8858649121363

Page 1

คูมือครู 㪌»ÃСͺ¡ÒÃÊ͹ËÇÁ¡Ñº

˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ©ºÑº Í- .

ภาพปกนี้มีขนาดเทากับหนังสือเรียนฉบับจริงของนักเรียน

กระบวนการสอนแบบ 5 Es ชวยสรางทักษะการเรียนรู กิจกรรมมุงพัฒนาทักษะการคิด คำถาม + แนวขอสอบเพื่อยกผลสัมฤทธิ์ O-NET กิจกรรมบูรณาการเตรียมพรอมสู ASEAN 2558


เอกสารประกอบคูมือครู

กลุมสาระการเรียนรู สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

พระพุทธศาสนา ชั้นมัธยมศึกษาปที่

2

สําหรับครู

คูมือครู Version ใหม

ลักษณะเดน

ขยายพื้นที่รูปเลมใหญขึ้นกวาเดิม จัดแบงพื้นที่ออกเปนโซน เพื่อคนหาขอมูลไดงาย สะดวก รวดเร็ว และดูเปนระเบียบ กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล

กระตุน ความสนใจ

Evaluate

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

เปาหมายการเรียนรู สมรรถนะของผูเรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค

หน า

โซน 1 กระตุน ความสนใจ

Engage

สํารวจคนหา

Explore

อธิบายความรู

Explain

ขยายความเขาใจ

Expand

ตรวจสอบผล

หน า

หนั ง สื อ เรี ย น

โซน 1

หนั ง สื อ เรี ย น

Evaluate

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

ขอสอบ

โซน 2

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

เกร็ดแนะครู

O-NET

บูรณาการเชื่อมสาระ

โซน 3

กิจกรรมสรางเสริม กิจกรรมทาทาย

นักเรียนควรรู

โซน 3

โซน 2 บูรณาการอาเซียน มุม IT

No.

คูมือครู

คูมือครู

No.

โซน 1 ขั้นตอนการสอนแบบ 5Es

โซน 2 ชวยครูเตรียมสอน

โซน 3 ชวยครูเตรียมนักเรียน

เพื่อใหครูเตรียมจัดกิจกรรมการเรียน การสอน โดยแนะนําขั้นตอนการสอนและ การจัดกิจกรรมแบบ 5Es อยางละเอียด เพื่อใหนักเรียนบรรลุตามตัวชี้วัด

เพื่อชวยลดภาระครูผูสอน โดยแนะนํา เกร็ดความรูสําหรับครู ความรูเสริมสําหรับ นักเรียน รวมทั้งบูรณาการความรูสูอาเซียน และมุม IT

เพื่อใหครูสะดวกตอการจัดกิจกรรม โดย แนะนํากิจกรรมบูรณาการเชือ่ มระหวางสาระหรือ กลุมสาระการเรียนรู วิชา กิจกรรมสรางเสริม กิจกรรมทาทาย รวมถึงเนื้อหาที่เคยออกขอสอบ O-NET แนวขอสอบ NT/O-NET ทีเ่ นนการคิด พรอมเฉลยและคําอธิบายอยางละเอียด


ที่ใชในคูมือครู

แถบสีและสัญลักษณ

แถบสีแสดงขั้นตอนการสอนและการจัดกิจกรรม แบบ 5Es เพื่อใหครูทราบวาเปนขั้นการสอนขั้นใด

1. แถบสี 5Es สีแดง

สีเขียว

กระตุน ความสนใจ

เสร�ม

สํารวจคนหา

Engage

2

เปนขั้นที่ผูสอนเลือกใช เทคนิคกระตุน ความสนใจ เพื่อโยง เขาสูบทเรียน

สีสม

อธิบายความรู

Explore

เปนขั้นที่ผูสอน ใหผูเรียนสํารวจ ปญหา และศึกษา ขอมูล

สีฟา

Explain

เปนขั้นที่ผูสอน ใหผูเรียนคนหา คําตอบ จนเกิดความรู เชิงประจักษ

สีมวง

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

เปนขั้นที่ผูสอน ใหผูเรียนนําความรู ไปคิดคนตอๆ ไป

เปนขั้นที่ผูสอน ประเมินมโนทัศน ของผูเรียน

2. สัญลักษณ สัญลักษณ

วัตถุประสงค

• เปาหมายการเรียนรู

• หลักฐานแสดง ผลการเรียนรู

• เกร็ดแนะครู

แทรกความรูเสริมสําหรับครู ขอเสนอแนะ ขอควรระวัง ขอสังเกต แนวทางการจัด กิจกรรมและอืน่ ๆ เพื่อประโยชนในการ จัดการเรียนการสอน ขยายความรูเพิ่มเติมจากเนื้อหา เพื่อให ครูนําไปใชอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียน ไดมีความรูมากขึ้น

ความรูห รือกิจกรรมเสริม ใหครูนาํ ไปใช เตรียมความพรอมใหกบั นักเรียนกอนเขาสู ประชาคมอาเซียนใน พ.ศ. 2558 โดย บูรณาการกับวิชาทีก่ าํ ลังเรียน

บูรณาการอาเซียน

คูม อื ครู

แสดงรองรอยหลักฐานตามภาระงาน ที่ครูมอบหมาย เพื่อแสดงผลการเรียนรู ตามตัวชี้วัด

• นักเรียนควรรู

มุม IT

แสดงเปาหมายการเรียนรูที่นักเรียน ตองบรรลุตามตัวชี้วัด ตลอดจนสมรรถนะ ที่จะตองมี และคุณลักษณะที่พึงเกิดขึ้น กับนักเรียน

แนะนําแหลงคนควาจากเว็บไซต เพื่อให ครูและนักเรียนไดเขาถึงขอมูลความรู ที่หลากหลาย ทั้งไทยและตางประเทศ

สัญลักษณ

ขอสอบ

วัตถุประสงค

O-NET

(เฉพาะวิชา ชัน้ ทีส่ อบ O-NET O-NET)

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T (เฉพาะระดับชั้น มัธยมศึกษาตอนตน)

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET (เฉพาะระดับชัน้ มัธยมศึกษาตอนปลาย)

บูรณาการเชื่อมสาระ

กิจกรรมสรางเสริม

กิจกรรมทาทาย

• ชีแ้ นะเนือ้ หาทีเ่ คยออกขอสอบ

O-NET โดยยกตัวอยางขอสอบ พรอมวิเคราะหคาํ ตอบ อยางละเอียด

• เปนตัวอยางขอสอบทีม่ งุ เนน

การคิดและเปนแนวขอสอบ NT/O-NET ในระดับมัธยมศึกษา ตอนตน มีทงั้ ปรนัย - อัตนัย พรอมเฉลยอยางละเอียด

• เปนตัวอยางขอสอบทีม่ งุ เนน

การคิดและเปนแนวขอสอบ O-NET ในระดับมัธยมศึกษา ตอนปลาย มีทงั้ ปรนัย - อัตนัย พรอมเฉลยอยางละเอียด

• แนะนําแนวทางการจัดกิจกรรม

เชือ่ มกับสาระหรือกลุม สาระ การเรียนรู ระดับชัน้ หรือวิชาอืน่ ทีเ่ กีย่ วของ

• แนะนําแนวทางการจัดกิจกรรม ซอมเสริมสําหรับนักเรียนทีค่ วร ไดรบั การพัฒนาการเรียนรู

• แนะนําแนวทางการจัดกิจกรรม ตอยอดสําหรับนักเรียนทีเ่ รียนรู ไดอยางรวดเร็ว และตองการ ทาทายความสามารถในระดับ ทีส่ งู ขึน้


คําแนะนําการใชคูมือครู การออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอน คูมือครู รายวิชา พระพุทธศาสนา ม.2 จัดทําขึ้นเพื่อใหครูผูสอนนําไปใชเปนแนวทางวางแผนการสอนเพื่อพัฒนา ผลสัมฤทธิท์ างการเรียน และประกันคุณภาพผูเ รียน ตามนโยบายของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน (สพฐ.) โดยใชหนังสือเรียน พระพุทธศาสนา ม.2 ของบริษัท อักษรเจริญทัศน อจท. จํากัด เปนสื่อหลัก (Core Material) ประกอบ เสร�ม การสอนและการจัดกิจกรรมการเรียนรูใหสอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดกลุมสาระการเรียนรู สังคมศึกษา 3 ศาสนา และวัฒนธรรม ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 โดยออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอน ตามหลักการสําคัญ ดังนี้ 1 ออกแบบการสอนเปนหนวยการเรียนรูอิงมาตรฐาน คูม อื ครู รายวิชา พระพุทธศาสนา ม.2 วางแผนการสอนโดยแบงเปนหนวยการเรียนรูต ามลําดับสาระ (strand) และ หมายเลขขอของมาตรฐานการเรียนรูแ ละตัวชีว้ ดั แตละหนวยจะกําหนดเปาหมายการเรียนรูแ ละจุดประสงคการเรียนรู (Objective Learning) กิจกรรมการเรียนรู (Learning Activities) และแนวทางการประเมินผลการเรียนรู (Learning Evaluation) ไวชัดเจน ครูผูสอนสามารถจัดทําแผนการสอนใหครอบคลุมมาตรฐานการเรียนรู ตัวชี้วัด สมรรถนะ และคุณลักษณะ อันพึงประสงคที่เปนเปาหมายการเรียนรูตามที่กําหนดไวในสาระแกนกลาง (ตามแผนภูมิ) และสามารถบันทึกผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนของผูเรียนแตละคนลงในเอกสาร ปพ.5 ไดอยางมั่นใจ แผนภูมิแสดงความสัมพันธขององคประกอบการออกแบบการเรียนรูอิงมาตรฐานและเนนผูเรียนเปนสําคัญ

พผ

ูเ

จุดปร

ะสง

คก า

ส ภา

รียน

รู ีเรยน

มาตรฐานการเรียนรู ตัวชี้วัดชั้นป

ทักษะการคิด การวัดประเมินผล การเรียนรู

กิจกรรมการเรียนรู

เทคนิคการสอน คูม อื ครู


2 การจัดการเรียนรูที่ยึดผูเรียนเปนสําคัญ แนวคิ ด ในการจั ด การเรี ย นการสอนที่ ยึ ด ผู  เ รี ย นเป น สํ า คั ญ พั ฒ นามาจากปรั ช ญาและทฤษฎี ก ารเรี ย นรู  Constructivism ที่เชื่อวา การเรียนรูเปนกระบวนการที่เกิดขึ้นภายในสมองของผูเรียนแตละคน ผูเรียนเปนผูสรางความรู โดยการเชื่อมโยงระหวางสิ่งที่ไดเรียนรูจากบทเรียนใหมกับความรูหรือประสบการณเดิมที่มีอยู ทฤษฎีนี้มีความเชื่อวา ผูเรียนทุกคนไดเรียนรูและมีการสั่งสมความรูความเขาใจเกี่ยวกับสิ่งตางๆ ติดตัวมากอน ทีจ่ ะเขาสูห อ งเรียน ซึง่ เปนการเรียนรูท เี่ กิดจากประสบการณและสิง่ แวดลอมรอบตัวผูเ รียนแตละคน ดังนัน้ การจัดกิจกรรม เสร�ม การเรียนการสอนในแตละหนวยการเรียนรู ผูสอนจะตองคํานึงถึง

4

1. ความรูเดิมของผูเรียน วิธีการสอนที่ดีจะตองเริ่มตนจากจุดที่วา ผูเ รียนมีความรูอ ะไรมาบาง แลวจึงใหความรู หรือประสบการณใหม เพื่อตอยอดจาก ความรูเดิม นําไปสูการสรางความรู ความเขาใจใหม

2. ความรูเดิมของผูเรียนถูกตองหรือไม ผูส อนตองปรับเปลีย่ นความรูค วามเขาใจเดิม ของผูเรียนใหถูกตอง และเปนพฤติกรรม การเรียนรูใ หมทมี่ คี ณุ คาตอผูเรียน เพื่อสราง เจตคติหรือทัศนคติที่ดีตอการเรียนรู สิ่งเหลานั้น

3. ผูเรียนสรางความหมายสําหรับตนเอง ผูสอนตองสงเสริมใหผูเรียนนําความรู ความเขาใจที่เกิดขึ้นไปลงมือปฏิบัติ เพื่อขยายความรูใหลึกซึ้งและมีคุณคา ตอตัวผูเรียนมากที่สุด

แนวคิด Constructivism เนนใหผูเรียนสรางความรูโดยผานกระบวนการคิดและความอยากรูของตนเอง โดยมีผูสอนเปนผูสรางบรรยากาศ

การเรียนรูและกระตุนความสนใจ คอยจัดสถานการณใหผูเรียนเกิดความขัดแยงทางความคิดระหวางประสบการณเดิมกับประสบการณ ความรูใ หม เพือ่ กระตนุ ใหผเู รียนเชือ่ มโยงความรู ความคิด กับประสบการณทมี่ อี ยูเ ดิม แลวสังเคราะหเปนความรูห รือแนวคิดใหมๆ ไดดว ยตนเอง

3 การบูรณาการกระบวนการคิด การเรียนรูของผูเรียนแตละคนจะเกิดขึ้นที่สมอง ซึ่งเปนอวัยวะที่ทําหนาที่รูคิดภายใตสภาพแวดลอมที่เอื้ออํานวย และไดรบั การกระตนุ จูงใจอยางเหมาะสม สอดคลองกับสภาพจิตใจและความตองการของผูเ รียนแตละคน การจัดกิจกรรม การเรียนรูและสาระการเรียนรูที่สอดคลองกับความสนใจและมีความหมายตอผูเรียน จะชวยกระตุนใหสมองของผูเรียน สามารถรับรูและเรียนรูไดอยางมีประสิทธิภาพตามขั้นตอนการทํางานของสมอง ดังนี้ 1. สมองจะเรียนรูและสืบคน โดยการสังเกต คนหา ซักถาม และทดลอง ปฏิบัติ จนทําใหคนพบความรูความเขาใจ ไดอยางรวดเร็ว

2. สมองจะแยกแยะคุณคาของสิ่งตางๆ โดยการตัดสินใจวิพากษวิจารณ แสดง ความคิดเห็น ยอมรับหรือตอตานตาม อารมณความรูสึกที่เกิดขึ้นในขณะที่เรียนรู

3. สมองจะประมวลเนื้อหาสาระ โดยการสรุปเปนความคิดรวบยอดจาก เรื่องราวที่ไดเรียนรูใหมนําไปผสมผสานกับ ความรูห รือประสบการณเดิมทีถ่ กู จัดเก็บอยูใ น สมอง ผานการกลัน่ กรองเพือ่ สังเคราะหเปน ความรูค วามเขาใจใหมๆ หรือเปนทัศนคติใหม ที่จะเก็บบรรจุไวในสมองของผูเรียน

การเรียนรูที่มีประสิทธิภาพจึงตองเปนการเรียนรูที่เกิดจากกระบวนการคิดของผูเรียน เพราะการเรียนรูจะเกิดขึ้น เมื่อสมองรูคิด และตองเปนการคิดไดครบถวนตามขั้นตอนการทํางานของสมองผูเรียน โดยเริ่มตนจาก 1. ระดับการคิดพื้นฐาน ไดแก การสังเกต การจําแนก การคาดคะเน การสื่อความหมาย การรวบรวมขอมูล การสรุปผล เปนตน

คูม อื ครู

2. ระดับลักษณะการคิด ไดแก การคิดกวาง คิดลึกซึ้ง คิดไกล คิดหลากหลาย คิดคลอง คิดอยางมีเหตุผล เปนตน

3. ระดับกระบวนการคิด ไดแก กระบวนการคิดอยางมีวิจารณญาณ กระบวนการแกปญหา กระบวนการ คิดสรางสรรค กระบวนการคิดสังเคราะห เปนตน


5Es การจัดกิจกรรมตามขั้นตอนวัฏจักรการเรียนรู 5Es ขั้นตอนการสอนที่สัมพันธกับขั้นตอนการคิดและการทํางานทางสมองของผูเรียนที่นิยมใชอยางแพรหลาย คือ วัฏจักรการเรียนรู 5Es ซึ่งผูจัดทําคูมือครูไดนํามาใชเปนแนวทางออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนในแตละหนวย ตามลําดับขั้นตอนการเรียนรู ดังนี้ ขั้นที่ 1

กระตุนความสนใจ

(Engage)

เสร�ม

5

เปนขั้นที่ผูสอนนําเขาสูบทเรียน เพื่อกระตุนความสนใจของผูเรียนดวยเรื่องราวหรือเหตุการณที่นาสนใจโดยใชเทคนิควิธีการ และคําถามทบทวนความรูหรือประสบการณเดิมของผูเรียน เพื่อเชื่อมโยงผูเรียนเขาสูความรูของบทเรียนใหม ชวยใหผูเรียนสามารถ สรุปความสําคัญหัวขอและสาระการเรียนรูของบทเรียนได จึงเปนขั้นตอนการสอนที่สําคัญ เพราะเปนการเตรียมความพรอมและสราง แรงจูงใจใฝเรียนรูแกผูเรียน

ขั้นที่ 2

สํารวจคนหา

(Explore)

เปนขัน้ ทีผ่ สู อนเปดโอกาสใหผเู รียนลงมือศึกษา สังเกต หรือรวมมือกันสํารวจ เพือ่ ใหเห็นขอบขายของประเด็นหรือปญหา รวมถึง วิธีการศึกษาคนควา การรวบรวมขอมูลความรูที่จะนําไปสูการสรางความเขาใจประเด็นหรือปญหานั้นๆ เมื่อผูเรียนทําความเขาใจใน ประเด็นหรือปญหาที่จะศึกษาคนควาอยางถองแทแลว ก็ลงมือปฏิบัติเพื่อเก็บรวบรวมขอมูลความรู สํารวจตรวจสอบ โดยวิธีการตางๆ เชน สัมภาษณ ทดลอง อานคนควาขอมูลจากเอกสาร แหลงขอมูลตางๆ จนไดขอมูลความรูที่เกี่ยวของกับประเด็นหรือปญหาที่ศึกษา

ขั้นที่ 3

อธิบายความรู

(Explain)

เปนขั้นที่ผูสอนมีปฏิสัมพันธกับผูเรียน เชน ใหการแนะนํา ตั้งคําถามกระตุนใหคิด เพื่อใหผูเรียนคนหาคําตอบ และนําขอมูล ความรูจากการศึกษาคนควาในขั้นที่ 2 มาวิเคราะห สรุปผล และนําเสนอผลที่ไดศึกษาคนความาในรูปแบบสารสนเทศตางๆ เชน เขียนแผนภูมิ ผังมโนทัศน เขียนความเรียง เขียนรายงาน เปนตน ในขั้นตอนนี้ฝกใหผูเรียนใชสมองคิดวิเคราะหและสังเคราะห อยางเปนระบบ

ขั้นที่ 4

ขยายความเขาใจ

(Expand)

เปนขั้นที่ผูสอนเลือกใชเทคนิควิธีสอนตางๆ ที่สงเสริมใหผูเรียนนําความรูที่เกิดขึ้นไปคิดคนสืบคนตอๆ ไป เพื่อพัฒนาทักษะ การเรียนรูและการทํางานรวมกันเปนกลุม ระดมสมองเพื่อคิดสรางสรรครวมกัน ผูเรียนสามารถนําความรูที่สรางขึ้นใหมไปเชื่อมโยง กับประสบการณเดิมโดยนําขอสรุปทีไ่ ดไปใชอธิบายเหตุการณตา งๆ หรือนําไปปฏิบตั ใิ นสถานการณใหมๆ ทีเ่ กีย่ วของกับชีวติ ประจําวัน ของตนเอง เพื่อขยายความรูความเขาใจใหกวางขวางยิ่งขึ้น ในขั้นตอนนี้ฝกสมองของผูเรียนใหสามารถคิดริเริ่มสรางสรรคอยางมี คุณภาพ เสริมสรางวิสัยทัศนใหกวางไกลออกไป

ขั้นที่ 5

ตรวจสอบผล

(Evaluate)

เปนขัน้ ทีผ่ สู อนประเมินมโนทัศนของผูเ รียน โดยตรวจสอบจากความคิดทีเ่ ปลีย่ นไปและความคิดรวบยอดทีเ่ กิดขึน้ ใหม ตรวจสอบ ทักษะ กระบวนการปฏิบัติ การแกปญหา การตอบคําถามรวบยอด หรือการเคารพความคิดหรือยอมรับเหตุผลของคนอื่น เพื่อการ สรางสรรคความรูร ว มกัน ผูเ รียนสามารถประเมินผลการเรียนรูข องตนเอง เพือ่ สรุปผลวามีความรูอ ะไรเพิม่ ขึน้ มาบาง เกิดความเขาใจ มากนอยเพียงใด และจะนําความรูเหลานั้นไปประยุกตใชในการเรียนรูเรื่องอื่นๆ หรือในชีวิตประจําวันไดอยางไร ผูเรียนจะเกิดเจตคติ และเห็นคุณคาของตนเองจากผลการเรียนรูที่เกิดขึ้น ซึ่งเปนการเรียนรูที่มีความสุขอยางแทจริง

การจัดกิจกรรมการเรียนรูตามขั้นตอนวัฏจักรการเรียนรู 5Es จึงเปนรูปแบบการเรียนการสอนที่เนนผูเรียน เปนสําคัญอยางแทจริง เพราะสงเสริมใหผูเรียนไดเรียนรูตามขั้นตอนของกระบวนการสรางความรูดวยตนเอง และ ฝกฝนใหใชกระบวนการคิดและกระบวนการกลุมอยางชํานาญ กอใหเกิดทักษะชีวิต ทักษะการทํางาน และทักษะการ เรียนรูที่มีประสิทธิภาพ สงผลตอการยกระดับผลสัมฤทธิ์ของผูเรียน ตามเปาหมายของการปฏิรูปการศึกษาทศวรรษที่ 2 (พ.ศ. 2552-2561) ทุกประการ คูม อื ครู


O-NET การเพิ่มผลสัมฤทธิ์ O-NET

การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามขั้นตอนวัฏจักรการเรียนรู 5Es ในแตละหนวยการเรียนรู ทางผูจัดทํา จะเสนอแนะวิธีสอน รูปแบบกิจกรรมการเรียนรู พรอมทั้งออกแบบเครื่องมือวัดและประเมินผลที่สอดคลองกับตัวชี้วัด และสาระการเรียนรูแกนกลางไวทุกขั้นตอน โดยยึดหลักสําคัญ คือ หลักของการวัดและประเมินผล เสร�ม

6

1. การวัดและประเมินผลทุกครั้ง ควรนําผลมาปรับปรุงพัฒนาผูเรียน เปนรายบุคคล

2. การวัดและประเมินผลมี เปาหมาย เพื่อพัฒนาการเรียนรู ของผูเรียนจนเต็มศักยภาพ

3. การนําผลการวัดและประเมินผล ทุกครั้งมาวางแผนปรับปรุงกิจกรรม การเรียนการสอน การเลือกเทคนิค วิธีสอน และสื่อการเรียนรูให เหมาะสมกับสภาพจริงของผูเรียน

การทดสอบผูเรียน 1. การใชขอสอบอัตนัย เนนการอาน การคิดวิเคราะห และการเขียนเพิ่มมากขึ้น 2. การใชคําถามกระตุนการคิดควบคูกับการทําขอสอบที่เนนการคิดอยางตอเนื่องตามลําดับกิจกรรมการเรียนรู และตัวชี้วัด 3. การทดสอบตองดําเนินการทั้งกอนเรียน ระหวางเรียน และหลังเรียน การทดสอบควรใชขอสอบทั้งชนิดปรนัยและ อัตนัย และเปนการทดสอบเพื่อประเมินผลการเรียนของผูเรียนแตละคน เพื่อการสอนซอมเสริมใหบรรลุตัวชี้วัด ไดครบถวน 4. การสอบกลางภาค (ถามี) ควรนําแบบฝกหัดหรือขอสอบทีน่ กั เรียนสวนใหญไมสามารถตอบไดหรือไมครบถวนชัดเจน มา สรางเปนแบบทดสอบอีกครัง้ เพือ่ ตรวจสอบความรูค วามเขาใจทีถ่ กู ตอง และประเมินความกาวหนาของผูเ รียนแตละคน 5. การสอบปลายภาคเรียนเพื่อวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามตัวชี้วัดที่สําคัญ ควรออกขอสอบใหมีลักษณะเดียวกับ ขอสอบ O-NET โดยเนนการคิดวิเคราะห สังเคราะห เชื่อมโยงประยุกตใช เพื่อสรางความคุนเคย และฝกฝน วิธีการทําขอสอบดวยความมั่นใจ 6. การนําผลการทดสอบของผูเรียนมาวิเคราะห โดยผลการสอบกอนการเรียนตองสามารถพยากรณผลการสอบ กลางภาค และผลการสอบกลางภาคตองทํานายผลการสอบปลายภาคของผูเ รียนแตละคน เพือ่ ประเมินพัฒนาการ ความกาวหนาของผูเรียนเปนรายบุคคล 7. ผลการทดสอบปลายป ปลายภาค ตองมีคาเฉลี่ยสอดคลองกับคาเฉลี่ยของการสอบ NT ที่เขตพื้นที่การศึกษา จัดสอบ รวมทั้งคาเฉลี่ยของการสอบ O-NET ชวงชั้นที่สอดคลองครอบคลุมมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดสําคัญ เพือ่ สะทอนประสิทธิภาพของครูผสู อนในการออกแบบการเรียนรูแ ละประกันคุณภาพผูเ รียนทีต่ รวจสอบผลไดชดั เจน การจัดการเรียนการสอนในแตละหนวยการเรียนรู ตองใหผูเรียนไดสั่งสมความรู ความเขาใจตามลําดับขั้นตอน ของกิจกรรมในวัฏจักรการเรียนรู 5Es เพื่อใหผูเรียนไดเติมเต็มองคความรูอยางตอเนื่อง จนสามารถปฏิบัติชิ้นงานหรือ ภาระงานรวบยอดของแตละหนวย ผานเกณฑประกันคุณภาพในระดับที่นาพึงพอใจ เพื่อรองรับการประเมินภายนอกจาก สมศ. ตลอดเวลา คูม อื ครู


ASEAN การเรียนรูสูประชาคมอาเซียน เพื่ออํานวยความสะดวกแกครูผูสอนในการจัดกิจกรรมการเรียนรูบูรณาการอาเซียนศึกษา ผูจัดทําไดวิเคราะห มาตรฐานการเรียนรู และตัวชี้วัดที่มีสาระการเรียนรูสอดคลองกับองคความรูเกี่ยวกับประชาคมอาเซียนในแงมุมตางๆ ครอบคลุมทัง้ ประชาคมการเมืองและความมัน่ คงอาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และประชาคมสังคมและวัฒนธรรม อาเซียน เพื่อสงเสริมการเรียนรูใหผูเรียนเกิดความตระหนัก มีความรูความเขาใจเหมาะสมกับระดับชั้นและกลุมสาระ การเรียนรู โดยเสนอแนะวิธีการจัดกิจกรรมบูรณาการเนื้อหาสาระตางๆ ที่เปนประโยชนตอผูเรียนและเปนการชวย เตรียมความพรอมผูเ รียนทุกคนทีจ่ ะกาวเขาสูก ารเปนสมาชิกของประชาคมอาเซียนไดอยางมัน่ ใจตามขอตกลงปฏิญญา เสร�ม ชะอํา-หัวหิน วาดวยความรวมมือดานการศึกษาเพือ่ บรรลุเปาหมายประชาคมอาเซียนทีเ่ อือ้ อาทรและแบงปน จึงกําหนด 7 เปนนโยบายใหกระทรวงศึกษาธิการจัดการเรียนรูเตรียมความพรอมผูเรียนเขาสูประชาคมอาเซียนภายในป พ.ศ. 2558 ตามแนวปฏิบัติที่สําคัญ ดังนี้

การจัดการเรียนรูส ู ประชาคมการเมืองและความมัน่ คงอาเซียน 1. การสรางความรูความเขาใจ และตระหนักถึงความสําคัญของ กฎบัตรอาเซียน และความรวมมือ ของ 3 เสาหลัก ซึง่ กฎบัตรอาเซียน ในขณะนี้มีสถานะเปนกฎหมายที่ ประเทศสมาชิกจะตองปฏิบัติตาม หลักการที่กําหนดไวเพื่อใหบรรลุ เปาหมายของกฎบัตรมาตราตางๆ

2. การสงเสริมหลักการ ประชาธิปไตยและการสราง สิ่งแวดลอมประชาธิปไตย เพื่อการอยูรวมกันอยางกลมกลืน ภายใตวิถีชีวิตอาเซียนที่มีความ หลากหลายดานสังคมและ วัฒนธรรม

4. การตระหนักในคุณคาของ สายสัมพันธทางประวัติศาสตร และมรดกทางวัฒนธรรมที่มี พัฒนาการรวมกัน เพื่อเชื่อม อัตลักษณและสรางจิตสํานึก ในการเปนประชากรของประชาคม อาเซียนรวมกัน

3. การสงเสริมการศึกษาดาน สิทธิมนุษยชน เพื่อสรางประชาคม อาเซียนใหเปนประชาคมเพื่อ ประชาชนอยางแทจริง สามารถ อยูรวมกันไดบนพื้นฐานการเคารพ ในคุณคาของศักดิ์ศรีแหงความ เปนมนุษยเทาเทียมกัน

5. การสงเสริมสันติภาพ ความ มั่นคง และความปรองดองในสังคม ทั้งระดับประเทศและภูมิภาคของ อาเซียนบนพื้นฐานสันติวิธีและการ อยูรวมกันดวยขันติธรรม

คูม อื ครู


การจัดการเรียนรูส ู ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

เสร�ม

8

1. การพัฒนาทักษะการทํางาน เพื่อเสริมสรางผูเรียนใหมีทักษะ วิชาชีพที่จําเปนสอดคลองกับ ความตองการของตลาดแรงงาน และสถานประกอบการในอาเซียน สามารถเทียบโอนผลการเรียน และการทํางานตามมาตรฐานฝมือ แรงงานในภูมิภาคอาเซียน

2. การเสริมสรางวินัย ความรับผิดชอบ และเจตคติรักการทํางาน สามารถพึ่งพาตนเอง มีทักษะชีวิต ดํารงชีวิตอยางมีความสุข เห็นคุณคา และภูมิใจในตนเอง ในฐานะที่เปนพลเมืองไทยและ อาเซียน

3. การเรียนรูเพื่อพัฒนาตนเอง อยางตอเนื่องตลอดชีวิต ใหมี ทักษะการทํางานตามมาตรฐาน อาชีพ และคุณวุฒิของวิชาชีพสาขา ตางๆ เพื่อรองรับการเตรียมเคลื่อน ยายแรงงานมีฝมือและการเปน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนที่ เขมแข็ง เพื่อสรางขีดความสามารถ ในการแขงขันในเวทีโลก

การจัดการเรียนรูส ู ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน 1. การเสริมสรางความรวมมือ ในลักษณะสังคมที่เอื้ออาทร ของประชากรอาเซียน โดยยึด หลักการสําคัญ คือ ความงดงาม ของประชาคมอาเซียนมาจาก ความแตกตางและหลากหลายทาง วัฒนธรรมที่ลวนแตมีคุณคาตอ มรดกทางวัฒนธรรมของอาเซียน ซึ่งประชาชนทุกคนตองอนุรักษ สืบสานใหยั่งยืน

2. การเสริมสรางคุณลักษณะ ของผูเรียนใหเปนพลเมืองอาเซียน ที่มีศักยภาพในการกาวเขาสู ประชาคมอาเซียนอยางมั่นใจ เปนผูที่มีสุขภาพสมบูรณแข็งแรง มีทักษะการสื่อสาร ทักษะการ ทํางาน ทักษะทางสังคม สามารถ ทํางานรวมกับผูอื่นไดอยาง สรางสรรค และมีองคความรู เกี่ยวกับอาเซียนที่จําเปนตอการ ดํารงชีวิตอยางมีคุณภาพ

4. การสงเสริมการเรียนรูดาน ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี วิถชี วี ติ ความเปนอยูข องเพือ่ นบาน ในอาเซียน เพื่อสรางจิตสํานึกของ ความเปนประชาคมอาเซียนและ ตระหนักถึงหนาที่ของการเปน พลเมืองอาเซียนรวมกัน

3. การสงเสริมการเรียนรูภาษา อังกฤษเพื่อการสื่อสารและการ ทํางานตามมาตรฐานอาชีพที่ กําหนดและสนับสนุนการเรียนรู ภาษาอาเซียนและภาษาเพื่อนบาน เพื่อชวยเสริมสรางสัมพันธภาพทาง สังคม และการอยูรวมกันอยางสันติ ทามกลางความหลากหลายทาง วัฒนธรรม

5. การสรางความรูและความ ตระหนักเกี่ยวกับดานสิ่งแวดลอม ปญหาและผลกระทบตอคุณภาพ ชีวิตของประชากรในภูมิภาค รวมทั้งแนวทางการพัฒนาอยาง ยั่งยืน ใหเปนมรดกสืบทอดแก พลเมืองอาเซียนในรุนหลังตอๆ ไป

กระทรวงศึกษาธิการจึงประกาศนโยบายการปฏิรูปการศึกษาทศวรรษที่ 2 (พ.ศ. 2552-2561) เพื่อเรงพัฒนาเด็ก และเยาวชนไทยใหเปนทรัพยากรมนุษยของชาติที่มีทักษะและความชํานาญ พรอมเผชิญกับความเปลี่ยนแปลงและ การแขงขันทั้งในภูมิภาคอาเซียนและภูมิภาคอื่นๆ ของสังคมโลก ทั้งนี้ผูบริหารสถานศึกษา ครูผูสอน และผูปกครอง ควรรวมมือกันอยางใกลชิดในการดูแลชวยเหลือผูเรียนและจัดประสบการณการเรียนรูเพื่อพัฒนาผูเรียนจนเต็มศักยภาพ เพื่อกาวเขาสูการเปนพลเมืองอาเซียนอยางมีเกียรติภูมิและศักดิ์ศรีความเปนมนุษยของตน คณะผูจัดทํา คูม อื ครู


ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง สาระที่ 1

พระพุทธศาสนา (เฉพาะชั้น ม.2)*

ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม

มาตรฐาน ส 1.1 รูและเขาใจประวัติ ความสําคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือและ ศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ถูกตอง ยึดมั่น และปฏิบัติตามหลักธรรม เพื่ออยูรวมกันอยางสันติสุข ชั้น

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

ม.2 1. อธิบายการเผยแผ • การเผยแผพระพุทธศาสนาเขาสู พระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ ประเทศเพื่อนบานและการนับถือ ตนนับถือสูประเทศเพื่อนบาน พระพุทธศาสนาของประเทศ เพื่อนบานในปจจุบัน 2. วิเคราะหความสําคัญของ • ความสําคัญของพระพุทธศาสนาที่ชวย พระพุทธศาสนาหรือศาสนา เสริมสรางความเขาใจอันดีกับประเทศ ที่ตนนับถือ ที่ชวยเสริมสราง เพื่อนบาน ความเขาใจอันดีกับประเทศ เพื่อนบาน • ความสําคัญของพระพุทธศาสนาตอ 3. วิเคราะหความสําคัญของ พระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ สังคมไทยในฐานะเปน ตนนับถือในฐานะทีเ่ ปนรากฐาน - รากฐานของวัฒนธรรม ของวัฒนธรรม เอกลักษณ - เอกลักษณและมรดกของชาติ ของชาติ และมรดกของชาติ • ความสําคัญของพระพุทธศาสนากับ 4. อภิปรายความสําคัญของ พระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ การพัฒนาชุมชนและการจัดระเบียบ ตนนับถือกับการพัฒนาชุมชน สังคม และการจัดระเบียบสังคม 5. วิเคราะหพุทธประวัติหรือ • สรุปและวิเคราะหพุทธประวัติ ประวัติศาสดาของศาสนาที่ตน - การผจญมาร นับถือตามที่กําหนด - การตรัสรู - การสั่งสอน 6. วิเคราะหและประพฤติตนตาม • พุทธสาวก พุทธสาวิกา แบบอยางการดําเนินชีวิตและ - พระสารีบุตร ขอคิดจากประวัติสาวก ชาดก - พระโมคคัลลานะ เรือ่ งเลาและศาสนิกชนตัวอยาง - นางขุชชุตตรา ตามที่กําหนด - พระเจาพิมพิสาร

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

• หนวยการเรียนรูท ี่ 1 ประวัตแิ ละความสําคัญของ พระพุทธศาสนา

เสร�ม

9

• หนวยการเรียนรูท ี่ 1 ประวัตแิ ละความสําคัญของ พระพุทธศาสนา

• หนวยการเรียนรูท ี่ 1 ประวัตแิ ละความสําคัญของ พระพุทธศาสนา

• หนวยการเรียนรูท ี่ 1 ประวัตแิ ละความสําคัญของ พระพุทธศาสนา • หนวยการเรียนรูท ี่ 2 พุทธประวัติ พระสาวก ศาสนิกชนตัวอยาง และชาดก • หนวยการเรียนรูท ี่ 2 พุทธประวัติ พระสาวก ศาสนิกชนตัวอยาง และชาดก

_________________________________ * สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, กระทรวงศึกษาธิการ. ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม. (กรุงเทพมหานคร : ชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย, 2551), หนา 6-51.

คูม อื ครู


ชั้น

ม.2

เสร�ม

10

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

• ชาดก - มิตตวินทุกชาดก - ราโชวาทชาดก • ศาสนิกชนตัวอยาง - พระมหาธรรมราชาลิไทย - สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระยาวชิรญาณวโรรส 7. อธิบายโครงสรางและสาระ • โครงสรางและสาระสังเขปของ • หนวยการเรียนรูที่ 4 สังเขปของพระไตรปฎก หรือ พระวินัยปฎก พระสุตตันตปฎก และ พระไตรปฎก คัมภีรของศาสนาที่ตนนับถือ พระอภิธรรมปฎก และพุทธศาสนสุภาษิต 8. อธิบายธรรมคุณและขอธรรม • พระรัตนตรัย สําคัญในกรอบอริยสัจ 4 - ธรรมคุณ 6 หรือหลักธรรมของศาสนา • อริยสัจ 4 ที่ตนนับถือตามที่กําหนด - ทุกข (ธรรมที่ควรรู)  ขันธ 5 เห็นคุณคาและนําไปพัฒนา ➣ อายตนะ แกปญหาของชุมชนและสังคม - สมุทัย (ธรรมที่ควรละ)  หลักกรรม ➣ สมบัติ 4 ➣ วิบัติ 4  อกุศลกรรมบถ 10  อบายมุข 6 • นิโรธ (ธรรมที่ควรบรรลุ)  สุข 2 (สามิส, นิรามิส) • มรรค (ธรรมที่ควรเจริญ)  บุพนิมิตของมัชฌิมาปฏิปทา  ดรุณธรรม 6  กุลจิรัฏฐิติธรรม 4  กุศลกรรมบถ 10  สติปฏฐาน 4  มงคล 38 ➣ ประพฤติธรรม ➣ เวนจากความชั่ว ➣ เวนจากการดื่มนํ้าเมา

คูม อื ครู

• หนวยการเรียนรูท ี่ 3 หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา • หนวยการเรียนรูที่ 4 พระไตรปฎก และพุทธศาสนสุภาษิต


ชั้น

ม.2

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง ➣

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

พุทธศาสนสุภาษิต • กมฺมุนา วตฺตติ โลโก สัตวโลกยอมเปนไปตามกรรม • กลฺยาณการี กลฺยาณํ ปาปการี จ ปาปกํ ทําดีไดดี ทําชั่วไดชั่ว • สุโข ปุฺญสฺส อุจฺจโย การสั่งสมบุญนําสุขมาให • ปูชโก ลภเต ปูชํ วนฺทโก ปฏิวนฺทนํ ผูบูชาเขายอมไดรับการบูชาตอบ ผูไหวเขายอมไดรับการไหวตอบ

เสร�ม

11

9. เห็นคุณคาของการพัฒนาจิต • พัฒนาการเรียนรูดวยวิธีคิดแบบ • หนวยการเรียนรูที่ 7 เพื่อการเรียนรูและดําเนินชีวิต โยนิโสมนสิการ 2 วิธี คือ วิธีคิดแบบ การบริหารจิต ดวยวิธีคิดแบบโยนิโสมนสิการ อุบายปลุกเราคุณธรรม และวิธีคิดแบบ และการเจริญปญญา คือ วิธีคิดแบบอุบายปลุกเรา อรรถธรรมสัมพันธ คุณธรรม และวิธีคิดแบบ อรรถธรรมสัมพันธ หรือการ พัฒนาจิตตามแนวทางของ ศาสนาที่ตนนับถือ 10. สวดมนต แผเมตตา บริหารจิต • สวดมนตแปล และแผเมตตา • หนวยการเรียนรูที่ 7 และเจริญปญญาดวย - รูและเขาใจวิธีปฏิบัติและประโยชน การบริหารจิต อานาปานสติ หรือตามแนวทาง ของการบริหารจิตและเจริญปญญา และการเจริญปญญา ของศาสนาที่ตนนับถือ - ฝกการบริหารจิตและเจริญปญญา ตามหลักสติปฏ ฐานเนนอานาปานสติ - นําวิธีการบริหารจิตและเจริญปญญา ไปใชในชีวิตประจําวัน 11.วิเคราะหการปฏิบัติตนตาม • การปฏิบัติตนตามหลักธรรม หลักธรรมทางศาสนาที่ตน (ตามสาระการเรียนรู ขอ 8.) นับถือ เพื่อการดํารงตนอยาง เหมาะสมในกระแสความ เปลี่ยนแปลงของโลกและการ อยูรวมกันอยางสันติสุข

• หนวยการเรียนรูที่ 8 การปฏิบัติตนตามหลักธรรม ทางพระพุทธศาสนา

คูม อื ครู


สาระที่ 1

ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม

มาตรฐาน ส 1.2 เขาใจ ตระหนักและปฏิบัติตนเปนศาสนิกชนที่ดี และธํารงรักษาพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือ ชั้น

เสร�ม

12

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

ม.2 1. ปฏิบัติตนอยางเหมาะสมตอ • การเปนลูกที่ดีตามหลักทิศเบื้องหนา • หนวยการเรียนรูที่ 5 บุคคลตางๆ ตามหลักศาสนาที่ ในทิศ 6 หนาที่ชาวพุทธ ตนนับถือตามที่กําหนด และมารยาทชาวพุทธ 2. มีมรรยาทของความเปน ศาสนิกชนที่ดีตามที่กําหนด

• มรรยาทของศาสนิกชน - การตอนรับ (ปฏิสันถาร) - มรรยาทของผูเปนแขก - ฝกปฏิบัติระเบียบพิธี ปฏิบัติตอ พระภิกษุ การยืน การใหที่นั่ง การเดินสวน การสนทนา การรับสิ่งของ - การแตงกายไปวัด การแตงกายไป งานมงคล งานอวมงคล 3. วิเคราะหคุณคาของศาสนพิธี • การปฏิบัติตนอยางเหมาะสม และปฏิบัติตนไดถูกตอง - การทําบุญตักบาตร - การถวายภัตตาหารสิง่ ของทีค่ วรถวาย และสิ่งของตองหามสําหรับพระภิกษุ - การถวายสังฆทาน เครื่องสังฆทาน - การถวายผาอาบนํ้าฝน - การจัดเครื่องไทยธรรม เครื่องไทยทาน - การกรวดนํ้า - การทอดกฐิน การทอดผาปา

คูม อื ครู

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

• หนวยการเรียนรูที่ 5 หนาที่ชาวพุทธ และมารยาทชาวพุทธ

• หนวยการเรียนรูที่ 6 วันสําคัญทางพระพุทธศาสนา และศาสนพิธี


ชั้น

ตัวชี้วัด

ม.2 4. อธิบายคําสอนที่เกี่ยวเนื่อง กับวันสําคัญทางศาสนาและ ปฏิบัติตนไดถูกตอง

สาระการเรียนรูแกนกลาง

• หลักธรรมเบื้องตนที่เกี่ยวเนื่อง ในวันมาฆบูชา วันวิสาขบูชา วันอัฏฐมีบูชา วันอาสาฬหบูชา วันธรรมสวนะและเทศกาลสําคัญ • ระเบียบพิธีและการปฏิบัติตนใน วันธรรมสวนะ วันเขาพรรษา วันออกพรรษา วันเทโวโรหณะ

5. อธิบายความแตกตางของ • ศาสนพิธี พิธีกรรม แนวปฏิบัติของ ศาสนาอื่น ศาสนพิธี พิธีกรรมตามแนว ปฏิบัติของศาสนาอื่นๆ เพื่อนําไปสูการยอมรับ และความเขาใจซึ่งกันและกัน

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

• หนวยการเรียนรูท ี่ 6 วันสําคัญทางพระพุทธศาสนา และศาสนพิธี เสร�ม

13

• หนวยการเรียนรูท ี่ 6 วันสําคัญทางพระพุทธศาสนา และศาสนพิธี

คูม อื ครู


จุดเนนการพัฒนาคุณภาพผูเรียน* การขับเคลื่อนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551 และการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษ ที่สอง (พ.ศ. 2552-2561) ใหประสบผลสําเร็จตามจุดเนนการพัฒนาคุณภาพผูเรียน โดยใหทุกภาคสวน รวมกันดําเนินการ กระทรวงศึกษาธิการไดกําหนดจุดเนนการพัฒนาคุณภาพผูเรียน ดังนี้ เสร�ม

14

ทักษะ ความสามารถ

คุณลักษณะ จุดเนนตามชวงวัย

ม. 4-6

แสวงหาความรู เพื่อแกปญหา ใชเทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู ใชภาษาตางประเทศ (ภาษาอังกฤษ) มีทักษะการคิดขั้นสูง ทักษะชีวิต ทักษะการสื่อสารอยางสรางสรรคตามชวงวัย

ม. 1-3

แสวงหาความรูดวยตนเอง ใชเทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู มีทักษะการคิดขั้นสูง ทักษะชีวิต ทักษะการสื่อสารอยางสรางสรรคตามชวงวัย

• อยูอยางพอเพียง

ป. 4-6

อานคลอง เขียนคลอง คิดเลขคลอง ทักษะการคิดขั้นพื้นฐาน ทักษะชีวิต ทักษะการสื่อสารอยางสรางสรรคตามชวงวัย

• ใฝเรียนรู

ป. 1-3

อานออก เขียนได คิดเลขเปน มีทักษะการคิดขั้นพื้นฐาน ทักษะชีวิต ทักษะการสื่อสารอยางสรางสรรคตามชวงวัย

• ใฝดี

• มุงมั่นในการศึกษา และการทํางาน

คุณลักษณะตามหลักสูตร

• รักชาติ ศาสน กษัตริย • ซื่อสัตยสุจริต • มีวินัย • ใฝเรียนรู • อยูอยางพอเพียง • มุงมั่นในการทํางาน • รักความเปนไทย • มีจิตสาธารณะ

* สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, กระทรวงศึกษาธิการ. แนวทางการนําจุดเนนการพัฒนาผูเรียน สูการปฏิบัติ. (กรุงเทพมหานคร : ชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย, 2553), หนา 3-10.

คูม อื ครู


คําอธิบายรายวิชา รายวิชา พระพุทธศาสนา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 รหัสวิชา ส…………………………………

กลุมสาระการเรียนรู สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ภาคเรียนที่ 1-2 เวลา 40 ชั่วโมง/ป

ศึกษา วิเคราะห การเผยแผพระพุทธศาสนาสูประเทศเพื่อนบาน ความสําคัญของพระพุทธศาสนาที่ชวยเสริมสราง ความเขาใจอันดีกับประเทศเพื่อนบาน เปนรากฐานของวัฒนธรรม เอกลักษณของชาติ และมรดกของชาติ การพัฒนา เสร�ม ชุมชนและการจัดระเบียบสังคม พุทธประวัติ ตอนผจญมาร การตรัสรู การสั่งสอน ประวัติพระสารีบุตร พระโมคคัลลานะ 15 นางขุชชุตตรา พระเจาพิมพิสาร มิตตวินทุกชาดก ราโชวาทชาดก พระมหาธรรมราชาลิไทย สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระยาวชิรญาณวโรรส โครงสรางและสาระสังเขปของพระวินัยปฎก พระสุตตันตปฎก และพระอภิธรรมปฎก อธิบายและปฏิบตั ติ นตามธรรมคุณ และปฏิบตั ติ นตามขอธรรมสําคัญในกรอบอริยสัจ 4 ในเรือ่ ง ธรรมคุณ 6 อริยสัจ 4 ทุกข (ธรรมที่ควรรู) ในเรื่อง ขันธ 5 (อายตนะ) สมุทัย (ธรรมที่ควรละ) ในเรื่องหลักกรรม (สมบัติ 4 วิบัติ 4) อกุศลกรรมบถ 10 อบายมุข 6 นิโรธ (ธรรมที่ควรบรรลุ) ในเรื่อง สุข 2 (สามิส นิรามิส) มรรค (ธรรมที่ควรเจริญ) ในเรื่อง บุพพนิมิตของ มัชฌิมาปฏิปทา ดรุณธรรรม 6 กุลจิรัฏฐิติธรรม 4 กุศลกรรมบถ 10 สติปฏฐาน 4 มงคล 38 ในเรื่อง ประพฤติธรรม เวนจาก ความชั่ว เวนจากการดื่มนํ้าเมา พุทธศาสนสุภาษิต กมฺมุนา วตฺตติ โลโก กลฺยาณการี กลฺยาณํ ปาปการี จ ปาปกํ สุโข ปุฺญสฺส อุจฺจโย ปูชโก ลภเต ปูชํ วนฺทโก ปฏิวนฺทนํ การพัฒนาจิตเพื่อการเรียนรูและดําเนินชีวิตดวยวิธีคิดแบบอุบาย ปลุกเราคุณธรรมและวิธีคิดแบบอรรถธรรมสัมพันธ สวดมนตแปล แผเมตตา บริหารจิตและเจริญปญญาดวยอานาปานสติ มีมรรยาทของความเปนศาสนิกชนที่ดี ปฏิบัติตนในศาสนพิธี พิธีกรรม และหลักคําสอนที่เกี่ยวเนื่องกับวันสําคัญทาง พระพุทธศาสนา โดยใชกระบวนการคิด กระบวนการสืบคนขอมูล กระบวนการทางสังคม กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการเผชิญ สถานการณและแกปญหา เพือ่ ใหเกิดความรู ความเขาใจ สามารถนําไปปฏิบตั ใิ นการดําเนินชีวติ นําไปพัฒนาและแกปญ หาของชุมชนและสังคม มีคุณลักษณะอันพึงประสงคในดานรักชาติ ศาสน กษัตริย ซื่อสัตยสุจริต มีวินัย ใฝเรียนรู อยูอยางพอเพียง มุงมั่นใน การทํางาน รักความเปนไทย มีจิตสาธารณะ สามารถดําเนินชีวิตอยูรวมกันไดอยางสันติสุข

ตัวชี้วัด ส 1.1 ม.2/1 ม.2/2 ม.2/3 ม.2/4 ม.2/5 ม.2/6 ม.2/7 ม.2/8 ม.2/9 ม.2/10 ม.2/11 ส 1.2 ม.2/1 ม.2/2 ม.2/3 ม.2/4 ม.2/5 รวม 16 ตัวชี้วัด

คูม อื ครู


ตาราง

วิเคราะหมาตรฐานการเรียนรูแ ละตัวชีว้ ดั รายวิชา พระพุทธศาสนา ม.2

คําชี้แจง : ใหผูสอนใชตารางนี้ตรวจสอบความสอดคลองของเนื้อหาสาระการเรียนรูในหนวยการเรียนรูกับมาตรฐาน การเรียนรูและตัวชี้วัดชั้นป เสร�ม

16

สาระที่ 1

มาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัด

หนวยการเรียนรู หนวยการเรียนรูที่ 1 : ประวัติและ ความสําคัญของ พระพุทธศาสนา หนวยการเรียนรูที่ 2 : พุทธประวัติ พระสาวก ศาสนิกชนตัวอยาง และชาดก

มาตรฐาน ส 1.1 ตัวชี้วัด 1

2

3

4

5

6

7

หนวยการเรียนรูที่ 3 : หลักธรรมทาง พระพุทธศาสนา หนวยการเรียนรูที่ 4 : พระไตรปฎก พุทธศาสนสุภาษิต

มาตรฐาน ส 1.2 ตัวชี้วัด 8

9

10 11

คูม อื ครู

3

4

5

หนวยการเรียนรูที่ 6 : วันสําคัญทาง พระพุ ท ธศาสนา และศาสนพิธี

หนวยการเรียนรูที่ 8 : การปฏิบัติตน ตามหลักธรรมทาง พระพุทธศาสนา

2

หนวยการเรียนรูที่ 5 : หนาที่ชาวพุทธ และมารยาท ชาวพุทธ

หนวยการเรียนรูที่ 7 : การบริหารจิตและ การเจริญปญญา

1


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ÃÒÂÇÔªÒ¾×é¹°Ò¹

¾Ãоط¸ÈÒÊ¹Ò Á.ò

ªÑ¹é ÁѸÂÁÈÖ¡ÉÒ»‚·Õè ò

¡ÅØ‹ÁÊÒÃСÒÃàÃÕ¹ÃÙŒÊѧ¤ÁÈÖ¡ÉÒ ÈÒÊ¹Ò áÅÐÇѲ¹¸ÃÃÁ µÒÁËÅÑ¡ÊÙµÃ᡹¡ÅÒ§¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñé¹¾×é¹°Ò¹ ¾Ø·¸ÈÑ¡ÃÒª òõõñ

¼ÙŒàÃÕºàÃÕ§

È. ´Ã. ÇÔ·Â ÇÔÈ·àÇ·Â È. ¾ÔàÈÉ àÊ°ÕÂþ§É ÇÃó»¡

¼ÙŒµÃǨ

È. ¾ÔàÈÉ ¨íÒ¹§¤ ·Í§»ÃÐàÊÃÔ° ÃÈ. ªÙÈÑ¡´Ôì ·Ô¾Â à¡Éà ¹ÒÂÊíÒÃÇ ÊÒÃѵ¶

ºÃóҸԡÒÃ

¹ÒÂÊÁà¡ÕÂÃµÔ ÀÙ‹ÃÐ˧É

¾ÔÁ¾ ¤ÃÑ駷Õè ù

ʧǹÅÔ¢ÊÔ·¸ÔìµÒÁ¾ÃÐÃÒªºÑ- - ÑµÔ ISBN : 978-616-203-355-1 ÃËÑÊÊÔ¹¤ŒÒ òòñóð÷ð

¤Œ¹¤ÇÒÁÃÙŒ¢ÂÒ¤ÇÒÁ¤Ô´¨Ò¡

¾ÔÁ¾ ¤ÃÑ駷Õè 1 ÃËÑÊÊÔ¹¤ŒÒ 2243127

EB GUIDE

ที่พิมพกํากับหัวขอสําคัญในหนังสือเรียนหลักสูตรแกนกลางฯ ผาน www.aksorn.com ไปยังแหลงความรูทั่วไทย-ทั่วโลก

คณะผูจัดทําคูมือครู ฤดีวรรณ มาดีกุล วีระชัย บุญอยู แมนพงษ เห็มกอง


กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

¤íÒá¹Ð¹íÒ㹡ÒÃ㪌˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน พระพุทธศาสนาเลมนี้ ใชประกอบการเรียนการสอนรายวิชาพื้นฐาน กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๒ เนื้อหาตรงตามสาระการเรียนรูแกนกลางขั้นพื้นฐาน อานทําความเขาใจงาย ใหทั้งความรูและ ชวยพัฒนาผูเรียนตามหลักสูตรและตัวชี้วัด เนื้อหาสาระแบงออกเปนหนวยการเรียนรูตามโครงสรางรายวิชา สะดวกแกการจัดการเรียนการสอนและการวัดผลประเมินผล พรอมเสริมองคประกอบอื่นๆ ที่จะชวยทําให ผูเรียนไดรับความรูอยางมีประสิทธิภาพ à¹×éÍËҵçµÒÁÊÒÃСÒÃàÃÕ¹Ãٌ᡹¡ÅÒ§ ¨Ñ´¡ÅØ‹Áà¹×éÍËÒ໚¹Ë¹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ Êдǡᡋ¡ÒèѴ¡ÒÃàÃÕ¹¡ÒÃÊ͹

หน่วยการเรีย

นรู้ที่

ประวัติและคว สำาคัญ ของพระพุทาม ธศาสนา ตัวชี้วัด

■ อธิบายการเผย ประเทศเพอ่ื แผ่พระพุทธศาสนาหรื วิเคราะห์ นบ้าน (ส ๑.๑ ม.๒/๑) อศาสนาที่ตนนับถือสู่ ความส นับถือ ทีช่ ว่ ยเสร ำาคัญของพระพุทธศาส นาหรือศาสน (ส ๑.๑ ม.๒/ มิ สร้างความเข้าใจอันดี กบั ประเทศเพ าที่ตน ๒) ■ วิเคราะห์ความส อื่ นบ้าน นับถือในฐานะท ำาคัญของพระพุทธศาส นาห ชาติและมรดกขอี่เป็นรากฐานของวัฒนธรร รือศาสนาที่ตน ■ พระพ อภิปรายความส งชาติ (ส ๑.๑ ม.๒/๓) ม เอกลักษณ์ของ ุทธศาสนาได้ ำ า คั ญ ของพระพุทธศาส นับถือกับการพ สอนหลักธร พั ฒ นา ตน ตั นาห (ส ๑.๑ ม.๒/ ัฒนาชุมชนและการจัดระเบ รือศาสนาที่ตน รม เพื่อ ้ ง แต่ ร ะดั บ พื ๔) ียบสังคม ้ น ฐา นจ แล ■

ะเน้ น ว่ า เมื่ นถึ ง ขั้ น สู ง อ พั ฒ นา ตน สุ ด ได้ ส มบู ร ณ์ บำาเพ็ญปร ะโยชน์แก่ผ แ ล้ ว ให้ ู้อื่นหร เป็นการตอ บแทนบ้าง ด ือสังคมในวงกว้าง การเผยแผ่พ ้วยอุดมการณ พุ ท ธส าว กผ ระพุ น ์ นับถือพระพ ทธศาสนาเข้าสู่ประเท ้ ี ้ ู บร ส ื บ รดา ทอ ดพ ระพ ุทธศาสนาขอ ศเพื ทุ ก สมั ย จึ ง งประเทศเพื่อ ่อนบ้านและการ ความสำาคัญของพ นบ้ ได้ เ ผย แผ่ พ ุ ท ธศ าส นา ทุ ก ยุ ค อันดีกับประเ ระพุทธศาสนาทชี่ ว่ ยเสร านในปัจจุบัน ระพุ ท ธศ าส ทศเพื่อนบ้าน มิ สร้างความเข้ ภูมิภาคต่างๆ ความสำาคั าใจ นา ไป ยั ง ของโลก เพื - รากฐานญของพระพุทธศาสนาต ่อสร้ และเพื่อสัน ่อสังคมไทยในฐ - เอกลัก ของวัฒนธรรม านะเป็น ติสุขของมวลม างความเข้าใจอันดี ษณ์และมรดกขอ นุษยชาติ ดินแด ความสำาคัญ งชาติ ของพ นแห่งหนึ่ง การจัดระเบีย ระพุทธศาสนากับการพ ที่ได้รับ บสังคม เข้ามาเป็นศาส ัฒนาชุมชนแ ละ นาสาำ คัญขอ พระพุทธศาสนา งชาติ คือ ปร และประเทศ ะเทศไทย เพื่อ คว าม สำ า คั ญ นบ้าน การศึกษาประวั ติ ขอ เพื่ อ นบ้ า น งพ ระพุ ท ธศ าส นา ในป และ ระเ ทศ ย่ อ มทำ า ให้ พุ ท ธศ าส นิ ความตระห ก ชน ได้ มี นักถึ พระพุทธศาสน งบทบาทและความสำา คัญของ ามากขึ้น สาระการเรียนรู

้แกนกลาง

à¡ÃÔè¹¹íÒà¾×èÍãˌࢌÒ㨶֧ÊÒÃÐÊíÒ¤ÑÞ ãËŒ¤ÇÒÁÃÙŒáÅÐàÍ×é͵‹Í¡ÒùíÒä»ãªŒÊ͹à¾×èÍ Design ˹ŒÒẺãËÁ‹ ÊǧÒÁ ãËŒºÃÃÅصÑǪÕéÇÑ´ áÅÐÊÌҧ¤Ø³ÅѡɳР¾ÔÁ¾ ô ÊÕ µÅÍ´àÅ‹Á ª‹ÇÂãËŒÍÒ‹ ¹ ã¹Ë¹‹Ç·Õè¨ÐàÃÕ¹ ·íÒ¤ÇÒÁࢌÒã¨ä´Œ§‹Ò¢Öé¹ Íѹ¾Ö§»ÃÐʧ¤ วงตาเห็นธรรม และทูลขอบวชเปนภิกษุ จากนั้นก็ทรงแสดงธรรมใหอีก ๔ ทาน จนไดด ดวยไตรลักษณ คือ อนิจจตา ทุกขตา อนัตตตา) ตามลําดับ แลวทรงแสดง “อนัตตลักขณสูตร” (วา ปญจวัคคียไดบรรลุอรหัตตผล หลังจากนัน้ ก็ประทานอุปสมบทใหยสกุมาร และสหายของยสะอีก ๕๔ คน จนมีพระอรหันตสาวกครบ ๖๐ รูป พระองคก็ทรงสงใหแยกยาย กั น ไปประกา ศพระพุ ท ธศาสนายั ง ทิ ศ ต า งๆ สวนพระองคเองก็เสด็จไปโปรดชฎิลสามพี่นอง พรอมบริวารจํานวนหนึ่งพันคน โดยทรงแสดง “อาทิ ต ตปริ ย ายสู ต ร” (พระสู ต รว า ด ว ยไฟ) จนชฎิลสามพีน่ อ งพรอมบริวารไดบวชเปนสาวก ของพระพุทธองค พระเจ า พิ ม พิ ส าร และชาวเมื อ งมคธ ที่ นั บ ถื อ ชฎิ ล สามพี่ น  อ ง เมื่ อ เห็ น อาจารย คคีย พระพุทธเจาทรงแสดงปฐมเทศนาโปรดปญจวั ของพวกตนมานับถือพระพุทธเจาเปนศาสดา นเปนที่พึ่งบาง พระเจาพิมพิสารทรงสรางวัด ก็พากันมาเลื่อมใส ปฏิญาณตนนับถือไตรสรณคม ระพุทธศาสนา พระเวฬุวันถวายเปนวัดแหงแรกในประวัติศาสตรพ ในระหวางนีเ้ อง อุปติสสมาณพ กับโกลิตมาณพ ศิษยของสัญชัยเวลัฏฐบุตร หนึง่ ในจํานวน ครูทั้งหก มาบวชเปนสาวกของพระพุทธองค โดยการแนะนําของพระอัสสชิ หลังจากบวชแลว อุปติสสะมีชื่อเรียกวา พระสารีบุตร โกลิตะมีชื่อ เรียกวา พระโมคคัลลานะ ทั้ง ๒ ทานในเวลา ตอมาไมนานก็ไดรับแตงตั้งจากพระพุทธองค ให เ ป น พระอัครสาวกเบื้องขวาและเบื้องซาย เพื่อชวยในการสืบทอดพระพุทธศาสนา โดย พระสารี บุ ต รเป น พระอั ค รสาวกเบื้ อ งขวา เลิ ศ กว า ภิ ก ษุ ทั้ ง หลายในท างมี ป  ญ ญามาก พระโมคคัลลานะเปนพระอัครสาวกเบื้องซาย ลานะ ล คั พระพุทธองคทรงแตงตัง้ พระสารีบตุ รและพระโมค เลิศกวาภิกษุทั้งหลายในทางมีฤทธิ์มาก เปนอัครสาวกเพื่อชวยเผยแผพระพุทธศาสนา

àÃ×èͧ¹‹ÒÃÙŒà¾ÔèÁàµÔÁ¨Ò¡à¹×éÍËÒ ÁÕá·Ã¡à»š¹ÃÐÂÐæ สสชิเปนอาจารย ๒.๒) มีความกตัญูกตเวทิตาธรรมเปนเลิศ ทานถือวาพระอั พระอาจารยของทานมาก รูปแรกทีน่ าํ ทานเขามาสูร ม เงาพระพุทธศาสนา ทานจึงมีความเคารพใน ศนั้น ภิกษุอื่นๆ ษะไปทางทิ ร ศี น นจะหั า ท ใด ศ ทิ ณ  นอยู า เวลาทานจะนอนถารูวาอาจารยของท ยังไหวทศิ อยูเ หมือนสมัยเปน ทีไ่ มทราบความจริงขอนีเ้ คยพากันตําหนิวา ทานเปนถึงพระอัครสาวก คฤหัสถ

แตไมมีพระสงฆ สมัยหนึ่งมีพราหมณเฒาคนหนึ่ง นามวา “ราธะ” อยากบวช ป่ ระชุมสงฆวา มีใครรูจ กั พราหมณ รับรอง พระสงฆจงึ ไมสามารถบวชใหไ ด พระพุทธเจาตรัสถามในที บาตรทานทัพพีหนึ่ง ทานรูจัก คนนี้ไหม พระสารีบุตรกราบทูลวา จําไดวาพราหมณคนนี้เคยใส บวชแกราธพราหมณ หลังจาก จึงขอรับรอง พระพุทธองคจึงทรงมอบภาระใหทานเปนอุปชฌาย บวชแลวพระราธะไดเปนสัทธิวิหาริก (ศิษย) ผูวางายรูปหนึ่ง บุตรปรารถนา ๒.๓) เปนผูมั่นคงและปรารถนาดีตอพระพุทธศาสนา พระสารี างกวางขวาง จึงกราบทูลให อยากใหพระสัทธรรมดํารงอยูไดนาน อํานวยประโยชนแกมหาชนอย ซึ่งพระองคก็ทรงกระทําตาม พระองคทรงบั​ัญญัติพระวินัย เพื่อความดํารงมั่นแหงพระสัทธรรม ตั้งแตหมวดหนึ่ง หมวดสอง ดํารินั้น นอกจากนี้ทานยังไดนําคําสอนของพระพุทธองคจัดหมวดหมู นสังคีติสูตร และทสุตตรสูตร หมวดสาม…จนถึงหมวดสิบ และหมวดเกินสิบ ดังปรากฏอยูใ ามกลางภิกษุสงฆ ในเวลาตอมา ทานไดแสดงสังคีติสูตร และทสุตตรสูตร ท บุตรจึงเปนพระเถระรูปแรก จํานวนมาก และไดรับคําชมเชยจากพระพุทธองคอีกดวย พระสารี ยกอน ภายหลัง พานเสี พ นนิ ว  ด นก็ า ท ดี จ เร็ า สํ น ั ท ไม ง ั ย แต ย ั น พระธรรมวิ ที่คิดทํา “สังคายนา” เร็จบริบูรณ พระมหากัสสปะจึงไดรับชวงสืบทอดเจตนารมณของทานจนสํา เรื่องนารู พระอรหันต

องเปนผูละกิเลสอันประณีตได ๑๑ ประการ ดังนี้

การบรรลุอรหัตตผลเปนพระอรหันตนั้น บุคคลดังกลาวต ๑. ความยึดมั่นในตัวตน ๒. ความลังเลสงสัย ๓. ความยึดถือเพศพรตอยางงมงายวาศักดิ์สิทธิ์ ๔. ทําราคะ โทสะ โมหะ ใหหมดสิ้น ๕. ความกําหนัดในกาม ๖. ความคับแคน ๗. ความติดใจในรูปธรรมอันประณีต ๘. ความติดใจในอรูปธรรม ๙. ความทะนงตน ๑๐. ความฟุงซาน ๑๑. ความไมรูจริง

พระวินัยปฎก คือ สวนที่วาดวยสิ กขาบท หรือศีลของพระภิกษุและพระภ แบงออกเปน ๓ หมวดยอย ดังน�้ ิกษุณ� ๑. สุตตวิภงั ค คือ สวนทีว่ า ดวยศีลในพระปา ฏิโมกข หรือศีลสําคัญของภิกษุและภิ กษุณ� ๒. ขันธกะ คือ สวนทีว่ า ดวยสังฆกรรม พิธกี รรม วัตรปฏิบตั ขิ องพระ ตลอดจน มารยาท เพื่อความงามของสงฆ ๓. ปริวาร คือ สวนที่สรุปขอความหรื อคูมือพระวินัยปฎก อธิบายในรูปคํา ถาม คําตอบ เพื่อความเขาใจแจมแจง

๒. พระสุตตันตปฎก

พระสุตตันตปฎก คือ สวนที่วาดวยพระธรร มเทศนาของพระพุทธเจา (และของ พระสาวกบางสวน) ที่ทรงแสดงแกบ ุคคลตางๆ ในวาระโอกาสตางกัน แบ งเปน ๕ นิกาย ดังน�้ ๑. ทีฆนิกาย คือ หมวดที่ประมวลสูต รขนาดยาว ๒. มัชฌิมนิกาย คือ หมวดที่ประมวลสู ตรขนาดปานกลาง ๓. สังยุตตนิกาย คือ หมวดที่ประมวลสู ตรโดยจัดกลุมตามเน�้อหา เชน กลุม สัจจะ เรียกวา สัจจสังยุตต ๔. อังคุตตรนิกาย คือ หมวดที่ประมวลห มวดธรรมจากนอยไปหามาก เช น เอกนิบาต เปนหมวดวาดวยธรรมะ ๑ ขอ ทุกนิบาต เปนหมวดวาดวยธรรมะ ๒ ขอ ๕. ขุททกนิกาย คือ หมวดที่ประมวลเร ื่องเบ็ดเตล็ดตางๆ ที่มิไดรวบรวมไว ใน ๔ นิกายขางตน โดยแบงออกเปน ๑๕ ประเภท ถูปาราม เมืองอนุราธปุระ ประเทศศร สังคายนาพระธรรมวินัย ครั้งที่ ๔ ีลังกา สถานที่ทํา เมื่อ พ.ศ. ๒๓๘

http://www.aksorn.com/LC/REI/M2/04

EB GUIDE

µÑǪÕÇé ´Ñ áÅÐÊÒÃСÒÃàÃÕ¹ÃÙጠ¡¹¡ÅÒ§ µÒÁ·ÕËè ÅÑ¡Êٵà ¡íÒ˹´ à¾×èÍãËŒ·ÃÒº¶Ö§à»‡ÒËÁÒÂ㹡ÒÃÈÖ¡ÉÒ

๑. พระวินัยปฎก

Web Guide á¹Ð¹íÒáËÅ‹§¤Œ¹¤ÇŒÒ¢ŒÍÁÙÅ à¾ÔèÁàµÔÁ¼‹Ò¹Ãкº Online àÊÃÔÁÊÒÃШҡà¹×Íé Ëҹ͡à˹×ͨҡ ·ÕÁè ãÕ ¹ÊÒÃСÒÃàÃÕ¹ÃÙጠ¡¹¡ÅÒ§ à¾×Íè à¾ÔÁè ¾Ù¹áÅТÂÒ¾ÃÁá´¹¤ÇÒÁÃÙ㌠ˌ ¡ÇŒÒ§¢ÇÒ§ÍÍ¡ä» (อนุตตร รรมวิเศษ รงตรัสรูธ สถาน ังจากไดท ุตติสุข หล ้ ม ิ ยว เสว นี ับ ไป เสด็จประท ยงตามลําดับตอ พุทธเจา เรี ุข วิมุตติส แหงที่พระ หงละ ๑ สัปดาห ําคัญ ๗ ะทับเสวย สถานที่ส ) แลว เปนเวลาแ ่เสด็จปร วัน สถานที โพธิญาณ ตลอด ๗ รู ต ุ ม สัมมาสัม สั วิ ติสุข ์ ทรงเสวย สถานทีป่ ระทับตร ธิ โพ ่ ี หา ท ม น สัปดาห ยใตรมไม ตั นบลั ลังกอนั เป จสมุปบาท ภา บ ั ะท กนอย เสด็จปร นัง่ ขัดสมาธบิ นร งพิจารณาปฏิจ งเหนือเล็ ตรดู บ ทร นออกเฉยี โดยประทั ะศรีมหาโพธิ์ างทศิ ตะวั งยืนจองพระเน  ู ท อย พร ่ ง น ซึ  ทร ยี ใตควงต อนมิ สิ เจด มาณ ๖๙ เมตร ๗ วัน ณ ั บ ะท ตลอด เสดจ็ ปร ตนบัลลังกประ พระเนตร รั หางจาก ธ์ิโดยมิไดกะพริบ ตนมหาโพ ็จ ึ้น แลวเสด จงกรมข นลานแกว ต ิ ม ิ งน ทร รมเจดีย ด็จจงกรมไปมาบ มิสเจดีย รัตนจงก นิ ะทับ ณ า ๗ วัน โดยเสธิ์ตรัสรูกับลานอ ปร จ ็ แหงตน เสด เวล ิศพายัพ ตถวาย วางตนโพ ยูที่นี่เปน จไปทางท ิรมิ จงกรมอ เจดีย ซึ่งอยูระห ดีย เสด็ กว ซึ่งเทวดาน รม รัตนจงก รัตนฆรเจ อนแ ะทับ ณ ่งขัดสมาธิในเรื น ปร จ ด็ เส นั วั ลอด ๗ ิ์ ประทับ มหาโพธ พระอภิธรรมต ณา ทรงพิจาร ซึ่งเปน นิโครธ” ายาส “อชปาล ป ยมีชื่อวา ที่ที่ทรงรับขาวมธุ มาณ โด ทร ไ  าน มไม สรูประ ยเปนสถ ะทับใตร นโพธิ์ตรั จุ จลนิ ท” เสด็จไปปร นเลี้ยงแพะ และเค ซึ่งอยูหางจากต ชี อื่ วา “ม พระยา รู จ กิ โดยม ขู อง ที่พักของค าดากอนวันตรัส ายใตร ม ไม สถานทีส่ ถิตอย ณ ๑.๗ สุช น มา ดสมาธภิ จากนาง ตร ะทบั นัง่ ขั นมหาโพธิ์ ซึง่ เป ไ ปทางทิศใตป ระ ปร ไป ลเม ็ จ โ กิ ต รู ง เสด ส ๑.๖ คเนยแ ห นโพธิต์ รั ทางทศิ อา าคราช หางจากต มุจจลนิ ทน กิโลเมตร โดยมี ม่ ใี บเล็ก) ูหาง นั ธหุ นึง่ ที (ตนไทรพ ุขตลอด ๗ วัน อย รม ไมเ กด ติส บั ภายใต ะทบั นัง่ เสวยวิมุต ๕ กิโลเมตร ะท ปร ไป เสดจ็ ะ” ปร ใตประมาณ ๒. าชายตน ชือ่ วา “ร ธิ์ตรัสรูไปทางทิศ จากตนโพ

าระ

เสริมส

สัตตมหา

¤íÒ¶ÒÁ»ÃШíÒ˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒáÅСԨ¡ÃÃÁ ÊÌҧÊÃä ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ¢Í§¼ÙŒàÃÕ¹ãËŒÁÕ ¤Ø³ÀÒ¾µÒÁµÑǪÕéÇÑ´ ¤ íÒ¶ÒÁ»ÃШ íÒ˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ ๑. นักเรียนศึกษาบทสวดมนตแปล และนําบทสวดมนตที่ไดศึกษามาอธิบายวามีความหมาย อยางไรบาง และจะนําความรูที่ไดจากการศึกษาบทสวดมนตไปใชในชีวิตจริงอยางไร ๒. นักเรียนคิดวาพุทธมนตมีความขลังหรือศักดิ์สิทธิ์หรือไม หากตองการใหมีมนตขลัง หรือศักดิ์สิทธิ์ จะตองทําอยางไร ๓. คํากลาววา “การแผเมตตาเปนการชําระจิตใจใหบริสุทธิ์” นักเรียนเห็นดวยหรือไม เพราะ เหตุใด ๔. ปญญา คืออะไร และมีประโยชนอยางไรบาง ใหอธิบายพรอมยกตัวอยางประกอบ ๕. การฝกใหเกิดปญญา มีวิธีการอยางไร

¡Ô¨¡ÃÃÁÊÌҧÊÃä ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ กิจกรรมที่ ๑

ครูเชิญวิทยากรในทองถิ�น ซึ�งอาจจะเปนพระภิกษุหรือฆราวาส มาเลา ประสบการณเกี่ยวกับการฝกสมาธิของทาน รวมทั้งใหคําแนะนําและสาธิต การฝกปฏิบัติสมาธิตามหลักอานาปานสติ

กิจกรรมที่ ๒

ครูนิมนตพระอาจารยมาสอนวิธีการฝกสมาธิตามหลักอานาปานสติ และ ใหนักเรียนฝกปฏิบัติสมาธิ

กิจกรรมที่ ๓

ครูแบงนักเรียนออกเปน ๒ กลุม โดยใหศึกษาคนควาทํารายงานในหัวขอ ตอไปน�้ กลุมที่ ๑ ความหมายและประโยชนของปญญา กลุมที่ ๒ การฝกใหเกิดปญญา

พุทธศาสนสุภาษิ า ต

ʾÚà¾Êí ʧڦÀÙµÒ¹í ÊÒÁ¤Ú¤Õ ÇرڲÔÊÒ¸Ô¡Ò : ¤ÇÒÁ¾ÃŒÍÁà¾ÃÕ§¢Í§»Ç§ª¹ ¼ÙŒà»š¹ËÁÙ‹ Âѧ¤ÇÒÁà¨ÃÔÞãËŒÊíÒàÃç¨


กระตุน ความสนใจ Engage

ÊÒúÑ˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè

˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè

˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè

˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè

สํารวจคนหา Explore

ñ ò ó ô

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

»ÃÐÇѵÔáÅФÇÒÁÊíÒ¤Ñޢͧ¾Ãоط¸ÈÒÊ¹Ò ¡ÒÃà¼ÂἋáÅСÒùѺ¶×;Ãоط¸ÈÒʹÒã¹»ÃÐà·Èà¾×è͹ºŒÒ¹ ÇÔà¤ÃÒÐË ¤ÇÒÁÊíÒ¤Ñޢͧ¾Ãоط¸ÈÒʹÒ

ñ ò òó

¾Ø·¸»ÃÐÇÑµÔ ¾ÃÐÊÒÇ¡ ÈÒʹԡª¹µÑÇÍ‹ҧáÅЪҴ¡ ¾Ø·¸»ÃÐÇÑµÔ »ÃÐÇѵԾط¸ÊÒÇ¡ ¾Ø·¸ÊÒÇÔ¡Ò ÈÒʹԡª¹µÑÇÍ‹ҧ ªÒ´¡

óõ óö ôó õô öñ

ËÅÑ¡¸ÃÃÁ·Ò§¾Ãоط¸ÈÒÊ¹Ò ¾ÃÐÃѵ¹µÃÑ ÍÃÔÂÊѨ ô

ö÷ öø öù

¾ÃÐäµÃ» ®¡áÅоط¸ÈÒʹÊØÀÒÉÔµ â¤Ã§ÊÌҧáÅÐÊÒÃÐÊíÒ¤Ñޢͧ¾ÃÐäµÃ» ®¡ ¾Ø·¸ÈÒʹÊØÀÒÉÔµ

ùó ùô ù÷


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè ˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè

˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè

˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè

õ ö ÷ ø

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

˹ŒÒ·ÕèªÒǾط¸áÅÐÁÒÃÂÒ·ªÒǾط¸ ˹ŒÒ·ÕèªÒǾط¸ ÁÒÃÂÒ·ªÒǾط¸

ñðó ñðô ññô

ÇѹÊíÒ¤ÑÞ·Ò§¾Ãоط¸ÈÒʹÒáÅÐÈÒʹ¾Ô¸Õ ÇѹÊíÒ¤ÑÞ·Ò§¾Ãоط¸ÈÒÊ¹Ò ÈÒʹ¾Ô¸Õ

ñòó ñòô ñóö

¡ÒúÃÔËÒèԵáÅСÒÃà¨ÃÔÞ»˜ÞÞÒ ¡ÒúÃÔËÒèԵáÅСÒÃà¨ÃÔÞ»˜ÞÞÒ ¡ÒÃà¨ÃÔÞ»˜ÞÞÒâ´Â¡ÒäԴẺâ¹ÔâÊÁ¹ÊÔ¡ÒÃ

ñõñ ñõò ñõö

¡Òû¯ÔºÑµÔµ¹µÒÁËÅÑ¡¸ÃÃÁ·Ò§¾Ãоط¸ÈÒÊ¹Ò ¡Òû¯ÔºÑµÔµ¹Í‹ҧàËÁÒÐÊÁ㹡ÃÐáʤÇÒÁà»ÅÕè¹á»Å§¢Í§âÅ¡ ¡Òû¯ÔºÑµÔµ¹à¾×èÍ¡ÒÃÍÂًËÇÁ¡Ñ¹Í‹ҧÊѹµÔÊØ¢

ñöñ ñöò ñöõ

ºÃóҹءÃÁ

ñ÷ñ


กระตุน ความสนใจ Engage

หนวยการเรียนรูที่

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explore

Explain

Expand

Evaluate

1. บอกประวัติการเผยแผพระพุทธศาสนา เขาสูประเทศพมา อินโดนีเซีย มาเลเซีย สิงคโปร ลาว กัมพูชา และเวียดนามได 2. อธิบายความสําคัญของพระพุทธศาสนา ที่มีสวนชวยเสริมสรางความเขาใจอันดี ระหวางประเทศไทยกับประเทศเพื่อนบานได 3. วิเคราะหความสําคัญพระพุทธศาสนา ในฐานะที่เปนรากฐานของวัฒนธรรม เปนเอกลักษณและเปนมรดกของชาติได

ประวัติและความสําคัญ ของพระพุทธศาสนา

สมรรถนะของผูเรียน

ตัวชี้วัด ■

อธิบายการเผยแผพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือสู ประเทศเพือ่ นบาน (ส ๑.๑ ม.๒/๑) วิเคราะหความสําคัญของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตน นับถือ ทีช่ ว ยเสริมสรางความเขาใจอันดีกบั ประเทศเพือ่ นบาน (ส ๑.๑ ม.๒/๒) วิเคราะหความสําคัญของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตน นับถือในฐานะที่เปนรากฐานของวัฒนธรรม เอกลักษณของ ชาติและมรดกของชาติ (ส ๑.๑ ม.๒/๓) อภิปรายความสําคัญของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตน นับถือกับการพัฒนาชุมชนและการจัดระเบียบสังคม (ส ๑.๑ ม.๒/๔)

สาระการเรียนรูแกนกลาง ■

การเผยแผพระพุทธศาสนาเขาสูประเทศเพื่อนบานและการ นับถือพระพุทธศาสนาของประเทศเพื่อนบานในปจจุบัน ความสําคัญของพระพุทธศาสนาทีช่ ว ยเสริมสรางความเขาใจ อันดีกับประเทศเพื่อนบาน ความสําคัญของพระพุทธศาสนาตอสังคมไทยในฐานะเปน - รากฐานของวัฒนธรรม - เอกลักษณและมรดกของชาติ ความสําคัญของพระพุทธศาสนากับการพัฒนาชุมชนและ การจัดระเบียบสังคม

เปาหมายการเรียนรู

พระพุทธศาสนาไดสอนหลักธรรม เพื่อ พั ฒ นาตนตั้ ง แต ร ะดั บ พื้ น ฐานจนถึ ง ขั้ น สู ง สุ ด และเน น ว า เมื่ อ พั ฒ นาตนได ส มบู ร ณ แ ล ว ให บําเพ็ญประโยชนแกผูอื่นหรือสังคมในวงกวาง เปนการตอบแทนบาง ดวยอุดมการณนี้ บรรดา พุ ท ธสาวกผู สื บ ทอดพระพุ ท ธศาสนาทุ ก ยุ ค ทุ ก สมั ย จึ ง ได เ ผยแผ พ ระพุ ท ธศาสนาไปยั ง ภูมิภาคตางๆ ของโลก เพื่อสรางความเขาใจอันดี และเพื่อสันติสุขของมวลมนุษยชาติ ดินแดนแหงหนึ่งที่ไดรับพระพุทธศาสนา เขามาเปนศาสนาสําคัญของชาติ คือ ประเทศไทย และประเทศเพื่อนบาน การศึกษาประวัติ และ ความสํ า คั ญ ของพระพุ ท ธศาสนาในประเทศ เพื่ อ นบ า น ย อ มทํ า ให พุ ท ธศาสนิ ก ชนได มี ความตระหนักถึงบทบาทและความสําคัญของ พระพุทธศาสนามากขึ้น

1. ความสามารถในการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการแกปญ  หา

คุณลักษณะอันพึงประสงค 1. 2. 3. 4.

รักชาติ ศาสน กษัตริย มีวินัย ใฝเรียนรู รักความเปนไทย

กระตุน ความสนใจ

Engage

ครูสนทนากับนักเรียนเพื่อทบทวนความรู เกี่ยวกับการเผยแผพระพุทธศาสนาในประเทศไทย และตั้งคําถามใหนักเรียนชวยกันตอบ • หลังการสังคายนาครั้งที่ 3 พระเจาอโศกมหาราชทรงเผยแผพระพุทธศาสนาเขาสู ประเทศไทยอยางไร (แนวตอบ พระองคทรงสงพระโสณเถระและ พระอุตตรเถระเปนสมณทูตเดินทางมา เผยแผพระพุทธศาสนายังดินแดนสุวรรณภูมิ ซึ่งเปนที่ตั้งของประเทศไทยในปจจุบัน)

เกร็ดแนะครู ครูควรจัดกิจกรรมการเรียนรู เพื่อใหนักเรียนสามารถอธิบายประวัติการเผยแผ พระพุทธศาสนาเขาสูป ระเทศเพือ่ นบาน วิเคราะหความสําคัญของพระพุทธศาสนาที่ ชวยเสริมสรางความเขาใจอันดีกบั ประเทศเพือ่ นบาน เปนรากฐานของวัฒนธรรมไทย เปนเอกลักษณและมรดกของสังคมไทย อภิปรายความสําคัญของพระพุทธศาสนากับ การพัฒนาชุมชนและการจัดระเบียบสังคม โดยพัฒนาทักษะกระบวนการที่สําคัญ ไดแก ทักษะการคิดวิเคราะห กระบวนการสืบสอบ และกระบวนการกลุม ดังนี้ • ครูใหนักเรียนแบงกลุม ศึกษาคนควาเกี่ยวกับประวัติการเผยแผพระพุทธศาสนาเขาสูประเทศเพื่อนบาน • ครูใหนักเรียนศึกษาคนควาเกี่ยวกับสถานการณการนับถือพระพุทธศาสนา ของประเทศเพื่อนบานในปจจุบัน แลวจัดทํารายงานเปรียบเทียบระหวางการ เผยแผพระพุทธศาสนาในอดีตกับสถานการณการนับถือพระพุทธศาสนาใน ปจจุบัน • ครูใหนักเรียนจับคูศึกษาคนควาเพิ่มเติมเกี่ยวกับความสําคัญของพระพุทธศาสนาที่มีตอสังคมไทย จากนั้นแบงกลุมแสดงบทบาทสมมติ ในรูปแบบละครสั้น คูมือครู 1


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

กระตุน ความสนใจ

อธิบายความรู Explain

Explore

๑.๑ การเผยแผพระพุทธศาสนาเขาสูประเทศเพื่อนบาน

Explain

หลังจากที่พระพุทธเจาตรัสรูแลว พระองคทรงมีพุทธประสงคใหผูอื่นไดรูตามพระองค เพื่อจะไดพน ทุกขและไดรบั ความสุขทีแ่ ทจริง จึงเสด็จออกไปประกาศพระพุทธศาสนา จนกระทั่งได พระสาวก ๖๐ รูป พระองคทรงเห็นวามีจํานวนมากพอสมควรแลว จึงทรงสงพระสาวกไปเผยแผ พระพุทธศาสนายังแควนตางๆ หลังพุทธปรินพิ พาน บรรดาสาวกของพระพุทธเจาไดสบื ทอดพระพุทธศาสนากันมาไมขาดสาย แมบางครัง้ พระพุทธศาสนาจะไดรบั ความกระทบกระเทือนหรือมัวหมอง ทัง้ ภัยภายในและภายนอก บรรดาสาวกก็ไดชวยกันชําระใหบริสุทธิ์ถูกตองเปนแบบแผนเดียวกัน การกระทําเชนนี้เรียกวา “สังคายนาพระธรรมวินัย” ซึ่งไดกระทําเปนจํานวน ๓ ครั้ง ในชวงเวลา ๓ ศตวรรษ เมื่อเสร็จสิ้นการสังคายนาครั้งที่ ๓ แลวพระเจาอโศกมหาราชผูทรงเปน องคอุปถัมภไดจัดสงสมณทูตไปเผยแผพระพุทธศาสนายังดินแดนตางๆ โดยการ สนับสนุนจากพระโมคคัลลีบตุ รติสสเถระ องคประธานการสังคายนาครัง้ นี้ ไดทรงสงพระมหินทเถระพรอมคณะไปเผยแผพระพุทธศาสนา ยังเกาะลังกา (ประเทศศรีลังกาในปจจุบัน) ตอมาไดกลาย เปนศูนยกลางสําคัญในการเผยแผพระพุทธศาสนาสืบแทน อินเดีย โดยเฉพาะในรัชสมัยของพระเจามหานามะ พระพุทธโฆษาจารยชาวอินเดียไดเดินทางไปแปล อรรถกถาพระไตรป ฎ ก จากภาษาสิ ง หลเป น 1 ภาษาบาลี และยั ง รจนาหนั ง สื อ วิ สุ ท ธิ ม รรค สรุปคําสอนของพระพุทธศาสนาดวย พระสงฆ ตางประเทศเดินทางไปขอรับการอุปสมบทใหม โดยแปลงเปนนิกายลังกาวงศเปนจํานวนมาก ถ้าํ สัตตบรรณ ขางภูเขาเวภาระ ใกลกรุงราชคฤห เมืองหลวง จากเหตุนี้เอง ทําใหพระพุทธศาสนาแผขยายไป ของแควนมคธ สถานทีท่ าํ ปฐมสังคายนา ยังประเทศเพื่อนบานของไทยในกาลตอมา ดังนี้

นักเรียนควรรู 1 วิสุทธิมรรค เปนหนังสือสรุปหลักคําสอนของพระพุทธศาสนา ประกอบดวย 3 คัมภีร ไดแก ศีลนิเทศ สมาธินิเทศ ปญญานิเทศ ตามแนววิสุทธิ 7 ซึ่งหมายถึง การบําเพ็ญไตรสิกขาใหบริบูรณ 7 ขั้น ดังนี้ 1. สีลวิสุทธิ คือ ความหมดจดแหงศีล 2. จิตตวิสุทธิ คือ ความหมดจดแหงจิตต 3. ทิฏฐิวิสุทธิ คือ ความหมดจดแหงทิฏฐิ 4. กังขาวิตรณวิสทุ ธิ คือ ความหมดจดแหงญาณเปนเครือ่ งขามพนความสงสัย 5. มัคคามัคคญาณทัสสนวิสุทธิ คือ ความหมดจดแหงญาณเปนเครื่องรูเห็นวา ทางหรือมิใชทาง 6. ปฏิปทาญาณทัสสนวิสุทธิ คือ ความหมดจดแหงญาณอันรูเห็นทางดําเนิน 7. ญาณทัสสนวิสุทธิ คือ ความหมดจดแหงญาณทัสสนะ กลาวคือ มรรคญาณ

คูมือครู

Evaluate

ประเทศไทยจัดเปนประเทศที่นับถือพระพุทธศาสนาเปนศาสนาสําคัญของชาติประเทศหนึ่ง นอกจากนี้ประเทศเพื่อนบานที่รายลอมและใกลเคียงกับประเทศไทย ก็ลวนมีพระพุทธศาสนา เปนศาสนาสําคัญของชาติดว ยเชนเดียวกัน ประเทศเพือ่ นบานเหลานี้ ไดแก พมา อินโดนีเซีย ลาว มาเลเซีย สิงคโปร กัมพูชา และเวียดนาม ประวัติของการเผยแผพระพุทธศาสนาเขาสูประเทศ เพื่อนบานเหลานี้ มีดังนี้

ครูและนักเรียนอภิปรายเหตุการณการเผยแผ พระพุทธศาสนาวา หลังการสังคายนาพระไตรปฎก ครั้งที่ 3 พระโมคคัลลีบุตรติสสเถระเล็งเห็นวา ในอนาคตภายภาคหนาพระพุทธศาสนาอาจเสือ่ มสูญ ไปจากชมพูทวีป จึงควรสงสมณทูตออกไปเผยแผ พระพุทธศาสนายังดินแดนตางๆ พระเจาอโศก มหาราชทรงเห็นชอบดวย จึงทรงสงสมณทูต 9 สาย ออกไปเผยแผพระพุทธศาสนายังดินแดนตางๆ 1 ใน 9 สายนั้น มีพระโสณเถระและพระอุตตรเถระ เดินทางมาเผยแผพระพุทธศาสนาที่สุวรรณภูมิ

2

Expand

ñ. ¡ÒÃà¼ÂἋáÅСÒùѺ¶×;Ãоط¸ÈÒʹÒã¹»ÃÐà·Èà¾×Íè ¹ºŒÒ¹

ครูใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ 3-5 คน ศึกษาคนควาเกี่ยวกับประวัติการเผยแผ พระพุทธศาสนาเขาสูประเทศเพื่อนบาน ดังนี้ ประเทศพมา ประเทศอินโดนีเซีย ประเทศ มาเลเซีย ประเทศสิงคโปร ประเทศลาว ประเทศ กัมพูชา และประเทศเวียดนาม จากนั้นจดบันทึก ขอมูลลงสมุด

อธิบายความรู

ตรวจสอบผล

Engage

ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับความเชื่อดั้งเดิม กอนการเผยแผพระพุทธศาสนาเขาสูประเทศเพื่อน บาน และใหนักเรียนดูภาพถํ้าสัตตบรรณในหนังสือ เรียนหนา 2 พรอมทั้งอภิปรายถึงความสําคัญของ สถานที่ดังกลาว

สํารวจคนหา

ขยายความเขาใจ

ขอสอบ

O-NET

ขอสอบป ’ 51 ออกเกี่ยวกับการเผยแผพระพุทธศาสนาออกนอกชมพูทวีป ภายหลังการสังคายนาพระไตรปฎกครั้งที่ 3 ในสมัยพระเจาอโศก มหาราชแลว ไดเกิดเหตุการณสําคัญในขอใด 1. เกิดสงครามระหวางศาสนาตางๆ ในประเทศอินเดีย 2. พระพุทธศาสนากลายเปนรากฐานของวัฒนธรรมอินเดีย 3. พระพุทธศาสนาเผยแผไปยังดินแดนอาณานิคมของประเทศอินเดีย 4. พระเจาอโศกมหาราชสงสมณทูตไปประกาศศาสนาพุทธนอกชมพูทวีป วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 4. หลังการสังคายนาพระไตรปฎกครั้งที่ 3 พระโมคคัลลีบุตรติสสเถระเกรงวาในอนาคตพระพุทธศาสนาอาจเสื่อมสูญ ไปจากชมพูทวีป สมควรสงพระสงฆที่แตกฉานในธรรมไปเผยแผพระพุทธศาสนายังตางแควน พระเจาอโศกมหาราชทรงเห็นชอบดวย พระองคจึง แบงสมณทูตเปน 9 สาย สงไปเผยแผพระพุทธศาสนายังดินแดนตางๆ


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

อธิบายความรู ๑) พระพุทธศาสนาเขาสูป ระเทศพมา พระพุทธศาสนาทีเ่ ผยแผเขาสูป ระเทศพมาใน

ระยะแรกเปนแบบนิกายเถรวาท โดยผานเขามาทางเมืองสุธรรมวดีหรือสะเทิม ซึง� เปนราชธาน�ของ พวกมอญอยูก อ น หลังจากนัน้ จึงคอยๆ แผขยายขึน้ ไปทางตอนกลางและตอนเหน�อของประเทศพมา ใน พ.ศ. ๑๕๘๗ พระเจาอนุรุทธมหาราช (อโนรธามังชอ) ซึ่งเปนพระมหากษัตริย ที่ ทรงพระปรีชาสามารถขึ้นครองราชย พระองค1สามารถรวบรวมดินแดนของพมาใหเปนแผนดิน เดียวกันไดสําเร็จ และทรงสถาปนาเมืองพุกามขึ้นเปนราชธานี ในชวงนี้เองที่พระพุทธศาสนา นิกายมหายานไดแผขยายจากแควนเบงกอลของอินเดียเขาสูเมืองพุกาม แตพระเจาอนุรุทธมหาราชไมทรงศรัทธานิกายมหายาน กลับทรงมีความศรัทธาเลื่อมใสนิกายเถรวาท ครั้นเมื่อ พระองคทรงทราบวาพระพุทธศาสนาในอาณาจักรของพวกมอญมีความเจริญรุงเรืองมาก จึงทรง สงพระราชสาสนไปถึงพระเจามนูหะ ผูครองเมืองสุธรรมวดี ทูลขอพระไตรปฎกจํานวนหนึ่งขึ้นไป ยังเมืองพุกาม แตพระเจามนูหะไมยินยอม จึงเปนชนวนทําใหเกิดการสูรบกันขึ้น ปรากฏวาทาง พมาเปนฝายชนะ พระเจาอนุรทุ ธมหาราชจึงสัง่ ใหทาํ ลายเมืองสุธรรมวดีเสีย พรอมกับนําพระสงฆ มอญและพระไตรปฎกขึ้นไปยังเมืองพุกามดวย สงผลใหพระพุทธศาสนานิกายเถรวาทไดแผขยาย ไปทั่วอาณาจักรพมานับแตนั้นเปนตนมา 2 ใน พ.ศ. ๑๗๓๓ รัชกาลของพระเจานรปติสทิ ธุ ผูท รงทราบวาทีล่ งั กามีการทําสังคายนา พระธรรมวินัยครั้งที่ ๖ จึงอาราธนาใหพระอุตราชีวะนําคณะพระภิกษุสงฆและสามเณรเดินทางไป สืบพระพุทธศาสนาทีล่ งั กา เมือ่ เดินทางกลับ คณะสมณทูตไดนาํ เอาพระพุทธศาสนานิกายเถรวาท จากลังกาวงศเขามาเผยแผดวย

พุทธศาสนสถานที่มีความงดงามและมีจํานวนมากในดินแดนพมา สะทอนใหเห็นถึงอิทธิพลของพระพุทธศาสนา ทีห่ ยัง่ รากลึกลงในดินแดนพมาตัง้ แตอดีต

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

ขอใดไม ถูกตองเกี่ยวกับเหตุการณการเผยแผพระพุทธศาสนา ในประเทศพมา 1. การสังคายนาพระธรรมวินัยครั้งที่ 5 ที่เมืองมัณฑะเลย เกิดขึ้นในรัชสมัย ของพระเจามินดง 2. พระมหากษัตริยที่ทรงวางรากฐานพระพุทธศาสนานิกายเถรวาทในพมา คือพระเจาอลองพญา 3. เมื่ออังกฤษโคนลมสถาบันพระมหากษตริยของพมา ทําใหสถาบัน พระพุทธศาสนาเกิดความระสํ่าระสาย 4. ความเจริญรุงเรืองของพระพุทธศาสนานิกายเถรวาทในอาณาจักรมอญ ทําใหพระเจาอโนรธามังชอสงพระราชสาสนไปทูลขอพระไตรปฎก วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 2. พระมหากษัตริยพมาผูทรงวางรากฐาน พระพุทธศาสนานิกายเถรวาทในแผนดินพมาใหเจริญรุงเรืองสืบเนื่องมา จนถึงปจจุบัน คือ พระเจาอนุรุทธมหาราชหรือพระเจาอโนรธามังชอ สวนพระเจาอลองพญา เปนผูสถาปนาราชวงศอลองพญา ซึ่งสามารถ ปราบปรามมอญไดอยางเด็ดขาด

Explain

1. ครูใหนักเรียนนําขอมูลที่ไดจากการศึกษา คนควาออกมานําเสนอหนาชัน้ เรียน หลังจากนัน้ รวมกันสรุปเนื้อหาโดยภาพรวมและอธิบาย เพิ่มเติม 2. ครูใหนักเรียนรวมกันอภิปรายถึงความเจริญ รุงเรืองของพระพุทธศาสนาในอาณาจักรพุกาม (แนวตอบ พระพุทธศาสนานิกายเถรวาทเจริญ รุงเรืองอยูในดินแดนพมาตอนใต ซึ่งเปน ถิ่นฐานของมอญมากอน หลังจากที่พระเจา อนุรทุ ธมหาราชทรงรวบรวมพมาใหเปนปกแผน ได พระพุทธศาสนานิกายมหายานไดเผยแผ เขามา แตพระองคทรงเลื่อมใสนิกายเถรวาท จึงสงพระราชสาสนไปทูลขอพระไตรปฎก จากพระเจามนูหากษัตริยมอญ แตพระเจา มนูหะไมยินยอมจึงเกิดการสูรบกัน พมาชนะ จึงกวาดตอนพระสงฆมอญและนําพระไตรปฎก กลับไปยังพมา พระพุทธศาสนานิกายเถรวาท จึงแผขยายและเจริญรุงเรืองทั่วพมาตั้งแตนั้น มาจนถึงปจจุบัน สวนพระเจานรปติสิทธุ เมื่อทราบวาลังกามีการสังคายนาพระไตรปฎก ก็ทรงสงพระสงฆไปสืบพระพุทธศาสนาที่ลังกา และไดนําพระพุทธศาสนานิกายเถรวาทแบบ ลังกาวงศกลับมาเผยแผที่พมาดวย) 3. ครูตั้งคําถามใหนักเรียนชวยกันอธิบายวา พระเจาอนุรุทธมหาราชทรงสงเสริมพระพุทธศาสนาใหเจริญรุงเรืองในประเทศพมาอยางไร (แนวตอบ พระเจาอนุรุทธมหาราชทรงอางสิทธิ ธรรมทางพระพุทธศาสนาเพือ่ รุกรานและเขาโจมตี ดินแดนตางๆ ในลุมแมนํ้าอิระวดี เพื่อนํา สิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่นับถือในพระพุทธศาสนามา ประดิษฐานที่พุกามและสรางใหอาณาจักร พุกามเปนศูนยกลางพระพุทธศาสนาทีส่ าํ คัญ เชน การโจมตีเมืองสุธรรมวดีหรือสะเทิมเพือ่ อัญเชิญพระไตรปฎกมายังพุกามเพือ่ ใชเปนตํารา ในการศึกษาพระพุทธศาสนาไดอยางถูกตอง เปนตน)

นักเรียนควรรู

1 พุกาม เปนอาณาจักรแหงแรกของชาวพมาในลุม แมนาํ้ อิระวดี ซึง่ ศูนยกลางของ เมืองตั้งอยูในภูมิประเทศที่แหงแลงกึ่งทะเลทราย เปนบริเวณที่แมนํ้าฉินวินไหลมา รวมกับแมนํ้าอิระวดี ทําใหพุกามสามารถควบคุมการเดินเรือในแมนํ้าทั้งสองสายได ทั้งนี้นับตั้งแตคริสตศตวรรษที่ 9 เปนตนมา กษัตริยพุกามทุกพระองคทรง สรางความเจริญรุงเรืองทั้งดานการเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ ศาสนา และ ศิลปวัฒนธรรมเรื่อยมา จนกระทั่งปลายคริสตศตวรรษที่ 13 อาณาจักรพุกาม ลมสลายลงเพราะไมสามารถตานทานการรุกรานของพวกมองโกลได 2 พระเจานรปติสทิ ธุ ในรัชกาลของพระองคไดมกี ารสรางวิหารสุลามณี (จุฬามณี) และวิหารกอวดอวปะลิน ในรัชกาลนี้บานเมืองสงบสุข ขยายดินแดนไปกวางขวาง และยังไดรับพระบรมสารีริกธาตุมาจากลังกา

คูมือครู

3


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Explain

1. ครูใหนักเรียนอภิปรายเกี่ยวกับพระพุทธศาสนา หลังอาณาจักรพุกามสิ้นสุดอํานาจลงในประเด็น ดังตอไปนี้ • สาเหตุของการสิ้นสุดอํานาจลงของ อาณาจักรพุกาม • บทบาทของสถาบันพระมหากษัตริยตอ ความเจริญรุงเรืองของพระพุทธศาสนา 2. ครูใหนักเรียนจับคูผลัดกันถาม-ตอบเกี่ยวกับ การเผยแผพระพุทธศาสนาในประเทศพมา และชวยกันตั้งประเด็นที่ควรรูเพิ่มเติมจาก เนื้อหาในบทเรียน เชน ประเพณีของชาวพมา ที่มีพื้นฐานความเชื่อทางพระพุทธศาสนา พระราชกรณียกิจของกษัตริยพมาเกี่ยวกับ พระพุทธศาสนา เปนตน หลังจากนั้นศึกษา เพิ่มเติมในประเด็นดังกลาวจากแหลงการเรียนรู ตางๆ เชน หองสมุด หนังสือประวัติศาสตร ประเทศพมา เปนตน แลวบันทึกลงสมุด สงครูผูสอน

ศูนยกลางทางการปกครองพมาที่เมืองพุกาม ดํารงอยูเรื่อยมา จนถึง พ.ศ. ๑๘๒๗ ก็สิ้นสุดอํานาจลงเมื่อถูกพวกมองโกลรุกราน ทําใหอาณาจักรตางๆ แยกตัวเปนอิสระ โดยเฉพาะ พวกมอญซึ่งมีราชธานีอยูที่เมืองหงสาวดี เมื่อพระเจาธรรมเจดียศรีปฎกธร กษัตริยมอญขึ้นครองราชย ทรงมีพระราชดําริวา พระพุทธศาสนาในเมืองมอญขณะนั้นเสื่อมโทรมมาก คณะสงฆแตกแยกออกเปนคณะตางๆ ถึง ๖ คณะ วัตรปฏิบัติตางๆ ถูกละเลย พระสงฆสวนใหญประพฤติตนผิดจากพระวินัยบั​ัญญัติ ดังนั้น พระองคจึงทรงริเริ่มฟนฟูพระพุทธศาสนาขึ้นมาใหม โดยโปรดฯ ใหพระสงฆ ๒๒ รูป ฆราวาส ๒๒ คน เดินทางไปยังลังกา พระสงฆทั้ง ๒๒ รูป มีพระโมคคัลลานะเปนหัวหนา ไดลาสิกขาเพื่อรับการอุปสมบทใหม และฆราวาสทั้ง ๒๒ คน ก็ไดรับการอุปสมบทดวย ใน พ.ศ. ๒๐๑๘ เมื่อพระสงฆเหลานี้เดินทางกลับมาถึงเมืองหงสาวดี ก็โปรดฯ ใหพระภิกษุทั้งปวง ในเมืองมอญ ลาสิกขาเพือ่ รับการอุปสมบทใหมทงั้ แผนดิน ปรากฏวามีพระภิกษุขอรับการอุปสมบท ใหมถึง ๑๕,๖๖๖ รูป ยังสงผลใหสมณวงศในเมืองมอญกลับคืนสูความเปนปกแผนอีกครั้งหนึ่ง หลังจากนี้ มอญกับพมาก็ทําสงครามแยงชิงความเปนใหญกันอยูตลอดเวลา โดยผลัด กันแพชนะหลายครั้ง จนกระทั่งถึงประมาณ พ.ศ. ๒๓๐๐ ชนชาติมอญก็สูญสิ้นอํานาจลงอยาง เด็ดขาด เมื่อพระเจาอลองพญากษัตริยพมาไดยกทัพไปทําลายกรุงหงสาวดีอยางราบคาบ พระพุทธศาสนาในประเทศพมาไดรับการทํานุบํารุงจนเจริญรุงเรืองขึ้นอีกครั้ง อนึ่ง ในรัชกาลของพระเจามินดง (ครองราชยระหวาง พ.ศ. ๒๓๙๕-๒๔๒๐) พระราชกรณียกิจที่สําคัญ ของพระองคกค็ อื ทรงเปนองคอปุ ถัมภกในการทําสังคายนาพระธรรมวินยั ครัง้ ที่ ๕ ณ1 เมืองมัณฑะเลย จนแลวเสร็จ จากนัน้ ก็โปรดฯ ใหจารึกพระไตรปฎกลงบนแผนหินออนแลวทําสถูปครอบไวมจี าํ นวน ทั้งสิ้น ๔๕๐ องค พ.ศ. ๒๔๒๙ พมาตกเปนเมืองขึน้ ของอังกฤษ สถาบันกษัตริยไ ดถกู โคนลง พลอยสงผล ใหพระพุทธศาสนาไดรับความกระทบกระเทือนไปดวย ทั้งนี้เพราะนับตั้งแตอดีตกาลเปนตนมา แกนกลางสําคัญในการสงเสริมทํานุบํารุงพระพุทธศาสนาก็คือพระมหากษัตริย แตเนื่องจาก พระพุทธศาสนานิกายเถรวาทไดรบั การประดิษฐานอยูใ นประเทศพมานับเปนเวลาหลายรอยปแลว ดังนั้น ถึงจะสูญเสียเอกราชทางการเมืองไป แตชาวพมาก็ยังคงมีความศรัทธาในพระพุทธศาสนา อยางแนบแนน และพยายามประคับประคองสถาบันพระพุทธศาสนาใหธํารงอยูไดตลอดมา ในป พ.ศ. ๒๔๙๑ พมาก็ไดรับเอกราชจากการปกครองของประเทศอังกฤษ จากนั้น รัฐบาลพมาภายใตการนําของนายอูนุ ไดพยายามฟนฟูพระพุทธศาสนาโดยจัดใหมีการสังคายนา 2 พระไตรปฎกครั้งที่ ๖ (ฉัฏฐมสังคายนา) ขึ้นเมื่อ พ.ศ. ๒๔๙๗ โดยรัฐบาลพมาไดนิมนตพระเถระ ผูเชี่ยวชาญพระไตรปฎกไปจากประเทศไทย ศรีลังกา ลาว และกัมพูชา ใหเดินทางไปรวมเปน ๔

นักเรียนควรรู 1 สถูป เปนภาษาบาลี หมายถึง มูนดินที่กองขึ้นสูง ในสมัยแรกของชมพูทวีป สันนิษฐานวาเกิดจากการรวบรวมอัฐิ เถาถาน กองเปนวงไว แลวนําดินหินกรวด ทรายกลบทับเปนเนินสูง เพื่อสรางเปนหลุมฝงศพสําหรับประกอบพิธีสักการบูชา ภายหลังมีการนําหลักไมปกขึ้นบนสวนยอดของมูนดิน อันเปนจุดเริ่มตนของการ พัฒนาไปสูการสรางเจดียในปจจุบัน 2 การสังคายนาพระไตรปฎกครั้งที่ 6 (ฉัฏฐมสังคายนา) ในหมูประเทศที่นับถือ นิกายเถรวาท จะนับการสังคายนาพระไตรปฎกแตละครัง้ แตกตางกันไป โดยพมา รับรองการสังคายนาสามครัง้ แรกทีอ่ นิ เดีย และรับรองการสังคายนาครัง้ ที่ 2 ของ ศรีลงั กา ซึง่ พมานับวาเปนครัง้ ที่ 4 สวนการสังคายนาครัง้ แรกของพมา หรือทีพ่ มานับวาเปนครัง้ ที่ 5 กระทําทีเ่ มือง มัณฑะเลยในป พ.ศ. 2414 มีพระเจามินดงเปนผอู ปุ ถัมภ และการสังคายนาพระ ไตรปฎกครั้งที่ 2 ของพมา หรือที่พมานับวาเปนครั้งที่ 6 (ฉัฏฐมสังคายนา) เริ่มกระทําในป พ.ศ. 2497 เสร็จสิ้นในป พ.ศ. 2499

4

คูมือครู

กิจกรรมสรางเสริม ครูใหนักเรียนไปศึกษาคนควาเพิ่มเติมเกี่ยวกับประวัติการสรางเจดีย หรือพระธาตุสําคัญของพมามาคนละ 3 แหง จากนั้นเขียนสรุปลงกระดาษ A4 พรอมทั้งใสรูปประกอบและตกแตงใหสวยงาม

กิจกรรมทาทาย ครูมอบหมายใหนักเรียนไปศึกษาคนควาเพิ่มเติมเกี่ยวนโยบายของ อังกฤษที่มีตอพระพุทธศาสนาในชวงที่ปกครองพมา จากนั้นใหเขียนสรุป ลงกระดาษ A4 สงครูผูสอน


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

อธิบายความรู 1 จํานวนมาก เชน ไดมีการอาราธนาพระธรรมโกศาจารย (ทานพุทธทาสภิกขุ) จากประเทศไทย ไปแสดงปาฐกถาธรรมพิเศษเปนภาษาอังกฤษเรื่อง “ลักษณะที่นาอัศจรรยบางประการของ พระพุทธศาสนาแบบเถรวาท” ในครั้งนี้ดวย และไดจัดพิมพพระไตรปฎกพรอมคัมภีรอรรถกถา และปกรณที่ไดรับการสังคายนาแลวออกเผยแผเปนจํานวนมาก ๒) พระพุทธศาสนาเขาสูประเทศอินโดนีเซีย พระพุทธศาสนาไดเผยแผเขามาสู ดินแดนที่เปนประเทศอินโดนีเซียในชวงพุทธศตวรรษที่ ๓ คราวเดียวที่พระเจาอโศกมหาราช สงพระโสณเถระกับพระอุตตรเถระเดินทางมาเผยแผพระพุทธศาสนาในแถบนี้ เรือ่ งราวของประเทศ อินโดนีเซียปรากฏหลักฐานอยางชัดเจนขึ้นในชวงพุทธศตวรรษที่ ๑๒ เพราะไดเกิดอาณาจักร ที่ยิ่งใหญขึ้นอาณาจักรหนึ่งชื่อวา “อาณาจักรศรีวิชัย” ซึ่งมีอิทธิพลครอบคลุมตั้งแตภาคใต ของประเทศไทย ประเทศมาเลเซีย และประเทศอินโดนีเซียทั้งหมด อาณาจักรศรีวิชัยนับถือ พระพุทธศาสนานิกายมหายาน และเชื่อวานิกายมหายานในอาณาจักรนี้คงจะเปนที่นับถือกัน อยางแพรหลาย เพราะไดคนพบหลักฐานที่เปนโบราณวัตถุเปนจํานวนมาก ที่สําคัญไดแก พระพิมพดินดิบและรูปพระโพธิสัตว ซึ่งสรางขึ้นตามคติความเชื่อของผูที่นับถือพระพุทธศาสนา นิกายมหายานโดยเฉพาะ ในราวกลางพุทธศตวรรษที่ ๑๓ บนเกาะชวาภาคกลาง ไดเกิดราชวงศที่เขมแข็ง ขึ้นราชวงศหนึ่งมีชื่อวา “ราชวงศไศเลนทร” ซึ่งในกาลตอมา กษัตริยแหงราชวงศไศเลนทร ไดเขามามีอํานาจปกครองอาณาจักรศรีวิชัย เมื่อประมาณพุทธศตวรรษที่ ๑๕ ชวงระยะนี้เอง ราชวงศ ไ ศเลนทร แ ห ง อาณาจั ก รศรี วิ ชั ย ได มี ก ารติ ด ต อ สั ม พั น ธ กั บ ราชวงศ ป าละแห ง แควนเบงกอล จึงทําใหเกิดการแลกเปลี่ยน ทางวัฒนธรรมกันขึ้น ที่สําคัญก็คือ อาณาจักร ศรีวชิ ยั ไดมกี ารสงพระภิกษุไปศึกษาพระพุทธศาสนาที่มหาวิทยาลัยนาลันทาซึ่งกษัตริยแหง แควนเบงกอลใหการอุปถัมภอยางดี อีกทั้งยัง สงพระภิกษุ ช2างฝมอื มาเผยแผพระพุทธศาสนา และศิลปะปาละ โดยเฉพาะการสรางพระพุทธรูป ใหแกชาวศรีวิชัยดวย พระพุทธศาสนาในอินโดนีเซียถึง พระเจดียบุโรพุทโธ ซึ่งเปนพุทธศาสนสถานที่ใหญโตและ จุดเสื่อมโทรมมากในสมัยพุทธศตวรรษที่ ๑๙ สวยงาม สะทอนใหเห็นวา บริเวณนีน้ า จะเคยเปนศูนยกลาง เมื่ออาณาจักรศรีวิชัยเสื่อมลง และอาณาจักร ทีส่ าํ คัญของพระพุทธศาสนาอีกแหง หนึง่ ๕

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

การลมสลายของอาณาจักรศรีิวิชัย สงผลกระทบตอพระพุทธศาสนา ในประเทศอินโดนีเซียอยางไร

แนวตอบ ในชวงที่อาณาจักรศรีวิชัยเรืองอํานาจนั้น พระพุทธศาสนานิกาย มหายานเจริญรุงเรืองมากและมีผูคนในหมูเกาะอินโดนีเซียนับถือกัน อยางแพรหลาย แตเมื่ออาณาจักรศรีวิชัยเสื่อมอํานาจลง อาณาจักรมัชปาหิต ไดกาวขึ้นมามีอํานาจแทนที่ กษัตริยพระองคหนึ่งของอาณาจักรนี้ซึ่งมี พระนามวา “ระเดนปาทา” ไดเปลี่ยนมานับถือศาสนาอิสลาม และประกาศ หามเผยแผพระพุทธศาสนา ศาสนาอิสลาม จึงกลายเปนศาสนาหลักของ ชาวอินโดนีเซียแทนพระพุทธศาสนานับตั้งแตนั้นเปนตนมา

Explain

1. ครูใหนักเรียนดูภาพพระเจดียบุโรพุทโธ แลวใหนักเรียนชวยกันบอกถึงความสําคัญของ สถานที่แหงนี้ตอประเทศอินโดนีเซีย 2. ครูและนักเรียนอภิปรายถึงประวัติศาสตรของ ประเทศอินโดนีเซีย และครูตั้งคําถามให นักเรียนชวยกันตอบ เชน • อาณาจักรศรีวิชัยมีความเกี่ยวของกับ ประวัติศาสตรอินโดนีเซียอยางไร (แนวตอบ นักโบราณคดีสันนิษฐานวา ศูนยกลางของอาณาจักรศรีวิชัยตั้งอยูที่เมือง ปาเล็มบัง เกาะสุมาตรา ประเทศอินโดนีเซีย อาณาจักรศรีวิชัยมีอิทธิพลครอบคลุมตั้งแต ภาคใตของประเทศไทย ประเทศมาเลเซีย และเกาะสุมาตรา เกาะชวา ประเทศ อินโดนีเซีย) • พระพุทธศาสนาไดเผยแผเขาสูดินแดนที่ เปนประเทศอินโดนีเซียไดอยางไร (แนวตอบ ในชวงพุทธศตวรรษที่ 3 พระเจา อโศกมหาราชทรงสงพระโสณเถระกับ พระอุตตรเถระเดินทางมาเผยแผ พระพุทธศาสนาในแถบนี้) • เพราะเหตุใด ปจจุบันชาวอินโดนีเซียสวน ใหญจึงหันมานับถือศาสนาอิสลาม (แนวตอบ เพราะในสมัยพุทธศตวรรษที่ 19 เมื่ออาณาจักรศรีวิชัยเสื่อมลง กษัตริยแหง อาณาจักรมัชปาหิตทรงมีศรัทธาในศาสนา อิสลามมาก จึงประกาศหามเผยแผ พระพุทธศาสนา และทรงยกยองใหศาสนา อิสลามเปนศาสนาประจําชาติ ตั้งแตนั้น เปนตนมา ศาสนาอิสลามจึงเผยแผไปตาม หมูเกาะตางๆ ของอินโดนีเซียอยางรวดเร็ว และชาวอินโดนีเซียสวนใหญก็เปลี่ยนมา นับถือศาสนาอิสลาม)

นักเรียนควรรู 1 พระธรรมโกศาจารย (ทานพุทธทาสภิกขุ) มีนามเดิมวา เงื่อม พานิช เกิดที่อําเภอไชยา จังหวัดสุราษฎรธานี เมื่ออายุครบ 20 ป ทานไดบวชเปนพระที่ วัดโพธารามไชยา ไดฉายาวา “อินทปญโญ” แปลวา ผูมีปญญาอันยิ่งใหญ ทานได สรางผลงานและไดเผยแผธรรมะใหเปนทีป่ ระจักษตอ ชาวโลกอันนับวาเปนประโยชน อยางยิ่ง ตามปณิธานอันแรงกลาของทานที่จะสรางความเขาใจอันดีระหวางศาสนา เพื่อใหเกิดสันติสุขระหวางมวลมนุษยและเพื่อสรางสันติภาพของโลก จนกระทั่ง องคการการศึกษา วิทยาศาสตร และวัฒนธรรมแหงสหประชาชาติหรือยูเนสโก (UNESCO) ไดประกาศยกยองทานใหเปน “บุคคลสําคัญของโลก” ในดานการจรรโลง สันติภาพในโลก 2 ศิลปะปาละ คือ ศิลปะอินเดียในราชวงศปาละและราชวงศเสนะ ตั้งแตราว พุทธศตวรรษที่ 14-18 พบมากทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือในแควนเบงกอลและ แควนพิหาร ศิลปะปาละมักเกี่ยวเนื่องในพระพุทธศาสนานิกายมหายาน ลักษณะ ที่สําคัญของพระพุทธรูปศิลปะปาละ คือ พระวรกายเพรียวบาง จีวรแนบเนื้อ พระนาสิกงุม และพระเนตรอยูในลักษณะครึ่งหลับ คูมือครู 5


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Explain

1. ครูใหนักเรียนดูภาพพระโพธิสัตวอวโลกิเตศวร ในหนังสือเรียนหนา 6 แลวถามนักเรียนวา นักเรียนเคยเห็นรูปปนในลักษณะคลายกันนี้ ที่ใดบาง หลังจากนั้นชวยกันวิเคราะหลักษณะ การแสดงปางของรูปปนดังกลาว ซึ่งสะทอนให เห็นถึงลักษณะความเชื่อเกี่ยวกับเรื่องใด (แนวตอบ รูปปนพระโพธิสัตว เปนความเชื่อของ พระพุทธศาสนานิกายมหายาน โดยเชื่อกันวา พระโพธิสัตวเปนผูบําเพ็ญบารมีหรือทําความดี โดยตัง้ ปณิธานจะตรัสรูอ นุตตรสัมมาสัมโพธิญาณ เปนองคสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจาในอนาคต จะไดสามารถชวยเหลือสรรพสัตวใหพนจาก ความทุกขไดอยางเต็มที่ ซึ่งแบงเปน 2 ประเภท ไดแก พระฌานิโพธิสัตว คือ พระโพธิสัตวที่ บรรลุพุทธภูมิ แตยังไมเสด็จเขาแดนนิพพาน จนกวาจะชวยสรรพสัตวใหพน ทุกขไดทงั้ หมด ดังเชน พระโพธิสตั วอวโลกิเตศวร และพระมนุษโิ พธิสตั ว คือ พระโพธิสัตวที่อยูในสภาพมนุษยหรือ สิ่งมีชีวิตอื่นๆ ที่กําลังสั่งสมบารมีอันยิ่งใหญ เพื่อบรรลุโพธิญาณในขั้นสุดทาย ดังเชน อดีตชาติของพระพุทธเจา) 2. ครูใหนักเรียนชวยกันอภิปรายถึงสาเหตุของ ความเจริญรุงเรืองและความเสื่อมของ พระพุทธศาสนาในประเทศมาเลเซีย 3. ครูใหนักเรียนศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับหลักฐาน ทางประวัติศาสตรที่บงบอกถึงรองรอยความ เจริญรุงเรืองของพระพุทธศาสนาในประเทศ มาเลเซีย จากนั้นใหนําขอมูลที่ไดมาอภิปราย รวมกันในชั้นเรียน

มัชปาหิตขึน้ มามีอาํ นาจแทนที่ ปรากฏวากษัตริยอ งคหนึง่ ของอาณาจักรมัชปาหิตทรงพระนามวา “ระเดนปาทา” ทรงมีศรัทธาในศาสนาอิสลามมาก ไดประกาศหามเผยแผพระพุทธศาสนาใน อาณาจักรของพระองค และทรงยกยองใหศาสนาอิสลามเปนศาสนาประจําชาติ นับตั้งแตนั้นมา ศาสนาอิสลามก็แพรหลายไปยังเกาะตางๆ ของอินโดนีเซียอยางรวดเร็ว และกลายเปนศาสนา ที่ชาวอินโดนีเซียสวนใหญเคารพนับถือไปในที่สุด สวนชาวอินโดนีเซียที่ยังมีศรัทธาเลื่อมใส ในพระพุทธศาสนานิกายมหายานและเถรวาทก็ยังคงมีอยูบางประปรายในเกาะชวา สุมาตรา และ เกาะบาหลี ๓) พระพุทธศาสนาเขาสูป ระเทศมาเลเซีย ดินแดนของประเทศ มาเลเซียแบงออกเปน ๒ สวน สวนหนึ�งอยูบนแหลมมลายูและอีกสวนหนึ�ง อยูบนเกาะบอรเน�ยว นักประวัตศิ าสตรสนั นิษฐานวาพระพุทธศาสนาไดเผยแผ เข ามาสูดิน แดนของประเทศมาเลเซี ย เมื่ อ ประมาณพุ ท ธศตวรรษที่ ๓ โดยระยะแรกเปนอยางนิกายเถรวาท แตมีผูนับถือไมมากนัก จนกระทั�ง ถึงพุทธศตวรรษที่ ๑๒ บริเวณแหลมมลายูตกอยูภายใตการปกครอง ของอาณาจักรศรีวิชัยพระพุทธศาสนานิกายมหายานจึงไดเผยแผเขา มาสูบริเวณน�้ ใน พ.ศ. ๑๘๓๗ พอขุนรามคําแหงมหาราชแหงอาณาจักรสุโขทัย ทรงแผขยายพระราชอาณาเขตลงมาทางใต ไดเมืองนครศรีธรรมราช ตลอดจนถึงหัวเมืองมลายูทั้งหมดเปนเมืองประเทศราชจึงทําใหพระพุทธศาสนานิกายเถรวาทจากอาณาจักรสุโขทัยเผยแผเขามาสูแหลมมลายูนี้ดวย แตเนื่องจากประชาชนบนแหลมมลายูนับถือพระพุทธศาสนานิกายมหายาน ติดตอกันมาเปนเวลาหลายรอยปแลว พระพุทธศาสนานิกายเถรวาทจึง ไมคอยมีอิทธิพลตอผูคนในบริเวณนี้มากนัก ดังจะเห็นไดจากหลักฐานที่เปน โบราณวัตถุ ซึ่งคนพบในประเทศมาเลเซียสวนใหญจะเปนรูปพระโพธิสัตว หรือพระพิมพดนิ เผา พระพิมพดนิ ดิบ ทีล่ ว นถูกสรางขึน้ ตามลัทธิธรรมเนียม ในนิกายมหายานทั้งสิ้น พระพุทธศาสนาซึ่งเจริญรุงเรืองอยูบนแหลมมลายูไดรับ 1 ความกระทบกระเทือนอยางหนักในรัชสมัยของพระเจาปรเมศวร รู ป พระโพธิ สั ต ว อ วโลกิ เ ตศวร เป น หลั ก ฐานแสดงให เ ห็ น ถึ ง แหงอาณาจักรมะละกา เมือ่ พระองคไดละทิง้ พระพุทธศาสนาหันไปนับถือ อิ ท ธิ พ ลของพระพุ ท ธศาสนา ศาสนาอิสลาม แตทวาประชาชนสวนใหญก็ยังนับถือพระพุทธศาสนา ในประเทศมาเลเซีย นิกายมหายานอยูเ ชนเดิม จนกระทัง่ ถึงสมัยสุลตานมัลโมชาห พระองค ๖

เกร็ดแนะครู ครูอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียนเขาใจวา พระเจาปรเมศวรแหงอาณาจักรมะละกา ทรงอภิเษกกับพระราชธิดาของสุลตานแหงปาไซ ทําใหพระองคเปลี่ยนไปนับถือ ศาสนาอิสลาม

นักเรียนควรรู 1 พระโพธิสัตวอวโลกิเตศวร มีอีกชื่อหนึ่ง คือ พระโพธิสัตวปทมปาณี ถือเปน พระโพธิสัตวตามความเชื่อในพระพุทธศาสนานิกายมหายาน ทรงมีหนาที่ในการ ชวยเหลือสรรพสัตวใหพนจากความทุกขยาก พระโพธิสัตวอวโลกิเตศวรมี 2 กร 4 กร หรืออาจมากกวานั้น ขึ้นอยูกับการแสดงปางตางๆ ของพระองค ในจีนนิยมทํารูปพระโพธิสัตวอวโลกิเตศวรเปนรูปสตรีมากกวาบุรุษซึ่งเปนที่รูจักกัน ในชื่อ “กวนอิม”

6

คูมือครู

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

เพราะเหตุใด ประชากรสวนใหญของมาเลเซียจึงนับถือศาสนาอิสลาม ทั้งที่ในอดีตพระพุทธศาสนานิกายมหายานเจริญรุงเรืองเปนอยางมาก ในดินแดนบริเวณนี้ แนวตอบ ในชวงระยะเวลาที่อาณาจักรศรีวิชัยเรืองอํานาจ พระพุทธศาสนา นิกายมหายานบนแหลมมลายูเจริญรุงเรืองมาก แมพระพุทธศาสนานิกาย เถรวาทจากอาณาจักรสุโขทัยจะเผยแผเขามาก็ไมมีอิทธิพลมากนัก แตตอมา พระเจาปรเมศวรแหงอาณาจักรมะละกาไดเปลี่ยนไปนับถือศาสนาอิสลาม และสุลตานมัลโมชาหซึ่งทรงเลื่อมใสศาสนาอิสลามมาก ไดใหราษฎรเปลี่ยน มานับถือศาสนาอิสลาม นับจากนั้นเปนตนมา การนับถือพระพุทธศาสนาก็ คอยๆ ลดนอยลงในบริเวณคาบสมุทรมลายู


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

อธิบายความรู

Explain

1. ครูนําแผนที่ประเทศสิงคโปรมาใหนักเรียนดู แลวสนทนาถึงภูมิประเทศและชวยกันชี้ทิศทาง การเผยแผพระพุทธศาสนาเขาสูประเทศ สิงคโปร 2. ครูตั้งคําถามเกี่ยวกับการเผยแผ พระพุทธศาสนาในประเทศสิงคโปรใหนักเรียน ชวยกันตอบ ดังนี้ • การเผยแผพระพุทธศาสนาเขาสูประเทศ สิงคโปรมีลักษณะคลายคลึงกับประเทศ มาเลเซียอยางไร (แนวตอบ พระพุทธศาสนาที่เผยแผเขาสู ประเทศมาเลเซียและสิงคโปรตั้งแตใน อดีตนั้น เปนนิกายมหายาน ซึ่งไดรับ การเคารพนับถือจากผูคนในบริเวณนี้เปน อยางมาก และในปจจุบันพลเมืองสิงคโปร สวนใหญเปนชาวจีน ทําใหพระพุทธศาสนา นิกายมหายานเจริญรุงเรืองอยางมั่นคง) 3. ครูใหนักเรียนรวมกันอภิปรายถึงบทบาทของ พุทธสมาคมและองคกรยุวพุทธแหงสิงคโปร รวมถึงประโยชนที่ชาวสิงคโปรจะไดรับจาก การดําเนินการขององคกรเหลานี้

มีพระราชศรัทธาและเลื่อมใสศาสนาอิสลามมาก ได1สั่งใหทหารทําลายศาสนสถานพระพุทธรูป เทวรูป ทั้งของพระพุทธศาสนาและศาสนาพราหมณเสียจนหมดสิ้น แลวใหราษฎรหันมานับถือ ศาสนาอิสลามตามอยางพระองคการกระทําในครั้งนี้สงผลใหอิทธิพลของพระพุทธศาสนานิกาย มหายานสิน้ สุดลง และศาสนาอิสลามไดกลายเปนศาสนาประจําชาติของประเทศมาเลเซียสืบตอมา ในชวงมาเลเซียตกเปนอาณานิคมของอังกฤษนัน้ ไดมชี าวจีนนําพระพุทธศาสนานิกาย มหายานจากประเทศจีนเขามาเผยแผในประเทศมาเลเซียดวย แตไมประสบความสําเร็จมากนัก จนกระทั่งมาเลเซียไดรับเอกราชจากอังกฤษเมื่อ พ.ศ. ๒๕๐๐ แลวและมีคณะสมณทูตจาก ประเทศไทย ศรีลงั กา พมา เดินทางเขาไปเผยแผพระพุทธศาสนานิกายเถรวาทในประเทศมาเลเซีย หลายคณะ จึงชวยใหพระพุทธศาสนาในประเทศมาเลเซียไดรับการฟนฟูขึ้นมาบาง ๔) พระพุทธศาสนาเขาสูประเทศสิงคโปร สิงคโปรเปนเกาะเล็กๆ อยูทางทิศใต ของประเทศมาเลเซีย ซึ�งในอดีตก็เคยอยูรวมเปนสหพันธเดียวกับมาเลเซียมากอนและไดแยกตัว ออกเปนประเทศอิสระเมื่อ พ.ศ. ๒๕๐๘ ดังนั้น การเผยแผพระพุทธศาสนาเขามายังสิงคโปรจึงมี ลักษณะเชนเดียวกับมาเลเซีย กลาวคือ นิกายที่ไดรับการเคารพนับถือมาก ไดแก นิกายมหายาน และดวยเหตุที่พลเมืองสวนใหญของสิงคโปรเปนชาวจีน พระพุทธศาสนานิกายมหายานจึงมี ความเจริญรุงเรืองและไดรับการประดิษฐานอยูอยางมั�นคง ดังจะเห็นไดวาสิงคโปรมีสมาคมของ ชาวพุทธอยูประมาณ ๒,๐๐๐ สมาคม และมีวัดทางพระพุทธศาสนาอยูประมาณ ๑๕๐ วัด

พระประธานวัดไทยในสิงคโปร ซึ่งสรางขึ้นดวยแรงศรัทธาของพุทธศาสนิกชนชาวไทยและชาวสิงคโปร

http://www.aksorn.com/LC/REI/M2/01

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

อัมพรเปนนักทองเที่ยวชาวไทย เดินทางไปเที่ยวประเทศหนึ่งในเอเชียตะวันออกเฉียงใต ประเทศนี้มีประชากรหลากหลายเชื้อชาติ ภาษา ศาสนา และวัฒนธรรม แตประชากรสวนใหญของประเทศเปนชาวจีน นับถือ พระพุทธศาสนานิกายมหายาน อัมพรไปเที่ยวประเทศอะไร 1. มาเลเซีย 2. เวียดนาม 3. สิงคโปร 4. อินโดนีเซีย

วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 3. ประชากรสวนใหญของประเทศสิงคโปรเปน ชาวจีน จึงนับถือพระพุทธศาสนานิกายมหายานมีวัดของนิกายมหายานอยู มากมายหลายแหง รวมถึงมีวัดของนิกายเถรวาทดวย โดยสวนใหญเปนวัด ศรีลังกา พมา และไทย พุทธสมาคมในประเทศสิงคโปรก็มีบทบาทดานสังคม สังเคราะหอยางมาก อีกทั้งยังมีการเผยแผพระพุทธศาสนาดวยวิธีที่ หลากหลาย ทําใหพระพุทธศาสนานิกายมหายานเจริญรุงเรือง

EB GUIDE

นักเรียนควรรู 1 ศาสนาพราหมณ เดิมเรียกวา “สนาตนธรรม” แปลวา ธรรมหรือศาสนาอัน เปนของเกาหรือนิรันดร เปนศาสนาดั้งเดิมของชนเผาอารยัน ซึ่งตอมาอพยพเขาไป สูอินเดีย โดยมีพวกทราวิฑหรือมิลักขะชาวพื้นเมืองตอตาน แตในที่สุดฝายอารยัน เปนผูชนะ จึงมีการผสมผสานความเชื่อดั้งเดิมเขากับความเชื่อของพวกตนและ ตั้งเปนศาสนาประจําชาติ เรียกวา “ศาสนาพราหมณ” แปลวา ธรรมที่สอนลัทธิ อหิงสา ตอมาศาสนาพราหมณไดเจริญรุงเรืองมาตามลําดับ จนกระทั่งวิวัฒนาการ มาเปนศาสนาฮินดู จึงเรียกรวมกันวา “ศาสนาพราหมณ-ฮินดู” เทพเจาสูงสุดใน ศาสนาพราหมณ-ฮินดู คือ พระพรหม เปนเทพเจาผสู รางโลก มีพระนางสุรสั วดีเปน พระชายา พระนารายณหรือพระวิษณุ เปนเทพเจาผูรักษาและคุมครองโลก มี พระนางลักษมีเปนพระชายา และพระศิวะหรือพระอิศวร เปนเทพเจาผูทําลายโลก มีพระนางอุมาเทวีเปนพระชายา เทพทั้ง 3 องค รวมเรียกวา “ตรีมูรติ”

คูมือครู

7


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Explain

1. ครูใหนักเรียนวิเคราะหวา เพราะเหตุใดการ นับถือพระพุทธศาสนานิกายมหายานจึงมีความ เจริญรุงเรืองในประเทศสิงคโปรอยางมาก (แนวตอบ เพราะพลเมืองสวนใหญของสิงคโปร เปนชาวจีน เริ่มแรกของการนับถือศาสนาจึงมี ลักษณะผสมผสานระหวางความเชื่อศาสนาเตา กับพระพุทธศาสนานิกายมหายาน ปจจุบันชาว สิงคโปรมีการเลือกนับถือพระพุทธศาสนานิกาย มหายานชัดเจนขึ้น ดังจะเห็นไดจากการสราง วัดทางพระพุทธศาสนานิกายมหายานกวา 150 วัด ตลอดจนมีการดําเนินการของพุทธสมาคม ตางๆ) 2. ครูใหนักเรียนรวมกันอภิปรายถึงแนวทางการ เผยแผพระพุทธศาสนานิกายมหายานใน ประเทศสิงคโปร (แนวตอบ ในปจจุบันการเผยแผพระพุทธศาสนา นิกายมหายานในประเทศสิงคโปรกระทําโดย แปลตําราและคัมภีรทางพระพุทธศาสนาเปน ภาษาตางๆ จัดตั้งโรงเรียนอบรมศาสนาจารย จัดตัง้ โรงเรียนสอนพระพุทธศาสนาชือ่ “มหาโพธิ”์ รวมทั้งองคกรชาวพุทธยังดําเนินการดานกิจการ สังคมสงเคราะหตางๆ ทั้งบริจาคอาหาร เสื้อผา ยารักษาโรคแกผูยากไร มอบทุนการศึกษา แกนักเรียนที่ยากจน สวนองคกรยุวพุทธแหง สิงคโปรก็จัดบรรยายธรรมทั้งภาคภาษาอังกฤษ และจีนกลาง สอนการสวดมนตฝกการนั่งสมาธิ และสนทนาธรรม)

ซึง� เกือบทัง้ หมดเปนวัดฝายนิกายมหายาน สวนวัดฝายนิกายเถรวาททีส่ าํ คัญๆ ไดแก วัดศรีลงั การามายณะ ของศรีลังกา และวัดอานันทเมตยาราม ของไทย เปนตน การเผยแผพระพุทธศาสนานิกายมหายานในสิงคโปรกระทํากันอยางจริงจังมาก เปนตนวา มีการแปลตําราและคัมภีรทางพระพุทธศาสนาเปนภาษาตางๆ จัดตั้งโรงเรียนอบรม ศาสนาจารย จัดตั้งโรงเรียนสอนพระพุทธศาสนาชื่อวา “มหาโพธิ์” ซึ่งในโรงเรียนนี้จะทําการสอน พระพุทธศาสนาในทุกระดับชั้น นอกจากนั้น พุทธสมาคมของชาวจีนยังไดดําเนินกิจการสังคมสงเคราะหตางๆ เชน บริจาคอาหาร เครื่องนุงหม ยารักษาโรคใหแกผูยากไร มอบทุนการศึกษาใหแกนักเรียนที่ยากจน ชวยเหลือการฌาปนกิจสงเคราะห ตั้งศูนยสงเคราะหเด็กกําพราและคนชรา เปนตน สวนองคกร ยุวพุทธแหงสิงคโปรก็ไดมีการอบรมและจัดบรรยายธรรมทั้งภาคภาษาอังกฤษ และภาคภาษา จีนกลาง สอนการสวดมนต ฝกการนั่งสมาธิ การสนทนาธรรมและกิจกรรมอื่นๆ กลาวโดยสรุป ชาวสิงคโปรไมเพียงแตนับถือพระพุทธศาสนานิกายมหายานอยางแนนแฟนเทานั้น แตยังไดเอา หลักธรรมขอที่วาดวยความเมตตากรุณา การใหทาน มาปฏิบัติตอเพื่อนมนุษยที่ตกทุกขไดยาก อีกดวย ๕) พระพุทธศาสนาเขาสูประเทศลาว พระพุทธศาสนาไดมีการเผยแผเขามาสู ประเทศลาวในรัชกาลของพระเจาฟางุม (พ.ศ. ๑๘๙๖-๑๙๑๔) แหงอาณาจักรลานชาง ซึ�งทรงมี พระบรมเดชานุภาพมาก ชาวลาวยกยองพระองควาทรงเปนมหาราชองคแรกของชาติลาว มูลเหตุที่พระพุทธศาสนาแผขยายเขามาสูประเทศลาวในรัชสมัยของพระเจาฟางุม เนื่องจากมเหสีของพระองค คือ พระนางแกวยอดฟา เปนพระราชธิดาของพระเจาศรีจุลราชแหง เมืองอินทปตยในอาณาจักรกัมพูชา ซึ่งพระนางเคยเคารพนับถือพระพุทธศาสนานิ1กายเถรวาท มาตัง้ แตครัง้ ทีอ่ ยูเ มืองอินทปตยแลว เมือ่ พระนางเสด็จมาประทับทีอ่ าณาจักรลานชางและพบเห็น ชาวเมืองยังคงนับถือบูชาลัทธิผีสางเทวดาอยูก็ไมสบายพระทัย จึงกราบทูลใหพระเจาฟางุม แตงคณะทูตไปทูลอาราธนาพระสงฆ เพือ่ มาชวยประดิษฐานพระพุทธศาสนาจากพระเจาศรีจลุ ราช ซึ่งพระเจาฟางุมก็ทรงกระทําตามคําแนะนําของพระนางแกวยอดฟา เมื่อพระเจาศรีจุลราชทรง ทราบพระราชประสงคของพระเจาฟางุมผูเปนพระราชบุตรเขยก็ตอบสนองดวยดี โดยโปรดฯ ใหอาราธนาพระมหาปาสมันตเถระกับพระมหาเทพลังกานําพระสงฆอกี ๒๐ รูป เดินทางไปเผยแผ 2 พระพุทธศาสนาที่อาณาจักรลานชาง นอกจากนี้ยังพระราชทานพระพุทธรูปปญจโลหะองคหนึ่ง พระนามวา “พระบาง” พรอมดวยพระไตรปฎก และหนอพระศรีมหาโพธิ์มาถวายแกพระเจาฟางุม ดวย นับตั้งแตนั้นเปนตนมา พระพุทธศาสนานิกายเถรวาทก็เจริญรุงเรืองอยูในประเทศลาว และไดกลายเปนศาสนาประจําชาติไปในที่สุด ๘

นักเรียนควรรู 1 อาณาจักรลานชาง เปนอาณาจักรของชนชาติลาว ตั้งอยูในแถบลุมแมนํ้าโขง มีอาณาเขตอยูใ นบริเวณประเทศลาวทัง้ หมด และบางสวนของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ของไทย ผูรวบรวมอาณาจักรใหมั่นคงเปนปกแผนใน พ.ศ. 1896 คือ พระเจาฟางุม ซึ่งเจริญรุงเรืองและเสื่อมถอยสลับกันหลายสมัย ในรัชกาลพระเจาไชยเชษฐาธิราช ถือวาเปนยุคแหงความรุงเรืองของลาวอีกยุคหนึ่ง จนกระทั่งสิ้นรัชสมัยของพระเจา สุริยวงศาธรรมิกราช ลาวก็แตกแยกออกเปน 3 อาณาจักร คือ เวียงจันทน หลวงพระบาง และจําปาศักดิ์ ตอมาไดสูญเสียเอกราชแกอาณาจักรธนบุรี ทั้ง 3 อาณาจักร และก็เปนประเทศราชของสยามมาจนถึงสมัยรัชกาลที่ 5 แหงกรุงรัตนโกสินทร กอนที่ไทยจะยกสิทธิการดูแลลาวใหแกฝรั่งเศส 2 พระพุทธรูปปญจโลหะ เปนพระพุทธรูปที่หลอขึ้นจากโลหะทั้ง 5 ชนิด ไดแก ดีบุก ปรอท ทองแดง เงิน และทองคํา

8

คูมือครู

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

พระพุทธศาสนาเผยแผเขาสูประเทศลาวจากมูลเหตุใด แนวตอบ พระพุทธศาสนาเผยแผเขาสูลาวในสมัยพระเจาฟางุม เนื่องจาก พระองคทรงอภิเษกกับพระนางแกวยอดฟา พระราชธิดาของพระเจา ศรีจลุ ราชแหงเมืองอินทปตยในอาณาจักรกัมพูชา เมือ่ พระนางเสด็จมาประทับ ที่ลาวซึ่งชาวเมืองยังนับถือผีสางเทวดาอยู ก็ทรงไมสบายพระทัย จึงกราบทูล ใหพระเจาฟางุมแตงคณะทูตไปทูลอาราธนาพระสงฆจากกัมพูชามาเผยแผ พระพุทธศาสนาที่ลาว ซึ่งพระเจาศรีจุลราชก็ทรงตอบสนองพระราชประสงค ของพระเจาฟางุม โดยโปรดฯ ใหอาราธนาพระมหาปาสมันตเถระกับ พระมหาเทพลังกานําพระสงฆอีก 20 รูป เดินทางไปเผยแผพระพุทธศาสนา ที่ลาว ตั้งแตนั้นเปนตนมา พระพุทธศาสนาก็เจริญรุงเรืองอยูในลาวมาจนถึง ปจจุบัน


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

อธิบายความรู

Explain

1. ครูใหนักเรียนดูภาพพระธาตุหลวงในหนังสือ เรียนหนา 9 แลวสนทนาถึงความคลายคลึง ของลักษณะสถาปตยกรรมของประเทศลาว กับประเทศไทย โดยเชื่อมโยงกับอิทธิพลของ พระพุทธศาสนา 2. ครูใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ 3-5 คน สงตัวแทนออกมาจับสลากเลือกหัวขอ ดังตอไปนี้ • พระพุทธศาสนาในรัชกาลของพระเจาฟางุม • พระพุทธศาสนาในรัชกาลของพระเจาสาม แสนไทยไตรภูวนาถ • พระพุทธศาสนาในรัชกาลของพระเจาไชย เชษฐาธิราช หลังจากนั้นศึกษาเพิ่มเติมในหัวขอดังกลาว จากหนังสือเรียนหนา 8-10 และแหลงการเรียนรู อื่น เชน อินเทอรเน็ต หองสมุด เปนตน แลวออกมานําเสนอผลการศึกษาหนาชั้นเรียน

เมื่อพระเจาสามแสนไทยไตรภูวนาถพระราชโอรสของพระเจาฟางุมขึ้นครองราชย (พ.ศ. ๑๙๑๖ - ๑๙๘๕) ก็ทรงเอาพระทัยใสทาํ นุบาํ รุงพระพุทธศาสนาอยางดียงิ่ ทัง้ นีเ้ พราะพระองค มีพระทัยใฝสันติ ชอบการบําเพ็ญบุญสรางกุศล ไดโปรดฯ ใหสรางวัดมโนรมย วัดอุโบสถ หอสมุด สําหรับเปนที่ศึกษาคนควาพระไตรปฎกและโรงเรียนปริยัติธรรมหลายแหง พระพุทธศาสนาไดรับการวางรากฐานใหมีความมั่นคงมากขึ้น ในรัชสมัยของพระเจา โพธิสาร (พ.ศ. ๒๐๖๓ - ๒๐๙๐) พระองคไดมีพระบรมราชโองการหามการประกอบพิธีทรงเจา เขาผีทั่วพระราชอาณาจักร และใหชาวลาวเลิกนับถือบูชาลัทธิผีสางเทวดา โดยใหหันมานับถือ พระพุทธศาสนาแทน 1 ในรัชกาลของพระเจาไชยเชษฐาธิราช (พ.ศ. ๒๐๙๑ - ๒๑๑๔) ซึ่งไดรับการยกยองวา เปนมหาราชองคที่ ๒ ของลาว พระพุทธศาสนามีความเจริญรุงเรืองถึงขีดสุด ทั้งนี้เพราะ พระเจาไชยเชษฐาธิราชทรงเอาพระทัยใส2ทํานุบํารุงพระพุทธศาสนาอยางดียิ่ง เชน โปรดฯ ใหสรางพระธาตุบังพวน พระธาตุศรีโคตรบูร พระธาตุหลวง พระธาตุอิงรัง ทรงสรางพระพุทธรูป ที่สําคัญ คือ พระองคตื้อ พระเสริม พระสุก พระใส พระอินทรแปลง พระองคแสน นอกจากนี้ ยังโปรดฯ ใหสรางวัดตางๆ ขึ้นเปนจํานวนมาก เชน วัดปารือศรีสิงขร วัดปากันทอง วัดศรีเมือง วัดพระแกว เปนตน กลาวไดวา พุทธสถานทีส่ าํ คัญของประเทศลาวสวนใหญลว นไดรบั การสรางขึน้ ในรัชสมัยของพระเจาไชยเชษฐาธิราชแทบทัง้ สิน้ หลังจากรัชกาลของพระเจาไชยเชษฐาธิราชแลว พระพุทธศาสนาในประเทศลาว ก็ไมคอยเจริญรุงเรืองนัก แตดวยเหตุที่ลาวมี อาณาเขตติดตอกับไทยและประเทศทัง้ ๒ ก็มี ความสัมพันธกนั อยางแนนแฟน ดังนัน้ อิทธิพล ของพระพุทธศาสนานิกายเถรวาทจากไทยจึงได เผยแผเขาไปมีอิทธิพลอยูในประเทศลาวดวย ซึ่งชวยคํ้าชูใหพระพุทธศาสนาในประเทศลาว สามารถดํารงอยูได เมื่ อ ลาวตกเป น อาณานิ ค มของ ฝรั่ ง เศสใน พ.ศ. ๒๔๓๖ พระพุ ท ธศาสนา ก็เสือ่ มโทรมลงเพราะขาดการทํานุบาํ รุงเอาใจใส หลวงในประเทศลาว สรางขึ้นในรัชสมัยพระเจา แตถึงกระนั้นก็ยังมีความสําคัญในฐานะที่เปน พระธาตุ ไชยเชษฐาธิราช แสดงถึงความเจริญรุงเรืองของพระพุทธศาสนาประจําชาติลาวสืบตอมา ถึงแมในชวง ศาสนา ๙

บูรณาการเชื่อมสาระ

ครูสามารถนําเนื้อหาในชวงรัชกาลพระเจาไชยเชษฐาธิราช ไปบูรณาการ กับกลมุ สาระการเรียนรูส งั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม วิชาประวัตศิ าสตร เรือ่ งความสัมพันธดา นตางประเทศระหวางอยุธยากับลานชาง โดยครูอธิบายวา ในสมัยของสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ พระเจาไชยเชษฐาธิราช กษัตริยของ ลานชาง ไดแตงตัง้ ทูตอัญเชิญพระราชสาสน พรอมเครือ่ งบรรณาการมาถวาย กราบทูลขอพระเทพกระษัตรี พระราชธิดาของสมเด็จพระมหาจักรพรรดิไป เปนพระอัครมเหสี ซึง่ สมเด็จพระมหาจักรพรรดิกท็ รงตอบรับไมตรี เพราะเล็ง เห็นประโยชนทจี่ ะไดลา นชางเอาไวเปนพันธมิตรในการทําศึกสงครามกับพมา แตขาวการรวมมือเพื่อสรางสายสัมพันธฉันทเครือญาติระหวางกรุงศรีอยุธยา กับกรุงศรีสัตนาคนหุตลวงรูไปถึงพระเจาบุเรงนองแหงพมาเสียกอน จึงไดสง กําลังทหารมาชิงตัวพระเทพกระษัตรีในระหวางเดินทางไปยังลานชาง แลว นําตัวไปไวที่กรุงหงสาวดี ถึงแมการอภิเษกสมรสในครั้งนี้จะมิไดบังเกิดขึ้น แตอยุธยาก็ยังคงรักษาสัมพันธไมตรีอันดีกับลานชางไว หลักฐานที่แสดงถึง มิตรไมตรี​ีระหวางอยุธยากับลานชาง คือ พระธาตุศรีสองรัก ตั้งอยูที่อําเภอ ดานซาย จังหวัดเลย

นักเรียนควรรู 1 พระเจาไชยเชษฐาธิราช ผูสถาปนากรุงศรีสัตนาคนหุต (เวียงจันทน) ใหเปน ศูนยกลางทางดานวัฒนธรรมของชาวลาว ปจจุบันรัฐบาลลาวไดสรางพระบรมราชานุสาวรียของพระองคประดิษฐานอยูบริเวณดานหนาขององคพระธาตุหลวง เวียงจันทน 2 พระธาตุศรีโคตรบูร ชื่อขององคพระธาตุ ตั้งชื่อตามอาณาจักรศรีโคตรบูรณ ที่มีอายุอยูในชวงพุทธศตวรรษที่ 12-16 โดยมีศูนยกลางอยูที่จังหวัดนครพนม มีอาณาเขตครอบคลุมพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย ตลอดจน ดินแดนฝงซายของแมนํ้าโขง

คูมือครู

9


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Explain

1. ครูใหนักเรียนรวมกันอภิปรายสถานการณของ พระพุทธศาสนาในประเทศลาวในชวงเกิด สงครามอินโดจีน (แนวตอบ ในชวงเกิดสงครามอินโดจีน พระพุทธศาสนาในประเทศลาวเสื่อมโทรมลงอยางมาก เนื่องจากขาดการดูแลเอาใจใส แตชาวลาวยังคง มีความศรัทธาตอพระพุทธศาสนาอยางแนนแฟน และพยายามชวยกันประคับประคองพระพุทธศาสนาใหตั้งมั่นอยูได เห็นไดจากรัฐธรรมนูญ ของประเทศลาวที่ระบุใหพระพุทธศาสนาเปน ศาสนาประจําชาติและพระมหากษัตริยเปน เอกอัครศาสนูปถัมภก) 2. ครูใหนักเรียนศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับการ ปกครองระบอบคอมมิวนิสตของประเทศลาว แลววิเคราะหถึงความสัมพันธของระบอบการ ปกครองกับความเจริญรุงเรืองของพระพุทธศาสนา 3. ครูใหนักเรียนวิเคราะหถึงความคลายคลึงของ ลักษณะการเผยแผพระพุทธศาสนาในประเทศ ลาวกับประเทศอื่นๆ ที่นักเรียนไดเคยศึกษามา ไดแก ประเทศพมา ประเทศอินโดนีเซีย ประเทศมาเลเซีย และประเทศสิงคโปร

สงครามอินโดจีน พระพุทธศาสนาในลาวจะไดรับความกระทบกระเทือนมาก เพราะขาดการ ทํานุบํารุงดูแลเอาใจใส แตทวาชาวลาวสวนใหญก็ยังมีศรัทธาในพระพุทธศาสนาอยางแนบแนน และพยายามชวยกันประคับประคองพระพุทธศาสนาใหตั้งมั่นอยูได เห็นไดจากรัฐธรรมนูญแหง พระราชอาณาจักรลาว ยังระบุไวดว ยวา “พระพุทธศาสนาเปนศาสนาประจําชาติและพระมหากษัตริย เปนเอกอัครศาสนูปถัมภก” ในป พ.ศ. ๒๕๑๘ ประเทศลาวถูกปกครองโดยระบอบคอมมิวนิสต ทําใหพระพุทธศาสนาในประเทศลาวประสบกับความเสือ่ มโทรมลงไปเปนอันมาก โดยรัฐบาลคอมมิวนิสตของลาว ไดพยายามลดบทบาทความสําคัญของพระพุทธศาสนาในทุกวิถีทาง อาทิ หามชาวบานทําบุญ ตักบาตร ไมใหมีการบวชพระภิกษุและสามเณรเพิ่ม ไมใหศึกษาเลาเรียนพระปริยัติธรรม ยกเลิก สมณศักดิ์ทุกระดับชั้น บังคับใหพระสงฆทําหนาที่ในการโฆษณาชวนเชื่อ เผยแพรอุดมการณ ของพรรคคอมมิวนิสต รวมทั้งกําจัดพระสงฆที่ไมใหความรวมมือ ซึ่งแมจะถูกขัดขวางการปฏิบัติ ศาสนกิจ แตดว ยความทีพ่ ระพุทธศาสนาไดมอี ทิ ธิพลฝงรากลึกอยูใ นสังคมลาวมานานหลายรอยป ก็ทําใหชาวลาวยังไมเลิกนับถือพระพุทธศาสนา จนกระทั่งเหตุการณเริ่มผอนคลายลงในป พ.ศ. ๒๕๓๐ จึงเริ่มมีการฟนฟูพระพุทธศาสนาอีกครั้งหนึ่ง ๖) พระพุทธศาสนาเขาสูประเทศกัมพูชา พระพุทธศาสนาได 1 เผยแผเขามาสู ประเทศกัมพูชา เมือ่ ประมาณพุทธศตวรรษที่ ๘ อันเปนชวงทีอ่ าณาจักรฟูนนั กําลังเจริญรุง เรืองอยู ทางทิศใตของดินแดนที่เปนประเทศกัมพูชาในปจจุบัน อาณาจักรฟูนันเปนอาณาจักรใหญซึ�งมี

พระพักตรพระโพธิสตั วอวโลกิเตศวร บนยอดพระปรางคในปราสาทบายน ซึง่ เปนศาสนสถานทางพระพุทธศาสนาขนาดใหญ นิกายมหายานในกัมพูชา

๑๐

เกร็ดแนะครู ครูควรอธิบายประวัติศาสตรลาวในชวงไดรับเอกราชจากฝรั่งเศสมาจนถึงการ ปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองเปนระบอบคอมมิวนิสตใน พ.ศ. 2518 เพื่อให นักเรียนเขาใจภาพรวมของประวัติศาสตรลาวในชวงเวลาดังกลาวไดดียิ่งขึ้น

นักเรียนควรรู 1 อาณาจักรฟูนัน หรือฝูหนัน เปนอาณาจักรโบราณที่ปรากฏอยูในเอกสารจีน ถือเปนอาณาจักรที่เกาแกที่สุดแหงหนึ่งในเอเชียตะวันออกเฉียงใต มีหลักฐานใน เอกสารจีนกลาวถึงตั้งแตในชวงพุทธศตวรรษที่ 6 จนถูกรวมเขากับอาณาจักร เจิ้นลา (เจนละ) ในชวงตนพุทธศตวรรษที่ 13 นักวิชาการสันนิษฐานวา ฟูนันมี ศูนยกลางอยูแถบที่ราบลุมปากแมนํ้าโขง อาจเปนเมืองออกแอวหรือออกแกว ทางตอนใตของประเทศเวียดนาม

10

คูมือครู

กิจกรรมสรางเสริม ครูใหนักเรียนรวบรวมรูปภาพและคนหาประวัติการสรางศาสนสถานทาง พระพุทธศาสนาที่สําคัญของประเทศลาว 1 แหง แลวบันทึกสาระสําคัญ ใสสมุด สงครูผูสอน

กิจกรรมทาทาย ครูใหนักเรียนไปคนควาเพิ่มเติมเกี่ยวกับประเพณีทางพระพุทธศาสนา ของลาวที่มีความคลายคลึงกับของไทย เชน การตักบาตร การอุปสมบท การประกอบพิธีในวันสําคัญทางพระพุทธศาสนา เปนตน จากนั้นใหเขียน สรุปสาระสําคัญในดานประวัติความเปนมา ความเชื่อ และการปฏิบัติตน ของชาวลาวในประเพณีนั้นๆ ความยาว 1 หนากระดาษ A4 สงครูผูสอน


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

อธิบายความรู สัมพันธไมตรีอนั ดีกบั ประเทศจีนและอินเดีย ดังนัน้ จึงพลอยไดรบั อิทธิพลการนับถือพระพุทธศาสนา นิกายมหายานจากประเทศทั้ง ๒ ดวย อยางไรก็ตาม ศาสนาที่เผยแผเขามายังอาณาจักรฟูนัน ในสมัยแรกๆ คือ ศาสนาพราหมณ สวนพระพุทธศาสนาเผยแผเขามาทีหลัง ดวยเหตุน�้จึงทําให อาณาจักรฟูนันมีการนับถือศาสนาพราหมณและพระพุทธศาสนาปนกันอยู แตกอนที่อาณาจักร ฟูนนั จะเสือ่ มอํานาจลง พระพุทธศาสนานิกายมหายานก็ไดรบั การเอาใจใสทาํ นุบาํ รุงใหเจริญรุง เรือง ขึ้นมาก อาณาจักรที่เรืองอํานาจและเข 1 ามามีอิทธิพลสืบแทนอาณาจักรฟูนันก็คือ อาณาจักร เจนละ หลังจากสิ้นสมัยอาณาจักรเจนละแลว กัมพูชาก็เขาสูสมัยมหานครอันเปนยุคที่อาณาจักร กัมพูชาหรือเขมรเรืองอํานาจสูงสุด เมือ่ บานเมืองมีความมัน่ คงเปนปกแผน กิจการทางดานศาสนา ก็พลอยเจริญรุงเรืองตามไปดวย โดยเฉพาะในรัชสมัยของพระเจาชัยวรมันที่ ๗ (พ.ศ. ๑๗๒๔ ๑๗๖๒) ซึง่ ทรงเปนพระมหากษัตริยผ ยู งิ่ ใหญ พระพุทธศาสนาทัง้ นิกายมหายานและนิกายเถรวาท ไดรับการทํานุบํารุงเอาใจใสอยางดียิ่ง เชน โปรดฯ ใหสรางวัดทั่วพระราชอาณาจักรทรงสราง นครธมขึน้ บริเวณใจกลางนครธม โปรดฯ ใหสรางวิหารทางพระพุทธศาสนาขนาดใหญขนึ้ เรียกวา “ปราสาทบายน” ซึง่ ประกอบดวยหมูป รางคใหญนอ ยประมาณ ๕๐ องค สวนบนของปรางคทกุ องค 2 จะแกะสลักเปนรูปพระพักตรพระโพธิสัตวอวโลกิเตศวร ทรงสรางพระพุทธรูป “ชัยพุทธมหานาถ” เปนจํานวนทั้งสิ้น ๒๓ องค แลวโปรดฯ ใหนําไปประดิษฐานยังวิหารตางๆ ทัว่ พระราชอาณาจักร ทรงนิมนตพระสงฆเขาไปบิณฑบาตในพระราชวังทุกๆ วัน วันละ ๔๐๐ รูป นอกจากนีย้ งั มีเหตุการณ สําคัญทีเ่ กีย่ วของกับพระพุทธศาสนาอีกประการหนึง่ ก็คอื พระเจาชัยวรมันที่ ๗ ทรงสงพระราชโอรส องคหนึ่ง (นักประวัติศาสตรสันนิษฐานวาทรงพระนามวา “ตามลินทะ”) ใหเดินทางไปศึกษา พระพุทธศาสนาที่ประเทศลังกา ตอนเดินทางกลับพระภิกษุตามลินทะก็ไดนําเอาพระพุทธศาสนา นิกายลังกาวงศเขามาเผยแผในอาณาจักรกัมพูชาดวย ในชวงสมัยหลังเมืองพระนคร อาณาจักรกัมพูชาไดมีการยายเมืองหลวงมาอยูที่ กรุงพนมเปญ และตองทําสงครามขับเคี่ยวกับประเทศเพื่อนบานตลอดเวลา นอกจากนี้ บางครั้ง ราชวงศของกัมพูชาก็เกิดการสูรบแยงชิงราชสมบัติกันเอง ดังนั้น จึงสงผลใหพระพุทธศาสนา พลอยเสื่อมโทรมลงไปดวย พระพุทธศาสนาในประเทศกัมพูชาไดรับการฟนฟูขึ้นมาอีกครั้งหนึ่งในรัชสมัยของ พระเจาหริรกั ษรามาธิบดี (นักองดวง) ซึง่ ขึน้ ครองราชยเมือ่ พ.ศ. ๒๓๘๔ โดยในรัชกาลของพระองค พระภิกษุชาวกัมพูชา ซึง่ ไดรบั การศึกษาทางดานพระพุทธศาสนาจากกรุงเทพฯ ไดรว มมือกันฟน ฟู พระพุทธศาสนาใหเจริญรุงเรืองขึ้น ที่สําคัญ ไดแก การจัดตั้งโรงเรียนสอนพระปริยัติธรรมชั้นสูง ในกรุงพนมเปญมีชื่อเรียกวา “ศาลาบาลีชั้นสูง” และยังนําเอานิกายธรรมยุตจากเมืองไทยเขาไป ประดิษฐานที่ประเทศกัมพูชาเปนครั้งแรกอีกดวย

กิจกรรมสรางเสริม ครูมอบหมายใหนักเรียนไปศึกษาคนควาเพิ่มเติมเกี่ยวกับประวัติและ จุดประสงคของการสรางนครธมและปราสาทบายน รวมถึงความสําคัญและ ผลที่เกิดขึ้นจากการสรางปราสาททั้งสองแหง บันทึกสาระสําคัญ แลวนํามา อภิปรายในชั้นเรียน

กิจกรรมทาทาย ครูมอบหมายใหนักเรียนไปศึกษาคนควาเพิ่มเติมเกี่ยวกับประวัติการ เผยแผพระพุทธศาสนาเขาสูประเทศกัมพูชา จากนั้นเขียนสรุปความยาว ไมเกิน 1 หนากระดาษ A4 สงครูผูสอน

Explain

1. ครูและนักเรียนอภิปรายถึงความเชื่อในสมัย แรก ที่ปรากฏในอาณาจักรฟูนัน และการเผยแผ พระพุทธศาสนาเขาสูประเทศกัมพูชา หลังจากนั้นใหนักเรียนวิเคราะหวา การสรางปราสาทบายนสะทอนถึงความเชื่อ ทางพระพุทธศาสนาอยางไร (แนวตอบ ปราสาทบายนตั้งอยูใจกลางนครธม สรางในสมัยพระเจาชัยวรมันที่ 7 หลังจากที่ ทรงไดชัยชนะจากการรบกับกองทัพของ อาณาจักรจามปา สวนบนของปรางคทกุ องคของ ปราสาทบายนจะแกะสลักเปนรูปพระพักตร พระโพธิสัตวอวโลกิเตศวร ซึ่งสะทอนใหเห็น ถึงความเชื่อในพระพุทธศาสนานิกายมหายาน เนื่องจากนิกายมหายานจะใหความสําคัญกับ อุดมการณและแนวคิดพระโพธิสตั ว ซึง่ สามารถ ขนสรรพสัตวใหขามพนหวงแหงความทุกข ไดจํานวนมาก) 2. ครูถามนักเรียนวา • เพราะเหตุใด พระพุทธศาสนาในประเทศ กัมพูชาจึงเสื่อมโทรมลง (แนวตอบ สาเหตุมาจากประเทศกัมพูชามี การทําสงครามภายในและภายนอกประเทศ ตลอดเวลา อีกทั้งเกิดความขัดแยงทางการ เมืองภายในประเทศที่เปนอุปสรรคในการ ทํานุบํารุงพระพุทธศาสนา)

๑๑

นักเรียนควรรู 1 อาณาจักรเจนละ หรือเจิ้นลา เปนชื่ออาณาจักรแหงหนึ่งในภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใตที่ปรากฏอยูในเอกสารจีนโบราณ โดยมีหลักฐานยืนยันวา เกี่ยวของกับอาณาจักรกัมพูชาโบราณตั้งแตสมัยกอนเมืองพระนคร 2 พระพักตรพระโพธิสตั วอวโลกิเตศวร มีนกั ประวัตศิ าสตรบางทานสันนิษฐานวา เปนพระพักตรของพระเจาชัยวรมันที่ 7 ซึ่งเปนธรรมเนียมปฏิบัติที่พระมหากษัตริย ของกัมพูชาจะทรงใหแกะสลักรูปของพระองคเองเปนรูปพระพักตรของพระเจา แต บางทานสันนิษฐานวาเปนใบหนาของพระพรหม เทพเจาในศาสนาพราหมณ-ฮินดู

มุม IT ศึกษาคนควาขอมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับศาสนาพราหมณ-ฮินดู ไดที่ http://www.siamganesh.com เว็บไซตสยามคเณศ http://www.srinagathurka.com เว็บไซต คูมือครู วัดพระศรีนาคาทุรคาเทวี

11


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

อธิบายความรู Explain

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Explain

1. ครูใหนกั เรียนอภิปรายถึงเหตุการณหรือหลักฐาน ทางประวัติศาสตรที่สะทอนใหเห็นถึงการหยั่ง รากลึกของพระพุทธศาสนาในประเทศกัมพูชา นับตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน (แนวตอบ แมวาพระพุทธศาสนาในประเทศ กัมพูชาจะเสื่อมโทรมลง เพราะเหตุการณ สงครามทัง้ ภายในและภายนอกประเทศ ตลอดจน อุปสรรคทางการเมือง แตภายหลังเหตุการณ ตางๆ สงบลง รัฐบาลและประชาชนชาวกัมพูชา ก็ชวยกันฟนฟูพระพุทธศาสนาใหกลับมารุงเรือง ไดอีกครั้ง นอกจากนี้ ความเจริญรุงเรืองของ พระพุทธศาสนายังปรากฏใหเห็นผานรูปแบบ สถาปตยกรรมของโบราณสถานในประเทศ กัมพูชาอีกดวย) 2. ครูใหนักเรียนทํากิจกรรมที่ 1.1 จากแบบวัดฯ พระพุทธศาสนา ม.2

นอกจากสงครามกับภายนอกประเทศแลว สภาพการเมืองภายในของเขมรหรือ กัมพูชาก็เปนปญหา โดยเฉพาะอยางยิ่งการสูรบทําสงครามกลางเมืองระหวางชาวเขมรดวยกัน โดยหลังจากทีก่ องทัพเขมรแดง (ทีเ่ ปนกลุม ชาวเขมรทีน่ ยิ มลัทธิคอมมิวนิสต) ไดรบั ชัยชนะในการ ทําสงครามกลางเมืองก็ไดปราบปรามผูที่ไมเห็นดวยกับระบอบการปกครองของตน ซึ่งมีทั้ง ชาวพุทธทั่วไปและพระภิกษุสงฆเปนจํานวนมาก โดยวัดหลายแหงถูกรื้อทําลาย หรือไมก็ถูก ดัดแปลงเปนที่ตั้งของกองทหาร ศาสนสมบัติถูกปลนสะดม ประกาศหามไมใหประชาชนใสบาตร ทําบุญ และไมใหรวมชุมนุมประกอบพิธีกรรมทางศาสนา และใหพระสงฆหลายพันรูปลาสิกขา ออกมาเปนทหาร และบางสวนก็เดินทางลี้ภัยสงครามเขามาอยูในประเทศไทย ปญหาเหลานี้ ถือเปนอุปสรรคสําคัญตอความเจริญของพระพุทธศาสนาในประเทศกัมพูชา ถึงแมเขมรแดงจะหมดอํานาจไปในปลายป พ.ศ. ๒๕๒๑ และรัฐบาลชุดใหมของ ประเทศกัมพูชาภายใตการนําของนายเฮงสัมริน ซึ่งไดรับการหนุนหลังจากเวียดนามจะขึ้นมา มีอํานาจแทนที่ แตสถานการณของพระพุทธศาสนาในกัมพูชาก็มิไดดีขึ้น ทั้งนี้เพราะทางรัฐบาล เฮงสัมรินก็มีนโยบายไมใหประชาชนนับถือศาสนา การเทศนาสั่งสอนประชาชนถือวาเปน สิ่งผิดกฎหมาย หามทําบุญตักบาตร หนังสือและคัมภีรทางศาสนาถูกเผาทําลายทิ้ง นอกจากนั้น การที่วัดไดถูกดัดแปลงใหเปนที่ตั้งกองทหารของกลุมเขมรฝายตางๆ ทําใหวัดวาอารามกลายเปน เปาหมายถูกโจมตีดวย สงผลใหวัด พระอุโบสถ พระพุทธรูปเสียหายจํานวนมาก ภายหลัง สงครามกลางเมืองในกัมพูชาสงบลงใน พ.ศ. ๒๕๓๔ เมือ่ บานเมืองกลับเขาสูค วามสงบ ทัง้ รัฐบาล และประชาชนกัมพูชาจึงไดชวยกันฟนฟูพระพุทธศาสนาใหกลับสูความรุงเรืองอีกครั้ง ๗) พระพุทธศาสนาเขาสูป ระเทศเวียดนาม ประเทศเวียดนามเปนประเทศทีม่ คี วาม สัมพันธกับจีนมาตั้งแตสมัยโบราณโดยที่จีนไดเขายึดเวียดนามเปนเมืองขึ้นและทําการปกครอง เวียดนามอยูหลายรอยป จนเวียดนามเกือบจะกลายเปนรัฐรัฐหนึ�งของจีน ดังนั้น เมื่อ1จีนนับถือ ศาสนาใด 2 ศาสนานั้นก็จะเผยแผเขามาในเวียดนามดวย เริ�มแรกอิทธิพลของลัทธิเตาและลัทธิ ขงจื๊อไดเผยแผเขามาสูเวียดนามกอน จนถึง พ.ศ. ๗๓๒ คณะธรรมทูตจากจีนหลายคณะจึง ไดเดินทางเขามาเผยแผและประดิษฐานพระพุทธศาสนานิกายมหายานในเวียดนาม อยางไรก็ตาม พระพุทธศาสนาในชวงสมัยแรกเริ�มยังไมเปนที่นิยมนับถือกันอยางแพรหลายนัก กระทั�งถึง พ.ศ. ๑๕๑๒ เมื่อราชวงศดินหไดขึ้นมามีอํานาจปกครองเวียดนาม พระพุทธศาสนานิกายมหายานจึง ไดรับการเอาใจใสฟนฟูและเปนที่นับถือกันอยางแพรหลายมากขึ้น ตลอดสมัยการปกครองของราชวงศดินห ราชวงศเล (ตอนตน) และราชวงศลี พระพุทธศาสนามีความเจริญรุงเรืองมาก ทั้งนี้เพราะกษัตริยเวียดนามทรงเอาใจใสทํานุบํารุง พระพุทธศาสนาเปนอยางดี อีกประการหนึ่งสืบเนื่องมาจากบทบาทของพระภิกษุสงฆ ซึ่งมี

✓ แบบวัดฯ ใบงาน แบบฝกฯ พระพุทธศาสนา ม.2 กิจกรรมที่ 1.1 หนวยที่ 1 ประวัติและความสําคัญของพระพุทธศาสนา กิจกรรมตามตัวชี้วัด

กิจกรรมที่ ๑.๑ ใหนักเรียนตอบคําถามตอไปนี้ (ส ๑.๑ ม.๒/๑)

ขยายความเขาใจ

คะแนนเต็ม คะแนนที่ได

ñð

๑. พระเจาอนุรุทธมหาราชทรงมีบทบาทในการอุปถัมภพระพุทธศาสนาในประเทศพมาอยางไร

พระองคทรงสงพระราชสาสนไปยังผูครองเมืองสุธรรมวดีเพื่อทูลขอพระไตรปฎกไปยังเมืองพุกาม ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. แตถูกปฏิเสธ จึงเกิดการสูรบกัน พมาเปนฝายชนะ ไดทําลายเมืองสุธรรมวดีและนําพระสงฆมอญ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. และพระไตรปฎกกลับไปยังเมืองพุกาม สงผลใหพระพุทธศาสนาไดแผขยายไปทั่วอาณาจักรพมา ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ในเวลาตอมา …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

๒. ภายหลังพมาไดรับเอกราชจากอังกฤษ ไดมีการฟนฟูพระพุทธศาสนาโดยวิธีการใด

ไดจัดใหมีการสังคายนาพระไตรปฎกครั้งที่ ๖ ขึ้นเมื่อ พ.ศ. ๒๔๙๗ โดยรัฐบาลพมาไดนิมนต ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. พระเถระผูเ ชีย่ วชาญพระไตรปฎกไปจากประเทศไทย ศรีลงั กา ลาว และกัมพูชาไปรวมเปนจํานวนมาก ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. และไดจัดพิมพพระไตรปฎกพรอมคัมภีรอรรถกถาและปกรณที่ไดรับการสังคายนาแลวออกเผยแผ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ไปทั่วประเทศ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

๓. ในสมัยที่ราชวงศ ไศเลนทรปกครองอาณาจักรศรีวิชัย ไดสงเสริมการเผยแผพระพุทธศาสนา ในอาณาจักรอยางไร

ฉบับ

อาณาจักรศรีวชิ ยั ไดสง พระภิกษุไปศึกษาพระพุทธศาสนาทีม่ หาวิทยาลัยนาลันทา อีกทัง้ ยังสงพระภิกษุ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

เฉลย

ชางฝมือ มาเผยแผพระพุทธศาสนาและศิลปะปาละ (ซึ่งเปนศิลปะอินเดียในสมัยราชวงศปาละ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. และราชวงศเสนะ) ในการสรางพระพุทธรูปใหแกชาวศรีวิชัยดวย ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

๔. กอนทีศ่ าสนาอิสลามจะเผยแผเขามา พระพุทธศาสนาบนแหลมมลายูมคี วามเจริญรุง เรืองอยางไร พระพุทธศาสนาที่ เผยแผ เข าสู  มาเลเซี ยในระยะแรกเปนนิกายเถรวาท แตมีผูนับ ถือ ไมม ากนัก ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. จนกระทั่งบริเวณแหลมมลายูตกอยูใตการปกครองของอาณาจักรศรีวิชัย พระพุทธศาสนานิกาย ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. มหายานจึงเผยแผเขาสูบริเวณนี้ จนกระทั่งสุโขทัยไดขยายอาณาเขตลงมาทางใตจนถึงหัวเมืองมลายู ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ทัง้ หมด ทําใหพระพุทธศาสนานิกายเถรวาทเผยแผเขาสูแ หลมมลายูดว ย หลักฐานทีแ่ สดงถึงการนับถือ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. พระพุทธศาสนา สวนใหญเปนรูปพระโพธิสัตวหรือพระพิมพดินเผา พระพิมพดินดิบ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

๕. พระพุทธศาสนาในสมัยของพระเจาไชยเชษฐาธิราชของลาวเจริญรุง เรืองอยางไร มีหลักฐานใด แสดงถึงความรุงเรือง

พระเจาไชยเชษฐาธิราชทรงทํานุบํารุงพระพุทธศาสนาอยางดี เชน โปรดใหสรางพระธาตุบังพวน ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. พระธาตุศรีโคตรบูร พระธาตุหลวง พระธาตุองิ รัง โปรดใหสรางพระพุทธรูปมากมาย เชน พระองคตอื้ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. พระเสริม พระสุก พระใส พระอินทรแปลง รวมทั้งโปรดใหสรางวัดตางๆ เปนจํานวนมาก เชน ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. วัดปารือศรีสิงขร วัดปากันทอง วัดศรีเมือง วัดพระแกว เปนตน …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

๑๒

นักเรียนควรรู 1 ลัทธิเตา ศาสดาผูกอตั้ง คือ เลาจื๊อ ซึ่งเกิดในปลายราชวงศโจว มีคัมภีรชื่อ เตา เตก เก็ง หลักธรรมของลัทธิเตาเนนการดํารงชีวิตใหกลมกลืนกับธรรมชาติ ใหมนุษยรูจักตนเอง บําเพ็ญคุณงามความดี ไมฟุงเฟอ ไมมักใหญใฝสูง ประหยัด ทําจิตใจใหสงบ รูจักออนนอมถอมตน ใชชีวิตอยางเรียบงาย แนวคิดของลัทธิเตา มีอิทธิพลตอการสรางสรรคศิลปะจีน โดยเฉพาะจิตรกรรมมากที่สุด 2 ลัทธิขงจื๊อ ศาสดาผูกอตั้ง คือ ขงจื๊อ เกิดในปลายสมัยราชวงศโจว มีคัมภีร ชื่อ กิงทั้ง 5 ลัทธิขงจื๊อมีแนวคิดทางจริยศาสตรที่เนนแนวทางการปฏิบัติที่อิง กับมาตรฐานและคุณคาตามขนบจารีต โดยยึดหลักคําสอนในการดําเนินชีวิต 3 ประการ ไดแก เหริน (ความเมตตากรุณา) หลี่ (ขนบจารีตและพิธีกรรมตางๆ ใน สังคม) อี้ (ความถูกตอง เที่ยงธรรม และความสมเหตุสมผล) เพื่อขัดเกลานิสัยและ พัฒนาตนจนมีคุณธรรมอยางวิญูชน

12

คูมือครู

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

สถานการณของพระพุทธศาสนาในประเทศกัมพูชาหลังไดรับเอกราช จากฝรั่งเศสมีสภาพเปนอยางไร แนวตอบ หลังจากประเทศกัมพูชาไดรับเอกราชจากประเทศฝรั่งเศสในป พ.ศ. 2497 สถานการณของพระพุทธศาสนาดีขึ้นบางเล็กนอย แมจะมีการ เปลี่ยนแปลงการปกครองเปนระบอบสาธารณรัฐในป พ.ศ. 2513 ก็ไมมี ผลกระทบตอพระพุทธศาสนามากนัก จนกระทั่งป พ.ศ. 2518 เมื่อเขมรแดง ภายใตการนําของนายพอลพตยึดอํานาจไดและเปลี่ยนแปลงการปกครองเปน ระบอบคอมมิวนิสต ก็ทําการปราบปรามและเขนฆาผคู นทีเ่ ปนปฏิปก ษ ซึง่ มีทงั้ พุทธศาสนิกชนและพระภิกษุจาํ นวนมาก วัดหลายแหงถูกทําลาย ประชาชนถูก หามไมใหประกอบพิธกี รรมทางศาสนา แมรฐั บาลเฮงสัมริน ซึง่ ไดรบั การสนับสนุน จากเวียดนาม ยึดอํานาจจากเขมรแดงไดในป พ.ศ. 2522 แตสถานการณของ พระพุทธศาสนาในกัมพูชาก็ไมดีขึ้น ภายหลังเมื่อสถานการณบานเมืองกลับ มาสงบในป พ.ศ. 2534 รัฐบาลและประชาชนกัมพูชาจึงรวมมือรวมใจกันฟนฟู พระพุทธศาสนาใหกลับมารุงเรืองอีกครั้ง


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

อธิบายความรู

1. ครูอธิบายการเผยแผพระพุทธศาสนาเขาสู ประเทศเวียดนามใหนักเรียนฟง หลังจากนั้น ตั้งคําถามใหนักเรียนชวยกันตอบ เชน • การนับถือศาสนาของชาวเวียดนามไดรับ อิทธิพลมาจากประเทศใด (แนวตอบ ไดรับอิทธิพลมาจากประเทศจีน และประเทศฝรั่งเศส เชน เริ่มแรกชาว เวียดนามนับถือลัทธิเตาและลัทธิขงจื๊อ ภายหลังชาวเวียดนามบางกลุมเปลี่ยนไป นับถือศาสนาคริสต เปนตน ) • พระพุทธศาสนาเขาสูประเทศเวียดนามดวย วิธีใด (แนวตอบ คณะธรรมทูตจากจีนหลายคณะ เดินทางเขามาเผยแผและประดิษฐาน พระพุทธศาสนานิกายมหายานในประเทศ เวียดนาม) 2. ครูใหนักเรียนรวมกันอภิปรายในประเด็น ความเจริญและความเสื่อมของพระพุทธศาสนาในประเทศเวียดนาม

ความสําคัญอยางยิง่ ตอสังคมเวียดนาม เพราะพระภิกษุสว นใหญมกั จะเปนนักปราชญรอบรูว ชิ าการ ตางๆ นอกเหนือไปจากความรู ความเชี่ยวชาญในกิจการทางดานพระพุทธศาสนา เชน กฎหมาย วรรณคดี รัฐศาสตร จริยศาสตร ปรัชญา โหราศาสตร แพทยศาสตร ดังนั้น เมื่อประชาชนให ความเคารพศรัทธาตอพระภิกษุสงฆเปนอยางสูง จึงสงผลใหการเผยแผพระพุทธศาสนานิกาย มหายานดํ า เนิ น ไปได อ ย า งสะดวกจนเป น ที่ นับถือกันอยางแพรหลาย พระพุ ท ธศาสนานิ ก ายมหายาน เริ่มเสื่อมลงในสมัยราชวงศตรัน เมื่อเวียดนาม ตองตกเปนเมืองขึ้นของจีนในระหวาง พ.ศ. ๑๙๕๗ - ๑๙๖๘ โดยจีนไดสนับสนุนใหมีการ เผยแผลทั ธิขงจือ๊ และลัทธิเตาเขามายังเวียดนาม อีกครั้งหนึ่ง รวมทั้งขาราชการจีนก็ขัดขวาง การเผยแผพระพุทธศาสนาดวยวิธีการตางๆ 1 เชน สัง่ ใหรอื้ ทําลายวัดวิหารและยึดคัมภีรท าง พุทธสถานในเวียดนามที่ยังหลงเหลืออยู ซึ่งสวนใหญเปน พระพุทธศาสนาเอาไปเผาทิง้ เสียเปนจํานวนมาก ของนิกายมหายาน ในสมัยราชวงศเล (ตอนปลาย) พระพุทธศาสนาก็ยิ่งมัวหมองมากขึ้นอีก ทั้งนี้เพราะ พระภิกษุไดเขามามีบทบาทเกีย่ วกับกิจกรรมทางดานการเมือง การบําเพ็ญเพียรตามพระธรรมวินยั ถูกละเลย รวมทั้งพระมหากษัตริยเองก็มิไดเอาพระทัยใสที่จะฟนฟูพระพุทธศาสนาใหกลับคืนสู ความเจริญรุงเรืองดุจดังเกา จึงสงผลใหประชาชนคลายความศรัทธาที่มีตอพระพุทธศาสนาลง ไปอีก ในชวง พ.ศ. ๒๐๗๑ - ๒๓๔๕ อันเปนชวงที่ราชวงศตรินหแหงเวียดนามเหนือ และราชวงศเหงียนแหงเวียดนามใตแยงชิงอํานาจกัน ก็ไดมีการสนับสนุนพระพุทธศาสนาที่ ไมบริสุทธิ์ใหแพรหลายมากยิ่งขึ้น ทั้งนี้เพราะแตละฝายตางมุงหวังที่จะดึงชาวพุทธใหเขามาเปน ฐานกําลังสําคัญของตน ฉะนั้นในระยะนี้พระพุทธศาสนาในเวียดนามจึงมีแตเรื่องเวทมนตรคาถา และอภินิหารตางๆ มากกวาที่จะเปนการชี้แนะแนวทางใหผูมีความศรัทธานับถือไดหลุดพนจาก หวงสังสารวัฏ เมื่อเวียดนามตกเปนอาณานิคมของฝรั่งเศสใน พ.ศ. ๒๔๒๖ พระพุทธศาสนาก็ไดรับ ความกระทบกระเทือนอยางหนัก ทั้งนี้เพราะชาวพุทธไดรวมมือกันจัดตั้งขบวนการชาตินิยม ทําสงครามกองโจรสูรบกับทหารฝรั่งเศส เพื่อปลดปลอยเวียดนามใหเปนอิสระ รัฐบาลฝรั่งเศสจึง

ขยายความเขาใจ

แนว  NT  O-NE T

พระภิกษุในเวียดนามมีสวนทําใหพระพุทธศาสนานิกายมหายาน เจริญรุงเรืองหรือเสื่อมถอยไดอยางไร

แนวตอบ เมื่อพระภิกษุศึกษาหาความรูจนเปนผูเชี่ยวชาญในศาสตรสาขา ตางๆ เชน กฎหมาย วรรณคดี รัฐศาสตร จริยศาสตร ปรัชญา โหราศาสตร แพทยศาสตร ฯลฯ ทําใหประชาชนศรัทธาและใหความเคารพพระสงฆ การ เผยแผพระพุทธศาสนานิกายมหายานก็ดําเนินไปอยางสะดวกและแผขยาย ออกสูคนทั่วไปเปนวงกวาง แตเมื่อใดก็ตามที่พระภิกษุละเลยวัตรปฏิบัติที่ดี งามและเขามายุงเกี่ยวกับการเมือง จะทําใหพุทธศาสนิกชนเสื่อมศรัทธา สงผลใหพระพุทธศาสนาเสื่อมโทรมลง

Expand

ครูใหนักเรียนสรุปการเผยแผพระพุทธศาสนา เขาสูประเทศเพื่อนบาน โดยวิเคราะหถึงปจจัยที่มี อิทธิพลตอความเจริญรุงเรืองของพระพุทธศาสนา และอุปสรรคที่ทําใหพระพุทธศาสนาเสื่อมโทรม ลงในกระดาษ A4 สงครูผูสอน

ตรวจสอบผล

๑๓

ขอสอบเนน การคิด

Explain

Evaluate

1. ตรวจสอบจากความถูกตองของเนื้อหา ในการตอบคําถามและอภิปราย 2. ตรวจสอบจากการเขียนสรุปการเผยแผ พระพุทธศาสนาเขาสูประเทศเพื่อนบาน

เกร็ดแนะครู ครูควรอธิบายถึงภูมิหลังทางประวัติศาสตรของเวียดนามใหนักเรียนเขาใจวา ในอดีตเวียดนามตกเปนเมืองขึ้นของจีนมาอยางยาวนาน แมจะพยายามดิ้นรนเปน อิสระ แตก็เปนชวงระยะเวลาสั้นๆ เทานั้นที่เวียดนามจะเปนเอกราชจากจีน ทําให อารยธรรมจีนมีอิทธิพลอยางมากตอเวียดนาม ทั้งรูปแบบการปกครอง ศาสนา วัฒนธรรม และประเพณี โดยเฉพาะความเชื่อในพระพุทธศาสนานิกายมหายาน เวียดนามก็รับผานมาจากจีน ผสมผสานกับความเชื่อในลัทธิขงจื๊อและลัทธิเตา ของจีนเชนกัน

นักเรียนควรรู 1 พุทธสถานในเวียดนาม สวนใหญเปนศิลปะของชนชาติจามหรืออาณาจักร จามปา ตั้งอยูในประเทศเวียดนามตอนกลางในปจจุบัน มีอายุอยูในชวง พุทธศตวรรษที่ 8-20 คูมือครู

13


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

กระตุน ความสนใจ

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

Engage

ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับการนับถือศาสนา ในประเทศตางๆ หลังจากนั้นตั้งคําถามใหนักเรียน ชวยกันตอบ เชน • ปจจุบันประเทศเพื่อนบานของไทยนับถือ พระพุทธศาสนานิกายใด (แนวตอบ ทั้งนิกายเถรวาทและนิกายมหายาน) • นักเรียนคิดวา ปจจัยใดบางที่เปนอุปสรรคตอ ความเจริญรุงเรืองของพระพุทธศาสนา (แนวตอบ เชน ความขัดแยงทางการเมือง ภายในประเทศ การเกิดสงคราม เปนตน)

สํารวจคนหา

ดําเนินการตอบโตดว ยการเขาควบคุมการเผยแผพระพุทธศาสนาอยางใกลชดิ ยึดคัมภีรแ ละหนังสือ ทางพระพุทธศาสนาเอาไปเผาทําลายเสียเปนอันมาก การรวมชุมนุมของพุทธศาสนิกชนเพื่อ ประกอบพิธกี รรมจะตองไดรบั อนุญาตจากทางการฝรัง่ เศสกอน นอกจากนีช้ าวเวียดนามทีจ่ ะสมัคร ทํางานกับรัฐบาลฝรั่งเศสจะตองโอนสั 1 ญชาติเปนชาวฝรั่งเศส และตองเปลี่ยนศาสนาหันไปนับถือ ศาสนาคริสตนกิ ายโรมันคาทอลิกดวย จึงจะมีสทิ ธิอยางสมบูรณ สงผลใหชาวเวียดนามเปนจํานวน ไมนอยหันไปนับถือศาสนาคริสต พระพุทธศาสนาในเวียดนามไดถูกเบียดเบียนมาตลอด ตั้งแตยุคสมัยประธานาธิบดี โงดินหเดียมมาจนเกิดสงครามเวียดนามอันยาวนาน พระพุทธศาสนาและชาวพุทธถูกทําลาย มาโดยตลอด หลังสงครามเวียดนามยุติลง เวียดนามเหนือและเวียดนามใตไดรวมเปนหนึ่งเดียว มีชื่อวา “สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม” พระพุทธศาสนาซึ่งอยูในสภาพ “เสื่อมโทรมมาก” ก็ถูก กระหนํ่าซํ้าเติมโดยพวกคอมมิวนิสตเขาไปอีก เชน ประชาชนถูกจํากัดสิทธิเสรีภาพทางศาสนา หามเผยแผศาสนาทุกศาสนา วัดและพระสงฆถูกทําลายและกดขี่ขมเหงเปนจํานวนมาก ที่ดิน ของวัดถูกยึดเปนของรัฐ หามประกอบพิธีกรรมทางศาสนา หามทําบุญตักบาตร หามอุปสมบท คัมภีรศ าสนาถูกเผาทําลาย พระสงฆและชาวพุทธบางสวนไดลภี้ ยั ออกไปอยูย งั ตางประเทศ ในทีน่ ี้ รวมถึงทานติช นัท ฮันห ซึ่งไดลี้ภัยไปอยูที่ประเทศฝรั่งเศส และไดเผยแผพระพุทธศาสนาอยูที่ หมูบานพลัม ประเทศฝรั่งเศส จากเหตุการณดังกลาวนับเปนวิกฤตทางพระพุทธศาสนาที่เลวราย ที่สุดในหนาประวัติศาสตรศาสนาของประเทศเวียดนาม

Explore

ครูใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ 3-5 คน ศึกษา คนควาเกี่ยวกับสถานการณการนับถือพระพุทธศาสนาของประเทศเพื่อนบานในปจจุบัน ซึ่งไดแก ประเทศพมา ประเทศอินโดนีเซีย ประเทศมาเลเซีย ประเทศสิงคโปร ประเทศลาว ประเทศกัมพูชา และ ประเทศเวียดนาม จากนั้นจดบันทึกลงสมุด เพื่อนํา มาอภิปรายในชั้นเรียน

๑.๒ การนับถือพระพุทธศาสนาของประเทศเพื่อนบานในปจจุบัน

๑๔

ประเทศเพือ่ นบานของเรา หลังจากรับเอาพระพุทธศาสนาเปนศาสนาประจําชาติของตนแลว ก็พยายามพิทกั ษมรดกทางใจอันลํา้ คานีไ้ วอยางสุดกําลัง แมวา บางประเทศจะถูกปกครองดวยลัทธิ การเมืองที่ไมยอมใหประชาชนแสดงวาตนนับถือศาสนาใดๆ ก็ตาม แตในสวนที่ลึกแหงจิตใจของ ประชาชนแลวก็ยังมีจิตศรัทธาในพระพุทธศาสนาอยู เพราะไดนับถือสืบทอดกันมาหลายยุค หลายสมัยแลว ตอไปนี้จะไดกลาวถึงการนับถือพระพุทธศาสนาของประเทศเพื่อนบานในปจจุบัน พอสังเขป ๑) พระพุทธศาสนาในประเทศพมา พระพุทธศาสนาในประเทศพมาในปจจุบนั นัน้ กลาวไดวาแมมีปญหาความวุนวายจากการเมืองภายในประเทศ แตก็มิไดเปนอุปสรรคตอความ เจริญรุงเรืองของพระพุทธศาสนาในประเทศแตอยางไร เพราะพุทธศาสนิกชนของพมาก็ยังคงให ความเคารพและศรัทธาตอพระพุทธศาสนาอยางไมเสื่อมคลาย โดยรัฐบาลพมาไดใหความสําคัญ แกพระพุทธศาสนาในฐานะศาสนาประจําชาติ โดยใน พ.ศ. ๒๕๐๔ รัฐบาลพมาไดตรากฎหมาย รับรองวาพระพุทธศาสนาเปนศาสนาประจําชาติของพมา รวมทั้งตรากฎหมายอื่นๆ อีกมากมาย

นักเรียนควรรู 1 ศาสนาคริสตนิกายโรมันคาทอลิก คําวา “คาทอลิก” แปลวา สากล นิกาย นี้มีความเชื่อดั้งเดิมวา ศาสนาคริสตเปนศาสนาสากล ผูนับถือนิกายนี้มีความเชื่อ และปฏิบัติตามคําสอนและประเพณีดั้งเดิมของศาสนาคริสตอยางเครงครัด ไมนิยมเปลี่ยนแปลงคําสอนที่มีมาตั้งแตดั้งเดิม หรืออาจกลาวไดวาเปนพวก อนุรักษนิยม

มุม IT ศึกษาคนควาขอมูลเกี่ยวกับศาสนาคริสตนิกายโรมันคาทอลิก ไดที่ http://www.catholicthailand.com เว็บไซตคาทอลิกประเทศไทย และ http://www.catholic.or.th เว็บไซตอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ

14

คูมือครู

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

พระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์คูบานคูเมืองที่มีอิทธิพลตอชาวพมามาเปนเวลานาน มีพระนามวาอะไร 1. พระมหามัยมุนี 2. พระไจทปอลอ 3. พระนอนชเวตาเลียว 4. พระพุทธไสยาสนเจาทัตยี วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 1. พระมหามัยมุนีเปนพระพุทธรูปคูบานคูเมือง ของประเทศพมา เปรียบไดกับพระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากรหรือพระแกว มรกตของประเทศไทย ปจจุบันประดิษฐานอยูที่เมืองมัณฑะเลย เดิมเปน พระพุทธรูปของรัฐยะไข จนกระทั่งพระเจาปดุงสามารถตียะไขได จึงอัญเชิญ พระมหามัยมุนีมาที่เมืองมัณฑะเลย ชาวพมาเชื่อวาพระพุทธรูปองคนี้มีชีวิต จึงตองทําพิธีลางพระพักตรดวยนํ้าอบนํ้าหอมผสมทานาคาทุกเชา รวมถึง แปรงพระทนตดว ยแปรงทอง กอนจะเช็ดใหแหงดวยผาของผศู รัทธาทีถ่ วายมา พรอมใชพัดทองโบกถวาย เสมือนหนึ่งไดอุปฏฐากพระพุทธเจาที่ยังทรง พระชนมชีพอยูจริงๆ


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

อธิบายความรู

Explain

ครูใหนักเรียนนําขอมูลที่ไดจากการศึกษา คนควาเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาในประเทศพมา ปจจุบันมาอภิปรายรวมกัน หลังจากนั้นครูตั้ง คําถามใหนักเรียนชวยกันตอบ เชน • ชาวพมาในปจจุบันปฏิบัติตนตามหลัก พระพุทธศาสนาอยางไร (แนวตอบ เขาวัดทําบุญ รักษาอุโบสถศีลในวัน สําคัญทางพระพุทธศาสนา ตลอดจนปฏิบัติ ธรรมตามหลักวิปสสนากรรมฐาน) • รัฐบาลพมามีนโยบายอยางไรในการสงเสริม พระพุทธศาสนาใหเจริญรุงเรือง (แนวตอบ รัฐบาลพมาไดตรากฎหมายรับรอง วาพระพุทธศาสนาเปนศาสนาประจําชาติ ของพมา และมีนโยบายสงเสริมการศึกษา ทางพระพุทธศาสนาของพระสงฆ เชน กําหนดถวายนิตยภัตแดพระภิกษุสามเณร ผูที่สามารถสอบไลไดมากนอยตามลําดับ ชั้นที่สอบได เปนตน) • สิ่งที่แสดงถึงความศรัทธาของชาวพมา ที่มีตอพระพุทธศาสนามีอะไรบาง (แนวตอบ ในปจจุบันชาวพมายังคงมีความ ศรัทธาตอพระพุทธศาสนาอยางแนนแฟน ดังจะเห็นไดจากการนิยมใหลูกบวชเปน สามเณรตั้งแตยังเด็ก การใหความเคารพ ตอพระสงฆและศาสนสถาน โดยออก กฎเกณฑหามสวมรองเทา ถุงเทา ถุงนอง หามกางรม หามสวมกางเกงขาสั้นบริเวณ ลานพระเจดียหรือเขตพุทธาวาส)

ที่เกี่ยวกับพระพุทธศาสนา ดังจะเห็นไดถึงการใหความสําคัญแกพระพุทธศาสนาในประเทศพมา ที่มีพลเมืองที่เปนพุทธศาสนิกชนกวารอยละ ๘๙ ซึ�งถือเปนพลเมืองสวนใหญของประเทศ สําหรับพุทธศาสนิกชนชาวพมาก็ ยังคงปฏิบัติตนตามหลักพระพุทธศาสนาอยาง เครงครัด มีการเขาวัดทําบุญ รักษาอุโบสถศีล ในวั น สํ า คั ญ ทางพระพุ ท ธศาสนา ตลอดจน ปฏิบัติธรรมตามหลักวิปสสนากรรมฐาน (สาย ยุบหนอ-พองหนอ) ดังจะเห็นไดจากการตั้ง สํานักกรรมฐานขึ้นทั่วประเทศ ทั้งยังไดเผยแผ ออกไปยังตางประเทศดวย และไดรบั ความนิยม อยางแพรหลายไปทั่วโลก เนื่องจากมีผูคนจาก ประเทศตางๆ ทั้งประเทศในแถบเอเชีย ยุโรป และสหรัฐอเมริกา เดินทางไปศึกษาวิปสสนา 1 กรรมฐานที่ประเทศพมา และนํากลับไปเผยแผ องคพระธาตุอนิ ทรแขวน (ไจกทโี ย) ทีป่ ระเทศพมา มีธรรมเนียม บัติวา พุทธศาสนิกชนตองแตงกายเรียบรอย และหาม ยั ง ประเทศของตนเป น จํ า นวนมาก รวมทั้ ง ปฏิ ผูห ญิงขึน้ ไปปดทองทีอ่ งคพระธาตุ ประเทศไทยดวย นอกจากนี้ชาวพมายังมีคา นิยมใหลูกบวชเปนสามเณร ตั้งแตอายุนอยๆ เพื่อสืบทอดอายุพระพุทธศาสนาใหยืนนาน และให ความเคารพตอพระสงฆ และศาสนสถานอยางมาก ดังจะเห็นไดจากการออกกฎเกณฑสําหรับ ปฏิบัติตนในเขตพุทธสถาน เชน การหามสวมรองเทา ถุงนองและถุงเทา หามกางรม และหาม2 สวมกางเกงขาสั้นหรือกระโปรงสั้นเวลาเขาไปในบริเวณลานพระมหาเจดียหรือเขตพุทธาวาส หากผูใดฝาฝนก็จะไดรับการลงโทษ หรือการรวมแรงรวมใจกันทํานุบํารุงวัดวาอาราม และสถานที่ สําคัญทางพระพุทธศาสนาเพือ่ ใหอยูเ ปนศูนยรวมจิตใจของชาวพมาตราบนานเทานาน นอกจากนี้ วิถชี วี ติ ประจําวันของชาวพมายังผูกพันอยูก บั พระพุทธศาสนาอยางแนนแฟนและเปนวิถชี วี ติ แบบ ชาวพุทธ เชน กอนไปทํางานนอกบาน และหลังเลิกงาน ชาวพมาสวนใหญจะไปแวะที่วัดกอน ทุกครั้ง ทั้งนี้เพื่อไปกราบพระธาตุเจดีย ไหวพระสวดมนต สมาทานศีล นั่งสมาธิภาวนา เปนตน ในดานการสงเสริมการศึกษาทางพระพุทธศาสนาของพระสงฆ รัฐบาลพมาไดกําหนด ถวายนิตยภัตแดพระภิกษุสามเณรผูท สี่ ามารถสอบไลไดมากนอยตามลําดับชัน้ ทีส่ อบได รวมทัง้ ให สิทธิพิเศษในการโดยสารยานพาหนะที่เปนของรัฐบาลไดทั่วประเทศโดยไมตองเสียคาโดยสาร ถือเปนการใหความสําคัญและชวยในการสนับสนุนการศึกษาของพระภิกษุและสามเณรในการทีจ่ ะ สืบทอดพระพุทธศาสนาตอไป ๑๕

บูรณาการเชื่อมสาระ

ครูสามารถนําเรื่องการหามสวมรองเทาเขาวัดของชาวพมา ไปบูรณาการ เชื่อมโยงกับกลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม วิชาประวัติศาสตร โดยครูอธิบายใหนักเรียนฟงวา ในชวงที่พมาตกเปน อาณานิคมของอังกฤษนั้น ชาวพมาที่ไมพอใจการปกครองของอังกฤษไดรวม ตัวกอตั้ง “สมาคมชาวพุทธหนุม” (Young Men Buddhist Association : YMBA) ซึ่งเปนสมาคมชาตินิยมกลุมแรกของพมา โดยสมาคมนี้ประสบ ความสําเร็จอยางมากจากกรณีการประทวงหามสวมรองเทา (No Footwear) เขาวัด เนื่องจากชาวอังกฤษจะสวมรองเทาเขาวัด ในขณะที่ชาวพมาจะถอด รองเทาตั้งแตเขาเขตวัด การประทวงครั้งนี้ทําใหชาวอังกฤษตองยอมถอด รองเทาเมื่อเขาไปภายในเขตวัด

นักเรียนควรรู 1 องคพระธาตุอินทรแขวน ตั้งอยูที่เมืองไจกโถ อําเภอสะเทิม เขตรัฐมอญใน ประเทศพมา บนยอดเขาพวงลวง มีตาํ นานความเชือ่ วาพระอินทรนาํ กอนหินทีร่ องรับ พระเจดียที่บรรจุพระเกศาธาตุมาตั้งแขวนไว (ที่ตั้งเปนหนาผาหมิ่นเหม) สวนชื่อ ภาษาพมา เรียกวา “ไจกทีโย” แปลวา เจดีย หรือผาโพกหัวฤาษี อาจสื่อความหมาย ถึงกอนหินที่รองรับเจดียที่บรรจุพระเกศาธาตุที่ลักษณะคลายผาโพกหัวของฤาษี ลักษณะเดนขององคพระธาตุอนิ ทรแขวน คือ เปนกอนสีทองขนาดใหญ สูง 5.5 เมตร ตั้งอยูบนหนาผาสูงชันอยางหมิ่นเหมเหมือนจะหลน แตก็ไมตกลงมา 2 เขตพุทธาวาส คือ พื้นที่ภายในวัดที่พระสงฆใชสําหรับประกอบพิธีกรรม ทางศาสนา เปนเสมือนสัญลักษณแหงสถานที่ประทับขององคพระสัมมาสัมพุทธเจา รวมถึงเปนที่ตั้งของสิ่งปลูกสรางประเภทปูชนียสถานและศาสนสถานตางๆ

คูมือครู

15


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Explain

ครูใหนักเรียนนําขอมูลที่ไดจากการศึกษา คนควาเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาในประเทศ อินโดนีเซียปจจุบันมาอภิปรายรวมกัน หลังจากนั้น ครูตั้งคําถามใหนักเรียนชวยกันตอบ เชน • ปจจุบันประชากรอินโดนีเซียที่นับถือ พระพุทธศาสนามีประมาณเทาใด (แนวตอบ ปจจุบันชาวอินโดนีเซียที่นับถือ พระพุทธศาสนามีประมาณรอยละ 1) • ชาวพุทธในประเทศอินโดนีเซียมีการปฏิบัติ ตนเพื่อสงเสริมพระพุทธศาสนาใหเจริญ รุงเรืองไดอยางไร (แนวตอบ ในวันวิสาขบูชา ชาวพุทธในประเทศ อินโดนีเซียรวมกันประกอบพิธีเวียนเทียนและ ปฏิบัติธรรมที่บุโรพุทโธ นอกจากนี้ เยาวชนยัง สามารถศึกษาธรรมะและการปฏิบัติสมาธิไดที่ สมาคมสอนพระพุทธศาสนา) • แมรัฐบาลอินโดนีเซียจะนับถือศาสนาอิสลาม แตก็ใหความสําคัญกับพระพุทธศาสนา โดยไดดําเนินการอยางไร (แนวตอบ ใหการรับรองวาพระพุทธศาสนา เปนศาสนาหนึ่งของชาวอินโดนีเซีย พรอมทั้ง ประกาศใหวันวิสาขบูชาเปนวันหยุดราชการ รวมถึงสนับสนุนการจัดงานรวมกับเครือขาย องคกรพุทธเปนประจําทุกป)

และทีถ่ อื วาเปนความกาวหนาในกิจการของพระพุทธศาสนาในประเทศพมาในปจจุบนั ก็คอื คณะสงฆของประเทศพมาไดดาํ เนินการสรางความสัมพันธกบั ประเทศทีน่ บั ถือพระพุทธศาสนา เถรวาทจากทั่วโลก ดังใน พ.ศ. ๒๕๕๐ ไดมีการกอตั้งสมาคมพระพุทธศาสนาเถรวาทนานาชาติ และจัดประชุมครัง้ แรกขึน้ ในระหวางวันที่ ๙ - ๑๑ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๐ ทีเ่ มืองยางกุง ประเทศพมา และการประชุมครั้งที่ ๒ ระหวางวันที่ ๓ - ๑๑ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๒ ที่เมืองสะกาย ประเทศพมา อีกเชนกัน โดยการประชุมดังกลาวไดรบั ความรวมมือจากคณะสงฆและนักวิชาการทางศาสนาจาก หลายประเทศทัว่ โลก ถือเปนบทบาทสําคัญของคณะสงฆพมาทีไ่ ดประสานความรวมมือกันในทาง พระพุทธศาสนาในระดับนานาชาติ นอกจากนี้พระสงฆของพมามีบทบาทสําคัญในทางการเมือง โดยไดจัดตั้งสหภาพ ยุวสงฆแหงพมา (All Burma Young Monks’ Union) ในเขตปลดปลอยเพื่อดําเนินการเรียกรอง และตอสูอยางสันติตามหลักพระพุทธศาสนา ซึ่งถือวาเปนเอกลักษณของพระพุทธศาสนาใน ประเทศพมาที่เปดโอกาสใหพระสงฆไดมีสวนรวมทางการเมืองอยางเห็นไดชัด ๒) พระพุทธศาสนาในประเทศอินโดน�เซีย พระพุทธศาสนานิกายมหายานเคย เจริญรุง เรืองในประเทศอินโดน�เซียมาตัง้ แตพทุ ธศตวรรษที่ ๑๒ - ๑๓ ดังปรากฏพุทธสถานทีส่ าํ คัญๆ ซึง� หลงเหลือเปนหลักฐานมาจนถึงปจจุบนั หลายแหง แตหลังจากศาสนาอิสลามไดเขามาแพรหลาย และชาวชวาก็ไดยอมรับนับถือเปนศาสนาประจําชาติซึ�งมีผูนับถือกวารอยละ ๘๖ ของประชากร ทั้งประเทศ ทําใหจํานวนประชากรที่นับถือพระพุทธศาสนาลดลงเหลือประมาณรอยละ ๑ เทานั้น ป จ จุ บั น ชาวอิ น โดนี เ ซี ย ที่ นั บ ถื อ พระพุทธศาสนานิกายมหายาน สวนใหญจะ 1 อาศัยอยูที่เกาะบาหลี แมจะมีศาสนิกชนบาง สวนที่มีการนับถือศาสนาฮินดูควบคูกันไปดวย แตก็ถือวาทั้งสองศาสนาสามารถผสมผสานกัน ไดอยางสนิทแน 2 นแฟนในวิถีชีวิตของชาวบาหลี โดยบุ โ รพุ ท โธยั ง คงเป น ศาสนสถานสํ า คั ญ ที่ เปนศูนยรวมทางจิตใจของพุทธศาสนิกชนใน ประเทศอินโดนีเซีย ในวันสําคัญทางพระพุทธศาสนา ก็จะมีการรวมกันประกอบพิธเี วียนเทียน การประกอบพิธีเวียนเทียนของพุทธศาสนิกชนที่นับถือ รอบองคพระเจดีย อันถือเปนพิธีกรรมหนึ่ง พระพุทธศาสนาที่บุโรพุทโธ ประเทศอินโดนีเซีย เปน พิธีกรรมหนึ่งที่ชาวพุทธในอินโดนีเซียรวมกันสืบทอดมา ที่ชาวพุทธในอินโดนีเซียรวมกันสืบทอดและ จนถึงปจจุบัน จรรโลงรักษาไว ๑๖

นักเรียนควรรู 1 เกาะบาหลี ไดรับการขนานนามวา อัญมณีแหงมหาสมุทรอินเดีย ตั้งอยูทาง ทิศตะวันออกของเกาะชวา ในประเทศอินโดนีเซีย 2 บุโรพุทโธ หรือบรมพุทโธ หรือบาราบูดรู  แปลวา วิหารทีส่ รางบนภูเขาสูง ตัง้ อยู บนเกาะชวา เขตเมืองยอรคยาการตา บุโรพุทโธถือเปนศาสนสถานในพระพุทธศาสนา นิกายมหายานที่ใหญที่สุดในโลกแหงหนึ่ง เปนมหาสถูปที่สรางดวยหินภูเขาไฟ มีรูป ทรงแบบศิลปะผสมผสานระหวางอินเดียกับอินโดนีเซีย สรางขึน้ ตัง้ แตคริสตศตวรรษ ที่ 7-9 สมัยกษัตริยแหงราชวงศไศเลนทร แนวคิดแสดงถึงมณฑลของจักรวาลและ อํานาจของพระพุทธเจาผูทรงสรางโลกตามคติของมหายาน แผนผังแบงเปน 3 สวน สวนแรกเปนภาพแกะสลักแสดงถึงความเปนมนุษยทยี่ งั ของแวะอยูใ นกาม สวนทีส่ อง เปนภาพแกะสลักพุทธประวัติและชาดก สวนที่สามมีเจดียทรงระฆังควํ่า 72 องค ภายในมีพระพุทธรูป โอบลอมเจดียอ งคใหญ ตรงกลางภายในเจดียอ งคใหญวา งเปลา สื่อถึงความวาง ซึ่งเปนขั้นสูงสุดของนิพพาน ในป พ.ศ. 2534 องคการยูเนสโก (UNESCO) ไดประกาศใหบโุ รพุทโธเปนมรดกโลก

16

คูมือครู

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

เพราะเหตุใด พระสงฆพมาจึงเขามามีสวนรวมทางการเมืองของประเทศ คอนขางมาก แนวตอบ สาเหตุที่พระสงฆพมามีบทบาทและมีสวนรวมทางการเมืองของ ประเทศคอนขางมาก เปนผลสืบเนื่องมาจากตั้งแตเมื่อครั้งสมัยที่อังกฤษ เขาปกครองพมาเปนอาณานิคม อังกฤษไดยกเลิกสถาบันพระมหากษัตริย ของพมา สงผลใหสถาบันพระพุทธศาสนากาวขึ้นมาเปนศูนยรวมจิตใจของ คนพมาแทนที่สถาบันพระมหากษัตริย และพระสงฆไดเปนแกนนําในการ ประทวงตอตานอังกฤษ จึงเห็นไดวา พระสงฆพมามีบทบาททางการเมืองมา ตั้งแตอดีต แมในปจจุบันพระสงฆพมาก็ยังคงมีสวนรวมทางการเมืองอยู


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

อธิบายความรู

ครูใหนักเรียนนําขอมูลที่ไดจากการศึกษา คนควาเกี่ยวกับสถานการณการนับถือศาสนาใน ประเทศมาเลเซียปจจุบันมาอภิปรายรวมกัน แลว ตั้งคําถามใหนักเรียนชวยกันตอบ ดังนี้ • ปจจุบันประชากรมาเลเซียที่นับถือ พระพุทธศาสนามีประมาณเทาใด (แนวตอบ ปจจุบันชาวมาเลเซียที่นับถือ พระพุทธศาสนามีประมาณรอยละ 19) • แมวาประเทศมาเลเซียในปจจุบัน จะมี สัดสวนของผูนับศาสนาอิสลามอยูมากที่สุด แตเพราะเหตุใดจึงยังคงมีพลเมืองมาเลเซีย อีกบางสวนที่นับถือพระพุทธศาสนา (แนวตอบ แมวาปจจุบันประเทศมาเลเซีย จะมีศาสนาอิสลามเปนศาสนาประจําชาติ และมีประชากรสวนใหญนับถือศาสนา อิสลาม แตเนื่องจากประเทศมาเลเซียมี ลักษณะเปนพหุสังคม มีประชากรที่มีความ แตกตางทางดานเชื้อชาติ ศาสนา และภาษา อาศัยอยูรวมกัน ทําใหมีพุทธศาสนิกชนมาก เปนอันดับสองของประเทศรองจากชาวมุสลิม โดยผทู นี่ บั ถือพระพุทธศาสนาสวนใหญจะเปน ชาวจีน ซึง่ อพยพเขามาอยูใ นประเทศมาเลเซีย ตั้งแตสมัยที่ยังเปนอาณานิคมของอังกฤษ นอกจากนั้น ยังมีพุทธศาสนิกชนไทยอีกดวย ซึง่ ชาวไทยเหลานีอ้ าศัยอยูใ นประเทศมาเลเซีย มาตัง้ แตอดีตสมัยทีม่ าเลเซียยังไมไดสถาปนา เปนประเทศ)

ความสนใจในพระพุทธศาสนาของชาวอินโดนีเซียในปจจุบันนั้น ไมไดจํากัดอยู แตเฉพาะชาวพุทธเทานั้น แมแตรัฐบาลอินโดนีเซียเองที่ผูนําเปนคนมุสลิม ก็ยังใหการรับรองวา พระพุทธศาสนาเปนศาสนาหนึง่ ของชาวอินโดนีเซีย พรอมทัง้ ประกาศใหวนั วิสาขบูชาเปนวันหยุด ราชการ ในขณะเดียวกัน ภาครัฐก็ยังมีสวนสนับสนุนในการจัดงานรวมกับเครือขายองคกรพุทธ เปนประจําทุกปเชนกัน การฉลองวันวิสาขบูชา ชาวพุทธในอินโดนีเซียจะฉลองกันเปนเวลา ๑ เดือน ดวยการปฏิบัติธรรม โดยชาวพุทธในประเทศอินโดนีเซียจะไมเหมือนกับประเทศอื่นที่ ฉลองกันเพียงวันเดียว แตอนิ โดนีเซียมีการจัดงานฉลองเนือ่ งในวันวิสาขบูชาเปนเวลานานนับเดือน การดําเนินกิจกรรมทางศาสนาก็ไดมีการจัดตั้งสมาคมเพื่อสอนพระพุทธศาสนาแก เยาวชนของอินโดนีเซีย ดวยการดําเนินกิจกรรมการบรรยายธรรมะ สอนการปฏิบัติสมาธิ และ ออกวารสารตางๆ ทางพระพุทธศาสนาทีส่ าํ คัญ เชน วารสารวิปส สนา วารสารธรรมจาริณี เปนตน ซึง่ ทัง้ หมดนีอ้ ยูภายใตการดูแลของพุทธสมาคมอินโดนีเซียซึ่งมีสํานักงานใหญอยูที่กรุงจาการตา โดยทําหนาทีด่ แู ลกิจกรรมทางศาสนา ตลอดจนเรือ่ งตางๆ ของพุทธศาสนิกชนในประเทศอินโดนีเซีย แมในปจจุบันพระพุทธศาสนาในอินโดนีเซียจะไดรับการยอมรับจากทางรัฐบาลแลว หากแตก็ไมไดรับการสนับสนุนอยางจริงจัง แมวาจะมีวัดทางพระพุทธศาสนาเกิดขึ้นในประเทศ อินโดนีเซียกวา ๑๕๐ วัด มีพุทธศาสนิกชนประมาณ ๑๕๐,๐๐๐ คน ดังกลาว จํานวนของ พุทธศาสนิกชนในประเทศยังถือวามีจํานวนนอยเมื่อเทียบกับชาวมุสลิมซึ่งเปนศาสนาประจําชาติ ของอินโดนีเซีย แตก็ถือวาเปนนิมิตหมายที่ดีที่พระพุทธศาสนาเริ่มไดรับการยอมรับและมีความ สําคัญมากขึ้นในดินแดนแหงนี้

๓) พระพุทธศาสนาในประเทศ

มาเลเซีย ประเทศมาเลเซียเปนประเทศที่

ประชากรสวนใหญนับถือศาสนาอิสลามเปน ศาสนาประจําชาติ แตดวยความที่ประเทศน�้ สวนหนึ�งก็มีพลเมืองที่มีเชื้อสายจีน ไทย และ พมา ดังนั้น พระพุทธศาสนาจึงยังมีบทบาทใน หมูชาวจีน ไทย และพมาซึ�งเปนพลเมืองของ ประเทศมาเลเซีย แมจะมีอตั ราของพุทธศาสนิกชน ในประเทศน�เ้ พียงรอยละ ๑๙ แตกถ็ อื เปนศาสนา ที่มีความสําคัญรองจากศาสนาอิสลาม ในปจจุบนั พุทธศาสนิกชนในประเทศ มาเลเซีย ไดมีการรวมตัวกันจัดตั้งสมาคมที่

Explain

1

พระพุทธรูปปางไสยาสน วัดไชยมังคลาราม บนเกาะปนัง เปนทีเ่ คารพสักการะของพุทธศาสนิกชนในประเทศมาเลเซีย

http://www.aksorn.com/LC/REI/M2/02

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

บุโรพุทโธที่ตั้งอยูบนเกาะชวา สะทอนขอมูลตามขอใด 1. พระพุทธเจาทรงเคยเสด็จมาประทับที่เกาะชวา 2. ในอดีตพระพุทธศาสนาบนเกาะชวาเคยเจริญรุงเรืองอยางมาก 3. พุทธศาสนิกชนนิยมเดินทางมาสรางพุทธสถานที่ใหญโตบนเกาะชวา 4. พระสมณทูตจากชมพูทวีปมาเผยแผพระพุทธศาสนาเปนแหงแรกใน สุวรรณภูมิ

วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 2. บุโรพุทโธตัง้ อยูท เี่ กาะชวา ประเทศอินโดนีเซีย เปนศาสนสถานของพระพุทธศาสนานิกายมหายาน สรางขึ้นโดยกษัตริยแหง ราชวงศไศเลนทร เปนหลักฐานที่แสดงใหเห็นวาเกาะชวาและพื้นที่อีกหลาย สวนของประเทศอินโดนีเซียนั้น พระพุทธศาสนาเคยเจริญรุงเรืองอยางมากใน อดีต ขณะที่ปจจุบันอินโดนีเซียเปนประเทศที่มีประชากรนับถือศาสนาอิสลาม มากที่สุดในโลก

EB GUIDE

๑๗

นักเรียนควรรู 1 พระพุทธรูปปางไสยาสน เรียกอีกอยางวา ปางปรินิพพาน เปนปางแสดง เหตุการณตอนพระพุทธองคประทานปจฉิมโอวาทแกพระอานนทและพระภิกษุ ทั้งหลาย แลวเสด็จดับขันธปรินิพพานในคืนวันเพ็ญเดือน 6 เวลาใกลรุง ระหวาง ตนรังคู ณ เมืองกุสินารา ซึ่งลักษณะของพระพุทธรูปปางนี้อยูในพระอิริยาบถ บรรทมตะแคงขวา เมื่อคราวจะปรินิพพานหลับพระเนตร พระเศียรหนุนพระเขนย พระหัตถซายทอดยาวไปตามพระวรกายเบื้องซาย พระหัตถขวาหงายวางอยูที่ พื้นขาง พระบาทซายทับพระบาทขวา ลักษณะซอนกัน

คูมือครู

17


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Explain

1. ครูเลาถึงประวัติวัดไทยที่สําคัญในประเทศ มาเลเซียใหนักเรียนฟง เชน วัดเชตวัน วัดไชยมังคลาราม เปนตน หลังจากนั้นใหนักเรียน ชวยกันอธิบายถึงบทบาทของวัดไทยในประเทศ มาเลเซีย พรอมยกตัวอยางประกอบการอธิบาย (แนวตอบ วัดไทยในประเทศมาเลเซียมีบทบาท สําคัญ คือ เปนศูนยกลางของการประกอบ พิธีกรรมทางพระพุทธศาสนา ใหความรูทาง ธรรมแกพุทธศาสนิกชน สอนวิธีการปฏิบัติ วิปสสนากรรมฐาน การสวดมนต และให ความชวยเหลือดานสังคมสงเคราะห) 2. ครูตั้งคําถามใหนักเรียนชวยกันวิเคราะหวา • สมาคมพระพุทธศาสนาในประเทศมาเลเซีย มีบทบาทชวยสงเสริมความเจริญรุงเรืองของ พระพุทธศาสนาอยางไร (แนวตอบ สมาคมผูสอนพระพุทธศาสนามี บทบาทในการจัดพิมพพระธรรมเทศนาตางๆ ตลอดจนจัดทําหลักสูตรอบรมพระสงฆสําหรับ เผยแผพระพุทธศาสนา ยุวพุทธิกสมาคมแหง มาเลเซีย เปนศูนยกลางในการพบปะสังสรรค และจัดกิจกรรมทางพระพุทธศาสนา สมาคม ชาวพุทธแหงมาเลเซีย เปนสื่อกลางในการ เผยแผพระพุทธศาสนาและทําหนาที่สาธารณสงเคราะหชาวมาเลเซียที่ยากไร ศูนยสมาธิ วิปส สนาแหงชาวพุทธมาเลเซีย เปนสถานที่ ฝกอบรมสมาธิวิปสสนากรรมฐานของ พุทธศาสนิกชนชาวมาเลเซีย)

ดําเนินกิจกรรมทางพระพุทธศาสนาหลายสมาคม เชน สมาคมผูส อนพระพุทธศาสนา เปนสมาคม ไดดําเนินการจัดพิมพหนังสือพระธรรมเทศนาตางๆ ในฉบับภาษาอังกฤษ และยังจัดทําหลักสูตร อบรมพระสงฆสําหรับทําหนาที่เผยแผพระพุทธศาสนาไดอยางมีประสิทธิภาพ ยุวพุทธิกสมาคม แหงมาเลเซีย เปนสมาคมที่ตั้งขึ้นเพื่อเปนที่พบปะสังสรรคและจัดกิจกรรมทางพระพุทธศาสนา รวมกันของเหลาหนุมสาวชาวมาเลเซีย สมาคมชาวพุทธแหงมาเลเซีย ตั้งขึ้นเพื่อเปนสื่อกลาง ในการเผยแผพระพุทธศาสนาและทําหนาทีส่ าธารณสงเคราะหเพือ่ ชาวมาเลเซียทีย่ ากไร ศูนยสมาธิ วิปสสนาแหงชาวพุทธมาเลเซีย จัดตั้งขึ้นเพื่อเปนสถานที่ฝกอบรมสมาธิวิปสสนากรรมฐานของ พุทธศาสนิกชนชาวมาเลเซีย นอกจากนี้ยังมีการจัดตั้งพุทธสมาคมในมหาวิทยาลัยตางๆ ของ ประเทศมาเลเซียดวย นอกจากนี้ยังมีการพยายามสรางวัดใหมๆ ขึ้นในประเทศมาเลเซีย ปจจุบัน มีทั้งวัดมหายานและเถรวาทอยูในประเทศมาเลเซียราว ๘๐ วัด เปนศูนยรวมชาวพุทธ ทั้งจีน ไทย และพมา โดยมีวัดไทยที่สําคัญอยูหลายวัด เชน วัดเชตวัน วัดไชยมังคลาราม เปนตน นอกจากนี้ชาวพุทธในมาเลเซียยังคงมีการรวมตัวกันทํากิจกรรมทางพระพุทธศาสนา อยางสมํา่ เสมอ ตัวอยางเชน เมือ่ วันที่ ๑๖ มิถนุ ายน พ.ศ. ๒๕๕๑ สมาคมสงฆแหงพุทธศาสนิกชน มาเลเซีย ไดจัดกิจกรรม “มหาสังฆทาน” ที่วัดถานเซียง ประเทศมาเลเซีย โดยคณะภิกษุ และ ภิกษุณีของวัดถานเซียง พรอมดวยกลุมฆราวาสที่รวมกันจัดงานนี้ขึ้น โดยในปจจุบันมีการนับถือ พระพุทธศาสนานิกายทีส่ าํ คัญสองนิกาย คือ มหายานและเถรวาท ซึง่ ทัง้ สองนิกายก็มกี ารสรางวัด ประจําแตละนิกายขึ้นหลายแหง ซึ่งมีทั้งที่เปนวัดของชาวมาเลเซีย และวัดของชาวตางประเทศ เชนวัดไทย ซึ่งทั้งหมดเปนวัดในมหานิกายกวา ๗๙ วัด ซึ่งตั้งกระจายไปตามรัฐตางๆ ไดแก รัฐเคดะห รัฐเประ รัฐปะริส และรัฐตรังกานู นอกจากนี้ยังมีวัดพมา วัดศรีลังกา และวัดที่ชาวจีน ตั้งขึ้นอีกจํานวนหนึ่ง โดยวัดเหลานี้มีหนาที่สําคัญคืออบรมสั่งสอนพุทธศาสนิกชน สอนวิปสสนา กรรมฐาน การสวดมนต รวมทั้งการจัดตั้งโรงเรียนสอนพระพุทธศาสนาวันเสาร อาทิตย และ ใหความชวยเหลือทางดานสังคมสงเคราะหอีกดวย ๔) พระพุทธศาสนาในประเทศสิงคโปร ประเทศสิงคโปรถือเปนประเทศที่มีความ หลากหลายทางดานเชื้อชาติและศาสนา โดยประชากรของสิงคโปรจะนับถือศาสนาหลักๆ ไดแก พระพุทธศาสนา ศาสนาอิสลาม ศาสนาคริสต และศาสนาฮินดู โดยมีอัตราสวนของประชากร ที่นับถือพระพุทธศาสนาของทั้งประเทศประมาณรอยละ ๔๒ ของจํานวนประชากรทั้งหมด ซึ�ง สวนใหญของพุทธศาสนิกชนชาวสิงคโปรเปนชาวจีน คือประมาณรอยละ ๙๐ ของพุทธศาสนิกชน ทั�วประเทศ สําหรับนิกายที่มีผูนับถือมากที่สุด ไดแก พระพุทธศาสนานิกายมหายาน ปจจุบันพระพุทธศาสนาในประเทศสิงคโปรไดรับความสนใจจากพุทธศาสนิกชน ในการเขามามีสวนรวมในกิจกรรมตางๆ ที่จัดขึ้น อีกทั้งยังรวมในสมาคมตางๆ ที่จัดตั้งขึ้นเพื่อ ๑๘

บูรณาการอาเซียน ครูอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียนเขาใจวา ไทยยกรัฐไทรบุรี กลันตัน ตรังกานู และปะริสใหแกองั กฤษ ในสมัยรัชกาลที่ 5 แหงกรุงรัตนโกสินทร เพือ่ แลกกับการไดรบั สิทธิสภาพนอกอาณาเขตกลับคืนมา โดยรัฐไทรบุรหี รือรัฐเคดะหในปจจุบนั รวมถึง รัฐอื่นๆ ทางตอนเหนือของประเทศมาเลเซีย ยังมีคนไทยจํานวนหนึ่งอาศัยอยู ซึ่งคนไทยเหลานี้ยังคงยึดมั่นในวัฒนธรรมไทยอยางเหนียวแนน สามารถพูด ภาษาไทยได และนับถือพระพุทธศาสนา มีการสรางวัดไทยหลายแหง ซึ่งเปน วัดในพระพุทธศาสนานิกายเถรวาท เชน วัดพิกุลทองวราราม วัดใหมสุวรรณคีรี วัดชลประชุมธาตุชนาราม เปนตน ทั้งนี้รัฐบาลมาเลเซียก็ใหเสรีภาพในการนับถือ ศาสนาและการประกอบศาสนกิจแกชาวมาเลเซียเชื้อสายไทยเปนอยางดี

18

คูมือครู

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

พระพุทธศาสนานิกายใดเจริญรุงเรืองในอาณาจักรศรีวิชัยมากอน 1. นิกายชินโต 2. นิกายเถรวาท 3. นิกายมหายาน 4. นิกายสยามวงศ วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 3. พระพุทธศาสนามหายานเจริญรุงเรืองใน อาณาจักรศรีวิชัย หลักฐานสําคัญที่แสดงวาพระพุทธศาสนามหายานเจริญ รุงเรืองในอาณาจักรศรีวิชัย คือ รูปพระโพธิสัตว ซึ่งสรางขึ้นตามคติความเชื่อ ของพระพุทธศาสนามหายาน


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

อธิบายความรู

Explain

ครูใหนักเรียนนําขอมูลที่ไดจากการศึกษา คนควาเกี่ยวกับสถานการณการนับถือศาสนา ของประเทศสิงคโปรในปจจุบันมาอภิปรายรวมกัน แลวตั้งคําถามใหนักเรียนชวยกันตอบ ดังนี้ • ปจจุบันประชากรสิงคโปรที่นับถือ พระพุทธศาสนามีประมาณเทาใด (แนวตอบ ปจจุบันชาวสิงคโปรที่นับถือ พระพุทธศาสนามีประมาณรอยละ 42) • ประชากรในประเทศสิงคโปรสวนใหญนับถือ พระพุทธศาสนานิกายใด (แนวตอบ พระพุทธศาสนานิกายมหายาน) • ประเทศสิงคโปรมีวิธีการเผยแผพระพุทธศาสนาที่แตกตางจากประเทศอื่นๆ ที่นักเรียนเคยศึกษามาอยางไร (แนวตอบ ปจจุบันการเผยแผพระพุทธศาสนา ในสิงคโปรไดมีการนําเทคโนโลยีเขามาเปน สื่อกลาง เชน ริเริ่มผลิตหนังสือ electronic หรือ e-book สําหรับเผยแผหลักธรรม คําสอนในอินเทอรเน็ต โดยจัดทําเปน 3 ภาษา คือ ภาษาอังกฤษ ภาษาจีน และ ภาษาสิงหล เปนตน)

จุดมุงหมายในการเผยแผพระพุทธศาสนา เชน สหพันธพุทธศาสนิกชนชาวสิงคโปร สหภาพ พุทธศาสนิกชน สถาบันสตรีชาวพุทธสิงคโปร สมาคมพุทธศาสนาแหงสิงคโปร องคการยุวพุทธแหงสิงคโปร และองคการพุทธยานแหงสิงคโปร เปนตน โดยสมาคมทางพระพุทธศาสนาเหลานี้ มีการดําเนินกิจกรรมทีค่ ลายกัน เชน การแสดง พระธรรมเทศนา แสดงปาฐกถา หรืออภิปราย ธรรม โดยพระสงฆ หรือฆราวาสผูทรงคุณวุฒิ และการจัดใหมีพิธีกรรมทางศาสนาในโอกาส สําคัญตางๆ มีการแปลคัมภีรและเอกสารทาง พระพุทธศาสนาออกเปนภาษาตางๆ พุทธศาสนิกชนชาวสิงคโปรยังได รวมตั ว กั น จั ด ตั้ ง พุ ท ธสมาคมแห ง สิ ง คโปร ซึ่งปจจุบันมีกวา ๑,๘๐๐ แหงทั่วประเทศ โดย นอกจากจะเปนสมาคมทีม่ จี ดุ ประสงคเพือ่ เผยแผ วัดศากยมุนคี ยา ประเทศสิงคโปร เปนศาสนสถานสําคัญทาง และดําเนินกิจกรรมทางพระพุทธศาสนาแลว พระพุทธศาสนานิกายเถรวาท ทีเ่ ปนศูนยรวมความศรัทธา ชาวพุทธเหลานีย้ งั ไดดาํ เนินกิจการทางสาธารณ- ของชาวสิงคโปร กุศล เพื่อใหความชวยเหลือผูยากไร ซึ่งถือเปนการดําเนินตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนา ในเรื่องของความเมตตากรุณาตอเพื่อนมนุษย ซึ่งชาวพุทธที่ดีพึงกระทําตอเพื่อนมนุษยดวยกัน โดยไมแบงแยกเชื้อชาติและศาสนา นอกจากนี้ในปจจุบันการเผยแผพระพุทธศาสนาในประเทศ สิงคโปรไดมีการนําเทคโนโลยีสมัยใหมเขามาเปนสื่อกลาง ดังเห็นไดจากการดําเนินงานของศูนย ปฏิบัติพุทธสมาธิแหงประเทศสิงคโปร ที่ริเริ่มผลิตหนังสือ electronic หรือ e-books ออกมา ชุดหนึ่งสําหรับเผยแผหลักธรรมคําสอนในอินเทอรเน็ต เชนเรื่อง “ขุมทรัพยแหงความจริง พระธรรมบทมีภาพประกอบ” (Treasury of Truth : Illustrated Dhammapada) โดยจัดทําเปน ๓ ภาษา คือ ภาษาอังกฤษ ภาษาจีน และภาษาสิงหล หรือหนังสือ electronic ที่วาดวยเรื่อง “ธรรมชาติของชีวิตและความตาย” (The Nature of Life and Death) และเรื่อง “มงคลสูงสุด” (Maha Mangala Sutta) เหลานี้เปนพัฒนาการสําคัญที่ชาวพุทธในสิงคโปรไดมีการริเริ่มนําเอา พระพุทธศาสนาออกเผยแผในวงกวาง ปจจุบันประเทศสิงคโปรมีวัดทางพระพุทธศาสนาอยูประมาณ ๑๑๒ วัด สวนใหญเปน วั ด ของฝ า ยมหายาน ในจํ า นวนนี้ มี ว1ั ด ไทยอยู  ร าว ๒๐ วั ด วั ด ไทยที่ สํ า คั ญ มี ๒ วั ด คื อ วัดอนันทเมตยาราม และวัดปาเลไลยก เปนศูนยรวมใจของพุทธศาสนิกชนชาวไทยในสิงคโปร ๑๙

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

เพราะเหตุใด พระพุทธศาสนาที่แพรหลายในสิงคโปรสวนใหญจึงเปน นิกายมหายาน

แนวตอบ สาเหตุที่ทําใหพระพุทธศาสนานิกายมหายานแพรหลายอยูใน ประเทศสิงคโปรนั้น เนื่องจากประชากรสวนใหญของสิงคโปรเปนชาวจีน พระพุทธศาสนานิกายมหายานจึงเจริญรุงเรืองอยางมาก ซึ่งชาวจีนใน สิงคโปรจะนับถือพระพุทธศาสนานิกายมหายานควบคูไปกับการนับถือลัทธิ ขงจื๊อและลัทธิเตา

นักเรียนควรรู 1 วัดปาเลไลยก ชื่อของวัดไดชื่อมาจากพระพุทธรูปปางหนึ่ง มีพุทธลักษณะ เปนพระพุทธรูปนั่ง พระหัตถซายวางควํ่าบนพระชานุเบื้องซาย พระหัตถขวาวาง แบบนพระชานุเบื้องขวา มีชางหมอบถวายกระบอกนํ้า และลิงนั่งถวายรวงผึ้ง มูลเหตุการสรางพระพุทธรูปปางปาเลไลยหรือปาลิไลย เนื่องจากพระภิกษุในกรุง โกสัมพีทะเลาะวิวาทกันขนานใหญ แมสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธจะเสด็จไปหาม ปราม แตก็ไมมีใครสนใจ พระองคทรงอิดหนาระอาพระทัย จึงเสด็จหลีกไปประทับ อยูในปาปาริเลยยกะ โดยมีพญาชางปาริเลยยกะคอยปรนนิบัติ เมื่อลิงเห็นก็นํารวง ผึ้งมาถวายบาง หลังออกพรรษา พระอานนทไดมากราบทูลอาราธนาใหพระองค เสด็จกลับพระเชตวันมหาวิหาร ซึ่งเมื่อพระพุทธเจาเสด็จกลับแลว เหลาพระภิกษุที่ เปนตนเหตุของเรื่อง ก็ไดเดินทางมาเฝาเพื่อขอขมาตอพระพุทธองค

คูมือครู

19


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Explain

1. ครูใหนักเรียนนําขอมูลที่ไดจากการศึกษา คนควาเกี่ยวกับสถานการณการนับถือพระพุทธศาสนาในประเทศลาวปจจุบนั มาอภิปรายรวมกัน 2. ครูใหนักเรียนดูภาพการตักบาตรขาวเหนียว ในหนังสือเรียนหนา 20 และเปรียบเทียบการ ครองจีวรของพระสงฆ ตลอดจนลักษณะของ ประเพณีการตักบาตรระหวางประเทศลาวกับ ประเทศไทย 3. ครูใหนักเรียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการ จัดการเรียนการสอนของสถาบันการศึกษา พระพุทธศาสนาในลาววา การจัดใหมีวิชาการ สมัยใหมควบคูไปกับพระปริยัติธรรมมีความ จําเปนตอการพัฒนาศาสนาอยางไร (แนวตอบ ครูเปดโอกาสใหนักเรียนแสดงความคิด เห็นไดอยางหลากหลาย เชน การศึกษาวิชาการ สมัยใหมนับเปนการศึกษาความรูทางโลก ซึ่งจะทําใหพระสงฆสามารถนําไปประยุกต เขากับความรูทางธรรมเพื่อเทศนาใหแก พุทธศาสนิกชนไดอยางเทาทันโลก เปนตน) 4. ครูสุมถามนักเรียนวา โดยสรุปสถานการณของ พระพุทธศาสนาในประเทศลาวปจจุบันเปน อยางไร (แนวตอบ พระพุทธศาสนาในประเทศลาวปจจุบัน ไดรับการฟนฟูและมีความเจริญรุงเรือง อีกครั้งหนึ่ง ชาวลาวกวารอยละ 90 นับถือ พระพุทธศาสนา พระพุทธศาสนาเปนศูนย รวมจิตใจของชาวลาว พระสงฆเปนที่พึ่งของ ชุมชน วัดก็เปนศูนยกลางทางจิตวิญญาณของ ประชาชนและเปนศูนยกลางของชุมชนในการ จัดกิจกรรมตางๆ ประเพณีพิธีกรรมสําคัญๆ สวนใหญก็มีที่มาจากพระพุทธศาสนา)

๕) พระพุทธศาสนาในประเทศลาว ปจจุบันหลังจากประเทศลาวเริ�มเขาสูภาวะ

สงบสุขจากปญหาการเมืองภายในประเทศ จึงเริ�มมีการพยายามฟนฟูพระพุทธศาสนาขึ้นอีกครั้ง หลังจากซบเซาลงเน�อ� งจากปญหาภายในประเทศ โดยสวนหนึ�งไดรับความรวมมือจากพระสงฆ และพุทธศาสนิกชนชาวไทยที่ทําใหพระพุทธศาสนาในประเทศลาวกลับมารุงเรืองอีกครั้ง เพราะอยางไรก็ตามประเทศลาวก็ไดชื่อวาเปน ประเทศที่มีประชากรสวนใหญนับถือพระพุทธศาสนากวารอยละ ๙๐ ของประชากรทั้งหมด ในประเทศ โดยสถานการณพระพุทธศาสนาใน ประเทศลาวปจจุบัน ก็ยังคงเปนศูนยรวมความ ศรัทธาของประชาชน ทั้งยังมีบทบาทในการ ใหความชวยเหลือประชาชนในดานตางๆ โดย พระสงฆก็ยังคงเปนที่พึ�งของชุมชน คอยให พระพุ ท ธศาสนาเป น ศู น ย ร วมความศรั ท ธาของคนลาว (จากภาพ) สตรีชาวลาวในนครเวียงจันทนกําลังตักบาตร คําปรึกษา ชวยเหลือในสิง� ตางๆ จนกลาวไดวา ขาวเหนียว วั ด ในประเทศลาวถื อ เป น ศู น ย ก ลางทางจิ ต วิญญาณของประชาชนชาวลาว และเปนศูนยกลางในการจัดกิจกรรมของชุมชน นอกจากน�ป้ ระเพณ� พิธีกรรมที่สํา1คัญของประเทศสวนใหญก็มีที่มาจากพระพุทธศาสนา เชน ประเพณ�งานทําบุญ พระธาตุหลวง ซึ�งปจจุบันถือเปนประเพณ�ที่สําคัญประจําชาติของลาว สําหรับการศึกษาของพระสงฆ อันถือเปนศาสนทายาทสําคัญที่จะสืบทอดพระพุทธศาสนา ก็ไดมีการจัดตั้งสถาบันการศึกษาพระพุทธศาสนา หรือวิทยาลัยสงฆ โดยปจจุบันตั้งอยูที่ วัดองคตอื้ มหาวิหาร นครหลวงเวียงจันทน ซึง่ พระสงฆทศี่ กึ ษาจบแลวจะไดรบั ประกาศนียบัตรจาก กระทรวงศึกษาธิการของประเทศ และมีสทิ ธิไดรบั การขนานนามวา “มหา” สําหรับหลักสูตรการเรียน การสอนในสถาบันแหงนี้ไดจัดใหมีการเรียนการสอนทั้งพระปริยัติธรรม และวิชาการสมัยใหม เชน ภาษาบาลี ภาษาสันสกฤต ภาษาลาว ภาษาอังกฤษ ศาสนา ปรัชญา จิตวิทยา ภูมิศาสตร ประวัติศาสตร วิทยาศาสตร คณิตศาสตร สังคมวิทยา การศึกษา สุขาภิบาล ตลอดจนโหราศาสตร 2 เปนตน นอกจากนั้นพระสงฆที่ศึกษาจบแลวจะตองอยูปฏิบัติงานในสมณเพศอยางนอย ๒ ป จึงจะสามารถลาสิกขาบทได โดยนอกจากจะมีการเรียนการสอนตามหลักสูตรแลว สถาบันยังไดจดั ใหมีกิจกรรมเพื่อทํานุบํารุงพระพุทธศาสนาอีกหลายประการ เชน การบรรพชาสามเณรภาค ฤดูรอน การอบรมพระวิปสสนาจารย การอบรมพระธรรมกถึก การศึกษาภาษาบาลี การจัดพิมพ ๒๐

นักเรียนควรรู 1 พระธาตุหลวง หรือพระเจดียโลกะจุฬามณี นับเปนศาสนสถานสําคัญของ นครหลวงเวียงจันทน ตามตํานานอุรังคนิทานไดกลาวไววา พระธาตุหลวงสรางขึ้น คราวเดียวกับการสรางเมืองนครเวียงจันทน ผูสรางคือ บุรีจันอวยลวย หรือพระเจาจันทบุรีประสิทธิศักดิ์ เจาเหนือหัวผูครองนครเวียงจันทนพระองคแรก พรอมกับพระอรหันต 5 องค เพื่อบรรจุพระบรมสารีริกธาตุสวนหัวเหนา 27 พระองค ซึ่งไดอัญเชิญมาจากเมืองราชคฤห ประเทศอินเดีย 2 สมณเพศ ชาวพุทธนิยมเรียกบุคคลที่เขามาบวชในพระพุทธศาสนาวาถือ “สมณเพศ” หรือ “เพศบรรพชิต” คือ การดํารงชีพเปนนักบวช ซึ่งผูบวชเปน พระภิกษุจะถือศีล 227 ขอ สามเณร 10 ขอ และภิกษุณี 311 ขอ

20

คูมือครู

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

สถาบันใดที่เปนหลักการในการสงเสริมพระพุทธศาสนาใหเจริญรุงเรืองใน ประเทศเพื่อนบาน 1. องคกรเอกชน 2. สถาบันการเมือง 3. สถาบันครอบครัว 4. สถาบันพระมหากษัตริย วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 4. พระมหากษัตริยเปนที่เคารพศรัทธาของ ประชาชน รวมทั้งเปนแบบอยางของประชาชนในทุกๆ ดาน พระพุทธศาสนา เจริญรุงเรืองในประเทศตางๆ ก็ดวยการอุปถัมภของพระมหากษัตริย


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

อธิบายความรู

1. ครูใหนกั เรียนนําขอมูลทีไ่ ดจากการศึกษาคนควา เกีย่ วกับสถานการณการนับถือพระพุทธศาสนา ในประเทศกัมพูชาปจจุบันมาอภิปรายรวมกัน แลวตั้งคําถามใหนักเรียนชวยกันตอบ ดังนี้ • หลังจากสงครามกลางเมืองในกัมพูชาสงบลง รัฐบาลมีวธิ กี ารฟน ฟูพระพุทธศาสนาอยางไร (แนวตอบ รัฐบาลเริ่มตนบูรณปฏิสังขรณวัดวา อารามตางๆ จัดตั้งองคกรทางพระพุทธศาสนา และสงเสริมใหมีการจัดกิจกรรมทาง พระพุทธศาสนาอยางสมํ่าเสมอ) • นักเรียนสามารถนํากิจกรรมทางพระพุทธศาสนาในกัมพูชามาประยุกตใชในการจัด กิจกรรมในโรงเรียนไดอยางไร (แนวตอบ เชน รวมกลุมกันจัดชมรมบําเพ็ญ ประโยชนใหแกสังคม นิมนตพระมาบรรยาย ธรรมทุกวันพระ เปนตน) 2. ครูใหนักเรียนทํากิจกรรมที่ 1.2 จากแบบวัดฯ พระพุทธศาสนา ม.2

วารสารเพื่อเผยแผพระพุทธศาสนา เปนตน นอกจากนี้ยังมีวิทยาลัยสงฆอีกแหงตั้งอยูที่แขวง จําปาศักดิ์ ซึ่งดําเนินการเรียนการสอนคลายกันกับที่นครหลวงเวียงจันทน และยังมีการจัดสง พระสงฆลาวเขามาศึกษาพระพุ คือ มหาวิทยาลัย 1 ทธศาสนาในมหาวิทยาลัยสงฆของประเทศไทย 2 มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย และมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยของไทย รวมทั้งวิทยาเขต ตามภูมภิ าคตางๆ มีพระสงฆลาวเขามาศึกษาตอในระดับปริญญาตรี และปริญญาโทเปนจํานวนมาก สวนใหญพระสงฆเหลานี้ถือเปนกําลังสําคัญที่จะกลับไปพัฒนาพระพุทธศาสนาในประเทศลาว ใหเจริญยิ่งขึ้นในอนาคต กลาวไดวาพระพุทธศาสนาในประเทศลาวปจจุบันมีความเจริญรุงเรืองและมั่นคงขึ้น เนื่องจากชาวลาวมีความเคารพและศรัทธาตอพระพุทธศาสนาอยางเหนียวแนน โดยประชาชน นิยมทําบุญตักบาตรในตอนเชา ในวันสําคัญทางพระพุทธศาสนาและทางราชการก็กําหนดใหเปน วันหยุดราชการ ตลอดจนการอุปสมบทก็ยังคงเปนธรรมเนียมที่ผูชายของลาวในวัยครบเกณฑจะ ตองเขาบวชเรียนในพระพุทธศาสนา รวมทั้งมีการสรางวัดลาวขึ้นในตางประเทศหลายแหง เชน ที่สหรัฐอเมริกา ฝรั่งเศส และออสเตรเลีย เปนตน ๖) พระพุทธศาสนาในประเทศกัม พูช า พระพุทธศาสนาในประเทศกัมพูชา กลาวไดวาเปนประเทศที่คอนขางไดรับผลกระทบจากปญหาความขัดแยงภายในประเทศ ทําให พระพุทธศาสนาของกัมพูชาเกิดภาวะชะงักงันไปเปนเวลานาน จนกระทัง� หลังจากสงครามกลางเมือง ในป พ.ศ. ๒๕๓๔ พระพุทธศาสนาก็เริ�มไดรับการฟนฟูอีกครั้งในฐานะที่เปนศาสนาประจําชาติ ที่มีประชากรกวารอยละ ๙๕ นับถือพระพุทธศาสนา โดยรัฐบาลกัมพูชามีการสงเสริมให ชาวกัมพูชาเขารับการอุปสมบท การสนับสนุน ใหพธิ กี รรมของทางราชการทีจ่ ะตองมีพระสงฆ เขามารวมประกอบพิธีดวย ทั้งยังใหวันสําคัญ ทางพระพุ ท ธศาสนาเป น วั น หยุ ด ราชการ ตลอดจนบูรณปฏิสังขรณวัดวาอารามที่สําคัญ ซึ�งเสียหายจากภัยสงคราม เพื่อใหสามารถใช ประกอบศาสนกิจไดดังเดิม ในด า นการศึ ก ษา มี ก ารจั ด ตั้ ง โรงเรียนหรือองคกรทางพระพุทธศาสนาที่สอน หลังสงครามกลางเมืองสงบ กิจกรรมทางดานศาสนาใน เฉพาะพระธรรมวินยั แกพระภิกษุสามเณร ซึง่ มี ประเทศกัมพูชาไดรับการสงเสริมฟนฟูมากขึ้น (จากภาพ) อยูท วั่ ประเทศ เชน การฟน ฟูมหาวิทยาลัยสงฆ พระสงฆกาํ ลังบิณฑบาตที่ถนนสายหนึ่งในประเทศกัมพูชา

✓ แบบวัดฯ ใบงาน แบบฝกฯ พระพุทธศาสนา ม.2 กิจกรรมที่ 1.2 หนวยที่ 1 ประวัติและความสําคัญของพระพุทธศาสนา กิจกรรมที่ ๑.๒ ใหนกั เรียนอธิบายการเผยแผพระพุทธศาสนาเขาสูป ระเทศ เพื่อนบาน โดยเลือก ๑ ประเทศ แลวเขียนลงในชองวาง ที่กําหนด (ส ๑.๑ ม.๒/๑)

ñð

ลาว การเผยแผพระพุทธศาสนาเขาสูประเทศ……………………………………………..

ฉบับ

เฉลย

พระพุ ทธศาสนาเผยแผเขาสูลาวในรัชกาลพระเจาฟางุมแหงอาณาจักรลานชาง โดยพระมเหสี ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ของพระองค คือ พระนางแกวยอดฟาไดกราบทูลใหพระเจาฟางุมแตงคณะทูตอาราธนาพระสงฆ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… จากพระเจ าศรีจลุ ราชแหงกัมพูชา ซึง่ พระองคโปรดใหพระสงฆเดินทางไปเผยแผศาสนาทีล่ า นชาง ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ทั……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ง้ ยังพระราชทานพระบางพรอมดวยพระไตรปฎกและหนอพระศรีมหาโพธิใหแกพระเจาฟางุม ดวย ในรั ชกาลพระเจาไชยเชษฐาธิราช พระพุทธศาสนาเจริญรุงเรืองถึงขีดสุด ทรงทํานุบํารุง ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… พระพุ ทธศาสนาอยางดี และเมื่อลาวตกเปนของฝรั่งเศสใน พ.ศ. ๒๔๓๖ พระพุทธศาสนา ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ได เสื่อมโทรมลงเพราะขาดการทํานุบํารุงดูแล จนกระทั่งใน พ.ศ. ๒๕๓๐ จึงเริ่มมีการฟนฟู ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… พระพุ ทธศาสนาขึ้นอีกครั้งหนึ่ง ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

๒. การเผยแผพระพุทธศาสนาในปจจุบัน

ป……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… จจุบนั พระพุทธศาสนายังคงเปนศูนยรวมความศรัทธาของประชาชนลาว ทัง้ ยังมีบทบาทในการ ช……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… วยเหลือประชาชนในดานตางๆ สําหรับการศึกษาของพระสงฆ ไดมกี ารจัดตัง้ สถาบันการศึกษา พระพุ ทธศาสนาหรือวิทยาลัยสงฆ โดยปจจุบันตั้งอยูที่วัดองคตื้อมหาวิหาร นครเวียงจันทน ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… นอกจากจะมี การเรียนการสอนตามหลักสูตรแลว สถาบันยังไดจัดใหมีกิจกรรมเพื่อทํานุบํารุง ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… พระพุ ท ธศาสนา เชน การบรรพชาสามเณรภาคฤดูรอ น การอบรมพระวิปส สนาจารย การศึกษา ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ภาษาบาลี เปนตน และยังมีการสงพระสงฆลาวมาศึกษาพระพุทธศาสนาในมหาวิทยาลัยสงฆ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ของไทย รวมทั้งวิทยาเขตตามภูมิภาคตางๆ และในวันสําคัญทางพระพุทธศาสนา ทางราชการ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ได กําหนดใหเปนวันหยุดราชการ รวมทั้งมีการสรางวัดลาวขึ้นในตางประเทศหลายแหง เชน ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ที……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ่สหรัฐอเมริกา ฝรั่งเศส ออสเตรเลีย เปนตน (พิจารณาคําตอบของนักเรียน โดยใหอยูในดุลยพินิจของครูผูสอน) ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

แนวตอบ รัฐบาลกัมพูชาดําเนินการฟนฟูพระพุทธศาสนาดวยการสงเสริม ใหชาวกัมพูชาเขารับการอุปสมบท สนับสนุนใหมีพระสงฆเขารวมพิธีกรรม ของทางราชการ กําหนดใหวันสําคัญทางพระพุทธศาสนาเปนวันหยุดราชการ บูรณปฏิสังขรณศาสนสถานใหดีเพื่อใชประกอบศาสนกิจ สงเสริมการศึกษา พระปริยัติธรรมแกพระภิกษุสามเณร จัดตั้งสถาบันการศึกษาสําหรับพระภิกษุ สามเณร ตลอดจนสงเสริมกิจกรรมตางๆ ทางพระพุทธศาสนา

คะแนนเต็ม คะแนนที่ได

๑. ประวัติการเผยแผพระพุทธศาสนาเขาสูประเทศ

๒๑

หลังสงครามกลางเมืองสิ้นสุดลง รัฐบาลกัมพูชาไดดําเนินการฟนฟู พระพุทธศาสนาดวยวิธีการใด

Explain

นักเรียนควรรู 1 มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ตัง้ อยูใ นวัดมหาธาตุยวุ ราชรังสฤษฎิ์ ราชวรมหาวิหาร เปนสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษาของพระสงฆฝา ยมหานิกาย ซึง่ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูห วั โปรดเกลาฯ ใหสมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระยาวชิรญาณวโรรส ปรับปรุงโรงเรียนสอนภาษาบาลีชื่อ มหาธาตุวิทยาลัย ขึ้นเปนมหาจุฬาลงกณราชวิทยาลัย 2 มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ตั้งอยูภายในวัดบวรนิเวศวิหาร เปนสถาบันการศึกษาของสงฆแหงแรกของประเทศไทยที่จัดการศึกษาในรูปแบบ มหาวิทยาลัยพระพุทธศาสนา และเปนสถาบันการศึกษาแหงแรกที่เริ่มประยุกต หลักพระพุทธศาสนาใหเขากับสังคมสมัยใหม ถือเปนมหาวิทยาลัยสงฆฝาย ธรรมยุติกนิกาย กอตั้งขึ้นโดยสมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระยาวชิรญาณวโรรส เพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว ` คูมือครู

21


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Explain

ครูใหนักเรียนนําขอมูลที่ไดจากการศึกษา คนควาเกี่ยวกับสถานการณการนับถือพระพุทธศาสนาในประเทศเวียดนามปจจุบนั มาอภิปรายรวมกัน แลวตั้งคําถามใหนักเรียนชวยกันตอบ ดังนี้ • หลังจากสงครามอินโดจีนสิ้นสุดลง รัฐบาล เวียดนามฟนฟูพระพุทธศาสนาอยางไร (แนวตอบ รัฐบาลเริ่มตนบูรณปฏิสังขรณวัดวา อารามตางๆ กําหนดหลักสูตรพระพุทธศาสนาใหอยูในหลักสูตรการเรียนการสอน ของประเทศ จัดตั้งชุมชนชาวพุทธแหง เวียดนาม และมีการแปลพระไตรปฎกเปน ภาษาเวียดนาม รวมถึงสนับสนุนการอบรม เผยแผธรรมะ ตลอดจนสนับสนุนใหมีการ แลกเปลี่ยนสมณฑูตกับประเทศใกลเคียง เชน ประเทศไทย พมา กัมพูชา จีน เปนตน) • นักเรียนคิดวา การกําหนดใหมีหลักสูตร พระพุทธศาสนาในหลักสูตรการเรียนการ สอนของประเทศเวียดนามมีประโยชน อยางไร (แนวตอบ เปนการสรางความเขาใจเกี่ยวกับ หลักธรรมคําสอนทางพระพุทธศาสนาใหกับ ผูเรียนทุกศาสนา อีกทั้งปลูกฝงใหผูเรียนมี คุณธรรมและศีลธรรมในการดําเนินชีวิต)

พุทธศาสนาพระสีหนุราช ใหเปนศูนยศึกษาพระธรรมวินัย การจัดตั้งสถาบันพระพุทธศาสนา วัฒนธรรม วรรณคดี สําหรับพระภิกษุและประชาชนทั่วไปไดเขาไปศึกษาคนควา การตั้งสมาคม ชาวพุทธเขมรและสมาคมเพื่อการพัฒนาและธํารงรักษาพระพุทธศาสนา เปนตน สวนกิจกรรมในดานตางๆ ทางพระพุทธศาสนาในประเทศกัมพูชาก็ไดมีการสงเสริม ใหมีขึ้น ดังเชนการจัดกิจกรรมทางพระพุทธศาสนาเพื่ อ สั น ติ ภ าพในกั 1 ม พู ช า โดยจั ด ใน รูปแบบธรรมยาตรา ที่เดินไปตามเสนทางที่ได รับความเสียหายจากสงครามในประเทศกัมพูชา ซึ่ ง กิ จ กรรมนี้ จั ด ขึ้ น เป น ครั้ ง แรกในป พ.ศ. ๒๕๓๕ มาจนถึงปจจุบัน ซึ่งการดําเนินงานมี การเทศนาสั่งสอนหลักธรรมทางศาสนาใหแก พุทธศาสนิกชนตลอดเสนทางที่ขบวนธรรมยาตราผาน พรอมทัง้ การสอนศีล ๕ ใหแกเด็กๆ มีการสวดมนตและปลูกตนไมเพือ่ สรางจิตสํานึก รัฐบาลกัมพูชาไดสนับสนุนใหพทุ ธศาสนิกชนเขามาบรรพชา ในการอนุรักษสิ่งแวดลอม ตลอดจนสงเสริม อุปสมบท เพือ่ สืบทอดและธํารงรักษาพระพุทธศาสนา ใหมีความรักความเมตตาแกผูปวยโรคเอดส นับเปนกิจกรรมดีๆ ที่ชาวกัมพูชาริเริ่มขึ้นเพื่อจรรโลงพระพุทธศาสนาและสรางสรรคสิ่งดีๆ ใหกับ ประชาชนชาวกัมพูชา ปจจุบันเมื่อกัมพูชาเปลี่ยนการปกครองมาสูระบอบประชาธิปไตย ภาวะ ทางการเมืองภายในประเทศมั่นคงขึ้น พระพุทธศาสนาจึงไดรับการทํานุบํารุงขึ้นมาอีกครั้ง โดย ทางรัฐบาลกัมพูชาไดสนับสนุนใหชาวพุทธเขามาบรรพชาอุปสมบท และสงเสริมการศึกษา พระปริยตั ธิ รรมแกพระภิกษุสามเณรใหไดรบั การศึกษา เพือ่ ใหพระพุทธศาสนากลับมาเจริญรุง เรือง อีกครั้ง ปจจุบันประชาชนกัมพูช2ารอยละ ๙๕ นับถือ3พระพุทธศาสนาและคณะสงฆแหงกัมพูชา แบงเปน ๒ นิกายคือ มหานิกาย และธรรมยุติกนิกาย มีสมเด็จพระสังฆราชนิกายละ ๑ พระองค ๗) พระพุทธศาสนาในประเทศเวียดนาม หลังจากสงครามอินโดจีนสิ้นสุดลงในป พ.ศ. ๒๕๓๐ พระพุทธศาสนาในประเทศเวียดนามไดเริ�มฟนตัวอีกครั้ง รัฐบาลของเวียดนาม ไดใหสิทธิเสรีภาพแกประชาชนในการนับถือศาสนามากขึ้น มีการบูรณปฏิสังขรณวัดวาอาราม ที่เสียหายจากภัยสงคราม ซึ�งถือเปนสัญญาณแหงการเริ�มตนฟนฟูพระพุทธศาสนาในประเทศ เวียดนามอีกครัง้ หนึง� โดยรัฐบาลเวียดนามไดใหการสนับสนุนการอบรมเผยแผธรรมะ มีการกําหนด หลักสูตรพระพุทธศาสนาใหอยูใ นหลักสูตรการเรียนการสอนของประเทศ รวมทัง้ การสนับสนุนใหมี การแลกเปลี่ยนสมณทูตกับประเทศใกลเคียง เชน ไทย พมา กัมพูชา และจีน เปนตน ๒๒

นักเรียนควรรู 1 ธรรมยาตรา คือ การเดินอยางสงบ โดยกําหนดรูจิตทุกขณะ เพื่อมีพลังสติ สมาธิในการเผชิญอุปสรรคภายใตอานุภาพแหงธรรม ซึ่งการปฏิบัติธรรมยาตรา ถือกําเนิดขึ้นครั้งแรกในประเทศกัมพูชา โดยมีจุดมุงหมายเพื่อนําสันติภาพและ ความสมานฉันทคืนสูประเทศกัมพูชา หลังการเกิดสงคราม 2 มหานิกาย เปนคําเรียกนิกายหรือคณะของพระสงฆไทยสายเถรวาทลัทธิ ลังกาวงศ ถือเปนพระสงฆกลุมใหญดั้งเดิมในประเทศไทยที่ไมใชพระสงฆ ธรรมยุติกนิกาย 3 ธรรมยุติกนิกาย เปนคําเรียกของนิกายหรือคณะสงฆไทยสายเถรวาทลัทธิ ลังกาวงศ ซึ่งไดรับการสถาปนาขึ้นโดยเจาฟามงกุฎ (รัชกาลที่ 4) ในรัชสมัยของ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ 3 แหงกรุงรัตนโกสินทร

22

คูมือครู

กิจกรรมสรางเสริม ครูมอบหมายใหนักเรียนไปศึกษาคนควาเพิ่มเติมเกี่ยวกับสถานการณ ของพระพุทธศาสนาในประเทศเพื่อนบานที่สนใจ 1 ประเทศ จากนั้นเขียน สรุปใสกระดาษ A4 พรอมใสรปู ภาพประกอบใหสวยงาม แลวนําสงครูผสู อน

กิจกรรมทาทาย ครูมอบหมายใหนักเรียนไปศึกษาคนควาเพิ่มเติมเกี่ยวกับนโยบายของ รัฐบาลและกิจกรรมของภาคประชาชนหรือพุทธสมาคมตางๆ ของประเทศ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต ที่มีตอการสงเสริม สนับสนุน และฟนฟู พระพุทธศาสนา จากนั้นจัดทําเปนแผนปายนิเทศสงครูผูสอน


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

ขยายความเขาใจ

Expand

ครูและนักเรียนสรุปสถานการณการนับถือ พระพุทธศาสนาของประเทศเพื่อนบานในปจจุบัน จากนัน้ ใหนกั เรียนกลุม เดิมนําขอมูลความรูเ กีย่ วกับ การเผยแผพระพุทธศาสนาในอดีตมาเปรียบเทียบ กับสถานการณการนับถือพระพุทธศาสนาในปจจุบนั เพื่อวิเคราะหถึงความกาวหนาของพระพุทธศาสนา ของทุกประเทศนับตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน เขียนสรุปสาระสําคัญ สงครูผูสอน

นับตั้งแตป พ.ศ. ๒๕๔๒ เปนตนมา รัฐบาลเวียดนามไดรวบรวมชาวพุทธทุกนิกาย และองคกรตางๆ ทัว่ ประเทศเวียดนาม เพือ่ จัดตัง้ “ชุมชนชาวพุทธแหงเวียดนาม” ในการรวมฟน ฟู พุทธศาสนาขึ้นอีกครั้งภายหลังการรวมชาติ ภายใตคําขวัญวา “ธรรมะ-ชาติ-สังคมนิยม” และ รวมกันเผยแผพระพุทธศาสนาเพื่อนําความสงบสุขและสันติภาพมาสูโลก รวมทั้งไดจัดตั้งองคกร ระดับชาติ ๕ องคกร และไดมีการแปลและพิมพพระไตรปฎกเปนภาษาเวียดนามดวย ทุกวันนี้ ภิ ก ษุ ภิ ก ษุ ณี สามเณร แม ชี และสาวก พุทธบริษทั ทัง้ หลาย อยูภ ายใตการนําของชุมชน ชาวพุทธแหงเวียดนาม ที่มีสวนสําคัญในการ สนับสนุนการปฏิรูปและการเปลี่ยนแปลงของ ประเทศไปสูสิ่งใหมๆ นอกจากนี้เมื่อตนป พ.ศ. ๒๕๔๘ ทางรั1ฐบาลเวียดนามยังไดอาราธนาทาน ติช นัท ฮันห พระภิกษุชาวเวียดนาม ซึ่งพํานัก อยูในประเทศฝรั่งเศส กลับมาจัดกิจกรรมทาง พระพุทธศาสนา ณ มาตุภูมิในชวงระยะเวลา การจัดการประชุมชาวพุทธนานาชาติเนือ่ งในวันวิสาขบูชา าคัญสากลของโลกประจําป พ.ศ. ๒๕๕๑ ซึ่งจัดขึ้นที่ หนึง่ ซึง่ ไดรบั ความสนใจจากชาวพุทธทัง้ ภายใน วักรุนงสํฮานอย สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม ประเทศและตางประเทศเปนจํานวนมาก ในป พ.ศ. ๒๕๕๑ เวียดนามไดรับเลือกใหเปนเจาภาพในการจัดประชุมชาวพุทธ นานาชาติ เนื่องในวันวิสาขบูชา วันสําคัญสากลของโลก ณ กรุงฮานอย อันเปนเมืองหลวงของ ประเทศ ซึ่งการเปนเจาภาพในการประชุมครั้งนี้ถือเปนกาวสําคัญของพระพุทธศาสนาในประเทศ เวียดนามที่แสดงศักยภาพของพุทธศาสนิกชนในเวทีนานาชาติ และการประชุมดังกลาวนี้ ไดรับการบันทึกวาเปนการรวมประชุมของชาวพุทธจากนานาชาติที่มากที่สุดในประวัติศาสตร โดยมีพุทธศาสนิกชนเขารวมประชุมประมาณ ๑,๕๐๐ คน จาก ๗๔ ประเทศทั่วโลก

ตรวจสอบผล

Evaluate

1. ตรวจสอบจากความถูกตองของขอมูล ความรูที่ศึกษาคนควาเพิ่มเติม 2. ตรวจสอบจากการเขียนสรุปสาระสําคัญ เปรียบเทียบการเผยแผพระพุทธศาสนาใน อดีตกับสถานการณการนับถือพระพุทธศาสนา ในปจจุบัน

ò. ÇÔà¤ÃÒÐË ¤ÇÒÁÊíÒ¤Ñޢͧ¾Ãоط¸ÈÒÊ¹Ò ๒.๑ พระพุทธศาสนาชวยสรางความเขาใจอันดีกบั ประเทศเพือ่ นบาน พระพุทธศาสนาเปนศาสนาแหงสันติ พระพุทธเจาทรงเนนวาผูป กครองประเทศนอกจากจะมี คุณธรรมของผูปกครอง และมีความสามารถในการบริหารประเทศของตนใหสงบสุขแลว ยังตอง สรางสัมพันธไมตรีกับมิตรประเทศขางเคียง เพื่อความเขาใจอันดีและอยูรวมกันอยางสันติดวย ดังนัน้ จึงมีหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลายประการทีเ่ อือ้ ตอการนําไปประยุกตใชเพือ่ เสริมสราง ความเขาใจอันดีระหวางประเทศเพื่อนบาน ดังตัวอยางตอไปนี้ ๒๓

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

ในปจจุบันรัฐบาลเวียดนามสนับสนุนพระพุทธศาสนามากขึ้น โดยไดดําเนินการอยางไร

แนวตอบ รัฐบาลเวียดนามสนับสนุนพระพุทธศาสนาใหเจริญรุงเรืองอีกครั้ง โดยรวบรวมพุทธศาสนิกชนชาวเวียดนามจัดตั้งชุมชนชาวพุทธแหงเวียดนาม รวมเผยแผพระพุทธศาสนาออกสูสังคมโลก แปลและพิมพพระไตรปฎกเปน ภาษาเวียดนาม ตลอดจนอาราธนาทานติช นัท ฮันห กลับมาจัดกิจกรรมทาง พระพุทธศาสนาที่เวียดนาม

นักเรียนควรรู 1 ติช นัท ฮันห กําเนิดในป พ.ศ. 2469 ที่จังหวัดกวงสี ในตอนกลางของประเทศ เวียดนาม ทานมีชอื่ เดิมวา เหงียน ซวน เบา “ติช นัท ฮันห” เปนฉายา เมือ่ ทานอุปสมบท แลว คําวา “ติช” ในเวียดนามใชเรียกผูสืบทอดพระพุทธศาสนา สวน “นัท ฮันห” เปนนามทางธรรมของทาน มีความหมายวา การกระทําเพียงหนึง่ ทานมีแนวคิดตอตาน รัฐบาลคอมมิวนิสตของเวียดนาม จึงตองลีภ้ ยั ไปอยูป ระเทศฝรัง่ เศสและสรางอาศรม ชวยเหลือผูลี้ภัยจํานวนมาก จนภายหลังทานจึงกอตั้งชุมชนแหงใหมทาง ตะวันตกเฉียงใตของฝรั่งเศส ใหชื่อวา หมูบานพลัม

มุม IT ศึกษาคนควาขอมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับประวัติชีวิตและหลักธรรมคําสอนของทาน ติช นัท ฮันห ไดที่ http://www.thaiplumvillage.org เว็บไซตมูลนิธิหมูบานพลัม แหงประเทศไทย คูมือครู

23


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

กระตุน ความสนใจ

Explore

ครูใหนักเรียนจับคู ศึกษาคนควาเพิ่มเติม เกี่ยวกับความสําคัญของพระพุทธศาสนาที่มีตอ สังคมไทย ตามประเด็นดังตอไปนี้ • พระพุทธศาสนาชวยสรางความเขาใจอันดี กับประเทศเพื่อนบาน • พระพุทธศาสนาเปนรากฐานของวัฒนธรรม ไทย • พระพุทธศาสนาเปนเอกลักษณและมรดกของ สังคมไทย • พระพุทธศาสนากับการพัฒนาชุมชน • พระพุทธศาสนากับการจัดระเบียบสังคม

อธิบายความรู

Explain

Expand

Evaluate

1

๑) การสรางสัมพันธไมตรีตามแนวทางของพระเจาอโศกมหาราช พระเจา

อโศกมหาราชทรงประยุกตหลักพุทธธรรมมาใชในการปกครองประเทศและสรางสัมพันธไมตรี กับมิตรประเทศอยางไดผล แนวทางของพระองคจึงมีชื่อเรียกกันวา “ธรรมวิชัย” (ชนะดวยธรรม) จนพระมหากษัตริยในยุคตอๆ มายึดถือเปนแบบฉบับในการปกครองประเทศ แนวทางสราง สัมพันธไมตรีของพระเจาอโศกมหาราช ตามทีป่ รากฏในศิลาจารึกของพระองคเอง มีสาระสําคัญ พอจะสรุปได ดังน�้ แนวทางสรางสัมพันธไมตรีของพระเจาอโศกมหาราช ๑. ใหสิทธิเสรีภาพในการเผยแผศาสนา จะตองไมขัดขวางหรือดูหมิ่นศาสนาอื่น เพราะศาสนา ทุกศาสนาลวนแตมจี ดุ หมายปลายทางเดียวกัน คือ สัง่ สอนใหบคุ คลกระทําความดีละเวนความชัว่ นอกจากนี้ ยังตองใหความยกยองนับถือศาสนิกชนของศาสนาอื่น โดยปราศจากขอรังเกียจเดียดฉันทดวย ๒. ใหความเอื้อเฟอแกลัทธิศาสนาอื่นที่เผยแผเขามาสูประเทศของเราตามสมควรแกกาละและเทศะ โดยปราศจากการแบงแยกวา ควรทํานุบํารุงศาสนานี้มากกวาศาสนานั้น ๓. สรางความปรองดองสมานฉันทระหวางกัน ดวยการยินดีรับฟงขอคิดเห็นและขอเสนอแนะของ มิตรประเทศ รูจักการเสียสละ และการประสานผลประโยชนซึ่งกันและกัน ๔. พยายามละเวนการสรางขอพิพาท การทําสงคราม การกลาวโจมตีใหรายตอกัน ถาหากจะตอง แขงขันเอาชนะกัน ก็ควรเอาชนะกันดวยธรรม หรือที่เรียกวา “ธรรมวิชัย” อันเปนชัยชนะขั้นสูงสุด

หัวเสาหินพระเจาอโศกมหาราช ในพิพธิ ภัณฑสารนาถ ประเทศอินเดีย

หัวเสาหินพระเจาอโศกมหาราช ทีก่ รุงเวสาลี แควนวัชชี ประเทศอินเดีย

กลาวโดยสรุป ถาผูปกครองประเทศนําหลักธรรมทางพระพุทธศาสนามาประยุกต ใชในการปกครองประเทศและสรางสัมพันธไมตรีกับประเทศเพื่อนบาน ดังกรณีพระเจาอโศกมหาราชแลว ก็ยอมจะเกิดความสงบสุข ไมเฉพาะภายในประเทศของตนเองเทานั้น หากรวมถึง ประเทศเพื่อนบานตลอดจนประชาคมโลกทั้งหมดอีกดวย ๒๔

เกร็ดแนะครู ครูควรนําสารคดีหรือภาพยนตรเกี่ยวกับพระราชประวัติและพระราชกรณียกิจ ของพระเจาอโศกมหาราชมาเปดใหนักเรียนดู พรอมกับอธิบายเพิ่มเติม เพื่อเสริมสรางความเขาใจใหกับนักเรียนมากยิ่งขึ้น

นักเรียนควรรู 1 พระเจาอโศกมหาราช เปนจักรพรรดิผูยิ่งใหญแหงจักรวรรดิโมริยะ ผูทรงพระปรีชาสามารถ พระองคทรงเปนองคเอกอัครพุทธศาสนูปถัมภก ทรงทํานุบํารุงพระพุทธศาสนาและเผยแผพระพุทธศาสนาไปตามแควนตางๆ

คูมือครู

ตรวจสอบผล

Explain

ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายถึงแนวทางการ สรางสัมพันธไมตรีของพระเจาอโศกมหาราช แลว ตั้งคําถามวา • การที่ผูปกครองประเทศนําแนวทางการสราง สัมพันธไมตรีของพระเจาอโศกมหาราชมา ประยุกตใชกับแนวทางการปกครองของ ประเทศตนจะชวยใหเกิดผลดีอยางไร (แนวตอบ ทําใหประชากรในประเทศซึ่งนับถือ ศาสนาที่หลากหลายอยูรวมกันไดอยาง สันติสุข ตลอดจนสรางสัมพันธภาพที่ดีกับ ประเทศเพื่อนบาน)

24

ขยายความเขาใจ

Engage

ครูยกกรณีศึกษาขาวหรือเหตุการณที่แสดงให เห็นถึงความสําคัญของพระพุทธศาสนา เชน การ ที่รัฐบาลไทยอัญเชิญพระบรมสารีริกธาตุมาจาก ประเทศอินเดียเพื่อใหประชาชนสักการบูชา เปนตน แลวใหนักเรียนบอกวา จากขาวหรือเหตุการณ ดังกลาวสะทอนถึงความสําคัญของพระพุทธศาสนา อยางไร

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

หากผูปกครองประเทศตองการสรางความสัมพันธอันดีกับประเทศ เพื่อนบานตามแนวทางของพระเจาอโศกมหาราช จะตองทําอยางไร แนวตอบ ผูปกครองประเทศที่ตองการเจริญรอยตามพระเจาอโศกมหาราชเพื่อเสริมสรางสัมพันธไมตรีกับประเทศเพื่อนบาน ควรปฏิบัติดังนี้ 1. ใหเสรีภาพในการเผยแผศาสนา ไมดหู มิน่ ศาสนาอืน่ เพราะทุกศาสนา ลวนสอนใหคนทําความดี ละเวนความชั่ว 2. ใหความเอื้อเฟอแกศาสนาอื่นที่เผยแผเขาสูประเทศเราตามสมควร 3. รับฟงความคิดเห็นของมิตรประเทศ มีนาํ้ ใจ เสียสละ รูจ กั การประสาน ประโยชนซึ่งกันและกัน 4. หลีกเลี่ยงการสรางความขัดแยง การทําสงคราม หรือการกลาว ใหรายโจมตีกัน


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

อธิบายความรู

Explain

1. ครูใหนักเรียนอธิบายหลักสาราณียธรรม พรอมยกตัวอยางการนําไปประยุกตใช เปนแนวทางสรางสัมพันธไมตรีระหวาง ประเทศ (แนวตอบ สาราณียธรรม หมายถึง ธรรมอัน เปนที่ตั้งแหงความระลึกถึง เพื่อใหเกิดความ สามัคคีในการอยูรวมกันอยางมีความสุข มีทั้งหมด 6 ประการ ดังนี้ เมตตากายกรรม เมตตาวจีกรรม เมตตามโนกรรม สาธารณโภคี สีลสามัญญตา และทิฏฐิสามัญญตา ตัวอยาง การนําไปประยุกตใชเปนแนวทางสราง สัมพันธไมตรีระหวางประเทศ เชน การสง สิ่งของเครื่องอุปโภคบริโภคไปชวยเหลือ ประเทศเพื่อนบานในยามประสบภัยธรรมชาติ ไมกลาวโจมตีหรือใสรายประเทศเพื่อนบาน ไมใหผูกอการรายใชประเทศของตนปน ทีพ่ กั พิงหรือซองสุมกําลัง เปนตน) 2. ครูถามนักเรียนวา • นอกจากหลักสาราณียธรรมแลว ยังมี หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาใดอีกบางที่ สามารถนํามาปฏิบัติเพื่อสรางสัมพันธไมตรี ระหวางประเทศได (แนวตอบ เชน สังคหวัตถุ 4 อันหมายถึง หลักในการอยูรวมกัน 4 ประการ ไดแก ทาน ปยวาจา อัตถจริยา และสมานัตตตา เปนตน)

๒) การสรางสัมพันธไมตรีตามหลักสาราณ�ยธรรม แกนของสาราณ�ยธรรม คือ

ความปรารถนาดีตอกัน เอื้อเฟอเกื้อกูลกัน ซึ�งสามารถประยุกตใชเปนแนวทางสรางสัมพันธไมตรี ระหวางประเทศไดอยางดี ดังตัวอยางตอไปน�้ ๒.๑) เมตตากายกรรม คือ แสดงออกซึ่งความเปนมิตรทางกายตอประเทศ เพื่อนบาน เชน เมื่อมิตรประเทศประสบภัยตางๆ เปนตนวา อุทกภัย ทุพภิกขภัย แผนดินไหว เกิดโรคระบาด ฯลฯ ประเทศเราก็สงเครื่องอุปโภคบริโภค ยารักษาโรค คณะแพทย หรือเงินตรา ไปชวยเหลือตามกําลังความสามารถ ซึ่งการกระทําเชนนี้ยอมทําใหมิตรประเทศเกิดความรูสึก ซาบซึ้งและสํานึกในบุญคุณที่ประเทศของเราแสดงออกตอเขา และยอมจะตอบแทนดวยการ พยายามดําเนินนโยบายตางประเทศที่เปนมิตรตอประเทศของเรา ๒.๒) เมตตาวจีกรรม คือ มีการกระทําทางวาจาที่แสดงออกถึงความปรารถนาดี ตอมิตรประเทศ เชน ไมกลาวติเตียน ใหราย หรือกลาวโจมตีตอมิตรประเทศ ไมออกแถลงการณ หรือแถลงขาวสารอันจะทําใหมติ รประเทศไดรบั ความเสียหาย ถามีปญ หาขอพิพาทเกิดขึน้ ก็หาทาง ยุติดวยการเจรจาทางการทูต นอกจากนี้ ควรกลาวยกยอง ชมเชยมิตรประเทศตามโอกาสอันควร ดวยการประพฤติเชนนีย้ อ มเปนการสงเสริมสัมพันธไมตรีใหแนนแฟนขึน้ และจะทําใหประเทศตางๆ ระลึกถึงประเทศเราในทางที่ดี ๒.๓) เมตตามโนกรรม คือ มีจติ ใจปรารถนาดีตอ มิตรประเทศ ปราศจากอกุศลจิต ไมคิดหวาดระแวง ไมพยายามชักจูงมิตรประเทศดําเนินนโยบายกอสงคราม แตใหคําแนะนําใน สิ่งที่เปนประโยชนตอการพัฒนาชาติบานเมือง

การเจริญสัมพันธไมตรีกับประเทศเพื 1่อนบาน สามารถนําหลักธรรมทางพระพุทธศาสนามาประยุกตใชไดมากมาย เชน หลักสาราณียธรรม หลักสังคหวัตถุ ๔ เปนตน

๒๕

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

ประเทศใดตอไปนี้ นําหลักสาราณียธรรมมาใชเสริมสรางความสัมพันธ อันดีตอประเทศเพื่อนบาน 1. ประเทศ ก. ผลักดันผูลี้ภัยสงครามจากประเทศเพื่อนบานกลับไปยัง ประเทศของตน 2. ประเทศ ข. สงนักวิทยาศาสตรเขาไปชวยเหลือประเทศเพื่อนบานผลิต พลังงานทดแทน 3. ประเทศ ค. สงกองกําลังทหารเขาไปในดินแดนประเทศเพื่อนบาน เพื่อยึดครองบอนํ้ามัน 4. ประเทศ ง. ปกปดขอมูลของกลุมกอการรายที่จะปฏิบัติการในประเทศ เพื่อนบานไมใหรับรู วิเคราะหคาํ ตอบ ตอบขอ 2. หลักของสาราณียธรรม คือ ความปรารถนาดี ตอกัน ซึ่งสามารถนําไปเสริมสรางความสัมพันธที่ดีตอประเทศเพื่อนบานได โดยการใหความชวยเหลือและมีนํ้าใจตอประเทศเพื่อนบาน

นักเรียนควรรู 1 สังคหวัตถุ 4 หลักการสงเคราะห กลาวคือ การชวยเหลือซึ่งกันและกัน เพื่อ การอยูรวมกันอยางมีความสุข มีทั้งหมด 4 ประการ ไดแก 1. ทาน คือ การแบงปนเอื้อเฟอเผื่อแผกัน 2. ปยวาจา คือ การพูดจานารักนานิยมนับถือ 3. อัตถจริยา คือ การบําเพ็ญประโยชน 4. สมานัตตตา คือ ความมีตนเสมอ ทําตัวใหเขากันได เชน ไมถือตัว รวมสุขรวมทุกขกัน เปนตน

มุม IT ศึกษาคนควาขอมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับหลักธรรมเพื่อความสามัคคี ไดที่ http://ibc.ac.th เว็บไซตวิทยาลัยพุทธศาสนานานาชาติ คูมือครู

25


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

อธิบายความรู Explain

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Explain

1. ครูใหนักเรียนตอบคําถามวา • นักเรียนสามารถปฏิบัติตนเพื่อเสริมสราง สัมพันธไมตรีระหวางประเทศไทยกับประเทศ เพื่อนบานไดอยางไร (แนวตอบ เชน ศึกษาหาความรูเกี่ยวกับสังคม วัฒนธรรม การเมือง และเศรษฐกิจของประเทศ เพือ่ นบานเหลานัน้ ใหเขาใจอยางถองแท บริจาค สิง่ ของเครือ่ งอุปโภคบริโภคเพือ่ ชวยเหลือประเทศ เพื่อนบานในยามประสบภัย เปนตน) 2. ครูใหนักเรียนทํากิจกรรมที่ 1.3 จากแบบวัดฯ พระพุทธศาสนา ม.2

๒.๔) แบงปนผลประโยชนที่เกิดขึ้นหรือไดมาโดยชอบธรรมแกมิตรประเทศ หมายความถึง การชวยเหลือซึง่ กันและกันระหวางประเทศ กลาวคือ ประเทศทีร่ าํ่ รวยควรใหความ ชวยเหลือประเทศที่ยากจนกวาดวยการสงอาหาร เครื่องอุปโภค เครื่องมือประกอบอาชีพไปชวย หรือใหคาํ แนะนําทางวิทยาการในรูปแบบตางๆ แมแตประเทศไทยของเราเองก็ไดรบั ความชวยเหลือ ทํานองนีอ้ ยูต ลอดเวลาจากมิตรประเทศตางๆ เชน สหรัฐอเมริกา แคนาดา เยอรมนี ญีป่ นุ ออสเตรเลีย เปนตน หรืออีกประการหนึ่ง แมนํ้าบางสายถึงแมจะมีตนกําเนิดอยูในประเทศของเรา ถาหากไหล ผานเขาไปในดินแดนของประเทศเพื่อนบาน และประเทศเพื่อนบานไดรวมใชประโยชนดวย เราก็ ควรรักษาอยางดี ไมสรางมลพิษใหเกิดขึน้ จนกลายเปนนํา้ เนาเสีย ไมสรางเขือ่ นกักเก็บหรือเปลีย่ น เสนทางของกระแสนํ้า เปนตน การเฉลี่ยแบงปนผลประโยชนของตนที่ไดมาโดยชอบธรรมใหแก ผูอ นื่ แบบสงเคราะหหรืออนุเคราะหนี้ ทางพระพุทธศาสนาถือวาเปนหลักปฏิบตั ติ อ กันระหวางมิตร และยังเปนที่ตั้งใหระลึกถึงกันในทางที่ดีอีกอยางหนึ่ง ๒.๕) มีหลักความประพฤติ (ศีล) เสมอกับมิตรประเทศ และไมทําตนใหเปนที่ รังเกียจของประเทศอื่น หมายถึง จะตองดําเนินนโยบายตางประเทศใหสอดคลองกับมติสากล หรือสอดคลองกับหลักการขององคการสหประชาชาติ กลาวคือ แกไขปญหาระหวางประเทศดวย วิธีทางการทูต ชวยผดุงสันติภาพของโลก เคารพในอธิปไตยของประเทศอื่น ไมใชแสนยานุภาพ ทางทหารขมขูหรือเอารัดเอาเปรียบประเทศที่ดอยอํานาจกวา ไมใหประเทศของตนเปนที่พักพิง หรือเปนที่ซองสุมของผูกอการราย สนับสนุนการปราบปรามสิ่งเสพติด ละเวนการละเมิดสิทธิ มนุษยชน ชวยสงเสริมและอนุรกั ษทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอม ทีอ่ ยูใ นขอบเขตของประเทศ ของตน ทั้งนี้เพราะปจจุบันนี้โลกแคบลง เหตุการณที่เกิดกับประเทศใดประเทศหนึ่ง ยอมจะสงผล ตอเสถียรภาพของประเทศเพื่อนบาน สันติสุขของภูมิภาคหรือของโลกดวย ๒.๖) มีความคิดเห็นตรงกันกับประเทศอื่น หมายถึงวา การอยูรวมกับประเทศ อืน่ ๆ นัน้ เราตองยอมรับกฎเกณฑกติกาทีน่ านาชาติกาํ หนดไว แมวา บางครัง้ เราอาจจะไมเห็นดวย แตถาเสียงส 1 วนใหญเขาเห็นชอบเราก็ควรปฏิบัติตาม เชน ทั่วโลกมีนโยบายตอตานขบวนการ กอการราย ประเทศไทยของเราก็ตองคอยสอดสองไมใหผูกอการรายใชประเทศของเราเปนฐาน ปฏิบัติการหรือเปนแหลงซองสุมกําลัง รวมทั้งตองใหขอมูลขาวสารแลกเปลี่ยนกับมิตรประเทศ หรือองคการสหประชาชาติลงมติไมยอมติดตอคบหาสมาคมกับบางประเทศ เราก็ตองทําตาม แมวาประเทศนั้นอาจจะมีผลประโยชนทางการคากับประเทศเราอยูมาก เพราะหากเราไมปฏิบัติ ตามก็เสมื2 อนหนึ่งเปนการฝาฝนมติของสังคมโลก อาจทําใหถูกติเตียนและถูกประชาคมโลก ควํ่าบาตรตามไปดวย

✓ แบบวัดฯ ใบงาน แบบฝกฯ พระพุทธศาสนา ม.2 กิจกรรมที่ 1.3 หนวยที่ 1 ประวัติและความสําคัญของพระพุทธศาสนา กิจกรรมที่ ๑.๓ ใหนักเรียนพิจารณาภาพ แลววิเคราะหความสําคัญของ พระพุทธศาสนาในฐานะที่ชวยเสริมสรางความเขาใจอันดี กับประเทศเพื่อนบาน (ส ๑.๑ ม.๒/๒)

ขยายความเขาใจ

คะแนนเต็ม คะแนนที่ได

ñð

ฉบับ

เฉลย

๑. จากภาพ พระพุทธศาสนาชวยสรางสัมพันธไมตรีระหวางประเทศอยางไร

พระพุทธศาสนาสอนใหมนุษยอยูรวมกันอยางสันติสุข คือ มี​ีความปรารถนาดีตอกัน มีความเอื้อเฟอ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. เกื้อกูลตอกัน ซึ่งจะสงผลดีตอการอยูรวมกันในสังคม ในสังคมขนาดใหญก็่เชนกัน คือ หากใน ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. แตละประเทศประสบปญหาไมวา จะเปนปญหาดานภัยพิบตั ิ เศรษฐกิจ การเมือง เปนตน แลวประเทศ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. เพื่อนบานใหความชวยเหลือ ก็จะชวยใหสามารถผานพนวิกฤตไดโดยเร็วและมีความสัมพันธระหวาง ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ประเทศที่ดีตอกัน …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

๒. นักเรียนสามารถนําหลักคําสอนทางพระพุทธศาสนาไปประยุกตใชเพือ่ ชวยเหลือประเทศตางๆ ไดอยางไร เราสามารถนําหลักธรรม สาราณียธรรมมาใชได เชน เมื่อประเทศเพื่อนบานประสบภัยธรรมชาติ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

อยางรุนแรง จนทําใหเกิดความเสียหายอยางมาก เราอาจใชเมตตากายกรรมในการชวยเหลือ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ไมวา จะเปนการบริจาคอาหาร เครือ่ งดืม่ ยารักษาโรค เงิน สิง่ ของจําเปนตางๆ เปนตน ซึง่ การกระทํา ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. เชนนีเ้ ปนการชวยเหลือเพือ่ นมนุษยตามหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา และเปนการสรางสัมพันธไมตรี ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ระหวางประเทศที่ดีวิธีหนึ่ง …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

๒๖

EB GUIDE

นักเรียนควรรู 1 กอการราย คือ การที่กลุมชนรวมตัวกันเพื่อกระทําการรุนแรงที่ผิดตอ กฎหมายและสรางความเสียหายใหแกประเทศชาติ 2 ควํ่าบาตร คือ การที่ประเทศหนึ่งหรือกลุมประเทศตกลงพรอมใจกันที่จะไม ทําการคา ไมใหความรวมมือทางเศรษฐกิจใดๆ กับอีกประเทศหนึ่ง เพื่อเปนการ ปราบปรามหรือลงโทษ

http://www.aksorn.com/LC/REI/M2/03

กิจกรรมสรางเสริม ครูมอบหมายใหนักเรียนไปศึกษาคนควาเพิ่มเติมเกี่ยวกับ หลักสาราณียธรรม แลวเขียนสรุปเปนผังมโนทัศนสงครูผูสอน

กิจกรรมทาทาย ครูมอบหมายใหนักเรียนไปหาขาวหรือเหตุการณเกี่ยวกับการใหความ ชวยเหลือซึ่งกันและกันของประเทศตางๆ แลวเขียนวิเคราะหวาความ ชวยเหลือนั้นตรงกับหลักสาราณียธรรมขอใด และมีผลดีหรือผลกระทบ ที่เกิดขึ้นจากความชวยเหลือดังกลาวอยางไร ความยาว 1 หนากระดาษ A4 สงครูผูสอน

26

คูมือครู


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

อธิบายความรู

Explain

ครูใหนักเรียนอธิบายถึงความหมายของคําวา “วัฒนธรรม” และ “ประเพณี” แลววิเคราะหวา • ในสังคมไทยมีวัฒนธรรมและประเพณีใด บางที่มีรากฐานมาจากพระพุทธศาสนา (แนวตอบ วัฒนธรรม หมายถึง สิ่งแสดงวา เปนผูเ จริญ ภาวะความเปนอยู ขนบประเพณี ความเชื่อ ตลอดจนภาษาของชนชาติหนึ่ง ชาติใด สวนประเพณี หมายถึง สิ่งที่นิยมถือ ประพฤติปฏิบัติสืบตอกันมาจนเปนแบบแผน สําหรับตัวอยางวัฒนธรรมและประเพณีไทย ที่มีรากฐานมาจากพระพุทธศาสนา เชน การนับถือพระแมโพสพ ประเพณีลอยกระทง ประเพณีตักบาตรเทโว การขึ้นบานใหม การตั้งชื่อ การโกนผมไฟประเพณีบุญวัน สารท พระราชพิธีพืชมงคล เปนตน) • หลักธรรมคําสอนของพระพุทธศาสนา หลอหลอมใหคนไทยมีลักษณะนิสัยแตกตาง จากคนในชาติอื่นอยางไร (แนวตอบ หลักธรรมคําสอนของพระพุทธศาสนาหลอหลอมใหคนไทยมีนิสัยออนโยน ใจดี มีความเมตตากรุณา มีนํ้าใจตอ คนรอบขาง เอื้อเฟอเผื่อแผ รูจักการแบงปน รูจักการใหอภัย ยิ้มแยมแจมใส จนไดรับ สมญานามวา “สยามเมืองยิ้ม”)

เรื่องนารู หลักธรรมเพื่อยึดเหนี่ยวน้ําใจผูอื่น หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาประการหนึ่งสอนเรื่องการผูกไมตรีกัน ซึ่งสามารถนําไปประยุกตใชในการ สรางสัมพันธไมตรีกับเพื่อนบานได คือ “สังคหวัตถุ ๔” ไดแก ๑. ทาน คือ การให หรือการชวยเหลือเกือ้ กูลกัน เชน เมือ่ มิตรประเทศประสบภัยพิบตั ติ า งๆ ก็อาจสงอาหาร เวชภัณฑ เครื่องอุปโภคไปชวยเหลือตามกําลังความสามารถ เปนตน ๒. ปยวาจา คือ มีวาจาอันเปนที่รัก หมายถึง เจรจากันดวยถอยคําที่ไพเราะ สุภาพ เหมาะสมกับกาลเทศะ เปนประโยชนไมเพอเจอ พระพุทธเจาทรงใหความสําคัญตอการพูดเปนอยางยิ่งเพราะการเจรจาสื่อสารจะไดผลดี หรือเสียก็ขึ้นอยูกับการพูดทั้งสิ้น ๓. อัตถจริยา คือ การประพฤติตนเปนประโยชนแกผอู นื่ เชน ไมสรางความเดือดรอนใหแกเพือ่ นบาน หรือ เมื่อมิตรประเทศประสบปญหาก็ใหความชวยเหลือ ไมนิ่งดูดาย เปนตน ๔. สมานัตตตา คือ การวางตัวเหมาะสมกับภาวะของตน เชน ใหความนับถือประเทศตางๆ วามีฐานะและ ศักดิ์ศรีทัดเที​ียมกับเรา ไมดูหมิ่นวาผูอื่นดอยหรือขาดความเจริญกวา เปนตน

๒.๒ พระพุทธศาสนาเปนรากฐานของวัฒนธรรมไทย วิถีชีวิตคนไทยผูกพันกับพระพุทธศาสนามาตลอด คําสอนของพระพุทธศาสนาไดแทรกซึม เขาไปยังจิตใจของคนไทย ตลอดถึงกิจกรรมแทบทุกดานของชีวติ มาเปนเวลายาวนาน โดยเฉพาะ ในดานจิ​ิตใจไดหลอหลอมเปนลักษณะนิสัยซึ่งไมมีชนชาติใดเหมือน เชน ความมีจิตใจกวางขวาง ใจบุญสุนทาน เอื้อเฟอเผื่อแผ เปนมิตรกับคนอื่นไดงาย ยิ้มแยมแจมใส จนไดรับสมญานามวา “สยามเมืองยิ้ม” ประเพณี แ ละพิ ธี ก ารต า งๆ ล ว นเกี่ ยวข อ งกั บ พระพุท ธศาสนาทั้งโดยตรงและโดยออม แมประเพณีบางอยางที่ไมมีรากฐานมาจากพระพุทธศาสนามากอน ภายหลังก็นําแนวคิดในทาง พระพุทธศาสนาเขามาแทรกอยูดวย เชน ประเพณีลอยกระทง ซึ่งเดิมกระทําเพื่อขอขมาพระแม 1 คงคาก็เพิ่มจุด2ประสงคของการลอยกระทงใหม เปนลอยกระทงเพื่อบูชาพระพุทธบาท ณ ริมฝง แมนํ้านัมมทา ในภาคใตของประเทศอินเดีย เปนตน ความสําคัญของพระพุทธศาสนาในฐานะทีเ่ ปนรากฐานสําคัญของวิถชี วี ติ ไทยหรือวัฒนธรรมไทย สามารถสรุปได ดังนี้ ๑) ในดานวงจรชีวิตของบุคคล มีพิธีกรรมที่กระทําตั้งแตเกิดจนตาย เชน ตั้งชื่อ เกิด โกนผมไฟ บวช แตงงาน ทําบุญอายุ พิธศี พ เปนตน กระทําตามความเชือ่ ทางพระพุทธศาสนา โดยการบริจาคทาน รักษาศีล และเจริญภาวนาตามหลักคําสอนทางพระพุทธศาสนา ๒๗

บูรณาการเชื่อมสาระ

ครูสามารถนําเนื้อหาเรื่องวัฒนธรรมไทยไปบูรณาการเชื่อมโยงกับกลุม สาระการเรียนรูสังคม ศาสนา และวัฒนธรรม วิชาหนาที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดําเนินชีวิตในสังคม เรื่องที่มาและลักษณะของวัฒนธรรมไทย โดยครูมอบหมายใหนักเรียนไปศึกษาคนควาเพิ่มเติมวามีประเพณีใดบาง ของคนไทยทีม่ รี ากฐานหรือมีความเกีย่ วของกับพระพุทธศาสนา จากนั้นเลือก ประเพณีที่ตนเองประทับใจมา 1 ประเพณี เขียนอธิบายถึงมูลเหตุที่ทําใหเกิด ประเพณีดังกลาว ความยาวไมเกิน 1 หนากระดาษ A4 พรอมทั้งใสรูปภาพ ประกอบและตกแตงใหสวยงาม

นักเรียนควรรู 1 พระแมคงคา เปนพระชายาองคหนึ่งของพระศิวะ พระองคเปนเทวีผูใหกําเนิด สายนํ้าคงคาตามความเชื่อของชาวอินเดีย พระนางไดรับสมญานามวา มารดาแหง สายนํ้าทั้งสามโลก 2 แมนํ้านัมมทา เปนชื่อแมนํ้าสายสําคัญในภาคกลางของอินเดีย ชาวอินเดีย ถือวาเปนแมนํ้าศักดิ์สิทธิ์ที่สุดรองลงมาจากแมนํ้าคงคา แมนํ้านัมมทายาวประมาณ 1,300 กิโลเมตร ไหลจากทิศตะวันออกเฉียงเหนือไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต ออกทะเลที่ใตเมืองทาภารกัจนะ สูอาวขัมภัตหรือเคมเบย

คูมือครู

27


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Explain

1. ครูสุมนักเรียนออกมาเลาประสบการณการเขา รวมประเพณีหรือพิธีกรรมตางๆ ที่มีรากฐานมา จากพระพุทธศาสนา และใหเพื่อนในชั้นเรียน รวมกันวิเคราะหวา ประเพณีหรือพิธีกรรม ดังกลาวสอดแทรกแนวคิดทางพระพุทธศาสนา ไวอยางไร 2. ครูใหนักเรียนนําภาพสถานที่ที่มีงานจิตรกรรม ประติมากรรม หรือสถาปตยกรรมที่ไดรับการ สรางสรรคขึ้นดวยแรงบันดาลใจจากพระพุทธศาสนามาใหเพื่อนในชั้นเรียนดู และรวมกัน วิเคราะหถึงความหมายที่ศิลปนตองการสื่อ วาเกี่ยวของกับพระพุทธศาสนาอยางไร 3. ครูใหนักเรียนทํากิจกรรมที่ 1.4 จากแบบวัดฯ พระพุทธศาสนา ม.2

๒) ในดานวงจรกาลเวลาของสังคมและชุมชน พระพุทธศาสนาไดเขามาเปน

สวนหนึ�งของสังคมและชุมชน ดังจะเห็นไดจากงานประเพณ�และเทศกาลประจําปตางๆ เชน วันมาฆบูชา วันวิสาขบูชา วันอาสาฬหบูชา วันเขาพรรษา วันออกพรรษา พิธีทอดกฐิน เปนตน และที่นํามาเกี่ยวของกับคติทางพระพุทธศาสนา เชน วันลอยกระทง ตรุษสงกรานต เปนตน ๓) ในดานภาษา ภาษาเปนสวนประกอบสําคัญยิ่งของวัฒนธรรม ภาษาไทยที่ไดรับ ยกยองวาเปนภาษาที่ไพเราะ สละสลวย รํ่ารวยคําสัมผัสคลองจองกันดีนั้น สวนมากมีรากฐานมา จากภาษาบาลีและสันสกฤตอันเปนภาษาทางพระพุทธศาสนา ยิ่งกวานั้นบทประพันธและบทกวี สําคัญๆ ทีเ่ ปนมรดกตกทอดมาแตโบราณกาล สวนมากก็ไดอทิ ธิพลมาจากภาษาบาลีและสันสกฤต เชน คําไทยวา “สมบูรณ” มาจากภาษาสันสกฤตวา “สมฺบูรฺณ” เปนตน ๔) ในดานศิลปะและดนตรี ศิลปะและดนตรีไดรบั แรงบันดาลใจจากพระพุทธศาสนา อยูไมนอย เพราะวัดเปนศูนยกลางของชุมชน เปนศูนยกลางกิจกรรมทางสังคม ศิลปะและดนตรี จึงอาศัยวัดเปนที่จัดแสดงหรือปรากฏตัว ดนตรีถูกสอดแทรกเขากับกิจกรรมทางพระพุทธศาสนา ทุกอยางอยางเหมาะสม จิตรกรรม ประติมากรรม และสถาปตยกรรมตางๆ ไดรบั การสรางสรรคขนึ้ ดวยแรงบันดาลใจและศรัทธาในพระพุทธศาสนา และชวยเปนสื่อถายทอดหลักธรรมใหกับ ประชาชนไทยไดเปนอยางดี

✓ แบบวัดฯ ใบงาน แบบฝกฯ พระพุทธศาสนา ม.2 กิจกรรมที่ 1.4 หนวยที่ 1 ประวัติและความสําคัญของพระพุทธศาสนา กิจกรรมที่ ๑.๔ ใหนกั เรียนวิเคราะหความสําคัญของพระพุทธศาสนาในฐานะ ที่เปนรากฐานของวัฒนธรรมไทยตามประเด็นที่กําหนด

คะแนนเต็ม คะแนนที่ได

ñð

(ส ๑.๑ ม.๒/๓)

๑.

ความสําคัญของการบวชตอวิถีชีวิตคนไทย

การบวชเปนแนวทางหนึง่ ในการสืบทอดพระพุทธศาสนา ผูท ขี่ อบวช ………………………………………………………………………………………………………………………….. จะเปลีย่ นสถานะเปนพระสงฆ ซึง่ เปนหนึง่ ในดวงแกวแหงพระรัตนตรัย ………………………………………………………………………………………………………………………….. พระสงฆ คือ ผูท ปี่ ฏิบตั ดิ ี ปฏิบตั ชิ อบ และดํารงตนเปนแบบอยางทีด่ ี ………………………………………………………………………………………………………………………….. เพื่อความดีงามและความสงบสุขของประชาชน และเปนพุทธสาวก ………………………………………………………………………………………………………………………….. ที่ชวยสืบตอ เผยแผหลักธรรมคําสอนของพระพุทธองค …………………………………………………………………………………………………………………………..

๒.

ความสําคัญของการแหเทียนเขาพรรษาตอวิถีชีวิตคนไทย …………………………………………………………………………………………………………………………..

ในวันเขาพรรษา เปนเทศกาลที่พุทธศาสนิกชนจะนําเที​ียนพรรษา ………………………………………………………………………………………………………………………….. ซึ่ ง ป จ จุ บั น มั ก มี ก ารหล อ และแกะสลั ก อย า งสวยงามไปถวายวั ด ………………………………………………………………………………………………………………………….. เพือ่ เปนพุทธบูชา จัดเปนวัฒนธรรมทางดานวัตถุทสี่ ะทอนใหเห็นถึง …………………………………………………………………………………………………………………………..

ฉบับ

เฉลย

ความศรัทธาของประชาชนที่มีตอพระพุทธศาสนา …………………………………………………………………………………………………………………………..

๓.

ความสําคัญของวัดที่มีตอวิถีชีวิตคนไทย

วัดเปนแหลงกําเนิด รักษา สืบทอด พัฒนา หรือสนับสนุนศิลปะ ………………………………………………………………………………………………………………………….. และดนตรี เปนศูนยกลางของชุมชนในการจัดกิจกรรมและเปน ………………………………………………………………………………………………………………………….. สมบัตสิ ว นรวมรวมกันของชุมชน เปนทีศ่ กึ ษาเลาเรียนของบุตรหลาน ………………………………………………………………………………………………………………………….. ในชุมชนมาตัง้ แตอดีตถึงปจจุบนั รวมถึงเปนสถานทีใ่ นการประกอบ ………………………………………………………………………………………………………………………….. พิธีกรรมตางๆ ทางพระพุทธศาสนา …………………………………………………………………………………………………………………………..

๔.

ความสําคัญของพระพุทธรูปที่มีตอวิถีชีวิตคนไทย

พระพุทธรูปหรือรูปเคารพแทนองคสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจา ………………………………………………………………………………………………………………………….. เปนสิง่ นอมนําความศรัทธาและชวยกลอมเกลาจิตใจผูค นนับแตอดีต ………………………………………………………………………………………………………………………….. ใหมงุ สูก ารดับทุกขและความสงบสุขตามปรัชญาแหงพระพุทธศาสนา ………………………………………………………………………………………………………………………….. นอกจากนี้ พระพุทธรูปยังเปรียบเสมือนผลรวมแหงแรงบันดาลใจ …………………………………………………………………………………………………………………………..

ภาพศิลปกรรมอันงดงามเกีย่ วกับการประกอบพิธกี รรมทางพระพุทธศาสนาในสมเด็จพระเจาพีน่ างเธอ เจาฟาฯ กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร เปนผลงานทีส่ รางสรรคขน้ึ ดวยแรงบันดาลใจและความศรัทธาในพระพุทธศาสนาของจิตรกร

ของเหลาศิลปนในการสรางสรรคงานพุทธศิลปดวย …………………………………………………………………………………………………………………………..

๒๘

บูรณาการอาเซียน ครูอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับความคลายคลึงกันของศิลปวัฒนธรรมของประเทศ สมาชิกอาเซียนวา อิทธิพลของพระพุทธศาสนาทําใหศิลปวัฒนธรรมของประเทศ สมาชิกอาเซียนมีความคลึงกันหลายประการ ทั้งการทําบุญตักบาตรของคนไทย ลาว กัมพูชา และพมา การสรางพระธาตุหรือเจดียตางๆ เชน พระธาตุพนมของไทย กับพระธาตุหลวงของลาว พระธาตุดอยสุเทพของไทยกับเจดียชเวสิกองของพมา เปนตน การสรางพระพุทธรูปหนาวัดพระเมรุที่อยุธยากับพระมหามัยมุนีของพมา ซึง่ ตางก็เปนพระพุทธรูปทรงเครือ่ งกษัตริย รวมถึงขนบธรรมเนียมประเพณีบางประการ เชน การบรรพชาหรืออุปสมบท เปนตน ตลอดจนภาษาบาลี-สันสกฤตที่มีอิทธิพลตอ ภาษาไทย ภาษาลาว ภาษาพมา ภาษามอญ และภาษาเขมร

28

คูมือครู

บูรณาการเชื่อมสาระ

ครูสามารถนําเนื้อหาเรื่องภาษาบาลี-สันสฤต ไปบูรณาการเชื่อมโยงกับ กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย วิชาหลักภาษาและการใชภาษา เรื่องคําไทยที่ ยืมมาจากภาษาบาลี-สันสกฤต โดยครูใหนักเรียนไปศึกษาเพิ่มเติมในประเด็น ดังตอไปนี้ • หลักสังเกตคําที่ยืมมาจากภาษาบาลี • หลักสังเกตคําที่ยืมมาจากภาษาสันสกฤต • ตัวอยางคําไทยที่ยืมมาจากภาษาบาลี • ตัวอยางคําไทยที่ยืมมาจากภาษาสันสกฤต


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

อธิบายความรู

1. ครูใหนักเรียนแตละคนบอกเอกลักษณที่โดด เดนของตนเองมาคนละ 1 อยาง พรอมทั้ง วิเคราะหวาเอกลักษณดังกลาวนั้นไดรับ อิทธิพลมาจากใครหรือสิ่งใด 2. ครูใหนักเรียนออกมาเขียนเอกลักษณหรือ ลักษณะเดนของคนไทยที่ทรงคุณคาตอสังคม ไทยบนกระดานหนาชั้นเรียน จากนั้นให นักเรียนบอกวาเอกลักษณแบบใดที่มีรากฐาน มาจากพระพุทธศาสนา 3. ครูใหนักเรียนตอบคําถามวา พุทธศาสนิกชน ที่ดีมีวิธีการปฏิบัติตนเพื่อรักษาเอกลักษณที่ดี ของสังคมไทยไวอยางไร (แนวตอบ เชน ศึกษาและปฏิบัติตนตามหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา เขารวมพิธีกรรมใน วันสําคัญทางพระพุทธศาสนา เปนตน) 4. ครูใหนักเรียนทํากิจกรรมที่ 1.5 จากแบบวัดฯ พระพุทธศาสนา ม.2

๒.๓ พระพุทธศาสนาเปนเอกลักษณและมรดกของสังคมไทย ความสําคัญของพระพุทธศาสนาอีกประการหนึง่ คือ เปนเอกลักษณและมรดกของสังคมไทย ซึ่งสามารถแบงได ดังนี้ ๑) ในแงเอกลักษณ คนไทยมี เอกลักษณ หรือลักษณะเดนแตกตางอยางสําคัญ กับชนชาติอื่น ดังตอไปน�้ ๑.๑) ค ว า ม เ ม ต ต า ก รุ ณ า คนไทยเปนคนชอบสงสารคนอืน่ เห็นอกเห็นใจ คนอื่น ยิ่งเปนคนตางถิ่น ตางภาษา ยิ่งแสดง ความเมตตากรุ ณ าต อ เขาอย า งเต็ ม ที่ รู  จั ก ประสานประโยชน ความมีนํ้าใจเปนเอกลักษณ ทีเ่ ดนชัดของคนไทยทีค่ นตางชาติมกั กลาวขวัญ ถึง ไมตรีจิตของคนไทยเปนไปอยางสากล คือ แสดงออกแก ค นทั่ ว ไปเสมอเหมื อ นกั น หรื อ การปลดปลอยสัตวใหสคู วามเปนอิสระ เปนตัวอยางหนึ่ง คลายคลึงกัน ไมแบงพวกแบงหมู ไมจาํ กัดชาติ ในการแสดงออกถึงความมีเมตตากรุณา ศาสนา ใหเกียรติแกคนตางชาติตางศาสนา ยินดีรับคนตางถิ่นที่มีวิถีชีวิตและความเชื1 ่อที่แตกตางจากตนได ทั้งนี้เพราะผลของหลักคําสอน ทางพระพุทธศาสนาเรื่องพรหมวิหาร ๔ อันมีเมตตากรุณาเปนประธาน และแนวความคิดทาง พระพุทธศาสนาที่สอนวา “เรารักสุข เกลียดทุกขฉันใด คนอื่นก็รักสุข เกลียดทุกขฉันนั้น เพราะ ฉะนั้นจึงควรรักใครและสงสารคนอื่น ไมเบียดเบียนเขา” ๑.๒) ความเปนคนใจกวาง ไมเห็นแกตัว เอกลักษณขอนี้สืบเนื่องมาจากขอแรก เมื่อรักและสงสารคนอื่น ไมอยากใหเขาไดรับทุกข ก็จะสละทรัพยสิน ขาวของ เงินทอง เผื่อแผ คนอื่น มีอะไรก็แบงกันกินแบงกันใช ดังคําพังเพยที่กลาวถึงลักษณะนิสัยที่ดีงามขอนี้วา “ประเพณี ไทยแทแตโบราณ ใครมาถึงเรือนชานตองตอนรับ” ๑.๓) ความเปนคนไมยึดมั่นเกินไป รูจักวางและ “ปลง” ไดเมื่อถึงคราวจําเปน คุ ณ สมบั ติ ข  อ นี้ เ ป น ผลจากหลั ก คํ า สอนทางพระพุ ท ธศาสนาที่ ส อนว า สรรพสิ่ ง เป น อนิ จ จั ง ไมเที่ยงแทยั่งยืน เปนทุกข หาตัวตนมิได เรามาตัวเปลาและไปตัวเปลา ตายแลวก็เอาอะไรไปดวย ไมได คนไทยจึงไมยึดติดอะไรรุนแรง ความพลัดพรากตางๆ ก็ยอมรับไดงาย มองเห็นความเปน ธรรมดาของสรรพสิ่งแลวปลงใจได ไมเศราโศกเสียใจมากจนเกินไปหรือนานเกินควร ดังจะเห็น ไดจากคําพูดทีต่ ดิ ปากจนกลายเปน “ปรัชญาชีวติ ” ของคนไทยไปแลว เชน “ไมเปนไร ลืมเสียเถิด” “แลวก็แลวกันไป อโหสิใหกันเสียเถิด” “ทุกอยางเปนอนิจจัง” “เวรยอมระงับดวยการไมจองเวร”

Explain

✓ แบบวัดฯ ใบงาน แบบฝกฯ พระพุทธศาสนา ม.2 กิจกรรมที่ 1.5 หนวยที่ 1 ประวัติและความสําคัญของพระพุทธศาสนา กิจกรรมที่ ๑.๕ ใหนักเรียนวิเคราะหความสําคัญของพระพุทธศาสนา ในประเด็นที่กําหนด (ส ๑.๑ ม.๒/๓) ๑. พระพุทธศาสนามีความสําคัญในแงเปน มรดกสําคัญของชาติไทยอยางไร

พระพุทธศาสนามีความสําคัญตอชาติไทย โดยเป น มรดกและคลั ง สมบั ติ ท างด า น ……………………………………………………………………………. รู ป ธรรมที่ ลํ้ า ค า ที่ ค วรแก ก ารดู แ ลรั ก ษา ……………………………………………………………………………. ใหคงอยูคูชาติไทย ดังจะเห็นไดจากนับ ……………………………………………………………………………. ตั้งแตอดีตมาคนไทยมีจิตศรัทธาเลื่อมใส ……………………………………………………………………………. พระพุทธศาสนาและรวมแรงรวมใจสรางสรรค ……………………………………………………………………………. โบราณสถาน โบราณวัตถุที่เกี่ยวเนื่องใน ……………………………………………………………………………. พระพุทธศาสนาขึน้ มากมาย ซึง่ สิง่ เหลานีย้ งั ……………………………………………………………………………. เปนหลักฐานสําคัญในการสืบคนและยืนยัน ……………………………………………………………………………. ความเปนมาของประวัตศิ าสตรชาติไทยอีกดวย ……………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………….

๓. ความมีนาํ้ ใจเปนลักษณะเดนของคนไทย อยางไร

ลั ก ษณะเด น ของคนไทยอย า งหนึ่ ง คื อ ความมีนาํ้ ใจ คนไทยมีไมตรีจติ แกคนทุกชาติ ……………………………………………………………………………. ทุ กศาสนาเท า เที ย มกั น หมด ไม แยกเขา ……………………………………………………………………………. แยกเรา จะใหเกียรติและตอนรับคนตางชาติ ……………………………………………………………………………. ตางศาสนา ตางภาษา รวมถึงใหความ ……………………………………………………………………………. เมตตาเลี้ยงดูสัตวอื่น ทั้งนี้เปนผลมาจาก ……………………………………………………………………………. หลักคําสอนทางพระพุทธศาสนาที่สอนให ……………………………………………………………………………. รูจักเอื้อเฟอเผื่อแผ ชวยเหลือกัน มีนํ้าใจ ……………………………………………………………………………. ไมตรีตอกัน เห็นใครเดือดรอนก็ใหความ ……………………………………………………………………………. ชวยเหลือเทาที่จะสามารถทําได ……………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………….

๒๙

แนว  NT  O-NE T

พระพุทธศาสนาหลอหลอมใหคนไทยมีลักษณะนิสัยที่โดดเดนแตกตาง จากคนชาติอื่นอยางไร แนวตอบ พระพุทธศาสนาชวยหลอหลอมและปลูกฝงใหคนไทยมีนํ้าใจ เอื้อเฟอตอผูอื่น รูจักใหความชวยเหลือเมื่อเห็นผูอื่นตกทุกขไดยาก ไมเห็นแกตวั เอารัดเอาเปรียบผอู นื่ รูจ กั การแบงปน การเอือ้ เฟอ เผือ่ แผ รจู กั การปลอยวาง ไมยึดติด ไมยึดมั่นถือมั่น เพราะพระพุทธศาสนาสอนวา ทุกสรรพสิ่งลวนไมเที่ยง มีเสื่อมสลายเปนธรรมดา ทําใหคนไทยใหอภัย ผูอื่นงาย ไมผูกพยาบาท ไมผูกใจเจ็บ อุปนิสัยเหลานี้ลวนเปนผลมาจาก การหลอหลอมของพระพุทธศาสนาทั้งสิ้น

ñð

๒. “วิถีไทยคือวิถีพุทธ วิถีพุทธคือวิถีไทย” นั ก เรี ย นมี ค วามคิ ด เห็ น อย า งไรกั บ คําพูดนี้ คนไทยดําเนินชีวิตบนพื้นฐานหลักธรรม คํ า สอนของพระพุ ท ธศาสนา ความคิ ด ความเชือ่ การตัดสินใจ ลวนไดรบั อิทธิพล มาจากหลั ก คํ า สอนในพระพุ ท ธศาสนา ……………………………………………………………………………. เชน การเชื่อในเรื่องกฎแหงกรรม การนํา ……………………………………………………………………………. หลักธรรมทางพระพุทธศาสนามาประยุกต ……………………………………………………………………………. ใชในการดําเนินชีวิต เปนตน ……………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………….

……………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………….

ฉบับ

เฉลย

๔. มีคํากลาววา “สยามเมืองยิ้ม” เปนผล สื บ เนื่ อ งมาจากการหล อ หลอมของ พระพุทธศาสนา นักเรียนมีความคิดเห็น อยางไร

คนไทยมี ร อยยิ้ ม แตกต า งจากชนชาติ อื่ น ซึ่ ง ประกอบด ว ยความจริ ง ใจที่ ส ามารถ สัมผัสไดในรอยยิ้ม ซึ่งเปนผลมาจากหลัก คําสอนทางพระพุทธศาสนาที่หลอหลอม ……………………………………………………………………………. คนไทยใหมีความเอื้อเฟอ มีเมตตากรุณา มี ……………………………………………………………………………. นํ้าใจ ซึ่งจะปรากฏออกมาผานทางรอยยิ้ม ……………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………….

……………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………….

(พิจารณาคําตอบของนักเรียน โดยใหอยูในดุลยพินิจของครูผูสอน)

ขอสอบเนน การคิด

คะแนนเต็ม คะแนนที่ได

เกร็ดแนะครู ครูควรรวมสนทนากับนักเรียนถึงลักษณะนิสัยใจคอของคนไทยโดยทั่วไปวา เปนอยางไร เพื่อใหนักเรียนเขาใจภาพรวมของอุปนิสัยคนไทยไดดียิ่งขึ้น

นักเรียนควรรู 1 พรหมวิหาร 4 ธรรมของพรหมหรือของทานผูเปนใหญ มี 4 ประการ ไดแก 1. เมตตา คือ ความปรารถนาใหผูอื่นมีความสุข 2. กรุณา คือ ความปรารถนาใหผูอื่นพนทุกข 3. มุทิตา คือ ความยินดีเมื่อผูอื่นไดดี 4. อุเบกขา คือ การรูจักวางเฉย

คูมือครู

29


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Explain

1. ครูใหนกั เรียนยกตัวอยางโบราณสถานทีส่ รางขึน้ อันเนื่องมาจากความศรัทธาในพระพุทธศาสนา มาคนละ 1 แหง และบอกถึงความสําคัญทาง พระพุทธศาสนาของสถานที่นั้น 2. ครูใหนักเรียนจับกลุม 3-5 คน เพื่ออภิปรายใน ประเด็น โบราณสถานมีประโยชนตอการศึกษา ประวัติศาสตรทางพระพุทธศาสนาอยางไร จากนัน้ สงตัวแทนกลุม มารายงานผลการอภิปราย หนาชั้นเรียน 3. ครูใหนักเรียนอธิบายวา • หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาเปนมรดกของ สังคมไทยอยางไร (แนวตอบ หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาเปน สิ่งที่หลอหลอมและกลอมเกลาจิตใจของคน ไทยนับตั้งแตอดีตมาจนถึงปจจุบัน กลาวคือ ทําใหคนไทยเปนคนเอื้อเฟอเผื่อแผ โอบออม อารี มีความกตัญูกตเวที ยอมรับฟงความ คิดเห็นผูอื่น อันทําใหคนในสังคมอยูรวมกัน อยางมีความสุข)

เอกลักษณ หรือลักษณะเดนไมเหมือนใครของคนไทยโดยสรุป ๓ ประการขางตนนัน้ เปนผลจากหลักคําสอนทางพระพุทธศาสนา ที่ไดศึกษาและปฏิบัติตามคําสอนของพระพุทธเจา จนเขาใจซาบซึ้ง และสามารถนํามาปรับประยุกต ใชในชีวิตประจําวัน จนหลอหลอมเปนเลือด เปนเนื้อ เปนจิตวิญญาณของตนตลอดมาและตลอดไป ๒) ในแงมรดก พระพุทธศาสนาเปนมรดกตกทอดมาแตบรรพกาล โดยแบงได ดังน�้ ๒.๑) มรดกทางรูปธรรม ไทยเรามีโบราณวัตถุ โบราณสถานลํ้าคามากมาย ทีส่ รางขึน้ ดวยความศรัทธาในพระพุทธศาสนา เชน วัดวาอาราม สถูปเจดีย พระพุทธรูป จิตรกรรม ฝาผนัง สิ่งเหลานี้บงบอกถึงสภาพชีวิตและจิ 1 ตใจของคนไทยไดเปนอยางดี วาคนไทยแตโบราณ มีความเปนอยูดี “ในนํ้ามีปลา ในนามีขาว” มีความมั่นคงทางเศรษฐกิจ จึงไดสรางโบราณสถาน และโบราณวัตถุที่มีขนาดใหญโต และสวยงามยิ่งไวเปนมรดกแกอนุชนรุนหลัง ๒.๒) มรดกทางนามธรรม พระพุทธศาสนาไดหลอหลอม กลอมเกลาจิตใจของคน ไทยใหละเอียดประณีต เปนที่ยอมรับและยกยองวาเปนชนชาติที่มีเอกลักษณพิเศษไมเหมือน ชนชาติอื่น เชน เปนคนใจบุญสุนทาน เอื้อเฟอเผื่อแผ โอบออมอารี มีความเปนมิตรกับทุกคน รูจักประสานประโยชน ไมนิยมความรุนแรง เขาใจคนอื่น คารวะออนนอม กตัญูกตเวที ราเริง ไมเปนคนเจาทุกข เขาใจธรรมชาติของชีวิต รูจักปลงไดงาย ไมยึดมั่นสิ่งใดเกินเหตุ คุณสมบัติ อันเปนจุดเดนเหลานี้ เปนผลจากการที่คนไทยนับถือและปฏิบัติตามคําสอนของพระพุทธศาสนา และไดสืบทอดเปนมรดกมาจนถึงทุกวันนี้

โบราณสถานที่จัดเปนมรดกทางรูปธรรม ที่สรางขึ้นดวยความศรัทธาในพระพุทธศาสนาและเปนมรดกอันล้ําคาที่ตกทอด มาจนถึงปจจุบนั

๓๐

นักเรียนควรรู 1 ในนํ้ามีปลา ในนามีขาว เปนขอความที่ปรากฏอยูในศิลาจารึกหลักที่ 1 ของ พอขุนรามคําแหงมหาราช ซึ่งสันนิษฐานวาทรงประดิษฐขึ้นในป พ.ศ. 1835 ขอความนี้สื่อวากรุงสุโขทัยมีความอุดมสมบูรณอยางมาก

บูรณาการอาเซียน ครูอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียนเขาใจวา ดวยความโอบออมอารี ความมีนํ้าใจ และความกรุณาปราณีของคนไทยที่เกิดจากการหลอหลอมของพระพุทธศาสนา ทําใหในคราวที่กัมพูชาเกิดสงครามกลางเมือง แลวคนกัมพูชาอพยพมาอยูตาม แนวชายแดนประเทศไทยนั้น คนไทยก็ใหความชวยเหลืออยางดี ทั้งดานอาหาร ยารักษาโรค แหลงพักพิง และปจจัยสําคัญตอการดํารงชีพอื่นๆ ซึ่งก็เปนเพราะ คนไทยไมสามารถทนนิ่งเฉยดูดายคนที่หนีรอนมาพึ่งเย็นได จึงตองใหความ ชวยเหลือไปตามกําลังที่จะสามารถกระทําได

30

คูมือครู

บูรณาการเชื่อมสาระ

ครูสามารถนําเนื้อหาเรื่องโบราณสถานโบราณวัตถุที่สรางสรรคขึ้นจาก ความศรัทธาในพระพุทธศาสนา ไปบูรณาการเชือ่ มโยงกับกลมุ สาระการเรียนรู สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม วิชาประวัติศาสตร เรื่องพัฒนาการทาง ดานศิลปวัฒนธรรมสมัยสุโขทัย อยุธยา ธนบุรี และรัตนโกสินทร โดยรวมกัน อภิปรายในประเด็นรูปแบบ วัฒนธรรมอื่นที่มีอิทธิพล และความสําคัญของ การสรางศิลปกรรมนั้นๆ


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

อธิบายความรู

1. ครูใหนักเรียนออกมาเลาประสบการณการ มีสวนรวมในการพัฒนาชุมชนใหเพื่อนฟง จากนั้นใหนักเรียนรวมกันอภิปรายถึงบทบาท ของพระพุทธศาสนาที่มีสวนในการสรางและ พัฒนาชุมชนในปจจุบัน 2. ครูใหนักเรียนวิเคราะหถึงบทบาทและหนาที่ ของคณะสงฆไทยในปจจุบันในการสรางและ พัฒนาชุมชน (แนวตอบ พระสงฆในปจจุบันมีบทบาทสําคัญ ในการนําหลักธรรมของพระสัมมาสัมพุทธเจา ไปปฏิบัติใหเกิดผลและนําผลที่เกิดขึ้นมาอบรม สั่งสอนประชาชนใหอยูในศีลธรรม อันจะนํามา ซึ่งความสงบสุขของสังคม เชน ทาน ว.วชิรเมธี พระนักเทศนและบรรยายธรรม ตลอดจน เขียนหนังสือเกี่ยวกับหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา เพื่อเผยแผและสรางความเขาใจทาง พระพุทธศาสนาที่ถูกตองใหกับพุทธศาสนิกชน พระมหาสมปอง ตาลปุตฺโต พระนักเผยแผ และนักบรรยายธรรมรุนใหม ทั้งทางโทรทัศน และสื่อตางๆ อีกทั้งยังเขียนหนังสือเกี่ยวกับ หลักธรรมทางพระพุทธศาสนามากมาย ตลอดจนเปนเจาของตนตํารับธรรมะดิลิเวอรี คือ ธรรมะสามารถไปหาผูสนใจไดทุกที่ ไมจําเปนตองอยูที่วัด ทําใหพุทธศาสนิกชน เขาถึงธรรมะไดงายขึ้น สงผลใหคนเปนคนดี มีศีลธรรม สังคมเกิดความสงบสุข)

๒.๔ พระพุทธศาสนากับการพัฒนาชุมชน การพัฒนาชุมชนประกอบไปดวยการพัฒนาวัตถุ และการพัฒนาจิตใจ แมวาการพัฒนา จะเปนหนาที่โดยตรงของฝายบานเมือง แต พระพุทธศาสนาก็มีสวนรวมได พระพุทธเจาได ทรงตั้งคณะสงฆขึ้น คณะสงฆนี้เปนชุมชนที่ ชุ ม ชนของชาวบ า นจะถื อ เป น แบบอย า งได พระสงฆมีหนาที่ที่จะจาริกไป “เพื่อประโยชน เพื่อความสุขของประชาชน เพื่ออนุเคราะห ชาวโลก” ๑) การพั ฒ นาด า นวั ต ถุ แม พระพุทธศาสนาจะเนนการพัฒนาจิตใจมากกวา การพัฒนาวัตถุ แตพระพุทธศาสนาก็ถือวาวัตถุ เปนสิ�งสําคัญดังมีคําสอนวา “ความยากจนเปน อนุสาวรียครูบาศรีวิชัย ตั้งอยูบริเวณทางขึ้นพระบรมธาตุ บอเกิดของอาชญากรรม” พระสงฆในพระพุทธ- ดอยสุเทพ จังหวัดเชียงใหม ครูบาศรีวิชัยเปนผูนําสงฆที่มี ศาสนามีบทบาทในการพัฒนาดานวัตถุเสมอมา บทบาทสําคัญในการชวยชี้แนะหรือเปนผูนําทางความดี ในการพัฒนาชุมชน เพื่อความเหมาะสมแกสมณสารูป พระสงฆ มิไดลงมือทําเอง แตก็เปนผูริเริ�มและเปนผูนําทางความคิด ตัวอยางเชน ครูบาศรีวิชัยนําชาวบาน สรางทางขึ้นดอยสุเทพ ทานเปนผูริเริ�ม ชักชวน เปนตนคิด แตทานก็ไมไดไปขุดดิน ยกหินดวย มือของทานเอง พระที่บุคคลทั่วไปรูจักดีอีกรูปหนึ่งก็คือ พระราชธรรมนิเทศ (พระพยอม กัลยาโณ) แหงวัดสวนแกว จังหวัดนนทบุรี ซึ่งเปนผูริเริ่มสรางโรงงาน ปรับปรุงของเกาๆ ที่ใชแลวใหเปน ของใหม ใชงานไดอกี ซึง่ แมทา นจะมิไดลงมือซอมหรือปรับปรุงดวยตนเอง แตกเ็ ปนผูร เิ ริม่ แนะนํา ทําใหเยาวชนจํานวนไมนอ ยมีอาชีพการงานทําเปนหลักแหลง และทานไดจดั ตัง้ มูลนิธสิ วนแกวขึน้ ในป พ.ศ. ๒๕๒๙ เพือ่ เผยแผพระพุทธศาสนาและรวมมือกับองคกรการกุศลเพือ่ สาธารณประโยชน ๒) การพัฒนาทางดานจิตใจ การพัฒนาทางดานจิตใจเปนภารกิจหลักของพระภิกษุ ในพระพุทธศาสนา เรื่องจิตใจเปนเรื่องสําคัญ ไมวาจะพัฒนาชุมชนใหเปนไปอยางไร สิ�งสําคัญ ก็คือ ความมีวินัย ความสามัคคี ความซื่อสัตย ความไมเห็นแกตัว ความขยันหมั�นเพียร ความ ไมประมาท ใหคาํ นึงถึงความจําเปน ความพอดี ความเหมาะสม ไมเพลิดเพลินไปกับสิง� ยัว� ยุทงั้ หลาย ทีป่ จ จุบนั น�ไ้ ดหลัง� ไหลเขามากับอารยธรรม คานิยม ความเชือ่ ตางๆ คุณธรรมเหลาน�ล้ ว นเปนปจจัย สําคัญที่จะชวยพัฒนาชุมชนใหเจริญกาวหนา ซึ�งพระพุทธศาสนาก็มีหลักคําสอนเกี่ยวกับเรื่อง เหลาน�้มากมาย โดยมีพระสงฆเปนผูนํา เปนผูอบรม และปลูกฝงคุณธรรมดังกลาวใหแกชาวบาน

กิจกรรมสรางเสริม ครูมอบหมายใหนักเรียนไปสืบคนประวัติ หลักคําสอน และผลงานของ พระสงฆที่มีบทบาทดานการพัฒนาจิตใจของคนทั่วไปในสังคม เชน พระมหาวุฒิชัย (ว. วชิรเมธี) พระมหาสมปอง ตาลปุตฺโต เปนตน จากนั้น เขียนสรุปความยาว 1 หนากระดาษ A4 สงครูผูสอน

กิจกรรมทาทาย ครูมอบหมายใหนักเรียนไปสืบคน “พระนักพัฒนาในชุมชน” วาทาน มีบทบาทในการพัฒนาชุมชนหรือคุณภาพชีวิตของคนในชุมชนอยางไร พรอมทั้งบันทึกและนํามาอภิปรายในชั้นเรียน

Explain

๓๑

เกร็ดแนะครู ครูควรอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียนเขาใจวา การพัฒนาทางดานจิตใจ ไมได หมายความวาจะตองลดละเลิกการพัฒนาทางดานวัตถุ เราสามารถพัฒนาทั้งสอง ดานไปพรอมๆ กัน ใหประสานกลมกลืนกันอยางเหมาะสมได โดยที่เราพัฒนาวัตถุ เพื่อตอบสนองตอความจําเปนเทานั้น ไมฟุงเฟอ เหอเหิมมากจนเกินไป และไมตก เปนทาสของวัตถุ ในขณะเดียวกันก็พัฒนาดานจิตใจไปดวย เพื่อใหคนมีคุณธรรม ทําแตความดี ไมทําความชั่วหรือสิ่งไมดี สังคมจะไดมีแตความสงบสุข

มุม IT ศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับประวัติของครูบาศรีวิชัย ไดที่ http://www.lannaworld.com เว็บไซตโลกลานนา คูมือครู

31


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Explain

1. ครูใหนักเรียนรวมกันอภิปรายในประเด็นที่วา • กฎหมายและกฎทางศีลธรรมมีความ สอดคลองกันหรือไม อยางไร 2. ครูใหนักเรียนตอบคําถามวา • พระพุทธศาสนาชวยแกปญ  หาสังคมไดอยางไร (แนวตอบ พระพุทธศาสนาปลูกฝงใหคนใน สังคมมีศีลธรรมในการดําเนินชีวิต รูจัก แยกแยะวาสิ่งใดควรทําหรือไมควรทํา สังคม จึงมีความสงบสุข) 3. ครูยกกรณีศึกษาเกี่ยวกับปญหาทางสังคม เชน ปญหาการจราจร ปญหาวัยรุนยกพวกตีกัน เปนตน จากนั้นใหนักเรียนวิเคราะหแนวทาง การแกปญหาที่จะทําใหสังคมดีขึ้นในระยะยาว 4. ครูใหนักเรียนทํากิจกรรมที่ 1.6 จากแบบวัดฯ พระพุทธศาสนา ม.2

ในหนังสือเรียนพระพุทธศาสนามีหลักพัฒนาคุณธรรมอยูมากมายที่นักเรียนไดศึกษา ผานมาแลว ณ ทีน่ จี้ ะขอขยายความเพิม่ เติมเฉพาะทางหลักธรรมทีน่ กั เรียนควรเรียนรูเ พือ่ ประโยชน ในการดํารงชีวิต ดังตอไปนี้ การทํางานรวมกันในชุมชนนั้น จะถือเอาอะไรเปนใหญในหลักอธิปไตย ๓ (๑) อัตตาธิปไตย คือ การถือตนเปนใหญ (๒) โลกาธิปไตย คือ การถือโลกหรือความนิยมของโลกเปนใหญ (๓) ธัมมาธิปไตย คือ การถือธรรมหรือความถูกตองเปนใหญ ตามหลักธรรมขอนี้ การจะทําอะไรดวยกันก็ตาม ตองถือเอาความถูกตองตามธรรม เปนตัวตัดสิน มิใชเอาความคิดของตนหรือความคิดของชาวโลกเปนใหญ

๒.๕ พระพุทธศาสนากับการจัดระเบียบสังคม ทุกสังคมตองมีระเบียบ ระเบียบในที่นี้ หมายถึง กฎหมาย ขอบังคับ จารีตประเพณี สังคม ที่ไมมีระเบียบจะเกิดความสับสนอลหมาน ถาผูคนละเมิดสิทธิซึ่งกันและกัน การอยูอยางสงบสุข เปนไปไมได หากไมมีกฎหมาย ใครโกรธใครก็อาจไปฆาหรือทํารายกันก็ได อยากไดของของเขา ก็ไปขโมยเอา อยากไดลูกเมียเขาก็ใชกําลังไปฉุดเอา สังคมอยางนี้ไมมีใครอยูได นอกจากกฎหมายจะคุมครองชีวิต รางกาย ทรัพยสิน และอื่นๆ ของคนในสังคมแลว กฎหมายยังคุมครองเด็กเปนพิเศษดวย เชน มีกฎหมายหามเด็กอายุตํ่ากวา ๒๐ ป เขาไปเที่ยว ในสถานบันเทิงบางประเภท หามขายเหลาให แกเด็ก เปนตน นอกจากนีก้ ฎหมายยังหามเสพ ยาเสพติดอีกดวย ทั้งหมดนี้ก็คือ กฎหมาย ปองกันมิใหคนทํารายตัวเอง คนที่ยังเปนเด็ก หรือคนที่หลงผิดไปชั่ววูบ อาจทําอะไรที่เปน อันตรายตอตัวเองได กฎหมายก็ปกปองคน เหลานี้ไว เมื่อมีกฎและระเบียบ สังคมก็ตองมีวิธี การทํ า ให1ค นปฏิ บั ติ ต าม วิ ธี ที่ สั ง คมใช ก็ คื อ การลงโทษ เชน ปรับ จําคุก หรืออื่นๆ ถาไมมี การลงโทษก็ไมมีใครกลัวการกระทําผิด และ การจัดระเบียบการจราจรถือเปนการจัดระเบียบทางสังคม บานเมืองก็ป ราศจากกฎเกณฑและระเบีย บ ประการหนึ่งที่ทําใหผูขับขี่ใชเปนแนวทางในการปฏิบัติ รวมถึงความปกติสุข เพื่อทําใหการอยูรวมกันในสังคมเปนปกติสุข

✓ แบบวัดฯ ใบงาน แบบฝกฯ พระพุทธศาสนา ม.2 กิจกรรมที่ 1.6 หนวยที่ 1 ประวัติและความสําคัญของพระพุทธศาสนา กิจกรรมที่ ๑.๖ ใหนักเรียนอานขาวตอไปนี้ แลววิเคราะหในประเด็น ที่กําหนด (ส ๑.๑ ม.๒/๔)

คะแนนเต็ม คะแนนที่ได

ñð

รวบ นักเรียน-นักเลงตีกันมั่วบนรถเมล เมื่อเวลา ๑๕.๐๐ น. วันที่ ๑๑ ม.ค. พ.ต.ท.สนอง แสงมณี สว.จร.สน.วิภาวดี รับแจงเหตุ นักเรียนยกพวกตีกนั บนรถประจําทางบริเวณแยกสุทธิสาร ถนนวิภาวดีรงั สิต แขวงสามเสนนอก เขตหวยขวาง จึงรีบนํากําลังไประงับเหตุ เมื่อไปถึงพบรถประจําทางสาย ๑๘๗ ทะเบียน ๑๓-๗๐๐ กรุงเทพมหานคร หมายเลขขางรถ ๑๘๗-๑๐ มีนายพรชัย ประภายนต อายุ ๕๕ ป คนขับรถ จอดอยูบริเวณปอมตํารวจใตสะพานขามสุทธิสาร โดยมีผูโดยสารที่อยูในอาการ ตื่นตระหนกอยูเต็มคันรถ เบื้องตนควบคุมตัวนักเรียนโรงเรียนพาณิชยการแหงหนึ่งได ๑๒ คน และโรงเรียนชางกลแหงหนึ่งอีก ๘ คน พรอมยึดอาวุธดาบซามูไร ๑ เลม มีดพกสั้น ๔ เลม จากการสอบสวนนายพรชัยใหการวา ตนไดรบั กลุม นักเรียนพาณิชยมาจากปายรถประจําทาง หนา รพ.ทหารผานศึก เมื่อมาถึงปายรถประจําทางดานหนาสโมสรทหารบก กลุมนักเรียน ชางกลจํานวน ๘ คน ก็ไดขึ้นมาบนรถ ตอมาก็ไดยินเสียงตะโกนโวยวายอยูดานหลังรถ พอหันไปดูก็เห็นนักเรียนกําลังตะลุมบอนพรอมทั้งมีอาวุธมีดอยูในมือ ตนจึงตกใจรีบขับรถ เขามาแจงตํารวจที่ปอมตํารวจจราจร จนตํารวจสามารถจับกุมไดดังกลาว เบื้องตนเจาหนาที่ ฉบับ เฉลย นําตัวนักเรียนทัง้ ๒ โรงเรียนไปทีส่ น.สุทธิสาร เพือ่ ทําประวัตพิ รอมทัง้ ดําเนินการตามกฎหมาย ตอไป ที่มา : www.dailnews.co.th/ ประจําวันที่ ๑๒ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๔

๑. สาระสําคัญของขาวเกี่ยวกับเรื่องอะไร

ปญหานักเรียนตีกนั ซึง่ เกิดจากความคึกคะนอง การใชอารมณในการตัดสินปญหาจนเกิดความรุนแรง ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. สงผลใหมีการบาดเจ็บและสรางความเดือดรอนตอคนรอบขาง ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

๒. นักเรียนมีความคิดเห็นเชนไรกับปญหากรณีนี้ที่เกิดขึ้นบอยในสังคมปจจุบัน

เปนปญหาที่เกิดจากการปลูกฝงคานิยมในการรักสถาบันที่ผิด ซึ่งมีการปลูกฝงจากรุนสูรุน ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ซึ่งถาหากยังไมเปลี่ยนวิธีคิด ปญหาเหลานี้ก็จะยังคงเกิดขึ้นในสังคมไทยและจะสงผลกระทบตอการ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. พัฒนาประเทศ เพราะเยาวชนเหลานี้ก็คือกําลังสําคัญของชาติตอไปในอนาคต …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

๓. พระพุทธศาสนาสามารถนํามาแกไขปญหากรณีนี้ไดอยางไร

เราสามารถนําหลักธรรมคําสอนทางพระพุทธศาสนามาใชแกไขปญหาดังกลาวได เชน การใชความ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. เมตตากรุณา การเอื้อเฟอเผื่อแผ การชวยเหลือเกื้อกูล ไมแบงฝกแบงฝาย รวมทั้งหลีกเลี่ยงการใช ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ความรุนแรงและใชเหตุผลในการตัดสินปญหา …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

๓๒

นักเรียนควรรู 1 การลงโทษ โทษทางอาญาสําหรับลงโทษผูกระทําความผิด มีดังตอไปนี้ 1. โทษประหารชีวิต คือ ดําเนินการดวยวิธีฉีดสารพิษใหตาย ซึ่งโทษประหาร ชีวิตนั้นอาจลดโทษได แตจะไมมีการเพิ่มโทษเด็ดขาด 2. โทษจําคุก คือ การเอาตัวไปขังไวในเรือนจํา ซึง่ อาจเปนโทษจําคุกตลอดชีวติ หรือเปนโทษจําคุกตามที่ศาลกําหนดเวลาในการลงโทษไวอยางแนนอนแลว 3. โทษกักขัง คือ การเอาตัวผูที่กระทําความผิดไปกักขังหรือควบคุมไวใน สถานที่กักขังที่กําหนดไวที่ไมใชเรือนจํา อาจเปนที่อยูอาศัยของผูตองโทษกักขังเอง หรือสถานที่อื่นที่เหมาะสมก็ได 4. โทษปรับ คือ โทษที่ศาลพิพากษาใหผูตองโทษนั้นชําระเงินคาปรับตอศาล ตามที่กําหนดภายในสามสิบวันนับแตวันที่ศาลพิพากษา ถาหากไมทําตามที่ศาลสั่ง ก็อาจถูกยึดทรัพยหรือถูกกักขังแทนคาปรับ 5. โทษริบทรัพยสิน คือ การลงโทษริบเอาทรัพยสินของผูกระทําความผิดมา เปนของรัฐ

32

คูมือครู

บูรณาการเชื่อมสาระ

ครูสามารถนําเนือ้ หาเรือ่ งกฎหมายไปบูรณาการเชือ่ มโยงกับกลมุ สาระการ เรียนรูส งั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม วิชาหนาที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดําเนินชีวิตในสังคม เรื่องกฎหมายกับการดําเนินชีวิตประจําวัน โดยครูอธิบายใหนักเรียนฟงวา กฎหมาย หมายถึง ขอบังคับของรัฐอันเปน สวนหนึ่งของการจัดระเบียบทางสังคม เพื่อใชควบคุมประพฤติของพลเมือง หากผูใดฝาฝนจะตองไดรับโทษหรือผลรายอยางใดอยางหนึ่ง โดยเจาหนาที่ ของรัฐเปนผูดําเนินการบังคับ กฎหมายมีความสําคัญ คือ สรางความเปน ระเบียบแกสังคมและประเทศชาติ ทําใหการบริหารและพัฒนาประเทศเปน ไปอยางรวดเร็ว ประเทศชาติเจริญกาวหนา และเปนหลักในการจัดระเบียบการ ดําเนินชีวติ ใหแกประชาชน ทําใหสังคมเกิดความเปนระเบียบเรียบรอย ลักษณะของกฎหมาย มีดังนี้ 1. ตองมีลักษณะเปนคําสั่งหรือขอบังคับ 2. ตองเปนคําสั่งหรือขอบังคับที่ออกโดยรัฏฐาธิปตย 3. ตองเปนคําสั่งหรือขอบังคับที่ใชบังคับไดทั่วไป’ 4. ตองมีสภาพบังคับ 5. ตองมีผลใชบังคับไดตลอดไปจนกวาจะมีการแกไขหรือยกเลิก


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

ขยายความเขาใจ

Expand

1. ครูใหนักเรียนจับกลุม 6-8 คน เพื่อแสดง บทบาทสมมติในรูปแบบละครสั้นที่มีเรื่องราว สะทอนถึงความสําคัญของพระพุทธศาสนาที่มี ตอสังคมไทย 2. เพื่อนในชั้นเรียนกลุมอื่นวิเคราะหถึงขอคิดของ ละครดังกลาว

วิธีการลงโทษนี้เปนวิธีที่ทําใหสังคมมีระเบียบ พระพุทธศาสนาก็ไมปฏิเสธวิธีการเชนนี้ แตพระพุทธศาสนาเห็นวา มีอีกวิธีหนึ่ง คือ อบรมปลูกฝงคนในสังคมใหมีจิตสํานึกวาอะไรดี อะไรชั่ว หามตัวเองมิใหทําในสิ่งที่ผิด การลงโทษโดยกฎหมายเปนการลงโทษจากภายนอก แตถา จะใหแนใจจริงๆ ตองหามตัวเองโดยเลี่ยงจากภายใน การที่คนไมทําผิดเกิดจากปจจัย ๒ อยาง คือ หนึ่ง เคารพกฎหมาย สอง เคารพตัวเอง ซึ่งพระพุทธศาสนาถือวาอยางที่สองสําคัญกวา การเคารพกฎหมายมิใชสิ่งเดียวที่ทําใหคนไมกระทําผิด แตมีอีกสิ่งหนึ่งซึ่งอาจสําคัญกวา นั่นคือ การเคารพตนเอง การที่คนไมกระทําความผิดนั้นมีสาเหตุได ๒ อยาง คือ หนึ่ง กลัวไดรับ การลงโทษหรือกลัวคนอืน่ ติเตียน สอง มีความละอาย และความขยะแขยงตอความผิด อยางแรก เรียกวา เคารพกฎหมาย อยางหลังเรียกวา เคารพตนเอง ทีเ่ รียกวาเคารพตนเองนัน้ ก็เพราะวาการ ที่ไมทําผิดนั้นมิใชเพราะกลัวคนติเตียนหรือกลัวจะถูกลงโทษ แตเพราะใชสติปญญาพิจารณาดวย ตนเอง แลวเห็นวาสิ่งนั้นเปนสิ่งผิดแลวไมอยากทํา คนที่เคารพตนเองนั้นไมทําผิดเพราะสิ่งนั้น เปนสิ่งผิด มิใชเพราะกลัววาเมื่อทําแลวจะมีผูอื่นมาลงโทษหรือติเตียน

ตรวจสอบผล

Evaluate

1. ตรวจสอบจากความถูกตองในการตอบคําถาม และรวมอภิปราย 2. ตรวจสอบจากความชัดเจนในการนําเสนอ ความสําคัญของพระพุทธศาสนาผานการ แสดงละครสั้น

ภายหลั ง จากที่ พ ระเจ า อโศกมหาราชได ท รงจั ด ส ง สมณทู ต เดิ น ทางไปเผยแผ พระพุทธศาสนายังดินแดนตางๆ ทําใหพระพุทธศาสนาแผขยายไปทั่ว และเจริญขึ้นในดินแดน ตางๆ ทัง้ ในประเทศไทย และประเทศเพือ่ นบานใกลเคียง เชน พมา อินโดนีเซีย มาเลเซีย สิงคโปร ลาว กัมพูชา และเวียดนาม การเผยแผ พ ระพุ ท ธศาสนาเข า สู  ป ระเทศต า งๆ แม จ ะมี ป  ญ หาและอุ ป สรรค อันเนือ่ งมาจากสภาพความวุน วายทางการเมือง และสภาวะสงครามเปนสวนใหญ แตโดยทัว่ ไป ประชาชนก็ยงั มีศรัทธาในพระพุทธศาสนาอยางเหนียวแนนจนยากทีจ่ ะคลอนแคลนได สําหรับ ประเทศไทยพระพุทธศาสนาไดเขามาเปนสวนหนึ่งของชีวิตจนกลายเปนเอ เอกลั กลักษณและมรดก ทางสังคมสืบตอเนื่องกันเรื่อยมาจนถึงปจจุบัน โดยเฉพาะการพัฒนาบุคคล ชุมชน สังคม รวมถึงการจัดระเบียบสังคมใหบุคคลในสังคมอาศัยอยูรวมกันไดอยางมีความสุข

๓๓

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

พระพุทธศาสนาทําใหสังคมเกิดความเปนระเบียบและมีความสงบสุข ไดอยางไร

แนวตอบ หลักคําสอนของพระพุทธศาสนาสอนใหคนทําความดีและ ไมทําความชั่วทั้งปวง ละเวนการกระทําทุจริตทั้งทางกาย วาจา และใจ โดยพระพุทธศาสนาเนนวา คนเราจะตองมี “หิรโิ อตตัปปะ” คือ ความละอาย และเกรงกลัวตอบาป ซึ่งมิใชความกลัววาจะถูกผูอื่นเห็นหรือตําหนิติเตียน แตกลัวเพราะสิ่งนั้นเปนความชั่ว รูสึกละอายใจที่จะตองทําความชั่ว ดังนั้น จึงกลาวไดวา พระพุทธศาสนาชวยจรรโลงใหสังคมมีระเบียบและเกิด ความสงบสุขอยางแทจริง

เกร็ดแนะครู ครูควรยกตัวอยางประกอบเรื่องการเคารพตนเองใหนักเรียนฟง เพื่อใหเกิด ความเขาใจมากยิ่งขึ้น ดังนี้ มีชายคนหนึ่งเดินไปคนเดียวและพบกระเปาสตางคตกอยู แตไมมีใครอยูใน บริเวณนั้นเลย ถาเขาตองการเก็บไวเปนของตัวเองก็ยอมทําได เพราะไมมีใครรูเห็น เหตุการณ หากเขาเคารพตนเอง คือ มีจิตสํานึกดี มีความละอายแกใจตนเอง รูสึก ขยะแขยงความชั่ว เขาก็จะนํากระเปาสตางคใบนั้นไปสงตํารวจ คนที่เคารพตนเอง จะไมทําความชั่วทั้งในที่ลับและที่แจง ไมใชเพราะกลัวคนอื่นติเตียน แตเปนเพราะ สิ่งนั้นชั่ว สิ่งนั้นผิด จึงไมทํา

คูมือครู

33


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

Engage

Explore

Explain

Expand

ตรวจสอบผล

ตรวจสอบผล Evaluate

Evaluate

ตรวจสอบความถูกตองจากการตอบคําถาม ประจําหนวยการเรียนรู

¤ íÒ¶ÒÁ»ÃШ íÒ˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ ๑. หลักฐานใดทีแ่ สดงใหเห็นถึงการทีพ่ ระพุทธศาสนาเคยเจริญรุง เรืองอยูในประเทศเพือ่ นบาน จงอธิบายพรอมระบุหลักฐานประกอบ ๒. ใหนักเรียนอธิบายสรุปสถานการณปจจุบันของพระพุทธศาสนาในประเทศเพื่อนบาน มาพอสังเขป ๓. พระพุทธศาสนามีความผูกพันกับวิถีการดําเนินชีวิตของคนไทยอยางไรบาง ๔. ปญหาอะไรบางที่สามารถแกปญหาหรือพัฒนาไดดวยหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา และจะใชหลักธรรมอะไรเปนพื้นฐานในการแกไขปญหา อธิบายวิธีการแกปญหาดวย หลักธรรมที่ยกมา ๕. พระพุทธศาสนาชวยแกปญหาสังคมไดอยางไรบาง อธิบายพรอมยกตัวอยางประกอบ

หลักฐานแสดงผลการเรียนรู การเขียนสรุปเปรียบเทียบการเผยแผ พระพุทธศาสนาในอดีตกับสถานการณการนับถือ พระพุทธศาสนาในปจจุบัน

¡Ô¨¡ÃÃÁÊÌҧÊÃä ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ กิจกรรมที่ ๑

ใหนักเรียนศึกษาและทําความเขาใจถึงการเผยแผพระพุทธศาสนาเขาสู ประเทศเพื่อนบาน แลวรวมกันอภิปรายถึงการนับถือพระพุทธศาสนาและ สถานการณการนับถือพระพุทธศาสนาของประเทศเพื่อนบาน

กิจกรรมที่ ๒

นักเรียนศึกษาการนับถือพระพุทธศาสนาของประเทศเพือ่ นบาน แลวรวมกัน อภิปรายถึงการนับถือพระพุทธศาสนาและสถานการณการนับถือพระพุทธศาสนาในปจจุบันของประเทศเพื่อนบานของเรา

กิจกรรมที่ ๓

ใหนกั เรียนรวบรวมบทความ หรือยกเหตุการณทเี่ ปนปญหาสังคมในปจจุบนั และรวมกันวิเคราะหปญหาที่เกิดขึ้น พรอมทั้งรวมกันหามาตรการและ แนวทางแกไขโดยใชหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา

พุทธศาสนสุภาษิ า ต

๓๔

ͻڻÁÒ· Ú¨ àÁ¸ÒÇÕ ¸¹í àʯþ€íÇ Ã¡Ú¢µÔ : »ÃÒªÞ Â‹ÍÁÃÑ¡ÉÒ ¤ÇÒÁäÁ‹»ÃÐÁÒ·äÇŒ àËÁ×͹·ÃѾ »ÃÐàÊÃÔ°ÊØ´

แนวตอบ คําถามประจําหนวยการเรียนรู 1. ศาสนสถานตางๆ ทั้งที่เปนโบราณสถานและวัดวาอารามตางๆ ในปจจุบัน ลวนเปนหลักฐานที่สะทอนใหเห็นถึงความเจริญรุงเรืองของพระพุทธศาสนาในดินแดนนั้นๆ ดังนี้ ประเทศพมา มีศาสนสถานที่สําคัญ คือ พระเจดียชเวดากอง ประเทศอินโดนีเซีย มีศาสนสถานเกาแก คือ พระเจดียบุโรพุทโธ ประเทศมาเลเซีย มีศาสนวัตถุเกาแก คือ พระโพธิสัตวอวโลกิเตศวร ประเทศสิงคโปร มีสมาคมชาวพุทธถึง 2,000 สมาคม และมีวัดถึง 150 วัด ประเทศลาว มีศาสนสถานที่สําคัญหลายแหง เชน พระธาตุหลวง ประเทศกัมพูชา มีปราสาทบายน ประเทศเวียดนาม มีการจัดประชุมชาวพุทธทั่วโลกเนื่องในวันวิสาขบูชา 2. พระพุทธศาสนาในบางประเทศมีความเจริญรุงเรืองมาโดยตลอด แตบางประเทศอยูในชวงฟนฟูเนื่องจากภัยสงครามกลางเมืองและการเผยแผเขามาของศาสนาอื่น ดังนี้ ประเทศพมา ประชากรรอยละ 89 นับถือพระพุทธศาสนา ประเทศอินโดนีเซีย ประชากรรอยละ 1 นับถือพระพุทธศาสนา สวนมากนับถือศาสนาอิสลาม ประเทศ มาเลเซีย ประชากรรอยละ19 นับถือพระพุทธศาสนา ประเทศสิงคโปร ประชากรรอยละ 42 นับถือพระพุทธศาสนา ประเทศลาว ประชากรรอยละ 90 นับถือพระพุทธศาสนา ประเทศกัมพูชา ประชากรรอยละ 95 นับถือพระพุทธศาสนา ประเทศเวียดนาม รัฐบาลเริ่มฟนฟูพระพุทธศาสนาใหกลับมาเจริญรุงเรืองอีกครั้ง 3. พระพุทธศาสนาเปนรากฐานของวัฒนธรรมประเพณีไทย วิถีชีวิตไทยจึงของเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาในทุกๆ ดาน 4. ปญหาทุกปญหาสามารถนําหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาเขามาชวยแกไขไดทั้งสิ้น เชน หลักอริยสัจ 4 ชวยใหรูเหตุแหงทุกขและการดับทุกข เปนตน 5. พระพุทธศาสนาชวยสรางสรรคสังคมใหนาอยู หลักธรรมตางๆ ชวยแกปญหาใหกับสังคม และที่สําคัญพระพุทธศาสนาชวยพัฒนาบุคคลทางดานจิตใจ ขัดเกลาจิตใจให เปนคนที่มีความโอบออมอารี รักเพื่อนมนุษย และรักสันติสุข

34

คูมือครู


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.