8858649121288

Page 1

คูมือครู 㪌»ÃСͺ¡ÒÃÊ͹ËÇÁ¡Ñº

˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ©ºÑº »ÃСѹÏ

ภาพปกนี้มีขนาดเทากับหนังสือเรียนฉบับจริงของนักเรียน

กระบวนการสอนแบบ 5 Es ชวยสรางทักษะการเรียนรู กิจกรรมมุงพัฒนาทักษะการคิด คำถาม + แนวขอสอบเพื่อยกผลสัมฤทธิ์ O-NET กิจกรรมบูรณาการเตรียมพรอมสู ASEAN 2558


เอกสารประกอบคูมือครู

กลุมสาระการเรียนรู การงานอาชีพและเทคโนโลยี

การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปที่

1

สําหรับครู

คูมือครู Version ใหม

ลักษณะเดน

ขยายพื้นที่รูปเลมใหญขึ้นกวาเดิม จัดแบงพื้นที่ออกเปนโซน เพื่อคนหาขอมูลไดงาย สะดวก รวดเร็ว และดูเปนระเบียบ กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล

กระตุน ความสนใจ

Evaluate

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

เปาหมายการเรียนรู สมรรถนะของผูเรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค

หน า

โซน 1 กระตุน ความสนใจ

Engage

สํารวจคนหา

Explore

อธิบายความรู

Explain

ขยายความเขาใจ

Expand

ตรวจสอบผล

หน า

หนั ง สื อ เรี ย น

โซน 1

หนั ง สื อ เรี ย น

Evaluate

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

O-NET บูรณาการเชื่อมสาระ

เกร็ดแนะครู

ขอสอบ

โซน 2

โซน 3

กิจกรรมสรางเสริม กิจกรรมทาทาย

นักเรียนควรรู

โซน 3

โซน 2 บูรณาการอาเซียน มุม IT

No.

คูมือครู

คูมือครู

No.

โซน 1 ขั้นตอนการสอนแบบ 5Es

โซน 2 ชวยครูเตรียมสอน

โซน 3 ชวยครูเตรียมนักเรียน

เพื่อใหครูเตรียมจัดกิจกรรมการเรียน การสอน โดยแนะนําขั้นตอนการสอนและ การจัดกิจกรรมแบบ 5Es อยางละเอียด เพื่อใหนักเรียนบรรลุตามตัวชี้วัด

เพื่อชวยลดภาระครูผูสอน โดยแนะนํา เกร็ดความรูสําหรับครู ความรูเสริมสําหรับ นักเรียน รวมทั้งบูรณาการความรูสูอาเซียน และมุม IT

เพื่อใหครูสะดวกตอการจัดกิจกรรม โดย แนะนํากิจกรรมบูรณาการเชือ่ มระหวางสาระหรือ กลุมสาระการเรียนรู วิชา กิจกรรมสรางเสริม กิจกรรมทาทาย รวมถึงเนื้อหาที่เคยออกขอสอบ O-NET แนวขอสอบ NT/O-NET ทีเ่ นนการคิด พรอมเฉลยและคําอธิบายอยางละเอียด


ที่ใชในคูมือครู

แถบสีและสัญลักษณ

แถบสีแสดงขั้นตอนการสอนและการจัดกิจกรรม แบบ 5Es เพื่อใหครูทราบวาเปนขั้นการสอนขั้นใด

1. แถบสี 5Es สีแดง

สีเขียว

กระตุน ความสนใจ

เสร�ม

สํารวจคนหา

Engage

2

เปนขั้นที่ผูสอนเลือกใช เทคนิคกระตุน ความสนใจ เพื่อโยง เขาสูบทเรียน

สีสม

อธิบายความรู

Explore

เปนขั้นที่ผูสอน ใหผูเรียนสํารวจ ปญหา และศึกษา ขอมูล

สีฟา

Explain

เปนขั้นที่ผูสอน ใหผูเรียนคนหา คําตอบ จนเกิดความรู เชิงประจักษ

สีมวง

ขยายความเขาใจ Expand

เปนขั้นที่ผูสอน ใหผูเรียนนําความรู ไปคิดคนตอๆ ไป

ตรวจสอบผล Evaluate

เปนขั้นที่ผูสอน ประเมินมโนทัศน ของผูเรียน

2. สัญลักษณ สัญลักษณ

วัตถุประสงค

• เปาหมายการเรียนรู

• หลักฐานแสดง ผลการเรียนรู

• เกร็ดแนะครู

แทรกความรูเสริมสําหรับครู ขอเสนอแนะ ขอควรระวัง ขอสังเกต แนวทางการจัด กิจกรรมและอื่นๆ เพื่อประโยชนในการ จัดการเรียนการสอน ขยายความรูเพิ่มเติมจากเนื้อหา เพื่อให ครูนําไปใชอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียน ไดมีความรูมากขึ้น

ความรูหรือกิจกรรมเสริม ใหครูนําไปใช เตรียมความพรอมใหกับนักเรียนกอนเขาสู ประชาคมอาเซียนใน พ.ศ. 2558 โดย บูรณาการกับวิชาที่กําลังเรียน

บูรณาการอาเซียน

คูม อื ครู

แสดงรองรอยหลักฐานตามภาระงาน ที่ครูมอบหมาย เพื่อแสดงผลการเรียนรู ตามตัวชี้วัด

• นักเรียนควรรู

มุม IT

แสดงเปาหมายการเรียนรูที่นักเรียน ตองบรรลุตามตัวชี้วัด ตลอดจนสมรรถนะ ที่จะตองมี และคุณลักษณะที่พึงเกิดขึ้น กับนักเรียน

แนะนําแหลงคนควาจากเว็บไซต เพื่อให ครูและนักเรียนไดเขาถึงขอมูลความรู ที่หลากหลาย ทั้งไทยและตางประเทศ

สัญลักษณ

ขอสอบ

วัตถุประสงค

O-NET

ชี้แนะเนื้อหาที่เคยออกขอสอบ O-NET โดยยกตัวอยางขอสอบ พรอมวิเคราะหคําตอบ อยางละเอียด

เปนตัวอยางขอสอบที่มุงเนน การคิดและเปนแนวขอสอบ NT/O-NET ในระดับมัธยมศึกษา ตอนตน มีทั้งปรนัย - อัตนัย พรอมเฉลยอยางละเอียด

เปนตัวอยางขอสอบที่มุงเนน การคิดและเปนแนวขอสอบ O-NET ในระดับมัธยมศึกษา ตอนปลาย มีทั้งปรนัย - อัตนัย พรอมเฉลยอยางละเอียด

แนะนําแนวทางการจัดกิจกรรม เชื่อมกับสาระหรือกลุมสาระ การเรียนรู ระดับชัน้ หรือวิชาอืน่ ที่เกี่ยวของ

แนะนําแนวทางการจัดกิจกรรม ซอมเสริมสําหรับนักเรียนที่ควร ไดรับการพัฒนาการเรียนรู

แนะนําแนวทางการจัดกิจกรรม ตอยอดสําหรับนักเรียนที่เรียนรู ไดอยางรวดเร็ว และตองการ ทาทายความสามารถในระดับ ที่สูงขึ้น

(เฉพาะวิชา ชัน้ ทีส่ อบ O-NET O-NET)

NT O-NE T (เฉพาะระดับชัน้ มัธยมศึกษาตอนตน)

แนว

O-NET

(เฉพาะระดับชัน้ มัธยมศึกษาตอนปลาย)

บูรณาการเชื่อมสาระ

กิจกรรมสรางเสริม

กิจกรรมทาทาย


คําแนะนําการใชคูมือครู การออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอน คูมือครู รายวิชา การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.1 จัดทําขึ้นเพื่อใหครูผูสอนนําไปใชเปนแนวทางวางแผนการ สอนเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและประกันคุณภาพผูเรียน ตามนโยบายของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) โดยใชหนังสือเรียน การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.1 ของบริษัท อักษรเจริญทัศน อจท. จํากัด เปน เสร�ม 3 สือ่ หลัก (Core Material) ประกอบการสอนและการจัดกิจกรรมการเรียนรูใ หสอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรูแ ละตัวชีว้ ดั กลุม สาระการเรียนรู การงานอาชีพและเทคโนโลยี ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พ.ศ. 2551 โดยออกแบบ กิจกรรมการเรียนการสอนตามหลักการสําคัญ ดังนี้ 1 ออกแบบการสอนเปนหนวยการเรียนรูอิงมาตรฐาน คูมือครู รายวิชา การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.1 วางแผนการสอนโดยแบงเปนหนวยการเรียนรูตามลําดับ สาระ (Strand) และหมายเลขขอของมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัด แตละหนวยจะกําหนดเปาหมายการเรียนรูและจุด ประสงคการเรียนรู (Objective Learning) กิจกรรมการเรียนรู (Learning Activities) และแนวทางการประเมินผลการเรียนรู (Learning Evaluation) ไวชดั เจน ครูผสู อนสามารถจัดทําแผนการสอนใหครอบคลุมมาตรฐานการเรียนรู ตัวชีว้ ดั สมรรถนะ และคุณลักษณะอันพึงประสงคที่เปนเปาหมายการเรียนรูตามที่กําหนด หนดไว ไวในสาระแกนกลาง (ตามแผนภูมิ) และสามารถ บันทึกผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผูเรียนแตละคนลงในเอกสาร ปพ.5 ไดอยางมั่นใจ แผนภูมิแสดงความสัมพันธขององคประกอบการออกแบบการเรียนรูอิงมาตรฐานและเนนผูเรียนเปนสําคัญ

พผ

ูเ

จุ ด ป ร

ะสง

คก า

ส ภา

รี ย น

รู ีเรยน

มาตรฐานการเรียนรู ตัวชี้วัดชั้นป

ทักษะการคิด การวัดประเมินผล การเรียนรู

กิจกรรมการเรียนรู

เทคนิคการสอน คูม อื ครู


2 การจัดการเรียนรูที่ยึดผูเรียนเปนสําคัญ แนวคิ ด ในการจั ด การเรี ย นการสอนที่ ยึ ด ผู  เ รี ย นเป น สํ า คั ญ พั ฒ นามาจากปรั ช ญาและทฤษฎี ก ารเรี ย นรู  Constructivism ที่เชื่อวา การเรียนรูเปนกระบวนการที่เกิดขึ้นภายในสมองของผูเรียนแตละคน ผูเรียนเปนผูสรางความรู โดยการเชื่อมโยงระหวางสิ่งที่ไดเรียนรูจากบทเรียนใหมกับความรูหรือประสบการณเดิมที่มีอยู ทฤษฎีนี้มีความเชื่อวา ผูเรียนทุกคนไดเรียนรูและมีการสั่งสมความรูความเขาใจเกี่ยวกับสิ่งตางๆ ติดตัวมากอน ทีจ่ ะเขาสูห อ งเรียน ซึง่ เปนการเรียนรูท เี่ กิดจากประสบการณและสิง่ แวดลอมรอบตัวผูเ รียนแตละคน ดังนัน้ การจัดกิจกรรม เสร�ม การเรียนการสอนในแตละหนวยการเรียนรู ผูสอนจะตองคํานึงถึง

4

1. ความรูเดิมของผูเรียน วิธีการสอนที่ดีจะตองเริ่มตนจากจุดที่วา ผูเ รียนมีความรูอ ะไรมาบาง แลวจึงใหความรู หรือประสบการณใหม เพื่อตอยอดจาก ความรูเดิม นําไปสูการสรางความรู ความเขาใจใหม

2. ความรูเดิมของผูเรียนถูกตองหรือไม ผูส อนตองปรับเปลีย่ นความรูค วามเขาใจเดิม ของผูเรียนใหถูกตอง และเปนพฤติกรรม การเรียนรูใ หมทมี่ คี ณุ คาตอผูเรียน เพื่อสราง เจตคติหรือทัศนคติที่ดีตอการเรียนรู สิ่งเหลานั้น

3. ผูเรียนสรางความหมายสําหรับตนเอง ผูสอนตองสงเสริมใหผูเรียนนําความรู ความเขาใจที่เกิดขึ้นไปลงมือปฏิบัติ เพื่อขยายความรูใหลึกซึ้งและมีคุณคา ตอตัวผูเรียนมากที่สุด

แนวคิด Constructivism เนนใหผูเรียนสรางความรูโดยผานกระบวนการคิดและความอยากรูของตนเอง โดยมีผูสอนเปนผูสรางบรรยากาศ

การเรียนรูและกระตุนความสนใจ คอยจัดสถานการณใหผูเรียนเกิดความขัดแยงทางความคิดระหวางประสบการณเดิมกับประสบการณ ความรูใ หม เพือ่ กระตนุ ใหผเู รียนเชือ่ มโยงความรู ความคิด กับประสบการณทมี่ อี ยูเ ดิม แลวสังเคราะหเปนความรูห รือแนวคิดใหมๆ ไดดว ยตนเอง

3 การบูรณาการกระบวนการคิด การเรียนรูของผูเรียนแตละคนจะเกิดขึ้นที่สมอง ซึ่งเปนอวัยวะที่ทําหนาที่รูคิดภายใตสภาพแวดลอมที่เอื้ออํานวย และไดรบั การกระตนุ จูงใจอยางเหมาะสม สอดคลองกับสภาพจิตใจและความตองการของผูเ รียนแตละคน การจัดกิจกรรม การเรียนรูและสาระการเรียนรูที่สอดคลองกับความสนใจและมีความหมายตอผูเรียน จะชวยกระตุนใหสมองของผูเรียน สามารถรับรูและเรียนรูไดอยางมีประสิทธิภาพตามขั้นตอนการทํางานของสมอง ดังนี้ 1. สมองจะเรียนรูและสืบคน โดยการสังเกต คนหา ซักถาม และทดลอง ปฏิบัติ จนทําใหคนพบความรูความเขาใจ ไดอยางรวดเร็ว

2. สมองจะแยกแยะคุณคาของสิ่งตางๆ โดยการตัดสินใจวิพากษวิจารณ แสดง ความคิดเห็น ยอมรับหรือตอตานตาม อารมณความรูสึกที่เกิดขึ้นในขณะที่เรียนรู

3. สมองจะประมวลเนื้อหาสาระ โดยการสรุปเปนความคิดรวบยอดจาก เรื่องราวที่ไดเรียนรูใหมนําไปผสมผสานกับ ความรูห รือประสบการณเดิมทีถ่ กู จัดเก็บอยูใ น สมอง ผานการกลัน่ กรองเพือ่ สังเคราะหเปน ความรูค วามเขาใจใหมๆ หรือเปนทัศนคติใหม ที่จะเก็บบรรจุไวในสมองของผูเรียน

การเรียนรูที่มีประสิทธิภาพจึงตองเปนการเรียนรูที่เกิดจากกระบวนการคิดของผูเรียน เพราะการเรียนรูจะเกิดขึ้น เมื่อสมองรูคิด และตองเปนการคิดไดครบถวนตามขั้นตอนการทํางานของสมองผูเรียน โดยเริ่มตนจาก 1. ระดับการคิดพื้นฐาน ไดแก การสังเกต การจําแนก การคาดคะเน การสื่อความหมาย การรวบรวมขอมูล การสรุปผล เปนตน

คูม อื ครู

2. ระดับลักษณะการคิด ไดแก การคิดกวาง คิดลึกซึ้ง คิดไกล คิดหลากหลาย คิดคลอง คิดอยางมีเหตุผล เปนตน

3. ระดับกระบวนการคิด ไดแก กระบวนการคิดอยางมีวิจารณญาณ กระบวนการแกปญหา กระบวนการ คิดสรางสรรค กระบวนการคิดสังเคราะห เปนตน


5Es การจัดกิจกรรมตามขั้นตอนวัฏจักรการเรียนรู 5Es ขั้นตอนการสอนที่สัมพันธกับขั้นตอนการคิดและการทํางานทางสมองของผูเรียนที่นิยมใชอยางแพรหลาย คือ วัฏจักรการเรียนรู 5Es ซึ่งผูจัดทําคูมือครูไดนํามาใชเปนแนวทางออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนในแตละหนวย ตามลําดับขั้นตอนการเรียนรู ดังนี้ ขั้นที่ 1

กระตุนความสนใจ

(Engage)

เสร�ม

5

เปนขั้นที่ผูสอนนําเขาสูบทเรียน เพื่อกระตุนความสนใจของผูเรียนดวยเรื่องราวหรือเหตุการณที่นาสนใจโดยใชเทคนิควิธีการ และคําถามทบทวนความรูหรือประสบการณเดิมของผูเรียน เพื่อเชื่อมโยงผูเรียนเขาสูความรูของบทเรียนใหม ชวยใหผูเรียนสามารถ สรุปความสําคัญหัวขอและสาระการเรียนรูของบทเรียนได จึงเปนขั้นตอนการสอนที่สําคัญ เพราะเปนการเตรียมความพรอมและสราง แรงจูงใจใฝเรียนรูแกผูเรียน

ขั้นที่ 2

สํารวจคนหา

(Explore)

เปนขัน้ ทีผ่ สู อนเปดโอกาสใหผเู รียนลงมือศึกษา สังเกต หรือรวมมือกันสํารวจ เพือ่ ใหเห็นขอบขายของประเด็นหรือปญหา รวมถึง วิธีการศึกษาคนควา การรวบรวมขอมูลความรูที่จะนําไปสูการสรางความเขาใจประเด็นหรือปญหานั้นๆ เมื่อผูเรียนทําความเขาใจใน ประเด็นหรือปญหาที่จะศึกษาคนควาอยางถองแทแลว ก็ลงมือปฏิบัติเพื่อเก็บรวบรวมขอมูลความรู สํารวจตรวจสอบ โดยวิธีการตางๆ เชน สัมภาษณ ทดลอง อานคนควาขอมูลจากเอกสาร แหลงขอมูลตางๆ จนไดขอมูลความรูที่เกี่ยวของกับประเด็นหรือปญหาที่ศึกษา

ขั้นที่ 3

อธิบายความรู

(Explain)

เปนขั้นที่ผูสอนมีปฏิสัมพันธกับผูเรียน เชน ใหการแนะนํา ตั้งคําถามกระตุนใหคิด เพื่อใหผูเรียนคนหาคําตอบ และนําขอมูล ความรูจากการศึกษาคนควาในขั้นที่ 2 มาวิเคราะห สรุปผล และนําเสนอผลที่ไดศึกษาคนความาในรูปแบบสารสนเทศตางๆ เชน เขียนแผนภูมิ ผังมโนทัศน เขียนความเรียง เขียนรายงาน เปนตน ในขั้นตอนนี้ฝกใหผูเรียนใชสมองคิดวิเคราะหและสังเคราะห อยางเปนระบบ

ขั้นที่ 4

ขยายความเขาใจ

(Expand)

เปนขั้นที่ผูสอนเลือกใชเทคนิควิธีสอนตางๆ ที่สงเสริมใหผูเรียนนําความรูที่เกิดขึ้นไปคิดคนสืบคนตอๆ ไป เพื่อพัฒนาทักษะ การเรียนรูและการทํางานรวมกันเปนกลุม ระดมสมองเพื่อคิดสรางสรรครวมกัน ผูเรียนสามารถนําความรูที่สรางขึ้นใหมไปเชื่อมโยง กับประสบการณเดิมโดยนําขอสรุปทีไ่ ดไปใชอธิบายเหตุการณตา งๆ หรือนําไปปฏิบตั ใิ นสถานการณใหมๆ ทีเ่ กีย่ วของกับชีวติ ประจําวัน ของตนเอง เพื่อขยายความรูความเขาใจใหกวางขวางยิ่งขึ้น ในขั้นตอนนี้ฝกสมองของผูเรียนใหสามารถคิดริเริ่มสรางสรรคอยางมี คุณภาพ เสริมสรางวิสัยทัศนใหกวางไกลออกไป

ขั้นที่ 5

ตรวจสอบผล

(Evaluate)

เปนขัน้ ทีผ่ สู อนประเมินมโนทัศนของผูเ รียน โดยตรวจสอบจากความคิดทีเ่ ปลีย่ นไปและความคิดรวบยอดทีเ่ กิดขึน้ ใหม ตรวจสอบ ทักษะ กระบวนการปฏิบัติ การแกปญหา การตอบคําถามรวบยอด หรือการเคารพความคิดหรือยอมรับเหตุผลของคนอื่น เพื่อการ สรางสรรคความรูร ว มกัน ผูเ รียนสามารถประเมินผลการเรียนรูข องตนเอง เพือ่ สรุปผลวามีความรูอ ะไรเพิม่ ขึน้ มาบาง เกิดความเขาใจ มากนอยเพียงใด และจะนําความรูเหลานั้นไปประยุกตใชในการเรียนรูเรื่องอื่นๆ หรือในชีวิตประจําวันไดอยางไร ผูเรียนจะเกิดเจตคติ และเห็นคุณคาของตนเองจากผลการเรียนรูที่เกิดขึ้น ซึ่งเปนการเรียนรูที่มีความสุขอยางแทจริง

การจัดกิจกรรมการเรียนรูตามขั้นตอนวัฏจักรการเรียนรู 5Es จึงเปนรูปแบบการเรียนการสอนที่เนนผูเรียน เปนสําคัญอยางแทจริง เพราะสงเสริมใหผูเรียนไดเรียนรูตามขั้นตอนของกระบวนการสรางความรูดวยตนเอง และ ฝกฝนใหใชกระบวนการคิดและกระบวนการกลุมอยางชํานาญ กอใหเกิดทักษะชีวิต ทักษะการทํางาน และทักษะการ เรียนรูที่มีประสิทธิภาพ สงผลตอการยกระดับผลสัมฤทธิ์ของผูเรียน ตามเปาหมายของการปฏิรูปการศึกษาทศวรรษที่ 2 (พ.ศ. 2552-2561) ทุกประการ คูม อื ครู


O-NET การเพิ่มผลสัมฤทธิ์ O-NET

การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามขั้นตอนวัฏจักรการเรียนรู 5Es ในแตละหนวยการเรียนรู ทางผูจัดทํา จะเสนอแนะวิธีสอน รูปแบบกิจกรรมการเรียนรู พรอมทั้งออกแบบเครื่องมือวัดและประเมินผลที่สอดคลองกับตัวชี้วัด และสาระการเรียนรูแกนกลางไวทุกขั้นตอน โดยยึดหลักสําคัญ คือ หลักของการวัดและประเมินผล เสร�ม

6

1. การวัดและประเมินผลทุกครั้ง ควรนําผลมาปรับปรุงพัฒนาผูเรียน เปนรายบุคคล

2. การวัดและประเมินผลมี เปาหมาย เพื่อพัฒนาการเรียนรู ของผูเรียนจนเต็มศักยภาพ

3. การนําผลการวัดและประเมินผล ทุกครั้งมาวางแผนปรับปรุงกิจกรรม การเรียนการสอน การเลือกเทคนิค วิธีสอน และสื่อการเรียนรูให เหมาะสมกับสภาพจริงของผูเรียน

การทดสอบผูเรียน 1. การใชขอสอบอัตนัย เนนการอาน การคิดวิเคราะห และการเขียนเพิ่มมากขึ้น 2. การใชคําถามกระตุนการคิดควบคูกับการทําขอสอบที่เนนการคิดอยางตอเนื่องตามลําดับกิจกรรมการเรียนรู และตัวชี้วัด 3. การทดสอบตองดําเนินการทั้งกอนเรียน ระหวางเรียน และหลังเรียน การทดสอบควรใชขอสอบทั้งชนิดปรนัยและ อัตนัย และเปนการทดสอบเพื่อประเมินผลการเรียนของผูเรียนแตละคน เพื่อการสอนซอมเสริมใหบรรลุตัวชี้วัด ไดครบถวน 4. การสอบกลางภาค (ถามี) ควรนําแบบฝกหัดหรือขอสอบทีน่ กั เรียนสวนใหญไมสามารถตอบไดหรือไมครบถวนชัดเจน มา สรางเปนแบบทดสอบอีกครัง้ เพือ่ ตรวจสอบความรูค วามเขาใจทีถ่ กู ตอง และประเมินความกาวหนาของผูเ รียนแตละคน 5. การสอบปลายภาคเรียนเพื่อวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามตัวชี้วัดที่สําคัญ ควรออกขอสอบใหมีลักษณะเดียวกับ ขอสอบ O-NET โดยเนนการคิดวิเคราะห สังเคราะห เชื่อมโยงประยุกตใช เพื่อสรางความคุนเคย และฝกฝน วิธีการทําขอสอบดวยความมั่นใจ 6. การนําผลการทดสอบของผูเรียนมาวิเคราะห โดยผลการสอบกอนการเรียนตองสามารถพยากรณผลการสอบ กลางภาค และผลการสอบกลางภาคตองทํานายผลการสอบปลายภาคของผูเ รียนแตละคน เพือ่ ประเมินพัฒนาการ ความกาวหนาของผูเรียนเปนรายบุคคล 7. ผลการทดสอบปลายป ปลายภาค ตองมีคาเฉลี่ยสอดคลองกับคาเฉลี่ยของการสอบ NT ที่เขตพื้นที่การศึกษา จัดสอบ รวมทั้งคาเฉลี่ยของการสอบ O-NET ชวงชั้นที่สอดคลองครอบคลุมมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดสําคัญ เพือ่ สะทอนประสิทธิภาพของครูผสู อนในการออกแบบการเรียนรูแ ละประกันคุณภาพผูเ รียนทีต่ รวจสอบผลไดชดั เจน การจัดการเรียนการสอนในแตละหนวยการเรียนรู ตองใหผูเรียนไดสั่งสมความรู ความเขาใจตามลําดับขั้นตอน ของกิจกรรมในวัฏจักรการเรียนรู 5Es เพื่อใหผูเรียนไดเติมเต็มองคความรูอยางตอเนื่อง จนสามารถปฏิบัติชิ้นงานหรือ ภาระงานรวบยอดของแตละหนวย ผานเกณฑประกันคุณภาพในระดับที่นาพึงพอใจ เพื่อรองรับการประเมินภายนอกจาก สมศ. ตลอดเวลา คูม อื ครู


ASEAN การเรียนรูสูประชาคมอาเซียน เพื่ออํานวยความสะดวกแกครูผูสอนในการจัดกิจกรรมการเรียนรูบูรณาการอาเซียนศึกษา ผูจัดทําไดวิเคราะห มาตรฐานการเรียนรู และตัวชี้วัดที่มีสาระการเรียนรูสอดคลองกับองคความรูเกี่ยวกับประชาคมอาเซียนในแงมุมตางๆ ครอบคลุมทัง้ ประชาคมการเมืองและความมัน่ คงอาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และประชาคมสังคมและวัฒนธรรม อาเซียน เพื่อสงเสริมการเรียนรูใหผูเรียนเกิดความตระหนัก มีความรูความเขาใจเหมาะสมกับระดับชั้นและกลุมสาระ การเรียนรู โดยเสนอแนะวิธีการจัดกิจกรรมบูรณาการเนื้อหาสาระตางๆ ที่เปนประโยชนตอผูเรียนและเปนการชวย เตรียมความพรอมผูเรียนทุกคนที่จะกาวเขาสูการเปนสมาชิกของประชาคมอาเซียนไดอยางมั่นใจตามขอตกลงปฏิญญา ชะอํา-หัวหิน วาดวยความรวมมือดานการศึกษาเพื่อบรรลุเปาหมายประชาคมอาเซียนที่เอื้ออาทรและแบงปน จึงกําหนด เปนนโยบายใหกระทรวงศึกษาธิการจัดการเรียนรูเตรียมความพรอมผูเรียนเขาสูประชาคมอาเซียนภายในป พ.ศ. 2558 ตามแนวปฏิบัติที่สําคัญ ดังนี้

เสร�ม

7

การจัดการเรียนรูส ู ประชาคมการเมืองและความมัน่ คงอาเซียน 1. การสรางความรูความเขาใจ และตระหนักถึงความสําคัญของ กฎบัตรอาเซียน และความรวมมือ ของ 3 เสาหลัก ซึง่ กฎบัตรอาเซียน ในขณะนี้มีสถานะเปนกฎหมายที่ ประเทศสมาชิกจะตองปฏิบัติตาม หลักการที่กําหนดไวเพื่อใหบรรลุ เปาหมายของกฎบัตรมาตราตางๆ

2. การสงเสริมหลักการ ประชาธิปไตยและการสราง สิ่งแวดลอมประชาธิปไตย เพื่อการอยูรวมกันอยางกลมกลืน ภายใตวิถีชีวิตอาเซียนที่มีความ หลากหลายดานสังคมและ วัฒนธรรม

4. การตระหนักในคุณคาของ สายสัมพันธทางประวัติศาสตร และมรดกทางวัฒนธรรมที่มี พัฒนาการรวมกัน เพื่อเชื่อม อัตลักษณและสรางจิตสํานึก ในการเปนประชากรของประชาคม อาเซียนรวมกัน

3. การสงเสริมการศึกษาดาน สิทธิมนุษยชน เพื่อสรางประชาคม อาเซียนใหเปนประชาคมเพื่อ ประชาชนอยางแทจริง สามารถ อยูรวมกันไดบนพื้นฐานการเคารพ ในคุณคาของศักดิ์ศรีแหงความ เปนมนุษยเทาเทียมกัน

5. การสงเสริมสันติภาพ ความ มั่นคง และความปรองดองในสังคม ทั้งระดับประเทศและภูมิภาคของ อาเซียนบนพื้นฐานสันติวิธีและการ อยูรวมกันดวยขันติธรรม

คูม อื ครู


การจัดการเรียนรูส ู ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

เสร�ม

8

1. การพัฒนาทักษะการทํางาน เพื่อเสริมสรางผูเรียนใหมีทักษะ วิชาชีพที่จําเปนสอดคลองกับ ความตองการของตลาดแรงงาน และสถานประกอบการในอาเซียน สามารถเทียบโอนผลการเรียน และการทํางานตามมาตรฐานฝมือ แรงงานในภูมิภาคอาเซียน

2. การเสริมสรางวินัย ความรับผิดชอบ และเจตคติรักการทํางาน สามารถพึ่งพาตนเอง มีทักษะชีวิต ดํารงชีวิตอยางมีความสุข เห็นคุณคา และภูมิใจในตนเอง ในฐานะที่เปนพลเมืองไทยและ อาเซียน

3. การเรียนรูเพื่อพัฒนาตนเอง อยางตอเนื่องตลอดชีวิต ใหมี ทักษะการทํางานตามมาตรฐาน อาชีพ และคุณวุฒิของวิชาชีพสาขา ตางๆ เพื่อรองรับการเตรียมเคลื่อน ยายแรงงานมีฝมือและการเปน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนที่ เขมแข็ง เพื่อสรางขีดความสามารถ ในการแขงขันในเวทีโลก

การจัดการเรียนรูส ู ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน 1. การเสริมสรางความรวมมือ ในลักษณะสังคมที่เอื้ออาทร ของประชากรอาเซียน โดยยึด หลักการสําคัญ คือ ความงดงาม ของประชาคมอาเซียนมาจาก ความแตกตางและหลากหลายทาง วัฒนธรรมที่ลวนแตมีคุณคาตอ มรดกทางวัฒนธรรมของอาเซียน ซึ่งประชาชนทุกคนตองอนุรักษ สืบสานใหยั่งยืน

2. การเสริมสรางคุณลักษณะ ของผูเรียนใหเปนพลเมืองอาเซียน ที่มีศักยภาพในการกาวเขาสู ประชาคมอาเซียนอยางมั่นใจ เปนผูที่มีสุขภาพสมบูรณแข็งแรง มีทักษะการสื่อสาร ทักษะการ ทํางาน ทักษะทางสังคม สามารถ ทํางานรวมกับผูอื่นไดอยาง สรางสรรค และมีองคความรู เกี่ยวกับอาเซียนที่จําเปนตอการ ดํารงชีวิตอยางมีคุณภาพ

4. การสงเสริมการเรียนรูดาน ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี วิถชี วี ติ ความเปนอยูข องเพือ่ นบาน ในอาเซียน เพื่อสรางจิตสํานึกของ ความเปนประชาคมอาเซียนและ ตระหนักถึงหนาที่ของการเปน พลเมืองอาเซียนรวมกัน

3. การสงเสริมการเรียนรูภาษา อังกฤษเพื่อการสื่อสารและการ ทํางานตามมาตรฐานอาชีพที่ กําหนดและสนับสนุนการเรียนรู ภาษาอาเซียนและภาษาเพื่อนบาน เพื่อชวยเสริมสรางสัมพันธภาพทาง สังคม และการอยูรวมกันอยางสันติ ทามกลางความหลากหลายทาง วัฒนธรรม

5. การสรางความรูและความ ตระหนักเกี่ยวกับดานสิ่งแวดลอม ปญหาและผลกระทบตอคุณภาพ ชีวิตของประชากรในภูมิภาค รวมทั้งแนวทางการพัฒนาอยาง ยั่งยืน ใหเปนมรดกสืบทอดแก พลเมืองอาเซียนในรุนหลังตอๆ ไป

กระทรวงศึกษาธิการจึงประกาศนโยบายการปฏิรูปการศึกษาทศวรรษที่ 2 (พ.ศ. 2552-2561) เพื่อเรงพัฒนาเด็ก และเยาวชนไทยใหเปนทรัพยากรมนุษยของชาติที่มีทักษะและความชํานาญ พรอมเผชิญกับความเปลี่ยนแปลงและ การแขงขันทั้งในภูมิภาคอาเซียนและภูมิภาคอื่นๆ ของสังคมโลก ทั้งนี้ผูบริหารสถานศึกษา ครูผูสอน และผูปกครอง ควรรวมมือกันอยางใกลชิดในการดูแลชวยเหลือผูเรียนและจัดประสบการณการเรียนรูเพื่อพัฒนาผูเรียนจนเต็มศักยภาพ เพื่อกาวเขาสูการเปนพลเมืองอาเซียนอยางมีเกียรติภูมิและศักดิ์ศรีความเปนมนุษยของตน คณะผูจัดทํา คูม อื ครู


ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง สาระที่ 1

การงานอาชีพและเทคโนโลยี (เฉพาะชัน้ ม.1)*

การดํารงชีวิตและครอบครัว

มาตรฐาน ง 1.1 เขาใจในการทํางาน มีความคิดสรางสรรค มีทกั ษะกระบวนการทํางาน ทักษะการจัดการ ทักษะกระบวนการ แกปญหา ทักษะการทํางานรวมกัน และทักษะการแสวงหาความรู มีคุณธรรมและลักษณะนิสัยในการ ทํางาน มีจิตสํานึกในการใชพลังงาน ทรัพยากรและสิ่งแวดลอม เพื่อการดํารงชีวิตและครอบครัว ชั้น

ตัวชี้วัด

ม.1 1. วิเคราะหขั้นตอนการทํางานตาม กระบวนการทํางาน 2. ใชกระบวนการกลุมในการทํางาน ดวยความเสียสละ 3. ตัดสินใจแกปญหาการทํางาน อยางมีเหตุผล

สาระการเรียนรูแกนกลาง

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

• ขั้นตอนการทํางาน เปนสวนหนึ่งของ การปฏิบัติงานตามทักษะกระบวนการ ทํางานโดยทําตามลําดับขั้นตอนที่ วางแผนไว เชน - การใชอุปกรณอํานวยความสะดวก ในการทํางานบาน - การจัดและตกแตงหอง • กระบวนการกลุม เปนวิธีการทํางาน ตามขั้นตอน คือ การเลือกหัวหนากลุม กําหนดเปาหมาย วางแผน แบงงานตาม ความสามารถ ปฏิบัติตามบทบาทหนาที่ ประเมินผลและปรับปรุงงาน เชน - การเตรียม ประกอบ จัด ตกแตง และบริการอาหาร - การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร - การประดิษฐของใช ของตกแตง จากวัสดุในทองถิ่น - ความเสียสละเปนลักษณะนิสัย ในการทํางาน • การแกปญหาในการทํางานเพื่อใหเกิด ความคิดหาวิธีการแกปญหาตางๆ เชน - การจัดสวนในภาชนะ - การซอมแซมอุปกรณ และเครื่องมือ เครื่องใช

• หนวยการเรียนรูที่ 1 เรียนรูก ระบวนการทํางาน • หนวยการเรียนรูที่ 2 การดูแลรักษาบาน • หนวยการเรียนรูที่ 3 อาหารกับการดํารงชีวติ • หนวยการเรียนรูที่ 4 การประดิษฐของใชของตกแตง จากวัสดุทอ งถิน่

เสร�ม

9

_________________________________ * สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, กระทรวงศึกษาธิการ. ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง กลุมสาระการเรียนรู การงานอาชีพและเทคโนโลยี. (กรุงเทพมหานคร : ชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย, 2551), หนา 6-50.

คูม อื ครู


สาระที่ 4

การอาชีพ

มาตรฐาน ง 4.1 เขาใจ มีทกั ษะทีจ่ าํ เปน มีประสบการณ เห็นแนวทางในอาชีพได ใชเทคโนโลยีเพือ่ พัฒนาอาชีพ มีคณุ ธรรม และมีิเจตคติที่ดีตออาชีพ ชั้น

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

ม.1 1. อธิบายแนวทางการเลือกอาชีพ

เสร�ม

10

คูม อื ครู

• แนวทางการเลือกอาชีพ - กระบวนการตัดสินใจเลือกอาชีพ 2. มีเจตคติที่ดีตอการประกอบอาชีพ • เจตคติที่ดีตอการประกอบอาชีพ - การสรางรายไดจากการประกอบ อาชีพสุจริต 3. เห็นความสําคัญของการสรางอาชีพ • ความสําคัญของการสรางอาชีพ - การมีรายไดจากอาชีพที่สรางขึ้น - การเตรียมความพรอม

• หนวยการเรียนรูที่ 5 โลกของอาชีพ


คําอธิบายรายวิชา รายวิชา การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 รหัสวิชา ง…………………………………

กลุมสาระการเรียนรู การงานอาชีพและเทคโนโลยี ภาคเรียนที่ 1-2 เวลา 40 ชั่วโมง/ป

ศึกษากระบวนการทํางาน เกี่ยวกับการวิเคราะหขั้นตอนการทํางาน กระบวนการกลุมในการทํางาน การแกปญหาในการทํางาน ลักษณะนิสัยในการทํางานดวยความเสียสละ แนวทางในการเลือกอาชีพ เจตคติ เสร�ม 11 ที่ดีตอการประกอบอาชีพ และความสําคัญของการสรางอาชีพ วิเคราะหและวางแผนขัน้ ตอนการทํางานตามกระบวนการทํางานในชีวติ ประจําวันเกีย่ วกับงานบาน งาน เกษตร งานชาง งานประดิษฐ งานธุรกิจ หรืองานอื่นๆ และแนวทางการประกอบอาชีพในอนาคต ลงมือปฏิบัติงานตามลําดับขั้นตอนโดยใชกระบวนการกลุม การตัดสินใจแกปญหา การทํางานอยางมี เหตุผล นําเสนอผลงานและแนวทางการประกอบอาชีพไดอยางสรางสรรค เพือ่ ใหเกิดความรู ความเขาใจเกีย่ วกับขัน้ ตอนการทํางาน กระบวนการทํางาน โดยใชกระบวนการกลุม ดวยความเสียสละ และการแกปญ หาอยางมีเหตุผล มองการณไกลและเห็นแนวทางในการประกอบอาชีพ มีเจตคติ ที่ดีตอการประกอบอาชีพ ตัวชี้วัด ง 1.1 ง 4.1

ม.1/1 ม.1/1

ม.1/2 ม.1/3 ม.1/2 ม.1/3 รวม 6 ตัวชี้วัด

คูม อื ครู


ตาราง

วิเคราะหมาตรฐานการเรียนรูแ ละตัวชีว้ ดั รายวิชา การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.1

คําชี้แจง : ใหผูสอนใชตารางนี้ตรวจสอบความสอดคลองของเนื้อหาสาระการเรียนรูในหนวยการเรียนรูกับมาตรฐาน การเรียนรูและตัวชี้วัดชั้นป

หนวยการเรียนรู

1

สาระที่ 1 มาตรฐาน ง 1.1 ตัวชี้วัด 2

หนวยการเรียนรูที่ 1 : เรียนรูกระบวนการทํางาน

หนวยการเรียนรูที่ 2 : การดูแลรักษาบาน

หนวยการเรียนรูที่ 3 : อาหารกับการดํารงชีวิต

หนวยการเรียนรูที่ 4 : งานประดิษฐของใชของ ตกแตงจากวัสดุทองถิ�น

มาตรฐานการเรียนรู และตัวชี้วัด

เสร�ม

12

หนวยการเรียนรูที่ 5 : โลกของอาชีพ

คูม อื ครู

3

1

สาระที่ 4 มาตรฐาน ง 4.1 ตัวชี้วัด 2

3


กระตุน ความสนใจ กระตุEngage นความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Engage

Explore

Explain

Expand

Evaluate

เปาหมายการเรียนรู

1. วิเคราะหขั้นตอนการทํางานไดตาม กระบวนการทํางานโดยกระบวนการกลุม ดวยความเสียสละ 2. ตัดสินใจแกปญหาการทํางานอยางมีเหตุผล

สมรรถนะของผูเรียน 1. 2. 3. 4.

ความสามารถในการสื่อสาร ความสามารถในการคิด ความสามารถในการแกปญหา ความสามารถในการใชทักษะชีวิต

คุณลักษณะอันพึงประสงค 1. ใฝเรียนรู 2. มุงมั่นในการทํางาน

หนวยการเรียนรูที่ ñ

กระตุน ความสนใจ

เรียนรูกระบวนการทํางาน ตัวชี้วัด ■

วิเคราะหขนั้ ตอนการทํางานตามกระบวนการทํางาน (ง ๑.๑ ม.๑/๑)

ใชกระบวนการกลมุ ในการทํางานดวยความเสียสละ (ง ๑.๑ ม.๑/๒)

ตัดสินใจแกปญหาการทํางานอยางมีเหตุผล (ง ๑.๑ ม.๑/๓)

สาระการเรียนรูแกนกลาง ■

ทักษะกระบวนการทํางาน

กระบวนกลุมในการทํางาน

การแกปญหาในการทํางานอยางมีเหตุผล

การเสริมสรางลักษณะนิสัยในการทํางาน ดวยความเสียสละ

ในการทํางานใหประสบความสําเร็จ

อย า งมี คุ ณ ภาพนั้ น นอกจากการมี ความรู  ใ นงานที่ จ ะต อ งดํ า เนิ น การ มี วัสดุอป ุ กรณทจี่ าํ เปนตองใชงาน ตลอดจน มี ใ จรั ก การทํ า งานแล ว ยั ง ต อ งมี ทั ก ษะ กระบวนการทํางาน รูจักเลือกใชทักษะการ ทํางานตางๆ ไดอยางเหมาะสม ขณะเดียวกัน การทํางานใหบรรลุเปาหมายจะตองรูขั้นตอน การทํ า งาน รู  จั ก การวางแผน คิ ด วิ เ คราะห แกปญหา ประเมินผลงาน เปนตน

Engage

ครูใหนักเรียนดูภาพคนกําลังทํางานกลุม จากนั้นตั้งคําถาม เพื่อกระตุนความสนใจของ นักเรียนวา • นักเรียนคิดวาการทํางานกลุมหรือทํางาน รายบุคคล การทํางานแบบใดที่นักเรียน ชอบที่สุด • นักเรียนบอกถึงเหตุผลที่ทําใหชอบทํางาน กลุม หรือทํางานรายบุคคล

เกร็ดแนะครู ครูควรจัดกิจกรรมการเรียนรู เพื่อใหนักเรียนมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับ กระบวนการทํางานอยางเปนขั้นตอน สามารถทํางานกลุมดวยความเสียสละ และ ตัดสินใจแกปญหาการทํางานอยางมีเหตุผล โดยจัดกิจกรรม ดังนี้ • การตั้งประเด็นใหนักเรียนรวมกันอภิปรายเกี่ยวกับกระบวนการทํางาน • ใหนักเรียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับแนวทางการทํางานเปนกลุม • ใหนักเรียนยกตัวอยางปญหาในการทํางานและบอกแนวทางในการแกปญหา

คูมือครู

1


กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Engage

Explore

Explain

Expand

Evaluate

กระตุEngage นความสนใจ

Exploreนหา สํารวจค

กระตุน ความสนใจ

Engage

ครูสนทนากับนักเรียนโดยการใชคําถาม กระตุนความสนใจ • นักเรียนมีวิธีในการทํางานอยางไรบาง • ในการทํางานนักเรียนเคยประสบกับอุปสรรค อะไรบาง

สํารวจคนหา

๑. ทักษะกระบวนการทํ างาน 1

ทักษะกระบวนการทํางาน หมายถึง เทคนิควิธีการตางๆ ที่จะนําไปใชในการปฏิบัติงาน ซึ่งการที่เราจะเกิดทักษะนี้ได ก็จะตองลงมือทํางานดวยตนเอง เพื่อจะไดเกิดประสบการณ ใน การเรียนรู และตองหมัน่ ฝกฝนทําอยูเ สมอจนเกิดความเชีย่ วชาญ ทัง้ นีท้ กั ษะกระบวนการทํางานจะมี ขั้นตอน ดังนี้

Explore

๑.๑ การวิเคราะหงาน

1. ครูใหนักเรียนศึกษาเกี่ยวกับทักษะ ความสําคัญ หลักการ และขัน้ ตอนในกระบวนการทํางานตางๆ ใหสําเร็จจากหนังสือเรียน หนา 2-6 หรือศึกษา จากแหลงเรียนรูตางๆ เพิ่มเติม เชน หนังสือ หองสมุด และขอมูลทางอินเทอรเน็ต เปนตน 2. ครูใหนักเรียนศึกษา คนควา เกี่ยวกับหลักการ ของกระบวนการทํางานรวมกับผูอื่น หรืองาน กลุมที่สามารถนํามาปฏิบัติเพื่อใหงานประสบ ความสําเร็จ

อธิบายความรู

กอนการลงมือทํางานใดก็ตาม นักเรียนจะตองรูจักทําการวิเคราะหวา งานที่จะตอง ปฏิบัติเปนงานอะไร มีเปาหมายและวัตถุประสงค ในการจัดทําอยางไร ระดับความยากงาย ของงาน ระยะเวลาในการจัดทํา วัสดุอุปกรณที่จะใช เปนงานที่จัดทําเปนรายบุคคล หรือควรทํา เปนกลุม การวิเคราะหงานจะชวยทําใหนกั เรียนมีความรู ความเขาใจในงานทีจ่ ะทํา เปนฐานขอมูล เบื้องตนที่นักเรียนจะนําไปใชในการวางแผนการทํางานในลําดับตอไป 2

๑.๒ การวางแผนการทํางาน

เมื่ อ เราทราบแล วว า จะต อ งทํ า งานอะไร ขั้ น ตอนต อ ไปก็ คื อ การวางแผนการทํางาน ซึ่งเปนขั้นตอนที่มีความสําคัญมาก แผนการทํางาน ที่ดีจะทําใหงานสําเร็จตามเวลา ชวยประหยัดคาใชจาย ไมตองเสียเวลามา แกไขงาน การวางแผนการทํางานประกอบดวยแนวคิดหรือแบบรางงานที่ จะทําใหผูที่รับผิดชอบ (กรณีที่ทําเปนทีม) รูเปาหมายที่ตองการ ระยะเวลาที่ ตองการใหงานเสร็จ ตลอดจนคาใชจายตางๆ ในการทํางาน

Explain

ครูใหนักเรียนชวยกันอภิปรายและตอบคําถาม เกี่ยวกับทักษะในกระบวนการทํางาน เพื่อทําใหงาน สําเร็จไปไดดวยดี (แนวตอบ ในกระบวนการทํางานที่ดีควรมีการ วางแผนการทํางาน เพื่อใหงานสําเร็จเปนขั้นตอน และควรรูวาขั้นตอนใดมีความสําคัญ ซึ่งจะทําให งานสําเร็จตามเปาหมายที่ไดวางแผนไวเบื้องตน ซึ่งจะชวยใหประหยัดเวลาในการแกไขงาน)

๑.๓ การปฏิบัติงานตามลําดับขั้นตอน

เมื่อไดวางแผนงานแลว เราตองปฏิบัติงานตามลําดับขั้นตอนทีละ ขั้นตอน การไมจัดลําดับขั้นตอนการทํางาน จะมีผลทําใหอาจตองมาเสียเวลาใน การแกไขงานภายหลัง ควบคุมเวลาในการทํางานไมได การปฏิบัติตามขั้นตอนยัง มีผลตอความปลอดภัยของผูทํางานอีกดวย

๑.๔ ประเมินผลการทํางาน

ภายหลั ง การทํ า งานเสร็ จ แล ว สิ่ ง หนึ่ ง ที่ จ ะช ว ยพั ฒ นาทั ก ษะ กระบวนการทํางาน คือ การประเมินผลงาน ซึง่ ประเด็นทีจ่ ะใชประเมิน เชน คุณภาพของงาน การทํางานตามแผนงาน การปฏิบัติตามลําดับขั้นตอนของการทํางาน ระยะเวลา และคาใชจายตางๆ ซึ่งจะชวยทําให กอนลงมือปฏิบัติงานจะตองมีการวิเคราะหและวางแผนกอน การทํางาน เพื่อความสําเร็จของงาน เราทราบถึงขอดีและขอบกพรองที่จะตองแกไข ในการทํางานครั้งตอไป

นักเรียนควรรู 1 ทักษะ (Skill) คือ ความรู ความสามารถในการทําสิ่งตางๆ ซึ่งเกิดจาก การศึกษาเรียนรู การฝกฝนอยางสมํ่าเสมอ ซึ่งเมื่อฝกทักษะมากๆ ทําใหเกิดความ เชี่ยวชาญ เชนเดียวกันกับการทํางานทุกประเภทจําเปนจะตองมีการฝกทักษะ ตางๆ เพื่อใหทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพ 2 การวางแผนการทํางาน การกําหนดแผนงานและกิจกรรมตางๆ อยางเปนระบบ และตามลําดับความสําคัญ รวมทั้งกําหนดชวงเวลาที่จะดําเนินการ ทรัพยากรที่นํา มาใช ตลอดจนการกําหนดตัวบุคคลผูรับผิดชอบในแตละหนาที่ไดอยางเหมาะสม จะชวยใหงานประสบความสําเร็จอยางมีคณ ุ ภาพ ทันเวลา ซึง่ การวางแผนการทํางาน มีความสําคัญที่จะทําใหงานเสร็จทันตามเวลามีประสิทธิภาพ ดังนั้นจึงควรฝก ทักษะการวางแผนการทํางานทุกครั้งที่ตองปฏิบัติงาน ไมวาจะเปนงานประเภทใด ก็ตาม

2

คูมือครู

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

กอนการลงมือทํางานใดๆ ก็ตาม สิ่งใดที่จะตองปฏิบัติเปนอันดับแรก แนวตอบ กอนลงมือทํางานสิง่ ทีต่ อ งปฏิบตั เิ ปนอันดับแรกก็คอื การวิเคราะห งานที่จะทํา เนื่องจากในการทํางานจะตองมีการวิเคราะหวางานที่ทําเปน อยางไร จะลงมือทําอยางไร เริ่มจากสิ่งใดกอน ใชสิ่งใดในการทํางาน เปนตน ขอมูลเหลานี้จะถูกนํามาวิเคราะหเพื่อวางแผนในการทํางาน ซึ่งเปนขั้นตอนถัดไป ในการทํางานควรทํางานตามลําดับขั้นตอนเพื่อให ผลของการทํางานออกมาดี และสําเร็จตามระยะเวลาที่กําหนดหรือตามที่ วางแผนไว


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

อธิบายความรู

Explain

1. ครูใหนักเรียนชวยกันอภิปรายถึงความสําคัญ ของกระบวนการทํางานกลุมที่จะนํามาใชใน การทํางาน เพือ่ ใหงานสําเร็จลุลว งไปไดดว ยดี และสามารถทํางานรวมกับผูอื่นไดอยางมี ความสุข 2. ครูตงั้ คําถามเพือ่ ใหนกั เรียนแสดงความคิดเห็น • กระบวนการทํางานกลุมที่ดีมีลักษณะ อยางไร (แนวตอบ การทํางานกลุมที่ดีตองมีการแบง หนาที่กันตามความรู ความสามารถของ แตละบุคคล ซึง่ สมาชิกจะชวยกันแกไขปญหา และมีการตัดสินใจรวมกัน โดยใชเสียงขาง มากในการตัดสิน) • การทํางานกลุม มีประโยชนอยางไรบาง (แนวตอบ การทํางานกลุมมีประโยชนหลายๆ ดาน เชน ชวยใหรูจักการทํางานรวมกับผูอื่น และทําใหรูจักปรับตัวในการเขาสังคม มีการ สื่อสารปฏิสัมพันธกับบุคคลอื่นๆ ทําใหได ผลงานที่ดี มีประสิทธิภาพ)

1

๒. กระบวนการกลุมในการทํางาน

ในการทํางานบางอยางเราไมสามารถที่จะทําคนเดียวได จะตองมีทีมงานและมีการทํางาน รวมกับผูอ นื่ ซึง่ ผลที่ไดนอกจากความสําเร็จของ งานแลวยังมีประโยชนตามมา คือ การไดสังคม 2 เพราะในการทํางานตองมีการสือ่ สารปฏิสมั พันธ แลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับบุคคลตางๆ ทั้ง ภายในกลุม นอกกลุม ทําใหรูจักสนิทสนมกัน มากขึ้น เปนการสรางสังคมแหงการทํางานที่ดี และเปนการพัฒนาความเปนประชาธิปไตยใน การทํางานรวมกัน

๒.๑ ความหมาย ความสําคัญ

กระบวนการกลุม (group process) ในการทํางานรวมกันเปนกลุม สมาชิกทุกคนจะตองชวยกัน หมายถึง บุคคลตั้งแตสองคนขึ้นไป ที่มีวัตถุ- ทํางานตามที่ไดรับมอบหมายใหดีที่สุด ประสงคในการทํางานรวมกัน แบงภาระหนาทีก่ ารทํางานตามความถนัดและความสามารถของแตละ บุคคล ชวยกันแกปญหาและตัดสินใจแกปญหารวมกัน โดยใชเสียงขางมากในการตัดสิน กระบวนการกลุม มีความสําคัญกับการทํางาน การสรางหรือผลิตชิน้ งาน และการซอมแซม ปรับปรุง แกไขชิ้นงานเปนอยางมาก เพราะวาการที่บุคคลหลายๆ คนมารวมกลุมกันทํางานยอม เกิดเปนพลัง ซึง่ เปนการนําพลังมาใชในทางทีด่ เี พือ่ การทํางาน ชวยสงเสริมศักยภาพในการทํางาน ของกลุม ทําใหเกิดการพัฒนากระบวนการกลุมในการสรางคน สรางงาน ดังนี้ ๑) การสรางคน คือ ไดพลังแหงความสามัคคีภายในกลุม เกิดความผูกพันทางจิตใจ เต็มใจชวยเหลือซึ่งกันและกันเปนอยางดี ทําใหเกิดผูนําในการทํางาน ๒) การสรางงาน คือ ไดงานหรือชิ้นงานตามวัตถุประสงคที่ตั้งไว เพราะการระดม พลังสมอง (brain storming) เปนการติดอาวุธทางปญญาใหกับกลุม ใหชวยกันทํางานใหสําเร็จได อยางถูกตอง รวดเร็วและปลอดภัย ตัวอยางที่แสดงใหเห็นถึงการใชกระบวนการกลุม เชน การสรางบานพักอาศัยหรือ อาคารสํานักงาน โดยในการสรางบานพักอาศัย ๑ หลัง ตองใชกระบวนการกลุม หรือคณะบุคคล เชน สถาปนิกเปนผูออกแบบ วิศวกรควบคุมการกอสรางใหเปนไปตามแบบทีว่ างไว หัวหนาชางเปน ผูทําหนาที่ในการรับงานมาเพื่อปฏิบัติและมอบหมายงานใหหัวหนาคนงานซึ่งทําหนาที่ควบคุม คนงานในการกอสราง คนงานทําหนาที่ลงมือปฏิบัติ เปนตน การทํางานที่ประสานกันอยางดีนี้ ก็จะไดอาคารสํานักงาน หรือบานที่อยูอาศัยสําเร็จตามที่ออกแบบไว ๓

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

ขอใดเปนผลที่ไดรับจากการทํางานกลุมมากที่สุด 1. ออม มีสีหนาเรียบเฉยอยูตลอดเวลา 2. เก เปนผูประสานงานไดอยางดีเยี่ยม 3. แอน เปนผูสรางความบันเทิงใหกับเพื่อน 3. สม เปนหัวหนากลุมที่มีความเปนตัวของตัวเองมากที่สุด

วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 2. ผลที่ไดรับจากการทํางานกลุมคือ ทําใหเราเปนผูประสานงานที่ดี มีความประนีประนอม ทําใหสมาชิกใน กลุมมีเหตุผล ซึ่งเปนผลดีที่สามารถนําไปใชในชีวิตประจําวันและการ ทํางานในอนาคตได

นักเรียนควรรู 1 กระบวนการกลุม มีขนั้ ตอนดังนี้ ขั้นตอนแรกจะตองทําการเลือกหัวหนากลุม ตอไปจึงกําหนดเปาหมายหรือวัตถุประสงคของงาน วางแผนการทํางาน จากนั้น แบงงานกันทํา โดยแบงตามความถนัดและความสามารถของแตละบุคคล แลวปฏิบัติตามหนาที่ ประเมินผล และปรับปรุงการทํางาน 2 ปฏิสัมพันธ (Interactive) เปนการสรางความสัมพันธที่ดีภายในกลุม เพื่อใหเกิดบรรยากาศในการทํางานที่ดี ลดความขัดแยงในการทํางาน ซึ่งมี แนวทางในการสรางปฏิสัมพันธภายในกลุม ดังนี้ 1. ใหการการยอมรับและใหเกียรติซึ่งกันและกัน เชน มีการแสดงออกถึงการ เปนมิตร มีการยอมรับลักษณะสวนตัวหรือลักษณะเฉพาะของบุคคลตามที่เขาเปน โดยใหเกียรติและเคารพในคุณคาของบุคคล เปนตน 2. เขาใจความรูส กึ ของผูอ นื่ เสมือนเราเปนตัวเขา 3. มีความจริงใจตอกัน ไมเสแสรงในการแสดงออกถึงความคิด ความรูสึก และ ทัศนคติของตนเอง คูมือครู

3


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

Explain

1. ครูใหนักเรียนชวยกันอภิปรายถึงแนวทางใน การทํางานดวยกระบวนการกลุมที่นักเรียน ไดศึกษามาในเบื้องตน จากนั้นครูใหนักเรียน สงตัวแทนออกมาอธิบายใหเพื่อนฟงหนา ชั้นเรียน (แนวตอบ สมาชิกภายในกลุมควรจะมีแนวทางใน การปฏิบัติตอกัน เชน ควรเปนผูนําและผูตาม ที่ดีโดยแตละบุคคลควรทําหนาที่ของตนเองให สําเร็จและถูกตองดวยความตั้งใจ) 2. ครูตั้งคําถามเพื่อการเรียนรูของนักเรียน • ถาหากทุกคนในกลุมเห็นแกประโยชนสวนตัว ผลงานที่ออกมาจะเปนอยางไร (แนวตอบ เมื่อทุกคนในกลุมมีความเห็นแกตัว จะทําใหผลงานไมประสบความสําเร็จหรือไม ดีเทาทีค่ วร เพราะเมื่อทุกคนเห็นประโยชน สวนตัวจะทําใหขาดความสามัคคี เนื่องจาก แตละบุคคลมีเปาหมายแตกตางกันไป การทํางานจึงไมมีระบบตางคนตางทํา เพราะแตละบุคคลไมไดทําตามหนาที่ของ ตนเองและขาดการประสานงานที่ดี) • ในการทํางานกลุมสิ่งสําคัญที่จะขาดไมได คือสิ่งใด (แนวตอบ สิ่งที่ไมควรขาด คือ สัมพันธภาพ ภายในกลุม เพราะหากขาดสิ่งนี้ไปจะทําให งานไมประสบความสําเร็จหรืออาจประสบ ความสําเร็จแตเปนงานที่ไมมีประสิทธิภาพ)

การใชกระบวนการกลุมในการสรางบานพักอาศัย เปนกระบวนการที่แสดงใหเห็นถึง การทํางานรวมกันดวยความสามัคคีที่ทุกคนมีบทบาทภาระหนาที่ตามที่หัวหนาชางเปนผูกําหนด และมอบหมายงานใหทําตามความถนัด และตามความสามารถ พรอมทั้งมีการตรวจสอบผลการ 1 ปฏิบัติงานทุกระยะตามลําดับขั้นตอนเพื่อผลสัมฤทธิ์ของงาน คือ บานพักอาศัยที่มีคุณภาพ

๒.๒ แนวทางการทํางานดวยกระบวนการกลุม

การทํางานดวยกระบวนการกลุมของกลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี 2 มุงเนนทักษะกระบวนการคิด และทักษะกระบวนการปฏิบัติ เรียนรูดวยประสบการณตรงที่ เกี่ยวกับการสรางหรือการผลิตชิ้นงาน การซอมแซม ปรับปรุง และแกไขชิ้นงาน ใหสามารถ ใชงานไดเปนอยางดีเพือ่ การดํารงชีวติ ประจําวัน และการประกอบอาชีพสุจริตได โดยการยึดแนวทาง ในการปฏิบัติงานที่สําคัญ ๒ ประการ ดังนี้ ๑) สัมพันธภาพในกลุม โดยสมาชิกภายในกลุมจะตองชวยกันสรางสัมพันธภาพให เกิดขึ้นภายในกลุม สรางความเปนนํ้าหนึ่งใจเดียวกัน ทุกคนมองเห็นประโยชนสวนรวมมากกวา ประโยชนสว นตัว ทุกคนมีเปาหมายเดียวกัน ทําใหกลุม เขมแข็งมีความสมบูรณ เพราะฉะนัน้ สมาชิก ภายในกลุมทุกคนควรยึดหลักการดังตอไปนี้ ๑. เปนผูนําและผูตามที่ดี คือ ปฏิบัติหนาที่ตามที่กลุมมอบหมายใหถูกตองและ เหมาะสมกับบทบาทและสถานการณนั้นๆ ๒. เปนผูป ระสานหรือผูป ระนีประนอม คือ ปองกันการเกิดความขัดแยงของสมาชิก ภายในกลุม ๓. เปนผูอ าํ นวยความสะดวก คือ ช ว ยเหลื อ ให ส มาชิ ก ทุ ก คนภายในกลุ  ม มี สวนรวมในการทํากิจกรรมอยางเต็มที่ ๔. เป น ผู  สั ง เกตการณ แ ละให คําติชม คือ ชวยสังเกตการณกระบวนการทํางาน ของกลุ  ม เสนอให ก ลุ  ม และผู  นํ า กลุ  ม ทราบ เพื่อการประเมิน และปรับปรุงประสิทธิภาพ การทํางาน ๕. เปนผูผอนคลายความเครียด คือ สรางอารมณที่ดี มีความสนุกกับงานที่ ทําลดความเครียดและสรางบรรยากาศที่ดีใน การสรางสัมพันธภาพที่ดีในกลุม รวมกันคิดรวมกันทํา จะทําใหมีความสุขกับการทํางาน การทํ า งานร ว มกั น เช น พู ด คุ ย ในเรื่ อ งที่ สนุกสนานผอนคลาย เปนตน

นักเรียนควรรู 1 ผลสัมฤทธิ์ เปนผลลัพธ หรือสิ่งที่ไดจากการทํางาน อาจเปนผลดีหรือไม ดีก็ได ซึ่งในการทํางานทุกประเภทควรมีการวัดผลสัมฤทธิ์ของงาน เพื่อนํามา วิเคราะหปญหาที่ทําใหงานไมดี เพื่อนํามาพัฒนาและหาแนวทางปรับปรุงใหได ผลงานที่ดีขึ้นกวาเดิม 2 ประสบการณตรง (Experience) คือ ความรู ความสามารถที่ไดรับจากการ ทํางานที่เคยทํามากอนหรืออาจเปนสิ่งที่เคยพบเห็นดวยตนเองและถูกเก็บไวใน ความทรงจํา ซึ่งเปนสิ่งที่นํามาพัฒนาการทํางานของตนเองได นักเรียนที่อยูในวัย ศึกษาเลาเรียนนั้นสามารถหาประสบการณตรงไดงายๆ ดวยการทํางานประดิษฐ การเลี้ยงสัตว การทําอาหาร หรือการเพาะปลูก เพื่อฝกประสบการณ เปนการชวย สํารวจตนเองดวยวาชอบสิ่งใด และมีความสามารถในดานใด

4

คูมือครู

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

ในการทํางานกลุม สมาชิกในกลุมจะตองมีคุณสมบัติใดบาง

แนวตอบ ในการทํางานรวมกันเปนกลุม สมาชิกในกลุมควรมีคุณสมบัติ ดังนี้ สมาชิกจะตองมีอธั ยาศัยและไมตรีทดี่ ตี อ กัน เพือ่ ทีจ่ ะไดทาํ งานรวมกัน อยางมีความสุข ซึ่งจะสงผลใหงานสําเร็จอยางมีประสิทธิภาพ ตองเปนผู ที่รูจักรับฟงความคิดเห็นของผูอื่น เพื่อไมใหเกิดความขัดแยงระหวางกัน ตองเปนผูที่มีนํ้าใจตอเพื่อนรวมงาน เพื่อสรางความรูสึกที่ดีใหแกสมาชิก ในกลุม


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

อธิบายความรู

1. ครูใหนักเรียนอธิบายถึงขั้นตอนในการทํางาน ดวยกระบวนการกลุมจากหนังสือเรียน หนา 5-6 จากนั้นครูขออาสาสมัครตัวแทนนักเรียน ออกมาอธิบายความสําคัญของแตละขั้นตอน 1 คนตอ 1 ขั้นตอน (แนวตอบ เชน การกําหนดวัตถุประสงคและ เปาหมายของการทํางาน เพื่อใหสมาชิกทุกคน ในกลุมเกิดความเขาใจตรงกัน จะไดปฏิบัติ งานใหเปนไปในแนวทางเดียวกัน เพื่อให การทํางานมีประสิทธิภาพและสําเร็จตาม เปาหมายที่วางไว) 2. ครูตั้งคําถามเพื่อการเรียนรูของนักเรียน • นักเรียนคิดวา การเปนผูนําที่ดี ควรมี คุณสมบัติอยางไร (แนวตอบ ควรเปนผูที่มีความรู ความสามารถ เปนอยางดี และตองหมั่นพัฒนาตนเองอยาง สมํ่าเสมอ เปนผูที่มีความคิดริเริ่มสรางสรรค มีความกลาหาญ มีความยุติธรรม มีความ อดทน มีมนุษยสัมพันธที่ดี ซื่อสัตยตอ สมาชิกทุกคน มีความตืน่ ตัวอยูต ลอดเวลา ไมถือตัวหรือวางอํานาจกับสมาชิกในกลุม)

๒) ความสมัครใจในการทํางาน โดยการมอบหมายภาระงานใหตรงกับความสามารถ

ของสมาชิกภายในกลุมใหไดใชความรู ความสามารถ ทักษะกระบวนการงานอาชีพของตนเอง รวมกันทํางานดวยความจริงใจ เพือ่ ใหบรรลุวตั ถุประสงคทตี่ งั้ ไวไดอยางมีประสิทธิภาพ เพราะฉะนัน้ สมาชิกภายในกลุมทุกคนควรยึดหลักการดังตอไปนี้ ๑. เปนผูริเริ่ม คือ เปนผูเสนอแนวความคิด วิธกี ารใหมๆ ในการทํางาน เพื่อใหงาน ของกลุมบรรลุวัตถุประสงคที่ตั้งไว ๒. เปนผูใหขอมูล คือ เปนผูใหขอเท็จจริง หรือขอสรุปตางๆ เกี่ยวกับภาคทฤษฎี และภาคปฏิบัติในการทํางาน ๓. เปนผูแสวงหาขอมูล คือ เปนผูซักถามเพื่อความถูกตองใหไดขอมูลที่แทจริง เพื่อประกอบการพิจารณาแกปญหาตอไป ๔. เปนผูชี้แจง คือ เปนผูพยายามใหรายละเอียดตางๆ ของการทํางานและ เชื่อมโยงความคิดเห็นของสมาชิกภายในกลุมใหเขากันไดเปนอยางดี 1 ๕. เปนผูประเมิน คือ เปนผูประเมินความกาวหนาของกลุม เพื่อกําหนดแนวทาง ในการทํางานไดอยางถูกตอง

๒.๓ ขั้นตอนการทํางานดวยกระบวนการกลุม

ดังตอไปนี้ ๑

การทํางานกลุมที่เนนทักษะกระบวนการทํางาน มีขั้นตอนการทํางาน เลือกหัวหนากลุม

๒ กําหนดวัตถุประสงคและเปาหมาย ๓

วางแผนการทํางาน

ปฏิบัติงานที่ไดรับมอบหมายตามหนาที่

ประเมินผลและปรับปรุงการทํางาน

Explain

๑) การเลือกหัวหนากลุม หัวหนากลุมจะตองเปนผูที่มีความรูในเรื่องที่จะทํางานนั้น

เปนอยางดี และมีความรูทั่วไปดี มีมนุษยสัมพันธที่ดีและมีบุคลิกภาพของความเปนผูนํา รูจัก การประนีประนอม เพื่อผลประโยชนของกลุมเปนหลัก ๒) การกําหนดวัตถุประสงคและเปาหมายของการทํางาน คือ จะตองกําหนด เปาหมายหรือวัตถุประสงคของการทํางานใหชัดเจน และแจงใหสมาชิกทุกคนภายในกลุมทราบ เพื่อการปฏิบัติงานจะไดเปนไปในแนวทางเดียวกัน ทําใหการทํางานของกลุมมีประสิทธิภาพ บรรลุวัตถุประสงคของกลุมที่ตั้งไวไดเปนอยางดี

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

บุคคลในขอใดสมควรไดรับเลือกเปนหัวหนากลุมในการปฏิบัติงาน 1. โอ เปนคนราเริงแจมใสและมีความรูมาก 2. ตู เปนคนมีความรูมากและเขากับคนอื่นไดงาย 3. ฝาย เปนคนเขากับคนงายและเปนตัวของตัวเองสูง 4. จูน เปนคนเด็ดขาดและมีความเปนตัวของตัวเองสูง

วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 2. ตูเปนคนมีความรูมากและเขากับผูอื่น ไดงาย เปนคุณสมบัติที่เหมาะสมกับการเปนผูนํา สวนโอเปนคนราเริง แจมใสอาจเหมาะกับผูที่คอยสรางความบันเทิงใหกับคนในกลุม จูนและ ฝายมีความเปนตัวของตัวเองสูงไปจึงไมเหมาะจะเปนหัวหนากลุม เพราะ อาจทําใหเกิดความขัดแยงกับบุคคลอื่นไดงาย

เกร็ดแนะครู ครูควรอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับการเปนผูนําหรือหัวหนากลุมที่ดีวาควรมี คุณสมบัติ ดังนี้ 1. ตองเปนผูมีวิสัยทัศน 2. ตองกระจายงานใหทีมงานอยางเหมาะสม 3. ตองสรางทีมงานที่ดีได 4. ตองสรางแรงบันดาลใจใหทีมงานได 5. ตองเปนผูพัฒนาตนเองและผูอื่นอยูเสมอ

นักเรียนควรรู 1 ผูประเมิน จะตองประเมินความสําเร็จและปญหาที่เกิดขึ้นกับงาน เพื่อนํามา พัฒนาปรับปรุงใหการทํางานดีขึ้น หรือประเมินเพื่อการสรางสรรคงานใหมๆ ซึ่งผูประเมินจะตองมีทักษะทางดานการรวบรวมขอมูล วิเคราะหขอมูล สรุปขอมูล และใหขอเสนอแนะในการทํางานได คูมือครู 5


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

อธิบExplain ายความรู

๓) การวางแผนการทํางาน คือ การกําหนดกรอบความคิดในเรื่องการทํางาน

Expand

ครูใหนกั เรียนชวยกันแสดงความคิดเห็นรวม กัน เกี่ยวกับแนวทางในการทํางาน จากการศึกษา คนควา ทั้งในหนังสือเรียนและแหลงเรียนรูอื่นๆ โดยใหนักเรียนเขียนอธิบายแนวทางในการทํางาน กลุมลงในกระดาษ A4 สงครูผูสอน

ตรวจสอบผล

Evaluate

1. ผลงานการเขียนอธิบายแนวทางการทํางานแบบ กระบวนการกลุม 2. ครูสังเกตพฤติกรรมการตอบคําถาม และการ แสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน

การสรางหรือผลิตชิน้ งานและการซอมแซม ปรับปรุง แกไขชิน้ งาน ใหสามารถใชงาน ไดเปนอยางดี สิง่ แรกทีค่ วรคํานึง คือ การแบงภาระงานใหเหมาะสมกับสมาชิกภายในกลุม สมาชิก ทุกคนจะไดรับความพึงพอใจ และเต็มใจที่จะ ทํางาน ขอควรปฏิบัติในการวางแผน การทํางาน มีดังน�้ ๑. เตรียมงานดานการศึกษาคนควา ขอมูล ๒. ตัดสินใจทํางานโดยใชเสียงขาง มากตัดสิน ๓. เริ�ม การทํ า งานโดยเรี ย งลํ า ดั บ กอนลงมือปฏิบัติงานจะตองมีการวางแผนการทํางานรวมกัน เพื่อความสําเร็จของงาน ขัน้ ตอนการทํางานตามความรูค วามเขาใจ และ ตามทักษะกระบวนการทางอาชีพ เริ�มตั้งแตออกแบบงาน วิเคราะหงาน ประมาณราคา โดยให สมาชิกภายในกลุมรวมกันอภิปราย และสรุปขั้นตอนการทํางาน ๔. เขียนปฏิทินการปฏิบัติงานตามลําดับขั้นตอนการทํางาน โดยกําหนดชวงเวลา และผูรับผิดชอบการปฏิบัติงานใหชัดเจน ๕. ใหสมาชิกทุกคนภายในกลุมเขียนบันทึกการวางแผนงานทุกครั้ง เพื่อเปน การตรวจสอบและประเมินผลความกาวหนาและการปรับปรุงแกไขแผนงานใหเปนไปตามลําดับ ขั้นตอนการทํางาน ๔) การปฏิบตั งิ านตามหนาที่ คือ สมาชิกทุกคนภายในกลุม รับรูถ งึ ภาระงานและหนาที่ ของตนที่จะตองปฏิบัติงานตามแผนการทํางานที่วางไวอยางเปนระบบตามปฏิทินการปฏิ1บัติงาน ดวยความถูกตอง รวดเร็ว แมนยํา ตามทักษะกระบวนการงานอาชีพ ดวยความปลอดภัย ๕) การประเมินผลและปรับปรุงการทํางาน คือ การนําเสนอผลงานที่ไดจาก การปฏิบตั งิ านทัง้ หมด มีระดับการบรรลุวตั ถุประสงคของกลุม ทีต่ งั้ ไววา อยูใ นระดับใด เปนการประเมิน ผลภาพรวมทัง้ หมดของการทํางานรวมกันของสมาชิกภายในกลุม และผลงานทีไ่ ดนาํ เสนอทัง้ หมด จะตองนําไปพัฒนาเปนการตอยอดกรอบแนวความคิดใหมในการทํางานครั้งตอไป เพื่อความ ตอเนื่องในการพัฒนาระบบการทํางานกลุม การนําเสนอผลงานควรจัดทําในรูปแบบที่หลากหลาย เชน การจัดทําเปนรูปเลมรายงาน เอกสารแผนพับ หรือการนําเสนอผลงานตอหนาครู ผูปกครอง และเพื่อนรวมชั้นเรียนดวยวิธีหนึ่งวิธีใดหรือทั้งหมด มีการบรรยายประกอบชิ้นงาน หรือการจัด นิทรรศการแสดงผลงานประกอบดวย เปนตน

เกร็ดแนะครู ครูควรแนะนํานักเรียนวา หลังจากการทํางานทุกประเภทเรียบรอยแลว ขั้นตอนตอไปที่มีความสําคัญก็คือ การประเมินผลงานและประเมินปญหาที่เกิดจาก การทํางานที่ผานมา เพื่อนํามาหาแนวทางในการปรับปรุงแกไข ซึ่งเปนขั้นตอนที่ นักเรียนไมควรละเลยในการทํางานทุกประเภท โดยครูใหนักเรียนเสนอแนะปญหา ที่นักเรียนเคยประสบจากการทํางาน เพื่อจะไดนําขอเสนอแนะดังกลาวมาหา แนวทางแกไขปญหาจากการทํางานของนักเรียน

นักเรียนควรรู 1 ความปลอดภัย (Security) เปนสิ่งที่สําคัญที่ควรคํานึงถึงในการทํางาน ทุกประเภท ซึ่งอาจทําใหเกิดภัยอันตรายได จึงควรทํางานดวยความไมประมาท เพือ่ ความปลอดภัยตอชีวติ ทรัพยสนิ และงานทีท่ าํ โดยยึดถือแนวคิดวา Safety First ปลอดภัยไวกอน

6

คูมือครู

Evaluate ตรวจสอบผล

Explain

1. ครูและนักเรียนสนทนาเกีย่ วกับขัน้ ตอนการทํางาน ในกระบวนการกลุม โดยครูใหนักเรียนแสดง ความคิดเห็นเกี่ยวกับขั้นตอนตางๆ โดยยก ตัวอยางสถานการณในการทํางานกลุมเพื่อให นักเรียนเห็นภาพชัดเจนมากขึ้น 2. ครูถามนักเรียนวา • นักเรียนจะมีวิธีปฏิบัติตนอยางไร เมื่อตอง ทํางานในกระบวนการกลุม (แนวตอบ ทําหนาที่ที่ตนเองไดรับมอบหมาย ดวยความตั้งใจใหสําเร็จตามกําหนดและ ถูกตอง และไมเปนผูเ ห็นแกตวั ควรเห็น แกประโยชนสว นรวม เปนตน) 3. ขั้นตอนการประเมินผลและปรับปรุงการทํางาน มีวัตถุประสงคเพื่อสิ่งใด (แนวตอบ เพือ่ จะไดรวู า งานทีท่ าํ บรรลุเปาหมาย หรือไม และสิ่งที่เปนปญหามีวิธีนํามาพัฒนา ปรับปรุงหรือตอยอดใหดีขึ้นในงานชิ้นตอไป อยางไร)

ขยายความเขาใจ

Expand าใจ ขยายความเข

กิจกรรมสรางเสริม ครูใหนักเรียนจัดทําผังความคิดแสดงขั้นตอนการทํางานดวย กระบวนการกลุม จากนั้นนําผลงานมาอธิบายหนาชั้นเรียน

กิจกรรมทาทาย ครูใหนักเรียนจัดทําผังความคิดแสดงขั้นตอนการทํางานดวยกระบวน การกลุม โดยใหนักเรียนสรุปเนื้อหาตามความเขาใจของนักเรียน โดยใช โปรแกรมคอมพิวเตอรชวยในการสรางแผนผัง จากนั้นนําผลงานมาอธิบาย หนาชั้นเรียน


กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Engage

Explore

Explain

Expand

Evaluate

กระตุEngage นความสนใจ

สํารวจค Exploreนหา

กระตุน ความสนใจ

ครูใหนักเรียน 2-3 คน บอกถึงปญหาที่เคย ประสบจากการทํางานตางๆ และบอกแนวทาง การแกปญหา

1

๓. การแกปญหาในการทํางานอยางมีเหตุผล

ในการทํางานยอมเกิดปญหาขึ้นไดตลอดเวลา เพราะฉะนั้นการแกไขปญหาในการทํางาน จะตองเริ่มตนดวยการมีสติสัมปชัญญะ คือ ความระลึกไดและความรูตัว ตามหลักธรรม ของพระพุทธศาสนาเปนการใชเหตุและผลใน การตัดสินใจแกปญหาไดดีที่สุด โดยเฉพาะยุค ปจจุบันนี้ซึ่งเปนยุคขอมูลขาวสาร การติดตอ สื่อสารเปนไปดวยความสะดวกรวดเร็ว สงผล ตอการตัดสินใจในการแกปญ หาการทํางานเปน อยางยิ่ง ซึ่งการมีสติสัมปชัญญะ ความระลึกได อยูตลอดเวลา จะชวยใหการตัดสินใจแกปญหา การรวมกันวางแผน มีการปรึกษาหารือรวมกันของสมาชิก เปนไปอยางมีประสิทธิภาพ

๓.๑ ความหมาย ความสําคัญ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

การตัดสินใจแกปญหา คือ การตัดสินใจแกปญหาตางๆ ภายใตการวิเคราะหพิจารณา ทางเลือกตางๆ แลว การแกปญหา คือ การประยุกต ใชกฎหรือหลักการอธิบายการแกปญหา เพื่อใหได ความจริงหรือปรากฏการณใหมๆ การตัดสินใจแกปญหาเปนสิ่งที่มีความสําคัญและจําเปนอยางยิ่งในการทํางานไดอยาง ถูกตองเพื่อสรางหรือผลิตชิ้นงาน และการซอมแซมปรับปรุงแกไขชิ้นงาน ใหสามารถใชงานได เปนอยางดี เพราะเปนการชวยลดความเสี่ยงในการตัดสินใจที่ผิดพลาด และจะชวยใหการตัดสินใจ นั้นมีประสิทธิภาพ สามารถทําใหงานนั้นประสบความสําเร็จหรือมีขอผิดพลาดนอยที่สุด ประโยชนของการแกปญหาในการทํางานอยางมีเหตุผล มีดังนี้ ๑. เปนการตัดสินใจเลือกไดอยางถูกตอง สมเหตุสมผลไดมากที่สุด ๒. ชวยลดความเสี่ยงจากการตัดสินใจที่ผิดพลาดในการทํางาน ๓. ชวยลดผลกระทบที่จะเกิดขึ้นกับตนเองหรือสมาชิกภายในกลุม ๔. ชวยใหสามารถตัดสินใจในการทํางานไดทันเวลา ๕. ชวยพัฒนาระบบกระบวนการคิดวิเคราะห ไดดียิ่งขึ้น ๖. ชวยใหคนพบทางเลือกหรือทางออกสําหรั2บปญหาไดดีที่สุด ๗. ชวยประหยัดและลดการสูญเสียทรัพยากรที่ใชในการทํางาน เพราะไดมีการจัดสรร การใชทรัพยากรเปนอยางดี ๗

ขอสอบเนน การคิด

เมื่อการทํางานไมประสบความสําเร็จตามเปาหมายที่วางไว นักเรียน ควรปฏิบัติอยางไร

แนวตอบ หลังจากการประเมินผลการปฏิบัติงาน เมื่อการทํางานยังไม ประสบความสําเร็จตามที่ตั้งเปาหมายไว นักเรียนควรสํารวจคนหาปญหา ที่เกิดเพื่อที่จะดําเนินการวิเคราะหวางแผนการแกปญหาที่เกิดขึ้น โดยรวบรวมขอมูล วิเคราะหปญ  หา แนวทางในการแกไขปญหา จากนัน้ จึง ประเมินทางเลือกในการแกปญ  หา แลวจึงวางแผนการทํางาน และปฏิบตั งิ าน จากนัน้ ประเมินผลงานอีกครัง้ เพือ่ พัฒนาหรือปรับปรุงผลงานใหดกี วาเดิม โดยอาศัยกระบวนการแกปญหามาชวยแกไขปรับปรุง

Explore

1. ครูใหนักเรียนสํารวจปญหาในการทํางานที่ ผานมาของนักเรียน ทั้งการทํางานรายบุคคล และการทํางานกลุม โดยบันทึกลงในสมุด 2. ครูใหนกั เรียนศึกษาคนควาเกีย่ วกับการแกปญ  หา ในการทํางานอยางมีเหตุผล จากหนังสือ เรียนหนา 7-8 หรือสืบคนจากแหลงการเรียน รูตางๆ เพิ่มเติม เชน หนังสือหองสมุด หรือ ขอมูลทางอินเทอรเน็ต เปนตน

ในกลุม จะชวยลดปญหาและอุปสรรคในการทํางาน

แนว  NT  O-NE T

Engage

Explain

1. ครูใหนักเรียนชวยกันบอกความหมาย และ ความสําคัญของการแกปญหาในการทํางาน อยางมีเหตุผล จากขอมูลที่นักเรียนไดไป ศึกษาคนความาแลว จากนั้นสงตัวแทน นักเรียนออกมาอธิบายสรุปองคความรูให ทุกคนเขาใจตรงกัน พรอมกับเปดโอกาสให นักเรียนซักถาม 2. ครูตั้งคําถามเพื่อการเรียนรูของนักเรียน • สิ่งใดชวยใหการแกปญหาผานพนไปได ดวยดี (แนวตอบ สติสัมปชัญญะ เปนสิ่งสําคัญที่สุด ที่จะทําใหปญหาผานพนไปไดดวยดี เพราะ จะชวยในการควบคุมอารมณ ทําใหเรามี เหตุผลมากกวาอารมณ ถึงแมเราจะมีความ รูมากแตหากขาดสติสัมปชัญญะ ก็จะทําให เราตัดสินใจแกไขปญหาผิดพลาดได)

นักเรียนควรรู 1 การแกปญหา เปนทักษะกระบวนการหนึ่งในการทํางานโดยเปนกระบวน การที่ตองการใหผูเรียนไดเกิดความคิดหาวิธีการ หรือแนวทางในการแกปญหา ในการทํางานอยางมีเหตุผลและเปนขั้นตอน คือ การสังเกตปญหา การวิเคราะห ปญหา การสรางทางเลือก และการประเมินทางเลือกในการแกปญหา 2 ทรัพยากร (Resource) เปนสิ่งตางๆ ที่เปนทั้งสิ่งมีชีวิตและไมมีชีวิตที่เปน ประโยชนและมีคุณคา มีทั้งที่ใชแลวหมดไป เชน ปาไม และสิ่งที่ใชแลวไมหมด คือ สามารถเกิดขึ้นทดแทนใหมได เชน ที่ดิน เปนตน ในการทํางานทุกประเภท ลวนตองมีการใชทรัพยากร เพราะฉะนั้นทรัพยากรที่มีอยูจึงเริ่มหมดไปและเกิด ขึ้นทดแทนของเดิมไมทันการใชงานในปจจุบัน จึงทําใหเกิดปญหาสิ่งแวดลอมซึ่งมี สาเหตุมาจากการใชทรัพยากรของมนุษย เชน นํ้าทวม ดินถลม ไฟไหมปา โลกรอน เปนตน ดังนั้นจึงควรใชทรัพยากรอยางระมัดระวัง และชวยกันดูแลรักษา สิ่งแวดลอม คูมือครู

7


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

อธิบExplain ายความรู

๓.๒ ลําดับขั้นตอนของกระบวนการแกปญหา

ปญหาที่เกิดขึ้นจากทํางาน อาจเกิดขึ้นไดหลากหลายรูปแบบแตกตางกันไป ดังนั้น การแกปญหาในแตละงานก็ยอมแตกตางกันออกไป โดยมีลําดับขั้นตอนในการแกปญหา ๗ ขั้น ดังตอไปนี้

ขัน้ ตอนของกระบวนการแกปญหา

การสังเกต

วิธีการศึกษาโดยอาศัยการเฝาคอยดู สถานการณตางๆ ที่เกิดขึ้นหรืออาจเกิดขึ้น จากการทดลอง และความพยายามคนหา ผลลัพธที่อาจเปนไปได

Expand

๒ ๓ ๔

การวิเคราะห

การกําหนดรายละเอียดของปญหา คือ การทําความเขาใจกับปญหา เพื่อแยกขอมูล วามีปญหาอะไร สิ่งที่ตองการแกไข มีอะไรบาง

การสรางทางเลือก

เมื่อวิเคราะหขอมูลแลว มองเห็นสิ่งที่ตองการ คืออะไร แลวดําเนินการคิดคนหาวิธีการทํางาน ที่จะนําไปสูการแกปญหาไดอยางมีประสิทธิภาพ วามีทางเลือกอะไรบาง

ครูใหนักเรียนแตละคนเสนอปญหาที่นักเรียน เคยมีประสบการณจากการทํางานคนละ 1 ปญหา จากนั้นใหนักเรียนนําเสนอวิธีแกไขปญหาที่เกิดขึ้น โดยใชขั้นตอนของกระบวนการแกปญหาอยางมี เหตุผล ในรูปแบบผังมโนทัศนลงในกระดาษ A4 เสร็จแลวสงครูผูสอน

ตรวจสอบผล

Evaluate ตรวจสอบผล

Explain

1. ครูใหนักเรียนชวยกันบอกถึงประโยชนของ การแกปญหาในการทํางานอยางมีเหตุผล (แนวตอบ ชวยลดความเสีย่ งในการตัดสินใจ ผิดพลาด ลดผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นกับตนเอง หรือสมาชิกในกลุม ชวยใหเปนคนรูจักใชเหตุผล และชวยพัฒนาระบบการคิดวิเคราะหไดดียิ่งขึ้น เปนตน) 2. ครูและนักเรียนสนทนารวมกันเกีย่ วกับขัน้ ตอน การแกปญหาจากการทํางาน จากนั้นให นักเรียนชวยกันยกตัวอยางมาอธิบายในแตละ ขั้นตอน เพื่อใหเกิดความเขาใจมากยิ่งขึ้น

ขยายความเขาใจ

Expand าใจ ขยายความเข

1

การประเมินทางเลือก

เมื่อสรางทางเลือกที่หลากหลายไดหลายวิธีแลว ก็สรุปหรือประเมินวาวิธีไหนเหมาะสมหรือดีที่สุด ที่จะใชทํางาน สรางหรือผลิตชิ้นงาน และการซอมแซม ปรับปรุงแกไขชิ้นงานใหมีสภาพการใชงานไดเปนอยางดี สามารถตัดสินใจไดแลววาจะทํางานชนิดใด หรือเรื่องใด

Evaluate

1. ครูตรวจสอบจากผังมโนทัศนวิธีแกไขปญหา อยางมีเหตุผล 2. ครูสงั เกตพฤติกรรมการตอบคําถามและการรวม แสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน

การวางแผนเพื่อการทํางาน

กําหนดกรอบแนวความคิดในการทํางาน การวางแผน การแบงภาระงานและลําดับขั้นตอน การทํางานไดอยางเหมาะสม ตามทักษะกระบวนการงานอาชีพ

การประเมินผลการปฏิบัติงาน

นําเสนอผลการปฏิบัติงานที่เกิดขึ้นจากการทํางาน ตามทักษะกระบวนการงานอาชีพ ประเมินวา มีผลสัมฤทธิ์อยูในระดับใด เปนไปตามที่ไดตั้ง เปาหมายไวหรือไม และนําไปปรับปรุงแกไข ในการทํางานครั้งตอๆ ไป

การลงมือปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานตามแผนการทํางานหรือปฏิทิน การปฏิบัติงานที่ไดวางไวอยางเปนระบบ และถูกตองตามทักษะกระบวนการ งานอาชีพดวยความปลอดภัย

เกร็ดแนะครู ครูยกตัวอยางปญหาทีเ่ กิดจากการทํางานกลมุ เชน ความขัดแยงระหวางผูร ว มงาน งานเสร็จชา เปนตน จากนั้นใหนักเรียนแกปญหาตามขั้นตอนของกระบวนการ แกปญหาทั้ง 7 ขั้น โดยบันทึกลงกระดาษ A4 นําสงครูผูสอน

นักเรียนควรรู 1 การประเมินทางเลือก การตัดสินใจเลือกวิธีการแกปญหาควรเลือกวิธีการที่ จะนํามาแกไขปญหาที่เหมาะสมที่สุด โดยจะตองทําการพิจารณาในแตละปญหา วามีเงื่อนไขและขอจํากัดอยางไรบาง เนื่องจากปญหาแตละประเภทมีขอจํากัดไม เหมือนกัน ดังนั้นวิธีการแกไขก็จะไมเหมือนกัน จึงควรแยกแยะวิธีการตางๆ ใหดี เพื่อที่จะสามารถแกปญหาไดอยางถูกตองและตรงจุด

8

คูมือครู

กิจกรรมสรางเสริม ครูใหนักเรียนเสนอปญหาที่นักเรียนเคยพบเจอจากการทํางาน แลวให นักเรียนทําการวิเคราะหสาเหตุของปญหารวมทั้งเสนอแนะวิธีแกไขปญหา ตามกระบวนการแกปญหา โดยใหเพื่อนในชั้นรวมกันเสริมขอมูลและแสดง ความคิดเห็น


กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Engage

Explore

Explain

Expand

Evaluate

กระตุEngage นความสนใจ

สํารวจค Exploreนหา

กระตุน ความสนใจ

ครูสนทนากับนักเรียนถึงลักษณะนิสัยในการ ทํางานดวยความเสียสละ และถามนักเรียนวา • นักเรียนคิดวาความเสียสละมีความสําคัญ อยางไรตอการทํางานกลุม (แนวตอบ เพราะการมีความเสียสละ จะชวย ลดความขัดแยงที่จะเกิดขึ้นในกลุมการ ทํางาน ซึ่งแตละหนาที่ก็มีความแตกตาง กันไป อีกทั้งความคิดแตละคนก็ไมเหมือน กัน ซึ่งอาจทําใหเกิดความขัดแยงจนเกิดเปน ปญหาในการทํางาน ซึ่งคนที่เสียสละจะเห็น แกประโยชนสวนรวมมากกวาสวนตัว)

1

๔. การเสริมสรางลักษณะนิสยั ในการทํางานดวยความเสียสละ

การทํางานดวยความเสียสละเปนคุณธรรมประการแรกของการทํางานดวยกระบวนการกลุม เพราะวาการทํางานเปนกลุม เปนทีม ประกอบดวยบุคคลหลายคนรวมกันทํางาน ผลิตชิ้นงาน ยอมมีความคิดเห็นที่แตกตางกันในทีมงาน ทําใหเกิดปญหาหรือความขัดแยงขึ้นภายในกลุม สงผลตอประสิทธิภาพ ประสิทธิผลของการทํางานหรือชิ้นงาน เพราะฉะนั้นถาสมาชิกทุกคน ภายในกลุมเปนผูที่มีเหตุผล มีความเสียสละ มีคุณธรรม จริยธรรม มีสัมพันธไมตรีภายในกลุม ก็จะทําใหการทํางานกลุมนั้นประสบความสําเร็จ

๔.๑ ความหมาย ความสําคัญ

ลักษณะนิสัยในการทํางานดวยความเสียสละ หมายถึง การสรางนิสัยแหงความ เสียสละใหกับนักเรียนทุกคนไดนําไปปฏิบัติจนเกิดเปนกิจนิสัย ทั้งในการทํางานและการดํารงชีวิต ประจําวัน กอใหเกิดเจตคติที่ดีตอการทํางาน สรางหรือผลิตชิ้นงาน หรือซอมแซมปรับปรุงแกไข ชิ้นงานใหสามารถใชงานไดเปนอยางดี ความสําคัญของการทํางานดวยความเสียสละ คือ การทํางานที่มองเห็นผลประโยชน สวนรวมมากกวาประโยชนสวนตัวดวยความจริงใจ ทั้งทางกาย วาจา และใจ ทําใหผลผลิตที่ไดรับ คือ งานที่มีความสมบูรณตามวัตถุประสงคที่ตั้งไว นอกจากนี้ในการทํางานตองไมทิ้งภาระงานใหกับคนหนึ่งคนใดทําเพียงผูเดียว หรือ กลุมหนึ่งกลุมใดทํา ตองรวมมือชวยกันทําภาระงานทุกอยางจนกวาจะสําเร็จลุลวงไปไดดวยดี หลักการทํางานดวยความเสียสละที่ตองปฏิบัติ มีดังนี้ ๑. ละหรือเลิกความเห็นแกตัว ๒. เห็นแกประโยชนสวนรวมมากกวาประโยชนสวนตน ๓. เปดใจยอมรับ2ฟงความคิดเห็นที่แตกตางกัน ปรับความคิดเห็นที่ตางกันดวยสันติวิธี อยางมีความคิดสรางสรรค ๔. รูจักการให รูจักการแบงปน สละความสุขความสบายสวนตัว หรือผลประโยชนของ ตนเอง เพื่อผลประโยชนสวนรวม โดยไมหวังผลตอบแทน ๕. มีคุณธรรม จริยธรรม เชน มีความซื่อสัตย ยุติธรรม ประหยัด ขยัน อดทน รับผิดชอบ ตรงตอเวลา มีความสะอาด มีเหตุผล มีมารยาทที่ดี ชวยเหลือตนเองได เปนตน จึงกลาวไดวา ความเสียสละเปนคุณธรรมหลักของการทํางานในกระบวนการกลุมได โดยแทจริง หากสมาชิกในกลุมยึดถือเปนแนวทางในการปฏิบัติจะทําใหการทํางานนั้นประสบ ความสําเร็จตามที่คาดหวังไว http://www.aksorn.com/LC/Car/M1/01

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

ขอใดเปนหลักการทํางานดวยความเสียสละ 1. ตนเปนที่พึ่งแหงตน 2. หัวหนากลุมตัดสินใจถูกเสมอ 3. นําความคิดเห็นของสมาชิกมาพิจารณา 4. ทํางานสวนของตนใหเสร็จแลวรองานจากเพื่อน

วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 3. การเสียสละนั้นจะตองไมเห็นแก ประโยชนของตนสําคัญ จะตองยอมรับฟงความคิดเห็นของสมาชิกใน กลุมทุกคน เมื่อทํางานของตนเสร็จแลวควรชวยเหลืองานคนอื่นที่พอ ทําได จึงจะเปนผูมีความเสียสละ

Engage

สํารวจคนหา

Explore

ครูใหนักเรียนศึกษาความหมาย ความสําคัญ และหลักการในการทํางานดวยความเสียสละจาก หนังสือเรียน หนา 9-10 เพื่อการทํางานใหสําเร็จ อยางมีประสิทธิภาพ เพื่อนําขอมูลมาอภิปรายใน ชั้นเรียน

อธิบายความรู

EB GUIDE

Explain

ครูตั้งคําถามเพื่อการเรียนรูของนักเรียน • การเสียสละมีประโยชนอยางไรตอ การทํางานในกระบวนการกลุม (แนวตอบ การเสียสละทําใหมีความคิดใน เชิงบวกตอการทํางาน เพราะเห็นแก ประโยชนสวนรวมมากกวาประโยชนสวนตน ทําใหงานสําเร็จตามเปาหมาย) • บุคคลที่ปฏิบัติตามหลักการทํางานดวย ความเสียสละ จะมีลักษณะอยางไร (แนวตอบ เปนบุคคลที่รับฟงความคิดเห็นของ ผูอื่นเสมอ สละเวลาสวนตัวหรือผลประโยชน ของตนเองได และมีความอดทน อดกลั้น เปนตน)

นักเรียนควรรู 1 ความเสียสละ เปนคุณธรรมในการปฏิบัติตอบุคคลอื่นโดยการทําเพื่อผูอื่นให ไดรับประโยชนอยางเต็มใจ แมวาตนเองจะตองสูญเสียผลประโยชนก็ตาม เปนสิ่ง ที่จําเปนตอกระบวนการทํางานอยางมาก เพราะจะทําใหสมาชิกในกลุมเกิดความ สัมพันธที่ดีตอกัน 2 ความคิดสรางสรรค เปนการแสดงออกทางความคิดที่กอใหเกิดความ แปลกใหม และเกิดประโยชน ทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางที่ดีขึ้น ซึ่งในกระบวนการทํางานที่ดี บุคคลจะตองมีความคิดสรางสรรค การมีความคิด สรางสรรคควรประกอบอยูในทุกขั้นตอนของกระบวนการทํางาน ดังนั้นจึงควรฝก การคิดอยางสมํ่าเสมอ คิดอยางเปนระบบ รวมทั้งหมั่นศึกษาคนหาความรูเกี่ยวกับ ตัวอยางของงานที่เกิดจากความคิดสรางสรรคที่แปลกใหม

คูมือครู

9


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Expand าใจ ขยายความเข

Evaluate ตรวจสอบผล

Expand

ครูใหนักเรียนชวยกันบอกถึงประโยชนของ การมีลักษณะนิสัยในการเสียสละ และยกตัวอยาง การกระทําที่เสียสละ และสรุปองคความรูที่ไดรับ จากการศึกษากระบวนการทํางานกลุมเปน ภาษาของตนเองลงในกระดาษ A4 เสร็จแลวนํา สงครูผูสอน

ตรวจสอบผล

ขยายความเขาใจ

๔.๒ ประโยชนของการมีลักษณะนิสัยการทํางานดวยความเสียสละ

การมีลักษณะนิสัยในการทํางานดวยความเสียสละ มีประโยชนโดยตรงกับทุกคน และ ใชเปนเครื่องหมายนําทางสองชีวิตใหประสบความสําเร็จในการทํางาน ชวยเสริมสรางใหเปนคนดี คนเกง และมีความสุข ดังนี้ ๑. เปนทักษะพื้นฐานในการทํางาน ซึ่งจะชวยสงเสริมความสามารถในการใชทักษะ ชีวิตในการทํางานรวมกับผูอื่น เพื่อเปนพื้นฐาน ในการทํางานตอไป ๒. เป น การเสริ ม สร า งทั ศ นคติ ที่ ดี ตอการทํางานและในการประกอบอาชีพดวย ความซื่อสัตยสุจริต ซึ่งเปนคุณลักษณะอันพึง ประสงคของกลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพ และเทคโนโลยี ๓. เป น การขจั ด ป ญ หาและความ ขัดแยงที่เกิดขึ้นในสังคม ทั้งระดับกลุมบุคคล การฝกการทํางานรวมกับผูอื่นดวยความตั้งใจและเสียสละ จะเปนพื้นฐานที่ดีในการทํางานตอไปในอนาคต และทีมงานไดเปนอยางดี ๔. เปนการเสริมสรางการอยูร ว มกันในสังคม ทําใหกลุม บุคคลและทีมงานมีความสัมพันธ ที่ดีตอกันแบบพี่นอง ๕. เปนพื้นฐานของการพัฒนาคน บุคคลในสังคม ใหมีความเสียสละ สงผลตอการเปน พลเมืองดีของประเทศชาติสืบตอไป

Evaluate

1. ครูตรวจสอบการสรุปองคความรูจากการศึกษา กระบวนการทํางานกลุม 2. ครูสังเกตพฤติกรรมในการตอบคําถามกับ การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน

หลักฐานแสดงผลการเรียนรู 1. ผลงานการเขียนอธิบายแนวทางการทํางานกลุม 2. ผังมโนทัศนแสดงปญหาจากการทํางานและ แนวทางการแกไข

กลาวโดยสรุปในการทํางานเพื่อการดํารงชีวิต1ของตนเองและครอบครัว จะตองมีทักษะ

กระบวนการในการทํางาน เพื่อเปนพื้นฐานในการทํางานอยางเปนขั้นตอน รูจักการวางแผน การทํางาน วิเคราะหงานที่จะทํา ปฏิบัติตามแผนการทํางานที่วางไว และเมื่อทํางานเสร็จก็มีการ ประเมินผลงาน เพื่อนํามาปรับปรุงแกไขในงานที่บกพรอง หรือเพื่อพัฒนาการทํางานใหดียิ่งขึ้น นอกจากนีใ้ นการทํางานรวมกับผูอ นื่ ไดเรียนรูก ารทํางานรวมกันเปนทีม มีการแบงงานกันทํา มีความ เสียสละ และเมื่อการทํางานมีปญหาก็รูจักการแกปญหา เพื่อความสําเร็จของงาน ดังนั้นการเรียนรู งานในก าเนินชีวิตประจําวัน ทักษะกระบวนการในการทํางานสามารถนําไปใชไดกับการทํางานทุกงานในการดํ

๑๐

นักเรียนควรรู 1 การทํางานเพื่อการดํารงชีวิต เปนการทํางานที่จําเปนเกี่ยวกับความเปนอยู ในชีวิตประจําวัน การชวยเหลือตนเอง ครอบครัวและสังคมไดในสภาพเศรษฐกิจ พอเพียง โดยที่ไมทําลายสิ่งแวดลอม เนนการปฏิบัติจริงจนเกิดความมั่นใจ และ ภูมิใจในผลสําเร็จของงาน เพื่อใหคนพบความสามารถ ความถนัด และความสนใจ ของตนเอง

บูรณาการอาเซียน การมีลักษณะนิสัยในการทํางานดวยความเสียสละเปนคุณธรรม จริยธรรม พื้นฐานขอหนึ่งในการพัฒนาทรัพยากรมนุษยใหเปนพลเมืองดีของประเทศไทย และเปนพลเมืองอาเซียน ซึ่งประชาคมอาเซียนมีเปาหมายในการชวยเหลือกัน ระหวางประเทศในอาเซียน ดังนั้น เพื่อเตรียมความพรอมของเยาวชนไทยสูการ เปนพลเมืองอาเซียน ครูจึงควรเนนยํ้าคุณธรรม จริยธรรม ในการทํางานของ นักเรียนเพื่อการอยูรวมกับพลเมืองประเทศอื่นไดอยางมีความสุข

10

คูมือครู

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

การปลูกฝงคุณธรรม จริยธรรมในการทํางานใหกับนักเรียน สงผลดีตอ การทํางานอยางไร แนวตอบ ทําใหนักเรียนเปนคนมีคุณธรรม จริยธรรม มีความซื่อสัตย มีความเสียสละในการทํางาน นอกจากจะทําใหงานที่ทําประสบความ สําเร็จแลว สิ่งเหลานี้จะติดตัวนักเรียนไป ทําใหเมื่อเขาสูวัยทํางานจะเปน บุคลากรที่มีประสิทธิภาพและจะมีความเจริญรุงเรืองในหนาที่การงาน รวมถึงเปนกําลังสําคัญในการพัฒนาประเทศชาติตอไป


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.