8858649121455

Page 1

คูมือครู 㪌»ÃСͺ¡ÒÃÊ͹ËÇÁ¡Ñº

˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ©ºÑº Í- .

·Õè ȸ. ¨Ð»ÃСÒÈÃÒ¡Òú¹àÇçºä«µ µÑé§áµ‹ Á. ¤. ’55 ໚¹µŒ¹ä»

ภาพปกนี้มีขนาดเทากับหนังสือเรียนฉบับจริงของนักเรียน


เอกสารประกอบคูมือครู

กลุมสาระการเรียนรู สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

รายวิชา

พระพุทธศาสนา

ู ร ค หรับ

สํา

ชั้นมัธยมศึกษาปที่

เอกสารหลักสูตรแกนกลางฯ ’51 ประกอบดวย ● ● ● ● ●

คําแนะนําการใชคูมือครู แถบสี/สัญลักษณที่ใชสื่อความหมายในคูมือครู ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง คําอธิบายรายวิชา ตารางวิเคราะหเนื้อหากับมาตรฐานการเรียนรู และตัวชี้วัด

ตารางแสดงความแตกตางระหวาง “ คูมือครู ” กับ “ หนังสือเรียน * ” ความแตกตาง

ขนาดตัวอักษร ปกดานหลัง ระบบการจัดพิมพ สวนเสริมดานหนา

คูมือครู ยอลงจากปกติ 20%

พิมพ 4 สี มี เอกสารหลักสูตร คําอธิบายรายวิชา มี กิจกรรมแบบ 5E ความรูเสริมสําหรับครู พิมพสอดแทรกไวตลอดทั้งเลม ●

หนังสือเรียน ขนาดปกติ 100% : ตัวอักษรใหญกวา ที่พิมพในคูมือครูนี้ มีใบอนุญาต/ใบประกันคุณภาพ พิมพ 4 สี

-

เนื้อหาในเลม

● ●

* ที่ ศธ. อนุญาตใหโรงเรียนใชได

มีเฉพาะเนื้อหาสาระตามที่ ศธ. อนุญาตฯ/สนพ.ประกันคุณภาพ

3


คําแนะนําการใชคูมือครู

: การจัดการเรียนรูสูหองเรียนคุณภาพ

คูม อื ครู พระพุทธศาสนา ม.3 จัดทําขึน้ เพือ่ อํานวยความสะดวกแกครูผสู อนในการวางแผนและเตรียมการสอน โดยใชหนังสือเรียน พระพุทธศาสนา ม.3 ของบริษัท อักษรเจริญทัศน อจท. จํากัด เปนสื่อหลัก (Core Material) เสร�ม ประกอบการออกแบบกิจกรรมการเรียนรูใหสอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดกลุมสาระการเรียนรู 2 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม รายวิชา พระพุทธศาสนา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พ.ศ. 2551 โดยจัดทําตามหลักการสําคัญ ดังนี้

1. ออกแบบการสอนเปนหนวยการเรียนรูอิงมาตรฐาน

คูมือครู พระพุทธศาสนา ม.3 จัดทําเปนหนวยการเรียนรูตามลําดับสาระการเรียนรูที่ระบุไวในมาตรฐาน การเรียนรูและตัวชี้วัด แตละหนวยจะกําหนดเปาหมายการสอนและจุดประสงคการเรียนรู (Objective Learning) กิจกรรมการเรียนรู (Learning Activities) และแนวทางการประเมินผลการเรียนรู (Learning Evaluation) ไวชัดเจน ครูผูสอนสามารถจัดทําแผนการสอนใหครอบคลุมมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดที่เปนเปาหมาย การเรียนรูของแตละหนวยการเรียนรู (ตามแผนภูมิ) และสามารถบันทึกผลการจัดการเรียนการสอนไดอยางมั่นใจ

สภ

าพ

ผู

จุดป

ระส

เรีย

งค

ู

ียนร

ร า รเ

มาตรฐานการเรียนรู ตัวชี้วัดชั้นป

ทักษะการคิด การวัดประเมินผล การเรียนรู

กิจกรรมการเรียนรู

เทคนิคการสอน

แผนภูมิแสดงองคประกอบของการออกแบบการเรียนรูอิงมาตรฐานและเนนผูเรียนเปนสําคัญ

2. การจัดการเรียนรูที่ยึดผูเรียนเปนสําคัญ

แนวคิดในการจัดการเรียนการสอนที่ยึดผูเรียนเปนสําคัญ พัฒนามาจากปรัชญาและทฤษฎีการเรียนรู Constructivism ที่เชื่อวาการเรียนรูเปนกระบวนการที่เกิดขึ้นภายในสมองของผูเรียนแตละคน ผูเรียนเปนผูสราง ความรูโดยการเชื่อมโยงระหวางสิ่งที่ไดพบเห็นกับความรูหรือประสบการณเดิมที่มีอยู ทฤษฎีนี้มีความเชื่อวา นักเรียนทุกคนไดเรียนรูและมีความรูความเขาใจสิ่งตางๆ ติดตัวมากอนที่จะเขาสู หองเรียน ซึง่ เปนการเรียนรูท เี่ กิดจากบริบทและสิง่ แวดลอมรอบตัวนักเรียนแตละคน ดังนัน้ การจัดกระบวนการเรียนรู ในแตละบทเรียน ผูสอนจะตองคํานึงถึง คูม อื ครู


1) ความรูเดิมของนักเรียน การสอนที่ดีจึงตองเริ่มตนจากจุดที่วา นักเรียนมีความรูอะไรมาบาง แลวจึงให ความรูห รือประสบการณใหมเพือ่ ตอยอด จากความรูเดิม

2) ความรูเ ดิมของนักเรียนถูกตอง หรือไม ผูสอนตองปรับเปลี่ยนความรู ความเขาใจเดิมของนักเรียนใหถูกตอง และเปนพฤติกรรมการเรียนรูใหมที่มี คุณคาตอนักเรียน เพื่อสรางเจตคติหรือ ทัศนคติที่ดีตอการเรียน

3) นั ก เรี ย นสร า งความหมาย สําหรับตนเอง ผูสอนตองสงเสริมให นักเรียนนําขอมูลความรูที่ไดไปลงมือ ปฏิ บั ติ และประยุ ก ต ใ ช ค วามรู  อ ย า ง ถู ก ต อ ง ในบริ บ ทที่ เ ป น จริ ง ของชี วิ ต นักเรียน เพื่อขยายความรูใหลึกซึ้งและ มีคุณคาตอตัวนักเรียนมากที่สุด

เสร�ม

3

แนวคิด Constructivism เนนใหผเู รียนสรางความรูโ ดยผานกระบวนการคิดและความอยากรูข องตนเอง โดยมีผูสอนเปนผูสรางบรรยากาศการเรียนรูและกระตุนความสนใจ คอยจัดสถานการณใหผูเรียนเกิดความ ขัดแยงทางความคิดระหวางประสบการณเดิมกับประสบการณความรูใหม ผูเรียนจะพยายามปรับขอมูลใหม กับประสบการณที่มีอยูเดิม แลวสรางเปนความรูใหมหรือแนวคิดใหมๆ ไดดวยตนเอง

3. การบูรณาการกระบวนการคิด

การเรียนรูข องนักเรียนแตละคนจะเกิดขึน้ ทีส่ มองซึง่ ทําหนาทีร่ คู ดิ ภายใตสภาพแวดลอมทีเ่ อือ้ อํานวย และ ไดรับการกระตุนจูงใจอยางเหมาะสมสอดคลองกับสภาพจิตใจและความตองการของนักเรียน การจัดกระบวนการ เรียนรูและสาระการเรียนรูที่มีความหมายตอผูเรียนนั้น จะชวยกระตุนใหสมองรับรูและสามารถเรียนรูไดอยางมี ประสิทธิภาพตามขั้นตอนการทํางานของสมอง ดังนี้ 1) สมองจะเรียนรูและสืบคนโดย 2) สมองจะแยกแยะคุ ณค าของ การสังเกต คนหา ซักถาม และทดลอง สิง่ ตางๆ โดยการลงมติ ตัดสินใจ วิพากษ ปฏิบัติ จนคนพบความรูความเขาใจได วิจารณ แสดงความคิดเห็น ยอมรับหรือ อยางรวดเร็ว ตอตานตามอารมณความรูสึกที่เกิดขึ้น ในขณะที่เรียนรู

3) สมองจะประมวลเนื้ อ หาสาระ โดยการสรุปเปนความคิดรวบยอดจาก เรื่องราวที่ไดเรียนรูใหมนําไปผสมผสาน กับความรู หรือประสบการณเดิมที่ถูก จัดเก็บอยูในสมอง ผานการกลั่นกรอง เพื่อสังเคราะหเปนความรูความเขาใจ ใหมๆ หรือเปนเหตุผลทัศนคติใหมที่จะ ฝงแนนในสมองของผูเรียน

การเรียนรูที่มีประสิทธิภาพจึงตองเปนการเรียนรูที่เกิดจากกระบวนการคิดของผูเรียน เพราะการเรียนรูจะ เกิดขึ้นเมื่อสมองรูคิดและตองเปนการคิดไดครบถวนตามขั้นตอนการทํางานของสมอง โดยเริ่มตนจาก 1) ระดับการคิดขั้นพื้นฐาน ไดแก 2) ระดั บ ลั ก ษณะการคิ ด ได แ ก 3) ระดั บ กระบวนการคิ ด ได แ ก การสังเกต การจําแนก การคาดคะเน การคิดกวาง คิดลึกซึ้ง คิดหลากหลาย กระบวนการคิ ด อย า งมี วิ จ ารณญาณ การสื่อความหมาย การรวบรวมขอมูล คิดไกล คิดคลอง คิดอยางมีเหตุผล กระบวนการแกปญหา กระบวนการคิด การสรุปผล เปนตน เปนตน สรางสรรค กระบวนการคิดสังเคราะห วิจัย เปนตน

คูม อื ครู


4. การบูรณาการกระบวนการเรียนรูพื้นฐานอาชีพ

กระทรวงศึกษาธิการมีนโยบายสงเสริมการเรียนพืน้ ฐานอาชีพในระดับการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน เพือ่ เสริมสรางทักษะที่ จําเปนสําหรับการประกอบอาชีพ และดํารงชีวติ ในสังคมทองถิน่ ของผูเ รียนอยางมีความสุข และเปนการเตรียมความพรอม เสร�ม ดานกําลังคนใหมที กั ษะพืน้ ฐานและศักยภาพในการทํางาน เพือ่ การแขงขันและกาวสูป ระชาคมอาเซียนหรือประชาคมโลก 4 ตอไป 4.1 ทักษะพื้นฐานเพื่อการประกอบอาชีพ การจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาผูเรียนในรายวิชาพื้นฐาน ทุกกลุมสาระการเรียนรูและทุกระดับชั้นเรียน ผูสอนควรบูรณาการประสบการณการเรียนรูพื้นฐานอาชีพควบคู ไปกั บ การเรี ย นการสอนด า นวิ ช าการ โดยฝ ก ทั ก ษะสํ า คั ญ ตามที่ สํ า นั ก วิ ช าการและมาตรฐานการศึ ก ษา (สวก.) สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) เสนอแนะไว ดังนี้ 1. ฝกทักษะกระบวนการคิด มีการวางแผนตลอดแนว เพื่อศึกษาขอมูลอาชีพ 2. ฝกการตัดสินใจอยางเปนระบบ โดยใชขอมูลจากการศึกษา คนควาแหลงเรียนรูในชุมชน เพื่อลดความ เสี่ยงในการลงทุนและเพิ่มความมั่นใจเรื่องการตลาด 3. ฝกกระบวนการวางแผน การผลิต และการจัดจําหนาย โดยนักเรียนคิดตนทุน กําไรดวยตนเอง 4. ฝกการเรียนรูเรื่องคุณธรรม จริยธรรม ดานการประกอบอาชีพ และการทํางานกลุม โดยมีจิตอาสาเพื่อ สวนรวม 5. ฝกการทํางานอยางมีประสิทธิภาพ มีการประเมินผล ปรับปรุง พัฒนา และสรางสรรคตอยอดผลผลิต 6. ฝกการเสริมสรางความเชื่อมั่น ความเพียรพยายาม เห็นคุณคาและภาคภูมิใ จในตนเอง (Self Esteem) ในการประกอบอาชีพ และเจตคติในพื้นฐานทางอาชีพ การจัดการเรียนการสอนที่ใหผูเรียนไดลงมือปฏิบัติทักษะดังกลาว จะชวยใหผูเรียนไดรับประสบการณจริง มีทักษะ ความสามารถ และความชํานาญในการทํางานที่จะใชในการประกอบอาชีพและเปนแรงงานที่มีคุณภาพเขาสู ตลาดแรงงานในอนาคต 4.2 การจัดกระบวนการเรียนรูพื้นฐานอาชีพ การจัดกระบวนการเรียนรูมีความสําคัญอยางยิ่งที่จะชวยให นั ก เรี ย นมี ก ารพั ฒ นาทั้ ง ด า นความรู  ทั ก ษะ และคุ ณ ลั ก ษณะตามเป า หมายของหลั ก สู ต ร การพั ฒ นาผู  เ รี ย น ดานทักษะพื้นฐานอาชีพตองอาศัยกระบวนการเรียนรูที่หลากหลายเปนเครื่องมือที่จะนําไปสูคุณภาพที่ตองการ เทคนิควิธีการตางๆ ที่ผูสอนจะตองพิจารณาใหเหมาะสมกับเนื้อหาวิชาและวัยของผูเรียน โดยใหความสําคัญกับ การฝ ก ปฏิ บั ติ แ ละเน น การวั ด ประเมิ น ผลจากการปฏิ บั ติ ต ามสภาพจริ ง ด ว ยวิ ธี ก ารที่ จั ด กิ จ กรรมการบู ร ณาการ ให เ หมาะสมกั บ วั ย และระดั บ ชั้ น ของผู  เ รี ย น สอดคล อ งกั บ มาตรฐานการเรี ย นรู  แ ละตั ว ชี้ วั ด ของกลุ ม สาระต า งๆ ที่กําหนดไวในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 การวิเคราะหมาตรฐานและตัวชี้วัดที่จะนําไป จัดเนื้อหาความรูและทักษะ เพื่อพัฒนาผูเรียนดานพื้นฐานอาชีพ ดังตัวอยางตอไปนี้ 1. กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทยมุงเนนการพัฒนาใหผูเรียนมีความรูความสามารถในการใชภาษาไทย เพื่ อ การสื่ อ สาร เป น เครื่ อ งมื อ ในการเรี ย นรู  การแสวงหาความรู  และประสบการณ ต  า งๆ เพื่ อ พั ฒ นาความรู  กระบวนการคิดวิเคราะห วิจารณ และสรางสรรค ใหทันตอการเปลี่ยนแปลงของสังคมและความกาวหนาทาง วิทยาศาสตร เทคโนโลยี จึงเปนกลุมสาระการเรียนรูที่เปนทักษะพื้นฐานการประกอบอาชีพทุกอาชีพ ตัวชี้วัดที่ สามารถนํามาพัฒนาทักษะอาชีพ เชน คูม อื ครู


ท 2.1 ม.1/8 เขียนรายงานการศึกษาคนควาและโครงงาน ท 1.1 ม.4-6/8 สังเคราะหความรูจากการอานสื่อสิ่งพิมพ สื่ออิเล็กทรอนิกส และแหลงเรียนรู ตางๆ มาพัฒนาตน พัฒนาการเรียน และพัฒนาความรูทางอาชีพ ท 2.1 ม.4-6/4 ผลิตงานเขียนของตนเองในรูปแบบตางๆ เสร�ม ท 2.1 ม.4-6/5 ประเมินงานเขียนของผูอื่น แลวนํามาพัฒนางานเขียนของตนเอง 5 การจัดการเรียนการสอนตามตัวชี้วัดดังกลาวขางตน จะเปนทักษะพื้นฐานของการนําไปสูอาชีพ ทุกอาชีพ และเปนการปูทางไปสูอาชีพเฉพาะเกี่ยวกับการเขียน เชน นักเขียน นักประพันธ นักหนังสือพิมพ นักวิจารณ เปนตน 2. กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรมุงเนนการพัฒนาผูเรียนในการเชื่อมโยงความรูกับกระบวนการ มีทักษะสําคัญในการคนควาและสรางองคความรู พัฒนาวิธีการคิด ทั้งความคิดที่เปนเหตุเปนผล คิดสรางสรรค คิดวิเคราะห วิจารณ โดยใชกระบวนการในการสืบเสาะหาความรู การแกปญหาที่หลากหลาย เพื่อใหมีความรู ความเขาใจในธรรมชาติและเทคโนโลยี นําความรูไปใชอยางมีเหตุผล มีคุณธรรม และอยูในสังคมแหงการเรียนรู ไดอยางเหมาะสม โดยมีมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดที่เปนพื้นฐานของการประกอบอาชีพตางๆ มากมาย เชน ว 1.1 ม.1/13 อธิ บ ายหลั ก การและผลของการใช เ ทคโนโลยี ชี ว ภาพในการขยายพั น ธุ ปรับปรุงพันธุและเพิ่มผลผลิตของพืช และนําความรูไปใชประโยชน ว 1.1 ม.2/4 อธิบายหลักการและผลของการใชเทคโนโลยีชีวภาพในการขยายพันธุ ปรับปรุง พันธุและเพิ่มผลผลิตของสัตว และนําความรูไปใชประโยชน ว 1.2 ม.4-6/3 สืบคนขอมูลและอภิปรายผลของเทคโนโลยีชวี ภาพทีม่ ตี อ มนุษยและสิง่ แวดลอม และนําความรูไปใชประโยชน การจัดการเรียนการสอนตามตัวชี้วัดดังกลาวขางตนจะเปนทักษะพื้นฐานของการนําไปสูอาชีพที่ เกี่ยวกับเกษตรกร วิทยาศาสตร การเกษตร นักวิจัย เปนตน 3. กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมมุงเนนการพัฒนาใหผูเรียนมีความรูความ เขาใจเกี่ยวกับการดํารงชีวิตของมนุษย การอยูรวมกันในสังคมที่มีความเชื่อมโยงสัมพันธกัน มีความแตกตางกัน อยางหลากหลาย สามารถจัดการทรัพยากรทีม่ อี ยูอ ยางจํากัด และเขาใจการเปลีย่ นแปลง เพือ่ ชวยใหสามารถปรับ ตนเองกับบริบทและสภาพแวดลอม เปนพลเมืองดี มีความรับผิดชอบ มีความรู ทักษะ คุณธรรม และคานิยมที่ เหมาะสม มีมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดที่เปนพื้นฐานของการประกอบอาชีพตางๆ เชน ส 4.3 ม.1/3 วิเคราะหอิทธิพลของวัฒนธรรมและภูมิปญญาไทยสมัยสุโขทัยและสังคมไทยใน ปจจุบัน ส 4.3 ม.2/3 ระบุภมู ปิ ญ ญาและวัฒนธรรมไทยสมัยอยุธยาและธนบุรี และอิทธิพลของภูมปิ ญ ญา ดังกลาวตอการพัฒนาชาติไทยในยุคตอมา ส 4.3 ม.3/3 วิเคราะหภมู ปิ ญ ญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร และอิทธิพลตอการพัฒนา ชาติไทย คูม อื ครู


ส 4.3 ม.4-6/3 วางแผนกําหนดแนวทางและการมีสวนรวมในการอนุรักษภูมิปญญาไทยและ วัฒนธรรมไทย การจัดการเรียนการสอนตามตัวชี้วัดดังกลาวขางตนจะเปนทักษะพื้นฐานและสรางเจตคติตออาชีพ เสร�ม เกีย่ วกับภูมปิ ญ ญาไทยในทองถิน่ เชน นักโบราณคดี นักประวัตศิ าสตร แพทยแผนโบราณ นวดแผนไทย ชางทอผา นักดนตรีไทย การทําขนมหรืออาหารไทย เปนตน และเปนรากฐานของการศึกษาเพือ่ พัฒนาตอยอดอาชีพ 6 จัทีก่มสาน ีฐานของภูมิปญญาไทย 4. กลุมสาระการเรียนรูสุขศึกษาและพลศึกษา กลุมสาระการเรียนรูสุขศึกษาและพลศึกษา เปนการศึกษาเพื่อการดํารงสุขภาพ การเสริมสราง สุขภาพ และการพัฒนาคุณภาพชีวิต มุงใหผูเรียนพัฒนาพฤติกรรมดานความรู เจตคติ คุณธรรม คานิยม และ การปฏิบัติเกี่ยวกับสุขภาพ และการใชกิจกรรมเคลื่อนไหว การออกกําลังกาย การเลนเกมและกีฬา เปนเครื่องมือ พัฒนาทั้งดานรางกาย จิตใจ อารมณ สังคม สติปญญา รวมทั้งสมรรถภาพเพื่อสุขภาพและกีฬา โดยมีมาตรฐาน และตัวชี้วัดที่เปนพื้นฐานของการประกอบอาชีพตางๆ เชน ตัวชี้วัด พ 3.2 ม.1/2 ออกกําลังกายและเลือกเขาเลนกีฬาตามความถนัด ความสนใจ อยางเต็ม ความสามารถ พรอมทั้งมีการประเมินการเลนของตนและผูอื่น พ 3.2 ม.4-6/1 ออกกําลังกายและเลนกีฬาที่เหมาะสมกับตนเองอยางสมํ่าเสมอและใชความ สามารถของตนเองเพิ่มศักยภาพของทีม ลดความเปนตัวตน คํานึงถึงผล ที่เกิดตอสังคม การจัดการเรียนการสอนตามตัวชี้วัดดังกลาวนอกจากจะเปนการสรางทักษะพื้นฐานในอาชีพ ดานการกีฬา เชน นักฟุตบอล นักวอลเลยบอล นักมวย นักเทนนิส นักลีลาศ ฯลฯ ยังชวยเสริมสรางปลูกฝงทักษะ และเจตคติในการทํางานเปนทีมและทํางานกับผูอื่น ซึ่งเปนสิ่งสําคัญในการประกอบอาชีพทุกประเภทอีกดวย 5. กลุมสาระการเรียนรูศิลปะ กลุมสาระการเรียนรูศิลปะเปนกลุมสาระการเรียนรูที่ชวยพัฒนาใหผูเรียนมีความคิดสรางสรรค มี จินตนาการทางศิลปะ ชื่นชมความงาม มีสุนทรียภาพ ซึ่งมีผลตอคุณภาพชีวิตมนุษย พัฒนาใหผูเรียนเกิดความรู ความเขาใจ มีทกั ษะวิธกี ารทางศิลปะ เกิดความซาบซึง้ ในคุณคาของศิลปะ เปดโอกาสใหผเู รียนแสดงออกอยางอิสระ โดยมีตัวอยางมาตรฐานและตัวชี้วัดที่เปนพื้นฐานของการประกอบอาชีพตางๆ มากมาย เชน ทัศนศิลป ศ 1.1 ม.1/5 ออกแบบรูปภาพ สัญลักษณ หรือกราฟกอืน่ ๆ ในการนําเสนอความคิดและขอมูล ศ 1.1 ม.2/3 วาดภาพดวยเทคนิคที่หลากหลายในการสื่อความหมายและเรื่องราวตางๆ ศ 1.1 ม.3/7 สรางสรรคงานทัศนศิลปสอื่ ความหมายเปนเรือ่ งราวโดยประยุกตใชทศั นธาตุและ หลักการออกแบบ ศ 1.1 ม.4-6/10 สรางสรรคงานทัศนศิลปไทย สากลโดยศึกษาจากแนวคิดและวิธีการสรางงาน ของศิลปนที่ตนชื่นชอบ การจัดการเรียนการสอนตามตัวชีว้ ดั ดังกลาวจะเปนทักษะพืน้ ฐานในการพัฒนาไปสูอ าชีพทีแ่ สดงออก ทางศิลปะและการสรางสรรค เชน จิตรกร นักออกแบบเสื้อผา เครื่องแตงกายและเครื่องใช สถาปนิก มัณฑนากร เปนตน คูม อื ครู


ดนตรี ศ 2.1 ม.1/3 ศ 2.1 ม.2/3 ศ 2.1 ม.3/3

รองเพลงและใชเครือ่ งดนตรีบรรเลงประกอบการรองเพลงดวยบทเพลงทีห่ ลากหลาย รองเพลงและเลนดนตรีเดี่ยวและรวมวง รองเพลง เลนดนตรีเดี่ยวและรวมวง โดยเนนเทคนิคการรอง การเลน เสร�ม การแสดงออก และคุณภาพเสียง 7 ศ 2.1 ม.4-6/4 อาน เขียน โนตดนตรีไทยและสากลในอัตราจังหวะตางๆ การจัดการเรียนการสอนตามตัวชีว้ ดั ดังกลาวจะเปนทักษะพืน้ ฐานในการพัฒนาไปสูอ าชีพทางดนตรี เชน นักรอง นักดนตรี นักแตงเพลง เปนตน นาฏศิลป ศ 3.1 ม.1/3 แสดงนาฏศิลปและละครในรูปแบบงายๆ ศ 3.1 ม.2/2 สรางสรรคการแสดงโดยใชองคประกอบนาฏศิลปและการละคร ศ 3.1 ม.3/6 รวมจัดงานการแสดงในบทบาทหนาที่ตางๆ ศ 3.1 ม.4-6/2 สรางสรรคละครสั้นในรูปแบบที่ชื่นชอบ การจัดการเรียนการสอนตามตัวชี้วัดดังกลาวจะเปนทักษะพื้นฐานในการพัฒนาไปสูอาชีพทาง นาฏศิลปหรือการแสดง เชน นาฏลีลา นักแสดง นักจัดการแสดง ผูกํากับการแสดง นักแตงบทละคร เปนตน 6. กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยีมุงพัฒนาใหผูเรียนมีฐานความรูความสามารถ และทักษะที่จําเปนสําหรับนําไปปรับใชในการประกอบอาชีพและการศึกษาตอในสาขาอาชีพตางๆ ไดอยาง หลากหลาย รวมทั้งใหเห็นแนวทางในการประกอบอาชีพและการศึกษาตอตามความรู ความถนัด และความสนใจ มาตรฐานและตัวชีว้ ดั ของกลมุ สาระการเรียนรูก ารงานอาชีพและเทคโนโลยีสว นใหญมลี กั ษณะเปนทักษะกระบวนการ ทํางาน ซึ่งผูสอนสามารถจัดเนื้อหาและกิจกรรมการสอนใหสอดคลองกับความตองการของผูเรียนและทองถิ่นได เพื่อพัฒนาไปสูการประกอบอาชีพตางๆ เชน ง 1.1 ม.4-6/2 สรางผลงานอยางมีความคิดสรางสรรค และมีทักษะการทํางานรวมกัน ง 1.1 ม.4-6/7 ใชพลังงาน ทรัพยากรในการทํางานอยางคุมคาและยั่งยืน เพื่อการอนุรักษ สิ่งแวดลอม ง 4.1 ม.2/3 มีทักษะพื้นฐานที่จําเปนสําหรับการประกอบอาชีพที่สนใจ ง 4.1 ม.3/3 ประเมินทางเลือกในการประกอบอาชีพทีส่ อดคลองกับความรู ความถนัด และความ สนใจของตนเอง ง 4.1 ม.4-6/2 เลือกและใชเทคโนโลยีอยางเหมาะสมกับอาชีพ ง 4.1 ม.4-6/3 มีประสบการณในอาชีพที่ถนัดและสนใจ การจัดรายวิชาพื้นฐานในกลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยีจึงสามารถดําเนินการ ไดอยางหลากหลาย ทั้งอาชีพในกลุมเกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม ความคิดสรางสรรค การบริหาร จัดการ และการบริการ ตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ และสอดคลองกับบริบทของทองถิ่น ความพรอม ของสถานศึกษา และความตองการของผูเรียนเปนสําคัญ คูม อื ครู


เพือ่ เปนแนวทางการพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนใหสนองตามนโยบายการจัดการเรียนการสอน พื้นฐานอาชีพในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานของรัฐบาลและกระทรวงศึกษาธิการ ผูจัดทําจึงวิเคราะหมาตรฐาน การเรียนรูและตัวชี้วัดในรายวิชา พระพุทธศาสนา ที่สอดคลองกับทักษะปฏิบัติเพื่อเตรียมความพรอมดานพื้นฐาน เสร�ม อาชีพ โดยเสนอแนะกิจกรรมการเรียนรูไวเปนแนวทางในการจัดการเรียนการสอนบูรณาการประสบการณ 8 การทํางานแกผูเรียน ใหบรรลุเจตนารมณของพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 มาตรา 7 ที่ระบุให การจัดการศึกษาตองปลูกฝงใหเยาวชนมีความรูอันเปนสากล มีจิตสํานึกในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอม ตลอดจนมีความสามารถในการประกอบอาชีพ รูจักพึ่งตนเอง และมีความคิดสรางสรรค เพื่อ การดํารงชีวิต การศึกษาตอและการประกอบอาชีพอยางมีคุณภาพของผูเรียนตอไปในอนาคต

5. การใชวัฏจักรการเรียนรู 5E

รูปแบบการสอนทีส่ มั พันธกบั กระบวนการคิดและการทํางานของสมองของผูเ รียนทีน่ ยิ มใชอยางแพรหลาย คือ วัฏจักรการเรียนรู 5E ซึ่งผูจัดทําคูมือครูไดนํามาใชเปนแนวทางออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนในคูมือครู ฉบับนี้ตามลําดับขั้นตอนการเรียนรู ดังนี้ ขั้นที่ 1 กระตุนความสนใจ (Engage) เปนขัน้ ทีผ่ สู อนนําเขาสูบ ทเรียน เพือ่ กระตุน ความสนใจของนักเรียนดวยเรือ่ งราวหรือเหตุการณทนี่ า สนใจ โดยใชเทคนิควิธกี ารสอนและคําถามทบทวนความรูห รือประสบการณเดิมของผูเ รียน เพือ่ เชือ่ มโยงผูเ รียนเขาสู บทเรียนใหม ชวยใหนักเรียนสามารถสรุปประเด็นสําคัญที่เปนหัวขอการเรียนรูของบทเรียนได จึงเปนขั้นตอน การสอนที่สําคัญ เพราะเปนการเตรียมความพรอมและสรางแรงจูงใจใฝเรียนรูแกผูเรียน ขั้นที่ 2 สํารวจคนหา (Explore) เปนขัน้ ทีผ่ สู อนเปดโอกาสใหผเู รียนไดสงั เกตและรวมมือกันสํารวจ เพือ่ ใหเห็นปญหา รวมถึงวิธกี ารศึกษา คนควาขอมูลความรูที่จะนําไปสูความเขาใจประเด็นปญหานั้นๆ เมื่อนักเรียนทําความเขาใจในประเด็นหัวขอที่จะศึกษาคนควาอยางถองแทแลวก็ลงมือปฏิบัติ เพื่อเก็บ รวบรวมขอมูลความรู สํารวจตรวจสอบ โดยวิธกี ารตางๆ เชน สัมภาษณ ทดลอง อานคนควาขอมูลจากเอกสาร แหลงขอมูลตางๆ จนไดขอมูลความรูตามที่ตั้งประเด็นศึกษาไว ขั้นที่ 3 อธิบายความรู (Explain) เปนขัน้ ทีผ่ สู อนมีปฏิสมั พันธกบั ผูเ รียน เชน ใหการแนะนํา หรือตัง้ คําถามกระตุน ใหคดิ เพือ่ ใหผเู รียนไดคน หา คําตอบ และนําขอมูลความรูจากการศึกษาคนควาในขั้นที่ 2 มาวิเคราะห แปลผล สรุปผล และนําเสนอผล ที่ไดศึกษาคนความาในรูปแบบสารสนเทศตางๆ เชน เขียนแผนภูมิ แผนผังแสดงมโนทัศน เขียนความเรียง เขียนรายงาน เปนตน สมองของผูเรียนจะทําหนาที่คิดวิเคราะห สังเคราะหอยางเปนระบบ

คูม อื ครู


ขั้นที่ 4 ขยายความเขาใจ (Expand) เปนขั้นที่ผูสอนไดใชเทคนิควิธีการสอนที่จะชวยพัฒนาผูเรียนใหนําความรูที่เกิดขึ้นไปคิดคนตอๆ ไป เพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรูและการทํางานรวมกันเปนกลุม ระดมสมองเพื่อคิดสรางสรรครวมกัน นักเรียนสามารถนําความรูที่สรางขึ้นใหมไปเชื่อมโยงกับประสบการณเดิม โดยนําขอสรุปที่ไดไปอธิบาย ในเหตุการณตางๆ หรือนําไปปฏิบัติในสถานการณใหมๆ ที่เกี่ยวของกับชีวิตประจําวันของตนเอง เพื่อขยาย ความรูค วามเขาใจใหกวางขวางยิง่ ขึน้ สมองของผูเ รียนทําหนาทีค่ ดิ ริเริม่ สรางสรรคอยางมีคณ ุ ภาพ เสริมสราง วิสัยทัศนใหกวางไกลออกไป

เสร�ม

9

ขั้นที่ 5 ตรวจสอบผล (Evaluate) เปนขัน้ ทีผ่ สู อนใชประเมินมโนทัศนของผูเ รียน โดยตรวจสอบจากความคิดทีเ่ ปลีย่ นไปและความคิดรวบยอด ที่เกิดขึ้นใหม ตรวจสอบทักษะ กระบวนการปฏิบัติ การแกปญหา การตอบคําถามรวบยอด และการเคารพ ความคิดหรือยอมรับเหตุผลของคนอื่น เพื่อการสรางสรรคความรูรวมกัน นักเรียนสามารถประเมินผลการเรียนรูของตนเอง เพื่อสรุปผลวานักเรียนมีความรูอะไรเพิ่มขึ้นมาบาง มากนอยเพียงใด และจะนําความรูเหลานั้นไปประยุกตใชในการเรียนรูเรื่องอื่นๆ ไดอยางไร นักเรียนจะเกิด เจตคติและเห็นคุณคาของตนเองจากผลการเรียนรูที่เกิดขึ้น ซึ่งเปนการเรียนรูที่มีความสุขอยางแทจริง การจัดกิจกรรมการเรียนรูตามวัฏจักรการสรางความรูแบบ 5E จึงเปนรูปแบบการเรียนการสอนที่เนน ผูเ รียนเปนสําคัญ โดยสงเสริมใหผเู รียนใชกระบวนการสรางความรูด ว ยตนเอง ฝกฝนใหใชกระบวนการคิด และ กระบวนการกลุมอยางชํานาญ กอใหเกิดทักษะการเรียนรูและทักษะชีวิตที่มีคุณภาพ ตามเปาหมายของการ ปฏิรูปการศึกษาทศวรรษที่ 2 (พ.ศ. 2552-2561) ทุกประการ คณะผูจัดทํา

คูม อื ครู


แถบสีและสัญลักษณ ที่ใชสื่อความหมายในคูมือครู 1. แถบสี

แถบสีแสดงขั้นตอนการสอนและการจัดกิจกรรม แบบ 5E เพื่อใหครูทราบวาเปนขั้นการสอนขั้นใด

เสร�ม

10

สีแดง

สีเขียว

สีสม

กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

เปนขั้นที่ผูสอนเลือกใช เทคนิคกระตุนความ สนใจ เพื่อโยงเขาสู บทเรียน

Explore

เปนขั้นที่ผูสอนให ผูเรียนสํารวจปญหา และศึกษาขอมูล

Explain

เปนขั้นที่ผูสอนให ผูเรียนคนหาคําตอบ จนเกิดความรูเชิง ประจักษ

สีฟา

สีมวง

ขยายความเขาใจ Expand

เปนขั้นที่ผูสอนให ผูเรียนนําความรูไป คิดคนตอๆ ไป

ตรวจสอบผล Evaluate

เปนขั้นที่ผูสอน ประเมินมโนทัศน ของผูเรียน

สัญลักษณ

2. สัญลักษณ

วัตถุประสงค

เปาหมาย การเรียนรู

คูม อื ครู

• แสดงเปาหมาย การเรียนรูที่ นักเรียนตอง บรรลุตาม ตัวชี้วัด

หลักฐาน เกร็ดแนะครู แสดงผล การเรียนรู • แสดงรองรอย หลักฐานที่ แสดงผล การเรียนรู ตามตัวชี้วัด

นักเรียน ควรรู

B

@

NET

B

มุม IT

ขอสอบ

พื้นฐาน อาชีพ

• แทรกความรู • ขยายความรู • แนะนําแหลง • วิเคราะหแนว • กิจกรรม เสริมสําหรับครู เพิ่มเติมจาก คนควาจาก ขอสอบ O-NET สําหรับครู ขอเสนอแนะ เนื้อหา เพื่อให เว็บไซต เพื่อให เพือ่ ใหครู เพือ่ ใชเปน ขอควรระวัง นักเรียนไดมี ครูและนักเรียน เนนยํ้าเนื้อหา แนวทางใน ขอสังเกต ความรูม ากขึ้น ไดเขาถึงขอมูล ที่มักออก การชวยพัฒนา แนวทางการ ความรูที่ ขอสอบ O-NET อาชีพใหกับ จัดกิจกรรม หลากหลาย • ขอสอบ O-NET นักเรียน และอื่นๆ พิจารณาออก เพื่อประโยชน ขอสอบจาก ในการจัดการ เนื้อหา ม.1, 2 เรียนการสอน และ 3


ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง (เฉพาะชั้น ม.3)* สาระที่ 1 ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม

มาตรฐาน ส 1.1 รู และเขาใจประวัติ ความสําคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนา ที่ตนนับถือและศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ถูกตอง ยึดมั่นและปฏิบัติตามหลักธรรม เพื่ออยูรวมกันอยางสันติสุข ชั้น

ตัวชี้วัด

เสร�ม

11

สาระการเรียนรูแกนกลาง

ม.3 1. อธิบายการเผยแผพระพุทธ- • การเผยแผพระพุทธศาสนาเขาสูประเทศตางๆ ทั่วโลกและ ศาสนาหรือศาสนาทีต่ นนับถือ การนับถือพระพุทธศาสนาของประเทศเหลานั้นในปจจุบัน สูประเทศตางๆ ทั่วโลก 2. วิเคราะหความสําคัญของ พระพุทธศาสนาหรือศาสนา ที่ตนนับถือ ในฐานะที่ชวย สรางสรรคอารยธรรมและ ความสงบสุขแกโลก

• ความสําคัญของพระพุทธศาสนาในฐานะที่ชวยสรางสรรค อารยธรรมและความสงบสุขใหแกโลก

3. อภิปรายความสําคัญของ พระพุทธศาสนาหรือศาสนา ที่ตนนับถือ กับปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงและ การพัฒนาอยางยั่งยืน

• สัมมนาพระพุทธศาสนากับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและ การพัฒนาอยางยั่งยืน (ที่สอดคลองกับหลักธรรมในสาระการ เรียนรู ขอ 6)

4. วิเคราะหพุทธประวัติจาก พระพุทธรูปปางตางๆ หรือ ประวัติศาสดาที่ตนนับถือ ตามที่กําหนด

• ศึกษาพุทธประวัติจากพระพุทธรูปปางตางๆ เชน - ปางมารวิชัย - ปางลีลา - ปางปฐมเทศนา - ปางประจําวันเกิด • สรุปและวิเคราะหพุทธประวัติ - ปฐมเทศนา - โอวาทปาฏิโมกข

5. วิเคราะหและประพฤติตนตาม แบบอยางการดําเนินชีวิตและ ขอคิดจากประวัติสาวก ชาดก เรือ่ งเลา และศาสนิกชนตัวอยาง ตามที่กําหนด

• พระอัญญาโกณฑัญญะ • พระมหาปชาบดีเถรี • พระเขมาเถรี • พระเจาปเสนทิโกศล • นันทิวิสาลชาดก • สุวัณณหังสชาดก • หมอมเจาหญิงพูนพิศมัย ดิศกุล • ศาสตราจารยสัญญา ธรรมศักดิ์

* สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน, กระทรวงศึกษาธิการ. ตัวชีว้ ดั และสาระการเรียนรูแ กนกลาง กลุม สาระการเรียนรู สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม. (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย, 2551), หนา 6 - 51. คูม อื ครู


ชั้น

เสร�ม

12

คูม อื ครู

ตัวชี้วัด

6. อธิบายสังฆคุณและขอธรรม สําคัญในกรอบอริยสัจ 4 หรือหลักธรรมของศาสนา ที่ตนนับถือตามที่กําหนด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

• พระรัตนตรัย - สังฆคุณ 9 • อริยสัจ 4 - ทุกข (ธรรมที่ควรรู) - ขันธ 5 - ไตรลักษณ • สมุทัย (ธรรมที่ควรละ) - หลักกรรม - วัฏฏะ 3 - ปปญจธรรม 3 (ตัณหา มานะ ทิฏฐิ) • นิโรธ (ธรรมที่ควรบรรลุ) - อัตถะ 3 • มรรค (ธรรมที่ควรเจริญ) - มรรคมีองค 8 - ปญญา 3 - สัปปุริสธรรม 7 - บุญกิริยาวัตถุ 10 - อุบาสกธรรม 7 - มงคล 38 - มีศิลปวิทยา - พบสมณะ - ฟงธรรมตามกาล - สนทนาธรรมตามกาล • พุทธศาสนสุภาษิต - อตฺตา หเว ชิตํ เสยฺโย ชนะตนนั่นแลดีกวา - ธมฺมจารี สุขํ เสติ ผูประพฤติธรรมยอมอยูเปนสุข - ปมาโท มจฺจุโน ปทํ ความประมาทเปนทางแหงความตาย - สุสฺสูสํ ลภเต ปฺํ ผูฟงดวยดียอมไดปญญา - เรื่องนารูจากพระไตรปฎก : พุทธปณิธาน 4 ในมหาปรินิพพานสูตร


ชั้น

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

7. เห็นคุณคาและวิเคราะห • การปฏิบัติตนตามหลักธรรม (ตามสาระการเรียนรู ขอ 6) การปฏิบตั ติ นตามหลักธรรมใน การพัฒนาตน เพือ่ เตรียมพรอม สําหรับการทํางานและการมี ครอบครัว

เสร�ม

13

8. เห็นคุณคาของการพัฒนาจิต • พัฒนาการเรียนรูดวยวิธีคิดแบบโยนิโสมนสิการ 2 วิธี เพือ่ การเรียนรูแ ละดําเนินชีวติ คือ วิธีคิดแบบอริยสัจและวิธีคิดแบบสืบสาวเหตุปจจัย ดวยวิธคี ดิ แบบโยนิโสมนสิการ คือ วิธีคิดแบบอริยสัจและ วิธีคิดแบบสืบสาวเหตุปจจัย หรือการพัฒนาจิตตามแนวทาง ของศาสนาที่ตนนับถือ 9. สวดมนต แผเมตตา บริหารจิต • สวดมนตแปลและแผเมตตา และเจริญปญญาดวยอานาปาน- • รูและเขาใจวิธีปฏิบัติและประโยชนของการบริหารจิตและ เจริญปญญา สติ หรือตามแนวทางของ • ฝกการบริหารจิตและเจริญปญญาตามหลักสติปฏฐานเนน ศาสนาที่ตนนับถือ อานาปานสติ • นําวิธีการบริหารจิตและเจริญปญญาไปใชในชีวิตประจําวัน 10. วิเคราะหความแตกตางและ • วิถีการดําเนินชีวิตของศาสนิกชนศาสนาอื่นๆ ยอมรับวิถีการดําเนินชีวิต ของศาสนิกชนในศาสนาอืน่ ๆ

คูม อื ครู


มาตรฐาน ส 1.2 เขาใจ ตระหนักและปฏิบัติตนเปนศาสนิกชนที่ดี และธํารงรักษาพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือ เสร�ม

14

ชั้น

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

ม.3 1. วิเคราะหหนาที่และบทบาท • หนาที่ของพระภิกษุในการปฏิบัติตามหลักพระธรรมวินัยและ ของสาวกและปฏิบัติตนตอ จริยวัตรอยางเหมาะสม สาวก ตามที่กําหนดไดถูกตอง • การปฏิบัติตนตอพระภิกษุในงานศาสนพิธีที่บาน การสนทนา การแตงกาย มรรยาทการพูดกับพระภิกษุตามฐานะ 2. ปฏิบัติตนอยางเหมาะสมตอ • การเปนศิษยที่ดีตามหลักทิศเบื้องขวาในทิศ 6 บุคคลตางๆ ตามหลักศาสนา ของพระพุทธศาสนา ตามที่กําหนด 3. ปฏิบตั หิ นาทีข่ องศาสนิกชนทีด่ ี • การปฏิบัติหนาที่ชาวพุทธตามพุทธปณิธาน 4 ในมหาปรินิพพานสูตร 4. ปฏิบตั ติ นในศาสนพิธี พิธกี รรม • พิธีทําบุญงานมงคล งานอวมงคล ไดถูกตอง • การนิมนตพระภิกษุ การเตรียมทีต่ งั้ พระพุทธรูปและเครือ่ งบูชา การวงดายสายสิญจน การปูลาดอาสนะ การเตรียมเครือ่ งรับรอง การจุดธูปเทียน • ขอปฏิบัติในวันเลี้ยงพระ การถวายขาวพระพุทธ การถวาย ไทยธรรม การกรวดนํ้า

คูม อื ครู

5. อธิบายประวัติวันสําคัญทาง ศาสนาตามที่กําหนดและ ปฏิบัติตนไดถูกตอง

• ประวัติวันสําคัญทางพระพุทธศาสนาในประเทศไทย - วันวิสาขบูชา (วันสําคัญสากล) - วันธรรมสวนะและเทศกาลสําคัญ • หลักปฏิบัติตน : การฟงพระธรรมเทศนา การแตงกาย ในการประกอบศาสนพิธีที่วัด การงดเวนอบายมุข • การประพฤติปฏิบัติในวันธรรมสวนะ และเทศกาลสําคัญ

6. แสดงตนเปนพุทธมามกะ หรือแสดงตนเปนศาสนิกชน ของศาสนาที่ตนนับถือ

• การแสดงตนเปนพุทธมามกะ - ขั้นเตรียมการ - ขั้นพิธีการ

7. นําเสนอแนวทางในการธํารง รักษาศาสนาที่ตนนับถือ

• การศึกษาเรียนรูเรื่ององคประกอบของพระพุทธศาสนา นําไปปฏิบัติและเผยแผตามโอกาส • การศึกษาการรวมตัวขององคกรชาวพุทธ • การปลูกจิตสํานึกในดานการบํารุงรักษาวัดและพุทธสถาน ใหเกิดประโยชน


คําอธิบายรายวิชา รายวิชา พระพุทธศาสนา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 รหัสวิชา ส…………………………………

กลุมสาระการเรียนรู สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ภาคเรียนที่ 1-2 เวลา 40 ชั่วโมง/ป เสร�ม

ศึกษา วิเคราะห การเผยแผพระพุทธศาสนาสูประเทศตางๆ ทั่วโลก ความสําคัญของพระพุทธศาสนาในฐานะ ทีช่ ว ยสรางสรรคอารยธรรมและความสงบสุขแกโลก ความสําคัญของพระพุทธศาสนากับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และการพัฒนาอยางยั่งยืน พุทธประวัติจากพระพุทธรูปปางตางๆ การประพฤติตนตามแบบอยางการดําเนินชีวิต และขอคิดจากประวัติพุทธสาวก พุทธสาวิกา (พระอัญญาโกณฑัญญะ พระนางมหาปชาบดีโคตมีเถรี พระเขมาเถรี พระเจาปเสนทิโกศล) ชาดก (นันทิวิสาลชาดก สุวัณณหังสชาดก) ศาสนิกชนตัวอยาง (ศ.สัญญา ธรรมศักดิ์ และ หมอมเจาหญิงพูนพิศมัย ดิศกุล) อธิบายสังฆคุณและขอธรรมสําคัญในกรอบอริยสัจ 4 ในเรื่องทุกข (ธรรมที่ควรรู) ประกอบดวยขันธ 5 (ไตรลักษณ) สมุทัย (ธรรมที่ควรละ) ประกอบดวย หลักกรรม (วัฏฏะ 3) ปปญจธรรม 3 (ตัณหา, มานะ, ทิฏฐิ) นิโรธ (ธรรมที่ควรรู) ประกอบดวย อัตถะ 3 มรรค (ธรรมที่ควรเจริญ) ประกอบดวย มรรคมีองค 8, ปญญา 3, สัปปุริสธรรม 7 บุญกิริยาวัตถุ 3 อุบาสกธรรม 1 มงคล 38 (มีศิลปวิทยา พบสมณะ ฟงธรรมตามกาล สนทนาธรรมตามกาล) พุทธศาสนสุภาษิตในเรื่อง อตฺตา หเว ชิตํ เสยฺโย, ธมฺมจารี สุขํ เสติ, ปมาโท มจฺจุโน ปทํ, สุสฺสูสํ ลภเต ปฺ  เรือ่ งนารูจ ากพระไตรปฎก : พุทธปณิธาน 4 ในมหาปรินพิ พานสูตร การปฏิบตั ติ นตามหลักธรรมในการพัฒนาตน เพือ่ เตรียมความพรอมสําหรับการทํางานและการมีครอบครัว การพัฒนาจิต เพื่อการเรียนรูและดําเนินชีวิตดวยวิธีคิด แบบโยนิโสมนสิการ (วิธคี ดิ แบบอริยสัจ วิธคี ดิ แบบสืบสาวเหตุปจ จัย สวดมนตแปล แผเมตตา บริหารจิตและเจริญปญญา ดวยอานาปานสติ) หนาทีแ่ ละบทบาทของสาวกและการปฏิบตั ติ นตอสาวกไดถกู ตอง ปฏิบตั ติ นอยางเหมาะสมตอบุคคล ตางๆ ตามหลักศาสนา ตามหนาทีข่ องศาสนิกชนทีด่ ี ศาสนพิธี พิธกี รรม ประวัตวิ นั สําคัญทางพระพุทธศาสนา การแสดงตน เปนพุทธมามกะ การเสนอแนวทางในการธํารงรักษาศาสนาทีต่ นนับถือ การยอมรับความแตกตางและวิถกี ารดําเนินชีวติ ของศาสนิกชนในศาสนาอื่น โดยใชกระบวนการคิด กระบวนการสืบคนขอมูล กระบวนการทางสังคม กระบวนการปฏิบตั ิ กระบวนการเผชิญ สถานการณและแกปญหา กระบวนการกลุม เพื่อใหเกิดความรูความเขาใจ สามารถนําไปปฏิบัติในการดําเนินชีวิต นําไปพัฒนาและแกปญหาของชุมชนและสังคม มีคุณลักษณะอันพึงประสงคในดานรักชาติ ศาสน กษัตริย ซื่อสัตย สุจริต มีวินัย ใฝเรียนรู อยูอยางพอเพียง มุงมั่นในการทํางาน รักความเปนไทย มีจิตสาธารณะ สามารถดําเนินชีวิต อยูรวมกันไดอยางสันติสุข ตัวชี้วัด ส 1.1 ม.3/1 ม.3/6 ส 1.2 ม.3/1 ม.3/6

15

ม.3/2 ม.3/3 ม.3/4 ม.3/5 ม.3/7 ม.3/8 ม.3/9 ม.3/10 ม.3/2 ม.3/3 ม.3/4 ม.3/5 ม.3/7

รวม 17 ตัวชี้วัด คูม อื ครู


ตาราง

ÇÔà¤ÃÒÐË Áҵðҹ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙጠÅеÑǪÕÇé ´Ñ ÃÒÂÇÔªÒ ¾Ãоط¸ÈÒÊ¹Ò Á.3

คําชี้แจง : ใหผูสอนใชตารางน�้ตรวจสอบความสอดคลองของเน�้อหาสาระการเรียนรูในหนวยการเรียนรูกับมาตรฐานการเรียนรู

เสร�ม

16

และตัวชี้วัดชั้นป

สาระที่ 1

มาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัด

หนวยการเรียนรู

หนวยการเรียนรูที่ 1 : ประวัติ และความสําคัญของพระพุทธศาสนา หนวยการเรียนรูที่ 2 : พุทธประวัติ พระสาวก ศาสนิกชนตัวอยางและชาดก

มาตรฐาน ส 1.1 ตัวชี้วัด

มาตรฐาน ส 1.2 ตัวชี้วัด

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 1 2 3 4 5 6 7 ✓ ✓

✓ ✓

หนวยการเรียนรูที่ 3 : หลักธรรมทาง พระพุทธศาสนา

✓ ✓

หนวยการเรียนรูที่ 4 : พระไตรปฎก และพุทธศาสนสุภาษิต

หนวยการเรียนรูที่ 5 : หนาที่ชาวพุทธ และมารยาทชาวพุทธ

✓ ✓ ✓

หนวยการเรียนรูที่ 6 : วันสําคัญทาง พระพุทธศาสนาและศาสนพิธี

✓ ✓

หนวยการเรียนรูที่ 7 : การบริหารจิต และการเจริญปญญา หนวยการเรียนรูที่ 8 : พระพุทธศาสนา กับการแกปญหาและการพัฒนา หนวยการเรียนรูที่ 9 : ศาสนากับ การอยูรวมกันในประเทศไทย

คูม อื ครู

✓ ✓

✓ ✓


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล Expand

˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ÃÒÂÇÔªÒ¾×é¹°Ò¹

¾Ãоط¸ÈÒÊ¹Ò Á.ó

ªÑ¹é ÁѸÂÁÈÖ¡ÉÒ»‚·Õè ó

¡ÅØ‹ÁÊÒÃСÒÃàÃÕ¹ÃÙŒÊѧ¤ÁÈÖ¡ÉÒ ÈÒÊ¹Ò áÅÐÇѲ¹¸ÃÃÁ µÒÁËÅÑ¡ÊÙµÃ᡹¡ÅÒ§¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñé¹¾×é¹°Ò¹ ¾Ø·¸ÈÑ¡ÃÒª òõõñ ¼ÙŒàÃÕºàÃÕ§

È. ´Ã. ÇÔ·Â ÇÔÈ·àÇ·Â È. ¾ÔàÈÉ àÊ°ÕÂþ§É ÇÃó»¡

¼ÙŒµÃǨ

È. ¾ÔàÈÉ ¨íÒ¹§¤ ·Í§»ÃÐàÊÃÔ° ÃÈ. ªÙÈÑ¡´Ôì ·Ô¾Â à¡Éà ¹ÒÂÊíÒÃÇ ÊÒÃѵ¶

ºÃóҸԡÒÃ

¹ÒÂÊÁà¡ÕÂÃµÔ ÀÙ‹ÃÐ˧É

¼ÙŒ¨Ñ´·íÒ¤Ù‹Á×ͤÃÙ

Ä´ÕÇÃó ÁÒ´Õ¡ØÅ ÊؾѵÃÒ ÂÐÅÒäÊ áÁ¹¾§É àËçÁ¡Í§ พิมพครั้งที่ ๑

สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติ รหัสสินคา ๒๓๑๓๒๑๐ รหัสสินคา ๒๓๔๓๑๖๑

¤Œ¹¤ÇÒÁÃÙŒ¢ÂÒ¤ÇÒÁ¤Ô´¨Ò¡

EB GUIDE

ที่พิมพกํากับหัวขอสําคัญในหนังสือเรียนหลักสูตรแกนกลางฯ ผาน www.aksorn.com ไปยังแหลงความรูทั่วไทย-ทั่วโลก

Evaluate


กระตุน ความสนใจ สํารวจคนหา Explore Engage

อธิบายความรู ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล Expand

Explain

Evaluate

¤íÒá¹Ð¹íÒ㹡ÒÃ㪌˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน พระพุทธศาสนาเลมนี้ ใชประกอบการเรียนการสอนรายวิชาพื้นฐาน กลุ  ม สาระการเรียนรูสัง คมศึก ษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นมัธ ยมศึกษาปที่ ๓ เนื้อหาตรงตามสาระ การเรียนรูแกนกลางขั้นพื้นฐาน อานทําความเขาใจงาย ใหทั้งความรูและชวยพัฒนาผูเรียนตามหลักสูตร และตัวชี้วัด เนื้อหาสาระแบงออกเปนหนวยการเรียนรู สะดวกแกการจัดการเรียนการสอนและการวัดผล ประเมินผล พรอมเสริมองคประกอบอื่นๆ ที่ชวยทําใหผูเรียนไดรับความรูอยางมีประสิทธิภาพ ¨Ñ´¡ÅØ‹Áà¹×éÍËÒ໚¹Ë¹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ Êдǡᡋ¡ÒèѴ¡ÒÃàÃÕ¹¡ÒÃÊ͹

หนวยการเรีย

นรูที่

พุทธประ

à¡ÃÔè¹¹íÒà¾×èÍãˌࢌÒ㨶֧ÊÒÃÐÊíÒ¤ÑÞ à¹×éÍËҵçµÒÁÊÒÃСÒÃàÃÕ¹Ãٌ᡹¡ÅÒ§ ã¹Ë¹‹Ç·Õè¨ÐàÃÕ¹ ãËŒ¤ÇÒÁÃÙŒáÅÐàÍ×é͵‹Í¡ÒùíÒä»ãªŒÊ͹à¾×èÍ ãËŒºÃÃÅصÑǪÕéÇÑ´ áÅÐÊÌҧ¤Ø³ÅѡɳРÍѹ¾Ö§»ÃÐʧ¤

๑) หลั ก กรรม (วั ฏ ฏะ ๓)

พระพุทธศาสนาสอนเรื่อง “สังสารวัฏ” คือ การ เวียนว่ายตายเกิด มนุษย์ปุถุชนที่ยังมีกิเลสอยู่ เมื่อตายไปแล้วต้องไปเกิดใหม่ในภพใดภพหนึ่ง เมื่อตายในภพใหม่ ก็ต้องไปเกิดใหม่อีกหาก ยังมีกิเลสอยู่ จะเป็นเช่นนี้ไปเรื่อยๆ จนกว่าจะ หลุดพ้นจากกิเลสได้หมดสิ้น “วัฏฏะ” แปลว่า “วน” หรือ “วงกลม” มี ๓ อย่าง คือ กิเลสวัฏฏะ เรียก กิเลสเฉยๆ ก็ได้ กรรมวัฏฏะ เรียก กรรมเฉยๆ

ตัวชี้วัด วิเคราะหพทุ ธประ วัตจิ ากพระพุ หรือประวตั ศิ ทธรูปปางต าสดา (ส ๑.๑ ม.๓/ ทีต่ นนับถือตามทก่ี าํ า งๆ หนด ๔) วิเคราะหและป ดําเนินชีวิตและขระพฤติตนตามแบบอย างการ เรือ่ งเลา และศ อคิดจากประวัติสาวก าสน กิ ชนตวั อยางตาม ชาดก (ส ๑.๑ ม.๓/ ทีก่ าํ หนด ๕)

พระพุ ท ธรู ป ในพระอิ ริ ย าบถปร พระบาทขวาทับพระบาทซ้าย พระหั ะทั บ นั่ ง ขั ด สมาธิ พระเพลา โดยพระหัตถ์ขวาทับพระหั ตถ์ทั้งสองวางหงายบน เมื่ อ พระสั ม มาสั ม พุ ท ธเจ้ า ตรั ส รู ้ อ ตถ์ซ้าย เป็นเหตุการณ์ นุ ต รสั ม มาสั ม โพธิ ญ าณ ใต้ต้นพระศรีมหาโพธิ วันพฤหัสบดี ปางสมาธิ

เป็นสุข

คนที่รู้จักหักห้ามใจให้ละกิเลสได้ จะท�าให้ชีวิต

ก็ได้ ●

พระพุ ท ธรู ป ในพระอิ ริ ย าบถยื ประสานกนั ยกขึน้ ทาบพระอุระ พระหั น พระหั ต ถ์ ทั้ ง สอง เป็นเหตุการณ์เมื่อทรงร�าพึงถึงธรรมะทีตถ์ขวาทับพระหัตถ์ซา้ ย คัมภีรภาพ ยากที่คนทั่วไปจะเข้าใจได้ ่ตรัสรู้ว่ามีความลึกซึ้ง ในความเป็นผูข้ วนขวายนอ้ ย (คือ ไม่ ก็ทรงมีพระทัยน้อมไป ท้าวสหัมบดีพรหมมาทูลอัญเชิญ จึอยากไปสอนใคร) แต่เมือ่ งตัดสินพระทัยไปเทศนา สั่งสอนประชาชน

วิบากวัฏฏะ เรียก วิบากเฉยๆ

ก็ได้

แกนกลาง

ศึกษาพุทธประ - ปางมารวิ วัติจากพระพุทธรูปปางต ช างๆ - ปางปฐมเท ัย - ปางลีลา ศนา - ปางประจํ า ● สรุปและวิเคราะวันเกิด - ปฐมเทศน หพุทธประวัติ - โอวาทปา า ฏิ ● พุทธสาวก พุ โมกข ËÅ§Ñ ¨Ò¡¾Ã ท - พระอัญญาโกธสาวิกา о·Ø ¸à¨ÒŒ µÃ ÊѵÇâÅ¡ãË ÊÑ ÃÙŒ áÅÇŒ ¡ç· - พระมหาป ณฑัญญะ »Œ ¯Ôº çÁ¾Õ ÃСÃØ - พระเขมาเ ชาบดีเถรี ³ÒʧÑè Ê͹ á¡‹µ¹àÍ§á µÑ µÔ ÒÁ¨¹ÊÒÁÒöÅÐ¤Ç ถรี - พระเจาปเสน ÅÐÊÌҧÊѹ ทิโกศล ■ µÔÊآᡋÊѧ¤Á ÒÁ·Ø¡¢ ÊÃÒŒ §¤ÇÒÁÊØ ชาดก ¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¾Ø ¢ - นันทิวิสาลชา · ¸» ÃÐÇ ดก ѵ ¨Ö§ÊзŒÍ¹Ç - สุวัณณหั งสชาดก ‹Ò·Ø¡ÍÂ‹Ò§Ê Ô »ÃÐÇѵԾÃÐÊÒÇ¡áÅ ■ ศาสนิกชนต ЪҴ¡µ‹Ò§æ íÒàÃç¨ä´Œ´ŒÇ ¨ÃÂÔ ÒÇѵÃÍ ัวอย ¤ÇÒÁà¾Õ - ม.จ.หญิง าง ¹Ñ ´Õ§ พู ÃáÅÐʵԻ - ศาสตราจา นพิศมัย ดิศกุล Ø ¸ÃÃÁ¢Í ½ƒ¡½¹áÅо ÒÁáÅФ³ Þ ˜ ÞÒ รยสัญญา ธรรม §á µ‹Åзҋ ¹à» Ѳ¹Òµ¹ã¹ ศักดิ์ ¹š ¼Å ·Ò ´í

Òà¹ÔÔ¹µÒÁ

วันพุธ (กลางคืน) ปางปาลิไลยก์

สาระการเรียนรู

พระพุ ท ธรู ป ในพระอิ ริ ย าบถประ พระหัตถ์ซ้ายวางคว�่าบนพระชานุ พระหัทั บ นั่ ง ห้ อ ยพระบา ท เหตุการณ์เมื่อครั้งพระภิกษุเมืองโกสั ตถ์ขวาวางหงาย เป็น พระพุทธองค์เสด็จไปห้ามปราม แต่มพีทะเลาะกันขนานใหญ่ เสด็จหลีกไปประทับอยู่ในป่าโดยมีพ ไม่มีใครฟัง พระองค์จึง ญาช้างปาลิไลยกะและลิง คอยเฝ้าปรนนิบัติ

่อไม่ให้เกิดทุกข์ ได้แก่

ี่ควรละเพื สมุทัย คือ สาเหตุแห่งการเกิดความทุกข์ หลักธรรมที

พุท¸ÅÑกÉณ์/มÙÅà˵ุãนการสร้า§ปา§

๒.๒ สมุทัย (ธรรมที่ควรละ)

พระสาวก ศา วัติ สนิก ตัวอยาง แล ชน ะชาดก

Design ˹ŒÒẺãËÁ‹ ÊǧÒÁ ¹íÒàʹʹŒÇµÒÃÒ§ á¼¹¼Ñ§ ª‹ÇÂãˌ͋ҹ ·íÒ¤ÇÒÁࢌÒã¨ä´Œ§‹Ò¢Öé¹

เมื่อบุคคลท�าอะไรลงไป ไม่ว่าทางกาย ทางวาจา ¡ÃÃÁ อให้ หรือทางใจ หากท�าลงไปด้วยกิเลสที่อยู่ในใจ ก็จะก่ วัฏฏะ ผล เกิดกรรมขึ้น เมื่อเกิดกรรมขึ้นก็จะเกิดวิบากคือ ก อี น ้ ลสขึ เ กิ ด กิ เ ให้ อ ะก่ จ ็ ก ้ ผลนี อ ากหรื บ วิ ตามมา อ ่ ก ะก็ จ ้ กรรมนี ก อี และกิเลสนี้จะก่อให้เกิดกรรมขึ้น ÇÔºÒ¡ ให้เกิดวิบากหรือผลขึน้ อีก วนเวียนอย่างนีไ้ ปเรือ่ ยๆ วัฏฏะ จนกว่าบุคคลจะดับกิเลสได้หมดสิ้น จึงจะหลุดพ้น จากการเวียนว่ายตายเกิด

วันศุกร์ ปางร�าพึง

วัฏฏะ

µÑÇÍย‹า§àช‹น าหนี้ขÙ่จÐทíาร้าย นาย ก ชͺเล่นการ¾นันเ»šนหนี้áลжÙกเจ้ ¡ÃÃÁ áต่ ไตร่ตรÍงÍยÙ่นาน ãนที่สุดก็ลงม×Íทíา เรียกว่า จÖงคิดทíาการทุจริตที่เรียกว่า ¡ÔàÅÊ เกิดขÖ้น ดกิเลสขÖ้น เม×่Íไม่มีงานไม่มีเงินก็คิดทíาการทุจริตÍีก ก็เกิ ¶Ùกเขาจัºได้áลÐไล่ÍÍกจากงาน นี่ค×Í ÇÔºÒ¡ ยæ Í ่ »เร× ไ ้ นี น Íีกวนเวียนเช่

§·Õè¶Ù¡µŒÍ§´ ¨Ò¡¡Òà էÒÁ «Öè§ªÒ ª¹ Êآᡋµ Ǿط¸¤Çà ¹àͧáÅÐÊÑ §¤Áµ‹Íä»

à¾×èÍ»ÃÐâÂ

๖๖

µÑǪÕÇé ´Ñ áÅÐÊÒÃСÒÃàÃÕ¹ÃÙጠ¡¹¡ÅÒ§ µÒÁ·ÕËè ÅÑ¡Êٵà ¡íÒ˹´ à¾×èÍãËŒ·ÃÒº¶Ö§à»‡ÒËÁÒÂ㹡ÒÃÈÖ¡ÉÒ

àÊÃÔÁÊÒÃШҡà¹×Íé Ëҹ͡à˹×ͨҡ ·ÕÁè ãÕ ¹ÊÒÃСÒÃàÃÕ¹ÃÙጠ¡¹¡ÅÒ§ à¾×Íè à¾ÔÁè ¾Ù¹áÅТÂÒ¤ÇÒÁÃÙ㌠ˌ¡ÇŒÒ§¢ÇÒ§ ÍÍ¡ä»

àÃ×èͧ¹‹ÒÃÙŒà¾ÔèÁàµÔÁ¨Ò¡à¹×éÍËÒ ÁÕá·Ã¡à»š¹ÃÐÂÐæ

พระพุทธรูปประทับขัดสมาธิเหนือ ขนดพญานาคที่มา ขดให้ประทับ และแผ่พังพานบังลมและฝ หลังจากพระพทุ ธเจ้าตรัสรู้ ขณะประท นให้ เป็นเหตุการณ์ มีฝนตกพร�าๆ ๗ วัน เมื่อฝนหยุดแล้ บั ใต้ตน้ มุจลินทร์ (ต้นจิก) เป็นมาณพหนุ่ม ยืนประคองอัญชลีอว พญานาคได้จ�าแลงกาย ยู่ข้างๆ

¡ÔàÅÊ วันเสาร์ ปางนาคปรก 38

EB GUIDE http://www.aksorn.com/LC/RE/M3/02

Web guide á¹Ð¹íÒáËÅ‹§¤Œ¹¤ÇŒÒ¢ŒÍÁÙÅ à¾ÔèÁàµÔÁ¼‹Ò¹Ãкº Online ¤íÒ¶ÒÁáÅСԨ¡ÃÃÁÊÌҧÊÃä ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ ª‹ÇÂãËŒ¼ÙŒàÃÕ¹䴌½ƒ¡·Ñ¡ÉСÒäԴáÅл¯ÔºÑµÔ à¾×èÍãËŒ ÁդسÀÒ¾µÒÁµÑǪÕéÇÑ´

ม หลัก¸รรàจ้า พุท¸ ¢Íงพระ ุท¸เจ้ามี

ลักÉณÐ

ฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐได้ทรงบรรยายวิชาการพระพุทธศาสนา ณ มหาวิทยาลัยในมลรั ึ่งในเก้าท่านของมูลนิธิเทมเบิลตัน อเมริกา เป็นเวลา ๑ ปี และทรงได้รับเลือกเป็นกรรมการหน ซึ่ ง มี วั ต ถุ ป ระสงค์ ใ นการสร้ า งความเข้ า ใจ ระหว่างศาสนาทุกศาสนาในโลก มีสา� นักงานอยู่ ที่กรุงวอชิงตัน ดี.ซี. ประเทศสหรัฐอเมริกา ๑.๒) งานเขียน หม่อมเจ้าหญิง พูนพิศมัย ดิศกุล ทรงมีความสามารถในการ เขียนหนังสือส�าหรับเด็ก ทรงนิพนธ์หนังสือ “ศาสนคุณ” อันเป็นหนังสือสอนพระพุทธศาสนา แก่เด็ก ได้รับพระราชทานรางวัลที่ ๑ ในการ ประกวดหนังสือจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยูห่ วั นอกจากนี้ ยังทรงนิพนธ์บทความและ หนังสืออีกเป็นจ�านวนมาก เกีย่ วกับชาติ ศาสนา อมเจ้าหญิงพูนพิศมัย ดิศกุล ทรงมีความรู้แตกฉานใน พระมหากษัตริย์ ขนบธรรมเนียม ประเพณีและ หม่ พระพุทธศาสนา จนได้รบั แต่งตัง้ ให้ดา� รงต�าแหน่งประธาน องค์การพุทธศาสนิ​ิกสัมพันธ์แห่งโลก วัฒนธรรมไทย หม่อมเจ้าหญิงพูนพิศมัย ดิศกุล ๒๕๓๓ รวมพระชันษาได้ ๙๕ สิ้นชีพิตักษัยด้วยพระโรคชรา เมื่อวันเสาร์ที่ ๑๑ สิงหาคม พ.ศ. พรรษา

ÃÐ

ค �าถามประจ �าหน่วยการเรียนรู้

¾รо รรมขÍง จนไม่ ว่า ¾รи รоุท¸Èาสนา จ้า ีข้Íสงสัย ุท¸เ Ù่ãน¾ งครั้งÍาจม เข้ามา»Ð»นÍย าสนาÍ×่น ¾รо Ðการ ºา า จ้ ¾รоุท¸เ นา¾ราหมณ Íาจ รมãดเ»šนขÍงÈ ีลักÉณÐ ø »ร Íง มข ¾รиรร ¸รรมขÍงÈาส ท¸เจ้า หลัก¸ร ÐÍงค จÐต้Íงม Éา ก Ö รÈ ก ั ¾ุ กา ครั้งหล เ»šนขÍง¾รÐ คíาสÍนขÍง¾ร รÙ» ãด áลкาง รม íาหนัดãน ยความก มากมาย Ðได้ว่าหลัก¸รรม ัดสินว่า หลัก¸ร ผ่Íนคลา áย รต ามáล้วจÐ Íาจáยก ทานหลักãนกา л¯ิºัติต ร×Í รÐ ×่ÍÈÖกÉาáล ºรรเทาห เม จÖงทรง» ย ด ั ลา หน ้วจÐผ่Íนค คลายกíา ºาºางลงไ» ´Ñ§¹Õé นไ»เ¾×่Í ้เ ºัติตามáล

àÊÃÔÁÊÒ

๑ ประโยชน์ที่ได้รับจากการศึกษาพุทธประวัติ ประวัติพุทธสาวก พุทธสาวิกา และ ศาสนิกชนตัวอย่างคืออะไร ๒ เพราะเหตุใดพระพุทธเจ้าจึงทรงเลือกแสดงปฐมเทศนาแก่ปัญจวัคคีย์เป็นพวกแรก ๓ พระพุทธรูปมีความส�าคัญต่อพุทธศาสนิกชนอย่างไร ๔ จากการศึกษาประวัติชีวิตของพระเขมาเถรี นักเรียนได้แง่คิดอะไรบ้าง ๕ นักเรียนสามารถน�าข้อคิดที่ได้จากการศึกษาเรื่องนันทิวิสาลชาดกและสุวัณณหังสชาดก ไปปรับใช้ในการด�าเนินชีวิตประจ�าวันได้อย่างไร

่เ»š ãห л¯ิ เหล่าãดที ายสัมผัส โกร¸ ÈÖกÉาáล ñ. ¸รรม กลิ่น รส áลÐก ุกข เม×่Í ลÀ ความ าÈจากท าãหค้ วามโ เสียง ความ»ร áลว้ จÐทí šนไ»เ¾×่Í ãจลงไ»ได้ ¯ิºตั ติ าม ลÐ เหล่าãดเ» กÉาáลл ÈÖ ยินดีãน ่ × Í าม เม ò. ¸รรม ามทุกข ทั้งกายá คว ลส ¶นาáลÐ ส่ Ðสมกเิ รÐงัºคว าม»ราร ความไม นš ไ»เ¾Í×่ ามáลว้ คว งได้ เหล่าãดเ» л¯ิºตั ติ ่ตาม ó. ¸รรม วามหลงลดน้Íยล Í×่ ÈÖกÉาáล ที่ตนมีÍยÙ ง ่ ิ เม นส ã าก ดี Íย ยิน áลÐค ดัºความ áล้ว จÐ นš ไ»เ¾Í×่ ้ ¯ิºัติตาม เหล่าãดเ» ริญ จÐลดลงได Éาáลл ก รม ÈÖ ้วจÐก่Í ¸ร Í ่ × áล เม ô. É สรรเส ¯ิºัติตาม ามสันโด аานÐขÍงตน ลาÀ ยÈ กÉาáลл ãห้เกิดคว มÙ่ เม×่ÍÈÖ šนไ»เ¾×่Í ความสามาร¶áล ิเลส สงัดจากห เหล่าãดเ» กíาลัง ชีวิตจÐ ว ้ เ¾×่Íความ ãจáลÐสงัดจากก õ. ¸รรม áล ไ» น š าม เ» าย จิต เหล่าãด л¯ิºัติต ö. ¸รรม ามสงºãนร่างก ×่ÍÈÖกÉาáล เ¾ียร เม ามสíาเร็จ ãห้เกิดคว áล้ว เ¾×่Íความ คว ¯ิºัติตาม จจัย л าãดเ»šนไ» ารทíางาน»รÐสº ล่ áล เห Éา รม ก าл˜ ÷. ¸ร น้าขÖ้น เ¾ราÐก ย เม×่ÍÈÖ ไม่เด×Íดร้Íนเ¾ร รเลี้ยงง่า ก้าวห ด้ ไ»เ¾×่Íกา ย ÍยÙ่ไหนก็ÍยÙ่ไ น š เ» ãด ãจง่า เหล่า ø. ¸รรม šนคนเลี้ยงง่าย เÍา มสุข และมีควา จÐเ» เยือกเย็น µØ ีจิตใจสงบ ô ໚¹àË ้า ย่อมม

เรื่องน่ารู้

า พ.ส.ล. เป็นองค์การระหว่างประเทศพุทธศาสนา องค์การพุทธศาสนิกสัมพันธ์แห่งโลก หรือที่เรียกโดยย่อว่ ดังน�้ ตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. ๒๔๙๓ ในประเทศศรีลังกา โดยมีวัตถุประสงค์ าสัง่ สอนขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ๑. ส่งเสริมสนับสนุนให้มวลสมาชิกรักษาศีลและปฏิบตั ธิ รรมตามค� ในหมู่พุทธศาสนิกชน ๒. เสริมสร้างความสามัคคี ความเป็นปึกแผ่น และภราดรภาพ ธเจ้า ท พุ ม มาสั ม พระสั จ มเด็ ส ององค์ ข ์ ธิ ท ุ ส บริ น ธรรมอั ก ลั ห ๓. เผยแผ่ มกลืนกันในหมูม่ นุษย์ รวมถึงความผาสุกให้แก่ ๔. ก่อตัง้ และด�าเนินกิจกรรมเพือ่ เสริมสร้างสันติภาพและความกล จกรรมอันมีวัตถุประสงค์อย่างเดียวกัน มวลชน ตลอดจนให้ความร่วมมือกับองค์การอื่นๆ ซึ่งประกอบกิ นท์ให้ประเทศไทยเป็นที่ตั้งของส�านักงานใหญ่ถาวร พ.ศ. ๒๕๑๒ ที่ประชุมใหญ่องค์การ พ.ส.ล. ได้มีมติเป็นเอกฉั ริ ถนนสุขุมวิท กรุงเทพมหานคร องค์การ พ.ส.ล. มีภาคี ขององค์การ พ.ส.ล. ซึ่งปัจจุบันตั้งอยู่ในบริเวณอุทยานเบญจสิ สมาชิกทั่วทุกทวีป รวม ๓๘ ประเทศ

กิจกรรมที่

กิจกรรมที่

กิจกรรมที่

ะพุทธเจ

นของพร

ามค�าสอ

ผู้ปฏิบัติต

กิจกรรมสร้างสรรค์พัฒนาการเรียนรู้

73

๕8

49

พุทธศาสนสุภาษิต

ครูเปิด VCD เกี่ยวกับพุทธประวัติตอนแสดงปฐมเทศนาและโอวาท ปาฏิโมกข์ให้นกั เรียนดู จากนัน้ ช่วยกันอภิปรายและเขียนสรุปความ รู้ที่ได้รับความยาว ๑ หน้ากระดาษ ส่งครูผู้สอน นักเรียนแบ่งกลุ่ม ร่วมกันอภิปรายถึงคุณธรรมที่ควรยึดเป็นแบบ อย่างของพุทธสาวก พุทธสาวิกา และศาสนิกชนตัวอย่าง จากนั้น เขียนสรุปผลการอภิปรายส่งครูผู้สอน นักเรียนศึกษาค้นคว้าประวัติของบุคคลที่ประพฤติตนสอดคล้อง กับคุณธรรมของพุทธสาวก พุทธสาวิก และศาสนิกชนตัวอย่างมา ๑ ท่าน โดยสรุปประวัติอย่างสังเขป พร้อมทั้งวิเคราะห์ให้เห็นถึง การปฏิบตั ติ นว่าสอดคล้องกับคุณธรรมของพุทธสาวก พุทธสาวิกา และศาสนิกชนท่านใด แล้วท�ารายงานส่งครูผู้สอน ¹Âí ¹ÂµÔ àÁ¸ÒÇÕ : ¤¹ÁÕ»˜ÞÞÒ‹ÍÁá¹Ð¹íÒÊÔ觷Õè¤ÇÃá¹Ð¹íÒ


กระตุน ความสนใจ Engage

ÊÒúÑ˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè

ñ

˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè

ò

˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè

ó

˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè

ô

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล Expand

Evaluate

»ÃÐÇѵÔáÅФÇÒÁÊíÒ¤Ñޢͧ¾Ãоط¸ÈÒÊ¹Ò á¹Ç·Ò§¡ÒÃà¼ÂἋ¾Ãоط¸ÈÒÊ¹Ò ¡ÒÃà¼ÂἋáÅСÒùѺ¶×;Ãоط¸ÈÒʹÒã¹»ÃÐà·Èµ‹Ò§æ ·ÑèÇâÅ¡ ¤ÇÒÁÊíÒ¤Ñޢͧ¾Ãоط¸ÈÒʹÒ

ñ ò õ òò

¾Ø·¸»ÃÐÇÑµÔ ¾ÃÐÊÒÇ¡ ÈÒʹԡª¹µÑÇÍ‹ҧ áÅЪҴ¡ ¾Ø·¸»ÃÐÇÑµÔ »ÃÐÇѵԾط¸ÊÒÇ¡ ¾Ø·¸ÊÒÇÔ¡Ò ÈÒʹԡª¹µÑÇÍ‹ҧ ªÒ´¡

òù óð óù ôø õô

ËÅÑ¡¸ÃÃÁ·Ò§¾Ãоط¸ÈÒÊ¹Ò ¾ÃÐÃѵ¹µÃÑ ÍÃÔÂÊѨ ô ¡Òû¯ÔԺѵԵ¹µÒÁËÅÑ¡¸ÃÃÁ㹡ÒþѲ¹Òµ¹à¾×èÍàµÃÕÂÁ¾ÃŒÍÁ ÊíÒËÃѺ¡Ò÷íÒ§Ò¹áÅСÒÃÁÕ¤Ãͺ¤ÃÑÇ

õù öð öò øó

¾ÃÐäµÃ» ®¡áÅоط¸ÈÒʹÊØÀÒÉÔµ ¾ÃÐäµÃ» ®¡ ¾Ø·¸ÈÒʹÊØÀÒÉÔµ

ùñ ùò ùô


กระตุน ความสนใจ สํารวจคนหา Explore Engage

˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè

˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè

˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè

˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè

˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè

อธิบายความรู ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล

õ ö ÷ ø ù

Explain

Expand

Evaluate

˹ŒÒ·ÕèªÒǾط¸áÅÐÁÒÃÂÒ·ªÒǾط¸ ˹ŒÒ·Õè¢Í§¾ÃÐÀÔ¡ÉØ㹡Òû¯ÔºÑµÔµÒÁËÅÑ¡ ¾ÃиÃÃÁÇÔ¹ÑÂáÅШÃÔÂÒÇѵÃÍ‹ҧàËÁÒÐÊÁ ÁÒÃÂÒ·ªÒǾط¸ ˹ŒÒ·ÕèªÒǾط¸

ñðñ ñðò

ÇѹÊíÒ¤ÑÞ·Ò§¾Ãоط¸ÈÒʹÒáÅÐÈÒʹ¾Ô¸Õ »ÃÐÇѵÔáÅСÒû¯ÔºÑµÔµ¹ã¹ÇѹÊíÒ¤ÑÞ·Ò§¾Ãоط¸ÈÒÊ¹Ò ÈÒʹ¾Ô¸Õ

ññ÷ ññø ñóñ

¡ÒúÃÔËÒèԵáÅСÒÃà¨ÃÔÞ»˜ÞÞÒ ¡ÒÃÊÇ´Á¹µ á»ÅáÅÐἋàÁµµÒ ¡ÒúÃÔËÒèԵ ¡ÒÃà¨ÃÔÞ»˜ÞÞÒâ´Â¡ÒäԴẺâ¹ÔâÊÁ¹ÊÔ¡Òà ¡ÒùíÒÇÔ¸Õ¡ÒúÃÔËÒèԵáÅÐà¨ÃÔÞ»˜ÞÞÒä»ãªŒã¹ªÕÇÔµ»ÃШíÒÇѹ

ñóù ñôð ñôó ñô÷ ñõð

¾Ãоط¸ÈÒʹҡѺ¡ÒÃá¡Œ»˜ÞËÒáÅСÒþѲ¹Ò ¾Ãоط¸ÈÒʹҡѺàÈÃÉ°¡Ô¨¾Íà¾Õ§ ¾Ãоط¸ÈÒʹҡѺ¡ÒþѲ¹Ò·ÕèÂÑè§Â×¹ ¾Ø·¸¸ÃÃÁ¡ÑºàÈÃÉ°¡Ô¨¾Íà¾Õ§

ñõõ ñõö ñõ÷ ñöñ

ÈÒʹҡѺ¡ÒÃÍÂًËÇÁ¡Ñ¹ã¹»ÃÐà·Èä·Â ÇÔ¶Õ¡ÒôíÒà¹Ô¹ªÕÇÔµ¢Í§¾Ø·¸ÈÒʹԡª¹ ÇÔ¶Õ¡ÒôíÒà¹Ô¹ªÕÇÔµ¢Í§¤ÃÔʵ ÈÒʹԡª¹ ÇÔ¶Õ¡ÒôíÒà¹Ô¹ªÕÇÔµ¢Í§¼ŒÙ·Õè¹Ñº¶×ÍÈÒʹÒÍÔÊÅÒÁ ÇÔ¶Õ¡ÒôíÒà¹Ô¹ªÕÇÔµ¢Í§¼ŒÙ·Õè¹Ñº¶×ÍÈÒʹҾÃÒËÁ³ -ÎÔ¹´Ù ¤ÇÒÁᵡµ‹Ò§¢Í§¡ÒôíÒà¹Ô¹ªÕÇÔµ¢Í§ÈÒʹԡª¹ÈÒʹҵ‹Ò§æ ÇÔ¸Õ¡ÒÃÂÍÁÃѺÇÔ¶Õ¡ÒôíÒà¹Ô¹ªÕÇÔµ¢Í§¤¹ã¹áµ‹ÅÐÈÒʹÒã¹»ÃÐà·È

ñö÷ ñöø ñ÷ò ñ÷õ ñøð ñøó ñøô

ºÃóҹءÃÁ

ñø÷

ñðõ ñð÷


กระตุน ความสนใจ Engage

หนวยการเรียนรูที่

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explore

Explain

Expand

Evaluate

เปาหมายการเรียนรู 1. บอกแนวทางการเผยแพรพระพุทธศาสนาในดินแดนตางๆ 2. วิเคราะหความสําคัญของพระพุทธศาสนา 3. บอกประโยชนทไี่ ดรบั จากการนับถือ พระพุทธศาสนา 4. นําความรูที่ไดรับจากพระพุทธศาสนาไปใชในชีวิตประจําวัน

ประวัตแิ ละ

ความสําคัญของ พระพุทธศาสนา

กระตุนความสนใจ นักเรียนดูภาพหนาหนวย แลว ชวยกันวิเคราะหพุทธศิลปของ พระพุทธรูป ( แนวตอบ เป น พระพุ ท ธรู ป ศิ ล ปะ ทิเบตของนิกายมหายาน ซึ่งนับถือ มากในทิเบต จีน ญีป่ นุ เกาหลี ลักษณะ ทางพุทธศิลปรูปหนาจะแบน)

ตัวชี้วัด ●

อธิบายการเผยแผพระพุทธศาสนาหรือศาสนา ทีต่ นนับถือ (ส ๑.๑ ม.๓/๑) วิเคราะหความสําคัญของพระพุทธศาสนาหรือ ศาสนาที่ตนนับถือในฐานะที่ชวยสรางสรรค อารยธรรมและความสงบสุขแกโลก (ส ๑.๑ ม.๓/๒)

สาระการเรียนรูแกนกลาง ●

การเผยแผพระพุทธศาสนาเขาสปู ระเทศตางๆ ทั่วโลก และการนับถือพระพุทธศาสนาของ ประเทศเหลานั้นในปจจุบัน ความสําคัญของพระพุทธศาสนาในฐานะที่ ชวยสรางสรรคอารยธรรมและความสงบสุขให แกโลก

เกร็ดแนะครู ¹ÑºµÑé§áµ‹ÊÁѾط¸¡ÒÅ ¾Ãоط¸ÈÒʹÒä´Œà¼ÂἋ¨Ò¡ ªÁ¾Ù·ÇÕ»ä»ÊÙ´‹ ¹Ô á´¹µ‹Ò§æ â´ÂËÅÑ¡¸ÃÃÁ¤íÒÊ͹¢Í§¾Ãоط¸ÈÒʹÒä´ŒÃºÑ ¡ÒÃÂÍÁÃѺNjÒ໚¹ËÅÑ¡ÊÒ¡Å äÁ‹áº‹§á¡àª×Íé ªÒµÔ ÊÕ ¼Ô Ç ¶Œ Ò ª¹ã´ÁÕ ¤ ÇÒÁàª×è Í ÁÑè ¹ ÈÃÑ · ¸ÒáÅл¯Ô ºÑ µÔ µ ÒÁËÅÑ ¡ ¤íÒÊ͹áŌǡçÂÍ‹ Á¨ÐࢌҶ֧¤ÇÒÁÊØ¢·Õáè ·Œ¨ÃÔ§¢Í§ªÕÇµÔ ä´Œàª‹¹¡Ñ¹ ËÅÑ¡¸ÃÃÁ¤íÒÊ͹¢Í§¾Ãоط¸ÈÒÊ¹Ò ¹Í¡¨Ò¡Ê͹์¹ àÃ×èͧ¡ÒþѲ¹Òµ¹áÅŒÇ ÂѧÊ͹ãËŒÃÙŒ¨Ñ¡¡ÒÃÊÌҧ»ÃÐ⪹ ÊØ¢ ãˌᡋ¼ÍŒÙ ¹×è ¢³Ðà´ÕÂǡѹ¡ç处 ÁÕÊÇ‹ ¹ª‹ÇÂÊÌҧÊÃä ÍÒøÃÃÁ áÅÐÊÌҧ¤ÇÒÁÊØ¢ãˌᡋâÅ¡ÍÕ¡´ŒÇÂ

ครูควรจัดการเรียนรูโ ดยใหนกั เรียน ศึ ก ษาการเผยแผ พ ระพุ ท ธศาสนา ไปยั ง ดิ น แดนต า งๆ ให เ ข า ใจและ วิเคราะหความสําคัญของพระพุทธศาสนา โดยการ • ตั้งประเด็นการอภิปราย • ศึ ก ษาสถานการณ ก ารนั บ ถื อ พระพุทธศาสนาในประเทศตางๆ ใน ปจจุบันจากสื่อตางๆ เชน สืบคนจาก อินเทอรเน็ต ขาวจากหนังสือพิมพ

คูมือครู

1


กระตุน ความสนใจ สํารวจคนหา Engage

Explore

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

(หนาพิมพและตัวอักษรในกรอบนี้มีขนาดเล็กกวาฉบับนักเรียน 20%)

กระตุนความสนใจ 1. ครูตั้งประเด็นคําถามใหนักเรียน รวมกันแสดงความคิดเห็น • พระพุทธศาสนามีความเกีย่ วของ กับประเทศอินเดียอยางไร (แนวตอบ พระพุทธศาสนาถือ กําเนิดในชมพูทวีป คือ ดินแดน ประเทศอินเดีย เห็นไดจากการ มีสังเวชนียสถานปรากฏเปน หลักฐานหลายแหง) • นักเรียนนับถือพระพุทธศาสนา ดวยเหตุใด (แนวตอบ นักเรียนสามารถแสดง ความคิดเห็นไดหลากหลาย เชน นั บ ถื อ ตามบรรพบุ รุ ษ และด ว ย ความศรัทธาในหลักธรรมคําสอน)

ñ. á¹Ç·Ò§¡ÒÃà¼ÂἋ¾Ãоط¸ÈÒÊ¹Ò ภายหลังจากที่พระพุทธเจาตรัสรูแลว ทรงพิจารณาเห็นวา ธรรมทีพ่ ระองคตรัสรูน ลี้ กึ ซึง้ และประณีต ยากทีบ่ คุ คลซึง่ ยังหมกมุน อยูใ นกิเลสจะรูเ ห็นตามได แตดว ยพระกรุณาคุณทีม่ ตี อ ชาวโลก และดวยเชือ่ มัน่ พระทัยวามนุษยมศี กั ยภาพในการพัฒนาตนเอง จึงทรงตัดสินพระทัยประกาศหลักคําสอนของพระองคตั้งแตนั้น เปนตนมา การเผยแผพระพุทธศาสนาในครั้งสมัยพุทธกาล ศูนยกลาง การเผยแผขึ้นอยูกับพระพุทธเจา แมภายหลังพระองคจะเสด็จ ดับขันธปรินิพพานแลว แตเหลาพระสาวกยังไดสืบสาน พุทธปณิธานการเผยแผพระพุทธศาสนาสืบตอกันมา โดยมี สถาบันพระมหากษัตริยทรงอุปถัมภทํานุบํารุง และสงเสริม การเผยแผพระพุทธศาสนาใหแผขยายไปในดินแดนตางๆ ของ ชมพูทวีปและดินแดนใกลเคียง จนเจริญรุง เรืองสืบตอกันมาจนถึง ปจจุบัน

สํารวจคนหา 1. ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับ ประวัติและความสําคัญของการ เผยแผพระพุทธศาสนา บทบาท ของพระมหากษัตริยกับการเผยแผ พระพุทธศาสนาในสมัยพระเจา อโศกมหาราช เชน ทรงสง พระธรรมทูต 9 สาย ไปเผยแผ พระพุทธศาสนา 2. ใหนักเรียนสืบคนเรื่อง แนวทาง การเผยแผพระพุทธศาสนา

๑.๑ แนวทางการเผยแผพระพุทธศาสนาในสมัยโบราณ ๑) การเผยแผดว ยการแสดงธรรมหรือการเทศน เปนการแสดงหลักธรรมคําสอน

โดยอาศัยพระสงฆหรือผูรูเปนผูบอก ชี้แนะ และสั่งสอนหลักธรรม การเผยแผพระพุทธศาสนา โดยวิธีการนี้ ผูเผยแผจะตองมีความรู ความเขาใจในหลักธรรมคําสอนเปนอยางดียิ่ง การเทศน หรือการแสดงธรรมเปนรูปแบบการเผยแผธรรมที่ใชไดผลดีมาทุกยุคสมัย เพราะสามารถเขา ถึงกลุมผูฟงไดตามเปาหมาย ทั้งกลุมเปาหมายเฉพาะบุคคล กลุมยอย หรือกลุมใหญที่มีผูฟง เปนจํานวนมาก การเผยแผดวยการเทศนนี้รวมถึงการปาฐกถาการอภิปรายและการสนทนาธรรม ๒) การเผยแผดวยการศึกษาและการปฏิบัติธรรม ในยุคแรกของการศึกษา พระพุทธศาสนา เปนการศึกษาแบบมุขปาฐะ คือ การจดจําและถายทอดกันโดยอาศัยการบอก และการทองจําสืบทอดกันมา และมีพระสงฆเปนแบบอยางของการปฏิบัติ เนื่องจากการถายทอด ดวยวิธีการทองจําอาจทําใหเกิดความเขาใจผิดและคลาดเคลือ่ นได ตอมาราว พ.ศ. ๔๓๓ จึงได มีการจดจารจารึกพระพุทธวจนะเปนลายลักษณอักษรขึ้น เพื่อใหการศึกษาปฏิบัติเปนไปไดอยาง ถูกตองตามที่พระพุทธเจาทรงสอน

นักเรียนควรรู เสาหิน คือ เสาหินพระเจา อโศกมหาราช หรือเสาอโศก เปน เสาหินทราย บนหัวเสาแกะสลัก รูปหัวสิงห สรางเพื่อถวายเปน พุทธบูชาแดพระสัมมาสัมพุทธเจา และเพื่อระบุสถานที่ตั้งของสถานที่ สําคัญทางพระพุทธศาสนาในสมัย พระเจาอโศกมหาราช

2

คูมือครู

พระเจาอโศกมหาราชทรงโปรดฯ ใหสรางเสาหิน และบนหัว เสาแกะสลักเปนรูปสิงห ในดินแดนชมพูทวีปที่ พระพุทธศาสนาได เผยแผไปถึง

นักเรียนควรรู พุทธปณิธาน ความตั้งพระทัย ของพระพุทธเจาในการเผยแผ หลักธรรมแกพุทธบริษัท 4 ไดแก ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

อธิบายความรู ครูและนักเรียนสนทนาถึงแนวทาง การเผยแผพระพุทธศาสนาในสมัย โบราณ ครูอธิบายเพิ่มเติมขอมูล พระธรรมทูต 9 สาย ในสมัยพระเจา อโศกมหาราช

๓) สถาบันพระมหากษัตริยเ ปนศูนยกลางการเผยแผ ในยุคแรกของการเผยแผ

พระพุทธศาสนาจะเจาะจงกลุมเปาหมายหลัก คือ กลุมผูนําทางสังคม ไดแก พระมหากษัตริย นักปกครอง และนักคิดปญญาชน เพราะกลุมคนเหลานี้ถือเปนศูนยกลางความเชื่อและความหวัง ของประชาชน โดยเฉพาะอยางยิ่งพระมหากษัตริย หากพระมหากษัตริยพระองคใดทรงเลื่อมใส และยอมรับนับถือศาสนาใดแลว ประชาชนในปกครองยอมเชือ่ และนับถือตาม เมือ่ พระมหากษัตริย พระองคใดทรงมีพระราชศรัทธาเลื่อมใสในพระพุทธศาสนา ถือเปนพระราชภาระในการบํารุง พระพุทธศาสนา ก็เปนเหตุใหเหลาขาราชการและประชาชนในปกครองเอาเปนแบบอยางในการ ปฏิบัติ ราชสํานักจึงถือเปนศูนยกลางการเผยแผพระพุทธศาสนาในสมัยโบราณ ดังนั้น จะเห็นไดวาสถาบันพระมหากษัตริยจึงเปนสถาบันหลักที่สะทอนถึงความเจริญ ความเสือ่ มของพระพุทธศาสนาไดเปนอยางดี ดังเชนในปลายพุทธศตวรรษที่ ๓ พระเจาอโศกมหาราช ทรงมีพระราชศรัทธาเลือ่ มใสทํานุบาํ รุงพระพุทธศาสนา ทรงสงพระธรรมทูต ๙ สาย ออกไปเผยแผ พระพุทธศาสนาในแควนตางๆ ของชมพูทวีปและดินแดนใกลเคียง เชน ศรีลังกา เนปาล อัฟกานิสถาน อิหราน และประเทศตางๆ ในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต รวมทั้งในยุคตอๆ มาที่ พระพุทธศาสนาไดแผขยายเขาในในทิเบตและจีน ก็ลว นเปนผลมาจากสถาบันพระมหากษัตริยท รง ใหความอุปถัมภทํานุบํารุงเปนอยางดียิ่งนั่นเอง หลังจากที่หลายประเทศไดยอมรับนับถือพระพุทธศาสนาแลว ตอมาบางประเทศ ก็ไดกลายมาเปนศูนยกลางการเผยแผพระพุทธศาสนาไปยังประเทศใกลเคียง เชน จีน เผยแผ พระพุทธศาสนาไปสูเกาหลีและญี่ปุน หรือศรีลังกาเปนศูนยกลางการเผยแผพระพุทธศาสนา เขาสูประเทศพมาและไทย เปนตน

เกร็ดแนะครู

๑.๒ แนวทางการเผยแผพระพุทธศาสนาในสมัยปจจุบัน ปจจุบันเปนยุคสมัยของความเปลี่ยนแปลงภายใตกระแสโลกาภิวัตน โลกเปลี่ยนไปภายใต ความเจริญกาวหนาของวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีเปนแรงขับเคลื่อน สงผลทําใหเกิดโลก ไรพรมแดนที่สามารถเชื่อมโยงขอมูลเขาถึงกันเปนสังคมแหงขอมูลขาวสารและเครือขาย สังคมออนไลน (social network) ในรูปแบบตางๆ มนุษยซึ่งมีวิถีการดํารงชีวิตในสังคมขอมูล ขาวสาร ยอมมีความแตกตางจากสังคมในอดีต การจะนําหลักพระพุทธศาสนาเขามาเปนสวนหนึง่ ในวิถีชีวิตของคนในสังคม ยอมหลีกไมพนจะตองใชเทคโนโลยีเขามาเปนเครื่องมือในการเผยแผ พระพุทธศาสนา โดยหากนับระยะเวลาตัง้ แตชว งพุทธศตวรรษที่ ๒๕ เปนตนมา เราอาจสรุปแนวทาง การเผยแผพระพุทธศาสนาในยุคปจจุบันได ดังนี้ ๓

ครูเพิ่มเติมขอมูลพระธรรมทูต 9 สาย ไดแก สายที่ 1 มีพระมัชฌัชติกเถระเปน หัวหนา ไปแควนกัษมิระ คือ รัฐแคชเมียร อินเดียปจจุบัน สายที่ 2 มีพระมหาเทวเถระเปน หัวหนาไปแควนมหิสมณฑล คือ รัฐไมเซอร ทางตอนใตของประเทศ อินเดีย สายที่ 3 มีพระรักขิตเถระเปนหัวหนา ไปวนวาสีประเทศ ดินแดนทางตะวันตกเฉียงใตของประเทศอินเดีย สายที่ 4 มีพระธรรมรักขิตเถระหรือ พระโยนก ซึง่ เปนหัวหนาชาวตะวันตก คนแรกเชื้อชาติกรีกที่เขามาบวชใน พระพุทธศาสนา ไปอปรันตกชนบท เมืองมุมไบในปจจุบัน สายที่ 5 พระมหาธรรมรักขิตเถระ ไปแควนมหาราษฎร รัฐมหาราษฎร ของประเทศอินเดีย สายที่ 6 พระมหารักขิตเถระ ไปแถบ เอเชียกลาง ปจจุบันไดแก ประเทศ อิหรานและตุรกี สายที่ 7 พระมัชฌิมเถระ พรอมดวย คณะ ไปแถบเทือกเขาหิมาลัย ปจจุบนั คือ ประเทศเนปาล สายที่ 8 พระโสณเถระและพระ อุตตรเถระ ไปแถบดินแดนสุวรรณภูมิ ปจจุบันไดแก ไทย กัมพูชา พมา ลาว สายที่ 9 พระมหินทเถระ โอรสพระเจา อโศกมหาราช พรอมดวยคณะ ไปแถบลังกาทวีป ปจจุบนั คือ ประเทศ ศรีลังกา คูมือครู

3


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

(ยอจากฉบับนักเรียน 20%)

อธิบายความรู 1. ครูอธิบายความรูเกี่ยวกับนิกายใน พระพุทธศาสนา เพื่อใหนักเรียนมี พื้นความรูเกี่ยวกับนิกายตางๆ 2. ครูนาํ ขาวหรือบทความหรือรวบรวม จากเว็บไซตเกี่ยวกับการเผยแผ พระพุทธศาสนาในปจจุบันของ พระธรรมทูตหรือของมหาเถรสมาคมแหงประเทศไทย มาเลา ใหนักเรียนฟง 3. นักเรียนนําเสนอผลการสืบคน ขอมูลแนวทางการเผยแผ พระพุทธศาสนาในปจจุบัน (แนวตอบ ไดแก การเผยแผดวย การแสดงธรรม การแสดง ปาฐกถาธรรม การเผยแผผา นองคกร ทางพระพุทธศาสนา การเผยแผ ดวยการปฏิบัติธรรม การเผยแผ ผานสื่อเทคโนโลยี)

๑) การเผยแผดวยการแสดงธรรมหรือการเทศน การแสดงธรรมดวยการเทศน ถือเปนรูปแบบการเผยแผพระพุทธศาสนาที่เปนลักษณะเฉพาะและเปนธรรมเนียมปฏิบัติใน พระพุทธศาสนา และใชกนั มาทุกยุคสมัยแมในปจจุบนั โดยเฉพาะอยางยิง่ การแสดงปาฐกถาธรรม เปนวิธีการเผยแผพระพุทธศาสนาที่นิยมกันแพรหลายในปจจุบัน ๒) การเผยแผพระพุทธศาสนาผานองคกรทางพระพุทธศาสนา พระพุทธศาสนา มีถิ่นกําเนิดในประเทศอินเดีย มีความเจริญรุงเรืองและมีศูนยกลางอยูในทวีปเอเชีย ชวงพุทธศตวรรษที่ ๒๕ เปนตนมา พุทธศาสนิกชนชาวเอเชีย เชน จีน ทิเบต ญี่ปุน ไดมีการอพยพ โยกยายถิน่ ฐานไปทํามาหากินในทวีปยุโรปและทวีปอเมริกา ไดนาํ เอาพระพุทธศาสนาเขาไปเผยแผ ในดินแดนเหลานั้นดวย จึงกลาวไดวา การเผยแผพระพุทธศาสนาในชวงนั้นเปนการเผยแผตาม วิถชี วี ติ ของพุทธศาสนิกชนทีม่ กี ารอพยพถิน่ ฐานและนําพระพุทธศาสนาไปปฏิบตั ใิ นชีวติ ประจําวัน จนกลายเปนแบบอยางใหคนในถิ่นนั้นเกิดศรัทธาเลื่อมใสและนับถือตาม อยางไรก็ตาม เพือ่ ความเปนเอกภาพและเปนปกแผนในการปฏิบัติตามหลักคําสอน ในพระพุทธศาสนา รวมทั้งการพัฒนาการนับถือพระพุทธศาสนาใหมีการมุงเนนคุณคาในหลัก คํ า สอน มี ก ารศึ ก ษาและวิ เ คราะห ห ลั ก ธรรมอย า งเป น ระบบ จึ ง ได มี ก ารรวมกลุ  ม กั น เป น องคกรทางพระพุทธศาสนาในรูปแบบตาง ๆ ทั้งระดับชาติและนานาชาติ ไดแก ๒.๑) วั ด หรื อ พุ ท ธศาสนสถาน เป น ศู น ย ร วมการศึ ก ษาและการปฏิ บั ติ ต าม หลักคําสอนในพระพุทธศาสนา วัดจึงเปนศูนยกลางทางพระพุทธศาสนาของพุทธศาสนิกชน และผูส นใจศึกษาพระพุทธศาสนาทัว่ ไป ปจจุบนั มีวดั ในพระพุทธศาสนาทัง้ นิกายเถรวาท มหายาน และพระพุทธศาสนานิกายอื่นไดรับการกอตั้งขึ้นในประเทศตางๆ เปนจํานวนมาก ๒.๒) สมาคม มูลนิธิ และชมรมทางพระพุทธศาสนา เพื่อดําเนินกิจกรรมทาง พระพุทธศาสนา องคกรทางพระพุทธศาสนาทีม่ คี วามสําคัญตอการฟน ฟูและเผยแผพระพุทธศาสนา ในระดับนานาชาติ เชน สมาคมมหาโพธิ์ในประเทศอินเดีย องคการพุทธศาสนิกสัมพันธแหงโลก สมาคมบาลีปกรณในประเทศอังกฤษ เปนตน ซึ่งเกิดขึ้นโดยอาศัยแรงศรัทธาและความเสียสละ ของพุทธศาสนิกชนในประเทศนั้นๆ รวมกันกอตั้งขึ้น องคกรทางพระพุทธศาสนาเหลานี้ นอกจาก เปนศูนยรวมการแลกเปลี่ยนเรียนรูและปฏิบัติธรรมทางพระพุทธศาสนาแลว ยังทําหนาที่ดาน สังคมสงเคราะหปจจัยสี่ ชวยเหลือประชาชนโดยไมแบงแยกศาสนาในวาระและโอกาสตางๆ ทั้งในยามปกติและในยามเกิดภัยพิบัติ ๒.๓) สถาบันเฉพาะทางพระพุทธศาสนา เพื่อทําการศึกษาและวิจัยวิชาการทาง พระพุทธศาสนา ปจจุบันมีการกอตั้งสถาบันหรือหนวยการศึกษาเฉพาะทางพระพุทธศาสนาขึ้น หลายแหง เชน มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยและมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ในประเทศไทย ศูนยพุทธศาสนศึกษาในมหาวิทยาลัยออกซฟอรดในประเทศอังกฤษ เปนตน

เกร็ดแนะครู ครูเสริมเนื​ื้อหาเรื่องนิกายใน พระพุทธศาสนาซึ่งในปจจุบัน ไดแก นิกายเถรวาท ยึดถือหลักคําสอน ดั้งเดิมตามพระพุทธเจา แพรหลาย ในประเทศไทย ศรีลังกา พมา ลาว กัมพูชา เวียดนาม เปนตน นิ ก ายมหายาน ปรั บ เปลี่ ย นการ ปฏิ บั ติ ต นตามยุ ค สมั ย มี ต  น เค า มา จากทานโพธิธรรม (ปรมาจารยตกั๊ มอ) แพรหลายในประเทศจีน ญี่ปุน ภูฏาน ไตหวัน สิงคโปร เกาหลีใต เปนตน นิกายมหายานพิเศษ คือ นิกาย วัชรยาน เปนกลุมที่ไมยอมรับวาตน คือมหายาน มีตนเคามาจากทาน คุรุปทสัมภวะ แพรหลายในอินเดีย เนปาล ภูฏาน มองโกเลีย เปนตน

นักเรียนควรรู

4

คูมือครู

องคกรทางพระพุทธศาสนา เชน สมาคมมหาโพธิ์ในประเทศอินเดีย กอตั้งโดยทานอนาคาริก ธรรมปาละ ผูเรียกรองพุทธสถานในอินเดียกลับคืนมาเปนของชาวพุทธ องคการพุทธศาสนิก สัมพันธแหงโลก หรือ พ.ส.ล. เปนการรวมกลุมของประเทศ ซึ่งมีประชากรนับถือพระพุทธศาสนา เพื่อสงเสริมกิจกรรมทางศาสนา


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

อธิบายความรู 1. ครูอธิบายถึงคุณลักษณะของการ เผยแผพระพุทธศาสนาและถาม คําถามวา • ในฐานะที่นักเรียนเปนชาวพุทธ สามารถเผยแผพระพุทธศาสนา ไดโดยวิธีใดจึงเหมาะสมที่สุด (แนวตอบ เผยแผดวยการปฏิบัติ ธรรมดวยตนเองตามแนวทาง พระพุทธศาสนา) • การเผยแผพระพุทธศาสนาใน สมัยพุทธกาลกับสมัยปจจุบัน แตกตางกันอยางไร (แนวตอบ ในสมัยพุทธกาลเผยแผ โดยพระสงฆและบุคคลตางๆ แตในปจจุบันเผยแผผานสื่อ ออนไลนอยางอินเทอรเน็ต ทําให เผยแผกับคนหมูมากไดรวดเร็ว

๓) การเผยแผพระพุทธศาสนาดวยการปฏิบตั ธิ รรม หลักการสําคัญประการหนึง่ ของพระพุทธศาสนา คือ การบรรลุผลหรือเปาหมายจากการปฏิบัติดวยตนเอง พระพุทธเจา พระสงฆ หรือผูแ สดงธรรมเปนเพียงกัลยาณมิตร ที่คอยบอกธรรมและแนะนําสิ่งที่ถูกตองดีงาม บุคคลจะประสบความสําเร็จจากการลงมือปฏิบตั ิ ดวยตนเอง วัดและองคกรทางพระพุทธศาสนา เปนสื่อกลางและศูนยรวมใหพุทธศาสนิกชนได ปฏิบตั ธิ รรมตามหลักคําสอนที่ไดศึกษา ปจจุบัน การปฏิบัติธรรมตามแนวทางพระพุทธศาสนา ถือไดวาเปนที่นิยมและศรัทธาเลื่อมใสของคน ทั่วไปเปนอยางมาก โดยเฉพาะอยางยิ่งสําหรับ ชาวตะวันตก เพราะถือเปนรูปแบบการฝกพัฒนา ตนเองโดยเริ่มตนจากการพัฒนาจิตเปนสําคัญ

๔) การเผยแผพระพุทธศาสนา ผานสื่อเทคโนโลยี อิทธิพลจากความเจริญ

สือ่ มากมายในปจจุบนั ทัง้ หนังสือ วีซดี ี อินเทอรเน็ต ชวยใน

ก า วหน า ทางด า นเทคโนโลยี แ ละการสื่ อ สาร การเผยแผพระพุทธศาสนาไดกวางไกลและสะดวกมากขึน้ สงผลใหการเผยแผพระพุทธศาสนาในปจจุบัน ไดอาศัยเทคโนโลยีและการสื่อสารมาเปนเครื่องมือการเผยแผหลักธรรม ผานสื่อในรูปแบบตางๆ ไดแก สื่อสิ่งพิมพประเภทตางๆ สื่ออิเล็กทรอนิกส อินเทอรเน็ต สื่อสังคมออนไลน และสื่อผสมที่ เรียกวา “มัลติมีเดีย” (multimedia) ตางมีบทบาทสําคัญตอการเผยแผพระพุทธศาสนาในปจจุบัน เชน การทีพ่ ระสงฆผมู ชี อื่ เสียงเขียนเรียบเรียงหนังสือธรรมะทีม่ เี นือ้ หาอานเขาใจไดงา ย สนุกสนาน และใหแงคิดคติสอนใจที่ดี การบรรจุประวัติความเปนมาของพระพุทธศาสนาลงในอินเทอรเน็ต ซึ่งคนทั่วไปสามารถเขาไปศึกษาคนควาไดอยางสะดวก เปนตน

ò. ¡ÒÃà¼ÂἋáÅСÒùѺ¶×;Ãоط¸ÈÒʹÒã¹»ÃÐà·Èµ‹Ò§æ ·ÑÇè âÅ¡

พระพุทธศาสนาไดเจริญรุง เรืองในชมพูทวีปมาโดยลําดับ จนเมือ่ ถึงพุทธศตวรรษที่ ๓ ในรัชสมัย พระเจาอโศกมหาราช ภายหลังการทําสังคายนาครั้งที่ ๓ พระองคไดสงสมณทูต ๙ สาย ออกไป เผยแผพระพุทธศาสนายังนานาประเทศ โดยเฉพาะอยางยิ่งในดินแดนใกลเคียงกับชมพูทวีป จากจุดเริ่มตนนี้เองทําใหพระพุทธศาสนาไดแผขยายไปทั่วทุกภูมิภาคของโลก ทั้งในทวีปเอเชีย ทวีปยุโรป ทวีปออสเตรเลีย และทวีปอเมริกา และเจริญแพรหลายมาจนถึงทุกวันนี้ ดวยอาศัยเหลา พุทธสาวกไดสืบสานพุทธปณิธานในการสรางสันติสุขใหแกประชาคม นําหลักพระพุทธศาสนาไป เสริมสรางความสงบสุข และสรางสรรคจรรโลงอารยธรรมอันดีงามใหแกชาวโลกตลอดมา

NET ขอสอบ ป 51 ขอสอบออกเกี่ยวกับประเภท ของศาสนาวา ศาสนาในขอใดเปน ศาสนาประเภทเอกเทวนิยม 1. พุทธ - พราหมณ 2. อิสลาม - พุทธ 3. สิข - คริสต 4. คริสต - อิสลาม (วิเคราะหคําตอบ ศาสนาประเภท เอกเทวนิยม เปนศาสนาที่เชื่อวา มีพระเจาสูงสุดเพียงพระองคเดียว เชน ศาสนาคริสต ยูดาย ที่มีพระ ยาหเวหเปนพระเจาสูงสุด และอิสลาม มีพระอัลลอฮ เปนพระเจาสูงสุดเพียง พระองคเดียว)

@

นักเรียนควรรู สังคายนาครั้งที่ 3 พระเจาอโศกมหาราชเปนองคอปุ ถัมภ กระทําทีอ่ โศการาม กรุงปาตลีบุตร ชมพูทวีป มูลเหตุเกิดจากพวกนักบวชในศาสนาอืน่ ปลอมมาบวชในพระพุทธศาสนา ดวยเห็นแก ลาภสักการะ และเพื่อบอนทําลายพระพุทธศาสนา ผลการสังคายนาครั้งนี้ ไดกาํ จัดนักบวชปลอม ใหออกจากพระพุทธศาสนาและยังไดสอบทานพระธรรมวินยั ใหถกู ตอง

มุม IT

ศึกษาคนควาขอมูลเพิ่มเติม เกี่ยวกับแนวทางการเผยแผศาสนา ไดที่ http://www.dhammathai.org/thailand/ missionary/index.php คูมือครู

5


กระตุน ความสนใจ สํารวจคนหา Engage

Explore

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

(ยอจากฉบับนักเรียน 20%)

กระตุนความสนใจ

๓) การเผยแผพระพุทธศาสนาดวยการปฏิบตั ธิ รรม หลักการสําคัญ

ครูใหนกั เรียนดูภาพพระพุทธเมตตา พุทธคยา ใหนกั เรียนบอกพุทธลักษณะ (แนวตอบ เปนพระพุทธรูปปางมารวิชัย ปดทองเหลืองอราม) • ทําไมจึงเรียกวา พระพุทธเมตตา (แนวตอบ เพราะพระพักตรเปยม ไปด ว ยความอ อ นโยน เมตตา กรุณา)

ของพระพุทธศาสนา คือ การบรรลุผลหรือเปาหมายจากการปฏิบัติดวยตนเอง พ พระสงฆ หรือผูแ สดงธรรมเปนเพียงกัลยาณมิตร พระพุทธศาสนาถือกําเนิดในดินแดนชมพูทวีปหรือประเทศอินเดียปจจุบัน เจริญรุงเรืองใน ่งที่ถูกตาองๆงดีในทวี งามปเอเชีย และไปเจริญรุง เรือง อินเดียในสมัทีย่คพุทอยบอกธรรมและแนะนํ ธกาล ภายหลังไดแผขยายไปยัาสิงประเทศต บุคคลจะประสบความสํ าเร็จจากการลงมื ตั ิ ไทยเปนศูนยกลางการ มั่นคงในประเทศศรี ลังกาและกลุมประเทศเอเชี ยตะวันออกเฉีอยปฏิ งใตบโดยมี ยตนเองพระพุวัดทและองค ทธศาสนา ศึกษาเรียนรูดแวละเผยแผ ธศาสนา กจุดรทางพระพุ เริ่มตนการเผยแผ พระพุทธศาสนาในทวีปเอเชียที่มี หลักฐานปรากฏอย ดเจนเกิดขึน้ นในพุ ธศตวรรษที ่ ๓ ภายหลั งจากการทําสังคายนาครัง้ ที่ ๓ เปนสื่อางชักลางและศู ยรทวมให พุทธศาสนิ กชนได พระเจาอโศกมหาราชได สงสมณทูตไปเผยแผ พระพุ่ไดทธศาสนาในดิ ปฏิบตั ธิ รรมตามหลั กคําสอนที ศึกษา ปจจุนบแดนต ัน าง ๆ เมื่อพระพุ ทธศาสนาเข าไปเจริญรุงเรืองในประเทศตทาธศาสนา งๆ แลว ไดถูกหลอหลอมและผสม การปฏิ บัติธรรมตามแนวทางพระพุ กลมกลืนเขากับวัฒนธรรมและวิถีชีวิตของประชาชนในถิ่นนั้นๆ ทําใหเกิดรูปแบบการนับถือ ถือไดวาเปนที่นิยมและศรัทธาเลื่อมใสของคน พระพุทธศาสนาที่แตกตางกันออกไป ซึ่งสามารถแยกรายละเอียดเปนประเทศตางๆ ได ดังนี้ ทั๑)่วไปเป นอยนาเดีงมาก างยิภ่งมูสํิ าพระพุ หรับทธเจาผูเ ปนองคศาสดาของ ประเทศอิ ย เปนโดยเฉพาะอย ดินแดนแหงพุทธมาตุ ชาวตะวัจนอุตก รูปแบบการฝ นา ทธศาสนาและประกาศ พระพุทธศาสนาเสด็ บัติขเพราะถื ึ้นในที่แหองเปนี้ นพระองค ไดทรงกกอพัตัฒ้งพระพุ ตนเองโดยเริ ่มตนนเดีจากการพั นสําคัญญรุง เรืองและยังประโยชนสขุ หลักคําสอนแก ประชาชนชาวอิ ยเปนเบือ้ งตฒ น นาจิ พระพุตทเป ธศาสนาเจริ ๒.๑ การเผยแผและการนับถือพระพุทธศาสนาในทวีปเอเชีย

สํารวจคนหา 1. แบงนักเรียนออกเปน 4 กลุม เพื่อ สืบคนขอมูลการเผยแผพระพุทธศาสนาในดินแดนตางๆ และจัดทํา เปน PowerPoint หรือผังความคิด เพื่อนําเสนอผลงาน ดังนี้ กลุม 1 เรื่อง การเผยแผและการ นับถือพระพุทธศาสนาในทวีปเอเชีย กลุม 2 เรื่อง การเผยแผและการ นับถือพระพุทธศาสนาในทวีปยุโรป กลุม 3 เรื่อง การเผยแผและ การนับถือพระพุทธศาสนาในทวีป อเมริกาเหนือ และอเมริกาใต กลุม 4 เรื่องการเผยแผและ การนับถือพระพุทธศาสนาในทวีป ออสเตรเลีย และทวีปแอฟริกา ใหนักเรียนสงตัวแทนนําเสนอหนา ชั้นเรียน 2. ครูต้งประเด็นในการสืบคน - มีรูปแบบการเผยแผพระพุทธศาสนาอยางไร - สงผลตอชีวิตความเปนอยูของ คนในสังคมอยางไร - ปจจุบันสถานการณการนับถือ พระพุทธศาสนาในแตละทวีป เปนอยางไร

นักเรียนควรรู ดินแดนแหงพุทธมาตุภูมิ คือ ดินแดนที่ ถือเปนจุดกําเนิดของพระพุทธศาสนา ซึ่ง ไดแก ประเทศอินเดียในปจจุบัน

6

คูมือครู

แกประชาชนชาวอินเดียเรื่อ๔) ยมาการเผยแผ จนถึงประมาณพุ ทธศตวรรษที ่ ๑๗ รองรอยการเสื่อมถอยของ พระพุ ทธศาสนา พระพุทธศาสนาในอิ ยก็ไดปรากฏขึ้น อิทธิพลจากความเจริญ ผานสืน่อเดีเทคโนโลยี สือ่ คมากมายในป จุบนั ทัง้ หนังสือ วีซดี ี อินเท อยางไรก็ตามในยุ การกอบกูอ สิ จรภาพ ก า วหน า ทางด า นเทคโนโลยีของอิ แ ละการสื ่ อ สาร การเผยแผ พระพุทธศาสนาไดกวางไกลและ นเดีย พระพุทธศาสนาได กลับมาเจริ ญขึ้น สงผลใหการเผยแผพระพุทธศาสนาในป จ จุ บ ั น อีกครัง้ โดยมีบคุ คลหลายทานทีเ่ ห็นคุณคาของ ไดอาศัยเทคโนโลยีและการสื่อสารมาเป นเครืเช่อนงมือการเผยแผหลักธรรม ผานสื่อใน พระพุทธศาสนา ไดแก สื่อสิ่งพิมพประเภทตางๆ สื่ออิเล็กเซอร ทรอนิอเล็กสกซานเดอร อินเทอรคัเน็นนิตงแฮม สื่อสังคมออนไลน แ ชาวอังกฤษ ในยุบคทบาทสํ ทีอ่ งั กฤษปกครองอิ เดีย ทาน พระพุทธศาส เรียกวา “มัลติมีเดีย” (multimedia) ตางมี าคัญตอนการเผยแผ นู าํ ใหยมบเรี กี ารสํยงหนั ารวจโบราณสถาน ถุ านเขาใจไดงา เชน การทีพ่ ระสงฆผมู ชี อื่ เสียงเขีเปนยผนเรี งสือธรรมะทีโบราณวั ม่ เี นือ้ ตหาอ และศิลปกรรมตางๆ ทางพระพุทธศาสนา นับไดวา และใหแงคิดคติสอนใจที่ดี การบรรจุ ประวัติความเปนมาของพระพุทธศาสนาลงใน ทานเปนผูบุกเบิกการขุดคนโบราณสถานทาง ซึ่งคนทั่วไปสามารถเขาไปศึกษาค าไดอยานงสะดวก เปนโตลกน ทําให พระพุนทคว ธศาสนาในอิ เดียใหปรากฏแก ชาวอินเดียหันมาสนใจตอมรดกอันเปนผลผลิต . ¡ÒÃà¼ÂἋáÅСÒÃ¹Ñ º¶×;Ãоط¸ÈÒʹÒã¹»ÃÐà·Èµ‹Ò§æ ทางความคิดและความเพียรพยายามของคน ยเอง ทําใหทเกิวีดปกระบวนการรื ทธศาสนาได เจริงญรุง อิเรืนอเดีงในชมพู มาโดยลําดัอ้ ฟบน การเรี จนเมืยอ่ นรูถึ งพุทธศตวรรษท พระพุทธเมตตาทีม่ หาสถูพระพุ ปพุทธคยาประเทศอิ นเดีย แสดงถึ การฟนฟูพระพุทธศาสนาในมาตุภูมิใหรุงเรืองอีกครั้ง ทธศาสนาขึ ้นในหมูป้งญทีญาชนชาวอิ นเดียไดสงสมณทูต ๙ พระเจาอโศกมหาราช ภายหลังพระพุ การทํ าสังคายนาครั ่ ๓ พระองค

ò

เผยแผพระพุทธศาสนายังนานาประเทศ โดยเฉพาะอยางยิ่งในดินแดนใกลเคียง จากจุดเริ่มตนนี้เองทําใหพระพุทธศาสนาไดแผขยายไปทั่วทุกภูมิภาคของโลก ทั้งใ ทวีปยุโรป ทวีปออสเตรเลีย และทวีปอเมริกา และเจริญแพรหลายมาจนถึงทุกวันนี้ ดว พุทธสาวกไดสืบสานพุทธปณิธานในการสรางสันติสุขใหแกประชาคม นําหลักพระพุท @ มุม ITจรรโลงอารยธรรมอันดีงามใหแกชาวโลกตลอด นัเสริกเรีมสร ยนควรรู  างความสงบสุ ข และสรางสรรค

สืบคนขอมูลเกี่ยวกับพระพุทธเมตตาพุทธคยา ไดที่ มหาสถูปพุทธคยา เปน 1 ใน 4 ของ สังเวชนียสถาน พุทธคยาเปนที่ตรัสรู http://www.wordbuddhism.net/buddhaplace/ enplace-buddhametta เว็บไซตของกระทรวงวัฒนธรรม ของพระพุทธเจา


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

อธิบายความรู

าคัญประการหนึง่ อง พระพุทธเจา

1. ตัวแทนนักเรียนแตละกลุมออกมา นําเสนอผลงาน 2. วิเคราะหถึงผลกระทบจากการ เผยแผพระพุทธศาสนาในทวีปเอเชีย ที่มีตอการดํารงชีวิตของคนใน สังคม และสถานการณการนับถือ พระพุทธศาสนาในปจจุบัน (แนวตอบ - เปนการเชื่อมสัมพันธไมตรี ระหวางประเทศ - สังคมอยูอ ยางสงบ ไมเบียดเบียน ใฝสนั ติ ชาวพุทธในดินแดนตางๆ มุง ศึกษาความรู ศึกษาคัมภีรท าง พระพุทธศาสนา) 3. นักเรียนอภิปรายถึงสถานการณ การนับถือศาสนาในอินเดียปจจุบนั ครูตั้งประเด็นใหนักเรียน อภิปรายวา • ปจจุบนั ทําไมคนอินเดียสวนใหญ ไมไดนับถือพระพุทธศาสนา ทัง้ ทีเ่ ปนดินแดนถือกําเนิด พระพุทธศาสนาและเจริญรงุ เรือง และเผยแผไปยังดินแดนตางๆ • ทําไมคนไทยชอบไปทัวรธรรมะ ที่ประเทศอินเดีย เนปาล (แนวตอบ เพราะเปนดินแดนพุทธมาตุภมู ิ ไปสักการะสังเวชนียสถาน คือ ลุมพินีวัน พุทธคยา สารนาถ กุสินารา)

เซอร เอ็ดวินส อารโนลด เปนผูม บี ทบาทสําคัญในดานวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนา ทานไดเขียนงานพุทธประวัติที่ชื่อวา “ประทีปแหงเอเชีย” (The light of Asia) ทําใหเรื่องราว ของพระพุทธเจาและพระพุทธศาสนาเปนที่รูจักกันอยางแพรหลายทั่วโลก ตอมาในป พ.ศ. ๒๔๓๔ อนาคาริก ธรรมปาละ ชาวศรีลังกา ผูมีความศรัทธาอยาง สูงสงตอพระพุทธศาสนาและมีความปรารถนามุงมั่นในการเผยแผพระพุทธศาสนา ไดกอตั้ง “มหาโพธิสมาคม” ขึ้น ภายใตความรวมมือของเหลาปญญาชนชาวอินเดียและเหลากัลยาณมิตร ชาวตางชาติผมู คี วามศรัทธาและหวงใยในพระพุทธศาสนา มหาโพธิสมาคมไดกลายเปนศูนยกลาง การฟนฟูพระพุทธศาสนาในอินเดีย โดยการจัดใหมีพิธีกรรม การบรรยายธรรม ปาฐกถาธรรม รวมทัง้ การออกนิตยสารภาคภาษาอังกฤษชือ่ วา “มหาโพธิรวี วิ ” (Mahabodhi Review) เพือ่ เผยแพร กิจกรรมและแนวคิดทางพระพุทธศาสนา ในยุคหลังของการฟนฟูพระพุทธศาสนาในอินเดีย ไดมีชาวอินเดียที่มีบทบาทสําคัญ ทานหนึ่ง คือ ดร.อัมเบดการ เปนแกนนําชาวอินเดียวรรณะศูทร ประกาศปฏิญาณตนเปน พุทธมามกะ นับถือพระพุทธศาสนา รวมทั้งผูนําชาวอินเดียทานอื่นๆ แมมิใชพุทธศาสนิกชนแต ก็ใหความสําคัญตอพระพุทธศาสนา ปจจุบันจึงทําใหประชาชนชาวอินเดียประกาศตนนับถือ พระพุทธศาสนาเพิ่มมากขึ้น โดยรัฐบาลอินเดียใหการสนับสนุนงานพระพุทธศาสนา ดวยการ อินเทอรเน็ต ชวยในสงเสริมการเผยแผพระพุทธศาสนา รวมถึงสนับสนุนพุทธศาสนิกชนตางประเทศในการสรางวัด ลและสะดวกมากขึน้ พระพุทธศาสนาขึ้นในอินเดีย เพราะชาวอินเดียโดยทั่วไปตางระลึกเสมอวาพระพุทธเจาคือบุคคล ผูนําเกียรติภูมิอันสูงสงมาสูอินเดีย อในรูปแบบตางๆ ๒) ประเทศศรีลงั กา เปนดินแดนทีป่ ระชาชนศรัทธาตอพระพุทธศาสนาอยางมัน่ คง ลน และสื่อผสมทีเรื่ อยมา หลักคําสอน กิจกรรม และพิธีกรรมทางพระพุทธศาสนา ไดฝงรากลึกลงในวิถีชีวิตของ ศาสนาในปจจุบันประชาชนชาวศรีลังกาอยางแนบแนน การสืบตอพระพุทธศาสนาของศรีลังกามีความใกลชิดกับ ไดงา ย สนุกสนานไทยตลอดมา ทําใหรูปแบบการนับถือพระพุทธศาสนาของไทยและศรีลังกามีความผูกพันกัน อยางแนบแนนตลอดมา ลงในอินเทอรเน็ต พระพุทธศาสนาเริ่มเขาสูประเทศศรีลังกาตั้งแตประมาณป พ.ศ. ๒๓๖ - ๒๘๗ เมื่อครั้ง พระเจาอโศกมหาราชสงพระมหินทเถระและพระภิกษุณีสังฆมิตตาไปเผยแผพระพุทธศาสนาใน ชสมัยของพระเจาเทวานัมปยติสสะ ภายใตการอุปถัมภขององคพระมหากษัตริย µ‹Ò§æ ·ÑÇè âÅ¡ศรีทําลใหงั กาพระพุตอทมาในรั ธศาสนาเจริญอยางแพรหลาย พระองคทรงประกาศใหพระพุทธศาสนาเปนศาสนา รษที่ ๓ ในรัชสมัยประจําชาติ ซึ่งเปนเชนนี้สืบตอมาจนถึงปจจุบัน และการทําสังคายนาพระธรรมวินัยครั้งที่ ๔ ก็ได ต ๙ สาย ออกไปกระทํากันที่เมืองอนุราธปุระ ประเทศศรีลังกา

คียงกับชมพูทวีป ทั้งในทวีปเอเชีย นี้ ดวยอาศัยเหลา ระพุทธศาสนาไป ตลอดมา

๕ คูมือครู

7


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

(ยอจากฉบับนักเรียน 20%)

อธิบายความรู 1. นักเรียนดูภาพวัดในศรีลังกา แลววิเคราะหรูปแบบของ สถาปตยกรรมและเปรียบเทียบกับ วัดไทย 2. ครูถามคําถาม • ทําไมพระพุทธศาสนาจึงเจริญ รงุ เรืองในศรีลงั กามาจนถึงปจจุบนั (แนวตอบ เปนศาสนาประจําชาติ คนเคร ง ครั ด ในหลั ก ธรรมและ สืบทอดพิธีกรรมตางๆ จนเปน วิถีชีวิตของคนศรีลังกา) • อะไรเปนสิ่งที่แสดงใหเห็นวา พระพุทธศาสนามีอิทธิพลตอ วิถีการดําเนินชีวิตของคน ศรีลังกา (แนวตอบ วิถชี วี ติ ของคนเรียบงาย แสวงหาความสุข สงบ จากการ ปฏิบัติธรรม ทุกวันพระ 15 คํ่า จะเปนวันหยุดเพือ่ ใหคนไปถือศีล)

พระพุทธศาสนาเถรวาทเคยเจริญรุง เรืองสุดขีดในศรีลงั กา จนไดชอื่ วาเปนอูอ ารยธรรม ทางพระพุทธศาสนา ภายหลังจากการเสื่อมถอยของพระพุทธศาสนาในอินเดีย มีนักปราชญและ ชาวพุทธทัว่ โลกมุง เขาไปศึกษาหาความรูแ ละได นําเอาพระพุทธศาสนาแบบเถรวาทไปเผยแผใน ประเทศของตน โดยเฉพาะอยางยิ่งประเทศที่ นับถือพระพุทธศาสนาแบบเถรวาทในภูมิภาค เอเชียตะวันออกเฉียงใต เชน พมา ไทย เปนตน ไดนําเอาพระพุทธศาสนาแบบลังกาวงศเขามา ประดิษฐานในประเทศของตน อย า งไรก็ ต าม สถานการณ ข อง พระพุทธศาสนาในศรีลงั การุง เรืองและเสือ่ มถอย ลงแตกตางกันออกไปในแตละยุคสมัย โดยมีฐาน สําคัญแหงความเสื่อมและความเจริญอยูที่การ วัดธัมนัลลา ประเทศศรีลังกา แสดงใหเห็นถึงความศรัทธา อุปถัมภบาํ รุงของพระมหากษัตริยแ ละเหตุการณ ของชาวศรีลังกาที่มีตอพระพุทธศาสนาอยางลึกซึ้ง ทางการเมืองการปกครอง จึงกลาวไดวาความมั่นคงของพระพุทธศาสนาในศรีลังกาเปลี่ยนแปลงไปตามอํานาจ ทางการปกครอง โดยใน พ.ศ. ๒๒๘๒ - ๒๒๙๐ เปนชวงเวลาหนึ่งที่พระพุทธศาสนาในศรีลังกา เกิดการเสื่อมถอยสูงสุด พระเจาศรีวิชัยราชสิงหไดสงทูตมาขอพระสงฆจากไทยเพื่อไปอุปสมบท ใหกุลบุตรชาวศรีลังกา แตเกิดเรืออับปางในระหวางการเดินทาง ตอมาใน พ.ศ. ๒๒๙๖ กษัตริย ศรีลังกาโดยคําแนะนําของสามเณรสรณังกร ไดสงทูตมาขอพระสงฆจากกรุงสยามอีกครั้ง กรุงสยามในรัชสมัยของพระเจาอยูหัวบรมโกศจึงไดจัดสงคณะพระสงฆชาวไทยภายใตการนําของ พระอุบาลีมหาเถระ เดินทางไปยังศรีลังกาและใหการอุปสมบทแบบไทยแกกุลบุตรชาวศรีลังกา สามเณรรูปแรกที่ไดรับการอุปสมบท คือ สามเณรสรณังกร ซึ่งตอมาไดเปนสมเด็จพระสังฆราช แหงลังกาในนิกายสยามวงศเปนพระองคแรก ๓) ประเทศเนปาล ในอดีตเนปาลเปนดินแดนสวนหนึ่งของประเทศอินเดีย อันเปน สถานทีต่ งั้ ของสวนลุมพินวี นั สถานทีป่ ระสูตขิ องพระพุทธเจา รองรอยของพระพุทธศาสนาในอดีต ทีแ่ สดงความศรัทธาของชาวเนปาลทีม่ ตี อ พระพุทธศาสนาทีป่ รากฏใหเห็น นอกจากสวนลุมพินวี นั แลว วัดและพุทธโบราณสถานที่เจาหญิงจารุมตี พระราชธิดาของพระเจาอโศกมหาราช ทรงสราง ไวยังปรากฏเปนหลักฐานในนครกาฐมาณฑุ เมืองหลวงของประเทศเนปาลในปจจุบัน

เกร็ดแนะครู ครูควรอธิบายความรูเพิ่มเติม เกี่ยวกับพระเจาอยูหัวบรมโกศ แหง กรุงศรีอยุธยา ทรงสงพระอุบาลี มหาเถระและพระอริยมุนีเถระ และคณะอีก 12 รูป ไดเดินทางไป บรรพชาอุปสมบทใหกับกุลบุตรชาว ศรีลังกา ทําใหเกิดนิกายสยามวงศ ในศรีลังกา

8

คูมือครู

EB GUIDE http://www.aksorn.com/LC/RE/M3/01


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

อธิบายความรู 1. นักเรียนวิเคราะหสถานการณการ นับถือพระพุทธศาสนาในประเทศ เนปาลในปจจุบัน และถามคําถาม • ปจจุบนั คนเนปาลสวนใหญนบั ถือ ศาสนาใด (แนวตอบ ฮินดู รอยละ 85 พระพุทธศาสนา รอยละ 10) • เพราะเหตุใดพระพุทธศาสนาใน เนปาลจึงเสื่อมลง (แนวตอบ เพราะการเขามาของ ศาสนาฮินดู และการเปลีย่ นแปลง ผูนํา ที่มีนโยบายหามเผยแผ พระพุทธศาสนา) 2. ครูและนักเรียนรวมกันวิเคราะห สถานการณการนับถือพระพุทธศาสนาในประเทศภูฏาณปจจุบัน และถามคําถาม • อะไรเปนสิ่งที่สะทอนถึงวิถีการ ดําเนินชีวิตของคนภูฏานที่ได ดําเนินตามรอยพระพุทธองค (แนวตอบ การมีวถิ ชี วี ติ ทีเ่ รียบงาย ยึดมั่นในหลักธรรมคําสอน เครงครัดในพิธกี รรม ใชชวี ติ แบบ สมถะ ไมฟุงเฟอไปกับวัตถุนิยม ตามกระแสทุนนิยมของโลก ตะวันตก)

พระพุทธศาสนาเถรวาทไดเจริญรุง เรืองอยางมากในประเทศเนปาลในยุคแรก จากการ ที่พระเจาอโศกมหาราชทรงสงพระมัชฌิมเถระเดินทางไปเผยแผพระพุทธศาสนาในดินแดนแถบนี้ ตอมาพระพุทธศาสนาเถรวาทเสือ่ มถอยลง เนปาลไดกลายเปนศูนยกลางพระพุทธศาสนามหายาน นิกายตันตระ ซึ่งผสมผสานกับความเชื่อพื้นเมืองที่เชื่อในคาถาอาคมและไสยศาสตร ปจจุบันไดมีความพยายามฟนฟูพระพุทธศาสนานิกายเถรวาทในเนปาลอยางตอเนื่อง คณะสงฆเนปาลไดกราบทูลเชิญสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก เสด็จไปในการบรรพชาและอุปสมบทกุลบุตรชาวเนปาล รวมถึงยังไดสงพระภิกษุสามเณรและ กุลบุตรชาวเนปาลมาศึกษาพระพุทธศาสนาในประเทศไทยที่มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย และมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เมือ่ สําเร็จการศึกษาแลวก็ไดกลับไปเปนกําลังสําคัญ ในการเผยแผพระพุทธศาสนาที่มาตุภูมิ ๔) ประเทศภูฏาน พระพุทธศาสนาเขาสูภูฏานในราว พ.ศ. ๘๐๐ - ๑๒๐๐ โดยทาน คุรปุ ท มสัมภวะหรืออุกเยน คุรุ รินโปเช ซึง่ เดินทางจากทิเบตเขามาเผยแผพระพุทธศาสนาในภูฏาน ดวยหลักคําสอนและพิธีกรรมของพระพุทธศาสนาแบบวัชรยาน ที่ผสมผสานกับความเชื่อดั้งเดิม ของประชาชนทีเ่ ชือ่ ในเรือ่ งเวทมนตรและภูตผีปศ าจ พระพุทธศาสนาแบบวัชรยานจึงเจริญรุง เรือง และเปนศาสนาประจําชาติในประเทศภูฏาน ลามะปาโซ อดรุกอมชิงโป ซึง่ เปนชาวทิเบต ไดเดินทางมา ตอมาในราว พ.ศ. ๑๗๖๓ ลามะปาโซหรื เผยแผพระพุทธศาสนาในภูฏานและกอตั้งนิกายดรุกปะกัคยุขึ้น ซึ่งไดเจริญแพรหลายมาก จนถึง ยุคของทานงาวังนัมเยล ผูนํานิกายดรุกปะกัคยุ ในขณะนั้น ซึ่งถือวาเปนผูนําทางจิตวิญญาณ และสรางความเจริญใหกับภูฏาน ไดสรางซอง หรือตึกอาคารสถานที่ทํางานขึ้นมากมาย ที่ สําคัญคือ พูนาคาซอง ซึ่งเปนสถานที่ในการ ประกอบพิธีกรรมที่สําคัญของชาวภูฏาน เชน พิธีสถาปนาเจเคนโปหรือสมเด็จพระสังฆราช เป น สถานที่ ป ระทั บ ของสมเด็ จ พระสั ง ฆราช เปนสํานักงานกลางบริหารงานคณะสงฆของ ภูฏาน เปนตน นอกจากนั้น ทานยังไดรวบรวม ชาวภูฏานใหเปนหนึ่งเดียว จนไดสมญานามวา “ซับดรุง” หมายถึง บุคคลที่ทุกคนตองยอม ภาพวาดคุรปุ ท มสัมภวะ ผนู าํ พระพุทธศาสนาเขามาเผยแผ ออนนอมใหหรือผทู ที่ กุ คนยอมศิโรราบแทบเทา ในประเทศภูฏาน

นักเรียนควรรู

พระพุทธศาสนาแบบวัชรยาน หรือ ตันตระยาน เกิดขึ้นในอินเดีย ได ดัดแปลงเอาลัทธิฮินดูตันตระและ พิธีกรรมทางอาถรรพเวท พิธีกรรม สําคัญ คือ การสาธยายมนต การ ปฏิบัติโยคะ การเจริญสมาธิ มี จุดมุงหมายเพื่อความหลุดพน

นักเรียนควรรู

พูนาคาซอง (Punakha Dzong) ปอมปราการทีส่ วยงามทีส่ ดุ ในภูฏาน มีขนาดใหญ ดานหนาเปน จุดที่แมนํ้าไหลมาบรรจบกัน ประกอบดวยพระตําหนัก ศาลาวาการของเมือง มีโบสถและวิหาร ประดิษฐานในปอมปราการนี้ถึง 21 แหง และมีภิกษุสามเณรจําพรรษามากกวา 6,000 รูป ใน อดีตเปนที่ทําการของรัฐบาล แตเมื่อยายเมืองหลวงไปที่เมืองทิมพูแลว สถานที่แหงนี้ก็กลายเปน ที่ประทับของพระสังฆราชในฤดูหนาว เนื่องจากมีสภาพอากาศที่อบอุนกวาเมืองใดๆ

คูมือครู

9


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

(ยอจากฉบับนักเรียน 20%)

อธิบายความรู 1. ใหนักเรียนดูภาพองคดาไลลามะ และชวยกันวิเคราะหบทบาทที่มี ตอทิเบต (แนวตอบ ตําแหนงสูงสุดเปนผนู าํ ทาง จิตวิญญาณ และผูนําทางการเมือง การปกครอง) 2. ครูตั้งประเด็นใหนักเรียนอภิปราย • เพราะเหตุใดคนทิเบตจึงศรัทธา ตอองคดาไลลามะอยางสูงสุด (แนวตอบ จากความเชื่อเรื่องการ กลับชาติมาเกิดของผูมีอํานาจ จิตสูง เมื่อมรณภาพแลวก็กลับ ชาติมาเกิดใหม บุคคลระดับสูง ที่ ไ ด รั บ การเคารพยกย อ งมาก ทีส่ ดุ คือ ดาไลลามะ หมายความ วา กษัตริยผูประเสริฐ เปนทั้ง พระราชาและพระสังฆราช)

และไดวางรากฐานการปกครองภูฏานดวยกฎหมาย ๒ ฉบับ คือ อาณาจักรหรือกฎหมายทางโลก เรียกวา “ชา ลุง มิลุ ลุง” และพุทธจักรหรือกฎหมายทางใจ เรียกวา “โล ทริม มิลุ ทริม” ปจจุบันชาวภูฏานมีความศรัทธา และยึดมั่นในพระพุทธศาสนา วิถีชีวิตสวนใหญ เกี่ยวของกับพระพุทธศาสนา เมื่อมีลูกนิยม ใหพระสงฆเปนผูตั้งชื่อใหในความหมายดีๆ เพื่อความเปนสิริมงคลแกชีวิตและครอบครัว ครอบครัวใดมีลกู ชายมักจะสงไปบวชเรียนตัง้ แต ยังเด็ก เพือ่ ศึกษาหลักธรรมของพระพุทธศาสนา ๕) เขตปกครองตนเองทิเบต เปน เขตปกครองตนเองของประเทศจีน เปนดินแดน ที่พระพุทธศาสนานิกายวัชรยานไดเคยรุงเรือง สูงสุด พระพุทธศาสนาในทิเบตมีลกั ษณะเฉพาะ พระราชวังโปตาลา ตั้งอยูบนที่ราบสูงทิเบต เปนสถานที่ อันศักดิ์สิทธิ์ ภายในแบงเปนพระราชวังสีขาว เปนทีอ่ ยู คือ เปนการผสมผสานระหวางพระพุทธศาสนา ของพระ โรงเรียนสอนศาสนา พระราชวังสีแดง เปนสถานที่ มหายานแบบตันตระจากอินเดียและจีน กลาย ประกอบพิธีกรรม พระราชวังสีเหลือง เปนที่ประชุมสงฆ เปนมหายานแบบวัชรยานในทิเบต พ.ศ. ๙๗๖ พระเจาลาโธ โธรี เย็นเซ เปนพระมหากษัตริยทิเบตพระองคแรกที่นับถือ พระพุทธศาสนา โดยไดรบั พระพุทธรูปและคัมภีรพ ระพุทธศาสนาเขามาในทิเบต จากชาวอินเดีย ซึง่ นํามาเปนเครือ่ งบรรณาการ จึงเปนครัง้ แรกทีช่ าวทิเบตไดรจู กั พระพุทธศาสนา แตยงั ไมแพรหลาย มากนั ก อย า งไรก็ ต าม ด ว ยอิ ท ธิ พ ลพระพุ ท ธศาสนาจากอิ น เดี ย ซึ่ ง เข า มาสู  ทิ เ บตในราว พุทธศตวรรษที่ ๑๒ และประดิษฐานมั่นคงในทิเบตในพุทธศตวรรษที่ ๑๖ สงผลใหชนชาติทิเบต กลายเปนผูใฝสันติสุข และเปนอูอารยธรรมทางพระพุทธศาสนา จนมีการประดิษฐอักขระพิเศษ เพื่อจารึกหลักคําสอนในพระพุทธศาสนา โดยนําแบบอยางมาจากอักขระอินเดีย ในสมัยของพระเจ ของพระเจาซรอนซันกัมโป ทรงสงเสริมใหมกี ารศึกษาคัมภีรท างพระพุทธศาสนา และประกาศใหพระพุทธศาสนาเปนศาสนาประจําชาติ โดยการสนับสนุนของพระมเหสีทั้งสอง ของพระองค คือ พระนางเหวินเฉิง พระธิดาของจักรพรรดิถังไทจงจากจีน และพระนางภริคุติเทวี พระธิดาของกษัตริยอัมสุวารมาแหงเนปาล พระมเหสีทั้งสองพระองคทรงนับถือพระพุทธศาสนา มหายานอยางเครงครัด ทรงไดนาํ เอาพระพุทธรูปและคัมภีรท างพระพุทธศาสนาเขามาดวย ทําให เปนที่สนพระทัยของพระองค จึงเริ่มศรัทธาและศึกษาพระพุทธศาสนา โดยใหมีการสราง วัดโจกังขึน้ เปนวัดแหงแรกในทิเบต รวมทัง้ สงสมณทูตไปศึกษาพระพุทธศาสนาในอินเดีย ตลอดจน นําคัมภีรทางพระพุทธศาสนามาแปลเปนภาษาทิเบต

เกร็ดแนะครู ครูควรอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับ องคดาไลลามะผูนําจิตวิญญาณ ของชาวทิเบต คือ ตําแหนงสูงสุดใน ทิเบต เปนทัง้ ผูน าํ ทางจิตวิญญาณและ เปนผูนําทางการเมือง การปกครอง ทรงมี ตํ า หนั ก โปตาลาและตํ า หนั ก นอร บู ลิ ง กา เป น ที่ ป ระทั บ และเป น สถานที่สําหรับประชุมคณะรัฐมนตรี ตําแหนงดาไลลามะนัน้ เริม่ มีมาตัง้ แต พุทธศตวรรษที่ 18 จนถึงปจจุบันนี้ นั บ เป น องค ที่ 14 ชาวทิ เ บตนั บ ถื อ พระพุทธศาสนา นิกายมหายาน ซึง่ ได เผยแผเขาสูท เิ บตในราวพุทธศตวรรษ ที่ 9 - 10 ต อ มาชาวธิ เ บตก็ หั น มา ยอมรั บ หลั ก คํ า สอนในพระพุ ท ธศาสนากันอยางแพรหลายในทุกระดับ สังคม

๑๐

นักเรียนควรรู เขตปกครองตนเอง เขตหรือดินแดนที่รัฐบาลกลางใหปกครองตัวเอง โดยอาจมีกฎหมายพิเศษ ที่เรียกวารัฐบัญญัติ เปนธรรมนูญการปกครอง สวนใหญมักนํามาใชกับเขตที่มีชนสวนนอยเปน จํานวนมาก หรือมีความแตกตางทางดานภูมิศาสตร สําหรับทิเบตเปนเขตปกครองตนเองของจีน

10

คูมือครู


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

อธิบายความรู ครูยกตัวอยางประเพณี ความคิด หรื อ ความเชื่ อ หรื อ พิ ธีก รรมทาง พระพุ ท ธศาสนาของคนทิ เ บต ให นักเรียนชวยกันอภิปราย (แนวตอบ เชน กอนที่ชาวทิเบต จะรับประทานอาหารในแตละมื้อ พระสงฆ ภิกษุณี ฆราวาสตางทองบท สวดมนต เพือ่ เปนการถวายอาหารมือ้ นัน้ ใหกับพระรัตนตรัย)

พระมหากษัตริยทิเบตทุกพระองคในยุคตอๆ มา ตางมีพระราชศรัทธาเลื่อมใสใน พระพุทธศาสนา บางพระองคทรงศึกษาพระพุทธศาสนาอยางละเอียดลึกซึ้งและถือเปนปราชญ ทางพระพุทธศาสนา จนมีการจัดทําพจนานุกรมทางพระพุทธศาสนาภาษาสันสกฤต-ทิเบตขึ้น ฉบับแรก ในประมาณป พ.ศ. ๑๓๕๗ กอนที่ทิเบตจะผนวกรวมเขาเปนดินแดนสวนหนึ่งของประเทศจีน พระพุทธศาสนาใน ทิเบตแบงออกเปน ๔ นิกาย คือ นิกายยิงมา ศากยะ การคยุปะ และเคลุกปะ ซึ่งนิกายหลังนี้เปน ที่เคารพนับถือกันอยางแพรหลายที่สุด พระสงฆในนิกายนี้ เรียกวา “ลามะ” สวนผูมีอํานาจสูงสุด ในการปกครองทั้งอาณาจักรและศาสนจักร เรียกวา “องคดาไลลามะ” ปจจุบันแมทิเบตจะมีสถานะเปนเพียงเขตปกครองตนเองของจีน แตสําหรับชาวทิเบต มีวิถีชีวิตยึดมั่นในพระพุทธศาสนาอยางแนบแนน เมื่อใดก็ตามที่ชาวทิเบตเดินทางไปกรุงลาซา เพียงมองเห็นยอดพระราชวังโปตาลาจะกมลงกราบดวยอัษฎางคประดิษฐ หากมีเด็กเกิดมาใน ครอบครัว ชาวทิเบตถือวาจะตองมีลูกหนึ่งคนออกบวชเพื่อใหเปนญาติกับพระพุทธศาสนา แมวา ชาวทิเบตจะหนีภัยการเมืองไปอยูในภูมิภาคใดของโลก แตชาวทิเบตไมเคยละทิ้งหนาที่ความเปน ชาวพุทธ โดยจะสวดมนตภาวนาและปฏิบัติธรรมในทุกๆ ที่ ซึ่งเราจะไดยินคําสวด โอม มุนี ปททะเม หุม ในทุกที่ที่มีชาวทิเบต ๖) ประเทศจีน การที่พระพุทธศาสนาแผขยายและเจริญรุงเรืองในประเทศจีน นับเปนเหตุการณสําคัญที่สุดเหตุการณหนึ่งใน ประวัติศาสตรของจีนและประวัติศาสตรศาสนา ของโลก โดยเมื่ อ พระพุ ท ธศาสนามาเจริ ญ รุง เรืองในประเทศจีน ก็ไดกลายเปนปจจัยสําคัญ ประการหนึ่งในการสรางสรรคอารยธรรมจีน รวมกับศาสนาขงจื๊อและศาสนาเตา จีนเริม่ ยอมรับพระพุทธศาสนาอยาง เปนทางการในรัชสมัยของพระเจาฮั่นหมิงตี้ แหงราชวงศฮั่น พระองคไดสงคณะทูตไปสืบ พระพุ ท ธศาสนาทางตอนเหนื อ ของอิ น เดี ย สามารถอัญเชิญพระบรมสารีรกิ ธาตุ พระไตรปฎก และอาราธนาพระเถระชั้นผูใหญ คือ พระกาศ ยปมาตั ง คะและพระธรรมรั ก ษ ไ ปประกาศ วัดไปหมาซื่อ เมืองลั่วหยาง เปนวัดของพระพุทธศาสนา แหงแรกในประเทศจีน พระพุทธศาสนาที่ประเทศจีนไดสําเร็จ

ขยายความเขาใจ ครูใหนักเรียนไปสืบคนขอมูล เกี่ยวกับพิธีกรรม ความเชื่อ เทศกาล และวันสําคัญของชาวทิเบต 1 ชือ่ สรุป ลงในกระดาษ A4 นําเสนอในชั้นเรียน

นักเรียนควรรู อัษฎางคประดิษฐ เปนการหมอบ กราบดวยอวัยวะทั้ง 8 ไดแก 2 มือ 2 ศอก 2 เขา และ 2 เทา ควํ่าราบ ไปกับพื้น

เกร็ดแนะครู ครูควรอธิบายวิถีชีวิต ความเชื่อ ประเพณีของคนทิเบตที่มีความ ผูกพันกับพระพุทธศาสนาเพิ่มเติม

๑๑

@

มุม IT

คนควาความรูเพิ่มเติมเรื่อง วัฒนธรรม ไดที่ www.m-culture. go.th เว็บไซตของกระทรวง วัฒนธรรม สืบคนขอมูลเพิ่มเติมของ องคดาไลลามะ ไดที่ http://www. reincarnation.tk คูมือครู

11


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

1. นักเรียนอภิปรายถึงความเจริญ รุงเรืองของพระพุทธศาสนาใน สมัยราชวงศของจีน 2. นักเรียนอภิปรายประเด็นคําถาม • เพราะเหตุใดในชวงทีป ่ ระเทศจีน ปกครองดวยระบอบคอมมิวนิสต ในระยะแรกจึงไดมกี ารหาม ประกอบศาสนกิจ หามเผยแผ ศาสนา มีการเผาทําลายคัมภีร ตางๆ (แนวตอบ เพราะระบอบ คอมมิวนิสต ไมนับถือศาสนา เพราะถือวาศาสนาเอาเปรียบ ประโยชนจากสังคม แตคืนกําไร ใหกับสังคมนอย) • ป จ จุ บั น คนจี น ส ว นใหญ นั บ ถื อ ศาสนาอะไร (แนวตอบ นับถือพระพุทธศาสนา ควบคูไปกับลัทธิขงจื๊อและเตา)

คูมือครู

Expand

Evaluate

พระจั ก รพรรดิ จี น ได ส ร า งวั ด พระพุ ท ธศาสนาขึ้ น ในจี น เป น ครั้ ง แรกบริ เ วณนอก พระนครชื่อวา “ไปหมาซื่อ” แปลวา “วัดมาขาว” เพื่อเปนอนุสรณแกมาที่บรรทุกพระคัมภีร มาสูจีน พระพุทธศาสนาในสมัยราชวงศฮั่นยังไมแพรหลายมากนัก เปนเพียงการนับถือกันใน หมูชนชั้นสูงเทานั้น ซึ่งเปนการนับถือพระพุทธศาสนาผสมผสานกับศาสนาขงจื๊อและศาสนาเตา ยังไมมีการตั้งคณะสงฆขึ้น มีเพียงพระภิกษุชาวตางประเทศจรเขามาเปนครั้งคราว จนเมื่อมี การแปลพระสูตรสําคัญทางฝายมหายาน เชน คัมภีรพระอภิธรรม ปรัชญาปารมิตาสูตร เปนตน คําสอนของพระพุทธศาสนาจึงเริ่มแพรขยายกวางขวางออกไป พระพุ ท ธศาสนาเจริ ญ สู ง สุ ด ในสมั ย ราชวงศ ถั ง เพราะได รั บ การสนั บ สนุ น จาก พระจักรพรรดิ ตลอดจนนักปราชญราชบัณฑิตตางๆ โดยมีการสรางวัดขึ้นหลายแหง และมีการ แปลพระสูตรจากภาษาบาลีเปนภาษาจีน เชน ศรีมาลาเทวีสูตร ลังกาวตารสูตร ทศภูมิศาสตร นอกจากนี้ สมัยราชวงศถังยังไดเกิดนิกายที่สําคัญทางพระพุทธศาสนาขึ้นอีกหลายนิกาย เชน นิกายมหายาน นิกายเทียนไท นิกายธรรมลักษณะ เปนตน สมัยราชวงศหมิงและราชวงศหยวน พระพุทธศาสนาไดรบั การเอาใจใสทาํ นุบาํ รุงดวยดี จากทางฝายบานเมือง ที่สําคัญก็คือ นิกาย ตันตระ นิกายเซน และนิกายสุขาวดี ไดรับ การยกยองใหเปนศาสนาประจําราชสํานัก พระพุทธศาสนาในประเทศจีนเจริญ รุง เรืองสูงสุดในบางยุคสมัยและเสือ่ มลงตํา่ สุดใน บางชวงเวลา จนถึงในชวงของการเปลีย่ นแปลง การปกครองเป น ระบอบคอมมิ ว นิ ส ต พ.ศ. ๒๔๙๒ พระพุทธศาสนาไดรับผลกระทบอยาง มาก วัดถูกยึดเปนสถานที่ทางราชการ หาม ประกอบศาสนกิจการเผยแผหลักธรรมคําสอน ถือเปนเรือ่ งตองหามและผิดกฎหมาย พระภิกษุ ถูกบังคับใหล าสิกขา พระธรรมคัมภีร ต างๆ ผูที่ไดไปจุติยังสวรรคแดนสุขาวดีของพระอมิตาภะพุทธเจา จํานวนมากถูกเผาทําลายทิง้ โดยเฉพาะอยางยิง่ จะหลุดพนจากสังสารวัฏและไดบาํ เพ็ญธรรมจนบรรลุนพิ พาน ในชวงของการปฏิวัติวัฒนธรรม พ.ศ. ๒๕๐๙ ตามหลักคําสอนของนิกายสุขาวดี ๒๕๑๒

นักเรียนควรรู

12

ตรวจสอบผล (ยอจากฉบับนักเรียน 20%)

อธิบายความรู

การปฏิ วั ติ วั ฒ นธรรม (Cultural Revolution) เกิดขึ้นใน ค.ศ.19661976 โดย เหมาเจอตง ดําเนินการ เพื่อนําพรรคคืนสูรากฐานและฟนฟู อํ า นาจที่ อ  อ นลงของตน ทํ า ให จี น เขาสูกลียุค มีจุดมุงหมายใหจีนเปน ประเทศสังคมนิยมเต็มขัน้ ไมมชี นชัน้ โคนลมพวกลัทธิทุนนิยม และวิพากษ ศิลปวัฒนธรรมที่แบงแยกชนชั้น โดย การปฏิรูปการศึกษา ปฏิรูปศิลปวั ฒ นธรรมและปฏิ รู ป ทุ ก อย า งที่ ขั ด กับแนวทางลัทธิสังคมนิยม ยืดเยื้ออยู ถึง 10 ป ทําใหมคี นลมตายจํานวนมาก

ขยายความเขาใจ

๑๒


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

ขยายความเขาใจ 1. ครูใหนักเรียนรวมกันวิเคราะห ความแตกระหวางลัทธิกับศาสนา มีความแตกตางกันอยางไร (แนวตอบ เชน ลัทธิเนนสอนบุคคล เฉพาะกลมุ แตศาสนาเนนสอนมวล มนุษย) 2. ครูใหนักเรียนยกตัวอยางคําสอน ของลัทธิขงจื๊อและลัทธิเตา และ บอกถึงคติเตือนใจและแงคิดใน การดําเนินชีวิต (แนวตอบ เชน ปรัชญาขงจือ๊ “บัณฑิต คิดถึงวาทําอยางไรจึงจะเพิ่มพูน คุณธรรมของตน คนพาลคิดถึง วาทําอยางไรจึงจะเห็นความเปน อยูของตนสะดวกมากขึ้น โดย ไมคิดถึงคุณธรรม” เปนคําสอนที่ แยกแยะวิธีคิดระหวางคนดีกับ คนไมดี เพื่อใหคนมีคุณธรรมใน การดําเนินชีวิต)

ตอมาภายหลังจากการอสัญกรรมของเหมา เจอตง ประธานพรรคคอมมิวนิสต เมื่อป พ.ศ. ๒๕๑๙ รัฐบาลชุดใหมของจีนไดผอ นปรนการนับถือศาสนาและลัทธิความเชือ่ ใหกบั ประชาชน มากขึน้ พุทธศาสนิกชนชาวจีนจึงไดมกี ารฟน ฟูพระพุทธศาสนาขึน้ อีกครัง้ ปจจุบนั ชาวจีนสวนใหญ ไดนับถือพระพุทธศาสนาควบคูไปกับการนับถือลัทธิขงจื๊อและลัทธิเตา ในขณะที่รัฐบาลจีนก็ได สนับสนุนใหมีการจัดตั้งพุทธสมาคมแหงประเทศจีนและสภาการศึกษาพระพุทธศาสนาขึ้นใน กรุงปกกิ่ง เพื่อเปนศูนยกลางการเผยแผพระพุทธศาสนากับนานาประเทศ ๗) ประเทศเกาหลี กอนการเขามาของพระพุทธศาสนา ประชาชนชาวเกาหลี ไดนับถือศาสนาอื่นอยูกอนแลว คือ ศาสนาชามาน ตอมาเมื่อป พ.ศ. ๙๑๕ จีนไดสงสมณทูตชื่อ ซุนเตา เขาไปเผยแผพระพุทธศาสนาในอาณาจักรโคกูรยอบนคาบสมุทรเกาหลี และในป พ.ศ. ๙๒๕ ไดมพี ระภิกษุชาวอินเดียชือ่ มาลานันทะ ไดจาริกผานประเทศเกาหลี พรอมกับนําพระพุทธศาสนา เขามาเผยแผ ดวยอิทธิพลทางดานวัฒนธรรมและคติความเชื่อของจีนที่มีตอเกาหลี จึงทําให ประชาชนชาวเกาหลีเริ่มหันมาสนใจและยอมรับนับถือพระพุทธศาสนา พระพุทธศาสนาเจริญรุงเรืองในเกาหลีระยะหนึ่ง จนถึงพุทธศตวรรษที่ ๑๔ ก็ได เสื่อมโทรมลง ภายหลังจากที่ราชวงศลีหรือราชวงศโชซอนเขามามีอํานาจและสนับสนุนใหลทั ธิ ขงจื๊อเปนศาสนาประจําชาติ จึงไดสั่งใหมีการทําลายวัดหรือปดวัด หามเผยแผหลักคําสอนของ พระพุทธศาสนา และใหยายวัดออกจากเมืองหลวงไปอยูในชนบท การประกอบพิธีกรรมทาง พระพุทธศาสนา เชน การอุปสมบท จะตองได รับอนุญาตจากทางราชการ การฟนฟูพระพุทธศาสนาในเกาหลี ได เ ริ่ ม ต น ขึ้ น อี ก ครั้ ง ในพุ ท ธศตวรรษที่ ๑๖ เปนตนมา ซึ่งนอกจากจะมีการสรางวัดและ พระพุทธรูปขึ้นอยางแพรหลายแลว ยังไดแปล พระไตรปฎกจากภาษาบาลีเปนภาษาเกาหลี แลวจารึกลงบนแผนไม แผนหิน และพิมพเปน เลมหนังสือไวจํานวน ๕,๐๔๘ เลม รวมเรียกวา “พระไตรปฎกฉบับสุง” ระหวางป พ.ศ. ๒๔๕๓ - ๒๔๘๘ เกาหลี ต กอยู  ภ ายใต ก ารปกครองของญี่ ปุ  น พุทธศาสนิกชนชาวเกาหลีและญี่ปุนไดรวมกัน วัดโช-กเยซา ศูนยรวมจิติ ใจของพุทธศาสนิกชนในกรุงโซล ทํานุบํารุงพระพุทธศาสนาในเกาหลีใหรุงเรือง ประเทศเกาหลีใต

เกร็ดแนะครู ครูอธิบายถึงประวัติความเปนมา ของลัทธิขงจื๊อและเตาเพิ่มเติม และวิเคราะหถึงความสอดคลองกับ พระพุทธศาสนา เชน ลัทธิขงจื๊อเนน เรื่องมนุษยธรรมและจารีตประเพณี ซึ่งตั้งอยูบนหลักแหงสัมพันธภาพ 5 ประการ คือ เมตตาธรรม มโนธรรม จริ ย ธรรม สั ต ยธรรม ป ญ ญาธรรม สอดคลองกับหลักศีล 5 ของพระพุทธศาสนา เปนตน ๑๓

นักเรียนควรรู ลัทธิขงจื๊อ มีขงจื๊อเปนผูประกาศ คําสอน เนนเรอื่ งการเมืองการปกครอง ลั ท ธิ เ ต า มี เ ล า จื๊ อ เป น ผู ป ระกาศ คําสอน เนนเรื่องความเปนหนึ่งเดียว กับธรรมชาติ คูมือครู

13


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

(ยอจากฉบับนักเรียน 20%)

อธิบายความรู 1. ครูและนักเรียนอภิปรายถึงความ เจริญรงุ เรืองของพระพุทธศาสนาใน ประเทศเกาหลีใตและสถานการณ การนับถือพระพุทธศาสนาในประเทศ ในปจจุบัน 2. ครูตั้งประเด็นใหนักเรียนวิเคราะห • นักเรียนคิดวาพระพุทธศาสนาใน ประเทศเกาหลีเหนือเจริญรุงเรือง มากนอยแคไหน (แนวตอบ ไมสามารถประเมิน สถานการณได เนื่องจากปกครอง ดวยระบอบคอมมิวนิสต ซึ่งไม สนับสนุนใหนับถือศาสนา)

นักเรียนควรรู นิกายเซน พระพุทธศาสนานิกาย มหายาน กําเนิดในอินเดียผานมาทาง จีน เกาหลี และเขาสูญี่ปุน และไดรับ อิทธิพลของลัทธิขงจื๊อและเตา เนน การฝกสมาธิเพื่อการรูแจง

นักเรียนควรรู พระอมิ ต าภะพุ ท ธเจ า เป น ต น กําเนิดของความเชือ่ เรือ่ งพระโพธิสตั ว และเป น พระพุ ท ธเจ า ที่ อ าศั ย อยู  ใ น แดนสุขาวดี ตามความเชือ่ ของพระพุทธศาสนานิกายมหายาน

นักเรียนควรรู

โดยจัดกิจกรรมทางพระพุทธศาสนาขึน้ เชน การออกวารสารทางพระพุทธศาสนา การปฏิบตั ธิ รรม เปนตน แตเมื่อญี่ปุนแพสงครามโลกครั้งที่ ๒ และถอนตัวออกไป ประกอบกับปญหาทางการเมือง สงผลใหพระพุทธศาสนาเสื่อมลงอีกครั้ง จนถึง ป พ.ศ. ๒๔๙๑ เกาหลีถูกแบงเปน ๒ ประเทศ คือ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี (เกาหลีเหนือ) ซึง่ ปกครองดวยระบอบคอมมิวนิสต และสาธารณรัฐเกาหลี (เกาหลีใต) ซึ่งปกครอง ดวยระบอบประชาธิปไตย ทําใหพระพุทธศาสนา มีความเจริญรุงเรืองเฉพาะในประเทศเกาหลีใต เทานั้น ในป จ จุ บั น มี พุ ท ธศาสนิ ก ชนชาว เกาหลีใตประมาณ ๓๐ ลานคน สวนมากนับถือ พระพุทธศาสนานิกายเซนผสมกับความเชื่อใน พระพุทธรูปหินแกะสลักในวัดถํ้าซ็อคกูรัม เมืองคยองจู ประเทศเกาหลีใต สรางขึ้นในสมัยกษัตริยคยองด็อกแหง พระอมิตาภะพุทธเจาและพระศรีอริยเมตไตรย อาณาจักรรวมชิลลา มีการจัดตั้งพุทธสมาคมขึ้นมากมาย เพื่อเปน หนวยงานกลางสําหรับการศึกษาและเผยแผ พระพุทธศาสนา องคกรทางพระพุทธศาสนาเหลานี้อยูในความควบคุมของกระทรวงศึกษาธิการ ๘) ประเทศญีป่ นุ ในสมัยอดีตกอนการเขามาของพระพุทธศาสนา ญีป่ นุ ไดรบั อิทธิพล ทางความเชื่อและวัฒนธรรมจากจีน การบูชาบรรพบุรุษของลัทธิขงจื๊อนับวามีอิทธิพลตอวิถีชีวิต ของชาวญี่ปุนโดยทั่วไป รวมทั้งความเชื่อในโหราศาสตรและเวทมนตรคาถาของลัทธิเตา ตางได แทรกซึมอยูในความเชื่อของศาสนาชินโต อันเปนศาสนาพื้นเมืองดั้งเดิมของชาวญี่ปุน รวมความ วาแมจุดเริ่มตนการนับถือพระพุทธศาสนาในญี่ปุนจะมาจากเกาหลี แตในดานวัฒนธรรมกลับ สืบทอดมาจากจีนเปนกระแสหลัก พระพุทธศาสนาในญี่ปุนจึงเปนพระพุทธศาสนามหายานที่ผาน การหลอหลอมจากอารยธรรมจีน พระพุทธศาสนาในญี่ปุนเริ่มตนขึ้นในชวงพุทธศตวรรษที่ ๑๑-๑๓ เมื่อกษัตริยเกาหลี มีพระราชประสงคจะเจริญสัมพันธไมตรีกบั ญีป่ นุ จึงไดทรงสงคณะทูตนําพระพุทธรูปและคัมภีรท าง พระพุทธศาสนาไปถวายพระจักรพรรดิญี่ปุน ซึ่งพระองคทรงรับไวดวยความเลื่อมใส แตสถานะ ของพระพุทธศาสนายังไมมกี ารนับถืออยางแพรหลาย เพราะประชาชนสวนใหญยงั ใหความเลือ่ มใส ศาสนาชินโต อันเปนศาสนาดั้งเดิมของบรรพชนญี่ปุน

๑๔ ศาสนาชินโต เปนศาสนาประเภท พหุเทวนิยม นับถือเทพเจาหลายองค เชน เทพเจาแหงภูเขา ลําธาร บุคคล ที่ไดรับการยกยองเปนเทพเจา คือ พระจักรพรรดิ วีรบุรุษทั้งหลาย ถือกําเนิดในญี่ปุน เกิดจากทีญ ่ ปี่ นุ สมัยโบราณมีเผาตางๆ หลายเผา แตละเผาเคารพบูชาบรรพบุรษุ และเทพเจา เมื่อพระพุทธศาสนาและศาสนาขงจื๊อไดแพรไปสูญี่ปุนจึงเรียกศาสนานี้วา “ชินโต” เพื่อให ตางจากพระพุทธศาสนาและขงจื๊อ

14

คูมือครู

นักเรียนควรรู พระศรีอริยเมตไตรย เปนพระโพธิสัตวผูจะไดตรัสรู เปนพระพุทธเจาพระองคที่ 5 ตอจากพระพุทธเจาองค ปจจุบัน จะมาตรัสรูหลังจากสิ้น พ.ศ. 5000


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

อธิบายความรู นั ก เรี ย นอภิ ป รายถึ ง การเผยแผ พระพุ ท ธศาสนาในประเทศญี่ ปุ  น ความเจริญรุงเรือง ความเสื่อมของ พระพุทธศาสนา และยกตัวอยางของ โบราณสถานหรือโบราณวัตถุที่แสดง ถึงรองรอยของความเจริญ

พระพุทธศาสนาในญีป่ นุ เริม่ เจริญรุง เรืองขึน้ ตามลําดับ โดยเริม่ เปนทีน่ ยิ มนับถือกันใน หมูช นชัน้ สูงกอนแลวคอยแพรหลายออกไปในหมูป ระชาชน เริม่ จากตนพุทธศตวรรษที่ ๑๒ เปนตนมา เมื่อเจาชายโชโตกุซึ่งเปนผูสําเร็จราชการของ พระจักรพรรดินีซูอิโกะทรงเปนพุทธศาสนิกชน ทีด่ ี ทรงเอาใจใสทาํ นุบาํ รุงพระพุทธศาสนาทุกดาน และประกาศยกใหพระพุทธศาสนาเปนศาสนา ประจําชาติ ในยุคนี้เองที่ไดรับขนานนามวาเปน “ยุคสัทธรรมไพโรจน” สงผลใหพระพุทธศาสนา มหายานเจริญมั่นคงสืบมาจนถึงปจจุบัน ในปลายพุทธศตวรรษที่ ๑๔ ญี่ปุน ไดปรับบทบาทพระพุทธศาสนาใหสอดคลองกับ สภาวการณของประเทศ สงผลใหเกิดนิกายของ พระพุทธศาสนาในญี่ปุนขึ้น ๓ นิกายหลัก และ เปนที่เลื่อมใสนับถือกันมาจนถึงปจจุบัน คือ พระพุทธรูปไดบุทซึ ประดิษฐานที่วัดโทได ประเทศญี่ปุน นิกายโจโดหรือนิกายสุขาวดี นิกายเซน และ สะทอนถึงแรงศรัทธาของชาวญี่ปุนที่มีตอพระพุทธศาสนา นิกายนิชิเรน พระพุทธศาสนาในญี่ปุนไมแตกตางจากพระพุทธศาสนาในประเทศอื่นๆ มากนัก คือ เหตุการณทางการเมืองการปกครอง มักสงผลกระทบทั้งดานบวกและดานลบตอพระพุทธศาสนา ทําใหพระพุทธศาสนาเจริญรุงเรืองและเสื่อมลงในบางยุคสมัย จนภายหลังสงครามโลกครั้งที่ ๒ ไดรับการฟนฟูขึ้นมาอีกครั้ง มีการสงเสริมการศึกษาและการวิจัยทางพระพุทธศาสนา แปลและ จัดพิมพพระไตรปฎกจากภาษาจีน ทิเบต เกาหลี เปนภาษาญีป่ นุ มีการจัดตัง้ องคกรทางพระพุทธศาสนา เพื่อการเผยแผและสืบตอพระพุทธศาสนากับประเทศตางๆ มีการกอตั้งคณะพุทธศาสน ขึ้นในมหาวิทยาลัย ตลอดจนจัดการเรียนการสอนทางพระพุทธศาสนาเปนการเฉพาะอีกดวย

ขยายความเขาใจ ครูตั้งประเด็นใหนักเรียนชวยกัน วิเคราะห • ปจจุบน ั คนญีป่ นุ นับถือศาสนาใด มากที่สุด (แนวตอบ ศาสนาชินโต) • พระพุทธศาสนาเหมาะกับสังคม ญี่ปุนปจจุบันอยางไร (แนวตอบ ครูเปดโอกาสให นักเรี​ียนไดแสดงความคิดเห็น โดยการวิเคราะหสภาพสังคม ปจจุบันของญี่ปุนกอน เชน เปน สังคมของเมืองอุตสาหกรรมที่ มุงพัฒนาทางดานเศรษฐกิจ คน ตองคิดงานทํางานอยูต ลอดเวลา ภาวะคาครองชีพสูง แตเปน สังคมที่เครงครัดในระเบียบวินัย มาก ดังนั้นพระพุทธศาสนาจึง ชวยในการใหคนมีสติ รูจัก ผอนคลาย ใชธรรมะเปนที่พึ่ง ทางใจ)

๒.๒ การเผยแผและการนับถือพระพุทธศาสนาในทวีปยุโรป พระพุทธศาสนาไดเริ่มแผขยายเขาไปในทวีปยุโรป เมื่อประเทศตาง ๆ ในทวีปเอเชียที่นับถือ พระพุทธศาสนา เชน อินเดีย ศรีลังกา พมา ลาว เขมร และบางสวนของประเทศจีน ตกอยู ภายใตการยึดครองของหลายประเทศจากยุโรป ความสนใจของชาวยุโรปที่มีตอพระพุทธศาสนา สืบเนือ่ งจากไดพบเห็นประชาชนชาวพืน้ เมืองซึง่ นับถือพระพุทธศาสนา มีหลักปฏิบตั ติ นเพือ่ ความ ไมเบียดเบียนและใฝสันติ

นักเรียนควรรู ๑๕

นิกายโจโด ถือวาการพนทุกขของ สรรพสัตวตองอาศัยปจจัยภายนอก เขามาชวย เนนการไปเกิด ณ ดินแดน สุขาวดีของพระอมิตาภะ ซึง่ เชือ่ วาเกิด แลวไมตกตํ่ามาสูอบายภูมิอีก โดย ผูไปเกิดตองมีคุณธรรม 3 ประการ คือ กตัญู ยึดพระรัตนตรัยเปนที่พึ่ง จิตมั่นคงตอโพธิญาณ

คูมือครู

15


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู ขยายความเขาใจ Explain

(ยอจากฉบับนักเรียน 20%)

ครูใหนักเรียนชวยกันยกตัวอยาง วัดไทยในประเทศอังกฤษ และชวยกัน วิเคราะหบทบาทของวัดไทยในตาง ประเทศ ดวยการตั้งประเด็นอภิปราย วา • วัดไทยในประเทศอังกฤษมีความ สําคัญอยางไรบาง ( แนวตอบ เป น ศู น ย ร วมของคน ไทยในอังกฤษ และชาวพุทธของ ชาติอื่น ที่มาทํากิจกรรมรวมกัน และประกอบศาสนกิจ เปนสถานที่ เรียนภาษาไทย ศึกษาพระพุทธศาสนา และขนบธรรมเนียมของ ไทย)

ดวยความสนใจในบุคลิกภาพและวิถีชีวิตของคนเอเชีย ชาวยุโรปจึงสนใจและหันมาศึกษา คนควาพระไตรปฎกที่เปนทั้งภูมิปญญาและภูมิธรรมของชาวเอเชีย และสิ่งที่เปนขอคนพบของ ชาวยุโรป คือ ความลุมลึกของหลักคําสอนที่มีเหตุมีผลสอดคลองกับหลักวิทยาศาสตร อันเปน มูลฐานความเชื่อของคนตะวันตก จึงเกิดการศึกษาและถายทอดหลักธรรมในหมูชาวยุโรปดวยกัน สาเหตุแหงความประทับใจหลักธรรมในพระพุทธศาสนาของชาวยุโรปมี ดังนี้ ๑. การใหอิสระแกผูศึกษาและนับถือ ชาวยุโรปและชาวตะวันตกโดยทั่วไปมีความเชื่อใน หลักการทางวิทยาศาสตรเปนพื้นฐาน ไมบังคับใหผูศึกษาหลักคําสอนเชื่อในทันทีทันใดของ พระพุทธเจา จนกวาจะไดตรวจสอบพิจารณาและลงมือปฏิบัติแลวไดผลจริงตามที่ทรงสอน แลวจึงเชื่อ ทําใหชาวยุโรปประทับใจมาก ๒. ความเปนศาสนาแหงเสรีภาพและเมตตาธรรม หลักธรรมของพระพุทธศาสนาสงเสริม ใหประชาคมโลกมีความรัก ความเมตตากรุณาตอกัน ไมขม เหงรังแกเบียดเบียนทํารายกัน รวมทัง้ สงเสริมเสรีภาพ ภราดรภาพ และความเสมอภาค ดวยหลักการของพระพุทธศาสนาดังกลาวทําใหชาวยุโรปสนใจการศึกษาพระพุทธศาสนาและ ประกาศตนเปนพุทธมามกะเพิ่มขึ้น พรอมๆ กับการแผขยายของพระพุทธศาสนาเขาสูประเทศ ตางๆ ในยุโรป และเจริญรุงเรืองขึ้นตามลําดับจนถึงปจจุบัน ดังนี้ ๑) ประเทศอังกฤษ การเผยแผพระพุทธศาสนาในประเทศอังกฤษ เริ่มตนขึ้น ในป พ.ศ. ๒๓๙๓ เมื่อนายสเปนเซอร อารดีได จัดพิมพหนังสือชื่อ ศาสนจักรแหงบูรพาทิศ ออกเผยแพร แตก็ไมมีผูสนใจมากนัก จนในป พ.ศ. ๒๔๒๒ งานเขียนของทานเซอร เอ็ดวิน อารโนลด ชื่อ ประทีปแหงเอเชีย ไดรับการพิมพ เผยแพรสูสายตาชาวอังกฤษ และไดรับความ สนใจจากชาวอังกฤษอยางกวางขวาง สงผลให ชาวอังกฤษหันมาใหความสนใจพระพุทธศาสนา มากขึ้นเรื่อย ๆ และรวมกันกอตั้งสมาคมบาลี ปกรณขึ้นในป พ.ศ. ๒๔๒๔ โดยการนําของ ศาสตราจารยทดี บั เบิลยูรสิ เดวิดส เพือ่ จัดพิมพ พระไตรปฎกฉบับภาษาอังกฤษออกเผยแพร วัดพุทธปทีป เปนวัดไทยในกรุงลอนดอน ประเทศ นอกจากนั้นแลวยังมีพุทธสมาคมระหวางชาติ อังกฤษ ของพมา สาขาลอนดอน ไดตีพิมพหนังสือชื่อ

ขยายความเขาใจ 1. ครู ส นทนาด ว ยการยกตั ว อย า ง พระสงฆทเี่ ปนชาวตะวันตก นักเรียน รวมกันแสดงความคิดเห็น เกีย่ วกับ ความศรั ท ธาเลื่ อ มใสของชาว ตะวันตก ที่มีตอพระพุทธศาสนา ครูถามคําถาม • นักเรียนมีความรูสึกอยางไร เมื่อ เห็นชาวตางชาติ โดยเฉพาะ ชาวตะวันตกมาบวชเรียนใน ประเทศไทย (แนวตอบ รูสึกดีใจที่คนตางชาติ สนใจพระพุทธศาสนา และศึกษา หลักธรรมคําสอนของ พระพุทธเจา)

๑๖

คูมือครู

ตรวจสอบผล Evaluate

อธิบายความรู

16

Expand


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

ขยายความเขาใจ 1. ครูใหนักเรียนชวยกันวิเคราะหวา • เพราะเหตุใดพระพุทธศาสนาจึง ไมเปนทีแ่ พรหลายในเยอรมนีใน อดีตมากนัก (แนวตอบ เชน อาจเปนเพราะ สถานการณทางการเมืองที่เขาสู สงครามโลก จึงไมไดมีการ สงเสริมทางดานศาสนา พอถึง ชวงนาซีเรืองอํานาจ ผูนําไมได ใหความสําคัญกับพระพุทธศาสนา เปนยุคที่ อดอลฟ ฮิตเลอร ผูนําพรรคนาซี ปกครองเยอรมนี ตั้งแต พ.ศ. 2476 - พ.ศ. 2488 (สิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ 2) เปนยุคทีใ่ หคนเยอรมันสนับสนุน เพื่อใหประเทศกาวสูความเปน มหาอํานาจของโลก) 2. ครูใหนักเรียนแสดงความคิดเห็น วา “จากการที่ชาวเยอรมันนับถือ พระพุทธศาสนาในสวนของเนื้อหา หลักธรรม ปรัชญาพุทธศาสนา โดย ไม ค  อ ยสนใจในด า นรู ป แบบและ พิธีกรรมมากเทาใดนัก ขอเขาถึง พุทธศาสนาดวยสติปญ  ญาของเขา” สะทอนใหเห็นถึงความสําคัญของ หลักคําสอนอยางไร (แนวตอบ เปนคําสอนที่ควรศึกษา เปนวิทยาศาสตรที่พิสูจนได ฯลฯ)

พระพุทธศาสนา พุทธสมาคมแหงเกรตบริเตนและไอรแลนด ออกวารสารชื่อ พุทธศาสนปริทัศน มหาโพธิสมาคมของศรีลังกา สาขาลอนดอน ออกวารสารชื่อ ชาวพุทธอังกฤษและธรรมจักร เปนตน การเผยแผพระพุทธศาสนาในอังกฤษอาศัยองคกรทางพระพุทธศาสนาเปนศูนยรวม การเผยแผ แมแตละองคกรจะนับถือพระพุทธศาสนาตางนิกายกัน แตก็ไดรวมมือกันขับเคลื่อน งานเผยแผพระพุทธศาสนาไดอยางดียงิ่ จนเกิดวิหารและวัดทางพระพุทธศาสนาขึน้ ในอังกฤษเปน จํานวนมาก เชน พุทธวิหารลอนดอนของประเทศศรีลังกา วัดของชาวทิเบต เปนตน สวนวัดไทย เชน วัดพุทธปทีป กรุงลอนดอน วัดปาจิตตวิเวก วัดอมราวดี วัดปาสันติธรรม เปนตน ขอมูล สํานักงานพระพุทธศาสนาแหงชาติระบุวา ปจจุบันมีวัดไทยในประเทศอังกฤษจํานวน ๑๖ วัด กลาวโดยสรุป สถานการณการเผยแผและการนับถือพระพุทธศาสนาในประเทศ อังกฤษยังดําเนินไปไดดวยดี เพราะไดมีชาวอังกฤษเดินทางเขามาอุปสมบทในประเทศไทย และกลับไปเผยแผพระพุทธศาสนาในมาตุภูมิหลายรูป ทําใหปจจุบันมีชาวอังกฤษประกาศตน เปนพุทธมามกะเพิ่มขึ้น ๒) ประเทศเยอรมนี พระพุทธศาสนาไดแผขยายและเขาไปสูประเทศเยอรมนี กอนสงครามโลกครั้งที่ ๒ แตไมเปนที่รูจักแพรหลายมากนัก โดยในป พ.ศ. ๒๔๖๔ ชาวพุทธ กลุมแรกนําโดย ดร.คารล ไซเกนสติคเกอร ไดกอตั้งพุทธสมาคมเยอรมันขึ้นที่เมืองไลปซิก เพื่อเปนสงเสริมการเผยแผการศึกษา และการดําเนินกิจกรรมทางพระพุทธศาสนา ตอมา พระพุทธศาสนาเสื่อมถอยลงในยุคที่ลัทธินาซีเรืองอํานาจ ภายหลังการสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ ๒ ไดมีการฟนฟูพระพุทธศาสนาขึ้นอีกครั้งใน ประเทศเยอรมนีตะวันตก โดยอาศัยกลุม เอกชนซึง่ ศรัทธาเลือ่ มใสในพระสงฆ รวมมือกันกับพระสงฆ จากญีป่ นุ ไทย ศรีลงั กา และทิเบต จัดทําสิง่ พิมพประเภทวารสารและจุลสารออกเผยแผคาํ สอนทาง พระพุทธศาสนา หนังสือที่ไดรับความนิยมพิมพเผยแพรถึง ๖ ชั่วอายุคน คือ หนังสือพุทธวจนะ ซึ่งเรียบเรียงจากภาษาบาลีเปนภาษาเยอรมัน โดยพระญาณดิ โดยพระญาณดิลกภิกขุ พระภิกษุชาวเยอรมัน รูปแรก ซึง่ ไดรบั การตีพมิ พซาํ้ และแปลเปนภาษาอืน่ ๆ ไมนอ ยกวา ๑๐ ภาษา รวมทัง้ ภาษาไทยดวย นอกจากนั้น ยังจัดกิจกรรมการอภิปราย สนทนาธรรมและปาฐกถาธรรมขึ้นเปนประจํา เมื่อมีการรวมเยอรมนีตะวันตกและเยอรมนีตะวันออกเขาเปนประเทศเดียวกัน ก็พอทีจ่ ะคาดการณไดวา จะมีชาวเยอรมันประกาศตนเปนพุทธมามกะเพิม่ ขึน้ สวนมากจะกระจาย อยูในเมืองใหญ เชน ฮัมบูรก เบอรลิน สตุททการท มิวนิก โคโลญ แฟรงกเฟรต เปนตน ขอมูล สํานักงานพระพุทธศาสนาแหงชาติระบุวา ปจจุบันมีวัดไทยในเยอรมนีจํานวนถึง ๑๓ วัด แสดง ใหเห็นถึงสถานการณการเผยแผพระพุทธศาสนาในประเทศเยอรมนีวา มีความกาวหนาเปนอยางดี

นักเรียนควรรู ๑๗

ยุคที่ลัทธินาซีเรืองอํานาจ เปนยุค ที่อ ดอลฟ ฮิตเลอร ผูนําพรรคนาซี ปกครองเยอรมนี ตั้งแต พ.ศ. 2476พ.ศ. 2488 (หลังสงครามโลกครั้งที่ 2) เปนยุคทีใ่ ชอดุ มการณโฆษณาชวนเชือ่ ใหคนสนับสนุน เพื่อนําประเทศเขาสู ความเปนมหาอํานาจ

คูมือครู

17


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู ขยายความเขาใจ Explain

(ยอจากฉบับนักเรียน 20%)

1. นั ก เรี ย นร ว มกั น สรุ ป สถานการณ การนั บ ถื อ พระพุ ท ธศาสนาใน ฝรั่งเศส รัสเซียและเนเธอรแลนด 2. ครูตั้งประเด็นคําถามใหนักเรียน อภิปรายวา • หลังจากที่ระบอบคอมมิวนิสต ลมสลาย การเผยแผพระพุทธศาสนาในประเทศรัสเซียนาจะมี แนวโนมเปนอยางไร (แนวตอบ แนวโนมดีขนึ้ คนมีอสิ ระ เสรีในการนับถือศาสนามากขึ้น และจากคําสอนของพระพุทธศาสนาทีเ่ นนใหเกิดความสงบใน จิตใจ ทําใหพระพุทธศาสนาได รับความนิยมเพิ่มขึ้น)

๓) ประเทศฝรั่งเศส เริ่มขึ้นโดยกลุมพุทธศาสนิกชนชาวฝรั่งเศส นําโดย นางสาว

คอนสแตนต ลอนสเบอรรี ในป พ.ศ. ๒๔๗๑ ไดรว มกันกอตัง้ พุทธสมาคมขึน้ ภายใตชอื่ เล ซามีดู บุดดิสเม ในนครปารีส เพื่อเปนศูนยรวมการศึกษาและปฏิบัติธรรมตามหลักคําสอนของพระพุทธศาสนาเถรวาท จัดกิจกรรมการแสดงธรรม ปาฐกถาธรรมตามวาระและโอกาส รวมถึงออกวารสาร ทางพระพุทธศาสนา ตลอดจนนิมนตพระสงฆจากไทย พมา ลาว ไปแสดงธรรมและฝกอบรมสมาธิ วิปสสนา ปจจุบันการเผยแผและการนับถือพระพุทธศาสนายังไมรุงเรืองมากนัก ขอมูลของ สํานักงานพระพุทธศาสนาแหงชาติระบุวา ปจจุบันมีวัดไทยในประเทศฝรั่งเศสจํานวน ๖ วัด ๔) ประเทศรัสเซีย พระพุทธศาสนาเขาสูสหภาพโซเวียตในอดีต ตั้งแตเมื่อครั้ง ตกอยูภายใตการปกครองของมองโกลซึ่งนําโดยพระจักรพรรดิเจงกิสขานในป พ.ศ. ๑๗๖๖ แตยัง ไมเปนที่แพรหลายและนับถือมากนัก ภายหลังสงครามโลกครั้งที่ ๑ มีกลุมบุคคล เชน มาดาม เซอรบาตสกี และ มร.โอเบอรมิลเลอร พยายามนําพระพุทธศาสนาเขาไปเผยแผผานกลุมปญญา ชนชาวรัสเซีย มีการกอตั้งพุทธสมาคมบิบลิโอเธคา พุทธิคา ขึ้น แตการเผยแผพระพุทธศาสนาก็ เปนไปอยางจํากัด เพราะรัสเซียในขณะนั้นปกครองดวยระบอบคอมมิวนิสต การเผยแผหลัก คําสอนทางพระพุทธศาสนาจะตองไดรับอนุญาตแลวเทานั้น ปจจุบนั เมือ่ มีการแยกออกเปนหลายประเทศ สงผลใหพทุ ธศาสนิกชนกระจายไปอยูใ น ประเทศตาง ๆ เชน รัสเซีย ลิทัวเนีย คาซัคสถาน เปนตน ซึ่งโดยมากจะเปนพระพุทธศาสนานิกาย ตันตระ ขอมูลสํานักงานพระพุทธศาสนาแหงชาติระบุวา ปจจุบันมีวัดไทยในรัสเซียเพียง ๑ วัด ๕) ประเทศเนเธอรแลนด พระพุทธศาสนาเขาสูเนเธอรแลนดทางการคา โดย พอคาชาวดัตชและชาวพื้นเมืองจากประเทศอินโดนีเซียและศรีลังกา ที่เดินทางเขามาศึกษาใน กรุงอัมสเตอรดัม แตผูสนใจและนับถือยังมีนอย จนถึงในป พ.ศ. ๒๔๙๘ หลังสงครามโลกครั้งที่ ๒ ชาวพุทธในกรุงเฮกไดฟนฟูชมรมชาวพุทธขึ้น เพื่อเปนศูนยกลางกิจกรรมของชาวพุทธใน เนเธอรแลนด ป พ.ศ. ๒๕๐๘ ไดมีการกอตั้งกลุมพุทธศาสนศึกษาขึ้นในกรุงเฮก และในป พ.ศ. ๒๕๑๒ ก็ไดมีการจัดตั้งพุทธสมาคมแหงใหมขึ้น โดยความอนุเคราะหของสถานทูตไทยในกรุงเฮก สถานการณพระพุทธศาสนาในเนเธอรแลนดมแี นวโนมวาจะดําเนินไปไดดี โดยอาศัยพระสงฆทงั้ จาก ไทย ศรีลังกา และญี่ปุน เปนหลักในการเผยแผพระพุทธศาสนา ขอมูลสํานักงานพระพุทธศาสนา แหงชาติระบุวา ปจจุบันมีวัดไทยในเนเธอรแลนดจํานวน ๒ วัด การเผยแผและการนับถือพระพุทธศาสนาในประเทศอื่นๆ ในยุโรป ก็ดําเนินไป คลายคลึงกัน โดยอาศัยองคกรทางพระพุทธศาสนาที่ชาวพุทธรวมมือกันกอตั้งขึ้น และมีพระสงฆ จากทวีปเอเชีย เชน พมา ไทย ศรีลังกา ญี่ปุน ทิเบต เปนตน เปนแบบอยางในการปฏิบัติ แม ภาพรวมจะยังไมไดรับการประดิษฐานอยางมั่นคงก็ตาม แตเพราะหลักคําสอนอันเปนสากลและ

ขยายความเขาใจ ครูตั้งประเด็นการวิเคราะห • นักเรียนคิดวาพระพุทธศาสนา มีประโยชนตอสังคมตะวันตก อยางไร (แนวตอบ ชวยลดคานิยมวัตถุนยิ ม ของชาวตะวันตกได ทําใหชีวิต ความเปนอยูเรียบงายขึ้น เปน ศูนยกลางการศึกษา วัฒนธรรม ประเพณี ทางพุทธศาสนา และ เปนที่พึ่งของประชาชนได)

๑๘

คูมือครู

ตรวจสอบผล Evaluate

อธิบายความรู

18

Expand


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

อธิบายความรู ใหนักเรียนรวมกันอภิปรายถึง การนับถือพระพุทธศาสนาในทวีป อเมริกาเหนือ ครูถามคําถาม • คนอเมริกันสวนใหญนับถือ ศาสนาอะไร (แนวตอบ ศาสนาคริสต) • นักเรียนคิดวาคนกลุมใดสวน ใหญในสหรัฐอเมริกาที่นับถือ พระพุทธศาสนา (แนวตอบ ชาวจีน ญี่ปุน ไทย)

ทาทายตอการทดสอบ พิสูจน มีเหตุมีผล รวมถึงสามารถนําไปปฏิบัติไดจริงในชีวิตประจําวัน สงผลใหชาวยุโรปหันมาสนใจศึกษาพระพุทธศาสนามากขึ้น สถาบันการศึกษาหลายแหงไดบรรจุ วิชาพระพุทธศาสนาไวในหลักสูตร รวมทั้งกอตั้งสถาบันเฉพาะทางพระพุทธศาสนาขึ้น เชน ความพยายามกอตั้งศูนยพุทธศาสนศึกษาขึ้นในมหาวิทยาลัยออกซฟอรด เปนตน

๒.๓ การเผยแผและการนับถือพระพุทธศาสนาในทวีปอเมริกาเหนือ ภายหลังจากสงครามโลกครั้งที่ ๒ มีชาวเอเชียอพยพเขาไปอาศัยอยูในทวีปอเมริกาเหนือ เพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะในสหรัฐอเมริกาและแคนาดา เนื่องจากชาวเอเชียมีความศรัทธาเลื่อมใส ในพระพุทธศาสนาเปนพื้นฐาน จึงนําเอาธรรมเนียมปฏิบัติของตนเองไปประพฤติปฏิบัติดวย โดยในระยะเริ่ ม ต น เป น การปฏิ บั ติ เ ฉพาะในกลุ  ม ของตน และขยายวงกว า งออกไปในกลุ  ม ประชาชนของประเทศนั้นๆ ในที่สุด พระพุทธศาสนาในทวีปอเมริกาเหนือไดเจริญรุงเรืองในประเทศตางๆ ที่สําคัญ ไดแก ประเทศสหรัฐอเมริกาและประเทศแคนาดา โดยชาวพุทธญี่ปุนไดสรางวัดของพระพุทธศาสนา นิกายสุขาวดีที่ซานฟรานซิสโกในป พ.ศ. ๒๔๔๘ มีการกอตั้งสมาคมพระพุทธศาสนาแหงอเมริกา ในป พ.ศ. ๒๔๕๗ สมาคมสหายพระพุทธศาสนาในป ในป พ.ศ. ๒๔๘๕ โดยสมาคมเหลานีจ้ ะทําหนาที่ เปนศูนยกลาง การเผยแผ การปฏิบัติธรรม และการศึกษาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา จากความสนใจศึกษาพระพุทธศาสนาของประชาชนชาวอเมริกันและชาวแคนาดา ไดมี การศึกษาพระพุทธศาสนาในเชิงวิชาการ โดยการเปดหลักสูตรพุทธศาสน ขึ้นในมหาวิทยาลัยวิสคอนซิน ในป พ.ศ. ๒๕๐๔ และมีการ กอตัง้ มหาวิทยาลัยพุทธธรรมขึน้ ทีร่ ฐั แคลิฟอรเนีย ซึ่งเปด การเรียนการสอนพระพุทธศาสนาตั้งแตระดับ ปริญญาตรีถึงปริญญาเอก ปจจุบันมีวัดไทยในประเทศสหรัฐอเมริกา มากถึง ๑๕๑ วัด และในประเทศแคนาดาจํานวน ๗ วัด โดยพระสงฆไทยไดเดินทางไปปฏิบัติ ศาสนกิจ เผยแผหลักคําสอน และเปนผูนําการ ปฏิบตั ธิ รรมในนามพระธรรมทูตแหงคณะสงฆไทย ตลอดจนปลูกสรางความศรัทธาและความเลือ่ มใส แกประชาชนชาวอเมริกนั นับไดวา การเผยแผและ วัดธัมมาราม เปนวัดไทยที่ตั้งอยู ณ นครชิคาโก ประเทศ การนับถือพระพุทธศาสนาในสหรัฐอเมริกามี สหรัฐอเมริกา ความเจริญกาวหนามาก

ขยายความเขาใจ 1. ครูสนทนาถึงวัดไทยในสหรัฐอเมริกา ที่เพิ่มจํานวนขึ้น จนปจจุบันมีกวา 150 วัด รวมกันวิเคราะหถึงการที่มี วัดมากและมีแนวโนมเพิม่ ขึน้ แสดง ใหเห็นสถานการณการนับถือพระพุทธศาสนาเปนอยางไร 2. นักเรียนรวมกันอภิปรายถึงความ สําคัญของวัดไทยในสหรัฐอเมริกา (แนวตอบ ทําหนาที่ในการเผยแผ พระพุทธศาสนาแกคนไทย ในตางแดน คนในทองถิ่น เปนศูนยกลางของคนไทยใน สหรัฐอเมริกาในการพบปะสมาคม เปนแหลงเผยแพรวัฒนธรรมไทย แกลูกหลานคนไทยที่เกิด ในตางแดน เชน เปนที่เรียน ภาษาไทย ดนตรีไทย ฯลฯ)

๑๙

คูมือครู

19


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

Explain

1. ครูและนักเรียนสนทนาถึง สถานการณ การนั บถื อ พระพุทธศาสนาในทวีปอเมริกาใต ครูถาม คําถาม • นักเรียนคิดวาคนกลุมใดในทวีป อเมริกาใตทมี่ กี ารนับถือพระพุทธศาสนา (แนวตอบ คนเอเชียที่อพยพไปตั้ง รกรากที่นั่น) 2. นักเรียนรวมกันวิเคราะหวา • เพราะเหตุใดคนในทวีป อเมริกาใตจึงนับถือ พระพุทธศาสนานอย (แนวตอบ คนสวนใหญถือศาสนา คริสตอยูแลว) 3. ครูตั้งประเด็นการอภิปราย • นักเรียนคิดวาสถานการณการ นับถือพระพุทธศาสนาในประเทศ ออสเตรเลี ย และนิ ว ซี แ ลนด มีแนวโนมอยางไร เพราะเหตุใด (แนวตอบ มีแนวโนมดีขนึ้ จากการ เพิ่มขึ้นของจํานวนวัด และพุทธสมาคมแหงประเทศออสเตรเลีย ไดทําหนาที่เผยแผศาสนาอยาง เขมแข็ง)

ตรวจสอบผล Evaluate

๒.๔ การเผยแผและการนับถือพระพุทธศาสนาในทวีปอเมริกาใต การนับถือพระพุทธศาสนาในทวีปอเมริกาใต สวนมากจะเปนการนับถือของผูอพยพยาย ถิ่นฐานจากทวีปเอเชียไปทํามาหากินในประเทศตางๆ ในทวีปอเมริกาใต โดยเฉพาะชาวจีน ชาวเกาหลี ชาวญี่ปุน ถือเปนคนกลุมแรกที่นําพระพุทธศาสนาเขาสูทวีปอเมริกาใตในชวงหลัง สงครามโลกครั้งที่ ๒ โดยมากกระจายกันอยูในเมืองเซาเปาลูและรีโอเดจาเนโร ประเทศบราซิล พุทธศาสนิกชนเหลานี้ไดรวมกันจัดตั้งองคกรทางพระพุทธศาสนาขึ้นเปนจํานวนมาก เพื่อเปน ศูนยกลางการศึกษา การปฏิบัติ และการทํากิจกรรมทางพระพุทธศาสนา แตอยางไรก็ตาม การ นับถือพระพุทธศาสนายังจํากัดอยูเฉพาะชาวเอเชียเทานั้น สวนชาวพื้นเมืองแมจะมีศรัทธานับถือ อยูบางแตก็มีจํานวนนอย กลาวโดยสรุป การเผยแผและการนับถือพระพุทธศาสนาในทวีปอเมริกาใต ยังมีนอยและ อยูในวงจํากัดเฉพาะชาวเอเชีย และตองใชเวลาพอสมควรในการเผยแผหลักธรรมคําสอนให ชาวพื้นเมืองหันมาเลื่อมใสนับถือพระพุทธศาสนา

๒.๕ การเผยแผและการนับถือพระพุทธศาสนาในทวีปออสเตรเลีย ๑) ประเทศออสเตรเลีย ในป พ.ศ. ๒๔๕๓ พระศาสนธชะ (มร.อี.สตีเวนสัน)

พระภิกษุชาวอังกฤษซึ่งไดรบั การอุปสมบทที่ประเทศพมา ไดเดินทางไปเผยแผพระพุทธศาสนาใน ประเทศออสเตรเลีย โดยการเผยแผพระพุทธศาสนาของทานเปนการแนะนําใหชาวออสเตรเลียได รูจักพระพุทธศาสนาวาเปนศาสนาที่เนนการพัฒนาจิตใจ ความเคลื่อนไหวการเผยแผพระพุทธ ศาสนาในประเทศออสเตรเลียเปนรูปธรรมยิ่งขึ้น ภายหลังสงครามโลกครั้งที่ ๒ มีการจัดตั้งพุทธ สมาคมขึ้นในป พ.ศ. ๒๔๙๖ ในรัฐควีนสแลนด นิวเซาทเวลส และวิกตอเรีย และไดมีการกอตั้ง องคกรทางพระพุทธศาสนาขึ้นอีกในหลายแหง จนไดรวมกันเปนสหพันธพระพุทธศาสนาแหง ออสเตรเลีย มีสํานักงานใหญตั้งอยู ณ กรุงแคนเบอรรา ปจจุบนั การเผยแผพระพุทธศาสนาในประเทศออสเตรเลียยังดําเนินไปไดดว ยดี และมีแนวโนม วาจะมีผูศรัทธาเลื่อมใสนับถือพระพุทธศาสนาเพิ่มขึ้น ขอมูลสํานักงานพระพุทธศาสนาแหงชาติ ระบุวา ปจจุบันมีวัดไทยในประเทศออสเตรเลียจํานวนมากถึง ๑๘ วัด ๒) ประเทศนิวซีแลนด ปจจุบันแมวาสถานการณพระพุทธศาสนาในประเทศ นิวซีแลนดจะยังไมรุงเรืองเหมือนในออสเตรเลียก็ตาม แตมีแนวโนมที่ดีในอนาคต การเผยแผ พระพุทธศาสนาในนิวซีแลนดสว นใหญจะเปนการดําเนินการโดยพระสงฆชาวอังกฤษ ทิเบต ญีป่ นุ และไทย โดยความสนับสนุนของพุทธสมาคมแหงเมืองโอกแลนด ๒๐

คูมือครู

Expand

(ยอจากฉบับนักเรียน 20%)

ขยายความเขาใจ

20

ขยายความเขาใจ


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล Expand

Evaluate

ขยายความเขาใจ นักเรียนวิเคราะหสถานการณการ นับถือพระพุทธศาสนาในทวีปแอฟริกา • ปจจุบันคนในทวีปแอฟริกา สวนใหญนับถือศาสนาใด (แนวตอบ นับถือหลากหลาย ทั้งศาสนาคริสต อิสลาม และ การนับถือภูตผี สิ่งศักดิ์สิทธิ์ ของ ชนเผาตางๆ) • นักเรียนคิดวาแนวโนมคนในทวีป แอฟริกามีการนับถือพระพุทธศาสนาเพิ่มขึ้นมากนอยเพียงใด (แนวตอบ ไมสามารถคาดการณได เนื่องจากคนในทวีปนี้สวนใหญ เปนชาวพื้นเมือง ที่มีการนับถือ สิ่งศักดิ์สิทธิ์ตามความเชื่อของ ชนเผา)

ปจจุบนั แมจะมีจาํ นวนผูน บั ถือพระพุทธศาสนาไมมากนัก จํากัดอยูเ ฉพาะในเมืองใหญ เชน เวลลิงตัน ไครสตเชิรช ดูเนดิน โอตาโก เปนตน แตโอกาสในการเผยแผพระพุทธศาสนาได เปดกวางมากขึ้น ปจจุบันมีวัดไทยในนิวซีแลนดจํานวน ๖ วัด โดยภาพรวมการเผยแผพระพุทธศาสนาในทวีปออสเตรเลียปจจุบันมีความเจริญกาวหนาไป มากพอสมควร ประชาชนหันมาสนใจศึกษาและปฏิบัติตามหลักคําสอนพระพุทธศาสนาเพิ่มขึ้น มีการใหความอุปถัมภบํารุงวัดและพระสงฆ รวมทั้งมีจํานวนวัดของพระพุทธศาสนาเพิ่มขึ้น

๒.๖ การเผยแผและการนับถือพระพุทธศาสนาในทวีปแอฟริกา พระพุทธศาสนาเขาสูท วีปแอฟริกาทีพ่ อจะปรากฏรองรอยเปนหลักฐานบาง คือ ประเทศอียปิ ต และประเทศเคนยา ซึ่งเปนการเขาไปเผยแผพระพุทธศาสนาอยางไมเปนทางการ ในประเทศอียิปต พระพุทธศาสนาเขาไปพรอมกับชาวญี่ปุน เกาหลี ไทย ศรีลังกา อินเดีย ซึ่งเดินทางไปศึกษา ทํางาน และทองเที่ยว โดยชาวพุทธเหลานี้ไดถายทอดพระพุทธศาสนาผาน ชาวอียิปตรุนใหม ซึ่งไมยึดติดกับวัฒนธรรมดั้งเดิมมากนักและพรอมที่จะรับแนวคิดใหมแบบ พระพุทธศาสนา สวนใหญจะอยูในกรุงไคโรและเมืองอะเล็กซานเดรีย ในประเทศเคนยา อาจกลาวไดวาชาวเคนยารูจักพระพุทธศาสนาผานชาวพุทธอินเดียและ ศรีลงั กา ซึง่ เดินทางไปทํางานในไรการเกษตรของชาวอังกฤษในเคนยา ภายหลังการประชุมศาสนา สันติภาพโลกที่นครไนโรบี เมื่อเดือนสิงหาคม พ.ศ. ๒๕๒๗ การเผยแผพระพุทธศาสนาในเคนยา เปนรูปธรรมยิ่งขึ้น มีความพยายามกอตั้งชมรมชาวพุทธขึ้นในเคนยา และมีการนิมนตพระสงฆ จากจีน ญี่ปุน ไทย เดินทางไปแลกเปลี่ยนและเผยแผพระพุทธศาสนาบางในชวงเวลาสั้นๆ แต การเผยแผพระพุทธศาสนาก็ยังเปนไปอยางจํากัด เนื่องจากปญหาเศรษฐกิจและการเมืองภายใน ประเทศ รวมทัง้ ความรูค วามเขาใจและทาทีของชาวพืน้ เมืองทีม่ ตี อ บุคคลตางศาสนายังไมเปดกวาง การเผยแผพระพุทธศาสนาจึงตองเปนไปอยางระมัดระวังและมีขอจํากัด พระพุทธศาสนาในทวีปแอฟริกา ยังไมมีความเจริญกาวหนามากนัก สวนใหญจะเปนการ นับถือและการประกอบพิธีกรรมทางพระพุทธศาสนาของกลุมชาวพุทธตางถิ่นที่เขาไปอาศัยใน ประเทศเหลานั้น โดยอาศัยสถานทูตของประเทศของตนเองเปนสถานที่ประกอบพิธีกรรม จึงกลาวไดวาตลอดระยะเวลากวา ๒๕๐๐ ป ที่พระพุทธศาสนาไดถือกําเนิดและเผยแผไป สูด นิ แดนตางๆ ไดมสี ว นในการสรางสรรคอารยธรรมทีด่ งี ามใหแกโลก ตลอดจนสรางความสงบสุข ไดอยางมากมาย

ตรวจสอบผล 1. ใหนกั เรียนสรุปภาพรวมการเผยแผ พระพุทธศาสนาในดินแดนตางๆ จัดทําเปน PowerPoint หรือผัง ความคิด ครูตรวจสอบความ ถูกตองของขอมูล 2. ใหนกั เรียนเขียนแสดงความคิดเห็น ในประเด็น “นักเรียนสามารถมีสวนรวมใน การเผยแผพระพุทธศาสนาให ชาวตางชาติมีความรูความเขาใจ พระพุทธศาสนาไดอยางไรบาง” ครูตรวจสอบความถูกตองของ ขอมูล

๒๑

B

B

พื้นฐานอาชีพ

ครูแนะนําใหนักเรียนวิเคราะห สถานการณปจจุบันในการนับถือ ศาสนา เพือ่ เปนพืน้ ฐานนําไปประกอบ อาชีพ เชน มัคคุเทศก จะตองมีความ รูเกี่ยวกับประเพณี วัฒนธรรม การ นับถือศาสนา วิถชี วี ติ ของคนในแตละ ประเทศ เพื่อแนะนํานักทองเที่ยวได ถูกตอง คูมือครู 21


กระตุน ความสนใจ สํารวจคนหา Explore

Engage

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

(ยอจากฉบับนักเรียน 20%)

กระตุนความสนใจ 1. ครูอธิบายถึงความสําคัญของ ศาสนาทุกศาสนาที่สอนใหคนเปน คนดี ครูถามนักเรียนวา • พระพุทธศาสนาใหสิ่งใดกับ ชาวโลกบาง (แนวตอบ ใหเปนทีย่ ดึ เหนีย่ วจิตใจ เปนศาสนาทีม่ งุ สรางสันติ ความ สงบสุข เพื่อการอยูรวมกันใน สังคมโลกอยางมีความสุข) • ถาสังคมไมมีศาสนาจะเกิดผล อยางไร (แนวตอบ ขาดหลักยึดเหนี่ยว จิตใจ เกิดความวุนวายในสังคม เกิดการเอารัดเอาเปรียบในสังคม ขาดแนวทางการดําเนินชีวิต)

ó. ¤ÇÒÁÊíÒ¤Ñޢͧ¾Ãоط¸ÈÒÊ¹Ò ๓.๑ พระพุทธศาสนาในฐานะที่ชวยสรางสรรคอารยธรรมใหแกโลก พระพุทธศาสนามีสว นสําคัญในการจัดรูปแบบการปกครองทีด่ ี การจัดระเบียบสังคม และการ สรางสรรคอารยธรรมใหแกโลก ดังนี้ ๑) ดานการปกครอง หลักธรรมสําหรับผปู กครองบานเมือง ไดแก ๑.๑) การปกครองระบอบราชาธิปไตย สังคมใดปกครองดวยระบอบราชาธิปไตย หรือสมบูรณาญาสิทธิราชยที่มีพระมหากษัตริยมีอํานาจสิทธิ์ขาดในการปกครองแตเพียงผูเดียว พระพุทธศาสนาไดเสนอหลักคําสอนที่เนนใหผูปกครองมีคุณธรรม เปนผูนําที่ดี เพราะถาผูนํามี คุณธรรมก็จะปกครองประเทศดวยความยุติธรรม ปราศจากการเบียดเบียนรังแกผูใตปกครอง ผูปกครองในระบอบประชาธิปไตยตองมีคุณสมบัติหรือคุณธรรม ดังนี้ (๑) ทศพิธราชธรรม คุณธรรมสําหรับผูปกครองมี ๑๐ ประการ ไดแก ทาน ศีล ปริจาคะ อาชชวะ มัททวะ ตบะ อักโกธะ อวิหิงสา ขันติ และอวิโรธนะ (๒) จักรวรรดิวัตร เปนหนาที่ประจําของผูปกครอง ๕ ประการ ไดแก ธรรมาธิปไตย ธรรมมิการักขา อธรรมการ ธนานุประทาน และสมณพราหมณปริปุจฉา ๑.๒) การปกครองระบอบสามัคคีธรรม พระพุทธศาสนาไดมหี ลักอปริหานิยธรรม เพื่อประยุกตใชในการปกครอง ดังนี้ ๑. หมั่นประชุมกันเนืองนิตย เพื่อปรึกษาหารือกิจการงาน ๒. พรอมเพรียงกันประชุม พรอมเพรียงกันเลิก ๓. ไมบัญญัติวางขอกําหนดกฎเกณฑตางๆ หรือยกเลิกสิ่งที่บัญญัติไวแลว ตามอําเภอใจของตน โดยไมไดปรึกษาหารือกัน ๔. เคารพ ใหเกียรติ ยอมรับฟงความคิดเห็นของผูอาวุโสที่มีประสบการณ ๕. ใหเกียรติกุลสตรี กุลกุมารีทั้งหลาย และใหความคุมครองมิใหถูกขมเหง รังแกโดยไมเปนธรรม ๖. เคารพบูชาเจดีย ปูชนียสถาน และอนุสาวรียประจําชาติ ๗. จัดอารักขา บํารุง คุมครอง อันชอบธรรมแกบรรพชิตผูทรงศีล ๒) ดานการจัดระเบียบสังคม สถาบันทางสังคมตางๆ ที่มีอยูนั้น ถาหากบุคคล ในสถาบันไมปฏิบัติตนใหถูกตอง สถาบันนั้นก็ไมมีความมั่นคง พระพุทธศาสนาไดสอนหลักธรรม ที่เปนไปเพื่อความเจริญมั่นคงแหงสถาบันทางสังคมตางๆ ไวมากมาย หลักธรรมเรื่อง “ทิศ ๖” จึงเปนตัวอยางของการจัดระเบียบสังคมและสอนวิธที คี่ นในสังคมนัน้ จะตองปฏิบตั ติ อ กันใหถกู ตอง เพื่อความมั่นคงและสงบสุขของสถาบัน ดังตอไปนี้

สํารวจคนหา หลังจากที่นักเรียนไดสืบคนขอมูล เกี่ยวกับความสําคัญของพระพุทธศาสนา ใหแบงนักเรียนเปน 6 กลุม รวมกันวิเคราะห กลุม 1 พระพุทธศาสนาทีเ่ กีย่ วของ กับการปกครอง กลุม 2 พระพุทธศาสนาทีเ่ กีย่ วของ กับการจัดระเบียบสังคม กลุม 3 พระพุทธศาสนาทีเ่ กีย่ วของ กับการสรางสรรค อารยธรรมโลก กลุม 4 พระพุทธศาสนาทีเ่ กีย่ วของ กับความสงบสุขของสังคม กลุม 5 พระพุทธศาสนาทีเ่ กีย่ วของ กับการพัฒนาตน กลุม 6 พระพุทธศาสนาทีเ่ กีย่ วของ กับความเจริญทาง เทคโนโลยี

22

คูมือครู

๒๒


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

อธิบายความรู 1. ครูนําสนทนาดวยการถามคําถาม วา • ศาสนามีความสําคัญตอ นักเรียนอยางไรบาง 2. นักเรียนแตละกลุมนําเสนอผลการ สืบคน ความสําคัญของพระพุทธศาสนา

๒.๑) สถาบันครอบครัว แบงเปนความสัมพันธระหวางสามีกับภรรยาและบิดา มารดากับบุตรธิดา โดยมีหนาที่พึงปฏิบัติตอกัน ดังนี้ ºÔ´ÒÁÒôҡѺºØµÃ¸Ô´Ò ˹ŒÒ·ÕèºÔ´ÒÁÒÃ´Ò ¾Ö§»¯ÔºÑµÔµ‹ÍºØµÃ¸Ô´Ò

˹ŒÒ·ÕèºØµÃ¸Ô´Ò ¾Ö§»¯ÔºÑµÔµ‹ÍºÔ´ÒÁÒôÒ

ñ. ò. ó. ô. õ.

ËŒÒÁ»ÃÒÁÁÔãËŒ·íÒªÑèÇ ÍºÃÁÊÑè§Ê͹ãËŒ·íÒ´Õ ãËŒ¡ÒÃÈÖ¡ÉÒÍѹ໚¹ÊÔ觨íÒ໚¹ã¹¡ÒôíÒçªÕÇÔµ ໚¹¸ØÃÐ㹡ÒèѴËÒ¤Ù‹¤Ãͧ·ÕèàËÁÒÐÊÁ Áͺ·ÃѾ ÊÁºÑµÔãËŒàÁ×èͶ֧âÍ¡ÒÊ àª‹¹ Çѹà¡Ô´ Çѹᵋ§§Ò¹ ໚¹µŒ¹

ขยายความเขาใจ 1. ครูตั้งประเด็นการอภิปราย • หลักคําสอนทางศาสนา คุณธรรม จริยธรรมขอใดที่ประชาชน นักการเมืองและนักปกครองไทย ควรปรับปรุงมากที่สุด เพราะ เหตุใด (แนวตอบ ใหนักเรียนแสดงความ คิดเห็นหลากหลายโดยใชเหตุผล ครูคอยแนะนําและใหขอมูลที่ ถูกตอง) 2. ครูใหนักเรียนรวมกันอภิปรายเรื่อง ทิ ศ 6 และการปฏิ บั ติ ต ามหลั ก ทิศ 6 โดยใหนักเรียนจับคูสมมติ บทบาทวาตนเองเปนบุคคลในทิศ นั้นๆ แลวบอกขอควรปฏิบัติและ สิ่งที่ไมควรปฏิบัติ

ñ. àÅÕ駷‹Ò¹àÁ×èÍÂÒÁªÃÒ ò. ª‹Ç·íÒ¡Ô¨¡Òçҹ¢Í§·‹Ò¹ ¤×Í ·íÒ§Ò¹·Õè·‹Ò¹ÁͺËÁÒÂãËŒÊíÒàÃç¨ÅØŋǧ ä»´ŒÇ¤ÇÒÁàÃÕºÌÍ ó. ´íÒÃ§Ç§È Ê¡ØÅ ËÁÒ¶֧ ¡ÒûÃÐ¾ÄµÔ »¯ÔºÑµÔ ¾ÂÒÂÒÁ´ÙáÅÃÑ¡ÉÒãËŒ Ç§È Ê¡ØÅà¨ÃÔÞÃØ‹§àÃ×ͧÊ×ºä» ô. »ÃоĵԵ¹ãËŒàËÁÒÐÊÁ¡Ñº¤ÇÒÁ໚¹·ÒÂÒ·Ê¡ØÅ ¤×Í »ÃоĵԵ¹ãËŒ ໚¹¤¹´Õ ÅÐàÇŒ¹¨Ò¡¤ÇÒÁªÑèÇ õ. àÁ×èÍ·‹Ò¹Å‹Ç§ÅѺä»áÅŒÇ ¤Ç÷íÒºØÞÍØ·ÔÈʋǹ¡ØÈÅãËŒ·‹Ò¹

ÊÒÁաѺÀÃÃÂÒ Ë¹ŒÒ·ÕèÊÒÁÕ¾Ö§»¯ÔºÑµÔ µ‹ÍÀÃÃÂÒ

ñ. ¡‹ͧãËŒà¡ÕÂÃµÔ ÊÁ°Ò¹Ð·Õè໚¹ÀÃÃÂÒ ò. äÁ‹´ÙËÁÔè¹àËÂÕ´ËÂÒÁÇ§È µÃСÙÅ ÃٻËҧ˹ŒÒµÒ áÅÐʵԻ˜ÞÞҢͧ ÀÃÃÂÒµ¹ ó. äÁ‹¹Í¡ã¨ÀÃÃÂÒ·Ñ駵‹Í˹ŒÒáÅÐÅѺËÅѧ ÃÇÁ·Ñ駵ŒÍ§ÁÕÃÑ¡à´ÕÂÇã¨à´ÕÂÇ ÁÕ¤ÇÒÁ«×èÍÊѵ ô. Áͺ¤ÇÒÁ໚¹ãËދ㹺ŒÒ¹ãËŒ ¤×Í ãËŒÀÃÃÂÒ´ÙáÅ¡Ô¨¡ÒÃáÅзÃѾ ÊÁºÑµÔ 㹺ŒÒ¹µÒÁ¤ÇÒÁàËÁÒÐÊÁ õ. ËÒà¤Ã×èͧᵋ§µÑÇÁÒãˌ໚¹¢Í§¢ÇÑÞµÒÁâÍ¡ÒÊ

˹ŒÒ·ÕèÀÃÃÂÒ¾Ö§»¯ÔºÑµÔ µ‹ÍÊÒÁÕ

ñ. ò. ó. ô. õ.

¨Ñ´§Ò¹ºŒÒ¹ãËŒàÃÕºÌÍ ʧà¤ÃÒÐË ÞÒµÔÁԵ÷Ñé§Êͧ½†Ò´ŒÇÂ´Õ äÁ‹¹Í¡ã¨ ÃÑ¡ÉÒ·ÃѾ ÊÁºÑµÔ·ÕèËÒÁÒä´Œ ¢Âѹ ª‹Ò§¨Ñ´ ª‹Ò§·íÒ¡Òçҹ·Ø¡Í‹ҧ

๒๓

คูมือครู

23


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

(ยอจากฉบับนักเรียน 20%)

ขยายความเขาใจ 1. ครูใหนักเรียนชวยกันบอกวา • “มิตรแท” ของนักเรียนเปน อยางไร • นักเรียนมีวิธีการปฏิบัติตนตอ มิตรแทของตนอยางไร • มิตรแบบใดที่นักเรียนควร หลีกเลี่ยง 2. ครูนําขาวเกี่ยวกับนายจาง-ลูกจาง เชน ลูกจางประทวงนายจางขอ เพิ่มคาแรง มาเลาใหนักเรียนฟง ใหนักเรียนวิเคราะหเนื้อหาขาว วิเคราะหสาเหตุ และถามวาถา นักเรียนเปนนายจางจะปฏิบัติ อยางไร 3. ครูใหนักเรียนชวยกันบอกความ รูสึกที่มีตอครูที่ตนเองรัก และสิ่งที่ อยากขอโทษครู โดยเขียนลงใน กระดาษ สงครู ใหตัวแทนนักเรียน 2-3 คน นําเสนอผลงานของตน

๒.๒) สถาบันสังคม แบงเปนความสัมพันธระหวางมิตรกับมิตร และนายจางกับ ลูกจาง โดยมีหนาที่พึงปฏิบัติตอกัน ดังนี้ ÁԵáѺÁÔµÃ

คูมือครู

ñ. à¾×è͹»ÃÐÁÒ·ª‹Ç»‡Í§¡Ñ¹à¾×è͹ ò. à¾×Íè ¹»ÃÐÁÒ·ª‹ÇÂÃÑ¡ÉÒ·ÃѾ ÊÔ¹ ¢Í§à¾×è͹

ó. àÁ×èÍÁÕÀÑÂ໚¹·Õè¾Ö觾íҹѡ䴌 ô. ÁÕ¡¨Ô ¨íÒ໚¹ª‹ÇÂÍÍ¡·ÃѾ ãËŒà¡Ô¹ ¡Ç‹Ò·Õèà¾×è͹ÍÍ¡»Ò¡

ÁÔµÃËÇÁÊآËÇÁ·Ø¡¢

ñ. ºÍ¡¤ÇÒÁÅѺ á¡‹à¾×è͹ ò. ÃÑ¡ÉÒ¤ÇÒÁÅѺ¢Í§à¾×è͹

ó. ÁÕÀÑÂÍѹµÃÒ äÁ‹ÅзÔé§à¾×è͹ ô. áÁŒªÕÇÔµ¡çÊÅÐ ãËŒà¾×è͹䴌

ÁÔµÃá¹Ð¹íÒ»ÃÐ⪹

ñ. ËŒÒÁÁÔãËŒà¾×è͹·íÒ¤ÇÒÁªÑèÇàÊÕÂËÒ ò. àÁ×Íè ÃÙŒàËç¹Ç‹ÒÊÔè§ã´à»š¹»ÃÐ⪹ ¡çºÍ¡ãËŒà¾×è͹ÃÙŒ

ó. ʹѺʹعãËŒ·íÒ´Õ ô. á¹Ð¹íÒ·Ò§´íÒà¹Ô¹ªÕÇÔµ ·Õè´ÕãËŒ

ÁÔµÃÁÕã¨ÃÑ¡

ñ. à¾×è͹ÊØ¢àÃÒÊØ¢´ŒÇ ò. à¾×Íè ¹·Ø¡¢ àÃÒ·Ø¡¢ ´ŒÇ ó. ¼ŒÙÍè¹× µÔàµÕ¹à¾×è͹¡çª‹ÇÂá¡Œµ‹Ò§ãËŒ

ô. ¼ŒÙÍ×è¹ÊÃÃàÊÃÔÞà¾×è͹¡çª‹Ç¾ٴàÊÃÔÁ ʹѺʹع

¹Ò¨ŒÒ§¡ÑºÅÙ¡¨ŒÒ§

๒๔

24

ÁÔµÃÁÕÍØ»¡ÒÃÐ

¹Ò¨ŒÒ§»¯ÔºÑµÔ µ‹ÍÅÙ¡¨ŒÒ§

ñ. ¨Ñ´ËÒ§Ò¹ãËŒ·íÒµÒÁ¤ÇÒÁÊÒÁÒö ò. ãËŒ¤‹Ò¨ŒÒ§àËÁÒÐÊÁµÒÁ¤ÇÒÁÃÙŒ ¤ÇÒÁÊÒÁÒö ó. ¨Ñ´ÊÇÑÊ´Ô¡ÒÃãËŒ´ŒÇ´Õ

ÅÙ¡¨ŒÒ§»¯ÔºÑµÔ µ‹Í¹Ò¨ŒÒ§

ñ. ࢌҷíÒ§Ò¹¡‹Í¹¹Ò ¤×Í àµÃÕÂÁ¤ÍÂÃѺ§Ò¹·Õè¹ÒÂÁͺËÁÒ áÅзíÒ¨¹ÊíÒàÃç¨àÃÕºÌÍ ò. àÅÔ¡§Ò¹ËÅѧ¹Ò ¤×Í ¾ÂÒÂÒÁ·íÒ§Ò¹·Õèä´ŒÃѺÁͺËÁÒ¨¹ÊíÒàÃç¨ áÁŒàÇÅÒ¨ÐŋǧàźŒÒ§¡ç¹Ö¡àÊÕÂÇ‹Ò§Ò¹¢Í§¹ÒÂÊíÒ¤ÑÞ ó. ¶×ÍàÍÒᵋ¢Í§·Õè¹ÒÂãËŒ ¤×Í äÁ‹âÅÀ äÁ‹àËç¹á¡‹µÑÇ ô. ·íÒ§Ò¹ãËŒàÃÕºÌÍÂáÅдÕÂÔ觢Öé¹ õ. ¹íÒ¤ÇÒÁ´Õ¢Í§¹ÒÂáÅСԨ¡Òçҹä»à¼Âá¾Ã‹

ô. ¨Ñ´¢Í§¾ÔàÈÉãËŒ õ. ãËŒÁÕÇѹËÂØ´áÅоѡ¼‹Í¹ µÒÁâÍ¡ÒÊÍѹ¤ÇÃ

๒.๓) สถาบันการศึกษา เชน โรงเรียน มหาวิทยาลัย เปนตน เปนสถานที่ให ความรูและอบรมสั่งสอนนักเรียนใหมีความรู เปนคนดี มีคุณธรรม จริยธรรม มีคุณภาพ สามารถ อยูในสังคมไดอยางมีความสุข และนําความรูที่ไดรํ่าเรียนมาใชในการพัฒนาตน พัฒนาสังคมและ ประเทศชาติ บุคคลสําคัญของสถาบันการศึกษา คือ ครูอาจารยกับศิษย พึงปฏิบตั ิตอ กันใหถูกตอง เหมาะสม ดังนี้


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

ขยายความเขาใจ 1. ครูตั้งประเด็นอภิปราย • ทําไมเมื่อคนเรารูสึกไมสบายใจ จึงตองหันไปพึ่งหลักธรรมทาง พระพุทธศาสนาชวยเยียวยาจิตใจ (แนวตอบ เพราะหลักธรรมทาง พระพุทธศาสนาสอนวาความสุข ที่แทจริง ตองมาจากทางใจกอน การทําจิตใจใหสงบ ชวยใหเรา มีสติและหาทางดับทุกขในใจได ในที่สุด) 2. ครูใหนักเรียนสรุปความสําคัญ ของพระพุทธศาสนาที่มีตอ สังคมในดานตางๆ โดยสรุป เปนผังความคิด

¤ÃÙÍÒ¨Òà¡ÑºÈÔÉ ¤ÃÙÍÒ¨Ò໯ԺѵԵ‹Í ÈÔÉÂ

ñ. á¹Ð¹íÒ½ƒ¡½¹ãËŒÈÔÉ ໚¹¤¹´Õ ò. Ê͹ãˌࢌÒã¨á¨‹Áᨌ§ ó. ¡‹ͧ¤ÇÒÁ´Õ§ÒÁ¢Í§ÈÔÉ ãËŒ »ÃÒ¡¯

ô. Ê͹ÈÔÅ»ÇÔ·ÂÒ¡ÒÃãËŒÊÔé¹àªÔ§ õ. ¤ØŒÁ¤ÃͧÈÔÉ 㹷ÔÈ·Ñé§ËÅÒ ¢Í§à¾×è͹

ÈÔÉ »¯ÔºÑµÔµ‹Í¤ÃÙ ÍÒ¨ÒÃÂ

ñ. áÊ´§¤ÇÒÁà¤ÒþÍ‹ҧÊÙ§µÒÁ âÍ¡ÒÊ·ÕèàËÁÒÐÊÁ ò. ࢌÒä»ËÒà¾×Íè ÃѺ㪌áÅÐÃѺ¤íÒá¹Ð¹íÒ ó. »Ã¹¹ÔºÑµÔÃѺ㪌·‹Ò¹µÒÁâÍ¡ÒÊ ÍѹàËÁÒÐÊÁ

ô. µÑé§ã¨¿˜§¤íÒÊ͹¢Í§¤ÃÙÍÒ¨Òàõ. àÃÕ¹ÈÔÅ»ÇÔ·ÂÒâ´Âà¤Òþ ¤×Í ¡ÒõÑé§ã¨¿˜§¤íÒÊÑè§Ê͹·Õè·‹Ò¹ ¶‹Ò·ʹâ´Â¤ÇÒÁà¤ÒþÍ‹ҧÊÙ§

เหมาะสม ดังนี้

๒.๔) สถาบันศาสนา พระสงฆกับประชาชน พึงปฏิบัติหนาที่ตอกันใหถูกตอง ¾ÃÐʧ¦ ¡Ñº»ÃЪҪ¹

¾ÃÐʧ¦ »¯ÔºÑµÔµ‹Í »ÃЪҪ¹

ñ. ËŒÒÁÁÔãËŒ·íÒªÑèÇ ò. ͹Øà¤ÃÒÐË ´ŒÇ¤ÇÒÁ»ÃÒö¹Ò´Õ ¤×Í Ê‹§àÊÃÔÁãËŒ¡ÅØ ºØµÃ¡ØŸԴÒÁÕ¹Òíé 㨠âͺ͌ÍÁÍÒÃÕ ÁÕàÁµµÒµ‹Íà¾×è͹Á¹ØÉÂ

ó. ãËŒµÑé§ÍÂً㹤ÇÒÁ´Õ ô. ãˌ䴌¿˜§ÊÔ觷ÕèÂѧäÁ‹à¤Â¿˜§ õ. ·íÒÊÔ§è ·Õèà¤Â¿˜§áÅŒÇãˌᨋÁᨌ§

»ÃЪҪ¹»¯ÔºÑµÔµ‹Í ¾ÃÐʧ¦

ñ. ¨Ð·íÒÊÔè§ã´ ¡ç·íÒ´ŒÇÂàÁµµÒ ò. ¨Ð¾Ù´ÊÔè§ã´ ¡ç¾Ù´´ŒÇÂàÁµµÒ ó. ¨Ð¤Ô´ÊÔ§è ã´ ¡ç¤Ô´´ŒÇÂàÁµµÒ

ô. µŒÍ¹ÃѺ´ŒÇ¤ÇÒÁàµçÁ㨠õ. ÍØ»¶ÑÁÀ ºíÒÃا´ŒÇ»˜¨¨Ñ ô

๓) ดานการสรางสรรคอารยธรรมใหแกโลก ปจจุบันมีผูนับถือพระพุทธศาสนา

ทั่วโลก ประมาณ ๕๐๐ ลานคน (ทั้งเถรวาทและมหายาน) ตลอดเวลาที่ผานมาพระพุทธศาสนามี สวนในการสรางสรรคอารยธรรมใหแกโลก ซึ่งแบงออกไดเปน ๓ ดาน ดังนี้ ๓.๑) ดานจิตใจ คนโดยทั่วไปมีปญหาใหญๆ ๒ เรื่อง คือ ทางกายกับทางใจ เรื่องทางกาย ไดแก เรื่องของปจจัย ๔ คือ อาหาร เครื่องนุงหม ที่อยูอาศัย และยารักษาโรค คนสวนใหญแมจะมีปจจัย ๔ ครบแลว ก็ยังตองการความสุขทางกายหรือความสุขทางวัตถุที่ดีเลิศ ขึ้นไป แตความสุขทางวัตถุเพียงอยางเดียวไมอาจทําใหชีวิตมนุษยมีความพอใจและสงบสุขได จะเห็นไดวาในประเทศที่มีการพัฒนาทางวัตถุแลว ผูคนก็มิไดมีความสุขจริงๆ แตมีปญหาตางๆ มากมาย เชน ปญหาอาชญากรรม ยาเสพติด ปญหาโรคเครียด เปนตน และเมื่อคนเรามีความ อุดมสมบูรณทางวัตถุถงึ จุดจุดหนึง่ ก็เกิดความเบือ่ หนาย เหงา และวาเหว รูส กึ วามีความบกพรอง ทางดานจิตใจ จึงเห็นไดวา คนในประเทศทีม่ กี ารพัฒนาทางวัตถุสงู ๆ จะพากันหันมาใหความสนใจ ศึกษาพระพุทธศาสนาเพิม่ มากขึน้ เรือ่ ยๆ ไมเฉพาะแตในประเทศไทยเทานัน้ ทีม่ ชี าวตะวันตกเขามา บวชเรียนและเขามาปฏิบัติธรรม แตเขายังเดินทางไปประเทศตางๆ ที่นับถือพระพุทธศาสนาดวย

๒๕

คูมือครู

25


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู ขยายความเขาใจ Explain

(ยอจากฉบับนักเรียน 20%)

1. ครูยกตัวอยางขาวการสูร บของคนใน ประเทศตางๆ แลวใหนักเรียนนํา หลักธรรมทางพระพุทธศาสนามา เสนอแนะแนวทางแกไข 2. ครูใหนักเรียนชวยกันยกตัวอยาง วา พระพุทธศาสนาชวยสรางความ สงบสุขใหแกโลกอยางไรบาง

พระพุทธศาสนาเปนแหลงที่ใหอาหารทางใจแกมนุษยมาแลว ๒,๐๐๐ กวาป และ ยังยั่งยืนมาจนถึงปจจุบัน จนกลายเปนสวนหนึ่งของอารยธรรมโลก และมีชาวโลกจํานวนมากที่ เห็นวาพระพุทธศาสนาสามารถใหคําตอบในเรื่องที่สําคัญที่สุดของชีวิตได นั่นคือ เรื่องของจิตใจ พระพุทธศาสนาจึงไดรบั การยอมรับมากขึน้ เรือ่ ยๆ วามีคณ ุ คาอยางยิง่ ตออารยธรรมของมนุษยชาติ ๓.๒) ดานวิชาการ พระพุทธศาสนานั้น นอกจากจะเปนดวงไฟชี้ทางใหมนุษยได ประสบกับความสงบสุขทางจิตใจแลว ยังมีลักษณะเปนปรัชญา ซึ่งเปนวิทยาการแขนงหนึ่ง ทั้งนี้ เพราะพระพุทธศาสนาไดอธิบายถึงหลักฐานของชีวิตและสรรพสิ่งทั้งปวงดวยวิธีการของเหตุผล นักวิชาการในประเทศตางๆ ทั้งในซีกโลกตะวันออกและตะวันตก ไดศึกษาคนควาและทําการวิจัย เกี่ยวกับหลักธรรมคําสอนของพระพุทธศาสนากันอยางแพรหลาย ซึ่งในมหาวิทยาลัยชั้นนําของ โลกตางก็มกี ารสอนวิชาพระพุทธศาสนา บางแหงสอนจนถึงระดับปริญญาเอก หนังสือและเอกสาร ทางวิชาการที่เกี่ยวกับเรื่องพระพุทธศาสนาก็ถูกตีพิมพเปนภาษาตางๆ อยางมากมาย ๓.๓) ดานวัตถุ นอกจากหลักธรรมคําสอนของพระพุทธองคจะเปนสวนหนึ่งของ อารยธรรมทางดานจิตใจของโลกแลว พระพุทธศาสนาก็ยงั สรางสรรคสงิ่ ทีเ่ ปนวัตถุใหเปนมรดกแก อารยธรรมของโลกดวย โดยผูที่เลื่อมใสศรัทธาในพระพุทธศาสนาไดสรางพระพุทธรูป เจดีย สถูป วัด และศาสนสถานอื่นๆ ไวทั่วโลก ศาสนวัตถุเหลานี้ไดรับการสรางขึ้นอยางประณีตดวยแรงกาย แรงปญญา และแรงทรัพยที่เกิดจากความศรัทธาในพระพุทธศาสนา

ขยายความเขาใจ ครูใหนักเรียนวิเคราะหในประเด็น ตอไปนี้ • นักเรียนคิดวา ถาพลเมือง หรือสังคมขาดหลักธรรมทาง พระพุทธศาสนาจะมีผลอยางไร (แนวตอบ เชน - สังคมจะวุนวาย ผูคนจะขาด คุณธรรม จะเอารัดเอาเปรียบ มีการแขงขันและทํารายกัน - พลเมื อ งขาดหลั ก ธรรมใน การดําเนินชีวิต ดําเนินชีวิต แบบประมาท ขาดสติ ขาดการ อบรมพัฒนาจิตใจ ไมสามารถ หลุดพนจากความทุกขได) • นักเรียนประทับใจแนวทาง การเผยแผพระพุทธศาสนา ในประเทศใดมากที่สุด เพราะเหตุใด ใหนักเรียนรวมแสดงความคิดเห็น พรอมเหตุผลอยางหลากหลาย

๓.๒ พระพุทธศาสนาในฐานะที่ชวยสรางความสงบสุขใหแกโลก อุดมการณของพระพุทธศาสนา คือ การสรางความสงบสุขแกชาวโลก โดยหลักคําสอนที่ เปนไปเพื่อความสงบสุขแกโลกมีมากมาย ในที่นี้ขอยกมาเพียงบางประการ ดังตอไปนี้ ๑. พระพุทธศาสนาสอนไมใหเบียดเบียนทั้งตนเองและผูอื่น เชน หลักคําสอนในศีล ๕ เนน การไมเบียดเบียนตนเอง (ขอที่ ๕) และการไมเบียดเบียนคนอืน่ ไมละเมิดสิทธิแ์ ละของรักของหวง ของคนอื่น (ขอ ๑, ๒, ๓, ๔) ๒. พระพุทธศาสนาสอนใหมีเมตตาตอกันทั้งตอหนาและลับหลัง จะพูด จะทํา จะคิด ก็มี จิตประกอบดวยเมตตา มีความรักและอภัยใหซึ่งกันและกัน ใหถือวามนุษยในโลกนี้ถึงแมวาจะ ตางเพศพรรณ ตางชาติ ตางศาสนา ก็ลวนแตเปนเพื่อนรวมสุขรวมทุกขเกิดแกเจ็บตายดวย กันทั้งสิ้น เปนเสมือนพี่นองครอบครัวเดียวกัน เวลาอยูรวมกันมากๆ ยอมมีบางในบางครั้งที่ อาจลวงเกินผูอื่น โดยเจตนาหรือโดยรูเทาไมถึงการณ เราก็ตองรูจักอดกลั้นและใหอภัยซึ่ง กันและกัน ๒๖

คูมือครู

ตรวจสอบผล Evaluate

อธิบายความรู

26

Expand


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล Expand

Evaluate

ขยายความเขาใจ หลังจากที่นักเรียนไดศึกษาความ สําคัญของพระพุทธศาสนา แลวให นักเรียนกลมุ เดิมรวมกันแสดงบทบาท สมมติที่เกี่ยวของกับหัวขอตอไปนี้ กลุม 1 เรื่องการไมเบียดเบียน กลุม 2 เรื่องความเมตตา กลุม 3 เรื่องความเสียสละ กลุม 4 เรื่องความอดทน กลุม 5 เรื่องการยอมรับความ แตกตาง กลุม 6 เรื่องการเอาชนะความชั่ว ดวยความดี

๓. พระพุทธศาสนาสอนใหมีความเสียสละ ซึ่งมีความหมาย ๒ นัยดวยกัน คือ เสียสละ ภายใน คือ ละโลภ โกรธ หลง ความหวงแหน ความยึดติด ความเห็นแกตัวออกจากใจ เปนตน และ เสียสละภายนอก คือ การเฉลี่ยเจือจานวัตถุสิ่งของที่ตนมี สงเคราะหแกคนอื่นบาง คนเราจะ อยูรวมกันไดอยางมีความสุข จะตองรูจักเสียสละใหแกกันและกัน เริ่มดวยการเสียสละประโยชน และความสุขที่ตนมีเฉลี่ยเจือจานแกคนอื่น พระพุทธศาสนาไดสอนขั้นตอนแหงการเสียสละตั้งแต ขั้นตนๆ จนกระทั่งขั้นสูงสุด คือ การเสียสละแมกระทั่งชีวิตเพื่อรักษาไวซึ่งความถูกตองดีงามของ สังคม ๔. พระพุทธศาสนาสอนใหมีความอดทน (ขันติ) และไมยึดมั่นในตัวตนเกินไป (อนัตตา) ธรรมะ ๒ ขอนี้เกี่ยวของสัมพันธกันคือ คนจะมีความอดทนไดดีนั้นจะตองเปนคนยึดมั่นในตัวตน นอยหรือมีอัตตาเบาบาง ไมเห็นวาตนสําคัญมากเสียจนเห็นคนอื่นตํ่าตอยหรือเปนคนไมดี และ คนเชนนี้ยอมสามารถอดทนตอการดาวาหรือการลวงเกินของคนอื่นได ดังนั้น พระพุทธศาสนา จึงเนนวาคนที่ดาวาลวงเกินคนอื่นเปนคนไมดี แตคนที่ดาวาตอบผูที่ดาวาตนนับวาเปนคนที่ไมดี ยิ่งกวาเสียอีก เพราะฉะนั้น จึงควรรูจักอดกลั้นและอดทนตอคําดุดาเสียดสีของคนอื่น ๕. พระพุทธศาสนาสอนใหเปนคนใจกวางยอมรับความแตกตางได คือ สอนใหรูความจริงวา ในโลกทีม่ คี นอยูเ ปนจํานวนมากนัน้ ยอมมีความแตกตางกันในเรือ่ งตางๆ มากมาย เราตองหัดเปน คนมีใจกวางยอมรับความแตกตางนั้นๆ ได เชน ยอมรับความคิดเห็นหรือความเชื่อถือที่แตกตาง เปนตน ๖. พระพุทธศาสนาสอนใหเอาชนะความชั่วดวยความดี การเอาชนะความชั่วดวยความชั่ว เชน เขาดามาเราดาตอบไป เขาเอาเปรียบเราหนึง่ เทาเราเอาเปรียบเขาเพิม่ ขึน้ อีกสองเทา เปนตน อันนีม้ ใิ ชทางทีถ่ กู ตอง ยิง่ ทําก็ยงิ่ เพิม่ ความชัว่ รายขึน้ ดุจดังเอานํา้ โสโครกลางดวยนํา้ โสโครก ดังนัน้ พระพุทธเจาจึงทรงสอนวาพึงเอาชนะความชั่วรายดวยความดี เชน เอาชนะคนโกรธดวยการ ไมโกรธตอบ เอาชนะคนตระหนี่ดวยการให เอาชนะคนพูดเหลวไหลดวยการพูดความจริง เอาชนะ เวรดวยการไมจองเวร เปนตน ¡Å‹ÒÇÊÃØ»ä´ŒÇ‹Ò ¾Ãоط¸ÈÒʹҫÖè§ÁÕ¶Ô蹡íÒà¹Ô´ÍÂÙ‹ã¹»ÃÐà·ÈÍÔ¹à´Õ »˜¨¨ØºÑ¹ä´Œà¼ÂἋä»Âѧ»ÃÐà·Èµ‹Ò§æ ·ÑèÇâÅ¡ ¶Ö§áÁŒÇ‹Ò㹺ҧ·ÇÕ» ÍÒ·Ô ·ÇÕ»ÍàÁÃÔ¡Ò㵌 ·ÇÕ»áÍ¿ÃÔ¡Ò ¡ÒùѺ¶×;Ãоط¸ÈÒʹҨРÂѧ¤§¨íÒ¡Ñ´ÍÂÙá‹ µ‹à©¾ÒÐ㹡ÅØÁ‹ ªÒÇàÍàªÕ´ŒÇ¡ѹ¡çµÒÁ ᵋã¹Í¹Ò¤µÍѹã¡ÅŒ¹¤Õé §ÁÕªÒǾ׹é àÁ×ͧ ËѹÁÒÂÍÁÃѺ¹Ñº¶×;Ãоط¸ÈÒʹҡѹÁÒ¡¢Öé¹ ·Ñ駹Õé ¾Ãоط¸ÈÒʹÒä´Œ¾ÔÊÙ¨¹ ãËŒÊѧ¤ÁâÅ¡ »ÃÐ¨Ñ¡É áÅŒÇÇ‹ÒËÅÑ¡¸ÃÃÁ¢Í§¾Ãоط¸à¨ŒÒÊÒÁÒö¹íÒä»ãªŒ»ÃÐ⪹ ËÃ×Í໚¹á¹Ç·Ò§ã¹ ¡ÒôíÒà¹Ô¹ªÕÇԵ䴌໚¹Í‹ҧ´Õ áÅЪ‹ÇÂÊÌҧ¤ÇÒÁʧºÊØ¢ãËŒà¡Ô´á¡‹ªÒÇâÅ¡ÍÕ¡´ŒÇÂ

ตรวจสอบผล 1. ใหนักเรียนสรุปแนวทางการเผยแผ พระพุทธศาสนาในอดีตและปจจุบนั ครูตรวจสอบความถูกตอง 2. ใหนกั เรียนตอบคําถามประจําหนวย ครูตรวจสอบความถูกตอง

๒๗

คูมือครู

27


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Engage

Explore

Explain

Expand

Evaluate

(ยอจากฉบับนักเรียน 20%)

เกร็ดแนะครู (แนวตอบ คําถามประจําหนวย การเรียนรู 1. การเผยแผพระพุทธศาสนาสมัย โบราณและสมัยปจจุบันแตกตาง กัน ดังนี้ • การเผยแผในสมัยโบราณ เผยแผดวยการสงพระธรรมทูต ออกไปแสดงธรรมหรือเทศน และมีการศึกษาปฏิบัติตาม หลักธรรมดวยวิธีมุขปาฐะ คือ ถายทอดโดยอาศัยการบอก กลาวและการทองจําสืบคน กันมา โดยมีศูนยกลางอยูที่ พระมหากษัตริยและผูนําทาง สังคม เปนผูมีอิทธิพลที่จะทําให ดินแดนนั้นๆ นับถือพระพุทธศาสนา • การเผยแผในสมัยปจจุบัน ไดนําเทคโนโลยีและการ สื่อสาร มาชวยในการเผยแผ หลักธรรมไดแก สื่อสิ่งพิมพ สื่ออิเล็กทรอนิกส อินเทอรเน็ต สื่อสังคมออนไลน สื่อผสม มัลติมีเดีย เปนตน 2. ในทวีปยุโรป ทวีปออสเตรเลีย และทวีปอเมริกาเหนือ เนื่องจาก พุทธสาวกมีความศรัทธาแรงกลา ในการสืบสานพุทธปณิธานของ พระพุทธเจา 3. พระพุทธศาสนาไดกลายเปน ปจจัยสําคัญในการสรางสรรค อารยธรรมจีนรวมกับลัทธิขงจื๊อ และลัทธิเตา 4. เปนศาสนาที่สงเสริมเสรีภาพ ๒๘ ภราดรภาพ และความเสมอภาค ไมบังคับใหผูศึกษาหลักคําสอน เชื่อในทันทีทันใด จนกวาจะได ตรวจสอบและลงมือปฏิบัติ แลวไดผลจริงตามที่ทรงสอนจึงเชื่อ 5. ปฏิบัติตามหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา และชวยกันสืบทอดเผยแผคําสอนของ พระพุทธเจาใหเจริญรุงเรืองยิ่งขึ้น)

28

คูมือครู

¤ íÒ¶ÒÁ»ÃШ íÒ˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ ๑ จงเปรียบเทียบแนวทางการเผยแผพระพุทธศาสนาในสมัยโบราณและสมัยปจจุบันมาพอ สังเขป ๒ นอกจากทวีปเอเชียแลว พระพุทธศาสนาจะมีโอกาสหยั่งรากลึกลงในทวีปใด ๓ การที่ประเทศจีนยอมรับนับถือพระพุทธศาสนา กอใหเกิดผลดีตอประวัติศาสตรของ พระพุทธศาสนาอยางไร ๔ เพราะเหตุใดในปจจุบันชาวตะวันตกจึงใหความสนใจในพระพุทธศาสนาอยางมาก ๕ การจะทําใหพระพุทธศาสนาเผยแผไปอยางกวางขวางนั้น ควรปฏิ​ิบัติอยางไร

¡Ô¨¡ÃÃÁÊÌҧÊÃä ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ กิจกรรมที่

กิจกรรมที่

กิจกรรมที่

พุทธศาสนสุภาษิต

นักเรียนแบงกลมุ ศึกษาคนควาเพิม่ เติมเกีย่ วกับการเผยแผและการ นับถือพระพุทธศาสนาของประเทศตางๆ แลวจัดทําเปนรายงานสง ครูผูสอน พรอมออกมานําเสนอผลงานหนาชั้นเรียน เชิญวิทยากรมาบรรยายเกีย่ วกับการเผยแผและการนับถือพระพุทธศาสนาของประเทศตางๆ จากนัน้ ใหนกั เรียนเขียนสรุปความรูท ี่ไดรบั สงครูผูสอน ใหนกั เรียนในชัน้ เรียนรวมกันจัดนิทรรศการเกีย่ วกับการเผยแผและ การนับถือพระพุทธศาสนาในโลกปจจุบัน

» Ú Ò ¹ÃÒ¹í õ¹í : »˜- - Ò໚¹Ãѵ¹Ð¢Í§¹Ãª¹

นักเรียนควรรู ปฺา นรานํ รตนํ อานวา ปน-ยา-นะ-รา-นัง-ระ-ตะ-นัง

หลักฐาน แสดงผลการเรียนรู 1. ชิ้นงานกลุมจากการคนควาและนําเสนอการเผยแผ พระพุทธศาสนาในดินแดนตางๆ 2. การเขียนแสดงความคิดเห็นการมีสว นรวมของนักเรียน ในการเผยแผพระพุทธศาสนาใหกบั ชาวตางชาติไดรบั รู


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.