8858649121318

Page 1

คูมือครู 㪌»ÃСͺ¡ÒÃÊ͹ËÇÁ¡Ñº

˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ©ºÑº Í- .

ภาพปกนี้มีขนาดเทากับหนังสือเรียนฉบับจริงของนักเรียน

กระบวนการสอนแบบ 5 Es ชวยสรางทักษะการเรียนรู กิจกรรมมุงพัฒนาทักษะการคิด คำถาม + แนวขอสอบเพื่อยกผลสัมฤทธิ์ O-NET กิจกรรมบูรณาการเตรียมพรอมสู ASEAN 2558


เอกสารประกอบคูมือครู

กลุมสาระการเรียนรู ภาษาไทย

ภาษาไทย

วรรณคดีและวรรณกรรม ชั้นมัธยมศึกษาปที่

2

สําหรับครู

คูมือครู Version ใหม

ลักษณะเดน

ขยายพื้นที่รูปเลมใหญขึ้นกวาเดิม จัดแบงพื้นที่ออกเปนโซน เพื่อคนหาขอมูลไดงาย สะดวก รวดเร็ว และดูเปนระเบียบ กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล

กระตุน ความสนใจ

Evaluate

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

เปาหมายการเรียนรู สมรรถนะของผูเรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค

หน า

โซน 1 กระตุน ความสนใจ

Engage

สํารวจคนหา

Explore

อธิบายความรู

Explain

ขยายความเขาใจ

Expand

ตรวจสอบผล

หน า

หนั ง สื อ เรี ย น

โซน 1

หนั ง สื อ เรี ย น

Evaluate

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

ขอสอบ

โซน 2

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

เกร็ดแนะครู

O-NET

บูรณาการเชื่อมสาระ

โซน 3

กิจกรรมสรางเสริม กิจกรรมทาทาย

นักเรียนควรรู

โซน 3

โซน 2 บูรณาการอาเซียน มุม IT

No.

คูมือครู

คูมือครู

No.

โซน 1 ขั้นตอนการสอนแบบ 5Es

โซน 2 ชวยครูเตรียมสอน

โซน 3 ชวยครูเตรียมนักเรียน

เพื่อใหครูเตรียมจัดกิจกรรมการเรียน การสอน โดยแนะนําขั้นตอนการสอนและ การจัดกิจกรรมแบบ 5Es อยางละเอียด เพื่อใหนักเรียนบรรลุตามตัวชี้วัด

เพื่อชวยลดภาระครูผูสอน โดยแนะนํา เกร็ดความรูสําหรับครู ความรูเสริมสําหรับ นักเรียน รวมทั้งบูรณาการความรูสูอาเซียน และมุม IT

เพื่อใหครูสะดวกตอการจัดกิจกรรม โดย แนะนํากิจกรรมบูรณาการเชือ่ มระหวางสาระหรือ กลุมสาระการเรียนรู วิชา กิจกรรมสรางเสริม กิจกรรมทาทาย รวมถึงเนื้อหาที่เคยออกขอสอบ O-NET แนวขอสอบ NT/O-NET ทีเ่ นนการคิด พรอมเฉลยและคําอธิบายอยางละเอียด


ที่ใชในคูมือครู

แถบสีและสัญลักษณ

แถบสีแสดงขั้นตอนการสอนและการจัดกิจกรรม แบบ 5Es เพื่อใหครูทราบวาเปนขั้นการสอนขั้นใด

1. แถบสี 5Es สีแดง

สีเขียว

กระตุน ความสนใจ

เสร�ม

สํารวจคนหา

Engage

2

เปนขั้นที่ผูสอนเลือกใช เทคนิคกระตุน ความสนใจ เพื่อโยง เขาสูบทเรียน

สีสม

อธิบายความรู

Explore

เปนขั้นที่ผูสอน ใหผูเรียนสํารวจ ปญหา และศึกษา ขอมูล

สีฟา

Explain

เปนขั้นที่ผูสอน ใหผูเรียนคนหา คําตอบ จนเกิดความรู เชิงประจักษ

สีมวง

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

เปนขั้นที่ผูสอน ใหผูเรียนนําความรู ไปคิดคนตอๆ ไป

เปนขั้นที่ผูสอน ประเมินมโนทัศน ของผูเรียน

2. สัญลักษณ สัญลักษณ

วัตถุประสงค

• เปาหมายการเรียนรู

• หลักฐานแสดง ผลการเรียนรู

• เกร็ดแนะครู

แทรกความรูเสริมสําหรับครู ขอเสนอแนะ ขอควรระวัง ขอสังเกต แนวทางการจัด กิจกรรมและอืน่ ๆ เพื่อประโยชนในการ จัดการเรียนการสอน ขยายความรูเพิ่มเติมจากเนื้อหา เพื่อให ครูนําไปใชอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียน ไดมีความรูมากขึ้น

ความรูห รือกิจกรรมเสริม ใหครูนาํ ไปใช เตรียมความพรอมใหกบั นักเรียนกอนเขาสู ประชาคมอาเซียนใน พ.ศ. 2558 โดย บูรณาการกับวิชาทีก่ าํ ลังเรียน

บูรณาการอาเซียน

คูม อื ครู

แสดงรองรอยหลักฐานตามภาระงาน ที่ครูมอบหมาย เพื่อแสดงผลการเรียนรู ตามตัวชี้วัด

• นักเรียนควรรู

มุม IT

แสดงเปาหมายการเรียนรูที่นักเรียน ตองบรรลุตามตัวชี้วัด ตลอดจนสมรรถนะ ที่จะตองมี และคุณลักษณะที่พึงเกิดขึ้น กับนักเรียน

แนะนําแหลงคนควาจากเว็บไซต เพื่อให ครูและนักเรียนไดเขาถึงขอมูลความรู ที่หลากหลาย ทั้งไทยและตางประเทศ

สัญลักษณ

ขอสอบ

วัตถุประสงค

O-NET

(เฉพาะวิชา ชัน้ ทีส่ อบ O-NET O-NET)

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T (เฉพาะระดับชั้น มัธยมศึกษาตอนตน)

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET (เฉพาะระดับชัน้ มัธยมศึกษาตอนปลาย)

บูรณาการเชื่อมสาระ

กิจกรรมสรางเสริม

กิจกรรมทาทาย

• ชีแ้ นะเนือ้ หาทีเ่ คยออกขอสอบ

O-NET โดยยกตัวอยางขอสอบ พรอมวิเคราะหคาํ ตอบ อยางละเอียด

• เปนตัวอยางขอสอบทีม่ งุ เนน

การคิดและเปนแนวขอสอบ NT/O-NET ในระดับมัธยมศึกษา ตอนตน มีทงั้ ปรนัย - อัตนัย พรอมเฉลยอยางละเอียด

• เปนตัวอยางขอสอบทีม่ งุ เนน

การคิดและเปนแนวขอสอบ O-NET ในระดับมัธยมศึกษา ตอนปลาย มีทงั้ ปรนัย - อัตนัย พรอมเฉลยอยางละเอียด

• แนะนําแนวทางการจัดกิจกรรม

เชือ่ มกับสาระหรือกลุม สาระ การเรียนรู ระดับชัน้ หรือวิชาอืน่ ทีเ่ กีย่ วของ

• แนะนําแนวทางการจัดกิจกรรม ซอมเสริมสําหรับนักเรียนทีค่ วร ไดรบั การพัฒนาการเรียนรู

• แนะนําแนวทางการจัดกิจกรรม ตอยอดสําหรับนักเรียนทีเ่ รียนรู ไดอยางรวดเร็ว และตองการ ทาทายความสามารถในระดับ ทีส่ งู ขึน้


คําแนะนําการใชคูมือครู การออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอน คูมือครู รายวิชา ภาษาไทย วรรณคดีและวรรณกรรม ม.2 จัดทําขึ้นเพื่อใหครูผูสอนนําไปใชเปนแนวทางวางแผน การสอนเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และประกันคุณภาพผูเรียน ตามนโยบายของสํานักงานคณะกรรมการการ ศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) โดยใชหนังสือเรียน ภาษาไทย วรรณคดีและวรรณกรรม ม.2 ของบริษัท อักษรเจริญทัศน อจท. เสร�ม จํากัด เปนสื่อหลัก (Core Material) ประกอบการสอนและการจัดกิจกรรมการเรียนรูใหสอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรู 3 และตัวชีว้ ดั กลุม สาระการเรียนรู ภาษาไทย ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พ.ศ. 2551 โดยออกแบบกิจกรรม การเรียนการสอนตามหลักการสําคัญ ดังนี้ 1 ออกแบบการสอนเปนหนวยการเรียนรูอิงมาตรฐาน คูมือครู รายวิชา ภาษาไทย วรรณคดีและวรรณกรรม ม.2 วางแผนการสอนโดยแบงเปนหนวยการเรียนรูตาม ลําดับสาระ (Strand) และหมายเลขขอของมาตรฐานการเรียนรูแ ละตัวชีว้ ดั แตละหนวยจะกําหนดเปาหมายการเรียนรูแ ละ จุดประสงคการเรียนรู (Objective Learning) กิจกรรมการเรียนรู (Learning Activities) และแนวทางการประเมินผลการเรียนรู (Learning Evaluation) ไวชดั เจน ครูผสู อนสามารถจัดทําแผนการสอนใหครอบคลุมมาตรฐานการเรียนรู ตัวชีว้ ดั สมรรถนะ และคุณลักษณะอันพึงประสงคที่เปนเปาหมายการเรียนรูตามที่กําหนดไวในสาระแกนกลาง (ตามแผนภูมิ) และสามารถ บันทึกผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผูเรียนแตละคนลงในเอกสาร ปพ.5 ไดอยางมั่นใจ แผนภูมิแสดงความสัมพันธขององคประกอบการออกแบบการเรียนรูอิงมาตรฐานและเนนผูเรียนเปนสําคัญ

พผ

ูเ

จุดปร

ะสง

คก า

ส ภา

รียน

รู ีเรยน

มาตรฐานการเรียนรู ตัวชี้วัดชั้นป

ทักษะการคิด การวัดประเมินผล การเรียนรู

กิจกรรมการเรียนรู

เทคนิคการสอน คูม อื ครู


2 การจัดการเรียนรูที่ยึดผูเรียนเปนสําคัญ แนวคิ ด ในการจั ด การเรี ย นการสอนที่ ยึ ด ผู  เ รี ย นเป น สํ า คั ญ พั ฒ นามาจากปรั ช ญาและทฤษฎี ก ารเรี ย นรู  Constructivism ที่เชื่อวา การเรียนรูเปนกระบวนการที่เกิดขึ้นภายในสมองของผูเรียนแตละคน ผูเรียนเปนผูสรางความรู โดยการเชื่อมโยงระหวางสิ่งที่ไดเรียนรูจากบทเรียนใหมกับความรูหรือประสบการณเดิมที่มีอยู ทฤษฎีนี้มีความเชื่อวา ผูเรียนทุกคนไดเรียนรูและมีการสั่งสมความรูความเขาใจเกี่ยวกับสิ่งตางๆ ติดตัวมากอน ทีจ่ ะเขาสูห อ งเรียน ซึง่ เปนการเรียนรูท เี่ กิดจากประสบการณและสิง่ แวดลอมรอบตัวผูเ รียนแตละคน ดังนัน้ การจัดกิจกรรม เสร�ม การเรียนการสอนในแตละหนวยการเรียนรู ผูสอนจะตองคํานึงถึง

4

1. ความรูเดิมของผูเรียน วิธีการสอนที่ดีจะตองเริ่มตนจากจุดที่วา ผูเ รียนมีความรูอ ะไรมาบาง แลวจึงใหความรู หรือประสบการณใหม เพื่อตอยอดจาก ความรูเดิม นําไปสูการสรางความรู ความเขาใจใหม

2. ความรูเดิมของผูเรียนถูกตองหรือไม ผูส อนตองปรับเปลีย่ นความรูค วามเขาใจเดิม ของผูเรียนใหถูกตอง และเปนพฤติกรรม การเรียนรูใ หมทมี่ คี ณุ คาตอผูเรียน เพื่อสราง เจตคติหรือทัศนคติที่ดีตอการเรียนรู สิ่งเหลานั้น

3. ผูเรียนสรางความหมายสําหรับตนเอง ผูสอนตองสงเสริมใหผูเรียนนําความรู ความเขาใจที่เกิดขึ้นไปลงมือปฏิบัติ เพื่อขยายความรูใหลึกซึ้งและมีคุณคา ตอตัวผูเรียนมากที่สุด

แนวคิด Constructivism เนนใหผูเรียนสรางความรูโดยผานกระบวนการคิดและความอยากรูของตนเอง โดยมีผูสอนเปนผูสรางบรรยากาศ

การเรียนรูและกระตุนความสนใจ คอยจัดสถานการณใหผูเรียนเกิดความขัดแยงทางความคิดระหวางประสบการณเดิมกับประสบการณ ความรูใ หม เพือ่ กระตนุ ใหผเู รียนเชือ่ มโยงความรู ความคิด กับประสบการณทมี่ อี ยูเ ดิม แลวสังเคราะหเปนความรูห รือแนวคิดใหมๆ ไดดว ยตนเอง

3 การบูรณาการกระบวนการคิด การเรียนรูของผูเรียนแตละคนจะเกิดขึ้นที่สมอง ซึ่งเปนอวัยวะที่ทําหนาที่รูคิดภายใตสภาพแวดลอมที่เอื้ออํานวย และไดรบั การกระตนุ จูงใจอยางเหมาะสม สอดคลองกับสภาพจิตใจและความตองการของผูเ รียนแตละคน การจัดกิจกรรม การเรียนรูและสาระการเรียนรูที่สอดคลองกับความสนใจและมีความหมายตอผูเรียน จะชวยกระตุนใหสมองของผูเรียน สามารถรับรูและเรียนรูไดอยางมีประสิทธิภาพตามขั้นตอนการทํางานของสมอง ดังนี้ 1. สมองจะเรียนรูและสืบคน โดยการสังเกต คนหา ซักถาม และทดลอง ปฏิบัติ จนทําใหคนพบความรูความเขาใจ ไดอยางรวดเร็ว

2. สมองจะแยกแยะคุณคาของสิ่งตางๆ โดยการตัดสินใจวิพากษวิจารณ แสดง ความคิดเห็น ยอมรับหรือตอตานตาม อารมณความรูสึกที่เกิดขึ้นในขณะที่เรียนรู

3. สมองจะประมวลเนื้อหาสาระ โดยการสรุปเปนความคิดรวบยอดจาก เรื่องราวที่ไดเรียนรูใหมนําไปผสมผสานกับ ความรูห รือประสบการณเดิมทีถ่ กู จัดเก็บอยูใ น สมอง ผานการกลัน่ กรองเพือ่ สังเคราะหเปน ความรูค วามเขาใจใหมๆ หรือเปนทัศนคติใหม ที่จะเก็บบรรจุไวในสมองของผูเรียน

การเรียนรูที่มีประสิทธิภาพจึงตองเปนการเรียนรูที่เกิดจากกระบวนการคิดของผูเรียน เพราะการเรียนรูจะเกิดขึ้น เมื่อสมองรูคิด และตองเปนการคิดไดครบถวนตามขั้นตอนการทํางานของสมองผูเรียน โดยเริ่มตนจาก 1. ระดับการคิดพื้นฐาน ไดแก การสังเกต การจําแนก การคาดคะเน การสื่อความหมาย การรวบรวมขอมูล การสรุปผล เปนตน

คูม อื ครู

2. ระดับลักษณะการคิด ไดแก การคิดกวาง คิดลึกซึ้ง คิดไกล คิดหลากหลาย คิดคลอง คิดอยางมีเหตุผล เปนตน

3. ระดับกระบวนการคิด ไดแก กระบวนการคิดอยางมีวิจารณญาณ กระบวนการแกปญหา กระบวนการ คิดสรางสรรค กระบวนการคิดสังเคราะห เปนตน


5Es การจัดกิจกรรมตามขั้นตอนวัฏจักรการเรียนรู 5Es ขั้นตอนการสอนที่สัมพันธกับขั้นตอนการคิดและการทํางานทางสมองของผูเรียนที่นิยมใชอยางแพรหลาย คือ วัฏจักรการเรียนรู 5Es ซึ่งผูจัดทําคูมือครูไดนํามาใชเปนแนวทางออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนในแตละหนวย ตามลําดับขั้นตอนการเรียนรู ดังนี้ ขั้นที่ 1

กระตุนความสนใจ

(Engage)

เสร�ม

5

เปนขั้นที่ผูสอนนําเขาสูบทเรียน เพื่อกระตุนความสนใจของผูเรียนดวยเรื่องราวหรือเหตุการณที่นาสนใจโดยใชเทคนิควิธีการ และคําถามทบทวนความรูหรือประสบการณเดิมของผูเรียน เพื่อเชื่อมโยงผูเรียนเขาสูความรูของบทเรียนใหม ชวยใหผูเรียนสามารถ สรุปความสําคัญหัวขอและสาระการเรียนรูของบทเรียนได จึงเปนขั้นตอนการสอนที่สําคัญ เพราะเปนการเตรียมความพรอมและสราง แรงจูงใจใฝเรียนรูแกผูเรียน

ขั้นที่ 2

สํารวจคนหา

(Explore)

เปนขัน้ ทีผ่ สู อนเปดโอกาสใหผเู รียนลงมือศึกษา สังเกต หรือรวมมือกันสํารวจ เพือ่ ใหเห็นขอบขายของประเด็นหรือปญหา รวมถึง วิธีการศึกษาคนควา การรวบรวมขอมูลความรูที่จะนําไปสูการสรางความเขาใจประเด็นหรือปญหานั้นๆ เมื่อผูเรียนทําความเขาใจใน ประเด็นหรือปญหาที่จะศึกษาคนควาอยางถองแทแลว ก็ลงมือปฏิบัติเพื่อเก็บรวบรวมขอมูลความรู สํารวจตรวจสอบ โดยวิธีการตางๆ เชน สัมภาษณ ทดลอง อานคนควาขอมูลจากเอกสาร แหลงขอมูลตางๆ จนไดขอมูลความรูที่เกี่ยวของกับประเด็นหรือปญหาที่ศึกษา

ขั้นที่ 3

อธิบายความรู

(Explain)

เปนขั้นที่ผูสอนมีปฏิสัมพันธกับผูเรียน เชน ใหการแนะนํา ตั้งคําถามกระตุนใหคิด เพื่อใหผูเรียนคนหาคําตอบ และนําขอมูล ความรูจากการศึกษาคนควาในขั้นที่ 2 มาวิเคราะห สรุปผล และนําเสนอผลที่ไดศึกษาคนความาในรูปแบบสารสนเทศตางๆ เชน เขียนแผนภูมิ ผังมโนทัศน เขียนความเรียง เขียนรายงาน เปนตน ในขั้นตอนนี้ฝกใหผูเรียนใชสมองคิดวิเคราะหและสังเคราะห อยางเปนระบบ

ขั้นที่ 4

ขยายความเขาใจ

(Expand)

เปนขั้นที่ผูสอนเลือกใชเทคนิควิธีสอนตางๆ ที่สงเสริมใหผูเรียนนําความรูที่เกิดขึ้นไปคิดคนสืบคนตอๆ ไป เพื่อพัฒนาทักษะ การเรียนรูและการทํางานรวมกันเปนกลุม ระดมสมองเพื่อคิดสรางสรรครวมกัน ผูเรียนสามารถนําความรูที่สรางขึ้นใหมไปเชื่อมโยง กับประสบการณเดิมโดยนําขอสรุปทีไ่ ดไปใชอธิบายเหตุการณตา งๆ หรือนําไปปฏิบตั ใิ นสถานการณใหมๆ ทีเ่ กีย่ วของกับชีวติ ประจําวัน ของตนเอง เพื่อขยายความรูความเขาใจใหกวางขวางยิ่งขึ้น ในขั้นตอนนี้ฝกสมองของผูเรียนใหสามารถคิดริเริ่มสรางสรรคอยางมี คุณภาพ เสริมสรางวิสัยทัศนใหกวางไกลออกไป

ขั้นที่ 5

ตรวจสอบผล

(Evaluate)

เปนขัน้ ทีผ่ สู อนประเมินมโนทัศนของผูเ รียน โดยตรวจสอบจากความคิดทีเ่ ปลีย่ นไปและความคิดรวบยอดทีเ่ กิดขึน้ ใหม ตรวจสอบ ทักษะ กระบวนการปฏิบัติ การแกปญหา การตอบคําถามรวบยอด หรือการเคารพความคิดหรือยอมรับเหตุผลของคนอื่น เพื่อการ สรางสรรคความรูร ว มกัน ผูเ รียนสามารถประเมินผลการเรียนรูข องตนเอง เพือ่ สรุปผลวามีความรูอ ะไรเพิม่ ขึน้ มาบาง เกิดความเขาใจ มากนอยเพียงใด และจะนําความรูเหลานั้นไปประยุกตใชในการเรียนรูเรื่องอื่นๆ หรือในชีวิตประจําวันไดอยางไร ผูเรียนจะเกิดเจตคติ และเห็นคุณคาของตนเองจากผลการเรียนรูที่เกิดขึ้น ซึ่งเปนการเรียนรูที่มีความสุขอยางแทจริง

การจัดกิจกรรมการเรียนรูตามขั้นตอนวัฏจักรการเรียนรู 5Es จึงเปนรูปแบบการเรียนการสอนที่เนนผูเรียน เปนสําคัญอยางแทจริง เพราะสงเสริมใหผูเรียนไดเรียนรูตามขั้นตอนของกระบวนการสรางความรูดวยตนเอง และ ฝกฝนใหใชกระบวนการคิดและกระบวนการกลุมอยางชํานาญ กอใหเกิดทักษะชีวิต ทักษะการทํางาน และทักษะการ เรียนรูที่มีประสิทธิภาพ สงผลตอการยกระดับผลสัมฤทธิ์ของผูเรียน ตามเปาหมายของการปฏิรูปการศึกษาทศวรรษที่ 2 (พ.ศ. 2552-2561) ทุกประการ คูม อื ครู


O-NET การเพิ่มผลสัมฤทธิ์ O-NET

การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามขั้นตอนวัฏจักรการเรียนรู 5Es ในแตละหนวยการเรียนรู ทางผูจัดทํา จะเสนอแนะวิธีสอน รูปแบบกิจกรรมการเรียนรู พรอมทั้งออกแบบเครื่องมือวัดและประเมินผลที่สอดคลองกับตัวชี้วัด และสาระการเรียนรูแกนกลางไวทุกขั้นตอน โดยยึดหลักสําคัญ คือ หลักของการวัดและประเมินผล เสร�ม

6

1. การวัดและประเมินผลทุกครั้ง ควรนําผลมาปรับปรุงพัฒนาผูเรียน เปนรายบุคคล

2. การวัดและประเมินผลมี เปาหมาย เพื่อพัฒนาการเรียนรู ของผูเรียนจนเต็มศักยภาพ

3. การนําผลการวัดและประเมินผล ทุกครั้งมาวางแผนปรับปรุงกิจกรรม การเรียนการสอน การเลือกเทคนิค วิธีสอน และสื่อการเรียนรูให เหมาะสมกับสภาพจริงของผูเรียน

การทดสอบผูเรียน 1. การใชขอสอบอัตนัย เนนการอาน การคิดวิเคราะห และการเขียนเพิ่มมากขึ้น 2. การใชคําถามกระตุนการคิดควบคูกับการทําขอสอบที่เนนการคิดอยางตอเนื่องตามลําดับกิจกรรมการเรียนรู และตัวชี้วัด 3. การทดสอบตองดําเนินการทั้งกอนเรียน ระหวางเรียน และหลังเรียน การทดสอบควรใชขอสอบทั้งชนิดปรนัยและ อัตนัย และเปนการทดสอบเพื่อประเมินผลการเรียนของผูเรียนแตละคน เพื่อการสอนซอมเสริมใหบรรลุตัวชี้วัด ไดครบถวน 4. การสอบกลางภาค (ถามี) ควรนําแบบฝกหัดหรือขอสอบทีน่ กั เรียนสวนใหญไมสามารถตอบไดหรือไมครบถวนชัดเจน มา สรางเปนแบบทดสอบอีกครัง้ เพือ่ ตรวจสอบความรูค วามเขาใจทีถ่ กู ตอง และประเมินความกาวหนาของผูเ รียนแตละคน 5. การสอบปลายภาคเรียนเพื่อวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามตัวชี้วัดที่สําคัญ ควรออกขอสอบใหมีลักษณะเดียวกับ ขอสอบ O-NET โดยเนนการคิดวิเคราะห สังเคราะห เชื่อมโยงประยุกตใช เพื่อสรางความคุนเคย และฝกฝน วิธีการทําขอสอบดวยความมั่นใจ 6. การนําผลการทดสอบของผูเรียนมาวิเคราะห โดยผลการสอบกอนการเรียนตองสามารถพยากรณผลการสอบ กลางภาค และผลการสอบกลางภาคตองทํานายผลการสอบปลายภาคของผูเ รียนแตละคน เพือ่ ประเมินพัฒนาการ ความกาวหนาของผูเรียนเปนรายบุคคล 7. ผลการทดสอบปลายป ปลายภาค ตองมีคาเฉลี่ยสอดคลองกับคาเฉลี่ยของการสอบ NT ที่เขตพื้นที่การศึกษา จัดสอบ รวมทั้งคาเฉลี่ยของการสอบ O-NET ชวงชั้นที่สอดคลองครอบคลุมมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดสําคัญ เพือ่ สะทอนประสิทธิภาพของครูผสู อนในการออกแบบการเรียนรูแ ละประกันคุณภาพผูเ รียนทีต่ รวจสอบผลไดชดั เจน การจัดการเรียนการสอนในแตละหนวยการเรียนรู ตองใหผูเรียนไดสั่งสมความรู ความเขาใจตามลําดับขั้นตอน ของกิจกรรมในวัฏจักรการเรียนรู 5Es เพื่อใหผูเรียนไดเติมเต็มองคความรูอยางตอเนื่อง จนสามารถปฏิบัติชิ้นงานหรือ ภาระงานรวบยอดของแตละหนวย ผานเกณฑประกันคุณภาพในระดับที่นาพึงพอใจ เพื่อรองรับการประเมินภายนอกจาก สมศ. ตลอดเวลา คูม อื ครู


ASEAN การเรียนรูสูประชาคมอาเซียน เพื่ออํานวยความสะดวกแกครูผูสอนในการจัดกิจกรรมการเรียนรูบูรณาการอาเซียนศึกษา ผูจัดทําไดวิเคราะห มาตรฐานการเรียนรู และตัวชี้วัดที่มีสาระการเรียนรูสอดคลองกับองคความรูเกี่ยวกับประชาคมอาเซียนในแงมุมตางๆ ครอบคลุมทัง้ ประชาคมการเมืองและความมัน่ คงอาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และประชาคมสังคมและวัฒนธรรม อาเซียน เพื่อสงเสริมการเรียนรูใหผูเรียนเกิดความตระหนัก มีความรูความเขาใจเหมาะสมกับระดับชั้นและกลุมสาระ การเรียนรู โดยเสนอแนะวิธีการจัดกิจกรรมบูรณาการเนื้อหาสาระตางๆ ที่เปนประโยชนตอผูเรียนและเปนการชวย เตรียมความพรอมผูเ รียนทุกคนทีจ่ ะกาวเขาสูก ารเปนสมาชิกของประชาคมอาเซียนไดอยางมัน่ ใจตามขอตกลงปฏิญญา เสร�ม ชะอํา-หัวหิน วาดวยความรวมมือดานการศึกษาเพือ่ บรรลุเปาหมายประชาคมอาเซียนทีเ่ อือ้ อาทรและแบงปน จึงกําหนด 7 เปนนโยบายใหกระทรวงศึกษาธิการจัดการเรียนรูเตรียมความพรอมผูเรียนเขาสูประชาคมอาเซียนภายในป พ.ศ. 2558 ตามแนวปฏิบัติที่สําคัญ ดังนี้

การจัดการเรียนรูส ู ประชาคมการเมืองและความมัน่ คงอาเซียน 1. การสรางความรูความเขาใจ และตระหนักถึงความสําคัญของ กฎบัตรอาเซียน และความรวมมือ ของ 3 เสาหลัก ซึง่ กฎบัตรอาเซียน ในขณะนี้มีสถานะเปนกฎหมายที่ ประเทศสมาชิกจะตองปฏิบัติตาม หลักการที่กําหนดไวเพื่อใหบรรลุ เปาหมายของกฎบัตรมาตราตางๆ

2. การสงเสริมหลักการ ประชาธิปไตยและการสราง สิ่งแวดลอมประชาธิปไตย เพื่อการอยูรวมกันอยางกลมกลืน ภายใตวิถีชีวิตอาเซียนที่มีความ หลากหลายดานสังคมและ วัฒนธรรม

4. การตระหนักในคุณคาของ สายสัมพันธทางประวัติศาสตร และมรดกทางวัฒนธรรมที่มี พัฒนาการรวมกัน เพื่อเชื่อม อัตลักษณและสรางจิตสํานึก ในการเปนประชากรของประชาคม อาเซียนรวมกัน

3. การสงเสริมการศึกษาดาน สิทธิมนุษยชน เพื่อสรางประชาคม อาเซียนใหเปนประชาคมเพื่อ ประชาชนอยางแทจริง สามารถ อยูรวมกันไดบนพื้นฐานการเคารพ ในคุณคาของศักดิ์ศรีแหงความ เปนมนุษยเทาเทียมกัน

5. การสงเสริมสันติภาพ ความ มั่นคง และความปรองดองในสังคม ทั้งระดับประเทศและภูมิภาคของ อาเซียนบนพื้นฐานสันติวิธีและการ อยูรวมกันดวยขันติธรรม

คูม อื ครู


การจัดการเรียนรูส ู ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

เสร�ม

8

1. การพัฒนาทักษะการทํางาน เพื่อเสริมสรางผูเรียนใหมีทักษะ วิชาชีพที่จําเปนสอดคลองกับ ความตองการของตลาดแรงงาน และสถานประกอบการในอาเซียน สามารถเทียบโอนผลการเรียน และการทํางานตามมาตรฐานฝมือ แรงงานในภูมิภาคอาเซียน

2. การเสริมสรางวินัย ความรับผิดชอบ และเจตคติรักการทํางาน สามารถพึ่งพาตนเอง มีทักษะชีวิต ดํารงชีวิตอยางมีความสุข เห็นคุณคา และภูมิใจในตนเอง ในฐานะที่เปนพลเมืองไทยและ อาเซียน

3. การเรียนรูเพื่อพัฒนาตนเอง อยางตอเนื่องตลอดชีวิต ใหมี ทักษะการทํางานตามมาตรฐาน อาชีพ และคุณวุฒิของวิชาชีพสาขา ตางๆ เพื่อรองรับการเตรียมเคลื่อน ยายแรงงานมีฝมือและการเปน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนที่ เขมแข็ง เพื่อสรางขีดความสามารถ ในการแขงขันในเวทีโลก

การจัดการเรียนรูส ู ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน 1. การเสริมสรางความรวมมือ ในลักษณะสังคมที่เอื้ออาทร ของประชากรอาเซียน โดยยึด หลักการสําคัญ คือ ความงดงาม ของประชาคมอาเซียนมาจาก ความแตกตางและหลากหลายทาง วัฒนธรรมที่ลวนแตมีคุณคาตอ มรดกทางวัฒนธรรมของอาเซียน ซึ่งประชาชนทุกคนตองอนุรักษ สืบสานใหยั่งยืน

2. การเสริมสรางคุณลักษณะ ของผูเรียนใหเปนพลเมืองอาเซียน ที่มีศักยภาพในการกาวเขาสู ประชาคมอาเซียนอยางมั่นใจ เปนผูที่มีสุขภาพสมบูรณแข็งแรง มีทักษะการสื่อสาร ทักษะการ ทํางาน ทักษะทางสังคม สามารถ ทํางานรวมกับผูอื่นไดอยาง สรางสรรค และมีองคความรู เกี่ยวกับอาเซียนที่จําเปนตอการ ดํารงชีวิตอยางมีคุณภาพ

4. การสงเสริมการเรียนรูดาน ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี วิถชี วี ติ ความเปนอยูข องเพือ่ นบาน ในอาเซียน เพื่อสรางจิตสํานึกของ ความเปนประชาคมอาเซียนและ ตระหนักถึงหนาที่ของการเปน พลเมืองอาเซียนรวมกัน

3. การสงเสริมการเรียนรูภาษา อังกฤษเพื่อการสื่อสารและการ ทํางานตามมาตรฐานอาชีพที่ กําหนดและสนับสนุนการเรียนรู ภาษาอาเซียนและภาษาเพื่อนบาน เพื่อชวยเสริมสรางสัมพันธภาพทาง สังคม และการอยูรวมกันอยางสันติ ทามกลางความหลากหลายทาง วัฒนธรรม

5. การสรางความรูและความ ตระหนักเกี่ยวกับดานสิ่งแวดลอม ปญหาและผลกระทบตอคุณภาพ ชีวิตของประชากรในภูมิภาค รวมทั้งแนวทางการพัฒนาอยาง ยั่งยืน ใหเปนมรดกสืบทอดแก พลเมืองอาเซียนในรุนหลังตอๆ ไป

กระทรวงศึกษาธิการจึงประกาศนโยบายการปฏิรูปการศึกษาทศวรรษที่ 2 (พ.ศ. 2552-2561) เพื่อเรงพัฒนาเด็ก และเยาวชนไทยใหเปนทรัพยากรมนุษยของชาติที่มีทักษะและความชํานาญ พรอมเผชิญกับความเปลี่ยนแปลงและ การแขงขันทั้งในภูมิภาคอาเซียนและภูมิภาคอื่นๆ ของสังคมโลก ทั้งนี้ผูบริหารสถานศึกษา ครูผูสอน และผูปกครอง ควรรวมมือกันอยางใกลชิดในการดูแลชวยเหลือผูเรียนและจัดประสบการณการเรียนรูเพื่อพัฒนาผูเรียนจนเต็มศักยภาพ เพื่อกาวเขาสูการเปนพลเมืองอาเซียนอยางมีเกียรติภูมิและศักดิ์ศรีความเปนมนุษยของตน คณะผูจัดทํา คูม อื ครู


ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง สาระที่ 5

ภาษาไทย วรรณคดีและวรรณกรรม (เฉพาะชั้น ม.2)*

วรรณคดีและวรรณกรรม

มาตรฐาน ส 5.1 เขาใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณวรรณคดีและวรรณกรรมไทยอยางเห็นคุณคาและนํามาประยุกต ใชในชีวิตจริง ชั้น

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

ม.2 1. สรุปเนื้อหาวรรณคดี • วรรณคดีและวรรณกรรมเกี่ยวกับ และวรรณกรรมที่ - ศาสนา อานในระดับที่ยาก - ประเพณี ขึ้น - พิธีกรรม - สุภาษิต คําสอน - เหตุการณประวัติศาสตร - บันเทิงคดี - บันทึกการเดินทาง 2. วิเคราะหและวิจารณ • การวิเคราะหคุณคาและขอคิดจากวรรณคดี วรรณคดีวรรณกรรม วรรณกรรม และวรรณกรรมทองถิ่น และวรรณกรรม ทองถิ่นที่อาน พรอมยก เหตุผล ประกอบ 3. อธิบายคุณคา ของวรรณคดีและ วรรณกรรมที่อาน 4. สรุปความรูและ ขอคิดจากการอาน ไปประยุกตใชใน ชีวิตจริง

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

• หนวยการเรียนรูที่ 1 โคลงประกอบภาพพระราช พงศาวดาร • หนวยการเรียนรูที่ 2 บทเสภาสามัคคีเสวก ตอน วิศวกรรมาและ สามัคคีเสวก • หนวยการเรียนรูที่ 3 ศิลาจารึกหลักที่ 1 • หนวยการเรียนรูที่ 4 บทละครเรื่องรามเกียรติ์ ตอน นารายณปราบนนทก • หนวยการเรียนรูที่ 5 กาพยหอโคลงประพาส ธารทองแดง • หนวยการเรียนรูที่ 6 โคลงสุภาษิตพระราชนิพนธ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว • หนวยการเรียนรูที่ 7 กลอนดอกสรอยรําพึงใน ปาชา • หนวยการเรียนรูที่ 8 นิราศเมืองแกลง

เสร�ม

9

_________________________________ * สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สํานักคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, กระทรวงศึกษาธิการ. ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย. (กรุงเทพมหานคร : ชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย, 2551), หนา 57.

หมายเหตุ : สําหรับสาระที่ 1 (การอาน) สาระที่ 2 (การเขียน) สาระที่ 3 (การฟง การดู และการพูด) และสาระที่ 4 (หลักการใชภาษาไทย) จะอยูในหนังสือเรียนภาษาไทย หลักภาษาและการใชภาษา ชั้น ม.2 ของ อจท. ซึ่งเปนหนังสือที่จัดทําควบคูกับหนังสือเรียน ภาษาไทย วรรณคดีและวรรณกรรม เลมนี้

คูม อื ครู


ชั้น

เสร�ม

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

ม.2 5. ทองจําบทอาขยาน • บทอาขยานและบทรอยกรองที่มีคุณคา - บทอาขยานตามที่กําหนด ตามที่กําหนดและ - บทรอยกรองตามความสนใจ บทรอยกรองที่มี คุณคาตามความ สนใจ

• หนวยการเรียนรูที่ 2 บทเสภาสามัคคีเสวก ตอน วิศวกรรมาและ สามัคคีเสวก • หนวยการเรียนรูที่ 4 บทละครเรื่องรามเกียรติ์ ตอน นารายณปราบนนทก • หนวยการเรียนรูที่ 6 โคลงสุภาษิตพระราชนิพนธ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว • หนวยการเรียนรูที่ 7 กลอนดอกสรอยรําพึงใน ปาชา • หนวยการเรียนรูที่ 8 นิราศเมืองแกลง

10

จุดเนนการพัฒนาคุณภาพผูเรียน* การขับเคลื่อนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551 และการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษ ที่สอง (พ.ศ. 2552-2561) ใหประสบผลสําเร็จตามจุดเนนการพัฒนาคุณภาพผูเรียน โดยใหทุกภาคสวน รวมกันดําเนินการ กระทรวงศึกษาธิการไดกําหนดจุดเนนการพัฒนาคุณภาพผูเรียน ดังนี้

ทักษะ ความสามารถ

คูม อื ครู

คุณลักษณะ จุดเนนตามชวงวัย

ม. 4-6

แสวงหาความรู เพื่อแกปญหา ใชเทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู ใชภาษาตางประเทศ (ภาษาอังกฤษ) มีทักษะการคิดขั้นสูง ทักษะชีวิต ทักษะการสื่อสารอยางสรางสรรคตามชวงวัย

ม. 1-3

แสวงหาความรูดวยตนเอง ใชเทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู มีทักษะการคิดขั้นสูง ทักษะชีวิต ทักษะการสื่อสารอยางสรางสรรคตามชวงวัย

• อยูอยางพอเพียง

ป. 4-6

อานคลอง เขียนคลอง คิดเลขคลอง ทักษะการคิดขั้นพื้นฐาน ทักษะชีวิต ทักษะการสื่อสารอยางสรางสรรคตามชวงวัย

• ใฝเรียนรู

ป. 1-3

อานออก เขียนได คิดเลขเปน มีทักษะการคิดขั้นพื้นฐาน ทักษะชีวิต ทักษะการสื่อสารอยางสรางสรรคตามชวงวัย

• ใฝดี

• มุงมั่นในการศึกษา และการทํางาน

คุณลักษณะตามหลักสูตร

• รักชาติ ศาสน กษัตริย • ซื่อสัตยสุจริต • มีวินัย • ใฝเรียนรู • อยูอยางพอเพียง • มุงมั่นในการทํางาน • รักความเปนไทย • มีจิตสาธารณะ


คําอธิบายรายวิชา รายวิชา ภาษาไทย วรรณคดีและวรรณกรรม ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 รหัสวิชา ท…………………………………

กลุมสาระการเรียนรู ภาษาไทย ภาคเรียนที่ 1-2 เวลา 60 ชั่วโมง/ป

ฝกทักษะการอาน การเขียน การฟง การดูและการพูด การวิเคราะหวรรณคดีและวรรณกรรม โดยศึกษาเกี่ยวกับ การอานออกเสียง การอานในใจความ การอานตามความสนใจ การอานจับใจความสําคัญของเรือ่ ง พิจารณาวิเคราะหวจิ ารณ เสร�ม ลักษณะนิสัยของตัวละครในเรื่อง การพิจารณาจุดมุงหมายของผูเขียนวา มีทํานองหรือแนวคิดไปในทิศทางใด หรือชักชวน 11 ใหเชือ่ ถือในเรือ่ งใด ฝกทักษะการพูดแสดงความคิดเห็นอยางเปนเหตุเปนผล พูดวิเคราะหวจิ ารณจากเรือ่ งทีอ่ า น พูดรายงาน การศึกษาคนควา และศึกษาเกีย่ วกับคําภาษาตางประเทศทีป่ ะปนในวรรณคดีและวรรณกรรมไทยวิเคราะหวถิ ไี ทย ประเมินคา ความรูและขอคิดจากวรรณคดีและวรรณกรรม ทองจําบทอาขยานที่กําหนดในบทเสภาสามัคคีเสวก ตอน วิศวกรรมาและ สามัคคีเสวก บทละครเรือ่ งรามเกียรติ์ ตอน นารายณปราบนนทก โคลงสุภาษิตพระราชนิพนธพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว กลอนดอกสรอยรําพึงในปาชา นิราศเมืองแกลง และบทรอยกรองที่มีคุณคาตามความสนใจ โดยใชกระบวนการอานเพื่อสรางความรูความคิดนําไปใชตัดสินใจ แกปญหาในการดําเนินชีวิต กระบวนการเขียน เขียนสื่อสารอยางมีประสิทธิภาพกระบวนการฟง การดู และการพูด สามารถเลือกฟงและดู และพูดแสดงความรูความคิด อยางมีวิจารณญาณและสรางสรรค เพื่อใหเขาใจธรรมชาติภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษา พลังภาษา ภูมปิ ญ ญาทางภาษาวิเคราะหวจิ ารณวรรณคดีและวรรณกรรมอยางเห็นคุณคาและนํามาประยุกตใชในชีวติ จริง รักษาภาษาไทย ไวเปนสมบัติของชาติ และมีนิสัยรักการอาน การเขียน มีมารยาทในการอ ารยาทในการอาน การเขียน การฟง การดู และการพูด

ตัวชี้วัด ส 5.1

ม.2/1

ม.2/2

ม.2/3 รวม 5 ตัวชี้วัด

ม.2/4

ม.2/5

คูม อื ครู


ตาราง

วิเคราะหมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัด รายวิชา ภาษาไทย วรรณคดีและวรรณกรรม ม.2

คําชี้แจง : ใหผูสอนใชตารางนี้ตรวจสอบความสอดคลองของเนื้อหาสาระการเรียนรูในหนวยการเรียนรูกับมาตรฐาน การเรียนรูและตัวชี้วัดชั้นป

1

สาระที่ 5 มาตรฐาน ส 5.1 ตัวชี้วัด 2 3 4

หนวยการเรียนรูที่ 1 : โคลงภาพพระราชพงศาวดาร

หนวยการเรียนรูที่ 2 : บทเสภาสามัคคีเสวก ตอน วิศวกรรมาและสามัคคีเสวก

หนวยการเรียนรูที่ 3 : ศิลาจารึกหลักที่ 1

หนวยการเรียนรูที่ 4 : บทละครเรื่องรามเกียรติ์ ตอน นารายณปราบนนทก

หนวยการเรียนรูที่ 5 : กาพยหอโคลงประพาสธารทองแดง

หนวยการเรียนรูที่ 6 : โคลงสุภาษิตพระราชนิพนธ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว

หนวยการเรียนรูที่ 7 : กลอนดอกสรอยรําพึงในปาชา

หนวยการเรียนรูที่ 8 : นิราศเมืองแกลง

มาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัด

เสร�ม

12

คูม อื ครู

หนวยการเรียนรู

5


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน

ภาษาไทย

วรรณคดีและวรรณกรรม ม.๒ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๒ กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย

ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

ผูเรียบเรียง

นางฟองจันทร สุขยิ่ง นางกัลยา สหชาติโกสีย นางสาวศรีวรรณ ชอยหิรัญ นายภาสกร เกิดออน นางสาวระวีวรรณ อินทรประพันธ

ผูตรวจ

นางบุญลักษณ เอี่ยมสําอางค นางเกื้อกมล พฤกษประมูล นางสาวโสภิต พิทักษ

บรรณาธิการ

นายเอกรินทร สี่มหาศาล

รหัสสินคา ๒๒๑๑๐๐๔

¤Œ¹¤ÇÒÁÃÙŒ¢ÂÒ¤ÇÒÁ¤Ô´¨Ò¡

¾ÔÁ¾ ¤ÃÑ駷Õè 1 ÃËÑÊÊÔ¹¤ŒÒ 2241017

EB GUIDE

ที่พิมพกํากับหัวขอสําคัญในหนังสือเรียนหลักสูตรแกนกลางฯ ผาน www.aksorn.com ไปยังแหลงความรูทั่วไทย-ทั่วโลก

คณะผูจัดทําคูมือครู

ประนอม พงษเผือก พิมพรรณ เพ็ญศิริ สมปอง ประทีปชวง เกศรินทร หาญดํารงครักษ


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน

ภาษาไทย

วรรณคดีและวรรณกรรม ม.๒ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๒ กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย

ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

คําเ ตือน

หนังสือเลมนี้ไดรับการคุมครองตาม พ.ร.บ. ลิขสิทธิ์ หามมิใหผูใด ทําซ้ํา คัดลอก เลียนแบบ ทําสําเนา จําลองงานจากตนฉบับหรือแปลงเปนรูปแบบอื่น ในวิธีตางๆ ทุกวิธี ไมวาทั้งหมดหรือบางสวน โดยมิไดรับอนุญาตจากเจาของลิขสิทธิ์ถือเปนการละเมิด ผูกระทําจะตองรับผิดทั้งทางแพงและทางอาญา

พิมพครั้งที่ ๖

สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติ ISBN : 978-616-203-354-4


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

¤íÒá¹Ð¹íÒ㹡ÒÃ㪌˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹

หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน วรรณคดีและวรรณกรรมเลมนี้ สรางขึ้นเพื่อใหเปนสื่อสําหรับ ใชประกอบการเรียนการสอนในรายวิชาพื้นฐาน กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๒ โดยเนื้อหาตรงตามสาระการเรียนรูแกนกลางขั้นพื้นฐาน อานทําความเขาใจงาย ใหทั้งความรูและ ชวยพัฒนาผูเรียนตามหลักสูตรและตัวชี้วัด เนื้อหาสาระแบงออกเปนหนวยการเรียนรูตามโครงสรางรายวิชา สะดวกแกการจัดการเรียนการสอนและการวัดผลประเมินผล พรอมเสริมองคประกอบอื่นๆ ที่จะชวยทําให ผูเรียนไดรับความรูอยางมีประสิทธิภาพ ºÍ¡àÅ‹Òà¡ŒÒÊÔº ໚¹àÃ×èͧ¹‹ÒÃÙŒà¾ÔèÁàµÔÁ¨Ò¡à¹×éÍËÒ â´ÂÁÕá·Ã¡à»š¹ÃÐÂÐæ

¨Ñ´¡ÅØ‹Áà¹×éÍËÒ໚¹Ë¹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ µÑǪÕéÇÑ´áÅÐÊÒÃСÒÃàÃÕ¹Ãٌ᡹¡ÅÒ§ µÒÁ·ÕèËÅÑ¡Êٵà Êдǡᡋ¡ÒèѴ¡ÒÃàÃÕ¹¡ÒÃÊ͹ ¡íÒ˹´ à¾×èÍãËŒ·ÃÒº¶Ö§à»‡ÒËÁÒÂ㹡ÒÃÈÖ¡ÉÒ

ºÍ¡àÅ‹Òà¡ŒÒÊÔº

๑ ¤ÇÒÁ໚¹ÁÒ

หนวยที่

บทละครเรื่อง รามเกียรติ์ เปนวรรณคดี อ ที่ มี ค วามสํ า คั ญ เรื่ อ งหนึ่ ง และมี อิ ท ธิ พ ลต ความคิดความเชือ่ ของคนไทย ในประวัตวิ รรณคดี พบว า ไทยได รั บ เค า เรื่ อ งมาจากมห ากาพย ง “รามายณ ะ” ของอิ น เดี ย ซึ่ ง เผยแพร ม ายั ประเทศไท ยไม ตํ่ า กว า ๙๐๐ ป ดั ง ปรากฏ าพ หลักฐานสําคัญที่ปราสาทหินพิมาย ซึ่งมีภ นสลักศิลาเรื่องรามเกียรติ์ ในศิลาจารึกพอขุ ดา รามคําแหงมีการกลาวถึงถํ้าพระรามและถํ้าสี เรื่องรามเกียรติ์ที่ปรากฏในวรรณคดีเดิมนั้นจะมี ทย ภาพศิลาจําหลักบนทับหลังที่ปราสาทหินพิมายแสดงภาพ ไ หรือไม ไมพบหลักฐานแนชัดแตมีวรรณคดี รติ์ รามเกียรติ์ ตอน พระลักษมณตองศรนาคบาศ หลายเรื่องที่ยกเหตุการณจากเรื่องรามเกีย า) ไปกลาวอาง เชน ราชาพิลาปคําฉันท (นิราศสีด อภายใน ระราม ตอนออกเดินทางติดตามหานางสีดาหรื ครวญของพ า ่ าครํ การพรรณน น ป เ ่ มีเนื้อความที ื่องรามเกียรติ์ ดังบทประพันธ โคลงทวาทศมาสก็มีการกลาวอางชื่อตัวละครจากเร

ó

“ปางบุตรนคเรศไท จากสีดาเดียวลี

ตัวชี้วัด ■ ■

สรุปเนื้อหาวรรณคดีและวรรณกรรมที่อาน (ท ๕.๑ ม.๒/๑) วิเคราะหวรรณคดีและวรรณกรรมที่อาน พรอ มยกเหตุผลประกอบ (ท ๕.๑ ม.๒/๒) อธิบายคุณคาของวรรณคดีและวรรณกรรมที่อ าน (ท ๕.๑ ม.๒/๓) สรุปความรูและขอคิดจากการอานเพื่อประยุก ตใชในชีวิตจริง (ท ๕.๑ ม.๒/๔)

สาระการเรียนรูแกนกลาง ■

การวิเคราะหคุณคาและขอคิดจากวรรณคดี และวรรณกรรม เรื่อง ศิลาจารึกหลักที่ ๑

พ

อขุนรามคําแหงมหาราชกษตั ริยร าชวงศ พระร ว ง แห ง อาณาจั ก รสุ โ ขทั ย ทรงประดิ ษ ฐ อักษรไทย เมือ่ พ.ศ. ๑๘๒๖ และโปรดเกลา ฯ ใหจารึก พระราชประ วั ติ ข องพระองค ความเป น มาของ อาณาจักรสุโขทัย พระราชกรณียกิจที่สํา คัญ วิถีชีวิต และสภาพบานเมืองสมัยสุโขทัยไวในหลั กศิลาหรือที่ คนไทยเรียกวา “ศิลาจารึก” ศิลาจารึกหลักที่ ๑ เปนหลักฐานทางโบราณ คดีชิ้น สําคัญที่ทําใหชาวไทยไดเรียนรูประวัติศาสตร ของชาติและ วิวัฒนาการของภาษาไทย นับเปนภูมิปญ ญาอันชาญฉลาด ของบรรพบุรุษไทยที่จารึกลงบนหลักศิล า ทําใหขอมูลทาง ประวัตศิ าสตรและโบราณคดีสมัยสุโขทัย ไดรบั การเก็บรักษาไว ษา

“ศรีวิไลวิลาสดีเป็นศรีเมือง” ด้วยเหตุนี้นานาประเทศจึงต่างยกย่องศิลปะว่าเป็นสิ่ง ก่ประเทศชาติ ิ ของบ้านเมือง เป็นสิง่ ทีส่ วยงามและเป็นเกียรติเป็นศรีแ คือ ศิลปะเป็นสิง่ แสดงความเจรญ ซึ่งหากชาติใดไม่มีความสงบสุข คนในชาติ นอกจากนี้ศิลปะยังเป็นสิ่งแสดงถึงความสงบสุขของชาติ ผลงานศิลปะ แต่หากชาติใดบ้านเมือง ก็จะมุ่งต่อสู้ทำาศึกสงครามจนไม่มีเวลาสนใจในการสร้างสรรค์ านเมืองให้งดงาม สงบสุข คนในชาติก็ย่อมสร้างสรรค์ศิลปะเพื่อประดับประดาบ้

หน้าบันปูนปั้นตามแบบศิลปะพระราชนิยมในรัชกาล ที่ ๓ ที่ พ ระอุ โ บสถวั ด พิ ชั ย ญาติ ก าราม แสดงให้ เห็นถึงฝีมือและความสามารถของช่างปั้นในการใช้ วั ส ดุ ป ระเภทปู น และอื่ น ๆ มาสร้ า งให้ เ ป็ น รู ป ทรง และลวดลายที่สวยงาม

จิตรกรรมฝาผนัง วิหารพระพุทธไสยาสน์ วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม ฝีมือช่างสมัยต้นรัตนโกสินทร์ ที่มี ความสามารถในการเขียนภาพและระบายสีให้เกิดเป็น ลวดลายต่างๆ ได้อย่างงดงาม

ญรุ่งเรืองของชาติและคน ศิลปะจึงมีคุณค่าในฐานะที่เป็นเครื่องแสดงถึงความเจริ ค์ที่จะเห็นคนไทยให้ความสำาคัญ ในชาติ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงมีพระราชประสง บ สนุ น ศิ ล ปิ น และบำ า รุ ง ศิ ล ปะตลอดจน กั บ ศิ ล ปะและวิ ช าช่ า งแขนงต่ า งๆ ด้ ว ยการช่ ว ยกั น สนั ่ว่า “เราช่วยช่างเหมือนอย่างช่วยบ้านเมือง วิชาช่างของไทยให้มีความมั่นคงถาวรสืบไป ดังความที ให้ประเทืองเทศไทยอันไพศาล” ัคคี บทเสภา ตอน สามัคคีเสวก มุ่งแสดง ละความสาม แ ่ ที า ธรรมหน้ ณ ๓) สะท้อนคุ งพร้อมใจกันปฏิบัติหน้าที่ในตำาแหน่งของตน ความคิดที่ว่า ชาติจะดำารงอยู่ได้อย่างมั่นคง ข้าราชการต้อ ความเคร่งครัดในระเบียบวินัย ซึ่งล้วนแต่ ด้วยความพยายาม ไม่คำานึงถึงความสุขส่วนตัว ตลอดจนมี ง มี ต่ อ พระมหากษั ต ริ ย์ ผู้ ท รงเป็ น เป็ น ความประพฤ ติ ที่ แ สดงถึ ง ความจงรั ก ภั ก ดี ที่ ข้ า ราชการพึ คคีปรองดองให้สมกับเป็นข้าราชการ “เหมือนบิดาบังเกิดหัว” และที่สำาคัญที่สุดคือต้องมีความสามั ธ์ น บทประพั ง ดั น วกั ย ดี เ ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวองค์ 30

พระพิฆเนศเปนเทพทีม่ รี ปู กายเป มีพระเศียรเปนชาง เปนเทพแห นมนุษย งความปราด เปรื่ อ งในศิ ล ปะทุ ก แขนงแล ะเป น เทพที่ อ ยู  เหนืออุปสรรคหรือสามารถขจั ดความขัดของ ทั้งมวลได

ทศรถ ลาศแลว”

http://www.aksorn.com/LC/Thai_Lit/M2/08

EB GUIDE

à¡ÃÔè¹¹íÒà¾×èÍãˌࢌÒ㨶֧ÊÒÃÐÊíÒ¤ÑÞ ã¹Ë¹‹Ç·Õè¨ÐàÃÕ¹ Design ˹ŒÒẺãËÁ‹ ÊǧÒÁ ¾ÔÁ¾ ô ÊÕ µÅÍ´àÅ‹Á ª‹ÇÂãˌ͋ҹ·íÒ¤ÇÒÁࢌÒã¨ä´Œ§‹ÒÂ

พระพิฆเนศ

เมื่ อ พิ จ ารณาค วามหม ายในทา พระวรกายที่อวนพี มีความหมา งสรี ร ะ ยวา ความ อุดมสมบูรณ พระเศียรที่เปน ชาง (พระเศียร ใหญ) หมายถึงมีปญญามาก พระเนตรที่เล็ก คือ สามารถแยกแยะสิง่ ถูกผิด พระกรรณและ พระนาสิกที่ใหญ หมายถึง มีสัมผัสที่พิเศษ สามารถพิจารณาสิง่ ตางๆ ได อยางดีเลิศและมี พระพาหนะเปนหนู ซึ่งอาจเปร ียบไดกับความ คิดที่พุงพลาน รวดเร็ว

งเกา บทละครรามเกียรติ์ครั้งกรุงเกาและบท นอกจากนี้ ยังมีบทพากยรามเกียรติ์ครั้งกรุ งบทประพันธ พระราชนิพนธของสมเด็จพระเจากรุงธนบุรี ดั นวลนางสีดามารศรี “บัดนั้น ขานี้เปนเมียพระรามา” กมเกลากราบทูลทันที ยุธยาครั้งที่ ๒ วรรณคดีของชาติถูกเผาทําลาย เมื่อ พ.ศ. ๒๓๑๐ ในเหตุการณเสียกรุงศรีอ งกอบกูเอกราชและตั้งกรุงธนบุรีเปนราชธานี มหาราชทร น ตากสิ า พระเจ จ สมเด็ น ้ ครั นวนมาก า จํ น เป ราชนิพนธรามเกียรติ์ในตอน พระมงกุฎประลองศร พระองคทรงฟนฟูวรรณคดีของชาติ โดยทรงพระ ราชวาความและตอน ทศกัณฐฐตั้งพิธีทรายกรด ตอน หนุมานเกี้ยวนางวานริน ตอน ทาวมาลีว

ศิลาจารึกหลักที่๑

รู ป ป  น พระพิ ฆ เนศที่ วิ ท ยาลั ย นาฏศิ ล ป กรุ ง เทพฯ ออกแบบโดยศาสตราจารยศิลป พีระศรี เปนตนแบบ ในการจัดสรางวัตถุมงคลของกรมศิ ลปากร

๕๓

รูปปนพระวิศวกรรมที่มหาวิทยาลั ยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร วิทยาเขตเพ าะชาง

พระวิศวกรรม พระวิศวกรรมเปนเทวดานายช างใหญ ผูสรางเครื่องมือและสิ่งของทั ้งหลายใหเกิดขึ้น และเปนแบบอยางใหแกมนุษ ยสืบมา ชางไทยใหความเคารพบูชาพระวิ ศ วกรรม ในฐานะครูชา ง ดังจะเห็นไดวา มี การประดษิ ฐาน รูปพระวิศวกรรมตามสถาบ ันการศึกษาทาง การชาง โดยนิยมสรางอยูส องปาง คือ ปาง ประทับนั่งหอยพระบาท พระหั ตถขางหนึ่งถือ “ผึง้ ” (จอบสําหรับขุดไม) อีกขางถื อ “ดิง่ ” และปาง ประทับยืน พระหัตถขวาถือไม เมตรหรือไมวา พระหัตถซายถือลูกดิ่งหรือไม ฉาก ซึ่ง เครื่ อ งมื อ ช า งสํ า หรั บ วั ด ระยะแล ลวนเปน ะวั ด ความ เที่ยงตรงเปนการแฝงปรัชญาให ชางทั้งหลาย เปนผูมีความแมนยํา เที่ยงตรง ไมเอนเอียงใน ทางปฏิบัติและวิชาชีพ

(ที่มา: http://www. siamgan

esh.com/index.html)

๒๖

Web Guide á¹Ð¹íÒáËÅ‹§¤Œ¹¤ÇŒÒ¢ŒÍÁÙÅ à¾ÔèÁàµÔÁ¼‹Ò¹Ãкº Online ¤íÒÈѾ· ¤ÇÃÃÙŒ ¨Ò¡à¹×éÍËÒà¾×Íè à¾ÔÁè ¾Ù¹áÅТÂÒ ¾ÃÁá´¹¤ÇÒÁÃÙ㌠ˌ¡ÇŒÒ§¢ÇÒ§ÍÍ¡ä»

ล่าช้าง �ย ่า คือ เห คว�มหม หารสี่เหล ยถึง พลท เสนา หมา จัตุรงค ราบ ม ็ เต � า มาจากค ล่าม้า เหล่า นกยูง แพนของ เหล่ารถ เห งออกร�า จัตุรงค์ ผ่แพนหา อาการแ ป ไหมห้อย ม เป็นรู ชั้น มีสาย ท�าเนียบ ง าม น่ รส ว ดอกกล แห ต า ฉั ต� าง ็นรูป ้ายใบแก้ ฉว รื่องสูง เป ้พุ่ม ใบคล หนึ่งในเค งระวาง าง เป็นไม งน อ ช้ ช้า อ ื หร ซร้องนาง สาย ม ชุม ถึง ไม่แหล ้ม ปากแตร ทู่ หมาย ลเข ้องนงพงา โทษของ ซร ง สีน�้าตา เป็นรูปโท นาดกลา ือ กวางข ๆ อยู่ทั่วไป ค าย ทร วจาง เนื้อ วมีจุดขา ถู้ ตั า � มล เนื้อทราย ตา าฝูง าย ง ญ่ที่เป็นจ่ ทร สีทองแด ช้างตัวให ีกายเป็น ลหนึ่ง ส ั่ง น ่ ช้างตระกู ก ที ย า ระ ทอ ล้ ร่างค ง ังเป็นช้างพ ีเกล็ด รูป อ ชื่อช้างพ งแดง หนึ่ง ไม่ม บอก และครีบท้ ทอ รี �้าจืดชนิด ีลา ชื่อปลาน แต่มีครีบหลัง ค ขาวเด่นอยู่เหนือ ย เทพล ปลาสวา ็นเส้น และมีจุดสี ้ม พา เท แก วเป ง ุ ้ เทพา ยื่นยา ะหลังกระพ ร่างคล้าย ีเกล็ด รูป ครีบอกแล หนึ่ง ไม่ม ู่เหนือครีบอก อย �้าจืดชนิด เดียว ชื่อปลาน แต่มีจุดสีด�าเด่น ดตามยาว กินอยู่ตัว ย ปลาสวา สีเรียบไม่มีลายพา ากฝูงไปหา กจ แย โพ ี่ชอบ เท พื้นล�าตัว ถึงช้างท รือหมาย โดดเดี่ยว ห ัพ ้ากองท ชนะ ธงน�าหน ยของชัย โทน เครื่องหมา ท่าไก่บ้าน น ธงซึ่งเป็น ัวใหญ่เ ยาวด�า ตาแดง ธงฉา ิดหนึ่ง ต ั้ว ย ชื่อนกชน ลแดง ตัวด�า หาง ปากงุ้ม ไช นกกระต ธง ่า นกตั้วหรือ นก ปีกสีน�้าตา 89 ั้ว เป็นชื่อ ก้ว แต่ตัวโตกว กด กแ ือนกกระต นก นกตั้วหร นึ่ง ลักษณะคล้ายน กห พว า จ� ตั้ว นก คำ�ศัพท์

¤í Ò ¶ÒÁ»ÃШí Ò Ë¹‹ Ç Â¡ÒÃàÃÕ Â ¹ÃÙŒ á ÅÐ¡Ô ¨ ¡ÃÃÁÊÃŒ Ò §ÊÃä ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒà¾×è;Ѳ¹Ò¼ÙŒàÃÕ¹ãËŒÁդسÀÒ¾µÒÁµÑǪÕéÇÑ´ ค�ำถำม

ประจ�ำหน่วยกำรเรียนรู้

๑. ขณะนี้มีการส่งไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ต่อกันแพร่หลาย (ที่เรียกว่า Forward Mail) นักเรียนจะน�า ข้อคิดจากโคลงสุภาษิตนฤทุมนาการในข้อใดไปใช้เพื่อเป็นหลักในการพิจารณาข้อมูลที่ได้รับ ๒. นักเรียนคิดว่าเพราะเหตุใดนิทานอีสปจึงเป็นที่รู้จักแพร่หลายไปทั่วโลก ๓. “สามสิ่งควรเกลียด สามสิ่งควรรังเกียจติเตียน สามสิ่งควรสงสัย สามสิ่งควรละ” ที่กล่าวใน โคลงสุภาษิตโสฬสไตรยางค์ นักเรียนเห็นด้วยหรือไม่ และถ้าปฏิบัติตามจะเกิดผลดีอย่างไรบ้าง ๔. ให้นักเรียนเลือกบทประพันธ์ในหน่วยการเรียนรู้นี้ ๑ บท มาถอดค�าประพันธ์และบอกข้อดีใน การปฏิบัติตาม ๕. นิทานอีสปแต่ละเรื่องที่น�ามาศึกษาให้ข้อคิดอย่างไรบ้าง จงอธิบาย

กิจกรรม กิจกรรมที่ ๑

สร้ำงสรรค์พัฒนำกำรเรียนรู้ ใ ห้นักเรียนอ่านนิทานอีสปเรื่องอื่นๆ เพิ่มเติม น�ามาเล่าหน้าชั้นเรียน ระบุข้อคิดที่ ได้รับจากเรื่อง

กิจกรรมที่ ๒

เ ขียนเรียงความแสดงความคิดเห็น โดยน�าหัวข้อจากโคลงสุภาษิตมาเป็นประเด็น เช่นมิตรสหายที่ดี หนังสือดี อ�านาจปัญญา เป็นต้น

กิจกรรมที่ ๓

ใ ห้นักเรียนแต่งค�าขวัญที่มีเนื้อความสอดคล้องกับโคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ โดยใช้ ค�าไม่เกิน ๒๐ ค�า แต่งให้มีสัมผัสคล้องจอง

139


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

สารบัญ ตอนที่ ๕

วรรณคดีและวรรณกรรม

บทนํา หนวยการเรียนรูที่ ๑ โคลงภาพพระราชพงศาวดาร หนวยการเรียนรูที่ ๒ บทเสภาสามัคคีเสวก ตอน วิศวกรรมาและสามัคคีเสวก หนวยการเรียนรูที่ ๓ ศิลาจารึกหลักที่ ๑ หนวยการเรียนรูที่ ๔ บทละครเรื่อง รามเกียรติ์ ตอน นารายณปราบนนทก หนวยการเรียนรูที่ ๕ กาพยหอโคลงประพาสธารทองแดง หนวยการเรียนรูที่ ๖ โคลงสุภาษิตพระราชนิพนธ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว หนวยการเรียนรูที่ ๗ กลอนดอกสรอยรําพึงในปาชา หนวยการเรียนรูที่ ๘ นิราศเมืองแกลง บทอาขยาน บรรณานุกรม

(๑) ๒ ๑๘ ๓๔ ๕๒ ๘๐ ๑๐๒ ๑๔๐ ๑๕๙ ๑๘๐ ๑๘๔


กระตุน ความสนใจ Engage

ตอนที่

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explore

Explain

Expand

Evaluate

õ วรรณคดีและวรรณกรรม

กระตุน ความสนใจ

Engage

ครูใหนักเรียนดูภาพหนาตอน ตอนที่ 5 วรรณคดีและวรรณกรรม แลวตอบคําถามตอไปนี้ • จากภาพหนาตอน นักเรียนบอกไดหรือไมวา เปนวรรณคดีหรือวรรณกรรมเรื่องใด (แนวตอบ นักเรียนอาจตอบไดมากนอย แตกตางกัน ทั้งนี้ขึ้นอยูกับประสบการณ การอานของนักเรียนแตละคน ครูควรแนะ ใหนักเรียนดูผังมโนทัศนที่ดานในปกหนา ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้ • หนวยการเรียนรูที่ 1 โคลงภาพพระราช พงศาวดาร • หนวยการเรียนรูที่ 2 บทเสภาสามัคคีเสวก ตอน วิศวกรรมาและสามัคคีเสวก • หนวยการเรียนรูที่ 3 ศิลาจารึกหลักที่ 1 • หนวยการเรียนรูที่ 4 บทละครเรื่อง รามเกียรติ์ ตอน นารายณปราบนนทก • หนวยการเรียนรูที่ 5 กาพยหอโคลง ประพาสธารทองแดง • หนวยการเรียนรูที่ 6 โคลงสุภาษิต พระราชนิพนธ พระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว • หนวยการเรียนรูที่ 7 กลอนดอกสรอย รําพึงในปาชา • หนวยการเรียนรูที่ 8 นิราศเมืองแกลง) • จากภาพหนาตอน นักเรียนรูจัก ตัวละครใดบาง จากเรื่องใด (แนวตอบ นักเรียนตอบไดหลากหลาย ขึ้นอยู กับประสบการณการศึกษาวรรณคดีและ วรรณกรรมของนักเรียนแตละคน)

เกร็ดแนะครู ครูทบทวนความจําของนักเรียน โดยยกวรรณคดีเรื่องที่นักเรียนเคยเรียนมา ในชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 โดยใหนักเรียนวิเคราะหองคประกอบตางๆ ของวรรณคดี เรื่องนั้น เชน แนวคิดของเรื่อง ตัวละคร ลักษณะคําประพันธ ฉาก เปนตน หรือ ใหนักเรียนเขียนโครงเรื่องของวรรณคดีหรือวรรณกรรมที่นักเรียนจําได การจัด กิจกรรมนี้อาจกําหนดเรื่องที่นักเรียนสนใจหรือมีประสบการณรวมกัน แลวให นักเรียนชวยกันวิเคราะห ตั้งประเด็นคําถามตางๆ เพื่อทบทวนความรูทางวรรณคดี

คูมือครู

1


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explore

Explain

Expand

Evaluate

เปาหมายการเรียนรู

1. สรุปเนื้อหาวรรณคดีและวรรณกรรมที่อาน 2. วิเคราะหวรรณคดีและวรรณกรรมที่อาน พรอม ยกเหตุผลประกอบ 3. อธิบายคุณคาของวรรณคดีและวรรณกรรมที่ อาน 4. สรุปความรูและขอคิดจากการอานเพื่อประยุกต ใชในชีวิตจริง

สมรรถนะของผูเรียน 1. 2. 3. 4.

ความสามารถในการสื่อสาร ความสามารถในการคิด ความสามารถในการแกปญหา ความสามารถในการใชทักษะชีวิต

คุณลักษณะอันพึงประสงค 1. รักชาติ ศาสน กษัตริย 2. ใฝเรียนรู 3. รักความเปนไทย

กระตุน ความสนใจ

หนวยที่

โคลงภาพพระราชพงศาวดาร Engage

ตัวชี้วัด ■

1. ครูถามนักเรียนเกี่ยวกับภาพหนาหนวย เรื่องโคลงภาพพระราชพงศาวดาร • บุคคลที่ปรากฏในภาพเปนใครและกําลัง กระทําสิ่งใด (แนวตอบ พันทายนรสิงหกําลังกมกราบ พระเจาเสือ) 2. ครูสนทนารวมกับนักเรียนเกี่ยวกับธรรมเนียม ประเพณีการเสด็จประพาสของกษัตริย ในสมัยอยุธยา เพื่อทบทวนพื้นความรู ความเขาใจกอนเริ่มบทเรียน

■ ■

สาระการเรียนรูแกนกลาง ■

การวิเคราะหคุณคาและขอคิดจากวรรณคดี และวรรณกรรมเรื่อง โคลงภาพพระราชพงศาวดาร

การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในหนวยการเรียนรูนี้ ครูชี้ใหนักเรียนเห็น วัตถุประสงคของการเรียนโคลงประกอบภาพพระราชพงศาวดารวามีคุณคา หลายดาน ทั้งทางดานประวัติศาสตร วรรณคดี และศิลปะ ซึ่งเกิดจากการศึกษา เนื้อเรื่องและภาพประกอบควบคูกัน หากนักเรียนอานแตเพียงเนื้อเรื่องที่ปรากฏใน โคลง ซึ่งในตอนๆ หนึ่งมีเพียง 4-6 บท อาจจะทําใหยากที่จะเขาใจประวัติศาสตร ความเปนมาและเปนไปของเรื่อง การอานวรรณคดีจะขาดความซาบซึ้งในอรรถรส ของบทประพันธ ครูจึงควรแนะใหนักเรียนศึกษาประวัติศาสตรเกี่ยวกับเหตุการณ โคลงประกอบภาพทั้งสองเพิ่มเติม

คูมือครู

คลงภาพพระราชพงศาวดารเป น วรรณคดี ที่ ถ  า ยทอดเรื่ อ งราวจากหลาย เหตุการณในประวัติศาสตรชาติไทย ตั้งแต สมัยกรุงศรีอยุธยาจนถึงกรุงรัตนโกสินทร ผานบทประพันธประเภทโคลง เพื่อประกอบ ภาพจิ ต รกรรมที่ พ ระบาทสมเด็ จ พระจุ ล จอมเกลาเจาอยูหัวทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ให เ ขี ย นขึ้ น โดยมี จุ ด มุ ง หมายเพื่ อ ให ค นไทย ไดภูมิใจในเกียรติคุณและวีรกรรมที่ควรคาแกการ ยกยองของบรรพชน

สรุปเนื้อหาวรรณคดีและวรรณกรรมที่อาน (ท ๕.๑ ม.๒/๑) วิเคราะหวรรณคดีและวรรณกรรมที่อาน พรอมยกเหตุผลประกอบ (ท ๕.๑ ม.๒/๒) อธิบายคุณคาของวรรณคดีและวรรณกรรมที่อาน (ท ๕.๑ ม.๒/๓) สรุปความรูและขอคิดจากการอานเพื่อประยุกตใชในชีวิตจริง (ท ๕.๑ ม.๒/๔)

เกร็ดแนะครู

2

ñ


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

กระตุน ความสนใจ

๑ ¤ÇÒÁ໚¹ÁÒ

1

โคลงภาพพระราชพงศาวดาร เกิดขึ้นโดยพระราชดําริพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว ทรงเลือกสรรเรื่องในพระราชพงศาวดาร ใหชางเขียนที่มีฝมือเขียนรูปภาพและใหมี โคลงบอกเรื่องพระราชพงศาวดารตรงที่เขียนรูปภาพติดประจําไวทุกกรอบ รูปขนาดใหญมีจํานวน โคลงรูปละ ๖ บท รูปขนาดกลางและขนาดเล็กมีจํานวนโคลงรูปละ ๔ บท การแต ง โคลงนั้ น พระบาทสมเด็ จ พระจุ ล จอมเกล า เจ า อยู  หั ว ทรงพระราชนิ พ นธ บ  า ง โปรดเกลาฯ ใหพระบรมวงศานุวงศและขาราชการซึ่งสันทัดการประพันธแตงถวายบาง รูปภาพ เรื่องพระราชพงศาวดารที่โปรดเกลาฯ ใหสรางขึ้นมีจํานวน ๙๒ ภาพ โคลงที่แตงมีจํานวน ๓๗๖ บท เมื่อสรางสําเร็จใน พ.ศ. ๒๔๓๐ ไดโปรดเกลาฯ ใหนําภาพไปประดับพระเมรุทองสนามหลวง เมื่อครั้งพระราชทานเพลิงพระศพสมเด็จพระเจาลูกเธอ เจาฟาพาหุรัดมณีมัย2 สมเด็จพระเจาลูกยาเธอ เจาฟาตรีเพ็ชรุตมธํารง สมเด็จพระเจาลูกยาเธอ เจาฟาศิริราชกกุธภัณฑ และพระอัครชายาเธอ พระองค เจ า เสาวภาคนารี รั ต น ในงานพระเมรุ ค รั้ ง นี้ ยั ง ได โ ปรดเกล า ฯ ให ร วบรวมโคลงเรื่ อ ง พระราชพงศาวดารใหพระยาศรีสุนทรโวหาร (นอย อาจารยางกูร) แตงบานแผนกรายนําโคลงภาพ พระราชพงศาวดารกํากับ แลวพิมพพระราชทานเปนของแจก

ตัวอยางภาพในโคลงภาพพระราชพงศาวดาร

Engage

ครูใหนักเรียนดูภาพรวมกันในโคลงภาพ พระราชพงศาวดาร จากหนังสือเรียน หนา 3 แลวสอบถามนักเรียนดังนี้ • ภาพทั้ง 4 ภาพเปนภาพอะไร (แนวตอบ ภาพทั้ง 4 ภาพ ไดแก ภาพที่ 1 ภาพสรางกรุงศรีอยุธยา ภาพที่ 2 ภาพสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ทํายุทธหัตถีกับพระมหาอุปราชา ภาพที่ 3 ภาพพระนารายณยกเขาไปตี พระราชวัง ภาพที่ 4 ภาพฉลองพระศรีสากยมุนี หนาพระตําหนักนํ้า) • ภาพที่นักเรียนไดดูมีคุณคาอยางไร (แนวตอบ เปนภาพที่ใชประกอบพระราช พงศาวดาร ซึ่งนับวาเปนหลักฐานทาง ประวัติศาสตรได และยังทําใหคนรุนหลัง ไดทราบเรื่องราวทางประวัติศาสตรที่แจมชัด มากขึ้น)

สํารวจคนหา ภาพสรางกรุงศรีอยุธยา นายอิ้ม เขียน

ภาพสมเด็จพระนเรศวรมหาราชทํายุทธหัตถี กับพระมหาอุปราชา หลวงพิศณุกรรม เขียน

ภาพพระนารายณยกเขาไปตีพระราชวัง นายอิ้ม เขียน

ภาพฉลองพระศรีสากยมุนี หนาพระตําหนักนํา้ นายวร เขียน

บูรณาการเชื่อมสาระ

ครูบูรณาการความรูเกี่ยวกับประวัติศาสตรไทยกับกลุมสาระการเรียนรู สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม วิชาประวัติศาสตร โดยนําเนื้อหา เกี่ยวกับเรื่องราวของประวัติศาสตรสมัยอยุธยา ซึ่งอาจมีการเปลี่ยนแปลง ขอมูลความรูใหมในกรณีที่มีประเด็นปญหา มีการวินิจฉัย วิเคราะห ตีความ หรือครูเลือกนําเสนอขอมูล ขอสรุปหรือขอคิดเห็นใหม ที่เปนเรื่องราวทาง ประวัติศาสตร มีประโยชนตอการเรียนวรรณคดี แตอยางไรก็ตามในฐานะ ที่นักเรียนเปนผูศึกษาวรรณคดี เปาหมายสําคัญจึงควรพิจารณาจุดประสงค ของเรื่องกับการใชภาษาหรือวรรณศิลปมากกวามุงเนนไปที่ขอเท็จจริง แตเพียงอยางเดียว

Explore

1. นักเรียนศึกษาคนควาเกี่ยวกับประวัติ ความเปนมาของโคลงภาพพระราชพงศาวดาร จากอินเทอรเน็ต หรือหองสมุด 2. นักเรียนศึกษาคนควาเกี่ยวกับพระราชประวัติ ของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว และพระราชประวัติของพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระนราธิปประพันธพงศ จากแหลง เรียนรูตางๆ 3. นักเรียนศึกษาเกี่ยวกับฉันทลักษณของ คําประพันธประเภทโคลงสี่สุภาพจากแหลง เรียนรูตางๆ

นักเรียนควรรู 1 พระราชพงศาวดาร มาจากคําวา พระราช+พงศาวดาร หมายถึง เรื่องราว ทางประวัติศาสตรเกี่ยวกับประเทศชาติหรือกษัตริย เชน พระราชพงศาวดาร กรุงศรีอยุธยา พระราชพงศาวดารเชียงแสน เปนตน 2 เจาฟาศิริราชกกุธภัณฑ พระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวและสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ เมื่อครั้งสมเด็จพระเจา ลูกยาเธอ เจาฟาศิริราชกกุธภัณฑสิ้นพระชนม พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหสรางพระเมรุเปนพิเศษ โปรดเกลาฯ ให พระบรมวงศานุวงศทําเรือนรูปตางๆ โดยใชสิ่งกอสรางเปนไมจริง ดวยมีพระราช ประสงควา ครั้นเสร็จการใหรื้อพระเมรุไปสรางเรือนคนไขไดจํานวน 4 หลัง ณ บริเวณวังหลัง ซึ่งตอมาคือโรงพยาบาลศิริราชในปจจุบัน

คูมือครู

3


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

Explain

ตรวจสอบผล

พระยาศรีสุนทรโวหารไดกลาวไวในรายนําโคลงภาพพระราชพงศาวดารวา พระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวไดโปรดเกลาฯ ใหเขียนภาพและแตงโคลงประกอบภาพพระราชพงศาวดาร ดวยมีพระราชประสงคที่จะสรรเสริญพระเกียรติคุณของพระมหากษัตริยตั้งแตสมัยอยุธยาจนถึง รัตนโกสินทรที่มีตอประเทศชาติและประชาชนชาวไทย ตลอดจนเชิดชูเกียรติและวีรกรรมของหมู เสวกามาตยที่มีความกลาหาญ ความสุจริตและความกตัญูตอแผนดิน นอกจากนี้ ยังมีพระราชประสงคที่จะบํารุงฝมือชางไทยและสนับสนุนกวีที่มีความสามารถ ในการประพันธใหปรากฏชื่อเสียงสืบไป “...พระบาทบรมนรินทร ปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ มหิศรอิศรกระษัตริย เบญจมรัช ถวัลยราช บรมนารถทรงอนุศร ถึงภูธรนฤบาล ครั้งโบราณอโยธยา สืบเนื่องมาถึงกรุง รัตนโกสินทรผลัดบูรี พระคุณ1 มีนานา ...ยังมีหมูเสวกามาตย ที่องอาจสงคราม แลมีความสุจริต ทอดชีวิตรแทนเจา ดวย มูลเคากตัญู ควรเชิดชูความชอบ ...หนึ่งพระประสงคจะบํารุงผดุงฝมือชางสยาม รจเรขงามเอี่ยมสอาด เชิงฉลาด ลายประดิษฐ ลวนวิจิตรพึงชม หนึ่งพระบรมราชประสงค จะใครทรงทํานุก ปลุกปรีชา เชิงฉลาด แหงนักปราชญกาพยโคลง เพื่อชระโลงชูเชิด เพื่อบรรเจิดเกียรติยศ ใหปรากฏ ยาววัน...” (รายนําโคลงภาพพระราชพงศาวดาร: พระยาศรีสุนทรโวหาร [นอย อาจารยางกูร] )

โคลงสองเรื่องที่คัดมาใหผูเรียนศึกษา ไดแก 2 • โคลงประกอบภาพที่ ๑๐ แผนดินสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ ภาพพระสุริโยทัยขาดคอชาง พระราชนิพนธในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว • โคลงประกอบภาพที่ ๕๖ แผนดินสมเด็จพระเจาเสือ ภาพพันทายนรสิงหถวายชีวิต พระนิพนธในพระเจานองยาเธอ พระองคเจาวรวรรณากร (พระเจาบรมวงศเธอ กรมพระนราธิปประพันธพงศ) ภาพพระสุริโยทัยขาดคอชาง ไดรับรางวัลที่ ๓ เปนภาพเขียนฝพระหัตถสมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ เจาฟาฯ กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ สวนภาพพันทายนรสิงหถวายชีวิต ไดรับรางวัล ที่ ๑๑ เขี ย นโดยนายทอง (พระวรรณวาดวิ จิ ต ร) ป จ จุ บั น ภาพทั้ ง สองประดั บ อยู  ณ พระที่ นั่ ง วโรภาษพิมาน พระราชวังบางปะอิน EB GUIDE

http://www.aksorn.com/LC/Thai_Lit/M2/01

นักเรียนควรรู 1 เสวกามาตย มาจากคําวา เสวก (เส-วก) + อํามาตย อานวา เส-วะ-กา-มาด หมายถึง ขาราชการในราชสํานัก 2 สมเด็จพระมหาจักรพรรดิ ทรงมีพระนามเต็มวา “พระศรีสรรเพชญ สมเด็จ พระบรมราชาธิราชรามาธิบดี ศรีสินทรบรมมหาจักรพรรดิวรรยราชาธิบดินทร ธรณินทราธิราชรัตนกาศภาสกรวงศ องคบรมาธิเบศร ตรีภวู เนตรวรนาถนายกดิลกรัตน ราชชาติอาชาวไสย สมุทัยตโรมนต สกลจักรวาฬาธิเบนทร สุริเยนทราธิบดินทร หริหรินทราธาดาธิบดีศรีวิบูลยคุณรุจิตร ฤทธิราเมศวรธรรมิกราชเดโชไชย พรหม เทพาดิเทพตรีภูวนาธิเบศร โลกเชษฐวิสุทธมงกุฎเทศคตาม หาพุทธางกุรบรมพิ บพิตร พระพุทธเจาอยูหัว พระมหานครทวารวดีศรีอยุธยา มหาดิลกภพ นพรัตน ราชธานีบุรีรมย”

คูมือครู

Expand

Evaluate

Expand

1. นักเรียนบอกจุดประสงคในการศึกษาโคลงภาพ พระราชพงศาวดาร (แนวตอบ 1. เพื่อใหนักเรียนตระหนักถึงความ สําคัญของการอนุรักษงานวรรณกรรมและ งานศิลป 2. เพื่อใหระลึกและสํานึกใน พระมหากรุณาธิคุณของพระมหากษัตริย และ เหลาเสนาอํามาตย ขาราชบริพารที่เปน บรรพชนผูมีคุณของไทย) 2. นักเรียนอภิปรายเกี่ยวกับประวัติความเปนมา ของเรื่องโคลงภาพพระราชพงศาวดารรวมกัน จากนั้นครูสุมนักเรียน 2-3 คน แสดงความ คิดเห็นหรือความรูสึกที่มีตอวรรณคดีเรื่องนี้ • นักเรียนคิดวาบุคคลตัวอยาง ไดแก สมเด็จ พระสุริโยทัยและพันทายนรสิงห มีความ เสียสละที่ยิ่งใหญอยางไร (แนวตอบ บุคคลทั้งคูมีความเสียสละที่ยิ่งใหญ แกประเทศชาติบานเมืองซึ่งเปนการเสียสละ เพื่อสวนรวม)

4

ขยายความเขาใจ

Explain

นักเรียนรวมกันศึกษารายนําโคลงภาพ พระราชพงศาวดารของพระยาศรีสุนทรโวหาร (นอย อาจารยางกูร) จากนั้นใหนักเรียนรวมกัน อธิบายความจากคําประพันธ (แนวตอบ พระมหากษัตริยตั้งแตสมัยอยุธยามาถึง รัตนโกสินทรที่ผลัดเปลี่ยนกันขึ้นครองเมือง ลวนมีพระมหากรุณาธิคุณ อีกทั้งเหลาเสนาอํามาตย ขาราชบริพาร ที่รวมทําศึกสงคราม มีความซื่อสัตย สุจริต ยอมถวายชีวติ แทนกษัตริย ลวนเปนผมู พี ระคุณ และควรยกยองเชิดชู พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวจึงมีพระราชประสงคจะทํานุบํารุง ชางฝมือในบานเมือง ที่มีความฉลาดและมีฝมือ รวม ถึงทํานุบํารุงเหลานักปราชญ กาพยกลอน เพื่อยกยองเชิดชูใหมีเกียรติสืบไป)

ขยายความเขาใจ

อธิบายความรู

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

โคลงประกอบภาพพระราชพงศาวดารมีความสัมพันธกับงานศิลปะแขนงใด 1. จิตรกรรมเหมือนจริง 2. จิตรกรรมแบบรูปธรรม 3. จิตรกรรมแบบเหนือจริง 4. จิตรกรรมแบบนามธรรม วิเคราะหคําตอบ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวไดโปรดเกลาฯ มีพระราชประสงคใหเขียนภาพและแตงโคลงประกอบภาพพระราชพงศาวดาร ดังนั้นจึงมีการถายทอดเรื่องราวพระเกียรติยศของบุคคลสําคัญในสมัยอยุธยา ลงบนภาพเขียน ซึ่งเรียกวา “จิตรกรรม” โดยเรื่องราวดังกลาวมีระบุใน พระราชพงศาวดาร จึงเชื่อวาเกิดขึ้นจริง ดังนั้นภาพที่เขียนจึงเปนศิลปะ เหมือนจริง ตอบขอ 1.


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

อธิบายความรู

1. นักเรียนศึกษาพระราชประวัติของพระบาท สมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว และ พระราชประวัติของพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระนราธิปประพันธพงศจากหนังสือเรียน หนา 5 จากนั้น ครูสอบถามนักเรียนเกี่ยวกับ พระปรีชาสามารถดานวรรณกรรมของพระองค 2. ครูขออาสาสมัคร 2-3 คน ชวยกันอธิบาย เกี่ยวกับผลงานดานวรรณกรรมรัชกาลที่ 5 และพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระนราธิปประพันธพงศ

๒ »ÃÐÇѵԼٌᵋ§

พระราชประวัติพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว

พระบาทสมเด็ จ พระจุ ล จอมเกล า เจ า อยู  หั ว เป น พระมหากษั ต ริ ย  รั ช กาลที่ ๕ แห ง กรุงรัตนโกสินทร เปนพระราชโอรสพระองคใหญในพระบาทสมเด็จพระจอมเกลา เจาอยูหัวและสมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินี ตลอดระยะเวลา ๔๒ ป ที่ทรงครองราชยพระองคทรงประกอบ พระราชกรณียกิจสําคัญมากมาย อาทิ การเลิกทาส การปฏิรูปประเทศ ทั้งในดานการปกครอง เศรษฐกิจ สังคม การศึกษาและดวยพระปรีชา สามารถ ประเทศไทยจึงรอดพนจากการเปนอาณานิคมของมหาอํานาจ ชาติตะวันตก งานพระราชนิพนธของพระองคมีทั้งรอยแกวและรอยกรอง อาทิ พระราชพิธสี บิ สองเดื1อน ไกลบาน พระราชนิพนธสภุ าษิต ลิลติ นิทราชาคริต บทละครเรื่องเงาะปา กาพยเหเรือ เปนตน

ขยายความเขาใจ

Expand

1. นักเรียนจัดปายนิเทศแสดงพระราชประวัติของ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวและ พระราชประวัติของพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระนราธิปประพันธพงศ 2. นักเรียนจัดกลุม กลุมละ 3-4 คน เลือกศึกษา งานพระราชนิพนธของพระบาทสมเด็จพระ จุลจอมเกลาเจาอยูหัวและพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระนราธิปประพันธพงศ กลมุ ละ 1 เรือ่ ง จากนั้นนํามาสรุปเนื้อหาและคุณคาทาง วรรณคดีใหเพื่อนฟง

พระประวัติพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระนราธิปประพันธพงศ

พระเจาบรมวงศเธอ กรมพระนราธิปประพันธพงศ พระนามเดิมวา พระองคเจาวรวรรณากร เปนพระราชโอรสลําดับที่ ๕๖ ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัวกับเจาจอมมารดาเขียน กรมพระนราธิปประพันธพงศเปนเจานายทีท่ รงเชีย่ วชาญดานศิลปศาสตร ทุกแขนงและมีความรอบรูทางอักษรศาสตร บทพระนิพนธของพระองค มี ทั้ ง สารคดี แ ละบั น เทิ ง คดี ทั้ ง ที่ ท รงนิ พ นธ ขึ้ น เองและที่ ท รงแปล และดัดแปลงมาจากภาษาอั งกฤษ ทรงเปนนักเขียนเรื่องสั้น โดยใช 2 พระนามแฝงวา “ประเสริฐอักษร” 3 งานพระนิพนธที่เปนที่รูจัก เชน บทละครรองเรื่องสาวเครือฟา บทละครรําเรื่องพระลอ บทละครรองเรื่องพระราชพงศาวดารไทย ตอนพันทายนรสิงห รุไบยาต นิราศไทรโยค นิราศนราธิป เรื่องสั้น เรื่องสรอยคอที่หาย เปนตน

http://www.aksorn.com/LC/Thai_Lit/M2/02

Explain

EB GUIDE

กิจกรรมสรางเสริม นักเรียนอานประวัติผูแตงโคลงประกอบภาพพระราชพงศาวดาร โคลงภาพที่ 10 และ 56 จากนั้นสรุปผลงานการประพันธ

กิจกรรมทาทาย นักเรียนพิจารณาผลงานการประพันธเรื่องอื่นๆ ของผูแตงโคลงประกอบ ภาพพระราชพงศาวดาร จากนั้นเขียนแนะนําผลงานเรื่องที่นักเรียนสนใจ 1 เรื่อง ความยาวครึ่งหนากระดาษ

นักเรียนควรรู 1 เงาะปา แมจะมีรูปแบบของกลอนบทละคร แตก็มิไดทรงมีพระราชประสงค เพื่อใชเลนละครแตอยางใด หากแตทรงพระราชนิพนธขึ้นเพื่อเปนที่ผอนคลายและ สําราญพระทัย ในระหวางการพักฟนหลังทรงพระประชวร โดยใชเวลาเพียง 8 วัน เทานั้น 2 พระนามแฝง หรือนามแฝงของนักเขียนทั่วไป เริ่มใชในรัชสมัยพระบาท สมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว เนื่องจากเปนชวงเวลาที่มีเจานายชั้นสูงและ ขุนนางไปศึกษาตอในตางประเทศกันมาก การอานและการแปลวรรณกรรม จากตางประเทศ จึงเปนแรงบันดาลใจใหนักเขียนริเริ่มแตงวรรณกรรมสมัยใหม แลวเริ่มใชนามแฝงหรือนามปากกาในการเขียนหนังสือเชนเดียวกับนักเขียน ตางประเทศ 3 บทละครรองเรื่องสาวเครือฟา บทละครรองเรื่องแรก ทรงดัดแปลงมาจาก ละครโอเปราเรื่อง “มาดามบัตเตอรฟาย” (Madam Butterfly) บอกเลาเรื่องราว ความรักที่โศกเศราของสาวเชียงใหมกับชายเมืองกรุง คูมือครู

5


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

Expand

นักเรียนแตงคําประพันธประเภทโคลงสี่สุภาพ ในหัวขอ “บุญคุณบรรพชนไทย” คนละ 1 บท (แนวตอบ ในเบื้องตนนักเรียนสามารถแตงได ถูกตองตามฉันทลักษณ สวนการใชสํานวนภาษา และความไพเราะของคําประพันธ ขึน้ อยูก บั ดุลยพินจิ ของครูผูสอน)

ตรวจสอบผล

Explain

Evaluate

1. นักเรียนรวมกันวิเคราะหจุดประสงคในการนํา โคลงภาพพระราชพงศาวดารมาใหนักเรียน ศึกษา 2. นักเรียนรวมกันถอดคําประพันธโคลงภาพ พระราชพงศาวดารเปนรอยแกว 3. นักเรียนแตงคําประพันธประเภทโคลงสี่สุภาพ หัวขอ “บุญคุณบรรพชนไทย”

ตรวจสอบผล Evaluate

1

โคลงภาพพระราชพงศาวดาร แตงดวยคําประพันธประเภทโคลงสี่สุภาพ

แผนผังและตัวอยาง โคลงสี่สุภาพ

 

   

  ( )    ( )  

พันทายตกประหมาสิ้น โดดจากเรือทูลอุทิศ พันทายนรสิงหผิด หัวกับโขนเรือตอง

สติคิด โทษรอง บทฆ2า เสียเทอญ คูเสนทําศาล

 

    

๔ àÃ×èÍ§Â‹Í โคลงประกอบภาพที่ ๑๐ ภาพพระสุริโยทัยขาดคอชาง

เนื้อเรื่องกลาวถึงพระเจาบุเรงนองกษัตริยพมายกกองทัพมาตีกรุงศรีอยุธยา สมเด็จพระมหาจักรพรรดิทรงนํากองทัพออกสูรบ สมเด็จพระสุริโยทัยพระอัครมเหสีจึงทรงเครื่องเปนชายตามเสด็จ ไปรบ เมื่อสมเด็จพระมหาจักรพรรดิเสียที พระเจาแปรไสชางไลตามมา สมเด็จพระสุริโยทัยจึงขับชาง ออกรับชางขาศึกไว เปนจังหวะเดียวกับที่พระเจาแปรจวงฟน สมเด็จพระสุริโยทัยถูกพระแสงของาว ฟนสิ้นพระชนมซบอยูกับคอชาง พระราชโอรสทั้งสองพระองคไดกันพระศพกลับเเขาพระนคร

โคลงประกอบภาพที่ ๕๖ ภาพพันทายนรสิงหถวายชีวิต

เนื้อเรื่องกลาวถึงสมเด็จพระสรรเพชญที่ ๘ (สมเด็จพระเจาเสือ) เสด็จโดยเรือพระที่นั่งเอกไชย ไปประพาสทรงเบ็ดที่ปากนํ้า เมืองสาครบุรี (ปจจุบันคือ จังหวัดสมุทรสาคร) เมื่อเรือพระที่นั่งถึงตําบล โคกขามซึ่งเปนคลองคดเคี้ยว โขนเรือพระที่นั่งชนกิ่งไมใหญหักลง พันทายนรสิงหนายทายเรือพระที่นั่ง ตกใจมาก จึงกระโดดขึน้ ฝง แลวกราบบังคมทูลใหทรงลงพระราชอาญา สมเด็จพระเจาเสือพระราชทาน อภัยโทษ ดวยเห็นวาเปนเหตุสุดวิสัย จึงโปรดเกลาฯ ใหตัดศีรษะหุนเหมือนแทน แตพันทายนรสิงห ไมเห็นดวย 3เพราะเปนการขัดพระราชประเพณี สมเด็จพระเจาเสือจึงรับสั่งใหประหารชีวิต แลวใหตั้ง ศาลเพียงตา นําโขนเรือและศีรษะของพันทายนรสิงหตั้งเซนที่ศาลสืบเกียรติคุณมาตราบเทาทุกวันนี้ ๖

1 คําประพันธประเภทโคลงสี่สุภาพ เปนคําประพันธที่มีการบังคับเสียง วรรณยุกตเอก 7 แหงและวรรณยุกตโท 4 แหง ในวรรณคดีที่ปรากฏโคลงที่ใช คําเอก คําโท ครบทุกแหงที่เรียกวา เปนโคลงแบบหรือโคลงตัวอยาง ซึ่งไมนับ คําสรอยปรากฏในวรรณคดีเรื่องลิลิตพระลอ 2 บท โคลงนิราศนรินทร 1 บท โคลง นิราศพระประโทน พระนิพนธกรมหลวงวงษาธิราชสนิท 5 บท รวม 8 บท ทั้งนี้ ไมนับโคลงที่เจตนาแตงใหเปนโคลงแบบ 2 เสน เปนคําโทโทษ ปกติเขียนวา “เซน” เปนคํากริยา มีความหมายวา เอาอาหารหรือเครื่องไหวอื่นๆ ไปไหวหรือสังเวยผีหรือเจา 3 ศาลเพียงตา คือ สถานจําลองชั่วคราวสําหรับใหผีเทวดาอารักษ เจาที่ เจาปา เจาเขา เขามาสถิต แลวตั้งเครื่องบวงสรวงสังเวย ปกติสรางดวยไมไผหรือไมรวก ทีพ่ บในไทยมักทําเปนชัน้ ลด ตัวศาลปกเสาสูงระดับสายตา จึงเรียกวา “ศาลเพียงตา”

คูมือครู

Expand

๓ ÅѡɳФíÒ»Ãоѹ¸

นักเรียนควรรู

6

ขยายความเขาใจ

Explain

1. นักเรียนและครูรวมกันอภิปรายแสดงความ คิดเห็นเกี่ยวกับฉันทลักษณของคําประพันธ ประเภทโคลงสี่สุภาพ โดยยกโคลงแบบหรือ โคลงตัวอยางประกอบการอธิบาย (แนวตอบ โคลงสี่สุภาพที่แตงใหถูกตอง ตามฉันทลักษณบงั คับคําเอก 7 แหง คําโท 4 แหง โดยใชรูปวรรณยุกตครบทุกแหง เรียกวา โคลงแบบหรือโคลงตัวอยาง (ไมนับคําสรอย) ดังที่ปรากฏในวรรณคดีเรื่องลิลิตพระลอ “เสียงฦๅเสียงเลาอาง อันใด พี่เอย เสียงยอมยอยศใคร ทั่วหลา สองเขือพี่หลับใหล ลืมตื่น ฤๅพี่ สองพี่คิดเองอา อยาไดถามเผือ”) 2. นักเรียนสรุปเรื่องยอโคลงภาพพระราช พงศาวดารทั้งภาพที่ 10 และ 56 เปนสํานวน ภาษาของนักเรียนเอง

ขยายความเขาใจ

อธิบายความรู

กิจกรรมสรางเสริม นักเรียนคนหาคําที่มีสัมผัสสระและอักษรในบทประพันธโคลงภาพ พระราชพงศาวดาร แลวจดบันทึกลงสมุด

กิจกรรมทาทาย นักเรียนแตงโคลงสี่สุภาพในหัวขอที่ตนเองสนใจ โดยเลือกใชคําที่มี เสียงสัมผัสสระและอักษรในบทประพันธ


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

กระตุน ความสนใจ

1. ครูอานบทประพันธจากโคลงภาพพระราช พงศาวดาร ภาพที่ 10 ภาพพระสุริโยทัย ขาดคอชาง เปนทํานองเสนาะใหนักเรียนฟง และถามเกี่ยวกับเนื้อเรื่อง • เหตุการณในโคลงประกอบภาพทั้งสองภาพ เกิดขึ้นในสมัยใด (แนวตอบ สมัยอยุธยา) 2. นักเรียนสนทนารวมกันเกี่ยวกับกษัตริย ที่มีความสามารถดานการรบในอดีต (แนวตอบ นักเรียนสามารถแสดงความ คิดเห็นไดหลากหลาย ทั้งนี้ขึ้นอยูกับ ประสบการณและมุมมองของนักเรียน)

๕ à¹×éÍàÃ×èͧ โคลงประกอบภาพที่ ๑๐ ภาพพระสุริโยทัยขาดคอชาง

สํารวจคนหา

บุเรงนองนามราชเจา ยกพยุหแสนยา 1 มอญมานประมวลมา ถึงอยุธเยศแลว ๒ พระมหาจักรพรรดิเผา วางคายรายรี้พล ดําริจักใครยล ยกนิกรทัพกลา ๓ บังอรอัคเรศผู นามพระสุริโยทัย ทรงเครื่องยุทธพิไชย เถลิงคชาธารควาง

Engage

Explore

นักเรียนคนหาความรูและเรื่องราวทาง ประวัติศาสตรเกี่ยวกับเหตุการณที่เกิดกับ พระสุริโยทัยและพันทายนรสิงหจากหนังสือและ เว็บไซตตางๆ

จอมรา มัญเฮย ยิ่งแกลว สามสิบ หมื่นแฮ หยุดใกลนครา ภูวดล สยามเฮย เพียบหลา แรงศึก ออกตั้งกลางสมร พิสมัย ทานนา ออกอาง เชนอุป ราชแฮ ควบเขาขบวนไคล

อธิบายความรู

Explain

1. นักเรียนอานออกเสียงเรื่องยอโคลงประกอบ ภาพที่ 10 ภาพพระสุริโยทัยขาดคอชาง ใน หนา 7-8 โดยพรอมเพรียงกัน 2. นักเรียนถอดคําประพันธเปนสํานวนภาษาของ นักเรียนเอง บันทึกลงสมุด

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

คําประพันธในขอใดหมายถึงนักรบที่ไดรับสมญาวา “ผูชนะสิบทิศ” 1. บุเรงนองนามราชเจา จอมรา มัญเฮย 2. ยกพยุหแสนยา ยิ่งแกลว 3. มอญมานประมวลมา สามสิบ หมื่นแฮ 4. ถึงอยุธเยศแลว หยุดใกลนครา

วิเคราะหคําตอบ ผูชนะสิบทิศ เปนสมญานามของพระเจาบุเรงนอง ซึ่งตรง กับคําประพันธในขอ 1. สวนขออื่นๆ ไมไดกลาวถึงชื่อผูใด ขอ 2. มีความวา ยกกองทัพมาอยางยิง่ ใหญ ขอ 3. กําลังพลของมอญพมามีมากถึงสามสิบหมืน่ หรือประมาณ 3 แสนคน ซึ่งเปนการกลาวที่แสดงใหเห็นวากําลังพลมีจํานวน มาก ขอ 4. มาใกลอยุธยาแลว ตอบขอ 1.

เกร็ดแนะครู ครูใหนักเรียนอานเนื้อเรื่องโคลงประกอบภาพที่ 10 พระสุริโยทัยขาดคอชาง และแนะนักเรียนเรื่องธรรมเนียมนิยมในการแตงโคลง คือ นิยมคําศัพทและ คําโบราณ นักเรียนจึงตองคนหาความหมายของถอยคําที่ใชในโคลง โดยศึกษาจาก หนังสือพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2493 และ พ.ศ. 2525 ตลอดจน หนังสือรวมศัพทตางๆ สวนเนื้อหาของโคลงนั้นขึ้นอยูกับความสามารถในการ ถอดความของแตละคน นักเรียนจึงควรฝกฝนการถอดคําประพันธโคลงสี่สุภาพ

นักเรียนควรรู 1 มอญมานประมวลมา หมายความวา กองทัพพมา มอญ ที่ยกมา พระเจาตะเบ็งชะเวตี้กษัตริยพมาเปนจอมทัพในศึกครั้งนี้ ขณะนั้นพมามีอํานาจ เหนือมอญ และยายเมืองหลวงมาอยูกรุงหงสาวดี จึงเรียกอีกพระนามวา “พระเจาหงสาวดี” คูมือครู 7


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

พลไกรกองนาเรา ชางพระเจาแปรประจัญ สารทรงซวดเซผัน 1 เตลงขับคชไลใกล ๕ นงคราญองคเอกแกว มานมนัสกัตเวที เกรงพระราชสามี ขับคเชนทรเขนคํ้า ๖ ขุนมอญรอนงาวฟาด ขาดแลงตราบอุระ โอรสรีบกันพระ สูญชีพไปสูญสิ้น

ตรวจสอบผล

โรมรัน กันเฮย คชไท หลังแลน เตลิดแฮ หวิดทายคชาธาร กระษัตรีย ยิ่งลํ้า มลายพระ ชนมเฮย สะอึกสูดัสกร ฉาดฉะ หรุบดิ้น ศพสู นครแฮ พจนผูสรรเสริญ

(โคลงภาพพระราชพงศาวดารพระสุริโยทัยขาดคอชาง: พระราชนิพนธในรัชกาลที่ ๕)

¤ÇÒÁÃÙŒàÊÃÔÁ สถานที่พระราชทานเพลิงพระศพสมเด็จพระสุริโยทัย เมื่อสมเด็จพระสุริโยทัยสิ้นพระชนมบนคอชางในการรบระหวางกรุงศรีอยุธยากับกรุงหงสาวดี ในสมัยสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ หลังจากเสร็จศึกสงครามแลว ไดมกี ารจัดพระราชพิธพ ี ระราชทาน เพลิงพระศพของสมเด็จพระสุรโิ ยทัย ณ บริเวณสวนหลวง เขตพระราชวังหลังในสมัยนัน้ ซึง่ ตอมาได สถาปนาสถานที่บริเวณนี้ขึ้นเปนวัดสวนหลวงสบสวรรค หรือวัดสบสวรรคเดิม นอกจากนี้ ไดสราง เจดียแบบยอไมมุมสิบสองขึ้นในบริเวณนั้นดวย ตอมาในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว ไดมีการคนหาสถานที่ที่ปรากฏใน พงศาวดาร เพื่อเรียบเรียงหนังสือประชุมพงศาวดาร เปนเหตุใหพบตําแหนงที่ตั้งวัดสบสวรรคและ เจดียยอไมมุมสิบสอง ตอมาพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว ทรงขนานนามพระเจดียนี้วา พระเจดียศรีสุริโยทัย จนกระทั่งใน พ.ศ. ๒๕๓๓ รัฐบาลมอบหมายใหกรมศิลปากรเปนผูบูรณะซอมแซม พระเจดีย ศรีสุริโยทัย ทําใหพบศิลปวัตถุโบราณหลายชนิด เชน พระพุทธรูป พระเจดียจําลอง เปนตน ซึ่งโบราณวัตถุเหลานี้ ปจจุบันเก็บรักษาอยูในพิพิธภัณฑสถานแหงชาติ เจาสามพระยา (ที่มา: พระนครศรีอยุธยามรดกโลกลํ้าคา ภูมิปญญาเลื่องลือ: กระทรวงศึกษาธิการ)

เกร็ดแนะครู จากกิจกรรมที่ครูสุมนักเรียนออกมาถอดคําประพันธหนาชั้นเรียน ครูควรให นักเรียนถอดคําประพันธเปนสํานวนภาษาของนักเรียนเอง จากนั้นครูและนักเรียน ในหองชวยกันพิจารณาวา นักเรียนที่ครูสุมมานั้นถอดคําประพันธไดเหมือนกับ เพื่อนคนอื่นในหองหรือไม ครูควรชวยเพิ่มเติมและแนะการถอดคําประพันธที่ ถูกตองใหนักเรียนจดบันทึกลงสมุด

นักเรียนควรรู 1 เตลง หมายถึง ชนชาติมอญ โดยกลาวรวมถึงชนชาติพมา เนื่องจากมอญ ตกเปนเมืองขึ้นของพมาในภายหลัง

คูมือครู

Expand

Evaluate

Expand

นักเรียนสืบคนเพิ่มเติมเกี่ยวกับภาพที่ตั้งของ สถานทีพ่ ระราชทานเพลิงพระศพสมเด็จพระสุรโิ ยทัย และรวมกันอภิปรายความสําคัญของการกอสราง พระเจดียศรีสุริโยทัย (แนวตอบ การกอสรางพระเจดียศรีสุริโยทัย เพื่อใหคนไทยรุนหลังระลึกถึงความกลาหาญและ ความเสียสละของบรรพบุรุษไทย เปนอนุสรณสถาน คอยเตือนใจใหคนไทยรักชาติบานเมือง)

8

ขยายความเขาใจ

Explain

Explain

ครูสุมเรียกนักเรียน 6 คน มาถอดคําประพันธ โคลงประกอบภาพที่ 10 ภาพพระสุริโยทัย ขาดคอชาง คนละ 1 บท (แนวตอบ ถอดคําประพันธ ไดดังนี้ • บทที่ 1 พระเจาบุเรงนองยกทัพพมามีทหาร จํานวน 3 แสนคนมาอยุธยา • บทที่ 2 พระมหาจักรพรรดิตั้งคายและ เตรียมกําลังพล วางแผนการศึก แลวยกพล ไปกลางสนามรบ • บทที่ 3 พระสุริโยทัย ซึ่งเปนพระมเหสี แตงกายในชุดนักรบเสมือนเปนพระอุปราชา ทรงชางเขารวมขบวนทัพ • บทที่ 4 ไพรพลแตละฝายเขารบพุงใสกัน ชางพระเจาแปรประจัญหนาไลตามหลังชาง พระมหาจักรพรรดิ • บทที่ 5 พระสุริโยทัยมีใจกตัญูในพระสวามี เกรงวาพระสวามีจะพลาดพลั้งจึงขับชางเขาสู กับศัตรู • บทที่ 6 ฝายพระเจาแปรใชงาวฟาดลงที่ไหล กลางอกพระสุริโยทัยขาดสะพายแลง พระโอรสรีบขับชางเขารับพระศพกลับสูเมือง พระสุริโยทัยสิ้นพระชนม ผูคนตางพากัน สรรเสริญ)

ขยายความเขาใจ

อธิบายความรู

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

คําประพันธในขอใดที่เปนเหตุใหพระศรีสุริโยทัยตัดสินพระทัย “ขับคเชนเขนคํ้า สะอึกสูดัสกร” 1. นงคราญองคเอกแกว กระษัตรีย 2. มานมนัสกัตเวที ยิ่งลํ้า 3. เกรงพระราชสามี มลายพระ ชนมเฮย 4. ขุนมอญรอนงาวฟาด ฉาดฉะ วิเคราะหคําตอบ ขอ 1. กลาวถึงพระศรีสุริโยทัย ขอ 2. มีความวา มีใจ ตอบแทนบุญคุณยิ่งนัก ขอ 3. กลาวถึงความกลัววาพระราชสวามี คือ พระมหาจักรพรรดิจะสิ้นพระชนม และขอ 4. พระเจาแปรฟาดงาวดังฉาดฉะ ดังนั้นการที่พระศรีสุริโยทัยจะขับชางเขาใสศัตรูนั้น ก็เพราะทรงทอดพระเนตร เห็นพระเจาแปรขับชางจะเขาฟนพระมหาจักรพรรดิ ทรงเกรงวาพระราชสวามี จะไดรับอันตรายจึงขับชางเขาขวาง ตอบขอ 3.


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

Evaluate

อธิบายความรู

1

สรรเพชญที่แปดเจา เสด็จประพาสทรงปลา ลองเรือเอกไชยมา คลองคดโขนเรือคํ้า ๒ พันทายตกประหมาสิ้น โดดจากเรือทูลอุทิศ พันทายนรสิงหผิด หัวกับโขนเรือตอง ๓ ภูบาลบําเหน็จให พันไมยอมอยูยอม พระโปรดเปลี่ยนโทษปลอม พันกราบทูลทัดดวย ๔ ภูมีปลอบกลับตั้ง จําสั่งเพชฌฆาตฟน โขนเรือกับหัวพัน ศาลสืบกฤติคุณเคา

อยุธยา ปากนํ้า ถึงโคก ขามพอ ขัดไมหักสลาย สติคิด โทษรอง บทฆา เสียเทอญ คูเสนทําศาล โทษถนอม ใจนอ มอดมวย ฟนรูป แทนพอ ทานทิ้งประเพณี ขอบรร ลัยพอ ฟาดเกลา เซนที่ ศาลแล คติไวในสยาม

ขยายความเขาใจ

(โคลงภาพพระราชพงศาวดารพันทายนรสิงหถวายชีวติ : พระนิพนธในพระเจานองยาเธอ พระองคเจาวรวรรณากร)

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

คําประพันธในขอใดมีคําโทโทษ 1. พันทายตกประหมาสิ้น สติคิด 2. โดดจากเรือทูลอุทิศ โทษรอง 3. พันทายนรสิงหผิด บทฆา เสียเทอญ 4. หัวกับโขนเรือตอง คูเสนทําศาล

วิเคราะหคําตอบ โคลงสี่สุภาพมีลักษณะพิเศษ คือ บังคับคําเอก คําโท โดยบังคับคําเอก 7 แหง คําโท 4 แหง การพิจารณาคําโทโทษจะพิจารณา ความหมายของคําโทที่อยูตําแหนงบังคับ โดยความหมายตามรูปคําจะ ไมสอดคลองกับเนื้อความ ขอที่ปรากฏคําโทที่มีความสอดคลองกับเนื้อความ คือ ขอ 4. คําวา “เสน” ซึ่งในที่นี้คําที่ถูกตอง คือ คําวา “เซน” แตใชเปน คําโทโทษเพื่อใหถูกตองตามฉันทลักษณ ตอบขอ 4.

Explain

นักเรียนและครูรวมกันถอดคําประพันธ โคลงประกอบภาพที่ 56 ภาพพันทายนรสิงห ถวายชีวิต จากหนังสือเรียน ในหนา 9 จากนั้นให นักเรียนบันทึกความรูลงในสมุด (แนวตอบ ถอดคําประพันธโคลงประกอบภาพที่ 56 ภาพพันทายนรสิงหถวายชีวิต ไดดังนี้ • บทที่ 1 พระเจาสรรเพชญที่ 8 แหงอยุธยา เสด็จประพาสทรงปลาบริเวณปากนํ้า ลองเรือเอกไชยมาถึงโคกขาม ตรงบริเวณที่ เปนคลองคด เรือพุงเขาชนพุมไม • บทที่ 2 พันทายนรสิงหตกใจขาดสติ กระโดดลงจากเรือขอพระราชทานอภัย และ ใหพระเจาเสือลงโทษตนดวยการประหาร ชีวิต และนําศีรษะของตนกับหัวโขนเรือ เปนเครื่องเซนเพื่อตั้งศาล • บทที่ 3 พระเจาเสือยกโทษใหเพราะเห็นแก ความดีที่สั่งสมมา แตพันทายนรสิงหยืนยัน จะใหลงโทษตน พระเจาเสือเลี่ยงโทษเปน ใหฟนรูปคนแทน พันทายนรสิงหอางถึง โบราณราชประเพณีที่ไมควรละทิ้ง • บทที่ 4 พระเจาเสือรับสั่งปลอบพันทาย และจําใจทําตามที่พันทายตองการ คือสั่ง เพชฌฆาตประหารชีวิต และรับสั่งให ตั้งศาลเพียงตา โดยใชศีรษะของพันทาย นรสิงหและหัวโขนเรือเปนเครื่องเซน)

โคลงประกอบภาพที่ ๕๖ ภาพพันทายนรสิงหถวายชีวิต

ตรวจสอบผล

Expand

นักเรียนแบงกลุม 5 กลุม ศึกษาบทประพันธ โคลงภาพพระราชพงศาวดารภาพที่ 56 ภาพ พันทายนรสิงหถวายชีวิตอีกครั้งอยางละเอียด พรอมกับชวยกันตั้งคําถามจากเนื้อเรื่องกลุมละ 5 คําถาม เพื่อใชสอบถามความรู ความเขาใจ ของเพื่อนคนอื่นๆ

เกร็ดแนะครู ครูแนะใหนักเรียนศึกษาเรื่องราวในบทประพันธ แลวนํามาจัดแสดงนิทรรศการ เกี่ยวกับวรรณคดีที่เชิดชูเกียรติของกษัตริยและวีรบุรุษไทยในอดีต โดยชี้ใหนักเรียน เห็นคุณคาของการดํารงเกียรติยศของบรรพบุรุษที่มีความเสียสละและยึดมั่น ตอหนาที่ เพื่อใหนักเรียนและเยาวชนไทยยึดถือเปนแบบอยางในการดําเนินชีวิต และพึงตระหนักวาเปนหนาที่ที่จะตองรักษาเกียรติยศนี้ไวดํารงสืบไป

นักเรียนควรรู 1 สรรเพชญที่แปด หรือสมเด็จพระเจาเสือ (สมเด็จพระพุทธเจาเสือ) ราชวงศ บานพลูหลวง พระองคที่ 2 ทรงเปนพระมหากษัตริยพระองคที่ 29 แหงอยุธยา สมเด็จพระเพทราชารับเปนโอรสบุญธรรมพรอมกับรับนางกุลธิดามารดาของ สมเด็จพระเจาเสือเปนสนม (ราชธิดาพระเจาเชียงใหม ซึ่งสมเด็จพระนารายณ มหาราชไดพระราชทานใหสมเด็จพระเพทราชา เมื่อครั้งที่ดํารงตําแหนง เจากรมชาง) คูมือครู 9


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

ºÍ¡àÅ‹Òà¡ŒÒÊÔº โขนเรือรูปสัตว

1

เรือรูปสัตว เปนเรือพระที่นั่งอีกรูปแบบหนึ่งซึ่งมีลักษณะพิเศษ คือ การทําโขนเรือหรือ หัวเรือใหกวางขึ้น และเจาะรูใหปากกระบอกปนสามารถโผลออกมาได เพื่อใหเหมาะสําหรับใชเปน เรือปน และเพือ่ ใหเปนทีเ่ กรงขามแกศตั รู ทัง้ ยังมีการแกะสลักรูปสัตวทดี่ รุ า ยนากลัวเปนหัวเรือ เชน

Expand

นักเรียนเลือกศึกษาคนควาเกี่ยวกับโขนเรือ รูปสัตวอื่นๆ ที่แตกตางจากในหนังสือเรียน คนละ 1 แบบ จากนั้นเขียนอธิบายลักษณะโขนเรือที่ นักเรียนเลือกมา

ตรวจสอบผล

Explain

Explain

1. จากการอานเนื้อเรื่อง โคลงประกอบภาพที่ 10 ภาพพระสุริโยทัยขาดคอชางและโคลงประกอบ ภาพที่ 56 ภาพพันทายนรสิงหประหารชีวิต นักเรียนตอบคําถาม ดังนี้ • นักเรียนมีความคิดเห็นเกี่ยวกับความ กลาหาญและความเสียสละของสมเด็จ พระสุริโยทัยและพันทายนรสิงหอยางไร (แนวตอบ คําตอบอยูในดุลยพินิจของครู แต ควรชี้ใหเห็นวาความกลาหาญและความเสีย สละเปนคุณธรรมที่นายกยองนับถือ ควรคา แกการเชิดชูเกียรติ) 2. นักเรียนอานเนื้อหาในหนา 10 จากนั้นครู อธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับพระราชประเพณี การสรางโขนเรือรูปสัตว

ขยายความเขาใจ

อธิบายความรู

Evaluate

1. นักเรียนถอดคําประพันธจากเนื้อเรื่องโคลง ประกอบภาพพระราชพงศาวดารภาพที่ 10 และภาพที่ 56 เปนสํานวนภาษาของตนเองได 2. นักเรียนตั้งคําถามถามเพื่อนกลุมอื่นและ ตอบคําถามจากโคลงประกอบภาพที่ 10 ภาพพระสุริโยทัยขาดคอชางของเพื่อนกลุมอื่น 3. นักเรียนรายงานเรื่องโขนเรือรูปสัตว คนละ 1 แบบ

เรือกระบี่ปราบเมืองมาร หัวเรือแกะเปนรูปขุนกระบีห่ รือ ลิงสีขาวกําลังแสยะปาก เรือ พระที่ นั่ ง ลํ า นี้ เ ดิ ม ถู ก ระเบิ ด เสียหายเมื่อสมัยสงครามโลก ครัง้ ที่ ๒ สวนลําปจจุบนั สรางขึน้ ใหม เมือ่ พ.ศ. ๒๕๑๐ มีนาํ้ หนัก ๕.๖๒ ตัน ยาว ๒๖.๘๐ เมตร กวาง ๒.๑๐ เมตร ลึก ๐.๕๑ เมตร กินนํ้าลึก ๐.๒๕ เมตร

เรือครุฑเหินเห็จ (เรือครุฑ เหิรเห็จ) หัวเรือเหนือปนแกะ เปนรูปครุฑสีแดงกําลังยุดนาค เรื อ พระที่ นั่ ง ลํ า เดิ ม สร า งใน รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช แต ถู ก ระเบิ ด เสี ย หายในสมั ย สงครามโลกครั้งที่ ๒ สวนลํา ปจจุบันสรางขึ้นใหม เมื่อ พ.ศ. ๒๕๐๕ มีนํ้าหนัก ๗ ตัน กวาง ๑.๕๙ เมตร ยาว ๒๗.๕๐ เมตร ลึ ก ๐.๕๙ เมตร กิ น นํ้ า ลึ ก ๐.๓๒ เมตร

เรื อ ครุ ฑ เตร็ จ ไตรจั ก ร หัวเรือเหนือปนแกะเปนรูปครุฑ สีชมพูกําลังยุดนาค เรือพระ ที่นั่งลําเดิมถูกระเบิดเสียหาย ในสมัยสงครามโลกครั้งที่ ๒ สวนลําปจจุบันสรางใหม เมื่อ พ.ศ. ๒๕๑๑ นํา้ หนัก ๕.๙๗ ตัน กวาง ๑.๙๐ เมตร ยาว ๒๗.๑๐ เมตร ลึก ๐.๕๒ เมตร กินนํ้า ลึก ๐.๒๙ เมตร

(ที่มา: นําชมพิพิธภัณฑสถานแหงชาติ เรือพระราชพิธี: กรมศิลปากร)

๑๐

นักเรียนควรรู 1 เรือพระที่นั่ง ลําเดิมถูกระเบิดเสียหายในสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 เดิมเก็บไวที่อูหรือโรงเก็บเรือพระราชพิธี โดยอยูในความดูแลรับผิดชอบของสํานัก พระราชวังและกองทัพเรือ ในสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 บริเวณบางกอกนอยเปนจุด ยุทธศาสตรสาํ คัญทีต่ กเปนเปาโจมตี ระเบิดลูกแลวลูกเลาไดถกู ทิง้ ลงมายังบริเวณนี้ และบางสวนไดสรางความเสียหายใหแกโรงเก็บเรือพระราชพิธี รวมไปถึงเรือ บางลําดวย (พ.ศ. 2487) ตอมาในป พ.ศ. 2490 สํานักพระราชวังและกองทัพเรือไดมอบหมายให กรมศิลปากรทําการซอมแซมตัวเรือทีไ่ ดรบั ความเสียหายจากระเบิด จากความสําคัญ ของโรงเก็บเรือพระราชพิธดี งั กลาวนีเ้ อง กรมศิลปากรจึงไดขนึ้ ทะเบียนเรืพระทีน่ งั่ ตางๆ ไวเปนมรดกของชาติ พรอมทั้งยกฐานะของอูเก็บเรือขึ้นเปน “พิพิธภัณฑสถานแหง ชาติ เรือพระราชพิธี” ในป พ.ศ. 2517 เพื่อสืบทอดวัฒนธรรมอันลํ้าคาสูชนรุนหลัง สืบตอไป

10

คูมือครู

บูรณาการเชื่อมสาระ

ครูบูรณาการความรูเรื่องการแกะสลักโขนเรือเปนรูปสัตวเขากับกลุม สาระการเรียนรูศิลปะ วิชาทัศนศิลป ที่มีขอมูลความรูเรื่องการสลัก ซึ่งถือวา เปนศิลปะแขนงประติมากรรม ทีม่ ลี กั ษณะรูปทรงเฉพาะทีเ่ กิดขึน้ จากฝมอื ความคิดและความสามารถของคนไทย โดยมีคุณคาทางสังคมและ วัฒนธรรมที่ไดอนุรักษและถายทอดมา เพราะรูปที่นํามาแกะสลักโขนเรือ เปนรูปที่มาจากตัวละครในวรรณคดี หรือในเรื่องราวของพระพุทธศาสนา มีประวัติความเปนมา และเปนรากเหงาทางวัฒนธรรมของชาติ


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

กระตุน ความสนใจ

๖ ¤íÒÈѾ· คําศัพท กฤติคุณ ขุนมอญ โขนเรือ คชาธาร ควาง คูเสน โคกขาม ไคล งาว เตลง ทรงปลา นิกร ประจัญ ประมวล เผาภูวดล เพชฌฆาต พยุหแสนยา มาน มาน รามัญ โรมรัน สมร สาร 1 เอกไชย

ความหมาย กิตติคุณ หมายถึง ชื่อเสียง เกียรติยศ คุณงามความดี พระเจาแปรซึ่งเปนกษัตริยพมา เหตุที่เรียกวา ขุนมอญ เพราะพมา เกณฑชาวมอญผูอยูในปกครองมาเปนไพรพลในการรบ ไมที่ตอเสริมหัวเรือหรือทายเรือใหงอนเชิดขึ้นไป ชางทรง ชางพระที่นั่ง เคลื่อนลอยไปอยางรวดเร็ว คําโทโทษ เชน หมายถึง เครื่องเซนบูชาศาล สองอยาง คือ โขนเรือกับศีรษะของพันทายนรสิงห ชื่อคลองที่อยูในตําบลโคกขาม จังหวัดสมุทรสาคร เดินไป เคลื่อนไป ของาว เปนอาวุธดามยาว มีงาวอยูตรงปลาย ใตคอของดาม มีขอสําหรับสับบังคับชางได ของาว ราชาศัพทใชวา พระแสงของาว ตะเลง เปนชื่อใชเรียกชนชาติมอญ ตกปลา หมู พวก ปะทะ ตอสู รวบรวมใหเขาระเบียบเปนหมวดหมู เผา คือ ผม สวนที่สูงที่สุดของศีรษะ ภูวดล คือ แผนดิน เผาภูวดล จึงหมายถึง พระเจาแผนดิน เจาหนาที่ประหารชีวิตนักโทษ พยุหแสนยากร หมายความวา มีทหารจํานวนมาก พมา มี มอญ รบพุงกัน การรบ การสงคราม ชางใหญ ชื่อเรือพระที่นั่งของสมเด็จพระเจาเสือ

Engage

ครูใหนักเรียนเลนเกมชิงรางวัล เพื่อกระตุน ความสนใจเรื่องคําศัพท โดยใหนักเรียนอาน คําศัพทและความหมายของคําศัพทในหนังสือเรียน หนา 11 จากนั้นใหนักเรียนปดหนังสือเรียน แลว ครูยกคําศัพทมาใหนักเรียนทายความหมาย หรือ ยกความหมายมาใหนักเรียนทายคําศัพท 5-6 คํา ใหนักเรียนแขงขันกันยกมือตอบ

สํารวจคนหา

Explore

1. นักเรียนศึกษาความหมายของคําศัพทยาก ทายบทเรียน 2. นักเรียนจับคูกันเพื่อถามตอบความหมายของ คําศัพทยากทายบทเรียน

อธิบายความรู

Explain

1. นักเรียนบันทึกคําศัพทและความหมายจาก การเลนเกมและการถามตอบคําศัพทยาก 2. นักเรียนอธิบายความหมายของศัพทยากที่ ปรากฏในเนื้อเรื่อง โดยอาศัยบริบทแวดลอม

ขยายความเขาใจ

Expand

นักเรียนทําบัตรคําศัพทยากจากบทเรียน คนละ 1 บัตรคํา พรอมอธิบายความหมาย นําไปจัดปายนิเทศในหองเรียน

ตรวจสอบผล

Evaluate

นักเรียนสามารถบอกความหมายของคําศัพท ในบทเรียนได

๑๑

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

คําไวพจนในขอใดมีความหมายไม เขาพวก 1. นคร พารา ธานี 2. คชา คชาธร กุญชร 3. ภูวดล ภูวไนย ภูบดี 4. บังอร นงคราญ นงพะงา

วิเคราะหคําตอบ ขอ 1. ทุกคํา หมายถึง เมือง ขอ 2. ทุกคํา หมายถึง ชาง ขอ 3. ภูวดล หมายถึง แผนดิน ภูวไนยและภูบดี หมายถึง กษัตริย และ ขอ 4. ทุกคํา หมายถึง นางผูเ ปนทีร่ กั หญิงงาม ดังนัน้ ขอทีม่ คี วามหมาย ไมเขาพวก คือ ขอ 3. เพราะภูวดล หมายถึง แผนดิน ไมไดหมายถึง กษัตริย ตอบขอ 3.

เกร็ดแนะครู ครูแนะนักเรียนวา การคนหาความหมายของคําศัพท รวมถึงการรูจักคําศัพท ที่เหมือนกันกับวรรณคดีในเรื่องอื่นๆ จะชวยใหนักเรียนมีความรูกวางขวางเรื่อง การใชคําในวรรณคดีไทย มีประโยชนในการศึกษาและเขียนงาน

นักเรียนควรรู 1 เอกไชย เปนเรือรบสมัยอยุธยา สรางขึ้นในสมัยสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ นอกจากใชเปนเรือรบแลว ในยามสงบจะใชสําหรับเสด็จประพาส รวมทั้งใชใน กระบวนแหงานพระราชพิธีตางๆ ที่เสด็จพระราชดําเนินทางนํ้า

คูมือครู

11


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

กระตุน ความสนใจ

Explore

1. นักเรียนศึกษาเกี่ยวกับคุณคาดานเนื้อหา วรรณศิลป และสังคม 2. นักเรียนคนหาขอคิดที่สามารถนําไปประยุกต ใชในชีวิตประจําวันจากโคลงภาพพระราช พงศาวดาร

อธิบายความรู

Explain

Expand

Evaluate

โคลงประกอบภาพที่ ๑๐ ภาพพระสุรโิ ยทัยขาดคอชางและโคลงประกอบภาพที่ ๕๖ ภาพพันทาย นรสิงหถวายชีวิต มีคุณคาในดานตางๆ ดังนี้

๗.๑ คุณคาดานเนือ้ หา

โคลงประกอบภาพที่ ๑๐ ภาพพระสุรโิ ยทัยขาดคอชาง กลาวถึงพระสุรโิ ยทัยตองพระแสง ของาวของพระเจาแปรสิน้ พระชนมบนคอชาง เหตุทสี่ มเด็จพระสุรโิ ยทัยตัดสินพระทัยสละพระชนมชพี ก็เพื่อชวยปกปองพระมหาจักรพรรดิ พระราชสวามีใหรอดพนจากอาวุธของขาศึก ดังบทประพันธ ๕

นงคราญองคเอกแกว มานมนัสกัตเวที เกรงพระราชสามี ขับคเชนทรเขนคํ้า

กระษัตรีย ยิ่งลํ้า มลายพระ ชนมเฮย สะอึกสูดัสกร

พระสุริโยทัยทรงมี “มนัสกัตเวที ยิ่งลํ้า” คือ ทรงมีความกตัญูกตเวทีเปนเลิศ ทั้งตอ พระราชสวามีตามหนาที่ภรรยาที่ดีและตอพระมหากษัตริยในฐานะขาแผนดิน ยอมสละชีวิตเพื่อ ปกปองผืนแผนดินมิใหอริราชศัตรูเขามารุกรานไดโดยงาย พระวีรกรรมดังกลาวนับเปนแบบอยางของ ความรักชาติและความเสียสละที่คนไทยพึงตระหนักและจดจํายึดถือเปนแบบอยางในการดําเนินชีวิต โคลงประกอบภาพที่ ๕๖ ภาพพั น ท า ยนรสิ ง ห ถ วายชี วิ ต กล า วถึ ง วี ร กรรมของ พันทายนรสิงหซึ่งเปนแบบอยางของขาราชสํานักที่มีความรับผิดชอบ แสดงใหเห็นถึงความจงรักภักดี ความซื่อสัตย ความกตัญูตอพระเจาแผนดิน ยอมสละชีวิตเพื่อรักษาความศักดิ์สิทธิ์ของกฎหมาย และพระเกียรติยศของสมเด็จพระเจาเสือ เพื่อไมใหผูคนครหาดู1หมิ่นพระองคไดในภายภาคหนา และเพื่อรักษาราชประเพณีไวสืบตอไป ซึ่งตามพระราชกําหนดอันมีมาแตโบราณกาลระบุไววา “ถาแหละพันทายผูใดถือทายเรือพระที่นั่งใหศีรษะเรือพระที่นั่งนั้นหัก ทานวาพันทายนั้นถึงมรณโทษ ให ตั ด ศี ร ษะเสี ย ” สมเด็ จ พระเจ า เสื อ จึ งจํ า ต อ งโปรดให ประหารชี วิ ต และทรงให ตั้ ง ศาลเพี ย งตา สืบเกียรติคุณพันทายนรสิงหไวสืบไป ดังบทประพันธ ๔

ภูมีปลอบกลับตั้ง จําสั่งเพชฌฆาตฟน โขนเรือกับหัวพัน ศาลสืบกฤติคุณเคา

ขอบรร ลัยพอ ฟาดเกลา เซนที่ ศาลแล คติไวในสยาม

๑๒

เกร็ดแนะครู ครูนําสื่อตางๆ เชน วีดิทัศน ภาพยนตร หรือสารคดีที่เกี่ยวกับการเชิดชูเกียรติ ของกษัตริยไทยมาจัดแสดงใหนักเรียนชม และใหนักเรียนจัดทํารายงานประวัติและ พระเกียรติคุณของพระมหากษัตริยในราชวงศจักรี 1 พระองค จากนั้นรวบรวม ผลงานทั้งหมดนํามาจัดนิทรรศการเทิดพระเกียรติพระมหากษัตริยราชวงศจักรี

นักเรียนควรรู 1 พระราชกําหนด เปนกฎหมายในสมัยอยุธยาหรือกฎมณเฑียรบาลที่เกี่ยวกับ การปกครอง แบงเปนพระตํารา พระธรรมนูญ และพระราชกําหนด

คูมือครู

ตรวจสอบผล

๗ º·ÇÔà¤ÃÒÐË

Explain

1. นักเรียนรวมกันอภิปรายเกี่ยวกับบทวิเคราะห คุณคาดานเนื้อหา โดยใหนักเรียนอาน บทวิเคราะหคุณคาดานเนื้อหาในหนังสือเรียน หนา 12 2. ครูสุมนักเรียนตอบคําถามตอไปนี้ • พระสุริโยทัยทรงมี “มนัสกัตเวที ยิ่งลํ้า” อยางไร (แนวตอบ มีความกตัญูตอพระจักรพรรดิ ใน ฐานะที่ทรงเปนพระสวามีและในฐานะกษัตริย จึงยอมเสียสละชีวิตทดแทนบุญคุณ) • ลักษณะที่ควรนํามาเปนแบบอยางของ พระสุริโยทัยคืออะไร (แนวตอบ ความรักชาติจนยอมเสียสละชีวิต) • พันทายนรสิงหมีความซื่อสัตยและความ กตัญูตอแผนดินอยางไร (แนวตอบ ซื่อสัตยและเคารพกฎประเพณี ของบานเมือง ยอมเสียสละชีวิตเพื่อรักษา เกียรติของพระเจาแผนดิน) • ลักษณะที่ควรนํามาเปนแบบอยาง ของพันทายนรสิงหคืออะไร (แนวตอบ ความรับผิดชอบในหนาที่ของตน)

12

ขยายความเขาใจ

Engage

ครูใหนักเรียนรวมกันแสดงความคิดเห็นเรื่อง “หนาที”่ โดยใหนกั เรียนมาเลาเรือ่ งราวประสบการณ ของนักเรียนในการปฏิบัติตามหนาที่

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

กิจกรรมสรางเสริม นักเรียนศึกษาบทวิเคราะหคุณคาดานเนื้อหาของโคลงประกอบภาพ พระราชพงศาวดาร ภาพที่ 10 และ 56 แลวหาแนวคิดสําคัญที่เหมือนกัน ของโคลงภาพทั้งสอง

กิจกรรมทาทาย นักเรียนศึกษาบทวิเคราะหคุณคาดานเนื้อหาของโคลงประกอบภาพ พระราชพงศาวดารภาพที่ 10 และ 56 แลวยกบทประพันธที่เห็นวามี แนวคิดสําคัญเหมือนกัน


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

อธิบายความรู

1. นักเรียนรวมกันอภิปรายเกี่ยวกับบทวิเคราะห คุณคาดานวรรณศิลป โดยใหนักเรียนอานบท วิเคราะหคุณคาดานวรรณศิลปในหนังสือเรียน หนา 13 - 14 2. นักเรียนอธิบายเกี่ยวกับการเลือกใชถอยคํา ที่ทําใหเกิดอารมณรวมกับเนื้อเรื่องโคลงภาพ พระราชพงศาวดารภาพที่ 10 และ 56 (แนวตอบ โคลงภาพพระราชพงศาวดารภาพที่ 10 ปรากฏความงามทางวรรณศิลป คือ การเลือกใชถอยคําที่ทําใหเกิดเสียงและภาพ เสมือนอยูในเหตุการณจริง เชน ฉาดฉะ หรุบดิ้น สวนโคลงภาพพระราชพงศาวดาร ภาพที่ 56 มีลักษณะทางวรรณศิลปคือ การเลน สัมผัสพยัญชนะ เชน ภูบาล-บําเหน็จ โทษ-ถนอม มอด-มวย เปนตน)

¤ÇÒÁÃÙŒàÊÃÔÁ คลองโคกขามและคลองมหาชัย “คลองโคกขาม” เปนคลองในเขตอําเภอเมือง จ.สมุทรสาคร ทีม่ คี วามคดเคีย้ วมาก ลักษณะเปนโคงขอศอก กระแสนํา้ เชีย่ วมาก ยากต อ การเดิ น เรื อ ทํ า ให ค รั้ ง ที่ พ ระเจ า เสื อ หรื อ สมเด็ จ พระสรรเพชญที่ ๘ พระมหากษัตริยแหงกรุงศรีอยุธยา เสด็จ ประพาสตนไปตามลําคลองโคกขามดวยเรือพระที่นั่งเอกไชยได ประสบอุบัติเหตุเรือพระที่นั่งชนกิ่งไมหัก ทําใหพันทายนรสิงห ถูกประหารชีวติ บริเวณทีป่ ระหารชีวติ พันทายนรสิงห พระเจาเสือ บรรยากาศคลองโคกขาม ทรงโปรดฯใหสรางศาลพันทายนรสิงหขนึ้ และโปรดฯ ใหขดุ คลอง ลัดตัดทางคดเคีย้ วของคลองโคกขามใหตรง โดยใหเจาพระยาราช สงครามเปนแมกองคุมไพรพลจํานวน ๓,๐๐๐ คน ขุดคลองตัด จากคลองโคกขามตั้งแต พ.ศ. ๒๒๔๘ มาเชื่อมกับแมนํ้าทาจีน ขนาดคลองกวาง ๕ วา ลึก ๖ ศอก เสร็จใน พ.ศ.๒๒๕๒ ในสมัย ของพระเจาอยูหัวทายสระ เมื่อขุดเสร็จจึงไดพระราชทานนาม วา “คลองสนามไชย” ตอมาเปลี่ยนเปน “คลองมหาชัย” แต บางครั้งชาวบานก็เรียกวา “คลองถาน” คลองมหาชัยในปจจุบัน

ขยายความเขาใจ

(ที่มา: เสนทางสุขภาพ สถานที่ทองเที่ยว ตลาดนํ้าวัดไทร)

๗.๒ คุณคาดานวรรณศิลป

โคลงประกอบภาพทั้ง ๒ เรื่อง มีความโดดเดนดานการเลือกสรรถอยคําที่ทําใหผูอาน เกิดจินตนาการอยางเดนชัด เนื้อความกระชับ ใชคํานอยแตกินความมาก กอใหเกิดอารมณสะเทือนใจ ทําใหผูอานชื่นชมในความกลาหาญ ซาบซึ้งในความกตัญู ความจงรักภักดีและความเสียสละของ บรรพชนไทย โคลงประกอบภาพที่ ๑๐ ภาพพระสุริโยทัยขาดคอชาง กวีไดเลือกสรรถอยคําที่ใหทั้ง เสียงและภาพ ทําใหผูอานสามารถจินตนาการถึงภาพของกองทัพที่ยิ่งใหญเกรียงไกรที่เขาตอสูกัน อยางชุลมุนและภาพชางศึกที่ไสตามอยางกระชั้นชิด ทําใหรูสึกราวกับไดรวมอยูในเหตุการณจริง ดังบทประพันธ ๖

ขุนมอญรอนงาวฟาด ขาดแลงตราบอุระ โอรสรีบกันพระ สูญชีพไปสูญสิ้น

Explain

1

ฉาดฉะ หรุบดิ้น ศพสู นครแฮ พจนผูสรรเสริญ

Expand

นักเรียนรวบรวมถอยคําที่ทําใหผูอานมีอารมณ รวมกับบทประพันธโคลงประกอบภาพที่ 10 ภาพพระสุริโยทัยขาดคอชาง (แนวตอบ ถอยคําที่ทําใหมีอารมณรวมกับ บทประพันธ คือ คําที่ทําใหเห็นฉากการรบ การเคลื่อนไหว ดังนี้ • เถลิงคชา ธารควาง ควบเขาขบวนไคล • เตลงขับคชไลใกล หวิดทายคชา ธาร • ขับคเชนทรเขนคํ้า สะอึกสูดัสกร • ขุนมอญรอนงาวฟาด ฉาดฉะ • ขาดแลงตราบอุระ หรุบดิ้น • จําสั่งเพชรฌฆาตฟน ฟาดเกลา)

๑๓

บูรณาการเชื่อมสาระ

ครูแนะนําความรูเกี่ยวกับสภาพทางภูมิศาสตรเสนทางการคมนาคม ทางนํ้าในสมัยอยุธยาที่เปนอุปสรรคตอการเดินทางทางนํ้า จนเปนเหตุให พันทายนรสิงหมีความผิด มาบูรณาการเชื่อมกับกลุมสาระการเรียนรู สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม วิชาประวัติศาสตรและภูมิศาสตร เพื่อใหนักเรียนมีความรู ความเขาใจ เกี่ยวกับเหตุการณที่พันทายนรสิงห ตองถวายชีวิต และเขาใจบทบาทความสําคัญของผูทําหนาที่เปนผูบังคับเรือ พระที่นั่ง

เกร็ดแนะครู ครูแนะใหนักเรียนดูภาพคลองโคกขามและคลองมหาชัยเพิ่มเติมจากเว็บไซต และสืบคนความรูเกี่ยวกับคลองโคกขามและคลองมหาชัย เพื่อเปรียบเทียบลักษณะ ทางกายภาพในอดีตกับปจจุบัน และใหนักเรียนมาอธิบายเกี่ยวกับลักษณะทาง กายภาพของคลองโคกขามและคลองมหาชัย ซึ่งเปนสาเหตุที่ทําใหพันทายนรสิงห บังคับเรือพระที่นั่งไมไดทําใหโขนเรือปะทะกิ่งไมจนหัก

นักเรียนควรรู 1 ฉาดฉะ เปนเสียงของการฟาดงาวอยางรวดเร็วและรุนแรงฝาอากาศ จนทําให เกิดเสียงดังฉาดฉะ การใชคําลักษณะนี้เปนภาพพจนชนิดหนึ่ง เรียกวา ภาพพจน สัทพจน

คูมือครู

13


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

Explain

นักเรียนอธิบายการเลือกใชคําและการ ดําเนินเรื่องจากโคลงภาพพระราชพงศาวดารภาพ ที่ 10 และ 56 (แนวตอบ การเลาเรื่องกวีเรียงลําดับเหตุการณได กระชับ เนื้อเรื่องนาติดตาม ดังนี้ • โคลงภาพพระราชพงศาวดารภาพที่ 10 กวีเลือกใชคําที่มีความหมายเหมาะกับการ ดําเนินเรื่อง คือ เปนคําที่สั้น กระชับ แต สามารถสื่อความหมายไดครบถวนชัดเจน เชน การกลาวถึงจํานวนของกองทัพพมาวามี ถึงสามแสนคน กวีใชคําวา “สามสิบ หมื่นแฮ” คําที่กวีเลือกใชคํานึงถึงเสียงที่ตองลงเสียง หนักกระชับ เปนตน • โคลงภาพพระราชพงศาวดารภาพที่ 56 กวีเลือกใชคําสั้นกะทัดรัด กินความมาก เหมาะสําหรับการเลาเรื่องที่มีรายละเอียดและ มีการเลนสัมผัสพยัญชนะ ดังบทประพันธ “ภูบาลบําเหน็จให พันไมยอมอยูยอม พระโปรดเปลี่ยนโทษปลอม พันกราบทูลทัดดวย

อธิบายความรู

โทษถนอม ใจนา มอดมวย ฟนรูป แทนพอ ทานทิ้งประเพณี”)

ขยายความเขาใจ

Expand

จากบทประพันธจะเห็นวากวีเลือกใชคําที่ใหเสียง คือเสียงของงาวที่กระทบกันดัง “ฉาดฉะ” และสรรคําที่ใหภาพ “หรุบดิ้น” คําวา หรุบ หมายถึง อาการของสิ่งของที่รวงพรูลงมา ดิ้น หมายถึง อาการที่สะบัดหรือฟาดตัวไปมาอยางแรง รางของพระสุริโยทัยทรุดลงซบกับคอชาง สราง ความสะเทือนใจอยางยิ่ง โคลงประกอบภาพที่ ๕๖ ภาพพันทายนรสิงหถวายชีวิต กวีไดถายทอดเรื่องราว วีรกรรมความกลาหาญเด็ดเดี่ยวของพันทายนรสิงห เรีย1งตามลําดับเหตุการณไดอยางกะทัดรัด โดยใชโคลงสี่สุภาพเพียง ๔ บท ทั้งที่พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยากลาวถึงเหตุการณตอนนี้ ไวคอนขางยาวและมีบันทึกคําสนทนาระหวางสมเด็จพระเจาเสือกับพันทายนรสิงหอยางละเอียด จึงกลาวไดวาโคลงพันทายนรสิงหถวายชีวิตมีความดีเดนในดานการใชคํานอยแตกินความมาก กวีสามารถเก็บรายละเอียดเหตุการณประวัติศาสตรไดดวยโคลงเพียง ๔ บท นอกจากนี้โคลงบางบท ยังมีการเลนสัมผัสพยัญชนะ ทําใหโคลงมีความไพเราะยิ่งขึ้น ดังบทประพันธ ๓

ภูบาลบําเหน็จให พันไมยอมอยูยอม พระโปรดเปลี่ยนโทษปลอม พันกราบทูลทัดดวย

โทษถนอม ใจนอ มอดมวย ฟนรูป แทนพอ ทานทิ้งประเพณี

จากบทประพันธปรากฏคําสัมผัสอักษร คือ ภูบาล-บําเหน็จ โทษ-ถนอม ยอม-อยู มอด-มวย โปรด-เปลี่ยน-ปลอม ทูล-ทัด ทาน-ทิ้ง

๗.๓ คุณคาดานสังคม

ทางสังคม ดังนี้

โคลงประกอบภาพพระราชพงศาวดารทั้ง ๒ ภาพ มีความโดดเดนในดานการใหคุณคา

๑) ใหเห็นสภาพเหตุการณทางประวัติศาสตร สภาพสังคม การทําสงครามใน สมัยโบราณ ทีย่ กกําลังพลจํานวนมากมาตอสูก นั แมทพั ทัง้ สองฝายตางเปนผูน าํ ในการออกรบดวยความ กลาหาญ ดังบทประพันธ ๑

บุเรงนองนามราชเจา ยกพยุหแสนยา มอญมานประมวลมา ถึงอยุธเยศแลว ๒ พระมหาจักรพรรดิเผา วางคายรายรี้พล ดําริจักใครยล ยกนิกรทัพกลา

ครูสุมนักเรียน 10 คน แบงเปน 2 กลุม คือ กลุมโคลงประกอบภาพที่ 10 ภาพพระสุริโยทัย ขาดคอชาง และกลุมโคลงประกอบภาพที่ 56 ภาพพันทายนรสิงหถวายชีวิต ใหนักเรียนแตละ กลุมมาเลาเรื่องเรียงลําดับตอกันจนจบ

จอมรา มัญเฮย ยิ่งแกลว สามสิบ หมื่นแฮ หยุดใกลนครา ภูวดล สยามเฮย เพียบหลา แรงศึก ออกตั้งกลางสมร

๑๔

เกร็ดแนะครู ครูใหนกั เรียนฝกถอดคําประพันธเพือ่ ใหนกั เรียนเขาใจเนือ้ เรือ่ ง จากนัน้ ใหพจิ ารณา การใชคําที่มีความไพเราะ เหมาะสม คือ สามารถเลือกใชคําไดเหมาะสมกับรูปแบบ คําประพันธซึ่งเปนโคลงสี่สุภาพ แลวทําใหเนื้อหาหรือการดําเนินเหตุการณในเรื่อง เปนไปอยางราบรื่นและอานไดเขาใจ แจมแจง ครูควรยกบทประพันธมาถอดความ เปนตัวอยางใหนักเรียนเห็นการเรียบเรียงถอยคําภาษาที่ไพเราะ เขาใจงาย

นักเรียนควรรู 1 พระราชพงศาวดาร ในเมืองไทยมีหลายเลม เลมที่จัดวาเกาที่สุดคือ พงศาวดารกรุงเกา หลวงประเสริฐอักษรนิติ์ เหตุที่เรียกพงศาวดารฉบับนี้วาเปน ฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ์ เพราะตองการจะใหเกียรติแกหลวงประเสริฐอักษรนิติ์ หรือ พระยาปริยัติธรรมธาดา (แพ เปรียญ) ซึ่งเปนผูคนพบเอกสารสําคัญชิ้นนี้ โดยเมื่อครั้งที่ยังคงเปน หลวงประเสริฐอักษรนิติ์

14

คูมือครู

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

พระมหาจักรพรรดิเผา ภูวดล สยามเฮย วางคายรายรี้พล เพียบหลา ดําริจักใครยล แรงศึก ยกนิกรทัพกลา ออกตั้งกลางสมร ขอใดไมสอดคลองกับคําประพันธในขางตน 1. ความหวาดกลัวทอถอย 2. ความรูทางประวัติศาสตร 3. ความเปนนักรบผูกลาหาญ 4. นําทัพออกสูขาศึกเพื่อหยั่งเชิงขาศึก วิเคราะหคําตอบ พระมหาจักรพรรดิกษัตริยแหงสยามทรงยกพล ออกไปดูกําลังของศัตรู แลวจึงยกกองทัพออกตั้งกลางสนามรบ ขอที่ไมได ชี้ใหเห็นในบทประพันธ คือ ขอ 1. ความหวาดกลัวทอถอย เพราะมีความ วา “ยกนิกรทัพกลา” แสดงถึงความกลาหาญไมใชความหวาดกลัว

ตอบขอ 1.


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

อธิบายความรู จากบทประพันธแสดงใหเห็นถึงภาพของการทําสงคราม โดยมีพระมหากษัตริยท รงเปน ผูนําในการออกรบและตามดวยกองกําลังทหารที่มีความกลาหาญเด็ดเดี่ยว กวีเลือกสรรการใชถอยคํา เพื่อใหผูอานเกิดจินตภาพ มองเห็นกองกําลังทหารจํานวนมาก ๒) แสดงใหเห็นถึงคุณธรรม จริยธรรม คานิยมของคนไทย คือ แสดงใหเห็นถึง ความกลาหาญของพระสุริโยทัย ที่แตงพระองคดังพระมหาอุปราชเสด็จไปรบในกองทัพ ดวยพระทัย ที่กลาหาญ เด็ดเดี่ยว ดวยความรักและเสียสละที่มีตอองคพระมหากษัตริยซึ่งเปนพระราชสวามี ทรงไสชางพระทีน่ งั่ เขาขวางพระคชาธารของพระเจาแปร จนถูกจวงฟนดวยพระแสงของาวสิน้ พระชนม อันนับเปนวีรกรรมที่ควรคาแกการยกยองสรรเสริญอยางยิ่ง สวนโคลงประกอบภาพพันทายนรสิงหถวายชีวิต แสดงใหเห็นถึงการเคารพกฎหมาย ระเบียบ ประเพณีของบานเมือง ยอมเสียสละชีวิตเพื่อดํารงไวซึ่งความศักดิ์สิทธิ์ของกฎหมาย ขณะ เดียวกันก็แสดงใหเห็นถึงคุณธรรมของพระเจาแผนดินทีท่ รงมีพระเมตตาตอขาราชบริพารของพระองค ๓

ภูบาลบําเหน็จให พันไมยอมอยูยอม พระโปรดเปลี่ยนโทษปลอม พันกราบทูลทัดดวย ๔ ภูมีปลอบกลับตั้ง จําสั่งเพชฌฆาตฟ น 1 โขนเรือกับหัวพัน ศาลสืบกฤติคุณเคา

Explain

นักเรียนสรุปความรูเกี่ยวกับคุณคาดานตางๆ ที่ปรากฏในบทประพันธ โดยนักเรียนทํากิจกรรม ตามตัวชี้วัด กิจกรรมที่ 1.2 จากแบบวัดฯ ภาษาไทย ม.2 ✓แบบวัดฯ ใบงาน แบบฝกฯ ภาษาไทย ม.2 กิจกรรมที่ 1.2 เร�่อง โคลงภาพพระราชพงศาวดาร กิจกรรมที่ ๑.๒

ใหนักเรียนวิเคราะหและสรุปคุณคาที่ไดรับจากวรรณคดีใน รูปแบบผังมโนทัศน (ท ๕.๑ ม.๒/๓)

คะแนนเต็ม คะแนนที่ได

ñð

โคลงภาพพระราชพงศาวดารพระสุริโยทัยขาดคอชาง

โทษถนอม ใจนอ มอดมวย ฟนรูป แทนพอ ทานทิ้งประเพณี ขอบรร ลัยพอ ฟาดเกลา เซนที่ ศาลแล คติไวในสยาม

คุณคาดานเนือ้ หา

คุณคาดานวรรณศิลป

คุณคาดานสังคม

ไดความรูท างประวัตศิ าสตร .......................................................................

การเลือกสรรถอยคําทีท่ าํ ให .......................................................................

ทําใหเห็นภาพเหตุการณทาง .......................................................................

ความกตัญูกตเวทีเปนเลิศ .......................................................................

ผูอานเกิดจินตภาพ และมี .......................................................................

สงครามและสะทอนใหเห็น .......................................................................

เกีย่ วกับพระสุรโิ ยทัยผูท รงมี ....................................................................... ตามหนาทีข่ องภรรยาทีด่ แี ละ ....................................................................... ประชาชนผูจงรักภักดี นับ ....................................................................... เปนวีรกรรมที่ยิ่งใหญ ....................................................................... .......................................................................

เกิดเสียงและภาพ ชวยให ....................................................................... อารมณ ร  ว มเสมื อ นอยู  ใ น ....................................................................... เหตุการณจริง .......................................................................

ประวัติศาสตรดานการทํา ....................................................................... ถึงคุณธรรม จริยธรรม และ ....................................................................... คานิยมของคนไทย .......................................................................

.......................................................................

.......................................................................

.......................................................................

.......................................................................

ฉบับ

เฉลย

โคลงภาพพระราชพงศาวดารพันทายนรสิงห คุณคาดานเนือ้ หา

คุณคาดานวรรณศิลป

คุณคาดานสังคม

ไดความรูท างประวัตศิ าสตร .......................................................................

เรี ย งลํ า ดั บ เหตุ ก ารณ ไ ด .......................................................................

แสดงใหเห็นถึงการเคารพ .......................................................................

นรสิ ง ห ที่ เ ป น แบบอย า ง .......................................................................

คํานอย กินความมาก ใช .......................................................................

ประเพณี ข องบ า นเมื อ ง .......................................................................

เกีย่ วกับวีรกรรมของพันทาย....................................................................... ของข า ราชสํ า นั ก ผู  มี ค วาม .......................................................................

จากบทประพันธจะเห็นไดวา พัน คือ พันทายนรสิงหไมยอมมีชีวิตอยูดวยความตั้งใจ ที่จะรักษาความศักดิ์สิทธิ์ของกฎหมายและรักษาพระเกียรติยศของพระมหากษัตริย แมวาพระเจา เสือจะทรงพระเมตตา แตพันทายนรสิงหยังคงยืนกรานที่จะรับโทษ ดังนั้น พระเจาเสือจึงฝนพระทัย สั่งประหารชีวิตพันทายนรสิงห

รั บ ผิ ด ชอบ จงรั ก ภั ก ดี ....................................................................... ซื่อสัตย ยอมสละชีวิตเพื่อ ....................................................................... รักษากฎหมายบานเมือง .......................................................................

กะทัดรัด ดีเดนดานการใช ....................................................................... ถอยคําไพเราะ มีการเลน ....................................................................... เสียงสัมผัสพยัญชนะ .......................................................................

ต อก ฎ หมา ย ระเ บี ยบ ....................................................................... และคุ ณ ธรรมของพระเจ า ....................................................................... แผนดิน .......................................................................

.......................................................................

.......................................................................

.......................................................................

.......................................................................

๘๕

๗.๔ ขอคิดทีส่ ามารถนําไปประยุกตใชในชีวติ ประจําวัน

การศึกษาเรื่องราวเกี่ยวกับบุคคลและเหตุการณสําคัญของชาติ ทําใหผูเรียนไดเห็น สภาพสังคม ความคิด ความเชือ่ ของบรรพบุรษุ ไดเห็นแบบอยางพฤติกรรมอันดีงามทีส่ ามารถนํามาเปน แนวทางในการดําเนินชีวิตประจําวัน ดังนี้ ๑) ความเสียสละเพื่อชาติบานเมือง คือ หนาที่ของคนไทยทุกคนที่ควรยึดถือเปน แบบอยางและนํามาปฏิบัติ ประเทศชาติบานเมืองจะดํารงอยูไดยอมตองอาศัยความเสียสละของคน ในชาติ ไมคิดเห็นแตประโยชนสวนตัว ถาทุกคนในชาติมองเห็นความสําคัญของการเสียสละ จะทําให ประเทศชาติพัฒนาไปไดอยางตอเนื่อง ๑๕

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

คําประพันธในขอใดเปนตัวอยางที่นายกยอง พันทายตกประหมาสิ้น สติคิด โดดจากเรือทูลอุทิศ โทษรอง พันทายนรสิงหผิด บทฆา เสียเทอญ หัวกับโขนเรือตอง คูเสนทําศาล 1. ความเสียสละเพื่อคนรัก 2. ความยุติธรรมของทหาร 3. ความกลาหาญเด็ดเดี่ยว 4. ความผิดตองไดรับการใหอภัยเสมอ

วิเคราะหคําตอบ เมื่อพันทายนรสิงหทําผิดกฎมณเฑียรบาลที่วา ถาใครทํา โขนเรือพระที่นั่งหักจะตองโทษถึงประหารชีวิต จึงขอรับโทษซึ่งเปนการแสดง ความกลาหาญเด็ดเดี่ยว ทั้งนี้เพราะพันทายนรสิงหรูดีวาหากไมรับโทษ จะทําใหกฎมณเฑียรบาลไมศักดิ์สิทธิ์ และเปนตัวอยางที่ไมดีตอผูอื่นใน ภายหนา ตอบขอ 3.

ขยายความเขาใจ

Expand

นักเรียนเลือกคุณธรรมที่เปนคุณคาดานสังคม ที่ไดรับจากโคลงภาพพระราชพงศาวดารมา 1 ขอ นํามาเปนหัวขอในการเขียนความเรียงที่แสดงวา สามารถนํามาประยุกตใชในชีวิตประจําวันของ นักเรียนได ความยาวไมนอยกวา 15 บรรทัด

นักเรียนควรรู 1 โขนเรือ เรือพระที่นั่งบางลํามีโขนเรือเปนรูปสัตว ตามพระราชลัญจกรเชนกัน เชน เรือครุฑ มีพระราชลัญจกร “พระครุฑพาห” หัวเรือแตเดิม ก็ทาํ เปนรูปครุฑเทานัน้ ในสมัยอยุธยามีเรือครุฑซึ่งมีชื่อวา “เรือมงคลสุบรรณ” ซึ่งก็มิไดมีองคพระนารายณ อยูด ว ย แตทาํ เปน “ครุฑยุดนาค” ดังปรากฏในบทเหเรือของเจาฟาธรรมาธิเบศรไชย เชษฐสรุ ยิ วงศ (เจาฟากุง ) ทีว่ า “เรือครุฑยุดนาคหิว้ ” นัน่ เอง และตอมามีเรือนารายณ ทรงสุบรรณ ซึ่งเดิมก็มีเพียงรูปครุฑ สรางขึ้นในรัชกาลที่ 3 พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว ตอมาในรัชกาลที่ 4 พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว โปรดใหทาํ องคพระนารายณเติมเขาไปดวย เรือพาลีรงั้ ทวีป และเรือสุครีพครองเมือง ซึ่งเปนเรือของกองอาสา กรมเขนทองซาย กรมเขนทองขวา ก็มีตราเปนรูปลิง ซึ่งเรียกวา “กระบี่ธุช”

คูมือครู

15


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

Explain

1. นักเรียนรวมกันอภิปรายเกี่ยวกับขอคิดจาก โคลงภาพพระราชพงศาวดารที่สามารถนําไป ประยุกตใชในชีวติ ประจําวันได จากหนังสือเรียน หนา 15 และ 16 2. ครูสุมเรียกนักเรียน 2-3 คน อธิบายเกี่ยวกับ ขอคิดทีส่ ามารถนําไปประยุกตใชในชีวติ ประจําวัน ที่ปรากฏในเรื่อง ไดแก ความเสียสละเพื่อชาติ บานเมือง ความกตัญูกตเวที การทําหนาที่ พลเมืองที่ดี และการเรียนรูประวัติศาสตร

ขยายความเขาใจ

อธิบายความรู

Expand

นักเรียนยกตัวอยางพฤติกรรม/การกระทํา ของตนเองที่สอดคลองกับขอคิดที่สามารถนําไป ประยุกตใชในชีวิตประจําวันที่ปรากฏในเรื่อง ดังตาราง ขอคิดที่สามารถนํา พฤติกรรม/การกระทํา ไปประยุกตใชในชีวิต ของตนเอง ประจําวันที่ปรากฏ ในเรื่อง ความเสียสละเพื่อชาติ บานเมือง ความกตัญูกตเวที การทําหนาที่พลเมือง ที่ดี การเรียนรู ประวัติศาสตร

๒) ความกตัญูกตเวที เปนคุณธรรมอันประเสริฐ บุคคลใดที่มีความกตัญู ผูนั้น

ยอมประสบแตความสุขความเจริญและไดรับการยกยองจากผูอื่น ๓) การทําหนาที่พลเมืองดี เปนหนาที่ของคนไทยทุกคนตองรูกฎหมายและปฏิบัติ ตามกฎหมายอยางเครงครัดเพื่อรักษาไวซึ่งความสงบสุขของบานเมือง ๔) การเรียนรูประวัติศาสตร คนไทยทุกคนควรศึกษาเรียนรูเกี่ยวกับประวัติศาสตร และความเปนมาของชาติเพื่อเปนขอคิดเตือนใจใหคนไทยภูมิใจในความกลาหาญ กตัญูและความ เสียสละของบรรพบุรุษที่ชวยธํารงรักษาผืนแผนดินไทยจนตกทอดมาถึงเราในทุกวันนี้ â¤Å§¾ÃÐÃÒª¾§ÈÒÇ´Ò÷Ñé§ ò àÃ×èͧ ¤×Í â¤Å§ÀÒ¾¾ÃÐÊØÃÔâ·Ñ¢Ҵ¤ÍªŒÒ§ áÅÐâ¤Å§ÀÒ¾¾Ñ¹·ŒÒ¹ÃÊÔ§Ë ¶ÇÒªÕÇµÔ áÁŒ¨ÐµÑ´µÍ¹àÃ×Íè §ÃÒÇã¹¾§ÈÒÇ´ÒÃÁÒà¾Õ§Êѹ é æ ᵋ¡àç »‚› Á´ŒÇ¤س¤‹Ò¤Ãº¶ŒÇ¹ ໚¹º·ÃŒÍ¡Ãͧ·Õáè Ê´§ãËŒàË繶֧ÈÔÅ»Ð㹡ÒÃàÅ×Í¡ÊÃà ¶ŒÍ¤íÒ·Õäè ¾àÃÒÐ㪌¤Òí ¹ŒÍÂᵋ¡¹ Ô ¤ÇÒÁÁÒ¡ 㪌¤Òí ·Õ¡è Í‹ ãËŒà¡Ô´¤ÇÒÁÊÐà·×͹㨠㪌ÀÒÉÒ·Õè ·íÒãËŒà¡Ô´¨Ô¹µÀÒ¾ ÍÕ¡·Ñé§ÂѧÊзŒÍ¹ãËŒàË繤س¸ÃÃÁ¢Í§ºÃþª¹ä·Â·ÕèáÊ´§¤ÇÒÁ ¨§ÃÑ¡ÀÑ¡´Õµ‹Í¾ÃÐÁËÒ¡ÉѵÃÔ Íѹ໚¹á§‹¤Ô´·ÕèàÃÒ¤ÇÃÂÖ´¶×ÍáÅйíÒÁÒ»ÃÐÂØ¡µ 㪌㹡Òà ´íÒçªÕÇÔµµ‹Íä»

๑๖

เกร็ดแนะครู นอกจากความกลาหาญเด็ดเดี่ยวและความเสียสละของพันทายนรสิงหแลว ครูแนะวายังมีคุณธรรมขออื่นที่กวีมุงเนนในเนื้อเรื่อง คือ คุณธรรมเรื่องความกตัญู กตเวที เปนคุณธรรมพื้นฐานของคนดี เพราะบุคคลที่รูจักกตัญูตอผูมีพระคุณ หมายถึง การเปนคนคิดดี มีใจซื่อสัตย และเปนที่รักใครของคนทั่วไป นักเรียนจึง ควรนําไปเปนแบบอยางในการปฏิบัติตน

มุม IT ศึกษาเกี่ยวกับ “ประวัติพันทายนรสิงห ผูรักษากฎระเบียบ กฎมณเฑียรบาล ยิ่งกวาชีวิตตน” เพิ่มเติม ไดที่ http://www.navy22.com/smf/index. php?topic=15654.0

16

คูมือครู

บูรณาการเชื่อมสาระ

ครูบูรณาการความรูเรื่องคุณคาดานเนื้อหาของโคลงภาพพระราชพงศาวดารกับกลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม วิชาประวัติศาสตร เพื่อศึกษาเกี่ยวกับพระราชพงศาวดาร และเหตุการณ สําคัญทางประวัติศาสตร คือ การทํายุทธหัตถีจากโคลงภาพพระสุริโยทัย ขาดคอชาง และพระราชประเพณีกฎมณเฑียรบาลในสมัยอดีตจากโคลงภาพ พันทายนรสิงหถวายชีวิต ทั้งนี้โคลงพระราชพงศาวดารเพียง 4-6 บท อาจพรรณนาใหเห็นภาพ เหตุการณตางๆ ไมชัดเจน นักเรียนจึงควรศึกษาคนควา สืบเสาะ จากแหลง ขอมูลทางประวัติศาสตร ทั้งจากหนังสือเรียนประวัติศาสตร และแหลงเรียนรู อื่นๆ โคลงภาพพระราชพงศาวดารมีประโยชนอยางยิ่ง ในแงที่จะชวยบันทึก สืบทอดภาพประวัติศาสตรใหชนรุนหลังไดศึกษาและจดจํา


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

Engage

Explore

Explain

Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

ตรวจสอบผล

คําถาม

1. นักเรียนรวบรวมถอยคําที่ทําใหผูอานเกิด อารมณรวมกับบทประพันธได 2. นักเรียนเลาเรื่องเรียงลําดับเหตุการณในโคลง ประกอบภาพที่ 10 ภาพพระสุรโิ ยทัยขาดคอชาง และโคลงภาพประกอบที่ 56 ภาพพันทายนรสิงห ถวายชีวิต 3. นักเรียนเขียนความเรียงจากขอคิดที่ไดจาก เรื่องโคลงภาพพระราชพงศาวดารที่สามารถ นํามาประยุกตใชในชีวิตประจําวันได 4. นักเรียนยกตัวอยางพฤติกรรม/การกระทําของ ตนเองที่สอดคลองกับขอคิดที่สามารถนําไป ประยุกตใชในชีวิตประจําวันที่ปรากฏใน เรื่องได

ประจําหนวยการเรียนรู

๑. สมเด็จพระสุริโยทัย มีบทบาทอยางไรในการตอสูกับขาศึก ๒. “สูญชีพไปสูญสิ้น พจนผูสรรเสริญ” มีความหมายวาอยางไรและสอดคลองกับวีรกรรม ของสมเด็จพระสุริโยทัยหรือไม จงอธิบายพรอมทั้งแสดงเหตุผล ๓. “พันทายนรสิงหเปนตัวอยางของขาราชการที่มีความรับผิดชอบตอหนาที่” นักเรียนเห็นดวยกับ คํากลาวขางตนหรือไม จงอธิบายพรอมทั้งแสดงเหตุผล ๔. สมเด็จพระสุริโยทัยและพันทายนรสิงหมีคุณธรรมที่เหมือนกันอยางไร ๕. นักเรียนไดรับประโยชนจากการอานโคลงภาพพระราชพงศาวดารอยางไรบาง

กิจกรรม

Evaluate

สรางสรรคพัฒนาการเรียนรู

กิจกรรมที่ ๑

ใหนักเรียนเขียนแสดงความคิดเห็นวาขอความในโคลงพระราชพงศาวดารตอนใดที่ นักเรียนประทับใจมากทีส่ ดุ เพราะเหตุใด และมีความไพเราะในดานวรรณศิลปอยางไร

กิจกรรมที่ ๒

ใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ ๓ - ๕ คน อภิปรายแสดงความคิดเห็นตามหัวขอ ตอไปนี้ • เหตุใดสมเด็จพระสุริโยทัยจึงตัดสินพระทัยขับชางเขาตอสูกับขาศึก • หากนักเรียนเปนพระเจาแปร เมื่อทราบวาทรงชนชางกับสตรีจะรูสึกอยางไร • หากนักเรียนเปนพันทายนรสิงห เมือ่ ไดรบั พระราชทานอภัยโทษไมตอ งถูกประหาร ชีวิต นักเรียนจะรูสึกอยางไร ทําไมจึงรูสึกเชนนั้น • สมเด็จพระสุริโยทัยกับพันทายนรสิงหมีคุณธรรมเหมือนหรือตางกันอยางไร

กิจกรรมที่ ๓

ใหนกั เรียนแบงกลมุ กลมุ ละ ๕ - ๖ คน เลือกทํากิจกรรมกลมุ ตามประเด็นทีน่ กั เรียน มีความถนัดและสนใจ ดังนี้ • แสดงบทบาทสมมติตามเนื้อเรื่องตอนสมเด็จพระสุริโยทัยสิ้นพระชนม • แสดงบทบาทสมมติตามเนื้อเรื่องตอนพันทายนรสิงหถวายชีวิต • ฝกแตงคําประพันธประเภทกลอนสุภาพ โคลงสี่สุภาพ และอานทํานองเสนาะ ประกอบเรือ่ ง จากนัน้ ใหแตละกลมุ นําเสนอผลงานหนาชัน้ เรียน และจัดปายนิเทศ แสดงผลงาน

หลักฐานแสดองผลการเรียนรู 1. การถอดคําประพันธโคลงภาพพระราช พงศาวดาร 2. การแตงคําประพันธประเภทโคลงสี่สุภาพ 3. บัตรคําศัพทจากบทเรียน 4. ความเรียงเกี่ยวกับขอคิดที่ไดจากการอานเรื่อง โคลงภาพพระราชพงศาวดาร

๑๗

แนวตอบ คําถามประจําหนวยการเรียนรู 1. พระสุริโยทัยทรงขับชางเขาชวยและสละชีวิตแทนพระสวามีอยางกลาหาญ 2. การสูญเสียชีวิตไมไดหมายความวาจะสูญเสียชื่อเสียงและคุณความดีที่ไดกระทําไว การกระทําของพระสุริโยทัยนับเปนวีรกรรมที่แสดงออก ซึ่งความรักชาติที่คนไทยรุนหลังไดเชิดชูสรรเสริญพระเกียรติของพระองค 3. เห็นดวย เพราะหนาที่ของพันทายนรสิงหคือบังคับควบคุมทิศทางเรือ เมื่อเรือประสบอุบัติเหตุผูทําหนาที่นี้จึงตองรับผิดชอบตามกฎหมายบานเมือง โดยไมมีขอยกเวน 4. ความกตัญูและความจงรักภักดีตอพระเจาแผนดินและประเทศชาติ 5. ไดรับความรูทางประวัติศาสตรและขอคิดที่สามารถนําไปปรับใชกับตนเองได ตัวอยางเชน การยอมเสียสละชีวิตเพื่อปกปองบานเมืองใหรอดพนจากอริราชศัตรู เปนตน

คูมือครู

17


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.