8858649120977

Page 1

คูมือครู 㪌»ÃСͺ¡ÒÃÊ͹ËÇÁ¡Ñº

˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ©ºÑº ÍÞ.

หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน

วิทยาศาสตร ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕

กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ศิริรัตน วงศศิริ

รักซอน รัตนวิจิตตเวช

ภาพปกนี้มีขนาดเทากับหนังสือเรียนฉบับจริงของนักเรียน

กระบวนการสอนแบบ 5 Es ชวยสรางทักษะการเรียนรู กิจกรรมมุงพัฒนาทักษะการคิด คำถาม + แนวขอสอบเพื่อยกผลสัมฤทธิ์ O - NET กิจกรรมบูรณาการเตรียมพรอมสู ASEAN 2558


เอกสารประกอบคูมือครู

กลุมสาระการเรียนรู วิทยาศาสตร

วิทยาศาสตร ชั้นประถมศึกษาปที่

5

สําหรับครู

คูมือครู Version ใหม

ลักษณะเดน

ขยายพื้นที่รูปเลมใหญขึ้นกวาเดิม จัดแบงพื้นที่ออกเปนโซน เพื่อคนหาขอมูลไดงาย สะดวก รวดเร็ว และดูเปนระเบียบ กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล

กระตุน ความสนใจ

Evaluate

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

เปาหมายการเรียนรู สมรรถนะของผูเรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค

หน า

โซน 1 กระตุน ความสนใจ

Engage

สํารวจคนหา

Explore

อธิบายความรู

Explain

ขยายความเขาใจ

Expand

ตรวจสอบผล

หน า

หนั ง สื อ เรี ย น

โซน 1

หนั ง สื อ เรี ย น

Evaluate

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

ขอสอบเนน การคิด แนว NT

O-NET บูรณาการเชื่อมสาระ

เกร็ดแนะครู

ขอสอบ

โซน 2

โซน 3

กิจกรรมสรางเสริม กิจกรรมทาทาย

นักเรียนควรรู

โซน 3

โซน 2 บูรณาการอาเซียน มุม IT

No.

คูมือครู

คูมือครู

No.

โซน 1 ขั้นตอนการสอนแบบ 5Es

โซน 2 ชวยครูเตรียมสอน

โซน 3 ชวยครูเตรียมนักเรียน

เพื่อใหครูเตรียมจัดกิจกรรมการเรียน การสอน โดยแนะนําขั้นตอนการสอนและ การจัดกิจกรรมแบบ 5Es อยางละเอียด เพื่อใหนักเรียนบรรลุตามตัวชี้วัด

เพื่อชวยลดภาระครูผูสอน โดยแนะนํา เกร็ดความรูสําหรับครู ความรูเสริมสําหรับ นักเรียน รวมทั้งบูรณาการความรูสูอาเซียน และมุม IT

เพือ่ ใหครูสะดวกตอการจัดกิจกรรม โดยแนะนํา กิจกรรมบูรณาการเชื่อมระหวางกลุมสาระ วิชา กิจกรรมสรางเสริม กิจกรรมทาทาย รวมถึงเนือ้ หา ทีเ่ คยออกขอสอบ NT/O-NET เก็งขอสอบ NT/O-NET และแนวขอสอบเนนการคิด พรอมคําอธิบาย และเฉลยอยางละเอียด


ที่ใชในคูมือครู

แถบสีและสัญลักษณ

แถบสีแสดงขั้นตอนการสอนและการจัดกิจกรรม แบบ 5Es เพื่อใหครูทราบวาเปนขั้นการสอนขั้นใด

1. แถบสี 5Es สีแดง

สีเขียว

กระตุน ความสนใจ

เสร�ม

สํารวจคนหา

Engage

2

เปนขั้นที่ผูสอนเลือกใช เทคนิคกระตุน ความสนใจ เพื่อโยง เขาสูบทเรียน

สีสม

อธิบายความรู

Explore

เปนขั้นที่ผูสอน ใหผูเรียนสํารวจ ปญหา และศึกษา ขอมูล

สีฟา

Explain

เปนขั้นที่ผูสอน ใหผูเรียนคนหา คําตอบ จนเกิดความรู เชิงประจักษ

สีมวง

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

เปนขั้นที่ผูสอน ใหผูเรียนนําความรู ไปคิดคนตอๆ ไป

เปนขั้นที่ผูสอน ประเมินมโนทัศน ของผูเรียน

2. สัญลักษณ สัญลักษณ

วัตถุประสงค

• เปาหมายการเรียนรู

• หลักฐานแสดง ผลการเรียนรู

• เกร็ดแนะครู

• นักเรียนควรรู

• บูรณาการอาเซียน

• มุม IT

คูม อื ครู

แสดงเปาหมายการเรียนรูที่นักเรียน ตองบรรลุตามตัวชี้วัด ตลอดจนสมรรถนะ ที่จะตองมี และคุณลักษณะที่พึงเกิดขึ้น กับนักเรียน แสดงรองรอยหลักฐานตามภาระงาน ที่ครูมอบหมาย เพื่อแสดงผลการเรียนรู ตามตัวชี้วัด แทรกความรูเสริมสําหรับครู ขอเสนอแนะ ขอควรระวัง ขอสังเกต แนวทางการจัด กิจกรรมและอืน่ ๆ เพื่อประโยชนในการ จัดการเรียนการสอน ขยายความรูเพิ่มเติมจากเนื้อหา เพื่อให ครูนําไปใชอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียน ไดมีความรูมากขึ้น ความรูห รือกิจกรรมเสริม ใหครูนาํ ไปใช เตรียมความพรอมใหกบั นักเรียนกอนเขาสู ประชาคมอาเซียนใน พ.ศ. 2558 โดย บูรณาการกับวิชาทีก่ าํ ลังเรียน แนะนําแหลงคนควาจากเว็บไซต เพื่อให ครูและนักเรียนไดเขาถึงขอมูลความรู ที่หลากหลาย ทั้งไทยและตางประเทศ

สัญลักษณ

ขอสอบ

วัตถุประสงค

O-NET

(เฉพาะวิ เฉพาะวิชา ชัน้ ทีส่ อบ O-NET O-NET)

• ชีแ้ นะเนือ้ หาทีเ่ คยออกขอสอบ

O-NET โดยยกตัวอยางขอสอบ พรอมวิเคราะหคาํ ตอบ อยางละเอียด

• เปนตัวอยางขอสอบทีม่ งุ เนน แนว  NT  O-NE T (เฉพาะวิ เฉพาะวิชา ชัน้ ทีส่ อบ NT เพือ่ เตรียมพรอมสอบ O-NET)

ขอสอบเนน การคิด แนว NT (เฉพาะวิชา ชัน้ ทีส่ อบ NT)

บูรณาการเชื่อมสาระ กิจกรรมสรางเสริม

การคิด และเปนแนวขอสอบ NT/O-NET ในระดับประถมศึกษา มีทงั้ ปรนัย - อัตนัย พรอมเฉลย อยางละเอียด

• แนวขอสอบ NT ในระดับ

ประถมศึกษา มีทงั้ ปรนัย - อัตนัย พรอมเฉลยอยางละเอียด โดยเนน - การอานออกเขียนได - การคิดเลข - ความสามารถดานการคิด และการใหเหตุผล

• แนะนําแนวทางการจัดกิจกรรม

เชือ่ มกับสาระหรือกลุม สาระ การเรียนรู ระดับชัน้ หรือวิชาอืน่ ทีเ่ กีย่ วของ

• แนะนําแนวทางการจัดกิจกรรม ซอมเสริมสําหรับนักเรียนทีค่ วร ไดรบั การพัฒนาการเรียนรู

• แนะนําแนวทางการจัดกิจกรรม กิจกรรมทาทาย

ตอยอดสําหรับนักเรียนทีเ่ รียนรู ไดอยางรวดเร็ว และตองการ ทาทายความสามารถในระดับ ทีส่ งู ขึน้


คําแนะนําการใชคูมือครู การออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอน คูมือครู รายวิชา วิทยาศาสตร ป.5 จัดทําขึ้นเพื่อใหครูผูสอนนําไปใชเปนแนวทางวางแผนการสอนเพื่อพัฒนา ผลสัมฤทธิท์ างการเรียน และประกันคุณภาพผูเ รียน ตามนโยบายของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน (สพฐ.) โดยใชหนังสือเรียน วิทยาศาสตร ป.5 ของบริษัท อักษรเจริญทัศน อจท. จํากัด เปนสื่อหลัก (Core Material) ประกอบ เสร�ม การสอนและการจัดกิจกรรมการเรียนรูใหสอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดกลุมสาระการเรียนรู วิทยาศาสตร 3 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พ.ศ. 2551 โดยออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนตามหลักการสําคัญ ดังนี้ 1 ออกแบบการสอนเปนหนวยการเรียนรูอิงมาตรฐาน คูม อื ครู รายวิชา วิทยาศาสตร ป.5 วางแผนการสอนโดยแบงเปนหนวยการเรียนรูต ามลําดับสาระ (Standard) และ หมายเลขขอของมาตรฐานการเรียนรูแ ละตัวชีว้ ดั แตละหนวยจะกําหนดเปาหมายการสอนและจุดประสงคการเรียนรู (Objective Learning) กิจกรรมการเรียนรู (Learning Activities) และแนวทางการประเมินผลการเรียนรู (Learning Evaluation) ไวชัดเจน ครูผูสอนสามารถจัดทําแผนการสอนใหครอบคลุมมาตรฐานการเรียนรู ตัวชี้วัด สมรรถนะ และคุณลักษณะ อันพึงประสงคที่เปนเปาหมายการเรียนรูตามที่กําหนดไวในสาระแกนกลาง (ตามแผนภูมิ) และสามารถบันทึกผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนของผูเรียนแตละคนลงในเอกสาร ปพ.5 ไดอยางมั่นใจ แผนภูมิแสดงองคประกอบของการออกแบบการเรียนรูอิงมาตรฐานและเนนผูเรียนเปนสําคัญ

พผ

ูเ

จุดปร

ะสง

ค ก

ส ภา

รียน

รู ีเรยน

มาตรฐานการเรียนรู ตัวชี้วัดชั้นป

ทักษะการคิด การวัดประเมินผล การเรียนรู

กิจกรรมการเรียนรู

เทคนิคการสอน

คูม อื ครู


2 การจัดการเรียนรูที่ยึดผูเรียนเปนสําคัญ แนวคิ ด ในการจั ด การเรี ย นการสอนที่ ยึ ด ผู  เ รี ย นเป น สํ า คั ญ พั ฒ นามาจากปรั ช ญาและทฤษฎี ก ารเรี ย นรู  Constructivism ที่เชื่อวาการเรียนรูเปนกระบวนการที่เกิดขึ้นภายในสมองของผูเรียนแตละคน ผูเรียนเปนผูสรางความรู โดยการเชื่อมโยงระหวางสิ่งที่ไดเรียนรูจากบทเรียนใหมกับความรูหรือประสบการณเดิมที่มีอยู ทฤษฎีนี้มีความเชื่อวา ผูเรียนทุกคนไดเรียนรูและมีการสั่งสมความรูความเขาใจเกี่ยวกับสิ่งตางๆ ติดตัวมากอน ทีจ่ ะเขาสูห อ งเรียน ซึง่ เปนการเรียนรูท เี่ กิดจากประสบการณและสิง่ แวดลอมรอบตัวผูเ รียนแตละคน ดังนัน้ การจัดกิจกรรม เสร�ม การเรียนการสอนในแตละหนวยการเรียนรู ผูสอนจะตองคํานึงถึง

4

1. ความรูเดิมของผูเรียน วิธีการสอนที่ดีจะตองเริ่มตนจากจุดที่วา ผูเ รียนมีความรูอ ะไรมาบาง แลวจึงใหความรู หรือประสบการณใหม เพื่อตอยอดจาก ความรูเดิม นําไปสูการสรางความรู ความเขาใจใหม

2. ความรูเดิมของผูเรียนถูกตองหรือไม ผูส อนตองปรับเปลีย่ นความรูค วามเขาใจเดิม ของผูเรียนใหถูกตอง และเปนพฤติกรรม การเรียนรูใ หมทมี่ คี ณุ คาตอผูเรียน เพื่อสราง เจตคติหรือทัศนคติที่ดีตอการเรียนรู สิ่งเหลานั้น

3. ผูเรียนสรางความหมายสําหรับตนเอง ผูสอนตองสงเสริมใหผูเรียนนําความรู ความเขาใจที่เกิดขึ้นไปลงมือปฏิบัติ เพื่อขยายความรูใหลึกซึ้งและมีคุณคา ตอตัวผูเรียนมากที่สุด

แนวคิด Constructivism เนนใหผูเรียนสรางความรูโดยผานกระบวนการคิดและความอยากรูของตนเอง โดยมีผูสอนเปนผูสรางบรรยากาศ

การเรียนรูและกระตุนความสนใจ คอยจัดสถานการณใหผูเรียนเกิดความขัดแยงทางความคิดระหวางประสบการณเดิมกับประสบการณ ความรูใ หม เพือ่ กระตนุ ใหผเู รียนเชือ่ มโยงความรู ความคิด กับประสบการณทมี่ อี ยูเ ดิม แลวสังเคราะหเปนความรูห รือแนวคิดใหมๆ ไดดว ยตนเอง

3 การบูรณาการกระบวนการคิด การเรียนรูของผูเรียนแตละคนจะเกิดขึ้นที่สมอง ซึ่งเปนอวัยวะที่ทําหนาที่รูคิดภายใตสภาพแวดลอมที่เอื้ออํานวย และไดรบั การกระตนุ จูงใจอยางเหมาะสม สอดคลองกับสภาพจิตใจและความตองการของผูเ รียนแตละคน การจัดกิจกรรม การเรียนรูและสาระการเรียนรูที่สอดคลองกับความสนใจและมีความหมายตอผูเรียน จะชวยกระตุนใหสมองของผูเรียน สามารถรับรูและเรียนรูไดอยางมีประสิทธิภาพตามขั้นตอนการทํางานของสมอง ดังนี้ 1. สมองจะเรียนรูและสืบคน โดยการสังเกต คนหา ซักถาม และทดลอง ปฏิบัติ จนทําใหคนพบความรูความเขาใจ ไดอยางรวดเร็ว

2. สมองจะแยกแยะคุณคาของสิ่งตางๆ โดยการตัดสินใจวิพากษวิจารณ แสดง ความคิดเห็น ยอมรับหรือตอตานตาม อารมณความรูสึกที่เกิดขึ้นในขณะที่เรียนรู

3. สมองจะประมวลเนื้อหาสาระ โดยการสรุปเปนความคิดรวบยอดจาก เรื่องราวที่ไดเรียนรูใหมนําไปผสมผสานกับ ความรูห รือประสบการณเดิมทีถ่ กู จัดเก็บอยูใ น สมอง ผานการกลัน่ กรองเพือ่ สังเคราะหเปน ความรูค วามเขาใจใหมๆ หรือเปนทัศนคติใหม ที่จะเก็บบรรจุไวในสมองของผูเรียน

การเรียนรูที่มีประสิทธิภาพจึงตองเปนการเรียนรูที่เกิดจากกระบวนการคิดของผูเรียน เพราะการเรียนรูจะเกิดขึ้น เมื่อสมองรูคิด และตองเปนการคิดไดครบถวนตามขั้นตอนการทํางานของสมองผูเรียน โดยเริ่มตนจาก 1. ระดับการคิดพื้นฐาน ไดแก การสังเกต การจําแนก การคาดคะเน การสื่อความหมาย การรวบรวมขอมูล การสรุปผล เปนตน

คูม อื ครู

2. ระดับลักษณะการคิด ไดแก การคิดกวาง คิดลึกซึ้ง คิดไกล คิดหลากหลาย คิดคลอง คิดอยางมีเหตุผล เปนตน

3. ระดับกระบวนการคิด ไดแก กระบวนการคิดอยางมีวิจารณญาณ กระบวนการแกปญหา กระบวนการ คิดสรางสรรค กระบวนการคิดสังเคราะหวิจัย เปนตน


5Es การจัดกิจกรรมตามขั้นตอนวัฏจักรการเรียนรู 5Es ขั้นตอนการสอนที่สัมพันธกับขั้นตอนการคิดและการทํางานทางสมองของผูเรียนที่นิยมใชอยางแพรหลาย คือ วัฏจักรการเรียนรู 5Es ซึ่งผูจัดทําคูมือครูไดนํามาใชเปนแนวทางออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนในแตละหนวย ตามลําดับขั้นตอนการเรียนรู ดังนี้ ขั้นที่ 1

กระตุนความสนใจ

(Engage)

เสร�ม

5

เปนขัน้ ทีผ่ สู อนนําเขาสูบ ทเรียน เพือ่ กระตุน ความสนใจของผูเ รียนดวยเรือ่ งราวหรือเหตุการณทนี่ า สนใจโดยใชเทคนิควิธกี ารสอน และคําถามทบทวนความรูหรือประสบการณเดิมของผูเรียน เพื่อเชื่อมโยงผูเรียนเขาสูความรูของบทเรียนใหม ชวยใหผูเรียนสามารถ สรุปประเด็นสําคัญที่เปนหัวขอและสาระการเรียนรูของบทเรียนได จึงเปนขั้นตอนการสอนที่สําคัญ เพราะเปนการเตรียมความพรอม และสรางแรงจูงใจใฝเรียนรูแกผูเรียน

ขั้นที่ 2

สํารวจคนหา

(Explore)

เปนขัน้ ทีผ่ สู อนเปดโอกาสใหผเู รียนลงมือศึกษา สังเกต หรือรวมมือกันสํารวจ เพือ่ ใหเห็นขอบขายของปญหา รวมถึงวิธกี ารศึกษา คนควา การรวบรวมขอมูลความรูที่จะนําไปสูการสรางความเขาใจประเด็นปญหานั้นๆ เมื่อผูเรียนทําความเขาใจในประเด็นหัวขอที่จะ ศึกษาคนควาอยางถองแทแลว ก็ลงมือปฏิบัติเพื่อเก็บรวบรวมขอมูลความรู สํารวจตรวจสอบ โดยวิธีการตางๆ เชน สัมภาษณ ทดลอง อานคนควาขอมูลจากเอกสาร แหลงขอมูลตางๆ จนไดขอมูลความรูตามที่ตั้งประเด็นศึกษาไว

ขั้นที่ 3

อธิบายความรู

(Explain)

เปนขั้นที่ผูสอนมีปฏิสัมพันธกับผูเรียน เชน ใหการแนะนํา ตั้งคําถามกระตุนใหคิด เพื่อใหผูเรียนคนหาคําตอบ และนําขอมูล ความรูจากการศึกษาคนควาในขั้นที่ 2 มาวิเคราะห สรุปผล และนําเสนอผลที่ไดศึกษาคนความาในรูปแบบสารสนเทศตางๆ เชน เขียนแผนภูมิ แผนผังแสดงมโนทัศน เขียนความเรียง เขียนรายงาน เปนตน ในขั้นตอนนี้ฝกใหผูเรียนใชสมองคิดวิเคราะหและ สังเคราะหอยางเปนระบบ

ขั้นที่ 4

ขยายความเขาใจ

(Expand)

เปนขั้นที่ผูสอนเลือกใชเทคนิควิธีการสอนตางๆ ที่สงเสริมใหผูเรียนนําความรูที่เกิดขึ้นไปคิดคนสืบคนตอๆ ไป เพื่อพัฒนาทักษะ การเรียนรูและการทํางานรวมกันเปนกลุม ระดมสมองเพื่อคิดสรางสรรครวมกัน ผูเรียนสามารถนําความรูที่สรางขึ้นใหมไปเชื่อมโยง กับประสบการณเดิมโดยนําขอสรุปทีไ่ ดไปใชอธิบายเหตุการณตา งๆ หรือนําไปปฏิบตั ใิ นสถานการณใหมๆ ทีเ่ กีย่ วของกับชีวติ ประจําวัน ของตนเอง เพื่อขยายความรูความเขาใจใหกวางขวางยิ่งขึ้น ในขั้นตอนนี้ฝกสมองของผูเรียนใหสามารถคิดริเริ่มสรางสรรคอยางมี คุณภาพ เสริมสรางวิสัยทัศนใหกวางไกลออกไป

ขั้นที่ 5

ตรวจสอบผล

(Evaluate)

เปนขัน้ ทีผ่ สู อนประเมินมโนทัศนของผูเ รียน โดยตรวจสอบจากความคิดทีเ่ ปลีย่ นไปและความคิดรวบยอดทีเ่ กิดขึน้ ใหม ตรวจสอบ ทักษะ กระบวนการปฏิบัติ การแกปญหา การตอบคําถามรวบยอด และการเคารพความคิดหรือยอมรับเหตุผลของคนอื่น เพื่อการ สรางสรรคความรูร ว มกัน ผูเ รียนสามารถประเมินผลการเรียนรูข องตนเอง เพือ่ สรุปผลวามีความรูอ ะไรเพิม่ ขึน้ มาบาง เกิดความเขาใจ มากนอยเพียงใด และจะนําความรูเหลานั้นไปประยุกตใชในการเรียนรูเรื่องอื่นๆ ไดอยางไร ผูเรียนจะเกิดเจตคติและเห็นคุณคาของ ตนเองจากผลการเรียนรูที่เกิดขึ้น ซึ่งเปนการเรียนรูที่มีความสุขอยางแทจริง

การจัดกิจกรรมการเรียนรูตามขั้นตอนวัฏจักรการสรางความรูแบบ 5Es จึงเปนรูปแบบการเรียนการสอนที่เนน ผูเ รียนเปนสําคัญอยางแทจริง เพราะสงเสริมใหผเู รียนไดลงมือปฏิบตั ติ ามขัน้ ตอนของกระบวนการสรางความรูด ว ยตนเอง และฝกฝนใหใชกระบวนการคิดและกระบวนการกลุมอยางชํานาญ กอใหเกิดทักษะชีวิต ทักษะการทํางานและทักษะการ เรียนรูท มี่ ปี ระสิทธิภาพ สงผลตอการยกระดับผลสัมฤทธิข์ องผูเ รียน ตามเปาหมายของการปฏิรปู การศึกษาทศวรรษที่ 2 (พ.ศ. 2552-2561) ทุกประการ คูม อื ครู


O-NET การเพิ่มผลสัมฤทธิ์ O-NET

การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามขัน้ ตอนวัฏจักรการเรียนรู 5Es ในแตละหนวยการเรียนรู ทางผูจ ดั ทํา จะเสนอแนะวิธสี อนรูปแบบกิจกรรมการเรียนรู พรอมทัง้ ออกแบบเครือ่ งมือวัดผลประเมินผลทีส่ อดคลองกับตัวชีว้ ดั และสาระการเรียนรูแกนกลางไวทุกขั้นตอน โดยยึดหลักสําคัญ คือ เปาหมายของการวัดผลประเมินผล เสร�ม

6

1. การวัดผลทุกครั้งตองนําผล การวัดมาปรับปรุงพัฒนาผูเรียน เปนรายบุคคล

2. การประเมินผลมีเปาหมาย เพื่อพัฒนาการเรียนรูของผูเรียน จนเต็มศักยภาพ

3. การนําผลการวัดและประเมิน ทุกครั้งมาวางแผนปรับปรุงกิจกรรม การเรียนการสอน การเลือกเทคนิค วิธีการสอน และสื่อการเรียนรูให เหมาะสมกับสภาพจริงของผูเรียน

การทดสอบผูเรียน 1. การใชขอสอบอัตนัย เนนการอาน การคิดวิเคราะห และเขียนสรุปเพิ่มมากขึ้น 2. การใชคําถามกระตุนการคิด ควบคูกับการทําขอสอบที่เนนการคิดตลอดตอเนื่องตามลําดับกิจกรรมการเรียนรูและ ตัวชี้วัด 3. การทดสอบตองดําเนินการทั้งกอนเรียน ระหวางเรียน และเมื่อสิ้นสุดการเรียน การทดสอบระหวางเรียน ต อ งใช ข  อ สอบทั้ ง ชนิ ด ปรนั ย และอั ต นั ย และเป น การทดสอบเพื่ อ วิ นิ จ ฉั ย ผลการเรี ย นของผู  เ รี ย นแต ล ะคน เพื่อวัดการสอนซอมเสริมใหบรรลุตัวชี้วัดทุกตัว 4. การสอบกลางภาค (ถามี) ควรนําขอสอบหรือแบบฝกหัดที่นักเรียนสวนใหญทําผิดบอยๆ มาสรางเปนแบบทดสอบ อีกครัง้ เพือ่ ตรวจสอบความรูค วามเขาใจทีถ่ กู ตอง และประเมินความกาวหนาของผูเรียนแตละคน 5. การสอบปลายภาคเรียนเพื่อวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามตัวชี้วัดที่สําคัญ ควรออกขอสอบใหมีลักษณะเดียวกับ ขอสอบ O-NET โดยเนนการคิดวิเคราะห สังเคราะห เชื่อมโยงประยุกตใช เพื่อสรางความคุนเคย และฝกฝน วิธีการทําขอสอบดวยความมั่นใจ 6. การนําผลการทดสอบของผูเรียนมาวิเคราะห โดยผลการสอบกอนการเรียนตองสามารถพยากรณผลการสอบ กลางภาค และผลการสอบกลางภาคตองทํานายผลการสอบปลายภาคของผูเ รียนแตละคน เพือ่ ประเมินพัฒนาการ ความกาวหนาของผูเรียนเปนรายบุคคล 7. ผลการทดสอบปลายป ปลายภาค ตองมีคาเฉลี่ยสอดคลองกับคาเฉลี่ยของการสอบ NT ที่เขตพื้นที่การศึกษา จัดสอบ รวมทั้งคาเฉลี่ยของการสอบ O-NET ชวงชั้นที่สอดคลองครอบคลุมมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดสําคัญ เพือ่ สะทอนประสิทธิภาพของครูผสู อนในการออกแบบการเรียนรูแ ละประกันคุณภาพผูเ รียนทีต่ รวจสอบผลไดชดั เจน การจัดการเรียนการสอนในแตละหนวยการเรียนรู ตองใหผูเรียนไดสั่งสมความรู สะสมความเขาใจไปทีละเล็ก ละนอยตามลําดับขัน้ ตอนของกิจกรรมการเรียนรู 5Es เพือ่ ใหผเู รียนไดเติมเต็มองคความรูอ ยางตอเนือ่ ง จนสามารถปฏิบตั ิ ชิ้นงานหรือภาระงานรวบยอดของแตละหนวยผานเกณฑประกันคุณภาพในระดับที่นาพึงพอใจ เพื่อรองรับการประเมิน ภายนอกจาก สมศ. ตลอดเวลา คูม อื ครู


ASEAN การเรียนรูสูประชาคมอาเซียน เพื่ออํานวยความสะดวกแกครูผูสอนในการจัดกิจกรรมการเรียนรูบูรณาการอาเซียนศึกษา ผูจัดทําไดวิเคราะห มาตรฐานการเรียนรู และตัวชี้วัดที่มีสาระการเรียนรูสอดคลองกับองคความรูเกี่ยวกับประชาคมอาเซียนในแงมุมตางๆ ครอบคลุมทัง้ ประชาคมการเมืองและความมัน่ คงอาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และประชาคมสังคมและวัฒนธรรม อาเซียน เพื่อสงเสริมการเรียนรูใหผูเรียนเกิดความตระหนัก มีความรูความเขาใจเหมาะสมกับระดับชั้นและกลุมสาระ การเรียนรู โดยเสนอแนะวิธีการจัดกิจกรรมบูรณาการเนื้อหาสาระตางๆ ที่เปนประโยชนตอผูเรียนและเปนการชวย เตรียมความพรอมผูเ รียนทุกคนทีจ่ ะกาวเขาสูก ารเปนสมาชิกของประชาคมอาเซียนไดอยางมัน่ ใจตามขอตกลงปฏิญญา ชะอํา-หัวหิน วาดวยความรวมมือดานการศึกษาเพือ่ บรรลุเปาหมายประชาคมอาเซียนทีเ่ อือ้ อาทรและแบงปน จึงกําหนด เปนนโยบายใหกระทรวงศึกษาธิการจัดการเรียนรูเตรียมความพรอมผูเรียนเขาสูประชาคมอาเซียนภายในป พ.ศ. 2558 ตามแนวปฏิบัติที่สําคัญ ดังนี้

เสร�ม

7

การจัดการเรียนรูส ู ประชาคมการเมืองและความมัน่ คงอาเซียน 1. การสรางความรูความเขาใจ และตระหนักถึงความสําคัญของ กฎบัตรอาเซียน และความรวมมือ ของ 3 เสาหลัก ซึง่ กฎบัตรอาเซียน ในขณะนี้มีสถานะเปนกฎหมายที่ ประเทศสมาชิกจะตองปฏิบัติตาม หลักการที่กําหนดไวเพื่อใหบรรลุ เปาหมายของกฎบัตรมาตราตางๆ

2. การสงเสริมหลักการ ประชาธิปไตยและการสราง สิ่งแวดลอมประชาธิปไตย เพื่อการอยูรวมกันอยางกลมกลืน ภายใตวิถีชีวิตอาเซียนที่มีความ หลากหลายดานสังคมและ วัฒนธรรม

4. การตระหนักในคุณคาของ สายสัมพันธทางประวัติศาสตร และมรดกทางวัฒนธรรมที่มี พัฒนาการรวมกัน เพื่อเชื่อม อัตลักษณและสรางจิตสํานึก ในการเปนประชากรของประชาคม อาเซียนรวมกัน

3. การสงเสริมการศึกษาดาน สิทธิมนุษยชน เพื่อสรางประชาคม อาเซียนใหเปนประชาคมเพื่อ ประชาชนอยางแทจริง สามารถ อยูรวมกันไดบนพื้นฐานการเคารพ ในคุณคาของศักดิ์ศรีแหงความ เปนมนุษยเทาเทียมกัน

5. การสงเสริมสันติภาพ ความ มั่นคง และความปรองดองในสังคม ทั้งระดับประเทศและภูมิภาคของ อาเซียนบนพื้นฐานสันติวิธีและการ อยูรวมกันดวยขันติธรรม

คูม อื ครู


การจัดการเรียนรูส ู ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

เสร�ม

8

1. การพัฒนาทักษะการทํางาน เพื่อเสริมสรางผูเรียนใหมีทักษะ วิชาชีพที่จําเปนสอดคลองกับ ความตองการของตลาดแรงงาน และสถานประกอบการในอาเซียน สามารถเทียบโอนผลการเรียน และการทํางานตามมาตรฐานฝมือ แรงงานในภูมิภาคอาเซียน

2. การเสริมสรางวินัย ความรับผิดชอบ และเจตคติรักการทํางาน สามารถพึ่งพาตนเอง มีทักษะชีวิต ดํารงชีวิตอยางมีความสุข เห็นคุณคา และภูมิใจในตนเอง ในฐานะที่เปนพลเมืองไทยและ อาเซียน

3. การเรียนรูเพื่อพัฒนาตนเอง อยางตอเนื่องตลอดชีวิต ใหมี ทักษะการทํางานตามมาตรฐาน อาชีพ และคุณวุฒิของวิชาชีพสาขา ตางๆ เพื่อรองรับการเตรียมเคลื่อน ยายแรงงานมีฝมือและการเปน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนที่ เขมแข็ง เพื่อสรางขีดความสามารถ ในการแขงขันในเวทีโลก

การจัดการเรียนรูส ู ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน 1. การเสริมสรางความรวมมือ ในลักษณะสังคมที่เอื้ออาทร ของประชากรอาเซียน โดยยึด หลักการสําคัญ คือ ความงดงาม ของประชาคมอาเซียนมาจาก ความแตกตางและหลากหลายทาง วัฒนธรรมที่ลวนแตมีคุณคาตอ มรดกทางวัฒนธรรมของอาเซียน ซึ่งประชาชนทุกคนตองอนุรักษ สืบสานใหยั่งยืน

2. การเสริมสรางคุณลักษณะ ของผูเรียนใหเปนพลเมืองอาเซียน ที่มีศักยภาพในการกาวเขาสู ประชาคมอาเซียนอยางมั่นใจ เปนผูที่มีสุขภาพสมบูรณแข็งแรง มีทักษะการสื่อสาร ทักษะการ ทํางาน ทักษะทางสังคม สามารถ ทํางานรวมกับผูอื่นไดอยาง สรางสรรค และมีองคความรู เกี่ยวกับอาเซียนที่จําเปนตอการ ดํารงชีวิตอยางมีคุณภาพ

4. การสงเสริมการเรียนรูดาน ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี วิถชี วี ติ ความเปนอยูข องเพือ่ นบาน ในอาเซียน เพื่อสรางจิตสํานึกของ ความเปนประชาคมอาเซียนและ ตระหนักถึงหนาที่ของการเปน พลเมืองอาเซียนรวมกัน

3. การสงเสริมการเรียนรูภาษา อังกฤษเพื่อการสื่อสารและการ ทํางานตามมาตรฐานอาชีพที่ กําหนดและสนับสนุนการเรียนรู ภาษาอาเซียนและภาษาเพื่อนบาน เพื่อชวยเสริมสรางสัมพันธภาพทาง สังคม และการอยูรวมกันอยางสันติ ทามกลางความหลากหลายทาง วัฒนธรรม

5. การสรางความรูและความ ตระหนักเกี่ยวกับดานสิ่งแวดลอม ปญหาและผลกระทบตอคุณภาพ ชีวิตของประชากรในภูมิภาค รวมทั้งแนวทางการพัฒนาอยาง ยั่งยืน ใหเปนมรดกสืบทอดแก พลเมืองอาเซียนในรุนหลังตอๆ ไป

กระทรวงศึกษาธิการจึงประกาศนโยบายการปฏิรูปการศึกษาทศวรรษที่ 2 (พ.ศ. 2552-2561) เพื่อเรงพัฒนาเด็ก และเยาวชนไทยใหเปนทรัพยากรมนุษยของชาติที่มีทักษะและความชํานาญ พรอมเผชิญกับความเปลี่ยนแปลงและ การแขงขันทั้งในภูมิภาคอาเซียนและภูมิภาคอื่นๆ ของสังคมโลก ทั้งนี้ผูบริหารสถานศึกษา ครูผูสอน และผูปกครอง ควรรวมมือกันอยางใกลชดิ ในการดูแลชวยเหลือผูเ รียนและจัดประสบการณการเรียนรูเ พือ่ พัฒนาผูเ รียนจนเต็มศักยภาพ เพื่อกาวเขาสูการเปนพลเมืองอาเซียนอยางมีเกียรติภูมิและศักดิ์ศรีความเปนมนุษยของตน คูม อื ครู

คณะผูจัดทํา


ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง สาระที่ 1

วิทยาศาสตร (เฉพาะชั้น ป.5)*

สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดํารงชีวิต

มาตรฐาน ว 1.1 เขาใจหนวยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต ความสัมพันธของโครงสราง และหนาที่ของระบบตางๆ ของสิ่งมีชีวิตที่ทํางาน สัมพันธกัน มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู สื่อสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปใชในการดํารงชีวิตของตนเอง และดูแลสิ่งมีชีวิต

ชั้น

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

ป.5

1. สังเกตและระบุสวนประกอบของ ดอกและโครงสรางที่เกี่ยวของกับ การสืบพันธุของพืชดอก

• ดอกโดยทั่วไป ประกอบดวยกลีบเลี้ยง กลีบดอก เกสรเพศผูและเกสรเพศเมีย • สวนประกอบของดอกที่ทําหนาที่เกี่ยวของกับการสืบพันธุ ไดแก เกสร เพศเมีย ประกอบดวยรังไข ออวุล และเกสรเพศผู ประกอบดวยอับเรณู และละอองเรณู

2. อธิบายการสืบพันธุของพืชดอก การขยายพันธุพืช และนําความรู ไปใชประโยชน

• พืชดอกมีการสืบพันธุทั้งแบบอาศัยเพศ และการสืบพันธุแบบไมอาศัยเพศ • การขยายพันธุพ ชื เพือ่ เพิม่ ปริมาณ และคุณภาพของพืช ทําไดหลายวิธี โดยการ เพาะเมล็ด การปกชํา การตอนกิ่ง การติดตา การทาบกิ่ง การเสียบยอด และ การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ

3. อธิบายวัฏจักรชีวิตของพืชดอก บางชนิด

• พืชดอกเมื่อเจริญเติบโตเต็มที่จะออกดอก ดอกไดรับการผสมพันธุ กลายเปน ผล ผลมีเมล็ด ซึ่งสามารถงอกเปนตนพืชตนใหมหมุนเวียนเปนวัฏจักร

4. อธิบายการสืบพันธุและการ ขยายพันธุของสัตว

• สัตวมกี ารสืบพันธุแ บบอาศัยเพศ และการสืบพันธุแ บบไมอาศัยเพศ • การขยายพันธุสัตวโดยวิธีการคัดเลือกพันธุ และการผสมเทียมทําใหมนุษย ได สัตวที่มีปริมาณและคุณภาพตามที่ตองการ

5. อภิปรายวัฏจักรชีวิตของสัตว บางชนิด และนําความรูไปใช ประโยชน

• สัตวบางชนิด เชน ผีเสื้อ ยุง กบ เมื่อไขไดรับการผสมพันธุจะเจริญเปนตัวออน และตัวออนเจริญเติบโตเปนตัวเต็มวัย จนกระทัง่ สามารถสืบพันธุได หมุนเวียน เปนวัฏจักร • มนุษยนาํ ความรูเ กีย่ วกับวัฏจักรชีวติ ของสัตวมาใชประโยชนมากมาย ทัง้ ทางดาน การเกษตร การอุตสาหกรรม และการดูแลรักษาสิ่งแวดลอม

หนวยการเรียนรู ในหนังสือเรียน

เสร�ม

9

• หนวยการเรียนรูที่ 1 มหัศจรรยสิ่งมีชีวิต บทที่ 2 ศึกษาชีวิตพืช

• หนวยการเรียนรูที่ 1 มหัศจรรยสิ่งมีชีวิต บทที่ 3 เรียนรู ชีวิตสัตว

มาตรฐาน ว 1.2 เขาใจกระบวนการและความสําคัญของการถายทอดลักษณะทางพันธุกรรม วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต ความหลาก-

หลายทางชีวภาพ การใชเทคโนโลยีชีวภาพที่มีผลกระทบตอมนุษยและสิ่งแวดลอม มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู และจิตวิทยาศาสตร สื่อสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปใชประโยชน

ชั้น ป.5

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

1. สํารวจ เปรียบเทียบ และระบุลกั ษณะ • ลักษณะของตนเองจะคลายคลึงกับคนในครอบครัว ของตนเองกับคนในครอบครัว 2. อธิบายการถายทอดลักษณะทาง • การถายทอดลักษณะทางพันธุกรรมเปนการถายทอดลักษณะบางลักษณะ พันธุกรรมของสิ่งมีชีวิตในแตละรุน จากบรรพบุรษุ สูล กู หลาน ซึง่ บางลักษณะจะเหมือนพอหรือเหมือนแม หรืออาจ มีลักษณะเหมือนปู ยา ตา ยาย 3. จําแนกพืชออกเปนพืชดอก และพืชไมมีดอก

• พืชแบงออกเปนสองประเภท คือ พืชดอกกับพืชไมมีดอก

4. ระบุลักษณะของพืชดอกที่เปนพืช • พืชดอกแบงออกเปน พืชใบเลี้ยงเดี่ยวกับพืชใบเลี้ยงคู โดยสังเกตจากราก ใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู ลําตน และใบ โดยใชลักษณะภายนอกเปนเกณฑ 5. จําแนกสัตวออกเปนกลุม โดยใช ลักษณะภายในบางลักษณะ และ ลักษณะภายนอกเปนเกณฑ

• การจําแนกสัตวเปนกลุม โดยใชลักษณะภายนอกและลักษณะภายใน บางลักษณะเปนเกณฑ แบงออกไดเปนสัตวมีกระดูกสันหลัง และสัตวไมมี กระดูกสันหลัง • สัตวมีกระดูกสันหลังแบงเปนกลุมปลา สัตวครึ่งนํ้าครึ่งบก สัตวเลื้อยคลาน สัตวปก และสัตวเลี้ยงลูกดวยนํ้านม

หนวยการเรียนรู ในหนังสือเรียน • หนวยการเรียนรูที่ 1 มหัศจรรยสิ่งมีชีวิต บทที่ 1 การถายทอด ลักษณะทาง พันธุกรรม • หนวยการเรียนรูที่ 2 ความหลากหลายของ พืชและสัตว บทที่ 1 ความหลากหลายของพืช • หนวยการเรียนรูที่ 1 ความหลากหลายของ พืชและสัตว บทที่ 1 ความหลากหลายของสัตว

_________________________________ * สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, กระทรวงศึกษาธิการ. สาระการเรียนรูแกนกลาง กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร. (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย, 2551), หนา 10 -100

คูม อื ครู


สาระที่ 3

สารและสมบัติของสาร

มาตรฐาน ว 3.1 เขาใจสมบัตขิ องสาร ความสัมพันธระหวางสมบัตขิ องสารกับโครงสรางและแรงยึดเหนีย่ วระหวางอนุภาค มีกระบวนการ สืบเสาะหาความรูและจิตวิทยาศาสตร สื่อสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปใชประโยชน

ชั้น ป.5

เสร�ม

10

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

1. ทดลองและอธิบายสมบัติของวัสดุชนิด • ความยืดหยุน ความแข็ง ความเหนียว การนําความรอน การนําไฟฟา ตางๆ เกี่ยวกับความยืดหยุน ความและความหนาแนนเปนสมบัติตางๆ ของวัสดุ ซึ่งวัสดุตางชนิดกันจะมี แข็ง ความเหนียว การนําความรอน สมบัติบางประการแตกตางกัน การนําไฟฟา และความหนาแนน 2. สืบคนขอมูลและอภิปรายการนําวัสดุ ไปใชในชีวิตประจําวัน

สาระที่ 4

• ในชีวิตประจําวันมีการนําวัสดุตางๆ มาใชทําสิ่งของเครื่องใชตามสมบัติ ของวัสดุนั้นๆ

หนวยการเรียนรู ในหนังสือเรียน • หนวยการเรียนรูที่ 3 วัสดุในชีวิตประจําวัน บทที่ 1 สมบัติของวัสดุ กับการนําไปใช

แรงและการเคลื่อนที่

มาตรฐาน ว 4.1 เขาใจธรรมชาติของแรงแมเหล็กไฟฟา แรงโนมถวง และแรงนิวเคลียร มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู สื่อสาร สิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปใชประโยชนอยางถูกตองและมีคุณธรรม

ชั้น ป.5

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

1. ทดลองและอธิบายการหาแรงลัพธ • แรงลัพธของแรงสองแรงที่กระทําตอวัตถุโดยแรงทั้งสองอยูในแนวเดียวกัน ของแรงสองแรง ซึ่งอยูในแนว เทากับผลรวมของแรงทั้งสองนั้น เดียวกันที่กระทําตอวัตถุ 2. ทดลองและอธิบายความดันอากาศ • อากาศมีแรงกระทําตอวัตถุ แรงที่อากาศกระทําตั้งฉากตอหนึ่งหนวยพื้นที่ เรียกวา ความดันอากาศ 3. ทดลองและอธิบายความดันของ ของเหลว

• ของเหลวมีแรงกระทําตอวัตถุทุกทิศทาง แรงที่ของเหลวกระทําตั้งฉากตอ หนึ่งหนวยพื้นที่ เรียกวา ความดันของของเหลว ซึ่งมีความสัมพันธกบั ความลึก

4. ทดลองและอธิบายแรงพยุงของ ของเหลว การลอยตัวและการจม ของวัตถุ

• ของเหลวมีแรงพยุงกระทําตอวัตถุที่ลอยหรือจมในของเหลว การจมหรือ การลอยตัวของวัตถุขึ้นอยูกับนํ้าหนักของวัตถุและแรงพยุงของของเหลวนั้น

หนวยการเรียนรู ในหนังสือเรียน • หนวยการเรียนรูที่ 4 แรงและความดัน บทที่ 1 แรงลัพธ

• หนวยการเรียนรูที่ 4 แรงและความดัน บทที่ 2 แรงดันและ แรงพยุงตัว

มาตรฐาน ว 4.2 เขาใจลักษณะการเคลื่อนที่แบบตางๆ ของวัตถุในธรรมชาติ มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู และจิตวิทยาศาสตร สื่อสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปใชประโยชน

ชั้น

ตัวชี้วัด

ป.5

1. ทดลองและอธิบายแรงเสียดทาน และนําความรูไปใชประโยชน

สาระที่ 5

สาระการเรียนรูแกนกลาง • แรงเสียดทานเปนแรงตานการเคลื่อนที่ของวัตถุ แรงเสียดทานมีประโยชน เชน ในการเดินตองอาศัยแรงเสียดทาน

หนวยการเรียนรู ในหนังสือเรียน • หนวยการเรียนรูที่ 4 แรงและความดัน บทที่ 3 แรงเสียดทาน

พลังงาน

มาตรฐาน ว 5.1 เขาใจความสัมพันธระหวางพลังงานกับการดํารงชีวิต การเปลี่ยนรูปพลังงาน ปฏิสัมพันธระหวางสารและพลังงาน ผลของการใชพลังงานตอชีวิตและสิ่งแวดลอม มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู สื่อสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรู ไปใชประโยชน

ชั้น ป.5

ตัวชี้วัด 1. ทดลองและอธิบายการเกิดเสียง และการเคลื่อนที่ของเสียง

สาระการเรียนรูแกนกลาง • เสียงเกิดจากการสั่นของแหลงกําเนิดเสียงและเสียงเคลื่อนที่จากแหลงกําเนิด เสียงทุกทิศทาง โดยอาศัยตัวกลาง

2. ทดลองและอธิบายการเกิดเสียงสูง • แหลงกําเนิดเสียงสั่นดวยความถี่ตํ่า จะเกิดเสียงตํ่า แตถาสั่นดวยความถี่สูง เสียงตํ่า จะเกิดเสียงสูง 3. ทดลองและอธิบายเสียงดัง เสียงคอย • แหลงกําเนิดเสียงสั่นดวยพลังงานมาก จะทําใหเกิดเสียงดัง แตถาแหลง กําเนิดเสียงสั่นดวยพลังงานนอย จะเกิดเสียงคอย

คูม อื ครู

4. สํารวจและอภิปรายอันตราย ที่เกิดขึ้นเมื่อฟงเสียงดังมากๆ

หนวยการเรียนรู ในหนังสือเรียน

• เสียงดังมากๆ จะเปนอันตรายตอการไดยิน และเสียงที่กอใหเกิดความรําคาญ เรียกวา มลพิษทางเสียง

• หนวยการเรียนรูที่ 5 เสียงกับการไดยิน บทที่ 1 เสียงรอบ ตัวเรา


สาระที่ 6

กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก

มาตรฐาน ว 6.1 เขาใจกระบวนการตางๆ ที่เกิดขึ้นบนผิวโลกและภายในโลก ความสัมพันธของกระบวนการตางๆ ที่มีผลตอการ เปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ภูมิประเทศ และสัณฐานของโลก มีกระบวนการสืบเสาะหาความรูและจิตวิทยาศาสตร สื่อสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปใชประโยชน

ชั้น ป.5

ตัวชี้วัด

หนวยการเรียนรู ในหนังสือเรียน

สาระการเรียนรูแกนกลาง

1. สํารวจ ทดลอง และอธิบายการ เกิดเมฆ หมอก นํ้าคาง ฝน และลูกเห็บ

• ไอนํ้าในอากาศที่ควบแนนเปนละอองนํ้าเล็กๆ ทําใหเกิดหมอกและเมฆ ละอองนํ้าเล็กๆ ที่รวมกันเปนหยดนํ้า จะทําใหเกิดนํ้าคางและฝน • หยดนํ้าที่กลายเปนนํ้าแข็งแลวถูกพายุพัดวนในเมฆระดับสูงจนเปน กอนนํ้าแข็งขนาดใหญขึ้น แลวตกลงมาทําใหเกิดลูกเห็บ

2. ทดลองและอธิบายการเกิด วัฏจักรนํ้า

• วัฏจักรนํ้าเกิดจากการหมุนเวียนอยางตอเนื่อง ระหวางนํ้าบริเวณผิวโลกกับ นํ้าในบรรยากาศ

3. ออกแบบและสรางเครื่องมือ อยางงายในการวัดอุณหภูมิ ความชื้น และความกดอากาศ

• อุณหภูมิ ความชื้น ความกดอากาศ มีการเปลี่ยนแปลง ซึ่งสามารถตรวจสอบ โดยใชเครื่องมืออยางงายได

4. ทดลองและอภิปรายการเกิดลม และนําความรูไปใชประโยชนใน ชีวิตประจําวัน

• การเกิดลมเกิดจากการเคลื่อนที่ของอากาศตามแนวพื้นราบ อากาศบริเวณ ที่มีอุณหภูมิสูง มวลอากาศจะขยายตัวลอยตัวสูงขึ้น สวนอากาศบริเวณที่มี อุณหภูมิตํ่า มวลอากาศจะจมตัวลง และเคลื่อนที่ไปแทนที่ • พลังงานจากลมนําไปใชประโยชนไดมากมายในดานการผลิตกระแสไฟฟา และการทํากังหันลม

สาระที่ 7

เสร�ม

11

• หนวยการเรียนรูที่ 6 นํ้า ฟา และดวงดาว บทที่ 1 ปรากฏการณ ลมฟาอากาศ

ดาราศาสตรและอวกาศ

มาตรฐาน ว 7.1 เขาใจวิวัฒนาการของระบบสุริยะ กาแล็กซีและเอกภพ การปฏิสัมพันธภายในระบบสุริยะและผลตอสิ่งมีชีวิตบนโลก มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู สื่อสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปใชประโยชน

ชั้น

ตัวชี้วัด

ป.5 1. สังเกตและอธิบายการเกิดทิศ และปรากฏการณการขึ้น - ตก ของดวงดาวโดยใชแผนที่ดาว

สาระที่ 8

หนวยการเรียนรู ในหนังสือเรียน

สาระการเรียนรูแกนกลาง • การที่โลกหมุนรอบตัวเองนี้ทําใหเกิดการกําหนดทิศ โดยโลกหมุนรอบ ตัวเองทวนเข็มนาฬกาจากทิศตะวันตกไปยังทิศตะวันออก เมื่อสังเกต จากขั้วเหนือ จึงปรากฏใหเห็นดวงอาทิตยและดวงดาวตางๆ ขึ้นทาง ทิศตะวัน ออก และตกทางทิศตะวันตก • แผนที่ดาวชวยในการสังเกตตําแหนงดาวบนทองฟา

• หนวยการเรียนรูที่ 6 นํ้า ฟา และดวงดาว บทที่ 2 ปรากฏการณ ในทองฟา

ธรรมชาติของวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

มาตรฐาน ว 8.1 ใชกระบวนการทางวิทยาศาสตรและจิตวิทยาศาสตรในการสืบเสาะหาความรู การแกปญหา รูวาปรากฏการณทาง

ธรรมชาติที่เกิดขึ้นสวนใหญมีรูปแบบที่แนนอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได ภายใตขอมูลและเครื่องมือที่มีอยู ในชวงเวลานั้นๆ เขาใจวา วิทยาศาสตร เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดลอมมีความเกี่ยวของสัมพันธกัน

ชั้น

ตัวชี้วัด

ป.5

1. ตัง้ คําถามเกีย่ วกับประเด็น หรือเรือ่ งหรือสถานการณทจี่ ะศึกษาตามทีก่ าํ หนดใหและตามความสนใจ 2 วางแผนการสังเกต เสนอการสํารวจ ตรวจสอบ หรือศึกษาคนควา และคาดการณสิ่งที่จะพบจาก การสํารวจตรวจสอบ 3. เลือกอุปกรณที่ถูกตองเหมาะสมในการสํารวจตรวจสอบใหไดขอมูลที่เชื่อถือได 4. บันทึกขอมูลในเชิงปริมาณและคุณภาพ และตรวจสอบผลกับสิ่งที่คาดการณไว นําเสนอผลและ ขอสรุป 5. สรางคําถามใหมเพื่อการสํารวจตรวจสอบตอไป 6. แสดงความคิดเห็นอยางอิสระ อธิบายและสรุปสิ่งที่ไดเรียนรู 7. บันทึกและอธิบายผลการสํารวจตรวจสอบตามความเปนจริง มีการอางอิง 8. นําเสนอ จัดแสดงผลงาน โดยอธิบายดวยวาจา หรือเขียนอธิบายแสดงกระบวนการและ ผลของงานใหผูอื่นเขาใจ

สาระการเรียนรู หนวยการเรียนรู แกนกลาง ในหนังสือเรียน

บูรณาการสูการจัด การเรียนการสอน ในทุกหนวยการเรียนรู

คูม อื ครู


คําอธิบายรายวิชา รายวิชา วิทยาศาสตร ชั้นประถมศึกษาปที่ 5 รหัสวิชา ว…………………………………

เสร�ม

12

ทดลองและอธิบายการถายทอดลักษณะทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิต การสืบพันธุ การขยายพันธุ และวัฏจักรชีวิตของพืชและสัตว การจําแนกพืชเปนพืชดอก พืชไมมีดอก พืชใบเลี้ยงเดี่ยว และพืชใบเลี้ยงคู โดยใชลักษณะภายนอกเปนเกณฑ การจําแนกสัตวเปนสัตวมีกระดูกสันหลังและสัตวไมมีกระดูกสันหลัง โดยใชลักษณะภายนอกและภายในเปนเกณฑ ประเภท สมบัติ และการเลือกใชวัสดุในชีวิตประจําวัน ลักษณะ ของแรงลัพธ ความดันอากาศ ความดันของของเหลว แรงพยุงของของเหลว แรงเสียดทานและประโยชนของ แรงเสียดทาน การเกิดเสียง ลักษณะและอันตรายของเสียง การเกิดเมฆ หมอก นํ้าคาง และลูกเห็บ การเกิด วัฏจักรนํ้า การวัดอุณหภูมิ ความชื้น ความกดอากาศ การเกิดลมและการนําไปใชประโยชน การเกิดทิศและ ปรากฏการณขึ้น - ตกของดวงดาว โดยใชกระบวนการทางวิทยาศาสตร การสืบเสาะหาความรู การสํารวจ ตรวจสอบ การสืบคนขอมูล การแกปญหา และการอภิปราย เพื่อใหเกิดความรู ความคิด ความเขาใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู และนําความรูไปใชประโยชน ในชีวิตประจําวัน มีจิตวิทยาศาสตร จริยธรรม คุณธรรม และคานิยมที่ดีตอวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และสิ่งแวดลอม ตัวชี้วัด ว 1.1 ว 1.2 ว 3.1 ว 4.1 ว 4.2 ว 5.1 ว 6.1 ว 7.1 ว 8.1

คูม อื ครู

กลุมสาระการเรียนรู วิทยาศาสตร ภาคเรียนที่ 1-2 เวลา 80 ชั่วโมง/ป

ป.5/1 ป.5/1 ป.5/1 ป.5/1 ป.5/1 ป.5/1 ป.5/1 ป.5/1 ป.5/1

ป.5/2 ป.5/2 ป.5/2 ป.5/2

ป.5/3 ป.5/3

ป.5/4 ป.5/4

ป.5/3

ป.5/4

ป.5/2 ป.5/2

ป.5/3 ป.5/3

ป.5/4 ป.5/4

ป.5/2

ป.5/3

ป.5/4 ป.5/5 รวม 34 ตัวชี้วัด

ป.5/5 ป.5/5

ป.5/6

ป.5/7

ป.5/8


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ÃÒÂÇÔªÒ¾×é¹°Ò¹

ÇÔ·ÂÒÈÒʵà ».õ

ªÑé¹»ÃжÁÈÖ¡ÉÒ»‚·Õè õ

¡ÅØ‹ÁÊÒÃСÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ ÇÔ·ÂÒÈÒʵà µÒÁËÅÑ¡ÊÙµÃ᡹¡ÅÒ§¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñé¹¾×é¹°Ò¹ ¾Ø·¸ÈÑ¡ÃÒª òõõñ

¼ÙŒàÃÕºàÃÕ§ ¹Ò§ÊÒÇÈÔÃÔÃѵ¹ Ç§È ÈÔÃÔ ´Ã. ÃÑ¡«ŒÍ¹ Ãѵ¹ ÇÔ¨Ôµµ àǪ ¼ÙŒµÃǨ

¹Ò§ÊÒÇÍÒ¹ØÃÑ¡É ÃÐÁ§¤Å ¹Ò§ÊÒÇ¢³ÔÉ°Ò ÇÃÒ¡ØÅ ¹Ò§ÊÒÇÃÒµÃÕ Êѧ¦ÇѲ¹

ºÃóҸԡÒà ¹Ò§ÇÅѾà âÍÀÒÊÇѲ¹Ò

¾ÔÁ¾ ¤ÃÑ駷Õè ÷

ʧǹÅÔ¢ÊÔ·¸ÔìµÒÁ¾ÃÐÃÒªºÑÞÞÑµÔ ISBN : 976-616-203-160-1 ÃËÑÊÊÔ¹¤ŒÒ ñõñøðóò

¤Œ¹¤ÇÒÁÃÙŒ¢ÂÒ¤ÇÒÁ¤Ô´¨Ò¡ ¾ÔÁ¾ ¤ÃÑ駷Õè ñ ÃËÑÊÊÔ¹¤ŒÒ ñõôøðóò

EB GUIDE

ที่พิมพกํากับหัวขอสําคัญในหนังสือเรียนหลักสูตรใหม ชั้น ป.๔ ขึ้นไป ผาน www.aksorn.com ไปยังแหลงความรูทั่วไทย-ทั่วโลก

ตรวจสอบผล Evaluate


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

¤íÒ¹íÒ ´ŒÇ¡ÃзÃǧÈÖ¡ÉÒ¸Ô¡ÒÃä´ŒÁÕ¤íÒÊÑè§ãˌ㪌ËÅÑ¡ÊٵáÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñé¹¾×é¹°Ò¹ ¾Ø·¸ÈÑ¡ÃÒª òõôô ã¹âçàÃÕ¹·ÑèÇä» ·Õè¨Ñ´¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñé¹¾×鹰ҹ㹻‚¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ òõôö áÅШҡ¡ÒÃÈÖ¡ÉÒÇÔ¨ÑÂáÅеԴµÒÁ¼Å¡ÒÃ㪌ËÅÑ¡ÊٵáÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñé¹ ¾×é¹°Ò¹ ¾Ø·¸ÈÑ¡ÃÒª òõôô ¨Ö§¹íÒä»Ê‹Ù¡ÒþѲ¹ÒËÅÑ¡ÊÙµÃ᡹¡ÅÒ§¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñé¹¾×é¹°Ò¹ ¾Ø·¸ÈÑ¡ÃÒª òõõñ «Öè§ÁÕ ¤ÇÒÁàËÁÒÐÊÁáÅЪѴਹ à¾×èÍãˌʶҹÈÖ¡ÉÒä´Œ¹íÒä»ãªŒà»š¹¡Ãͺ·Ôȷҧ㹡ÒèѴËÅÑ¡ÊÙµÃʶҹÈÖ¡ÉÒ áÅШѴ¡Òà àÃÕ¹¡ÒÃÊ͹à¾×Íè ¾Ñ²¹Òà´ç¡áÅÐàÂÒǪ¹·Ø¡¤¹ã¹ÃдѺ¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñ¹é ¾×¹é °Ò¹ãËŒÁ¤Õ ³ Ø ÀÒ¾´ŒÒ¹¤ÇÒÁÃÙŒ áÅзѡÉзըè Òí ໚¹ ÊíÒËÃѺ¡ÒôíÒçªÕÇÔµã¹Êѧ¤Á·ÕèÁÕ¡ÒÃà»ÅÕè¹á»Å§ áÅÐáÊǧËÒ¤ÇÒÁÃÙŒà¾×è;Ѳ¹Òµ¹àͧÍ‹ҧµ‹Íà¹×èͧµÅÍ´ªÕÇÔµ ÊíÒËÃѺ¡Å‹ØÁÊÒÃСÒÃàÃÕ¹ÃÙŒÇÔ·ÂÒÈÒʵà »ÃСͺ´ŒÇ ø ÊÒÃЋ͠¤×Í ÊÒÃзÕè ñ ÊÔè§ÁÕªÕÇÔµ¡Ñº¡Ãкǹ¡ÒôíÒçªÕÇÔµ ÊÒÃзÕè ò ªÕÇÔµ¡ÑºÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁ ÊÒÃзÕè ó ÊÒÃáÅÐÊÁºÑµÔ¢Í§ÊÒà ÊÒÃзÕè ô áçáÅСÒÃà¤Å×è͹·Õè ÊÒÃзÕè õ ¾Åѧ§Ò¹ ÊÒÃзÕè ö ¡Ãкǹ¡ÒÃà»ÅÕè¹á»Å§¢Í§âÅ¡ ÊÒÃзÕè ÷ ´ÒÃÒÈÒʵà áÅÐÍÇ¡ÒÈ ÊÒÃзÕè ø ¸ÃÃÁªÒµÔ¢Í§ÇÔ·ÂÒÈÒʵà áÅÐà·¤â¹âÅÂÕ Ë¹Ñ§Ê×ÍàÃÕ¹ ÇÔ·ÂÒÈÒʵà ».õ àÅ‹Á¹Õ¨é ´Ñ ·íÒ¢Ö¹é ÊíÒËÃѺ㪌»ÃСͺ¡ÒÃàÃÕ¹¡ÒÃÊ͹ªÑ¹é »ÃжÁÈÖ¡ÉÒ»‚·Õè õ â´Â´íÒà¹Ô¹¡ÒèѴ·íÒãËŒÊÍ´¤ÅŒÍ§µÒÁ¡Ãͺ¢Í§ËÅÑ¡Êٵ÷ء»ÃСÒà ʋ§àÊÃÔÁ¡Ãкǹ¡ÒäԴ ¡ÒÃÊ׺àÊÒÐËÒ¤ÇÒÁÃÙŒ ¡ÒÃá¡Œ»˜ÞËÒ ¤ÇÒÁÊÒÁÒö㹡ÒÃÊ×èÍÊÒà ¡ÒõѴÊԹ㨠¡ÒùíÒä»ãªŒã¹ªÕÇÔµ ÃÇÁ·Ñé§Ê‹§àÊÃÔÁãËŒ¼ÙŒàÃÕ¹ÁÕ¨ÔµÇÔ·ÂÒÈÒʵà ¤Ø³¸ÃÃÁ áÅФ‹Ò¹ÔÂÁ·Õ¶è ¡Ù µŒÍ§àËÁÒÐÊÁ¡Ñº¡ÒôíÒçªÕÇµÔ ã¹Êѧ¤Áä·Â «Ö§è à¨ÃÔÞ¡ŒÒÇ˹ŒÒ´ŒÒ¹ÇÔ·ÂÒÈÒʵà áÅÐà·¤â¹âÅÂÕ Ë¹Ñ§Ê×ÍàÃÕ¹ ÇÔ·ÂÒÈÒʵà ».õ àÅ‹Á¹Õé ÁÕ ö ˹‹Ç ã¹áµ‹ÅÐ˹‹ÇÂẋ§à»š¹º·Â‹ÍÂæ «Ö觻ÃСͺ´ŒÇ ñ. ໇ÒËÁÒ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ»ÃШíÒ˹‹Ç ¡íÒ˹´ÃдѺ¤ÇÒÁÃÙŒ ¤ÇÒÁÊÒÁÒö¢Í§¼ÙŒàÃÕ¹NjÒàÁ×èÍàÃÕ¹¨ºã¹ ᵋÅÐ˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ µŒÍ§ºÃÃÅØÁҵðҹµÑǪÕéÇÑ´·Õè¡íÒ˹´äÇŒã¹ËÅ ¹ËÅÑÑ¡ÊٵâŒÍã´ºŒÒ§ ò. á¹Ç¤Ô´ÊíÒ¤ÑÞ á¡‹¹¤ÇÒÁÃÙŒ·Õè໚¹¤ÇÒÁÃÙŒ¤ÇÒÁࢌÒ㨤§·¹µÔ´µÑǼٌàÃÕ¹ ó. à¹×éÍËÒ ¤ÃºµÒÁËÅÑ¡ÊÙµÃ᡹¡ÅÒ§¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñé¹¾×é¹°Ò¹ ¾.È. òõõñ ¹íÒàʹÍàËÁÒÐÊÁ¡Ñº¡ÒÃàÃÕ¹ ¡ÒÃÊ͹ã¹áµ‹ÅÐÃдѺªÑé¹ ô. ¡Ô¨¡ÃÃÁ ÁÕËÅÒ¡ËÅÒÂÃٻẺãËŒ¹Ñ¡àÃÕ¹»¯ÔºÑµÔ ẋ§à»š¹ (ñ) ¡Ô¨¡ÃÃÁ¹íÒÊ‹Ù¡ÒÃàÃÕ¹ ¹íÒࢌÒÊ‹Ùº·àÃÕ¹à¾×èÍ¡Ãе،¹¤ÇÒÁʹã¨á¡‹¼ÙŒàÃÕ¹ (ò) ¡Ô¨¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ ãËŒ¼ÙŒàÃÕ¹½ƒ¡»¯ÔºÑµÔà¾×è;Ѳ¹Ò¤ÇÒÁÃÙŒáÅзѡÉлÃШíÒ˹‹Ç (ó) ¡Ô¨¡ÃÃÁÃǺÂÍ´ ãËŒ¼ÙŒàÃÕ¹»¯ÔºÑµÔà¾×èÍáÊ´§¾ÄµÔ¡ÃÃÁ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒÃǺÂÍ´ áÅлÃÐàÁÔ¹¼Å¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ µÒÁÁҵðҹµÑǪÕéÇÑ´»ÃШíÒ˹‹Ç ˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ÇÔ·ÂÒÈÒʵà ».õ àÅ‹Á¹Õé ¹íÒàʹ͡ÒÃàÃÕ¹ÃÙ㌠ˌàËÁÒÐÊÁ¡ÑºÇÑ¢ͧ¼ÙàŒ ÃÕÂ¹ã¹ªÑ¹é »ÃжÁÈÖ¡ÉÒ »‚·Õè õ «Öè§à»š¹¡ÒÃÈÖ¡ÉÒÊÔ觷Õè¼ÙŒàÃÕ¹à¡ÕèÂÇ¢ŒÍ§ã¹¡ÒôíÒà¹Ô¹ªÕÇÔµ»ÃШíÒÇѹ â´Â㪌ÀÒ¾ á¼¹ÀÙÁÔ µÒÃÒ§¢ŒÍÁÙÅ ª‹ÇÂ㹡Òà ¹íÒàʹÍÊÒÃе‹Ò§æ «Ö觨Ъ‹ÇÂãËŒ¼ÙŒàÃÕ¹ÊÒÁÒöàÃÕ¹Ãٌ䴌§‹Ò¢Öé¹ ¤³Ð¼ÙŒ¨Ñ´·íÒ¨Ö§ËÇѧ໚¹Í‹ҧÂÔè§Ç‹Ò ˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ÇÔ·ÂÒÈÒʵà ».õ àÅ‹Á¹Õé ¨Ð໚¹Ê×èÍ¡ÒÃàÃÕ¹¡ÒÃÊ͹·Õè ÍíҹǻÃÐ⪹ µ‹Í¡ÒÃàÃÕ¹ÇÔ·ÂÒÈÒʵà à¾×èÍãËŒÊÑÁÄ·¸Ô¼ÅµÒÁÁҵðҹµÑǪÕéÇÑ´·Õè¡íÒ˹´äÇŒã¹ËÅÑ¡ÊÙµÃ᡹¡ÅÒ§¡Òà ÈÖ¡ÉÒ¢Ñé¹¾×é¹°Ò¹ ¾.È. òõõñ ·Ø¡»ÃСÒà ¤³Ð¼ÙŒ¨Ñ´·íÒ


กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

Explain

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

คําชี้แจงในการใชสื่อ แนวคิดสําคัญ แกนความรูที่เปนความเขาใจ คงทนติดตัวผูเรียน ความหลาก

หลายของส

แนวคิดสําคั

ัตว

บทที่

ò

ÊÑµÇ µ‹Ò§æ ÁÕÁÒ¡Á ÀÒÂ㹺ҧÅѡɳ ÒÂËÅÒª¹Ô´ ¡ÒèíÒṡÊѵ Ç à»š Ð¢Í áÅÐÊÑµÇ äÁ‹ÁÕ¡Ãд §ÊÑµÇ à»š¹à¡³± ẋ§ÊÑµÇ Í ¹¡ÅØ‹Áâ´Â㪌ÅѡɳÐÀÒ¹͡áÅР͡໚¹Êͧ»ÃÐàÀ Ù¡ÊѹËÅѧ · ¤×Í ÊÑµÇ ÁÕ¡ ÅѡɳРÃд١ÊѹËÅѧ กิจกรรมนํา สูการเรียน

หน่วยการเรียนรู้ที่

ืชและสัตว์ หลากหลายของพ

ความ

๒ ้ ระจา� หนว่ ยที่ รียนรูป เป้าหมายการเ ถต่อไปนี้

ามาร ผู้เรียนจะมีความรู้ความส ๓] เมื่อเรียนจบหน่วยนี้ ดอก และพืชไม่มีดอก [มฐ. ว๑.๒ ป.๕/ อกเป็นเกณฑ์ นพืช ี้ยงคู่ โดยใช้ลักษณะภายน ๑. จ�าแนกพืชออกเป็ ี้ยงเดี่ยวและพืชใบเล ืชดอกที่เป็นพืชใบเล ของพ ษณะ ก ั ล ระบุ ๒. ภายนอกเป็นเกณฑ์ ษณะ ก ั ๔] และล ป.๕/ าร [มฐ. ว๑.๒ ภายในบางประก ็นกลุ่มโดยใช้ลักษณะ ๓. จ�าแนกสัตว์ออกเป ] [มฐ. ว๑.๒ ป.๕/๕] ณาการสู่การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน บูร [มฐ. ว๘.๑ ป.๕/๑-๘

๑. จากภาพ เป น ๒. นักเรียนคิดว สัตวชนิดใด นักเรียนรูจักสัตว ทั้ง า สั แตกตางกันอยา ตวทั้ง ๒ ชนิดนี้ มีลักษณะที่เหม๒ ชนิดนี้หรือไม งไรบาง ือนกันหรือ

๕๘

48

มาตรฐานตัวชี้วัด ระบุตัวชี้วัดที่กําหนดไว ในแตละหนวย

เปาหมายการเรียนรู กําหนดระดับความรูความสามารถ ของผูเรียนเมื่อเรียนจบหนวย เน�้อหา ครบตามหลักสูตรแกนกลางฯ '๕๑ นําเสนอโดยใชภาษาที่เขาใจงาย เหมาะสมกับการเรียนการสอน

กิจกรรมนําสูการเรียนรู นําเขาสูบทเรียนโดยใชกระตุน ความสนใจและประเมินผลกอนเรียน

กิจกรรมพัฒนาการเรียนรู ใหผูเรียนฝกปฏิบัติเพื่อพัฒนา ความรูและทักษะประจําหนวย กจิ กรรมรวบยอด

ก ทํา ๓ วัฏจักรชีวิตของพืชดอเรียนรูการสืบพันธุแบบอาศัยเพศของพืชดอกนผลและ

ให ิสนธิจนเกิดเป ปฏ จากการที่นักเรียนได การ ด ิ ะเก จ  ธุ น ั รากออกมา ื่อไดรับการผสมพ ทราบวา พืชดอกเม ไปปลูกสักระยะหนงึ่ เมลด็ พืชจะคอ ยๆ งอก ด็ พืช เมลด็ แลว เมือ่ นําเมล ¡Òà µŒ¹¾×ªÁÕ ÃÒ¡§Í¡ÍÍ¡ÁÒáÅŒÇ ËÅѧ¨Ò¡·ÕèàÁÅ紾תÁÕ ÉÒä´Œ¨Ò¡¡Ò÷íÒ¡Ô¨¡ÃÃÁµ‹Í仹Õé ÈÖ¡ à¨ÃÔÞàµÔºâµÍ‹ҧäÃ

กิจกรรมพัฒนาการเรียนรู บโตของตนถั่วเขียว และเขียนอธิบายวัฏจักรชี าดับภาพการเจริญเติ ที่ ๒

เรียงลํ ตนถั่วเขียวลงในสมุด ๑)

๒)

ตอนที่ ๑ แนวค ิด ครูใหนกั เรียนแบ สําคัญ ชวยกันสรุป การขยายพันธุพ งกลมุ ใหแตละกลุม เขียนสรุปคว ืช าม ตอนที่ ๒ ลองค และวัฏจักรชีวิตของพืช จากน รูเ กีย่ วกบั การสบื พันธุข องพืช ิด ดอ ั้นสงตัวแทนออก ๑. ดูภาพ และเข ลองทํา มานําเสนอหนา ก ียนช ชั้น อธิบายหนาที่ของ ื่อสวนประกอบของดอกไมลงใน สวนประกอบนั้น สมุดใหถูกตอง ๆ พรอมกับเขียน ๒ ๓ ๑ ●

วิตของ

๓)

๖ ักทดลอง

กิจกรรมหนูนอยน

๒. ดูภาพ และเข

ียนขั้นตอนการส

ืบพันธุแบบอาศั

ืช ฏจักรชีวิตของพ กิจกรรมที่ ๒ วั

วฏั จักรชีวิตเปนอยางไร ะ เปนตน ปญหา พืชดอกมี เมล็ดถั่วเขียว เมล็ดมะร พืช เชน เมล็ดพริก อุปกรณ ๑. เมล็ด สติกใสทราย ๑ ถุง กใสทราย ๒. ถุงพลา สติ ็ดพืชลงในถุงพลา อ งถึง และพรมนํ้า ดดส มใหแตละกลุมปลูกเมล วิธีทํา ๑. แบงกลุม นําถุงทรายไปวางไวในบรเิ วณทีม่ แี สงแ ๒. ทุกกลุ สัปดาห ประกอบ ทุกวัน เปนเวลา ๓-๔ลงเปนระยะๆ บันทึกผล และวาดแผนภาพ าเสนอหนาชั้น านํ ๓. สังเกตการเปลยี่ นแป ตนม ม  กลุ ของ ช พื น ๒๕ ๔. ใหแตละกลุมนําต

กิจกรรมสํารวจ กิจกรรมทดลอง เปนกิจกรรมที่ใหผูเรียนไดลงมือปฏิบัติ เพื่อฝกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร

ยเพศของพืชปร

ะกอบภาพ

๒๗

กิจกรรมรวบยอด ใหผูเรียนฝกปฏิบัติเพื่อแสดง พฤติกรรมการเรียนรูรวบยอด และประเมินผลการเรียนรูตาม มาตรฐานตัวชี้วัดประจําหนวย


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ Expand

สารบัญ

● ตารางวิเคราะหมาตรฐานการเรียนรู

หนวยการเรียนรูที่

๑ มหัศจรรยสิ่งมีชีวิต

บทที่ ๑ การถายทอดลักษณะทางพันธุกรรม บทที่ ๒ ศึกษาชีวิตพืช บทที่ ๓ เรียนรูชีวติ สัตว หนวยการเรียนรูที่

Evaluate

๒ ๑๒ ๒๙

๒ ความหลากหลายของพืชและสัตว ๔๘

บทที่ ๑ ความหลากหลายของพืช บทที่ ๒ ความหลากหลายของสัตว หนวยการเรียนรูที่

ตรวจสอบผล

๓ วัสดุในชีวิตประจําวัน

๔๙ ๕๘

๗๓

บทที่ ๑ สมบัติของวัสดุกับการนําไปใช

๗๔

๔ แรงและความดัน

๙๕

หนวยการเรียนรูที่

บทที่ ๑ แรงลัพธ บทที่ ๒ แรงดันและแรงพยุงตัว บทที่ ๓ แรงเสียดทาน หนวยการเรียนรูที่

๕ เสียงกับการไดยิน

๑๒๖

๖ นํ้า ฟา และดวงดาว

๑๓๙

บทที่ ๑ เสียงรอบตัวเรา หนวยการเรียนรูที่

บทที่ ๑ ปรากฏการณลมฟาอากาศ บทที่ ๒ ปรากฏการณในทองฟา ● บรรณานุกรม

๙๖ ๑๐๒ ๑๑๖ ๑๒๗ ๑๔๐ ๑๖๑

๑๗๐


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

ตารางÇÔà¤ÃÒÐË Áҵðҹ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒáÅеÑǪÕéÇÑ´ ÃÒÂÇÔªÒ ÇÔ·ÂÒÈÒʵà ».๕ คําชี้แจง : ใหผูสอนใชตารางน�้ตรวจสอบวา เน�้อหาสาระการเรียนรูในหนวยการเรียนรูสอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดชั้นป ในขอใดบาง

มาตรฐาน การเรียนรู

มฐ. ว๑.๑

สาระการเรียนรู

หนวยที่ ๑ หนวยที่ ๒ หนวยที่ ๓ หนวยที่ ๔ หนวยที่ ๕ หนวยที่ ๖ บทที่

ตัวชี้วัดชั้น ป.๕

บทที่

๑ ๒ ๓ ๑ ๒

สาระที่ ๑ สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดํารงชีวิต ๑. สังเกตและระบุสว นประกอบของดอกและโครงสรางทีเ่ กีย่ วของ กับการสืบพันธุข องพืชดอก

๒. อธิบายการสืบพันธุข องพืชดอก การขยายพันธุพ ชื และนําความรูไ ปใช ประโยชน

๓. อธิบายวัฏจักรของพืชดอกบางชนิด

๔. อธิบายการสืบพันธุและการขยายพันธุของสัตว

๕. อภิปรายวัฏจักรชีวิตของสัตวบางชนิด และนําความรูไปใชประโยชน

บทที่

บทที่

บทที่

บทที่

๑ ๒ ๓

๑ ๒

๑. สํารวจ เปรียบเทียบ และระบุลกั ษณะของตนเองกับคนในครอบครัว ✓ ๒. อธิบายการถายทอดลักษณะทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิตในแตละรุน ✓

มฐ. ว๑.๒

๓. จําแนกพืชออกเปนพืชดอกและพืชไมมีดอก

๔. ระบุลักษณะของพืชดอกที่เปนพืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู โดยใชลักษณะภายนอกเปนเกณฑ

๕. จําแนกสัตวออกเปนกลุม โดยใชลักษณะภายในบางลักษณะ และลักษณะภายนอกเปนเกณฑ

มฐ.ว ๓.๑

มฐ. ว๔.๑

สาระที่ ๓ สารและสมบัติของสาร ๑. ทดลองและอธิบายสมบัติของวัสดุชนิดตางๆ เกี่ยวกับความยืดหยุน ความแข็ง ความเหนียว การนําความรอน การนําไฟฟา และความ หนาแนน

๒. สืบคนขอมูลและอภิปรายการนําวัสดุไปใชในชีวิตประจําวัน

สาระที่ ๔ แรงและการเคลื่อนที่ ๑. ทดลองและอธิบายการหาแรงลัพธของแรงสองแรง ซึง่ อยูใ นแนว เดียวกันทีก่ ระทําตอวัตถุ

๒. ทดลองและอธิบายความดันอากาศ

๓. ทดลองและอธิบายความดันของของเหลว

๔. ทดลองและอธิบายแรงพยุงของของเหลว การลอยตัว และการจม ของวัตถุ

มฐ. ว๔.๒ ๑. ทดลองและอธิบายแรงเสียดทาน และนําความรูไปใชประโยชน

หมายเหตุ : สาระที่ ๒ ชีวิตกับสิ�งแวดลอม มฐ. ว๒.๑ และ มฐ. ว๒.๒ ในหลักสูตรแกนกลางฯ กําหนดใหเรียนในชั้น ป.๓ และ ป.๖

µ‹Í ก


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

ตารางÇÔà¤ÃÒÐË Áҵðҹ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒáÅеÑǪÕéÇÑ´ ÃÒÂÇÔªÒ ÇÔ·ÂÒÈÒʵà ».๕ มาตรฐาน การเรียนรู

มฐ. ว๕.๑

มฐ. ว๖.๑

มฐ. ว๗.๑

มฐ. ว๘.๑

สาระการเรียนรู

หนวยที่ ๑ หนวยที่ ๒ หนวยที่ ๓ หนวยที่ ๔ หนวยที่ ๕ หนวยที่ ๖ บทที่

ตัวชี้วัดชั้น ป.๕

บทที่

๑ ๒ ๓ ๑ ๒

บทที่

บทที่

บทที่

บทที่

๑ ๒ ๓

๑ ๒

สาระที่ ๕ พลังงาน ๑. ทดลองและอธิบายการเกิดเสียง และการเคลือ่ นทีข่ องเสียง

๒. ทดลองและอธิบายการเกิดเสียงสูงเสียงตํ่า

๓. ทดลองและอธิบายเสียงดังเสียงคอย

๔. สํารวจและอภิปรายอันตรายที่เกิดขึ้นเมื่อฟงเสียงดังมากๆ

สาระที่ ๖ กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก ๑. สํารวจ ทดลอง และอธิบาย การเกิดเมฆ หมอก นํ้าคาง ฝน และลูกเห็บ

๒. ทดลองและอธิบายการเกิดวัฏจักรนํ้า

๓. ออกแบบและสรางเครื่องมืออยางงายในการวัดอุณหภูมิ ความชื้น และความกดอากาศ

๔. ทดลองและอธิบายการเกิดลม และนําความรูไปใชประโยชน ในชีวิตประจําวัน

สาระที่ ๗ ดาราศาสตรและอวกาศ ๑. สังเกตและอธิบายการเกิดทิศ และปรากฏการณขนึ้ -ตกของดวงดาว โดยใชแผนที่ดาว

สาระที่ ๘ ธรรมชาติของวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ๑. ตั้งคําถามเกี่ยวกับประเด็น หรือเรื่อง หรือสถานการณที่จะศึกษา ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ตามที่กําหนดใหและตามความสนใจ

✓ ✓ ✓

✓ ✓

๒. วางแผนการสังเกต เสนอการสํารวจตรวจสอบ หรือศึกษาคนควา ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ และคาดการณสิ�งที่จะพบจากการสํารวจตรวจสอบ

✓ ✓ ✓

✓ ✓

๓. เลือกอุปกรณที่ถูกตองเหมาะสมในการสํารวจตรวจสอบใหไดขอมูล ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ที่เชื่อถือได

✓ ✓ ✓

✓ ✓

๔. บันทึกขอมูลในเชิงปริมาณและคุณภาพ และตรวจสอบผล กับสิ�งที่คาดการณไว นําเสนอผลและขอสรุป

✓ ✓ ✓ ✓ ✓

✓ ✓ ✓

✓ ✓

๕. สรางคําถามใหมเพื่อการสํารวจตรวจสอบตอไป

✓ ✓ ✓ ✓ ✓

✓ ✓ ✓

✓ ✓

๖. แสดงความคิดเห็นอยางอิสระ อธิบายและสรุปสิ�งที่ไดเรียนรู

✓ ✓ ✓ ✓ ✓

✓ ✓ ✓

✓ ✓

๗. บันทึกและอธิบายผลการสํารวจตรวจสอบตามความเปนจริง มีการอางอิง

✓ ✓ ✓ ✓ ✓

✓ ✓ ✓

✓ ✓

๘. นําเสนอ จัดแสดงผลงาน โดยอธิบายดวยวาจา หรือเขียนอธิบาย ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ แสดงกระบวนการและผลของงานใหผูอื่นเขาใจ

✓ ✓ ✓

✓ ✓


กระตุน้ ความสนใจ กระตุEngage ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

อธิบายความรู้

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Engage

Explore

Explain

Expand

Evaluate

กระตุน้ ความสนใจ

หน่วยการเรียนรู้ที่

ÁËÑȨÃàÊÔè§ÁÕªÕÇÔµ

ñ

Engage

ใหนักเรียนสังเกตภาพในหนานี้ แลวครูถาม นักเรียนวา • สัตวในภาพคือสัตวชนิดใด สังเกตไดจาก สิ่งใด (ตอบ สิงโต สังเกตจากลักษณะรูปราง โครงสรางภายนอก สีขน) • ลูกสัตวที่นั่งอยูเปนลูกสัตวชนิดใด สังเกต จากสิ่งใด (ตอบ ลูกสิงโต สังเกตจากลักษณะรูปราง โครงสรางภายนอก และสีขน วามีลักษณะ เหมือนกับแมสิงโต) ครูชวนนักเรียนสนทนาเกี่ยวกับชื่อหนวยการ เรียนรูวา ถากลาวถึงคําวา “มหัศจรรยสิ่งมีชีวิต” นักเรียนจะจินตนาการถึงสิ่งใด ใหนักเรียนผลัดกัน แสดงความคิดเห็นอยางอิสระ

เป้าหมายการเรียนรูป ้ ระจ�าหน่วยที่ ๑ เมื่อเรียนจบหน่วยนี้ ผู้เรียนจะมีความรู้ความสามารถต่อไปนี้ ๑. ส�ารวจ เปรียบเทียบ และระบุลักษณะของตนเองกับคนในครอบครัว [มฐ. ว๑.๒ ป.๕/๑] ๒. อธิบายการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิตในแต่ละรุ่น [มฐ. ว๑.๒ ป.๕/๒] ๓. สังเกตและระบุส่วนประกอบของดอกและโครงสร้างที่เกี่ยวข้องกับการสืบพันธุ์ของพืชดอก [มฐ. ว๑.๑ ป.๕/๑] ๔. อธิบายการสืบพันธุ์ของพืชดอก การขยายพันธุ์พืชและน�าความรู้ไปใช้ประโยชน์ [มฐ. ว๑.๑ ป.๕/๒] ๕. อธิบายวัฏจักรชีวิตของพืชดอกบางชนิด [มฐ. ว๑.๑ ป.๕/๓] ๖. อธิบายการสืบพันธุ์และการขยายพันธุ์ของสัตว์ [มฐ. ว๑.๑ ป.๕/๔] ๗. อภิปรายวัฏจักรชีวิตของสัตว์บางชนิด และน�าความรู้ไปใช้ประโยชน์ [มฐ. ว๑.๑ ป.๕/๕] [มฐ. ว๘.๑ ป.๕/๑-๘ บูรณาการสู่การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน]

เกร็ดแนะครู กอนเริ่มการเรียนสอน ครูอธิบายใหนักเรียนเขาใจเกี่ยวกับการเรียนวิชา วิทยาศาสตร ซึ่งเปนการปลูกฝงใหนักเรียนรูจักใชความคิดของตนเอง สามารถ เสาะหาความรูและวิเคราะหไดโดยใชวิธีการทางวิทยาศาสตร ซึ่งมีขั้นตอน ดังนี้ 1. การสังเกต คือ การใชประสาทสัมผัส รวมทั้งเครื่องมือ สังเกตขอเท็จจริง และขอมูล แลวบันทึกขอมูลตางๆ ที่ไดจากการสังเกตอยางเปนระบบ 2. การตั้งปญหา ขอมูลและขอเท็จจริงที่ไดจากการสังเกตทําใหเกิดความสงสัย นําไปสูการตั้งปญหา 3. การตั้งสมมติฐาน คือ การคาดเดาคําตอบที่เปนไปไดของปญหานั้น 4. การตรวจสอบสมมติฐาน ทําไดหลายวิธี อาจใชวิธีรวบรวมขอมูล สํารวจ หรือทดลอง 5. การวิเคราะหผลและการสรุปผล ถาไดผลการทดลองสอดคลองกับสมมติฐาน แสดงวาสมมติฐานนั้นคือคําตอบของปญหา แตถาไมสอดคลองก็จําเปนตองเลือก สมมติฐานใหมมาตรวจสอบตอไป คู่มือครู

1


กระตุน้ ความสนใจ กระตุEngage ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

อธิบายความรู้

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Engage

Explore

Explain

Expand

Evaluate

เปาหมายการเรียนรู

บทที่

1. สํารวจ เปรียบเทียบ และระบุลักษณะของ ตนเองกับคนในครอบครัว (ว 1.2 ป.5/1) 2. อธิบายการถายทอดลักษณะทางพันธุกรรม ของสิ่งมีชีวิตในแตละรุน (ว 1.2 ป.5/2)

การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม แนวคิดส�าคัญ

สมรรถนะของผูเรียน

¤¹àÃÒ¨ÐÁÕÅѡɳФŌÒ¤ÅÖ§¡Ñº¤¹ã¹¤Ãͺ¤ÃÑǢͧàÃÒ Åѡɳе‹Ò§æ ·Õè¤ÅŒÒ¤ÅÖ§¡Ñ¹¹Õé ໚¹¡Òö‹Ò·ʹÅѡɳкҧÅѡɳШҡºÃþºØÃÉØ ÊÙÅ‹ ¡Ù ËÅÒ¹ àÃÕÂ¡Ç‹Ò ¡Òö‹Ò·ʹÅѡɳзҧ ¾Ñ¹¸Ø¡ÃÃÁ «Ö觺ҧÅѡɳШÐàËÁ×͹¾‹ÍËÃ×ÍàËÁ×͹áÁ‹ ËÃ×ÍÍÒ¨ÁÕÅѡɳÐàËÁ×͹»Ù† Â‹Ò µÒ ÂÒÂ

1. ความสามารถในการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการแกปญ  หา

กิจกรรมน�าสู่การเรียน

คุณลักษณะอันพึงประสงค 1. ใฝเรียนรู 2. มุงมั่นในการทํางาน

กระตุน้ ความสนใจ

Engage

1. ใหนักเรียนลองนึกถึงสมาชิกในครอบครัวตนเอง วามีลักษณะหนาตาคลายคลึงกันหรือไม 2. ใหนักเรียนดูภาพในหนานี้ แลวชวยกันบอกวา ลูกสุนัขตัวไหนมีแมชื่ออะไร (ตอบ สีนวล - ปุกปุย แบล็ค - สีนิล ไลกา - ไมโล) 3. ครูตงั้ ประเด็นคําถามใหนกั เรียนรวมกันอภิปราย วา สิง่ ใดเปนสาเหตุใหลกู มีลกั ษณะคลายคลึงกับ พอแมหรือคลายคลึงกับคนในครอบครัวของเรา

สีนวล

แบล็ค

ไลก้า

ไมโล

ปุกปุย

สีนิล

๑. จากภาพ ให้นักเรียนจับคู่แม่สุนัขกับลูกสุนัข ๒. จากค�าตอบข้อที่ ๑. นักเรียนสังเกตจากสิ่งใด 2

เกร็ดแนะครู ครูจัดกระบวนการเรียนรูโดยการใหนักเรียนปฏิบัติ ดังนี้ 1. สํารวจ สังเกตลักษณะของตนเองกับคนในครอบครัว 2. ศึกษาขอมูลและอธิบายการถายทอดลักษณะทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิต 3. เปรียบเทียบขอมูลและอภิปรายลักษณะของสิ่งมีชีวิตที่มีการถายทอดลักษณะ ทางพันธุกรรม จนเกิดเปนความรูความเขาใจวา สิ่งมีชีวิตมีการถายทอดลักษณะทางพันธุกรรม จากบรรพบุรุษสูลูกหลาน ซึ่งบางลักษณะจะเหมือนพอหรือเหมือนแม หรืออาจมี ลักษณะเหมือน ปู ยา ตา ยาย

2

คู่มือครู

ñ


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

Engage

ส�ารวจค้ Exploreนหา

อธิบายความรู้

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Explore

Explain

Expand

Evaluate

ส�ารวจค้นหา

การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิต

สิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดมีลักษณะเฉพาะที่ท�าให้มองเห็นความแตกต่างระหว่าง พวกหรือกลุ่มได้ชัดเจน เช่น คนในแต่ละครอบครัว แมวที่ต่างสายพันธ์ุ มดด�า กับมดแดง เป็นต้น

▲▲

Explore

1. ใหนักเรียนดูภาพ หนา 3 แลวใหนักเรียน รวมกันอภิปรายวา ทําไมสิ่งมีชีวิตแตละชนิด จึงมีลักษณะแตกตางกันชัดเจน ทําใหเรารูวา ไมใชสิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกัน 2. ใหนักเรียนศึกษาขอมูล หนา 3 แลวใหรวมกัน อภิปรายขั้นตอนการถายทอดลักษณะทาง พันธุกรรม 3. ใหนักเรียนรวมกันยกตัวอยางวา สิ่งใดบาง ที่มีการถายทอดทางพันธุกรรม

ภาพที่ ๑.๑ สิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดมีลักษณะเฉพาะแตกต่างกันอย่างเด่นชัด

ถา้ สังเกตลักษณะของคนรอบๆ ตัว จะเห็นว่ามีลกั ษณะบางอย่างคล้ายคลึงกัน และมีลักษณะบางอย่างแตกต่างกัน จึงท�าให้คนแต่ละคนมีลักษณะเฉพาะที่ไม่ เหมือนใครๆ ลักษณะทีแ่ ตกต่างกันของคนแต่ละคน เป็นลักษณะทีค่ นเราได้รบั การถ่ายทอด มาจากบรรพบุรุษของเรา โดยลูกได้รับการถ่ายทอดลักษณะจากพ่อ แม่ ซึ่งพ่อได้ รับการถ่ายทอดลักษณะจากปู่ ย่า และแม่ได้รับการถ่ายทอดลักษณะจากตา ยาย ลักษณะเหล่านี้ เรียกว่า ลักษณะทางพันธุกรรม 1 ลักษณะทางพันธุกรรม หมายถึง ลักษณะทุกชนิดของสิ่งมีชีวิต ซึง่ ถ่ายทอด รรม หมายถึ จากพ่อแม่ไปสู่ลูกได้ และถ่ายทอดจากรุ่นหนึ่งไปยังอีกรุ่นหนึ่งเรื่อยๆ ไป เช่น สีผม ลักษณะของเส้นผม สีผิว เป็นต้น 3

ขอสอบ

O-NET

ขอสอบป ’ 53 ออกเกี่ยวกับเรื่อง ลักษณะทางพันธุกรรม ขอมูลแสดงลักษณะทางพันธุกรรมของบุคคลในครอบครัวหนึ่ง เปนดังนี้ ลักษณะทาง พันธุกรรม สีผิว

ลูก

พอ

แม

ปู

ยา

ตา

ยาย

คลํ้า

คลํ้า

ขาว

ขาว

คลํ้า

ขาว

ขาว

สันจมูก

โดง

แบน

โดง

โดง

แบน

โดง

โดง

ลิ้น

หอได หอไมได หอได หอไมได หอไมได หอไมได หอได

จากขอมูลในตาราง ลูกไดรับการถายทอดลักษณะทางพันธุกรรมสวนใหญ จากใคร 1. พอ และ ยา 2. แม และ ยาย 3. แม และ ยา 4. ปู และ ยาย วิเคราะหคําตอบ จากขอมูลจะเห็นไดวา ลูกไดรับการถายทอดลักษณะ ทางพันธุกรรมจาก แมและยาย 2 ลักษณะ ไดแก สันจมูกโดง และหอลิ้นได ซึ่งมากกวาที่ไดรับถายทอดลักษณะทางพันธุกรรมจากคนอื่นๆ ในครอบครัว ดังนั้น ขอ 2. จึงเปนคําตอบที่ถูกตอง

นักเรียนควรรู 1 ลักษณะทางพันธุกรรม มีทั้งลักษณะภายนอกที่มองเห็นดวยตาเปลา เชน รูปราง สีผม สีผิว เปนตน และลักษณะภายในที่สังเกตยาก เชน หมูเลือด ลักษณะโครงสรางของเซลล เปนตน ซึ่งนักเรียนจะไดเรียนรูตอไปในชั้นที่สูงขึ้น

มุม IT ครูและนักเรียนศึกษาขอมูลเกี่ยวกับการแสดงออกของลักษณะทางพันธุกรรม ไดจากเว็บไซต www.rakbankerd.com โดยมีวิธีการ ดังนี้ • คลิก ปศุสัตวเศรษฐี • คลิก การปรับปรุงพันธุสัตว • คลิก การคัดเลือกและการปรับปรุงพันธุสัตว • คลิก การแสดงออกของลักษณะทางพันธุกรรม คู่มือครู

3


กระตุ้นความสนใจ Engage

ส�ารวจค้นหา Exploreนหา ส�ารวจค้

อธิบายความรู้

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Explore

Explain

Expand

Evaluate

ส�ารวจค้นหา

Explore

1. ครูชวนนักเรียนสนทนาวา นักเรียนคิดวาตนเอง เหมือนพอแมหรือไม และเหมือนอยางไร 2. ใหนักเรียนศึกษารายละเอียดของกิจกรรมที่ 1 หนา 4 เพื่อศึกษาลักษณะทางพันธุกรรม 3. ใหนักเรียนนําผลการสํารวจของตนเอง มาแลกเปลี่ยนเรียนรูกับเพื่อน

๑. ลักษณะของตนเองกับคนในครอบครัว 1 คนเราเมื่อเจริญเติบโตเข้าสู่วัยเจริญพันธุ์ จะสามารถสืบพันธุ์ออกลูก ออกหลานได้ ลูกหลานที่ด�ารงพันธุ์ต่อไปจะได้รับการถ่ายทอดลักษณะจากพ่อ แม่และบรรพบุรุษ เช่น ลักษณะรูปร่างหน้าตา ความสูง สีผม สีผิว สีตา เป็นต้น ÅͧÁÒÊíÒÃǨ¡Ñ¹Ç‹Ò µÑǹѡàÃÕ¹ ÁÕÅѡɳÐã´ºŒÒ§àËÁ×͹¡ÑºÊÁÒªÔ¡¤¹Í×è¹æ 㹤Ãͺ¤ÃÑÇ

กิจกรรมหนูน้อยนักส�ารวจ กิจกรรมที่ ๑ ลักษณะทางพันธุกรรม

ปัญหา วิธีทํา

ตัวนักเรียนและสมาชิกในครอบครัวของนักเรียนมีลักษณะเหมือนกัน หรือไม่ ๑. ให้นักเรียนส�ารวจและสังเกตลักษณะทางพันธุกรรมของตนเองและ สมาชิกในครอบครัว ๒. ขีด ลงในตารางตามความเป็นจริง และบันทึกข้อมูล

ตัวอย่างตารางบันทึกผล สิ่งที่สังเกต ๑. เส้นผม ๒. สีผม ๓. หนังตา 2 ๔. ลักยิ้ม ๕. ความสูง

ลักษณะทาง พันธุกรรม

สมาชิกในครอบครัว ฉัน พ่อ แม่ พี่ น้อง ปู่ ย่า ตา ยาย

หยักศก เหยียดตรง ผมสีด�า ผมสีอื่น ชั้นเดียว สองชั้น มีลักยิ้ม ไม่มีลักยิ้ม สูง เตี้ย

ึกผลกำรส�ำรวจ ใหนักเรียนบันท จ�ำตัวนักเรียน ระ ลงในสมุดป

4

นักเรียนควรรู 1 วัยเจริญพันธุ เปนวัยที่มีการเปลี่ยนแปลงทางรางกายและจิตใจอยางมาก ซึ่งเปนผลมาจากการทํางานของฮอรโมนที่สงผลตออารมณและรางกาย เพื่อให เตรียมพรอมกับการมีเพศสัมพันธ โดยในผูหญิงจะนับตั้งแตเมื่อเริ่มมีประจําเดือน ไปจนหมดประจําเดือน (อายุ 15 -49 ป) สวนในผูชายจะเริ่มเขาสูวัยเจริญพันธุ ตั้งแตเมื่อรางกายผลิตอสุจิ (ประมาณ 10 ปขึ้นไป) ทั้งนี้แตละคนอาจเขาสู วัยเจริญพันธุในชวงอายุที่แตกตางกัน 2 ลักยิ้ม (dimple) คือ รอยเล็กๆ ที่บุมลงไปที่แกม เกิดจากเนื้อที่ทับซอนกัน โดยเฉพาะเวลายิ้ม ปกติมีอยูทั้งสองแกม ลักยิ้มเปนพันธุกรรมลักษณะเดน

4

คู่มือครู

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

การที่ลูกสาวไวผมยาวเหมือนแม เปนลักษณะทางพันธุกรรมที่ไดรับการ ถายทอดหรือไม เพราะอะไร แนวตอบ ไมเปน เพราะการไวผมยาวเปนความชอบสวนบุคคลที่ไมไดมี การถายทอดลักษณะทางพันธุกรรม


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

Engage

Explore

อธิบายความรู้ อธิบExplain ายความรู้

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

อธิบายความรู้

จากการท�ากิจกรรมที่ ๑ นักเรียนจะเห็นว่า ตัวเองและพี่น้องมีลักษณะ บางลักษณะเหมือนพ่อ และมีลักษณะบางลักษณะเหมือนแม่ บางลักษณะถ้าไม่ เหมือนพ่อแม่ ก็อาจเป็นลักษณะที่เหมือนปู่ ย่า ตา ยาย ซึ่งลักษณะที่ถ่ายทอด จากพ่อแม่สู่ลูกหลานได้นั้นเป็นลักษณะทางพันธุกรรม 1 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมของคน ท�าให้เราและผู้อื่นสามารถ ทราบได้วา่ เราเป็นลูกของพ่อแม่ เพราะเรามีลกั ษณะบางอย่างเหมือนพ่อแม่ เช่น มีใบหน้าเหมือนแม่ มีผิวคล�้าและมีรูปร่างสูงเหมือนพ่อ เป็นต้น

เก่ง

พ่อเด่น

แม่แก้ว อาแตว

ป้าเกด

Explain

1. ครูสุมนักเรียน 4 - 5 คน ใหนําเสนอผลการ สํารวจของตนเอง 2. ใหนักเรียนรวมกันอภิปรายผลการทํากิจกรรม จนสรุปไดวา ลูกจะมีลักษณะบางอยางที่ เหมือนพอหรือเหมือนแม และอาจมีลักษณะ บางอยางเหมือนปู ยา ตา ยาย ลักษณะที่มี การถายทอดจากรุนสูรุน เรียกวา ลักษณะทาง พันธุกรรม 3. ครูถามนักเรียนวา • หากนักเรียนไมเหมือนพอแมของตนเองเลย แสดงวาไมมีการถายทอดลักษณะทาง พันธุกรรมใชหรือไม (แนวตอบ ไมใช เพราะลักษณะทางพันธุกรรม จะอยูในยีนที่อยูในเซลลสืบพันธุ และถายทอดไปสูลูกทางเซลลสืบพันธุ แตลักษณะดังกลาวอาจไมปรากฏในรุนลูก) 4. ใหนักเรียนศึกษาแผนภาพ หนา 5 แลวชวย กันบอกวา ลักษณะใดบางที่ไดรับการถายทอด ทางพันธุกรรม

น้าไก่

ย่านิด

ปู่เอก

ครอบครัวสุขสอน

▲▲

ตาตูน ยายเล็ก

ครอบครัวสีเมือง

ภาพที่ ๑.๒ แผนภาพแสดงการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมในครอบครัว

5

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

การที่พี่นองฝาแฝดชอบกินไอศกรีมรสช็อกโกแลตเหมือนกัน เปนการ ถายทอดลักษณะทางพันธุกรรมหรือไม เพราะอะไร แนวตอบ ไมเปน เพราะความชอบรสชาติเปนความชอบสวนบุคคล ที่ไมไดมีการถายทอดลักษณะทางพันธุกรรม

นักเรียนควรรู 1 การถายทอดลักษณะทางพันธุกรรม จะถูกถายทอดไปทาง ยีน ที่อยูในเซลล สืบพันธุ ซึ่งสามารถถายทอดจากรุนหนึ่งไปยังอีกรุนหนึ่งได เชน จากพอ - แม ไปสู รุนลูกหลานสืบตอเนื่องกันไปเรื่อยๆ โดยลักษณะตางๆ ที่ถายทอดไปนั้น บางลักษณะจะไมปรากฏในรุนลูก แตอาจจะปรากฎในรุนหลานหรือเหลนก็ได ทําใหมีความแตกตางของลักษณะทางพันธุกรรม เปนผลใหเกิดความหลากหลาย ของสิ่งมีชีวิตและดํารงเผาพันธุไวได

คู่มือครู

5


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

Engage

Explore

อธิบายความรู้

อธิบายความรู้ อธิบExplain ายความรู้

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

Explain

1. ใหนักเรียนสังเกตลักษณะของตนเอง ตาม ตัวอยางการถายทอดลักษณะทางพันธุกรรม แลวสรุปลักษณะทางพันธุกรรมของตนเอง ลงในสมุด เชน • ฉันมีผมเหยียดตรง มีหนังตาสองชั้น หอลิ้น ไมได มีติ่งหู ไมมีลักยิ้ม 2. ครูถามนักเรียนวา ใครมีลักยิ้มบาง ใหนักเรียน ยกมือ จากนั้นใหนักเรียนยืนขึ้นแลวโชวลักยิ้ม ของตนเองใหเพื่อนๆ ดู 3. ครูถามนักเรียนวา ใครหอลิ้นได ใหนักเรียน ยกมือ จากนั้นใหนักเรียนยืนขึ้นแลวหอลิ้นให เพื่อนๆ ดู 4. ครูถามนักเรียนที่มีลักยิ้ม และนักเรียนที่หอลิ้น ไดวา ใครในครอบครัวของนักเรียนที่มีลักษณะ เชนนี้อีกบาง 5. ครูอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียนเขาใจวา ถึงแมวา คนเราจะมีการถายทอดลักษณะพันธุกรรมจาก รุนสูรุน แตคนเราก็จะมีลักษณะบางอยางที่ แตกตางออกไปที่ไมเหมือนกับคนในครอบครัว ซึ่งเรียกวา การแปรผันทางพันธุกรรม

ภาพที่ ๑.๓ ตัวอย่างการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมในมนุษย์

▲▲

ผมหยิกหยักศก

▲▲

ผมเหยียดตรง

▲▲

ห่อลิ้นได้

▲▲

▲▲

มีลักยิ้ม

▲▲

ไม่มีลักยิ้ม

มีขวัญเดียว

▲▲

มีสองขวัญ

▲▲

▲▲

หนังตาชั้นเดียว

ห่อลิ้นไม่ได้

▲▲

▲▲

▲▲

▲▲

มีติ่งหู

หนังตาสองชั้น

▲▲

หัวแม่มืองอน

▲▲

แนวผมทีห่ น้าผากแหลม

▲▲

ไม่มีติ่งหู

หัวแม่มือไม่งอน

แนวผมที่หน้าผากตรง

แม้วา่ เรากับสมาชิกในครอบครัวของเราจะมีลกั ษณะบางอย่างเหมือนกัน แต่ทกุ คนก็จะมีลกั ษณะเฉพาะตัวทีแ่ ตกต่างจากคนอืน่ ทีท่ า� ให้รวู้ า่ เราเป็นใคร และ มีลกั ษณะอย่างไร เช่น ตัวเราและพีน่ อ้ งของเรามีลกั ษณะบางอย่างทีค่ ล้ายกับพ่อ แม่ แต่ก็จะมีบางอย่างที่แตกต่างกัน ทั้งๆ ที่เป็นพี่น้องที่มาจากพ่อแม่เดียวกัน 1 ความแปรผันทางพันธุกรรม ความแตกต่างนี ้ เรียกว่า ความแปรผั 6

นักเรียนควรรู 1 ความแปรผันทางพันธุกรรม คือ ความแตกตางอันเนื่องมาจากลักษณะทาง พันธุกรรมที่แตกตางกัน ทําใหสิ่งมีชีวิตแตละชนิดมีลักษณะเฉพาะตัว เชน ชางจะมี ลักษณะเฉพาะตัว เราจึงสามารถแยกชางออกจากวัวหรือควายได หรือในสิ่งมีชีวิต ชนิดเดียวกันก็มีลักษณะเฉพาะตัว เชน การมีลักยิ้ม การมีติ่งหู เปนตน

มุม IT ครูและนักเรียนสามารถคนควาเพิ่มเติมเกี่ยวกับโรคติดตอทางพันธุกรรม ไดจาก เว็บไซต http://www.familynetwork.or.th/node/86 http://www.thaiheathsearch.com/health-center/Dnieper

6

ขอสอบ

O-NET

ขอสอบป ’ 53 ออกเกี่ยวกับเรื่อง ลักษณะทางพันธุกรรม ขอมูลแสดงลักษณะทางพันธุกรรมของบุคคลในครอบครัวหนึ่ง เปนดังนี้ ลักษณะทาง พันธุกรรม เสนผม

ลูก

พอ

เรียบ

เรียบ หยักศก หยักศก เรียบ หยักศก หยักศก

ลักยิ้ม

มี

หนังตา

ไมมี

แม มี

ปู มี

ชั้นเดียว 2 ชั้น ชั้นเดียว 2 ชั้น

ยา ไมมี 2 ชั้น

ตา มี

ยาย มี

2 ชั้น ชั้นเดียว

จากขอมูลในตาราง ลูกไดรับการถายทอดลักษณะทางพันธุกรรมสวนใหญ จากใคร 1. พอ และ ยา 2. ปู และ ตา 3. แม และ ยาย 4. ยา และ ยาย วิเคราะหคําตอบ จากขอมูลจะเห็นวา ลูกไดรับการถายทอดลักษณะทาง พันธุกรรมจากแมและยาย 2 ลักษณะ ไดแก มีลักยิ้ม และหนังตามีชั้นเดียว ซึ่งเปนการไดรับการถายทอดลักษณะทางพันธุกรรมสวนใหญ ดังนั้น ขอ 3.

คู่มือครู

จึงเปนคําตอบที่ถูกตอง


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

อธิบายความรู้

Engage

Explore

Explain

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Expand าใจ ขยายความเข้

Evaluate ตรวจสอบผล

ขยายความเข้าใจ

▲▲

1. ใหนักเรียนศึกษารายละเอียด กิจกรรมที่ 2 หนา 7 เพื่อศึกษาลักษณะของตนเองกับ ลูกพี่ลูกนอง 2. ใหนักเรียนรวมกันอภิปรายผลการทํากิจกรรม จนไดขอสรุปวา ตนเองมีลักษณะบางอยาง คลายคลึงกับลูกพี่ลูกนอง และมีลักษณะ บางอยางแตกตางจากลูกพี่ลูกนอง 3. ใหนักเรียนจัดทําแผนภูมิครอบครัว (family tree) ของตนเอง โดยศึกษารายละเอียดจาก กิจกรรมรวบยอดตอนที่ 2 ขอ 1 หนา 10

1

ภาพที ่ ๑.๔ ฝาแฝดเหมือนจะมีลกั ษณะทางพันธุกรรม เหมือนกันค่อนข้างมาก

▲▲

ภาพที่ ๑.๕ พี่น้องสายเลือดเดียวกัน จะมีลักษณะ ทางพันธุกรรมบางอย่างเหมือนกัน และมีบางอย่าง แตกต่างกัน

กิจกรรมหนูน้อยนักส�ารวจ

2 กิจกรรมที่ ๒ ลักษณะของฉันกับลูกพี่ลูกน้อง

ปัญหา วิธีทํา

Expand

ตรวจสอบผล

Evaluate

ครูประเมินผลงานแผนภูมิครอบครัววา มีความถูกตองเรียบรอย และบันทึกขอมูลได ครบถวน

ตัวนักเรียนและลูกพี่ลูกน้องมีลักษณะเหมือนกันหรือไม่ ๑. ให้นักเรียนเลือกลูกพี่ลูกน้องของตนเอง ๑ คน ๒. สังเกตลักษณะทางพันธุกรรมของตนเองและลูกพี่ลูกน้อง เช่น สีผม สีผิว สีดวงตา ลักษณะเส้นผม หรืออื่นๆ เป็นต้น และบันทึกข้อมูล ๓. เปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างของตนเองกับลูกพีล่ กู น้อง ลงในสมุด

จากการท�ากิจกรรมที่ ๒ นักเรียนจะพบว่า ตัวนักเรียนและลูกพี่ลูกน้อง อาจมีลักษณะบางอย่างที่คล้ายคลึงกันหรือแตกต่างกัน ซึ่งเป็นผลมาจากความ แปรผันทางพันธุกรรม และลักษณะเหล่านี้สามารถถ่ายทอดสู่ลูกหลานต่อไปได้ à¾×è͹æ ŋФÃѺ ÁÕÅѡɳÐã´ºŒÒ§ ·ÕèäÁ‹àËÁ×͹¡Ñº¤¹ã¹¤Ãͺ¤ÃÑÇàÅ 7

ขอสอบเนน การคิด

ขอใดเปนลักษณะทางพันธุกรรม 1. รอยสัก 2. สีผิว 3. เสียงพูด 4. กลิ่นตัว

แนว  NT  O-NE T

วิเคราะหคําตอบ ลักษณะทางพันธุกรรม เปนลักษณะที่ถายทอดจากพอแม ไปสูลูก หรือจากรุนหนึ่งไปยังรุนตอๆ ไปได เชน ลักษณะเสนผม สีผม สีผิว สีดวงตา เปนตน ดังนั้น ขอ 2. จึงเปนคําตอบที่ถูกตอง

นักเรียนควรรู 1 ฝาแฝด (twins) ที่มีหนาตาคลายคลึงกันมาก เรียกวา ฝาแฝดเหมือน เกิดจาก การที่ไขที่ไดรับการผสมแลว แบงตัวเปน 2 เซลลแยกออกจากกัน แตละเซลลเกิด เปนทารกแตละคน ทําใหมีลักษณะทางพันธุกรรมเหมือนกัน จึงมีลักษณะหนาตา คลายคลึงกัน เปนทารกเพศเดียวกัน และใชรกอันเดียวกัน สวนฝาแฝดที่มีหนาตาไมเหมือนกัน เรียกวา ฝาแฝดไมเหมือนกัน เกิดจาก การที่ไข 2 ใบ ถูกผสมโดยอสุจิ 2 ตัว ทารกในครรภมีรกของตัวเอง อาจจะเปน เพศเดียวกันหรือไมก็ได และอาจมีหนาตาเหมือนกันไมมากนัก 2 ลูกพี่ลูกนอง (cousin) หมายถึง พี่นองในครอบครัวเดียวกัน แตตางพอแมกัน ซึ่งอาจเปนลูกของลุง ปา นา อา

คู่มือครู

7


กระตุน้ ความสนใจ

ส�ารวจค้นหา Exploreนหา ส�ารวจค้

อธิบายความรู้

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Engage

Explore

Explain

Expand

Evaluate

กระตุEngage ้นความสนใจ

กระตุน้ ความสนใจ

Engage

ครูชวนนักเรียนสนทนาวา พืชมีการถายทอด ลักษณะทางพันธุกรรมหรือไม ลักษณะพันธุกรรม ใดบางที่มีการถายทอดในพืช

ส�ารวจค้นหา

Explore

1. ใหนักเรียนแบงกลุม ใหแตละกลุมทํากิจกรรม พัฒนาการเรียนรู หนา 8 2. ใหแตละกลุมรวมกันอภิปรายการถายทอด ลักษณะทางพันธุกรรมไปยังรุน ลูกและรุน หลาน

๒. การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิตในแต่ละรุ่น การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม นอกจากจะมีในมนุษย์แล้ว สิง่ มีชวี ติ 1 ชนิดอื่น เช่น พืช สัตว์ เป็นต้น ก็มีการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมเช่นกัน สิ่งมีชีวิตต่างๆ สามารถถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมไปสู่ลูกหลานได้ 2 ลักษณะทางพันธุกรรมทีส่ ง่ ผ่านจากพ่อแม่ไปสูล่ กู จะอยู่ในยียีน ซึง่ เป็นสารประกอบ ที่ควบคุมการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิต ท�าให้ลูกที่เกิดมามี ลักษณะบางอย่างเหมือนกับพ่อแม่ ÊÔè§ÁÕªÕÇÔµÁÕ¡Òö‹Ò·ʹÅѡɳзҧ¾Ñ¹¸Ø¡ÃÃÁ ã¹áµ‹ÅÐÃØ‹¹Í‹ҧäà ÈÖ¡ÉÒ¨Ò¡¡Ô¨¡ÃÃÁµ‹Í仹Õé

กิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ ๑. แบ่งกลุ่ม ให้แต่ละกลุ่มศึกษาแผนภาพแสดงการผสมพันธุ์ของกระต่ายขนสีขาว กับกระต่ายขนสีด�า ๒. ร่วมกันอภิปรายการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมไปยังรุ่นลูกและรุ่นหลาน

×

รุ่นพ่อแม่

×

รุ่นลูก

รุ่นหลาน สีขาว ๓

สีด�า ๑

8

นักเรียนควรรู 1 พืช ลักษณะที่ถายทอดทางพันธุกรรมในพืช เชน โครงสรางของลําตน รูปราง ของผล ดอก ใบ การเรียงตัวของใบ กลีบดอก สี ลักษณะของเมล็ด ทําใหพืชมีความ หลากหลายทางพันธุกรรมสามารถนําไปขยายพันธุและปรับปรุงพันธุใหดีขึ้นได 2 ยีน (gene) เปนหนวยพื้นฐานของพันธุกรรม โดยในยีนจะมีรหัสที่ควบคุม สิ่งมีชีวิตใหเจริญเติบโตและมีพัฒนาการแตกตางกันออกไป คนทุกคนมีจํานวนและชนิดของยีนเทากัน แตมีรหัสยีนแตกตางกัน การรวมกัน ของยีนทําใหคนเรามีลักษณะแตกตางกันออกไป

ขอสอบ

O-NET

ขอสอบป ’ 51 ออกเกี่ยวกับเรื่อง การถายทอดลักษณะทางพันธุกรรม แผนผังการผสมพันธุหนูขนสีดํากับหนูขนสีขาว รุนพอแม ขนสีดํา

คู่มือครู

ขนสีขาว

ขนสีดํา

ขนสีดํา

ขนสีดํา

จากแผนผัง ขอใดสรุปถูกตอง 1. ลูกไดขนสีดํา 75 % 2. ลูกไดขนสีดํา 50 % 3. ขนสีดําเปนลักษณะเดน 4. ขนสีขาวเปนลักษณะดอย วิเคราะหคําตอบ จากกฎของเมนเดล ถารุนพอแมเปนพันธุแท ลักษณะ ที่ปรากฏออกมาในรุนลูก เรียกวา ลักษณะเดน ดังนั้น ขอ 3. จึงเปน

คําตอบที่ถูกตอง

8

ขนสีดํา


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

Engage

Explore

อธิบายความรู้ อธิบExplain ายความรู้

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

อธิบายความรู้

ò

จากการท�ากิจกรรม ท�าให้นักเรียนทราบว่า กระต่ายในรุ่นลูกจะปรากฏ ลักษณะขนสีขาวซึ่งเป็นลักษณะเด่นทั้งหมด ส่วนในรุ่นหลานจะปรากฏกระต่าย ขนสีขาว ๓ ตัว และกระต่ายขนสีด�า ๑ ตัว ซึ่งลักษณะเหล่านี้ถ่ายทอดมาจาก ยีนที่อยู่ในเซลล์สืบพันธ์ุของพ่อกระต่ายและแม่กระต่ายนั่นเอง ¾‹Í

ÃØ‹¹¾‹ÍáÁ‹ à«ÅÅ Ê׺¾Ñ¹¸ Ø ÃØ‹¹ÅÙ¡ à«ÅÅ Ê׺¾Ñ¹¸ Ø ÃØ‹¹ËÅÒ¹ ▲▲

R Rr R

áÁ‹

X

RR

rr

r

R Rr r

RR

Rr

¢¹ÊÕ¢ÒÇ

¢¹ÊÕ¢ÒÇ

Rr R Rr

r

Explain

1. ใหนักเรียนศึกษาขอมูล หนา 9 แลวรวมกัน พูดสรุปกฎของการถายทอดลักษณะทาง พันธุกรรม 2. ครูถามนักเรียนวา • การที่สิ่งมีชีวิตสามารถถายทอดลักษณะทาง พันธุกรรมได มีประโยชนอยางไร (แนวตอบ ทําใหสามารถดํารงลักษณะทาง พันธุกรรมที่แตกตางจากสายพันธุอื่น และ ทําใหสามารถเจาะจงไดวา เปนสิ่งมีชีวิต สายพันธุใด)

Rr r rr

¢¹ÊÕ¢ÒÇ ¢¹ÊÕ´íÒ

R á·¹ ÂÕ¹¢Í§ ¡Ãе‹Ò¢¹ÊÕ¢ÒÇ r á·¹ ÂÕ¹¢Í§ ¡Ãе‹Ò¢¹ÊÕ´íÒ

ภาพที่ ๑.๖ แผนภาพแสดงลักษณะทางพันธุกรรมซึ่งจะถ่ายทอดมาสู่รุ่นลูกโดยผ่านยีนที่อยู่ในเซลล์สืบพันธ์ุ

นักวิทยาศาสตร์ ผู้ซึ่งท�าการศึกษาเกี่ยวกับการถ่ายทอดลักษณะทาง 1 พันธุกรรมนี้ คือ เกรเกอร เมนเดล ได้สรุปกฎของการถ่ายทอดลักษณะทาง พันธุกรรม ไว้ดังนี้ ลักษณะต่างๆ ของสิ่งมีชีวิตจะถูกควบคุมโดยยีนที่อยู่ในเซลล์สืบพันธุ์ และจะถ่ายทอดไปยังลูกหลานทางเซลล์สืบพันธุ์ การถ่ายทอดลักษณะแต่ละลักษณะเป็นอิสระต่อกัน และไม่เกี่ยวข้อง กับลักษณะอื่น ถ้ารุ่นพ่อแม่พันธ์ุแท้ ลักษณะที่ปรากฏออกมาในรุ่นลูก เรียกว่า ลักษณะเด่น ส่วนลักษณะที่ปรากฏออกมาในรุ่นหลาน เรียกว่า ลั ลักษณะด้อย สัดส่วนของลักษณะเด่นต่อลักษณะด้อย จะเป็น ๓ : ๑ เสมอ ●

http://www.aksorn.com/lib/p/sci_01 (เรื่อง เกรเกอร์ เมนเดล)

EB GUIDE

9

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

ถาผสมกุหลาบสีแดงพันธุเดนกับกุหลาบสีขาวพันธุดอย โดยในรุนหลาน มีกุหลาบจํานวน 100 ตน จะเปนกุหลาบสีขาวกี่ตน 1. 100 ตน 2. 75 ตน 3. 50 ตน 4. 25 ตน

นักเรียนควรรู 1 เกรเกอร เมนเดล เปนนักบวชชาวออสเตรีย เขาไดทําการศึกษาเกี่ยวกับ การถายทอดลักษณะทางพันธุกรรมเปนคนแรก จนไดรับการยกยองวาเปน บิดาแหงวิชาพันธุศาสตร

วิเคราะหคําตอบ สัดสวนของลักษณะเดนตอลักษณะดอย ในรุนหลาน ที่รุนพอแมเปนพันธุแท คือ 3 : 1 ถามีกุหลาบรุนหลาน 100 ตน จะได พันธุเดน 75 ตน และพันธุดอย 25 ตน ดังนั้น ขอ 4. จึงเปนคําตอบ

ที่ถูกตอง

เกรเกอร เมนเดล (ค.ศ. 1822 - 1884)

คู่มือครู

9


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

อธิบายความรู้

Engage

Explore

Explain

ขยายความเข้าใจ

ขยายความเข้าใจ Expand าใจ ขยายความเข้

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Expand

1. ใหนักเรียนแบงกลุม ใหแตละกลุมไปศึกษา ประวัติของ เกรเกอร เมนเดล เพิ่มเติมจาก แหลงการเรียนรูอื่นๆ แลวนําขอมูลมานําเสนอ หนาชั้นเรียน 2. ใหนักเรียนทํากิจกรรมรวบยอด ตอนที่ 2 หนา 10 และตอนที่ 3 หนา 11 ลงในสมุด 3. ใหนักเรียนทํากิจกรรมรวบยอดที่ 1.2 จาก แบบวัดฯ วิทยาศาสตร ป.5 ✓ แบบวัดฯ ใบงาน แบบฝกฯ ว�ทยาศาสตร ป.5 กิจกรรมรวบยอดที่ 1.2 ประเมินตัวช�้วัด ว 1.2 ป.5/2

กิจกรรมรวบยอด ตอนที่ ๑ แนวคิดสําคัญ ช่วยกันสรุป ครูให้นักเรียนช่วยกันพูดสรุปการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิต และ ให้เขียนลงในสมุด ตอนที่ ๒ ลองคิด ลองทํา ๑. จัดทํา “แผนภูมิครอบครัว” ของตนเอง โดยให้ติดรูปของสมาชิกในครอบครัวลงใน กระดาษวาดเขียนตามตัวอย่างแผนภูมิ และตกแต่งให้สวยงาม จากนั้นสังเกตและ บันทึกข้อมูลตามประเด็นที่กําหนด ตัวอย่าง “แผนภูมิครอบครัว”

กิจกรรมรวบยอดที่ 1.2 แบบประเมินตัวชี้วัด ว 1.2 ป.5/2 • อธิบายการถายทอดลักษณะทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิตในแตละรุน ชุดที่ 1

10 คะแนน

ปู

ตอบคําถามตอไปนี้

1) สิ่งมีชีวิตมีการถายทอดลักษณะทางพันธุกรรมอยางไร

ย่ำ

ตำ

ยำย

สิง่ มีชวี ติ จะมีการถายทอดลักษณะจากพอแมไปสูล กู โดยอาจมีลกั ษณะบางอยาง คลายคลึงกับพอหรือมีลักษณะบางอยางคลายคลึงกับแม

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

2) สมโชคเปนนักกีฬาวายนํ้าเหมือนกับคุณพอ เปนการถายทอดลักษณะทาง พันธุกรรมหรือไม เพราะอะไร

ไมใชการถายทอดลักษณะทางพันธุกรรม เพราะการวายนํ้าเปนทักษะที่ตอง ฉบับ ฝกฝนดวยตนเอง เฉลย

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

ลุง/ปำ

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

3) เพราะเหตุใดวิภาวีจึงมีหนาตาเหมือนคุณตาของเธอได

เพราะวิภาวีไดรับการถายทอดลักษณะจากคุณตาผานทางคุณแมซึ่งเปนลูกของ คุณตา ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

พ่อ

อำ

ลุง/ปำ

แม่

นำ

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

4) เพราะเหตุใดนัทนนทจึงไมมีรูปรางหนาคลายคลึงกับณัฐพล ซึ่งเปนเพื่อน สนิทกัน และชอบสิง่ ตางๆ เหมือนกัน เชน ชอบเลนฟุตบอลเหมือนกัน ชอบ กินขาวผัดปูเหมือนกัน ชอบดื่มนมรสช็อกโกแลตเหมือนกัน เพราะนัทนนทและณัฐพลตางไดรับการถายทอดลักษณะจากพอแมของตนเอง

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

5) ลักษณะทางพันธุกรรมใดบางที่สามารถถายทอดมาสูลูกได บอกมา 4 อยาง

พี่

(ตัวอยาง) รูปรางหนาตา ความสูง สีผิว สีผม ลักษณะเสนผม ลักยิ้ม

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

ตัวชี้วัด ว 1.2 ขอ 2

ไดคะแนน คะแนนเต็ม

10

5

ตัวฉัน

นอง

ประเด็นที่บันทึกข้อมูล ๑) ลักษณะที่พ่อได้รับการถ่ายทอดจากปู่ ย่า ๒) ลักษณะที่แม่ได้รับการถ่ายทอดจากตา ยาย ๓) ลักษณะที่ฉันและพี่น้องได้รับการถ่ายทอดจากพ่อแม่เหมือนกัน ๔) ลักษณะที่ฉันไม่เหมือนพ่อแม่ แต่เหมือนปู่ ย่า ตา หรือยาย

10

เกร็ดแนะครู ครูอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียนเขาใจวา โรคบางชนิดมีการถายทอดทาง พันธุกรรมได เชน โรคเบาหวาน โรคเลือดใส โรคกลามเนื้อลีบ

มุม IT ครูอานขอมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับโรคทางพันธุกรรม ไดจาก เว็บไซต www.thaibiotech.info โดยคลิกที่ โรคทางพันธุกรรม (genetic disorder) คืออะไร ในหัวขอความรูทางเทคโนโลยีชีวภาพ (Topics of biotechnology)

10

คู่มือครู

ขอสอบ

O-NET

ขอสอบป ’ 51 ออกเกี่ยวกับเรื่อง การถายทอดลักษณะทางพันธุกรรม โรคใดมีการถายทอดทางพันธุกรรมได 1. ฟนผุ 2. ตาแดง 3. เบาหวาน 4. ไวรัสตับอักเสบบี วิเคราะหคําตอบ โรคเบาหวานเปนภาวะที่รางกายมีระดับนํ้าตาลกลูโคส ในเลือดสูงกวาปกติและจัดเปนโรคทางพันธุกรรมชนิดหนึ่ง กลาวคือหาก ใครมีพอ แม หรือญาติพี่นองที่เปนโรคเบาหวาน ก็มีโอกาสที่จะเปนโรคนี้ได ดังนั้น ขอ 3. เปนคําตอบที่ถูกตอง


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

อธิบายความรู้

ขยายความเข้าใจ

Engage

Explore

Explain

Expand

ตรวจสอบผล Evaluate ตรวจสอบผล Evaluate

ตรวจสอบผล

Evaluate

1. ครูตรวจสอบผลงานการสืบคนขอมูลประวัติ เกรเกอร เมนเดล วาถูกตองครบถวนหรือไม 2. ครูตรวจสอบความถูกตองของกิจกรรม รวบยอด ตอนที่ 2 และตอนที่ 3

๒. สังเกตภาพการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมของสุนัข แล้วตอบคําถาม

หลักฐานแสดงผลการเรียนรู พ่อส�าลี

1. ผลงานแผนภาพครอบครัว 2. ผลงานประวัติ เกรเกอร เมนเดล 3. กิจกรรมรวบยอดที่ 1.2 จากแบบวัดฯ วิทยาศาสตร ป.5

แม่นิล ลูกเกาลัด

๑) ลักษณะใดบ้างที่เกาลัดได้รับการถ่ายทอดจากพ่อส�าลี ๒) ลักษณะใดบ้างที่เกาลัดได้รับการถ่ายทอดจากแม่นิล ๓) ลักษณะใดของเกาลัดที่ไม่เหมือนทั้งพ่อส�าลีและแม่นิล ตอนที่ ๓ คําถามวิทย์คิดสนุก ตอบคําถามต่อไปนี้ลงในสมุด ๑) สุชาติพดู ภาษาอังกฤษเก่งเหมือนพ่อ เป็นการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม หรือไม่ เพราะอะไร ๒) การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมมีปรากฏในพืชหรือไม่ ยกตัวอย่างลักษณะ ทางพันธุกรรมของพืชมา ๒ อย่าง ๓) ลักษณะทางพันธุกรรมหมายถึงอะไร ยกตัวอย่างลักษณะทางพันธุกรรมของ สัตว์มา ๒ อย่าง ๔) ลักษณะบางลักษณะของลูกทีแ่ ตกต่างออกไปจากพ่อ แม่ ปู ่ ย่า ตา ยาย เรียกว่า อะไร ๕) ยกตัวอย่างลักษณะทางพันธุกรรมทีแ่ ตกต่างกันระหว่างคนไทยกับคนฝรัง่ มา ๓ ลักษณะ 11

ขอสอบ

O-NET

ขอสอบป ’ 52 ออกเกี่ยวกับเรื่อง การถายทอดลักษณะทางพันธุกรรม โรคใดไมถายทอดทางพันธุกรรม 1. โรคเบาหวาน 2. โรคเลือดใส 3. โรคเหน็บชา 4. โรคกลามเนื้อลีบ วิเคราะหคําตอบ โรคเหน็บชาเกิดจากภาวะทางโภชนาการที่ขาด วิตามิน B1 หากรางกายไดรับวิตามิน B1 อยางเพียงพอ อาการเหน็บชาก็จะ หายไป ดังนั้น ขอ 3. จึงเปนคําตอบที่ถูกตอง

เกร็ดแนะครู ครูอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียนเขาใจวา คนไทยกับคนฝรั่ง มีลักษณะทาง พันธุกรรมที่แตกตางกัน เชน สีผม สีผิว สีตา ความสูง ลักษณะรูปรางหนาตา เปนตน ซึ่งลักษณะเหลานี้จะสามารถถายทอดจากบรรพบุรุษไปยังรุนลูกรุนหลานได โดยผานทางหนวยที่ควบคุมลักษณะทางพันธุกรรม ที่เรียกวา ยีน (gene)

กิจกรรมทาทาย ใหนักเรียนเขียนแผนภาพแสดงลักษณะการถายทอดลักษณะทาง พันธุกรรมของสิ่งมีชีวิตมา 1 ลักษณะ โดยกําหนดยีนเดน และยีนดอยของ สิ่งมีชีวิตขึ้นเอง (ดูตัวอยางในหนังสือ หนา 9) คู่มือครู

11


กระตุน้ ความสนใจ กระตุEngage ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

อธิบายความรู้

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Engage

Explore

Explain

Expand

Evaluate

เปาหมายการเรียนรู

บทที่

1. สังเกตและระบุสวนประกอบของดอกและ โครงสรางที่เกี่ยวของกับการสืบพันธุของ พืชดอก (ว 1.1 ป.5/1) 2. อธิบายการสืบพันธุของพืชดอก การขยายพันธุ พืชและนําความรูไปใชประโยชน (ว 1.1 ป.5/2) 3. อธิบายวัฏจักรชีวิตของพืชดอกบางชนิด (ว 1.1 ป.5/3)

ศึกษาชีวิตพืช

ò

แนวคิดส�าคัญ ¾×ª´Í¡àÁ×èÍà¨ÃÔÞàµÔºâµàµçÁ·Õè¨ÐÍÍ¡´Í¡ àÁ×èÍ´Í¡ä´ŒÃѺ¡ÒüÊÁ¾Ñ¹¸Ø ¨Ð¡ÅÒÂ໚¹¼Å ¼ÅÁÕ àÁÅç´ «Öè§ÊÒÁÒöÍ͡໚¹µŒ¹¾×ªµŒ¹ãËÁ‹ËÁعàÇÕ¹໚¹Çѯ¨Ñ¡Ã ´Í¡¢Í§¾×ªâ´Â·ÑèÇä»»ÃСͺ´ŒÇ ¡ÅÕºàÅÕé§ ¡ÅÕº´Í¡ à¡ÊÃà¾È¼ÙŒ áÅÐà¡ÊÃà¾ÈàÁÕ ʋǹ»ÃСͺ¢Í§´Í¡·Õè·íÒ˹ŒÒ·Õèà¡ÕèÂǡѺÊ׺¾Ñ¹¸Ø 䴌ᡋ à¡ÊÃà¾ÈàÁÕ »ÃСͺ´ŒÇÂÃѧ䢋 ÍÍÇØÅ áÅÐà¡ÊÃà¾È¼ÙŒ »ÃСͺ´ŒÇÂÍѺàó٠áÅÐÅÐÍͧàó٠¾×ª´Í¡ÁÕ¡ÒÃÊ׺¾Ñ¹¸Ø ·Ñé§áººÍÒÈÑÂà¾È áÅСÒÃÊ׺¾Ñ¹¸Ø ẺäÁ‹ÍÒÈÑÂà¾È ¡ÒâÂÒ¾ѹ¸Ø ¾×ª à¾×èÍà¾ÔèÁ»ÃÔÁÒ³áÅФسÀÒ¾¢Í§¾×ª·íÒä´ŒËÅÒÂÇÔ¸Õ â´Â¡ÒÃà¾ÒÐàÁÅç´ ¡Òû˜¡ªíÒ ¡Òõ͹¡Ôè§ ¡ÒõԴµÒ ¡Ò÷Һ¡Ôè§ ¡ÒÃàÊÕºÂÍ´ áÅСÒÃà¾ÒÐàÅÕé§à¹×éÍàÂ×èÍ

สมรรถนะของผูเรียน 1. ความสามารถในการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการแกปญ  หา

คุณลักษณะอันพึงประสงค

กิจกรรมน�าสู่การเรียน

1. ใฝเรียนรู 2. มุงมั่นในการทํางาน

กระตุน้ ความสนใจ

Engage

1. ใหนักเรียนสังเกตภาพดอกไมในหนานี้ แลวบอกวา เห็นสวนประกอบใดของดอกไม ในภาพบาง (ตอบ กลีบดอก และเกสร) 2. ครูนําดอกไมจริง 2 - 3 ชนิด ที่สามารถหาได มาใหนักเรียนดู แลวรวมกันบอกวา ดอกไม มีสวนประกอบใดบาง

จากภาพ ดอกไม้ทั้ง ๒ ดอกนี้ มีส่วนประกอบเหมือนกันหรือ แตกต่างกันอย่างไรบ้าง 12

เกร็ดแนะครู ครูจัดกระบวนการเรียนรูโดยใหนักเรียนปฏิบัติ ดังนี้ • สังเกตสวนประกอบของดอกไม • ศึกษาขอมูลการสืบพันธุของพืชดอกและการขยายพันธุพืช • ทดลองขยายพันธุพืช • ทดลองปลูกพืชเพื่อศึกษาวัฎจักรชีวิตพืช แลวสรุปผล จนเกิดเปนความรูความเขาใจวา พืชที่มีดอกใชเกสรเพศผูและเกสรเพศเมีย ในการสืบพันธุแบบอาศัยเพศ โดยละอองเรณูจากเกสรเพศผูจะปลิวไปตกบนยอด เกสรเพศเมียและเกิดการสืบพันธุขึ้น นอกจากนี้พืชบางชนิดยังสามารถสืบพันธุ แบบไมอาศัยเพศได เชน กลวย ไผ พุทธรักษา เปนตน ซึ่งเราสามารถนําความรู มาใชในการขยายพันธุพืชได เพื่อใหไดตนพืชใหมที่แข็งแรงสมบูรณ และสามารถ สืบพันธุตอไปไดเปนวัฎจักรของพืช

12

คู่มือครู


ส�ารวจค้นหา

กระตุ้นความสนใจ Engage

ส�ารวจค้ Exploreนหา

อธิบายความรู้

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Explore

Explain

Expand

Evaluate

ส�ารวจค้นหา 1

๑ การสืบพันธ์ุของพืชดอก

พืชในโลกนี้มีมากมายหลายชนิด พืชบางชนิดมีดอก พืชบางชนิดไม่มีดอก พืชดอกสามารถสืบพันธ์ุได้ทั้งแบบอาศัยเพศและแบบไม่อาศัยเพศ การสืบพันธ์ุ แบบอาศัยเพศของพืชดอกจะอาศัยดอกในการสืบพันธุ ์ ซึง่ ต้องอาศัยส่วนประกอบ ของดอกที่ท�าหน้าที่เกี่ยวข้องกับการสืบพันธุ์ ๑. ส่วนประกอบของดอก ดอกของพืชแต่ละชนิดมีลกั ษณะแตกต่างกัน ดอกของพืชบางชนิดมีสสี นั สวยงาม บางชนิดมีกลิน่ หอม บางชนิดมีนา�้ หวาน สิง่ เหล่านี ้ ดอกใช้เป็นการดึงดูด แมลงให้มาตอมเพื่อช่วยในการผสมพันธุ์ ดอกของพืชประกอบด้วยส่วนต่างๆ ๔ ส่วน ดังนี้ ๒ ๑ ๒

๓ ๑

Explore

1. ใหนักเรียนรวมกันศึกษาภาพสวนประกอบของ ดอกไม หนา 13 2. ครูถามนักเรียนวา • ดอกไมทกุ ชนิดมีสว นประกอบครบทัง้ 4 สวน หรือไม (ตอบ ไมทุกชนิด ดอกไมบางชนิดอาจไมมี สวนประกอบสวนใดสวนหนึ่ง) • สวนประกอบใดของดอกไมที่ใชในการ สืบพันธุ (ตอบ เกสรเพศผู และเกสรเพศเมีย) • ดอกไมที่มีลักษณะของสวนประกอบ แตละสวนแตกตางกัน เชน มีสีของกลีบดอก ไมเหมือนกัน มีลักษณะเกสรเพศผูและเกสร เพศเมียตางกัน จะสามารถใชดอกสืบพันธุ ไดเหมือนกันหรือไม อยางไร (แนวตอบ สามารถใชดอกสืบพันธุได โดย การถายละอองเรณู จนเซลลสืบพันธุเพศผู ผสมกับเซลลสืบพันธุเพศเมีย และเกิดการ ปฏิสนธิ)

๑) กลีบเลี้ยง เป็นส่วนของดอกที่อยู่ด้านนอกสุด มักมีสีเขียว ท�าหน้าที่

ห่อหุ้มส่วนของดอกในขณะที่ยังตูมอยู่ เพื่อป้องกันอันตรายจากแมลง ๒) กลีบดอก เป็นชั้นที่อยู่ถัดจากกลีบเลี้ยง มักมีสีสวยงาม ท�าหน้าที่ ห่อหุม้ เกสรขณะทีเ่ กสรยังอ่อนอยู ่ และมีกลิน่ หอมเพือ่ ช่วยล่อแมลงให้มาผสมเกสร ๓) เกสรเพศผู เป็ ้ เป็นชั้นที่อยู่ถัดจากกลีบดอก มักมีอยู่หลายอัน ท�าหน้าที่ สร้างเซลล์สืบพันธุ์เพศผู้ ๔) เกสรเพศเมีย เป็นส่วนประกอบที่อยู่ชั้นในสุด ท�าหน้าที่ สร้างเซลล์สืบพันธุ์เพศเมีย 13

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

สวนประกอบใดของพืชดอกที่เกี่ยวของกับการสืบพันธุแบบอาศัยเพศ โดยตรง 1. กลีบเลี้ยง และกลีบดอก 2. กลีบดอก และเกสรเพศผู 3. เกสรเพศผู และเกสรเพศเมีย 4. เกสรเพศเมีย และกลีบเลี้ยง

วิเคราะหคําตอบ การสืบพันธุแบบอาศัยเพศของพืชดอกจะมีการรวมกัน ของเซลลสืบพันธุเพศผู ซึ่งสรางจากเกสรเพศผู และเซลลสืบพันธุเพศเมีย ซึ่งสรางจากเกสรเพศเมีย ดังนั้น ขอ 3. จึงเปนคําตอบที่ถูกตอง

เกร็ดแนะครู ในการเรียนเรื่องสวนประกอบของดอกไม ครูอาจรวบรวมดอกไมหลายๆ ชนิดที่ พบเห็นไดทั่วไปมาใหนักเรียนดู และใหชวยกันบอกชื่อดอกไมที่รูจัก จากนั้นครูใหนักเรียนแบงกลุม แลวใหแตละกลุมออกมาสังเกตดอกไมที่ครูวาง รวมกันไวที่หนาชั้น และจดบันทึกการสังเกตวาไดขอมูลอะไรบาง แลวผลัดกัน นําเสนอขอมูล

นักเรียนควรรู 1 การสืบพันธุ (reproduction) หมายถึง การใหกําเนิดสิ่งมีชีวิตตัวใหมหรือ ตนใหมจากสิ่งมีชีวิตตัวเดิมหรือตนเดิมที่มีอยูกอนแลว

คู่มือครู

13


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

Engage

ส�ารวจค้นหา

Exploreนหา ส�ารวจค้

อธิบายความรู้

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Explore

Explain

Expand

Evaluate

Explore

1. ใหนักเรียนแบงกลุม ใหแตละกลุมศึกษาขั้นตอน การทํากิจกรรมที่ 1 สวนประกอบของดอก หนา 14 2. ใหแตละกลุมสํารวจดอกไมแตละชนิด แลวบันทึกผล

¹Ñ¡àÃÕ¹¤Ô´Ç‹Ò´Í¡äÁŒáµ‹ÅЪ¹Ô´ ÁÕʋǹ»ÃСͺ ¤ÃºµÒÁ·ÕèàÃÕ¹ÁÒËÃ×ÍäÁ‹ ÅͧÁÒ ·íÒ¡Ô¨¡ÃÃÁµ‹Í仹Õé

กิจกรรมหนูน้อยนักส�ารวจ กิจกรรมที่ ๑ ส่วนประกอบของดอก

ปัญหา อุปกรณ์ วิธีทํา

ดอกของพืชแต่ละชนิดมีส่วนประกอบครบทั้ง ๔ ส่วนหรือไม่ ๑. ดอกไม้ ๕ ชนิด ชนิดละ ๑ ดอก ๒. แว่นขยาย ๑ อัน ๑. แบ่งกลุ่ม ให้แต่๑๓ละกลุ่มน�าดอกไม้มากลุ่มละ ๕ ชนิด ๒. ส�ารวจส่วนประกอบของดอกไม้แต่ละชนิด โดยขีด ลงในตาราง ๓. น�าผลการส�ารวจมาเปรียบเทียบกับกลุ่มอื่น

ตัวอย่างตารางบันทึกผล ชื่อดอกไม้

กลีบเลี้ยง

ส่วนประกอบของดอก กลีบดอก เกสรเพศผู้ เกสรเพศเมีย

๑. ๒. ๓. ๔. ๕.

ึกผลกำรส�ำรวจ ใหนักเรียนบันท จ�ำตัวนักเรียน ระ ลงในสมุดป

จากการส�ารวจดอกไม้ชนิดต่างๆ จะพบว่า ดอกไม้บางชนิดมีสว่ นประกอบ ครบทั้ง ๔ ส่วน แต่บางชนิดมีส่วนประกอบไม่ครบ ๔ ส่วน เราจึงจ�าแนกประเภท ของดอกไม้ โดยใช้ส่วนประกอบของดอกเป็นเกณฑ์ ได้ ดังข้อมูลในหน้าต่อไป 14

เกร็ดแนะครู ในขั้นสํารวจคนหา ครูควรวางแผนรวมกับนักเรียนเพื่อใหนักเรียนเตรียมดอกไม คละกัน ทั้งที่มีสวนประกอบครบทั้ง 4 สวน และมีสวนประกอบไมครบทั้ง 4 สวน และควรเปนดอกไมที่หาไดงายในทองถิ่น หรือดอกไมที่ปลูกอยูตามบานของนักเรียน

มุม IT ครูและนักเรียนอานขอมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับสวนประกอบของดอกไม ไดจาก เว็บไซต www.panmai.om โดยคลิกที่ วาดวยเรื่องของดอกไม

14

คู่มือครู

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T ดอกไมในขอใดจัดเปนดอกสมบูรณ 1. ดอกจําปา 2. ดอกตําลึง 3. ดอกมะละกอ 4. ดอกพูระหง

วิเคราะหคําตอบ ดอกสมบูรณ หมายถึง ดอกไมที่มีสวนประกอบครบทั้ง 4 สวน คือ กลีบเลีย้ ง กลีบดอก เกสรเพศผู และเกสรเพศเมีย อยูใ นดอก เดียวกัน เชน ดอกบัว ดอกกุหลาบ ดอกพูระหง ดอกชบา ดอกมะเขือ เปนตน ดังนั้น ขอ 4. จึงเปนคําตอบที่ถูกตอง


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

Engage

Explore

อธิบายความรู้ อธิบExplain ายความรู้

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

อธิบายความรู้

1. ใหแตละกลุมสงตัวแทนออกมานําเสนอ ผลการสํารวจหนาชั้น 2. ใหแตละกลุมบันทึกผลการสํารวจดอกไมของ เพื่อนกลุมอื่นที่ไมซํ้ากับกลุมของตนเองดวย 3. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปวา มีดอกไม ตางชนิดกันที่นํามาสํารวจทั้งหมดกี่ชนิด เปนดอกไมชนิดใดบาง 4. ใหนักเรียนนําขอมูลการสํารวจมารวมกัน สรุปวา • มีดอกไมที่มีสวนประกอบครบทั้ง 4 สวน หรือไม เปนดอกอะไรบาง • มีดอกไมที่มีเกสรเพศผูและเกสรเพศเมียอยู ในดอกเดียวกันหรือไม เปนดอกอะไรบาง • มีดอกไมที่มีเกสรเพศผูหรือเกสรเพศเมีย เพียงอยางเดียวหรือไม เปนดอกอะไรบาง 5. ใหแตละกลุมศึกษาแผนผังความคิดการ จําแนกดอกของพืชในหนานี้ แลวจําแนกดอก ของพืชโดยใชเกณฑที่ไดศึกษา 6. ใหแตละกลุมนําเสนอการจําแนกดอกของพืช แลวเปรียบเทียบกับกลุมอื่น 7. ครูถามนักเรียนวา • ถาไมจาํ แนกดอกของพืชโดยใชสว นประกอบ ของดอก หรือเกสรเปนเกณฑ จะสามารถ จําแนกดอกของพืชโดยใชเกณฑอะไร ไดอีกบาง (แนวตอบ เชน จํานวนกลีบดอก สีของดอก เปนตน)

ÈÖ¡ÉÒá¼¹¼Ñ§¤ÇÒÁ¤Ô´áÊ´§¡ÒèíÒṡ´Í¡¢Í§¾×ª à¾×èÍãˌࢌÒã¨ÂÔ觢Ö鹤‹Ð ดอกบัว ดอกพริก ดอกกุหลาบ ดอกพู่ระหง ดอกมะเขือ

มีส่วนประกอบ ครบ ๔ ส่วน ในหนึ่งดอก ลักษณะ

ตัวอย่าง

มีส่วนประกอบ ไม่ครบ ๔ ส่วน ในหนึ่งดอก

ดอกมะระ ดอกต�าลึง ดอกบวบ ดอกฟักทอง ดอกมะพร้าว ดอกมะละกอ

ลักษณะ

ตัวอย่าง

1

ดอกสมบูรณ

ดอกไมสมบูรณ

2

ใช้ สวนประกอบของดอก เป็นเกณฑ์

การจําแนกดอกของพืช ใช้ เกสรเพศผูและเกสรเพศเมีย เป็นเกณฑ์ ดอกไมสมบูรณเพศ

ดอกสมบูรณเพศ ลักษณะ

ตัวอย่าง

ลักษณะ

ตัวอย่าง

มีเกสรเพศผู้และ เกสรเพศเมียอยู่ ในดอกเดียวกัน

ดอกพู่ระหง ดอกกล้วยไม้ ดอกกุหลาบ ดอกมะเขือ ดอกข้าว ดอกบัว

มีเกสรเพศผู้หรือ เกสรเพศเมียเพียง อย่างเดียวในดอก หนึ่งดอก

ดอกข้าวโพด ดอกฟักทอง ดอกมะละกอ ดอกมะยม ดอกต�าลึง ดอกบวบ

Explain

15

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

เพราะเหตุใด จึงจัดวา ดอกฟกทอง เปนดอกไมสมบูรณเพศ

แนวตอบ ดอกไมสมบูรณเพศ คือ ดอกที่มีเพียงเกสรเพศผูหรือเกสร เพศเมียอยางเดียวเทานั้น โดยดอกฟกทองมีเกสรเพศผูและเกสรเพศเมีย อยูแยกดอกกัน จึงจัดวาเปนดอกไมสมบูรณเพศ

นักเรียนควรรู 1 ดอกสมบูรณ ตองเปนดอกสมบูรณเพศเสมอ เนื่องจากในหนึ่งดอกมี สวนประกอบของเกสรเพศผูและเกสรเพศเมียอยูในดอกเดียวกัน แตดอกสมบูรณเพศ อาจไมเปนดอกสมบูรณ เนื่องจากในหนึ่งดอกอาจมีสวนประกอบของดอกไมครบทั้ง 4 สวน 2 ดอกไมสมบูรณ คือ ดอกไมที่มีสวนประกอบของดอกไมไมครบทั้ง 4 สวน เชน ดอกบานเย็นขาดกลีบดอก ดอกหนาวัวขาดกลีบเลี้ยงและกลีบดอก

คู่มือครู

15


กระตุ้นความสนใจ Engage

ส�ารวจค้นหา Exploreนหา ส�ารวจค้

อธิบายความรู้

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Explore

Explain

Expand

Evaluate

ส�ารวจค้นหา

Explore

1. ใหแตละกลุมศึกษาขอมูลการสืบพันธุของ พืชดอก จากหนังสือ หนา 16 - 18 2. ใหแตละกลุมสืบคนขอมูลวา พืชชนิดใดบาง ที่มีการสืบพันธุแบบอาศัยเพศ

๒. ขั้นตอนการสืบพันธุ์ของพืชดอก การสืบพันธุ์ของพืชดอกต้องอาศัยส่วนประกอบของดอกที่ท�าหน้าที่ เกี่ยวข้องกับการสืบพันธุ์ ซึ่งได้แก่ เกสรเพศผู้ และเกสรเพศเมีย à¡Ê÷Ñé§ ò ª¹Ô´¹Õé ÁÕʋǹ»ÃСͺÍÐäúŒÒ§ ÈÖ¡ÉÒä´Œ¨Ò¡ÀÒ¾µ‹Í仹Õé

2

1

อับเรณู

3

ยอดเกสรเพศเมีย

ละอองเรณู

รังไข่

4

ออวุล ก้านชูอับเรณู

เซลล์ไข่

ส่วนประกอบ ของเกสรเพศเมีย

ส่วนประกอบ ของเกสรเพศผู ▲▲

ภาพที่ ๑.๗ ภาพแสดงส่วนประกอบของเกสรเพศผู้และเกสรเพศเมีย

๑) การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ เมื เพศ เมื่อพืชดอกเจริญ เติบโตเต็มที่จะเริ่มออกดอก ภายในดอกมีการสร้างเซลล์ สืบพันธุ์ โดยเกสรเพศผู้สร้างเซลล์สืบพันธุ์เพศผู้หรือ ละอองเรณูเก็บไว้ในอับเรณู ส่วนเกสรเพศเมียจะมี รังไข่ และภายในรังไข่มีออวุล ซึ่งท�าหน้าที่เก็บ เซลล์สืบพันธุ์เพศเมียหรือเซลล์ ไข่เอาไว้

เกสรเพศเมีย เกสรเพศผู้

ภาพที่ ๑.๘ ๑.๘ เกสรเพศผู เกสรเพศผู้และเกสรเพศเมีย  เป็นที่เก็บเซลล์สืบพันธ์ุ

16

นักเรียนควรรู

ขอสอบ

ขอสอบป ’ 50 ออกเกี่ยวกับเรื่องการสืบพันธุของพืชดอก

1 อับเรณู (anther) เปนสวนหนึ่งของเกสรตัวผู มีลักษณะเปนกระเปาะ เปนแหลงสรางและเก็บละอองเรณู

2 ละอองเรณู (pollen grain) คือ เซลลสืบพันธุเพศผูของพืชดอกซึ่งอยูภายใน อับเรณูของเกสรเพศผู

3 รังไข (ovary) เปนอวัยวะเซลลสืบพันธุเพศเมีย 4 ออวุล (ovule) เปนโครงสรางภายในรังไขของพืชดอก เปนที่กําเนิดของ เซลลไข

16

คู่มือครู

O-NET

➂ ➃

จากภาพ ถาเกิดการปฏิสนธิแลว สวนประกอบของดอกไมหมายเลขใด ที่เจริญเติบโตเปนเมล็ด 1. หมายเลข 1 2. หมายเลข 2 3. หมายเลข 3 4. หมายเลข 4 วิเคราะหคําตอบ หลังจากการปฏิสนธิอับเรณู (1) และคอเกสรตัวเมีย (3) จะหลุดลวงหรือเหี่ยวแหงไป สวนรังไข (2) จะเจริญกลายเปนผล ออวุล (4) เจริญไปเปนเมล็ด ดังนั้น ขอ 4. จึงเปนคําตอบที่ถูกตอง


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

Engage

Explore

อธิบายความรู้ อธิบExplain ายความรู้

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

อธิบายความรู้ 1

การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศเริ่มจากการถ่ายละอองเรณู ละอองเรณู ตกลงบนยอดเกสรเพศเมีย และได้รับอาหารที่ยอดเกสรเพศเมีย จะงอกหลอด แทงเข้าไปตามก้านเกสรเพศเมียของรังไข่และเข้าไปผสมกับเซลล์ไข่ภายในออวุล เกิดการปฏิสนธิ

ขั้นที่ ๑ ละอองเรณูปลิวไปตกบน ยอดเกสรเพศเมีย

ขั้นที่ ๒ ขั้นที่ ๓ ละอองเรณูงอกหลอดไป ละอองเรณูงอกเป็นหลอดยาวเข้าไป ผสมกับเซลล์ไข่ เกิดการปฏิสนธิ ตามเกสรเพศเมีย ▲▲ ภาพที่ ๑.๙ แผนภาพแสดงขั้นตอนการปฏิสนธิของพืชดอก

หลังจากการปฏิสนธิ ยอดและก้านชูเกสรเพศเมียก็จะเหี่ยวลง กลีบเลี้ยง กลีบดอก เกสรเพศผู้ และเกสรเพศเมียก็จะแห้งแล้วร่วงหลุดไป ส่วน รังไข่และออวุลจะมีการเจริญเติบโตต่อไป โดยรังไข่เจริญกลายเป็นผล ผนังรังไข่ เจริญเป็นเปลือกและเนื้อของผลไม้ ออวุลเจริญไปเป็นเมล็ด ภายในเมล็ดจะเก็บ ต้นอ่อนและเก็บสะสมอาหารไว้ภายใน เพื่อเกิดเป็นต้นใหม่ต่อไป การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชดอกสามารถเขียนแสดงเป็น แผนภาพได้ ดังนี้ http://www.aksorn.com/lib/p/sci_01 (เรื่อง ผลของพืช)

Explain

1. ใหแตละกลุมสงตัวแทนออกมาอธิบายขั้นตอน การสืบพันธุของพืชดอก 2. ครูถามนักเรียนวา • หากดอกของพืชมีเกสรเพียงชนิดเดียว จะสืบพันธุแบบอาศัยเพศไดหรือไม อยางไร (ตอบ ได โดยถายละอองเรณูขามดอก) • การถายละอองเรณูขามดอกที่อยูใน ตนเดียวกันมักเกิดดอกสมบูรณเพศที่มี ลักษณะอยางไร (ตอบ ดอกที่มีเกสรเพศผูที่อยูสูงกวา เกสรเพศเมีย) 3. ครูอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียนเขาใจวา หลังจากการปฏิสนธิ สวนตางๆ ของดอกไม จะมีการเปลี่ยนแปลง ดังนี้ • รังไข เจริญเปนผล • ผนังรังไข เจริญเปนเปลือกและเนื้อของผล • ออวุล เจริญเปนเมล็ด • เยื่อหุมออวุล เจริญเปนเปลือกหุมเมล็ด • โพลารนิวเคลียส เจริญเปนเนื้อเยื่อ เอนโดสเปรมสะสมอาหารในเมล็ด • กลีบเลี้ยง กลีบดอก ยอดเกสรเพศเมีย กานเกสรเพศเมีย จะเหี่ยวแหงสลายตัวไป 4. ใหนักเรียนรวมกันอภิปรายวา การสืบพันธุ แบบอาศัยเพศ และการสืบพันธุแบบ ไมอาศัยเพศตางกันอยางไร

EB GUIDE

17

เกร็ดแนะครู หลังจากครูสอน เรื่อง การสืบพันธุแบบอาศัยเพศแลว ครูใหนักเรียนชวยกันสรุปเกี่ยวกับเรื่องนี้อีกครั้ง ดังนี้ ขอมูล

การสืบพันธุแบบอาศัยเพศ

วิธีการ

มีการถายละอองเรณู เกิดการปฎิสนธิ และเกิดเมล็ด

ความแข็งแรง

ไดตนที่แข็งแรง มีรากแกว

ลักษณะ

กลายพันธุไปจากตนแม

พืชที่นิยมปลูก

ผักตางๆ เชน คะนา ผักบุง หรือเมื่อตองการหาพืชลักษณะใหม

นักเรียนควรรู 1 การถายละอองเรณู การถายละอองเรณูภายในดอกเดียวกัน เกิดจากละอองเรณูไปตกลงบนยอดเกสรเพศเมีย ภายในดอกเดียวกัน ซึ่งวิธีนี้จะเกิดขึ้นในดอกสมบูรณเพศที่มีเกสรเพศผูอยูสูงกวาเกสรเพศเมีย การถายละอองเรณูขามดอกและอยูคนละตนกัน ละอองเรณูจากดอกไมดอกหนึ่งไปตกลงบนยอดเกสรเพศเมียของ ดอกไมอีกดอกหนึ่ง ซึ่งวิธีนี้เกิดขึ้นไดกับดอกสมบูรณเพศ ที่เกสรเพศผูอยูตํ่ากวาเกสรเพศเมีย และดอกไมสมบูรณเพศ

คู่มือครู

17


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

อธิบายความรู้

Engage

Explore

Explain

ขยายความเข้าใจ

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Expand าใจ ขยายความเข้

Expand

1. ใหนักเรียนติดภาพดอกไมที่ตนเองชอบ คนละ 1 ชนิด ลงในสมุด แลวเขียนแสดง สวนประกอบของดอกไม 2. ใหนักเรียนทํากิจกรรมรวบยอด ตอนที่ 2 ขอ 1 - 2 หนา 27

ตรวจสอบผล

Evaluate ตรวจสอบผล

เกสรเพศเมีย

กลีบดอก

เกสรเพศผู้

พืชสร้างเซลล์สืบพันธุ์เพศผู้ และเซลล์สืบพันธุ์เพศเมีย

รังไข่

Evaluate เมล็ดตกในที่ที่เหมาะสม จะเกิดการงอกเป็นต้นใหม่ และเจริญเติบโตต่อไป

1. ครูตรวจสอบผลงานการบอกสวนประกอบของ ดอกวาถูกตองและสัมพันธกับภาพหรือไม 2. ครูตรวจสอบความถูกตองของการทํากิจกรรม รวบยอด ตอนที่ 2 ขอ 1 - 2

เมล็ดแพร่กระจาย โดยวิธีต่างๆ

เกิดการถ่าย ละอองเรณู

เกิดการปฏิสนธิ และออวุล เจริญไปเป็นเมล็ด

เมล็ด

▲▲

ภาพที่ ๑.๑๐ แผนภาพแสดงการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชดอก ซึ่งเริ่มจากการถ่ายละอองเรณู

๒) การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ พืชดอกสามารถสืบพันธุ์โดยไม่อาศัยเซลล์สืบพันธุ์ ได้ การสืบพันธุ์ ในลักษณะนี้จะไม่มีการปฏิสนธิ แต่จะเป็นการเพิ่มจ�านวนพืชโดยใช้ส่วนต่างๆ บพันธุแ์ บบไม่อาศัยเพศ ในการแพร่พนั ธุแ์ ทน เรียกว่า การสื ซึง่ สามารถเกิดขึน้ ได้เองตามธรรมชาติ ได้แก่ การแตกหน่อ 1 ของพืชดอกบางชนิด เช่น กล้วย ไผ่ พุทธรักษา ลิน้ มังกร เป็นต้น 2 การแตกต้นใหม่จากใบพืช เช่น ใบต้นตายใบเป็น ใบของ ภาพที่ ๑.๑๑ กล้วยสืบพันธ์ุ โดยแตกหน่อ ต้นบีโกเนีย เป็นต้น ▲▲

18

นักเรียนควรรู 1 ลิ้นมังกร เปนไมประดับที่มีความหลากหลายของสายพันธุมาก สามารถปลูกได ทั้งภายในอาคารบานเรือนและกลางแจง วิธีการขยายพันธุลิ้นมังกร โดยการแยกหนอจะใชระยะเวลาไมนานและตนลูกที่ได จะมีลักษณะเหมือนกับตนแมทุกประการ จึงเหมาะแกการขยายพันธุในเชิงการคา 2 ตนตายใบเปน หรือตนควํ่าตายหงายเปน จัดเปนพืชลมลุกใบเดี่ยว ขอบใบหยัก ดอกออกเปนชอที่ยอดกลีบ รอบกลีบดอกแยกเปนแฉก กลีบดอกมีลักษณะเปนหลอด สีแดง ผลเมื่อแหงจะแตกออกได และการปลูกก็ทําไดงาย เพียงแคใชใบวางลงบนดิน ก็สามารถหยั่งรากและเจริญงอกงามได

18

คู่มือครู

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

นักเรียนคิดวา การสืบพันธุแบบไมอาศัยเพศมีผลดีหรือไมดีตอการ ดํารงพันธุของพืชดอกอยางไร แนวตอบ มีผลดี เพราะถาพืชดอกไมสามารถสืบพันธุโดยใชดอกได ก็ยังสามารถสืบพันธุแบบไมอาศัยเพศได ทําใหไมสูญพันธุ


กระตุน้ ความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

อธิบายความรู้ อธิบExplain ายความรู้

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Engage

Explore

Explain

Expand

Evaluate

กระตุEngage ้นความสนใจ

ส�ารวจค้ Exploreนหา

กระตุน้ ความสนใจ

Engage

ครูชวนนักเรียนสนทนาเกี่ยวกับการ ขยายพันธุพืชวามีวิธีใดบาง

๒ การขยายพันธ์ุพืช

การขยายพันธุ์พืช คือ การท�าให้ต้นพืชมีจ�านวนเพิ่มขึ้น ซึ่งท�าได้หลายวิธี นอกจากใช้วิธีเพาะเมล็ด ซึ่งเป็นการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศแล้ว เรายังสามารถ ขยายพันธุ์พืชโดยการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศได้อีกหลายวิธี เช่น การปักช�า การตอนกิ่ง การติดตา การทาบกิ่ง การเสียบยอด การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ เป็นต้น ๑. การเพาะเมล็ด 1 การเพาะเมล็ดเป็นการน�าเมล็ดพันธุ์ ทีผ่ า่ นการคัดเลือกคุณภาพมาปลูกในพืน้ ที่ ทีเ่ ตรียมไว้ เช่น กระบะเพาะ แปลงเพาะ หรือ ภาชนะต่างๆ โดยปฏิบตั ิ ดังนี้ ๑) เตรียมดินโดยการดายหญ้า ออกให้หมด ขุดพลิกดินด้านล่างขึ้นมา ภาพที่ ๑.๑๒ การเพาะเมล็ด ท�าให้ได้พืชที่มีราก แล้วตากดินเอาไว้ ๒-๓ วัน เพือ่ ฆ่าเชือ้ โรค แข็งแรง ๒) ยอ่ ยดินให้รว่ นซุย จากนัน้ ใส่ปยุ๋ คอกผสมให้เข้ากัน แล้วน�าไปใส่ภาชนะ หรือแปลงเพาะที่เตรียมไว้ ๓) หว่าน โรย หรือหยอดเมล็ดพันธุ์ลงหลุม ในภาชนะ หรือแปลงเพาะ ที่เตรียมไว้ แล้วใช้ดินกลบและรดน�้าให้ชุ่ม ๔) ดูแลจนเมล็ดงอกเป็นต้นกล้าและเจริญเติบโตแข็งแรงดีแล้ว จึงย้าย ต้นกล้าไปปลูกในบริเวณที่ต้องการหรือในแปลงต่อไป ▲▲

ส�ารวจค้นหา

Explore

ใหนักเรียนแบงกลุม 7 กลุม ใหแตละกลุม สืบคนขอมูลเกี่ยวกับการขยายพันธุพืชจากแหลง เรียนรูอื่น ๆ ดังนี้ • กลุมที่ 1 การเพาะเมล็ด • กลุมที่ 2 การปกชํา • กลุมที่ 3 การตอนกิ่ง • กลุมที่ 4 การติดตา • กลุมที่ 5 การทาบกิ่ง • กลุมที่ 6 การเสียบยอด • กลุมที่ 7 การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ

อธิบายความรู้

Explain

1. ใหกลุมที่ 1 ออกมานําเสนอขอมูลเรื่อง การเพาะเมล็ด 2. ใหเพื่อนกลุมอื่นซักถามขอมูลเพิ่มเติมหากมี ประเด็นที่ยังไมเขาใจ 3. ใหนักเรียนรวมกันสรุปขอดีของการเพาะเมล็ด 4. ครูอธิบายเพื่อเชื่อมโยงเกี่ยวกับการถายทอด ลักษณะทางพันธุกรรมวา การเพาะเมล็ด มีโอกาสกลายพันธุได เพราะมีการถายทอด ลักษณะพันธุกรรมจากยีนของพอแม ซึ่งเปน วิธีที่ใชปรับปรุงลักษณะพันธุพืช

การขยายพันธุโ์ ดยการเพาะเมล็ดมีขอ้ ดี หลายประการ เช่น ได้ต้นพืชที่มีรากแข็งแรง มีโอกาสกลายพันธ์ุไปในลักษณะที่ดีกว่าต้นพ่อและต้นแม่ มีอายุยาวนานกว่าพืชที่ปลูกด้วยส่วนอื่นๆ ของต้น

19

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

การขยายพันธุพืชโดยวิธีใด เมื่อนําไปปลูกแลวไดผลคลายกับการ ขยายพันธุโดยวิธีการตอนมากที่สุด 1. การตอกิ่ง 2. การติดตา 3. การโนมกิ่ง 4. การทาบกิ่ง

วิเคราะหคําตอบ การโนมกิ่ง เมื่อกิ่งงอกรากจะตัดกิ่งนั้นไปปลูก ซึ่งจะ คลายกับการตอน คือกิ่งที่ไดไมมีรากแกว ตนที่ไดมีลักษณะเหมือนเดิม ดังนั้น ขอ 3. จึงเปนคําตอบที่ถูกตอง

นักเรียนควรรู 1 เมล็ดพันธุ ในการเพาะเมล็ดจะตองเลือกใชเมล็ดที่มีคุณภาพดี และตองมี การจัดสภาพแวดลอมใหเหมาะสมกับการงอกของเมล็ด เพื่อใหเมล็ดมีความพรอม ในการงอก นอกจากนี้ยังตองเก็บรักษาเมล็ดพันธุใหถูกวิธี เพื่อชวยรักษาคุณภาพ ของเมล็ดไวใหคงอยูหรือลดลงนอยที่สุด เนื่องจากเมล็ดพันธุเปนสิ่งมีชีวิตที่มีการ หายใจเกิดอยางตอเนื่องตลอดเวลาของการเก็บรักษา

มุม IT ครูและนักเรียนสามารถคนควาขอมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับการขยายพันธุพืชวิธี ตางๆ ไดจากเว็บไซต http://www.mju.ac.th/dbresearch/...fruit/fruit040.htm

คู่มือครู

19


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

Engage

Explore

อธิบายความรู้

อธิบายความรู้ อธิบExplain ายความรู้

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

Explain

1. ใหกลุม ที่ 2 ออกมานําเสนอขอมูลเรือ่ งการปกชํา 2. ใหเพื่อนกลุมอื่นซักถามขอมูลเพิ่มเติมหากมี ขอสงสัย 3. ครูอธิบายเพิ่มเติมวา เวลานํากิ่งชํามาปก ให ปกเอนๆ ใหปลายกิ่งชี้ไปทางทิศตะวันตก ตาที่ แตกขึ้นมาใหมจึงจะชี้ไปทางทิศตะวันออก เพื่อ ใหไดรับแสงและกระตุนใหเจริญเติบโตตอไป 4. ใหนักเรียนรวมกันสรุปขอดีของการปกชํา 5. ใหกลุมที่ 3 ออกมานําเสนอขอมูลเรื่อง การตอนกิ่ง 6. ใหเพื่อนกลุมอื่นซักถามขอมูลเพิ่มเติมหากมี ขอสงสัย 7. ครูถามนักเรียนวา • ทําไมจึงตองมีการขูดเนื้อเยื่อลําเลียงกิ่งออก (แนวตอบ เพื่อตัดทออาหารและเนื้อเยื่อเจริญ ของกิ่งใหขาดจากกัน เพื่อกระตุนใหเกิดราก)

๒. การปักชํา การปักช�าเป็นการขยายพันธ์พุ ชื โดยการตัดส่วนต่างๆ ของพืช เช่น กิ่ง ก้าน ใบ ล�าต้น ราก เป็นต้น ออกจาก ต้นเดิมมาปักลงดิน หรือทราย หรือวัสดุ เพาะช�า ที่มีความชื้นพอสมควร แล้ว ่ ๑.๑๓ การปักช�าให้ดอกและผลเร็วกว่าการ รดน�า้ ทุกวันหรือน�ามาปักลงในน�า้ รอจน ภาพที เพาะเมล็ด เกิดแตกยอดอ่อน พร้อมกับรากแตกออกมาจากส่วนที่ปักลงดินหรือส่วนที่แช่ใน น�้า เมื่อรากมีปริมาณมากและแข็งแรง จึงน�ากิ่งนั้นไปปลูกในดิน ▲▲

การขยายพันธุ์โดยการปกช�ามีข้อดี คือ พืชให้ดอกและผลเร็วกว่า การเพาะเมล็ด แต่สามารถใช้วิธีนี้ได้กับพืชบางชนิดเท่านั้น พืชที่ นิยมขยายพันธุ์โดยการปกช�า เช่น พู่ระหง ชบา เข็ม พลูด่าง เป็นต้น

๓. การตอนกิ่ง การตอนกิ่งเป็นการขยายพันธุ์พืชโดยการท�าให้กิ่งเกิดราก ขณะที่กิ่งยัง ติดอยู่กับต้นแม่ ต้นใหม่ที่ได้ การตอนกิ่งมีวิธีท�า ดังนี้ ๑) เลือกกิง่ ทีต่ งั้ ตรง ไม่แก่หรืออ่อนจนเกินไป ๒) ควั่นรอบๆ กิ่ง โดยให้รอยควั่นห่างกัน ใช้ดินพอกรอบๆ ประมาณ ๐.๕-๑ นิ้ว แล้วลอกเปลือกที่อยู่ระหว่าง รอยควั่นและหุ้ม ด้วยกาบมะพร้าว รอยควั่นออก ชุ่มน�้า 1 ๓) ใช้สนั มีดขูดเนือ้ เยือ่ ล�าเลียงกิง่ ออกให้หมด ภาพที่ ๑.๑๔ การตอนกิ่งพืชจะให้ ▲▲

ผลผลิตเร็ว

20

นักเรียนควรรู 1 ขูดเนื้อเยื่อลําเลียง เปนขั้นตอนหนึ่งในการตอนกิ่ง หลักการตอนกิ่ง คือ การทําใหเกิดแผลกับลําตนหรือกิ่ง โดยขูดเนื้อเยื่อลําเลียงเพื่อตัดทออาหาร และ เนื้อเยื่อเจริญของกิ่งนั้นใหขาดจากกัน (แตทอลําเลียงนํ้ายังคงอยูเหมือนเดิม) ทําใหอาหารที่ลําเลียงมาจากยอดมีการสะสมอยูบริเวณเหนือรอยแผล ประกอบกับ เนื้อเยื่อเจริญบริเวณแผลถูกตัดขาด ทําใหมีการกระตุนใหเนื้อเยื่อเจริญสวนนั้น เกิดการแบงเซลลอยางรวดเร็ว และมีเซลลบางสวนพัฒนาไปเปนราก เพื่อทําหนาที่ ดูดนํ้าและธาตุอาหาร

ขอสอบ

O-NET

ขอสอบป ’ 53 ออกเกี่ยวกับเรื่อง การขยายพันธุพืช การขยายพันธุพืชดวยวิธีการตอนกิ่งมีผลดีอยางไร 1. ไดพืชที่มีรากแข็งแรง 2. ไดพืชที่มีลําตนแข็งแรง 3. ไดพืชที่มีลักษณะเหมือนตนเดิม 4. ไดพืชที่เจริญเติบโตไดเร็วขึ้น วิเคราะหคําตอบ การตอนกิ่งเปนการทําใหกิ่งเกิดรากขณะที่ยังติดกับ ตนแม เมื่อกิ่งออกรากไดสักระยะหนึ่งจึงตัดไปปลูก พืชตนใหม (กิ่งตอน) จึงมีลกั ษณะทางพันธุกรรมเหมือนตนเดิม แตจะไมมรี ากแกว ดังนัน้ ขอ 3.

จึงเปนคําตอบที่ถูกตอง

20

คู่มือครู


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

Engage

Explore

อธิบายความรู้ อธิบExplain ายความรู้

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

อธิบายความรู้

๔) น�าดินร่วนค่อนข้างเหนียวมาหุ้มที่รอยควั่นจนมิด จากนั้นหุ้มด้วย กาบมะพร้าวชุ่มน�้า แล้วใช้เชือกมัดหัวและท้ายให้แน่น ๕) ใช้ถุงพลาสติกพันทับอีกครั้ง เพื่อป้องกันน�้าเข้า ๖) ดูแลรดน�้าประมาณ ๒-๓ สัปดาห์ จะเห็นรากงอกออกมา เมื่อราก งอกยาวพอสมควรแล้ว จึงตัดบริเวณใต้รอยควั่น เพื่อน�ากิ่งตอนไปปลูก 1 ๔. การติดตา การติดตาเป็นการน�าแผ่นตาของกิง่ พันธุด์ ี ไปติดเชือ่ มประสานบนต้นตอ เพื่อให้เจริญเป็นต้นพืชต้นเดียวกัน โดยน�าเอาแผ่นตาของพืชพันธุ์ดีไปติดเข้ากับ ต้นตอ เพื่อให้ตาเจริญเติบโตเป็นพืชต้นใหม่ต่อไป การติดตาแบ่งเป็น ๕ วิธี แต่ในชั้นนี้จะเรียนเพียง ๑ วิธี คือ การติดตา แบบตัวที การติดตาแบบตัวทีมีวิธีท�า ดังนี้ ๑) คัดเลือกต้นพันธุ์ดี และต้นพันธุ์พื้นเมืองที่จะน�ามาติดตา ๒) เลือกกิ่งต้นตอที่เป็นสีเขียวปนน�้าตาล จากนั้นใช้มีดคมๆ กรีดเปลือก ล�าต้นของต้นตอให้เป็นรูปตัวที (T) ยาวประมาณ ๖-๗ เซนติเมตร ๓) ใช้ปลายมีดเปิดเปลือกไม้ เฉือนแผ่นตาจากกิ่งพันธุ์ดีออกมา

Explain

1. ใหกลุมที่ 4 ออกมานําเสนอขอมูลเรื่อง การติดตา 2. ใหเพื่อนกลุมอื่นซักถามขอมูลเพิ่มเติมหากมี ขอสงสัย 3. ใหนักเรียนเปรียบเทียบวา ตนที่ไดจาก การตอนกับตนที่ไดจากการติดตา มีลักษณะ เหมือนกันหรือแตกตางกันอยางไร ในประเด็น เหลานี้ • รากแกว • ลักษณะที่เหมือนตนเดิม

กรีดแผลต้นตอ เป็นรูปตัว T

กรีดเปลือกตนตอ พันธุพื้นเมือง

น�ำแผ่นตำตนพันธุดีมำ เมื่อแผ่นตำเจริญเปน เสียบแลวพันดวยแผ่น ตนใหม่แลว ใหตัด แผ่นพลำสติกออก พลำสติก ▲▲ ภาพที่ ๑.๑๕ ภาพแสดงขั้นตอนการติดตาแบบตัวที

http://www.aksorn.com/lib/p/sci_01 (เรื่อง การติดตา)

EB GUIDE

21

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

การขยายพันธุพืชโดยวิธีการติดตา สวนของตาที่นํามาติด จะทําหนาที่หลักตรงกับขอใด 1. หาอาหาร 2. ลําเลียงอาหาร 3. ออกดอกออกผล 4. หาอาหารและลําเลียงอาหาร

นักเรียนควรรู 1 การติดตา นิยมใชในการทําตนไมแฟนซี เชน การผลิตตนเฟองฟาที่มีดอก หลายสีในตนเดียวกัน ทําไดโดยเฉือนแผนตาออกมาจากตนเฟองฟาที่มีดอกสีตางๆ แลวนําแผนตาแตละแผนมาเชื่อมประสานกับกิ่งพันธุเฟองฟาที่ใชเปนตนตอ เมื่อตาเจริญเติบโตขึ้นก็จะไดกิ่งที่มีดอกเฟองฟาสีตางๆ อยูในตนเดียวกัน

วิเคราะหคําตอบ แผนตาที่นํามาติดกับตนตอพันธุพื้นเมืองจะเจริญเปน ตนใหม โดยทําหนาที่เปนระบบยอดในตนพืชและออกดอกออกผลตอไป ดังนั้น ขอ 3. จึงเปนคําตอบที่ถูกตอง

คู่มือครู

21


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

Engage

Explore

อธิบายความรู้

อธิบายความรู้ อธิบExplain ายความรู้

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

Explain

1. ใหกลุมที่ 5 ออกมานําเสนอขอมูลเรื่อง การทาบกิ่ง 2. ใหเพื่อนกลุมอื่นซักถามขอมูลหากมีขอสงสัย 3. ครูถามนักเรียนวา • การทาบกิ่งใหผลผลิตเชนเดียวกับการ ขยายพันธุพืชวิธีใด (แนวตอบ การติดตา กลาวคือ • มีตนตอเปนพันธุที่แข็งแรง หาอาหารเกง • มีกิ่งพันธุที่ใหผลผลิตดี เปนลําตนอยู ดานบน)

๔) น�าแผ่นตาของต้นพันธุด์ มี าเสียบเข้าไปในรอยกรีดของต้นตอพืน้ เมือง ๕) ใช้แผ่นพลาสติกพันให้แน่น โดยพันจากด้านล่างขึน้ ด้านบนเพือ่ ป้องกัน น�้าเข้าตา เพราะถ้าน�้าเข้าอาจท�าให้ตาเน่าได้ และควรเปิดส่วนของตาไว้ ๖) ทิง้ ไว้ประมาณ ๒-๓ สัปดาห์ เมือ่ แผ่นตาติดกับต้นตอแล้วแตกกิง่ ก้าน ออกมา จึงตัดยอดของต้นตอทิ้งไป แล้วกรีดแผ่นพลาสติกออก พืชที่นิยมติดตามักเป็นไม้เนื้ออ่อน เช่น กุหลาบ โกสน ชบา เฟองฟ้า เป็นต้น

1

๕. การทาบกิ่ง กิ่งของต้นพันธ์ุดี การทาบกิง่ เป็นการขยายพันธุพ์ ชื โดยการใช้กิ่งของต้นพันธุ์ดีมาทาบกับกิ่ง ของต้นตอพันธุ์พื้นเมือง การทาบกิ่งมีวิธีท�า ดังนี้ ต้นตอ พันธ์ุพื้นเมือง ๑) น�าต้นตอพันธุพ์ นื้ เมืองมาปลูก ลงในถุงพลาสติก เมือ่ เจริญเติบโตได้ขนาด ต้นตอที่ ทาบกิ่งพันธ์ุดี พอเหมาะ จึงน�าไปทาบกับกิ่งพันธุ์ดีที่มี ภาพที่ ๑.๑๖ การทาบกิ่งต้องเลือกกิ่งที่มีขนาด ใกล้เคียงกัน ขนาดใกล้เคียงกัน ๒) ใช้มีดคมๆ เฉือนเอาเปลือกด้านที่หันเข้าหากันออกทั้ง ๒ กิ่ง แล้วน�า มาทาบติดกันให้สนิท ๓) ใช้แผ่นพลาสติกพันให้แน่น ทิ้งไว้ ๒-๓ สัปดาห์ จนเนื้อเยื่อของกิ่งทั้ง ๒ กิ่ง ประสานกันจนเป็นเนื้อเดียวกัน ๔) ตัดกิง่ พันธุด์ ีใต้บริเวณทีท่ าบเอาไว้ออก จากนัน้ ให้นา� ต้นพันธุพ์ นื้ เมือง ที่มียอดเป็นต้นพันธุ์ดีไปปลูก ▲▲

22

เกร็ดแนะครู ครูอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียนเขาใจวา การติดตา การตอกิ่ง และการทาบกิ่ง เปนการขยายพันธุพืชโดยใชสวนตางๆ ของพืชตนหนึ่งสรางประสานติดกับสวนของ ลําตนหรือกิ่งของพืชอีกตนหนึ่ง ทําใหไดลักษณะและคุณภาพตรงตามพันธุเดิม ทุกประการ ไมกลายพันธุ ซึ่งทั้ง 3 วิธีนี้ นิยมใชขยายพันธุพืชจําพวกไมผลและ ไมประดับ

นักเรียนควรรู 1 การทาบกิ่ง ตนพืชที่ไดจากการทาบกิ่งจะมีสวนยอดเปนพันธุดี โดยจะทํา หนาที่เปนลําตนของตนพืชใหม สวนตนตอพันธุพื้นเมืองที่นํามาทาบติดกับกิ่งของ ตนพันธุดี จะทําหนาที่เปนระบบรากเพื่อหาอาหารใหกับตนพันธุดี

22

คู่มือครู

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

นักเรียนสามารถขยายพันธุมะมวงดวยการตอนและการทาบกิ่ง ขอใดสรุปไดถูกตอง 1. การตอนใหดอกและผลชากวาการทาบกิ่ง 2. ตนที่ไดจากการตอนมีลักษณะเหมือนเดิม 3. ตนที่ไดจากการทาบกิ่งมีลักษณะเหมือนตนตอ 4. ตนที่ไดจากการตอนแข็งแรงกวาตนที่ไดจากการทาบกิ่ง วิเคราะหคําตอบ การตอนกิ่งจะทําใหตนตอนที่ไดไมมีรากแกว แตตนตอนจะมีลักษณะเหมือนเดิมทุกประการ เพราะไมไดเกิดการถายทอด ลักษณะทางพันธุกรรมผานทางยีนที่อยูในเซลลสืบพันธุ ดังนั้น ขอ 2.

จึงเปนคําตอบที่ถูกตอง


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

อธิบายความรู

๖. การเสียบยอด การเสียบยอดเป็นการตัดเอายอดของต้นพันธุ์ดีที่ต้องการมาเสียบลงบน ตอของต้นพันธุ์พื้นเมือง หรือพันธุ์ธรรมดาที่หาได้ง่าย เพื่ออาศัยรากแก้วของ ต้นตอในการเลี้ยงยอดของกิ่งพันธุ์ดีให้เจริญเติบโตขึ้น การเสียบยอดมีวิธีท�า ดังนี้ ๑) ตัดยอดต้นตอให้สงู จากพืน้ ดิน ประมาณ ๑๐ เซนติเมตร แล้วผ่ากลาง ล�าต้นของต้นตอให้ลึกประมาณ ๓-๔ เซนติเมตร ๒) เฉือนยอดพันธุ์ดีเป็นรูปลิ่มยาวประมาณ ๓-๔ เซนติเมตร ๓) เสียบยอดพันธุ์ดีลงในแผลต้นตอ ให้รอยแผลตรงกัน แล้วใช้เชือกมัดด้านบน และด้านล่างของรอยแผลต้นตอให้แน่น ๔) ทิ้งเอาไว้ประมาณ ๕-๗ สัปดาห์ รอยแผลจะประสานกันดี และน�าออกมาพัก ภาพที ่ ๑.๑๗ การเสียบยอดใช้เวลาน้อยกว่า การปักช�าและน�ามาสร้างต้นไม้แฟนซีได้ ไว้ในโรงเรือนเพื่อรอการปลูกต่1อไป ๗. การเพาะเลี้ยงเนือ้ เยื่อ การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อเป็นการขยายพันธุ์พืชที่ท�าให้ได้พืชต้นใหม่ที่มี คุณภาพดีจ�านวนมากในคราวเดียวกันและใช้ระยะเวลาอันรวดเร็ว การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อมีขั้นตอน ดังนี้ คือ การน�าธาตุอาหารหลักที่พืชต้องใช้ ๑) การเตรียมอาหารเพาะเลี้ยง คื ในการเจริญเติบโต เช่น ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม แมกนีเซียม และ ธาตุอาหารอื่นๆ มาผสมกับวุ้น ฮอร์โมนพืช วิตามิน และน�้าตาล ในอัตราส่วนที่ 2 พอเหมาะแล้วน�าไปฆ่าเชื้อ แล้วใส่ลงในขวดที่ใช้เพาะเลี้ยง เพื่อใช้เป็นอาหารให้ กับเนื้อเยื่อส่วนต่างๆ ของพืชที่ท�าการเพาะเลี้ยง

Explain

1. ใหกลุมที่ 6 ออกมานําเสนอขอมูลเรื่อง การเสียบยอด 2. ใหเพื่อนกลุมอื่นซักถามขอมูลเพิ่มเติมหากมี ขอสงสัย 3. ใหกลุมที่ 7 ออกมานําเสนอขอมูลเรื่อง การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ 4. ใหเพื่อนกลุมอื่นซักถามขอมูลเพิ่มเติมหากมี ขอสงสัย 5. ครูถามนักเรียนวา • การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อมีขอดีอยางไรบาง (แนวตอบ • ทําใหไดพืชที่ปราศจากโรค • ตนที่ไดเหมือนตนเดิมทุกประการ • ไดตนพืชจํานวนมากในคราวเดียวกัน)

▲▲

23

บูรณาการเชื่อมสาระ

ครูบูรณาการเนื้อหาในสวนนี้กับกลุมสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี ในหัวขอเดียวกัน คือ การคัดเลือกและขยายพันธุพืช เพื่อใหนักเรียนไดเขาใจ และเลือกใชวิธีการขยายพันธุพืชไดอยางถูกตอง เหมาะสม

กิจกรรมสรางเสริม ใหนักเรียนเลือกวิธีการขยายพันธุมา 1 วิธี โดย • บอกชนิดพืชที่ตองการขยายพันธุ • บอกเหตุผลที่เลือกวิธีการนี้ในการขยายพันธุพืช • บอกประโยชนหรือขอดีของวิธีการขยายพันธุพืชที่เลือก

นักเรียนควรรู 1 เนื้อเยื่อ คือ เซลลที่รวมกลุมกัน เนื้อเยื่อของพืชที่สามารถนําไปเพาะเลี้ยงได เชน ลําตน ตา ใบ ราก สวนตางๆ ของดอก สวนของผล เปนตน 2 ฆาเชื้อ การฆาเชื้อจุลินทรียในอาหารเพาะเลี้ยง ทําไดโดยนําขวดที่บรรจุอาหาร แลวไปนึง่ ฆาเชือ้ ดวยหมอนึง่ ความดันไอนํา้ ทีอ่ ณ ุ หภูมิ 121 ˚C เปนเวลา 15 - 20 นาที

มุม IT ครูและนักเรียนคนควาเพิ่มเติม เรื่องการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ จากเว็บไซต http://www.ku.ac.th/e-magazine/july44/.../plant 1.html

คูมือครู

23


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

อธิบายความรู้

Engage

Explore

Explain

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Expand าใจ ขยายความเข้

Evaluate ตรวจสอบผล

Expand

1. ใหแตละกลุมวางแผนการขยายพันธุพืช โดยศึกษารายละเอียดจากกิจกรรมพัฒนา การเรียนรูที่ 1 หนา 24 2. ใหแตละกลุม เปรียบเทียบขอมูลการขยายพันธุพ ชื ทั้ง 7 วิธี วาเหมือนหรือแตกตางกันอยางไรบาง 3. ใหนักเรียนทํากิจกรรมรวบยอดตอนที่ 2 ขอ 3 หนา 28 ลงในสมุด

ตรวจสอบผล

ขยายความเข้าใจ

Evaluate

๒) การเพาะเลี้ยงเนือ้ เยื่อ คือ การน�าเอาเนื้อเยื่อส่วนต่างๆ ของพืช เช่น ยอดอ่อน ตาอ่อน เป็นต้น ที่เราต้องการขยายพันธุ์มาท�าความสะอาด และน�าไปฆ่าเชื้อ แล้วจึงน�าไปวางบนอาหารเพาะเลี้ยง จนเกิดเป็นต้นอ่อน ของพืชจ�านวนมาก ๓) การย้ายเลีย้ งต้นอ่อน แยกต้นอ่อนออกจากกัน เพือ่ น�าไปเพาะเลีย้ ง บนอาหารเพาะเลีย้ งใหม่จนต้นอ่อนแข็งแรง จึงน�าไปปลูกในแปลงเพาะเลีย้ งต่อไป

1. ครูประเมินผลงานการขยายพันธุพืช โดยพิจารณาจาก ตนพืชที่ขยายพันธุได และการอธิบายขั้นตอนการทํางาน 2. ครูตรวจสอบการเปรียบเทียบขอมูลการขยาย พันธุพืช โดยพิจารณาจากรายละเอียดของ ขอมูล และความถูกตองของขอมูล 3. ครูตรวจสอบความถูกตองของการตอบคําถาม จากภาพ

เนื้อเยื่อที่น�ามาเพาะ

อาหารเพาะเลี้ยง น�าต้นอ่อน ที่แข็งแรง มาปลูก กลุม่ ต้นอ่อนทีเ่ กิดขึน้

การเพาะเลี้ ย งเนื้ อ เยื่ อ นิ ย มใช้ กั บ พื ช ที่ มี ป  ญ หาในการขยายพั น ธุ ์ ห รื อ พื ช ที่ มี ปญหาเรื่องโรค เช่น กล้วยไม้ ขิง ปจจุบัน มีการน�าวิธีนี้มาใช้กับพืชเศรษฐกิจส�าคัญ บางชนิด เพือ่ ให้เพียงพอกับความต้องการ ของตลาด เช่น กล้วยไม้ ข้าว สัก คาร์เนชัน ่ เป็นต้น

แยกต้นอ่อน ออกจากขวด ▲▲

ภาพที1 ่ ๑.๑๘ การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อเป็นการคัดลอก พันธ์ุพืชวิธีหนึ่ง

กิจจกรรมพั กรรมพัฒนาการเรียนรู้ที่ ๑ แบ่งกลุ่ม กลุ่มละ ๕-๖ คน แล้วให้แต่ละกลุ่มท�าการขยายพันธุ์พืช โดยปฏิบัติดังนี้ ๑) เลือกต้นพืชมา ๑ ชนิด วางแผนการขยายพันธุ์พืช ๒) ขยายพันธุ์พืชแบบไม่อาศัยเพศมา ๒ วิธี ตามที่ได้เรียนรู้ ๓) เมื่อมีรากงอกหรือได้พืชต้นใหม่แล้ว ให้แต่ละกลุ่มน�าเสนอขั้นตอนการท�างานจน ได้ผลงานออกมา 24

นักเรียนควรรู 1 การคัดลอกพันธุ การโคลนนิ่ง คือ การคัดลอกพันธุ หรือการสรางสิ่งมีชีวิต ขึ้นมาใหม โดยมีลักษณะทางพันธุกรรมเหมือนเดิมทุกประการ การโคลนนิ่ง เกิดอยูเสมอในธรรมชาติ เชน การเกิดฝาแฝดเหมือน

มุม IT ครูและนักเรียนศึกษาขอมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช ไดจาก เว็บไซต www.nstda.com ซึ่งเปนเว็บไซตของสํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยีแหงชาติ (สสวท.) โดยมีวิธีการ ดังนี้ • คลิก คลังความรู • พิมพคําวา การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช ในชองคนหาแลวคลิก

24

คู่มือครู

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

เหตุผลหลักของการขยายพันธุพืชโดยวิธีเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อคือขอใด 1. ตองการพืชที่มีระบบรากแข็งแรง 2. ทําใหไดพืชที่สามารถเจริญเติบโตไดดี 3. ตองการใชประโยชนจากพืชชนิดนั้นในปริมาณมาก 4. เพื่อชวยใหพืชชนิดนั้นออกดอกออกผลไดเร็วขึ้น วิเคราะหคําตอบ การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อจะทําใหไดตนพืชปริมาณมาก ในระยะเวลาอันรวดเร็ว และปราศจากโรค เพื่อเก็บรักษาพันธุพืชไมให สูญพันธุ ดังนั้น ขอ 3. จึงเปนคําตอบที่ถูกตอง


กระตุน้ ความสนใจ

ส�ารวจค้นหา ส�ารวจค้ Exploreนหา

อธิบายความรู้

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Engage

Explore

Explain

Expand

Evaluate

กระตุEngage ้นความสนใจ

กระตุน้ ความสนใจ

๓ วัฏจักรชีวิตของพืชดอก

จากการที่นักเรียนได้เรียนรู้การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชดอก ท�าให้ ทราบว่า พืชดอกเมื่อได้รับการผสมพันธุ์จะเกิดการปฏิสนธิจนเกิดเป็นผลและ 1 เมล็ดแล้ว เมือ่ น�าเมล็ดพืชไปปลูกสักระยะหนึง่ เมล็ดพืชจะค่อยๆ งอกรากออกมา ËÅѧ¨Ò¡·ÕèàÁÅ紾תÁÕÃÒ¡§Í¡ÍÍ¡ÁÒáÅŒÇ µŒ¹¾×ªÁÕ¡Òà à¨ÃÔÞàµÔºâµÍ‹ҧäà ÈÖ¡ÉÒä´Œ¨Ò¡¡Ò÷íÒ¡Ô¨¡ÃÃÁµ‹Í仹Õé

Engage

ครูชวนนักเรียนสนทนาวาใครเคยปลูกพืชบาง เมื่อปลูกพืชไปสักระยะ ตนพืชมีการเปลี่ยนแปลง อยางไรบาง

ส�ารวจค้นหา

Explore

1. ใหแตละกลุมศึกษารายละเอียดของกิจกรรม ที่ 2 วัฏจักรชีวิตของพืช หนา 25 2. ใหแตละกลุมปฏิบัติกิจกรรมที่ 2 และรวมกัน สรุปผลการทํากิจกรรม

กิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ที่ ๒ เรียงล�าดับภาพการเจริญเติบโตของต้นถั่วเขียว และเขียนอธิบายวัฏจักรชีวิตของ ต้นถั่วเขียวลงในสมุด ๑) ๒) ๓)

กิจกรรมหนูน้อยนักส�ารวจ กิจกรรมที่ ๒ วัฏจักรชีวิตของพืช

ปัญหา อุปกรณ์ วิธีทํา

พืชดอกมีวัฏจักรชีวิตเป็นอย่างไร ๑. เมล็ดพืช เช่น เมล็ดพริก เมล็ดถั่วเขียว เมล็ดมะระ เป็นต้น ๒. ถุงพลาสติกใส่ทราย ๑ ถุง ๑. แบ่งกลุ่ม ให้แต่ละกลุ่มปลูกเมล็ดพืชลงในถุงพลาสติกใส่ทราย ๒. ทุกกลุม่ น�าถุงทรายไปวางไว้ในบริเวณทีม่ แี สงแดดส่องถึง และพรมน�้า ทุกวัน เป็นเวลา ๓-๔ สัปดาห์ ๓. สังเกตการเปลีย่ นแปลงเป็นระยะๆ บันทึกผล และวาดแผนภาพประกอบ ๔. ให้แต่ละกลุ่มน�าต้นพืชของกลุ่มตนมาน�าเสนอหน้าชั้น 25

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

เมื่อนําเมล็ดไปเพาะ สิ่งใดที่งอกออกจากเมล็ดเปนอันดับแรก

แนวตอบ เมื่อนําเมล็ดพืชไปปลูกสักระยะหนึ่ง สิ่งแรกที่จะงอกออกจาก เมล็ดคือราก ตอจากนั้นลําตนจะงอกออกมาจนเปนตนพืชตนเล็กๆ และ จะมีใบเกิดขึ้น เมื่อพืชเจริญเติบโตเต็มที่จะออกดอก และเมื่อดอกไดรับการ ผสมพันธุก็จะเกิดเปนผล ซึ่งภายในผลของพืชมีเมล็ดที่สามารถเจริญเติบโต เปนตนใหมตอไป ถามีสภาวะแวดลอมที่เหมาะสม

เกร็ดแนะครู ในขั้นสํารวจคนหา ครูแนะนําใหนักเรียนใชพืชที่มีวัฏจักรชีวิตระยะสั้น เชน ผักสวนครัว เพื่อทําใหศึกษาไดงาย เพราะใชเวลาในแตละชวงของวัฏจักรชีวิต ไมนานมาก

นักเรียนควรรู 1 เมล็ดพืชที่แกจัด จะมีวิธีกระจายเมล็ดพันธุแตกตางกัน ไดแก • อาศัยลมพาไป เมล็ดพวกนี้จะมีลักษณะแบนๆ อาจมีโครงสราง เชน ปก ที่ชวยใหเมล็ดปลิวไปไดไกลๆ เชน นุน ฝาย ธูปฤๅษี ยาง • อาศัยนํ้าพาไป มีเมล็ดและผลที่ลอยนํ้าได เชน มะพราว ตีนเปด • อาศัยสัตวหรือคนพาไป มักมีขอหรือหนามสําหรับเกี่ยว เชน หญาเจาชู • การดีดตัวของเมล็ด เมื่อแกจัดและไดรับนํ้าฝนจะแตกกระจายดีดเมล็ด ขางในใหกระเด็นออกไปไกล เชน ตอยติ่ง คู่มือครู

25


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

Engage

Explore

อธิบายความรู้

อธิบายความรู้ อธิบExplain ายความรู้

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

Explain

1. ใหแตละกลุมผลัดกันนําเสนอผลการทํา กิจกรรมของกลุม 2. ใหนักเรียนรวมกันอภิปรายผลการทํากิจกรรม จนไดขอสรุปวา วัฎจักรชีวิตของพืชดอก เริ่มจาก ผลและเมล็ด

ดอก

ตนกลา

ตนเจริญเต็มที่

3. ครูถามนักเรียนวา • วัฏจักรชีวิตของพืชดอกแตละชนิดมีระยะ เวลาเทากันหรือไม อยางไร (ตอบ ไมเทากัน ขึ้นอยูกับอายุและชวงเวลา ที่ใชในการเจริญเติบโตของพืชชนิดนั้นๆ)

จากการท�ากิจกรรมที่ ๒ ท�าให้นักเรียนทราบว่า เมื่อเราน�าเมล็ดพืชไปปลูก สักระยะหนึ่ง เมล็ดพืชจะค่อยๆ งอกรากออกมา จากนั้นล�าต้นจะงอกออกมาจน เป็นต้นพืชต้นเล็กๆ และเริ่มมีขนาดใหญ่ขึ้นและสูงขึ้น เมื่อต้นพืชเจริญเติบโต เต็มที่ พืชจะออกดอก เมื่อดอกได้รับการผสมพันธุ์ก็จะเกิดเป็นผล ซึ่งภายในผล ของพืชบรรจุเมล็ดที่สามารถเจริญเติบโตเป็นพืชต้นใหม่ต่อไปได้อีกถ้ามีสภาพ แวดล้อมทีเ่ หมาะสม การเปลีย่ นแปลงทีเ่ กิดขึน้ นี ้ เรียกว่า วัฏจักรชีวติ ของพืชดอก ซึ่งจะเกิดหมุนเวียนต่อกันไปเช่นนี้เรื่อยๆ วัฏจักรของพืชแต่ละชนิดมีระยะเวลาแตกต่างกัน พืชบางชนิดมีวฏั จักรชีวติ สั้นๆ เช่น ต้นข้าวมีวัฏจักรชีวิตประมาณ ๕ เดือน ต้นกระเจี๊ยบแดงมีวัฏจักรชีวิต ประมาณ ๔ เดือน พืชบางชนิดมีวัฏจักรชีวิตยาวนานหลายปี เช่น มะม่วง ขนุน ยาง มะพร้าว เป็นต้น เมื่อน�าเมล็ดไปปลูก เมื่อเจริญเติบโตเต็มที่ ต้นถั่วจะออกดอก เมื่อดอกได้รับการ ผสมพันธ์ุจะออกฝัก (ผล)

▲▲

1

เมล็ดงอกเป็นต้นอ่อน และเจริญเติบโตขึ้น

ภาพที่ ๑.๑๙ แผนภาพแสดงวัฏจักรชีวิตของต้นถั่ว ซึ่งมีวัฏจักรชีวิตยาวนานประมาณ ๑ ปี

26

นักเรียนควรรู 1 เมล็ดงอก เมล็ดที่สามารถงอกได แสดงวาเมล็ดมีการเจริญเติบโตและมีชีวิต การที่เมล็ดมีชีวิตอยูไดนอย อาจเนื่องจากการเจริญเติบโตของเมล็ดไมเหมาะสม ขณะที่อยูบนตนแม หรือเนื่องจากไดรับอันตราย ขณะการเก็บเกี่ยวหรือขบวนการ ในการผลิตเมล็ดไมดีพอ

ขอสอบ

O-NET

ขอสอบป ’ 51 ออกเกี่ยวกับเรื่อง วัฏจักรชีวิตของพืชดอก ระยะที่ 4 ดอก ระยะที่ 3

ผลและเมล็ด วัฏจักรชีวิตของพืชดอก

ตนเจริญเต็มที่

ระยะที่ 1 ตนกลา ระยะที่ 2

จากแผนภาพ การใสปุยระยะใดชวยเรงการออกดอกของพืชไดดีที่สุด 1. ระยะที่ 1 2. ระยะที่ 2 3. ระยะที่ 3 4. ระยะที่ 4 วิเคราะหคําตอบ ในระยะที่ 3 ของวัฏจักรชีวิตพืชดอก เปนระยะที่พืชกําลัง เจริญเติบโตเต็มที่พรอมจะออกดอก หากตองการใสปุยเพื่อเรงใหพืชออกดอก เร็วขึ้น จึงควรใสปุยในชวงนี้ ดังนั้น ขอ 3. จึงเปนคําตอบที่ถูกตอง

26

คู่มือครู


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ Expand าใจ ขยายความเข

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

ขยายความเขาใจ

กิจกรรมรวบยอด ตอนที่ ๑ แนวคิดสําคัญ ช่วยกันสรุป ครูให้นกั เรียนแบ่งกลุม่ ให้แต่ละกลุม่ เขียนสรุปความรูเ้ กีย่ วกับการสืบพันธุข์ องพืชดอก การขยายพันธุ์พืช และวัฏจักรชีวิตของพืช จากนั้นส่งตัวแทนออกมาน�าเสนอหน้าชั้น ตอนที่ ๒ ลองคิด ลองทํา ๑. ดูภาพ และเขียนชื่อส่วนประกอบของดอกไม้ลงในสมุดให้ถูกต้อง พร้อมกับเขียน อธิบายหน้าที่ของส่วนประกอบนั้นๆ ๓ ๒ ๑

Expand

1. ใหนักเรียนศึกษาขอมูลวัฏจักรชีวิตของพืชดอก ทีส่ นใจ 1 ชนิด แลวเขียนแผนภาพแสดงวัฏจักร ชีวติ ของพืชดอกลงในสมุด 2. ใหนักเรียนทํากิจกรรมรวบยอด ตอนที่ 3 หนา 28 โดยตอบคําถามลงในสมุด

๒. ดูภาพ และเขียนขั้นตอนการสืบพันธ์ุแบบอาศัยเพศของพืชประกอบภาพ

27

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

วิธีขยายพันธุพืชขอใดที่มีโอกาสเกิดการกลายพันธุมากที่สุด 1. เพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ 2. ติดตา 3. เพาะเมล็ด 4. โนมกิ่ง

วิเคราะหคําตอบ การเพาะเมล็ดเปนการสืบพันธุแบบอาศัยเพศ ทําให ตนออนในเมล็ดไดรับการถายทอดลักษณะทางพันธุกรรมครึ่งหนึ่ง จากตนที่ เปนพอพันธุและตนที่เปนแมพันธุ ทําใหตนใหมที่งอกจากเมล็ดจะกลายพันธุ ไปจากตนแมพันธุพอพันธุ ดังนั้น ขอ 3. จึงเปนคําตอบที่ถูกตอง

เกร็ดแนะครู ในขั้นขยายความเขาใจ ครูควรใหนักเรียนไดอธิบายสิ่งที่ไดเรียนรูมาแลว และสงเสริมใหนักเรียนนําสิ่งที่ไดเรียนรูไปประยุกตใช หรือขยายความรูและทักษะ ในสถานการณใหม เชน การสํารวจและสังเกตวัฏจักรชีวิตของพืชดอกที่มีการปลูก ในทองถิ่น ครูอาจหาวีดิทัศนเกี่ยวกับสารคดีชีวิตพืชมาใหนักเรียนดูและรวมกันอภิปราย ในประเด็นตางๆ ที่สงสัย

บูรณาการเชื่อมสาระ

ครูบูรณาการเชื่อมสาระวิทยาศาสตร กับสาระการงานอาชีพฯ เรื่อง การปลูกพืชและการดูแลรักษา โดยใหนักเรียนนําความรูเรื่องวัฏจักรชีวิต พืชดอก ไปใชในการปลูกพืชและดูแลรักษาพืชจนถึงการเก็บเกี่ยวผลผลิต

คูมือครู

27


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

อธิบายความรู้

ขยายความเข้าใจ

Engage

Explore

Explain

Expand

ตรวจสอบผล

ตรวจสอบผล Evaluate ตรวจสอบผล Evaluate

Evaluate

1. ครูตรวจสอบผลงานแผนภาพวัฏจักรชีวิตของ พืชดอกวา มีความถูกตองสมบูรณและอธิบาย ไดถูกตอง 2. ครูตรวจสอบความถูกตองของการตอบคําถาม จากกิจกรรมรวบยอด ตอนที่ 3

๓. ดูภาพการขยายพันธ์พุ ชื และเขียนบอกว่าเป็นการขยายพันธ์โุ ดยวิธใี ด และใช้สว่ นใด ในการขยายพันธ์ุ

หลักฐานแสดงผลการเรียนรู 1. ผลงานสวนประกอบของดอกไม 2. ผลงานตนพืชที่ขยายพันธุ และขั้นตอน การทํางาน 3. ผลงานแผนภาพวัฏจักรชีวิตของพืชดอก ที่นักเรียนสนใจ

๑)

๒)

๓)

๔)

๔. สืบค้นข้อมูลวัฏจักรชีวิตของพืชดอกที่สนใจมา ๑ ชนิด แล้วเขียนแผนภาพแสดง วัฏจักรชีวิตของพืชชนิดนี้ลงในสมุด ตอนที่ ๓ คําถามวิทย์คิดสนุก ตอบคําถามต่อไปนี้ลงในสมุด ๑) ดอกของพืชมีความส�าคัญต่อพืชดอกอย่างไร 1 ๒) เมื่อดอกได้รับการผสมพันธุ์แล้ว ส่วนใดเปลี่ยนแปลงไปเป็นผล ๓) การถ่ายละอองเรณู2คืออะไร ๔) การสืบพันธุ์ของพืชแบบอาศัยเพศกับแบบไม่อาศัยเพศแตกต่างกันหรือไม่ อย่างไร ๕) การขยายพันธุ์พืชดอกแบบไม่อาศัยเพศ วิธีใดที่ให้ผลเร็วและไม่กลายพันธุ์ 28

นักเรียนควรรู 1 ผล ในพืชดอก เปนสวนที่เจริญมาจากรังไข (Ovary) หลังจากที่ดอกไมไดรับ การปฏิสนธิแลว ภายในผลจะมีเมล็ดอยู ซึ่งเมล็ดคือ ออวุล (Ovule) ที่เจริญเติบโต เต็มที่ 2 การถายละอองเรณู หมายถึง การที่ละอองเรณูไปตกลงบนยอดเกสรตัวเมีย โดยอาศัยนํ้า ลม แมลง นก คน หรือสัตวอื่นเปนตัวพาไป อาจจะเกิดในดอกเดียวกัน หรือระหวางดอกในตนเดียวกัน หรือดอกที่อยูคนละตนหรือคนละสถานที่ก็ได

28

คู่มือครู

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

ถาตองการขยายพันธุพืชโดยใชตนไมที่เปนตนตอเดียว แตมีหลายกิ่งและ ออกดอกหลายสีเหมือนตนเฟองฟา ควรขยายพันธุพืชดวยวิธีใด 1. การเพาะเมล็ด 2. การปกชํา 3. การติดตา 4. การตอนกิ่ง วิเคราะหคําตอบ การติดตา เปนวิธีการขยายพันธุพืชที่ชวยเปลี่ยนยอดตน ที่มีลักษณะไมดีใหเปนพันธุดีได เพราะมีตนตอที่แข็งแรง ทําใหขยายพันธุได จํานวนมาก และกิ่งพันธุแตละกิ่งจะมีหลายตา ทําใหไดพืชที่ใหผลผลิตหลาย อยางในตนเดียวกันได ดังนั้น ขอ 3. จึงเปนคําตอบที่ถูกตอง


กระตุน้ ความสนใจ กระตุEngage ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

อธิบายความรู้

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Engage

Explore

Explain

Expand

Evaluate

บทที่

เรียนรู้ชีวิตสัตว์

ó

เปาหมายการเรียนรู

1. อธิบายการสืบพันธุและการขยายพันธุของ สัตว (ว 1.1 ป.5/4) 2. อภิปรายวัฏจักรชีวิตของสัตวบางชนิด และ นําความรูไปใชประโยชน (ว 1.1 ป.5/5)

แนวคิดส�าคัญ

สมรรถนะของผูเรียน

ÊÑµÇ µÒ‹ §æ ÁÕ¡ÒÃÊ׺¾Ñ¹¸Øá ººÍÒÈÑÂà¾È áÅСÒÃÊ׺¾Ñ¹¸Øá ººäÁ‹ÍÒÈÑÂà¾È ¡ÒâÂÒ¾ѹ¸ØÊ µÑ Ç ·íÒãËŒÊÑµÇ à¾ÔèÁ¨íҹǹÁÒ¡¢Öé¹ ¡ÒâÂÒ¾ѹ¸Ø ÊÑµÇ â´Â¡ÒäѴàÅ×Í¡¾Ñ¹¸Ø áÅСÒüÊÁà·ÕÂÁ ·íÒãˌ䴌 ÊÑµÇ ·ÕèÁÕ»ÃÔÁÒ³áÅФسÀÒ¾µÒÁ·Õ赌ͧ¡Òà ÊÑµÇ ºÒ§ª¹Ô´àÁ×èÍä´ŒÃѺ¡ÒüÊÁ¾Ñ¹¸Ø ¨Ðà¨ÃÔÞ໚¹µÑÇ͋͹ ¨Ò¡¹Ñé¹µÑÇ͋͹à¨ÃÔÞàµÔºâµà»š¹ µÑÇàµçÁÇÑ ¨¹¡ÃзÑè§ÊÒÁÒöÊ׺¾Ñ¹¸Ø ä´Œ ËÁعàÇÕ¹໚¹Çѯ¨Ñ¡Ã «Ö觡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒà¡ÕèÂǡѺÇѯ¨Ñ¡ÃªÕÇÔµ ¢Í§ÊÑµÇ ·íÒãËŒ¹íÒ¤ÇÒÁÃÙŒÁÒ㪌»ÃÐ⪹ ä´ŒÁÒ¡ÁÒ·Ñ駴ŒÒ¹¡ÒÃà¡ÉµÃ ¡ÒÃÍصÊÒË¡ÃÃÁ áÅСÒà ´ÙáÅÃÑ¡ÉÒÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁ

1. ความสามารถในการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการแกปญ  หา

คุณลักษณะอันพึงประสงค 1. ใฝเรียนรู 2. มุงมั่นในการทํางาน

กิจกรรมน�าสู่การเรียน

กระตุน้ ความสนใจ

Engage

1. ใหนักเรียนดูภาพในหนานี้ แลวชวยกันบอกวา สัตวในภาพกําลังแสดงพฤติกรรมอะไร (ตอบ ภาพซาย แมลงกําลังผสมพันธุ ภาพขวา นกกําลังแสดงการเกี้ยวพาราสี เพื่อการผสมพันธุ) 2. ครูชวนนักเรียนสนทนาวา สัตวตางๆ มีการ ผสมพันธุเพื่ออะไร

๑. สัตว์ในภาพ ๒ ภาพ ก�าลังแสดงพฤติกรรมอะไร ๒. การแสดงพฤติกรรมของสัตว์ในภาพมีจุดประสงค์อย่างไร 29

เกร็ดแนะครู ครูจัดกระบวนการเรียนรูโดยใหนักเรียนปฏิบัติ ดังนี้ • ศึกษาขอมูลการสืบพันธุและการขยายพันธุสัตว • สังเกตการสืบพันธุของสัตวบางชนิด • ทดลองเลี้ยงสัตวเพื่อศึกษาวัฏจักรชีวิต จนเกิดเปนความรูความเขาใจวา การสืบพันธุของสัตวมีทั้งแบบอาศัยเพศ และแบบไมอาศัยเพศ ทั้งนี้เพื่อใหสัตวเพิ่มจํานวนมากขึ้น ซึ่งเมื่อสัตวเจริญเติบโตขึ้น จะสามารถสืบพันธุหมุนเวียนเปนวัฏจักรของสัตว มีประโยชนตอดานเกษตรกรรม อุตสาหกรรม และการดูแลสิ่งแวดลอม

คู่มือครู

29


กระตุ้นความสนใจ Engage

ส�ารวจค้นหา Exploreนหา ส�ารวจค้

อธิบายความรู้

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Explore

Explain

Expand

Evaluate

ส�ารวจค้นหา

Explore

1. ใหนักเรียนศึกษาขอมูล หนา 30 - 33 2. ใหนักเรียนรวมกันเปรียบเทียบความแตกตาง ของการปฏิสนธิภายนอกรางกายกับการปฏิสนธิ ภายในรางกาย 3. ครูถามนักเรียนวา • ทําไมอสุจิจึงมีหางยาว (แนวตอบ เพราะชวยผลักดันใหอสุจิเคลื่อนที่ ไปขางหนาอยางรวดเร็วเพื่อผสมกับไข)

๑ การสืบพันธ์ุของสัตว์

สัตว์ต่างๆ มีการสืบพันธ์ุ จึงท�าให้สัตว์สามารถด�ารงพันธุ์อยู่ได้ การสืบพันธุ์ 1 ของสัตว์มี ๒ ลักษณะ ได้แก่ การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ และการสืบพันธุ์แบบ ไม่อาศัยเพศ ๑. การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของสัตว์จะ เกิดขึ้นเมื่อสัตว์เจริญเติบโตเต็มที่ มีการสร้าง เซลล์ไข่ เซลล์สืบพันธุ์ โดยสั2 ตว์ตัวผู้สร้างเซลล์สืบพันธุ์ อสุจิ และสั3ตว์ตัวเมียสร้างเซลล์ อสุจิ เพศผู้ เรียกว่า อสุ ไข่ เมื่ออสุจิเข้าไปผสม สืบพันธุ์เพศเมีย เรียกว่า ไข่ กับไข่จะเกิดการปฏิสนธิ แล้วเจริญเติบโตเป็น สัตว์ตัวใหม่ต่อไป ภาพที่ ๑.๒๐ การปฏิสนธิเกิดขึน้ ได้เมือ่ อสุจผิ สมกับไข่ การปฏิสนธิของสัตว์มี ๒ ลักษณะ ดังนี้ งกาย ๑) การปฏิสนธิภายนอกร่างกาย หมายถึ ง การทีเ่ ซลล์สบื พันธุเ์ พศผู ้ (อสุจ)ิ ผสมกับเซลล์สืบพันธุ์เพศเมีย (ไข่) โดยมีน�้าเป็นตัวกลางช่วยให้อสุจิเคลื่อนที่ไป ผสมกับไข่ เป็นการผสมพันธุ์ภายนอกร่างกายตัวเมีย หลังจากนั้นไข่ที่ได้รับการ ผสมแล้วจะฟักเป็นตัวต่อไป สัตว์ที่มีการปฏิสนธิภายนอกร่างกาย เช่น กุ้ง ปู ปลาส่วนใหญ่ เช่น ปลากัด ปลาช่อน สัตว์สะเทินน�้าสะเทินบกทุกชนิด เช่น คางคก อึ่งอ่าง กบ เขียด เป็นต้น ▲▲

30

ภาพที่ ๑.๒๑ ๑.๒๑ ปาดตี ปาดตีนเหลืองก�าลังผสมพันธุ์ โดยมีการ  ปฏิสนธิภายนอกร่างกาย ตัวเมีย (สีเขียวอมฟ้า) มีขนาดใหญ่กว่าตัวผู้ (สีน�้าตาล)

นักเรียนควรรู 1 การสืบพันธุแบบอาศัยเพศ พบในมนุษย สัตวมีกระดูกสันหลังทุกชนิด ไดแก ปลา สัตวปก สัตวสะเทินนํ้าสะเทินบก สัตวเลื้อยคลาน และสัตวเลี้ยงลูกดวยนํ้านม สัตวเหลานี้ไมสามารถสืบพันธุแบบไมอาศัยเพศได 2 อสุจิ สรางจากอัณฑะของสัตวเพศผู ซึ่งอสุจิมีขนาดเล็กมาก ไมสามารถ มองเห็นไดดวยตาเปลา มีสวนประกอบอยู 3 สวน คือ หัว ลําตัว และหาง 3 ไข สรางมาจากรังไขของสัตวเพศเมีย โดยทั่วไปมีลักษณะกลม มีขนาด แตกตางกันไปตามชนิดของสัตว ไขของสัตวมักมีอาหารสะสมอยูเพื่อเลี้ยงตัวออน ที่อยูภายในไข เชน ไขแดงของไขไกและไขเปด

30

คู่มือครู

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

ขอใดกลาวถูกตองเกี่ยวกับการสืบพันธุแบบอาศัยเพศ 1. มีการปฏิสนธิภายในเทานั้น 2. มีการปฏิสนธิภายนอกเทานั้น 3. มีการสรางเซลลสืบพันธุและมีการปฏิสนธิภายในเทานั้น 4. มีการผสมกันระหวางเซลลสืบพันธุเพศผูและเซลลสืบพันธุเพศเมีย วิเคราะหคําตอบ การสืบพันธุแบบอาศัยเพศของสัตว เกิดจากเซลลอสุจิ และเซลลไขมาผสมกัน และเกิดการปฏิสนธิขึ้น จะไดเปนเซลลใหม ซึ่งสามารถเจริญพัฒนาไปเปนตัวตอไป ดังนั้น ขอ 4. จึงเปนคําตอบ

ที่ถูกตอง


กระตุนความสนใจ Engage

สํารวจคนหา สํารวจค Exploreนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explore

Explain

Expand

Evaluate

สํารวจคนหา กิจกรรมหนูน้อยนักส�ารวจ

1 กิจกรรมที่ ๑ การเลี้ยงปลากัด

ปัญหา อุปกรณ์ วิธีทํา

ปลากัดมีการปฏิสนธิแบบใด ๑. ปลากัดตัวผู้ ๑ ตัว ปลากัดตัวเมีย ๑ ตัว แยกเลี้ยงในขวด ขวดละ ๑ ตัว ๒. อ่างดินหรือขวด ๑ ใบ ๓. กระชอนช้อนปลา ๑ อัน ๔. พืชน�้า เช่น สาหร่าย ๕. อาหารปลา เช่น ไรน�้า ไข่แดงสุกตีกับน�้าให้แตก ๑. น�าขวดที่ใส่ปลากัดขวดละ ๑ ตัว มาวางข้างกัน โดยเลี้ยงไว้ประมาณ ๑๕-๓๐ วัน สังเกตดูปลากัดตัวเมียจะเห็นว่าตั้งท้อง ๒. น�าปลากัดตัวผู้และตัวเมียในขวดมาปล่อยลงในอ่างดิน ระวังอย่าให้ ถูกแดดจัดและลมแรง เมื่อปลากัดตัวผู้สร้างหวอดที่มีลักษณะเป็นฟองน�้าเล็กๆ ส�าหรับใช้ เป็นที่วางไข่เสร็จแล้ว หลังจากนั้น ๒-๓ วัน ปลากัดตัวผู้ก็จะรัด ล�าตัวปลากัดตัวเมีย ท�าให้ตัวเมียออกไข่ครั้งละประมาณ ๑๐ ฟอง ปลากัดตัวผู้จะปล่อยน�้าเชื้อออกมาผสมกับไข่ในน�้า แล้วจะอมไข่ ไปพ่นไว้ที่หวอด ๓. สังเกตการเปลี่ยนแปลงของไข่ที่ได้รับ การผสมแล้วในหวอดจนฟักเป็นตัว เมือ่ ไข่ฟกั เป็นตัวแล้ว ให้ตกั ปลากัดตัวผูอ้ อก เพื่อไม่ให้กินลูกปลา

Explore

ใหนักเรียนทํากิจกรรมที่ 1 เพื่อศึกษาการ ปฏิสนธิของปลากัด โดยปฏิบัติ ดังนี้ 1) ศึกษาขั้นตอนการทํากิจกรรมที่ 1 จาก หนังสือ หนา 31 หากมีขอสงสัยใหถามครู 2) ใหแตละกลุมชวยกันตั้งคําถามเกี่ยวกับการ ทดลอง (กําหนดปญหา) ซึ่งควรจะไดวา • ปลากัดมีการปฏิสนธิแบบใด จากนั้นใหนักเรียนชวยกันคาดเดา คําตอบลวงหนา (ตั้งสมมติฐาน) 3) ใหแตละกลุมทํากิจกรรมตามขั้นตอน (ตรวจสอบสมมติฐาน) 4) สมาชิกในกลุมบันทึกผลการทํากิจกรรม และรวมกันอภิปรายเพื่อสรุปผล (วิเคราะห ผลและสรุปผล)

●▲▲

●▲ ▲

วิทยาศาสตร์ฉลาดรู้

ปลากัดตัวเมียจะใช้เวลาออกไข่ประมาณ ๓ ชั่วโมง เมื่อปลากัดตัวเมียออกไข่หมดแล้ว ต้องรีบตักปลากัดตัวเมียออก เพื่อไม่ให้กินไข่ตัวเอง

31

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

สัตวในขอใดมีการปฏิสนธิภายนอกรางกายทั้งหมด 1. วาฬ นก งู 2. กบ จระเข สุนัข 3. เตา ปลานิล คางคก 4. ปลาชอน เขียด กุง

วิเคราะหคําตอบ สัตวที่มีการปฏิสนธิภายนอกรางกาย ไดแก สัตวครึ่งนํ้า ครึ่งบก ปลาตางๆ และสัตวที่ออกลูกเปนไขบางชนิด ดังนั้น ขอ 4.

จึงเปนคําตอบที่ถูกตอง

นักเรียนควรรู 1 ปลากัด เปนปลานํา้ จืดขนาดเล็ก มีรปู รางเพรียวยาวและแบนขาง หัวมีขนาดเล็ก ครีบกนยาวจรดครีบหาง หางแบนกลม มีอวัยวะชวยหายใจบนผิวนํ้าไดโดยใชปาก ฮุบอากาศโดยไมตองผานเหงือกเหมือนปลาทั่วไป

มุม IT ครูและนักเรียนศึกษาขอมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับปลากัด ไดจากเว็บไซต www.kanchanapisek.com โดยมีวิธีการ ดังนี้ • คลิก โครงการสารานุกรมไทยฉบับเยาวชน • คลิก เลม 1-36 • คลิก เลมที่ 30 • คลิก เรื่องที่ 7 ปลากัด คูมือครู

31


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

Engage

Explore

อธิบายความรู้

อธิบายความรู้ อธิบExplain ายความรู้

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

Explain

1. ใหแตละกลุมสงตัวแทนออกมานําเสนอผลการ ทํากิจกรรม 2. ใหนักเรียนรวมกันอภิปรายผลการทํากิจกรรม จนสรุปไดวา ปลากัดมีการปฏิสนธิภายนอก รางกาย เพราะไขของปลากัดตัวเมียไดรับการ ผสมกับนํ้าเชื้อของปลากัดตัวผูภายนอกรางกาย 3. ใหนักเรียนชวยกันยกตัวอยางสัตวที่มีการ ปฏิสนธิภายนอกรางกายเพิ่มเติม 4. ใหนักเรียนรวมกันอภิปรายการปฏิสนธิภายใน รางกาย ซึ่งมีทั้งสัตวที่ออกลูกเปนตัวและสัตว ออกลูกเปนไข 5. ใหนักเรียนชวยกันยกตัวอยางสัตวที่มีการ ปฏิสนธิภายในรางกายที่ออกลูกเปนตัว และ สัตวที่มีการปฏิสนธิในรางกายที่สัตวออกลูก เปนไขเพิ่มเติม

จากการท�ากิจกรรมที่ ๑ จะเห็นได้ว่า ไข่ของปลากัดตัวเมียจะได้รับ การผสมกับน�้าเชื้อของปลากัดตัวผู้ภายนอกร่างกายของปลากัดตัวเมีย และไข่ที่ ได้รับการผสมแล้ว จะเจริญเติบโตเป็นลูกปลากัดตัวเล็กๆ แสดงว่า ปลากัดมีการ ปฏิสนธิภายนอกร่างกาย ๒) การปฏิสนธิภายในร่างกาย หมายถึง การที่เซลล์สบื พันธุเ์ พศผู้ (อสุจิ) เข้าไปผสมกับเซลล์สืบพันธุ์เพศเมีย (ไข่) ภายในร่างกายของสัตว์ตัวเมีย จากนั้น ไข่ที่ได้รบั การผสมแล้ว ก็จะเจริญเติบโตภายในร่างกายของสัตว์ตวั เมีย ท�าให้สตั ว์ ตัวเมียตัง้ ท้อง และเมือ่ ครบก�าหนดคลอด สัตว์ตวั เมียจะออกลูกเป็นตัวทีม่ ลี กั ษณะ เหมือนพ่อแม่ แต่มีขนาดเล็กกว่า สัตว์ที่มีการปฏิสนธิภายในร่างกายและออกลูกเป็นตัว ได้แก่ สัตว์ 1 เลี้ยงลูกด้วยน�้านม นม เช่น แมว สุนัข ช้าง ม้า วัว ควาย เป็นต้น

▲▲

ภาพที่ ๑.๒๒ สิ ๑.๒๒ สิงโต โต และกระต่ และกระต่าย มี ย มีการปฏิสนธิภายในร่างกาย งกาย และออกลู และออกลูกเป็นตัวซึ่งมีลักษณะเหมือนกับพ่อแม่

สัตว์บางชนิดมีการปฏิสนธิภายในร่างกายเช่นเดียวกัน แต่ไข่ที่ได้รับ การผสมแล้ว มีมีการเจริญเติบโตภายนอกร่างกายของสัตว์ตัวเมีย โดยสัตว์ตัวเมีย จะออกลูกเป็นไข่ทมี่ เี ปลือกแข็งหรือมีเปลือกเหนียวหุม้ แล้วฟักเป็นตัวนอกร่างกาย ของสัตว์ตัวเมีย ได้ ได้แก่ สัตว์เลื้อยคลาน เช่น เต่ เต่า งูบางชนิด สัตว์ปีก เช่น นก ยคลาน เช่ ไก่ ห่านน เป็ เป็นต้น เป็ด ไก่ 32

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

นักเรียนควรรู 1 สัตวเลี้ยงลูกดวยนํ้านม โดยทั่วไปจะออกลูกเปนตัว แตมีเพียง 2 ชนิดเทานั้น ที่ออกลูกเปนไขที่มีเปลือกแข็งหุม ไดแก ตุนปากเปด และตัวกินมดหนาม (อีคิดนา) และเมื่อตัวออนฟกออกจากไขแลว ก็จะกินนมแมเพื่อใหเจริญเติบโตตอไป สัตวทั้ง 2 ชนิดนี้จะพบเฉพาะในออสเตรเลียและเกาะนิวกินีเทานั้น

ตุนปากเปด

32

คู่มือครู

ตัวกินมดหนาม

การลาสัตวในฤดูผสมพันธุหรือฤดูวางไขของสัตว มีผลตอวัฏจักรชีวิต ของสัตวอยางไร แนวตอบ อาจทําใหวัฏจักรชีวิตของสัตวไมสามารถดําเนินตอไปไดและ เมื่อเกิดขึ้นมากๆ ก็อาจทําใหสัตวสูญพันธุได


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

อธิบายความรู้ อธิบExplain ายความรู้

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Explore

Explain

Expand

Evaluate

ส�ารวจค้ Exploreนหา

Engage

ส�ารวจค้นหา

๒. การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ เป็นการสืบพันธุ์ของสัตว์ที่เกิดขึ้นโดย ไม่ต้องมีการผสมกันระหว่างอสุจิของสัตว์เพศผู้และไข่ของสัตว์เพศเมีย การสืบพันธุแ์ บบไม่อาศัยเพศนีม้ กั พบในสัตว์ชนั้ ต�า่ หรือสัตว์ทมี่ เี ซลล์เดียว โดยจะมีการสืบพันธุ์ด้วยวิธีการต่างๆ ดังนี้ การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ ๑) การงอกใหม ล�าตัว ท่อนที่ขาดออกจากตัวเดิม จะสามารถงอกกลายเป็น ตัวใหม่ที่สมบูรณ์ได้

1 ดาวทะเล พลานาเรีย (หนอนตัวแบน)

๒) การแบงเซลลเปน ๓) การแตกหนอ เป็นการ ๒ สวน จากสัตว์เซลล์เดียว สร้างหน่อบนส่วนใดส่วนหนึ่ง ๑ ตัว สามารถแบ่งเซลล์ออก ของร่างกาย เมือ่ หน่อเจริญขึน้ เป็น ๒ ส่วน เหมือนๆ กันได้ จะหลุดออกไปเป็นตัวใหม่

2 อะมีบา3 ยูกลีนา 4 พารามีเซียม

เซลล์เดิม

เซลล์ใหม่ ที่เจริญขึ้น

▲▲

ภาพที่ ๑.๒๓ พารามีเซียมสืบพันธ์ุโดยการแบ่งเซลล์

ไฮดรา ปะการัง ฟองน�้า

การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ สั ตว์ จ ะไม่ มีการกลายพั น ธุ ์ ห รื อสร้ า ง ความหลากหลายทางพันธุกรรม ข้อดี ของการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ คือ สิ่งมีชีวิตสามารถเพิ่มจ�านวนเองได้โดย ไม่ต้องหาคู่ สัตว์ที่เคลื่อนที่ไม่ได้ เช่น ฟองน�า้ ปะการัง สามารถเพิม่ จ�านวนได้ โดยไม่ต้องรอเวลาและพลังงานในการ สร้างเซลล์สืบพันธุ์และการปฏิสนธิ

Explore

ใหนักเรียนทํากิจกรรมที่ 2 เพื่อศึกษา การสืบพันธุของไฮดรา โดยปฏิบัติ ดังนี้ 1) ศึกษาขั้นตอนการทํากิจกรรมที่ 2 จาก หนังสือ หนา 34 หากมีขอสงสัยใหถามครู 2) ใหแตละกลุมชวยกันตั้งคําถามเกี่ยวกับ กิจกรรม ซึ่งควรจะไดวา • ไฮดรามีการสืบพันธุลักษณะใด จากนั้นใหนักเรียนชวยกันคาดเดาคําตอบ ลวงหนากอนทําการทดลอง 3) ใหแตละกลุมทํากิจกรรมตามขั้นตอน 4) สมาชิกในกลุมบันทึกผลการทํากิจกรรม และรวมกันอภิปรายเพื่อสรุปผล

อธิบายความรู้

Explain

1. ใหแตละกลุมสงตัวแทนออกมานําเสนอผลการ ทํากิจกรรม 2. ใหนักเรียนรวมกันอภิปรายผลการทํากิจกรรม จนสรุปไดวา ไฮดรามีการงอกสวนใหมซึ่งติด อยูกับตัวเดิมและสวนที่งอกใหมหลุดออกจาก ไฮดราตัวเดิม เจริญเติบโตเปนไฮดราตัวใหม 3. ครูถามนักเรียนวา • นักเรียนคิดวาสัตวมีกระดูกสันหลัง มีการ สืบพันธุแบบงอกใหมไดหรือไม (แนวตอบ ไมได เพราะสัตวมีกระดูกสันหลัง มีโครงสรางของรางกาย และเซลลใน รางกายมีความซับซอนกวาสัตวไมมี กระดูกสันหลัง)

33

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

สิ่งมีชีวิตในขอใดมีการสืบพันธุตางจากขออื่น 1. ไฮดรา 2. ปะการัง 3. ฟองนํ้า 4. ดาวทะเล

วิเคราะหคําตอบ ดาวทะเล มีการสืบพันธุแ บบไมอาศัยเพศดวยการงอกใหม ซึ่งสามารถสรางสวนของรางกายที่ขาดหายไปขึ้นมาทดแทนใหเหมือนเดิมได ดังนั้น ขอ 4. จึงเปนคําตอบที่ถูกตอง

นักเรียนควรรู 1 ดาวทะเล เมื่อถูกตัดออกเปนสองสวน แตละสวนจะสามารถงอกเปนดาวทะเล ตัวใหมทงั้ ตัวได จัดเปนสัตวมชี วี ติ ทีเ่ ปนโคลน (clone) เพราะเปนสิง่ มีชวี ติ ทีม่ าจาก เซลลเดียวกัน และมีสารพันธุกรรมที่เหมือนกันทุกประการ 2 อะมีบา เปนสัตวเซลลเดียวชนิดหนึ่ง มีรูปรางที่ไมคงที่ มักอาศัยอยูตาม แหลงนํ้า ดิน โคลนเลน 3 ยูกลีนา เปนสัตวเซลลเดียวชนิดหนึ่ง ซึ่งมีลักษณะคลายพืชและสัตว คือ มีคลอโรฟลลและกินอาหารเหมือนพืช และเคลื่อนที่ไดเหมือนสัตว โดยใชหนวด ทางดานหัว 1 เสน โบกพัดนํ้าทําใหดึงตัวไปขางหนาได 4 พารามีเซียม เปนสัตวเซลลเดียวชนิดหนึ่ง อาศัยอยูตามแหลงนํ้าจืดตาม ธรรมชาติ มีขนรอบๆ ตัว เรียกวา ซีเลีย ทําหนาที่โบกพัดใหตัวเคลื่อนที่และทําให มีการหมุนเวียนนําอาหารมาตามกระแสนํ้าเขาสูรองปาก คู่มือครู

33


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

อธิบายความรู้

Engage

Explore

Explain

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Expand าใจ ขยายความเข้

Evaluate ตรวจสอบผล

Expand

1. ใหนักเรียนจัดทําบัตรภาพสัตว และบันทึก ขอมูลตามรายละเอียดของกิจกรรมรวบยอด ตอนที่ 2 ขอ 1 หนา 45 2. ใหนักเรียนดูภาพจากกิจกรรมรวบยอด ตอนที่ 2 ขอ 2 หนา 45 แลวเขียนอธิบาย ผลการอภิปราย

ตรวจสอบผล

ขยายความเข้าใจ

Evaluate

1. ครูตรวจสอบผลงานบัตรภาพสัตววา ภาพและ การบันทึกขอมูลถูกตองสัมพันธกันหรือไม 2. ครูตรวจสอบผลการอภิปรายวา ถูกตองชัดเจน หรือไม

กิจกรรมหนูน้อยนักส�ารวจ กิจกรรมที่ ๒ การสืบพันธ์ุของไฮดรา

ปัญหา อุปกรณ์ วิธีทํา

ไฮดรามีการสืบพันธุ์ลักษณะใด ๑. อ่างแก้วหรือขวดแก้วใส ๑ ใบ ๒. ตัวไฮดรา ประมาณ ๒-๓ ตัว ๓. หลอดดูด ๑ หลอด ๔. พืชน�้า เช่น สาหร่าย ๕. ก้อนหิ1น ๖. ไรแดง ๑. แบ่งกลุม่ ให้แต่ละกลุม่ น�าน�า้ ฝน หรือน�า้ ประปาทีท่ งิ้ ค้างคืนไว้ประมาณ ๓-๕ คืน ใส่ในอ่างแก้วหรือขวดแก้วใส ๒. ใส่ก้อนหินและสาหร่ายให้เหมาะสมกับภาชนะ แล้วตั้งทิ้งไว้ ๒ วัน ๓. ให้ใช้หลอดดูดไฮดราจากภาชนะเดิมมาใส่ในอ่างแก้วหรือขวดแก้วใส ตั้งภาชนะไว้ในที่เย็น และไม่ถูกแสงแดด ๔. ให้อาหารไฮดรา โดยใช้หลอดดูดไรแดงปล่อยลงในภาชนะใกล้กบั หนวด ของไฮดรา อาจให้อาหารวันเว้นวันหรือทุกวันก็ได้ ๕. สังเกตลักษณะที่ตัวไฮดรา และจ�านวนของไฮดรา แล้วบันทึกผล

วิทยาศาสตร์ ทยาศาสตร์ฉลาดรู้

ไฮดราเป็ น สั ต ว์ ที่ ไ ม่ มี ก ระดู ก สั น หลั ง จ�าพวกเดียวกับแมงกะพรุน ดอกไม้ทะเลและ ปะการัง อาศัยอยู่ในแหล่งน�้าจืดที่สะอาด เช่น บ่อ บึง ทะเลสาบ แม่น�้า เป็นต้น มักเกาะตาม ส่วนต่างๆ ของพืชน�้า ถ้าในสภาวะปกติ ไฮดราจะสืบพันธ์ุแบบ อาศัยเพศ แต่ถ้าสภาวะแวดล้อมไม่เหมาะสม ไฮดราก็จะสืบพันธ์ุโดยวิธีแตกหน่อเพื่อขยายพันธ์ุต่อไป

ส่วนที่แตกหน่อจากตัวเดิม

34

นักเรียนควรรู 1 ไรแดง เปนสัตวไมมีกระดูกสันหลังจําพวกกุง ลําตัวมีสีแดงเรื่อ ถาอยูรวมกัน เปนจํานวนมากจะมองเห็นไรแดงมีสีแดงเขม โดยไรแดงเพศเมียจะมีขนาดใหญกวา ไรแดงเพศผู ไรแดง เปนอาหารธรรมชาติที่ดีสําหรับการอนุบาลสัตวนํ้าวัยออน โดยเฉพาะ ปลาสวยงามและสัตวนํ้าเศรษฐกิจตางๆ

ขอสอบ

O-NET

ขอสอบป ’ 51 ออกเกี่ยวกับเรื่อง การขยายพันธุสัตว การผสมพันธุสัตวในลักษณะใดที่ชวยปองกันการถายทอดลักษณะที่ไมดี ของพอไปสูลูก 1. ผสมกันตามธรรมชาติ 2. ผสมกับพันธุแทลักษณะดี 3. ผสมระหวางญาติใกลชิด 4. ผสมกับพันธุที่มีลักษณะเหมือนพอ วิเคราะหคําตอบ การขยายพันธุสัตวจําเปนตองมีการคัดเลือกพันธุ เพื่อใหลูกที่เกิดมามีลักษณะดีตรงตามที่ตองการ หรือเพื่อปองกันไมให ลักษณะที่ไมดีของพอพันธุ แมพันธุที่มีอยูถายทอดไปยังลูกได ดังนั้น

ขอ 2. จึงเปนคําตอบที่ถูกตอง

34

คู่มือครู


กระตุน้ ความสนใจ

ส�ารวจค้นหา ส�ารวจค้ Exploreนหา

อธิบายความรู้

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Engage

Explore

Explain

Expand

Evaluate

กระตุEngage ้นความสนใจ

กระตุน้ ความสนใจ

จากการท�ากิจกรรมที่ ๒ นักเรียนจะพบว่า ไฮดรามีการงอกส่วนใหม่ซึ่งติด อยูก่ บั ตัวเดิม และส่วนทีง่ อกใหม่นนั้ หลุดออกจากตัวเดิมกลายเป็นไฮดราตัวใหม่ การสืบพันธุ์ลักษณะเช่นนี้ เรียกว่า การแตกหน่อ

๒ การขยายพันธ์ุสัตว์

ในปัจจุบันนี้คนรู้จักใช้เทคโนโลยีเข้ามาช่วยในการขยายพันธุ์สัตว์ เพื่อให้ สัตว์มีจ�านวนเพิ่มขึ้น และมีปริมาณเพียงพอกับประชากรที่เพิ่มมากขึ้น รวมทั้ง มีคุณภาพตามต้องการ การขยายพันธุ์สัตว์ ให้ได้ผลดีนั้น ต้องมีการคัดเลือกพันธุ์สัตว์ตามต้องการ เมื่อคัดเลือกพันธุ์แล้วจึงท�าการขยายพันธุ์สัตว์โดยวิธีการต่างๆ ๑. การคัดเลือกพันธุ์สัตว์ การคัดเลือกพันธุ ์ หมายถึง การเลือกสรรเอาสัตว์พนั ธุท์ ตี่ อ้ งการไว้ โดย พิจารณาจากรูปร่างลักษณะของสัตว์ที่แสดงถึงความสมบูรณ์ของสัตว์ว่าสามารถ ให้ผลผลิตสูง และจากสายพันธุ์ที่ดีของสัตว์ชนิดนั้น การคัดเลือกพันธุ์สัตว์มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ ๑) เพื่อให้ได้สัตว์ที่ให้ผลผลิตดีตามต้องการ เช่น ให้ปริมาณน�้านมมาก ให้ปริมาณเนื้อแดงมาก มีไข่ดก เป็นต้น ๒) เพื่อน�าสัตว์ ไปใช้เป็นพ่อพันธุ์หรือ แม่พันธุ์ ๓) เพือ่ ให้ได้สตั ว์ทมี่ คี วามทนทานต่อ สภาพดินฟ้าอากาศ และโรคต่างๆ ๔) เพื่อการผสมพันธ์ุให้ได้พันธ์ุใหม่ที่ ภาพที่ ๑.๒๔ หมูที่เป็นพ่อพันธ์ุจะต้องมี มีคุณภาพดีขึ้นกว่าเดิม ลักษณะทีด่ แี ละแข็งแรง

Engage

1. ครูชวนนักเรียนสนทนาเกี่ยวกับการขยายพันธุ สัตววาสามารถทําไดอยางไรบาง 2. ใหนักเรียนรวมกันอภิปรายความจําเปนใน การขยายพันธุสัตว เพื่อการผลิตอาหารเลี้ยง ประชากรในโลก

ส�ารวจค้นหา

Explore

1. ใหนักเรียนศึกษาขอมูลการคัดเลือกพันธุสัตว หนา 35 2. ใหนักเรียนรวมกันอภิปรายวัตถุประสงคของ การคัดเลือกพันธุสัตว 3. ใหแตละกลุมทํากิจกรรมพัฒนาการเรียนรูที่ 1 หนา 36

▲▲

35

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

ขอใดเปนเหตุผลสําคัญในการคัดเลือกพันธุสัตว 1. เพื่อใหไดพันธุที่ดีเหมือนเดิม 2. เพื่อชวยแกลักษณะที่เลวของสัตวใหดีขึ้น 3. เพื่อชวยรักษาลักษณะของพันธุแทเอาไว 4. เพื่อใหไดพันธุที่แข็งแรงโตเร็ว และเปนที่นิยมของผูบริโภค

วิเคราะหคําตอบ การคัดเลือกพันธุสัตวเพื่อใหไดพันธุสัตวที่ใหผลผลิต ที่ดี ทั้งนี้เพื่อใหสามารถผลิตอาหารเลี้ยงประชากรโลกได ดังนั้น ขอ 4.

จึงเปนคําตอบที่ถูกตอง

บูรณาการอาเซียน ครูอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียนเขาใจวา ความตองการบริโภคเนื้อสุกรมีแนวโนม เพิม่ ขึน้ ในภูมภิ าคอาเซียน สงผลใหประเทศตางๆ ในกลุม อาเซียนเรงพัฒนาศักยภาพ การผลิตสุกรเพิ่มมากขึ้น ซึ่งประเทศไทยมีโอกาสอยางมากในการขยายตลาดสงออก ในประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน เนื่องจากผลิตภัณฑสุกรของไทยไดรับการยอมรับ จากประเทศในกลุม อาเซียนถึงมาตรฐานการผลิต ตัง้ แตในระดับฟารมไปจนถึงระดับ โรงงานแปรรูปผลิตภัณฑ

มุม IT ครูและนักเรียนคนควาเพิ่มเติมเกี่ยวกับการโคลนนิ่ง ไดจากเว็บไซต http://www.stkc.go.th/subforum.php?exforumid=30

คู่มือครู

35


กระตุ้นความสนใจ Engage

ส�ารวจค้นหา Exploreนหา ส�ารวจค้

อธิบายความรู้

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Explore

Explain

Expand

Evaluate

ส�ารวจค้นหา

Explore

1. ครูอาจเปดวีดิทัศนการผสมเทียมสัตว ใหนักเรียนดู แลวรวมกันสนทนาเกี่ยวกับ วีดิทัศนที่ใหดู 2. ใหนักเรียนศึกษาขอมูลการผสมเทียม หนา 36 - 38

ตัวอย่างการคัดเลือกพันธุ์และขยายพันธุ์สัตว์

ไก่พันธุ์เซี่ยงไฮ้

ไก่พันธุ์ผสมที่มีลักษณะดี ดังนี้ • โตเร็ว • ทนทานโรค • ไข่ดก • เนื้อแน่น

โคพันธุ์บังคาลา

วัวพันธุ์ผสมที่มีลักษณะดี ดังนี้ • ทนทานต่อสภาพแวดล้อมของไทย • มีน�้านมมาก

(ไข่ดก)

(โตเร็ว)

1

โคพันธุ์โฮลสไตน์ (นํ้านมมาก)

ไก่พันธุ์โรดแดง

(ทนทานต่อสภาพแวดล้อม)

กิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ที่ ๑ ๑. แบ่งกลุ่ม ให้แต่ละกลุ่มสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับการคัดเลือกพันธ์ุสัตว์มา ๑ ชนิด ๒. ร่วมกันอภิปรายภายในกลุ่ม จากนั้นน�าเสนอข้อมูลหน้าชั้น

๒. การผสมเทียม การผสมเทียม คือ การน�าน�้าเชื้อจากสัตว์เพศผู้มาผสมกับไข่ของสัตว์ เพศเมีย โดยที่สัตว์ ไม่ต้องผสมพันธุ์กันเองตามธรรมชาติ ปัจจุบันเป็นวิธีที่นิยม มาก เพราะน�้าาเชื ใช้กันมาก เชื้อจากสัตว์พ่อพันธุ์สามารถเก็บไว้ได้เป็นเวลานานหลายปี โดยการแช่ไว้ในที่เย็นจัด งกาย และ การผสมเทียมสามารถท�าได้ทั้งสัตว์ที่มีการปฏิสนธิภายในร่างกาย สัตว์ที่มีการปฏิสนธิภายนอกร่างกาย งกาย ตว์ที่นิยมท�าการ ๑) การผสมเทียมสัตว์ที่มีการปฏิสนธิภายในร่างกาย สั ม เช่น โค สุ โค สุกร กระบื ร กระบือ เป็นต้น โดยการรีดเอาน�้าเชื้อจากสัตว์พ่อพันธุ์ ผสมเทียม เช่ แล้วน�ามาฉีดเข้าไปในมดลูกของสัตว์เพศเมียในระยะทีม่ กี ารตกไข่ หรือในระยะที่ สัตว์เพศเมียพร้อมที่จะท�าการผสมพันธุ์ แล้วท�าให้เกิดการปฏิสนธิระหว่างไข่กับ อสุจิภายในร่างกายของสัตว์ที่ใช้เป็นแม่พันธุ์ 36

นักเรียนควรรู 1 โคพันธุโฮลสไตน เปนโคนมพันธุที่กรมปศุสัตวใชเปนพันธุหลักในการปรับปรุง พันธุโคนมของประเทศ โคพันธุนี้มีถิ่นกําเนิดในประเทศเนเธอรแลนด โคพันธุโฮลสไตนมีขนาดใหญ ผลิตนํ้านมเฉลี่ย 6,000 - 7,000 กิโลกรัมตอระยะ การใหนม มีนิสัยคอนขางเชื่อง รีดนมงาย ไมเตะ สวนใหญมีสีขาวดํา โดยสีขาวหรือ สีดําจะมากกวาหรือนอยกวาก็ได จึงถูกเรียกวา โคนมพันธุขาวดํา

มุม IT ครูและนักเรียนศึกษาขอมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับการผสมเทียม ไดจากเว็บไซต www.dld.go.th ซึ่งเปนเว็บไซตของกรมปศุสัตว

36

คู่มือครู

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

เทคโนโลยีดานการผสมเทียมสัตว มีผลดีตอการผลิตอาหารเลี้ยง ประชากรในโลกอยางไร แนวตอบ ทําใหสามารถเพิ่มผลผลิตของสัตวไดเปนจํานวนมาก ทําใหมี อาหารเพียงพอตอจํานวนประชากรที่เพิ่มขึ้นอยางรวดเร็ว


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

Engage

Explore

อธิบายความรู้

ขยายความเข้าใจ Expand าใจ ขยายความเข้

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

อธิบExplain ายความรู้

อธิบายความรู้

๒) การผสมเทียมสัตว์ทมี่ กี ารปฏิสนธิภายนอกร่างกาย สัตว์ทนี่ ยิ มท�าการ ผสมเทียม เช่น ปลาบึก ปลาสวาย ปลานิล เป็นต้น โดยการรีดน�้าเชื้อจากปลา ตัวผู้ และรีดไข่จากปลาตัวเมียออกมา แล้วน�าไข่กับน�้าเชื้อมาผสมกันในภาชนะ ที่ได้เตรียมไว้ ใช้ขนไก่คนเบาๆ ให้น�้าเชื้อผสมกับไข่อย่างทั่วถึง แล้วน�าไข่ปลา ที่ผสมแล้วเทเบาๆ ลงในบ่อฟัก เพื่อให้ไข่ฟักเป็นตัวต่อไป ตัวอย่างการผสมเทียมปลาบึก เมื่อชาวประมงจับปลาบึกได้ จะต้องให้เจ้าหน้าที่กรมประมงชั่งน�้าหนัก และวัด ความยาวและตรวจสอบความสมบูรณ์ของน�า้ เชือ้ และไข่กอ่ น จากนัน ้ เจ้าหน้าทีจ่ ะฉีด ฮอร์โมนกระตุ้นให้ปลาตัวเมียไข่สุกเร็วขึ้น เมื่อพร้อมแล้วจะน�าปลาตัวเมียมารีดไข่ แล้วรีดน�้าเชื้อจากปลาตัวผู้ น�าไข่กับน�้าเชื้อผสมกันด้วยน�้าจากล�าน�้าโขง และน�าไข่ที่ ได้รับการผสมแล้วมาอนุบาลไว้จนปลาโตขึ้น จึงน�าไปปล่อยตามแหล่งน�้าธรรมชาติ

▲▲

ภาพที่ ๑.๒๕ ฉีดฮอร์โมน กระตุ้นปลาตัวเมีย

▲▲

ภาพที่ ๑.๒๖ รีดน�้าเชื้อจาก ปลาตัวผู้

▲▲

Explain

1. ใหแตละกลุมรวมกันอภิปรายความแตกตาง ของการผสมเทียมสัตวที่มีการปฏิสนธิภายใน รางกาย และสัตวที่มีการปฏิสนธิภายนอก รางกาย 2. ใหแตละกลุม รวมกันอภิปรายประโยชนของ การผสมเทียม

ขยายความเข้าใจ

Expand

1. ใหนักเรียนทํากิจกรรมพัฒนาการเรียนรูที่ 2 หนา 38 ลงในสมุด 2. ใหแตละกลุมสืบคนขอมูลการผสมเทียมสัตว มา 1 ชนิด แลวจัดทําเปนรายงาน จากนั้น สงตัวแทนออกมานําเสนอหนาชั้นเรียน

ภาพที่ ๑.๒๗ เทน�้าเชื้อผสม กับไข่ที่เตรียมไว้และใช้ขนไก่ คนเบาๆ

»˜¨¨ØºÑ¹¡ÒâÂÒ¾ѹ¸Ø ÊÑµÇ â´ÂÇÔ¸Õ¡ÒüÊÁà·ÕÂÁ à¾ÒйíéÒàª×éͨҡÊÑµÇ ¾‹Í¾Ñ¹¸Ø ´Õ ÊÒÁÒöà¡çº¹íéÒàª×éÍ ä´Œà»š¹àÇÅÒ¹Ò¹ËÅÒ»‚ â´Â¡ÒÃ᪋änj㹷ÕèàÂ繨Ѵ http://www.aksorn.com/lib/p/sci_01 (เรื่อง ปลาบึก)

EB GUIDE

37

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

ถามีวัวตัวเมียพันธุพื้นเมือง ตองการไดลูกที่มีพันธุที่ดีขึ้น จะตองทํา อยางไร จึงจะประหยัดและสะดวกที่สุด 1. ซื้อวัวตัวผูพันธุดีมาเลี้ยงคูกัน 2. นํานํ้าเชื้อตัวผูพันธุดีมาผสมเทียม 3. นําวัวตัวเมียไปเขาฝูงที่มีวัวตัวผูพันธุดี 4. นําวัวตัวเมียไปผสมพันธุกับวัวตัวผูพันธุดี

วิเคราะหคําตอบ การใชเทคโนโลยีเรื่องการผสมเทียมเขามาชวยในการ ผสมพันธุสัตว ชวยประหยัดคาใชจาย และระยะเวลาที่ตองรอใหสัตว ผสมพันธุกันเองตามธรรมชาติ ดังนั้น ขอ 2. จึงเปนคําตอบที่ถูกตอง

เกร็ดแนะครู ครูอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียนฟงวา การผสมเทียมในประเทศไทยเริ่มขึ้นโดย ในป พ.ศ. 2496 ศาสตราจารย ลาเกอรลอฟ ชาวสวีเดน ผูเชี่ยวชาญจาก FAO. ไดเดินทางมาสํารวจการเลี้ยงปศุสัตวในประเทศไทย จากนั้นไดเขาเฝาพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวรัชกาลปจจุบันเพื่อทูลเกลาฯ ถวายโครงการผลิตโคนมลูกผสม ดวยวิธีการผสมเทียม ปจจุบันงานผสมเทียมของประเทศไทยมีความเจริญกาวหนามากขึ้น ดวยความ มุงมั่นที่จะพัฒนางาน รวมทั้งการวางรากฐานที่ดีของนายสัตวแพทยทศพร สุทธิคํา ทําใหทานไดรับขนานนามวาเปน “บิดาแหงการผสมเทียมของประเทศไทย”

คู่มือครู

37


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

อธิบายความรู้

Engage

Explore

Explain

ขยายความเข้าใจ

✓ แบบวัดฯ ใบงาน แบบฝกฯ ว�ทยาศาสตร ป.5 กิจกรรมรวบยอดที่ 1.6 แบบประเมินตัวช�้วัด ว 1.1 ป.5/4 2 เติมแผนภูมิการผสมเทียมใหถูกตอง การผสมเทียม ความหมาย

ลักษณะ

การนํานํ้าเชื้อของสัตว เพศผูมาผสมกับไขของ สัตวเพศเมีย โดยสัตว ไมตองผสมพันธุกันเอง ……………………………………………… ตามธรรมชาติ ………………………………………………

ปฏิสนธิ ภายนอกรางกาย

………………………………………………

นํานํ้าเชื้อกับไข วิธีการ ……………………………….

นํานํ้าเชื้อของ วิธีการ ……………………………….

………………………………………………

………………………………………………

………………………………………………

………………………………………………

………………………………………………

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Expand าใจ ขยายความเข้

Evaluate ตรวจสอบผล

Expand

ใหนักเรียนทํากิจกรรมรวบยอดที่ 1.6 จาก แบบวัดฯ วิทยาศาสตร ป.5

………………………………………………

ขยายความเข้าใจ

ปฏิสนธิ ภายในรางกาย

………………………………………………

ผสมกันในภาชนะ และ นําไปเทลงในบอฟก ………………………………………………

………………………………………………

………………………………………………

………………………………………………

สัตวเพศผูไปฉีดเขาใน มดลูกของสัตวเพศเมีย ในระยะที่มีการตกไข

………………………………………………

………………………………………………

………………………………………………

………………………………………………

………………………………………………

………………………………………………

………………………………………………

ตัวอยางสัตว เชน ………………………………………………

ตัวอยางสัตว เชน ………………………………………………

…………………………………………………………………………………..

…………………………………………………………………………………..

ปลาบึก ปลาสวาย

ฉบับ

เฉลย

โค กระบือ แพะ หมู

ตัวชี้วัด ว 1.1 ขอ 4

▲▲

ไดคะแนน คะแนนเต็ม

5

เกณฑประเมินชิ้นงาน

ขอ 1 การตอบคําถาม (มี 5 ขอ ขอละ 2 คะแนน) • ตอบคําถามไดถูกตอง และมีใจความสําคัญครบถวน

ขอ 2 การเติมแผนภูมิ (5 คะแนน)

• เติมขอความลงในแผนภูมิไดถูกตอง และมีใจความสําคัญครบถวน แหงละ

2 คะแนน 1 คะแนน

21

ตรวจสอบผล

๓) ประโยชน์ของการผสมเทียม การผสมเทียมสัตว์มีประโยชน์ ดังนี้ (๑) ปรับปรุงพันธุส์ ตั ว์ให้ดขี นึ้ ได้อย่างรวดเร็ว เพราะน�า้ เชือ้ ทีร่ ดี เก็บ จากพ่อพันธุ์ สามารถฉีดให้กับสัตว์ตัวเมียได้ครั้งละหลายๆ ตัว ท�าให้ได้สัตว์ ลูกผสมพันธุ์ดีเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว (๒) ท�าให้เกษตรกรไม่ต้อง เลี้ยงดูสัตว์พ่อพันธุ์ซึ่งหายากและราคา แพง ตัดปัญหาเรื่องการขนส่งสัตว์ ไป ผสมพันธุ์ เพราะมีบริการน�าน�้าเชื้อไป ผสมให้ถึงคอกสัตว์ทุกแห่ง (๓) สามารถผสมพันธุ์สัตว์ ต่างขนาดกันได้ (๔) ป้องกันโรคติดต่อทีเ่ กิด ่ ๑.๒๘ ปัจจุบันมีบริการผสมเทียมด้วยน�้าเชื้อ จากการผสมพันธุแ์ ละป้องกันโรคระบาด ภาพที จากพ่อโคพันธ์ุดี ซึ่งช่วยอ�านวยความสะดวกให้กับ ที่มาจากการเคลื่อนย้ายสัตว์ เกษตรกร

Evaluate

1. ครูตรวจสอบการอธิบายขั้นตอนการผสมเทียม ปลานิลวาอธิบายไดชัดเจน ถูกตองหรือไม 2. ครูประเมินผลรายงานเรื่องการผสมเทียมสัตว โดยพิจารณาจากขอมูลครบถวน สมบูรณ รูปเลมรายงานเรียบรอย และนําเสนอไดถูกตอง นาสนใจ 3. ครูตรวจสอบการเติมขอมูลการผสมเทียม ในแผนภูมิวาถูกตองหรือไม

กิจกรรมพั จกรรมพัฒนาการเรียนรู้ที่ ๒ อ่านสถานการณ์ที่กา� หนด หนด และใช้ และใช้ความรู้ตอบค�าถามลงในสมุด ลุงมีเป็นเกษตรกรผู้เพาะเลี้ยงปลานิลอยู่ใกล้ๆ บ้านน้องพลอย ลุงมีทราบว่า น้องพลอยได้เรียนรู้เกี่ยวกับเรื่องการผสมเทียมปลานิล จึงซักถามขั้นตอนการ งพลอย ผสมเทียมปลานิลกับน้องพลอย ถ้าหากนักเรียนเป็นน้องพลอย งพลอย นักเรียนจะอธิบายขั้นตอนการผสมเทียมปลานิล ให้ลุงมีฟังอย่างไร 38

ขอสอบ

เกร็ดแนะครู ครูอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียนเขาใจ เกี่ยวกับขอสอบ O-NET ขอนี้ ดังนี้ ใชเซลลสืบพันธุ (การปฏิสนธิ) การผสมเทียมปลา การเกิดฝาแฝดเหมือน การผสมเกสรของกลวยไม การถายฝากตัวออนโคนม การถายละอองเรณู การผสมเทียมของวัว

ใชเซลลรางกาย (การโคลน) การแตกหนอของไฮดรา การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ การปลูกพืชจากหัวหรือหนอ การโคลนลูกแกะดอลลี่ การปกชําใหเกิดตนใหม การแตกหนอของยีสต

O-NET

ขอสอบป ’ 52 ออกเกี่ยวกับเรื่อง การขยายพันธุพืชและสัตว ขอความตอไปนี้ขอใดจัดเปนการโคลนทั้งหมด (ตอบ 2 ขอ) 1. การผสมเทียมปลา การแตกหนอของไฮดรา 2. การเกิดฝาแฝดเหมือน การผสมเกสรของกลวยไม 3. การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ การปลูกพืชจากหัวหรือหนอ 4. การถายฝากตัวออนโคนม การโคลนลูกแกะดอลลี่ 5. การถายละอองเรณู การผสมเทียมของวัว 6. การปกชําใหเกิดตนใหม การแตกหนอของยีสต วิเคราะหคําตอบ การโคลน หมายถึง การสรางสิ่งมีชีวิตใหมขึ้นมา โดยไมไดอาศัยการปฏิสนธิของเซลลสืบพันธุเพศผูและเพศเมีย แตอาศัย เซลลรางกายของสิ่งมีชีวิตที่เปนตนแบบ ดังนั้น ขอ 3. และ ขอ 6.

จึงเปนคําตอบที่ถูกตอง

38

คู่มือครู


กระตุน้ ความสนใจ กระตุEngage ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

อธิบายความรู้

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Engage

Explore

Explain

Expand

Evaluate

กระตุน้ ความสนใจ

๓ วัฏจักรชีวิตของสัตว์

สัตว์เป็นสิง่ มีชวี ติ ทีส่ ามารถเจริญเติบโตและสืบพันธุอ์ อกลูกออกหลานได้ เพือ่ ด�ารงเผ่าพันธุ์ให้คงอยูต่ อ่ ไป เมือ่ ลูกสัตว์เกิดมาหรือฟักออกจากไข่ ยังเจริญเติบโต ไม่เต็มที ่ จากนัน้ จะค่อยๆ เปลีย่ นแปลงและเจริญเติบโตขึน้ จนเป็นตัวเต็มวัย และ สามารถสืบพันธุอ์ อกลูกออกหลานได้ การเปลีย่ นแปลงทีเ่ กิดขึน้ นี ้ เรียกว่า วัฏจักร ชีวติ ของสัตว์ ซึง่ จะเกิดขึน้ หมุนเวียนต่อกันไปเช่นนีเ้ รือ่ ยๆ

กิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ที่ ๓

Engage

1. ใหนักเรียนดูภาพในหนานี้ แลวถามนักเรียนวา • จากภาพมีสัตวกี่ชนิด อะไรบาง (ตอบ 3 ชนิด คือ ยุง ไก และแรด) 2. ใหนักเรียนชวยกันเรียงลําดับวัฏจักรชีวิตของ สัตวแตละชนิด ซึ่งไดดังนี้ ① ⑤ ② •④ ⑦ ⑨ •③ ➇ •⑥ 3. ใหนักเรียนรวมกันอภิปรายวัฏจักรชีวิตของ สัตวทั้ง 3 ชนิดวา เหมือนหรือตางกันอยางไร

จากภาพ มีสัตว์ ๓ ชนิด ให้เรียงล�าดับวัฏจักรชีวิตของสัตว์ทั้ง ๓ ชนิดให้ถูกต้อง

39

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

หากวัฏจักรชีวิตของสัตวชวงใดชวงหนึ่งถูกทําลายลง จะสงผลกระทบตอ สัตวอยางไร แนวตอบ ทําใหวัฏจักรชีวิตของสัตวนั้นหยุดชะงักลง เชน เราทําลาย แหลงที่มีนํ้าขัง ทําใหยุงลายไมมีที่วางไข และลูกนํ้ายุงลายถูกกําจัดไป เปนตน

มุม IT ครูศึกษาขอมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับการเจริญเติบโตของสัตว ไดจากเว็บไซต www.myfistbrain.com โดยวิธีการ ดังนี้ • คลิก บทเรียนวิทยาศาสตร • คลิก ฟสิกส-เคมี-ชีวะ • คลิก ชีววิทยา • พิมพคําวา การเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิตในชองคนหา แลวคลิก • คลิก การเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิต : การเจริญเติบโตของสัตว

คู่มือครู

39


Exploreนหา ส�ารวจค้

อธิบายความรู้

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Explore

Explain

Expand

Evaluate

Explore

๑. วัฏจักรชีวิตของสัตว์ที่ออกลูกเป็นไข่ สัตว์ที่ออกลูกเป็นไข่ เมื่อสัตว์ตัวเมียออกไข่ ไข่จะฟักเป็นตัวภายหลัง ซึ่งวัฏจักรชีวิตของสัตว์ที่ออกลูกเป็นไข่ แบ่งได้ดังนี้ ๑) วัฏจักรชีวิตของสัตว์ที่มี ๓ ระยะ สัตว์บางชนิดมีวัฏจักรชีวิตแบ่งเป็น ๓ ระยะ เช่น ไก่ จิ้งจก งู ปลา แมลงบางชนิด เช่น ตั๊กแตน แมลงสาบ เป็นต้น

ไข่

ระย

วัฏจักรชีวิต ของสัตว์ ที่มี ๓ ระยะ

ะท ี่ ๑

มวยั

ไข่

1. ใหนักเรียนแบงเปน 3 กลุม ใหแตละกลุมศึกษา วัฏจักรชีวิตของสัตว ดังนี้ • กลุมที่ 1 เลี้ยงลูกนํ้ายุง • กลุมที่ 2 เลี้ยงไขกบ • กลุมที่ 3 เลี้ยงหนอนผีเสื้อ 2. ใหนักเรียนแบงกลุม ใหแตละกลุมทํากิจกรรม ที่ 3 เพื่อศึกษาวัฏจักรชีวิตของสัตว โดยปฏิบัติ ดังนี้ 1) ศึกษาขั้นตอนการทํากิจกรรมที่ 3 จากหนังสือ หนา 43 หากมีขอสงสัยใหซักถามครู 2) ใหแตละกลุมกําหนดปญหาในการทดลอง จากนั้นชวยกันตั้งสมมติฐาน 3) ใหแตละกลุมทําการทดลองเพื่อตรวจสอบ สมมติฐาน 4) สมาชิกในกลุมชวยกันบันทึกผลการทํา กิจกรรม และรวมกันอภิปรายเพื่อสรุปผล

ที่ ๓

ส�ารวจค้นหา

ตัวเต ็

Engage

ส�ารวจค้นหา

ระยะ

กระตุ้นความสนใจ

2

ตัวเต็มวัย

1

ตัวอ่อน

ตวั ออ่ น

▲▲

ระยะท ี่ ๒

ภาพที่ ๑.๒๙ วัฏจักรชีวิตของตั๊กแตน

ส่วนสัตว์สะเทินน�้าสะเทินบก เช่น กบ คางคก อึ่งอ่าง เป็นต้น จะมี การเปลี่ยนแปลงรูปร่างระหว่างการเจริญเติบโตของตัวอ่อนอย่างเห็นได้ชัด

ตัวอ่อน (ลูกอ๊อด)

ไข่ ▲▲

ตัวอ่อนที่มีการ เปลี่ยนแปลงรูปร่าง

3

ตัวเต็มวัย

ภาพที่ ๑.๓๐ วัฏจักรชีวิตของกบ จะมีการเปลี่ยนแปลงในระยะตัวอ่อนอย่างชัดเจน

40

นักเรียนควรรู 1 ตัวออน (Nymph) ในที่นี้หมายถึง ตัวออนของแมลงที่มีรูปรางลักษณะ ใกลเคียงกับตัวเต็มวัย ซึ่งจะมีความแตกตางกับตัวเต็มวัยเพียงเล็กนอย เชน ตัวออนของตั๊กแตน ตัวออนของจิ้งหรีด เปนตน 2 ตัวเต็มวัย หมายถึง สิ่งมีชีวิตที่เจริญเติบโตเต็มที่พรอมจะสืบพันธุได 3 วัฏจักรชีวิตของกบ แบงเปน 3 ระยะ ไดแก ไข ตัวออน และตัวเต็มวัย แตในระยะตัวออนจะมีการเปลี่ยนแปลงเปนระยะตางๆ ดังนี้ • ตัวออนระยะที่ 1 เรียกวา ลูกออด • ตัวออนระยะที่ 2 ขาคูหลังเริ่มงอก • ตัวออนระยะที่ 3 ขาหนาเริ่มงอก และหางเริ่มหดสั้นลง

40

คู่มือครู

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

ตั๊กแตน เปนสัตวที่มีการเจริญเติบโตและเปลี่ยนแปลงรูปรางตามขอใด ตัวออน ตัวออนในนํ้า ตัวเต็มวัย 1. ไข ตัวออน ตัวเต็มวัย 2. ไข ตัวออน ดักแด ตัวเต็มวัย 3. ไข ดักแด ตัวเต็มวัย 4. ไข วิเคราะหคําตอบ ตั๊กแตนเปนสัตวที่มีวัฎจักรชีวิตเปน 3 ระยะคือ ไข ตัวออน และตัวเต็มวัย ดังนั้น ขอ 2. จึงเปนคําตอบที่ถูกตอง


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

Engage

Explore

อธิบายความรู้ อธิบExplain ายความรู้

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

อธิบายความรู้

๒) วัฏจักรชีวิตของสัตว์ที่มี ๔ ระยะ ลูกสัตว์บางชนิดเมื่อฟักออกจากไข่ แล้ว จะมีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างแบบสมบูรณ์เป็น ๔ ระยะ ได้แก่ ไข่ ตัวอ่อน ดักแด้ และตัวเต็มวัย สัตว์ที่มีวัฏจักรชีวิตเช่นนี้เป็นสัตว์จ�าพวกแมลง เช่น ผีเสื้อ แมลงวัน ยุง ด้วงกว่าง หิ่งห้อย เป็นต้น

ะ ระย

ที่ ๓

ตัวอ่อ

มอด

ตัวออน (ลูกนํ้า) ดักแด (ตัวโมง)

1 น

ดักแด้

ะ ระย

▲▲

3. ใหนักเรียนรวมกันอภิปรายวัฏจักรชีวิตของกบ จนไดขอสรุปวา กบมีวัฏจักรชีวิตเปน 3 ระยะ ดังนี้

ภาพที่ ๑.๓๑ วัฏจักรชีวิตของมอด แมลงวัน

ยุง

ตัวโม่ง

ไข

ไข่ ดักแด้

ไข่

ลูกน�้า ▲▲

ไข

ยุง

หนอน

ที่ ๒

ตัว

ด ดักแ

วัฏจักรชีวิต ของสัตว์ ที่มี ๔ ระยะ

1. ใหกลุมที่ 1 - 3 ผลัดกันสงตัวแทนออกมา รายงานผลการทํากิจกรรมจนครบทั้ง 3 กลุม 2. ใหนักเรียนรวมกันอภิปรายวัฏจักรของยุง จนไดขอสรุปวา ยุงมีวัฏจักรชีวิตเปน 4 ระยะ ดังนี้

ไข่

ี่ ๑ ยะท ระ ไข่

ระย

๔ ะท ี่ ม ็เต วยั

Explain

ตัวเต็มวัย (กบ)

ตัวออน (ลูกออด)

หนอน

ภาพที่ ๑.๓๒ วัฏจักรชีวิตของยุง

▲▲

ภาพที่ ๑.๓๓ วัฏจักรชีวิตของแมลงวัน

ไข่

4. ใหนักเรียนรวมกันอภิปรายวัฏจักรชีวิตของ ผีเสื้อจนไดขอสรุปวา ผีเสื้อมีวัฏจักรชีวิตเปน 4 ระยะ ดังนี้

หนอน

ไข

2

ผีเสื้อกลางคืน

ผีเสื้อ

ดักแด้ ▲▲

ตัวออน (หนอน)

ภาพที่ ๑.๓๔ วัฏจักรชีวิตของผีเสื้อกลางคืน

41

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

สัตวคูใดที่มีการเปลี่ยนแปลงรูปรางแบบสมบูรณเปน 4 ระยะ หลังจากที่ ฟกออกจากไข 1. มด จิ้งหรีด 2. แมลงปอ ตั๊กแตน 3. ผีเสื้อ แมลงวัน 4. ยุง เพลี้ย

วิเคราะหคําตอบ ผีเสื้อและแมลงวันเปนสัตวที่มีการเปลี่ยนแปลงรูปราง ครบ 4 ระยะ คือ ไข ตัวออน ดักแด และตัวเต็มวัย ดังนั้น ขอ 3. จึงเปน

ดักแด

นักเรียนควรรู 1 ตัวออน (Larva) ในที่นี้หมายถึง ตัวออนที่มีความแตกตางจากตัวเต็มวัยโดย สิ้นเชิง ทั้งในเรื่องของรูปรางลักษณะ สีสัน การกินอาหาร เชน ตัวออนของดวง ตัวออนของผึ้ง เปนตน 2 ผีเสื้อกลางคืน (moth) มีหนวด 2 เสนที่หัว หนวดมีลักษณะเปนซี่ๆ คลายขนนก มีสีทึมๆ ลําตัวอวน เวลาเกาะจะกางปกออกทําใหมองดูคลายกระโจม ออกหากินในเวลากลางคืน ชอบบินเขาหาแสงไฟ

คําตอบที่ถูกตอง

คู่มือครู

41


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

Engage

Explore

อธิบายความรู้

อธิบายความรู้ อธิบExplain ายความรู้

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

Explain

1. ใหแตละกลุมศึกษาขอมูลวัฏจักรชีวิตของสัตว หนา 40 - 42 2. ใหแตละกลุมนําขอมูลที่อานมาสรุปเปนแผนผัง ความคิด จากนั้นสงตัวแทนออกมานําเสนอ แผนผังความคิดที่หนาชั้นเรียน 3. ใหนักเรียนเปรียบเทียบวัฏจักรชีวิตของยุง กับ ผีเสื้อ วามี 4 ระยะ เหมือนกัน แตแตกตางกัน อยางไร (ตอบ วัฏจักรชีวิตระยะที่ 1 - 3 ของยุงเจริญอยู ในนํ้า ขณะที่วัฏจักรชีวิตระยะที่ 1 - 3 ของผีเสื้อ เจริญเติบโตอยูบนบก)

๒. วัฏจักรชีวติ ของสัตว์ทอี่ อกลูกเป็นตัว สัตว์ทอี่ อกลูกเป็นตัวจะมีวฏั จักรชีวติ เริม่ จากลูกสัตว์ทคี่ ลอดจากท้องแม่ (ตัวอ่อน) จะมีลักษณะรูปร่างคล้ายคลึงกับพ่อแม่แต่มี ขนาดเล็กกว่า อวัยวะต่างๆ ยังเจริญเติบโต ไม่เต็มที ่ และในระหว่างการเจริญเติบโตเป็น ตัวเต็มวัย จะไม่มีการเปลี่ยนแปลงรูปร่าง ลักษณะ สัตว์ประเภทนี้มีวัฏจักรชีวิต เป็น ๒ ระยะ ดังนี้

▲▲

ภาพที่ ๑.๓๕ ลูกหมีเกิดมามีลักษณะเหมือน พ่อแม่

ระยะที่ ๑

ตวั อ่อน วัฏจักรชีวิต ของสัตว์ ที่มี ๒ ระยะ

ตวั เตม ต็มวัย

สัตว์ที่ออกลูกเป็นตัว ได้แก่ สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน�้านม เช่น สุนัข 1 2 แมว ช้าง ม้า วัว ควาย หนู วาฬ โลมา พะยูน แมวน�้า เป็นต้น ปลาบางชนิด เช่น ปลาหางนกยูง ปลาสอด ปลาเข็ม เป็นต้น

▲▲

ภาพที่ ๑.๓๖ ลูกวัวเกิดมามีลักษณะเหมือน พ่อแม่

▲▲

▲▲

▲▲

ภาพที ่ ๑.๓๗ ลูกพะยูนเกิดมามีลกั ษณะเหมือน พ่อแม่

42

นักเรียนควรรู 1 วาฬ เปนสัตวเลี้ยงลูกดวยนํ้านมที่มีขนาดใหญที่สุดในโลก ออกลูกเปนตัว ถึงแมวาวาฬจะเปนสัตวที่อาศัยอยูในนํ้า แตวาฬไมใชสัตวประเภทปลา เนื่องจาก วาฬหายใจดวยปอด ซึ่งเหมือนกับคน วาฬจึงตองขึ้นมาหายใจเหนือผิวนํ้าอยูตลอด 2 โลมา เปนสัตวเลี้ยงลูกดวยนํ้านม อาศัยอยูในนํ้า มีเชื้อสายใกลเคียงกับ “วาฬ” โลมาเปนสัตวที่มีสติปญญาสูงชนิดหนึ่ง เพราะโลมามีขนาดสมองที่มีขนาดใหญ เมื่อเทียบกับลําตัว มีสมองที่มีความซับซอน จนทําใหมีนักวิทยาศาสตรผูหนึ่งกลาววา โลมาอาจจะฉลาดเทากับมนุษยก็เปนได

42

คู่มือครู

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

สัตวในขอใดที่มีการปฏิสนธิภายในและออกลูกเปนตัว 1. กบ 2. โลมา 3. เตา 4. แมลงวัน วิเคราะหคําตอบ โลมา เปนสัตวที่อาศัยอยูในนํ้า มีการปฏิสนธิภายใน และออกลูกเปนตัว จัดเปนสัตวเลี้ยงลูกดวยนํ้านม โดยมีตอมนํ้านมอยู สองขางของชองเพศ ดังนั้น ขอ 2. จึงเปนคําตอบที่ถูกตอง


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

Engage

Explore

อธิบายความรู้ อธิบExplain ายความรู้

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

อธิบายความรู้ กิจกรรมหนูน้อยนักส�ารวจ กิจกรรมที่ ๓ วัฏจักรชีวิตของสัตว์

ปัญหา อุปกรณ์ วิธีทํา

สัตว์ที่มีวัฏจักรชีวิตเป็น ๔ ระยะ มีการเปลี่ยนแปลงแตกต่างกันอย่างไร เตรียมอุปกรณ์ตามความเหมาะสมกับสัตว์ที่ทดลองเลี้ยง ๑. ครูแบ่งนักเรียนในชั้นเป็น ๓ กลุ่ม ให้เลี้ยงสัตว์ตามที่ก�าหนด กลุ่มที่ ๑ เลี้ยงลูกน�้ายุง และสังเกตการเปลี่ยนแปลงทุกวัน กลุ่มที่ ๒ เลี้ยงไข่กบ และสังเกตการเปลี่ยนแปลงทุกวัน กลุ่มที่ ๓ เลี้ยงหนอนผีเสื้อ และสังเกตการเปลี่ยนแปลงทุกวัน ๒. บันทึกผลการเปลี่ยนแปลงลงในตาราง พร้อมกับเขียนแผนภาพแสดง วัฏจักรชีวิตของสัตว์ตามที่สังเกตได้ ๓. น�าผลการทดลองมาเปรียบเทียบกับกลุ่มอื่น และสรุปเป็นองค์ความรู้

สําหรับครู ๑. ครูแนะน�าวิธีเลี้ยงและการให้อาหารสัตว์แต่ละชนิดแก่นักเรียนทุกกลุ่ม ๒. ครูให้นักเรียนคอยรายงานผลเป็นระยะๆ ๓. ครูอาจให้นักเรียนทดลองเลี้ยงสัตว์ชนิดอื่นที่หาได้ง่ายในท้องถิ่นก็ได้

Explain

1. ใหนักเรียนรวมกันอภิปรายวัฏจักรชีวิตของ สัตวที่ออกลูกเปนตัว 2. ใหนักเรียนชวยกันยกตัวอยางชื่อสัตวที่มี วัฏจักรชีวิตเปน 2 ระยะ เพิ่มเติมใหได มากที่สุด 3. ครูถามนักเรียนวา • มนุษยมีวัฏจักรชีวิตเปนกี่ระยะ เพราะอะไร (ตอบ 2 ระยะ ไดแก ตัวออน และตัวเต็มวัย เพราะมนุษยจัดเปนสัตวเลี้ยงลูกดวยนํ้านม ชนิดหนึ่ง)

จากการท�ากิจกรรมที่ ๓ ท�าให้นักเรียนทราบว่า สัตว์บางชนิด เช่น ยุง 1 กบ ผีเสื้อ เป็นต้น เมื่อไข่ที่ได้รับการผสมพันธุ์จะเจริญเป็นตัวอ่อน และตัวอ่อน เจริญเติบโต ซึ่งในระหว่างช่วงนี้ตัวอ่อนจะมีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างอย่างเห็น ได้ชดั จนกลายเป็นตัวเต็มวัย จนกระทัง่ สามารถสืบพันธุ์ได้ หมุนเวียนเป็นวัฏจักร

➜ ➜

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

ตัวโมงของลูกนํ้ายุงเทียบไดกับวัฏจักรชีวิตของผีเสื้อในระยะใด 1. ไข 2. ตัวออน 3. ดักแด 4. ตัวเต็มวัย

วิเคราะหคําตอบ ตัวโมงของลูกนํ้ายุง เปนระยะที่หยุดกินอาหารและเปน ระยะสุดทายกอนที่จะเขาสูระยะตัวเต็มวัย ซึ่งจะเทียบไดกับระยะดักแดของ ผีเสื้อ ดังนั้น ขอ 3. จึงเปนคําตอบที่ถูกตอง

เกร็ดแนะครู ครูอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียนเขาใจวา สัตวตางๆ มีประโยชนตอคนเรา การนํา สัตวมาทําการทดลองควรทําดวยความเมตตา ไมแกลงหรือทําอันตรายสัตวเพราะ ความสนุกสนาน เพราะไมวาจะเปนสัตวชนิดใดก็ตามก็เปนสิ่งมีชีวิตเชนเดียวกับ คนเรา ดังนั้น เราจึงตองรูจักคุณคาของสิ่งมีชีวิต

นักเรียนควรรู 1 ผีเสื้อ (butterfifly) มีลักษณะ ดังนี้ • มีหนวด 2 เสนที่หัว หนวดเปนเสนมีตุมที่ปลายหนวด • มีสีสันสดใส ลําตัวเรียวยาว • เวลากางปกจะพับปกไว • ออกหากินในเวลากลางวัน คู่มือครู

43


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

Engage

Explore

อธิบายความรู้

อธิบายความรู้ อธิบExplain ายความรู้

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

Explain

1. ใหแตละกลุมรวมกันอภิปรายวาจะนําความรู เรื่องวัฏจักรชีวิตของสัตวไปใชประโยชนได อยางไรบาง 2. ใหแตละกลุมสงตัวแทนออกมารายงาน แลวครู จดลงบนกระดาน ในประเด็นที่แตละกลุมเสนอ ขอมูลไมซํ้ากัน 3. ใหนักเรียนนําขอมูลบนกระดาน เปรียบเทียบ กับในหนังสือ หนา 44 แลวรวมกันสรุปเปน องคความรู

๓. การใช้ประโยชน์จากวัฏจักรชีวิตของสัตว์ การเรียนรู้เกี่ยวกับวัฏจักรชีวิตของสัตว์ ท�าให้มนุษย์น�าความรู้มาใช้ ประโยชน์มากมาย ทั้งด้านการเกษตร ด้านอุตสาหกรรม และด้านการดูแลรักษา สิ่งแวดล้อม การใช้ประโยชน์จาก วัฏจักรของสัตว์

๑) ด้านการเกษตร

๒) ด้านอุตสาหกรรม

ใช้ความรู้เกี่ยวกับวัฏจักร ชีวิตของสัตว์มาเพาะเลี้ยง สัตว์ เพื่อการใช้งานด้าน ต่างๆ เช่น - ใช้แรงงาน - ใช้เป็นพาหนะ

ใช้ความรู้เกี่ยวกับวัฏจักร ชีวิตของสัตว์มาเพิ่ม ผลผลิต เช่น - ด้านอาหาร - การผลิตเส้นไหม

๓) ด้านการดูแลรักษาสิ�งแวดล้อม ดูแลสิ่งแวดล้อม เช่น 1 การก�าจัดลูกน�้ายุงลาย การอนุรักษ์พันธุ์สัตว์ เช่น - ไม่จับสัตว์น�้าในฤดูวางไข่ - ช่วยเพาะพันธ์ุสัตว์ที่ใกล้ สูญพันธ์ุ

¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒà¡ÕèÂǡѺÇѯ¨Ñ¡ÃªÕÇÔµ¢Í§ÊÑµÇ ¹Í¡¨Ò¡¨Ð¹íÒÁÒ㪌»ÃÐ⪹ ã¹´ŒÒ¹ÍØ»âÀ¤ ºÃÔâÀ¤áÅŒÇ àÃÒ¤ÇùíÒ¤ÇÒÁÃÙŒÁÒ㪌㹴ŒÒ¹¡ÒÃ͹ØÃÑ¡É ¾Ñ¹¸Ø ÊÑµÇ áÅСÒôÙáÅÃÑ¡ÉÒÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁ´ŒÇ 44

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

นักเรียนควรรู 1 ยุงลาย เปนพาหะนําโรคไขเลือดออก ดังนั้นจึงมีการรณรงคใหกําจัดลูกนํ้า ยุงลาย โดยใหปฏิบัติ ดังนี้ • ปดฝาโองนํ้าใหมิดชิด เพื่อไมใหยุงลายลงไปวางไขได • ทําลายแหลงที่มีนํ้าขังบริเวณบานและชุมชน • ใชทรายเคมีกําจัดลูกนํ้า (ทรายอะเบท) โดยใสลงในจานของขารองตู กับขาว

เสนใยไหมไดจากสวนใดของไหม 1. ตัวไหมในระยะตัวออน 2. ตัวไหมในระยะตัวเต็มวัย 3. รังไหมในระยะเปนตัวหนอน 4. รังไหมในระยะที่เปนดักแด

วิเคราะหคําตอบ ในระยะดักแด ตัวหนอนจะสรางรังไหมหอหุมตัวเอง และรังไหมจะสามารถสาวออกเปนเสนใยเสนเล็กๆ ได ดังนั้น ขอ 4.

จึงเปนคําตอบที่ถูกตอง

ยุงลาย

44

คู่มือครู


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

อธิบายความรู้

Engage

Explore

Explain

ขยายความเข้าใจ Expand าใจ ขยายความเข้

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

ขยายความเข้าใจ

กิจกรรมรวบยอด ตอนที่ ๑ แนวคิดสําคัญ ช่วยกันสรุป ครู ให้นักเรียนแบ่ง1กลุ่ม แล้วให้แต่ละกลุ่มสรุปความรู้เกี่ยวกับการสืบพันธ์ุของสัตว์ การขยายพันธ์ุสัตว์ และวัฏจักรชีวิตของสัตว์ จากนั้นเขียนแสดงเป็นแผนผังความคิด และส่งตัวแทนน�าเสนอผลงาน ตอนที่ ๒ ลองคิด ลองทํา ๑. วาดภาพหรือติดภาพสัตว์ที่นักเรียนชอบมากที่สุดลงในสมุด และบันทึกข้อมูลตาม ตัวอย่าง

(ติดภาพ)

Expand

1. ใหแตละกลุมไปสืบคนขอมูลวัฏจักรชีวิต ของสัตวชนิดอื่นๆ (นอกเหนือจากที่เรียนใน บทเรียน) เชน หมึก หอย แมงมุม เห็บ มด กิ้งกือ แลวผลัดกันนําเสนอเพื่อขยายความรู ความเขาใจ 2. ใหนักเรียนศึกษาและเขียนแผนภาพวัฏจักร ชีวิตของสัตวในทองถิ่นมา 1 ชนิด โดยทํา ลงในสมุด หรือทํากิจกรรมรวบยอดที่ 1.7 จากแบบวัดฯ วิทยาศาสตร ป.5 ✓ แบบวัดฯ ใบงาน แบบฝกฯ ว�ทยาศาสตร ป.5 กิจกรรมรวบยอดที่ 1.7 แบบประเมินตัวช�้วัด ว 1.1 ป.5/5

สัตว์ที่ฉันชอบมากที่สุด คือ มีการสืบพันธุ์แบบ ึกขอมูล ใหนักเรียนบันทตัวนักเรียน มีการปฏิสนธิ ำ จ� ระ ป ด ุ สม ลงใน ออกลูกเป็น มีขั้นตอนการสืบพันธุ์ ดังนี้

กิจกรรมรวบยอดที่ 1.7 แบบประเมินตัวชี้วัด ว 1.1 ป.5/5 • อธิบายวัฏจักรชีวิตของสัตวบางชนิด และนําความรูไปใชประโยชน ชุดที่ 1

10 คะแนน

สืบคนขอมูลวัฏจักรชีวิตของสัตวที่สนใจ มา 1 ชนิด แลวเขียนแผนภาพแสดงวัฏจักรชีวิตของสัตว ชนิดนี้ จากนั้นเขียนอธิบายวัฏจักรชีวิตของสัตวประกอบแผนภาพ (ตัวอยาง)

๒. ดูภาพและร่วมกันอภิปรายว่า สิ่งมีชีวิตในภาพมีการสืบพันธ์ุแบบใด และมีลักษณะ การสืบพันธ์ุอย่างไร

หนอนไมไผ

ฉบับ

เฉลย ไข

ดักแด

ผีเสื้อกลางคืน

ผีเสื้อกลางคืน วัฏจักรชีวิตของ ........................................................................................................................................................................................... 1. ผีเสื้อกลางคืนตัวเมียวางไข สัตวชนิดนี้มีวัฏจักรชีวิต ดังนี้ ................................................................................................................................................................

๑) พลานาเรีย

๒) อะมีบา

2. ไขฟกเปนตัวออน (หนอนไมไผ) 3. ตัวออนพัฒนาเปนดักแด 4. ดักแดเจริญเปนตัวเต็มวัย ซึ่งเปนผีเสื้อกลางคืนชนิดหนึ่ง ............................................................................................................................................................................................................................................................... ...............................................................................................................................................................................................................................................................

๓) ดาวทะเล

...............................................................................................................................................................................................................................................................

ตัวชี้วัด ว 1.1 ขอ 5

ไดคะแนน คะแนนเต็ม

10

๓. แบ่งกลุ่ม ให้แต่ละกลุ่มสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับการผสมเทียมสัตว์ ๑ ชนิด และจัดทํา เป็นรายงาน พร้อมกับติดภาพประกอบ จากนั้นส่งตัวแทนออกมารายงานหน้าชั้น

23

45

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

การผสมเทียมมีวิธีการอยางไร 1. สัตวที่มี 2 เพศ ผสมพันธุในตัวเอง 2. สัตวตางชนิดผสมพันธุกัน 3. สัตวเพศผูปลอยอสุจิในสัตวเพศเมีย 4. การนํานํ้าเชื้อจากสัตวเพศผูผสมกับไขของสัตวเพศเมีย

วิเคราะหคําตอบ การผสมเทียม เปนการนํานํ้าเชื้อจากสัตวเพศผูมาผสม กับไขของสัตวเพศเมีย โดยที่สัตวไมตองผสมพันธุกันเองตามธรรมชาติ ดังนั้น ขอ 4. จึงเปนคําตอบที่ถูกตอง

นักเรียนควรรู 1 การขยายพันธุสัตว ประเทศไทยไดมีการศึกษา และพัฒนาการใชเทคโนโลยี ในการเพิ่มผลทางการเกษตรที่เกี่ยวของกับสัตวเพิ่มขึ้น โดยใชเทคโนโลยีชีวภาพ เชน การผสมเทียม การฝากถายตัวออน การโคลนนิ่ง พันธุวิศวกรรม ทําใหสามารถนํา ไปใชประโยชนในดานตางๆ เชน ดานการเกษตรกรรม อุตสาหกรรมการแพทย และดานอาหาร ทําใหประเทศไทยมีผลผลิตเพื่อใชในการอุปโภคและบริโภคอยาง เพียงพอ ไมประสบปญหาหารขาดแคลนอาหาร และยังสามารถเปนสินคาสงออกที่ สําคัญของประเทศไดอีกดวย

คู่มือครู

45


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

อธิบายความรู้

Engage

Explore

Explain

ขยายความเข้าใจ

ขยายความเข้าใจ Expand าใจ ขยายความเข้

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Expand

1. ใหนกั เรียนอานจดหมายหนา 46 แลวใชความรู เรื่องวัฏจักรชีวิตเขียนตอบจดหมาย 2. ครูสมุ เรียกนักเรียนครัง้ ละ 1 คน อานจดหมาย ที่ตนเองเขียนตอบไป 3. ใหเพื่อนๆ รวมกันอภิปรายเกี่ยวกับการ ตอบจดหมายของเพื่อนวา ตอบไดชัดเจน ตรงประเด็นหรือไม 4. ใหนักเรียนทํากิจกรรมรวบยอด ตอนที่ 3 หนา 46 ลงในสมุด

๔. ศึกษาและเขียนแผนภาพวัฏจักรชีวิตของสัตว์ในท้องถิ่นที่สนใจมา ๑ ชนิด (ไม่ซ�้า กับในบทเรียน) และเขียนอธิบายวัฏจักรของสัตว์ชนิดนั้นลงในสมุด ๕. ใช้ความรู้ที่เรียนมา เขียนตอบจดหมายฉบับนี้ลงในสมุด สวัสดีครับ เพื่อนๆ ผมเกิดมาก�าพร้าพ่อแม่ ผมอาศัยอยู่ในแอ่งน�้าเล็กๆ แห่งหนึ่ง ในแอ่งน�้าที่ผม อยู่มีสัตว์รูปร่างประหลาดๆ อยู่มากมาย ลุงปลาช่อนบอกว่า พวกเขาเป็นพี่น้อง ของผม แต่ท�าไมผมจึงมีรูปร่างไม่เหมือนพวกเขาเลยครับ พวกเขาบางตัวก็มี รูปร่างคล้ายผม แต่มขี าด้วย บางตัวก็มรี ป ู ร่างไม่เหมือนผม ผมผิดปกติหรือเปล่า แล้วพ่อแม่ของผมล่ะครับหน้าตาเป็นอย่างไร เพื่อนๆ ช่วยบอกผมหน่อยนะครับ จาก ลูกออด

๖. แบ่งกลุ่ม ให้แต่ละกลุ่มสืบค้นข้อมูลและร่วมกันอภิปรายว่า จะน�าความรู้เรื่อง วัฏจักรชีวิตของสัตว์ไปใช้ประโยชน์อย่างไรบ้าง และบันทึกข้อมูล ตอนที่ ๓ คําถามวิทย์คิดสนุก ตอบคําถามต่อไปนี้ลงในสมุด ๑) การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของสัตว์มีลักษณะอย่างไร ๒) สัตว์ประเภทใดมีการปฏิสนธิภายนอกร่างกาย ๓) สัตว์ที่มีลักษณะอย่างไรที่คนคัดเลือกมาขยายพันธุ์ บอกมา ๓ ลักษณะ ๔) การผสมเทียมมีวิธีการอย่างไร ๕) สัตว์ชนิดใดที่มีการเปลี่ยนแปลงเป็น ๓ ระยะ บอกมา ๓ ชนิด ๖) สัตว์ชนิดใดบ้าง มีวัฏจักรชีวิตดังแผนภาพ ไข่ บอกมา ๓ ชนิด ตัวเต็มวัย

ตัวอ่อน

ดักแด้ 46

เกร็ดแนะครู ครูอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียนเขาใจวา วัฏจักรชีวิตของแมลงที่มีการ เปลี่ยนแปลงรูปรางแบบสมบูรณ จะมีการเปลี่ยนแปลงเปน 4 ระยะ ไดแก • ระยะที่ 1 ไข • ระยะที่ 2 ตัวออน ซึ่งมีรูปรางแตกตางจากพอแมมาก และกินอาหาร แตกตางจากพอแม และลอกคราบหลายครัง้ เมือ่ เจริญเต็มทีจ่ ะหยุดกินอาหาร เพือ่ เขาสูร ะยะที่ 3 • ระยะที่ 3 ดักแด ระยะนี้แมลงบางชนิดจะปนใยไหมหอหุมตัวเอง ในระยะนี้ มันจะหยุดนิ่งและมีการเปลี่ยนแปลงรูปรางลักษณะไปเปนแมลงที่สมบูรณ • ระยะที่ 4 ตัวเต็มวัย เมื่อครบกําหนด ตัวเต็มวัยก็จะเจาะรังใยไหมออกมา

46

คู่มือครู

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

ยุงมีการเปลี่ยนแปลงรูปรางเพื่อการเจริญเติบโตเหมือนสัตวในขอใด 1. ผีเสื้อ 2. จิ้งหรีด 3. แมลงสาบ 4. ตั๊กแตน วิเคราะหคําตอบ ยุงมีการเปลี่ยนแปลงรูปรางขณะเจริญเติบโตเปน 4 ขั้น คือ ไข ตัวออน ดักแด และตัวเต็มวัย ซึ่งผีเสื้อก็มีการเปลี่ยนแปลง รูปรางขณะเจริญเติบโตเปน 4 ขั้นเชนเดียวกัน ดังนั้น ขอ 1. จึงเปน

คําตอบที่ถูกตอง

กิจกรรมทาทาย ใหนักเรียนเลือกสัตวที่นักเรียนสนใจมา 1 ชนิด โดยให • เขียนวัฏจักรชีวิตของสัตวที่เลือกมา • อธิบายลักษณะในแตละระยะของสัตวที่มีการเปลี่ยนแปลง • บอกประโยชนของสัตวชนิดนี้


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

อธิบายความรู้

ขยายความเข้าใจ

Engage

Explore

Explain

Expand

ตรวจสอบผล Evaluate ตรวจสอบผล Evaluate

ตรวจสอบผล

สาระส�าคัญ จดจ�าไว้

การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมในครอบครัว ท�าให้คนที่อยู่ ในครอบครัวเดียวกัน มีลักษณะ บางอย่างเหมือนกัน

ืช ด อ

ศ ึก ษ า

รร ม า ง พั น ธ ุก

์ุของ

รอบ

ก า ร สื บ

ยทอ

ในค

ค ร ัว

ถ ่า การ

องคน

การขยายพันธุพ์ ชื เป็นการท�าให้ ต้นพืชมีจา� นวนเพิม่ ขึน้ ท�าได้หลาย วิธี เช่น เพาะเมล็ด ปักช�า ติดตา ทาบกิ่ง

พัน ธ

ลัก ษ ณ ะ ข

ณะท ด ล ัก ษ

พืชดอกมีการสืบพันธุ์ ๒ แบบ แบบอาศัยเพศ การสืบพันธุท์ มี่ กี ารผสมกันของเซลล์ สืบพันธุ์เพศผู้กับเซลล์สืบพันธุ์เพศเมีย แบบไม่อาศัยเพศ การสืบพันธุท์ ี่ไม่มกี ารผสมกันของ เซลล์สืบพันธุ์เพศผู้กับเซลล์สืบพันธุ์เพศเมีย

การขยายพันธ์ุพืช

ชีวิ ต พืช

วัฏจักรชีวิตของสัตว์ เมื่อสัตว์ ได้รับการผสมพันธุ์จะเจริญเป็น ตัวอ่อน ▲ตัวเต็มวัย ▲สืบพันธุ์ ▲ออกลูก

วัฏจักรชีวิตของพืชดอก เริ่มเมื่อพืชดอกเจริญเติบโต ▲ออกดอก ดอกได้รับการผสม ▲เกิดผล ผลมีเมล็ด เมล็ดงอกเป็นพืชต้นใหม่

สืบพันธ์ุของสัตว์

พ ยาย การข

ตั ว์ วฏั จกั รของส

ก าร

เรยี นรชู้ วี ติ สตั ว์

นั ธส์ุ ตั ว์

1. ครูตรวจสอบการเขียนแผนภาพวัฏจักรชีวิต ของสัตววา ถูกตองชัดเจนหรือไม และเขียน อธิบายไดถูกตอง สัมพันธกับแผนภาพหรือไม 2. ครูพิจารณาการตอบจดหมายของนักเรียนวา ใชความรูมาตอบจดหมายหรือไม และตอบ ไดถูกตองชัดเจนหรือไม 3. ครูตรวจสอบการตอบคําถามจากกิจกรรม รวบยอด ตอนที่ 3 วาถูกตองหรือไม

หลักฐานแสดงผลการเรียนรู

วฏั จกั รชวี ติ ของพชื ดอก

ÁËÑȨÃàÊÔè§ÁÕªÕÇÔµ

Evaluate

1. 2. 3. 4.

สัตว์มีการสืบพันธุ์ ๒ แบบ แบบอาศัยเพศ เพศ เป็ เป็นการสืบพันธุ์ที่มีการผสม ระหว่างอสุจิกับไข่ แบบไม่อาศัยเพศ เป็ เพศ นการสืบพันธุ์ที่ไม่ต้องมี การผสมระหว่างอสุจิกับไข่

ใบบันทึกผลกิจกรรมหนูนอยนักสํารวจ บัตรภาพสัตว และการบันทึกขอมูล รายงานการผสมเทียมสัตว แผนภาพวัฏจักรชีวิตของสัตว และการเขียน อธิบายประกอบแผนภาพ

การคัดเลือกพันธุ์สัตว์ เป็นการเลือกสัตว์ที่มีลักษณะดี เช่น แข็งแรง ทนทาน คือ การน�าน�้าเชื้อจากสัตว์เพศผู้มาผสม การผสมเทียมม คื กับไข่ของสัตว์เพศเมียโดยสัตว์ ไม่ต้องผสมพันธุ์กันเอง ตามธรรมชาติ

ตรวจสอบตนเอง

นักเรียนลองสังเกตตนเองดูว่า ปฏิบัติสิ่งเหล่านี้ได้หรือไม่  เปรียบเทียบลักษณะของตนเองกับคนในครอบครัวได้  อธิบายการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิตได้  บอกส่วนประกอบของดอกไม้ชนิดต่างๆ ได้ถูกต้อง  บอกส่วนประกอบของดอกที่เกี่ยวข้องกับการสืบพันธ์ุ และอธิบายการสืบพันธ์ุของพืชดอกได้ถูกต้อง  อธิบายการขยายพันธ์ุพืช และน�าไปปฏิบัติได้  อธิบายวัฏจักรชีวิตของพืชดอกบางชนิดได้  อธิบายการสืบพันธ์ุและการขยายพันธ์ุสัตว์ โดยการคัดเลือกพันธ์ุและการผสมเทียมได้  อธิบายวัฏจักรชีวิตของสัตว์บางชนิด และน�าไปใช้ประโยชน์ ได้

47

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

ขอใดไมใชวิธีการหรือขั้นตอนการขยายพันธุสัตว 1. การคัดแยกพันธุ 2. การผสมเทียม 3. การฝากถายตัวออน 4. การผสมพันธุตามธรรมชาติ

วิเคราะหคําตอบ การขยายพันธุสัตวใหไดผลดีนั้น ตองมีการคัดเลือกพันธุ สัตว เพื่อใหไดผลผลิตดีตามตองการ ซึ่งมีหลายวิธี เชน การผสมเทียม การ ฝากตัวออน การโคลนนิ่ง เปนตน ดังนั้น ขอ 4. จึงเปนคําตอบที่ถูกตอง

เกร็ดแนะครู เมื่อเรียนจบหนวยนี้แลว ครูใหนักเรียนชวยกันสรุปความรูทั้งหมดที่ไดจาก หนวยการเรียนรูนี้ โดยครูใชเทคนิคการเขียนแผนผังความคิดเปนเครื่องมือในการ ใหนักเรียนไดระดมสมองในการสรุปบทเรียน โดยใหนักเรียนผลัดกันออกมาเขียน สิ่งที่ตนเองรูในรูปแผนผังความคิด เมื่อเรียนจบหนวยแลว ครูใหนักเรียนแตละคนตรวจสอบตนเองในแตละหัวขอ ถานักเรียนสามารถปฏิบัติไดในแตละหัวขอ แสดงวาเกิดความรูความเขาใจติดตัว คงทน แตถาหัวขอใดนักเรียนปฏิบัติไมได ใหครูชวยสอนซอมเสริม

คู่มือครู

47


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.