8858649121301

Page 1

คูมือครู 㪌»ÃСͺ¡ÒÃÊ͹ËÇÁ¡Ñº

˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ©ºÑº Í- .

ภาพปกนี้มีขนาดเทากับหนังสือเรียนฉบับจริงของนักเรียน

กระบวนการสอนแบบ 5 Es ชวยสรางทักษะการเรียนรู กิจกรรมมุงพัฒนาทักษะการคิด คำถาม + แนวขอสอบเพื่อยกผลสัมฤทธิ์ O-NET กิจกรรมบูรณาการเตรียมพรอมสู ASEAN 2558


เอกสารประกอบคูมือครู

กลุมสาระการเรียนรู ภาษาไทย

ภาษาไทย

หลักภาษาและการใชภาษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่

2

สําหรับครู

คูมือครู Version ใหม

ลักษณะเดน

ขยายพื้นที่รูปเลมใหญขึ้นกวาเดิม จัดแบงพื้นที่ออกเปนโซน เพื่อคนหาขอมูลไดงาย สะดวก รวดเร็ว และดูเปนระเบียบ กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล

กระตุน ความสนใจ

Evaluate

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

เปาหมายการเรียนรู สมรรถนะของผูเรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค

หน า

โซน 1 กระตุน ความสนใจ

Engage

สํารวจคนหา

Explore

อธิบายความรู

Explain

ขยายความเขาใจ

Expand

ตรวจสอบผล

หน า

หนั ง สื อ เรี ย น

โซน 1

หนั ง สื อ เรี ย น

Evaluate

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

ขอสอบ

โซน 2

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

เกร็ดแนะครู

O-NET

บูรณาการเชื่อมสาระ

โซน 3

กิจกรรมสรางเสริม กิจกรรมทาทาย

นักเรียนควรรู

โซน 3

โซน 2 บูรณาการอาเซียน มุม IT

No.

คูมือครู

คูมือครู

No.

โซน 1 ขั้นตอนการสอนแบบ 5Es

โซน 2 ชวยครูเตรียมสอน

โซน 3 ชวยครูเตรียมนักเรียน

เพื่อใหครูเตรียมจัดกิจกรรมการเรียน การสอน โดยแนะนําขั้นตอนการสอนและ การจัดกิจกรรมแบบ 5Es อยางละเอียด เพื่อใหนักเรียนบรรลุตามตัวชี้วัด

เพื่อชวยลดภาระครูผูสอน โดยแนะนํา เกร็ดความรูสําหรับครู ความรูเสริมสําหรับ นักเรียน รวมทั้งบูรณาการความรูสูอาเซียน และมุม IT

เพื่อใหครูสะดวกตอการจัดกิจกรรม โดย แนะนํากิจกรรมบูรณาการเชือ่ มระหวางสาระหรือ กลุมสาระการเรียนรู วิชา กิจกรรมสรางเสริม กิจกรรมทาทาย รวมถึงเนื้อหาที่เคยออกขอสอบ O-NET แนวขอสอบ NT/O-NET ทีเ่ นนการคิด พรอมเฉลยและคําอธิบายอยางละเอียด


ที่ใชในคูมือครู

แถบสีและสัญลักษณ

แถบสีแสดงขั้นตอนการสอนและการจัดกิจกรรม แบบ 5Es เพื่อใหครูทราบวาเปนขั้นการสอนขั้นใด

1. แถบสี 5Es สีแดง

สีเขียว

กระตุน ความสนใจ

เสร�ม

สํารวจคนหา

Engage

2

เปนขั้นที่ผูสอนเลือกใช เทคนิคกระตุน ความสนใจ เพื่อโยง เขาสูบทเรียน

สีสม

อธิบายความรู

Explore

เปนขั้นที่ผูสอน ใหผูเรียนสํารวจ ปญหา และศึกษา ขอมูล

สีฟา

Explain

เปนขั้นที่ผูสอน ใหผูเรียนคนหา คําตอบ จนเกิดความรู เชิงประจักษ

สีมวง

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

เปนขั้นที่ผูสอน ใหผูเรียนนําความรู ไปคิดคนตอๆ ไป

เปนขั้นที่ผูสอน ประเมินมโนทัศน ของผูเรียน

2. สัญลักษณ สัญลักษณ

วัตถุประสงค

• เปาหมายการเรียนรู

• หลักฐานแสดง ผลการเรียนรู

• เกร็ดแนะครู

แทรกความรูเสริมสําหรับครู ขอเสนอแนะ ขอควรระวัง ขอสังเกต แนวทางการจัด กิจกรรมและอืน่ ๆ เพื่อประโยชนในการ จัดการเรียนการสอน ขยายความรูเพิ่มเติมจากเนื้อหา เพื่อให ครูนําไปใชอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียน ไดมีความรูมากขึ้น

ความรูห รือกิจกรรมเสริม ใหครูนาํ ไปใช เตรียมความพรอมใหกบั นักเรียนกอนเขาสู ประชาคมอาเซียนใน พ.ศ. 2558 โดย บูรณาการกับวิชาทีก่ าํ ลังเรียน

บูรณาการอาเซียน

คูม อื ครู

แสดงรองรอยหลักฐานตามภาระงาน ที่ครูมอบหมาย เพื่อแสดงผลการเรียนรู ตามตัวชี้วัด

• นักเรียนควรรู

มุม IT

แสดงเปาหมายการเรียนรูที่นักเรียน ตองบรรลุตามตัวชี้วัด ตลอดจนสมรรถนะ ที่จะตองมี และคุณลักษณะที่พึงเกิดขึ้น กับนักเรียน

แนะนําแหลงคนควาจากเว็บไซต เพื่อให ครูและนักเรียนไดเขาถึงขอมูลความรู ที่หลากหลาย ทั้งไทยและตางประเทศ

สัญลักษณ

ขอสอบ

วัตถุประสงค

O-NET

(เฉพาะวิชา ชัน้ ทีส่ อบ O-NET O-NET)

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T (เฉพาะระดับชัน้ มัธยมศึกษาตอนตอนตน)

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET (เฉพาะระดับชัน้ มัธยมศึกษาตอนปลาย)

บูรณาการเชื่อมสาระ

กิจกรรมสรางเสริม

กิจกรรมทาทาย

• ชีแ้ นะเนือ้ หาทีเ่ คยออกขอสอบ

O-NET โดยยกตัวอยางขอสอบ พรอมวิเคราะหคาํ ตอบ อยางละเอียด

• เปนตัวอยางขอสอบทีม่ งุ เนน

การคิดและเปนแนวขอสอบ NT/O-NET ในระดับมัธยมศึกษา ตอนตน มีทงั้ ปรนัย - อัตนัย พรอมเฉลยอยางละเอียด

• เปนตัวอยางขอสอบทีม่ งุ เนน

การคิดและเปนแนวขอสอบ O-NET ในระดับมัธยมศึกษา ตอนปลาย มีทงั้ ปรนัย - อัตนัย พรอมเฉลยอยางละเอียด

• แนะนําแนวทางการจัดกิจกรรม

เชือ่ มกับสาระหรือกลุม สาระ การเรียนรู ระดับชัน้ หรือวิชาอืน่ ทีเ่ กีย่ วของ

• แนะนําแนวทางการจัดกิจกรรม ซอมเสริมสําหรับนักเรียนทีค่ วร ไดรบั การพัฒนาการเรียนรู

• แนะนําแนวทางการจัดกิจกรรม ตอยอดสําหรับนักเรียนทีเ่ รียนรู ไดอยางรวดเร็ว และตองการ ทาทายความสามารถในระดับ ทีส่ งู ขึน้


คําแนะนําการใชคูมือครู การออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอน คูม อื ครู รายวิชา ภาษาไทย หลักภาษาและการใชภาษา ม.2 จัดทําขึน้ เพือ่ ใหครูผสู อนนําไปใชเปนแนวทางวางแผน การสอนเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และประกันคุณภาพผูเรียน ตามนโยบายของสํานักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) โดยใชหนังสือเรียน ภาษาไทย หลักภาษาและการใชภาษา ม.2 ของบริษัท อักษรเจริญทัศน เสร�ม อจท. จํากัด เปนสื่อหลัก (Core Material) ประกอบการสอนและการจัดกิจกรรมการเรียนรูใหสอดคลองกับมาตรฐาน 3 การเรียนรูแ ละตัวชีว้ ดั กลุม สาระการเรียนรู ภาษาไทย ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พ.ศ. 2551 โดยออกแบบ กิจกรรมการเรียนการสอนตามหลักการสําคัญ ดังนี้ 1 ออกแบบการสอนเปนหนวยการเรียนรูอิงมาตรฐาน คูมือครู รายวิชา ภาษาไทย หลักภาษาและการใชภาษา ม.2 วางแผนการสอนโดยแบงเปนหนวยการเรียนรู ตามลําดับสาระ (strand) และหมายเลขขอของมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัด แตละหนวยจะกําหนดเปาหมาย การเรียนรูและจุดประสงคการเรียนรู (Objective Learning) กิจกรรมการเรียนรู (Learning Activities) และแนวทาง การประเมินผลการเรียนรู (Learning Evaluation) ไวชัดเจน ครูผูสอนสามารถจัดทําแผนการสอนใหครอบคลุมมาตรฐาน การเรียนรู ตัวชี้วัด สมรรถนะ และคุณลักษณะอันพึงประสงคที่เปนเปาหมายการเรียนรูตามที่กําหนดไวในสาระแกนกลาง (ตามแผนภูมิ) และสามารถบันทึกผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผูเรียนแตละคนลงในเอกสาร ปพ.5 ไดอยางมั่นใจ แผนภูมิแสดงความสัมพันธขององคประกอบการออกแบบการเรียนรูอิงมาตรฐานและเนนผูเรียนเปนสําคัญ

พผ

ูเ

จุดปร

ะสง

คก า

ส ภา

รียน

รู ีเรยน

มาตรฐานการเรียนรู ตัวชี้วัดชั้นป

ทักษะการคิด การวัดประเมินผล การเรียนรู

กิจกรรมการเรียนรู

เทคนิคการสอน คูม อื ครู


2 การจัดการเรียนรูที่ยึดผูเรียนเปนสําคัญ แนวคิ ด ในการจั ด การเรี ย นการสอนที่ ยึ ด ผู  เ รี ย นเป น สํ า คั ญ พั ฒ นามาจากปรั ช ญาและทฤษฎี ก ารเรี ย นรู  Constructivism ที่เชื่อวา การเรียนรูเปนกระบวนการที่เกิดขึ้นภายในสมองของผูเรียนแตละคน ผูเรียนเปนผูสรางความรู โดยการเชื่อมโยงระหวางสิ่งที่ไดเรียนรูจากบทเรียนใหมกับความรูหรือประสบการณเดิมที่มีอยู ทฤษฎีนี้มีความเชื่อวา ผูเรียนทุกคนไดเรียนรูและมีการสั่งสมความรูความเขาใจเกี่ยวกับสิ่งตางๆ ติดตัวมากอน ทีจ่ ะเขาสูห อ งเรียน ซึง่ เปนการเรียนรูท เี่ กิดจากประสบการณและสิง่ แวดลอมรอบตัวผูเ รียนแตละคน ดังนัน้ การจัดกิจกรรม เสร�ม การเรียนการสอนในแตละหนวยการเรียนรู ผูสอนจะตองคํานึงถึง

4

1. ความรูเดิมของผูเรียน วิธีการสอนที่ดีจะตองเริ่มตนจากจุดที่วา ผูเ รียนมีความรูอ ะไรมาบาง แลวจึงใหความรู หรือประสบการณใหม เพื่อตอยอดจาก ความรูเดิม นําไปสูการสรางความรู ความเขาใจใหม

2. ความรูเดิมของผูเรียนถูกตองหรือไม ผูส อนตองปรับเปลีย่ นความรูค วามเขาใจเดิม ของผูเรียนใหถูกตอง และเปนพฤติกรรม การเรียนรูใ หมทมี่ คี ณุ คาตอผูเรียน เพื่อสราง เจตคติหรือทัศนคติที่ดีตอการเรียนรู สิ่งเหลานั้น

3. ผูเรียนสรางความหมายสําหรับตนเอง ผูสอนตองสงเสริมใหผูเรียนนําความรู ความเขาใจที่เกิดขึ้นไปลงมือปฏิบัติ เพื่อขยายความรูใหลึกซึ้งและมีคุณคา ตอตัวผูเรียนมากที่สุด

แนวคิด Constructivism เนนใหผูเรียนสรางความรูโดยผานกระบวนการคิดและความอยากรูของตนเอง โดยมีผูสอนเปนผูสรางบรรยากาศ

การเรียนรูและกระตุนความสนใจ คอยจัดสถานการณใหผูเรียนเกิดความขัดแยงทางความคิดระหวางประสบการณเดิมกับประสบการณ ความรูใ หม เพือ่ กระตนุ ใหผเู รียนเชือ่ มโยงความรู ความคิด กับประสบการณทมี่ อี ยูเ ดิม แลวสังเคราะหเปนความรูห รือแนวคิดใหมๆ ไดดว ยตนเอง

3 การบูรณาการกระบวนการคิด การเรียนรูของผูเรียนแตละคนจะเกิดขึ้นที่สมอง ซึ่งเปนอวัยวะที่ทําหนาที่รูคิดภายใตสภาพแวดลอมที่เอื้ออํานวย และไดรบั การกระตนุ จูงใจอยางเหมาะสม สอดคลองกับสภาพจิตใจและความตองการของผูเ รียนแตละคน การจัดกิจกรรม การเรียนรูและสาระการเรียนรูที่สอดคลองกับความสนใจและมีความหมายตอผูเรียน จะชวยกระตุนใหสมองของผูเรียน สามารถรับรูและเรียนรูไดอยางมีประสิทธิภาพตามขั้นตอนการทํางานของสมอง ดังนี้ 1. สมองจะเรียนรูและสืบคน โดยการสังเกต คนหา ซักถาม และทดลอง ปฏิบัติ จนทําใหคนพบความรูความเขาใจ ไดอยางรวดเร็ว

2. สมองจะแยกแยะคุณคาของสิ่งตางๆ โดยการตัดสินใจวิพากษวิจารณ แสดง ความคิดเห็น ยอมรับหรือตอตานตาม อารมณความรูสึกที่เกิดขึ้นในขณะที่เรียนรู

3. สมองจะประมวลเนื้อหาสาระ โดยการสรุปเปนความคิดรวบยอดจาก เรื่องราวที่ไดเรียนรูใหมนําไปผสมผสานกับ ความรูห รือประสบการณเดิมทีถ่ กู จัดเก็บอยูใ น สมอง ผานการกลัน่ กรองเพือ่ สังเคราะหเปน ความรูค วามเขาใจใหมๆ หรือเปนทัศนคติใหม ที่จะเก็บบรรจุไวในสมองของผูเรียน

การเรียนรูที่มีประสิทธิภาพจึงตองเปนการเรียนรูที่เกิดจากกระบวนการคิดของผูเรียน เพราะการเรียนรูจะเกิดขึ้น เมื่อสมองรูคิด และตองเปนการคิดไดครบถวนตามขั้นตอนการทํางานของสมองผูเรียน โดยเริ่มตนจาก 1. ระดับการคิดพื้นฐาน ไดแก การสังเกต การจําแนก การคาดคะเน การสื่อความหมาย การรวบรวมขอมูล การสรุปผล เปนตน

คูม อื ครู

2. ระดับลักษณะการคิด ไดแก การคิดกวาง คิดลึกซึ้ง คิดไกล คิดหลากหลาย คิดคลอง คิดอยางมีเหตุผล เปนตน

3. ระดับกระบวนการคิด ไดแก กระบวนการคิดอยางมีวิจารณญาณ กระบวนการแกปญหา กระบวนการ คิดสรางสรรค กระบวนการคิดสังเคราะห เปนตน


5Es การจัดกิจกรรมตามขั้นตอนวัฏจักรการเรียนรู 5Es ขั้นตอนการสอนที่สัมพันธกับขั้นตอนการคิดและการทํางานทางสมองของผูเรียนที่นิยมใชอยางแพรหลาย คือ วัฏจักรการเรียนรู 5Es ซึ่งผูจัดทําคูมือครูไดนํามาใชเปนแนวทางออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนในแตละหนวย ตามลําดับขั้นตอนการเรียนรู ดังนี้ ขั้นที่ 1

กระตุนความสนใจ

(Engage)

เสร�ม

5

เปนขั้นที่ผูสอนนําเขาสูบทเรียน เพื่อกระตุนความสนใจของผูเรียนดวยเรื่องราวหรือเหตุการณที่นาสนใจโดยใชเทคนิควิธีการ และคําถามทบทวนความรูหรือประสบการณเดิมของผูเรียน เพื่อเชื่อมโยงผูเรียนเขาสูความรูของบทเรียนใหม ชวยใหผูเรียนสามารถ สรุปความสําคัญหัวขอและสาระการเรียนรูของบทเรียนได จึงเปนขั้นตอนการสอนที่สําคัญ เพราะเปนการเตรียมความพรอมและสราง แรงจูงใจใฝเรียนรูแกผูเรียน

ขั้นที่ 2

สํารวจคนหา

(Explore)

เปนขัน้ ทีผ่ สู อนเปดโอกาสใหผเู รียนลงมือศึกษา สังเกต หรือรวมมือกันสํารวจ เพือ่ ใหเห็นขอบขายของประเด็นหรือปญหา รวมถึง วิธีการศึกษาคนควา การรวบรวมขอมูลความรูที่จะนําไปสูการสรางความเขาใจประเด็นหรือปญหานั้นๆ เมื่อผูเรียนทําความเขาใจใน ประเด็นหรือปญหาที่จะศึกษาคนควาอยางถองแทแลว ก็ลงมือปฏิบัติเพื่อเก็บรวบรวมขอมูลความรู สํารวจตรวจสอบ โดยวิธีการตางๆ เชน สัมภาษณ ทดลอง อานคนควาขอมูลจากเอกสาร แหลงขอมูลตางๆ จนไดขอมูลความรูที่เกี่ยวของกับประเด็นหรือปญหาที่ศึกษา

ขั้นที่ 3

อธิบายความรู

(Explain)

เปนขั้นที่ผูสอนมีปฏิสัมพันธกับผูเรียน เชน ใหการแนะนํา ตั้งคําถามกระตุนใหคิด เพื่อใหผูเรียนคนหาคําตอบ และนําขอมูล ความรูจากการศึกษาคนควาในขั้นที่ 2 มาวิเคราะห สรุปผล และนําเสนอผลที่ไดศึกษาคนความาในรูปแบบสารสนเทศตางๆ เชน เขียนแผนภูมิ ผังมโนทัศน เขียนความเรียง เขียนรายงาน เปนตน ในขั้นตอนนี้ฝกใหผูเรียนใชสมองคิดวิเคราะหและสังเคราะห อยางเปนระบบ

ขั้นที่ 4

ขยายความเขาใจ

(Expand)

เปนขั้นที่ผูสอนเลือกใชเทคนิควิธีสอนตางๆ ที่สงเสริมใหผูเรียนนําความรูที่เกิดขึ้นไปคิดคนสืบคนตอๆ ไป เพื่อพัฒนาทักษะ การเรียนรูและการทํางานรวมกันเปนกลุม ระดมสมองเพื่อคิดสรางสรรครวมกัน ผูเรียนสามารถนําความรูที่สรางขึ้นใหมไปเชื่อมโยง กับประสบการณเดิมโดยนําขอสรุปทีไ่ ดไปใชอธิบายเหตุการณตา งๆ หรือนําไปปฏิบตั ใิ นสถานการณใหมๆ ทีเ่ กีย่ วของกับชีวติ ประจําวัน ของตนเอง เพื่อขยายความรูความเขาใจใหกวางขวางยิ่งขึ้น ในขั้นตอนนี้ฝกสมองของผูเรียนใหสามารถคิดริเริ่มสรางสรรคอยางมี คุณภาพ เสริมสรางวิสัยทัศนใหกวางไกลออกไป

ขั้นที่ 5

ตรวจสอบผล

(Evaluate)

เปนขัน้ ทีผ่ สู อนประเมินมโนทัศนของผูเ รียน โดยตรวจสอบจากความคิดทีเ่ ปลีย่ นไปและความคิดรวบยอดทีเ่ กิดขึน้ ใหม ตรวจสอบ ทักษะ กระบวนการปฏิบัติ การแกปญหา การตอบคําถามรวบยอด หรือการเคารพความคิดหรือยอมรับเหตุผลของคนอื่น เพื่อการ สรางสรรคความรูร ว มกัน ผูเ รียนสามารถประเมินผลการเรียนรูข องตนเอง เพือ่ สรุปผลวามีความรูอ ะไรเพิม่ ขึน้ มาบาง เกิดความเขาใจ มากนอยเพียงใด และจะนําความรูเหลานั้นไปประยุกตใชในการเรียนรูเรื่องอื่นๆ หรือในชีวิตประจําวันไดอยางไร ผูเรียนจะเกิดเจตคติ และเห็นคุณคาของตนเองจากผลการเรียนรูที่เกิดขึ้น ซึ่งเปนการเรียนรูที่มีความสุขอยางแทจริง

การจัดกิจกรรมการเรียนรูตามขั้นตอนวัฏจักรการเรียนรู 5Es จึงเปนรูปแบบการเรียนการสอนที่เนนผูเรียน เปนสําคัญอยางแทจริง เพราะสงเสริมใหผูเรียนไดเรียนรูตามขั้นตอนของกระบวนการสรางความรูดวยตนเอง และ ฝกฝนใหใชกระบวนการคิดและกระบวนการกลุมอยางชํานาญ กอใหเกิดทักษะชีวิต ทักษะการทํางาน และทักษะการ เรียนรูที่มีประสิทธิภาพ สงผลตอการยกระดับผลสัมฤทธิ์ของผูเรียน ตามเปาหมายของการปฏิรูปการศึกษาทศวรรษที่ 2 (พ.ศ. 2552-2561) ทุกประการ คูม อื ครู


O-NET การเพิ่มผลสัมฤทธิ์ O-NET

การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามขั้นตอนวัฏจักรการเรียนรู 5Es ในแตละหนวยการเรียนรู ทางผูจัดทํา จะเสนอแนะวิธีสอน รูปแบบกิจกรรมการเรียนรู พรอมทั้งออกแบบเครื่องมือวัดและประเมินผลที่สอดคลองกับตัวชี้วัด และสาระการเรียนรูแกนกลางไวทุกขั้นตอน โดยยึดหลักสําคัญ คือ หลักของการวัดและประเมินผล เสร�ม

6

1. การวัดและประเมินผลทุกครั้ง ควรนําผลมาปรับปรุงพัฒนาผูเรียน เปนรายบุคคล

2. การวัดและประเมินผลมี เปาหมาย เพื่อพัฒนาการเรียนรู ของผูเรียนจนเต็มศักยภาพ

3. การนําผลการวัดและประเมินผล ทุกครั้งมาวางแผนปรับปรุงกิจกรรม การเรียนการสอน การเลือกเทคนิค วิธีสอน และสื่อการเรียนรูให เหมาะสมกับสภาพจริงของผูเรียน

การทดสอบผูเรียน 1. การใชขอสอบอัตนัย เนนการอาน การคิดวิเคราะห และการเขียนเพิ่มมากขึ้น 2. การใชคําถามกระตุนการคิดควบคูกับการทําขอสอบที่เนนการคิดอยางตอเนื่องตามลําดับกิจกรรมการเรียนรู และตัวชี้วัด 3. การทดสอบตองดําเนินการทั้งกอนเรียน ระหวางเรียน และหลังเรียน การทดสอบควรใชขอสอบทั้งชนิดปรนัยและ อัตนัย และเปนการทดสอบเพื่อประเมินผลการเรียนของผูเรียนแตละคน เพื่อการสอนซอมเสริมใหบรรลุตัวชี้วัด ไดครบถวน 4. การสอบกลางภาค (ถามี) ควรนําแบบฝกหัดหรือขอสอบทีน่ กั เรียนสวนใหญไมสามารถตอบไดหรือไมครบถวนชัดเจน มา สรางเปนแบบทดสอบอีกครัง้ เพือ่ ตรวจสอบความรูค วามเขาใจทีถ่ กู ตอง และประเมินความกาวหนาของผูเ รียนแตละคน 5. การสอบปลายภาคเรียนเพื่อวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามตัวชี้วัดที่สําคัญ ควรออกขอสอบใหมีลักษณะเดียวกับ ขอสอบ O-NET โดยเนนการคิดวิเคราะห สังเคราะห เชื่อมโยงประยุกตใช เพื่อสรางความคุนเคย และฝกฝน วิธีการทําขอสอบดวยความมั่นใจ 6. การนําผลการทดสอบของผูเรียนมาวิเคราะห โดยผลการสอบกอนการเรียนตองสามารถพยากรณผลการสอบ กลางภาค และผลการสอบกลางภาคตองทํานายผลการสอบปลายภาคของผูเ รียนแตละคน เพือ่ ประเมินพัฒนาการ ความกาวหนาของผูเรียนเปนรายบุคคล 7. ผลการทดสอบปลายป ปลายภาค ตองมีคาเฉลี่ยสอดคลองกับคาเฉลี่ยของการสอบ NT ที่เขตพื้นที่การศึกษา จัดสอบ รวมทั้งคาเฉลี่ยของการสอบ O-NET ชวงชั้นที่สอดคลองครอบคลุมมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดสําคัญ เพือ่ สะทอนประสิทธิภาพของครูผสู อนในการออกแบบการเรียนรูแ ละประกันคุณภาพผูเ รียนทีต่ รวจสอบผลไดชดั เจน การจัดการเรียนการสอนในแตละหนวยการเรียนรู ตองใหผูเรียนไดสั่งสมความรู ความเขาใจตามลําดับขั้นตอน ของกิจกรรมในวัฏจักรการเรียนรู 5Es เพื่อใหผูเรียนไดเติมเต็มองคความรูอยางตอเนื่อง จนสามารถปฏิบัติชิ้นงานหรือ ภาระงานรวบยอดของแตละหนวย ผานเกณฑประกันคุณภาพในระดับที่นาพึงพอใจ เพื่อรองรับการประเมินภายนอกจาก สมศ. ตลอดเวลา คูม อื ครู


ASEAN การเรียนรูสูประชาคมอาเซียน เพื่ออํานวยความสะดวกแกครูผูสอนในการจัดกิจกรรมการเรียนรูบูรณาการอาเซียนศึกษา ผูจัดทําไดวิเคราะห มาตรฐานการเรียนรู และตัวชี้วัดที่มีสาระการเรียนรูสอดคลองกับองคความรูเกี่ยวกับประชาคมอาเซียนในแงมุมตางๆ ครอบคลุมทัง้ ประชาคมการเมืองและความมัน่ คงอาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และประชาคมสังคมและวัฒนธรรม อาเซียน เพื่อสงเสริมการเรียนรูใหผูเรียนเกิดความตระหนัก มีความรูความเขาใจเหมาะสมกับระดับชั้นและกลุมสาระ การเรียนรู โดยเสนอแนะวิธีการจัดกิจกรรมบูรณาการเนื้อหาสาระตางๆ ที่เปนประโยชนตอผูเรียนและเปนการชวย เตรียมความพรอมผูเ รียนทุกคนทีจ่ ะกาวเขาสูก ารเปนสมาชิกของประชาคมอาเซียนไดอยางมัน่ ใจตามขอตกลงปฏิญญา เสร�ม ชะอํา-หัวหิน วาดวยความรวมมือดานการศึกษาเพือ่ บรรลุเปาหมายประชาคมอาเซียนทีเ่ อือ้ อาทรและแบงปน จึงกําหนด 7 เปนนโยบายใหกระทรวงศึกษาธิการจัดการเรียนรูเตรียมความพรอมผูเรียนเขาสูประชาคมอาเซียนภายในป พ.ศ. 2558 ตามแนวปฏิบัติที่สําคัญ ดังนี้

การจัดการเรียนรูส ู ประชาคมการเมืองและความมัน่ คงอาเซียน 1. การสรางความรูความเขาใจ และตระหนักถึงความสําคัญของ กฎบัตรอาเซียน และความรวมมือ ของ 3 เสาหลัก ซึง่ กฎบัตรอาเซียน ในขณะนี้มีสถานะเปนกฎหมายที่ ประเทศสมาชิกจะตองปฏิบัติตาม หลักการที่กําหนดไวเพื่อใหบรรลุ เปาหมายของกฎบัตรมาตราตางๆ

2. การสงเสริมหลักการ ประชาธิปไตยและการสราง สิ่งแวดลอมประชาธิปไตย เพื่อการอยูรวมกันอยางกลมกลืน ภายใตวิถีชีวิตอาเซียนที่มีความ หลากหลายดานสังคมและ วัฒนธรรม

4. การตระหนักในคุณคาของ สายสัมพันธทางประวัติศาสตร และมรดกทางวัฒนธรรมที่มี พัฒนาการรวมกัน เพื่อเชื่อม อัตลักษณและสรางจิตสํานึก ในการเปนประชากรของประชาคม อาเซียนรวมกัน

3. การสงเสริมการศึกษาดาน สิทธิมนุษยชน เพื่อสรางประชาคม อาเซียนใหเปนประชาคมเพื่อ ประชาชนอยางแทจริง สามารถ อยูรวมกันไดบนพื้นฐานการเคารพ ในคุณคาของศักดิ์ศรีแหงความ เปนมนุษยเทาเทียมกัน

5. การสงเสริมสันติภาพ ความ มั่นคง และความปรองดองในสังคม ทั้งระดับประเทศและภูมิภาคของ อาเซียนบนพื้นฐานสันติวิธีและการ อยูรวมกันดวยขันติธรรม

คูม อื ครู


การจัดการเรียนรูส ู ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

เสร�ม

8

1. การพัฒนาทักษะการทํางาน เพื่อเสริมสรางผูเรียนใหมีทักษะ วิชาชีพที่จําเปนสอดคลองกับ ความตองการของตลาดแรงงาน และสถานประกอบการในอาเซียน สามารถเทียบโอนผลการเรียน และการทํางานตามมาตรฐานฝมือ แรงงานในภูมิภาคอาเซียน

2. การเสริมสรางวินัย ความรับผิดชอบ และเจตคติรักการทํางาน สามารถพึ่งพาตนเอง มีทักษะชีวิต ดํารงชีวิตอยางมีความสุข เห็นคุณคา และภูมิใจในตนเอง ในฐานะที่เปนพลเมืองไทยและ อาเซียน

3. การเรียนรูเพื่อพัฒนาตนเอง อยางตอเนื่องตลอดชีวิต ใหมี ทักษะการทํางานตามมาตรฐาน อาชีพ และคุณวุฒิของวิชาชีพสาขา ตางๆ เพื่อรองรับการเตรียมเคลื่อน ยายแรงงานมีฝมือและการเปน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนที่ เขมแข็ง เพื่อสรางขีดความสามารถ ในการแขงขันในเวทีโลก

การจัดการเรียนรูส ู ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน 1. การเสริมสรางความรวมมือ ในลักษณะสังคมที่เอื้ออาทร ของประชากรอาเซียน โดยยึด หลักการสําคัญ คือ ความงดงาม ของประชาคมอาเซียนมาจาก ความแตกตางและหลากหลายทาง วัฒนธรรมที่ลวนแตมีคุณคาตอ มรดกทางวัฒนธรรมของอาเซียน ซึ่งประชาชนทุกคนตองอนุรักษ สืบสานใหยั่งยืน

2. การเสริมสรางคุณลักษณะ ของผูเรียนใหเปนพลเมืองอาเซียน ที่มีศักยภาพในการกาวเขาสู ประชาคมอาเซียนอยางมั่นใจ เปนผูที่มีสุขภาพสมบูรณแข็งแรง มีทักษะการสื่อสาร ทักษะการ ทํางาน ทักษะทางสังคม สามารถ ทํางานรวมกับผูอื่นไดอยาง สรางสรรค และมีองคความรู เกี่ยวกับอาเซียนที่จําเปนตอการ ดํารงชีวิตอยางมีคุณภาพ

4. การสงเสริมการเรียนรูดาน ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี วิถชี วี ติ ความเปนอยูข องเพือ่ นบาน ในอาเซียน เพื่อสรางจิตสํานึกของ ความเปนประชาคมอาเซียนและ ตระหนักถึงหนาที่ของการเปน พลเมืองอาเซียนรวมกัน

3. การสงเสริมการเรียนรูภาษา อังกฤษเพื่อการสื่อสารและการ ทํางานตามมาตรฐานอาชีพที่ กําหนดและสนับสนุนการเรียนรู ภาษาอาเซียนและภาษาเพื่อนบาน เพื่อชวยเสริมสรางสัมพันธภาพทาง สังคม และการอยูรวมกันอยางสันติ ทามกลางความหลากหลายทาง วัฒนธรรม

5. การสรางความรูและความ ตระหนักเกี่ยวกับดานสิ่งแวดลอม ปญหาและผลกระทบตอคุณภาพ ชีวิตของประชากรในภูมิภาค รวมทั้งแนวทางการพัฒนาอยาง ยั่งยืน ใหเปนมรดกสืบทอดแก พลเมืองอาเซียนในรุนหลังตอๆ ไป

กระทรวงศึกษาธิการจึงประกาศนโยบายการปฏิรูปการศึกษาทศวรรษที่ 2 (พ.ศ. 2552-2561) เพื่อเรงพัฒนาเด็ก และเยาวชนไทยใหเปนทรัพยากรมนุษยของชาติที่มีทักษะและความชํานาญ พรอมเผชิญกับความเปลี่ยนแปลงและ การแขงขันทั้งในภูมิภาคอาเซียนและภูมิภาคอื่นๆ ของสังคมโลก ทั้งนี้ผูบริหารสถานศึกษา ครูผูสอน และผูปกครอง ควรรวมมือกันอยางใกลชิดในการดูแลชวยเหลือผูเรียนและจัดประสบการณการเรียนรูเพื่อพัฒนาผูเรียนจนเต็มศักยภาพ เพื่อกาวเขาสูการเปนพลเมืองอาเซียนอยางมีเกียรติภูมิและศักดิ์ศรีความเปนมนุษยของตน คณะผูจัดทํา คูม อื ครู


ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง สาระที่ 1

ภาษาไทย หลักภาษาและการใชภาษา (เฉพาะชัน้ ม.2)*

การอาน

มาตรฐาน ท 1.1 ใชกระบวนการอานสรางความรูและความคิดเพื่อนําไปใชตัดสินใจ แกปญหาในการดําเนินชีวิต และมีนิสัยรักการอาน ชั้น

ตัวชี้วัด

ม.2 1. อานออกเสียง บทรอยแกวและ บทรอยกรองได ถูกตอง 2. จับใจความสําคัญ สรุปความและอธิบาย รายละเอียดจากเรื่อง ที่อาน 3. เขียนผังความคิด เพื่อแสดงความ เขาใจในบทเรียน ตางๆ ที่อาน 4. อภิปรายแสดง ความคิดเห็นและ ขอโตแยงเกี่ยวกับ เรื่องที่อาน 5. วิเคราะหและจําแนก ขอเท็จจริง ขอมูล สนับสนุน และ ขอคิดเห็นจาก บทความที่อาน 6. ระบุขอสังเกต การชวนเชื่อหรือ การโนมนาว ความสมเหตุสมผล ของงานเขียน

สาระการเรียนรูแกนกลาง

• การอานออกเสียง ประกอบดวย - บทรอยแกวที่เปนบทบรรยาย และบทพรรณนา - บทรอยกรอง เชน กลอนบทละคร กลอนนิทาน กลอนเพลงยาว และกาพยหอโคลง • การอานจับใจความจากสื่อตางๆ เชน - วรรณคดีในบทเรียน - บทความ - บันทึกเหตุการณ - บทสนทนา - บทโฆษณา - งานเขียนประเภทโนมนาวใจ - งานเขียนหรือบทความแสดงขอเท็จจริง - เรื่องราวจากบทเรียนในกลุมสาระการเรียนรู ภาษาไทย และกลุมสาระการเรียนรูอื่น

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

• หนวยการเรียนรูที่ 1 การอานออกเสียง

เสร�ม

9

• หนวยการเรียนรูที่ 2 การอานในชีวิตประจําวัน

_________________________________ หมายเหตุ : สําหรับสาระที่ 5 (วรรณคดีและวรรณกรรม) จะอยูในหนังสือเรียนภาษาไทย วรรณคดีและวรรณกรรม ม.2 ของ อจท. ซึ่งเปนหนังสือที่จัดทํา ควบคูกับหนังสือเรียนภาษาไทย หลักภาษาและการใชภาษา เลมนี้

คูม อื ครู


ชั้น

เสร�ม

10

ตัวชี้วัด

ม.2 7. อานหนังสือ บทความ (ตอ) หรือคําประพันธ อยางหลากหลาย และประเมินคุณคา หรือแนวคิดที่ไดจาก การอาน เพื่อนําไป ใชแกปญหาในชีวิต 8. มีมารยาทในการอาน

สาระที่ 2

สาระการเรียนรูแกนกลาง

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

• การอานตามความสนใจ เชน - หนังสืออานนอกเวลา - หนังสือที่นักเรียนสนใจและเหมาะสมกับวัย - หนังสืออานที่ครูและนักเรียนกําหนดรวมกัน

• หนวยการเรียนรูที่ 2 การอานในชีวิตประจําวัน

• มารยาทในการอาน

• หนวยการเรียนรูที่ 1 การอานออกเสียง

การเขี​ียน

มาตรฐาน ท 2.1 ใชกระบวนการเขียนเขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ยอความ และเขียนเรื่องราวในรูปแบบตางๆ เขียนรายงานขอมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาคนควาอยางมีประสิทธิภาพ ชั้น

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

ม.2 1. คัดลายมือตัวบรรจง • การคัดลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัด ครึ่งบรรทัด ตามรูปแบบการเขียนตัวอักษรไทย 2. เขียนบรรยาย • การเขียนบรรยายและพรรณนา และพรรณนา 3. เขียนเรียงความ • การเขียนเรียงความเกี่ยวกับประสบการณ

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

• หนวยการเรียนรูที่ 1 การคัดลายมือ • หนวยการเรียนรูที่ 2 การเขียนเพื่อการสื่อสาร • หนวยการเรียนรูที่ 2 การเขียนเพื่อการสื่อสาร • หนวยการเรียนรูที่ 2 4. เขียนยอความ • การเขียนยอความจากสื่อตางๆ เชน นิทาน คําสอน บทความทางวิชาการ บันทึกเหตุการณ การเขียนเพื่อการสื่อสาร เรื่องราวในบทเรียน ในกลุมสาระการเรียนรูอื่น นิทานชาดก 5. เขียนรายงานการ • การเขียนรายงาน • หนวยการเรียนรูที่ 2 ศึกษาคนควา - การเขียนรายงานจากการศึกษาคนควา การเขียนเพื่อการสื่อสาร - การเขียนรายงานโครงงาน 6. เขียนจดหมายกิจธุระ • การเขียนจดหมายกิจธุระ • หนวยการเรียนรูที่ 2 - จดหมายเชิญวิทยากร การเขียนเพื่อการสื่อสาร - จดหมายขอความอนุเคราะห

คูม อื ครู


ชั้น

ตัวชี้วัด

ม.2 7. เขียนวิเคราะห (ตอ) วิจารณ และแสดง ความรู ความคิดเห็น หรือโตแยงในเรื่อง ที่อานอยางมีเหตุผล

8. มีมารยาทในการ เขียน

สาระที่ 3

สาระการเรียนรูแกนกลาง

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

• การเขียนวิเคราะห วิจารณ และแสดงความรู ความคิดเห็นหรือโตแยงจากสื่อตางๆ เชน - บทความ - บทเพลง - หนังสืออานนอกเวลา - สารคดี - บันเทิงคดี

• หนวยการเรียนรูที่ 2 การเขียนเพื่อการสื่อสาร

• มารยาทในการเขียน

• หนวยการเรียนรูที่ 2 การเขียนเพื่อการสื่อสาร

เสร�ม

11

การฟง การดู และการพูด

มาตรฐาน ท 3.1 สามารถเลือกฟงและดูอยางมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู ความคิด และความรูสึกในโอกาสตางๆ อยางมีวิจารณญาณและสรางสรรค ชั้น

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

ม.2 1. พูดสรุปใจความ • การพูดสรุปความจากเรื่องที่ฟงและดู สําคัญของเรื่องที่ฟง และดู

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

• หนวยการเรียนรูที่ 1 หลักการฟงและการดูสื่อ • หนวยการเรียนรูที่ 2 การพูดสรุปความจากสื่อที่ฟง และดู

2. วิเคราะหขอเท็จจริง • การพูดวิเคราะหและวิจารณจากเรื่องที่ฟงและดู • หนวยการเรียนรูที่ 1 หลักการฟงและการดูสื่อ ขอคิดเห็น และ • หนวยการเรียนรูที่ 2 ความนาเชื่อถือของ การพูดสรุปความจากสื่อที่ฟง ขาวสารจากสื่อตางๆ และดู 3. วิเคราะหและวิจารณ เรื่องที่ฟงและดูอยาง มีเหตุผล เพื่อนํา ขอคิดมาประยุกตใช ในการดําเนินชีวิต 4. พูดในโอกาสตางๆ ไดตรงตาม วัตถุประสงค

• การพูดในโอกาสตางๆ เชน - การพูดอวยพร - การพูดโนมนาว - การพูดโฆษณา

• หนวยการเรียนรูที่ 3 การพูดในโอกาสตางๆ และการพูดรายงาน

คูม อื ครู


ชั้น

เสร�ม

12

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

• การพูดรายงานการศึกษาคนควาจาก ม.2 5. พูดรายงานเรื่อง (ตอ) หรือประเด็นที่ แหลงเรียนรูตางๆ ศึกษาคนควา จากการฟง การดู และการสนทนา 6. มีมารยาทในการฟง • มารยาทในการฟง การดู และการพูด การดู และการพูด

สาระที่ 4

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

• หนวยการเรียนรูที่ 3 การพูดในโอกาสตางๆ และการพูดรายงาน

• หนวยการเรียนรูที่ 1 หลักการฟงและการดูสื่อ • หนวยการเรียนรูที่ 2 การพูดสรุปความจากสื่อที่ฟง และดู

หลักการใชภาษาไทย

มาตรฐาน ท 4.1 เขาใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของภาษา ภูมิปญญา ทางภาษา และรักษาภาษาไทยไวเปนสมบัติของชาติ ชั้น

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

ม.2 1. สรางคําในภาษาไทย • การสรางคําสมาส 2. วิเคราะหโครงสราง ประโยคสามัญ ประโยครวม และประโยคซอน 3. การแตงบทรอยกรอง

• ลักษณะของประโยคในภาษาไทย - ประโยคสามัญ - ประโยครวม - ประโยคซอน • กลอนสุภาพ

4. ใชคําราชาศัพท

• คําราชาศัพท

5. รวบรวมและอธิบาย • คําที่มาจากภาษาตางประเทศ ความหมายของคํา ภาษาตางประเทศ ที่ใชในภาษาไทย

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

• หนวยการเรียนรูที่ 1 การสรางคําและประโยค • หนวยการเรียนรูที่ 1 การสรางคําและประโยค

• หนวยการเรียนรูที่ 3 การแตงบทรอยกรอง ประเภทกลอน • หนวยการเรียนรูที่ 2 คําราชาศัพท • หนวยการเรียนรูที่ 1 การสรางคําและประโยค

_________________________________ * สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, กระทรวงศึกษาธิการ. ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย. (กรุงเทพมหานคร : ชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย, 2551), หนา 7-59.

คูม อื ครู


จุดเนนการพัฒนาคุณภาพผูเรียน* การขับเคลื่อนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551 และการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษ ที่สอง (พ.ศ. 2552-2561) ใหประสบผลสําเร็จตามจุดเนนการพัฒนาคุณภาพผูเรียน โดยใหทุกภาคสวน รวมกันดําเนินการ กระทรวงศึกษาธิการไดกําหนดจุดเนนการพัฒนาคุณภาพผูเรียน ดังนี้ เสร�ม

ทักษะ ความสามารถ

13

คุณลักษณะ จุดเนนตามชวงวัย

ม. 4-6

แสวงหาความรู เพื่อแกปญหา ใชเทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู ใชภาษาตางประเทศ (ภาษาอังกฤษ) มีทักษะการคิดขั้นสูง ทักษะชีวิต ทักษะการสื่อสารอยางสรางสรรคตามชวงวัย

ม. 1-3

แสวงหาความรูดวยตนเอง ใชเทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู มีทักษะการคิดขั้นสูง ทักษะชีวิต ทักษะการสื่อสารอยางสรางสรรคตามชวงวัย

• อยูอยางพอเพียง

ป. 4-6

อานคลอง เขียนคลอง คิดเลขคลอง ทักษะการคิดขั้นพื้นฐาน ทักษะชีวิต ทักษะการสื่อสารอยางสรางสรรคตามชวงวัย

• ใฝเรียนรู

ป. 1-3

อานออก เขียนได คิดเลขเปน มีทักษะการคิดขั้นพื้นฐาน ทักษะชีวิต ทักษะการสื่อสารอยางสรางสรรคตามชวงวัย

• ใฝดี

• มุงมั่นในการศึกษา และการทํางาน

คุณลักษณะตามหลักสูตร

• รักชาติ ศาสน กษัตริย • ซื่อสัตยสุจริต • มีวินัย • ใฝเรียนรู • อยูอยางพอเพียง • มุงมั่นในการทํางาน • รักความเปนไทย • มีจิตสาธารณะ

* สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, กระทรวงศึกษาธิการ. แนวทางการนําจุดเนนการพัฒนาผูเรียน สูการปฏิบัติ. (กรุงเทพมหานคร : ชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย, 2553), หนา 3-10.

คูม อื ครู


คําอธิบายรายวิชา รายวิชา ภาษาไทย หลักภาษาและการใชภาษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 รหัสวิชา ท…………………………………

กลุมสาระการเรียนรู ภาษาไทย ภาคเรียนที่ 1-2 เวลา 60 ชั่วโมง/ป

ฝกทักษะการอาน การเขียน การฟง การดู และการพูด การวิเคราะห และประเมินคาวรรณคดี เสร�ม วรรณกรรม โดยศึกษาเกีย่ วกับการอานออกเสียง การอานในชีวติ ประจําวัน ฝกทักษะการคัดลายมือ การเขียน 14 บรรยายและพรรณนา การเขียนเรียงความ การเขียนยอความ การเขียนจดหมายกิจธุระ การเขียนแสดง ความคิดเห็น วิเคราะหวิจารณ หรือโตแยงจากสื่อตางๆ เขียนรายงานการศึกษาคนควา การเขียนรายงาน โครงงาน ฝกทักษะการพูดสรุปใจความสําคัญ การพูดวิเคราะห วิจารณ แสดงความคิดเห็นเรื่องที่ฟงและดู อยางมีเหตุผล เพือ่ นําขอคิดมาประยุกตใชในการดําเนินชีวติ การพูดในโอกาสตางๆ การพูดรายงานการศึกษา คนควา โดยคํานึงถึงมารยาทที่เหมาะสม และศึกษาเกี่ยวกับลักษณะการสรางคําในภาษาไทย การวิเคราะห โครงสรางของประโยค การใชคาํ ราชาศัพท การจําแนกคําทีย่ มื มาจากภาษาตางประเทศ การแตงบทรอยกรอง ประเภทกลอนสุภาพ วิเคราะห วิถไี ทย ประเมินคา ความรูแ ละขอคิดจากวรรณคดี วรรณกรรม โคลงภาพพระราชพงศาวดาร บทเสภาสามัคคีเสวก ตอน วิศวกรรมาและสามัคคีเสวก ศิลาจารึกหลักที่ 1 บทละครเรื่อง รามเกียรติ์ ตอน นารายณปราบนนทก กาพยหอโคลงประพาสธารทองแดง โคลงสุภาษิตพระราชนิพนธพระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว กลอนดอกสรอยรําพึงในปาชา นิราศเมืองแกลง ทองจําบทอาขยานที่กําหนดและ บทรอยกรองที่มีคุณคาตามความสนใจ โดยใชกระบวนการอานเพื่อสรางความรูความคิดนําไปใชตัดสินใจ แกปญหาในการดําเนินชีวิต กระบวนการเขียนเขียนสื่อสารอยางมีประสิทธิภาพ กระบวนการฟง การดู และการพูด สามารถเลือกฟง และดู และพูดแสดงความรู ความคิด อยางมีวิจารณญาณและสรางสรรค เพื่อใหเขาใจธรรมชาติภาษาและ หลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษา พลังภาษา ภูมิปญญาทางภาษา วิเคราะหวิจารณวรรณคดีและ วรรณกรรมอยางเห็นคุณคาและนํามาประยุกตใชในชีวิตจริง รักษาภาษาไทยไวเปนสมบัติของชาติ และมีนิสัย รักการอาน การเขียน มีมารยาทในการอาน การเขียน การฟง การดู และการพูด ตัวชี้วัด ท 1.1

ม.2/1

ม.2/2

ม.2/3

ม.2/4

ม.2/5

ม.2/6

ม.2/7

ม.2/8

ท 2.1

ม.2/1

ม.2/2

ม.2/3

ม.2/4

ม.2/5

ม.2/6

ม.2/7

ม.2/8

ท 3.1

ม.2/1

ม.2/2

ม.2/3

ม.2/4

ม.2/5

ม.2/6

ท 4.1

ม.2/1

ม.2/2

ม.2/3

ม.2/4

ม.2/5

ท 5.1

ม.2/1

ม.2/2

ม.2/3

ม.2/4

ม.2/5 รวม 32 ตัวชี้วัด

คูม อื ครู


วิเคราะหมาตรฐานการเรียนรูแ ละตัวชีว้ ดั รายวิชา ภาษาไทย หลักภาษาและการใชภาษา ม.2

มาตรฐาน ท 2.1 ตัวชี้วัด

มาตรฐาน ท 1.1 ตัวชี้วัด ตัวชี้วัด

มาตรฐาน ท 3.1

สาระที่ 3

ตัวชี้วัด

มาตรฐาน ท 4.1

สาระที่ 4

✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓

✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓

1 2 3 4 5 6 7 8 1 2 3 4 5 6 7 8 1 2 3 4 5 6 1 2 3 4 5

สาระที่ 2

สาระที่ 1

หมายเหตุ ✓ เฉพาะที่สอดคลองกับตัวชี้วัดชั้น ม.2 เทานั้น ตัวชี้วัดที่เหลือจะจัดการเรียนการสอนในชั้น ม.3

หนวยการเรียนรูที่ 2 : การเขียนเพื่อการสื่อสาร

ตอนที่ 2 : การพัฒนาทักษะการเขียน หนวยการเรียนรูที่ 1 : การคัดลายมือ

หนวยการเรียนรูที่ 2 : การอานในชีวิตประจําวัน

ตอนที่ 1 : การพัฒนาทักษะการอาน หนวยการเรียนรูที่ 1 : การอานออกเสียง

หนวยการเรียนรู

มาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัด

คําชี้แจง : ใหผูสอนใชตารางน�้ตรวจสอบวา เน�้อหาสาระการเรียนรูในหนวยการเรียนรูสอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดชั้นปในขอใดบาง

ตาราง

เสร�ม

15

คูม อื ครู


คูม อื ครู

หนวยการเรียนรูที่ 3 : การแตงบทรอยกรอง ประเภทกลอน

หนวยการเรียนรูที่ 2 : คําราชาศัพท

ตอนที่ 4 : หลักการใชภาษา หนวยการเรียนรูที่ 1 : การสรางคําและประโยค

หนวยการเรียนรูที่ 3 : การพูดในโอกาสตางๆ และการพูดรายงาน

หนวยการเรียนรูที่ 2 : การพูดสรุปความจากสื่อที่ฟง และดู

มาตรฐาน ท 2.1 ตัวชี้วัด

มาตรฐาน ท 1.1 ตัวชี้วัด

ตัวชี้วัด

มาตรฐาน ท 3.1

สาระที่ 3 ตัวชี้วัด

มาตรฐาน ท 4.1

สาระที่ 4

✓ ✓ ✓

✓ ✓

✓ ✓

1 2 3 4 5 6 7 8 1 2 3 4 5 6 7 8 1 2 3 4 5 6 1 2 3 4 5

สาระที่ 2

สาระที่ 1

16

ตอนที่ 3 : การพัฒนาทักษะการฟง การดู และการพูด หนวยการเรียนรูที่ 1 : หลักการฟงและการดูสื่อ

หนวยการเรียนรู

มาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัด

เสร�ม


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน

ภาษาไทย

หลักภาษาและการใชภาษา ม.๒ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๒ กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย

ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

ผูเรียบเรียง

นางฟองจันทร สุขยิ่ง นางกัลยา สหชาติโกสีย นางสาวศรีวรรณ ชอยหิรัญ นายภาสกร เกิดออน นางสาวระวีวรรณ อินทรประพันธ

ผูตรวจ

นางบุญลักษณ เอี่ยมสําอางค นางเกื้อกมล พฤกษประมูล นางสาวโสภิต พิทักษ

บรรณาธิการ

นายเอกรินทร สี่มหาศาล พิมพครั้งที่ ๖

สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติ รหัสสินคา ๒๒๑๑๐๐๓

¤Œ¹¤ÇÒÁÃÙŒ¢ÂÒ¤ÇÒÁ¤Ô´¨Ò¡

¾ÔÁ¾ ¤ÃÑ駷Õè 1 ÃËÑÊÊÔ¹¤ŒÒ 2241016

EB GUIDE

ที่พิมพกํากับหัวขอสําคัญในหนังสือเรียนหลักสูตรแกนกลางฯ ผาน www.aksorn.com ไปยังแหลงความรูทั่วไทย-ทั่วโลก

คณะผูจัดทําคูมือครู ประนอม พิมพรรณ สมปอง เกศรินทร

พงษเผือก เพ็ญศิริ ประทีปชวง หาญดํารงครักษ


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน

ภาษาไทย

หลักภาษาและการใชภาษา ม.๒ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๒ กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย

ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

คําเ ตือน

หนังสือเลมนี้ไดรับการคุมครองตาม พ.ร.บ. ลิขสิทธิ์ หามมิใหผูใด ทําซํ้า คัดลอก เลียนแบบ ทําสําเนา จําลองงานจากตนฉบับหรือแปลงเปนรูปแบบอื่น ในวิธีตางๆ ทุกวิธี ไมวาทั้งหมดหรือบางสวน โดยมิไดรับอนุญาตจากเจาของลิขสิทธิ์ถือเปนการละเมิด ผูกระทําจะตองรับผิดทั้งทางแพงและทางอาญา

พิมพครั้งที่ ๖

สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติ ISBN : 978-616-203-353-7


กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

อธิบายความรู

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

¤íÒá¹Ð¹íÒ㹡ÒÃ㪌˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹

หนังสือเรียนภาษาไทย หลักภาษาและการใชภาษาเลมนี้ เปนสื่อสําหรับใชประกอบการเรียน การสอนรายวิชาพื้นฐาน กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๒ เนื้อหาตรงตามสาระการเรียนรูแกนกลางขั้นพื้นฐาน อานทําความเขาใจงาย ใหทั้งความรูและ ชวยพัฒนาผูเรียนตามหลักสูตรและตัวชี้วัด เนื้อหาสาระแบงออกเปนหนวยการเรียนรูตามโครงสรางรายวิชา สะดวกแกการจัดการเรียนการสอนและการวัดผลประเมินผล พรอมเสริมองคประกอบอื่นๆ ที่จะชวยทําให ผูเรียนไดรับความรูอยางมีประสิทธิภาพ à¡ÃÔè¹¹íÒà¾×èÍãˌࢌÒ㨶֧ÊÒÃÐÊíÒ¤ÑÞ ã¹Ë¹‹Ç·Õè¨ÐàÃÕ¹

¨Ñ´¡ÅØ‹Áà¹×éÍËÒ໚¹Ë¹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ Êдǡᡋ¡ÒèѴ¡ÒÃàÃÕ¹¡ÒÃÊ͹

๓.๓) หมวดอวัยวะ เช่น ค�ำรำชำศัพท์ พระโอษฐ์ พระขนง พระภมู พระเพลา พระโลมา พระเศียร พระกรรณ พระกัจฉะ

ค�ำสำมัญ ปาก คิ้ว ตัก ขน หัว หู รักแร้

ºÍ¡àÅ‹Òà¡ŒÒÊÔº ໚¹àÃ×Íè §¹‹ÒÃÙàŒ ¾ÔÁè àµÔÁ ¨Ò¡à¹×éÍËÒÁÕá·Ã¡à»š¹ÃÐÂÐæ ค�ำรำชำศัพท์

ค�ำสำมัญ ฟัน หน้าผาก เท้า ลิ้น คอ มือ เข่า

๓.๔) หมวดเครือญาติ เช่น

ค�ำสำมัมัญ ปู่ทวด ยายทวด ตาทวด บิดา แม่ยาย ลูกชาย ลูกเขย

ó

หนวยที่ การแตงบทรอยกรองประเภทกลอน

ตัวชี้วัด

ท ๔.๑ ม.๒/๓ ■

แตงบทรอยกรอง

สาระการเรียนรูแกนกลาง ■

แตงบทรอยกรองประเภทกลอน

ค�ำรรำชำศัศัพท์ พระปัยกา พระปัยยิกา พระปัยกะ าถ พระชนกนาถ พระราชบิดาา พระชนกน พระสัสสุ พระราชโอรส พระชามาดา

๓.๕) หมวดค�ากริยา เช่น

ร

ค�ำรำชำศัศัพท์

ค�ำสำมัญ นั่ง นอน ดู โกรธ ไป เดิน ให้

อยกรองประเภทกลอน เป ร อ ยกรองที่ นั บ ว า แพร ห ลายที น และเชื่ อ กั น ว า เป น ของไทยแ ท ๆ ่ สุ ด ดัดแปลงมาจากคําประพันธของชาติมิ ไ ด ซึ่ ง แต ง กั น มาตั้ ง แต ส มั ย กรุ ง ศรี อ ยุ อื่น ธ ยา โดยแพร ห ลายและเ ฟ  อ งฟู อ ย า งมากใน รัชสมัยพระเจาอยูห  วั บรมโกศ ดังเห็ วรรณคดีที่แตงเปนกลอนหลายเรื่อนไดจาก ง อาทิ บทละครเรื่องอิเหนาและดาหลัง เพลงยาว เจาฟากุง เปนตน

ประทับ บรรทม ทอดพระเนตร กริ้ว เสด็จ ทรงพระด�าเนิน พระราชทาน

๒.๓ หลักในการอานเพือ่ การวิเคราะห

การอานเพื่อการวิเคราะหมีหลักการอาน ดังนี้ เชน เปนนิทาน บทรอยกรอง ๑) พิจารณารูปแบบของเรื่อง วาเรื่องที่อานนั้นใชรูปแบบใด

เปนตน

ค�ำสำมัญ ย่าทวด ปู่, ย่า ยาย ตา, ยาย ตา, มารดา พ่อตา ลูกสาว ลูกสะใภ้

ค�ำสสำมัญ ยืน กิน พูด หัวเราะ ไอ เจ็บป่วย อาบน�า้

ศาสตราจารย์(พิเศษ) พลตรี หม่

อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช

ศาสตราจารย์ (พิเศษ) พลตรี หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ ์ ปราโมช เกิดเมือ่ วันที ่ ๒๐ เมษา ยน พ.ศ. ๒๔๕๔ เป็นโอรสสุดท้องของ พลโท พระว รวงศ์เธอ พระองค์ เจ้าค�ารบกับหม่อมแดง (บุนนาค) ปร าโมช ณ อยุธยา หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์จบการศึก ษาระดับมัธยมจาก โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ก่ อนจะไปศึก ประเทศอังกฤษ จนจบการศึกษาระดั ษาต่อที่ บปริญญาตรี ในสาขาปรัชญา การเมืองและเศร ษฐศาสตร์ ที่ควีนส์ คอลเลจ มหาวิทยาลัยออกซ์ฟอร์ ด ได้รับปริญญาตรี เกียรตินิยม ศาสตราจารย์ (พิเศษ) พลตรี หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช ถือได้ว่าเป็นปู ชนียบุคคลและเป็น นักปราชญ์คนหนึ่งของประเทศไทย มีผลงานหลายด้านที่มีชื่อเสียงและโดด เด่น ได้แก่ ทางด้าน การเมือง เคยด�ารงต�าแหน่งนายกรั ฐมนตรีและประธานรัฐสภา ทางด้ านงานเขียนท่านได้เริ่มต้น งานเขียนอย่างจริงจัง เมื่อก่อตั้งหนั งสือพิมพ์สยามรัฐ ใน พ.ศ. ๒๔๙๓ โดยท่านด�ารงต�าแหน่ง เจ้าของ ผู้อ�านวยการและนักเขีย นประจ�า งานเขียนของท่านหลายเ รื่องได้รับ หนังสือพิมพ์สยามรัฐเป็นประจ�า ผลงานเขียนซึ่งได้รับความนิยมมาจนถ การตีพิมพ์ลงใน ึงปัจจุบันมีหลายเรื่อง เช่น สี่แผ่นดิน หลายชีวิต โครงกร ะดูกในตู้ กาเหว่าที่บางเพลง และเรื ่องมอม ซึ่งเป็นเรื่องสั้นที่ เคยได้รับเลือกให้เป็นบทเรียนในวิ ชาภาษาไทยระดับมัธยมศึกษา หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช ถึงแก่อสัญกรรมอย่างสงบด้วยโรคชรา สิริอายุได้ ๘๔ ปี ๕ เดือน ส�าหรับเกียรติคุณที่ท่า นได้รับใน พ.ศ. ๒๕๒๘ ได้รับการยกย ่องเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาวรรณศิลป์ พ.ศ. ๒๕๔๒ องคก์ ารยูเนสโกได้ ประกาศยกย่องเชิดชูเกียรติให้เป็ นบุคคลส�าคัญของโลกใน ๔ สาขา ได้แก่ การศึกษา วัฒนธรรม ส ังคมศาสตร์และสื่อสารมวลชน

ค�ำรำชำศัพท์ พระปัยยิกา พระอัยกา, พระอัยกี พระอัยกะ, พระอัยยิกา พระราชชนนี พระราชมารดา พระสัสสุระ พระราชธิดา พระสุณิสา

ค�ำรำชำศัพท์ ทรงยืน เสวย ตรัส ทรงพระสรวล ทรงพระกรรสะ ประชวร สรง

(เกร็ดชีวิตคึกฤทธิ์ ปราโมช: สยามรั

ฐ)

133

จับใจความสําคัญของเรื่องใหได

๒) จับใจความสําคัญของเรื่อง อานเรื่องโดยละเอียด แลว จริง ขอคิดเห็น ขอมูลสนับสนุน ๓) แยกพิจารณา โดยจําแนกเปนประเด็นดังนี้ คือ ขอเท็จ อเรื่องนั้น ๔) พิจารณาทัศนคติของผูเขียน วาผูเขียนมีทัศนคติอยางไรต ตามลําดับเหตุการณ ผลไปหาเหตุ ปหาผล ไ จากเหตุ ารณ ก ๕) พิจารณาการเรียงลําดับเหตุ

ตอนที่

ñ การพัฒนาทักษะการอาน

ประจําหนวยการเรียนรู

๑. การเขียนยอความ การบรรยายและการพรรณนา มีประโยชนอยางไร ๒. การเขียนรายงานการศึกษาคนควาและโครงงาน มีหลักการเขียนอยางไร ๓. การเขียนจดหมายกิจธุระ สามารถนําไปประยุกตใชในชีวิตประจําวันไดอยางไร ๔. การเขียนวิเคราะหมีหลักการเขียนอยางไร ๕. การเขียนแสดงความคิดเห็นและการเขียนโตแยง มีลักษณะการเขียนเหมือนหรือตางกันอยางไร

หรือไม สื่อความหมายไดชัดเจนหรือไมอยางไร

๒.๔ ตัวอยางการอานเพือ่ การวิเคราะห

ส.พลายนอย

นก็ตรงที่ไมตะพดเปนไมไผที่มีผิว ไมตะพดเปนไมถือที่มีศักดิ์ศรีเชนเดียวกับไมแกว จะผิดกั ้งตน มีขนาดเหมาะที่จะใชเปนไมถือ ที่ เหลืองเรียบงามตามธรรมชาติ ไมตะพดเปนไมเลี้ยงที่ตันทั คเชนทรสนานมาแลว มีหลักฐาน ในกระบวนแห อ ื ถ  โบราณเคยใช ย พราะในสมั เ ็ ก รี ศ ์ ดิ ก ั ศ มี กลาววา าฯ ใหกรมนาจัดคนเขากระบวนแห ปรากฏวา พ.ศ. ๒๓๕๕ ในรัชกาลที่ ๒ ทรงพระกรุณาโปรดเกล ที่ใหถือตะพดก็เพราะกรมนาเกี่ยวกับ ดังกลาว และคนเหลานี้จํานวน ๔๐ คนถือไมตะพด เหตุ การทํานาที่ตองใชควาย สิ่งที่ใชบําราบควายก็คือไมตะพด ก แตถาเปนไมตะพดที่ใชถือ ไมตะพดที่ใชตีควายนั้นเปนไมตะพดธรรมดา ไมพิถีพิถันอะไรนั ใหญหรือเล็กจนเกินไป และนิยมเลี่ยม ทั่วๆ ไปก็จะเลือกที่มีลักษณะงาม ขนาดพอเหมาะมือไม เปนรูปตางๆ เชน รูปหัวสุนัข หัวมา า ํ ท บางที ตามฐานะ น ่ งอื า โลหะอย อ หรื น ยเงิ ว ะพดด ต ไม ที่หัว ไมอวดกันได และบางทานสะสมไวมาก รูปเม็ดมะยม ฯลฯ ไมตะพดดังกลาวจะยาวพอทีจ่ ะถือเปน พิพัฒน มีไมตะพดถึง ๓๐ อัน มีชื่อดัง ตั้งชื่อไวทุกอัน เชนไมตะพดของคุณหญิงสําลี ยมาภัยพงศ ตอไปนี้ http://www.aksorn.com/LC/Thai_Gra/M2/05

¤íÒ¶ÒÁ»ÃШíÒ˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒáÅСԨ¡ÃÃÁÊÌҧÊÃä ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙàŒ ¾×Íè ¾Ñ²¹Ò¼ÙàŒ ÃÕ¹ãËŒÁ¤Õ ³ Ø ÀÒ¾µÒÁµÑǪÕÇé ´Ñ คําถาม

่เหมาะสมกับประเภทงานเขียน ๖) พิจารณาการใชสํานวนภาษา วาผูเขียนมีการใชภาษาที

º·¤ÇÒÁÊíÒËÃѺ¡ÒÃÍ‹Ò¹à¾×èÍ¡ÒÃÇÔà¤ÃÒÐË ไมตะพด

20

¹íÒàʹÍà¹×éÍËÒã¹ÃٻẺµÒÃÒ§ à¾×èÍãËŒ§‹Òµ‹Í¡Ò÷íÒ¤ÇÒÁࢌÒ㨠áÅÐà¡Ô´¤ÇÒÁ¤Ô´ÃǺÂÍ´

µÑÇÍ‹ҧẺ½ƒ¡à¾×Íè ãËŒ¹¡Ñ àÃÕ¹½ƒ¡·Ñ¡ÉР㹡Òþٴ Í‹Ò¹ áÅÐà¢Õ¹ ËÇÁ¡Ñ¹¨¹à¡Ô´ ¤ÇÒÁªíÒ¹ÒÞã¹·Ñ¡ÉÐ

บทละคร หรือบทความ

บอกเล่าเก้าสิบ

พระทนต์ พระนลาฏ พระบาท พระชิวหา พระศอ พระหัตถ์ พระชานุ

EB GUIDE

Web Guide á¹Ð¹íÒáËÅ‹§¤Œ¹¤ÇŒÒ¢ŒÍÁÙÅ à¾ÔèÁàµÔÁ¼‹Ò¹Ãкº Online

กิจกรรม

ภาษาไทยไทยรักสลักจิต ภาษาไทยมรดกตกทอดมา ภาษาไทยไดมาแตบรรพบุรุษ ภาษาไทยชาวไทยใฝจํานง

ภาษาไทยไทยบูชิตสมคุณคา ชนชาติไทยรักษาใหยืนยง ภาษาไทยพิสุทธิ์ใหสูงสง ใหถูกตองยอมมั่นคงคูชาติไทย

กิจกรรมที่

กิจกรรมที่

กิจกรรมที่

(แดภาษาไทย : ฐะปะนีย นาครทรรพ)

๒๙

๗๖

Design ˹ŒÒẺãËÁ‹ ÊǧÒÁ ¾ÔÁ¾ ô ÊÕ µÅÍ´àÅ‹Á ª‹ÇÂãˌ͋ҹ·íÒ¤ÇÒÁࢌÒã¨ä´Œ§‹ÒÂ

สรางสรรคพัฒนาการเรียนรู ใหนักเรียนเขียนเรียงความสั้นๆ ความยาวประมาณ ๑ หนา กระดาษ A4 เกี่ยวกับขอคิด คติธรรมและคุณธรรม เชน ความกตัญู ความสามัคคี ความมีวินัย เปนตน แลวนําเสนอหนาชั้นเรียน ใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ ๓-๕ คน ชวยกันจัดทํารายงานการศึกษา คนควาเรื่องที่สมาชิกในกลุมสนใจ เชน ปลูกพืชสวนครัวในโรงเรียน คํายืมภาษาตางประเทศในภาษาไทย โดยเขียนตามหลักการเขียน และทํารายงานสงครูผูสอน ใหนักเรียนเลือกบทความ สารคดี หรือบทเพลงที่สนใจคนละ ๑ เรื่อง นํามาเขียนวิเคราะห วิจารณหรือแสดงความคิดเห็นตามหลักการ แลวสงครู ผูสอน และทํารายงานสงครูผูสอน


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

สารบัญ ตอนที่ ๑

การพัฒนาทักษะการอาน

หนวยการเรียนรูที่ ๑ การอานออกเสียง ●

ความรูพื้นฐานในการอาน การอานออกเสียงบทรอยแกว การอานออกเสียงรอยกรอง

หนวยการเรียนรูที่ ๒ การอานในชีวิตประจําวัน ●

ตอนที่ ๒

การอานเพื่อจับใจความสําคัญ การอานเพื่อการวิเคราะห การอานเพื่อประเมินคา

การพัฒนาทักษะการเขียน

หนวยการเรียนรูที่ ๑ การคัดลายมือ ●

ความสําคัญของลายมือ ประโยชนของการคัดลายมือ หลักการคัดลายมือ รูปแบบตัวอักษร

หนวยการเรียนรูที่ ๒ การเขียนเพื่อการสื่อสาร ●

ความรูพื้นฐานเกี่ยวกับการเขียน การใชคําในการเขียน การเขียนบรรยาย การเขียนพรรณนา การเขียนเรียงความ การเขียนยอความ การเขียนจดหมายกิจธุระ การเขียนรายงานการศึกษาคนควา การเขียนรายงานโครงงาน การเขียนวิเคราะหวิจารณ การเขียนแสดงความรู การเขียนแสดงความคิดเห็น การเขียนโตแยง

๑ ๒

๓ ๖ ๑๒

๒๒ ๒๓ ๒๘ ๓๑

๓๕ ๓๖ ๓๗ ๓๗ ๓๗ ๓๙

๔๓ ๔๔ ๔๖ ๔๙ ๕๑ ๕๔ ๕๙ ๖๑ ๖๔ ๖๗ ๖๘ ๗๐ ๗๓ ๗๔


กระตุน ความสนใจ Engage

ตอนที่ ๓

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

การพัฒนาทักษะการฟง การดู และการพูด ๗๗

หนวยการเรียนรูที่ ๑ หลักการฟงและการดูสื่อ ●

ความรูพื้นฐานในการฟงและดูสื่อ สื่อในชีวิตประจําวัน หลักการฟงและการดูสื่ออยางมีประสิทธิภาพ

หนวยการเรียนรูที่ ๒ การพูดสรุปความจากสื่อที่ฟงและดู

๗๘ ๗๙ ๘๑ ๘๓

๘๘

ความรูพื้นฐานในการพูด หลักการพูดสรุปความจากสื่อ การพูดวิเคราะหวิจารณจากสื่อที่ฟงและดู

๘๙ ๙๐ ๙๒

หนวยการเรียนรูที่ ๓ การพูดในโอกาสตางๆ และการพูดรายงาน

๙๕

ตอนที่ ๔

การพูดในโอกาสตางๆ การพูดรายงานการศึกษาคนควา

หลักการใชภาษา

หนวยการเรียนรูที่ ๑ การสรางคําและประโยค ●

การสรางคํา คําภาษาตางประเทศในภาษาไทย ประโยคในภาษาไทย

หนวยการเรียนรูที่ ๒ คําราชาศัพท ●

ที่มาของคําราชาศัพท ประโยชนของการเรียนคําราชาศัพท คําราชาศัพทสําหรับบุคคลตางๆ

หนวยการเรียนรูที่ ๓ การแตงบทรอยกรองประเภทกลอน ●

บรรณานุกรม

ลักษณะของกลอน การแตงกลอนสุภาพ

๙๖ ๑๐๑

๑๐๕ ๑๐๖ ๑๐๗ ๑๑๕ ๑๒๑

๑๒๙

๑๓๐ ๑๓๐ ๑๓๑

๑๓๘ ๑๓๙ ๑๓๙

๑๔๖

ตรวจสอบผล Evaluate


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate


กระตุน้ ความสนใจ Engage

ตอนที่

ส�ารวจค้นหา

อธิบายความรู้

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Expore

Explain

Expand

Evaluate

ñ การพัฒนาทักษะการอาน

กระตุน้ ความสนใจ

Engage

1. ครูนําเขาสูกระบวนการเรียนการสอน ดวยการอานพระราชดํารัสในสมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ใหนกั เรียน ฟง ขออาสาสมัครออกมาอานออกเสียง หรืออานออกเสียงโดยพรอมเพรียงกัน การอานจะชวยเสริมสรางทั้งดานการคิด การวิเคราะห การประมวลผล การใชทฤษฎี ใหเกิดผลทางปฏิบัติและยังชวยสงเสริมความ เขาใจอันดีในสังคมทุกระดับไปจนถึงสังคมโลก สงผลใหมนุษยชาติอยูรวมกันอยางสันติสุข...” (พระราชดํารัสในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี กลาวเปดงานสัปดาห หนังสือแหงชาติ ครั้งที่ 33 และสัปดาหหนังสือ นานาชาติ ครั้งที่ 3 ณ ศูนยการประชุม แหงชาติสิริกิติ์ วันที่ 25 มีนาคม 2548)

ภาษาไทยไทยรักสลักจิต ภาษาไทยมรดกตกทอดมา ภาษาไทยไดมาแตบรรพบุรุษ ภาษาไทยชาวไทยใฝจํานง

ภาษาไทยไทยบูชิตสมคุณคา ชนชาติไทยรักษาใหยืนยง ภาษาไทยพิสุทธิ์ใหสูงสง ใหถูกตองยอมมั่นคงคูชาติไทย (แด่ภาษาไทย : ฐะปะนีย นาครทรรพ)

จากนั้นตั้งคําถามเพื่อใหนักเรียนรวมกันแสดง ความคิดเห็น • นักเรียนคิดวาการอานมีความสําคัญตอชีวิต ประจําวันอยางไร (แนวตอบ การอานเปนเครื่องมือสําหรับ การแสวงหาความรู และความบันเทิง ทําให เปนบุคคลที่มีความรอบรู มีทักษะการคิด ความสามารถในการแกไขปญหา มีมุมมอง ตอโลกและชีวิต การเปดหนาหนังสือจึง เปรียบเสมือนการเปดหนาตางของชีวิต ใหพบเห็นและเรียนรูสิ่งตางๆ ผานตัวอักษร) 2. นักเรียนอานคําประพันธที่ปรากฏหนาตอนที่ 1 รวมกันถอดความเปนรอยแกว และแสดง ความคิดเห็นเกี่ยวกับคุณคาหรือขอคิดที่ไดรับ (แนวตอบ ภาษาไทยเปนสิ่งที่มีคุณคา เปนมรดก ทางวัฒนธรรมไทย ที่ตกทอดจากรุนสูรุน จึงสมควรที่ลูกหลานชาวไทยจะรักษาใหคงอยู ตอไป ดวยการใชใหถูกตอง)

เกร็ดแนะครู การเรียนการสอนในตอนที่ 1 การพัฒนาทักษะการอาน เปาหมายสําคัญคือ นักเรียนสามารถนําความรู ความเขาใจ เกี่ยวกับแนวทางการอานไปปรับใชกับ การอานในชีวิตประจําวันของตนเอง ใหมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล เพื่อให การอานในแตละครั้งเกิดประโยชนอยางแทจริง การจะบรรลุเปาหมายดังกลาว ครูควรเห็นความสําคัญของการอานและสราง เจตคติที่ดีตอการอานใหแกนักเรียน ชี้แนะใหเห็นวา การอานเปนการแสวงหาความรู กาวออกไปสูโลกกวางโดยไมเสียคาใชจายที่สิ้นเปลือง เมื่อนักเรียนเกิดความรูสึก ในเชิงบวกกับการอาน จึงใชวิธีใหนักเรียนมีสวนรวมในกระบวนการเรียนการสอน เปนผูสืบคนองคความรูดวยตนเอง เรียนรูแนวทางการปฏิบัติ รวมกันอธิบายความรู ความเขาใจผานขอคําถามของครู จนสามารถนําแนวทางไปปฏิบัติไดจริง โดยอาน งานเขียนจากสื่อที่หลากหลาย เพื่อพัฒนาทักษะการอานของตนเอง

คู่มือครู

1


กระตุน้ ความสนใจ Engage

ส�ารวจค้นหา

อธิบายความรู้

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Expore

Explain

Expand

Evaluate

เปาหมายการเรียนรู

1. อธิบายความหมายของการอานออกเสียง และการอานในใจไดถูกตอง 2. อานออกเสียงรอยแกวและรอยกรองไดถูกตอง ตามอักขรวิธี มีความไพเราะเหมาะสมกับ ทวงทํานอง 3. ระบุและปฏิบัติมารยาทในการอานไดถูกตอง เหมาะสมกับสถานการณ

สมรรถนะของผูเรียน 1. ความสามารถในการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคิด

คุณลักษณะอันพึงประสงค 1. มีวินัย 2. ใฝเรียนรู 3. มุงมัน่ ในการทํางาน

กระตุน้ ความสนใจ

หนวยที่ Engage

ครูชวนนักเรียนสนทนาในประเด็นการอาน ออกเสียง จากนั้นตั้งคําถามกับนักเรียนวา • การอานออกเสียงใหถูกวิธีมีประโยชนตอชีวิต ประจําวันของนักเรียนอยางไร (แนวตอบ ทําใหเปนผูที่มีบุคลิกภาพทางภาษา มีความมั่นใจในตนเอง อีกทั้งยังเปนที่ นาเชื่อถือในสายตาของผูอื่นที่มีโอกาส ไดรับฟง) • หากนักเรียนตองการเปนผูที่มีความสามารถ ในการอานออกเสียง ควรปฏิบัติตน อยางไร (แนวตอบ หมั่นฝกฝนตามอักขรวิธีที่ถูกตอง แสวงหาความรูจากแหลงการเรียนรูตางๆ รวมทั้งเลือกอานหนังสือที่ดี มีประโยชน)

การอานออกเสียง ตัวชี้วัด ท ๑.๑ ม.๒/ ม.๒/๑, ๘ ■ ■

อานออกเสียงบทรอยแกวและบทรอยกรองไดถูกตอง มีมารยาทในการอาน

สาระการเรียนรูแกนกลาง ■

การอานออกเสียง - บทรอยแกวที่เปนบทบรรยายและบทพรรณนา - บทรอยกรอง เชน กลอนบทละคร กลอนเพลงยาว กลอนนิทาน และกาพยหอโคลง มารยาทในการอาน

เกร็ดแนะครู การเรียนการสอนในหนวยการเรียนรู การอานออกเสียง เปาหมายสําคัญคือ นักเรียนสามารถอานออกเสียงรอยแกวและบทรอยกรองได โดยคํานึงถึงอักขรวิธี การเวนวรรคตอน การออกเสียงใหถกู ตองตามฉันทลักษณของบทรอยกรอง ใชนาํ้ เสียง ไดเหมาะสมกับเนื้อหาสาระที่อาน รวมถึงการวางทาทางขณะอานไดเหมาะสม การจะบรรลุเปาหมายดังกลาว ครูควรจัดกระบวนการเรียนการสอนภายใน ชั้นเรียน โดยมุงเนนใหนักเรียนไดฝกฝนทักษะการอานออกเสียง จนกระทั่งเกิดความ ชํานาญ เริ่มจากการฝกเปนกลุมแลวขยายผลไปสูการฝกรายบุคคล โดยคํานึงถึง ความแตกตางระหวางบุคคล บุคลิกภาพขณะอาน อัตราความเร็วขณะที่อาน การแบงวรรคตอน ทวงทํานอง ลีลาและนํ้าเสียง สังเกตพฤติกรรม แลวชี้แนะให ปรับปรุง แกไขเปนรายบุคคล จะชวยพัฒนาทักษะการอานออกเสียงใหมีประสิทธิภาพ รวมถึงรวมกันกําหนดเกณฑเพื่อใชประเมินการอานออกเสียง การเรียนการสอนในลักษณะนี้จะชวยฝกทักษะการอาน ทักษะการตั้งเกณฑ และทักษะการประเมินใหแกนักเรียนนําไปประยุกตใชตอไปในอนาคต

2

คู่มือครู

ñ

ารอานออกเสียงเปนการอาน เพื่ อ ให ผู  ฟ  ง เกิ ด ความรู  ความคิ ด ความรูส กึ และจินตนาการรวมกับผูอ า น การอานออกเสียงเปนทักษะที่ตองไดรับ การฝกฝนใหออกเสียงอักขระชัดเจนถูกตอง มีนํ้าเสียง จังหวะและลีลาสอดคลองกับ เรื่องที่อาน การฝกอานรอยแกวทีเ่ ปนบทบรรยาย บทพรรณนา รวมทั้งการอานบทรอยกรอง ประเภทตางๆ เปนการฝกการอานเบื้องตนที่ จะชวยพัฒนาทักษะการอานไดเปนอยางดี


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา Explore

อธิบายความรู้ Explain

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Engaae

ส�ารวจค้นหา

แบงกลุมนักเรียนจํานวน 5-6 คน หรือตาม ความเหมาะสม ใหไดจํานวน 8 กลุม จากนั้น รวมกันลงมติเลือกประธานกลุมเพื่อกําหนดทิศทาง การคนหาความรูและเลขานุการกลุม ทําหนาที่ จดบันทึกความรู ซึ่งแตละกลุมจะตองรวมกัน คนหาความรูในประเด็น ตอไปนี้ • ความหมายของการอาน • ความสําคัญของการอาน • องคประกอบพื้นฐานในการอานออกเสียง • มารยาทในการอาน สมาชิกทุกคนภายในกลุมตองมีสวนรวมในการ สืบคนความรูจากแหลงขอมูลตางๆ ที่เขาถึงได และมีความนาเชื่อถือ

๑ ¤ÇÒÁÃÙŒ¾×鹰ҹ㹡ÒÃÍ‹Ò¹ การอานออกเสียงเปนวิธีการสื่อสารอีกประเภทหนึ่ง ที่ชวยใหผูฟงและผูอานไดรับความรู ประสบการณและความเพลิดเพลิน เมื่อเราจะอานใหผูอื่นฟงเราก็ควรอานใหนาฟง หมายถึงทําให ผูฟงไดรับสารจากบทที่อานนั้นครบถวน เขาใจบทอานไดอยางซาบซึ้งไมวาบทอานนั้นจะเปนรอยแกว หรือรอยกรอง ถาผูอานออกเสียงไดถูกตองชัดเจน อานแบงวรรคตอนตามฉันทลักษณตางๆ และอาน สอดแทรกอารมณตามลักษณะงานเขียนได จะทําใหการอานออกเสียงมีความไพเราะ นาฟงและเกิด อารมณตามลักษณะงานเขียน ดังนัน้ กอนอานออกเสียงผอู า นควรฝกทักษะการอานและทําความเขาใจ สารในบทอานนั้นใหชัดเจนกอนเปนการเตรียมตัวลวงหนา เพื่อพัฒนาการอานใหสูงขึ้นตามลําดับ

๑.๑ ความหมาย

1

พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พุทธศักราช ๒๕๔๒ ใหความหมายของคําวา “อาน” ไววา หมายถึงวาตามตัวหนังสือ การอานเปนทักษะทีส่ าํ คัญและเปนประโยชนตอ ชีวติ ประจําวัน ทําใหไดรบั รูข อ มูลขาวสารและ ความรูสึกนึกคิดของคนอื่น การอานแบงเปน ๒ ประเภท คือ การอานในใจและการอานออกเสียง การอานในใจ เปนการอานเพื่อทําความเขาใจขอความตัวอักษรและสัญลักษณตางๆ การอานออกเสียง เปนการเปลงเสียงตามตัวอักษรและสัญลักษณตางๆ เพื่อใหผูฟงเขาใจ ความหมายซึ่งอาจมีจุดมุงหมายตางกัน เชน อานเพื่อใหความรู อานเพื่อถายทอดขอมูลขาวสาร อานเพือ่ ความสนุกสนาน บันเทิงใจ อานเพือ่ เราใหเกิดอารมณความรูส กึ สะเทือนใจตามทีผ่ สู ง สารตองการ 2 หรืออานเพื่อจุดมุงหมายเฉพาะ เชน อานประกาศ อานแถลงการณ เปนตน

อธิบายความรู้

ประสิทธิภาพในการอานออกเสียง ขึ้นอยูกับปจจัยพื้นฐานที่สําคัญหลายประการ ดังนี้ ๑) ฝกใชสายตา โดยใชสายตากวาดตามขอความแตละชวงจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่ง เพื่อ รับทราบขอมูลที่จะอานอยางมีสมาธิ การกวาดสายตาจะชวยใหอานหนังสือไดรวดเร็ว เห็นขอความที่ อาน เพื่ออานออกเสียงไดอยางถูกตอง ๒) ฝกใชเสียง การใชเสียงตองมีพลังในการอาน มีนํ้าหนัก มีเสียงดังพอประมาณใหไดยิน ทั่วถึง ใชเสียงหนักเบาเพื่อเนนความสําคัญของขอความใหสอดคลองกับเนื้อเรื่อง

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

“ขอแตกตางระหวางการออกเสียงกับการอานในใจ คือ การอานออกเสียง ผูอานจะเปลงเสียงตามตัวอักษรและสัญลักษณตางๆ เพื่อใหผูฟงเขาใจ ความหมาย แตการอานในใจ คือ การทีผ่ อู า นแตละคนทําความเขาใจสัญลักษณ ตางๆ ที่มีผูบันทึกไวเปนลายลักษณอักษร” นักเรียนจะมีหลักปฏิบัติอยางไรใหการอานในใจทุกครั้งเปนการอานในใจ โดยสมบูรณ แนวตอบ การอานในใจโดยสมบูรณ ผูอานจะตองอานโดยไมมีเสียงพึมพํา ในลําคอ ไมมีการเคลื่อนไหวริมฝปาก ลิ้น หลอดเสียง และลําคอ รวมถึงการ สายศีรษะไปมา การอานในใจจะใชเพียงสายตา กลาวคือ ในขณะที่อาน ผูอานจะไมสงเสียงออกมา แตจะใชสายตาในการกวาดขอความจากตัวอักษร ทางดานซายมือไปยังตัวอักษรทางดานขวามือ เมื่อจบบรรทัดแลวจึงขึ้นตน บรรทัดใหม ทําเชนนี้เรื่อยๆ ไปจนกระทั่งจบขอความ

EB GUIDE

Explain

จากการคนควารวมกันของนักเรียน ใหแตละ กลุมจับคูกลุมใหเหลือ 4 กลุมใหญ สรุปความรู รวมกันอีกครัง้ เปนเวลา 10 นาที ครูทาํ สลากจํานวน 4 ใบ โดยเขียนหมายเลข 1-4 พรอมระบุขอ ความ ในแตละหมายเลข แตละกลุม สงตัวแทนออกมา จับสลากประเด็นสําหรับการอธิบายความรู หนาชั้นเรียน ดังนี้ หมายเลข 1 ความหมายของการอาน หมายเลข 2 ความสําคัญของการอาน หมายเลข 3 องคประกอบพื้นฐานในการอาน หมายเลข 4 มารยาทในการอาน

๑.๒ องคประกอบพืน้ ฐานในการฝกอาน

http://www.aksorn.com/LC/Thai_Gra/M2/01

Explore

นักเรียนควรรู 1 พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน คือ หนังสืออางอิงที่รวบรวมความหมาย ของคํา โดยเรียงลําดับตามตัวอักษร พรอมบอกชนิดของคํา และยกตัวอยางการนํา ไปใชใหเขาใจในรูปประโยค ทั้งนี้คําศัพทที่ถูกตองตามแบบแผนใหยึดถือตามที่ พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานระบุไว 2 แถลงการณ คือ ขอความที่ทางราชการแถลงเพื่อทําความเขาใจกับประชาชน ในกิจกรรมของทางราชการ เหตุการณหรือกรณีใดๆ ที่ทางราชการมีความประสงค จะใหทราบโดยทั่วกัน ลักษณะถอยคําที่ใชจึงเปนภาษาระดับแบบแผน สุภาพ ถูกหลัก ไวยากรณ ชัดเจนและไดใจความสมบูรณ

มุม IT นักเรียนสามารถเขาไปศึกษาเกีย่ วกับลักษณะการใชถอ ยคําในการเขียนแถลงการณ ไดจาก http://www.brh.thaigov.net/newsite/publish/show.php?id_news=2 คู่มือครู

3


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

Engaae

Expore

อธิบายความรู้

อธิบายความรู้ Explain

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Explain

1. ตัวแทนของแตละกลุม ออกมาอธิบายความรู ในประเด็นที่กลุมของตนเองไดรับมอบหมาย พรอมระบุแหลงที่มาของขอมูล 2. นักเรียนยืนในลักษณะวงกลมเพื่อรวมกัน อธิบายความรูแบบโตตอบรอบวงเกี่ยวกับ การอาน โดยใชความรู ความเขาใจ ที่ไดรับ จากการฟงเปนขอมูลเบื้องตนสําหรับ ตอบคําถาม • นักเรียนเคยพบเห็นปายนี้หรือไม และถาเคย ไดพบเห็นในบริเวณใด

๓) ฝกการใชอารมณ ตองสอดแทรกอารมณใหเหมาะสมกับเนื้อเรื่องและเจตนาของผูเขียน ผูอานจึงควรศึกษาบทอานลวงหนาใหเขาใจ ตรวจสอบความถูกตองของอักขระ การเวนวรรคตอน ๔) ฝกอานใหคลองและถูกตองตามอักขรวิธี โดยเฉพาะ ร ล คําควบกลํ้าตองออกเสียงให ชัดเจน เนนเสียงและถอยคําตามนํา้ หนักความสําคัญของใจความ ใชเสียงและจังหวะใหเปนไปตามเนือ้ เรือ่ ง ๕) ฝกใชอวัยวะในการออกเสียง เสียงเกิดจากอวัยวะในชองปากและลําคอ การฝกฝน อวัยวะตางๆ ใหทํางานไดถูกตองในการออกเสียงจะทําใหเสียงที่เปลงออกมาชัดเจนและถูกตองตาม อักขระ ๖) ฝกการวางบุคลิกภาพ ทั้งการยืนอานและการนั่งอาน ควรวางทาทางใหสงางาม ผึ่งผาย 1 เปนปกติ จับหนังสือใหถูกตองหางจากสายตาประมาณ ๑ ฟุต ไมยกหนังสือบังหนา ไมประหมา เพราะจะทําใหผูฟงขาดความเชื่อถือและไมสนใจในเรื่องที่ฟง

๑.๓ ความสําคัญของการอาน

2

๑) การอานหนังสือทําใหผูอานไดรับสาระความรูตางๆ ซึ่งจะทําใหผูอานเปนผูที่ทันตอ เหตุการณ ทันความคิด

(แนวตอบ คําตอบของนักเรียนควรเปนไป ในเชิงเคยพบเห็น และพบบริเวณหองสมุด) • จากรูป นักเรียนคิดวากลุมบุคคลในภาพ กําลังทํากิจกรรมใด และเปนกิจกรรมที่มี ประโยชนอยางไร

๒) หนังสือเปนสื่อที่ดีที่สุด ใชงายและมีราคาถูก บุคคลทั่วไปสามารถใชเพื่อการศึกษาหา ความรูและความเพลิดเพลินได

๓) การอานหนังสือเปนการฝกกระบวนการคิดผานทางสมอง ทําใหเกิดสมาธิ ดังนัน้ หาก มีการฝกฝนอยางสมํ่าเสมอจะทําใหเกิดการพัฒนาและสัมฤทธิผล

๔) ผูที่อานหนังสือจะไดทั้งความคิดและจินตนาการ การอานหนังสือทําใหผูอานมีอิสระ ทางความคิดไดดีกวาการใชสื่อชนิดอื่น

๑.๔ มารยาทในการอาน

(แนวตอบ เลือกซื้อหนังสือ ประโยชนที่ไดรับ คือ ไดความรู ความบันเทิง และชวยตอยอด จินตนาการใหแกตนเอง) • นักเรียนมีแนวทางเลือกอานหนังสืออยางไร (แนวตอบ นักเรียนสามารถแสดงความคิดเห็น ไดอยางอิสระ)

การอานเปนทักษะการสือ่ สารทีส่ าํ คัญและจําเปนในชีวติ ประจําวัน เปนเครือ่ งมือในการแสวงหา ความรูเ พือ่ ใหเปนคนทันโลกทันเหตุการณ ผูอ า นจึงตองมีมารยาทในการอาน ดังนี้ ๑) ไมอา นเสียงดังสรางความรําคาญใหแกผอู นื่ โดยเฉพาะในหองสมุด ซึง่ เปนสถานทีเ่ พือ่ การอานและการศึกษาคนควาหาความรูของสวนรวม ๒) ไมใชอปุ กรณสอื่ สารภายในหองสมุด เพราะทําใหเกิดเสียงรบกวนสมาธิการอานของผอู นื่ ๓) ไมนําอาหาร ขนม นํ้า เขาไปรับประทานขณะอานหนังสือในหองสมุด เพราะจะ ทําใหมีกลิ่นและสรางความสกปรกเลอะเทอะ ๔

นักเรียนควรรู 1 ประหมา อาการประหมาหรืออาการตื่นเตน เปนอาการที่สามารถเกิดขึ้นไดกับ ทุกคนโดยมีสาเหตุแตกตางกัน เชน ตื่นเตนเมื่อยืนอยูตอหนาผูคนเปนจํานวนมาก ตื่นเตนเพราะเปนการพูดครั้งแรกในชีวิต ตื่นเตนเพราะไมเคยพูดในประเด็นนี้มากอน หรือตื่นเตนที่มีบุคคลในสถานภาพทางสังคมตางๆ กัน มารวมฟง ไมวาอาการประหมา หรืออาการตื่นเตนจะเกิดจากสาเหตุใดก็ตาม สามารถแกไขได โดยผูอานออกเสียง หรือผูพูดควรตั้งสมาธิใหแนวแน สูดลมหายใจเขาออกลึกๆ เปนชวงจังหวะอยาง สมํ่าเสมอ ที่สําคัญควรหมั่นฝกซอมจนกระทั่งเกิดความชํานาญและมั่นใจวาตนเอง ตองทําได จะชวยสรางความมั่นใจ ลดอาการประหมาใหนอยลง 2 ความสําคัญของการอาน การอานชวยยกระดับสติปญญาของมนุษยใหสูงขึ้น สามารถนําความรู ความเขาใจ และประสบการณจากการอานไปใชแกไขปญหา ทั้งของตนเองและผูอื่นได เพราะการรูจักเลือกอานและอานอยางถูกวิธี ทําใหมีความรู ความเขาใจและประสบการณสั่งสมเมื่อพบเจอสถานการณที่เปนปญหา ก็จะสามารถ แกไขไดอยางมีประสิทธิภาพ

4

คู่มือครู

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

การอานออกเสียงมีความแตกตางจากการอานในใจอยางไร และมีแนวทาง การปฏิบัติเพื่อใหการอานในแตละครั้งเกิดประสิทธิภาพไดอยางไร แนวตอบ การอานออกเสียง คือ การที่ผูอานเปลงเสียงออกมาดังๆ ในขณะ ที่อาน โดยมีจุดมุงหมายที่แตกตางกันออกไป การอานในใจ เปนการทําความ เขาใจสัญลักษณที่มีผูบันทึกไวเปนลายลักษณอักษร แนวทางสําหรับการฝก ปฏิบัติเพื่อใหการอานออกเสียงและอานในใจมีประสิทธิภาพนั้นแตกตางกัน เปนตนวา การอานออกเสียงผูอานจะตองอานใหถูกตองตามอักขรวิธี การเวนวรรค ออกเสียงคําควบกลํ้า รวมถึงใชนํ้าเสียงถายทอดเนื้อหาสาระ เพื่อใหผูฟงเกิดความรูสึกคลอยตาม สวนการอานในใจใหมีประสิทธิภาพนั้น ผูอานตองมีสมาธิจดจออยูกับเรื่องที่อาน เพื่อจับใจความหรือสาระสําคัญ ของเรื่อง ตั้งคําถามกับตนเองเกี่ยวกับเรื่องที่อาน เชน เรื่องที่อานมีความ นาเชื่อถือมากนอยเพียงใด เพราะเหตุใด เพื่อใหเกิดโลกทัศนที่กวางไกล


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

อธิบายความรู้

Engaae

Expore

Explain

ขยายความเข้าใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

ขยายความเข้าใจ ๔) เมือ่ อานหนังสือเสร็จแล1 ว ใหนาํ ไปวางไวในจุดทีบ่ รรณารักษกาํ หนด เพือ่ ทีบ่ รรณารักษ

จะไดสะดวกในการจัดหนังสือเขาชั้นไดถูกตอง

๕) ไมฉกี หนังสือ พับมุม ทําใหหนังสือยับ ชํารุด สกปรก ฉีกขาดหรือสูญหาย ถาตองการ ขอความหรือภาพในหนังสือ ควรใชวิธีคัดลอกหรือถายสําเนาดวยความระมัดระวัง ๖) การใชหนังสือพิมพ เมื่ออานจบแลวตองจัดเรียงหนาตามเดิมและเก็บใหเรียบรอย ทั้งนี้ เพื่อความเปนระเบียบและสะดวกสําหรับผูอื่นที่จะหยิบมาอานตอไป ๗) หนังสือที่ผูอื่นอานอยูกอน ควรใหผูอื่นอานจบแลวคอยอานตอ ไมควรยื่นหนาไป อานดวย เพราะเปนการเสียมารยาท ๘) ในรานขายหนังสือ บางแหงจัดสถานที่สําหรับใหผูคนทั่วไปไปนั่งอานได ผูอานควร นั่ ง อ า นเงี ย บๆ ไม นั่ ง คั ด ลอกข อ ความหรื อ ฉี ก กระดาษหุ  ม ปกหนั ง สื อ ใหม อ อกโดยพลการและ ไมสรางความรําคาญใหผูอื่น

๙) ไมอา นจดหมาย หนังสือ หรือสมุดบันทึกสวนตัว (อนุทนิ ) ของผูอ นื่ โดยไมไดรบั อนุญาต เพราะเปนการละเมิดสิทธิสวนบุคคลและเปนการเสียมารยาท

Expand

1. นักเรียนรวมกันอภิปรายเกี่ยวกับขอความ ตอไปนี้ “อาวุธสําคัญของชาติคือปญญา ปญญาเกิดจากการอาน” สรุปมติที่ไดจากการ อภิปราย ลงสมุด 2. ครูมอบหมายใหนักเรียนทั้งระดับชั้นรวมกัน จัดกิจกรรมสัปดาหรณรงคสงเสริมการอาน ภายในโรงเรียน โดยจัดทําปายนิเทศ แผนพับ หรือประชาสัมพันธผานเสียงตามสาย ใหเพื่อนๆ พี่ๆ นองๆ ในโรงเรียน เห็นคุณคา และความสําคัญของการอานซึ่งไมไดเกิดขึ้น ในระดับปจเจกเทานั้น แตยังมีความสําคัญ ในระดับกลุมสังคมหรือประเทศชาติ เผยแพรแนวทางที่ถูกตองสําหรับการอาน และรวมถึงขอควรปฏิบัติเมื่อตองอานหนังสือ ในที่สาธารณะรวมกับผูอื่น เพื่อใหเพื่อนๆ พี่ๆ นองๆ ภายในโรงเรียนนําความรู ความเขาใจ ที่ไดรับจากการเขารวมกิจกรรมสัปดาหรณรงค สงเสริมการอาน ไปปรับใชกับการอานของ ตนเองในชีวิตประจําวัน

2

หองสมุดเปนสถานที่สาธารณะที่จะตองใชรวมกับผูอื่น ผูใชจึงควรรักษามารยาทขณะใชหองสมุด

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

เมื่อนักเรียนไปคนควาขอมูลที่หองสมุดของโรงเรียนเพื่อนํามาทํารายงาน แตพบวาหนังสือที่ตองการมีผูยืมไปกอนหนานี้แลว จากสถานการณนี้นักเรียน จะมีวิธีการแกไขปญหาอยางไร โดยคํานึงถึงความเหมาะสมและมารยาท ในการใชหองสมุดรวมกับผูอื่น

แนวตอบ หากไมสามารถยืมหนังสือเลมที่ตองการจากหองสมุดของ โรงเรียนได ผูคนควาขอมูลควรเขาเว็บไซตของหองสมุดอื่นๆ เชน หองสมุด ประชาชน หองสมุดระดับมหาวิทยาลัย หรือหอสมุดแหงชาติ เพือ่ ตรวจสอบวา หนังสือที่ตองการนั้นมีอยูหรือไม ถาหนังสือเลมนั้นมีอยูในหองสมุดของ สถานทีอ่ นื่ ๆ ก็สามารถเขาไปคนควาได และถาไมสามารถยืมหนังสือกลับบานได เนือ่ งจากไมใชสมาชิก และหอสมุดแหงชาติไมอนุญาตใหยมื หนังสือกลับบาน ผูคนควาจึงตองใชวิธีการอานแลวจดบันทึก หรือถายสําเนาเนื้อหาสวนที่ ตองการดวยความระมัดระวัง โดยระบุหมายเลขหนาที่ตองการแกผูใหบริการ ถายสําเนา เพื่อความสะดวกรวดเร็ว

นักเรียนควรรู 1 จัดหนังสือเขาชั้น หมายถึง การจัดหนังสือเปนหมวดหมู เพื่อความสะดวก รวดเร็วในการคนหา และเปนระเบียบในการจัดเก็บ ซึ่งการจัดแยกหนังสือสามารถ ทําไดหลายวิธี เชน แบงตามเนื้อหา หรือเนื้อเรื่อง แบงตามลักษณะและสีของปก แบงตามอักษรชื่อผูแตง แบงตามขนาดรูปเลม แตวิธีที่ไดรับความนิยมในปจจุบัน และถือวาเปนการจัดระบบหมูที่ดี คือ การจัดแยกตามเนื้อหา ซึ่งจะทําใหหนังสือ ที่มีเนื้อหาเดียวกันอยูรวมกัน โดยใชสัญลักษณแทนเนื้อหาของหนังสือ การจัดระบบ หมวดหมูหนังสือโดยการจัดแยกตามเนื้อหาที่นิยมมี 2 ระบบ ไดแก ระบบทศนิยม ดิวอี้ จะใชระบบตัวเลขแทนเนื้อหาของหนังสือ และระบบหองสมุดรัฐสภาอเมริกัน หรือระบบ L.C. จะใชระบบตัวอักษรและตัวเลขเปนสัญลักษณแทนเนื้อหาของหนังสือ 2 รักษามารยาท หากผูอานรักษามารยาทในการอานไดดี จะสงเสริมสมาธิใน การอานทั้งของตนเองและผูอื่นไดมากขึ้น

คู่มือครู

5


กระตุน้ ความสนใจ Engage

ส�ารวจค้นหา

อธิบายความรู้

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Expore

Explain

Expand

Evaluate

กระตุน้ ความสนใจ

Engage

ครูยกตัวอยางพระบรมราโชวาทในพระบาท สมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดชมหาราช ที่ ทรงหวงใยในการใชภาษาไทย และทรงเนนยํ้าให ประชาชนชาวไทยตระหนักถึงความสําคัญของ ภาษาไทย ...ในปจจุบันนี้ปรากฏวา ไดมีการใชคําออก จะฟุมเฟอย และไมตรงกับความหมายอันแทจริง อยูเนืองๆ ทั้งออกเสียงก็ไมถูกตองตามอักขรวิธี ถาปลอยใหเปนไปดังนีภ้ าษาของเราก็มแี ตจะ ทรุดโทรม ชาติไทยเรามีภาษาของเราใชเองเปน สิ่งอันประเสริฐอยูแลว เปนมรดกอันมีคา ตกทอดมา ถึงเราทุกคน จึงมีหนาทีจ่ ะตองรักษาไว... จากนั้นตั้งคําถามกับนักเรียนวา • จากพระบรมราโชวาท นักเรียนมีความรูสึก หรือความคิดเห็นอยางไร (แนวตอบ รูสึกซาบซึ้งในพระมหากรุณาธิคุณ ของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวที่ทรงหวงใย ในทุกๆ เรื่องที่เกี่ยวของกับประเทศไทย รวมถึงภาษาไทย ซึ่งเปนภาษาประจําชาติ จึงสมควรที่พสกนิกรชาวไทยจะใชภาษาไทย ใหถูกตองทั้งการพูดและการเขียนสื่อสาร เพื่อปลดเปลื้องพระราชกังวล และแสดงออก ซึ่งความจงรักภักดี) • จากปญหาการอานออกเสียงที่ปรากฏ นักเรียนคิดวาจะรวมเปนสวนหนึ่งของการ แกไขปญหาไดอยางไร (แนวตอบ การแกไขปญหาดังกลาวตองเริ่มตน ที่ตนเองกอน ดวยวิธีการศึกษาคนควา เพิ่มเติม เพื่อสรางความรูที่ถูกตองเกี่ยวกับ การอานออกเสียง รวมถึงกลวิธีที่จะทําให การอานมีความไพเราะ จากนั้นจึงเผยแพร ความรูไปสูคนรอบขาง)

๒ ¡ÒÃÍ‹Ò¹ÍÍ¡àÊÕ§º·ÃŒÍÂá¡ŒÇ รอยแกว หมายถึง ถอยคําที่พูดและเขียน เพื่อสื่อสารกันอยูเปนปกติในชีวิตประจําวัน มีความ ถูกตองตามแบบแผนหรือไวยากรณ ทําใหผูฟง ผูอานเขาใจได ขอความในรอยแกวไมจํากัดถอยคําและ ประโยค จะเขียนสั้นหรือยาวก็ได ไมมีการบังคับฉันทลักษณ แตตองเขียนใหมีความหมายตรงตาม ตัวอักษรโดยขึ้นอยูกับจุดประสงคและเนื้อหาของเรื่อง การอานออกเสียงรอยแกว หมายถึง การอานออกเสียงงานเขียนที่เปนความเรียง โดยการ เปลงเสียงใหถูกตองตามอักขรวิธี นํ้าเสียงและจังหวะเสียงใหเปนไปตามปกติเหมือนการพูด เหมาะสม กับเรื่องที่อาน เพื่อถายทอดอารมณไปสูผูฟง ซึ่งจะทําใหผูฟงเกิดอารมณรวมคลอยตามไปกับเรื่องหรือ รสของบทประพันธนั้นๆ การอานที่ผูอานสามารถสื่อความมุงหมายไปยังผูฟงใหเกิดสัมฤทธิผล จะตองคํานึงถึงขั้นตอน ตอไปนี้

๒.๑ หลักการอานออกเสียงรอยแกว การอานออกเสียงรอยแกวจะตองคํานึงถึงหลักเกณฑการอานใหถูกตองตามอักขรวิธีหรือตาม ความนิยม ดังนี้ ๑) อานตามอักขรวิธี คือ การออกเสี ยงตามหลักเกณฑของภาษาไทย เชน 1 อานออกเสียงควบกลํ้า ■

กรีดกราย คลับคลาย ■

สมัครสมาน ขมีขมัน โจรสลัด ■

เขรอะ ปรับ

ขรุขระ ควํ่า

อานวา ” ”

สะ - หฺมัก - สะ - หฺมาน ขะ - หฺมี - ขะ - หฺมัน โจน - สะ - หฺลัด

อานแบบเรียงพยางค

สมาคม บุษยา

อานวา ”

สะ - มา - คม บุด - สะ - ยา

ครูควรชี้แนะเพิ่มเติมใหแกนักเรียนวา การอานออกเสียงคําควบกลํ้าใหชัดเจน ถูกตอง มีสวนทําใหการอานออกเสียงในแตละครั้งมีความไพเราะ สละสลวย และมี เสนหชวนฟง ครูอาจชวยเพิ่มพูนทักษะการอานคําควบกลํ้าใหแกนักเรียนไดดวยการ เขียนคําควบกลํ้าแทบนกระดาน “กราดเกรี้ยว” “กริ้วโกรธ” “กริ่งเกรง” “เกรียงไกร” เปนตน จากนั้นใหนักเรียนอานออกเสียงพรอมๆ กัน และแตงประโยคโดยใชคําขางตน นําสงเปนรายบุคคล

นักเรียนควรรู 1 เสียงควบกลํ้า ในภาษาไทย คือ เสียงพยัญชนะตนสองเสียงประสมกับสระเสียง เดียวกัน โดยมี ก ข ค ต ป ผ พ เปนพยัญชนะเสียงทีห่ นึง่ และ ร ล ว เปนพยัญชนะ เสียงที่สองโดยไมมีสระคั่น ซึ่งเรียกคําที่มีลักษณะนี้วา “คําควบกลํ้าแท” คู่มือครู

ขวักไขว ปลอก

อานออกเสียงอักษรนํา

เกร็ดแนะครู

6

กลับกลอก พรวน

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

ขอใดตอไปนี้ปรากฏคําที่อานออกเสียงควบกลํ้าแทมากที่สุด 1. เศรษฐีสมชายสรางศาลาริมนํ้าใตตนไทร 2. ทรวดทรงของทรามเชยสวยงามจริงๆ 3. รางกายของเธอดูทรุดโทรมลงกวาแตกอน 4. คุณแมปรุงอาหารรสชาติกลมกลอมไมเปลี่ยนแปลง วิเคราะหคําตอบ การอานออกเสียงพยัญชนะควบกลํ้าในภาษาไทย หากคําๆ นั้น มีพยัญชนะตนเปน ก ข ค ต ป ผ พ และพยัญชนะตัวที่สอง เปน ร ล ว ใหออกเสียงพยัญชนะทั้ง 2 ตัวพรอมกันโดยไมมีเสียงสระคั่น แตถาพยัญชนะตนควบกับ ร แตออกเสียงเฉพาะตัวแรกไมออกเสียง ร เรียกคําควบกลํา้ ทีม่ ลี กั ษณะเชนนีว้ า คําควบกลํา้ ไมแท ขอ 1. ไมปรากฏคํา ควบกลํา้ แท ขอ 2. ไมปรากฏคําควบกลํ้าแท ขอ 3. ปรากฎคําควบกลํ้าแท 1 คํา คือ “กวา” ดังนั้นจึงตอบขอ 4.


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา Explore

อธิบายความรู้ Explain

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Engaae

ส�ารวจค้นหา ■

อานออกเสียงคําบาลี สันสกฤต

เมรุ เมรุมาศ ■

อานวา ”

1 เมน เม - รุ - มาด

อานออกเสียงคําสมาส

พุทธศาสนา อุตสาหกรรม

อานวา ”

พุด - ทะ - สาด - สะ - หฺนา อุด - สา - หะ - กํา

๒) อานตามความนิยม คือ การอานที่ไมไดเปนไปตามกฎเกณฑ เนนความไพเราะและความ

นิยมทั่วไป เชน

อุดมคติ โบราณคดี ดิเรก ผลไม

2

อานวา ” ” ”

อุ - ดม - คะ - ติ หรือ อุ - ดม - มะ - คะ - ติ โบ - ราน - คะ - ดี หรือ โบ - ราน - นะ - คะ - ดี ดิ - เหฺรก ผน - ละ - ไม

๓) การอานตัวยอ ควรอานคําเต็มของคําที่ถูกยอไว เชน กห. ไดงบฯ จาก กค. ปรับปรุงกองทัพ ๑๐ ลาน อานวา กระทรวงกลาโหมไดงบประมาณจากกระทรวงการคลัง ปรับปรุงกองทัพ ๑๐ ลาน

๔) การอานตัวเลขและเครื่องหมายตางๆ มีหลักการที่ตางกัน เชน ■

การอานจํานวนเลขตัง้ แต ๒ หลักขึน้ ไป ถาเลขตําแหนงทายเปน ๑ ใหออกเสียงวา “เอ็ด”

๑๑ ๒๕๐๑

อานวา ”

สิบ - เอ็ด สอง - พัน - หา - รอย - เอ็ด

การอานตัวเลขที่มีจุดทศนิยม ตัวเลขหนาจุดทศนิยมอานแบบจํานวนเต็ม ตัวเลขหลัง จุดทศนิยมใหอานแบบเรียงตัว เชน ■

๑.๒๓๔ ๕๙.๐๑๒

อานวา ”

หฺนึ่ง - จุด - สอง - สาม - สี่ หา - สิบ - เกา - จุด - ศูนย - หฺนึ่ง - สอง

Explore

แบงนักเรียนเปน 3 กลุม โดยมีสมาชิกใน จํานวนเทาๆ กัน หรือเฉลีย่ ตามความเหมาะสม จากนัน้ ใหสมาชิกลงมติเลือกประธานและเลขานุการ กลุม เพื่อทําหนาที่กําหนดทิศทางการสืบคนและ จดบันทึกสาระสําคัญ ครูทําสลากจํานวน 3 ใบ โดยเขียนหมายเลข 1, 2 และ 3 พรอมระบุขอ ความ ในแตละหมายเลข ประธานกลุมออกมาจับสลาก ดังนี้ หมายเลข 1 แนวทางการอานออกเสียง รอยแกว หมายเลข 2 ปญหาที่พบในการอานออกเสียง รอยแกว หมายเลข 3 เทคนิคการอานออกเสียง รอยแกวที่เปนบทบรรยาย และบทพรรณนา

อธิบายความรู้

Explain

ประธานกลุมหรือตัวแทนกลุมที่จับสลากได หมายเลข 1 ออกมาอธิบายความรูเ กีย่ วกับแนวทาง การอานออกเสียงรอยแกวใหเพื่อนๆ ฟง หนาชั้นเรียน พรอมระบุแหลงที่มาของขอมูล (แนวตอบ การอานออกเสียงรอยแกว ผูอานจะ ตองศึกษาเกี่ยวกับอักขรวิธีในการอานคําควบกลํ้า อักษรนํา คําสมาส คําบาลี สันสกฤต รูวาคําใด นิยมอานอยางไร เขาใจความหมายของอักษรยอ วิธีการอานตัวเลข ซึ่งความรู ความเขาใจเหลานี้ สามารถคนควาไดจากพจนานุกรม หนังสือ อานอยางไร เขียนอยางไร ซึ่งจัดพิมพโดย ราชบัณฑิตหรือสังเกตจากบุคคลตนแบบ เชน ผูประกาศขาว ผูดําเนินรายการ เปนตน)

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

คําในขอใดอานออกเสียงไดเพียงรูปแบบเดียว 1. สมาชิกภาพ 2. สมานฉันท 3. สรรเสริญ 4. สังคายนา

วิเคราะหคําตอบ จากตัวเลือกที่กําหนดให ขอ 2. อานได 2 รูปแบบ คือ สะ-มา-นะ-ฉัน และ สะ-หฺมาน-นะ-ฉัน ขอ 3. อานได 2 รูปแบบ คือ สัน-เสิน และ สัน-ระ-เสิน ขอ 4. อานได 2 รูปแบบ คือ สัง-คา-ยะ-นา และ สัง-คายยะ-นา สวนคําวา สมาชิกภาพ อานวา สะ-มา-ชิก-กะ-พาบ ไดเพียงรูปแบบ เดียวเทานั้น ดังนั้นจึงตอบขอ 1.

นักเรียนควรรู 1 อานออกเสียงคําบาลี สันสกฤต การใชตัวอักษรไทยเขียนคําบาลี สันสกฤต จะปรากฏเครื่องหมายนิคหิต ( ํ ) และพินทุ ( ฺ ) กํากับ ซึ่งเครื่องหมายทั้งสอง มีวิธีการอานที่แตกตางกัน กลาวคือ คําภาษาบาลีที่มีเครื่องหมายนิคหิตกํากับให อานเหมือนมี ง เปนตัวสะกด เชน สรณํ อานวา สะ-ระ-นัง แตถาเปนคําภาษา สันสกฤตใหอานเหมือนมี ม เปนตัวสะกด เชน พุทฺธํ อานวา พุด-ทัม สวนคําที่มี เครื่องหมายพินทุอยูขางใต ใหอานโดยใชพยัญชนะตัวนั้นเปนตัวสะกด เชน จิตฺต อานวา จิด-ตะ แตถามีพยัญชนะตอไปนี้ ย ร ล ว ตามหลังพยัญชนะที่มีเครื่องหมาย พินทุกํากับ ใหอานออกเสียงพยัญชนะที่มีเครื่องหมายพินทุกํากับเปนตัวสะกดของ พยางคแรก และเปนพยัญชนะตนของพยางคที่สองโดยเติมเสียงสระ -ะ เชน จตฺวา อานวา จัด-ตะ-วา, ชิตฺวา อานวา ชิด-ตะ-วา 2 การอานตัวยอ โดยทั่วไปจะใชอักษรยอเมื่อเคยกลาวถึงคําเต็มของคํายอนั้นแลว ซึ่งคํายอมักเปนคําที่คนสวนใหญคุนเคย คู่มือครู

7


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

Engaae

Expore

อธิบายความรู้

อธิบายความรู้ Explain

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Explain

1. ประธานกลุมหรือตัวแทนกลุมที่จับสลากได หมายเลข 2 และ 3 ออกมาอธิบายความรู เกี่ยวกับปญหาที่พบในการอานออกเสียง รอยแกว และเทคนิคการอานออกเสียงรอยแกว ที่เปนบทบรรยายและพรรณนาใหเพื่อนๆ ฟง หนาชั้นเรียน พรอมระบุแหลงที่มาของขอมูล 2. ครูสุมเรียกชื่อนักเรียนอธิบายความรูเกี่ยวกับ สิ่งที่ไดรับจากการคนควา และการฟงบรรยาย ของเพื่อนๆ ผานขอคําถามของครู • ปญหาที่พบเปนประจําเกี่ยวกับการอาน ออกเสียงในภาษาไทย ไดแกอะไรบาง (แนวตอบ การอานคําในภาษาไทยผิดเพี้ยน เนื่องมาจากผูอานไมมีความรูเกี่ยวกับอักขรวิธี การอาน ไมใสใจ ละเลย หรือขาดการฝกฝน ซึง่ ปญหาทีพ่ บเปนประจํา ไดแก การออกเสียง วรรณยุกตผิด อานตูคํา อานตกหลน อานคําเกิน เวนวรรคตอนไมถูกตอง ทําให เสียความ อานโดยใชเสียงในระดับเดียวกัน ตลอดทั้งเรื่อง เปนตน) • การอานออกเสียงรอยแกวที่เปนบทบรรยาย แตกตางจากการอานบทพรรณนาอยางไร (แนวตอบ การอานออกเสียงรอยแกวที่เปน บทพรรณนา ผูอานจะตองมีความสามารถ ในการเลือกใชนํ้าเสียง เพื่อถายทอดอารมณ ความรูสึกตางๆ ใหผูฟงเกิดจินตภาพ และ อารมณความรูสึกคลอยตาม ในขณะที่การ อานออกเสียงรอยแกวที่เปนบทบรรยาย จะไมเนนเรื่องการถายทอดอารมณความรูสึก มากนัก)

1

การอานตัวเลขบอกเวลา

๒๓.๐๐ อานวา ๑๒.๓๕ ” ๖ : ๓๐ : ๔๕ ”

ยี่ - สิบ - สาม - นา - ลิ - กา สิบ - สอง - นา - ลิ - กา - สาม - สิบ - หา - นา - ที หก - นา - ลิ - กา - สาม - สิบ - นา - ที - สี่ - สิบ - หา วิ - นา - ที

การอานบานเลขที่ บานเลขทีม่ ตี วั เลข ๒ หลัก ใหอา นแบบจํานวนเต็ม ถามี ๓ หลักขึน้ ไป ใหอานเรียงตัวหรือจํานวนเต็มก็ได แตตัวเลขหลังเครื่องหมาย / ใหอานเรียงตัว ■

บานเลขที่ ๕๖/๓๙๒

อานวา

บานเลขที่ ๖๕๓/๒๑

บาน - เลก - ที่ - หา - สิบ - หก - ทับ - สาม เกา - สอง บาน - เลก - ที่ - หก - หา - สาม - ทับ - สอง หฺนึ่ง หรือ บาน - เลก - ที่ - หก - รอย - หา - สิบ - สาม - ทับ สอง - หฺนึ่ง

การอานเครื่องหมายไปยาลนอย ใหอานเต็มคําที่ยอไว

กรุงเทพ ฯ อานวา โปรดเกลา ฯ ” ทูลเกลา ฯ ” ลนเกลา ฯ ”

กฺรุง - เทบ - มะ - หา - นะ - คอน โปฺรด - เกฺลา - โปฺรด - กฺระ - หฺมอม ทูน - เกฺลา - ทูน - กฺระ - หฺมอม ลน - เกฺลา - ลน - กฺระ - หฺมอม

การอานเครื่องหมายไปยาลใหญ ขอความที่เขียนเครื่องหมาย ฯลฯ ไวทายขอความ ใหอานวา ละ หรือ และอื่นๆ เครื่องหมายไปยาลใหญ ที่อยูตรงกลางขอความ ใหอานวา ละถึง เชน ■

สิ่งของที่ซื้อขายกันในหางสรรพสินคามี เสื้อผา กระเปา รองเทา เครื่องสําอาง ฯลฯ อานวา สิ่ง - ของ - ที่...เครื่อง - สํา - อาง - ละ สิ่ง - ของ - ที่...เครื่อง -สํา - อาง - และ - อื่น - อื่น พยัญชนะไทย ๔๔ ตัว มี ก ฯลฯ ฮ อานวา พะ - ยัน - ชะ - นะ - ไท - สี่ - สิบ - สี่ - ตัว - มี - กอ - ละ - ถึง - ฮอ ๘

นักเรียนควรรู 1 การอานตัวเลข นอกจากที่ปรากฏในหนังสือเรียนแลว ยังมีวิธีการอานตัวเลข ที่ควรทราบไว คือ การอานตัวเลข ร.ศ. และ พ.ศ. ซึ่งอานไดถึง 4 แบบ ดังนี้ ร.ศ. 112 (พ.ศ. 2436) อานวา รัด-ตะ-นะ-โก-สิน-สก รอย-สิบ-สอง ตรงกับ พุด-ทะ-สัก-กะ-หฺลาด-สองพัน-สี่-รอย-สาม-สิบ-หก หรือ อานวา รอ-สอ รอย-สิบ-สอง ตรงกับ พอ-สอ-สอง-สี่-สาม-หก หรือ อานวา รัด-ตะ-นะ-โก-สิน-สก รอย-สิบ-สอง วง-เล็บ-เปด พุด-ทะ-สัก-กะ-หฺลาด สอง-พัน-สี่-รอย-สาม-สิบ-หก วง-เล็บ-ปด หรือ อานวา รอ-สอ รอย-สิบ-สอง วง-เล็บ-เปด พอ-สอ-สอง-สี่-สาม-หก วง-เล็บ-ปด

8

คู่มือครู

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

ประโยคในขอใดตอไปนี้อานออกเสียงไมยมกแตกตางจากขออื่น 1. เธอเห็นลูกแมวตัวสีดําๆ วิ่งมาทางนี้บางหรือไม 2. เด็กตัวเล็กๆ เมื่อตะกี้ เปนหลานชายของฉันเอง 3. ในวันหนึ่งๆ ปาแกตองอาบเหงื่อตางนํ้าหาบของไปขายทุกวัน 4. ทุกๆ วัน แถวนี้จะเต็มไปดวยรถนานาชนิดที่ทําใหการจราจรคับคั่ง วิเคราะหคําตอบ การอานเครื่องหมาย ๆ ไมยมก ที่ใชวางหลังคําหรือ ขอความที่ตองการใหอานออกเสียงซํ้า ซึ่งอาจซํ้าคําเดียวหรือมากกวาหนึ่งคํา ก็ได แลวแตความหมาย การอานไมยมกจึงสามารถอานไดหลายแบบ เชน อานซํ้าคํา ของดีๆ อานวา ของ-ดี-ดี อานซํ้ากลุมคํา เชน วันละคนๆ อานวา วัน-ละ-คน-วัน-ละ-คน อานซํ้าประโยค เชน โอเลี้ยงมาแลวครับๆ อานวา โอ-เลี้ยง-มา-แลว-คฺรับ โอ-เลี้ยง-มา-แลว-คฺรับ จากตัวเลือกที่กําหนด ขอ 1. อานวา สี-ดํา-ดํา ขอ 2. อานวา ตัว-เล็ก-เล็ก ขอ 4. อานวา ทุก-ทุก-วัน สวนขอ 3. อานวา ไน-วัน-หฺนึ่ง-วัน-หฺนึ่ง ดังนั้นจึงตอบขอ 3.


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

Engaae

Expore

อธิบายความรู้ Explain

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

อธิบายความรู้ ๕) อานนามเฉพาะ(วิสามานยนาม) เชน สถานที่ ถนน ตําบล ชื่อบุคคล ชื่อสกุล ตองอาน

ตามความตองการของผูเปนเจาของ เชน ขนอม อานวา จตุรพักตรพิมาน ” บานแพรก ” กันตวจรมวล ” จิตรลดารโหฐาน ” ราชบัณฑิตยสถาน ” โลกนิติ ”

ขะ - หฺนอม (อ. ในจังหวัดนครศรีธรรมราช) จะ - ตุ - ระ - พัก - พิ - มาน (อ. ในจังหวัดรอยเอ็ด) บาน - แพฺรก (อ. ในจังหวัดลพบุรี) กัน - ตวด - ระ - มวน (อ. ในจังหวัดสุรินทร) จิด - ละ - ดา - ระ - โห - ถาน ราด - ชะ - บัน - ดิด - ตะ - ยะ - สะ - ถาน โลก - กะ - นิด

นักเรียนใชความรู ความเขาใจ เกี่ยวกับ เครื่องหมายที่ใชสําหรับการอานออกเสียง ทําแบบวัดฯ ภาษาไทย ม.2 ตอนที่ 1 หนวยที่ 1 กิจกรรมตามตัวชี้วัด กิจกรรมที่ 1.2 ✓ แบบวัดฯ ใบงาน แบบฝกฯ ภาษาไทย ม.2 กิจกรรมที่ 1.2 เรื่อง เครื่องหมายที่ใช้ในการอานออกเสียง กิจกรรมที่ ๑.๒ ใหนักเรียนบอกหนาที่ของเครื่องหมายที่ใชเวนวรรค ในการอานบทรอยแกว (ท ๑.๑ ม.๒/๑)

นอกจากนีย้ งั ตองระมัดระวังการออกเสียงใหมรี ะดับของเสียงถูกตองตามสําเนียงของเจาของ ภาษา ไมผิดเพี้ยนเสียงวรรณยุกต ไมอานตูคํา ไมอานตกหลนหรือคําเกิน จะชวยใหการอานออกเสียงมี ความไพเราะและสื่อความหมายไดตรงตามเจตนา

บุคคลใดปฏิบัติไดถูกตองและเหมาะสมเมื่ออานออกเสียงขอความที่เปน ชื่อ-นามสกุลของผูอื่น 1. ธิดาพรอานตามที่เคยไดยินมา 2. กนกอรอานตามความเขาใจของตนเอง 3. วันดีอานตามที่บัญญัติไวในพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน 4. กรรวีอานดวยความระมัดระวัง เมื่อไมแนใจจึงสอบถามผูรู หรือผูเปนเจาของชื่อ-นามสกุลนั้น

วิเคราะหคําตอบ การอานออกเสียงชือ่ -นามสกุลของผูอ นื่ และหมายรวมถึง ชื่อสถานที่ตางๆ ซึ่งคําเหลานี้เปนคําวิสามานยนาม หรือนามที่เปนชื่อเฉพาะ เมื่อจะตองอานออกเสียง ผูอานจะตองอานดวยความระมัดระวัง หาก ไมแนใจควรสอบถามผูรู หรือเจาของชื่อ ไมควรอานตามที่ไดยินมา หรือตาม ความเขาใจของตนเอง แมจะอานถูกตองตามพจนานุกรม แตที่เหมาะสม ควรอานตามความตองการของผูเปนเจาของชื่อ ดังนั้นจึงตอบขอ 4.

õ

/

..........................................................................................................................................................................................................................

//

..........................................................................................................................................................................................................................

___

..........................................................................................................................................................................................................................

เวนวรรคนอย คั่นระหวางคําเมื่อจบขอความหนึ่งๆ เพื่อหยุดพักหายใจ

เวนวรรคยาว คัน่ ระหวางคําเมือ่ อานจบขอความหลัก จะเวนวรรคยาวกวา / เล็กนอย ขีดใตคํา คําที่เนนเสียงหนัก

เขียนบนคํา เมื่อเปนคําที่ตองทอดเสียง

^ V

เขียนบนคําที่ตองการเนนเสียงสูง

..........................................................................................................................................................................................................................

เขียนบนคําที่ตองการเนนเสียงตํ่า

..........................................................................................................................................................................................................................

กิจกรรมที่ ๑.๓ ใหนักเรียนสรุปหลักการอานออกเสียงบทรอยแกว (ท ๑.๑ ม.๒/๑,๘)

คะแนนเต็ม คะแนนที่ได

õ

ฉบับ

เฉลย

การอานบทบรรยาย

งานเขียนรอยแกวที่จะนํามาฝกอานจะมีหลายประเภท ในที่นี้จะยกตัวอยางแบบฝกการอาน บทบรรยายและพรรณนา ดังตอไปนี้ ๑) การอานบทบรรยาย บทบรรยายเปนงานเขียนที่มีลักษณะการเขียนโดยเรียงลําดับ เหตุการณเปนขั้นเปนตอนวาใคร ทําอะไร ที่ไหน อยางไร เมื่อไร การฝกอานบทบรรยาย ใหผูเรียนฝกอานออกเสียงวรรณกรรมรอยแกว ประเภทเรื่องสั้น เรื่องมอม งานประพันธของหมอมราชวงศคึกฤทธิ์ ปราโมช ตอไปนี้ โดยสังเกตการใชถอยคํา สํานวน ฝกอานออกเสียง การเวนวรรค จังหวะการหายใจ พยายามศึกษาและทําความเขาใจวาเนื้อหากลาวถึง ใคร ทําอะไร ที่ไหน อะไร เมื่อไร จับใจความสําคัญของเรื่องใหได และฝกใสลีลาอารมณใหถูกตอง เหมาะสมกับเนื้อเรื่อง โดยใหนักเรียนฝกอานและเวนวรรคตามเครื่องหมายวรรคที่กําหนด คือ / เวนวรรคนอย เมื่อจบขอความหนึ่งๆ เพื่อหยุดพักหายใจ // เมื่ออานจบขอความหลัก ซึ่งเครื่องหมาย // จะเวนวรรคยาวกวา / เล็กนอย ขีดใตคํา แสดงวาเปนเสียงหนัก เขียนบนคํา แสดงวาอานแบบทอดจังหวะ แสดงวาเปนขอความที่เนนเสียงสูง แสดงวาเปนขอความที่เนนเสียงตํ่า ๙

แนว  NT  O-NE T

คะแนนเต็ม คะแนนที่ได

..........................................................................................................................................................................................................................

๒.๒ แบบฝกการอานออกเสียงบทรอยแกว

ขอสอบเนน การคิด

Explain

ตองรูจักสังเกตการใชถอยคํา สํานวน การเวนวรรค การเวนจังหวะหายใจ พยายาม ศึกษาและทําความเขาใจวาเนื้อหากลาวถึงอะไรบาง และมีใจความสําคัญอยางไร อีกทั้งควร ฝกใสอารมณใหถูกตองเหมาะสมกับเนื้อเรื่อง .................................................................................................................................................................................................................................................

.................................................................................................................................................................................................................................................. ..................................................................................................................................................................................................................................................

การอานบทพรรณนา การอานบทพรรณนาผูอานตองใชนํ้าเสียงใหเหมาะกับบรรยากาศของเรื่อง ถาเปน บรรยากาศสดชื่นสวยงาม ควรใชนํ้าเสียงสดชื่นเบิกบาน และถาเปนบรรยากาศเศราก็ควร จะใชนํ้าเสียงสั่นเครือและจะตองออกเสียงอักขระใหถูกตอง ชัดเจน .................................................................................................................................................................................................................................................

.................................................................................................................................................................................................................................................. ..................................................................................................................................................................................................................................................

เกร็ดแนะครู การอานออกเสียงที่มีประสิทธิภาพเกิดขึ้นจากปจจัยตางๆ เชน สายตา นํ้าเสียง และอารมณในการอาน ซึ่งการอานออกเสียงใหผูอื่นฟง หรือการประกอบอาชีพที่จะ ตองใชทักษะการอานออกเสียง เชน ผูประกาศขาว ผูดําเนินรายการ ปจจัยเรื่อง สายตา เสียงและอารมณอยางเดียวอาจไมเพียงพอ แตจะตองประกอบดวยบุคลิกภาพ หรือการแสดงทาทางในขณะที่อาน ครูควรจัดเตรียมแบบฝกประเภทขาวในพระราชสํานัก ความยาวไมเกิน 10 บรรทัด มาใหนักเรียนฝกอาน และรวมถึงฝกการวางบุคลิกภาพใหเหมาะสม หรืออาจให นักเรียนเขียนสคริปขึ้นเองเพื่อทําหนาที่เปนผูด าํ เนินรายการโทรทัศน ฝกการใช นํา้ เสียง และการแสดงทาทางใหเหมาะสมในขณะที่พูด สุมเรียกนักเรียนเพื่อใหออกมา นําเสนอหนาชั้นเรียน ซึ่งการปฏิบัติกิจกรรมดังกลาวจะทําใหนักเรียนไดฝกการใช สายตา นํ้าเสียง อารมณและการวางบุคลิกภาพ สามารถนําไปปรับใชใหเกิดประโยชน ในชีวิตประจําวันของตนเองตอไป คู่มือครู

9


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

Engaae

Expore

อธิบายความรู้

✓ แบบวัดฯ ใบงาน แบบฝกฯ ภาษาไทย ม.2 กิจกรรมที่ 1.3 เรื่อง หลักการอานออกเสียงร้อยแก้ว คะแนนเต็ม คะแนนที่ได

õ

/

..........................................................................................................................................................................................................................

//

..........................................................................................................................................................................................................................

___

..........................................................................................................................................................................................................................

เวนวรรคนอย คั่นระหวางคําเมื่อจบขอความหนึ่งๆ เพื่อหยุดพักหายใจ

เวนวรรคยาว คัน่ ระหวางคําเมือ่ อานจบขอความหลัก จะเวนวรรคยาวกวา / เล็กนอย ขีดใตคํา คําที่เนนเสียงหนัก

เขียนบนคํา เมื่อเปนคําที่ตองทอดเสียง

..........................................................................................................................................................................................................................

^ V

เขียนบนคําที่ตองการเนนเสียงสูง

..........................................................................................................................................................................................................................

เขียนบนคําที่ตองการเนนเสียงตํ่า

..........................................................................................................................................................................................................................

กิจกรรมที่ ๑.๓ ใหนักเรียนสรุปหลักการอานออกเสียงบทรอยแกว (ท ๑.๑ ม.๒/๑,๘)

Explain

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Explain

1. นักเรียนรวมกันสนทนาเกี่ยวกับเรื่อง มอม หรือ รวมกันยกตัวอยางเรื่องสั้นที่นักเรียนอานแลว ประทับใจ สลับกันเลาเรื่องยอใหเพื่อนๆ รวมชั้นเรียนฟง 2. นักเรียนรวมกันฝกปฏิบัติอานออกเสียง บทบรรยายในเรื่อง มอม จากหนังสือเรียน ภาษาไทย หนา 10 โดยครูคอยชี้แนะและ สังเกตการมีสวนรวมของนักเรียนแตละคน 3. นักเรียนใชความรู ความเขาใจ เกีย่ วกับแนวทาง การอานออกเสียงรอยแกว และบทรอยกรอง ทําแบบวัดฯ ภาษาไทย ม.2 ตอนที่ 1 หนวยที่ 1 กิจกรรมตามตัวชี้วัด กิจกรรมที่ 1.3

กิจกรรมที่ ๑.๒ ใหนักเรียนบอกหนาที่ของเครื่องหมายที่ใชเวนวรรค ในการอานบทรอยแกว (ท ๑.๑ ม.๒/๑)

อธิบายความรู้

คะแนนเต็ม คะแนนที่ได

õ

ฉบับ

เฉลย

การอานบทบรรยาย ตองรูจักสังเกตการใชถอยคํา สํานวน การเวนวรรค การเวนจังหวะหายใจ พยายาม ศึกษาและทําความเขาใจวาเนื้อหากลาวถึงอะไรบาง และมีใจความสําคัญอยางไร อีกทั้งควร ฝกใสอารมณใหถูกตองเหมาะสมกับเนื้อเรื่อง .................................................................................................................................................................................................................................................

..................................................................................................................................................................................................................................................

Ẻ½ƒ¡Í‹Ò¹ÍÍ¡àÊÕ§º·ºÃÃÂÒ มอม มอมมันโตวันโตคืนกลายเปนหนุม ใหญ/แมหายไปจากโลกของมัน/ซึง่ เดีย๋ วนีเ้ หลือแตนาย// มอมไมไดรกั นายเทาชีวติ /แตนายเปนชีวติ ของมอม//เชาขึน้ นายหายไปจากบาน/มันก็รสู กึ วาชีวติ มันวางเปลา/แตมอมรูว า ตกบายก็ตอ งกลับ//ฉะนัน้ ตามปกติ/มันก็ไมเดือดรอนเทาไรนัก//มอมใช เวลาทีน่ ายไมอยูห าอะไรกินบาง/เลนกับหนูบา ง/บางทีหนูกด็ งึ หูดงึ หางมัน/เลนกับมันเจ็บๆ/แตมอม มันก็ทนได/เพราะกลิน่ ของนายติดอยูท ตี่ วั ของหนูเหมือนกับคนๆ เดียวกัน/ชัว่ แตวา หนูตวั เล็กกวา// บางทีมอมมันก็ออกไปเทีย่ วนอกบาน/เดินไปก็ดมกลิน่ อะไรตออะไรไป/กลิน่ คนแปลกๆ ทีต่ ดิ อยูต าม ทางเดิน/กลิ่นหนูที่ออกหากินตามถังขยะในเวลากลางคืน/กลิ่นหมาบานใกลเรือนเคียง/และหมา กลางถนนทัง้ ตัวผูต วั เมีย//เมือ่ มอมตัวยังเล็กอยู/ มันไมคอ ยกลาออกจากบาน/เพราะหมาอืน่ ๆ มัน รุมกันเหา/มันรุมกันกัด/แตเดีย๋ วนีม้ อมตัวโตกวาหมาอืน่ /พอออกนอกบานถึงหมาอืน่ จะเหา/แตก็ วิง่ หนีมอมทุกตัวไป//ในบรรดาหมาตัวผูใ นละแวกบาน/มอมมันเคยแสดงฝมอื ใหปรากฏมาแลว// ไอตวั ไหนทีเ่ คยเปนจาฝูง/เปนหัวโจก/มอมมันก็เคยปราบมาแลว//ตามธรรมเนียมหมานัน้ //ถาจะ ออกจากบานไปไหน/จะตองถายปสสาวะรายทางไว/สําหรับดมกลิ่นของตนเองกลับบานไดถูก ที่/ที่จะถายรดนั้น/ก็ตองเปนที่สังเกตไดงาย/สูงเพียงระดับจมูก/ไมตองกมลงดมใหเสียเวลา// เปนตนวา/เสาไฟฟาหรือตนไมขางทาง/ออกจากบานเดินไปก็ตองยกขาถายรดเอาไวเปนสําคัญ/ มาถายทับเสีย/กลิ่นนั้นก็เพี้ยนไป/อาจถึงกลับบานไมถูก/หรืออยางนอยก็ตอง แตถามีหมาตัวอื่นมาถ สาวะ ต่ วั อืน่ ทําไวแลว/จึงเปนอนันตริยกรรมของสุนขั /อภัยใหกนั ลําบากทุลกั ทุเล//การถายปสสาวะรดที ไมได//แล แลวถาทํากันตอหนาก็เปนการทาทายกักันโดยตรง โดยตรง/เปนการทําลายเกียรติของหมาตัวผูดวย งตอสูจจนแพ กัน/แสดงวาหมดความเกรงใจนับถือกัน/ตองต นแพกันไปขางหนึ่ง//มอมมันเคยถูกทาทาย ดวยวิธีนี้มามาก/แตมันก็สูจนเอาชนะไดทุกตัว/บางทีมันกลับบานเปนแผลยับไปตามหนาและ แขงขา/นายผูหญิงตองคอยลางแผลใสยาให/หลังจากนั้นมันก็จะถูกขังไปสองสามวัน/แลวมันก็ แอบหนีไปเที่ยวนอกบานไดอีก// 1 (มอม: ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช)

..................................................................................................................................................................................................................................................

การอานบทพรรณนา การอานบทพรรณนาผูอานตองใชนํ้าเสียงใหเหมาะกับบรรยากาศของเรื่อง ถาเปน บรรยากาศสดชื่นสวยงาม ควรใชนํ้าเสียงสดชื่นเบิกบาน และถาเปนบรรยากาศเศราก็ควร .................................................................................................................................................................................................................................................. จะใช น ํ้าเสียงสั่นเครือและจะตองออกเสียงอักขระใหถูกตอง ชัดเจน ................................................................................................................................................................................................................................................. ..................................................................................................................................................................................................................................................

จากบทฝกอาน เรื่อง มอม บทประพันธของหมอมราชวงศคึกฤทธิ์ ปราโมช เปนบทบรรยายที่ ทําใหทราบเหตุการณ และทําใหผอู า นมีอารมณคลอยตามไปกับเนือ้ เรือ่ ง การอานบทบรรยายจากเรือ่ ง มอม ผูอานตองออกเสียงใหชัดเจน เพื่อใหผูฟงเขาใจเรื่องโดยตลอด ๑๐

เกร็ดแนะครู ครูอาจเสริมสรางทักษะความชํานาญเกี่ยวกับการอานออกเสียงบทบรรยายใหแก นักเรียน ดวยการเตรียมแบบฝก โดยอาจตัดตอนไดจากหนังสือเรื่อง ถกเขมร ของหมอมราชวงศคึกฤทธิ์ ปราโมช หรือจากหนังสือเรื่องอื่นๆ ที่มีบทบรรยายที่โดดเดน มาใหนักเรียนฝกอานรวมกัน ควรสังเกตทักษะและพฤติกรรมขณะที่อาน เพื่อแนะนํา ใหแกไขเปนรายบุคคล

นักเรียนควรรู 1 มอม เปนเรื่องสั้นที่แตงโดย ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช เนื้อหาสาระเปนเรื่องราว ของสุนัขพันธุผสมที่มีความรักและซื่อสัตยตอนายอยางที่สุด ซึ่งเรื่องมอมไดนํามาใช เปนบทเรียนในหนังสือวิชาภาษาไทย ระดับชั้นมัธยมศึกษา

10

คู่มือครู

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

การใชเสียงและการสรางอารมณในการอานมีความสัมพันธกันอยางไร หากนักเรียนตองการใหการอานออกเสียงในแตละครั้งสามารถใชนํ้าเสียงได ตรงกับอารมณของเรื่อง จะมีแนวทางปฏิบัติตนอยางไร จงแสดงความคิดเห็น แนวตอบ การอานออกเสียงใหเกิดประสิทธิภาพ อารมณของผูอานจะตอง มีความสอดคลองกับเรื่อง เมื่อมีอารมณสอดคลองตองกันจะทําใหผูอาน เปลงเสียงออกมาสัมพันธกับอารมณของเรื่อง ไมอานเนือยๆ ไรอารมณ เชน ถาอานเรื่องเศรา ก็จะตองใชนํ้าเสียงเบาลงกวาปกติ ทําเสียงเครือให เหมาะสมกับบทอาน ซึ่งผูอานแตละคนควรเตรียมตัวพิจารณาเนื้อความ ที่จะอานมาลวงหนา จัดแบงวรรคตอน ฝกออกเสียงใหถูกตอง ออกแบบ นํ้าเสียงใหเหมาะสมกับอารมณของบทอาน


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

Engaae

Expore

อธิบายความรู้ Explain

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

อธิบายความรู้ ๒) การอานบทพรรณนา บทพรรณนาเปนรอยแกวทีเ่ ขียนแสดงอารมณ ความรูส กึ ของผูเ ขียน

ที่มีตอสิ่งใดสิ่งหนึ่ง โดยใชกลวิธีการเขียนเพื่อใหผูอานเห็นภาพ เกิดอารมณความรูสึกตามที่ผูสงสาร ตองการ Ẻ½ƒ¡Í‹Ò¹ÍÍ¡àÊÕ§º·¾Ãó¹Ò ขณะพระองคเสด็จมาใกลเบญจคีรีนครคือราชคฤหเปนเวลาจวนสิ้นทิวาวาร//แดดในยาม เย็นกําลังออนลงสูส มัยใกลวกิ าล /ทอแสงแผซา นไปยังสาลีเกษตร//แลละลิว่ /เห็นเปนทาง/สวางไป ทัว่ ประเทศ/สุดสายตา//ดูประหนึง่ มีหตั ถทพิ ยมาปกแผอาํ นวยสวัสดี//เบือ้ งบนมีกลุม เมฆเปนคลืน่ ซอนซับสลับกัน/เปนทิวแถว/ตองแสงแดดจับเปนสีระยับวะวับแวว/ประหนึ่งเอาทรายทอง/มา โปรยปรายเลือ่ นลอย/ลิว่ ๆ เรีย่ ๆ ราย/ลงจรดขอบฟา//ชาวนาและโคก็เมือ่ ยลาดวยตรากตรําทํางาน// ตางพากันเดินดุมๆ/เดินกลับเคหสถาน/เห็นไรๆ//เงาหมูไมอันโดดเดี่ยวอยูกอเดียวก็ยืดยาว/ ออกมาทุกทีๆ//มีขอบปริมณฑลเปนรัศมีแหงสีรุง//อันกําแพงเชิงเทินปอมปราการที่ลอมกรุง/ รวมทั้งทวารบถทางเขานครเลา/มองดูในขณะนั้น/เห็นรูปเคาไดชัดถนัดแจง/ดั่งวานิรมิตไว//มี สุมทุมพุมไม/ดอกออกดก/โอบออมลอมแนนเปนขนัด//ถัดไปเปนทิวเขาสูงตระหงาน/มีสีในเวลา ตะวันยอแสง/ปานจะฉายเอาไว/เพื่อจะแขงกับแสงสีมณีวิเศษ/มีบุษราคบรรณฑรวรรณ/แลกอง แกวโกเมน/แมรวมกันใหพายแพฉะนั้น//พระตถาคตเจาทอดพระเนตรภูมิประเทศดั่งนี้/พลาง รอพระบาทยุคลหยุดเสด็จพระดําเนิน/มีพระหฤทัยเปยมดวยโสมนัสอินทรีย/ในภูมิภาพที่ทรง จํามาไดแตกาลกอน/เชน/ยอดเขากาฬกูฏ/ไวบูลยบรรพต/อิสิคิลิ/และคิชฌกูฏ/ซึ่งสูงตระหงาน กวายอดอืน่ /ยิง่ กวานี/้ ทรงทอดทัศนาเห็นเขาเวภาระ/อันมีกระแสธารนํา้ รอน/ก็ทรงระลึกถึงคูหา ใตตนสัตตบรรณ/อันอยูเชิงเขานั้นวา/เมื่อพระองคยังเสด็จสัญจรรอนเรแตโดยเดียว/แสวงหา พระอภิสัมโพธิญาณ/ไดเคยประทั ประทับสําราญพระอิริยาบถอยูในที่นั้นเปนครั้งแรก/กอนที่จะเสด็ ะเสด็จ ออกจากสังสารวัฏ/เขาสูแดนศิวโมกษปริ ปรินิพพาน// พาน//

1. นักเรียนรวมกันฝกปฏิบัติอานออกเสียง บทพรรณนาในเรื่อง กามนิต จากหนังสือเรียน ภาษาไทย หนา 11 โดยครูคอยชี้แนะและ สังเกตการมีสวนรวมของนักเรียนแตละคน 2. นักเรียนรวมกันฝกอานบทพรรณนา ซึ่งครู ผูสอนเปนผูจัดเตรียม

ขยายความเข้าใจ

✓ แบบวัดฯ ใบงาน แบบฝกฯ ภาษาไทย ม.2 กิจกรรมที่ 1.4 เรื่อง การอานออกเสียงร้อยแก้ว

ขอใดแบงวรรคตอนในการอานออกเสียงไดถูกตอง 1. ในการดูตาสําคัญ / ที่สุด / ในการฟงหูสําคัญ / ที่สุด 2. ในการดูตาสําคัญที่สุด / ในการฟงหูสําคัญที่สุด 3. ในการดู / ตาสําคัญที่สุด / ในการฟง / หูสําคัญที่สุด 4. ในการดูตา / สําคัญที่สุด / ในการฟงหู / สําคัญที่สุด

วิเคราะหคําตอบ การอานออกเสียง การแบงวรรคตอนในการอานใหถกู ตอง มีความสําคัญเปนอยางยิ่ง เพราะหากผูอานแบงวรรคตอนในการอานผิด จะสงผลใหผูฟงไมเขาใจเนื้อหาสาระ เพราะตีความผิดพลาดคลาดเคลื่อน การแบงวรรคตอนที่ถูกตองนอกจากจะยึดจากชวงจังหวะหยุดพักหายใจของ ผูอ า นแลว ตองยึดเนือ้ หาเปนสําคัญ ไมควรแบงวรรคตอนแลวทําใหเสียความ ดังนั้นจึงตอบขอ 3.

คะแนนเต็ม คะแนนที่ได

กิจกรรมที่ ๑.๔ ฝกอานออกเสียงบทรอยแกว ออกเสียงใหชัดเจน และเวนวรรคใหถูกตอง (ท ๑.๑ ม.๒/๑,๘)

ñð

หินกอนหนึ่ง มันเปนเพียงหินกอนหนึ่ง ขนาดโตกวาหัวแมมือเล็กนอย ใสแจว เกลี้ยงเกลา สีนํ้าตาลออนจนเกือบเปนสีครีม มีเสนสีชมพูเรื่อๆ วกวนไปมาอยางมีระเบียบอยูในเนื้อของ มัน… ฉันหยิบมันขึ้นมาพินิจ ความใสของเนื้อหินและเสนสีชมพูบางๆ นั่น ทําใหรูสึกวา มันละเอียดออนบอบบางเหลือเกิน ดูสวย นาถนอม แลวก็ละมุนละไม… ทั้งๆ ที่มันเปนศิลา แข็งและกระดาง ฉันไมไดเก็บมันขึ้นมาจากพื้นทราย ไมไดพรากมันมาจากกนทะเลลึก เพียงแตเด็ก คนหนึ่งสงให เด็กคนไหน? ฉันก็ตอบไมได เพียงแตแกผานมา หัวเราะดวยไมตรี แลวก็ยื่น หินกอนนีม้ าใหอยางซือ่ ๆ เปดเผย แมจะอายๆ แลวก็ผา นเลยไปตามชนบท บางทีคนแปลกหนา ฉบับ เฉลย ก็นา รักอยางนี้ เขาตรงเขามาใหอะไรแกคณ ุ สักอยางทีด่ ูไมมคี า อะไรเลย ใหอยางไมมปี ไ มมขี ลุย ไมมีเหตุผล แลวก็ผละจากไป ทิ้งคุณไวแตเดียวดายเหมือนเดิม โดยไมเรียกรองสิ่งตอบแทน ไมไดขออะไรจากคุณเลยแมแตยิ้มหรือขอบใจสักคํา ฉันกําหินกอนนั้นไวในมือจนอุน ฉันรูสึกเปนกันเองกับมันอยางเหลือเกิน พรอมๆ กับใจก็พลอยรูสึกเปนกันเองไปกับเด็กคนนั้น ซึ่งฉันจําหนาไมไดถนัด รูแตวาตัวดําป และ เวลาหัวเราะก็ยิงฟนขาว… แกผานไปแลวพอหนูคนนั้น บางทีเราอาจจะไมไดพบกันอีกเลยชั่วชีวิตนี้ แตแก ก็ไดทิ้งอะไรไวอยางหนึ่งในชีวิตหงอยๆ ของคนๆ หนึ่ง อะไรอยางหนึ่งซึ่งดูไมมีความหมาย และมันไรจุดมุงอันเจาะจง แตก็ทรงคุณคาเต็มตัวในแบบของมันเอง แบบของการใหอยางอิสระ ไมมีการบีบบังคับ ไมมีการถือวาเปนความจําเปน ไมใช เพื่อมารยาทอะไรทั้งสิ้น ใหเพราะใจอยากใหเทานั้น แลวผูรับก็รับเอาอยางอิสระ ไมมีพันธะ จะตองตอบแทนอันใด รับเอาเพราะมีผูใหเทานั้น

จากแบบฝ บบฝกอานบทพรรณนา จากเรื่องกามนิต เปนบทที่พรรณนาถึงบรรยากาศอันสดชื่น สวยงามในยามเย็นของกรุงราชคฤห ซึ่งผูอานจะตองออกเสียงอักขระใหถูกตอง ชัดเจน และอานโดย ใชนํ้าเสียงใหเขากับเนื้อเรื่อง นอกจากนี้ยังมีคําอานที่ตองระมัดระวังการอานใหถูกตองและเขาใจความหมายดวย เชน เบญจคีรีนคร อานวา เบน-จะ-คี-รี-นะ-คอน หมายถึง เมืองที่มีภูเขา ๕ ลูก ราชคฤห ” ราด-ชะ-คฺรึ ” แควนในอดีตของอินเดีย ปริมณฑล ” ปะ-ริ-มน-ทน ” บริเวณโดยรอบ ๑๑

แนว  NT  O-NE T

Expand

จากความรู ความเขาใจ เกี่ยวกับเครื่องหมาย ที่ใชสําหรับการอานออกเสียง และแนวทาง การอานออกเสียงรอยแกวและบทรอยกรอง นักเรียนทําแบบวัดฯ ภาษาไทย ม.2 ตอนที่ 1 หนวยที่ 1 กิจกรรมตามตัวชี้วัด กิจกรรมที่ 1.4

(กามนิต: เสฐียรโกเศศและนาคะประทีป)

ขอสอบเนน การคิด

Explain

(หินกอนหนึ่ง โดย นิด นรารักษ)

(การใหคะแนนขึ้นอยูกับดุลยพินิจของครูผูสอน โดยสังเกตจากการอานตัว ร ล ควบกลํ้า และการแบงวรรคตอน)

เกร็ดแนะครู แบบฝกอานบทพรรณนาบทนี้เพิ่มเติมจากหนังสือเรียน เพื่อใหครูนําไปใหนักเรียน ฝกทักษะการอานออกเสียงรอยแกวรวมกันในกระบวนการขั้น อธิบายความรู “...เสียงรํ่าไหสะอึกสะอื้นของแมเฒา ดังผสานเสียงรินไหลของสายนํ้ามูล เชาวันนั้น แมคอยๆ แผวเบาลงดวยความอิดโรย แตก็ทําใหบรรยากาศแหงความเวทนาสงสาร ปกคลุมไปทั่วทั้งคุงนํ้า ชวงที่ไหลผานบานตากลาง หมูบานคนเลี้ยงชางแหงอําเภอ ทาตูม จังหวัดสุรินทร ไมไกลกัน ลูกชายของหลอนซึ่งอยูในสภาพที่ทรุดโทรม ทั้งรางกายและจิตใจ ไมตางอะไรกับนักสูผูปราชัยในการศึกยืดเยื้อนานถึงสองวัน สองคืน กําลังลงมีดชําแหละราง “แมคําแปน” ที่ไรวิญญาณ อยูอยางอิดโรย เนิบนาบ ปลายมีดที่กดลงไปบนหนั่นเนื้อแนนและเหนียวแตละครั้ง ไมตางจากคมมีดที่กรีดลึก ลงในจิตวิญญาณลูกชายคนเลี้ยงชาง...” (แมคําแปน โศกนาฏกรรมริมฝงมูล : ธีรภาพ โลหิตกุล)

คู่มือครู

11


กระตุน้ ความสนใจ Engage

ส�ารวจค้นหา

อธิบายความรู้

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Expore

Explain

Expand

Evaluate

กระตุน้ ความสนใจ

Engage

ครูกระตุน ความสนใจเพือ่ นําเขาสูห วั ขอการเรียน การสอน ดวยการเปดคลิปเสียงการชมเหกระบวนเรือ พระราชพิธีใหนักเรียนฟง จากนั้นตั้งคําถามวา • เมื่อไดฟงบทเหชมกระบวนเรือจบลงแลว นักเรียนมีความรูสึกอยางไร (แนวตอบ นักเรียนสามารถแสดงความคิดเห็น ไดอยางอิสระ) • จากบทเหชมกระบวนเรือที่ไดฟง นักเรียน คิดวาผูเหมีกลวิธีพิเศษอยางไร ที่ทําใหบทเห มีความไพเราะ (แนวตอบ ผูเหจะตองมีความรู ความเขาใจ เกี่ยวกับฉันทลักษณของบทรอยกรองแตละ ประเภทเปนอยางดี เพื่อแบงวรรคตอน ในการอานไดถูกตอง นอกจากนี้ตองเปน ผูมีจิตใจละเอียดออน มีความสามารถในการ ตีความเนื้อหาสาระ เพราะหากผูเหมีความ เขาใจในเนื้อหาสาระ รูวากลาวถึงอะไร เพื่ออะไร ก็จะสามารถออกแบบการใช นํ้าเสียงใหเขากับเนื้อความไดโดยงาย กอให เกิดความไพเราะ เหมาะสม เปนทวงทํานอง ที่นาฟง) • เพราะเหตุใดการอานออกเสียงรอยแกว กับการอานออกเสียงบทรอยกรองจึงมี ทวงทํานองในการอานแตกตางกัน (แนวตอบ เพราะบทรอยกรองมีการบังคับ จํานวนคํา จํานวนวรรค และเสียงวรรณยุกต หรือที่เรียกวาฉันทลักษณ ซึ่งฉันทลักษณ เปนสิ่งกําหนดทวงทํานองในการอาน ในขณะที่รอยแกวมีลักษณะเปนความเรียง ที่สละสลวย ไมมีการกําหนดจํานวนคํา จํานวนวรรค จึงไมมีทวงทํานองขณะอาน แตถึงอยางไรการอานออกเสียงรอยแกว ผูอานก็จะตองแบงวรรคตอนในการอาน ใหเหมาะสม เกิดเปนชวงจังหวะและสื่อความ ไดชัดเจน)

จรด ตถาคต ทวารบถ กาฬกูฏ ไวบูลยบรรพต พระเยาวกาล อิฏฐารมณ ผงม

เขาไปชิด พระพุทธเจา ทางเขาออก ยอดสีดํา ภูเขาที่สมบูรณ เวลาที่ยังยาวอยู อารมณ สิง่ ทีน่ า ปรารถนา ประคบประหงม

รอยกรอง เปนบทประพันธที่แตงตามลักษณะขอบังคับของฉันทลักษณ เชน บังคับจํานวนคํา สัมผัส บังคับเสียงหนัก เบา เปนตน รอยกรองแบงเปนประเภทใหญๆ ได ๖ ประเภท คือ โคลง ฉันท กาพย กลอน ราย ลิลิต การอานออกเสียงบทรอยกรอง คือ การอา1นบทรอยกรองแตละประเภทใหไพเราะตาม ลี ล าอารมณ ตามทํ า นองฉั น ทลั ก ษณ ข องร อ ยกรองประเภทนั้ น ๆ การอ า นออกเสี ย งร อ ยกรอง ผูอ า นตองฝกฝนทักษะการอาน ฝกการใชนาํ้ เสียง เพือ่ ใหผฟู ง เกิดอารมณ เกิดจินตนาการตามเนือ้ เรือ่ ง

๓.๑ หลักการฝกอานออกเสียงบทรอยกรอง การอานออกเสียงบทรอยกรองใหมีความไพเราะ 2 ถูกตอง ตองคํานึงถึงหลักในการอาน ดังนี้ ๑. ฝกอานใหถูกตองตามทํานองและลีลาของลักษณะคําประพันธ ๒. ฝกอานออกเสียงอักขระ คําควบกลํ้า จะตองอานใหถูกตองชัดเจน ๓. ฝกอานเอื้อเสียงสัมผัส เพื่อใหเกิดความไพเราะ เชน “ขาขอเคารพอภิวันท” คําวา เคารพอภิวันท ตองอานวา เคา-รบ-อบ-พิ-วัน เพื่อเอื้อ เสียงใหสัมผัสกับคําวา เคารพ “มิใชจักลืมคุณกรุณา” คําวา กรุณา ตองอานวา กะ-รุน-นา เพื่อเอื้อเสียงใหสัมผัสกับ คําวา คุณ ๔. ฝกอานออกเสียงใหเต็มเสียงและตอเนือ่ ง ไมใหขาดเปนหวงๆ และฝกสอดแทรกอารมณให เหมาะสมกับเนื้อเรื่อง ■

๑๒

EB GUIDE

1 ฉันทลักษณของรอยกรอง กวีที่ดีจะเลือกใชฉันทลักษณที่มีความเหมาะสม โดยมี ลีลาและเสียงสอดคลองกับเนื้อหาและอารมณของเรื่อง ซึ่งจะทําใหผูฟงเขาถึงอารมณ ของเรื่อง และไดรับสุนทรียทางดานเสียงอยางลึกซึ้ง 2 ถูกตองตามทํานองและลีลา การอานออกเสียงบทรอยกรองใหถูกตองตามทํานอง และลักษณะคําประพันธ เปนสวนสําคัญในการอานออกเสียงบทรอยกรอง เพราะจังหวะ และทวงทํานองของฉันทลักษณที่แตกตางกันจะใหอารมณความรูสึกที่แตกตางกัน

มุม IT นักเรียนสามารถเขาไปสืบคนเพิ่มเติมเกี่ยวกับฉันทลักษณของบทรอยกรองไทย ไดจากเว็บไซต http://kanchanapisek.or.th/kp6/Book17/chapter2/chap2.htm คู่มือครู

จะ - หฺรด หมายถึง ตะ - ถา - คด ” ทะ - วา - ระ - บด ” กา - ละ - กูด ” ไว - บูน - ยะ - บัน - พด ” พฺระ - เยา - วะ - กาน ” อิด-ถา-รม ” ผะ - งม ”

๓ ¡ÒÃÍ‹Ò¹ÍÍ¡àÊÕ§ÌÍ¡Ãͧ

นักเรียนควรรู

12

อานวา ” ” ” ” ” ” ”

http://www.aksorn.com/LC/Thai_Gra/M2/02

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

เพราะเหตุใดการอานออกเสียงบทรอยกรองจึงตองมีการใสทว งทํานอง ในขณะอาน แนวตอบ ตั้งแตสมัยโบราณคนไทยเปนคนเจาบท เจากลอน ถอยคําสํานวน ที่ใชอยูในชีวิตประจําวันจึงมักมีเสียงสัมผัสคลองจอง ภาษาไทยเปนภาษา ดนตรี มีเอกลักษณเฉพาะตัว เมื่อนํามารอยเรียงตอกันจึงทําใหเกิดเปน บทรอยกรอง ซึ่งการอานบทรอยกรองถาอานในใจก็จะไดประโยชนเฉพาะ ตัวผูอาน ไมวาจะเปนทวงทํานองที่ไพเราะ หรือความซาบซึ้งในเนื้อหาสาระ ดังนั้นการอานออกเสียงบทรอยกรองเปนทํานองจึงไดเกิดขึ้น และหากอาน โดยใชกระแสเสียงเพียงเสียงเดียว ก็จะทําใหผูฟงไมไดรับอรรถรสจากการฟง เทาที่ควร ทั้งยังไมสามารถจินตนาการเกี่ยวกับเรื่องที่ฟงไดอยางเต็มที่ การใสทวงทํานองขณะอานออกเสียงบทรอยกรอง จึงเทากับเปนการเพิ่ม อรรถรสในการฟง ทําใหไมนาเบื่อ และสงเสริมจินตนาการ


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา Explore

อธิบายความรู้ Explain

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Engaae

ส�ารวจค้นหา ๕. ฝกอานเวนวรรคตอนใหเหมาะกับเนือ้ หา บางครัง้ ตองอานรวบคําหรือผอนเสียงตามเนือ้ หา เชน “แขกเตาจับเตารางรอง” ตองอานวา แขกเตา-จับเตาราง-รอง หมายถึง นกแขกเตาจับตนเตาราง สงเสียงรอง ถาหากอานเวนวรรคตอนผิดความหมายก็จะผิดไปจากเดิม กลายเปนวา นกแขกเตา จับเตา ไมใช จับที่ตนเตาราง เปนตน ๖. ฝกอานจากครูผูสอนที่มีทักษะในการอานที่ถูกตองหรือฝกอานจากอุปกรณบันทึกเสียง จะชวยใหเขาใจศิลปะการออกเสียง เชน การเอือ้ นเสียง การหลบเสียง 1การครัน่ เสียง การกระแทกเสียง การทอดเสียง การรวบคํา เพื่อนําทักษะดังกลาวมาปฏิบัติดวยตนเอง การเอื้อนเสียง หมายถึง การลากเสียงใหเขากับจังหวะและไวหางเสียงใหไพเราะ การหลบเสียง หมายถึง การปรับระดับเสียงที่สูงเกินไปหรือตํ่าเกินไปใหพอดีกับ ระดับเสียงของตน การครั่นเสียง หมายถึง การทําเสียงทีเ่ ปลงออกมาใหสะดุด ฟงแลวรูส กึ เศราสรอย การกระแทกเสียง หมายถึง การกระชากเสียงใหหวนสั้นเพื่อแสดงอารมณโกรธ การทอดเสียง หมายถึง การยืดคําใหยาวออกไปในตอนทายวรรคหรือตอนใกลจะจบ การรวบคํา หมายถึง การรวบคําทีม่ หี ลายพยางคใหสนั้ เขา เพือ่ ใหลงตรงจังหวะ

๓.๒ แบบฝกการอานออกเสียงบทรอยกรอง รอยกรองแตละประเภทมีลักษณะทวงทํานอง ลีลาและจังหวะในการอานตางกัน ผูอานตอง ศึกษาใหเขาใจเพื่อจะไดอานออกเสียงไดอยางถูกตอง สําหรับในระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๒ นี้ เลือกมาใหศึกษาเพียง ๔ ประเภท คือ กลอนบทละคร กลอนเพลงยาว กลอนนิทาน 2และกาพยหอโคลง ซึ่งมีลักษณะการอาน ดังนี้ ๑) กลอนบทละคร มีหลักการอาน ดังนี้ ๑. การอานคํานอย ใหอานโดยใสเสียงเอื้อนใหยาวกวาปกติ เชน “เมื่อนั้น...” ๒. การอานคํามาก ใหอานรวบคําใหมีความกระชับตรงวรรคและระมัดระวังไมใหผิดไป จากความหมาย เชน “มาจะกลาวบทไป...” ตองอานรวมทั้งหาพยางค “ทาวส/หัสนัย/ตรัยตรึงสา ผูอานตองอานคําวา ทาวสหัสนัย ใหติดตอกันโดยใชการเอื้อนเสียง ๓. การอานคําจํานวนปกติ เชน “รจนา/นารี/มีศักดิ์” “เทพไท/อุปถัมภ/นําชัก” “นงลักษณ/ดูเงาะ/เจาะจง ๑๓

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

ใหนักเรียนแสดงความคิดเห็นวาผูที่จะอานทํานองเสนาะบทรอยกรองไดดี ควรมีคุณสมบัติที่โดดเดนอยางไร

แนวตอบ ผูที่จะอานทํานองเสนาะบทรอยกรองไดดีจะตองมีสุขภาพ ที่แข็งแรงสมบูรณ มีนํ้าเสียงที่ดังกังวาน แจมใส มีความรอบรู แตกฉาน ในฉันทลักษณของบทรอยกรองแตละประเภทเปนอยางดี มีความเพียรพยายาม ความอดทนทีจ่ ะฝกฝน เมือ่ ตองอานบทรอยกรองทีต่ นเองยังไมมคี วามชํานาญ หรือมีความชํานาญไมเพียงพอ มีความเชื่อมั่นในตนเอง กลาแสดงออก มีสมาธิจดจออยูกับสิ่งที่กําลังกระทํา มีความรอบคอบ ปฏิภาณไหวพริบ สามารถแกไขสถานการณเฉพาะหนาไดดี เชน ในกรณีที่อานบทรอยกรอง แลวพบวาภายในวรรคนั้น มีคําที่เกินหรือขาดไปจากที่แผนผังกําหนดไว ผูอานจะตองแกปญหาโดยอานรวบคําหรือยืดเสียงใหไดจังหวะครบถวน เปนตน

Explore

แบงนักเรียนเปน 4 กลุม ในจํานวนเทาๆ กัน หรือเฉลี่ยตามความเหมาะสม ครูทําสลากจํานวน 4 ใบ พรอมระบุขอความในแตละหมายเลข จากนั้นใหแตละกลุมสงตัวแทนออกมาจับสลาก ประเด็นสําหรับการสืบคนความรูรวมกัน ดังนี้ หมายเลข 1 การอานออกเสียงกลอนบทละคร หมายเลข 2 การอานออกเสียงกลอนเพลงยาว หมายเลข 3 การอานออกเสียงกลอนนิทาน หมายเลข 4 การอานออกเสียงกาพยหอ โคลง สมาชิกทุกคนภายในกลุม รวมกันสืบคนความรู จากแหลงขอมูลตางๆ ทีเ่ ขาถึงได และมีความ นาเชือ่ ถือ สรุปขอมูลทีเ่ ปนประโยชน เหมาะสม ทีจ่ ะนําเสนอหนาชัน้ เรียน โดยใหมคี วามครอบคลุม ดังนี้ • ฉันทลักษณบทรอยกรอง (ที่จับสลากได) • แนวทางหรือกลวิธีการฝกฝน

อธิบายความรู้

Explain

1. สมาชิกกลุมที่จับสลากไดหมายเลข 1 รวมกัน อธิบายความรูเกี่ยวกับการอานออกเสียง บทรอยกรองประเภทกลอนบทละคร 2. ครูสุมเรียกชื่อนักเรียนอธิบายความรูเกี่ยวกับ การอานออกเสียงบทรอยกรองประเภท กลอนบทละคร โดยใชความรู ความเขาใจ ทีไ่ ดรบั จากการฟงบรรยาย เปนขอมูลเบื้องตน สําหรับตอบคําถาม • กลอนบทละครมีฉันทลักษณอยางไร (แนวตอบ มีฉันทลักษณเชนเดียวกับกลอน สุภาพ วรรคหนึง่ มีจาํ นวนคํา 6-9 คํา แตนยิ ม ใชเพียง 6-7 คํา จึงจะเขาจังหวะในการรอง และรําของตัวละคร ทําใหมีความไพเราะ กลอนบทละครมักขึ้นตนบทวา “เมื่อนั้น” “บัดนั้น” “มาจะกลาวบทไป” ทั้งนี้ขึ้นอยูกับ วากลอนบทนั้นๆ กลาวถึงตัวละครตัวใด)

นักเรียนควรรู 1 ปฏิบัติดวยตนเอง การอานออกเสียงบทรอยกรองใหมีความไพเราะ ผูอาน จะตองมีความรู ความเขาใจ ทีถ่ กู ตองเกีย่ วกับฉันทลักษณของบทรอยกรองแตละ ประเภท เพื่อใหแบงวรรคตอนไดถูกตอง รวมถึงใชนํ้าเสียงใหเหมาะสมกับบทอาน สิ่งสําคัญที่สุดผูอานควรฝกปฏิบัติดวยตนเอง โดยเริ่มฝกจากบทรอยกรองประเภท กลอนแปด เนื่องจากมีจํานวนคําที่พอดีกับการแบงจังหวะและการทอดเสียง ฝกอาน ไปทีละวรรคๆ จนเกิดความชํานาญ จากนั้นจึงหาบทรอยกรองที่ตนเองมีความ ประทับใจฝกในลักษณะดังกลาว เมือ่ เกิดความชํานาญแลว จึงเริม่ ฝกจากบทรอยกรอง ประเภทอื่นๆ โดยสังเกตจํานวนคํา ทํานอง แลวฝกฝนอยางสมํ่าเสมอ สํารวจ ขอบกพรองของตนเองจากการฝกฝนในแตละครั้ง แกไขจนกระทั่งไมพบขอบกพรอง 2 กลอนบทละคร การอานออกเสียงกลอนบทละคร จะมีความไพเราะและสราง อารมณความรูสึกใหแกผูฟงไดมากนอยเพียงใดนั้น ขึ้นอยูกับการใสอารมณและความ รูสึกขณะอาน โดยมีหลักอยูวาตองมีความเหมาะสมกับบรรยากาศของเรื่อง ที่ผูแตงกําหนดไว คู่มือครู

13


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

Engaae

Expore

อธิบายความรู้

อธิบายความรู้ Explain

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Explain

1. นักเรียนยืนในลักษณะวงกลมเพื่อรวมกันอธิบาย ความรูแบบโตตอบรอบวงเกี่ยวกับการอาน ออกเสียงบทรอยกรองประเภทกลอนบทละคร โดยใชความรู ความเขาใจ ทีไ่ ดรับจากการ ฟงบรรยาย เปนขอมูลเบื้องตนสําหรับ ตอบคําถาม • กลอนบทละครเปนบทรอยกรองที่มีลักษณะ เฉพาะที่โดดเดนอยางไร (แนวตอบ ในขั้นตอนของการประพันธ ผูประพันธจะตองเลือกสรรถอยคําใหมี ความสัมพันธกับทารายรําและทํานองที่ใช บรรเลง สวนในขั้นตอนของการขับรอง ผูขับรองจะตองใชนํ้าเสียงใหมีความ เหมาะสมตามบทบาทของตัวละคร เพื่อสงเสริมการรําบทหรือตีบทของตัวละคร แตละตัวภายในเรื่อง ใหมีความสมจริง) • หากจํานวนคําภายในวรรคมีคําเกินไปจาก ที่กําหนดไว จะมีวิธีการแกไขปญหา ขณะอานอยางไร (แนวตอบ อานรวบคํา โดยออกเสียงเบาใน พยางคที่เกินมา แลวจึงออกเสียงใหชัดเจน เมื่อถึงพยางคที่กําหนดตรงกับฉันทลักษณ) 2. นักเรียนรวมกันอานออกเสียงบทรอยกรอง ประเภทกลอนบทละคร จากหนังสือเรียน ภาษาไทย หนา 14 โดยครูคอยสังเกตการ แบงวรรคตอน ทวงทํานอง การใชนํ้าเสียง ใหคําแนะนําเมื่อการอานสิ้นสุดลง หรืออาจให นักเรียนรวมกันอานกลอนบทละครเรื่องอิเหนา ซึ่งยกตัวอยางไวในเกร็ดแนะครู

อาจแบงจังหวะการอาน เชน อานแบบ ๒/๓/๒ แบบกลอนแปด ครั้นถึง/จึงประณต/บทบงสุ อานแบบ ๓/๒/๓ จนผมโกรน/โลนเกลี้ยง/ถึงเพียงหู หรืออานแบบ ๒/๒/๓ ดูเงา/ในนํ้า/แลวรองไห ๔. อานเนนคําที่ตองการใหโดดเดน เชน “ดูดูเปนชายมาหมิ่นชาย มิตายก็จะไดเห็นหนา” ๕. อานแสดงอารมณใหสมกับบทบาทของตัวละคร เชน อารมณโกรธตองกระแทกเสียง บทเศราตองทอดเสียง บทโอโลมตองทําเสียงออดออน เปนตน Ẻ½ƒ¡Í‹Ò¹ÍÍ¡àÊÕ§¡Å͹º·ÅФà มาจะกลาวบทไป ตั้งแต/พระสยม/ภูวญาณ อยูบันได/ไกรลาส/เปนนิจ บางใหตัก/นํ้าลาง/บาทา จนผมโกรน/โลนเกลี้ยง/ถึงเพียงหู ฮึดฮัด/ขัดแคน/แนนใจ เปนชาย/ดูดู/มาหมิ่นชาย คิดแลว/ก็รีบ/เดินมา ฯ ๘ คํา ฯ เสมอ 

ถึงนนทก/นํ้าใจ/กลาหาญ ประทาน/ใหลางเทา/เทวา สุราฤทธิ์/ตบหัว/แลวลูบหนา บางถอน/เสนเกศา/วุนไป ดูเงา/ในนํ้า/แลวรองไห ตาแดง/ดั่งแสง/ไฟฟา มิตาย/ก็จะได/เห็นหนา เฝาพระ/อิศรา/ธิบดี

(รามเกียรติ์ ตอนนารายณปราบนนทก: พระราชนิพนธ ใน พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช)

กลอนบทละครบทนี้ เปนตอนที่นนทกโกรธ รูสึกแคนใจ เมื่อถูกเทวดารังแก ตอนที่นนทก อึดอัด และรองวา “ดูดเู ปนชายมาหมิน่ ชาย มิตายก็จะไดเห็นหนา” จะตองอานกระแทกเสียงเพือ่ แสดง อารมณโกรธ เมื่อถึงตอนที่นนทกมาขอพรเปนตอนที่รูสึกเศราใจ เสียใจ นอยใจ ผูอานตองครั่นเสียง ทําเสียงสะดุดและทอดเสียงในตอนทาย ๒) กลอนเพลงยาว หลักการอานกลอนเพลงยาวมีดังนี้ ๑. ผูอ า นตองพิจารณาจํานวนคําทีอ่ า นวาวรรคใดควรอานลงจังหวะ ๒/๒/๓, ๓/๒/๓ หรือ ๓/๓/๓ และรูจ กั รวบคํา เชน ๑๔

เกร็ดแนะครู บทรอยกรองนี้สําหรับครูใชเปนตัวอยางใหนักเรียนปฏิบัติกิจกรรมขอ 2. กระบวนการขั้น อธิบายความรู เมื่อนั้น โฉมยงองคระเดนจินตะหรา คอนใหไมแลดูสารา กัลยาคั่งแคนแนนใจ แลววาอนิจจาความรัก พึ่งประจักษดั่งสายนํ้าไหล ตั้งแตจะเชี่ยวเปนเกลียวไป ที่ไหนเลยจะไหลคืนมา สตรีใดในพิภพจบแดน ไมมีใครไดแคนเหมือนอกขา ดวยใฝรักใหเกินพักตรา จะมีแตเวทนาเปนเนืองนิตย โอวานาเสียดายตัวนัก เพราะเชื่อสิ้นหลงรักจึงชํ้าจิต จะออกชื่อลือชั่วไปทั่วทิศ เมื่อพลั้งผิดแลวจะโทษใคร ... โอแตนี้สืบไปภายหนา จะอายชาวดาหาเปนแมนมั่น เขาจะคอนนินทาทุกสิ่งอัน นางรําพันวาพลางทางโศกาฯ ฯ14 คําฯ โอด 14 คู่มือครู

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

ใหนักเรียนประเมินวาจากบทรอยกรองที่กําหนดให ตัวละครกําลังอยูใน อารมณความรูสึกใด และควรใชนํ้าเสียงใหเหมาะสมกับอารมณของเรื่อง อยางไร เมื่อมึงพอใจทรลักษณ ไมรักสุริยวงศยักษี ขอใหวิบัติอัปรีย อยามีสิ่งซึ่งสถาวร มาตรแมนจะออกตอยุทธ ใหตายดวยอาวุธแสงศร ขององคพระรามสี่กร พายแพฤทธิรอนทุกวันไป (รามเกียรติ์ : รัชกาลที่ 1) แนวตอบ ตัวละครกําลังอยูในอารมณเกรี้ยวกราด โกรธแคน จนกระทั่ง สาปแชงใหบุคคลผูนั้นไมมีความมั่นคงในชีวิต หากแมตองไปตอสูก็ขอให พบกับความพายแพ การใชนํ้าเสียงจึงตองแสดงใหเห็นอารมณของความ โกรธแคน ดวยการกระแทกเสียง กระชากเสียงใหดังกวาปกติ เนนเสียง ใหรวดเร็ว เพื่อถายทอดอารมณโกรธของตัวละคร ซึ่งกวีวางไวไดอยาง เหมาะสม ครบถวน


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

Engaae

Expore

อธิบายความรู้ Explain

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

อธิบายความรู้ อานลงจังหวะ ๓/๓/๓ อานลงจังหวะ ๓/๓/๓ อานลงจังหวะ ๓/๒/๓

ควรมิควร/จวนจะพราก/จากสถาน ขอขอบคุณ/ทูลกระหมอม/ถนอมรัก เสด็จมา/ปราศรัย/ถึงในกุฎี ตองรวมคํา กุฎี โดยออกเสียงกุเบาๆ อานลงจังหวะ ๓/๒/๓ ดังวารี/รดซาบ/อาบละออง ๒. ทวงทํานองการอานกลอนเพลงยาวผูอ า นตองพิจารณาวาใหอารมณอยางไร ตองอาน ใสอารมณใหสอดคลองกับเนื้อหา เชน บทที่คัดมาใหฝกอาน เปนจดหมายลาตองอานทอดเสียงเศรา ๓. รูจ กั อานโดยเนนคําสําคัญเพือ่ แสดงอารมณ เชน มาครัง้ นี/้ วิบาก/จากพระบาท ใจจะขาด/คิดหมาย/ไมวายหวัง คําวา ใจจะขาด ตองครัน่ เสียงเหมือนกําลังสะอืน้ ไห ๔. เมือ่ อานวรรคสุดทายตองทอดเสียง เพือ่ ใหรวู า จบความ

1

Ẻ½ƒ ¡Í‹Ò¹ÍÍ¡àÊÕ Â§¡Å͹à¾Å§ÂÒÇ ตัวอย าง แบบฝ กอานออกเสี ยงกลอนเพลงยาว

เพลงยาวถวายโอวาท ควรมิควร/จวนจะพราก/จากสถาน~ จึงเขียนความ/ตามใจ/อาลัยลาญ ขอประทาน/โทษา/อยาราคี// ขอขอบคุณ/ทูลกระหมอม/ถนอมรัก เหมือนผัดพักตร/ผิวหนา/เปนราศี~ เสด็จมา/ปราศรัย/ถึงในกุฎี ดังวารี/รดซาบ รดซาบ/อาบละออง// /อาบละออง// ทั้งการุญ/สุนทรา/คารวะ ถวายพระ/วรองค/จํานงสนอง~ ขอพึ่งบุญ/มุลิกา/ฝาละออง พระหนอสอง/สุริยวงศ/ทรงศักดา// ดวยเดี๋ยวนี้/มิไดรอง/ละอองบาท จะนิราศ/แรมไป/ไพรพฤกษา~ ตอถึงพระ/วะสาอื่น/จักคืนมา พระยอดฟา/สององค/จงเจริญ// อยารูโรค/โศกเศรา/เหมือนเขาอื่น พระยศยืน/ยอดมนุษย/สุดสรรเสริญ~ มธุรส/ชดชอย/ใหพลอยเพลิน จะตองเหิน/หางเห/ทุกเวลา// ไหนจะคิด/พิศวง/ถึงองคใหญ ทั้งอาลัย/องคนอย/ละหอยหา~ มิเจียมตัว/กลัวพระราช/อาชญา จะใสบา/แบกวาง/ขางละองค// พาเที่ยวชม/ยมนา/มหาสมุทร เมืองมนุษย/นกไม/ไพรระหง~ ตอรอนรอน/ออนอับ/พยับลง จึงจะสง/เสด็จให/เขาในวัง//

Explain

1. สมาชิกกลุมที่จับสลากไดหมายเลข 2 รวมกัน อธิบายความรูเกี่ยวกับการอานออกเสียง บทรอยกรองประเภทกลอน เพลงยาว 2. นักเรียนยืนในลักษณะวงกลมเพื่อรวมกัน อธิบายความรูแบบโตตอบรอบวงเกี่ยวกับ การอานออกเสียงบทรอยกรองประเภท กลอนเพลงยาว โดยใชความรู ความเขาใจ ทีไ่ ดรบั จากการฟงบรรยาย เปนขอมูลเบื้องตน สําหรับตอบคําถาม • กลอนเพลงยาวมีฉันทลักษณอยางไร (แนวตอบ มีลักษณะเชนเดียวกับกลอนสุภาพ แตกตางกันที่กลอนเพลงยาวขึ้นตนบทดวย วรรครับ คําสุดทายของกลอนเพลงยาว มักลงดวยคําวา “เอย” ผูประพันธสามารถ ประพันธใหยาวเทาใดก็ได โดยไมจํากัด จํานวนบท) • นักเรียนรวมกันยกตัวอยางวรรณคดี ที่ประพันธดวยกลอนเพลงยาว (แนวตอบ กลอนเพลงยาวสรรเสริญพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว กลอนเพลงยาวรบพมาที่ทาดินแดง กลอนเพลงยาวถวายโอวาท เปนตน) 3. นักเรียนรวมกันอานออกเสียงบทรอยกรอง ประเภทกลอนเพลงยาว จากหนังสือเรียน ภาษาไทย หนา 15 โดยครูคอยสังเกต การแบงวรรคตอน ทวงทํานอง การใชนํ้าเสียง ใหคําแนะนําเมื่อการอานสิ้นสุดลง

2

(เพลงยาวถวายโอวาท: สุนทรภู)

๑๕

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

ในการอานทํานองเสนาะบทรอยกรองเมื่อถึงวรรคจบควรปฏิบัติอยางไร 1. อานโดยใชเสียงหลบ 2. อานโดยใชนํ้าเสียงสั้นและหวน 3. อานโดยการทอดเสียงใหยาวออกไปชาๆ 4. อานโดยการกระแทกเสียงเพื่อใหผูฟงทราบวาใกลจะจบแลว

วิเคราะหคําตอบ การอานออกเสียงทํานองเสนาะบทรอยกรองใหมีความ ไพเราะ และถูกตองตามความนิยม เมื่ออานมาถึงวรรคที่เปนวรรคจบ ผูอาน ควรใชวิธีการอาน โดยการทอดเสียงใหยาวออกไปชาๆ ไมควรใชนํ้าเสียง ที่สั้น หวน สวนการใชเสียงหลบจะใชเพื่อปรับระดับเสียงที่สูงหรือตํ่าเกินไป ใหเขากับเสียงของผูอาน ในขณะที่การกระแทกเสียงจะใชเมื่อแสดงอารมณ ความรูสึกโกรธของตัวละคร ดังนั้นจึงตอบขอ 3.

นักเรียนควรรู 1 กลอนเพลงยาว แตเดิมนั้นคนมักจะเขาใจกันวา กลอนเพลงยาวจะตองมี เนื้อความในเชิงเกี้ยวพาราสี ซึ่งที่จริงแลวกลอนเพลงยาวมีเนื้อหาที่หลากหลาย เชน กลอนเพลงยาวสรรเสริญบุคคล กลอนเพลงยาวที่เกี่ยวกับการศึกสงคราม กลอนเพลงยาวที่แตงเปนทํานองจดหมายเหตุบันทึกเรื่องราว เปนตน กลอนเพลงยาวนิยมประพันธมาตั้งแตสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลายและสืบตอเนื่อง มาจนถึงสมัยรัตนโกสินทรตอนตน และเฟองฟูมากในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว 2 เพลงยาวถวายโอวาท เปนผลงานของสุนทรภู ซึ่งสันนิษฐานกันวา แตงขึ้น ในสมัยรัชกาลที่ 3 ขณะที่สุนทรภูบวชอยู ณ วัดราชบูรณะ เจาฟากุณฑลทิพยวดี ไดทรงมอบพระราชโอรส 2 พระองคใหเปนศิษยของสุนทรภู คือ เจาฟากลางและ เจาฟาปว ไมนานสุนทรภูไดถูกอธิกรณขับไลออกจากวัดราชบูรณะ จึงไดแตง เพลงยาวบทนี้ทูลลาและถวายโอวาทเจาฟาซึ่งเปนศิษยทั้งสองพระองค คู่มือครู

15


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

Engaae

Expore

อธิบายความรู้

อธิบายความรู้ Explain

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Explain

1. สมาชิกกลุมที่จับสลากไดหมายเลข 3 รวมกัน อธิบายความรูเกี่ยวกับการอานออกเสียง บทรอยกรองประเภทกลอนนิทาน 2. นักเรียนยืนในลักษณะวงกลมเพื่อรวมกันอธิบาย ความรูแบบโตตอบรอบวงเกี่ยวกับการอาน ออกเสียงบทรอยกรองประเภทกลอนนิทาน โดยใชความรู ความเขาใจ ที่ไดรับจากการ ฟงบรรยาย เปนขอมูลเบื้องตนสําหรับ ตอบคําถาม • นักเรียนคิดวาเพราะเหตุใด กลอนนิทาน ซึ่งมีลักษณะเชนเดียวกับกลอนสุภาพ จึงมี ชื่อเรียกเฉพาะวากลอนนิทาน (แนวตอบ จากความหมายของนิทาน ที่กลาววา นิทานเปนเรื่องที่เกิดขึ้นจาก จินตนาการของผูแตง มีทั้งเรื่องผจญภัย ความรัก ความโศกเศรา วีรบุรุษ ตลกขบขัน เหนือธรรมชาติ ตัวละครมีลักษณะ หลากหลาย ทั้งมนุษย อมนุษย ผูวิเศษ สัตวตางๆ ที่มีอารมณ ความรูสึกนึกคิด มีจิตใจเชนเดียวกับมนุษย จึงเรียกบทกลอน ที่ถายทอดเรื่องราวในลักษณะเชนนี้วา “กลอนนิทาน”) 3. นักเรียนรวมกันอานออกเสียงบทรอยกรอง ประเภทกลอนนิทาน จากหนังสือเรียนภาษาไทย หนา 16-17 โดยครูคอยสังเกตการแบงวรรคตอน ทวงทํานอง การใชนํ้าเสียง ใหคําแนะนํา เมื่อการอานสิ้นสุดลง

๓) กลอนนิทาน มีหลักการอาน ดังนี้

๑. การอานทํานองเสนาะกลอนนิทานเหมือนการอานกลอนสุภาพทั่วไป คือมีการแบง จังหวะในการอานเปน ๓/๒/๓, ๒/๒/๓, ๒/๓/๓ หรือ ๓/๓/๓ ก็ได แตสวนมากมักเปน ๓/๒/๓ เชน ฝายผีเสื้อ/เหลือโกรธ/โลดทะลึ่ง เสียงโผงผึง/เผนโผน/ตะโกนผัว เหตุไฉน/ไปนั่ง/กําบังตัว เชิญทูลหัว/เยี่ยมหนา/มาหานอง ๒. ทํานองในการอานกลอนนิทาน โดยทั่วไปนิยมอานเสียงสูง ๒ วรรค เสียงตํ่า ๒ วรรค จากตัวอยางขางตน เสียงสูงคือคําทายวรรคสดับและวรรครับ เสียงตํ่าคือคําทายวรรครองและวรรคสง ๓. พยายามอานโดยคํานึงถึงสัมผัส ใหจังหวะลงตรงคําที่สัมผัสบังคับ และอานใหเอื้อ คําสัมผัสในวรรค เชน ขาขอเคารพอภิวันท ระลึกมั่น/พระคุณครู/ผูอารี ตองอาน ขาขอเคารพ - อบ - พิ - วัน (อภิวันท) ใหอานอภิวันท เปน อบ - พิ - วัน เพื่อเอื้อใหสัมผัสกับเคารพ ๔. อานใหไดอารมณตามเนื้อเรื่อง และปรับนํ้าเสียงใหทันอารมณของตัวละครในเรื่อง เชน บทนางยักษเมื่อออดออนพระอภัยมณี ตองเสียงออนหวาน แตเมื่อพระฤๅษีแหงเกาะแกวพิสดาร มาตักเตือน นางยักษก็เปลี่ยนนํ้าเสียงเปนโกรธทันที ใชคําหยาบคายนํ้าเสียงดุดัน เปนตน กลอนนิทานที่คัดมาใหนักเรียนฝกอานนี้ เปนตอนที่พระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อสมุทร โดยอาศัยนางเงือกและพอแมเงือกชวยพาหนี นางผีเสื้อสมุทรแคนใจจับพอแมเงือกไดก็กินเสีย นางเงือกพาพระอภัยมณีหนีมาถึงเกาะแกวพิสดาร พระฤๅษีแหงเกาะแกวพิสดารชวยเสกคาถาไมให นางผีเสื้อสมุทรเขามาใกล และสั่งสอนใหนางสงบใจกลับไปถํ้าของตน นางยักษกําลังโกรธ จึงตอบโต พระฤๅษีอยางรุนแรง ใหผอู า นสังเกตอารมณของตัวละครในเรือ่ ง ซึง่ มีทงั้ อารมณเสียใจ ออดออน ตัดพอ ตอวาและอารมณโกรธ แลวฝฝก อานตามทํานองและลีลาอารมณ ดังนี้ Ẻ½ƒ¡Í‹Ò¹ÍÍ¡àÊÕ§¡Å͹¹Ô·Ò¹ สินสมุทร/สุดแสน/สงสารแม จึงกราบกราน/มารดา/แลววาไป เมื่อวานนี้/ตีขา/นอยไปหรือ ซึ่งรักลูก/ลูกก็รู/อยูวารัก ถึงตัวไป/ใจลูก/ยังผูกคิด อยากริ้วโกรธ/โปรดปราน/เถิดมารดา

* อ่านว่า กะ-รุน-นา เพื่อใหสัมผัสกับ คุณ

ชําเลืองแล/ดูหนา/นํ้าตาไหล จะเขาใกล/ทูนหัว/ลูกกลัวนัก ระบมมือ/เหมือนกระดูก/ลูกจะหัก มิใชจัก/ลืมคุณ/กรุณา* พอปลดปลิด/เรื่องธุระ/จะมาหา ไปไสยา/อยูในถํ้า/ใหสําราญ

๑๖

เกร็ดแนะครู นอกจากกลอนนิทานเรื่องพระอภัยมณีแลว ครูควรคัดลอกกลอนนิทานจากเรื่อง อื่นๆ มาใหนักเรียนรวมกันฝกอาน เชน โคบุตร สิงหไกรภพ ลักษณวงศ เปนตน หรืออาจใชตัวอยางคําประพันธตอไปนี้ ซึ่งคัดมาจากเรื่องพระอภัยมณี โดยมีความ โดดเดนดานการแสดงอารมณความรูสึก ถึงมวยดินสิ้นฟามหาสมุทร ไมสิ้นสุดความรักสมัครสมาน แมเกิดในใตหลาสุธาธาร ขอพบพานพิศวาสไมคลาดคลา แมเนื้อเย็นเปนหวงมหรรณพ พี่ขอพบศรีสวัสดิ์เปนมัจฉา แมเปนบัวตัวพี่เปนภุมรา เชยผกาโกสุมปทุมทอง เจาเปนถํ้าอําไพขอใหพี่ เปนราชสีหสิงสูเปนคูสอง จะติดตามทรามสงวนนวลละออง เปนคูครองพิศวาสทุกชาติไป

16

คู่มือครู

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

ความรูในเรื่องใดสําคัญที่สุดที่จะทําใหการอานออกเสียงทํานองเสนาะ บทรอยกรองประเภทกลอนนิทานมีความนาสนใจ และผูฟงไดรับอรรถรส จากการฟง 1. ความรูเกี่ยวกับคําและสํานวน 2. ความรูเกี่ยวกับการอานจับใจความสําคัญ 3. ความรูเกี่ยวกับการใชนํ้าเสียงใหเขากับอารมณของบทอาน 4. ความรูเกี่ยวกับประวัติศาสตร แหลงที่มาของกลอนนิทานเรื่องนั้นๆ วิเคราะหคําตอบ กลอนนิทาน คือ บทรอยกรองที่มีเนื้อหาสาระเปนเรื่อง เกี่ยวกับจินตนาการของผูแตง มีตัวละครตางๆ ที่แสดงอารมณความรูสึกได เชนเดียวกับมนุษย ดังนั้นการอานออกเสียงกลอนนิทานใหมีความนาสนใจ ผูฟงไดรับอรรถรสจากการฟง เกิดจินตภาพที่ชัดเจน ผูอานจึงควรมีความรู เกี่ยวกับการใชนํ้าเสียงประกอบการอาน เพื่อถายทอดอารมณความรูสึกของ ตัวละครภายในเรื่องไดอยางสมจริง ดังนั้นจึงตอบขอ 3.


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

Engaae

Expore

อธิบายความรู้ Explain

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

อธิบายความรู้ ฝายโยคี/มียศ/พจนารถ จงตัดบวง/หวงใย/อาลัยลาน ทั้งนี้เพราะ/เคราะหกรรม/ทําใหวุน เห็นมิได/ไปอยู/เปนคูเชย อยาครวญคิด/ติดตาม/ดวยความโกรธ จงยับยั้ง/ฟงคํา/รูปรําพัน นางผีเสื้อ/เหลือโกรธ/พิโรธรอง ชางเฉโก/โยคี/หนีเขาใช เขาวากัน/ผัวเมีย/กับแมลูก แมนคบคู/กูไว/มิใหนอน

ใหโอวาท/นางยักษ/ไมหักหาญ อยาปองผลาญ/ลูกผัว/ของตัวเลย จึงสิ้นบุญ/วาสนา/สีกาเอย ดวยสองเคย/ปลูกเลี้ยง/กันเพียงนั้น จะเปนโทษ/กับสีกา/เมื่ออาสัญ ไปสวรรค/นฤพาน/สําราญใจ มาตั้งซอง/ศีลจะมี/อยูที่ไหน ไมอยูใน/ศีลสัตย/มาตัดรอน ยื่นจมูก/เขามาบาง/ชวยสั่งสอน จะราญรอน/รบเรา/เฝาตอแย 1 (พระอภัยมณ�: สุนทรภู)

กลอนนิทานเรื่องพระอภัยมณี เนื้อหาใหความสนุกสนาน ตื่นเตน โศกเศรา มีบทรัก บทรบ ครบครัน แตละตอนใหขอคิด คติเตือนใจ การอานจึงตองปรับนํ้าเสียงใหสอดคลองกับอารมณ เหมาะสมกับเนื้อเรื่อง ๔) การอานกาพยหอ โคลง มีหลักการอาน ดังนี้ ๑. การอานกาพยยานี ๑๑ วรรคหนามี ๕ คํา จะแบงวรรคอานเปน ๒/๓ วรรคหลังมี ๖ คํา จะแบงวรรคอานเปน ๓/๓ 2 ๒. การอ า นโคลงสี่ สุ ภ าพ มี ๔ บาท หนึ่ ง บาทแบ ง เป น ๒ วรรค วรรคหน า ๕ คํา จะแบงวรรคอานเปน ๒/๓ วรรคหลัง ๒ คํา คําทายบทที่ ๒ ถาเปนเสียงโทใหอานเสียงตํ่า ถาเปนเสียงตรีใหอานเสียงสูง (เสียงคาง) บาทที่ ๔ วรรคหลังมี ๔ คํา แบงวรรคอานเปน ๒/๒ ตอนทาย บทตองอานทอดเสียง

Explain

1. สมาชิกกลุมที่จับสลากไดหมายเลข 4 รวมกัน อธิบายความรูเกี่ยวกับการอานออกเสียง บทรอยกรองประเภทกาพยหอโคลง 2. นักเรียนยืนในลักษณะวงกลมเพื่อรวมกัน อธิบายความรูแบบโตตอบรอบวงเกี่ยวกับ การอานออกเสียงบทรอยกรองประเภท กาพยหอ โคลง โดยใชความรู ความเขาใจ ที่ไดรับจากการฟงบรรยาย เปนขอมูลเบื้องตน สําหรับตอบคําถาม • กาพยหอโคลงเปนบทรอยกรองที่มีความ โดดเดนอยางไร (แนวตอบ กาพยหอโคลงเปนบทรอยกรอง ที่ใชคําประพันธสองประเภทรวมกันในการ ประพันธ คือ กาพยยานีแตงรวมกับโคลง สี่สุภาพ โดยมีเนื้อความประการเดียวกัน กาพยยานี ที่นํามาแตง ตองมีลักษณะบังคับ พื้นฐานหรือฉันทลักษณตามที่กําหนดไว สวนโคลงสี่สุภาพอนุโลมใหมีขอยกเวน บางประการ เชน อาจไมเครงครัดคําเอก ในทุกตําแหนง นอกจากนี้ยังกําหนดให คําขึ้นตนแตละวรรคของกาพยกับคําขึ้นตน แตละบาทของโคลงเปนคําเดียวกัน)

Ẻ½ƒ¡Í‹Ò¹ÍÍ¡àÊÕ§¡Ò¾Â Ë‹Íâ¤Å§ ๔๔ 

งูเขียวรัดตุกแก กัดงูงูยิ่งพัน

ตุกแกแกคางแข็งขยัน อาปากงวงลวงตับกิน

 งูเขียวและเหลื้อมพน ตุกแกคางแขงขยัน กัดงูงูเรงพัน ปากอางูจึงได

พิศพลัน คาบไว ขนดเครียด ลากลวงตับกิน

อักขรวิธียึดตามฉบับที่ชําระโดยกรมศิลปากร

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

ในการอานออกเสียงบทรอยกรอง ผูอานควรออกแบบการใชนํ้าเสียง ใหสอดคลองกับสวนใดของบทอาน 1. ใหสอดคลองกับชื่อเรื่อง 2. ใหสอดคลองกับลักษณะของคําประพันธ 3. ใหสอดคลองกับสาระและแนวคิดสําคัญของเรื่อง 4. ใหสอดคลองกับความหมายและความรูสึกภายในเรื่อง

วิเคราะหคําตอบ การอานออกเสียงทํานองเสนาะบทรอยกรอง ผูอาน จะตองใหความสําคัญกับการใชนํ้าเสียงเพื่อทําใหผูฟงไดรับอรรถรสขณะฟง ไดอยางเต็มที่ ซึ่งผูอานควรออกแบบการใชเสียงใหมีความสอดคลองกับ ความหมายและอารมณความรูสึกของเรื่อง หรือของตัวละคร ดังนั้น

จึงตอบขอ 4.

๑๗

นักเรียนควรรู 1 พระอภัยมณี เปนนิทานคํากลอนเรื่องยิ่งใหญ โดยถือกันวาเปนผลงานชิ้นเอก ของสุนทรภู กวีเอกแหงกรุงรัตนโกสินทร และไดรับการยกยองวาเปนยอดของกลอน นิทาน มีความยาว 96 เลมสมุดไทย ปรากฎลักษณะพิเศษซึ่งมีความแตกตางจาก กลอนนิทานเรื่องอื่นๆ ที่แตงขึ้นในชวงเวลาเดียวกัน คือ การผูกเรื่องที่เกิดขึ้นจาก จินตนาการ มีตัวละครที่หลากหลาย ตางชาติ ตางภาษา ซึ่งแสดงใหเห็นถึงวิสัยทัศน ความเปดกวาง และความเปนนักคิดของสุนทรภู 2 โคลงสีส่ ภุ าพ ทีแ่ ตงรวมกับกาพยยานี 11 นัน้ ตองพรรณนาความทีม่ อี ยูใ นกาพย ใหครบถวน ผูประพันธมุงเนนที่ใจความเปนสําคัญ การสรรคําใหมีใจความที่ตองการ และไดลักษณะตรงตามกําหนดบังคับไวในฉันทลักษณ จึงมีความยากกวาปกติ ดวยเหตุนี้โคลงสี่สุภาพที่แตงรวมกับกาพยยานี 11 ในกาพยหอโคลงจึงไมเครงครัด ตําแหนงคําเอก

คู่มือครู

17


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

Engaae

Expore

อธิบายความรู้

อธิบายความรู้ Explain

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Explain

1. ครูสุมเรียกชื่อนักเรียนเพื่อตอบคําถาม • การอานออกเสียงบทรอยกรองประเภท กาพยหอโคลงใหมีความไพเราะ นักเรียน คิดวาควรมีแนวทางการอานอยางไร (แนวตอบ ผูอานตองศึกษาเกี่ยวกับฉันทลักษณ ของกาพยยานี 11 และโคลงสี่สุภาพ เพื่อใหแบงวรรคตอนในการอานไดถูกตอง โดยกาพยยานี 11 วรรคที่มี 5 คํา จะแบง จังหวะการอาน 2/3 หรือ 3/2 ขึ้นอยูกับ เนื้อความเปนสําคัญ วรรคที่มี 6 คํา จะแบง จังหวะ 3/3 สวนการอานโคลงสี่สุภาพ วรรคที่มี 5 คํา แบงจังหวะ 2/3 หรือ 3/2 ขึ้นอยูกับเนื้อความเปนสําคัญ วรรคที่มี 4 คํา แบงจังหวะ 2/2 วรรคที่มี 2 คํา ไมตอง แบงวรรคในการอาน นอกจากนี้ผูอานยังตอง คํานึงวา ความไพเราะของการอานออกเสียง โคลงสี่สุภาพอยูที่เสียง โดยเฉพาะคําทายบาท ที่จะตองควบคุมเสียงขึ้น ลง ใหถึงเสียง วรรณยุกตนั้นๆ) 2. นักเรียนรวมกันอานออกเสียงบทรอยกรอง ประเภทกาพยหอโคลง จากหนังสือเรียน ภาษาไทย หนา 17-18 โดยครูคอยสังเกตการ แบงวรรคตอน ทวงทํานอง การใชนํ้าเสียง ใหคําแนะนําเมื่อการอานสิ้นสุดลง

๕๒ 

ดูหนูสูรูงู หนูงูสูดูอยู  ดูงูขูฝูดฝู หนูสูรูงูงู งูสูหนูหนูสู หนูรูงูงูรู

งูสุดสูหนูสูงู รูปงูทูหนูมูทู พรูพรู สุดสู งูอยู รูปทูมูทู

หัวลิงหมากลางลิง ลิงไตกระไดลิง  หัวลิงหมากเรียกไม ลางลิงหูลิงลิง ลิงไตกะไดลิง ลิงโลดฉวยชมผู

ตนลางลิงแลหูลิง ลิงโลดควาประสาลิง ลางลิง หลอกขู ลิงหม ฉีกควาประสาลิง

๘๖ 

(กาพยหอโคลงประพาสธารทองแดง: เจาฟาธรรมธิเบศร [กุง])

เนื้อหาของกาพยหอโคลงเปนการแสดงถึงความสามารถในการใชคําของกวีที่แสดงถึงความ สําราญใจตอสิง่ ทีพ่ บเห็นระหวางการเดินทางเปนสําคัญ การอานบทประพันธนี้ จึงตองอานดวยนํา้ เสียง แจมใส ราเริง จังหวะเร็วกวาปกติ à¡Ãç´ÀÒÉÒ การเลนคําพองรูป - พองเสียงในคําประพันธ ¤íÒã¹ÀÒÉÒä·Â¤íÒæ ˹Öè§ ÍÒ¨ÁÕËÅÒ¤ÇÒÁËÁÒ ¢Öé¹ÍÂÙ‹¡ÑººÃÔº··Õè»ÃСͺ¤íÒ¹Ñé¹æ µÑÇÍ‹ҧ ઋ¹ ¤íÒÇ‹Ò “ÅÔ§” 㹡Ҿ ËÍ‹ â¤Å§»ÃоÒʸÒ÷ͧᴧ ÁÕ¡ÒÃàÅ‹¹¤íÒ¾ŒÍ§ÃÙ»-¾ŒÍ§àÊÕ§·Õäè ¾àÃÒÐµÍ¹Ë¹Ö§è ·ÕÇè Ò‹ “ËÑÇÅÔ§ËÁÒ¡ÅÒ§ÅÔ§ µŒ¹ÅÒ§ÅÔ§áÅËÙÅ§Ô Åԧ䵋¡ÃÐä´ÅÔ§ ÅÔ§âÅ´¤ÇŒÒ»ÃÐÊÒÅÔ§” ËÑÇÅÔ§ ËÁÒ¶֧ äÁŒà¶Òª¹Ô´Ë¹Ö§è ¼Å¢¹Ò´à·‹ÒÊŒÁ¨Õ¹ ËÁÒ¡ÅÒ§ÅÔ§ “ »ÒÅ Áª¹Ô´Ë¹Ö§è ÅÒ§ÅÔ§,¡ÃÐä´ÅÔ§ “ äÁŒà¶Òà¹×Íé á¢ç§ª¹Ô´Ë¹Ö§è ËÙÅ§Ô “ ª×Íè ¾ÃóäÁŒª¹Ô´Ë¹Ö§è

๑๘

เกร็ดแนะครู ครูอาจคัดลอกบทรอยกรองบทอื่นๆ จากกาพยหอโคลงประพาสธารทองแดง พระนิพนธในเจาฟาธรรมธิเบศร มาใหนักเรียนฝกอานรวมกัน เชน ธารไหลใสสะอาด มัจฉาชาติดาษนานา หวั่นหวายกินไคลคลา ตามกันมาใหเห็นตัว ธารไหลใสสอาดนํ้า รินมา มัจฉาชาตินานา หวั่นหวาย จอกสาหรายกินไคลคลา เชยหมู ตามคูมาคลายคลาย ผุดใหเห็นตัวฯ... เมื่อครูใหนักเรียนปฏิบัติกิจกรรมสรางเสริม และกิจกรรมทาทาย ควรสุมเรียกชื่อ ออกมานําเสนอหนาชั้นเรียน เพื่อแลกเปลี่ยนความรูซึ่งกันและกัน ผลที่ไดรับจากการ ปฏิบัติกิจกรรม จะทําใหนักเรียนมีความรูเกี่ยวกับการอานออกเสียงทั้งรอยแกว และบทรอยกรอง สามารถนําไปปรับใชสําหรับการอานออกเสียงของตนตอไป

18

คู่มือครู

กิจกรรมสรางเสริม นักเรียนสังเกตวิธีการอานออกเสียงของผูประกาศขาวในพระราชสํานัก เพื่อหาแนวทางการแบงวรรคตอน อัตราความเร็วในขณะที่อาน การใช นํ้าเสียง และการวางบุคลิกภาพ สรุปแนวทางที่ไดจากการสังเกตนํามา อภิปรายรวมกันภายในชั้นเรียน

กิจกรรมทาทาย นักเรียนคนหาคลิปเสียงการพากยละครวิทยุ หรือการเหชมกระบวนเรือ การพากยโขนตอนตางๆ ของกรมศิลปากร เพือ่ หาแนวทางการแบงวรรคตอน การใชนํ้าเสียง สรุปแนวทางที่ไดจากการสังเกตนํามาอภิปรายรวมกัน ภายในชั้นเรียน


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

อธิบายความรู้

Engaae

Expore

Explain

ขยายความเข้าใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

ขยายความเข้าใจ ¡Å‹ÒÇä´ŒÇ‹Ò ¡ÒÃÍ‹Ò¹ÍÍ¡àÊÕ§໚¹¡ÒÃÍ‹Ò¹à¾×èÍãËŒ¼ÙŒ¿˜§à¡Ô´¤ÇÒÁÃÙŒ à¡Ô´ÍÒÃÁ³ ¤ÇÒÁÃÙŒÊÖ¡ áÅÐà¡Ô´¨Ô¹µ¹Ò¡ÒÃËÇÁ¡Ñº¼ÙŒÊ×èÍÊÒà ¼ÙŒ·ÕèÍ‹Ò¹ÍÍ¡àÊÕ§䴌¶Ù¡µŒÍ§ªÑ´à¨¹ ‹ÍÁ ÊÒÁÒö¹íÒ¤ÇÒÁÃÙŒÁҾѲ¹Òµ¹àͧãˌ໚¹¤¹ÃͺÃÙŒ ºØ¤ÅÔ¡ÀÒ¾´Õ໚¹·Õ蹋ҹѺ¶×ÍáÅÐ ÊÒÁÒö㪌໚¹à¤Ã×Íè §Á×Í㹡ÒûÃСͺÍҪվ䴌 ઋ¹ ໚¹¾Ô¸¡Õ à ¹Ñ¡¾Ù´ ¹Ñ¡ÃŒÍ§ ¹Ñ¡áÊ´§ ໚¹µŒ¹ ºØ¤¤Å·ÕÃè ¡Ñ ¡ÒÃÍ‹Ò¹ ÃÙ¨Œ ¡Ñ àÅ×͋͡ҹ˹ѧÊ×Í´Õ àËÁÒÐÊÁ¡ÑºÇÑÂáÅÐ͋ҹ͋ҧÊÁèÓàÊÁÍ ºØ¤¤Åઋ 1 ¹¹Õàé ÃÕ¡NjÒ໚¹ºØ¤¤ÅáË‹§¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ ¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¨Ò¡¡ÒÃ͋ҹ໚¹¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙµŒ ÅÍ´ ªÕÇµÔ ·Ñ¡ÉСÒÃÍ‹Ò¹ÁÔä´Œà¡Ô´¢Ö¹ é àͧµÒÁ¸ÃÃÁªÒµÔ ᵋà¡Ô´¨Ò¡¡Òýƒ¡½¹ ¼Ù·Œ ÃèÕ ¡Ñ ¡ÒÃÍ‹Ò¹áÅÐ ½ƒ¡Í‹Ò¹ÍÂÙ‹àÊÁͨÐÊÒÁÒö㪌·Ñ¡ÉСÒÃ͋ҹ㹡ÒþѲ¹Òµ¹àͧáÅоѲ¹ÒÍÒªÕ¾ãËŒ à¨ÃÔÞ¡ŒÒÇ˹ŒÒä´Œ ¼ÙŒ·èàÕ »š¹¹Ñ2 ¡Í‹Ò¹Â‹ÍÁ໚¹¼ÙŒÃͺÃÙŒ äÁ‹Ç‹Ò¨Ðʹ·¹Ò¡Ñºã¤Ã‹ÍÁÊÒÁÒö ʹ·¹Ò䴌͋ҧ¹Ñ¡»ÃÒªÞ Ê‹Ç¹¡ÒÃ͋ҹÌÍ¡Ãͧ䴌ä¾àÃÒж١µŒÍ§àËÁÒÐÊÁ ໚¹µÑÇÍ‹ҧ ¡ÒÃÍ‹Ò¹ãˌᡋàÂÒǪ¹·ÑèÇä»ä´Œ ¹Ñºà»š¹¡ÒÃ͹ØÃÑ¡É Áô¡·Ò§ÀÒÉҢͧªÒµÔáÅÐ໚¹ àʹ‹Ëà ©¾ÒеÑǺؤ¤Å䴌͋ҧ˹֧è

Expand

1. จากความรู ความเขาใจ เกี่ยวกับเครื่องหมาย ที่ใชสําหรับการอานออกเสียง และแนวทาง การอานออกเสียงบทรอยกรอง นักเรียน ทําแบบวัดฯ ภาษาไทย ม.2 ตอนที่ 1 หนวยที่ 1 กิจกรรมตามตัวชี้วัด กิจกรรมที่ 1.1 ✓ แบบวัดฯ ใบงาน แบบฝกฯ ภาษาไทย ม.2 กิจกรรมที่ 1.1 เรื่อง การอานออกเสียงบทร้อยกรอง กิจกรรมตามตัวชี้วัด

กิจกรรมที่ ๑.๑ ใหนกั เรียนทําเครือ่ งหมาย / แบงจังหวะการอานบทรอยกรอง แบบอาขยาน และอานใหไพเราะถูกตองตามฉันทลักษณ ของคําประพันธ (ท ๑.๑ ม.๒/๑)

ฉบับ

เฉลย

เมื่อนั้น ทราบสารเคืองแคนแนนอุรา จะรีรองอไปไยเลา พระเชษฐารักศักดิ์สุริยวงศ ซึ่งจะคอยทาหลานตามสารศรี แตจะเวียนงดงานการวิวาห แมนใครมาขอก็จะให ถึงไพรประดาษชาติทรลักษณ

คะแนนเต็ม คะแนนที่ได

ñð

พระองคทรงพิภพดาหา จึงตรัสแกกัลยาทั้งหาองค อันลูกเราเขาไมมีประสงค จึงทรงอาลัยไกลเกลี่ยมา อีกรอยปก็ไมจากเมืองหมันหยา จะซํ้ารายอายหนายิ่งนัก ไมอาลัยที่ระคนปนศักดิ์ จะแตงใหงามพักตรพงศพันธุ

เมื่อนั้น พระองค / ทรงพิภพ / ดาหา ทราบสาร / เคืองแคน / แนนอุรา จึงตรัสแก / กัลยา / ทั้งหาองค จะรีรอ / งอไป / ไยเลา อันลูกเรา / เขาไม / มีประสงค ...................................................................................................................................................................................................................................................... พระเชษฐา / รักศักดิ์ / สุริยวงศ จึงทรง / อาลัย / ไกลเกลี่ยมา ...................................................................................................................................................................................................................................................... ซึ่งจะคอย / ทาหลานตาม / สารศรี อีกรอยป / ก็ไมจาก / เมืองหมันหยา ...................................................................................................................................................................................................................................................... แตจะเวียน / งดงาน / การวิวาห จะซํ้าราย / อายหนา / ยิ่งนัก ...................................................................................................................................................................................................................................................... แมนใคร / มาขอ / ก็จะให ไมอาลัย / ที่ระคน / ปนศักดิ์ ...................................................................................................................................................................................................................................................... ถึ ง ไพร / ประดาษชาติ / ทรลั ก ษณ จะแตงให / งามพักตร / พงศพันธุ ...................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................................................................................

...................................................................................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................................................................................

๑๙

บูรณาการเชื่อมสาระ

การอานออกเสียงสามารถนําไปบูรณาการไดกับเรื่องการขับรองเพลงไทย ในกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ วิชาดนตรี-นาฏศิลป โดยใหนักเรียนวิเคราะหวา ทักษะการอานออกเสียงมีความสัมพันธกับการขับรองเพลงไทยอยางไร จัดทํา เปนใบความรูเฉพาะบุคคล สงครู ผลที่ไดรับจากการปฏิบัติกิจกรรมบูรณาการ จะทําใหนักเรียนมีความรู ความเขาใจ เกี่ยวกับความสัมพันธระหวางการอานออกเสียงกับการขับรอง เพลงไทย รวมถึงเห็นความสําคัญของการออกเสียง เพราะการขับรองเพลงไทย ไมวา จะเปนการขับรองเดีย่ วหรือขับรองหมู มีพนื้ ฐานทีจ่ ะตองปฏิบตั เิ ชนเดียวกับ การอานออกเสียง คือ การใชเสียง ผูขับรองจะตองฝกออกเสียงใหเต็มเสียง รักษาระดับเสียงใหเปนไปตามทํานองของเพลง ซึ่งทักษะเหลานี้ลวนไดมาจาก การฝกทักษะการอานออกเสียงจนเกิดความชํานาญ

(การใหคะแนนขึ้นอยูกับดุลยพินิจของครูผูสอน โดยสังเกตจากการอานตัว ร ล ควบกลํ้า และการแบงวรรคตอน)

2. นักเรียนคัดเลือกรอยแกวที่เปนบทบรรยาย หรือบทพรรณนาที่ประทับใจ ความยาวไมเกิน 1 หนากระดาษ A4 นํามาฝกซอมอาน ออกเสียงโดยใชแนวทางทีไ่ ดศกึ ษา บันทึกเสียง แลวนํา สงครู 3. นักเรียนคัดเลือกบทรอยกรองจากวรรณคดี เรื่องที่ประทับใจ ความยาวไมเกิน 4 บท นํามาฝกซอมอานออกเสียงทํานองเสนาะ โดยใชแนวทางที่ไดศึกษา บันทึกเสียงแลวนํา สงครู

นักเรียนควรรู 1 การอานเปนการเรียนรูตลอดชีวิต มนุษยจะมีความฉลาดขึ้นไดนั้น ก็ดวยรูจัก นําความรู ความคิด หรือประสบการณที่มีอยูมาใชใหเกิดประโยชนตอตนเอง ครอบครัว สังคม และประเทศชาติ ซึ่งความรู ความคิด และประสบการณเหลานั้น ลวนไดมาจากการแสวงหาความรูดวยการอาน การอานจึงเปนการเรียนรูตลอดชีวิต เปนการแสวงหาความรูอยางไมมีขอบเขต ไมหยุดนิ่งตราบเทาที่สังคมมนุษยยังมี การพัฒนาในดานตางๆ 2 นักปราชญ การฝกฝนตนเองใหเปนนักปราชญหรือผูรอบรูสามารถทําได โดยยึดหลัก 4 ประการ ไดแก 1. สุตะ คือ การฟง ดู และอานเรื่องราวที่เปน ประโยชนตอตนเองจากสื่อตางๆ 2. จิตตะ คือ การคิด พิจารณา ไตรตรอง ใครครวญ โดยนําสิ่งที่ฟง ดู และอานมาคิดพิจารณา 3. ปุจฉา คือ การสอบถามผูรู เพื่อแสวงหาคําตอบของสิ่งที่สงสัย ใครรู และ 4. ลิขิต คือ การเขียน เมื่อไดอาน ฟง ดู หรือไดรับคําตอบที่ถูกตอง เปนประโยชนตอตนเองแลว ควรที่จะจดบันทึกความรู เหลานั้นไวมิใหสูญหาย เพื่อนําไปใชหรือเผยแพรแกผูอื่นตอไปในอนาคต คู่มือครู

19


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

อธิบายความรู้

Engaae

Expore

Explain

ขยายความเข้าใจ

ขยายความเข้าใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

Expand

นักเรียนรวมกันกําหนดเกณฑเพื่อใชประเมิน การอานออกเสียงรอยแกว บทรอยกรอง ของตนเอง รวมถึงเพื่อนๆ ในชั้นเรียน และใชเปนแนวทาง ปรับปรุง แกไขในครั้งตอไป (แนวตอบ เกณฑการอานออกเสียงรอยแกว ควรครอบคลุม ดังตอไปนี้ • อานไดถูกตองตามเกณฑการอานออกเสียง หรืออักขรวิธี • ออกเสียงพยัญชนะ ร ล และคําควบกลํ้า ชัดเจน • อานไมเกินคํา ไมขาดคํา และไมตูคํา • แบงวรรคตอน จังหวะในการอาน และลง นํา้ หนักเสียงไปทีค่ าํ แตละคําไดอยางเหมาะสม • วางบุคลิกภาพทาทางสงาผาเผย สบสายตา ผูฟง และการแตงกายที่สะอาด เรียบรอย เกณฑการอานออกเสียงบทรอยกรอง ควรครอบคลุม ดังตอไปนี้ • อานไดถูกตองตามฉันทลักษณของ บทรอยกรองแตละประเภท • ออกเสียงพยัญชนะ ร ล และคําควบกลํ้า ชัดเจน • แบงวรรคตอน ใชนาํ้ เสียงไดถกู ตอง เหมาะสม สอดคลองกับอารมณของบทอาน • วางบุคลิกภาพทาทางสงาผาเผย สบสายตา ผูฟง และการแตงกายที่สะอาด เรียบรอย)

ºÍ¡àÅ‹Òà¡ŒÒÊÔº ศาสตราจารย(พิเศษ) พลตรี หมอมราชวงศคึกฤทธิ์ ปราโมช ศาสตราจารย (พิเศษ) พลตรี หมอมราชวงศ คึกฤทธิ์ ปราโมช เกิดเมือ่ วันที่ ๒๐ เมษายน พ.ศ. ๒๔๕๔ เปนโอรสสุดทองของ พลโท พระวรวงศเธอ พระองค เจาคํารบกับหมอมแดง (บุนนาค) ปราโมช ณ อยุธยา หมอมราชวงศคึกฤทธิ์จบการศึกษาระดับมัธยมจาก โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย กอนจะไปศึกษาตอที่ ประเทศอังกฤษ จนจบการศึกษาระดับปริญญาตรี ในสาขาปรัชญา การเมืองและเศรษฐศาสตร ที่ควีนส คอลเลจ มหาวิทยาลัยออกซฟอรด ไดรับปริญญาตรี เกียรตินิยม ศาสตราจารย (พิเศษ) พลตรี หมอมราชวงศ คึกฤทธิ์ ปราโมช ถือไดวาเปนปูชนียบุคคลและเปน นักปราชญคนหนึ่งของประเทศไทย มีผลงานหลายดานที่มีชื่อเสียงและโดดเดน ไดแก ทางดาน การเมือง เคยดํารงตําแหนงนายกรัฐมนตรีและประธานรัฐสภา ทางดานงานเขียนทานไดเริ่มตน งานเขียนอยางจริงจัง เมื่อกอตั้งหนังสือพิมพสยามรัฐ ใน พ.ศ. ๒๔๙๓ โดยทานดํารงตําแหนง เจาของ ผูอํานวยการและนักเขียนประจํา งานเขียนของทานหลายเรื่องไดรับการตีพิมพลงใน หนังสือพิมพสยามรั 1 ฐเปน2ประจํา ผลงานเขียนซึ่งไดรับความนิยมมาจนถึงปจจุบันมีหลายเรื่อง เชน สี่แผนดิน หลายชีวิต โครงกระดูกในตู กาเหวาที่บางเพลง และเรื่องมอม ซึ่งเปนเรื่องสั้นที่ เคยไดรับเลือกใหเปนบทเรียนในวิชาภาษาไทยระดับมัธยมศึกษา หมอมราชวงศคึกฤทธิ์ ปราโมช ถึงแกอสัญกรรมอยางสงบดวยโรคชรา สิริอายุได ๘๔ ป ๕ เดือน สําหรับเกียรติคุณที่ทานไดรับใน พ.ศ. ๒๕๒๘ ไดรับการยกยองเปนศิลปนแหงชาติ สาขาวรรณศิลป พ.ศ. ๒๕๔๒ องคการยูเนสโกไดประกาศยกยองเชิดชูเกียรติใหเปนบุคคลสําคัญของโลกใน ๔ สาขา ไดแก การศึกษา วัฒนธรรม สังคมศาสตรและสื่อสารมวลชน (เกร็ดชีวิตคึกฤทธิ์ ปราโมช: สยามรัฐ)

๒๐

นักเรียนควรรู 1 สี่แผนดิน เปนนวนิยายอิงประวัติศาสตร ที่แตงโดยหมอมราชวงศคึกฤทธิ์ ปราโมช ไดรับการยกยองใหเปนวรรณกรรมแหงกรุงรัตนโกสินทร ดวยความ โดดเดนทางดานเนื้อหาและตัวละครที่หลากหลาย สี่แผนดินจึงไดถูกนํามาถายทอด ในรูปแบบละครวิทยุ โดยคณะสโมสรเสียงใส รวมถึงละครโทรทัศน และละครเวที 2 หลายชีวิต เปนรวมเรื่องสั้นผลงานของหมอมราชวงศคึกฤทธิ์ ปราโมช เนื้อหา สาระเปนเรือ่ งราวของบุคคลตางเพศ ตางวัย ตางชาติตระกูล ตางอาชีพ ตางชนชัน้ ทุกคนตางเดินทางลงเรือโดยสารลําเดียวกัน เพื่อไปสูปลายทางเดียวกัน ดวยจุด มุงหมายที่แตกตางกัน แตเมื่อเรือโดยสารลําดังกลาวถูกพายุฝนพัดจนลม ทุกชีวิต บนเรือลํานั้นก็จบชีวิตลงพรอมกัน เปนการแสดงใหเห็นแนวคิดหลักของเรื่อง คือ “ไมวาจะยากดีมีจนอยางไร ทุกคนตางหนีความตายไมพน” ดวยเนื้อหาสาระ ที่เขมขนและใหแงคิดแกชีวิตจึงไดถูกนํามาถายทอดในรูปแบบละครโทรทัศนถึง สองครั้ง ซึ่งครั้งหลังสุดออกอากาศทางสถานีโทรทัศนทีวีไทย (Thai PBS)

20

คู่มือครู

กิจกรรมสรางเสริม นักเรียนศึกษาเกี่ยวกับบุคคลซึ่งไดรับการยกยองใหเปนศิลปนแหงชาติ สาขาวรรณศิลป โดยเลือกศึกษาจํานวน 1 ทาน นําเสนอเกี่ยวกับประวัติ ชีวิตสวนตัว ผลงาน ระบุเหตุผลที่เลือกศึกษา นําสงในรูปแบบใบงาน เฉพาะบุคคล

กิจกรรมทาทาย นักเรียนศึกษาเกี่ยวกับประวัตินักเขียนของกลุมประเทศสมาชิกอาเซียน โดยเลือกศึกษา 1 ทาน จากประเทศใดก็ได นําเสนอเกี่ยวกับประวัติชีวิต สวนตัว ผลงาน ระบุเหตุผลที่เลือกศึกษา พรอมแสดงความคิดเห็นสวนตัว เกีย่ วกับประเด็น “นักเขียนทีด่ ี คือ นักเขียนทีถ่ า ยทอดความเปนจริงของชีวติ ไดใกลเคียงที่สุด” นําสงในรูปแบบใบงานเฉพาะบุคคล


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

อธิบายความรู้

ขยายความเข้าใจ

Engaae

Expore

Explain

Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

ตรวจสอบผล

คําถาม

1. ครูตรวจสอบแถบบันทึกเสียงการอานออกเสียง รอยแกวและบทรอยกรองของนักเรียนแตละคน โดยใชหลักเกณฑเดียวกับที่นักเรียนรวมกัน กําหนดภายใตคําแนะนําของครู 2. นักเรียนตอบคําถามประจําหนวยการเรียนรู

ประจําหนวยการเรียนรู

๑. องคประกอบพื้นฐานในการอ่านมีอะไรบาง ๒. การอ่านออกเสียงบทรอยแกวและบทรอยกรอง ผูอ่านควรปฏิบัติอย่างไร ๓. นักเรียนมีวิธีการรักษาเสียงของตนอย่างไร ๔. การเวนวรรคตอนในการอ่านมีความสําคัญอย่างไร ๕. นักเรียนควรมีมารยาทในการอ่านอย่างไรบาง

กิจกรรม กิจกรรมที่

กิจกรรมที่

กิจกรรมที่

กิจกรรมที่ กิจกรรมที่

๔ ๕

Evaluate

หลักฐานแสดงผลการเรียนรู 1. แถบบันทึกเสียงการอานออกเสียงรอยแกว ที่เปนบทบรรยายหรือพรรณนา ซึ่งเลือกจาก ความประทับใจ 2. แถบบันทึกเสียงการอานออกเสียงบทรอยกรอง จากวรรณคดีเรื่องที่ประทับใจ 3. แบบวัดและบันทึกผลการเรียนรู

สรางสรรคพัฒนาการเรียนรู ใหนักเรียนจับคู่กับเพื่อนฝกอ่านรอยแกวจากตัวอย่างในบทเรียน ประเมินการอ่าน และใหขอเสนอแนะซึ่งกันและกัน ใหนักเรียนฟงการอ่านทํานองเสนาะจากแถบบันทึกเสียง แลวจับคู่กัน ฝกอ่านทํานองเสนาะแบบต่างๆ วิเคราะหวิจารณและประเมินการอ่าน ซึ่งกันและกัน แข่งขันกันอ่านออกเสียงรอยแกวและรอยกรองตามบทที่ครูกําหนดให เพื่อประเมินผลการอ่านออกเสียงรอยแกวและรอยกรอง คัดเลือกผูที่มี นํ้าเสียงดีอ่านไดถูกตองเปนตัวแทนไปแข่งขันในระดับกลุ่มโรงเรียน และระดับเขตพื้นที่ต่อไป จงอภิปรายเรื่องคุณค่าของหนังสือและมารยาทในการอ่านหนังสือ จงคัดบทประพันธทั้งรอยแกวและรอยกรองจากหนังสือต่างๆ ที่แสดงอารมณ ความรูสึกอย่างเด่นชัด แลวนํามาอ่านใหเพื่อนๆ ในหองฟง ๒๑

แนวตอบ คําถามประจําหนวยการเรียนรู 1. องคประกอบพื้นฐานสําหรับการอานออกเสียง ไดแก ผูอานจะตองฝกการใชสายตา ใชเสียง ฝกอานใหคลองถูกตองตามอักขรวิธี ฝกใชอวัยวะในการออกเสียง ฝกการวางบุคลิกภาพ 2. การอานออกเสียงรอยแกว ผูอานควรอานใหถูกตองตามอักขรวิธีหรืออานตามความนิยม แบงวรรคตอนไดถูกตอง ใชนํ้าเสียง เพื่อถายทอดอารมณไดเหมาะสม กับบทอาน สวนการอานบทรอยกรองผูอานตองมีความรู ความเขาใจ เกี่ยวกับฉันทลักษณของบทรอยกรองแตละประเภท เพื่อใหแบงวรรคตอนการอานไดถูกตอง ออกเสียงคําควบกลํ้าใหชัดเจน ฝกใชนํ้าเสียงใหเหมาะสมกับอารมณของบทอาน 3. ในทางการแพทยแนะนําวาการรักษาเสียงใหมีคุณภาพ ควรดื่มนํ้าสะอาด ระดับอุณหภูมิหอง ไมรับประทานอาหารที่มีไขมัน และมีรสเค็มจัดเพราะจะทําใหเกิดอาการ ระคายคอ นอกจากนี้ยังตองออกกําลังกายและพักผอนใหเพียงพอ 4. การเวนวรรคตอนในการอานมีความสําคัญตอการอานออกเสียง เพราะหากผูอานแบงวรรคตอนผิดจะทําใหผูฟงเขาใจความหมายคลาดเคลื่อนไปจากเจตนาที่แทจริง ของผูเขียน 5. มารยาทในการอานที่ควรปฏิบัติคือ ไมสรางความรําคาญใหแกผูอื่นไมวาจะดวยการกระทําใดๆ ไมละเมิดสิทธิ์ ดวยการอานบันทึกของผูอื่น ไมฉีก ลบ ขูด ฆา ทําลายหนังสือสาธารณะ รวมถึงควรปฏิบัติตามกฎกติกา มารยาท ในการใชหองสมุดของแตละสถานที่อยางเครงครัด เปนตน

คู่มือครู

21


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.