8858649121400

Page 1

คูมือครู 㪌»ÃСͺ¡ÒÃÊ͹ËÇÁ¡Ñº

˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ©ºÑº Í- .

·Õè ȸ. ¨Ð»ÃСÒÈÃÒ¡Òú¹àÇçºä«µ µÑé§áµ‹ Á. ¤. ’55 ໚¹µŒ¹ä»

ภาพปกนี้มีขนาดเทากับหนังสือเรียนฉบับจริงของนักเรียน


เอกสารประกอบคูมือครู

กลุมสาระการเรียนรู ภาษาไทย

รายวิชา

วรรณคดี และวรรณกรรม

ู ร ค หรับ

สํา

ชั้นมัธยมศึกษาปที่ เอกสารหลักสูตรแกนกลางฯ ’51 ประกอบดวย ● ● ● ● ●

คําแนะนําการใชคูมือครู แถบสี/สัญลักษณที่ใชสื่อความหมายในคูมือครู ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง คําอธิบายรายวิชา ตารางวิเคราะหเนื้อหากับมาตรฐานการเรียนรู และตัวชี้วัด

ตารางแสดงความแตกตางระหวาง “ คูมือครู ” กับ “ หนังสือเรียน * ” ความแตกตาง

ขนาดตัวอักษร ปกดานหลัง ระบบการจัดพิมพ สวนเสริมดานหนา

คูมือครู ยอลงจากปกติ 20%

พิมพ 4 สี มี เอกสารหลักสูตร คําอธิบายรายวิชา มี กิจกรรมแบบ 5E ความรูเสริมสําหรับครู พิมพสอดแทรกไวตลอดทั้งเลม ●

หนังสือเรียน ขนาดปกติ 100% : ตัวอักษรใหญกวา ที่พิมพในคูมือครูนี้ มีใบอนุญาต/ใบประกันคุณภาพ พิมพ 4 สี

-

เนื้อหาในเลม

● ●

* ที่ ศธ. อนุญาตใหโรงเรียนใชได

มีเฉพาะเนื้อหาสาระตามที่ ศธ. อนุญาตฯ/สนพ.ประกันคุณภาพ

3


คําแนะนําการใชคูมือครู

: การจัดการเรียนรูสูหองเรียนคุณภาพ

คูมือครู ภาษาไทย ม.3 จัดทําขึ้นเพื่ออํานวยความสะดวกแกครูผูสอนในการวางแผนและเตรียมการสอน โดยใชหนังสือเรียน ภาษาไทย ม.3 ของบริษัท อักษรเจริญทัศน อจท. จํากัด เปนสื่อหลัก (Core Material) เสร�ม ประกอบการออกแบบกิจกรรมการเรียนรูใหสอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดกลุมสาระการเรียนรู 2 ภาษาไทย ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 โดยจัดทําตามหลักการสําคัญ ดังนี้

1. ออกแบบการสอนเปนหนวยการเรียนรูอิงมาตรฐาน คูมือครู รายวิชา ภาษาไทย วรรณคดีและวรรณกรรม ม.3 จัดทําเปนหนวยการเรียนรูตามลําดับสาระ การเรียนรูที่ระบุไวในมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัด แตละหนวยจะกําหนดเปาหมายการสอนและจุดประสงค การเรียนรู (Objective Learning) กิจกรรมการเรียนรู (Learning Activities) และแนวทางการประเมิน ผลการเรียนรู (Learning Evaluation) ไวชัดเจน ครูผูสอนสามารถจัดทําแผนการสอนใหครอบคลุมมาตรฐาน การเรียนรูและตัวชี้วัดที่เปนเปาหมายการเรียนรูของแตละหนวยการเรียนรู (ตามแผนภูมิ) และสามารถบันทึกผล การจัดการเรียนการสอนไดอยางมั่นใจ นรู

สภ

าพ

ผู

จุดป

ระส

เรีย

งค

รีย า รเ

มาตรฐานการเรียนรู ตัวชี้วัดชั้นป

ทักษะการคิด การวัดประเมินผล การเรียนรู

กิจกรรมการเรียนรู

เทคนิคการสอน

แผนภูมิแสดงองคประกอบของการออกแบบการเรียนรูอิงมาตรฐานและเนนผูเรียนเปนสําคัญ

2. การจัดการเรียนรูที่ยึดผูเรียนเปนสําคัญ แนวคิดในการจัดการเรียนการสอนที่ยึดผูเรียนเปนสําคัญ พัฒนามาจากปรัชญาและทฤษฎีการเรียนรู Constructivism ที่เชื่อวาการเรียนรูเปนกระบวนการที่เกิดขึ้นภายในสมองของผูเรียนแตละคน ผูเรียนเปนผูสราง ความรูโดยการเชื่อมโยงระหวางสิ่งที่ไดพบเห็นกับความรูหรือประสบการณเดิมที่มีอยู คูม อื ครู


ทฤษฎีนี้มีความเชื่อวา นักเรียนทุกคนไดเรียนรูและมีความรูความเขาใจสิ่งตางๆ ติดตัวมากอนที่จะเขาสู หองเรียน ซึง่ เปนการเรียนรูท เี่ กิดจากบริบทและสิง่ แวดลอมรอบตัวนักเรียนแตละคน ดังนัน้ การจัดกระบวนการเรียนรู เสร�ม ในแตละบทเรียน ผูสอนจะตองคํานึงถึง

3

1) ความรูเดิมของนักเรียน การสอนที่ดีจึงตองเริ่มตนจากจุดที่วา นักเรียนมีความรูอะไรมาบาง แลวจึงให ความรูห รือประสบการณใหมเพือ่ ตอยอด จากความรูเดิม

2) ความรูเ ดิมของนักเรียนถูกตอง หรือไม ผูสอนตองปรับเปลี่ยนความรู ความเขาใจเดิมของนักเรียนใหถูกตอง และเปนพฤติกรรมการเรียนรูใหมที่มี คุณคาตอนักเรียน เพื่อสรางเจตคติหรือ ทัศนคติที่ดีตอการเรียน

3) นั ก เรี ย นสร า งความหมาย สําหรับตนเอง ผูสอนตองสงเสริมให นักเรียนนําขอมูลความรูที่ไดไปลงมือ ปฏิ บั ติ และประยุ ก ต ใ ช ค วามรู  อ ย า ง ถู ก ต อ ง ในบริ บ ทที่ เ ป น จริ ง ของชี วิ ต นักเรียน เพื่อขยายความรูใหลึกซึ้งและ มีคุณคาตอตัวนักเรียนมากที่สุด

แนวคิด Constructivism เนนใหผเู รียนสรางความรูโ ดยผานกระบวนการคิดและความอยากรูข องตนเอง โดยมีผูสอนเปนผูสรางบรรยากาศการเรียนรูและกระตุนความสนใจ คอยจัดสถานการณใหผูเรียนเกิดความ ขัดแยงทางความคิดระหวางประสบการณเดิมกับประสบการณความรูใ หม ผูเ รียนจะพยายามปรับขอมูลใหม กับประสบการณที่มีอยูเดิม แลวสรางเปนความรูใหมหรือแนวคิดใหมๆ ไดดวยตนเอง

3. การบูรณาการกระบวนการคิด การเรียนรูข องนักเรียนแตละคนจะเกิดขึน้ ทีส่ มอง ซึง่ ทําหนาทีร่ คู ดิ ภายใตสภาพแวดลอมทีเ่ อือ้ อํานวยและได รับการกระตนุ จูงใจอยางเหมาะสมสอดคลองกับสภาพจิตใจและความตองการของนักเรียน การจัดกระบวนการเรียนรู และสาระการเรียนรูท มี่ คี วามหมายตอผูเ รียน จะชวยกระตนุ ใหสมองรับรูแ ละสามารถเรียนรูไ ดอยางมีประสิทธิภาพ ตามขั้นตอนการทํางานของสมอง ดังนี้ 1) สมองจะเรียนรูและสืบคนโดย 2) สมองจะแยกแยะคุ ณค าของ การสังเกต คนหา ซักถาม และทดลอง สิง่ ตางๆ โดยการลงมติ ตัดสินใจ วิพากษ ปฏิบัติ จนคนพบความรูความเขาใจได วิจารณ แสดงความคิดเห็น ยอมรับหรือ อยางรวดเร็ว ตอตานตามอารมณความรูสึกที่เกิดขึ้น ในขณะที่เรียนรู

3) สมองจะประมวลเนื้อหาสาระ โดยการสรุปเปนความคิดรวบยอดจาก เรื่องราวที่ไดเรียนรูใหมนําไปผสมผสาน กับความรูหรือประสบการณเดิมที่ถูกจัด เก็บอยูในสมอง ผานการกลั่นกรองเพื่อ สังเคราะหเปนความรูความเขาใจใหมๆ หรือเปนเหตุผลทัศนคติใหมที่จะฝงแนน ในสมองของผูเรียน คูม อื ครู


เสร�ม

การเรียนรูที่มีประสิทธิภาพจึงตองเปนการเรียนรูที่เกิดจากกระบวนการคิดของผูเรียน เพราะการเรียนรู จะเกิดขึ้นเมื่อสมองรูคิด และตองเปนการคิดไดครบถวนตามขั้นตอนการทํางานของสมองผูเรียน โดยเริ่มตนจาก

4

1) ระดับการคิดขั้นพื้นฐาน ไดแก 2) ระดับลักษณะการคิด ไดแก 3) ระดับกระบวนการคิด ไดแก การสังเกต การจําแนก การคาดคะเน การคิดกวาง คิดลึกซึ้ง คิดหลากหลาย กระบวนการคิ ด อย า งมี วิ จ ารณญาณ การสื่อความหมาย การรวบรวมขอมูล คิดไกล คิดคลอง คิดอยางมีเหตุผล กระบวนการแกปญหา กระบวนการคิด การสรุปผล เปนตน เปนตน สรางสรรค กระบวนการคิดสังเคราะห วิจัย เปนตน

4. การบูรณาการกระบวนการเรียนรูพื้นฐานอาชีพ กระทรวงศึกษาธิการมีนโยบายสงเสริมการเรียนพื้นฐานอาชีพในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อเสริมสราง ทักษะที่จําเปนสําหรับการประกอบอาชีพ และดํารงชีวิตในสังคมทองถิ่นของผูเรียนอยางมีความสุข และเปนการ เตรียมความพรอมดานกําลังคนใหมีทักษะพื้นฐาน และศักยภาพในการทํางานเพื่อการแขงขันและกาวสูประชาคม อาเซียนหรือประชาคมโลกตอไป 4.1 ทักษะพืน้ ฐานเพือ่ การประกอบอาชีพ การจัดการเรียนการสอนเพือ่ พัฒนาผูเ รียนในรายวิชาพืน้ ฐานทุกกลมุ สาระการเรียนรูและทุกระดับชั้นเรียน ผูสอนควรบูรณาการประสบการณ เรียนรูพื้นฐานอาชีพควบคูไปกับ การเรียนการสอนดานวิชาการ โดยฝกทักษะสําคัญตามที่สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา (สวก.) สํานักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) เสนอแนะไว ดังนี้ 1. ฝกทักษะกระบวนการคิด มีการวางแผนตลอดแนว เพื่อศึกษาขอมูลอาชีพ 2. ฝกการตัดสินใจอยางเปนระบบ โดยใชขอมูลจากการศึกษา คนควา แหลงเรียนรูในชุมชน เพื่อลด ความเสี่ยงในการลงทุน และเพิ่มความมั่นใจเรื่องการตลาด 3. ฝกกระบวนการวางแผน การผลิตและการจัดจําหนายโดยนักเรียนคิดตนทุน กําไร ดวยตนเอง 4. ฝกการเรียนรูเ รือ่ งคุณธรรม จริยธรรม ดานการประกอบอาชีพ และการทํางานกลมุ โดยมีจติ อาสาเพือ่ สวนรวม 5. ฝกการทํางานอยางมีประสิทธิภาพ มีการประเมินผล ปรับปรุง พัฒนา และสรางสรรคตอยอดผลผลิต 6. ฝกการเสริมสรางความเชือ่ มัน่ ความเพียรพยายาม เห็นคุณคาและภาคภูมใิ จในตนเอง (Self Esteem) ในการประกอบอาชีพ และเจตคติในพื้นฐานทางอาชีพ การจัดการเรียนการสอนที่ใหผูเรียนไดลงมือปฏิบัติทักษะดังกลาว จะชวยใหผูเรียนไดรับประสบการณจริง มีทักษะ ความสามารถ และความชํานาญในการทํางานที่จะใชในการประกอบอาชีพและเปนแรงงานที่มีคุณภาพ เขาสูตลาดแรงงานในอนาคต คูม อื ครู


4.2 การจัดกระบวนการเรียนรูพื้นฐานอาชีพ การจัดกระบวนการเรียนรูมีความสําคัญอยางยิ่งที่จะชวยใหนักเรียนมีการพัฒนาทั้งดานความรู ทักษะ และคุณลักษณะตามเปาหมายของหลักสูตร การพัฒนาผูเ รียนดานทักษะพืน้ ฐานอาชีพตองอาศัยกระบวนการเรียนรู เสร�ม ทีห่ ลากหลายเปนเครือ่ งมือทีจ่ ะนําไปสูค ณ ุ ภาพทีต่ อ งการ เทคนิควิธกี ารตางๆ ทีผ่ สู อนจะตองพิจารณาใหเหมาะสม 5 กับเนื้อหาวิชาและวัยของผูเรียน โดยใหความสําคัญกับการฝกปฏิบัติ และเนนการวัดประเมินผลจากการปฎิบัติ ตามสภาพจริง ดวยวิธีการที่จัดกิจกรรมการบูรณาการใหเหมาะสมกับวัยและระดับชั้นของผูเรียน สอดคลองกับ มาตรฐานการเรียนรู และตัวชี้วัดของกลุมสาระตางๆ ที่กําหนดไวในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขึ้นพื้นฐาน 2551 การวิเคราะหมาตรฐานและตัวชี้วัดที่จะนําไปจัดเนื้อหาความรูและทักษะ เพื่อพัฒนาผูเรียนดานพื้นฐานอาชีพ ดังตัวอยางตอไปนี้ 1. กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย กลมุ สาระการเรียนรูภ าษาไทยมุง เนนการพัฒนาใหผเู รียนมีความรูค วามสามารถในการใชภาษาไทย เพื่อการสื่อสาร เปนเครื่องมือในการเรียนรู การแสวงหาความรูและประสบการณตางๆ เพื่อพัฒนาความรู กระบวนการคิดวิเคราะห วิจารณ และสรางสรรคใหทันตอการเปลี่ยนแปลงของสังคม และความกาวหนาทาง วิทยาศาสตร เทคโนโลยี จึงเปนกลุมสาระการเรียนรูที่เปนทักษะพื้นฐานการประกอบอาชีพทุกอาชีพ ตัวชี้วัดที่ สามารถนํามาพัฒนาทักษะอาชีพ เชน ท 2.1 ม.1/8 เขียนรายงานการศึกษาคนควาและโครงงาน ท 1.1 ม.4-6/8 สังเคราะหความรูจากการอานสื่อสิ่งพิมพ สื่ออิเล็กทรอนิกส และแหลงเรียนรู ตางๆ มาพัฒนาตน พัฒนาการเรียน และพัฒนาความรูทางอาชีพ ท 2.1 ม.4-6/4 ผลิตงานเขียนของตนเองในรูปแบบตางๆ ท 2.1 ม.4-6/5 ประเมินงานเขียนของผูอื่น แลวนํามาพัฒนางานเขียนของตนเอง การจัดการเรียนการสอนตามตัวชี้วัดดังกลาวขางตน จะเปนทักษะพื้นฐานของการนําไปสูอาชีพ ทุกอาชีพ และเปนการปูทางไปสูอาชีพเฉพาะเกี่ยวกับการเขียน เชน นักเขียน นักประพันธ นักหนังสือพิมพ นักวิจารณ เปนตน 2. กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรมุงเนนการพัฒนาผูเรียนในการเชื่อมโยงความรูกับกระบวนการ มีทักษะสําคัญในการคนควาและสรางองคความรู พัฒนาวิธีการคิด ทั้งความคิดที่เปนเหตุเปนผล คิดสรางสรรค คิดวิเคราะห วิจารณ โดยใชกระบวนการในการสืบเสาะหาความรู การแกปญหาที่หลากหลาย เพื่อใหมีความรู ความเขาใจในธรรมชาติและเทคโนโลยี นําความรูไปใชอยางมีเหตุผล มีคุณธรรม และอยูในสังคมแหงการเรียนรู ไดอยางเหมาะสม โดยมีมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดที่เปนพื้นฐานของการประกอบอาชีพตางๆ มากมาย เชน คูม อื ครู


ว 1.1 ม.1/13 เสร�ม

6

อธิบายหลักการและผลของการใชเทคโนโลยีชวี ภาพในการขยายพันธุ ปรับปรุงพันธุ และเพิ่มผลผลิตของพืช และนําความรูไปใชประโยชน

ว 1.1 ม.2/4

อธิบายหลักการและผลของการใชเทคโนโลยีชวี ภาพในการขยายพันธุ ปรับปรุงพันธุ และเพิ่มผลผลิตของสัตว และนําความรูไปใชประโยชน ว 1.2 ม.4-6/3 สืบคนขอมูลและอภิปรายผลของเทคโนโลยีชีวภาพที่มีตอมนุษย และสิ่งแวดลอม และนําความรูไปใชประโยชน

การจัดการเรียนการสอนตามตัวชี้วัดดังกลาวขางตนจะเปนทักษะพื้นฐานของการนําไปสูอาชีพที่ เกี่ยวกับเกษตรกร วิทยาศาสตร การเกษตร นักวิจัย เปนตน 3. กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมมุงเนนการพัฒนาใหผูเรียนมีความรูความ เขาใจเกี่ยวกับการดํารงชีวิตของมนุษย การอยูรวมกันในสังคมที่มีความเชื่อมโยงสัมพันธกัน มีความแตกตางกัน อยางหลากหลาย สามารถจัดการทรัพยากรที่มีอยูอยางจํากัด และเขาใจการเปลี่ยนแปลง เพื่อชวยใหสามารถปรับ ตนเองกับบริบท และสภาพแวดลอม เปนพลเมืองดี มีความรับผิดชอบ มีความรู ทักษะ คุณธรรม และคานิยม ที่เหมาะสม มีมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดที่เปนพื้นฐานของการประกอบอาชีพตางๆ เชน ส 4.3 ม.1/3 วิเคราะหอิทธิพลของวัฒนธรรมและภูมิปญญาไทยสมัยสุโขทัยและสังคมไทย ในปจจุบัน ส 4.3 ม.2/3 ระบุภมู ปิ ญ ญาและวัฒนธรรมไทยสมัยอยุธยาและธนบุรี และอิทธิพลของภูมปิ ญ ญา ดังกลาว ตอการพัฒนาชาติไทยในยุคตอมา ส 4.3 ม.3/3 วิเคราะหภมู ปิ ญ ญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร และอิทธิพลตอการพัฒนา ชาติไทย ส 4.3 ม.4-6/3 วางแผนกําหนดแนวทางและการมีสวนรวมในการอนุรักษภูมิปญญาไทยและ วัฒนธรรมไทย การจัดการเรียนการสอนตามตัวชี้วัดดังกลาวขางตนจะเปนทักษะพื้นฐาน และสรางเจตคติตออาชีพ เกีย่ วกับภูมปิ ญ ญาไทยในทองถิน่ เชน นักโบราณคดี นักประวัตศิ าสตร แพทยแผนโบราณ นวดแผนไทย ชางทอผา จักสาน นักดนตรีไทย การทําขนมหรืออาหารไทย ฯลฯ และเปนรากฐานของการศึกษาเพื่อพัฒนาตอยอดอาชีพ ที่มีฐานของภูมิปญญาไทย

คูม อื ครู


4. กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยีมุงพัฒนาใหผูเรียนมีฐานความรูความสามารถ และทักษะที่จําเปนสําหรับนําไปปรับใชในการประกอบอาชีพและการศึกษาตอในสาขาอาชีพตางๆ ไดอยาง เสร�ม หลากหลาย รวมทั้งใหเห็นแนวทางในการประกอบอาชีพและการศึกษาตอตามความรู ความถนัดและความสนใจ 7 มาตรฐานและตัวชีว้ ดั ของกลมุ สาระการเรียนรูก ารงานอาชีพและเทคโนโลยีสว นใหญมลี กั ษณะเปนทักษะกระบวนการ ทํางาน ซึ่งผูสอนสามารถจัดเนื้อหาและกิจกรรมการสอนใหสอดคลองกับความตองการของผูเรียนและทองถิ่นได เพื่อพัฒนาไปสูการประกอบอาชีพตางๆ เชน ง 1.1 ม.4-6/2 สรางผลงานอยางมีความคิดสรางสรรค และมีทักษะการทํางานรวมกัน ง 1.1 ม.4-6/7 ใชพลังงาน ทรัพยากรในการทํางานอยางคุมคาและยั่งยืน เพื่อการอนุรักษ สิ่งแวดลอม ง 4.1 ม.2/3 มีทักษะพื้นฐานที่จําเปนสําหรับการประกอบอาชีพที่สนใจ ง 4.1 ม.3/3 ประเมินทางเลือกในการประกอบอาชีพที่สอดคลองกับความรู ความถนัด และ ความสนใจของตนเอง ง 4.1 ม.4-6/2 เลือกและใชเทคโนโลยีอยางเหมาะสมกับอาชีพ ง 4.1 ม.4-6/3 มีประสบการณในอาชีพที่ถนัดและสนใจ การจัดรายวิชาพื้นฐานในกลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยีจึงสามารถดําเนินการ ไดอยางหลากหลาย ทัง้ อาชีพในกลมุ เกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม ความคิดสรางสรรค และการบริหาร จัดการและการบริการ ตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ และสอดคลองกับบริบทของทองถิ่น ความพรอม ของสถานศึกษา และความตองการของผูเรียนเปนสําคัญ เพื่อเปนแนวทางการพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนใหสนองตามนโยบายการจัดการเรียน การสอนพืน้ ฐานอาชีพในระดับการศึกษาขัน้ พืน้ ฐานของรัฐบาลและกระทรวงศึกษาธิการ ผูจ ดั ทําจึงวิเคราะหมาตรฐาน การเรียนรูและตัวชี้วัดในรายวิชา ภาษาไทย ที่สอดคลองกับทักษะปฏิบัติเพื่อเตรียมความพรอมดานพื้นฐานอาชีพ โดยเสนอแนะกิจกรรมการเรียนรูไวเปนแนวทางในการจัดการเรียนการสอนบูรณาการประสบการณการทํางาน แกผูเรียน ใหบรรลุเจตนารมยของ พ.ร.บ. การศึกษาฯ พ.ศ. 2542 มาตรา 7 ที่ระบุใหการจัดการศึกษาตองปลูกฝง ใหเยาวชนมีความรูอันเปนสากล มีจิตสํานึกในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ตลอดจนมีความ สามารถในการประกอบอาชีพ รูจักพึ่งตนเอง และมีความคิดสรางสรรค เพื่อการดํารงชีวิต การศึกษาตอและการ ประกอบอาชีพอยางมีคุณภาพของผูเรียนตอไปในอนาคต

คูม อื ครู


5. การใชวัฏจักรการเรียนรู 5E รูปแบบการสอนที่สัมพันธกับกระบวนการคิดและการทํางานของสมองของผูเรียนที่นิยมใชอยางแพรหลาย เสร�ม คือ วัฏจักรการเรียนรู 5E ซึ่งผูจัดทําคูมือครูไดนํามาใชเปนแนวทางออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนในคูมือครู 8 ฉบับนี้ตามลําดับขั้นตอนการเรียนรู ดังนี้ ขั้นที่ 1 กระตุนความสนใจ (Engage) เปนขัน้ ทีผ่ สู อนนําเขาสูบ ทเรียน เพือ่ กระตุน ความสนใจของนักเรียนดวยเรือ่ งราว หรือเหตุการณทนี่ า สนใจ โดยใชเทคนิควิธกี ารสอนและคําถามทบทวนความรูห รือประสบการณเดิมของผูเ รียน เพือ่ เชือ่ มโยงผูเ รียนเขาสู บทเรียนใหม ชวยใหนักเรียนสามารถสรุปประเด็นสําคัญที่เปนหัวขอการเรียนรูของบทเรียนได จึงเปนขั้นตอน การสอนที่สําคัญ เพราะเปนการเตรียมความพรอมและสรางแรงจูงใจใฝเรียนรูแกผูเรียน ขั้นที่ 2 สํารวจคนหา (Explore) เปนขั้นที่ผูสอนเปดโอกาสใหผูเรียนสังเกต และรวมมือกันสํารวจ เพื่อใหเห็นปญหา รวมถึงวิธีการศึกษา คนควาขอมูลความรูที่จะนําไปสูความเขาใจประเด็นปญหานั้นๆ เมื่อนักเรียนทําความเขาใจในประเด็นหัวขอที่จะศึกษาคนควาอยางถองแทแลว ก็ลงมือปฏิบัติเพื่อเก็บ รวบรวมขอมูลความรู สํารวจตรวจสอบ โดยวิธกี ารตางๆ เชน สัมภาษณ ทดลอง อานคนควาขอมูลจากเอกสาร แหลงขอมูลตางๆ จนไดขอมูลความรูตามที่ตั้งประเด็นศึกษาไว ขั้นที่ 3 อธิบายความรู (Explain) เปนขั้นที่ผูสอนมีปฏิสัมพันธกับผูเรียน เชน ใหการแนะนํา ตั้งคําถามกระตุนใหคิด เพื่อใหผูเรียนไดคนหา คําตอบ และนําขอมูลความรูจากการศึกษาคนควาในขั้นที่ 2 มาวิเคราะห แปลผล สรุปผล และนําเสนอผล ที่ไดศึกษาคนความาในรูปแบบสารสนเทศตางๆ เชน เขียนแผนภูมิ แผนผังแสดงมโนทัศน เขียนความเรียง เขียนรายงาน เปนตน สมองของผูเรียนจะทําหนาที่คิดวิเคราะห สังเคราะหอยางเปนระบบ ขั้นที่ 4 ขยายความเขาใจ (Expand) เปนขั้นที่ผูสอนไดใชเทคนิควิธีการสอนที่ชวยพัฒนาผูเรียนใหนําความรูที่เกิดขึ้นไปคิดคนตอๆ ไป เพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรูและการทํางานรวมกันเปนกลุม ระดมสมองเพื่อคิดสรางสรรครวมกัน นักเรียนสามารถนําความรูที่สรางขึ้นใหมไปเชื่อมโยงกับประสบการณเดิมโดยนําขอสรุปที่ไดไปอธิบาย ในเหตุการณตางๆ หรือนําไปปฏิบัติในสถานการณใหมๆ ที่เกี่ยวของกับชีวิตประจําวันของตนเอง เพื่อขยาย ความรูค วามเขาใจใหกวางขวางยิง่ ขึน้ สมองของผูเ รียนทําหนาทีค่ ดิ ริเริม่ สรางสรรคอยางมีคณ ุ ภาพ เสริมสราง วิสัยทัศนใหกวางไกลออกไป คูม อื ครู


ขั้นที่ 5 ตรวจสอบผล (Evaluate) เปนขั้นที่ผูสอนประเมินมโนทัศนของผูเรียน โดยตรวจสอบจากความคิดที่เปลี่ยนไปและความคิดรวบยอด ที่เกิดขึ้นใหม ตรวจสอบทักษะ กระบวนการปฏิบัติ การแกปญหา การตอบคําถามรวบยอด และการเคารพ ความคิดหรือยอมรับเหตุผลของคนอื่นเพื่อการสรางสรรคความรูรวมกัน นักเรียนสามารถประเมินผลการเรียนรูของตนเอง เพื่อสรุปผลวานักเรียนมีความรูอะไรเพิ่มขึ้นมาบาง มากนอยเพียงใด และจะนําความรูเหลานั้นไปประยุกตใชในการเรียนรูเรื่องอื่นๆ ไดอยางไร นักเรียนจะเกิด เจตคติและเห็นคุณคาของตนเองจากผลการเรียนรูที่เกิดขึ้น ซึ่งเปนการเรียนรูที่มีความสุขอยางแทจริง

เสร�ม

9

การจัดกิจกรรมการเรียนรูตามวัฏจักรการสรางความรูแบบ 5E จึงเปนรูปแบบการเรียนการสอนที่เนน ผูเรียนเปนสําคัญ โดยสงเสริมใหผูเรียนใชกระบวนการสรางความรูดวยตนเอง และฝกฝนใหใชกระบวนการคิดและ กระบวนการกลุมอยางชํานาญ กอใหเกิดทักษะการเรียนรูและทักษะชีวิตที่มีคุณภาพ ตามเปาหมายของการปฏิรูป การศึกษาทศวรรษที่ 2 (พ.ศ. 2552-2561) ทุกประการ คณะผูจัดทํา

คูม อื ครู


แถบสีและสัญลักษณ ที่ใชสื่อความหมายในคูมือครู แถบสีแสดงขั้นตอนการสอนและการจัดกิจกรรม แบบ 5E เพื่อใหครูทราบวาเปนขั้นการสอนขั้นใด

1. แถบสี เสร�ม

10

สีแดง สีแดง

สีเขียว สีเขียว

สีสม สีสม

กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

เปนขั้นที่ผูสอนเลือกใช เทคนิคกระตุนความ สนใจ เพื่อโยงเขาสู บทเรียน

Explain

เปนขั้นที่ผูสอนให ผูเรียนสํารวจปญหา และศึกษาขอมูล

เปนขั้นที่ผูสอนให ผูเรียนคนหาคําตอบ จนเกิดความรูเชิง ประจักษ

สีฟา สีฟา

สีมวง สีมวง

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

เปนขั้นที่ผูสอนให ผูเรียนนําความรูไป คิดคนตอๆ ไป

เปนขั้นที่ผูสอน ประเมินมโนทัศน ของผูเรียน

2. สัญลักษณ สัญลักษณ เปาหมาย การเรียนรู หลักฐาน แสดงผล การเรียนรู เกร็ดแนะครู นักเรียนควรรู @

NET

ขอสอบ

B

พื้นฐานอาชีพ

B คูม อื ครู

มุม IT

บูรณาการ สูอาเซียน

วัตถุประสงค • แสดงเปาหมายการเรียนรูที่นักเรียนตองบรรลุตามตัวชี้วัด •

แสดงรองรอยหลักฐานที่แสดงผลการเรียนรูตามตัวชี้วัด

แทรกความรูเสริมสําหรับครู ขอเสนอแนะ ขอควรระวัง ขอสังเกต แนวทางการจัด กิจกรรมและอืน่ ๆ เพื่อประโยชนในการจัดการเรียนการสอน

ขยายความรูเพิ่มเติมจากเนื้อหา เพื่อใหนักเรียนไดมีความรูมากขึ้น

แนะนําแหลงคนควาจากเว็บไซต เพื่อใหครูและนักเรียนไดเขาถึงขอมูลความรู ที่หลากหลาย

วิเคราะหแนวขอสอบ O-NET เพื่อใหครูเนนยํ้าเนื้อหา ที่มักออกขอสอบ O-NET

กิจกรรมสําหรับครูเพื่อใชเปนแนวทางในการชวยพัฒนาอาชีพใหกับนักเรียน

ขยายความรู แนะนํากิจกรรมเพื่อพัฒนานักเรียนใหมีความพรอม สําหรับเขาสูประชาคมอาเซียน

• ขอสอบ O-NET พิจารณาออก ขอสอบจากเนื้อหา ม.4, 5 และ 6


ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง (เฉพาะชั้น ม.3)* สาระที่ 1 การอาน

มาตรฐาน ท 1.1 ใชกระบวนการอานสรางความรูและความคิดเพื่อนําไปใชตัดสินใจ แกปญหาในการดําเนินชีวิต และมีนิสัยรักการอาน เสร�ม ชั้น

ม.3

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

11

1. อานออกเสียงบทรอยแกว • การอานออกเสียง ประกอบดวย และบทรอยกรองไดถูกตอง - บทรอยแกวที่เปนบทความทั่วไปและบทความปกิณกะ และเหมาะสมกับเรื่องที่อาน - บทรอยกรอง เชน กลอนบทละคร กลอนเสภา กาพยยานี 11 กาพยฉบัง 16 และโคลงสี่สุภาพ 2. ระบุความแตกตางของคํา • การอานจับใจความจากสื่อตางๆ เชน ที่มีความหมายโดยตรง - วรรณคดีในบทเรียน และความหมายโดยนัย - ขาวและเหตุการณสําคัญ 3. ระบุใจความสําคัญและ - บทความ รายละเอียดของขอมูลที่ - บันเทิงคดี สนับสนุนจากเรื่องที่อาน - สารคดี 4. อานเรื่องตางๆ แลวเขียน - สารคดีเชิงประวัติ กรอบแนวคิด ผังความคิด - ตํานาน บันทึก ยอความและรายงาน - งานเขียนเชิงสรางสรรค 5. วิเคราะห วิจารณ และ - เรื่องราวจากบทเรียนในกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย และ ประเมินเรื่องที่อานโดยใช กลุมสาระการเรียนรูอื่น กลวิธีการเปรียบเทียบเพื่อให ผูอานเขาใจไดดีขึ้น 6. ประเมินความถูกตองของ ขอมูล ที่ใชสนับสนุนในเรื่อง ที่อาน 7. วิจารณความสมเหตุสมผล การลําดับความ และความ เปนไปไดของเรื่อง 8. วิเคราะหเพื่อแสดงความ คิดเห็นโตแยงเกี่ยวกับเรื่อง ที่อาน 9. ตีความและประเมินคุณคา • การอานตามความสนใจ เชน และแนวคิดทีไ่ ดจาก - หนังสืออานนอกเวลา งานเขียนอยางหลากหลาย - หนังสืออานตามความสนใจและตามวัยของนักเรียน เพื่อนําไปใชแกปญหาในชีวิต - หนังสืออานที่ครูและนักเรียนรวมกันกําหนด 10. มีมารยาทในการอาน

• มารยาทในการอาน

* สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, กระทรวงศึกษาธิการ. ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง กลุมสาระการเรียนรู ภาษาไทย. (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย, 2551), หนา 19 - 50.

คูม อื ครู


สาระที่ 2 การเขียน

มาตรฐาน ท 2.1 ใชกระบวนการเขียนเขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ยอความ และเขียนเรื่องราวในรูปแบบตางๆ เขียนรายงานขอมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาคนควาอยางมีประสิทธิภาพ เสร�ม

12

ชั้น

ตัวชี้วัด

ม.3 1. คัดลายมือตัวบรรจง ครึ่งบรรทัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

• การคัดลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัดตามรูปแบบการเขียนตัว อักษรไทย

2. เขียนขอความโดยใชถอยคํา ไดถูกตองตามระดับภาษา

• การเขียนขอความตามสถานการณและโอกาสตางๆ เชน - คําอวยพรในโอกาสตางๆ - โฆษณา - คําขวัญ - คติพจน - คําคม - สุนทรพจน

3. เขียนชีวประวัติหรืออัตชีวประวัติโดยเลาเหตุการณ ขอคิดเห็น และทัศนคติ ในเรื่องตางๆ

• การเขียนอัตชีวประวัติหรือชีวประวัติ

4. เขียนยอความ

• การเขียนยอความจากสื่อตางๆ เชน นิทาน ประวัติ ตํานาน สารคดีทางวิชาการ พระราชดํารัส พระบรมราโชวาท จดหมายราชการ

5. เขียนจดหมายกิจธุระ

• การเขียนจดหมายกิจธุระ - จดหมายเชิญวิทยากร - จดหมายขอความอนุเคราะห - จดหมายแสดงความขอบคุณ

6. เขียนอธิบาย ชี้แจง แสดง ความคิดเห็น และโตแยง อยางมีเหตุผล

• การเขียนอธิบาย ชี้แจง แสดงความคิดเห็น และโตแยงใน เรื่องตางๆ

7. เขียนวิเคราะห วิจารณ และ แสดงความรู ความคิดเห็น หรือโตแยงในเรื่องตางๆ

• การเขียนวิเคราะห วิจารณ และแสดงความรู ความคิดเห็น หรือโตแยงจากสื่อตางๆ เชน - บทโฆษณา - บทความทางวิชาการ

8. กรอกแบบสมัครงานพรอม • การกรอบแบบสมัครงาน เขียนบรรยายเกีย่ วกับความรู และทักษะของตนเองที่ เหมาะสมกับงาน คูม อื ครู


ชั้น

ม.3

ตัวชี้วัด

9. เขียนรายงานการศึกษา คนควาและโครงงาน 10. มีมารยาทในการเขียน

สาระการเรียนรูแกนกลาง

• การเขียนรายงาน ไดแก - การเขียนรายงานจากการศึกษาคนควา - การเขียนรายงานโครงงาน

เสร�ม

13

• มารยาทในการเขียน

สาระที่ 3 การฟง การดู และการพูด

มาตรฐาน ท 3.1 สามารถเลือกฟงและดูอยางมีวจิ ารณญาณ และพูดแสดงความรู ความคิด และความรูส กึ ในโอกาส ตางๆ อยางมีวิจารณญาณและสรางสรรค ชั้น

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

ม.3 1. แสดงความคิดเห็นและประเมิน • การพูดแสดงความคิดเห็น และประเมินเรื่องจากการฟงและ การดู เรื่องจากการฟงและการดู 2. วิเคราะหและวิจารณเรื่องที่ฟง • การพูดวิเคราะหวิจารณจากเรื่องที่ฟงและดู และดูเพื่อนําขอคิดมาประยุกต ใชในการดําเนินชีวิต 3. พูดรายงานเรื่องหรือประเด็นที่ • การพูดรายงานการศึกษาคนควาเกี่ยวกับภูมิปญญาทองถิ่น ศึกษาคนควาจากการฟง การดู และการสนทนา 4. พูดในโอกาสตางๆ ไดตรงตาม • การพูดในโอกาสตางๆ เชน - การพูดโตวาที วัตถุประสงค - การพูดยอวาที

- การอภิปราย

5. พูดโนมนาวโดยนําเสนอ หลักฐานตามลําดับเนื้อหา อยางมีเหตุผลและนาเชื่อถือ

• การพูดโนมนาว

6. มีมารยาทในการฟง การดู และการพูด

• มารยาทในการฟง การดู และการพูด

สาระที่ 4 หลักการใชภาษาไทย

มาตรฐาน ท 4.1 เขาใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของภาษา ภูมิปญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไวเปนสมบัติของชาติ ชั้น

ตัวชี้วัด

ม.3 1. จําแนกและใชคําภาษา ตางประเทศที่ใชในภาษาไทย

สาระการเรียนรูแกนกลาง

• คําที่มาจากภาษาตางประเทศ คูม อื ครู


ชั้น

เสร�ม

14

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

2. วิเคราะหโครงสรางประโยค ซับซอน

• ประโยคซับซอน

3. วิเคราะหระดับภาษา

• ระดับภาษา

4. ใชคําทับศัพทและศัพทบัญญัติ • คําทับศัพท • คําศัพทบัญญัติ 5. อธิบายความหมายคําศัพท ทางวิชาการและวิชาชีพ

• คําศัพททางวิชาการและวิชาชีพ

6. แตงบทรอยกรอง

• โคลงสี่สุภาพ

สาระที่ 5 วรรณคดีและวรรณกรรม

มาตรฐาน ท 5.1 เขาใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณวรรณคดีและวรรณกรรมไทยอยางเห็นคุณคาและนํามา ประยุกตใชในชีวิตจริง ชั้น

ตัวชี้วัด

ม.3 1. สรุปเนื้อหาวรรณคดี วรรณกรรมและวรรณกรรม ทองถิ่นในระดับที่ยากยิ่งขึ้น

สาระการเรียนรูแกนกลาง

• วรรณคดี วรรณกรรม และวรรณกรรมทองถิ่นเกี่ยวกับ - ศาสนา - ประเพณี - พิธีกรรม - สุภาษิตคําสอน - เหตุการณในประวัติศาสตร - บันเทิงคดี

2. วิเคราะหวิถีไทยและคุณคา • การวิเคราะหวิถีไทย และคุณคาจากวรรณคดีและวรรณกรรม จากวรรณคดีและวรรณกรรม ที่อาน 3. สรุปความรูและขอคิดจาก การอานเพื่อนําไปประยุกตใช ในชีวิตจริง 4. ทองจําและบอกคุณคาบท • บทอาขยานและบทรอยกรองที่มีคุณคา - บทอาขยานตามที่กําหนด อาขยานตามที่กําหนด และ - บทรอยกรองตามความสนใจ บทรอยกรองที่มีคุณคาตาม ความสนใจและนําไปใชอางอิง

คูม อื ครู


คําอธิบายรายวิชา รายวิชา วรรณคดีและวรรณกรรม ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 รหัสวิชา ท…………………………………

กลุมสาระการเรียนรู ภาษาไทย ภาคเรียนที่ 1-2 เวลา 60 ชั่วโมง/ป เสร�ม

ฝกทักษะการอาน การเขียน การฟง การดูและการพูด การวิเคราะหและประเมินคาวรรณคดีและวรรณกรรม โดยศึกษาเกี่ยวกับการอานออกเสียงการอานจับใจความ การอานตามความสนใจ ฝกทักษะการคัดลายมือ การเขียน ขอความตามสถานการณและโอกาสตางๆ เขียนอัตชีวประวัติหรือชีวประวัติ เขียนยอความ การเขียนจดหมายกิจธุระ เขียนอธิบาย ชี้แจง แสดงความคิดเห็น และโตแยง เขียนวิเคราะหวิจารณและแสดงความรูความคิดเห็น หรือโตแยง จากสื่อตางๆ กรอกแบบสมัครงาน เขียนรายงาน ฝกทักษะการพูดแสดงความคิดเห็นและการประเมินเรื่องจากการ ฟงและการดู พูดวิเคราะหวิจารณจากเรื่องที่ฟงและดู พูดรายงานการศึกษาคนควา พูดในโอกาสตางๆ พูดโนมนาว และศึกษาเกี่ยวกับโครงสรางประโยคซับซอน ระดับภาษา วิเคราะหวถิ ไี ทย ประเมินคา ความรูแ ละขอคิดจากวรรณคดี วรรณกรรมบทละครพูดเรือ่ งเห็นแกลกู พระอภัยมณี ตอนหนีนางผีเสื้อ พระบรมราโชวาท อิศรญาณภาษิตและบทพากษเอราวัณ ทองจําบทอาขยานที่กําหนดและ บทรอยกรองที่มีคุณคาตามความสนใจ โดยใชกระบวนการอานเพื่อสรางความรูความคิดนําไปใชตัดสินใจ แกปญหาในการดําเนินชีวิต กระบวนการ เขียนเขียนสื่อสารอยางมีประสิทธิภาพกระบวนการฟง การดู และการพูด สามารถเลือกฟงและดู และพูดแสดง ความรูค วามคิดอยางมีวจิ ารณญาณและสรางสรรค เพือ่ ใหเขาใจธรรมชาติภาษาและหลักภาษาไทย การเปลีย่ นแปลง ของภาษา พลังภาษา ภูมปิ ญ ญาทางภาษาวิเคราะหวจิ ารณวรรณคดีและวรรณกรรมอยางเห็นคุณคาและนํามาประยุกต ใชในชีวติ จริง รักษาภาษาไทยไวเปนสมบัตขิ องชาติ และมีนสิ ยั รักการอาน การเขียน มีมารยาทในการอาน การเขียน การฟง การดู และการพูด ตัวชี้วัด ท 1.1 ม.3/1 ท 2.1 ม.3/1 ท 3.1 ม.3/1 ท 4.1 ม.3/1 ท 5.1 ม.3/1

ม.3/2 ม.3/2 ม.3/2 ม.3/2 ม.3/2

ม.3/3 ม.3/3 ม.3/3 ม.3/3 ม.3/3

ม.3/4 ม.3/4 ม.3/4 ม.3/4 ม.3/4

ม.3/5 ม.3/5 ม.3/5 ม.3/5

15

ม.3/6 ม.3/7 ม.3/8 ม.3/9 ม.3/10 ม.3/6 ม.3/7 ม.3/8 ม.3/9 ม.3/10 ม.3/6 ม.3/6

รวม 36 ตัวชี้วัด

คูม อื ครู


ตาราง

ÇÔà¤ÃÒÐË Áҵðҹ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙጠÅеÑǪÕÇé ´Ñ ÃÒÂÇÔªÒ ÇÃó¤´ÕáÅÐÇÃó¡ÃÃÁ Á.3

คําชี้แจง : ใหผสู อนใชตารางน�ต้ รวจสอบวา เน�อ้ หาสาระการเรียนรูใ นหนวยการเรียนรูส อดคลองกับมาตรฐานการเรียนรูแ ละตัวชีว้ ดั

เสร�ม

ชั้นปในขอใดบาง

16

หนวยการเรียนรู

คูม อื ครู

สาระที่ ๕ มาตรฐาน ท 5.1 ตัวชี้วัด

มาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัด

1

2

3

4

หนวยการเรียนรูที่ 1 : บทละครพูดเรื่องเห็นแกลูก

หนวยการเรียนรูที่ 2 : นิทานคํากลอนเรื่องพระอภัยมณ�

หนวยการเรียนรูที่ 3 : พระบรมราโชวาท

หนวยการเรียนรูที่ 4 : อิศรญาณภาษิต

หนวยการเรียนรูที่ 5 : บทพากยเอราวัณ


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล Expand

Evaluate

หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน

ภาษาไทย

วรรณคดีและวรรณกรรม ม.๓ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓ กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย

ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

ผูเรียบเรียง

นางฟองจันทร สุขยิ่ง นางกัลยา สหชาติโกสีย นายภาสกร เกิดออน นางสาวระวีวรรณ อินทรประพันธ นายศานติ ภักดีคํา นายพอพล สุกใส

ผูตรวจ

นางจินตนา วีรเกียรติสุนทร นางวรวรรณ คงมานุสรณ นายศักดิ์ แวววิริยะ

บรรณาธิการ

นายเอกรินทร สี่มหาศาล นางประนอม พงษเผือก

ผูจัดทําคูมือครู

ประนอม พงษเผือก พิมพรรณ เพ็ญศิริ สมปอง ประทีปชวง รหัสสินคา ๒๓๑๑๐๐๔ รหัสสินคา ๒๓๔๑๐๑๓

¤Œ¹¤ÇÒÁÃÙŒ¢ÂÒ¤ÇÒÁ¤Ô´¨Ò¡

EB GUIDE

ที่พิมพกํากับหัวขอสําคัญในหนังสือเรียนหลักสูตรแกนกลางฯ ผาน www.aksorn.com ไปยังแหลงความรูทั่วไทย-ทั่วโลก


กระตุน ความสนใจ สํารวจคนหา Engage

Explore

อธิบายความรู ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล Explain

Expand

Evaluate

หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน

ภาษาไทย

วรรณคดีและวรรณกรรม ม.๓ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓ กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย

ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

คําเ

ตือน

หนังสือเลมนี้ไดรับการคุมครองตาม พ.ร.บ. ลิขสิทธิ์ หามมิใหผูใด ทําซ้ํา คัดลอก เลียนแบบ ทําสําเนา จําลองงานจากตนฉบับหรือแปลงเปนรูปแบบอื่น ในวิธีตางๆ ทุกวิธี ไมวาทั้งหมดหรือบางสวน โดยมิไดรับอนุญาตจากเจาของลิขสิทธิ์ถือเปนการละเมิด ผูกระทําจะตองรับผิดทั้งทางแพงและทางอาญา

พิมพครั้งที่ ๑

สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติ ISBN :


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล Expand

Evaluate

¤íÒá¹Ð¹íÒ㹡ÒÃ㪌˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ หนังสือเรียน วรรณคดีและวรรณกรรมเลมนี้ เปนสื่อสําหรับใชประกอบการเรียนการสอนในรายวิชาพื้นฐาน กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓ เนื้อหาตรงตามสาระการเรียนรูแกนกลางขั้นพื้นฐาน อานทําความเขาใจงาย ใหทั้งความรูและชวยพัฒนาผูเรียน ตามหลักสูตรและตัวชี้วัด เนื้อหาสาระแบงออกเปนหนวยการเรียนรูตามโครงสรางรายวิชา สะดวกแกการจัดการเรียน การสอนและการวัดผลประเมินผล พรอมเสริมองคประกอบอื่นๆ ที่จะชวยทําใหผูเรียนไดรับความรูอยางมีประสิทธิภาพ ¨Ñ´¡ÅØ‹Áà¹×éÍËÒ໚¹Ë¹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ Êдǡᡋ¡ÒèѴ¡ÒÃàÃÕ¹¡ÒÃÊ͹

à¡ÃÔ¹è ¹íÒà¾×Íè ãˌࢌÒ㨶֧ÊÒÃÐÊíÒ¤ÑÞ ã¹Ë¹‹Ç·Õè¨ÐàÃÕ¹

ºÍ¡àÅ‹Òà¡ŒÒÊÔº ໚¹àÃ×èͧ¹‹ÒÃÙŒà¾ÔèÁàµÔÁ¨Ò¡à¹×éÍËÒ â´ÂÁÕá·Ã¡à»š¹ÃÐÂÐæ

๑ ¤ÇÒÁ໚¹ÁÒ

รญาณ พระนิพนธในหมอมเจาอิศ างวา “เพลงยาวอิศรญาณ” วฉบับนีข้ นึ้ เนือ้ หา อิศรญาณภาษิต เรียกอีกอย ยั จึงทรงพระนิพนธเพลงยา ไมปกติ ดวยความนอยพระท ฏิบัติตนแตไมถึงขั้นสอน กลาวกันวาเปนผูม พี ระจริต ุคนั้น พรอมเสนอแนะแนวทางป คมในย ง สั อ  ต ี ม ่ ที น เห็ ด คิ สะทอนความ

ºÍ¡àÅ‹Òà¡ŒÒÊÔº คําสุภาษิต คําสุภาษิต ซึง่ คนไทยสมยั เกาคิ ดขึน้ ใช มีความหมายหลายปร ะการแตกตางไปจากความหมาย ตรงทีใ่ ชเขียน หรือพูดใหผฟ ู ง ผูอ า นคิดและรูค วามหมาย เชน กลาวเขียนเพือ่ สอนใจ ชมเชย เปรย ดูหมิ่น เปนถอยคําสามั เปรียบ ญที่ใชป สะกิดใจ ชวนคิด สุภาษิตไทยโบรา ระยคสั้นๆ แตความหมายลึกซึ้งคมคาย ไพเราะ เจ็บแสบ ณผูกขึ้นจากสิ่งแวดลอมความเป ๓๐๐ - ๔๐๐ ปลงมาจนถึงสมัย นอยูของผูคนตั้งแตชวงเวลา ชาวตะวันตกเดินเรือสํารวจโลกม าถึงตะวันออกในสมัยอยุธยา พ.ศ. ๑๕๑๑ ราว ตัวอยางคําสุภาษิตของไทยสมั ยโบราณ ซึ่งเปน สุภาษิตของไทยแทมาเกากอ น ไดถูกเปลี่ยนแปลง นําเอาชื่อของสินคาอันเปนพื ชของฝรั ชาวไทย คําสุภาษิตที่วา “ฆาควายอย ่งนําเขามาขาย าเสียดายเกลือ” “เกลือ” เครื่องปรุงที่ใชสําหรั บหมักเนื้อหรือปลาสด ตากแห ง ไว เ ป น เสบี ย งกรั ง เก็ บ ไว กิ น ได น านไม บู ด ไม เ สี ย สุ ภ าษิ ต ข อ นี้ ผู  รู  ส มั ย กิ น สิ น คําวา “เกลือ” เปน “พริก” ฆาควายอย ค า ฝรั่ ง เปลี่ ย น าเสียดายพริก” พริกในที่นี้อาจจะมาจากคําวา พริกไทย ซึ่งเปนสินคา ของพวกโปตุเกส สเปน ตัดชื ่อออกเหลือแค “พริก” คงจะตองการใหคลองกับวรรคที ่เพิ่มขึ้นใหมอีกวรรค หนึ่งวา“รักหยอกจะเกรงอะไร กับหยิก” ปฏิทรรศน (paradox) เปนคํ ากล จนไมนาเปนไปได แตหากพิจารณาให าวที่ขัดแยงกันเองในคํากลาวนั้นหรือในสถานการณน ั้น ลึกแลว คํากลาวหรือสถานกา ความจริงอีกดวย การใชปฏิท รณนั้นกลับเปนไปไดและเปน รรศนในคํ สามารถในการใชความคิดและการใ าสุภาษิตไทยเปนการแสดงปฏิกิริยาไหวพริบ และความ ชภาษาอยางรอบคอบลึกซึ้งทั ้งผูกลาวและผูตีความหมาย สุภาษิตไทยที่มีลักษณะเปนปฏิ ทรรศน เชน รักยาวใหบั่น รักสั้นใหตอ แพเปนพระ ชนะเปนมาร ยิ่งรีบยิ่งชา เปนตน

๒ »ÃÐÇѵԼٌᵋ§

นามเดิม) หมอมเจาอิศรญาณ (ไมทราบพระ ศเธอ กรมหลวง เปนพระโอรสในพระเจาบรมวง คทรงผนวชที่วัดบวร มหิศวรินทรามเรศ พระอง มี รญาโณ  า อิ สฺ ส นิ เ วศฯ ได พ ระนาม ฉายาว สมั ย พระบา ทสมเด็ จ พระชน ม ชี พ อยู  ใ นช ว งรั ช ว ั ห  อยู า เจ า มเกล พระจอ

าประพั อิศรญาณภาษิตแตงดวยคํ าวา เอย ดังนี้ ดวยวรรครับ และจบดวยคํ กลอนสุภาพ แตจะขึ้นบทแรก อิศรญาณชาญกลอนอักษรสาร โดยตํานานศุภอรรถสวัสดี ... เทศนาคําไทยใหเปนทาน ................................................ ... ............ .................................... ยังจรลีเขาสูนิพพานเอย แสนประเสริฐเลิศภพจบธาตรี

ò

หนวยที่ พระอภัยมณี ตอ

นหนีนางผีเสื้อ

ตัวชี้วัด ■

สรุปเนื้อหาวรรณคดี ขึ้น (ท ๕.๑ ม.๓/๑ วรรณกรรม และวรรณกรรมทอ งถิ่นในระดับที่ยากยิ ) วิเคราะหวิถีไทยและ ่ง ท านคํ า กลอ (ท ๕.๑ ม.๓/๒) คุณคาจากวรรณคดีและวรรณกรรมท ี่อาน เปนจินตนิยายท นเรื่ อ งพร ะอภั ย มณี สรุปความรูและข ี่ม อคิ ได ป ระส มปร ะสา ีแนวคิดแปลกใหม โดย (ท ๕.๑ ม.๓/๓) ดจากการอานเพื่อนําไปประยุกต ใชในชีวิตจริง นเห ตุ ก ารณ

นิ

สาระการเรียนรูแกนกล

าง

วรรณคดี วรรณก รรมและวรรณกรรมท ประเพณี พิธีกรรม องถิ่นเกี่ยวกับศาสนา ในประวัติศาสตร สุภาษิต คําสอน เหตุการณ บั การวิเคราะหวิถีไ นเทิงคดี ทยและคุณคาจากวร รณคดีและวรรณกรรม

๔ àÃ×èͧ‹Í

ฏิบัติ นําเกี่ยวกับการประพฤติป ิงสั่งสอนแบบเตือนสติและแนะ างไรจึงจะอยูใน อิศรญาณภาษิตมีเนื้อหาในเช า สอนวาควรจะปฏิบัติตนอย โดยเฉพาะผูที่มีอํานาจมากกว งการเห็นคุณคา อ ่ เรื น นเน บางตอ ตนใหเปนที่พอใจของผูอื่น ง สมหวั เร็จ างไรจึงจะประสบความสํา ั้งอาจเปนการ สังคมไดอยางสงบสุข ทําอย ื่น โดยทั้งนี้การสอนบางคร สบประมาทหรือดูแคลนผูอ และความสําคัญของผูอื่นโดยไม งประชดประชัน กลาวตรงๆ หรือใชถอยคําเชิ

 ใ นชี วิ ต จริ ง และจินตนาการม สนุกสนาน ใหข าเรียงรอยเปนเรื่องราวที่ อ คิ นิทานคาํ กลอนเรื ดคติธรรมในการดําเนินชีวติ อ่ อันยิ่งใหญที่ผูอ งพระอภยั มณีจงึ เปนผลงาน านควรอานอย างพิ เพื่อรับรูความง ามทางภาษาและข นิจพิจารณา นําไปประยุกตใ อคิดที่สามารถ ชในชีวิตประจํา วันของตนเอง

สนามรบ

ถูกศรนาคบาศกลาง

รั้งที่ ากกอนการออกรบในค พของอินทรชิต ภาพวาดงานพระศ นเพียงบางสวนในฉ า และ ัณตอนที่นํามาศึกษาเป กษแปลงเปนเทวด พระอินทร เหลายั สําหรับบทพากยเอราว ิศวรแปลงกายเปน เพราะเห็นแปลก ว ตั พระอ ง ะวั ร ทของ ห ใ  ระเว พ ษมณ ก ใช ่ง ือนพระลั ินทร ๓ ของอินทรชิต ซึ าบนฟา หนุมานเต างเชื่อวาเปนพระอ นชางเอราวัณลอยม และไพรพลวานรต การุณราชแปลงเป ินทรชิตแผลงศร น แตพระลักษมณ น เปนโอกาสใหอ ลวนมีอาวุธครบครั ที่บรรดาเทพเทวดา ามงามอยางเพลิดเพลิ ิงๆ จึงเผลอชมคว มาจร จ ็ าเสด เทวด า และเหล น ใหเห็นถึงความ ไป นตภาพใหแกผูอา พรหมาสตรจนสลบ นการใชคําสรางจิ ี้มีความโดดเดนดา เนื้อเรื่องในตอนน ามา ้งสองฝาย งไรก็ตามไดมีการนํ ่งใหญของกองทัพทั ากอินเดีย แตอยา ลมาจ พ ธิ ท อิ สวยงามและความยิ บ ั ร สนใจและทรง งรามเกียรติ์จะได ดีเรื่องนี้มีความนา แมวาวรรณคดีเรื่อ ย จึงทําใหวรรณค มและรสนิยมของคนไท นธรร ฒ วั บ กั า ข เ ปรับปรุงให นถึงปจจุบัน คุณคาสืบเนื่องมาจ ๑๑๖

๑๑๐

Web Guide á¹Ð¹íÒáËÅ‹§¤Œ¹¤ÇŒÒ¢ŒÍÁÙÅ à¾ÔèÁàµÔÁ¼‹Ò¹Ãкº Online

Design ˹ŒÒẺãËÁ‹ ÊǧÒÁ ¾ÔÁ¾ ô ÊÕ µÅÍ´àÅ‹Á ª‹ÇÂãˌ͋ҹ·íÒ¤ÇÒÁࢌÒã¨ä´Œ§‹ÒÂ

ทร ตแปลงเปนพระอิน ครั้งที่ ๓ อินทรชิ  ในครั้งนี้ ารบกับพระลักษมณ อม ขี่ชางเอราวัณออกม าสต ร ส ลบไป พร รหม ศรพ ก ู ถ  พระ ลั ก ษมณ วัณ หนุมาน งเขาหักคอชางเอรา พลวานร หนุมานตร เมือ่ หนุมาน นศรจนสลบไปและ าม ถูกอินทรชิตตีดว ยคั พระร บ ั งฟนขึ้น ประกอบก ตองกระแสลมพัดจึ านไปนํา ูมิ พิเภกจึงใหหนุม และพิเภกมายังสมรภ และไพรพลไดกลิ่น ษมณ ก ั พระล ยาที่เขาสรรพยา ภนิยาชุบศร จึงกลับไปตัง้ พิธกี มุ ยาจึงฟน อินทรชิต ษมณลางพิธีได ๓ เลม แตพระลัก รํ่าลาลูกเมีย แลวออก ครั้งที่ ๔ อินทรชิต นําพาน ลงศรตัดคอ องคต ไปรบ ก็ถูกพระรามแผ งแผลงศรไป และพระรามจึงตอ แวนฟาไปรองรับ ระสาท ทั้งนี้เพราะพระพรหมป ทําลายใหเปนจุณ ิ์ “ถา งฤทธ อ อินทรชิตใหเรื ศรนาคบาศและอวยพร วตก อากาศ ถาแมนหั ายบน ต ห ใ ก็ งตาย แมนตอ าญโลก” ผาผล เ ป ล ไฟกั น  ถึงดิน จงกลายเป

EB GUIDE ๙๓

i_Lit/M3/07

http://www.aksorn.com/LC/Tha

µÑǪÕÇé ´Ñ áÅÐÊÒÃСÒÃàÃÕ¹ÃÙጠ¡¹¡ÅÒ§ µÒÁ·ÕËè ÅÑ¡Êٵà ¡íÒ˹´ à¾×èÍãËŒ·ÃÒº¶Ö§à»‡ÒËÁÒÂ㹡ÒÃÈÖ¡ÉÒ

ภาพวาดพระลักษมณ

าร

วัดบวรนิเวศวิหารราชวรวิห

๓ ÅѡɳФӻÃоѹ¸ นธประเภทกลอนเพลงยาว ซึ่งมีลักษณะบังคับเหมือน

¤íÒÈѾ· ¤ÇÃÃÙŒ ¨Ò¡à¹×éÍËÒà¾×èÍà¾ÔèÁ¾Ù¹ áÅÐ ¢ÂÒ¾ÃÁá´¹¤ÇÒÁÃÙŒãËŒ¡ÇŒÒ§¢ÇÒ§ÍÍ¡ä»

เวหน

คําศัพท

สัตภัณฑ สุบรรณ

อมรินทร อัปสร อารักษ อินทเภรี อินทรชิต

เอราวัณ

ค�ำถำม

สนามรบ

สรอยสุมาลี สหัสนัยน

ความหมาย

ทองฟา

สมรภูมิ

ดอกไม พันตา หมายถึง

พระอินทร ชื่อหมูเขา ๗ ชั้น ที่ลอมรอบเขาพระสุ เมรุ ไดแก ยุคนธร นะ เนมินธร วินัน อิสินธร กรวิก สุท ตกะ และอัสกัณ ัส ครุฑ พาหนะของ พระนารายณ

พระอินทร กายม

ีสีเขียว เปนเทพส

นางฟา

ูงสุดบนสวรรคชั้น

ดาวดึงส

เทพารักษ เทวดาผู

พิทักษ

กลองที่ใชตีใหสัญ ญาณในกองทัพเวลา ออกศึกในสมัยโบรา ถอย ใหหยุด เปน ตน ณ

ยักษตนหนึ่งชื่อเดิ มคือ รณพักตร เป นโอรส กับนางมณโฑ อิน ทรชิต แปลวา รบชน ของทศกัณฐ ะพระอินทร

เปนเทพบุตรองค

หนึ่งจะเนรมิตเปน

¤íÒ¶ÒÁ»ÃШíÒ˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙጠÅСԨ¡ÃÃÁÊÌҧÊÃä ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒà¾×è;Ѳ¹Ò¼ÙŒàÃÕ¹ãËŒÁդسÀÒ¾ µÒÁµÑǪÕéÇÑ´

กิจกรรม

สร้ำงสรรค์พัฒนำกำรเรียนรู้

กิจกรรมที่ ๑

ศ กึ ษาบทพากย์โขนตอนอืน่ ๆ ทีน่ กั เรียนสนใจเปรียบเทียบกลวิธกี ารใช้ภาษาว่ามีความ สอดคล้องกับเนื้อหา ฉาก และอารมณ์ความรู้สึกของตัวละครในเรื่องอย่างไร นักเรียนอ่านบทพากย์เอราวัณในแบบท�านองเสนาะ ฝึกพากย์โขนแล้วลองสังเกต เปรียบเทียบว่าแบบใดเกิดรสความ รสค�าไพเราะกว่ากัน

กิจกรรมที่ ๒ เชน ตีบอกให

ประจ�ำหน่วยกำรเรียนรู้

๑. ช้างเอราวัณมีลักษณะอย่างไร ให้นักเรียนทดลองวาดภาพช้างเอราวัณตามจินตนาการของนักเรียน ๒. โวหารที่มีความเด่นชัดที่สุดในวรรณคดีเรื่องนี้ คือ โวหารประเภทใด ๓. เพราะเหตุใดอินทรชิตจึงต้องแปลงกายเป็นพระอินทร์ทรงช้างเอราวัณเพื่อเป็นกลลวงฝ่ายพระราม ทั้งๆ ที่อินทรชิตมีความช�านาญในการรบอย่างยิ่ง ๔. นักเรียนสรุปข้อคิดที่ได้รับจากเรื่องบทพากย์เอราวัณ ๕. คุณค่าทางด้านใดของเรื่องบทพากย์เอราวัณที่มีความโดดเด่นมากที่สุด

ชางทรง เมื่อพระอ

ินทรเสด็จ

๑๒๕

135


กระตุน ความสนใจ สํารวจคนหา Engage

Explore

อธิบายความรู ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล Explain

Expand

Evaluate

สารบัญ ตอนที่ ๕

วรรณคดีและวรรณกรรม บทนํา หนวยการเรียนรูที่ ๑ หนวยการเรียนรูที่ ๒ หนวยการเรียนรูที่ ๓ หนวยการเรียนรูที่ ๔ หนวยการเรียนรูที่ ๕ บทอาขยาน บรรณานุกรม

บทละครพูดเรื่องเห็นแกลูก นิทานคํากลอนเรื่องพระอภัยมณ� พระบรมราโชวาท อิศรญาณภาษิต บทพากยเอราวัณ

(๑) ๒ ๓๐ ๖๖ ๙๒ ๑๑๒ ๑๓๖ ๑๓๙


ตอนที่

กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Engage

Explore

Explain

Expand

Evaluate

õ วรรณคดีและวรรณกรรม

คูมือครู

1


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explore

Explain

Expand

Evaluate

(หนาพิมพและตัวอักษรในกรอบนี้มีขนาดเล็กกวาฉบับนักเรียน 20%)

เปาหมายการเรียนรู • สรุปเนื้อหาเรื่องเห็นแกลูก • วิเคราะหวิถีไทยและคุณคาดาน สังคมเรื่องเห็นแกลูก • สรุปความรูและขอคิดนําไป ประยุกตใชในชีวิตจริง

กระตุนความสนใจ ใหนักเรียนแสดงความคิดเห็นจาก ภาพหนาหนวยการเรียนรู โดยครูตั้ง คําถามกระตุนใหนักเรียนแสดงความ คิดเห็น • หญิงสาวที่นั่งอยูที่พื้นมีลักษณะ อยางไร • ชายคนที่นั่งบนเกาอี้นาจะเปน ใคร สังเกตจากอะไร • ชายที่ยืนอยูกําลังรูสึกอยางไร • นักเรียนคิดวาตัวละครใด ในภาพเปนเจาของบาน และ ตัวละครตัวใดเปนแขก

หนวยที่

ñ

บทละครพูดเรื่องเห็นแกลูก ตัวชี้วัด ■

สรุปเนื้อหาวรรณคดี วรรณกรรมและวรรณกรรมทองถิ่นในระดับ ที่ยากยิ่งขึ้น (ท ๕.๑ ม.๓/๑) วิเคราะหวิถีไทยและคุณคาจากวรรณคดีและวรรณกรรมที่อาน (ท ๕.๑ ม.๓/๒) สรุปความรูและขอคิดจากการอานเพื่อนําไปประยุกตใชในชีวิตจริง (ท ๕.๑ ม.๓/๓)

ล ะครพูดเปนบทละครที่แสดงโดย

ให ตั ว ละครสนทนาโต ต อบกั น เป น การ แสดงทีไ่ ดรบั อิทธิพลจากตะวันตก พระบาท สมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัวโปรดเกลาฯ ให ตั้ ง โรงละครขึ้ น ทั้ ง ทรงพระราชนิ พ นธ บทละครเปนจํานวนมาก เนื่องจากละครพูด สาระการเรียนรูแกนกลาง เปนการแสดงที่จําลองชีวิตจริง จึงสอดแทรก วรรณคดี วรรณกรรมและวรรณกรรมทองถิ่น เกี่ยวกับ ศาสนา แนวคิ ด คติเตือนใจไวดวย หากผูอานไดอานหรือ ประเพณี พิธีกรรม สุภาษิตคําสอน เหตุการณในประวัติศาสตร บันเทิงคดี ชมอยางพินิจพิจารณาจะสามารถนําขอคิดมาปรับ การวิเคราะหวิถีไทยและคุณคาจากวรรณคดีและวรรณกรรม ใชในชีวิตประจําวันได ■

2

คูมือครู


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Engage

สํารวจคนหา ใหนักเรียนสืบคนพระราชประวัติ ของรัชกาลที่ 6 จากอินเทอรเน็ตหรือ แหลงเรียนรูอื่นๆ • พระนามแฝงอื่นที่ทรงใชมีอะไร อีกบาง • พระนามแฝงแตละพระนามทรง ใชในโอกาสใด ใหนักเรียนชวย กันคนหาอยางนอย 5 พระนาม ( แนวตอบ อั ศ วพาหุ (บทความ ทางการเมื อ งและบทปลุ ก ใจ) รามจิ ต ติ (บทความเกี่ ย วกั บ ทหาร) พั น แหลม (บทความ เกี่ ย วกั บ ทหารเรื อ ) ศรี อ ยุ ธ ยา (บันเทิงคดีและสารคดีตางๆ ที่ แปลจากตางประเทศ) นายแกว นายขวัญ (นิทานเรื่องเบ็ดเตล็ด ตางๆ) พระขรรคเพชร (บทละคร))

๑ ¤ÇÒÁ໚¹ÁÒ ละครเปนศิลปะการแสดงประเภทหนึ่งของไทย ซึ่งแบงไดหลายประเภท ไดแก ละครรํา ละครรอง ละครพูด ฯลฯ ละครรํา เปนการแสดงละครประกอบการรองและรํา มีดนตรีประกอบ ใชศิลปะการรองและรําตามแบบแผน ละครรอง เปนการแสดงที่ผูแสดงตองมีความสามารถในการ ขับรองประกอบการแสดง ละครพูด เปนการแสดงละครที่มีการจัดฉาก แสง สี เสียง ใหเหมือน ธรรมชาติ มีการพูดสนทนาโตตอบกัน ซึ่งในบทจะบอกดวยวาตัวละครตองแสดงกิริยาอาการอยางไร และพูดอยางไร ละครพูดเรื่อง เห็นแกลูก เปนบทพระราชนิพนธในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว พระองคทรงใชพระนามแฝงในบทพระราชนิพนธเรื่องนี้วา พระขรรคเพชร โดยมีจุดประสงคเพื่อใช เปนบทสําหรับแสดงละครและใชสาํ หรับอานเพือ่ ความเพลิดเพลิน นอกจากนีย้ งั ทรงใชการแสดงละคร เปนสื่อชวยกลอมเกลาอบรมจิตใจของประชาชนและมีพระราชประสงคเพื่อหาพระราชทรัพยสําหรับ สรางสาธารณสมบัติของชาติ ละครพูดนอกจากจะใชเพื่อการแสดงแลว ยังสามารถใชอานเพื่อความบันเทิง ซึ่งการอาน ละครพูดตองอานอยางพินิจ พิเคราะหและพิจารณาเพื่อใหเขาใจความรูสึกนึกคิดของตัวละครที่ ตองแสดงพฤติกรรมในลักษณะตางๆ สิ่งที่สําคัญที่สุดของละครพูดคือบทสนทนาของตัวละครทุกตัว ที่จะนําไปสูความหมายของการดําเนินเรื่อง

อธิบายความรู

๒ »ÃÐÇѵԼٌᵋ§ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว พระราชโอรส ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ พระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวกับสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ (สมเด็จ พระนางเจาเสาวภาผองศรี) มีพระบรมราชสมภพเมื่อวันที่ ๑ มกราคม พ.ศ. ๒๔๒๓ ตรงกับวันเสาร เดือนยี่ ขึน้ ๒ คํา่ ปมะโรง ทรงพระนามวา สมเด็จพระเจาลูกยาเธอเจาฟามหาวชิราวุธ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูห วั ทรงเริม่ ศึกษาใน พระบรมมหาราชวัง ตอมาไดเสด็จพระราชดําเนินไปทรงศึกษาตอ ณ ประเทศอังกฤษ โดยทรงเชี่ยวชาญวิชาทหาร วิชาพลเรือนและ ภาษาฝรั่งเศส หลังจากนั้นไดเสด็จเขาศึกษาที่โรงเรียนนายรอย ทหารบกแซนดเฮิสต เมื่อทรงสําเร็จการศึกษาแลวยังทรงศึกษา พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว ๓

(แนวตอบ นักเรียนยกตัวอยางไดหลากหลาย เชน “เห็นแกวแวววับที่จับจิต ใยไมคิดอาจเอื้อมใหถึงที่ เมื่อไมเอื้อมจะไดอยางไรมี อันมณีฤๅจะโลดไปถึงมือ อันของสูงแมปองตองจิต ถาไมคิดปนปายจะไดฤๅ มิใชของตลาดที่อาจซื้อ ฤๅแยงยื้อถือไดโดยไมยอม” บทประพันธนี้ใชไดกับทุกคน แสดงแนวคิดวาของดีมีคา หรือสิ่งที่นักเรียนปรารถนาอาจเปนการศึกษา เลาเรียนที่จะประสบความสําเร็จไดนั้น ตองมีความพยายามอยางมากจึงจะไดสิ่งเหลานั้นมา เปนตน)

1. พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจา อยูห วั ทีท่ รงไดรบั พระสมัญญาภิไชย ว า “สมเด็ จ พระมหาธี ร ราชเจ า ” หมายถึง ทรงเปนพระมหากษัตริย นักปราชญผูยิ่งใหญ • ใหนักเรียนอภิปรายแสดงความ คิดเห็นวาพระองคทรงพระปรีชา สามารถอยางไร (แนวตอบ พระองคทรงพระปรีชา สามารถดานภาษาและวรรณคดี เป น พิ เ ศษ พระองค ท รงเป น อั จ ฉริ ย ะในด า นกวี นิ พ นธ แ ละ ดานการประพันธ ทรงพระราช นิพนธบทประพันธตางๆ ทั้งรอย แกวและรอยกรอง) 2. ใหนักเรียนยกตัวอยางบทประพันธ ของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา เจาอยูห วั มา 1 ตัวอยาง พรอมทัง้ ให เหตุผลที่ยกมา

คูมือครู

3


๒๔๒๓

๒๔๓๐

๒๔๔๐

๒๔๖๐

๒๔๖๘

๒๔๗๐

ขอมูลทั่วไป

เสนสัญลักษณ

อธิบายความรู

นายชารลส แวน เดอก บอรน นําเครือ่ งบินแบบ ออรวลิ ไรทมาแสดงทีส่ นามมาปทุมวันเปนครัง้ แรก

Evaluate

เกิดเหตุการณกบฏ รศ. ๑๓๐ เพื่อเปลี่ยนแปลง การปกครอง

โปรดเกลาฯ ใหจดั ตัง้ กองเสือปาและตัง้ กองลูกเสือขึน้

โปรดเกลาฯใหใชพุทธศักราชแทนรัตนโกสินทรศก และจัดตั้งคลังออมสิน ปจจุบันคือธนาคารออมสิน

๒๔๖๑ ตั้งเมืองจําลองดุสิตธานี

พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกลา เจาอยูห วั สวรรคต สมเด็จพระเจา นองยาเธอ เจาฟาประชาธิปกศักดิ เดชนกรมหลวงสุโขทัยธรรมราชา เสด็จครองราชยเปนรัชกาล ที่ ๗

โปรดเกลาฯ ใหประกาศใชพระราชบัญญัตินามสกุล เกิดสงครามโลกครั้งที่ ๑ ทรงยกฐานะโรงเรียนมหาดเล็กหลวงใหเปน จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย นับเปนมหาวิทยาลัย แหงแรกของประเทศไทย และทรงยกเลิก ทหารอาสาไทยรวมเดินสวนสนาม ในสงครามโลกครั้งที่ ๑ ณ นครปารีส

Expand

รัชกาลที่ ๕ โปรดเกลาฯ ใหสรางวังพญาไท พระบรมโอรสาธิราชสยามมกุฎราชกุมารฯ เสด็จเมืองเหนือเพื่อศึกษาประวัติศาสตร และโบราณคดี

ทรงเปนผูรักษาพระนคร เมื่อรัชกาลที่ ๕ เสด็จพระพาสตนครั้งแรก

๒๔๕๐

ทรงอบรมวิชาปนใหญที่กรมทหารราบเบาเดอรัม (Royal Durham Light Infantry) ที่อัลเดอรชอต (Aldershot) และทรงเขาประจําการที่กรมทหารราบ เบาเดอรัม จากนั้นเสด็จเขาเรียนที่วิทยาลัยไครสตเชิรช มหาวิทยาลัยออกซฟอรด โดยทรงศึกษาวิชา ประวัติศาสตร เศรษฐศาสตรและการปกครอง

สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชสยามมกุฎราชกุมาร ทรงเริ่มวิชาทหารที่โรงเรียน นายรอยทหารบกแซนตเฮิสต

เสด็จกลับประเทศไทยเมื่อวันที่ ๒๙ มกราคม ทรงเขารับราชการในกรมทหารมหาดเล็ก จนทรงไดรับโปรดเกลาฯ เปนผูบังคับการกรม

๒๔๔๐

รัชกาลที่ ๕ เสด็จสวรรคต สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจาฟามหาวชิราวุธ สยามมกุฎราชกุมาร เสด็จขึ้น ครองราชยเปนรัชกาลที่ ๖ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหสมเด็จเจาฟา มหาวชิราวุธฯ เสด็จไปศึกษาตอทีป่ ระเทศอังกฤษ

ตรวจสอบผล

ทรงเปนผูสําเร็จราชการ แผนดิน เมื่อรัชกาลที่ ๕ เสด็จประพาสยุโรปครั้งที่สอง และโปรดเกลาฯ ใหสราง พระราชวังสนามจันทร ที่จังหวัดนครปฐม

ทรงผนวชตามพระราชประเพณี ประทับจําพรรษาที่วัดบวรนิเวศ วิหาร ๑ พรรษา

สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจาฟามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎราชกุมาร รัชทายาทเสด็จสวรรคต รัชกาลที่ ๕ จึงโปรดเกลาฯ สถาปนากรมขุนเทพทวาราวดีเปน สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจาฟามหาวชิราวุธ สยามมกุฎราชกุมาร สืบแทน

๒๔๒๐

ทรงไดรับการสถาปนาเปน สมเด็จเจาฟามหาวชิราวุธ กรมขุนเทพทวาราวดี

๒๔๓๗

พระราชพิธีโสกันต

๒๔๔๒

ทรงพระราชสมภพเมื่อ ๑ มกราคม เปนพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวและ สมเด็จพระนางเจาเสาวภาผองศรี

๒๔๓๖

พระราชประวัติ ในรัชกาล ที่ ๖ ๒๔๓๑ ๒๔๔๕

คูมือครู ๒๔๕๓

๒๔๔๗

4 ๒๔๕๖ ๒๔๕๗

ศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับพระราช ประวัติรัชกาลที่ 6 ไดที่ http//:www. sainampeung.ac.th/chalengsak/ units/unit4/chapter4/chapter4-6/ Ram6_1_History.htm ๒๔๕๙

มุม IT

ขยายความเขาใจ

๒๔๔๘

@ ๒๔๖๒

1. ใหนักเรียนจับคูเลือกพระราช นิพนธในรัชกาลที่ 6 เรื่องที่สนใจ มาเลาใหเพื่อนฟงหนาชั้นเรียน 2. ใหนักเรียนแสดงทรรศนะตอ พระราชกรณียกิจดานอักษร ศาสตร ของรัชกาลที่ 6 บันทึก ลงสมุด

๒๔๕๐

Explore

Explain

๒๔๕๒

Engage

อธิบายความรู

๒๔๕๕

สํารวจคนหา

๒๔๕๔

กระตุนความสนใจ (ยอจากฉบับนักเรียน 20%)

๒๔๓๕


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

อธิบายความรู 1. ใหนักเรียนอธิบายขอความที่กลาว วา • บทละครพูดเรื่องเห็นแกลูก เปนเรื่องสั้นๆ เพียงองกเดียว หมายความวาอยางไร (แนวตอบ องก หมายถึง ตอนหนึ่ง ในบทละคร จึ ง หมายความว า บทละครพูดเรื่องเห็นแกลูก มีเพียงตอนเดียวหรือฉากเดียว) 2. ใหนักเรียนจัดกลุมอธิบาย ความหมายและวิวัฒนาการของ บทละครพูด โดยใชแผนผังความคิด

วิชาประวัติศาสตรและกฎหมายที่วิทยาลัยออกซฟอรดดวย ณ ขณะนั้นสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจาฟามหาวชิรุณหิศสยามมกุฎราชกุมารสิ้นพระชนม พระองคจึงไดรับสถาปนาเปนสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชเจาฟามหาวชิราวุธ สยามมกุฎราชกุมาร และเสด็จพระราชดําเนินกลับประเทศไทย เมื่อ พ.ศ. ๒๔๔๕ เสด็จขึ้นครองราชสมบัติใน พ.ศ. ๒๔๕๓ พระราชกรณียกิจของพระองคมีหลายดาน เชน การเมือง การปกครอง เศรษฐกิจ การศึกษา ศิลปะ อักษรศาสตร ซึ่งพระองคมีพระราชนิพนธไวเปนจํานวนมาก เชน โคลนติดลอ ยิวแหงบูรพาทิศ บทเสภาสามัคคีเสวก ศกุนตลา มัทนะพาธา ซึง่ ไดรบั ยกยองจากวรรณคดีสโมสรวาเปนยอดของบทละคร พูดคําฉันทและเรื่องหัวใจนักรบไดรับยกยองใหเปนยอดของบทละครพูด โดยทรงใชนามแฝงใน พระราชนิพนธ เชน อัศวพาหุ รามจิตติ พระขรรคเพชร Young Tommy และเนื่องในวาระฉลอง วันพระบรมราชสมภพครบ ๑๐๐ ป เมื่อวันที่ ๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๒๔ องคการศึกษาวิทยาศาสตร และวัฒนธรรมแหงสหประชาชาติ (UNESCO) ไดประกาศยกยองพระองคใหทรงเปนนักปราชญของโลก พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว ทรงครองราชสมบัติเปนเวลานานถึง ๑๖ ป มี พระราชธิดาเพียงพระองคเดียว คือ สมเด็จเจาฟาเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี ซึ่งประสูติ แตพระนางเจาสุวัทนา พระวรราชเทวี เมื่อวันที่ ๒๔ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๖๘ หลังจากพระราชธิดา ประสูติได ๒ วัน พระองคสวรรคตดวยโรคพระโลหิตเปนพิษในพระอุทร เมื่อวันที่ ๒๖ พฤศจิกายน ๒๔๖๘ พระชนมายุ ๔๖ พรรษา ซึง่ พระราชประวัตขิ องพระองคสามารถแสดงเปนเสนเวลาไวในหนา ๔

เกร็ดแนะครู ครูเพิม่ เติมความรูเ รือ่ งบทละครพูด ใหนักเรียน การเขียนบทละครพูดแต เดิมเขียนเพื่อการแสดงละครเปนสวน ใหญ แตในสมัยรัชกาลที่ 6 บทละคร พูดไดเขียนขึ้นเพื่อใชเปนวรรณกรรม สําหรับอานดวย

๓ ÅѡɳФӻÃоѹ¸

ละครพูด คือ ละครที่แสดงโดยใชบทสนทนาโตตอบกันของตัวละคร ผูแตงจะเปนผูกําหนด ชื่อเรื่อง ตัวละครและฉากวาควรมีลักษณะอยางไร รวมไปถึงลําดับการแสดงของตัวละครแตละตัว นอกจากบทละครพูดจะแตงขึ้นเพื่อใชในการแสดงแลวยังใชอานไดดวย ซึ่งการอานบทละครพูดให ไดรบั อรรถรสทางการประพันธและแงคดิ เตือนใจ ผูอ า นจะตองใชวจิ ารณญาณและจินตนาการเพือ่ เขาใจ อารมณความรูส กึ นึกคิด สาเหตุของพฤติกรรมตางๆ ของตัวละครผานฉากและบทสนทนาของตัวละคร บทละครพูดเรื่องเห็นแกลูก เปนบทละครพูดขนาดสั้นที่มีความยาวเพียงองกเดียวและมีฉาก เดียว ซึ่งหมอมหลวงปน มาลากุล สันนิษฐานวา บทละครพูดเรื่องเห็นแกลูกนาจะเปนละครพูดเรื่อง แรกทีพ่ ระองคทรงพระราชนิพนธขนึ้ เองโดยมิไดแปลหรือดัดแปลงมาจากบทละครตางประเทศโดยทรง ใชพระนามแฝงวา พระขรรคเพชร บทละครพูดเรื่องเห็นแกลูก แมจะเปนเรื่องสั้นๆ เพียงองกเดียวแตนับวาเปนบทละครที่แสดง คุณธรรมประการสําคัญ คือ ความรักอันยิ่งใหญของบิดามารดาที่มีตอบุตรของตน ไมวาจะตองลําบาก เพียงใด จะยอมทนเพื่อใหลูกไดมีความสุขกาย สบายใจ เปนความรักที่ไมมีสิ่งใดเสมอเหมือน

นักเรียนควรรู องก หมายถึง ตอนหนึ่งๆ ในบท ละคร แตละตอนอาจมีเพียงฉากเดียว หรือหลายฉากก็ได

คูมือครู

5


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู ขยายความเขาใจ Explain

Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

(ยอจากฉบับนักเรียน 20%)

อธิบายความรู ใหนักเรียนศึกษาเรื่องยอบทละคร พูดเรื่องเห็นแกลูกมาลวงหนา แลว สรุปเรื่องยอเปนความเรียง บันทึกลง สมุด

ดวยเหตุนี้บทละครเรื่องเห็นแกลูกจึงไดรับคัดเลือกใหนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาไดศึกษา และยังไดรับการแปลเปนภาษาตางประเทศ เชน ภาษาจีน เกาหลี มาเลย เปนตน

๔ àÃ×èͧ‹Í

ขยายความเขาใจ

บทละครพูดเรื่องเห็นแกลูก เปนเรื่องของชายสองคน คือ นายลํ้า (ทิพเดชะ) และพระยาภักดี นฤนาถ ทั้งสองคนเคยเปนเพื่อนรักกันมากอน นายลํ้าเคยรับราชการจนไดตําแหนงทิพเดชะ สวน พระยาภักดีนฤนาถ มีตําแหนงหลวงกําธร ทั้งสองคนหลงรักหญิงคนเดียวกันคือ แมนวล ซึ่งนายลํ้าได แตงงานกับแมนวลและมีบุตรสาวคนหนึ่งชื่อแมลออ แตนายลํ้าตองโทษจําคุก ๑๐ ป ฐานประพฤติ ทุจริต ตอมาแมนวลไดเสียชีวิตลง ขณะนั้นแมลอออายุไดเพียง ๒ ป พระยาภักดีนฤนาถจึงอุปการะ แมลออ โดยบอกเธอวาบิดามารดาที่เสียชีวิตไปแลวนั้นเปนคนดี เมื่อนายลํ้าออกมาจากคุก เขาหมดหนทางทํามาหากิน เมื่อไดทราบวาแมลออกําลังจะเขาพิธี แตงงานกับบุตรพระยารณชิตผูรํ่ารวยจึงคิดจะมาพึ่งพา สวนนพระยาภักดีนฤนาถแมจะเปนเพียงบิดา บุญธรรมแตกร็ กั แมลออเหมือนลูกแทๆ ของตนจึงพยายามไมใหนายลํา้ เขามายุง เกีย่ วกับแมลออ เพราะ เกรงวาแมลออจะไดรับการรังเกียจจากสังคม เมื่อนายลํ้า ไดพูดคุยกับแมลออและพบวาเธอชื่นชมบิดา ที่แทจริงวาเปนบุรุษผูแสนดี นาเคารพเลื่อมใส ความรูสึกจึงเปลี่ยนไป เขาไมอาจลบภาพพอที่แสนดี ในใจของแมลออลงได ความเห็นแกตัวของนายลํ้าจึงหมดไปและแปรเปลี่ยนเปนความรูสึกที่เห็นแกลูก อยางจริงใจ นายลํ้าจึงไมอาจแสดงตนเปนพอที่แทจริงของแมลออได โดยใหแมลออไดมีความสุข กับอนาคตวันขางหนา

ใหนักเรียนลําดับเหตุการณจาก เรื่องยอเปนแผนผังความคิด

นักเรียนควรรู บทละครพูดเรื่องเห็นแกลูก เปนเรื่องที่รัชกาลที่ 6 ทรงคิดสราง โครงเรื่องขึ้นเองและมีบทละครพูด เรือ่ งอืน่ ๆ เชน จัดการรับเสด็จขนมสม กับนํ้ายา ผูรายแผลง เปนตน

๕ à¹×éÍàÃ×èͧ บทละครพูด เรื่องเห็นแกลูก ตัวละคร พระยาภักดีนฤนาถ นายลํ้า (ทิพเดชะ) อายคํา (บาวพระยาภักดีนฤนาถ) แมลออ ฉากหองหนังสือ ในบานพระยาภักดีนฤนาถ มีประตูขางซายเขาไปในหองนอน ขางขวาออก ไปเฉลียงทางขึ้นลง หลังมีหนาตาง เครื่องประดับประดาไมเปนของมีราคาแตใชไดดีๆ พอเปดมาน อายคําพานายลํ้า (ทิพเดชะ) เขามาทางประตูขวา นายลํ้านั้นเปนคนอายุราว ๔๐ แตหนาตาแก ผมหงอกหนายนมาก แลจมูกออกจะแดงๆ เห็นไดวาเปนคนกินเหลาจัด แตงกาย คอนขางจะปอนๆ แตยังเห็นไดวาไดเคยเปนผูดีมาครั้งหนึ่งแลว

6

คูมือครู

EB GUIDE

http://www.aksorn.com/LC/Thai_Lit/M3/01


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

กระตุนความสนใจ นายลํ้า. อายคํา. นายลํ้า. อายคํา. นายลํ้า.

: : : : :

อายคํา. นายลํ้า.

: :

อายคํา. นายลํ้า. อายคํา. นายลํ้า.

: : : :

อายคํา. นายลํ้า.

: :

อายคํา.

:

พระยาภักดี. : อายคํา. : พระยาภักดี. : อายคํา. :

ครูนําภาพการแสดงละครแตละ ประเภทมาใหนักเรียนดู สนทนา ซักถาม • ละครแตละประเภทแตกตางกัน อยางไร (ละครรํา ละครรอง ละครพูด) • นักเรียนเคยดูละครพูดบางหรือ ไม เรื่ อ งอะไร (ครู ใ ห นั ก เรี ย น ที่เคยดูมาเลาประสบการณให เพื่อนฟงหนาชั้นเรียน) • ละครพูดมีลักษณะอยางไร ( แนวตอบ เป น การแสดงที่ มี ก าร จั ด ฉาก แสง สี เสี ย ง ให เ หมื อ น ธรรมชาติ มีการพูดสนทนาโตตอบ กัน และครูแนะวาตัวละครแสดง กิรยิ าอาการอยางไร และพูดอยางไร สิ่งสําคัญที่สุดของละครพูดคือบท สนทนาของตัวละครทุกตัว จะนํา ไปสูการดําเนินเรื่อง)

ก็แลวเจาคุณเมื่อไหรจะกลับ? เห็นจะไมชาแลวครับ ทานเคยกลับจากออฟฟศราวบาย ๕ โมงทุกวัน. ถายังงั้นฉันคอยอยูที่นี่ก็ได. ครับ. (ลงนั่งกับพื้นที่ริมประตูขวา.) (ดูอายคําแลวจึงพูด.) แกไมตองนั่งคอยอยูกับฉันหรอก มีธุระอะไรก็ไปทํา เสียเถอะ. ครับ. (นั่งนิ่งไมลุกไป.) ฮือ! (มองดูอายคําครูหนึ่งแลวไปยืนมองดูอะไรเลนที่หนาตางสักครูหนึ่ง อายคําก็ยังนั่งนิ่งอยูเฉยๆ จึงหันไปพูดอีก.) แกจะคอยอะไรอีกละ? เปลาครับ. ถาจะตองคอยอยูเพราะฉันละก็ ฉันขอบอกวาไมจําเปน แกจะไปก็ได. ครับ. (นั่งนิ่งไมลุกไป.) (ดูอา ยคําอีกครูห นึง่ แลวก็หวั เราะ.) ฮะๆ ฮะๆ แกเห็นทาทางฉันมันไมไดการ กระมัง แตที่จริงฉันนะเปนผูดีเหมือนกัน มีตระกูลไมตํ่าไมเลวไปกวาเจาคุณ ภักดีเลย. (ออกไมใครเชื่อ.) ครับ. ฮื่อ! แกไมเชื่อ! ที่จริงแกก็ไมนาเชื่อ รูปรางฉันมันโทรมเต็มที เครื่องแตงตัว หรือก็ปอนเต็มทียังงี้ แตฉันสาบานไดเทียววา ฉันจะไมแตะตองสิ่งของอะไร ของเจาคุณภักดีกอนที่จะไดรับอนุญาต เขาใจไหม? ครับ. (นายลํ้ามองดูอายคํา เห็นจะไมไปแนแลวก็ถอนใจใหญ แลวไปหยิบ หนังสือเลมหนึ่งมานั่งอานที่เกาอี้ เงียบอยูครูหนึ่ง.) (พระยาภักดีนฤนาถเขามาทางประตูขวา พระยาภักดีอายุราวนายลํ้าหรือจะ แกกวานิดหนอย กิริยาทาทางเปนขุนนางผูใหญ ฝายอายคํา พอนายเขามา ก็ยกมือไหว แลวตั้งทาจะพูด.) อะไรวะ? รับประทานโทษขอรับ! (บุยปากไปทางนายลํ้า.) ใครวะ? อางวาเปนเกลอเกาของใตเทา ผมบอกวาใตเทายังไมกลับจากออฟฟศ ก็ไม ยอมไป เดินเรื่อยขึ้นมาที่นี่วาจะมาคอยพบใตเทา.

สํารวจคนหา ใหนักเรียนสืบคนเนื้อหาบทละคร เรือ่ งเห็นแกลกู จากแหลงเรียนรูต า งๆ

คูมือครู

7


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ใหนกั เรียนแบงกลุม แลวสรุปเนือ้ หา บทละครพูด เรือ่ งเห็นแกลกู เปนภาษา ของนักเรียนเอง จากนัน้ นักเรียนแตละ กลุ  ม ส ง ตั ว แทนมาหน า ชั้ น เรี ย นนํ า เสนอการสรุปเรื่องยอ (แนวตอบ นายลํ้ า กั บ พระยาภัก ดีนฤนาถเปนเพื่อนกัน ทั้งสองรักผูหญิง คนเดี ย วกั น นายลํ้ า เป น คนกล า ได กลาเสียแอบเลนการพนันและดื่มสุรา นายลํ้าไดแตงงานกับแมนวลมีบุตร สาว 1 คน ชื่อลออ นายลํ้าตองโทษ จําคุก 10 ป เพราะประพฤติทุจริต พระยาภั ก ดี น ฤนาถเป น คนซื่ อ สั ต ย สุจริต ขยันหมั่นเพียร จึงกาวหนาใน ราชการ เมื่อแมนวลเสียชีวิต บุตรสาว อายุได 2 ป พระยาภักดีนฤนาถได อุ ป การะแม ล ออเป น บุ ต รบุ ญ ธรรม เลี้ ย งดู จ นเป น สาว และกํ า ลั ง จะ แต ง งาน พระยาภั ก ดี น ฤนาถบอก แม ล ออว า พ อ แม เ สี ย ชี วิ ต และเป น คนดีมาก รวมทั้งแมลออก็รักเคารพ พระยาภักดีนฤนาถมาก นายลํ้าออก จากคุกตองการจะมาอยูกับลูก แต พระยาภักดีนฤนาถกีดกันทุกทางเกรง วาแมลออจะถูกดูหมิ่นเหยียดหยาม แมลออไดพบกับนายลํ้า เธอชื่นชม พอทีเ่ ปนคนดีนา เคารพเลือ่ มใส ทําให นายลํ้าไมอาจลบภาพพอที่ดีได ความเห็นแกลูกจึงเสียสละไมแสดง ตนเปนพอ)

พระยาภักดี. : อายคํา. : พระยาภักดี. : อายคํา. : พระยาภักดี. : อายคํา. : พระยาภักดี. : นายลํ้า. : พระยาภักดี. : นายลํ้า. : พระยาภักดี. : นายลํ้า. : พระยาภักดี. : นายลํ้า. : พระยาภักดี. : นายลํ้า. : พระยาภักดี. : นายลํ้า. : พระยาภักดี. : นายลํ้า. : พระยาภักดี. : นายลํ้า. : พระยาภักดี. : นายลํ้า. : พระยาภักดี. :

นักเรียนควรรู

8

คูมือครู

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

(ยอจากฉบับนักเรียน 20%)

อธิบายความรู

ขอรับ เปนคําลงทายและคําตอบรับ ซึ่งผูชายที่เปนผูนอยใชพูดกับผูใหญ กวา ปจจุบันไมนิยมใช “ขอรับ” แต ผูชายทุกคนจะใชคําวา “ครับ” โดย ทั่วไป

ขยายความเขาใจ

แลวยังไงละ? เกลาผมก็ตามขึ้นมาดวย มานั่งคุมอยูนี่. เออ! ดีละวะ! เอ็งออกไปนั่งคอยอยูขางนอกก็ได. ขอรับผม. คอยอยูใกลๆ เผื่อขาจะเรียก แลวก็ถาคุณลออมา บอกขาดวยนะ. ขอรับผม. (ออกไปทางประตูขวา.) (แลดูนายลํ้าอยูครูหนึ่ง แลวกระแอม.) ฮะแอม! (เหลียวมาเห็น.) ออใตเทากรุณา ผมไหว (ยกมือไหวแลวลุกขึ้นยืน.) ใตเทา เห็นจะจําผมไมได. (มองดู.) ฉันไมสูแนใจ ดูเหมือนจะจําไดคลับคลายคลับคลา. ก็ยังงั้นซิครับ ใตเทามีบุญขึ้นแลวจะมาจดมาจําคนเชนผมยังไงได. ฮือ! พิศๆ ไปก็ออกจะจําได นายลํ้าใชไหม? ขอรับ นายลํ้า ทิพเดชะ. ออๆ นั่งเสียกอนซิ, (นั่งทั้งสองคนดวยกัน.) เปนยังไง สบายดีอยูดอกหรือ? ขอรับ ผมก็ไมเจ็บไขมีอาการถึงจะลมจะตายอะไร. แกแปลกไปมาก ดูแกไป. ขอรับ ผมก็รูสึกตัววาผมแกไปมาก. ฉันยังไมไดพบแกเลยตั้งแต... จริงขอรับ หลายปมาแลว สิบหาปไดแลว. แหม! ยังงั้นเทียวหรือ? แนละซีครับ เมือ่ ... เมือ่ เกิดความขึน้ นะ ใตเทากับผมยังหนุม อยูด ว ยกันนีค่ รับ ผมเปนทิพเดชะ ใตเทายังเปนหลวงกําธรอยูยังไงละ. ถูกละๆ. แลวก็ผมยังตองไป...เออ... ไปเปนโทษเสียสิบปยังไงละครับ. อือๆ! สูบบุหรี่ไหมละ? ขอบพระเดชพระคุณ. (รับบุหรี่ไปจุดสูบ.) แลวแกไปทําอะไร เห็นหายไป.


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

อธิบายความรู ครู ใ ห นั ก เรี ย นศึ ก ษารู ป แบบการ เขียน และอธิบายการใชเครื่องหมาย วรรคตอนตางๆ ในบทละครพูด เรื่อง เห็นแกลูก วามีลักษณะเดนอยางไร ( แนวตอบ เป น การเขี ย นแบบบท ละคร มี ว งเล็ บ แสดงอาการของตั ว ละคร เขียนบทพูดสือ่ สารโดยไมมกี าร บรรยาย และใชเครือ่ งหมายวรรคตอน แบบภาษาอังกฤษ)

นายลํ้า.

: ผมขึ้นไปอยูพิษณุโลกครับ พอพนโทษแลว ผมก็เลยเปดไปใหพนบางกอก จะอยูดูหนาพวกพองยังไงได. พระยาภักดี. : ถูกแลว, ถูกแลว, ทํามาหากินยังไงที่พิษณุโลก? นายลํ้า. : แตแรก ผมพยายามหางานทําทางเสมียนบาญชี ก็ไมสําเร็จ. (หัวเราะ.) พระยาภักดี. : ฮือๆ! ในชั้นตนๆ เห็นจะลําบากจริง แลวยังไงละ? นายลํ้า. : แลวผมก็เขาหุนคาขายกับเจกสองสามคนดวยกัน. พระยาภักดี. : แลวเปนยังไง? นายลํ้า. : ก็ดีหรอกครับ พอไถๆ ไปได ไมสูฝดเคืองนักแตภายหลังอายผีโลภมันก็เขา ดลใจผมอีก. พระยาภักดี. : เอะ! อะไร เลนอยางเกาอีกหรือ? นายลํ้า. : เปลาขอรับ อายอยางเกาผมเข็ด, แตถึงจะไมเข็ดมันก็ทําอยางเกาอีกไมได เพราะผมไมไดเปนขาราชการแลวอยางทีท่ าํ ครัง้ กอน มันก็ไมมโี อกาสอยูเ อง ถูกไหมละครับ? พระยาภักดี. : ถูกแลว เปนเคราะหดีของแกที่ไมมีโอกาส. นายลํ้า. : ที่จริงถึงมีโอกาสผมก็ไมเลนอีก ผมก็แกจนหัวหงอกแลวตองมีความคิดดีขึ้น กวาแตกอนสักหนอย, การที่ผมทําอยางครั้งกอนนะ ผลที่ไดมันไมมีนํ้าหนัก เทาผลทีเ่ สียเลย, เพราะฉะนัน้ ผมจึงไดคดิ หาหนทางทีจ่ ะทําการใหไดผลมากๆ และใหมีทางลําบากนอยๆ. พระยาภักดี. : ฮือ! แลวก็ทํายังไงละ ฉันหวังใจวาการที่ทํานั้นไมเปนสิ่งที่ผิดกฎหมาย, แตที่จริงนี่ก็ไมตองกลาวเพราะถาผิดกฎหมายแกคงไมมาเลาใหฉันฟง. นายลํ้า. : ออ! เจาคุณนีก่ ย็ งั ชางพูดอยูเ หมือนหนุม ๆ นะเอง การทีผ่ มทํานะ เปนการคาขาย ครับ. พระยาภักดี. : คาอะไร? นายลํ้า. : ฝน. พระยาภักดี. : อือ! ไดกําไรดีหรือ? นายลํ้า. : ฉิบหายหมดตัว. พระยาภักดี. : อาว! ทําไมยังงั้น? นายลํ้า. : เขาจับไดเสียนะซิ เคราะหดีที่ไมติดคุกเขาไปดวย.

เกร็ดแนะครู การยื ม คํ า ภาษาอั ง กฤษมาใช ใ น ภาษาไทย มักมีสาเหตุมาจากวิทยาการ ตางๆ ที่ไทยรับมา โดยนํามาทับศัพท กรณีทคี่ าํ นัน้ ๆ เปนคําใหม และยังไมมี คําศัพทบัญญัติใชในภาษาไทย เชน offfiice = ออฟฟศ หมายถึง สํานักงาน ที่ทําการ soda = โซดา หมายถึง นํา้ ทีเ่ จือดวย โซเดียมไฮโดรเจนคารบอเนต นํ้าที่มี แกสคารบอนไดออกไซดละลายและ อัดไวในขวด clinic = คลินิก หมายถึง สถานพยาบาล night club = ไนทคลับ หมายถึง สถานเริ ง รมย ที่ เ ป ด เวลากลางคื น ขายอาหาร เครื่องดื่ม มีดนตรี และ มักจัดใหมีการแสดงดวย

นักเรียนควรรู ๙

ฝดเคือง เปนคําซอนเพือ่ ความหมาย มีความหมายวาติดขัด มีไมสจู ะพรอม ใชสอย

คูมือครู

9


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู ขยายความเขาใจ Explain

(ยอจากฉบับนักเรียน 20%)

ใหนักเรียนจับคูหาคําอุทาน จากบทละครพูด เรื่องเห็นแกลูก โดยยกตัวอยางคําอุทานในเรื่อง และชวยกันอธิบายวาคําอุทานนั้น ใชในสถานการณใด (แนวตอบ เชน ฮืม! ก็จีนกิมจีนเง็ก เลา? “ฮืม” เปนคําอุทานดวยความ สงสัย เปนตน)

พระยาภักดี. : จริง เคราะหดี. นายลํ้า. : รอดตัวที่หมอความของผมดี แกวาผมไมรูไมเห็นดวย, จีนกิมจีนเง็กมากูเงิน ผมไปวาจะไปทําทุนในการคาขายลองเรือขาวหรืออะไรอันหนึง่ , ผมก็จาํ ไมได ถนัดเสียแลว และจีนกิมจีนเง็กเอาเงินนั้นไปลงทุนซื้อฝน ผมไมรูไมเห็นดวย, ทีจ่ ริงผมระวังตัวมาก คอยเลีย่ งไมออกหนาออกตาเลย เพราะยังงัน้ ถึงไดหา พยานมายันผมยากนัก. พระยาภักดี. : ฮือ! ก็จีนกิมจีนเง็กเลา? นายลํ้า. : ติดตะรางอยูที่พิษณุโลก. พระยาภักดี. : ออ! นายลํ้า. : แหม! วันนี้รอนจริง ทําใหระหายนํ้าพิลึก. พระยาภักดี. : (เรียก.) อายคํา! ไปหาโซดามาถวยเถอะ. นายลํ้า. : โซดาเปลาหรือครับ? พระยาภักดี. : จะเอาครีมโซดาก็ได หรือนํ้าแดง. นายลํ้า. : นํ้าเหลืองๆ ไมมีหรือครับ มันคอยชื่นอกชื่นใจหนอยหนึ่ง? พระยาภักดี. : ไมมี ถึงจะมีฉันก็ไมเห็นควรจะกินเวลารอนๆ ยังงี้. (อายคํายกโซดาเขามา ทางขวา วางโซดาบนโตะแลวกลับออกไป นายลํา้ ยกโซดาขึน้ ดืม่ ทําหนาเหย แลววาง.) นายลํ้า. : ที่พิษณุโลกก็พอหาอะไรดื่มไดพอใชเทียวครับ. พระยาภักดี. : (แลดูหนานายลํา้ .) ฉันเชือ่ , เชือ่ ทีเดียว เออ! นีแ่ นะ ฉันขอถามอะไรสักหนอย เถอะ แกมาหาฉันวันนีน้ ะ มีธรุ ะอะไร อยาเกรงใจเลย เสียแรงเปนเกลอกันมา แตเกาแตแก. นายลํ้า. : ผมมาก็ตงั้ ใจมาเยีย่ มเจาคุณ นัน่ แหละอยางหนึง่ อีกอยางหนึง่ ผมนึกวา ถามี โอกาสจะไดพบแมลออบาง. พระยาภักดี. : (หนาตึง.) ออ! นายลํ้า. : เขาวาเปนสาวใหญแลวไมใชหรือครับ? พระยาภักดี. : ก็สาวอายุ ๑๗ แลว. นายลํ้า. : ออ! ถูกครับ แลวเขาวาเหมือนแมเขาไมใชหรือครับ? พระยาภักดี. : ก็เหมือน.

ขยายความเขาใจ ใหนักเรียนพิจารณาการใชคําอุทาน • ในปจจุบน ั ใชคาํ อุทานเหมือนกับใน เรื่องหรือไม หากใชไดแกคําใดบาง และใชในสถานการณใด (แนวตอบ ยังใชอยู ไดแกคําวา ฮือ! ฮือ! เออ! ดีละวะ! แหม! อือๆ! เอะ! ออ! อื่อ! อาว! ออ! พุธโธ! ออ! เอา! อะ! ปจจุบันยังมีการใชคําอุทาน เหลานี้อยู และคําวา พุท โธ! มักใช ในหมูผูสูงอายุ)

นักเรียนควรรู หมอความ หมายถึง ทนายความ คือผูที่ไดรับใบอนุญาตใหวาตาง แกตางคูความในคดีความ

นักเรียนควรรู นํา้ เหลืองๆ ในทีน่ หี้ มายถึง สุราฝรัง่ คือ บรั่นดีหรือวิสกี้ซึ่งมีนํ้าสีเหลือง ๑๐

คูมือครู

ตรวจสอบผล Evaluate

อธิบายความรู

10

Expand


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

อธิบายความรู นายลํ้า. : พระยาภักดี. : นายลํ้า. : พระยาภักดี. : นายลํ้า. : พระยาภักดี. : นายลํ้า. : พระยาภักดี. : นายลํ้า. : พระยาภักดี. :

นายลํ้า. : พระยาภักดี. : นายลํ้า. : พระยาภักดี. : นายลํ้า.

:

พระยาภักดี. : นายลํ้า.

:

พระยาภักดี. :

จากบทประพันธในหนา 11 นี้ ใหนักเรียนอภิปรายรวมกัน ดังนี้ • นักเรียนคิดวานายลํ้ามีลักษณะ นิสัยอยางไร (แนวตอบ ตอบไดหลากหลาย เชน เปนคนโลภเห็นแกเงิน เปนตน) • บทพูดของพระยาภักดีเหมาะสม กับสถานการณหรือไม อยางไร (แนวตอบ เหมาะสม เพราะใน สถานการณที่นายลํ้ากําลังโมโห พระยาภักดีก็พูดโดยใชเหตุผล)

ผมจะพบสักทีไดไหมครับ? ฉันบอกไมไดวาเมื่อไหรจะมีโอกาสที่จะพบแมลออ. นัยวานะ เจาคุณไมเต็มใจใหผมพบยังงั้นหรือ? ถาจะใหฉันตอบตามใจจริงก็ตองตอบวา ถาไมพบไดดีกวา. (ออกโกรธ.) ทําไม? จะใหตองอธิบายไปทําไม แกควรจะเขาใจไดเองดีเทียว. เขาใจยังไง? จะใหฉันพูดตามตรงอีกหรือ? เชิญ. ถาอยางงั้นก็เอาซิ ที่ฉันไมเต็มใจใหแกพบกับแมลออก็เพราะแมลออเปนผูที่ ไดรบั การอบรมอันดี สมควรแกผมู ตี ระกูล, ควรหรือทีห่ ลอนจะคบคาสมาคม กับคน...เออ... คนขี้คุกขี้ตะรางอยางผม ยังงั้นหรือ? ฉันเสียใจ ที่แกมาบังคับใหฉันตองพูดใหระคายหูแกเชนนี้. ทําไมในโลกนี้มีผมคนเดียวหรือ ที่เคยติดคุก, คนอื่นที่เคยติดคุกแลวมาเที่ยว ลอยหนาสมาคมอยูในหมูผูลากมากดี มีถมไปไมใชหรือ? ทางทีจ่ ะตองรับพระราชอาญามีหลายทาง บางคนก็พลาดอยางโนน บางคน ก็พลาดอยางนี้, ความผิดที่คนกระทําก็มีหลายชั้น. ยังงั้นซิ ถึงการฉอโกงก็มีหลายชนิดหลายชั้นเหมือนกัน ถาไมยังงั้นคุณเอง จะไดมาลอยหนาเปนพระยาอยูหรือ? ที่แกพูดเชนนี้ ถาเปนคนอื่นเขาคงหาวาแกหมิ่นประมาทเขา แตฉันนะเปนคน ที่รูจักแกมาชานานแลว เพราะฉะนั้นพอจะใหอภัยได. ขอบพระเดชพระคุณ ผมเขาใจดีแลว ถาฉอโกงเล็กนอยจึง่ จะมีโทษ โกงใหเปน การใหญไมเปนไร. แกยังเขาใจผิดอยูมาก การที่คนไดรับพระราชอาญาคราวหนึ่งแลว ไมใชวา ใครๆ เขาจะพากันคอยตัดรอนไมใหมีการผงกหัวไดอีก ไมใชเชนนั้น ถาใคร สําแดงใหปรากฏวา รูส กึ เข็ดหลาบเกรงพระราชอาญา ละความประพฤติทชี่ วั่ ประพฤติทางที่ดีแลว ก็คงจะตองมีผูรูสึกสงสารสักคราวหนึ่ง.

ขยายความเขาใจ หากนักเรียนเปนคนที่อยูในสังคม สมัยรัชกาลที่ 6 นักเรียนจะใหอภัยและ ยอมรับคนทีเ่ คยติดคุกติดตะรางอยาง นายลํ้าหรือไม เพราะเหตุใด (แนวตอบ คําตอบขึ้นอยูกับทัศนคติ ของนักเรียน แตครูควรแนะนําวาการ ใหอภัยเปนสิ่งที่ควรทํา เพราะหากไม ใหอภัยเขาก็จะไมมีโอกาสแกตัว และ จะทําผิดซํ้าอีก)

นักเรียนควรรู ลอยหนา เปนคําประสม คําวา ลอย + หนา หมายความวา ทําหนาตา ยักเอื้องกลอกไปกลอกมา

๑๑

คูมือครู

11


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู ขยายความเขาใจ Explain

(ยอจากฉบับนักเรียน 20%)

“นายลํา้ พายแพตอ “ภาพ” ทีแ่ มลออ วาดไว” • “ภาพ” ที่กลาวถึงนี้คืออะไรและ มีอิทธิพลตอมนุษยเราจริงหรือ ไมอยางไร (แนวตอบ “ภาพ” ในที่นี้คือ ภาพ ลักษณ เปนภาพที่เกิดจากความ นึกคิดที่คิดวาควรจะเปนเชนนั้น มีอิทธิพลตอมนุษยเราจริง คน เราโดยทั่วไปจะรักษาภาพของ ตนเองซึ่ ง เป น ภาพที่ ดีอยูเ สมอ ภาพที่แมลออวาดไวคือ หนาตา เปนคนซื่อ ใจคอกวางขวาง เปน คนดี)

นายลํ้า.

: เจาคุณจะพูดอยางไรก็พดู ได เจาคุณไมเคยติดคุกจะมารูย งั ไงได วาอายคนที่ ติดคุกออกมาแลวนะ มันจะไดรับความลําบากยังไง. พระยาภักดี. : ฉันขอถามหนอยเถอะ วาตั้งแตแกพนโทษมาแลวแกไดพยายามที่จะสําแดง ใหปรากฏอยางไรบาง วาแกนะตั้งใจจะประพฤติแตในทางที่ดีที่ควร? นายลํ้า. : ผมจะพยายามหรือมิพยายามก็ไมมีใครปรารถนาอินัง. พระยาภักดี. : ออ เพราะฉะนั้น แกก็เลยปลอยตัวไปตามใจของแกยังงั้นซิ. นายลํ้า. : (หัวเราะ.) เจาคุณตองเขาใจวาผมก็รกั ชีวติ ของผมเหมือนกัน ทีจ่ ะใหผมอดตาย นั้นเหลือเกินนัก ผมหาไดทางไหนผมก็เอาทางนั้น. พระยาภักดี. : ฮือ! แกอยากจะพบแมลออทําไม? นายลํ้า. : ผมไมไดเห็นหลอน ตั้งแตหลอนอายุได ๒ ปเศษเทานั้น ผมก็อยากจะดูวา เดี๋ยวนี้หลอนจะเปนยังไง. พระยาภักดี. : ออ? นั่นแนรูปแมลออ ฉายเมื่อเร็วๆ นี้เอง, (ลุกไปหยิบรูปมาสงใหนายลํ้า.) ดูรูปนี่ก็เทากับดูตัวเหมือนกัน. นายลํ้า. : (รับรูปไปดูแลวพูด.) ฮือ! เหมือนแมจริงขอรับ ผมไดทราบขาววาจะแตงงาน กับนายทองคําลูกเจาคุณรณชิตไมใชหรือครับ? พระยาภักดี. : ยังงั้น. นายลํ้า. : จะแตงเมื่อไรครับ? พระยาภักดี. : ยังไมแน เห็นจะในเร็วๆ นี้. นายลํ้า. : ถากําหนดวันแนเมื่อไหร ใตเทาโปรดบอกใหผมทราบดวยนะครับ. พระยาภักดี. : จําเปนหรือ? นายลํ้า. : ผมจะไดมาชวยงาน. พระยาภักดี. : อะไรแกจะมาดวยหรือ ตริตรองเสียใหตลอดหนอยเถอะ. นายลํ้า. : ผมเห็นควรตัวผมจะมารดนํ้าดวยนะครับ. พระยาภักดี. : นี่แกเอาอะไรมานึก! นายลํ้า. : เอะ! เจาคุณนี่ชอบกลจริงๆ ก็แมลออนะลูกผมแทๆ ไมใชหรือ? พระยาภักดี. : ออ? นี่แกพึ่งรูสึกตัวแหละหรือวาแมลออเปนลูกแก ที่จริงฉันเองก็เกือบจะ ลืมเสียแลววาแกนะเปนพอแมลออ.

ขยายความเขาใจ นายลํ้าเคยติดคุกและไมไดเปนคน ซื่อสัตยอยางที่แมลออคิด ใหนักเรียน ชวยกันวิเคราะหวา • คนที่เคยตองโทษจําคุก เมื่อพน โทษแลวจะใชชีวิตอยูในสังคม อยางไรบาง (แนวตอบ หางานทํายาก เพราะ ไม มี ใ ครอยากจ า งงานคนที่ มี ประวัติติดคุก เพื่อนฝูงรังเกียจ ไมคบคาสมาคมดวย)

นักเรียนควรรู

12

คูมือครู

ตรวจสอบผล Evaluate

อธิบายความรู

ใตเทา เปนคําสรรพนามบุรุษที่ 2 ทีผ่ พู ดู พูดกับเจานายชัน้ สูง ปจจุบนั ไม นิยมใชคํานี้ จะใชคําวา “ทาน” แทน เจานายชั้นสูงที่พูดดวย

Expand

๑๒


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

อธิบายความรู 1. ใหนักเรียนยกสํานวนที่ปรากฏ ในเรื่อง แลวอธิบายความหมาย (แนวตอบ เชน มีเหยามีเรือน หมายถึง แตงงานแลว เจาบุญนายคุณ หมายถึง ผูม บี ญ ุ คุณ หมาหัวเนา หมายถึง คนซึ่งเปนที่ รังเกียจของคนอื่นจนไมสามารถ เขากับใครได คนที่ไมมีใครรักหรือ คบหา เปนตน) 2. ใหนักเรียนนําสํานวนที่พบในเรื่อง เห็นแกลกู เขียนใสกระดาษเล็กๆ ครู รวบรวมสํานวนของนักเรียนมาให นักเรียนจับสลาก ถาจับไดสํานวน ใดใหอานและอธิบายความหมาย ของสํานวนนั้นๆ

นายลํ้า.

: จริง, ผมมีความผิดที่ทิ้งแมลออไปเสียนาน นี่แมลออคงไมรูเลยละซิวาผม เปนพอ เห็นจะนึกวาเจาคุณเปนพอกระมัง. พระยาภักดี. : เขารูวาฉันเปนแตพอเลี้ยงเขา ฉันบอกวาพอเขาตายเสียตั้งแตเขายังเล็กๆ เขาก็เลยนับถือฉันเปนพอ. นายลํ้า. : ก็แมเขาไมบอกไมเลาอะไรใหลูกเขารูมั่งเลยหรือ? พระยาภักดี. : เขาไมไดบอก. นายลํ้า. : ทําไม? พระยาภักดี. : แกไมควรจะตองถามเลย แกรูอ ยูด แี ลววา ตัง้ แตแรกไดแมนวลมาแลว แกไม ไดทําใหเขาเปนที่พอใจเลยสักขณะจิตเดียว. นายลํ้า. : จริงซิ! นี่เจาคุณคงนึกละซิวา ถาแมนวลนะไดกะเจาคุณเสียจะดีกวา. พระยาภักดี. : ก็หรือมันไมจริงเชนนัน้ ละ แมนวลเลือกผัวผิดแททเี ดียว เมือ่ จะตายหลอนก็รสู กึ จึงไดมอบแมลออไวใหเปนลูกฉัน ขอใหฉนั เลีย้ งดูใหเสมอลูกในไสฉนั เอง ฉัน ก็ไดตงั้ ใจทะนุถนอมแมลออเหมือนลูกในอกฉัน ฉันไดกระทําหนาทีพ่ อ ตลอดมา โดยความเต็มใจจริงๆ, แมลออเองคงจะเปนพยานวาฉันไมไดกระทําใหเสีย วาจาที่ฉันใหไวแกแมนวลเลย. นายลํ้า. : จริง ผมนะไดประพฤติไมดี บกพรองในหนาที่บิดามาก, แตตอไปผมจะตั้งใจ ประพฤติใหสมควร. พระยาภักดี. : ดูเกินเวลาเสียแลว แมลออก็จะมีเหยามีเรือนอยูแลว. นายลํ้า. : ผมไมเห็นจะเกินเวลาไปเลย. พระยาภักดี. : แกคิดจะทําอะไร? นายลํ้า. : ผมคิดวา เปนหนาทีจ่ ะตองมาอยูใ กลชดิ ลูกสาวผม เพือ่ จะไดชว ยเหลือเจือจาน ในธุระตางๆ ตามเวลาอันสมควร. พระยาภักดี. : ฉันบอกแลววา เขาจะมีเหยามีเรือนอยูแลว. นายลํ้า. : ทราบแลว, เมื่อยังอยูในบานเจาคุณผมก็วางใจได นี่จะแยกไปมีเหยามีเรือน ของตัวเองแลว ผมจะตองเขามาอยูกับเขาเพื่อจะไดเปนกําลังแกเขาบาง. พระยาภักดี. : เอะ! แกนี่จะเปนบาเสียแลวกระมัง? นายลํ้า. : ทําไม? พระยาภักดี. : แกจะคิดไปอยูกับลูกสาวยังงั้นยังไงได.

ขยายความเขาใจ ครูและนักเรียนรวมกันยกตัวอยาง สํ า นวนที่ เ ปรี ย บเที ย บความรั ก ของ พอแมที่มีตอลูกในลักษณะเดียวกับ ขอความทีว่ า “ขอใหฉนั เลีย้ งดูใหเสมอ ลูกในไส ฉันเองก็ตั้งใจทะนุถนอม แมลออเหมือนลูกในอกฉัน” (แนวตอบ เชน รักลูกดังแกวตา ดวงใจ เปนตน)

๑๓

คูมือครู

13


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู ขยายความเขาใจ Explain

Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

(ยอจากฉบับนักเรียน 20%)

อธิบายความรู 1. ใหนักเรียนคนหาคําบอกปฏิเสธ คําวา “ไม” ในหนา 13-14 มีทั้งหมด กี่คํา และใชประกอบกับคําใดบาง (แนวตอบ เชน ไมมี ไมรู เปนตน) 2. นักเรียนอธิบายการใชคําปฏิเสธ “ไม” ที่ปรากฏในบทละครพูดเรื่อง เห็นแกลูก (แนวตอบ คําวา “ไม” จะวางอยู ขางหนาตําแหนงคํากริยา และ อยูขางหนาหรือขางหลังคําชวย หนากริยาบางคํา ตัวอยางการใช คําวา “ไม” ขางหนาคําชวยหนา กริยา “ฉันไมคอยโกรธใครงายๆ”)

นายลํ้า.

: ทําไมครับ ก็ผทู จี่ ะมาเปนลูกเขยผมนะ เขาก็มงั่ มีพออยูไ มใชหรือ เขาจะเลีย้ ง ผมไวอีกสักคนไมไดเทียวหรือ? พระยาภักดี. : แกจะไปเปนเจาบุญนายคุณอะไรเขา เขาจะไดเลี้ยงแก? นายลํ้า. : ผมเปนพอแมลออ ดูก็มีบุญคุณพอแลว. พระยาภักดี. : เอะ! นี่แกจะขยายขึ้นวา แกเปนพอแมลออยังงั้นหรือ? นายลํ้า. : ก็ยังงั้นซิขอรับ. พระยาภักดี. : พุทโธ! นี่แกนะไมมีความเมตตาลูกแกบางเลยเทียวหรือ ถึงไดคิดรายแกเขา ไดยังงั้น? นายลํ้า. : คิดรายยังไง? พระยาภักดี. : นายทองคําเขาจะมาแตงกับลูกสาวคนเชนแกไดอยูหรือ? นายลํ้า. : ถาเขารักแมลออจริงละก็ ถึงผมจะเปนคนเลวกวาที่ผมเปนอยูนี่ เขาคงไม รังเกียจ. พระยาภักดี. : ถึงนายทองคําจะไมรังเกียจ คนอื่นๆ ก็คงตองรังเกียจ, ใครเขาจะมาคบคา สมาคมไดอีกตอไป ไปขางไหนเขาก็จะแลดูพูดซุบซิบกัน ถาใครเขาเลี่ยงได เขาก็คงเลี่ยง แกจะมาทําใหแมลออเปนหมาหัวเนาหรือ? นายลํ้า. : เจาคุณ! ผมจะตองพูดตามตรง ผมนะมันหมดทางหากินแลว ไมแลเห็นทาง อื่นนอกจากที่จะอาศัยลูกสาวใหเขาเลี้ยง. พระยาภักดี. : ออ! นี่นะ แกตองการเงินยังงั้นหรือ? นายลํ้า. : ก็แนละ ไมมีเงินก็อดตายเทานั้นเอง. พระยาภักดี. : ก็จะพูดกันเสียตรงๆ เทานัน้ ก็จะแลวกัน เอาเถอะฉันใหแกเดีย๋ วนีก้ ไ็ ด เทาไหร ถึงจะพอ เอาไปสิบชั่งกอนพอไหม? นายลํ้า. : ไมรับประทาน. พระยาภักดี. : ยี่สิบชั่ง! นายลํ้า. : ไมรับประทาน. พระยาภักดี. : หาสิบชั่ง! นายลํ้า. : พุทโธ! เจาคุณ! แตทผี่ มฉิบหายไปในเรือ่ งคาฝน นัน้ ก็เกือบรอยชัง่ เขาไปแลว. พระยาภักดี. : เอา! รอยชั่งก็เอา! นายลํ้า. : ผมไมอยากใหเจาคุณฉิบหายหรอก.

ขยายความเขาใจ จากการสนทนาในชีวิตประจําวัน • นักเรียนพบการใชคําปฏิเสธ ดวยคําวา “ไม” อยางไรบาง (แนวตอบ พบดังนี้ ใชคําวา “ไม” เพื่อใหคําเบาลง เชน เลว - ไมดี ขี้เหร - ไมคอยสวย หรือไมสวย เปนตน ใชคําวา “ไม” หนาคํากริยา 2 คํา เชน ไมเดินกิน ไมนอนรองไห เปนตน)

เกร็ดแนะครู มาตราเงินไทยโบราณมีอัตรา ดังนี้ 1 ไพ = 1 เฟอง 2 เฟอง = 1 สลึง 4 สลึง = 1 บาท 4 บาท = 1 ตําลึง 20 ตําลึง = 1 ชั่ง ตําลึง เฟอง

ชั่ง

๑๔

บาท สลึง

ไพ

7 1

6

3

14

คูมือครู

3 2

อานวา เงิน 6 ชั่ง 7 ตําลึง 3 บาท 2 สลึง 1 เฟอง 3 ไพ


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล

Engage

Evaluate

สํารวจคนหา ใหนักเรียนสํารวจตัวละครในเรื่อง วามีทั้งหมดกี่ตัว แลวระบุวาตัวละคร เหลานัน้ มีบทบาทสถานะใด (เปนใคร)

พระยาภักดี. : ชางฉันเถอะ ขอแตใหแกรับเงินรอยชั่งแลวก็ไปเสียใหพนเถอะ. นายลํ้า. : ถาหมดผมจะไปเอาที่ไหนอีกละ? ผมไมโงนะเจาคุณ ถาใหผมไปอยูเสียกับ ลูกสาวผม เงินก็จะไมเสียมาก. พระยาภักดี. : เงินนะฉันไมเสียดายหรอก ฉันเสียดายชื่อและเสียดายความสุขของแมลออ มากกวา. นายลํ้า. : คุณจะใหผมขายลูกผมยังงั้นหรือ? พระยาภักดี. : จะเรียกวากระไรก็ตามใจเถอะ แตที่จริงฉันตั้งใจซื้อความสุขใหแกแมลออ เทานั้น. นายลํ้า. : ที่คุณจะมาพรากพอกับลูกเสียเชนนี้นะ คุณเห็นสมควรแลวหรือ? พระยาภักดี. : ฉันเห็นสมควรแลว ฉันจึงไดประสงคที่จะทํา แมลออนะดีเกินที่จะเปนลูกคน เชนแก ยังไง! จะตองการเงินเทาไร วามา! (ลุกขึ้นยืนจองนายลํ้า.) นายลํ้า. : ผมไมตองการเงินของคุณ ผมจะพบกับลูกผม. พระยาภักดี. : ฉันไมยอมใหแกพบ จะเอาเงินเทาไรจะให. นายลํ้า. : ผมไมเอาเงินของคุณ. พระยาภักดี. : ถายังงั้นก็ไปใหพนบานฉัน, ไป! นายลํ้า. : ผมไมไป, จะทําไมผม? พระยาภักดี. : นี่แน, แกอยามาทําอวดดีกับฉัน ไป! นายลํ้า. : ผมไมไป (นั่งไขวหางกระดิกขาเฉย.) พระยาภักดี. : อยาทําใหเกิดเคืองมากขึ้นหนอยเลย ประเดี๋ยวฉันจะเหนี่ยวใจไวไมอยู. นายลํ้า. : คุณจะทําไมผม? พระยาภักดี. : ฉันไมอยากทําอะไรแก แตถาแกไมไปละก็... นายลํ้า. : จะทําไมผม แหม! ทําเกงจริงนะ เจาคุณนะแกแลวนะครับ จะประพฤติเปน เด็กไปได. พระยาภักดี. : จริง, ฉันแกจริง แตขอใหเขาใจวาแกสูฉ นั ไมไดนะ ฉันไดเปรียบแกมาก กําลัง ฉันยังมีพอตัว กําลังแกนะมันออนเสียแลว ฤทธิเ์ หลามันเขาไปฆากําลังแกเสีย หมดแลว. นายลํ้า. : (หัวเราะเยาะ.) ฮะๆ! ชางพูดจริง ยังไมเบาบางลงกวาเมื่อหนุมๆ เลย. พระยาภักดี. : (โกรธ.) ยังไง จะเอาเงินหรือจะเอาแสมา?

อธิบายความรู 1. ใหนักเรียนศึกษาวิเคราะหและ วิจารณลักษณะนิสัยของตัวละคร ตอไปนี้ • พระยาภักดี • นายลํ้า • แมลออ • อายคํา แลวบันทึกความรูลงสมุด 2. ครูตรวจผลงานของนักเรียนแลว คัดเลือกผลงานที่วิเคราะหวิจารณ ไดดี มาเปนตัวอยาง 3 ชิ้น โดย ใหนักเรียนเจาของชิ้นงานนําเสนอ หนาชั้นเรียน

ขยายความเขาใจ นักเรียนคิดวาตัวละครใดในเรื่อง ที่ ค วรนํ า เรื่ อ งการปฏิ บั ติ ต นมาเป น ต น แบบในการดํ า เนิ น ชี วิ ต และตั ว ละครตัวใดที่เราไมควรเอาแบบอยาง ใหนักเรียนรวมกันแสดงความคิดเห็น

นักเรียนควรรู จะเหนี่ยวใจไวไมอยู หมายถึง รั้งไว ดึงไวไมอยู ๑๕

คูมือครู

15


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู ขยายความเขาใจ Explain

Expand

Evaluate

(ยอจากฉบับนักเรียน 20%)

อธิบายความรู นักเรียนอานบทประพันธหนา 16 นี้ นักเรียนชวยกันพิจารณา • บทละครพูดเรื่องเห็นแกลูก สะทอนสังคมในสมัยนั้นอยางไร บาง (แนวตอบ ผูหญิงในสมัยนั้นจะ ไดรับการเลี้ยงดูใหเปนกุลสตรี เคารพเชื่อฟงคําสั่งสอนของ ผูใหญ มีสัมมาคารวะ)

นายลํ้า. : พระยาภักดี. : นายลํ้า. : พระยาภักดี. :

ขยายความเขาใจ นักเรียนรวมกันแสดงความคิดเห็น วา • บทบาทสถานะของผูหญิงใน บทละครพูด เรื่องเห็นแกลูก แตกตางจากผูหญิงในสังคม ปจจุบันอยางไร (แนวตอบ คําตอบหลากหลาย ครู ควรชี้แนะวาสภาพสังคมในอดีต กับปจจุบันแตกตางกัน บทบาท ของผูหญิงยอมปรับเปลี่ยนตาม สภาวะเหตุการณ)

กลับบานวันจริง หมายถึง มาเร็ว กลับบานตั้งแตหัววัน กลับบานใน ชวงที่ยังไมคํ่า คําวา “วัน” หมายถึง ชวงเวลากลางวัน เรียกสั้นๆ วา วัน

เกลอ หมายถึง เพื่อนเกา

16

คูมือครู

นายลํ้า.

:

อายคํา.

:

นายลํ้า.

:

แมลออ.

:

พระยาภักดี. : แมลออ. : พระยาภักดี. : นายลํ้า. :

นักเรียนควรรู

นักเรียนควรรู

ตรวจสอบผล

๑๖

แมลออ.

:

นายลํ้า. แมลออ. นายลํ้า.

: : :

แมลออ. นายลํ้า.

: :

ผมไมเอาทั้งสองอยาง. ถาอยางงั้นก็ได. คุณพูดซํ้าซากผมเบื่อเต็มทีแลว. ก็ถา เมือ่ พูดกันดีๆ ไมชอบ ก็ตอ งพูดกันอยางเดียรฉาน! (ไปหยิบแสมา ทีแ่ ขวน ไวที่ผนังลงมา.) เอาเถอะ! เปนไรก็เปนไป จะตองเลนงานเสียใหลายไป ทั้งตัวละ.(เงื้อแสมาจะตีนายลํ้า.) (ตกใจลุกขึ้นยืน.) อะ! อะ! เจาคุณ! (ยกแขนขึ้นปอง.) (อายคําเขามาทางขวา พระยาภักดีหยอนมือลง.) ใตเทาขอรับ คุณลออขึ้นกระไดมานี่แลว. (ออกไปตามทางเดิม.) (พระยาภักดีรีบเอาแสมาไปแขวนไวตามที่เดิม.) (หัวเราะ.) ฮะๆ! เคราะหดีจริง ตกรกซิ. (แมลออเขามาทางขวา แมลอออายุประมาณ ๑๗ ป แตงกายอยางไปเที่ยว นอกบาน พึ่งกลับมา.) แหม! คุณพอ อะไรวันนีก้ ลับบานวันจริง ฉันหมายจะกลับมาใหทนั คุณพอกลับ ทีเดียว. (ยิ้ม.) พอไดเลิกงานเร็วหนอยก็รีบกลับมา. (มองดูนายลํ้า แลวหันไปพูดกับพระยาภักดี.) นั่นใครคะ? คนเขามาหาพอ. ฉันเปนเกลอเกาของเจาคุณ ทานนับถือฉันเหมือนนองยังไงขอรับ? (พระยาภักดีพยักหนา.) ออ! (ลงนั่งไหว.) ถายังงั้นดิฉันก็ตองนับถือคุณเหมือนอาดิฉันเหมือนกัน ทําไมดิฉันยังไมรูจักคุณอาเลย. ฉันอยูหัวเมือง พึ่งเขามา แตฉันเคยเห็นหลอนแลว. เมื่อไหรคะ? ทําไมดิฉันจําไมได ดิฉันเปนคนที่จําคนแนนัก. (ยิ้ม.) หลอนเห็นจะจําฉันไมไดเลย เมื่อฉันไดเห็นหลอนครั้งกอนนี้นะ อายุ หลอนไดสองปเทานั้น. แหม! ถายังงั้น คุณคงรูจักคุณแมดิฉันละซิคะ. (แลดูตาพระยาภักดีแลวจึงพูด เสียงออกเครือๆ.) ฉันรูจักคุณแมหลอนดี.


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

ขยายความเขาใจ “(ไหว) ดิฉันรับพรลวงหนาไวกอน. คุณพอคะ ชวยพูดจาชวนคุณอาให อยู  ร ดนํ้ า ดิ ฉั น หน อ ยนะคะ ดิ ฉั น จะ เขาในเรือนเสียทีละ คุณพอกับคุณอา คงอยากคุยกันอยางผูช ายๆ สนุกกวา. (ออกไปทางประตูซาย)” • จากขอความขางตนสะทอน คานิยมใด และมีขอคิดใดที่ นักเรียนนําไปใชในชีวิตได (แนวตอบ คานิยมการมี สัมมาคารวะกับบุคคลทั่วไป และขอคิดที่นักเรียนนําไปใช ในชีวิตประจําวัน คือ การมี สัมมาคารวะยอมเปนที่รักใคร ของบุคคลทั่วไปและการรูจัก กาลเทศะ เมื่อมีผูใหญสนทนา กันอยู ผูนอยควรหาโอกาส ปลีกตัวออกมาใหผูใหญได สนทนากันอยางอิสระ)

แมลออ.

: ถายังงัน้ ดิฉนั ก็ยงิ่ ดีใจมากขึน้ ทีไ่ ดพบคุณ ก็คณ ุ พอดิฉนั ทีต่ ายละคะ รูจ กั ไหม? (นายลํา้ พยักหนา.) ถายังงัน้ คุณก็ดกี วาดิฉนั ดิฉนั ไมรจู กั เลย, เคยเห็นแตรปู ที่ ในหองคุณแม รูปรางสูงๆ หนาอกกวาง ดิฉนั ชางชอบหนาเสียจริงๆ หนาตาเปน คนซื่อ ใจคอกวางขวาง, ถาใครบอกดิฉันวาเปนคนไมดี ดิฉันไมยอมเชื่อเปน อันขาดเทียว แตทานก็เปนคนดีจริงๆ อยางที่ดิฉันนึกเดาเอาในใจ คุณพอนี่ ก็ไดบอกดิฉันวางั้น จริงไหมคะคุณพอ? (พระยาภักดีพยักหนา.) นายลํ้า. : ถาใครบอกหลอนวา พอหลอนทีต่ ายนะเปนคนไมดลี ะก็หลอนเปนไมยอมเชือ่ เลยเทียวหรือ? แมลออ. : ดิฉันจะเชื่อยังไง ดูในรูปก็เห็นวาเปนคนดี. เออ! นี่คุณพอบอกแลวหรือยัง เรื่องดิฉันจะแตงงาน? นายลํ้า. : บอกแลว, ฉันยินดีดวย. แมลออ. : คุณอาตองมารดนํ้าดิฉันนะคะ. นายลํ้า. : ฉัน- เออ- ฉันจะตองรีบกลับไปหัวเมือง. แมลออ. : โธ! จะอยูรดนํ้าดิฉันหนอยไมไดเทียวหรือคะ? นายลํ้า. : ฉันจะขอตริตรองดูกอน แตยังไงๆ ก็ดี ถึงฉันจะอยูรดนํ้าหลอนไมได ฉันก็คง ตั้งใจอวยพรใหหลอนมีความสุข. แมลออ. : (ไหว.) ดิฉันรับพรลวงหนาไวกอน. คุณพอคะ ชวยพูดจาชวนคุณอาใหอยู รดนํ้าดิฉันหนอยนะคะ ดิฉันจะเขาไปในเรือนเสียทีละ คุณพอกับคุณอาคง อยากคุยกันอยางผูชายๆ สนุกกวา. (ออกไปทางประตูซาย.) นายลํ้า. : (นิง่ อยูค รูห นึง่ แลวพูด เสียงออกเครือๆ.) เจาคุณขอรับ ใตเทาพูดถูก, เด็กคนนี้ ดี เ กิ น ที่ จ ะเป น ลู ก ผม ผมมั น เลวทรามเกิ น ที่ จ ะเป น พ อ เขา ผมพึ่ ง รู  สึ ก ความจริงเดี๋ยวนี้เอง. พระยาภักดี. : (ตบบานายลํ้า.) พอลํ้า! นายลํ้า. : หลอนไดเขียนรูปพอของหลอนขึ้นไวในใจเปนคนดีไมมีที่ติ ผมไมตองการ จะลบรูปนัน้ เสียเลย. (ถอดแหวนวงหนึง่ จากนิว้ .) นีแ่ นะครับ แหวนนีเ้ ปนของ แมนวล ผมไดติดไปดวยสิ่งเดียวเทานี้แหละ เจาคุณไดโปรดเมตตาผมสักที พอถึงวันแตงงานแมลออ เจาคุณไดโปรดใหแหวนนี้แกเขา บอกวาเปนของ รับไหวของผม สงมาแทนตัว. พระยาภักดี. : (รับแหวน.) ไดซิเพื่อนเอย ฉันจะจัดการตามแกสั่ง อยาวิตกเลย. นายลํ้า. : แลวผมขออะไรอีกอยาง. ๑๗

คูมือครู

17


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

Explain

ใหนักเรียนบอกโครงเรื่องของบท ละครพูดเรื่องเห็นแกลูก แลวชวยกัน เขียนบทละครพูดขึ้นใหม โดยยึด โครงเรื่องนี้เปนตัวอยาง ( แนวตอบ โครงเรื่ อ งความรั ก ของ พอสองแบบ คือ พอที่แทจริงกับพอ บุญธรรม หากไดเลี้ยงดูมาก็ยอมรัก ทําทุกอยางเพราะเห็นแกลูกมากกวา เห็ น แก ตั ว สํ า หรั บ พ อ ที่ แ ท จ ริ ง แม เคยทําผิดมากอนเมื่อพบความรักที่ บริสุทธิ์ใจของลูกก็ทําใหลด ละ เลิก ความเห็นแกตัว)

ตรวจสอบผล Evaluate

พระยาภักดี. : อะไร? วามาเถอะ ฉันไมขัดเลย. นายลํ้า. : อยาไดบอกความจริงแกแมลออเลย ใหเขาคงนับถือรูปผมอันเกานั้น วาเปน พอเขา และใหนับถือตัวผมเปนเหมือนอา. พระยาภักดี. : เอาเถอะ, ฉันจะทําตามแกประสงค. นายลํ้า. : ผมลาที พรุงนี้เชาผมจะกลับไปพิษณุโลก. พระยาภักดี. : เอาเงินไปใชมั่งซิ. (ไปไขกุญแจ เปดลิ้นชักโตะหยิบธนบัตรออกมาปนหนึ่ง.) เอา! นีแ่ นะ มีสกั สามสีร่ อ ยบาทไดอยู เอาไปใชกอ นเถอะ ตองการอีกถึงคอย บอกมาใหฉันทราบ. นายลํ้า. : (เสียงเครือ.) เจาคุณ! ผม...ผม... (เช็ดนํ้าตา.) พระยาภักดี. : อาย! ไมรับไมได ไมรับโกรธกันเทียว. (ยัดเยียดธนบัตรใหนายลํ้า.) นายลํ้า. : (รับธนบัตร.) ผมจะไมลืมพระเดชพระคุณใตเทาจนตายทีเดียว ขอใหเชื่อผม เถอะ. พระยาภักดี. : อยาพูดใหมากนักเลย เงินใสกระเปาเสียเถอะ แลวก็คิดอานหาทางทํามา หากินตอไปนะ. นายลํ้า. : ขอรับ ผมจะตั้งใจทํามาหากินในทางอันชอบธรรมจริงๆ ทีเดียว ถาผมนะคิด โยกโยไปอยางใดอยางหนึ่งอีก ขออยาใหผมแคลวอาญาจักรเลย. พระยาภักดี. : เออๆ ตั้งใจไวใหดีเถอะ นึกถึงแมลออบางนะ. นายลํ้า. : ผมจะลืมหลอนไมไดเลย จะเห็นหนาหลอนติดตาไปจนวันตายทีเดียว. ผมลาที ผมไมจําเปนที่จะตองฝากแมลออแกเจาคุณ เพราะเจาคุณไดเปนพอหลอนดี ยิ่งไปกวาผมรอยเทาพันทวี (เช็ดนํ้าตา.) พระยาภักดี. : เอาเถอะ อยาวิตกเลย แมลออนะฉันคงจะรักถนอมเหมือนอยางเดิม. นายลํ้า. : ผมเชื่อ, เชื่อแนนอน! (ยกมือขึ้นไหว.) ผมลาเจาคุณที. (พระยาภักดีเขาไปจับมือนายลํา้ ตางคนตางแลดูตากันอยูค รูห นึง่ แลวพระยา ภักดีนึกอะไรขึ้นมาออกเดินไปที่โตะเขียนหนังสือ หยิบรูปแมลออทั้งกรอบ ดวยสงใหนายลํ้า นายลํ้ารับรูปไปดูอยูครูหนึ่ง ไหวพระยาภักดีอีกแลวก็รีบ เดินออกไปทางประตูขวา พระยาภักดียืนมองไปทางประตูครูหนึ่ง แลวก็ เดินออกไปทีห่ นาตางทางดานหลัง ยืนพิงกรอบหนาตาง ตามองออกไปนอก หนาตางนิ่งอยูจนปดมาน.) จบเรื่อง

เกร็ดแนะครู ครู ชี้ แ นะแนวทางการเขี ย นโครง เรื่องบทละครพูด (Plot) วาโครงเรื่อง ที่ดีจะตองมีความสมบูรณในตัวเอง ประกอบดวยตอนตนเรื่อง ตอนกลาง และตอนจบ เหตุการณทกุ ตอนมีความ สั ม พั น ธ กั น อย า งสมเหตุ ส มผลและ รับกันโดยตลอด

๑๘

คูมือครู

Expand

(ยอจากฉบับนักเรียน 20%)

ขยายความเขาใจ

18

ขยายความเขาใจ


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

Engage

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

สํารวจคนหา ให นั ก เรี ย นรวบรวมคํ า ยื ม ภาษา ตางประเทศที่เปนภาษาอังกฤษ เชน คําวา “ออฟฟศ” มาอยางนอย 10 คํา นักเรียนสามารถรวบรวมคําจากเรื่อง และสืบคนจากแหลงเรียนรูอื่นๆ (แนวตอบ เชน คลินกิ ออฟฟศ แฟชัน่ เคานเตอร แท็กซี่ โซดา เปนตน)

๖ ¤ÓÈѾ· คําศัพท

ความหมาย

กระแอม

ทําเสียงดัง ใหผูฟงรูสึกตัววามีคนมา

เกลาผม

มาจากคําวา เกลากระผม คําใชแทนตัวผูพูดที่เปนเพศชาย พูดกับผูที่สูงกวา ดวยวัยและวุฒิหรือฐานะ

เกลอ

เพื่อน

ขยาย

เปดเผย

ขอบพระเดชพระคุณ

หมายถึง ขอบคุณ ใชพูดกับขาราชการชั้นผูใหญ ผูที่อาวุโสกวาทั้งดานฐานะ ความรู ยศศักดิ์

ขอรับผม

พูดใหเต็มคําวา ขอรับกระผม ปจจุบันใชวา ครับผม เปนคําตอบรับของ เพศชาย เพศหญิงใชวา เจาคะ

ครีมโซดา

นํ้าหวานผสมโซดา

ฉาย

ถายภาพ

ชั่ง

มาตราเงินสมัยโบราณ ๑ ชั่งมีคาเทากับ ๘๐ บาท

ชางพูด

พูดเกง มีคารมคมคาย

เดียรฉาน

สัตวชั้นตํ่า

ตกรก

อานวา ตก - กะ - รก หมายถึง ตกนรก

ใตเทากรุณา

หรือคําวาใตเทา เปนสรรพนามบุรษุ ทีส่ อง แทนผูท เี่ ราพูดดวยซึง่ สูงดวยยศศักดิ์

โทรม

ยํ่าแย

บางกอก

ชื่อเดิมของกรุงเทพมหานคร

บาญชี

บัญชี

ปอนๆ

ซอมซอ อัตคัด ขัดสน

ปนหนึ่ง

ปกหนึ่ง

เปนโทษ

ไดรับโทษ ติดคุก

รับประทานโทษขอรับ

ปจจุบันใชคําวาประทานโทษหรือขอโทษ

อธิบายความรู ใหนักเรียนอธิบายความหมายของ คํายืมภาษาตางประเทศที่เปนภาษา อังกฤษ จากที่รวบรวมมาอยางนอย คนละ 10 คํา ตามความเขาใจของ นักเรียน (แนวตอบ ตัวอยางเชน คลินิก หมายถึง สถานพยาบาล ออฟฟศ หมายถึง สํานักงาน แท็กซี่ หมายถึง รถโดยสารสวน บุคคล เปนตน)

@

มุม IT

ศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับคําศัพท ในบทละครเรื่องเห็นแกลูกไดที่ http://www.kruthai40.com/สื่อนํา เรื่องออนไลน-วิจัยและพัฒนา

๑๙

คูมือครู

19


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

(ยอจากฉบับนักเรียน 20%)

อธิบายความรู 1. ใหนักเรียนแสดงความคิดเห็น เกี่ยวกับบทสนทนา • บทสนทนาเหมาะสมกับ แนวเรื่องและตัวละครหรือไม ยกตัวอยางประกอบ (แนวตอบ เหมาะสม ตัวอยางเชน พระยาภักดี : เปนยังไง สบายดีอยู ดอกหรือ ? นายลํ้า : ขอรับ ผมก็ไมเจ็บไมไข มีอาการถึงจะลมตาย อะไร เมื่อพบหนากันก็ควรถามสารทุกข สุกดิบกันดังบทสนทนานี้) 2. ใหนักเรียนรวมกันอภิปราย • การตั้งชื่อเรื่องมีความสัมพันธ กับเนื้อเรื่องอยางไร (แนวตอบ ชื่อเรื่องมีความสัมพันธ กับเนื้อเรื่องเปนอยางดี เพราะ ตอนจบจะเห็นไดวานายลํ้าเสีย สละความสุขสวนตนเพราะเห็น แกความสุขของลูกจึงสัมพันธกบั ชื่อเรื่องวาเห็นแกลูก)

คําศัพท แล

และ

สําแดง

แสดง

หมอความ

ทนายความ

หมาหัวเนา

คนที่เปนที่รังเกียจของคนอื่นจนไมสามารถเขากับใครได คนที่ไมมีใครรักหรือ คบหา

หลอน

สรรพนามบุรุษที่ ๒ ใชแทนตัวหญิงที่พูดดวย

ออฟฟศ

ที่ทํางาน มาจากคําวา Office

อาณาจักร

การลงโทษตามกฎหมาย

อินัง

เอาใจใส เอาใจชวย ดูแล เหลียวแล หรืออินังขังขอบ ใชในเชิงปฏิเสธ

๗.๑ คุณคาดานเนือ้ หา

บทละครพูดเรือ่ ง เห็นแกลกู เปนบทละครทีม่ ตี วั ละครทัง้ หมด คือ พระยาภักดีนฤนาท นายลํา้ แมลออและอายคํา แมตัวละครในเรื่องจะมีนอยแตลักษณะของโครงเรื่องมีความโดดเดน การผูกเรื่อง มีความตอเนื่องราบรื่น กวีมีความประณีตในการดําเนินเรื่อง ลักษณะเดนของเนื้อหา แสดงใหเห็นถึง ความเสียสละและความรักของผูเปนพอทั้งสอง คือ นายลํ้า พอผูใหกําเนิดและพระยาภักดีนฤนาทผูซึ่ง เปนพอบุญธรรม ดวยความเห็นแกลูกของนายลํ้าจึงไมเปดเผยตน และพระยาภักดีนฤนาทที่ยอมสละ เงินทองเปนจํานวนมากเพื่อความสุขของแมลออ แมลออ : ก็คณ ุ พอของดิฉนั ทีห่ ายไปละคะ รูจ กั ไหม (นายลํา้ พยักหนา) ถาอยางนัน้ คุณก็คง ดีกวาดิฉนั ดิฉนั ไมรจู กั เลย, เคยเห็นแตในรูปทีใ่ นหองคุณแม รูปรางสูงๆ หนาอก กวาง ดิฉันชางชอบหนาเสียจริงๆ หนาตาเปนคนซื่อ ใจคอกวางขวาง ถาใคร บอกดิฉันวาเปนคนไมดี ดิฉันไมยอมเชื่อเปนอันขาดเชียว แตทานก็เปนคนดี จริงๆ อยางที่ดิฉันนึกเอาในใจ คุณพอนี่ก็ไดบอกดิฉันวางั้น จริงไหมคะคุณพอ (พระยาภักดีพยักหนา)

นักเรียนควรรู

คูมือครู

กระหาย

บทละครพูดเรื่อง เห็นแกลูก มีคุณคาที่สะทอนออกมาในดานตางๆ ดังนี้

อินัง เปนคําลงทายที่ไมปรากฏ ใชในปจจุบัน แตจะปรากฏวา “อินังขังขอบ” ซึ่งจะใชในเชิงปฏิเสธ วา ไมอินังขังขอบ คือ ไมเอาใจใส

20

ระหาย

๗ º·ÇÔà¤ÃÒÐË

นักเรียนควรรู

บทละครพูด ในชวงหลังรัชกาลที่ 6 การเขียนบทละครพูดมักเขียนเพื่อใช แสดงละครอยางเดียว จนกระทั่งใน สมัยรัชกาลที่ 9 เปนยุคสมัยที่มีการ พัฒนาเครื่องมือสื่อสารมวลชน เชน วิทยุ โทรทัศน จึงเกิดการแสดงละคร พูดในรูปของ “ละครวิทยุ” และ “ละคร โทรทัศน”

ความหมาย

๒๐


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

อธิบายความรู ใหนักเรียนนําเสนอกลวิธีการ ประพันธ การสรางปมปญหาให ตัวละคร และจุดสูงสุดของเรื่องนี้ (climax) วามีลักษณะอยางไร บันทึกความรูลงสมุด (แนวตอบ คําตอบหลากหลายตาม พื้นฐานความรูของนักเรียน ครูควร ชีแ้ นะแนวทางและหลักการ ปมปญหา ของเรื่องนี้อยูที่นายลํ้าเดือดรอนเรื่อง เงิ น จึ ง หวั ง พึ่ ง พาลู ก สาวที่ เ ป น ลู ก บุญธรรมของผูมีฐานะ จุดสูงสุดของ เรื่ อ งคื อ ตอนที่ น ายลํ้ า โต เ ถี ย งกั บ พระยาภักดีเรื่องแมลอออยางรุนแรง พอมาถึงตอนที่แมลออเลาถึงพอที่แท จริงวาเปนคนดี ก็นาํ ไปสูก ารคลีค่ ลาย ปมป ญ หา จุ ด จบของเรื่ อ งนายลํ้ า ปดบังวาคนเปนพอที่แทจริงเพื่อเห็น แกลูก)

จากเนื้อหาตอนนี้เปนจุดคลี่คลายของเรื่อง ปมปญหาและความขัดแยงระหวางพระยาภักดีนฤนาทและนายลํ้ามีความเขมขนมากขึ้นเรื่อยๆ และคลี่คลายลงเมื่อนายลํ้าไดรับรูวาตลอดระยะเวลา ในความทรงจําของแมลออ พอทีแ่ ทจริงนัน้ เปนคนดี นาเคารพนับถือโดยเธอเชือ่ จากการฟงคําบอกเลา ของพระยาภักดีนฤนาทและจินตนาการจากรูปถายทีอ่ ยูภ ายในหองของแมทไี่ ดเสียชีวติ ไปแลว ความเห็น แกตนเองของนายลํ้าจึงไดแปรเปลี่ยนเปนความเห็นแกลูก การดําเนินเรื่อง เริ่มเรื่องดวยปมปญหาจากนายลํ้า เมื่อออกจากคุกไดไปประกอบอาชีพตางๆ ทีไ่ มสจุ ริตและไมประสบความสําเร็จ จึงคิดมาพึง่ พาลูกสาวซึง่ กําลังจะแตงงานกับชายทีม่ ฐี านะดี ในขณะ ที่พระยาภักดีนฤนาถไมตองการใหนายลํ้าพบกับแมลออและแสดงตนวาเปนพอที่แทจริง ดวยความรัก ทีม่ ตี อ ลูกและเกรงวาแมลออจะอับอายขายหนาทีม่ พี อ เปนคนทุจริต เปนคนคดโกง เปนคนขีค้ กุ ขีต้ ะราง ปมปญหามีความเขมขนชวนใหติดตามยิ่งขึ้นเมื่อนายลํ้าดึงดันที่จะพบแมลออใหได แตทายที่สุดแลว ผูประพันธไดคอยๆ คลายปมปญหานั้นลง โดยใชวิธีใหผูอานเขาใจเองจากบทสนทนาของตัวละคร และจบลงดวยดีโดยใหพอที่แทจริงเห็นแกลูกมากกวาเห็นแกตัว ซึ่งตามธรรมชาติของมนุษยสวนใหญ มักเห็นแกตวั เพราะมีสญ ั ชาตญาณของการเอาตัวรอด แตเมือ่ ไดพบกับความรักอันบริสทุ ธิ์ ความจริงใจ ของลูก จึงทําใหพอ ทีไ่ มเคยทําดีเลยเกิดความละอายแกใจ เกิดความสํานึก รูส กึ ผิดชอบชัว่ ดี เขาไมอาจ ลบภาพพอทีแ่ สนดีไปจากใจของลูกได ในทีส่ ดุ จึงยอมมีชวี ติ ทีล่ าํ บากตอไปเพราะเห็นแกลกู ใหลกู มีชวี ติ ทีส่ ขุ สบาย ไมเปนทีร่ งั เกียจของคนในสังคมดีกวาทีจ่ ะใหลกู รับรูค วามจริงอันปวดราว บทละครพูดเรือ่ งนี้ แสดงใหเห็นถึงความรักของพอสองแบบ คือ พอที่แทจริงกับพอบุญธรรมที่แมไมใชพอที่แทจริงหากได เลีย้ งดูมาก็ยอ มรัก หวังดีตอ ลูกและทําทุกอยางเพราะเห็นแกลกู มากกวาเห็นแกตวั สําหรับพอทีแ่ ทจริง แมจะเคยทําตนไมดีมากอน แตเมื่อพบความรักที่บริสุทธิ์จริงใจของลูกทําใหตองลด ละ เลิกความเห็น แกตัวของตนลง

เกร็ดแนะครู

๗.๒ คุณคาดานวรรณศิลป บทละครพูดเรื่อง เห็นแกลูก พระราชนิพนธในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว แม เปนเพียงบทละครสั้นๆ มีตัวละครเพียง ๔ ตัว แตสามารถดําเนินเรื่องไดราบรื่น กระตุนความรูสึกของ ผูอานใหติดตามเรื่องตอไปจนกระทั่งเรื่องจบลงดวยความสุข สมหวังของตัวละคร จากบทสนทนา ของตัวละครภายในเรื่องนอกจากจะทําใหผูอานเขาใจเรื่องไดตรงตามวัตถุประสงคของผูประพันธแลว ยังปรากฏคุณคาในดานวรรณศิลป ดังนี้ ดังตัวอยาง

๑) การใชคําศัพทสํานวนที่แตกตางจากปจจุบัน แตยังสามารถสื่อสารกันเขาใจ ๒๑

ครู แ นะนํ า ว า ปมขั ด แย ง หรื อ ปม ปญหาคือการสรางความขัดแยงเพื่อ ใหการดําเนินเรื่องไปถึงการคลี่คลาย ปม และจบเรื่องในที่สุด ปมขัดแยงมี ไดหลายอยาง เชน ปมขัดแยงภายใน ใจของตั ว ละคร ปมขั ด แย ง ของตั ว ละครตั้งแตสองตัวขึ้นไป ปมขัดแยง ข อ ง ตั ว ล ะ ค ร กั บ กั บ สั ง ค ม ห รื อ สิง่ แวดลอม เปนตน จุดสูงสุดของเรือ่ ง เปนสวนทีป่ ญ  หาของเรือ่ งถูกขมวดปม ถึงขีดสุด เปนสวนทีก่ ระตุกใจผูอ า นถึง ขีดสุด กอนเขาสูสวนคลายปมปญหา ของเรื่อง และจบเรื่องในที่สุด

คูมือครู

21


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู ขยายความเขาใจ Explain

Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

(ยอจากฉบับนักเรียน 20%)

อธิบายความรู ใหนักเรียนวิเคราะหการใชภาษา • ภาษาที่ปรากฏในเรื่องวามีลักษณะ เดนอยางไร ( แนวตอบ ใช คํ า สั้ น เรี ย บง า ย มี ถอยคําแสดงระดับภาษา สะทอน ให เ ห็ น ฐานะที่ แ ตกต า ง เช น แก หลอน ผม ฉัน ทําใหเรื่องดูสมจริง การดําเนินเรื่องเร็ว ไมยืดเยื้อ)

• เกลอ หมายถึง เพื่อน ปจจุบันใชเปนคําซอน เชน เพื่อนเกลอ • ฉายรูป ปจจุบันใชวา ถายรูป • ไปเปนโทษ ปจจุบันใชวา ตองโทษหรือติดคุก • หลอน ใชเปนสรรพนามไดทั้งบุรุษที่ ๒ และ ๓ ปจจุบันใชวา เธอ เขา ใตเทาเปน

สรรพนามบุรุษที่ ๒ ใชเรียกชายที่สูงดวยยศถาบรรดาศักดิ์ ผูพูดมีสถานภาพตํ่ากวา สําแดง หมายถึง การแสดง นํ้าเหลืองๆ พูดเปนนัยๆ มีความหมายวา เหลา ซึ่งเปนนํ้าสีชาแก รับประทานโทษ หมายถึง การขออภัย บางคนตัดคําเปน ทานโทษ ปจจุบันใชวา ขอโทษ ขออภัยหรือขอประทานโทษ ๒) การใชภาษาพูดโดยการตัดคําหรือยอคํา ดังตัวอยาง ขอรับผม ยอมาจากคําวา ขอรับกระผม ปจจุบันใช ครับผม เกลาผม ยอมาจากคําวา เกลากระผม ตกรก ยอมาจากคําวา ตกนรก ระหาย ยอมาจากคําวา กระหาย ๓) การใชคําทับศัพท ดังตัวอยาง ออฟฟศ หมายถึง สํานักงานหรือที่ทํางาน ๔) การใชคาํ ทีป่ จ จุบนั ไมนยิ มใช เชน คําวา ไมมใี ครปรารถนาจะอินงั หมายความวา ไมมใี ครสนใจใยดี คนโบราณมักเติมสรอยคําวา ไมมใี ครอินงั ขังขอบ ปจจุบนั ใชวา ไมมใี ครสนใจ บางครัง้ ใชคําคะนองวา ไมมีใครสน ๕) การใชสํานวน ดังตัวอยาง มีเหยามีเรือน หมายถึง แตงงาน มีครอบครัว เจาบุญนายคุณ หมายถึง เคยทําบุญคุณแกเขาไวมาก หมาหัวเนา หมายถึง เปนคนไมดี ไมมีคนคบคาสมาคมดวย สํานวนที่กินใจ มีความหมายโดยนัย เชิงประชดประชัน ดังบทสนทนา

• • •

ขยายความเขาใจ ใหนักเรียนแสดงความคิดเห็นจาก เรื่องที่มีการใชภาษาแตกตางจาก ปจจุบัน • นักเรียนเขาใจเนื้อความโดยรวม ของเรื่องไดอยางไร ( แนวตอบ พิ จ ารณาจากบริ บ ท แวดล อ มเชื่ อ มโยงกั บ คํ า ที่ เ คย พบหรือคําใกลเคียง เชน รดนํ้า คือ รดนํ้าสังข รับประทานโทษ ปจจุบนั มักใชวา ขอประทานโทษ เปนตน)

• • • •

• • •

นายลํ้า.

: ผมคิดวา เปนหนาทีจ่ ะตองมาอยูใ กลชดิ ลูกสาวผม เพือ่ จะไดชว ยเหลือเจือจาน ในธุระตางๆ ตามเวลาอันสมควร. พระยาภักดี. : ฉันบอกแลววา เขาจะมีเหยามีเรือนอยูแลว. จากบทสนทนาขางตน เมื่อจะกลาวถึงการแตงงานมีครอบครัว จะใชสํานวนวามีเหยามีเรือน คือ แยกเรือนออกไปอยูกับคูครอง ๒๒

22

คูมือครู


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

อธิบายความรู ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายวา • ขนบธรรมเนียม และคานิยมที่ ปรากฏในเรื่องยังคงมีใหเห็นใน ปจจุบันหรือไม ใหนักเรียนรวมกัน ยกตัวอยาง • นักเรียนคิดวาธรรมเนียมและ คานิยมนั้นมีขอดีขอดอยอยางไร (แนวตอบ ขนบธรรมเนียมทีย่ งั ปรากฏ ในปจจุบัน เชน การตอนรับแขก อยางดี การพูดคุยสอบถามสารทุกข สุกดิบ การใหโอกาสคนทีเ่ คยทําผิด แตกลับตัวเปนคนดี เปนตน และ คานิยมที่คนไทยยังมีอยู คือ การ อบรมเลี้ยงดูบุตรหลานใหมีกิริยา มารยาทดีและเชื่อฟงผูใหญ)

นายลํ้า.

: ทําไมครับ ก็ผทู จี่ ะมาเปนลูกเขยผมนะ เขาก็มงั่ มีพออยูไ มใชหรือ เขาจะเลีย้ ง ผมไวอีกสักคนไมไดเทียวหรือ? พระยาภักดี. : แกจะไปเปนเจาบุญนายคุณอะไรเขา เขาจะไดเลี้ยงแก? จากบทสนทนาขางตน บทพูดของพระยาภักดีนฤนาทใชวา เจาคุณนายคุณ ซึ่งหมายถึง เคยทําบุญคุณแกเขาไวมาก เปนการกลาวเหน็บแนมนายลํ้าที่มีความคิดจะใหลูกเขยเลี้ยงดู พระยาภักดี. : ถึงนายทองคําจะไมรังเกียจ คนอื่นๆ ก็คงตองรังเกียจ, ใครเขาจะมาคบคา สมาคมไดอีกตอไป ไปขางไหนเขาก็จะแลดูพูดซุบซิบกัน ถาใครเขาเลี่ยงได เขาก็คงเลี่ยง แกจะมาทําใหแมลออเปนหมาหัวเนาหรือ? จากบทพูดของพระยาภักดีในขางตน ใชสํานวนวา หมาหัวเนา แสดงใหเห็นวาตัวละคร ใชสํานวนภาษาตรงไปตรงมา เพื่อใหผูฟง (นายลํ้า) เขาใจสถานการณที่จะเกิดขึ้นกับแมลออที่จะไมมี ใครคบคาสมาคมดวย

๗.๓ คุณคาดานสังคมและสะทอนวิถไี ทย

ขยายความเขาใจ

บทละครพูดเรื่อง เห็นแกลูก พระราชนิพนธในรัชกาลที่ ๖ เปนวรรณคดีที่เกิดขึ้นในชวงเวลา ที่สังคมไทยรับกระแสวัฒนธรรมตะวันตกเขามาปรับใชมากขึ้น แตถึงอยางไรก็ตามบทละครพูดเรื่อง เห็นแกลูก ก็มิไดมุงสะทอนสภาพสังคมเฉพาะดาน แตไดสะทอนใหเห็นถึงความหลากหลายทาง วัฒนธรรมทีไ่ ดมกี ารนํามาประยุกตใชใหเขากับธรรมเนียมไทย นอกจากนีย้ งั สะทอนสภาพความเปนจริง ของสังคมไมวายุคสมัยใดสังคมยอมมีทั้งดานมืดและดานสวาง คนดีและคนไมดียอมปะปนกัน สะทอน ใหเห็นสภาพชีวิต ความคิด ความเชื่อ ความรูในสังคม ณ ชวงเวลานั้น ดังนี้ ๑) ธรรมเนียมการตอนรับแขก “เปนธรรมเนียมไทยแทแตโบราณ ใครมาถึงเรือน ชานตองตอนรับ” ทุกครอบครัวในสังคมไทยยอมไดรับการปลูกฝงจากคนรุนพอรุนแมเสมอวา การ ตอนรับแขกดวยความเต็มใจและเลี้ยงรับรองอยางดีที่สุดถือเปนมารยาททางสังคมประการหนึ่ง และผู ทีไ่ ดรบั การตอนรับยอมประทับใจและกลาวถึงในความมีนาํ้ ใจของเจาบาน บทละครพูดเรือ่ ง เห็นแกลกู ไดสะทอนใหเห็นธรรมเนียมดังกลาวขางตนไว ดังบทสนทนา นายลํ้า. : พระยาภักดี. : นายลํ้า. : พระยาภักดี. :

ให นั ก เรี ย นยกตั ว อย า งสํ า นวน สุภาษิตไทยที่สะทอนคานิยมของคน ไทย (แนวตอบ การตอนรับแขกของสังคม ไทย “อันธรรมเนียมไทยแทแตโบราณ ใครมาถึงเรือนชานตองตอนรับ”)

แหม! วันนี้รอนจริง ทําใหระหายนํ้าพิลึก. (เรียก.) อายคํา! ไปหาโซดามาถวยเถอะ. โซดาเปลาหรือครับ? จะเอาครีมโซดาก็ได หรือนํ้าแดง. ๒๓

คูมือครู

23


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู ขยายความเขาใจ Explain

(ยอจากฉบับนักเรียน 20%)

ใหนักเรียนเปรียบเทียบมาตราเงิน ของไทย แลวบันทึกลงสมุด มาตราเงินไทยโบราณเปนดังนี้ 2 เฟอง = 1 สลึง 4 สลึง = 1 บาท 4 บาท = 1 ตําลึง 20 ตําลึง = 1 ชั่ง จากบทประพันธตอนที่พระยาภักดี เสนอเงินใหนายลํ้าเพื่อเปนการแลกเปลี่ ย นไม ใ ห น ายลํ้ า มายุ  ง เกี่ ย วกั บ แม ล ออ พระยาภั ก ดี เ สนอเงิ น ให นายลํ้าจํานวน 10 ชั่ง 20 ชั่ง และ 50 ชั่ง ใหนักเรียนแปลงคาเงินจากชั่งให เปนบาท ตามจํานวนเงินนั้น (แนวตอบ 10 ชั่ง = 800 บาท 20 ชั่ง = 1,600 บาท 50 ชั่ง = 4,000 บาท)

จากบทสนทนา ไดสะทอนใหเห็นธรรมเนียมในการตอนรับแขกและในขณะเดียวกัน ยังไดสะทอนใหเห็นวาเครื่องดื่มที่ใชรับรองแขกของคนไทยไดเปลี่ยนแปลงไป แตเดิมเครื่องดื่มสําหรับ รับรองแขก คือ นํา้ ฝน นํา้ สะอาด แตไดเปลีย่ นใหมคี วามทันสมัยมากขึน้ โดยใชนาํ้ ครีมโซดาคือนํา้ หวาน สีเขียว ผสมนํา้ โซดา ซึง่ ในปจจุบนั เครือ่ งดืม่ สําหรับรับรองแขกไดมกี ารพัฒนาทําใหทนั สมัยมากขึน้ ดวย การมีเครื่องดื่มที่หลากหลาย เชน นํ้าอัดลม นํ้าผลไม นํ้าชา กาแฟ ฯลฯ ๒) การกําหนดคาของเงิน ในสมัยอดีตเงินตราไมใชตัวแปรสําคัญในสังคม ในระบบ เศรษฐกิจไทยจะใชระบบแลกเปลี่ยนสินคาซึ่งกันและกัน คนเลี้ยงหมูตองการขาวจึงนําหมูไปแลก ตอมาเมื่อสังคมมีโครงสรางที่ซับซอน มีระบบเศรษฐกิจที่ชัดเจนมากขึ้น ระบบเงินตราจึงเขามาเปน สือ่ กลางในการซือ้ ขายแลกเปลีย่ น บทละครพูดเรือ่ ง เห็นแกลกู ไดสะทอนสภาพสังคมไทย ณ ชวงเวลา นั้นไดอยางชัดเจนในประเด็นของระบบเศรษฐกิจที่มีการกําหนดคาของเงินโบราณ โดยมีมาตรฐานวา ๑๐๐ สตางคมีคาเทากับ ๑ บาท ๔ บาทเปนหนึ่งตําลึง ๒๐ ตําลึงเปนหนึ่งชั่ง ดังบทสนทนา พระยาภักดี. : ออ! นี่นะ แกตองการเงินยังงั้นหรือ? นายลํ้า. : ก็แนละ ไมมีเงินก็อดตายเทานั้นเอง. พระยาภักดี. : ก็จะพูดกันเสียตรงๆ เทานัน้ ก็จะแลวกัน เอาเถอะฉันใหแกเดีย๋ วนีก้ ไ็ ด เทาไหร ถึงจะพอ เอาไปสิ เอาไป บชั่งกอนพอไหม? นายลํ้า. : ไมรับประทาน. พระยาภักดี. : ยี่สิบชั่ง! นายลํ้า. : ไมรับประทาน. พระยาภักดี. : หาสิบชั่ง! นายลํ้า. : พุทโธ! เจาคุณ! แตทผี่ มฉิบหายไปในเรือ่ งคาฝน นัน้ ก็เกือบร บ อยชัง่ เขาไปแลว. พระยาภักดี. : เอา! รอยชั่งก็เอา! นายลํ้า. : ผมไมอยากใหเจาคุณฉิบหายหรอก.

ขยายความเขาใจ นักเรียนเปรียบเทียบคาเงินโบราณ ใหชัดเจน โดยเปรียบเทียบคาเงินกับ สินคาหรือคาจางในปจจุบัน (แนวตอบ เงินเดือนของขาราชการ ไดรับเพียงเดือนละ 20 บาท ซึ่งเทากับ เงินเดือนของขาราชการในปจจุบัน ประมาณเดือนละ 10,000 บาท แสดง วาเงินจํานวน 20 บาท ในสมัยกอน สามารถใชจา ยไดเพียงพอใน 1 เดือน)

จากบทสนทนาจะเห็นวา เงิน ๑ ชั่งในสมัยรัชกาลที่ ๖ เปนเงินที่มีคามาก เงินเดือน ขาราชการถาไดเดือนละ ๒๐ บาท ก็ถอื วาเปนเงินจํานวนมาก สามารถใชจา ยไดอยางสบายและมีเหลือ เก็บออมดวย ปจจุบนั เงินตําลึง เงินชัง่ ไมใชแลวเพราะมีเงินเหรียญหรือธนบัตรฉบับละสิบบาท ยีส่ บิ บาท หาสิบบาท หนึ่งรอยบาท หารอยบาท และฉบับละพันบาท มาใชแทน แตถึงอยางไรก็ตาม ระบบเงิน ตรายังคงมีความสําคัญกับสังคมในทุกยุคทุกสมัย ๒๔

คูมือครู

ตรวจสอบผล Evaluate

อธิบายความรู

24

Expand


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

ขยายความเขาใจ นั ก เรี ย นคิ ด ว า ค า นิ ย มที่ นั บ ถื อ คนมีฐานะจากอดีตมาถึงปจจุบันนั้น เปลี่ยนแปลงหรือไมอยางไร (แนวตอบ ปจจุบันยังมีคนบางกลุม นิยมและนับถือคนมีฐานะอยู แตคน ส ว นใหญ เ ปลี่ ย นแปลงทั ศ นคติ ม า นิยมนับถือและยกยองคนที่มีความรู ความสามารถ มีความดี ความซือ่ สัตย มากกวา)

๓) คานิยมการนับถือบุคคลทีเ่ พียบพรอมทัง้ รูปสมบัตแิ ละทรัพยสมบัติ บทละคร-

พูดเรือ่ ง เห็นแกลกู ไดสะทอนใหเห็นคานิยมของคนไทยทีน่ บั ถือบุคคลจากรูปลักษณภายนอกโดยมิไดมอง ถึงคุณธรรมความดีของบุคคลผูนั้น บุคคลใดมีความประพฤติดางพรอย ทําใหเสียเกียรติยศ ชื่อเสียง ไมวาจะเคยเปนคนดี หรือเปนคนเลวมากอนก็ตาม เมื่อชีวิตมีมลทินก็ทําใหเปนที่รังเกียจของสังคม ดังนั้นพระยาภักดีนฤนาถจึงกลัวที่จะใหแมลออพบกับนายลํ้าซึ่งเปนพอที่แทจริง ดังบทสนทนา นายลํ้า. : ก็ยังงั้นซิขอรับ. พระยาภักดี. : พุทโธ! นี่แกนะไมมีความเมตตาลูกแกบางเลยเทียวหรือ ถึงไดคิดรายแกเขา ไดยังงั้น? นายลํ้า. : คิดรายยังไง? พระยาภักดี. : นายทองคําเขาจะมาแตงกับลูกสาวคนเชนแกไดอยูหรือ? นายลํ้า. : ถาเขารักแมลออจริงละก็ ถึงผมจะเปนคนเลวกวาที่ผมเปนอยูนี่ เขาคงไม รังเกียจ. พระยาภักดี. : ถึงนายทองคําจะไมรังเกียจ คนอื่นๆ ก็คงตองรังเกียจ, ใครเขาจะมาคบคา สมาคมไดอีกตอไป ไปขางไหนเขาก็จะแลดูพูดซุบซิบกัน ถาใครเขาเลี่ยงได เขาก็คงเลี่ยง แกจะมาทําใหแมลออเปนหมาหัวเนาหรือ?

นักเรียนควรรู พอเพียง เปนแนวคิดการดํารงชีวิต และปฏิ บั ติ ต นของคนทุ ก ระดั บ ที่ พระบาทสมเด็ จ พระเจ า อยู  หั ว มี พระราชดํารัสชี้แนะใหชาวไทยนําไป ปฏิบัติ

B

จากบทสนทนาจะเห็นวาพระยาภักดีนฤนาถไมตองการใหนายลํ้าซึ่งเปนพอแทๆ ไดพบ กับแมลออ โดยผูอานจะทราบไดจากบทสนทนาของตัวละคร ถึงสาเหตุสําคัญที่พระยาภักดีนฤนาถ ไมตอ งการใหแมลออรูค วามจริงเพราะไมตอ งการใหเปนทีร่ งั เกียจของสังคม ทีม่ พี อ แทๆ เปนคนประพฤติ ไมถูกทํานองคลองธรรมและเคยติดคุกมากอน นอกจากนี้ยังสะทอนใหเห็นถึงคานิยมการนับถือคนที่รํ่ารวย บางคนเห็นคนอื่นรํ่ารวย มีเงินทอง มีทรัพยสินมากมาย จึงอยากรํ่ารวยบาง โดยการหาวิธีรวยทางลัด เชน เลนการพนัน คายาเสพติด คดโกง ขโมย จี้ปลนหรือใชอํานาจหนาที่แสวงหาประโยชนสวนตน ผูที่หาวิธีรวยทางลัด เชนนี้มักลมเหลวในชีวิต ดังเชนชีวิตของนายลํ้า หากตองการมีชีวิตที่เปนสุข ควรขยันหมั่นเพียร ตั้งใจ ปฏิบัติหนาที่ รูจักความพอดี พอเพียง ไมฟุงเฟอ หมั่นเก็บออม ก็จะพอมีพอกินและเจริญกาวหนาใน หนาที่การงานตามอัตภาพ หากเรารูจักพอเพียงก็จะสามารถใชชีวิตไดอยางไมลําบาก มีความสุขกาย สบายใจ ไมตองดิ้นรนฟุงเฟอทําใหติดหนี้สิน เปนปญหาที่กระทบตอการดําเนินชีวิตประจําวัน

B

พื้นฐานอาชีพ

ครู ค วรเสนอแนะแนวทางการ พัฒนาความรูทางภาษาจากการอาน วรรณคดี และวรรณกรรมไทย โดย เฉพาะความรูทางดานคําศัพทตางๆ ที่กวีเลือกใชหรือการสรางศัพทใหม นักเรียนจะมีคลังศัพทกวางขึ้น และ จะเป น ประโยชน ใ นการสรรคํ าเพื่ อ ใชในการประพันธงานประเภทตางๆ อยางสรางสรรค ฝกฝนสูเสนทาง การเปนนักประพันธ

๒๕

คูมือครู

25


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู ขยายความเขาใจ Explain

Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

(ยอจากฉบับนักเรียน 20%)

อธิบายความรู นักเรียนรวมกันแสดงความคิดเห็น เกี่ยวกับคุณคาดานสังคมจากบท ละครพูดเรื่องเห็นแกลูก • ในขอที่วา “แสดงใหเห็นถึง สัจธรรมของมนุษย” นักเรียน เห็นดวยหรือไมอยางไร (แนวตอบ เห็นดวย เพราะเรื่องนี้ แสดงให เ ห็ น ถึ ง ความเสี ย สละ ของพอแมเพื่อลูกอยางเดนชัด ซึ่ ง เป น สั จ ธรรมที่ ดี ง าม ลู ก จะ ระลึกถึงบุญคุณของพอแมเสมอ เมื่อมีโอกาสก็ควรจะตอบแทน พระคุณทาน)

๔) แสดงใหเห็นถึงสัจธรรมของมนุษย มนุษยทุกคนยอมเห็นแกตัวเปนธรรมดา

แตพอแมยอมเห็นแกลูกมากกวาตนเอง ตองเสียสละทุกอยางเพื่อลูก แมกระทั่งนายลํ้าเองที่จากลูกไป ตั้งแตแมลอออายุได ๒ ปยังตองตอสูกับความรูสึกของตนเองวาจะเห็นแกตัวหรือเห็นแกลูกและที่สุด อํานาจฝายสูงก็ชนะ นายลํา้ ยอมจากไปผจญกับความยากลําบากเพราะเห็นแกลกู มากกวา จึงเปนเรือ่ ง ที่นายกยองที่เขาเคยทําผิดแตก็สํานึกตัวได ดังบทสนทนา นายลํ้า.

: หลอนไดเขียนรูปพอของหลอนขึน้ ไวในใจเปนคนดีไมมที ตี่ ิ ผมไมตอ งการจะลบ รูปนัน้ เสียเลย. (ถอดแหวนวงหนึง่ จากนิว้ .) นีแ่ นะครับ แหวนนีเ้ ปนของแมนวล ผมไดติดไปดวยสิ่งเดียวเทานี้แหละ เจาคุณไดโปรดเมตตาผมสักที พอถึงวัน แตงงานแมลออเจาคุณไดโปรดใหแหวนนีแ้ กเขา บอกวาเปนของรับไหวของผม สงมาแทนตัว. พระยาภักดี. : (รับแหวน.) ไดซิเพื่อนเอย ฉันจะจัดการตามแกสั่ง อยาวิตกเลย. นายลํ้า. : แลวผมขออะไรอีกอยาง. พระยาภักดี. : อะไร? วามาเถอะ ฉันไมขัดเลย. นายลํ้า. : อยาไดบอกความจริงแกแมลออเลย ใหเขาคงนับถือรูปผมอันเกานั้น วาเปน พอเขา และใหนับถือตัวผมเปนเหมือนอา. พระยาภักดี. : เอาเถอะ, ฉันจะทําตามแกประสงค. นายลํ้า. : ผมลาที พรุงนี้เชาผมจะกลับพิษณุโลก.

ขยายความเขาใจ ใหนักเรียนยกตัวอยางการเสียสละ ของคนในครอบครัว บรรยายลงใน สมุดสงครู ความยาวอยางนอย 15 บรรทัด

จากบทสนทนานายลํา้ ไมสามารถจะเห็นแกประโยชนสว นตนมากกวาความรักอันบริสทุ ธิ์ ความเทิดทูนที่แมลออมีตอเขาไดเลย พลังแหงความดีและความรักไดทําใหพอคนหนึ่งที่ในครั้งหนึ่งไม เคยไดดูแลใกลชิดลูก กลับตัวกลับใจ สละความสุขสบายและผลประโยชนสวนตนเพื่อความสุขของลูก

๗.๔ ขอคิดทีส่ ามารถนําไปประยุกตใชในชีวติ ประจําวัน บทละครพูดเรื่อง เห็นแกลูก เปนบทละครที่มีขนาดสั้น ปมปญหาไมมีความซับซอนมากนัก แตผูประพันธไดทําใหเรื่องมีความนาติดตามดวยการใชภาษาที่ประณีตงดงาม สื่อความไดชัดเจน ตรงไปตรงมา กระทบอารมณความรูสึกของผูอาน ทําใหมองเห็นขอคิดหลายประการที่ผูประพันธ สอดแทรกไวและสามารถนํามาประยุกตใชใหเกิดประโยชนในชีวิตประจําวันได ดังนี้

๒๖

26

คูมือครู

EB GUIDE

http://www.aksorn.com/LC/Thai_Lit/M3/02


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

ขยายความเขาใจ 1. ใหนักเรียนแตละคนบอกขอคิดที่ ไดจากเรื่อง อยางนอยคนละ 2 ขอ (แนวตอบ นักเรียนอาจตอบซํ้ากันได แต ค รู ค วรกระตุ  น ให ต อบอย า ง หลากหลายตามความเขาใจของ นักเรียน) 2. ใหนักเรียนนําขอคิดที่ไดจากเรื่อง แตงเปนคําขวัญ แสดงไวที่ปาย นิเทศหนาชั้นเรียน (แนวตอบ ตัวอยางเชน การพนัน เปนยาพิษ ทําลายชีวิต ทําลาย ครอบครัว)

๑) การใฝในอบายมุข คือ หนทางแหงความหายนะ คนที่ติดการพนันทุกชนิด

ยอมทําใหชวี ติ ลมเหลวทัง้ ชีวติ ครอบครัว ตําแหนงหนาทีก่ ารงานและคนในสังคมไมใหความเคารพนับถือ

๒) สถาบันครอบครัวมีความสําคัญตอโครงสรางสังคมไทย ผูที่เปนพอแมมี

หนาที่ตองอุปถัมภ เลี้ยงดู สั่งสอนอบรมบุตรใหเปนคนดีของสังคม โดยไมเรียกรองผลประโยชน ถา พอแมหรือหัวหนาครอบครัวดี บุตรหลานก็จะใหความเคารพ เชื่อฟง รักและศรัทธา บุตรหลานจะ ยึดถือพอแมเปนแบบอยางและประพฤติปฏิบัติตาม ถาครอบครัวดีสังคมก็จะดี ดังนั้น ทุกคนควร เห็นแกประโยชนสวนรวมมากกวาประโยชนสวนตนเพื่อการอยูรวมกันอยางเปนสุข

๓) คนดียอมมีผูนับถือ หากเราตองการใหคนเคารพนับถือ เราตองทําตนใหเปนคน

มีเกียรติ เชื่อถือได คือ เปนคนที่ประพฤติดี ซื่อตรง จริงใจ ทั้งตอหนาและลับหลัง ใหสมกับที่ผูอื่นรัก นับถือและชื่นชม หากตอหนาทําอยาง ลับหลังทําอีกอยางจะไมไดรับการเคารพนับถือจากบุคคลอื่นๆ อีกตอไป

เกร็ดแนะครู

๔) อยาทําตนเองใหตกตํ่าเพราะการกระทําของตนเอง ความคิดและการกระทํา

เปนเครือ่ งกํากับคุณภาพของคนและเปนเครือ่ งตัดสินคุณคาของความเปนมนุษย สอดคลองกับหลักธรรม ในพระพุทธศาสนาทีก่ ลาวไววา บุคคลยอมไดรบั ผลจากการกระทําของตนเอง หากบุคคลผูน นั้ ประกอบ กรรมดียอมไดรับสิ่งดีตอบแทน ผูคนสรรเสริญในคุณงามความดีที่ไดสรางไว แตถาหากประพฤติไม ถูกตอง ทุจริตหรือไมใฝในทางดี ชีวิตยอมจะพบกับความเดือดรอนเหมือนดังเชนนายลํ้าที่ตองติดคุก เพราะการกระทําที่ผิดกฎหมายของตนเอง

ครูแนะความรูเพิ่มเติมใหนักเรียน เกี่ ย วกั บ บทละครพู ด แรกเริ่ ม นั้ น บทละครพู ด จะเป น บทละครที่ ใ ช ศิ ล ปะการพู ด เป น หลั ก การในการ ดําเนินเรื่องไมมีการรํา มีแตการพูด นั่ ง ยื น เดิ น เมื่ อ ผู  แ ต ง ต อ งการให ตัวละครแสดงสีหนาทาทางอยางไร ก็จะใชวธิ อี ธิบายไวในวงเล็บ นอกจาก นี้หากผูแตงตองการใหตัวละครบอก ความคิดแกคนดูกจ็ ะใชวธิ ใี หตวั ละคร ปองปากพูดดังๆ กับคนดู สมมติวา ตัวละครอื่นๆ บนเวทีไมไดยิน

º·ÅФþٴàÃ×èͧ àËç¹á¡‹ÅÙ¡ ¾ÃÐÃÒª¹Ô¾¹¸ ã¹ÃѪ¡ÒÅ·Õè ö ໚¹º·ÅФ÷ÕèÁÕ â¤Ã§àÃ×èͧäÁ‹«Ñº«ŒÍ¹ ์¹¡ÒÃÊ×èÍÊÒáѺ¼ÙŒÍ‹Ò¹Í‹ҧµÃ§ä»µÃ§ÁÒ´ŒÇº·Ê¹·¹Ò¢Í§ µÑÇÅФà ¼ÙÍŒ Ò‹ ¹¨Ð·ÃÒºÀÙÁË Ô Åѧ¢Í§µÑÇÅФÃᵋÅеÑÇ Íѹ໚¹ÊÒà˵ط¼Õè ÅÑ¡´Ñ¹ãËŒµÇÑ ÅФà ¤Ô´áÅÐáÊ´§¾ÄµÔ¡ÃÃÁµ‹Ò§æ ÍÍ¡ÁÒ ¼ÙŒÍ‹Ò¹¨ÐࢌÒã¨ÍÒÃÁ³ ¤ÇÒÁÃÙŒÊÖ¡¢Í§¹ÒÂÅéÓ ¾ÃÐÂÒÀÑ¡´Õ¹Ä¹Ò¶ áÁ‹ÅÍÍáÅÐÍŒÒÂ¤Ó ¼‹Ò¹¡ÒÃ㪌ÀÒÉÒ·Õ¡è ÃЪѺ 㪌¤Ó¹ŒÍÂᵋ¡¹ Ô ¤ÇÒÁ ÁÒ¡ á¹Ç¤Ô´ÊÓ¤ÑޢͧàÃ×èͧ ä´ŒÊзŒÍ¹ãËŒàË繶֧¤ÇÒÁÃÑ¡·ÕèÂÔè§ãËÞ‹¢Í§ºÔ´ÒÁÒôҷÕèÁÕ µ‹ÍºØµÃ ¹Í¡¨Ò¡¹Õáé ÅŒÇàÁ×Íè ¼ÙÍŒ Ò‹ ¹ä´ŒÍÒ‹ ¹Í‹ҧ¾Ô¹¨Ô ã¤Ã‹¤ÃÇÞ¨Ðä´Œ¢ÍŒ ¤Ô´µ‹Ò§æ ·ÕÊè ÒÁÒö ¹Óä»»ÃÐÂØ¡µ 㪌㹪ÕÇÔµ»ÃШÓÇѹ䴌

๒๗

คูมือครู

27


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

Engage

Explore

Explain

Expand

1. นั ก เรี ย นเล า เรื่ อ งย อ บทละครพู ด เรื่องเห็นแกลูก และเขียนลงสมุด หรือชวยกันเลาในชั้นเรียน 2. นักเรียนยกคําประพันธที่สะทอน ใหเห็นคุณคาดานสังคมและ วรรณศิลป 3. นักเรียนนําขอคิดจากเรื่องไปใชใน ชีวิตประจําวัน 4. นักเรียนตอบคําถามประจําหนวย การเรียนรู

ºÍ¡àÅ‹Òà¡ŒÒÊÔº ละครพูด พระบาทสมเด็ จ พระมงกุ ฎ เกล า เจ า อยู  หั ว มี พ ระอั จ ฉริ ย ะภาพทางด า นการประพั น ธ อยางแทจริง บทละครพูดที่พระราชนิพนธลวนไดรับการยกยองวาแตงดี และมีคุณคา เชน มัทนะพาธา ที่ไดรับการยกยองจากวรรณคดีสโมสรใหเปนยอดของบทละครพูดประเภทคําฉันท นอกจากนีแ้ ลวยังมีวรรณคดีในพระราชนิพนธอกี เปนจํานวนมากทีย่ งั ไมเปนทีร่ จู กั ของประชาชน เชน บทละครพูดเรื่องลามดี ซึ่งเปนละครที่สะทอนสภาพสังคม ความคิด ในชวงเวลานั้นไดเปน อยางดีและแสดงถึงพระอารมณขันของพระองคไดเปนอยางดี บทละครพูดเรื่อง ลามดี พระราชนิพนธในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยู โดยเปน เรื่องราวเกี่ยวกับนายริชารด ดิ๊กซัน ทํางานเปนเสมียนใหกับบริษัทของประเทศอังกฤษซึ่งตั้งอยู ที่เมืองไทรบุรี ไดพามิสเบ็ดตี้ สมิธ คูรักสาวหนีตามกันมาและเขาพักที่โรงแรมแหงหนึ่งในจังหวัด สงขลา ทั้งคูมีความรักใหตอกัน แตนายยอน สมิธ บิดาของมิสเบ็ดตี้ สมิธ ไมเห็นชอบและรูสึกไม ถูกชะตากับนายริชารด ดิก๊ ซัน เพราะเห็นวาไมคคู วรกับบุตรสาวของตนเอง ปกติ ณ โรงแรมแหงนี้ จะมีทิดบุญเปนลามประจําโรงแรม แตในวันนี้ทิดบุญปวย จึงใหนายจอนมาปฏิบัติหนาที่เปนลาม แทน นายจอนพูดภาษาอังกฤษไมไดเลย แตดว ยความโลภและเห็นแกจาํ นวนเงินคาตอบแทนทีท่ าง โรงแรมจะจายใหเปนวัน วันละ ๓ บาท จึงยอมตกลงไปเปนลามแทนทิดบุญ ซึ่งนายจอนคิดวา เขาคงจะโชคดีไมเจอกับฝรัง่ บิดาของมิสเบ็ดตี้ สมิธ ไดเดินทางมาตามหาลูกสาวทีโ่ รงแรมแหงนี้ แต นายจอนพูดภาษาอังกฤษไมไดเลย จึงทําใหแปลแบบผิดๆ ถูกๆ สรางความเขาใจผิดใหแกตํารวจ ที่คิดวาริชารดและเบ็ดตี้เปนขโมย บทละครพูดเรื่อง ลามดี นับเปนวรรณกรรมชั้นยอด แมจะเปนบทละครพูดขนาดสั้นที่ มีความยาวเพียงองคเดียว มีตัวละครสําหรับการดําเนินเรื่องไมมากนัก แตก็สามารถจําลอง เหตุการณตางๆ เหลานี้ซึ่งอาจเกิดขึ้นกับชีวิตของมนุษย นอกจากความสนุกสนานที่จะไดรับจาก การอานหรือการชมละครแลว ผูอาน ผูฟง ผูดู ยังจะไดสัมผัสกับความรูสึก นึกคิด คานิยม และ การดําเนินชีวิตของคนในสมัยนั้นอีกดวย ที่สําคัญจะไดเห็นลักษณะนิสัยเฉพาะของคนไทยที่มัก จะแสดงความเปนมิตรตอชาวตางชาติ คนไทยจะแสดงความเปนตัวตน ความเปนมิตรตอคนชาติ ตางๆ อยางเสมอภาค ซึ่งเปนลักษณะนิสัยที่ทําใหคนไทยมีความแตกตางจากชนชาติอื่นๆ และยัง คงเปนลักษณะนิสัยในปจจุบันของคนไทย บทสนทนาของตัวละคนที่มีความตลก ขบขัน ชวนใหสนุกสนานเพลิดเพลิน ยังแฝงไปดวย ความลึกซึ้ง คมคาย เต็มไปดวยจุดหักเหและการหักมุม สะทอนใหเห็นถึงธาตุแทของมนุษยดวย การเขียนประเภทลอเลียนอยางชาญฉลาดทีส่ ดุ ผูช มจะสนุกสนานและในขณะเดียวกันจะรูส กึ ถูก กระตุนใหคิด ใหไดรูถึงความจริงของมนุษยที่มีจุดออนมากมายเพียงใด ซึ่งที่แทจริงแลวจุดออน ของมนุษยก็คือที่มาของงานวรรณกรรมตางๆ ที่ตลก สนุกสนานของมนุษยทุกชาติทุกภาษา

๒๘

คูมือครู

Evaluate

(ยอจากฉบับนักเรียน 20%)

ตรวจสอบผล

28

ตรวจสอบผล


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

Engage

Explore

Explain

Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

เกร็ดแนะครู (แนวตอบ คําถามประจําหนวย การเรียนรู ประจําหนวยการเรียนรู 1. ระหวางนายลํ้ากับพระยาภักดีนฤนาถ ผูที่เห็นแกลูกมากกวา คือ ๑. นักเรียนอานบทละครพูดเรื่อง เห็นแกลูก แลวพิจารณาวาระหวางนายลํ้ากับพระยาภักดีนฤนาถ นายลํ้า เพราะยอมมีชีวิตที่ลําบาก ใครเห็นแกลูกมากกวากัน มีขอความใดที่สนับสนุนความคิดเห็นของนักเรียน ให ลู ก มี ชี วิ ต ที่ สุ ข สบายไม เ ป น ที่ ๒. เหตุใดนายลํ้าจึงตัดสินใจลดละความเห็นแกตัว รังเกียจของคนในสังคม ดีกวาที่จะ ๓. บุคคลใดในบทละครพูดเรื่อง เห็นแกลูกที่เปนคนฉลาดรอบคอบ มีวิจารณญาณรูจักไตรตรอง ไมเชื่อ ใหลูกรับรูความจริงอันปวดราว มี คนงายๆ จงใหเหตุผลประกอบ ขอความที่สนับสนุนความคิดเห็น ๔. แมลออไดรบั การเลีย้ งดูจากพระยาภักดีนฤนาถอยางไร เพราะเหตุใดพระยาภักดีนฤนาถจึงไมตอ งการ เปนคําพูดของนายลํ้า “เด็กคนนี้ดี ใหนายลํ้าแสดงตนวาเปนพอที่แทจริงของแมลออ เกินทีจ่ ะเปนลูกผม ผมมันเลวทราม ๕. บทละครพูดเรื่อง เห็นแกลูก ใหขอคิด คติธรรมอยางไร เกินทีจ่ ะเปนพอเขา ผมพึง่ รูส กึ ความ จริงเดีย๋ วนีเ้ อง หลอนไดเขียนรูปพอ ของหลอนขึ้นไวในใจเปนคนดีไมมี ที่ติ ผมไมตองการจะลบรูปนั้นเสีย เลย” 2. เหตุผลที่นายลํ้าตัดสินใจลดความ เห็นแกตัว เพราะดวยความรักลูก สรางสรรคพัฒนาการเรียนรู ต อ งการให ลู ก มี ชี วิ ต ที่ ดี สุ ข สบาย เปนทีย่ อมรับของสังคมทีเ่ ปนอยู ไม กิจกรรมที่ ๑ พอแมคูหนึ่งลําบากยากจนมากจําเปนตองยกลูกใหผูอื่น ตอมาพอแมทํามาหากิน ตองการลบภาพที่อยูในใจแมลออ รํา่ รวยขึน้ สวนพอแมบญุ ธรรมทีเ่ คยรํา่ รวยกลับยากจนลง พอแมทแี่ ทจริงจึงมาขอรับ 3. บุคคลที่เปนคนฉลาดรอบคอบ มี ลูกกลับคืน ถานักเรียนเปนเด็กคนนั้นจะตัดสินใจอยางไร เพราะเหตุใด วิจารณญาณ รูจักไตรตรองไมเชื่อ กิจกรรมที่ ๒ จากการแขงขันกีฬาฟุตบอลโลก พบวามีการพนันบอลกันเปนจํานวนมาก ใหนกั เรียน คนงายๆ คือ อายคํา บาวของพระยา แสดงความคิดเห็นตอเรื่องนี้วาเหตุใดคนบางจําพวกจึงชอบเลนการพนัน การพนัน ภักดีนฤนาถ เห็นนายลํ้าเขามามี ใหโทษอยางไร ถาเพื่อนติดการพนันจะมีคําแนะนําเพื่อนอยางไร บุคลิกลักษณะไมนาไวใจจึงนั่งเฝา กิจกรรมที่ ๓ นักเรียนแบงกลุม กลุมละ ๕ คน แตละกลุมรวมกันอภิปรายในประเด็นตอไปนี้ และ ไม ย อมลุ ก ออกไปไหนเลยจน บันทึกสรุปผลการอภิปรายสงครู พระยาภักดีนฤนาถกลับมา • อบายมุขคืออะไร ทําไมจึงกลาววาอบายมุข คือ หนทางแหงความหายนะ 4. แมลออไดรับการเลี้ยงดูจากพระยา ภักดีนฤนาถอยางดี อบรมใหเปน คนดีมีกิริยาวาจาสุภาพเรียบรอย มี มารยาทดีงาม เฉลียวฉลาด มีสมั มา คารวะ เป น ที่ ย อมรั บ ของสั ง คม พระยาภักดีนฤนาถไมตองการให ๒๙ นายลํ้ า แสดงตนว า เป น พ อ ที่ แ ท จริงของแมลออ เพราะเกรงวานาย ทองคําที่จะแตงงานกับแมลออจะ รังเกียจ ถาไมรังเกียจก็กลัววาคนอื่นจะรังเกียจไมมีใครจะมาคบคาสมาคมดวย หลักฐาน 5. บทละครพู ดเรื่องเห็นแกลูกใหขอคิดคติธรรม คือ แสดงผลการเรียนรู • การใฝในอบายมุขนํามาซึ่งความเดือดรอน ครอบครัวมักแตกแยก 1. การเขียนเรื่องยอ • ครอบครัวมีความสําคัญตอโครงสรางของสังคมไทย ถาครอบครัวดีสังคมก็ดีดวย 2. การเขียนบทละครพูดโดยใชโครงเรื่องเดิม ผูเปนพอแมมีหนาที่ตองอุปถัมภเลี้ยงดู สั่งสอนอบรมบุตรใหเปนคนดีของสังคม) 3. การแตงคําขวัญจากขอคิดในเรื่อง

คําถาม

กิจกรรม

คูมือครู

29


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.