8858649121370

Page 1

คูมือครู 㪌»ÃСͺ¡ÒÃÊ͹ËÇÁ¡Ñº

˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ©ºÑº Í- .

ภาพปกนี้มีขนาดเทากับหนังสือเรียนฉบับจริงของนักเรียน

กระบวนการสอนแบบ 5 Es ชวยสรางทักษะการเรียนรู กิจกรรมมุงพัฒนาทักษะการคิด คำถาม + แนวขอสอบเพื่อยกผลสัมฤทธิ์ O-NET กิจกรรมบูรณาการเตรียมพรอมสู ASEAN 2558


เอกสารประกอบคูมือครู

กลุมสาระการเรียนรู สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

เศรษฐศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่

2

สําหรับครู

คูมือครู Version ใหม

ลักษณะเดน

ขยายพื้นที่รูปเลมใหญขึ้นกวาเดิม จัดแบงพื้นที่ออกเปนโซน เพื่อคนหาขอมูลไดงาย สะดวก รวดเร็ว และดูเปนระเบียบ กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล

กระตุน ความสนใจ

Evaluate

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

เปาหมายการเรียนรู สมรรถนะของผูเรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค

หน า

โซน 1 กระตุน ความสนใจ

Engage

สํารวจคนหา

Explore

อธิบายความรู

Explain

ขยายความเขาใจ

Expand

ตรวจสอบผล

หน า

หนั ง สื อ เรี ย น

โซน 1

หนั ง สื อ เรี ย น

Evaluate

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

ขอสอบ

โซน 2

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

เกร็ดแนะครู

O-NET

บูรณาการเชื่อมสาระ

โซน 3

กิจกรรมสรางเสริม กิจกรรมทาทาย

นักเรียนควรรู

โซน 3

โซน 2 บูรณาการอาเซียน มุม IT

No.

คูมือครู

คูมือครู

No.

โซน 1 ขั้นตอนการสอนแบบ 5Es

โซน 2 ชวยครูเตรียมสอน

โซน 3 ชวยครูเตรียมนักเรียน

เพื่อใหครูเตรียมจัดกิจกรรมการเรียน การสอน โดยแนะนําขั้นตอนการสอนและ การจัดกิจกรรมแบบ 5Es อยางละเอียด เพื่อใหนักเรียนบรรลุตามตัวชี้วัด

เพื่อชวยลดภาระครูผูสอน โดยแนะนํา เกร็ดความรูสําหรับครู ความรูเสริมสําหรับ นักเรียน รวมทั้งบูรณาการความรูสูอาเซียน และมุม IT

เพื่อใหครูสะดวกตอการจัดกิจกรรม โดย แนะนํากิจกรรมบูรณาการเชือ่ มระหวางสาระหรือ กลุมสาระการเรียนรู วิชา กิจกรรมสรางเสริม กิจกรรมทาทาย รวมถึงเนื้อหาที่เคยออกขอสอบ O-NET แนวขอสอบ NT/O-NET ทีเ่ นนการคิด พรอมเฉลยและคําอธิบายอยางละเอียด


ที่ใชในคูมือครู

แถบสีและสัญลักษณ

แถบสีแสดงขั้นตอนการสอนและการจัดกิจกรรม แบบ 5Es เพื่อใหครูทราบวาเปนขั้นการสอนขั้นใด

1. แถบสี 5Es สีแดง

สีเขียว

กระตุน ความสนใจ

เสร�ม

สํารวจคนหา

Engage

2

เปนขั้นที่ผูสอนเลือกใช เทคนิคกระตุน ความสนใจ เพื่อโยง เขาสูบทเรียน

สีสม

อธิบายความรู

Explore

เปนขั้นที่ผูสอน ใหผูเรียนสํารวจ ปญหา และศึกษา ขอมูล

สีฟา

Explain

เปนขั้นที่ผูสอน ใหผูเรียนคนหา คําตอบ จนเกิดความรู เชิงประจักษ

สีมวง

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

เปนขั้นที่ผูสอน ใหผูเรียนนําความรู ไปคิดคนตอๆ ไป

เปนขั้นที่ผูสอน ประเมินมโนทัศน ของผูเรียน

2. สัญลักษณ สัญลักษณ

วัตถุประสงค

• เปาหมายการเรียนรู

• หลักฐานแสดง ผลการเรียนรู

• เกร็ดแนะครู

แทรกความรูเสริมสําหรับครู ขอเสนอแนะ ขอควรระวัง ขอสังเกต แนวทางการจัด กิจกรรมและอืน่ ๆ เพื่อประโยชนในการ จัดการเรียนการสอน ขยายความรูเพิ่มเติมจากเนื้อหา เพื่อให ครูนําไปใชอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียน ไดมีความรูมากขึ้น

ความรูห รือกิจกรรมเสริม ใหครูนาํ ไปใช เตรียมความพรอมใหกบั นักเรียนกอนเขาสู ประชาคมอาเซียนใน พ.ศ. 2558 โดย บูรณาการกับวิชาทีก่ าํ ลังเรียน

บูรณาการอาเซียน

คูม อื ครู

แสดงรองรอยหลักฐานตามภาระงาน ที่ครูมอบหมาย เพื่อแสดงผลการเรียนรู ตามตัวชี้วัด

• นักเรียนควรรู

มุม IT

แสดงเปาหมายการเรียนรูที่นักเรียน ตองบรรลุตามตัวชี้วัด ตลอดจนสมรรถนะ ที่จะตองมี และคุณลักษณะที่พึงเกิดขึ้น กับนักเรียน

แนะนําแหลงคนควาจากเว็บไซต เพื่อให ครูและนักเรียนไดเขาถึงขอมูลความรู ที่หลากหลาย ทั้งไทยและตางประเทศ

สัญลักษณ

ขอสอบ

วัตถุประสงค

O-NET

(เฉพาะวิชา ชัน้ ทีส่ อบ O-NET O-NET)

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T (เฉพาะระดับชัน้ มัธยมศึกษาตอนตอนตน)

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET (เฉพาะระดับชัน้ มัธยมศึกษาตอนปลาย)

บูรณาการเชื่อมสาระ

กิจกรรมสรางเสริม

กิจกรรมทาทาย

• ชีแ้ นะเนือ้ หาทีเ่ คยออกขอสอบ

O-NET โดยยกตัวอยางขอสอบ พรอมวิเคราะหคาํ ตอบ อยางละเอียด

• เปนตัวอยางขอสอบทีม่ งุ เนน

การคิดและเปนแนวขอสอบ NT/O-NET ในระดับมัธยมศึกษา ตอนตน มีทงั้ ปรนัย - อัตนัย พรอมเฉลยอยางละเอียด

• เปนตัวอยางขอสอบทีม่ งุ เนน

การคิดและเปนแนวขอสอบ O-NET ในระดับมัธยมศึกษา ตอนปลาย มีทงั้ ปรนัย - อัตนัย พรอมเฉลยอยางละเอียด

• แนะนําแนวทางการจัดกิจกรรม

เชือ่ มกับสาระหรือกลุม สาระ การเรียนรู ระดับชัน้ หรือวิชาอืน่ ทีเ่ กีย่ วของ

• แนะนําแนวทางการจัดกิจกรรม ซอมเสริมสําหรับนักเรียนทีค่ วร ไดรบั การพัฒนาการเรียนรู

• แนะนําแนวทางการจัดกิจกรรม ตอยอดสําหรับนักเรียนทีเ่ รียนรู ไดอยางรวดเร็ว และตองการ ทาทายความสามารถในระดับ ทีส่ งู ขึน้


คําแนะนําการใชคูมือครู การออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอน คูมือครู รายวิชา เศรษฐศาสตร ม.2 จัดทําขึ้นเพื่อใหครูผูสอนนําไปใชเปนแนวทางวางแผนการสอนเพื่อพัฒนา ผลสัมฤทธิท์ างการเรียน และประกันคุณภาพผูเ รียน ตามนโยบายของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน (สพฐ.) โดยใชหนังสือเรียน เศรษฐศาสตร ม.2 ของบริษัท อักษรเจริญทัศน อจท. จํากัด เปนสื่อหลัก (Core Material) ประกอบ เสร�ม การสอนและการจัดกิจกรรมการเรียนรูใหสอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดกลุมสาระการเรียนรู สังคมศึกษา 3 ศาสนา และวัฒนธรรม ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 โดยออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอน ตามหลักการสําคัญ ดังนี้ 1 ออกแบบการสอนเปนหนวยการเรียนรูอิงมาตรฐาน คูมือครู รายวิชา เศรษฐศาสตร ม.2 วางแผนการสอนโดยแบงเปนหนวยการเรียนรูตามลําดับสาระ (Strand) และ หมายเลขขอของมาตรฐานการเรียนรูแ ละตัวชีว้ ดั แตละหนวยจะกําหนดเปาหมายการเรียนรูแ ละจุดประสงคการเรียนรู (Objective Learning) กิจกรรมการเรียนรู (Learning Activities) และแนวทางการประเมินผลการเรียนรู (Learning Evaluation) ไวชัดเจน ครูผูสอนสามารถจัดทําแผนการสอนใหครอบคลุมมาตรฐานการเรียนรู ตัวชี้วัด สมรรถนะ และคุณลักษณะ อันพึงประสงคที่เปนเปาหมายการเรียนรูตามที่กําหนดไวในสาระแกนกลาง (ตามแผนภูมิ) และสามารถบันทึกผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนของผูเรียนแตละคนลงในเอกสาร ปพ.5 ไดอยางมั่นใจ แผนภูมิแสดงความสัมพันธขององคประกอบการออกแบบการเรียนรูอิงมาตรฐานและเนนผูเรียนเปนสําคัญ

พผ

ูเ

จุดปร

ะสง

คก า

ส ภา

รียน

รู ีเรยน

มาตรฐานการเรียนรู ตัวชี้วัดชั้นป

ทักษะการคิด การวัดประเมินผล การเรียนรู

กิจกรรมการเรียนรู

เทคนิคการสอน คูม อื ครู


2 การจัดการเรียนรูที่ยึดผูเรียนเปนสําคัญ แนวคิ ด ในการจั ด การเรี ย นการสอนที่ ยึ ด ผู  เ รี ย นเป น สํ า คั ญ พั ฒ นามาจากปรั ช ญาและทฤษฎี ก ารเรี ย นรู  Constructivism ที่เชื่อวา การเรียนรูเปนกระบวนการที่เกิดขึ้นภายในสมองของผูเรียนแตละคน ผูเรียนเปนผูสรางความรู โดยการเชื่อมโยงระหวางสิ่งที่ไดเรียนรูจากบทเรียนใหมกับความรูหรือประสบการณเดิมที่มีอยู ทฤษฎีนี้มีความเชื่อวา ผูเรียนทุกคนไดเรียนรูและมีการสั่งสมความรูความเขาใจเกี่ยวกับสิ่งตางๆ ติดตัวมากอน ทีจ่ ะเขาสูห อ งเรียน ซึง่ เปนการเรียนรูท เี่ กิดจากประสบการณและสิง่ แวดลอมรอบตัวผูเ รียนแตละคน ดังนัน้ การจัดกิจกรรม เสร�ม การเรียนการสอนในแตละหนวยการเรียนรู ผูสอนจะตองคํานึงถึง

4

1. ความรูเดิมของผูเรียน วิธีการสอนที่ดีจะตองเริ่มตนจากจุดที่วา ผูเ รียนมีความรูอ ะไรมาบาง แลวจึงใหความรู หรือประสบการณใหม เพื่อตอยอดจาก ความรูเดิม นําไปสูการสรางความรู ความเขาใจใหม

2. ความรูเดิมของผูเรียนถูกตองหรือไม ผูส อนตองปรับเปลีย่ นความรูค วามเขาใจเดิม ของผูเรียนใหถูกตอง และเปนพฤติกรรม การเรียนรูใ หมทมี่ คี ณุ คาตอผูเรียน เพื่อสราง เจตคติหรือทัศนคติที่ดีตอการเรียนรู สิ่งเหลานั้น

3. ผูเรียนสรางความหมายสําหรับตนเอง ผูสอนตองสงเสริมใหผูเรียนนําความรู ความเขาใจที่เกิดขึ้นไปลงมือปฏิบัติ เพื่อขยายความรูใหลึกซึ้งและมีคุณคา ตอตัวผูเรียนมากที่สุด

แนวคิด Constructivism เนนใหผูเรียนสรางความรูโดยผานกระบวนการคิดและความอยากรูของตนเอง โดยมีผูสอนเปนผูสรางบรรยากาศ

การเรียนรูและกระตุนความสนใจ คอยจัดสถานการณใหผูเรียนเกิดความขัดแยงทางความคิดระหวางประสบการณเดิมกับประสบการณ ความรูใ หม เพือ่ กระตนุ ใหผเู รียนเชือ่ มโยงความรู ความคิด กับประสบการณทมี่ อี ยูเ ดิม แลวสังเคราะหเปนความรูห รือแนวคิดใหมๆ ไดดว ยตนเอง

3 การบูรณาการกระบวนการคิด การเรียนรูของผูเรียนแตละคนจะเกิดขึ้นที่สมอง ซึ่งเปนอวัยวะที่ทําหนาที่รูคิดภายใตสภาพแวดลอมที่เอื้ออํานวย และไดรบั การกระตนุ จูงใจอยางเหมาะสม สอดคลองกับสภาพจิตใจและความตองการของผูเ รียนแตละคน การจัดกิจกรรม การเรียนรูและสาระการเรียนรูที่สอดคลองกับความสนใจและมีความหมายตอผูเรียน จะชวยกระตุนใหสมองของผูเรียน สามารถรับรูและเรียนรูไดอยางมีประสิทธิภาพตามขั้นตอนการทํางานของสมอง ดังนี้ 1. สมองจะเรียนรูและสืบคน โดยการสังเกต คนหา ซักถาม และทดลอง ปฏิบัติ จนทําใหคนพบความรูความเขาใจ ไดอยางรวดเร็ว

2. สมองจะแยกแยะคุณคาของสิ่งตางๆ โดยการตัดสินใจวิพากษวิจารณ แสดง ความคิดเห็น ยอมรับหรือตอตานตาม อารมณความรูสึกที่เกิดขึ้นในขณะที่เรียนรู

3. สมองจะประมวลเนื้อหาสาระ โดยการสรุปเปนความคิดรวบยอดจาก เรื่องราวที่ไดเรียนรูใหมนําไปผสมผสานกับ ความรูห รือประสบการณเดิมทีถ่ กู จัดเก็บอยูใ น สมอง ผานการกลัน่ กรองเพือ่ สังเคราะหเปน ความรูค วามเขาใจใหมๆ หรือเปนทัศนคติใหม ที่จะเก็บบรรจุไวในสมองของผูเรียน

การเรียนรูที่มีประสิทธิภาพจึงตองเปนการเรียนรูที่เกิดจากกระบวนการคิดของผูเรียน เพราะการเรียนรูจะเกิดขึ้น เมื่อสมองรูคิด และตองเปนการคิดไดครบถวนตามขั้นตอนการทํางานของสมองผูเรียน โดยเริ่มตนจาก 1. ระดับการคิดพื้นฐาน ไดแก การสังเกต การจําแนก การคาดคะเน การสื่อความหมาย การรวบรวมขอมูล การสรุปผล เปนตน

คูม อื ครู

2. ระดับลักษณะการคิด ไดแก การคิดกวาง คิดลึกซึ้ง คิดไกล คิดหลากหลาย คิดคลอง คิดอยางมีเหตุผล เปนตน

3. ระดับกระบวนการคิด ไดแก กระบวนการคิดอยางมีวิจารณญาณ กระบวนการแกปญหา กระบวนการ คิดสรางสรรค กระบวนการคิดสังเคราะห เปนตน


5Es การจัดกิจกรรมตามขั้นตอนวัฏจักรการเรียนรู 5Es ขั้นตอนการสอนที่สัมพันธกับขั้นตอนการคิดและการทํางานทางสมองของผูเรียนที่นิยมใชอยางแพรหลาย คือ วัฏจักรการเรียนรู 5Es ซึ่งผูจัดทําคูมือครูไดนํามาใชเปนแนวทางออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนในแตละหนวย ตามลําดับขั้นตอนการเรียนรู ดังนี้ ขั้นที่ 1

กระตุนความสนใจ

(Engage)

เสร�ม

5

เปนขั้นที่ผูสอนนําเขาสูบทเรียน เพื่อกระตุนความสนใจของผูเรียนดวยเรื่องราวหรือเหตุการณที่นาสนใจโดยใชเทคนิควิธีการ และคําถามทบทวนความรูหรือประสบการณเดิมของผูเรียน เพื่อเชื่อมโยงผูเรียนเขาสูความรูของบทเรียนใหม ชวยใหผูเรียนสามารถ สรุปความสําคัญหัวขอและสาระการเรียนรูของบทเรียนได จึงเปนขั้นตอนการสอนที่สําคัญ เพราะเปนการเตรียมความพรอมและสราง แรงจูงใจใฝเรียนรูแกผูเรียน

ขั้นที่ 2

สํารวจคนหา

(Explore)

เปนขัน้ ทีผ่ สู อนเปดโอกาสใหผเู รียนลงมือศึกษา สังเกต หรือรวมมือกันสํารวจ เพือ่ ใหเห็นขอบขายของประเด็นหรือปญหา รวมถึง วิธีการศึกษาคนควา การรวบรวมขอมูลความรูที่จะนําไปสูการสรางความเขาใจประเด็นหรือปญหานั้นๆ เมื่อผูเรียนทําความเขาใจใน ประเด็นหรือปญหาที่จะศึกษาคนควาอยางถองแทแลว ก็ลงมือปฏิบัติเพื่อเก็บรวบรวมขอมูลความรู สํารวจตรวจสอบ โดยวิธีการตางๆ เชน สัมภาษณ ทดลอง อานคนควาขอมูลจากเอกสาร แหลงขอมูลตางๆ จนไดขอมูลความรูที่เกี่ยวของกับประเด็นหรือปญหาที่ศึกษา

ขั้นที่ 3

อธิบายความรู

(Explain)

เปนขั้นที่ผูสอนมีปฏิสัมพันธกับผูเรียน เชน ใหการแนะนํา ตั้งคําถามกระตุนใหคิด เพื่อใหผูเรียนคนหาคําตอบ และนําขอมูล ความรูจากการศึกษาคนควาในขั้นที่ 2 มาวิเคราะห สรุปผล และนําเสนอผลที่ไดศึกษาคนความาในรูปแบบสารสนเทศตางๆ เชน เขียนแผนภูมิ ผังมโนทัศน เขียนความเรียง เขียนรายงาน เปนตน ในขั้นตอนนี้ฝกใหผูเรียนใชสมองคิดวิเคราะหและสังเคราะห อยางเปนระบบ

ขั้นที่ 4

ขยายความเขาใจ

(Expand)

เปนขั้นที่ผูสอนเลือกใชเทคนิควิธีสอนตางๆ ที่สงเสริมใหผูเรียนนําความรูที่เกิดขึ้นไปคิดคนสืบคนตอๆ ไป เพื่อพัฒนาทักษะ การเรียนรูและการทํางานรวมกันเปนกลุม ระดมสมองเพื่อคิดสรางสรรครวมกัน ผูเรียนสามารถนําความรูที่สรางขึ้นใหมไปเชื่อมโยง กับประสบการณเดิมโดยนําขอสรุปทีไ่ ดไปใชอธิบายเหตุการณตา งๆ หรือนําไปปฏิบตั ใิ นสถานการณใหมๆ ทีเ่ กีย่ วของกับชีวติ ประจําวัน ของตนเอง เพื่อขยายความรูความเขาใจใหกวางขวางยิ่งขึ้น ในขั้นตอนนี้ฝกสมองของผูเรียนใหสามารถคิดริเริ่มสรางสรรคอยางมี คุณภาพ เสริมสรางวิสัยทัศนใหกวางไกลออกไป

ขั้นที่ 5

ตรวจสอบผล

(Evaluate)

เปนขัน้ ทีผ่ สู อนประเมินมโนทัศนของผูเ รียน โดยตรวจสอบจากความคิดทีเ่ ปลีย่ นไปและความคิดรวบยอดทีเ่ กิดขึน้ ใหม ตรวจสอบ ทักษะ กระบวนการปฏิบัติ การแกปญหา การตอบคําถามรวบยอด หรือการเคารพความคิดหรือยอมรับเหตุผลของคนอื่น เพื่อการ สรางสรรคความรูร ว มกัน ผูเ รียนสามารถประเมินผลการเรียนรูข องตนเอง เพือ่ สรุปผลวามีความรูอ ะไรเพิม่ ขึน้ มาบาง เกิดความเขาใจ มากนอยเพียงใด และจะนําความรูเหลานั้นไปประยุกตใชในการเรียนรูเรื่องอื่นๆ หรือในชีวิตประจําวันไดอยางไร ผูเรียนจะเกิดเจตคติ และเห็นคุณคาของตนเองจากผลการเรียนรูที่เกิดขึ้น ซึ่งเปนการเรียนรูที่มีความสุขอยางแทจริง

การจัดกิจกรรมการเรียนรูตามขั้นตอนวัฏจักรการเรียนรู 5Es จึงเปนรูปแบบการเรียนการสอนที่เนนผูเรียน เปนสําคัญอยางแทจริง เพราะสงเสริมใหผูเรียนไดเรียนรูตามขั้นตอนของกระบวนการสรางความรูดวยตนเอง และ ฝกฝนใหใชกระบวนการคิดและกระบวนการกลุมอยางชํานาญ กอใหเกิดทักษะชีวิต ทักษะการทํางาน และทักษะการ เรียนรูที่มีประสิทธิภาพ สงผลตอการยกระดับผลสัมฤทธิ์ของผูเรียน ตามเปาหมายของการปฏิรูปการศึกษาทศวรรษที่ 2 (พ.ศ. 2552-2561) ทุกประการ คูม อื ครู


O-NET การเพิ่มผลสัมฤทธิ์ O-NET

การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามขั้นตอนวัฏจักรการเรียนรู 5Es ในแตละหนวยการเรียนรู ทางผูจัดทํา จะเสนอแนะวิธีสอน รูปแบบกิจกรรมการเรียนรู พรอมทั้งออกแบบเครื่องมือวัดและประเมินผลที่สอดคลองกับตัวชี้วัด และสาระการเรียนรูแกนกลางไวทุกขั้นตอน โดยยึดหลักสําคัญ คือ หลักของการวัดและประเมินผล เสร�ม

6

1. การวัดและประเมินผลทุกครั้ง ควรนําผลมาปรับปรุงพัฒนาผูเรียน เปนรายบุคคล

2. การวัดและประเมินผลมี เปาหมาย เพื่อพัฒนาการเรียนรู ของผูเรียนจนเต็มศักยภาพ

3. การนําผลการวัดและประเมินผล ทุกครั้งมาวางแผนปรับปรุงกิจกรรม การเรียนการสอน การเลือกเทคนิค วิธีสอน และสื่อการเรียนรูให เหมาะสมกับสภาพจริงของผูเรียน

การทดสอบผูเรียน 1. การใชขอสอบอัตนัย เนนการอาน การคิดวิเคราะห และการเขียนเพิ่มมากขึ้น 2. การใชคําถามกระตุนการคิดควบคูกับการทําขอสอบที่เนนการคิดอยางตอเนื่องตามลําดับกิจกรรมการเรียนรู และตัวชี้วัด 3. การทดสอบตองดําเนินการทั้งกอนเรียน ระหวางเรียน และหลังเรียน การทดสอบควรใชขอสอบทั้งชนิดปรนัยและ อัตนัย และเปนการทดสอบเพื่อประเมินผลการเรียนของผูเรียนแตละคน เพื่อการสอนซอมเสริมใหบรรลุตัวชี้วัด ไดครบถวน 4. การสอบกลางภาค (ถามี) ควรนําแบบฝกหัดหรือขอสอบทีน่ กั เรียนสวนใหญไมสามารถตอบไดหรือไมครบถวนชัดเจน มา สรางเปนแบบทดสอบอีกครัง้ เพือ่ ตรวจสอบความรูค วามเขาใจทีถ่ กู ตอง และประเมินความกาวหนาของผูเ รียนแตละคน 5. การสอบปลายภาคเรียนเพื่อวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามตัวชี้วัดที่สําคัญ ควรออกขอสอบใหมีลักษณะเดียวกับ ขอสอบ O-NET โดยเนนการคิดวิเคราะห สังเคราะห เชื่อมโยงประยุกตใช เพื่อสรางความคุนเคย และฝกฝน วิธีการทําขอสอบดวยความมั่นใจ 6. การนําผลการทดสอบของผูเรียนมาวิเคราะห โดยผลการสอบกอนการเรียนตองสามารถพยากรณผลการสอบ กลางภาค และผลการสอบกลางภาคตองทํานายผลการสอบปลายภาคของผูเ รียนแตละคน เพือ่ ประเมินพัฒนาการ ความกาวหนาของผูเรียนเปนรายบุคคล 7. ผลการทดสอบปลายป ปลายภาค ตองมีคาเฉลี่ยสอดคลองกับคาเฉลี่ยของการสอบ NT ที่เขตพื้นที่การศึกษา จัดสอบ รวมทั้งคาเฉลี่ยของการสอบ O-NET ชวงชั้นที่สอดคลองครอบคลุมมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดสําคัญ เพือ่ สะทอนประสิทธิภาพของครูผสู อนในการออกแบบการเรียนรูแ ละประกันคุณภาพผูเ รียนทีต่ รวจสอบผลไดชดั เจน การจัดการเรียนการสอนในแตละหนวยการเรียนรู ตองใหผูเรียนไดสั่งสมความรู ความเขาใจตามลําดับขั้นตอน ของกิจกรรมในวัฏจักรการเรียนรู 5Es เพื่อใหผูเรียนไดเติมเต็มองคความรูอยางตอเนื่อง จนสามารถปฏิบัติชิ้นงานหรือ ภาระงานรวบยอดของแตละหนวย ผานเกณฑประกันคุณภาพในระดับที่นาพึงพอใจ เพื่อรองรับการประเมินภายนอกจาก สมศ. ตลอดเวลา คูม อื ครู


ASEAN การเรียนรูสูประชาคมอาเซียน เพื่ออํานวยความสะดวกแกครูผูสอนในการจัดกิจกรรมการเรียนรูบูรณาการอาเซียนศึกษา ผูจัดทําไดวิเคราะห มาตรฐานการเรียนรู และตัวชี้วัดที่มีสาระการเรียนรูสอดคลองกับองคความรูเกี่ยวกับประชาคมอาเซียนในแงมุมตางๆ ครอบคลุมทัง้ ประชาคมการเมืองและความมัน่ คงอาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และประชาคมสังคมและวัฒนธรรม อาเซียน เพื่อสงเสริมการเรียนรูใหผูเรียนเกิดความตระหนัก มีความรูความเขาใจเหมาะสมกับระดับชั้นและกลุมสาระ การเรียนรู โดยเสนอแนะวิธีการจัดกิจกรรมบูรณาการเนื้อหาสาระตางๆ ที่เปนประโยชนตอผูเรียนและเปนการชวย เตรียมความพรอมผูเ รียนทุกคนทีจ่ ะกาวเขาสูก ารเปนสมาชิกของประชาคมอาเซียนไดอยางมัน่ ใจตามขอตกลงปฏิญญา เสร�ม ชะอํา-หัวหิน วาดวยความรวมมือดานการศึกษาเพือ่ บรรลุเปาหมายประชาคมอาเซียนทีเ่ อือ้ อาทรและแบงปน จึงกําหนด 7 เปนนโยบายใหกระทรวงศึกษาธิการจัดการเรียนรูเตรียมความพรอมผูเรียนเขาสูประชาคมอาเซียนภายในป พ.ศ. 2558 ตามแนวปฏิบัติที่สําคัญ ดังนี้

การจัดการเรียนรูส ู ประชาคมการเมืองและความมัน่ คงอาเซียน 1. การสรางความรูความเขาใจ และตระหนักถึงความสําคัญของ กฎบัตรอาเซียน และความรวมมือ ของ 3 เสาหลัก ซึง่ กฎบัตรอาเซียน ในขณะนี้มีสถานะเปนกฎหมายที่ ประเทศสมาชิกจะตองปฏิบัติตาม หลักการที่กําหนดไวเพื่อใหบรรลุ เปาหมายของกฎบัตรมาตราตางๆ

2. การสงเสริมหลักการ ประชาธิปไตยและการสราง สิ่งแวดลอมประชาธิปไตย เพื่อการอยูรวมกันอยางกลมกลืน ภายใตวิถีชีวิตอาเซียนที่มีความ หลากหลายดานสังคมและ วัฒนธรรม

4. การตระหนักในคุณคาของ สายสัมพันธทางประวัติศาสตร และมรดกทางวัฒนธรรมที่มี พัฒนาการรวมกัน เพื่อเชื่อม อัตลักษณและสรางจิตสํานึก ในการเปนประชากรของประชาคม อาเซียนรวมกัน

3. การสงเสริมการศึกษาดาน สิทธิมนุษยชน เพื่อสรางประชาคม อาเซียนใหเปนประชาคมเพื่อ ประชาชนอยางแทจริง สามารถ อยูรวมกันไดบนพื้นฐานการเคารพ ในคุณคาของศักดิ์ศรีแหงความ เปนมนุษยเทาเทียมกัน

5. การสงเสริมสันติภาพ ความ มั่นคง และความปรองดองในสังคม ทั้งระดับประเทศและภูมิภาคของ อาเซียนบนพื้นฐานสันติวิธีและการ อยูรวมกันดวยขันติธรรม

คูม อื ครู


การจัดการเรียนรูส ู ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

เสร�ม

8

1. การพัฒนาทักษะการทํางาน เพื่อเสริมสรางผูเรียนใหมีทักษะ วิชาชีพที่จําเปนสอดคลองกับ ความตองการของตลาดแรงงาน และสถานประกอบการในอาเซียน สามารถเทียบโอนผลการเรียน และการทํางานตามมาตรฐานฝมือ แรงงานในภูมิภาคอาเซียน

2. การเสริมสรางวินัย ความรับผิดชอบ และเจตคติรักการทํางาน สามารถพึ่งพาตนเอง มีทักษะชีวิต ดํารงชีวิตอยางมีความสุข เห็นคุณคา และภูมิใจในตนเอง ในฐานะที่เปนพลเมืองไทยและ อาเซียน

3. การเรียนรูเพื่อพัฒนาตนเอง อยางตอเนื่องตลอดชีวิต ใหมี ทักษะการทํางานตามมาตรฐาน อาชีพ และคุณวุฒิของวิชาชีพสาขา ตางๆ เพื่อรองรับการเตรียมเคลื่อน ยายแรงงานมีฝมือและการเปน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนที่ เขมแข็ง เพื่อสรางขีดความสามารถ ในการแขงขันในเวทีโลก

การจัดการเรียนรูส ู ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน 1. การเสริมสรางความรวมมือ ในลักษณะสังคมที่เอื้ออาทร ของประชากรอาเซียน โดยยึด หลักการสําคัญ คือ ความงดงาม ของประชาคมอาเซียนมาจาก ความแตกตางและหลากหลายทาง วัฒนธรรมที่ลวนแตมีคุณคาตอ มรดกทางวัฒนธรรมของอาเซียน ซึ่งประชาชนทุกคนตองอนุรักษ สืบสานใหยั่งยืน

2. การเสริมสรางคุณลักษณะ ของผูเรียนใหเปนพลเมืองอาเซียน ที่มีศักยภาพในการกาวเขาสู ประชาคมอาเซียนอยางมั่นใจ เปนผูที่มีสุขภาพสมบูรณแข็งแรง มีทักษะการสื่อสาร ทักษะการ ทํางาน ทักษะทางสังคม สามารถ ทํางานรวมกับผูอื่นไดอยาง สรางสรรค และมีองคความรู เกี่ยวกับอาเซียนที่จําเปนตอการ ดํารงชีวิตอยางมีคุณภาพ

4. การสงเสริมการเรียนรูดาน ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี วิถชี วี ติ ความเปนอยูข องเพือ่ นบาน ในอาเซียน เพื่อสรางจิตสํานึกของ ความเปนประชาคมอาเซียนและ ตระหนักถึงหนาที่ของการเปน พลเมืองอาเซียนรวมกัน

3. การสงเสริมการเรียนรูภาษา อังกฤษเพื่อการสื่อสารและการ ทํางานตามมาตรฐานอาชีพที่ กําหนดและสนับสนุนการเรียนรู ภาษาอาเซียนและภาษาเพื่อนบาน เพื่อชวยเสริมสรางสัมพันธภาพทาง สังคม และการอยูรวมกันอยางสันติ ทามกลางความหลากหลายทาง วัฒนธรรม

5. การสรางความรูและความ ตระหนักเกี่ยวกับดานสิ่งแวดลอม ปญหาและผลกระทบตอคุณภาพ ชีวิตของประชากรในภูมิภาค รวมทั้งแนวทางการพัฒนาอยาง ยั่งยืน ใหเปนมรดกสืบทอดแก พลเมืองอาเซียนในรุนหลังตอๆ ไป

กระทรวงศึกษาธิการจึงประกาศนโยบายการปฏิรูปการศึกษาทศวรรษที่ 2 (พ.ศ. 2552-2561) เพื่อเรงพัฒนาเด็ก และเยาวชนไทยใหเปนทรัพยากรมนุษยของชาติที่มีทักษะและความชํานาญ พรอมเผชิญกับความเปลี่ยนแปลงและ การแขงขันทั้งในภูมิภาคอาเซียนและภูมิภาคอื่นๆ ของสังคมโลก ทั้งนี้ผูบริหารสถานศึกษา ครูผูสอน และผูปกครอง ควรรวมมือกันอยางใกลชิดในการดูแลชวยเหลือผูเรียนและจัดประสบการณการเรียนรูเพื่อพัฒนาผูเรียนจนเต็มศักยภาพ เพื่อกาวเขาสูการเปนพลเมืองอาเซียนอยางมีเกียรติภูมิและศักดิ์ศรีความเปนมนุษยของตน คณะผูจัดทํา คูม อื ครู


ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง สาระที่ 3

เศรษฐศาสตร (เฉพาะชั้น ม.2)*

เศรษฐศาสตร

มาตรฐาน ส 3.1 เขาใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลิตและการบริโภค การใชทรัพยากรที่มีอยูจํากัด ไดอยางมีประสิทธิภาพและคุมคา รวมทั้งเขาใจหลักการของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อการดํารงชีวิต อยางมีดุลยภาพ ชั้น

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

เสร�ม

9

ม.2 1. วิเคราะหปจจัยที่มี • ความหมายและความสําคัญของการลงทุนและ • หนวยการเรียนรูที่ 1 การออมและการลงทุน ผลตอการลงทุนและ การออมตอระบบเศรษฐกิจ • การบริหารจัดการเงินออมและการลงทุน การออม ภาคครัวเรือน • ปจจัยของการลงทุนและการออมคือ อัตรา ดอกเบี้ย รวมทั้งปจจัยอื่นๆ เชน คาของเงิน เทคโนโลยี การคาดเดาเกี่ยวกับอนาคต • ปญหาของการลงทุนและการออมในสังคมไทย 2. อธิบายปจจัยการผลิต • ความหมาย ความสําคัญ และหลักการผลิต สินคาและบริการ และ สินคาและบริการอยางมีประสิทธิภาพ ปจจัยที่มีอิทธิพลตอ • สํารวจการผลิตสินคาในทองถิ่นวามีการผลิต อะไรบาง ใชวิธีการผลิตอยางไร มีปญหาดานใด การผลิตสินคาและ บาง บริการ • มีการนําเทคโนโลยีอะไรมาใชที่มีผลตอการผลิต สินคาและบริการ • นําหลักการผลิตมาวิเคราะหการผลิตสินคา และบริการในทองถิ่นทั้งดานเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดลอม 3. เสนอแนวทาง • หลักการและเปาหมายปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง การพัฒนาการผลิต ในทองถิน่ ตามปรัชญา • สํารวจและวิเคราะหปญหาการผลิตสินคาและ บริการในทองถิ่น ของเศรษฐกิจ • ประยุกตใชปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการ พอเพียง ผลิตสินคาและบริการในทองถิ่น

• หนวยการเรียนรูท ี่ 2 การผลิตสินคาและบริการ

• หนวยการเรียนรูท ี่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับ การผลิตสินคาและบริการ

• หนวยการเรียนรูท ี่ 4 4. อภิปรายแนวทาง • การรักษาและคุมครองสิทธิประโยชนของ ผูบริโภค การคุมครองผูบริโภค การคุมครองสิทธิ • กฎหมายคุ ม  ครองสิ ท ธิ ผ บ  ู ริ โ ภคและหน ว ยงาน ของตนเองในฐานะ ทีเ่ กี่ยวของ ผูบริโภค • การดําเนินกิจกรรมพิทักษสิทธิและผลประโยชน ตามกฎหมายในฐานะผูบริโภค • แนวทางการปกปองสิทธิของผูบริโภค _________________________________ * สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สํานักคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, กระทรวงศึกษาธิการ. ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม. (กรุงเทพมหานคร : ชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย, 2551), หนา 71-91.

คูม อื ครู


มาตรฐาน ส 3.2 เขาใจระบบและสถาบันทางเศรษฐกิจตางๆ ความสัมพันธทางเศรษฐกิจและความจําเปนของการรวมมือกัน ทางเศรษฐกิจในสังคมโลก ชั้น

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

ม.2 1. อภิปรายระบบ • ระบบเศรษฐกิจแบบตางๆ เศรษฐกิจแบบตางๆ เสร�ม

10

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

• หนวยการเรียนรูท ี่ 5 ระบบเศรษฐกิจ การพึ่งพา การแขงขันทางเศรษฐกิจ ในทวีปเอเชีย

• หนวยการเรียนรูท ี่ 5 2. ยกตัวอยางที่สะทอน • หลักการและผลกระทบการพึ่งพาอาศัยกัน และการแขงขันกันทางเศรษฐกิจในภูมิภาค ระบบเศรษฐกิจ การพึ่งพา ใหเห็นการพึ่งพา เอเชีย การแขงขันทางเศรษฐกิจ อาศัยกันและการ ในทวีปเอเชีย แขงขันกันทาง เศรษฐกิจในภูมิภาค เอเชีย 3. วิเคราะหการกระจาย • การกระจายของทรัพยากรในโลกที่สงผลตอ • หนวยการเรียนรูท ี่ 5 ระบบเศรษฐกิจ การพึ่งพา ของทรัพยากรในโลก ความสัมพันธทางเศรษฐกิจระหวางประเทศ เช น นํ า ้ มั น ป า ไม ทองคํ า ถ า นหิ น แร เป น ต น การแขงขันทางเศรษฐกิจ ที่สงผลตอความ ในทวีปเอเชีย สัมพันธทางเศรษฐกิจ ระหวางประเทศ • หนวยการเรียนรูท ่ี 5 4. วิเคราะหการแขงขัน • การแขงขันทางการคาในประเทศและ ระบบเศรษฐกิจ การพึ่งพา ทางการคาในประเทศ ตางประเทศ การแขงขันทางเศรษฐกิจ และตางประเทศสง ในทวีปเอเชีย ผลตอคุณภาพสินคา ปริมาณการผลิต และราคาสินคา

คูม อื ครู


คําอธิบายรายวิชา รายวิชา เศรษฐศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 รหัสวิชา ส…………………………………

กลุมสาระการเรียนรู สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ภาคเรียนที่ 1-2 เวลา 20 ชั่วโมง/ป

ศึกษา วิเคราะห ระบบเศรษฐกิจแบบตางๆ การพึ่งพาอาศัยกัน และการแขงขันกันทางเศรษฐกิจในภูมิภาคเอเชีย การกระจายของทรัพยากรในโลกที่สงผลตอความสัมพันธทางเศรษฐกิจระหวางประเทศ การแขงขันทางการคาในประเทศ เสร�ม และตางประเทศที่สงผลตอคุณภาพสินคา ปริมาณการผลิตและราคาสินคา ปจจัยที่มีผลตอการลงทุนและการออม ปจจัย 11 การผลิตสินคาและบริการ และปจจัยที่มีอิทธิพลตอการผลิตสินคาและบริการ เสนอแนวทางการพัฒนาการผลิตในทองถิ่น ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และการคุมครองสิทธิของตนเองในฐานะผูบริโภค โดยใชกระบวนการคิด กระบวนการสืบคนขอมูล กระบวนการทางสังคม กระบวนการเผชิญสถานการณและแกปญ หา กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการกลุม เพือ่ ใหมคี วามรูค วามเขาใจความสัมพันธทางเศรษฐกิจ สามารถใชทรัพยากรทีม่ อี ยูจ าํ กัดไดอยางมีประสิทธิภาพและคุม คา เขาใจหลักการของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการดํารงชีวิต สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู มีคุณธรรม จริยธรรม และมีคุณลักษณะ อันพึงประสงคในดานมีวินัย ใฝเรียนรู มุงมั่นในการทํางาน มีจิตสาธารณะ อยูอยางพอเพียง

ตัวชี้วัด ส 3.1 ส 3.2

ม.2/1 ม.2/1

ม.2/2 ม.2/3 ม.2/2 ม.2/3 รวม 8 ตัวชี้วัด

ม.2/4 ม.2/4

คูม อื ครู


ตาราง

วิเคราะหมาตรฐานการเรียนรูแ ละตัวชีว้ ดั รายวิชา เศรษฐศาสตร ม.2

คําชี้แจง : ใหผูสอนใชตารางนี้ตรวจสอบความสอดคลองของเนื้อหาสาระการเรียนรูในหนวยการเรียนรูกับมาตรฐาน การเรียนรูและตัวชี้วัดชวงชั้น

มาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัด

เสร�ม

12

หนวยการเรียนรู หนวยการเรียนรูที่ 1 : การออมและการลงทุน

หนวยการเรียนรูที่ 2 : การผลิตสินคาและบริการ

หนวยการเรียนรูที่ 3 : เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิต สินคาและบริการ

หนวยการเรียนรูที่ 4 : การคุมครองผูบริโภค หนวยการเรียนรูที่ 5 : ระบบเศรษฐกิจ การพึ�งพา การแขงขันทางเศรษฐกิจ ในทวีปเอเชีย

คูม อื ครู

สาระที่ 3 มาตรฐาน ส 3.1 มาตรฐาน ส 3.2 ตัวชี้วัด ตัวชี้วัด 1 2 3 4 1 2 3 4 ✓


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ÃÒÂÇÔªÒ¾×é¹°Ò¹

àÈÃÉ°ÈÒʵà Á.ò

ªÑ¹é ÁѸÂÁÈÖ¡ÉÒ»‚·Õè ò

¡ÅØ‹ÁÊÒÃСÒÃàÃÕ¹ÃÙŒÊѧ¤ÁÈÖ¡ÉÒ ÈÒÊ¹Ò áÅÐÇѲ¹¸ÃÃÁ µÒÁËÅÑ¡ÊÙµÃ᡹¡ÅÒ§¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñé¹¾×é¹°Ò¹ ¾Ø·¸ÈÑ¡ÃÒª òõõñ ¼ÙŒàÃÕºàÃÕ§

È.´Ã. µÕó ¾§È Á¦¾Ñ²¹ ÃÈ. ¨ÃÔ¹·Ã à·ÈÇÒ¹Ôª ÃÈ. ÊØÁ¹·Ô¾Â ºØÞÊÁºÑµÔ

¼ÙŒµÃǨ

ÃÈ. ´Ã. ÊØ»ÃÕÂÒ ¤ÇÃപФػµ ¼È. ´Ã. ÊبԵÃÒ ªíÒ¹ÔÇÔ¡Â ¡Ã³ ÃÈ. ´Ã. ÊÁªÒ ÊÔÃÔà·ÕÂ÷ÃÃȹ ¹Ò§ÊÒÇàÂÒÇÅѡɳ ÍÑ¡ÉÃ

ºÃóҸԡÒÃ

¹ÒÂÊÁà¡ÕÂÃµÔ ÀÙ‹ÃÐ˧É

¾ÔÁ¾ ¤ÃÑ駷Õè ÷

ʧǹÅÔ¢ÊÔ·¸ÔìµÒÁ¾ÃÐÃÒªºÑ- - ÑµÔ ÃËÑÊÊÔ¹¤ŒÒ òòñóð÷ó

¤Œ¹¤ÇÒÁÃÙŒ¢ÂÒ¤ÇÒÁ¤Ô´¨Ò¡

¾ÔÁ¾ ¤ÃÑ駷Õè 1 ÃËÑÊÊÔ¹¤ŒÒ 2243130

EB GUIDE

ที่พิมพกํากับหัวขอสําคัญในหนังสือเรียนหลักสูตรแกนกลางฯ ผาน www.aksorn.com ไปยังแหลงความรูทั่วไทย-ทั่วโลก

คณะผูจัดทําคูมือครู อังคณา ตติรัตน วีระชัย บุญอยู ไชยพศ โลดํารงรัตน


กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

อธิบายความรู

Explore

ขยายความเขาใจ

Explain

Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

¤íÒá¹Ð¹íÒ㹡ÒÃ㪌˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹

หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน เศรษฐศาสตรเลมนี้ ใชประกอบการเรียนการสอนรายวิชาพื้นฐาน กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๒ เนื้อหาตรงตามสาระการเรียนรูแกนกลางขั้นพื้นฐาน อานทําความเขาใจงาย ใหทั้งความรูและ ชวยพัฒนาผูเรียนตามหลักสูตรและตัวชี้วัด เนื้อหาสาระแบงออกเปนหนวยการเรียนรูตามโครงสรางรายวิชา สะดวกแกการจัดการเรียนการสอนและการวัดผลประเมินผล พรอมเสริมองคประกอบอื่นๆ ที่จะชวยทําให ผูเรียนไดรับความรูอยางมีประสิทธิภาพ ¨Ñ´¡ÅØ‹Áà¹×éÍËÒ໚¹Ë¹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ Êдǡᡋ¡ÒèѴ¡ÒÃàÃÕ¹¡ÒÃÊ͹

การผลิตสินค้าและบริการ ตัวชี้วัด ■ อธิบายปัจจัยและการผลิ ตสินค้าและบริการ และปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการผลิตสินค้าและบริ การ (ส ๓.๑ ม.๒/๒)

สาระการเรียนรู้แกนกลาง ความหมาย ความส�าคัญและหลักการผลิตสิน ค้าและบริการ อย่างมีประสิทธิภาพ ■ ส�ารวจการผลิตสินค้าในท้องถิน่ ว่ามีการผลิตอะไรบ้ าง ใช้วธิ กี าร ผลิตอย่างไร มีปัญหาด้านใดบ้าง ■ มีการน�าเทคโนโลยีอะไรมาใช้ที่มีผลต่อการผลิ ตสินค้า และบริการ ■ น�าหลักการผลิตมาวิเคราะห์การผลิตสินค้าและบริ ท้องถิ่นทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้ การใน อม ■

การผลิ ต เป็ น การน� า ทรั พ ยากรที่ มี อ ยู ่ อย่างจ�ากัดมาสร้างสรรค์เป็นสินค้าและบริ การ เพื่อตอบสนองความต้องการอันไม่สิ้นสุ ดของ มนุษย์ แต่เนื่องจากการมีอยู่อย่างจ�ากั ดของ ทรัพยากรจึงท�าให้ต้องมีการวางแผนในการใช้ ปัจจัยการผลิต เพือ่ ให้ได้ผลผลิตทีม่ คี ณ ุ ภาพ และ ใช้ทรัพยากรให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดในการ ผลิ ต สิ น ค้ า และบริ ก าร ในระบบเศ รษฐกิ จ แบบเสรีนิยม ก�าไรเป็นแรงกระตุ้นส� าคัญ ของ ธุ ร กิ จ ที่ ก ระตุ ้ น ให้ ผู ้ ผ ลิ ต ท� า การผลิ ต สิ น ค้ า และบริการอย่างมีประสิทธิภาพ การผลิต สินค้า ของไทยในปัจจุบันมีการแข่งขันกันสูง ทั้ง ผู้ผลิต ภายในประเทศและต่างประเทศ ส่งผลให้ม ีสินค้า หลากหลาย ประชาชนมโี อกาสเลือกบริโภคสิ นค้า ตามความพึงพอใจ ในขณะเดียวกันท�าให้ ผู้ผลิต ต้องมีการพัฒนาการผลิตอยู่ตลอดเวลา มีการ น�าเทคโนโลยีเข้ามาใช้ในการผลิตเพื่อให้ได้ สินค้า ที่มีคุณภาพ

µÑǪÕéÇÑ´áÅÐÊÒÃСÒÃàÃÕ¹Ãٌ᡹¡ÅÒ§Ï µÒÁ·ÕèËÅÑ¡Êٵà ¡íÒ˹´ à¾×èÍãËŒ·ÃÒº¶Ö§à»‡ÒËÁÒÂ㹡ÒÃÈÖ¡ÉÒ

๒. ปัจจัยในการผลิต

า ปัจจัยการผลิต ซึ่งเป็นสิ่งจ�าเป็น ทรัพยากรที่น�ามาใช้ในการผลิตสินค้าและบริการ เรียกว่ จะต้องน�าปัจจัยการผลิตที่มีอยู่อย่าง ขั้นพื้นฐานในการผลิตสินค้าและบริการทุกอย่าง ในการผลิต ้น ในทางเศรษฐศาสตร์แบ่งปัจจัย จ�ากัด มาผ่านกระบวนการผลิตเพื่อให้เกิดการผลิตสินค้าขึ การผลิตออกเป็น ๔ ประเภท ดังนี้ แผนผังปัจจัยการผลิตสินค้าเเละบริการ

ปัจจัยการผลิต

ที่ดิน เเรงงาน

ผู้ประกอบการ ทุน

๒.๑ ที่ดิน

การ ที่ดินรวมถึงสิ่งที่เกิดใต้ดิน ที่ดินเป็นทรัพยากรธรรมชาติที่ใช้ในการผลิตสินค้าและบริ พยากรธรรมชาตทิ เี่ กิดขึน้ เองทุกชนิด บนดิน หรือเหนือพืน้ ดินเข้าไว้ดว้ ยกัน ซึง่ จะรวมถึงทีด่ นิ และทรั งผู้เป็นเจ้าของที่ดิน คือ “ค่าเช่า” เป็นต้นว่า ป่าไม้ น�้าตก แร่ธาตุ น�้ามัน โดยมีผลตอบแทนขอ

ผลิตภัณฑ์จากเนื้อสัตว์ แป้งข้าวกล้อง น�้าเกลือปรุงอาหาร ซอสในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท ขนมปัง หมากฝรั่งและลูกอม วุ้นส�าเร็จรูปและขนมเยลลี วัตถุแต่งกลิ่น รส ผลิตภัณฑ์กระเทียม อาหารมีวัตถุประสงค์พิเศษ อาหารที่ีมีวัตถุที่ใช้เพื่อรักษาคุณ ภาพหรือมาตรฐานของอาหารรวมอยู ่ในภาชนะ นภาชนะบรรจุ ก�าหนดกรรมวิธีการผลิตอาหาร ซึ่งมีการใช้กรรมวิธีการฉายรังสี อาหารที่ีมีส่วนผสมของว่านหางจระเข ้ การแสดงฉลากของอาหารพร้อมปรุ งและอาหารส�าเร็จรูปที่พร้อมบริ โภคทันที

เพื่อความสะดวกสบายในการเดินทาง

เพื่อการศึกษาของบุตรหลาน เพื่อซื้อที่อยู่อาศัย EB GUIDE

http://www.aksorn.com/LC/Eco/M2/01

64

7

Web Guide á¹Ð¹íÒáËÅ‹§¤Œ¹¤ÇŒÒ¢ŒÍÁÙÅ à¾ÔèÁàµÔÁ¼‹Ò¹Ãкº Online

ธิภาพ

ค ําถามประจ ําหน่วยการเรียนรู้

ีประสิท

ตอย่างม

ักการผลิ

¤íÒ¶ÒÁ»ÃШíÒ˹‹ÇÂà¾×Íè ãËŒ¹¡Ñ àÃÕ¹䴌½¡ƒ ¤Ô´áÅзº·Ç¹ ¤ÇÒÁÃÙŒ áÅСԨ¡ÃÃÁÊÌҧÊÃä ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ à¾×èÍ ª‹Ç¾Ѳ¹Ò¼ÙŒàÃÕ¹ãËŒºÃÃÅؼÅÊÑÁÄ·¸ÔìµÒÁµÑǪÕéÇÑ´

ไทย ภูมิปัญญา น้ิ ชัน นการนำา ำาสปา เป็ ช้บาำ รุงผิว เชน่ ขม การ ใ่ี ชื่น การท นใน ลาย สด ดผิวด้วยสมุนไพรท ียกกับขมิ้นชั ดล้อม ตัวอย่างก ย มเป ายผ่อนค ับสปาไท ยๆ เพื่อให้ร่างก ารพอกตัวและขั ไคร้ และใช้มะขา ิอากาศ สภาพแว มก งา ม ร ก าม ไท ภู ตะ ันไป ธุรกิจคว ูแลสุขภาพแบบ บตวั ด้วยสมุนไพ ดง น้ำาขิง น้ำา ให้สอดคล้องกับ งถิ่นที่แตกต่างก ้อ บ ๊ยบแ กร สปา การด การนวดตัว การอ ื่ม เช่น กระเจี ากนีส้ ามารถปรั ของสปาตามท ช้ทรัพยา ก ๆ งด น การเลือกใ รเลอื ป็นเครื่อ ั ญาไทย นอกจ องค์ประกอบอื่น กุ ต์ใช้ เช่ พยากร ใน นหลกั เชน่ กา าได้ มาประย ำา สมุนไพรที่ใช้เ รใชภ้ มู ปิ ญ รั ละ ท ช้ ร แ กใ เป็ อ ื ไพ ไพรที่ห การเล ท้องถนิ่ ว่านนางค ต้น ซึง่ นับเป็นกา ีการใช้ว่าน สมุน ยใช้จาก ขัดตัว เป็นสมุน ล่านี้ล้วน น ะม าำ สปาโด ขัดตัว เป็ ิประเทศ โดยจ ในการท ี่จะนำามาอบตัว ูด ซึ่งสมุนไพรเห ม ู ะภ กร ลักษณ สมุนไพรท มะขาม ขมิ้น มะ และ ่น ลิตสินค้า ทั่วไป เช ต่อร่างกาย ในการผ ไพร น้ำามัน น์ ลิตมาใช้ มีประโยช รนาำ ปัจจัยการผ ีการเลือกสมุน คัดเลือก ่น ้องม กา การจะต ห้สวยงาม ร่มรื ้ บ ริ ก าร ให ่ใ ้ประกอบ บริการ ผู ดตกแต่งสถานที นก าร นว ดแ ละ ลสุขภาพ ูแ จั ถใ นวดตัว ่ มี ค วา มส าม าร ำาเกี่ยวกับการด ที ะน บุ ค ลา กร ามารถให้คำาแน ะส ได้ดี แล ้ ได ให้ลูกค้า ง การจะต้อ ปู้ ระกอบ อบการ ผ ขภาพ บริการนวด พง ของผปู้ ระก ่อสุ คุณธรรม ่น สมุนไพรที่ดีต ารในราคาทไี่ ม่แ ถุดิบ เช กู วิธ ี และใหบ้ ริก ต ั ว ช้ กใ เลือ อง ทีถ่ ลักษณ์ข การนวด ารนำาเอก พร่างกาย ตามหลัก กิจ โดยก เกินไป ิ่มมูลค่าให้กับธุร วด การดูแลสุขภา าศ ร่ ม รื่ น เพ ้ในการน งา ม บร รย าก ีคุณภาพพ ส วย ที่ม นไทยมาใช ความเป็ แต่ ง สถ าน ที่ ใ ห้ ดด เกลือขัดผิว ดู ดี แ ละ มม กา รจั ด ตก เลือกใช้น้ำามันนว าช นะ ที่ ส วย งา าา สะอาดต มม แล ะบ รร จุ ใ นภ อนโยน อ่อ่ มี ก ลิ่ น หอ ้วยความสุภาพ ให้บริการด

าระ เสริมส

ตามหล

ะบริการ

นค้าแล ารผลิตสิ

๑. หลักการและเป้าหมายของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมีอะไรบ้าง ๒. ปัญหาในการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่นของไทยมีอะไรบ้าง ๓. เพราะเหตุใดการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่นของไทยจึงไม่ค่อยมีการพัฒนาเท่าที่ควร ๔. ผู้ผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่นสามารถนำาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ได้ อย่างไรบ้าง ๕. ให้นักเรียนเสนอแนะแนวทางการพัฒนาการผลิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ๑ วิธี

กิจกรรมสร้างสรรค์พัฒนาการเรียนรู้ กิจกรรมที่ ๑ นักเรียนแบ่งกลุ่มไปสำารวจกิจกรรมการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่น และให้ยกตัวอย่างการผลิตสินค้าและบริการ ๑ ชนิด แล้วสรุปสาระสำาคัญ ในประเด็นตัวอย่างที่กำาหนดให้ นำามาเสนอในชั้นเรียน • ปัจจัยสำาคัญที่ทำาให้มีการผลิตสินค้าและบริการ • กระบวนการผลิต • การนำาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการผลิตสินค้าและบริการ • ปัญหาการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่น • แนวทางการพัฒนาการผลิต กิจกรรมที่ ๒ นักเรียนสืบค้นข้อมูลจากแหล่งการเรียนรูห้ รือข้อมูลจากในท้องถิน่ ของตนเอง เกี่ยวกับชุมชนต้นแบบของการผลิตสินค้าและบริการ พร้อมยกตัวอย่าง ชุมชนต้นแบบ ๑ ชุมชน สรุปความรู้ลงในกระดาษ A๔ นำามาอภิปรายใน ชั้นเรียน

๒.๒ แรงงาน

้งก�าลังกาย จิตใจ และสติปัญญาของ แรงงานเป็นการใช้ความสามารถหรือความพยายามทั วนการผลิตมีทงั้ แรงงานที่ มนุษย์ในการกระท�าสิง่ ใดก็ตามในกระบวนการผลิต ผูใ้ ช้แรงงานในกระบ จ้างในหน่วยงานต่างๆ วิสาหกิจ ลูก ใช้สมองหรือความคิด สติปัญญา เช่น ข้าราชการ ลูกจ้างรัฐ ้ นี ง ๒ ประเภท ดั ได้ ง แรงงานแบ่ ว ไปแล้ ว ่ เป็นต้น โดยทั

30

เรื่องน่ารู้ ผลิตภัณฑ์อาหารที่ต้องมีฉลาก ผลิตภัณฑ์อาหารทีต่ อ้ งมีฉลากตามป ระกาศของกระทรวงสาธารณสุข ฉบั อาหารชนิดต่างๆ ดังต่อไปนี้ บที่ ๑๙๕ พ.ศ. ๒๕๔๓ ประกอบด ว้ ย

เพื่อใช้จ่ายในวัยชรา

àÊÃÔÁÊÒÃШҡà¹×Íé Ëҹ͡à˹×ͨҡ ·ÕèÁÕã¹ÊÒÃСÒÃàÃÕ¹Ãٌ᡹¡ÅÒ§Ï à¾×Íè à¾ÔÁè ¾Ù¹áÅТÂÒ¾ÃÁá´¹¤ÇÒÁÃÙŒ ãËŒ¡ÇŒÒ§¢ÇÒ§ÍÍ¡ä»

Design ˹ŒÒẺãËÁ‹ ÊǧÒÁ ¾ÔÁ¾ ô ÊÕ µÅÍ´àÅ‹Á ª‹ÇÂãËŒ ͋ҹࢌÒ㨧‹ÒÂ

๑. ผลิตภัณฑ์อาหารทีโ่ ฆษณาว่าเป็ นประโยชนอ์ ย่างมากต่อการป้อ เช่น โรคปวดตามข้อ โรคมะเรง็ โรคหั วใจ โรคเบาหวาน เป็นต้น ซึง่ สร้างความสนงกันและรักษาโรค กับการรักษาหลงเชอื่ ซือ้ มารับประทาน ใจให้ผทู้ หี่ มดหวัง ซึง่ อาจก่อให้เกิดผลเสียหรือผลข้างเคี ยงตามมาในภายหลัง ๒. โฆษณาในเชิงสวยงาม ปัจจุบ ั น จะพบโฆษณาอาหารในลักษณะเกิ เครื่องดื่มที่รับประทานแล้วช่วยให้ร นจริง เช่น ่างกายสดชื่น มีน�้ามีนวล หรือสารสกั ดจากปลาทะเลน�้าลึกช่วย เสริมความอ่อนวัยของผิวพรรณ เป ็นต้น ๓. ใช้ค�ากล่าวอ้างถึงสรรพคุ คล้ายกับจะมีหลักเกณฑ์กอ่ ให้เกิดความปร ณทางการแพทย์ที่ไม่เป็นจริง ค�าอธิบายที่กล่าวอ้างที่ ะทับใจและท�าให้คดิ ว่าเป็นความจริง เช่น “สร้างความร้อน เปลี่ยนไขมันที่สะสมให้เป็นไขมัน ที่ละลายได้” ถือเป็นข้อความที่ผ ู้ผลิตหรือผู้ขายคิดขึ้นเอง ยังไม่มีข้อพิสูจน์ทางวิทยาศาสตร์ร ับรอง ซึ่งอาจสร้างความเข้าใจผิดให้ กับผู้บริโภค จนหลงเชื่อ ซื้อผลิตภัณฑ์ดังกล่าวไปใช้

๑.๓ เป้าหมายของการออม างกันออกไป ซึ่งอาจแบ่งได้ ๒ ลักษณะ ได้แก่ การออมเงินของแต่ละคนมีเป้าหมายที่แตกต่ ้นอาจมีความจ�าเป็นต้องใช้เงิน ๑. การออมเพื่อประโยชน์ระยะสั้น ซึ่งในระยะสั กษาแก่บตุ รหลาน จัดหาทีอ่ ยูอ่ าศัย พักผ่อน ารศึ ก ให้ น อ เรื ว ในครั ก สมาชิ ษาพยาบาล ก รั ่ อ เพื เช่น ้ น ยระยะสั ่ า จ ใช้ ่ อ เพื ่ ง นหนึ ่ ว ส รายได้ บ ประจ�าเดือิ น เป็นต้น จึงควรเก็ ่ค่อยๆ สะสมทีละเล็กทีละน้อย ๒. การออมเพื่อประโยชน์ระยะยาว เป็นเงินออมที อ่ ความมัน่ คงของชีวติ ไว้ใช้จา่ ยเมือ่ ออกจากงาน เป็นเวลายาวนาน เพือ่ ไว้ใช้จา่ ยในอนาคต เช่น เพื เพือ่ ด�ารงชีวติ เมือ่ ยามชรา เปน็ ต้น เพศ การศึกษาและปัจจัยอื่นๆ เช่น ประชากร ทั้งนี้เป้าหมายการออมขึ้นอยู่กับวัย อายุ เพื่อการศึกษาต่อ อาจมี​ีเป้าหมายของการออมเพื่อเก็บออมไว้ซื้อรถยนต์ ในวัยเริ่มต้นเข้าท�างาน อาจม ยกลางคนอาจมีเป้าหมายของการออมเพื่อเป็น เพื่อแต่งงาน เพื่อซื้อที่อยู่อาศัย ส่ส่วนประชากรในวั บไข้ได้ป่วยย เก็บไว้ใช้หลังเกษียณอายุจากการ ทุนการศึกษาบุตร เก็บไว้ใช้ในยามฉุกเฉินและเจ็ บไข้ได้ปว่ ยย อาจมีเป้าหมายของการออมเพือ่ ไว้รกั ษาตัวยามเจ็ ท�างานแล้ว ส่วนประชากรในวัยชรา อาจมี เป็นต้น เพื่อซ่อมแซมที่อยู่อาศัย เป็ เพื่อใช้จ่ายในชีวิตประจ�าวัน เพื

เป้าหมายการออมของฉัน

หน่วยการเรียนรู้ที่

à¹×éÍËҵçµÒÁÊÒÃСÒÃàÃÕ¹Ãٌ᡹¡ÅÒ§ ãËŒ¤ÇÒÁÃÙŒáÅÐàÍ×é͵‹Í¡ÒùíÒä»ãªŒÊ͹à¾×èÍ ãËŒºÃÃÅصÑǪÕéÇÑ´ áÅÐÊÌҧ¤Ø³ÅѡɳРàÃ×èͧ¹‹ÒÃÙŒà¾ÔèÁàµÔÁ¨Ò¡à¹×éÍËÒ Íѹ¾Ö§»ÃÐʧ¤ ÁÕ¡ÒÃá·Ã¡à»š¹ÃÐÂÐæ

à¡ÃÔè¹¹íÒà¾×èÍãˌࢌÒ㨶֧ÊÒÃÐÊíÒ¤ÑÞ ã¹Ë¹‹Ç·Õè¨ÐàÃÕ¹

38

54


กระตุน ความสนใจ Engage

ÊÒúÑ-

สํารวจคนหา Explore

˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè

ñ

˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè

ò

˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè

ó

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

¡ÒÃÍÍÁáÅСÒÃŧ·Ø¹ ¡ÒÃÍÍÁ ¡ÒÃŧ·Ø¹ ¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ ¢Í§¡ÒÃÍÍÁáÅСÒÃŧ·Ø¹

ñ ò ñô òô

¡ÒüÅÔµÊÔ¹¤ŒÒáÅкÃÔ¡Òà ¤ÇÒÁËÁÒ ¤ÇÒÁÊíÒ¤ÑÞ ¢Í§¡ÒüÅÔµÊÔ¹¤ŒÒáÅкÃÔ¡Òà »˜¨¨ÑÂ㹡ÒüÅÔµ ËÅÑ¡¡ÒüÅÔµÊÔ¹¤ŒÒáÅкÃÔ¡ÒÃÍ‹ҧÁÕ»ÃÐÊÔ·¸ÔÀÒ¾ ¡ÒùíÒà·¤â¹âÅÂÕÁÒ㪌㹡ÒüÅÔµÊÔ¹¤ŒÒáÅкÃÔ¡Òà ÅѡɳТͧ¡ÒüÅÔµÊÔ¹¤ŒÒáÅкÃÔ¡Òâͧä·Â

ò÷ òø óð óó ó÷ óù

àÈÃÉ°¡Ô¨¾Íà¾Õ§¡Ñº¡ÒüÅÔµÊÔ¹¤ŒÒáÅкÃÔ¡Òà ËÅÑ¡¡Òâͧ»ÃѪÞÒàÈÃÉ°¡Ô¨¾Íà¾Õ§ ÇÔà¤ÃÒÐË ¡ÒüÅÔµÊÔ¹¤ŒÒáÅкÃÔ¡ÒÃã¹·ŒÍ§¶Ôè¹ ¡ÒûÃÐÂØ¡µ 㪌àÈÃÉ°¡Ô¨¾Íà¾Õ§㹡ÒüÅÔµÊÔ¹¤ŒÒáÅÐ ºÃÔ¡ÒÃã¹·ŒÍ§¶Ôè¹

ôó ôô ô÷ õñ


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè

ô

˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè

õ

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

¡Òä،Á¤Ãͧ¼ÙŒºÃÔâÀ¤ ¡Òä،Á¤ÃͧÊÔ·¸Ô¼ÙŒºÃÔâÀ¤ ¡®ËÁÒ¤،Á¤Ãͧ¼ÙŒºÃÔâÀ¤ ˹‹Ç§ҹ¤ØŒÁ¤Ãͧ¼ÙŒºÃÔâÀ¤ á¹Ç·Ò§¡Òû¡»‡Í§¤ØŒÁ¤ÃͧÊÔ·¸Ô¢Í§¼ÙŒºÃÔâÀ¤ ÃкºàÈÃÉ°¡Ô¨ ¡ÒþÖè§¾Ò ¡ÒÃᢋ§¢Ñ¹·Ò§àÈÃÉ°¡Ô¨ã¹·ÇÕ»àÍàªÕ ÃкºàÈÃÉ°¡Ô¨ ¡ÒþÖ觾ÒáÅСÒÃᢋ§¢Ñ¹·Ò§àÈÃÉ°¡Ô¨ã¹àÍàªÕ ·ÃѾÂҡáѺ¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ ·Ò§àÈÃÉ°¡Ô¨ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È ʶҹ¡Òó ¡ÒÃᢋ§¢Ñ¹·Ò§¡ÒäŒÒÀÒÂã¹»ÃÐà·ÈáÅе‹Ò§»ÃÐà·È ¼Å¢Í§¡ÒÃᢋ§¢Ñ¹·Ò§¡ÒäŒÒã¹»ÃÐà·ÈáÅе‹Ò§»ÃÐà·È ºÃóҹءÃÁ

õõ õö õù öõ ÷ð ÷õ ÷ö øð øò øõ øù ùò


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explore

Explain

Expand

Evaluate

เปาหมายการเรียนรู

หนวยการเรียนรูที่

1. บอกความสําคัญของการออมและการลงทุนได 2. วิเคราะหปจจัยที่มีผลตอการออมและการ ลงทุนได 3. ระบุปญหาของการออมและการลงทุนของไทย และเสนอแนะแนวทางการแกไขได

การออมและการลงทุน

สมรรถนะของผูเรียน 1. ความสามารถในการสื่อสาร 2. ความสามารถในการแกปญหา 3. ความสามารถในการใชทักษะชีวิต

ตัวชี้วัด ■

วิเคราะหปจ จัยทีม่ ผี ลตอการลงทุนและการออม (ส ๓.๑ ม.๒/๑)

คุณลักษณะอันพึงประสงค สาระการเรียนรูแกนกลาง ■ ■ ■

ความหมายของการลงทุนและการออมตอระบบเศรษฐกิจ การบริหารจัดการเงินออมและการลงทุนภาคครัวเรือน ปจจัยของการลงทุนและการออมคืออัตราดอกเบี้ย รวมทั้ง ปจจัยอื่นๆ เชน คาของเงิน เทคโนโลยี การคาดเดาเกี่ยวกับ อนาคต ปญหาของการลงทุนและการออมในสังคมไทย

โดยทั่วไปบุคคลตางๆ ในระบบเศรษฐกิจ เมื่อประกอบอาชีพหารายไดก็มักจะแบงรายได ออกเปน ๒ สวน รายไดสวนหนึ่งจะนําไปจับจาย ใชสอยเพือ่ การบริโภคในชีวติ ประจําวัน และรายได อีกสวนหนึ่งก็จะเก็บออมเพื่อใชจายในอนาคต การเก็บออมในสมัยโบราณอาจเก็บไวในบานเรือน ซึ่ ง ไม ไ ด ก  อ ให เ กิ ด ผลประโยชน ง อกเงยขึ้ น แตในปจจุบนั นิยมนําเงินออมไปฝากไวกบั ธนาคาร พาณิ ช ย ห รื อ สถาบั น การเงิ น อื่ น ๆ นํ า เงิ น ไป ซื้อพันธบัตรรัฐบาล ซื้อหุนของธุรกิจตางๆ หรือ ซือ้ หลักทรัพยอนื่ ๆ เพือ่ หวังผลตอบแทนในรูปของ ดอกเบีย้ เงินปนผล และกําไร สําหรับเงินออม ดังกลาวสถาบันการเงินตางๆ ก็จะนําไปลงทุน แสวงผลประโยชน ขยายธุรกิจการคา และรัฐบาล ก็จะนําไปใชจา ยเพือ่ การพัฒนาประเทศ เงินออม ของบุคคลในระบบเศรษฐกิจก็จะถูกนําไปใชเพื่อ การลงทุนใหเกิดประโยชนตอเศรษฐกิจตอไป

1. มีวินัย 2. อยูอ ยางพอเพียง 3. มุงมัน่ ในการทํางาน

กระตุน ความสนใจ

Engage

ครูยกสถานการณเศรษฐกิจในปจจุบันซึ่งมี คาครองชีพสูง สินคาราคาแพง ใหนักเรียนรวมกัน อภิปรายแสดงความคิดเห็น และถามคําถาม • ถานักเรียนเปนผูใหญสามารถหาเลี้ยงชีพตน ได นักเรียนจะวางแผนการใชจายในสภาพ เศรษฐกิจเชนนี้อยางไร • ถานักเรียนเปนหัวหนาครอบครัวจะวางแผน การใชจายและวางแผนอนาคตของบุคคลใน ครอบครัวอยางไร • การออมมีความสําคัญตอครอบครัวอยางไร และจะออมอยางไรจึงจะกอใหเกิดผล งอกเงยไดมากขึ้น

เกร็ดแนะครู การเรียนเกี่ยวกับการออมและการลงทุน เพื่อใหนักเรียนมีความรูเกี่ยวกับ สถานการณการออมและการลงทุนในภาคครัวเรือนและภาคธุรกิจ เพื่อใหนักเรียน ไดตระหนักในความสําคัญของการออม การสรางนิสัยการออม มีการบริหารจัดการ เงินออมอยางมีประสิทธิภาพและแสวงหาชองทางในการลงทุนเพื่อใหเงินออม งอกเงย และเขาใจสถานการณการลงทุนของประเทศ ดังนั้นครูควรจัดการเรียน การสอน ดังนี้ • นําสถิติการออมภาคครัวเรือนมาใหนักเรียนวิเคราะหสถานการณการออม ของคนไทย • นําขาวเศรษฐกิจมาใหนักเรียนวิเคราะหสถานการณทางเศรษฐกิจ ดานการลงทุนของประเทศและระหวางประเทศ • ใหนักเรียนจัดทําบันทึกรายรับ-รายจาย เงินออมของตนเองและจัดทําบัญชี ครัวเรือน • อภิปรายถึงปญหาการออมและการลงทุนของไทยพรอมเสนอแนะแนวทาง การแกปญหา คูมือครู 1


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

กระตุน ความสนใจ

อธิบายความรู Explain

การใชจาย เชน นายสมชายมีเงินเดือนจากการทํางานในบริษัทแหงหนึ่ง ๒๑,๐๐๐ บาท และมี รายจายในแตละเดือนเทากับ ๒๐,๐๐๐ บาท ดังนั้นนายสมชายจะมีเงินออมเดือนละ ๑,๐๐๐ บาท โดยทั่วไปการออมจะเกิดขึ้นก็ตอเมื่อบุคคลมีรายไดมากกวารายจาย ทางที่จะเพิ่มเงินออม ใหกับบุคคลตางๆ อาจทําไดโดยความพยายามที่จะเพิ่มรายไดใหกับตนเองใหมากขึ้น เชน การใช เวลาวางในการหารายไดพิเศษ การปรับปรุงระบบการทํางานใหมีประสิทธิภาพ เพื่อใหมีรายได เพิ่มขึ้น นอกจากนั้นก็อาจทําไดดวยการลดรายจายในชีวิตประจําวัน เชน ใชทรัพยสินตางๆ อยางประหยัด ลดการใชจายที่ไมจําเปน ใชเงินซื้อสินคาใหคุมคา เปนตน ในระบบเศรษฐกิจยิ่งมีเงินออมมากเทาใด เงินออมดังกลาวก็สามารถนําไปใชลงทุนและ สามารถนําไปใชในการพัฒนาประเทศใหเจริญรุงเรืองไดมากขึ้น ดังแผนภาพที่ ๑

รายไดของบุคคลตางๆ

แผนผังแสดงการบริหารรายไดของบุคคล

Explain

ใชจาย เพื่อการบริโภค

เงินออม ของบุคคล

1

ฝากไวกับธนาคารพาณิชย และสถาบันการเงิน

ผลตอบเเทน

ดอกเบี้ย

ซื้อหุนของธุรกิจตางๆ

ผลตอบเเทน

เงินปนผล และดอกเบี้ย

ซื้อพันธบัตรรัฐบาล

ผลตอบเเทน

ดอกเบี้ย

ซื้อทรัพยสินตางๆ

ผลตอบเเทน

กําไร

ผลตอบเเทนคืนสูผูออมทรัพย ในรูปเเบบตางๆ

นักเรียนควรรู 1 ธนาคารพาณิชย สถาบันการเงินทําหนาที่ในการรับฝากเงินจากประชาชนทั่วไป โดยการใหดอกเบี้ยเปนการตอบแทนผูฝากเงิน และจะตองจายเงินคืน แลวนําเงิน ที่รับฝากจากประชาชนไปลงทุนและปลอยกูใหกับภาคธุรกิจ หนวยงาน องคกรตางๆ และประชาชนทั่วไป โดยไดรับผลตอบแทนเปนดอกเบี้ย การบริการเงินฝากของ ธนาคารพาณิชยในปจจุบัน เชน เงินฝากออมทรัพย เงินฝากแบบประจํา เงินฝาก กระแสรายวัน และเงินฝากประเภทอื่นๆ เปนเงินฝากที่ขึ้นอยูกับวัตถุประสงคของ ธนาคาร หรือกลยุทธในดานการสงเสริมดานการตลาดของธนาคาร นอกจากนี้ ยังใหบริการซื้อ-ขาย หรือเก็บเงินตามตั๋วแลกเงิน บริการอื่นๆ เชน การใชบัตรเครดิต รับชําระคาบัตรเครดิต บริการชําระคาสาธารณูปโภค ใหคําแนะนําดานการลงทุน รับแลกเงินตราตางประเทศ เปนตน ตัวอยางธนาคารพาณิชย เชน ธนาคารกรุงเทพ ธนาคารกสิกรไทย ธนาคารไทยพาณิชย เปนตน

คูมือครู

Evaluate

๑.๑ ความหมายและความสําคัญของการออม ๑) ความหมายของการออม หรือการออมทรัพย หมายถึง รายไดสว นทีเ่ หลือจาก

Explore

ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายถึงที่มาของ รายไดและการบริหารรายไดของตนเอง ครูถาม คําถาม • นักเรียนมีวิธีบริหารรายไดของตนเอง อยางไร (แนวตอบ ทําไดหลายวิธี เชน จดบันทึกรายรับรายจายของตนเอง ใชจายอยางประหยัด โดยในแตละวันจะตองมีเงินมาหยอดกระปุก ออมสิน และประเมินการใชจายของตนเองทุก สัปดาห เมื่อพบวามีการใชจายในดานใดมาก ก็ควรหาวิธีลดคาใชจายในดานนั้นลง)

2

Expand

ñ. ¡ÒÃÍÍÁ

ครูใหนักเรียนสํารวจพฤติกรรมการใชเงิน ของคนในครอบครัว และเงินออมของครอบครัว เพือ่ เปนขอมูลในการวางแผนการออมเงินในครอบครัว และใหนักเรียนศึกษาขอมูลเกี่ยวกับการออม จากหนังสือเรียน หนา 2-10

อธิบายความรู

ตรวจสอบผล

Engage

1. ครูใหนักเรียนที่มีเงินออมเลาวิธีการบริหาร รายรับ-รายจายของตนเอง จนสามารถมี เงินออมได ครูสอบถามนักเรียนเพิ่มเติมวา แตละคนมีการบริหารรายรับ-รายจายของตน อยางไรบาง และใหขอคิดกับนักเรียนในการ ออมเงิน 2. ครูนํากระปุกออมสินหรือรูปกระปุกออมสินที่มี เงินอยูใ นกระปุกมาใหนกั เรียนดู แลวถามคําถาม • นักเรียนสามารถใชประโยชนกับสิ่งนี้ได อยางไร • นักเรียนมีวิธีเพิ่มเงินออมในกระปุกนี้ได อยางไร

สํารวจคนหา

ขยายความเขาใจ

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

ขอใดมีความสอดคลองกับการออมมากที่สุด 1. แตงกวามีเงินเหลือจากการใชจายเดือนละ 3,000 บาท 2. สมโอไดรับเงินเดือน 15,000 บาท มีรายจายเพื่อการลงทุน 14,000 บาท 3. ชมพูน าํ เงินทีเ่ หลือเก็บไปลงทุนเปดรานอาหารตอมาเกิดปญหาสภาพคลอง ตองปดกิจการ 4. นอยหนาใชจายอยางประหยัดและทํางานพิเศษหารายไดเสริมเพื่อให เพียงพอกับคาใชจายในครอบครัว วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 1. เพราะการออม คือ รายไดที่เหลือจาก การใชจายในชีวิตประจําวัน โดยทั่วไปการออมจะเกิดขึ้นเมื่อรายไดมี มากกวารายจาย


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

อธิบายความรู

Explain

1. ครูนําขาวหรือเหตุการณที่เกิดขึ้นในสังคมที่ สรางความเสียหายตอชีวิตและทรัพยสิน เชน เหตุการณภัยธรรมชาติ มาเลาใหนักเรียนฟง แลวใหนักเรียนชวยกันวิเคราะหเหตุการณ การดําเนินชีวิตในชวงเหตุการณดังกลาว และ ตอบคําถาม เชน • หากนักเรียนเปนผูประสบภัยธรรมชาติ จะมีวิธีการใชจายในชวงเวลาดังกลาว อยางไร และจะหาเงินจากที่ไหนเพื่อมา ซอมแซมบานเรือน • หากนักเรียนมีเงินออม จะสามารถชวยให ดําเนินชีวิตไดอยางไรบาง นอกจากนี้ครูสามารถนําประสบการณดาน การออมที่ชวยเหลือบุคคล หรือพัฒนาชีวิต บุคคลมาถายทอดใหนกั เรียนฟง โดยใหนกั เรียน มีสวนรวมแสดงความคิดเห็น 2. ครูนําสนทนาดวยการตั้งคําถาม • สมาชิกในครอบครัวจะตองปฏิบัติตน อยางไร เพื่อใหไดมาซึ่งเงินออม (แนวตอบ สมาชิกในครอบครัวทีเ่ ปนวัยทํางาน จะตองทํางานเพื่อใหไดมาซึ่งรายได สวนสมาชิกที่ไมอยูในวัยทํางานก็ตองใชจาย อยางประหยัด มีวินัยในการใชเงินและสราง นิสัยการออม เพื่อเก็บเงินไวใชจายในยาม จําเปน หรือเพื่อความมั่นคงของครอบครัว ในอนาคต)

๒) ความสําคัญของการออม การออมทรัพยจะกอใหเกิดประโยชนตอผูออม

ครอบครัวและประเทศ ดังนี้

การออมทรัพยทําใหผูออมมีฐานะและความเปนอยูที่ดีในอนาคต

๒.๑) ชวยใหครัวเรือนมีความมั่นคง เมื่อบุคคลตางๆ ในครัวเรือนมีงานทําและ มีรายไดก็จะนําไปจับจายใชสอยในชีวิตประจําวันสวนหนึ่ง และสวนหนึ่งที่เหลือก็เก็บออมไว เงินที่เก็บออมไวก็เพื่อสรางความมั่นคงใหกับครัวเรือน เชน ๑. เพื่อเปนคาใชจายฉุกเฉินของครอบครัว ในกรณีที่สมาชิกในครอบครัว เจ็บปวย ประสบอุบัติเหตุ หรือตกงาน ๒. เพื่อเปนคาใชจายในการพัฒนาสมาชิก เปนการออมทรัพยเพื่อเปน ค า ใช จ  า ยในการให ก ารศึ ก ษาแก ส มาชิ ก ในครอบครั ว ค า ใช จ  า ยในการดู แ ลรั ก ษาสุ ข ภาพ การนันทนาการและการหาความรูอื่นๆ ๓. เพือ่ สะสมทรัพยสนิ ใหแกสมาชิกของครอบครัว หลังจากหัวหนาครัวเรือน ปลดเกษียณ ไมไดทํางานหรือถึงแกกรรม ก็จะไมทําใหสมาชิกในครัวเรือนเดือดรอนมากนัก ๒.๒) ช ว ยให ค รั ว เรื อ นมี ร ายได ม ากขึ 1 ้ น การออมทรั พ ย โ ดยการนํ า เงิ น ไป ฝากธนาคารและสถาบันการเงิน การซื้อพันธบัตรรัฐบาล การซื 2 ้อหุนในธุรกิจตางๆ จะทําใหผูออม ไดรับผลประโยชนในรูปของดอกเบี้ย เงินปนผล และกําไร ซึ่งผลตอบแทนดังกลาวจะทําใหรายได ของผูออมเพิ่มมากขึ้นไดอีกทางหนึ่ง ๓

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

ขอใดเปนประโยชนของการออม 1. นําเงินออมที่สะสมไวไปซื้อเสื้อผา 2. นําเงินออมที่สะสมไวไปซื้อที่อยูอาศัย 3. นําเงินออมที่สะสมไวไปซื้อโทรศัพทมือถือรุนใหมลาสุด 4. นําเงินออมที่สะสมไวไปงานเลี้ยงสังสรรคกับเพื่อนอยูเสมอ

วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 2. เพราะเปาหมายสําคัญของการออมเพื่อการ สรางความมั่นคงในอนาคต ดังนั้นการนําเงินออมไปซื้อที่อยูอาศัยซึ่งเปน ปจจัยพื้นฐานที่จําเปนในการดํารงชีวิต นับเปนการสรางความมั่นคงใหกับ สมาชิกในครอบครัว นอกจากนี้ผูมีเงินออมยังสามารถนําเงินออมไปซื้อที่อยู อาศัยเพื่อการเก็งกําไรในอนาคตไดอีกดวย นับเปนการลงทุนอยางหนึ่ง

เกร็ดแนะครู ครูควรเนนยํ้าใหนักเรียนเห็นความสําคัญของการออมเงิน และแนะนําวิธีการ ออมเงินแบบงายๆ เพื่อใหนักเรียนสามารถนําไปใชในชีวิตประจําวัน พรอมทั้ง กระตุนนักเรียนในการออมเงิน สรางแรงจูงใจใหนักเรียนเห็นความสําคัญและสราง แรงจูงใจในการออมเงิน เชน แรงจูงใจจากดอกเบี้ย ความมั่นคงในอนาคต เปนตน

นักเรียนควรรู 1 พันธบัตรรัฐบาล ตราสารทางการเงินที่ออกโดยรัฐบาล เพื่อเปนการระดมทุน ในระยะยาวเกินกวา 1 ป ขึน้ ไป ซึง่ รัฐบาลจําหนายใหกบั ประชาชน ใหผลตอบแทน ในรูปของอัตราดอกเบี้ย เพื่อนําเงินไปใชจายในดานตางๆ ของรัฐบาล หรือเพื่อลด การใชจายฟุมเฟอยของประชาชน 2 กําไร เปนผลตอบแทนจากการดําเนินธุรกิจ ซึ่งผลกําไรไดมาจากรายไดหัก ดวยตนทุน ถาธุรกิจมีรายไดสูงกวาตนทุนธุรกิจก็จะมีกําไร คูมือครู 3


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

อธิบายความรู Explain

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Explain

1. ครูและนักเรียนชวยกันระดมความคิดเกี่ยวกับ ความสําคัญของการออมภาคครัวเรือนและ ประเทศชาติ สรุปเปนผังความคิด 2. ครูนําสถิติการออมภาคครัวเรือนของคนไทย เชน จากสํานักงานสถิติแหงชาติหรือ http:// www.fpo.go.th สํานักนโยบายการออมและ การลงทุน มาสนทนาแสดงความคิดเห็น ถึงสถานการณการออมของครัวเรือนไทยและ ถามคําถาม • นักเรียนคิดวาการออมเงินผานสถาบัน การเงินตางๆ เงินเหลานี้จะถูกนําไปใชเพื่อ อะไรบาง (แนวตอบ เปนแหลงเงินกูใหกับรัฐบาล เปนแหลงเงินทุนหรือสินเชื่อใหกับภาคธุรกิจ ภาคครัวเรือน) 3. นักเรียนทํากิจกรรมที่ 1.1 ในแบบวัดฯ เศรษฐศาสตร ม.2

1 ๒.๓) ชวยยกระดับมาตรฐานการครองชีพใหสูงขึ้น ผูออมอาจนําเงินออมไป ซือ้ บาน รถยนต เฟอรนเิ จอรตา งๆ อุปกรณไฟฟา เชน โทรทัศน วิทยุ แอร เครือ่ งซักผา ตูเย็น เปนตน ซึ่งสินคาตางๆ ดังกลาวจะชวยอํานวย ความสะดวกสบายในชีวิตประจําวัน ชวยทําให มาตรฐานการครองชีพของผูออมสูงขึ้น ๒.๔) ช  ว ย ใ น ก า ร พั ฒ น า เศรษฐกิจของประเทศ เงินออมของประชาชน ในประเทศจากการฝากไวกับสถาบันการเงิน ซื้อพันธบัตรรัฐบาลและซื้อหุนจากธุรกิจ จะถูก นําไปใชในการลงทุนของภาคธุรกิจ การสราง โครงสรางเศรษฐกิจขั้นพื้นฐาน เชน สนามบิน ทาเรือ ถนน ไฟฟา ประปา เปนตน ซึง่ จะชวย ใหเกิดการจางงาน สรางรายไดใหแกประชาชน เงินออมของประชาชนสวนหนึ่งรัฐบาลจะนําไปใชพัฒนา ทําใหเศรษฐกิจของประเทศขยายตัวไดอยาง ประเทศในดานตางๆ เชน สรางถนนเพื่อความสะดวก ต อ เนื่ อ ง ช ว ยทํ า ให สั ง คมมี ก ารพั ฒ นาและ ในการคมนาคมขนสง เปลี่ยนแปลงไปในทางที ่ดีขึ้น 2 ๒.๕) ชวยลดปญหาการพึง่ พาตางประเทศ จากอดีตถึงปจจุบนั คนไทยยังออมทรัพย อยูในระดับตํ่า แตความตองการใชเงินลงทุนเพื่อขยายธุรกิจและพัฒนาประเทศมีมาก ทําใหเกิด ปญหาเงินออมไมเพียงพอในการนําไปใชในการพัฒนา หรือเรียกกันทัว่ ไปวา เกิดชองวางของการออม ทําใหรฐั บาลและธุรกิจภาคเอกชนตองขอกูย มื เงินจากตางประเทศเขามาใช และตองเสียดอกเบี้ย สวนหนึง่ ใหตา งประเทศ ระบบเศรษฐกิจจึงยังคงพึง่ พาตางประเทศ การพยายามสงเสริมการออมทรัพย ของประชาชนไทยและครัวเรือนตางๆ ก็จะชวยลดปญหาการพึ 3 ่งพาเงินลงทุนจากตางประเทศได อีกทางหนึง่ รวมทัง้ ชวยสงเสริมความมี 4 เสถียรภาพทางเศรษฐกิจและลดผลกระทบจากความผันผวน จากวิกฤตการณในตลาดการเงินโลก

✓ แบบวัดฯ ใบงาน แบบฝกฯ เศรษฐศาสตร ม.2 หนวยการเร�ยนรูที่ 1 การออมและการลงทุน กิจกรรมตามตัวชี้วัด

กิจกรรมที่ ๑.๑ ใหนกั เรียนตอบคําถามตอไปนีใ้ หถกู ตองสมบูรณ (ส ๓.๑ ม.๒/๑)

ขยายความเขาใจ

คะแนนเต็ม คะแนนที่ได

ñð

๑. คําวา ออมทรัพย หมายถึงอะไร เพราะเหตุใดจึงตองมีการออมทรัพย การมีรายไดสวนที่เหลือจากการใชจาย สาเหตุที่ตองมีการออมเพราะชวยใหครัวเรือน .................................................................................................................................................................................................................................................... มีความมั่นคง มีรายไดมากขึ้น ชวยยกระดับมาตรฐานการครองชีพใหสูงขึ้น ชวยพัฒนา .................................................................................................................................................................................................................................................... เศรษฐกิจของประเทศ .................................................................................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................................................................................

๒. การออมทรัพยชวยสรางความมั่นคงใหกับครัวเรือนอยางไร เพื่อเปนคาใชจายฉุกเฉินของครอบครัว เชน เจ็บปวย ตกงาน เปนการสะสมทรัพยสิน .................................................................................................................................................................................................................................................... ใหแกสมาชิกในอนาคต เปนคาใชจายในการพัฒนาสมาชิก เชน คาศึกษาเลาเรียนบุตร .................................................................................................................................................................................................................................................... คาเสื้อผาเครื่องแตงกาย เปนตน ....................................................................................................................................................................................................................................................

๑.๒ ปจจัยของการออมเงิน

....................................................................................................................................................................................................................................................

การออมเปนผลมาจากการบริหารจัดการรายไดที่ดี มีการวางแผนการใชเงิน การออม นับเปนสิง่ ทีด่ ที จี่ ะชวยแกปญ หาความเดือดรอนทางการเงินทีอ่ าจเกิดขึน้ อยางคาดไมถงึ ของบุคคล และครัวเรือน เงินออมชวยสรางเสริมรายไดในอนาคตและชวยทําใหเศรษฐกิจของประเทศขยายตัว แตการออมจะมากหรือนอยเพียงใดขึ้นอยูกับปจจัยตางๆ ดังนี้

๓. แรงจูงใจในการออมเงินของบุคคลในครัวเรือนมีอะไรบาง เฉลย .................................................................................................................................................................................................................................................... รายได ผลตอบแทนจากการออม เชน ดอกเบี้ย คาของเงิน เทคโนโลยีการใหบริการ ทางการเงินที่ทันสมัย สะดวกสบาย เปนตน .................................................................................................................................................................................................................................................... ฉบับ

.................................................................................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................................................................................

๔. การออมทรัพยจะประสบความสําเร็จตองอาศัยปจจัยสําคัญอะไรบาง ๑. ความปลอดภัยของเงินที่ออม การที่เราจะนําเงินออมไปแสวงหาผลประโยชนตอง .................................................................................................................................................................................................................................................... พิจารณาถึงความปลอดภัยของเงินออมเปนลําดับแรก .................................................................................................................................................................................................................................................... ๒. สภาพคลองของเงินออม เราสามารถนําเงินที่ออมไวมาใชในยามที่จําเปนไดหรือไม .................................................................................................................................................................................................................................................... ๓. เราไดผลตอบแทนจากการออมในอัตราที่มีความเหมาะสมกับระยะเวลาและความเสี่ยง .................................................................................................................................................................................................................................................... ๕. เพราะเหตุใดสังคมไทยจึงมีปญหาเรื่องการออมทรัพย ๑. ประชากรสวนใหญของประเทศมีรายไดตํ่า .................................................................................................................................................................................................................................................... ๒. สถาบันการเงินมักกระจุกตัวอยูใ นตัวเมืองทําใหประชาชนในชนบทขาดแหลงออมเงิน .................................................................................................................................................................................................................................................... ๓. มีชองวางระหวางการออมเงินมากเกินไป เนื่องจากปริมาณเงินออมมีนอย เมื่อเทียบ .................................................................................................................................................................................................................................................... กับปริมาณเงินที่ตองการใชในการลงทุนในแตละป ....................................................................................................................................................................................................................................................

นักเรียนควรรู 1 ยกระดับมาตรฐานการครองชีพ ภาครัฐสามารถทําไดโดยการพัฒนาการศึกษา ใหประชาชนไดรับการศึกษาในระดับสูงๆ อยางทั่วถึง พัฒนาอาชีพเพื่อใหมีการ จางงาน สงเสริมการเขารับการอบรมในการประกอบอาชีพ เพื่อสามารถสรางอาชีพ ใหกับตนเองได จัดสวัสดิการ ลดความเหลื่อมลํ้าในสังคม สนับสนุนงบประมาณ ในการพัฒนาทองถิ่นอยางทั่วถึง ทําใหประชากรมี​ีความอยูดีกินดี 2 การพึ่งพาตางประเทศ มีหลายรูปแบบ เชน การขอกูยืมเงินจากตางประเทศ การขอความชวยเหลือทางวิชาการ ในการกอสรางสาธารณูปโภค เปนตน 3 เสถียรภาพทางเศรษฐกิจ เสถียรภาพทางเศรษฐกิจภายในประเทศเปนภาวะที่ ไมเกิดภาวะเงินเฟอ เงินฝดและการวางงาน สวนเสถียรภาพทางเศรษฐกิจระหวาง ประเทศเปนภาวะที่ไมเกิดปญหาดุลการคาและดุลการชําระเงินขาดดุล หรือเกินดุล 4 ตลาดการเงินโลก ประกอบดวยตลาดเงิน ซึง่ เปนแหลงในการใหกยู มื เงินในระยะสัน้ ไมเกิน 1 ป กับตลาดทุน ซึ่งเปนแหลงในการใหกูยืมเงินในระยะเวลาเกินกวา 1 ป

4

คูมือครู

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

การออมมีสวนชวยพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศไดอยางไร 1. ชวยใหเกิดการลงทุนภาคธุรกิจ 2. ชวยใหเกิดการบริโภคสินคาที่หลากหลาย 3. ชวยใหเกิดการจางแรงงานตางดาวมากขึ้น 4. ชวยใหเกิดการสรางเงินสรางงานทั่วประเทศ วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 1. เพราะการออมมีสวนชวยใหเกิดการลงทุน จะทําใหวงจรเศรษฐกิจของประเทศเขมแข็ง โดยเมือ่ มีเงินออม สถาบันการเงิน ก็จะนําเงินออมของประชาชนมาปลอยกูใหกับภาคธุรกิจ ทําใหเกิดการ ลงทุนของภาคธุรกิจ กอใหเกิดรายได ซึ่งจะชวยใหเกิดการจางงาน สราง รายไดใหแกประชาชน ทําใหเศรษฐกิจขยายตัว มีการบริโภคสินคามากขึ้น เพราะประชาชนมีกําลังซื้อ สังคมมีการพัฒนาและเปลี่ยนแปลงไปในทาง ที่ดีขึ้น


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

อธิบายความรู ๑) รายไดสุทธิสวนบุคคล คือ รายไดของบุคคลที่ไดหักภาษีเงินไดสวนบุคคล

ออกแลว ผูที่มีรายไดสุทธิสวนบุคคลสูง เชน ผูบริหารระดับสูงในภาคธุรกิจ ขาราชการระดับสูง นักธุรกิจรายใหญ ยอมมีโอกาสในการออมเงิน สูงกวาผูที่มีรายไดสุทธิสวนบุคคลนอย เชน1 ข า ราชการชั้ น ผู  น  อ ย พนั 2 ก งานรั ฐ วิ ส าหกิ จ ลูกจางเกษตรกรรายยอย ซึ่งบุคคลกลุมนี้จะมี รายไดสทุ ธินอ ยทําใหมกี ารออมนอยตามไปดวย

๒) ผลตอบแทนที่ผูออมไดรับ จากการออม อาจอยูใ นลักษณะใดลักษณะหนึง่

หรือในหลายลักษณะ เชน ดอกเบี้ย เงินปนผล และกําไร ถาผลตอบแทนที่ไดรับอยูในอัตราสูง ก็จะเปนแรงจูงใจใหมีการออมทรัพยเพิ่มขึ้น เชน ถาธนาคารพาณิชยและสถาบันการเงินปรับ อัตราดอกเบีย้ เงินฝากเพิม่ ขึน้ ก็จะเปนการจูงใจ การวางแผนในการใชเงินจะทําใหมีเงินออมและเก็บไวซื้อ ใหมผี นู าํ เงินออมไปฝากมากขึน้ ปริมาณเงินออม สิ่งของที่ตองการได จึงเพิ่มสูงขึ้น หรือถาเงินปนผลจากธุรกิจตางๆ สูงขึ้น ก็จะจูงใจใหผูมีเงินออมนําเงินไปซื้อหุนจากธุรกิจมากขึ้น การออมทรัพยโดยรวมก็เพิ่มขึ้น ๓) คาของเงิน หรืออํานาจซือ้ ของเงินในปจจุบนั จะสงผลตอปริมาณการออม ผูอ อม จะตัดสินใจทําการออมมากขึ้นภายหลังจากการพิจารณาถึงอํานาจซื้อของเงินที่มีอยูในปจจุบันวา ไมมีความแตกตางจากมูลคาของเงินในอนาคตมากนัก เปนตนวาเงินจํานวน ๑๐๐ บาท สามารถ ซื้อสินคาและบริการไดในจํานวนใกลเคียงหรือเทากับการใชเงิน ๑๐๐ บาท ซื้อสินคาและบริการ ในอีก ๒-๓ ป ขางหนาหรือมากกวานั้น ในทางตรงกันขามผูออมจะตัดสินใจออมนอยลงหรือรีบ ใชเงินซื้อสินคาและบริการในปจจุบัน ถาคาดวาคาของเงินหรืออํานาจซื้อของเงินในปจจุบันจะ ลดลงอยางมากในอนาคต ๔) การใชจายในสิ่งที่จําเปนตามลักษณะนิสัยสวนบุคคล บุคคลแตละคนอาจ มีนิสัยการใชเงินที่แตกตางกัน บางคนมีนิสัยประหยัดมัธยัสถ บางคนมีนิสัยใชจายฟุมเฟอย เมื่อมี สินคาและบริการรุน ใหมๆ ออกมาจําหนายก็จะเลือกซือ้ ไปใชบริโภค ทําใหมเี งินเก็บเปนเงินออมนอย สวนบุคคลที่มีนิสัยประหยัดมัธยัสถก็จะเลือกเก็บออมเงินไวเพื่ออนาคต มากกวาการใชจายเงิน ไปกับการซื้อสินคาฟุมเฟอย ๕

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

นิดามีนิสัยชอบยืมเงินเพื่อนมาซื้อสินคาแบรนดเนมประเภทเสื้อผา โทรศัพท มือถือ กระเปาถือ นาฬกา มาใชเพื่อความโกเก จนทําใหมีหนี้สินมากมาย แสดงวานิดาเปนคนเชนไร 1. กิ้งกาไดทอง 2. กระเชอกนรั่ว 3. ฝนทั่งใหเปนเข็ม 4. เก็บเล็กผสมนอย วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 2. เพราะนิดาใชเงินสุรุยสุรายในการซื้อสินคา และบริการรุนใหมๆ หาเงินมาไดก็ใชจายไป โดยไมรูจักเก็บออมเงินไวเพื่อ อนาคต โดยเปรียบเทียบกับกระเชอซึ่งเปนภาชนะชนิดหนึ่งคลายกระจาด ขนาดเล็ก ทรงสูงกนสอบ สานดวยไมไผ ใชสําหรับใสเงินเบี้ย หรือเสื้อผา ของใชของประดับชิ้นเล็กๆ ใชกระเดียด ถากนกระเชอรั่วของในกระเชอจะรั่ว ออกหมด จึงอุปมาวาคือการใชจายสุรุยสุรายไมรูจักเก็บหอมรอมริบ และสตรี โบราณที่มีลักษณะแบบนี้จะเรียกวา แมกระเชอกนรั่ว

Explain

1. ครูใหนักเรียนคาดการณแนวโนมและโอกาส ในการออมเงิน จํานวนเงินออม ของบุคคลใน สังคม โดยยกตัวอยางบุคคลในสังคมที่มี รายไดสูง เชน จากการจัดอันดับผูที่รํ่ารวยของ โลก หรือของไทย นักธุรกิจรายใหญ นักรอง นักแสดงที่ไดรับความนิยมสูง กับบุคคลที่มี รายไดทั่วไป เชน พนักงานทั่วไปของบริษัท เอกชน ขาราชการผูนอย ผูที่ทํางานรับจาง ทั่วไปไดรับคาแรงขั้นตํ่า ครูถามคําถาม • ใครมีความสามารถในการออมเงินได มากกวากัน เพราะเหตุใด (แนวตอบ ผูที่มีรายไดสูง เชน นักธุรกิจ รายใหญ นักรอง นักแสดงที่ไดรับความนิยม สูงจะมีรายไดสูง จะมีโอกาสในการออมเงิน สูงกวาคนที่มีรายไดนอยอยางผูทํางาน รับจางทั่วไป เนื่องจากรายไดที่แตกตางกัน) 2. ครูใหนักเรียนสํารวจเงินออมของตนเองวา ขณะนี้มีเทาใด และปจจัยใดบางมีผลตอการ ออมเงินของนักเรียน จากนั้นศึกษาปจจัยของ การออมเงินของคนไทย และถามคําถาม เชน • ปจจัยที่มีผลตอการออมเงินของคนไทย มีอะไรบาง และมีผลตอบุคคลอยางไร (แนวตอบ ปจจัยที่มีผลตอการออมเงินของ คนไทย เชน รายได คาใชจายที่จําเปน วินัยในการใชเงิน การวางแผนในการใชเงิน เปนตน) • ทําไมคนไทยจึงมีโอกาสในการออมเงิน ไมเทากันจนทําใหเกิดชองวางระหวาง คนรวยกับคนจน (แนวตอบ เชน รายไดของบุคคลที่ไมเทากัน ความจําเปนในการใชจายของแตละคน แตกตางกัน วินัยหรือการวางแผนทาง การเงินของแตละคนไมเหมือนกัน)

เกร็ดแนะครู จากกิจกรรมสํารวจการออมเงินของนักเรียน ครูใหนักเรียนที่มีเงินออมเลา วิธีการเก็บออมเงิน การบริหารเงินออมของตนเองใหเพื่อนฟง เพื่อแลกเปลี่ยน ประสบการณ สวนคนที่ไมมีเงินออมใหแตละคนบอกขอจํากัดในการออมของตนเอง และใหเพื่อนๆ เสนอแนะวิธีการออมเงิน เพื่อนําไปปรับใช

นักเรียนควรรู 1 รัฐวิสาหกิจ กิจการที่เปนของรัฐทั้งหมด เชน การไฟฟา การประปา องคการ ตลาดเพือ่ เกษตรกร กับกิจการทีร่ ฐั มีหนุ อยูด ว ยเกินกวารอยละ 50 เชน การปโตรเลียม แหงประเทศไทย การบินไทย เปนตน 2 เกษตรกรรายยอย เกษตรกรที่มีที่ดินทํากินนอยหรือเปนผูเชาที่ดินทํากิน โดยมีรายไดนอยทําใหมีเงินออมตํ่า คูมือครู

5


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Explain

ครูใหนักเรียนชวยกันเขียนผังความคิดเรื่อง ปจจัยในการออมของคนไทยบนกระดาน และอภิปราย แสดงความคิดเห็นแตละขอ ครูถามคําถาม • นักเรียนคิดวาปจจัยใดมีผลตอการออมของ คนไทยมากที่สุด (แนวตอบ เชน รายได เพราะหากมีรายไดมาก โอกาสในการออมมีมาก ในขณะที่หากมี รายไดนอยทําใหโอกาสในการออมมีนอย ซึง่ ในปจจุบนั คนสวนใหญของประเทศมีรายได ที่จํากัดแกการครองชีพ ทําใหไมสามารถ ออมเงินได หรือออมไดนอย ในขณะเดียวกัน คนบางกลุมขาดความตระหนักถึงความสําคัญ ของการออมเพื่ออนาคต ทําใหเปนปญหาของ การออมของคนไทย) • นักเรียนคิดวาอุปสรรคในการออมของตนเอง และครอบครัวมีอะไรบาง (แนวตอบ อุปสรรคการออมเงินของตนเอง เชน มีรายไดแคเพียงพอกับการใชจายในชีวิต ประจําวัน ไมเหลือเปนเงินเก็บ ไมคอย มีความรูเกี่ยวกับการจัดการเงินออม เปนตน อุปสรรคการออมเงินของครอบครัว เชน สมาชิกในครอบครัวมีรายไดเพียงคนเดียว ในขณะที่สมาชิกคนอื่นๆ ในครอบครัวไมมี รายได กําลังอยูในวัยเรียน มีคาใชจายสูง ทําใหไมมีเงินเก็บออม เปนตน)

๕) การคาดคะเนเกี่ยวกับเหตุการณ 3า 1 ตางๆ ในอนาคต ถ2าประชาชนคาดคะเนว

รัฐบาลจะเพิ่มอัตราภาษีตางๆ เชน ภาษีมูลคาเพิ่ม ภาษีเงินไดสวนบุคคล ภาษีสินคาฟุมเฟอยให สูงขึ้น ประชาชนบางสวนอาจรีบซื้อสินคาตางๆ ทันที เพราะเกรงวาสินคาในอนาคตจะสูงขึ้น เปนผลทําใหการออมในปจจุบันลดลง ในทาง ตรงกันขาม ถาคาดวารัฐบาลจะลดภาษีตา งๆ ใน อนาคต ประชาชนบางสวนก็อาจออมเงินใน ปจจุบันไวเพื่อนําไปใชจายในอนาคตก็ได หรือ จากการคาดการณภาวะเศรษฐกิจวา จะเกิด วิกฤตเศรษฐกิจไปทั่วโลก การคา การลงทุน ขยายตัวนอย รวมถึงประเทศไทยก็จะไดรับ ผลกระทบดวย การคาดการณเชนนี้จะทําให คนสวนหนึ่งใชจายนอยลง เพราะเกิดความวิตก กับภาวะเศรษฐกิจ อาจทําใหตนเองมีรายได การวางแผนการออมที่ดีจะชวยใหสามารถสรางครอบครัว น อ ยลง จึ ง เลื อ กที่ จ ะเก็ บ ออมเงิ น ในทาง ที่มั่นคงได ตรงกันขาม ถารัฐบาลประเมินสถานการณ ทางเศรษฐกิจวาแนวโนมขยายตัว เศรษฐกิจโดยรวมดี ประชาชนก็จะเกิดความมั่นใจ และเกิดการ ใชจายเพิ่มขึ้นตามภาวะเศรษฐกิจที่ขยายตัว เปนตน ๖) เทคโนโลยีของการใหบริการทางการเงิน ปจจุบนั ธนาคารพาณิชย ไดนาํ ระบบ เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสมาใชในการใหบริการทางการเงินแกลูกคามากขึ้น เชน บริการเบิกถอน เงินอัตโนมัติ (Automatic Teller Machine : ATM) บริการบัตรเครดิต ซึ่งมีสวนทําใหการใชจาย ของลูกคาธนาคารมีความคลองตัวมากขึน้ ประชาชนจึงมีการใชจา ยเงินไดสะดวกขึน้ ทําใหการออม ทรัพยนอยลง ๗) ระบบการใหสวัสดิการหลังการเกษียณอายุ ประเทศใดที่มีระบบการให สวัสดิการหลังเกษียณอายุที่ดี เชน นโยบายการใหบํานาญ บําเหน็จ เงินชดเชย เปนตน จะทําให ประชาชนบางสวนมีการออมเงินไวใชในวัยชราไมสูงนัก เนื่องจากคาดวาจะไดรับเงินบางสวนจาก ภาครัฐ แตถาประเทศใดที่มีระบบการใหสวัสดิการหลังเกษียณอายุในวัยชรานอย ประชาชน บางสวนก็จะเพิ่มการออมในชวงวัยทํางานมากขึ้น เพื่อเก็บสะสมไวใชหลังเกษียณจากการทํางาน และในวัยชราภาพ ๖

นักเรียนควรรู 1 ภาษีมลู คาเพิม่ หรือ VAT เปนภาษีทเี่ ก็บจากมูลคาเพิม่ ของสินคาและบริการใน แตละขั้น กอนที่สินคาและบริการจะไปถึงมือผูบริโภค โดยผูประกอบการจะเก็บจาก ผูบริโภค ปจจุบันประเทศไทยเก็บในอัตรารอยละ 7 ของราคาสินคาและบริการ 2 ภาษีเงินไดสว นบุคคล ภาษีทจี่ ดั เก็บจากบุคคลทัว่ ไปทีม่ รี ายไดเกิดขึน้ ตามเกณฑ ที่กําหนด โดยปกติจะจัดเก็บเปนภาษีรายไดที่เกิดขึ้นในปนั้นๆ ผูมีรายไดมีหนาที่ ตองนําไปแสดงรายการตามแบบแสดงรายการภาษีที่กําหนด ภายในเดือนมกราคมมีนาคม ของปถัดไป สามารถไปยื่นชําระภาษีที่สรรพากรเขต หรือสถานที่ที่กรม สรรพากรกําหนด เชน ธนาคารพาณิชย สงทางไปรษณีย ยืน่ ชําระผานระบบอินเทอรเน็ต ที่ http://rdserver.rd.go.th/publish/index.php ผูท ไี่ มชาํ ระตามกําหนดจะไดรบั โทษ เชน ตองเสียคาปรับ เปนตน 3 ภาษีสินคาฟุมเฟอย ภาษีสินคาฟุมเฟอยจะมีการจัดเก็บเฉพาะอยางและมี อัตราสูงกวาภาษีสินคาทั่วไป เชน เบียรเก็บในอัตรารอยละ 60 เปนตน

6

คูมือครู

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

เทคโนโลยีในการใหบริการทางการเงินที่ทันสมัย สะดวก รวดเร็ว ของธนาคารพาณิชยในปจจุบัน มีผลตอการออมภาคประชาชนอยางไร 1. ทําใหการออมลดลง 2. ทําใหการออมเพิ่มขึ้น 3. ทําใหการออมหยุดนิ่งอยูกับที่ 4. ทําใหการออมเคลื่อนไหวตลอดเวลา วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 1. การใหบริการทางการเงินที่ทันสมัย สะดวก รวดเร็ว เชน ใหบริการผานระบบอินเทอรเน็ต โทรศัพทมือถือ บริการตูกด เงินดวน ATM บัตรเครดิต ทําใหการออมของประชาชนลดลง เนื่องจาก บริการเหลานี้ ทําใหการใชจายเงินสะดวกและรวดเร็ว ถึงแมไมมีเงินสด ในมือก็สามารถใชจายผานบัตรเครดิตได กระตุนใหเกิดการใชจายคลองตัว ยิ่งขึ้น จึงมีผลทําใหการออมลดลง


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

อธิบายความรู

1. ครูสนทนาดวยการเปดประเด็นคําถาม • นักเรียนมีเปาหมายการออมเงินเพื่ออะไร • นักเรียนจะปฏิบัติตนอยางไรเพื่อทําให เปาหมายการออมของตนประสบความสําเร็จ โดยใหนักเรียนแตละคนเขียนคําตอบของ ตนลงในกระดาษ ครูสุมนักเรียน 4-5 คน อานคําตอบของตนเอง 2. ครูใหนักเรียนรวมกันอภิปรายเปาหมายใน การออมของคนทั่วไป โดยเขียนสรุปเปนผัง ความคิดบนกระดาน ครูถามคําถาม • ชวงอายุมีผลตอเปาหมายของการออม อยางไร (แนวตอบ อายุมีผลตอเปาหมายการออม เชน เปาหมายของการออมในวัยทํางาน มักเปนการออมเพื่อความสุขของตน เพื่อการอํานวยความสะดวกใหกับตนเอง เชน ซื้อรถ ซื้อบาน ใชจายตามความ ตองการ สวนการออมในวัยกลางคน มักเพื่อความมั่นคงของครอบครัว เพื่ออนาคต)

๑.๓ เปาหมายของการออม

การออมเงินของแตละคนมีเปาหมายที่แตกต1างกันออกไป ซึ่งอาจแบงได ๒ ลักษณะ ไดแก ๑. การออมเพื่อประโยชนระยะสั้น ซึ่งในระยะสั้นอาจมีความจําเปนตองใชเงิน เชน เพือ่ รักษาพยาบาลสมาชิกในครัวเรือน ใหการศึกษาแกบตุ รหลาน จัดหาทีอ่ ยูอ าศัย พักผอน ประจําเดือิ น เปนตน จึงควรเก็บรายไดสว นหนึง่ เพือ่ ใช 2 จา ยระยะสัน้ ๒. การออมเพื่อประโยชนระยะยาว เปนเงินออมที่คอยๆ สะสมทีละเล็กทีละนอย เปนเวลายาวนาน เพือ่ ไวใชจา ยในอนาคต เชน เพือ่ ความมัน่ คงของชีวติ ไวใชจา ยเมือ่ ออกจากงาน เพือ่ ดํารงชีวติ เมือ่ ยามชรา เปนตน ทั้งนี้เปาหมายการออมขึ้นอยูกับวัย อายุ เพศ การศึกษาและปจจัยอื่นๆ เชน ประชากร ในวัยเริ่มตนเขาทํางาน อาจมีเปาหมายของการออมเพื่อเก็บออมไวซื้อรถยนต เพื่อการศึกษาตอ เพื่อแตงงาน เพื่อซื้อที่อยูอาศัย สวนประชากรในวัยกลางคนอาจมีเปาหมายของการออมเพื่อเปน ทุนการศึกษาบุตร เก็บไวใชในยามฉุกเฉินและเจ็บไขไดปวย เก็บไวใชหลังเกษียณอายุจากการ ทํางานแลว สวนประชากรในวัยชรา อาจมีเปาหมายของการออมเพือ่ ไวรกั ษาตัวยามเจ็บไขไดปว ย เพื่อใชจายในชีวิตประจําวัน เพื่อซอมแซมที่อยูอาศัย เปนตน

เปาหมายการออมของฉัน

Explain

เพื่อใชจายในวัยชรา เพื่อความสะดวกสบายในการเดินทาง

เพื่อการศึกษาของบุตรหลาน เพื่อซื้อที่อยูอาศัย http://www.aksorn.com/LC/Eco/M2/01

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

การนําเงินออมไปใชในเรื่องใดที่สงผลตอการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ มากที่สุด 1. ซื้อที่อยูอาศัย 2. ซื้อพันธบัตรรัฐบาล 3. ซื้อสลากกินแบงรัฐบาล 4. ฝากธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตร วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 2. เพราะการออมในแตละขอมีเปาหมายที่ แตกตางกัน โดยการออมในขอ 2. เพื่อรับผลตอบแทนในรูปของดอกเบี้ย โดยรัฐบาลจะนําเงินสวนนี้ไปพัฒนาประเทศ ใชจายการลงทุนในโครงสราง พื้นฐานตางๆ สวนในขอ 1. เพื่อใหเกิดประโยชนสนองตอบความตองการ ของตน ขอ 3. เพื่อเสี่ยงโชค ซึ่งเปนความเสี่ยงที่สูงเพราะอาจไมถูกรางวัล และไมกอใหเกิดประโยชน และขอ 4. เพื่อชวยเหลือเกษตรกรผูตองการ เงินทุนและจายผลตอบแทนใหในรูปของดอกเบี้ย (เกิดประโยชนกับกลุม เกษตรกร

EB GUIDE

นักเรียนควรรู 1 การออมเพื่อประโยชนระยะสั้น เชน การฝากเงินประเภทออมทรัพย เผื่อเรียก กับธนาคารพาณิชย ซึ่งสามารถเบิกถอนไดสะดวก และไดรับดอกเบี้ยเปน ผลตอบแทน 2 การออมเพือ่ ประโยชนระยะยาว เชน การฝากเงินแบบประจํากับธนาคารพาณิชย การลงทุนกับกองทุนรวม การลงทุนในตราสารหนี้ ซื้อพันธบัตรรัฐบาล ซึ่งจะไดรับ ผลตอบแทนสูงกวาการฝากบัญชีประเภทออมทรัพย หรือสามารถนําเงินออมมาลงทุน ในทีด่ นิ และอสังหาริมทรัพยตา งๆ ซึง่ ไดรบั ผลตอบแทนเปนคาเชาหรือกําไรจากการ ขายตอ เปนตน

มุม IT ศึกษาคนควาขอมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับวิธีการออมเงิน เพิ่มเติม ไดที่ http://www.pattanakit.net คูมือครู

7


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Explain

1. ครูนําสนทนาดวยการนําคําพูดที่ใหนักเรียน คิดตาม เพื่อใหนักเรียนตระหนักถึงความสําคัญ ของการออมเงิน และรูจักการบริหารเงินออม มาสนทนาและใหนกั เรียนรวมแสดงความคิดเห็น เชน • ถานักเรียนตองการมีอนาคตทางการเงินทีม่ นั่ คง จะตองทําอยางไร เพือ่ ไมใหตนเองตองลําบาก เรื่องคาใชจายในอนาคต และมีความมั่นคง ทางการเงิน • เมื่อนักเรียนมีความจําเปนตองใชเงินอยาง เรงดวน นักเรียนจะชวยเหลือตนเองอยางไร ครูใหนักเรียนเขียนลงในกระดาษ ใหตัวแทน นักเรียน 4-5 คน อานคําตอบของตนเองให เพือ่ นฟง พรอมทัง้ ใหเพือ่ นรวมแสดงความคิดเห็น และเสนอแนะเพิ่มเติม 2. ครูใหนักเรียนศึกษาเปาหมายของการออมของ สมฤดี จากหนังสือเรียน หนา 8 รวมกันแสดง ความคิดเห็น 3. ครูสอบถามนักเรียนวา • ในครอบครัวของนักเรียนไดมีการกําหนด เปาหมายการออมหรือไม อยางไร โดยครูใหตัวแทนนักเรียนของครอบครัว ที่มีการวางแผนการออม เลาแผนการออมของ ครอบครัวใหเพื่อนฟง

๑.๔ การบริหารจัดการเงินออมของภาคครัวเรือน

การออมสามารถเพิ่มพูนรายไดใหแกเราได 1 เชน ใหผลตอบแทนในรูปของดอกเบี้ย หากฝากเงินไวกบั สถาบันการเงินและมีความปลอดภัย และเนือ่ งจากการออมเงินมีทงั้ ทีอ่ อมระยะสัน้ และระยะยาว ดังนั้น จึงตองมีการบริหารจัดการเงินออมของภาคครัวเรือนใหมีประสิทธิภาพ ซึ่งควรจะดําเนินการเปนลําดับขั้น ดังนี้ ๑) การกําหนดเปาหมายของการออมอยางชัดเจน โดยสมาชิกในครอบครัว จะตองกําหนดใหชัดเจนวาครัวเรือนตองการออมเงินไวเพื่ออะไร จํานวนเทาใด ในชวงเวลาใด แลวทําเปนเปาหมายของการออมไว ตัวอยาง เปาหมายการวางแผนออมเงินของสมฤดี พนักงานบริษัทเอกชนแหงหนึ่ง วัย ๒๕ ป ซึ่งมีเปาหมายวางแผนการออม ดังนี้ ตัวอยางการกําหนดเปาหมายการออมของสมฤดี เปาหมายของการออมในอนาคต ๑. เพื่อซื้อรถยนต ๒. เพื่อศึกษาตอ ๓. เพื่อแตงงาน ๔. เพื่อซื้อบาน ๕. เพื่อซื้อเฟอรนิเจอรและเครื่องใชไฟฟา ๖. เพื่อใชจายในยามฉุกเฉิน เจ็บปวย ๗. เพื่อทองเที่ยว พักผอน ๘. เพื่อใชจายหลังเกษียณอายุ ๙. เพื่อการศึกษาของบุตร ๑๐. อื่นๆ

จํานวนเงิน (บาท)

ปที่กําหนด

…………………………………………… …………………………………………. …………………………………………… …………………………………………. …………………………………………… …………………………………………. …………………………………………… …………………………………………. …………………………………………… …………………………………………. …………………………………………… …………………………………………. …………………………………………… …………………………………………. …………………………………………… …………………………………………. …………………………………………… …………………………………………. …………………………………………… ………………………………………….

2

๒) การจัดทํารายรับและรายจายในแตละเดือน ครัวเรือนควรมีการวางแผน

การใชจายเงินในแตละเดือนที่รัดกุม เพื่อที่จะควบคุมการใชจายเงินอยางมีเหตุมีผล และที่สําคัญ ตองมีเปาหมายในการออมทรัพยในแตละเดือนดวย เพือ่ ใหเงินออมทีร่ วบรวมไดสามารถนําไปใชตาม แผนทีก่ าํ หนดไวอยางรัดกุม รายรับและรายจายแตละเดือนสามารถทําไดงายๆ ดังนี้ ๘

นักเรียนควรรู 1 ความปลอดภัย ความปลอดภัยของเงินออม คือ การออมเงินไวกับสถาบัน การเงินที่มั่นคง หรือนําไปซื้อหลักทรัพยตางๆ ซึ่งจะตองทําใหเงินเกิดมูลคา เพิ่มขึ้น และไมสูญหายหรือมีปริมาณลดลง 2 การจัดทํารายรับและรายจายในแตละเดือน โดยการจัดทําบัญชีครัวเรือน คือ การทําบัญชีรายรับ-รายจายของครัวเรือนที่เกิดขึ้นในแตละวัน เพื่อใหครัวเรือน สามารถวางแผนการใชจายเงินไดอยางเหมาะสม

มุม IT ศึกษาตัวอยางบัญชีครัวเรือนของ ธกส. ไดที่ http://www.baac.or.th หรือ เว็บไซตของสถาบันการศึกษา เชน www.southeast.ac.th/host_admin/upload/ 91372

8

คูมือครู

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

ขอใดเปนการบริหารจัดการเงินออมของภาคครัวเรือน เพื่อการสรางวินัย การออม 1. ไมกอหนี้สิน 2. ใชจายอยางประหยัด 3. นําเงินออมไปเลนหุน 4. ออมเงินไดตามเปาหมาย วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 4. เพราะการบริหารจัดการเงินออมอยางมี ประสิทธิภาพ ตองกําหนดเปาหมายในการออมเงินอยางชัดเจน เชน ออมเพื่ออะไร จํานวนเทาใด และใชเวลานานกี่ป เปนตน


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ Expand

Evaluate

ขยายความเขาใจ

รายจาย (บาท)

๑. เงินเดือนประจํา ………………………………………………….

๑. คาใชจายในครัวเรือน ………………………………………….. คาเชาบาน ………………………………………………………… คาพาหนะ ………………………………………………………… คานํ้าประปา …………………………………………………….. คาไฟฟา …………………………………………………………… คาโทรศัพท ………………………………………………………

Expand

1. ครูใหนักเรียนสํารวจตนเองเกี่ยวกับพฤติกรรม การออม พรอมกําหนดเปาหมายวา • มีวิธีการออมเงินอยางไร • ออมเงินเทาไร • เพื่ออะไร พรอมทั้งจดบันทึกรายรับ-รายจาย ของ นักเรียนในปจจุบัน จากนั้นใหนําขอมูลจาก การสํารวจมาบันทึกผล พรอมทั้งใหนักเรียน อธิบายถึง • รายรับ-รายจาย ของตน พรอมแสดงความ คิดเห็นวา รายรับ-รายจาย เหมาะสมกัน หรือไม • ควรลดรายจายดานใดบาง และมีวิธีการลด อยางไร 2. ครูใหนักเรียนไปศึกษาคนควาขอมูลแหลง เพิ่มพูนเงินออม รวมถึงผลตอบแทนที่ได บันทึกการคนควาและนํามาอภิปรายใน ชั้นเรียน และตั้งประเด็นใหนักเรียนรวมกัน อภิปราย • ถานักเรียนเก็บเงินออมมาไดจํานวนหนึ่ง นักเรียนจะมีวิธีการเพิ่มพูนเงินออมนั้น อยางไร (แนวตอบ เชน นําเงินออมไปฝากธนาคาร แบบออมทรัพย เพราะไดคาตอบแทนเปน ดอกเบี้ย เงินนั้นก็ปลอดภัย หากตองการ ใชเงินก็สามารถไปเบิกถอนมาใชไดสะดวก หรือนําเงินออมไปซื้อสลากออมสิน เพราะมี โอกาสถูกรางวัล และไดดอกเบี้ยขณะที่ฝาก ดวย)

ตัวอยางการทําบัญชีครัวเรือน/รายรับ-รายจาย ประจําเดือน รายรับ (บาท)

ตรวจสอบผล

๒. รายไดพิเศษ ๒. คาอาหาร ……………………………………………………………… ทํางานนอกเวลา …………………………………………….. คานายหนาขายที่ดิน ……………………………………… ๓. รายไดจากการรับจางทําบัญชี …………………………… ๓. คาเลาเรียนบุตร …………………………………………………… ๔. ……………………………………………………………………………….. ๔. คารักษาพยาบาล ………………………………………………… ๕. ……………………………………………………………………………….. ๕. คาเสื้อผา ……………………………………………………………… ๖. ……………………………………………………………………………….. ๖. คาใชจายอื่นๆ ……………………………………………………… รวมเปนเงิน ……………………………………………………………………. รวมเปนเงิน …………………………………………………………………….

๓) การนําเงินออมแตละเดือนไปทําใหเกิดประโยชนเพิ่มขึ้น โดยผูออมเงิน

จะตองวางแผนวาจะนําเงินออมไปทําใหเกิดผลประโยชนไดอยางไร เปนตนวานําไปฝากธนาคาร พาณิชยและสถาบันการเงินอื่นๆ เชน ธนาคารออมสิน ธนาคารอาคารสงเคราะห ธนาคารเพื่อ การเกษตรและสหกรณการเกษตร เปนตน เพื่อใหไดผลตอบแทนในรูปของดอกเบี้ย การนําเงิน ไปซื้อหุนของธุรกิจ ก็เพื่อใหไดผลตอบแทนในรูปของเงินปนผล การนําเงินไปซื้อพันธบัตรรัฐบาล ก็เพือ่ ใหไดผลตอบแทนในรู 1 ปของดอกเบีย้ หรือการนําไปแสวงหาประโยชนอนื่ ๆ ตามทีผ่ อู อมตองการ เชน การซือ้ สลากออมสิน การออมทรัพยในรูปของการประกันชีวติ การซือ้ หุน ของสหกรณออมทรัพย เปนตน เปนขอสังเกตวาในปจจุบันมีสถาบันการเงินเกิดขึ้นมากมาย มีการระดมเงินทุน หลากหลายรูปแบบ เชน การชักชวนใหประชาชนเขารวมโครงการออมเงินในรูปแบบตางๆ และ ใหผลตอบแทนที่สูง เชน ทําประกันอุบัติเหตุอัตราดอกเบี้ยสูง ชักชวนลงทุนในธุรกิจตางๆ โดย การหาสมาชิ 2 ก เปนตน ดังนั้นเราจะตองศึกษาขอมูลของสถาบันการเงินที่เราลงทุน เพราะปองกัน ความเสี่ยงจากการนําเงินออมไปลงทุน ๙

กิจกรรมสรางเสริม ใหนักเรียนจัดทําบันทึกรายรับ-รายจายของตนเอง ในชวงระยะเวลา 1 เดือน แลวสรุปประโยชนจากการทําบันทึ​ึกคาใชจาย

กิจกรรมทาทาย ใหนักเรียนสํารวจรายรับ-รายจายของครอบครัวในแตละวัน และศึกษา การทําบัญชีครัวเรือนของหนวยงานตางๆ เชน จากธนาคารเพื่อการเกษตร และสหกรณการเกษตร เพื่อนํามาจัดทําบัญชีครัวเรือนของตนเองเปนเวลา 1 เดือน จากนั้นทําการวิเคราะหเปรียบเทียบรายรับ-รายจายและเงินออม ของครอบครัว เพื่อนํามาวางแผนการใชจายและการออมของครอบครัว

เกร็ดแนะครู ครูควรนําตัวอยางบัญชีครัวเรือน หรือบันทึกรายรับ-รายจายของหนวยงานหรือ ของบุคคลตางๆ มาใหนักเรียนศึกษาเพิ่มเติม

นักเรียนควรรู 1 สลากออมสิน ออกโดยธนาคารออมสิน เมื่อฝากครบตามระยะเวลาที่กําหนด ผูฝากจะไดรับเงินตนครบพรอมดอกเบี้ย และมีสิทธิถูกรางวัลตามที่ธนาคารกําหนด โดยไมตอ งเสียภาษี เชน สลากออมสินพิเศษ อายุ 3 ป งวดที่ 43 หนวยละ 50 บาท มีสิทธิถูกรางวัลทุกเดือนถึง 36 เดือน 2 ความเสีย่ ง ความเสีย่ งจากการลงทุน เชน ความเสีย่ งจากความผันผวนของราคา หลักทรัพย ความเสี่ยงจากลักษณะการดําเนินธุรกิจของผูออกตราสาร หากผูออก ตราสารมีความไมแนนอนของรายได ความเสีย่ งทีเ่ กิดจากการเปลีย่ นแปลงของอัตรา ดอกเบี้ยในตราสารที่สัญญาจะชําระดอกเบี้ยในอัตราคงที่ตลอดอายุ คูมือครู ของตราสาร เปนตน 9


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

Expand

1. ครูนําสนทนาเกี่ยวกับแหลงระดมเงินทุนหรือ เงินออมตางๆ ถึงการเลือกใชบริการ โดย พิจารณาจากหลักเกณฑในการออม เชน ความ ปลอดภัยของเงิน และผลตอบแทนที่ไดรับก็ให เลือกฝากกับธนาคาร เปนตน 2. ครูใหนักเรียนแบงกลุม ไปสํารวจแหลงระดม เงินทุนในทองถิ่น 1 แหง หรือศึกษาคนควา จากแหลงเรียนรูตางๆ เชน อินเทอรเน็ต ตามประเด็นที่กําหนดให ดังนี้ • ความปลอดภัยของเงินออม • สภาพคลองของเงินออม • ความสะดวก • ผลตอบแทน • บริการพิเศษอื่นๆ ครูใหตัวแทนของแตละกลุมนําเสนอผลการ สํารวจ เมื่อนําเสนอครบทุกกลุม ครูตั้งประเด็น คําถาม • นักเรียนจะเลือกไปฝากเงินกับสถาบัน การเงินใด เพราะเหตุใด • ตามความคิดของนักเรียน คิดวาหลักเกณฑ ในการออมขอใดที่ควรนํามาพิจารณาเปน อันดับแรก

๑.๕ หลักเกณฑที่ควรพิจารณาในการออม

หลักเกณฑ พิจารณาในการออม

ในปจจุบนั มีหนวยงานตางๆ ทัง้ ของภาครัฐและเอกชนทีร่ บั ฝากเงินออมหรือชักชวนใหนาํ เงิน ออมมาลงทุน ดังนั้นเราจะตองศึกษาขอมูลของหนวยงานตางๆ ใหเขาใจชัดเจน เพราะมิฉะนั้น อาจเกิดความเสี่ยงกับเงินออมได ดังนั้นเมื่อบุคคลและครัวเรือนไดตัดสินใจและวางแผนเพื่อการ เก็บออมแลว ควรคํานึงถึงหลักเกณฑ ดังนี้ การสะสมเงินออมของเราปลอดภัยหรือไม เราสามารถไดผลตอบแทนจากการออมในอัตราที่มากพอหรือไม คิดดอกเบี้ยอยางไร เราสามารถนําเงินออมที่สะสมไดมาใชในยามที่ตองการไดหรือไม เราจะตองมีคาใชจายอะไรจากการออมบาง

๑) ความปลอดภัยของเงินออม การที่จะนําเงินไปแสวงหาผลประโยชนโดย

ฝากเงินกับธนาคารพาณิชยและสถาบันการเงินอื่นๆ หรือการซื้อพันธบัตรรัฐบาล การซื้อหุนหรือ หลักทรัพย หรือการไปลงทุนอื่นๆ ผูออมจะตองคํานึงถึงความปลอดภัยของเงินวาจะไมเสี่ยงตอ การขาดทุน การสูญหาย และไดผลตอบแทนที่ไมเหมาะสม เพราะการนําเงินไปลงทุนในกิจการที่ ไดรับผลตอบแทนสูง ก็ยอมจะตองมีความเสี่ยงสูงเชนเดียวกัน ๒) สภาพคลองของเงินออม หมายความวา เงินที่นําไปออมนั้น โอกาสที่จะเบิก เปนเงินสดมาใชในคราวที่ตองการมีความสะดวกรวดเร็วทันกับความตองการหรือไม เพียงใด ๓) ความสะดวก หมายถึง ระเบียบพิธีการ ตลอดจนเงื่อนไขในการออมมีความ สะดวกรวดเร็ว หรือมีเงื่อนไขยุงยาก ซับซอน จนทําใหเสียเวลาแก1ผูออม ๔) อัตราผลตอบแทน หมายถึง อัตราดอกเบี้ยหรือเงินปนผลจากเงินออม ควรจะตองมีความเหมาะสมกับระยะเวลาและความเสี่ยง เชน การฝากเงินระยะยาวยอมตองไดรับ ดอกเบี้ยสูงกวาเงินฝากระยะสั้น การลงทุนในธุรกิจที่มีความเสี่ยงมากจะไดผลตอบแทนที่สูงกวา การลงทุนในธุรกิจที่เสี่ยงนอยกวา แตโอกาสที่จะขาดทุนก็มีมากกวา เปนตน ๕) ภาษีที่ตองเสีย หมายถึง ผลตอบแทนจากเงินออมจะตองมีการเสียภาษี หรือไม เสียในอัตราเทาใด วิธีการเสียภาษีเปนอยางไร เชน การฝากประจํากับธนาคารพาณิชย จะตองเสียภาษี2 สวนการฝากเงินประเภทออมทรัพยหรือเผื่อเรียกไมตองเสียภาษี เปนตน ๖) บริการอื่นๆ ที่ไดรับจากการออม เชน การเปนเจาของธุรกิจ การไดรับ บัตรเครดิตโดยไมเสียคาบริการรายป เปนตน ๑๐

นักเรียนควรรู 1 อัตราดอกเบีย้ เปนอัตราดอกเบีย้ รอยละตอปทสี่ ถาบันการเงินจายใหกบั ผฝู ากเงิน เพื่อเปนคาตอบแทนผูฝากเงินไดกับสถาบันการเงิน โดยอัตราดอกเบี้ยเงินฝากมีหลาย ประเภท หลายอัตรา ขึน้ อยูก บั ระยะเวลาการฝากเงินและเงือ่ นไขการถอนเงิน เชน อัตราดอกเบี้ยของเงินฝากในบั​ัญชีออมทรัพยที่สามารถถอนไดตลอดเวลา จึงตํ่ากวา อัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจํา ในบางชวงที่ธนาคารพาณิชยตองการเงินออมธนาคาร พาณิชยก็จะแขงขันกันเสนออัตราดอกเบี้ยใหกับผูฝากเงินประเภทตางๆ แตทั้งนี้ตอง ไมตํ่ากวาอัตราดอกเบี้ยเงินฝากที่ธนาคารแหงประเทศไทยกําหนด 2 การฝากประจํากับธนาคารพาณิชยจะตองเสียภาษี เชน ฝากประจํา 3 เดือน 6 เดือน 12 เดือน โดยธนาคารจะคิดดอกเบี้ยเงินฝากตามอัตราที่ประกาศไวเปน ชวงเวลา เชน ฝากประจํา 3 เดือน ธนาคารก็จะคิดอัตราดอกเบี้ยทุกๆ 3 เดือน แตถาหากมีการเบิกถอนกอนฝากครบ 3 เดือน ก็จะไมไดดอกเบี้ยในรอบ 3 เดือนนั้น และดอกเบี้ยของเงินฝากประจําตองเสียภาษีในอัตรารอยละ 15 ของดอกเบี้ยที่ไดรับ สวนดอกเบี้ยเงินฝากประเภทออมทรัพย เผื่อเรียก ไมตองเสียภาษี

10

คูมือครู

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

นายธนวัฒนขายที่ดินไดรับเงิน 5,500,000 บาท เขาควรทําอยางไรเพื่อ ใหเงินจํานวนนี้มีความปลอดภัยมากที่สุดและไดรับผลตอบแทนเพิ่มขึ้น 1. นําเงินไปฝากกับธนาคารออมสิน 2. นําเงินไปปลอยกูกับบุคคลที่สนิทและไวใจได 3. นําเงินไปฝากกับธนาคารแลนดแอนดเฮาสเพื่อรายยอย 4. นําเงินไปลงทุนซื้อหุนผานโบรกเกอรในตลาดหลักทรัพย วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 1. เพราะธนาคารออมสินมีฐานะเปน รัฐวิสาหกิจสังกัดกระทรวงการคลัง โดยรัฐบาลเปนผูคํ้าประกันเงินฝาก จึงมีความนาเชื่อถือ และมีความปลอดภัยมากที่สุด ดังนั้น เพื่อความ ปลอดภัยของเงินฝาก นายธนวัฒนควรนําเงินไปฝากกับธนาคารออมสิน


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

กระตุน ความสนใจ

ครูนําสนทนาเกี่ยวกับรายไดสวนใหญของ ประชากรในประเทศของคนอาชีพตางๆ ใหนักเรียนรวมกันแสดงความคิดเห็น ในประเด็น ตอไปนี้ • นักเรียนคิดวา อาชีพหลักของคนไทยคือ อาชีพใด (แนวตอบ อาชีพเกษตรกรรม รับจางทั่วไป) • สิง่ ทีส่ รางปญหาใหกบั อาชีพดังกลาวคืออะไร และสงผลตอการออมอยางไร (แนวตอบ เชน ผลผลิตราคาถูก ในขณะที่ ตนทุนในการผลิตเพิ่มสูงขึ้น สภาพอากาศที่ ไมเอื้อตอการทําการเกษตร ทําใหไดผลผลิต นอย ผลผลิตราคาถูก เปนตน สงผลกระทบ เชน ปญหาความยากจน เพราะเมื่อรายได ของประชาชนอยูในระดับตํ่า ยอมสงผล กระทบตอการออม เพราะเงินสวนใหญถูก นํามาใชจายในชีวิตประจําวันและเปนตนทุน ในการประกอบอาชีพ)

เรื่องนารู ขอดีของการออมเงินโดยฝากเงินกับธนาคารพาณิชย ๑. การฝากเงินกับธนาคารพาณิชยมีความเสี่ยงตํ่า เพราะเงินที่ฝากไวจะไมสูญหายไปไหน แมวา ธนาคารที่รับฝากตองปดกิจการไป ก็สามารถไปเรียกเงินจากสถาบันประกันเงินฝากได แตดอกเบี้ยเงินฝากของ ธนาคารจะไมสูงนักเมื่อเปรียบเทียบกับการนําเงินไปออมกับสถาบันการเงินอื่นๆ ๒. มีสภาพคลองสูง แมวาเงินฝากธนาคารพาณิชยจะมีอยูหลายประเภท แตในทุกประเภทก็สามารถ ถอนออกไดทันทีที่ตองการเงิน แตบางประเภทอาจมีการเสียดอกเบี้ยไปบาง เชน การฝากประเภทประจํา ๓. มีความสะดวกในการฝาก-ถอน และการใหบริการดานอื่นๆ ปจจุบันธนาคารพาณิชยได เปดสาขาอยูในอําเภอตางๆ ทั่วประเทศ และมีการนําเอาระบบคอมพิวเตอรมาใชในการจัดการของธนาคารพาณิชย ทําใหเกิดความสะดวกในการฝาก-ถอน และธนาคารพาณิชยยังใหบริการดานอื1่นๆ อีกหลายดาน เชน บริการ แลกเปลีย่ นเงินตราตางประเทศ บริการขาวสารทางเศรษฐกิจ บริการรับฝากของมีคา บริการบัตรเครดิต เปนทีป่ รึกษา การลงทุน เปนตน

๑.๖ ปญหาการออมในสังคมไทย ปญหาการออมในสังคมไทยสรุปไดดังนี้

๑) ประชากรไทยสวนใหญมี

รายไดตํ่า เนื่องจากประชากรกวารอยละ ๕๐ ประกอบอาชีพเปนเกษตรกรและผูใ ชแรงงานใน โรงงานอุตสาหกรรม รายไดสว นใหญจงึ นําไปใช เพื่อการบริโภคเปนหลัก สวนที่เหลือเพื่อการ เก็บออมจึงมีนอย นอกจากนั้นประชากรกลุม ที่ มีรายไดตาํ่ จํานวนมากตองไปกูห นีย้ มื สินมาเพื่อ ใชจา ยในชีวติ ประจําวันอีกดวย ดังนัน้ ถาตองการ ที่จะสงเสริมการออมก็จําเปนตองหาทางที่จะ เพิ่มรายไดใหมากขึ้น ในขณะเดียวกันก็จะตอง ใหความรูกับครัวเรือนในเรื่องของการประหยัด อดออม มีความเปนอยูแบบพอเพียง แมวาจะ มีรายไดตาํ่ ก็สามารถทีจ่ ะออมไดถา รูจ กั การใชเงิน อยางประหยัด

Engage

สํารวจคนหา

Explore

นักเรียนศึกษาปญหาการออมในสังคมไทย จากหนังสือเรียนหนา 11-13 เพื่อนําขอมูลมา อภิปรายถึงปญหาการออมของครัวเรือนไทย

ประชากรสวนใหญอยูในภาคเกษตรกรรม ซึ่งมีรายไดตํ่า ทําใหไมสามารถเก็บออมเงินได หรือเก็บออมเงินไดนอย

๑๑

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

การออมเงินวิธีใดมีความเสี่ยงตํ่าและไดรับผลตอบแทนตํ่า 1. เก็บเงินสดไวที่บาน 2. นําเงินออมไปใหผูอื่นกูยืม 3. นําเงินออมไปฝากธนาคาร 4. นําเงินออมไปซื้อประกันชีวิต

วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 3. เพราะการออมเงินดวยการฝากเงินกับ ธนาคารมีความเสี่ยงตํ่า เพราะเงินที่ฝากไวจะไมสูญหาย (แมวาธนาคารที่ รับฝากตองปดกิจการไป แตก็มีสถาบันประกันเงินฝากซึ่งจะคุมครองเงินฝาก) มีสภาพคลองแตไดรับผลตอบแทนในอัตราดอกเบี้ยตํ่า

เกร็ดแนะครู ครูควรนําสถิติการออมของคนไทยในชวง 4-5 ป จากหนวยงานภาครัฐและ จากสํานักงานสถิติแหงชาติ ใหนักเรียนรวมกันอภิปรายแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ สถานการณการออมเงินของคนไทย เปรียบเทียบการออมในชวงปที่ผานมากับ ปจจุบัน แลวใหนักเรียนระดมสมองรวมกันอภิปรายถึงสาเหตุที่คนไทยมีการออม อยูในเกณฑตํ่า ผลกระทบจากการมีอัตราการออมตํ่า พรอมทั้งเสนอแนะแนวทาง การแกปญหา

นักเรียนควรรู 1 บริการรับฝากของมีคา ปจจุบันธนาคารพาณิชยใหบริการรับฝากของมีคา เชน มีบริการรับฝากตูนิรภัย เพื่อรับฝากของมีคา เชน เพชร ทอง โฉนดที่ดิน เปนตน โดยผูที่นําของไปฝากจะตองเสียคาบริการตามที่ธนาคารกําหนด คูมือครู

11


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

อธิบายความรู

Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

Explain

ครูและนักเรียนสนทนาถึงปญหาการออมของ คนในประเทศ จากนัน้ ใหพจิ ารณาปญหาในการออม จากหนังสือเรียน หนา 11-12 ทีละขอ ใหนักเรียน แสดงความคิดเห็น ในประเด็นตอไปนี้ • ปญหาการออมในขอใดเปนปญหาใหญที่สุด เพราะเหตุใด (แนวตอบ นักเรียนสามารถตอบไดหลากหลาย เชน ปญหาประชากรสวนใหญมีรายไดตํ่า ซึง่ รายไดเหลานัน้ สวนใหญนาํ มาเพือ่ การใชจา ย ในชีวิตประจําวันในครอบครัว ทําใหไมมีเหลือ สําหรับเปนเงินเก็บ)

ขยายความเขาใจ

ขยายความเขาใจ

Explain

๒) ประชากรขาดความรูใ นเรือ่ งการออมและการลงทุน โดยครัวเรือนสวนใหญ

ขาดความรูใ นเรือ่ งของการวางแผนการจัดทําบัญชีครัวเรือน ไมมแี ผนการใชจา ยและเก็บออมเงิน ทีแ่ นนอน และครัวเรือนจํานวนมากยังมีการเลียนแบบการบริโภคจากครัวเรือนอืน่ ๆ ซือ้ สินคาตาม ผูอื่น โดยไมคํานึงถึงรายไดของตนเอง ทําใหตองมีหนี้สินเปนจํานวนมาก นอกจากนั้นยังขาด ความรูในการนําเงินออมไปแสวงหารายไดใหมากขึ้น สวนใหญจะนําเงินไปฝากธนาคารพาณิชย ซึ่งใหผลตอบแทนในรูปของดอกเบี้ยที่คอนขางตํ่า ทําใหขาดแรงจูงใจในการออม ๓) สถาบันการเงินสวนใหญกระจุกตัวอยูใ นตัวเมือง มีการกระจายตัวออกไปใน ชนบทนอยมาก ทําใหประชาชนในชนบทไทยขาดแหลงออมเงินอยางเปนระบบ การนําเงินไปฝาก หรือถอนกับสถาบันการเงินตองมีการเดินทาง ทําใหเสียคาใชจา ยมากในแตละครัง้ ครัวเรือนบางสวน จึงตองเก็บเงินไวในครัวเรือน โดยไมไดกอใหเกิดประโยชนงอกเงยขึ้นแตอยางใด 1

๔) ในสภาวะเศรษฐกิจตกตํ่า รัฐบาลมักดําเนินนโยบายอัตราดอกเบี้ยตํ่า

Expand

เพือ่ กระตุน ใหประชาชนนําเงินออกไปใชจา ย เพือ่ ใหเกิดเม็ดเงินหมุนเวียนในระบบเศรษฐกิจ ทําให2 ครัวเรือนขาดแรงจูงใจในการออม เงินออมในสถาบันการเงินจึงมีนอยในชวงภาวะเศรษฐกิจตกตํ่า นอกจากนั้นชองทางในการลงทุนในชนบทยังมีนอย ขาดความรูในชองทางการลงทุน ครัวเรือน สวนใหญจงึ มักเก็บสะสมเงินออมไวกบั ตัว หรือฝากเงินกับสถาบันการเงินทีจ่ า ยดอกเบีย้ ในอัตราตํา่ ๕) ประเทศไทยยังประสบปญหาชองวางของการออม กลาวคือ ปริมาณของ เงินออมยังมีนอ ยเมือ่ เปรียบเทียบกับปริมาณเงิน ทีต่ อ งการลงทุนในแตละป ดังนัน้ ผูล งทุนจึงตอง แสวงหาเงินทุนจากภายนอกเขามาใชในแตละป เปนจํานวนมาก และทําใหตองเสียดอกเบี้ย สวนหนึ่งใหกบั เงินทุนจากตางประเทศ แทนทีจ่ ะ นําเงินดังกลาวมาจายใหกับเจาของเงินออม ในประเทศ ดังนั้น การออมของครัวเรือนมิได เพียงแคชวยครัวเรือนใหมีฐานะดีขึ้นในอนาคต เทานัน้ แตยงั ชวยประเทศในการลดชองวางของ การออม กอใหเกิดเงินทุนนําไปลงทุนในกิจการ ตางๆ มากขึน้ ประชากรจะมีงานทํา มีรายได และในทีส่ ดุ จะทําใหเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศ ภาวะการวางงาน นับวาเปนสาเหตุหนึ่งที่ทําใหคนไทยมี ขยายตัวเพิ่มขึ้น เงินออมนอย

1. ครูใหนักเรียนจับคู ชวยกันวิเคราะหเพื่อหา ทางออกในการแกปญหาการออมของคนไทย แลวอภิปรายรวมกันในชั้นเรียน (แนวตอบ เชน ปญหาความยากจน แกปญหาโดย การสนับสนุนสงเสริมใหประชาชนนําแนวคิด เศรษฐกิจพอเพียงมาใชในการดําเนินชีวิตเพื่อให ประชาชนมีอาชีพเสริม สามารถชวยเหลือตนเอง ไดอยางมั่นคง ปญหาประชาชนขาดความรูใน การออมและการลงทุน สามารถแกไขไดโดยการ ใหความรูแกประชาชนผานทางสื่อตางๆ ที่ประชาชนสามารถเขาถึงได เชน โทรทัศน) 2. ครูใหนักเรียนเขียนผังความคิดเรื่องการออม โดยมีประเด็นครอบคลุมถึงเรื่องที่เรียนมา ทั้งหมดบนกระดาน พรอมทั้งใหนักเรียนชวยกัน เสนอความรูที่ไดรับจากการเรียนเรื่องการออม วาจะนําไปใชในชีวิตประจําวันไดอยางไร

๑๒

เกร็ดแนะครู ครูเพิ่มเติมขอมูลวาในปจจุบันการออมภาคครัวเรือนของคนไทยลดลง สวนหนึ่ง มาจากพฤติกรรมการบริโภคที่เปลี่ยนไปสูการใชจายที่มากขึ้น การเปดโอกาสให ประชาชนกูยืมไดงายขึ้น ในขณะที่รายไดไมเพิ่มขึ้น และพฤติกรรมผูบริโภคสวนหนึ่ง ที่ใชกอนออมทีหลัง มีรายจายสูงกวารายได ตัวอยางคาใชจายสวนนี้ เชน การใชจาย เรื่องบาน รถยนต และพวกสินคาฟุมเฟอย เชน โทรศัพทมือถือ นํ้าหอม เปนตน

นักเรียนควรรู 1 นโยบายอัตราดอกเบี้ยตํ่า รัฐบาลใชนโยบายอัตราดอกเบี้ยตํ่าในโอกาสตางๆ เชน กระตุนเศรษฐกิจ ฟนฟูเศรษฐกิจของประเทศ 2 ภาวะเศรษฐกิจตกตํา่ เปนชวงภาวะทีเ่ ศรษฐกิจของประเทศมีอตั ราการขยายตัวของ รายไดประชาชาติตํ่า ภาวะการบริโภค การลงทุนลดลง เกิดปญหาการจางงานลดลง

12

คูมือครู

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

ขอใดเปนปญหาสําคัญที่สุดของการออมในสังคมไทย 1. ประชากรสวนใหญมีรายไดนอย 2. ประชากรขาดความรูเรื่องการออม 3. สถาบันการเงินกระจุกตัวอยูในเมือง 4. เงินฝากธนาคารมีอัตราดอกเบี้ยตํ่าเกินไป วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 1. ทุกขอเปนปญหาของการออมในสังคมไทย แตปญหาประชากรมีรายไดนอย เปนปญหาสําคัญที่สุด เพราะคนไทย สวนใหญประกอบอาชีพเกษตรกรรม รับจาง ผูใชแรงงาน มีรายไดนอย ซึ่งรายไดสวนใหญตองใชจายในชีวิตประจําวันในครอบครัวเพื่อการบริโภค เปนหลัก จึงมีเงินออมไมมากนัก หรือไมสามารถออมเงินได


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

ขยายความเขาใจ

1. ครูใหนักเรียนแบงกลุม ทํากิจกรรมปลูกฝง คานิยมการออม โดยจัดทําแผนพับหรือแผนปาย เพื่อรวมรณรงคใหประชาชนใชจายอยาง ประหยัด และปลูกฝงคานิยมการออม 2. ครูใหนักเรียนทํากิจกรรมที่ 1.3 และ 1.4 ใน แบบวัดฯ เศรษฐศาสตร ม.2

จึงกลาวไดวาการออมมีความสําคัญตอครัวเรือนไทยและคนไทยทุกคน เพราะเปน การวางแผนในการสรางความมั่นคงในอนาคต ความสามารถของการออมขึ้นอยูกับการฝกฝน จนเปนนิสยั มากกวาทีจ่ ะขึน้ อยูก บั รายไดเพียงอยางเดียว บางคนมีรายไดนอ ยแตสามารถเก็บออม ไดอยางสมํ่าเสมอ ความสามารถในการออมจึงขึ้นอยูกับความพยายามและความตั้งใจของบุคคล มากกวา ถาหากตั้งใจและฝกฝนจนเปนนิสัยแลว การออมยอมเกิดขึ้นได การฝกฝนนิสัยการออมควรจะฝกตั้งแตวัยเยาว และฝกฝนเปนประจําจนเปนนิสัย โดยทําไดไมยาก ดังนี้

✓ แบบวัดฯ ใบงาน แบบฝกฯ เศรษฐศาสตร ม.2 กิจกรรมที่ 1.3 และ 1.4 หนวยการเร�ยนรูที่ 1 การออมและการลงทุน

ใชจายอยางประหยัด

การฝกฝนนิสัยการออม

Expand

กิจกรรมที่ ๑.๓ ใหนักเรียนบอกวิธีการสรางนิสัยการออมของตนลงใน แผนผังขั้นบันไดที่กําหนดใหสมบูรณ (ส ๓.๑ ม.๒/๑)

หาวิธีการเพิ�มรายได

คะแนนเต็ม คะแนนที่ได

õ

ชักชวน ชี้แจงใหสมาชิกใน ปลูกฝงคานิยมการออมใหกับสมาชิกในครอบครัว .....................................................................................

ครอบครัวเห็นความสําคัญของการออมและทําจนเปนนิสัย ........................................................................................................................................................................................................................

ทํางานพิเศษเพิ่มโดยใชความสามารถของตัวเองที่มีมาทํางานนอกเวลา หาวิธีเพิ่มรายได ....................................................................................................................................................................................

เชน รับพิมพงาน ขายของที่ระลึก เปนตน ................................................................................................................................................................................................................................

นึกถึงการออมทุกครั้งที่มีการใชจาย

กอนซือ้ ของจะตองดูราคา ถาแพงมากก็ไมซอื้ เพือ่ ทีจ่ ะ นึกถึงการออมทุกครั้งที่มีการใชจาย........................................................................................................................................

ไดเก็บเงินสวนหนึ่งเปนเงินออม ...................................................................................................................................................................................................................................... วางแผนการใชจายของตัวเองจากรายไดที่มีอยู เมื่อ วางแผนการออมทั้งระยะสั้นและระยะยาว.................................................................................................................................

มีเงินเหลือก็เก็บสะสมไว และกําหนดเปาหมายวาในแตละเดือนจะใชจา ยเทาไหร มีเงินเหลือเทาไร ..............................................................................................................................................................................................................................................

วางแผนการออมทั้งระยะสั้นและระยะยาว

ซื้อแตสิ่งของที่จําเปนเทานั้น ไมซื้อสินคาฟุมเฟอยหรือถาจะซื้อก็ตอง ใชจายอยางประหยัด ..............................................................................................................................................................................................

ฉบับ

เฉลย

ปลูกฝงคานิยมการออมใหกับสมาชิกในครอบครัว

เก็บเงินเอง และไมซื้อบอยๆ ถาสิ่งของชิ้นไหนยังดีอยูก็ใชตอไป .....................................................................................................................................................................................................................................................

กิจกรรมที่ ๑.๔ ใหนักเรียนบอกวิธีการบริหารจัดการเงินออมภาคครัวเรือน และภาครัฐใหมีประสิทธิภาพลงในแผนผังใหสมบูรณ

แนวตอบ การสรางนิสัยการออมที่ดีควรปฏิบัติตน เชน มีการวางแผนการ ใชจายเงิน ใชจายอยางประหยัด ซื้อแตสิ่งของที่มีความจําเปนในการดําเนิน ชีวิตในราคาที่เหมาะสมและมีการจดบันทึกรายรับ-รายจาย ทุกครั้ง มีการเก็บ ออมเงินอยางสมํ่าเสมอทุกวัน มีการวางแผนการออมทั้งระยะสั้นและระยะ ยาว และตองปลูกฝงคานิยมการออมใหกับสมาชิกในครอบครัว เพื่อจะไดฝก นิสัยการออมและชวยกันออมเงินเพื่อความมั่นคงในอนาคต

(พิจารณาคําตอบของนักเรียน โดยใหอยูในดุลยพินิจของครูผูสอน)

ตรวจสอบผล

๑๓

การสรางนิสัยในการออม ควรปฏิบัติตนอยางไร

ภาครัฐ

๑. ใชจายอยางประหยัด ๑. ใหความรูเกี่ยวกับการ สถาบัน การเงิน ๒. จัดทําบัญชีครัวเรือน วางแผนการใชจาย การออม ๓. ปลูกฝงนิสัยรักการออม ใหกับประชาชน ๑. จัดรายการ ใหกับสมาชิก ๒. นําเงินออมไปลงทุนที่สราง สงเสริมการออม ๔. ชวยกันทํางานเพิ่มเพื่อหา เพื่อสรางแรงจูงใจ รายไดเพิ่มใหกับประชาชน รายไดเขาครัวเรือน ๒. นําเงินออมไปสราง ๓. สรางแรงจูงใจในการออม ๕. นําเงินออมไปแสวงหา เชน รวมกับสถาบันการเงิน รายไดและใหผล ผลประโยชนเพิ่ม เชน ฝาก ตางๆ เพิ่มอัตราดอกเบี้ย ตอบแทน แกผอู อม กับสถาบันการเงิน เงินฝาก เปนตน

การบริหารจัดการรายได เพื่อใหมีรายไดเพียงพอกับรายจายและเงินออม สามารถ ทําไดดวยการฝกฝนนิสัยการออม โดยจะตองเริ่มตนดวยการใชจายอยางประหยัด มีการวางแผน การใชจายทุกครั้ง ซื้อแตสิ่งของที่จําเปนในการดําเนินชีวิต โดยคํานึงถึงรายไดที่มีอยูเปนสําคัญ และครัวเรือนจะตองปลูกฝงคานิยมการออมใหกับสมาชิกทุกคน เพื่อใหทุกคนชวยกันประหยัด คาใชจาย เพื่อใหสามารถใชชีวิตในปจจุบันไดอยางมีความสุข สรางความมั่นคงใหกับอนาคต เมือ่ มีความจําเปนตองใชเงินอยางเรงดวนก็สามารถนําเงินเก็บมาใชได นอกจากนีจ้ ะตองหาวิธกี าร เพิ่มรายไดเพื่อใหเงินออมเพิ่มพูน เชน นําไปฝากธนาคารเพื่อจะไดดอกเบี้ย ซื้อสลากออมสินกับ ธนาคารออมสิน ซึง่ นอกจากจะเปนการฝากเงินรูปแบบหนึง่ แลว ยังมีโอกาสถูกรางวัลดวย นอกจากนี้ ยังสามารถนําไปซื้อสิ่งของที่มีมูลคาอยูเสมอ เชน ซื้อทองคําเก็บไวในชวงที่มีราคาถูก เมื่อทองคํา มีราคาแพงเราก็สามารถนําไปขายก็จะไดเงินเพิม่ มากขึน้ หรือในคราวทีเ่ รามีความจําเปนตองใชเงิน ก็สามารถนําไปขายได เปนตน

แนว  NT  O-NE T

õ

(ส ๓.๑ ม.๒/๑)

ภาคครัวเรือน

ขอสอบเนน การคิด

คะแนนเต็ม คะแนนที่ได

Evaluate

1. ครูตรวจผลงานกลุม การสํารวจแหลง ระดมเงินทุนในทองถิ่น 2. ครูตรวจผังความคิด เรื่องการออม 3. ครูตรวจชิ้นงานจากผลงานกลุมการ ทํากิจกรรมปลูกฝงคานิยมการออม

เกร็ดแนะครู ครูแนะนําขอมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับการปลูกฝงนิสัยรักการออม เชน 1. ซื้อกระปุกออมสินมาวางไวในที่คุนเคย เพื่อจะไดยํ้าเตือนการออมในการ หยอดกระปุกทุกวัน 2. แยกแยะระหวางความจําเปน กับความอยากได เพราะของทุกอยางมีความ จําเปนไมเทากัน ใหซื้อของเพราะความจําเปน 3. ทําบันทึกรายรับ-รายจาย เปนสมุดพกเลมเล็กๆ 4. นําเงินไปฝากธนาคารแบบฝากประจํา เพื่อเก็บออมเงินในระยะยาว 5. อยาหลงคําโฆษณา เพราะหากซื้อของมาแลวอาจใชประโยชนไมคุมคา 6. เรียนรูหลักการดําเนินชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง แลวนํามา ปรับใชในชีวิตประจําวัน

คูมือครู

13


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

กระตุน ความสนใจ

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

Engage

ครูนําสนทนาเกี่ยวกับการลงทุน โดยการยก ตัวอยางที่ใกลตัวนักเรียนประกอบ เชน การลงทุน ทํากิจการของครัวเรือน ใหนักเรียนชวยกันบอก ที่มาของเงินทุน วิธีการบริหารจัดการเงินทุนเพื่อให ไดรับผลตอบแทนที่คุมคา ครูถามคําถามกระตุน ความสนใจ เชน • เปาหมายสําคัญที่สุดของนักลงทุนคืออะไร (แนวตอบ ผลตอบแทนหรือกําไร) • ในธุรกิจขนาดใหญ แหลงเงินทุนมาจากที่ใด (แนวตอบ มาจากการขอสินเชื่อจากธนาคาร พาณิชย ซึ่งธนาคารเหลานั้นไดเงินมาจากเงิน ออมจากประชาชน โดยผูประกอบการจะตอง จายดอกเบี้ยเปนการตอบแทน ซึ่งผลตอบแทน เหลานั้นจะกลับไปเปนดอกเบี้ยใหกับเจาของ เงินออม)

สํารวจคนหา

ò. ¡ÒÃŧ·Ø¹ ๒.๑ ความหมายและความสําคัญของการลงทุน ๑) ความหมายของการลงทุน การลงทุนในความหมายแคบ เปนการลงทุนโดย

ใชเงินออมของครัวเรือน ซึ่งเปนทางเลือกในการใชเงินออมของภาคครัวเรือน โดยการนําเงินที่ เก็บออมไปสรางผลตอบแทนใหงอกเงยมากกวาเงินออม เชน การนําเงินออมไปลงทุนในพันธบัตร รัฐบาล นําไปลงทุนซื้อหุนหรือหลักทรัพยตางๆ ของธุรกิจ ซึ่งการลงทุนในแหลงที่ตางกันจะไดรับ ผลตอบแทนและความเสีย่ งทีต่ า งกันดวย สําหรับการลงทุนในความหมายกวาง หมายถึง การนําเงิน ไปลงทุนเพื่อการผลิต1สินคาและบริการตางๆ จําหนายใหเกิดผลตอบแทนแกนักลงทุน ซึ่งเรียกวา เปนการลงทุนโดยตรง กับการนําเงินไปซื้อหลักทรัพยของธุรกิจตางๆ เพื่อแสวงหาเงินปนผลจาก2 การดําเนินธุรกิจ และกําไรจากสวนตางของราคาหลักทรัพย เรียกวา เปนการลงทุนทางออม ซึ่งในชั้นนี้กลาวถึงการลงทุนโดยใชเงินออมของครัวเรือนเปนสําคัญ แผนผังแสดงเสนทางการลงทุน รายได เงินเดือน

Explore

เงินกู เงินลงทุน

เงินออม

1. นักเรียนศึกษาความรูพื้นฐานเกี่ยวกับการ ลงทุน ไดแก ความหมาย ความสําคัญ ประเภท แหลงที่มา หลักเกณฑที่ควรคํานึงในการลงทุน ปจจัยในการลงทุน การบริหารจัดการลงทุน ในภาคครัวเรือน และปญหาของการลงทุนใน ประเทศไทย 2. นักเรียนศึกษาแผนผังแสดงเสนทางการลงทุน เพื่อนําความรูมาสนทนาในชั้นเรียน

เงินตน ดอกเบี้ย

ดอกเบี้ย เงินปนผล

ครัวเรือน

ธนาคาร

ภาคธุรกิจ

รายจาย ซื้อสินคาและบริการ

๒) ความสําคัญของการลงทุน การลงทุนจะกอใหเกิดประโยชนตอ ทัง้ ผูอ อม ธุรกิจ และประเทศ ดังนี้ ๒.๑) ทําใหผูลงทุนไดรับผลตอบแทน การที่บุคคลตางๆ เลือกเก็บออมก็เพราะ ไดเปรียบเทียบแลววา เงินทีเ่ ก็บออมไวเพือ่ ใชจา ยในอนาคต จะกอใหเกิดประโยชนไดมากกวาทีจ่ ะ ใชเงินในปจจุบนั โดยเงินออมดังกลาวก็จะตองนําไปลงทุน การเลือกลงทุนอยางถูกตองและเหมาะสม จะกอใหเกิดผลตอบแทนแกผลู งทุนทัง้ ในรูปของดอกเบีย้ เงินปนผลและกําไร เปนการทําใหเงินออม ไดนาํ ไปใชประโยชนในทางธุรกิจและการพัฒนาประเทศ ขณะเดียวกันผูล งทุนก็จะไดรบั ผลตอบแทน สูงกวาเงินออมอีกดวย ๑๔

นักเรียนควรรู 1 การลงทุนโดยตรง ผูล งทุนนําเงินลงทุนไปประกอบกิจการเองโดยซือ้ ทรัพยากร ปจจัยการผลิตอื่นๆ หรือจางแรงงานเพื่อสรางผลผลิตในรูปแบบตางๆ โดยเจาของ กิจการมีอํานาจในการควบคุมกิจการ ตัดสินใจในการแกปญหาตางๆ เชน บริษัท ญี่ปุนเขามาประกอบกิจการในประเทศไทยโดยตั้งเปนโรงงาน หรือสํานักงาน เรียกวา การลงทุนทางตรงจากตางประเทศ ธุรกิจทีม่ กี ารลงทุนทางตรงในตางประเทศ และมีเงินทุนขนาดใหญ เรียกวา บริษัทขามชาติ 2 การลงทุนทางออม เปนการลงทุนผานตลาดการเงิน อยูในรูปของการลงทุน ในตราสารทางการเงินประเภทตางๆ เชน พันธบัตร หุนกู หุนทุน กองทุนรวม โดยที่นักลงทุนไมจําเปนตองเขาไปลงทุนดวยตนเองเหมือนเชนการลงทุนทางตรง

14

คูมือครู

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

ถาพิจารณาตามหลักเศรษฐศาสตร ขอใดเปนการลงทุนทางตรง 1. การซื้อสลากออมสิน 2. การตั้งโรงสีขาวขนาดเล็ก 3. การลงทุนในตลาดหลักทรัพย 4. การฝากเงินกับธนาคารไทยพาณิชย วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 2. เพราะการตั้งโรงสีขาวขนาดเล็กเปนการ ลงทุนทางตรง เพราะมีการนําเงินไปลงทุนเพื่อผลิตสินคาและบริการตางๆ มีการสรางโรงงาน ซื้อเครื่องจักรและวัตถุดิบ โดยผูลงทุนเปนเจาของกิจการ และมีสวนรวมในการบริหารธุรกิจนั้นๆ


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

อธิบายความรู

Explain

ครูนําสนทนาถึงความหมาย ความสําคัญของ การลงทุน และถามคําถาม • ทําไมผูมีเงินออมจึงควรนําเงินออมนั้นมา ลงทุน (แนวตอบ เพราะการลงทุน ทําใหเงินออม งอกเงย ซึ่งการลงทุนอยางถูกวิธี และ มีความรูความเขาใจอยางถูกตอง จะชวยให ผมู เี งินออมมีโอกาสไดรบั ผลตอบแทนทีส่ งู ขึน้ และสรางความมั่นคงในชีวิตไดอยางรวดเร็ว) • การลงทุนในภาคครัวเรือนมีความสําคัญ อยางไร (แนวตอบ เพื่อสรางรายไดใหกับครอบครัว เพื่อความมั่นคงและความเปนอยูที่ดีของ สมาชิกในครอบครัว หรือคนที่นําเงินออม มาลงทุนเปนการสรางผลตอบแทนเพิ่มเติม ใหกับเงินออมนั้น ทําใหมีเม็ดเงินหมุนเวียน ในระบบเศรษฐกิจ เปนตน) • การลงทุนในภาคธุรกิจในประเทศและ ระหวางประเทศมีความสําคัญอยางไร (แนวตอบ ชวยใหมีเม็ดเงินไหลเวียนในระบบ เศรษฐกิจ ผูมีเงินออมไดรับผลตอบแทน จากดอกเบี้ย ภาคธุรกิจไดมีเงินทุนไปขยาย กิจการ สรางโรงงาน ซื้อเครื่องจักร ทําใหมี การจางงาน การขยายการผลิต รวมถึง การลงทุนในหนวยงานภาครัฐ ซึ่งการลงทุน เหลานี้จะทําใหเกิดการจางแรงงานและ สงผลตอเนื่องไปยังธุรกิจอื่นๆ)

๒.๒) ชวยใหธุรกิจตางๆ ขยายกิจการและดําเนินการผลิตไดมากขึ้น โดยทั่วไป ธุรกิจตางๆ อาจมีเงินทุนไมเพียงพอในการดําเนินการผลิตและการขยายกิจการ จึงจําเปนตองอาศัย เงินออมจากบุคคลและครัวเรือนตางๆ มาใช เป น ทุ น ในการดํ า เนิ น การ ถ า ประชาชนใน ประเทศไดนาํ เงินออมมาใชในการลงทุนดวยการ ซื้อหุนหรือหลักทรัพยของธุรกิจจะทําใหธุรกิจ นําไปขยายกิจการผลิตไดตามเปาหมายที่ตั้งไว ทําใหเกิดการผลิตและการจางทํางานเพิ่มขึ้น เศรษฐกิจโดยสวนรวมของประเทศก็จะมีการ ขยายตัวเพิ่มขึ้น ๒.๓) ชวยใหรัฐบาลมีเงินทุน ไปใช ใ นการพั ฒ1 นาประเทศ โดยที่ รั ฐ บาล นําเงินงบประมาณทีม่ าจากการเก็บภาษีไปใชใน รัฐบาลนํ2าเงินออมของประชาชนสวนหนึง่ ไปพัฒนาทางดาน การศึกษา เพือ่ ใหคนไทยไดรบั การศึกษาอยางเทาเทียมกัน การพัฒนาโครงสรางพืน้ ฐานทางเศรษฐกิจตางๆ เชน ถนน ไฟฟา ประปา รถไฟฟา ซึ่งอาจมีเงินไมเพียงพอ ดังนั้น จึงจําเปนตองอาศัยเงินออม หรือเงินลงทุนของครัวเรือนดวย โดยการจําหนายพันธบัตรใหกับผูตองการลงทุนในพันธบัตร ของรัฐบาล เมือ่ รัฐบาลไดเงินทุนไปแลวก็จะนําไปใชลงทุนตามเปาหมายที่กําหนดไว ซึ่งก็จะทําให เกิดการจางงาน สรางรายไดใหแกบคุ คลกลุม ตางๆ ไดมาก และสาธารณูปโภคตางๆ ทีร่ ฐั บาลสรางขึน้ ก็จะเปนประโยชนโดยตรงและโดยออมแกประชาชนในประเทศ ขณะเดียวกันผูล งทุนในพันธบัตรของ รัฐบาลก็จะไดรับผลตอบแทนในรูปของดอกเบี้ยตามที่ไดกําหนดไว

๒.๒ แหลงที่มาของเงินลงทุน

เงินสําหรับนํามาลงทุนอาจจะไดมาจากหลายแหลงดวยกัน ดังนี้

๑) การควบคุมคาใชจา ยโดยการจัดทํางบประมาณครัวเรือน หัวหนาครัวเรือน

ควรจะมีการจัดทําบัญชีครัวเรือน หรืองบประมาณครัวเรือน แลวพยายามควบคุมการใชจายใหอยู ในขอบเขตของเงินงบประมาณที่กําหนดอยูตลอดเวลา ก็จะทําใหมีเงินออมเหลืออยูจริงตามที่ คาดคะเนไว ซึ่งเงินออมสวนนี้สามารถนําไปใชลงทุนหาผลประโยชนได ตัวอยางเชน ครอบครัว ของสมชายมีรายไดรวมทั้งหมด ๓๐,๐๐๐ บาทตอเดือน บางครั้งก็พอใช บางครั้งก็ไมพอใช แตเมือ่ สมชายทําบัญชีครัวเรือน มีการบันทึกคาใชจา ยในครอบครัว ทําใหเขารูส าเหตุทรี่ ายไดไมพอ กับรายจาย เขาจึงใหสมาชิกในครอบครัวชวยกันลดคาใชจา ยทีฟ่ มุ เฟอย และตัวเขาเองก็ลดการใชจา ย ที่ฟุมเฟอยดวย เชน ลดการสังสรรคกับเพื่อนลง ทําใหมีเงินเหลือเดือนละ ๓,๐๐๐-๔,๐๐๐ บาท ๑๕

ขอสอบเนน การคิด

การลงทุน มีความสําคัญอยางไร

แนว  NT  O-NE T

แนวตอบ การลงทุนเปนการนําเงินออมไปสรางผลตอบแทนเพิ่มขึ้น โดยการนําเงินไปลงทุนในรูปแบบตางๆ เชน นําเงินไปซื้อขายหลักทรัพย ซื้อพันธบัตร หุนกู หุนทุน กองทุนรวม ซื้อทองคํา ที่ดิน ลงทุนในการทํา กิจการตางๆ เปนตน โดยผูลงทุนไดรับผลตอบแทนในรูปของกําไร ดอกเบี้ย เงินปนผล การลงทุนชวยใหเงินออมถูกนําไปใชประโยชนในธุรกิจตางๆ เชน จากการมีผูลงทุนซื้อหุน ซื้อหลักทรัพยของธุรกิจ ทําใหธุรกิจนั้นมีเงินทุนใน การประกอบการและขยายธุรกิจ หรือการที่มีผูลงทุนโดยการซื้อพันธบัตร รัฐบาล ทําใหรัฐบาลมีเงินทุนในการพัฒนาประเทศ เปนตน

นักเรียนควรรู 1 เงินงบประมาณ งบประมาณเปนแผนเกี่ยวกับการใชจายของรัฐบาลและการ จัดหารายไดใหเพียงพอกับการใชจายในรอบระยะเวลาหนึ่ง โดยปกติมีระยะเวลา 1 ป ดังนั​ั้น จึงเรียกวา งบประมาณแผนดินประจําป ซึ่งจะเริ่มตนในวันที่ 1 ตุลาคมของป ไปจนถึงวันที่ 30 กันยายนของปถัดไป สํานักงบประมาณเปน หนวยงานที่รับผิดชอบจัดทํางบประมาณแผนดินและนําเสนอรัฐสภาเพื่อพิจารณา เมื่อไดรับอนุมัติแลวจึงตราออกมาเปนพระราชบัญญัติงบประมาณประจําป เพื่อใชบังคับตอไป 2 พัฒนาทางดานการศึกษา ปจจุบันรัฐไดจัดใหคนไทยไดรับการศึกษาภาค บังคับ 9 ป และการศึกษาขั้นพื้นฐาน 12 ป อยางเทาเทียมกัน โดยรัฐไดจัดสรรงบ ประมาณที่ไดมาจากการจัดเก็บภาษีจากประชาชนมาใชในการจัดการศึกษา

คูมือครู

15


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

อธิบายความรู Explain

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Explain

1. ครูนําขาวเกี่ยวกับสถานการณการลงทุนของ บุคคล ภาคครัวเรือน และการลงทุนของประเทศ มาใหนักเรียนรวมกันวิเคราะหสถานการณ 2. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายถึงที่มาของเงิน ลงทุน ประเภทของการลงทุนและรวมกันแสดง ความคิดเห็นวาที่มาของเงินลงทุนมาจาก แหลงใดบาง (แนวตอบ เชน มาจากเงินออมจากครัวเรือน จาก การใชจายที่ประหยัด ทําใหสามารถนําเงินออม นั้นมาลงทุนได) 3. นักเรียนทํากิจกรรมที่ 1.7 และ 1.8 จากแบบวัดฯ เศรษฐศาสตร ม.2

๒) การประหยัดโดยไมใชจายในสิ่งที่ไมจําเปน ซึ่งโดยธรรมชาติของบุคคลที่

มีเงินแลวจะใชจายไปตามวิสัยปกติที่เคยเปนมา เชน ในวันหยุดสุดสัปดาหจะออกไปรับประทาน อาหารนอกบาน ดูภาพยนตร เลนกอลฟ ซือ้ สินคาในหางสรรพสินคา เปนตน คาใชจา ยดังกลาวอาจ ไมจําเปนตอชีวิตและครัวเรือนมากนัก จึงควรมีการละเวนหรือยกเลิกบาง ก็จะทําใหประหยัดเงิน และนําเงินที่เหลือดังกลาวมาลงทุนแสวงหาประโยชนได ๓) การหารายไดพเิ ศษเพือ่ นําไปลงทุน สมาชิกในครัวเรือนอาจแสวงหารายไดพเิ ศษ จากกิจกรรมตางๆ ทีต่ นเองถนัด เชน การทํางานลวงเวลาจากงานประจํา การเพาะเลีย้ งตนไมจาํ หนาย การรับจางพิมพรายงาน แปลเอกสาร การทํางานในรานหนังสือ รานอาหาร การทําขนมขาย เมื่อมีรายไดพิเศษในแตละเดือนก็อาจนําไปใชสวนหนึ่ง อีกสวนหนึ่งก็เก็บออมไปใชลงทุน ยิ่งหา รายไดพิเศษไดมากเทาไรก็ยิ่งมีเงินไปลงทุนไดมากขึ้น ๔) การออมโดยวิธีการบังคับ ตามหลักของการจายเงินเดือนของทางราชการ รัฐวิสาหกิจ และธุรกิจเอกชนจะมีการหักเงินสะสมหรือเงินสํารองเลี้ยงชีพของขาราชการและ พนักงานไว เงินสวนนี้จะเก็บสะสมทุกเดือน ไมสามารถถอนได จึงเปรียบเสมือนกับเปนการออม โดยบังคับ เงินออมดังกลาวทางราชการและธุรกิจเอกชนอาจมอบหมายใหสถาบันการเงินหรือบริษทั จัดการธุรกิจ นําเงินไปลงทุนแสวงหาผลประโยชนใหงอกเงยตามทีก่ ฎหมายกําหนด และจะจายคืน แกเจาของผูม สี ทิ ธิเมือ่ ถึงเวลา เงินออมโดยวิธกี ารบังคับจึงเปนเงินลงทุนทางหนึง่ ของบุคคล เพียงแต เขาไมไดเปนผูลงทุนเองโดยตรง แตนายจางและสวนราชการไดม1 อบหมายใหหนวยงานที่กําหนด เปนผูลงทุนแทน เชน กองทุนบําเหน็จบํานาญขาราชการ (กบข.) กองทุนสวัสดิการสังคม เปนตน

✓ แบบวัดฯ ใบงาน แบบฝกฯ เศรษฐศาสตร ม.2 กิจกรรมที่ 1.7 หนวยการเร�ยนรูที่ 1 การออมและการลงทุน กิจกรรมที่ ๑.๗ ใหนักเรียนบอกแหลงที่มาของเงินลงทุนในประเทศไทย และใหเติมลงในแผนผัง (ส ๓.๑ ม.๒/๑)

คะแนนเต็ม คะแนนที่ได

õ

เงินออมจากครัวเรือน

......................................................................................................................

สถาบันการเงินในประเทศ

......................................................................................................................

แหลงที่มาของเงินทุน ในประเทศไทย

ขยายความเขาใจ

๒.๓ ประเภทของการลงทุน

เงินลงทุนจากตางประเทศ

......................................................................................................................

2 การลงทุนแบงเปนประเภทใหญๆ ได ๓ ประเภท ไดแก การลงทุนเพือ่ การบริโภค การลงทุน ในธุรกิจ และการลงทุนในหลักทรัพย ๑) การลงทุนเพือ่ การบริโภค เปนการลงทุนในการซือ้ สินคาหรือทรัพยสนิ ประเภท คงทนถาวร เชน ที่ดิน บาน คอนโดมีเนียม ทองคํา โดยผูลงทุนจะพยายามซื้อทรัพยสินตางๆ ดังกลาวไวในชวงทีม่ รี าคาตํา่ และเมือ่ ทรัพยสนิ มีราคาสูงขึน้ ก็อาจพิจารณานํามาขาย เพือ่ ตองการ กําไรในรูปของตัวเงินในลักษณะที่ซื้อถูก-ขายแพง และตองการความพอใจจากการใชทรัพยสิน เหลานั้น ๒) การลงทุนในธุรกิจ บุคคลหรือครัวเรือนอาจตัดสินใจเลือกลงทุนในธุรกิจขนาดเล็ก โดยเปนเจาของและผูดําเนินกิจการดวยตนเอง เพราะถือเปนอาชีพอิสระไมตองเปนลูกจาง ผูอื่น มีความรับผิดชอบดวยตนเอง ผลตอบแทนจากการลงทุนในธุรกิจก็คือกําไร

การออมโดยวิธีการหักเงินสะสม หรือเงินสํารองเลี้ยงชีพของขาราชการ ...................................................................................................................... การกูยืมจากตางประเทศ

......................................................................................................................

ฉบับ

กิจกรรมที่ ๑.๘ ใหนักเรียนอานขอความที่กําหนดใหแลวชวยกันวางแผน การลงทุน (ส ๓.๑ ม.๒/๑)

คะแนนเต็ม คะแนนที่ได

เฉลย

õ

สมชาติ พนักงานบริษัทเอกชน มีรายไดจากเงินเดือนประจําและรายไดพิเศษประมาณเดือนละ ๒๐,๐๐๐ บาท ในแตละเดือนเมือ่ หักคาใชจา ยแลวจะมีเงินเหลือเดือนละ ๑๐,๐๐๐ ทําใหเขาสามารถ เก็บเงินออมไวไดจาํ นวนหนึง่ มีคนแนะนําใหเขานําเงินไปลงทุนใหไดผลตอบแทนมากขึน้ แตสมชาติ ยังไมไดตัดสินใจเนื่องจากเขาตองศึกษาขอมูลกอนการลงทุน

๑. นักเรียนคิดวาสมชาติจะตองศึกษาขอมูลอะไรบาง

ผลตอบแทนที่จะไดรับซึ่งอาจจะเปนในรูปของดอกเบี้ย กําไร ความปลอดภัยของเงินลงทุน .................................................................................................................................................................................................................................................... และความเสีย่ ง โดยตองคํานึงถึงโอกาสทีจ่ ะไดรับเงินตนคืนพรอมทัง้ ผลตอบแทนตามกําหนดเวลา .................................................................................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................................................................................

๒. นักเรียนจะแนะนําใหสมชาติจัดการกับเงินออมนั้นอยางไร เพราะเหตุใด

แนะนําใหนําเงินไปฝากธนาคารทุกเดือนโดยเลือกฝากประเภทที่มีอัตราดอกเบี้ยสูง เมื่อเก็บได .................................................................................................................................................................................................................................................... เปนเงินกอน นําไปซื้อพันธบัตรหรือลงทุนในตราสารของธนาคาร เมื่อเงินนั้นมีจํานวนมากพอ .................................................................................................................................................................................................................................................... และถาสมชาติมีความสามารถในเชิงธุรกิจก็จะแนะนําใหไปลงทุนทําธุรกิจที่มีความเสี่ยงนอย ....................................................................................................................................................................................................................................................

๑๖

นักเรียนควรรู 1 กองทุนบําเหน็จบํานาญขาราชการ (กบข.) เปนกองทุนที่รัฐบาลตั้งขึ้น โดยหักจากเงินเดือนของขาราชการในอัตรารอยละ 3 และรัฐจายสมทบอีก รอยละ 3 ของเงินเดือน และนําเงินของกองทุนไปลงทุนแสวงหารายได โดยจะจาย คืนใหเมื่อลาออกจากราชการหรือเกษียณอายุราชการตามระเบียบ 2 การลงทุนเพือ่ การบริโภค การลงทุนในลักษณะนีไ้ มไดหวังกําไรในรูปของตัวเงิน แตผูลงทุนหวังความพอใจในการใชสินทรัพยเหลานั้นมากกวา เชน การซื้อบานเปน ที่อยูอาศัย ถือไดวาเปนการลงทุนอยางหนึ่งของผูบริโภค หรือที่เรียกวา ลงทุนใน อสังหาริมทรัพย เงินที่จายซื้อเปนเงินที่ไดจากการออม การซื้อบานเปนที่อยูอาศัย นอกจากจะใหความพอใจแกเจาของแลว ในกรณีที่อุปสงคในที่อยูอาศัยเพิ่มขึ้น มากกวาอุปทาน มูลคาของบานที่ซื้อไวอาจสูงขึ้น หากขายจะไดกําไรซึ่งถือไดวา เปนผลพลอยได

16

คูมือครู

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

ขอใดเปนการลงทุนทางตรงจากตางประเทศ 1. ชาวฝรั่งเศสซื้อพันธบัตรรัฐบาลไทย 2. ชาวญี่ปุนซื้อบริษัทธุรกิจของคนไทย 3. ชาวอเมริกันซื้อรถยนตที่ผลิตในไทย 4. ชาวสิงคโปรซื้อหุนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 2. เพราะการลงทุนทางตรงจากตางประเทศ คือ การที่ตางประเทศเขามาประกอบกิจการโดยตรงในประเทศไทย โดย การตั้งโรงงาน บริษัท ในประเทศไทย เพื่อดําเนินการผลิตสินคาหรือบริการ รูปแบบตางๆ โดยการนําเอาปจจัยการผลิตมาผานกระบวนการผลิต เพื่อให ออกมาเปนสินคา และบริการ กอใหเกิดการผลิตในระบบเศรษฐกิจ เกิดการ จางงาน สรางรายได โดยผูประกอบการชาวตางชาติมีอํานาจในการควบคุม ดูแลบริหารจัดการ สวนตัวเลือกขอ 1, 3, และ 4 เปนการลงทุนทางออมจากตางประเทศ เพราะไมกอใหเกิดผลผลิต เปนเพียงการนําเงินเขามารวมลงทุนเทานั้น


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

อธิบายความรู ๓) การลงทุ 1 นในหลั 2 กทรัพย เปนการลงทุนซือ้ สินทรัพยในรูปหลักทรัพยตา งๆ เชน

พันธบัตรรัฐบาล หุนกู หุนทุน การลงทุนในลักษณะนี้เปนการลงทุนทางออมซึ่งแตกตางจากการ ลงทุนในธุรกิจ โดยผูมีเงินออมไมตองการจะเปนผูดําเนินธุรกิจเอง เนื่องจากมีเงินทุนไมเพียงพอ ขาดความสามารถในการบริหารหรือมีความ เสี่ยงในการบริหาร ผูลงทุนอาจนําเงินที่ออมไว จะมากหรื อ น อ ยก็ ต ามไปซื้ อ หลั ก ทรั พ ย ที่ ตองการจะลงทุน โดยจะไดรับผลตอบแทนใน รู ป ของดอกเบี้ ย ในกรณี ที่ นํ า เงิ น ไปลงทุ น ซื้อพันธบัตรและหุนกู แตถาเปนการลงทุนใน หุนทุนก็จะไดผลตอบแทนในรูปของเงินปนผล นอกจากนีผ้ ลู งทุนในหุน ทุนอาจไดรบั ผลตอบแทน ในรูปของกําไร เมือ่ ขายหุน ทุนไปในราคาทีส่ งู กวา ราคาที่ซื้อมา หรือในบางกรณีก็อาจขาดทุน ผูลงทุนจะตองมีการศึกษาขอมูลเปนอยางดีเพื่อปองกัน เมื่อขายหุนทุนไปในราคาที่ตํ่ากวาราคาที่ซื้อมา ความเสี่ยงจากการลงทุน

๒.๔ หลักเกณฑที่ควรคํานึงในการลงทุน

จุดมุงหมายหลักของผูลงทุน คือ เพื่อใหไดผลตอบแทนจากการลงทุนสูงสุด ณ ระดับ ความเสี่ยงหนึ่ง หรือเพื่อลดความเสี่ยงใหตํ่าที่สุด ณ ระดับอัตราผลตอบแทนหนึ่ง ทั้งนี้ถือกันวา ผูลงทุนเปนผูที่ตองการผลตอบแทนสูง ไมชอบความเสี่ยง ถาหากการลงทุนใดมีความเสี่ยงสูง ก็จะตองมีการศึกษาขอมูลเปนอยางดี หากการลงทุนใดมีความเสี่ยงนอยแมอัตราผลตอบแทน ไมมากนัก ผูลงทุนก็อาจยอมรับได การตัดสินใจวาจะเลือกลงทุนประเภทใด ควรจะพิจารณาหลักเกณฑตอไปนี้เปนแนวทาง ในการเลือกลงทุน ๑) ความปลอดภัยของเงินลงทุน โดยตองคํานึงถึงโอกาสทีจ่ ะไดรบั เงินตนคืนทีไ่ ด ลงทุนไปพรอมทัง้ ผลตอบแทนทีค่ าดคะเนไว เชน การลงทุนบางประเภทไดมกี ารกําหนดผลตอบแทน และกําหนดคืนเงินตนจํานวนที่แนนอน เชน พันธบัตรรัฐบาล หุนกู เปนตน แตการลงทุน บางประเภท เชน หุนทุน การซื้อขายที่ดิน รานคา ไมสามารถกําหนดผลตอบแทนที่แนนอนได และยังมีความเสีย่ งตอการขาดทุนไดเชนกัน ดังนัน้ ผูม เี งินออมจะตองศึกษาขอมูลของสถาบันการเงิน ผลตอบแทน ความเสี่ยงของการลงทุนใหละเอียดรอบคอบกอนตัดสินใจลงทุน

http://www.aksorn.com/LC/Eco/M2/02

EB GUIDE

กิจกรรมสรางเสริม ใหนักเรียนไปสืบคนขอมูลนักลงทุนไทยที่ประสบความสําเร็จที่นักเรียน ชื่นชอบ 1 ทาน ในประเด็น • ประวัติชีวิต ความสําเร็จของธุรกิจ แนวทางหรือกลยุทธในการ บริหารธุรกิจ คติ ขอคิดประจําใจในการบริหาร บันทึกสาระสําคัญ แลวนํามานําเสนอในชั้นเรียน

กิจกรรมทาทาย ใหนักเรียนสืบคนประวัติและความสําเร็จของนักธุรกิจชาวตางชาติ 1 ทาน หรือธุรกิจชาวตางชาติที่มีในประเทศไทย 1 ธุรกิจ ในประเด็น • ประวัติ ความสําเร็จของธุรกิจ แนวทางหรือกลยุทธในการบริหาร ธุรกิจ คติ ขอคิดประจําใจในการบริหาร

๑๗

Explain

1. ครูยกตัวอยางบุคคล นักลงทุน นักธุรกิจรนุ ใหม ที่ประสบความสําเร็จ มาอภิปรายถึงวิธีคิด มุมมอง หลักในการตัดสินใจลงทุน การ วางแผนการลงทุน หรือใหนักเรียนดูวีดิทัศน การสัมภาษณบุคคลดังกลาวและสรุปขอคิด ที่ไดรับ 2. ครูนําสนทนาถึงพื้นที่ตางๆ ในกรุงเทพฯ หรือ เมืองใหญ ที่มีแตตึกระฟามากมาย ซึ่งตึกสูง เหลานั้นเปนสิ่งบงบอกถึงความเจริญรุงเรือง ของเมืองอยางหนึ่ง ครูถามคําถาม • นักเรียนรูหรือไมวาตึกระฟาเหลานั้นเกิดขึ้น เพราะอะไร และมีไวเพื่ออะไร (แนวตอบ เกิดจากการลงทุนของนักลงทุนทั้ง ชาวไทยและชาวตางชาติที่สรางขึ้นเพื่อเปน สํานักงาน ที่อยูอาศัย หรือสถานที่ดําเนิน การทางธุรกิจ) • ทําไมตึกตางๆ เหลานัน้ จึงมีมากในกรุงเทพฯ (แนวตอบ เพราะเปนเมืองหลวงของประเทศ เปนศูนยกลางความเจริญ มีระบบการ คมนาคมที่สะดวก ทําใหมีนักลงทุนเขามา ลงทุนทางดานธุรกิจมากมาย) จากนัน้ รวมกันสรุปถึงหลักเกณฑทคี่ วรคํานึง ในการลงทุนทัง้ ในภาคครัวเรือน ภาคธุรกิจและ ใหนักเรียนชวยกันยกตัวอยางการลงทุนของ คนไทยและของชาวตางชาติทอี่ ยูใ นประเทศไทย ครูคําถาม • การที่นักลงทุนทั้งคนไทยและชาวตางชาติ เขามาลงทุนในประเทศไทยมีปจจัย สนับสนุนใดบาง (แนวตอบ เชน มีกฎหมายที่คุมครองการ ลงทุน มีกลุมลูกคาที่ทําใหธุรกิจมีกําไร มีระบบการคมนาคมขนสงที่สะดวก ทันสมัย เปนตน)

นักเรียนควรรู 1 หุนกู คือ ตั๋วสัญญาใชเงินระยะยาวที่ออกโดยผูกู ซึ่งระบุวาผูกู ไดกูยืมเงิน จํานวนหนึ่งจากผูซื้อ หรือผูถือหุนกู โดยสัญญาวาจะจายคืนเงินจํานวนดังกลาวใน อนาคต และจายดอกเบี้ยเปนรายงวดตามวันที่กําหนดไวตลอดอายุหุนกู ผูถือหุนกู จะมีสภาพเปนเจาหนี้ของบริษัทที่ออกหุนกูนั้น หุนกูจัดเปนหลักทรัพยที่ให รายไดประจํา เนื่องจากการจายดอกเบี้ยและชําระคืนเงินตน ไดระบุไวแนนอน ทําใหผูถือหุนกูทราบถึงกระแสเงินสดในอนาคตที่จะไดรับนับจากวันที่ซื้อจนถึง วันครบกําหนดไถถอน 2 หุนทุน หรือหุนสามัญ คือ ตราสารทุนที่บอกถึงความมีสวนรวมเปนเจาของ ในบริษัท ซึ่งออกโดยบริษัทมหาชนจํากัด ที่ตองการระดมเงินทุนจากประชาชน เพื่อใหประชาชนไดเขาไปมีสวนรวมเปนเจาของในธุรกิจนั้นๆ เชน การมีสิทธิ เขาประชุมและลงคะแนนเสียงในที่ประชุม มีสิทธิรวมตัดสินในปญหาสําคัญในที่ ประชุมผูถือหุน ผูซื้อหุนจะไดรับผลตอบแทนเปนเงินปนผลจากกําไรในธุรกิจตาม อัตราที่กําหนด ซึ่งขึ้นอยูกับผลการดําเนินงานของบริษัท คูมือครู

17


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Explain

ครูยกตัวอยางบุคคล ครัวเรือนที่ประสบความ สําเร็จจากการลงทุน ทั้งคนไทยและชาวตางชาติ จากนั้นใหนักเรียนวิเคราะหถึงหลักเกณฑการเลือก ลงทุน ครูถามคําถาม • หากนักเรียนมีความประสงคจะนําเงินออมมา ลงทุน นักเรียนจะเริ่มตนวางแผนการลงทุน อยางไร (แนวตอบ ขั้นตอนการวางแผนการลงทุน ไดแก • สํารวจความพรอมทางการเงิน โดยรายได จะตองมากกวารายจาย • กําหนดเปาหมายการลงทุน เชน เพื่อการ ศึกษา เพื่อแตงงานสรางครอบครัว • สํารวจความเสี่ยงจากการลงทุน โดยเลือก ลงทุนที่มีความเสี่ยงตํ่า ถึงแมจะไดผล ตอบแทนตํ่าก็ตาม • กระจายเงินลงทุนในทรัพยสินประเภท ตางๆ • ประเมินผลการลงทุน เพื่อปรับเปลี่ยนวิธี การลงทุน)

๒) ความเหมาะสม โดยคํานึงถึงความรูค วามสามารถของผูล งทุน สภาพแวดลอม

ทางเศรษฐกิจ และความเปนไปไดในทางเศรษฐกิจ เชน การลงทุนตั้งรานคา ผูลงทุนก็จะตองศึกษา กอนวามีรานคาที่จําหนายสินคาอยูก อ นหรือไม จํานวนผูซ อื้ มีมากนอยเพียงใด สภาพทางเศรษฐกิจ ในหมูบานที่ตั้งรานคามีลักษณะเปนอยางไร ผูลงทุนตั้งรานคามีเวลาใหบริการลูกคาหรือไม มีความรูเรื่องการคาขายและการบริหารจัดการ เพียงใด เปนตน

๓) การเปลี่ ย นแปลงมู ล ค า

หมายถึง การคาดคะเนถึงมูลคาของสินทรัพย ที่ จ ะเพิ่ ม ขึ้ น หรื อ ลดลงมากกว า จํ า นวนเงิ น ที่ ลงทุนไป เชน พันธบัตรรัฐบาลที่มีระยะเวลา ไถถอนนาน อาจมีมูลคาที่แทจริงลดลง หรือถา มี ก ารเปลี่ ย นแปลงเพิ่ ม อั ต ราดอกเบี้ ย ใน ทองตลาด มูลคาก็จะลดลงเชนเดียวกัน การมี ทํ า เลที1่ ตั้ ง ย า นใจกลางเมื อ ง ทํ า ให ธุ ร กิ จ ค า ปลี ก รานสะดวกซื้อ มีการขยายตัวอยางรวดเร็ว

๔) เสถี ย รภาพของรายได

ผูลงทุนมักจะลงทุนในหลักทรัพยที่ใหรายได สมํ่าเสมอ ในระยะยาว มีความมั่นคง ทั้งนี้ เนื่องจากรายไดที่สมํ่าเสมอ เชน ดอกเบี้ยพันธบัตร หรือหุนกูดอกเบีย้ เงินฝาก สามารถจะวางแผน ไดวา จะนํารายไดนไี้ ปใชเพือ่ การบริโภคหรือเพือ่ ลงทุนใหมตอ ไป แตสําหรับการลงทุนในหุนทุนอาจ คาดคะเนรายไดจากเงินปนผลไดไมแนนอนนัก เพราะถาธุรกิจไมไดกําไรหรือขาดทุนก็อาจไมมี การจายเงินปนผล ๕) ความคลองตัวในการซือ้ ขาย หุน หรือหลักทรัพยทซี่ อื้ มาสามารถนําไปซือ้ ขาย ในตลาดไดงายและรวดเร็วมากนอยเพียงใด โดยทั่วไปความคลองตัวในการซื้อขายหุนก็ขึ้นอยูกับ ราคา จํานวนผูถ อื หุน และความสนใจทีป่ ระชาชนทัว่ ไปมีตอ หุน นี้ ถาเปนหลักทรัพยทมี่ คี วามคลองตัว ในการซื้อขาย ถาหากผูออมตองการซื้อขายสามารถทําไดสะดวก ๖) ภาษีทตี่ อ งชําระ ผูล งทุนควรมีการศึกษาเปรียบเทียบถึงขอไดเปรียบเสียเปรียบ ของการลงทุนแตละประเภท โดยนําภาษีที่ตองชําระมาพิจารณาประกอบดวย เชน การเสียภาษี รายไดจากดอกเบี้ยพันธบัตร ภาษีจากเงินปนผลของหุนทุน ภาษีธุรกิจ ภาษีบาน ที่ดินและ อสังหาริมทรัพยอื่นๆ เปนตน ๑๘

เกร็ดแนะครู ครูเพิ่มเติมความรูถึงวิธีการลงทุน ผลตอบแทน ความเสี่ยงในการลงทุน ประเภทตางๆ เชน การลงทุนในพันธบัตร หุน กองทุนรวม กิจการคาขาย เพื่อ กระตุนใหนักเรียนเห็นความสําคัญของการลงทุน และหาชองทางในการลงทุน ตามความเหมาะสมกับวัยและรายได

นักเรียนควรรู 1 รานสะดวกซื้อ รานคาสมัยใหม ตั้งอยูในยานชุมชน ทําเลดี ขายสินคาสําหรับ ใชในชีวติ ประจําวัน และมีบริการอืน่ ๆ เชน รับชําระคาบัตรเครดิต คาสาธารณูปโภค ตางๆ มีการจัดรานคาแบบทันสมัย วางสินคาเปนประเภท ลูกคาสามารถหยิบ ได สะดวก มีบริการทีด่ ี ทันสมัย มีการประชาสัมพันธเพือ่ จัดรายการสงเสริมการขาย เชน ลดราคาสินคาบางประเภท ขายควบสินคา เปดขายเปนระยะเวลานานใน แตละวัน เชน มีการเปดขาย 24 ชั่วโมง เชน 7 ELEVEN โลตัสเอ็กซเพรส เปนตน

18

คูมือครู

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

การลงทุนขอใดถือวามีความเสี่ยงสูงอาจทําใหเงินทุนสูญหายได 1. ซื้อสลาก ธกส. 2. ซื้อสลากออมสิน 3. ซื้อพันธบัตรรัฐบาล 4. ซื้อหุนในตลาดหลักทรัพย วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 4. เพราะการลงทุนโดยซือ้ หุน ในตลาดหลักทรัพย ถือเปนการลงทุนที่มีโอกาสไดผลตอบแทนสูง แตก็มีความเสี่ยงสูงมาก เพราะอาจขาดทุนเมื่อขายหุนไปในราคาตํ่ากวาราคาที่ซื้อมา อาจทําใหเงิน ทุนสูญหายได ดังนั้นผูลงทุนจะตองศึกษาขอมูลเปนอยางดี เพื่อปองกัน ความเสี่ยงจากการลงทุน


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

อธิบายความรู

1. ครูและนักเรียนอภิปรายถึงปจจัยที่เปนตัว กําหนดการลงทุน จากนั้นครูยกตัวอยาง การลงทุนในกิจการตางๆ หรือการลงทุนใน ตราสารตางๆ ใหนักเรียนชวยกันบอกปจจัย ในการลงทุน เชน การลงทุนในพันธบัตร ปจจัยในการลงทุน เชน อัตราดอกเบี้ย อายุ ของพันธบัตร ถาชวงใดที่อัตราดอกเบี้ยสูง อายุของพันธบัตรไมยาวมากนักก็ตัดสินใจ ลงทุน เปนตน จากนั้นครูนําสนทนาถึงการ ลงทุนซื้อ-ขายหุน ครูตั้งขอสังเกตวา ทําไม นักลงทุนทําการซื้อ-ขายหุนในเวลาที่ตางกันไป (แนวตอบ นักลงทุนจะเลือกเวลาในการซื้อ-ขาย ที่เหมาะสม ที่ตนคิดวาไดผลกําไรสูงสุด เพราะ หุนสามารถผันผวนไดตลอดเวลา การตัดสินใจ ของนักลงทุนจะมีผลตอกําไร-ขาดทุน ดังนั้น นักธุรกิจจะตองคํานึงถึงปจจัยตางๆ เชน ความเสี่ยง กําไร จึงตองเลือกเวลาที่เหมาะสม ในการซื้อ-ขายหุน) 2. ครูใหนักเรียนชวยกันยกตัวอยางธุรกิจใน ครัวเรือนมา 1 ธุรกิจ แลวสมมติวานักเรียน เปนผูประกอบธุรกิจนั้น ใหชวยกันวิเคราะหวา ในการลงทุนทําธุรกิจดังกลาวผูลงทุนจะตอง คํานึงถึงปจจัยใดบาง โดยการสรุปเปน ผังความคิดบนกระดาน

๗) การไดรับผลประโยชนดานภาษี1อันเนื่องมาจากการลงทุน การลงทุน

ซื้อหลักทรัพยบางชนิด เชน กองทุนรวมหุนระยะยาว กองทุนรวมเพื่อการเลี้ยงชีพ หลักทรัพย ดังกลาว ผูล งทุนทีซ่ อื้ แลวสามารถที2 จ่ ะนําไปหักลดหยอนภาษีเงินไดบคุ คลธรรมดาไดถงึ รอยละ ๑๕ ทั้งนี้ขึ้นอยูกับฐานภาษีของผูลงทุน แตจะตองถือหลักทรัพยกองทุนดังกลาวไว ๕ ปขึ้นไป ๘) ควรมีการลงทุนหลายประเภทเพื่อลดความเสี่ยง ผูลงทุนไมควรเลือกลงทุน ประเภทเดียว เพราะมีความเสี่ยงสูง เชน การลงทุนซื้อหลักทรัพยหรือหุนของธุรกิจประเภทเดียว ถาธุรกิจขาดทุนก็จะไมไดรบั เงินปนผลและอาจขาดทุนจากราคาหลักทรัพยทลี่ ดลง แตควรกระจาย เงินลงทุนไปยังหลักทรัพยหลายๆ ประเภทตางชนิดกัน จะไดลดความเสี่ยง เพราะถามีหลักทรัพย ของบางธุรกิจขาดทุน แตก็อาจมีหลักทรัพยของธุรกิจอื่นที่ไดกําไร

๒.๕ ปจจัยที่เปนตัวกําหนดการลงทุน

ในการลงทุน ผูลงทุนจะตองพิจารณาถึงปจจัยตางๆ ดังตอไปนี้

แผนผังแสดงการลงทุนในธุรกิจของครัวเรือน

ปจจัยในการลงทุนในครัวเรือน

Explain

ผลตอบเเทนเเละความเสี่ยง คาของเงิน จํานวนทรัพยสินที่จําหนายในตลาด การคาดคะเนเกี่ยวกับเหตุการณตางๆ ในอนาคต อายุของผูลงทุน สภาพครอบครัว

๑) อัตราผลตอบแทนและความเสีย่ ง การลงทุนในทรัพยสนิ หรือหลักทรัพยตา งๆ

เชน พันธบัตรรัฐบาล หุนทุน ที่ดิน ผูลงทุนก็หวังที่จะไดรับผลตอบแทนสูงๆ และมีความเสีย่ งตํา่ ในกรณีทรี่ ฐั บาลกําหนดอัตราดอกเบีย้ พันธบัตรไวสงู อายุของพันธบัตรไมยาวนานมากนัก ก็จะทําให นักลงทุนหันมาลงทุนซื้อพันธบัตรรัฐบาลมากขึ้น ในทางตรงกันขาม ถาในชวงใดที่อัตราดอกเบี้ย ๑๙

บูรณาการเชื่อมสาระ

ครูสามารถจัดกิจกรรมบูรณาการความรูเรื่องปจจัยในการลงทุนกับสาระ การเรียนรูหนาที่พลเมืองฯ เกี่ยวกับบทบาทหนาที่ของรัฐบาลดานเศรษฐกิจ โดยครูนําขาวเศรษฐกิจเกี่ยวกับการแถลงขาวของนักการเมืองที่เกี่ยวกับการ ลงทุนในประเทศ ทั้งจากนักลงทุนในประเทศและนักลงทุนชาวตางชาติ ใน การสนับสนุนการลงทุน ซึ่งมาจากนโยบายของรัฐบาล ใหนักเรียนวิเคราะห ถึงปจจัยในการตัดสินใจลงทุน และบทบาทของภาคการเมืองกับนโยบาย เศรษฐกิจของประเทศ จากนั้นใหนักเรียนอภิปรายถึงนโยบายสงเสริมการลงทุนของรัฐบาล ชุดปจจุบัน ทั้งการลงทุนของบุคคล ภาคครัวเรือน และภาคธุรกิจ

นักเรียนควรรู 1 กองทุนรวมหุนระยะยาว เปนกองทุนที่จัดตั้งขึ้นโดยสถาบันการเงิน ดวยการ แบงทุนออกเปนมูลคาหุน หุนละเทาๆ กัน เชน 10 บาท และมีการนําออกขายแก นักลงทุน เมื่อไดเงินมาแลว ก็จะนําเงินไปลงทุนตามวัตถุประสงค เมื่อมีกําไรก็จะ จายเปนเงินปนผลใหกับผูถือหุนตามสัดสวนจํานวนหุน 2 ฐานภาษีของผูลงทุน เปนมาตรฐานที่รัฐบาลใชเปนเกณฑในการจัดเก็บภาษี ของนักลงทุน เชน เงินปนผล • บุคคลธรรมดา

• นิติบุคคล

อัตราภาษี • 10% ภาษีหัก ณ ที่จาย ถาไดรับเงินปนผลจากบริษัทจด ทะเบียน หรือบริษัทจํากัด • เลือกใหหัก 10% ภาษีหัก ณ ที่จาย หรือเลือกนําเงินปนผล ไปรวมเสียภาษีปลายป ถาไดรับเงินปนผลจากกองทุนรวม • 10% ภาษีหัก ณ ที่จาย ถาผูมีเงินไดไมใชบริษัทจดทะเบียน • ไดรับยกเวนภาษี ถาผูมีเงินไดเปนบริษัทจดทะเบียนและได ถือหุนเปน เวลาไมนอยกวา 3 เดือนกอนจาย และ 3 เดือน หลังจายเงินปนผล จากบริษัทไทยหรือกองทุนรวม

คูมือครู

19


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

อธิบายความรู Explain

Expand

๒๐

พันธบัตรตํ่า แตอัตราผลตอบแทนจากการลงทุนสูง เนื่องจากผลประกอบการของธุรกิจดี ธุรกิจก็ จะจายเงินปนผลแกผูถือหุนมากขึ้น ความตองการลงทุนในหุนทุนหรือหลักทรัพยของธุรกิจตางๆ ก็จะมีมากขึ้น เพราะในชวงเศรษฐกิ 1 จดีภาวะความเสี่ยงจะลดลง ๒) คาของเงิน หรืออํานาจซื้อของเงินในปจจุบันจะสงผลกระทบตอการลงทุน อยางมาก ในชวงเวลาใดที่คาของเงินหรืออํานาจซื้อของเงินไมเปลี่ยนแปลงมากนัก ผูลงทุน สวนใหญก็มักจะลงทุนในการซื้อพันธบัตรและหุนกู แตถาชวงใดที่คาของเงินเปลี่ยนแปลงมาก ผูลงทุนอาจจะหันกลับมาลงทุนในธุรกิจที่เสี่ยงมากขึ้น เชน การลงทุนในหุนของธุรกิจ การลงทุน ในธุรกิจอสังหาริมทรัพยที่ดิน เปนตน เพราะตองการที่จะไดผลตอบแทนสูง และคุมกับความเสี่ยง เกี่ยวกับคาของเงิน ๓) จํานวนของทรัพยสนิ ทีจ่ าํ หนายในตลาด ถาตลาดมีทรัพยสนิ ตางๆ ของรัฐบาล ธุรกิจและองคกรตางๆ ออกมาจําหนายในตลาดมากขึน้ ก็จะจูงใจใหผลู งทุนไดมโี อกาสเลือกลงทุน ไดมากขึ้น และมีความประสงคจะเขามาลงทุนเพิ่มขึ้น ๔) การคาดคะเนเกี่ยวกับเหตุการณตางๆ ในอนาคต ถานักลงทุนคาดการณวา ภาวะเศรษฐกิจในอนาคตจะขยายตัวเพิม่ ขึน้ อยางตอเนือ่ ง ธุรกิจตางๆ จะจําหนายสินคาและบริการ ไดมาก แนวโนมของกําไรจะเพิ่มขึ้น นักลงทุนจึงมีความตองการเขาไปลงทุนซื้อหุนทุนในธุรกิจ ตางๆ เพิ่มขึ้น เพราะคาดวาจะไดรับเงินปนผลเพิ่มขึ้นและถาไมตองการถือหุนตอไป ก็จะจําหนาย หุนออกไปไดอยางรวดเร็วและราคาเพิ่มขึ้น โอกาสที่จะไดกําไรก็มีมากขึ้น ๕) ปจจัยสวนตัวของผูลงทุน เชน ๕.๑) อายุของผูลงทุน ผูลงทุนที่มีอายุนอย เชน อายุระหวาง ๓๐-๔๐ ป มักจะ กลาเสี่ยง และสนใจลงทุนในหลักทรัพยที่มีแนวโนมวาเงินลงทุนงอกเงยสูง แตถาผูลงทุนมีอายุ ระหวาง ๔๐-๕๐ ป อาจสนใจลงทุนในหลักทรัพยทใี่ หรายไดประจํา ทัง้ นีอ้ าจเนือ่ งมาจากภาวะทาง ครอบครัว แตถาผูลงทุนที่มีอายุ ๕๐ ป ขึ้นไป มักจะพอใจลงทุนในหลักทรัพยที่ใหรายไดแนนอน และมีความเสี่ยงตํ่ามาก ๕.๒) นิสัยสวนตัวของผูลงทุน ผูลงทุนที่มีนิสัยไมกลาเสี่ยงมักจะชอบลงทุนใน หลักทรัพยที่ใหรายไดแนนอนมีความเสี่ยงนอย แตผูลงทุนที่มีนิสัยชอบเสี่ยงก็อาจเลือกลงทุนใน หลักทรัพยที่ใหผลตอบแทนสูง แตอาจมีความเสี่ยงมากกวา ๕.๓) สภาพของครอบครัว ผูล งทุนทีม่ คี รอบครัวแลวและตองรับผิดชอบตอความ เปนอยูของครอบครัว ตองใหการศึกษาแกบุตร หรือเลี้ยงดูบิดามารดา ทําใหตองเลือกลงทุนใน หลักทรัพยที่มั่นคง ใหรายไดที่แนนอน สวนคนที่ยังโสด ไมมีภาระครอบครัวมากนัก ก็อาจลงทุน ในหลักทรัพยที่มีความเสี่ยงได เปนตน

เกร็ดแนะครู ครูควรนําเอกสาร แผนพับ ของสถาบันการเงินตางๆ เชน ของธนาคารพาณิชย ที่ใหความรูเกี่ยวกับการลงทุน ประโยชนและผลตอบแทนที่ไดรับ พรอมทั้งพูด ชักชวนใหนักเรียนเห็นความสําคัญของการออมเงิน และการบริหารจัดการเงินออม โดยการนําเงินออมไปลงทุนเพื่อใหเงินออมนั้นงอกเงย และบอกความเสี่ยงจาก การลงทุนแตละประเภทดวย

นักเรียนควรรู 1 คาของเงิน เปลี่ยนแปลงไปตามสภาวะเงินเฟอ ถาอัตราเงินเฟอสูงมากเทาใด แสดงวาอํานาจซื้อหรือคาของเงินจะลดลงมากขึ้น เชน จากที่เงิน 100 บาท ซื้อของไดหลายอยาง เมื่อคาเงินลดลงกลับซื้อของไดนอยลงหรือซื้อของได เพียงอยางเดียว เปนตน คูมือครู

ตรวจสอบผล

Explain

1. ครูตั้งสถานการณสมมติวาถาหากนักเรียนมีเงิน จํานวนหนึ่ง นักเรียนจะเลือกลงทุนในรูปแบบใด มีขั้นตอนการวางแผนการลงทุนอยางไร พรอม ใหนักเรียนคาดการณในผลตอบแทนที่จะไดรับ 2. ครูตั้งคําถามเกี่ยวกับปจจัยในการตัดสินใจ ลงทุนของคนทั่วไป เพื่อใหนักเรียนไดแสดง ความคิดเห็น เชน • ปจจัยสําคัญในการตัดสินใจลงทุนของบุคคล ทั่วไป มีอะไรบาง (แนวตอบ เชน เลือกลงทุนในธุรกิจทีไ่ ดรบั ผลตอบแทนสูง และมีความเสีย่ งตํา่ ผลู งทุนมี ความรู ความถนัดในธุรกิจทีล่ งทุนเปน อยางดี เปนตน) • นักเรียนคิดวา ความผันผวนของคาเงิน มีผลกระทบตอการลงทุนของบุคคลหรือไม อยางไร (แนวตอบ มีผลตอการตัดสินใจ เพราะถาคาเงิน ผันผวนมากอาจทําใหมีการชะลอในการลงทุน ของภาคธุรกิจ สวนประชาชนทั่วไป อาจตัดสินใจลงทุนที่มีความเสี่ยงตํ่า เชน ลงทุนในพันธบัตรรัฐบาล เปนตน)

20

Expand

Evaluate

ครูยกตัวอยางการลงทุนในรูปแบบตางๆ พรอมผลตอบแทนที่ไดรับจากการลงทุน และ ใหนักเรียนไปศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับการลงทุน รูปแบบตางๆ เชน การลงทุนในกิจการตางๆ เชน คาขาย ประกอบอาชีพอิสระ การลงทุนในตราสารหนี้ พันธบัตรรัฐบาล หุน สลากออมสิน เปนตน

ขยายความเขาใจ

ขยายความเขาใจ

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

ปจจัยที่เปนตัวกําหนดการลงทุนในขอใดมีความสัมพันธกับภาวะเงินเฟอ และเงินฝดมากที่สุด 1. คาของเงิน 2. ผลตอบแทนและความเสี่ยง 3. จํานวนทรัพยสินที่จําหนายในตลาด 4. การคาดคะเนที่เกี่ยวกับเหตุการณตางๆ ในอนาคต วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 1. คาของเงิน หมายถึง อํานาจซื้อของเงิน ซึ่งจะมากหรือนอยขึ้นอยูกับดัชนีราคา (ระดับราคาของสินคาและบริการ ถา คาของเงินสูง = ดัชนีราคาตํ่า = ของถูก → ภาวะเงินฝด คาของเงินตํ่า = ดัชนีราคาสูง = ของแพง → ภาวะเงินเฟอ


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ขยายความเขาใจ

เปดชองทางการลงทุนไปกับตราสารหนี้และตราสารทุน ปจจุบันผูมีเงินออม มีทางเลือกในการออมเงินเพิ่มมากขึ้น การลงทุนในตราสารหนี้ และตราสารทุน เปนอีก ชองทางหนึ่งในการลงทุน ตราสารหนี้ (debt securities) คือ หลักฐานหรือสัญญาทีผ่ ตู อ งการเงินเปนผูอ อกโดยระบุรายละเอียดในการ กูเงิน เชน จํานวนเงินที่ตองชําระคืน อัตราดอกเบี้ย วันครบกําหนด อายุตราสาร หลักประกัน เปนตน ตราสารหนี้ที่ออกโดยรัฐบาลหรือรัฐวิสาหกิจเรียกวา “พันธบัตร” สวนตราสารหนี้ที่ออกโดยภาคเอกชน เรียกวา “หุน กู” ซึง่ มักเปนตราสารหนีร้ ะยะยาว คือ ตราสารหนีใ้ นตลาดทุน สวนตราสารหนีร้ ะยะสัน้ หรือตราสารหนี้ ในตลาดเงินมักอยูในรูปของตั๋วสัญญาใชเงิน ดังนั้นผูลงทุนในตราสารหนี้จึงมีฐานะเปน “เจาหนี้” ซึ่งไดรับ ผลตอบแทนในรูปของดอกเบี้ย ตราสารทุน (equity security) เปนตราสารทีผ่ ตู อ งการเงินทุนเปนผูอ อกในรูปของหุน สามัญ หุน บุรมิ สิทธิและ ตราสารทุนอื่นๆ โดยแบงทุนเปนหุนๆ ละเทาๆ กัน ผูถือหุนหรือผูลงทุนในตราสารจะมีฐานะเปน “เจาของกิจการ” ตราสารทุนมีไดหลายลักษณะ ที่สําคัญไดแก หุนสามัญ หุนบุริมสิทธิ์ หนวยลงทุน เปนตน หุนสามัญ (common stock) เปนตราสารประเภทหุนทุน ซึ่งออกโดยบริษัทมหาชนจํากัดที่ตองการระดม เงินทุนจากประชาชน เพือ่ ใหผถู อื หุน ไดเขาไปมีสว นรวมในธุรกิจนัน้ ๆ โดยตรง ผลตอบแทนทีจ่ ะไดรบั จากการถือหุน ก็คอื เงินปนผลจากกําไรในธุรกิจ กําไรจากการขายหุน ถาราคาหุน ปรับตัวขึน้ และสิทธิในการจองซือ้ หุน ใหมในกรณี ที่มีการเพิ่มทุนจดทะเบียน หุนบุริมสิทธ์ิ (preferred stock) เปนตราสารประเภทหุนทุน มีขอแตกตางจากหุนสามัญ คือ หุนบุริมสิทธิ์ จะไดรับสิทธิในการชําระคืนเงินทุนกอนผูถือหุนสามัญ ในกรณีที่บริษัทเลิกกิจการ ใบสําคัญแสดงสิทธิ (warrant) เปนตราสารที่ระบุวาผูถือครองจะไดรับสิทธิจองซื้อหุนสามัญ หุนบุริมสิทธิ์ หุนกู หรือตราสารอนุพันธในราคาที่กําหนดเมื่อถึงเวลาที่ระบุไว ใบสําคัญแสดงสิทธิมักจะออกควบคูกับการเพิ่มทุน เปนเทคนิคการตลาดของบริษัทผูออกหลักทรัพยในการจูงใจใหผูลงทุนจองซื้อหุนสามัญเพิ่มทุน

ตรวจสอบผล

สิ่งที่ตองรูกอนลงทุนในตราสารหนี้ ๑. มูลคาที่ตราไว คือ ราคาตอหนวยที่ระบุเอาไวในตราสาร ๒. อัตราดอกเบี้ยหนาตั๋ว คือ อัตราดอกเบี้ยที่ผูออกสัญญาวาจะจายใหผูลงทุนซื้อตราสารนั้น โดยอัตรา ดอกเบี้ยที่ระบุอาจจะเปนอัตราดอกเบี้ยแบบคงที่ ๓. งวดการจายดอกเบี้ย คือ การระบุวาจะจายดอกเบี้ยใหกับผูลงทุนจํานวนกี่ครั้งตอป ๔. วันครบกําหนดไถถอน คือ วันที่ตราสารนั้นจะหมดอายุ และผูลงทุนจะไดรับเงินตนคืน ความสําคัญของ วันครบกําหนดไถถอนอยูที่วาจะยาวนานเพียงใด ๕. องคกรที่ออกตราสาร และอันดับเครดิต เพื่อจะดูความมั่นคงขององคกรและความเสี่ยงของการลงทุน ๖. ประเภทของตราสารหนี้ เพื่อบงบอกใหรูวาตราสารที่ลงทุนมีความเสี่ยงอยางไร ๗. ขอสัญญา เงื่อนไขตางๆ เปนการดูในรายละเอียดวาผูออกหุนกูมีเงื่อนไขอะไรเปนพิเศษที่จะทําหรือ ไมทําบาง

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

การลงทุนในขอใดมีความสอดคลองกับเสถียรภาพของรายไดมากที่สุด 1. ปลอยเงินกู 2. ลงทุนในหุนกู 3. เก็งกําไรทองคํา 4. เก็งกําไรจากอัตราแลกเปลี่ยน

วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 2. เพราะหุนกูเปนตราสารหนี้ที่ออกโดยภาค เอกชน ผูลงทุนในหุนกูจะไดรับผลตอบแทนเปนดอกเบี้ยซึ่งจายสมํ่าเสมอ ตลอดระยะเวลาที่ถือครองอยูตามระยะเวลาที่กําหนด เชน 5 ป 10 ป ผูถือครองหุนกูถือเปนเจาหนี้ของธุรกิจที่ไดรับผลตอบแทนเปนดอกเบี้ย ซึ่งเปนผลตอบแทนที่มั่นคง มีความเสี่ยงตํ่ากวาการลงทุนในขออื่นๆ

Evaluate

Expand

ครูใหนักเรียนศึกษาความรูจากหนังสือเรียน หนา 21 เปดชองทางการลงทุนไปกับตราสารหนี้ และตราสารทุน นําความรูมาอภิปรายถึงลักษณะ ของการลงทุนในตราสารหนี้และการลงทุน ขอดี ความเสี่ยงจากการลงทุน ครูถามคําถาม • นักเรียนมีความสนใจการลงทุนใน ตราสารหนี้และตราสารทุนหรือไม เพราะเหตุใด (แนวตอบ เชน ถาตอบวาเห็นดวย เพราะ เปนการนําเงินออมมาลงทุนใหงอกเงย ถาตอบวาไมสนใจ เพราะไมมีความรูความ เขาใจในการลงทุนเกี่ยวกับตราสารหนี้และ ตราสารทุน และไมมีเงินออมมากพอที่จะ นําไปลงทุน เพราะยังไมมีรายได • นักเรียนจะแนะนําใหผูปกครองลงทุนใน ตราสารหนี้และตราสารทุนอยางไร (แนวตอบ เชน แนะนําใหซื้อพันธบัตรรัฐบาล ซึ่งเปนตราสารหนี้ที่ออกโดยรัฐบาลเมื่อครบ กําหนดระยะเวลาจะไดรับผลตอบแทนเปน ดอกเบี้ย มีความเสี่ยงในการลงทุนนอย)

เสริมสาระ

http://www.aksorn.com/LC/Eco/M2/03

ตรวจสอบผล

Evaluate

ครูตรวจแผนการลงทุน โดยพิจารณาจาก ขอมูลขั้นตอนการวางแผนการลงทุน

EB GUIDE

๒๑

เกร็ดแนะครู ครูอธิบายเพิ่มเติมคําศัพทนารูเกี่ยวกับตราสารหนี้ พันธบัตรหรือหุนกู คือตราสารแหงหนี้ระยะยาวซึ่งผูออกมีขอผูกพันตาม กฎหมายที่จะชําระดอกเบี้ยและเงินตนแกผูซื้อตามเวลาที่กําหนด โดยทั่วไปตราสาร หนี้จะกําหนดระยะเวลาไถถอนไวแตกตางกันไป เชน 5 ป 10 ป หรือนานกวานั้น ดอกเบี้ย ดอกเบี้ยซึ่งจายใหกับผูถือกรรมสิทธิ์ในตราสารหนี้เปนงวดตลอด อายุของตราสารหนี้ เพื่อเปนคาตอบแทนสําหรับการนําเงินมาลงทุน การกําหนด อัตราดอกเบี้ยจะกําหนดเปนรอยละตอปจากราคาที่ตราไว การจายดอกเบี้ยใน ประเทศไทยสวนใหญจะจายเปนงวดทุก 6 เดือนหรือ 1 ป หุนกูภาคเอกชน มีลักษณะคลายกับตราสารหนี้ คือ เปนตราสารที่แบงเปนหนวย แตละหนวยมีมลู คาเทากันและกําหนดประโยชนตอบแทนไวเปนการลวงหนาในอัตรา เทากันทุกหนวย หุนกูบางอยางสามารถแลกเปลี่ยนเปนหุนสามัญได ความเสี่ยงจากการผิดสัญญา คือ ความเสี่ยงที่ผูออกตราสารหนี้จะไมสามารถ จายดอกเบี้ยหรือเงินตนของตราสารหนี้นั้นได นักลงทุนสามารถดูจากอันดับ ความนาเชื่อถือเพื่อคาดการณถึงความเสี่ยงชนิดนี้ของผูออกตราสารหนี้ แตละรายได คูมือครู 21


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

กระตุน ความสนใจ

อธิบายความรู Explain

Expand

Evaluate

๒.๖ การบริหารจัดการการลงทุนในภาคครัวเรือน

การลงทุนเปนการใชเงินออมที่ไดสะสมมาเปนเวลานานเพื่อนําไปลงทุน เพื่อใหเกิด ผลประโยชนงอกเงย ซึ่งในการดําเนินการเพื่อลงทุนจําเปนตองมีระบบการบริหารจัดการที่ดี นับตัง้ แตการกําหนดวัตถุประสงคของการลงทุน การจัดทําแนวทางการลงทุน การวิเคราะหและ เลือกหลักทรัพย การประเมินผลการลงทุน ดังนี้

๑) การกํ า หนดวั ต ถุ ป ระสงค ของการลงทุนของครัวเรือน โดยผูลงทุนที่

Explore

เปนครัวเรือน ตองมีการกําหนดวัตถุประสงค ของการลงทุนกอนวาจะลงทุนเพือ่ อะไร ยอมรับ ความเสี่ยงไดมากนอยเทาใด ฐานะการเงินของ ครัวเรือนเปนอยางไร ตองการรายไดประจํามา ใชจายมากนอยเพียงใด เพราะการกํา หนด วัตถุประสงคของการลงทุนของครัวเรือนทีช่ ดั เจน การนําเงินออมมาขยายกิจการของครอบครัว เปนชองทาง จะทําใหสามารถเลือกลงทุนในหลักทรัพยตางๆ หนึ่งในการลงทุน ไดอยางถูกตอง ๒) การจัดทําแนวทางการลงทุนของครัวเรือน หลังจากกําหนดวัตถุประสงคของ การลงทุนแลว ก็ตอ งกําหนดแนวทางการลงทุนทีส่ นองตอบตอวัตถุประสงคของการลงทุน โดยเริม่ จาก การตัดสินใจจัดสรรเงินลงทุนในหลักทรัพยแตละประเภทในสัดสวนมากนอยเพียงใด เชน จะนําเงิน ไปซื้อพันธบัตรรัฐบาลจํานวนเทาไร จะนําไปซื้อหุนจากธุรกิจตางๆ จํานวนเทาไร หรือจะนําเงินไป ซื้อหุนของกองทุนตางๆ จํานวนเทาไร ๓) การวิเคราะหและเลือกหลักทรัพยลงทุน หลักทรัพยลงทุนในแตละธุรกิจ มีหลายประเภท ซึง่ แตละประเภทจะมีผลตอบแทนและความเสี่ยงที่แตกตางกัน ครัวเรือนจะเลือก ลงทุนในหลักทรัพยของธุรกิจใด ก็จําเปน1ตองศึกษาผลการประกอบการของธุ รกิจ แนวโนมของ 2 ธุรกิจประเภทดังกลาว สภาวะการแขงขัน นโยบายของธุรกิจ ตลอดจนการวิเคราะหภาวะเศรษฐกิจ ของประเทศ โดยครัวเรือนอาจมีการกระจายกลุมหลักทรัพยลงทุน โดยกระจายการลงทุนไปใน หลักทรัพยของธุรกิจตางๆ หลายประเภท เพือ่ ลดความเสีย่ งจากความเสียหายของธุรกิจประเภทใด ประเภทหนึง่ การเลือกลงทุนในหลักทรัพยตา งๆ อยางเหมาะสมนอกจากจะทําใหรายไดเพิม่ ขึน้ แลว ยังชวยลดความเสี่ยงในการลงทุนดวย

นักเรียนศึกษาการลงทุนในรูปแบบตางๆ ทั้ง การลงทุนในธุรกิจตางๆ และการลงทุนทางออม ผานสถาบันทางการเงินและศึกษาความรูการบริหาร จัดการการลงทุนในภาคครัวเรือน และปญหาการ ลงทุนในประเทศไทย จากหนังสือเรียน หนา 22-25

อธิบายความรู

ตรวจสอบผล

Engage

ครูนาํ ตัวอยางการลงทุนประเภทตางๆ ของบุคคล หรือครอบครัวตัวอยางมาใหนักเรียนศึกษา เชน การลงทุนในกิจการคาขาย อาชีพอิสระ อาชีพให บริการ เชน รานเสริมความงาม อูซอมรถ เปนตน ครูถามคําถาม • นักเรียนมีหลักในการตัดสินใจเลือกการลงทุน เพื่อครอบครัวอยางไร

สํารวจคนหา

ขยายความเขาใจ

Explain

ครูใหนักเรียนรวมกันแสดงความคิดเห็นถึง ความจําเปน ความสําคัญ แนวทางในการบริหาร จัดการเพื่อการลงทุนในภาคครัวเรือน จากนั้นทําการวางแผนการบริหารจัดการ ลงทุนในครอบครัวของตนเอง นําผลงานสงครู และสุมนักเรียน 2-3 คน นําเสนอผลงาน

๒๒

นักเรียนควรรู 1 สภาวะการแขงขัน การดําเนินธุรกิจในหลายประเภทมีการแขงขันสูง จึงทําใหธุรกิจตองมีการปรับปรุงระบบการผลิต การบริหารจัดการภายในธุรกิจ อยูเสมอเพื่อปองกันความเสี่ยงในการดําเนินงาน 2 นโยบายของธุรกิจ เจาของธุรกิจจะมีการกําหนดนโยบายของธุรกิจไวเสมอ เชน นโยบายเพื่อขยายลูกคากลุมเปาหมาย นโยบายเพิ่มผลผลิต นโยบายลดตนทุน การผลิต นโยบายขยายตลาดไปยังตางประเทศ เปนตน

มุม IT ศึกษาขอมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับการวางแผนการลงทุนในตลาดหลักทรัพย ไดที่ http://www.start-to-invest.com สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและ ตลาดหลักทรัพย

22

คูมือครู

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

ในการลงทุนภาคครัวเรือน ควรคํานึงถึงปจจัยใดบาง แนวตอบ ในการตัดสินใจลงทุนในภาคครัวเรือนจะตองคํานึงถึงรายได รายจาย เงินออมของครอบครัวกอนวาเหมาะแกการลงทุนประเภทใด จากนัน้ ทําการศึกษาปจจัยเสีย่ งและผลตอบแทนจากการลงทุนประเภทตางๆ แลวจึงทําการตัดสินใจเลือกลงทุนและศึกษาความรูในการลงทุนประเภท นั้นๆ เปนอยางดี ติดตามสถานการณการลงทุนจากแหลงขอมูลอยู สมํ่าเสมอ เพื่อนําขอมูลมาวางแผนในการพัฒนาปรับเปลี่ยนธุรกิจ เพื่อ รองรับการเปลี่ยนแปลงของสถานการณตางๆ มีการประเมินผลการลงทุน เปนระยะๆ เพื่อประเมินผลตอบแทน สภาพปญหา ความเสี่ยงของธุรกิจ นอกจากนี้จะตองศึกษาตลาด วิเคราะหคูแขงทางธุรกิจจะไดปรับกลยุทธใน การบริหารจัดการ


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

อธิบายความรู

Explain

1. ครูนําขาวเศรษฐกิจที่แสดงถึงสถานการณ การลงทุนของไทย และปญหาการลงทุนทั้ง ในประเทศและตางประเทศมาอภิปรายแสดง ความคิดเห็น 2. ครูยกตัวอยางสถานการณในประเทศ เชน ปญหานํ้าทวมในภาคกลางและกรุงเทพฯ ปญหาการเมือง มาใหนักเรียนรวมกัน วิเคราะหวา สงผลกระทบตอการลงทุนใน ประเทศอยางไรบาง และเสนอแนะแนวทาง การแกปญหา จากนั้นนําสถิติการลงทุนใน ระยะ 1-2 ปที่ผานมา สนทนากับนักเรียนถึง สถานการณการลงทุน ธุรกิจที่มีการลงทุนมาก ประเทศที่เขามาลงทุนในประเทศไทยมากที่สุด วิเคราะหแนวโนมการลงทุนใน 1-2 ป 3. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายถึงปญหาการ ลงทุนในประเทศไทยทั้งการลงทุนภาคครัว เรือน และการลงทุนภาคธุรกิจ ทั้งการลงทุน จากนักลงทุนในประเทศและจากตางประเทศ พรอมทั้งชวยกันเสนอแนะแนวทางการแกปญ  หา

๔) การประเมินผลการลงทุนของครัวเรือน ครัวเรือนจะตองมีการประเมินผลการ

ลงทุนในกลุมหลักทรัพยตางๆ ตลอดเวลา ถาหุนหรือหลักทรัพยใดที่มีมูลคาลดลง ก็อาจตัดสินใจ ขายและนําเงินไปลงทุนในหุนหรือหลักทรัพยอื่นที่มีมูลคาเพิ่มขึ้น และมีผลประกอบการที่ดีซึ่งจะ ชวยเพิ่มรายไดและลดความเสี่ยงในการลงทุนของครัวเรือนลงได

๒.๗ ปญหาของการลงทุนในประเทศไทย

การลงทุนในภาคครัวเรือนและในภาคธุรกิจของประเทศ มีปญหาและอุปสรรค ดังนี้ ๑) ประชากรไทยมีรายไดตาํ่ สวนใหญจะใชรายไดไปเพือ่ การบริโภคเกือบทัง้ หมด เงินที่เหลือจะเก็บออมจึงมีนอย ทําใหเงินที่จะนําไปลงทุนมีนอย ดังนั้นประเทศไทยจึงตอง พึ่งเงินลงทุนจากตางชาติอยูเสมอ ๒) ประชากรสวนใหญยังขาดความรูในดานการลงทุน เนื่องจากการลงทุน มีหลายรูปแบบ ทัง้ การลงทุนในตราสารหนีแ้ ละการลงทุนในตราสารทุน แตประชากรยังขาดความรู ในวิธีการลงทุน รูปแบบของการลงทุน กระบวนการลงทุน ดังนั้นจึงมักนําเงินออมไปฝากธนาคาร พาณิชยในรูปแบบของการฝากประจํา ซึง่ ไดรบั ผลตอบแทนทีต่ าํ่ กวาการลงทุนในชองทางอืน่ ๆ ทัง้ นี้ เพราะประชาชนสวนใหญจะใหความมั่นใจกับสถาบันการเงินประเภทธนาคาร เนื่องจากเงินฝาก จะไมสูญหาย ถึงแมวาธนาคารนั้นจะปดตัวลง เพราะมีรัฐบาลคํ้าประกันเงินฝาก จึงมีความมั่นใจ ฝากเงินกับธนาคารมากกวาจะลงทุนในรูปแบบอื่นๆ เพราะยังไมมีความรูความเขาใจและกลัว ความเสี่ยง 1 ๓) การจําหนายพันธบัตรของรัฐบาลในแตละรุนมีปริมาณเงินจํากัด ทําให ผูตองการลงทุนจองซื้อไดยาก และมักขาดขอมูลขาวสาร ทําใหไมทราบวารัฐบาลจะจําหนาย พันธบัตรเมือ่ ใด อันเกิดจากขาดการประชาสัมพันธสตู ลาดอยางกวางขวาง ทําใหมผี ซู อื้ ไดเฉพาะกลุม ไมไดกระจายอยางทัว่ ถึง เพราะสวนใหญพนั ธบัตรของรัฐบาลจะเปดขายในโอกาสพิเศษ และจํากัด วงเงิน ไมไดเปดขายทั่วไป มีการจํากัดเฉพาะบางสาขา เปนตน ๔) ความผันผวนของภาวะเศรษฐกิจ เชน ภาวะเศรษฐกิจตกตํ่าทําใหราคาของ หุน หรือหลักทรัพยลดลง ผูล งทุนบางคนอาจขาดทุนหรือไดรบั ผลตอบแทนทีต่ าํ่ ไมคมุ กับความเสีย่ ง ดังนั้นจึงทําใหครัวเรือนที่ขาดความรูไมกลาเขาไปลงทุน

๕) การเขามาลงทุนในตลาดหลักทรัพยหรือตลาดหุน ในบางกรณีกเ็ ปนไปเพือ่

เก็งกําไร ทําใหภาพลักษณของการลงทุนในสายตาของคนทัว่ ไปยังเห็นวาเปนเรือ่ งทีไ่ มนา จะเขาไป

ลงทุนดวย และการลงทุนในตลาดหลักทรัพยจะมีความออนไหวสูง เชน เมื่อมีขาวสารหรือขอมูล ทีก่ ระทบกับคนในประเทศหรือตางประเทศ จะทําใหหนุ ตก จึงทําใหคนสวนใหญไมกลาเขามาลงทุน เพราะกลัวภาวะเสี่ยง เปนตน ๒๓

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

ปญหาการลงทุนในประเทศไทยในขอใด ที่สงผลกระทบตอการเติบโต ทางเศรษฐกิจของประเทศมากที่สุด 1. ในชนบทมีการลงทุนนอย 2. ประชากรสวนใหญมีรายไดตํ่า 3. การเก็งกําไรในตลาดหลักทรัพย 4. ความผันผวนของภาวะเศรษฐกิจ

วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 2. ปญหาสําคัญที่สุดของการออมภาคครัวเรือน ของไทย คือ ปญหาประชากรสวนใหญมีรายไดตํ่า ไมมีเงินออม รายไดที่หา มาไดหมดไปกับคาใชจายในการดําเนินชีวิต จึงทําใหไมมีเงินออมและยังตอง เปนหนี้ ทําใหไมมีเงินออมไปลงทุนในธุรกิจตางๆ นอกจากนี้ประชาชน สวนใหญยังขาดความรูในดานการลงทุน ทําใหไมกลาที่จะนําเงินออมมา ลงทุน เลือกที่จะฝากเงินออมไวกับสถาบันการเงิน ถึงแมจะไดรับผลตอบแทน จากดอกเบี้ยในอัตราตํ่าก็ตาม

เกร็ดแนะครู ครูควรนําสถิติการลงทุนภาคครัวเรือนจากหนวยงานภาครัฐ เชน สํานักงาน สถิติแหงชาติ ธนาคารแหงประเทศไทย และการลงทุนจากตางชาติ จากสํานักงาน คณะกรรมการสงเสริมการลงทุน หรือจากเว็บไซต : http://www.boi.go.th เพื่อนําสถิติการสงเสริมการลงทุนใหนักเรียนรวมกันวิเคราะหสถานการณ การลงทุนภาคครัวเรือนและการลงทุนภาครัฐของไทย

นักเรียนควรรู 1 การจําหนายพันธบัตรของรัฐบาล ตามปกติรัฐจะมีการจําหนายพันธบัตร เปนรุน ตามนโยบายของรัฐ และมีการกําหนดวงเงินที่จําหนายไวชัดเจน มีการ ประกาศวัน เวลา สถานที่จําหนายไวลวงหนาผานสื่อตางๆ เชน ทางสถานีวิทยุ โทรทัศน คูมือครู

23


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ

Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

Expand

1. ครูใหนกั เรียนวิเคราะหความสัมพันธของการออม กับการลงทุนของครัวเรือนในปจจุบัน 2. ครูใหนักเรียนวางแผนการออมและการลงทุน ของครอบครัวตนเอง โดยการปฏิบัติ ดังนี้ • จัดทําบัญชีครัวเรือน รายรับ-รายจาย ของสมาชิกในครอบครัวเปนเวลา 2 เดือน • ทําการวิเคราะหรายรับ-รายจาย เงินออม ในรอบ 2 เดือน และประมาณการรายรับรายจาย ในระยะเวลา 1 ป • วางแผนบริหารจัดการเงินออม โดยการทํา โครงการลงทุน การบริหารเงินทุน ผลที่ คาดวาจะไดรับ 3. ครูใหนักเรียนทํากิจกรรมที่ 1.9 จากแบบวัดฯ เศรษฐศาสตร ม.2

๖) ภาคชนบทยังมีการลงทุนนอย เนือ่ งจากครัวเรือนในชนบทสวนใหญมรี ายไดตาํ่

รายไดสว นใหญใชจา ยเพือ่ การบริโภคในชีวติ ประจําวัน บางครัวเรือนก็มรี ายไดไมเพียงพอกับรายจาย ทําใหไมมีเงินออมและยังตองเปนหนี้ ดังนั้น จึงจําเปนตองมีมาตรการในการเพิ่มรายไดใหกับ ประชาชนในชนบทด 1 วยการสรางงาน สรางอาชีพ เพื่อเพิ่มรายไดและสงเสริมการออม โดยการ ตัง้ กลุม ออมทรัพยและนําเงินออมทีไ่ ดไปรวมลงทุนผลิตสินคาจําหนาย เปนการเพิม่ รายไดมากขึน้

ó. ¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ ¢Í§¡ÒÃÍÍÁáÅСÒÃŧ·Ø¹ ในระบบเศรษฐกิจ การออมและการลงทุนมีความสัมพันธกัน กลาวคือ การออม เปนการเก็บสะสมเงินทีละเล็กทีละนอยจากรายไดที่เหลือจากการใชจายให2 พอกพูนขึน้ เมือ่ เวลาผานไป ซึง่ การออมสวนใหญอยูใ นรูปของเงินฝากกับธนาคาร หรือบริษทั เงินทุน โดยไดรับดอกเบี้ยเปนผลตอบแทน การลงทุน เปนการนําเงินออมทีเ่ ก็บสะสมไปสรางผลตอบแทนทีส่ งู กวาการออม โดยการลงทุน ในพันธบัตรรัฐบาล หรือหลักทรัพยตา งๆ ซึง่ จะไดรบั ผลตอบแทนในรูปของดอกเบีย้ เงินปนผลและ กําไร ตามประเภทของหลักทรัพยทลี่ งทุน สําหรับการออมและการลงทุน สามารถเปรียบเทียบได ดังนี้

✓ แบบวัดฯ ใบงาน แบบฝกฯ เศรษฐศาสตร ม.2 กิจกรรมที่ 1.9 หนวยการเร�ยนรูที่ 1 การออมและการลงทุน กิจกรรมที่ ๑.๙ ใหนกั เรียนนําความรูเ กีย่ วกับการออมและการลงทุนมาใชใน กรณีตอไปนี้ โดยการเติมขอความใหสมบูรณ (ส ๓.๑ ม.๒/๑)

ขยายความเขาใจ

ตารางเปรียบเทียบการออมกับการลงทุน การออม การสะสมเงินเพื่อใหพอกพูน ไวใชจายในยามฉุกเฉิน ยามชรา หลังเกษียณจากการทํางาน

คะแนนเต็ม คะแนนที่ได

ñð

๑. ใหนักเรียนยกตัวอยางการออมทรัพยที่ประสบความสําเร็จและปฏิบัติไดจริง ๑ ตัวอยาง

เปนตัวอยางการออมเงินของพี่สาวซึ่งเปนพนักงานบริษัท เงินเดือนตอนเขาทํางานใหมๆ .................................................................................................................................................................................................................................................... เมือ่ ๒๐ กวาป ประมาณ ๗,๐๐๐ บาท รวมคาทํางานลวงเวลาดวยตกประมาณเดือนละ ๑๐,๐๐๐ บาท .................................................................................................................................................................................................................................................... ตั้งแตเขาทํางานใหมๆ พี่สาวแบงเงินออกเปน ๔ สวน คือ สวนที่ ๑ คาใชจายสวนตัว สวนที่ ๒ .................................................................................................................................................................................................................................................... ใหพอแม สวนที่ ๓ ฝากธนาคารแบบประจํา สวนที่ ๔ ฝากธนาคารแบบออมทรัพย ทําอยางนี้ .................................................................................................................................................................................................................................................... เรื่อยมา เมื่อสวนที่ ๔ ไดเงินจํานวนหนึ่งก็นําไปซื้อทองคํา ทําใหตอนนี้พี่สาวมีทองคําจํานวนหนึ่ง .................................................................................................................................................................................................................................................... เมื่อทองราคาแพงจึงนําทองไปขายนําเงินมาดาวนบานหลังเล็กๆ และผอนชําระกับธนาคาร .................................................................................................................................................................................................................................................... อาคารสงเคราะห ....................................................................................................................................................................................................................................................

➡ วัตถุประสงค ➡

ฝากเงินกับธนาคารพาณิชย บริษัทเงินทุน สหกรณออมทรัพย

วิธีการสะสม

ลงทุนในพันธบัตรรัฐบาล หุนกู กองทุนรวม กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ ทองคํา อสังหาริมทรัพย

ดอกเบี้ย

ผลตอบแทน

ดอกเบี้ย เงินปนผล กําไรหรือขาดทุน จากการลงทุน

ความเสี่ยงตํ่าเพราะเงินฝาก ธนาคารพาณิชยมีกองทุน ประกันเงินฝากคํ้าประกัน

ความเสี่ยง

มีความเสี่ยงมากนอยตามประเภทและ ลักษณะของหลักทรัพยที่ลงทุน

มีสภาพคลองสูง

➡ ขอไดเปรียบ ➡ ➡ ขอเสียเปรียบ ➡

๒. นักเรียนมีวิธีการแนะนําบุคคลที่จะออมทรัพยและลงทุนใหประสบผลสําเร็จไดอยางไร

เริ่มตนจากการแนะนําเรื่องการออม โดยการชี้แจงใหเห็นความสําคัญของการออม และยกตัวอยาง .................................................................................................................................................................................................................................................... ผูที่ประสบความสําเร็จจากการออม แนะนําการบริหารจัดการรายไดของตนเองและครอบครัว ....................................................................................................................................................................................................................................................

ฉบับ

เฉลย

โดยการทําบัญชีครัวเรือนหรือบันทึกรายรับ-รายจายของตน แนะนําสถาบันการเงินและผลตอบแทน .................................................................................................................................................................................................................................................... ที่จะไดรับ บอกถึงขอควรคํานึงในการลงทุนถึงผลตอบแทนและความเสี่ยง ....................................................................................................................................................................................................................................................

การลงทุน การสะสมเงินใหเพิ่มพูนตอเนื่องใน ระยะยาว

.................................................................................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................................................................................

๓. นักเรียนสามารถนําหลักการออมและการลงทุนไปใชในชีวิตประจําวันไดอยางไร

สามารถนําหลักการออมไปใชโดยการสรางนิสยั การออมตัง้ แตเปนนักเรียน เริม่ จากบริหารรายรับ .................................................................................................................................................................................................................................................... ที่ไดจากครอบครัว ใชจายอยางประหยัด เมื่อมีเงินเก็บก็นําไปฝากธนาคาร .................................................................................................................................................................................................................................................... หลักการลงทุน สามารถนําไปใชไดโดยการพิจารณาถึงผลตอบแทน ความเสี่ยงในการลงทุน .................................................................................................................................................................................................................................................... และเลือกลงทุนในสถาบันการเงินที่ใหผลตอบแทนสูง มีความเสี่ยงตํ่า .................................................................................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................................................................................

ผลตอบแทนจากดอกเบี้ยเงินฝากตํ่า

ไดรับผลตอบแทนในระยะยาวสูงกวา มีโอกาสขาดทุนจากการลงทุนได

๒๔

นักเรียนควรรู 1 กลุมออมทรัพย กลุมที่มีการกอตั้งอยางไมเปนทางการของประชาชน เพื่อรวมกันแกปญหาทางดานเศรษฐกิจของสมาชิก ดําเนินงานโดยสมาชิก โดย การเก็บสะสมเงินออมทรัพย และนําเงินออมไปใหสมาชิกกูยืม จัดสวัสดิการใหกับ สมาชิก เพื่อชวยเหลือซึ่งกันและกันทางดานการเงิน ปจจุบันชุมชนตางๆ ไดมีการ จัดตั้งกลุมออมทรัพย เพื่อแกปญหาและพัฒนาเศรษฐกิจในชุมชน ทําใหมีแหลงเงิน ทุนเพื่อสนับสนุนการประกอบอาชีพ ทําใหคนรูจักประหยัด สะสมเก็บออมเงิน 2 บริษัทเงินทุน สถาบันการเงินที่ทําหนาที่ในการระดมทุน ดวยการกูยืมเงิน จากประชาชน โดยการออกตั๋วสัญญาใชเงิน แลวนําเงินที่กูยืมมาไปลงทุนหรือให กูยืมตอไป เพื่อแสวงหารายไดในกิจการตางๆ เชน • ใหกูยืมระยะสั้นไมเกิน 1 ปขึ้นไป เรียกวา ธุรกิจเงินทุนเพื่อการพาณิชย • ใหกูยืมเกิน 1 ปขึ้นไป เรียกวา ธุรกิจเงินทุนเพื่อการพัฒนา • ใหกูยืมแกผูประกอบกิจการใหเชาซื้อหรือใหประชาชนเชาซื้อ เรียกวา ธุรกิจเงินทุนเพื่อการจําหนายและการบริโภค

24

คูมือครู

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

ขอใดแสดงถึงความสัมพันธของการออมและการลงทุน 1. นําเงินไปฝากธนาคารเพื่อรับดอกเบี้ย 2. เก็บสะสมเงินใหมากที่สุด แลวนําไปปลอยกู 3. นําเงินรายไดไปลงทุนซื้อขายอสังหาริมทรัพย 4. นําเงินคงเหลือจากคาใชจายไปซื้อพันธบัตรรัฐบาล วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 4. การออม คือ รายไดสวนที่เหลือจากการ ใชจาย การลงทุน คือ การนําเงินที่เก็บออมมาสรางผลตอบแทนใหงอกเงย มากขึ้นกวาเดิม ดังนั้น ตัวเลือกขอ 4. นําเงินคงเหลือจากคาใชจาย ซึ่งก็คือการออมไป ซื้อพันธบัตรรัฐบาล เปนการลงทุนในตราสารหนี้ของรัฐบาล โดยจะได ผลตอบแทนเปนดอกเบี้ยและรัฐบาลก็นําเงินจากการขายพันธบัตรไปใชใน การพัฒนาประเทศตอไป


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

ขยายความเขาใจ

Expand

1. ครูใหนักเรียนทํากิจกรรมที่ 1.10 จากแบบวัดฯ เศรษฐศาสตร ม.2 2. นักเรียนตอบคําถามประจําหนวยการเรียนรู

จึงกลาวไดวาการออมกับการลงทุนมีความสัมพันธกัน เพราะการเก็บออมเงินอยางเดียว ไมไดทําใหเงินเหลานั้นเพิ่มมูลคา หรือการฝากเงินกับธนาคารอยางเดียวอาจไมไดผลตอบแทน ที่มากพอ ดังนั้นการนําเงินออมไปลงทุนจะเปนการสรางผลตอบแทนใหเพิ่มขึ้นได แตทั้งนี้ ในการลงทุนจะต 1 องมีการศึกษาขอมูลและความเสี่ยงในการลงทุนใหดีกอน เพื่อปองกันการ สูญเสียเงินออม และทําใหไดผลตอบแทนเพิ่มขึ้น เพื่อเก็บเงินเหลานั้นไวเปนเงินออมเพื่ออนาคต ตอไป

✓ แบบวัดฯ ใบงาน แบบฝกฯ เศรษฐศาสตร ม.2 กิจกรรมที่ 1.10 หนวยการเร�ยนรูที่ 1 การออมและการลงทุน กิจกรรมที่ ๑.๑๐ ใหนักเรียนวิเคราะหปจจัยที่มีผลตอการออมและการลงทุน แลวนําคําตอบใสในตารางวิเคราะหปจ จัยทีม่ ผี ลตอการออม และการลงทุน (ส ๓.๑ ม.๒/๑)

ปจจุบันการออมของคนไทยยังมีขอจํากัด เนื่องจากรายไดของคนไทยมีจํากัดและ ขาดการวางแผนการใชเงินอยางรัดกุม ทําใหเกิดชองวางของการออม กลาวคือ บางครัวเรือน มีเงินออมนอย หรือไมมเี งินออม ในขณะทีบ่ างครัวเรือนมีเงินออมมาก ครัวเรือนทีม่ เี งินออมนอย จะสงผลกระทบตอการดําเนินชีวติ ประจําวันและความมัน่ คงในการดํารงชีวติ ทําใหตอ งประสบกับ ปญหาหนีส้ นิ และขาดคุณภาพชีวติ ทีด่ ี ดังนัน้ จึงควรใหความสําคัญกับการออมและนําเงินออม สวนหนึ่งไปลงทุน เพื่อใหเงินออมเหลานั้นเพิ่มพูนขึ้น สามารถสรางความมั่นคงในการ ดําเนินชีวิต

คะแนนเต็ม คะแนนที่ได

ñð

ตารางวิเคราะหปจจัยที่มีผลตอการออมและการลงทุน ปจจัยที่มีผลตอการออม ๑. ความปลอดภัยของเงินที่ออม

การทีเี่ ราจะนําเงินออมไปแสวงหาผลประโยชน ................................................................................................................. โดยฝากเงินกับธนาคารหรือสถาบันการเงิน ................................................................................................................. อื่นๆ เราตองพิจารณาถึงความปลอดภัยของ ................................................................................................................. เงินออมเปนลําดับแรก ................................................................................................................. .................................................................................................................

๒. สภาพคลองของเงินออม

เราสามารถนําเงินที่ออมไปใชในยามที่เรา ................................................................................................................. ตองการไดอยางสะดวกสบายไดหรือไม ................................................................................................................. ................................................................................................................. ................................................................................................................. .................................................................................................................

๓. ความสะดวก

เราพิจารณาจากการใหบริการวามีเงื่อนไข .................................................................................................................

ปจจัยที่มีผลตอการลงทุน ๑. ผลตอบแทนและความเสี่ยง

ในการลงทุนใดๆ ก็ตาม ผูลงทุน ................................................................................................................. มีความตองการผลตอบแทนที่สูง คุมคา ................................................................................................................. และมีความเสี่ยงตํ่าสุด ................................................................................................................. ................................................................................................................. .................................................................................................................

๒. คาของเงิน

เป น ตั ว กํ า หนดการลงทุ น ในแต ล ะช ว งเวลา ................................................................................................................. ชวงที่คาเงินมีอํานาจซื้อที่ไมเปลี่ยนแปลงมาก ................................................................................................................. ผูลงทุนสวนใหญจะลงทุนในการซื้อพันธบัตร .................................................................................................................

๓. จํานวนทรัพยสินที่จําหนายในตลาด

ถาตลาดมีทรัพยสินตางๆ ของรัฐบาล ธุรกิจ .................................................................................................................

ในการออมที่มีความสะดวกรวดเร็ว ไมยุงยาก .................................................................................................................

และองคกรตางๆ ออกมาจําหนายในทองตลาด .................................................................................................................

และไมทําใหผูออมเสียเวลา .................................................................................................................

มากขึ้น ก็จะจูงใจใหผูลงทุนตัดสินใจลงทุน .................................................................................................................

.................................................................................................................

ไดมากขึ้น .................................................................................................................

.................................................................................................................

๔. ผลตอบแทนจากการออม

ไดรับอัตราดอกเบี้ยหรือเงินปนผลในอัตรา ................................................................................................................. ที่มีความเหมาะสมกับระยะเวลา .................................................................................................................

ฉบับ

เฉลย

และหุน กู และชวงเวลาทีค่ า ของเงินเปลีย่ นแปลง ................................................................................................................. มากผูลงทุนจะลงทุนในธุรกิจที่เสี่ยงมากขึ้น .................................................................................................................

.................................................................................................................

๔. การคาดคะเนเกี่ยวกับเหตุการณตางๆ

ในอนาคต เมื่อนักลงทุนคาดการณวา ภาวะ ................................................................................................................. เศรษฐกิจในอนาคตจะขยายตัวเพิ่มมากขึ้น .................................................................................................................

.................................................................................................................

อยางตอเนื่อง ธุรกิจตางๆ จะจําหนายสินคา .................................................................................................................

.................................................................................................................

และบริการไดมากขึ้น .................................................................................................................

.................................................................................................................

.................................................................................................................

ตรวจสอบผล

Evaluate

ครูตรวจสอบผลงาน การวางแผนการออมและ การลงทุนของครอบครัว โดยพิจารณาความเปนไป ไดของบัญชีครัวเรือน ความเหมาะของเงินออมกับ การลงทุน โครงการลงทุน ๒๕

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

หากธนาคารพาณิชยปรับเพิ่มอัตราดอกเบี้ยเงินฝากใหสูงขึ้นสงผลดีในดานใด 1. การออม 2. การลงทุน 3. การทําธุรกิจ 4. คาเงินบาทแข็งคาขึ้น

วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 1. เพราะการปรับดอกเบี้ยเงินฝากเพิ่มขึ้น เปนการสรางแรงจูงใจในการออมสําหรับผูมีเงินออม เพราะไดรับผลตอบแทน เพิ่มขึ้น แตในทางตรงกันขามผูประกอบการที่ตองกูเงินจากสถาบันการเงินมา ทําธุรกิจ ตองไดรับผลกระทบจากภาระดอกเบี้ยที่เพิ่มขึ้น เปนสาเหตุหนึ่งที่ ทําใหนักลงทุน ผูประกอบการชะลอการลงทุน

เกร็ดแนะครู ครูแนะนําใหนักเรียนนําความรูเกี่ยวกับการออมและการลงทุนไปใชในชีวิต ประจําวัน โดยการสรางนิสัยการออมที่ดี มีการวางแผนการใชเงิน มีการทําบันทึก รายรับ-รายจาย และปรับปรุงตนเองเมื่อมีการใชจายฟุมเฟอย เพื่อในอนาคต นักเรียนจะไดมีเงินออมและสามารถนําเงินเหลานั้นมาสรางความมั่นคงใหกับตนเอง และครอบครัว

นักเรียนควรรู 1 สูญเสียเงินออม การสูญเสียเงินออมจากการลงทุนอาจเกิดจากมูลคาของ หลักทรัพยที่ซื้อมาลดลง เชน หลักทรัพยที่ซื้อมามีมูลคาหุนละ 10 บาท เมื่อเกิด เศรษฐกิจตกตํ่า มูลคาหุนอาจลดลงเหลือหุนละ 8 บาท ก็ทําใหเงินออมลดลงไป ตามมูลคาของหุนที่ลดลง คูมือครู

25


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

Engage

Explore

Explain

Expand

ตรวจสอบผล

ตรวจสอบผล Evaluate ตรวจสอบผล Evaluate

Evaluate

ครูตรวจความถูกตองจากการตอบคําถาม ประจําหนวยการเรียนรู

¤ íÒ¶ÒÁ»ÃШ íÒ˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ ๑. การออมคืออะไร การออมจะกอใหเกิดประโยชนตอครัวเรือนและเศรษฐกิจของประเทศ อยางไร ๒. ครัวเรือนจะมีการออมมากหรือนอย ขึ้นอยูกับปจจัยอะไรบาง ๓. ในครอบครัวของนักเรียนมีการออมหรือไม และมีวัตถุประสงคเพื่ออะไร ๔. ปญหาการออมในสังคมไทยมีอะไรบาง และมีวิธีการแกไขอยางไร ๕. การลงทุนกอใหเกิดประโยชนแกผูออม ธุรกิจและประเทศอยางไร ๖. การลงทุนแบงออกเปนกี่ประเภท อะไรบาง ๗. หลักเกณฑที่ควรคํานึงถึงในการลงทุนมีอะไรบาง ๘. ปจจัยอะไรบางที่เปนตัวกําหนดในการลงทุน ๙. การบริหารจัดการการลงทุนของครัวเรือนมีลักษณะอยางไร ๑๐. การกระจายการลงทุนมีความจําเปนหรือไม และจะไดรับผลประโยชนอยางไร

หลักฐานแสดงผลการเรียนรู 1. ผลงานกลุมการปลูกฝงคานิยมการออม 2. ผลงานการวางแผนเงินออมและการลงทุน ของครอบครัว

¡Ô¨¡ÃÃÁÊÌҧÊÃä ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ กิจกรรมที่ ๑

ใหนักเรียนจัดทํารายรับ รายจาย ของครัวเรือนในเดือนใดเดือนหนึ�ง และให วิเคราะหวา มีคา ใชจา ยประเภทใดบางทีเ่ ปนรายจายที่ไมจาํ เปน และมีวธิ กี าร ลดคาใชจายเหลานั้นไดอยางไร โดยบันทึกลงในกระดาษ A๔

กิจกรรมที่ ๒

ใหนักเรียนรวมกันอภิปรายและวิเคราะหถึงปจจัยที่มีผลตอการลงทุนและ การออมในประเด็น “ครัวเรือนควรเลือกลงทุนอยางไรจึงจะเหมาะสม”

กิจกรรมที่ ๓

ใหนกั เรียนนําขาว บทความ เกีย่ วกับสถานการณการลงทุนของไทยในปจจุบนั มาวิเคราะหสถานการณ แนวโนม ของการลงทุนของไทยและวิเคราะหถึง ผลกระทบตอเศรษฐกิจของไทยโดยรวม

๒๖

แนวตอบ คําถามประจําหนวยการเรียนรู 1. การออม คือ รายไดที่เหลือจากการใชจาย การออมมีประโยชน เชน ในภาคครัวเรือน ทําใหเปนคนใชจายอยางประหยัด ทําใหมีเงินออมสวนหนึ่งไวใชจายในยามฉุกเฉิน เพื่อความมั่นคงในอนาคต ในภาคเศรษฐกิจ ทําใหมีแหลงเงินทุนของธุรกิจตางๆ เปนแหลงเงินกูภายในประเทศใหกับรัฐบาล เพื่อนําไปใชในการพัฒนาเศรษฐกิจประเทศ 2. ปจจัยสําคัญในการออมภาคครัวเรือน เชน รายไดสวนบุคคล ผูมีรายไดมากจะมีโอกาสในการออมมากกวาผูมีรายไดนอย 3. นักเรียนตอบตามความเปนจริง เชน ในครอบครัวมีการออมเงิน เพื่อเก็บไวเปนทุนการศึกษาของสมาชิกในครอบครัว ไวทองเที่ยว เพื่อไวใชจายในคราวฉุกเฉิน เปนตน 4. ปญหาการออม เชน ประชาชนมีรายไดตํ่า แนวทางแกไข เชน ปลูกฝงคานิยมในการออม นําหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใชในการดําเนินชีวิตประจําวัน 5. ประโยชนจากการลงทุน เชน ผูออม ไดรับผลตอบแทนเปนดอกเบี้ย ภาคธุรกิจ มีแหลงเงินทุนในการลงทุนทางธุรกิจ เกิดการขยายงาน การจางงาน ประเทศ ทําใหรัฐจัดเก็บรายไดไดมากขึ้น มีแหลงเงินกูในการพัฒนาประเทศ 6. การลงทุนแบงออกเปน 3 ประเภท ไดแก การลงทุนเพื่อการบริโภค การลงทุนในภาคธุรกิจ และการลงทุนในหลักทรัพย 7. หลักเกณฑในการลงทุน เชน ไดรับผลตอบแทนที่คุมคา ความเสี่ยง ความปลอดภัยของเงินทุน 8. ปจจัยกําหนดการลงทุน เชน รายไดและเงินออมของครอบครัว ผลตอบแทนและความเสี่ยง การคาดการณเหตุการณตางๆ ในอนาคต เปนตน 9. มีการกําหนดวัตถุประสงคที่ชัดเจน วางแผนการลงทุน วิเคราะหและเลือกหลักทรัพยในการลงทุน และประเมินผลการลงทุน 10. การกระจายการลงทุนมีความจําเปน เพราะผูลงทุนจะตองกระจายความเสี่ยงในการลงทุน และการกระจายการลงทุนจะทําใหเงินลงทุนไมกระจุกตัวอยูกับธุรกิจใด ธุรกิจหนึ่ง เปนการกระจายความเจริญไปในที่ตางๆ

26

คูมือครู


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.