8858649121394

Page 1

คูมือครู 㪌»ÃСͺ¡ÒÃÊ͹ËÇÁ¡Ñº

˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ©ºÑº Í- .

·Õè ȸ. ¨Ð»ÃСÒÈÃÒ¡Òú¹àÇçºä«µ µÑé§áµ‹ Á. ¤. ’55 ໚¹µŒ¹ä»

ภาพปกนี้มีขนาดเทากับหนังสือเรียนฉบับจริงของนักเรียน


เอกสารประกอบคูมือครู

กลุมสาระการเรียนรู ภาษาไทย

รายวิชา

หลักภาษา และการใชภาษา

ู ร ค หรับ

สํา

ชั้นมัธยมศึกษาปที่ เอกสารหลักสูตรแกนกลางฯ ’51 ประกอบดวย ● ● ● ● ●

คําแนะนําการใชคูมือครู แถบสี/สัญลักษณที่ใชสื่อความหมายในคูมือครู ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง คําอธิบายรายวิชา ตารางวิเคราะหเนื้อหากับมาตรฐานการเรียนรู และตัวชี้วัด

ตารางแสดงความแตกตางระหวาง “ คูมือครู ” กับ “ หนังสือเรียน * ” ความแตกตาง

ขนาดตัวอักษร ปกดานหลัง ระบบการจัดพิมพ สวนเสริมดานหนา

คูมือครู ยอลงจากปกติ 20%

พิมพ 4 สี มี เอกสารหลักสูตร คําอธิบายรายวิชา มี กิจกรรมแบบ 5E ความรูเสริมสําหรับครู พิมพสอดแทรกไวตลอดทั้งเลม ●

หนังสือเรียน ขนาดปกติ 100% : ตัวอักษรใหญกวา ที่พิมพในคูมือครูนี้ มีใบอนุญาต/ใบประกันคุณภาพ พิมพ 4 สี

-

เนื้อหาในเลม

● ●

* ที่ ศธ. อนุญาตใหโรงเรียนใชได

มีเฉพาะเนื้อหาสาระตามที่ ศธ. อนุญาตฯ/สนพ.ประกันคุณภาพ

3


คําแนะนําการใชคูมือครู

: การจัดการเรียนรูสูหองเรียนคุณภาพ

คูมือครู ภาษาไทย ม.3 จัดทําขึ้นเพื่ออํานวยความสะดวกแกครูผูสอนในการวางแผนและเตรียมการสอน โดยใชหนังสือเรียน ภาษาไทย ม.3 ของบริษัท อักษรเจริญทัศน อจท. จํากัด เปนสื่อหลัก (Core Material) เสร�ม ประกอบการออกแบบกิจกรรมการเรียนรูใหสอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดกลุมสาระการเรียนรู 2 ภาษาไทย ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 โดยจัดทําตามหลักการสําคัญ ดังนี้

1. ออกแบบการสอนเปนหนวยการเรียนรูอิงมาตรฐาน

คูมือครู ภาษาไทย หลักภาษาและการใชภาษา ม.3 จัดทําเปนหนวยการเรียนรูตามลําดับสาระการเรียนรู ที่ระบุไวในมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัด แตละหนวยจะกําหนดเปาหมายการสอนและจุดประสงคการเรียนรู (Objective Learning) กิจกรรมการเรียนรู (Learning Activities) และแนวทางการประเมินผลการเรียนรู (Learning Evaluation)ไวชัดเจน ครูผูสอนสามารถจัดทําแผนการสอนใหครอบคลุมมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดที่เปน เปาหมายการเรียนรูของแตละหนวยการเรียนรู (ตามแผนภูมิ) และสามารถบันทึกผลการจัดการเรียนการสอนได อยางมั่นใจ

นรู

สภ

าพ

ผู

จุดป

ระส

เรีย

งค

รีย า รเ

มาตรฐานการเรียนรู ตัวชี้วัดชั้นป

ทักษะการคิด การวัดประเมินผล การเรียนรู

กิจกรรมการเรียนรู

เทคนิคการสอน

แผนภูมิแสดงองคประกอบของการออกแบบการเรียนรูอิงมาตรฐานและเนนผูเรียนเปนสําคัญ

2. การจัดการเรียนรูที่ยึดผูเรียนเปนสําคัญ

แนวคิดในการจัดการเรียนการสอนที่ยึดผูเรียนเปนสําคัญ พัฒนามาจากปรัชญาและทฤษฎีการเรียนรู Constructivism ที่เชื่อวาการเรียนรูเปนกระบวนการที่เกิดขึ้นภายในสมองของผูเรียนแตละคน ผูเรียนเปนผูสราง ความรูโดยการเชื่อมโยงระหวางสิ่งที่ไดพบเห็นกับความรูหรือประสบการณเดิมที่มีอยู คูม อื ครู


ทฤษฎีนี้มีความเชื่อวา นักเรียนทุกคนไดเรียนรูและมีความรูความเขาใจสิ่งตางๆ ติดตัวมากอนที่จะเขาสู หองเรียน ซึง่ เปนการเรียนรูท เี่ กิดจากบริบทและสิง่ แวดลอมรอบตัวนักเรียนแตละคน ดังนัน้ การจัดกระบวนการเรียนรู เสร�ม ในแตละบทเรียน ผูสอนจะตองคํานึงถึง

3

1) ความรูเดิมของนักเรียน การสอนที่ดีจึงตองเริ่มตนจากจุดที่วา นักเรียนมีความรูอะไรมาบาง แลวจึงให ความรูห รือประสบการณใหมเพือ่ ตอยอด จากความรูเดิม

2) ความรูเ ดิมของนักเรียนถูกตอง หรือไม ผูสอนตองปรับเปลี่ยนความรู ความเขาใจเดิมของนักเรียนใหถูกตอง และเปนพฤติกรรมการเรียนรูใหมที่มี คุณคาตอนักเรียน เพื่อสรางเจตคติหรือ ทัศนคติที่ดีตอการเรียน

3) นั ก เรี ย นสร า งความหมาย สําหรับตนเอง ผูสอนตองสงเสริมให นักเรียนนําขอมูลความรูที่ไดไปลงมือ ปฏิ บั ติ และประยุ ก ต ใ ช ค วามรู  อ ย า ง ถู ก ต อ ง ในบริ บ ทที่ เ ป น จริ ง ของชี วิ ต นักเรียน เพื่อขยายความรูใหลึกซึ้งและ มีคุณคาตอตัวนักเรียนมากที่สุด

แนวคิด Constructivism เนนใหผูเรียนสรางความรูโดยผานกระบวนการคิดและความอยากรูของตนเอง โดยมีผูสอนเปนผูสรางบรรยากาศการเรียนรูและกระตุนความสนใจ คอยจัดสถานการณใหผูเรียนเกิดความ ขัดแยงทางความคิดระหวางประสบการณเดิมกับประสบการณความรูใหม ผูเรียนจะพยายามปรับขอมูลใหม กับประสบการณที่มีมอี ยูเดิม แลวสรางเปนความรูใหมหรือแนวคิดใหมๆ ไดดวยตนเอง

3. การบูรณาการกระบวนการคิด

การเรียนรูข องนักเรียนแตละคนจะเกิดขึน้ ทีส่ มอง ซึง่ ทําหนาทีร่ คู ดิ ภายใตสภาพแวดลอมทีเ่ อือ้ อํานวยและได รับการกระตนุ จูงใจอยางเหมาะสมสอดคลองกับสภาพจิตใจและความตองการของนักเรียน การจัดกระบวนการเรียนรู และสาระการเรียนรูท มี่ คี วามหมายตอผูเ รียน จะชวยกระตนุ ใหสมองรับรูแ ละสามารถเรียนรูไ ดอยางมีประสิทธิภาพ ตามขั้นตอนการทํางานของสมอง ดังนี้ 1) สมองจะเรียนรูและสืบคนโดย 2) สมองจะแยกแยะคุ ณค าของ การสังเกต คนหา ซักถาม และทดลอง สิง่ ตางๆ โดยการลงมติ ตัดสินใจ วิพากษ ปฏิบัติ จนคนพบความรูความเขาใจได วิจารณ แสดงความคิดเห็น ยอมรับหรือ อยางรวดเร็ว ตอตานตามอารมณความรูสึกที่เกิดขึ้น ในขณะที่เรียนรู

3) สมองจะประมวลเนื้อหาสาระ โดยการสรุปเปนความคิดรวบยอดจาก เรื่องราวที่ไดเรียนรูใหมนําไปผสมผสาน กับความรูหรือประสบการณเดิมที่ถูกจัด เก็บอยูในสมอง ผานการกลั่นกรองเพื่อ สังเคราะหเปนความรูความเขาใจใหมๆ หรือเปนเหตุผลทัศนคติใหมที่จะฝงแนน ในสมองของผูเรียน คูม อื ครู


เสร�ม

การเรียนรูที่มีประสิทธิภาพจึงตองเปนการเรียนรูที่เกิดจากกระบวนการคิดของผูเรียน เพราะการเรียนรูจะ เกิดขึ้นเมื่อสมองรูคิด และตองเปนการคิดไดครบถวนตามขั้นตอนการทํางานของสมองผูเรียน โดยเริ่มตนจาก

4

1) ระดับการคิดขั้นพื้นฐาน ไดแก 2) ระดับลักษณะการคิด ไดแก 3) ระดับกระบวนการคิด ไดแก การสังเกต การจําแนก การคาดคะเน การคิดกวาง คิดลึกซึ้ง คิดหลากหลาย กระบวนการคิ ด อย า งมี วิ จ ารณญาณ การสื่อความหมาย การรวบรวมขอมูล คิดไกล คิดคลอง คิดอยางมีเหตุผล กระบวนการแกปญหา กระบวนการคิด การสรุปผล เปนตน เปนตน สรางสรรค กระบวนการคิดสังเคราะห วิจัย เปนตน

4. การบูรณาการกระบวนการเรียนรูพื้นฐานอาชีพ

กระทรวงศึกษาธิการมีนโยบายสงเสริมการเรียนพื้นฐานอาชีพในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อเสริมสราง ทักษะที่จําเปนสําหรับการประกอบอาชีพ และดํารงชีวิตในสังคมทองถิ่นของผูเรียนอยางมีความสุข และเปนการ เตรียมความพรอมดานกําลังคนใหมีทักษะพื้นฐาน และศักยภาพในการทํางานเพื่อการแขงขันและกาวสูประชาคม อาเซียนหรือประชาคมโลกตอไป 4.1 ทักษะพื้นฐานเพื่อการประกอบอาชีพ การจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาผูเรียนในรายวิชาพื้นฐาน ทุกกลุมสาระการเรียนรูและทุกระดับชั้นเรียน ผูสอนควรบูรณาการประสบการณ เรียนรูพื้นฐานอาชีพควบคู ไปกับการเรียนการสอนดานวิชาการ โดยฝกทักษะสําคัญตามที่สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา (สวก.) สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) เสนอแนะไว ดังนี้ 1. ฝกทักษะกระบวนการคิด มีการวางแผนตลอดแนว เพื่อศึกษาขอมูลอาชีพ 2. ฝกการตัดสินใจอยางเปนระบบ โดยใชขอมูลจากการศึกษา คนควา แหลงเรียนรูในชุมชน เพื่อลด ความเสี่ยงในการลงทุน และเพิ่มความมั่นใจเรื่องการตลาด 3. ฝกกระบวนการวางแผน การผลิตและการจัดจําหนายโดยนักเรียนคิดตนทุน กําไร ดวยตนเอง 4. ฝกการเรียนรูเรื่องคุณธรรม จริยธรรม ดานการประกอบอาชีพ และการทํางานกลุมโดยมีจิตอาสา เพื่อสวนรวม 5. ฝกการทํางานอยางมีประสิทธิภาพ มีการประเมินผล ปรับปรุง พัฒนา และสรางสรรคตอ ยอดผลผลิต 6. ฝกการเสริมสรางความเชื่อมั่น ความเพียรพยายาม เห็นคุณคาและภาคภูมิใจในตนเอง (Self Esteem) ในการประกอบอาชีพ และเจตคติในพื้นฐานทางอาชีพ การจัดการเรียนการสอนทีใ่ หผเู รียนไดลงมือปฏิบตั ทิ กั ษะดังกลาว จะชวยใหผเู รียนไดรบั ประสบการณจริง มีทักษะ ความสามารถ และความชํานาญในการทํางานที่จะใชในการประกอบอาชีพและเปนแรงงานที่มีคุณภาพ เขาสูตลาดแรงงานในอนาคต

คูม อื ครู


4.2 การจัดกระบวนการเรียนรูพื้นฐานอาชีพ การจัดกระบวนการเรียนรูมีความสําคัญอยางยิ่งที่จะชวยให นักเรียนมีการพัฒนาทั้งดานความรู ทักษะ และคุณลักษณะตามเปาหมายของหลักสูตร การพัฒนาผูเรียน ดานทักษะพื้นฐานอาชีพตองอาศัยกระบวนการเรียนรูที่หลากหลายเปนเครื่องมือที่จะนําไปสูคุณภาพที่ตองการ เสร�ม เทคนิควิธีการตางๆ ที่ผูสอนจะตองพิจารณาใหเหมาะสมกับเนื้อหาวิชาและวัยของผูเรียน โดยใหความสําคัญกับ 5 การฝกปฏิบัติ และเนนการวัดประเมินผลจากการปฎิบัติตามสภาพจริง ดวยวิธีการที่จัดกิจกรรมการบูรณาการ ใหเหมาะสมกับวัยและระดับชั้นของผูเรียน สอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรู และตัวชี้วัดของกลุมสาระตางๆ ที่กําหนดไวในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 การวิเคราะหมาตรฐานและตัวชี้วัดที่จะนําไป จัดเนื้อหาความรูและทักษะ เพื่อพัฒนาผูเรียนดานพื้นฐานอาชีพ ดังตัวอยางตอไปนี้ 1. กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย กลมุ สาระการเรียนรูภ าษาไทยมุง เนนการพัฒนาใหผเู รียนมีความรูค วามสามารถในการใชภาษาไทย เพื่อการสื่อสาร เปนเครื่องมือในการเรียนรู การแสวงหาความรูและประสบการณตางๆ เพื่อพัฒนาความรู กระบวนการคิดวิเคราะห วิจารณ และสรางสรรคใหทันตอการเปลี่ยนแปลงของสังคม และความกาวหนาทาง วิทยาศาสตร เทคโนโลยี จึงเปนกลุมสาระการเรียนรูที่เปนทักษะพื้นฐานการประกอบอาชีพทุกอาชีพ ตัวชี้วัดที่ สามารถนํามาพัฒนาทักษะอาชีพ เชน ท 2.1 ม.1/8 เขียนรายงานการศึกษาคนควาและโครงงาน ท 1.1 ม.4-6/8 สังเคราะหความรูจากการอานสื่อสิ่งพิมพ สื่ออิเล็กทรอนิกส และแหลงเรียนรู ตางๆ มาพัฒนาตน พัฒนาการเรียน และพัฒนาความรูทางอาชีพ ท 2.1 ม.4-6/4 ผลิตงานเขียนของตนเองในรูปแบบตางๆ ท 2.1 ม.4-6/5 ประเมินงานเขียนของผูอื่น แลวนํามาพัฒนางานเขียนของตนเอง การจัดการเรียนการสอนตามตัวชี้วัดดังกลาวขางตน จะเปนทักษะพื้นฐานของการนําไปสูอาชีพ ทุกอาชีพ และเปนการปูทางไปสูอาชีพเฉพาะเกี่ยวกับการเขียน เชน นักเขียน นักประพันธ นักหนังสือพิมพ นักวิจารณ เปนตน 2. กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรมุงเนนการพัฒนาผูเรียนในการเชื่อมโยงความรูกับกระบวนการ มีทักษะสําคัญในการคนควาและสรางองคความรู พัฒนาวิธีการคิด ทั้งความคิดที่เปนเหตุเปนผล คิดสรางสรรค คิดวิเคราะห วิจารณ โดยใชกระบวนการในการสืบเสาะหาความรู การแกปญหาที่หลากหลาย เพื่อใหมีความรู ความเขาใจในธรรมชาติและเทคโนโลยี นําความรูไปใชอยางมีเหตุผล มีคุณธรรม และอยูในสังคมแหงการเรียนรู ไดอยางเหมาะสม โดยมีมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดที่เปนพื้นฐานของการประกอบอาชีพตางๆ มากมาย เชน

คูม อื ครู


ว 1.1 ม.1/13

อธิบายหลักการและผลของการใชเทคโนโลยีชีวภาพในการขยายพันธุ ปรับปรุง พันธุและเพิ่มผลผลิตของพืช และนําความรูไปใชประโยชน ว 1.1 ม.2/4 อธิบายหลักการและผลของการใชเทคโนโลยีชีวภาพในการขยายพันธุ ปรับปรุง เสร�ม 6 พันธุและเพิ่มผลผลิตของสัตว และนําความรูไปใชประโยชน ว 1.2 ม.4-6/3 สืบคนขอมูลและอภิปรายผลของเทคโนโลยีชวี ภาพทีม่ ตี อ มนุษย และสิง่ แวดลอม และนําความรูไปใชประโยชน การจัดการเรียนการสอนตามตัวชี้วัดดังกลาวขางตนจะเปนทักษะพื้นฐานของการนําไปสูอาชีพที่ เกี่ยวกับเกษตรกร วิทยาศาสตร การเกษตร นักวิจัย เปนตน 3. กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมมุงเนนการพัฒนาใหผูเรียนมีความรู ความเขาใจเกีย่ วกับการดํารงชีวติ ของมนุษย การอยูร ว มกันในสังคมทีม่ คี วามเชือ่ มโยงสัมพันธกนั มีความแตกตางกัน อยางหลากหลาย สามารถจัดการทรัพยากรที่มีอยูอยางจํากัด และเขาใจการเปลี่ยนแปลง เพื่อชวยใหสามารถปรับ ตนเองกับบริบท และสภาพแวดลอม เปนพลเมืองดี มีความรับผิดชอบ มีความรู ทักษะ คุณธรรม และคานิยมที่ เหมาะสม มีมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดที่เปนพื้นฐานของการประกอบอาชีพตางๆ เชน ส 4.3 ม.1/3 วิเคราะหอทิ ธิพลของวัฒนธรรมและภูมปิ ญ ญาไทยสมัยสุโขทัยและสังคมไทยใน ปจจุบัน ส 4.3 ม.2/3 ระบุภูมิปญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยอยุธยาและธนบุรี และอิทธิพลของ ภูมิปญญาดังกลาว ตอการพัฒนาชาติไทยในยุคตอมา ส 4.3 ม.3/3 วิเคราะหภูมิปญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร และอิทธิพลตอการ พัฒนาชาติไทย ส 4.3 ม.4-6/3 วางแผนกําหนดแนวทางและการมีสวนรวมในการอนุรักษภูมิปญญาไทยและ วัฒนธรรมไทย การจัดการเรียนการสอนตามตัวชีว้ ดั ดังกลาวขางตนจะเปนทักษะพืน้ ฐาน และสรางเจตคติตอ อาชีพ เกีย่ วกับภูมปิ ญ ญาไทยในทองถิน่ เชน นักโบราณคดี นักประวัตศิ าสตร แพทยแผนโบราณ นวดแผนไทย ชางทอผา จักสาน นักดนตรีไทย การทําขนมหรืออาหารไทย ฯลฯ และเปนรากฐานของการศึกษาเพื่อพัฒนาตอยอดอาชีพ ที่มีฐานของภูมิปญญาไทย

คูม อื ครู


4. กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยีมุงพัฒนาใหผูเรียนมีฐานความรูความสามารถ และทักษะทีจ่ าํ เปนสําหรับนําไปปรับใชในการประกอบอาชีพและการศึกษาตอในสาขาอาชีพตางๆ ไดอยางหลากหลาย เสร�ม รวมทั้งใหเห็นแนวทางในการประกอบอาชีพและการศึกษาตอตามความรู ความถนัดและความสนใจ มาตรฐาน 7 และตัวชี้วัดของกลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยีสวนใหญมีลักษณะเปนทักษะกระบวนการทํางาน ซึง่ ผูส อนสามารถจัดเนือ้ หาและกิจกรรมการสอนใหสอดคลองกับความตองการของผูเ รียนและทองถิน่ ได เพือ่ พัฒนา ไปสูการประกอบอาชีพตางๆ เชน ง 1.1 ม.4-6/2 สรางผลงานอยางมีความคิดสรางสรรค และมีทักษะการทํางานรวมกัน ง 1.1 ม.4-6/7 ใชพลังงาน ทรัพยากรในการทํางานอยางคุมคาและยั่งยืน เพื่อการอนุรักษ สิ่งแวดลอม ง 4.1 ม.2/3 มีทักษะพื้นฐานที่จําเปนสําหรับการประกอบอาชีพที่สนใจ ง 4.1 ม.3/3 ประเมินทางเลือกในการประกอบอาชีพที่สอดคลองกับความรู ความถนัด และ ความสนใจของตนเอง ง 4.1 ม.4-6/2 เลือกและใชเทคโนโลยีอยางเหมาะสมกับอาชีพ ง 4.1 ม.4-6/3 มีประสบการณในอาชีพที่ถนัดและสนใจ การจัดรายวิชาพื้นฐานในกลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยีจึงสามารถดําเนินการ ไดอยางหลากหลาย ทัง้ อาชีพในกลมุ เกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม ความคิดสรางสรรค และการบริหาร จัดการและการบริการ ตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ และสอดคลองกับบริบทของทองถิ่น ความพรอม ของสถานศึกษา และความตองการของผูเรียนเปนสําคัญ เพือ่ เปนแนวทางการพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนใหสนองตามนโยบายการจัดการเรียนการสอน พื้นฐานอาชีพในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานของรัฐบาลและกระทรวงศึกษาธิการ ผูจัดทําจึงวิเคราะหมาตรฐาน การเรียนรูและตัวชี้วัดในสาระภาษาไทย ที่สอดคลองกับทักษะปฏิบัติเพื่อเตรียมความพรอมดานพื้นฐานอาชีพ โดยเสนอแนะกิจกรรมการเรียนรูไวเปนแนวทางในการจัดการเรียนการสอนบูรณาการประสบการณการทํางาน แกผูเรียน ใหบรรลุเจตนารมยของ พ.ร.บ. การศึกษาฯ พ.ศ. 2542 มาตรา 7 ที่ระบุใหการจัดการศึกษาตองปลูกฝง ใหเยาวชนมีความรูอันเปนสากล มีจิตสํานึกในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ตลอดจนมี ความสามารถในการประกอบอาชีพ รูจักพึ่งตนเอง และมีความคิดสรางสรรค เพื่อการดํารงชีวิต การศึกษาตอและ การประกอบอาชีพอยางมีคุณภาพของผูเรียนตอไปในอนาคต

คูม อื ครู


5. การใชวัฏจักรการเรียนรู 5E

รูปแบบการสอนที่สัมพันธกับกระบวนการคิดและการทํางานของสมองของผูเรียนที่นิยมใชอยางแพรหลาย เสร�ม คือ วัฏจักรการเรียนรู 5E ซึ่งผูจัดทําคูมือครูไดนํามาใชเปนแนวทางออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนในคูมือครู 8 ฉบับนี้ตามลําดับขั้นตอนการเรียนรู ดังนี้ ขั้นที่ 1 กระตุนความสนใจ (Engage) เปนขัน้ ทีผ่ สู อนนําเขาสูบ ทเรียน เพือ่ กระตุน ความสนใจของนักเรียนดวยเรือ่ งราว หรือเหตุการณทนี่ า สนใจ โดยใชเทคนิควิธกี ารสอนและคําถามทบทวนความรูห รือประสบการณเดิมของผูเ รียน เพือ่ เชือ่ มโยงผูเ รียนเขาสู บทเรียนใหม ชวยใหนักเรียนสามารถสรุปประเด็นสําคัญที่เปนหัวขอการเรียนรูของบทเรียนได จึงเปนขั้นตอน การสอนที่สําคัญ เพราะเปนการเตรียมความพรอมและสรางแรงจูงใจใฝเรียนรูแกผูเรียน ขั้นที่ 2 สํารวจคนหา (Explore) เปนขั้นที่ผูสอนเปดโอกาสใหผูเรียนสังเกต และรวมมือกันสํารวจ เพื่อใหเห็นปญหา รวมถึงวิธีการศึกษา คนควาขอมูลความรูที่จะนําไปสูความเขาใจประเด็นปญหานั้นๆ เมื่อนักเรียนทําความเขาใจในประเด็นหัวขอที่จะศึกษาคนควาอยางถองแทแลว ก็ลงมือปฏิบัติเพื่อเก็บ รวบรวมขอมูลความรู สํารวจตรวจสอบ โดยวิธกี ารตางๆ เชน สัมภาษณ ทดลอง อานคนควาขอมูลจากเอกสาร แหลงขอมูลตางๆ จนไดขอมูลความรูตามที่ตั้งประเด็นศึกษาไว ขั้นที่ 3 อธิบายความรู (Explain) เปนขั้นที่ผูสอนมีปฏิสัมพันธกับผูเรียน เชน ใหการแนะนํา ตั้งคําถามกระตุนใหคิด เพื่อใหผูเรียนไดคนหา คําตอบ และนําขอมูลความรูจากการศึกษาคนควาในขั้นที่ 2 มาวิเคราะห แปลผล สรุปผล และนําเสนอผล ที่ไดศึกษาคนความาในรูปแบบสารสนเทศตางๆ เชน เขียนแผนภูมิ แผนผังแสดงมโนทัศน เขียนความเรียง เขียนรายงาน เปนตน สมองของผูเรียนจะทําหนาที่คิดวิเคราะห สังเคราะหอยางเปนระบบ ขั้นที่ 4 ขยายความเขาใจ (Expand) เปนขั้นที่ผูสอนไดใชเทคนิควิธีการสอนที่ชวยพัฒนาผูเรียนใหนําความรูที่เกิดขึ้นไปคิดคนตอๆ ไป เพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรูและการทํางานรวมกันเปนกลุม ระดมสมองเพื่อคิดสรางสรรครวมกัน นักเรียนสามารถนําความรูที่สรางขึ้นใหมไปเชื่อมโยงกับประสบการณเดิมโดยนําขอสรุปที่ไดไปอธิบาย ในเหตุการณตางๆ หรือนําไปปฏิบัติในสถานการณใหมๆ ที่เกี่ยวของกับชีวิตประจําวันของตนเอง เพื่อขยาย ความรูค วามเขาใจใหกวางขวางยิง่ ขึน้ สมองของผูเ รียนทําหนาทีค่ ดิ ริเริม่ สรางสรรคอยางมีคณ ุ ภาพ เสริมสราง วิสัยทัศนใหกวางไกลออกไป คูม อื ครู


ขั้นที่ 5 ตรวจสอบผล (Evaluate) เปนขั้นที่ผูสอนประเมินมโนทัศนของผูเรียน โดยตรวจสอบจากความคิดที่เปลี่ยนไปและความคิดรวบยอด ที่เกิดขึ้นใหม ตรวจสอบทักษะ กระบวนการปฏิบัติ การแกปญหา การตอบคําถามรวบยอด และการเคารพ ความคิดหรือยอมรับเหตุผลของคนอื่นเพื่อการสรางสรรคความรูรวมกัน นักเรียนสามารถประเมินผลการเรียนรูของตนเอง เพื่อสรุปผลวานักเรียนมีความรูอะไรเพิ่มขึ้นมาบาง มากนอยเพียงใด และจะนําความรูเหลานั้นไปประยุกตใชในการเรียนรูเรื่องอื่นๆ ไดอยางไร นักเรียนจะเกิด เจตคติและเห็นคุณคาของตนเองจากผลการเรียนรูที่เกิดขึ้น ซึ่งเปนการเรียนรูที่มีความสุขอยางแทจริง

เสร�ม

9

การจัดกิจกรรมการเรียนรูตามวัฏจักรการสรางความรูแบบ 5E จึงเปนรูปแบบการเรียนการสอนที่เนน ผูเรียนเปนสําคัญ โดยสงเสริมใหผูเรียนใชกระบวนการสรางความรูดวยตนเอง และฝกฝนใหใชกระบวนการคิดและ กระบวนการกลุมอยางชํานาญ กอใหเกิดทักษะการเรียนรูและทักษะชีวิตที่มีคุณภาพ ตามเปาหมายของการปฏิรูป การศึกษาทศวรรษที่ 2 (พ.ศ. 2552-2561) ทุกประการ คณะผูจัดทํา

คูม อื ครู


แถบสีและสัญลักษณ ที่ใชสื่อความหมายในคูมือครู 1. แถบสี

แถบสีแสดงขั้นตอนการสอนและการจัดกิจกรรม แบบ 5E เพื่อใหครูทราบวาเปนขั้นการสอนขั้นใด

เสร�ม

10

สีแดง

สีเขียว

สีสม

กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

เปนขั้นที่ผูสอนเลือกใช เทคนิคกระตุนความ สนใจ เพื่อโยงเขาสู บทเรียน

Explore

เปนขั้นที่ผูสอนให ผูเรียนสํารวจปญหา และศึกษาขอมูล

Explain

เปนขั้นที่ผูสอนให ผูเรียนคนหาคําตอบ จนเกิดความรูเชิง ประจักษ

สีฟา

สีมวง

ขยายความเขาใจ Expand

เปนขั้นที่ผูสอนให ผูเรียนนําความรูไป คิดคนตอๆ ไป

ตรวจสอบผล Evaluate

เปนขั้นที่ผูสอน ประเมินมโนทัศน ของผูเรียน

สัญลักษณ

2. สัญลักษณ

วัตถุประสงค

เปาหมาย การเรียนรู

คูม อื ครู

• แสดงเปาหมาย การเรียนรูที่ นักเรียนตอง บรรลุตาม ตัวชี้วัด

หลักฐาน เกร็ดแนะครู แสดงผล การเรียนรู • แสดงรองรอย หลักฐานที่ แสดงผล การเรียนรู ตามตัวชี้วัด

นักเรียน ควรรู

B

@

NET

B

มุม IT

ขอสอบ

พื้นฐาน อาชีพ

• แทรกความรู • ขยายความรู • แนะนําแหลง • วิเคราะหแนว • กิจกรรม เสริมสําหรับครู เพิ่มเติมจาก คนควาจาก ขอสอบ O-NET สําหรับครู ขอเสนอแนะ เนื้อหา เพื่อให เว็บไซต เพื่อให เพือ่ ใหครู เพือ่ ใชเปน ขอควรระวัง นักเรียนไดมี ครูและนักเรียน เนนยํ้าเนื้อหา แนวทางใน ขอสังเกต ความรูม ากขึ้น ไดเขาถึงขอมูล ที่มักออก การชวยพัฒนา แนวทางการ ความรูที่ ขอสอบ O-NET อาชีพใหกับ จัดกิจกรรม หลากหลาย • ขอสอบ O-NET นักเรียน และอื่นๆ พิจารณาออก เพื่อประโยชน ขอสอบจาก ในการจัดการ เนื้อหา ม.1, 2 เรียนการสอน และ 3


ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง (เฉพาะชั้น ม.3)* สาระที่ 1 การอาน

มาตรฐาน ท 1.1 ใชกระบวนการอานสรางความรูและความคิดเพื่อนําไปใชตัดสินใจ แกปญหาในการดําเนินชีวิต และมีนิสัยรักการอาน เสร�ม ชั้น

ม.3

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

11

1. อานออกเสียงบทรอยแกว • การอานออกเสียง ประกอบดวย และบทรอยกรองไดถูกตอง - บทรอยแกวที่เปนบทความทั่วไปและบทความปกิณกะ และเหมาะสมกับเรื่องที่อาน - บทรอยกรอง เชน กลอนบทละคร กลอนเสภา กาพยยานี 11 กาพยฉบัง 16 และโคลงสี่สุภาพ 2. ระบุความแตกตางของคํา • การอานจับใจความจากสื่อตางๆ เชน - วรรณคดีในบทเรียน ที่มีความหมายโดยตรง - ขาวและเหตุการณสําคัญ และความหมายโดยนัย - บทความ 3. ระบุใจความสําคัญและ - บันเทิงคดี รายละเอียดของขอมูลที่ - สารคดี สนับสนุนจากเรื่องที่อาน - สารคดีเชิงประวัติ 4. อานเรื่องตางๆ แลวเขียน - ตํานาน กรอบแนวคิด ผังความคิด บันทึก ยอความและรายงาน - งานเขียนเชิงสรางสรรค - เรื่องราวจากบทเรียนในกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย และ 5. วิเคราะห วิจารณ และ กลุมสาระการเรียนรูอื่น ประเมินเรื่องที่อานโดยใช กลวิธีการเปรียบเทียบเพื่อให ผูอานเขาใจไดดีขึ้น 6. ประเมินความถูกตองของ ขอมูล ที่ใชสนับสนุนในเรื่อง ที่อาน 7. วิจารณความสมเหตุสมผล การลําดับความ และความ เปนไปไดของเรื่อง 8. วิเคราะหเพื่อแสดงความ คิดเห็นโตแยงเกี่ยวกับเรื่อง ที่อาน 9. ตีความและประเมินคุณคา • การอานตามความสนใจ เชน แนวคิดทีไ่ ดจากงานเขียน - หนังสืออานนอกเวลา อยางหลากหลาย เพื่อนําไป - หนังสืออานตามความสนใจและตามวัยของนักเรียน - หนังสืออานที่ครูและนักเรียนรวมกันกําหนด ใชแกปญหาในชีวิต 10. มีมารยาทในการอาน • มารยาทในการอาน

* สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, กระทรวงศึกษาธิการ. ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง กลุมสาระการเรียนรู ภาษาไทย. (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย, 2551), หนา 19 - 50.

คูม อื ครู


สาระที่ 2 การเขียน

มาตรฐาน ท 2.1 ใชกระบวนการเขียนเขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ยอความ และเขียนเรื่องราวในรูปแบบตางๆ เขียนรายงานขอมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาคนควาอยางมีประสิทธิภาพ เสร�ม

12

ชั้น

ตัวชี้วัด

ม.3 1. คัดลายมือตัวบรรจง ครึ่งบรรทัด 2. เขียนขอความโดยใชถอยคํา ไดถูกตองตามระดับภาษา 3. เขียนชีวประวัติหรืออัตชีวประวัติ โดยเลาเหตุการณ ขอคิดเห็น และทัศนคติ ในเรื่องตางๆ 4. เขียนยอความ 5. เขียนจดหมายกิจธุระ

6. เขียนอธิบาย ชี้แจง แสดง ความคิดเห็น และโตแยง อยางมีเหตุผล 7. เขียนวิเคราะห วิจารณ และ แสดงความรู ความคิดเห็น หรือโตแยงในเรื่องตางๆ 8. กรอกแบบสมัครงานพรอม เขียนบรรยายเกีย่ วกับความ รูแ ละทักษะของตนเองที่ เหมาะสมกับงาน 9. เขียนรายงานการศึกษา คนควาและโครงงาน 10. มีมารยาทในการเขียน คูม อื ครู

สาระการเรียนรูแกนกลาง

• การคัดลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัดตามรูปแบบการเขียน ตัวอักษรไทย • การเขียนขอความตามสถานการณและโอกาสตางๆ เชน - คําอวยพรในโอกาสตางๆ - โฆษณา - คําขวัญ - คติพจน - คําคม - สุนทรพจน • การเขียนอัตชีวประวัติหรือชีวประวัติ

• การเขียนยอความจากสื่อตางๆ เชน นิทาน ประวัติ ตํานาน สารคดีทางวิชาการ พระราชดํารัส พระบรมราโชวาท จดหมายราชการ • การเขียนจดหมายกิจธุระ - จดหมายเชิญวิทยากร - จดหมายขอความอนุเคราะห - จดหมายแสดงความขอบคุณ • การเขียนอธิบาย ชี้แจง แสดงความคิดเห็น และโตแยงใน เรื่องตางๆ • การเขียนวิเคราะห วิจารณ และแสดงความรู ความคิดเห็น หรือโตแยงจากสื่อตางๆ เชน - บทโฆษณา - บทความทางวิชาการ • การกรอบแบบสมัครงาน

• การเขียนรายงาน ไดแก - การเขียนรายงานจากการศึกษาคนควา - การเขียนรายงานโครงงาน • มารยาทในการเขียน


สาระที่ 3 การฟง การดู และการพูด

มาตรฐาน ท 3.1 สามารถเลือกฟงและดูอยางมีวจิ ารณญาณ และพูดแสดงความรู ความคิด และความรูส กึ ในโอกาส ตางๆ อยางมีวิจารณญาณและสรางสรรค ชั้น

ตัวชี้วัด

ม.3 1. แสดงความคิดเห็นและประเมิน เรื่องจากการฟงและการดู 2. วิเคราะหและวิจารณเรื่องที่ฟง และดูเพื่อนําขอคิดมาประยุกต ใชในการดําเนินชีวิต 3. พูดรายงานเรื่องหรือประเด็นที่ ศึกษาคนควาจากการฟง การดู และการสนทนา 4. พูดในโอกาสตางๆ ไดตรงตาม วัตถุประสงค 5. พูดโนมนาวโดยนําเสนอ หลักฐานตามลําดับเนื้อหา อยางมีเหตุผลและนาเชื่อถือ 6. มีมารยาทในการฟง การดู และการพูด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

เสร�ม

13

• การพูดแสดงความคิดเห็น และประเมินเรื่องจากการฟงและ การดู • การพูดวิเคราะหวิจารณจากเรื่องที่ฟงและดู • การพูดรายงานการศึกษาคนควาเกี่ยวกับภูมิปญญาทองถิ่น • การพูดในโอกาสตางๆ เชน - การพูดโตวาที - การพูดยอวาที • การพูดโนมนาว

- การอภิปราย

• มารยาทในการฟง การดู และการพูด

สาระที่ 4 หลักการใชภาษาไทย

มาตรฐาน ท 4.1 เขาใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของภาษา ภูมิปญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไวเปนสมบัติของชาติ ชั้น

ตัวชี้วัด

ม.3 1. จําแนกและใชคําภาษา ตางประเทศที่ใชในภาษาไทย 2. วิเคราะหโครงสรางประโยค ซับซอน 3. วิเคราะหระดับภาษา 4. ใชคําทับศัพทและศัพทบัญญัติ 5. อธิบายความหมายคําศัพท ทางวิชาการและวิชาชีพ 6. แตงบทรอยกรอง

สาระการเรียนรูแกนกลาง

• คําที่มาจากภาษาตางประเทศ • ประโยคซับซอน • ระดับภาษา • คําทับศัพท • คําศัพทบัญญัติ • คําศัพททางวิชาการและวิชาชีพ • โคลงสี่สุภาพ คูม อื ครู


คําอธิบายรายวิชา รายวิชา หลักภษาและการใชภาษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 เสร�ม รหัสวิชา ท…………………………………

14

กลุมสาระการเรียนรู ภาษาไทย ภาคเรียนที่ 1-2 เวลา 60 ชั่วโมง/ป

ฝกทักษะการอาน การเขียน การฟง การดูและการพูด การวิเคราะหและประเมินคาวรรณคดีและวรรณกรรม โดยศึกษาเกีย่ วกับการอานออกเสียง การอานจับใจความ การอานตามความสนใจ ฝกทักษะการคัดลายมือ การเขียน ขอความตามสถานการณและโอกาสตางๆ เขียนอัตชีวประวัติหรือชีวประวัติ เขียนยอความ การเขียนจดหมายกิจธุระ เขียนอธิบาย ชี้แจง แสดงความคิดเห็น และโตแยง เขียนวิเคราะหวิจารณและแสดงความรูความคิดเห็น หรือโตแยง จากสื่อตางๆ กรอกแบบสมัครงาน เขียนรายงาน ฝกทักษะการพูดแสดงความคิดเห็นและการประเมินเรื่องจากการ ฟงและการดู พูดวิเคราะหวิจารณจากเรื่องที่ฟงและดู พูดรายงานการศึกษาคนควา พูดในโอกาสตางๆ พูดโนมนาว และศึกษาเกี่ยวกับโครงสรางประโยคซับซอน ระดับภาษา วิเคราะหวิถีไทย ประเมินคา ความรูและขอคิดจากวรรณคดี วรรณกรรม บทละครพูดเรื่องเห็นแกลูก พระอภัยมณี ตอนหนีนางผีเสื้อ พระบรมราโชวาท อิศรญาณภาษิต และบทพากษเอราวัณ ทองจําบทอาขยาน ที่กําหนดและบทรอยกรองที่มีคุณคาตามความสนใจ โดยใชกระบวนการอานเพื่อสรางความรูความคิดนําไปใชตัดสินใจ แกปญหาในการดําเนินชีวิต กระบวนการ เขียนเขียนสื่อสารอยางมีประสิทธิภาพ กระบวนการฟง การดู และการพูด สามารถเลือกฟงและดู และพูดแสดง ความรูค วามคิดอยางมีวจิ ารณญาณและสรางสรรค เพือ่ ใหเขาใจธรรมชาติภาษาและหลักภาษาไทย การเปลีย่ นแปลง ของภาษา พลังภาษา ภูมิปญญาทางภาษา วิเคราะหวิจารณวรรณคดีและวรรณกรรมอยางเห็นคุณคาและนํามา ประยุกตใชในชีวิตจริง รักษาภาษาไทยไวเปนสมบัติของชาติ และมีนิสัยรักการอาน การเขียน มีมารยาทในการอาน การเขียน การฟง การดู และการพูด ตัวชี้วัด ท 1.1 ม.3/1 ท 2.1 ม.3/1 ท 3.1 ม.3/1 ท 4.1 ม.3/1 ท 5.1 ม.3/1 รวม 36 ตัวชี้วัด

คูม อื ครู

ม.3/2 ม.3/2 ม.3/2 ม.3/2 ม.3/2

ม.3/3 ม.3/3 ม.3/3 ม.3/3 ม.3/3

ม.3/4 ม.3/4 ม.3/4 ม.3/4 ม.3/4

ม.3/5 ม.3/5 ม.3/5 ม.3/5

ม.3/6 ม.3/7 ม.3/8 ม.3/9 ม.3/10 ม.3/6 ม.3/7 ม.3/8 ม.3/9 ม.3/10 ม.3/6 ม.3/6


ÇÔà¤ÃÒÐË Áҵðҹ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙጠÅеÑǪÕÇé ´Ñ ÃÒÂÇÔªÒ ËÅÑ¡ÀÒÉÒáÅСÒÃ㪌ÀÒÉÒ Á.3

มาตรฐาน ท 2.1 ตัวชี้วัด

มาตรฐาน ท 1.1 ตัวชี้วัด

ตัวชี้วัด

มาตรฐาน ท 3.1

สาระที่ 3

ตัวชี้วัด

มาตรฐาน ท 4.1

สาระที่ 4

✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓

✓ ✓ ✓ ✓

✓ ✓

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 1 2 3 4 5 6 1 2 3 4 5 6

สาระที่ 2

สาระที่ 1

หมายเหตุ ✓ เฉพาะที่สอดคลองกับตัวชี้วัดชั้น ม.3 เทานั้น ตัวชี้วัดที่เหลือจะจัดการเรียนการสอนในชั้น ม.1 และ ม.2

หนวยการเรียนรูที่ 3 : การเขียนเพื่อการ สื่อสาร 2

หนวยการเรียนรูที่ 2 : การเขียนเพื่อการ สื่อสาร 1

ตอนที่ 2 : การพัฒนาทักษะการเขียน หนวยการเรียนรูที่ 1 : การคัดลายมือ

หนวยการเรียนรูที่ 3 : การอานวินิจสาร

หนวยการเรียนรูที่ 2 : การอานจับใจความ

ตอนที่ 1 : การพัฒนาทักษะการอาน หนวยการเรียนรูที่ 1 : การอานออกเสียง

หนวยการเรียนรู

มาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัด

คําชี้แจง : ใหผูสอนใชตารางน�้ตรวจสอบวา เน�้อหาสาระการเรียนรูในหนวยการเรียนรูสอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดชั้นปในขอใดบาง

ตาราง

เสร�ม

15

คูม อื ครู


คูม อื ครู

หนวยการเรียนรูที่ 3 : การแตงบทรอยกรองประเภท โคลงสี่สุภาพ

หนวยการเรียนรูที่ 2 : การวิเคราะหภาษา

ตอนที่ 4 : หลักการใชภาษา หนวยการเรียนรูที่ 1 : การใชคําใน ภาษาไทย

หนวยการเรียนรูที่ 2 : การพูดในโอกาส ตางๆ

มาตรฐาน ท 2.1 ตัวชี้วัด

มาตรฐาน ท 1.1 ตัวชี้วัด

ตัวชี้วัด

มาตรฐาน ท 3.1

สาระที่ 3 ตัวชี้วัด

มาตรฐาน ท 4.1

สาระที่ 4

✓ ✓ ✓

✓ ✓ ✓

✓ ✓

✓ ✓

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 1 2 3 4 5 6 1 2 3 4 5 6

สาระที่ 2

สาระที่ 1

16

ตอนที่ 3 : การพัฒนาทักษะการฟง การดู และการพูด หนวยการเรียนรูที่ 1 : การพูดเรือ่ งจากสือ่ ที่ฟงและดู

หนวยการเรียนรู

มาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัด

เสร�ม


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล Expand

Evaluate

หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน

ภาษาไทย

หลักภาษาและการใชภาษา ม.๓ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓ กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย

ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

ผูเรียบเรียง

นางฟองจันทร สุขยิ่ง นางกัลยา สหชาติโกสีย นายภาสกร เกิดออน นางสาวระวีวรรณ อินทรประพันธ นายศานติ ภักดีคํา นายพอพล สุกใส

ผูตรวจ

นางจินตนา วีรเกียรติสุนทร นางวรวรรณ คงมานุสรณ นายศักดิ์ แวววิริยะ

บรรณาธิการ

นายเอกรินทร สี่มหาศาล นางประนอม พงษเผือก

ผูจัดทําคูมือครู

ประนอม พงษเผือก พิมพรรณ เพ็ญศิริ สมปอง ประทีปชวง พิมพครั้งที่ ๒

สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติ รหัสสินคา ๒๓๑๑๐๐๓ รหัสสินคา ๒๓๔๑๐๑๒

¤Œ¹¤ÇÒÁÃÙŒ¢ÂÒ¤ÇÒÁ¤Ô´¨Ò¡

EB GUIDE

ที่พิมพกํากับหัวขอสําคัญในหนังสือเรียนหลักสูตรแกนกลางฯ ผาน www.aksorn.com ไปยังแหลงความรูทั่วไทย-ทั่วโลก


กระตุน ความสนใจ สํารวจคนหา Explore Engage

อธิบายความรู ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล Expand

Explain

Evaluate

¤íÒá¹Ð¹íÒ㹡ÒÃ㪌˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ หนังสือเรียน หลักภาษาและการใชภาษาเลมนี้ เปนสือ่ สําหรับใชประกอบการเรียนการสอนในรายวิชาพืน้ ฐาน กลุม สาระ การเรียนรูภ าษาไทย ชัน้ มัธยมศึกษาปที่ ๓ เนื้อหาตรงตามสาระการเรียนรูแกนกลางขั้นพื้นฐาน อานทําความเขาใจงาย ใหทั้งความรูและชวยพัฒนาผูเรียน ตามหลักสูตรและตัวชี้วัด เนื้อหาสาระแบงออกเปนหนวยการเรียนรูตามโครงสรางรายวิชา สะดวกแกการจัดการเรียนการสอน และการวัดผลประเมินผล พรอมเสริมองคประกอบอืน่ ๆ ทีจ่ ะชวยทําใหผเู รียนไดรบั ความรูอ ยางมีประสิทธิภาพ à¡ÃÔè¹¹íÒà¾×èÍãˌࢌÒ㨶֧ÊÒÃÐÊíÒ¤ÑÞ ã¹Ë¹‹Ç·Õè¨ÐàÃÕ¹

¹íÒàʹÍà¹×Íé ËÒã¹ÃٻẺµÒÃÒ§ à¾×èÍãËŒ§‹Òµ‹Í¤ÇÒÁࢌÒã¨áÅÐ à¡Ô´¤ÇÒÁ¤Ô´ÃǺÂÍ´

¨Ñ´¡ÅØ‹Áà¹×éÍËÒ໚¹Ë¹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ Êдǡᡋ¡ÒèѴ¡ÒÃàÃÕ¹¡ÒÃÊ͹

à¡Ãç´ÀÒÉÒ໚¹àÃ×èͧ¹‹ÒÃÙŒà¾ÔèÁàµÔÁ ¨Ò¡à¹×éÍËÒ ÁÕá·Ã¡à»š¹ÃÐÂÐæ

หัว มเด็จพระจอมเกลาเจาอยู ่มเกิดขึ้นตั้งแตรัชกาลพระบาทส ทําใหมคี าํ ในภาษา คําศัพทบัญญัติในภาษาไทยเริ ดตอคาขายกับชาวตะวนั ตก งจากในรัชกาลนัน้ ไดมกี ารติ าวหนาทางวิทยาการ รัชกาลที่ ๔ เปนตนมา เนือ่ ่อตอบสนองตอความเจริญก เพื ก นวนมา า จํ น ป อังกฤษปะปนเขามาในภาษาไทยเ ศเขามา น ทําใหคําภาษาตางประเท ที่รับจากตะวันตก งประเทศเขามาเปนเวลานา าอยูห วั และ แตเมื่อมีการรับคําภาษาตา ทสมเด็จพระจุลจอมเกลา เจ ก ดวยเหตุนใี้ นรัชสมัยพระบา งประเทศ ปะปนในภาษาไทยเปนจํานวนมา หัว จึงมีการคิดคําศัพทบัญญัติขึ้นใชแทนคําภาษาตา าเจาอยู รมการ คณะกร ้ ั ง  ต ชอบให น ห็ เ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล มนตรี พ.ศ. ๒๔๘๕ คณะรัฐ ๑) วิธกี ารบัญญัตศิ พั ท ในป พระเจาบรมวงศเธอ กรมหมื่นนราธิปพงศประพันธ รชุดนี้มี พลตรี าตางๆ ขึ้น บัญญัติศัพทภาษาไทยขึ้น กรรมกา ยสถานไดแตงตั้งคณะกรรมการบัญญัติศัพทสาขาวิช ต ฑิ ณ งสะดวก ย ราชบั น ั บ ออกเสี จุ จ ด ป รั ทรงเปนประธาน ักภาษา รูปคํากะทัด พทบัญญัติมีความถูกตองตามหล ้ ใชในภาษาไทย เพื่อใหคําศั ดังนี ่ตองการ โดยมีหลัก ๓ ประการ และมีความหมายตรงตามที ปแสง (light year)

ñ

หนวยที่ การอานออกเส

ตัวชี้วัด ■ ■

ในภาษาไทยทีเ่ หมาะสม หากหาคาํ ไทยมา บเป น คํ า ประกอ คิ ด หาคํ ายายามส ร า งคํ า ด ว ยภาษาาย ไมศัพไ ดทใทหมี่ พคี วามหมา ยตรงกับลักความหม ห เกณฑวา - สันสกฤต บาลี ไทย โดยมี เดิมในภาษา ไทย ตองเปนคําที่มีใชอยูแลวในภาษา ย และสามารถออกเสียงไดงา

ียง

อานออกเสียงบทร อ มีมารยาทในการ ยแกวและบทรอยกรองไดถกู ตอง (ท อาน (ท ๑.๑ ม.๓/๑ ๑.๑ ม.๓/๑) ๐)

สาระการเรียนรูแกนกล ■

คาผานทาง (toll) นํ้าคางแข็ง (frost) ตัวแปร (variable) จุดยืน (stand point) รายการเลือก (menu) ลบเลือนได (volatile)

ปนนคําคํ-า ระกอบเบเป ไทยมาปประกอ หาคําาไทยมา คิคิดดหาคํ ความหมายาย ยตรงกับบความหม วามหมายตรงกั ศัศัพพททททมี่ มี่ คี คี วามหมา ไทย งกฤษ าภาษาอั ในภาษา เดิเดิมมของคํ

าง

การอานออกเสีย งบทรอยแกวที่เป นบทความทั่วไปและ บทความปกิณกะ การออกเสียงบทร อยกรอง กาพยยานี ๑๑ กาพย เชน กลอนบทละคร กลอนเ สภา มารยาทในการอ ฉบัง ๑๖ และโคลงสี่สุภาพ าน

การอานออกเสียงเปนวิธีก

ารอานที่ ควรใชนํ้าเสียงให ถ มีความเหมาะสม ูกตอง สอดคลอง และ กับเนื้อเรื่องแต ละประเภท รวมถงึ การรจู กั ฝก จะชวยทําใหมีพ ฝนการอานอยา งสมํา่ เสมอ ื้น ชํานาญในการอ ฐานการอานที่ดี เกิดความ าน รวมถึงการร การอานและปฏ ูจักมารยาทใน ิบ จะไดรับการยอมร ัติไดอยางถูกตอง เหมาะสม จึง ับนับถือจากบุค คลอื่น

ทโดยวิ ญัติศัพบเป น คํธาี ไมสามารถบ า ไทยมาัญประกอ คิถดาหาคํ ชคําภาษาาย ยตรงกัใหบใความหม ดังกลาวได การสอง ศัพททมี่ ขคี อวามหมา ้นทับศัพทไปกอน ศนัไทย มในภาษา ตเดิางประเท

๑๖๒

EB GUIDE

งเรียง เรื่อยเรื่อย/ มาเรีย ตัวเดียว/ มาไร้คู่ ร�่าร�่า/ ใจรอนรอน า น้ ห ดวงใจ/ ไยหนี

้งหมู่ นกบินเฉียง/ ไปทั งเอกา เหมือนพี่อยู่/ เพีย ข้า อกสะท้อน/ ถอนใจ งเมิน าหมา ตา/ ม ว ้ โถแก าธรรมธิเบศร) (กาพย์เห่เรือ : เจ้าฟ้

บุคคลที่จะเพิ่มประสิทธิภาพในการ นอกจากจะตองเขาใจขั้นตอนในกา ฟงใหแกตนเอง รฟงและยังตอง หมั่นฝกฝนใหเกิดทักษะทางด านการฟงดวย

กิจกรรม (activity) ทฤษฎี (theory) มลพิษ (pollution) วัฒนธรรม (culture) อปกติ (abnormal) เสรีนิยม (liberalism)

สดมภ (column) จิตรกรรม (painting) ปรัชญา (philosophy) นิรโทษกรรม (amnesty) นิทรรศการ (exhibition) สัญญาณภาพ (video signal)

เชิ้ต (shirt) ฟลม (film) โบนัส (bonus) เมาส (mouse) แฟชั่น (fashion) ซีเมนต (cement)

ครีม (cream) โซฟา (sofa) เนกไท (necktie) ไดโนเสาร (dinosaur) แมงกานีส (manganese) คอมพิวเตอร (computer)

๙%

ฟง

๔๕ %

รฟง

ผลการวิจัย จากกลุมตัวอยาง

ผูฟงจํานวน ๑๐๐ คน พบวามี เพียง ๑๐ คนเทานั้น ที่มีทักษะการฟ งที่ดี

สาเหตุที่ทําใหการฟงไมสัมฤทธิ

ผล ไดแก

จับใจความสําคัญไมเปน จึงไมสามารถสรุ ปความคิด รวบยอดได ไมยอมรับความคิดเห็นของผูอื่น

ไมเปดกวาง

ไมชอบฟงเนื้อหาสาระที่ยากเกิน ที่ตนเอง จะทําความเขาใจ ไมมีสมาธิในการฟง เนื่องจากขณะท ี่ฟงมีเสียง รบกวน มีทัศนคติที่ไมดีตอเรื่องที่ฟง เชน

เห็นวานาเบื่อ

มีทัศนคติที่ไมดีตอผูพูด เชน ไมช

อบกิริยาทาทาง

i_Gra/M3/19

http://www.aksorn.com/LC/Tha

๑๓๒

¤íÒ¶ÒÁ»ÃШíÒ˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒáÅСԨ¡ÃÃÁ ÊÌҧÊÃä ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒà¾×è;Ѳ¹Ò¼ÙŒàÃÕ¹ ãËŒÁդسÀÒ¾µÒÁµÑǪÕéÇÑ´

ò การพัฒนาทักษะการเขีย

คําถาม

ประจําหนวยการเรียนรู

๑. ทักษะการยอความมีประโยชนตอการเรียนของนักเรียนอยางไร จงอธิบาย ๒. การเขียนชีวประวัติและอัตชีวประวัติ มีหลักการเขียนอยางไร ๓. การเขียนจดหมายกิจธุระ สามารถนําไปประยุกตใชในชีวิตประจําวันไดอยางไร ๔. การเขียนสุนทรพจนที่ดี ควรมีแนวทางการเขียนอยางไร จงอธิบาย พรอมยกตัวอยางประกอบ ๕. ขอควรคํานึงที่นักเรียนตองปฏิบัติในการกรอกแบบสมัครงานมีอะไรบาง จงอธิบาย

ฟังเสียง/ เพียงเพล

ฆัง

เพียงฆ้อง/ กลองระ

กิจกรรม

สรางสรรคพัฒนาการเรียนรู

กิจกรรมที่ ๑

นักเรียนเขียนบทสุนทรพจนสําหรับใชพูดภายในเวลา ๓ นาที ใหขอคิดเกี่ยวกับ คติธรรมและคุณธรรม เชน ความกตัญู ความสามัคคี ความมีวินัย เปนตน จากนั้นใหนําเสนอหนาหองเรียน นักเรียนทั้งหองจัดกิจกรรมสัปดาหวิชาการ โดยเขียนจดหมายเชิญวิทยากรเพื่อมา บรรยายความรูแกนักเรียนในหัวขอที่กําหนด โดยมีครูผูสอนเปนผูดูแลโครงการ นักเรียนอัตชีวประวัติของตนเอง ความยาวไมเกิน ๑ หนากระดาษ A๔ นํามาอาน ใหเพื่อนฟงหนาชั้นเรียนและเลือกเขียนยอความอัตชีวประวัติของเพื่อนที่ตนเอง ประทับใจ แลวนําสงครูผูสอน

า : สุนทรภู่)

(กาพย์พระไชยสุริย

ในวรรค ง่ จังหวะการอ่านภาย ซึ่ง ะใช้เครือ่ งหมาย / แบ ื้อความเป็นหลัก านกาพย์ฉบัง ๑๖ จ ่ โดยสังเกตจากเน การแบ่งจังหวะการอ่ / ๒ เป็นส่วนใหญ ยงต่อเนื่องกันเพื่อ ค�า จะแบ่งเป็น ๒ / ๒ าง เพราะค�าบางค�าควรอ่านให้เสี โดยวรรคที่มี ๖ อย่ ว ั งเป็น ๒ / ๔ ตามต ๒ / ๒ หวะ ง จั ง บ่ ในบางครั้งอาจแบ่ แ ให้ า ูกต้อง วรรคที่มี ๔ ค� มรู้เพิ่มพูน สื่อความหมายให้ถ อการศึกษาหาควา พัฒนา มีความจÓเป็นต่ ควรฝึกฝนเพื่อ กษะที่สÓคัญและ งโลก ดังนั้น จึง การอ่าน เป็นทั ได้ ปลี่ยนแปลงขอ งค์ความรู้ใหม่ๆ งๆ ให้ทันต่อการเ ถศึกษาเรียนรู้อ ามาร ส ้ ผู น ป็ เ ประสบการณ์ต่า ่อให้ ่างสม่Óเสมอ เพื ทักษะการอ่านอย 15 า ตลอดเวล

พูด

๓๐ %

เขียน

การเพิ่มประสิทธิภาพในกา

ใน บ่งจังหวะการอ่านภาย ะใช้เครื่องหมาย / แ บ่ง านกาพย์ยานี ๑๑ จ วรรคที่มี ๖ ค�า จะแ การแบ่งจังหวะการอ่ ขึ้นอยู่กับเนื้อความ ๒ / ๓ หรือ ๓ / ๒ ี ๕ ค�า จะแบ่งเป็น าติ วรรค โดยวรรคที่ม รรมช ของธ มงาม การพรรณนาควา บ หรั า � ส ช้ ใ ่ ี จังหวะเป็น ๓ / ๓ ท ์ วรรคที่ ๑ และ ๓ เป็นกาพย แบ่งเป็น ๓ วรรค ๖) กาพย์ฉบัง ๑๖ หนึ่งบท มี ๑๖ ค�า ซึ่งกาพย์ฉบัง ๑๖ ้ สู อ ่ การต อ รื การเดินทางห ่ ๒ มี ๔ ค�า มี ๖ ค�า ส่วนวรรคที บัง ๑๖ การอ่านกาพย์ฉ รเลง กลางไพร/ ไก่ขัน/ บร งวัง ย ี ง/ เว ย เรี า / จ� ซอเจ้ง งโห่งดัง ยูงทอง/ ร้องกะโต้ ยง เสี / ขาน แตรสังข์/ กังสดาล

อาน

๑๖ %

๑. เตรียมความพรอมทั้งดานร ๒. ตองตั้งใจฟงอยางแนวแน างกายและจิตใจ รวมถึงการตั้งจุดมุงหมายกอนฟงทุกครั พยายามจับและทบทวนใจควา ้ง ๓. สังเกตอวัจนภาษาหรือภาษาท มสําคัญที่ผูพูดไดสื่อสาร ๔. ฟงอยางมีขั้นตอน ตองปฏิ าทางของผูพูด เพราะจะทําใหเขาใจความหมายไดดีย ิ่งขึ้น บัติตามใหไดตามขั้นตอนของก ๕. นําประโยชนที่ไดรับจากการฟ ารฟง ๖. ทุกครั้งที่ฟงควรมีการจดบั งมาใชในชีวิตประจําวัน ๗. ตองไมมีอคติและรูจักยอมรันทึก บฟงความคิดเห็นของผูอื่น

เครือขาย (network) ดินเปรี้ยว (acid soil) นํ้าแข็งแหง (dry ice) ทะเลหลวง (open sea) ตลาดมืด (black market)

Design ˹ŒÒẺãËÁ‹ ÊǧÒÁ ¾ÔÁ¾ ô ÊÕ µÅÍ´àÅ‹Á ª‹ÇÂãˌ͋ҹ·íÒ¤ÇÒÁࢌÒã¨ä´Œ§‹ÒÂ

ตอนที่ านี ๑๑

การอ่านกาพย์ย

ทักษะการฟง

ทักษะทางดานการฟงเปนทัก มากที่สุดในชีวิตประจําวันคือ ษะในการสื่อสารที่ใช ๔๕ % ขณะที่ทักษะ ทางดานการพูด การอานและกา รเขียน คือ ๓๐ %, ๑๖ % และ ๙ % ตามลําดับ

Web guide á¹Ð¹íÒáËÅ‹§¤Œ¹¤ÇŒÒ¢ŒÍÁÙÅ à¾ÔèÁàµÔÁ¼‹Ò¹Ãкº Online

µÑǪÕÇé ´Ñ áÅÐÊÒÃСÒÃàÃÕ¹ÃÙጠ¡¹¡ÅÒ§ µÒÁ·ÕËè ÅÑ¡Êٵà ¡íÒ˹´ à¾×èÍãËŒ·ÃÒº¶Ö§à»‡ÒËÁÒÂ㹡ÒÃÈÖ¡ÉÒ µÑÇÍ‹ҧẺ½ƒ¡à¾×èÍãËŒ¹Ñ¡àÃÕ¹½ƒ¡ ·Ñ¡ÉÐ㹡Òþٴ Í‹Ò¹ áÅÐà¢Õ¹ ËÇÁ¡Ñ¹¨¹à¡Ô´¤ÇÒÁªíÒ¹ÒÞã¹·Ñ¡ÉÐ

à¡Ãç´ÀÒÉÒ

กิจกรรมที่ ๒

¤ÇÒÁÃÙŒ¼ÙŒ»ÃÒªÞ ¹ Ñé¹ ½¹·Ñè§à·‹Òà¢çÁà¾Õ à ¤¹à¡Õ¨à¡ÅÕ´˹ ‹ÒÂàÇÕ¹ ¡ÅÍØ·¡ã¹µÃСà ŒÒ

กิจกรรมที่ ๓

ÃÑ¡àÃÕ¹ ¼‹ÒÂ˹ŒÒ ǹ¨Ôµ ໂ›ÂÁÅŒ¹ÄåÁÕ

(โคลงโลกนิติ : สมเด็

จพระเจาบรมวงศเ

ธอ กรมพระยาเดชาด

ิศร)

๙๒


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล Expand

Evaluate

สารบัญ ตอนที่ ๑ การพัฒนาทักษะการอาน

หนวยการเรียนรูที่ ๑ การอานออกเสียง ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับการอาน การอานออกเสียงบทรอยแกว การอานออกเสียงบทรอยกรอง หนวยการเรียนรูที่ ๒ การอานจับใจความ การอานจับใจความ การอานวิเคราะหความหมายของคํา การอานเพื่อเขียนกรอบความคิด หนวยการเรียนรูที่ ๓ การอานวินิจสาร การอานตีความ การอานวิเคราะห วิจารณและแสดงความคิดเห็น การอานประเมินคุณคา

๒ ๓ ๖ ๑๐ ๑๘ ๑๙ ๒๓ ๒๙ ๓๔ ๓๕ ๓๖ ๓๗

ตอนที่ ๒ การพัฒนาทักษะการเขียน

๔๙

หนวยการเรียนรูที่ ๑ การคัดลายมือ ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับการคัดลายมือ รูปแบบตัวอักษร หนวยการเรียนรูที่ ๒ การเขียนเพื่อการสื่อสาร ๑ ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับการเขียนในโอกาสตางๆ การเขียนตามสถานการณและโอกาสตางๆ การเขียนชีวประวัติและอัตชีวประวัติ การเขียนยอความ การเขียนจดหมาย การกรอกแบบสมัครงาน หนวยการเรียนรูที่ ๓ การเขียนเพื่อการสื่อสาร ๒ การเขียนอธิบาย ชี้แจง โตแยง แสดงความคิดเห็นอยางมีเหตุผล การเขียนวิเคราะห วิจารณ แสดงความรู ความคิดเห็น หรือโตแยงสื่อ การเขียนรายงานและโครงงาน

๕๐ ๕๑ ๕๒ ๕๘ ๕๙ ๖๑ ๗๑ ๗๖ ๘๓ ๘๘ ๙๓ ๙๔ ๙๙ ๑๐๒


กระตุน ความสนใจ สํารวจคนหา Explore Engage

อธิบายความรู ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล Explain

Expand

Evaluate

ตอนที่ ๓ การพัฒนาทักษะการฟง การดูและการพูด

๑๑๗

หนวยการเรียนรูที่ ๑ การพูดเรื่องจากสื่อที่ฟงและดู ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับการฟงและดูสื่อ การพูดจากสื่อที่ฟงและดู การพูดรายงานการศึกษาคนควาภูมิปญญาทองถิ�น หนวยการเรียนรูที่ ๒ การพูดในโอกาสตางๆ การพูดโตวาที การพูดอภิปราย การพูดโนมนาวใจ

๑๑๘ ๑๑๙ ๑๒๐ ๑๒๖ ๑๓๔ ๑๓๕ ๑๔๐ ๑๔๓

ตอนที่ ๔ หลักการใชภาษา หนวยการเรียนรูที่ ๑ การใชคําในภาษาไทย คําภาษาตางประเทศในภาษาไทย การใชคําทับศัพทและศัพทบัญญัติตางๆ หนวยการเรียนรูที่ ๒ การวิเคราะหภาษา การวิเคราะหโครงสรางของประโยคซับซอน ระดับภาษา รูปแบบการใชภาษาระดับตางๆ องคประกอบในการเลือกใชระดับภาษาเพื่อการสื่อสาร หนวยการเรียนรูที่ ๓ การแตงบทรอยกรองประเภทโคลงสี่สุภาพ ลักษณะของโคลง ประเภทของโคลง การแตงโคลงสี่สุภาพ บรรณานุกรม ●

๑๔๗ ๑๔๘ ๑๔๙ ๑๖๐ ๑๖๗ ๑๖๘ ๑๗๕ ๑๗๘ ๑๗๙ ๑๘๒ ๑๘๓ ๑๘๓ ๑๘๔ ๑๘๘


กระตุน ความสนใจ Engage

ตอนที่

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explore

Explain

Expand

Evaluate

ñ การพัฒนาทักษะการอาน

˹ѧÊ×͹ÕéÁÕÁÒ¡ÁÒÂËÅÒª¹Ô´ ãËŒ¤ÇÒÁÃÙŒÊíÒàÃÔ§ºÑ¹à·Ô§ã¨ ÁÕÇÔªÒËÅÒÂÍ‹ҧµ‹Ò§¨íҾǡ ÇÔªÒ¡ÒÃÊÃÃÁÒÊÒþѹ

กระตุนความสนใจ นักเรียนอานบทรอยกรองประเภท กลอนสุภาพที่ปรากฏหนาตอน จากนั้นครูตั้งคําถามกับนักเรียนวา • นักเรียนคิดวาบทรอยกรองที่ได อานนั้นมีจุดมุงหมายอยางไร (แนวตอบ มีจุดมุงหมายเพื่อ สงเสริมการอานหนังสือ เพราะ การอานหนังสือมีประโยชน ให ทั้งความรูและความบันเทิง) • กวีสามารถใชภาษาเพื่อสื่อสาร ไดตรงกับวัตถุประสงคหรือไม อยางไร (แนวตอบ นักเรียนสามารถ ตอบไดอยางหลากหลาย ตาม พื้นฐานความรู ความคิดและ ความเขาใจ)

¹íҴǧ¨ÔµàÃÔ§Ã×蹪×è¹Ê´ãÊ ©Ñ¹¨Ö§ã½†ã¨ÊÁҹ͋ҹ·Ø¡Çѹ ŌǹÊдǡ¤Œ¹ä´ŒãËŒÊØ¢Êѹµ ªÑèǪÕÇѹ©Ñ¹Í‹Ò¹ä´ŒäÁ‹àº×èÍàÅÂ

(สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี)

คูมือครู

1


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explore

Explain

Expand

Evaluate

(หนาพิมพและตัวอักษรในกรอบนี้มีขนาดเล็กกวาฉบับนักเรียน 20%)

เปาหมายการเรียนรู 1. บอกความหมายและความสําคัญ ของการอานได 2. บอกจุดประสงคของการอานได 3. อานออกเสียงบทรอยแกวและ รอยกรองไดถูกตองตามอักขรวิธี และความไพเราะเหมาะสม 4. มีมารยาทในการอาน

กระตุนความสนใจ 1. นักเรียนดูภาพประกอบหนาหนวย จากนั้นครูตั้งคําถามกับนักเรียนวา • กลุมบุคคลในภาพกําลังอยูใน สถานการณใดและนักเรียน คิดวาสถานการณดังกลาวใช ทักษะการสื่อสารประเภทใด 2. นักเรียนชมวีดิทัศนรายการ ขาวประจําวัน จากนั้นครู ตั้งคําถามกับนักเรียนวา • ผูประกาศขาวใชทักษะการ สื่อสารประเภทใด (แนวตอบ ผูประกาศขาวใชทักษะ การอาน) • นักเรียนประทับใจ ผูประกาศขาวคนใด และเพราะ เหตุใด (แนวตอบ นักเรียนสามารถ ตอบไดอยางหลากหลายตาม ประสบการณและคานิยม สวนตน)

หนวยที่

การอานออกเสียง ตัวชี้วัด ■ ■

คูมือครู

อานออกเสียงบทรอยแกวและบทรอยกรองไดถกู ตอง (ท ๑.๑ ม.๓/๑) มีมารยาทในการอาน (ท ๑.๑ ม.๓/๑๐)

สาระการเรียนรูแกนกลาง ■

2

ñ

การอานออกเสียงบทรอยแกวที่เปนบทความทั่วไปและ บทความปกิณกะ การออกเสียงบทรอยกรอง เชน กลอนบทละคร กลอนเสภา กาพยยานี 11 กาพยฉบัง 16 และโคลงสี่สุภาพ มารยาทในการอาน

การอานออกเสียงเปนวิธีการอานที่

ควรใชนํ้าเสียงใหถูกตอง สอดคลอง และ มีความเหมาะสมกับเนื้อเรื่องแตละประเภท รวมถึงการรูจ กั ฝกฝนการอานอยางสมํา่ เสมอ จะชวยทําใหมีพื้นฐานการอานที่ดี เกิดความ ชํานาญในการอาน รวมถึงการรูจักมารยาทใน การอานและปฏิบัติไดอยางถูกตอง เหมาะสม จึง จะไดรับการยอมรับนับถือจากบุคคลอื่น


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

กระตุนความสนใจ ครูตั้งคําถามกับนักเรียนเพื่อ กระตุนความสนใจและกระบวนการ เรียนรู • นักเรียนคิดวาทักษะการอาน มีความสําคัญตอชีวิตประจําวัน อยางไร (แนวตอบ คําตอบขึ้นอยูกับ ดุลยพินิจของครูผูสอน)

๑ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการอ่าน

ทักษะการสือ่ สารของมนุษย์ ประกอบไปด้วย การฟัง การพูด การอ่าน และการเขียน การฟัง และการอ่านเป็นทักษะที่จ�าเป็นส�าหรับมนุษย์ในการสื่อสารเพื่อศึกษาหาความรู้เพิ่มเติม การฟังเป็น ทักษะซึ่งอาจมีข้อจ�ากัดเรื่องเวลา สถานที่และความคงทนของสาร ส่วนการอ่านเป็นทักษะที่ส�าคัญใน การแสวงหาความรู้ ทั้งนี้ด้วยสื่อที่ใช้ส�าหรับการอ่านมีความคงทนมากกว่า ไม่มีข้อจ�ากัดเรื่องเวลาและ สถานที่ ดังนั้นจึงถือได้ว่า ทักษะการอ่านมีความจ�าเป็นและมีความส�าคัญส�าหรับผู้ที่ต้องการแสวงหา ความรู้และเพิ่มพูนประสบการณ์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งส�าหรับนักเรียน นักศึกษา เพราะความส�าเร็จ ทางการศึกษาย่อมขึ้นอยู่กับความสามารถและพื้นฐานทางการอ่านที่ดี

สํารวจคนหา

๑.๑ ความหมายและความส�าคัญ

1. ครูรวมสนทนากับนักเรียนใน ประเด็น “ความหมายและความ สําคัญของการอาน” จากนั้นให นักเรียนสืบคนความหมายและ ความสําคัญของการอาน 2. นักเรียนแลกเปลี่ยนความรู ความคิดเห็นเพื่อคนหาความ แตกตางระหวางคําวา “อานได” กับ “อานเปน”

๑.๒ ระดับของการอ่าน

อธิบายความรู

การอ่าน คือกระบวนการรับรู้และเข้าใจสารที่เป็นลายลักษณ์อักษร จากนั้นจึงแปลสัญลักษณ์ อักษรเหล่านั้นเป็นความรู้ โดยอาศัยทักษะการอ่าน กระบวนการคิด ประสบการณ์และความรู้ของ ผูอ้ า่ นรวมถึงเมือ่ อ่านจบแล้ว ผูอ้ า่ นสามารถแสดงความคิดเห็นทีม่ ตี อ่ เรือ่ งทีอ่ า่ น ทัง้ ในลักษณะเห็นด้วย คล้อยตามหรือโต้แย้ง ในการอ่านแต่ละครัง้ ไม่เพียงแต่ผอู้ า่ นจะได้รบั สาระหรือเรือ่ งราวทีผ่ เู้ ขียนต้องการ น�าเสนอเท่านั้น แต่ผู้อ่านยังสามารถรับรู้ทรรศนะ เจตนา อารมณ์และความรู้สึกที่ผู้เขียนถ่ายทอดมา ในสาร ซึ่งสิ่งที่ได้รับจากการอ่านในแต่ละครั้งจึงมีทั้งส่วนที่เป็นเนื้อหาสาระ คือ ข้อเท็จจริง และส่วนที่ เป็นอารมณ์ความรูส้ กึ หรือทรรศนะของผูเ้ ขียน ซึง่ จ�าเป็นต้องอาศัยการฝึกฝนทักษะและประสบการณ์ ในการตีความตามวัตถุประสงค์ที่แท้จริง ดังนั้นจึงจ�าเป็นต้องฝึกทักษะการอ่านเพื่อให้เข้าใจได้ตรงตาม วัตถุประสงค์ของผู้เขียน ระดับของการอ่านแบ่งเป็น ๒ ระดับคือ อ่านได้และอ่านเป็น การรับรู้จากการอ่านโดยทั่วไป เริ่มจากระดับที่เรียกว่า อ่านได้ คือสามารถแปลความหมาย รับรู้สารผ่านตัวอักษร ส่วนในระดับ อ่านเป็น ผู้อ่านจะสามารถจับใจความส�าคัญ แนวคิดของเรื่อง รวมถึงความหมายแฝง หรือความหมาย ทีไ่ ด้จากการตีความ สามารถประเมินค่าของสารทีอ่ า่ นได้ ซึง่ จะต้องขึน้ อยูก่ บั ความรูแ้ ละประสบการณ์ของ ผู้อ่านแต่ละคน

๑.๓ จุดประสงค์ของการอ่าน

การอ่านหนังสือ มีจุดประสงค์ส�าคัญ ดังนี้ ๑) อ่านเพื่อการเขียน คือการอ่านเพื่อน�าความรู้มาใช้ในการเขียน เช่น เรียงความ บทความ สารคดี ฯลฯ ซึ่งผู้อ่านควรวิเคราะห์ความถูกต้องของข้อมูล คัดเลือกข้อมูลที่เหมาะสม น�าไปใช้เขียนหรืออ้างอิง เช่น การอ่านหนังสือเรื่อง วัฏจักรชีวิตของกบ เพื่อน�าข้อมูลมาเขียนรายงาน วิชาวิทยาศาสตร์ http://www.aksorn.com/LC/Thai_Gra/M3/01

EB GUIDE

3

1. ครูสุมเรียกชื่อนักเรียนเพื่ออธิบาย ความรูเกี่ยวกับความหมายของ การอาน (แนวตอบ การอาน คือ กระบวนการ รับรูและเขาใจสารที่เขียนเปนลายลักษณอักษร และแปลสัญลักษณ เปนความรูและความเขาใจ) 2. นักเรียนรวมกันอธิบายความรู เกี่ยวกับความสําคัญของการอานที่ มีตอกระบวนการเรียนการสอน 3. ครูสุมเรียกชื่อนักเรียนอธิบาย ความรูเกี่ยวกับความแตกตาง ระหวางการ “อานได” และ “อานเปน” (แนวตอบ อานได คือ การรับรู เนื้อหาสาระจากการอาน สามารถ แปลความหมายได สวนอานเปน ผูอานจะตองตีความแนวคิด ประเมินคาเรื่องที่อานไดดวย ตนเอง) คูมือครู

3


กระตุน ความสนใจ สํารวจคนหา Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

(ยอจากฉบับนักเรียน 20%)

กระตุนความสนใจ ครูรวมสนทนากับนักเรียนใน ประเด็นเกี่ยวกับประเภทของหนังสือ ที่พบเห็นในชีวิตประจําวัน จากนั้น ครูตั้งคําถามกับนักเรียนวา • นักเรียนคิดวาในชีวิตประจําวัน ของมนุษยอานหนังสือเพื่อ จุดประสงคใด (แนวตอบ นักเรี​ียนสามารถ ตอบไดอยางหลากหลาย ตาม พื้นฐานความรู ความเขาใจ เชน อานเพื่อความรู อานเพื่อความ เพลิดเพลิน เปนตน)

สํารวจคนหา 1. นักเรียนจับคูกับเพื่อนรวมกัน คนหาหรือแลกเปลี่ยนความรูใน ประเด็น “จุดประสงคของการ อาน” ตามพื้นฐานความรูที่มี อยูเดิมและคนหาเพิ่มเติมจาก แหลงเรียนรูอื่น 2. นักเรียนคนหาความรูในประเด็น “ประเภทของการอาน” จาก หนังสือเรียน ในหนา 4

อธิบายความรู

๒) อ่านเพื่อหาค�าตอบ คือการอ่านเพื่อต้องการค�าตอบส�าหรับประเด็นค�าถามหนึ่งๆ

จากแหล่งค้นคว้าและเอกสารประเภทต่างๆ เพิม่ พูนความรูใ้ ห้แก่ตนเอง เช่น การอ่านหนังสือวิชาฟิสกิ ส์ เพื่อหาค�าตอบเกี่ยวกับสาเหตุการเกิดปรากฏการณ์ธรรมชาติ ๓) อ่านเพือ่ ปฏิบตั ติ าม คือการอ่านเพือ่ ท�าตามค�าแนะน�าในข้อความหรือหนังสือทีอ่ า่ น เช่น การอ่านฉลากยา เพื่อดูค�าแนะน�าเกี่ยวกับการใช้ยา หรือการอ่านต�าราอาหาร ที่มีการอธิบาย ขั้นตอน วิธีการท�า รวมถึงเครื่องปรุงส่วนผสมโดยละเอียด ซึ่งการอ่านด้วยวัตถุประสงค์ดังกล่าวนี้ ผู้อ่านจะต้องท�าความเข้าใจรายละเอียดทุกขั้นตอนเพื่อสามารถปฏิบัติตามได้ ๔) อ่านเพือ่ หาความรูห้ รือสะสมความรู ้ คือการอ่านเพือ่ เพิม่ พูนประสบการณ์ ความรู้ โดยท�าได้ทงั้ ผูอ้ า่ นทีเ่ ป็น นักเรียน นักศึกษา หรือบุคคลทัว่ ไป และไม่จา� เป็นต้องมีโอกาส หรือกาลเทศะ มาก�าหนดให้ต้องอ่าน ซึ่งการอ่านในแต่ละครั้งควรเก็บและเรียบเรียงประเด็นส�าคัญของเรื่องที่อ่าน ไว้เป็นคลังความรู้ส�าหรับน�ามาใช้อ้างอิงในภายหลัง เช่น การอ่านหนังสือทางวิชาการ ๕) อ่านเพื่อความบันเทิง คือการอ่านตามความพอใจของผู้อ่าน ซึ่งผู้อ่านจะได้รับ ความเพลิดเพลิน นอกจากนี้ยังสามารถช่วยยกระดับจิตใจ ช่วยให้เกิดความสุข ผ่อนคลาย คลายความ ทุกข์ใจ และบางครั้งผู้อ่านอาจได้ข้อคิดหรือแนวทางในการใช้ชีวิต เช่น การอ่านนวนิยาย นิตยสาร วารสาร เป็นต้น ๖) อ่านเพื่อรู้ข่าวสาร วสาร คือการอ่านเพื่อศึกษา รับรู้ความเป็นไปของโลก และพัฒนา ความรู้ของตนเอง เช่น การอ่านข่าว นิตยสาร วารสาร เป็นต้น ๗) อ่านเพื่อแก้ปัญหา หา คือการอ่านเพื่อหาค�าาตอบ ตอบ หรือแนวทางการแก้ปัญหาเรื่องใด เรื่องหนึ่ง เช่น การอ่านพจนานุกรม เพื่อแก้ปัญหาเกี่ยวกับค�าศัพท์ ความหมาย การสะกดการันต์ที่ ถูกต้อง หรือการอ่านหนังสือแนะน�าการเดินทาง แผนที่ เป็นต้น

๑.๔ ประเภทของการอ่าน

โดยทั่วไปการอ่านแบ่งออกเป็น ๒ ประเภท คือการอ่านออกเสียงและการอ่านในใจ ดังนี้ ๑) การอ่านออกเสียงง คือการอ่านหนังสือโดยที่ผู้อ่านเปล่งเสียงออกมาดังๆ ในขณะ ที่อ่าน โดยมีจุดมุ่งหมายต่างๆ เช่น เพื่อสร้างความบันเทิง เพื่อถ่ายทอดข่าวสาร เพื่อประกาศ เพื่อ รายงานหรือเพื่อแถลงนโยบาย ดังนั้นการอ่านออกเสียง จึงเป็นการแปลรูปสัญลักษณ์หรืออักษร ออกเป็นเสียง จากนั้นจึงแปลสัญญาณเสียงเป็นความหมาย ซึ่งผู้อ่านต้องระมัดระวังการออกเสียง ทัง้ เสียง “ร” “ล” ค�าควบกล�า้ การสะกด จังหวะ ลีลา และการเว้นวรรคตอนให้ถกู ต้องไพเราะเหมาะสม ๒) การอ่านในใจ คือการท�าความเข้าใจสัญลักษณ์ที่บันทึกไว้เป็นลายลักษณ์อักษร รวมถึงรูปภาพและเครื่องหมายต่างๆ ออกเป็นความหมายโดยใช้สายตาทอดไปตามตัวอักษรหรือ สัญลักษณ์แล้วจึงใช้กระบวนการคิด แปลความหมาย ตีความ เพื่อรับสารของเรื่องนั้นๆ

1. ครูสุมเรียกชื่อนักเรียนเพื่ออธิบาย ความรูเกี่ยวกับจุดประสงคของ การอาน (แนวตอบ จุดประสงคของการอาน ไดแก 1. อานเพื่อการเขียน 2. อานเพื่อหาคําตอบ 3. อานเพื่อความบันเทิง 4 ฯลฯ) 2. นักเรียนรวมกันอธิบายความรู เกี่ยวกับประเภทของการอานใน ชีวิตประจําวัน โดยเปรียบเทียบใหเห็นความแตกตาง (แนวตอบ การอานแบงออกเปน 2 ประเภท คือ 1. การอานออกเสียง คือ การอานหนังสือโดยผูอานเปลงเสียงออกมาดังๆ ในขณะที่อาน 2. การอานในใจ คือ การทําความเขาใจสัญลักษณที่บันทึกไวเปนลายลักษณอักษร ออกเปนความหมายโดยใชสายตาทอดไปตามตัวอักษร แลวจึงใชกระบวนการคิด แปลความ ตีความเพื่อรับสารนั้นๆ)

4

คูมือครู


กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

Explain

Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

กระตุนความสนใจ ครูสนทนากับนักเรียนในประเด็น มารยาทในการอานออกเสียง โดย ชี้ใหนักเรียนเห็นความสําคัญ จากนั้น ครูตั้งคําถามกับนักเรียนวา • นักเรียนคิดวา การมีมารยาทใน การอานออกเสียงมีความสําคัญ ตอชีวิตประจําวันอยางไร (แนวตอบ คําตอบขึ้นอยูกับ ดุลยพินิจของครูผูสอน)

ตารางแสดงขั้นตอนการอ่านออกเสียงและการอ่านในใจ วิธีการ

ขั้นตอน

การอ่านออกเสียง

รับรู้ตัวหนังสือ

แปลสัญลักษณ์ ตัวอักษรเป็นเสียง => การพูด

การอ่านในใจ

รับรู้ตัวหนังสือ

แปลสัญลักษณ์ ตัวอักษรเป็น ความหมาย => รับรู้ความหมาย

๓ แปลเสียงเป็น ความหมาย => รับรู้ความหมาย

สํารวจคนหา นักเรียนจับคูกับเพื่อนรวมกัน คนหาความรูเกี่ยวกับมารยาทใน การอานออกเสียง โดยวิธีการสนทนา แลกเปลี่ยนความรูเดิมของตนเอง หรือจากแหลงเรียนรูอื่นๆ เชน หนังสือเรียน เว็บไซตทางการศึกษา ฯลฯ บันทึกความรูที่ไดลงสมุด

๑.๕ มารยาทในการอ่านออกเสียง การอ่าน คือ เครือ่ งมือส�าคัญในการศึกษาหาความรูแ้ ละเพิม่ พูนประสบการณ์ในด้านต่างๆ ให้แก่ ผูอ้ า่ น จึงถือได้วา่ ทักษะการอ่านเป็นทักษะทีม่ คี วามจ�าเป็น ผูอ้ า่ นทีด่ ตี อ้ งมีมารยาทหรือข้อควรประพฤติ ปฏิบัติในการอ่านออกเสียง ดังนี้ ๑. การใช้น�้าเสียง คือควรพิจารณาใช้น�้าเสียงให้สอดคล้อง เหมาะสมกับเนื้อหา ไม่ควร ดัดเสียงจนฟังไม่เป็นธรรมชาติ ซึ่งอาจท�าให้ผู้ฟังท�าความเข้าใจเนื้อหาไม่ตรงกับเจตนาของผู้อ่าน รวมถึงการดัดเสียงจนเกินงาม ก็อาจสร้างความร�าคาญแก่ผู้ฟังได้ ๒. มีบุคลิกภาพที่ดี คือการจัดระเบียบท่ายืน หรือนั่งให้เหมาะสม ไม่หลุกหลิก และ ไม่ควรยกร่างข้อความขึ้นมาให้ผู้ฟังเห็น หรือก้มหน้าก้มตาอ่านจนไม่สนใจผู้ฟัง ๓. ควรสังเกตปฏิกริ ยิ าของผูฟ้ งั คือการสังเกตดูวา่ ผูฟ้ งั สามารถท�าความเข้าใจเรือ่ งราวตาม ผู้อ่านทันหรือไม่ รวมถึงสังเกตว่าผู้ฟังให้ความสนใจมากน้อยเพียงไร แล้วจึงปรับเพิ่ม - ลดความเร็ว ในการอ่าน ลีลาน�้าเสียง เป็นต้น เพื่อดึงให้ผู้ฟังกลับมามีส่วนร่วมกับผู้อ่าน ๔. ไม่ควรแสดงอารมณ์โมโห หงุดหงิด ฉุนเฉียว หรือใช้ถ้อยค�าไม่สุภาพ ว่ากล่าวตักเตือน เมือ่ เห็นว่าผูฟ้ งั ไม่สนใจ หรือพูดคุยเสียงดัง หากแต่ควรรูจ้ กั ระงับอารมณ์ และอาจถามผูฟ้ งั เพือ่ ปรับปรุง ต่อไป

อธิบายความรู นักเรียนรวมกันอธิบายความรู เกี่ยวกับ “มารยาทในการอาน ออกเสียง” จากนั้นใหนักเรียนรวมกัน จัดทําแผนปายนิเทศเพื่อเผยแพร

ขยายความเขาใจ

5

ครูทบทวนความรู ความเขาใจให แกนักเรียนเกี่ยวกับมารยาทในการ อานออกเสียง จากนั้นครูตั้งคําถาม กับนักเรียนวา • นักเรียนคิดวาวิธีการใดที่จะ รณรงคใหบุคคลทั่วไปในสังคม เห็นความสําคัญของมารยาทใน การอานออกเสียง (แนวตอบ นักเรียนสามารถแสดง ความคิดเห็นไดอยางหลากหลาย คําตอบขึ้นอยูกับดุลยพินิจของ ครูผูสอน เชน ประชาสัมพันธดวย แผนพับ การปฏิบัติตนเองใหเปน ตัวอยางที่ดี ฯลฯ) คูมือครู

5


กระตุน ความสนใจ สํารวจคนหา Engage

Explore

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

(ยอจากฉบับนักเรียน 20%)

กระตุนความสนใจ ครูนําตัวอยางคลิปเสียงการเลา นิทานหรือพากยบทภาพยนตรที่ สามารถสืบคนไดจากสื่ออินเทอรเน็ต หรือครูเปนผูบันทึกเสียงเอง มาเปด ใหนักเรียนฟง โดยคลิปเสียงตองเปน ตัวอยางที่ดี ออกเสียงชัดเจน ถูกตอง ใชนํ้าเสียงไดไพเราะ และมีความ เหมาะสมกับเนื้อเรื่อง อารมณ ความรูสึกของตัวละคร จากนั้น ครูตั้งคําถามกับนักเรียน โดยให แสดงความคิดเห็นอยางอิสระ • นักเรียนคิดวาคลิปเสียงดังกลาว มีลักษณะการออกเสียงอยางไร (แนวตอบ นักเรียนสามารถตอบ ไดอยางหลากหลาย คําตอบขึ้น อยูกับดุลยพินิจของครูผูสอน)

๒ การอ่านออกเสียงบทร้อยแก้ว ร้อยแก้ว หมายถึง ความเรียงที่สละสลวยในรูปแบบการบรรยาย พรรณนา เทศนา สาธกหรือ อุปมาโวหาร รวมถึงบทพูด บทสนทนา บทสัมภาษณ์ ประกาศหรือข่าวสารต่างๆ ดังนั้น ร้อยแก้วจึง เป็นความเรียงที่เรียบเรียงขึ้นโดยไม่มีการบังคับสัมผัสฉันทลักษณ์ การอ่านออกเสียงร้อยแก้ว หมายถึง การอ่านหนังสือโดยการที่ผู้อ่านเปล่งเสียงออกมาดังๆ ในขณะที่อ่าน โดยมีจุดมุ่งหมายที่แตกต่างกัน เช่น เพื่อถ่ายทอดความรู้ เพื่อสร้างความบันเทิง และความพอใจ ซึ่งการอ่านออกเสียงในแต่ละครั้งอาจมีจุดมุ่งหมายหลายๆ ประการรวมกัน หรือมี จุดมุ่งหมายเฉพาะ เช่น การอ่านประกาศ รายงาน แถลงการณ์ ฯลฯ ผู้อ่านต้องค�านึงถึงการอ่านให้ ถูกต้องตามอักขรวิธี การใช้นา�้ เสียงและลีลาในการอ่านให้สอดคล้องเหมาะสมกับเรือ่ งและควรฝึกปฏิบตั ิ อย่างสม�่าเสมอ

๒.๑ แนวทางการอ่านออกเสียงบทร้อยแก้วเบือ้ งต้น

ความเรียงที่เขียนในลักษณะร้อยแก้วมีอยู่หลายประเภท ซึ่งอาจจะท�าให้ลีลาในการอ่าน แตกต่างกันออกไป แต่ก็อาศัยหลักเกณฑ์ที่ไม่แตกต่างกัน ดังนี้ ๑. ผู ้ อ ่ า นต้ อ งอ่ า นให้ ถู ก ต้ อ งตามอั ก ขรวิ ธี ใ นภาษา ทั้ ง ภาษาไทยและภาษาที่ ยืมมาจากภาษาอื่นๆ เช่น บาลี สันสกฤต เขมร ฯลฯ โดยอาศัยหลักการอ่านจากพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน รวมทั้งค�าที่อ่านตามความนิยม ๒. ผู้อ่านต้องมีสมาธิและความมั่นใจ ในการอ่าน ไม่อ่านผิด อ่านตก อ่านเติม ขณะ อ่านต้องควบคุมสายตาให้ไล่ไปตามตัวอักษรทุกตัว ในแต่ละบรรทัดจากซ้ายไปขวาด้วยความรวดเร็ว ว่องไวและรอบคอบ แล้วย้อนสายตากลับลงไปยัง บรรทัดถัดไปอย่างแม่นย�า ๓. ผูอ้ า่ นควรอ่านให้เป็นเสียงพูด โดย เน้นเสียงหนักเบา สูง ต�่า ตามลักษณะการพูด ทัง้ นีใ้ ห้ใช้เนือ้ หาสาระของบทอ่านเป็นหลัก รวมทัง้ ควรพิจารณาเนื้อความว่าเป็นไปในทางใด เช่น ตื่นเต้น โกรธ ผิดหวัง ฯลฯ ควรใช้น�้าเสียงให้ เหมาะสมกับลักษณะอารมณ์ตามเนื้อหาในเรื่อง

สํารวจคนหา 1. นักเรียนจับคูกับเพื่อนรวมกัน คนหาความรูในประเด็น “ความหมายของรอยแกว” 2. นักเรียนสืบคนคลิปเสียงจาก สื่ออินเทอรเน็ต โดยเลือกเรื่องที่ ตนเองประทับใจ สํารวจคนหา แนวทางการอานออกเสียงจาก คลิปเสียงที่เลือก 3. นักเรียนสืบคนแนวทางการอาน ออกเสียงบทรอยแกวจากแหลง เรียนรูตางๆ เชน หนังสือเรียน ในหนา 6 - 7 หรือเว็บไซตทาง การศึกษา

การฝกการอ่านออกเสียงให้มีความถูกต้องและชัดเจน สามารถนําไปใช้ประกอบอาชีพในอนาคตได้

6

นักเรียนควรรู

6

คูมือครู

ใชนํ้าเสียงใหเหมาะสมกับลักษณะอารมณตามเนื้อหาในเรื่อง ผูอานที่ดีควรศึกษาเนื้อเรื่อง กอนการอานจริง เพื่อใหมีเวลาสําหรับการเตรียมตัว คําใดที่ไมแนใจก็ควรเปดหาคําอานจาก พจนานุกรม โดยเฉพาะการเลานิทาน ผูเลาจะตองเขาใจเนื้อหาเปนอยางดีจึงจะใชนํ้าเสียงได เหมาะสม


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

Explain

Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

อธิบายความรู ๔. ผู้อ่านต้องอ่านให้เสียงดังพอสมควร ไม่ตะโกนหรือแผ่วเบาจนเกินไป ซึ่งจะท�าให้ ผู้ฟังเกิดความร�าคาญและไม่สนใจ ๕. เมือ่ อ่านจบย่อหน้าหนึง่ ควรผ่อนลมหายใจ และเมือ่ ขึน้ ย่อหน้าใหม่ควรเน้นเสียง และ ทอดเสียงให้ช้าลงกว่าปกติเล็กน้อยเพื่อดึงดูดความสนใจจากผู้ฟัง จากนั้นจึงใช้เสียงในระดับปกติ ๖. อ่านให้ถูกจังหวะวรรคตอน ต้องอ่านให้จบค�าและได้ใจความ ถ้าเป็นค�ายาวหรือ ค�าหลายพยางค์ ไม่ควรหยุดกลางค�าหรือตัดประโยคจนเสียความ ๗. รู้จักเน้นค�าที่ส�าคัญและค�าที่ต้องการเพื่อให้เกิดจินตภาพตามที่ต้องการ การเน้น ควรเน้นเฉพาะค�า ไม่ใช่ทั้งวรรคหรือทั้งประโยค เช่น “กลิ่นของดอกไม้นั้น หอมหวน ยิ่งกว่ากลิ่นใดๆ ที่เคยได้สัมผัส” ควรเน้นที่ค�าว่า หอมหวน เพื่อให้ผู้ฟังจินตนาการถึงดอกไม้นานาพันธุ์ที่ส่งกลิ่นหอม และเป็นกลิ่นหอมที่ไม่เหมือนกลิ่นหอมอื่นใดที่เคยสัมผัส ๘. เมือ่ อ่านข้อความทีม่ เี ครือ่ งหมายวรรคตอนก�ากับ ควรอ่านให้ถกู ต้องตามหลักภาษา เช่น โปรดเกล้าฯ ต้องอ่านว่า โปรดเกล้าโปรดกระหม่อม, ทุกวันๆ อ่านว่า ทุกวันทุกวัน ส่วนค�าที่ใช้ อักษรย่อต้องอ่านให้เต็มค�า เช่น พ.ศ. อ่านว่า พุด-ทะ-สัก-กะ-หราด, ผบ.ทบ. อ่านว่า ผู้บัญชาการ ทหารบก ในระดับชัน้ นีจ้ ะกล่าวถึงการอ่านออกเสียงบทความทัว่ ไปและบทความปกิณกะ โดยการฝึกอ่าน ตามเครื่องหมายที่ก�าหนด ดังนี้ / เว้นวรรคเล็กน้อยเพื่อหยุดหายใจ // เว้นวรรคเมื่ออ่านจบข้อความหลัก ___ แสดงค�าที่เน้นเสียงหนัก ... ทอดเสียง ข้อควรระวัง ๑. ไม่เว้นวรรคระหว่างประธาน กริยาและกรรม ทั้งไม่เว้นวรรคระหว่างค�าเชื่อม ๒. หากประธานเดิมมีค�ากริยาหลายตัว กริยาตัวต่อๆ ไปให้เว้นวรรคได้บ้าง

๒.๒ การอ่านออกเสียงบทร้อยแก้วประเภทบทความ ๑) การอ่านบทความทั่วไป บทความ คือ ความเรียงที่ผู้เขียนน�าเสนอข้อเท็จจริง

เกี่ยวกับเรื่องราวหรือองค์ความรู้ต่างๆ สู่ผู้อ่าน ซึ่งอาจมีการแสดงทรรศนะ ข้อคิดเห็นของผู้เขียน บทความสามารถแบ่งได้หลายประเภทตามเนือ้ หาทีน่ า� เสนอ เช่น บทความวิชาการ บทความท่องเทีย่ ว บทความแสดงความคิดเห็นในเรือ่ งราวต่างๆ ดังนัน้ ผูอ้ า่ นต้องจับประเด็นบทความทีอ่ า่ นให้ได้วา่ เนือ้ หา ตอนใดเป็นข้อเท็จจริง ตอนใดเป็นข้อคิดเห็น ฯลฯ 7

ขยายความเขาใจ

1. นักเรียนที่จับคูกันออกมาอธิบาย ความรูเกี่ยวกับความหมายของ รอยแกวและการอานออกเสียง รอยแกว (แนวตอบ รอยแกว หมายถึง ความ เรียงทุกประเภทที่เรียบเรียงขึ้น โดยไมมีการบังคับฉันทลักษณ การอานออกเสียงบทรอยแกว หมายถึง การอานออกเสียงงาน เขียนประเภทความเรียงเพื่อสาระ ความรู รวมถึงทรรศนะ โดยผูอาน จะตองอานใหถูกตองตามอักขรวิธี และความนิยม) 2. นักเรียนแตละคนอธิบายความรู เกี่ยวกับแนวทางการอานออกเสียง ที่สํารวจไดจากคลิปเสียงตัวอยาง (แนวตอบ นักเรียนสามารถตอบได อยางหลากหลาย โดยขึ้นอยูกับ ธรรมชาติของคลิปเสียงที่นักเรียน สืบคน) 3. นักเรียนรวมกันอธิบายความรู เกี่ยวกับแนวทางการอานออกเสียง ที่ไดสํารวจจากคลิปของแตละคน ใหตัวแทนออกมาเขียนแนวทางที่ ไดบนกระดาน จากนั้นใหนักเรียน รวมกันแลกเปลี่ยนความรูแนวทาง การอานออกเสียงที่มีลักษณะ ตรงกัน (แนวตอบ การอานออกเสียง บทรอยแกวเบื้องตนมีแนวทาง ปฏิบัติดังนี้ 1. อานใหถูกตองตามอักขรวิธีใน ภาษา เชน คําควบกลํ้า 2. มีสมาธิและความมั่นใจใน การอาน 3. อานใหเปนเสียงพูด ให เหมาะสมกับเนื้อหาสาระที่อาน ฯลฯ)

ครูทบทวนความรูเกี่ยวกับแนวทางการอานออกเสียงใหแกนักเรียน จากนั้นครูตั้งคําถามกับนักเรียนวา • นักเรียนคิดวาจะนําแนวทางการอานออกเสียงบทรอยแกวเบื้องตนไปใชในชีวิตประจําวันทั้งในปจจุบันและ อนาคตไดอยางไร (แนวตอบ นักเรียนสามารถแสดงความคิดเห็นไดอยางอิสระ คําตอบขึ้นอยูกับดุ​ุลยพินิจของครูผูสอน) คูมือครู

7


กระตุน ความสนใจ สํารวจคนหา Engage

อธิบายความรู

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

(ยอจากฉบับนักเรียน 20%)

กระตุนความสนใจ ครูสนทนากับนักเรียนเพื่อกระตุน ความสนใจโดยแจงใหทราบวา การเรียนการสอนเรื่องการอานออก เสียง จะเนนใหนักเรียนไดลงมือ ปฏิบัติทักษะ

การอ่านบทความทั่วไป ผลวิจัยชี้คุยมือถือแนบหู สมองท�ำงำนหนักขึ้น ๗ % (ไทยโพสต์) ผลวิจัยชี้ว่ำเอำมือถือแนบหู ๕๐ นำที มีผลต่อกำรท�ำงำนของสมองส่วนใกล้เสำสัญญำณ ดร.โนรา โวลโกว/ กล่าวว่า... การวิจัยนี้/เป็นไปเพื่อหาปฏิกิริยาการท�างานของสมอง/ ต่อคลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้า จากเสาสัญญาณของมือถือ// ซึง่ ผลวิจยั ระบุวา่ / การคุยมือถือแนบกับใบหู/ จะท�าให้สมองใช้พลังงานมากขึ้นในส่วนที่ใกล้// คณะผูว้ จิ ยั สแกนสมองของอาสาสมัครทัง้ หมด ๔๗ คน โดยแบ่งเป็นกลุม่ ทีใ่ ช้โทรศัพท์มอื ถือ นาน ๕๐ นาที/ และกลุ่มที่ปิดมือถือ// ผลที่ออกมาชี้ว่า/ แม้จะไม่มีปฏิกิริยารุนแรง/ต่อสัญญาณ มือถือ/ แต่พบว่ามีการเผาผลาญกลูโคสในสมองมากขึ้น ๗% ในจุดที่ใกล้เสาสัญญาณมากที่สุด// แพทริก แฮกการ์ด อาจารย์ประจ�ามหาวิทยาลัยลอนดอน/ตอบรับว่า/เป็นงานวิจัย ที่ น่าสนใจ/ เพราะเสนอว่าสั​ัญญาณมือถือมีผลต่อสมองโดยตรง// สมองโดยตรง// แต่เขามองว่า/ กระบวนการ เผาผลาญพลังั งานสูงในสมองมีตามธรรมชาติอยูแ่ ล้ว// เช่น/ การคิดวิเคราะห์ตามปกติของมนุษย์// เผาผลาญพล ทางด้านโฆษกสมาคมผู้ผลิตโทรศัพท์มือถือ// จอห์น วอลส์ ออกมาชี้แจงว่า/ หลักฐาน ง/ หรือผลเสียต่อ ทางวิทยาศาสตร์ในปัจจุบันชี้ว่า// การใช้ ารใช้อุปกรณ์ไร้สายไม่ก่อให้เกิดความเสี่ยง/ สุขภาพแต่อย่างใด// โวลโกว ยอมรั โวลโกว ยอมรับเช่นกันว่า// จ�าาเป็ เป็นต้องท�าวิจัยเพิ่ม//จึงจะสามารถตัดสินได้ว่า/ การใช้ แทน/ เพราะเชือ่ ว่า/ โทรศัพท์มอื ถือ/มีผลเสียจริงหรือไม่/ แต่ แต่ตวั เธอเอง/ใช้โทรศัพท์มอื ถือ/ผ่านหูฟงั แทน/ น/ ย่ย่อมดีกว่า... ป้องกันไว้ก่อน/

สํารวจคนหา 1. นักเรียนจับคูกับเพื่อนรวมกัน สืบคนความรูในประเด็น “อุปสรรค ในการอานออกเสียง” 2. นักเรียนรวมกันอานออกเสียง บทความตัวอยางพรอมๆ กัน โดยยังไมตองเครงครัดเรื่อง การแบงวรรคตอนและการใชเสียง ทําการบันทึกเสียงไว และเปดฟง หลังจากนั้นนักเรียนรวมกันคนหา ความรูในประเด็น “วิธีการเวน วรรคตอนและการใชนํ้าเสียงใน การอาน”

อธิบายความรู 1. ครูสุมเรียกชื่อนักเรียนเพื่ออธิบาย ความรูเ กีย่ วกับอุปสรรคในการอาน (แนวตอบ นักเรียนสามารถตอบได อยางหลากหลาย ตามองคความรู ที่ไดจากการสืบคน) 2. นักเรียนรวมกันอานออกเสียง อีกครั้ง โดยใชแนวทางการอาน ที่ไดศึกษารวมกัน บันทึกเสียงไว และเปดฟง เปรียบเทียบความ แตกตางการบันทึกเสียงทั้ง 2 ครั้ง (แนวตอบ นักเรียนสามารถแสดง ความรู ความเขาใจ และความ คิดเห็นไดอยางอิสระ คําตอบขึ้น อยูกับดุลยพินิจของครูผูสอน)

(http: //health.kapook.com/view21911.html)

จากตัวอย่าง เป็ เป็นการอ่านบทความจากอินเทอร์เน็ต สือ่ อิเล็กทรอนิกส์ทมี่ อี ทิ ธิพลต่อการสือ่ สาร ของมนุษย์มากขึ้น การอ่านบทความจากสื ของมนุ นบทความจากส่ือประเภทนี้จะท�าให้ผู้อ่านได้รับทราบข้อมูลที่หลากหลาย ลากหลาย แต่อย่างไรก็ตาม ควรอ่านอย่างมีวิจารณญาณ การอ่านบทความนี้ถ้าแบ่งเว้นวรรคผิดหรืออ่านด้วย โทนเสียงเดียว จะท�าให้ผู้ฟังไม่สนใจ แม้จะเป็นบทความที่เป็นประโยชน์ต่อการด�าเนินชีวิตประจ�าวัน ดังนั้น การฝึกฝนการอ่านตามแนวทางข้างต้น จะช่วยท�าให้เป็นผู้ที่มีทักษะทางการอ่านออกเสียงที่ด ี และยังสามารถน�าไปใช้อ่านบทความประเภทต่างๆ ในชีวิตประจ�าวันได้

8

นักเรียนควรรู อินเทอรเน็ต ปจจุบันการสื่อสารของมนุษยมีความรวดเร็วมากขึ้น เมื่อมีการสื่อสารผานระบบออนไลน อินเทอรเน็ต แตอยางไรก็ตาม ระบบอินเทอรเน็ตจะเปนประโยชนสูงสุดหากใชไปในทิศทางที่ถูกตอง

8

คูมือครู


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล Expand

Evaluate

ขยายความเขาใจ นักเรียนนําความรูเกี่ยวกับ แนวทางการอานออกเสียง บทรอยแกวเบื้องตน ที่ไดฝกฝน รวมกับเพื่อนในชั้นเรียนมาใชเปน แนวทางอานออกเสียงบทความ ปกิณกะดวยตนเอง

๒) การอ่านบทความปกิณกะ การอ่านบทความปกิณกะ ทุกวันนี้เรามีตึกสูงขึ้น/มีถนนกว้างขึ้น/แต่ความอดกลั้นน้อยลง// เรามีบ้านใหญ่ขึ้น/แต่ครอบครัวของเรา กลับเล็กลง// เรามียาใหม่ ๆ มากขึ้น/แต่สุขภาพกลับแย่ลง// เรามีความรักน้อยลง/แต่มีความเกลียดมากขึ้น// เราไปถึงโลกพระจันทร์มาแล้ว/แต่เรากลับพบว่า... แค่การข้ามถนนไปทักทายเพื่อนบ้าน/กลับยากเย็น… เราพิชิตห้วงอวกาศมาแล้ว/แต่แค่ห้วงในหัวใจ/กลับไม่อาจสัมผัสถึง// เรามีรายได้สูงขึ้น/แต่ศีลธรรมกลับตกต�่าลง// เรามีอาหารดีๆ มากขึ้น/แต่สุขภาพแย่ลง// ทุกวันนี้/ทุกบ้านมีคนหารายได้/ได้ถึง 2 คน แต่การหย่าร้างกลับเพิ่มมากขึ้น// งว่าเพื่อโอกาสพิ โอกาส เศษ// ศษ ดังนั้น...จากนี้ไป… ขอให้พวกเราอย่าเก็บของดีดีๆ ไว้/โดยอ้อ้างว่ เพราะทุกวันที่เรายัยังมีชีวิตอยู่/คือ …โอกาสที่พิเศษสุดแล้ว จงแสวงหา แสวงหา การหยั่งรู้ ความอยาก จงนั่งตรงระเบียงบ้าน/เพื่อชื่นชมกับการมีชีวิตอยู่โดยไม่ใส่ใจกับความอยาก… จงใช้เวลากักับครอบครัว/เพื่อนฝูง/คนที่รักให้มากขึ้น... กินอาหารให้อร่อย/ไปเที่ยวในที่ที่อยากจะไป ชีวิต คือ โซ่ห่วงของนาทีแห่งความสุข/ไม่ใช่เพียงแค่การอยู่ให้รอด// เอาแก้วเจียระไนที่มีอยู่มาใช้เสีย น�้าหอมดีดีๆ ที่ชอบจงหยิบมาใช้เมื่ออยากจะใช้ พจนานุกรม เอาค�าพูดที่ว่า...สักวันหนึ่ง/ออกไปเสียจากพจนา จากพจนานุ บอกคนที่เรารักทุกคน ว่า/เรารักพวกเขาเหล่านั้นแค่ไหน... อย่าผัดวันประกันพรุ่ง/ที่จะท�าอะไรก็ าอะไรก็ตาม/ที่ท�าให้เรามีความสุขเพิ่มขึ้น... ทุกวัน... ทุกชั่วโมง โมง.... ทุกนาที...... มีความหมาย... เราไม่รู้เลยว่า/เมื่อไรมันจะสิ้นสุดลง// และเวลานี้... ถ้าคุณคิดว่า คุณไม่มีเวลาที่จะ copy ข้อความนี้/ไปให้คนที่คุณรักอ่าน... แล้วคิดว่า…. สักวันหนึ่ง...ค่อยส่ง... จงอย่าลืมคิดว่าสักวันหนึ่ง...วันนั้น คุณอาจไม่มีโอกาสมานั่งตรงนี้ เพื่อท�าอย่างที่คุณต้องการอีกก็ได้...

ตรวจสอบผล 1. นักเรียนออกมาอานตัวอยาง บทความปกิณกะที่แสดงไวใน หนา 9 ใหครูและเพื่อนๆ ฟง หนาชั้นเรียน จากนั้นใหเพื่อนๆ รวมกันลงคะแนนหาผูที่มีความ สามารถในการอานออกเสียง บทรอยแกวไดดีที่สุด 2. นักเรียนที่ไดรับคัดเลือกออกมา หนาชั้นเรียนบรรยายแนวทางที่ ตนเองใชในการอานบทความให เพื่อนๆ ฟง จากนั้นครูสุมเรียกชื่อ นักเรียนหรือขออาสาสมัครเพื่อ ออกมาบรรยายหลักเกณฑการ คัดเลือก 3. ครูประเมินการอานออกเสียงของ นักเรียนแตละคน แนะนําแนวทาง ปฏิบัติที่ถูกตองใหแกนักเรียน

หลักฐาน แสดงผลการเรียนรู นักเรียนสรุปแนวทางการอานออก เสียงบทรอยแกวเบื้องตนสงครูผูสอน

(จอร์จ คอลลิน http: //happyhappiness.monkiezgrove.com/)

9

นักเรียนควรรู บทความปกิณกะ หมายถึง บทความทั่วไป บทความเบ็ดเตล็ด ซึ่งบทความในลักษณะนี้อาจมีสาระประโยชน แฝงอยู ซึ่งนักเรียนสามารถอานบทความปกิณกะไดจากเว็บไซตตางๆ หรือหนังสือรวบรวมบทความ คูมือครู

9


กระตุน ความสนใจ สํารวจคนหา Engage

อธิบายความรู

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

(ยอจากฉบับนักเรียน 20%)

กระตุนความสนใจ ครูอานบทรอยกรองประเภท ใดก็ได โดยเลือกบทที่ไพเราะ ใหนักเรียนฟง ซึ่งครูควรอานให นักเรียนฟง 2 ลักษณะ คือ การ อานแบบไมใสทํานองและการ อานแบบทํานองเสนาะ จากนั้น ตั้งคําถามกับนักเรียนวา • การอานทั้ง 2 ลักษณะให อารมณความรูสึกที่แตกตางกัน หรือไม อยางไร (แนวตอบ การอานทั้งสองแบบ ใหอารมณความรูสึกที่แตกตาง กัน เพราะการอานแบบทํานอง เสนาะจะใหความไพเราะดวย การใชนํ้าเสียงของผูอานที่สื่อไป ยังผูฟงตามทํานองและลีลาของ บทรอยกรอง)

๓ การอ่านออกเสียงบทร้อยกรอง ร้อยกรอง หมายถึง ค�าประพันธ์ที่แต่งโดยมีการบังคับจ�านวนค�า สัมผัส ฉันทลักษณ์ ตาม แบบแผนของร้อยกรองแต่ละประเภท ได้แก่ โคลง ฉันท์ กาพย์ กลอน ร่าย เป็นต้น การอ่านออกเสียงบทร้อยกรอง หมายถึง การอ่านออกเสียงงานเขียนร้อยกรองประเภทต่างๆ เพื่อสื่อเนื้อหาและอารมณ์ความรู้สึกที่ปรากฏไปสู่ผู้รับสารด้วยท่วงท�านองที่แตกต่างกัน การอ่านท�านองเสนาะ หมายถึง การอ่านออกเสียงบทร้อยกรองประเภทต่างๆ ตามท�านอง ลีลาและจังหวะของบทประพันธ์ เพือ่ ให้ผอู้ า่ น ผูฟ้ งั เข้าถึงความงดงามของภาษา การอ่านท�านองเสนาะ บทร้อยกรองจะมีความแตกต่างกันตามท�านอง ลีลา การทอดเสียงและความสามารถของผู้อ่าน

๓.๑ แนวทางการอ่านบทร้อยกรองเบือ้ งต้น

เช่น การบังคับเอก โท ครุ ลหุ เสียงวรรณยุกต์ท้ายวรรค และพยางค์หรือค�าที่บรรจุลงในวรรคหนึ่งๆ ๒) ต้องรูจ้ กั ท�านอง นอง ลีลาและการเอือ้ นเสียงของบทร้อยกรองแต่ละประเภทให้ถกู ต้อง รวมถึงต้องรู้จักวางจังหวะสัมผัสที่คล้องจองกันของบทกวีให้ถูกต้องตามต�าแหน่งให้ลงสัมผัส และ รู้จังหวะการเอื้อนเสียงเพื่อทอดจังหวะส�าหรับอ่านในบทถัดไป ๓) ต้องรู้จักเอื้อนเสียงง ตามชนิดของค�าประพันธ์นั้นๆ โดยลากเสียงช้าๆ เพื่อให้เข้า จังหวะและไว้หางเสียงให้ไพเราะ แต่ทั้งนี้ต้องไม่เอื้อนเสียงที่ค�าลหุเนื่องจากเป็นค�าที่มีเสียงสั้นและเบา ๔) ต้องรู้จักอ่านรวบค�า หรือพยางค์ที่เกินจากที่ก�าหนดไว้ในฉันทลักษณ์ โดยอ่านให้ เร็วขึ้นและเสียงให้เบาลงกว่าปกติจนกว่าจะถึงค�าหรือพยางค์ที่ต้องการจึงลงเสียงหนัก ๕) ต้องรู้จักอ่านค�า ให้ถูกต้องตามอักขรวิธี ไม่ผิดสระ ผิดพยัญชนะ หรือวรรณยุกต์ เช่น ไก่ เป็น ก่าย ครู เป็น คู ข่อน เป็น ค้อน นอกจากนี้ ควรอ่านออกเสียงพยัญชนะ /จ/ฉ/ช/ถ/ ท/ธ/ศ/ษ/ส/ เป็นต้น ให้ชัดเจนถูกต้องตามอักขรวิธีในภาษาไทย โดยไม่อ่านเป็นเสียงเสียดแทรกมาก เกินไปตามภาษาอังกฤษ และควรอ่านออกเสียงพยัญชนะ /ร/ล/ ค�าควบกล�้า ร/ล/ว ให้ชัดเจน เพราะ อาจท�าให้ผู้ฟังเข้าใจความหมายคลาดเคลื่อน และไม่ไพเราะ ๖) รู้จักใส่อารมณ์ ความรู้สึกลงในค�าประพันธ์ที่อ่าน ซึ่งหมายความว่า ผู้อ่านต้อง ท�าความเข้าใจความหมายที่แท้จริงของบทประพันธ์และสื่อไปยังผู้ฟังให้ตรงตามเจตนาที่แท้จริง ๗) พยายามไม่อ่านฉีกค�า หรือฉีกความ โดยใส่ใจเฉพาะเป็นต�าแหน่งค�าสัมผัส แต่ประการเดียว เพราะหากอ่านฉีกค�าหรือฉีกข้อความแล้วอาจท�าให้เนื้อความเสียไปหรือผู้ฟังเข้าใจ ความหมายคลาดเคลื่อนได้ เช่น

สํารวจคนหา นักเรียนจับคูกับเพื่อนรวมกัน คนหาความรูในประเด็น “แนวทาง การอานบทรอยกรองเบื้องตน” ดวย วิธีการแลกเปลี่ยนความรูจากพื้นฐาน ความรูเดิม จากหนังสือเรียน ในหนา 10 หรือเว็บไซตทางการศึกษา

อธิบายความรู นักเรียนรวมกันอธิบายความรู เกี่ยวกับแนวทางการอาน บทรอยกรองเบื้องตน ที่ไดจาก การคนหารวมกับเพื่อน (แนวตอบ การอานบทรอยกรอง เบื้องตน มีแนวทาง ดังนี้ 1. ผูอานตองรูจักฉันทลักษณ ลักษณะบังคับของรอยกรอง แตละประเภท 2. ตองรูจักทํานองลีลาการเอื้อนเสียง 3. ตองรูจักอานรวบคําหรือรวบพยางค ที่เกินจากกําหนดในฉันทลักษณ 4. ตองรูจักใสอารมณในการอาน ฯลฯ)

10

คูมือครู

๑) ต้องรู้จักฉันทลักษณ์ หรือลักษณะบังคั​ับของร้อยกรองประเภทต่างๆ ที่จะอ่าน

10

นักเรียนควรรู ฉันทลักษณ กวีจะเลือกใชฉันทลักษณ โดยใหมีลีลาที่เหมาะสมกับเนื้อหา และอารมณของเรื่อง เพื่อใหผูอานเกิดสุนทรียะอยางลึกซึ้ง


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล Expand

Evaluate

กระตุนความสนใจ ครูเปดคลิปเสียงการอานออก เสียงกลอนสุภาพที่สืบคนไดจาก สื่ออินเทอรเน็ต โดยเลือกตัวอยางที่ ถูกตองและไพเราะ หรือครูเปนผูอาน ใหนักเรียนฟง จากนั้นใหนักเรียน สรุปเนื้อหาของกลอนสุภาพที่ไดฟง พรอมทั้งสังเกตลักษณะการอาน

ตัวอย่าง ม่านนี้/ ฝีมือ/ วันทองท�า เส้นไหม/ แม้นเขียน/ แนบเนียนดี

จ�าได้/ ไม่ผิด/ นัยน์ตาพี่ สิ้นฝีมือ/ แล้ว/ แต่นางเดียว (ขุนช้างขุนแผน)

วรรคสุดท้ายของค�าประพันธ์ที่ยกข้างต้น ถ้าอ่านแบบยึดต�าแหน่งค�าสัมผัสเป็นส�าคัญ จะอ่านเป็น “สิ้นฝี/มือแล้ว/แต่นางเดียว” โดยอาศัยค�าว่า “ฝี” รับสัมผัสจากค�าว่า “ดี” ซึ่งจะเห็น ได้ว่าการอ่านลักษณะนี้ท�าให้ความหมายของค�าประพันธ์คลาดเคลื่อนไป จากความหมายว่า “ฝีมือ” กลายเป็น “ฝี” ที่มือ นอกจากนี้ในวรรคสุดท้ายยังสามารถแบ่งจังหวะการอ่านได้เป็น “สิ้น/ฝีมือแล้ว/ แต่นางเดียว” จากตัวอย่างทีน่ า� มาแสดงจะไม่แบ่งจังหวะอ่านค�า “ฝีมอื ” แยกหรือออกจากกันแต่ให้อา่ น รวบค�า โดยอ่านออกเสียงเบาที่ค�า “ฝี” และลงน�้าหนักเสียงที่ค�า “มือ” ทั้งนี้เพื่อให้ได้ใจความส�าคัญ ครบถ้วนไม่เสียรสความ

สํารวจคนหา 1. นักเรียนรวมกันยกตัวอยาง วรรณคดีที่รูจัก โดยสงตัวแทนออก มาเขียนชื่อวรรณคดี (ในขั้นตอนนี้ นักเรียนอาจยกตัวอยางวรรณคดี ที่ไมไดเขียนดวยกลอนสุภาพมา ปะปนได) 2. นักเรียนจับคูก บั เพือ่ นรวมกันคนหา ความรูในประเด็นฉันทลักษณและ การแบงวรรคตอนของบทรอยกรอง ประเภทกลอนสุภาพ

๓.๒ การอ่านบทร้อยกรอง

การฝึกอ่านออกเสียงบทร้อยกรอง ในที่นี้จะยกตัวอย่าง ๖ ประเภท คือ กลอนสุภาพ กลอนบทละคร กลอนเสภา โคลงสี่สุภาพ กาพย์ยานี ๑๑ และกาพย์ฉบัง ๑๖ ดังนี้ ๑) กลอนสุภาพ คือกลอนทีพ่ ฒั นามาจากกลอนเพลงยาวทีพ่ บหลักฐานว่าเริม่ มีมาตัง้ แต่ ครั้งปลายกรุงศรีอยุธยา กลอนสุภาพ ๑ บท มี ๔ วรรค วรรคละ ๗ - ๙ ค�า จึงท�าให้มีการอ่านในแต่ละ วรรคสามารถแบ่งค�าได้เป็น ๒ / ๒ / ๓ หรือ ๒ / ๓ / ๓ หรือ ๓ / ๒ / ๓ หรือ ๓ / ๓ / ๓ เป็นต้น ซึง่ กลอน ในยุคแรกยังจัดระบบการส่งสัมผัสบังคับระหว่างวรรคไม่ค่อยลงตัว เช่น “จะกล่าวถึง/กรุงศรีอยุธยา อันเป็นกรุงรัตนราช/พระศาสนา มหาดิดิลก/อันเลิศล้น” รวมถึงยังไม่มีการก�าหนดเสียงวรรณยุกต์ ท้ายวรรคเหมือนกลอนในยุคหลัง ภายหลังสุนทรภู่ปรับรูปแบบการประพันธ์กลอนให้ลงตัวมากขึ้น และนิยมให้กลอน แต่ละวรรคมีเพียง ๘ ค�า และมีสัมผัสใน ๒ คู่ คือค�าที่ ๓ กับค�าที่ ๔ ค�าที่ ๕ กับค�าที่ ๖ หรือ ๗ จึงท�าให้การจัดจังหวะการอ่านลงตัวเป็น ๓ / ๒ / ๓ หากแต่มีข้อควรระมัดระวัง คือต้องไม่อ่านฉีกค�า นอกจากนีก้ ลอนแบบสุนทรภู่ ยังจัดระเบียบการส่งสัมผัสระหว่างวรรคได้ลงตัว คือ ท�าให้คา� สุดท้ายของ วรรคที่ ๑ และ ๓ ส่งสัมผัสไปยังค�าที่ ๓ ของวรรคที่ ๒ และ ๔ โดยอาจอนุโลมให้ส่งไปยังค�าที่ ๕ ได้ รวมถึงมีการวางระเบียบบังคับเสียงวรรณยุกต์ท้ายวรรค โดยท้ายวรรคที่ ๑ เป็นเสียงวรรณยุกต์ใดก็ได้ (ยกเว้นเสียงสามัญ) วรรคที่ ๒ เป็นเสียงวรรณยุกต์จตั วา (อนุโลมให้เป็นเสียงเอกได้) ส่วนวรรคที่ ๓ - ๔ ให้ลงท้ายวรรคด้วยเสียงสามัญ ซึ่งเรียกกลอนที่มีการบังคับเสียงวรรณยุกต์แบบนี้ว่า “กลอนสุภาพ”

อธิบายความรู

11

ตรวจสอบผล ครูสังเกตวิธีการอานและชวย ชี้แนะแนวทางสําหรับการปรับปรุง แกไข

1. นักเรียนรวมกันอภิปรายเกี่ยวกับ ฉันทลักษณของกลอนสุภาพและ ลักษณะการแบงวรรคตอน (แนวตอบ กลอนสุภาพ 1 บท มี 4 วรรค วรรคละ 7 - 9 คํา ทําใหแบง วรรคไดเปน 2/2/3, 2/3/3, 3/2/3, 3/3/3) 2. นักเรียนรวมกันคัดเลือกวรรณคดี บนกระดานใหเหลือเพียงเรื่อง เดียวที่ประพันธดวยกลอนสุภาพ (ครูคอยชวยชี้แนะ) จากนั้น สงตัวแทนออกมาเขียนคํากลอน หนาชั้นเรียน โดยนักเรียนชวยกัน ทองทีละวรรค บันทึกลงสมุด

ขยายความเขาใจ นักเรียนออกมาอานบทรอยกรอง ประเภทกลอนสุภาพหนาชั้นเรียน คูมือครู

11


กระตุน ความสนใจ สํารวจคนหา Engage

อธิบายความรู ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล

Explore

Explain

Expand

Evaluate

(ยอจากฉบับนักเรียน 20%)

กระตุนความสนใจ ครูเปดวีดิทัศนการแสดงโขนเรื่อง รามเกียรติ์ใหนักเรียนชม จากนั้น ครูตั้งคําถามกับนักเรียนวา • นักเรียนคิดวาบทละคร ดังกลาวเปนเรื่องอะไร และ คํากลอนที่ตัวละครกลาว แตง ดวยคําประพันธประเภทใด

ตัวอย่าง (สดับ) ประหลาดเหลือ/ เนื้อละมุน/ ยังอุ่นอ่อน สินสมุทร/ สุดสาคร/ ของพ่อเอ๋ย (รับ) (รอง) เคยกลับเป็น/ ก็ไม่เห็น/ เหมือนเช่นเคย กระไรเลย/ แน่นิ่ง/ ไม่ติงกาย (ส่ง) (พระอภัยมณี : สุนทรภู่)

การอ่านท�านองเสนาะบทร้อยกรองประเภทกลอนสุภาพให้มคี วามไพเราะ นอกจาก ผู้อ่านจะต้องอ่านให้ถูกท�านองกลอนออกเสียงตัว ร, ล ค�าควบกล�้าและเสียงวรรณยุกต์ให้ถูกต้องแล้ว การแบ่งวรรคตอนให้ถูกต้องเป็นปัจจัยส�าคัญ จากตัวอย่างก�าหนดให้เครื่องหมาย / เป็นตัวแบ่ง จ�านวนค�าภายในวรรค การจัดจังหวะหายใจก่อนจะอ่านต่อไป แต่เนื่องจากกลอนสุภาพวรรคหนึ่งมี จ�านวนค�าได้ตั้งแต่ ๗ - ๙ จึงอาจจัดจังหวะการอ่านได้เป็น ๓ / ๒ / ๓ (๘ ค�า) ๓ / ๓ / ๓ (๙ ค�า) ๒ / ๒ / ๓ (๗ ค�า) แต่สิ่งส�าคัญต้องพิจารณาที่เนื้อความเป็นหลัก ต้องไม่ฉีกค�าจะท�าให้เสียความ ๒) กลอนบทละคร คือค�ากลอนที่แต่งขึ้นเพื่อแสดงละครร�า เช่น บทพระราชนิพนธ์ บทละครเรื่องรามเกียรติ์ กลอนบทละครมีลักษณะบังคับเช่นเดียวกับกลอนสุภาพ บทหนึ่งมี ๒ บาท หรือ ๔ วรรค วรรคละ ๖ - ๙ ค�า แต่นิยมใช้เพียง ๖ - ๗ ค�า เพื่อให้เข้าจังหวะร้องและร�า ท�าให้ไพเราะ ยิง่ ขึน้ กลอนบทละครมักจะขึน้ ต้นด้วยค�าว่า “เมือ่ นัน้ ” ส�าหรับตัวละครทีเ่ ป็นกษัตริย์ “บัดนัน้ ” ส�าหรับ เสนาหรือคนทั่วไป “มาจะกล่าวไป” ใช้สา� หรับน�าเรื่องเกริ่นเรื่อง

สํารวจคนหา 1. นักเรียนจับคูกับเพื่อนรวมกัน คนหาความรูในประเด็น ฉันทลักษณและการแบงวรรคตอน ของกลอนบทละคร 2. นักเรียนสืบคนวรรณคดีที่แตงดวย กลอนบทละคร

อธิบายความรู 1. นักเรียนรวมกันยกตัวอยาง วรรณคดีที่แตงดวยกลอน บทละครและอภิปราย รวมกันเกี่ยวกับเนื้อหาของเรื่อง และขอคิดที่แฝงไวในวรรณคดี 2. ครูสุมเรียกชื่อนักเรียนเพื่ออธิบาย ความรูเกี่ยวกับฉันทลักษณและ การแบงวรรคตอนของกลอนบท ละคร (แนวตอบ กลอนบทละครแตง ขึ้นเพื่อแสดงละครรํา มีลักษณะ บังคับเชนเดียวกับกลอนสุภาพ แตจะขึ้นตนวรรคแรกดวยคํา เฉพาะ เชน เมื่อนั้น บัดนั้น มา จะกลาวบทไป เปนตน การแบง วรรคตอนสําหรับอานจะแบงเปน 3/2/3 หรือ 3/3/3) 3. นักเรียนรวมกันฝกปฏิบัติอาน กลอนบทละครตามตัวอยาง โดย ครูคอยชวยชี้แนะและประเมิน การอานของนักเรียน

12

คูมือครู

การอ่านกลอนบทละคร เมื่อนั้น ค้อนให้/ ไม่แลดู/ สารา แล้วว่า/ อนิจจา/ ความรัก ตั้งแต่/ จะเชี่ยว/ เป็นเกลียวไป สตรีใด/ ในพิภพ/ จบแดน ด้วยใฝ่รัก/ ให้เกิน/ พักตรา

โฉมยง/ องค์ระเด่น/ จินตะหรา กัลยา/ คั่งแค้น/ แน่นใจ พึ่งประจักษ์/ ดั่งสาย/ น�้าไหล ที่ไหน/ จะไหล/ คืนมา จะมีใคร/ ได้แค้น/ เหมือนอกข้า จะมีแต่/ เวทนา/ เป็นเนืองนิตย์ (อิเหนา : พระราชนิพนธ์พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย)

น�้าใส/ ไหลเย็น/ เห็นตัวปลา นิลุบล/ พ้นน�้า/ อยู่ร�าไร ดอกขาว/ เหล่าแดง/ สลับสี บัวเผื่อน/ เกลื่อนกลาด/ ในสาคร

ว่ายแหวก/ ปทุมา/ อยู่ไหวไหว ตูมตั้ง/ บังใบ/ อรชร คลายคลี่/ ขยายแย้ม/ เกสร บังอร/ เก็บเล่น/ กับนารี

(อิเหนา : พระราชนิพนธ์พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย)

12

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

นักเรียนคัดเลือกกลอนบทละคร ที่ตนเองประทับใจมาเปนแบบฝก สําหรับฝกอานโดยใชแนวทาง ที่ไดศึกษา

นักเรียนออกมาอานออกเสียงกลอนบทละคร ใหครูและเพื่อนฟงหนาชั้นเรียน ครูชี้แนะ แนวทางใหแกนักเรียนที่ยังมีจุดตองปรับปรุง จากนั้นเพื่อนๆ ในหองลงคะแนนคัดเลือกผูที่ ออกเสียงไดดีที่สุด ครูสุมเรียกชื่อนักเรียนเพื่อ บรรยายหลักเกณฑการคัดเลือก


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล Expand

Evaluate

กระตุนความสนใจ ครูเปดวีดิทัศนการขับเสภาให นักเรียนฟงและดู และสนทนากับ นักเรียนเกี่ยวกับการขับเสภาวา ครั้งหนึ่งเคยเปนมหรสพที่นิยมของ คนไทย

การอ่านท�านองเสนาะบทร้อยกรองประเภทกลอนบทละครให้ยึดหลักปฏิบัติเช่นเดียว กับกลอนสุภาพ คือ ใช้เครื่องหมาย / เป็นตัวแบ่งจ�านวนค�าภายในวรรค โดยการแบ่งจ�านวนค�าเป็น ๓ / ๒ / ๓ หรือ ๓ / ๓ / ๓ ตามความเหมาะสมของเนื้อความ ซึ่งสิ่งที่ส�าคัญในการอ่านกลอนบทละคร คือ การใส่อารมณ์ความรู้สึกลงไปในบทประพันธ์เพื่อถ่ายทอดอารมณ์ความรู้สึกของตัวละครไปยังผู้ฟัง ๓) กลอนเสภา คือกลอนล�าน�าส�าหรับขับ ใช้ทา� นองขับได้หลายท�านอง เช่น เสภาไทย เสภาลาว เสภามอญ มีกรับเป็นเครื่องประกอบส�าคัญ ผู้ขับจะต้องขยับกรับให้เข้ากับท�านอง แต่เดิม นิยมขับเป็นเรื่องราว นิยมขับเรื่องขุนช้างขุนแผน กากี เป็นต้น กลอนเสภามีลักษณะบังคับเช่นเดียว กับกลอนสุภาพ

สํารวจคนหา แบงกลุมนักเรียนออกเปน 2 กลุม กลุมที่หนึ่ง คนหาความรูในประเด็น ฉันทลักษณและการแบงวรรคตอน ของกลอนเสภาและประวัติวรรณคดี เรื่อง ขุนชางขุนแผน กลุมที่สอง คนหาความรูในประเด็นฉันทลักษณ และการแบงวรรคตอนของโคลงสี่ สุภาพและประวัติวรรณคดีเรื่อง ลิลิตพระลอ

การอ่านกลอนเสภา เจ้าพลายงาม/ ความแสน/ สงสารแม่ แล้วกราบกราน/ มารดา/ ด้วยอาลัย แต่ครั้งนี้/ มีกรรม/ จะจ�าจาก เที่ยวหาพ่อ/ ขอให้ปะ/ เดชะบุญ แม่รักลูก/ ลูกก็รู้/ อยู่ว่ารัก จะกินนอน/ วอนว่า/ เมตตาเตือน

ช�าเลืองแล/ ดูหน้า/ น�้าตาไหล พอเติบใหญ่/ คงจะมา/ หาแม่คุณ ต้องพลัดพราก/ แม่ไป/ เพราะอ้ายขุน ไม่ลืมคุณ/ มารดา/ จะมาเยือน คนอื่นสัก/ หมื่นแสน/ ไม่แม้นเหมือน จะห่างเรือน/ ร้างแม่/ ไปแต่ตัว

อธิบายความรู

(เสภาขุขุนช้างขุนแผน) (เส (เสภา

1. นักเรียนรวมกันอธิบายความรู เกี่ยวกับฉันทลักษณและลักษณะ การแบงวรรคตอนของกลอนเสภา และโคลงสี่สุภาพ 2. นักเรียนรวมกันอธิบายความรู เกี่ยวกับประวัติวรรณคดีเรื่อง ขุนชางขุนแผน และลิลิตพระลอ บันทึกความรูที่ไดลงสมุด 3. นักเรียนรวมกันฝกปฏิบัติ อาน กลอนเสภาและโคลงสี่สุภาพตาม ตัวอยาง โดยครูคอยชี้แนะ

การอ่านบทร้อยกรองประเภทกลอนเสภา ด้วยเหตุที่กลอนเสภาใช้ประกอบการขับ จึงท�าให้มีจ�านวนค�าวรรคละ ๗ - ๙ ค�าขึ้นอยู่กับจังหวะการเอื้อนลากเสียงของผู้ขับหรือผู้แต่งแต่ละคน จึงท�าให้การอ่านในแต่ละวรรคสามารถแบ่งค�าได้เป็น ๒ / ๒ / ๓ หรือ ๒ / ๓ / ๓ หรือ ๓ / ๒ / ๓ หรือ ๓ / ๓ / ๓ เป็นต้น ๔) โคลงสี่สุภาพ เป็นโคลงที่นิยมแต่งมากที่สุดในค�าประพันธ์ประเภทโคลงทั้งหมด โคลงสี่สุภาพ ๑ บท มีจ�านวนค�าตั้งแต่ ๓๐ - ๓๔ ค�า บทหนึ่งมี ๔ บาท บาทละ ๒ วรรค ซึ่งบาทที่ ๑ – ๓ มีบาทละ ๗ ค�า (วรรคหน้า ๕ ค�า วรรคหลัง ๒ ค�า และอาจเพิ่มค�าสร้อยในท้ายบาท ๑ กับ ๓ ได้วรรคละ ๒ ค�า) ส่วนบาทสุดท้ายมี ๙ ค�า (วรรคหน้า ๕ ค�า วรรคหลัง ๔ ค�า) และยังมีการบังคับ ต�าแหน่งค�าเอก - โท โดยบังคับค�าเอก ๗ ค�า ค�าโท ๔ ค�า

ขยายความเขาใจ 13

ตรวจสอบผล

นักเรียนคัดเลือกวรรณคดีที่แตง ดวยกลอนเสภาหรือโคลงสี่สุภาพ เพื่อนํามาฝกอานตามแนวทางที่ได ศึกษา

นักเรียนออกมาอานออกเสียงบทรอยกรองที่เลือก ครูและเพื่อนรวมกัน ประเมินการอาน ครูคอยชี้แนะแนวทางใหแกนักเรียนที่ยังมีขอควรปรับปรุง จากนั้นเพื่อนๆ ในหองลงคะแนนคัดเลือกผูที่ออกเสียงไดดี ครูสุมเรียกชื่อ นักเรียนเพื่อบรรยายหลักเกณฑการคัดเลือก คูมือครู

13


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล

Explore

Explain

Expand

Evaluate

Engage

(ยอจากฉบับนักเรียน 20%)

สํารวจคนหา นักเรียนรวมกันคนหาความรู ในประเด็นฉันทลักษณของกาพยยานี 11 จากหนังสือเรียน ในหนา 14 - 15 หรือเว็บไซตทางการศึกษา

การอ่านโคลงสี่สุภาพ เสียงลือ/ เสียงเล่าอ้าง เสียงย่อม/ ยอยศใคร สองเขือ/ พี่หลับใหล สองพี่/ คิดเองอ้า

อธิบายความรู 1. นักเรียนยืนในลักษณะวงกลมเพื่อ อธิบายความรูเ กีย่ วกับฉันทลักษณ และการแบงวรรคตอนของ กาพยยานี 11 ในลักษณะโตตอบ รอบวง โดยครูสุมเรียกชื่อ (แนวตอบ กาพยยานี 11 หนึ่งบทมี 2 บาท บาทละ 11 คํา คือ วรรค หนา 5 คํา และวรรคหลัง 6 คํา การแบงจังหวะเพื่ออานวรรคที่ มี 5 คํา แบงเปน 2/3 หรือ 3/2 ขึ้นอยูกับเนื้อความ วรรคที่มี 6 คํา แบงเปน 3/3) 2. ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับ วรรณคดีเรื่อง กาพยเหเรือ กระตุนใหนักเรียนไดอธิบาย ความรูจากพื้นฐานความรูเดิม

อันใด/ พี่เอย ทั่วหล้า ลืมตื่น/ ฤๅพี่ อย่าได้/ ถามเผือ (ลิลิตพระลอ)

โฉมควร/ จักฝากฟ้า เกรง/เทพไท้ธรณินทร์ ฝากลม/ เลื่อนโฉมบิน ลมจะ/ชายชักช�้า

ฤๅดิน/ดีฤ ๅ ลอบกล�้า บนเล่า/ นะแม่ ชอกเนื้อ/ เรียมสงวน (นิราศนรินทร์ : นายนรินทร์)

การอ่านท�านองเสนาะบทร้อยกรองประเภทโคลง นอกจากผูอ้ า่ นจะต้องตระหนักในเรือ่ ง เสียง ส�าเนียง อารมณ์และเทคนิคการทอดเสียงแล้ว ผู้อ่านจะต้องมีความมั่นใจในจังหวะและท�านอง โดยใช้เครือ่ งหมาย / แบ่งจังหวะการอ่านภายในวรรคเพือ่ เพิม่ ความไพเราะและผ่อนลมหายใจ การแบ่ง จังหวะในโคลง ถ้าวรรคใดมีคา� ๕ ค�า จะแบ่งจังหวะเป็น ๓/ ๓ / ๒ หรือ ๒ / ๓ หรือ ๑/๔ โดยให้พจิ ารณาจาก ความหมายของค�าเป็นหลัก วรรคทีม่ ี ๔ ค�า จะแบ่งจังหวะเป็น ๒ / ๒ วรรคทีม่ ี ๒ ค�า ไม่ตอ้ งแบ่งจังหวะ หากในวรรคมีจา� นวนพยางค์มากกว่าจ�านวนค�าต้องพิจารณารวบพยางค์ให้จงั หวะไปตกตรงพยางค์ทา้ ย ของค�าที่ต้องการ โดยอ่านรวบค�าให้เร็วและเบา ๕) กาพย์ยานี ๑๑ คือค�าประพันธ์ทมี่ กี ารบังคับสัมผัสต่างจากกลอน คือมีสมั ผัสบังคับ คู่เดียว ค�าสุดท้ายของวรรคที่ ๒ ส่งสัมผัสไปยังค�าสุดท้ายของวรรคที่ ๓ และไม่มีการบังคับเอก - โท ครุ - ลหุ แบบโคลงและฉันท์ โดยยังไม่สามารถหาข้อสรุปได้ว่ากาพย์เป็นค�าประพันธ์ดั้งเดิมของไทย หรือรับมาจากชาติอื่น แต่มักนิยมเชื่อกันว่ากาพย์ คือ การแต่งฉันท์ที่ไม่มีการบังคับครุ - ลหุ กาพย์ยานี ๑๑ เป็นกาพย์ที่นิยมแต่งกันมากที่สุดแบบหนึ่ง มักใช้ส�าหรับการพรรณนา ความทั่วไป เช่น ธรรมชาติหรือบรรยายเหตุการณ์ หนึ่งบทมี ๒ บาท บาทละ ๑๑ ค�า คือ วรรคหน้า ๕ ค�า วรรคหลัง ๖ ค�า

ขยายความเขาใจ ครูนําเนื้อหาของวรรณคดีที่แตง ดวยกาพยยานี 11 มาเปนแบบฝกให นักเรียนฝกอานตามแนวทางการอาน บทรอยกรองที่ไดศึกษา

ตรวจสอบผล นักเรียนออกมาอานทํานองเสนาะ กาพยยานี 11 ใหเพื่อนๆ ฟง จากนั้น เพื่อนๆ ลงคะแนนคัดเลือกผูที่อาน ไดไพเราะเหมาะสม ครูสุมเรียกชื่อ นักเรียนเพื่อบรรยายหลักเกณฑการ คัดเลือก

14

นักเรียนควรรู ลิลิตพระลอ เปนวรรณคดีที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับโศกนาฏกรรมความรักที่ประพันธขึ้นดวยถอยคํา ที่ไพเราะ พรรณนาเรื่องดวยอารมณที่หลากหลาย ใหแงคิดคติธรรมของชีวิต ลิลิตพระลอไดรับ การยกยองจากวรรณคดีสโมสรใหเปนยอดแหงลิลิต เมื่อ พ.ศ. 2459

14

คูมือครู


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล Expand

Evaluate

Engage

สํารวจคนหา นักเรียนรวมกันคนหาความรู ในประเด็นกาพยฉบัง 16 จากหนังสือ เรียน ในหนา 15 หรือจากแหลง เรียนรูอื่น

การอ่านกาพย์ยานี ๑๑ เรื่อยเรื่อย/ มาเรียงเรียง ตัวเดียว/ มาไร้คู่ ร�่าร�่า/ ใจรอนรอน ดวงใจ/ ไยหนีหน้า

นกบินเฉียง/ ไปทั้งหมู่ เหมือนพี่อยู่/ เพียงเอกา อกสะท้อน/ ถอนใจข้า โถแก้วตา/ มาหมางเมิน

อธิบายความรู ครูสุมเรียกชื่อนักเรียนเพื่ออธิบาย ความรูเกี่ยวกับฉันทลักษณและการ แบงวรรคตอนการอานกาพยฉบัง 16 (แนวตอบ กาพยฉบัง 16 1 บท มี 16 คํา แบงเปน 3 วรรค วรรคที่ 1 และ 3 มี 6 คํา สวนวรรคที่ 2 มี 4 คํา โดย วรรคที่มี 6 คํา แบงวรรคตอนเปน 2/2/2 หรืออาจเปน 2/4 วรรคที่มี 4 คํา แบงวรรคตอนเปน 2/2)

(กาพย์เห่เรือ : เจ้าฟ้าธรรมธิเบศร)

การแบ่งจังหวะการอ่านกาพย์ยานี ๑๑ จะใช้เครื่องหมาย / แบ่งจังหวะการอ่านภายใน วรรค โดยวรรคที่มี ๕ ค�า จะแบ่งเป็น ๒ / ๓ หรือ ๓ / ๒ ขึ้นอยู่กับเนื้อความ วรรคที่มี ๖ ค�า จะแบ่ง จังหวะเป็น ๓ / ๓ ๖) กาพย์ฉบัง ๑๖ เป็นกาพย์ที่ใช้ส�าหรับการพรรณนาความงามของธรรมชาติ การเดินทางหรือการต่อสู้ ซึ่งกาพย์ฉบัง ๑๖ หนึ่งบท มี ๑๖ ค�า แบ่งเป็น ๓ วรรค วรรคที่ ๑ และ ๓ มี ๖ ค�า ส่วนวรรคที่ ๒ มี ๔ ค�า การอ่านกาพย์ฉบัง ๑๖ กลางไพร/ ไก่ขัน/ บรรเลง ซอเจ้ง/ จ�าเรียง/ เวียงวัง ยูงทอง/ ร้องกะโต้งโห่งดัง แตรสังข์/ กังสดาล/ ขานเสียง

ขยายความเขาใจ

ฟังเสียง/ เพียงเพลง

ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับ พระราชนิพนธในรัชกาลที่ 2 เรื่อง “บทพากยเอราวัณ” ชี้แนะใหเขาใจ วาพระราชนิพนธโดยใชกาพยฉบัง 16 เนื่องดวยลีลาของกาพยฉบัง 16 เหมาะที่จะใชสําหรับการพรรณนา ความงามของธรรมชาติ การเดินทาง หรือการตอสู ครูคัดเลือกเนื้อหา ตั้งแต “อินทรชิตบิดเบือนกายิน” จนถึงวรรค “ดังเวไชยันตอมรินทร” ใหนักเรียนนํามาฝกปฏิบัติตาม แนวทางการอานบทรอยกรองที่ได ศึกษา

เพียงฆ้อง/ กลองระฆัง (กาพย์พระไชยสุริยา : สุ า นทรภู่)

การแบ่งจังหวะการอ่านกาพย์ฉบัง ๑๖ จะใช้เครือ่ งหมาย / แบ่งจังหวะการอ่านภายในวรรค โดยวรรคที่มี ๖ ค�า จะแบ่งเป็น ๒ / ๒ / ๒ เป็นส่วนใหญ่ โดยสังเกตจากเนื้อความเป็นหลัก ซึ่ง ในบางครั้งอาจแบ่งเป็น ๒ / ๔ ตามตัวอย่าง เพราะค�าบางค�าควรอ่านให้เสียงต่อเนื่องกันเพื่อ สื่อความหมายให้ถูกต้อง วรรคที่มี ๔ ค�า ให้แบ่งจังหวะ ๒ / ๒ การอ่าน เป็นทักษะที่สÓคัญและมีความจÓเป็นต่อการศึกษาหาความรู้เพิ่มพูน ประสบการณ์ต่างๆ ให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของโลก ดังนั้น จึงควรฝึกฝนเพื่อพัฒนา ทักษะการอ่านอย่างสม่Óเสมอ เพื่อให้เป็นผู้สามารถศึกษาเรียนรู้องค์ความรู้ใหม่ๆ ได้ ตลอดเวลา 15

เกร็ดแนะครู ครูควรแนะนําใหนักเรียนศึกษาคนควาเกี่ยวกับประวัติวรรณคดีเพิ่มเติม เชน กาพยเหเรือ กาพยพระไชยสุริยา บทพากษเอราวัณ ฯลฯ จากเว็บไซต ทางการศึกษา เพื่อใหนักเรียนไดมีความรูเพิ่มเติมนอกเหนือจากบทเรียน

ตรวจสอบผล 1. นักเรียนออกมาอานออกเสียง บทพากยเอราวัณในชวงที่กําหนด ครูตรวจสอบการอานของนักเรียน ชี้แนะใหเห็นขอดีและขอควร ปรับปรุง พรอมทั้งแนวทางในการ แกไขปรับปรุง 2. นักเรียนตอบคําถามประจําหนวย การเรียนรู คูมือครู

15


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู ขยายความเขาใจ Explain

Expand

Engage

ตรวจสอบผล Evaluate

(ยอจากฉบับนักเรียน 20%)

สํารวจคนหา นักเรียนคนหาความรูจากเกร็ด ภาษา ในหนา 16

อธิบายความรู ครูสุมเรียกชื่อนักเรียนเพื่ออธิบาย ความรูที่ไดรับจากการอานในหัวขอ “การเพิ่มประสิทธิภาพในการอาน”

เกร็ดภาษา การเพิ่มประสิทธิภาพในการอาน จุดมุงหมายและประโยชนจากการอานมีหลายประการ ผูอานมากยอมมีความรอบรู ความ คิดเปนประโยชนทั้งตอตนเองและสังคม ทักษะการอานเปนทักษะที่สามารถฝกฝนไดดวยวิธีการ ตางๆ ดังนี้ ๑

ในการทอดสายตาแตละครั้ง ผูอานจะตองฝกขยายชวงการทอดสายตาลงบนบรรทัด ใหกวางขึ้น กลาวคือ เมื่อมองลงไปในหนังสือหนึ่งครั้งตองทอดสายตามองจํานวนคําให มากขึ้น เมื่อฝกในชวงแรกๆ การกมลงทอดสายตาอาจจะทําหลายครั้งแตถาฝกฝนจนเกิด ความชํานาญ จะทําใหกวาดสายตาไดเร็วขึ้น

ควรฝกฝนใหมีความเชี่ยวชาญทั้งภาษาไทยและภาษาตางประเทศ เพราะโลกในยุคปจจุบัน เปลี่ยนแปลงไปอยางรวดเร็ว การแสวงหาความรูจึงตองเปดกวางและไมอานหนังสือเพียง ประเภทใดประเภทหนึ่ง

ควรฝกฝนทักษะการอานจับใจความสําคัญ เพื่อสามารถเขาใจแนวคิดของผูเขียน เขาใจ ความหมายทีไ่ มปรากฏเปนลายลักษณ อานแลวไดแนวความคิดใหม สามารถประเมินคาของ ขอความที่อานไดถูกตอง

ควรเรียนรูวิธีการใชหองสมุด โดยสังเกตและศึกษาจากปายประกาศตางๆ หนาหองสมุด ตูบัตรชื่อผูแตง ตูบัตรชื่อหนังสือ มุมหนังสือใหมและมุมวารสารตางๆ การหมั่นศึกษาและ เอาใจใสอยูเสมอจะชวยทําใหไดรับความรูที่แปลกใหม คนควาได ไดสะดวกรวดเร็วขึ้น

ควรอานหนังสือหลายๆ ประเภท หลายๆ เลม ทั้งที่ยากและงาย การอานหนังสือที่มีเนื้อหา คลายคลึงกัน แตเขียนขึ้นสําหรับคนที่มีพื้นฐานความรูตางกัน ฯลฯ เพื่อเก็บไวเปนขอมูลใช ในโอกาสตอไป

เมือ่ พบหนังสือทีต่ อ งการ ควรบันทึกลงบัตรขอมูล โดยระบุชอื่ เรือ่ ง ผูแ ตง สํานักพิมพ ปทพ ี่ มิ พ จํานวนหนา แนวความคิดสําคัญของเรื่อง ฯลฯ เพื่อเก็บไวเปนขอมมูลใชในโอกาสตอไป

เมือ่ พบคําใหมที่ไมเขาใจไมควรละเลย แตควรจดบันทึกไวเพือ่ คนหาความหมาย จะชวยทําให รูจักคําเพิ่มมากขึ้น ไดรับความรูใหมๆ

ควรฝกฝนทักษะการอานในใจ เพราะการฝกอานในใจจะทําใหอานเนื้อหาไดมากในเวลา อันรวดเร็ว และชวยเพิ่มประสิทธิภาพในการอาน

ขณะที่อานควรฝกการใชความคิดและวิจารณญาณในการอานอยางสมํ่าเสมอ

ขยายความเขาใจ ครูสรุปทักษะการเพิ่ม ประสิทธิภาพในการอานใหแก นักเรียน จากนั้นครูตั้งคําถามกับ นักเรียนวา • แนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพ ในการอานสามารถนําไปปรับใช ในชีวิตประจําวันไดจริงหรือไม (แนวตอบ นักเรียนสามารถแสดง ความคิดเห็นไดอยางหลากหลาย และอิสระ คําตอบขึ้นอยูกับ ดุลยพินิจของครูผูสอน)

หลักฐาน แสดงผลการเรียนรู นักเรียนสรุปแนวทางการอาน ออกเสียงบทรอยกรองเบื้องตนสง ครูผูสอน

B

B

พื้นฐานอาชีพ

๑๐ การฝกฝนทักษะการอานออกเสียงจากขาว บทละคร เรื่องสั้น นวนิยาย ฝกอานทํานองเสนาะ โดยการใชนํ้าเสียงเพื่อถายทอดอารมณ ความรูสึกที่ปรากฏในเนื้อเรื่องไปยังผูฟง

ครูชี้แนะใหนักเรียนเห็นความ 16 สําคัญของการอานเพราะการอาน EB GUIDE http://www.aksorn.com/LC/Thai_Gra/M3/02 เปนประตูสูการเรียนรูในดานตางๆ รวมถึงการอานออกเสียง ผูที่ฝกฝน การอานออกเสียงจนเกิดความ ชํานาญ นอกจากจะเสริมสรางบุคลิกภาพที่ดีใหกับตนเอง แลวยังสามารถนําไป ประยุกตใชในการประกอบอาชีพในอนาคตได เชน ผูประกาศขาว นักจัดรายการวิทยุ นักพากษ ครูอาจจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อปูพื้นฐานทางอาชีพใหแกนักเรียน เชน ใหนักเรียนนําขาวพระราชสํานักมาฝกอานรวมกัน เปนตน

16

คูมือครู


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Engage

Explore

Explain

Expand

Evaluate

เกร็ดแนะครู

คําถาม

ประจําหนวยการเรียนรู

๑. จงอธิบายประโยชนของการอานและควรใชทกั ษะการอานประเภทใดเพือ่ รับรูส าระสําคัญไดรวดเร็วทีส่ ดุ ๒. มารยาทในการอานออกเสียงประกอบไปดวยอะไรบาง จงอธิบายพอสังเขป ๓. การอานออกเสียงรอยแกวมีความแตกตางจากการอานออกเสียงบทรอยกรองหรือไม อยางไร จงอธิบาย ๔. จงอธิบายแนวทางการอานและขอควรระวังในการอานบทรอยกรองประเภทที่นักเรียนชื่นชอบมาพอ สังเขป ๕. จงอธิบายวิธีการอานออกเสียงรอยกรองประเภทโคลงสี่สุภาพ พรอมยกตัวอยาง

กิจกรรม กิจกรรมที่ ๑ กิจกรรมที่ ๒ กิจกรรมที่ ๓

สรางสรรคพัฒนาการเรียนรู นักเรียนฟงผูประกาศขาวอานขาวจากสื่อวิทยุ โทรทัศน จากนั้นใหเขียนความ ประทับใจที่มีตอผูประกาศขาววามีหลักในการอานออกเสียงอยางไร นักเรียนรวบรวม ขอความ บทความ หรือบทรอยแกวที่มีความไพเราะมาฝกอาน โดยจับคูกับเพื่อนในชั้นเรียน นักเรียนฝกอานออกเสียงบทประพันธจากวรรณคดีที่ชื่นชอบมา ๓ - ๔ บท แลวนํา มาอานใหครูและเพื่อนนักเรียนฟงหนาชั้นเรียน

17

5. วิธีการอานโคลงสี่สุภาพสามารถแสดงไดจากวรรณคดีเรื่อง ลิลิตพระลอ เสียงลือเสียง/เลาอาง อันใด/พี่เอย เสียงยอมยอ/ยศใคร ทั่วหลา สองเขือพี่/หลับใหล ลืมตื่น/ฤๅพี่ สองพี่คิด/เองอา อยาได/ถามเผือ ในวรรคที่มี 5 คําใหแบงการอานเปน 3/2 ในวรรคที่มี 4 คํา แบงจังหวะการอานเปน 2/2)

(แนวตอบ คําถามประจําหนวยการ เรียนรู 1. ประโยชนของการอานมี มากมายหลายประการ เชน ทําใหไดรับความรูและความ เพลิดเพลิน ไดขอคิด และ แนวทางตางๆ ที่สามารถนํา ไปปรับใชในชีวิตประจําวันได การอานเพื่อใหรับรูขาวสารได รวดเร็ว คือ ใชวิธีการอานในใจ คิดและวิเคราะหขอความที่ได อาน 2. มารยาทในการอานออกเสียง ประกอบดวย - ใชนํ้าเสียงใหเหมาะสม - มีบุคลิกภาพเหมาะสม - สังเกตปฏิกิริยาผูฟง - ควบคุมอารมณ 3. การอานออกเสียงบทรอยแกว มีความแตกตางจากการอาน ออกเสียงบทรอยกรอง เพราะ การอานออกเสียงบทรอยกรอง จะตองอานโดยใสทํานอง ลีลา และใชนํ้าเสียงใหเหมาะสม 4. การอานออกเสียงบทรอยกรอง ประเภทกลอนสุภาพ จะตอง อานดวยการแบงวรรคเปน 2/2/3 2/3/3 3/2/3 หรือ 3/3/3 ตามความเหมาะสมของเนื้อ ความ ขอควรระวังในการอาน นอกจากจะตองอานออกเสียง ร, ล และคําควบกลํ้าใหชัดเจนแลว ยังตองแบงวรรคตอนใหถูกตอง โดยพิจารณาจากเนื้อความเปน หลัก ตองไมอานแยกคําเพื่อมุง การแบงวรรคเพียงประการเดียว เพราะจะทําใหเสียความ

คูมือครู

17


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.