8858649121257

Page 1

คูมือครู 㪌»ÃСͺ¡ÒÃÊ͹ËÇÁ¡Ñº

˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ©ºÑº »ÃСѹÏ

ภาพปกนี้มีขนาดเทากับหนังสือเรียนฉบับจริงของนักเรียน

กระบวนการสอนแบบ 5 Es ชวยสรางทักษะการเรียนรู กิจกรรมมุงพัฒนาทักษะการคิด คำถาม + แนวขอสอบเพื่อยกผลสัมฤทธิ์ O-NET กิจกรรมบูรณาการเตรียมพรอมสู ASEAN 2558


เอกสารประกอบคูมือครู

กลุมสาระการเรียนรู สุขศึกษาและพลศึกษา

สุขศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่

1

สําหรับครู

คูมือครู Version ใหม

ลักษณะเดน

ขยายพื้นที่รูปเลมใหญขึ้นกวาเดิม จัดแบงพื้นที่ออกเปนโซน เพื่อคนหาขอมูลไดงาย สะดวก รวดเร็ว และดูเปนระเบียบ กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล

กระตุน ความสนใจ

Evaluate

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

เปาหมายการเรียนรู สมรรถนะของผูเรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค

หน า

โซน 1 กระตุน ความสนใจ

Engage

สํารวจคนหา

Explore

อธิบายความรู

Explain

ขยายความเขาใจ

Expand

ตรวจสอบผล

หน า

หนั ง สื อ เรี ย น

โซน 1

หนั ง สื อ เรี ย น

Evaluate

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

O-NET บูรณาการเชื่อมสาระ

เกร็ดแนะครู

ขอสอบ

โซน 2

โซน 3

กิจกรรมสรางเสริม กิจกรรมทาทาย

นักเรียนควรรู

โซน 3

โซน 2 บูรณาการอาเซียน มุม IT

No.

คูมือครู

คูมือครู

No.

โซน 1 ขั้นตอนการสอนแบบ 5Es

โซน 2 ชวยครูเตรียมสอน

โซน 3 ชวยครูเตรียมนักเรียน

เพื่อใหครูเตรียมจัดกิจกรรมการเรียน การสอน โดยแนะนําขั้นตอนการสอนและ การจัดกิจกรรมแบบ 5Es อยางละเอียด เพื่อใหนักเรียนบรรลุตามตัวชี้วัด

เพื่อชวยลดภาระครูผูสอน โดยแนะนํา เกร็ดความรูสําหรับครู ความรูเสริมสําหรับ นักเรียน รวมทั้งบูรณาการความรูสูอาเซียน และมุม IT

เพื่อใหครูสะดวกตอการจัดกิจกรรม โดย แนะนํากิจกรรมบูรณาการเชือ่ มระหวางสาระหรือ กลุมสาระการเรียนรู วิชา กิจกรรมสรางเสริม กิจกรรมทาทาย รวมถึงเนื้อหาที่เคยออกขอสอบ O-NET แนวขอสอบ NT/O-NET ทีเ่ นนการคิด พรอมเฉลยและคําอธิบายอยางละเอียด


ที่ใชในคูมือครู

แถบสีและสัญลักษณ

แถบสีแสดงขั้นตอนการสอนและการจัดกิจกรรม แบบ 5Es เพื่อใหครูทราบวาเปนขั้นการสอนขั้นใด

1. แถบสี 5Es สีแดง

สีเขียว

กระตุน ความสนใจ

เสร�ม

สํารวจคนหา

Engage

2

เปนขั้นที่ผูสอนเลือกใช เทคนิคกระตุน ความสนใจ เพื่อโยง เขาสูบทเรียน

สีสม

อธิบายความรู

Explore

เปนขั้นที่ผูสอน ใหผูเรียนสํารวจ ปญหา และศึกษา ขอมูล

สีฟา

Explain

เปนขั้นที่ผูสอน ใหผูเรียนคนหา คําตอบ จนเกิดความรู เชิงประจักษ

สีมวง

ขยายความเขาใจ Expand

เปนขั้นที่ผูสอน ใหผูเรียนนําความรู ไปคิดคนตอๆ ไป

ตรวจสอบผล Evaluate

เปนขั้นที่ผูสอน ประเมินมโนทัศน ของผูเรียน

2. สัญลักษณ สัญลักษณ

วัตถุประสงค

• เปาหมายการเรียนรู

• หลักฐานแสดง ผลการเรียนรู

• เกร็ดแนะครู

แทรกความรูเสริมสําหรับครู ขอเสนอแนะ ขอควรระวัง ขอสังเกต แนวทางการจัด กิจกรรมและอื่นๆ เพื่อประโยชนในการ จัดการเรียนการสอน ขยายความรูเพิ่มเติมจากเนื้อหา เพื่อให ครูนําไปใชอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียน ไดมีความรูมากขึ้น

ความรูหรือกิจกรรมเสริม ใหครูนําไปใช เตรียมความพรอมใหกับนักเรียนกอนเขาสู ประชาคมอาเซียนใน พ.ศ. 2558 โดย บูรณาการกับวิชาที่กําลังเรียน

บูรณาการอาเซียน

คูม อื ครู

แสดงรองรอยหลักฐานตามภาระงาน ที่ครูมอบหมาย เพื่อแสดงผลการเรียนรู ตามตัวชี้วัด

• นักเรียนควรรู

มุม IT

แสดงเปาหมายการเรียนรูที่นักเรียน ตองบรรลุตามตัวชี้วัด ตลอดจนสมรรถนะ ที่จะตองมี และคุณลักษณะที่พึงเกิดขึ้น กับนักเรียน

แนะนําแหลงคนควาจากเว็บไซต เพื่อให ครูและนักเรียนไดเขาถึงขอมูลความรู ที่หลากหลาย ทั้งไทยและตางประเทศ

สัญลักษณ

ขอสอบ

วัตถุประสงค

O-NET

ชี้แนะเนื้อหาที่เคยออกขอสอบ O-NET โดยยกตัวอยางขอสอบ พรอมวิเคราะหคําตอบ อยางละเอียด

เปนตัวอยางขอสอบที่มุงเนน การคิดและเปนแนวขอสอบ NT/O-NET ในระดับมัธยมศึกษา ตอนตน มีทั้งปรนัย - อัตนัย พรอมเฉลยอยางละเอียด

เปนตัวอยางขอสอบที่มุงเนน การคิดและเปนแนวขอสอบ O-NET ในระดับมัธยมศึกษา ตอนปลาย มีทั้งปรนัย - อัตนัย พรอมเฉลยอยางละเอียด

แนะนําแนวทางการจัดกิจกรรม เชื่อมกับสาระหรือกลุมสาระ การเรียนรู ระดับชัน้ หรือวิชาอืน่ ที่เกี่ยวของ

แนะนําแนวทางการจัดกิจกรรม ซอมเสริมสําหรับนักเรียนที่ควร ไดรับการพัฒนาการเรียนรู

แนะนําแนวทางการจัดกิจกรรม ตอยอดสําหรับนักเรียนที่เรียนรู ไดอยางรวดเร็ว และตองการ ทาทายความสามารถในระดับ ที่สูงขึ้น

(เฉพาะวิชา ชัน้ ทีส่ อบ O-NET)

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T (เฉพาะระดับชัน้ มัธยมศึกษาตอนตน)

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET (เฉพาะระดับชัน้ มัธยมศึกษาตอนปลาย)

บูรณาการเชื่อมสาระ

กิจกรรมสรางเสริม

กิจกรรมทาทาย


คําแนะนําการใชคูมือครู การออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอน คูม อื ครู รายวิชา สุขศึกษา ม.1 จัดทําขึน้ เพือ่ ใหครูผสู อนนําไปใชเปนแนวทางวางแผนการสอนเพือ่ พัฒนาผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน และประกันคุณภาพผูเรียน ตามนโยบายของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) โดยใช หนังสือเรียน สุขศึกษา ม.1 ของบริษัท อักษรเจริญทัศน อจท. จํากัด เปนสื่อหลัก (Core Material) ประกอบการสอน เสร�ม และการจัดกิจกรรมการเรียนรูใ หสอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรูแ ละตัวชีว้ ดั กลุม สาระการเรียนรู สุขศึกษาและพลศึกษา 3 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พ.ศ. 2551 โดยออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนตามหลักการสําคัญ ดังนี้ 1 ออกแบบการสอนเปนหนวยการเรียนรูอิงมาตรฐาน คูมือครู รายวิชา สุขศึกษา ม.1 วางแผนการสอนโดยแบงเปนหนวยการเรียนรูตามลําดับสาระ (Strand) และ หมายเลขขอของมาตรฐานการเรียนรูแ ละตัวชีว้ ดั แตละหนวยจะกําหนดเปาหมายการเรียนรูแ ละจุดประสงคการเรียนรู (Objective Learning) กิจกรรมการเรียนรู (Learning Activities) และแนวทางการประเมินผลการเรียนรู (Learning Evaluation) ไวชัดเจน ครูผูสอนสามารถจัดทําแผนการสอนใหครอบคลุมมาตรฐานการเรียนรู ตัวชี้วัด สมรรถนะ และคุณลักษณะ อันพึงประสงคที่เปนเปาหมายการเรียนรูตามที่กําหนดไวในสาระแกนกลาง (ตามแผนภูมิ) และสามารถบันทึกผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนของผูเรียนแตละคนลงในเอกสาร ปพ.5 ไดอยางมั่นใจ แผนภูมิแสดงความสัมพันธขององคประกอบการออกแบบการเรียนรูอิงมาตรฐานและเนนผูเรียนเปนสําคัญ

พผ

ูเ

จุ ด ป ร

ะสง

คก า

ส ภา

รี ย น

รู ีเรยน

มาตรฐานการเรียนรู ตัวชี้วัดชั้นป

ทักษะการคิด การวัดประเมินผล การเรียนรู

กิจกรรมการเรียนรู

เทคนิคการสอน คูม อื ครู


2 การจัดการเรียนรูที่ยึดผูเรียนเปนสําคัญ แนวคิ ด ในการจั ด การเรี ย นการสอนที่ ยึ ด ผู  เ รี ย นเป น สํ า คั ญ พั ฒ นามาจากปรั ช ญาและทฤษฎี ก ารเรี ย นรู  Constructivism ที่เชื่อวา การเรียนรูเปนกระบวนการที่เกิดขึ้นภายในสมองของผูเรียนแตละคน ผูเรียนเปนผูสรางความรู โดยการเชื่อมโยงระหวางสิ่งที่ไดเรียนรูจากบทเรียนใหมกับความรูหรือประสบการณเดิมที่มีอยู ทฤษฎีนี้มีความเชื่อวา ผูเรียนทุกคนไดเรียนรูและมีการสั่งสมความรูความเขาใจเกี่ยวกับสิ่งตางๆ ติดตัวมากอน ทีจ่ ะเขาสูห อ งเรียน ซึง่ เปนการเรียนรูท เี่ กิดจากประสบการณและสิง่ แวดลอมรอบตัวผูเ รียนแตละคน ดังนัน้ การจัดกิจกรรม เสร�ม การเรียนการสอนในแตละหนวยการเรียนรู ผูสอนจะตองคํานึงถึง

4

1. ความรูเดิมของผูเรียน วิธีการสอนที่ดีจะตองเริ่มตนจากจุดที่วา ผูเ รียนมีความรูอ ะไรมาบาง แลวจึงใหความรู หรือประสบการณใหม เพื่อตอยอดจาก ความรูเดิม นําไปสูการสรางความรู ความเขาใจใหม

2. ความรูเดิมของผูเรียนถูกตองหรือไม ผูส อนตองปรับเปลีย่ นความรูค วามเขาใจเดิม ของผูเรียนใหถูกตอง และเปนพฤติกรรม การเรียนรูใ หมทมี่ คี ณุ คาตอผูเรียน เพื่อสราง เจตคติหรือทัศนคติที่ดีตอการเรียนรู สิ่งเหลานั้น

3. ผูเรียนสรางความหมายสําหรับตนเอง ผูสอนตองสงเสริมใหผูเรียนนําความรู ความเขาใจที่เกิดขึ้นไปลงมือปฏิบัติ เพื่อขยายความรูใหลึกซึ้งและมีคุณคา ตอตัวผูเรียนมากที่สุด

แนวคิด Constructivism เนนใหผูเรียนสรางความรูโดยผานกระบวนการคิดและความอยากรูของตนเอง โดยมีผูสอนเปนผูสรางบรรยากาศ

การเรียนรูและกระตุนความสนใจ คอยจัดสถานการณใหผูเรียนเกิดความขัดแยงทางความคิดระหวางประสบการณเดิมกับประสบการณ ความรูใ หม เพือ่ กระตนุ ใหผเู รียนเชือ่ มโยงความรู ความคิด กับประสบการณทมี่ อี ยูเ ดิม แลวสังเคราะหเปนความรูห รือแนวคิดใหมๆ ไดดว ยตนเอง

3 การบูรณาการกระบวนการคิด การเรียนรูของผูเรียนแตละคนจะเกิดขึ้นที่สมอง ซึ่งเปนอวัยวะที่ทําหนาที่รูคิดภายใตสภาพแวดลอมที่เอื้ออํานวย และไดรบั การกระตนุ จูงใจอยางเหมาะสม สอดคลองกับสภาพจิตใจและความตองการของผูเ รียนแตละคน การจัดกิจกรรม การเรียนรูและสาระการเรียนรูที่สอดคลองกับความสนใจและมีความหมายตอผูเรียน จะชวยกระตุนใหสมองของผูเรียน สามารถรับรูและเรียนรูไดอยางมีประสิทธิภาพตามขั้นตอนการทํางานของสมอง ดังนี้ 1. สมองจะเรียนรูและสืบคน โดยการสังเกต คนหา ซักถาม และทดลอง ปฏิบัติ จนทําใหคนพบความรูความเขาใจ ไดอยางรวดเร็ว

2. สมองจะแยกแยะคุณคาของสิ่งตางๆ โดยการตัดสินใจวิพากษวิจารณ แสดง ความคิดเห็น ยอมรับหรือตอตานตาม อารมณความรูสึกที่เกิดขึ้นในขณะที่เรียนรู

3. สมองจะประมวลเนื้อหาสาระ โดยการสรุปเปนความคิดรวบยอดจาก เรื่องราวที่ไดเรียนรูใหมนําไปผสมผสานกับ ความรูห รือประสบการณเดิมทีถ่ กู จัดเก็บอยูใ น สมอง ผานการกลัน่ กรองเพือ่ สังเคราะหเปน ความรูค วามเขาใจใหมๆ หรือเปนทัศนคติใหม ที่จะเก็บบรรจุไวในสมองของผูเรียน

การเรียนรูที่มีประสิทธิภาพจึงตองเปนการเรียนรูที่เกิดจากกระบวนการคิดของผูเรียน เพราะการเรียนรูจะเกิดขึ้น เมื่อสมองรูคิด และตองเปนการคิดไดครบถวนตามขั้นตอนการทํางานของสมองผูเรียน โดยเริ่มตนจาก 1. ระดับการคิดพื้นฐาน ไดแก การสังเกต การจําแนก การคาดคะเน การสื่อความหมาย การรวบรวมขอมูล การสรุปผล เปนตน

คูม อื ครู

2. ระดับลักษณะการคิด ไดแก การคิดกวาง คิดลึกซึ้ง คิดไกล คิดหลากหลาย คิดคลอง คิดอยางมีเหตุผล เปนตน

3. ระดับกระบวนการคิด ไดแก กระบวนการคิดอยางมีวิจารณญาณ กระบวนการแกปญหา กระบวนการ คิดสรางสรรค กระบวนการคิดสังเคราะห เปนตน


5Es การจัดกิจกรรมตามขั้นตอนวัฏจักรการเรียนรู 5Es ขั้นตอนการสอนที่สัมพันธกับขั้นตอนการคิดและการทํางานทางสมองของผูเรียนที่นิยมใชอยางแพรหลาย คือ วัฏจักรการเรียนรู 5Es ซึ่งผูจัดทําคูมือครูไดนํามาใชเปนแนวทางออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนในแตละหนวย ตามลําดับขั้นตอนการเรียนรู ดังนี้ ขั้นที่ 1

กระตุนความสนใจ

(Engage)

เสร�ม

5

เปนขั้นที่ผูสอนนําเขาสูบทเรียน เพื่อกระตุนความสนใจของผูเรียนดวยเรื่องราวหรือเหตุการณที่นาสนใจโดยใชเทคนิควิธีการ และคําถามทบทวนความรูหรือประสบการณเดิมของผูเรียน เพื่อเชื่อมโยงผูเรียนเขาสูความรูของบทเรียนใหม ชวยใหผูเรียนสามารถ สรุปความสําคัญหัวขอและสาระการเรียนรูของบทเรียนได จึงเปนขั้นตอนการสอนที่สําคัญ เพราะเปนการเตรียมความพรอมและสราง แรงจูงใจใฝเรียนรูแกผูเรียน

ขั้นที่ 2

สํารวจคนหา

(Explore)

เปนขัน้ ทีผ่ สู อนเปดโอกาสใหผเู รียนลงมือศึกษา สังเกต หรือรวมมือกันสํารวจ เพือ่ ใหเห็นขอบขายของประเด็นหรือปญหา รวมถึง วิธีการศึกษาคนควา การรวบรวมขอมูลความรูที่จะนําไปสูการสรางความเขาใจประเด็นหรือปญหานั้นๆ เมื่อผูเรียนทําความเขาใจใน ประเด็นหรือปญหาที่จะศึกษาคนควาอยางถองแทแลว ก็ลงมือปฏิบัติเพื่อเก็บรวบรวมขอมูลความรู สํารวจตรวจสอบ โดยวิธีการตางๆ เชน สัมภาษณ ทดลอง อานคนควาขอมูลจากเอกสาร แหลงขอมูลตางๆ จนไดขอมูลความรูที่เกี่ยวของกับประเด็นหรือปญหาที่ศึกษา

ขั้นที่ 3

อธิบายความรู

(Explain)

เปนขั้นที่ผูสอนมีปฏิสัมพันธกับผูเรียน เชน ใหการแนะนํา ตั้งคําถามกระตุนใหคิด เพื่อใหผูเรียนคนหาคําตอบ และนําขอมูล ความรูจากการศึกษาคนควาในขั้นที่ 2 มาวิเคราะห สรุปผล และนําเสนอผลที่ไดศึกษาคนความาในรูปแบบสารสนเทศตางๆ เชน เขียนแผนภูมิ ผังมโนทัศน เขียนความเรียง เขียนรายงาน เปนตน ในขั้นตอนนี้ฝกใหผูเรียนใชสมองคิดวิเคราะหและสังเคราะห อยางเปนระบบ

ขั้นที่ 4

ขยายความเขาใจ

(Expand)

เปนขั้นที่ผูสอนเลือกใชเทคนิควิธีสอนตางๆ ที่สงเสริมใหผูเรียนนําความรูที่เกิดขึ้นไปคิดคนสืบคนตอๆ ไป เพื่อพัฒนาทักษะ การเรียนรูและการทํางานรวมกันเปนกลุม ระดมสมองเพื่อคิดสรางสรรครวมกัน ผูเรียนสามารถนําความรูที่สรางขึ้นใหมไปเชื่อมโยง กับประสบการณเดิมโดยนําขอสรุปทีไ่ ดไปใชอธิบายเหตุการณตา งๆ หรือนําไปปฏิบตั ใิ นสถานการณใหมๆ ทีเ่ กีย่ วของกับชีวติ ประจําวัน ของตนเอง เพื่อขยายความรูความเขาใจใหกวางขวางยิ่งขึ้น ในขั้นตอนนี้ฝกสมองของผูเรียนใหสามารถคิดริเริ่มสรางสรรคอยางมี คุณภาพ เสริมสรางวิสัยทัศนใหกวางไกลออกไป

ขั้นที่ 5

ตรวจสอบผล

(Evaluate)

เปนขัน้ ทีผ่ สู อนประเมินมโนทัศนของผูเ รียน โดยตรวจสอบจากความคิดทีเ่ ปลีย่ นไปและความคิดรวบยอดทีเ่ กิดขึน้ ใหม ตรวจสอบ ทักษะ กระบวนการปฏิบัติ การแกปญหา การตอบคําถามรวบยอด หรือการเคารพความคิดหรือยอมรับเหตุผลของคนอื่น เพื่อการ สรางสรรคความรูร ว มกัน ผูเ รียนสามารถประเมินผลการเรียนรูข องตนเอง เพือ่ สรุปผลวามีความรูอ ะไรเพิม่ ขึน้ มาบาง เกิดความเขาใจ มากนอยเพียงใด และจะนําความรูเหลานั้นไปประยุกตใชในการเรียนรูเรื่องอื่นๆ หรือในชีวิตประจําวันไดอยางไร ผูเรียนจะเกิดเจตคติ และเห็นคุณคาของตนเองจากผลการเรียนรูที่เกิดขึ้น ซึ่งเปนการเรียนรูที่มีความสุขอยางแทจริง

การจัดกิจกรรมการเรียนรูตามขั้นตอนวัฏจักรการเรียนรู 5Es จึงเปนรูปแบบการเรียนการสอนที่เนนผูเรียน เปนสําคัญอยางแทจริง เพราะสงเสริมใหผูเรียนไดเรียนรูตามขั้นตอนของกระบวนการสรางความรูดวยตนเอง และ ฝกฝนใหใชกระบวนการคิดและกระบวนการกลุมอยางชํานาญ กอใหเกิดทักษะชีวิต ทักษะการทํางาน และทักษะการ เรียนรูที่มีประสิทธิภาพ สงผลตอการยกระดับผลสัมฤทธิ์ของผูเรียน ตามเปาหมายของการปฏิรูปการศึกษาทศวรรษที่ 2 (พ.ศ. 2552-2561) ทุกประการ คูม อื ครู


O-NET การเพิ่มผลสัมฤทธิ์ O-NET

การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามขั้นตอนวัฏจักรการเรียนรู 5Es ในแตละหนวยการเรียนรู ทางผูจัดทํา จะเสนอแนะวิธีสอน รูปแบบกิจกรรมการเรียนรู พรอมทั้งออกแบบเครื่องมือวัดและประเมินผลที่สอดคลองกับตัวชี้วัด และสาระการเรียนรูแกนกลางไวทุกขั้นตอน โดยยึดหลักสําคัญ คือ หลักของการวัดและประเมินผล เสร�ม

6

1. การวัดและประเมินผลทุกครั้ง ควรนําผลมาปรับปรุงพัฒนาผูเรียน เปนรายบุคคล

2. การวัดและประเมินผลมี เปาหมาย เพื่อพัฒนาการเรียนรู ของผูเรียนจนเต็มศักยภาพ

3. การนําผลการวัดและประเมินผล ทุกครั้งมาวางแผนปรับปรุงกิจกรรม การเรียนการสอน การเลือกเทคนิค วิธีสอน และสื่อการเรียนรูให เหมาะสมกับสภาพจริงของผูเรียน

การทดสอบผูเรียน 1. การใชขอสอบอัตนัย เนนการอาน การคิดวิเคราะห และการเขียนเพิ่มมากขึ้น 2. การใชคําถามกระตุนการคิดควบคูกับการทําขอสอบที่เนนการคิดอยางตอเนื่องตามลําดับกิจกรรมการเรียนรู และตัวชี้วัด 3. การทดสอบตองดําเนินการทั้งกอนเรียน ระหวางเรียน และหลังเรียน การทดสอบควรใชขอสอบทั้งชนิดปรนัยและ อัตนัย และเปนการทดสอบเพื่อประเมินผลการเรียนของผูเรียนแตละคน เพื่อการสอนซอมเสริมใหบรรลุตัวชี้วัด ไดครบถวน 4. การสอบกลางภาค (ถามี) ควรนําแบบฝกหัดหรือขอสอบทีน่ กั เรียนสวนใหญไมสามารถตอบไดหรือไมครบถวนชัดเจน มา สรางเปนแบบทดสอบอีกครัง้ เพือ่ ตรวจสอบความรูค วามเขาใจทีถ่ กู ตอง และประเมินความกาวหนาของผูเ รียนแตละคน 5. การสอบปลายภาคเรียนเพื่อวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามตัวชี้วัดที่สําคัญ ควรออกขอสอบใหมีลักษณะเดียวกับ ขอสอบ O-NET โดยเนนการคิดวิเคราะห สังเคราะห เชื่อมโยงประยุกตใช เพื่อสรางความคุนเคย และฝกฝน วิธีการทําขอสอบดวยความมั่นใจ 6. การนําผลการทดสอบของผูเรียนมาวิเคราะห โดยผลการสอบกอนการเรียนตองสามารถพยากรณผลการสอบ กลางภาค และผลการสอบกลางภาคตองทํานายผลการสอบปลายภาคของผูเ รียนแตละคน เพือ่ ประเมินพัฒนาการ ความกาวหนาของผูเรียนเปนรายบุคคล 7. ผลการทดสอบปลายป ปลายภาค ตองมีคาเฉลี่ยสอดคลองกับคาเฉลี่ยของการสอบ NT ที่เขตพื้นที่การศึกษา จัดสอบ รวมทั้งคาเฉลี่ยของการสอบ O-NET ชวงชั้นที่สอดคลองครอบคลุมมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดสําคัญ เพือ่ สะทอนประสิทธิภาพของครูผสู อนในการออกแบบการเรียนรูแ ละประกันคุณภาพผูเ รียนทีต่ รวจสอบผลไดชดั เจน การจัดการเรียนการสอนในแตละหนวยการเรียนรู ตองใหผูเรียนไดสั่งสมความรู ความเขาใจตามลําดับขั้นตอน ของกิจกรรมในวัฏจักรการเรียนรู 5Es เพื่อใหผูเรียนไดเติมเต็มองคความรูอยางตอเนื่อง จนสามารถปฏิบัติชิ้นงานหรือ ภาระงานรวบยอดของแตละหนวย ผานเกณฑประกันคุณภาพในระดับที่นาพึงพอใจ เพื่อรองรับการประเมินภายนอกจาก สมศ. ตลอดเวลา คูม อื ครู


ASEAN การเรียนรูสูประชาคมอาเซียน เพื่ออํานวยความสะดวกแกครูผูสอนในการจัดกิจกรรมการเรียนรูบูรณาการอาเซียนศึกษา ผูจัดทําไดวิเคราะห มาตรฐานการเรียนรู และตัวชี้วัดที่มีสาระการเรียนรูสอดคลองกับองคความรูเกี่ยวกับประชาคมอาเซียนในแงมุมตางๆ ครอบคลุมทัง้ ประชาคมการเมืองและความมัน่ คงอาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และประชาคมสังคมและวัฒนธรรม อาเซียน เพื่อสงเสริมการเรียนรูใหผูเรียนเกิดความตระหนัก มีความรูความเขาใจเหมาะสมกับระดับชั้นและกลุมสาระ การเรียนรู โดยเสนอแนะวิธีการจัดกิจกรรมบูรณาการเนื้อหาสาระตางๆ ที่เปนประโยชนตอผูเรียนและเปนการชวย เตรียมความพรอมผูเรียนทุกคนที่จะกาวเขาสูการเปนสมาชิกของประชาคมอาเซียนไดอยางมั่นใจตามขอตกลงปฏิญญา ชะอํา-หัวหิน วาดวยความรวมมือดานการศึกษาเพื่อบรรลุเปาหมายประชาคมอาเซียนที่เอื้ออาทรและแบงปน จึงกําหนด เปนนโยบายใหกระทรวงศึกษาธิการจัดการเรียนรูเตรียมความพรอมผูเรียนเขาสูประชาคมอาเซียนภายในป พ.ศ. 2558 ตามแนวปฏิบัติที่สําคัญ ดังนี้

เสร�ม

7

การจัดการเรียนรูส ู ประชาคมการเมืองและความมัน่ คงอาเซียน 1. การสรางความรูความเขาใจ และตระหนักถึงความสําคัญของ กฎบัตรอาเซียน และความรวมมือ ของ 3 เสาหลัก ซึง่ กฎบัตรอาเซียน ในขณะนี้มีสถานะเปนกฎหมายที่ ประเทศสมาชิกจะตองปฏิบัติตาม หลักการที่กําหนดไวเพื่อใหบรรลุ เปาหมายของกฎบัตรมาตราตางๆ

2. การสงเสริมหลักการ ประชาธิปไตยและการสราง สิ่งแวดลอมประชาธิปไตย เพื่อการอยูรวมกันอยางกลมกลืน ภายใตวิถีชีวิตอาเซียนที่มีความ หลากหลายดานสังคมและ วัฒนธรรม

4. การตระหนักในคุณคาของ สายสัมพันธทางประวัติศาสตร และมรดกทางวัฒนธรรมที่มี พัฒนาการรวมกัน เพื่อเชื่อม อัตลักษณและสรางจิตสํานึก ในการเปนประชากรของประชาคม อาเซียนรวมกัน

3. การสงเสริมการศึกษาดาน สิทธิมนุษยชน เพื่อสรางประชาคม อาเซียนใหเปนประชาคมเพื่อ ประชาชนอยางแทจริง สามารถ อยูรวมกันไดบนพื้นฐานการเคารพ ในคุณคาของศักดิ์ศรีแหงความ เปนมนุษยเทาเทียมกัน

5. การสงเสริมสันติภาพ ความ มั่นคง และความปรองดองในสังคม ทั้งระดับประเทศและภูมิภาคของ อาเซียนบนพื้นฐานสันติวิธีและ การอยูรวมกันดวยขันติธรรม

คูม อื ครู


การจัดการเรียนรูส ู ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

เสร�ม

8

1. การพัฒนาทักษะการทํางาน เพื่อเสริมสรางผูเรียนใหมีทักษะ วิชาชีพที่จําเปนสอดคลองกับ ความตองการของตลาดแรงงาน และสถานประกอบการในอาเซียน สามารถเทียบโอนผลการเรียน และการทํางานตามมาตรฐานฝมือ แรงงานในภูมิภาคอาเซียน

2. การเสริมสรางวินัย ความรับผิดชอบ และเจตคติรักการทํางาน สามารถพึ่งพาตนเอง มีทักษะชีวิต ดํารงชีวิตอยางมีความสุข เห็นคุณคา และภูมิใจในตนเอง ในฐานะที่เปนพลเมืองไทยและ อาเซียน

3. การเรียนรูเพื่อพัฒนาตนเอง อยางตอเนื่องตลอดชีวิต ใหมี ทักษะการทํางานตามมาตรฐาน อาชีพ และคุณวุฒิของวิชาชีพสาขา ตางๆ เพื่อรองรับการเตรียมเคลื่อน ยายแรงงานมีฝมือและการเปน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนที่ เขมแข็ง เพื่อสรางขีดความสามารถ ในการแขงขันในเวทีโลก

การจัดการเรียนรูส ู ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน 1. การเสริมสรางความรวมมือ ในลักษณะสังคมที่เอื้ออาทร ของประชากรอาเซียน โดยยึด หลักการสําคัญ คือ ความงดงาม ของประชาคมอาเซียนมาจาก ความแตกตางและหลากหลายทาง วัฒนธรรมที่ลวนแตมีคุณคาตอ มรดกทางวัฒนธรรมของอาเซียน ซึ่งประชาชนทุกคนตองอนุรักษ สืบสานใหยั่งยืน

2. การเสริมสรางคุณลักษณะ ของผูเรียนใหเปนพลเมืองอาเซียน ที่มีศักยภาพในการกาวเขาสู ประชาคมอาเซียนอยางมั่นใจ เปนผูที่มีสุขภาพสมบูรณแข็งแรง มีทักษะการสื่อสาร ทักษะการ ทํางาน ทักษะทางสังคม สามารถ ทํางานรวมกับผูอื่นไดอยาง สรางสรรค และมีองคความรู เกี่ยวกับอาเซียนที่จําเปนตอการ ดํารงชีวิตอยางมีคุณภาพ

4. การสงเสริมการเรียนรูดาน ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี วิถชี วี ติ ความเปนอยูข องเพือ่ นบาน ในอาเซียน เพื่อสรางจิตสํานึกของ ความเปนประชาคมอาเซียนและ ตระหนักถึงหนาที่ของการเปน พลเมืองอาเซียนรวมกัน

3. การสงเสริมการเรียนรูภาษา อังกฤษเพื่อการสื่อสารและการ ทํางานตามมาตรฐานอาชีพที่ กําหนดและสนับสนุนการเรียนรู ภาษาอาเซียนและภาษาเพื่อนบาน เพื่อชวยเสริมสรางสัมพันธภาพทาง สังคม และการอยูรวมกันอยางสันติ ทามกลางความหลากหลายทาง วัฒนธรรม

5. การสรางความรูและความ ตระหนักเกี่ยวกับดานสิ่งแวดลอม ปญหาและผลกระทบตอคุณภาพ ชีวิตของประชากรในภูมิภาค รวมทั้งแนวทางการพัฒนาอยาง ยั่งยืน ใหเปนมรดกสืบทอดแก พลเมืองอาเซียนในรุนหลังตอๆ ไป

กระทรวงศึกษาธิการจึงประกาศนโยบายการปฏิรูปการศึกษาทศวรรษที่ 2 (พ.ศ. 2552-2561) เพื่อเรงพัฒนาเด็ก และเยาวชนไทยใหเปนทรัพยากรมนุษยของชาติที่มีทักษะและความชํานาญ พรอมเผชิญกับความเปลี่ยนแปลงและ การแขงขันทั้งในภูมิภาคอาเซียนและภูมิภาคอื่นๆ ของสังคมโลก ทั้งนี้ผูบริหารสถานศึกษา ครูผูสอน และผูปกครอง ควรรวมมือกันอยางใกลชิดในการดูแลชวยเหลือผูเรียนและจัดประสบการณการเรียนรูเพื่อพัฒนาผูเรียนจนเต็มศักยภาพ เพื่อกาวเขาสูการเปนพลเมืองอาเซียนอยางมีเกียรติภูมิและศักดิ์ศรีความเปนมนุษยของตน คณะผูจัดทํา คูม อื ครู


ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง สาระที่ 1

สุขศึกษา (เฉพาะชั้น ม.1)*

การเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย

มาตรฐาน พ 1.1 เขาใจธรรมชาติของการเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย ชั้น

ตัวชี้วัด

ม.1 1. อธิบายความสําคัญของ ระบบประสาท และระบบตอมไรทอ ที่มีผลตอสุขภาพ การเจริญเติบโต และพัฒนาการของวัยรุน 2. อธิบายวิธีดูแลรักษาระบบประสาท และระบบตอมไรทอใหทํางาน ตามปกติ 3. วิเคราะหภาวะการเจริญเติบโต ทางรางกายของตนเองกับเกณฑ มาตรฐาน 4. แสวงหาแนวทางในการพัฒนา ตนเองใหเจริญเติบโตสมวัย

สาระที่ 2

สาระการเรียนรูแกนกลาง • ความสําคัญของระบบประสาทและ ระบบตอมไรทอที่มีผลตอสุขภาพ การเจริญเติบโต และพัฒนาการของวัยรุน • วิธีดูแลรักษาระบบประสาท และ ระบบตอมไรทอใหทํางานตามปกติ • การวิเคราะหภาวะการเจริญเติบโตตาม เกณฑมาตรฐานและปจจัยที่เกี่ยวของ • แนวทางในการพัฒนาตนเองให เจริญเติบโตสมวัย

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

เสร�ม

9

• หนวยการเรียนรูที่ 1 ความสําคัญของระบบประสาท และระบบตอมไรทอตอวัยรุน

• หนวยการเรียนรูท ี่ 2 วัยรุน กับการเจริญเติบโต ตามเกณฑมาตรฐาน

ชีวิตและครอบครัว

มาตรฐาน พ 2.1 เขาใจและเห็นคุณคาตนเอง ครอบครัว เพศศึกษา และมีทักษะในการดําเนินชีวิต ชั้น

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

• หนวยการเรียนรูที่ 3 • การเปลี่ยนแปลงทางรางกาย จิตใจ วัยรุน และพัฒนาการทางเพศ อารมณ และพัฒนาการทางเพศ - ลักษณะการเปลี่ยนแปลงทางรางกาย จิตใจ อารมณ และพัฒนาการทางเพศ - การยอมรับและการปรับตัวตอการ เปลี่ยนแปลงทางรางกาย จิตใจ อารมณ และพัฒนาการทางเพศ - การเบี่ยงเบนทางเพศ 2. แสดงทักษะการปฏิเสธเพื่อปองกัน • ทักษะปฏิเสธเพื่อปองกันการถูกลวงละเมิด • หนวยการเรียนรูท ี่ 4 ทางเพศ การปองกันการถูกลวงละเมิด ตนเองจากการถูกลวงละเมิด ทางเพศ ทางเพศ

ม.1 1. อธิบายวิธีการปรับตัวตอการ เปลี่ยนแปลงทางรางกาย จิตใจ อารมณ และพัฒนาการทางเพศ อยางเหมาะสม

หมายเหตุ : สําหรับสาระที่ 3 จะอยูในหนังสือเรียนพลศึกษา ม.1 ของ อจท. _________________________________ * สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, กระทรวงศึกษาธิการ. ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง กลุมสาระการเรียนรู สุขศึกษาและพลศึกษา. (กรุงเทพมหานคร : ชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย, 2551), หนา 7-47.

คูม อื ครู


สาระที่ 4

การสรางเสริมสุขภาพ สมรรถภาพ และการปองกันโรค

มาตรฐาน พ 4.1 เห็นคุณคาและมีทักษะในการสรางเสริมสุขภาพ การดํารงสุขภาพ การปองกันโรค และการสรางเสริม สมรรถภาพเพื่อสุขภาพ ชั้น

เสร�ม

10

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

ม.1 1. เลือกกินอาหารที่เหมาะสมกับวัย • หลักการเลือกอาหารที่เหมาะสมกับวัย 2. วิเคราะหปญหาที่เกิดจากภาวะ • ปญหาที่เกิดจากภาวะโภชนาการ โภชนาการที่มีผลกระทบตอสุขภาพ - ภาวะการขาดสารอาหาร - ภาวะโภชนาการเกิน 3. ควบคุมนํ้าหนักของตนเอง ใหอยูในเกณฑมาตรฐาน

• เกณฑมาตรฐานการเจริญเติบโตของ เด็กไทย • วิธีการควบคุมนํ้าหนักของตนเอง ใหอยูในเกณฑมาตรฐาน 4. สรางเสริมและปรับปรุงสมรรถภาพ • วิธีทดสอบสมรรถภาพทางกาย ทางกายตามผลการทดสอบ • วิธีสรางเสริมและปรับปรุงสมรรถภาพ ทางกายตามผลการทดสอบ

สาระที่ 5

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน • หนวยการเรียนรูท ี่ 5 วัยรุนกับโภชนาการ เพื่อสรางเสริมสุขภาพ • หนวยการเรียนรูที่ 2 วัยรุนกับการเจริญเติบโต ตามเกณฑมาตรฐาน • หนวยการเรียนรูที่ 6 สมรรถภาพทางกาย

ความปลอดภัยในชีวิต

มาตรฐาน พ 5.1 ปองกันและหลีกเลี่ยงปจจัยเสี่ยง พฤติกรรมเสี่ยงตอสุขภาพ อุบัติเหตุ การใชยา สารเสพติด และความรุนแรง ชั้น

ตัวชี้วัด

ม.1 1. แสดงวิธีปฐมพยาบาลและ เคลื่อนยายผูปวยอยางปลอดภัย

สาระการเรียนรูแกนกลาง

• การปฐมพยาบาลและเคลื่อนยายผูปวย อยางปลอดภัย - เปนลม - บาดแผล - ไฟไหม - กระดูกหัก - นํ้ารอนลวก ฯลฯ • ลักษณะของผูติดสารเสพติด 2. อธิบายลักษณะอาการของผูติด สารเสพติดและการปองกันการติด • อาการของผูติดสารเสพติด • การปองกันการติดสารเสพติด สารเสพติด 3. อธิบายความสัมพันธของการใชสาร • ความสัมพันธของการใชสารเสพติด เสพติดกับการเกิดโรคและอุบัติเหตุ กับการเกิดโรคและอุบัติเหตุ • ทักษะที่ใชในการชักชวนผูอื่นใหลด ละ 4. แสดงวิธีการชักชวนผูอื่นให เลิกสารเสพติด ลด ละ เลิกสารเสพติด โดยใช - ทักษะการคิดวิเคราะห ทักษะตางๆ - ทักษะการสื่อสาร - ทักษะการตัดสินใจ - ทักษะการแกปญหา - ฯลฯ

คูม อื ครู

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน • หนวยการเรียนรูท ี่ 7 การปฐมพยาบาลและ การเคลือ่ นยายผูป ว ย อยางปลอดภัย

• หนวยการเรียนรูท ี่ 8 มหันตภัยจากสารเสพติด • หนวยการเรียนรูท ี่ 8 มหันตภัยจากสารเสพติด • หนวยการเรียนรูท ี่ 6 สมรรถภาพทางกาย


คําอธิบายรายวิชา รายวิชา สุขศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 รหัสวิชา พ…………………………………

กลุมสาระการเรียนรู สุขศึกษาและพลศึกษา ภาคเรียนที่ 1-2 เวลา 40 ชั่วโมง/ป

อธิบายความสําคัญของระบบประสาทและระบบตอมไรทอที่มีผลตอสุขภาพ การเจริญเติบโต และ เสร�ม พัฒนาการของวัยรุน รวมทั้งวิธีการดูแลรักษาระบบประสาทและระบบตอมไรทอใหทํางานตามปกติ วิเคราะหภาวะการเจริญเติบโตทางรางกายของตนเองกับเกณฑมาตรฐาน แสวงหาแนวทางในการ 11 พัฒนาตนเองใหเจริญเติบโตสมวัย อธิบายวิธีการปรับตัวตอการเปลี่ยนแปลงทางรางกาย จิตใจ อารมณ และพัฒนาการทางเพศอยางเหมาะสม แสดงทักษะการปฏิเสธเพือ่ ปองกันตนเองจากการถูกลวงละเมิดทางเพศ เลือกกินอาหารทีเ่ หมาะสมกับวัย วิเคราะหปญ หาทีเ่ กิดจากการภาวะโภชนาการทีม่ ผี ลกระทบตอสุขภาพ ควบคุม นํ้าหนักตนเองใหอยูในเกณฑมาตรฐาน สรางเสริมและปรับปรุงสมรรถภาพทางกายตามผลการทดสอบ แสดงวิธีปฐมพยาบาลและเคลื่อนยายผูปวยอยางปลอดภัย อธิบายลักษณะอาการของผูติดสารเสพติด การปองกันการติดสารเสพติด ความสัมพันธของการใชสารเสพติดกับการเกิดโรคและอุบัติเหตุ และแสดง วิธีการชักชวนผูอื่นใหลด ละ เลิกสารเสพติด โดยใชกระบวนการจัดการเรียนรูแบบกระบวนการกลุม กระบวนการสืบคนขอมูล การคิดวิเคราะห และอภิปรายเพื่อใหเกิดความรู ความเขาใจ สํานึกในคุณคาและศักยภาพของตนเอง สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู และนําประสบการณไปปรับใชใหเกิดประโยชนสูงสุดในการดําเนินชีวิต ตัวชี้วัด พ 1.1 พ 2.1 พ 4.1 พ 5.1

ม.1/1 ม.1/1 ม.1/1 ม.1/1

ม.1/2 ม.1/2 ม.1/2 ม.1/2

ม.1/3

ม.1/4

ม.1/3 ม.3/3

ม.1/4 ม.1/4

รวม 14 ตัวชี้วัด

คูม อื ครู


ตาราง

วิเคราะหมาตรฐานการเรียนรูแ ละตัวชีว้ ดั รายวิชา สุขศึกษา ม.1

คําชี้แจง : ใหผูสอนใชตารางนี้ตรวจสอบความสอดคลองของเนื้อหาสาระการเรียนรูในหนวยการเรียนรูกับมาตรฐาน การเรียนรูและตัวชี้วัดชั้นป มาตรฐานการเรียนรู และตัวชี้วัด

เสร�ม

12

หนวยการเรียนรู หนวยการเรียนรูที่ 1 : ความสําคัญของระบบประสาท และระบบตอมไรทอตอวัยรุน หนวยการเรียนรูที่ 2 : วัยรุนกับการเจริญเติบโตตามเกณฑ มาตรฐาน หนวยการเรียนรูที่ 3 : วัยรุนและพัฒนาการทางเพศ หนวยการเรียนรูที่ 4 : การปองกันการถูกลวงละเมิดทางเพศ หนวยการเรียนรูที่ 5 : วัยรุนกับโภชนาการเพื่อสรางเสริม สุขภาพ หนวยการเรียนรูที่ 6 สมรรถภาพทางกาย

:

หนวยการเรียนรูที่ 7 : การปฐมพยาบาลและการเคลื่อนยาย ผูปวยอยางปลอดภัย

คูม อื ครู

สาระที่ 1

สาระที่ 2 สาระที่ 4 มาตรฐาน พ 1.1 มาตรฐาน พ 2.1 มาตรฐาน พ 4.1 ตัวชี้วัด ตัวชี้วัด ตัวชี้วดั 1 2 3 4 1 2 1 2 3 4 ✓

สาระที่ 5 มาตรฐาน พ 5.1 1

ตัวชี้วัด 2 3

4

หนวยการเรียนรูที่ 8 : มหันตภัยจากสารเสพติด

หนวยการเรียนรูที่ 9 : การปองกันภัยจากสารเสพติด


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ÃÒÂÇÔªÒ¾×é¹°Ò¹

สุขศึกษา ม.๑ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๑

กลุมสาระการเรียนรูสุขศึกษา และพลศึกษา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

ผูเรียบเรียง

รศ.ดร. พรสุข หุนนิรันดร รศ.ดร. ประภาเพ็ญ สุวรรณ ผศ.ดร. สุรียพันธุ วรพงศธร ดร. อนันต มาลารัตน

ผูตรวจ

ผศ.ดร. ทรงพล ตอนี ผศ. รัตนา เจริญสาธิต นางสาวกัญจนณัฏฐ ตะเภาพงษ

บรรณาธิการ

รศ.ดร. จุฬาภรณ โสตะ นายสมเกียรติ ภูระหงษ พิมพครั้งที่ ๑๐

สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติ รหัสสินคา ๒๑๑๔๑๐๙

¤Œ¹¤ÇÒÁÃÙŒ¢ÂÒ¤ÇÒÁ¤Ô´¨Ò¡

¾ÔÁ¾ ¤ÃÑ駷Õè ñ ÃËÑÊÊÔ¹¤ŒÒ òñôôðõð

EB GUIDE

ที่พิมพกํากับหัวขอสําคัญในหนังสือเรียนหลักสูตรแกนกลางฯ ผาน www.aksorn.com ไปยังแหลงความรูทั่วไทย-ทั่วโลก

คณะผูจัดทําคูมือครู เบญจพร ทองมาก ธงชัย หวลถึง


กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

¤íÒá¹Ð¹íÒ㹡ÒÃ㪌¤íËÒ¹í¹ÑÒ§Ê×ÍàÃÕ¹ หนังสือเรียน สาระการเรี รายวิชาพื้นฐาน มนี้ ใชประกอบการเรี ชาพื้นฐาน กลุ้ นม ย นรูสุ สขุ ขศึศึกกษาเล ษาและพลศึ ก ษา ตามหลัยกนการสอนรายวิ สู ต รแกนกลางการศึ ก ษาขั สาระการเรียนรูสุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๑ พืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ จะศึกษาเกีย่ วกับเรือ่ งการเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย เนื้อหาตรงตามสาระการเรียนรูแกนกลางขั้นพื้นฐาน อานทําความเขาใจงาย ใหทั้งความรูและ ชีวิตและครอบครัว การเคลื่อนไหว การออกกําลังกาย การเลนเกม กีฬาไทย กีฬาสากล ชวยพัฒนาผูเรียนตามหลักสูตรและตัวชี้วัด เนื้อหาสาระแบงออกเปนหนวยการเรียนรูตามโครงสรางรายวิชา การสรยานการสอนและการวั งเสริมสุขภาพ สมรรถภาพ การปนอผลงกันพรโรคอมเสริ และความปลอดภั ยในชี สะดวกแกการจัดการเรี ดผลประเมิ มองคประกอบอื ่นๆวิตที่จะชวยทําให ผูเรียนไดรับความรูอยางมีโดยมี ประสิเปทาธิหมายเพื ภาพ ่อการดํารงสุขภาพ การสรางเสริมสุขภาพ การพัฒนาคุณภาพชีวิต ¹Ãٌ᡹¡ÅÒ§ àÊÃÔÁÊÒÃШҡà¹× ของบุคคล ครอบครัว และชุà¹×ãËŒมéͤËҵçµÒÁÊÒÃСÒÃàÃÕ ชนให ยั�งéÍยืµ‹Íน¡ÒùíสํÒาÂä»ãªŒ หรัÊบ͹à¾× สาระสุ นใหผูเÍé รีËҹ͡àË¹× ยนพัฒͨҡ นา ÇÒÁÃÙŒáÅÐàÍ× èÍ ขศึกษามุ·ÕงÁè ãÕ เน ¹ÊÒÃСÒÃàÃÕ¹ÃÙጠ¡¹¡ÅÒ§ à¾×Íè ãËŒºÃÃÅصÑǪÕéÇÑ´ áÅÐÊÌҧ¤Ø³ÅѡɳРพฤติ กรรมดานความรู เจตคติÍѹคุ¾Öณ§»ÃÐʧ¤ ธรรม คานิยม และการปฏิบัติเกี่ยวกัà¾Ô¡ÇŒบèÁÒ¾Ù§¢ÇÒ§ÍÍ¡ä» สุ¹ขáÅТÂÒ¾ÃÁá´¹¤ÇÒÁÃÙ ภาพควบคูกันไปŒãËŒ à¡ÃÔè¹¹íÒà¾×èÍãˌࢌÒ㨶֧ÊÒÃÐÊíÒ¤ÑÞ

¨Ñ´¡ÅØ‹Áà¹×éÍËÒ໚¹Ë¹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ Êдǡᡋ¡ÒèѴ¡ÒÃàÃÕ¹¡ÒÃÊ͹

ã¹Ë¹‹Ç·Õè¨ÐàÃÕ¹

ในการจัดทําหนังสือเรียนเพื่อใชประกอบการเรียนการสอนกลุมสาระการเรียนรู สุขศึกษาและพลศึกษา ในระดับชัน้ มัธยมศึกษาตอนตน แตละชัน้ จะประกอบดวยหนังสือเรียน สุขศึกษา ๑ เลม และหนังสือเรียนพลศึกษา ๑ เลม ซึ�งสถานศึกษาควรใชควบคูกันเพื่อ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ดีของผูเรียน าการ

๓.๒ ธงโภชน ใจถึงปริมาณและความหลากหลาย ธงโภชนาการ เปนสัญลักษณที่สื่อใหคนไทยเขา ามหลักโภชนบัญญัติ ๙ ประการ โดยเนนให ของอาหารที่ควรรับประทานเพื่อใหมีสุขภาพดีต ี่ยมแบบธงแขวนเอาปลายแหลมลง โดยแสดง “กินพอดีและหลากหลาย” มีลักษณะเปนธงสามเหล ดสวน ปริมาณ และความหลากหลายในการ กลุมอาหารในแตละกลุมใหเห็นภาพที่ชัดเจน บอกสั ละวัน เพือ่ ใหไดสารอาหารครบถวน โดยทาง รับประทานอาหารแตละกลุม มากนอยตามพืน้ ที่ในแต งจะเนนใหรบั ประทานนอยๆ ดังแสดงในภาพ า งล า ดานบนจะเนนใหรบั ประทานมาก และปลายธงข ่สุด โดยจะ ชั้นที่ ๑ กลุมขาว-แปง ควรรับประทานในปริมาณมากที ใหสารอาหารหลัก คือ คารโบไฮเดรต

งมา

ริมาณมากรองล ชั้นที่ ๒ กลุมพืช ผัก และผลไม ควรรับประทานในป เพื่อใหไดวิตามินแรธาตุ และกากใยอาหาร

ะพอดี

ริมาณพอเหมา ชั้นที่ ๓ กลุมเนือ้ สัตว ถั่ว ไข และนม ควรรับประทานในป เพื่อใหไดโปรตีน เหล็ก และแคลเซียม เปน ํ า ่ จ ที า ยเท  อ น ประทานแต บ ควรรั อ เกลื ตาล ้ า นํ ชัน้ ที่ ๔ กลุม นํา้ มัน

เสริมสาระ

ไมเกรนกับวัยรุน

ปญหาสุขภาพของวัยรุนเกี่ยวกั บสมองนั้น มี ม ากมายห ลายโรค ในที่ นี้ จ ะขอยกตั ว อย า ง โรค ปวดศี ร ษะข า งเดี ย ว หรื อ ที่ ร ู จั ก กั น ดี โรคไมเกรน ซึง่ เปนโรคทีใ่ กลตวั และสามา ใ นนามขอ ง ทั้งในเด็กและผูใหญ โดยผูหญิงจะมี รถพบไดบอ ย โอกาสเปนโรคนี้ มากกวาผูชายถึง ๓ เทา ในแตละคนโรคนี้จะมีสาเหตุก ตางกันไป อาทิ ความเครียด ความวิ ารเกิด ตกกั เหน็ดเหนือ่ ย สภาพแวดลอม อาหารบา งวล งอย การมีประจําเดือน พักผอนหรือนอนหลั าง บนอย หรือมากเกินไป ยาบางชนิด เปน ตน อาการของโรคปวดศีรษะขา งเดียว แบงออกไดเปน ๕ ระยะ ดังนี้ ระยะแรก คือ ระยะเตือน ผู ปวยอาจมี อาการหาวนอน (โดยไมไดงวง) วิงเวียน หิว อยาก กินอาหารหวานๆ กระหายน้ํา อารมณแปรปรวน ใน บางรายอาจรูสึกเครียด หวั่นไหว ซึมเศรา ระยะที่สอง คือ ระยะภาพเตือ น ผูปวยจะรูสึก ไมเกรนสามารถเปนไดทั้งเด็กและผู เหมือนมีแสงสวางจาทีด่ า นหนาลู ใหญ โดยผูหญิง กตา และอาจมอี าการ จะมีโอกาสเปนมากกวาผูชาย ปวดศีรษะขางเดียวเกิดขึ้น ระยะที่สาม คือ ระยะปวดศีรษะ ผูปวยจะมีอาการปวดศีรษะขางเดี ยว บางรายรูสึกเหมือนกําลังจะวู แปลกๆ หรืออาจมีเสียงในหูดวย บ ไดกลิ่น ระยะที่สี่ เปนระยะผอนคลาย โดยอาการจะคอยๆ ทุเลาลงจนห ายไปเองภายใน ๒-๗๒ ชั่วโมง จํานวนมากจะมีอาการดีขึ้นหลังจากได ซึ่งผูปวย นอนหลับหรือพักผอนในหองมืด ๆ และบางคนอาจดีขึ้นหลังจากได ระยะที่หา คือ ระยะหมดแรง ผู อาเจียน ปวยจะมีอาการหมดเรี่ยวหมดแรง แมอาการปวดศีรษะจะหายไปแล วก็ตาม

ทั้งน�้หนังสือเรียนสุขศึกษา ภายในเลมออกแบบเปนหนวยการเรียนรูที่มีเน�้อหาสาระ หน่วยที่ ๑ ตรงตามสาระการเรียนรูแกนกลาง และเอื้อตอการนําไปใชจัดการเรียนการสอนใหบรรลุ ตัก วชี้วัดตามที่หลักสูตรไดกําหนดไว โดยในหนาหนวยแตละหน วยจะมีตัวชี้วัดและสาระ ก การเรียนรูระบุไวให ซึ�งนอกจากเน�้อสาระที่อานทําความเขาใจงาย บรรจุแนนไปดวย องคความรูตางๆ แลว ยังมีการออกแบบจัดหนาแบบใหม เพื่อชวยใหอานงาย สบายตา µÑǪÕÇé ´Ñ áÅÐÊÒÃСÒÃàÃÕ¹ÃÙጠ¡¹¡ÅÒ§Ï µÒÁ·ÕËè ÅÑ¡Êٵà Web Guide á¹Ð¹íÒáËÅ‹§¤Œ¹¤ÇŒÒ¢ŒÍÁÙÅ อมแทรกกรอบเกร็ ดนารู และเสริ สาระ Online เพื่อเพิ�มสิ�งที่ผูเรียนควรรูไวใหอีกดวย ตลอด ¡íÒ˹´ à¾×èÍãËŒ·ÃÒº¶Ö§à»‡Òพร ËÁÒÂ㹡ÒÃÈÖ ¡ÉÒ à¾ÔèÁàµÔÁ¼‹มÒ¹Ãкº Design พ˹ŒัฒÒẺãËÁ‹ ÊǧÒÁ ¤íÒ¶ÒÁ»ÃШí ÇÂà¾×Íè ãËŒ¹¡Ñ àÃÕา¹䴌 จนเมื่อจบแตละหนวยก็ จะมีคÒํา˹‹ถามประจํ หน½ว¡ƒ ¤Ôย´áÅзº·Ç¹ และกิจกรรมสรางสรรค นาการเรี ยนรู ¾ÔÁ¾ ô ÊÕ µÅÍ´àÅ‹Á ª‹ÇÂãËŒ à¡Ãç´¹‹ÒÃÙŒà¾ÔèÁàµÔÁ¨Ò¡à¹×éÍËÒ ¤ÇÒÁÃÙŒ áÅСԨ¡ÃÃÁÊÌҧÊÃä ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ à¾×èÍ Í‹Ò¹à¢ŒÒ㨧‹Ò ÁÕ¡ÒÃá·Ã¡à»š¹ÃÐÂÐæ เพื่อฝกทบทวนและจัดª‹ÇกิÂ¾Ñ ¹Ò¼ÙŒàÃÕ¹ãËŒ ºÃÃÅؼÅÊÑอÁงกั Ä·¸Ôบìµตั ÒÁµÑ จ²กรรมที ่สอดคล วชีǪÕ้วéÇÑ´ัด ความส�าคัญของระบบประสาทและระบบต

่อมไร้ท่อต่อวัยรุ่น

ตัวชี้วัด

อธิบายความสำาคัญของระบบประสาท และระบบต่ อมไร้ มีผลต่อสุขภาพ การเจริญเติบโต และพัฒนาการของวั ท่อที่ อธิ บ ายวิ ธี ดู แ ลรั ก ษาระบบประสาท และระบบต่ ยรุ่น อ มไร้ ท่ อ ให้ทำางานตามปกติ (พ ๑.๑ ม.๑/๑,๒)

สาระการเรียนรู้แกนกลาง

ความสำาคัญของระบบประสาท และระบบต่ อมไร้ท่อที่มีผลต่อ สุขภาพ การเจริญเติบโต และพัฒนาการของวั ยรุ่น ■ วิธด ี แู ลรักษาระบบประสาท และระบบต่อมไร้ทอ่ ให้ ทาำ งานตาม ปกติ ■

ารทำางานของระบบต่างๆ ในร่างกาย ของคนเรามีความสัมพันธ์กัน ไม่สามารถ แยกออกจากกันได้ และการดำารงชีวิตของ มนุษย์ ขึ้นอยู่กับการทำางานของระบบต่ างๆ ในร่างกาย หากระบบใดระบบหนึง่ หรือหลายๆ ระบบทำางานได้ไม่ดี ย่อมส่งผลให้สภาวะสุข ภาพ โดยรวมเกิ ด ปั ญ หาขึ้ น ได้ ระบบทุ ก ระบบใน ร่างกาย ล้วนแต่มีความสำาคัญต่อร่างกายด้ วยกัน ทั้งสิ้น แต่ระบบที่สำาคัญต่อการเจริญเติ บโตของ วัยรุ่น คือ ระบบประสาทและระบบต่อมไร้ ท่อ

างๆ ของร่างกาย ที่เชื่อมต่อจากส่วนต่างๆ ของสมองและไขสันหลัง ไปยังส่วนต่

๒ ส่วนคือ ประสาทสมองและ ๒.๑) ระบบประสาทสมองและไขสันหลัง ประกอบด้วยเส้น เส้นประสาทไขสันหลัง ดังนี้ ผ่านไป (๑) เส้นประสาทสมอง มี ๑๒ คู่ ทอดออกจากพื้นล่างของสมอง ่จะท�าหน้าที่รับความรู้สึก บางคู่ ยังรูต่างๆ ที่พื้นของกะโหลกศีรษะ โดยเส้นประสาทสมองในบางคู รับความรูส้ กึ และท�าการเคลือ่ นไหว ้ ง ทั อ คื วม ่ ร ที า หน้ � า ่ ท และบางคู นไหว ่ อ การเคลื บ วกั ่ ย กี ่ เ ที า หน้ ท�า ง มีจ�านวน (๒) เส้นประสาทไขสันหลัง เป็นเส้นประสาทที่ออกจากสันหลั าการเคลื่อนไหว ทั้งหมด ๓๑ คู่ ทุกคู่จะท�าหน้าที่รวม คือ ทั้งรับความรู้สึกและท� กระดูกสันหลังยุบตัว

บแรงกระแทกในแนวดิ่ง ซึ่งถ้ามีการกระแทกอย่าง กระดูกสันหลังเป็นโครงสร้างของร่างกายที่จะรองรั กสันหลังยุบตัวจะเกิดในผู้ที่มีภาวะกระดูกพรุน พบ รุนแรง กระดูกสันหลังก็อาจยุบตัวลงได้ ทั้งนี้ภาวะกระดู าเดือน รวมถึงผู้ที่ได้รับแคลเซียมไม่เพียงพอ มากในผู้ที่มีอายุ ๖๐ ปีขึ้นไป และผู้หญิงในช่วงวัยหมดประจำ บตัวที่ผิดจังหวะ การทรุดตัวลงนั่งบนเก้าอี้ ซึ่งภาวะกระดูกสันหลังยุบตัวดังกล่าว โดยมากมักเกิดจากการขยั อนอย่างรุนแรง แรงจนเกินไป หรือการนั่งรถแล้วได้รับการกระทบกระเทื ี่มีแคลเซียมสูง โดยเฉพาะวัยรุ่นควรให้ ดังนั้นทางที่ดีควรเตรียมตัวป้องกันด้วยการรับประทานอาหารท นการเกิดภาวะกระดูกพรุน อันเป็น ประจำา เพือ่ ป้องกั ความสำาคัญด้วยการรับประทานอาหารทมี่ แี คลเซียมเป็น ได้ สาเหตุของการเกิดโรคกระดูกสันหลังยุบตัวในช่วงวัยสูงอายุ

เป็นระบบ ๒.๒) ระบบประสาทอัตโนมัติ (Automomic Nervous System) มการ ของจิตใจ ซึ่งท�าหน้าที่ควบคุ ประสาทที่ท�างานอยู่นอกเหนืออ�านาจการบังคับและควบคุม ยนของโลหิต การย่อยอาหาร ท�างานของอวัยวะภายในร่างกายให้เป็นปกติ เช่น ควบคุมการไหลเวี การหายใจ การก�าจัดของเสียออกจากร่างกาย ระบบประสาทอัตโนมัติแบ่งเป็น ๒ ส่วน คือ เป็นระบบ (๑) ระบบประสาทซิมพาเทติก (Sympathetic Nerve System) ่นเต้น ประสบภาวะฉุกเฉิน หรือใน ประสาทที่มีการท�างานแบบเกิดขึ้นทันทีทันใด เช่น ในขณะตื ยมความพร้อม การเตรี น เป็ อ ่ เพื นตาขยาย า ่ ม รู ว เร็ น ใจเต้ ว ั ห ผลให้ ง โดยจะส่ ระยะเจ็บป่วย เป็นต้น ของร่างกายต่อสถานการณ์นั้นๆ 4

๙๒

EB GUIDE

http://www.aksorn.com/LC/He/M1/09

ารดํารงอยูของรางกายมนุษย รางกาย เชน การทํางานของระบบปร เกิดขึ้นเนื่องจากการทํางานรวมกันของระบบตางๆ ใน ะสาทและระบบตอมไรทอที่จํา เปนตองประสานสัมพันธกัน เพือ่ ทําใหอวัยวะตางๆ สามารถ ทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพ ดังนัน้ การสรางเสริมสมรรถภาพและ ประสิทธิภาพในการทํางานของ ระบบประสาทและระบบตอ มไร ทอ โดยเฉพาะการหมนั่ สํารวจดู สุขภาพของตนเองอยางสมํ่าเสมอ แล การออกกําลังกาย การรับประทาน พักผอนที่เพียงพอ รวมถึงควรรี อาหารที่มีประโยชน การ บปรึกษาแพทยเมื่อสังเกตพบค วามผิดปกติของรางกาย จึงเป สิ่งจําเปนและสําคัญ ซึ่งเราทุก น คนควรฝกปฏิบัติจนเปนนิสัย เพื่อสุขภาพที่ดีของตนเองตลอดไ ป

๑๙

อยางไรก็ตาม การจะศึกษาสาระการเรียนรูสุขศึกษาไดอยางมีประสิทธิภาพนั้น คําถาม นอกจากหนังสือเรียนเล มน�้แลว ผูเรียนควรศึกษาเพิ�มเติมจากเอกสาร หนังสือ หรือแหลง เรียนรูอื่นๆ เพิ�มเติมดวย ก็จะชวยใหไดรับความรูมากยิ�งขึ้น ซึ�งทางคณะผูเรียบเรียงหวัง เปนอยางยิ�งวา หนังสือเรียนสุขศึกษา ชั้น ม.๑ เลมน�้ จะชวยอํานวยความสะดวกในการเรียน การสอน ใหผูเรียนไดทั้งกความรู  คุณลักษณะอันพึงประสงค ผานตัวชี้วัด และมีผลสัมฤทธิ์ ิจกรรม ทางการเรียนที่ดีอยางที่หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานไดกําหนดไว

นระบบประสาท ๒) ระบบประสาทส่วนปลาย (Peripheral Nervous System) เป็ซึ่งประกอบด้วย

เกร็ดน่ารู้

และความหลากหลาย หมุนเวียน การรับประทานอาหารควรคํานึงถึงสัดสวน ปริมาณ ่งอยูเปนประจํา โดยที่ไมคอยไดเปลี่ยนแปลง กันไป เพราะการรับประทานอาหารอยางใดอยางหนึ ชนิดนั้นเปนประจํา และจะ สารอาหาร รับ ประเภทของอาหารที่บริโภค ก็จะทําใหรางกายได าใหรางกายเจริญเติบโตไมเต็มที่ แคระแกร็น ขาดสารอาหารที่จําเปนชนิดอื่นได อาจมีผลทํ านึงถึงดวยวา อาหารที่บริโภคเขาไป วรคํ ค หารก็ ประทานอา บ ในการรั ง ่ ซึ า  เฉื่อยชา และสมองช อความตองการของรางกายหรือไม ไมควร ใหสารอาหารครบทั้ง ๖ ประเภท และเพียงพอต รับประทานมากไปหรือนอยไป าการแหงชาติ ไดจัดทํา คณะอนุกรรมการสาขาโภชนศาสตร ในคณะกรรมการโภชน ตารางความตองการอาหารของวัยตางๆ ดังนี้

นรู

วยการเรีย

ประจําหน

แล ะ ํางานรวมกัน งตองมีการท ข ภา พ การ เจริ ญ เติ บ โต บตอมไรทอจึ  า งไร ต อ สุ สาทและระบ วาม สํ า คั ญ อย ุใดระบบประ ค มี หต อ  ะบบ ท  าะเ เพร มไร ๑. อยางไร ในร ะระ บบ ต อ งาน แล า ํ าท ารท ก ระส มี พาเทติก ๒. ระบ บป สาทพาราซิม องวัยรุน พัฒนาการข และระบบประ ก ิ เทต พา ม าทซิ ทอ บัติอยางไร ๓. ระบบประส ัติ ตอระบบตอมไร นปกตินั้น มีแนวทางปฏิ ประสาทอัตโนม ไอโอดีน จะมีผลอยางไร ํางานไดเป ยขาดธาตุ อมไรทอใหท ๔. ถารางกา ะบบประสาทและระบบต ษาร ก ๕. วิธีดูแลรั จงอธิบาย

ียนรู มไรทอ และระบบตอ พัฒนาการเร งระบบประสาท ทํางานทีบ่ กพรอง ครงสรางขอ การ แผนผังแสดงโ ญหาทางสขุ ภาพทีเ่ กิดจาก ผังที่แสดง า ทํ ด ั นจ ย เรี รือป นแผน ๑ นัก นาทีแ่ ละโรคห และระบบตอมไรทอลงใ ่ยวกับ กิจกรรมที่ มความคิดเกี พรอมทงั้ บอกห ประสาท าท ุมชวยกันระด างๆ ในระบบ กในแตละกล ารทาํ งานของระบบประส ของอวัยวะต ุม โดยสมาชิ นก ระสทิ ธิภาพใ ยนแบงเปนกล รงป เรี น า ก ย ดํ นั เรี น ้ และ ชั า ๒ ภาพ มสมรรถภาพ แทนออกมานําเสนอหน รรถ ริ งสม งเส กิจกรรมที่ า า สร สร ่ อ การ สงตัว แลตนเองเพื มไรทอ แลว ทอ เปน ติกรรมการดู และระบบตอ ระบบตอมไร กรายงานพฤ บบประสาทและ ใจเพียง ๑ ระบบ ะคน ทําบันทึ นักเรียนแตล ภาพในการทํางานของระ งสน นเอ ๓ ต ่ ที ่ ี ิทธิ กระบบ กิจกรรมท และดํารงประส อน โดยใหนักเรียนเลือ สงครูผูสอน เดื ปเปนรายงาน ระยะเวลา ๑ งานมาวิเคราะห และสรุ ราย แลวนําผลการ สรางสรรค

๒๐

๑.๕) สารระคายเคืองตางๆ ในควันบุหรี่จะมีสารระคายเคืองอยูหลายชนิด เชน แอมโมเนี ย (Ammonia) สารกั ม มั น ตรั ง สี (Radioactive Agents) สารฟอร มั ล ดี ไ ฮด (Formaldehyde) สารอะเซตาลดีไฮด (Acetaldehyde) โดยสารเหลานี้จะไปรบกวนการทํางาน ของหลอดลมและปอด ทําใหเกิดอาการไอ มีเสมหะมาก หลอดลมอักเสบ และทําลายระบบการ ปองกันตนเองโดยธรรมชาติของระบบหายใจ ทําใหรางกายมีโอกาสเกิดโรคตางๆ ไดงาย

โรคที่เกิดจากการสูบบุหรี่ โรคมะเร็งปอด

โรคมะเร็งปอด เกิดจากสารกอมะเร็งชนิดตางๆ โดยเฉพาะอยางยิ่งสารทารที่ไดรับจากควันบุหรี่ โดยผูปวยโรคมะเร็งปอดสวนใหญมักเปนผูชาย มีประวัติของการสูบบุหรี่ติดตอกันมาเปนระยะ เวลานาน ซึ่งการเลิกสูบบุหรี่สามารถลดโอกาสที่ จะเกิดมะเร็งใหนอยลงถึงแมจะไมนอยลงเทาคน ไมสูบบุหรี่ก็ตาม

บุหรี่ เปนอันตรายตอคนรอบขาง

โรคถุงลมโปงพอง

โรคถุงลมโปงพอง เปนโรคที่เนื้อปอดและถุงลม ปอดถูกทําลาย สงผลใหการแลกเปลี่ยนออกซิเจน ลดลง ทําใหรูสึกหายใจไมเพียงพอ หอบเหนื่อย หายใจลําบากและถี่ขึ้น ซึ่งสาเหตุเกิดจากการ สูบบุหรี่ โดยการสูดเอาควันบุหรี่เขาไปในรางกาย และผานเขาไปในปอด ซึ่งในควันบุหรี่จะมีสารพิษ ที่ไปทําอันตรายตอเนื้อปอด นอกจากนี้ ไมเพียง แตสูบบุหรี่เทานั้น การสูดดมสิ่งที่เปนพิษ เชน มลภาวะ ไอเสีย ฝุน สารเคมีเปนระยะเวลานานๆ ก็สามารถเปนโรคถุงลมโปงพองไดเชนกัน

โรคหัวใจ โรคหัวใจ เปนสาเหตุการเสียชีวิตอันดับหนึ่งของ คนไทยโดยสวนใหญเปนหลอดเลือดหัวใจตีบตัน สาเหตุสําคัญ คือ การสูบบุหรี่ เพราะสารพิษใน ควันบุหรี่ ไดแก แกสคารบอนมอนอกไซด และ นิโคติน เหลานี้จะมีผลตอการทํางานของหัวใจ ทําใหหลอดเลือดตีบตัน เกิดอาการหัวใจวาย

ผูเรียบเรียง ๑๖๓ ๑๖๓


กระตุน ความสนใจ Engage

˹‹Ç·Õè

ñ

ó

Evaluate

ñ - òð

Ãкº»ÃÐÊÒ· Ãкºµ‹ÍÁäÃŒ·‹Í ¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ ¢Í§Ãкº»ÃÐÊÒ·áÅÐÃкºµ‹ÍÁäÃŒ·‹Í

ò ù ñ÷

òñ - ôö

ÀÒÇСÒÃà¨ÃÔÞàµÔºâµáÅл˜¨¨Ñ·Õèà¡ÕèÂÇ¢ŒÍ§ ࡳ± Áҵðҹ¡ÒÃà¨ÃÔÞàµÔºâµ¢Í§à´ç¡ä·Â ¡ÒÃÊ‹§àÊÃÔÁáÅоѲ¹Òµ¹àͧãËŒà¨ÃÔÞàµÔºâµÊÁÇÑ ÊØ¢ºÑÞÞѵÔáË‹§ªÒµÔà¾×èÍ¡ÒÃà¨ÃÔÞàµÔºâµ·ÕèÊÁÇÑÂ

òò òõ óø ôð

ô÷ - öô

¡Òû‡Í§¡Ñ¹¡Òö١ŋǧÅÐàÁÔ´·Ò§à¾È

öõ - øô

● ●

õ

ตรวจสอบผล

ôø õð õò õ÷

˹‹Ç·Õè

Expand

¡ÒÃà»ÅÕè¹á»Å§·Ò§Ã‹Ò§¡Ò¢ͧÇÑÂÃØ‹¹ ¡ÒÃà»ÅÕè¹á»Å§·Ò§ÍÒÃÁ³ áÅШԵ㨢ͧÇÑÂÃØ‹¹ ¾Ñ²¹Ò¡Ò÷ҧà¾È¢Í§ÇÑÂÃØ‹¹ ¡ÒÃàºÕè§ູ·Ò§à¾È

ô

ขยายความเขาใจ

ÇÑÂÃØ‹¹áÅоѲ¹Ò¡Ò÷ҧà¾È ●

˹‹Ç·Õè

Explain

ÇÑÂÃØ‹¹¡Ñº¡ÒÃà¨ÃÔÞàµÔºâµµÒÁࡳ± Áҵðҹ ●

˹‹Ç·Õè

อธิบายความรู

¤ÇÒÁÊíÒ¤ÑޢͧÃкº»ÃÐÊÒ·áÅÐÃкºµ‹ÍÁäÃŒ·‹Í µ‹ÍÇÑÂÃØ‹¹ ●

ò

Explore

ÊÒúÑÞ ●

˹‹Ç·Õè

สํารวจคนหา

¤ÇÒÁËÁÒÂáÅÐÅѡɳТͧ¾ÄµÔ¡ÃÃÁ¡ÒÃŋǧÅÐàÁÔ´·Ò§à¾È ÊÒà˵آͧ¡Òö١ŋǧÅÐàÁÔ´·Ò§à¾È ¼Å¡Ãзº¨Ò¡¡Òö١ŋǧÅÐàÁÔ´·Ò§à¾È ¡Òû‡Í§¡Ñ¹áÅÐËÅÕ¡àÅÕè§ʶҹ¡Òó àÊÕ觵‹Í¡Òö١ŋǧÅÐàÁÔ´·Ò§à¾È ·Ñ¡Éл¯Ôàʸà¾×èÍ»‡Í§¡Ñ¹¡Òö١ŋǧÅÐàÁÔ´·Ò§à¾È

ÇÑÂÃØ‹¹¡ÑºâÀª¹Ò¡ÒÃà¾×èÍÊÌҧàÊÃÔÁÊØ¢ÀÒ¾ ● ● ● ● ● ●

¤ÇÒÁÃÙŒ·ÑèÇä»à¡ÕèÂǡѺÍÒËÒà áÅÐâÀª¹Ò¡Òà ÀÒÇÐâÀª¹Ò¡Òà âÀª¹ºÑÞÞѵÔáÅи§âÀª¹Ò¡Òà ËÅÑ¡¡ÒÃàÅ×Í¡ÍÒËÒ÷ÕèàËÁÒÐÊÁ¡ÑºÇÑ ©ÅÒ¡º¹¼ÅÔµÀѳ± ÍÒËÒà ¡ÒÃàÅ×͡㪌¼ÅÔµÀѳ± àÊÃÔÁÍÒËÒÃÊíÒËÃѺÇÑÂÃØ‹¹

öö öø ÷ð ÷ò øñ

øõ - ññð øö ø÷ øù ùó ñðñ ñðø


กระตุน ความสนใจ Engage

˹‹Ç·Õè

สํารวจคนหา Explore

ö ÷

ø

ù

Expand

¤ÇÒÁÃÙŒ·ÑèÇä»à¡ÕèÂǡѺÊÁÃöÀÒ¾·Ò§¡Ò ͧ¤ »ÃСͺ¢Í§ÊÁÃöÀÒ¾·Ò§¡Ò ¡Ò÷´ÊͺÊÁÃöÀÒ¾·Ò§¡ÒÂ

¤ÇÒÁÃÙŒ·ÑèÇä»à¡ÕèÂǡѺ¡Òû°Á¾ÂÒºÒÅ ÇÔ¸Õ¡Òû°Á¾ÂÒºÒÅÍ‹ҧ»ÅÍ´ÀÑ ¡ÒÃà¤Å×è͹ŒÒ¼ٌ»†ÇÂ

ÁËѹµÀѨҡÊÒÃàʾµÔ´ ●

˹‹Ç·Õè

ขยายความเขาใจ

¡Òû°Á¾ÂÒºÒÅáÅСÒÃà¤Å×è͹ŒÒ¼ٌ»†Ç Í‹ҧ»ÅÍ´ÀÑ ●

˹‹Ç·Õè

Explain

ÊÁÃöÀÒ¾·Ò§¡Ò ●

˹‹Ç·Õè

อธิบายความรู

¤ÇÒÁÃÙŒ·ÑèÇä»à¡ÕèÂǡѺÊÒÃàʾµÔ´ »ÃÐàÀ·¢Í§ÊÒÃàʾµÔ´ ÅѡɳÐáÅÐÍÒ¡Òâͧ¼ÙŒµÔ´ÊÒÃàʾµÔ´ ¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ ¢Í§¡ÒÃ㪌ÊÒÃàʾµÔ´¡Ñº¡ÒÃà¡Ô´âäáÅÐÍغѵÔà˵Ø

¡Òû‡Í§¡Ñ¹ÀѨҡÊÒÃàʾµÔ´ ● ●

¡Òû‡Í§¡Ñ¹áÅÐᡌ䢻˜ÞËÒÊÒÃàʾµÔ´ ·Ñ¡ÉÐ㹡ÒêѡªÇ¹¼ÙŒÍ×è¹ãˌŴ ÅÐ àÅÔ¡ ÊÒÃàʾµÔ´

ºÃóҹءÃÁ

ตรวจสอบผล Evaluate

ñññ - ñóð ññò ññò ññó

ñóñ - ñõö ñóò ñóô ñôø

ñõ÷ - ñ÷ð ñõø ñõø ñöð ñöñ

ñ÷ñ - ñøò ñ÷ò ñ÷õ ñøó


กระตุน ความสนใจ กระตุEngage นความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Engage

Explore

Explain

Expand

Evaluate

เปาหมายการเรียนรู

1. อธิบายความสําคัญของระบบประสาท และระบบตอมไรทอที่มีผลตอสุขภาพ การเจริญเติบโต และพัฒนาการของวัยรุนได 2. อธิบายวิธีดูแลรักษาระบบประสาทและ ระบบตอมไรทอใหทํางานตามปกติได

สมรรถนะของผูเรียน 1. ความสามารถในการคิด 2. ความสามารถในการแกปญหา 3. ความสามารถในการใชทักษะชีวิต

คุณลักษณะอันพึงประสงค 1. ใฝเรียนรู 2. อยูอ ยางพอเพียง

หนวยที่

กระตุน ความสนใจ

ความสําคัญของระบบประสาทและระบบตอมไรทอตอวัยรุน ตัวชี้วัด ■

อธิบายความสําคัญของระบบประสาท และระบบตอมไรทอที่ มีผลตอสุขภาพ การเจริญเติบโต และพัฒนาการของวัยรุน อธิ บ ายวิ ธี ดู แ ลรั ก ษาระบบประสาท และระบบต อ มไร ท อ ใหทํางานตามปกติ (พ ๑.๑ ม.๑/๑,๒)

สาระการเรียนรูแกนกลาง ■

ความสําคัญของระบบประสาท และระบบตอมไรทอที่มีผลตอ สุขภาพ การเจริญเติบโต และพัฒนาการของวัยรุน วิธดี แู ลรักษาระบบประสาท และระบบตอมไรทอ ใหทาํ งานตาม ปกติ

การทํางานของระบบตางๆ ในรางกาย

ของคนเรามีความสัมพันธกัน ไมสามารถ แยกออกจากกันได และการดํารงชีวิตของ มนุษย ขึ้นอยูกับการทํางานของระบบตางๆ ในรางกาย หากระบบใดระบบหนึง่ หรือหลายๆ ระบบทํางานไดไมดี ยอมสงผลใหสภาวะสุขภาพ โดยรวมเกิ ด ป ญ หาขึ้ น ได ระบบทุ ก ระบบใน รางกาย ลวนแตมีความสําคัญตอรางกายดวยกัน ทั้งสิ้น แตระบบที่สําคัญตอการเจริญเติบโตของ วัยรุน คือ ระบบประสาทและระบบตอมไรทอ

วา

Engage

ใหนักเรียนดูภาพหนาหนวย แลวถามนักเรียน

• จากภาพที่เห็นนั้นกําลังสื่อถึงอะไร จากนั้นใหนักเรียนอานชื่อหนวยการเรียนรู แลวถามนักเรียนวา • นักเรียนคิดวาเพราะเหตุใดระบบประสาท และระบบตอมไรทอจึงมีผลตอวัยรุน

เกร็ดแนะครู หนวยการเรียนรูนี้มีคําศัพทและชื่อเฉพาะมากมาย ครูจึงควรแนะนําใหนักเรียน รวบรวมคําศัพทตางๆ พรอมทั้งความหมายโดยยอ เพื่อชวยในการจดจํา ซึ่งอาจให นักเรียนจดจําเปนอภิธานศัพทหรือจัดทําเปนแผนผังความคิดก็ได จะสามารถชวย เชื่อมโยงความรูไดดียิ่งขึ้น

คูมือครู

1


กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา Exploreนหา สํารวจค

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Engage

Explore

Explain

Expand

Evaluate

กระตุEngage นความสนใจ

กระตุน ความสนใจ

Engage

ครูตั้งคําถามเพื่อกระตุนการเรียนรู • เมื่อเขาสูวัยรุน นักเรียนรูสึกวาตนเองนั้น มีการเปลี่ยนแปลงทางดานตางๆ เกิดขึ้น หรือไม อยางไร (แนวตอบ นักเรียนสวนใหญเริ่มรูสึกวาตนเอง มีการเปลี่ยนแปลงทางดานตางๆ เกิดขึ้น โดยเฉพาะทางดานรางกายทีม่ กี ารเปลีย่ นแปลง อยางเห็นไดชัด เชน ผูชายเริ่มมีหนวดเครา ผูหญิงเริ่มมีหนาอก เปนตน) • นักเรียนคิดวาระบบประสาทมีผลตอ การเจริญเติบโตและพัฒนาการดานตางๆ ของนักเรียนอยางไร (แนวตอบ สามารถหาคําตอบไดจากการศึกษา ในเนื้อหาตอไป)

สํารวจคนหา

๑. ระบบประสาท (Nervous System)

วัยรุนคือชวงชีวิตของมนุษย ที่มีการเปลี่ยนแปลง ดานตางๆ มากมาย โดยเฉพาะในเรือ่ งการเจริญเติบโตและ พัฒนาการ ซึ่งระบบประสาทถือเปนปจจัยสําคัญ ที่มีผล อยางมากตอการเจริญเติบโตและพัฒนาการทางดานตางๆ ของวัยรุน

๑.๑ โครงสรางและหนาที่ของระบบประสาท

สมอง

ระบบประสาทเปนระบบที่ควบคุมการทํางานของอวัยวะ สวนตางๆ ทุกระบบในรางกายใหประสานสัมพันธกัน เพื่อใหรางกาย สามารถปรับตัวตอสิ่งแวดลอม และสามารถดํารงชีวิตอยูไดอยาง มีประสิทธิภาพ โดยแบงออกเปน ๒ สวน คือ ระบบประสาท สวนกลาง และระบบประสาทสวนปลาย

๑) ระบบประสาทสวนกลาง (Central Nervous System) ประกอบไปด ว ยสมองและไขสั น หลั ง ซึ่ ง เป น

Explore

ศูนยกลางในการประสานการทํางานของอวัยวะตางๆ ของรางกาย ใหอวัยวะตางๆ สามารถทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพ ๑.๑) สมอง (Brain) เปนอวัยวะที่สําคัญและ ไขสันหลัง สลับซับซอนมาก ประกอบดวยกลุม ของเนือ้ เยือ่ ทีม่ คี วามออนนุม บรรจุอยูในกะโหลกศีรษะ สมองจะเริ่มเจริญเติบโตตั้งแตเปน ตัวออนในครรภมารดา พอชวงอายุ ๑-๙ ป สมองจะเจริญ เติบโตอยางรวดเร็ว และจะเจริญเติบโตเต็มทีเ่ มือ่ อายุ ๑๘-๒๐ ป โดยสมองแบงออกเปน ๓ สวน ไดแก สมองสวนหนา สมอง สวนกลาง และสมองสวนทาย ซึง่ แตละสวนมีสว นประกอบและ หนาที่แตกตางกัน ๑.๒) ไขสันหลัง (Spinal Cord) อยูภ ายใน ชองกระดูกสันหลังที่เชือ่ มตอกันตลอดความยาวของลําตัว เสนประสาท ทําหนาที่เปนศูนยกลางการเคลื่อนไหวสวนตางๆ ของ รางกาย เปนตัวเชื่อมระหวางอวัยวะรับความรูสึกไปยัง สมอง และสงความรูส กึ จากสมองไปยังสวนตางๆ ของรางกาย รวมไปถึงควบคุมการเจริญเติบโตของอวัยวะและ โครงสรางของระบบประสาทประกอบไปดวยสมอง สวนตางๆ ที่มีเสนประสาทไขสันหลังตอกับสมอง ไขสันหลัง และเสนประสาท

ครูแบงนักเรียนออกเปน 2 กลุมเทาๆ กัน โดยใหกลุมหนึ่งศึกษาเรื่องระบบประสาทสวนกลาง และอีกกลุมหนึ่งศึกษาเรื่องระบบประสาทสวนปลาย จากหนังสือเรียน

เกร็ดแนะครู ในการเชื่อมโยงเพื่อเขาสูเนื้อหา ครูอาจใหนักเรียนจับคูกัน โดยที่คนหนึ่ง หลับตาและใหอีกคนหนึ่งหยิกแขนซายและแขนขวาของเพื่อนเบาๆ สลับกัน เพื่อแสดงใหเห็นถึงกระบวนการทํางานของระบบประสาท

มุม IT นักเรียนสามารถเลนเกมฝกสมอง Games for the brain ไดจากเว็บไซต http://www.gamesforthebrain.com/thai/

2

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

ขอใดกลาวไมถูกตอง 1. ระบบประสาทจะประกอบดวยเสนประสาทเทานั้น 2. ระบบประสาทชวยควบคุมการทํางานของอวัยวะทุกสวน 3. ระบบตอมไรทอมีอิทธิพลตอการเจริญเติบโตของรางกาย 4. ระบบตอมไรทอผลิตฮอรโมนไปตามกระแสเลือดสูอวัยวะเปาหมาย วิเคราะหคําตอบ ระบบประสาทเปนระบบที่ควบคุมการทํางานของ อวัยวะสวนตางๆ ทุกระบบในรางกายใหประสานสัมพันธกัน แบงออกเปน 2 สวน คือ ระบบประสาทสวนกลาง ซึง่ ประกอบไปดวยสมองและไขสันหลัง และระบบประสาทสวนปลาย ซึ่งประกอบไปดวยระบบประสาทสมองและ ไขสันหลัง และระบบประสาทอัตโนมัติ สวนระบบตอมไรทอนั้น เปนระบบ ซึ่งมีผลตอการเจริญเติบโตของรางกาย โดยตอมไรทอจะผลิตฮอรโมน ออกมา และซึมเขาสูระบบกระแสเลือด ไปยังสวนตางๆ ของรางกาย เพื่อใหอวัยวะเปาหมายตางๆ ภายในรางกายสามารถทํางานไดตามปกติ

ตอบขอ 1. คูมือครู


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

อธิบายความรู แผนภาพแสดงส วนประกอบและหนาที่ของ 1 สมอง (Brain)

สมองส วนหนา (Forebrain)

ใหนักเรียนกลุมที่ศึกษาเรื่องระบบประสาท สวนกลาง ออกมาอธิบายองคประกอบและหนาที่ ของระบบประสาทสวนกลาง โดยอาจใหนักเรียน ใชแผนภาพแสดงสวนประกอบและหนาที่ของ สมอง และแผนภาพโครงสรางของระบบประสาท จากหนังสือเรียนหนา 2 - 3 มาใชเพื่อเปนสื่อ ประกอบการอธิบายได ซึ่งหลังจากการอธิบาย เสร็จสิ้น ครูชวยอธิบายเพิ่มเติม และใหนักเรียน ทํากิจกรรมในแบบวัดและบันทึกผลการเรียนรู กิจกรรมที่ 1.1

เซรีบรัม (Cerebrum) เปนสวนที่ใหญที่สุดของสมอง ทําหนาที่ควบคุมการทํางานและ กิจกรรมตางๆ ของรางกาย เชน การพูด การมองเห็น การเรียนรู ดานสติปญญา ความคิด ความจํา การไดยิน เปนตน ทาลามัส (Thalamus) อยูดานลางของสมอง ซึ่งเปน ที่รวมของเซลลประสาทและ เนือ้ เยือ่ เกีย่ วพัน ทําหนาทีใ่ นการ ถ า ยทอดสั ญ ญาณไปยั ง สมอง สวนตางๆ ทีเ่ กีย่ วของกับ กระแสประสาท

✓ แบบวัดฯ ใบงาน แบบฝกฯ สุขศึกษา ม.1 กิจกรรมที่ 1.1 หนวยที่ 1 ระบบประสาทและระบบตอมไรทอ ตอวัยรุน กิจกรรมตามตัวชี้วัด

ไฮโพทาลามัส (Hypothalamus) ทําหนาที่ควบคุมกระบวนการ และพฤติกรรมบางอยาง อารมณ และความรูส กึ ตางๆ ของรางกาย เชน ความดันโลหิต ความหิว ความอิม่ การนอนหลับ การเตน ของหัวใจ2 ควบคุมอุณหภูมิของ รางกาย เปนตน

สมองส วนกลาง (Midbrain) อยูถัดจากสมองสวนหนา มีขนาดเล็ก ทําหนาที่ เกี่ยวกับการมองเห็น การไดยินและ การสัมผัส

กิจกรรมที่ ๑.๑ ใหนักเรียนบอกชื่อและหนาที่ของสวนประกอบของสมอง (พ ๑.๑ ม.๑/๑)

เซรีบรัม ชือ่ ………………………………………………. มการทํางานและ หนาที่ควบคุ ………………………………………..

กิจกรรมตางๆ ของรางกาย ……………………………………………………….

เช น การพู ด การมองเห็ น ……………………………………………………….

สมองสวนกลาง ชือ่ ………………………………………………. ควบคุมเกี่ยวกับการ หนาที่ ………………………………………..

พอนส (Pons) ทําหนาที่ควบคุม การทํางานของ กลามเนือ้ บริเวณ ใบหนา เกีย่ วกับ การหลับตา การยิม้ การยักคิว้ การเคีย้ ว และการหลัง่ นํา้ ลาย

เมดัลลา ออบลองกาตา

(Medulla Oblongata)

ทําหนาที่ควบคุม การทํางานของ อวัยวะภายใน เชน การไอ การจาม การหมุนเวียนโลหิต การลําเลียงอาหาร ของลําไส การหายใจ การอาเจียน เปนตน

คะแนนเต็ม คะแนนที่ได

ñõ

เซรีเบลลัม ชือ่ ………………………………………………. ควบคุมการเคลื่อนไหว หนาที่ ………………………………………..

ของกลามเนื้อ ………………………………………………………. ……………………………………………………….

การไดยิน ความคิด ความจํา ……………………………………………………….

มองเห็น กลอกลูกตา ควบคุม ……………………………………………………….

……………………………………………………….

การเรียนรู เปนตน ……………………………………………………….

การปดและเปดของมานตา ……………………………………………………….

……………………………………………………….

………………………………………………………. ……………………………………………………….

ฉบับ

สมองส วนทาย (Hindbrain)

Explain

เซรีเบลลัม (Cerebellum) หรือสมองนอย ทําหนาที่ ควบคุมการเคลื่อนไหว ของกลามเนื้อใหทํางาน ประสานกัน

ทาลามัส เฉลย ชือ่ ………………………………………………. เป น ศู น ย ร วมของ หนาที่ ……………………………………….. กระแสประสาทและถายทอด ………………………………………………………. กระแสประสาทไปยั ง สมอง ………………………………………………………. สวนตางๆ ……………………………………………………….

การหมุนเวียนโลหิต การไอ ……………………………………………………….

……………………………………………………….

……………………………………………………….

ไฮโพทาลามัส ชือ่ ………………………………………………. ควบคุ ม อุ ณ หภู มิ ข อง หนาที่ ………………………………………..

เมดัลลา ออบลองกาตา ชือ่ ………………………………………………. ควบคุ ม การหายใจ หนาที่ ………………………………………..

การจาม ………………………………………………………. ……………………………………………………….

พอนส ชือ่ ………………………………………………. ควบคุ ม การทํ า งาน หนาที่ ………………………………………..

รางกาย ความดันโลหิต ……………………………………………………….

ของกลามเนื้อบริเวณใบหนา ……………………………………………………….

ความหิว ความอิม่ การนอนหลับ ……………………………………………………….

การยิ้ม ยักคิ้ว หลั่งนํ้าลาย ……………………………………………………….

การเตนของหัวใจ ……………………………………………………….

……………………………………………………….

……………………………………………………….

……………………………………………………….

ขอสอบเนน การคิด

พฤติกรรมใดไมใชการทํางานของสมอง 1. สะดุงเมื่อถูกของรอน 2. เหงื่อออกเมื่อรูสึกรอน 3. จามเมื่อรางกายไดรับเชื้อโรค 4. หิวเมื่อไมไดรับประทานอาหาร

แนว  NT  O-NE T

วิเคราะหคําตอบ สะดุงเมื่อถูกของรอน เปนปฏิกิริยารีเฟลกซที่เกิดจาก การสั่งการของไขสันหลัง จามเมื่อรางกายไดรับเชื้อโรค เปนการทํางานของ สมองสวนเมดัลลา ออบลองกาตา เหงื่อออกเมื่อรูสึกรอน และหิวเมื่อไมได รับประทานอาหาร เปนการทํางานของสมองสวนไฮโพทาลามัส ตอบขอ 1.

เกร็ดแนะครู ครูอาจนําโมเดลสมองหรือไขสันหลัง (ถามี) มาประกอบการอธิบาย เพื่อให นักเรียนเห็นภาพไดชัดเจนและเกิดความเขาใจมากยิ่งขึ้น

นักเรียนควรรู 1 สมอง สมองของมนุษยเมื่อแรกเกิดจะมีนํ้าหนักประมาณ 300 - 400 กรัม และเมื่อเจริญเติบโตเต็มที่แลวจะมีนํ้าหนักประมาณ 1.3 -1.4 กิโลกรัม 2 อุณหภูมิของรางกาย เปนความสมดุลระหวางความรอนที่รางกายผลิตขึ้นกับ ความรอนที่สูญเสียไปจากรางกาย ซึ่งในแตละวัยจะมีอุณหภูมิรางกายปกติอยูที่ ประมาณ 36 - 37 องศาเซลเซียส

คูมือครู

3


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

Explain

ใหนักเรียนกลุมที่ศึกษาเรื่องระบบประสาท สวนปลาย ออกมาอธิบายถึงองคประกอบและหนาที่ ของระบบประสาทสวนปลาย โดยใหยกตัวอยาง ประกอบการอธิบายใหเกิดความเขาใจมากยิ่งขึ้น โดยหลังจากการอธิบายเสร็จสิ้น ครูชวยอธิบาย เพิ่มเติมและตั้งคําถามเพื่อใหไดขอสรุปที่ถูกตอง รวมกัน • เสนประสาทสมองมีกี่คู และแตละคูทําหนาที่ อะไร (แนวตอบ มี 12 คู โดยบางคูจะทําหนาที่ รับความรูสึก บางคูก็จะทําหนาที่เกี่ยวกับ การเคลื่อนไหว และบางคูจะทําหนาที่รวม คือ ทั้งรับความรูสึกและการเคลื่อนไหว) • เสนประสาทไขสันหลังมีกี่คู และแตละคู ทําหนาที่อะไร (แนวตอบ มี 31 คู โดยทุกคูจะทําหนาที่รวม คือ ทั้งรับความรูสึกและทําการเคลื่อนไหว) • เมื่อนักเรียนรูสึกตื่นเตนหรือตกใจ นักเรียน ทราบหรือไมวาทําไมหัวใจจึงเตนเร็ว (แนวตอบ ขึ้นอยูกับคําตอบของนักเรียน โดยนักเรียนบางคนอาจตอบวาทราบ เนื่องจากเปนการทํางานของระบบประสาท ซิมพาเทติก เพื่อเตรียมความพรอมของ รางกายตอสถานการณนั้นๆ)

๒) ระบบประสาทสวนปลาย (Peripheral Nervous System) เปนระบบประสาท

ที่เชื่อมตอจากสวนตางๆ ของสมองและไขสันหลัง ไปยังสวนตางๆ ของรางกาย ซึ่งประกอบดวย ๒ สวนคือ ๒.๑) ระบบประสาทสมองและไขสันหลัง ประกอบดวยเสนประสาทสมองและ เสนประสาทไขสันหลัง ดังนี้ (๑) เสนประสาทสมอง มี ๑๒ คู ทอดออกจากพื้นลางของสมอง ผานไป ยังรูตางๆ ที่พื้นของกะโหลกศีรษะ โดยเสนประสาทสมองในบางคูจะทําหนาที่รับความรูสึก บางคู ทําหนาทีเ่ กีย่ วกับการเคลือ่ นไหว และบางคูท าํ หนาทีร่ วม คือ ทัง้ รับความรูส กึ และทําการเคลือ่ นไหว (๒) เสนประสาทไขสันหลัง เปนเสนประสาทที่ออกจากสันหลัง มีจํานวน ทั้งหมด ๓๑ คู ทุกคูจะทําหนาที่รวม คือ ทั้งรับความรูสึกและทําการเคลื่อนไหว

เกร็ดนารู

กระดูกสันหลังยุบตัว

กระดูกสันหลังเปนโครงสรางของรางกายที่จะรองรับแรงกระแทกในแนวดิ่ง ซึ่งถามีการกระแทกอยาง รุนแรง กระดูกสันหลังก็อาจยุบตัวลงได ทั้งนี้ภาวะกระดูกสันหลังยุบตัวจะเกิดในผูที่มีภาวะกระดูกพรุน พบ มากในผูที่มีอายุ ๖๐ ปขึ้นไป และผูหญิงในชวงวัยหมดประจําเดือน รวมถึงผูที่ไดรับแคลเซียมไมเพียงพอ ซึ่งภาวะกระดูกสันหลังยุบตัวดังกลาว โดยมากมักเกิดจากการขยับตัวที่ผิดจังหวะ การทรุดตัวลงนั่งบนเกาอี้ แรงจนเกินไป หรือการนั่งรถแลวไดรับการกระทบกระเทือนอยางรุนแรง ดังนั้นทางที่ดีควรเตรียมตัวปองกันดวยการรับประทานอาหารที่มีแคลเซียมสูง โดยเฉพาะวัยรุนควรให ความสําคัญดวยการรับประทานอาหารทีม่ แี คลเซียมเปนประจํา เพือ่ ปองกันการเกิดภาวะกระดูกพรุน อันเปน สาเหตุของการเกิดโรคกระดูกสันหลังยุบตัวในชวงวัยสูงอายุได

๒.๒) ระบบประสาทอัตโนมัติ (Automomic Nervous System) เปนระบบ ประสาทที่ทํางานอยูนอกเหนืออํานาจการบังคับและควบคุมของจิตใจ ซึ่งทําหนาที่ควบคุมการ ทํางานของอวัยวะภายในรางกายใหเปนปกติ เชน ควบคุมการไหลเวียนของโลหิต การยอยอาหาร การหายใจ การกําจัดของเสียออกจากรางกาย ระบบประสาทอัตโนมัติแบงเปน ๒ สวน คือ (๑) ระบบประสาทซิมพาเทติก (Sympathetic Nerve System) เปนระบบ ประสาทที่มีการทํางานแบบเกิดขึ้นทันทีทันใด เชน ในขณะตื่นเตน ประสบภาวะฉุกเฉิน หรือใน ระยะเจ็บปวย เปนตน โดยจะสงผลใหหัวใจเตนเร็ว รูมานตาขยาย เพื่อเปนการเตรียมความพรอม ของรางกายตอสถานการณนั้นๆ ๔

เกร็ดแนะครู จากเนื้อหาสาระในเกร็ดนารูนั้น ไดกลาวถึงการบริโภคอาหารที่มีแคลเซียมสูง เพื่อปองกันปญหาการเกิดโรคกระดูกพรุน ดังนั้น ครูอาจแนะนําใหนักเรียนทราบวา อาหารที่มีแคลเซียมสูงไดแกอะไรบาง เชน นมสด ถั่วเมล็ดแหง ปลาตัวเล็กตัวนอย มะขามสด ผักกระเฉด ใบยอ กุงแหง งาดํา เปนตน

มุม IT สามารถศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับเสนประสาทสมอง ไดจาก เว็บไซต http://www.myfirstbrain.com/student_view.aspx?ID=35155 และเกี่ยวกับ เสนประสาทไขสันหลัง ไดจาก เว็บไซต http://www.doctor.or.th/node/5643

4

คูมือครู

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

เพราะเหตุใดระบบประสาทซิมพาเทติก และระบบประสาทพาราซิมพาเทติก จึงตองทําหนาที่ในทิศทางที่ตรงขามกันเสมอ แนวตอบ เพื่อรักษาความสมดุลของรางกายใหสามารถดํารงชีวิตได อยางปกติ


กระตุนความสนใจ Engage

สํารวจคนหา สํารวจค Exploreนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explore

Explain

Expand

Evaluate

สํารวจคนหา

จากการศึกษาเรื่องโครงสรางและหนาที่ของ ระบบประสาทที่ผานมา ทําใหนักเรียนไดมีความรู ความเขาใจ และสามารถอธิบายถึงองคประกอบ และหนาที่ของระบบประสาทสวนตางๆ ได เปนอยางดี เพื่อใหเห็นถึงความสําคัญของระบบประสาท ที่มีผลตอสุขภาพ การเจริญเติบโต และพัฒนาการ ของวัยรุน ใหนักเรียนแบงกลุมออกเปน 3 กลุม ศึกษาเพิม่ เติมเกีย่ วกับความสําคัญของระบบประสาท ที่มีผลตอสุขภาพ การเจริญเติบโต และพัฒนาการ ของวัยรุน และวิธีการดูแลรักษาระบบประสาทให ทํางานตามปกติจากหนังสือเรียนและแหลงเรียนรู เพิ่มเติมตางๆ ใหทั้ง 3 กลุม จับสลากเลือกเรื่องที่จะออกมา นําเสนอ ไดแก • ระบบประสาทที่มีผลตอสุขภาพ • ระบบประสาทที่มีผลตอการเจริญเติบโต ของรางกาย • ระบบประสาทที่มีผลตอพัฒนาการ จากนั้นใหแตละกลุมเตรียมทําสื่อประกอบ การนําเสนอ

(๒) ระบบประสาทพาราซิมพาเทติก (Parasympathetic Nerve System) 1 เปนระบบประสาทที่มีใยประสาทมาจากไขสันหลังสวนกระเบนเหน็บ กนกบ และเมดัลลา ออบลองกาตา (Medulla Oblongata) ทําหนาที่ควบคุมการทํางานของอวัยวะภายใน หลอดเลือด และตอมตางๆ ใหอยูในสภาพที่พรอมจะทํางานได เชน ทําใหหัวใจเตนชาลง หลอดเลือดคลายตัว เปนตน ทั้งนี้เพื่อไมใหรางกายทํางานมากเกินไป ระบบประสาทอัตโนมัติทั้ง ๒ สวนนี้ จะทําหนาที่ในทิศทางที่ตรงกันขาม เสมอ เชน ระบบประสาทซิมพาเทติกจะทําหนาทีก่ ระตุน ใหหวั ใจเตนเร็ว แตระบบประสาทพาราซิมพาเทติกจะทําหนาที่ ใหหัวใจเตนชาลง ทั้งนี้เพื่อรักษาความสมดุลของรางกายใหสามารถ ดํารงชีวิตไดอยางปกติ

๑.๒ ความสําคัญของระบบประสาทที่มีผลตอสุขภาพ การเจริญเติบโต และพัฒนาการของวัยรุน ระบบประสาท เปนระบบอวัยวะภายในรางกายที่สําคัญตอสุขภาพ การเจริญเติบโต และพัฒนาการของวัยรุน ซึ่งสามารถสรุปได ดังนี้

๑) ระบบประสาทที่ มี ผ ลต อ

สุขภาพ ระบบประสาทมีความสําคัญและสงผล

ตอสุขภาพของวัยรุน ดังนี้ ๑.๑) ควบคุมการทํางานของ อวัยวะภายในรางกาย ระบบประสาทจะกระตุน ใหระบบตอมไรทอผลิตฮอรโมนแตละชนิด ที่มี ความเฉพาะเจาะจงไปยังอวัยวะเปาหมายให สามารถทํางานไดอยางเต็มที่ เมื่ออวัยวะตา2งๆ ทํางานไดดี ก็ จ ะส ง ผลต อ สภาวะสุ ข ภาพของบุ ค คลให มี สุขภาพดี โดยเฉพาะสุขภาพกาย เมื่อบุคคลมี สุขภาพกายที่ดี ก็สงผลตอการมีสุขภาพจิตที่ดี ดวย ดังคํากลาวที่วา “สุขภาพจิตที่ดียอมอยูใน สุขภาพกายที่แข็งแรง สมบูรณ : Good mental health is in perfect health bodies.”

Explore

เมื่ออวัยวะตางๆ ทํางานไดดีก็จะสงผลใหมีสุขภาพกาย และสุขภาพจิตที่ดีดวย เพราะสุขภาพจิตที่ดียอมอยูใน สุขภาพกายที่แข็งแรง สมบูรณ

http://www.aksorn.com/LC/He/M1/01

EB GUIDE

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

เพราะเหตุใดจึงกลาววา “สุขภาพจิตที่ดียอมอยูในสุขภาพกายที่แข็งแรง สมบูรณ” แนวตอบ รางกายและจิตใจมีความสัมพันธที่เชื่อมกันจนแยกไมออก โดยสุขภาพกายก็จะแสดงใหทราบถึงสุขภาพทางจิตได เชน จิตใจที่มี ความทุกข กระวนกระวาย ทําใหกินไมไดนอนไมหลับ รางกายทรุดโทรม กอใหเกิดโรคภัยไขเจ็บตางๆ เบียดเบียน แตถารางกายมีความสมบูรณ แข็งแรงปราศจากโรคภัยไขเจ็บ ก็ยอมทําใหจิตใจสุขสบายไมมัวหมอง ไดเชนกัน

นักเรียนควรรู 1 กระเบนเหน็บ เปนสวนหนึ่งของกระดูกสันหลัง ซึ่งเดิมมี 8 ชิ้น แตเชื่อม รวมกันเปนชิ้นเดียวตอกับกระดูกเชิงกราน โดยจะมีชองเปดเพื่อเปนทางผาน ของเสนประสาทที่ไปยังบริเวณเชิงกรานและขา 2 สภาวะสุขภาพ คือ สภาวะทางรางกายและจิตใจของบุคคลที่เปลี่ยนแปลง อยูตลอดเวลา นับตั้งแตแรกเกิดไปจนถึงวัยชรา ซึ่งสามารถพัฒนาใหดีขึ้นได โดยการสรางเสริมสุขภาพและการดูแลตนเอง

มุม IT สามารถศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับโรคเกี่ยวกับระบบประสาท ไดจากเว็บไซต http://www.108health.com/108health/category.php?sub_id=56&ref_ main_id=15 คูมือครู

5


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

Explain

ใหนักเรียนกลุมที่ศึกษาเรื่องระบบประสาท ที่มีผลตอสุขภาพ ออกมาอธิบายความรูโดยใช สื่อประกอบ หลังจากการอธิบายเสร็จสิ้น ครูชวย อธิบายเพิ่มเติม และใหนักเรียนในหองรวมกัน ตั้งคําถามเพื่อใหไดขอสรุปที่ถูกตองรวมกัน จากนั้นครูตั้งคําถาม • ระบบประสาทและระบบตอมไรทอทํางาน รวมกันในการควบคุมสภาวะแวดลอมภายใน รางกายใหอยูในสภาวะสมดุลอยางไร (แนวตอบ ขึ้นอยูกับคําตอบของนักเรียน โดย อาจตอบวา ถารางกายเกิดการติดเชื้อก็จะ ทําใหเปนไข หรือถาพักผอนไมเพียงพอก็จะ ออนเพลีย เปนตน) • นักเรียนจะมีวิธีการสังเกตไดอยางไรวา ระบบประสาทมีความผิดปกติ (แนวตอบ ขึ้นอยูกับคําตอบของนักเรียน โดย นักเรียนอาจตอบวา สามารถสังเกตไดจาก อาการที่ผิดปกติของรางกาย เชน ปวดศีรษะ ออนเพลีย เปนตน) • ระบบประสาทชวยใหเกิดการเปลี่ยนแปลง ทางสรีระรางกายที่เหมาะสมอยางไร จงยกตัวอยาง (แนวตอบ ขึ้นอยูกับคําตอบของนักเรียน โดย นักเรียนอาจตอบวา รูจักที่จะควบคุมอารมณ ของตนเองเวลาโกรธ หาวิธีการผอนคลาย อารมณโกรธดวยวิธีการตางๆ เชน นอนหลับ ฟงเพลง นั่งสมาธิ เปนตน)

๑.๒) ควบคุมสภาวะแวดลอม ภายในรางกายใหอยูใ นสภาวะสมดุล โดยเปนการ ทํางานรวมกันของระบบประสาทอัตโนมัติและ ระบบตอมไรทอ เพื่อรักษาสภาวะสมดุลของ สารละลายตางๆ ภายในรางกายใหคงที่ไดจาก ปจจัยตางๆ เชน อุณหภูมขิ องอากาศรอบตัว หรือ อาหารที่รับประทาน โดยภาวะสมดุลที่เกิดขึ้น จากการทํางานรวมกันของระบบทั้งสองระบบนี้ รางกายจะกําหนดเวลาใหตนเอง โดยกลไกการรักษา เราจะรูสึกไดก็ตอเมื่อมีสิ่งผิดปกติเกิดขึ้น เชน ภาวะสมดุลภายในจะบอกใหเรารูวาจะกินจะนอนเมื่อใด ถารางกายเกิดการติดเชื้อก็จะทําใหเปนไข หรือ ถาพักผอนไมเพียงพอก็จะออนเพลีย เปนตน หากระบบทั้งสองระบบ ทํางานไมประสานกัน ก็จะ สงผลใหเกิดความไมสมดุลในรางกาย ทําใหอวัยวะตางๆ ไมสามารถทํางานตามหนาที่ของตนเอง ไดดี อันจะสงผลกระทบตอสุขภาพของบุคคลไดในที่สุด ๑.๓) ชวยใหเกิดการเปลีย่ นแปลงทางสรีระรางกายทีเ่ หมาะสม โดยระบบประสาท มีผลตอการเปลีย่ นแปลงทางสรีระรางกายของบุคคล เชน เมือ่ เวลาโกรธจัด อัตราการเตนของหัวใจ จะถี่ขึ้น ความดันโลหิตเพิ่มขึ้น หลอดเลือดที่ไปเลี้ยงกลามเนื้อลายขยายตัว รูมานตาขยาย และ การทํางานของระบบทางเดินอาหารลดลง เปนตน การเปลีย่ นแปลงทางสรีระรางกายดังกลาว เกิดขึน้ เนือ่ งจากการทํางานของ ระบบประสาทอัตโนมัตทิ คี่ วบคุมระบบซิมพาเทติก และระบบพาราซิมพาเทติก ซึง่ การเปลีย่ นแปลง ที่เกิดขึ้นจะชวยใหบุคคลตระหนักถึงสิ่งคุกคามตอภาวะสุขภาพของตน ทําใหสามารถปรับเปลี่ยน วิถีการดําเนินชีวิตเพื่อลดปญหาที่จะเกิดขึ้นได เชน รูจักที่จะควบคุมอารมณของตนเองเวลาโกรธ หรือหาวิธีการผอนคลายอารมณโกรธดวยวิธีการตางๆ เปนตน

เกร็ดนารู

ความสมดุลของน้ําในรางกาย

“น้ํา” นับเปนองคประกอบที่สําคัญตอการรักษาสมดุลในรางกาย ซึ่งการรักษาสมดุลนี้ถูกควบคุมโดย การทํางานรวมกันของระบบประสาทอัตโนมัติและระบบตอมไรทอ โดยปกติรา1งกายจะสูญเสียน้ําราววันละ ๑.๕ ลิตร จากการหายใจ การเสียเหงื่อ การยอยอาหาร และการขับถายปสสาวะ ดังนัน้ เพือ่ เปนการรักษาความสมดุลของน้าํ ภายในรางกาย เราจึงตองดืม่ น้าํ เพือ่ ทดแทนน้าํ ทีส่ ญ ู เสียไป ใหเพียงพอและเหมาะสมตอความตองการของรางกาย เพราะถาหากรางกายไดรบั น้าํ นอยเกินไป กระบวนการ ทํางานตางๆ ที่จําเปนตอการดํารงชีวิตก็จะหยุดชะงักอยางรวดเร็ว และจะเกิดสัญญาณเตือนใหเราทราบวา รางกายกําลังจะขาดน้าํ เชน ปสสาวะสีเขม คลืน่ ไส วิงเวียน ปวดศีรษะ หมดแรง และสมองมึนงง สับสน เปนตน

เกร็ดแนะครู ครูอาจนําเกร็ดนารูเรื่องความสมดุลของนํ้าในรางกายจากหนังสือเรียน หนา 6 มาเชื่อมโยงการอธิบาย เพื่อใหนักเรียนไดเกิดความเขาใจมากยิ่งขึ้น

นักเรียนควรรู 1 ปสสาวะ สีของปสสาวะสามารถบงบอกถึงสุขภาพของบุคคลได ซึ่งปสสาวะ สีปกติ คือ สีเหลืองออนใส ไมมีตะกอนหรือความขุนขน โดยผูชายใหสังเกตสีของ ปสสาวะเมื่อปสสาวะเริ่มออก หรือสังเกตสีของนํ้าในโถสวม สวนผูหญิงใหสังเกต สีของนํ้าในโถสวม หรือกระดาษที่ใชซับปสสาวะ ซึ่งโถสวมที่มีสีขาวหรือสีออนจะ ชวยใหสังเกตเห็นไดงายกวาสีเขม

6

คูมือครู

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

ถาระบบประสาททํางานผิดปกติจะเกิดผลกระทบตอรางกายอยางไรบาง แนวตอบ อาจสงผลกระทบตอสุขภาพ การเจริญเติบโต และพัฒนาการ ทางดานตางๆ ได เชน การไดรับอุบัติเหตุจนทําใหเกิดอันตรายตอสมอง ไขสันหลัง และเสนประสาท สงผลใหผูปวยอาจเปนอัมพาต หรือไมรูสติ เปนเจาหญิงนิทราได กอใหเกิดความไมสมดุลในรางกาย ทําใหอวัยวะ ตางๆ ไมสามารถทํางานตามหนาที่ของตนเองไดดี เปนตน


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

อธิบายความรู

Explain

ใหนักเรียนกลุมที่ศึกษาเรื่องระบบประสาท ที่มีผลตอการเจริญเติบโตของรางกาย และกลุม ที่ศึกษาเรื่องระบบประสาทที่มีผลตอพัฒนาการ ออกมาอธิบายความรูโดยใชสื่อประกอบ หลังจาก การอธิบายเสร็จสิ้น ครูควรเปดโอกาสใหนักเรียน ถามขอสงสัย จากนั้นครูชวยอธิบายเพิ่มเติม และ ใหนักเรียนทํากิจกรรมในแบบวัดและบันทึกผล การเรียนรู กิจกรรมที่ 1.2

๒) ระบบประสาทที่มีผลตอการเจริญเติบโตของรางกาย ระบบประสาทจะกอ

ใหเกิดการดํารงชีวิตที่เอื้อตอการเจริญเติบโตของรางกาย โดยระบบประสาทมีหนาที่สําคัญในการ คิดวิเคราะห เพื่อหารูปแบบในการดํารงชีวิตที่ เหมาะสมตอตนเอง เชน การเลือกรับประทาน1 อาหารทีเ่ หมาะสมกับความตองการของรางกาย หรือความสามารถในการดูแลสุขภาพของตนเอง ใหแข็งแรงสมบูรณ มีการเจริญเติบโตที่สมวัย เปนตน

✓ แบบวัดฯ ใบงาน แบบฝกฯ สุขศึกษา ม.1 กิจกรรมที่ 1.2 หนวยที่ 1 ระบบประสาทและระบบตอมไรทอ ตอวัยรุน

๓) ระบบประสาทที่ มี ผ ลต อ

พัฒนาการ ระบบประสาทมีความสําคัญและ

สงผลตอพัฒนาการของวัยรุน ดังนี้ ๓.๑) พั ฒ นาการที่ เ หมาะสม กับวัย ทั้งระบบประสาทและระบบตอมไรทอ ระบบประสาทมีผลตอการเลือกดํารงชีวิตที่เหมาะสมกับ จะรวมกันทําใหอวัยวะตางๆ นั้นมีความพรอม ตนเอง เชน การเลือกรับประทานอาหารที่เหมาะสมกับ ในการทํ า หน า ที่ ข องตนเอง ทั้ ง นี้ เ พื่ อ ก อ ให ความตองการของรางกาย เกิดพัฒนาการที่ถูกตองตามมา เชน ในทารกที่มีระดับฮอรโมนปกติ และมีระบบประสาทสั่งการที่ เปนปกติ ก็จะมีการเจริญเติบโตและพัฒนาการตางๆ ที่เหมาะสมกับวัย เปนตน ๓.๒) พัฒนาการทางดานความคิด สติปญญา และจริยธรรมที่เหมาะสม ระบบ ประสาทและระบบตอมไรทอจะทํางานประสานกันทําใหอวัยวะตางๆ ทําหนาที่ของตนเองไดอยาง เต็มความสามารถ ทําใหคนเรามีศักยภาพที่ จะพั ฒ นาความคิ ด และสติ ป  ญ ญา ตลอดจน จริยธรรมของตนเองไดมากขึ้น โดยรูจักคิด กระทําในสิ่งที่ควรกระทํา หรือละเวนการคิด กระทําในสิ่งที่ไมควรกระทํา ๓.๓) การควบคุ ม พฤติ ก รรม พบวาพฤติกรรมตางๆ ที่แสดงออกของมนุษย อยูภายใตการทํา2งานของระบบประสาททั้งสิ้น เชน การนอนหลับหรือตืน่ ตัว การแสดงออกของ อารมณตางๆ การสื่อสารดวยภาษา การเรียนรู ระบบประสาทจะควบคุมพฤติกรรมตางๆ ที่แสดงออกมา ไมวาจะเปนการนอนหลับ หรือตื่นตัวก็ตาม และความจํา เปนตน

กิจกรรมที่ ๑.๒ ใหนักเรียนเติมขอความลงในแผนผังความคิดโครงสราง ของระบบประสาท และบอกวิธีดูแลรักษาระบบประสาทมา อยางนอย ๕ ขอ (พ ๑.๑ ม.๑/๒)

คะแนนเต็ม คะแนนที่ได

ñõ

ระบบประสาท ระบบประสาทสวนปลาย

ระบบประสาทสวนกลาง ไขสันหลัง

ระบบประสาทสมอง และไขสันหลัง

สมอง

สมอง สมอง ……………………………. ……………………………. สวนกลาง สวนหนา ……………………………. …………………………….

สมอง ……………………………. สวนทาย …………………………….

เซรีบรัม …………………………….

เซรีเบลลัม …………………………….

…………………………….

…………………………….

ทาลามัส …………………………….

พอนส …………………………….

…………………………….

…………………………….

ไฮโพทาลามัส …………………………….

เมดัลลา …………………………….

…………………………….

ระบบประสาท อัตโนมัติ

เสนประสาท …………………………….

ระบบประสาท …………………………….

เสนประสาท …………………………….

ระบบประสาท ……………………………. พาราซิ มพาเทติก ……………………………. ฉบับ เฉลย

สมอง ……………………………. ไขสันหลัง …………………………….

ซิมพาเทติก …………………………….

ออบลองกาตา …………………………….

วิธีดูแลรักษาระบบประสาท

ตั………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. วอยางเชน ๑. หมั่นสํารวจและดูแลสุขภาพตนเองอยางสมํ่าเสมอ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ๒. หลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารประเภทที่มีไขมันสูง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ๓. เลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชนตอรางกาย ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ๔. ออกกําลังกายอยางสมํ่าเสมอ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ๕. หลีกเลี่ยงการใชสายตากับเครื่องคอมพิวเตอรเปนเวลานานๆ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ๖. พักผอนใหเพียงพอ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ๗. ไปพบแพทยเมื่อพบวามีความผิดปกติของอวัยวะตางๆ ในระบบประสาท ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

พฤติกรรมใดทีแ่ สดงใหเห็นถึงการทํางานของระบบประสาททีม่ ผี ลตอพัฒนาการ 1. การแสดงออกของอารมณตางๆ 2. การดูแลสุขภาพของตนเองใหแข็งแรงสมบูรณ 3. การพักผอนที่ไมเพียงพอทําใหรางกายออนเพลีย 4. การเลือกรับประทานอาหารที่เหมาะสมกับความตองการของรางกาย ;วิเคราะหคําตอบ การแสดงออกของอารมณตางๆ เปนพฤติกรรมที่ แสดงออกของมนุษยซึ่งอยูภายใตการทํางานของระบบประสาทที่มีผลตอ พัฒนาการ การดูแลสุขภาพของตนเองใหแข็งแรงสมบูรณ และการเลือก รับประทานอาหารที่เหมาะสมกับความตองการของรางกายนั้น ถือเปน การทํางานของระบบประสาทที่มีผลตอการเจริญเติบโตของรางกาย สวนการพักผอนที่ไมเพียงพอทําใหรางกายออนเพลียนั้น ถือเปนการ ทํางานรวมกันของระบบประสาทอัตโนมัติและระบบตอมไรทอ เพื่อ รักษาภาวะสมดุลของรางกายซึ่งมีผลตอสุขภาพ ตอบขอ 1.

นักเรียนควรรู 1 ความตองการของรางกาย วัยของนักเรียนเปนวัยที่มีการเจริญเติบโตเกิดขึ้น อยางรวดเร็ว จําเปนตองไดรับสารอาหารอยางครบถวนทั้ง 5 หมู และรับประทาน อาหารใหหลากหลาย เพียงพอกับความตองการของรางกายในแตละวัน ทั้งนี้ ทางกรมอนามัยไดแนะนําวัยรุนไทยวาควรไดรับพลังงานในแตละวันประมาณ 2,000 กิโลแคลอรี 2 การนอนหลับ การนอนหลับที่ดีมีความจําเปนอยางยิ่งสําหรับทุกคน โดย คนเราควรนอนหลับอยางนอยวันละ 8 -10 ชั่วโมง เพื่อใหการทํางานของรางกาย โดยเฉพาะการทํางานของสมองเปนไปไดอยางปกติ ซึ่งการนอนหลับที่ดีตองเปน การนอนหลับที่มีประสิทธิภาพ คือ การหลับสนิท และตื่นนอนขึ้นมาพรอมกับ ความสดชื่นและมีพลังที่จะทํางานในวันนั้นๆ ไดอยางมีประสิทธิภาพ

คูมือครู

7


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

อธิบExplain ายความรู

๑.๓ การดูแลรักษาระบบประสาทใหทํางานตามปกติ การดูแลรักษาระบบประสาทใหสามารถทํางานไดตามปกตินั้น มีขอแนะนํา ดังนี้ ๑. หมั่นสํารวจและดูแลสุขภาพ ของตนเองอย า งสมํ่ า เสมอ โดยการตรวจ สมรรถภาพทีเ่ กีย่ วของกับอวัยวะทีร่ บั 1ความรูส กึ ของระบบประสาท เชน การมองเห็น การไดยิน การไดกลิ่น เปนตน ๒. หลี ก เลี่ ย งการรั บ ประทาน อาหารประเภทที่มีไขมันสูงๆ หรืออาหารทอด ตลอดจนอาหารจานดวน (Fast Food) ตางๆ เนื่องจากอาหารเหลานี้จะกอใหเกิดการอุดตัน ของไขมันในหลอดเลือด สงผลใหเกิดภาวะ ความดันโลหิตสูง และอาจทําเลือดไมสามารถ ควรหลีกเลีย่ งอาหารจานดวนหรืออาหารทีม่ คี อเลสเทอรอล ไปหลอเลี้ยงระบบประสาทตางๆ ได อาจทําให สูง เพราะจะกอใหเกิดภาวะไขมันอุดตันในหลอดเลือดได เกิดอาการอัมพาตได ๓. หลีกเลี่ยงเครื่องดื่มแอลกอฮอลตางๆ เนื่องจากจะใหความสามารถในการทํางาน ของระบบประสาทลดลง กอใหเกิดอุบัติเหตุไดงาย และในกรณีผูที่ปวยดวยโรคความดันโลหิตสูง การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล ก็จะไปกระตุนใหหัวใจสูบฉีดแรงขึ้น ความดันโลหิตสูงขึ้น อาจเกิด ภาวะเสนเลือดฝอยในสมองแตกได ๔. เลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชนตอรางกาย เชน ผัก และผลไมที่มีวิตามิน ซึ่งจะชวยกระตุนใหการทํางานของสารสื่อประสาททํางานไดอยางเต็มที่ เกิดความตื่นตัวมากขึ้น ๕. ออกกําลังกายอยางสมํา่ เสมอ การออกกําลังกายเกิดขึน้ เพราะสมองสัง่ ใหกลามเนือ้ หดตัว เมื่อกลามเนื้อทํางานไปเรื่อยๆ จะมีการเปลี่ยนแปลงทางประสาทและเคมียอนไป “กด” ศูนยสั่งการในสมองมากขึ้นตามลําดับ ในที่สุดเมื่อออกกําลังกายเหนื่อยถึงขีดหนึ่ง (ซึ่งขึ้นอยู กับความเคยชินตอการออกกําลังกาย) ศูนยสั่งการในสมอง ก็ถูกกดจนตองหยุดทํางาน หาก ออกกําลังกายอยางสมํ่าเสมอ ศูนยสั่งการจะปรับตัวโดยมีความอดทนตอการกดมากขึ้น ทําให สามารถทํางานไดนานออกไปกวาปกติ และนอกจากนี้ยังพบไดวาการออกกําลังกายทุกครั้ง เปนการกระตุนระบบประสาทอัตโนมัติดวย หากออกกําลังกายบอยๆ ก็จะมีการกระตุนบอยๆ เปนการเรงใหระบบประสาทอัตโนมัติปรับตัวใหทํางานไดวองไวและมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

Expand

ใหนักเรียนแตละกลุมสรุปองคความรูที่ไดจาก การศึกษาเรื่องความสําคัญของระบบประสาทที่มีผล ตอสุขภาพ การเจริญเติบโต และพัฒนาการของ วัยรุน รวมทั้งเสนอแนะวิธีการดูแลระบบประสาท ใหทํางานตามปกติเปนแผนผังความคิด โดยให เชื่อมโยงวาสามารถนําไปปรับใชในชีวิตประจําวัน ไดอยางไร

ตรวจสอบผล

Evaluate ตรวจสอบผล

Explain

ใหตัวแทนแตละกลุมออกมาอธิบายเกี่ยวกับ การดูแลระบบประสาทใหทํางานตามปกติ โดย เชื่อมโยงประสบการณเดิมกับความรูใหม โดยครู ชวยอธิบายเพิ่มเติม

ขยายความเขาใจ

Expand าใจ ขยายความเข

Evaluate

การสรุปองคความรูที่ไดจากการศึกษาเรื่อง ความสําคัญของระบบประสาทที่มีผลตอสุขภาพ การเจริญเติบโต และพัฒนาการของวัยรุน รวมทั้ง เสนอแนะวิธีการดูแลระบบประสาทใหทํางาน ตามปกติเปนแผนผังความคิด

นักเรียนควรรู 1 การมองเห็น นักเรียนสามารถสรางเสริมสมรรถภาพการมองเห็นไดดวยการ บริหารกลามเนื้อตา เพื่อเปนการฝกการเคลื่อนไหวของดวงตา และการรับภาพที่ สมองใหเปนไปอยางสัมพันธกัน ซึ่งตัวอยางการบริหาร เชน • ใชมือปดตาขางหนึ่ง และใชตาที่เหลือจองมองวัตถุตางๆ ทั้งใกลและไกล โดยใหสลับขางไปเรื่อยๆ • เปดตาทั้งสองขาง มือถือปลายดินสอหรือปากกายืดออกไปเทาความยาว ชวงแขน บังคับดวงตาใหจองมองไปที่ปลายดินสอหรือปากกา โดยใหเห็น เปนจุดๆ เดียว แลวคอยๆ เคลื่อนปลายดินสอหรือปากกาเขาใกลดวงตา ขึ้นอยางชาๆ ในขณะเดียวกันบังคับใหดวงตาทั้งสองขางมองตามมา และใหเห็นเปนจุดเดียว ไมใหเกิดเปนภาพซอนจนใกลดวงตามากที่สุด ทําเชนนี้อยางนอย 10 - 20 ครั้ง เปนประจําทุกวัน เปนตน

8

คูมือครู

กิจกรรมสรางเสริม ใหนักเรียนอธิบายความสําคัญของระบบประสาทที่มีผลตอสุขภาพ การเจริญเติบโต และพัฒนาการของวัยรุน รวมทั้งเสนอแนะวิธีการดูแล ระบบประสาทใหทํางานตามปกติลงในกระดาษรายงานสงครูผูสอน

กิจกรรมทาทาย ใหนักเรียนสํารวจวาในการดําเนินชีวิตประจําวันของเราในแตละวันนั้น มีพฤติกรรมใดบางที่เกิดจากการทํางานของระบบประสาท โดยใหจําแนก ออกเปน 3 สวน คือ พฤติกรรมที่เกิดจากการทํางานของระบบประสาทที่มี ผลตอสุขภาพ พฤติกรรมที่เกิดจากการทํางานของระบบประสาทที่มีผลตอ การเจริญเติบโต พฤติกรรมที่เกิดจากการทํางานของระบบประสาทที่มีผล ตอพัฒนาการ จากนั้นใหนักเรียนเสนอแนะวิธีการดูแลรักษาระบบประสาท ใหทํางานตามปกติลงในกระดาษรายงานสงครูผูสอน


กระตุน ความสนใจ กระตุEngage นความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Engage

Explore

Explain

Expand

Evaluate

กระตุน ความสนใจ

Engage

ครูกระตุนความสนใจของนักเรียน โดยให นักเรียนดูภาพแสดงที่ตั้งของตอมไรทอภายใน รางกาย จากหนังสือเรียน หนา 10 แลวตัง้ คําถาม ใหนักเรียนแสดงความคิดเห็นอยางอิสระ • ในภาพมีตอมไรทอใดบางที่นักเรียนไดเคย ศึกษาผานมาแลว (แนวตอบ ยังไมเคยมีใครไดศึกษาเรื่อง ระบบตอมไรทอมากอน ซึ่งนักเรียนจะได ศึกษาในชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1) • เพราะเหตุใดอวัยวะตางๆ ในภาพจึงถูก เรียกวาตอมไรทอ (แนวตอบ เมื่ออวัยวะตางๆ เหลานี้ผลิตสาร หรือฮอรโมนออกมาแลว ไมมีทอที่จะลําเลียง ออกสูภายนอก ตองอาศัยการลําเลียงผาน กระแสเลือดไปยังสวนตางๆ ของรางกาย) • นักเรียนคิดวาตอมไรทอมีความสําคัญกับ นักเรียนอยางไร (แนวตอบ สามารถหาคําตอบไดจาก การศึกษาในเนื้อหาตอไป)

๖. ถนอมและบํารุงรักษาอวัยวะตางๆ ที่เกี่ยวของ เชน ควรใชสายตาในที่มีแสงสวาง เพียงพอ หลีกเลี่ยงการใชสายตากับเครื่องคอมพิวเตอรเปนเวลานานๆ การแคะหูโดยใชที่แคะหู ที่เปนโลหะ การเจาะลิ้นใสหมุดตามแฟชั่น การแคะจมูก เปนตน เพราะสิ่งเหลานี้อาจทําใหเกิด อันตรายหรือเกิดโรคติดเชื้อตางๆ ได ๗. หาเวลาพักผอนอยางเพียงพอ และควรหากิจกรรมนันทนาการที่เหมาะสมกับ ตนเองเพื่อผอนคลายความเครียดจากกิจวัตร ประจําวัน เชน การทํางานอดิเรก การเลนกีฬา การฝกสมาธิ การทองเที่ยวพักผอนในแหลง ธรรมชาติ เปนตน ๘. ควรมี ค วามระมั ด ระวั ง และ ปองกันการบาดเจ็บของสมองและไขสันหลัง เชน ไมเลนกีฬาหรือกระทําการใดๆ ที่มีความรุนแรง หรือผาดโผนมากจนเกินไป การสวมหมวกนิรภัย ขณะขับขี่รถจักรยานยนต เปนตน ซึ่งนักเรียน ควรที่จะยึดหลักของการปลอดภัยไวกอนเปน สําคัญ ๙. หากมีการบาดเจ็บหรือไดรับ การพักผอนใหเกิดความผอนคลายเปนการดูแลระบบ ประสาทและระบบตอมไรทอใหทํางานไดปกติ การกระทบกระเทือนตออวัยวะทีม่ คี วามเกีย่ วของ กับระบบประสาท ควรรีบไปพบแพทยทันที

๒. ระบบตอมไรทอ (Endocrine System)

ระบบตอมไรทอ มีความสําคัญตอการเปลี่ยนแปลงของรางกายเกี่ยวกับกระบวนการ เมแทบอลิซึม (Metabolism) ตางๆ ในรางกาย การควบคุมปฏิกิริยาเคมีภายในเซลล การขนสง สารเขาออกภายในเซลล ซึ่งมีผลตอการเจริญเติบโต การใชพลังงาน การสืบพันธุ ตลอดจนการ ตอบสนองทางดานอารมณ 1 ตอมไรทอจะขับสารคัดหลั่ง ซึ่งเปนสารเคมีที่เรียกวา ฮอรโมน (Hormone) ออกมา และซึม เขาสูร ะบบกระแสเลือด ไปยังสวนตางๆ ของรางกาย เพือ่ ใหอวัยวะเปาหมายตางๆ ภายในรางกาย สามารถทํางานไดตามปกติ ซึง่ ในระบบตอมไรทอ นีม้ โี ครงสรางทีท่ าํ หนาทีเ่ ฉพาะอยางแตกตางกัน ดังนี้ ๙

ขอสอบ

O-NET

ขอสอบป ’ 53 ออกเกี่ยวกับฮอรโมน ขอใดไมใชความสําคัญของฮอรโมนที่มีตอรางกาย 1. ควบคุมระดับนํ้าตาลในเลือด 2. ควบคุมการเผาผลาญพลังงานในรางกาย 3. ควบคุมระดับเลือดในรางกาย 4. ควบคุมการเจริญเติบโตของรางกาย วิเคราะหคําตอบ ฮอรโมน คือ สารเคมีที่สรางมาจากตอมไรทอ ซึ่งมี ความสําคัญตอรางกาย คือ ควบคุมระดับนํา้ ตาลในเลือดโดยฮอรโมนอินซูลนิ ควบคุมการเผาผลาญพลังงานในรางกายโดยฮอรโมนไทรอกซิน และควบคุม การเจริญเติบโตของรางกายโดยโกรทฮอรโมน สวนการควบคุมระดับเลือด ในรางกายนั้นไมใชความสําคัญของฮอรโมนที่มีตอรางกาย ตอบขอ 3.

เกร็ดแนะครู ครูอาจแนะนําใหนักเรียนสรุปการทํางานของตอมไรทอที่มีผลตอการ เปลี่ยนแปลงของวัยรุน ลงในแผนภาพจากหนังสือเรียน หนา 10 เพื่อชวย ในการจดจําของนักเรียน (อาจนําหนังสือไปถายเอกสารขยายใหใหญขึ้น เพื่อใหเห็นสวนประกอบและมีพื้นที่ในการเขียนสรุปมากขึ้น)

นักเรียนควรรู 1 ฮอรโมน คือ สารเคมีที่สรางมาจากตอมไรทอซึ่งเปนเนื้อเยื่อชนิดพิเศษ แลวเขาสูระบบหมุนเวียนโลหิตลําเลียงไปยังสวนตางๆ ของรางกาย เพื่อควบคุม การทํางานของอวัยวะเปาหมาย

คูมือครู

9


กระตุนความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Exploreนหา สํารวจค

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explore

Explain

Expand

Evaluate

สํารวจคนหา

Explore

จากที่ครูไดกระตุนความสนใจของนักเรียน และ เชือ่ มโยงเพือ่ เขาสูเ นือ้ หา โดยใหนกั เรียนดูภาพแสดง ที่ตั้งของตอมไรทอภายในรางกาย แลวสอบถามถึง ความรูพื้นฐานเกี่ยวกับระบบตอมไรทอแลว ให นักเรียนทําการศึกษาเรื่องระบบตอมไรทอ จาก หนังสือเรียนและแหลงเรียนรูเพิ่มเติมตางๆ ในประเด็น • โครงสรางและหนาที่ของระบบตอมไรทอ • ความสําคัญของระบบตอมไรทอที่มีผลตอ สุขภาพ การเจริญเติบโต และพัฒนาการ ของวัยรุน • การดูแลรักษาระบบตอมไรทอใหทํางาน ตามปกติ จากนั้นใหนักเรียนแบงกลุมออกเปน 3 กลุม แลวสงตัวแทนออกมาจับสลากเลือกเรือ่ งทีจ่ ะนําเสนอ

๒.๑ โครงสรางและหนาที่ของระบบตอมไรทอ ในระบบตอมไรทอนี้มีโครงสรางที่ทําหนาที่เฉพาะอยางแตกตางกันไป ซึ่งจะนําเสนอ ในสวนที่สําคัญ ดังนี้ ๑) ตอมใตสมองหรือตอมพิทอู ทิ ารี (Pituitary Gland) เปนตอมไรทอ ขนาดเล็ก และมีความสําคัญมากที่สุด แบงออกเปน ๒ สวน คือ ๑.๑) ตอมใตสมองสวนหนา (Anterior Lobe of Pituitary Gland) ทําหนาที่ ในการผลิตฮอรโมนตางๆ ดังนี้

แผนภาพแสดงที่ตั้งของตอมไรทอภายในรางกาย ตอมไพเนียล ตอมใตสมอง ตอมพาราไทรอยด ตอมไทรอยด ตอมไทมัส ตอมหมวกไต ตับออน

อัณฑะ

รังไข

(๑) โกรทฮอรโมน (Growth Hormone) เปนฮอรโมนที่ควบคุมการ เจริญเติบโตของรางกายใหเปนปกติ ซึ่งหากมีการผลิตฮอรโมนนี1้มากเกินไป จะทําใหรางกาย สูงใหญผิดปกติ และอาจทําใหหัวใจโต เกิดโรคความดันโลหิตสูงไดในผูใหญ แตถาหากมีการ ผลิตฮอรโมนนี้นอยเกินไป จะทําใหรางกายเตี้ย แคระแกร็น การเจริญเติบโตของอวัยวะตางๆ หยุดชะงักได (๒) ทรอฟกฮอรโมน (Trophic Hormone) เปนฮอรโมนทีค่ วบคุมปฏิกริ ยิ า ของตอมอืน่ ๆ ซึง่ จะหลัง่ ออกมาก็ตอ เมือ่ ไดรบั การกระตุน จากฮอรโมนทีผ่ ลิตจากไฮโพทาลามัส โดย ในจํานวนนั้นจะมีฮอรโมนบางชนิดทําหนาที่ไปกระตุนการทํางานของตอมไทรอยด ตอมหมวกไต และบางชนิดจะไปกระตุนการทํางานของตอมเพศใหเปนปกติ ๑๐

EB GUIDE http://www.aksorn.com/LC/He/M1/02

นักเรียนควรรู 1 โรคความดันโลหิตสูง (Hypertension) คือโรคที่มีระดับความดันโลหิตสูงกวา 140/90 มิลลิเมตรปรอท ซึ่งโดยทั่วไปคาความดันโลหิตปกติจะอยูที่ประมาณ 120/80 มิลลิเมตรปรอท

มุม IT สามารถศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับตอมใตสมองและตอมอื่นๆ ในระบบตอมไรทอ ไดจากเว็บไซต http://www.thaigoodview.com/node/72689

10

คูมือครู

ขอสอบ

O-NET

ขอสอบป ’ 51 ออกเกี่ยวกับตอมใตสมอง ตอมใตสมองเปนตอมหลักสําคัญที่ควบคุมตอมไรทอตางๆ ยกเวนขอใด 1. ตอมไทรอยด 2. ตอมพาราไทรอยด 3. ตอมหมวกไต 4. ตอมเพศ วิเคราะหคาํ ตอบ ตอมใตสมองสวนหนาจะผลิตทรอฟกฮอรโมน ซึง่ กระตุน การทํางานของตอมไทรอยด ตอมหมวกไต และตอมเพศ ตอบขอ 2.


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

อธิบายความรู

Explain

ใหนักเรียนกลุมที่ศึกษาเรื่องโครงสรางและ หนาที่ของระบบตอมไรทอออกมาอธิบายความรู หนาชั้นเรียน โดยอาจใหนักเรียนเลือกใชแผนภาพ จากหนังสือเรียน หนา 10 -14 มาเปนสื่อประกอบ การอธิบายได หลังจากการอธิบายเสร็จสิ้น ครูชวย อธิบายเพิ่มเติม และเปดโอกาสใหนักเรียนในหอง ตั้งคําถามเพื่อถามขอสงสัย

(๓) ฮอรโมนโพรแลกติน (Prolactin Hormone) ทํ า หน า ที่ ก ระตุ  น การเจริญเติบโตของเตานมและตอมนํ้านมให สรางนํ้านมในขณะที่มารดากําลังตั้งครรภ และ ผลิตนํ้านมออกมาหลังการคลอดบุตร ๑.๒) ตอมใตสมองสวนหลัง (Posterior Lobe of Pituitary Gland) จะทํางาน ตรงขามกับตอมใตสมองสวนหนา คือ จะไมผลิต ฮอรโมนออกมาเอง แตจะมีการเก็บฮอรโมนที่ ไฮโพทาลามัสผลิตขึ้น ไดแก ตอมใตสมอง (๑) ออกซิโทซิน (Oxytocin) เปนฮอรโมนที่จะมีผลตอการไป ตําแหนงที่ตั้งของตอมใตสมอง กระตุน ใหกลามเนือ้ เรียบของมดลูกบีบตัวเมือ่ ครบกําหนดคลอด และชวยกระตุน การหลัง่ ของนํา้ นม ในขณะที่เด็กดูดนม (๒) วาโซเพรสซิน (Vasopressin) เปนฮอรโมนที่มีผลตอการทํางานของ 1 ไต โดยทําหนาที่ในการควบคุมปริมาณนํ้าในรางกาย ระบบขับถายปสสาวะ และชวยเพิ่มความดัน โลหิต ๒) ตอมไทรอยด (Thyroid Gland) เปนตอมไรทอ ทีม่ ขี นาดใหญทสี่ ดุ ของรางกาย มีจํานวน ๒ ตอม อยูดานขางสวนบนของหลอดลมตรงลําคอบริเวณลูกกระเดือกขางละ ๑ ตอม ทําหนาทีใ่ นการผลิตฮอรโมนไทรอกซิน (Thyroxin) มาควบคุมการเผาผลาญสารอาหารในรางกาย การเจริญเติบโตของอวัยวะตางๆ การแลกเปลี 2 ่ยนนํ้าและเกลือแร การควบคุมกรดไขมัน และ เปลี่ยนกรดอะมิโน (Amino acid) เปนกลูโคส (Glucose) หากรางกายผลิตไทรอยดฮอร โมนมากเกินไป ก็จะทําใหการเผาผลาญสารอาหาร ตางๆ ภายในรางกายสูงขึ้น คือ จะหิวเร็ว กินเกง แตนํ้าหนักตัวลด หัวใจเตนเร็ว และใจสั่น แตถาหากผลิตนอยเกินไป ระบบเผาผลาญสารอาหารในรางกายก็จะทํางานผิดปกติ ทําใหรางกาย เตี้ย แคระแกร็น ปญญาออน มีผิวหนังที่หยาบกราน นอกจากนีย้ งั พบวาบุคคลทีข่ าดธาตุไอโอดีนซึง่ มีมากในอาหารทะเลนัน้ จะผลิตฮอรโมน ไทรอกซินไดนอยกวาปกติ สงผลใหตอมไทรอยดทํางานหนักและมีขนาดใหญขึ้น จนกลายเปน โรคคอพอก ๑๑

ขอสอบ

O-NET

ขอสอบป ’ 51 ออกเกีย่ วกับตอมใตสมองสวนหนา ตอมไรทอใด หากถูกทําลายไปเมื่อรางกายเจริญเติบโตเต็มที่แลว อาจมีชีวิตอยูไดระยะหนึ่งเทานั้น 1. ตับออน 2. ตอมหมวกไตสวนใน 3. ตอมไทรอยด 4. ตอมใตสมองสวนหนา วิเคราะหคําตอบ ตอมหมวกไตสวนหนาเปนตอมไรทอที่สําคัญที่สุดของ รางกาย โดยมีหนาที่ผลิตฮอรโมนที่ชวยกระตุนและควบคุมการทํางานของ ตอมไรทออื่นๆ คือ ตอมไทรอยด ตอมหมวกไต และตอมสืบพันธุ ซึ่งตอม เหลานี้จะทําหนาที่ควบคุมการเจริญเติบโตของรางกายและมีอิทธิพลตอ อัตราการเผาผลาญของเซลลตางๆ ในรางกาย หากถูกทําลายไปอาจสงผล ใหมีชีวิตอยูไดระยะหนึ่งเทานั้น ตอบขอ 4.

นักเรียนควรรู 1 ปริมาณนํ้าในรางกาย รางกายของคนเรามีนํ้าเปนสวนประกอบในเนื้อเยื่อ ประมาณรอยละ 60 - 70 ซึ่งปริมาณนํ้าที่รางกายรับเขาไปและขับออกมาในหนึ่งวัน จะมีปริมาณใกลเคียงกัน กลาวคือถารางกายสูญเสียนํ้าทางเหงื่อออกไปมาก ก็จะ ทําใหมีความรูสึกกระหายนํ้า แตถาดื่มนํ้ามากเกินไปก็จะทําใหปสสาวะมากขึ้น ดวยเหตุนี้จึงทําใหรางกายของเราสามารถรักษาสมดุลของนํ้าไวได 2 กลูโคส เปนนํ้าตาลที่มีอยูในอาหารทั่วไป พบมากในผักและผลไมสุก ซึ่งเปน นํ้าตาลชนิดเดียวในกระแสเลือดของมนุษยที่ไดจากการยอยคารโบไฮเดรต จึงอาจ เรียกวา นํ้าตาลในเลือด (Blood Sugar)

คูมือครู

11


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

Explain

ครูสุมใหนักเรียน 2 - 3 คน ออกมาอธิบายถึง องคประกอบและหนาที่ของระบบตอมไรทอ โดยครู และนักเรียนรวมกันแสดงความคิดเห็นและอธิบาย เพิ่มเติม จากนั้นใหนักเรียนทํากิจกรรมในแบบวัด และบันทึกผลการเรียนรู กิจกรรมที่ 1.5

๓) ตอมพาราไทรอยด (Parathyroid Gland) เปนตอมไรทอ ทีเ่ ล็กทีส่ ดุ มีจาํ นวน

๒ คู อยูดานหลังของตอมไทรอยด ทําหน1 าที่ผลิตพาราฮอรโมน (Para Hormone) เพื่อไปควบคุม ระดับแคลเซียม(Calcium) และฟอสเฟต (Phosphate) ในกระแสเลือด หากตอมพาราไทรอยดมี การผลิตฮอรโมนมากเกินไป ฮอรโมนก็จะไปละลายแคลเซียมและฟอสเฟตออกจากกระดูกเขาสู กระแสเลือด ทําใหเลือดมีระดับแคลเซียมสูงมากขึ้น ซึ่งอาจเปนผลทําใหเกิดนิ่วในไต กระดูกพรุน ปวดกระดูกและขอได แตถามีการผลิตฮอรโมนที่นอยเกินไป ก็จะทําใหระดับแคลเซี 2 ยมในเลือดตํ่า ซึ่งมีผลตอระบบกลามเนื้อและระบบประสาทได เชน มีอาการกลามเนื้อกระตุก เปนตน ๔) ตอมหมวกไต (Adrenal Gland) มี ๒ ตอม อยูขางบนและขางหนาที่ปลาย ดานบนของไตทั้ง ๒ ขาง โดยตอมหมวกไตดานขวาจะมีรูปรางคลายพีระมิด สวนดานซายมีขนาด ใหญและอยูสูงกวา มีรูปรางคลายพระจันทรเสี้ยว ซึ่งแตละสวนก็มีหนาที่ที่แตกตางกันไป ดังนี้

✓ แบบวัดฯ ใบงาน แบบฝกฯ สุขศึกษา ม.1 กิจกรรมที่ 1.5 หนวยที่ 1 ระบบประสาทและระบบตอมไรทอ ตอวัยรุน คะแนนเต็ม คะแนนที่ได

กิจกรรมที่ ๑.๕ ใหนักเรียนบอกชื่อและหนาที่ของอวัยวะตางๆ ในระบบตอมไรทอ (พ ๑.๑ ม.๑/๑)

ñõ

ตอมใตสมอง ชื่อ ………………………………………………….. ตอมใตสมองสวนหนา หนาที่ …………………………………………….. ผลิ ต โกรทฮอร โ มน ทรอฟ ก …………………………………………………………… ฮอร โมน และฮอรโมนโพรแลกติน ………………………………………………………….. ส………………………………………………………….. วนตอมใตสมองสวนหลังจะเก็บ ฮอร โมนที่ไฮโพทาลามัสสรางขึ้น …………………………………………………………..

ตอมไพเนียล ชื่อ ………………………………………………….. ผลิตฮอรโมนเมลาโทนิน หนาที่ …………………………………………….. ที…………………………………………………………… ่ ไ ปยั บ ยั้ ง การเจริ ญ เติ บ โตของ ต………………………………………………………….. อมเพศในชวงกอนเขาสูวัยรุน แต เมื่อเขาสูวัยรุนฮอรโมนนี้จะมี ………………………………………………………….. ผลต อการตกไข การมีประจําเดือน …………………………………………………………..

ตอมไทรอยด ชื่อ ………………………………………………….. ตฮอรโมนไทรอกซินที่ หนาที่ ผลิ …………………………………………….. ควบคุ มการเผาผลาญสารอาหาร …………………………………………………………… การเจริ ญเติบโตของอวัยวะตางๆ ………………………………………………………….. การแลกเปลี ย่ นนํา้ และเกลือแรใน ………………………………………………………….. ร………………………………………………………….. างกาย

ตอมพาราไทรอยด ชื่อ ………………………………………………….. ผลิ ต พาราฮอร โ มนที่ หนาที่ …………………………………………….. ไปควบคุ ม ระดั บ แคลเซี ย มและ …………………………………………………………… ฟอสเฟตในกระแสเลื อด …………………………………………………………..

ตอมหมวกไต ชื่อ ………………………………………………….. ตอมหมวกไตสวนนอก หนาที่ …………………………………………….. ผลิ ตฮอรโมนกลูโคคอรติคอยด …………………………………………………………… และมิ เนอราโลคอรติคอยด สวน ………………………………………………………….. ต………………………………………………………….. อมหมวกไตสวนในผลิตฮอรโมน อะดรี นาลิน และนอรอะดรีนาลิน …………………………………………………………..

ตับออน ชื่อ ………………………………………………….. ผลิ ต ฮอร โ มนอิ น ซู ลิ น หนาที่ …………………………………………….. ที…………………………………………………………… ่ ค วบคุ ม ปฏิ กิ ริ ย าทางเคมี ข อง คาร โบไฮเดรต โปรตีน และไขมัน ………………………………………………………….. และกลู คากอนทีก่ ระตุน ไกลโคเจน ………………………………………………………….. ในตั บใหเปลี่ยนเปนกลูโคส …………………………………………………………..

อัณฑะ ชื่อ ………………………………………………….. สรางอสุจิและฮอรโมน หนาที่ …………………………………………….. เพศชาย ……………………………………………………………

รังไข ชื่อ ………………………………………………….. างไขและฮอรโมน หนาที่ สร …………………………………………….. เพศหญิ ง ……………………………………………………………

…………………………………………………………..

…………………………………………………………..

…………………………………………………………..

…………………………………………………………..

…………………………………………………………..

…………………………………………………………..

………………………………………………………….. …………………………………………………………..

ลักษณะของตอมหมวกไต (Adrenal Gland) ตอมหมวกไต (Adrenal Gland)

ตอมหมวกไต ไต

ตอมหมวกไตสวนนอก ทําหนาที่ในการผลิตฮอรโมน ออกมา ๒ ชนิด คือ ฮอรโมนกลูโคคอรติคอยด (Glucocorticoid) มาควบคุมเมแทบอลิซึม และ การเผาผลาญในรางกายสวนอีกฮอรโมนหนึ่ง คือ ฮอรโมนมิเนอราโลคอรติคอยด (Mineralocorticoid) เปนฮอรโมนที่ชวยควบคุมความสมดุลของนํ้า และ ระดับเกลือแรในรางกาย ซึง่ ถามีการผลิตฮอรโมนนอย ก็จะทําใหรางกายมีอาการออนเพลีย เหนื่อยงาย คลื่นไส และเวียนศีรษะ แตถาหากผลิตฮอรโมน มากเกินไปรางกายก็จะขาดความสมดุลของนํ้า และเกลือแร

ฉบับ

เฉลย

ทอไต

หลอดโลหิตแดงของไต หลอดโลหิตดําของไต

ตอมหมวกไตสวนใน ทําหนาทีผ่ ลิตฮอรโมนอะดรีนาลิน (Adrenalin) หรือเอพิเนฟริน (Epinephrin) ซึ่งเปน ฮอรโมนฉุกเฉินทีม่ ผี ลมาจากการถูกกระตุน เชน ตกใจ ตื่นเตน เปนตน นอกจากนี้ยังไดผลิตฮอรโมน นอรอะดรีนาลิน (Noradrenalin) หรือนอรเอพิเนฟริน (Norepinephrin) ที่จะมีผลทําใหเสนเลือดแดงที่ไป เลี้ยงอวัยวะตางๆ หดและบีบตัว

๑๒

นักเรียนควรรู 1 ฟอสเฟต เปนสารอาหารที่จําเปนตอรางกาย ใชในการสรางกระดูกและฟน รวมกับแคลเซียม และยังจําเปนตอการเพิ่มจํานวนของเซลล และการเคลื่อนไหว ของเซลล 2 กลามเนื้อกระตุก (Fasciculation) เปนการหดตัวของกลามเนื้อผิดปกติ โดย สาเหตุอาจเกิดจากการขาดสารอาหาร หรือการไดรับคาเฟอีนเขาสูรางกายมาก เกินไป การรับประทานยา หรือสารบางชนิด เชน ยาสเตียรอยด ฮอรโมนเอสโตรเจน ยาขับปสสาวะ เปนตน

มุม IT สามารถศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับโรคของตอมไทรอยด ไดจาก http://bangkokhealth.com/index.php/Diabetes/1803-โรคไทรอยดเปนพิษ-hyperthyroid. html 12 คูมือครู

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

ขอใดเปนผลจากการที่ตอมพาราไทรอยดผลิตฮอรโมนมากเกินไป 1. ทําใหเปนโรคกระดูกพรุน 2. หิวเร็ว กินเกง แตนํ้าหนักลด 3. ทําใหรางกายสูงใหญผิดปกติ 4. ทําใหเปนหนุมเปนสาวเร็วกวาปกติ วิเคราะหคาํ ตอบ ตอมพาราไทรอยดจะทําหนาทีผ่ ลิตพาราฮอรโมนเพือ่ ไป ควบคุมระดับแคลเซียมและฟอสเฟตในกระแสเลือด หากตอมพาราไทรอยด มีการผลิตฮอรโมนมากเกินไป ฮอรโมนก็จะไปละลายแคลเซียมและฟอสเฟต ออกจากกระดูกเขาสูก ระแสเลือด ทําใหเลือดมีระดับแคลเซียมสูงขึน้ ซึง่ อาจ เปนผลทําใหเกิดนิว่ ในไต กระดูกพรุน ปวดกระดูกและขอได ตอบขอ 1.


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

อธิบายความรู ๔.๑) ตอ1มหมวกไตสวนนอก ทําหนาที่ในการผลิตฮอรโมนออกมา ๒ ชนิด คือ ฮอรโมนกลูโคคอรติคอยด (Glucocorticoid) มาควบคุมเมตาบอลิซึมและการเผาผลาญในรางกาย สวนอีกฮอรโมนหนึ่ง คือ ฮอรโมนมิเนอราโลคอรติคอยด (Mineralocorticoid) เปนฮอรโมนที่ชวย ควบคุมความสมดุลของนํ้า และระดับเกลือแรในรางกาย ซึ่งถามีการผลิตฮอรโมนนอย ก็จะทําให รางกายมีอาการออนเพลีย เหนื่อยงาย คลื่นไส เวียนศีรษะ แตถาหากผลิตฮอรโมนมากเกินไป รางกายก็จะขาดความสมดุลของนํ้าและเกลือแร ๔.๒) ตอมหมวกไตสวนใน ทําหนาที่ผลิตฮอรโมนอะดรีนาลิน (Adrenalin) หรือเอพิเนฟริน (Epinephrin) ซึ่งเปนฮอรโมนฉุกเฉินที่มีผลมาจากการถูกกระตุน เชน ตกใจ ตืน่ เตน เปนตน นอกจากนีย้ งั ไดผลิตฮอรโมนนอรอะดรีนาลิน (Noradrenalin) หรือนอรเอพิเนฟริน (Norepinephrin) ที่จะมีผลทําใหเสนเลือดแดงที่ไปเลี้ยงอวัยวะหดและบีบตัว ๕) ตอมไพเนียล (Pineal Gland) เปนตอมเล็กๆ ที่ชวยสรางฮอรโมนเมลาโทนิน (Melatonin) ทําหนาทีย่ บั ยัง้ การเจริญเติบโตของตอมเพศในชวงระยะกอนวัยหนุม สาว เมือ่ เขาสูช ว ง วัยรุนอาจมีผลตอการตกไข และประจําเดือนในเพศหญิง ซึ่งหากตอมไพเนียล มีการผลิตฮอรโมน ออกมามากเกินไป จะสงผลทําใหเปนหนุมเปนสาวชากวาปกติ แตถาหากตอมไพเนียลถูกทําลาย เชน เกิดเนื้องอกในสมอง ก็จะทําใหเปนหนุมเปนสาวเร็วกวาปกติ ๖) ตอมไทมัส (Thymus Gland) อยูบริเวณดานหนาทรวงอก ซึ่งมีขนาดที่ เปลี่ยนแปลงไปตามอายุ โดยในระยะที่ทารกอยูในครรภมารดาตอมนี้จะมีขนาดใหญมาก และจะ มีขนาดใหญที่สุดเมื่ออายุ ๖ ป จากนั้นก็จะเจริญชาๆ และคอยๆ หายไป นักวิทยาศาสตรเชื่อวา ตอมนี้มีความสําคัญในการสรางภูมิตานทานโรคใหแกรางกายในชวงวัยเด็ก ๗) ตับออน (Pancreas) เปนตอมขนาดใหญ ซึ่งสามารถเปนไดทั้งตอมมีทอ และ ตอมไรทอ ทําหนาที่ ดังนี้ ๗.๑) ตอมมีทอ (Duct Gland) ทําหนาที่สรางนํ้ายอยขึ้นมาเพื่อใชยอยอาหาร ๗.๒) ตอมไรทอ (Endocrine Gland) เปนตอมทีส่ รางฮอรโมนของตับออน ไดแก ฮอรโมนอินซูลิน (Insulin) และกลูคากอน (Glucagon) ออกมา ซึ่งแตละฮอรโมนจะมีหนาที่ ดังนี้ (๑) อินซูลนิ เปนฮอรโมนทีช่ ว ยควบคุมปฏิกริ ยิ าทางเคมีของคารโบไฮเดรต โปรตีน และไขมัน ซึง่ หากรางกายขาดฮอรโมนนี้ จะทําใหปริมาณนํา้ ตาลในเลือดสูงผิดปกติ ปริมาณ กรดไขมันในเลือดเพิ่มขึ้น มีปสสาวะมากกวาปกติ (๒) กลูคากอน เปนฮอรโมนที่ทําาหนาที่กระตุนไกลโคเจน (Glycogen) ที่ 2 สะสมอยูในตับใหเปลี่ยนเปนกลูโคสเขาสูระบบไหลเวียนโลหิต และกระตุนเบตาเซลล (Beta Cell) ใหหลั่งอินซูลินที่ลําไสเล็กและกระเพาะอาหาร หากขาดฮอรโมนนี้ก็จะไมมีผลกระทบที่จะทําให เกิดโรค เนื่องจากยังมีฮอรโมนอีกหลายชนิดที่สามารถทําหนาที่แทนได

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

ถารางกายขาดฮอรโมนกลูคากอน จะสงผลกระทบอยางไรตอรางกาย 1. ไมสงผลกระทบใดๆ 2. รางกายเตี้ย แคระแกร็น 3. ทําใหปริมาณนํ้าตาลในเลือดสูงผิดปกติ 4. รางกายขาดความสมดุลของนํ้าและเกลือแร

วิเคราะหคําตอบ กลูคากอน เปนฮอรโมนที่ทําหนาที่กระตุนไกลโคเจน และเบตาเซลล หากรางกายขาดฮอรโมนนีก้ จ็ ะไมมผี ลกระทบใดๆ ทีท่ าํ ให เกิดโรค เนื่องจากยังมีฮอรโมนอีกหลายชนิดที่สามารถทําหนาที่แทนได

ตอบขอ 1.

๑๓

Explain

ครูตั้งคําถามใหนักเรียนชวยกันอธิบายความรู และครูชวยอธิบายเพิ่มเติม เพื่อนําไปสูขอสรุปที่ ถูกตองรวมกัน • การเจริญเติบโตและพัฒนาการของวัยรุน เปนผลมาจากการทํางานของตอมไรทอ ใดบาง (แนวตอบ 1. ตอมใตสมองสวนหนา ทําหนาที่ผลิต โกรทฮอรโมนออกมาเพื่อควบคุม การเจริญเติบโตของรางกายใหเปนปกติ ทรอฟกฮอรโมนควบคุมปฏิกิริยาของ ตอมอื่นๆ และฮอรโมนโพรแลกติน ทําหนาที่กระตุนการเจริญเติบโต ของเตานมและตอมนํ้านม 2. ตอมไทรอยด ทําหนาที่ผลิตฮอรโมน ไทรอกซิน มาควบคุมการเผาผลาญ สารอาหารในรางกาย การเจริญเติบโต ของอวัยวะตางๆ การแลกเปลี่ยนนํ้า และเกลือแร และเปลี่ยนกรดอะมิโน ใหเปนกลูโคส 3. ตอมหมวกไต มี 2 สวน คือ • ตอมหมวกไตสวนนอก ทําหนาที่ ผลิตฮอรโมนกลูโคคอรติคอยด ควบคุมเมแทบอลิซมึ และการเผาผลาญ ในรางกาย และฮอรโมนมิเนอราโลคอรติคอยด ควบคุมความสมดุล ของนํ้าและระดับเกลือแรในรางกาย • ตอมหมวกไตสวนใน ทําหนาที่ผลิต ฮอรโมนอะดรีนาลิน ซึ่งเปนฮอรโมน ที่มีผลมาจากการถูกกระตุน และ ฮอรโมนนอรอะดรีนาลิน ที่จะมีผล ทําใหเสนเลือดแดงบีบตัว)

นักเรียนควรรู 1 ฮอรโมนกลูโคคอรติคอยด ทําหนาที่เพิ่มระดับนํ้าตาลในกระแสเลือด โดยจะ กระตุนเซลลตับใหเปลี่ยนกรดไขมันและกรดอะมิโนบางตัวใหเปนกลูโคส เก็บสะสม ไวในรูปของไกลโคเจนในตับ แลวจะเปลี่ยนจากไกลโคเจนใหเปนกลูโคสเพื่อปลอย เขาสูกระแสเลือด 2 เบตาเซลล คือ เซลลขนาดเล็กบริเวณตับออน มีหนาที่สรางฮอรโมนอินซูลิน ที่ชวยควบคุมปริมาณนํ้าตาลของรางกาย

มุม IT สามารถศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับตับออน ไดจาก เว็บไซตมูลนิธิหมอชาวบาน http://www.doctor.or.th/node/5053 คูมือครู

13


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

Explain

ครูสุมใหนักเรียน 2 - 3 คน ออกมาอธิบายถึง โครงสรางและหนาที่ของตอมเพศ ซึ่งประกอบ ไปดวยตอมเพศชายและตอมเพศหญิงใหเพื่อนฟง โดยครูอาจใหนักเรียนใชภาพวาดตัดขวางแสดง อวัยวะสืบพันธุภายในเพศชายและเพศหญิงมา ประกอบการอธิบายได จากนั้นครูตั้งคําถาม โดยใหนักเรียนใหหองยกมือตอบ • นักเรียนคิดวาฮอรโมนเพศชายและเพศหญิง ที่ถูกผลิตขึ้นมานั้นมีหนาที่สําคัญอยางไร (แนวตอบ 1. ฮอรโมนเพศชาย คือ เทสโทสเตอโรน ทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงของเพศชาย ในชวงวัยรุนขึ้น เชน มีเสียงแหบหาว มีหนวดเครา มีกลามเนื้อเปนมัด มีขนขึ้น ตามแขน ขา รักแร อวัยวะเพศ และ มีความรูสึกทางเพศ เปนตน 2. ฮอรโมนเพศหญิง คือ เอสโตรเจน และ โพรเจสเตอโรน ทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลง ที่แสดงถึงลักษณะของเพศหญิงเมื่อเขาสู วัยรุน เชน เสียงแหลม ผิวพรรณเปลงปลั่ง เตานมเจริญเติบโต สะโพกผาย มีขน บริเวณรักแรและอวัยวะเพศ มีประจําเดือน และมีความรูสึกทางเพศ เปนตน)

๘) ตอมเพศ (Gonad) ในเพศชาย คือ อัณฑะ สวนตอมเพศในเพศหญิง คือ รังไข ทอนําอสุจิ

ตอมลูกหมาก

อัณฑะ ถุงอัณฑะ

1 ๘.๑) อัณฑะ (Testis) ทําหนาที่ สรางตัวอสุจิ ซึ่งเปนเซลลสืบพันธุของเพศชาย และทําหนาที่ผลิตฮอรโมนของเพศชายออกมา คือ เทสโทสเตอโรน (Testosterone) ทําใหเกิด การเปลี่ยนแปลงของเพศชายในช 2 วงวัยรุนขึ้น เชน มีเสียงหาว มีหนวดเครา กลามเนือ้ เปนมัด มีขนขึ้นตามแขน ขา รักแร อวัยวะเพศ และมี ความรูสึกทางเพศ เปนตน

องคชาต ภาพวาดตัดขวางแสดงอวัยวะสืบพันธุภายในเพศชาย

ทอนําไข ชองคลอด เยื่อบุมดลูก มดลูก

๘.๒) รังไข (Ovary) มีหนาที่ สรางไข ซึ่งเปนเซลลสืบพันธุของเพศหญิงและ ผลิตฮอรโมน คือ เอสโตรเจน (Estrogen) และโพรเจสเทอโรน (Progesterone) โดยจะ ทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงที่แสดงใหเห็นถึง ลั ก ษณะของเพศหญิ ง เมื่ อ เข า สู  วั ย รุ  น เช น เสียงแหลม ผิวพรรณเปลงปลั่ง เตานมเจริญ เติ บ โต สะโพกผาย มี ข นบริ เ วณรั ก แร แ ละ อวัยวะเพศ มีประจําเดือน และมีความรูสึก ทางเพศ เปนตน

รังไข ภาพวาดตัดขวางแสดงอวัยวะสืบพันธุภายในเพศหญิง

๑๔

EB GUIDE http://www.aksorn.com/LC/He/M1/03

นักเรียนควรรู 1 ตัวอสุจิ ในผูชายปกติจะมีตัวอสุจิประมาณ 40 ลานตัวตอมิลลิลิตร สําหรับ ชายที่เปนหมันจะมีตัวอสุจินอยกวา 10 ลานตัวตอมิลลิลิตร หรือมีตัวอสุจิผิดปกติ มากกวารอยละ 25 2 หนวดเครา หนวดจะงอกเฉลี่ยวันละ 0.2 - 0.5 มิลลิเมตร และมีอายุประมาณ 3 - 6 เดือน แลวแตกรรมพันธุ ทําใหความถี่ในการโกนหนวดของแตละคนไมเทากัน บางคนอาจตองโกนทุกวัน ในขณะที่บางคนอาจโกนเพียงอาทิตยละ 1 - 3 ครั้ง

มุม IT สามารถศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับระบบสืบพันธุและตอมเพศ ไดจาก http://school.obec.go.th/padad/scien32101/BODY/8BODY.html

14

คูมือครู

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

ถาระบบตอมไรทอทํางานผิดปกติจะสงผลกระทบตอภาวะสุขภาพ ของเราอยางไรบาง จงอธิบายพรอมยกตัวอยางประกอบ แนวตอบ สงผลใหสุขภาพโดยรวมเกิดปญหา เชน ตอมไทรอยดมีหนาที่ ผลิตฮอรโมนไทรอกซิน ซึ่งมีความสําคัญยิ่งตอการทํางานของอวัยวะอื่นๆ ทั่วรางกาย หากทํางานผิดปกติจะสงผลตอทุกระบบภายในรางกาย ใหไมสามารถทํางานตามหนาที่ของตนเองได เปนตน


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

อธิบายความรู

Explain

ใหนักเรียนกลุมที่ศึกษาเรื่องความสําคัญของ ระบบตอมไรทอที่มีผลตอสุขภาพ การเจริญเติบโต และพัฒนาการของวัยรุน ออกมาอธิบายความรู หนาชั้นเรียน โดยหลังจากการอธิบายเสร็จสิ้น ครูชวยอธิบายเพิ่มเติม และเปดโอกาสใหนักเรียน ในหองตั้งคําถามเพื่อถามขอสงสัย จากนั้นครู ตั้งคําถาม เพื่อนําไปสูขอสรุปที่ถูกตองรวมกัน • เพราะเหตุใด วัยรุนแตละคนจึงมีพัฒนาการ ทางรางกายที่ชาหรือเร็วแตกตางกัน (แนวตอบ ขึ้นอยูกับคําตอบของนักเรียน โดยนักเรียนอาจตอบวาขึ้นอยูกับปจจัยตางๆ เชน พันธุกรรม สภาพแวดลอม การทํางาน ของระบบตอมไรทอ เปนตน)

๒.๒ ความสําคัญของระบบตอมไรทอ ทีม่ ผี ลตอสุขภาพ การเจริญเติบโต และพัฒนาการของวัยรุน ระบบตอมไรทอ เปนระบบอวัยวะภายในรางกายที่เกี่ยวของกับระบบประสาท และ มีความสําคัญตอสุขภาพ การเจริญเติบโต และพัฒนาการของวัยรุนเชนเดียวกับระบบประสาท โดยสามารถสรุปได ดังนี้ ๑) ระบบตอมไรทอที่มีผลตอสุขภาพ ระบบตอมไรทอมีความสําคัญและสงผลตอ สุขภาพของวัยรุน ดังนี้ ๑.๑) ควบคุมการทํางานของอวัย1วะภายในของรางกาย ระบบตอมไรทอมีหนาที่ ในการผลิตฮอรโมนเพื่อควบคุมใหอวัยวะเปาหมายสามารถทํางานไดอยางเต็มที่ โดยการทํางาน ของระบบตอมไรทอจะเกิดจากการกระตุนของระบบประสาท ดังที่ไดกลาวไปแลวขางตน ๑.๒) ควบคุมสภาวะแวดลอมภายในรางกายใหอยูในสภาวะสมดุล ซึ่งเกิดจาก การทํางานรวมกันของระบบตอมไรทอและระบบประสาท หากการทํางานของระบบใดระบบหนึ่ง เกิดความบกพรอง จะเกิดความไมสมดุลของสารละลายตางๆ ในรางกาย กอใหเกิดปญหาสุขภาพ ตามมา ชวยใหเกิดการเปลี่ยนแปลงทางสรีระรางกายที่เหมาะสม ระบบตอมไรทอจะมีหนาที่ใน การผลิตฮอรโมนตางๆ ทีม่ คี วามสํา2คัญตอการทํางานของรางกาย โดยพบวาในวัยรุน การทํางานของ ตอมเพศที่เหมาะสม จะทําใหสรีระรางกาย มีการเจริญเติบโตไปตามวัย

๒) ระบบตอมไรทอ ทีม่ ผี ลตอการเจริญเติบโตของรางกาย

ระบบตอมไรทอจะสงผลตอการเจริญเติบโตของวัยรุน ดังนี้ ๒.๑) กระตุนการใชสารอาหารและผลิตพลังงานภายใน รางกายเพื่อการเจริญเติบโต ทําใหอวัยวะตางๆ ภายในรางกายนั้นไดรับ สารอาหารอยางเพียงพอ และกอใหเกิดพลังงานในการดําเนินชีวิต ซึ่งจะ ชวยใหการเจริญเติบโตของรางกายเปนไปตามวัย ๒.๒) กระตุน การเจริญเติบโตของรางกาย ระบบตอมไรทอ มีหนาที่ในการผลิตฮอรโมนที่เรียกวา โกรทฮอรโมน เพื่อนําไปกระตุนการ เจริญเติบโตของรางกาย โดยจะไปกระตุนใหเซลลทุกสวนของรางกายเด็ก ใหมีการเพิ่มขนาดและจํานวน ซึ่งสงผลใหรางกายมีโครงสรางที่ใหญขึ้น กระดูกแขน ขา มีการเจริญเติบโตมากขึ้น หากขาดฮอรโมนดังกลาวนี้ จะมีผลทําใหการเจริญเติบโตนัน้ ผิดปกติ เปนผูใ หญทมี่ รี ปู รางเตีย้ แคระ หรือถาหากมีโกรทฮอรโมนมากเกินไป ก็อาจทําให คนแคระทีเ่ กิดจากการขาดโกรทฮอรโมน จะมีลกั ษณะ รูปรางใหญโตเกินกวาคนปกติได รางกายที่เตี้ยเล็ก ผิดปกติ ๑๕

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

จากภาพในหนา 15 เปนภาพคนแคระที่เกิดจากการขาดโกรทฮอรโมน แตในทางกลับกันถารางกายไดรับโกรทฮอรโมนมากเกินไป นักเรียนคิดวา จะสงผลกระทบอยางไรตอรางกาย แนวตอบ ทําใหรางกายสูงใหญผิดปกติ หัวใจโต และกอใหเกิดโรค ความดันโลหิตสูงได

เกร็ดแนะครู ครูอาจชี้แจงใหนักเรียนทราบเบื้องตนวาระบบตอมไรทอเปนระบบอวัยวะภายใน รางกายอีกระบบหนึ่งที่มีความสําคัญตอสุขภาพ การเจริญเติบโต และพัฒนาการ ของคนเรา โดยครูอาจนําภาพผูที่มีความผิดปกติจากการทํางานที่บกพรองของ ระบบตอมไรทอ มาใหนักเรียนดูเพื่อใหนักเรียนเห็นภาพไดชัดเจนยิ่งขึ้น

นักเรียนควรรู 1 อวัยวะเปาหมาย หมายถึง เซลลทั่วไป กลามเนื้อ และกระดูก ซึ่งเปนอวัยวะ ที่มีตัวรับสัญญาณของฮอรโมนนั้นอยู 2 สรีระ คือ รางกายและการทํางานของรางกาย เชน การเตนของหัวใจ การยอยอาหารของกระเพาะอาหาร การหดตัวของกลามเนื้อขาเมื่อเราวิ่ง การสูบฉีดโลหิตไปที่หนาจนหนาแดงเมื่อเราอาย เปนตน คูมือครู

15


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

Explain

ใหนักเรียนกลุมที่ศึกษาเรื่องการดูแลรักษา ระบบตอมไรทอใหทํางานตามปกติออกมาอธิบาย ความรูหนาชั้นเรียน หลังจากการอธิบายเสร็จสิ้น ครูชวยอธิบายเพิ่มเติม และเปดโอกาสใหนักเรียน ในหองตั้งคําถามถามขอสงสัย จากนั้นครูสุมนักเรียน 2-3 คน ออกมาสรุป สาระสําคัญเกี่ยวกับการดูแลรักษาระบบตอมไรทอ ใหทํางานตามปกติโดยเชื่อมโยงประสบการณเดิม กับความรูใหม

๒.๓) กระตุนการเจริญเติบโตทางเพศ ระบบตอมไรทอ โดยเฉพาะตอมเพศ มีหนาที่สําคัญในการกระตุนการเจริญเติบโตของอวัยวะที่เกี่ยวของกับการสืบพันธุใหมีการเจริญ เติบโต และมี 1 ความพรอมในการทําหนาที่ของตนเอง เชน มีการผลิตอสุจิในเพศชาย และมี การตกไขในเพศหญิง เปนตน

๓) ระบบตอมไรทอที่มีผลตอ

พัฒนาการ ระบบตอมไรทอมีความสําคัญและ สงผลตอพัฒนาการของวัยรุน ดังนี้ ๓.๑) เกิดพัฒนาการที่เหมาะ สมกับวัย โดยระบบตอมไรทอจะทํางานรวมกับ ระบบประสาทในการทําใหอวัยวะตางๆ มีความ พรอมในการทําหนาทีข่ องตนเอง เพือ่ กอใหเกิด พัฒนาการที่ถูกตองตามมา ดังรายละเอียดที่ได กลาวไปแลวขางตน ๓.๒) กระตุน ใหเกิดพัฒนาการ ทางเพศทีเ่ หมาะสม โดยระบบตอมไรทอ จะผลิต ฮอรโมนที่ควบคุมการทํางานของระบบสืบพันธุ ออกมา ใหทําหนาที่ในการกระตุนเซลลสืบพันธุ และยังกระตุนการสรางและหลั่งฮอรโมนของ เพศหญิงและเพศชายเมื่อเขาสูวัยรุน จะมีพัฒนาการ ทางเพศที่ แ ตกต า งกั น ไปอย า งเห็ น ได ชั ด เนื่ อ งจาก ตอมเพศ ซึ่งมีผลตอสวนตางๆ ของอวัยวะเพศ การหลั่งฮอรโมนที่ผลิตโดยระบบตอมไรทอ และอวัยวะอื่นๆ ที่เกี่ยวของใหเจริญเติบโตและ ทํางานไดอยางสมบูรณ ทําใหวัยรุนเกิดพัฒนาการทางเพศที่สอดคลองกับเพศของตนเอง เชน เพศชายจะมีเสียงหาว มีหนวดเครา มีกลามเนื้อเปนมัด มีขนขึ้นตามแขน 2 ขา รักแร อวัยวะเพศ เปนตน ในขณะที่เพศหญิงจะมีเสียงแหลม ผิวพรรณเปลงปลั่ง เตานมเจริญเติบโต สะโพกผาย มีขนบริเวณรักแรและอวัยวะเพศ มีประจําเดือน เปนตน ๒.๓ การดูแลรักษาระบบตอมไรทอ ใหทาํ งานตามปกติ การดูแลรักษาระบบตอมไรทอใหสามารถทํางานไดตามปกตินั้น มีขอแนะนํา ดังนี้ ๑. หมัน่ สํารวจและดูแลสุขภาพตนเองอยางสมํา่ เสมอในการวัดอัตราการเจริญเติบโต ของรางกายใหเปนไปตามเกณฑมาตรฐาน ซึง่ เปนการบงชีถ้ งึ การทําหนาทีป่ ระสานงานรวมกันของ ระบบตางๆในรางกายอันเปนผลมาจากการทํางานของระบบตอมไรทอ ๑๖

เกร็ดแนะครู ครูควรเนนยํา้ ใหนกั เรียนตระหนักถึงความสําคัญของการดูแลรักษาระบบประสาท และระบบตอมไรทออยางถูกตอง เพื่อใหระบบดังกลาวสามารถทํางานไดอยางปกติ โดยใหนักเรียนศึกษาหาความรูเพิ่มเติมจากแหลงเรียนรูตางๆ

นักเรียนควรรู 1 การตกไข คือ ระยะที่ไขสุกและออกจากรังไขเขาสูทอนําไขในชวงกึ่งกลาง ของรอบเดือน ซึ่งไขจะตกในชวงประมาณ 2 สัปดาห กอนที่ประจําเดือนจะมา โดยตลอดชีวิตของเพศหญิงปกติจะผลิตไขประมาณ 400 ใบ คือ ตั้งแตอายุ ประมาณ 12 ป จนถึงประมาณ 50 ป จึงหยุดผลิต 2 เตานม (Breast) ทําหนาที่ผลิตนํ้านมสําหรับทารก โดยเตานมแตละขางจะมี บริเวณตรงกลางที่ยื่นออกมา เรียกวา หัวนม ซึ่งลอมรอบดวยผิวสีคลํ้า

16

คูมือครู

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

ขอใดเปนการดูแลรักษาระบบตอมไรทอไมถูกตอง 1. การชั่งนํ้าหนัก วัดสวนสูง 2. การออกกําลังกายดวยการเดิน 3. การหลีกเลี่ยงอาหารที่มีไขมันสูง 4. การรับประทานอาหารรสจัดเพื่อกระตุนฮอรโมน วิเคราะหคําตอบ การดูแลระบบตอมไรทอใหสามารถทํางานได ตามปกตินั้น สามารถปฏิบัติไดโดยการตรวจสมรรถภาพที่เกี่ยวของกับ ระบบตอมไรทอ เชน การชั่งนํ้าหนัก การวัดสวนสูง เปนตน เพื่อดู ความสัมพันธและพัฒนาการในการเจริญเติบโตใหเปนไปตามเกณฑ มาตรฐาน การออกกําลังกายอยางสมํ่าเสมอ ไมวาจะดวยการเดิน หรือการวิ่งก็ตาม เพื่อชวยทําใหรางกายแข็งแรง การหลีกเลี่ยงอาหาร ที่มีไขมันและคอเลสเตอรอลสูง รวมถึงอาหารที่มีรสจัด เปนตน

ตอบขอ 4.


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

อธิบายความรู

Explain

ครูสมุ ใหนกั เรียน 2 - 3 คน ออกมาสรุปเชือ่ มโยง ใหเห็นถึงการทํางานที่ประสานสัมพันธกันระหวาง ระบบประสาทและระบบตอมไรทอ โดยครูชวย อธิบายเพิ่มเติม แนวทาง ใหครูอธิบายเพิ่มเติมโดยยกตัวอยาง การทํางานที่ประสานสัมพันธกัน ระหวาง ระบบประสาทและระบบตอมไรทอ โดยจะชวย ทําใหนกั เรียนเกิดความเขาใจในเนือ้ หามากยิง่ ขึน้ เชน • เมื่อรางกายถูกกระตุนจากสิ่งเราตางๆ ระบบประสาทจะสั่งการใหระบบตอมไรทอ หลั่งฮอรโมนที่เกี่ยวของออกมา • ระบบประสาทจะเปนตัวสั่งการให ระบบตอมไรทอทํางาน คือ ระบบประสาท ไมสามารถสั่งอวัยวะหรือรางกายบางสวน ทํางานไดโดยตรง แตอาศัยระบบตอมไรทอ ที่จะตองสรางฮอรโมนเพื่อไปกระตุนหรือ บังคับอวัยวะในบางอวัยวะใหทํางาน หรือ ปรับสมดุลของรางกาย • ระบบตอมไรทอนั้นมีอยูทั่วรางกาย ซึ่งจะ สั่งการหรือชวยในการทํางานของอวัยวะได ดีกวาระบบประสาท โดยระบบประสาทจะมี แคเพียงเสนประสาททั่วรางกาย แตมี ศูนยสั่งการอยูที่สมองและไขสันหลังเทานั้น ดังนั้นจึงตองอาศัยระบบตอมไรทอชวย ทํางาน รางกายจึงจะเกิดการสมดุล

๒. ออกกําลังกายอยางสมํ่าเสมอ เพื่ อ ช ว ยทํ า ให ร  า งกายแข็ ง แรง โดยพบว า การออกกําลังกาย จะทําใหตอมไรทอบางอยาง เชน ตอมหมวกไต ตอมใตสมอง ถูกกระตุน ใหหลั่งฮอร โมนมากขึ้น ทําใหเกิดผลเสมือน ฉีดฮอรโมนนั้นๆ เขาในรางกาย และจะมีการ สะสมสารเคมีบางอยางไวสําหรับใชในระหวาง การออกกําลังกาย เชน กลู 1 โคส ทีถ่ กู เก็บไวทตี่ บั และกลามเนื้อ วิตามินซีเก็บไวในตอมหมวกไต เปนตน สิ่งเหลานี้จะชวยทําใหระบบตอมไรทอ ทํางานมีประสิทธิภาพมากขึ้น ๓. เลื อ กรั บ ประทานอาหารที่ มี ควรดื่มนํ้าสะอาด หรือนํ้าผลไมแทนนํ้าอัดลม และ ประโยชนตอรางกาย และไดสัดสวนที่เหมาะสม เครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล เพื่อประสิทธิภาพการทํางาน ที่ดีของระบบตอมไรทอ ๔. ควรดื่มนํ้าสะอาด วันละ ๖-๘ แกว และนํ้าผลไม แทนเครื่องดื่มประเภทนํ้าอัดลม ตลอดจนหลีกเลี่ยงเครื่องดื่มแอลกอฮอลตางๆ ๕. ควรหาเวลาพักผอนอยางเพียงพอดวยการนอน หรือการหากิจกรรมนันทนาการ ๖. เพื่อคลายเครียด เชน การทํางานอดิเรก หรือการทองเที่ยวพักผอน เปนตน ๗. ในกรณีทเี่ กิดความผิดปกติของรางกาย ควรรีบไปพบแพทยและปรึกษาแพทยทนั ที

๓. ความสัมพันธของระบบประสาทและระบบตอมไรทอ

ระบบประสาทกับระบบตอมไรทอ นัน้ ทํางานรวมกันเปนสวนใหญ โดยอาจเรียกระบบของการ ทํางานที่มีความสัมพันธกันของทั้งสองระบบนี้วา ระบบประสานงาน โดยพบวาระบบประสาทจะ ทําหนาที่เปนตัวสั่งการใหตอมไรทอทํางาน เนื่องจากระบบประสาทไมสามารถสั่งหรือควบคุมให อวัยวะหรือรางกายบางสวนใหทํางานไดโดยตรง แตตองอาศัยระบบตอมไรทอที่จะสรางฮอรโมน เพื่อไปกระตุนหรือบังคับอวัยวะเปาหมายใหทํางาน หรือใหเกิดการปรับสมดุลของรางกายขึ้น การทําใหรา งกายอยูในภาวะสมดุลอยูเ สมอนัน้ เปนสิง่ จําเปน โดยกระบวนการดังกลาวจะเกิด จากฮอรโมนที่ตอมไรทอสราง ซึ่งจะซึมเขาสูหลอดเลือดฝอยที่มาเลี้ยงตอมไรทอแลวเขาสูระบบ ไหลเวียนเลือดของรางกายไปสูอวัยวะตางๆของรางกาย ในขณะเดียวกันพบวาเซลลประสาทและ ระบบประสาทก็จะทําหนาที่ควบคุมการหลั่งฮอรโมนของตอมไรทอดวยเชนกัน โดยพบวาระบบ ประสาทสามารถทํางานในลักษณะของการประสานงานกับตอมไรทอไดใน ๒ ทาง คือ ๑๗

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

ระบบตอมไรทอมีความสัมพันธกับระบบประสาทอยางไร จงอธิบาย พรอมยกตัวอยางมาพอเขาใจ

แนวตอบ มีความสัมพันธในการควบคุมการทํางานของระบบอื่นๆของ รางกายใหอยูในภาวะสมดุล เชน เมื่อรางกายถูกกระตุนโดยระบบประสาท ระบบตอมไรทอก็จะหลั่งฮอรโมนที่เกี่ยวของออกมา เปนตน

เกร็ดแนะครู ครูอาจสรุปหลักการของการดูแลรักษาระบบประสาทและระบบตอมไรทอให ทํางานไดตามปกติ คือ หมั่นสํารวจและดูแลสุขภาพของตนเอง ออกกําลังกาย อยางสมํ่าเสมอ การเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน และพักผอนใหเพียงพอ ซึ่งหลักการดังกลาวนี้ถือเปนหลักปฏิบัติในการดูแลรักษาสุขภาพใหสมบูรณแข็งแรง

นักเรียนควรรู 1 วิตามินซี เปนสารอาหารที่ชวยตานอนุมูลอิสระในรางกาย และชวยสราง ภูมิคุมกันไดเปนอยางดี สามารถปองกันและรักษาการอักเสบอันเนื่องมาจาก เชื้อแบคทีเรียและเชื้อไวรัสได พบไดในสับปะรด กะหลํ่าดอก นํ้ามะนาว สตรอวเบอรี มะเขือเทศ มะละกอ เปนตน

คูมือครู

17


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ

ขยายความเขาใจ Expand าใจ ขยายความเข

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Expand

ใหนักเรียนรวมกันปฏิบัติกิจกรรมสรางสรรค พัฒนาการเรียนรูกิจกรรมที่ 1 หนา 20 (ใหนักเรียน จัดทําแผนผังแสดงโครงสรางของระบบประสาท และระบบตอมไรทอ พรอมทั้งบอกหนาที่และโรค หรือปญหาทางสุขภาพที่เกิดจากการทํางานที่ บกพรองของอวัยวะตางๆ ในระบบประสาทและ ระบบตอมไรทอลงในแผนผังที่แสดง) จากนั้นให นักเรียนนําแผนผังที่ไดจากการปฏิบัติกิจกรรมไปจัด เปนปายนิเทศภายในโรงเรียนเพื่อเผยแพรความรู ใหนักเรียนนําวิธีการดูแลรักษาระบบประสาท และระบบตอมไรทอใหสามารถทํางานไดตามปกติ ไปปรับใชในชีวติ ประจําวันของตนเอง โดยการปฏิบตั ิ กิจกรรมสรางสรรคพัฒนาการเรียนรู กิจกรรมที่ 3

1

๑) ทางตรง พบไดในกลุมของตอมไรทอที่เจริญมาจากกลุมเนื้อเยื่อประสาท จึงมี

ระบบประสาทมาควบคุมโดยตรง เมื่อถูกกระตุนโดยระบบประสาทก็จะมีการหลั่งฮอรโมนทันที ไดแก สวนหลังของตอมใตสมองและสวนในของตอมหมวกไต ๒) ทางออม พบวามีการสรางสารจากเซลลประสาทในสมองบางสวนสงมาเก็บไว ตามเสนใยประสาท แลวปลอยเขาสูกระแสโลหิต เมื่อมีการกระตุนกระแสประสาทจากสวนของ สมองที่เกี่ยวของไปควบคุมการหลั 2 ่งฮอรโมนของตอมไรทอ ไดแก การควบคุมการหลั่งฮอรโมน จากสวนหนาของตอมใตสมอง เปนตน นอกจากนี้ ยังพบวาระบบตอมไรทอนั้นจะมีกระจายอยูทั่วรางกาย ทําใหมีขีด ความสามารถในการสั่งการหรือชวยในการทํางานของอวัยวะไดดีกวาระบบประสาทที่มีแคเพียง เสนประสาทมาทั่วรางกาย แตศูนยสั่งการอยูที่สมองและไขสันหลังเทานั้น ดังนัน้ การทํางานของระบบประสาทจึงตองอาศัยระบบตอมไรทอ ชวยทํางาน แตในทาง กลับกัน ก็พบวาการทํางานของระบบตอมไรทอจะไมสามารถทําหนาที่ของตนเองไดสมบูรณแบบ หากขาดการสั่งการจากระบบประสาท ซึ่งจะสามารถเห็นไดจากความสําคัญของระบบประสาท และระบบตอมไรทอที่มีผลตอสุขภาพ การเจริญเติบโต และพัฒนาการของวัยรุน ดังที่ไดกลาว ไปแลวขางตน

การที่วัยรุนมีภาวะรางกายที่สมดุล สามารถปฏิบัติกิจกรรมตางๆ ไดเปนอยางดีนั้น เปนผลมาจากการทํางานของระบบ ประสาทและระบบตอมไรทอที่ทํางานประสานสัมพันธกันไดอยางมีประสิทธิภาพ

๑๘

นักเรียนควรรู 1 เนื้อเยื่อประสาท จะกระจายอยูทั่วรางกายโดยเชื่อมโยงประสานกัน ประกอบ ดวยเซลล 2 ชนิด คือ เซลลประสาท และเซลลคํ้าจุน ทําหนาที่ติดตอประสานงาน ระหวางอวัยวะภายในรางกายกับสิ่งแวดลอมภายนอก 2 ตอมใตสมอง เปนสวนที่สรางฮอรโมนหลายชนิดผานเขาไปในกระแสเลือด เพื่อควบคุมสมดุลตางๆ ของรางกาย หากตอมใตสมองทํางานผิดปกติ ฮอรโมน บางตัวจะถูกสรางมากขึ้นกวาปกติ และบางตัวก็นอยกวาปกติ ทําใหมีอาการตางๆ ตามมา เชน • ถาฮอรโมนโพรแลกตินสูง ในผูหญิงก็จะมีอาการนํ้านมไหล ไมมีประจําเดือน ในผูชายอาจพบวามีปญหาความตองการทางเพศลดลง • ในรายที่โกรทฮอรโมนสูง จะทําใหรูปรางของผูปวยสูงใหญกวาปกติหากเปน โรคนี้มาตั้งแตเด็ก แตถาเปนหลังจากรางกายหยุดการเจริญเติบโตแลว จะเห็นการ เปลี่ยนแปลงเฉพาะโครงสรางของใบหนา มือ และเทาซึ่งจะใหญขึ้น เปนตน

18

คูมือครู

กิจกรรมสรางเสริม ใหนักเรียนจัดทําแผนภาพระบบประสาทและระบบตอมไรทอ โดยนักเรียนสามารถเลือกทําระบบใดระบบหนึ่งก็ไดสงครูผูสอน

กิจกรรมทาทาย ใหนกั เรียนจัดทําแผนภาพระบบประสาทและระบบตอมไรทอ โดยนักเรียน สามารถเลือกทําระบบใดระบบหนึ่งก็ได จากนั้นใหนักเรียนอธิบายถึง โครงสรางและหนาที่ รวมทั้งเสนอแนะวิธีการดูแลรักษาระบบที่เลือก ใหสามารถทํางานไดตามปกติประกอบแผนภาพสงครูผูสอน


กระตุน ความสนใจ กระตุEngage นความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Engage

Explore

Explain

Expand

Evaluate

กระตุน ความสนใจ

Engage

ครูรวมพูดคุยกับนักเรียนถึงเรื่องไมเกรน จากนั้นครูตั้งคําถามเพื่อกระตุนการเรียนรู โดย ใหนักเรียนแสดงความคิดเห็นไดอยางอิสระ • นักเรียนคนใดเคยปวยเปนไมเกรนบาง และ นักเรียนมีวิธีการรักษาอยางไร (แนวตอบ ขึ้นอยูกับคําตอบของนักเรียน) • นักเรียนคิดวาไมเกรนเกิดจากสาเหตุใด (แนวตอบ ขึ้นอยูกับคําตอบของนักเรียน โดย อาจตอบวาเกิดจากความเครียด การพักผอน ไมเพียงพอ สภาพแวดลอม ฯลฯ) จากนั้นครูเชื่อมโยงเพื่อเขาสูเนื้อหา

เสริมสาระ ไมเกรนกับวัยรุน ปญหาสุขภาพของวัยรุนเกี่ยวกับสมองนั้น มี ม ากมายหลายโรค ในที่ นี้ จ ะขอยกตั ว อย า ง โรค ปวดศี ร ษะข า งเดี ย ว หรื อ ที่ รู จั ก กั น ดี ใ นนามของ โรคไมเกรน ซึง่ เปนโรคทีใ่ กลตวั และสามารถพบไดบอ ย ทั้งในเด็กและผูใหญ โดยผูหญิงจะมีโอกาสเปนโรคนี้ มากกวาผูชายถึง ๓ เทา ในแตละคนโรคนี้จะมีสาเหตุการเกิด ตางกันไป อาทิ ความเครียด ความวิตกกังวล เหน็ดเหนือ่ ย สภาพแวดลอม อาหารบางอยาง การมีประจําเดือน พักผอนหรือนอนหลับนอย หรือมากเกินไป ยาบางชนิด เปนตน 1 อาการของโรคปวดศีรษะขางเดียว แบงออกไดเปน ๕ ระยะ ดังนี้ ระยะแรก คือ ระยะเตือน ผูปวยอาจมี อาการหาวนอน (โดยไมไดงวง) วิงเวียน หิว อยาก กินอาหารหวานๆ กระหายน้ํา อารมณแปรปรวน ใน บางรายอาจรูสึกเครียด หวั่นไหว ซึมเศรา ระยะที่สอง คือ ระยะภาพเตือน ผูปวยจะรูสึก ไมเกรนสามารถเปนไดทั้งเด็กและผูใหญ โดยผูหญิง จะมีโอกาสเปนมากกวาผูชาย เหมือนมีแสงสวางจาทีด่ า นหนาลูกตา และอาจมีอาการ ปวดศีรษะขางเดียวเกิดขึ้น ระยะที่สาม คือ ระยะปวดศีรษะ ผูปวยจะมีอาการปวดศีรษะขางเดียว บางรายรูสึกเหมือนกําลังจะวูบ ไดกลิ่น แปลกๆ หรืออาจมีเสียงในหูดวย ระยะที่สี่ เปนระยะผอนคลาย โดยอาการจะคอยๆ ทุเลาลงจนหายไปเองภายใน ๒-๗๒ ชั่วโมง ซึ่งผูปวย จํานวนมากจะมีอาการดีขึ้นหลังจากไดนอนหลับหรือพักผอนในหองมืดๆ และบางคนอาจดีขึ้นหลังจากไดอาเจียน ระยะที่หา คือ ระยะหมดแรง ผูปวยจะมีอาการหมดเรี่ยวหมดแรง แมอาการปวดศีรษะจะหายไปแลวก็ตาม

การดํารงอยูของรางกายมนุษยเกิดขึ้นเนื่องจากการทํางานรวมกันของระบบตางๆ ใน

รางกาย เชน การทํางานของระบบประสาทและระบบตอมไรทอที่จําเปนตองประสานสัมพันธกัน เพือ่ ทําใหอวัยวะตางๆ สามารถทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพ ดังนัน้ การสรางเสริมสมรรถภาพและ ประสิทธิภาพในการทํางานของระบบประสาทและระบบตอมไรทอ โดยเฉพาะการหมัน่ สํารวจดูแล สุขภาพของตนเองอยางสมํ่าเสมอ การออกกําลังกาย การรับประทานอาหารที่มีประโยชน การ พักผอนที่เพียงพอ รวมถึงควรรีบปรึกษาแพทยเมื่อสังเกตพบความผิดปกติของรางกาย จึงเปน สิ่งจําเปนและสําคัญ ซึ่งเราทุกคนควรฝกปฏิบัติจนเปนนิสัย เพื่อสุขภาพที่ดีของตนเองตลอดไป ๑๙

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

นักเรียนคิดวามีแนวทางใดบางที่สามารถชวยปองกันโรคไมเกรนได

แนวตอบ ขึ้นอยูกับคําตอบของนักเรียน โดยอาจตอบวา พยายามอยา ทําใหตนเองเกิดความเครียด ควรหาเวลาพักผอน เชน ดูหนัง ฟงเพลง นอนหลับ หรือทํากิจกรรมเพื่อเปนการคลายเครียด ไมใหหมกหมุนอยูกับ เรื่องใดเรื่องหนึ่งมากเกินไปจนเปนสาเหตุของการทําใหเกิดโรคไมเกรนได และเมื่อเราทราบสาเหตุของการเกิดโรคไมเกรนแลว ก็ควรที่จะหลีกเลี่ยง ปจจัยเสี่ยงที่ทําใหเกิดโรคดังกลาวนั้น เพื่อการมีสุขภาพที่ดี ปราศจาก ความเครียดอันเปนสาเหตุของโรคไมเกรนตอไป

มุม IT สามารถศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับวิธีลดอาการไมเกรน ไดจากมูลนิธิเครือขาย ครอบครัว http://www.familynetwork.or.th/node/15705

นักเรียนควรรู 1 ปวดศีรษะขางเดียว หากมีอาการปวดศีรษะขางเดียวในบางครั้ง อาจสามารถ รับประทานยาแกปวด เชน พาราเซตามอล เพื่อบรรเทาอาการปวดได แตไมควร รับประทานตอเนื่องติดตอกันเกิน 5 วัน เพราะถารับประทานมากเกินไปจะมีพิษ ตอตับ สงผลทําใหตับวายได และถามีอาการปวดศีรษะขางเดียวบอยครั้ง ควรที่จะ ไปพบแพทยเพื่อหาสาเหตุ

คูมือครู

19


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

Engage

Explore

Explain

Expand

ตรวจสอบผล

ตรวจสอบผล Evaluate ตรวจสอบผล Evaluate

Evaluate

การปฏิบัติกิจกรรมสรางสรรคพัฒนาการเรียนรู กิจกรรมที่ 1 และ 3

คําถาม

หลักฐานแสดงผลการเรียนรู

ประจําหนวยการเรียนรู

๑. เพราะเหตุใดระบบประสาทและระบบตอมไรทอจึงตองมีการทํางานรวมกัน ๒. ระบบประสาทและระบบต อ มไร ท  อ มี ความสํ า คั ญ อย า งไรต อ สุ ข ภาพ การเจริ ญ เติ บ โต และ พัฒนาการของวัยรุน ๓. ระบบประสาทซิมพาเทติก และระบบประสาทพาราซิมพาเทติก มีการทํางานอยางไร ในระบบ ประสาทอัตโนมัติ ๔. ถารางกายขาดธาตุไอโอดีน จะมีผลอยางไรตอระบบตอมไรทอ ๕. วิธีดูแลรักษาระบบประสาทและระบบตอมไรทอใหทํางานไดเปนปกตินั้น มีแนวทางปฏิบัติอยางไร จงอธิบาย

1. แผนผังความคิดสรุปความสําคัญของระบบ ประสาทที่มีผลตอสุขภาพ การเจริญเติบโต และพัฒนาการของวัยรุน 2. ปายนิเทศแผนผังแสดงโครงสราง หนาที่ โรค หรือปญหาทางสุขภาพที่เกิดจากการทํางานที่ บกพรองของอวัยวะตางๆ ของระบบประสาท และระบบตอมไรทอ 3. รายงานพฤติกรรมดูแลตนเองเพื่อสรางเสริม สมรรถภาพ และดํารงประสิทธิภาพการทํางาน ของระบบประสาทและระบบตอมไรทอ

กิจกรรม กิจกรรมที่ ๑

กิจกรรมที่ ๒

กิจกรรมที่ ๓

สรางสรรคพัฒนาการเรียนรู นักเรียนจัดทําแผนผังแสดงโครงสรางของระบบประสาทและระบบตอมไรทอ พรอมทัง้ บอกหนาทีแ่ ละโรคหรือปญหาทางสุขภาพทีเ่ กิดจากการทํางานทีบ่ กพรอง ของอวัยวะตางๆ ในระบบประสาทและระบบตอมไรทอลงในแผนผังที่แสดง นักเรียนแบงเปนกลุม โดยสมาชิกในแตละกลุมชวยกันระดมความคิดเกี่ยวกับ การสรางเสริมสมรรถภาพ และดํารงประสิทธิภาพในการทํางานของระบบประสาท และระบบตอมไรทอ แลวสงตัวแทนออกมานําเสนอหนาชั้นเรียน นักเรียนแตละคน ทําบันทึกรายงานพฤติกรรมการดูแลตนเองเพือ่ สรางสมรรถภาพ และดํารงประสิทธิภาพในการทํางานของระบบประสาทและระบบตอมไรทอ เปน ระยะเวลา ๑ เดือน โดยใหนักเรียนเลือกระบบที่ตนเองสนใจเพียง ๑ ระบบ แลวนําผลการรายงานมาวิเคราะห และสรุปเปนรายงานสงครูผูสอน

๒๐

แนวตอบ คําถามประจําหนวยการเรียนรู 1. เนื่องจากทั้ง 2 ระบบมีความสัมพันธกันในการควบคุมการทํางานของระบบอื่นๆ ในรางกายใหอยูในภาวะสมดุล เชน เมื่อรางกายถูกกระตุนจากสิ่งเราตางๆ ระบบประสาทจะสั่งการใหระบบตอมไรทอหลั่งฮอรโมนที่เกี่ยวของออกมา 2. ระบบประสาทและระบบตอมไรทอเปนระบบที่มีความสัมพันธและทํางานประสานกัน ซึ่งจะสงผลตอสภาวะสุขภาพ การเจริญเติบโต และพัฒนาการของวัยรุน เชน ควบคุมการทํางานของอวัยวะภายในของรางกายใหสามารถทํางานไดอยางเต็มที่ ซึ่งเมื่ออวัยวะตางๆ ทํางานไดดี ก็จะสงผลใหมีสภาวะสุขภาพที่ดี เปนตน 3. ระบบประสาทซิมพาเทติกเปนระบบที่มีการทํางานแบบเกิดขึ้นทันทีทันใด ในขณะที่ระบบประสาทพาราซิมพาเทติก เปนระบบประสาทที่ทําหนาที่ควบคุมการทํางาน ของอวัยวะภายใน เสนเลือด และตอมตางๆ ใหอยูในสภาพที่พรอมจะทํางานได ซึ่งทั้ง 2 ระบบนี้จะทําหนาที่ตรงขามกันเสมอเพื่อรักษาความสมดุลของรางกาย 4. ถารางกายขาดธาตุไอโอดีน จะไมสามารถผลิตไทรอยดฮอรโมนได สงผลใหรางกายตองไปกระตุนตอมไทรอยดใหเจริญเติบโตและใหญขึ้น จนกลายเปนโรคคอพอกในที่สุด 5. รักษาอนามัยสวนบุคคล บริโภคอาหารใหถูกตองเหมาะสม ออกกําลังกายสมํ่าเสมอ ทําจิตใจใหแจมใส และหมั่นตรวจสุขภาพเปนประจําทุกป

20

คูมือครู


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.