ว แตถา แบงวา คนนีก้ วาดพืน้ คนโนน ถูพนื้ ฉันวามันจะเสียเวลานะ เพราะคนทีจ่ ะถูหอ งก็ตอ งรอใหคนกวาดกวาด เสร็จกอน ที่หองของเธอทําเวรประจําวันแบบหนาที่ใครหนาที่มันเหรอ” “ใช…แลวก็สลับกันไปเลยวา สัปดาหนี้ใครจะเปนคนกวาดพื้น สัปดาหหนาใครจะเปนคนถูพนื้ เพราะมีแตคนอยากกวาดพืน้ ไมคอ ยมีใคร อยากถูพื้นหรอก เพราะตองกลับบานทีหลังนะ” สันติบอก ปญญาพยักหนา “แตละวิธีมันก็มีขอดีขอเสียนะ”

เกร็ดแนะครู ครูเนนยํ้าใหนักเรียนมีความรับผิดชอบในงานที่ไดรับมอบหมาย เชน การทําเวร ประจําวัน เปนตน เพื่อฝกใหนักเรียนเปนผูมีความรับผิดชอบ ซึ่งจะเปนพื้นฐานที่ดี ในการอยูรวมกับผูอื่นไดอยางมีความสุข

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

ก ปดฝุนที่หนาตาง ข กวาดพื้นหองเรียน ค ลบกระดานดํา ง ถูพื้นหองเรียน ขอใดเรียงลําดับขั้นตอนการทําความสะอาดหองเรียนอยางเหมาะสมที่สุด 1. ก ข ค ง 2. ก ค ข ง 3. ข ก ค ง 4. ค ข ก ง วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 2. ในการทําความสะอาด ควรทําความสะอาด จากที่สูงลงที่ตํ่า และกวาดพื้นกอนถูพื้น ขอ 2. จึงเปนคําตอบที่ถูก

4

คู่มือครู


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

Engaae

Expore

อธิบายความรู้ Explain

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

อธิบายความรู้

“ปญญา เธอชวยแนะนํานิทานพื้นบานใหฉันสักเรื่องไดไหม” สันติขอรอง “ฉันจะตองทํารายงานเรื่องนิทานพื้นบานสงคุณครูสุพัตรา 1 ทีนี้ฉันอยากใสตัวอยางนิทานพื้นบานประกอบเนื้อหารายงานนะ” ปญญาพยักหนา แลวตอบสันติว่า “ฉันเคยอานนิทานพื้นบาน หลายเรื่องเหมือนกัน บางทีแมก็เลาใหฉันฟงบาง ฉันเลานิทานพื้นบาน ที่เคยอานมาใหเธอฟงกอนดีไหม เผื่อเธอจะชอบ” “ดีสิ วาแตเธอจะเลาเรื่องอะไรหรือ” สันติถาม “เรือ่ งพระเจาสายนํา้ ผึง้ และพระนางสรอยดอกหมาก นิทานเรือ่ งนี้ เปนนิทานพื้นบานของจังหวัดพระนครศรีอยุธยานะ” ปญญาตอบแลวเล่า 2 นิทานพืน้ บานเรือ่ ง พระเจาสายนํา้ ผึง้ และพระนางสรอยดอกหมากใหสนั ติฟง

Explain

1. ใหนักเรียนรวมกันอานออกเสียงวรรณกรรม ในหนังสือ หนา 5 พรอมๆ กัน 2. ใหนักเรียนรวมกันตอบคําถามวา • นักเรียนคิดวา ละครที่ฉายทางโทรทัศน ทุกวันนี้ เปนนิทานพื้นบานหรือไม เพราะเหตุใด (ตอบ ไมใช เพราะไมใชเรื่องที่เลาตอๆ กันมา) • การอานหรือฟงนิทานพื้นบาน มีประโยชน อยางไร (แนวตอบ ทําใหไดรับความรูเกี่ยวกับจารีต ประเพณี พิธีกรรมตางๆ ไดรับความบันเทิง และไดรับแนวทางในการดําเนินชีวิตดวย)

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

ละครที่ฉายทางโทรทัศนเรื่องใด นําเนื้อเรื่องมาจากนิทานพื้นบาน 1. เจาหญิงแตงออน 2. ทานชายในสายหมอก 3. ปญญาชนกนครัว 4. บานนอกเขากรุง

วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 1. เจาหญิงแตงออน เปนนิทานพื้นบานประเภท นิทานมหัศจรรย

นักเรียนควรรู 1 รายงาน เปนการเขียนเรื่องทางวิชาการ โดยการศึกษาคนควาขอมูลจาก แหลงตางๆ แลวนํามาเรียบเรียงเปนภาษาของตนเอง รายงานมีสวนประกอบ ดังนี้ ปกหนา คํานํา สารบัญ เนื้อหา บรรณานุกรม และปกหลัง 2 นิทานพื้นบานเรื่อง พระเจาสายนํ้าผึ้งและพระนางสรอยดอกหมาก เปนนิทาน พื้นบานประเภทนิทานประจําถิ่น คือ เปนนิทานที่มีโครงเรื่องผูกพันกับสถานที่ หรือโบราณสถานในทองถิ่นนั้นๆ แนวเรื่องจะเชื่อกันวาเปนเหตุการณที่เกิดขึ้นจริง ในอดีต และยังมีหลักฐานปรากฏอยู

คู่มือครู

5


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

Engaae

Expore

อธิบายความรู้

อธิบายความรู้ Explain

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Explain

1. ใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ 5-6 คน จากนั้น ใหนักเรียนแตละกลุมอานนิทานพื้นบานเรื่อง พระเจาสายนํ้าผึ้งและพระนางสรอยดอกหมาก ในหนังสือ หนา 6-8 ในใจ โดยครูกําหนดเวลา ที่เหมาะสมใหนักเรียนอาน 2. ใหนักเรียนแตละกลุมปฏิบัติกิจกรรม ดังนี้ 1) ชวยกันตั้งคําถามเกี่ยวกับนิทานพื้นบาน เรื่อง พระเจาสายนํ้าผึ้งและพระนางสรอย ดอกหมาก ใหครอบคลุมเนื้อเรื่องมากที่สุด 2) ผลัดกันถามคําถามที่กลุมตนเองคิดใหเพื่อน กลุมอื่นทาย กลุมใดตอบไดมากที่สุดเปน กลุมชนะ 3) รวมกันรวบรวมคําถามและคําตอบ จากนิทานพื้นบานเรื่อง พระเจาสายนํ้าผึ้ง และพระนางสรอยดอกหมาก 3. ใหนักเรียนรวมกันสรุปใจความสําคัญของนิทาน พื้นบานเรื่อง พระเจาสายนํ้าผึ้งและพระนาง สรอยดอกหมาก

¾ÃР਌ÒÊÒ¹íéÒ¼Öé§ áÅоÃйҧ ÊÌʹ͡ËÁÒ¡

พระเจ า กรุ ง จี น ที่ มี ธิ ดาบุ ญ ธรรมซึ่ ง พบ 1 อยู่ในจั่นหมากจึงตั้งชื่อว่า นางสรอยดอกหมาก เมื่อเจริญวัยขึ้นมีสิริโฉมงดงามยิ่ง พระเจากรุงจีน คิดจะหาคู่ใหพระธิดาบุญธรรมจึงใหโหรมาตรวจดูดวงชะตา โหรทูลว่า เนื้อคู่พระนางอยูท่ างทิศตะวันตก คือทางกรุงศรีอยุธยา พระเจากรุงจีนจึง ส่งราชทูต และเครือ่ งบรรณาการมายังกรุงศรีอยุธยาเพือ่ เจริญพระราชไมตรี และมีพระราชสาสนยกพระธิดาให ครั้นพระเจากรุงศรีอยุธยาทราบเรื่องก็ทรงดีพระทัย พรอมทั้งส่ง เครือ่ งบรรณาการตอบแทนจํานวนมาก และกล่าวว่า จะเสด็จไปรับพระนาง ภายหลังดวยพระองคเอง

เกร็ดแนะครู ในการสอนใหนักเรียนอานในใจ ครูควรแนะหลักปฏิบัติในการอาน ดังนี้ 1. ทําความเขาใจหรือคาดเดาเนื้อเรื่องจากชื่อเรื่อง 2. อานเนื้อเรื่องตั้งแตบรรทัดแรก ดวยการกวาดสายตาจากซายไปขวาใหผาน ทุกคําโดยไมตองเคลื่อนใบหนา 3. หากพบคํายากในขณะอาน ใหใชวิธีการเดาความหมายจากบริบทหรือถอยคํา ในประโยคขางเคียง

นักเรียนควรรู 1 จั่นหมาก เปนชอดอกของตนหมากเมื่อยังออนอยู เกิดบริเวณซอกโคนกานใบ หรือกาบหมาก

6

คู่มือครู

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T พระเจากรุงจีนที่มีธิดาบุญธรรมซึ่งพบอยูในจั่นหมาก จึงตั้งชื่อวา นางสรอยดอกหมาก จากขอความที่กําหนด เปนการเขียนลักษณะใด 1. แนะนํา 2. ชี้แจง 3. สั่งสอน 4. อธิบาย วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 4. จากขอความเปนการอธิบายที่มาของชื่อ นางสรอยดอกหมาก วามีที่มาจากอะไร ขอ 4. จึงเปนคําตอบที่ถูกตอง


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

Engaae

Expore

อธิบายความรู้ Explain

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

อธิบายความรู้

เมือ่ ราชทูตพระเจากรุงจีนกลับไปแลว พระราชาไดตระเตรียม ยกพยุหโยธาไปทางชลมารค ครัน้ ถึงแหลมวัดปากคลองจึงจอดเรือพระทีน่ งั่ อยูห่ นาวัด ทรงเห็นผึง้ จับอยูท่ อี่ กไก่หนาบันพระอุโบสถ จึงตัง้ จิตอธิษฐาน ต่อพระประธานในอุโบสถว่า หากเดชะบารมีที่พระองคจะปกครองอาณา ประชาราษฎรใหอยู่เย็นเปนสุข ขอใหนํ้าผึ้งยอยลงมาสู่เรือพระที่นั่ง ครั้น ตรัสสิ้นเสียง นํ้าผึ้งก็ยอยลงมาสู่เรือพระที่นั่ง พวกเสนาอํามาตยและพระ เถราจารยเห็นบารมี จึงพรอมกันสวดชัยมงคลคาถา และถวายพระนามว่า พระเจาสายนํ้าผึ้ง จากนั้นพระเจาสายนํ้าผึ้งสั่งใหเสนาอํามาตยกลับเมือง โดยพระองคจะเสด็จเมืองจีนดวยเรือพระทีน่ งั่ เอกชัยเพียงลําเดียว ดวยเดชะ บารมีของพระองคจงึ เสด็จผ่านทะเลหลวงไปถึงอ่าวเมืองจีน พวกจีนเห็นเปน อัศจรรยจงึ นําความกราบทูลพระเจากรุงจีน พระเจากรุงจีนเห็นว่ามีบญุ บารมี จริงๆ จึงแต่งกระบวนแห่มารับพระเจาสายนํา้ ผึง้ เขาสูพ่ ระราชวัง เสนาจีนได กล่าวขานถึงบุญบารมีของพระองคไปทัว่ พระเจากรุงจีนจึงอภิเษกพระธิดา บุญธรรมใหพรอมกับแต่งเรือสําเภา ๕ ลํา บรรทุกเครือ่ งอุปโภคบริโภค และ ชาวจีน ๕๐๐ คน เพือ่ ติดตามพระเจาสายนํา้ ผึง้ กลับกรุงศรีอยุธยาดวย 1 พระเจาสายนํา้ ผึง้ รอนแรมมาในทะเลไดสบิ หาวันก็ถงึ เมืองไทย ดวยพระบารมีจงึ เดินทางไดรวดเร็ว พระสงฆราชาคณะพรอมดวยเสนาบดี 2 และพสกนิกรทั่วไปต่างก็ยินดี ไดประดับธงทิวตกแต่งบานเรือนเพื่อการ รับเสด็จสูพ่ ระนคร ก่อนเสด็จขึน้ จากเรือสูพ่ ระราชวัง พระเจาสายนํา้ ผึง้ รับสัง่ ใหพระนางสรอยดอกหมากประทับคอยทีเ่ รือกลางนํา้ เพือ่ 3พระองคจะไดตกแต่ง ตําหนักใหเรียบรอยก่อน เมือ่ เรียบรอยแลวสัง่ ใหเฒ่าแก่นาํ เรือพระทีน่ งั่ มารับ พระนาง พระนางกล่าวว่า เสด็จมาพรอมพระราชาดวยความยากลําบาก เมือ่

Explain

1. ใหนักเรียนรวมกันสรุปขอคิดที่ไดจากนิทาน พื้นบานเรื่อง พระเจาสายนํ้าผึ้งและพระนาง สรอยดอกหมาก • นิทานพื้นบานเรื่อง พระเจาสายนํ้าผึ้ง และพระนางสรอยดอกหมาก ใหขอคิดวา กอนจะพูดอะไรนั้น ควรคิดใหดีเสียกอนวา จะทําใหผอู นื่ รูส กึ อยางไร เพราะหากพูดแลว ทําใหผูฟงเสียใจ อาจทําใหเกิดเหตุการณ รายๆ ตามมาได 2. ใหนักเรียนเขียนแผนภาพโครงเรื่อง เรื่อง พระเจาสายนํ้าผึ้งและพระนาง สรอยดอกหมาก ตามหัวขอ ดังนี้ 1) ตัวละคร 2) สถานที่ 3) เหตุการณที่เกิด 4) ผลของเหตุการณ 3. ใหนักเรียนนําเสนอผลการเขียนแผนภาพ โครงเรื่องที่หนาชั้นเรียน

บูรณาการเชื่อมสาระ

ครูบูรณาการความรูในสาระภาษาไทย กับสาระสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม วิชาสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม เรื่อง แผนที่ โดยใหนักเรียนปฏิบัติกิจกรรม “ตามรอยพระเจาสายนํ้าผึ้ง” คือ ใหนักเรียน ดูแผนที่ของทวีปเอเชีย แลวคิดวิเคราะหวา พระเจาสายนํ้าผึ้งเสด็จทาง ชลมารคจากกรุงศรีอยุธยาไปเมืองจีน โดยใชเสนทางแมนํ้าสายใดหรือทะเล อะไรบาง จากนั้นเขียนอธิบายเปนความเรียงสั้นๆ ประกอบภาพเสนทางเสด็จ แลวนําเสนอผลงานที่หนาชั้นเรียน

นักเรียนควรรู 1 รอนแรม เปนการเดินทางไปที่ใดที่หนึ่ง โดยใชเวลามากกวา 1 วัน และตองคางคืน ณ สถานที่ตางๆ ที่อยูระหวางทางเปนระยะๆ 2 พสกนิกร อานได 2 แบบ คือ 1) พะ - สก - กะ - นิ - กอน 2) พะ - สก - นิ - กอน หมายถึง คนที่อยูในประเทศ ไมวาจะเปนพลเมืองของประเทศนั้น หรือคนตางดาวที่มาอาศัยอยูก็ตาม 3 เฒาแก ในปจจุบันมักนิยมใชวา เถาแก มากกวา ซึ่งเฒาแกในที่นี้หมายถึง ตําแหนงขาราชการฝายในในพระราชสํานัก

คู่มือครู

7


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

Engaae

Expore

อธิบายความรู้

อธิบายความรู้ Explain

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Explain

1. ใหนักเรียนวิเคราะหตัวละครในนิทานพื้นบาน เรื่อง พระเจาสายนํ้าผึ้งและพระนางสรอย ดอกหมาก มา 1 ตัวละคร แลวเขียนบรรยาย ลักษณะนิสัยของตัวละครที่เลือกและแสดง ความคิดเห็นประกอบ พรอมทั้งวาดภาพ ระบายสีตัวละครตามจินตนาการของนักเรียน 2. ครูสุมเรียกนักเรียน 4-5 คน ออกมานําเสนอ ผลงานที่หนาชั้นเรียน โดยครูและเพื่อนนักเรียน แสดงความคิดเห็นเพิ่มเติม 3. ใหนักเรียนนําผลงานไปติดที่ปายนิเทศ เพื่อเปนการเผยแพรผลงาน

มาถึงเมืองแลวไฉนจึงไม่มารับดวยพระองคเอง ถาพระราชาไม่เสด็จมารับก็ จะไม่ไป เฒ่าแก่นาํ ความมาทูลทุกประการ เมือ่ พระเจาสายนํา้ ผึง้ ทรงทราบ ดังนัน้ ก็ตรัสหยอกลอเล่นว่า มาถึงแลวจะอยูท่ นี่ นั่ ก็ตามใจเถิด พระนางทราบ ความดังนัน้ ก็สาํ คัญว่าจริงจึงโศกเศรานอยพระทัยยิง่ นัก วันรุ่งขึ้น พระเจาสายนํ้าผึ้งก็เสด็จมารับพระนางสรอยดอกหมาก ดวยพระองคเอง พระนางก็ตัดพอว่าไม่ไป พระเจาสายนํ้าผึ้งทรงสัพยอก ว่าไม่ไปก็อยู่ที่นี่ พอสิ้นเสียงพระราชดํารัส พระนางก็กลั้นใจตายต่อหนา พระองค พระเจาสายนํ้าผึ้งโศกเศราเสียพระทัยมาก แต่ก็สุดจะแกไข ทั้ง ชาวไทยชาวจีนต่างก็โศกเศรารํา่ ไหเซ็งแซ่ มีการพระราชทานเพลิงศพตรง 1 ที่แหลมบางกะจะนั้น พระเจาสายนํ้าผึ้งทรงสถาปนาพระอารามแลวใหนามว่า “วัดเจา พระนางเชิง” ต่อมาภายหลังเรียกชือ่ เพีย้ นเปน “วัดพนัญเชิง” และมีการปน รูปจําลองของพระนางสรอยดอกหมากไวภายในวัด ซึง่ ปจจุบนั อยูท่ ี่ อําเภอ พระนครศรีอยุธยา จังหวัดอยุธยา เรียบเรียงจากเรือ่ ง พระเจาสายนํา้ ผึง้ และพระนางสรอยดอกหมาก ของ ธวัช ปุณโณทก

EB GUIDE

http:// www.aksorn.com/lib/p/tha_05 (เรื่อง พระนางสรอยดอกหมาก)

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

นักเรียนควรรู 1 แหลมบางกะจะ ปจจุบันบริเวณแหลมบางกะจะ เปนบานบางกะจะ อยูที่ ต.สําเภาลม อ.พระนครศรีอยุธยา จ.พระนครศรีอยุธยา ซึ่งแหลมบางกะจะในนิทาน พื้นบานเรื่อง พระเจาสายนํ้าผึ้งและพระนางสรอยดอกหมากอยูตรงขามกับบริเวณ วัดพนัญเชิงในปจจุบัน

นิทานพื้นบานเรื่อง พระเจาสายนํ้าผึ้งและพระนางสรอยดอกหมาก จัดเปนนิทานพื้นบานประเภทใด 1. นิทานประจําถิ่น 2. นิทานอธิบายเหตุ 3. นิทานสอนใจ 4. นิทานวีรบุรุษ วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 1. นิทานพื้นบานเรื่อง พระเจาสายนํ้าผึ้ง และพระนางสรอยดอกหมาก เปนนิทานประจําถิ่น จ.พระนครศรีอยุธยา โดยอธิบายความเปนมาของวัดพนัญเชิง

แหลมบางกะจะ วัดพนัญเชิง

8

คู่มือครู


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

Engaae

Expore

อธิบายความรู้ Explain

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

อธิบายความรู้

Explain

1. ใหนักเรียนรวมกันอานออกเสียงวรรณกรรม ในหนังสือ หนา 9 พรอมๆ กัน 2. ใหนักเรียนทําแบบฝกหัด ภาษาไทย ป.5

“นิทานเรื่องนี้ก็นาสนใจดีนะปญญา” สันติพูดขึ้นหลังจากปญญา เล่านิทานจบ “ถาเธอสนใจนิทานเรื่องนี้ ฉันจะนําหนังสือมาใหยืมนะ จะไดใช 1 เปนหนังสืออางอิง” ปญญาพูดแลวบอกสันติว่า “ถึงบานของฉันแลว ฉันเขาบานกอนนะ” “ขอบใจมากเรื่องนิทาน แลวเจอกันพรุงนี้นะปญญา”

✓ แบบฝกฯ ใบงาน แบบวัดฯ ภาษาไทย ป.5 ประเมินตัวชี้วัด มฐ. ท 5.1 ป.5/1 ๒. สืบคนนิทานพื้นบานในทองถิ่นของนักเรียนแลวเขียนดวยภาษา ของนักเรียนเอง (ตัวอยางคําตอบ) พระยากง พระยาพาน เรื่อง ………………………………………………………………………………………………………………………….. หนังสือนิทานพืน้ บาน จ. นครปฐม แหลงทีม่ า……………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. พระยากงผูค รองเมืองนครชัยศรี มีพระมเหสีทกี่ าํ ลังทรงพระครรภ เนือ้ เรือ่ ง ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. โหรทํ า นายทารกในครรภ ว  า เป น ชายมี บุ ญ บารมี ม ากและอาจเป น ป ตุ ฆ าต คื อ ผู  ที่

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ฆาพอของตนเอง ครั้นโอรสประสูติ พระยากงก็นําโอรสใสพานลอยนํ้าทิ้ง เพราะเชื่อ

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ตามคําทํานายของโหร ยายหอมเก็บโอรสไวไดจึงเลี้ยงมาจนโต โดยใหชื่อวา พาน

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

ซึ่ ง ต อ มาที่ ที่ ย ายหอมอยู  ไ ด ชื่ อ ว า บ า นดอนยายหอม พานเติ บ โตโดยคิ ด ว า ยายหอม

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

เฉลย

เปนแม ตอมาพานไดเปนทหารและรบที่เมืองนครชัยศรีจนชนะพระยากง พระยากงถูก

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

พานฟนจนสิน้ พระชนม พานยึดทรัพยสนิ และขึน้ ครองเมืองนครชัยศรีโดยสถาปนาตนเอง

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

เปนพระยาพาน

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

พระยาพานคิดจะเขาหองบรรทมมเหสีของพระยากง แตมีแมวตัวหนึ่ง

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

พูดกับลูกแมววา “อยาเพิ่งกินนมเลย ดูลูกเกี้ยวแมตนเองกอน” พระยาพานจึงสอบถาม

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

ความจริงกับพระมเหสีผเู ปนมารดา เมือ่ ทราบความแลวพระยาพานคิดวายายหอมปดบังตนเอง

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

จึงกลับไปฆายายหอม แตหลังจากนัน้ พระยาพานก็คดิ ไดวา ไดฆา ผูม พี ระคุณถึง ๒ คน คือ

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

พระบิดาผูใ หกาํ เนิดและยายหอมผูท เี่ ลีย้ งดูตนเอง จึงคิดไถบาปโดยการสรางเจดียส งู เทานกเขาเหิน

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ใหพระยากง คือ พระปฐมเจดีย และสรางเจดียอ กี องค คือ พระประโทนเจดีย ใหยายหอม

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

ฉะนัน้ จึงมีพระปฐมเจดีย และพระประโทนเจดียอ ยูท ี่ อ. เมือง จ. นครปฐม มาจนทุกวันนี้

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

3. ครูสุมเรียกนักเรียน 4-5 คน ออกมานําเสนอ ผลการทําแบบฝกหัดที่หนาชั้นเรียน โดยครู และนักเรียนคนอื่นคอยแสดงความคิดเห็น เพิ่มเติม

กิจกรรมสรางเสริม ใหนกั เรียนสมมุตติ นเองเปนพระเจาสายนํา้ ผึง้ และสามารถกลับไปแกไข เหตุการณในอดีตได จากนั้นคิดและเขียนวิธีการแกไขปญหาเพื่อไมใหเกิด โศกนาฏกรรม แลวนําเสนอผลงานที่หนาชั้นเรียน เพื่อฝกทักษะการเขียน และการคิดของนักเรียน

นักเรียนควรรู 1 หนังสืออางอิง เปนหนังสือที่ใหความรูเกี่ยวกับขอเท็จจริงในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง โดยมีการจัดทําในรูปแบบตางๆ เชน พจนานุกรม สารานุกรม จดหมายเหตุ ประกาศตางๆ ของรัฐบาล เปนตน

กิจกรรมทาทาย ใหนักเรียนรวบรวมนิทานพื้นบานที่มีในทองถิ่นของนักเรียนใหได มากที่สุด แลวเขียนลงในกระดาษ และวาดรูปประกอบใหสวยงาม จากนั้น รวบรวมผลงานและจัดทําเปนรูปเลมใหสวยงามเพื่อใชเปนหนังสืออางอิง ในหองเรียนตอไป

พจนานุกรม

สารานุกรม

จดหมายเหตุ

คู่มือครู

9


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

อธิบายความรู้

Engaae

Expore

Explain

ขยายความเข้าใจ

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Expand

1. ครูสนทนาซักถามนักเรียนวา ในการอานนิทาน พื้นบานเรื่อง พระเจาสายนํ้าผึ้งและพระนาง สรอยดอกหมาก นักเรียนคิดวา มีคําศัพทคําใด ที่นาสนใจ หรือมีคําศัพทที่นักเรียนไมทราบ ความหมายหรือไม คําใดบาง 2. ใหนักเรียนศึกษาคําศัพทนารูในหนังสือ หนา 10-11 หรือศึกษาจากพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 3. ใหนักเรียนฝกแตงประโยคจากคําศัพทนารู คนละ 5 ประโยค จากนั้นผลัดกันอานประโยค ที่แตงใหเพื่อนและครูฟง

¤íÒÈѾ· ¹‹ÒÃÙŒ ชลมารค (น.)

เฒาแก (น.)

บรรณาการ (น.)  บารมี (น.)

บุญธรรม (น.)

พยุห (น.) โยธา (น.) ราชทูต (น.)

  

ราชสาสน (น.)  เวรประจําวัน (น.) 

ทางนํา้ เช่น กระบวนเสด็จพระราชดําเนิน โดยทางชลมารค ตําแหน่งขาราชการฝายในในพระราชสํานัก, ผูใหญ่ที่เปนประธานในการสู่ขอและ การหมั้น, เถาแก่ ก็ใช สิ่งที่ส่งไปใหดวยความเคารพนับถือหรือ ดวยไมตรี คุณสมบัตทิ ที่ าํ ใหยงิ่ ใหญ่ เช่นว่า ชมพระ บารมี พระบารมีปกเกลาฯ พ่ายแพแก่บารมี เรียกลูกของคนอืน่ ซึง่ เอามาเลีย้ งเปนลูก ของตัวว่าลูกบุญธรรม ถาจดทะเบียน ถูกตองตามกฎหมายเรียกว่า บุตรบุญธรรม กระบวน, หมู่, กองทัพ พลรบ, ทหาร ผูนําพระราชสาสนไปประเทศอื่น, ผูแทนชาติในประเทศอื่น จดหมายของพระมหากษั ต ริ ย  ที่ ใ ช ใ น การเจริญสัมพันธไมตรีระหว่างประเทศ เรียกว่า พระราชสาสน รอบผลัดในหนาทีก่ ารงาน (ในทีน่ หี้ มายถึง รอบผลัดในการทําหนาที่ของนักเรียนใน การทําความสะอาดหองเรียน)

๑๐

เกร็ดแนะครู เทคนิคการสอนคําศัพท หากเปนคําศัพทที่ไมคอยพบในชีวิตประจําวัน เชน ชลมารค บรรณาการ พยุหโยธา เปนตน ครูควรยกตัวอยางประโยคหรือสถานการณ ที่ใชกับคําศัพทนั้นๆ ประกอบ เพื่อใหนักเรียนเขาใจและใชคําศัพทในการสื่อสาร ไดอยางถูกตอง เชน • “ในหลวง” โปรดเกลาฯ “สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ” เสด็จทอดกฐินทาง ชลมารค เฉลิมพระชนมพรรษา 7 รอบ 5 ธันวาคม ที่จะถึงนี้ • ประเทศไทยสงเครื่องราชบรรณาการใหประเทศจีน เพื่อเชื่อมความสัมพันธ ของทั้งสองประเทศ • ประเทศไทยเตรียมพลพยุหโยธาเพื่อทําสงคราม 9 ทัพ

10

คู่มือครู

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T นกกาเหวาเอย แมกาก็หลงรัก

ไขไวใหแมกาฟก คิดวาลูกในอุทร

จากเพลงกลอมเด็ก นกกาเหวา ที่กําหนด ลักษณะของลูกนกกาเหวา ตรงกับคําในขอใด 1. ลูกบุญธรรม 2. ลูกกําพรา 3. ลูกอิจฉา 4. ลูกรักลูกชัง วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 1. เพราะนกกาเลี้ยงลูกนกกาเหวาเปนเหมือน ลูกของตัวเอง ลูกนกกาเหวาจึงเปนลูกบุญธรรมของนกกา


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

อธิบายความรู้

Engaae

Expore

Explain

ขยายความเข้าใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

ขยายความเข้าใจ 

สัพยอก (ก.)

หยอกเหยา เช่น ผูใหญ่สัพยอกเด็กว่า เปนแม่สายบัวแต่งตัวเกอ  ไมเครือ่ งบนทีพ ่ าดเบือ้ งบนเปนสันหลังคา เหนือใบดั้ง

อกไก (น.)

Expand

1. ใหนักเรียนรวมกันสรุปสาระสําคัญของนิทาน พื้นบาน เรื่อง พระเจาสายนํ้าผึ้งและพระนางสรอยดอกหมาก อีกครั้ง เพื่อเปนการทบทวน 2. ใหนักเรียนรวมกันตอบคําถามในกิจกรรม คําถามทาสมอง ในหนังสือ หนา 11

อกไก่

?

¤íÒ¶ÒÁ·ŒÒÊÁͧ ๑. ถานักเรียนเปนพระเจาสายนํา้ ผึง้ นักเรียนจะพูดอย่างไรใหพระนาง สรอยดอกหมากเสด็จมาที่ตําหนัก ๒. นิทานเรื่อง พระเจาสายนํ้าผึ้งและพระนางสรอยดอกหมาก ให ขอคิดอะไรบาง

๑๑

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

นิทานพื้นบานเรื่อง พระเจาสายนํ้าผึ้งและพระนางสรอยดอกหมาก ใหขอคิดในเรื่องใดมากที่สุด 1. การคิด 2. การพูด 3. การดําเนินชีวิต 4. การทําความดี

วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 2. นิทานพื้นบานเรื่องพระเจาสายนํ้าผึ้ง และพระนางสรอยดอกหมากใหขอคิดในเรื่องการพูด คือ ในการพูดควรเลือก ใชคําพูดใหเหมาะสมไมทํารายจิตใจผูฟง

เกร็ดแนะครู ใหนักเรียนจับคูกัน ใหแตละคูแสดงบทบาทสมมุติเปนพระเจาสายนํ้าผึ้ง และพระนางสรอยดอกหมาก จากนั้นใหนักเรียนที่แสดงเปนพระเจาสายนํ้าผึ้ง คิดและพูดใหพระนางสรอยดอกหมากเสด็จมาที่ตําหนัก ใหครูและเพื่อนนักเรียนคูอื่นๆ ลงความเห็นวา นักเรียนคูใดพูดไดดีที่สุด และเหมาะสมที่สุด พรอมบอกเหตุผลประกอบ เพื่อใหนักเรียนมีสวนรวมในการเรียน การสอน และมีความสนุกในการเรียนดวย

คู่มือครู

11


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

อธิบายความรู้

Engaae

Expore

Explain

ขยายความเข้าใจ

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Expand

1. ใหนักเรียนทํากิจกรรมทาฝมือในหนังสือ หนา 12 2. ใหนักเรียนออกมานําเสนอผลการทํากิจกรรม ทาฝมือ โดยครูและนักเรียนคนอื่นคอยแสดง ความคิดเห็นเพิ่มเติม 3. ใหนักเรียนตอบคําถามในกิจกรรมฝกคิด ทาประสบการณ ในหนังสือ หนา 12 4. ใหนักเรียนรวมกันอภิปรายสรุปผลการทํา กิจกรรมทาฝมือและการตอบคําถาม ในกิจกรรมฝกคิดทาประสบการณ

?

¡Ô¨¡ÃÃÁ·ŒÒ½‚Á×Í ๑. วาดรู ป ประกอบนิ ท านเรื่ อ ง พระเจ า สายนํ้ า ผึ้ ง และพระนาง สรอยดอกหมาก ตามจินตนาการของนักเรียน ๒. สํารวจหนาที่การทําความสะอาดหองเรียนประจําวัน (วันที่เปนเวร ประจําวันของนักเรียน) แลวกรอกขอมูลลงในสมุดตามตัวอย่าง หนาที่

๑. กวาดพื้น

อุปกรณ ที่ใช

รายละเอียด ของงาน

ระยะเวลา ที่ทํา

ไมกวาด

กวาดบริเวณ ๑๕ นาที หนาหอง

ผูรับผิดชอบ

สุมาลี

๒. ลบกระดาน ๓. ………………………….. ๔. ………………………….. ๕. …………………………..

?

๑๒

½ƒ¡¤Ô ¡¤Ô´·ŒÒ»ÃÐʺ¡Òó ๑. เมื่อนักเรียนมีหนาที่ทําความสะอาดหองเรียนประจําวัน นักเรียน จะมีวิธีแบ่งหนาที่กันอย่างไร เพราะเหตุใด และวิธีที่นักเรียนคิด มีขอดีอย่างไร ๒. จากขอ ๑. ถาเปรียบเทียบวิธีแบ่งหนาที่ทําความสะอาดหองเรียน ของหองปญญา และหองเรียนของสันติ นักเรียนมีวธิ ที าํ งานคลาย กับหองเรียนของใคร

เกร็ดแนะครู ใหนักเรียนใชบริการหองสมุด แลวสืบคนนิทานพื้นบานมาคนละ 1 เรื่อง จากนั้น เขียนสรุปใจความสําคัญของนิทานพื้นบานที่อานตามหัวขอ ดังนี้ 1) ชื่อเรื่อง 2) เรื่องยอ 3) ขอคิดที่ได แลวแลกกันอานกับเพื่อน เพื่อฝกนิสัยรักการอานและเพื่อใหเห็นคุณคาของนิทาน พื้นบานของไทย

12

คู่มือครู

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T พระเจากรุงจีนสง__________มายังกรุงศรีอยุธยา เพื่อเจริญพระราชไมตรี ควรเติมคําใด ลงในชองวาง 1. พยุหโยธา 3. ชลมารค

2. บารมี 4. เครื่องบรรณาการ

วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 4. ควรเติมคําวา เครื่องบรรณาการ จะไดเปน ขอความ พระเจากรุงจีนสงเครื่องบรรณาการมายังกรุงศรีอยุธยา เพื่อเจริญพระราชไมตรี จึงจะไดใจความสมบูรณถูกตอง


ส�ารวจค้นหา

กระตุ้นความสนใจ

Explore

อธิบายความรู้ Explain

Engaae

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

ส�ารวจค้นหา

นารู นิทานพื้นบาน นิทานพืน้ บาน คือ เรือ่ งเล่าทีม่ นุษยผกู เรือ่ งขึน้ ดวยภูมปิ ญ ญา ส่วนใหญ่ จะถ่ายทอดดวยการเล่าปากต่อปาก ไม่ไดจดบันทึกเปนลายลักษณอกั ษร เนือ้ เรือ่ ง มีความหลากหลายและใชเล่าเพือ่ จุดประสงคตา่ งๆ ตามโอกาสและสภาพแวดลอม ของแต่ละทองถิ่น

Explore

1. ครูสนทนาซักถามนักเรียนวา นักเรียนเคยดู ละครพื้นบานเรื่องตางๆ ทางโทรทัศนหรือไม แลวละครพื้นบานที่นักเรียนเคยดู มีเนื้อเรื่อง อยางไร โดยครูคอยกระตุนใหนักเรียนมี สวนรวมในการทํากิจกรรม 2. ครูถามนักเรียนวา ละครพื้นบานที่ออกอากาศ ทางโทรทัศน เปนนิทานพื้นบานหรือไม เพราะเหตุใด

อธิบายความรู้

Explain

1. ใหนักเรียนศึกษาความรูเรื่อง นิทานพื้นบาน ในหนังสือ หนา 13-15 2. ครูอธิบายความรูเพิ่มเติมเกี่ยวกับนิทาน พื้นบานเพื่อใหนักเรียนมีความรูความเขาใจ มากยิ่งขึ้น

¡ÒŤÃÑé§Ë¹Öè§ ¹Ò¹ÁÒáÅŒÇ...

http:// www.aksorn.com/lib/p/tha_05 (เรื่อง นิทานพื้นบาน)

EB GUIDE

๑๓

บูรณาการอาเซียน ครูอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียนเขาใจวา ในประเทศสมาชิกอาเซียนตางก็มีนิทานพื้นบานเหมือนกัน เชน • ประเทศลาว มีนิทานเรื่อง ทาวบุษบา โดยมีเนื้อเรื่องเกี่ยวกับการพิสูจนตนเองของทาวบุษบา วาเปนคนดีพอที่จะเคียงคูกับ พระธิดาแกวฟา และในที่สุดทาวบุษบาและพระธิดาแกวฟาก็ไดอภิเษกสมรสกัน • ประเทศพมา มีนิทานเรื่อง อีกาทอง โดยมีเนื้อเรื่องเกี่ยวกับหญิงยากจนที่ประพฤติตัวดี และมีอีกาตัวหนึ่งมาชวยเหลือ ใหหญิงคนนี้และมารดามีชีวิตความเปนอยูที่ดีขึ้น • ประเทศมาเลเซีย มีนิทานเรื่อง เจาหญิงการบูร ชาวมาเลเซียมีอาชีพเก็บการบูรขาย ซึ่งมีความเชื่อกันวา การบูรเปนของ ที่ลึกลับ ถาไมทําพิธีกอนออกไปเก็บ ก็จะกลับบานมือเปลา เพราะเจาหญิงการบูรไมบันดาลใหขาย • ประเทศฟลิปปนส มีนิทานเรื่อง นกโคเลโตกับกา โดยมีเนื้อเรื่องเปนการอธิบายสาเหตุที่นกโคเลโตไมมีขนบนหัว และสาเหตุ ทีอ่ กี ามีสดี าํ วานกทัง้ สองบินแขงกัน นกโคเลโตบินสูงจนหัวกระทบทองฟา ทําใหผวิ หนังเปด สวนนกกาบินเขาไปใกลดวงอาทิตยมาก จนขนไหมเกรียม ที่มา : หนังสือชุด นิทานในประเทศประชาคมอาเซียน ของ ส.พลายนอย

คู่มือครู

13


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

อธิบายความรู้

Engaae

Expore

Explain

ขยายความเข้าใจ

ขยายความเข้าใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

Expand

1. ใหนักเรียนรวมกันสรุปลักษณะของนิทาน พื้นบานโดยเขียนเปนแผนผังความคิด 2. ครูสุมเรียกนักเรียน 5-6 คน ออกมานําเสนอ ผลงานที่หนาชั้นเรียน โดยครูและเพื่อนนักเรียน คนอื่นคอยแสดงความคิดเห็นเพิ่มเติม 3. ใหนักเรียนนําผลงานไปติดที่ปายนิเทศ เพื่อเปนการเผยแพรผลงาน

ลักษณะของนิทานพื้นบาน นิทานพื้นบานมีลักษณะเฉพาะที่เห็นเด่นชัด คือ เปนเรื่องเล่าที่มีการ ดําเนินเรือ่ งอย่างง่ายๆ โครงเรือ่ งไม่ซบั ซอน วิธกี ารเล่าก็เปนไปอย่างง่ายๆ ตรงไป ตรงมา มักจะเริม่ เรือ่ งโดยการกล่าวถึงตัวละครสําคัญของเรือ่ ง แลวดําเนินเรือ่ งไป ตามลําดับเวลา ลําดับเหตุการณ ตัวละครเอกจะพบอุปสรรคปญหา แลวฟนฝา อุปสรรคหรือแกปญหาลุล่วงไปจนจบเรื่อง ซึ่งมักจะจบแบบมีความสุข ถาเปน นิทานคติ ก็มักจะจบลงว่า “นิทานเรื่องนี้สอนใหรูวา…” ถาเปนนิทานชาดกก็ จะบอกว่าตัวละครสําคัญของเรื่องในชาติต่อไปไปเกิดเปนใครบาง ถาเปนนิทาน ปริศนาก็จะจบดวยประโยคคําถาม เจือ สตะเวทิน (๒๕๑๗, หนา ๑๖) ใหคาํ อธิบายลักษณะสําคัญของนิทาน พื้นบานไว ดังนี้ ๑. ตองเปนเรื่องเก่า ๒. ตองเล่ากันดวยภาษารอยแกว ๓. ตองเล่ากันแบบปากต่อปาก ๔. ตองแสดงความคิด ความเชื่อของชาวบาน ๕. เรื่องจริงที่มีคตินับอนุโลมเปนนิทานได เช่น มะกะโท ชาวบาน บางระจัน เปนตน จะเห็นไดว่าลักษณะที่สําคัญที่สุดของนิทานพื้นบาน คือ เปนเรื่องเล่าที่ สืบทอดกันมาดวยปากและไม่ทราบว่าผูใดแต่ง นิทานพื้นบาน แบ่งไดเปน ๗ ประเภท คือ ๑. นิทานมหัศจรรย คือ นิทานจักรๆ วงศๆ เนื้อเรื่องกล่าวถึงตัวละคร ที่ตองออกไปเผชิญโชคยังดินแดนมหัศจรรย และปราบฝายอธรรม แลวกลับมา 1 2 ครองเมืองอย่างสันติสุข เช่น เรื่องปลาบู่ทอง เรื่องโสนนอยเรือนงาม เปนตน ๑๔

นักเรียนควรรู 1 ปลาบูทอง เปนนิทานที่มีเรื่องราวเกี่ยวกับเด็กสาวชาวบานผูมีจิตใจเมตตา มีแมที่เกิดในรางของปลาบูทอง และตองผจญกับ เรื่องรายตางๆ มากมาย ในตอนทายไดแตงงานกับกษัตริย 2 โสนนอยเรือนงาม เปนเจาหญิงทีเ่ กิดมาพรอมเรือนไมหลังนอยทีง่ ดงาม นางตองออกจากเมืองเพราะโหรทํานายวาจะมีเคราะห ระหวางทางไดยาชุบชีวติ คนตาย จึงชวยชุบชีวติ นางกุลาแลวออกเดินทางไปดวยกัน ตอมานางชวยชุบชีวติ เจาชายไว แตนางกุลา หลอกวาตนเปนเจาหญิงเพื่อจะไดแตงงานกับเจาชาย สวนเจาหญิงเปนทาสรับใช เจาชายไมอยากแตงงานกับนางกุลา จึงเดินทาง ไปสืบหาความจริง ทําใหทราบวาโสนนอยเรือนงามเปนเจาหญิงตัวจริง แลวทั้งคูก็แตงงานกัน

บูรณาการอาเซียน ครูอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียนเขาใจวา ในประเทศลาว ก็มีนิทานพื้นบานประเภทนิทานประจําถิ่น เรื่อง ภูทาว ภูนาง ซึ่งมีเนื้อเรื่องคลายกับเรื่อง พระรถเสน ของไทย โดยเปนการอธิบายความเปนมาของภูเขา ชื่อ ภูทาวและภูนาง ซึ่งอยูใกลกับ หลวงพระบางในปจจุบัน

14

คู่มือครู


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

อธิบายความรู้

Engaae

Expore

Explain

ขยายความเข้าใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

ขยายความเข้าใจ

๒. นิทานวีรบุรษุ เปนนิทานทีม่ โี ครงเรือ่ งตามแนวปาฏิหาริย แต่อา งอิง ชือ่ บุคคลในประวั ตศิ าสตร หรือบุ2 คคลทีเ่ ปนวีรบุรุ ษุ ของชาติหรือภูมภิ าคนัน้ ๆ เช่น 1 เรื่องพระร่วง เรื่องทาวแสนปม เปนตน ๓. นิทานประจําถิ่น เปนนิทานที่อธิบายความเปนมาของทองถิ่น แมวา่ แนวเรือ่ งจะเปนแนวปาฏิหาริย แต่กป็ รากฏชือ่ สถานทีใ่ นทองถิน่ จริงๆ เช่น เรื่องพระยากงพระยาพาน (ตํานานองคพระปฐมเจดีย จ.นครปฐม) เรื่องพระเจา สายนํา้ ผึง้ และพระนางสรอยดอกหมาก (ตํานานวัดพนัญเชิง จ.พระนครศรีอยุธยา) เปนตน ๔. นิทานอธิบายเหตุ เปนนิทานที่อธิบายรูปร่างลักษณะของสัตว พืช หรือความเปนมาของพิธกี รรมต่างๆ เช่น นิทานเรือ่ งทําไมเมล็ดขาวจึงเล็ก ทําไม กระดองเต่าจึงแตก ทําไมงูเหลือมจึงไม่มีพิษ ทําไมชาวส่วยไม่มีตัวหนังสือใช เปนตน ๕. เทพนิยายหรือนิทานเทวปกรณ คือนิทานที่เล่าความเปนมาของ โลก การกําเนิดโลกและจักรวาลตามทัศนะและความเชื่อของคนไทย อธิบาย ปรากฏการณธรรมชาติโดยอิ3 งอยูก่ บั สิง่ ศักดิส์ ทิ ธิ์ 4เช่น เรือ่ งราหูอมจันทร (อธิบาย ปรากฏการณจันทรุปราคา) เรื่องเมขลารามสูร (อธิบายปรากฏการณฟาแลบ ฟารอง) เปนตน ๖. นิทานสอนใจ บางครัง้ เรียกว่านิทานคติธรรม แนวเรื อ่ งจะเนนเรือ่ ง 5 คุณธรรมต่างๆ เช่น เรื่องกระต่ายตื่นตูม เรื่องโคนันทิวิศาล เปนตน ๗. นิทานมุ6ขตลก เปนนิทานสั้นๆ เนื้อเรื่องมุ่งใหความขบขันแก่ผูฟง เช่น เรื่องศรีธนญชัย เปนตน

Expand

1. ใหนักเรียนใชบริการหองสมุด แลวสืบคน นิทานพื้นบานเรื่องตางๆ ที่มีในหนังสือ หนา 14-15 คนละ 1 เรื่อง แลวปฏิบัติกิจกรรม ดังนี้ 1) เขียนบอกชื่อเรื่อง 2) เขียนสรุปใจความสําคัญของเรื่อง 3) เขียนขอคิดที่ได 4) วาดรูปประกอบเรื่องใหสวยงาม 2. ใหนักเรียนนําเสนอผลงานที่หนาชั้นเรียน โดยครูและเพื่อนนักเรียนคนอื่นคอยแสดง ความคิดเห็นเพิ่มเติม 3. ใหนักเรียนนําผลงานไปติดที่ปายนิเทศ เพื่อเปนการเผยแพรผลงาน

เรียบเรียงจาก นิทานพื้นบาน ของ ธวัช ปุณโณทก

๑๕

นักเรียนควรรู 1 พระรวง มีหลายเรื่อง แตเรื่องที่กลาวถึงกันมาก คือ เรื่องที่พระรวงกลาวคําใดสิ่งนั้นก็เปนจริง เรียกวา พระรวงวาจาสิทธิ์ 2 ทาวแสนปม ตัวเอกของเรื่อง คือ ทาวแสนปมที่มีปุมปมตามลําตัว อัปลักษณ แตเปนผูมีจิตใจดีงาม ตอมาไดครองเมือง และปุมปมบนตัวก็หายไป 3 จันทรุปราคา เปนปรากฏการณที่เกิดขึ้นเมื่อดวงอาทิตย โลก และดวงจันทรเรียงอยูในแนวเดียวกันพอดี เมื่อเงาของโลก ทาบไปบนดวงจันทร จะทําใหเห็นดวงจันทรมืด ซึ่งอาจจะมืดหมดทั้งดวงหรือบางสวน 4 เมขลารามสูร เมขลาเปนเทพธิดารักษามหาสมุทร ถือแกวมณีรายรํามาอยางสนุกสนาน รามสูรเปนยักษผูมีฤทธิ์เดชถือขวาน เหาะผานมาเห็นจึงพยายามชิงดวงแกวมณี เมขลาไมใหชูดวงแกวเหาะลอไปมา ดวงแกวสองแสงแปลบปลาบเปนฟาแลบ รามสูร โกรธจึงขวางขวานใสนางเสียงดังกึกกองเปนฟารอง แตนางเมขลาก็ปลอดภัยเพราะแกวมณีคุมครองนางไว 5 โคนันทิวิศาล เปนโค (วัว) ของพราหมณคนหนึ่ง ครั้งหนึ่งพราหมณพูดจาไมดีกับโคนันทิวิศาล มันจึงไมลากเกวียนให แตเมื่อพราหมณพูดจาดี มันก็ลากเกวียนที่บรรทุกของหนักๆ ได 6 ศรีธนญชัย เปนคนมีสติปญญาเฉียบแหลม เขาเปนคนใชปญญาแกไขปญหาตางๆ ไดเปนอยางดี แตอีกดานก็ใชความฉลาด ของตนเอาเปรียบผูอื่น โดยไมนึกถึงผิดชอบ ชั่วดี สุดทายเขาก็ตองรับกรรมที่กอไว คู่มือครู

15


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

อธิบายความรู้

Engaae

Expore

Explain

ขยายความเข้าใจ

ขยายความเข้าใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

Expand

1. ใหนกั เรียนรวมกันศึกษาความรูเ รือ่ ง วัดพนัญเชิง ในหนังสือ หนา 16 โดยครูนําภาพบรรยากาศ ของวัดมาใหนักเรียนดู และอธิบายเพิ่มเติม 2. ใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ 5-6 คน ใหแตละกลุมจัดปายนิเทศเรื่อง นิทานพื้นบาน ประจําทองถิ่น โดยใหแตละกลุมสงตัวแทน ออกมาจับสลากหัวขอนิทานพื้นบานประจํา ทองถิ่นตางๆ ที่ครูกําหนด แลวคนควาขอมูล ตามหัวขอที่จับสลากได จากแหลงขอมูลตางๆ เชน จากผูรู จากหองสมุด จากอินเทอรเน็ต เปนตน แลวนําขอมูลมาจัดปายนิเทศ ใหสวยงาม 3. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปความรูเรื่อง นิทาน พื้นบาน และขอคิดที่สามารถนําไปปรับใช ในชีวิตประจําวัน

กุญแจไขความรู วัดพนัญเชิง

ตั้งอยู่ที่หมู่ ๒ ตําบลคลองสวนพลู อําเภอพระนครศรีอยุธยา 1 จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เปนพระอารามหลวงชั้นโท

วัดพนัญเชิงวรวิหาร เปนวัดที่มีประวัติอันยาวนาน ก่อสรางมา ก่อนการสถาปนากรุงศรีอยุธยา และไม่ปรากฏหลักฐานทีแ่ น่ชดั ว่าใครเปน 2 ผูส ราง ตามหนังสือพงศาวดารเหนือกล่าวว่า พระเจาสายนํา้ ผึง้ เปนผูส ราง และพระราชทานนามว่า วัดเจาพระนางเชิง สืบเนื่องมาจากตํานานเรื่อง พระเจาสายนํา้ ผึ้งและพระนางสรอยดอกหมาก ซึ่งต่อมาภายหลังเรียกชื่อ เพี้ยนเปนวัดพนัญเชิง เรียบเรียงจากหนังสือ กรุงศรีอยุธยา ของ วิไลรัตน ๑๖

นักเรียนควรรู 1 พระอารามหลวง เปนวัดที่พระมหากษัตริยหรือพระบรมวงศานุวงศทรงสราง หรือทรงบูรณปฏิสังขรณ หรือมีผูสรางนอมเกลาฯ ถวายเปนวัดหลวง และวัดที่ ราษฎรสราง หรือบูรณปฏิสังขรณและขอพระราชทานใหพระมหากษัตริยทรงรับไว เปนพระอารามหลวง 2 พงศาวดาร อานวา พง - สา - วะ - ดาน หมายถึง เรื่องราวของเหตุการณ เกี่ยวกับประเทศชาติ หรือพระมหากษัตริยผูปกครองประเทศนั้น

16

คู่มือครู

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

ขอใดไมใชลักษณะของนิทานพื้นบาน 1. ถายทอดดวยการเลาปากตอปาก 2. มีโครงเรื่องที่ลึกลับและสลับซับซอน 3. ไมไดจดบันทึกเปนลายลักษณอักษร 4. ผูกเรื่องขึ้นดวยภูมิปญญาชาวบาน วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 2. นิทานพื้นบานจะมีโครงเรื่องที่งายๆ ไมลึกลับ และไมสลับซับซอน


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

อธิบายความรู้

Engaae

Expore

Explain

ขยายความเข้าใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

ขยายความเข้าใจ

¡Ô¨¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ ๑. อ่านในใจเรื่อง พระเจาสายนํ้าผึ้ง และพระนางสรอยดอกหมาก และสรุปใจความสําคัญแลวเขียนลงในสมุด ๒. เขียนแสดงความคิดเห็นของนักเรียนเกีย่ วกับตัวละครในนิทานเรือ่ ง พระเจาสายนํ้าผึ้ง และพระนางสรอยดอกหมาก ลงในสมุด ๓. ช่วยกันแต่งนิทาน ๑ เรื่อง โดยพูดคนละ ๑ ประโยค ใหมีเนื้อหา ต่อเนื่องกัน แลวตั้งชื่อเรื่อง

¡ÒŤÃÑé§Ë¹Öè§ ¹Ò¹ÁÒáÅŒÇ

ÁÕà´ç¡¤¹Ë¹Öè§

à´ç¡¤¹¹Ñé¹à»š¹à´ç¡´Õ ¢Âѹ¢Ñ¹á¢ç§

Expand

1. ใหนักเรียนชวยกันแตงนิทาน 1 เรื่อง โดยพูด คนละ 1 ประโยค ใหมีเนื้อหาตอเนื่องกัน แลวตั้งชื่อเรื่อง 2. ใหนกั เรียนรวบรวมนิทานพืน้ บานทีม่ ใี นทองถิน่ โดยปฏิบัติ ดังนี้ 1) สอบถามพอแม ผูปกครอง หรือบุคคลอื่นๆ 2) จดบันทึกสาระสําคัญของนิทานที่ฟง พรอมระบุ ชื่อ - สกุล อายุ และภูมิลําเนา ของผูเลา 3) เขียนสรุปขอคิดที่ไดจากนิทาน 4) รวบรวมนิทานที่ไดมาจัดทําเปนรูปเลม ใหสวยงาม

ตรวจสอบผล

à¢ÒªÍº ª‹ÇÂàËÅ×ͼٌÍ×è¹

๔. รวบรวมนิทานพื้นบานที่มีในทองถิ่นสําคัญโดยปฏิบัติ ดังนี้ ๑) สอบถามพ่อแม่ ผูปกครอง หรือบุคคลอื่นๆ ๒) จดบันทึกสาระสําคัญของนิทานที่ฟง พรอมระบุชื่อ-สกุล อายุ และภูมิลําเนาของผูเล่า ๓) เขียนสรุปขอคิดที่ไดจากนิทาน ๔) รวบรวมนิทานที่ไดมาจัดทําเปนรูปเล่มใหสวยงาม

Evaluate

1. ครูตรวจสอบผลการสรุปใจความสําคัญ ของนิทานพื้นบานและการบอกขอคิดที่ได โดยพิจารณาจากการสรุปใจความสําคัญ และบอกขอคิดไดถูกตอง 2. ครูตรวจสอบการทําแบบฝกหัดของนักเรียน โดยพิจารณาจากการวิเคราะหลักษณะนิสัย ตัวละครไดถูกตอง

หลักฐานแสดงผลการเรียนรู 1. การเขียนสรุปใจความสําคัญและขอคิดจาก เรื่องที่อาน 2. แบบฝกหัด ภาษาไทย ป.5

๑๗

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

นิทานพื้นบานเรื่อง พระเจาสายนํ้าผึ้งและพระนางสรอยดอกหมาก ใหขอคิดตรงกับสํานวนในขอใด 1. คูกันแลวไมแคลวกันไปได 2. ชาๆ ไดพราสองเลมงาม 3. ทําดีไดดี ทําชั่วไดชั่ว 4. พลั้งปากเสียศีล

วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 4. นิทานพื้นบานเรื่องพระเจาสายนํ้าผึ้ง และพระนางสรอยดอกหมาก ใหขอคิดตรงกับสํานวน พลั้งปากเสียศีล คือ พูดโดยไมคิดอาจทําใหเกิดเรื่องรายแรงได ดังเชนคําพูดของพระเจาสายนํ้าผึ้ง

เกร็ดแนะครู ในการสอนวรรณคดีและวรรณกรรมตางๆ ครูควรใหนักเรียนไดฝกสรุปใจความ สําคัญของเรื่องบอยๆ เพื่อฝกทักษะการคิดและเขียน โดยอาจใหนักเรียนเขียนเปน แผนผังความคิดแบบเหตุการณ ตามหัวขอ ดังนี้ 1) ตัวละคร 2) สถานที่ 3) เหตุการณที่เกิด 4) ผลของเหตุการณ 5) ขอคิดที่ไดจากเรื่อง

คู่มือครู

17


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.